You are on page 1of 21

23/11/66

บทที 5 ลักษณะพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมแบบเมนเดล * ลักษณะปรากฏ (phenotype) หมายถึง ลักษณะต่าง ๆ ทีสามารถ
แสดงออกมาให้เห็นได้ หรือชัง ตวง วัดได้
เป็ นผลมาจาก genotype และสิงแวดล้อม ได้แก่ ลักษณะความสูง สีของขนสัตว์
สีของดอกไม้ ลักษณะของเมล็ด ความฉลาด ความถนัด

* ลักษณะทางพันธุกรรม (genotype) หมายถึงชุดของ gene ทีมาเข้าคู่กนั


ซึงสิงมีชีวติ ได้รบั มาจากพ่อและแม่

อัลลีล (Allele) หรือ Allelomorps หมายถึง ยีน 2 ยีน ซึงอยู่ตาํ แหน่ ง การถ่ ายทอดลักษณะพันธุกรรม (Heridity) ของพ่อแม่ ไปยังรุ่นลูกหลาน หรื อ
เดียวกันบนโครโมโซมคู่เหมือนกัน โดยควบคุมลักษณะเดียวกัน จากเซลล์หนึงไปอีกเซลล์โดยใช้ สารพันธุกรรม (ยีน) จะทําให้ สิงมีชีวิตแต่ ละ
ถ้ามี gene เหมือนกัน เรียกว่าพันธุแ์ ท้ (homozygous) ชนิดสื บทอดลักษณะทีเหมือนบรรพบุรุษ เช่ น คนมีลูกหลานเป็ นคน แมวมีลูก
เป็ นแมว แต่ ลูกคนแต่ ละคน หรื อลูกแมวแต่ ละตัวมีรูปร่ างลักษณะ หน้ าตา เพศ
ถ้ามี gene ไม่เหมือนอยู่ดว้ ยกัน เรียกว่าพันธุท์ าง (heterozygous)
ทีแตกต่ างกัน ซึงเรียกว่ าเกิด variation ซึงความแปรผันนีอาจมาจากยีนเอง หรื อ
สิ งแวดล้อม
23/11/66

บทที 5 ลักษณะพันธุกรรม
การถ่ายทอดลักษณะพันธุกรรมแบบเมนเดล * ลักษณะปรากฏ (phenotype) หมายถึง ลักษณะต่าง ๆ ทีสามารถ
แสดงออกมาให้เห็นได้ หรือชัง ตวง วัดได้
เป็ นผลมาจาก genotype และสิงแวดล้อม ได้แก่ ลักษณะความสูง สีของขนสัตว์
สีของดอกไม้ ลักษณะของเมล็ด ความฉลาด ความถนัด

* ลักษณะทางพันธุกรรม (genotype) หมายถึงชุดของ gene ทีมาเข้าคู่กนั


ซึงสิงมีชีวติ ได้รบั มาจากพ่อและแม่

อัลลีล (Allele) หรือ Allelomorps หมายถึง ยีน 2 ยีน ซึงอยู่ตาํ แหน่ ง การถ่ ายทอดลักษณะพันธุกรรม (Heridity) ของพ่อแม่ ไปยังรุ่นลูกหลาน หรื อ
เดียวกันบนโครโมโซมคู่เหมือนกัน โดยควบคุมลักษณะเดียวกัน จากเซลล์หนึงไปอีกเซลล์โดยใช้ สารพันธุกรรม (ยีน) จะทําให้ สิงมีชีวิตแต่ ละ
ถ้ามี gene เหมือนกัน เรียกว่าพันธุแ์ ท้ (homozygous) ชนิดสื บทอดลักษณะทีเหมือนบรรพบุรุษ เช่ น คนมีลูกหลานเป็ นคน แมวมีลูก
เป็ นแมว แต่ ลูกคนแต่ ละคน หรื อลูกแมวแต่ ละตัวมีรูปร่ างลักษณะ หน้ าตา เพศ
ถ้ามี gene ไม่เหมือนอยู่ดว้ ยกัน เรียกว่าพันธุท์ าง (heterozygous)
ทีแตกต่ างกัน ซึงเรียกว่ าเกิด variation ซึงความแปรผันนีอาจมาจากยีนเอง หรื อ
สิ งแวดล้อม
23/11/66

การแปรผันทางพันธุกรรมมี 2 ประเภท คือ ตัวอย่างความผันแปรของลักษณะต่างๆในคนทีถูกควบคุมด้วย single gene

1. การแปรผันแบบไม่ต่อเนื อง (Discrete or
discontinuous variation) คือ การแปรผันทาง Recessive traits Dominant traits
พันธุกรรมทีสามารถแบ่งแยกได้อย่างชัดเจน เช่น นิวก้อยตรง นิวก้อยงอ
ลักษณะการมีลกั ยิม ลักษณะการห่อลิน ผมบลอนด์ ไม่มจี ดุ กระทีหน้า ผมเข ้ม มีจดุ กระทีหน้า
ไม่มขี นทีข ้อกลางของนิวมือ มีขนทีข ้อกลางของนิวมือ
ม้วนลินได้ ม้วนลินไม่ได้
2. การแปรผันแบบต่อเนื อง (Continuous ห่อลินได้ ห่อลินไม่ได้
variation) คือ การแปรผันทางพันธุกรรมที ผมตรง ผมหยิกขอด
ลักษณะไม่สามารถแบ่งได้อย่างชัดเจน อาจมี คางไม่บมุ ๋ คางบุม๋
สิงแวดล้อมเข้ามาเกียวข้องด้วย เช่น ความสูง สีผิว
ความดันเลือด

ตารางแสดงลักษณะเด่นและลักษณะด้อย นักวิทยาศาสตร์ผูซ้ ึงทําการศึกษาเกียวกับการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรมนี คือ


เกรเกอร์ เมนเดล (Gregor Johann Mendel) ได้ศึกษาวิธีการปรับปรุงพันธุพ์ ืช
เมนเดลได้ผสมพันธุถ์ วลัั นเตาเพือศึกษาการถ่ายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

www.maceducation.com/.../2432209100/01.htm
23/11/66

การทดลองของเมนเดล P F1 F2

ใช้ถวลั
ั นเตา Pisum sativum
ข้อดี :
- เป็ น self – pollinated
- บังคับให้ผสมข้ามง่าย
- มีลกั ษณะให้ศึกษาหลายลักษณะ
- ลักษณะทีศึกษาเป็ นลักษณะ
คุณภาพถูกควบคุมด้วยยีนน้อยคู่

filial

need to kno

1. สีของดอก
2. ตําแหน่ งการออกดอก
กฎของเมนเดล
3. สีของเมล็ด
4. รูปร่างเมล็ด
• กฎข้อที 1 Law of Segregation of gene
5. รูปร่างฝัก
6. สีฝกั ยีนทีควบคุมลักษณะต่างๆจะอยู่ในสภาพคู่เสมอ เมือมีการสร้าง
7. ความสูงของลําต้น เซลล์สบื พันธุ ์ (gamete) จะแยกออกจากกันอยู่ในสภาพเดียว และ
เมือเซลล์สบื พันธุจ์ ากพ่อและแม่มารวมกันเกิดเป็ น zygote จะ
ผลการทดลองทุกลักษณะ
ใน F2 จะได้
กลับมาอยู่ในสภาพคู่ดงั เดิม
ลักษณะเด่น (dominant) :
ลักษณะด้อย (recessive)
= 3 : 1 เสมอ
23/11/66

P พันธุ์แท้ เมล็ดเรียบ x พันธุ์แท้ เมล็ดย่ น ลักษณะต่างๆของถัวจะมี gene ควบคุม และอยู่เป็ นคู่


SS ss ถัวพันธุแ์ ท้เมล็ดเรียบ (SS)
gamete S s ถัวพันธุแ์ ท้เมล็ดย่น (ss)
ถัวพันธุท์ างเมล็ดเรียบ (Ss) แต่เมล็ดเรียบเป็ นลักษณะเด่น
F1 Ss เมล็ดเรียบ จึงข่มลักษณะเมล็ดย่นไว้


gamete S s S s

F2 SS Ss Ss ss
เมล็ดเรียบ : เมล็ดย่ น = 3 : 1

• กฎข้อที 2 Law of Independent Assortment


ยีนบนโครโมโซมต่างคู่กนั มีความเป็ นอิสระทีจะเข้ารวมกันในเซลล์สบื พันธุ ์
ผสมถัวพันธ์แท้ 2 ลักษณะ (dihybrid cross)

P เรียบเหลือง  ย่นเขียว
RRYY rryy
gamete RY ry

F1 RrYy เรียบเหลือง
gamete RY Ry

rY ry
23/11/66

การหาเซลล์สบื พันธุ ์ AaBBCCDd


• วิธี Branching system เป็ นการแยกยีนในสภาพคู่ใน genotype ให้เป็ น D ABCD
ยีนเดียวๆ ทีละคู่แล้วต่อกันออกไปเป็ นกิงเรือยๆ
A B C
Y SY d ABCd
S
SsYy y Sy
D aBCD
Y sY a B C
s
y sy d aBCd

สิงมีชีวิตแบบใดทีเหมาะสมสําหรับการศึกษาทางพันธุศาสตร์
ในห้องปฏิบตั ิการ

ให้ลูกหลานจํานวนมาก
เลียงดูงา่ ย มีขนาดเล็ก เนื อทีทีจะใช้เลียงดูจงึ น้อย
ค่าใช้จ่ายในการเลียงดูไม่สูงมากนัก อาหารและวิธีการเลียง
ประวัติทางพันธุกรรมต้องเป็ นทีทราบกันอย่างดี
ไม่ยุ่งยาก สามารถดํารงชีวติ ในห้องปฏิบตั ิการได้
มีลกั ษณะทางพันธุกรรมให้ศึกษาได้หลากหลาย และสามารถแยก
มีวงจรชีวติ สัน ทําให้สามารถศึกษาลักษณะทางพันธุกรรม
ความแตกต่างของลักษณะเหล่านันได้ชดั เจน
ได้หลายชัวรุ่นโดยใช้เวลาไม่นานนัก
23/11/66

การใช้แมลงหวีในการทดลองทางพันธุศาสตร์
วัตถุประสงค์
1. รูจ้ กั และคุน้ เคยกับแมลงหวีในช่วงต่างๆ ของวัฏจักรชีวิต
แมลงหวี (Drosophila melanogaster)
common fruit fly หรือ vinegar fly
2. เข้าใจวิธีเลียง ปัจจัยและเทคนิ คในการนํ าแมลงมาศึกษา
3. บอกความแตกต่างของแมลงหวีไวด์ไทป์ และพันธุก์ ลายได้
4. เข้าใจสัญลักษณ์ทีใช้แทนแมลงหวีแบบต่างๆ และสามารถเขียนและ
ใช้ได้อย่างถูกต้อง

วัฏจักรชีวติ ของแมลงหวี ไข่ (egg) filament

micropyle
chorion
23/11/66

หนอน (larva) ดักแด้ (pupa)


anterior spiracle

posterior sex comb in male


mouth-hook spiracle

ตัวเต็มวัย
(adult)

ลักษณะ เพศผู้ เพศเมีย


อวัยวะเพศ มีแถบสีดาํ 2 ข้าง ไม่มีแถบสีดาํ
แถบสีดาํ ที ท้อง (เมือ ปลายท้องสีดาํ เข้มเกือบ ปลายท้องเป็ นแถบ
มองจากด้านหลัง) ทังหมด สมําเสมอ
เซ็กส์คอมบ์ (sex comb) มี sex comb ไม่มี sex comb
ขนาดตัว เล็กกว่าเพศเมีย ใหญ่กว่าเพศผู้
23/11/66

การทําให้แมลงสลบ
1. การใช้สารเคมี : Ether
เคาะ 1 นาที


ใช้มอื ตบข้างหลอด

ปิ ดหลอดรอแมลงสลบ
 .

การทําให้แมลงสลบ การทําให้แมลงสลบ
2. การใช้กา๊ ซคาร์บอนไดออกไซด์ (CO2) 3. การใช้ความเย็น
23/11/66

การคัดตัวเมียบริ สทุ ธิ สัญลักษณ์ ทางพันธุศาสตร์และลักษณะของแมลง


แมลงหวีตัวเมียสามารถเก็บสเปิ ร์มจากการผสมครัง
- แมลงหวีทีมีลกั ษณะปกติ พบตามธรรมชาติ เป็ นส่วนใหญ่
หนึ งไว้ผสมต่อไปได้ตลอดช่วงของการสืบพันธุ์
เรียกว่า wild type : ตาแดงตัวเทาปี กยาวคลุมลําตัว
ในการผสมแมลงหวีต่างสายพันธุจ์ ึงต้องใช้แมลงหวี
ตัวเมียทียังไม่เคยผสมพันธุม์ าก่อน (virgin) - แมลงหวีทีมีลกั ษณะแตกต่างไปจากลักษณะปกติ เรียกว่า
พันธุก์ ลาย (mutant) : single-, double- or triple mutant
1. คัดจากดักแด้ โดยดู sex comb
2. คัดจากตัวเต็มวัยทีเพิ งออกจากดักแด้ โดยดูจากสีท้อง - phenotype = ลักษณะพันธุกรรมของสิ งมีชีวิตทีปรากฎ
ออกมาสามารถมองเห็นได้
- genotype = สัญลักษณ์ แทนยีนทีอยู่ใน
สภาพคู่ (diploid)

สัญลักษณ์ ทางพันธุศาสตร์และลักษณะของแมลง
สัญลักษณ์ / phenotype สีตา สีตวั ปี ก genotype
+ / wild type แดง เทา ยาว X+X+ e+e+ vg+vg+
e / ebony body ดํา ee
vg / vestigial wing กุด vgvg
Cy / curly wing โค้ง CyCy
Cy+Cy สัญลักษณ์ / phenotype สีตา สีตวั ปี ก genotype
w / white eye ขาว X w Xw + / wild type แดง เทา ยาว X+X+ e+e+ vg+vg+
double mutant
23/11/66

สัญลักษณ์ ทางพันธุศาสตร์และลักษณะของแมลง
สัญลักษณ์ / phenotype สีตา สีตวั ปี ก genotype
+ / wild type แดง เทา ยาว X+X+ e+e+ vg+vg+
e / ebony body ดํา ee
vg / vestigial wing กุด vgvg
Cy / curly wing โค้ง CyCy
Cy+Cy สัญลักษณ์ / phenotype สีตา สีตวั ปี ก genotype
w / white eye ขาว X w Xw e / ebony body ดํา ee
double mutant

สัญลักษณ์ ทางพันธุศาสตร์และลักษณะของแมลง
สัญลักษณ์ / phenotype สีตา สีตวั ปี ก genotype
+ / wild type แดง เทา ยาว X+X+ e+e+ vg+vg+
e / ebony body แดง ดํา ยาว X+X+ ee vg+vg+
vg / vestigial wing กุด vgvg
Cy / curly wing โค้ง CyCy
Cy+Cy
สัญลักษณ์ / phenotype สีตา สีตวั ปี ก genotype
w / white eye ขาว X w Xw
vg / vestigial wing กุด vgvg
double mutant
23/11/66

สัญลักษณ์ ทางพันธุศาสตร์และลักษณะของแมลง
สัญลักษณ์ / phenotype สีตา สีตวั ปี ก genotype
+ / wild type แดง เทา ยาว X+X+ e+e+ vg+vg+
e / ebony body แดง ดํา ยาว X+X+ ee vg+vg+
vg / vestigial wing แดง เทา กุด X+X+ e+e+ vgvg
Cy / curly wing โค้ง CyCy
Cy+Cy สัญลักษณ์ / phenotype สีตา สีตวั ปี ก genotype
w / white eye ขาว X w Xw Cy / curly wing โค้ง CyCy
double mutant
Cy+Cy

สัญลักษณ์ ทางพันธุศาสตร์และลักษณะของแมลง
สัญลักษณ์ / phenotype สีตา สีตวั ปี ก genotype
+ / wild type แดง เทา ยาว X+X+ e+e+ vg+vg+
e / ebony body แดง ดํา ยาว X+X+ ee vg+vg+
vg / vestigial wing แดง เทา กุด X+X+ e+e+ vgvg
Cy / curly wing แดง เทา โค้ง X+X+ e+e+ CyCy
X+X+ e+e+ Cy+Cy
สัญลักษณ์ / phenotype สีตา สีตวั ปี ก genotype
w / white eye ขาว X w Xw
double mutant w / white eye ขาว XwXw
23/11/66

สัญลักษณ์ ทางพันธุศาสตร์และลักษณะของแมลง การทดลอง


สัญลักษณ์ / phenotype สีตา สีตวั ปี ก genotype
1. ศึกษาไข่แมลงหวี ดู filament, micropyle และ chorion
+ / wild type แดง เทา ยาว X+X+ e+e+ vg+vg+ 2. ศึกษาตัวหนอน ดู mouth hook, anterior spiracle และ
e / ebony body แดง ดํา ยาว X+X+ ee vg+vg+ posterior spiracle
vg / vestigial wing แดง เทา กุด X+X+ e+e+ vgvg 3. ศึกษาดักแด้ตวั ผู้ ดู sex comb
4. ตัวเต็มวัย
Cy / curly wing แดง เทา โค้ง X+X+ e+e+ CyCy
4.1 ฝึ กสลบแมลงด้วย ether และแยกเพศ
X+X+ e+e+ Cy+Cy
4.2 ศึกษาลักษณะ wild type เปรียบเทียบกับ
w / white eye ขาว เทา ยาว XwXw e+e+ vg+vg+ mutant ชนิ ดต่างๆ
double mutant

การบ้าน
1. วาดภาพ filament, micropyle, chorion, mouth hook, anterior spiracle,
posterior spiracle และ sex comb
2. ฝึ กหัดจําแนกพันธุก์ ลายที เตรียมไว้ให้ โดยเขียน phonotype
และ genotypeลงในตาราง

หมายเลข phenotype genotype


สี ตา สี ลําตัว รู ปร่ างปี ก เพศผู้ เพศเมีย
1
2
3
4
5
6
23/11/66

การวิเคราะห์ พนั ธุประวัติ (Pedigree analysis)


23/11/66
23/11/66
23/11/66

การบ้ าน การทดสอบด้ วยไค-สแควร์ (Chi-square test)


ในการทดลองผสมพันธุ์ อัตราส่ วนทาง phenotype ทีได้
จะมีความคลาดเคลือนไปจากค่าทางทฤษฎีมากบ้ างน้ อยบ้ าง ความคลาด
เคลือนทีเกิดขึนจะเป็ นตัวบ่ งชีว่ า ผลการทดลองทีได้ สอดคล้องหรื อแตกต่ าง
จากทฤษฎี
ค่าทางสถิติทีใช้ วัดความคลาดเคลือนของการทดลอง คือ
ค่าไค-สแควร์ (2)
ค่าความคลาดเคลือนทีน้ อยทีสุ ด ทีจะชีว่ าผลการทดลองทีได้
แตกต่ างจากอัตราส่ วนทางทฤษฎีอย่ างมีนัยสํ าคัญทางสถิตินัน จะอยู่ในช่ วง
5% หรื อ probability 0.05 เรียกช่ วงนีว่ าระดับนัยสํ าคัญ 5% (5 percent
level of significant)
23/11/66

สามารถคํานวนได้ จากสู ตร ตารางไค-สแควร์ ทีใช้ในการอ้างอิง


2 = ∑ (O-E)2 ; ใช้ กรณีทีมีค่า df > 1
E
O = ค่าทีได้ จากการทดลอง (observed value)
E = ค่าทีได้ ตามทฤษฏี (expected value)
df = degree of freedom ได้ จากจํานวนลักษณะทีศึกษา – 1 = n-1 เป็ น
ค่าทีใช้ ในการเปิ ดตาราง probability (ตารางอ้างอิง)
n = จํานวนลักษณะ (class) ทีศึกษา
หากเป็ นการศึกษาเพียง 2 ลักษณะต้ องคํานวนจากสู ตร
2 = ∑ ([O-E]-1/2)2 ; ใช้ กรณีทีมีค่า df = 1
E
1/2 คือค่าทีใช้ ปรับให้ ค่าไค-สแควร์ ถูกต้ องยิงขึน การคํานวนจะไม่
คํานึงถึงเครื องหมายของ [O-E]

การสรุปผล ตัวอย่ าง
1. ถ้ า 2cal < 2tab (P 0.05) = ค่ าไค-สแควร์ ทีได้ น้อยกว่ าค่ าจาก ทดลองผสมถัวพ่อแม่ ทมีี จีโนไทป์ Tt กับ Tt พบว่ าลูกทีได้
ตารางอ้ างอิงที Prob. 0.05 : สรุปได้ ว่าผลการทดลองทีได้ แตกต่ างจากค่ าทาง เป็ นต้ นสู ง 30 ต้ น และ ต้ นเตีย 20 ต้ น อยากทราบว่ าผลการทดลอง
ทฤษฏีอย่ างไม่ มีนัยสํ าคัญทางสถิติ (หรื ออีกนัยหนึงคือ ไม่ แตกต่ างจาก เป็ นไปตามทฤษฎีหรื อไม่
ทฤษฎี) ขันที 1 หาอัตราส่ วนทางทฤษฎี
2. ถ้ า 2tab (P 0.05) < 2cal < 2tab (P 0.01) = ค่ าไค-สแควร์ ทีได้
พ่อ-แม่ Tt X Tt
มากกว่ าค่ าจากตารางอ้ างอิงที Prob. 0.05 แต่ น้อยกว่ าค่ าที Prob. 0.01 : สรุป T t T t
เซลล์ สืบพันธุ์
ได้ ว่าผลการทดลองทีได้แตกต่ างจากค่ าทางทฤษฏีอย่ างมีนัยสํ าคัญทางสถิติ
อัตราส่ วน genotype ลูก 1 TT : 2 Tt : 1 tt
3. ถ้ า 2cal > 2tab (P 0.01) = ค่ าไค-สแควร์ ทีได้ มากกว่ าค่ าจาก อัตราส่ วน phenotype ลูก 3 ต้ นสู ง : 1 ต้ นเตีย
ตารางอ้ างอิงที Prob. 0.01 : สรุปได้ ว่าผลการทดลองทีได้ แตกต่ างจากค่ า
ทฤษฎีอย่ างมีนัยสํ าคัญยิงทางสถิติ
23/11/66

ขันที 2 คํานวณหาค่ า 2 โดยเข้ าตาราง ใช้ สูตรทีมี 1/2 เพราะ มี ขันที 3 เปรียบเทียบค่ าทีได้ กบั ตารางไค-สแควร์ ที df = 2-1 = 1
ลักษณะให้ ศึกษา 2 ลักษณะ n = 2 , df = n-1 = 2-1 = 1 ได้ ค่าที Prob. 0.05 = 3.841 และ Prob. 0.01 = 6.635
Class O E O-E [O-E]-1/2 ([O-E]-1/2)2 ([O-E]-1/2)2
E
3 ต้นสู ง 30 37.5 -7.5 -7.0 49 49/37.5 = 1.31
1 ต้นเตีย 20 12.5 +7.5 +7.0 49 49/12.5 = 3.92
4 รวม 50 50 0 0 2= 5.23
การหาค่ า E : ผลรวมของ E ต้ องเท่ ากับ O คือ 50
อัตราส่ วนต้ นสู ง : ต้ นเตีย = 3 : 1 ซึง 3+1 = 4
ต้ องทําให้ 4 เป็ น 50 จึงได้ ค่า E ของต้ นสู ง = 3x50/4 = 37.5
และ ได้ ค่า E ของต้ นเตีย = 1x50/4 = 12.5

การสรุปผล ขันที4 สรุปความหมายของค่ าทีได้


1. ถ้ า 2cal < 2tab (P 0.05) = ค่ าไค-สแควร์ ทีได้ น้อยกว่ าค่ าจาก (2tab (P 0.05) < 2cal < 2tab (P 0.01) )
ตารางอ้ างอิงที Prob. 0.05 : สรุปได้ ว่าผลการทดลองทีได้ แตกต่ างจากค่ าทาง
ทฤษฏีอย่ างไม่ มีนัยสํ าคัญทางสถิติ (หรื ออีกนัยหนึงคือ ไม่ แตกต่ างจาก ค่ าไค-สแควร์ ทคํี านวนได้ = 5.23 มีค่ามากกว่ าค่ า
ทฤษฎี)
ไค-สแควร์ จากตารางที Probability 0.05 แต่ น้อยกว่ าค่ าที
2. ถ้ า 2tab (P 0.05) < 2cal < 2tab (P 0.01) = ค่ าไค-สแควร์ ทีได้ Probability 0.01 ที degree of freedom = 1 ซึงเท่ ากับ 3.841 และ
มากกว่ าค่ าจากตารางอ้ างอิงที Prob. 0.05 แต่ น้อยกว่ าค่ าที Prob. 0.01 : สรุป 6.635 ตามลําดับ ดังนันผลการทดลองทีได้ แตกต่ างจากค่ าทาง
ได้ ว่าผลการทดลองทีได้แตกต่ างจากค่ าทางทฤษฏีอย่ างมีนัยสํ าคัญทางสถิติ
ทฤษฏีอย่ างมีนัยสํ าคัญทางสถิติ คือ อัตราส่ วนลูกต้ นสู ง : ต้ นเตีย
3. ถ้ า 2cal > 2tab (P 0.01) = ค่ าไค-สแควร์ ทีได้ มากกว่ าค่ าจาก ไม่ เท่ ากับ 3: 1
ตารางอ้ างอิงที Prob. 0.01 : สรุปได้ ว่าผลการทดลองทีได้ แตกต่ างจากค่ า
ทฤษฎีอย่ างมีนัยสํ าคัญยิงทางสถิติ
23/11/66

ตัวอย่ าง ขันที 1 หาอัตราส่ วนทางทฤษฎี


e+e vg+vg x eevgvg
ผสมแมลงหวีตัวสีเทาปี กยาว (e+e vg+vg) กับตัวสีดําปี กกุด (ee vgvg) ได้ลูกดังนี
ตัวสีเทาปี กยาว 150 ตัว e+vg+ e+vg evg+ evg evg
ตัวสีเทาปี กกุด 100 ตัว
ตัวสีดําปี กยาว 140 ตัว 1 e+e vg+vg ตัวสี เทาปี กยาว
ตัวสีดําปี กกุด 110 ตัว 1 e+e vgvg ตัวสี เทาปี กกุด
อัตราส่วนลูกทีได้แตกต่างจากค่าทางทฤษฎีหรือไม่ 1 ee vg+vg ตัวสี ดําปี กยาว
1 ee vgvg ตัวสี ดําปี กกุด
คํานวณหาค่า 2 โดยเข้าตาราง ใช้สูตรทีไม่มี 1/2 เพราะ มีลกั ษณะให้
ศึกษา 4 ลักษณะ n = 4 , df = n-1 = 4-1 = 3 ค่าทางทฤษฎี คือ อัตราส่ วนลูก
= เทาปี กยาว: เทาปี กกุด: ดําปี กยาว: ดําปี กกุด = 1 : 1 : 1 : 1

ขันที 2 คํานวนหาค่า 2 โดยเข้าตาราง ขันที 3 เปรียบเทียบค่าทีได้กบั ตารางไค-สแควร์ ที df = 4 -1 = 3


ลักษณะ O E O-E (O – E)2 (O – E)2 ได้ค่าที Prob. 0.05 = 7.815 และ Prob. 0.01 = 11.341
E
1 เทาปี กยาว 150 125 25 625 5.0
1 เทา ปี กกุด 100 125 -25 625 5.0
1 ดํา ปี กยาว 140 125 15 225 1.8
1 ดํา ปี กกุด 110 125 -15 225 1.8
4 รวม 500 500 0 2 = 13.6 ค่าไค-สแควร์ทีคํานวณได้เท่ากับ 13.6 มีค่ามากกว่าค่าไค-สแควร์ของตารางที
probability 0.01 ที degree of freedom เท่ากับ 3 ซึงมีค่าเท่ากับ 11.341 ดังนันผล
การหาค่า E : ผลรวมของ E ต้องเท่ากับ O คือ 500 การทดลองทีได้แตกต่างจากอัตราส่วนทางทฤษฏีอย่างมีนยั สําคัญยิงทางสถิติ คือ
อัตราส่วนทาง phenotype = 1:1:1:1 ซึง 1+1+1+1 = 4 อัตราส่วน ลูกเทาปี กยาว : เทาปี กกุด : ดําปี กยาว : ดําปี กกุด ไม่เท่ากับ 1 : 1 : 1 : 1
ต้องทําให้ 4 เป็ น 500 จึงได้ค่า E ของตัวเทาปี กยาว = 1x500/4 = 125
และในทํานองเดียวกันจะได้ค่า E ของ phenotype ทีเหลือ เท่ากับอย่างละ 125
23/11/66

คําน
การบ้าน &
ลักษ
· E

0- E CO- E)" ( =

- กระป๋ องที 1 บรรจุ ลูกปัดสีดําและสีขาว สีละ 20 เม็ด


- กระป๋ องที 2 บรรจุ ลูกปัดสีแดงและสีชมพู สีละ 20 เม็ด 9 ดําแดง ง1 22.5 -12.5 15 6.25 0.94
กําหนดให้ สีดํา = ยีน A , สีขาว = ยีน a, สีแดง = ยีน B , สีชมพู = ยีน b
สุ่มหยิบลูกปัดขึนมากระป๋ องละ 1 เม็ด (เมือหยิบเสร็จคืนลูกปัดลงในกระป๋ องเดิม) 3 ดํา -ชม 8 7.5 0.5 0.25 0.83
ทังหมด 40 ครัง ได้ผล ดังนี
7.5 7.5 56.25 7
ดํา – แดง 10 ครัง 3 ขาว- แดง 1

ดํา - ชมพู 8 ครัง -


-ร
2.5 20.25
ขาว – แดง 15 ครัง 1 ขาว -ชมพ > 4.5 8.
ขาว – ชมพู 7 ครัง A- 1

จงคํานวนค่าไค-สแควร์ ว่าอัตราส่วนทีได้แตกต่างจากค่าทางทฤษฎีหรือไม่ | แม 40 4 · <: 21.57

As A ล x BbBb
| | | ( 1 ) ·"ได้ผ ลแตกต่
At As An BB Bb By b
aa
จาก
ทฤษฎ
At to to ad ดํ าแดง: คําชมนู :

: ขาวแดง : ข่ าว

B B AABB AaBB AaBB 9: 3: 3: :


sa BB
Bb AABb AaBb AaBbaaBB
Bb AABb
AaBb AaBbadBb

bb AAbb Aabb Aabb adbb

You might also like