You are on page 1of 12

วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557 ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ

การประเมินผลกระทบโครงการเขื่อนป้องกันน้้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา
ต้าบลปากน้้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์

Evaluating For Flood Protection Dike Project in Paknampho district NakhonSawan


municipality, Nakhonsawan.
*
แพรวศร ดีใจวงษ์

บทคัดย่อ
การวิจัยครั้งนี้มีจุดประสงค์เพื่อทาการสารวจวิเคราะห์ผลกระทบของพื้นที่และชุมชนหลังการก่อสร้าง
บริเวณพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่ง ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์
สาหรับเป็นแนวทางเสนอแนะเกี่ยวกับการออกแบบป้องกันพื้นที่ริมน้าต่อหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเทศบาลรวมถึง
ผู้ออกแบบ ให้คานึงถึงการออกแบบที่สอดคล้องกับสภาพแวดล้อม บริบทโดยรอบการมีส่วนร่วมของชุมชนเพื่อ
ส่งเสริมการออกแบบที่ได้ประสิทธิภาพของเขื่อนในการป้องกันพื้นที่สาคัญจากน้าท่วมและส่งผลกระทบกับบริบท
ให้น้อยที่สุด ขั้นตอนการศึกษาเริ่มจากการเลือกพื้นที่ศึกษาที่มีโครงการก่อสร้างและสร้างความเปลี่ยนแปลง
กายภาพพื้ น ที่ ที่ มี ความชั ด เจนศึกษาแนวคิดการออกแบบโครงการหลั ง จากนั้ น ลงพื้ นที่ ส ารวจลั กษณะทาง
กายภาพสัมพาษณ์ผู้เชี่ยวชาญและคนในชุมชนถึงผลกระทบด้านการใช้งานที่เกิดขึ้นจากโครงการต่อชุมชนใน
พื้นที่และชุมชนโดยรอบ จากนั้นรวมรวบข้อมูลปัญหาผลกระทบต่างๆเพื่อเสนอแนะแนวทางแก้ไขจากการศึกษา
พบว่าวัตถุประสงค์โครงการเขื่อนมีการออกแบบเพื่อต้องการป้องกันปัญหาอุทกภัยอย่างถาวรบริเวณพื้นที่ใจกลาง
เมืองนครสวรรค์ และเพิ่มพื้นที่สาธารณะให้กับพื้นที่ริมน้า การออกแบบโครงการเขื่อนนั้นส่งผลกระทบต่อการ
ใช้งานพื้นที่ริมน้าอย่างไรและยังไม่สามารถตอบสนองต่อความต้องการที่แท้จริงของพื้นที่ได้เพราะหลังจากการ
สร้างโครงการเขื่อนการออกแบบบางส่วนยังคงส่งผลกระทบในแง่ลบต่อพื้นที่และคนในชุมชนดังนั้นโครงการ
ต่อไปหลังจากนี้ทุกฝ่ายควรมีส่วนร่วมกันควรให้ความสาคัญกับการศึกษาพื้นที่วิเคราะห์ปัญหาต่างๆและความ
ต้องการของชุมชนอย่างก่อนการออกแบบ เพื่อประโยชน์สูงสุดและส่งผลกระทบเชิงลบต่อพื้นที่น้อยที่สุด

Abtract
The purpose of this research is to survey and analyze the effects on area and
community after building a dam for the protection of the flood in Paknampho district
NakhonSawan municipality, Nakhonsawan. Suggestions and guidance on the design of
protected water front areas from institutes and municipality including the designers have been
taken into consideration in order to design in harmony with environment context. Participation
from the community is needed for efficient design of the dam so that it serves as flood
defensive purpose and also to have least possible effect on the environment.

* นักศึกษาปริญญาโท สาขาภูมิสถาปัตยกรรม ภาควิชาการออกแบบและวางผังชุมชนเมือง มหาวิทยลัยศิลปากร


E-mail address: d.praewsorn@gmail.com อาจารย์ทปี่ รึกษาการค้นคว้าอิสระ รศ.ดร.ชัยสิทธิ์ ด่านกิตติกุล
1535
ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557

The Research was initiated to study the influence and the changes in the lifestyle of
people in the locality that was brought about after the construction of the dam. The research
includes site study, physical survey, the study of the concept of the project and the physical
changes faced by the site itself which is followed by the interview of the people in the locality
to study the influence of the project in the physical, social, cultural and overall lifestyle.
The Research found that the purpose of the dam is to prevent flood problems in
the center area of Nakhonsawan and also to increase public area to the water front area.
However, the project has not been able to respond tothe real needs of the area and had a
negative impact on the area and the people in the locality. Thus, the compiled data for the
research may be helpful to propose guidelines and suggestions to overcome the problems. It
may also be considered mandatory for any projects hereafter to include participation from all
the parties and a thorough site study and analysis of the needs of the community prior to
conceptualization of the project.
บทน้า
ความเป็นมาโครงการ
พื้น ที่ ริม น้าเป็ น พื้ นที่ ๆ มี ความส าคัญ เนื่ องจากทางประวั ติ ศาสตร์เป็ น แหล่ ง กาเนิ ด การตั้ง ถิ่น ฐาน
บ้านเรือนของมนุษย์ การอาศัยอยู่ของมนุษย์ที่พึงพาแม่น้าเป็นหลักก่อให้เกิดวิถีชีวิตอาชีพ การเดินทางสัญจร
ทางน้าวัฒนธรรมและประเพณีตามมาพื้นนี้ริมน้าแต่ละพื้นที่มีลักษณะเฉพาะแตกต่างกันตามลักษณะภูมิประเทศ
และวิ ถี ก ารด ารงชี วิ ต ของคนในพื้ น ที่ ดั ง นั้ น ความมี ลั กษณะเฉพาะจึ ง เกิ ด ขึ้น ในทุ ก ๆ แห่ ง ซึ่ ง พื้ น ที่ ห นึ่ ง ที่ มี
ความสาคัญและมีความชัดเจนของชุมชนนั้นได้แก่คือพื้นที่บริเวณริมแม่น้าเจ้าพระยาบริเวณต้นแม่น้าเจ้าพระยา
หรือที่เรียกว่าปากน้าโพ พื้นที่นี้เป็นพื้นที่ๆมีความสัมพันธ์ของคนกับแม่น้าเกิดขึ้นการใช้ชีวิตร่วมกับน้าการใช้
พื้นที่ริมน้าในรูปแบบต่างๆ เช่นเป็นที่พักอาศัยการคมนาคมการประกอบอาชีพ รวมถึงการเป็นพื้นที่สาธารณะ
ทากิจกรรมต่างๆเกิดขึ้นและดาเนินต่อเนื่องเรื่อยมาและมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาตามการใช้งานจานวนของ
คนในการใช้งานพื้นที่รวมถึงการป้องกันเกิดภัยธรรมชาติอีกด้วย
การเปลี่ยนแปลงครั้งสาคัญของบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยาตาบลปากน้าโพเทศบาล
นครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์สาเหตุสาคัญเกิดหลังจากเหตุการณ์อุทกภัยปี พ.ศ.2554เนื่องจากจังหวัด
นครสวรรค์มีลักษณะภูมิประเทศเป็นพื้นที่ลุ่มน้าเป็นต้นกาเนิดของแม่น้าสายหลักของภาคกลางนั่นคือ แม่น้า
เจ้าพระยาอันเป็นการไหลบรรจบของแม่น้าทั้งสี่สายจากภาคเหนือ ได้แก่ แม่น้าปิงแม่น้าวังแม่น้ายมและแม่น้า
น่าน บริเวณที่แม่น้าปิงและแม่น้านานไหลมาบรรจบคือต้นแม่น้าเจ้าพระยาเรียกพื้นที่บริเวณนี้ว่าปากน้าโพ
ช่วงฤดูฝนหรือฤดูน้าหลากบริเวณปากน้าโพเป็นจะพื้นที่รับน้าพื้นที่แรกๆ ของภาคกลางปริมาณน้าฝนและน้า
เหนือที่ไหลผ่านมารวมถึงการบริหารจัดการน้าปีพ .ศ. 2554 มรปริมาณน้ามากกว่าทุกปีดังนั้นพื้นที่ริมแม่น้าจึง
จัดทาคันกันน้าสูงกว่า 2เมตร แต่ไม่อาจต้านแรงน้าได้ทาให้คันกั้นแตก ส่งผลให้ปริมาณน้ามหาศาลไหลเข้าท่วม
พื้นที่บริเวณชุมชนและตลาดริมแม่น้า ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์ จ. นครสวรรค์ความสูงของน้าสูง
ถึง 2 เมตรความเสียหายที่เกิดขึ้นภายในจังหวัดนครสวรรค์ได้แก่ชุมชนพื้นที่อยู่อาศัยพื้นที่ทามาหากินรวมทั้ง

1536
วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557 ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ

ทรัพ ย์สิ นของของประชาชนโดยเฉพาะพื้ นที่ เศรษฐกิจพื้ นที่ ตลาดและพื้ นที่ วัฒนธรรมใจกลางเทศบาลเมือง


นครสวรรค์ (ที่มา : ไทยรัฐ : 11 ต.ค. 54) ตั้งแต่ต้นปีจนถึงปลายปี หลังจากการสารวจจังหวัดประสบภัยที่มีพื้นที่
ความเสียหายสูงสุดคือจังหวัดนครสวรรค์พื้นที่รวมทั้งหมด2,981,350,389.08 ตารางเมตรความเสียหายที่เกิดขึ้น
ภายในจังหวัดนครสวรรค์ (ที่มา : ไทยรัฐ : 11 ต.ค. 2554) ส่งผลให้เทศบาลนครนครสวรรค์ต้องเร่งสร้างพนัง
คอนกรีตกั้นน้าป้องกันตลิ่งริมแม่น้าปิงและน่าน (ปากน้าโพ) เทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์ เพื่อ
รับมือและป้องกันปัญหาน้าท่วมกันตลอด 24 ชั่วโมงและอุดช่วงที่ยังเป็นจุดฟันหรอของตัวตลาดนครสวรรค์
ภายหลังเขื่อนภูมิพลจ.ตากและเขื่อนสิริกิติจ.อุตรดิตถ์ปล่อยน้าลงมาต่อเนื่อง
หลังจากเหตุการณ์น้าท่วมครั้งใหญ่ปีพ.ศ2554 เทศบาลนครนครสวรรค์มีโครงการสร้างเขื่อนป้องกัน
น้าท่วมริมตลิ่งรอบเมืองนครสวรรค์เพื่อป้องกันน้าท่วมอย่างถาวรขึ้นการก่อสร้างเริ่มตั้งแต่บริเวณเชิงสะพานเดชา
ฯเลียบถนนสวรรค์วิถีไปจนถึงตลาดสดเทศบาลนครนครสวรรค์ความยาว 2.126 กิโลเมตรโดยพนังเขื่อน
คอนกรีตมีความหนา 90 เซนติเมตรสูง 4 เมตรฐานลึกลงดิน 2 เมตรนั้นสร้างความเปลี่ยนแปลงของบริบทการใช้
งานพื้นที่ริมแม่น้าอย่างเห็นได้ชัดโดยแผนกาหนดการจะสร้างเสร็จสมบูรณ์ภายในเดือนมีนาคม 2555 เพื่อรับมือ
น้าเหนือที่จะมาเร็วกว่าทุกปีให้ได้ (ที่มา : หนังสือพิมพ์ไทยรัฐ) ดังนั้นจึงต้องทาการศึกษาต่อไปว่าในการออกแบบ
เขื่อนป้องกันน้าท่วมตลิ่งริมแม่น้าปิง และแม่น้าเจ้าพระยาพื้นที่ตาบลปากน้าโพประสบความสาเร็จความน้อย
เพียงใด้รวมถึงส่งผลกระทบต่อพื้นที่และคนในพื้นที่หรือไม่อย่างไร
วัตถุประสงค์ของการวิจัย
1. ศึกษาลักษณะทางกายภาพหลังการก่อสร้างโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมตลิ่งบริ เวณพื้นที่ริม
แม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ต. ปากน้าโพ เทศบาลนครนครสวรรค์ จ. นครสวรรค์
2. ศึกษาผลกระทบจากเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพที่มีผลต่อการใช้งานพื้นที่บริเวณโครงการ
เขื่อนป้องกันน้าท่วมตลิ่งริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ต.ปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จ.นครสวรรค์
ค้าถามการวิจัย
1. โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมตลิ่งบริเวณริมแม่ปิงและน้าเจ้าพระยาตาบลปากน้าโพเทศบาลนคร
นครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ ส่งผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพอย่างไร
2. การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพส่งผลกระทบอย่างไรต่อการใช้งานพื้นที่โครงการเขื่อน
ป้องกันน้าท่วมตลิ่งบริเวณริมแม่น้าปิงและแม่น้า-เจ้าพระยา ต.ปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จ.นครสวรรค์

ขอบเขตเนื้อหาการวิจัย
1. ศึกษาการรูปแบบเขื่อนป้องกันน้าท่วมตลิ่งเชิงวิศวกรรม และสถาปัตยกรรมการใช้งานพื้นที่ริมน้า
2. ศึกษากระบวนการออกแบบภูมิทัศน์ริมน้า
3. ศึกษารูปแบบโครงการเขื่อนเพื่อป้องกันน้าท่วมตลิ่งบริเวณริมแม่น้าปิง และแม่น้าเจ้าพระยาต.
ปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์ จ. นครสวรรค์ โดยสอบถามหน่วยงานที่เกี่ยวข้องคือเทศบาลกรมโยธาและผัง
เมือง และผู้เชี่ยวชาญด้านการออกแบบภูมิทัศน์วิศกรรมและนักสิ่ง-แวดล้อม
4. ศึกษาพื้น ที่โครงการขื่อนเพื่ อป้องกัน น้าท่ วมตลิ่ งบริเวณริมแม่น้าปิงและแม่ น้าเจ้าพระยา ต .
ปากน้าโพอ.เมืองจ.นครสวรรค์โดยสอบถามจากผู้ที่มีความสัมพันธ์กับพื้นที่โครงการเช่นเทศบาลนครนครสวรรค์
คนจังหวัดนครสวรรค์คนชุมชนข้างเคียงกลุ่มผู้ใช้สอยโรงการและคนในชุมชนพื้นที่โครงการ
1537
ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557

ขอบเขตพื้นที่ศึกษา
ตาแหน่งพื้นที่โครงการวิจัยตั้งอยู่บริเวณริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาล
นครนครสวรรค์ จ.นครสวรรค์ เริ่มต้นที่ถนนโกสีย์บริเวณแยกทางขึ้นสะพานข้ามเกาะยม เรียบแม่น้าปิงลงมาถึง
ตลาดใหม่ถนนอรรถกวีถนนริมเขื่อนชุมชนตลาดเก่าร้อยปีลงไปต้นแม่น้าเจ้าพระยาจนไปถึงแยกซอยโกสีย์ 27 สุด
ที่ตลาดเทศบาลนครสวรรค์รวมระยะทาง 1.5 กิโลเมตร

วิธีการวิจัย
การศึกษาวิจัยนี้เพื่อประเมินผลกระทบเชิงบวกและลบหลังการก่อสร้างโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วม
บริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์เป็นการ
ศึกษาวิจัยเชิงคุณภาพ ถึงสภาพการใช้งานที่สอดคล้องกับความตั้งใจในการออกแบบของผู้ออกแบบและผู้บริหาร
ทั้งนี้การออกแบบเขื่อนป้องกันน้าท่วมนี้จะบรรลุวัตถุประสงค์และส่งผลกระทบทางด้านการใช้งาน
ทั้งนี้ในการเก็บข้อมูลพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งในการสารวจสภาพปัจจุบันและปัญหา
โดยใช้รูปแบบการวิจัยในการเก็บข้อมูลมีวัตถุประสงค์ดังนี้
1. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
2. เพื่อศึกษาความต้องการการใช้พื้นที่
3. เพื่อประเมินการผลกระทบด้านการใช้งานพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณแม่น้า
ปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพ เทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์
4. เพื่อเสนอแนวทางปรับปรุงพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่ง โดยระยะเวลาที่ใช้ในการ
ประเมินผลกระทบด้านการใช้งานพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้า
เจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์ทั้งหมด 32 สัปดาห์ลาดับในการ
ศึกษาวิจัยดังนี้

ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องกับทฤษฎีและผลงานวิจัย
ที่เกี่ยวข้องกับการประเมินผลกระทบที่เกิดจากการก่อสร้างเขื่อนป้องกันพื้นที่ริมน้า ผลกระทบจาก
การใช้สอยพื้นที่ผลกระทบทางสิ
่ ่งแวดล้อมและผลกระทบทางด้านสุนทรียภาพรวมถึงหนังสือหรือบทความต่างๆที่
เกี่ยวข้องและสอบถามข้อมูลจากผู้เชี่ยวชาญทางด้านต่างๆหลายๆด้านที่เกี่ยวข้องกับโครงการก่อสร้างเขื่อน เช่น
วิศวกร ภูมิสถาปนิกนักอนุรักษ์และนักสิ่งแวดล้อมเป็นต้น
ค้นคว้าหลักการจากสภาพพื้นที่โครงการหลักการประเมินพื้นที่โครงการลักษณะของพื้นที่โครงการ
ลักษณะของผู้คนในพื้นที่และหลักการออกแบบเขื่อนหลักการใช้พื้นที่ริมน้าจากหลักการดังกล่าวสามารถจาแนก
การเลือกแนวความคิดและทฤษฎีได้เป็น 3 ปัจจัย
1. ปัจจัยด้านกายภาพ
2. ปัจจัยด้านสังคม
3. ปัจจัยด้านการใช้งาน
ระยะเวลาการศึกษาแนวความคิดและทฤษฎีซึ่งทาการศึกษาก่อนการสารวจพื้นที่และเก็บข้อมูลเป็น
ระยะเวลา 8 สัปดาห์เพื่อศึกษาข้อมูลพื้นที่ฐานและทฤษฎีที่เกี่ยวข้องดังต่อไปนี้

1538
วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557 ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ

1. ข้อมูลและประวัติความเป็นมาของโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิง
และแม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์เพื่อให้ทราบถึงแนวทางการ
ก่อสร้างโครงการ
2. วัตุประสงค์โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้ นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา
ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัด นครสวรรค์เพื่อศึกษานโยบายและวั ตถุประสงค์ เพื่อนาไป
วิเคราะห์เปรียบเทียบด้านผลกระทบด้านการใช้งานกับผู้ใช้สอยโครงการ
3. ค้นหาแบบก่อสร้างโครงการโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเ วณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและ
แม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์เพื่อศึกษาแนวความคิดในการ
ออกแบบกิจกรรมในโครงการและขนาดการใช้งาน
4. ค้นหาทฤษฎีที่เกี่ยวเนื่องกับการออกแบบพื้นที่ริมน้าการออกแบบเขื่อนป้องกันตลิ่งเพื่อทราบถึง
ลักษณะการใช้งานโดยอ้างถึงหลักการและทฤษฎีของนักวิชาการทั้งในและต่างประเทศ

ศึกษาพื้นที่โครงการ
โดยที่ ศึกษาข้ อมู ล การใช้ พื้ น ที่ ในอดี ต ก่อนการก่อ สร้า งโครงการจากหนั ง สื อ และผลงานวิ จั ย ที่
เกี่ยวข้องกับพื้นที่งานวิจัยหลังจากนั้นศึกษาข้อมูลปัจจุบันคือวัตถุประสงค์โครงการและดาเนินการสารวจพื้นที่
โครงการรูปแบบทางกายภาพการใช้สอยในพื้นที่ทั้งด้านหน้าข้างบนและหลังเขื่อนความเปลี่ยนแปลงในพื้นที่ด้าน
วิถีชีวิ ต วัฒ ธรรมรวมถึง ปัญ หาที่ เกิด ขึ้น ในปั จจุ บั นการด าเนิ นการส ารวจและเก็บข้อมู ล การศึกษาวิ จั ยนี้ ไ ด้
ออกแบบเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บข้อมูลโดยใช้วิธีการเก็บข้อมูลหลากหลายประเภท ซึ่งต้องคานึงถึงความถูกต้อง
ของข้อมูลและความสะดวกของผู้ให้ข้อมูลได้แก่
แบบการตรวจสอบสภาพโครงการ(Check list) มีขั้นตอนดั้งนี้
1. ศึกษาและพัฒนาทฤษฎีที่เกี่ยวข้องโดยสร้างแบบการตรวจสอบสภาพโครงการโดยการตั้งคาถาม
จากเนื้อหาทฤษฎี
2. สารวจลักษณะทางกายภาพของพื้นที่โครงการที่เกิดขึ้นจริงทั้งด้านวิศวกรรม ภูมิสถาปัตยกรรม
และการใช้งาน
แบบสังเกตการณ์ (Observations) เป็นวิธีการเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการบันทึกพฤติกรรมของ
กลุ่มประชากรสามารถทาได้หลายวิธีได้แก่การสังเกตโดยตรงการสังเกตโดยหาร่องรอยและการสังเกตโดยเข้าไปมี
ส่วนร่วมในพื้นที่ 3.2.3 แบบสัมภาษณ์ (Interview) เป็นกระบวนการสื่อสารระหว่างผู้สัมภาษณ์และผู้ถูก
สัมภาษณ์โดยใช้คาถามเป็นสื่อในการเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่ถูกต้องและครอบคลุมกลุ่มตัวอย่างผู้ที่
ถูกสัมภาษณ์แบ่งเป็น 2 กลุ่มได้แก่
ผู้ เ ชี่ ย วชาญหมายถึ ง ผู้ ที่ มี ค วามรู้ ค วามสามารถมี ป ระสบการณ์ ใ นการท างานเกี่ ย วข้ อ งกั บ
โครงการวิจัยเช่นวิศรกรภูมิสถาปนิกนักสิ่งแวดล้อมนักวิชาการเป็นต้น
บุคคลทั่วไปหมายถึงกลุ่มคนที่มีความสัมพันธ์กับพื้นที่วิจัยคนที่อาศัยอยู่ในพื้นที่หรือคนที่รับรู้
ข่าวสารโครงการก่อสร้างเขื่อนป้องกันน้าท่วมเช่นคนพื้นที่ปากน้าโพคนที่อาศัยในจังหวัดนครสวรรค์นักท่องเที่ยว
คนกรุงเทพมหานครเป็นต้น

1539
ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557

ระยะเวลาในการส ารวจพื้ น ที่ โ ครงการและบริเวณพื้ น ที่ ชุ ม ชนริม แม่ น้ าปากน้ าโพและตลาด


เทศบาลเป็นระยะเวลา 2 สัปดาห์โดยการสารวจพื้นที่การศึกษาดังนี้
1. สังเกตลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ทั้งด้านวิศวกรรมสถาปัตยกรรมภูมิสถาปัตยกรรมและ
การใช้งานของพื้นที่เพื่อทาความเข้าใจพื้นที่กับทฤษฎีโดยการเข้าใช้งานพื้นทีโ่ ครงการก่อนทาการตรวจสอบสภาพ
พื้นที่โครงการ
2. การตั้งคาถามจากหลักทฤษฎีเพื่อเป็นหลักการในการตรวจสอบและประเมินผลกระทบพื้นที่
โครงการ
3. ตรวจสอบสภาพโครงการโดยใ่แบบการตรวจสอบสภาพโครงการเพื่อสร้างความเข้าใจให้ผู้วิจัย
เนื่องจากสภาพพื้นที่โครงการเป็นพื้นที่สาธารณะมีข้อจากัดทางด้านศักยภาพของพื้นที่ดังนั้นการตรวจสอบสภาพ
พื้นที่ตามทฤษฎีจึงเป็นการตรวจสอบให้ผู้วิจัยเข้าใจถึงกิจรรมและการใช้งานของพื้นที่โครงการ

ส้ารวจข้อมูลสภาพโครงการ(Mapping)
ผู้วิจัยได้พัฒนาเครื่องมือแบบสารวจข้อมูลการใช้งานโครงการ โดยการแปลงข้อมูลการสารวจพื้นที่
และการใช้งานโครงการโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยาตาบล
ปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์เป็นข้อมูลทางกราฟฟิกในรู ปแบบแผนที่ เพื่อเป็นเครื่องมือ
ให้ผู้วิจัยเก็บรวบรวมข้อมูลและช่วยให้ผู้วิจัยสามารถเข้าใจพฤติกรรมการใช้งานของคนในพื้นที่โครงการง่ายยิ่งขึ้น
แบบรายการสารวจข้อมูลสภาพโครงการมีข้อมูลดังนี้
- จากการสารวจพื้นที่โดยการตรวจสอบสภาพโครงการ
- แผนที่จากสานักโยธาธิการและผังเมืองนครสวรรค์
- หลักเกณฑ์การสังเกตโดยแยกดังนี้
1. เพศและวัย
2. ลักษณะอาชีพบริเวณโครงการ
3. ตาแหน่งการใช้งาน
4. เส้นทางสัญจร
5. ขนาดของพื้นที่การใช้งาน
ระยะเวลาในการสารวจพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้า
เจ้าพระยาตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์เป็นระยะเวลา 3 สัปดาห์ในการสารวจ
พื้นที่การศึกษาดังนี้
เก็บสารวจข้อมูลลักษณะทางกายภาพของพื้นที่ทั้งด้านวิศกรรมสถาปัตยรรมภูมิสถาปัตยกรรมและ
การใช้งานพื้นที่โครงการเพื่อทาความเข้าใจสภาพพื้นที่โครงการ
สังเกตและเก็บข้อมูลการใช้งานพื้นที่โดยเลือกช่วงเวลาดังต่อไปนี้
1. ช่วงเวลาวันทางานคือวันจันทร์ - ศุกร์เวลา 6.00 - 9.00 นาฬิกาเนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่มี
กิจกรรมหลากหลายและผู้คนสัญจรไปมามาก
2. ช่วงเวลาวันทางานคือวันจันทร์ - ศุกร์เวลา 18.00 - 21.00 นาฬิกาเนื่องจากเป็นช่วงเวลาที่มี
กิจกรรมหลากหลายและผู้คนสัญจรไปมามาก
1540
วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557 ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ

3. ช่วงเวลาวันหยุดได้แก่วันเสาร์เวลา 18.00 - 21.00 นาฬิกาเนื่องจากเป็นช่วงที่มีกิจกรรมพิเศษคือ


ตลาดนัดคนเดิน
4. ช่วงเวลาที่เกิดกิจกรรมพิเศษคือช่วงเทศกาลตรุษจีน
ประเมินผลกระทบการใช้งานจากผู้ใช้งานโครงการโดยแบบสอบถาม
ผู้วิจัยได้พัฒนาเครื่องมือแบบสอบถามวัดความพอใจของผู้ใช้งานโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่ง
บริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์เพื่อ
ทดสอบความพึงพอใจของผู้ใช้งานโครงการเขื่อน และสามารถนาผลจากการเก็บแบบสอบถามมาวิเคราะห์ผล
ของผู้ตอบแบบสอบถามได้
แบบสอบความวัดความพึงพอใจของผู้ใช้งานโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริม
แม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยาตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์มีการพัฒนาข้อมูลดังนี้
1. ศึกษาฤษฎีและแนวคิดที่เกี่ยวข้องกับพื้นที่ริมน้าพื้นที่สาธารณะและการใช้งานของคนในพื้นที่
2. ศึกษาวัตถุประสงค์ของโครงการ โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริ เวณพื้นที่ริมแม่น้าปิง
และแม่น้าเจ้าพระยาตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์ซึ่งได้จากเทศบาลนครนครสวรรค์
เป็นผู้กาหนดการใช้งาน
3. สัมพาษณ์ผู้ใช้งานในพื้นที่จริง เพื่อเป็นแนวทางในการออกแบบแบบสอบถาม
4. ศึกษาวิธีเขียนจากแบบสอบถามอื่นๆและแบบการประเมินพื้นที่
5. ศึกษาหลักการและขอบข่ายเนื้อหา
6. สร้างแบบสอบถามพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้า
เจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์
7. นาแบบสอบถามเสนอต่อกรรมการที่ปรึกษาและผู้เชี่ยวชาญเพ่่อตรวจสอบความเที่ยงตรงเชิง
เนื้อหาโครงสร้างประโยคและความถูกต้องของภาษา
8. นาผลของแบบทดสอบไปใช้ในการอภิปราย และเสนอแนะปรับปรุงพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกัน
น้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยาตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัด
นครสวรรค์และพื้นที่เขื่อนริมน้าอื่นๆ

ประชากรและกลุ่มตัวอย่าง
ประชากร
ประชากรในวิจัยครั้งนี้มีทั้งหมด 2 กลุ่มได้แก่
1. ผู้ใช้งานโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้ าพระยา ตาบล
ปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์
2. ผู้ที่อยู่อาศัยบริเวณโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้า
เจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์
กลุ่มตัวอย่าง
กลุ่มตัวอย่างในการวิจัยครั้งนี้คือ ผู้ใช้งานในโครงการและผู้อยู่อาศัยบริเวณโครงการเขื่อนป้องกันน้า
ท่ ว มริม ตลิ่ ง บริเวณพื้ น ที่ ริม แม่ น้ าปิ ง และแม่ น้ าเจ้ า พระยาต าบลปากน้ าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จั ง หวั ด
1541
ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557

นครสวรรค์จานวน 70 คนซึ่งได้จากการสุ่มตัวอย่างแบบสะดวกโดยมีหลักการเลือกดังนี้
1. ผู้ที่อาศัยอยู่ในชุมชนบริเวณพื้นที่รอบโครงการจานวน 30คน
2. ผู้ที่ทากิจกรรมอยู่ภายในโครงการจานวน 40คน
ประชากรกลุ่มเปรียบเทียบ
ประชากรกลุ่มตัวอย่างที่นามาเปรียบเทียบเพื่อแยกความพึงพอใจของประชากร 2 กลุ่มซึ่งการ
จาแนกกลุ่มประชากรกลุ่มแรกจะเลือกตามลักษณะการอยู่อาศัยจริงและกิจกรรมในพื้นที่ที่ส่งผลต่อการใช้งานจึง
สามารถแยกออกเป็น 2 กลุ่มดังนี้
1. ผู้ใช้งานที่เป็นคนในชุมชนโดยคัดเลือกจาคุณสมบัติดังนี้
1.1 ผู้ที่มีภูมิลาเนาอยู่ชุมชนริมน้าปากน้าโพ
1.2 ปัจจุบันพักอาศัยอยู่ชุมชนริมน้าปากน้าโพ
1.3 ประกอบอาชีพค้าขายอยู่พื้นที่ตลาดเทศบาลนครสวรรค์
2. ผู้ใช้งานที่เป็นคนทั่วไปหมายถึงคนไทยทั่วไปคนจังหวัดนครสวรรค์ที่เข้ามาใช้งานบริเวณโครงการ
ตัวแปรที่ศึกษา
1. ตัวแปรต้นได้แก่ กลุ่มผู้ใช้งานโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิง
และแม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์
2. ตัวแปรตามได้แก่
2.1 ความพึงพอในด้านกายภาพโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิง
และแม่น้าเจ้าพระยาตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์
2.2 ความพอในด้านการใช้งานโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิง
และแม่น้าเจ้าพระยาตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์

แบบรายการสอบถามวัดความพึงพอใจของผู้ใช้ง านโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณ
พื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยาตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์
ตอนที่ 1 แบบสอบถามข้อมูลส่วนบุคคลของผู้ตอบแบบสอบถาม
ตอนที่ 2 แบบสอบถามเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของผู้ตอบแบบสอบถามกับพื้นที่โครงการก่อนการ
ก่อสร้างโครงการ และกิจกรรมการใช้งานในอดีต 16 ข้อ
ตอนที่ 3 แบบสอบถามเกี่ยวกับความสัมพันธ์ของผู้ตอบแบบสอบถามกับพื้นที่โครงการหลังการ
ก่อสร้างโครงการ และกิจกรรมการใช้งานในปัจจุบัน 9 ข้อ
ตอนที่ 4 แบบสอบถามเกี่ยวกับความพึงพอใจในการใช้งานโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่ง
บริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา 9 ข้อ

วิเคราะห์หาความสัมพันธ์ของข้อมูล
ผู้วิจัยดาเนินการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อนามาประมวลผลและทาการเสนอแนะในขั้นตอน
ต่อไป
ขั้นตอนการวิจัยและเก็บรวบรวมข้อมูลโดยการดาเนินการขั้นตอนดังนี้

1542
วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557 ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ

1. นาแบบสอบถามให้นักศึกษาสาขาภูมิสถาแ่ตยกรรมทดสอบแบบทดสอบเพื่อตรวจดูความถูกต้อง
ของแบบสอบถามและความถูกต้องของภาษา
2. เก็บรวบรวมของมูลจากแบบสอบถาม
3. นาแบบสอบถามที่ได้มาทาการบันทึกข้อมูลและเตรียมวิเคราะห์ข้อมูลต่อไป
ระยะเวลาวิเคราะห์แบบสอบถามระยะเวลาทั้งหมด 4 สัปดาห์โดยการใช้ระยะเวลาวิเคราะห์ข้อมูล
แบบสอบถามดังนี้
1. รวบรวมข้อมูลเพื่อแปลงข้อมูลแบบสอบถามเป็นข้อมูลตัวเลข
2. นาข้อมูลจากแบบสอบถามมาวิเคราะห์เปรียบเทียบโดยใช้โปรแกรมและแบบกราฟเปรียบเทียบ

สรุปผลการศึกษา
การรวบรวมข้อมูลเชิงสถิติเพื่อนามาหาข้อมูลทางตัวเลขเพื่อหาค่าความพึงพอใจของแบบสอบถาม
ดังนี้
1. ใช้ ค วามถี่ และกิ จ กรรมเปรี ย บเที ย บกั น ระหว่ า งกิ จ กรรมในอดี ต และปั จ จุ บั น จากผู้ ต อบ
แบบสอบถาม
2. ใช้ความถี่และร้อยละของความพึงพอใจในการใช้งานของผู้ตอบแบบสอบถาม
ระยะเวลาในการวิเคราะห์อภิปรายและข้อเสนอแนะเป็นเวลา 4 สัปดาห์
รวบรวมผลที่ได้จากการวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อสังเคราะห์ข้อมูล
สังเคราะห์ข้อมู ลตั วเลขวิเคราะห์ข้อมู ล สามารถประเมิน ผลกระทบโครงการก่อสร้างเขื่อนเพื่ อ
ป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งเชิงบวกและลบที่ส่งผลต่อผู้ใช้งานในพื้นที่อย่างไร เพื่อสรุปและหาข้อเสนอแนะในการ
ปรับ ปรุง แก้ไ ขในส่ ว นที่ ส ามารถปรับปรุง แก้ไ ขได้ และเป็ น แนวทางให้กับ โครงการอื่น ๆได้พิ จ ารณาเห็น ถึง
ความส าคัญในการออกแบบพื้น ที่ริมน้าเขื่อนป้องกัน ตลิ่ งริมน้ารวมไปถึง พื้น ที่ๆ มีการใช้ง านพื้นที่ ในรูป แบบ
ใกล้เคียงกันให้เกิดประโยชน์สูงสุดและส่งผลกระทบในทุกด้านๆน้อยที่สุด
ผลการวิจยั
เปรียบเทียบจานวนและร้อยละของกิจกรรมคนในชุมชนและผู้ที่ ใช้งานพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้า
ท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพ เทศบาลนครนครสวรรค์ จังหวัด
นครสวรรค์ แยกตามกิจกรรมการใช้งานปี 2554 กับเดือนมกราคมปี 2557 แยกตามกิจกรรมค้าขายเพิ่มขึ้น
จานวน 3 คนคิดเป็นร้อยละ 7.6 ซื้อของ-อาหารเพิ่มขึ้นจานวน 5 คนคิดเป็นร้อยละ 12.8 เดินเล่นลดลง
จานวน 2 คนคิดเป็นร้อยละ 7.7 ชมวิวลดลงจานวน 4 คนคิดเป็นร้อยละ 25 ออกกาลัง-กายเพิ่มขึ้นจานวน
4 คนคิดเป็นร้อยละ 100 ขึ้น-ลงเรือลดลงจานวน 6 คนคิดเป็นร้อยละ 60 อื่นๆเท่าเดิม
เปรียบเทียบจานวนและร้อยละความพึงพอใจในการใช้งานในชุมชนและผู้ที่ใช้งานพื้นที่โครงการเขื่อน
ป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์
จังหวัดนครสวรรค์ระหว่างปี 2554 กับเดือนมกราคมปี 2557 ส่วนใหญ่พึงพอใจลานเอนกประสงค์เพิ่มขึ้น 125
คะแนนคิดเป็นร้อยละ 35.71 รองลงมาคือทางเดินริมน้าเพิ่ม 80 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 22.86 รองลงมาคือ
รูปแบบร้านค้าเพิ่ม 30 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 8.57 รองลงมาคือจานวนร้านค้าเพิ่ม 21 คะแนนคิดเป็น
ร้อยละ 6 รองลงมาคือท่าน้าเพิ่ม 6 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 1.71 ลาดับสุดท้ายความสูงเขื่อนคะแนนลดลง

1543
ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557

131 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 37.43 เปรียบเทียบร้อยละความสะดวกในการใช้งานในชุมชนและผู้ที่ใช้งานพื้นที่


โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนคร
นครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์ระหว่างปี 2554 กับเดือนมกราคมปี 2557 แสดงให้เห็นว่าปี 2554 ได้คะแนน
188 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 52.71 ส่วนปี 2557 ได้คะแนน 231 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 66
เปรียบเทียบร้อยละความสะดวกในการใช้งานในชุมชนและผู้ที่ใช้งานพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้า
ท่วมริมตลิ่ งบริเวณพื้ นที่ริม แม่น้ าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ต าบลปากน้ าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จั งหวั ด
นครสวรรค์แยกตามความมั่นใจในการป้องกันน้าท่วมระหว่างปี 2554 กับ เดือนมกราคมปี 2557 แสดงให้เห็นว่า
คนในชุมชนและกลุ่มผู้ใช้งานมีความมั่นใจในการป้องกันน้าท่วมของรูปแบบปี 2557 มากกว่ารูปแบบบเขื่อนปี
2554
สรุปผล
ในการศึกษาวิจัยเรื่องผลกระทบจากโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและ
แม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์โดยมีวัตุประสงค์คือ
1. เพื่อศึกษาการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลกระทบกับชุมชนบริเวณพื้นที่โครงการ
เขื่ อนป้ อ งกั น น้ าท่ ว มริ ม ตลิ่ ง บริ เวณพื้ น ที่ ริม แม่ น้ าปิ ง และแม่ น้ าเจ้ า พระยา ต าบลปากน้ าโพเทศบาลนคร
นครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์ด้านการเข้าถึงพื้นที่ริมน้า
2. เพื่อศึกษาผลกระทบจากการใช้งานพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นทีร่ ิมแม่นา้
ปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์
ซึ่งในการศึกษาวิจัยพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้า
เจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์ได้ศึกษาโดยใช้วิธีแบบเปรียบเทีย บ
ระหว่างการใช้งานพื้นที่ปี 2554 และการใช้งานพื้นที่ปี 2557 ซึ่งเกิดจากการเลือกช่วงเวลาล่าสุดก่อนมีการ
เปลี่ยนแปลงพื้นที่และทาแบบสอบถามด้วยการใช้แบบสอบถามการสังเกตการณ์และการสัมพาษณ์คนในพื้นที่
เป็นเครื่องมือการวิจัยจากกลุ่มตัวอย่างทั้งหมด 70 คนโดยแบบสอบถามเแบ่งเป็น 3 ส่วนคือ
1. ข้อมูลทั่วไปของผู้ตอบแบบสอบถาม
2. การใช้งานพื้นที่โครงการทั้งในปี 2554 และ ปี 2557
3. ความพึงพอใจในการใช้งานพื้นที่โครงการทั้งในปี 2554 และ ปี 2557
1. สรุปการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลกระทบกับชุมชนบริเวณพื้นที่โครงการเขื่อน
ป้องกันน้้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ต้าบลปากน้้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์
จังหวัดนครสวรรค์ด้านการเข้าถึงพื้นที่ริมน้าจากการสัมพาษณ์และสอบถามสามารถผู้ที่ได้รับผลกระทบแบ่งเป็น
ผลกระทบเชิงบวกและเชิงลบดังนี้
ผลกระทบเชิงบวกของกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามร้อยละ 63 ให้คะแนนการเข้าถึงปี2557 มากกว่า
ปี 2554 เนื่องจากการเข้าถึงพื้นที่ริมน้าในปัจจุบนั สะดวกกว่าในอดีตและจากสัมพาษณ์คนในชุมชนตลาดเก่าร้อย
ปีจากปี 2554 ไม่สามารถเข้าสู่พื้นที่ริมน้าได้โดยตรงไม่มีทางขึ้นลงที่ชัดเจน และมีการกีดขวางเส้นทางสัญจร
จากร้านค้าแผงลอยทาให้ไม่สามารถเข้าถึงพื้นที่ริมน้าได้สะดวก แต่ปัจจุบันตาแหน่งทางขึ้นลงและกาหนด
ตาแหน่งร้านค้าชัดเจนและเว้นทางขึ้นลงทาให้ปัจจุบันการเข้าถึงพื้นที่ริมน้าสะดวกมากขึ้น

1544
วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557 ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ

สัมภาษณ์คนในชุมชนบริเวณตลาดใหม่จากปี 2554 พื้นที่ชุมชนเดิมไม่สามารถเข้าสู่พื้นที่ริมน้าได้


โดยตรงเพราะพื้นที่ริมน้าบริเวณชุมชนเป็นตลิ่งรกไม่มีการใช้งานแต่ปี 2557 มีการถมถนนใหม่บริเวณพื้นที่ริมน้า
นี้ทาให้ชุมชนสามารถเข้าถึงพื้นที่ริมน้าได้
ผลกระทบเชิงลบผู้ตอบแบบสอบถามจานวน 5 คนในพื้นที่ชุมชนตลาดใหม่ให้คะแนนการเข้าถึง
พื้นที่ริมน้าน้อยที่สุด เพราะการออกแบบพื้นถนนถมใหม่ไม่มีการเชื่อมต่อกันระหว่างพื้นที่ชุมชนกับพื้นที่ถนน
2. การเปรียบเทียบลักษณะกิจกรรมที่เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้้าท่วมริมตลิ่ง
บริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ต้าบลปากน้้าโพ เทศบาลนครนครสวรรค์ จังหวัดนครสวรรค์
ระหว่างปี 2554 และปี 2557
กิจกรรมที่เกิดขึ้นเพิ่มมากขึ้นของพื้นที่คือกิจกรรมด้านการค้าขายเพิ่มขึ้นร้อยละ 7.6เนื่องจาก
จานวนการจัดสรรพื้นที่สาหรับร้านค้าเพิ่มมากขึ้นจานวนกิจกรรมการค้าก็มากขึ้นส่งผลต่อกิจกรรมการซื้อของที่
เพิ่มขึ้นร้อยละ 12.8 กิจกรรมการออกกาลังกายเพิ่มขึ้นเนื่องจากมีพื้นที่ทางเดินริมน้ายาวต่อเนื่องแตกต่างจากปี
2554 ที่ไม่มีทางเดินริมน้าทาให้กลุ่มผู้ใช้งานสามารถเดินหรือวิ่งออกกาลังกายได้ ส่วนกิจกรรมด้านการเดินเล่น
ลดลงเนื่องจากพฤติกรรมการเดินของพื้นที่เปลี่ยนไป จากรูปแบบร้านค้าที่เปลี่ยนไปเป็นการขับรถเลือกซื้อของ
แทนการเดินกิจกรรมชมวิวลดลงเนื่องจากปี 2554 สามารถชมวิวแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยาได้จากพื้นที่ชุมชน
ตลาดสดและตลาดเก่าร้อยปีปัจจุบันไม่สามารถมองได้จากตาแหน่งชุมชน ต้องเดินเข้าไปในพื้นที่สันเขื่อนจึงจะ
สามารถชมวิวได้การชมวิวจึงลดลง การขึ้น-ลงเรือลดลงเนื่องจากความสะดวกของถนนและจากข้อมูลการเข้าถึง
พื้นที่โครงการส่วนใหญ่เดินทางด้วยรถจักรยานยนต์ และตาแหน่งท่าเรือที่ไม่มีความชัดเจนจากบทสัมพาษณ์
คนขับเรือ
3. สรุปการเปลี่ยนแปลงของกิจกรรมที่เกิดขึ้นบริเวณพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้้าท่วมริมตลิ่ง
บริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ต้าบลปากน้้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์
จากจานวนคนออกกาลังกายที่เพิ่มขึ้นร้อยละ 100 จากอดีตซึ่งไม่มีการออกกาลังกาย สามารถบอกได้ว่าการ
ออกแบบโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งนี้เมื่อออกแบบพื้นที่เพื่อส่งเสริมพื้นที่สาธารณะและพื้นที่ออกกาลัง
ก็สามารถสร้างกิจกรรมใหม่ให้กับคนในชุมชนหรือกลุ่มผู้ใช้งานรวมไปถึงจานวนร้านค้าที่เพิ่มมากขึ้นร้อยละ 7.6
เพื่อส่งเสริมพื้นที่ศูนย์กลางการค้าของพื้นที่ตลาดปากน้าโพให้เกิดกิจกรรมเกิดมากขึ้นรวมถึงระยะเวลาการใช้งาน
ทั้งกลางวันและกลางคืน
4. การเปรียบเทียบความพึงพอใจบริเวณพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่
ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ต้าบลปากน้้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์ระหว่างรูปแบบ
เขื่อนปี 2554 และรูปแบบเขื่อนปี 2557 จากผู้ตอบแบบสอบถามข้อมูลความพึงพอใจ 6 ข้อพึงพอใจโครงการ
เขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งปี 2557 มากกว่ารูปแบบเขื่อนปี 2554 จานวน 5 ข้อคือรูปแบบทางเดินริมน้า
ลานเอนกประสงค์รุปแบบร้านค้าจานวนร้านค้าและท่าน้าจากคะแนนรวมทั้งหมด 2,100 คะแนนรูปแบบเขื่อน
ปี 2554 ได้คะแนนรวม 1,202 คะแนนรูปแบบเขื่อนปี 2557 ได้คะแนน 1,333 มากกว่ารูปแบบเขื่อนปี
2554 ทั้งหมด 131 คะแนนคิดเป็นร้อยละ 6.24 ส่วนความพึงพอใจในรูปแบบที่มากที่สุดได้แก่ลาน
เอนกประสงค์และทางเดินริมน้า ดังนั้นสามารถอธิบายได้ว่ากลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามต้องการพื้นที่ส่วนกลางและ
พื้นที่สาธารณะเพื่อส่งเสริมกิจกรรมนันทนาการ

1545
ฉบับมนุษยศาสตร์ สังคมศาสตร์ และศิลปะ วารสารวิชาการ Veridian E-Journal ปีที่ 7 ฉบับที่ 2 เดือนพฤษภาคม – สิงหาคม 2557

ความพึงพอใจโครงการเขื่อนเดิมปี 2554 จากกลุ่มผู้ตอบแบบสอบถามและจากการสัมพาษณ์คน


ในชุมชนคือเรื่องของความสูงเขื่อนที่อยู่ในระดับ 1.20 เมตร คือ ความสูงในระดับที่อยู่ในพื้นที่ชุมชนสามารถ
มองเห็นบรรยากาศแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา และสภาพแวดส้อมฝั่งตรงข้ามได้พึงพอใจมากกว่ารูปแบบ
เขื่อนปี 2557
5. สรุปความพึงพอใจพื้นที่โครงการเขื่อนป้องกันน้้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและ
แม่น้าเจ้าพระยา ต้าบลปากน้้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์ ปี 2557 จากแบบสอบถาม
และสัมพาษณ์ผู้ตอบแบบสอบความร้อยละ 63.47 พอใจในรูปแบบโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณ
พื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ตาบลปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์ อธิบายได้ว่า
พื้นที่ทางเดินริมน้าและลานเอนกประสงค์สร้างความพึงพอใจให้กับคนในชุมชนและกลุ่มผู้ใช้งาน รวมถึงการ
ความพึงพอใจในจัดรูปแบบร้านค้าเป็นระเบียบมากขึ้นจากบทสัมพาษณ์แม่ค้าในตลาดร้อยปี
ส่วนความสูงของโครงการเขื่อนปี 2557 ไม่เป็นที่พึงพอใจจากแบบสอบถามและบทสัมพาษณ์
ของคนในชุมชนและกลุ่มผู้ใช้งานงาน แต่สามารถสร้างความมั่นใจในการป้องกันน้าท่วมให้คนในชุมชนและกลุ่ม
ผู้ใช้งานเพิ่มมากขึ้นอธิบายเพิ่มเติมจากบทสัมพาษณ์แม่ค้าในตลาดร้อยปีกล่าวว่าถ้าความสูงเท่านี้แต่สามารถ
ป้องกันน้าท่วมได้ก็พอใจแสดงให้เห็นว่าเพื่อป้องกันตัวเองทรัพย์สินจากอันตรายได้ก็จะยอมได้
6. ข้อเสนอแนะในการท้าวิจัย
จากการลงพื้นที่สารวจและเก็บข้อมูลรวมถึงการตอบแบบสอบถามของผู้ตอบแบบสอบถามคนใน
ชุมชนและกลุ่มผู้ใช้งานโครงการเขื่อนป้องกันน้าท่วมริมตลิ่งบริเวณพื้นที่ริมแม่น้าปิงและแม่น้าเจ้าพระยา ตาบล
ปากน้าโพเทศบาลนครนครสวรรค์จังหวัดนครสวรรค์แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพอย่าง
เห็นได้ชัดและส่งผลต่อกิจกรรมภายในพื้นที่คือ โครงการเพิ่มพื้นที่สาธารณะให้กับพื้นที่ริมน้าที่เหมาะสมและ
สามารถใช้งานได้จริงในทุกช่วงเวลาทั้งเวลากลางวันและเวลากลางคืน
แต่ในทางกลับกันก็สร้างทัศนีภาพที่ไม่สวยงามบดบังบริบทโดยรอบของแม่น้าและสภาพแวดล้อม
ของฝั่งตรงข้าม ไม่สร้างความเชื่อมต่อให้กับพื้นที่ชุมชนกับพื้นที่ริมน้าในส่วนของการรับรู้ทางสายตา อาจจะต้อง
ลดระดับความสูงกาแพงเขื่อนในส่วนของลานเอนกประสงค์หรือตาแหน่งชุมชนเพื่อการรับรู้สภาพแวดล้อมและ
บรรยากาศแม่น้าเหมือนเดิม

1546

You might also like