You are on page 1of 4

ชื่อ-สกุล นายสุทิน พุ่มพุทรา รหัส 63544101098-3 Sec 30

โครงการ กังหันน้ำชัยพัฒนา

1.ที่มาและความสำคัญ
ปั ญหาเรื่องน้ำเสียมีประวัติความเป็ นมาควบคู่ไปกับความเจริญเติบโต
ของชุมชน กล่าวคือ เมื่อครัง้ ประชากรยังน้อยและกระจัดกระจายก็ไม่เป็ น
ปั ญหาอะไรมากนัก ต่อมาเมื่อชุมชนเจริญเติบโตประชากรเพิ่มมากขึน

ปั ญหาเรื่องน้ำเสียก็ติดตามมาเป็ นเงาตามตัว ทัง้ นี ้ เพราะว่าน้ำเสียเป็ น
ผลิตผลอย่างหนึ่งในการดำเนินชีวิตประจำวันของคน และนับวันน้ำเสียจะมี
ปริมาณมากขึน
้ เป็ นทวีคูณ และมีสารใหม่ๆ แปลกๆ ของผลิตภัณฑ์สมัยใหม่
เจือปนอยู่ด้วย ซึ่งจะทำให้น้ำเสียเป็ นปั ญหายุ่งยากมากขึน
้ ตามลำดับใน
อนาคต น้ำเสียนอกจากจะโสโครกมีกลิ่นเหม็นสีดำคล้ำ และอาจมีสารเคมีที่
มีพิษเจือปนอยู่ด้วย เมื่อน้ำเสียไหลลงสู่แหล่งน้ำ เช่น แม่น้ำ ลำคลอง หนอง
บึง ก็จะแปรสภาพแหล่งน้ำสะอาดตามธรรมชาติให้กลายเป็ นน้ำเสียไป
ทำให้ไม่อาจใช้น้ำจากแหล่งน้ำแหล่งนัน
้ ได้อีกต่อไป อีกทัง้ ยังส่งกลิ่นเหม็น
ตลบไปทั่วบริเวณ ทำให้อากาศหายใจไม่บริสุทธิเ์ ป็ นอันตรายต่อสุขภาพ
อนามัยและความเป็ นอยู่ของประชาชนอย่างร้ายแรง สัตว์น้ำทัง้ หลายที่
อาศัยอยู่ในแหล่งน้ำหากไม่ตายก็ต้องต้องอพยพหนีไปอยู่ที่อ่ น
ื ส่วนที่ทน
อาศัยอยู่ต่อไปได้ย่อมจะมีรสชาติของเนื้อผิดแผกไป ความเสียหายที่เกิดขึน

ไม่เพียงแต่ในด้านอนามัยของประชาชนเท่านัน
้ หากยังกระทบกระเทือนถึง
เศรษฐกิจของประเทศด้วย เพราะเหตุว่ากิจการที่ต้องใช้น้ำเป็ นวัตถุดิบ เช่น
การประปา และการอุตสาหกรรม ไม่อาจจะใช้น้ำจากแหล่งน้ำธรรมชาติ
เหล่านีไ้ ด้ เป็ นเหตุให้ต้นทุนการผลิตสูงประเทศไทย โดยเฉพาะอย่างยิ่ง
แหล่งมีความรุนแรงเป็ นทวีคูณ และส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมต่อส่วน
รวมและเป็ นภาระอันยิ่งใหญ่ใน ปั จจุบัน พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว
ทรงห่วงใยต่อสุขภาพของประชาชนที่อาศัยอยู่ในแหล่งชุมชน ได้เสด็จ
พระราชดำเนินทอดพระเนตรสภาพน้ำเสียในพื้นที่หลายๆ แห่ง หลายครัง้
ทัง้ ในกรุงเทพฯ ปริมณฑลและต่างจังหวัด พร้อมทัง้ ได้พระราชทานพระ
ราชดำริเรื่องการแก้ไขน้ำเน่าเสีย เริ่มด้วยการแก้ไขน้ำเสียรูปแบบง่าย ใน
ช่วงแรกระหว่าง พ.ศ. 2527 ถึง พ.ศ.2530 โดยการใช้น้ำที่มีคุณภาพดีช่วย
บรรเทาน้ำเสียบ้าง ใช้วิธีกรองน้ำด้วยผักตบชวาบ้าง ซึ่งก็จะได้ผลเพียงระดับ
หนึ่งเท่านัน

ต่อมาตัง้ แต่ พ.ศ.2531 เป็ นต้นมา สภาพความเน่าเสียของน้ำที่บริเวณ
ต่างๆ มีความรุนแรงยิ่งขึน
้ การแก้ไขน้ำเสียรูปแบบดังกล่าวข้างต้นไม่ได้ผล
เท่าที่ควร จำเป็ นต้องนำเครื่องกลเติมอากาศเข้าช่วยบำบัดน้ำเสียอีกทาง
หนึ่งด้วย จึงพระราชทานแนวพระราชดำริให้ประดิษฐ์เครื่องกลเติมอากาศ
แบบไทยทำ ไทยใช้ขึน
้ มา เมื่อวันที่24 ธันวาคม 2531 โดยมีวัตถุประสงค์ที่
จะช่วยเหลือรัฐบาลเพื่อบรรเทาน้ำเน่าเสียแบบใช้ค่าใช้จ่ายน้อย ไปตามที่
ต่างๆ

2.การศึกษา วิจัย และพัฒนานวัตกรรม


กรมชลประทานรับสนองพระราชดำริในการศึกษาและสร้างต้นแบบ
โดยดัดแปลงเครื่องสูบน้ำพลังน้ำจาก "กังหันน้ำสูบน้ำทุ่นลอย" เปลี่ยนเป็ น
"กังหันน้ำชัยพัฒนา" และได้นำไปติดตัง้ ใช้ในกิจกรรมบำบัดน้ำเสียที่โรง
พยาบาลพระมงกุฎเกล้า เมื่อวันที่ 1 พฤษภาคม 2532 และที่วัดบวรนิเวศ
วิหาร เมื่อวันที่ 3 พฤษภาคม 2532 เพื่อศึกษา วิจัย และพัฒนาระบบบำบัด
น้ำเสีย เป็ นระยะเวลา 4-5 ปี
คุณสมบัติ
กังหันน้ำชัยพัฒนา หรือเครื่องกลเติมอากาศที่ผิวน้ำหมุนช้าแบบทุ่น
ลอย (Chaipattana Low Speed Surface Aerator) ซึง่ เป็ น Model RX-2
หมายถึง Royal Experiment แบบที่ 2 มีคุณสมบัติในการถ่ายเทออกซิเจน
ได้สูงถึง 1.2 กิโลกรัมของออกซิเจน/แรงม้า/ชั่วโมง สามารถนำไปใช้ใน
กิจกรรมปรับปรุงคุณภาพน้ำได้อย่างอเนกประสงค์ ติดตัง้ ง่าย เหมาะสำหรับ
ใช้ในแหล่งน้ำธรรมชาติ ได้แก่ สระน้ำ หนองน้ำ คลอง บึง ลำห้วย ฯลฯ ที่มี
ความลึกมากกว่า 1.00 เมตร และมีความกว้างมากกว่า 3.00 เมตร

ผลกระทบของนวัตกรรม
โครงการนีส
้ ามารถช่วยเหลือประชาชนได้เป็ นอย่างดี เนื่องจาก
กระบวนการต่าง ๆ สามารถช่วยลดมลภาวะที่เกิดจากน้ำเน่าเสีย ทำให้
ความเป็ นอยู่ของประชาชนในบริเวณริมแหล่งน้ำในพื้นที่ต่าง ๆ ดีขึน
้ ด้วย
กระบวนการของกังหันชัยพัฒนาที่ช่วยทำให้น้ำใสสะอาดขึน
้ ลดกลิ่นเหม็น
ลงไปได้มาก และมีปริมาณออกซิเจนในน้ำเพิ่มขึน
้ สัตว์น้ำต่าง ๆ อาทิ เต่า
ตะพาบน้ำ และปลา สามารถอยู่อาศัยได้อย่างปลอดภัย อีกทัง้ ยังบำบัด
ความสกปรกต่าง ๆ ให้ลดต่ำลงได้ตามเกณฑ์มาตรฐานที่กำหนด และ
เนื่องจากกังหันน้ำชัยพัฒนาใช้เทคโนโลยีที่เรียบง่ายที่สามารถแก้ไขและ
ปรับปรุงคุณภาพน้ำให้ดีขึน
้ จึงเป็ นที่ยอมรับในประสิทธิภาพของการบำบัด
น้ำเสียทัง้ ในประเทศและต่างประเทศ โดยผลที่ได้รับนัน
้ ยิ่งใหญ่และมีความ
สำคัญต่อการดำรงชีวิตของมนุษย์อย่างแท้จริง

You might also like