You are on page 1of 24

บทความเชิงวิชาการ ปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม

ชื่อเรื่อง ปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม นางสาวธารทิพย์ เทพบุญ


ยืน 53242049
ผู้จัดทำ  นางสาวธารทิพย์ เทพบุญยืน 53242049
บทนำ
ปั จจุบันทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เป็ นธรรมชาติ ทัง้ ภายในประเทศและใน
ท้องถิ่นมีแนวโน้มถูกทำลายเพิ่มมากขึน
้   ทัง้ นีเ้ นื่องจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อมมีทงั ้ สิ่งที่มีชีวิตและไม่มีชีวิตมีการเปลี่ยนแปลงอยู่เสมอ โดยเฉพาะมนุษย์เป็ น
ตัวการสำคัญที่ทำให้สิ่งแวดล้อมเปลี่ยนแปลงทัง้ ในทางเสริมสร้างและทำลายและใน
ปั จจุบันจำนวนประชากรมนุษย์เพิ่มขึน
้ อย่างรวดเร็ว มีการประดิษฐ์และพัฒนา
เทคโนโลยี  มาใช้อำนวยประโยชน์ต่อมนุษย์เพิ่มมากขึน

ผลจากการทำลายทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ  ส่งผลกระทบต่อ มนุษย์
หลายประการ เช่น ปั ญหาการแปรปรวนของภูมิอากาศโลกการร่อยหรอ ของ
ทรัพยากรธรรมชาติภัยพิบัติมีแนวโน้มรุนแรงมากขึน
้    มลพิษสิ่งแวดล้อมขยายขอบเขต
กว้างขวางมากขึน
้   ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงต่อการดำรงอยู่และการมีคุณภาพชีวิตที่ดี
ของมนุษย์

ความสำคัญและผลกระทบของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มนุษย์เรามีความสัมพันธ์กับทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างใกล้ชิด ทัง้ ใน
ฐานะที่เป็ นส่วนหนึ่งของธรรมชาติ และในขณะเดียวกันทรัพยากรธรรมชาตินน
ั ้ ก็เป็ น
ประโยชน์ต่อมนุษย์และ มีความสำคัญต่อมนุษย์มากมายหลายด้าน ไม่ว่าจะโดยทางตรง
หรือทางอ้อม และเป็ นสิ่งที่เกิดขึน
้ เอง ดังนัน
้ ทรัพยากรธรรมชาติจึงมีความสำคัญต่อ
มนุษย์ในด้านต่าง ๆ ดังนี ้
1.  การดำรงชีวิต ทรัพยากรธรรมชาติเป็ นต้นกำเนิดของปั จจัย 4 ในการดำรงชีวิตของ
มนุษย์พบว่า มนุษย์จะต้องพึ่งพาทรัพยากรธรรมชาติเพื่อสนองความต้องการทางด้าน
ปั จจัยสี่ คือ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ที่อยู่อาศัย และยารักษาโรค
2.  การตัง้ ถิ่นฐานและการประกอบอาชีพ  ทรัพยากรธรรมชาติเป็ นปั จจัยพื้นฐานในการ
ตัง้ ถิ่นฐานและประกอบอาชีพของมนุษย์ เช่น แถบลุ่มแม่น้ำหรือชายฝั่ งทะเลที่อุดม
สมบูรณ์ด้วยพืชและสัตว์ จะมีประชาชนเข้าไปตัง้ ถิ่นฐานและประกอบอาชีพทางการ
เกษตรกรรมประมง เป็ นต้น
3.  การพัฒนาทางเศรษฐกิจ  จำเป็ นต้องใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพราะมีความสำคัญต่อ
เศรษฐกิจของประเทศทัง้ ทางตรง เช่น ทรัพยากรพลังงาน ที่มีมูลค่าทางเศรษฐกิจ หรือ
โดยทางอ้อม เช่น เป็ นสถานที่ท่องเที่ยว พักผ่อนหย่อนใจ นำรายได้จากการท่องเที่ยว
เข้าสู่ประเทศ
4.  มีความสำคัญด้านวิชาการ    ทางวิทยาศาสตร์และการแพทย์และความก้าวหน้า
ทางเทคโนโลยี การประดิษฐ์เครื่องมือ เครื่องใช้ต้องอาศัยทรัพยากรธรรมชาติเป็ น
ปั จจัยที่สำคัญในการผลิต หรือเป็ นวัตถุดิบในกระบวนการผลิตของอุตสาหกรรม
5.  มีความสำคัญต่อการรักษาสมดุล    ของระบบนิเวศการหมุนเวียน ของแร่ธาตุและ
สารอาหารในระบบนิเวศ เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติเป็ นส่วนหนึ่งของระบบนิเวศทัง้
ระบบนิเวศบนบก ระบบนิเวศทางน้ำ
ดังนัน
้ บริการต่างๆ ที่มนุษย์เราได้รับจากทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จึงช่วย
ให้มีชีวิตรอดอยู่ได้ และสามารถทำให้คุณภาพชีวิตของมนุษย์ดีขน
ึ ้ แต่จะต้องอยู่ภายใต้
เงื่อนไขของการรู้จักใช้ประโยชน์จากทรัพยากรธรรมชาติอย่างชาญฉลาดและมีการ
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เป็ นระบบอย่างเหมาะสม ต้องคำนึงถึงขีด
ความสามารถในการรองรับ เพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์ได้อย่างยั่งยืน เพราะหากใช้
ประโยชน์ที่มากเกินขนาด และขาดความระมัดระวังในการใช้ จะก่อให้เกิดความ
เสื่อมโทรมของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม จนกลายเป็ นปั ญหาสิ่งแวดล้อมที่ย้อนกลับมา
ส่งผลกระทบต่อชีวิต และความเป็ นอยู่ของมนุษย์ในที่สุด
กิจกรรมของมนุษย์ที่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ได้แก่
1.  กิจกรรมทางด้านอุตสาหกรรม   โดยไม่มีการคำนึงถึงสิ่งแวดล้อม มีการนำใช้
ทรัพยากรธรรมชาติมากมาย และก่อให้เกิดมลพิษ ต่อสิ่งแวดล้อม
2.  กิจกรรมทางการเกษตร   เช่นมีการใช้ยาฆ่าแมลงส่งผลให้เกิดอันตรายต่อสิ่ง
แวดล้อมและสุขภาพอนามัยของมนุษย์ เนื่องจากมีการสะสมสารพิษ ไว้ในร่างกายของ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดอันตราย ในระยะยาวและคุณภาพสิ่งแวดล้อมที่แย่
ลง
3.  กิจกรรมการบริโภคของมนุษย์ ส่งผลให้ มีการใช้ทรัพยากรอย่างฟุ ่มเฟื อย ขาดการ
คำนึงถือสิ่งแวดล้อม ก่อให้เกิดปั ญหา สิ่งแวดล้อมตามมา

ปั ญหาและสาเหตุความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมใน
ประเทศไทย
สาเหตุของปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมในประเทศไทย
ในหลายทศวรรษที่ผ่านมาประเทศไทยได้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพื่อการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมไปมาก ส่งผลให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อมอย่างกว้างขวาง และยังส่งผลกระทบต่อคุณภาพและวิถีการดำรงชีวิตของ
ประชาชนเป็ นวงกว้างและรุนแรงขึน
้ ตามลำดับ
สภาพปั ญหาที่เกิดขึน
้ ในประเทศไทย ได้แก่  ปั ญหาความเสื่อมโทรมของ
ทรัพยากรธรรมชาติทงั ้ ในด้านปริมาณที่ลดน้อยลงจนใกล้ ภาวะขาดแคลน และด้าน
คุณภาพ เช่น ดินเสื่อมสภาพ  แม่น้ำเน่าเสีย เป็ นต้น ซึ่งสาเหตุส่วนใหญ่เกิดจากการ
เพิ่มขึน
้ ของจำนวนประชากร ทำให้การใช้ทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มสูงขึน
้ จนเกิดสภาพ
เสื่อมโทรมและลดลงอย่างรวดเร็ว และการพัฒนาที่ผ่านมาได้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
โดยเฉพาะที่ดิน ป่ าไม้ แหล่งน้ำทรัพยากรชายฝั่ งทะเล ทรัพยากรธรณี ในอัตราที่สูงและ
เป็ นไปอย่างไม่มีประสิทธิภาพ จนมีผลทำให้ทรัพยากรธรรมชาติเหล่านี ้ เกิดการร่อย
หรอและเสื่อมโทรมลงอย่างรวดเร็ว รวมทัง้ เริ่มส่งผลกระทบต่อการดำรงชีวิตของ
ประชาชนในชนบท ที่ต้องพึ่งพาทรัพยากรเป็ นหลักในการยังชีพ
ปั ญหาวิกฤตการณ์ทรัพยากรดินในประเทศไทย
ปั ญหาการพังทลายของดินและการสูญเสียหน้าดินโดยธรรมชาติ เช่น การชะล้าง การ
กัดเซาะของน้ำและลม ปั ญหาดินเค็มซึ่งเกิดจากโครงสร้างทางธรณีวิทยา และ ปั ญหา
จากการกระทำของมนุษย์เช่น การชะล้างพังทลายของดิน  เกิดจากการลักลอบตัดไม้
ทำลายป่ า ทำให้ดินขาดต้นไม้ยึดเกาะหน้าดิน เมื่อฝนตกจึงเกิดการชะล้างพังทลาย
ปั ญหาดินเสื่อมคุณภาพ  เกิดจากการปลูกพืชซ้ำซากและการใช้ดินไม่ถูกวิธี ใช้ปุ๋ยเคมี
หรือสารเคมีมากเกินไป ตลอดจนการปล่อยน้ำเสียจากโรงงานอุตสาหกรรม ก่อให้เกิด
การสูญเสียความอุดมสมบูรณ์ของดิน รวมทัง้ ปั ญหาการขยายตัวของเมืองที่รุกล้ำเข้าไป
ในพื้นที่เกษตรกรรม และการนำมาใช้เป็ นที่อยู่อาศัย ที่ตงั ้ โรงงานอุตสาหกรรม และการ
ขาดการจัดการที่ดี ล้วนแต่ส่งผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และก่อให้เกิดการสูญเสียทาง
เศรษฐกิจ
วิกฤตการณ์ทรัพยากรธรณี ในประเทศไทย
การนำทรัพยากรธรณีทงั ้ ในรูปแร่ธาตุ พลังงาน มาใช้ประโยชน์ ได้ก่อให้เกิดผลกระทบ
ต่อสภาพแวดล้อมเป็ นอย่างมากโดยเฉพาะการทำเหมืองแร่ในพื้นที่ต้นน้ำลำธารการทำ
เหมืองแร่ทงั ้ บนบกและในทะเล ได้ก่อให้เกิดปั ญหาน้ำเสียและดินตะกอน ปั ญหาเรื่อง
ฝุ ่นและอากาศเป็ นพิษ และปั ญหาดินเสีย สาเหตุประการสำคัญก็คือ การใช้เทคโนโลยี
ที่ไม่เหมาะสมการละเลยไม่ปฏิบัติตามกฎหมายหรือพระราชบัญญัติที่เกี่ยวข้องในการ
ควบคุม ป้ องกันและแก้ไขปั ญหา
วิกฤตการณ์ทรัพยากรน้ำในประเทศไทย
ปั ญหาน้ำกร่อย  เกิดจากน้ำทะเลหนุนขึน
้ ตามแม่น้ำลำคลองในช่วงฤดูแล้ง ตลอดจน
การทำนากุ้ง และปล่อยน้ำลงสู่แม่น้ำลำคลอง เกิดปั ญหาปริมาณเกลือปะปนอยู่ในน้ำ
เกินระดับพอดี ปั ญหาขาดแคลนน้ำในฤดูแล้ง  และการใช้ประโยชน์จากแหล่งน้ำเพื่อ
กิจกรรมต่างๆ ยังมีความขัดแย้งกันอยู่ต่อการจัดการทรัพยากรน้ำและการพัฒนาแหล่ง
น้ำ เนื่องจากปริมาณน้ำที่เก็บกักได้มจำ
ี นวนจำกัด แต่ความต้องการใช้น้ำมีปริมาณเพิ่ม
ขึน
้ ตลอดเวลา ทัง้ ในด้านเกษตรกรรมอุตสาหกรรม และการอุปโภคบริโภค เป็ นผลให้มี
น้ำไม่พอกับความต้องการ การบริหารการจัดการยังไม่มีระบบที่ชัดเจนต่อเนื่องและ
ประสานสอดคล้องกัน

 วิกฤตการณ์ทรัพยากรป่ าไม้ในประเทศไทย ได้แก่


พื้นที่ป่าไม้มีสภาพเสื่อมโทรมและมีแนวโน้มลดลงอย่างมาก  เนื่องจาก ปั ญหาการสูญ
เสียพื้นที่ป่าไม้ สาเหตุมาจาก การขยายพื้นที่อุตสาหกรรม การบุกรุกทำลายป่ าเพื่อ
ต้องการที่ดินเป็ นที่อยู่อาศัย และทำการเกษตร การเผาป่ า  ตลอดจนการลักลอบตัดไม้
ของนายทุนและชาวบ้าน และปั ญหาการสูญเสียพื้นที่ป่าชายเลน  เนื่องจากการขยาย
ตัวของเขตอุตสาหกรรม และการกัดเซาะของน้ำทะเลและปั ญหาเหล่านีไ้ ด้ส่งผลกระทบ
ต่อการควบคุมระบบนิเวศโดยส่วนรวม เช่น ปั ญหาความแห้งแล้ง และปั ญหาน้ำท่วม
เป็ นต้น
วิกฤตการณ์ทรัพยากรสัตว์ป่าในประเทศไทย
วิกฤตการณ์ทรัพยากรสัตว์ป่าในประเทศไทย ได้แก่ สัตว์ป่าในเมืองไทยลดลง บางชนิด
ใกล้สูญพันธุ์ สาเหตุเนื่องจากการล่าสัตว์เพื่อการค้า และการทำลายป่ าซึ่งเป็ นที่อยู่
อาศัยของสัตว์ป่า
วิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมของประเทศไทย
วิกฤตการณ์ด้านสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึน
้ ในไทย คือสิ่งแวดล้อมเป็ นมลพิษ หมายถึง สภาพ
ของสิ่งแวดล้อมที่ไม่น่าพึงพอใจ ก่อให้เกิดอันตรายต่อสุขภาพและร่างกาย ปั ญหา
มลพิษในประเทศไทย ได้แก่
1.  มลพิษทางอากาศ    หรืออากาศเป็ นพิษ สาเหตุเกิดจากควันพิษจากท่อไอเสีย และ
โรงงานอุตสาหกรรม ตลอดจนควันที่เกิดจากการเผาขยะและฝุ ่นละอองจากการ
ก่อสร้างอาคารสูง
2.  มลพิษทางน้ำ    เกิดจากน้ำเสียจากอาคารบ้านเรือนและโรงงานอุตสาหกรรม
ตลอดจนการเพาะปลูกและการเลีย
้ งสัตว์ การปล่อยน้ำเสียลงสู่แม่น้ำลำคลอง
3.  มลพิษทางกลิ่น  เกิดจากนิคมอุตสาหกรรมปล่อยน้ำเสียและอากาศเป็ นพิษ
4.  มลพิษทางเสียง   เกิดจากเสียงที่ดังเกินปกติจากยานพาหนะ จากสถานประกอบ
การ และจากอาคารบ้านเรือน
5.  สารมลพิษ      เกิดจากสารตะกั่ว   และสารพิษจากโรงงานอุตสาหกรรม  ตลอดจน
การใช้สารเคมีในการเกษตร ทำให้เกิดพิษตกค้างในสิ่งแวดล้อม และถ่ายทอดสู่คนใน
ระบบห่วงโซ่อาหาร ทำให้มนุษย์ได้รับสารพิษในที่สุด
6.  มลพิษจากขยะมูลฝอย   เกิดจากการเพิ่มของประชาชน การเก็บขยะและการกำจัด
ขยะมูลฝอยและ  สิ่งปฏิกูลเกิดการตกค้าง ตลอดจนขยะบางชนิดย่อยสลายยากและ
ประชาชนบางส่วนขาดจิตสำนึกที่ดีในการรักษาความสะอาด

สาเหตุที่มนุษย์ทำลายทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อมมีหลายสาเหตุดังนี ้
1.  การเพิ่มของประชากรโลก เป็ นไปอย่างรวดเร็ว เนื่องจากความเจริญทางด้านการ
แพทย์ ช่วยลดอัตราการตาย โดยการเพิ่มประชากรนี ้ ก่อให้เกิดการบริโภคทรัพยากร
มากขึน
้ มีของเสียมากขึน

2.  พฤติกรรมการบริโภค    อันเนื่องมาจาก      ต้องการให้คุณภาพชีวิตดีขน
ึ ้    มีความ
สุขสบายขึน
้ มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติสน
ิ ้ เปลือง มีขยะและของเสียมากขึน
้ ส่งผลก
ระทบต่อ สิ่งแวดล้อมและตัวมนุษย์เอง
3.  ความโลภของมนุษย์ โดยนำทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมมาใช้เพื่อให้ตนเอง
มีความร่ำรวย ขาดสติยงั ้ คิด ถึงสิ่งแวดล้อม เป็ นผลส่งให้เกิดปั ญหา สิ่งแวดล้อม ที่มา
กระทบต่อมนุษย์เองในที่สุด
                4.    ความไม่ร้ทำ
ู ให้มนุษย์  ขาดการรู้เท่าทันบนรากฐานแห่งความจริงใน
สิ่งแวดล้อมและทรัพยากรธรรมชาติ ส่งผลให้มนุษย์ขาดสติในการใช้
ทรัพยากรธรรมชาติ มีพฤติกรรมการบริโภค อันเป็ นการทำลายสิ่งแวดล้อม โดยขาด
การคาดการณ์
แนวคิดเกี่ยวกับปั ญหาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
แนวทางการมองแบบ  นิเวศวิทยาการเมือง(Political Ecology) ที่มองประเด็นปั ญหา
สภาพแวดล้อม ว่าไม่ได้เกิดจากปั ญหาระบบนิเวศพังทลาย  แต่เกิดจากโครงสร้าง
ทางการเมือง  ความไม่เป็ นธรรม  และความสัมพันธ์เชิงอำนาจที่ก่อให้เกิดปั ญหาแย่งชิง
ทรัพยากรและนำไปสู่การทำลายธรรมชาติและสภาพแวดล้อมในที่สุด ดังนัน
้ เราจึงต้อง
มอง “กายภาพทัง้ หมดของโลกธรรมชาติ”  เสียก่อน  โดยเฉพาะอย่างยิ่งในนิเวศวิทยา
ของมนุษย์  (Holistic ecology)  ทัง้ นีแ
้ นวคิดนิเวศวิทยาเชิงระบบ  มีรายละเอียด 
ดังนี ้
Holistic ecology  มีข้อสรุปที่สำคัญ  คือ  วิกฤตการณ์ทางสิ่งแวดล้อมของสังคมไม่ได้
เกิดมาจากปั จจัยตัวเดียว  หากแต่เป็ นผลผลิตร่วมกันของระบบความสัมพันธ์ทงั ้ หมดที่
เกี่ยวข้องกับประชากรทรัพยากร  เทคโนโลยี  เศรษฐกิจ  สังคมวัฒนธรรม  และ
การเมือง  สาเหตุสำคัญของวิกฤตการณ์ทางสิ่งแวดล้อมมีดังนี ้
ปั ญหาประชากร : การมีประชากรมากเกินสร้างแรงกดดันให้แก่ระบบทรัพยากรใน
ชนบท  รวมไปถึงสร้างความตึงเครียดให้แก่การใช้ทรัพยากรทั่วไป  และก่อให้เกิดการ
ขยายตัวของมลภาวะหลายรูปแบบ

วิกฤตการณ์ของสังคมเมือง:วิกฤตการณ์ในชนบทผลักดันให้ผู้คนเป็ นจำนวนมากต้อง
อพยพเข้ามาในเมืองใหญ่  ซึ่งก่อให้เกิดปั ญหาสังคมเมือง
ความล้มเหลวในการจัดการเกี่ยวกับการควบคุมมลภาวะ : รัฐ  และระบบราชการไม่
ประสิทธิภาพในการใช้กฎหมายเพื่อแก้ไขปั ญหาสิ่งแวดล้อมประเภทต่างๆ
ลัทธิบริโภค : แบบแผนการบริโภคที่ได้รับอิทธิพลมาจากอุดมการณ์ทุนนิยม  เร้าให้มี
การบริโภคมากขึน
้ ๆ  ซึ่งเป็ นการเผาผลาญทรัพยากรอย่างไร้เหตุผล  เพื่อส่งเสริมธุรกิจ
ทุนนิยมที่มุ่งแสวงหากำไร
ลัทธิบูชาเทคโนโลยี : ความหลงใหลในไฮเทคทำให้การละเลยเทคโนโลยีแบบสายกลาง 
การใช้เทคโนโลยีเป็ นไปเพื่อการแสวงหากำไรมากกว่าที่จะคำนึงผลกระทบต่อ
วัฒนธรรมและสิ่งแวดล้อม
การละเลยความคิดแบบนิเวศ : การไม่คำนึงถึงกฎพื้นฐานของนิเวศวิทยาก่อให้เกิด
การกระทำหลายอย่างมีผลกระทบทำลายระบบนิเวศ  รวมไปถึงความหลากหลายทาง
นิเวศของป่ าเขา  แม่น้ำ  ชีวิตสัตว์ป่า
วิกฤตการณ์ของการจัดการทางเศรษฐกิจ : ยุทธศาสตร์ที่เน้นเรื่องความเจริญเติบโตส่ง
เสริมการใช้ทรัพยากรและการทำลายล้างธรรมชาติอย่างกว้างขวางในระยะสัน
้   จนก่อ
ให้เกิดวิกฤตการณ์ของโลกธรรมชาติในระยะยาว
พฤติกรรมของปั จเจกชนที่เน้นผลประโยชน์ส่วนตน : ทัศนคติที่ต้องการพิชิตธรรมชาติ
และจริยธรรมทุนนิยม  ส่งเสริมให้ปัจเจกชนมุ่งแสวงหาอรรถประโยชน์สูงสุดเพื่อตัวเอง
โดยไม่คำนึงถึงสังคมส่วนรวม ไม่คำนึงถึงอนาคต  ไม่คำนึงถึงชนรุ่นหลัง
เป็ นเพียงปั จจัยบางประการเท่านัน
้ ที่มีส่วนก่อให้เกิดวิกฤตการณ์ทางสิ่งแวดล้อม  แต่สิ่ง
สำคัญ  คือ  ปั จจัยเหล่านีล
้ ้วนแต่เกี่ยวข้องกับโครงสร้างระบบใหญ่ของสังคมมนุษย์  ดัง
นัน
้ การเคลื่อนไหวเพื่อแก้ไขปั ญหาทางสิ่งแวดล้อม  จึงต้องมุ่งไปที่การเปลี่ยนแปลง
ระบบความสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม  รวมทัง้ ระหว่างสังคมกับธรรมชาติ
อย่างหลีกเลี่ยงไม่ได้  แต่การเปลี่ยนแปลงเช่นว่านีจ
้ ะเกิดขึน
้ ได้ก็ต่อเมื่อผู้คนเป็ นจำนวน
มากขึน
้   มีจิตสำนึกทางนิเวศแบบมหภาคและเริ่มมองเห็นความจำเป็ นของการ
เปลี่ยนแปลง  รวมทัง้ พร้อมที่จะเข้าร่วมเคลื่อนไหวในระดับชาติได้อย่างต่อเนื่อง

แนวทางการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
การเพิ่มประชากรอย่างรวดเร็ว (Exponential) ทำให้มีการนำทรัพยากรธรรมชาติมาใช้
สนองความต้องการในการดำรงชีวิตมากขึน
้ ทัง้ ทางด้านปริมาณและคุณภาพ ซึ่งบางครัง้
เกินความจำเป็ น จนทำให้ระบบนิเวศต่าง ๆ เสียสมดุล ทรัพยากรธรรมชาติบางอย่าง
เสื่อมโทรม จึงมีความจำเป็ นอย่างยิ่งที่จะต้องหาวิธีการ ในการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
อย่างเหมาะสมและมีเหตุผล ทัง้ นีร้ วมไปถึงการควบคุมขนาดประชากรโลกให้มีความ
เหมาะสมกับทรัพยากรของโลก ขณะเดียวกันก็ต้องอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมควบคู่ไปด้วย
บทสรุป
มนุษย์ ทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดล้อมมีความสัมพันธ์เกี่ยวเนื่องกันอย่างใกล้ชิด
ทัง้ นีเ้ พราะทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็ นสิ่งที่เอื้อประโยชน์ให้มนุษย์ได้รับ
ปั จจัยสี่ ซึ่งได้แก่ อาหาร เครื่องนุ่งห่ม ยารักษาโรค และที่อยู่อาศัย แต่ขณะเดียวกัน
การกระทำของมนุษย์เองได้ส่งผลกระทบต่อสภาพของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อม ยิ่งไปกว่านัน
้ มนุษย์ยังได้ใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมอย่างฟุ ่มเฟื อย
และไม่มีแผนการจัดการ จึงมีผลทำให้เกิดปั ญหาความเสื่อมโทรมและการขาดแคลน
ทรัพยากรธรรมชาติรวมทัง้ ก่อให้เกิดปั ญหาสิ่งแวดล้อม ประเทศไทยซึ่งเป็ นประเทศ
กำลังพัฒนาได้มีการใช้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพื่อการเร่งรัดการพัฒนา
เศรษฐกิจของประเทศโดยขาดความระมัดระวังและคำนึงถึงการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่เพียงพอมาโดยตลอด ทำให้ปัญหาความ
เสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและการแพร่กระจายของปั ญหามลพิษ จนเห็นได้
อย่างชัดเจนในปั จจุบัน อาทิเช่น พื้นที่ป่าไม้ถูกบุกรุก ทำลาย จนมีสัดส่วนไม่เหมาะสม
กับการรักษาสภาพความสมดุลของระบบธรรมชาติหรือระบบนิเวศ หรือภาวะอากาศ
เสียในเขต กรุงเทพมหานคร อันเนื่องมาจากควันพิษรถยนต์ การเกิดปฏิบัติการเรือน
กระจก (โลกร้อน) เป็ นต้น
คุณค่าที่ได้รับ
1.ทำให้เห็นถึงความสำคัญของธรรมชาติที่มีผลต่อมนุษย์เราทัง้ ด้านดีเเละด้านลบ
2.ทำให้ร้ค
ู ุณค่าเเละจัดสรรสิ่งที่จำเป็ นต้องใช้ในการดำรงชีวิตในเเต่ละวันอย่างคุ้มค่า
3.ทำให้ร้ถ
ู ึงปั ญหาเเละวิธีที่จะรับมือกับปั ญหา
บทความทางวิชาการ

เรื่อง สาระน่ารู้เกี่ยวกับไข่

โดย ด.ต.มานพ จงรัง้ กลาง

ผบ.หมู่ ฝ่ ายปกครองและการฝึ ก ศฝร.ภ.๓

ไข่เป็ นอาหารที่หาทานได้ง่าย ราคาถูก สามารถประกอบอาหารได้หลายอย่าง แต่เป็ น


เวลานานหลายปี แล้วที่ทางการแพทย์พบว่า ไข่ประกอบด้วยคลอเรสเตอรอล ที่ทำให้
คลอเรสเตอรอลในเลือดสูง และทำให้อัตรา เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด จึงมีคำ
แนะนำว่า ในผู้ใหญ่ไม่ควรทานไข่เกินสัปดาห์ละ 3 ฟอง และมีความ กังวลในคลอเรสเต
อรอลที่มีอยู่ในไข่ที่อาจจะเป็ นเป็ นต้นเหตุของไขมันในเลือดสูง ซึ่งจะก่อปั ญหาให้กับ
อัตรา เสี่ยงต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด องค์ประกอบของไข่ แบ่งออกเป็ น สามส่วน
ใหญ่ๆ คือ 1. เปลือกไข่ (Shell) เป็ นเปลือกแข็ง ห่อหุ้มด้านนอก 2. ไข่ขาว (White
egg) มีลักษณะเหลวใส หรือสีเหลืองอ่อนห่อหุ้มไข่แดง 3. ไข่แดง (Yolk egg) มีทรง
กลมมีส้มหรือแดง อยู่ตรงกลาง ถ้ามีไข่ที่มีเชื้อ ส่วนของไข่แดงจะเปลี่ยนไปเป็ น ตัวอ่อน
และฟั กออกมาเป็ นตัวได้ คุณค่าทางโภชนาการ ไข่เป็ นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการ
สูง มีสารอาหารหลายชนิดอยู่ภายในไข่ ในไข่ขาวจะมีโปรตีนสูง และเป็ นโปรตีนที่มี
คุณภาพสูง คือมีกรดอะมิโนที่จำป็ นต่อร่างกาย(Essentil aminoacid) ส่วนในไข่แดงจะ
มี สารอาหารหลายชนิด ได้แก่โปรตีน ไขมัน วิตามินและแร่ธาตุ ไขมันในไข่แดงส่วน
ใหญ่จะเป็ นไขมันไม่อิ่มตัว รวมถึง omega-3 ซึ่งเป็ นไขมันไม่อิ่มตัว ที่ช่วยลดอัตราเสี่ยง
ต่อการเกิดโรคหัวใจขาดเลือด ซึ่งมีคุณค่า เหมือน ไขมันในปลาแซลมอล และปลาทะเล
ส่วนคลอเรสเตอรอล จะมีเฉพาะในไข่แดง ไม่มีในไข่ขาว สารอาหารอื่น ได้แก่ ธาตุ
เหล็ก โฟลิก(Folic acid) ไรโบเฟลวิน(Riboflavin) โคลีน (choline) วิตามินเอ บี ดี
และ อี วิตามินที่ ไม่พบในไข่คือ วิตามินซี ธาตุเหล็กในไข่ มีคุณค่าเทียบเท่ากับเนื้อสัตว์
แต่เคีย
้ วง่ายไม่เหนียวเหมือนเนื้อสัตว์ จึง เหมาะสมกับเด็กทารก และคนสูงอายุที่มี
ปั ญหาเรื่องฟั น โฟลิก เป็ นสารที่ป้องกันเลือดจาง และป้ องกันความพิการแต่กำนิด มี
ความจำเป็ นในหญิงที่ตงั ้ ครรภ์ โคลีน(Choline) เป็ นสารที่ช่วยเสริมสร้างความจ
า(Cognitive function) ช่วยพัฒนาการในเด็กที่ กำลังเติบโต จะเห็นได้ว่าไข่เป็ นอาหาร
ที่มีคุณค่ามาก ให้สารอาหารที่เกือบครบถ้วน ในขณะที่ราคาถูกกว่า อาหารอื่นๆที่มี
คุณค่าทางอาหารเท่ากัน สามารถทำเป็ นอาหารได้หลายชนิด ชื่อเสียงของไข่ว่าเป็ น
แหล่งอาหารที่ดีถูกท าลายในช่วงปี 1960 เมื่อนักวิจัยได้สร้างความสัมพันธ์ ระหว่าง
โรคหัวใจและระดับคอเลสเตอรอลในเลือดขึน
้ สมาคมโรคหัวใจแห่งอเมริกา
(American Heart Association, AHA) และองค์กรที่น่าเชื่อถืออื่นได้ตงั ้ ปริมาณขัน
้ สูง
ของปริมาณคอเลสเตอรอลที่บริโภคในแต่ละวันไว้ที่ 300 มิลลิกรัมต่อวัน (200 มิลลิ
กรัมส าหรับ คนที่เป็ นโรคหัวใจ) และเตือนคนอเมริกาในหลีกเลี่ยงการกินไข่แดง คำ
เตือนในการบริโภคไข่มาจากข้อ สมมติฐานทางตรรกะ(ที่ไม่ถูกต้องนัก)ว่า
คอเลสเตอรอลในอาหารจะไปเพิ่มระดับคอเลสเตอรอลในเลือดได้ โดยตรง แต่จากการ
วิจัยในระยะหลังๆ พบว่า คลอเรสเตอรอลที่มีในไข่ มีผลต่อคลอเรสเตอรอลในเลือด
น้อย มาก ดังนัน
้ จึงเริ่มมีการรณรงค์ให้ทานไข่กันมากขึน
้ และเพิ่มคำแนะนำให้ทานไข่
วันละหนึ่งฟอง คำแนะนำใหม่ นีใ้ ช้ได้จริงหรือไม่ เป็ นค าถามที่หลายคนสงสัย หรือเป็ น
เพียงคำโฆษณา ชื่อเสียงของไข่ได้ยุติลงแล้ว ในปี 2000 สมาคมโรคหัวใจแห่งอเมริกาได้
ยกเลิกค าเตือนเกี่ยวกับไข่แล้ว แทนที่จะแนะนำจำเพาะลงไปว่าเราควรหลีกเลี่ยงหรือ
กินไข่จำนวนหนึ่งต่อสัปดาห์ แต่คู่มือของสมาคมกลับ มุ่งเน้นไปที่การจำกัดอาหารที่มี
ปริมาณไขมันอิ่มตัวสูงและรักษาระดับการรับคอเลสเตอรอลให้ต่ ากว่า 300 มิลลิกรัม
ต่อวันแทน สมาคมยังรับรองว่าคุณสามารถทำตามคำแนะนำนีไ้ ด้แม้จะกินไข่และหอย
เป็ นระยะๆ ก็ ตามโดยในสมาคมหัวใจของ สหรัฐอเมริกา (American Heart
Association หรือ AHA) ได้เปลี่ยนคำแนะนำใน การทานไข่ ซึ่งจากเดิมไม่ควร
เกิน 3 ฟองต่อสัปดาห์ เป็ น วันละไม่เกินหนึ่งฟอง ไข่ แหล่งโปรตีนราคาถูก แต่มีขา่ วไป
ในทางดี และทางร้ายอยู่ตลอดเวลา ข้อมูลมีดังนี ้ มหาวิทยาลัย North Carolina
สหรัฐอเมริกา สนับสนุนให้กินไข่ทุกวันเพราะเป็ นแหล่งสารอาหาร ที่ถูกมาก โดยเฉพาะ
โคลีนที่มีมากในไข่แดง ซึ่งช่วยให้ระบบเซลล์ส่ อ
ื ประสาทท างานได้ดี ช่วยเรื่องความจำ
กินไข่ ไม่ทำให้อ้วน มหาวิทยาลัยหลุยส์เซียนาในสหรัฐฯ ยืนยันมาว่า ถ้ากินไข่เป็ น
อาหารเช้าทุกวัน กลับจะท าให้เพรียวลม และรอบเอวลดได้ง่ายกว่าการกินอาหารอื่น
ถึง 65% แน่ะ เนื่องจากไข่เป็ นอาหารที่ให้พลังงานสูงและมีโปรตีน มาก จึงกินแล้วอิ่ม
ทนอิ่มนานก็จะท าให้ไม่หิวระหว่างมื้อ และมีพลังงานที่จะเคลื่อนไหวได้เต็มที่ นักได
เอท ทัง้ หลายจึงผอมลงได้ง่ายกว่าการไปทานอาหารเบาๆ ท้องแคลอรีต่ำแต่ทำให้หิว
บ่อยจนต้องหาของว่างระหว่าง มื้อมาแก้ขัด กินไข่ ทำให้โคเลสเตอรอลตัวดี HDL เพิ่ม
มากขึน
้ การมี HDL เพิ่มมากขึน
้ ท าให้อัตราส่วนโคเลสเตอรอลรวมกับ HDL ดีขน
ึ้
สัดส่วนที่ดีหมายถึงเอา โคเลสเตอรอลรวมหารด้วย HDL ค่าที่ดีควรอยู่ที่ 2-3 ในผู้หญิง
และ 3-4 ในผู้ชาย ผลวิจัยชีก
้ ินไข่ทุกวันปลอดภัย ขจัดไขมันตัวร้ายทำเส้นเลือดอุดตัน
มหาวิทยาลัยฮาร์วาร์ดได้ทำการศึกษาว่าการกินไข่มากกว่าวันละฟองไม่ท าให้ความ
เสี่ยงของโรคหัวใจ เพิ่มขึน
้ แต่การปฏิเสธไม่กินไข่เลยหรือเลือกกินเฉพาะไข่ขาวไม่ใช่
เรื่องที่ควรท าเพราะร่างกายหากได้ โคเลสเตอรอลไม่เพียงพอร่างกายเราก็จะพยายาม
ผลิตออกมาเอง ซึ่งอาจจะมากกว่าการกินเข้าไป น.พ.กรภัทร มยุระสาคร แพทย์
เวชศาสตร์ครอบครัว โรงพยาบาลสมุทรสาคร เปิ ดเผยว่า การบริโภคไข่ เป็ นประจำทุก
วัน วันละ 1 ฟอง ไม่ทำให้ระดับไขมันแอลดีแอล หรือคอเลสเตอรอลตัวร้ายที่เข้าไป อุด
ตันผนัง เส้นเลือดสูงขึน
้ ยิ่งไปกว่านัน
้ การรับประทานไข่ในระยะยาว 12 สัปดาห์ กลับท
าให้ระดับไขมันเอชดีแอล-ซี หรือคอเลสเตอรอลที่มีประโยชน์ ซึ่งสามารถเข้าไปละลาย
ไขมันตัวร้ายให้ออกจากผนังเส้นเลือดนัน
้ สูงขึน
้ มาก ในช่วง 30 ปี ที่ผ่านมา จนถึง
ปั จจุบัน มีข้อแนะนำจากนักวิชาการหลายคน ให้จ ากัดการรับประทานไข่ เพราะไข่
แดงมีคอเลสเตอรอลสูง ซึ่งจะนำไปสู่ความเสี่ยงต่อภาวะหลอดเลือดหัวใจอุดตันและ
หัวใจวาย โดยขาด การท าวิจัยสนับสนุนคำกล่าวอ้างดังกล่าว แต่การทดลอง ของเขา
กลับหักล้างข้อแนะนำนัน
้ อย่างสิน
้ เชิง นักวิจัยเผยถึงผลของการบริโภคไข่ไก่ในอาสา
สมัครที่มีอายุระหว่าง 20-60 ปี ประกอบด้วย อาสาสมัครชายจ านวน 56 คน บริโภค
ไข่ทุกวัน วันละ 1 ฟอง ติดต่อกันนาน 3 เดือน โดยประกอบด้วย ไข่ต้ม, ไข่ดาวน้ า, ไข่
ดาวธรรมดา, ไข่พะโล้, ไข่ลูกเขย และไข่หวาน อีกกลุ่มหนึ่งเป็ นอาสาสมัครหญิง จ
านวน 117 คน บริโภคไข่ต้มทุกวัน วันละ 2 ฟอง ติดต่อกันนาน 2 เดือนครึ่ง จากนัน

ตรวจวัดปริมาณคอเลสเตอรอลในเลือดพบว่า ระดับคอเลสเตอรอลชนิดดีเพิ่มขึน
้ ทัง้ 2
กลุ่ม ในทางกลับกันระดับคอเลสเตอรอลชนิดไม่ดี ก็ลดลงทัง้ 2 กลุ่มเช่นเดียวกัน
นอกจากนี ้ นักวิจัยยังศึกษาการเสริมไข่ในมื้ออาหารให้กับเด็กชนบทที่ร่างกายขาด
โปรตีน โดยทดลองในเด็กชัน
้ ป.4 - ป.6 จ านวน 273 คน แบ่งเป็ น 2 กลุ่ม กลุ่มแรกให้
กินไข่ 3 ฟองต่อสัปดาห์ อีกกลุ่ม หนึ่งให้กินไข่ 10 ฟองต่อสัปดาห์ นานติดต่อกัน 3
เดือน จากนัน
้ ตรวจวัดปริมาณโปรตีนอัลบูลมินในเลือด พบว่าเด็กทุกคนมีระดับโปรตี
นอัลบูลมินในเลือดเพิ่มขึน
้ เป็ น 100% ระดับคอเลสเตอรอลชนิดดีก็เพิ่มขึน
้ ส่วน ระดับ
คอเลสเตอรอลชนิดไม่ดีก็ลดลงอย่างมีนัยสำคัญ ซึ่งให้ผลไม่แตกต่างกันทัง้ กลุ่มที่กินไข่
3 ฟอง และ 10 ฟองต่อสัปดาห์ อย่างไรก็ตาม ไข่ที่ให้ผลดีต่อร่างกายอาจส่งผลร้ายได้
เหมือนกัน หากทานมากเกินไปติดกันทุกวัน ไข่ อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้
เพื่อสุขภาพที่ดีและแข็งแรง ควรเลือกทานอาหารที่ดี มีประโยชน์ และต้องทานใน
ปริมาณที่เหมาะสม ด้วยนะครับ แล้วอย่าลืมออกกำลังกายอย่างสม่ำเสมอไปพร้อม ๆ
กันด้วย จะทำ ให้ร่างกายแข็งแรงห่างไกล โรคภัย

สรุป

ไข่ที่ให้ผลดีต่อร่างกายอาจส่งผลร้ายได้เหมือนกัน หากทานมากเกินไปติดกันทุกวัน ไข่


อาจเพิ่มความเสี่ยงต่อการเสียชีวิตได้ เพื่อสุขภาพที่ดีและแข็งแรง ควรเลือกทานอาหาร
ที่ดี มีประโยชน์ และต้องทานในปริมาณที่เหมาะสม ด้วยนะครับ แล้วอย่าลืมออกกำลัง
กายอย่างสม่ำเสมอไปพร้อม ๆ กันด้วย จะทำ ให้รา่ งกายแข็งแรงห่างไกล โรคภัย
คุณค่าที่ได้รับ

1.ทำให้ได้ร้ถ
ู ึงประโยชน์เเละโทษของไข่

2.ทำให้ได้ร้ว
ู ่าในไข่มีสาร โปรตีน เเคลเซียมชนิดใดบ้าง

3.ทำให้ร้ถ
ู ึงวิธีการรับที่ถูกต้องว่าควรจะทานเท่าไหร่ถึงจะพอดี
บทความทางวิชาการเรื่องหมากเม่าผลไม้พ้น
ื บ้านสะท้านสู่สากล
บทนำ

ประเทศไทยเป็ นประเทศที่อยู่ในเขตร้อนชื้น มีความอุดมสมบูรณ์ ความหลากหลาย


ทางพันธุศาสตร์ของพืชและสัตว์ โดยเฉพาะพืชแล้วเมืองไทยมีพันธุ์พืชมากมายทัง้ ที่
เป็ นพืชเศรษฐกิจ พืชพันธุ์ธรรมชาติ พืชที่ใช้เป็ นอาหาร พืชที่เป็ นสมุนไพร ยา
รักษาโรค บางชนิดเป็ นได้ทงั ้ อาหาร สมุนไพรและยารักษาโรคในคราเดียวกัน ในยุค
สมัยแห่งความเจริญรุ่งเรืองทางเทคโนโลยีจะมีใครซักกี่คนที่มองเห็นคุณค่าของพืชผัก
ผลไม้ป่าพื้นบ้าน ที่มีคุณค่าทางโภชนาการและการรักษาโรค นอกจากนีย
้ ังสามารถที่
จะแปรรูปเป็ นสินค้าส่งออกสู่ต่างประเทศได้อีกด้วยและหนึ่งในผลไม้ป่าพื้นบ้านของไทย
ที่นก
ี ้ ็คือหมากเม่า

หมากเม่า…ไม้ผลที่นานาชาติตระหนักในคุณค่า เม่า เป็ นพืชในตระกูล


Antidesma ที่พบกระจายอยู่ในหลายพื้นที่ ในหลายทวีป และด้วยคุณค่าของพืชใน
ตระกูลนีทำ
้ ให้ชนพื้นถิ่นในแต่ละพื้นที่มีการใช้ประโยชน์จากพืชตระกูลนีใ้ นหลากหลาย
รูปแบบด้วยกัน การบริโภคเม่าเป็ นอาหารได้ปฏิบัติกันมานานในหลายประเทศ โดย
ส่วนใหญ่จะบริโภคผลสด ในประเทศไทย อินเดีย และอินโดนีเซีย มีการบริโภคใบ และ
ยอดของพืชในกลุ่ม Antidesma ทัง้ รับประทานผลสดหรือผสมอาหารเพื่อให้มีรส
เปรีย
้ ว (Hoffman, 2005) โดยเฉพาะในภาคตะวันออกเฉียงเหนือของไทยนิยมรับ
ประทานผลสด โดยการนำมาปรุงรสคล้ายกับส้มตำที่เรียกว่า ตำหมากเม่า หรือใช้
เปลือกต้นหรือใบมาโขลกรวมกับพริกสด และน้ำปลาร้า เรียกว่าตำเมี่ยง นิยมรับ
ประทานในฤดูร้อนโดยฝาดจากเปลือกต้นและใบ จะช่วยลดอาการท้องเสียได้ จะเห็นได้
ว่านอกจากประโยชน์ในด้านการเป็ นอาหารที่มีคุณค่าทางโภชนาการสูงแล้ว พืชในกลุ่ม
Antidesma ยังมีคุณค่าทางเภสัชอีกด้วย

ชื่อวิทยาศาสตร์ Antidesma thwaiteaianum Muell. Arg.

วงศ์ STILAGINACEAE

ชื่ออื่น : เม่าเสีย
้ น มัดเซ มะเม่า หมากเม่า

ลักษณะทั่วไป : ไม้ผลท้องถิ่นยืนต้นไม่ผลัดใบ (evergreen tree) สูง 12-


15 เมตร ใบ ด้านบนสีเขียวเข้มเป็ นมันวาว เรียงตัวแบบสลับ (alternate) ดอก ออก
เป็ นช่อแบบ spike ดอกแบบแยกเพศต่างต้น (dioecious) ในช่วงเดือนมีนาคม-
พฤษภาคม ผลสุกในเดือนสิงหาคม-กันยายน ผลกลมเส้นผ่าศูนย์กลาง 0.8-1.2
เซนติเมตร ผลดิบสีเขียวเมื่อเข้าสู่ระยะสุกผลเปลี่ยนเป็ นสีแดงและเป็ นสีดำเมื่อสุกจัด

นิเวศวิทยาและการแพร่กระจาย : พบแพร่กระจายอยู่ทั่วไปในภาคตะวัน
ออกเฉียงเหนือตอนบน เช่น สกลนคร อุดรธานี กาฬสินธุ์ นครพนม มุกดาหาร และ
หนองคาย มีความทนแล้งได้ดี

จากเดิมเม่าหลวงเป็ นเพียงผลไม้พ้น
ื บ้าน ที่ร้จ
ู ักและบริโภคกันเฉพาะใน
ท้องถิ่นเท่านัน
้ แต่ในปั จจุบันเม่าหลวงกลายเป็ นที่ร้จ
ู ักกันอย่างแพร่หลาย มีผู้บริโภค
เม่าหลวงในรูปผลสดและในลักษณะผลิตภัณฑ์ที่ผ่านการแปรรูปมากขึน
้ ทัง้ นีเ้ นื่องจาก
เม่าหลวงมีคุณค่าทางโภชนาการสูง และมีความปลอดภัยจากสารเคมีตกค้าง เพราะ
เป็ นพืชที่เกิดเองตามธรรมชาติโดยใช้สารเคมีในกระบวนการผลิตค่อนข้างน้อย อาจ
กล่าวได้ว่า การให้ความรู้ดา้ นคุณค่าทางโภชนาการและการนำผลเม่าหลวงที่มีอยู่ใน
ธรรมชาติมาแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์ ถือว่าเป็ นการสร้างมูลค่าเพิ่ม (value added) ให้
กับไม้ผลท้อง ถิ่นชนิดนีอ
้ ีกทางหนึ่ง ทำให้มีอุปสงค์มากขึน
้ ส่งผลให้ราคาของเม่าหลวง
สูงขึน
้ จากเดิมที่เคยปล่อยทิง้ ขว้างหรือจำหน่ายเพื่อกินผลสดราคาประมาณกิโลกรัมละ
10-15 บาท แต่ในปั จจุบันราคากลับเพิ่มสูงขึน
้ ถึงกิโลกรัมละ 25-45 บาท ซึ่งในอนาคต
มีแนวโน้มที่จะใช้เม่าหลวงเป็ นแหล่งวัตถุดิบ เพื่อใช้ในงานอุตสาหกรรมอาหารมากยิ่ง
ขึน
้ สามารถจำแนกประโยชน์จากเม่าหลวงได้ดังนี ้ (อร่าม คุ้มกลาง และวินัย แสงแก้ว,
2543: 40-49)

ประโยชน์ : ผลสุก รับประทานเป็ นผลไม้ ผลดิบ ในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ


ตอนบนนำมาประกอบอาหารคล้ายส้มตำ ปั จจุบันเป็ นไม้ผลเศรษฐกิจ เพาะปลูกขาย
ต้นพันธุ์ ผล นำมาทำน้ำผลไม้และไวน์แดง ให้สีสันและรสชาติดี

1. การบริโภคผลดิบ (สีเขียวอ่อน) และผลสุกสีแดงที่มีรสเปรีย


้ ว จะนำมาทำเป็ นส้มตำ
เม่า ส่วนผลสุกสีดำม่วงจะมีรสหวานอมเปรีย
้ ว โดยทั่วไปจะนำมารับประทานใน
ลักษณะผลสดเลยก็ได้

2. สรรพคุณทางสมุนไพร พบว่าถ้าหากรับประทานผลเม่าหลวงในปริมาณเหมาะสม จะ
มีสรรพคุณเป็ นยาระบายและบำรุงสายตา นอกจากนัน
้ ยังสามารถใช้ใบสด นำมาอังไฟ
เพื่อใช้ประคบแก้อาการฟกช้ำดำเขียวได้อีกด้วย

3. สามารถนำมาแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์ ได้หลายหลายชนิดได้แก่ 1) น้ำผลไม้ เช่น น้ำ


เม่า

แท้ (pure juice) น้ำเม่าเข้มข้น (squash) น้ำเม่าพร้อมดื่ม เป็ นต้น 2) สุราแช่ ได้แก่
ไวน์เม่า 3) อื่นๆ เช่น แยมเม่า เม่ากวน Topping เม่า (ลักษณะคล้ายคาราเมลใช้ราด
ไอศกรีม) เป็ นต้น

4. สีสกัดจากเม่า น้ำคัน
้ ที่ได้จากผลเม่าหลวงสุกจะให้สีม่วงเข้ม ซึ่งเกิดจากเม็ดสีในกลุ่ม
สาร xanthophylls จากการศึกษาเบื้องต้นพบว่า สีที่ได้จะมีคุณสมบัติคงทนต่อการ
เปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมได้ดี โดยเฉพาะที่อุณหภูมิสูง ไม่ว่าจะเป็ นการต้มหรือ
นึ่ง จึงเหมาะที่จะนำมาทำสีผสมอาหาร ซึ่งเป็ นสีที่ได้จากธรรมชาติและปลอดภัยต่อผู้
บริโภค

5. ประโยชน์อ่ น
ื ๆ จากต้นเม่า เช่น ปลูกเป็ นไม้ให้ร่มเงา ไม้ประดับ และหากต้นเม่า
มีอายุมากกว่าสิบปี สามารถนำเนื้อไม้มาใช้ทำที่อยู่อาศัยและเฟอร์นิเจอร์ได้อีกด้วย

ด้วยเหตุที่เม่าหลวงมีคุณสมบัติเหมาะสม ที่จะนำมาพัฒนาเพื่อแปรรูปเป็ นผลิตภัณฑ์ได้


หลากหลายชนิด และนำไปใช้ประโยชน์อ่ น
ื ๆ ได้หลายอย่าง ปั จจุบันอุปสงค์ของผลเม่า
หลวงมีมากกว่าอุปทาน ทำให้ราคาของผลเม่าหลวงอยู่ในระดับสูง ส่งผลให้เกษตรกรมี
ความสนใจที่จะปลูกเม่าหลวงมากขึน
้ จากเดิมที่เคยเป็ นพืชที่เกิดเองตามธรรมชาติ
ปั จจุบันเกษตรกรเพิ่มพื้นที่ปลูกมากขึน
้ จากการสำรวจต้นเม่าหลวงในเขตจังหวัด
สกลนคร พบว่ามีทงั ้ หมดประมาณ 39,793 ต้น (สำนักงานเกษตรจังหวัดสกลนคร,
2545: 1) ความต้องการที่จะใช้ผลเม่าหลวงทัง้ ในรูปของการบริโภคผลสดและใช้ในการ
แปรรูปประมาณ 300-350 ตัน ดังนัน
้ เพื่อให้ได้ข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการตัดสินใจ
ของเกษตรกรที่สนใจปลูกเม่าหลวงเชิงธุรกิจ จำเป็ นต้องศึกษาสภาพการตลาดและการ
ผลิตเม่าหลวง ต้นทุนการผลิตต่อไร่ ต้นทุนการผลิตต่อกิโลกรัมเพื่อการตัง้ ราคาสินค้า
โดยพิจารณาต้นทุนเป็ นหลัก (cost-plus pricing) ทัง้ นีเ้ พื่อให้แน่ใจว่าราคาที่กำหนด
ขึน
้ ไม่ทำให้ผู้ปลูกขาดทุน และเป็ นข้อมูลพื้นฐานในการวางแผนด้านต้นทุน ที่จะนำเข้าสู่
โรงงานเพื่อแปรรูปและพัฒนาเม่าหลวงให้เป็ นพืชเศรษฐกิจต่อไป

การขยายพันธุ์เม่าหลวง ในอดีตที่ผ่านมาใช้วิธีการเพาะเมล็ด ซึ่งเป็ นวิธีการที่สะดวก


และได้ปริมาณต้นเป็ นจำนวนมาก นิยมปฏิบัติกันมาช้านาน และใช้กับพืชทั่วๆ ไป ไม่
เฉพาะเม่าเท่านัน
้ โดยเฉพาะกับพืชใช้สอยของมนุษย์ พืชชนิดใดมีลักษณะดี เป็ นที่นิยม
ของผู้คนมาก จะมีการขยายพันธุ์กระจายพันธุ์ไปยังแหล่งต่างๆ โดยวิธีการแบ่งปั นต้น
กล้าพันธุ์พืช นำติดตัวไปยังถิ่นอื่นๆ ที่มีการโยกย้ายถิ่นฐานหรือเยี่ยมเยือนกันในหมู่
เครือญาติ ส่วนมากจะเป็ นพืชเพื่อประโยชน์ใช้สอย เช่น ผัก สมุนไพร ผลไม้ท้องถิ่นที่
มีรสชาติดี จนกลายเป็ นวัฒนธรรมอีกแบบหนึ่งของการะกระจายพันธุ์ หรือขยายพันธุ์
พืชรวมถึงเม่าพันธุ์ดีในชุมชนท้องถิ่นภาคอีสาน วิธีการขยายพันธุ์หมากเม่าพอสรุปได้
ดังนี ้

1.การเพาะเมล็ด

วิธีการเพาะเมล็ด การเพาะเมล็ดเม่าหลายวิธี ประกอบด้วย

1. การหว่านเมล็ดลงในแปลงโดยตรงเหมือนเพาะกล้าผักแบบดัง้ เดิม เตรียมดินก่อน


หว่านเมล็ดพันธุ์ หลังหว่านแล้วคลุมแปลงด้วยวัสดุกันความชื้นจากดินระเหยออกเร็ว
เกินไป เช่น ฟางแห้ง หญ้าแห้ง เป็ นต้น
2. เพาะในตะกร้าโดยเตรียมวัสดุส่วนผสม เช่น ทราย ดินร่วน แกลบเผา ให้พร้อมแล้ว
หว่านเมล็ดเม่าและกลบด้วยวัสดุเพาะอีกชัน
้ หนึ่ง รดน้ำสม่ำเสมอ

3. เพาะในกระบะ คล้ายเพาะในตะกร้าแต่จะได้ปริมาณมากกว่าทุกวิธี อาจใช้ระบบน้ำ


แบบพ่นหมอก พ่นฝอยโดยตัง้ เวลาปิ ด – เปิ ด หรือรดน้ำด้วยสายยาง

2.การขยายพันธุ์โดยการทาบกิ่ง

การขยายพันธุ์แบบทาบกิ่ง (Approach grafting) เป็ นการขยายพันธุ์แบบไม่ใช้เพศอีก


วิธีหนึ่ง โดยนำต้นกล้าเม่าที่ได้เพาะเมล็ดไว้จนได้ขนาดพอเหมาะต่อการทาบกิ่ง คือ
อายุประมาณ 6 เดือน ถึง 12 เดือน มาทำให้เกิดแผล และให้ประกบกับกิ่งพันธุ์ดีที่
ได้ทำแผลไว้แล้ว เช่นกัน เพื่อให้เนื้อไม้ทงั ้ สองต้นประสานเป็ นเนื้อเดียวกัน แล้วจึงตัด
ยอดของต้นกล้าทิง้ ไปเหลือส่วนโคนเอาไว้ ตัดโคนกิ่งพันธุ์ดีออกจากต้นแม่ให้เหลือแต่
ยอดต้นตอเอาไว้ ซึ่งจะได้เม่าที่มีลักษณะดี 2 ประการหลักๆ คือ ระบบรากแบบมีราก
แก้วแข็งแรง ได้ยอดเป็ นเม่าพันธุ์ดี เหมือนต้นแม่ทุกประการไม่เป็ นต้นตัวผู้

3.การขยายพันธุ์แบบเสียบยอด

การขยายพันธุ์แบบเสียบยอด (Grafting) เป็ นวิธีการขยายพันธุ์เม่าแบบไม่


ใช้เพศอีกวิธีหนึ่ง ที่ให้ลักษณะของเม่าที่ดี เหมือนต้นแม่ทุกประการและไม่เป็ นต้นตัวผู้
มีระบบรากแข็งแรงเหมือนขยายพันธุ์ด้วยเมล็ด การขยายพันธุ์แบบเสียบยอดมี
ความแตกต่างกับการขยายพันธุ์แบบทาบกิ่ง คือ จะนำเอายอดหรือกิ่งพันธุ์ดีมาเสียบ
ทับกับต้นตอที่ได้เตรียมไว้แล้วในเรือนเพาะชำ โดยไม่ต้องเตรียมอุปกรณ์ไปที่ต้นพันธุ์ดี
เหมือนการทาบกิ่ง ซึ่งการขยายพันธุ์แบบเสียบยอดจะมีความสะดวกกว่าการทาบกิ่ง
วิธีการ คือ ตัดกิ่งพันธุ์จากต้นเม่าพันธุ์ดีที่มีขนาดพอเหมาะ คือ กิ่งมีสีเขียวที่ปลายและมี
สีเทาหรือน้ำตาลที่โคนกิ่งประมาณ 1 ใน 3 หรือ 1 ใน 2 ขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางกิ่ง
เท่ากับส่วนปลายของตะเกียบที่ใช้รับประทานอาหาร หรือ เส้นผ่าศูนย์กลาง 0.4 – 0.6
เซนติเมตร ความยาวกิ่งพันธุ์ดี 30 เซนติเมตร โดยประมาณ ตัดใบออกจากโคนกิ่งถึง
ครึ่งกิ่งส่วนที่เหลือให้ตัดใบออกครึ่งใบยกเว้นยอด นำกิ่งนัน
้ มาเฉือนทำแผล แบบปาด
หรือแบบฝานบวบ และเฉือนต้นตอเม่าเป็ นแบบฝานบวบเช่นกัน ความยาวของแผลให้
เท่ากันกับแผลของกิ่งพันธุ์ดีด้วยมีดคัตเตอร์ หรือมีดที่คม แล้วนำมาประกบกันให้พอดี
แล้วพันรอยต่อด้วยพลาสติกใส หรือเชือกฟางให้แผลประกบกันแน่นพอดีไม่เลื่อนหรือ
โยกคลอน จากนัน
้ นำไปเก็บในโรงพลาสติกกันการคายน้ำมากเกินไป หรือถ้าปริมาณ
น้อยจะเก็บในถุงพลาสติกขนาดใหญ่ ปิ ดปากถุงกันการคายน้ำมากเกินไป จนกว่าจะ
ครบ 1 เดือนจึงทยอยเปิ ดพลาสติกคลุมออก

คุณค่าทางโภชนาการ
คุณค่าทางอาหาร ของ ผลเม่า

พลังงาน 75.20 กิโลแคลลอรี่ /100 กรัม

โปรตีน 0.63 กรัม /100 กรัม

เยื่อใย 0.79 กรัม /100 กรัม

คาร์โบไฮเดรต 17.96 กรัม /100 กรัม

แคลเซียม 13.30 มิลลิกรัม /100 กรัม

เหล็ก 1.44 มิลลิกรัม /100 กรัม

วิตามิน ซี 8.97 กรัม /100 กรัม

วิตามิน บี1 4.50 ไมโครกรัม /100 กรัม

วิตามิน บี2 0.03 ไมโครกรัม /100 กรัม

วิตามิน อี 0.38 ไมโครกรัม /100 กรัม

น้ำเม่าสกัดเข้มข้น 100% เป็ นอาหารบำรุงสุขภาพในลักษณะเดียวกับ น้ำพรุน


สกัดเข้มข้น ซึ่งเป็ นที่ร้จ
ู ักกันโดยทั่วไปเนื่องจาก เม่า ซึ่งเป็ น ผลไม้ในตระกูลเดียวกันกับ
พรุน คือ ตระกูล เบอร์รี่ ซึ่งต้องนำเข้าจากต่างประเทศ เม่า มีสารอาหาร และ วิตามิน
หลายชนิด ซึ่งมีประโยชน์ต่อร่างกายรวมทัง้ มี สารต้านอนุมูลอิสระ

ใช้เป็ นยาพื้นบ้านในหลายพื้นที่ เช่นเปลือกต้นเม่าเป็ นส่วนประกอบของ


ลูกประคบ

สำหรับการนวดประคบเพื่อผ่อนคลายและรักษาอาการปวดเมื่อยกล้ามเนื้อ

์ ้านเชื้อ HIV เชื้อรา เชื้อแบคทีเรียของ


กัมมาลและคณะ (2546) ศึกษาฤทธิต
สมุนไพรไทย 5 ชนิด คือ มะเม่า ฟ้ าทลายโจร หญ้าแห้วหมูผักเป็ ดแดง และสายน้ำผึง้
พบว่า มะเม่า สายน้ำผึง้ และหญ้าแห้วหมูมีศักยภาพในการกระตุ้นภูมิคุ้มกันและมีฤทธิ ์
ต้านเชื้อ HIV ได้

สมานและสำรี (2549) ศึกษาการออกฤทธิข์ องสารโพลีฟีนอลในไวน์แดง


สยามมัวส์ต่ออะพอสโตซีสของเซลล์มะเร็งเต้านมชนิด MDA-MB- 435 ที่ปลูกถ่ายใน
หนูเปลือยที่ตัดต่อมไทมัส :ตรวจผลโดยการสร้างภาพเคมีและฮีทโตเคมีโดยใช้
สารประกอบโพลีฟีนอลที่สกัดจากไวน์แดงสยามมัวส์ (SRPE) และไม้มะเม่า (MPE)

การแปรรูป

โดยการผลิตเป็ นน้ำหมากเม่า น้ำหมากเม่าสกัดเข้มข้น การหมักทำไวน์ โดย


เฉพาะไวน์แดงในปั จจุบันไวน์หมากเม่าของไทยเป็ นไวน์แดงชัน
้ ดี ขนานแท้ของไทย เน้น
การผลิตให้ได้มาตราฐาน รสชาติเป็ นสากล เป็ น ออร์แกนนิคไวน์(Organic Wine) หรือ
ไวน์ปลอดสารพิษอย่างแท้จริง เพราะผลิตจากผลเม่าหลวง (ไทยบลูเบอรี่)ซึ่งเติบโตตาม
ธรรมชาติ ไม่ใช้ปุ๋ยเคมีไม่ใช้ยาฆ่าแมลงใดๆทัง้ สิน

เป็ นไวน์จากน้ำผลไม้อย่างแท้จริง มิใช่ไวน์น้ำตาลซึ่งใช้น้ำตาลเป็ นหลักในการหมัก

เป็ นไวน์แดงสีสวย สดใส ได้สีโดยธรรมชาติจากผลเม่าหรือไทยบลูเบอรี่ไม่แต่งเติมสีใดๆ


ทัง้ สิน
้ จึงประกันความปลอดภัยสูงสุดเป็ นไวน์ที่ผลิตอย่างพิถีพิถัน เน้นหนักเรื่องความ
สะอาดทุกขัน
้ ตอนจากโรงงานซึ่งได้มาตรฐาน จีเอ็มพี เก็บและบ่มไวน์ในห้องเย็น
ยาวนานได้รับรางวัลดีเด่นภาคอีสาน รางวัลชมเชยระดับประเทศ ที่หนึ่ง OTOP ระดับ
จังหวัดและภาคฯ กระทรวงอุตสาหกรรมให้การรับรอง มาตรฐานผลิตภัณฑ์ชุมชน

สรุป
หมากเม่าเป็ นผลไม้ที่ได้จากไม้ยืนต้นสูงใหญ่ของไทย มีมาแต่ดึกดำบรรพ์ผ่านการ
คัดสรรโดยวิวัฒนาการธรรมชาติมานับล้านปี สายพันธุ์บริสุทธิผ์ ุดผ่องอุดมตามเทือกเขา
ภูพาน จังหวัดสกลนคร ซึ่งให้ผลโต คุณภาพสูงกว่าแหล่งอื่นๆเป็ นผลไม้อุดมด้วยคุณค่า
ทางอาหารแร่ธาตุและวิตามินเช่น โปรตีน เยื่อใยคาร์โบไฮเดรท แคลเซี่ยม เหล็ก
วิตามิน บี ๑ บี ๒ วิตามินซี ปริมาณสูงเป็ นผลไม้ที่มีวิตามินอี มีคุณค่าสูง เป็ นสารต้าน
อนุมูลอิสระ ช่วยให้อายุยืนสุขภาพแข็งแรง ลดความเสี่ยงจากมะเร็งเป็ นผลไม้ที่มีสีม่วง
แดง อันมีส่วนประกอบของสารแอโทไซยานินและสารต้านอนุมูลอิสระ ลดอัตราเสี่ยง
ของการเกิดโรคหัวใจ เส้นเลือดอุดตันในสมอง จากการยับยัง้ โลหิตจับตัวเป็ นก้อน ดัง
นัน
้ ถึงเวลาแล้วหรือยังที่เราจะมาสนับสนุน ส่งเสริมให้ความสำคัญของหมากเม่าผลไม้
พื้นบ้าน ให้กลายเป็ นผลไม้ระดับสากล

คุณค่าที่ได้รับ

1.หมากเม่าสามารถนำมาในทำประโยชน์ได้หลายอย่าง

2.ทำให้ร้ถ
ู ึงคุณค่าของหมากเม่า

3.หมากเส่าสามารถต้านไวรัสต่างๆได้

You might also like