You are on page 1of 43

Speciesทางชีววิทยา

และ
การเกิดSpeciesใหม่
นกหัวขวานเขียวป่ าไผ่ นกหัวขวานเขียวคอเขียว

www.rmutphysics.com/charud/oldnews/93/index93.htm www.gibbonproject.org/.../Birds/birds.htm
ความหมายของ species ทางชีววิทยา
กลุม่ ของประชากรที่มี gene pool
ร่วมกัน โดยที่สมาชิกของประชากรนัน้
สามารถถ่ายทอดยีน หรือทาให้เกิด gene
flow ระหว่างกันและกันได้และผสมพันธุ์
กันแล้วได้ลกู ที่ไม่เป็ นหมัน
กลไกการแบ่ งแยกทางการสื บพันธ์ ุ
•Reproductive Isolating Machanism (RIM)
เป็ นปั จจัยสาคัญในการแบ่งแยกspecies จน
• RIM

ทาให้เกิด speciesใหม่ในที่สดุ
กลไกการแบ่ งแยกก่อนระยะ Zygote
( Prezygotic Isolating mechanisms )
เป็ นกลไกที่ป้องกันไม่ให้เซลล์สืบพันธุ์จากสิ่ งมีชีวิตต่างสปี ชีส์กนั ได้มาผสมพันธุ์กนั
กลไกเหล่านี้ได้แก่กลไกนี้ประกอบด้วย
1. ถิน่ ทีอ่ ยู่อาศัยต่ างกัน
สิ่ งมีชีวิตต่างสปี ชีส์กนั ที่อาศัยในถิ่นที่อยูต่ ่างกัน เช่น กบป่ า อาศัยอยูใ่ นแอ่งน้ าซึ่งเป็ นแหล่งน้ าจืดขนาดเล็ก
ส่วนกบบูลฟรอกอาศัยอยูใ่ นหนองน้ าหรื อบึงขนาดใหญ่ที่มีน้ าตลอดปี กบทั้งสองสปี ชีส์น้ ีมีลกั ษณะรู ปร่ างใกล้เคียงกันมาก
แต่อาศัยและผสมพันธุ์ในแหล่งน้ าที่แตกต่างกันทาให้ไม่มีโอกาสได้จบั คู่ผสมพันธุ์กนั
Bufo fowleri Bufo americannus

www.jamesriverpark.org/wildlife
_herps.htm
2. พฤติกรรมการผสมพันธุ์

นกกาน้ า รังนกกระจาบ
เช่น พฤติกรรมในการเกี้ยวพาราสี ของนกยุงเพศผู ้ ลักษณะการสร้างรังที่แตกต่างกันของนก
และการใช้ฟีโรโมนของแมลง เป็ นต้น พฤติกรรมต่างๆ นี้ จะมีผลต่อสัตว์เพศตรงข้ามในสปี ชีส์
เดียวกันเท่านั้นที่จะจับคู่ผสมพันธุ์กนั

พฤติกรรมการเกี้ยวพาราสี ที่แตกต่างกัน
3. ช่วงเวลาในการผสมพันธุ์
Salvia mellifera

Salvia mellifera
4. โครงสร้างของอวัยวะสื บพันธุ์
5.สรี วทิ ยาของเซลล์สืบพันธุ์
กลไกการแบ่ งแยกระยะหลังZygote
• ในกรณีท่เี ซลล์สืบพันธุข์ องสิ่งมีชีวิตต่างสปี ชีสส์ ามารถเข้าไปผสม
พันธุก์ นั ได้ไซโกตที่เป็ นลูกผสมเกิดขึน้ แล้ว
•กลไกนีจ้ ะป้องกันไม่ให้ลกู ผสมสามารถเจริญเติบโตเป็ นตัวเต็มวัย
หรือสืบพันธุต์ อ่ ไปได้ กลไกเหล่านีไ้ ด้แก่
( Postzygotic Isolating mechanisms )
1. ลูกผสมตายก่อนถึงวัยเจริญพันธุ์
http://cache.eb.com/eb/image?id=64247&rendTypeId=4
2. ลูกผสมเป็ นหมัน Tiglon

http://animals.timduru.org/dirlist/lions/Tiglon.jpg
Liger
mule

kelsomules.net/_wsn/page2.html
hinny

http://www.hsmo.org/m_eventsprograms/images/BazonkaDonkforweb.jpg
Zorse

ม้าลายเพศผู ้ +ม้าเพศเมีย
Zony
3. ลูกผสมล้มเหลว
(hybrid breakdown)
-ลูกผสม F1มีความอ่อนแอ ให้กาเนิดลูกผสมรุ่ น F2 แต่มกั ตายใน
ระยะแรกของการเจริ ญหรื อเป็ นหมัน
- เช่น การผสมระหว่างดอกทานตะวัน(Layia spp.) 2 สปี ชีส์พบว่า
ลูกผสมที่เกิดขึ้นสามารถเจริ ญเติบโต
และให้ลูกผสมในรุ่ น F1 ได้ แต่ในรุ่ น F2 เริ่ มอ่อนแอและเป็ นหมัน
ประมาณร้อยละ 80 และจะปรากฎเช่นนี้ในรุ่ นต่อๆไป
การเกิดspeciesใหม่
•เกิดขึน้ ได้เมื่อมีการสะสมความแตกต่างทาง
พันธุกรรมไว้มากเพียงพอ จนไม่สามารถ
ผสมพันธุก์ บั ประชากรดัง้ เดิมได้ และมีกลไก
การแบ่งแยกทางการสืบพันธุม์ าช่วยให้เกิดเป็ น
speciesใหม่เร็วขึน ้ มี 2 รูปแบบ คือ
1. วิวฒั นาการสายตรง ( Phyletic evolution )
หรื อ Anagenesis
•เป็ นการเปลี่ยนแปลงจากสปี ชีสห์ นึ่งไปเป็ นอีกสปี
ชีสห์ นึง่ แบบค่อยเป็ นค่อยไปตามกาลเวลา
•ABC
2. การแยกแขนงของ species ( Speciation หรือ
Cladogenesis )
วิวฒ
ั นาการแบบนีก้ ่อให้เกิด ความหลากหลาย
ทาง species
speciation เกิดได้ 2 แนวทางดังนี ้
2.1. การแตกแขนง species ตามสภาพภูมิศาสตร์
( Allopatric speciation )
เกิดเนื่องจากประชากรได้แยกกันอยูต่ ามสภาพ
ภูมิศาสตร์จนขาดการติดต่อกันเป็ นเวลานาน
เนื่องจากมีสิ่งกีดขวางทางภูมิศาสตร์
ผล ทาให้เกิด sub species species ใหม่
กาเนิดสปีชีส์
การเกิดสปีชีส์ใหม่จากการแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์

การเกิดสปีชีส์ใหม่โดยมีสิ่งกีดขวาง เช่น ภูเขา แม่น้า ทาให้ประชากรดั้งเดิมถูกแบ่งแยกออกเป็นกลุ่มย่อย และไม่มีการถ่ ายเทเคลื่อนย้ายยีน


ระหว่างกัน ซึ่งแต่ละกลุ่มย่อยจะพัฒนาเปลี่ยนแปลงความแตกต่างทางพันธุกรรมต่อไปในรูปแบบการคัดเลือกโดยธรรมชาติจนเกิดเป็ นสปีชีส์
ใหม่
ความแตกต่างทางภูมิศาสตร์

ความแปรผันโครงสร้างทางพันธุกรรมของปชก.

gene pool ต่างกันไม่มีgene flowระหว่างปชก.

Species ต่างกัน
การแบ่งแยกทางภูมิศาสตร์
การเกิดสปี ชีส์ใหม่ของกุง้ ในมหาสมุทรแปซิฟิกและทะเลคาริ เบียน จากกุง้ สปี ชีส์เดียวกันแต่ถูกแยกกันด้วยสภาพทางภูมิศาสตร์
ที่มา : http://www.pbs.org/wgbh/evolution
การเกิด sp. ใหม่ของนกฟิ นส์
กระรอกบริ เวณ gland canyon
2.2 การแยกแขนง speciesในเขตภูมศิ าสตร์ เดียวกัน
( Sympatric speciation )
เป็ นการเกิด species ใหม่ ของสิ่ งมีชีวติ ที่อยู่ในเขต
ภูมศิ าสตร์ เดียวกันแต่ มกี ลไกการแบ่ งแยกทางการ
สื บพันธุ์เกิดขึน้ จนได้ species ใหม่
เห็นได้ ชัดเจนในพืช
กาเนิดสปีชีส์
การเกิดสปีชีส์ใหม่ในเขตภูมิศาสตร์เดียวกัน
การเกิดสปีชีส์ใหม่จากการแบ่งแยกประชากรดั้งเดิมออกเป็นกลุ่มย่อยในเชิงการสืบพันธุ์ เชิงพฤติกรรม หรือเชิงนิเวศวิทยา โด ยประชากรกลุ่ม
ย่อยอาจจะยังคงมีขอบเขตอยู่ร่วมกันกับประชากรกลุ่มใหญ่ได้ แต่มีกลไกป้องกันการสืบพันธุ์ต่าง ๆ ทาให้ประชากรดังเดิมแล ะประชากรกลุ่ม
ย่อยไม่สามารถผสมพันธุ์กันได้
Polyploidy
•การเพิ่มจานวนชุดของโครโมโซม
•เกิดขึน้ ได้เนื่องจากความผิดปกติของการแบ่ง
ไมโอซิส ทาให้เซลล์สืบพันธุท์ ่ีผิดปกติมีจานวน
โครโมโซมเป็ น 2n แทนที่จะเป็ น n เดียว
•เกิดขึน้ ได้สม่าเสมอ ในอัตราที่ต่าในสภาวะปกติของ
ธรรมชาติ แต่สามารถชักนาให้เกิดขึน้ ได้โดยใช้
สารเคมี
ปรากฏการณ์ polyploidy เกิดขึ้นได้ 2 แบบ
1.Autopolyploidy เกิดใน species เดียวกัน
2.Allopolyploidy เกิดจากต่าง species
ปรากฏการณ์ polyploidy ส่ วนใหญ่พบในพืช
และถือเป็ นกลไกสาคัญในการวิวฒั นาการของ
พืชดอก
1/2 ของพืชดอก เป็ นการเพิ่มแบบ allopolyploidy
พบใน species ที่ใกล้เคียงกัน
การทดลองของ Karpechengo

You might also like