You are on page 1of 77

นิเวศวิทยา ( Ecology )

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb
Gaia theory ทฤษฎีไกอา
● “สิ# งมีชีวติ หรื อโลก (Biosphere) ที#มีกระบวนการทางชีววิทยา ฟิ สิ กส์และเคมี มีความเกี#ยวข้อง
กัน และเกิดเป็ นกระบวนการวิวฒั นาการที#ควบคุมด้วยตนเอง (self regulating
evolutionary process) และเป็ นตัวจัดการระบบต่างๆบนโลกในลักษณะสมดุลกันและกัน
(Homeostasis)”
● สิ# งมีชีวติ และสิ# งไม่มีชีวติ จึงมีความสําคัญและควบคุมซึ# งกันและกัน
● นิเวศวิทยา การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ# งมีชีวติ ด้วยกันเองและความสัมพันธ์ของสิ# งมีชีวติ กับ
สิ# งแวดล้อม

สิ# งมีชีวติ และสิ# งไม่ มชี ีวติ จะมีความสั มพันธ์ ซึ#งกันและกัน

Dr. James Lovelock


ระดับของการศึกษาทางนิเวศวิทยา

● Autecology การศึกษานิเวศวิทยาระดับชนิด species หรื อระดับ


ประชากร (Population) เช่น ศึกษาวัฎจักรชีวติ ศึกษาทางด้านพฤติกรรม

● Synecology การศึกษานิเวศวิทยาระดับกลุ่มสิC งมีชีวติ (community) จึง


อาจเรี ยกว่า นิเวศวิทยาสังคม (community ecology) เช่นศึกษาระบบนิเวศ
ในป่ าชายเลน
การศึกษาทางนิเวศวิทยา
- Microbial Ecology : จุลินทรี ย์
- Insect Ecology : แมลง
- Chemical Ecology : สารเคมี
- Marine Ecology : ทะเล
- Human Ecology : มนุษย์
- Plant Ecology : พืช
- Ecotoxicology : สารเคมี (พิษ)
- Etc.
Biomes : ชีวนิเวศ

ศึกษาสิ( งมีชีวติ และ


สิ( งไม่มีชีวติ และ
ความสัมพันธ์ต่างๆ
ชีวนิเวศ
(Biome)
กลุ่มของสั งคมในระบบนิเวศ ทีอ7 าศัยอยู่รวมกันในบริเวณทีม7 คี วามจําเพาะของ
ภูมอิ ากาศ ในแต่ ละภูมภิ าค และทําให้ สิ7งมีชีวติ เหล่ านัEนเจริญเติบโตและ
ดํารงชีวติ อยู่ได้ ในพืนE ทีน7 Eัน ๆ
ชีวนิเวศบนบก
(Terrestrial Biome)
Tropical rain forest Savana

Tundra
Temperate grassland
ระบบนิเวศบนบกในประเทศไทย
● ป่ าไม่ ผลัดใบ
◦ ป่ าดิบชื:น (tropical rain forest) พบในบริ เวณฝนตกชุก
มีความชื:นสู ง อุณหภูมิไม่เปลีHยนแปลงมาก เช่น ป่ าดิบชื:น อุทยาน
แห่งชาติบางลาง จังหวัดยะลา
◦ ป่ าดิบเขา (hill evergreen forest หรื อ montane
forest) พบในพื:นทีHเหนือระดับนํ:าทะเล 1000 เมตรขึ:นไป
เช่น อุทยานแห่งชาติดอยอินทนนท์ จังหวัดเชียงใหม่
◦ ป่ าพรุ (peat swamp forest) พบตามทีHลุ่ม มีน: าํ ขัง
ตลอดปี เช่น ป่ าพรุ โต๊ะแดง จังหวัดนราธิวาส
ระบบนิเวศบนบกในประเทศไทย
● ป่ าผลัดใบ
◦ ป่ าเต็งรัง (Dry dipterocarp forest) มักพบในพื:นทีH
แห้งแล้ง เช่นภาคตะวันออกเฉี ยงเหนือ เช่น ป่ าเต็งรัง เขตรักษา
พันธุ์สตั ว์ป่าห้วยขาแข้ง จ. อุทยั ธานี
◦ ป่ าเบญจพรรณ (mixed deciduous forest) พบทุก
ภาคยกเว้นภาคใต้ เช่น ป่ าบริ เวณนํ:าตกเอราวัณ จ. กาญจนบุรี ไม้
สําคัญเช่น ไม้สกั มะค่า แดง ประดู่ ชิงชัน
microhabitat
ชีวนิเวศในนํา,
(Aquatic Biome)
Freshwater biome

Marine biome
Aquatic biomes
● แบ่งเป็นชีวนิเวศน้ำจืดและชีวนิเวศน้ำเค็ม
ชีวนิเวศน้ำจืด
Ø Salinity: น้อยกว่าร้อยละ 1
Ø Temperature: มีการเปลี่ยนแปลงมากกว่าทะเล
Ø มีโอกาสเสียสมดุลง่ายกว่าทะเล
ชีวนิเวศนํ:าเค็ม
ØSalinity: เฉลีHยประมาณร้อยละ 3.5 ซึHงความเค็มของนํ:าจะแปรเปลีHยนไป
ตามฤดูกาล อัตราการระเหยของนํ:า
Øครอบคลุมพื:นทีHกว่า 71%ของผิวโลก
Eutrophication

16
ชีวภาค/ นิเวศมณฑล/ โลกนิเวศ
(Biosphere / ecosphere)
ระบบนิเวศต่ าง ๆ ทัEงหมดทีอ7 ยู่ในโลก รวมถึงสิ7 งมีชีวติ ทัEงหมดทีอ7 ยู่ทEงั บนบก
ในนําE และ ในอากาศ ถือเป็ นระบบนิเวศทีม7 ขี นาดใหญ่ ทสี7 ุ ด
นิเวศวิทยา ( Ecology )

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb
นิเวศวิทยา ( Ecology )2

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb
ระบบนิเวศ
● ระบบทีHประกอบด้วยกลุ่มสิH งมีชีวต
ิ และไม่มีชีวติ ในบริ เวณใดบริ เวณ
หนึHงซึHงมีความสัมพันธ์กนั มีการถ่ายทอดพลังงาน และการหมุนเวียน
สารในระบบ
ิ แต่ละชนิดจะอาศัยอยูใ่ นแหล่งทีHอยู่
● ในระบบนิ เวศ สิH งมีชีวต
(habitat) ทีHมีสภาพแวดล้อมเหมาะสมต่อการดํารงชีวติ
องค์ประกอบของระบบนิเวศ
1. กลุ่มสิ่งไม่มีชีวิต (Abiotic components) เช่น หิน ทราย แร่ธาตุ
แสงแดด น้ำ ลม ดิน อากาศ อุณหภูมิ ความเป็นกรดเบส ความชื้น
เป็นต้น

2. กลุ่มสิ่งมีชีวิต (Biotic components) เช่น สัตว์ มนุษย์ แบคทีเรีย


ต้นไม้ เป็นต้น

โดยสิ่งมีชีวิตและสิ่งไม่มีชีวิตจะมีความสำคัญ ในการควบคุมซึ่งกัน
และกัน ตามทฤษฎีไกอา ซึ่งกล่าวไว้ว่า นิเวศวิทยาหมายถึง
การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างสิ่งมีชีวิตด้วยกันเองและ
ความสัมพันธ์ของสิ่งมีชีวิตกับสิ่งแวดล้อม

21
1. องค์ ประกอบทีม, ชี ีวติ (biotic components)

Producers (Autotrophs)
สิ# งมีชีวติ ทีส# ร้ างอาหารได้ เอง (Autotrophic organism)

Photoautotroph Chemoautotroph

แพลงค์ ตอนพืช (phytoplankton)


แบคทีเรียบางชนิด
Nitrosomonas sp.
สาหร่ าย (algae)

พืช (plant)

22
Consumers (Heterotrophs)
● Primary consumers (herbivores)
● Secondary consumers (carnivores, omnivore)
● Top consumer
ผู้บริโภคซากสิ7 งมีชีวติ 24
(detritivore)
สิ# งมีชีวติ ทีบ# ริโภคของเสี ยจากสั ตว์ หรื อ ซากสั ตว์ (detritus)

สั ตว์ ทกี# นิ ซากสิ# งมีชีวติ เรียกว่ า Scavenger


ผู้ย่อยสลาย
(Decomposer)
พลังงานในระบบนิเวศ

ใบไม้ (ระบบทีจ: ะเปลีย: นรู ปพลังงาน)

(a) แสงอาทิตย์ 100 หน่ วยพลังงาน


(c) นํา@ ตาล 2 หน่ วยพลังงาน
(ในรู ปของพลังงานทีเ: ข้ มข้ น)

(b) ความร้ อน 98 หน่ วยพลังงาน


(ในรู ปพลังงานทีก5 ระจัดกระจาย)
การถ่ ายทอดพลังงานระหว่ างสิ4 งมีชีวติ

มี 2 ลักษณะ
1. แบบ Food chains

2. แบบ Food webs


การถ่ ายทอดพลังงานโดยผ่ านไปตาม Food chains และ Food webs

การถ่ายทอดพลังงานไปตามลําดับขั6นของสายโซ่อาหาร พลังงานจะผ่านไป
ตามผูบ้ ริ โภค แต่ละขั6นของายโซ่อาหาร เรี ยกว่า ลําดับขั6นการกิน (Trophic
level)

สายโซ่อาหารมีความซับซ้อนมาก = มีความหลากหลายมาก
ยิงC สายโซ่อาหารยิงC สัHนก็จะทําให้มีการผลิตมวลชีวภาพ (biomass) ได้มาก
ยิงC ขึHน เนืCองจากว่าไม่ตอ้ งมีการสู ญเสี ยพลังงานในรู ปความร้อนระหว่างการกิน
อาหารตามขัHนต่างๆ
ปิ รามิดทางนิเวศวิทยา (Ecological pyramid)
!. ปิ รามิดจํานวน (Pyramid of number)

I. ปิ รามิดมวลชีวมวล (Pyramid of biomass)


!. ปิ รามิดพลังงาน (Pyramid of energy)
การเพิม' ขยายทางชีวภาพ (Biological magnification)
2. การหมุนเวียนของธาตุอาหาร (Nutrient cycle)
หน้ าทีข7 องระบบนิเวศ
● Water cycle
● Nutrient cycle
● Carbon cycle
● Nitrogen cycle
● Phosphorus cycle
นิเวศวิทยา ( Ecology )

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb
นิเวศวิทยา ( Ecology ) 3

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb
ปั จจัยจํากัด (Limiting factors)
● Law of limiting factors
Justus von Liebig (German, 1840)
“ Liebig’s law of the minimum: สิC งมีชีวติ ทุกชนิดต้องการแร่
ธาตุและสภาวะแวดล้อมทีCจาํ เป็ นต่อการดํารงชีวติ ในอัตราส่ วนทีCไม่เท่ากันแต่ค่าความ
ต้องการนีHใกล้เคียงกับค่าตํCาสุ ดทีCแต่ละสปี ซิส์จะสามารถดํารงชีวติ อยูไ่ ด้ ซึCงถ้าตํCากว่านีHกจ็ ะ
ทําให้สิCงมีชีวติ นัHนตายไป”
V.E.Shelford (1910-1913)
“Shelford’s law of tolerance: ปัจจัยจํากัดถ้ามีมากเกินไป จะ
เป็ นสาเหตุให้สิCงชีวติ ตายเช่นกัน”
ความสามารถในการรองรับได้
Law of Limiting
Factors Carrying Capacity

35
Abiotic Factors
● ความชื6น
● แร่ ธาตุ
● ช่วงแสง
● อุณหภูมิ
● ออกซิ เจน
● คาร์ บอนไดออกไซด์
● คาร์ บอนมอนอกไซด์
นิเวศวิทยาสั งคม (Synecology)
Dominant species

● เป็ น species ทีHพบมากทีHสุด


● มีจาํ นวนมากทีHสุด
● ครอบครองพื:นทีHในสังคมมากทีHสุด
● เป็ นผูค้ วบคุมการใช้ และการถ่ายทอดพลังงานในสังคม
● เป็ น สปี ซีส์ทีHมีอิทธิพลต่อความเป็ นอยูข่ องสิH งมีชีวติ อืHนมากทีHสุด
2. ความหลากชนิดของสปี ชีส์ (Species diversity)
หมายถึง ความแตกต่างของรูปร่างชีวิต (Life forms) บทบาท หน้าที่ที่แตกต่าง
ของสิ่งมีชีวิต และความหลากหลายทางพันธุกรรมที่มีอยู่แบ่งได้เป็น 3 ระดับ คือ

2.1 ความหลากหลายทางพันธุกรรม (Genetic diversity) ได้แก่ ความแตกต่างของ


ยีนส์ (Genetypic heterozygosity) และการมีรูปร่างหลายแบบ (Polymorphism)

2.2 ความหลากหลายของชนิด (Species diversity) ซึ่งรวมถึงจำนวนชนิด (Richness) และ


ความเท่าเทียมหรือความสม่ำเสมอ (Eveness) ของแต่ละชนิด

2.3 ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา (Ecological diversity) เป็นความหลากหลาย ที่เกิดจาก


การจัดตัวของโครงสร้างในระบบนิเวศ เช่น ความหลากหลายของที่อยู่อาศัย (Habitat
diversity) การจัดแบ่งขอบเขต (Zonation) และการจัดชั้นตามแนวดิ่ง (Vertical stratification)
เป็นต้น
Shannon index (applied from Wiener & Weaver)

H’ = - ∑ pi log pi

Pi = ni /N
ni = จํานวนสิH งมีชีวติ ในแต่ละกลุ่มของสิH งมีชีวติ
N = จํานวนสิH งมีชีวติ ทั:งหมดในพื:นทีHน: นั ๆ
ตัวอย่ างการคํานวณ
กลุ่มสิC งมีชีวติ แหล่งนํHาทีCศึกษา
1 2 3 4

1 10 29 91 20
2 11 19 1 20
3 12 14 1
H’ = - ∑ pi log pi

H’1 = - (10/33 log 10/33 + 11/33 log 11/33 + 12/33 log 12/33)
H’1 = - (0.3 log 0.3 + 0.33 log 0.33 + 0.36 log 0.36)
H’1 = 0.475

H’2 = 0.459 H’3 = 0.4082 H’4 = 0.302

สรุป แหล่ งนํา@ 1 มีสภาพแวดล้ อมดีทสี5 ุ ดเนื5องจากมีค่าความหลากหลายสู งทีส5 ุ ด


3 .โครงสร้ างของสั งคม (community structure)

Odum (1971) ได้ทาํ การสรุ ปโครงสร้างของสังคมไว้ดงั นีH


•Stratification Patterns โครงสร้างของสังคมทีCเกิดการแพร่ กระจายของ
สิC งมีชีวติ ตามแนวตัHง ตัวอย่างเช่น สังคมในป่ า ซึCงมีตน้ ไม้ขนาดต่างๆนับตัHงแต่ผวิ ดินขึHนไป
การกระจายของสิC งมีชีวติ ลักษณะนีH จะมีผลดีต่อการอยูร่ ่ วมกันของสังคม ในการลดการ
แก่งแย่งทีCอยูอ่ าศัย
3 .โครงสร้างของสังคม (community structure)

Zonation Patterns โครงสร้างของสังคมทีCเกิดการแพร่ กระจาย ของสิC งมีชีวติ ใน


แนวนอน หรื อแนวระดับ ลักษณะเช่นนีHมกั เกิดขึHนเนืCองจากสภาวะความแตกต่างระหว่างภูมิอากาศ
หรื อสภาพพืHนดินและความชืHนเป็ นหลัก เช่น การเจริ ญของต้นพืชในบึง หนองนํHา ตัHงแต่ริมนํHา
จนถึงกลางนํHา
3 .โครงสร้างของสังคม (community structure)

ลักษณะเขตแดนระหว่างสังคมตัHงแต่ 2 สังคมขึHนไป ทีCมีลกั ษณะทีCแตกต่างกัน เรี ยกว่า


Ecotone ซึCงสิC งมีชีวติ ในเขตต่อระหว่างสังคมนีHจะคล้ายกับสังคมทีCขนาบข้างและในเขตนีHจะมี
จํานวนประชากรหนาแน่นมากกว่าสังคมใกล้เคียง

ชนิดของสิC งมีชีวติ หรื อสปี ชีส์ทีCพบมากทีCสุดตลอดจนดํารงชีวติ อยูม่ ากทีCสุดในเขต ecotone นีH


เรี ยกว่า edge species
4. การเปลีDยนแปลงในสังคมหรื อการทดแทนในสังคม
● การทดแทนทางนิเวศวิทยา (ecological succession) คือการ
ทดแทนของ species ของสิC งมีชีวติ อย่างเป็ นขัHนตอนและค่อยๆเปลีCยนเป็ นระยะๆ
จนในทีCสุดได้เป็ นสังคมทีCต่างจากเดิม
● แบ่งเป็ น
◦ Primary succession เป็ นการทดแทนทีเ, กิดขึน0 ในพืน0 ทีซ, ง,ึ ไม่มสี งิ, มีชวี ติ
อาศัยมาก่อน โดยเฉพาะพวกพืช เช่น เกาะทีเ, กิดขึน0 ใหม่
◦ Secondary succession เป็ นการทดแทนทีเ, กิดขึน0 ในทีซ, ง,ึ เคยมี
สิง, มีชวี ติ อาศัยอยูเ่ ดิม และถูกรบกวนทําลาย อาจโดยฝีมอื สัตว์ คน หรือภัย
ธรรมชาติอน,ื ๆ เช่น ไฟป่ า นํ0าท่วม เป็ นต้น
นิเวศวิทยา ( Ecology )

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb
นิเวศวิทยา ( Ecology ) 4

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb
5. ความสั มพันธ์ ของประชากรต่ างชนิดกัน(Relationship of Inter-specific population)

Commensalism:
One species benefits, the other doesn't but
is not harmed.
● Commensalism (+/ 0)
Protocooperation (+/+)

A hermit crab and


the sea anemone
Mutualism – symbiosis (+ / +)
III. Relationship of interspecific population

● Predation/ Parasitism (+/-)


● Competition (-/ -)
การป้องกันตัวเองของต้นพืช (Herbivory)
- Animal –Plant interaction
1. การป้องกันโดยวีธีกล (Mechanical defense)

2. การป้องกันทางเคมี (Chemical defense) ได้แก่ การสร้างสารกลุ่มสารทุติยภูมิบาง


ชนิด (Secondary metabolite)
นิเวศวิทยา ( Ecology )

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb
นิเวศวิทยา ( Ecology ) 5

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb
Where does behaviour start?

● Gene and Behaviour


● Hormone and Behaviour
● Regarding instinct and learning
Regarding instinct and learning
● Instinct behaviour
means the behaviour is performed
without first been learned by actual
experience in the environment
Regarding instinct and learning

● Imprinting behaviour is a classic example of learned


behaviour. This time-dependent form of learning is
triggered by exposure to sign stimuli.
Regarding instinct and learning

● Learned behaviour (พฤติกรรมการเรี ยนรู ้)


Animal also process information about
experience and use it to change or
vary responses to stimuli.
Intra-specific interaction in communities

I พฤติกรรมการดูแลตัวเอง (Maintenance behavior)


● เป็ นพฤติกรรมแรกที/มีความสําคัญขั8นพื8นฐานของสิ/ งมีชีวติ ทุกชนิด
● แสงจัดว่าเป็ นสิ/ งกระตุน
้ จากภายนอกชนิดหนึ/งที/มีความสําคัญที/ทาํ ให้สตั ว์เริ/ มต้นกระทํากิจกรรม
ต่างๆ เช่น สัตว์ที/หากินเวลากลางวัน จะเริ/ มกิจกรรมเมื/อมีแสงอาทิตย์ ในขณะที/สตั ว์ที/ออกหากิน
เวลากลางคืน จะเริ/ มต้นกิจกรรมประจําวัน เมื/อถึงช่วงเวลาแสงอาทิตย์นอ้ ยลงหรื อเมื/อเข้าสู่ เวลา
กลางคืนแล้ว
● นอกจากพฤติกรรมหากินแล้ว ยังมีพฤติกรรมที/เกี/ยวข้องกับการพักผ่อน หรื อการนอน รวมไปถึง
พฤติกรรมการออกหาอาหาร และกินอาหาร ตลอดจน การดูแลทําความสะอาดตัวเอง และการ
ขับถ่ายเป็ นต้น
2. พฤติกรรมการหากิน (Foraging behaviour)
● สัตว์จะมีการปรับพฤติกรรมเพืCอจะเลือกบริ เวณหากินทีCให้ประโยชน์สูงสุ ดเช่น การทีCปู
หิ นจะเลือกจับหอยแมลงภู่โดยอาจจะเลือกอยูใ่ นบริ เวณทีCสามารถจับตัวทีCมีขนาดเล็กแต่
มีปริ มาณมาก มากกว่าในบริ เวณทีCมีหอยแมลงภู่ทีCมีขนาดใหญ่ แต่ยากทีCจะพบเจอตัว
มากกว่า
● นอกจากนีHแล้วสัตว์ยงั จําเป็ นต้องคํานึงความปลอดภัยจากผูล้ ่า โดยมักจะหากินใน
บริ เวณทีCมีทีCกาํ บัง หรื อถ้าเป็ นทีCโล่งแจ้ง ก็จะใช้เวลาในบริ เวณนัHนสัHนทีCสุด โดยการกิน
อย่างรวดเร็ วหรื อขนอาหารกลับมาทีCรัง เช่น กระรอกหรื อหนูซC ึ งมักขนอาหารกลับมา
กินในรัง
3. การป้องกันรักษาเขตแดน (Territoriality)
● เขตแดนซึCงเป็ นเขตพืHนทีCทีCสตั ว์ป้องกันจากสมาชิกตัวอืCนในชนิดเดียวกัน หรื อต่างชนิด
โดยการป้องกันนีHอาจะปกป้องโดยสัตว์เพียงตัวเดียว เป็ นคู่ หรื อเป็ นกลุ่มของสัตว์กไ็ ด้
● โดยทัHงนีH พืHนทีCเหล่านีHอาจรวมถึงบริ เวณทีCใช้ทาํ แหล่งทีCอยู่ และหากิน เข้าไว้ดว้ ยกันก็ได้
ดังนัHนพฤติกรรมการป้องกันเขตแดนจะมีหลากหลายและมีความซับซ้อน และแตกต่าง
กันไปตามแต่ละชนิดของสัตว์
4. พฤติกรรมการสื บพันธุ์ (Reproductive Behavior)

● ชนิดและระบบสื บพันธุ์ของสัตว์ สามารถจําแนกออกเป็ น


● Monogamy หมายถึงการสื บพันธุ์แบบ ตัวผูห้ นึEงตัวผสมกับตัวเมียเพียงหนึEง
ตัว โดยอาจจะมีการจับคู่ครัJงเดียวตลอดชีวติ หรื อเฉพาะฤดูผสมพันธุ์ ในกรณี แบบ
นีJพอ่ แม่มกั จะช่วยกันเลีJยงดูลูกอ่อน ตัวอย่างเช่น นกกะเรี ยน เป็ นต้น
● Polygamy
◦ Polygyny เพศผูห้ นึEงตัว จะจับคู่ผสมพันธุ์กบั ตัวเมียมากกว่า 1 ตัว โดยเพศ
ผูอ้ าจเกีEยวข้องกับเพศเมียหลายตัวในเวลาเดียวกัน หรื อทีละตัวเป็ นลําดับ ในกรณี
นีJ เพศเมียมักจะเป็ นตัวดูแลลูกอ่อน เช่น ไก่ สัตว์เลีJยงลูกด้วยนมส่ วนมาก เช่น
สิ งโต แมวนํJา สุ นขั เป็ นต้น
◦ Polyandry หมายถึง เพศเมียสามารถจับคู่ผสมพันธุ์กบั ตัวผูม้ ากกว่าหนึEงตัว
โดยอาจผสมกับตัวผูห้ ลายตัวในเวลาเดียวกัน หรื อ ต่างเวลากัน ซึEงในกรณี เช่นนีJ
ตัวผูจ้ ะเป็ นตัวทีEดูแลลูก เช่น นกหัวโต sanderling นกอีแจว
● Promiscuity กรณี นJ ี เพศผูแ้ ละเพศเมียจะผสมกับเพศตรงข้ามได้หลายตัว
การดูแลลูกจึงอาจเป็ นหนึEงเพศใดก็ได้
6. การปรับตัว (Adaptation)
Adaptation Evolution
Natural selection
(กระบวนการคัดเลือกโดยธรรมชาติ)

การปรับตัวจะมีผลทําให้ Gene ซึ'งเป็ นหน่ วยทางพันธุกรรม ทีค' วบคุม


ลักษณะทีไ' ม่ เหมาะสมกับสภาพแวดล้ อมขณะนัLนก็จะหายไป และลักษณะทีไ' ม่
เหมาะสมก็ค่อยๆ สู ญหายไปจากประชากรนัLน
8.1 การปรับรู ปร่ าง (morphological adaptation)

เป็ นการปรับลักษณะ รู ปร่ างและอวัยวะภายนอกของสิC งมีชีวติ เช่น ต้นโกงกางทีCอยูต่ ามป่ าชาย


เลน มีรากคํHาจุนช่วยให้ไม่ลม้ ง่าย ผักกระเฉดมีทุ่นช่วยในการลอยตัว

1.1 ทีCอยูอ่ าศัย


1.2 อาหาร
1.3 พรางตัวให้รอดพ้นจากการเป็ นเหยือC
8.2 การปรับกระบวนการทางสรี รวิทยา (Physiological adaptation)

2.1 การปรับอวัยวะและกระบวนการต่างๆในร่ ายกายเช่น


การปรับหน้าทีCการทํางานของอวัยวะ เช่น นกทะเลมีต่อมขับเกลือ (Nasal
Gland) สําหรับขับเกลือส่ วนเกินออกนอกร่ างกาย สัตว์เลือดอุ่นมีต่อม
เหงืCอ สําหรับขับเหงืCอระบายความร้อน (Thermoregulation)
Detoxification enzyme

2.2 การควบคุมความเข้มข้นของนํHาในตัว (Osmoregulation)


8.3 การปรับตัวทางพฤติกรรม (Behavioral adaptation)

เป็ นการปรับการดํารงชีวติ เช่น การพันหลักของตําลึง การออกหากินกลางคืน การจําศีลของสัตว์


เพืCอหลบเลีCยงสิC งแวดล้อมทีCไม่เหมาะสม

72
นิเวศวิทยา ( Ecology )

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb
นิเวศวิทยา ( Ecology ) 6

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb
Mechanisms of Behavioural Interaction
● การสืH อสาร (Communication)
Any action on the part of one organism that alters
the probability of a behavior in another individual.

The sending, the receiving and the elicited


behavior are all components of the communication
system.
Info-chemicals
intra-species inter-species

Pheromone Alleochemicals
(subset of secondary metabolites)

Allomone (+/-) –Plant defense


it benefits the producer and harms the
receiver

Kairomone (-/+)
benefits an individual of another species which
receives it, without benefitting the emitter

Synomone (+/+)
benefits both parties

Apneumone (0/0)

Antimone (-/-)
Allomone (+/-) –Plant defense
it benefits the producer and harms the
receiver

Kairomone (-/+)
benefits an individual of another species which
receives it, without benefitting the emitter
นิเวศวิทยาประชากร (Population ecology)

1. การศึกษาโครงสร้างของประชากร (Population structure)


● 1.1 การวัดขนาดและความหนาแน่นของประชากร (population size and
density)
◦ ค่าความหนาแน่นต่อหน่วยพื8นที;ท8 งั หมด
◦ ค่าความหนาแน่นต่อหน่วยที;อยูอ่ าศัย
◦ ตัวอย่างวิธีการ
● การนับจํานวนโดยตรง (direct count)
● การวางแปลงสุ่ มตัวอย่าง (sample plot หรื อ Quadrat sampling
method)
● การทําเครื; องหมายและจับกลับคืน
● การใช้ดชั นีที;เกี;ยวข้องกับสัตว์เพื;อประเมินขนาดของประชากร
● ดูการเกิด การตาย การย้ายถิ;น ฯลฯ
2. การศึกษาเกีDยวกับการเพิDมประชากร (population growth)

● Malthusian growth
◦ เป็ นลักษณะการเพิม/ ประชากรทีเ/ กิดขึน7
อย่างรวดเร็วในช่วงแรก โดยมีการเพิม/ เป็ น
2 เท่า และเมือ/ ถึงจุดอิม/ ตัวจะลดลงอย่าง
รวดเร็วเช่นเดียวกัน
◦ มีลกั ษณะเป็ น J-shaped
◦ ลักษณะกราฟทีม/ กี ารลงและขึน7 ใหม่
เรียกว่า irruptive growth
I.II Population growth
● Logistic growth
◦ การเพิม' จํานวนประชากรเกิดขึน3 อย่างเป็ นขัน3 ตอน การเพิม' ในระยะแรกจะเกิดขึน3 อย่างช้าๆ และจะเพิม' แบบยกกําลัง
สองในระยะเวลาต่อมา จนกระทังถึ ' งจุดสูงสุดของการเพิม' ประชากร ซึง' เรียกว่า “asymtote” ซึง' เมือ' ถึงระดับนี3
อัตราการเพิม' จะมีความคงตัว และรักษาระดับนี3ไว้
◦ S-shaped
3.1 การกระจายอย่ างสมํา, เสมอ (Uniform) หรื อ เป็ นระเบียบ (Spaced)

● การเปลีCยนแปลงตามฤดูกาล (seasonal fluctuation)


3.2 การกระจายอย่ างไม่ เป็ นระเบียบ หรื อแบบสุ่ ม (Random)

◦ มักเป็ นประชากรทีไ/ ด้รบั อิทธิพลทีร/ ะบบนิเวศถูกทําให้เสียสมดุล และเป็ นสาเหตุให้ขนาดของประชากร


มีการขึน7 -ลง เป็ นสัดส่วนทีไ/ ม่แน่นอน

3.3 การกระจายเป็ นกลุ่ม (Clumped)

จะพบเมื(อทรัพยากรนี2อยูเ่ ป็ นจุดๆ หรื อที(อยูอ่ าศัยมีความแตกต่างกันจนทําให้เกิดที(อยูอ่ าศัยย่อย หรื อ


สิ( งมีชีวติ อาจรวมกันเพื(อทํากิจกรรมทางสังคม เป็ นแบบที(พบมากที(สุดในประชากรของสัตว์ต่างๆ โดยที(สมาชิก
ของกลุ่มจะอยูก่ นั อย่างอิสระภายในกลุ่ม ตัวอย่างเช่น สัตว์ในฤดูผสมพันธุ์ พืชพวกสนในเขตอบอุ่น และประชากร
ของมนุษย์ในเมือง เป็ นต้น
นิเวศวิทยา ( Ecology )

นิเวศวิทยา

(Ecology)

รองศาสตราจารย์ ดร. วสกร บัลลังก์โพธิ5


Email: fscivkb@ku.ac.th สั ตว. 209
http://pirun.ku.ac.th/~fscivkb

You might also like