You are on page 1of 29

ความหลากหลายทางชีวภาพ

โดย
อาจารย์ว ุฒิไกร บ ุญคม้ ุ
ภาควิชาสัตวศาสตร์ คณะเกษตรศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ความหมายของความหลากหลายทางชีวภาพ
“การมีชนิดพันธข์ ุ องสิ่งมีชีวิตหลากหลายชนิดมาอยูร่ ว่ มกัน
ณ สถานที่หนึ่งหรือระบบนิเวศใดระบบนิเวศหนึ่ง”
ความหลากหลายทางชีวภาพมี 3 ระดับ
1. ความหลากหลายทางพันธ ุกรรม ( Genetics Diversity )
2. ความหลากหลายทางชนิดพันธ์ ุ ( Species Diversity )
3. ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา ( Ecological Diversity )
1.ความหลากหลายทางพันธ ุกรรม (1)
พ่อ แม่ ฝาแฝด

การถ่ายทอด

ล ูก

::คือ ความหลากหลายของสายพันธ์ ุ
ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ

โคลนนิ่ง
1.ความหลากหลายทางพันธ ุกรรม (2)

ส ุกร มีหลายสายพันธ์ ุ
โดยอาศัยความแตกต่าง
ทางพันธ ุกรรมเป็นดัชนีในการวัด
1.สาเหต ุของความหลากหลายทางพันธ ุกรรม (3)
Import
GMOs

Mutation

Sexual Reproduction
แหล่งพันธ ุกรรมสัตว์
• Animal Genetics Resources ครอบคล ุมถึง
 Domestic animals
 Having potential to be domestic animals
 Local, native or regional animals
การอน ุรักษ์แหล่งพันธ ุกรรมของสัตว์
preservation

maintenance
conservation
sustaianable use

enhancement of nature environment


หลักในการอน ุรักษ์พนั ธส์ ุ ตั ว์
• อน ุรักษ์ในร ูปฝูงสัตว์ (Live population)
• อน ุรักษ์แหล่งพันธ ุกรรม (genetic material) ในร ูปของ
ไข่ (ova), ตัวอ่อน (embryos), น้ำเชื้อ (semen) โดยเก็บ
ในไนโตรเจนเหลว (-196 C) 0

• อน ุรักษ์ขอ้ มูลพันธก์ ุ รรม (genetic information) ในร ูป


ของลำดับยีน ชิ้นดีเอ็นเอ (DNA fragments)
เกณฑ์การกำหนดสัตว์ที่ใกล้สญ
ู พันธ์ ุ
FAO ได้กำหนดเกณฑ์ในการจัดสัตว์ที่มีความเสี่ยงต่อการสูญพันธ์ ุ ไว้ดงั นี้
จำนวน
ประเภท
เพศเมีย เพศผู้
ENDANGER 100-1,000 5-20
CRITICAL <100 <5
EXTINCT ไม่พบพันธแ์ ุ ท้ ไม่พบพันธแ์ ุ ท้
2.ความหลากหลายทางชนิดพันธ์ ุ (1)

::คือ ความมากมายหลากหลายของชนิด
ของสิ่งมีชีวิตชนิดต่างๆ ในพื้นหนึ่ง
โดยวัดจากจำนวนชนิดและจำนวน
ประชากร
2.ความหลากหลายทางชนิดพันธ์ ุ (2)
ตารางที่ 1 แสดงจำนวนของชนิดของสิ่งมีชีวิตของโลก
Group No of Species
bacteria & blue green algae 4,760
fungi 46,983
algae 26,900
insects 751,000
mollusks 50,000
fish 19,056
amphibians 4,184
reptiles 6,300
birds 9,198
mammals 4,170
2.ความหลากหลายทางชนิดพันธ์ ุ (3)
ตารางที่ 1 แสดงจำนวนของชนิดของสิ่งมีชีวิตของไทย
Group No of Species
microbial 100,000
plant 20,000
mammals 282
Bird and fowl 920
fish 1,900
reptiles 298
amphibians 107
2.สาเหต ุของความหลากหลายทางชนิดพันธ์ ุ (4)
Mechanism & System
Reproduction development

Geography Human
(Artificial Selection)

Chance
หลักการวัดความหลากชนิด (species diversity) (1)
การวัดความหลากชนิดต้องคำนึงถึงปัจจัย 2 ประการ ได้แก่
1. จำนวนชนิดที่แตกต่างกัน (richness)
2. ปริมาณของสิ่งมีชีวิตชนิดนัน้ (evenness)
โดยมีสตู รในการคำนวณค่าดัชนีความหลากชนิด (diversity index)
ตามวิธีของ Shanon-Weiner ดังนี้
n
H   Pi * ln Pi
i 1
และ
H
J
ln n
หลักการวัดความหลากชนิด (species diversity) (2)
n
H   Pi * ln Pi
i 1
และ
H
J
ln n
เมื่อ
H = ดัชนีความหลากหลายของชนิด (Richness index)
J = ดัชนีความสม่ำเสมอ (Evenness index)
Pi = สัดส่วนของจำนวนสิ่งมีชีวิตชนิดที่ i ต่อจำนวนสิ่งมีชีวิตทัง้ หมดในประชากร
n = จำนวนชนิดของสิ่งมีชีวิตที่พบทัง้ หมดในประชากร
หลักการวัดความหลากชนิด (species diversity) (3)
ตัวอย่าง ชนิด ชื่อ จำนวนที่พบ Pi
ประชากร1 1 A 35 0.075
2 B 33 0.071
3 C 30 0.064
4 D 234 0.500
5 E 23 0.049
6 F 28 0.060
7 G 21 0.045
8 H 26 0.056
9 I 16 0.034
10 J 19 0.041
11 K 2 0.004
12 L 1 0.002
468 1.000
H  0.075 * ln(0.075)  0.071* ln(0.071)  ...  0.002 * ln(0.002)
 1.80
1.80
J 
ln(12)
 0.72
หลักการวัดความหลากชนิด (species diversity) (4)

ประชากร 1 ประชากร 2
โดยทัว่ ไปแล้วในการวัดความหลากหลายนิยมเทียบกัน
ระหว่างประชากร โดยประชากรที่มีค่าดัชนีทงั้ 2 สูงกว่า
จะถูกจัดว่ามีความหลากหลายทางชีวภาพสูงกว่า
3.ความหลากหลายทางนิเวศวิทยา (1)

ระบบนิเวศแต่ละระบบเป็นแหล่งของถิ่นที่อยูอ่ าศัย (habitat)


ความหลากหลายขึ้นอยูก่ บั ชนิดและจำนวนประชากรของสิ่งมี
ชีวิตที่อาศัยอยูใ่ นระบบนิเวศนัน้ ๆ
3.สาเหต ุของความหลากหลายทางระบบนิเวศน์ (2)
Habitat diversity

Ecological difference

Old ecological diversity New ecological diversity

Changed ecological diversity


ค ุณค่าของความหลากหลายทางชีวภาพ (value of biodiversity)
 เป็นแหล่งทรัพยากรธรรมชาติ (ปัจจัย 4)
 ทำให้เกิดความสมด ุลทางธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมที่เอื้ อ
อำนวยต่อการดำรงชีวิตมีความเป็นปกติส ุข
 ทำให้ค ุณภาพชีวิตมน ุษย์ดีข้ ึน ทัง
้ ด้านโภชนาการ การ
แพทย์เป็นแหล่งเรียนรส้ ู ำคัญในธรรมชาติ  เพื่อการ
อน ุรักษ์และ พัฒนาสิ่งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน
 เป็นแหล่งทรัพยากรที่มีค ุณค่าเชิงพาณิชย์ที่กอ ่ ให้เกิด
การ พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศ
สาเหต ุของการสูญเสียความหลากหลายทางชีวภาพ

 เกิดจากการกระทำของมน ุษย์
การสร้างเขื่อน, การบ ุกร ุกทำลายป่า, การใช้
ทรัพยากรอย่างฟุ่มเฟือย, การนำสิ่งมีชีวิตใหม่เข้ามา
ในระบบนิเวศน์, การทำ cloning, ถ ูกขโมย
 เกิดจากปรากฏการณ์ตามธรรมชาติ
natural selection เช่น ไดโนเสาร์
การอน ุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ (1)

1. จัดระบบนิเวศให้ใกล้เคียงตามธรรมชาติ  โดยฟ้ ื นฟู


หรือพัฒนาพื้นที่เสื่อมโทรมให้คงความหลากหลาย
ทางชีวภาพไว้มากที่ส ุด
การอน ุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ (2)

2. ใช้วิธีการอน ุรักษ์ทงั้ แบบ In situ และ Ex situ


conservation

In situ conservation คือ


การอน ุรักษ์ในร ูปฝูงสัตว์ โดยพยายามจัดให้คงอยูใ่ นสภาพแวดล้อมดัง้ เดิม

Ex situ conservation คือ


การอน ุรักษ์ในร ูปการแช่เย็น หรือ แช่แข็ง (cryopreservation)
ข้อได้เปรียบและเสียเปรียบของการอน ุรักษ์แบบต่างๆ (1)
การอน ุรักษ์แบบฝูงสัตว์
ข้อได้เปรียบ ข้อเสียเปรียบ
1. ไม่ตอ้ งการเทคโนโลยีชนั้ สูง 1. ต้องการคนจัดการด ูแล ใช้พ้ ืนที่มาก และใช้
2. มีผลผลิตทางเศรษฐกิจกลับคืน อาหาร ทำให้เสียค่าใช้จ่ายสูง
• - แรงงาน เนื้อ ขน หนัง ซีรมั่ 2. มีโอกาสเกิดการสูญหายของยีนเนื่องจาก
• - จัดเป็นสวนสัตว์ ฟาร์ม แหล่งพักผ่อน ประชากรขนาดเล็ก (genetic drift)
• - สร้างงานวิจยั การกีฬา 3. เสี่ยงต่อการค ุกคามด้วยโรคระบาด หรือภัย
1. สัตว์ที่อน ุรักษ์จะมีการปรับตัวตามสภาพ ธรรมชาติ
แวดล้อมที่เปลี่ยนไป 4. ไม่สะดวกในการเคลื่อนย้าย ขนส่ง หรือข้าม
2. สะดวกในการประเมิน จำแนก และนำมาใช้ ไปยังแหล่งอื่นๆ
3. สามารถคัดเลือก และปรับปร ุงพันธใุ์ ห้ดีข้ ึน ฯลฯ
เรือ่ ยๆ
ฯลฯ
ข้อได้เปรียบและเสียเปรียบของการอน ุรักษ์แบบต่างๆ (2)
การอน ุรักษ์แบบแช่แข็ง
ข้อได้เปรียบ ข้อเสียเปรียบ
1.ค่
1.ค่ารักษาด ูแลแหล่งพันธ ุกรรม (maintenance) 1.เสี
1.เสียค่าใช้จ่ายในการจัดตัง้ ห้องปฏิบตั ิการเริม่
ค่อนข้างต่ำ ต้นสูง
2.เป
2.เป็นการหลีกเลี่ยงปัญหาเรืแ่ ง genetic drift 2.ต้
2.ต้องการผูท้ ี่มีความชำนาญและเทคโนโลยีชนั้
3.เคลื
3.เคลื่อนย้ายได้สะดวก สูง
4.สามารถนำมาจั
4.สามารถนำมาจัดการปรับใช้ (manipulate) เช่น 3.ไม่
3.ไม่สามารถนำมาใช้ได้ทนั ทีเมื่อต้องการ ทัง้ นี้
การ cloning, sexing, etc. ต้องการตัวรับ และต้องใช้เวลาในการรอให้สตั ว์
5.เมื
5.เมื่อคิดต่อระยะเวลาการอน ุรักษ์ที่ยาวนานแล้ว คลอดและเติบโต
จะใช้ตน้ ท ุนต่ำ 4.การประเมิ
4.การประเมินจำแนกทำได้ไม่สะดวก
ฯลฯ 5.ยั
5.ยังจำกัดในสัตว์บางชนิด
6.ไม่
6.ไม่มีผลทางเศรษฐกิจกลับคืนในลักษณะฝูง
สัตว์
7.ง่
7.ง่ายต่อการผิดพลาด (accident)
- human error
- ไฟฟ้าดับ, ไนโตรเจนเหลวหมด,
ฯลฯ
การอน ุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ (3)

3. จัดให้มีศนู ย์อน ุรักษ์หรือพิทกั ษ์สิ่งมีชีวิตนอกถิ่น


กำเนิด เพื่อเป็นที่พกั พิงชัว่ คราวที่ปลอดภัย ก่อนนำ
กลับไปสูธ่ รรมชาติ เช่น สวนพฤกศาสตร์ ศนู ย์เพาะ
เลี้ยงสัตว์น้ำเค็ม เป็ นต้น
การอน ุรักษ์ความหลากหลายทางชีวภาพ (4)

4.
ร่างข้อตกลง/สัญญา/กฏ/ข้อบังคับในประเทศ/นาน
าชาติ
องค์การเกษตรและอาหารประเทศสหรั
FAO
ฐอเมริกา
= Food and Agriculture Organization
โครงการอน ุรักษ์สิ่งแวดล้อมขององค์การสหประชาชาติ
UNEP = United Nations of Environment Project

อน ุสัญญาว่าด้วยความหลากหลายทางชีวภาพ
CBD = Convention on Biological Diversity

CITES = Convention on International Trade in Endangered


อน ุสัญญาการค้าระหว่างประเทศว่าด้วยการห้ามซื้อขายสัตว์
Species
และพืชที่ใกล้สญ
ู พันธ์ ุ
และพืชที่ใกล้สญ
ู พันธ์ ุ
หากไม่มีทงั้ ความหลากหลายทางพันธ ุกรรม และความ
หลากหลายของระบบนิเวศวิทยาสิ่งมีชีวิตชนิดนัน้ หรือ
กลมุ่ นัน้ ย่อมไร้ทางเลือกและหมดหนทางจะอยูร่ อด
เพื่อสืบทอดล ูกหลานต่อไป
สวัสดี

You might also like