You are on page 1of 7

ว31242 พันธุศาสตตร์ (Genetics)

การตรวจสอบ Genotype
จากการทดลองของเมนเดล ถั่วลันเตาที่มีเมล็ดขรุขระจะมีจีโนไทป์ ss แต่ถั่วลันเตาที่มีเมล็ดเรียบจะมีจีโนไทป์
Ss หรือ SS ก็ได้ ดังนั้นถ้าต้องการจะทดสอบว่าถั่วลันเตาที่มีเมล็ดเรียบนั้นมีจีโนไทป์เป็น SS หรือ Ss สามารถทำได้
2 วิธี ดังนี้
1. การผสมตัวเอง (Self-Fertilization)
นำถั่วที่มีเมล็ดเรียบนั้นไปปลูกและผสมกับตัวเอง (Self-Fertilization) แล้วแยกพิจารณาลูกรุ่น F1 เป็น 2
กรณี ดังนี้
1.1 ลูกรุ่น F1 เป็นเมล็ดเรียบ 100 % : ……………………………………………………………………………………………………………………….
พ่อแม่ SS x SS
Gamete
F1

1.2 ลูกรุ่น F1 เป็นเมล็ดเรียบ : เมล็ดขรุขระ ในอัตราส่วน 3 : 1 ………………………………………………………………


พ่อแม่ Ss x Ss
Gamete
F1

Page 15 of 21
ว31242 พันธุศาสตตร์ (Genetics)
2. การผสมทดสอบ (Test Cross)
คือการนำถั่วที่ต้องการทราบจีโนไทป์นี้ไปผสมกับต้นที่มีจีโนไทป์เป็น Homozygous recessive (ss)
ซึ่งเรียกว่าต้นทดสอบ แล้วพิจารณาลูกรุ่น F1 เพื่อหาจีโนไทป์ของต้นที่สงสัย ดังตัวอย่าง ถั่วลันเตาดอกสีม่วงแต่ไม่
ทราบจีนโนไทป์ สามารถพิจารณาได้ดังนี้

สรุปได้วา่
พ่อแม่ SS x ss (ต้นทดสอบ) Ss x ss (ต้นทดสอบ)
Gamete
F1

2.1 ลูกรุ่น F1 เป็นเมล็ดเรียบพันธุ์ทาง 100 % : ………………………………………………………………………………………………


2.2 ลูกรุ่น F1 เป็นเมล็ดเรียบ : เมล็ดขรุขระ ในอัตราส่วน 1 : 1 ………………………….………………………………………

Page 16 of 21
ว31242 พันธุศาสตตร์ (Genetics)
เพดดีกรี ( Pedegree ) หรือพงศาวลี
หมายถึง แผนภาพลำดับเครือญาติ หรือแผนภาพแสดงการสืบพันธุ์ที่ได้จากการศึกษาการถ่ายทอด
ลักษณะทางพันธุกรรมทำได้โดยการเก็บข้อมูลของคนในครอบครัวหลาย ๆ ชั่วอายุคนแล้วนำมาเขียนแผนภาพซึ่งต้องใช้
สัญลักษณ์ต่าง ๆ การศึกษาลักษณะทางพันธุกรรมของคนทำได้โดยการสืบประวัติทางพันธุกรรมของครอบครัว ซึ่งมี
ลักษณะที่ต้องการศึกษาหลาย ๆ ชั่วอายุคน นำข้อมูลมาเขียนแผนผังแสดง เรียกแผนผังเหล่านั้น ว่า เพดดีกรี
(Pedigree) โดยมีการใช้สัญลักษณ์แสดงแทนลักษณะของบุคคล เพดดีกรีจะช่วยให้สังเกตเห็นแบบแผนการถ่ายทอด
ทางพันธุกรรมได้ง่าย และช่วยบอกว่าลักษณะนั้นเป็นลักษณะเด่นหรือลักษณะด้อย
ตัวอย่าง เช่น แผนผังแสดงการถ่ายทอดลักษณะของสายตาครอบครัวหนึ่งเป็นดังนี้

สามารถอธิบายได้ว่า :
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………….

Page 17 of 21
ว31242 พันธุศาสตตร์ (Genetics)

ส่วนขยายของเมนเดล
1. ระดับการแสดงลักษณะเด่น การแสดงลักษณะทางพันธุกรรมของสิงมีชีวิต มี 4 ลักษณะ ดังนี้
1.1 การถ่ายทอดลักษณะเด่นอย่างสมบุรณ์ (Complete Dominance)
หมายถึง การแสดงลักษณะเด่นหรือการข่มของแอลลีลเด่นต่อ แอลลีลด้อยเป็นไปได้อย่างสมบูรณ์ ทำให้จีโน
ไทป์ที่เป็น Homozygous Dominant และ Heterozygous มีฟีโนไทป์เหมือนกัน ดังตัวอย่างการทดลองของเมนเดล
1.2 การถ่ายทอดลักษณะเด่นไม่สมบุรณ์ (Incomplete Dominance) or Partial Dominance
หมายถึง การแสดงลักษณะเด่นหรือการข่มของแอลลีลเด่นต่อ แอลลีลด้อยเป็นไปได้อย่างไม่สมบูรณ์ ทำให้
จีโนไทป์ที่เป็น Heterozygous มีฟีโนไทป์ค่อนไปทางลักษณะเด่น ตัวอย่างเช่น พันธุกรรมของสีดอกลิ้นมังกรและ
ดอกบานเย็น

ข้อสรุป :
1. Genotype F1 : ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. Genotype F2 : ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. Phenotype F1 : ……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

Page 18 of 21
ว31242 พันธุศาสตตร์ (Genetics)
1.3 การถ่ายทอดลักษณะเด่นร่วม (Co-dominance)
หมายถึง การที่ยีนแต่ละแอลลีลจะแสดงออกร่วมกันในลูกผสมเนื่องจากต่างเป็นลักษณะเด่นทั้งคู่ข่มกันไม่ลง
เช่น พันธุกรรมระบบหมู่เลือด ABO พบว่า แอลลีล IA เป็น Codominance กับแอลลีล IB ดังนั้น ผู้ที่มีจีโนไทป์
IAIB จะมีหมู่เลือด AB
*** เปรียบเทียบ Incomplete dominance vs Co-dominance

2. พอลิยีน (Polygenes)
หมายถึง กลุ่มของยีนหรือยีนหลาย ๆ คู่ ที่กระจายอยู่บนโครโมโซม ซึ่งแต่ละยีนทำหน้าที่ควบคุมลักษณะ
ทางพันธุกรรมหนึ่งของสิ่งมีชีวิต เช่น พันธุกรรมสีผิวปกติของคน ซึ่งมียีนที่ควบคุมทั้งหมด 3 คู่ โดยแต่ละยีนเป็นอิสระ
ต่อกัน ทำให้ความหลากหลายของฟีโนไทป์สีผิวในคนแตกต่างกัน

Page 19 of 21
ว31242 พันธุศาสตตร์ (Genetics)

3. Multiple alleles
หมายถึง พันธุกรรมลักษณะใด ลักษณะหนึ่ง ที่ถูกควบคุมด้วยยีนมากกว่า 2 แอลลีล ที่ตำแหน่งเดียวกัน
ของ Homologous Chromosome เช่น พันธุกรรมของหมู่เลือด ABO มียีนควบคุม 3 แอลลีล คือ
IA เป็นแอลลีลสร้างแอนติเจน A
IB เป็นแอลลีลสร้างแอนติเจน B
i เป็นแอลลีลด้อยไม่สร้างแอนติเจน A, B

จากแอลลีลทั้ง 3 ชนิด ทำให้เกิดจีโนไทป์ได้ 6 ชนิด และฟีโนไทป์ 4 ชนิด ดังตาราง

Page 20 of 21
ว31242 พันธุศาสตตร์ (Genetics)
สูตรการหาจำนวนจีโนไทป์ของพันธุกรรมที่เป็นมัลติเปิลแอลลีล
Possible Genotype =

ตัวอย่าง พันธุกรรมหมู่เลือด ABO มี 3 แอลลีล คือ IA IB i จงหาจำนวน Genotype

Page 21 of 21

You might also like