You are on page 1of 64

ศึกษาปัจจัยและสาเหตุน้าท่วมในอ้าเภอเสนา

จัดท้าโดย
นางสาวชนิกา ทาซ้าย รหัสนักศึกษา 16415046
นางสาวชนิดา ทาซ้าย รหัสนักศึกษา 16415047
นายนนทวัฒน์ กองกวีรหัสนักศึกษา 16415049
นางสาววลัยพร พาภักดี รหัสนักศึกษา 16415232
สาขาวิทยาศาสตร์ คณะครุศาสตร์
เสนอ
ผศ.อาจารย์ อร่าม ชนะโชติ
บทคัดย่อ
การ วิจัยเรื่องศึกษาปัจจัยและสาเหตุน้าท่วมในอ้าเภอเสนา มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่น้า
ท่วมในอ้าเภอเสนาของเดือนสิงหาคม-ตุลาคม ศึกษาผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่น้าท่วม และเพื่อศึกษาหา
มาตรการลดผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่อ้าเภอเสนาจังหวัดพระนครศรีอยุธยา วิธีการวิจัยใช้รูปแบบการ
วิจัยเชิงพรรณนา โดยใช้แบบสอบถามเป็นเครื่องมือเก็บรวบรวม ข้อมูล มีการสุ่มตัวอย่างแบบไม่ใช้ความน่าจะ
เป็น
ผลการวิจัยพบว่ากลุ่มตัวอย่างส่วนใหญ่เป็นเพศหญิง จ้านวน 30 คน ในพื้นที่อ้าเภอเสนา จังหวัด
พระนครศรีอยุธยา อายุ 19-30 ปี เป็นนักศึกษาระดับปริญญาตรี ส่วนใหญ่มีการเดินทางด้วยรถจักรยานยนต์
และรถยนต์เพื่อไปเรียนที่มหาวิทยาลัยทุกวัน เมื่อเกิดน้้าท่วมจะเปลี่ยนเป็นการนั่งเรือหรือพายเรือเพื่อออก
นอกพื้นที่หากต้องไปรถโดยสารเส้นทางบางพื้นที่มีน้าท่วมสูงรถไม่สามารถผ่านไปได้จึงท้าให้ต้องหลีกเลี่ยง
เส้นทางนั้นและไปเรียนสาย สาเหตุที่น้าท่วมเกิดจากการระบายน้้าและปริมาณน้้าฝนที่สูงท้าให้เกิดน้้าท่วมขัง
ขึ้นทุกปี
สาเหตุและปัจจัยที่ท้าให้เกิดเหตุการณ์น้าท่วมในพื้นที่อ้าเภอเสนา การบริหารการจัดการน้้าไม่ดีพอ ถุงยัง
ชีพเข้าไม่ถึงทุกครัวเรือน ซึ่งกลุ่มตัวอย่างยังบอกถึงผลกระทบต่อเหตุการณ์น้าท่วมเนื่องจากท้าให้ทรัพย์สิน
เสียหาย เดินทางล้าบาก ขาดแคลนรายได้และพื้นที่ในการท้ามาหากินเป็นส่วนใหญ่
สารบัญ
บทที่ 1
บทน้า
เรื่อง ศึกษาปัจจัยและสาเหตุน้าท่วมในอ้าเภอเสนา
หลักการและเหตุผล
จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางและเป็นเขตเศรษฐกิจอุตสาหกรรมที่ส้าคัญ โดยมี
ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน
เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่ส้าคัญ หนึ่งในนั้นคือ อ้าเภอเสนา ซึ่งอ้าเภอเสนาตั้งถิ่นฐานอยู่ริมฝั่ง
แม่น้าน้อย ท้าให้กลายเป็นพื้นที่รับน้้า เกิดอุทกภัยน้้าท่วม
ได้มีการวางแผนการแก้ไขปัญหาน้้าท่วมโดยการท้าเขื่อนป้องกันรอบเกาะเมืองลงไปในพื้นที่ของแม่น้าเพื่อ
ช่วยลดผลกระทบทางน้้าที่มีผลกระทบต่อตลาดบ้านแพนและชุมชนในบริเวณนั้นเนื่องจากน้้าท่วมทีละครั้งจะ
ท้าให้มีการค้าขายที่ล้าบากเพราะว่าตลาดบ้านแพนเป็นศูนย์กลางของชาวอ้าเภอเสนาและยังเป็นแหล่งค้าขาย
ส้าคัญและยังมีส้านักงานขนส่งที่เชื่อมต่อระหว่างจังหวัดและอ้าเภอใกล้เคียงเช่นอ้าเภอลาดบัวหลวงอ้าเภอบาง
ซ้ายอ้าเภอบางบาล และอ้าเภอผักไห่
จากข้อมูลข้างต้นอ้าเภอเสนาก็ยังเป็นแหล่งรับน้้าหรือที่เรียกกันว่าแก้มลิงโดยพื้นที่ของอ้าเภอเสนาส่วนใหญ่
ประกอบอาชีพเกษตรกร เป็นเป็นทุ่งกว้าง เพื่อรับน้้าเมื่อถึงฤดูน้าหลาก ดังนั้นผู้จัดท้าจึงได้จัดท้าโครงงานนี้ขึ้น
เพื่อลดผลกระทบที่มีต่อประชาชน

วัตถุประสงค์
1. เพื่อศึกษาสาเหตุและปัจจัยที่น้าท่วมในอ้าเภอเสนาของเดือนสิงหาคม-ตุลาคม
2. เพื่อศึกษาผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่น้าท่วม
3.เพื่อศึกษา หามาตรการลดผลกระทบต่อประชาชนในพื้นที่

วิธีด้าเนินงาน
การวิจัยครั้งนี้มีวัตถุประสงค์เพื่อศึกษาปริมาณน้้าใน อ.เสนา ใน จ.พระนครศรีอยุธยา โดยค้นหาจากเว็บไซต์
ศูนย์ข้อมูลกลางด้านน้้าและชลประทาน และใช้แบบสอบถามเพื่อสอบถามผลกระทบของคนพื้นที่อ้าเภอเสนา
ดังต่อไปนี้
3.1 ประชากร
ประชากรที่ใช้ในการการวิจัยในครั้งนี้ คือ คนในพื้นที่ อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2565 จ้านวน 30
คน
3.2 เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย

เครื่องมือที่ใช้ในการศึกษาครั้งนี้ ประกอบด้วย

3.2.1 แบบสอบถามเกี่ยวกับผลกระทบทางน้้าที่คนในพื้นที่ได้รับน้้า คือ ชุมชนใน อ.เสนา


จ.พระนครศรีอยุธยา พ.ศ.2565 โดยใช้แบบสอบถาม

3.2.2 Internet ค้นหาปริมาณน้้าในแต่ละปีของพื้นที่ อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา ระยะเวลา 3 เดือน


ตั้งแต่เดือน สิงหาคม-ตุลามคม พ.ศ.2565

3.3 ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ

ขั้นตอนการสร้างเครื่องมือ มีดังต่อไปนี้

3.3.1การสร้างแบบสอบถาม

การสร้างแบบสอบถามบน Google เรื่องผลกระทบจากน้้า เพื่อหาแนวคิดในการลดผลกระทบ ของ


คนในชุมชน อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา ดังแผนภาพ

1. ศึกษาผลกระทบที่มีต่อคนในชุมชน

2. วิเคราะห์ผลกระทบจากแบบสอบถามและใช้ข้อมูล
ปริมาณน้้าในแต่ละเดือนควบคู่

3. ก้าหนดแนวทางการแก้ไขปัญหาเพื่อลดผลกระทบ

4. ตรวจสอบความถูกต้องสมบูรณ์
3.4 วิธีการเก็บข้อมูล
1) สอบถามชาวบ้านในอ้าเภอเสนาโดยใช้แบบสอบถาม

2) สืบค้นจากเว็บไซต์

3.5 การเก็บรวบรวมข้อมูล

การเก็บรวบรวมข้อมูลในครั้งนี้ ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลด้วยตนเองและน้ามาจากสถานีน้าท่า สถานีบ้าน


บางบาล ในช่วงเดือน สิงหาคม-ตุลาคม ของปี 2554 2564 และ2565

สรุปข้อมูลผลกระทบของคนในชุมชนจากแบบสอบถามได้ว่า บริเวณอ้าเภอเสนาเกิดเหตุการณ์น้าท่วมทุกปี
และสาเหตุที่ระดับน้้าในอ้าเภอเสนาเพิ่มสูงขึ้นเพราะมีการปล่อยน้้าจากเขื่อนเจ้าพระยาโดยผ่านแม่น้าน้อยและ
ประตูเจ้าเจ็ด ผลกระทบที่ได้รับจากระดับที่เพิ่มสูงขึ้นขาดรายได้ สัญจรยากล้าบาก น้้าท่วมสูงมีระยะเวลา
ยาวนาน 2-3 เดือน

3.6 การวิเคราะห์ข้อมูล
การวิเคราะห์ข้อมูลของการวิจัยครั้งนี้ ผู้วิจัยได้ด้าเนินการวิเคราะห์ดังต่อไปนี้
จากกราฟปริมาณน้้าในเวลา 6.00 น.ที่ท้ายเขื่อนเจ้าพระยาช่วงวันที่ 1 สิงหาคม-31 ตุลาคม จะเห็นได้ว่าน้้ามี
ปริมาณเพิ่มสูงขึ้นจนถึงขั้นวิกฤต ท้าให้ต้องระบายน้้ามาที่แม่น้าน้อย

ขอบเขต : อ้าเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ระยะเวลา 3 เดือน


บทที่ 2
หลักการและทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
ในการศึกษาปริมาณน้้าอ้าเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ลดผลกระทบทางน้้าที่มีผลกระทบต่อตลาด
บ้านแพนและชุมชนในบริเวณนั้นและวัตถุประสงค์ของงานวิจัย จ้าเป็นต้องศึกษาแนวทางการปริมาณน้้าตาม
แนวคิด ทฤษฏี และงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
ผู้ศึกษาได้ศึกษาค้นคว้าเอกสารและงานวิจัยต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับน้้า

2.1 ความหมายของน้้า

2.2 ความส้าคัญของน้้า

2.3 ประเภทของน้้า

2.4 ประโยชน์ของน้้า

2.5 ก้าเนิดของน้้าบนโลก

2.6 วัฏจักรของน้้า

2.7 ความหมายของน้้าท่วม

2.8 ความหมายของอุทกภัยและสาเหตุ

2.9 แผนการบริหารจัดการน้้าระดับประเทศ

2.10 เทคโนโลยีในการจัดการน้้า
2. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับน้้า

2.1 ความหมายของน้้า
น้้า เป็นของเหลวชนิดหนึ่ง ที่มีอยู่มากที่สุดบนผิวโลก และเป็นปัจจัยส้าคัญต่อการด้ารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตทุก
ชนิดที่มนุษย์รู้จัก เราสามารถพบน้้าได้ในหลายๆ สถานที่ อาทิ ทะเล ทะเลสาบ แม่น้า ห้วย หนอง คลอง บึง
และในหลายๆ รูปแบบ เช่น น้้าแข็ง หิมะ ฝน ลูกเห็บ เมฆ และไอน้้า
น้้ามีรูปแบบและสถานะเป็นของเหลว แต่น้าก็ยังมีในรูปของสถานะของแข็งที่เรียกว่าน้้าแข็ง และสถานะ
แก๊สที่เรียกว่าไอน้้า น้้าปริมาณประมาณ 1.460 เพตะตัน ปกคลุม 71% บนพื้นผิวโลก ส่วนมากในมหาสมุทร
และในแหล่งน้้าแห่งใหญ่ทั่วไป น้้า 1.6% อยู่ภายใต้หินหรือพื้นดินที่ยังมีน้าแข็งอยู่ และอีก 0.001% อยู่ใน
อากาศในรูปแบบของไอน้้าและก้อนเมฆซึ่งเป็นลักษณะของส่วนของของแข็งและของเหลวลอยอยู่บนอากาศ
และเกิดการตกตะกอน น้้าบนโลกบางส่วนถูกบรรจุลงในสิ่งของต่าง ๆ ที่เกิดโดยธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึ้น
บนโลก อย่างเช่น อ่างเก็บน้้า ในร่างกายของสัตว์และพืช ผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ และร้านอาหาร
น้้าในมหาสมุทรมีอยู่มากถึง 97% ของพื้นผิวน้้าทั้งหมดบนโลก ธารน้้าแข็งและน้้าแข็งขั้วโลกอีก 2.4% และ
ที่เหลือคือน้้าที่อยู่บนพื้นดินเช่น แม่น้า ทะเลสาบ บ่อน้้า อีก 0.6% น้้าเคลื่อนที่อย่างต่อเนื่องผ่านวัฏจักรของ
การกลายเป็นไอหรือการคายน้้า การตกลงมาเป็นฝน และการไหลของน้้าซึ่งโดยปกติจะไหลไปสู่ทะเล ลมเป็น
ตัวพาไอน้้าผ่านเหนือพื้นดินในอัตราที่เท่า ๆ กันเช่นเดียวกับการไหลออกสู่ทะเล น้้าบางส่วนถูกกักขังไว้เป็น
เวลาหลายยุคหลายสมัยในรูปแบบของน้้าแข็งขั้วโลก ธารน้้าแข็ง น้้าที่อยู่ตามหินหรือดิน หรือในทะเลสาบ
บางครั้งอาจมีการหาน้้าสะอาดมาเลี้ยงสิ่งมีชีวิตบนพื้นดิน น้้าใสและสะอาดนั้นเป็นสิ่งจ้าเป็นต่อมนุษย์และ
สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ
น้้ามีสมบัติเป็นตัวท้าละลายที่ดีมาก เราจึงไม่ค่อยพบน้้าบริสุทธิ์ในธรรมชาติ ดังนั้นน้้าสะอาดที่เหมาะสมต่อ
การบริโภคของมนุษย์จึงเป็นทรัพยากรที่มีค่ายิ่ง ในบางประเทศปัญหาการขาดแคลนน้้าเป็นปัญหาใหญ่ที่ส่งผล
กระทบต่อสังคม และเศรษฐกิจของประเทศนั้นอย่างกว้างขวาง

2.2 ความส้าคัญของน้้า
"น้้า" หนึ่งในส่วนประกอบที่ส้าคัญของร่างกายถึง 70% หากขาดน้้าติดต่อกันถึง 3 วัน อาจท้าให้เราถึง
เสียชีวิตได้ แสดงว่า น้้ามีความส้าคัญกับการด้ารงชีพของมนุษย์เป็นอย่างมาก ทั้งช่วยดับกระหายคลายร้อน
หรือแม้กระทั่งช่วยรักษาโรค ต่อค้าถามที่ว่า น้้าแบบไหนที่เราควรเลือกดื่ม ก็ควรเป็นน้้าบริสุทธิ์ปราศจาก
สิ่งเจือปน อีกทั้งต้องดื่มในปริมาณที่พอเหมาะ ไม่มากหรือน้อยจนเกินไป ทั้งนี้ เพื่อรักษาสมดุลในร่างกายให้อยู่
ในสภาพปกติ
รู้จักธรรมชาติของน้้า
องค์ประกอบทางเคมีของน้้าประกอบด้วยธาตุไฮโดรเจน (H) 2 อะตอม และออกซิเจน (O) 1 อะตอม
รวมกันเป็นน้้า (H2O) 1 โมเลกุล และน้้าสารประกอบเพียงชนิดเดียวที่พบเห็นในธรรมชาติได้ทั้ง 3 สถานะ ทั้ง
ของแข็ง ของเหลว และก๊าซ ซึ่งในแต่ละสถานะน้้าก็จะมีคุณสมบัติแตกต่างกันไป คุณสมบัติที่เด่นชัดของน้้าใน
สถานะของเหลวคือสามารถเปลี่ยนรูปร่างได้ตามรูปร่างของภาชนะที่บรรจุ
ส่วนคุณสมบัติที่น่ามหัศจรรย์กว่านั้น คือ "น้้า" เป็นตัวท้าละลายที่ยอดเยี่ยมมาก ไม่ว่าจะเป็นน้้าทะเล แหล่ง
น้้าธรรมชาติทั่วไป น้้าใต้ดิน หรือน้้าฝน ก็มีแร่ธาตุหรือสารอื่นๆ ปะปนอยู่ในปริมาณมากน้อยต่างกันไป เช่น
โซเดียมคลอไรด์ และคาร์บอนไดออกไซด์ ดังนั้น น้้าบริสุทธิ์จริง ๆ ที่ปราศจากสารเจือปนจึงหาได้ยาก
ด้วยความที่ในร่างกายของเรามีน้าเป็นองค์ประกอบอยู่ราว 70% เช่นกัน และเช่นนี้เองน้้าจึงถือเป็นสิ่งส้าคัญ
ต่อการด้ารงชีวิตของคนเรา รวมไปถึงสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ทุกชนิดบนดาวเคราะห์สีน้าเงินดวงนี้

2.3 ประเภทของน้้า
น้้าจ้าแนกออกเป็น 3 ชนิด คือ
2.3.1 น้้าฝน (Precipitation) คือ น้้าที่เกิดจากการกลั่นตัวของไอน้้า
2.3.2 น้้าผิวพื้นหรือน้้าท่า (Surface Water) คือ น้้าที่เกิดจากน้้าฝนและขังอยู่ตามผิวดิน ห้วย หนอง
คลอง บึง น้้าในแม่น้า หรือตามที่อื่นๆ
2.3.3 น้้าใต้ดิน ( Ground) มี 2 ชนิด คือ
2.3.3.1 น้้าใต้ดินเกิดจากน้้าฝน หรือน้้าที่อยู่บนดิน หรือหิมะ หรือก้อนน้้าแข็งละลายซึมลงไปในดิน
และตามช่องว่างระหว่างชั้นหิน น้้าในดินมีระดับไม่ลึกนักโดยชั้นบนสุดมักจะอยู่ระดับเดียวกับน้้าในแม่น้าล้า
คลอง
2.3.3.2 น้้าในชั้นดินหรือน้้าบาดาล เป็นน้้าที่เกิดจากน้้าฝนและน้้าบนดินซึมลึกลงไปตามชั้นหินประเภท
ต่างๆ ได้แก่ น้้าบาดาลที่เกิดจากน้้าฝนไหลซึมผ่านชั้นหินทรายต่าง ๆ พบมากในแอ่งที่ลุ่มที่มีแนวชั้นหินทราย
ต่อเนื่องไปถึง เช่น น้้าฝนที่ซึมผ่านชั้นหินในภาคเหนือของประเทศไทยตามแนวโครงสร้างต่อเนื่อง ลดต่้าลง
มาจนถึงที่ราบภาคกลาง เมื่อเจาะผ่านชั้นหินไปลึกๆ ก็พบน้้าขังอยู่ในชั้นหินทรายข้างล่างและน้้าบาดาลที่ไหล
ผ่านหินชั้นต่างๆ และไปขังรวมตัวกันในตอนบนของชั้นดินดาน เนื่องจากซึมผ่านไปไม่สะดวก น้้าบาดาลนี้
ผ่านการกลั่นทางธรรมชาติแล้ว จึงสะอาดกว่าน้้าในดินมาก

2.4 ประโยชน์ของน้้า
น้้าเป็นสิ่งจ้าเป็นอย่างยิ่งส้าหรับชีวิตทุกชีวิต ไม่ว่าจะเป็นมนุษย์ สัตว์เล็กหรือสัตว์ใหญ่ ตลอดจนพืชถ้าขาด
น้้าก็จะต้องแห้งเหี่ยวและเฉาตายในที่สุด มนุษย์ต้องใช้น้าสัมพันธ์อยู่กับชีวิตประจ้าวันอย่างเห็นได้ชัด เช่น ใช้
น้้าส้าหรับดื่ม ใช้หุงต้มอาหาร ใช้ชะล้างสิ่งสกปรกต่าง ๆ ใช้ซักเสื้อผ้า ใช้ในเครื่องท้าความร้อน เครื่องลดความ
ร้อน เช่นในโรงงานอุตสาหกรรมบางประเภท และใช้กับเครื่องปรับอากาศ
ประโยชน์ของน้้าที่มีต่อร่างกาย
น้้ามีความส้าคัญต่อระบบการย่อยอาหาร สารอาหารต่าง ๆ ต้องละลายน้้าก่อนจึงจะผ่านเยื่อบุล้าไส้เข้าสู่
ร่างกายตามกระแสโลหิตและหลอดน้้าเหลืองได้ น้้าช่วยในการขับถ่ายสารอาหารที่ร่างกายไม่ต้องการใช้ออก
จากร่างกาย และยังช่วยรักษาระดับอุณหภูมิของร่างกายด้วย
น้้าซึ่งมีอยู่ในร่างกายจะถูกขับออกเป็นเหงื่อและปัสสาวะทุกวัน ฉะนั้นเราจึงต้องดื่มน้้าให้เพียงพอ เพื่อไป
ทดแทนน้้าซึ่งถูกขับถ่ายออก และเพื่อหล่อเลี้ยงร่างกายทั่วไปให้สดชื่นสมบูรณ์ ฉะนั้นน้้าจึงมีประโยชน์ดังนี้
2.4.1 ช่วยให้ผิวพรรณสดชื่น
2.4.2 ช่วยให้ปฏิกิริยาเคมีและการเผาผลาญอาหารในร่างกายเป็นไปตามปรกติ
2.4.3 ช่วยน้าสารอาหารไปเลี้ยงส่วนต่างๆ ของร่างกาย และช่วยในการขับถ่ายของเสียออกจากร่างกาย
2.4.4 ช่วยในการสะสมอาหาร เช่น ไขมัน หรือโปรตีน
2.4.5 ช่วยรักษาระดับอุณหภูมิของร่างกาย
ในการเกษตรกรรม การท้าเรือกสวนไร่นา ท้าสวนครัว เลี้ยงสัตว์ ก็ต้องใช้เป็นองค์ประกอบที่ส้าคัญทั้งสิ้น
แม้แต่ในการอุตสาหกรรมต่าง ๆ เช่น ในการหล่อเย็น ในพลังไอน้้าก็ดี พลังงานไฟฟ้าก็ดี การก้าจัดน้้าทิ้งและ
ขยะก็ดี ตลอดจนถึงการดับไฟเมื่อเกิดไฟไหม้ น้้าเป็นองค์ประกอบที่ส้าคัญทั้งนั้น
นอกจากนี้แหล่งน้้ายังเป็นที่พักผ่อนหย่อนใจ ส้าหรับท่องเที่ยว ตกปลา ว่ายน้้า ตลอดจนใช้ประกอบอาชีพ
เช่นการประมงอีกด้วย
รู้ถึงประโยชน์ของน้้าที่มีผลต่อการด้าเนินชีวิตของเราแล้ว ทรัพยากรทุกอย่างใช่ว่าจะมีให้ใช้ได้อย่างไม่จ้ากัด
เพราะฉะนั้นเราควรมีวิธีอนุรักษ์ทรัพยากรน้้าให้อยู่ และมีใช้ให้นานที่สุด ซึ่งมีวิธีอนุรักษ์ดังนี้
1) บ้าบัดน้้าเสียและดูแลระบบบ้าบัดน้้าเสียให้สามารถด้าเนินการได้อย่างมีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง
2) ใช้บ่อดักไขมันและน้าไขมันไปจัดการให้ถูกต้อง
3) ลดปริมาณ การใช้น้าอย่างประหยัด และความสกปรกของของเสียและน้้าเสียที่ระบายจากสถาน
ประกอบการ หรือแหล่งก้าเนิดมลพิษประเภทต่าง ๆ การน้าน้้าที่ผ่านการบ้าบัดแล้วไปใช้ประโยชน์ในด้าน
อื่น ๆ อีก สามารถน้าน้้าที่ใช้แล้วกลับมาหมุนเวียนใช้ได้ใหม่อีก โดยเฉพาะการเกษตรในพื้นที่ข้างเคียง
4) ควบคุมไม่ให้เกิดมลพิษแก่แหล่งน้้า ควบคุมไม่ให้มีการปล่อยสิ่งสกปรกลงไปในแหล่งน้้า ไม่ทิ้งขยะมูล
ฝอย น้้าเสียและของเสียลงสู่แหล่งน้้าและทางระบายน้้าสาธารณะ
5) สอดส่องและเป็นหูเป็นตาร่วมกับภาครัฐในการตรวจสอบและเฝ้าระวังการระบายมลพิษจาก
แหล่งก้าเนิดในบริเวณข้างเคียง การควบคุมรักษาต้นน้้าล้าธาร ไม่มีการอนุญาตให้มีการตัดต้นไม้ท้าลายป่า
อย่างเด็ดขาด
2.5 ก้าเนิดของน้้าบนโลก
โลกก่อก้าเนิดขึ้นเมื่อประมาณ 4,600 ล้านปีมาแล้วนักวิทยาศาสตร์เชื่อว่า ดาวเคราะห์ทั้งหลายรวมทั้งโลก
เกิดขึ้นพร้อมกับดวงอาทิตย์ แต่มีขนาดเล็กกว่า โลกที่ก่อก้าเนิดขึ้นใหม่ ๆ มีลักษณะเป็นกลุ่มฝุ่นและก๊าซหลาย
ชนิดร้อนจัดหมุนวน อยู่ในอวกาศ โลกในขณะนั้นยังไม่มีน้าอยู่บนพื้นผิว นานหลายร้อยล้านปีหลังจากนั้น เมื่อ
โลกค่อย ๆ เย็นลงจนมีอุณหภูมิต่้ากว่าไอน้้าเดือดและเปลือกโลกบางส่วนแข็ง กลายเป็นหิน จึงเริ่มมีไอน้้า
เกิดขึ้นแทรกอยู่ในหิน ไอน้้าที่เกิดขึ้นนี้ลอยสูงขึ้นจาก เปลือกโลกเข้าไปอยู่ในบรรยากาศซึ่งประกอบด้วยก๊าซ
หลายชนิด และเนื่องจาก บรรยากาศของโลกขณะนั้นมีอุณหภูมิต่้ากว่าอุณหภูมิที่พื้นผิว ไอน้้าที่ลอยขึ้นไป จึง
กลั่นตัวเป็นละอองน้้ากลายเป็นเมฆด้าลอยปกคลุมอยู่รอบ ๆ โลก นานหลายพันปีหลังจากนั้น เมฆที่ปกคลุมอยู่
รอบ ๆ โลกได้ช่วยป้องกันมิให้ รังสีจากดวงอาทิตย์ตกลงสู่โลก เป็นเหตุให้โลกเย็นตัวลงเร็วขึ้น พื้นผิวของโลก
จึงกลายเป็นหินแข็งไปทั่ว แต่ภายในยังร้อนจัดอยู่ หลังจากนั้นอีกไม่นาน เมื่อพื้นผิวของโลกมีอุณหภูมิลดต่้าลง
ไปอีก ละอองน้้าในก้อนเมฆก็รวมตัวกลายเป็นฝนตกลงมายังพื้นผิวของโลกในท้านอง เดียวกันฝนที่ตกลงสู่
พื้นดินในปัจจุบัน ฝนที่ตกลงมาซ้้าแล้วซ้้าเล่าท้าให้เกิด มีน้าขังอยู่ทั่วไปบนพื้นหินซึ่งเป็นที่ต่้าและได้กลายเป็น
แอ่งน้้ากว้างใหญ่ในระยะ ต่อมากลายเป็นทะเลการรวมตัวของน้้าฝนบนพื้นผิวโลกจนกลายเป็นทะเลนี้กิน
เวลานานถึงพันล้านปี

2.6 วัฏจักรของน้้า
วัฏจักรของน้้า หมายถึง การหมุนเวียนเปลี่ยนแปลงของน้้าซึ่งเป็นปรากฏการณ์ที่เกิดขึ้นเองตามธรรมชาติ
โดยเริ่มต้นจากน้้าในแหล่งน้้าต่าง ๆ เช่น ทะเล มหาสมุทร แม่น้า ล้าคลองหนอง บึง ทะเลสาบ จากการคายน้้า
ของพืช จากการขับถ่ายของเสียของสิ่งมีชีวิต และจากกิจกรรมต่าง ๆ ที่ใช้ในการด้ารงชีวิตของมนุษย์ ระเหย
ขึ้นไปในบรรยากาศ กระทบความเย็นควบแน่นเป็นละอองน้้าเล็ก ๆ เป็นก้อนเมฆ ตกลงมาเป็นฝนหรือลูกเห็บสู่
พื้นดินไหลลงสู่แหล่งน้้าต่าง ๆ หมุนเวียนอยู่เช่นนี้เรื่อยไป
ตัวการที่ท้าให้เกิดการหมุนเวียนของน้้า
2.6.1 ความร้อนจากดวงอาทิตย์ ท้าให้เกิดการระเหยของน้้าจากแหล่งน้้าต่าง ๆ กลายเป็นไอน้้าขึ้นสู่
บรรยากาศ
2.6.2 กระแสลม ช่วยท้าให้น้าระเหยกลายเป็นไอได้เร็วขึ้น
2.6.3 มนุษย์และสัตว์ ขับถ่ายของเสียออกมาในรูปของเหงื่อ ปัสสาวะ และลมหายใจออกกลายเป็นไอน้้าสู่
บรรยากาศ
2.6.4 พืช รากต้นไม้เปรียบเหมือนฟองน้้า มีความสามารถในการดูดน้้าจากดินจ้านวนมากขึ้นไปเก็บไว้ในส่วน
ต่าง ๆ ทั้งยอด กิ่ง ใบ ดอก ผล และล้าต้น แล้วคายน้้าสู่บรรยากาศ ไอเหล่านี้จะควบแน่นและรวมกันเป็นเมฆ
และตกลงมาเป็นฝนต่อไป
ปริมาณน้้าที่ระเหย ปริมาณน้้าที่ตกลงมา จากมหาสมุทร 84% ในมหาสมุทร 77% รวม 100%
จากพื้นดิน 16% บนพื้นดิน 23% รวม 100%
2.7 ความหมายของน้้าท่วม
น้้าท่วม ตรงกับค้าภาษาอังกฤษว่า flood พจนานุกรมศัพท์ภูมิศาสตร์ ฉบับราชบัณฑิตยสถาน ได้
บัญญัติศัพท์ไว้ 2 ความหมาย ดังนี้
2.7.1 น้้าท่วม หมายถึง น้้าซึ่งท่วมพื้นที่บริเวณใดบริเวณหนึ่งเป็นครั้งคราวเนื่องจากมีฝนตกหนักหรือหิมะ
ละลาย ท้าให้น้าในล้าน้้าหรือทะเลสาบไหลล้นตลิ่งหรือบ่าลงมาจากที่สูง
2.7.2 อุทกภัย หมายถึง อันตรายอันเกิดจากน้้าท่วม

2.8 ความหมายของอุทกภัยและสาเหตุ
อุทกภัย คือ ภัยหรืออันตรายที่เกิดจากน้้าท่วม หรือ อันตรายอันเกิดจากสภาวะที่น้าไหลเอ่อล้นฝั่งแม่น้า ล้า
ธาร หรือทางน้้า เข้าท่วมพื้นที่ซึ่งโดยปกติแล้วไม่ได้อยู่ใต้ระดับน้้าหรือเกิดจากการสะสมน้้าบนพื้นที่ซึ่งระบาย
ออกไม่ทัน ท้าให้พนื้ ที่นั้นปกคลุมไปด้วยน้้าโดยทั่วไปแล้วอุทกภัยมัก เกิดจากน้้าท่วม แบ่งเป็นลักษณะใหญ่ ๆ
ได้ 2 ลักษณะ คือ
1) น้้าท่วมขัง/น้้าล้นตลิ่ง เป็นสภาวะน้้าท่วมที่ เกิดขึ้นเนื่องจากระบบระบายน้้าไม่มีประสิทธิภาพ มักเกิดขึ้น
ในบริเวณที่ราบลุ่มแม่น้าและบริเวณชุมชนเมือง ใหญ่ ๆ มีลักษณะค่อยเป็นค่อยไป ซึ่งเกิดจากฝนตกหนัก ณ
บริเวณนั้น ๆ ติดต่อกันเป็นเวลาหลายวัน หรือเกิดจากสภาวะน้้าล้นตลิ่งน้้าท่วมขังส่วนใหญ่จะเกิดบริเวณท้าย
น้้า และมีลักษณะแผ่เป็นบริเวณกว้างเนื่องจากไม่สามารถ ระบายได้ทัน ความเสียหายจะเกิดกับพืชผลทางการ
เกษตร และอสังหาริมทรัพย์เป็นส่วนใหญ่ ส้าหรับความเสียหาย อื่น ๆ มีไม่มากเพราะสามารถเคลื่อนย้ายไปอยู่
ในพื้นที่ปลอดภัย
2) น้้าท่วมฉับพลัน เป็นภาวะน้้าท่วมที่เกิดขึ้น อย่างฉับพลันในพื้นที่ เนื่องจากฝนตกหนักในบริเวณพื้นที่ ซึง่
มีความชันมาก และมีคุณสมบัติในการกักเก็บหรือการ ต้านน้้าน้อย หรือเกิดจากสาเหตุอื่นๆ และมักเกิดขึ้นใน
บริเวณที่ราบระหว่างหุบเขา ซึ่งอาจจะไม่มีฝนตกหนักใน บริเวณนั้นมาก่อนเลยแต่มีฝนตกหนักมากบริเวณต้น
น้้าที่ อยู่ห่างออกไป เนื่องจากน้้าท่วมฉับพลันมีความรุนแรงและ เคลื่อนที่ด้วยความรวดเร็วมากโอกาสที่จะ
ป้องกันและ หลบหนีจึงมีน้อย ดังนั้นความเสียหายจากน้้าท่วมฉับพลัน จึงมีมากทั้งแก่ชีวิตและทรัพย์สิน
สาเหตุของการเกิดอุทกภัย
สาเหตุจากธรรมชาติ
1. หย่อมความกดอากาศต่้า
2. พายุหมุนเขตร้อน ได้แก่ พายุดีเปรสชั่น, พายุ โซนร้อน, พายุใต้ฝุ่น
3. ร่องมรสุมหรือร่องความกดอากาศต่า้
4. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้
5. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
6. เขื่อนพัง
สาเหตุจากมนุษย์
1. การตัดไม้ท้าลายป่า
2. การขยายเขตเมืองลุกล้้าเข้าไปในพื้นที่ลุ่มต่้า (Flood plain)
3. การก่อสร้างโครงสร้างขวางทางน้้าธรรมชาติ
4. ออกแบบทางระบายน้้าของถนนไม่เพียงพอ
5. การบริหารจัดการน้้าที่ไม่ดี

2.9 แผนการบริหารจัดการน้้าระดับประเทศ
น้้าท่วมเป็นปรากฏการณ์ทางธรรมชาติที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงไม่ให้เกิดได้ แต่สามารถหาวิธีลดความรุนแรง
และบรรเทาผลกระทบและความสูญเสียที่จะเกิดได้ โดยมาตรการป้องกันความเสียหายและบริหารจัดการน้้า
ท่วม เป็นการพยายามเรียนรู้และเข้าใจในผลกระทบจากน้้าท่วมที่มีต่อชุมชน สังคม เศรษฐกิจที่มีความ
เกี่ยวข้องกับผู้คนที่อาศัยอยู่ในบริเวณลุ่มน้้าและพื้นที่น้าท่วมถึง แนวทางการป้องกันความเสียหายจากน้้าท่วม
และการบริหารจัดการน้้าท่วมประกอบไปด้วยมาตรการที่น้าสิ่งก่อสร้างมาใช้ลดขนาดความรุนแรงของน้้า
ท่วม เช่น การปรับปรุงสภาพล้าน้้า การใช้อ่างเก็บน้้า เขื่อนและพนังกั้นน้้า เป็นต้น นอกจากนั้นยังมี
มาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้างซึ่งประกอบไปด้วยมาตรการส้าหรับการป้องกันความเสียหายและการบรรเทา
ทุกข์ เช่น การวางผังเมือง การพยากรณ์และเตือนภัยน้้าท่วม ซึ่งโดยทั่วไปควรใช้มาตรการทั้งสองอย่าง
ร่วมกันเพื่อประสิทธิภาพในการบรรเทาภัยพิบัติที่ดียิ่งขึ้น
งานบรรเทาปัญหาน้้าท่วมจะท้าการวิเคราะห์เพื่อแก้ปัญหาโดยเลือกจากหนึ่งหรือหลายๆข้อในหัวข้อต่อไปนี้
เพื่อใช้ลดความรุนแรงของเหตุการณ์น้าท่วม
1. การลดอัตราการไหลของน้้าโดยการใช้วิธีต่าง ๆ เพื่อชะลอการไหลของน้้า
2. การควบคุมปริมาณการไหลโดยกักน้้าไว้ในอ่างเก็บน้้าหรือแหล่งเก็บกักน้้าเพื่อควบคุมปริมาณน้้าไม่ให้
ไหลมากเกินไปโดยเฉพาะในช่วงน้้าท่วม
3. การจ้ากัดเส้นทางการไหลของล้าน้้าโดยการสร้างพนังกั้นน้้าหรือคลอง
4. การปรับปรุงสภาพล้าน้้าและสภาพการไหล เช่น การสร้างทางระบายน้้าอ้อมตัวเมืองเพื่อลดระดับ
ความสูงของน้้าในล้าน้้าสายหลัก
5. การระบายน้้าออกจากล้าน้้าที่มีสภาพวิกฤต เช่น การใช้เครื่องสูบน้้า
ส้าหรับการน้ามาตรการใช้สิ่งก่อสร้างมาใช้ สิ่งส้าคัญที่ควรพิจารณาคือการเลือกใช้วิธีแก้ปัญหาวิธีใดวิธีหนึ่งที่
กล่าวมาแล้วข้างต้น อาจเกิดผลกระทบกับสมดุลของแม่น้าสายเดิมหรืออาจท้าให้สภาพการเก็บกักน้้าในพื้นที่
ของน้้าลดลงและท้าให้อัตราการไหลมีค่าเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงต้องมีการศึกษาเพื่อหาวิธีอื่นมาใช้แก้ปัญหา เช่น
การปรับปรุงลักษณะภูมิทัศน์ของล้าน้้าหรือการปรับสภาพพื้นผิวล้าคลองโดยดาดผิวด้วยวัสดุที่ช่วยลดความเร็ว
ในการไหล
ส่วนมาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง เป็นมาตรการที่ไม่ได้เน้นงานสิ่งปลูกสร้างถาวรโดยอาจมีสิ่งก่อสร้าง
ชั่วคราว เช่น ก้าแพงกั้นน้้า กระสอบทราย เป็นต้น ดังนั้นจึงมีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมน้อย การประเมินผล
เพื่อตัดสินใจในการหาแนวทางแก้ปัญหาโดยใช้มาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้างเป็นเรื่องที่ยากพอสมควร เนื่องจาก
การก้าหนดนโยบายบางอย่างอาจส่งผลกระทบต่อสภาพเศรษฐกิจ สังคมมากกว่ามาตรการใช้
สิ่งก่อสร้าง นอกจากนั้นยังต้องศึกษาให้คลอบคลุมเพื่อให้ถูกกฎหมายด้วย
มาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้างประกอบด้วยสองมาตรการ ได้แก่ มาตรการที่พยายามจะท้าให้เกิดน้้าท่วมได้ยาก
ขึ้น เช่น การจัดการใช้สอยที่ดิน การวางผังเมือง การควบคุมสิ่งปลูกสร้างและการขยายเมือง การเวนคืนที่ดิน
และการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างบริเวณทางน้้าท่วม การปรับปรุงสภาพอ่างเก็บน้้า การเก็บกักและควบคุม
ปริมาณน้้าในพื้นที่ เป็นต้น และมาตรการลดผลกระทบจากน้้าท่วมช่วยให้ประชาชนได้รับความเสียหายและมี
ผลกระทบกับชีวิตประจ้าวันน้อยลงกว่าเดิม เช่น การพยากรณ์และเตือนภัยน้้าท่วม การให้ความรู้และข้อมูล
สาธารณะ การป้องกันน้้าท่วมสิ่งปลูกสร้าง การอพยพออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย แผนรับมือน้้าท่วม แผนบรรเทา
ทุกข์ การประกันภัยน้้าท่วม การปรับเปลี่ยนสภาพน้้าท่วม
แนวทางที่ดีในการป้องกันความเสียหายจากน้้าท่วมควรใช้มาตรการหลายอย่างร่วมกัน โดยมาตรการที่
เลือกใช้มีทั้งมาตรการใช้สิ่งก่อสร้างและไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง ประสิทธิภาพและความส้าเร็จในการบรรเทาความ
เสียหายจากน้้าท่วมขึ้นอยู่กับปัจจัยสองอย่างคือ การเข้าใจและยอมรับในการเกิดน้้าท่วมและการตอบสนอง
จากทั้งภาครัฐและภาคประชาชนในการด้าเนินการตามแผนบริหารจัดการน้้าท่วม
2.9.1 มาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง (Structural measures)
2.9.1.1 เขื่อนและพนังกั้นน้้า (Levees and Floodwalls)
จุดประสงค์หลักในการสร้างเขื่อนและพนังกั้นน้้า คือ มีความต้องการในการจ้ากัดการไหลของน้้าในขณะ
เกิดน้้าท่วมและเป็นการป้องกันพื้นที่บางส่วนในลุ่มน้้าไม่ให้เกิดความเสียหาย เขื่อนและพนังกั้นน้้าจะป้องกัน
เฉพาะพื้นที่บริเวณด้านหลังพนังกั้นน้้าและในระดับความสูงที่ได้ออกแบบไว้เท่านั้น
ข้อดีในการสร้างเขื่อนและพนังกั้นน้้า คือ มีความยืดหยุ่นในกรณีที่อยากเลือกว่าต้องการจะป้องกันพื้นที่ใน
บริเวณใดของลุ่มน้้าโดยอาจป้องกันแบบเฉพาะที่ เช่น การสร้างพนังกั้นน้้าบริเวณที่แม่น้าไหลผ่านตัวเมืองหรือ
การก่อสร้างเขื่อนเพื่อควบคุมการไหลของน้้าในพื้นที่ขนาดใหญ่ อย่างไรก็ตามการก่อสร้างดังกล่าวอาจท้าให้
เกิดปัญหาในด้านความปลอดภัยในกรณีที่เกิดน้้าท่วมขนาดใหญ่กว่าที่ออกแบบโครงสร้างไว้จะท้าให้เกิดน้้าไหล
ทะลักอย่างฉับพลันซึ่งสามารถสร้างความเสียหายต่อชีวิตและทรัพย์สิน
การสร้างเขื่อนและพนังกั้นน้้าอาจท้าให้ระดับน้้าท่วมสูงขึ้น และสร้างความเสียหายให้พื้นที่บางแห่งที่อยู่
ใกล้เคียง ดังนั้นจึงต้องท้าความเข้าใจและหาทางวางแผนไม่ให้ผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณดังกล่าวได้รับความเดือดร้อน
นอกจากนั้นการจ้ากัดขอบเขตการไหลของน้้ายังท้าให้ลักษณะการไหลเกิดการเปลี่ยนแปลง เช่น ระดับน้้า
สูงขึ้น ความเร็วและอัตราการไหลเพิ่มขึ้น ความรุนแรงของคลื่นเปลี่ยนแปลงและเวลาเดินทางของน้้าเพิ่มขึ้น
รวมทั้งส่งผลด้านลบต่อสิ่งแวดล้อม เช่น มีผลกระทบต่อระบบนิเวศและแหล่งที่อยู่อาศัยของพืชและ
สัตว์ รวมทั้งลักษณะภูมิประเทศเดิมที่มีอยู่
สิ่งที่ต้องค้านึงถึงในขั้นตอนการออกแบบและก่อสร้างเขื่อนและพนังกั้นน้้าคือความปลอดภัยของผู้อยู่อาศัย
ในบริเวณเหนือและท้ายน้้ารวมทั้งบริเวณรอบที่มีผลต่อการก่อสร้างเนื่องจากการสร้างเขื่อนถือเป็นการก่อสร้าง
ขนาดใหญ่ที่ต้องใช้วัสดุก่อสร้างจ้านวนมาก อาจมีความต้องการวัสดุธรรมชาติ เช่น ดิน หินและทรายใน
ปริมาณมหาศาลอีกทั้งยังต้องการพื้นที่ขนาดใหญ่เพื่อเป็นอ่างเก็บน้้าเหนือเขื่อน ส่วนการก่อสร้างพนังกั้นน้้า
อาจต้องใช้วัสดุก่อสร้างเป็นคอนกรีตหรือเหล็กซึ่งอาจท้าให้เกิดความรู้สึกเหมือนถูกจ้ากัดพื้นที่ซึ่งส่วนใหญ่การ
สร้างพนังกั้นน้้ามักท้าในบริเวณหนาแน่นหรือชุมชนเมือง
ความเหมาะสมในการสร้างเขื่อนหรือพนังกั้นน้้าขึ้นอยู่กับความส้าคัญของชุมชนหรือพื้นที่ที่จะได้รับ
ประโยชน์ภายหลังการก่อสร้างหรือเกี่ยวข้องกับมูลค่าความเสียหายและความคุ้มค่า หลักเกณฑ์ทั่วไปในการ
ตัดสินใจก่อสร้างประกอบไปด้วยสถานที่ตั้งของเขื่อน การค้านวณและการออกแบบปริมาณน้้าและระดับน้้า
ฐานรากและวัสดุที่ใช้สร้างเขื่อน นอกจากนั้นยังต้องมีการศึกษาด้านธรณีเทคนิคเพื่อหาพื้นที่ที่เหมาะสมเพราะ
อาจต้องมีการน้าวัสดุเช่น หิน ดิน จากบริเวณอื่นมาใช้หรือต้องส้ารวจหาบ่อยืมดินขนาดใหญ่ส้าหรับการ
ก่อสร้าง
เขื่อนและพนังกั้นน้้าสามารถพังทลายได้เมื่อเกิดน้้าล้นสันเขื่อน เกิดการวิบัติใต้ฐานราก เกิดการทรุดตัวและ
มีการรั่วซึมที่มากเกินไป ในการออกแบบต้องป้องกันและพยายามลดความเป็นไปได้ในการเกิดเหตุการณ์
ดังกล่าว เช่น ออกแบบโดยเพิ่มค่าระยะพ้นน้้าเพื่อรองรับการกระท้าของคลื่น ลดการพังทลายของล้าน้้าโดย
ก่อสร้างให้อยู่ห่างจากบริเวณที่น้าไหลเร็วและมีการกัดเซาะรุนแรง ก่อสร้างในขนาดและมีความลาดเอียงที่
เหมาะสมจะช่วยลดโอกาสเกิดการยุบตัวของเขื่อนดิน แก้ไขปัญหาการรั่วซึมที่มากเกินไปด้วยการลดการรั่วซึม
ซึ่งมีวิธีหลายวิธี ป้องกันการเจาะท้าลายตัวเขื่อนหรือพนังกั้นน้้าที่เกิดจากสัตว์ เป็นต้น นอกจากนั้นการ
ตกตะกอนของน้้าก็ยังเป็นปัญหาที่ส้าคัญเพราะท้าให้คาดการณ์ระดับได้ไม่แม่นย้า ซึ่งส่งผลต่อการเกิดน้้าล้น
สันเขื่อนหรือพนังกั้นน้้า โดยทั่วไปการควบคุมดูแลและการรักษาตัวโครงสร้างจะช่วยลดการเกิดปัญหาเหล่านี้
ได้โดยเฉพาะในระยะแรกภายหลังจากการก่อสร้าง
การออกแบบระดับความสูงของตัวเขื่อนหรือพนังกั้นน้้า ควรออกแบบให้มีระดับสันสูงกว่าระดับน้้าท่วม
สูงสุด เพื่อเป็นการเผื่อระดับที่จะเกิดการกระแทกของคลื่นและค่าที่ยอมให้ต้องมีค่าเพียงพอต่อการป้องกันการ
เกิดน้้าล้นสันเขื่อนหรือพนังกั้นน้้า ไม่เช่นนั้นก็ควรมีมาตรการความปลอดภัยในการป้องกันหรืออพยพผู้คน
หากเกิดน้้าล้นสันเขื่อน
พนังกั้นน้้าอาจท้าให้เกิดผลกระทบต่อระบบการระบายน้้า โดยต้องมีการก่อสร้างทางระบายน้้าเพิ่มเติม
เว้นเสียแต่ว่าความสามารถในการเก็บกักน้้าของชุมชนมีมากเพียงพอแล้ว การระบายน้้าออกมาผ่านเขื่อนหรือ
ก้าแพงกั้นน้้าส่วนใหญ่เป็นไปตามแรงโน้มถ่วงของโลกไปตามท่อหรือล้าคลองแต่จะมีการติดตั้งประตูน้าเพื่อ
ควบคุมการไหล เมื่อระดับน้้ามีค่าเพิ่มขึ้นและเสี่ยงต่อการเกิดน้้าท่วมจะต้องมีการกักน้้าชั่วคราวหรือระบาย
ออกโดยใช้เครื่องสูบน้้า
การใช้เขื่อนและพนังกั้นน้้าได้ผลที่ดียิ่งขึ้นควรมีการจัดการที่ดี มีการตรวจสอบควบคุมดูแลและบ้ารุงรักษา
ตามก้าหนดเวลา รวมทั้งภายหลังการเกิดภัยพิบัติรุนแรง นอกจากนั้นยังต้องควบคุมการใช้งานพื้นที่บริเวณ
สันเขื่อนและรอบข้างเขื่อนที่มาจากวัสดุธรรมชาติหรือเขื่อนดิน เช่น การเพาะปลูก การท้าปศุสัตว์ การใช้
เป็นเส้นทางจราจร การดูแลที่เหมาะสมและการตรวจสอบจุดที่เกิดการบกพร่องอย่างสม่้าเสมอจะช่วยลด
ความเสี่ยงที่จะเกิดการวิบัติที่ตัวโครงสร้าง
ข้อเสียที่เกี่ยวข้องกับการก่อสร้างเขื่อนและพนังกั้นน้้าซึ่งควรน้ามาใช้ในการตัดสินใจในการวางแผนก่อสร้าง
มีดังต่อไปนี้
ข้อจ้ากัดทางด้านเศรษฐกิจและอื่นๆมีผลต่อความสูงของพนังกั้นน้้าที่ถูกสร้าง ซึ่งท้าให้เกิดความเสี่ยงต่อการ
ไหลข้ามสันได้
การก่อสร้างเขื่อนมักท้าให้ผู้คนเกิดความรู้สึกด้านลบในแง่ของความปลอดภัย ในบางครั้งอาจเป็นการ
ออกแบบโครงสร้างที่เกินความจ้าเป็นและไม่คุ้มค่าในการลงทุน
ภายหลังการสร้างเขื่อนพื้นที่ท้ายน้้าที่ได้รับประโยชน์มักมีการพัฒนาอย่างรวดเร็ว แต่หากเกิดเหตุการณ์ที่
ผิดปกติ เช่น น้้าล้นสันเขื่อน จะท้าให้เกิดความเสียหายตามมามากมาย
การก่อสร้างพนังกั้นน้้าท้าให้ภูมิทัศน์ริมแม่น้าไม่น่าดูและเป็นโครงสร้างการแบ่งแยกชุมชน
2.9.1.2 การปรับปรุงสภาพล้าน้้า (Channel modifications)
ทางน้้าธรรมชาติทุกสายจะมีค่าปริมาณความจุจ้านวนหนึ่ง ซึ่งในบางครั้งอาจมีปริมาณน้้ามากเกินไปและ
ไหลล้นออกมานอกล้าน้้าท้าให้เกิดน้้าท่วมบริเวณพื้นที่ริมฝั่งแม่น้า การปรับปรุงด้านชลศาสตร์ของล้าน้้าหรือ
พื้นที่ลุ่มน้้าและล้าคลองที่เชื่อมกับแม่น้าสายหลัก อาจท้าให้น้าท่วมในครั้งต่อไปมีความรุนแรงลดน้อยลงกว่า
การปล่อยให้เป็นไปตามธรรมชาติ
วิธีการปรับปรุงสภาพล้าน้้ามีอยู่หลายวิธี ส้าหรับวิธีที่พบเห็นกันโดยทั่วไปประกอบด้วย
1. ปรับสภาพล้าน้้าให้มีลักษณะตรง ลึก และมีความกว้างพอสมควร
2. ขุดลอกคูคลองและก้าจัดพืชน้้า รวมทั้งเศษซากวัสดุและขยะ
3. ดาดผิวล้าคลอง
4. ยกหรือขยายสะพานและท่อลอด เพื่อไม่ให้กีดขวางการไหลของน้้า
5. เคลื่อนย้ายสิ่งกีดขวางทางน้้า
วิธีปรับสภาพล้าน้้าที่กล่าวมาข้างต้นนั้นมีส่วนช่วยในการลดระดับความสูงของน้้าหากเกิดน้้าท่วม แต่ใน
บางครั้งการสร้างคลองหรือปรับปรุงสภาพล้าน้้าอาจท้าให้เกิดน้้าท่วมพื้นที่ริมตลิ่งและริมฝั่งแม่น้าได้เช่นกัน ผู้
ที่รับผิดชอบควรมีหน้าที่เตือนผู้ที่อาศัยอยู่บริเวณนั้นและหาแนวทางควบคุมการก่อสร้างบริเวณริมฝั่งแม่น้าเพื่อ
ไม่ให้เกิดปัญหาภายหลัง อย่างไรก็ตามการปรับปรุงสภาพล้าน้้าก็ยังถือว่าเป็นวิธีที่ดีในการเพิ่มศักยภาพการ
ระบายน้้าออกและลดโอกาสของการเกิดน้้าท่วมในพื้นที่ชุมชน
การปรับปรุงสภาพล้าน้้าสามารถป้องกันพื้นที่และเป็นการปรับปรุงเส้นทางสัญจรทางน้้าซึ่งจะช่วยเพิ่ม
ทางเลือกในการเดินทางและยังเป็นการปรับปรุงภูมิทัศน์ให้สวยงาม และใช้ประโยชน์พื้นที่ริมฝั่งแม่น้าเป็น
สถานที่พักผ่อนหย่อนใจ แต่ข้อควรระวังที่ท้าให้ล้าน้้ามีความลึกมากเกินไปอาจส่งผลเสียกับการไหลของน้้า
เพราะจะท้าให้เกิดการตกตะกอนอย่างรวดเร็ว การขุดลอกคูคลองเป็นการควบคุมระดับความลึกของล้า
น้้า ส่วนค่าใช้จ่ายในการขุดลอกคูคลองถือเป็นค่าใช้จ่ายในการด้าเนินการจัดการภายหลังการก่อสร้าง ซึ่งต้อง
มีการศึกษาถึงความคุ้มค่าของระยะเวลาในการขุดลอกแต่ละครั้ง
2.9.1.3 เส้นทางน้้าอ้อมเมือง (By-pass floodways)
การผันน้้าอ้อมพื้นที่น้าท่วมมีหน้าที่สองอย่างในการบรรเทาน้้าท่วม ได้แก่ เป็นการสร้างอ่างเก็บน้้าซึ่งมี
ลักษณะกว้างและตื้นส้าหรับผันน้้าลงมาเก็บไว้เมื่อเกิดน้้าท่วมในเขตชุมชนเป็นการลดปริมาณการไหลในล้าน้้า
สายหลัก และเป็นการเพิ่มประสิทธิภาพการระบายน้้าโดยช่วยปรับปรุงลักษณะการไหลและลดระดับความสูง
ของน้้าในการไหลปกติที่อาจไหลล้นตลิ่งในขณะน้้าท่วม การสร้างเส้นทางผันน้้าต้องเริ่มจากการศึกษาลักษณะ
ภูมิประเทศและเส้นทางที่เหมาะสม ซึ่งการสร้างทางระบายน้้าอ้อมตัวเมืองไม่สามารถสร้างได้ในทุกที่ ในบาง
แห่งก็จะมีข้อจ้ากัด นอกจากนั้นยังต้องมีการศึกษาเรื่องค่าใช้จ่ายโดยไม่ก่อสร้างในพื้นที่ที่จะท้าให้เสีย
ค่าใช้จ่ายในการก่อสร้างและปรับสภาพพื้นที่มากเกินไป
ประเภทของเส้นทางน้้าอ้อมเมืองมีสองประเภท คือ แบบธรรมชาติและแบบที่มนุษย์สร้างขึ้น โดยแบบแรก
เป็นล้าน้้าที่มีแอ่งหรือสิ่งกีดขวางที่มีอิทธิพลต่อการไหลและท้าให้น้าส่วนหนึ่งไหลออกไปจากเส้นทางซึ่งมี
โอกาสเกิดน้้าท่วมในล้าน้้าสายปกติ ซึ่งโดยทั่วไปมักมีการสร้างฝายน้้าล้นเพื่อบังคับให้น้าไหลไปในทิศทางที่
ต้องการ การควบคุมน้้าวิธีนี้มักท้าบริเวณชุมชนเมืองที่มีผู้อาศัยจ้านวนมากและเป็นเขตธุรกิจอุตสาหกรรมที่มี
ความส้าคัญ และผู้ที่อยู่อาศัยต้องการได้รับความสูญเสียจากภัยพิบัติธรรมชาติน้อยที่สุด และต้องแน่ใจว่าการ
ก่อสร้างจะได้รับผลประโยชน์ตามที่ออกแบบไว้
2.9.1.4 พื้นที่ชะลอน้้าและแหล่งเก็บกักน้้าน้้าท่วม(Retarding basins and flood storage areas)
แนวคิดของวิธีนี้เป็นการยอมให้น้าท่วมในพื้นที่บางส่วนที่มีส้าคัญน้อย เพื่อลดอัตราการไหลของน้้าท่วมใน
แม่น้าลง โดยสร้างเขื่อนหรือพนังกั้นน้้าท้าหน้าที่ควบคุมไม่ให้น้าเข้าท่วมพื้นที่ที่ต้องการป้องกันและสร้างฝาย
ยกระดับเพื่อผันน้้าเข้าพื้นที่เก็บน้้า หากมีการควบคุมการเก็บกักและชะลอน้้าจะท้าให้อัตราการไหลสูงสุด
ลดลงและจ้ากัดน้้าท่วมให้อยู่ในระดับที่สามารถควบคุมได้
พื้นที่ทใี่ ช้ในการกักน้้าควรใช้พื้นที่ลุ่มต่้าและเกิดน้้าท่วมบ่อย พื้นที่ดังกล่าวในฤดูอื่นอาจใช้เป็นที่อยู่อาศัย
หรือใช้ท้าการเกษตรได้ แต่เมื่อถึงฤดูน้าหลากต้องยอมให้น้าเข้าท่วม เพราะวัตถุประสงค์หลักของการใช้พื้นที่
นี้คือใช้เป็นพื้นที่กักน้้า ผู้รับผิดชอบต้องมีความเข้าใจเกี่ยวกับน้้าท่วมที่เกิดขึ้นทั้งข้อมูลระดับน้้า ขนาดพื้นที่ที่
จะถูกท่วม การควบคุมปริมาณน้้า และต้องมีระบบพยากรณ์และเตือนภัยน้้าท่วมที่เชื่อถือได้เพื่อให้มีเวลา
และปลอดภัยหากต้องมีการอพยพ รวมทั้งต้องเพิ่มข้อก้าหนดพิเศษส้าหรับเหตุการณ์ฉุกเฉินและการจัดการใน
เขตหลบภัยน้้าท่วม โดยการใช้วิธีนี้ในการป้องกันน้้าท่วมต้องมีการจัดเตรียมระบบระบายน้้าที่มีประสิทธิภาพ
เพื่อใช้ระบายน้้าออกจากพื้นที่กักน้้า ซึ่งไม่ควรเก็บน้้าไว้นานและระบายออกให้เร็วที่สุดเท่าที่ท้าได้เพื่อป้องกัน
มลพิษ
การสร้างแหล่งเก็บกักน้้าเพื่อบรรเทาน้้าท่วมมีประโยชน์สองอย่าง คือ ช่วยลดปริมาณการไหลของแม่น้าใน
สภาวะวิกฤต และใช้เป็นแหล่งระบายน้้าฉุกเฉินในกรณีที่ระบบระบายน้้าในชุมชนอยู่ในสภาวะวิกฤต
เช่นกัน การออกแบบแหล่งเก็บกักน้้าจะต้องยอมให้น้าบางส่วนไหลผ่านพื้นที่แต่จะมีพื้นที่ดักน้้าส่วนใหญ่ไว้ ใน
พื้นที่ชุมชนเมืองการบรรเทาน้้าท่วมด้วยวิธีนี้เหมาะกับล้าน้้าที่มีปริมาณการไหลไม่มากนักซึ่งเป็นล้าน้้าที่จะ
ได้รับผลกระทบอย่างรวดเร็วหากมีฝนตกหนัก อย่างไรก็ตามการสร้างแหล่งเก็บกักและชะลอน้้ามักพบปัญหา
เรื่องของธรรมชาติซึ่งสามารถเกิดขึ้นได้เสมอ ได้แก่ แหล่งกักเก็บน้้าต้องการพื้นที่จริงส้าหรับเก็บน้้ามากกว่า
ความจ้าเป็นต้องใช้ เมื่อเกิดฝนตกหนักต่อเนื่องและยาวนาน (พื้นที่เก็บน้้าเต็ม) ท้าให้น้าล้นพื้นที่เก็บน้้า และน้้า
ท่วมอาจเกิดขึ้นมากกว่าระดับที่ออกแบบไว้
แม้ว่าการสร้างก่อสร้างพื้นที่ชะลอน้้าและแหล่งเก็บกักน้้า จะสามารถช่วยบรรเทาปัญหาน้้าท่วมไปได้ไม่
น้อย แต่ก็ยังมีบางครั้งที่น้ามีปริมาณเกินความจุที่แหล่งเก็บน้้ารองรับได้ จึงควรมีการวางข้อก้าหนดส้าหรับ
ควบคุมหากเกิดเหตุการณ์ดังกล่าว นอกจากนี้สถานที่ใช้เก็บน้้าในตัวเมืองมักมีจ้ากัด อาจมีการใช้พื้นที่อื่น เช่น
ลานจอดรถ สนามกีฬา สวนสาธารณะในการเก็บน้้าร่วมด้วย
การก่อสร้างแหล่งกักน้้ามักใช้วิธีกั้นเขื่อนหรือคันดินกั้นขวางล้าน้้าและมีทางให้น้าไหลออกที่สามารถควบคุม
การระบายไม่ให้เกินความสามารถที่พื้นที่ท้ายน้้ารับได้ โดยทางออกดังกล่าวมักใช้ท่อลอด ในกรณีที่ใช้วัสดุ
ธรรมชาติในการก่อสร้างเขื่อนกั้นน้้าต้องมีการตรวจสอบบริเวณทางน้้าล้น
ในปัจจุบันนี้มีการสร้างและปรับปรุงพื้นที่เก็บน้้าที่เรียกว่า แก้มลิง(Monkey cheek) กระจายทั่วไป โดยแก้ม
ลิงมีขนาดแตกต่างกันดังนี้
1. แก้มลิงขนาดใหญ่ (Retarding Basin) คือ สระน้้าหรือบึงขนาดใหญ่ ที่รวบรวมน้้าฝนจากพื้นที่บริเวณ
นั้น ๆ โดยจะกักเก็บไว้เป็นระยะเวลาหนึ่งก่อนที่จะระบายลงสู่ล้าน้้า การจัดสร้างพื้นที่ชะลอน้้า หรือพื้นที่เก็บ
กักน้้าจะมีหลายประเภท คือ เขื่อน อ่างเก็บน้้า ฝาย ทุ่งเกษตรกรรม เป็นต้น
2. แก้มลิงขนาดกลาง เป็นพื้นที่ชะลอน้้าที่มีขนาดเล็กกว่า ได้มีการก่อสร้างในระดับลุ่มน้้า
3. แก้มลิงขนาดเล็ก (Regulating Reservoir) เป็นแก้มลิงที่ขนาดเล็กกว่า อาจเป็นพื้นที่สาธารณะ สนาม
เด็กเล่น ลานจอดรถ หรือสนามในบ้าน ซึ่งต่อเข้ากับระบบระบายน้้าหรือคลอง โดยมีทั้งส่วนแก้มลิงที่อยู่ใน
พื้นที่เอกชนและส่วนที่อยู่ในพื้นที่ของราชการและรัฐวิสาหกิจ
2.9.1.5 อ่างเก็บน้้าบรรเทาน้้าท่วม (Flood mitigation reservoirs)
ในสภาวะที่เหมาะสมการสร้างเขื่อนเพื่อเก็บน้้าสามารถช่วยควบคุมการไหลของน้้าไม่ให้ไหลลงสู่พื้นที่ท้ายน้้า
มากเกินไป อ่างเก็บน้้าจะช่วยเก็บน้้าไว้ชั่วคราว ซึ่งมีประโยชน์เมื่อถึงฤดูน้าหลาก ปริมาณความจุของอ่าง
เก็บน้้าขึ้นอยู่กับความต้องการของพื้นที่ที่จะป้องกันและยังขึ้นอยู่กับความจุของแม่น้าหรือคลองระบายที่อยู่
ท้ายน้้าด้วย
ความสามารถในการช่วยบรรเทาน้้าท่วมของอ่างเก็บน้้า ขึ้นอยู่กับองค์ประกอบหลายอย่าง ได้แก่ ตัวเขื่อนซึ่ง
มีหน้าที่เก็บน้้า ความสามารถของอาคารระบายน้้าล้นและลักษณะของน้้าที่ไหลเข้ามาการชะลอน้้าโดยใช้วิธีนี้
เป็นวิธีที่ลดอัตราการไหลสูงสุดของน้้า เป็นการกักไว้ชั่วคราวแล้วปล่อยออกมาเมื่อเวลาเหมาะสม การลด
อัตราการไหลของน้้าจะท้าให้เวลาในการไหลเพิ่มขึ้น โดยติดตั้งประตูน้าเพื่อควบคุมการไหล
การก่อสร้างเขื่อนหรืออ่างเก็บน้้าเพื่อชะลอน้้าท่วม เป็นประโยชน์อย่างยิ่งกับชุมชนท้ายน้้าที่อยู่ใกล้กับตัว
เขื่อน ส่วนบริเวณที่ไกลออกไปความสามารถในการป้องกันจะลดลง เนื่องจากมีล้าน้้าสาขาไหลลงสู่แม่น้าหรือ
มีน้าไหลนองซึ่งมาจากชุมชนที่อยู่ใกล้เคียง นอกจากนัน้ ประสิทธิภาพของอ่างเก็บน้้ายังขึ้นอยู่กับเวลา เมื่อ
เวลาผ่านไปความจุของอ่างเก็บน้้าจะลดลงเนื่องจากการตกตะกอน ซึ่งอ่างเก็บน้้าจะมีประสิทธิภาพในการเก็บ
น้้าสูงสุดเมื่อตอนที่อ่างอยู่ในสภาพว่างเปล่า
การสร้างอ่างเก็บน้้าเพื่อป้องกันน้้าท่วมมักใช้กับล้าน้้าขนาดเล็กหรือขนาดกลาง เนื่องจากล้าน้้าขนาดใหญ่
จะต้องใช้พื้นที่เก็บน้้าจ้านวนมาก ยกเว้นจะสร้างเพื่อวัตถุประสงค์อื่นด้วย เช่น เหตุผลด้านการเกษตรหรือ
การผลิตไฟฟ้า หลายครั้งการก่อสร้างเขื่อนในบริเวณที่มีความเหมาะสมด้านธรณีวิทยา อาจท้าให้ต้องมีการ
เวนคืนที่ดินหรือเคลื่อนย้ายชุมชนที่มีผู้อาศัยอยู่เดิม โดยจะต้องมีการวางแผนรองรับทั้งค่าใช้จ่ายและที่อยู่
อาศัยใหม่ ซึ่งการก่อสร้างต้องค้านึงถึงราคาที่เหมาะสมและสามารถใช้งานได้จริงตรงตามวัตถุประสงค์ที่ได้
ออกแบบไว้ ดังนั้นการตัดสินใจสร้างเขื่อนแต่ละครั้งจึงควรออกแบบเพื่อให้ใช้ประโยชน์ได้หลายอย่างและ
คุ้มค่าไม่เฉพาะแต่เป็นการสร้างเพื่อป้องกันน้้าท่วมเพียงอย่างเดียว ส่วนใหญ่การสร้างเขื่อนขนาดเล็กเพื่อ
ป้องกันน้้าท่วมจะใช้ประโยชน์เพื่อเป็นแหล่งน้้าส้าหรับอุปโภคและบริโภค การท้าน้้าประปาและชลประทาน
2.9.1.6 การปรับปรุงระบบระบายน้้า
1. การระบายน้้าที่ไหลนองอยู่ด้านหลังคันดินหรือพนังกั้นน้้าที่ใช้ป้องกันน้้าท่วมให้ออกจากพื้นที่ ท้าได้โดย
2. ไหลด้วยแรงโน้มถ่วงผ่านท่อที่มีประตูน้าออกไปสูล้าน้้าช่วงที่มีการไหลระดับน้้าต่้า
ไหลลงไปในสะสมอยู่ในแหล่งกักเก็บน้้า
3.สูบน้้าออกจากจากพื้นที่ในกรณีที่น้าในล้าน้้ามีระดับสูงท้าให้เกิดน้้าไหลย้อนกลับเข้าท่อ
การสูบน้้าออกจากระบบจะท้าก็ต่อเมื่อน้้าไม่สามารถไหลไปด้วยแรงโน้มถ่วงเนื่องจากมี
อุปสรรค เช่น ทางออกถูกจ้ากัด ความจุของแหล่งเก็บน้้าไม่เพียงพอ หรือมีน้าไหลย้อนกลับเข้ามาในท่อ
เนื่องจากเกิดน้้าท่วม
การป้องกันน้้าท่วมในที่ลุ่มต่้าหลังพนังกั้นน้้า ต้องมีการพิจารณาระบบระบายน้้าในพื้นที่
ดังกล่าว เช่น ปริมาณการเก็บน้้าที่เหมาะสมที่สุด คลองระบายน้้า ระบบท่อระบายน้้า ทางออกของ
น้้า ทั้งหมดนี้ควรมีความสัมพันธ์กับความสามารถของระบบสูบน้้าซึ่งจะท้าให้ปริมาณงานและระยะเวลาที่ใช้
ในการปฏิบัติการลดลง การวางแผนและออกแบบระบบระบายควรศึกษาเรื่องอัตราการสูบ เครื่องมือช่วย
ระบายน้้าเพื่อไม่ให้เครื่องสูบน้้าท้างานหนักเกินไป และต้าแหน่งที่ตั้งของสถานีสูบน้้าที่จะสามารถปฏิบัติการได้
อย่างมีประสิทธิภาพที่สุด
ความสามารถของสถานีสูบน้้าที่ต้องการสามารถค้านวณได้จากการวิเคราะห์ด้วยวิธีการทางชลศาสตร์ การ
วิเคราะห์ดังกล่าวใช้เพื่อพิจารณาค่าของขนาดพื้นที่ อัตราการสูบและระยะเวลาการรวมตัวของฝน และ
ช่วงเวลาการเกิดน้้าท่วมเมื่อการไหลตามแรงโน้มถ่วงถูกจ้ากัด ข้อควรค้านึงคือระยะเวลาที่ใช้สูบน้้าสามารถ
ลดลงได้โดยการเพิ่มความจุในพื้นที่เก็บน้้า ไม่เช่นนั้นก็ต้องมีเครื่องสูบน้้าให้เพียงพอ
2.9.2 มาตรการไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง (Non-structural measures)
2.9.2.1 การจัดการใช้ที่ดิน (Land use management)
การจัดการใช้สอยที่ดินมีความแตกต่างกับมาตรการใช้สิ่งก่อสร้าง ซึ่งมาตรการใช้สิ่งก่อสร้างเป็นการปรับ
พฤติกรรมการไหลของน้้า โดยพยายามให้น้าไหลไกลจากพื้นที่ที่ต้องการป้องกันมากที่สุด ส่วนการจัดการใช้
สอยที่ดินเป็นการปรับรูปแบบการใช้ที่ดินให้รองรับเหตุการณ์น้าท่วมในบริเวณที่จะมีการพัฒนาในอนาคต วิธี
นี้ถือเป็นวิธีที่ให้ผลดีมากในการลดความเสียหายจากน้้าท่วม
สิ่งที่ต้องพิจารณาในการวางแผนจัดการใช้ที่ดิน คือการตัดสินใจจ้ากัดพื้นที่เพื่อหลีกเลี่ยงความเสียหายจาก
น้้าท่วมกับการปล่อยให้ชุมชนมีการเจริญเติบโตไปเรื่อยๆ และมีการใช้ประโยชน์จากที่ดินตามความต้องการ
ของเจ้าของที่ดิน
หลักเกณฑ์ส้าหรับการตัดสินใจแก้ไขปัญหาดังกล่าว มีดังนี้
1. ความเป็นไปได้ในการใช้ระบบจัดเก็บภาษีที่ดินในบริเวณที่มีแนวโน้มจะเกิดน้้าท่วมเพื่อป้องกันการเกิด
ความเสียหายที่ต้องต้องสูญเสียเงินในการซ่อมแซมภายหลัง
2. ความเป็นไปได้และค่าใช้จ่ายหากมีการใช้มาตรการอื่นบรรเทาปัญหาน้้าท่วมบริเวณนั้น
3. การขยายตัวทางเศรษฐกิจและปัจจัยทางสังคมและสิ่งแวดล้อม
การจัดการใช้ที่ดินให้มีประสิทธิภาพมากที่สุด ไม่ควรจ้ากัดเฉพาะพื้นที่ลุ่มน้้าเท่านั้น ควรขยายผลไปยัง
พื้นที่ข้างเคียงด้วย เช่น ภายหลังการก่อสร้างเขื่อนเพื่อป้องกันน้้าท่วมในพื้นที่ท้ายน้้า พื้นที่ต้นน้้าอาจได้รับ
ผลกระทบจึงต้องมีแผนพัฒนาชุมชนเพื่อชดเชยให้ผู้อยู่อาศัยบริเวณต้นน้้า
การจัดการใช้ที่ดินหรือการวางแผนควบคุมการใช้ที่ดินประกอบไปด้วย การควบคุมผังเมือง(Zoning) และ
การควบคุมสิ่งปลูกสร้างและการพัฒนา ซึ่งต้องน้าทั้งสองอย่างมาประยุกต์ใช้ในการวางผังเมืองเพื่อพัฒนาให้
เจริญเติบโตและป้องกันน้้าท่วม โดยการวางผังเมืองใหม่ต้องมีความทันสมัยเหมาะสมกับแต่ละสถานการณ์ที่
แตกต่างกันไปและควรมีการติดตามระดับความเสี่ยงการเกิดน้้าท่วมในแต่ละพื้นที่
การวางผังเมืองเพื่อป้องกันน้้าท่วมควรมอบหมายให้ผู้ที่มีความช้านาญในหลายสาขา เช่น สถาปนิก วิศวกร
นักเศรษฐศาสตร์ เป็นต้น ได้ร่วมกันท้าหน้าที่วางแผนก้าหนดต้าแหน่งที่ตั้งและกิจกรรมในพื้นที่ลุ่มน้้า บริเวณ
ใดที่มีโอกาสเกิดน้้าท่วมควรมีการประเมินก่อนการวางผังเมืองโดยศึกษาจากปัจจัยต่างๆ ได้แก่ ระดับความ
เสี่ยง ปัจจัยทางเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อมที่มีผลกับพื้นที่
ในขั้นตอนการสอบถามความเห็นชอบของแผนพัฒนาและควบคุมสิ่งก่อสร้าง ควรมีการเรียกร้องให้
ตรวจสอบว่าแผนดังกล่าวสามารถปรับให้เข้ากับสถานการณ์น้าท่วมที่เกิดได้ และไม่ท้าให้เกิดความเสียหาย
มากไปกว่าเดิม เจ้าหน้าที่ที่ท้างานด้านผังเมือง ควรท้าการประเมินความเสี่ยงในแต่ละพื้นที่ เพื่อน้าไป
เปรียบเทียบความคุ้มค่าระหว่างการพัฒนาพื้นที่ดังกล่าวกับการใช้เงินลงทุนเพื่อใช้มาตรการบรรเทาน้้า
ท่วม รายละเอียดส้าหรับการตัดสินใจเพื่อเลือกแนวทางปฏิบัติ มีดังนี้
1. ระดับความสูงพื้นที่ที่ต้องการพัฒนาให้เจริญเติบโตควรมีระดับสูงกว่าระดับน้้าท่วม
2. ความเหมาะสมของวัสดุที่ใช้ในการก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างต่าง ๆ
3. จ้านวนเงินที่ต้องลงทุนหากมีการใช้มาตรการอื่นบรรเทาน้้าท่วม
4. สิ่งกีดขวางหรือกิจกรรมที่มีผลต่อสภาวะน้้าท่วม
2.9.2.2 การเวนคืนที่ดนิ
การรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างและชุมชนที่อยู่อาศัยบริเวณน้้าท่วม จะส่งผลดีระยะยาวกับสภาพเศรษฐกิจ สังคม
และสิ่งแวดล้อม แต่จะมีข้อเสียเป็นความสูญเสียทางด้านธุรกิจและการเปลี่ยนแปลงชีวิตความเป็นอยู่ของผู้คน
ในชุมชน อย่างไรก็ตามในบางพื้นที่ที่มีการประเมินแล้วว่าจะได้รับความเสียหายอย่างหนักจากน้้าท่วมและไม่
คุ้มค่าในการเสียค่าใช้จ่ายเพื่อฟื้นฟู ควรจะมีการเวนคืนที่ดินนั้นโดยรัฐบาลหรือเจ้าของที่ดินอาจมีความสมัคร
ใจในการย้ายออกไป
ส่วนใหญ่พื้นที่ที่ได้รับการพัฒนามักจะไม่ใช่พื้นที่น้าท่วมหรือพื้นที่ความเสี่ยงสูง ยกเว้นในกรณีที่มีมาตรการ
ป้องกันจนแน่ใจว่ามีความปลอดภัยสูง ดังนั้นจึงควรส่งเสริมนโยบายที่ก้าหนดให้แหล่งส้าคัญทางธุรกิจและ
อุตสาหกรรมตั้งอยู่ไกลจากพื้นที่น้าท่วมมากที่สุดแต่ควรดูความเหมาะสมและความเป็นไปได้ด้วย และอยู่ให้
ห่างจากพื้นที่ที่จะได้รับผลกระทบจากการไหลของน้้าในกรณีที่มีการขวางล้าน้้า
การปรับผังเมืองและการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างบริเวณพื้นที่น้าท่วม บางครั้งมีความเหมาะสมมากกว่าการใช้
มาตรการใช้สิ่งก่อสร้างเพื่อบรรเทาน้้าท่วม โดยการรื้อถอนจะท้าให้เกิดความสูญเสียด้านเศรษฐกิจและสังคม
อย่างมหาศาล แต่เป็นเพียงในระยะสั้นเท่านั้น ส่วนในระยะยาวพบว่าจะได้ผลที่คุ้มค่ากว่ามากและไม่ต้องเสีย
ค่าใช้จ่ายเพื่อบรรเทาทุกข์และฟื้นฟูในภายหลังเกิดภัยพิบัติ ในชุมชนเมืองมักพบว่าผู้มีฐานะยากจนและด้อย
โอกาส จ้าเป็นต้องสร้างที่อยู่อาศัยในแหล่งเสื่อมโทรมที่เกิดน้้าท่วมประจ้า ดังนั้นจึงต้องมีการจัดเตรียมที่อยู่
อาศัยให้หากมีการเวนคืนที่ดิน เนื่องจากผู้คนส่วนใหญ่มีรายได้น้อยและมักไม่เห็นด้วยกับการย้ายที่อยู่
อาศัย โดยควรมีการประชาสัมพันธ์ให้แก่ผู้ที่ต้องอพยพว่าจะมีสภาพความเป็นอยู่ที่ดีขึ้นและปลอดภัยจากน้้า
ท่วม
การรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างและการเคลื่อนย้ายเป็นเพียงส่วนหนึ่งในมาตรการบริหารจัดการน้้าท่วม
เท่านั้น โดยทั่วไปต้องมีการใช้มาตรการอื่นๆเช่น การวางผังเมืองและแผนการพัฒนาที่ดิน ในขั้นตอนแรก
ของการวางแผนรื้อถอนและเคลื่อนย้าย ประชาชนต้องมีส่วนร่มในโครงการดังกล่าวด้วย การรื้อถอนสิ่งปลูก
สร้างแบ่งออกเป็นสองประเภทดังนี้
1. การรื้อถอนเร่งด่วน เป็นการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่จ้าเป็นต้องรื้อตามแผนป้องกันและบริหารจัดการน้้า
ท่วม ส่วนใหญ่เป็นการรื้อถอนสิ่งปลูกสร้างที่เป็นอุปสรรคกีดขวางล้าน้้าที่อาจจะท้าให้เกิดอันตรายต่อชีวิตและ
ทรัพย์สินของประชาชน ในกรณีนี้ถือว่าเป็นการรื้อถอนโดยชอบธรรมจากรัฐและถูกกฎหมาย
2. การอพยพโดยความสมัครใจ ส้าหรับเจ้าของที่ดินที่มีความสนใจจะอพยพเพื่อประโยชน์ในระยะยาว โดย
ที่พื้นที่นั้นอาจไม่จ้าเป็นต้องรื้อถอนตามแผนบริหารจัดการน้้าท่วม กรณีนี้เจ้าของที่ดินจะต้องด้าเนินการติดต่อ
เจ้าหน้าทีแ่ ละหาที่อยู่อาศัยใหม่ด้วยตนเอง โดยท้าตามขั้นตอนที่กฎหมายบัญญัติไว้

2.9.2.3 การปรับปรุงพื้นที่เพื่อใช้เป็นแหล่งเก็บกักน้้า
ระดับน้้าท่วมสามารถเพิ่มขึ้นได้จากการไหลนองของน้้าบนพื้นผิวที่ไม่สามารถซึมได้ เช่น พื้นถนน การ
ก่อสร้างอาคาร หรือการดาดผิวด้วยวัสดุทึบน้้าชนิดอื่น ๆ ในล้าน้้าขนาดไม่ใหญ่มากนัก การเปลี่ยนแปลง
ดังกล่าวจะมีผลกับลักษณะการไหลของน้้า เช่น การเปลี่ยนแปลงของอัตราการไหล ปริมาณการไหลและ
คุณภาพของน้้าไม่เหมือนเดิม
น้้าท่วมที่เกิดจากการไหลนองของน้้าบนพื้นผิว สามารถยับยั้งหรือชะลอการเกิดให้ช้าลงได้โดยการศึกษา
เลียนแบบขั้นตอนการสะสมตัวของน้้า ตัวอย่างต่อไปนี้แสดงการจ้าลองการสะสมของน้้าในระบบหนึ่งๆซึ่งจะ
สามารถน้ามาปรับปรุงใช้ในการชะลอการท่วมเนื่องจากการไหลนองบนผิว
1. Retention เป็นวิธีเก็บน้้าไว้ในระยะหนึ่งในแหล่งเก็บกักน้้าแล้วปล่อยให้น้าระบายไปช้า ๆ โดยการ
ซึม การกรอง หรือการระเหย Retentionจะใช้วิธีขุดบ่อเพื่อดักน้้า โดยดาดผิวบ่อด้วยหินหรือวัสดุซึมได้
เพื่อระบายน้้าออกไป
2. Detention เป็นวิธีกักน้้าในระยะสั้นเพื่อลดอัตราการไหลสูงสุด โดยระบายน้้าออกจากแหล่งเก็บน้้าโดน
ท่อระบายน้้าหรือทางน้้า Detention มีการใช้กันมากซึ่งพบเห็นทั่วไป เช่น ที่เก็บน้้าที่ระบายน้้าจาก
หลังคา ระบบระบายน้้าใต้สนามกีฬาหรือลานจอดรถ
วัตถุประสงค์หลักของการชะลอน้้าคือ การควบคุมรูปแบบการไหล หากพบว่าต้องมีการปรับปรุงระบบ
ระบายน้้าตามธรรมชาติ วิธีการเหล่านี้สามารถช่วยบรรเทาปัญหามลภาวะทางน้้าได้ โดยการดักหรือ
ตกตะกอนขยะและวัตถุปนเปื้อน การปรับปรุงพื้นที่เพื่อใช้เป็นแหล่งเก็บกักน้้ามีความคล้ายคลึงกับสร้างแหล่ง
กักเก็บน้้าในระบบทางน้้าเปิด เช่น การสร้างอ่างเก็บน้้าในสวนสาธารณะหรือสนามเด็กเล่น การออกแบบ
ระบบระบายน้้าบริเวณลานจอดรถซึ่งปรับมาใช้ในการผันน้้าเพื่อชะลอการเกิดน้้าท่วม นอกจากนั้นยังมีการ
ออกแบบคูระบายน้้าและบริเวณเนินหรือที่ลาดเพื่อป้องกันไม่ให้น้าไหลเร็วเกินไป การขุดบ่อน้้าเพื่อดักน้้าแล้ว
ดาดผิวด้วยหิน หรือการก่อสร้างโดยใช้วัสดุที่น้าซึมผ่านผิวได้
พื้นที่ป่าเขาและในชนบทหรือบริเวณที่ดินที่มีความอุดมสมบูรณ์สามารถดูดซึมน้้าได้มาก จะช่วยลดการไหล
นองของน้้า เนื่องจากน้้าสามารถซึมสู่ใต้ผิวดินได้มาก แต่กรณีที่มีฝนตกหนักต่อเนื่องและยาวนาน ช่องว่าง
ระหว่างเม็ดดินจะมีน้าเต็มและดินไม่สามารถรับน้้าได้ก็จะเกิดน้้าท่วม
2.9.2.4 การพยากรณ์และเตือนภัยน้้าท่วม
การพยากรณ์น้าท่วมเป็นการประมาณล้าดับขั้นตอนการเกิดน้้าท่วม ปริมาณน้้า ช่วงเวลาการเกิดและ
อัตราการไหลสูงสุด ซึง่ แต่ละจุดในล้าน้า้ ปริมาณเหล่านีจ้ ะมีคา่ ไม่เท่านัน้ เป็นผลสืบเนื่องจากปริมาณน้้าฝนใน
แต่ละพื้นที่ที่แตกต่างกัน
การเตือนภัยน้้าท่วมเป็นการประกาศเตือนภัยล่วงหน้าก่อนเกิดภาวะน้้าท่วมในระยะเวลาอันใกล้เพื่อให้มีการ
เตรียมตัวรับมือกับน้้าท่วมได้ การเตือนภัยน้้าท่วมจะสัมฤทธิ์ผลเมื่อมีการเตือนอย่างทันเวลา มีความถูกต้อง
แม่นย้า และควรมีการให้ความรู้แก่ประชาชนในการเตรียมตัวและปฏิบัติตามแผนรับมือน้้าท่วมหลังการเตือน
ภัย ซึ่งแผนปฏิบัติหลังการเตือนภัยจะมีส่วนที่เกี่ยวข้องกับแผนรับมือและแผนอพยพ โดยในบางสถานการณ์
การพยากรณ์และเตือนภัยน้้าท่วมถือว่าเป็นมาตรการที่ส้าคัญที่สุด โดยเฉพาะพื้นที่ที่ใช้เพียงมาตรการไม่ใช้
สิ่งก่อสร้างในการบรรเทาภัยน้้าท่วม ดังแสดงในรูปที่ 4
ประโยชน์โดยตรงของระบบการพยากรณ์และการเตือนภัยน้้าท่วม คือ การปกป้องชีวิตและทรัพย์สินของ
ประชาชนและสาธารณะ ส่วนประโยชน์ทางอ้อม คือ การลดปัญหาทางเศรษฐกิจและสังคมที่จะตามมา
ภายหลังน้้าท่วม ประโยชน์ของการพยากรณ์และการเตือนภัยน้้าท่วมจะเกิดขึ้นเมื่อแผนการที่น้ามาใช้สามารถ
บรรเทาจ้านวนผู้บาดเจ็บ ผู้เสียชีวิต และทรัพย์สินที่เสียหายได้จริง ในมาตรการนี้ประชาชนทุกคนควรมีส่วน
ร่วมในการปฏิบัติตามแผน เพื่อปกป้องทรัพย์สินของตนเองและอาจให้ความร่วมมือกับชุมชนในสิ่งที่สามารถ
กระท้าได้ การพยากรณ์และการเตือนภัยน้้าท่วมจะมีประสิทธิภาพมากขึ้นเมื่อมีการก่อสร้างโครงสร้างทางชล
ศาสตร์ ส้าหรับการบรรเทาน้้าท่วมจะช่วยควบคุมการไหลของน้้าและท้าให้การพยากรณ์น้าท่วมท้าได้ง่ายและ
แม่นย้ายิ่งขึ้น การพยากรณ์และการเตือนภัยน้้าท่วมมีประโยชน์กับผู้อาศัยในชุมชนเมืองอย่างมาก ส่วนใน
พื้นที่ชนบทการเตือนภัยจะมีประโยชน์ในกรณีของผู้ท้าการเกษตร เช่น การเคลื่อนย้ายปศุสัตว์ การเก็บเกี่ยว
พืชเศรษฐกิจที่ส้าคัญก่อนถึงฤดูน้าหลาก
ข้อดีด้านอื่นของการพยากรณ์และการเตือนภัยน้้าท่วม คือ การวางแผนส้าหรับการให้ความช่วยเหลือใน
กรณีฉุกเฉิน เช่น การอพยพผู้คนไปสู่บริเวณที่ปลอดภัยและวางแผนการล้าเลียงคนและอุปกรณ์ส้าหรับให้
ความช่วยเหลือในขณะเกิดน้้าท่วม ยังมีข้อดีทางอ้อม เช่น การลดความสูญเสียทางเศรษฐกิจและ
สังคม เนื่องจากระบบต่างๆขัดข้อง เช่น ระบบสื่อสารและโทรคมนาคม ระบบการจราจรขนส่ง ซึ่งการ
ขัดข้องของระบบต่างๆมักพบได้บ่อยในชุมชนที่ไม่มีการพยากรณ์และการเตือนภัยน้้าท่วม
ปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับประสิทธิภาพของมาตรการพยากรณ์และเตือนภัยน้้าท่วมมีดังนี้
1. การเตือนภัยที่ดีต้องด้าเนินการโดยให้มีระยะเวลาเพียงพอที่ประชาชนสามารถลงมือ เตรียมตัวและเตรียม
รับมือน้้าท่วมได้ทัน
2. การให้ความรู้และระดับการตอบสนองของประชาชน เช่น ประชาชนบางกลุ่ม ยอมรับและปฏิบัติตามแผน
ได้ดีกว่า ส่วนประชาชนบางกลุ่มยังต้องให้ค้าแนะน้า
3. ความน่าเชื่อถือของระบบเตือนภัย
2.9.2.5 การให้ความรู้และข้อมูลสาธารณะ
การส้ารวจข้อมูลความเสียหายจากภัยน้้าท่วมเป็นสิ่งที่ต้องท้าให้เสร็จก่อนการวางแผน เพื่อป้องกันความ
เสียหายจากน้้าท่วม การพัฒนาและติดตามความคืบหน้าของข้อมูล เทคนิคการท้างานและการให้ความรู้แก่
ประชาชนก็เป็นสิ่งที่ขาดไม่ได้ในแผนบริหารจัดการน้้าท่วมและมีความส้าคัญอย่างยิ่งกับผู้ที่มีหน้าที่วางแผน
และประยุกต์วิธีการต่างๆมาใช้ รวมไปถึงผู้มหี น้าที่ชี้แจงการก้าหนดใช้นโยบายน้้าท่วมให้กับประชาชน
ทั่วไป การพัฒนาให้ข้อมูลน้้าท่วมมีความเข้าใจง่าย เข้าถึงง่าย รวดเร็วและมีคุณภาพ เป็นเป้าหมายหลัก
เป้าหมายหนึ่งในแผนบริหารจัดการน้้าท่วม ข้อมูลส้าคัญที่เกี่ยวข้องกับน้้าท่วม ได้แก่ ข้อมูลทางอุทกวิทยา
และข้อมูลทางชลศาสตร์ของน้้าท่วมทั้งขนาดเล็กและขนาดใหญ่ที่เคยเกิดในพื้นที่ ข้อมูลน้้าท่วมประจ้าปีและ
ข้อมูลของทรัพยากรต่างๆในพื้นที่ลุ่มน้้าและในภูมิภาคใกล้เคียงที่จะส่งผลกระทบถึงกันได้ จากข้อมูลดังกล่าว
สามารถน้ามาจัดการให้เป็นระบบเพื่อให้ใช้งานได้ง่าย ซึ่งข้อมูลนี้จะน้ามาแปลงเป็นระดับความเสี่ยงและความ
น่าจะเป็นของการเกิดน้้าท่วมในพื้นที่ ซึ่งจะช่วยให้บุคคลทั่วไปเข้าถึงข้อมูลได้ง่าย มีความน่าสนใจและเหมาะ
กับการเผยแพร่ให้กับหน่วยงานและประชาชนทั่วไป นอกจากนี้การจัดท้าหนังสือคู่มือเตรียมรับสถานการณ์น้า
ท่วมเพื่อให้ความรู้แก่ประชาชน จะช่วยบรรเทาความเสียหายจากภัยน้้าท่วมได้ดี
2.9.2.6 การป้องกันน้้าท่วมสิ่งปลูกสร้าง
ความเสียหายจากน้้าท่วมสามารถบรรเทาลงได้โดยใช้วิธีที่เหมาะสมในการป้องกันไม่ให้น้าไหลเข้าท่วมที่ดิน
สิ่งปลูกสร้าง เช่น การท้าอุปกรณ์ดักน้้า การก่อสร้างสิ่งปลูกสร้างบนเนินสูง การสร้างก้าแพงกันดินรอบๆ
อาคาร การใช้วัสดุกันน้้า เป็นต้น
ในบริเวณที่มีระดับน้้าท่วมไม่สูงนัก สามารถใช้พนังหรือก้าแพงชั่วคราว เช่นกระสอบทรายดังแสดงในรูปที่ 7
หรือก้าแพงก่อเพื่อป้องกัน อาจท้าโครงสร้างชั่วคราวต้องสร้างหรือใช้วัสดุที่น้าซึมผ่านไม่ได้และก่อให้สูงกว่า
ระดับน้้าท่วมถึง ข้อดีของการท้าโครงสร้างป้องกันน้้าท่วมคือช่วยบรรเทาความเสียหายที่จะเกิดกับโครงสร้าง
และหลังจากน้้าท่วมก็ไม่ต้องซ่อมแซมและฟื้นฟูสิ่งปลูกสร้างมากนัก
การท้าโครงสร้างป้องกันน้้าท่วมอีกวิธีคือการยกระดับพื้นบ้านให้มีความสูง ซึ่งพบเห็นได้ทั่วไปในเขตที่ใกล้
ทะเลหรือปากแม่น้าหรือบ้านเรือนริมฝั่งแม่น้าที่เจอน้้าท่วมบ่อย แต่ในบริเวณที่น้าท่วมมีระดับสูงมากการยก
พื้นบ้านให้สูงอาจไม่คุ้มค่า จึงควรใช้วิธีอื่นในการแก้ปัญหา
การท้าโครงสร้างป้องกันน้้าท่วมไม่ใช่วิธีแก้ปัญหาที่เกี่ยวข้องกับการใช้สอยที่ดินและบริเวณที่เหมาะจะท้า
โครงสร้างป้องกันน้้าท่วมก็ควรเป็นบริเวณที่จะเกิดความเสียหายไม่มากนัก โครงการท้าโครงสร้างป้องกันน้้า
ท่วมควรมีการขยายผลต่อไปในอนาคต โดยการออกแบบสิ่งปลูกสร้างทั่วไปควรมีการวิเคราะห์และค้านวณ
เสถียรภาพอาคารต่อแรงกระท้าทางชลศาสตร์และการไหลย้อนกลับของน้้า
2.9.2.7 การอพยพออกจากพื้นที่เสี่ยงภัย
ในกรณีที่ไม่สามารถหลีกเลี่ยงน้้าท่วมได้ วิธีที่ดีที่สุดคือ การอพยพผู้คนและสิ่งของมีค่าออกจากบริเวณที่มี
แนวโน้มจะเกิดน้้าท่วม วัตถุประสงค์หลักของการอพยพคือ การรักษาความปลอดภัยให้กับ
ประชาชน นอกจากนั้นยังรวมไปถึงการเคลื่อนย้ายล้าเลียงสินค้าหรือสัตว์และพืชเศรษฐกิจ
กุญแจส้าคัญที่จะท้าให้แผนอพยพประสบความส้าเร็จ คือ การมีระบบการพยากรณ์และเตือนภัยน้้าท่วมที่มี
ประสิทธิภาพ มีความถูกต้องแม่นย้าและทันเวลา ซึ่งผลส้าเร็จของการเตือนภัยน้้าท่วมและแผนอพยพจะมีมาก
น้อยเพียงไรขึ้นอยู่กับระยะเวลาหลังการเตือนภัยว่าจะมีให้มากน้อยเพียงไรก่อนที่น้าจะมา ช่วงเวลานี้จะเป็น
ช่วงที่ประชาชนเตรียมตัวรับมือและอพยพ นอกจากนั้นยังขึ้นอยู่กับความสามารถของผู้คนในการตอบสนอง
การเตือนภัยและการปฏิบัติตามแผนรับมือน้้าท่วม
การอพยพถือเป็นมาตรการชั่วคราว มีความสัมพันธ์กับการแบ่งช่วงเวลาน้้าท่วมออกเป็นสามส่วนคือ ก่อน
น้้าท่วม ขณะน้้าท่วมและหลังการเกิดน้้าท่วม ช่วงเวลาที่ดีที่สุดที่สามารถอพยพผู้คนเพื่อลดจ้านวนผู้บาดเจ็บ
และเสียชีวิตคือช่วงเวลาก่อนเกิดน้้าท่วม ซึ่งระดับการประสบความส้าเร็จจะขึ้นอยู่กับเวลาหลังการเตือน
ภัย การอพยพขณะเกิดน้้าท่วมมักเกิดขึ้นในกรณีที่เกิดน้้าท่วมขนาดใหญ่ ซึ่งสาเหตุที่ต้องมีการอพยพมีหลาย
สาเหตุ เช่น มีความกังวลว่าน้้าจะมีระดับสูงเกินกว่าที่คาดการณ์ไว้ ส่วนช่วงเวลาหลังการเกิดน้้าท่วมส่วน
ใหญ่จะเป็นการบรรเทาทุกข์และให้ความช่วยเหลือ
2.9.2.8 แผนรับมือน้้าท่วม
การใช้แผนรับมือน้้าท่วมเป็นการวางแผนเพื่อต่อสู้กับน้้าท่วมโดยเป็นมาตรการที่เรียกว่าปลอดภัยไว้ก่อน
ส่วนส้าคัญของแผนรับมือน้้าท่วม คือ แผนงานฉุกเฉินเพื่อรับมือขณะน้้าท่วม และมีแผนรับมือในส่วน
อื่น ๆ เช่น การท้าโครงสร้างชั่วคราวเพื่อกั้นน้้า การเคลื่อนย้ายทรัพย์สินหนีระดับน้้าท่วม แผนปฏิบัติการ
ฉุกเฉินที่เกี่ยวข้องกับระบบไฟฟ้าและประปา แผนรับมือน้้าท่วมสามารถขยายขอบเขตงานให้คลอบคลุมไปถึง
การซ่อมแซมเขื่อนและสิ่งก่อสร้างอื่นๆที่ใช้ในการบริหารจัดการน้้าท่วมเพื่อป้องกันการวิบัติหรือน้้าล้นสันเขื่อน
และก้าแพงกั้นน้้า
การใช้แผนรับมือน้้าท่วมให้ประสบความส้าเร็จขึ้นอยู่กับการวางแผนและการประสานงานระหว่างหน่วยงาน
โดยเฉพาะหน่วยงานระดับท้องถิ่น และยังขึ้นอยู่กับช่วงเวลาหลังการเตือนภัยว่าจะมีมากน้อยเพียงไร
เช่นเดียวกับแผนอพยพ
2.9.2.9 แผนบรรเทาทุกข์
รัฐบาลควรมีการเตรียมการให้ความช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ภายหลังน้้าท่วม การเตรียมให้ความช่วยเหลือควร
มีความพร้อมอยู่ตลอดเวลา โดยเฉพาะความช่วยเหลือด้านการเงิน เพราะเราไม่สามารถคาดเดาได้ว่าเกิด
เหตุการณ์ฉุกเฉินขึ้นเมื่อใด เป้าหมายหลักของแผนบรรเทาทุกข์ คือ การให้ความช่วยเหลือแก่ผู้ประสบภัย
ธรรมชาติ ซึ่งประกอบด้วย การฟื้นฟูสภาพร่างกาย จิตใจ และที่อยู่อาศัยให้ใกล้เคียงกับก่อนเกิดภัยพิบัติมาก
ที่สุด
2.9.2.10 การประกันภัยน้้าท่วม
การกระกันภัยน้้าท่วมเป็นมาตรการที่มีประโยชน์หลายอย่างโดยเฉพาะด้านการปรับปรุงระบบการให้ความ
ช่วยเหลือบรรเทาทุกข์ภายหลังน้้าท่วม เนื่องจากน้้าท่วมในแต่ละพื้นที่มีลักษณะที่แตกต่างกัน ข้อเรียกร้อง
ของผู้ที่ต้องการได้รับเบี้ยประกันในแต่ละที่ก็แตกต่างกันด้วย โดยระบบการท้าประกันภัยน้้าท่วมมีสองระบบ
ใหญ่ๆ คือ ระบบที่จ่ายเงินประกันตามระดับความเสี่ยงของแต่ละพื้นที่ และระบบที่จัดสรรเงินประกันภัยให้
ผู้ประสบภัยในอัตราเท่ากันโดยไม่ขึ้นกับระดับความเสี่ยง
ความยากล้าบากอย่างหนึ่งของระบบการจ่ายเงินประกันภัยตามระดับความเสี่ยงของแต่ละพื้นที่ คือ การ
เลือกใช้กรมธรรม์ประกันภัยคลอบคุมความเสียหายให้เพียงพอและเป็นที่พอใจของเจ้าของที่ดินโดยที่บริษัท
ประกันจะไม่เดือดร้อนมากหากเกิดน้้าท่วมใหญ่และมีผู้เอาประกันหลายๆราย ด้วยเหตุนี้ระบบการจ่ายเงิน
ประกันระบบนี้จึงไม่เป็นที่นิยมในกลุ่มของบริษัทธุรกิจและอุตสาหกรรม ดังนั้นในบางประเทศการท้า
ประกันภัยน้้าท่วมให้แกโรงงานอุตสาหกรรมจึงเป็นหน้าที่ของรัฐบาล
ในบริเวณที่เกิดน้้าท่วมซ้้าซากรัฐบาลควรมีส่วนเข้าร่วมให้การช่วยเหลือโดยการตั้งโครงการประกันภัยน้้า
ท่วม ส่วนส้าคัญของโครงการนี้ คือ รัฐจะต้องร่วมรับผิดชอบหากเกิดความเสียหายกับเจ้าของที่ดินซึ่งรับ
ความเสี่ยงไปส่วนหนึ่งแล้ว ความส้าเร็จของโครงการนี้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสมในการระบุขอบเขตและ
คุณสมบัติของผู้มีสิทธิ์เอาประกัน รวมทั้งการจ่ายเงินก็ต้องเป็นไปอย่างเหมาะสมตามระดับรุนแรงของภัยพิบัติ
โครงการประกันภัยน้้าท่วมของรัฐสามารถขยายผลให้เป็นมาตรการส้าหรับลดความเสียหายจากน้้าท่วม
ได้ ซึ่งมีความสัมพันธ์กับการจัดการใช้สอยที่ดิน โดยผู้ที่จะซื้อที่ดินในแต่ละที่จะต้องรับเงื่อนไขจากรัฐที่ว่า
บริเวณที่มีความเสี่ยงสูงที่จะเกิดน้้าท่วมเป็นบริเวณที่ไม่เหมาะแก่การอยู่อาศัยหรือท้าธุรกิจอยู่แล้ว หากยังมี
ความต้องการจะใช้ที่ดินดังกล่าวเจ้าของที่ต้องรับผิดชอบด้วยตนเอง ส่วนในพื้นที่ที่มีการใช้มาตรการป้องกัน
น้้าท่วมรัฐก็ต้องมีการรับรองผลเนื่องจากเงินที่ใช้ในโครงการมาจากภาษีและค่าธรรมเนียมของ
ประชาชน ดังนั้นหากเกิดน้้าท่วมในบริเวณที่ปลอดภัยรัฐต้องรับผิดชอบความเสียหายเหล่านั้น การก้าหนด
จ้านวนเงินที่รัฐให้ความช่วยเหลือต้องดูความเหมาะสมอีกที ผู้ที่จะสร้างสิ่งปลูกสร้างใหม่ในพื้นที่ลุ่มน้้าต้อง
เป็นไปตามกฎเกณฑ์ของรัฐ มีการควบคุมไม่ให้ไปกีดขวางการไหลของน้้าและหากมีน้าท่วมสามารถรับเงิน
ประกันได้หากอยู่ในเงื่อนไข วิธีการนี้สามารถช่วยลดจ้านวนเงินที่ต้องใช้ในการให้ความช่วยเหลือและการฟื้นฟู
สภาพความเป็นอยู่หลังน้้าท่วมได้
ข้อควรจ้าเกี่ยวกับการประกันภัยน้้าท่วมคือ การประกันภัยไม่สามารถบรรเทาความรุนแรงของน้้าท่วมได้
โดยตรง ดังนั้นในการออกกรมธรรม์คือการศึกษาจากสถิติที่เกี่ยวกับการจ่ายเบี้ยประกันในอดีต
2.9.2.11 การปรับตัวให้เข้ากับสภาพน้้าท่วม
การปรับตัวให้เข้ากับสภาพน้้าท่วม คือ การจัดการหรือจัดกิจกกรมให้ชุมชนตระหนักว่าน้้าท่วมเป็นสิ่งที่
หลีกเลี่ยงไม่ได้หากอาศัยอยู่ในพื้นที่ลุ่มน้้าหรือชายฝั่ง และยอมรับว่าจะต้องเผชิญหน้ากับน้้าท่วมเป็นครั้ง
คราว ดังนั้นการให้ข้อมูลและความรู้เรื่องน้้าท่วมแก่ประชาชนจึงเป็นสิ่งที่จ้าเป็นอย่างยิ่ง ข้อมูลดังกล่าว
ได้แก่ ข้อมูลเกี่ยวกับระดับน้้า วิธีการจัดการที่อยู่อาศัย พื้นที่ท้าการเกษตร โรงงานในการรับมือน้้า
ท่วม รวมทั้งข้อมูลเกี่ยวกับหน่วยงานฉุกเฉินที่พร้อมให้ความช่วยเหลือหากเกิดน้้าท่วม ผู้ที่อาศัยอยู่ในพื้นที่ที่
มีแนวโน้มจะเกิดน้้าท่วมควรศึกษาและลงมือปฏิบัติตามมาตรการเพื่อบรรเทาภัยน้้าท่วมด้วยตนเอง โดยรัฐจะ
ให้ความช่วยเหลือบางส่วน เช่น การท้าก้าแพงกั้นน้้า การเตรียมเสบียงอาหาร การอพยพไปยังสถานที่หลบ
ภัย เป็นต้น

2.10 เทคโนโลยีในการจัดการน้้า

2.10.1 Delta Works

ประเทศเนเธอร์แลนด์มีการสร้างวัฒนธรรมของการเตรียมความพร้อมรับน้้าอย่างดี มีการสร้างเทคโนโลยี
จัดการน้้าที่เรียกว่า “Delta Works” ประกอบไปด้วยโครงการย่อย 16 โครงการ ตั้งแต่เขื่อน ประตูระบายน้้า
พนังกั้นน้้า สถานีสูบน้้า คันกั้นดิน และก้าแพงกั้นคลื่นทะเล ทั้งแบบเป็นที่กั้นถาวร และแบบที่สามารถเปิด-ปิด
ได้ กั้นตั้งแต่บริเวณปากแม่น้าจนเข้ามาถึงล้าน้้าในประเทศ เพื่อป้องกันน้้าท่วมให้พื้นที่มีความเสี่ยงสูง

โดยส่วนที่เป็นเขื่อนมีพนังกั้นน้้าที่มีความสามารถสกัดคลื่นสูงได้ถึง 40 ฟุตจากระดับน้้าทะเลจะท้าหน้าที่กั้น
น้้าทะเลและแม่น้าออกจากกัน ซึ่งนอกจะส่งผลดี เมื่อทางน้้าถูกแยกให้อยู่ไกลจากพื้นที่ที่อยู่อาศัยของ
ประชาชนมากขึ้น ความเสี่ยงต่อน้้าท่วมก็จะลดน้อยลง น้้าส่วนที่อยู่ด้านในเขื่อนยังเป็นน้้าสะอาด ซึ่งสามารถ
ใช้ในการเกษตรได้
Delta Works ที่สร้างตามการค้านวณของคุณ David van Dantzig ใช้เวลาก่อสร้างทั้งหมดราว 40 ปีกว่าจะ
เสร็จ และมันก็สามารถท้าหน้าที่เป็นป้อมปราการของชาวเนเธอร์แลนด์ได้อย่างมั่นคงถาวรมาตลอดตามการ
ค้านวณไม่มีผิดเพี้ยน จน ได้รับการยกย่องจาก The American Society of Civil Engineers ว่าเป็นหนึ่งในเจ็ด
สิ่งมหัศจรรย์ของโลกของยุคใหม่

ภาพที่ 1 แสดงลักษณะของแนวกั้นชายฝั่งมีชื่อว่า Ike Dike ในโครงการ Delta Works

ที่มา : "Delta Works" บทเรี ยนจากชาวดัตช์กบั ระบบป้องกันน ้าท่วมทีด่ ีที่สดุ ในโลก (condotiddoi.com)
ภาพที่ 2 แสดงลักษณะของประตูระบายน้้า ชื่อว่า Oosterscheldekering ในโครงการ Delta Works

ที่มา : Delta Works โครงการป้องกันน ้าท่วมทังเนเธอร์


้ แลนด์ ประเทศที่ตา่ กว่าระดับน ้าทะเล (iurban.in.th)

ภาพที่ 3 แสดงลักษณะของพนังกั้นน้้า ชื่อว่า Afsluitdijk(อัฟชเลาไดค์) ในโครงการ Delta Works

ที่มา : [สัพเพเหระไปกับวิศวกร] โครงการ เดลต้ าเวิร์ค (โครงการแก้ ไขปั ญหาน ้าท่วมของประเทศเนเธอร์ แลนด์) ที่ถกู ขนาน
นามว่าเป็ นหนึง่ ในเจ็ดสิง่ มหัศจรรย์ของโลกยุคใหม่ ตอนที่ 1 (blockdit.com)
ภาพที่ 4 แสดงลักษณะของก้าแพงกั้นน้้า ชื่อว่า Eastern Scheldt Storm Surge Barrier

ในโครงการ Delta Works

ที่มา : [สัพเพเหระไปกับวิศวกร] Eastern Scheldt Storm Surge Barrier (blockdit.com)

ภาพที่ 5 แสดงลักษณะของเขื่อน Afsluitdijk(อัฟชเลาไดค์) ในโครงการ Delta Works

ที่มา : https://youtu.be/s-I0UHEllP4
ภาพที่ 5.1 แสดงลักษณะของเขื่อน Afsluitdijk(อัฟชเลาไดค์) ในโครงการ Delta Works โดยเทียบให้เห็นว่าถนนอยู่ต่้ากว่าน้้า
ทะเล

ที่มา : [สัพเพเหระไปกับวิศวกร] เขื่อนกันน ้า Afsluitdijk ขนาดยักษ์ ทางภาคเหนือของเนเธอร์ แลนด์ ยาว 32


กิโลเมตร กว้ าง 90 ม สูง 7.25 ม และนี่คือเขื่อนกัน "ทะเล" นะครับ ไม่ใช่แม่น ้าเหมือนเขื่อนทัว่ ไป และคือทะเลเหนือ
(The North Sea) ที่ขึ ้นชื่อว่าคลืน่ ลมแรงที่สดุ ในโลก (blockdit.com)
2.10.2 NOAQ Tubewall
เทคโนโลยี NOAQ Tubewall จากบริษัท NOAQ ประเทศสวีเดน มีหลักการท้างานคล้าย ๆ กับสระว่ายน้้า
เป่าลม กล่าวคือ เมื่อใช้อุปกรณ์เติมลมเข้าไปในท่อสีแดงให้พองโตและน้าไปติดตั้งบนพื้น น้้าท่วมที่ไหลบ่ามา
จะกดทับส่วนชายกระโปรงของท่อเอาไว้ ไม่ล้นออกไปจากส่วนก้าแพงลมจนสร้างความเสียหายให้บ้านพักและ
ทรัพย์สิน
NOAQ Tubewall นี้มีจุดเด่นคือสามารถติดตั้งได้ง่ายและรวดเร็วเพราะมีน้าหนักเบากว่าอุปกรณ์ป้องกันน้้า
ท่วมธรรมดา เช่น กระสอบทรายหรือการก่ออิฐ หลายเท่าตัว เหมาะเป็นอย่างยิ่งกับการป้องกันน้้าท่วม
เฉียบพลันแบบชั่วคราว นอกจากนี้ ยังสามารถพับเก็บเพื่อน้ากลับมาใช้ซ้าใหม่อีกครั้งได้อย่างสะดวกสบายอีก
ด้วย

ภาพที่ 6 แสดงลักษณะเทคโนโลยี NOAQ Tubewall ประเทศสวีเดน


ที่มา : Reliable NOAQ Tubewall Barriers | Flood Control International
2.10.3 ULTISuDS
ULTISuDS คือคอนกรีตสุดล้้าที่สามารถดูดซับน้้าได้ และคิดค้นโดยบริษัทวัสดุก่อสร้างชื่อดัง Lafarge
Tarmac จากประเทศอังกฤษ นวัตกรรมนี้คือการพัฒนาต่อยอด Porous Concrete หรือคอนกรีตพรุน ซึ่ง
ผ่านการริเริ่มพัฒนามาตั้งแต่ช่วงปี ค.ศ. 1800 โดย ULTISuDS มีความพิเศษแตกต่างจากคอนกรีตทั่วไป คือ
สร้างขึ้นจากวัสดุต่าง ๆ เช่น หิน กรวด และทราย คล้ายกับคอนกรีตธรรมดา แต่ปรับขนาดและปริมาณของ
ส่วนผสมเหล่านี้ให้มีความพรุนสูงมากจนสามารถดูดซับน้้าท่วมขังบนพื้นลงสู่ใต้ดินได้
ส้าหรับผลิตภัณฑ์ ULTISuDS นั้นมีอัตราการไหลซึมของของเหลว หรือ สภาพน้าน้้า (Hydraulic
Conductivity) มากถึง 5000 มิลลิเมตรต่อชั่วโมง (mm/hr) ซึ่งสามารถรับมือกับปริมาณน้้าจากพายุฝนที่แย่
ที่สุดของอังกฤษกว่า 100 มิลลิเมตรต่อชั่วโมงได้แบบสบาย ๆ
ULTISuDS เหมาะกับการติดตั้งในบริเวณที่มีสภาพการจราจรไม่คับคั่งมากนัก เช่น ลานจอดรถ ทางเดินเท้า
หรือถนนในหมู่บ้าน เพราะคอนกรีตที่มีความพรุนสูงมักรองรับน้้าหนักและแรงดันจากรถบรรทุกขนาดใหญ่ได้
ไม่เท่าคอนกรีตธรรมดานั่นเอง

ภาพที่ 7 แสดงลักษณะเทคโนโลยี ULTISuDS ประเทศอังกฤษ


ที่มา : Reliable NOAQ Tubewall Barriers | Flood Control International
2.10.4 AquaFence
เทคโนโลยี AquaFence หรือ ก้าแพงป้องกันน้้าท่วม จากประเทศนอร์เวย์ ได้รับการรับรองจากศูนย์ควบคุม
พลังงานและทรัพยากรน้้าของนอร์เวย์ (The Norwegian Water Resources and Energy Directorate:
NVE) ให้เป็นอุปกรณ์ป้องกันน้้าท่วมที่มีประสิทธิภาพและใช้งานได้จริง โดยมีนวัตกรรม Self Stabilized
Design ที่ใช้แรงดันของปริมาณน้้าท่วมเพื่อตรึงก้าแพงให้ตั้งอยู่กับพื้นได้อย่างมั่นคง
AquaFence ติดตั้งและเคลื่อนย้ายได้อย่างง่ายดาย เพียงน้าก้าแพงมาเรียงต่อกันเป็นแนวยาว กางก้าแพงให้
ตั้งฉาก เปิดใช้งานตัวล็อคทั้งสองข้างเพื่อเชื่อมก้าแพงแต่ละส่วนให้ติดกัน เท่านี้ก็พร้อมป้องกันน้้าท่วมได้แล้ว
โดยหากต้องการติดตั้งก้าแพงความยาว 100 เมตรภายในเวลาประมาณ 1 ชั่วโมง ใช้ทีมงานแค่ 6 – 8 คน
เท่านั้น
หลังจากน้้าท่วมได้ระบายออกไปหมดแล้ว คุณยังสามารถจัดเก็บก้าแพง AquaFence อย่างสะดวกสบายได้
ภายในระยะเวลาใกล้เคียงกัน แถมยังสามารถน้ากลับมาใช้งานใหม่ได้กว่า 60 ครั้ง

ภาพที่ 8 แสดงลักษณะเทคโนโลยี AquaFence ประเทศนอร์เวย์


ที่มา : Reliable NOAQ Tubewall Barriers | Flood Control International
2.10.5 สวนสาธารณะที่โดดเด่นด้านการจัดการน้า้
นวัตกรรมการสร้างสวนธารณะที่ให้ความส้าคัญกับการบริหารจัดการน้้าได้ไม่เพียงแต่ช่วยบรรเทาปัญหาน้้า
ท่วมในกรุงเทพฯ แต่ยังเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้ชาวเมืองทุกคนได้ท้ากิจกรรมกลางแจ้งและสูดอากาศที่สดชื่นขึ้นอีก
ด้วย โดยหนึ่งในตัวอย่างของการออกแบบสวนดังกล่าวคือ อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย นั่นเอง
สวนสาธารณะนี้เป็นฝีมือของคุณกชกร วรอาคม ภูมิสถาปนิกชาวไทยและผู้ก่อตั้งบริษัท LANDPROCESS ซึง่
อธิบายแนวคิดเบื้องหลังนวัตกรรมนี้ว่า เธอค้านึงถึงอนาคตของกรุงเทพฯ ในอีก 100 ปีข้างหน้าที่อาจเผชิญกับ
การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศและภัยน้้าท่วม จึงออกแบบสวนให้ด้านหนึ่งมีลักษณะลาดเอียงเพื่อเก็บ
น้้าฝนไว้ใช้

ภาพที่ 9 แสดงโครงสร้างและลักษณะของ อุทยาน 100 ปี จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย


ที่มา : Reliable NOAQ Tubewall Barriers | Flood Control International
นอกจากนี้ พื้นที่ชุมน้้า (Wetland) ด้านข้างของอุทยานยังสามารถรองรับน้้าฝนได้อีกด้วย บริเวณพื้นที่เป็น
ปูนก็ใช้คอนกรีตรูพรุน หรือ Porous Concrete เพื่อให้น้าซึมลงดิน รวมถึงยังสร้างทางระบายน้้าไร้ท่อที่มีพืช
เล็ก ๆ คอยรองรับและดูดน้้าฝนที่เหลือบนพื้นเพื่อให้สามารถใช้ประโยชน์จากน้้าได้อย่างมีประสิทธิภาพสูงสุด
และยังได้รับรางวัลจากองค์การสหประชาชาติ (UN) อีกด้วย
บทที่ 3
ข้อมูล/การวิเคราะห์
3. ความรู้เกี่ยวกับน้้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

3.1 สาเหตุและปัจจัยน้้าท่วมในอ้าเภอเสนา
ในพื้นที่อ้าเภอเสนามีลักษณะเป็นที่ราบลุ่มน้้าท่วมถึง พื้นที่ส่วนใหญ่เป็นทุ่งนา
แหล่งน้้าแหล่งน้้าที่ส้าคัญ ประกอบไปด้วย
1. แม่น้าน้อย
2. ล้าคลอง โครงการส่งน้้าบ้ารุงรักษาเจ้าเจ็ดบางยี่หน
3. ล้าคลอง โครงการส่งน้้าบ้ารุงรักษาผักไห่ แบ่งพื้นที่รับน้้าเป็น 2 ส่วน ประกอบด้วย
ส่วนที่ 1 รับน้้า จากแม่น้าน้อย ได้แก่ ต้าบลบ้านกระทุ่ม หัวเวียง บ้านโพธิ์ บ้านแพน เสนา รางจระเข้
(บางส่วน) บางนมโค (บางส่วน) สามกอ (บางส่วน) มีระยะทางยาวประมาณ 20 กิโลเมตร
ส่วนที่ 2 รับน้้า จากคลองชลประทาน ประกอบด้วย
1. รับน้้าจากคลองชลประทานผักไห่ได้แก่ ต้าบลบ้านกระทุ่ม (บางหมู่บ้าน) ลาดงารางจระเข้ (ส่วน ใหญ่)
เจ้าเสด็จ (บางส่วน) หัวเวียง (บางส่วน) และบ้านโพธิ์ (บางส่วน)
2. รับน้้าจากคลองชลประทานเจ้าเจ็ดบายี่หนได้แก่ต้าบลเจ้าเสด็จเจ้าเจ็ดสามกอสามตุ่มบาง นมโค บ้าน
หลวง บ้านหลวง บ้านแถว ชายนา มารวิชัย และดอนทอง
อ้าเภอเสนามีพื้นที่ปลูกข้าวทั้งหมด 107,517 ไร่ ไม้ผล 1,084 ไร่ พืชผัก จ้านวน 277 ไร่ ไม้ดอกไม้
ประดับ กล้วยไม้ จ้านวน 444 ไร่
18 ตุลาคม 2565 มีการวิเคราะห์น้าท่วมแบบงู ๆ ปลา ๆ ตามประสาชาวบ้าน (ในพื้นที่) สรุปได้ว่า ปี
2565ประเทศไทยเจอพายุ 1-2 ลูกเท่านั้น แต่ในบางพื้นที่ในประเทศส่วนใหญ่ต้องจมบาดาลถ้าเปรียบเทียบกับ
ปีที่ผ่านมาน้้าท่วมไม่นานก็มีการลดลงอย่างรวดเร็วซึ่งน้้าในปี2565 ยังคงท่วมสูงกว่าปี 2554

3.1.2 ผลกระทบที่คนในพื้นที่ได้รับจากการเกิดน้้าท่วม
บริเวณอ้าเภอเสนา ได้รับผลกระทบจากการน้้าท่วมขังในปี 2565 พืชผลทางการเกษตรที่มีการปลูกได้รับความ
เสียหายทั้งหมดปริมาณขณะนี้สูงมากกว่า 3 เมตร พร้อมมองว่าสถานการณ์น้ามาเร็วกว่าปกติ เนื่องจากปีก่อน
หน้านี้น้าจะมาในช่วงเดือนกันยายน มีการรับมือน้้าท่วมครั้งนี้เป็นอย่างดี เพราะอาศัยอยู่ในจุดที่เกิดน้้าท่วมขัง
เป็นประจ้า ส่วนการเยียวยาที่ต้องการคือให้แบ่งปริมาณน้้าไปยังพื้นที่อื่น ๆ
ประชาชนได้รับผลกระทบหลายด้าน ได้แก่
1. ขาดรายได้ เนื่องจากน้้าท่วมสูงไม่มีพื้นที่หารายได้และไม่สามารถออกไปท้างานได้ ต้องอยู่บ้านและใช้
ชีวิตล้าบากทุกด้าน
เช่น -การกิน
-การนอน
-การขับถ่าย
2. โรงเรียนบางพื้นที่ไม่สามารถจัดการเรียนการสอนได้และวัดได้รับผลกระทบท้าให้พระอุโบสถและ
ศาลาการเปรียญจมน้้าเกิดการช้ารุดเสียหาย
3. การสัญจร ไม่สามารถใช้รถใช้ถนนในการสัญจรได้ปกติ
3.1.3 แนวทางการรับมือน้้าท่วมในอ้าเภอเสนา
ในอ้าเภอเสนามีการเตรียมการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัย ดังนี้
1. การเตรียมความพร้อม
1.1 เพิ่มพื้นที่รองรับน้้าโดยการเร่งก้าจัดวัชพืช ขยะ ตลอดจนสิ่งกีดขวางทางน้้าอื่น ๆ ในคูคลอง
แหล่งน้้าต่าง ๆ โดยเฉพาะที่เป็นเส้นทางระบายน้้าลงสู่แม่น้าสายต่าง ๆ เพื่อให้คูคลองแหล่งน้้า
ต่าง ๆ สามารถรับน้้าฝนและน้้าจากท่อระบายน้้าได้เต็มประสิทธิภาพและให้พิจารณาก้าหนดจุด
ติดตั้งเครื่องผลักดันน้้าเพื่อช่วยพร่องน้้าหรือเร่งระบายน้้าตามความเหมาะกับสภาพพื้นที่
1.2 เพิ่มพื้นที่รองรับน้้า โดยการเร่งก้าจัดวัชพืช ขยะ ตลอดจนสิ่งกีดขวางทางน้้าอื่น ๆ ในคู
คลอง แหล่งน้้าต่าง ๆ โดยเฉพาะที่เป็นเส้นทางระบายน้้าลงสู่แม่น้าสายต่าง ๆ เพื่อให้คู คลอง
แหล่งน้้าต่าง ๆ
สามารถรับน้้าฝน และน้้าจากท่อระบายน้้าได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ และให้พิจารณาก้าหนดจุด
ติดตัง้
เครื่องผลักดันน้้า เพื่อช่วยพร่องน้้า หรือเร่งระบายน้้าตามความเหมาะสมกับสภาพพื้นที่
1.3 มอบหมายอ้าเภอ องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และหน่วยงานที่เป็นเจ้าของอ่างเก็บน้้า
ขนาดเล็ก ตรวจสอบความมั่นคงแข็งแรง พร้อมทั้งประสานหน่วยงานของกรมชลประทาน หรือ
หน่วยงาน
ทางวิชาการที่มีความเชี่ยวชาญร่วมตรวจสอบ และหากพบความผิดปกติ ให้เร่งปรับปรุงแก้ไข
โดยทันที
1.4 ประชาสัมพันธ์เชิงรุกเพื่อสร้างการรับรู้ให้กับประชาชน โดยสร้างความตระหนักในการ
เตรียมความพร้อมรับมือสถานการณ์อุทกภัยในช่วงฤดูฝน พร้อมทั้งรณรงค์ให้ประชาชนที่อาศัย
ริมคู คลอง แม่น้า
มีส่วนร่วมรักษาสภาพแวดล้อมบริเวณที่อยู่อาศัยโดยการไม่ทิ้งขยะลงแหล่งน้้า
2. การเผชิญเหตุเมื่อเกิดอุทกภัย
2.1 เมื่อเกิดหรือคาดว่าจะเกิดสถานการณ์อุทกภัย ในพื้นที่ ให้จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์
ระดับอ้าเภอ และศูนย์ปฏิบัติการฉุกเฉินในระดับองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น โดยให้ศูนย์ฯ
ดังกล่าวเป็นศูนย์ควบคุมสั่งการ และอ้านวยการหลัก ส้าหรับการระดมสรรพก้าลังและประสาน
การปฏิบัติระหว่างหน่วยงานต่าง ๆ ทั้งฝ่ายพลเรือน ฝ่ายทหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
องค์กรสาธารณกุศล ตลอดจนภาคีเครือข่ายด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พร้อมทั้ง
จัดตั้งระบบสื่อสารหลัก ระบบสื่อสารรอง และระบบสื่อสารส้ารองร่วมกับฝ่ายทหารในพื้นที่
เพื่อบูรณาการการปฏิบัติ
2.2 เมื่อเกิดฝนตกหนักในพื้นที่ ให้มอบหมายฝ้ายปกครอง ก้านัน ผู้ใหญ่บ้าน ตลอดจน
อาสาสมัคร เฝ้าระวัง และร่วมกันก้าจัดสิ่งกีดขวางทางน้้าที่หลมาติดตามคอสะพาน ฝ่าย เป็น
ต้น พร้อมทั้งสั่งใช้เครื่องจักรกลของหน่วยงานฝ่ายพลเรือน ทหาร องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
เป็นต้น เพื่อเร่งระบายน้้า และเปิดทางน้้าในพื้นที่ที่มีน้าท่วมชัง หรือพื้นที่ลุ่มต่้า เพื่อลด
ผลกระทบที่อาจเกิดขึ้นกับประชาชน
2.3 กรณีบ้านเรือนประชาชนได้รับความเสียหาย ให้บูรณาการทุกหน่วยงานในการจัดทีมช่าง
ในพื้นที่เป็นทีมประชารัฐต้าบล ทั้งหน่วยทหาร ต้ารวจ วิทยาลัยอาชีวศึกษา และส้านักงาน
ส่งเสริมการศึกษานอก
ระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย (กศน.) เพื่อเร่งซ่อมแซมบ้านเรือนของประชาชน
2.4 ในกรณีเส้นทางคมนาคมได้รับความเสียหาย ให้จัดเจ้าหน้าที่อ้านวยความสะดวก
การจราจร และเร่งซ่อมแซมเส้นทางที่ช้ารุด และถูกตัดขาดเพื่อให้ประชาชนใช้สัญจรได้โดยเร็ว
พร้อมทั้งจัดยานพาหนะส้าหรับบริการประชาชนในพื้นที่
2.5 จัดชุดปฏิบัติการเข้าให้ความช่วยเหลือประชาชนด้านการด้ารงชีพ เช่น ความช่วยเหลือ
ด้านอาหาร น้้าดื่ม การรักษาพยาบาล ความช่วยเหลือด้านสุขภาวะ ที่พักพิง อุปกรณ์ยังชีพ โดย
อย่าให้เกิดความช้้าช้อนการปฏิบัติของแต่ละหน่วยงาน ส้าหรับประชาชนที่ไม่ได้อพยพออกจาก
พื้นที่ให้สนับสนุนถุงยังชีพครอบคลุมทุกครัวเรือนตามวงรอบอย่างต่อเนื่อง เพื่อให้สามารถ
ด้ารงชีวิตได้อย่างปกติโดยเร็ว
2.6 ประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ข่าวสารการแจ้งเตือนภัย วิธีปฏิบัติตนแก่ประชาชนและ
ช่องทางการรับความช่วยเหลือเมื่อประสบอุทกภัยอย่างต่อเนื่องผ่านทุกช่องทาง ทั้ง
วิทยุกระจายเสียงหอกระจายข่าว สถานีโทรทัศน์ท้องถิ่น สื่อสังคมออนไลน์เป็นต้น เพื่อไม่ให้
ประชาชนถูกตัดขาดจากข้อมูลข่าวสารของภาครัฐ
2.7 หากสถานการณ์ส่งผลกระทบเป็นวงกว้าง ให้ก้าหนดตัวบุคคลหรือหน่วยงานที่เหมาะสม
รับผิดชอบภารกิจในแต่ละเขตพื้นที่ที่ประสบภัย พร้อมทั้งก้าหนดสายการบังคับบัญชาที่ชัดเจน
เพื่อช่วยควบคุมก้ากับการปฏิบัติในภารกิจที่ส้าคัญ พร้อมทั้งประสานการสนับสนุนก้าลังพล
อุปกรณ์ ยานพาหนะจากหน่วยทหารในพื้นที่ เพื่อเร่งให้ความช่วยเหลือประชาชนตามแผนการ
เผชิญเหตุอุทกภัย
3. ทั้งนี้ หากเกิดสถานการณ์อุทกภัยในพื้นที่ ให้รายงานตามแบบรายงานเหตุด่วนสาธารณภัยแล้ว
รายงานสรุปความเสียหายฯ (แบบอุทกภัย 1) และรายงานสรุปการให้ความช่วยเหลือราษฎรจาก
อุทกภัย(แบบอุทกภัย 2) จัดส่งให้กองอ้านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา จนกว่าสถานการณ์จะเข้าสู่สภาวะปกติ โดยจัดส่งทางโทรสารหมายเลข - 3533
5798
4. ให้จัดตั้งศูนย์บัญชาการเหตุการณ์ และจัดท้าแผนเผชิญเหตุอุทกภัย ทั้งระดับอ้าเภอ/องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น จัดเตรียมก้าลังคน วัสดุอุปกรณ์ เครื่องมือสื่อสารและโทรคมนาคมทั้งข่ายหลักและข่าย
ส้ารองเครื่องมือเครื่องใช้ในการบรรเทาสาธารณภัย ให้กองอ้านวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย
การบรรเทาทุกข์
1. การซ่อมแซมบ้านเรือนที่ประสบภัย พิจารณามอบหมายให้ส่วนราชการที่
เกี่ยวข้อง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น มูลนิธิ และอาชีวะ ด้าเนินการซ่อมแซมบ้านเรือนที่ได้รับความ
เสียหาย โดยให้ปฏิบัติตามระเบียบ หลักเกณฑ์ และกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2. การแจกจ่ายถุงยังชีพ ให้จังหวัด/อ้าเภอเป็นศูนย์กลางในการช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัย และจัดท้าแผนการแจกจ่ายถุงยังชีพให้สอดคล้องกับพื้นที่ จ้านวนผู้ประสบภัย เพื่อให้การ
แจกจ่ายเป็นไปอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม ป้องกันไม่ให้เกิดความซ้้าซ้อน
3. การฟื้นฟูสิ่งสาธารณประโยชน์ ปฏิบัติตามกฎหมาย ระเบียบ และหลักเกณฑ์ที่เกี่ยวข้อง
4. ด้านการแพทย์และสาธารณสุข ให้สาธารณสุขจังหวัดเตรียมความพร้อมในการให้ความช่วยเหลือและ
ดูแลผู้ป่วยที่ได้รับผลกระทบ

3.1.4 ปริมาณน้้า
3.1.4.1 ปริมาณน้้าเดิม (เวลา 06.00)

แม่น้าเจ้าพระยา สถานี C.2 ปริมาณน้้าไหลผ่าน 1,750 ลบ.ม./วินาที


(วันที่ 2 พ.ย. 65 1,851 ลบ.ม./วินาที) ระดับน้้า+22.31 ม.รทก. ต่า้ กว่าตลิ่ง 3.39 เมตร

เขื่อนเจ้าพระยา สถานี C.13 ปริมาณน้้าไหลผ่าน 1,567 ลบ.ม./วินาที


(วันที่ 2 พ.ย. 65 1,672 ลบ.ม./วินาที) ระดับน้้า เหนือเขื่อน +17.50 ม.รทก. (วันที่ 2 พ.ย. 2565 +17.50 ม.
รทก.) ระดับน้้าท้ายเขื่อน +13.07 ม.รทก. (วันที่ 2 พ.ย. 2565 +13.44 ม.รทก.)

รับน้้าเข้าระบบส่งน้้าทุ่งฝั่งตะวันออก รวม 213 ลบ.ม./วินาที (วันที่ 2 พ.ย. 65 217 ลบ.ม./วินาที) โดยผ่าน


คลองชัยนาทป่าสัก (ปตร.มโนรมย์) 176 ลบ.ม./วินาทีคลองชัยนาท-อยุธยา
(ปตร.มหาราช ) 36 ลบ.ม./วินาทีและคลอง เล็กอื่น ๆ 1 ลบ.ม./วินาที
(ม.รทก. : เมตรส่วนระดับน้้าทะเลปานกลาง)
ภาพที่ 10 แสดงปริมาณน้้าท่าท้ายเขื่อนเจ้าพระยา ปี 2554
ที่มา : สถานีส้ารวจปริมาณน้า้ ท่า (hii.or.th)

ภาพที่ 11 แสดงปริมาณน้้าท่าท้ายเขื่อนเจ้าพระยา ปี 2564


ที่มา : สถานีส้ารวจปริมาณน้า้ ท่า (hii.or.th)
ภาพที่ 12 แสดงปริมาณน้้าท่าท้ายเขื่อนเจ้าพระยา ปี 2656
ที่มา : สถานีส้ารวจปริมาณน้า้ ท่า (hii.or.th)

ตารางแสดงปริมาณน้้าท่าท้ายเขื่อนเจ้าพระยาระหว่างเดือนสิงหาคม-ตุลาคม

ปริมาณน้้าท่าท้ายเขื่อนเจ้าพระยา
ปี (ลูกบาศก์เมตร/วินาที)
สิงหาคม กันยายน ตุลาคม
2554 48,586 92,350 109,510
2564 2,005 38,820 80,604
2565 35,671 55,330 84,194
จากตารางพบว่าน้้าท่าในปี 2554, 2565, 2564 เดือนตุลาคม มีน้ามากสุดเทียบกับเดือนสิงหาคมและ
กันยายน ส่วนปี 2554 มีปริมาณน้้าสูงสุดเปรียบเทียบกับปี 2565 และปี 2564
3.1.4.2 ปริมาณน้้าที่ระบายออกมา

น้้าที่ระบายออกจะผ่านประตูระบายน้้า 4 แห่ง คือ ประตูระบายน้้าบรมธาตุ ประตูระบายบางระจัน ประตู


ระบายยางมณี ผักไห่-เจ้าเจ็ด โดยแต่ละประตูระบายน้้าจะปล่อยน้้าดังนี้

ภาพที่ 13 แสดงปริมาณน้้าที่ระบายออกมาผ่านประตูระบายน้้าบรมธาตุ ปี 2554


ที่มา : สถานีส้ารวจปริมาณน้า้ ท่า (hii.or.th)

2021

2022

ภาพที่ 14 แสดงปริมาณน้้าที่ระบายออกมาผ่านประตูระบายน้้าบรมธาตุ ปี 2564 และ ปี 2565


ที่มา : ติดตามสถานการณ์น้าในลุม่ น้้าเจ้าพระยา (hii.or.th)
ภาพที่ 15 แสดงปริมาณน้้าที่ระบายออกมาผ่านประตูระบายน้้าบางระจัน ปี 2554
ที่มา : สถานีส้ารวจปริมาณน้า้ ท่า (hii.or.th)

2021
2022

ภาพที่ 16 แสดงปริมาณน้้าที่ระบายออกมาผ่านประตูระบายน้้าบางระจันปี 2564 และ ปี 2565


ที่มา : ติดตามสถานการณ์น้าในลุม่ น้้าเจ้าพระยา (hii.or.th)

ภาพที่ 17 แสดงปริมาณน้้าที่ระบายออกมาผ่านประตูระบายน้้ายางมณี ปี 2554


ที่มา : สถานีส้ารวจปริมาณน้า้ ท่า (hii.or.th)
2021
2022

ภาพที่ 18 แสดงปริมาณน้้าที่ระบายออกมาผ่านประตูระบายน้้ายางมณี 2564 และ ปี 2565


ที่มา : ติดตามสถานการณ์น้าในลุม่ น้้าเจ้าพระยา (hii.or.th)

ภาพที่ 19 แสดงปริมาณน้้าที่ระบายออกมาผ่านประตูระบายน้้าผักไห่-เจ้าเจ็ดปี 2554


ที่มา : สถานีส้ารวจปริมาณน้า้ ท่า (hii.or.th)

2021
2022

ภาพที่ 20 แสดงปริมาณน้้าที่ระบายออกมาผ่านประตูระบายน้้าผักไห่-เจ้าเจ็ด 2564 และ ปี 2565


ที่มา : ติดตามสถานการณ์น้าในลุม่ น้้าเจ้าพระยา (hii.or.th)
ตารางแสดงการระบายน้้าของประตูระบายน้้าปี 2554
เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม
ประตูระบาย สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด
น้้า
(ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์
เมตร/วินาที) เมตร/วินาที) วินาที) วินาที) วินาที) เมตร/วินาที)

บรมธาตุ 119.58 49.85 135.70 40.60 235.24 169.28

บางระจัน ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล 140.75 92.68

ยางมณี ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล 124.96 54.01

ผักไห่-เจ้าเจ็ด 80.38 8.62 468.46 5.44 582.26 11.40

จากตารางพบว่าในปี 2554 เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม ระบายน้้าสูงสุดที่ประตูระบายน้้าผัก


ไห่-เจ้าเจ็ดและต่้าสุดในเดือนกันยายนที่ประตูระบายน้้าผักไห่-เจ้าเจ็ด
ตารางแสดงการระบายน้้าของประตูระบายน้้าปี 2564

เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม


ประตู สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด
ระบายน้้า
(ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์
เมตร/วินาที) เมตร/วินาที) เมตร/วินาที) วินาที) วินาที) เมตร/วินาที)

บรมธาตุ 31.00 25.00 180.59 100.00 180.74 100.56

บางระจัน 12.38 12.00 145.23 35.00 150.23 60.50

ยางมณี 6.21 6.00 173.00 35.00 162.00 31.00

ผักไห่-เจ้า 1.49 0.83 85.97 5.00 103.82 58.99


เจ็ด
จากตารางพบว่าในปี 2564 เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม ระบายน้้าสูงสุดที่ประตูระบายน้้าบรม
ธาตุ ต่้าสุดที่ประตูระบายน้้าผักไห่-เจ้าเจ็ด และประตูระบายน้้ายางมณี ตามล้าดับ
ตารางแสดงการระบายน้้าของประตูระบายน้้าปี 2565
เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม
ประตูระบาย สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด
น้้า
(ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์
เมตร/วินาที) เมตร/วินาที) วินาที) เมตร/วินาที) วินาที) เมตร/วินาที)

บรมธาตุ 70.00 20.00 75.37 30.12 215.41 50.00

บางระจัน 15.48 5.11 50.11 10.12 160.26 10.61

ยางมณี 11.00 2.54 30.45 3.00 92.51 12.65

ผักไห่-เจ้าเจ็ด 24.05 2.00 56.78 19.48 51.53 19.00

จากตารางพบว่าในปี 2565 เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม ระบายน้้าสูงสุดที่ประตูระบายน้้าบรม


ธาตุ ต่้าสุดที่ประตูระบายน้้าผักไห่-เจ้าเจ็ด, ประตูระบายน้้ายางมณี, ประตูระบายน้้าบางระจัน ตามล้าดับ
3.1.4.3 ปริมาณน้้าฝน

ภาพที่ 21 แสดงปริมาณน้้าฝน สถานีเหนือปตรผักไห่-เจ้าเจ็ด เดือนสิงหาคม-ตุลาคม

ที่มา : http://rainmaking.royalrain.go.th/Data/Rain_water

ภาพที่ 22 แสดงปริมาณน้้าฝน สถานีคลองบางหลวง เดือนสิงหาคม-ตุลาคม

ที่มา : http://rainmaking.royalrain.go.th/Data/Rain_water
ภาพที่ 23 แสดงปริมาณน้้าฝน สถานีคลองบางบาล เดือนสิงหาคม-ตุลาคม

ที่มา : http://rainmaking.royalrain.go.th/Data/Rain_water

ภาพที่ 24 แสดงปริมาณน้้าฝน สถานีเสนา เดือนสิงหาคม-ตุลาคม

ที่มา : http://rainmaking.royalrain.go.th/Data/Rain_water
ตารางแสดงปริมาณน้้าฝนทั้ง 4 สถานี

ปริมาณน้้าฝน ปี 2554
สถานี เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม

เหนือผักไห่-เจ้าเจ็ด
ที่ท้าการต้าบลลาด
ชิด

คลองบางหลวง

คลองบางบาล

เสนา
ในปี 2554 ไม่พบข้อมูล
ปริมาณน้้าฝน ปี 2564
สถานี เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม
เหนือผักไห่-เจ้าเจ็ด ที่ท้า
การต้าบลลาดชิด 99.8 251.6 44.4
คลองบางหลวง 155.2 226.8 127.6
คลองบางบาล 146.6 225.8 111.4
เสนา 132.4 124 77.2
จากตารางพบว่า ปริมาณน้้าฝนปี 2564 ในสถานีเหนือผักไห่-เจ้าเจ็ด ที่ท้าการต้าบลลาดชิด, สถานีคลองบาง
หลวง และสถานีคลองบางบาล ในเดือนกันยายนมีปริมาณมากที่สุด และน้อยที่สุด คือ เดือนตุลาคม ส้าหรับ
ปริมาณน้้าฝนในสถานีเสนา เดือนสิงหาคมมีปริมาณมากที่สุด และน้อยที่สุด คือ เดือนตุลาคม
ปริมาณน้้าฝน ปี 2565
สถานี เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม
เหนือผักไห่-เจ้าเจ็ด ที่ท้า
การต้าบลลาดชิด
186.4 258 89.6
คลองบางหลวง
1.6 2.6 1.2

คลองบางบาล
236.4 295.8 130.8

เสนา
139.8 208.4 97.4

จากตารางพบว่า ปริมาณน้้าฝนปี 2565 ทุกสถานี ในเดือนกันยายนมีปริมาณน้้าฝนมากที่สุด และน้อยที่สุดคือ


เดือนตุลาคม
3.1.4.4 ปริมาณน้้าท้ายเขื่อนเจ้าพระยา

ภาพที่ 25 แสดงปริมาณน้้าท้ายเขือ่ นเจ้าพระยา 3 ปี

ที่มา : ติดตามสถานการณ์น้าในลุ่มน้้าเจ้าพระยา (hii.or.th)

ตารางแสดงปริมาณน้้าท้ายเขื่อนเจ้าพระยาเดือนสิงหาคม-ตุลาคม

ปริมาณน้้าท้ายเขื่อนเจ้าพระยาจังหวัดอยุธยา
ปี (ลูกบาศก์เมตร/วินาที)
สิงหาคม กันยายน ตุลาคม
2554 48,576 96,065 109,510
2564 2,065 38,820 80,604
2565 35,371 55,330 84,224
จากตารางพบว่าปริมาณน้้าเดือนตุลาคมทั้ง 3 ปีมีน้ามากสุดเทียบกับเดือนสิงหาคมและกันยายน ส่วนปี 2554
มีปริมาณน้้าสูงสุดเปรียบเทียบกับปี 2565 และปี 2564
ตารางแสดงระดับน้้าท่วมในอ้าเภอเสนา
ระดับน้้าท่วมขังในอ้าเภอเสนา
ปี เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม
สูงสุด (m) ต่้าสุด (m) สูงสุด (m) ต่้าสุด (m) สูงสุด (m) ต่้าสุด (m)
2554 3 1.5 3 1.5 2.5 1
2564 2.5 1.5 2.5 1.5 2 1
2565 4 1.5 4 1.5 3 1
จากค้าบอกเล่าของ นายนนทวัฒน์ กองกวี และคนในพื้นที่อ้าเภอเสนาได้ให้ข้อมูลใกล้เคียงกันโดยในปี 2554,
2564และ 2565 เดือนสิงหาคมและกันยายนมีระดับน้้าท่วมสูงสุด

2.1.5 แม่น้า
แม่น้าในจังหวัดพระนครศรีอยุธยามี 4 สาย ได้แก่
1) แม่น ้าเจ้ าพระยา แม่น้าเจ้าพระยา
เป็นแม่น้าสายส้าคัญที่หล่อเลี้ยงชีวิตคนไทยมาช้านาน จากนครสววรค์
ผ่านมาจนถึงตัวเมืองอยุธยา เป็นแม่น้าซึ่งผ่านตัวเมืองอยุธยาก่อนที่จะไหลลงสู่กรุงเทพมหานคร
ที่ราบลุ่มแม่น้าเจ้าพระยามีพื้นที่ 20,125 ตารางกิโลเมตร (ไม่รวมลุ่มน้้าปิง วัง ยม น่าน สะแกกรัง ป่าสัก
และท่าจีน) และมีความยาวถึง 372 กิโลเมตร โดยแยกออกเป็นแม่น้าท่าจีน (คลองมะขามเฒ่า) ที่จังหวัด
ชัยนาท
ล้าน้้าสาขา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาจะอยู่ล้าน้้าสาขาฝั่งขวา ประกอบด้วย
-คลองบางบาล (แม่น้าเจ้าพระยาสายเก่า)
-คลองโผงเผง (บางหลวง)
-คลองตะเคียน
-คลองหันตรา
-คลองพระยาบรรลือ ออกแม่น้าท่าจีน
2) แม่น้าน้อย เป็นแม่น้าสายเล็ก ๆ ที่แยกจากแม่น้าเจ้าพระยาที่อ้าเภอเมืองชัยนาท จังหวัดชัยนาท ไหลผ่าน
อ้าเภอสรรคบุรี เข้าเขตจังหวัดสิงห์บุรี ผ่านอ้าเภอบางระจัน อ้าเภอค่ายบางระจัน และอ้าเภอท่าช้าง แล้วเป็น
เส้นแบ่งเขตระหว่างอ้าเภอโพธิ์ทอง จังหวัดอ่างทอง กับอ้าเภอท่าช้างและอ้าเภอพรหมบุรี จังหวัดสิงห์บุรี เข้า
เขตจังหวัดอ่างทอง ผ่านอ้าเภอโพธิ์ทองและอ้าเภอวิเศษชัยชาญ จากนั้นเข้าเขตจังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผ่าน
อ้าเภอผักไห่ อ้าเภอเสนา และอ้าเภอบางบาล แล้วไปรวมกับแม่น้าเจ้าพระยาอีกครั้งที่อ้าเภอบางไทร
แม่น้าน้อยมีความยาวทั้งสิ้น 155 กิโลเมตร ความกว้างประมาณ 80 เมตร มีน้าตลอดทั้งปี มีชื่อเรียกต่างกัน
ตามท้องถิ่น เช่น ตอนที่ไหลผ่านอ้าเภอผักไห่ จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เรียกว่า "แม่น้าแควผักไห่" หรือตอนที่
ไหลผ่านอ้าเภอเสนา จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเช่นกัน เรียกว่า "คลองสีกุก" หรือ "แควสีกุก" เป็นต้น และยังมี
แควสาขาเป็นคลองสายต่าง ๆ ที่ไหลและแยกตัวกันอีก เช่น คลองบางปลากด คลองศาลาแดง คลองไชโย
3) แม่น้าป่าสัก เป็นแม่น้าส้าคัญสายหนึ่งในภาคกลางของประเทศไทย ต้นน้้าเกิดจากภูขวางในเขตอ้าเภอด่าน
ซ้าย จังหวัดเลย (ตอนต้นน้้าเรียก น้้าสัก) ไหลเข้าเขตจังหวัดเพชรบูรณ์ ผ่านเขตอ้าเภอหล่มเก่า อ้าเภอหล่ม
สัก อ้าเภอเมืองเพชรบูรณ์ อ้าเภอหนองไผ่ อ้าเภอบึงสามพัน อ้าเภอวิเชียรบุรี และอ้าเภอศรีเทพ เข้าเขต
จังหวัดลพบุรี ผ่านเขตอ้าเภอชัยบาดาล อ้าเภอท่าหลวง และอ้าเภอพัฒนานิคม เข้าเขตจังหวัดสระบุรี ผ่านเขต
อ้าเภอวังม่วง อ้าเภอมวกเหล็ก อ้าเภอแก่งคอย อ้าเภอเมืองสระบุรี และอ้าเภอเสาไห้ จากนั้นไหลเข้าเขต
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ผ่านเขตอ้าเภอท่าเรือ อ้าเภอนครหลวง และอ้าเภอพระนครศรีอยุธยา ไปลงแม่น้า
เจ้าพระยาที่หน้าวัดพนัญเชิงวรวิหาร มีความยาวประมาณ 570 กิโลเมตร และมีเขื่อนที่ส้าคัญในจังหวัด
พระนครศรีอยุธยา คือ เขื่อนพระรามหก
4) แม่น้าลพบุรี เป็นสาขาของแม่น้าเจ้าพระยา ที่แยกออกจากแม่น้าเจ้าพระยา บริเวณต้าบลม่วงหมู่ อ้าเภอ
เมือง จังหวัดสิงห์บุรี (เขตเทศบาลเมืองสิงห์บุรี) ไหลผ่าน จังหวัดลพบุรี และมาบรรจบกับแม่น้าป่าสัก ที่ต้าบล
หัวรอ อ้าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา ถึงจะมารวมกับแม่น้าเจ้าพระยา ที่ต้าบล
หอรัตนไชย (บริเวณวัดพนัญเชิง) อ้าเภอพระนครศรีอยุธยา จังหวัดพระนครศรีอยุธยา มีความยาว 85
กิโลเมตร

2.2 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

2.2.1 ความหมายของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

พระนครศรีอยุธยา เป็นจังหวัดหนึ่งในภาคกลางและเป็นเขตเศรษฐกิจอุตสาหกรรมที่ส้าคัญ โดยมี


ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดมีมูลค่าสูงเป็นอันดับ 3 ของประเทศ และมีประวัติศาสตร์ความเป็นมาที่ยาวนาน
เคยมีชื่อเสียงในฐานะเป็นแหล่งปลูกข้าวที่ส้าคัญ จังหวัดพระนครศรีอยุธยาเป็นจังหวัดเดียวในประเทศไทยที่ไม่
มีอ้าเภอเมือง แต่มีอ้าเภอพระนครศรีอยุธยา เป็นศูนย์กลางการบริหารจัดการด้านต่าง ๆ ชาวบ้านโดยทั่วไป
นิยมเรียกอีกชื่อหนึ่งว่า "กรุงเก่า" หรือ "เมืองกรุงเก่า" ห่างจากกรุงเทพมหานครประมาณ 75 กิโลเมตร
2.2.2 ข้อมูลเบื้องต้นของจังหวัดพระนครศรีอยุธยา

จังหวัดพระนครศรีอยุธยา เป็นอดีตราชธานีของไทย มีหลักฐานของการเป็นเมืองในลุ่มแม่น้าเจ้าพระยา


ตั้งแต่ประมาณ พุทธศตวรรษที่ 16 – 18 โดยมีร่องรอยของที่ตั้งเมือง โบราณสถาน โบราณวัตถุ และเรื่องราว
เหตุการณ์ในลักษณะ ต้านานพงศาวดาร ไปจนถึงหลักศิลาจารึก ซึ่งถือว่าเป็นหลักฐานร่วมสมัยที่ใกล้เคียง
เหตุการณ์มากที่สุด ซึ่งเมืองอโยธยา หรืออโยธยาศรีรามเทพนคร หรือเมืองพระราม มีที่ตั้งอยู่บริเวณด้าน
ตะวันออกของเกาะเมืองอยุธยา มีบ้านเมืองที่มีความเจริญ ทางการเมือง การปกครอง และมีวัฒนธรรมที่
รุ่งเรืองแห่งหนึ่ง มีการใช้กฎหมายในการปกครองบ้านเมือง 3 ฉบับ คือ พระอัยการลักษณะเบ็ดเสร็จพระ
อัยการลักษณะทาส พระอัยการลักษณะกู้หนี้ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1 หรือ พระเจ้าอู่ทอง ทรงสถาปนากรุง
ศรีอยุธยาเป็นราชธานี เมื่อ พ.ศ. 1893กรุงศรีอยุธยา เป็นศูนย์กลางของประเทศสยามสืบต่อมายาวนานถึง
417 ปี มีพระมหากษัตริย์ปกครอง 33 พระองค์ จาก 5 ราชวงศ์ คือ

1) ราชวงศ์อู่ทอง
2) ราชวงศ์สุพรรณภูมิ
3) ราชวงศ์สุโขทัย
4) ราชวงศ์ปราสาททอง
5) ราชวงศ์บ้านพลูหลวง
ได้สูญเสียเอกราชแก่พม่า 2 ครั้ง ครั้งแรกใน พ.ศ. 2112 สมเด็จพระนเรศวรมหาราชทรงกู้เอกราชคืนมา
ได้ใน พ.ศ. 2127 และ เสียกรุงศรีอยุธยาครั้งที่ 2 ใน พ.ศ. 2310 สมเด็จพระเจ้าตากสินมหาราชทรงกอบกู้เอก
ราชได้ในปลายปีเดียวกันแล้วทรงสถาปนา กรุงธนบุรีเป็นราชธานีแห่งใหม่ โดยกวาดต้อนผู้คนจากกรุงศรี
อยุธยาไปยังกรุงธนบุรีเพื่อสร้างเมืองใหม่ แต่กรุงศรีอยุธยาไม่ได้ กลายเป็นเมืองร้าง ยังคงมีคนรักถิ่นฐานบ้าน
เดิมอาศัยอยู่และราษฎรที่หลบหนีไปได้กลับเข้ามาอยู่รวมกัน ต่อมาได้รับการยกย่อง เป็นเมืองจัตวาเรียก
"เมืองกรุงเก่า"
2.2.3 ความหมายของอ้าเภอเสนา
เสนา เป็นอ้าเภอหนึ่งในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา เดิมชื่อ อ้าเภอเสนากลาง ต่อมาในปี พ.ศ. 2460 ได้
เปลี่ยนชื่อมาเป็นชื่ออ้าเภอดังเช่นปัจจุบัน เป็นอ้าเภอที่มีพื้นที่มากเป็นล้าดับ 3 จากทั้งหมด 16 อ้าเภอของ
จังหวัดพระนครศรีอยุธยา รองจากอ้าเภอบางปะอินและอ้าเภอวังน้อย
อนึ่ง อ้าเภอเสนายังคงเป็นรู้จักกันอย่างกว้างขวางในชื่อบ้านแพน ซึ่งปัจจุบันเป็นชื่อต้าบลหนึ่งของอ้าเภอ
เสนา แต่สมัยก่อนเป็นชื่อเก่าที่รู้จักกันอย่างกว้างขวางมายาวนาน และปรากฏอยู่ตามสื่อต่าง ๆ ในสมัยก่อน
เช่น เพลงลูกทุ่ง ละคร
อ้าเภอเสนาเป็นอ้าเภอเก่าแก่ ในอดีตเป็นชุมชนหนาแน่น ตั้งถิ่นฐานอยู่ริมฝั่งแม่น้าน้อย ซึ่งเป็นสายน้้า
สายหนึ่งของแม่น้าเจ้าพระยา มีฐานะเป็นแขวงมาตั้งแต่สมัยกรุงศรีอยุธยาเป็นราชธานี ซึ่งแยกเป็นอ้าเภอต่าง
ๆ ในปัจจุบัน ได้แก่ ผักไห่ บางซ้าย ลาดบัวหลวง บางบาล ในอดีตรวมอยู่ในเขตปกครองของแขวงเสนา อ้าเภอ
เสนาได้รับการประกาศจัดตั้งเป็นอ้าเภอเมื่อ เดือน มกราคม พ.ศ.2438
2.2.3 ข้อมูลเบื้องต้นของอ้าเภอเสนา
ข้อมูลประชากร
จ้านวนประชากรชาย 32,414 คน
จ้านวนประชากรหญิง 34,595 คน
จ้านวนประชากรทั้งสิ้น 67,009 คน
ความหนาแน่นของประชากร 325.97 คน/ตร.กม.
ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
อาชีพหลัก ได้แก่ ท้านา ท้าสวน เลี้ยงสัตว์
อาชีพเสริม ได้แก่ หัตถกรรมในครัวเรือน
การคมนาคม
ทางบก
-รถยนต์ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 3263, 3111
-สถานีขนส่ง หมายเลขโทรศัพท์ 0-3520-1509
ทางน้้า
ไม่มี
ทางอากาศ
ไม่มี
ข้อมูลด้านสังคม
โรงเรียนมัธยม 3 แห่ง
1. โรงเรียนเสนา "เสนาประสิทธิ์" ข 39 ถ.วิไลเสนา ต.เสนา อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา 13110
โทร.0-3520-1009
2. โรงเรียนสาคลีวิทยา 73/1 1 ซ.- ถ.- ต.สามตุ่ม อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา 13110 โทร.0-3578-8463
3. โรงเรียนลาดงาประชาบ้ารุง 70 หมู่ 9 ต.ลาดงา อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา 13110 โทร.0-3572-0063
อาชีวะ 1 แห่ง
1. วิทยาลัยการอาชีพเสนา 68 หมู่ 4 ต.บ้านแถว อ.เสนา จ.พระนครศรีอยุธยา 13110 โทรศัพท์: 0-3578-
6039 โทรสาร: 0-3578-6038
ข้อมูลด้านทรัพยากร
ทรัพยากรดิน
- ไม่มีข้อมูล-
ทรัพยากรน้้า
แม่น้าน้อย เชื่อมคลองปลายนา
ทรัพยากรป่าไม้
อ้าเภอเสนาไม่มีพื้นที่ป่าไม้
2.3 งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง

2.3.1 งานวิจัยภายในประเทศ

วนารัตน์กรอิสรานุกูล (2556 : บทคัดย่อ) ได้ศึกษาผลกระทบการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพและการใช้ที่ดิน


ในเขตผังเมืองรวมพุนพิน ต่อความเสี่ยงน้้าท่วมชุมชน ท้าการวิเคราะห์ความสามารถในการปรับตัวของชุมชน
และภาคส่วนที่เกี่ยวข้องต่อสถานการณ์น้าท่วมในเขตผังเมืองรวมพุนพิน พบว่าพื้นที่ส่วนใหญ่ในเขตผังเมือง
รวมพุนพินประสบปัญหาน้้าท่วมในปี 2554 ความสูงของระดับน้้าอยู่ระหว่าง 0-6.0 เมตร

2.3.1 งานวิจัยต่างประเทศ

ดร.บาร์ท แลมเบรกทส์ (2555 : อ้างอิงใน ภายหลังภัยพิบัติน้าท่วมเมืองประสบการณ์และบทเรียนใหญ่จาก


กรุงเทพและเมืองใหญ่อื่น ๆ ) ประเทศเนเธอร์แลนด์มีการสร้างวัฒนธรรมของการเตรียมความพร้อมรับน้้า
อย่างดี มีการสร้างเทคโนโลยีจัดการน้้าที่เรียกว่า “Delta Works” ประกอบไปด้วยโครงการย่อย 16 โครงการ
ตั้งแต่เขื่อน ประตูระบายน้้า พนังกั้นน้้า สถานีสูบน้้า คันกั้นดิน และก้าแพงกั้นคลื่นทะเล ทั้งแบบเป็นที่กั้น
ถาวร และแบบที่สามารถเปิด-ปิดได้ กั้นตั้งแต่บริเวณปากแม่น้าจนเข้ามาถึงล้าน้้าในประเทศ เพื่อป้องกันน้้า
ท่วมให้พื้นที่มีความเสี่ยงสูง
บทที่ 4
สรุปและอภิปราย
ตารางแสดงปริมาณน้้าท่าท้ายเขื่อนเจ้าพระยาระหว่างเดือนสิงหาคม-ตุลาคม

ปริมาณน้้าท่าท้ายเขื่อนเจ้าพระยา
ปี (ลูกบาศก์เมตร/วินาที)
สิงหาคม กันยายน ตุลาคม
2554 48,586 92,350 109,510
2564 2,005 38,820 80,604
2565 35,671 55,330 84,194
จากตารางพบว่าน้้าท่าในปี 2554, 2565, 2564 เดือนตุลาคม มีน้ามากสุดเทียบกับเดือนสิงหาคมและ
กันยายน ส่วนปี 2554 มีปริมาณน้้าสูงสุดเปรียบเทียบกับปี 2565 และปี 2564
ตารางแสดงการระบายน้้าของประตูระบายน้้าปี 2554
เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม
ประตูระบาย สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด
น้้า
(ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์
เมตร/วินาที) เมตร/วินาที) วินาที) วินาที) วินาที) เมตร/วินาที)
บรมธาตุ 119.58 49.85 135.70 40.60 235.24 169.28

บางระจัน ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล 140.75 92.68

ยางมณี ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล ไม่พบข้อมูล 124.96 54.01

ผักไห่-เจ้าเจ็ด 80.38 8.62 468.46 5.44 582.26 11.40

จากตารางพบว่าในปี 2554 เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม ระบายน้้าสูงสุดที่ประตูระบายน้้าผัก


ไห่-เจ้าเจ็ดและต่้าสุดในเดือนกันยายนที่ประตูระบายน้้าผักไห่-เจ้าเจ็ด
ตารางแสดงการระบายน้้าของประตูระบายน้้าปี 2564

เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม


ประตู สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด
ระบายน้้า
(ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์
เมตร/วินาที) เมตร/วินาที) เมตร/วินาที) วินาที) วินาที) เมตร/วินาที)
บรมธาตุ 31.00 25.00 180.59 100.00 180.74 100.56

บางระจัน 12.38 12.00 145.23 35.00 150.23 60.50

ยางมณี 6.21 6.00 173.00 35.00 162.00 31.00

ผักไห่-เจ้า 1.49 0.83 85.97 5.00 103.82 58.99


เจ็ด
จากตารางพบว่าในปี 2564 เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม ระบายน้้าสูงสุดที่ประตูระบายน้้าบรม
ธาตุ ต่้าสุดที่ประตูระบายน้้าผักไห่-เจ้าเจ็ด และประตูระบายน้้ายางมณี ตามล้าดับ
ตารางแสดงการระบายน้้าของประตูระบายน้้าปี 2565
เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม
ประตูระบาย สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด สูงสุด ต่้าสุด
น้้า
(ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์ (ลูกบาศก์เมตร/ (ลูกบาศก์
เมตร/วินาที) เมตร/วินาที) วินาที) เมตร/วินาที) วินาที) เมตร/วินาที)
บรมธาตุ 70.00 20.00 75.37 30.12 215.41 50.00

บางระจัน 15.48 5.11 50.11 10.12 160.26 10.61

ยางมณี 11.00 2.54 30.45 3.00 92.51 12.65

ผักไห่-เจ้าเจ็ด 24.05 2.00 56.78 19.48 51.53 19.00

จากตารางพบว่าในปี 2565 เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม ระบายน้้าสูงสุดที่ประตูระบายน้้าบรม


ธาตุ ต่้าสุดที่ประตูระบายน้้าผักไห่-เจ้าเจ็ด, ประตูระบายน้้ายางมณี, ประตูระบายน้้าบางระจัน ตามล้าดับ
น้้าที่ระบายทั้งหมด (ลูกบาศก์เมตร/วินาที)
ประตู 2554 2564 2565
ระบาย
สิงหาคม กันยายน ตุลาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม สิงหาคม กันยายน ตุลาคม
น้้า
บรมธาตุ 2,340.22 7,486.14 6,440.97 849.48 4,092.25 4,474.91 1,119.33 1,013.14 3,657.88
บางระจัน - - 3,677.94 72.8 560.81 835.17 66.02 135.83 1,684.44
ยางมณี - - 2,710.24 180.39 1,916.17 3,201.32 172.83 206.96 1,280.18
ผักไห่- 632.24 2,196.45 1,486.68 29.20 734.67 2,403.43 258.00 1,054.16 1,144.32
เจ้าเจ็ด
จากตารางสรุปได้ วา่ การระบายน ้าใน ปตร.ระบายน ้าบรมธาตุ ในเดือนสิงหาคม กันยายน ตุลาคม ปี 2554 มีการระบาย
น ้ามากที่สดุ และน้ อยที่สดุ คือ ปี 2564, 2565, 2565 ตามลาดับ ส่วนการระบายน ้าใน ปตร.ระบายน ้าบางระจันในปี
2554 ไม่มีข้อมูลของเดือนสิงหาคมกับกันยายน จึงเทียบปี 2564 กับ 2565 จะได้ วา่ ในเดือนสิงหาคมกับกันยายน ปี
2564 มีการระบายน ้ามากกว่า ปี 2565 สาหรับเดือนตุลาคม ปี 2554 มีการระบายน ้ามากที่สดุ และปี 2564 มีการ
ระบายน ้าน้ อยที่สดุ ส่วนการระบายน ้าใน ประตูระบายน ้ายางมณีปี 2554 ไม่มีข้อมูลของเดือนสิงหาคมกับกันยายน จึง
เทียบปี 2564 กับ 2565 จะได้ วา่ ในเดือนสิงหาคมกับกันยายน ปี 2564 มีการระบายน ้ามากกว่า ปี 2565 สาหรับเดือน
ตุลาคม ปี 2564 มีการระบายน ้ามากที่สดุ เช่นกัน ส่วนการระบายน ้าใน ประตูระบายน ้าผักไห่-เจ้าเจ็ด ในเดือนสิงหาคม
กับกันยายนมีการระบายน ้าของปี 2554 มากที่สดุ และน้ อยที่สดุ คือ ปี 2564 สาหรับเดือนตุลาคม ปี 2564 มีการระบาย
น ้ามากที่สดุ และน้ อยที่สดุ ปี 2565

ตารางแสดงปริมาณน้้าฝนทั้ง 4 สถานี
ปริมาณน้้าฝน ปี 2554
สถานี เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม

เหนือผักไห่-เจ้าเจ็ด - - -
ที่ท้าการต้าบลลาด
ชิด

คลองบางหลวง - - -

คลองบางบาล - - -
- - -
เสนา

ในปี 2554 ไม่พบข้อมูล

ปริมาณน้้าฝน ปี 2564
สถานี เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม
เหนือผักไห่-เจ้าเจ็ด ที่ท้า
การต้าบลลาดชิด
99.8 251.6 44.4
คลองบางหลวง 155.2 226.8 127.6
คลองบางบาล 146.6 225.8 111.4
เสนา 132.4 124 77.2
จากตารางพบว่า ปริมาณน้้าฝนปี 2564 ในสถานีเหนือผักไห่-เจ้าเจ็ด ที่ท้าการต้าบลลาดชิด, สถานีคลองบาง
หลวง และสถานีคลองบางบาล ในเดือนกันยายนมีปริมาณมากที่สุด และน้อยที่สุด คือ เดือนตุลาคม ส้าหรับ
ปริมาณน้้าฝนในสถานีเสนา เดือนสิงหาคมมีปริมาณมากที่สุด และน้อยที่สุด คือ เดือนตุลาคม
ปริมาณน้้าฝน ปี 2565
สถานี เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม
เหนือผักไห่-เจ้าเจ็ด ที่ท้า
การต้าบลลาดชิด 186.4 258 89.6
คลองบางหลวง
1.6 2.6 1.2

คลองบางบาล
236.4 295.8 130.8

เสนา
139.8 208.4 97.4

จากตารางพบว่า ปริมาณน้้าฝนปี 2565 ทุกสถานี ในเดือนกันยายนมีปริมาณน้้าฝนมากที่สุด และน้อยที่สุดคือ


เดือนตุลาคม
จะได้ว่า ปี 2554 มีปริมาณน้้าฝนมากที่สุดของแต่ละสถานีมีปริมาณฝน 1,824 มิลลิเมตร มีฝนตกหนักในพื้นที่
ภาคเหนือกระจายตัวเป็นบริเวณกว้างเกือบทั้งภาค ซึ่งก่อให้เกิดปริมาณน้้าจ้านวนมหาศาล ที่ท้าให้เกิดน้้าท่วม
หนักในพื้นที่ อีกทั้งปริมาณน้้าดังกล่าวได้ไหลลงสู่ภาคกลาง ผ่านแม่น้า 4 สายหลัก คือ ปิง วัง ยม น่าน
โดยเฉพาะลุ่มน้้ายม ที่ปริมาณน้้าส่วนใหญ่ไหลลงสู่ตอนล่างเกือบทั้งหมด เนื่องจากยังไม่มีโครงสร้างทางชล
ศาสตร์ที่มีความพร้อมเพียงพอที่จะช่วยหน่วงน้้าเพื่อบรรเทาปัญหาอุทกภัยให้ทุเลาลงได้ อีกทั้งบริเวณภาค
กลางเป็นพื้นที่ลุ่มต่้าขนาดใหญ่ ท้าให้การระบายน้้าออกสู่ทะเลบริเวณอ่าวไทยต้องใช้เวลาค่อนข้างมาก ซึ่ง
ส่งผลท้าให้เกิดน้้าท่วมขังเป็นเวลานาน

ตารางแสดงปริมาณน้้าท้ายเขื่อนเจ้าพระยาเดือนสิงหาคม-ตุลาคม

ปริมาณน้้าท้ายเขื่อนเจ้าพระยาจังหวัดอยุธยา
ปี (ลูกบาศก์เมตร/วินาที)
สิงหาคม กันยายน ตุลาคม
2554 48,576 96,065 109,510
2564 2,065 38,820 80,604
2565 35,371 55,330 84,224
จากตารางพบว่าปริมาณน้้าเดือนตุลาคมทั้ง 3 ปีมีน้ามากสุดเทียบกับเดือนสิงหาคมและกันยายน ส่วนปี 2554
มีปริมาณน้้าสูงสุดเปรียบเทียบกับปี 2565 และปี 2564

ตารางแสดงระดับน้้าท่วมในอ้าเภอเสนา
ระดับน้้าท่วมขังในอ้าเภอเสนา
ปี เดือนสิงหาคม เดือนกันยายน เดือนตุลาคม
สูงสุด (m) ต่้าสุด (m) สูงสุด (m) ต่้าสุด (m) สูงสุด (m) ต่้าสุด (m)
2554 3 1.5 3 1.5 2.5 1
2564 2.5 1.5 2.5 1.5 2 1
2565 4 1.5 4 1.5 3 1
จากค้าบอกเล่าของ นายนนทวัฒน์ กองกวี และคนในพื้นที่อ้าเภอเสนาได้ให้ข้อมูลใกล้เคียงกันโดยในปี 2554,
2564และ 2565 เดือนสิงหาคมและกันยายนมีระดับน้้าท่วมสูงสุด

ข้ อมูลน ้า วัฏจักรของน ้า (nectec.or.th)

ทรัพยากรน ้าในประเทศไทย - สานักงานสิง่ แวดล้ อมและควบคุมมลพิษที่ 13 (ชลบุรี) (mnre.go.th)

น ้า (คืออะไร หมายถึง ความหมาย) - Sanook! พีเดีย

"น ้า" สาคัญกับชีวิตเราแค่ไหนและทาไมเราต้ องดื่มน ้า? (filtervision.co.th)

Untitled Document (cmu.ac.th)

ประโยชน์ของน ้าที่มตี อ่ ร่างกาย (setsocialimpact.com)


file-71028-14973389922009963599.pdf (kudruaekham.go.th)

สานักงานราชบัณฑิตยสภา | น ้าท่วม (๑๒ พฤศจิกายน ๒๕๕๓) - สานักงานราชบัณฑิตยสภา (orst.go.th)


http://www.crflood.com

เทคโนโลยีจดั การน ้า

Delta Works โครงการป้องกันน ้าท่วมทังเนเธอร์


้ แลนด์ ประเทศที่ตา่ กว่าระดับน ้าทะเล (iurban.in.th)

‘Delta Works’ วิธีปอ้ งกันน ้าท่วมทีด


่ ีสดุ ในโลกที่ได้ มาด้ วยคณิตศาสตร์ ไม่ใช่การสวดมนต์ (thematter.co)

Delta Works โครงการป้องกันน ้าท่วมทังเนเธอร์


้ แลนด์ ประเทศที่ตา่ กว่าระดับน ้าทะเล (iurban.in.th)

"Delta Works" บทเรี ยนจากชาวดัตช์กบ


ั ระบบป้องกันน ้าท่วมที่ดีที่สดุ ในโลก (condotiddoi.com)

4 เทคโนโลยีปอ้ งกันน ้าท่วมที่มีศกั ยภาพในการบรรเทาปั ญหาน ้าท่วมกรุงเทพฯ - Bangkok Bank Innohub

You might also like