You are on page 1of 42

ผลงานที่เปนผลการดําเนินงานที่ผานมา

การสํารวจและศึกษากลวยไมสกุลสิงโต (Bulbophyllum)
ในเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง จังหวัดเลย
The Survey and Study of Bulbophyllum (Orchidaceae)
in Phuluang Wildlife Sanctuary, Loei Province

จิราภรณ พัฒนเจริญจิต
JIRAPORN PATTANACHAROENCHIT

กองคุมครองพันธุสตั วปาและพืชปาตามอนุสัญญา
กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช
พ.ศ.2550
การสํารวจและศึกษากลวยไมสกุลสิงโต (Bulbophyllum)
ในเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง จังหวัดเลย
จิราภรณ พัฒนเจริญจิต1

บทคัดยอ

การสํา รวจและศึก ษากลว ยไมสกุลสิงโต ในเขตรักษาพัน ธุสัตวปาภูหลวง จัง หวัดเลย


มีเปาหมายหลักเพื่อศึกษาถึงจํานวน ชนิด สถานภาพ ลักษณะทางพฤกษศาสตร นิเวศวิทยา และการ
กระจายพันธุของกลวยไมสกุลสิงโต โดยวิธีการเดินสํารวจ บันทึกภาพ และเก็บขอมูล ตั้งแตเดือน
สิงหาคม พ.ศ. 2549 จนถึงเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2550 เดือนละ 1 ครั้ง เปนระยะเวลา 12 เดือน
จากการสํารวจและศึกษาพบวามีกลวยไมสกุลสิงโต จํานวน 24 ชนิด ซึ่งทั้งหมดถูกจัดใหเปนกลวยไม
ที่เปนพืชอนุรักษบัญชีที่ 2 ตามอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตวปาและพืชปาที่
ใกลสูญพันธุ (CITES) โดยเปนกลวยไมที่ถูกคุกคาม จํานวน 4 ชนิด คือ Bulbophyllum khasyanum
Griff., Bulbophyllum luanii Tixier., Bulbophyllum proteranthum (Seidenf.) Seidenf. และ
Bulbophyllum striatum (Griff.) Rchb.f. และเปนกลวยไมถิ่นเดียวที่พบเฉพาะในประเทศไทย
จํานวน 4 ชนิด คือ Bulbophyllum dhaninivatii Seidenf., Bulbophyllum nipondii Seidenf.,
Bulbophyllum orientale Seidenf. และ Bulbophyllum proteranthum (Seidenf.) Seidenf.

คําหลัก : กลวยไมสกุลสิงโต ภูหลวง พืชอนุรักษบัญชีที่ 2 (CITES)

1. กลุมงานสงวนและคุมครองพันธุพืชปา กองคุมครองพันธุสัตวปาและพืชปาตามอนุสัญญา
กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช เขตจตุจักร กรุงเทพมหานคร 10900
The Survey and Study of Bulbophyllum (Orchidaceae)
in Phuluang Wildlife Sanctuary, Loei Province
Jiraporn Pattanacharoenchit 1

ABSTRACT

The aims of the survey and study of Bulbophyllum (Orchidaceae) in Phuluang Wildlife
Sanctuary, Loei Province are to reveal its native species abundance and richness, status, botanical
characteristics, ecology and distribution. The data were collected by line transect method monthly
during August 2006 to July 2007. It was found that there are 24 species of Bulbophyllum. All of
them listed by The Convention on International Trade in Endangered Species of Wild Fauna and
Flora (CITES) in Appendix II. Of among 24 species, four species (Bulbophyllum khasyanum Griff.,
Bulbophyllum luanii Tixier., Bulbophyllum proteranthum (Seidenf.) Seidenf. and Bulbophyllum
striatum(Griff.) Rchb.f.) are classified as threatened species. Four species (Bulbophyllum dhaninivatii
Seidenf., Bulbophyllum nipondii Seidenf., Bulbophyllum orientale Seidenf. and Bulbophyllum
proteranthum (Seidenf.) Seidenf.) are endemic species

Keywords : Bulbophyllum Phuluang CITES Appendix II

1. Reservation and Protection Wild Flora Sub-division, Wild Fauna and Flora Protection
Division, Nation Park, Wildlife and Plant Conservation Department, Chatuchak,
Bangkok 10900
คํานํา

ประเทศไทยเปนแหลงกําเนิดกลวยไมเขตรอนที่สําคัญแหงหนึ่งของโลก ปจจุบันมีการ
สํา รวจพบพืช ในวงศก ลว ยไมใ นประเทศไทยแลว ประมาณ 168 สกุล 1,170 ชนิด จากจํา นวน
กลวยไมที่พบทั่วโลกประมาณ 796 สกุล 17,500 ชนิด กลวยไมเปนหนึ่งในบรรดาพืชพรรณที่มนุษย
เรารูจัก และใหความสนใจมากที่สุด ทั้งนี้ดวยความหลากหลายของความงาม ความประหลาด
มหัศจรรยของลักษณะรูปทรง สีสัน และลวดลายที่ปรากฏบนดอกกลวยไม สิ่งเหลานี้เปนสาเหตุให
กลวยไมเปนพืชที่มีลักษณะโดดเดน เฉพาะตัวไมเหมือนใคร ทําใหกลวยไมเปนพืชที่ไดรับความ
สนใจอยางมาก ทั้งที่เ ปน กลว ยไมปา และกลว ยไมพัน ธุผสมที่มีก ารเพาะเลี้ย งตามฟารมตา งๆ
จากความนาสนใจกลายเปนที่ตองการของนักสะสม หรือนักนิยมกลวยไมทําใหเกิดการคากลวยไม
ปากันอยางกวางขวาง จนปจจุบันกลวยไมปาของไทยมีจํานวนที่ลดลงอยางรวดเร็วและตอเนื่อง
ประกอบกั บ การทํา ลายระบบนิเ วศ โดยการบุ ก รุ ก แผ ว ถางป า ก็ เ ปน ผลทํ า ให ถิ่ น ที่ อ ยูอ าศัย ใน
ธรรมชาติของกลวยไมถูกรบกวนและทําลาย การลักลอบนํากลวยไมออกจากปาอยางตอเนื่อง
เพื่อจําหนายทั้งในประเทศและตางประเทศ ลวนมีผลกระทบตอการลดจํานวนลงของกลวยไม
ถึงแมจะมีกฎหมายคุมครองแลวก็ตาม ปจจุบันกลวยไมทุกชนิดในวงศ Orchidaceae ถูกคุมครอง
โดยพระราชบัญญัติพันธุพืช พ.ศ. 2518 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535 โดยกําหนดใหพืชในวงศกลวยไม
ทุก ชนิด เปน พืช อนุรั ก ษ ตามที่ป ระเทศไทยได มีก ารประชุ ม สมัย สามั ญ ประเทศภาคี อนุสั ญ ญา
วาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิด สัตวปาและพืชปาที่กําลังจะสูญพัน ธุ (CITES) ครั้งที่ 13
ณ กรุงเทพมหานคร ไดกําหนดพืชอนุรักษไว 3 บัญชี คือ พืชอนุรักษบัญชีที่ 1 เปนพืชที่หามคาโดย
เด็ดขาดยกเวนเพื่อการศึกษาวิจัย เนื่องจากเปนพืชที่ใกลสูญพันธุ พืชอนุรักษบัญชีที่ 2 อนุญาตให
คาได แตตองมีการควบคุมไมใหเกิดความเสียหาย และลดปริมาณลงอยางรวดเร็วจนถึงจุดใกล
สูญพันธุ พืชอนุรักษบัญชีที่ 3 ชนิดพันธุที่ไดรับการรองขอจากประเทศใดประเทศหนึ่งใหชวย
ควบคุมชนิดพันธุนั้นๆ ถึงแมวาจะมีกฎหมายควบคุมการคากลวยไม แตจากสภาวการณปจจุบันก็
ยังคงมีการลักลอบคากลวยไมปากันอยูอยางตอเนื่อง อันอาจนําไปสูการสูญพันธุของกลวยไมชนิด
ตางๆ โดยเฉพาะกลวยไมที่หายากและใกลสูญพันธุ จึงเห็นควรมีการศึกษาและใหความรูเรื่อง
กลวยไม พรอมหาวิธีการสงวนและคุมครองกลวยไมที่เหลืออยู รวมถึงหาวิธีการขยายพันธุกลวยไมปา
ใหคงอยูสืบไป
2

กลวยไมสกุลสิงโต (Bulbophyllum) เปนกลวยไมสกุลใหญ ที่มีลักษณะหลากหลายมาก


ทั้งในเรื่องรูปราง ลักษณะของสวนตางๆ ซึ่งลวนแตมีรูปรางแปลกๆ และมีลักษณะของดอกที่
แตกตางกันออกไป บางชนิดมีดอกที่ดึงดูดสายตามาก แตมักจะเปนไปในรูปแบบที่แปลกประหลาด
มากกวาสวยงาม บางชนิดกลีบปากขยับกลอกไปมาได จึงถูกเรียกรวมๆ กันวา สิงโตกลอกตา
กลวยไมสกุลนี้แมจะมีคุณคาดานพืชสวนนอย เพราะดอกขนาดเล็ก บานไมทน แตกลับเปนที่นิยม
ในหมูผูสนใจเลี้ยงกลวยไมเปนพิเศษ เนื่องจากเปนสกุลที่มีลักษณะโดดเดนดังกลาว
เขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง ตั้งอยูในทองที่จังหวัดเลย ครอบคลุมพื้นที่บางสวนของ
อําเภอภูเรือ อําเภอดานซาย อําเภอวังสะพุง และอําเภอภูหลวง ในเขตปาภูหลวงมีสภาพภูมิประเทศ
แบบตางๆ นับแตรอบเชิงเขาขึ้นไปจนถึงที่ราบกวางบนยอดเขา ซึ่งมีความสูงเฉลี่ยถึง 1,500 เมตร
จากระดับน้ําทะเลประกอบกับสภาพปาไมอันอุดมสมบูรณที่สุดแหงหนึ่งในภาคอีสาน ทําใหปา
แหงนี้เต็มไปดวยดอกไม และพรรณไมปามากมายขึ้นอยูในสภาพธรรมชาติ และยังเปนที่รวมของ
พันธุกลวยไมปาที่มีอยูไมนอยกวา 170 ชนิด ซึ่งมักขึ้นรวมกันเปนบริเวณกวางในพื้นที่สวนตางๆ
หลังภูจนกลายเปนทุงดอกไมธรรมชาติที่งดงามยิ่ง ซึ่งสวนใหญตั้งอยูทางตอนเหนือของภูหลวงดาน
อําเภอภูเรือ จากที่มีธรรมชาติอันสวยงามกลายเปนพื้นที่เปาหมายหนึ่งในการสงเสริมการทองเที่ยว
ของจังหวัดเลย ในแตละปมีนักทองเที่ยวจํานวนมากขึ้นไปเพื่อชื่นชมและสัมผัสความงามของไม
ดอกเหลานี้อยางใกลชิด จนกลายเปน การรบกวนระบบนิเวศ และการดํารงอยูของกลวยไมปา
ซึ่งนับวันจะลดจํานวนลง จากเหตุดังกลาวจึงคัดเลือกเปนพื้นที่ศึกษา เพื่อนําขอมูลไปวางแผน
จั ด การ และอนุ รั ก ษ ก ล ว ยไม ป า รวมถึ ง นํ า ข อ มู ล ไปใช ใ นการส ง เสริ ม การท อ งเที่ ย วเพื่ อ ให
นักทองเที่ยวมีความรูความเขาใจเรื่องกลวยไม และใหความรวมมือในการอนุรักษกลวยไมปาตอไป
วัตถุประสงค
1. สํา รวจและศึก ษาเพื่ อ ใหท ราบถึ ง จํ า นวนชนิ ด ของกลว ยไมส กุ ล สิง โต (Bulbophyllum) ที่ ขึ้ น
ตามธรรมชาติในเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง
2. เพื่อศึกษาลักษณะทางพฤกษศาสตร นิเวศวิทยา และการกระจายพันธุ
3. เพื่อใหทราบถึงชนิดพันธุที่หายากอยูในภาวะถูกคุมคาม และชนิดพันธุที่อยูในบัญชีพืชอนุรักษ
ตามอนุสัญญา CITES
4. เพื่อนําผลการศึกษาที่ไดไปใชเปนขอมูลพื้นฐานสําหรับวางแนวทางในการจัดการ และอนุรักษ
กลวยไมอยางมีประสิทธิภาพ
5. เพื่อนําผลการศึกษาที่ไดไปบริการแกผูสนใจ และเปนแนวทางในการศึกษากลวยไมสกุลสิงโต
(Bulbophyllum) ตอไป
3

อุปกรณและวิธีการ
อุปกรณ อุปกรณที่ใชในการดําเนินงานประกอบดวย อุปกรณสําหรับเก็บตัวอยางสด ตัวอยาง
ดอง และอุปกรณในการศึกษาทางสัณฐานวิทยา ไดแก ถุงพลาสติก เชือกฟาง ขวดดองตัวอยาง
แอทธิลแอลกฮอล กลีเซอรีน แผนปายบันทึกขอมูล มีด กรรไกรตัดกิ่ง แวนขยาย กลองถายรูป
ไมบรรทัด สมุดบันทึกขอมูล และหนังสือคูมือในการจําแนกกลวยไม
วิธีการ
1. กําหนดพื้นที่ศึกษา
1.1 โดยการศึกษาขอมูลพื้นฐานที่เกี่ยวของกับสภาพพื้นที่ของเขตรักษาพันธุสัตวปา
ภูหลวง โดยเฉพาะสภาพพื้นที่ปาไม ดอกไม และพรรณไม
1.2 ทําการสอบถามขอมูลการแพรกระจายของกลวยไมจากเจาหนาที่เขตรักษา
พันธุสัตวปาภูหลวง และทําการเดินสํารวจเบื้องตน
1.3 ทําการคัด เลือ กพื้น ที่ โดยพิจารณาจากความนาสนใจในความหลากหลาย
และความมากมายของปริมาณกลวยไมปาที่ขึ้นตามธรรมชาติ ทั้งดานชนิดและสกุลกลวยไมที่พบ
คัดเลือกใหเปนพื้นที่เพื่อทําการสํารวจและศึกษา โดยกําหนดจุดที่หนวยพิทักษโคกนกกระบา
2. กําหนดเสนทางเดินสํารวจโดยใชเสนทางเดินสํารวจของหนวยพิทักษโคกนกกระบา
ทุกเสนทาง และกําหนดแนวสํารวจใหครอบคลุมพื้นที่ใหไดมากที่สุด
3. สํารวจและเก็บขอมูล
3.1 ทําการเดินสํารวจตามเสนทางเดินสํารวจที่กําหนดไว โดยพยายามเดินสํารวจ
ใหครอบคลุมพื้นที่ใหไดมากที่สุด โดยกําหนดการเดินสํารวจและเก็บขอมูลเดือนละ 1 ครั้ง ตั้งแต
เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2549 จนถึงเดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2550 เปนระยะเวลา 12 เดือน
3.2 เก็บขอมูลรายละเอียดกลวยไมโดยการบันทึกภาพกลวยไมที่กําลังออกดอก
และสวนประกอบตางๆ เก็บตัวอยางกลวยไม เพื่อนําไปใชในการจําแนกในกรณีที่ไมสามารถ
จําแนกชนิดได
4. นํากลวยไมที่พบมาจําแนกชนิด ทําการบันทึกขอมูล และรายละเอียดตางๆของกลวยไม
แตละชนิดรวมถึงบันทึกชวงเวลาที่พบการออกดอก
5. รวบรวมชนิดกลวยไมที่พบ บรรยายลักษณะทางพฤกษศาสตร และเรียบเรียงจัดทําเปน
รูปเลม
4

ผลการศึกษา
ผลจากการสํ า รวจและศึ ก ษากล ว ยไม ส กุ ล สิ ง โต (Bulbophyllum) ในเขตรั ก ษาพั น ธุ สั ต ว ป า
ภูหลวง จังหวัดเลย ตั้งแตเดือนสิงหาคม พ.ศ. 2549 จนถึงเดือนกรกฎาคม พ.ศ. 2550 สํารวจพบ
กลวยไมสกุลสิงโตทั้งสิ้น 24 ชนิด ดังแสดงในตารางที่ 1 และไดจัดทําคําบรรยายลักษณะกลวยไม
แตละชนิด เรียงตามลําดับตัวอักษร ดังนี้
ตารางที่ 1 รายชื่อกลวยไมสกุลสิงโต (Bulbophyllum) ในเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง จังหวัดเลย

ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อสามัญ
Bulbophyllum affine Lindl. สิงโตงาม/สิงโตประหลาด
Bulbophyllum bicolor Lindl. สิงโตสองสี
Bulbophyllum blepharites Rchb.f. สิงโตกรอกตา/สิงโตสมอหิน
Bulbophyllum capillipes C.S.P. Parish & Rchb.f. สิงโตกานหลอด/กรอกตาเล็ก
Bulbophyllum dayanum Rchb.f. เอื้องขยุกขยุย/สิงโตขยุกขยุย
Bulbophyllum dhaninivatii Seidenf. สิงโตธานีนิวัต/ิ สิงโตกํามะหยี่
Bulbophyllum hymenanthum Hook.f. เบี้ยไมดอกขาว/เบี้ยไม/สิงโตแคระ
Bulbophyllum khasyanum Griff. สิงโตพุม/สิงโตมวนกลีบ
Bulbophyllum luanii Tixier. สิงโตภูหลวงดอกแดง
Bulbophyllum morphologorum F.Kranzl. สิงโตรวงขาว/สิงโตรังแตน
Bulbophyllum nipondii Seidenf. สิงโตนิพนธ
Bulbophyllum odoratissimum (Sm.) Lindl. สิงโตหลอดไฟ/สิงโตโคมไฟ/ตุมสิงโต
Bulbophyllum orientale Seidenf. สิงโตรวงทอง
Bulbophyllum parviflorum Parish & Rchb.f. สิงโตรวงขาวนอย
Bulbophyllum proteranthum (Seidenf.) Seidenf. -
Bulbophyllum psittacoglossum Rchb.f. สิงโตปากนกแกว/สิงโตลิ้นนกแกว/เอือ้ งลิ้นนกแกว
Bulbophyllum reptans (Lindl.) Lindl. สิงโตเลื้อย/สิงโตภูหลวง
5

ตารางที่ 1 (ตอ)

ชื่อวิทยาศาสตร ชื่อสามัญ
Bulbophyllum secundum Hook.f. สิงโตลิ้นดํา
Bulbophyllum siamense Rchb.f. สิงโตสยาม/ลิ้นฟา/สิงโตกรอกตาใหญ
Bulbophyllum striatum (Griff.) Rchb.f. -
Bulbophyllum suavissimum Rolfe. สิงโตศรีเทียง/เอื้องสีเที่ยง
Bulbophyllum taeniophyllumC.S.P.Parish & Rchb.f. -
Bulbophyllum wallichii Rchb.f. สิงโตใบพาย
Bulbophyllum sp. -
6

สิงโตงาม

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum affine Lindl.


ชื่อพอง Bulbophyllum kusukuensis Hayata.
ชื่ออื่น สิงโตประหลาด
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ
ั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ เนปาล สิกขิม ภูฏาน อินเดีย จีน พมา ไทย ลาว เวียดนาม
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบเขา ปาสนเขา และปาเต็งรังผสมปาสน อิงอาศัยบนไม
ยืนตนในวงศยาง วงศกอ และวงศสน พบทั้งในที่โลงแจงแสงแดดจัดและที่รมแสงแดดรําไรที่ความสูง
800-1,800 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปทรงกระบอก คอนขางผอม ขึ้นหางกันบนเหงาทอดขนาดใหญ ใบรูปแถบ
1 ใบ ขนาดประมาณ 2 x 13 เซนติเมตร ปลายใบเวา มีอายุหลายฤดูกอนรวง ใบแกหลุดรวงที่ขอตอ ดอกเดี่ยว
ออกจากโคนลําหรือออกจากเหงา ขนาดประมาณ 2.5 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงบนรูปสามเหลี่ยมกลีบเลี้ยงคูขาง
รูปแถบแกมรูปสามเหลี่ยม กลีบดอกรูปหอก ทั้งหากลีบสีเหลืองและมีลายสีน้ําตาลแดง 5-7 เสนขนานกัน
ตามยาว ปลายกลีบแหลม กลีบปากรูปแถบแกมรูปไข อวบและหนา สีเหลืองและที่ขอบดานขางเปนสีแดง
ปลายกลีบมน โคนกลีบปากเชื่อมกับฐานเสาเกสร เสาเกสรอวนสั้น (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนพฤษภาคม ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
7

สิงโตสองสี

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum bicolor Lindl.


ชื่ออื่น -
สถานภาพ พืชอนุรักษบญั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ จีน ไตหวัน ไทย
ถิ่นอาศัย กลว ยไม อิงอาศั ย ที่พ บในปาดิบ เขา มีแ สงแดดรํ า ไร ที่ค วามสูง ประมาณ 1,200 เมตร
จากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปรี เปนเหลี่ยม 4 แฉก แตละลําขึ้นหางกันบนเหงา ใบรูปแถบปลายใบเวา
ชอดอกเปนชอซี่รม ดอกขนาดประมาณ 2 เซนติเมตร มักยาวกวา 4.5 เซนติเมตร มี 2-4 ดอก กลีบเลี้ยง
บนรูปรี ปลายเรียวแหลม ขอบกลีบมีขนครุย กลีบเลี้ยงคูขางรูปขอบขนาน ใหญและยาวมากปลายแหลม
เมื่อบานเต็มที่กลีบพับเขาดานใน กลีบดอกคอนขางกลม ปลายเรียวแหลมและมีขนครุยทั้งหากลีบสีเหลือง
มีลายสีแดง 7-13 ลาย ปลายกลีบรูปขอบขนานแกมรูปไข อวบและหนา สีเหลืองอมเขียว เสาเกสรสั้น
ปลายมีรยางคเขี้ยวยื่นขึ้น (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนพฤษภาคม ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
8

สิงโตกลอกตา

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum Blepharites Rchb.f.


ชื่ออื่น สิงโตสมอหิน
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ
ั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ อินเดีย พมา ไทย ลาว มาเลเซีย
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบเขา โดยเจริญอยูบนกอนหิน ในที่โลงแจงแสงแดดจัดไดรับ
แสงแดดเกือบตลอดวัน ที่ความสูง 1,000 -1,400 เมตรจากระดับน้ําทะเล สามารถอาศัยบนกอนหินที่รอนและ
ทนทานตอสภาพอากาศที่แหงแลงไดอยางดี
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยสีน้ําตาลอมเหลือง เปนเหลี่ยม 4 แฉก แตละลําขึ้นหางกันบนเหงาขนาดใหญ
ใบรูปไขกลับ 2 ใบ เรียงตรงขาม ปลายใบมนจนถึงตัดตรง หนาและแข็งมาก มีอายุหลายฤดู ใบแกหลุดรวง
ที่ขอตอ ชอดอกเปนชอซี่รม กานชอยาวมาก ดอกขนาด 1 เซนติเมตร ทยอยบาน 2–3 ดอก ใบประดับ
ไมหลุดรวง กลีบเลี้ยงบนรูปหอก กลีบเลี้ยงคูขางเชื่อมกัน ปลายกลีบแหลม กลีบดอกรูปทรงเกือบกลม
ปลายกลีบมน ขอบกลีบสีแดงและมีขนจํานวนมากยื่นยาว ทั้งหากลีบ สีเขียวออนจนถึงสีเขียวออนแกมสี
เหลื อ ง อาจมี ล ายสี แ ดง 5–7 ลาย เรี ย งขนานตามยาว กลี บ ปากรู ป ขอบขนานแกมรู ป ไข สี ม ว งแดง
อวบและหนา เสาเกสรมีขนาดเล็กและสั้น (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนกันยายนถึงเดือนตุลาคม ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
9

สิงโตกานหลอด

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum capillipes C.S.P.Parish & Rchb.f.


ชื่ออื่น กรอกตาเล็ก
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ
ั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ ภูฏาน อินเดีย พมา ไทย
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยขนาดเล็กที่พบในปาดิบเขาและปาดิบแลง มักเจริญบนกอนหินรวมกับ
สิ่งมีชีวิตจําพวกไลเคนและมอส ทั้งในที่โลงแจงแสงแดดจัดและที่รมแสงแดดรําไร ที่ความสูง 900-1,300
เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลํ า ลู ก กล ว ยรู ป ไข จ นถึ ง ค อ นข า งกลม ขึ้ น ชิ ด หรื อ ห า งกั น บนเหง า ใบรู ป แถบ 1 ใบ
ขนาด 1.5 x 8 เซนติเมตร ปลายใบแหลม ดอกเดี่ยว ออกจากโคนลําหรือออกจากเหงา ดอกขนาด 1 เซนติเมตร
กลีบเลี้ยงบนรูปไขแกมรูปรี กลีบเลี้ยงคูขางรูปสามเหลี่ยม ฐานกลีบกวาง โคนกลีบเบี้ยว กลีบดอกรูปรี
ทั้งหากลีบสีเหลืองแกมสีแดงเรื่อและมีลายมีสีมวงแดงจํานวน 3-5 ลาย ปลายกลีบแหลมหรือมน กลีบปาก
รูปทรงคอนไปทางรูปสามเหลี่ยม ปลายกลีบมนและโคงงอลง โคนกลีบเวารูปหัวใจกลางกลีบมีหูกลีบปาก
ตั้งชัน กลีบสีน้ําตาลแดง โคนกลีบสีมวง โคนกลีบเชื่อมกับฐานของเสาเกสรที่ยื่นยาว (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก ระยะเวลาออกดอกนานมาก ตั้งแตเดือนมกราคมถึงเดือนมิถุนายน ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
10

เอื้องขยุกขยุย

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum dayanum Rchb.f.


ชื่ออื่น สิงโตขยุกขยุย
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ ั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ พมา ไทย กัมพูชา
ถิ่นอาศัย กลวยไมที่อาศัยบนหินในปาดิบเขา พบบางที่เปนกลวยไมอิงอาศัยในที่โลงแจงแสงแดด
จัดที่ความสูง 1,100-1,400 เมตรจากระดับน้ําทะเล ในฤดูแลงสามารถอาศัยบนหินที่รอนและทนทาน
ตอความแหงแลงไดดี
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปทรงกลม สีมวงคล้ํา และผิวลูกกลวยเปนมัน โคนลํามีขนสีน้ําตาลปกคลุม
แตละลําอยูหางกันบนเหงา ใบรูปรีจนถึงคอนขางกลม มี 1 ใบ หนาและแข็งมาก ผิวใบดานบนสากและ
มีสีเขียวเขม ผิวใบดานลางสีมวง ปลายใบมนหรือเวาบุม โคนใบเปนกานแข็ง ใบติดทนนาน ชอดอก
เป น ช อ กระจะสั้ น มาก มีเ พี ย งช อเดี ย ว ดอกขนาด 2 เซนติ เ มตร มี 2-5 ดอก กลี บ เลี้ย งรู ป รี แ กมรู ป ไข
ปลายเรียวแหลม กลีบดอกรูปขอบขนาน ทั้งหากลีบสีมวงแดง ขอบกลีบมีขนยาวคลายแสจํานวนมาก
กลีบปากรูปรีแกมรูปไข ดานบนของกลีบมีตุมยาวจํานวนมาก โคนกลีบมีรยางคคลายเขี้ยวขนาดใหญ
โคงขึ้น เสาเกสรสั้น มีฐานเสาเกสรยื่นยาวและเชื่อมกับกลีบปาก (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนมีนาคมถึงเดือนตุลาคม พบดอกมากที่สุดในเดือนตุลาคม ดอกมีกลิ่นเหม็นรุนแรง
คลายซากสัตว เพื่อลอใหแมลงชวยผสมเกสร
11

สิงโตธานีนิวัติ

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum dhaninivatii Seidenf.


ชื่ออื่น สิงโตกํามะหยี่
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ
ั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ เปนกลวยไมถิ่นเดียวของประเทศไทย (endemic)
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยขนาดเล็ก พบในปาดิบเขา เจริญบนไมตนวงศกอ พบบางที่เจริญบน
กอนหินบริเวณที่รมแสงแดดรําไร ที่ความสูงประมาณ 1,400 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปทรงกลม ผิวมันวาว ขึ้นชิดกันเปนกอบนเหงาสั้น ๆ ใบใหญรูปขอบขนาน
2 ใบ ขนาด 2.5 x 10 เซนติเมตร เรียงตรงขาม ปลายใบมน มีอายุฤดูเดียว ใบแกสีเหลืองเขมกอนหลุดรวง
ที่ขอตอ ชอดอกเปนชอกระจะสั้นมาก มีเพียงชอเดียว ดอกขนาด 0.5 เซนติเมตร เรียงแนน ใบประดับดอก
มีขนาดเล็กจิ๋ว กานดอกและรังไขสั้น มีขนปกคลุม กลีบเลี้ยงบนรูปรี กลีบเลี้ยงคูขางเกือบเปนรูป
สามเหลี่ยม ดานนอกมีขนกํามะหยี่ปกคลุม กลีบดอกรูปขอบขนานผิวเกลี้ยง ทั้งหากลีบปลายมน สีมวงเขม
กลีบปากรูปขอบขนาน หนาและอวบ สีมวงคล้ํา ปลายกลีบมนและโคงงอลง เสาเกสรสีมวงมีขนาดเล็ก
และสั้น ที่ปลายมีรยางคคลายเขี้ยวยื่นขึ้น (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนมิถุนายนถึงเดือนสิงหาคม ชวงออกดอกจะทิ้งใบ
12

เบี้ยไมดอกขาว

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum hymenanthum Hook.f.


ชื่ออื่น เบี้ยไม สิงโตแคระ
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ ั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ สิกขิม อินเดีย ไทย
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยขนาดเล็กมากที่พบในปาดิบเขา อาศัยบนไมยืนตนในวงศกอในที่รม
แสงแดดรําไร ที่ความสูง 1,200 -1,300 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ไมมีลําลูกกลวย มีแตเหงาขนาดเล็กมาก ใบรูปรี ขนาด 0.6 x 1.2 เซนติเมตร หนานุมอยู
หางกันบนเหงา ปลายใบมน มีอายุหลายฤดูกอนหลุดรวงที่ขอตอ ชอดอกเปนชอกระจะ ออกจากเหงา
มีดอกจํานวนนอย เพียง 1-2 ดอก ดอกขนาด 0.4 เซนติเมตร กานชอยาวกวาแกนชอ ใบประดับมีขนาดเล็ก
จิ๋วไมหลุดรวง กลีบเลี้ยงรูปรีจนถึงรูปไข กลีบดอกรูปรีแกมรูปขอบขนาน ทั้งหากลีบสีขาวใส และมีลาย
สีมวงแดง 1-3 ลาย กลีบปากรูปไข อวบหนา สีมวงแดง ปลายกลีบมนและมีสีเหลือง เสาเกสรและฝาครอบ
เกสรเพศผูสีขาวและมีขนาดเล็กจิ๋ว (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนพฤษภาคม ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
13

สิงโตพุม

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum khasyanum Griff.


ชื่ออื่น สิงโตมวนกลีบ
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ
ั ชีที่ 2 (CITES) และเปนพืชที่ถูกคุกคาม (threatened plant)
การกระจายพันธุ สิกขิม ภูฏาน อินเดีย จีน ไทย เวียดนาม
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยขนาดเล็ก พบในปาดิบเขาแสงแดดรําไรจนถึงคอนขางมืดครึ้มที่ความสูง
1,400 – 1,600 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยลดรูปเหลือเพียงปมขนาดเล็ก ใบรูปขอบขนาน ขนาด 4 x 14 เซนติเมตร
ปลายใบมน โคนใบเปนกานแข็ง ชอดอกเปนชอกระจะ แกนชอยอยลง ดอกขนาด 0.5 เซนติเมตร กลีบเลีย้ ง
บนรูปรี ปลายเรียวแหลมและมวนขึ้นจนเปนวงกลม กลีบเลี้ยงคูขางแผกางเดนชัดและแนบกับกลีบปาก
กลีบดอกมีขนาดเล็กมาก รูปไข ทั้งหากลีบสีมวงแดง กลีบปากรูปรี สีมวงเขม (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนตุลาคม ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
14

สิงโตภูหลวงดอกแดง

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum luanii Tixier.


ชื่ออื่น -
สถานภาพ พืชอนุรักษบญั ชีที่ 2 (CITES) และเปนพืชที่ถูกคุกคาม (threatened plant)
การกระจายพันธุ ไทย เวียดนาม
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบเขา พบอาศัยบนไมยืนตนวงศกอ ตามที่รมแสงแดดรําไร
ที่ความสูงประมาณ 1,400 เมตรจากระดับน้ําทะเล ทนตออากาศเย็นจัดในฤดูหนาวไดดี
ลักษณะทั่วไป ลํ า ลู ก กล ว ยมี ข นาดเล็ ก รู ป ไข อยู ห า งกั น บนเหง า ใบรู ป แถบ 1 ใบ ขนาด 1.6 x 12
เซนติเมตร ปลายใบเวาบุม โคนใบเปนกานแข็ง มีอายุหลายฤดูกอนหลุดรวงที่ขอตอ ชอดอกเปนชอกระจะ
มีเพียงชอเดียว กานชอยาวกวาแกนชอ ดอกกวางประมาณ 0.6 เซนติเมตร มี 5-7 ดอก ใบประดับดอกรูป
สามเหลี่ยม ไมหลุดรวง กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยม ดานหลังของกลีบเปนสัน ปลายกลีบแหลม กลีบดอกรูป
ขอบขนาน ปลายกลีบมน ทั้งหากลีบสีมวงแดงและมีลายสีเหลือง 1-3 ลาย เมื่อบานเต็มที่ไมแผกวางออก
กลีบปากรูปไขแกมรูปขอบขนาน อวบและหนา โคงงอลง กลีบสีมวงแดงโคนกลีบปากเชื่อมกับฐานของ
เสาเกสร เสาเกสรสั้น สีเหลือง ปลายเสาเกสรมีรยางคคลายเขี้ยวยื่นขึ้น (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
15

สิงโตรวงขาว

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum morphologorum F.Kranzl.


ชื่อพอง Bulbophyllum dixonii Rolfe.
ชื่ออื่น สิงโตรังแตน
สถานภาพ พืชอนุรักษบญั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ ไทย เวียดนาม
ถิ่นอาศัย กลว ยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบเขา เจริญบนโขดหิน ทั้งในที่โลงแจงแสงแดดจัดและ
แสงแดดรําไร ที่ความสูง 900-1,400 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปไข แตละลําขึ้นชิดกันเปนกอบนเหงา ใบรูปขอบขนาน 1 ใบ ขนาด 3 x 15
เซนติเมตร ปลายใบมนโคนใบเปนกานแข็ง ติดทนนาน ชอดอกเปนชอกระจะ มีกานชอทอดเอียงและ
แกนชอหอยลง ดอกขนาด 0.5 เซนติเมตร เรียงแนน กลีบเลี้ยงบนรูปรี กลีบเลี้ยงคูขางเชื่อมกันที่ขอบ
ดานลางจนดูคลายกลีบเดียวกัน กลีบดอกมีขนาดเล็ก รูปสามเหลี่ยม ปลายกลีบเรียวแหลมจนคลายรยางค
ยื่นยาว ทั้งหากลีบสีเหลืองและมีจุดสีน้ําตาลเขมจนถึงน้ําตาลแดงทั่วกลีบ ปลายกลีบแหลม กลีบปาก
รูปขอบขนาน อวบและหนา ปลายกลีบมน โคนกลีบมีรยางคเขี้ยวยื่นขึ้น เสาเกสรสั้นและที่ปลายมีรยางค
คลายเขี้ยวตั้งชัน (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนมกราคม ถึงกุมภาพันธ ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
16

สิงโตนิพนธ

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum nipondii Seidenf.


ชื่ออื่น -
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ
ั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ เปนกลวยไมถิ่นเดียวที่พบเฉพาะในประเทศไทย (endemic)
ถิ่นอาศัย เปนกลวยไมอิงอาศัยขนาดเล็กที่พบในปาดิบเขา มักอาศัยบนไมตนริมลําธารที่มีแสงแดด
รําไร ที่ความสูงประมาณ 1,400 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยมีขนาดเล็ก รูปไขจนถึงรูปทรงเกือบกลม สีคล้ํา และขึ้นชิดกันเปนกอบนเหงา
ทอดเลื้อย ใบขนาดเล็ก รูปใบหอก ขนาด 1 x 2.5 เซนติเมตร แผนใบสาก ปลายใบแหลม มีอายุหลายฤดู
กอนหลุดรวงที่ขอตอ ชอดอกเปนซี่รม กานชอมักยาวกวาความยาวลํารวมกับความยาวใบ ดอกกวาง
ประมาณ 0.4 เซนติเมตร แตละชอมี 3 - 5 ดอก กลีบเลี้ยงบนรูปไข กลีบเลี้ยงคูขางเชื่อมกันเปนหลอดยื่นยาว
มาก กลีบดอกรูปทรงเกือบกลม ทั้งหากลีบสีมวงแดง กลีบปากรูปขอบขนานแกมรูปไขโคงงอลง กลีบสี
มวงแดง เสาเกสรมีขนาดเล็กมาก และที่ปลายมีรยางคคลายเขี้ยวยื่นขึ้น (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนตุลาคม ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
17

สิงโตหลอดไฟ

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum odoratissimum (Sm.) Lindl.


ชื่อพอง Stelis odoratissima J.E. Sm.
ชื่ออื่น สิงโตโคมไฟ ตุมสิงโต
สถานภาพ พืชอนุรักษบญั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ เนปาล สิกขิม ภูฏาน อินเดีย พมา จีน ลาว เวียดนาม
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบ บริเวณที่มีแสงแดดรําไร ที่ความสูงประมาณ 1,200 เมตร
จากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปทรงกระบอก แตละลําอยูหางกันบนเหงาขนาดเล็ก ใบรูปขอบขนาน 1 ใบ
ขนาด 1.8 x 4 เซนติเมตร ปลายใบเวาบุม มีอายุหลายฤดูกอนหลุดรวงที่ขอตอ ชอดอกกึ่งซี่รมและมีเพียง
ชอเดียว ดอกขนาด 0.6 เซนติเมตร เรียงเปนกระจุกแนน กลีบเลี้ยงรูปขอบขนานแกมรูปไขจนถึงรูปหอก
แกมรูปไข ปลายกลีบมน กลีบดอกรูปไข เบี้ยว ปลายกลีบแหลม ทั้งหากลีบสีขาวครีมและปลายกลีบ
มักเปนสีสม กลีบปากรูปขอบขนาน อวบอวน ปลายกลีบไมโคงงอลง เสาเกสรเล็กและสั้น ที่ปลายมีรยางค
เขี้ยวยื่นขึ้น (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนพฤษภาคมถึงเดือนสิงหาคม มีกลิ่นหอม ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
18

สิงโตรวงทอง

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum orientale Seidenf.


ชื่ออื่น -
สถานภาพ พืชอนุรักษบญั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ เปนกลวยไมถิ่นเดียวที่พบเฉพาะในประเทศไทย (endemic)
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบเขา มักพบเจริญบนหิน ทั้งในที่โลงแจงแสงแดดจัดและ
ที่รมแสงแดดรําไร ที่ความสูง 800 -1,200 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปไข สีมวงคล้ํา อยูหางกันบนเหงาขนาดใหญ ใบรูปขอบขนาน 1 ใบ ขนาด
3 x 10 เซนติเมตร สีมวงคล้ํา ปลายใบแหลมจนถึงมน มีอายุหลายฤดูกอนหลุดรวงที่ขอตอ ชอดอกเปนชอ
กระจะ มักหอยลง กานชอสั้นกวาแกนชอ ดอกขนาด 0.4 เซนติเมตร เรียงแนน กลีบเลี้ยงบนรูปรีกวาง
กลีบเลี้ยงคูขางเชื่อมกันที่ขอบดานลางจนดูคลายกลีบเดียวกัน แตบางครั้งแยกเปนอิสระกลีบดอกมีขนาด
เล็ก รูปสามเหลี่ยม เบี้ยว ปลายกลีบเรียวแหลม ทั้งหากลีบสีสมและมีจุดสีสมแดงจํานวนมาก กลีบปากมี
สีสม รูปขอบขนาน อวบหนา โคนกลีบมีรยางคเขี้ยว ปลายกลีบมน ดานบนของกลีบขรุขระ เสาเกสรสั้น
และที่ปลายมีรยางคคลายเขี้ยวตั้งขึ้น (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนตุลาคมถึงเดือนธันวาคม ชวงออกดอกไมทิ้งใบ ดอกมีกลิ่นเหม็นคลายซากสัตว
เพื่อลอใหแมลงชวยผสมเกสร
19

สิงโตรวงขาวนอย

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum parviflorum Parish & Rchb.f.


ชื่ออื่น -
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ
ั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ พมา ไทย
ถิ่นอาศัย กลว ยไมอิงอาศัย ที่พบในปาดิบเขา มัก เจริญบนหิน ทั้ง ในที่โลง แจงแสงแดดจัด หรือ
แสงแดดรําไร ที่ความสูงประมาณ 1,400 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปทรงกลมจนถึงกลมแบน แตละลําขึ้นหางกันบนเหงาขนาดเล็ก ใบรูปแถบ
1 ใบ ขนาด 2 x 8 เซนติเมตรปลายใบแหลมจนถึงเวา โคนใบเปนกานแข็ง มีอายุหลายฤดูกอนหลุดรวงที่ขอ
ชอดอกเปนชอกระจะ ออกจากโคนลํา มีเพียงชอเดียว กานชอยาวใกลเคียงกับแกนชอ ดอกขนาด 0.6
เซนติเมตร หลายดอก เรียงเวียนแนน กลีบเลี้ยงบนรูปรีแกมรูปไข กลีบเลี้ยงคูขางรูปไขแกมรูปสามเหลี่ยม
กลีบดอกรูปขอบขนาน ขอบกลีบมีขน ทั้งหากลีบสีขาว ปลายกลีบมน กลีบปากรูปขอบขนาน เสาเกสรสั้น
มากและที่ปลายมีรยางคคลายเขี้ยวยื่นขึ้น (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม ชวงออกดอกไมทิ้งใบ ดอกมีกลิ่นหอมเพื่อลอใหแมลง
ผสมเกสร
20

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum proteranthum (Seidenf.) Seidenf.


ชื่อพอง Dendrobium proteranthum Seid.nov.sp.
ชื่อสามัญ -
สถานภาพ พืชอนุรักษบัญชีที่ 2 (CITES) และเปนพืชที่ถูกคุกคาม (threatened plant)
การกระจายพันธุ เปนกลวยไมถิ่นเดียวที่พบเฉพาะในประเทศไทย (endemic)
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยพบในปาดิบเขาที่ระดับความสูงมากกวา 1,200 เมตร จากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปทรงกลม ขึ้นชิดติดกันบนเหงา ลําลูกกลวยขนาด 1 x 1.3 เซนติเมตร มีกาบ
เปนตาขายปกคลุม ใบไมพบวามีใบแก ชอดอกออกจากสวนปลายของลําลูกกลวยที่เพิ่งแตกใหมที่ฐานของ
ลําลูกกลวยที่เจริญเต็มที่แลว ใบและลําลูกกลวยจะเจริญเติบโตหลังจากออกดอกแลว ชอดอกยาวขนาด 2.5
เซนติเมตร ประกอบดวยดอก 4–7 ดอก กลีบเลี้ยงขนาด 0.35–0.5 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงดานบนยาว 0.4–0.5
เซนติเมตร กลีบดอกบางและสั้น กลีบเลี้ยงคูขางพับเขาดานใน กลีบปากรูปไข มีขอบเปนหยัก ปลายกลีบ
และกลางกลีบจะอวบหนา ขอบกลีบบาง เสาเกสรสั้นและกวาง กลีบเลี้ยงและกลีบดอกมีสีเขียวแกมเหลือง
มีลายสีมวง 3 ลาย กลีบปากมีลายสีมวง ปลายกลีบปากสีออกเขียว คางเสาเกสรสีมวง ฝาครอบเกสรเพศผู
สีเขียว (Seidenfaden, 1985)
ชวงที่ออกดอก เดือนมีนาคม
21

สิงโตปากนกแกว

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum psittacoglossum Rchb.f.


ชื่ออื่น สิงโตลิ้นนกแกว เอื้องลิ้นนกแกว
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ ั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ พมา ไทย
ถิ่นอาศัย เปนกลวยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบเขา มักพบเจริญบนโขดหิน ทั้งในที่โลงแจงแสงแดด
จัดและแสงแดดรําไร ที่ความสูง 1,200 -2,100 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปขอบขนาน แตละลําขึ้นชิดกันบนเหงาสั้นๆ ลําลูกกลวยมีกาบที่เหลือเปน
ตาขายปกคลุม ใบรูปขอบขนานแกมรูปรี 1 ใบ ขนาด 4 x 7 เซนติเมตร ผิวเปนมัน ปลายใบแหลมจนถึงมน
มีอายุฤดูเดียว ใบแกสีเหลืองเขมกอนหลุดรวงที่ขอตอ ชอดอกเปนชอกระจะ มีเพียง 1-3 ดอก ดอกขนาด
2.5 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงบนรูปรีและใหญกวากลีบเลี้ยงคูขางที่มีรูปรีแกมรูปขอบขนานกลีบดอกรูปขอบ
ขนาน ทั้ ง ห า กลี บ สี เ หลื อ งหม น และมี ล ายสี แ ดงคล้ํ า 5-7 ลาย ปลายกลี บ มน แผ น กลี บ เกลี้ ย ง มั น วาว
กลีบปากรูปแถบแกมรูปไข สีแดงคล้ํา แผนปากดานบนมีตุมหูดจํานวนมาก เสาเกสรสั้น ดานหนามีจุด
สีแดงจํานวนมาก ฝาครอบเกสรเพศผูสีเหลือง (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนพฤษภาคมถึงเดือนมิถุนายน ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
22

สิงโตเลื้อย

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum reptans (Lindl.) Lindl.


ชื่อพอง Tribrachia reptans Lindl.
ชื่ออื่น สิงโตภูหลวง
สถานภาพ พืชอนุรักษบัญชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ เนปาล สิกขิม ภูฏาน อัสสัม พมา จีน ไทย เวียดนาม
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบเขา บางครั้งเจริญบนโขดหิน ทั้งในที่โลงแจงแสงแดดจัด
และแสงแดดรําไร ที่ความสูง 1,300 –2,000 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยมีขนาดเล็กรูปไข แตละลําอยูหางกันมากบนเหงา ใบรูปแถบ 1 ใบ ขนาด
1.5 x 6 เซนติเมตร ปลายใบมนหรือเวาบุม มีอายุหลายฤดู ใบแกหลุดรวงที่ขอตอ ชอดอกเปนชอกระจะ
มีเพียงชอเดียว กานชอยาวกวาแกนชอ ดอกขนาด 0.5 เซนติเมตร มี 2-5 ดอก ใบประดับรูปสามเหลี่ยม
ไมหลุดรวง กลีบเลี้ยงรูปสามเหลี่ยมคอนขางยาว ดานหลังของกลีบเปนสัน ปลายกลีบแหลม กลีบดอกรูป
ขอบขนาน ปลายมน ทั้งหากลีบสีเหลือง กลีบปากรูปขอบขนาน อวบหนาและโคงลง เสาเกสรสั้น สีเหลือง
ที่ปลายมีรยางคขนาดเล็กคลายเขี้ยวยื่นขึ้น (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนพฤศจิกายนถึงเดือนมีนาคม ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
23

สิงโตลิ้นดํา

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum secundum Hook.f.


ชื่อพอง Bulbophyllum niqripetatum Rolfe.
ชื่ออื่น -
สถานภาพ พืชอนุรักษบัญชีที่ 2 (CITES) และเปนพืชที่ถูกคุกคาม (threatened plant)
การกระจายพันธุ อินเดีย เวียดนาม เนปาล จีน พมา ไทย ลาว
ถิ่นอาศัย เปนกลวยไมอิงอาศัย ที่พบในปาดิบเขา ที่ระดับความสูงประมาณ 1,000–2,500 เมตร
จากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปทรงกลม ขนาดเสนผาศูนยกลาง 1.5 เซนติเมตร แตละลําขึ้นชิดติดกันเปน
กอบนเหงา ใบรูปขอบขนานขนาด 0.8 x 4.5 เซนติเมตร ชอดอกเปนชอกระจะ กานชอดอกยาวกวาใบพบ
บริเวณโคนของลําลูกกลวย ดอกขนาดเล็กมาก 0.3 เซนติเมตร ดอกมีสีแดงขนาดเล็กๆหลายๆดอกเรียงกัน
เปนชอที่สวยงาม ชอดอกหนึ่งมีมากกวา 15 ดอกเรียงกันบนกานชอที่มีความสูงประมาณ 12 เซนติเมตร
กลี บ เลี้ ย งและกลี บ ดอกมี ผิ ว ด า นนอกที่ เ รี ย บ ส ว นปลายของกลี บ ดอกและกลี บ ปากมี ข นปกคลุ ม
(Emly, 2001; Vaddhanaphuti, 1997)
ชวงที่ออกดอก ชวงเดือนมิถุนายนถึงเดือนกรกฎาคม
24

สิงโตสยาม

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum siamense Rchb.f.


ชื่อพอง Bulbophyllum lobbii Lindl.
ชื่ออื่น ลิ้นฟา สิงโตกรอกตาใหญ
สถานภาพ พืชอนุรักษบญั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ พมา ไทย
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบเขา ทั้งในที่โลงแจงแสงแดดจัดและแสงแดดรําไร บางครั้ง
พบเจริญบนโขดหิน ที่ความสูง 1,200 – 2,100 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปไข แตละลําขึ้นหางกันบนเหงาขนาดใหญ ใบรูปขอบขนาน 1 ใบ ขนาด
4 x 10 เซนติเมตร ปลายแหลมหรือมน แผนใบหนานุม โคนใบเปนกานแข็ง มีอายุหลายฤดูกอนหลุดรวง
ที่ขอตอ ดอกเดี่ยว ออกจากโคนลํา บางครั้งออกจากเหงา ดอกกวางประมาณ 4 เซนติเมตร กลีบเลี้ยงบนรูป
สามเหลี่ยมจนถึงรูปขอบขนานแกมรูปไข กลีบเลี้ยงคูขางรูปเคียว กลีบดอกรูปหอกแกมรูปไข ทั้งหากลีบสี
เหลืองและมีลายสีน้ําตาลแดง 7-11 ลาย ปลายกลีบแหลม กลีบปากสีเหลือง รูปรีแกมรูปไข กลางแผนปาก
มีเนื้อเยื่อนูนสีเหลืองและเปนมันวาว โคนกลีบเชื่อมกับฐานเสาเกสรที่ยื่นยาว เสาเกสรสั้น แตแผกวาง
(สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก ชวงเดือนตุลาคมถึงเดือนมิถุนายน ชวงออกดอกไมทิ้งใบ
25

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum striatum (Griff.) Rchb.f.


ชื่อพอง Bulbophyllum striatitepalum Seidenfaden.
Dendrobium striatum Griffith.
ชื่ออื่น -
สถานภาพ พืชอนุรักษบัญชีที่ 2 (CITES) และเปนพืชที่ถูกคุกคาม (threatened plant)
การกระจายพันธุ เปนกลวยไมถิ่นเดียวของสิกขิมและกาเซีย (อินเดีย)
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัย เจริญเติบโตไดดีในที่ที่มีความชื้นสูงซึ่งปกคลุมไปดวยมอส ขึ้นที่ระดับ
ความสูงมากกวา 1,500 เมตร จากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปทรงกลมขนาดเสนผาศูนยกลาง 1.5 เซนติเมตร ลําลูกกลวยขึ้นหางกันบน
เหงาประมาณ 1–3 เซนติเมตร ใบรูปขอบขนานแกมรูปไข ยาวประมาณ 2.5–6.5 เซนติเมตร ชอดอกเปน
แบบช อ ซี่ ร ม ก า นช อ ยื่ น ยาว 5–8 เซนติ เ มตร แต ล ะช อ มี 2–4 ดอก กลี บ เลี้ ย งและกลี บ ดอกมี สี เ หลื อ ง
แกมเขียว มีลายสีมวงบนดอก ( Bruhl, 1993; Emly, 2001; Seidenfaden, 1995)
ชวงที่ออกดอก เดือนตุลาคม
26

สิงโตศรีเที่ยง

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum suavissimum Rolfe.


ชื่ออื่น เอื้องสีเที่ยง
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ ั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ พมา ไทย
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบเขาและปาสนเขา พบทั้งในที่โลงแจงแสงแดดจัด และที่รม
แสงแดดรําไร ที่ความสูง 1,000-1,400 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยตั้งตรง รูปไขแกมรูปขอบขนาน แตละลําขึ้นหางกันบนเหงา ใบรูปแถบ 2 ใบ
ขนาด 2.5 x 10 เซนติเมตร เรียงตรงขาม ปลายใบมน มีอายุฤดูเดียว ใบแกสีเหลืองเขมกอนหลุดรวงที่ขอตอ
ช อ ดอกแบบช อ กระจะ ก า นช อ ยาวใกล เ คี ย งกั บ แกนช อ ดอกขนาด 0.6 เซนติ เ มตร ใบประดั บ ดอก
มีขนาดเล็ก ไมหลุดรวง กลีบเลี้ยงบนรูปรี กลีบเลี้ยงคูขางรูปขอบขนานแกมรูปไข กลีบดอกรูปขอบขนาน
ทั้งหากลีบสีครีม ปลายกลีบมน กลีบปากรูปขอบขนาน อวบหนา ปลายกลีบมนและโคงลง โคนกลีบเชื่อม
กับฐานของเสาเกสร เสาเกสรมีขนาดเล็กและสั้น ที่ปลายมีรยางคคลายเขี้ยวยื่นขึ้น (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนมกราคมถึงเดือนมีนาคม ชวงออกดอกจะทิ้งใบ ดอกมีกลิ่นหอมแรงเพื่อลอใหแมลง
ชวยผสมเกสร
27

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum taeniophyllum C.S.P.Parish & Rchb.f.


ชื่อพอง Bulbophyllum simullinum Par & Rchb.f.
Cirrhopetalum taeniophyllum (Par.&Rchb.f.) Hk.f.
ชื่ออื่น -
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ
ั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ พมา ไทย ลาว มาเลเซีย สุมาตรา จาวา
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบเขา ขึ้นบนตนไมหรือบนหินที่มีรมแสงแดดรําไร ขึ้นที่
ระดับความสูงมากกวา 1,000 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปไข ขนาด 0.85 x 2.7 เซนติเมตร ขึ้นหางกันบนเหงาที่คอนขางหนา ใบรูป
ขอบขนานแกมรูปหอกปลายใบมน ขนาด 2.2 x 15 เซนติเมตร กานใบสั้น ชอดอกเปนแบบชอซี่รม แตละ
ชอมีประมาณ 10 ดอก ชอดอกออกจากฐานที่ลําลูก กลวยยาวประมาณ 10 เซนติเมตร ดอกขนาด 1.6
เซนติเมตร กลีบเลี้ยงและกลีบดอกสีเหลืองเปนแถบมีจุดสีชมพูเขมทั้งดอก กลีบปากสีชมพู กลีบเลี้ยงดาน
นอกรูปไขปลายแหลม กลีบเลี้ยงคูขางขนาด 0.18 x 1.4 เซนติเมตรปลายกลีบเชื่อมติดกัน กลีบดอกรูปไข
กลีบปากโคงลง เสาเกสรสั้นสีขาว (Byne, 2001; Comber, 2001; Seidenfaden, 1973)
ชวงที่ออกดอก เดือนตุลาคม
28

สิงโตใบพาย

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum wallichii Rchb.f


ชื่ออื่น -
สถานภาพ พืชอนุรักษบญั ชีที่ 2 (CITES)
การกระจายพันธุ เนปาล สิกขิม ภูฏาน พมา ไทย
ถิ่นอาศัย กลวยไมเจริญบนหินที่พบในปาดิบเขา บริเวณที่โลงแจงแสงแดดจัด ที่ความสูง 1,200 –
1,400 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป ลําลูกกลวยรูปขอบขนานแกมรูปไข สีเขียวอมสม แตละลําขึ้นชิดกันเปนกอบนเหงาทอด
เลื้อยสั้นๆ ใบรูปแถบ 2 ใบ ขนาด 2.5 x 10 เชนติเมตร เรียงตรงขามกัน ปลายใบแหลม มีอายุฤดูเดียว ใบแก
สีเหลืองเขมกอนหลุดรวงที่ขอตอ ชอดอกเปนชอกระจะ มี 1-2 ชอ กานชอยาวกวาแกนชอที่หอยลง ดอกมัก
ยาวกวา 3 เซนติเมตร ใบประดับดอกรูปหอกแกมรูปไข ไมหลุดรวง กลีบเลี้ยงบนรูปหอก ปลายเรียวแหลม
ขอบกลีบและแผนกลีบดานในมีขนปกคลุม กลีบเลี้ยงคูขางรูปแถบ มีขนาดใหญและยื่นยาว ขอบกลีบดาน
ในเชื่อมกัน ยกเวนที่โคนกลีบ กลีบดอกรูปไข เบี้ยว ปลายเรียวแหลม ทั้งหากลีบสีสมจนถึงสีแสด กลีบปาก
รูปขอบขนาน มีขนาดเล็กมาก สีสมแดง โคนกลีบเชื่อมกับฐานของเสาเกสร เสาเกสรมีขนาดเล็กและสั้น
มาก (สลิล, 2549)
ชวงที่ออกดอก เดือนธันวาคมถึงเดือนมีนาคม ชวงออกดอกจะทิ้งใบ ในฤดูรอนสามารถทนตอความรอน
และความแหงแลงไดดี
29

ชื่อวิทยาศาสตร Bulbophyllum sp.


ชื่ออื่น -
สถานภาพ พืชอนุรักษบญ
ั ชีที่ 2 (CITES)
ถิ่นอาศัย กลวยไมอิงอาศัยที่พบในปาดิบเขาที่ระดับความสูง 1,200 เมตรจากระดับน้ําทะเล
ลักษณะทั่วไป กล ว ยไม ข นาดเล็ ก มาก ลํ า ลู ก กล ว ยรู ป ทรงกลมขนาดเส น ผ า ศู น ย ก ลางประมาณ
0.3 เซนติเมตร สีเขียวคอนขางใส เรียงตัวแนนบนเหงา ทอดยาวเปนเสนคลายลูกประคําแผเปนแผนเกาะ
แนบเปลือกไม แตละหัวมีใบเล็กๆ 1 ใบ ใบเรียวยาวประมาณ 0.8 เซนติเมตร
ชวงที่ออกดอก ชวงเดินสํารวจยังไมพบการออกดอก
30

วิจารณผล

1. จากผลการศึกษาพบวา มีกลวยไมสกุลสิงโต (Bulbophyllum) จํานวน 24 ชนิด สามารถ


จําแนกได 23 ชนิด อีกหนึ่งชนิด ยังไมสามารถจําแนกชนิดได เนื่องจากในชวงระยะเวลาที่เดินสํารวจ
ไมพบการออกดอกของกลวยไมชนิดนี้ แตจากลักษณะกลวยไมที่พบสามารถจําแนกลักษณะตาม
รูปวิธานการจําแนกชนิดกลวยไม จัดอยูในสกุล Bulbophyllum จึงตองทําการศึกษาตอไป เมื่อพบ
การออกดอกของ Bulbophyllum species นี้ กลวยไมที่พบทั้ง 24 ชนิดถูกจัดเปนพืชอนุรักษบัญชีที่ 2
ตามอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตวปาและพืชปาที่ใกลสูญพันธุ (CITES)
2. จากผลการศึก ษากลว ยไมที่พ บสามารถจํา แนกลัก ษณะการอาศัย เปน 2 ลัก ษณะคือ
เปนกลวยไมอิงอาศัย (epiphyte) และอิงอาศัยบนหิน (lithophyte) และเจริญเติบโตไดดีในปาดิบเขา
และปาไมพุม หรือปาละเมาะเขา บนภูหลวงที่ระดับความสูงเฉลี่ย 1,500 เมตร จากระดับน้ําทะเล
3. จากผลการศึกษาครั้งนี้พบวามีกลวยไมที่อยูในสถานภาพเปนพืชที่ถูกคุกคาม (Threatened
plant) ตามหนังสือ A Preliminary Check-list of Threatened Plants in Thailand จํานวน 4 ชนิด ไดแก
สิงโตมวนกลีบ (Bulbophyllum khasyanum Griff.), สิงโตภูหลวงดอกแดง (Bulbophyllum luanii Tixier.),
Bulbophyllum proteranthum (Seidenf.) Seidenf. และBulbophyllum striatum (Griff.) Rchb.f. และ
เปนกลวยไมถิ่นเดียวที่พบเฉพาะในประเทศไทย (endemic) จํานวน 4 ชนิด ไดแก สิงโตธานีนิวัติ
(Bulbophyllum dhaninivatii Seidenf.), สิงโตนิพนธ (Bulbophyllum nipondii Seidenf.), สิงโตรวงทอง
(Bulbophyllum orientale Seidenf.) และ Bulbophyllum proteranthum (Seidenf.) Seidenf. และยังพบ
กลวยไมถิ่นเดียวของสิกขิมและกาเซีย (อินเดีย) เจริญเติบโตอยูบนภูหลวงดวย คือ Bulbophyllum
striatum (Griff.) Rchb.f. แสดงใหเห็นวาสภาพภูมิอากาศบนภูหลวงมีสภาพที่เหมาะสมตอการ
เจริ ญ เติ บ โตของพื ช ในวงศ ก ล ว ยไม ไม ถิ่ น เดี ย วของสิ ก ขิ ม และกาเซี ย (อิ น เดี ย ) ยั ง สามารถ
แพรกระจายพันธุ และเจริญเติบโตไดดีบนภูหลวง
4. สําหรับชวงระยะเวลาที่พบการออกดอกของกลวยไม จะพบวาในชวงเดือนตุลาคมถึง
เดือนมีนาคม จะพบกลวยไมจํานวนหลายๆ ชนิดผลัดกันออกดอกในชวงนี้เปนปริมาณมาก และ
จะลดลงชวงเดือนเมษายนถึงเดือนมิถุนายน และพบการออกดอกนอยที่สุดในชวงเดือนกรกฎาคม
ถึงเดือนกันยายน
5. การตรวจวิเ คราะหชื่อ กลว ยไม บางชนิด ก็มีค วามยุง ยากและซับซอน เนื่อ งจากการ
จําแนกกลวยไมมีการปรับเปลี่ยนความกาวหนาทางพฤกษศาสตรตลอดเวลา แมกระทั่งปจจุบัน
ก็ยังคงมีพัฒนาการจัดหมวดหมูอยางตอเนื่อง เพื่อใหการจําแนกนั้นถูกตองที่สุด ในผลการศึกษา
31

จึงไดใสชื่อพองในกลวยไมบางชนิดไว เพื่อใหสามารถตรวจสอบความถูกตองของชื่อในกรณีที่มี
การโยกยายเปลี่ยนชื่อและกลุมพฤกษศาสตรของกลวยไมชนิดนั้นๆ
6. พื้นที่ที่ทําการศึกษาอยูไกลและเปนพื้นที่ที่อยูสูงถึงประมาณ 1,500 เมตร จากระดับ
น้ําทะเล ทําใหมีความแปรปรวนทางสภาพอากาศสูงปกคลุมดวยเมฆหมอก อากาศหนาวเย็นตลอด
ทั้งป บางครั้งสภาพอากาศไมเหมาะสม ทัศนวิสัยไมดีมองเห็นไดเพียงระยะใกลๆ สงผลตอการ
เดินสํารวจ และประกอบกับกลวยไมบางชนิดออกดอก และบานในชวงระยะเวลาสั้นๆ ซึ่งไมตรงกับ
ชวงเวลาที่ไปเดินสํารวจทําใหไมไดเห็นกลวยไมชนิดนั้นๆ ในชวงออกดอก จึงอาจยังมีกลวยไม
สกุลสิงโตบางชนิดที่ยังสํารวจไมพบในการศึกษาครั้งนี้
32

สรุป

จากการสํารวจและศึกษากลวยไมสกุลสิงโตในเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง พบกลวยไม
สกุลสิงโต (Bulbophyllum) ทั้งสิ้น 24 ชนิด สามารถจําแนกกลวยไมตามลักษณะการอาศัยเปน
สองลักษณะ คือ กลวยไมอิงอาศัย (epiphyte) และกลวยไมอิงอาศัยบนหิน (lithophyte) มีกลวยไม
จํานวน 17 ชนิด เปนกลวยไมอิงอาศัย (epiphyte) สวนอีก 7 ชนิด สามารถเจริญเติบโตไดดีทั้งใน
ลั ก ษณะอิ ง อาศั ย (epiphyte) และอิ ง อาศั ย บนหิ น (lithophyte) สํ า หรั บ สถานะภาพกล ว ยไม ทั้ ง
24 ชนิด เปนพืชอนุรักษบัญชีที่ 2 ตามอนุสัญญาวาดวยการคาระหวางประเทศซึ่งชนิดสัตวปาและ
พืชป าที่ใ กลสู ญพั น ธุ (CITES) และในจํา นวนนี้มี 4 ชนิด เป น พื ชที่อ ยูในสถานภาพถู ก คุก คาม
(Threatened plant) ไดแก Bulbophyllum khasyanum Griff., Bulbophyllum luanii Tixier.,
Bulbophyllum proteranthum (Seidenf.) Seidenf. และ Bulbophyllum striatum (Griff.) Rchb.f.
และมีกลวยไมจํานวน 4 ชนิด เปนกลวยไมถิ่นเดียวที่พบเฉพาะในประเทศไทย (endemic) ไดแก
Bulbophyllum dhaninivatii Seidenf., Bulbophyllum nipondii Seidenf., Bulbophyllum orientale
Seidenf. และ Bulbophyllum proteranthum (Seidenf.) Seidenf. และในจํานวนกลวยไมที่สํารวจพบ
ปรากฏวามีกลวยไมถิ่นเดียวของสิกขิมและกาเซีย (อินเดีย) ไดถูกสํารวจพบในการศึกษาครั้งนี้ดวย
คือ Bulbophyllum striatum (Griff.) Rchb.f. สําหรับชวงเวลาที่เปนฤดูออกดอกของกลวยไมหลายๆ
ชนิดที่ผลัดกันออกดอกเปนจํานวนมาก คือในชวงเดือนตุลาคมถึงเดือนมีนาคม ปริมาณกลวยไม
แตละชนิดที่สํารวจพบจะพบวาบางชนิดพบไดมาก และบางชนิดพบไดนอย โดยเฉพาะกลวยไม
ที่อยูในสถานภาพถูกคุกคามและกลวยไมถิ่นเดียวที่พบไดนอยมาก ซึ่งจัดเปนกลวยไมที่หายาก
และใกลสูญพันธุ เพราะหากสูญพันธุไปจากถิ่นก็เทากับวาไดสูญพันธุไปจากโลก ดังนั้น จากผล
การศึกษากลวยไมหลายๆชนิด ไมวาจะมีในปริมาณที่มากหรือนอยก็ตาม ลวนมีคุณคาสมควร
อนุรักษใหคงอยู ซึ่งขอมูลของกลวยไมแตละชนิดในผลการศึกษาจะชวยในการวางแนวทางในการ
จัดการและใชประโยชนทรัพยากรธรรมชาติไดอยางยั่งยืนตลอดไป
33

ขอเสนอแนะ

ควรทําการสํารวจและศึกษากลวยไมชนิด ตางๆ ที่พบในเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง


อยางตอเนื่อง อยางนอยเปนระยะเวลา 2-3 ป เพื่อใหไดขอมูลที่สมบูรณมากยิ่งๆ ขึ้น จัดทําคูมือ
บริการนักทองเที่ยว เพื่อใหนักทองเที่ยวมีความรูความเขาใจนิเวศวิทยาของกลวยไม และชมความงาม
ตามธรรมชาติของกลว ยไมอยางถูก วิธีที่ไ มก ระทบตอการดํารงอยูตามธรรมชาติของกลว ยไม
รวมถึงไมลักลอบเก็บ และนํากลวยไมออกจากพื้นที่ หากผูใดฝาฝนใหใชมาตรการลงโทษขั้นสูงสุด
กับผูที่ลักลอบนํากลวยไมออกจากพื้นที่ และใหมีการรวบรวมพันธุกลวยไมที่พบจัดแหลงอาศัยให
มีสภาพแวดลอมใกลเคียงธรรมชาติ เพื่อศึกษาหาวิธีการขยายพันธุกลวยไมที่มีคาหายาก เพื่อมิให
สูญพันธุตอไป

คํานิยม

การสํารวจและศึกษากลวยไมสกุลสิงโต (Bulbophyllum) ในเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง


จังหวัดเลย ในครั้งนี้สําเร็จไดดวยดีตอง ขอขอบคุณเจาหนาที่เขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวงทุกทาน
ที่คอยอํานวยความสะดวกตลอดระยะเวลาที่ทําการศึกษา ขอขอบคุณ ดร. สมราน สุดดี ที่ใหคําปรึกษา
และชวยเหลือในการตรวจสอบความถูกตองในการจําแนกชนิดกลวยไม และคุณไพรินทร ไมดี
ที่ชวยเหลือเรื่องจัดพิมพ
34

เอกสารอางอิง

กรมปาไม. 2536. แผนแมบทเขตรักษาพันธุสัตวปาภูหลวง จังหวัดเลย. สํานักโครงการจัดทําแผนแมบท


และจัดทําพืน้ ที่อุทยานแหงชาติ เขตรักษาพันธุสัตวปา , กรุงเทพฯ. 81 น.
กรมวิชาการเกษตร. 2535. พระราชบัญญัติพนั ธุพืช พ.ศ. 2518 (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2535. กรมวิชาการเกษตร,
กรุงเทพฯ.
มานพ เลาหประเสริฐ. 2544. ไซเตส (CITES) กับประเทศไทย (เอกสารโรเนียว). กรมปาไม, กรุงเทพฯ.
วิชา ธิติประเสริฐ และคณะ. 2540. เอกสารวิชาการคูมือจําแนกกลวยไมไทย. กองควบคุมพืชและวัสดุ
การเกษตร กรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ, กรุงเทพฯ. 162 น.
สลิล สิทธิสัจจธรรม. 2549. กลวยไมปาเมืองไทย. สํานักพิมพบานและสวน, กรุงเทพฯ. 495 น.
สวนพฤกษศาสตรสมเด็จพระนางเจาสิริกิติ์. 2543. กลวยไมไทย เลม 6. โอ.เอส.พริ้นติ้งเฮาส, กรุงเทพฯ.
291 น.
อบฉันท ไทยทอง. 2545. กลวยไมเมืองไทย. บริษัทอมรินทร พริ้นติ้ง แอนดพับลิชชิ่ง จํากัด (มหาชน),
กรุงเทพฯ. 461 น.
Bruhl, P. 1993. A Guide to Orchids of Sikkim. Bishen singh mahendra pal singh 23–A Connaught Place
Dehra Dum, India. 208 p.
Byrne, P. 2001. A to Z South East Asian Orchid Species. Orchid Society of South East Asia,
Singapore. 168 p.
Comber, J.B. 2001. Orchid of Sumatra. The Royal Botanic Gardens Kew, Malaysia. 1026 p.
Emly, S. 2001. Bulbophyllum And Their Allies:A Grower ’s Guide. Timber press Portland, Oregon.
251 p.
Pooma, R & et.al. 2005. A Preliminary Check-list of Threatened Plants in Thailand. National
Park, wildlife and Plant Conservation Department, Bangkok. 193 p.
Schuiteman, A&Voqel, E.B.DE. 2000. Orchid Genera of Thailand, laos,Combodia and Vietnam.
National Herbarium, Nederland. 120 p.
Seidenfaden, G and Smitinand, T. 1961. The Orchid of Thailand A Preliminary list.The siam society,
Bangkok. 516 p.
Seidenfaden, G. 1973. Note on Cirrhopetalum Lindl. Dansk Botanisk Arkiv Udgivet af Dansk
Botanisk Forening 29(1). 260 p.
35

Seidenfaden, G. 1979. Orchid Genera in Thailand Vlll. Bulbophyllum Thouars. Dansk Botanisk
Arkiv Udgivet af Dansk Botanisk Forening 33(3). 228 p.
. 1985. Orchid Genera in Thailand Xll. Dendrobium Sw. Opera Botanica 83,
Copenhagen. 295 p.
. 1995. Contribution to the orchid flora of Thailand Xll. Opera Botanica 124,
Copenhagen. 90 p.
Thaithong, O. 1999. Orchid of Thailand. Office of Environmental Policy and Planning, Bangkok.
237 p.
Vaddhanaphuti, N. 1997. A field Guide to the Wild Orchid of Thailand. O.S. Printing House,
Bangkok. 158 p.
ภาคผนวก
ดัชนีชื่อพื้นเมือง

เบี้ยไมดอกขาว/เบี้ยไม/สิงโตแคระ 12
สิงโตกรอกตา/สิงโตสมอหิน 8
สิงโตกานหลอด/กรอกตาเล็ก 9
สิงโตงาม/สิงโตประหลาด 6
สิงโตธานีนิวัต/ิ สิงโตกํามะหยี่ 11
สิงโตนิพนธ 16
สิงโตใบพาย 28
สิงโตปากนกแกว/สิงโตลิ้นนกแกว/เอื้องลิ้นนกแกว 21
สิงโตพุม/สิงโตมวนกลีบ 13
สิงโตภูหลวงดอกแดง 14
สิงโตรวงขาว/สิงโตรังแตน 15
สิงโตรวงขาวนอย 19
สิงโตรวงทอง 18
สิงโตลิ้นดํา 23
สิงโตเลื้อย/สิงโตภูหลวง 22
สิงโตศรีเทียง/เอื้องสีเที่ยง 26
สิงโตสยาม/ลิ้นฟา/สิงโตกรอกตาใหญ 24
สิงโตสองสี 7
สิงโตหลอดไฟ/สิงโตโคมไฟ/ตุมสิงโต 17
เอื้องขยุกขยุย/สิงโตขยุกขยุย 10
ดัชนีชื่อวิทยาศาสตร

Bulbophyllum affine Lindl. 6


Bulbophyllum bicolor Lindl. 7
Bulbophyllum blepharites Rchb.f. 8
Bulbophyllum capillipes C.S.P. Parish & Rchb.f. 9
Bulbophyllum dayanum Rchb.f. 10
Bulbophyllum dhaninivatii Seidenf. 11
Bulbophyllum hymenanthum Hook.f. 12
Bulbophyllum khasyanum Griff. 13
Bulbophyllum luanii Tixier. 14
Bulbophyllum morphologorum F. Kranzl. 15
Bulbophyllum nipondii Seidenf. 16
Bulbophyllum odoratissimum (Sm.) Lindl. 17
Bulbophyllum orientale Seidenf. 18
Bulbophyllum parviflorum Parish & Rchb.f. 19
Bulbophyllum proteranthum (Seidenf.) Seidenf. 20
Bulbophyllum psittacoglossum Rchb.f. 21
Bulbophyllum reptans (Lindl.) Lindl. 22
Bulbophyllum secundum Hook.f. 23
Bulbophyllum siamense Rchb.f. 24
Bulbophyllum striatum (Griff.) Rchb.f. 25
Bulbophyllum suavissimum Rolfe. 26
Bulbophyllum taeniophyllum C.S.P.Parish & Rchb.f. 27
Bulbophyllum wallichii Rchb.f. 28
Bulbophyllum sp. 29

You might also like