You are on page 1of 93

รายงานการวิจัย

การจัดการพืน
้ ทีส
้ ีเขียวในชุมชนเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
Green area Management of Klongtoei District
Community Bangkok Metropolitan

คณะผู้วจิ ัย
นายวิทยาภรณ์ จรัสด้วง

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะวิศวกรรมศาสตร์ และสถาปัตยกรรมศาสตร์


โดยได้ รับเงินทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
งบประมาณประจาปี 2559
กันยายน 2559
รายงานการวิจัย
การจัดการพืน
้ ทีส
่ ีเขียวในชุมชนเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร
Green area Management of Klongtoei District
Community Bangkok Metropolitan

คณะผู้วจิ ัย
นายวิทยาภรณ์ จรัสด้วง

สาขาวิชาสถาปัตยกรรมภายใน คณะวิศวกรรมศาสตร์ และสถาปัตยกรรมศาสตร์


โดยได้ รับเงินทุนอุดหนุนการวิจัยจากมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก
งบประมาณประจาปี 2559
กันยายน 2559
กิตติกรรมประกาศ
การวิจยั เรื่ องการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร สาเร็ จลุล่วงไปด้วยดีจากการ
ได้รับทุ นอุ ดหนุ นการวิจยั เพื่อพัฒนาเศรษฐกิ จและสัง คมด้านสาขาวิช าปรั ชญา กลุ่ ม วิชาสถาปั ตยกรรมจาก
สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ
ขอขอบคุณคุณรัตนา สี ใส ประธานชุมชนวัดคลองเตยใน 1 กรรมการชุมชน และประชาชนในชุมชน ที่
ให้ความอนุเคราะห์ขอ้ มูล ให้ความช่วยเหลือและอานวยความสะดวกในการสารวจและเก็บข้อมูลการทาวิจยั
ขอขอบคุณปั ญญา ศิลารักษ์ ประธานชุมชน คุณสมศรี สถานสถิตย์ กรรมการชุ มชนวัดคลองเตยใน 2
ตลอดจนในประชาชนในชุมชนทุกคนที่ให้ขอ้ มูลการให้สัมภาษณ์ การจัดทาแบบสอบถาม
ขอขอบคุ ณณพสิ ทธิ์ ศศิพิพฒั ณ์ ประธานชุ มชนและ กรรมการชุ มชนวัดคลองเตยใน 3 ตลอดจนใน
ประชาชนในชุมชนทุกคนที่ให้ขอ้ มูลการให้สัมภาษณ์ การจัดทาแบบสอบถาม
ขอขอบคุ ณ ผูช้ ่ วยศาศตราจารย์ ยิ่ง ยง รุ่ ง ฟ้ า ที่ ส่ ง เสริ มสนับสนุ นให้ความรู้ ค าแนะนาและให้ความ
อนุเคราะห์ช่วยเหลือตลอดการทาวิจยั
ขอขอบคุณ อาจารย์ชุมสิ ทธิ์ โรจน์สกุลพาณิ ชที่ส่งเสริ มสนับสนุนให้ความอนุ เคราะห์ช่วยเหลื อตลอด
การทาวิจยั
ขอขอบคุณ ผูช้ ่วยศาสตราจารย์สารดา จารุ พนั ธ์ รองคณบดีฝ่ายวิชาการและวิจยั คณะวิศวกรรมศาสตร์
และสถาปั ตยกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก ส่ งเสริ มสนับสนุ นในการทาวิจยั ตลอด
โครงการ
ขอขอบคุ ณ อาจารย์ชัย ชาญ วงศ์ ก ระจ่า ง อาจารย์ประจาสาขาวิช า สถาปั ตยกรรมภายในที่ ส่ ง เสริ ม
สนับสนุนให้ความรู้และคาแนะนาในการทาวิจยั ตลอดโครงการ
ท้ายที่สุด ขอกราบขอบพระคุณมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออกที่ให้ทุนอุดหนุ นการวิจยั
จากงบประมาณ 2558

นายวิทยาภรณ์ จรัสด้วง
หัวหน้าโครงการวิจยั

บทคัดย่อ

งานวิจยั เรื่ อง”การจัดการพื ้นที่สีเขียวในชุมชนเขตคลองเตย กรุงเทพมหานคร”ศึกษาถึงพื ้นที่สีเขียวที่ใช้


ประโยชน์ผสมผสานกันโดยมีความสาคัญและประโยชน์ของพื ้นที่สีเขียวในส่วนช่วยบรรเทาปั ญหาโลกร้ อน เป็ น
แหล่งนันทนาการ ที่อยูอ่ าศัยและสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชนทุกเพศทุกวัย การสร้ างสรรค์พื ้นที่สี
เขียวนัน้ กลุม่ พลังทางการเมือง พลังทางธุรกิจ และพลังทางสังคม สามพลังนี ้ เมื่อประสานงานเป็ นพันธมิตร
เชิงกลยุทธ์ในการสรรค์หาพื ้นที่สีเขียวในเขตเมือง ความสาเร็จย่อมเกิดเร็วขึ ้น ทังนี
้ ้ในเขตเมืองที่ดนิ ทุกตารางนิ ้ว
มีเจ้ าของ หากนามาใช้ เป็ นพื ้นที่สีเขียวควรสร้ างประโยชน์ให้ เกิดขึ ้นร่วมกัน ทังแก่
้ เจ้ าของเดิม ชุมชนแวดล้ อม
ภาคธุรกิจที่สนับสนุน ภาคบริหารเมืองหรื อภาคการเมือง เป็ นโครงสร้ างพื ้นฐานสีเขียวของเมืองตาม
แผนพัฒนากรุงเทพมหานคร 12 ปี (2552-2563 )มีชื่อย่อว่า Bangkok 2020 วางวิสยั ทัศน์ให้ กรุงเทพมหานคร
เป็ น เมืองน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน หรื อ Sustainable Metropolis เขตคลองเตยเป็ นเขตชันใน
้ ได้ ชื่อตามคลองอันเป็ น
สัญลักษณ์ท้องถิ่น สันนิษฐานจากชื่อเรี ยกเป็ นชื่อของพันธุ์ไม้ ชนิดหนึง่ (ต้ นเตย) ที่ขึ ้นมากบริเวณนัน้ แต่เดิม
เป็ นแขวงหนึง่ ในเขตพระโขนงที่ตงเขตคลองเตยในปั
ั้ จจุบนั นี ้จากการศึกษาเขตคลองเตยซึง่ เป็ นชุมชนเขตชันใน

ที่แออัดไปด้ วยชุมชน และเขตพาณิชยกรรมหนาแน่นมีความจาเป็ นที่จะต้ องจัดหาพื ้นที่สีเขียวให้ เพียงพอต่อ
ความต้ องการของชุมชนเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจ การพัฒนาพื ้นที่สีเขียวในพื ้นที่เขตคลองเตยจึงเป็ นภาระกิจ
ของกรุงเทพมหานคร และชุมชนให้ สามารถใช้ ประโยชน์เพื่อการพักผ่อนหย่อนใจประกอบกับมติ คณะรัฐมนตรี
เรื่ องแผนปฏิบตั กิ ารเชิงนโยบายด้ านการจัดการพื ้นที่สีเขียวชุมชนอย่างยัง่ ยืนคือพื ้นที่สีเขียวที่มีต้นไม้ ยืนต้ น
ขนาดใหญ่ เป็ นองค์ประกอบหลักและได้ รับการบารุงรักษาให้ คงอยู่อย่างยัง่ ยืนและแผนปฏิบตั ิการเชิงนโยบาย
ด้ านการจัดการพื ้นที่สีเขียวชุมชนอย่างยัง่ ยืนมีเป้าหมายเพิ่มพื ้นที่สีเขียวอย่างยัง่ ยืน ของชุมชนเมืองโดย
ภาพรวมให้ ได้ ไม่น้อยกว่า 1.25 ตารางวา ต่อประชากร 1 คน ภายในระยะเวลา 5 ปี และสามารถดารงรักษาไว้
ได้ อย่างยัง่ ยืนจากประเด็นดังกล่าวผู้วิจยั จึงเกิดแนวคิดที่จะต้ องมีการดาเนินการอย่างต่อเนื่องในส่วนของ กรณี
ของชุมชนวัดคลองเตยใน1,2,3 โดยต้ องมีการจัดหาพื ้นที่สีเขียวให้ เพียงพอต่อความต้ องการของชุมชนเพื่อการ
พักผ่อนหย่อนใจ ดังนันในการจั
้ ดการพื ้นที่สีเขียวจะต้ องได้ รับการสร้ างสรรค์พฒ
ั นาให้ เกิดความร่วมมือกัน
ระหว่างฝ่ ายบริหารเมือง ภาคธุรกิจและภาคสังคมในแต่ละชุมชนที่เกี่ยวข้ อง ซึง่ จะส่งผลปรากฏต่อการ
ดาเนินการให้ เกิดการแปลงกลไกและหน่วยงานการบริหารเพื่อรองรับการบริหารจัดการเชิงบูรณาการ รวมถึง
การมีระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้ อง

Abstract

Research on "Green Area Management in Khlong Toei Community Bangkok "Study on the
green areas that utilize the combination of the importance and benefits of green space to help
mitigate global warming. Is a recreation Homes and recreational facilities of people of all ages.
Creation of green space. Political power group Business power And these three social forces when
coordinated a strategic alliance to create green space in urban areas. Success is faster. In urban
areas, every square inch of land ownership. If used as a green area should create benefits to occur
together. Both to the original owner. Supported business community City Administration or Political
Sector The green infrastructure of the city according to the 12-year Bangkok Development Plan
(2009-2020) is Bangkok 2020's vision. Sustainable Metropolis or Khlong Toei is an inner city.
Named after the canal as a local symbol. It is assumed that the name of the species is a species of
Shrub (pandanus) that grows there. Originally a district in Prakanong district, the present Khlong
Toei area is located in Khlong Toei, a congested inner-city community. And dense commercial
areas need to provide enough green space for the needs of the community for recreation. Green
area development in the Khlong Toei area is a mission of Bangkok. And the community can be
used for recreation, along with resolutions. Cabinet on Sustainable Green Area Policy Action Plan is
a green area with large trees. It is a key element and is maintained sustainably, and a sustainable
greenfield policy action plan aims to increase sustainable green space The urban population, at a
total of no less than 1.25 square wah, per population over a period of five years, can be sustained
sustainably. From this point of view, the researcher has come up with the idea that there must be
continuous action. In parts of Case of Wat Klong Toei nai Community in 1,2,3, with the provision of
green space to meet the needs of the community for recreation. Therefore, the management of
green space must be developed to develop cooperation between the city administration. The
business and social sectors in each of the relevant communities. This will result in the
implementation of transformational mechanisms and administrative units to support integrated
management. Including the relevant legal regulations.

สารบัญ

เรื่ อง หน้ า

กิตติกรรมประกาศ ก
บทคัดย่อภาษาไทย ข
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ ค
สารบัญ ง
สารบัญตาราง ฉ
สารบัญภาพ ช
สารบัญแผนภูมิ ซ

บทที่ 1 บทนำ 1
1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา 1
1.2 วัตถุประสงค์ของโครงการวิจยั 3
1.3 กรอบแนวความคิดของโครงการวิจยั 3
1.4 ขอบเขตของโครงการวิจยั 3
1.5 ระยะเวลาทาการวิจยั 4
1.6 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 4

บทที่ 2 การทบทวนวรรณกรรม
2.1 ประวัติศาสตร์ชุมชนคลองเตย 5
2.2 สภาพทัว่ ไปของแขวงคลองเตย 12
2.3 พื้นที่สีเขียว 21
2.4 แนวทางการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุ งเทพมหานคร 29
2.5 แนวความคิดในการวางผังที่โล่งและการรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม 34

บทที่ 3 เนื้อหาการวิจยั
3.1 วิธีการดาเนินการวิจยั 46
3.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการดาเนินการวิจยั 46

3.3 กลุ่มเป้ าหมาย 47


3.4 ข้อมูลเบื้องต้นของชุมชนคลองเตย(ชุมชนวัดคลองเตยใน 1,2,3 เขตคลองเตย 47
กรุ งเทพมหานคร)

บทที่ 4 ผลการวิจยั
4.1 สรุ ปผลการสัมภาษณ์และสอบถาม 50
4.2 ความคิดเห็นของตัวแทนกลุ่มผูน้ าชุมชนในพื้นที่ 50

บทที่ 5 สรุ ปผลการวิจยั และข้อเสนอแนะ


5.1 สรุ ปผลการวิจยั 67
5.1.1 นโยบายการจัดการพื้นที่สีเขียว 67
5.1.2 การสร้างความเข้าใจและความเข้มแข็งของชุมชนในการบริ หารจัดการพื้นที่สีเขียว 71
5.1.3 รู ปแบบของการจัดการพื้นที่สีเขียวของชุมชนวัดคลองเตยใน 1,2,3 เขตคลองเตย 73
5.1.4 เสนอแนวทางในการดาเนินการการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเขตคลองเตย 74
(ชุมชนวัดคลองเตยใน 1,2,3) ในชุมชนเดิมอย่างยัง่ ยืน

บรรณานุกรม
ภาคผนวก

สารบัญตาราง

หน้ า

ตารางที่ 1 แสดงจานวนประชากรเขตปกครองย่อย เขตคลองเตย 3 แขวง 49


สารบัญภาพ

หน้า

ภาพที่ 1 แสดงที่ต้ งั ของเขตคลองเตย 5

ภาพที่ 2 แสดงคลองหัวลาโพงเลียบถนนพระราม 4 ผ่านคลองเตย 8

ภาพที่ 3 แสดงคลองหัวลาโพงในปัจจุบนั 8

ภาพที่ 4 คลองหัวลาโพงช่วงที่เลียบไปกับทางรถไฟสายหัวลาโพง-ปากน้ า 10

ภาพที่ 5 สภาพชุมชนแออัดคลองเตย 18

ภาพที่ 6 เคหะชุมชนคลองเตย 20

ภาพที่ 7 แสดงที่ต้ งั เขตคลองเตย 47

ภาพที่ 8 แสดงที่ต้ งั เขตคลองเตย 48

ภาพที่ 9 แสดงที่ต้ งั เขตคลองเตย 49

ภาพที่ 10 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 2และวัดคลองเตยใน 2 52

ภาพที่ 11 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 2 52

ภาพที่ 12 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3 53

ภาพที่ 13 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3 53

ภาพที่ 14 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3 54

ภาพที่ 15 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 1,2 54

ภาพที่ 16 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 2,3 55


ภาพที่ 17 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 2 55

ภาพที่ 18 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 2 60

ภาพที่ 19,20 สภาพบ้านเรื อนและการจัดพื้นที่สีเขียวในชุมชน 61

ภาพที่ 21,22 สัมภาษณ์ นางรัตนา สี ใส ผูน้ าชุมชนวัดคลองเตยใน 1 62

ภาพที่ 23 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 1, 2 63

ภาพที่ 24 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 1,3 บริ เวณร้านค้า 63

ภาพที่ 25 สภาพชุมชนวัดคลองเตยใน 3 บริ เวณถนนภายในชุมชน 64

ภาพที่ 26 สภาพชุมชนวัดคลองเตยใน 3 บริ เวณถนนทางเข้าภายในชุมชน 64

ภาพที่ 27 ถนนด้านหน้าชุมชนวัดคลองเตยใน 3 65

ภาพที่ 28 พื้นที่สีเขียวบริ เวณถนนชุมชนวัดคลองเตยใน2,3 66

ภาพที่ 29 และภาพที่ 30 สภาพพื้นที่สีเขียวถนนภายในบริ เวณชุมชนวัดคลองเตยใน2,3 66


สารบัญแผนภูมิ

หน้า

ภาพที่ 1 กรอบแนวความคิดของโครงการวิจยั 3
1

บทที่ 1

บทนา

1.1 ความเป็ นมาและความสาคัญของปัญหา

พื้นที่สีเขียวหมายถึง พื้นที่กลางแจ้งและกึ่งกลางแจ้งที่มีขอบเขตที่ดินทั้งหมดหรื อบางส่ วนปกคลุม


ด้วยพื ชพรรณที่ ป ลู กบนดิ นที่ ซึ ม น้ า ได้ โดยที่ ดินนั้นอาจมี สิ่ง ปลู กสร้ า งหรื อพื้นผิวแข็ง ไม่ซึ ม น้ ารวมอยู่
หรื อไม่ ก็ ได้ หมายรวมถึ ง พื้ นที่ สี เขี ย วในเขตเมื องและนอกเมื อง อาจเป็ นพื้ นที่ ส าธารณะหรื อเอกชน ที่
สาธารณชนสามารถใช้ประโยชน์ ประกอบด้วยพื้นที่สีเขียวเพื่อนันทนาการ และความงามทางภูมิทศั น์ พื้นที่
อรรถประโยชน์ เช่ น พื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่สาธารณู ปการ พื้นที่ แนวกันชน พื้นที่ สีเขี ยวในสถาบัน
ต่างๆ พื้นที่ธรรมชาติและกึ่ งธรรมชาติอนั เป็ นถิ่ นที่อยูข่ องสิ่ งมีชีวิต ได้แก่ พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ชุ่มน้ า รวมถึ ง
พื้ น ที่ ช ายหาด พื้ น ที่ ริ มน้ า พื้ น ที่ ที่ เ ป็ นริ้ วยาวตามแนวเส้ น ทางคมนาคม ทางบก ทางน้ า และแนว
สาธารณูปการต่างๆ หรื อพื้นที่อื่นๆ เช่น พื้นที่สีเขียวที่ปล่อยรกร้าง พื้นที่สีเขียวที่ถูกรบกวนสภาพธรรมชาติ
และพื้นที่สีเขียวที่มีการใช้ประโยชน์ผสมผสานกันโดยมีความสาคัญและประโยชน์ของพื้นที่สีเขียวในส่ วน
ของ ช่วยบรรเทาปั ญหาภาวะโลกร้อน เป็ นแหล่งนันทนาการ และสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจของคนในชุ มชน
ทุกเพศทุ กวัย พืชพรรณในพื้นที่ สีเขี ยวช่ วยลดอุ ณหภูมิของเมื องที่ เกิ ดจากการพัฒนาสิ่ งก่ อสร้ างในเมื อง
ตลอดจนยังเป็ นถิ่นที่อยูอ่ าศัยของ นก ปลา แมลง และสัตว์อื่นๆ เป็ นทางสี เขียวเชื่ อมโยงแหล่งที่อยูอ่ าศัยเข้า
ด้วยกัน และ ช่ วยป้ องกันการกัดเซาะพังทลายของดิ น ช่ วยปรับปรุ งระบบการระบายน้ า (ที่มา : คู่มือการ
พัฒนาพื้นที่สีเขียว.สานักนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม)
การสร้างสรรค์พ้ืนที่สีเขียวนั้น กลุ่มพลังทางการเมือง พลังทางธุ รกิจ และพลังทางสังคม สามพลังนี้
เมื่อประสานงานเป็ นพันธมิตรเชิงกลยุทธ์ในการสรรค์หาพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง ความสาเร็ จย่อมเกิดเร็ วขึ้น
ทั้งนี้ ในเขตเมื องที่ดินทุ กตารางนิ้ วมี เจ้าของ หากนามาใช้เป็ นพื้นที่ สีเขี ย วควรสร้ า งประโยชน์ให้เกิ ดขึ้ น
ร่ วมกัน ทั้งแก่ เจ้าของเดิ ม ชุ มชนแวดล้อมภาคธุ รกิ จที่ สนับสนุ น ภาคบริ หารเมืองหรื อภาคการเมือง เป็ น
โครงสร้างพื้นฐานสี เขียวของเมืองตามแผนพัฒนากรุ งเทพมหานคร 12 ปี (2552-2563 )มีชื่อย่อว่า Bangkok
2020 วางวิสัยทัศน์ให้กรุ งเทพมหานครเป็ น เมืองน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน หรื อ Sustainable Metropolis นอกจากนี้
ใช้ผงั เมืองให้เกิดประโยชน์โดยมีขอ้ บังคับที่สามารถปฏิบตั ิได้เช่น การเพิ่มพื้นที่สีเขียวบนพื้นที่นอกอาคาร
เพิ่มพื้นที่ สีเขี ยวด้านในอาคาร เช่ น สวนบนหลังคา (Garden Roof) เพิ่มพื้นที่ สีเขียวในบริ เวณช่ องว่าง
ระหว่างอาคาร เพิ่มพื้นที่สีเขี ยวในบริ เวณลานด้านหน้าอาคารห้างสรรพสิ นค้า เพิ่มพื้นที่สีเขียวในบริ เวณ
2

พื้นที่ ลานจอดรถ เพิ่มพื้นที่ สีเขี ยวในแนวเส้ นทางคมนาคม และเพิ่มพื้นที่ สีเขี ยวโดยการแทนที่พ้ืนที่ เดิ ม
(urban infill) เป็ นต้น (วารสารสานักยุทธศาสตร์ และประเมินผล ปี ที่ 2 ฉบับที่ 1 ประจาเดือนเมษายน-
พฤษภาคม 2552)
เขตคลองเตยเป็ นเขตชั้นใน ได้ชื่อตามคลองอันเป็ นสัญลักษณ์ทอ้ งถิ่น สันนิ ษฐานจากชื่ อเรี ยกเป็ น
ชื่ อของพันธุ์ ไม้ชนิ ดหนึ่ ง (ต้นเตย) ที่ ข้ ึ นมากบริ เ วณนั้น แต่เดิ ม เป็ นแขวงหนึ่ ง ในเขตพระโขนงที่ ต้ งั เขต
คลองเตยในปั จจุ บนั นี้ ในอดี ตคือ เมืองปากน้ าพระประแดงโบราณ ทางฝั่ งตะวันออกลาน้ าเจ้าพระยา อยู่
ระหว่างคลองพระโขนงกับคลองช่องนนทรี (ปั จจุบนั เป็ นที่ทาการของการท่าเรื อแห่ งประเทศไทย)(สุ ชาติ
เอื้ อไตรรั ตน์ การศึก ษาวิจ ยั ในการจัดการผังบริ เวณที่ อยู่อาศัยและอาคารบ้านพักอาศัย โดยใช้ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นประสานด้วยเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อยกระดับคุ ณภาพชี วิต : กรณี ศึกษาชุ มชนแออัดคลองเตย 12
ชุมชน : 2555)
จากการศึ กษาเขตคลองเตยซึ่ ง เป็ นชุ มชนเขตชั้นในที่ แออัดไปด้วยชุ มชน และเขตพาณิ ชยกรรม
หนาแน่ นมีความจาเป็ นที่จะต้องจัดหาพื้นที่สีเขียวให้เพียงพอต่อความต้องการของชุ มชนเพื่อการพักผ่อน
หย่อนใจ การพัฒนาพื้นที่ สีเขี ยวในพื้นที่ เขตคลองเตยจึ งเป็ นภารกิ จของกรุ งเทพมหานคร และชุ มชนให้
สามารถใช้ป ระโยชน์ เพื่ อการพัก ผ่อ นหย่อ นใจประกอบกับ มติ คณะรั ฐ มนตรี เรื่ องแผนปฏิ บ ัติก ารเชิ ง
นโยบายด้า นการจัด การพื้ น ที่ สี เ ขี ย วชุ ม ชนอย่า งยัง่ ยื น คื อ พื้ น ที่ สี เ ขี ย วที่ มี ต้นไม้ยื น ต้น ขนาดใหญ่ เป็ น
องค์ประกอบหลักและได้รับการบารุ งรั กษาให้คงอยู่อย่างยัง่ ยืนและแผนปฏิ บตั ิการเชิ งนโยบายด้านการ
จัดการพื้นที่สีเขียวชุ มชนอย่างยัง่ ยืนมีเป้ าหมายเพิ่มพื้นที่สีเขียวยัง่ ยืน ของชุมชนเมืองโดยภาพรวมให้ได้ไม่
น้อยกว่า 5 ตารางเมตร ต่อประชากร 1 คน ภายในระยะเวลา 5 ปี และสามารถดารงรักษาไว้ได้อย่างยัง่ ยืน
(Asa สมาคมสถาปนิกสยามในพระบรมราชูปถัมถ์)
จากประเด็นดังกล่าวผูว้ ิจยั จึงเกิ ดแนวคิ ดที่จะต้องมี การดาเนิ นการอย่างต่อเนื่ องในส่ วนของ การ
บริ หารจัดการพื้นที่สีเขียวในชุ มชนเชื้ อเพลิ งเขตคลองเตย โดยต้องมี การจัดหาพื้นที่สีเขียวให้เพียงพอต่อ
ความต้อ งการของชุ ม ชนเพื่ อ การพัก ผ่อ นหย่อ นใจ ดัง นั้น ในการจัด การพื้ น ที่ สี เ ขี ย วจะต้อ งได้รั บ การ
สร้างสรรค์พฒั นาให้เกิดความร่ วมมือกันระหว่างฝ่ ายบริ หารเมือง ภาคธุ รกิจและภาคสังคมในแต่ละชุ มชนที่
เกี่ยวข้อง ซึ่ งจะส่ งผลปรากฏต่อการดาเนิ นการให้เกิดการแปลงกลไกและหน่วยงานการบริ หารเพื่อรองรับ
การบริ หารจัดการเชิ งบูรณาการ รวมถึงการมีระเบียบกฎหมายที่เกี่ยวข้อง การขยายบทบาทให้สถานศึกษา
และวัดในชุมชนบริ เวณพื้นที่สีเขียวเข้ามามีบทบาท ในส่ วนของภาคธุ รกิจเน้นธุ รกิจในพื้นที่บริ เวณแวดล้อม
(ชนายุส ตินารักษ์: ก่อสร้าง ซีเอสอาร์ CSR พัฒนาเมือง 17th March 2013)
3

1.2 วัตถุประสงค์ ของโครงการวิจัย


1.2.1 เพื่อศึกษานโยบายการจัดการพื้นที่สีเขียว
1.2.2 เพื่อสร้ างความเข้าใจและความเข้มแข็งของชุ มชนในการบริ หารจัดการพื้นที่ สีเขียวในการ
อนุรักษ์พ้นื ที่สีเขียวของชุมชนเดิมอย่างยัง่ ยืน
1.2.3 เพื่อศึ กษารู ปแบบของการจัดการพัฒนาพื้นที่ สีเขียวของชุ มชนวัดคลองเตยใน1,2,3 เขต
คลองเตย
1.2.4 เพื่อเสนอแนวทางในการดาเนินการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่สีเขียวในชุมชนเดิมอย่างยัง่ ยืน

1.3 ขอบเขตของโครงการวิจัย
1.3.1 พื้ น ที่ ก ารศึ ก ษาครอบคลุ ม พื้ น ที่ บ ริ เ วณชุ ม ชนวัด คลองเตยใน 1,2,3 เขตคลองเตย
กรุ งเทพมหานคร
1.3.2 ขอบเขตเนื้อหาในการศึกษา โดยทาการศึกษาประเด็นดังต่อไปนี้ ศึกษาสภาพแวดล้อมพื้นที่สี
เขียว ด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม ตลอดจนวิถีชีวติ ของชุมชน

1.4 กรอบแนวความคิดของโครงการวิจัย

กรุ งเทพมหานคร

การจัดการพื้นที่สีเขียว นโยบายการจัดการพื้นที่สีเขียว
การอนุรักษ์

ชุมชน สังคม และวัฒนธรรม


ชุมชนเข้มแข็ง ศักยภาพของชุมชน

เมืองสีเขียว

ภาพที่ 1.1 ผังแสดงกรอบแนวความคิด


4

1.5 ระยะเวลาทาการวิจัย

แผนการดาเนินงาน
กิจกรรม 2558 2559
ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย.
1. ศึกษาข้อมูลเกี่ ยวกับผังชุ มชนใน
พื้นที่
2. รวบรวมข้ อ มู ล ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ
ค ว า ม ต้ อ ง ก า ร ข อ ง ชุ ม ช น ใ น
การศึกษาผังชุ มชนเพื่อสร้ างพื้นที่สี
เขียว
3. ศึ ก ษาข้อ มู ล ด้า นกายภาพของ
พื้นที่
4. การสั ง เกต และการส ารวจ
ภาคสนาม การ สัมภาษณ์
5. วิเคราะห์มูล
6. จัดทารายงานการวิจยั

1.6 ประโยชน์ ที่คาดว่ าจะได้ รับ เช่ น ด้ านวิชาการ ด้ านนโยบาย ด้ านเศรษฐกิจ/พาณิชย์ ด้ านสั งคมและชุ มชน
รวมถึงการเผยแพร่ ในวารสาร จดสิ ทธิบัตร ฯลฯ และหน่ วยงานทีน่ าผลการวิจัยไปใช้ ประโยชน์
1.6.1 ทราบถึงรู ปแบบและการวางแผนของการจัดการพัฒนาพื้นที่สีเขียวของชุ มชนวัดคลองเตย
ใน 1, 2, 3 เขตคลองเตย บทบาทตลอดจนความสาคัญของพื้นที่สีเขียวชุ มชนวัดคลองเตยใน 1, 2, 3 เขต
คลองเตย
1.6.2 เป็ นการสร้ างความเข้าใจและความเข้มแข็งของชุ มชนในการบริ หารจัดการพื้นที่สีเขียวใน
การอนุรักษ์พ้ืนที่สีเขียวของชุมชนวัดคลองเตยใน 1, 2, 3 เดิมอย่างยัง่ ยืน
1.6.3 หน่วยงานที่นาผลการวิจยั ไปใช้ประโยชน์ ได้แก่ กรุ งเทพมหานครและ พื้นที่ใกล้เคียง
5

บทที่ 2

การทบทวนวรรณกรรม

2.1 ประวัติศาสตร์ ชุมชนคลองเตย

เขตคลองเตยเป็ นเขตชั้นใน ได้ชื่อตามคลองอันเป็ นสัญลักษณ์ทอ้ งถิ่น สันนิ ษฐานจากชื่ อเรี ยกเป็ น


ชื่ อของพันธุ์ ไม้ชนิ ดหนึ่ ง (ต้นเตย) ที่ ข้ ึ นมากบริ เวณนั้น แต่เดิ ม เป็ นแขวงหนึ่ ง ในเขตพระโขนงที่ ต้ งั เขต
คลองเตยในปั จจุ บนั นี้ ในอดี ตคือ เมืองปากนํ้าพระประแดงโบราณ ทางฝั่ งตะวันออกลํานํ้าเจ้าพระยา อยู่
ระหว่างคลองพระโขนงกับคลองช่ องนนทรี (ปั จจุบนั เป็ นที่ทาํ การของการท่าเรื อแห่ งประเทศไทย)ในทาง
ภูมิศาสตร์ บริ เวณนี้เป็ นบริ เวณที่น้ าํ ในแม่น้ าํ เจ้าพระยาไหลขึ้นเหนื อ บังคับให้เรื อต้องแล่นช้า เพราะจะต้อง
ทวนนํ้าทวนลม เหมาะสําหรับตั้งด่านตรวจการเข้าออกจึงเป็ นเมืองหน้าด่านทางทะเลหรื อด่านใต้ มาตั้งแต่
ครั้งอดีต แขวงคลองเตย เปิ ดที่ทาํ การแขวงให้บริ การประชาชน เมื่อปี พ.ศ. 2521 ต่อมาเมื่อวันที่ 27 เมษายน
พ.ศ. 2532 ได้มีประกาศกรุ งเทพมหานคร จัดตั้งเป็ นสํานักงานเขตพระโขนงสาขา 1รับผิดชอบในพื้นที่เขต
ปกครองแขวงคลองเตย แขวงคลองตัน และแขวงพระโขนงวันที่ 9 พฤศจิกายน พ.ศ. 2532กรุ งเทพมหานคร
ได้ประกาศให้สํานักงานเขตพระโขนงสาขา 1 เป็ นสํานักงานเขตคลองเตย มีที่ทาํ การตั้งอยูอ่ าคารเลขที่ 599
สามแยกกล้วยนํ้าไท แขวงคลองเตยกรุ งเทพมหานคร (อาคารปั จจุบนั )วันที่ 31 มีนาคม พ.ศ. 2538 มีประกาศ
กรุ งเทพมหานครให้เปลี่ยนแปลงพื้นที่เขตคลองเตย เป็ นเขตคลองเตย และเขตคลองเตย สาขา 1 แบ่งพื้นที่
การปกครองออกเป็ น 6 แขวง ใช้ถนนสุ ขุมวิทเป็ นเส้นแบ่งเขต ให้พ้ืนที่อยู่แขวงทิศเหนื อของถนนสุ ขุมวิท
ประกอบด้วย แขวงคลองเตยเหนื อ แขวงคลองตันเหนื อ และแขวงพระโขนงเหนื อ เป็ นพื้นที่ของสํานักงาน
เขตคลองเตยสาขา 1 ต่อมาได้มีการประกาศกระทรวงมหาดไทย ลงวันที่ 14 ตุลาคม พ.ศ. 2540 เปลี่ยนแปลง
พื้นที่เขตคลองเตย และแต่งตั้งเขตคลองเตยสาขา 1 เป็ นเขตวัฒนา ซึ่ งมีผลตั้งแต่วนั ที่ 6 มีนาคม พ.ศ. 2541 มี
ที่ต้ งั ในปั จจุบนั ส่ วนเขตการปกครองด้านทิศใต้ ประกอบด้วยแขวงคลองเตย แขวงคลองตัน และแขวงพระ
โขนงเป็ นพื้นที่เขตการปกครองของเขตคลองเตยในปั จจุบนั

ภาพที่ 2.1 แสดงที่ต้ งั ของเขตคลองเตย


6

คลองเตยเป็ นชุ ม ชนขนาดใหญ่ ที่ ต้ งั มานานหลายสิ บ ปี ทํา ให้เ กิ ด กลุ่ ม องค์ก รที่ สํา คัญ รวมถึ ง
เหตุการณ์ตื่นเต้น น่าสนใจ และน่าจดจํามากหลายเหตุการณ์ ดังที่จะนําเสนอให้เห็นดังนี้
ด้ านภูมิสังคม
“ภูมิ” หมายถึง ภูมิประเทศ ภูมิอากาศ และสภาพแวดล้อมของท้องถิ่น ส่ วน "สังคม" คือ กลุ่มคนที่
อยูอ่ าศัย และทํามาหากินในพื้นที่
การพัฒนาโดยยึดหลัก “ภูมิสังคม” หมายถึงการคํานึงถึงสภาพภูมิประเทศ ภูมิอากาศของบริ เวณนั้น
ๆ ขณะเดี ยวกันก็คาํ นึ งถึ งลักษณะนิ สัยใจคอ ชี วิตความเป็ นอยู่ และวัฒนธรรมประเพณี ทอ้ งถิ่นของผูค้ นใน
พื้นที่ ควบคู่ กนั ไปด้วย ดังพระราชดํารั สตอนหนึ่ ง ความว่าการพัฒนาจะต้องเป็ นไปตามภูมิประเทศทาง
ภูมิศาสตร์ และภูมิประเทศทางสังคมศาสตร์ คือนิสัยใจคอของคนเรา จะไปบังคับให้คนอื่นคิดอย่างอื่นไม่ได้
เราต้องแนะนํา เราเข้าไปช่วย โดยที่จะคิดให้เขาเข้ากับเราไม่ได้ แต่ถา้ เราเข้าไปแล้ว เราเข้าไปดูวา่ เขาต้องการ
อะไรจริ ง ๆ แล้วก็ อ ธิ บ ายให้ เขาเข้า ใจ หลัก การของการพัฒนานี้ จะเกิ ด ประโยชน์ อ ย่า งยิ่ง ในปั จ จุ บ ัน
คลองเตยมี ค วามแตกต่ า งจากอดี ต เป็ นอย่า งมาก อัน เนื่ อ งมาจากสภาพสั ง คม สภาพเศรษฐกิ จ จํา นวน
ประชากร ปั ญหาของชุ มชนและอื่น ๆ ที่เปลี่ ยนแปลงไป 3.3.1 ข้อมูลทัว่ ไปทางสังคมของเขตคลองเตยเขต
คลองเตย เป็ น 1 ใน 50 เขตการปกครองของกรุ ง เทพมหานคร อยู่ใ นกลุ่ ม เขตเจ้า พระยา ซึ่ ง ถื อเป็ นเขต
เศรษฐกิ จ ใหม่ และการพัฒ นาตามแนววงแหวนอุ ต สาหกรรม เขตคลองเตย29 ซึ่ งเกิ ด มาจาก
กระบวนการพัฒนาตามแผนการพัฒนาของประเทศไทย ทําให้ตอ้ งมีท่าเรื อ เป็ นแหล่งเชื่ อมโยงทางการค้า
ภายในประเทศ และระหว่างประเทศ เพื่อความสะดวกสบายในการขนส่ งผลิตภัณฑ์ เครื่ องอุปโภค บริ โภค มี
รายละเอียดที่สําคัญทางด้านภูมิสังคม โดยมี ประชากรทั้ง 3 แขวงของเขตคลองเตย มีจาํ นวน 121,575 คน
แยกเป็ นชาย 58,727 คน และหญิง 62,484 คน
ที่ต้ งั ชุ มชนคลองเตยในปั จจุบนั นี้ น้ นั คือ เมืองปากนํ้าพระประแดงโบราณ ทางฝั่งตะวันออกลํานํ้า
เจ้าพระยาอยูร่ ะหว่างคลอง พระโขนงกับคลองช่องนนทรี (ปั จจุบนั เป็ นที่ทาํ การของการท่าเรื อแห่ งประเทศ
ไทย)ในทางภูมิศาสตร์ บริ เวณ นี้ เป็ นบริ เวณที่น้ าํ ในแม่น้ าํ เจ้าพระยาไหลขึ้นเหนื อ บังคับให้เรื อต้องแล่นช้า
เพราะจะต้องทวนนํ้าทวนลมเหมาะสําหรับตั้งด่านตรวจ การเข้าออกจึงเป็ นเมืองหน้าด่านทางทะเล หรื อด่าน
ใต้ม าตั้ง แต่ ครั้ งอดี ตทั้ง ในสมัย ละโว้ ราวพุ ทธศัก ราช 1400 ซึ่ ง ขอมแผ่อาํ นาจ ปกครองแถบลุ่ ม แม่ น้ าํ
เจ้าพระยาไว้ท้ งั หมดและในสมัยอยุธยาเมื่อสมเด็จพระรามาธิ บดีที่1(พระเจ้าอู่ทอง)ออกจากสุ พรรณบุรีมา
สร้าง “กรุ งเทพทวาราวดีศรี อยุธยา ฯ” (หรื อกรุ งศรี อยุธยา)ในพุทธศักราช 1893 ได้แผ่อาํ นาจปกครองกรุ ง
สุ โขทัยมีอาํ นาจเหนือเขมรและ ทางใต้ลงไปถึงแหลมมลายู) หลักฐานทางประวัติศาสตร์ และโบราณคดีของ
เมืองพระประแดงที่คลองเตยปรากฏเด่นชัด ก็คือ ศาลพระประแดง (หรื อศาลเจ้าพ่อ พระประแดง) ที่มีอายุ
ยืนยาวมาจนถึงทุกวันนี้ ตั้งแต่ราวพุทธศักราช 2401 ก่อนสมเด็จพระไชยราชา ขุดคลองลัดบางกอก สมเด็จ
พระรามาธิ บดีที่ 2 ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าให้ขุดชําระคลองสําโรงและคลองหัวตะเข้ พบเทวรู ปทอง
สัมฤทธิ์ 2 องค์ระหว่างคลอง สําโรงต่อกับคลองทับนาง โปรดเกล้าให้สร้ างศาลประดิษฐานไว้ที่เมืองพระ
ประแดงศาลพระประแดงที่เมืองพระประแดงนี้ ปรากฏใน นิ ราศเมืองแกลงของสุ นทรภู่ ซึ่ งแต่งเมื่อต้นปี
7

พุทธศักราช2350 ว่า”ถึงเชิ งไทรศาลพระประแดงแรง” ยังปรากฏในนิราศถลางของ หมื่นมี (หมื่นพรหม


สมพัตสร) ว่า “ถึ งศาลเจ้าพระประแดงแสยงเกล้า ” และในโคลงนิ ราศพระยาตรัง ซึ่ งแต่งเมื่อคราวไปทัพ
เมืองถลาง ในปี พุทธศักราช 2352 กล่าวถึงศาลพระประแดงไว้ดงั นี้ พระแผดงเรื องฤทธิ์ ไท้ เทพารักษ์ นา สิ ง
สถิ ตย์ศ าลสมญา ชื่ อไว้ แม้จ่ ึ ง จัก บู ช า เชอญเทพย ท่ า นแฮ ดาลเดื อดทรวงไท้ เหื อดร้ อน แรงกระสัน ฯ
เทวรู ปสององค์ คือ พระยาแสนตาและบาทสังขกรนั้น เมื่อครั้งพระยาละแวกเจ้าเมืองกัมพูชายกทัพเรื อเพื่อ
ขึ้นไปตี กรุ งศรี อยุธยา ได้ ยึดเมืองปากนํ้าพระประแดงเป็ นที่มนั่ ในปี พุทธศักราช 2121แต่ตีกรุ งศรี อยุธยาไม่
สําเร็ จเมื่อล่าทัพกลับได้ขนเอาเทวรู ป2องค์กบั ไป เมืองเขมรด้วยแม้วา่ ศาลพระประแดงจะไม่มีเทวรู ปแต่ยงั มี
ผูค้ นนับถื ออยูด่ งั ที่ปรากฏพยานหลักฐานในโคลงกลอนนิ ราศข้างต้นนั้น สําหรับเมืองพระประแดงจังหวัด
สมุทรปราการหรื อ“ปากลัด”สร้างในสมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬาโลกและสําเร็ จเรี ยบร้อยใน
สมัยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย (วางเสาหลักเมืองเมื่อวันที่ 2 มิถุนายน 2358) พระราชทานชื่อ
ว่า “เมืองนคร เขื่อนขันธ์”
ต่อมาในปี พุทธศักราช 2458 พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัวได้ทรงเปลี่ ยนชื่ อเป็ น
จังหวัดพระประแดง ส่ วนที่ ตั้งอํา เภอเมื องสมุ ทรปราการ หรื อ “ปากนํ้า” ในปั จจุบ นั สร้ างตรงที่ บาง
เจ้าพระยา คือ ตําบลปากนํ้าในปั จจุบนั อยูร่ ะหว่างคลอง ปากนํ้ากับคลองมหาวงศ์ (วางเสาหลักเมืองเมื่อวันที่
16 กุมภาพันธ์ 2365) พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงโปรดเกล้า ให้พระเจ้าลูกยาเธอกรมหมื่น
เจษฎาบดิ นทร์ (พระบาทสมเด็จพระนั่งเกล้าเจ้าอยู่หัว) กับพระยาพระคลัง (ดิ ศ) เป็ นแม่กองควบคุ มการ
ก่อสร้างเมือง เสร็ จเรี ยบร้อยในปี พุทธศักราช 2366 (หมายเหตุ จากหลักฐานหนังสื อคําให้การของชาวกรุ ง
เก่าระบุว่า สมเด็จพระจ้า ทรงธรรม (พ.ศ.2136-พ.ศ.2171) ได้โปรดให้สร้างเมืองสมุทรปราการบริ เวณใต้
คลองบางปลากด สันนิ ษฐานว่า สร้ างเมื องขึ้นแทน เมืองปากนํ้าพระประแดงที่คลองเตย เนื่ องจากชายฝั่ ง
ทะเลงอกออกไป และมีชาวฮอลันดาเข้ามาติดต่อค้าขายตั้งคลังสิ นค้าของ ตนโดยเรี ยกชื่ อเมืองของตนว่า นิ ว
อัมสเตอร์ ดมั ทําให้บริ เวณนี้ เจริ ญขึ้นมีผคู ้ นมาติดต่อค้าขายและตั้งบ้านเรื อนร้านค้าหนาแน่น ต่อมา ในสมัย
สมเด็ จพระนารายณ์ ม หาราชไทยได้ติ ดต่ อกับ ฝรั่ ง เศสและมี ข ้อ พิ พ าทกับ ฮอลันดา ฮอลันดาจึ ง ทอดทิ้ ง
คลังสิ นค้า เมือง สมุทรปราการจึงเป็ นเมืองร้าง ขณะนี้หาซากเมืองไม่พบ) คลองถนน
8

ภาพที่ 2.2 ภาพถ่ายทางอากาศ แสดงให้เห็นคลองหัวลําโพงที่เริ่ มต้นจากคลองผดุงกรุ งเกษม ผ่านหน้าสถานี


รถไฟหัวลําโพงเลียบคู่ถนนพระรามที่ 4 ผ่านคลองเตย และจากหลักฐานภาพถ่าย ตลอดจนคลิปวิดีโอ. ที่
ชาวต่างชาติได้ถ่ายเอาไว้ในสมัยรัชกาลที่ 5 พบว่า คลองนี้ ยงั คงยาวเลียบคู่กบั ทางรถไฟสายปากนํ้า ไปสิ้ นสุ ด
บรรจบกับปากแม่น้ าํ เจ้าพระยา ที่บริ เวณจังหวัดสมุทรปราการ

ตรง (คลองหัวลําโพงและคลองเตย) ถนนพระรามที่ 4 คลองถนนตรงถือได้วา่ เป็ นถนนสายแรก ๆ ในรัชกาล


ที่ 4 ซึ่ งสร้าง ขึ้นตามแบบตะวันตก โดยนํามูลดินที่ได้จากการขุดคลองมาถมทําเป็ นถนนขนานไปกับคลอง
สร้างภายหลังขุดคลองผดุงกรุ งเกษม (และถนนกรุ งเกษม) และสร้างป้ อมตามแนวคลองเป็ นระยะ ๆ แล้ว
เหตุที่ขดุ คลองถนนตรง ตั้งแต่ป้อมผลาญไพรี ราบ (บริ เวณตลาด หัวลําโพงในปั จจุบนั )จาก

ภาพที่ 2.3 คลองหัวลําโพงในปัจจุบนั กลายเป็ นคลองที่ตนั หัวตันท้าย มีระยะทางยาวเหลือเพียงประมาณ 2


กม.เศษเท่านั้น โดยเริ่ มจากตลาดคลองเตยไปสิ้ นสุ ดที่ประตูน้ าํ ปากคลองพระโขนง ปัจจุบนั คลองหัวลําโพง
มีบทบาทเป็ นแก้มลิง รองรับนํ้าบริ เวณรอบ ๆ คลองเตย เช่น เขตวัฒนา พระโขนง และลุมพินี
9

คลองผดุ งกรุ งเกษมฝั่ งนอกตรงหัวลําโพง ตัดทุ่งลงไปถึ งคลองพระโขนง เนื่ องจากพ่อค้าชาวต่างประเทศ


ที่ต้ งั ร้านริ มแม่น้ าํ ข้างใต้พระนคร รวมถึงกงสุ ลอังกฤษ สหรัฐอเมริ กา และฝรั่งเศสได้เข้าชื่ อขอร้องต่อกรมท่า
ว่า เรื อลูกค้าที่ข้ ึนมาค้า ขายถึงพระนครต้องแล่นทวนนํ้า ถึงหน้านํ้า นํ้าเชี่ยวมาก กว่าจะเดินทางถึงพระนครก็
ต้องใช้เวลาหลายวัน จะขอไปตั้งห้างซื้ อขายที่ ใต้ปากคลองพระโขนงลงไปจนบางนา ขอให้ผคู ้ รองแผ่นดิน
ฝ่ ายไทยสงเคราะห์ขุดคลอง (และทําถนน) เป็ นทางลัดให้ไปมาค้าขาย ถึงพระนครได้สะดวก จึงทรงพระ
กรุ ณาโปรดเกล้าให้เจ้าพระยารวิวงศ์โกษาธิ บดี (ขํา บุญนาค ต่อมาคือ เจ้าพระยาทิพากรวงศ์) ที่ พระคลัง จ้าง
กรรมกรจีนขุดในปี พุทธศักราช 2400 คลองกว้าง 6 วา ลัก 6 ศอก ยาว 207 เส้น2 วา 3 ศอก สิ้ นค่าจ้างทั้งขุด
คลองถม ถนนเบ็ดเสร็ จเป็ นเงิน 16,633 บาท พระราชทานชื่ อว่า คลองถนนตรง แต่ภายหลังต่อมา จะเป็ น
ด้วยเหตุใดไม่ปรากฏ พวกฝรั่งหาได้ ย้ายลงไปตั้งห้างตามที่คิดไว้แต่เดิมไม่ โดยอ้างว่าไกล คลองถนนตรงนี้
เรี ยกกันเป็ นสามัญว่า คลองวัวลําพองและเรี ยกถนนว่า ถนน วัวลําพองรวมถึงสะพานวัวลําพองตามชื่ อทุ่งนา
ที่ถนนและคลองตัดผ่าน (ตั้งบริ เวณสถานี รถไฟหัวลําโพงจนถึงบริ เวณโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ในปั จจุบนั
เป็ นที่เลี้ยงวัวมีโรงฆ่าสัตว์อยูท่ ี่คลองขวางหรื อถนนสี ลม) ปรากฏในเอกสารพระราชดํารัสเปิ ดสะพานเฉลิม
ภพ 50 ซึ่งสร้างข้ามถนนหัวลําโพงที่ถนนสุ รวงศ์ เนื่องในวโรกาสพระชนมพรรษาปี ที่ 50 ซึ่ งกรมโยธาธิ การ
ร่ างทูลเกล้าถวาย พระบาท สมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระราชทานแก้ไข คลองวัวลําพองเป็ นหัว
ลําโพงเนื่องจาก “คําว่าวัวลําพองนั้นเป็ นชื่ อกรม เมืองหลวงมาจากคําฝรั่งเรี ยกหัวลําโพงไม่ชดั ”คลองถนน
ตรงนี้ ต่อมาเรี ยกเป็ น 2 ตอน คือ คลองหัวลําโพง และคลองเตย ปรากฏใน หนังสื อเรื่ องรายงานกิจการกอง
ตะเวนในรัชกาลที่ 5 เมื่อพุทธศักราช 2434 ความว่า โรงพักที่ 14 ตั้งที่ศาลาแดงทุ่งวัวลําพองโรงพักที่ 15 ตั้งที่
คลองเตยต่อมาวันที่ 16 กุมภาพันธ์ 2462 พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้า
ให้เปลี่ยนชื่ อ ถนนหัวลําโพง (นอก) ตั้งแต่ถนนเจริ ญกรุ งถึงถนนสุ นทรโกษา เป็ นถนนพระรามที่ 4 เพราะ
เป็ นถนนที่พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้า เจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 4 โปรดเกล้าให้สร้างขึ้นโดยนํามูลดินจากการ
ขุดคลองลัดจากคลองผดุ งกรุ งเกษมไปถึงคลองเตย มาสร้ างในปี พุทธศักราช 2490 ได้มีการขยายถนน
พระรามที่ 4 ให้กว้างขึ้น จึงต้องถมคลองหัวลําโพงและคลองเตยบางส่ วนเป็ นถนนและท่อระบายนํ้ามีการรื้ อ
ถอนสะพานในชุดเฉลิมซึ่งพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าให้สร้างเนื่ อง
ในวโรกาสเฉลิมพระ
10

ภาพที่ 2.4 คลองหัวลําโพงช่วงที่เลียบไปกับทางรถไฟสายหัวลําโพง-ปากนํ้า ในภาพจะเห็นสะพานไม้ขา้ ม


คลอง คือสะพานเฉลิมศักดิ์ 43

ชนมพรรษานับตั้งแต่ทรงเจริ ญพระชนมายุ 42 พรรษา เช่น สะพานเฉลิมศักดิ์ 43 (สร้างที่ถนนหัวลําโพงนอก


ตัดกับ คลองอรชรข้ามถนนสนามม้าหรื อถนนนิวแมนส์ไมล์ (Newman’s miles) ปั จจุบนั คือถนนอังรี -ดูนงั ต์)
สะพานเฉลิมเกียรติ 44 (สร้าง ข้ามคลองหัวลําโพงเชื่อมปลายถนนสาธร) สะพานเฉลิมภพ 50 และสะพาน
เฉลิมเดช 57 (สร้ างขึ้นแทนสะพานไม้เก่าข้ามคลอง หัวลําโพงปลายถนนสี่ พระยา) รวมถึ งก่อสร้ างถนน
พระรามที่ 4 ต่อจากแยกถนนสุ นทรโกษาออกไปบรรจบสุ ขุมวิทต่อมาคลองถนนตรง หรื อคลองหัวลําโพง
ตอนที่เรี ยกว่าคลองเตย เริ่ มตั้งแต่บริ เวณปลายคลองขวางหรื อคลองสี ลมต่อกับคลองหัวลําโพง มีตน้ เตยขึ้น
ตามชายตลิ่งริ มคลองด้านใต้ตลอดแนวคลองเรื่ อยไป ต้นเตยเป็ นไม้พุ่มขึ้นเป็ นกอก็มี โดดเดี่ ยวก็มี มีหลาย
ชนิดในสกุล Pandamus วงศ์ Pandanaceae เช่ น ลําเจียก กระแซง ต้นเตยที่ คลองเตยเป็ นเตยหอมมีชื่อทาง
วิทยาศาสตร์ คือ AmaryllifoliusRoxb.ใบใช้ปรุ งแต่งกลิ่ นและสี ในการทําขนมหรื ออาหารบางชนิ ด ใบเตย
หอมยังมีสรรพคุ ณเป็ นชาสมุนไพร แก้ร้อนในกระหายนํ้า ช่ วยขับปั สสาวะ เป็ นต้นในนิ ราศเมืองเพชรของ
สุ นทรภู่ซ่ ึ งแต่งเมื่อราว พุทธศักราช 2388 -2392 เมื่อมีอายุ 60 ปี เศษอยูใ่ นอุปการะของพระบาทสมเด็จพระ
ปิ่ นเกล้าเจ้าอยู่หัวและกรมหมื่ นอัป สรสุ ดาเทพ พระเจ้า ลู กเธอในพระบาทสมเด็ จพระนั่งเกล้า เจ้า อยู่หัว
ปรากฏชื่ อคลองเตยซึ่ งสุ นทรภู่ ลงเรื อไปตามคลองน้อย ผ่านวัดหงส์ รัตนาราม วัดพลับ (วัดราชสิ ทธิ ราราม)
วัดสังข์กระจาย คลองบางลําเจียก คลองเตย (คลองต้นไทรจวนถึ งตลาดพลู) ถึ งคลองบางหลวง ( คลอง
บางกอกใหญ่) ไปตามทางคลองด่าน
11

คลองเตย อําเภอพระโขนงน่าจะได้ชื่อมาจากชื่ อคลองเตยนี้ แต่ตน้ เตยแตกต่างพันธุ์กนั เป็ นเตย


ทะเล(Odoratissimus Linn.)ขณะ ที่ตน้ เตยริ มตลิ่งชายคลองเตย ตําบลคลองเตยเป็ นเตยหอมดังกล่าวมาแล้ว
นั้น

ประวัติการก่ อกาเนิดชุ มชนคลองเตย


จากการก่อสร้ างท่าเรื อกรุ งเทพ ของการท่าเรื อแห่ งประเทศไทย ในช่วงเวลาตั้งแต่ปี พ.ศ.2481 –
2490 นั้น ได้ก่อให้เกิ ดความเปลี่ ยนแปลงกับคลองเตยอย่างรุ นแรง การก่ อสร้ างท่าเรื อกรุ งเทพ มี ความ
จําเป็ นต้องใช้วสั ดุก่อสร้าง และแรงงานจํานวนมาก จึงมีการจ้างแรงงานช่ าง และแรงงานกรรมกรไทยเป็ น
จํานวนมาก แรงงานส่ วนใหญ่ถูกนํามาจากต่างจังหวัด และสร้ างแค้มป์ พักคนงานในบริ เวณที่ดินของการ
ท่าเรื อแห่งประเทศไทยนัน่ เอง
ในการสร้างท่าเรื อ มีความจําเป็ นต้องใช้ที่ดินเป็ นจํานวนมาก จึงมีการเวนคืนที่ดินจากพระยาสุ นทร
โกษา หลวงอาจณรงค์ และตระกูล ณ ระนอง ซึ่ งมีที่ดินติดริ มฝั่ งแม่น้ าํ เจ้าพระยาตั้งแต่ช่องนนทรี จนถึงริ ม
คลองพระโขนง ซึ่ งที่ดินบริ เวณดังกล่าวนี้ เป็ นที่นาของทั้งสามตระกูลดังกล่าว
นอกจากนี้ ยังมีวดั อีกสามแห่ งที่ถูกเวนคืน เพื่อเอาที่ดินไปสร้ างเขื่อนเทียบเรื อสิ นค้า ประกอบด้วย
วัดเงิ น วัดทอง และวัดไก่ เตี้ ย โดยมีการสร้ างวัดธาตุ ทอง เอกมัยขึ้นใหม่ เพื่อรองรับพระสงฆ์จากวัดที่ถูก
เวนคืนธรณี สงฆ์น้ นั
ในขณะที่ในคลองหัวลําโพง ก็มีเรื อกระแชงที่รับจ้างขนวัสดุ ก่อสร้ างให้การท่าเรื อ เมื่อเสร็ จงาน
แล้วก็ถือโอกาสยึดริ มคลองจอดเรื อ และขึ้นบกหางานทํา โดยใช้เรื อกระแชงเป็ นที่พกั อาศัยริ มตลิ่ ง ตลอด
แนวตั้งแต่ปากคลองพระโขนง ไปจนถึงท้ายตลาดคลองเตย บริ เวณที่เรื อกระแชงเหล่านี้ ชุมนุ มกันมากที่สุด
ก็คือบริ เวณด้านหลังอาคารทวิช หรื อบริ เวณสะพานข้ามคลองหัวลําโพง ถนนเกษมราษฎร์ ซึ่ งต่อมา ได้มี
เจ้าของเรื อบางคนสร้างเรื อนแพหลังเล็ก ๆ ขึ้น และใช้เป็ นที่ให้เช่าค้าประเวณี จนชาวชุ มชนเรี ยกบริ เวณนี้ วา่
“เรื อนแพ” ปั จจุบนั เป็ นที่ต้ งั ของชุมชนริ มคลองสามัคคี
จากการหลัง่ ไหลของแรงงานต่างจังหวัด ทําให้การท่าเรื อไม่ประสบความสําเร็ จในการจัดการกับ
ชุ มชนแค้มป์ คนงานในพื้นที่ แม้วา่ จะรับคนงานเหล่านี้ เข้าเป็ นพนักงานการท่าเรื อ และสร้ างบ้านให้อยู่กนั
เป็ นสัดส่ วนแล้วก็ตาม แต่ก็ปรากฏว่าพนักงานของการท่าเรื อเหล่านี้ เอง ที่เป็ นคนไปชักชวนแรงงานที่อพยพ
เข้ามาหางานทํากับฐานทัพอเมริ กนั ให้เข้ามาปลูกสร้างบ้านพักชัว่ คราวบริ เวณหลังบ้านพนักงานการท่าเรื อ
จึงเรี ยกชุมชนเหล่านี้วา่ “ล็อก” ตามล็อกห้องแถวบ้านพักพนักงานการท่าเรื อ คือตั้งแต่ล็อก 1 ถึง ล็อก 12
หลังจากรัฐบาลเริ่ มจัดการกับสลัมย่อย ๆ ในพื้นที่ต่าง ๆ โดยการไล่ร้ื อ ทําให้ชาวสลัมที่ถูกไล่ร้ื อพากันอพยพ
เข้ามายึดพื้นที่รอบ ๆ พื้นที่ใช้งานของการท่าเรื อ และปลูกสร้างบ้านเรื อนขึ้นมา ในประมาณปี 2510 จนถึง
2513 พื้นที่คลองเตยจึงกลายเป็ นสลัมขนาดใหญ่ และการท่าเรื อก็เริ่ มใช้วิธีรุนแรงในการผลักดันสลัมเหล่านี้
ออกไปจากพื้นที่ เริ่ มจากสลัมรอบในที่ อยู่ติดกับลานและโกดังสิ นค้าของการท่าเรื อ โดนขับไล่ ด้วยการ
นํา เอาเลนที่ เรื อขุดดู ดขึ้ นมาจากสั นดอน มาพ่นใส่ พ้ื นที่ ต้ งั สลัม จนทํา ให้ช าวบ้า นต้องรื้ อย้า ยบ้านเบี ย ด
12

รวมเข้าไปกับสลัมใหม่หลังบ้านพักพนักงานการท่าเรื อ บางส่ วนย้ายหนี ลงไปสมทบกับสลัมรอบ ๆ ทําให้


กลายเป็ นสลัมขนาดใหญ่ข้ ึน ในช่วงเวลานี้ ได้เกิดปั ญหาเพลิงไหม้ชุมชนเป็ นประจําทุกปี
เพลิงโหมไหม้ชุมชนโรงหมู ซึ่ งในอดีตมักเกิดในช่วงเวลาที่การท่าเรื อติดประกาศขับไล่ชุมชน ให้
ย้ายออกไปจากที่ดินของการท่าเรื อจนกระทัง่ ถึงปี พ.ศ.2520 ในสมัยรัฐบาลพล.อ.เปรม ติณสู ลานนท์ จึงเริ่ ม
ผ่อนคลายความรุ นแรงลง เนื่ องจากรั ฐบาลมี นโยบายในการประนี ป ระนอมกับ สลัม มากขึ้ น และสลัม
คลองเตย เป็ นสลัมแห่ งแรก ที่รัฐบาลทดลองนําโครงการพัฒนาต่าง ๆ เข้ามา เพื่อพัฒนาสลัมคลองเตยเป็ น
การนําร่ องไปสู่ การพัฒนาสลัมในที่ ต่าง ๆทัว่ ประเทศไทยสลัมคลองเตย จึงเป็ นสลัมแม่บทในการพัฒนา
และยกระดับ แหล่ งเสื่ อมโทรมที่ ผิดกฎหมาย ให้กลายเป็ นที่ อยู่อาศัยของผูม้ ี รายได้น้อย และสามารถอยู่
ร่ วมกับสังคมเมืองได้อย่างกลมกลืนปี 2521 มีการทดลองจัดตั้งผูน้ าํ ชุมชนขึ้น โดยการแยกสลัมออกเป็ นส่ วน
ๆ ได้ท้ งั หมด 18 สลัม และให้แต่ละสลัมมีคณะผูน้ าํ ของตัวเอง
มีการยกเลิกคําเรี ยกว่า “สลัม” ที่หมายถึ งแหล่งเสื่ อมโทรม ให้เรี ยกว่า “ชุ มชนแออัด” แทน ดังนั้น คําว่า
ชุ มชนนั้น ชุ มชนนี้ ที่อยูใ่ นคลองเตย จึงมีความหมายที่มาจากคําว่าชุ มชนแออัด โดยเรี ยกสั้น ๆ ว่า “ชุมชน”
คําว่าชุ มชนในคลองเตย จึงมีความหมายที่ไม่ตรงกับคําว่าชุ มชน (Community) แต่มีความหมายที่ตรงกับคํา
ว่า “Resident” อันหมายถึงหมู่บา้ นธรรมดา ๆ เท่านั้นคณะผูน้ าํ สลัม จึงถูกเรี ยกชื่ อว่า “คณะกรรมการชุมชน”
มาตั้งแต่บดั นั้น ดังนั้น หากเรี ยกว่า “ชุมชนคลองเตย” (Klongtoey Community) จะมีความหมายถึงพื้นที่ ที่
เป็ นศูนย์รวมของทุกอย่างทั้งที่พกั อาศัย ย่านการค้า แหล่งอาชี พ โรงเรี ยน สถานศึกษา โรงพยาบาล สถานที่
ราชการ สถานี ขนส่ ง และสถานบันเทิงสถานที่ราชการ อย่างเช่นสํานักงานเขตคลองเตย หรื อ สถานีตาํ รวจ
นครบาลท่าเรื อ ก็มีความหมายเป็ นชุ มชนคลองเตยด้วยเช่นกันแต่หากเรี ยกว่า “ชุ มชนหมู่บา้ นพัฒนา 70 ไร่ ”
ชุ มชนร่ มเกล้า หรื อ ชุมชนอื่น ๆ ขอให้เข้าใจความหมายว่าเป็ นเพียงหมู่บา้ นเท่านั้น ไม่ใช่ชุมชนแต่อย่างใด
เพราะคําว่าชุมชนข้างหน้าชื่อนั้น หมายความมาจากคําว่าชุมชนแออัดเท่านั้นเอง

2.2 สภาพทัว่ ไปของแขวงคลองเตย


ชุ มชนระดับเขต คือชื่ อของระดับการปกครองของรั ฐบาลระดับเดี ยวกับอําเภอ ซึ่ งเป็ นระดับสอง
รองมาจากจังหวัด แต่ใช้เฉพาะในกรุ งเทพมหานคร ในแต่ล ะเขตจะแบ่งย่อยออกเป็ น แขวง ในปั จจุ บ นั
กรุ งเทพ ฯ มี 50 เขต ประกอบด้วย ชุ มชนระดับตํา บล 3 หน่ วย จํานวนหน่ วยที่ อยู่อาศัยประมาณ 4,800
หน่วย (3,600-6,000 หน่วย) จํานวนประชากรประมาณ 24,000 คน (18,000-30,000 คน) แขวงคลองเตย เป็ น
แขวงที่ใหญ่ที่สุดในเขตคลองเตย มีพ้ืนที่ 6,131 ตร.กม. เป็ นที่ต้ งั ของส่ วนราชการ และศูนย์กลางธุ รกิ จที่
สําคัญ เช่ นการท่าเรื อแห่ งประเทศไทย โรงงานยาสู บ คลังนํ้ามันปิ โตรเลียม กรมศุลกากร ศูนย์การประชุ ม
แห่งชาติสิริกิต์ ิ และเป็ นที่ต้ งั ของชุมชนที่เก่าแก่ และใหญ่ที่สุดในประเทศ
ศาสนา
ประชาชนส่ วนใหญ่นับถื อศาสนาพุทธ มี บา้ งที่ นบั ถื อศาสนาคริ สต์ เนื่ องจากมี องค์กรไม่หวังผล
กําไรของศาสนาคริ สต์ เข้าไปตั้งอยูใ่ นชุ มชนหลายองค์กร จึงทําให้เกิดการเผยแพร่ ศาสนาคริ สต์ให้กบั ชาว
13

ชุมชนในบางชุมชนมีกลุ่มคนนับถือศาสนาอิสลาม ซึ่ งอยูร่ วมกันเป็ นกลุ่ม มีวิถีชีวิตตามแนวทางของศาสนา


อิสลาม แต่ลกั ษณะการดํารงชีวติ ทัว่ ไป เป็ นไปตามปกติ สามารถอยูร่ ่ วมกับผูน้ บั ถือศาสนาอื่น ๆ เช่น ศาสนา
พุทธ ศาสนาคริ สต์ ได้ โดยไม่เกิดความแปลกแยก หรื อการแบ่งกลุ่มทางศาสนา
อาชีพ
ประชาชนส่ วนใหญ่ มีอาชี พรั บ จ้างแบกสิ นค้า ในบริ เวณท่า เรื อ กรรมกร รั บ จ้างทัว่ ไป บางส่ วน
ค้าขาย มีรายได้เป็ นรายวัน พนักงาน ของรัฐ และรัฐวิสาหกิจ
ชุ มชนในเขตคลองเตย
ภายในชุมชนคลองเตยในขณะนี้ มีการรวมตัวของคนในชุ มชน ก่อตั้งเป็ นคณะกรรมการชุมชนของ
แต่ละชุ มชนจํานวน 41 ชุ มชนขึ้น เป็ นเพราะว่าชาวชุ มชนคลองเตยเอง หาได้นิ่งนอนใจไม่ต่อการพัฒนา
ปรับปรุ ง เปลี่ยนแปลง และแก้ไขปั ญหาต่าง ๆ ของชุ มชน ตามที่สังคมกล่าวหา หรื ออาจจะเป็ นความจริ งใน
บางครั้ง บางกรณี จึงทําให้เกิดการรวมตัว รวมกลุ่มของคนในชุ มชน เพื่อร่ วมกันคิด ร่ วมกันทํา และร่ วมกัน
แก้ไขปั ญหาให้คลี่ คลายอย่างเป็ นรู ปธรรมในลักษณะกองทุ น หรื อองค์กรของชุ มชนเอง โดยจําแนกตาม
ลักษณะของชุมชน ในลักษณะทางกายภาพของชุมชน มี 4 ลักษณะ ในรายละเอียดดังนี้
1) ชุ ม ชนแออัด มี ล ัก ษณะเป็ นชุ ม ชนที่ ส มาชิ ก ของชุ ม ชนเข้า ไป ในพื้ น ที่ ข องผูอ้ ื่ น โดยเฉพาะ
หน่ วยงานราชการเช่ น พื้นที่ของการท่าเรื อแห่ งประเทศไทย ลักษณะเป็ น บ้านเรื อนที่ปลูกติ ดกันอย่างไร้
ระเบียบ ซึ่ งขาดความมัน่ คงในที่อยูอ่ าศัย เพราะมีปัญหาเรื่ องไฟไหม้และการไล่รอบ่อยครั้ง
2) ชุมชนเมือง มีลกั ษณะเป็ นอาคารพาณิ ชย์ ซึ่ งมีท้ งั เก่าและใหม่ โดยอาคารพาณิ ชย์ที่อายุมากกว่า 30
ปี มักเป็ นอาคารพาณิ ชย์ 2 ชั้นครึ่ ง และ อาคารพาณิ ชย์ใหม่มกั มี 4 ชั้นครึ่ ง โดยอาคารพาณิ ชย์ มักเกาะกลุ่ม
สร้างพร้อม ๆ กันรู ปทรงเดียวกัน ประมาณ 8-10 คูหาต่อการมีช่องว่างระหว่างคูหา
3) เคหะชุ มชน มีลกั ษณะเป็ นอาคารแฟลตตั้งแต่ 5 ชั้นขึ้นไป โดยมีท้ งั หมด 24 แฟลตด้วยกัน แยก
เป็ น 4 กลุ่มคือ แฟลต 1-10 แฟลต 11-18 แฟลต 19-22 และ แฟลต 23-24 โดยแต่ละห้องจะมีขนาดเดี ยวกัน
เช่น 32 ตารางเมตร โดยอาคารแฟลตเป็ นการออกแบบให้สมาชิ กพักอาศัยเป็ นหลัก และ ออกไปทํางานนอก
ที่พกั แต่จะมี บางห้องดัดแปลงเป็ นร้านค้า ร้านอาคาร ร้านซักรี ด และ ร้านเกมส์
4) ชุ ม ชนบ้า นจัด สรร มี ล ัก ษณะเป็ นบ้า นที่ ผูป้ ระกอบการสร้ า งขึ้ น มี ก ารจัด สาธารณู ป โภคที่ ดี
ลักษณะบ้านเป็ นระเบียบ
เมื่อเปรี ยบเทียบจากลักษณะชุมชนกับการมีกองทุนสวัสดิการของชุ มชน ในพื้นที่คลองเตยพบว่าใน
41 ชุ มชนที่ ข้ ึ นทะเบียนกับสํานักงานเขตคลองเตย โดยแต่ละชุ มชนอาจมี กองทุนมากกว่า 1 กองทุ นโดย
ชุ มชนที่พบว่ามีกองทุนในชุ มชนสู งสุ ดคือ 4 กองทุน และ บางชุ มชนไม่มีกองทุนเลย โดยรวมทั้งสิ้ นมี 43
กองทุน
1) ชุมชนเกาะกลาง
เป็ นชุมชนขนาดเล็กที่มีทางเข้าชุมชนเพียงทางเดียว คือ ซอยสุ ขุมวิท 48 ในชุ มชนพื้นที่ 4 ไร่ ซ่ ึ งเป็ น
พื้นที่ของสํานักทรัพย์สนส่ วนพระมหากษัตริ ยท์ ้ งั หมด ลักษณะบ้านเรื อนในชุ มชนส่ วนมากเป็ นบ้านไม้ช้ นั
14

เดียวบ้าง บ้านไม้ 2 ชั้นบ้าง มีตึกแถว อาคารพาณิ ชย์เพียง 2-3 หลัง ในชุมชนมีบา้ นที่มีเลขที่ (ทะเบียนบ้าน)
จํานวน 57 หลังคาเรื อน (เจ้าของบ้านอยู่อาศัยเอง) และมี บา้ นที่ เปิ ดให้เช่ าโดยไม่มีเลขที่ อีกประมาณ 50
หลังคาเรื อน ส่ งผลให้ชุมชนมีการเข้า-ออกของคนที่มาเช่าบ้านอยูเ่ ป็ นประจํา
2) ชุมชนล็อค 1-2-3
เป็ นชุ มชนที่มีขนาดใหญ่ที่สุดในเขตคลองเตย ตั้งอยู่ใต้ทางด่วนท่าเรื อและริ มทางรถไฟ บ้านเรื อน
ในชุมชนเป็ นบ้านไม้สองชั้น และชั้นเดียวคละกันไป ซึ่ งมีสภาพแออัดค่อนข้างทรุ ดโทรมและไม่ได้เรี ยงกัน
เป็ นระเบี ยบ มี พ้ื นที่ ท้ งั หมดกว่า 15 ไร่ พื้นที่ ต่อเนื่ องกับชุ มชนล็ อค 4-5-6 สามารถเดิ นถึ งกันได้ ภายใน
ชุมชนมีลกั ษณะเหมือนใยแมงมุม สามารถเข้าออกได้หลายทาง ทั้งด้านหน้า และด้านหลังชุ มชน ยากแก่การ
เดินของคนนอกชุมชน
3) ชุมชนล็อค 1-2-3
ไม่มีเลขที่ ซอยดํารงลัทธพิพฒั น์ 5 แขวงคลองเตย เขตคลองเตย กทม. 10110ประธาน 1 คน รอง
ประธาน 4 คน และคณะกรรมการอี ก 20 คน รวมทั้งสิ้ น 25 คนจํานวนที่ สามารถเลื อกตั้งได้ มี ประมาณ
8,000 คน (ไม่รวมเด็กที่ยงั ไม่มีสิทธิ์ เลือกตั้ง) จากจํานวน 2,000 ครัวเรื อน
4) ชุมชนคลองเตยล็อค 4-5-6
เป็ นชุมชนที่ต้ งั อยูร่ ิ มทางด่วนอาจณรงค์ ระยะทางจากทางด่วนถึงที่ทาํ การชุมชนประมาณ 500 เมตร
ซึ่ งชุ มชนนี้ เป็ นทางผ่านของชุ มชนหมู่บา้ นพัฒนา 70 ไร่ และมูลนิ ธิดวงประทีป ชุ มชนมีความสะอาดเป็ น
ระเบียบ ที่ทาํ การชุมชนมีลกั ษณะเป็ นอาคาร ซึ่ งแยกออกเป็ น 2 ส่ วน คือ ที่ทาํ การชุ มชน และอีกส่ วนหนึ่ งใช้
เป็ นสถานที่ การทํากายภาพบํา บัดของผูส้ ู งอายุ ด้า นหน้าของที่ ทาํ การชุ มชนมี ม ้านั่ง เพื่อใช้ตอ้ นรั บ แขก
บรรยากาศของชุมชนโดยรอบอากาศถ่ายเทดีมาก
5) ชุมชนซอยเจริ ญสุ ข
เป็ นชุมชนเมือง มีพ้ืนที่ขนาดใหญ่ต้ งั อยูบ่ ริ เวณถนนพระราม 4 เยื้องกับตลาดคลองเตยและอยูต่ ิดกับ
ชุ มชนริ มคลองไผ่สิงห์โต ทางเข้า-ออกชุ มชนสามารถเข้า-ออกได้หลายทางเช่ น สามารถออกซอยไผ่สิงห์
ออกซอยสุ ขุมวิท 22 ออกซอยกรี ทรัพย์ ถนนภายในชุ มชนมีการราดคอนกรี ตอย่างดี แต่ถนนค่อนข้างแคบ
ลักษณะบ้านเรื อนเป็ นตึกแถว อาคารพาณิ ชย์ (ประมาณ 4 ชั้น) และบ้านเดี่ยว บ้านเกือบทุกหลังไม่มีพ้ืนที่วา่ ง
ระหว่างบ้านแต่ละหลัง
6) ชุมชนตลาดปี นัง
เป็ นชุ มชนขนาดเล็ก ตั้งอยูบ่ ริ เวณริ มทางรถไฟสายท่าเรื อคลองเตยและอยูใ่ กล้ทางด่วนบริ เวณมุม
ถนน ณ ระนอง กับถนนพระราม 3 บริ เวณชุ มชนรายล้อมไปด้วยร้านขายเครื่ องนอน เสื่ อนํ้ามัน ร้านขนม
แบบขายส่ ง ร้ านเครื่ องสังฆภัณฑ์ สํานักงาน ธนาคาร มีท้ งั ตึกแถวและอาคารพาณิ ชย์ซ่ ึ งกล่าวได้วา่ รอบ ๆ
ชุมชนมีความเป็ นอยูแ่ ละลักษณะการประกอบอาชีพที่มีความเป็ นชุมชนเมืองค่อนข้างสู งบ้านเรื อนมีลกั ษณะ
เป็ นบ้านไม้ช้ นั เดียวบ้าง 2 ชั้นบ้างที่ค่อนข้างเก่าและคับแคบ ไม่มีการปรับปรุ ง
15

7) ชุมชนน้องใหม่
เป็ นชุ ม ชนเปิ ด มี ก ารเคลื่ อ นไหวเข้า -ออกตลอดเวลา แต่ ช าวบ้า นที่ อ ยู่ อ าศัย มายาวนานก็ มี
ความคุน้ เคยกันเป็ นอย่างดี
8) ชุมชนบ้านกล้วย
เป็ นที่ดินของการท่าเรื อ มีพ้ืนที่ประมาณ 1 ไร่ เศษ ชุ มชนตั้งอยู่ตามแนวถนนริ มทางรถไฟสายเก่า
(หลังโลตัส พระราม 4 ) ซึ่ งอยูต่ ิดกับชุ มชนร่ วมใจสามัคคี ลักษณะบ้านเรื อนส่ วนใหญ่เป็ นบ้านไม้เล็ก ๆ มี
ทั้ง 2 ชั้นและชั้นเดียว บ้านแต่ละหลังอยูต่ ิดกัน (ไม่มีพ้ืนที่วา่ งระหว่างแต่ละหลัง) หน้าบ้านนั้นจะอยูต่ ิดถนน
มาก (พอเปิ ดประตูหน้าบ้านก็ถึงถนน) และส่ วนมากบ้านแต่ละหลังจะมีรถเข็นสําหรับใช้ในการประกอบ
อาชีพ เช่น การขายลูกชิ้น ขายปลาหมึก เป็ นต้น
9) ชุมชนพัฒนาใหม่
เป็ นชุมชนแออัด และบุกรุ กที่ดินการท่าเรื อ ตั้งอยูต่ รงข้ามห้างโลตัส พระรามสี่ ใกล้กบั แยกศุลกากร
สภาพแวดล้อมไม่ค่อยถูกสุ ขลักษณะ มีภาวะมลพิษมาก สภาพบ้านเรื อนปลูกติดๆ กัน เป็ นครึ่ งปูนครึ่ งไม้
และไม้ที่ใช้ทาํ บ้านอยูอ่ าศัยไม่มีคุณภาพเท่าที่ควร มีบา้ นเรื อนทั้งหมด 507 หลังคาเรื อน
10) ชุมชนพัฒนาอาเซีย
อยู่ในซอย เป็ นบ้านส่ วนตัว ไม่ค่อยมีบา้ นเช่ า และคนในชุ มชนไม่ค่อยให้ความร่ วมมือเท่าที่ ควร
เพราะขาดผูน้ าํ ที่ดี เนื่องจากประธานไม่ได้ทาํ ประโยชน์ใดให้กบั ชุ มชน จึงไม่มีผลงาน และคณะกรรมการที่
ได้รับเลือกเข้ามาไม่มีโอกาสได้ทาํ งานร่ วมกัน ขาดการประสานงานกันระหว่างคณะกรรมการภายในชุมชน
11) ชุมชนร่ มเกล้า
เป็ นชุ มชนเปิ ดมี การเข้า -ออกของประชาชนตลอดเวลา แต่อยู่อาศัยกันแบบพี่ น้องให้ความช่ วยเหลื อกัน
ชุมชนมีขนาดปานกลางตั้งอยูร่ ิ มทางด่วนอาจณรงค์มีสภาพเหมือนชุมชนทัว่ ไปของเขตคลองเตย
12) ชุมชนร่ วมใจสามัคคี
เดิ ม ชุ ม ชนเป็ นชุ ม ชนเดี ย วกับ ชุ ม ชนบ้า นกล้วย เขตพระโขนง ตั้ง อยู่เป็ นแนวยาวเลี ย บคลองหัวลําโพง
ประมาณ 2 กิโลเมตร มีรถรางรถไฟสายแรกของประเทศไทยถึงปากนํ้า
13) ชุมชนริ มคลองไผ่สิงห์โต
เป็ นชุมชนที่ต้ งั อยูต่ รงข้ามกับตลาดคลองเตย (สี่ แยกพระราม 4) ลักษณะบ้านจะเป็ นบ้านไม้ที่อยูร่ ิ ม
คลองไผ่สิ ง ห์ โต บ้า นทั้ง 44 หลัง คาจะตั้ง อยู่เป็ นระนาบแนวเดี ย วกันและทุ ก หลัง จะทาสี บ ้า นเป็ นสี ฟ้ า
เหมือนกันหมด เพราะชุมชนเป็ นชุมชนเข้มแข็งที่สามารถพึ่งตนเองได้และเป็ นช่วงที่ พอช. เข้ามาดําเนิ นการ
เรื่ องโครงการบ้านมัน่ คงด้วย (อยู่ระหว่างการดําเนิ นการ) ชาวชุ มชนส่ วนใหญ่นบั ถือศาสนาพุทธ มีเพียง 2
ครัวเรื อนเท่านั้นที่นบั ถือศาสนาอิสลามถึงแม้ศาสนาจะต่างกันแต่ก็อยูร่ ่ วมกันฉันท์พี่นอ้ ง
16

14 )ชุมชนริ มคลองพระโขนง ( ไม่มีขอ้ มูลแสดง )


15) ชุมชนริ มคลองสามัคคี
เป็ นชุมชนที่ต้ งั อยูร่ ิ มคลองสามัคคี หรื อที่ชาวบ้านเรี ยกกันว่า “ต้นโพธิ์ ” ลักษณะบ้านเรื อนจะอยูต่ ิด
คลองสามัคคี เป็ นชุมชนที่มีความหลากหลายทั้งด้านการประกอบอาชี พ การศึกษา และความเป็ นอยูข่ องชาว
ชุมชนแต่อยูอ่ าศัยกันแบบพี่นอ้ ง มีการช่วยเหลือกันตามความสมควร
16) ชุมชนริ มทางรถไฟสายท่าเรื อ
เป็ นชุ ม ชนขนาดกลางที่ ต้ งั อยู่ริมทางรถไฟสายท่ าเรื อ ชาวชุ มชนมี ความหลากหลายทั้งด้านการ
ประกอบอาชี พ การศึกษา คนในชุ มชนเล็งเห็ นความสําคัญของการศึกษา ซึ่ งนําไปสู่ การประกอบอาชี พที่ดี
มัน่ คง มี การรับรู ้ ข่าวสารจากภายนอกพร้ อมทั้งมีการปรับเปลี่ ยนตนเองเพื่อให้ทนั กับโลกยุคปั จจุบนั และ
สามารถสร้างอาชีพในชุมชนได้
17) ชุมชนเริ่ มเจริ ญ
เป็ นชุมชนขนาดเล็ก (มีเพียง 56 หลังคาเรื อนเท่านั้น) พื้นที่ท้ งั หมดในชุ มชนเป็ นของเอกชนโดยชาว
ชุ มชนจะทําการเช่าที่เพื่อสร้างบ้าน ในชุ มชนมี 3 ซอย แต่ละซอยเป็ นซอยตันไม่สามารถเชื่ อมโยงถึ งกันได้
ทางเดินเป็ นทางราดคอนกรี ตที่มีมูลสุ นขั อยูม่ าก ลักษณะบ้านเรื อนส่ วนใหญ่เป็ นบ้านไม้ 2 ชั้น มีการบ่งบอก
ถึ งระยะเวลาในการอยู่อาศัยมากกว่า 30 ปี ขึ้ นไป โดยดูจากสภาพบ้านที่มีการเสื่ อมโทรมไปตามกาลเวลา
บ้านแต่ละหลังไม่มีการปรับปรุ งหรื อตกแต่งเพิ่มเติมแต่อย่างใด
18) ชุมชนโรงหมู
เป็ นชุ มชนที่ต้ งั อยู่รอบเขตคลองเตย ลักษณะบ้านเรื อน ที่อยู่อาศัยเป็ นบ้านไม้ปลูกติดๆกัน คนใน
ชุ มชนที่ บา้ นใกล้กนั รู ้ จกั สนิ ทสนม มี การพึ่งพาอาศัยซึ่ งกันและกัน ประชากรส่ วนใหญ่ ประกอบอาชี พ
รับจ้างทัว่ ไป เช่น รับจ้างที่โรงงานปลาหมึก ภายในชุมชน หรื อ ค้าขายเล็กๆน้อยบ้าง
19) ชุมชนวัดคลองเตยใน 1
เป็ นชุ มชนดั้งเดิมอยูอ่ าศัยกันมาประมาณ 112 ปี พื้นที่ชุมชนวัดคลองเตยแบ่งออกเป็ น 3 ชุ มชน คือ
ชุ มชนวัดคลองเตยใน 1 ชุ มชนวัดคลองเตยใน 2 และชุ มชนวัดคลองเตยใน 3 ปี พ.ศ. 2546 ได้เกิดไฟไหม้
ชุมชนวัดคลองเตยใน 1 และ 3 ชุ มชนจึงรวมตัวกันตั้งกลุ่มเพื่อไปกูเ้ งินรัฐบาลทางพอช.ทําหน้าที่เป็ นพี่เลี้ยง
ในการปลูกบ้านโครงการบ้านมัน่ คง ปั จจุ บนั ชาวชุ มชนวัดคลองเตยใน 1 มี สมาชิ ก 171 ครั วเรื อน หรื อ
ประมาณเกือบ 1,000 คน ประกอบอาชี พ ทํางานท่าเรื อ เปิ ดร้านขายของชํา (อยูก่ บั บ้าน) ทํางานอยูค่ ลังเชลล์
ส่ วนมาก ชาวชุมชนทํางานนอกบ้าน
20) ชุมชนวัดคลองเตยใน 2
เป็ นชุ มชนดั้งเดิมที่อยูอ่ าศัยกันมาตั้งแต่อดีต ปั จจุบนั ชุ มชนนี้ มีอายุ 3 ชัว่ อายุคน ปั จจุบนั ชุ มชนแห่ ง
นี้ มีบา้ นเช่าและประชากรแฝงประมาณ 50% (จากจํานวนประชากรประมาณ 500 ครัวเรื อน) เพราะเจ้าของ
บ้านดั้งเดิ มย้ายไปประกอบอาชี พที่อื่น ส่ วนบ้านของตนเองก็ปล่อยให้มีการเช่า ซึ่ งส่ วนมากเป็ นคนงานใน
17

โรงงานแก๊ส และคนที่มีอาชีพรับจ้างทัว่ ไป มีวดั คลองเตยเป็ นจุดศูนย์รวมของคนในชุ มชน เพราะชาวชุ มชน


ตระหนักดีวา่ บ้าน โรงเรี ยน วัด ต้องอยูค่ ู่กนั
21) ชุมชนวัดคลองเตยใน 3
เป็ นชุ มชนดั้งเดิ มอยู่อาศัยกันมาประมาณ 112 ปี แล้ว ในอดี ตมี การอพยพมาจากภาคต่าง ๆ ของ
ประเทศเพื่อเข้ามาทํางานรับจ้างที่ท่าเรื อ ประกอบกับพื้นที่มีความอุดมสมบูรณ์เรื่ องนํ้า มีแม่น้ าํ ลําคลองเป็ น
สายยาวสําหรับใช้อุปโภค บริ โภคจึงกลายเป็ นสถานที่ก่อร่ างสร้างตัวของกลุ่มผูใ้ ช้แรงงานในยุคนั้น และเมื่อ
ประมาณปี พ.ศ. 2538 วัดคลองเตยในได้เ กิ ดไฟไหม้ค รั้ งใหญ่ เนื่ องจากเป็ นชุ ม ชนแออัดมี บ ้า นเรื อ น
ประชากรอยูก่ นั อย่างหนาแน่นจึงทําให้ทางกรุ งเทพมหานครและสํานักงานเขตคลองเตยแยกพื้นที่ชุมชนวัด
คลองเตยในออกเป็ น 3 ชุมชน คือ ชุมชนวัดคลองเตยใน
23) ชุมชนสวนอ้อย
เป็ นชุ ม ชนดั้ง เดิ ม อยู่ก ัน มาอย่า งยาวนาน และมี ก ารอพยพมาจากภาคต่ า งๆ ของประเทศ เช่ น
สุ พรรณบุรี นครปฐม มีความสัมพันธ์กนั แบบพี่นอ้ งเพราะอยูอ่ าศัยแบบเครื อญาติ ในปั จจุบนั มีการอพยพมา
จากภาคอีสานมากเพื่อมาทํางานรับจ้างในเขตคลองเตย จึงทําให้ชุมชนเป็ นชุ มชนเปิ ดมีการเข้า -ออกของ
ประชาชนตลอดเวลา ทําให้อตั ราจํานวนบ้านเช่ามีเพิ่มขึ้นเรื่ อย ๆ
24) ชุมชนหมู่บา้ นพัฒนา 70 ไร่
เป็ นชุ มชนแออัดที่ เช่ า ที่ ดินจากการท่า เรื อแห่ ง ประเทศไทย ในชุ ม ชนมี เจ้า ของบ้า นอาศัยอยู่เอง
มากกว่าการเปิ ดให้เช่าลักษณะบ้านเรื อนเป็ นบ้าน 2 ชั้นเกือบทุกหลัง (มีท้ งั หมด 1,200 หลังคาเรื อน) มีการ
ปลู ก สร้ า งและตกแต่ ง ตามกํา ลัง ทรั พ ย์ เช่ น มี ก ารทาสี ท้ งั บริ เวณภายในและภายนอกบ้า น พื้ นบ้า นจะปู
กระเบื้อง ประตู หน้าต่างมีการติดกระจกเป็ นส่ วนใหญ่ และบ้านมีการติดเครื่ องปรับอากาศประมาณ 40%
บริ เวณภายในชุมชนจะมีเส้นทางหลักประมาณ 2-3 ทางที่ออกสู่ ถนนหลักได้ และมีทางเดินภายในซอยเล็ก
ๆ เป็ นทางเดินคอนกรี ตอย่างดี
25) ชุมชนหัวโค้ง
เป็ นชุ มชนที่ต้ งั อยู่บริ เวณใต้ทางด่วนบางนา-ท่าเรื อ ถนนอาจณรงค์ เป็ นชุ มชนลักษณะเปิ ดมีการ
เคลื่อนไหวเข้า-ออก ของประชากรตลอดเวลา ส่ วนใหญ่ในชุมชนเป็ นบ้านเช่า 70% และเจ้าของบ้านอยูอ่ าศัย
30%
18

ภาพที่ 2.5 สภาพชุมชนแออัดคลองเตย

ชุ มชนเมือง มีลกั ษณะเป็ นอาคารพาณิชย์ ทั้งเก่ าและใหม่ ได้ แก่


1) ชุมชนข้างโรงเรี ยนวัดสะพาน
เป็ นชุมชนขนาดเล็ก มีพ้ืนที่ 2 ไร่ พื้นที่มีท้ งั ที่เป็ นเจ้าของเองอยูอ่ าศัยครึ่ งหนึ่ ง อีกครึ่ งหนึ่ งเป็ นที่เช่า
จากเอกชน (เป็ นที่ของคุณหญิงที่ให้เช่า) ตั้งอยูเ่ ลียบถนนริ มทางรถไฟปากนํ้าสายเก่า ฝั่งหนึ่ งติดกับชุ มชนริ ม
คลองวัดสะพานอีกฝั่งหนึ่งติดกับชุมชนสวนอ้อยและอยูต่ รงข้ามกับชุมชนสวนไทร
2) ชุมชนตลาดท่าเรื อคลองเตย
เป็ นอาคารพาณิ ชย์ ร้านค้า ตลาดสด ที่แวดล้อมด้วยถนนหลักและคลองระบายนํ้า คนในชุ มชนส่ วน
ใหญ่ประกอบอาชีพค้าขาย และรับจ้าง คนภายในชุมชนมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
3) ชุมชนทรัพย์มโนทัย
วิถีชีวติ ความเป็ นอยูเ่ ป็ นชุมชนเมืองทัว่ ไป ต่างคนต่างอยู่ แต่ก็รู้จกั กัน โดยมีบริ เวณพื้นที่ของชุ มชนคือ ช่วงที่
อยู่ต้ งั แต่ตึกมโนรมย์จนถึ งมหาวิทยาลัยกรุ งเทพ ซึ่ งจะอยู่ตรงข้ามกับชุ มชนร่ วมใจสามัคคีและชุ มชนบ้าน
กล้วย มี พ้ืนที่ ประมาณ 200-300 ไร่ ที่ พกั อาศัยส่ วนใหญ่ของคนในชุ ม ชนมี ลกั ษณะเป็ นตึ กแถว อาคาร
พาณิ ชย์
4) ชุมชนนภาศัพท์แยก 4
ลักษณะบ้านในชุมชนมีร้ ัวรอบขอบชิด และมีเจ้าของบ้านอยูอ่ าศัยเอง
5) ชุมชนหมู่บา้ นปิ ยะวัชร
เป็ นชุมชนที่เช่าพื้นที่ ๆ อยูอ่ าศัยจากเอกชน (เจ้าของที่ดิน) มีพ้ืนที่ท้ งั หมดเกือบ 6 ไร่ พื้นที่ของบ้าน
แต่ละหลังมีขนาดตั้งแต่ 10-30 ตารางวา ลักษณะบ้านเรื อนเป็ นบ้านไม้ 2 ชั้น คนในชุ มชนอยูอ่ าศัยกันแบบพี่
19

น้อง มีการช่วยเหลื อเกื้อกูลกัน บ้านทั้ง 80 หลังในชุ มชนส่ วนใหญ่เจ้าของบ้านก็อยู่อาศัยกันเอง ทําให้ใน


ชุมชนไม่มีปัญหาที่มาจากประชากรแฝงหรื อจากชาวชุมชนด้วยกันเอง
6) ชุมชนภูมิจิตร
เป็ นชุมชนแออัด ส่ วนใหญ่เป็ นบ้านเช่าจากเจ้าของที่ดิน สภาพความเป็ นอยูไ่ ม่ดีเท่าที่ควร บ้านเรื อน
ปลูกสร้างติดๆกัน คนชุมชนส่ วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทัว่ ๆไป
7) ชุมชนริ มคลองวัดสะพาน
พื้นที่ของชุ มชนเป็ นที่ดินของการท่าเรื อ ชุ มชนริ มคลองวัดสะพานมีพ้ืนที่ประมาณ 15 ไร่ ตั้งอยู่
ระหว่างชุ มชนโรงหมูกบั ชุ มชนริ มคลองพระโขนง เป็ นชุ มชนที่อยูด่ ้ งั เดิ มกันมาประมาณ 30 กว่าปี สภาพ
บ้านเรื อน เป็ นบ้านไม้ช้ นั เดียว มีลกั ษณะคล้าย ๆ กัน คือ ฝาบ้านส่ วนมากจะเป็ นไม้อดั และพื้นบ้านจะเป็ น
ไม้กระดานและปูทบั ด้วยเสื่ อนํ้ามัน ทางเดิ นบริ เวณชุ มชนมี การลาดคอนกรี ตอย่างดี มี เพียงบางช่ วงของ
ทางเดินในชุมชนเป็ นไม้กระดานอยูบ่ า้ ง
8) ชุมชนสวนไทร
เป็ นชุ มชนกึ่ งชุ มชนเมืองกึ่งชุ มชนแออัด ที่อยูอ่ าศัยกันมาดั้งเดิมเมื่อ 40-50 ปี ที่ผา่ นมา เพราะพื้นที่
ของชุมชนนั้นมีท้ งั ที่เป็ นเจ้าของที่ดินเองมีกรรมสิ ทธิ์ ที่ถูกต้องตามกฎหมาย ที่เช่าจากเอกชน และมีการบุกรุ ก
ที่ดินของการทางพิเศษรวมทั้งการปลูกสร้างบ้านในที่ดินของวัดสะพานด้วย บริ เวณที่ต้ งั ชุ มชน คือ มีเนื้ อที่
ตั้งแต่บริ เวณหน้าวัดสะพานเลียบถนนริ มทางรถไฟสายปากนํ้าไปจนถึงชุ มชนสวนอ้อย ลักษณะบ้านเรื อนมี
ทั้งตึกแถว อาคารพาณิ ชย์ บ้านไม้ช้ นั เดียวและ 2 ชั้น
9) ชุมชนสวัสดี
เป็ นชุ มชนที่ อยู่อาศัยกันมานานกว่า 25 ปี แต่ มีการรวมตัวจัดตั้งเป็ นชุ มชนได้ประมาณ 15 ปี
ลักษณะวิถีชีวิตความเป็ นอยู่แบบชุ มชนเมืองขนาดเล็กที่ ถือว่าพัฒนาแล้ว ช่ วยเหลื อกันเองได้ และคนใน
ชุมชนไม่สร้างปั ญหาให้แก่กนั มีการพึ่งพาให้ความช่วยเหลือซึ่ งกันและกันได้ พื้นที่ในชุมชนเป็ นของเอกชน
ทั้งหมด โดยแบ่งเป็ นที่อยู่อาศัยที่เป็ นบ้านเดี่ ยวของเจ้าของกรรมสิ ทธิ์ มีเนื้ อที่บริ เวณรอบบ้าน และรั้วรอบ
ขอบชิด บางส่ วนของที่ดินเป็ นสิ่ งปลูกสร้างเพื่ออยูอ่ าศัย เช่น บ้านเช่า หอพักนักศึกษา เป็ นต้น
10) ชุมชนแสนสบาย-แสนสุ ข
ลักษณะวิถีชีวิตความเป็ นอยู่เป็ นชุ มชนเมื องทัว่ ไป ก่อตั้งมานานประมาณ 40 ปี ภายในชุ มชนมี
ลักษณะเป็ นซอยคู่ขนาน มีพ้ืนที่เชื่ อมต่อเดินทางถึงกันได้ ตั้งอยูร่ ะหว่างถนนพระรามที่ 4 กับถนนสุ ขุมวิท
ซอยนภาศัพท์ 36 เขตคลองเตย เส้นทางการคมนาคมสะดวก เนื่องจากอยูใ่ นเขตเมืองที่อยูอ่ าศัยส่ วนใหญ่เป็ น
อาคารพาณิ ชย์ ตึกแถว เพื่อการค้าขาย อยูอ่ าศัย และอาคารสํานักงาน รวมทั้งบ้านเดี่ยว
11) ชุมชนอาคารทรัพย์สิน 26-7
ลักษณะเป็ นอาคาร 2 หลัง หลังที่ 1 มีจาํ นวน 26 ชั้น หลังที่ 2 มีจาํ นวน 7 ชั้น สภาพแวดล้อมดีมาก
ความเป็ นอยูส่ ุ ขสบายดี
20

ภาพที่ 2.6 เคหะชุมชนคลองเตย


เคหะชุ มชน
มีลกั ษณะเป็ นอาคารแฟลตตั้งแต่ 5 ชั้นขึ้นไป ประกอบด้วย
1) ชุมชนเทพประทาน
เป็ นแฟลต อาคารสู ง 8 ชั้น จํานวน 4 อาคาร อาคารพาณิ ชย์จาํ นวน 55 ห้อง คนภายในแฟลตมี
ความรู ้จกั สนิทสนมกัน ส่ วนใหญ่ประกอบอาชีพรับจ้างทัว่ ไปและค้าขายเล็กๆน้อย
2) ชุมชนแฟลต 1-10
เป็ นชุ มชนชาวแฟลตทัว่ ไปที่อยูอ่ าศัยกันมาตั้งแต่ประมาณปี พ.ศ. 2521-2522 ในอดีตพื้นที่ท้ งั หมด
เป็ นบ่อนํ้า เป็ นกองซุ ง จากนั้นการท่าเรื อได้นาํ ขยะมาถมพื้นที่ดงั กล่าวเรื่ อยๆ มา จนบ่อนํ้าและกองซุ งก็ได้
ถูกทับถมด้วยกองขยะของการท่าเรื อในอดี ตพื้นที่แฟลต 1-10 เป็ นที่ของการเคหะแห่ งชาติ แต่ปัจจุบนั ได้
กลายเป็ นพื้นที่ของการท่าเรื อ
3) ชุมชนแฟลต 11-18
เป็ นชุ มชนขนาดใหญ่ มี 1,480 ครอบครัว เป็ นแฟลต 5 ชั้น สภาพโดยทัว่ ไปไม่สะอาด มีกลิ่นขยะ
และเศษขยะตามพื้นตึกบ้าง ผูท้ ี่อาศัยอยูแ่ ฟลตเดียวกันรู ้จกั สนิทสนมกัน ส่ วนใหญ่แล้วคนในชุมชนประกอบ
อาชีพรับจ้างทัว่ ไป และมีบางส่ วนค้าขายบ้างเล็กๆน้อยๆ
4) ชุมชนพัฒนาชุมชนใหม่ (แฟลต 19-22)
เป็ นชุ มชนที่ อยู่อาศัยกันมาดั้ง เดิ มตั้ง แต่ปี พ.ศ. 2503 โดยอยู่อาศัย ที่ พ้ืนราบ (ยัง ไม่ ไ ด้ข้ ึ นมาอยู่
แฟลต) คนในชุ มชนก็อพยพมาจากต่างจังหวัดเพื่อเข้ามาทํางานประกอบอาชี พกันจนกลายเป็ นคนในพื้นที่
คนพื้ นเพเดี ย วกันพื้นที่ แฟลตดัง กล่ า วเป็ นที่ ข องการท่ าเรื อ แต่ในปั จจุ บนั ได้ให้การเคหะแห่ งชาติ เข้ามา
บริ หารจัดเก็บค่าเช่า เป็ นชุมชนที่ประชากรไม่นิ่ง มีการเข้า-ออกอยูต่ ลอดเวลา มีประชากร 480 หลังคาเรื อน
21

5) ชุมชนแฟลต 23-24
เป็ นแฟลตของการเคหะ ให้เช่ าโดยตรงเดื อนละ 300-500 บาทต่อเดื อน ลักษณะการอยู่อาศัย เป็ น
แบบครอบครัว มีพ่อ แม่ ปู่ ย่า อยูด่ ว้ ยกัน สภาพทางกายภาพของอาคาร อากาศถ่ายเทไม่สะดวก มีการขาย
อาหารภายในตึก เช่น อาหารตามสั่ง ก๋ วยเตี๋ยว เป็ นต้น
ชุมชนบ้านจัดสรร
มีลกั ษณะเป็ นบ้านที่ผปู ้ ระกอบการสร้างขึ้นเอง มีสาธารณูป โภคที่ดี ได้แก่
1) ชุมชนตลาดปี นังพัฒนา คนในชุมชนมีลกั ษณะวิถีชีวิตความเป็ นอยูเ่ ป็ นชุ มชนเมืองทัว่ ไป ต่างคน
ต่างอยู่ แต่ก็รู้จกั กัน โดยมีบริ เวณพื้นที่ของชุ มชนคือ ช่วงที่อยู่ต้ งั แต่ตึกมโนรมย์จนถึ งมหาวิทยาลัยกรุ งเทพ
ซึ่ งจะอยูต่ รงข้ามกับชุมชนร่ วมใจสามัคคีและชุ มชนบ้านกล้วย มีพ้ืนที่ประมาณ 200-300 ไร่ ที่พกั อาศัยส่ วน
ใหญ่ของคนในชุมชนมีลกั ษณะเป็ นตึกแถว อาคารพาณิ ชย์
2) ชุ มชนหมู่บา้ นเปรมฤทัย บ้านเดี่ ยว มีร้ ั วรอบขอบชิ ด และมี บริ เวณบ้าน บ้านส่ วนใหญ่ปลู กมา
นานแล้ว

2.3 พื้นที่สีเขียว หมายถึง พื้นที่กลางแจ้ง และกึ่งกลางแจ้งที่มีขอบเขตที่ดินทั้งหมดหรื อบางส่ วนปก


คลุมด้วยพืชพรรณที่ปลูกบนดินที่ซึมนํ้าได้ โดยที่ดินนั้นอาจมีสิ่งปลูกสร้างหรื อพื้นผิวแข็งไม่ซึมนํ้ารวมอยู่
หรื อไม่ ก็ ได้ หมายรวมถึ ง พื้ นที่ สี เขี ย วในเขตเมื องและนอกเมื อง อาจเป็ นพื้ นที่ ส าธารณะหรื อเอกชน ที่
สาธารณชนสามารถใช้ประโยชน์ ประกอบด้วยพื้นที่สีเขียวเพื่อนันทนาการ และความงามทางภูมิทศั น์ พื้นที่
อรรถประโยชน์ เช่ น พื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่สาธารณู ปการ พื้นที่ แนวกันชน พื้นที่ สีเขี ยวในสถาบัน
ต่างๆ พื้นที่ธรรมชาติและกึ่ งธรรมชาติอนั เป็ นถิ่ นที่อยูข่ องสิ่ งมีชีวิต ได้แก่ พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่ชุ่มนํ้า รวมถึ ง
พื้ น ที่ ช ายหาด พื้ น ที่ ริ มนํ้า พื้ น ที่ ที่ เ ป็ นริ้ วยาวตามแนวเส้ น ทางคมนาคม ทางบก ทางนํ้ า และแนว
สาธารณูปการต่างๆ หรื อพื้นที่อื่นๆ เช่น พื้นที่สีเขียวที่ปล่อยรกร้าง พื้นที่สีเขียวที่ถูกรบกวนสภาพธรรมชาติ
และพื้นที่สีเขียวที่มีการใช้ประโยชน์ผสมผสานกันกรุ งเทพมหานครเป็ นเมืองใหญ่ มีการเจริ ญเติบโตอย่าง
ต่อเนื่ องในทุกๆด้าน ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร เป็ นแหล่งงานที่ดึงดูดให้ผคู ้ นจาก
ท้องถิ่นต่างๆทัว่ ประเทศหลัง่ ไหลเข้ามาประกอบอาชี พหลากหลายประเภท หลากหลายกิจกรรม ปั ญหาที่
ตามมาคือ ความแออัดของที่ อยู่อาศัยประชากรหนาแน่ น สาธารณู ปโภค สาธารณู ปการไม่เพียงพอ
อาชญากรรมเพิ่มขึ้น การจราจรติดขัดมลภาวะเป็ นพิษ ขยะเกลื่อนเมือง นํ้าเน่า อากาศเสี ย เสี ยงดัง ฝุ่ นละออง
กระจายแทบทุกพื้นที่ ส่ งผลกระทบต่อสุ ขภาพของผูอ้ าศัยในเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อม การเพิ่มพื้นที่สี
เขียวจึงเป็ นอีกทางเลื อกหนึ่ งในการแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อม ทั้งช่ วยกรองมลพิษเสริ มสร้ างสุ ขภาพกายและ
สุ ขภาพจิตที่แข็งแรงให้คนเมือง แต่ปัญหาคื อ พื้นที่สีเขี ยวในเมื องมี ไม่เพียงพอกับความต้องการของ
ประชาชน การเข้าถึงเป็ นไปโดยยากในบางพื้นที่ บทบาทของพื้นที่สีเขียวบางแห่ ง ไม่เอื้ออํานวยต่อความ
ต้องการของผูใ้ ช้บริ การ จึงต้องมีการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กบั เมือง เพื่อช่วยให้ประชาชนคนเมืองมีทางเลือกใน
การพักผ่อนหย่อนใจมากขึ้น
22

พืน้ ทีส่ ี เขียว


“พืน้ ทีส่ ี เขียว” ได้มีผใู ้ ห้คาํ จํากัดความไว้หลายประการ แต่ส่วนใหญ่ทว่ั ไปมักหมายถึงสวนสาธารณะ
ซึ่งเป็ นบริ เวณที่ปลูกต้นไม้เป็ นจํานวนมาก กั้นเป็ นขอบเขตไว้เพื่อประชาชนทัว่ ไปจากงานวิจยั มาตรการใน
การเพิ่ ม และการจัด การพื้ นที่ สี เขี ย วในเขตชุ ม ชนอย่า งยัง่ ยื น โดยศู นย์วิจ ัย ป่ าไม้ คณะวนศาสตร์
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่เสนอต่อสํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ได้ให้
คํานิยามของ “พื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนเมือง” ว่าหมายถึง พื้นที่โล่งว่างในเขตเทศบาล ซึ่ งมีพืชพรรณเป็ น
องค์ประกอบหลัก ได้รับการจัดการตามหลักวิชาวนวัฒนวิทยาและหลักการทางภูมิสถาปั ตย์ เพื่อเสริ มสร้าง
ภูมิทศั น์ให้เอื้ออํานวยต่อการพักผ่อนหย่อนใจและเพื่อเสริ มสร้างสภาพแวดล้อมของเมือง อันจะทําให้ชุมชน
เมืองเป็ นเมืองสี เขียวที่ร่มรื่ นสวยงามและน่าอยูต่ ลอดไป
1.พืน้ ที่ธรรมชาติ เป็ นพื้นที่ที่มีอยูต่ ามธรรมชาติ เป็ นแหล่งรวมของระบบนิ เวศที่จาํ เป็ นต้องอนุ รักษ์
ให้คงอยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์ตลอดไป โดยมีการจัดการที่เหมาะสม ส่ วนใหญ่จะอยูบ่ ริ เวณต้นนํ้า ป่ าไม้ ภูเขา
2.พื้นที่สีเขียวเพื่อบริ การ เป็ นพื้นที่สีเขียวที่ประชาชนสามารถเข้ าไปใช้ บริ การเพื่อการพักผ่ อน
ปั จจุบนั มีกระแสความคิดใหม่ๆในการเชื่ อมต่อพื้นที่นนั ทนาการทัว่ เมืองแทนการกระจุกตัวเป็ นจุดๆ ทําให้
เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงแนวความคิดของ “สวนสาธารณะในเมือง” เป็ น “เมืองในสวนสาธารณะ” และ
สวนสาธารณะจะขยายต่อเชื่ อมกับที่วา่ งสาธารณะต่างๆในเมือง เช่น ลานสวนสาธารณะ ถนน ทางจักรยาน
และทางเดินเท้า ทําให้เมืองมีความสวยงามมากขึ้น เรี ยกว่า “อุทยานวิถี” (Greenways)
อุทยานวิถี (Greenways) เป็ นสวนสาธารณะแนวยาวที่เชื่ อมร้อยพื้นที่สําคัญของเมือง ที่โล่งว่างของ
เมืองเข้าด้วยกัน โดยมีหลากหลายลักษณะคือ
1.เส้ นทางสี เขียว (Parkway) ได้แก่ ระบบทางเท้าในพื้นที่ที่สามารถจัดให้คนเดินต่อเนื่ องในสภาพ
ภูมิทศั น์ที่ดี เช่น ปิ ดถนนที่มีการใช้งานน้อย หรื อเส้นทางรถไฟที่เลิกใช้แล้วเป็ นเส้นทางเดิน
2.เส้ นทางเลียบลานา้ (Blueway) ได้แก่ พื้นที่ริมนํ้าต่างๆ
3.เส้ นทางดาดผิว (Paveway) ได้แก่ ทางเท้าย่านที่มีคนใช้เป็ นจํานวนมาก ปรับให้เป็ นทางเดินที่
สะดวก มีมา้ นัง่ ร้านขายเครื่ องดื่ม ส่ งเสริ มกิจกรรมการพักผ่อนแบบเมืองในระหว่างทาง
4.เส้ นทางเดินเชื่อมลานต่ างๆ (Glazeway) ได้แก่ เส้นทางเชื่อมลานอาคารและทางเดินในกลุ่มอาคาร
ธุ รกิจและพาณิ ชย์
5.ทางเดินลอยฟ้า (Skyway) ได้แก่ การเชื่อมเส้นทางเดินระดับเหนือศีรษะ ทําให้การสัญจรทางเท้า
สะดวกกว่าการเดินบนระดับบนดิน โดยให้มีภูมิทศั น์ต่อเนื่องสวยงาม
6.เส้ นทางนิเวศ (Ecoway) ได้แก่ การสร้างระบบนิเวศในเส้นทางที่สามารถทําได้ในเมือง
7.เส้ นทางจักรยาน (Cycleway) ได้แก่ การจัดเส้นทางให้จกั รยานสามารถสัญจรได้อย่างสะดวก
ปลอดภัยและร่ มรื่ นในเมือง
23

สําหรั บแนวทางการดําเนิ นการเพื่อให้พ้ืนที่ สีเขี ยวคงอยู่ สํานักผังเมือง กรุ งเทพมหานครได้


กําหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินในกฎกระทรวงให้ใช้บงั คับผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานคร พ.ศ.2549 ในพื้นที่
ฝั่ งตะวันออกและฝั่ งตะวันตกของกรุ งเทพมหานครเป็ นพื้นที่ อนุ รักษ์ชนบทและเกษตรกรรม และพื้นที่
ชนบทและเกษตรกรรม เพื่อส่ งเสริ มให้ประชาชนในพื้นที่ด้ งั เดิมสามารถดํารงชี พโดยอาชี พเกษตรกรรมได้
นอกจากนี้กรุ งเทพมหานครได้จดั ตั้งโรงเรี ยนเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดําริ กรุ งเทพมหานคร เพื่อ
สาธิ ตเป็ นต้นแบบให้เกษตรกรโดยทัว่ ไปสามารถนําไปปฏิบตั ิกบั ที่ดินของตนเอง และกรุ งเทพมหานครยัง
ส่ งเสริ มให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในบริ เวณบ้านเรื อน ซึ่ งเป็ นแนวทางหนึ่ งในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองให้
คงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืนได้
จากรายงานโครงการจัดหาและพัฒนาสวนสาธารณะ สนามเด็กเล่น และภูมิทศั น์ของเมืองโดย
สํานักผังเมือง กรุ งเทพมหานคร ได้ให้คาํ นิ ยามของสวนสาธารณะว่า “สวนสาธารณะ เป็ นการใช้ที่ดิน
ประเภทหนึ่ งที่มีความสําคัญสําหรั บชี วิตความเป็ นอยู่แบบเมือง (Urban life) สามารถตอบสนองความ
ต้องการการพักผ่อนหย่อนใจ ซึ่ งเป็ นสิ่ งจําเป็ นสําหรับมนุ ษย์” โดยลักษณะการพักผ่อนหย่อนใจของมนุ ษย์
แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ
1. Passive Recreation เป็ นการพักผ่อนหย่อนใจในลักษณะความสงบ การผ่อนคลายความเครี ยด
ความเหน็ดเหนื่อย ได้แก่การชื่ นชมภูมิทศั น์ของเมือง การใกล้ชิดกับธรรมชาติ การฟังดนตรี ชมสัตว์ นัง่ เล่น
ฯลฯ
2. Active Recreation เป็ นการพักผ่อนหย่อนใจที่ตอ้ งใช้แรงในการดําเนิ นกิจกรรม เช่น การออกกําลัง
กาย เดิน วิง่ พายเรื อ ขี่จกั รยาน ฯลฯ
ในการวางผังเมืองแต่ละเมืองจะยึดหลักการจัดลําดับศักย์ของสวนสาธารณะ คือ เมืองหรื อชุมชนที่
สมบูรณ์แบบจะต้องมีสวนสาธารณะหลากหลายประเภทให้เลือกใช้ได้คือ
1.สนามเด็กเล่น (Playgrounds)
2.สนามกีฬา (Playfields)
3.สวนสาธารณะละแวกบ้าน (Neighborhood Parks)
4.สวนสาธารณะชุมชน (Community Parks)
5.สวนสาธารณะระดับย่าน (District Parks)
6.สวนสาธารณะระดับเมือง (City Parks)
7.สวนหย่อมเพื่อการใช้งานในเมือง (Pocket Parks)
8.สวนสาธารณะพิเศษ เช่น สวนสัตว์ (Special Parks)
9.สวนพฤกษศาสตร์ สวนสนุก (Botanic Parks)
สวนสาธารณะเหล่านี้ จะกระจายตัวอยูใ่ นเมือง โดยยึดระยะการเดินทางของผูใ้ ช้เป็ นเกณฑ์ในการจัด
ระยะห่าง เรี ยกว่า “รัศมีการให้บริ การ” หรื อ “รัศมีบริ การ” ของสวนสาธารณะแต่ละแห่ง
24

ตามผังเมื องรวมกรุ งเทพมหานคร ได้กาํ หนดการใช้ป ระโยชน์ที่ ดินในกรุ งเทพมหานครตาม


ศักยภาพของพื้นที่ ดังนั้นพื้นที่สีเขียวจึงไม่จาํ เป็ นจะต้องเป็ นเพียงสวนสาธารณะหรื อพื้นที่นนั ทนาการเพื่อ
การพักผ่อนหย่อนใจเท่านั้นแต่จะรวมพื้นที่เกษตรกรรมไว้ดว้ ย โดยบริ เวณชานเมืองฝั่ งตะวันออกและฝั่ ง
ตะวันตกของกรุ งเทพมหานครจะถูกกําหนดให้เป็ นพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม (สี เขียว) และพื้นที่อนุ รักษ์
ชนบทและเกษตรกรรม (สี เขียวทแยง)พื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ได้แก่พ้ืนที่ชานเมืองรอบนอกทางฝั่ ง
ตะวันตกอยูน่ อกแนวถนนวงแหวนสายนอก ทางฝั่งตะวันออกอยูน่ อกแนวคันกั้นนํ้า หลายพื้นที่ยงั คงเป็ น
พื้นที่เกษตรกรรม และมีความเป็ นอยูแ่ บบชนบท แต่บางพื้นที่ได้มีการขยายตัวของเมืองเพิ่มขึ้นวัตถุประสงค์
ในการกําหนดพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรมเนื่ องจากมีวตั ถุประสงค์ที่จะกําหนดกรองการพัฒนาเมืองให้อยู่
ภายในถนนวงแหวนชั้นนอก ตามแผนการลงทุนระบบขนส่ งมวลชน และเป็ นฉนวนกั้นการขยายตัวของ
เมืองในพื้นที่ที่มีปัญหานํ้าท่วม ส่ วนบริ เวณอนุ รักษ์ชนบทและเกษตรกรรม ได้แก่ บริ เวณที่มีขอ้ บัญญัติ
กรุ งเทพมหานครประกาศใช้บงั คับอยู่ โดยมีนโยบายที่จะอนุ รักษ์ยา่ นที่อยูอ่ าศัยซึ่ งมีสภาพแวดล้อมที่ดีทาง
ฝั่งตะวันตก และมีนโยบายในการป้ องกันนํ้าท่วมเมืองโดยอาศัยพื้นที่หน่วงนํ้าและระบายนํ้าออกสู่ ทะเลทาง
ฝั่งตะวันออก
สําหรั บการพัฒนาทางด้านทรั พยากรธรรมชาติ และสิ่ งแวดล้อม ผูบ้ ริ หารกรุ งเทพมหานครได้
กําหนดนโยบายที่จะพัฒนากรุ งเทพมหานครให้เป็ นเมืองที่น่าอยู่ (Healthy City) คือเมืองที่มีความสะดวก
คล่องตัว สภาพแวดล้อมปลอดภัย และเหมาะสมต่อการอยูอ่ าศัย มีการบริ การด้านการศึกษาและสุ ขภาพ
อนามัย มีความปลอดภัย สะดวกสบายและสนับสนุนกิจกรรมทางวัฒนธรรม ซึ่ งในส่ วนนี้ ได้สนับสนุ นให้มี
การพัฒนาสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวได้แก่ สวนสาธารณะขนาดเล็ก (Pocket Park) ในพื้นที่ชุมชน
สวนสาธารณะและบึงรับนํ้า (Parks and Flood Retaining Ponds) และพื้นที่สีเขียวในเมืองอาทิ สวนหย่อม
สวนถนน เป็ นต้น
แนวความคิดในการวางผังที่โล่ งและการรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม
ความสาคัญและประโยชน์ ของพืน้ ทีส่ ี เขียว
1. ช่วยบรรเทาปั ญหาภาวะโลกร้อน
2. เพื่อเป็ นแหล่งนันทนาการ และสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจของคนในชุมชนทุกเพศทุกวัย
3. พืชพรรณในพื้นที่สีเขียวช่วยลดอุณหภูมิของเมืองที่เกิดจากการพัฒนาสิ่ งก่อสร้างในเมือง
4. เป็ นถิ่นที่อยูอ่ าศัยของ นก ปลา แมลง และสัตว์อื่นๆ เป็ นทางสี เขียวเชื่อมโยงแหล่งที่อยูอ่ าศัยเข้า
ด้วยกัน และ ช่วยป้ องกันการกัดเซาะพังทลายของดิน ช่วยปรับปรุ งระบบการระบายนํ้า
5. ช่วยลดเสี ยงรบกวนลงได้ โดยอาศัยพุม่ ใบที่หนาทึบของไม้ยนื ต้น และไม้พุม่ ช่วยดูดซับมลภาวะ
ทางเสี ยง
6. เป็ นสิ่ งเชื่อมโยงผูค้ นให้ได้สัมผัสกับธรรมชาติอย่างใกล้ชิด ทําให้เป็ นเมือง/ ชุมชนน่าอยูอ่ ย่าง
ยัง่ ยืน
25

การสร้างเมืองสี เขียว
ต้องอาศัยพลังทางการเมื อง พลังทางธุ รกิ จ และพลังทางสังคม ร่ วมผลักดันในทิศทางเดี ยวกันเป็ น
เสมือนพลังสามประสาน ในแต่ละช่ วงเวลาพลังด้านใดด้านหนึ่ งอาจเป็ นด้านหลักเพื่อชักจูง ผลักดันหรื อ
ดึงดูดให้พลังส่ วนอื่น ๆ เข้าร่ วม แต่ความสําเร็ จเกิดขึ้นได้มากน้อยเพียงใด ย่อมมาจากพลังทั้งสามส่ วนนี้
พื้นที่สีเขียว 5 ประเภท
เรื่ องเกี่ยวกับเมืองสี เขียว ชุมชนสี เขียว อ้างอิงได้จากงานวิจยั มาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่
สี เขียวในเขตชุ มชนอย่างยัง่ ยืน โดยศูนย์วิจยั ป่ าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ ที่เสนอต่อ
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม งานวิจยั นี้ ให้คาํ นิ ยามของ“พื้นที่สีเขียวใน
เขตชุ มชนเมือง” ว่าหมายถึง พื้นที่โล่งว่างในเขตเทศบาล ซึ่ งมีพืชพรรณเป็ นองค์ประกอบหลัก ได้รับการ
จัดการตามหลักวิชานววัฒนวิทยาและหลักการทางภูมิสถาปั ตยกรรม เพื่อเสริ มสร้ างภูมิทศั น์ให้เอื้ออํานวย
ต่อการพักผ่อนหย่อนใจและเพื่อเสริ มสร้างสภาพแวดล้อมของเมือง อันจะทําให้ชุมชนเมืองเป็ นเมืองสี เขียว
ที่ร่มรื่ นสวยงามและน่าอยูต่ ลอดไป
เรื่ องเกี่ยวกับพื้นที่สีเขียวยังมีรายละเอียดที่น่าสนใจเพิ่มเติมโดยแบ่งเป็ นลักษณะต่าง ๆ กันคือ
ข้ อแรกพื้นที่ธรรมชาติ เป็ นพื้นที่สีเขี ยวที่ มีอยู่ตามธรรมชาติ มักเป็ นแหล่ งรวมของระบบนิ เวศที่
จําเป็ นต้องดูแลรักษาให้คงอยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์ตลอดไป ส่ วนใหญ่อยูบ่ ริ เวณต้นนํ้า ป่ าไม้ ภูเขา
ข้ อสองพื้นที่สีเขียวเพื่อบริ การ ส่ วนนี้ เป็ นพื้นที่สีเขียวที่ประชาชนเข้าไปใช้บริ การเพื่อการพักผ่อน
หย่ อ นใจ ออกกํา ลั ง กาย ขณะที่ มี บ ทบาทเสริ มสร้ า งทัศ นี ย ภาพที่ ส วยงามให้ ก ั บ เมื อ งในรู ปแบบ
สวนสาธารณะสวนหย่อม สนามกี ฬากลางแจ้ง สนามเด็กเล่น ลานเมือง สวนพฤกษศาสตร์ สวนรุ กขชาติ
และสวนสัตว์ ปั จจุบนั กรุ งเทพมหานครมีพ้ืนที่สีเขียวในรู ปแบบนี้ หลายแห่ ง อาทิเช่น สวนหลวง ร.9 สวน
ลุมพินี ศูนย์เยาวชน ลานคนเมือง ฯลฯ
ข้ อสามพื้นที่ สี เขี ย วเพื่อสิ่ ง แวดล้อมมี คุณสมบัติเสริ มสร้ า งคุ ณค่ าด้า นสิ่ งแวดล้อม เช่ น เพิ่ม ก๊า ซ
ออกซิ เจน และลดอุ ณหภูมิความร้ อนในเมื อง แม้ประชาชนไม่สามารถเข้าไปใช้บริ การได้โดยตรง แต่มี
คุ ณค่าด้านสิ่ งแวดล้อมซึ่ งเป็ นเสมือนปอดของชุ มชนเมือง โดยรู ปแบบในกรุ งเทพมหานครได้แก่ สวนใน
บ้าน พื้นที่สีเขียวในโรงเรี ยน หน่วยงานราชการ ศาสนสถาน สนามกอล์ฟ
ข้ อสี่ พ้ืนที่สีเขียวริ มเส้นทางสัญจร เป็ นพื้นที่สีเขียวที่อยู่ในแนวเส้นทางสัญจรสาธารณะ พื้นที่น้ ี มี
บทบาทเสริ มสร้ างคุ ณค่า ด้านสิ่ งแวดล้อมและการบริ การ ได้แก่ พื้นที่ ตามแนวถนน เกาะกลางถนน ริ ม
ทางเดิน แนวถอยร่ น ริ มแม่น้ าํ ลําคลอง ริ มทางรถไฟ
ข้ อห้ าพื้นที่สีเขียวเพื่อเศรษฐกิจชุมชน เป็ นพื้นที่ที่สร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ผเู ้ ป็ นเจ้าของได้แก่
สวนไม้ผลยืนต้น สวนป่ าเศรษฐกิ จ พื้นที่ว่างในบริ เวณสถานประกอบการ พื้นที่สีเขียวเพื่อเศรษฐกิจชุ มชน
ในกรุ งเทพมหานคร ได้แก่บริ เวณชานเมืองทั้งฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตกของกรุ งเทพมหานคร เช่น สวน
ผัก สวนผลไม้ ฯลฯ
26

เมื่อพิจารณาจากพื้นที่สีเขียวทั้ง 5 ประเภทดังกล่าวแล้ว พอมองเห็นแนวทางการสร้างเมืองสี เขียว


ชุมชนสี เขียวให้เกิดขึ้นได้
การบริหารเมืองกับพืน้ ทีส่ ี เขียว
นอกเหนื อจากสวนสาธารณะและสวนหย่อมที่กระจายอยูท่ ว่ั ไปแล้ว การมองหาพื้นที่ในเขตชุ มชน
เมืองรวมทั้งกรุ งเทพฯ มาสร้ างพื้นที่สีเขียวนั้นมีความเป็ นไปได้ เช่น การสํารวจและใช้ประโยชน์จากพื้นที่
ว่างรกร้าง พื้นที่ส่วนราชการ พื้นที่ของศาสนสถาน พื้นที่สถานศึกษา พื้นที่ลานกิจกรรมของชุ มชน พื้นที่วา่ ง
ภายหลังการพัฒนาสาธารณู ปโภคและสาธารณู ปการ พื้นที่วา่ งตามอาคารบ้านเรื อนและสถานประกอบการ
ของเอกชน เป็ นต้น
การร่ วมแรงร่ วมใจกันระหว่างผูบ้ ริ หารเมืองภาคธุ รกิจ และภาคสังคม(ชุ มชนในสังคม) มีผลต่อการ
พัฒ นาพื้ น ที่ สี เขี ย ว เริ่ มตั้ง แต่ แ นวคิ ด ทางการเมื อ งหรื อแนวคิ ด ของฝ่ ายบริ หารเมื อ งที่ พ ัฒ นาจาก
สวนสาธารณะในเมืองที่มกั ออกมาในรู ปสวนกระจายเป็ นหย่อม ๆ ไร้การเชื่ อมต่อและรู ปแบบที่พฒั นาขึ้น
แนวทางคือพัฒนาสู่ เมืองในสวนสาธารณะ แนวคิดใหม่น้ ี ส่งเสริ มการพัฒนาสวนสาธารณะอย่างเชื่ อมโยง
กัน ค้นคิดสร้างสรรค์การเขื่อมต่อที่วา่ งสาธารณะต่างๆ ในเมืองเข้ากับสวนสาธารณะ และ “ขึ้นรู ป”พื้นที่สี
เขียวประเภทต่าง ๆ และพื้นที่ใช้ประโยชน์ที่ลดมลภาวะให้สนับสนุ นกัน เช่น ลานสวนสาธารณะ ถนน ทาง
จัก รยาน และทางเดิ นเท้า แนวทางนี้ มี ผ ลให้เมื องเพิ่ ม ความสวยงามมากขึ้ นมี มิ ติท างธรรมชาติ เพิ่ ม ขึ้ น
นอกเหนือจากสิ่ งปลูกสร้างที่เป็ นแลนด์มาร์ คทัว่ ไป
การบริ หารเมืองกับพื้นที่สีเขียวรู ปแบบนี้ เรี ยกว่า“อุทยานวิถี” (Green ways) แนวทางพื้นฐานคือ ใช้
สวนสาธารณะเป็ นแกนกลาง และสร้างพื้นที่หรื อเส้นทางสี เขียวให้เชื่ อมร้อยสวนสาธารณะกับพื้นที่สําคัญ
ของเมืองรวมทั้งที่โล่งว่างของเมืองเข้าด้วยกัน รู ปแบบการเชื่อมโยงอุทยานวิถีมีหลากรู ปแบบเช่น
อย่ างแรก เส้นทางสี เขียว (Park way) ได้แก่ เครื อข่ายทางเท้าทั้งในย่านที่มีคนใช้เป็ นจํานวนมาก
ปรับให้เป็ นทางเดินที่สะดวก มีมา้ นัง่ ร้านขายเครื่ องดื่ม ส่ งเสริ มกิจกรรมการพักผ่อนแบบเมืองในระหว่าง
ทาง และในพื้นที่ที่จดั ให้คนเดินเท้าต่อเนื่ องในสภาพภูมิทศั น์ที่ดีอาจได้จากการปิ ดถนนที่มีการใช้งานน้อย
หรื อเส้นทางรถไฟที่เลิกใช้แล้วเป็ นเส้นทางเดิน รวมถึงเส้นทางเลียบลํานํ้า ได้แก่ พื้นที่ริมนํ้าต่าง ๆ
อย่างทีส่ อง เส้นทางเดินเชื่อมลานต่างๆ (Glaze way) ได้แก่ เส้นทางเชื่ อมลานอาคารและทางเดินใน
กลุ่มอาคารธุ รกิจและพาณิ ชย์ พื้นที่อย่างที่สองนี้ภาคเอกชนมีบทบาทสําคัญในการสร้างสรรค์ให้เกิดขึ้น
อย่ างที่สาม ทางเดิ นลอยฟ้ า(Skyway) ได้แก่ การเชื่ อมเส้ นทางเดิ นระดับเหนื อศี รษะ ทําให้การ
สัญจรทางเท้าสะดวกกว่าการเดินบนระดับบนดิน โดยให้มีภูมิทศั น์ต่อเนื่องสวยงาม
อย่างทีส่ ี่ เส้นทางจักรยาน(Cycle way) ได้แก่ การจัดเส้นทางให้ขี่จกั รยานได้อย่างสะดวก ปลอดภัย
และร่ มรื่ นในเมืองการสร้ างเส้ นทางจักรยานนี้ ตอ้ งประสานกับพื้นที่สี่เขียวอื่น ๆ เพื่อให้เส้ นทางจักรยาน
ต่อเนื่องและครอบคลุมทัว่ เมืองมากขึ้น
27

อย่ างที่ห้า พื้นที่สีเขียวของชุ มชนที่สร้างสรรค์ที่วา่ งหรื อที่สาธารณะของชุ มชนให้เป็ นพื้นที่สีเขียว


เช่น เชื่อมโยงพื้นที่วดั โรงเรี ยน เข้ากับพื้นที่สัญจรเพื่อเชื่อมต่อกับพื้นที่สีเขียวอื่น ๆ ให้เป็ นเส้นทางเชื่ อมโยง
เข้าด้วยกัน
กลยุทธ์ การสรรค์ สร้ างพืน้ ทีส่ ี เขียว
ผูบ้ ริ หารเมืองต้องนําประเด็นพื้นที่สีเขียวเป็ นนโยบายสําคัญ ไม่เพียงมีแผนงานเฉพาะในการเพิ่ม
พื้นที่สีเขียว ยังต้องผนวกกับแผนงานและโครงการอื่น ๆ เสมอ
ประเด็นที่ตอ้ งคิดการใหญ่คือ ควรสร้างพื้นที่สีเขียวรู ปแบบสวนขนาดใหญ่เพิ่มขึ้นอย่างน้อยต้องสี่
ทิศหรื อสี่ มุมเมือง โดยอาจจะเป็ น 6 หรื อ 8 ทิศก็ได้ตามความเหมาะสม ขนาดของสวนไม่ควรตํ่ากว่า 20 ไร่
การหาพื้นที่ดงั กล่าวควรสร้างสรรค์วิธีการที่ได้ผลขึ้น อันดับต่อมาคือ เร่ งรัดพัฒนาสร้างสวนสาธารณะใน
วัด และสถานที่ราชการ ทั้งนี้พิจารณาให้สอดคล้องกับการที่หลายวัดโค่นต้นไม้เพื่อสร้างที่จอดรถทั้งเพื่อหา
รายได้ แ ละอํา นวยความสะดวกแก่ ญ าติ โ ยม รู ปแบบอื่ น ๆ คิ ด เพิ่ ม เติ ม เช่ น สวนสาธารณะชุ ม ชน
สวนสาธารณะในหมู่บา้ นจัดสรร เป็ นต้น
การสร้างสรรค์พ้ืนที่สีเขียวนั้น กลุ่มพลังทางการเมือง พลังทางธุ รกิจ และพลังทางสังคม สามพลังนี้
เมื่อประสานงานเป็ นพันธมิตรเชิงกลยุทธ์ในการสรรค์หาพื้นที่สีเขียวในเขตเมือง ความสําเร็ จย่อมเกิดเร็ วขึ้น
ทั้งนี้ ในเขตเมื องที่ ดินทุกตารางนิ้ วมี เจ้าของ หากนํามาใช้เป็ นพื้นที่ สีเขี ย วควรสร้ า งประโยชน์ให้เกิ ดขึ้ น
ร่ วมกัน ทั้งแก่เจ้าของเดิม ชุมชนแวดล้อมภาคธุ รกิจที่สนับสนุน ภาคบริ หารเมืองหรื อภาคการเมือง
ในกรณี เป็ นพื้นที่ ของเอกชน มี วิธีการเหล่ านี้ คือ การออกพระราชบัญญัติเวนคื นที่ ดิน, ซื้ อที่ ดิน,
ขอรับบริ จาคที่ดิน, ทําสัญญาแลกเปลี่ยนที่ดิน, ทําสัญญาเช่าที่ดินระยะยาว, สร้างแรงจูงใจในรู ปแบบต่างๆ
เช่น ด้านภาษี และเงินชดเชย
กรณี เป็ นพื้นที่ของหน่ วยงานราชการหรื อรัฐวิสาหกิ จใช้วิธีขอความร่ วมมื อโดยฝ่ ายบริ หารเมื อง
สนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นพื้นที่สีเขียวที่สมบูรณ์, ขอเข้าไปใช้ที่ดิน, การขอรับบริ จาคที่ดิน เป็ นต้น
นอกจากนี้ ใช้ผงั เมืองให้เกิ ดประโยชน์โดยมีขอ้ บังคับที่สามารถปฏิ บตั ิได้เช่ น เพิ่มพื้นที่สีเขียวบน
พื้นที่นอกอาคาร เพิ่มพื้นที่สีเขียวด้านในอาคาร เช่น สวนบนหลังคา (Garden Roof) เพิ่มพื้นที่สีเขียวใน
บริ เวณช่ องว่างระหว่างอาคาร เพิ่มพื้นที่สีเขียวในบริ เวณลานด้านหน้าอาคารห้างสรรพสิ นค้า เพิ่มพื้นที่ สี
เขียวในบริ เวณพื้นที่ลานจอดรถ เพิ่มพื้นที่สีเขียวในแนวเส้นทางคมนาคมและเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยการแทนที่
พื้นที่เดิม (urban infill) เป็ นต้น
ประเด็ นที่ ต้อ งดํา เนิ น การอย่า งต่ อ เนื่ อ งคื อ การบริ ห ารจัดการพื้ นที่ สี เ ขี ย ว เพราะไม่ เพี ย งต้อ ง
สร้างสรรค์ข้ ึนหากยังต้องดูแลอย่างต่อเนื่อง ดังนั้นต้องสร้างสรรค์พฒั นาให้เกิดความร่ วมมือกันระหว่างฝ่ าย
บริ หารเมือง ภาคธุ รกิ จและภาคสังคมในแต่ละชุ มชนที่เกี่ ยวข้อง ผลปรากฏจากการดําเนิ นการนี้ ย่อมมีการ
ปรับแปลงกลไกและหน่วยงานการบริ หารเพื่อรองรับการบริ หารจัดการเชิ งบูรณาการ รวมถึงการมีระเบียบ
กฎหมายที่เกี่ยวข้อง การขยายบทบาทให้สถานศึกษาและวัดในชุ มชนบริ เวณพื้นที่สีเขียวเข้ามามีบทบาท ใน
ส่ วนของภาคธุ รกิจเน้นธุ รกิจในพื้นที่บริ เวณแวดล้อม
28

กิ จกรรมที่ ควรทําต่อเนื่ องคือ การใช้ประโยชน์ร่วมกันจากพื้นที่สีเขียว ซึ่ งมี รูปแบบสร้ างสรรค์ได้


มากมายทั้งด้านศิลปวัฒนธรรม กีฬา และกิจกรรมอื่น ๆ
เมืองสี เขียว ชุมชนสี เขียว เป็ นเรื่ องที่ควรส่ งเสริ มให้เป็ นกระแสเรี ยกร้องของสังคมผ่านไปสู่ ภาคธุ รกิจและ
ภาคการบริ หารเมื องในที่สุดเมืองสี เขียว ชุมชนสี เขียว เป็ นเรื่ องที่ควรส่ งเสริ มให้เป็ นกระแสเรี ยกร้ องของ
สังคมผ่านไปสู่ ภาคธุ รกิจและภาคการบริ หารเมืองในที่สุดโพสต์เมื่อ 17th March 2013 โดย ชนายุส ตินารักษ์
ป้ ายกํากับ ก่อสร้าง ซีเอสอาร์ CSR พัฒนาเมือง
มติ ครม. เรื่ องแผนปฏิบตั ิการเชิงนโยบายด้านการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนอย่างยัง่ ยืน
- ความหมายของ พื้ นที่ สี เขี ย วยัง่ ยืน หมายถึ ง พื้ นที่ สี เขี ย วที่ มี ตน้ ไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ เป็ น
องค์ประกอบหลักและได้รับการบํารุ งรักษาให้คงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน
- แผนปฏิบตั ิการเชิ งนโยบายด้านการจัดการพื้นที่สีเขียวชุ มชนอย่างยืนมีเป้ าหมายเพิ่มพื้นที่สีเขียว
ยัง่ ยืน ของชุมชนเมืองโดยภาพรวมให้ได้ไม่นอ้ ยกว่า 5 ตารางเมตร ต่อประชากร 1 คน ภายในระยะเวลา 5 ปี
และสามารถดํารงรักษาไว้ได้อย่างยัง่ ยืน
- ประกอบด้วย 6 แนวทาง
แนวทางที่ 1 การนําร่ องการเพิ่มพื้นที่สีเขียวยัง่ ยืนในแปลงที่ดินของรัฐ สถานที่ราชการ สถานศึกษา
ศาสนสถาน และการปลู กไม้ยืนต้นในบริ เวณที่ดินสาธารณะริ มทางหรื อริ มนํ้าเพื่อเพิ่มพื้นที่ สีเขี ยวยัง่ ยืน
ให้กบั ชุมชน
แนวทางที่ 2 การปรับปรุ งกฎระเบียบ และกฎหมายที่เกี่ยวข้องให้สอดคล้องกับการส่ งเสริ มการเพิ่ม
และการบริ หารจัดการพื้นที่สีเขียวยัง่ ยืนของชุมชน และผลักดันให้มีการบังคับใช้อย่างเคร่ งครัด
แนวทางที่ 3 สนับสนุน ส่ งเสริ ม และกําหนดให้เอกชนเพิม่ พื้นที่สีเขียวอย่างยัง่ ยืน
แนวทางที่ 4 การใช้แรงจูงใจทางเศรษฐศาสตร์ ในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวยัง่ ยืน
แนวทางที่ 5 การเพิ่มศักยภาพและขีดความสามารถขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่ น หน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง ในการจัดการพื้นที่สีเขียวของชุมชนให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิ ภาพและยัง่ ยืน
แนวทางที่ 6 สนับสนุนการสร้างความรู้ จิตสํานึ กในการมีส่วนร่ วมของทุกภาคส่ วนในการเพิ่มและ
การจัดการพื้นที่สีเขียวที่ยงั่ ยืนของชุมชน
- รายละเอียดแนวทางที่น่าสนใจ ได้แก่ ในแนวทางที่ 1
มาตรการที่ 1.1 นําร่ องการจัดทําพื้นที่สีเขียวยัง่ ยืนในสถานที่ราชการ สถานศึกษา ศาสนสถาน ที่
ก่อสร้ างใหม่ในพื้นที่ใหม่ที่ไม่มีการใช้ประโยชน์อยู่เดิ ม และไม่มีขอ้ จํากัดในขนาดที่ดินในการปลูกสร้ าง
เพื่อให้เป็ นตัวอย่างแก่ชุมชน โดย “กําหนดให้มีพ้ืนที่สีเขียวร้อยละ 50 ของแปลงที่ดิน และเป็ นพื้นที่สีเขียวที่
ยัง่ ยืน”
29

มาตรการที่ 1.2 นําร่ องการจัดทําพื้นที่สีเขียวยัง่ ยืนในสถานที่ราชการ สถานศึกษา ศาสนสถาน ที่


ก่อสร้างใหม่ในพื้นที่เดิ มที่เคยมีการใช้ประโยชน์ โดยสร้ างทดแทนอาคารที่มีอยู่ โดย“กําหนดให้มีพ้ืนที่สี
เขียวอย่างน้อยร้อยละ 30 ของแปลงที่ดิน และเป็ นพื้นที่สีเขียวที่ยงั่ ยืน”
มาตรการที่ 1.3 นําร่ องการจัดทําพื้นที่สีเขี ยวยัง่ ยืนในสถานที่ ราชการ สถานศึกษา ศาสนสถาน
ทัว่ ไป โดย“กําหนดให้มีพ้ืนที่สีเขียวอย่างน้อยร้อยละ 30 ของแปลงที่ดิน และเป็ นพื้นที่สีเขียวที่ยงั่ ยืน”
มาตรการที่ 1.4 สถานที่ราชการ สถานศึกษา ศาสนสถานใดที่ไม่สามารถจัดสร้างพื้นที่สีเขียวยัง่ ยืน
ในแปลงที่ดินที่ส่วนราชการนั้นใช้ประโยชน์ได้ตามเกณฑ์ ควรจะจัดสร้างพื้นที่สีเขียวยัง่ ยืนในแปลงที่ดิน
อื่น ในระยะที่เดินเท้าถึงกันได้...
มาตรการที่ 1.5 ให้ส่วนราชการ รัฐวิสาหกิจที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาสาธารณู ปโภค สาธารณูปการ
ขนาดใหญ่ ต้ อ งวางแผนการสร้ า งพื้ น ที่ สี เ ขี ย วยั่ง ยื น อย่ า งบู ร ณาการกั บ การพัฒ นาสาธารณู ป โภค
สาธารณูปการดังกล่าว...
มาตรการที่ 1.6 โครงการพัฒนาที่ดินใดๆ รวมทั้งโครงสร้ างพื้นฐานทั้งของรัฐและรั ฐวิสาหกิ จ
จะต้องดําเนินการจัดการพื้นที่สีเขียวยัง่ ยืนให้เกิดขึ้น และใช้ประโยชน์ได้จริ งควบคู่ไปกับการจัดทําพื้นที่เพื่อ
กักเก็บนํ้า หรื อจัดทํา “แก้มลิง” เพื่อการหน่วงนํ้า
มาตรการที่ 1.7 กําหนดสัดส่ วนพื้นที่สีเขียวอย่างยัง่ ยืนในที่วา่ ง ตาม พรบ. ควบคุมอาคาร พ.ศ. 2522
โดยกําหนดเป็ นพื้นที่สีเขียวยัง่ ยืน อย่างน้อยร้อยละ 50 ของพื้นที่วา่ ง (Asa สมาคมสถาปนิ กสยามในพระ
บรมราชูปถัมถ์)
2.4 แนวทางการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุ งเทพมหานคร
สร้อยสุ ข พงษ์พูล ( 2555 : 101 )ได้กล่าวถึง พื้นที่สีเขียวในกรุ งเทพมหานครเป็ นเมืองใหญ่ มีการ
เจริ ญเติบโตอย่างต่อเนื่องในทุกๆด้าน ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร เป็ นแหล่งงานที่ดึงดูด
ให้ผคู ้ นจากท้องถิ่นต่างๆทัว่ ประเทศหลัง่ ไหลเข้ามาประกอบอาชี พหลากหลายประเภท หลากหลายกิจกรรม
ปั ญหาที่ตามมาคือ ความแออัดของที่อยูอ่ าศัยประชากรหนาแน่น สาธารณูปโภค สาธารณู ปการไม่เพียงพอ
อาชญากรรมเพิ่มขึ้น การจราจรติดขัด มลภาวะเป็ นพิษ ขยะเกลื่อนเมือง นํ้าเน่า อากาศเสี ย เสี ยงดัง ฝุ่ น
ละอองกระจายแทบทุ กพื้นที่ ส่งผลกระทบต่อสุ ขภาพของผูอ้ าศัยในเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อมการเพิ่ม
พื้นที่สีเขียวจึงเป็ นอีกทางเลือกหนึ่ งในการแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อม ทั้งช่วยกรองมลพิษ เสริ มสร้างสุ ขภาพกาย
และสุ ขภาพจิตที่แข็งแรงให้คนเมือง แต่ปัญหาคือ พื้นที่สีเขียวในเมืองมีไม่เพียงพอกับความต้องการของ
ประชาชน การเข้าถึงเป็ นไปโดยยากในบางพื้นที่ บทบาทของพื้นที่สีเขียวบางแห่ ง ไม่เอื้ออํานวยต่อความ
ต้องการของผูใ้ ช้บริ การ จึงต้องมีการเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้กบั เมือง เพื่อช่วยให้ประชาชนคนเมืองมีทางเลือกใน
การพักผ่อนหย่อนใจมากขึ้น

พืน้ ทีส่ ี เขียว


30

“พื้น ที่สี เ ขี ย ว” ได้มี ผูใ้ ห้ ค าํ จํา กัด ความไว้ห ลายประการ แต่ ส่ ว นใหญ่ ท ่วั ไปมัก หมายถึ ง
สวนสาธารณะ ซึ่ งเป็ นบริ เวณที่ปลูกต้นไม้เป็ นจํานวนมาก กั้นเป็ นขอบเขตไว้เพื่อประชาชนทัว่ ไปจาก
งานวิจยั มาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุ มชนอย่างยัง่ ยืนโดยศูนย์วิจยั ป่ าไม้คณะวน
ศาสตร์ มหาวิท ยาลัย เกษตรศาสตร์ ที่ เสนอต่ อสํ า นัก งานนโยบายและแผนทรั พ ยากรธรรมชาติ และ
สิ่ งแวดล้อม ได้ให้คาํ นิยามของ “พื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนเมือง” ว่าหมายถึง พื้นที่โล่งว่างในเขตเทศบาล ซึ่ ง
มีพืชพรรณเป็ นองค์ประกอบหลัก ได้รับการจัดการตามหลักวิชาวนวัฒนวิทยาและหลักการทางภูมิสถาปั ตย์
เพื่อเสริ มสร้างภูมิทศั น์ให้เอื้ออํานวยต่อการพักผ่อนหย่อนใจและเพื่อเสริ มสร้างสภาพแวดล้อมของเมือง อัน
จะทําให้ชุมชนเมืองเป็ นเมืองสี เขียวที่ร่มรื่ นสวยงามและน่าอยูต่ ลอดไป
1.พืน้ ทีธ่ รรมชาติ เป็ นพื้นที่ที่มีอยูต่ ามธรรมชาติ เป็ นแหล่งรวมของระบบนิ เวศที่จาํ เป็ นต้องอนุ รักษ์
ให้คงอยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์ตลอดไป โดยมีการจัดการที่เหมาะสม ส่ วนใหญ่จะอยูบ่ ริ เวณต้นนํ้า ป่ าไม้ ภูเขา
2.พืน้ ที่สีเขียวเพื่อบริ การ เป็ นพื้นที่ สีเขียวที่ประชาชนสามารถเข้าไปใช้บริ การเพื่อการพักผ่อน
หย่อนใจ ออกกําลังกายและเสริ มสร้างทัศนี ยภาพที่สวยงามให้กบั เมืองในรู ปแบบสวนสาธารณะสวนหย่อม
สนามกี ฬากลางแจ้ง สนามเด็กเล่ น ลานเมือง สวนพฤกษศาสตร์ สวนรุ กขชาติ และสวนสัตว์ ซึ่ ง
กรุ งเทพมหานครมีพ้ืนที่สีเขียวในรู ปแบบนี้หลายแห่ง อาทิเช่น สวนหลวง ร.9 สวนลุมพินี ศูนย์เยาวชน ลาน
คนเมือง ฯลฯ
3.พืน้ ทีส่ ี เขียว เพือ่ สิ่ งแวดล้อม เป็ นพื้นที่สีเขียวที่เสริ มสร้างคุณค่าด้านสิ่ งแวดล้อม เช่นการเพิ่มก๊าซ
ออกซิ เจน และลดอุณหภูมิความร้อนในเมือง แม้ประชาชนจะไม่สามารถเข้าไปใช้บริ การได้โดยตรง แต่มี
คุณค่าด้านสิ่ งแวดล้อมซึ่ งเป็ นเสมือนปอดของชุ มชนเมือง โดยรู ปแบบในกรุ งเทพมหานครได้แก่ สวนใน
บ้าน พื้นที่สีเขียวในโรงเรี ยน หน่วยงานราชการ ศาสนสถาน สนามกอล์ฟ
4.พืน้ ทีส่ ี เขียวริมเส้ นทางสั ญจรเป็ นพื้นที่สีเขียวที่อยูใ่ นแนวเส้นทางสัญจรสาธารณะซึ่ งมีบทบาททั้ง
การเสริ มสร้างคุณค่าด้านสิ่ งแวดล้อมและการบริ การได้แก่ พื้นที่ตามแนวถนน เกาะกลางถนน ริ มทางเดิน
แนวถอยร่ น ริ มแม่น้ าํ ลําคลอง ริ มทางรถไฟ
5.พืน้ ทีส่ ี เขียว เพือ่ เศรษฐกิจชุ มชน เป็ นการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ผเู ้ ป็ นเจ้าของได้แก่ สวน
ไม้ผลยืนต้น สวนป่ าเศรษฐกิจ พื้นที่วา่ งในบริ เวณสถานประกอบการ ในกรุ งเทพมหานคร ได้แก่ บริ เวณ
ชานเมืองทั้งฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตกของกรุ งเทพมหานคร เช่น สวนผัก สวนผลไม้ ฯลฯ โดยในเขต
ชุ มชนเมืองยังมีพ้ืนที่ที่มีศกั ยภาพและมีความเหมาะสมที่จะนํามาพัฒนาเป็ นพื้นที่สีเขียวอย่างยัง่ ยืน ได้แก่
พื้นที่วา่ งรกร้าง พื้นที่ส่วนราชการ พื้นที่ศาสนสถาน พื้นที่สถานศึกษา พื้นที่ลานกิจกรรมของชุ มชน พื้นที่
ว่า งภายหลัง การพัฒนาสาธารณู ป โภคและสาธารณู ป การ พื้ นที่ ว่า งตามอาคารบ้า นเรื อ นและสถาน
ประกอบการของเอกชน เป็ นต้น ปั จจุบนั มีกระแสความคิดใหม่ๆในการเชื่ อมต่อพื้นที่นนั ทนาการทัว่ เมือง
แทนการกระจุกตัวเป็ นจุดๆ ทําให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงแนวความคิดของ“สวนสาธารณะในเมือง” เป็ น
“เมืองในสวนสาธารณะ” และสวนสาธารณะจะขยายต่อเชื่ อมกับที่วา่ งสาธารณะต่างๆในเมือง เช่ น ลาน
31

สวนสาธารณะ ถนน ทางจักรยาน และทางเดินเท้า ทําให้เมืองมีความสวยงามมากขึ้น เรี ยกว่า “อุทยานวิถี”


(Greenways)อุทยานวิถี (Greenways) เป็ นสวนสาธารณะแนวยาวที่เชื่ อมร้อยพื้นที่สําคัญของเมือง ที่โล่ง
ว่างของเมืองเข้าด้วยกัน โดยมีหลากหลายลักษณะคือ
1.เส้ นทางสี เขียว (Parkway) ได้แก่ ระบบทางเท้าในพื้นที่ที่สามารถจัดให้คนเดินต่อเนื่ องในสภาพ
ภูมิทศั น์ที่ดี เช่น ปิ ดถนนที่มีการใช้งานน้อย หรื อเส้นทางรถไฟที่เลิกใช้แล้วเป็ นเส้นทางเดิน
2.เส้ นทางเลียบลานา้ (Blueway) ได้แก่ พื้นที่ริมนํ้าต่างๆ
3.เส้ นทางดาดผิว (Paveway) ได้แก่ ทางเท้าย่านที่มีคนใช้เป็ นจํานวนมาก ปรับให้เป็ นทางเดินที่
สะดวก มีมา้ นัง่ ร้านขายเครื่ องดื่ม ส่ งเสริ มกิจกรรมการพักผ่อนแบบเมืองในระหว่างทาง
4.เส้ นทางเดินเชื่ อมลานต่ างๆ (Glazeway) ได้แก่ เส้นทางเชื่ อมลานอาคารและทางเดิ นในกลุ่ม
อาคารธุ รกิจและพาณิ ชย์
5.ทางเดินลอยฟ้า (Skyway) ได้แก่ การเชื่อมเส้นทางเดินระดับเหนือศีรษะ ทําให้การสัญจรทางเท้า
สะดวกกว่าการเดินบนระดับบนดิน โดยให้มีภูมิทศั น์ต่อเนื่องสวยงาม
6.เส้ นทางนิเวศ (Ecoway) ได้แก่ การสร้างระบบนิเวศในเส้นทางที่สามารถทําได้ในเมือง
7.เส้ นทางจักรยาน (Cycleway) ได้แก่ การจัดเส้นทางให้จกั รยานสามารถสัญจรได้อย่างสะดวก
ปลอดภัยและร่ มรื่ นในเมือง
สําหรั บแนวทางการดําเนิ นการเพื่อให้พ้ืนที่ สีเขี ยวคงอยู่ สํานักผังเมือง กรุ งเทพมหานครได้
กําหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินในกฎกระทรวงให้ใช้บงั คับผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานคร พ.ศ.2549 ในพื้นที่
ฝั่ งตะวันออกและฝั่ งตะวันตกของกรุ งเทพมหานครเป็ นพื้นที่ อนุ รักษ์ชนบทและเกษตรกรรม และพื้นที่
ชนบทและเกษตรกรรม เพื่อส่ งเสริ มให้ประชาชนในพื้นที่ด้ งั เดิมสามารถดํารงชี พโดยอาชี พเกษตรกรรมได้
นอกจากนี้กรุ งเทพมหานครได้จดั ตั้งโรงเรี ยนเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดําริ กรุ งเทพมหานคร เพื่อ
สาธิ ตเป็ นต้นแบบให้เกษตรกรโดยทัว่ ไปสามารถนําไปปฏิบตั ิกบั ที่ดินของตนเอง และกรุ งเทพมหานครยัง
ส่ งเสริ มให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในบริ เวณบ้านเรื อน ซึ่ งเป็ นแนวทางหนึ่ งในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองให้
คงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืนได้จากรายงานโครงการจัดหาและพัฒนาสวนสาธารณะ สนามเด็กเล่น และภูมิทศั น์ของ
เมืองโดยสํานักผังเมือง กรุ งเทพมหานคร ได้ให้คาํ นิ ยามของสวนสาธารณะว่า“สวนสาธารณะ เป็ นการใช้
ทีด่ ินประเภทหนึ่งทีม่ ีความสาคัญสาหรั บชี วิตความเป็ นอยู่แบบเมือง (Urban life) สามารถตอบสนองความ
ต้ องการการพักผ่ อนหย่ อนใจ ซึ่ งเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรั บมนุษย์ ” โดยลักษณะการพักผ่อนหย่อนใจของมนุ ษย์
แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ
1.Passive Recreation เป็ นการพักผ่อนหย่อนใจในลักษณะความสงบ การผ่อนคลายความเครี ยด
ความเหน็ดเหนื่อย ได้แก่การชื่นชม ภูมิทศั น์ของเมือง การใกล้ชิดกับธรรมชาติ การฟังดนตรี ชมสัตว์ นัง่ เล่น
ฯลฯ
32

2.Active Recreation เป็ นการพักผ่อนหย่อนใจที่ตอ้ งใช้แรงในการดําเนิ นกิจกรรม เช่น การออก


กําลังกาย เดิน วิ่ง พายเรื อ ขี่จกั รยาน ฯลฯ4ในการวางผังเมืองแต่ละเมืองจะยึดหลักการจัดลําดับศักย์ของ
สวนสาธารณะคือ เมืองหรื อชุมชนที่สมบูรณ์แบบจะต้องมีสวนสาธารณะหลากหลายประเภทให้เลือกใช้ได้
คือ
1.สนามเด็กเล่น (Playgrounds)
2.สนามกีฬา (Playfields)
3.สวนสาธารณะละแวกบ้าน (Neighborhood Parks)
4.สวนสาธารณะชุมชน (Community Parks)
5.สวนสาธารณะระดับย่าน (District Parks)
6.สวนสาธารณะระดับเมือง (City Parks)
7.สวนหย่อมเพื่อการใช้งานในเมือง (Pocket Parks)
8.สวนสาธารณะพิเศษ เช่น สวนสัตว์ (Special Parks)
9.สวนพฤกษศาสตร์ สวนสนุก (Botanic Parks)
สวนสาธารณะเหล่านี้จะกระจายตัวอยูใ่ นเมือง โดยยึดระยะการเดินทางของผูใ้ ช้เป็ นเกณฑ์ในการจัด
ระยะห่าง เรี ยกว่า “รัศมีการให้บริ การ” หรื อ “รัศมีบริ การ” ของสวนสาธารณะแต่ละแห่ง
เป้าหมายการเพิม่ พืน้ ทีส่ ี เขียวในกรุ งเทพมหานคร
กรุ งเทพมหานคร เป็ นมหานครขนาดใหญ่แห่ งหนึ่ งของโลก ขนาดพื้นที่โดยรวมเท่ากับ1,568.737
ตารางกิโลเมตร โดยประชากรในกรุ งเทพมหานครในปี พ.ศ. 2549 มีจาํ นวนทั้งสิ้ น 5,695,956 คนความ
หนาแน่นของประชากรเท่ากับ 3,630.92 คนต่อตารางกิโลเมตร กรุ งเทพมหานครมีสวนสาธารณะขนาดใหญ่
ที่สุดคือ สวนหลวง ร.9 ขนาดพื้นที่ 500 ไร่ เป็ นสวนสาธารณะระดับเมือง ให้บริ การประชาชนทัว่ ทั้ง
กรุ งเทพมหานคร นอกจากนั้นจะเป็ นสวนสาธารณะระดับต่างๆลดหลัน่ กันลงมา รวมพื้นที่สวนสาธารณะ
ทั้งสิ้ น 2,481.69 ไร่ คิดเป็ นสัดส่ วนพื้นที่สวนสาธารณะต่อประชากรในกรุ งเทพมหานครเท่ากับ 0.70 ตาราง
เมตรต่ อคน นับ ว่า น้อยมากเมื่ อเที ย บกับ มาตรฐานสากลที่ กาํ หนดไว้ว่า สัดส่ วนของสวนสาธารณะต่ อ
ประชากรจะต้องเท่ากับ 15 ตารางเมตรต่อคน ขณะที่เมืองใหญ่แห่ งอื่ นของโลกล้วนแล้วแต่มีสัดส่ วน
สวนสาธารณะต่อประชากรสู งกว่ากรุ งเทพมหานครเกือบทั้งสิ้ น
ตารางแสดงมาตรฐานเนื้ อ ที่ ส วนสาธารณะต่ อ ประชากรในประเทศต่ า งๆประเทศ เนื้ อ ที่
สวนสาธารณะต่อประชากร
- 1,000 คน (หน่วย : ไร่ )
- เนื้อที่สวนสาธารณะต่อประชากร
- 1 คน (หน่วย : ตารางเมตร)
- มาตรฐานสากล 9.38 15
- สหรัฐอเมริ กา 25 40
33

- อังกฤษ 17.50 23
- เม็กซิโก 9.40 15
- โปแลนด์ 9.40 15
- สิ งคโปร์ 6.80 10.90
- ญี่ปุ่น 3.37 5.4
- มาเลเซีย 1.80 2.90
- ไทเป 0.25 0.40
ที่มา : Park and Greenery Space Planning in a large City : Laboratory of Urban Landscape
Design, Nobura สวนสาธารณะต่อประชากร 1,000 คน (หน่วย: ไร่ ) เนื้อที่สวนสาธารณะ ต่อประชากร 1 คน
(หน่วย : ตารางเมตร) หมายเหตุ Masuda, Prefecture, College of Agriculture.มาตรฐานเนื้ อที่สวนสาธารณะ
ต่อประชากรในประเทศไทยหน่วยงาน เนื้อที่

สภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ 10 16 ใช้เป็ นมาตรฐานสําหรับประเทศไทย บริ ษทั


Litchfield Whiting Brown & Associate 10 16 ใช้สําหรับพื้นที่กรุ งเทพมหานคร สํานักผังเมือง 10 16 ใช้
สําหรับพื้นที่กรุ งเทพมหานคร JICA 10 16 ใช้สําหรับพื้นที่กรุ งเทพมหานคร การเคหะแห่ งชาติ 2 3.20 เพื่อ
การพัฒนาที่อยูอ่ าศัย ผังนครหลวงฉบับปรับปรุ ง 1.80 2.88 รวมเนื้ อที่สนามกีฬา 0.40 ไร่ ต่อ 1,000 คนและ
สนามเด็กเล่น 0.30 ไร่ ต่อ 1,000 คน เป็ นมาตรฐานที่ผงั เมืองนิยมใช้การคาดประมาณประชากรใน 5 ปี
ข้างหน้า (พ.ศ.2555) จะมีประชากรตามทะเบียนราษฎร์ ประมาณ 6,775,672 คน จากข้อมูลสวนสาธารณะ
ของ กทม.ในปั จจุบนั มีพ้ืนที่สีเขียวและพื้นที่สวนสาธารณะเพื่อการพักผ่อนหย่อนใจประมาณ 10,429.84 ไร่
หรื อคิดเป็ นสัดส่ วนต่อประชากรโดยประมาณ 2.93 ตารางเมตรต่อคน ตํ่ากว่ามาตรฐานที่กาํ หนดไว้ของ
สํานักผังเมืองที่ให้เพิ่มพื้นที่สีเขียว 6 และสวนสาธารณะอย่างน้อยให้มีอตั ราส่ วนพื้นที่ต่อจํานวนประชากร 4
ตารางเมตรต่อคนในระยะสั้น (5 ปี ) 10ตารางเมตรต่อคนในระยะปานกลาง (10 ปี ) และ 16 ตารางเมตรต่อคน
ในระยะยาว (20 ปี ) ดังนั้นในอนาคต 5 ปี ข้างหน้ากรุ งเทพมหานครจะต้องหาพื้นที่สีเขียวเพิ่มให้ได้อีก
ประมาณ 6,509.34 ไร่ เพื่อให้บรรลุตามเป้ าหมายที่กาํ หนดไว้พ้ืนที่สีเขียวในผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานคร
ตามผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานคร ได้กาํ หนดการใช้ประโยชน์ที่ดินในกรุ งเทพมหานครตามศักยภาพของ
พื้นที่ ดังนั้นพื้นที่สีเขียวจึงไม่จาํ เป็ นจะต้องเป็ นเพียงสวนสาธารณะหรื อพื้นที่นนั ทนาการเพื่อการพักผ่อน
หย่อนใจเท่านั้นแต่จะรวมพื้นที่เกษตรกรรมไว้ดว้ ยโดยบริ เวณชานเมืองฝั่ งตะวันออกและฝั่ งตะวันตกของ
กรุ งเทพมหานครจะถูกกําหนดให้เป็ นพื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม (สี เขียว) และพื้นที่อนุ รักษ์ชนบทและ
เกษตรกรรม (สี เขียวทแยง)พื้นที่ชนบทและเกษตรกรรม ได้แก่พ้ืนที่ชานเมืองรอบนอกทางฝั่งตะวันตกอยู่
นอกแนวถนนวงแหวนสายนอก ทางฝั่ งตะวันออกอยู่นอกแนวคันกั้นนํ้า หลายพื้นที่ ย งั คงเป็ นพื้นที่
เกษตรกรรม และมีความเป็ นอยูแ่ บบชนบท แต่บางพื้นที่ได้มีการขยายตัวของเมืองเพิ่มขึ้น วัตถุประสงค์ใน
การกําหนดพื้นที่ ชนบทและเกษตรกรรมเนื่ องจากมี วตั ถุ ประสงค์ที่จะกําหนดกรองการพัฒนาเมืองให้อยู่
34

ภายในถนนวงแหวนชั้นนอก ตามแผนการลงทุนระบบขนส่ งมวลชน และเป็ นฉนวนกั้นการขยายตัวของ


เมืองในพื้นที่ที่มีปัญหานํ้าท่วม ส่ วนบริ เวณอนุ รักษ์ชนบทและเกษตรกรรม ได้แก่ บริ เวณที่มีขอ้ บัญญัติ
กรุ งเทพมหานครประกาศใช้บงั คับอยู่ โดยมีนโยบายที่จะอนุ รักษ์ยา่ นที่อยูอ่ าศัยซึ่ งมีสภาพแวดล้อมที่ดีทาง
ฝั่งตะวันตก และมีนโยบายในการป้ องกันนํ้าท่วมเมืองโดยอาศัยพื้นที่หน่วงนํ้าและระบายนํ้าออกสู่ ทะเลทาง
ฝั่งตะวันออกสําหรับการพัฒนาทางด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ผูบ้ ริ หารกรุ งเทพมหานครได้
กําหนดนโยบายที่จะพัฒนากรุ งเทพมหานครให้เป็ นเมืองที่น่าอยู่ (Healthy City) คือเมืองที่มีความสะดวก
คล่องตัว สภาพแวดล้อมปลอดภัย และเหมาะสมต่อการอยูอ่ าศัย มีการบริ การด้านการศึกษาและสุ ขภาพ
อนามัย มีความปลอดภัย สะดวกสบายและสนับสนุนกิจกรรมทางวัฒนธรรม ซึ่ งในส่ วนนี้ ได้สนับสนุ นให้มี
การพัฒนาสวนสาธารณะ และพื้นที่สีเขียวได้แก่ สวนสาธารณะขนาดเล็ก (Pocket Park) ในพื้นที่ชุมชน
สวนสาธารณะและบึงรั บนํ้า (Parks and Flood Retaining Ponds) และพื้นที่สีเขียวในเมืองอาทิ สวนหย่อม
สวนถนน เป็ นต้น
2.5 แนวความคิดในการวางผังทีโ่ ล่ งและการรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม
ผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานคร กําหนดวิสัยทัศน์และวัตถุประสงค์ในการพัฒนาเมืองที่สาํ คัญ
ข้อหนึ่งคือ กําหนดให้กรุ งเทพมหานครเป็ นมหานครที่มีความน่าอยูด่ ว้ ยการสงวนรักษาสภาพแวดล้อมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ ทําให้เกิดแนวความคิดในการวางผังที่โล่งคือ
1) การพัฒนาพื้นที่โล่งว่างเพื่อนันทนาการและรักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม โดยสวนสาธารณะที่มีอยู่
ในปั จจุบนั และโดยการเสนอแนะให้จดั หาสวนสาธารณะในระดับต่างๆ
2) การสงวนรักษาที่โล่งพักนํ้าเพื่อการป้ องกันนํ้าท่วม (แก้มลิง) ในบริ เวณพื้นที่ลุ่มและบริ เวณบึง
หรื อสระนํ้าในพื้นที่ของส่ วนราชการและเอกชน
3) การอนุรักษ์ป่าชายเลนและการแก้ไขและป้ องกันการกัดเซาะบริ เวณพื้นที่ชายฝั่งทะเลในเขตบาง
ขุนเทียน
4) การกําหนดแนวที่โล่งริ มแม่น้ าํ และคลองเพื่อสร้างเสริ มสภาพภูมิทศั น์และการแก้ไขหรื อป้ องกัน
ปั ญหาการบุกรุ กลํานํ้าสาธารณะ
5) การกําหนดแนวที่โล่งริ มถนนสายหลักเพื่อการสร้างเสริ มสภาพภูมิทศั น์และการบรรเทาปั ญหา
ผลกระทบด้านมลพิษจากการจราจร
แผนผัง ที่ โล่ ง เป็ นแผนผัง แสดงการใช้ป ระโยชน์ ที่ ดินประเภทที่ โล่ ง เพื่ อนันทนาการและรั ก ษา
คุณภาพสิ่ งแวดล้อมและรวมถึงการป้ องกันนํ้าท่วม โดยแบ่งที่โล่งออกเป็ น 2 ประเภทคือ
1) ที่โล่ งเพื่อนันทนาการและการรั กษาคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม กําหนดในบริ เวณที่เป็ นสวนสาธารณะ
สวนสัตว์ สนามกีฬา ศูนย์เยาวชนขนาดใหญ่ สนามม้า สนามกอล์ฟ พื้นที่ชายทะเลบางขุนเทียนที่โล่งขนาด
ใหญ่ในสถานที่ราชการฯ จํานวนรวม 46 บริ เวณ โดยกําหนด “ที่โล่งเพื่อนันทนาการและการรักษาคุณภาพ
สิ่ งแวดล้อมเฉพาะที่ดินซึ่ งเป็ นของรัฐ ให้ใช้ประโยชน์เพื่อนันทนาการหรื อเกี่ ยวข้องกับนันทนาการการ
รักษาคุ ณภาพสิ่ งแวดล้อมหรื อสาธารณประโยชน์เท่านั้น ที่ โล่ งที่เป็ นที่ ดินซึ่ งเอกชนเป็ นเจ้าของหรื อผู ้
35

ครอบครองโดยชอบด้วยกฎหมาย ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อนันทนาการหรื อเกี่ยวข้องกับนันทนาการ การ


รักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม สาธารณประโยชน์ หรื อเพื่อวัตถุประสงค์อื่นที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับข้อกําหนดการใช้
ประโยชน์ที่ ดินประเภทอื่ นที่ ไ ด้จาํ แนกไว้ตามกฎกระทรวงนี้ ซ่ ึ ง ตั้ง อยู่โดยรอบที่ ดินดังกล่ า วที่ ดินหลาย
ประเภท ให้ใช้ประโยชน์ที่ดินได้เท่าที่ไม่ขดั หรื อแย้งกับข้อกําหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินประเภทที่มีแนว
เขตติ ด ต่ อ กั บ ที่ โ ล่ ง ประเภทนี้ มากที่ สุ ด”ที่ โ ล่ ง เพื่ อ นั น ทนาการและการรั ก ษาคุ ณ ภาพสิ่ ง แวดล้ อ ม
ประกอบด้วยลําดับ ที่โล่งเพื่อนันทนาการและการ ที่ต้ งั ขนาดพื้นที่รักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ถนน เขต ไร่
ตร.ม. ตร.กม.
1. ค่ายลูกเสื อกรุ งเทพมหานคร (พิศลบุตร) สรงประภา ดอนเมือง 226.875 363,000.00 0.363
2. ศูนย์กีฬารามอินทรา รามอินทรา บางเขน 59.000 94,400.00 0.094
3. สนามกอล์ฟ เดอะเลกาซี กอล์ฟ พระยาสุ เรนทร์ คลองสามวา 1,289.375 2,063,000.00 2.063
4. ที่โล่งด้านหน้ากรมทหารราบที่ 11 พหลโยธิน บางเขน 193.125 309,000.00 0.309
5. สนามกอล์ฟทหารบก รามอินทรา บางเขน 450.000 720,000.00 0.720
6. สวนหนองจอก เลียบวารี และเชื่อมสัมพันธ์หนองจอก 51.250 82,000.00 0.082
7. สนามกอล์ฟชานนท์กอล์ฟวิวแอนด์ สปอร์ ตคลับประชาร่ วมใจ คลองสามวา 51.250 82,000.00
0.082
8. สนามกอล์ฟปัญญา ปัญญาเนอเจอรัลปาร์คคันนายาว 875.000 1,400,000.00 1.400
9. สวนวชิรเบญจทัศ (สวนรถไฟ) สวนจตุจกั ร และสวนสมเด็จพระนางเจ้าสิ ริกิต์ ิฯ
กําแพงเพชร 1,2,3และพหลโยธินจตุจกั ร 667.000 1,067,200.00 1.067
10. สนามกอล์ฟนวธานี เสรี ไทย คันนายาว 470.000 752,000.00 0.752
11. ที่โล่งด้านหน้ากรมการทหารสื่ อสาร พระรามที่ 5 ดุสิต 145.630 233,008.00 0.233
12. ที่โล่งด้านหน้ากรมทหารราบที่ 1
มหาดเล็กรักษาพระองค์พระรามที่ 5 ดุสิต 165.000 264,000.00 0.264
13. สนามกีฬากองทัพบก วิภาวดีรังสิ ต พญาไท 26.875 43,000.00 0.043
14. สวนนํ้าบึงกุ่ม เสรี ไทย บึงกุ่ม 350.000 560,000.00 0.560 ลําดับ ที่โล่งเพื่อนันทนาการและการ
ที่ต้ งั ขนาดพื้นที่รักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้อม ถนน เขต ไร่ ตร.ม. ตร.กม.
15. สวนพฤกษชาติคลองจัน่ นวมินทร์ บึงกุ่ม 34.000 54,400.00 0.054
16. ที่โล่งด้านหน้ากองพันทหารมหาดเล็กและกองพันทหารราบที่ 1วิภาวดีรังสิ ต พญาไท 75.625
121,000.00 0.121
17. สนามกี ฬาการเคหะแห่ งชาติและสวนพักผ่อนการเคหะแห่ งชาตินวมินทร์ บางกะปิ 81.250
130,000.00 0.130
18. สวนสัตว์ดุสิต อู่ทองใน ดุสิต 104.375 167,000.00 0.167
19. ที่โล่งด้านหน้ากองพันทหารม้า พหลโยธิน พญาไท 21.250 34,000.00 0.034
36

20. ศูนย์เยาวชนกรุ งเทพมหานคร (ไทย-ญี่ปุ่น) มิตรไมตรี ดินแดง 79.375 127,000.00 0.127


21. สวนพระราม 8 จรัญสนิทวงศ์ บางพลัด 50.250 80,400.00 0.080
22. สวนสันติภาพ ราชวิถีและรางนํ้า ราชเทวี 20.000 32,000.00 0.032
23. ราชตฤณมัยสมาคมแห่งประเทศไทย พิษณุโลก ดุสิต 236.250 378,000.00 0.378
24. สนามกีฬาหัวหมาก และการกีฬาแห่ งประเทศไทยรามคําแหง บางกะปิ 291.250 466,000.00
0.466
25. สนามหลวง ราชดําเนินใน พระนคร 68.000 108,800.00 0.109
26. สวนรมณี นาถ ศิริพงษ์ พระนคร 30.000 48,000.00 0.048
27. สวนสราญรมย์ ระหว่างถนนเจริ ญกรุ งตัดกับถนนราชิ นีพระนคร 23.000 36,800.00 0.037
28. สนามกีฬาแห่งชาติ พระรามที่ 1 ปทุมวัน 122.500 196,000.00 0.196
29. สนามกอล์ฟสโมสรกรุ งเทพกรี ฑา กรุ งเทพกรี ฑา บางกะปิ 396.875 635,000.00 0.635
30. สนามกอล์ฟยูนิโก้ กรุ งเทพกรี ฑา สะพานสู ง 408.125 653,000.00 0.653
31. สวนทวีวนารมย์ (สนามหลวง 2) เลียบคลองทวีวฒั นาทวีวฒั นา 50.000 80,000.00 0.080
32. สนามม้าราชกรี ฑาสโมสร อังรี ดูนงั ต์และราชดําริ ปทุมวัน 228.750 366,000.00 0.366
33. ที่โล่งด้านหน้าจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพญาไท ปทุมวัน 17.500 28,000.00 0.028
34. สนามกีฬาจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยพญาไท ปทุมวัน 30.000 48,000.00 0.048
35. สวนลุมพินี พระรามที่ 4 ปทุมวัน 360.000 576,000.00 0.576
36. สวนเบญจกิติ รัชดาภิเษก คลองเตย 487.500 780,000.00 0.780
37. อุทยานเบญจสิ ริ สุ ขมุ วิท คลองเตย 29.000 46,400.00 0.046
38. อุทยานเฉลิ มพระเกี ยรติสมเด็จพระศรี นคริ นทราบรมราชชนนี สมเด็จเจ้าพระยา คลองสาน
4.000 6,400.00 0.006
39. สวนพระนคร หลวงแพ่ง ลาดกระบัง 50.000 80,000.00 0.080
ลาดับ ทีโ่ ล่งเพือ่ นันทนาการและการ ที่ต้ัง ขนาดพืน้ ที่รักษาคุณภาพสิ่ งแวดล้ อม ถนน เขต ไร่ ตร.ม.
ตร.กม.
40. สวนภูเขาอ่อนนุช อ่อนนุช ประเวศ 130.000 208,000.00 0.208
41. สวนหลวง ร.9 เฉลิมพระเกียรติ ร.9ประเวศ 500.000 800,000.00 0.800
42. สวนสาธารณะเฉลิมพระเกียรติ 6 พระรามที่ 3 บางคอแหลมรอบพระชนมพรรษาฯ ราษฎร์
บูรณะ ราษฎร์บูรณะ 54.963 87,940.80 0.088
43. สนามกีฬาภูติอนันต์ สุ ขมุ วิท บางนา 87.500 140,000.00 0.140
44. สวนธนบุรีรมย์ ประชาอุทิศ ทุ่งครุ 56.250 90,000.00 0.090
45. สนามกีฬากรุ งเทพมหานครและค่ายลูกเสื อกรุ งธนประชาอุทิศ ทุ่งครุ 96.250 154,000.00 0.154
46. โครงการสวนสาธารณะชายทะเลบางขุนเทียนบางขุนเทียน 2,425.000 3,880,000.00 3.880
37

รวม 11,669.218 18,670,748.80 18.671


2) ที่โล่ งพักน้าเพื่อป้องกันน้าท่ วม กําหนดในแผนผังแสดงที่โล่ง 11 บริ เวณ เป็ นพื้นที่บึงพักนํ้า
(แก้มลิง) จัดทําเป็ นแผนหลักระบบระบายนํ้าและระบบป้ องกันนํ้าท่วมของสํานักการระบายนํ้า ข้อกําหนดที่
โล่งประเภทนี้ “ให้ใช้ประโยชน์เพื่อการป้ องกันนํ้าท่วม การสาธารณูปโภคที่เกี่ยวข้องกับการป้ องกันนํ้าท่วม
หรื อสวนสาธารณะเท่านั้น ที่โล่งประเภทนี้ให้มีการถมดินได้ไม่เกินร้อยละ 35 ในแต่ละบริ เวณ”ที่โล่งพักนํ้า
เพื่อป้ องกันนํ้าท่วม ประกอบด้วยทีต่ ้งั ขนาดพืน้ ที่
ลาดับ ทีโ่ ล่งพักนา้ เพือ่ ป้องกันนา้ ท่วม ถนน เขต ไร่ ตร.ม. ตร.กม.
1. บึงหมู่บา้ นเมืองทอง แจ้งวัฒนะ หลักสี่ 41.875 67,000.00 0.067
2. บึงสะแกงาม ประชาร่ วมใจ คลองสามวา 86.875 139,000.00 0.139
3. บึงมะขามเทศ ประชาร่ วมใจ คลองสามวา 109.375 175,000.00 0.175
4. บึงลําไผ่ ประชาร่ วมใจ มีนบุรี 37.500 60,000.00 0.060
5. บึงกระเทียม เสรี ไทย มีนบุรี 209.375 335,000.00 0.335
6. บึงพิบูลวัฒนา พหลโยธิน พญาไท 45.000 72,000.00 0.072
7. บึงการเคหะแห่งชาติ ศรี บูรพา บึงกุ่ม 115.625 185,000.00 0.185
8. บึงมักกะสัน โครงการพระราชดําริ ราชเทวี 101.875 163,000.00 0.163
9. บึงพระราม 9 ประดิษฐ์มนูธรรม ห้วยขวาง 26.250 42,000.00 0.042
10. บึงโรงงานยาสู บ รัชดาภิเษก คลองเตย 98.125 157,000.00 0.157
11. บึงหนองบอน เฉลิมพระเกียรติ ร.9 ประเวศ 650.000 1,040,000.00 1.040รวม 1,521.875
2,435,000.00 2.43511ทั้งนี้ ยงั ได้กาํ หนดแนวที่โล่งไว้ในการใช้ประโยชน์ที่ดินตามแผนผังการใช้ประโยชน์
ที่ดินในลักษณะต่างๆดังนี้
1) ที่โล่งเพื่อส่ งเสริ มคุณภาพสิ่ งแวดล้อมริ มถนนสายหลัก วัตถุประสงค์เพื่อเพิ่มร่ มเงาริ มถนน และ
ใช้ประโยชน์เป็ นพื้นที่สีเขียวกันชนระหว่างถนนและอาคารสิ่ งก่อสร้าง ช่วยกรองฝุ่ นละอองและควันพิษจาก
ท่อไอเสี ยรถยนต์ ที่โล่งประเภทนี้ กาํ หนดไว้ในถนนที่มีขอ้ บัญญัติกรุ งเทพมหานครควบคุมพื้นที่ริมถนนใน
ระยะ 15 เมตร จํานวน 22 สาย ซึ่ งมีขอ้ กําหนด “ให้มีที่วา่ งห่ างจากแนวเขตทางไม่นอ้ ยกว่า 2เมตร เพื่อปลูก
ต้นไม้ เว้นแต่เป็ นการก่อสร้างรั้ว กําแพง ป้ อมยาม ป้ ายชื่ออาคารหรื อสถานประกอบการป้ ายสถานีบริ การ
นํ้ามันเชื้ อเพลิงหรื อสถานี บริ การก๊าซ ทางเข้าออกของอาคารหรื อทางเข้าออกของรถ”ถนนดังกล่าว ได้แก่
ถนนแจ้งวัฒนะ ถนนรามอินทรา ถนนรัชดาภิเษก ถนนวงศ์สว่าง ถนนฉลองกรุ ง ถนนเชื่ อมสัมพันธ์ ถนนสุ วิ
นทวงศ์ ถนนนวมินทร์ ถนนเสรี ไทย ถนนรามคําแหง ถนนบรมราชชนนี ถนนสิ รินธรถนนร่ มเกล้า ถนน
พระรามที่ 9 ถนนกรุ งธนบุรี ถนนศรี นคริ นทร์ ซอยสุ ขุมวิท 77 (ซอยอ่อนนุ ช) ถนนกาญจนาภิเษก ถนน
พระรามที่ 3 ถนนพระรามที่ 2 ถนนสายตากสิ น-เพชรเกษม ถนนอุทยาน
2)ที่โล่งเพื่อรักษาสภาพแวดล้อมริ มแม่น้ าํ และลําคลอง ได้แก่ การกําหนดให้มีที่วา่ งเพื่อปลูกต้นไม้
กําหนดระยะถอยร่ นเพื่อประโยชน์แห่ งการรักษาคุ ณภาพสิ่ งแวดล้อม ความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อยสวยงาม
38

ของเมือง ซึ่ งมีขอ้ กําหนด “ที่ดินนั้นตั้งอยูร่ ิ มแหล่งนํ้าสาธารณะที่มีความกว้างน้อยกว่า 10 เมตร ให้มีที่วา่ ง


เพื่อปลูกต้นไม้ตามแนวขนานกับเขตแหล่งนํ้าสาธารณะนั้นไม่นอ้ ยกว่า 3 เมตร แต่ถา้ แหล่งนํ้าสาธารณะมี
ความกว้างตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไป ให้มีที่วา่ งเพื่อปลูกต้นไม้ตามแนวขนานกับแหล่งนํ้าสาธารณะ12นั้นไม่นอ้ ย
กว่า 6 เมตร เว้นแต่เป็ นการก่อสร้างเพื่อการคมนาคมขนส่ งทางนํ้า การสาธารณูปโภค เขื่อน รั้วหรื อกําแพง
การใช้ประโยชน์ที่ดินล่วงลํ้าเข้าไปเหนื อนํ้า ในนํ้า หรื อใต้น้ าํ ของแหล่งนํ้าสาธารณะ ให้ใช้ประโยชน์เพื่อ
การคมนาคมขนส่ งทางนํ้า การสาธารณูปโภค เขื่อน สะพาน ท่อ สายเคเบิล คานเรื อ และโรงสู บนํ้าสําหรับ
การใช้ประโยชน์ที่ดินเพื่อวัตถุ ประสงค์อื่นให้กระทําได้เฉพาะเพื่อประโยชน์สาธารณะและต้องไม่กระทบ
ต่ อ การใช้ป ระโยชน์ ใ นแหล่ ง นํ้า สาธารณะร่ ว มกันของประชาชน”ในส่ ว นของแผนผัง แสดงที่ โ ล่ ง ได้
เสนอแนะระบบสวนสาธารณะที่จะต้องจัดหาเพิ่มเติมในบริ เวณชุมชนที่ขาดแคลนดังนี้
ฝั่งตะวันตก
1) สวนสาธารณะระดับเมือง (300 ไร่ ) 2 แห่ง
2) สวนสาธารณะระดับย่าน (100 ไร่ ) 5 แห่ง
3) สวนสาธารณะระดับชุมชน (50 ไร่ ) 20 แห่ง
ฝั่งตะวันออก
1) สวนสาธารณะระดับเมือง (300 ไร่ ) 3 แห่ง
2) สวนสาธารณะระดับย่าน (100 ไร่ ) 9 แห่ง
3) สวนสาธารณะระดับชุ มชน (50 ไร่ ) 18 แห่ งปั จจุบนั สํานักผังเมือง กรุ งเทพมหานคร ได้มี
มาตรการทางผังเมืองหลายแนวทางในการออกข้อกําหนดเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว อาทิเช่น
1.การออกข้อกําหนดเกี่ยวกับการจัดสรรที่ดินกรุ งเทพมหานคร พ.ศ.2544
-ข้อ 32 กําหนดให้กนั พื้นที่ไว้เพื่อจัดทําสวน สนามเด็กเล่น และหรื อสนามกี ฬา โดย
คํานวณจากพื้นที่จดั จําหน่ายไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 5
2.กฎกระทรวงให้ใช้บงั คับผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานคร พ.ศ.2549
-ข้อ 10 กําหนดให้มีที่วา่ งห่างจากเขตทางไม่นอ้ ยกว่า 2 เมตรเพื่อปลูกต้นไม้ (ถนน22 สาย)
-ข้อ 11 กําหนดให้ที่ดินที่ต้ งั อยูร่ ิ มแหล่งนํ้าสาธารณะต้องมีที่วา่ งเพื่อปลูกต้นไม้ดงั นี้
-แหล่งนํ้าสาธารณะกว้างน้อยกว่า 10 เมตรให้มีที่วา่ งสําหรับปลูกต้นไม้ 3 เมตรขนานกับ
เขตแหล่งนํ้าสาธารณะ
-แหล่งนํ้าสาธารณะกว้างตั้งแต่ 10 เมตรขึ้นไปให้มีที่วา่ งสําหรับปลูกต้นไม้ 6 เมตรขนานกับ
เขตแหล่งน้าสาธารณะ
-ระบบ Bonus เรื่ องพื้นที่สีเขียว กําหนดให้ที่ดินประเภทที่อยูอ่ าศัยหนาแน่นมากและ
ที่ดินประเภทพาณิ ชยกรรม กรณี เจ้าของหรื อผูป้ ระกอบการจัดให้มีพ้ืนที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะ ให้มี
13พื้นที่อาคารรวมเพิ่มขึ้นได้ไม่เกิน 5 เท่าของพื้นที่โล่งเพื่อประโยชน์สาธารณะที่จดั ให้มีข้ ึน และไม่เกินร้อย
ละ20 ของอัตราส่ วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน
39

มาตรการควบคุ ม ความหนาแน่ นของการใช้ ประโยชน์ ที่ดิ นตามผังเมื อ งรวมกรุ งเทพมหานคร


พ.ศ.2549
1. FAR (Floor Area Ratio) “อัตราส่ วนพื้นที่อาคารรวมต่อพื้นที่ดิน” หมายความว่าอัตราส่ วนพื้นที่
อาคารรวมทุกชั้นของอาคารทุกหลังต่อพื้นที่ดินที่ใช้เป็ นที่ต้ งั อาคาร (ไม่ใช้บงั คับกับบ้านเดี่ยวและบ้านแฝด)
ซึ่ งเป็ นความหมายเดียวกับที่ใช้ในกฎกระทรวงควบคุมอาคาร
วัตถุประสงค์ของการกําหนด FAR
1) เพื่อควบคุมความหนาแน่นของประชากรและกิจกรรมให้สอดคล้องกับโครงสร้างพื้นฐาน
2) เพื่อให้การบริ การด้านสาธารณู ปโภคและสาธารณู ปการได้เหมาะสมและเพียงพอกับจํานวน
ประชากร
3) เพื่อลดปั ญหาการจราจรในพื้นที่ที่มีโครงข่ายถนนที่ไม่ได้มาตรฐาน
4) เพื่อป้ องกันการปลูกสร้ างอาคารขนาดใหญ่หรื ออาคารสู งที่ส่งผลกระทบต่อสภาพแวดล้อมที่ดี
ของบริ เวณที่อยูอ่ าศัย
5) เพื่อป้ องกันการพัฒนาเมื องที่ มีความหนาแน่ นในพื้นที่ เกษตรกรรมและพื้นที่ ที่มีปัญหาทาง
กายภาพ
2. OSR (Open Space Ratio) “อัตราส่ วนของที่วา่ งต่อพื้นที่อาคารรวม”หมายความว่า อัตราส่ วน
ของที่ ว่า งอันปราศจากสิ่ ง ปกคลุ มต่ อพื้ นที่ อาคารรวมทุ ก ชั้นของอาคารทุ กหลังที่ ก่อสร้ างในที่ ดินแปลง
เดียวกัน (ไม่ใช้บงั คับกับบ้านเดี่ยวและบ้านแฝด)
วัตถุประสงค์ของการกําหนด OSR
1) เพื่อกําหนดความเหมาะสมของการใช้ประโยชน์ที่ดินให้สัมพันธ์กบั พื้นที่โล่งว่าง
2) เพื่อให้มีที่โล่งว่างเพียงพอต่อการลําเลี ยงผูอ้ ยูใ่ นอาคารลงมายังพื้นที่ที่ดินในกรณี เกิ ดอุบตั ิภยั ที่
คาดไม่ถึง เช่น เพลิงไหม้
3) เพื่อส่ งเสริ มสภาพแวดล้อมที่ดีของอาคาร เช่น การรับแสงแดด และการไหลเวียนของอากาศ
4) เพื่อส่ งเสริ มให้กรุ งเทพมหานครมีภูมิทศั น์และสภาพแวดล้อมที่สวยงาม
4.ข้อบัญญัติคา้ ปลีก/ค้าส่ ง
ในส่ วนของการเพิ่ ม พื้นที่ สี เขี ย วตามการบัง คับ ใช้ข องกฎหมายนั้น กรุ งเทพมหานครได้ออก
ข้อบัญญัติกรุ งเทพมหานคร เรื่ อง กําหนดบริ เวณห้ามก่อสร้าง ดัดแปลง หรื อเปลี่ยนการใช้อาคารบางชนิด
หรื อบางประเภท ในพื้นที่บางส่ วนในท้องที่กรุ งเทพมหานคร พ.ศ.2548 โดยกําหนดให้ “อาคารพาณิ ชยก
รรม14ประเภทค้าปลีก/ค้าส่ ง” หมายความว่าอาคารที่ใช้ประโยชน์เพื่อการพาณิ ชยกรรมในอาคารหลังเดียว
หรื อหลายหลัง ที่มีพ้ืนที่ใช้สอยอาคารรวมกันเพื่อประกอบกิจการขายปลีก ขายส่ งสิ นค้าอุปโภคและบริ โภค
หลากหลายประเภทที่ใช้ในชีวิตประจําวัน ตั้งแต่ 300 ตารางเมตรขึ้นไปแต่ไม่หมายความรวมถึงตลาดตาม
กฎหมายว่าด้วยการสาธารณสุ ขและอาคารที่ ใช้เฉพาะเพื่อส่ งเสริ มหรื อจําหน่ ายสิ นค้าซึ่ งเป็ นผลผลิ ตหรื อ
ผลิตภัณฑ์ของชุมชน กําหนดไว้วา่
40

1) จะต้องมีที่วา่ งด้านหน้าอาคารห่ างจากเขตที่ดินของผูอ้ ื่นหรื อเขตทางของถนนสาธารณะไม่นอ้ ย


กว่า 30เมตร โดยวัดระยะจากขอบนอกสุ ดของอาคารถึงเขตที่ดินของผูอ้ ื่นหรื อริ มเขตทางด้านที่ติดกับแปลง
ที่ดินที่ใช้เป็ นที่ต้ งั ของอาคาร
2) จะต้องมีที่วา่ งด้านข้างและด้านหลังของอาคารห่ างจากเขตที่ดินของผูอ้ ื่นหรื อเขตทางของถนน
สาธารณะไม่น้อยกว่า 6 เมตร โดยวัดระยะจากขอบนอกสุ ดของอาคารถึงเขตที่ดินของผูอ้ ื่นหรื อริ มเขต
ทางด้านที่ติดกับแปลงที่ดินที่ใช้เป็ นที่ต้ งั ของอาคาร
3) จะต้องมีที่วา่ งไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 30 ของแปลงที่ดินที่ใช้เป็ นที่ต้ งั ของอาคาร โดยมีพ้ืนที่ที่จดั เป็ น
สวนหรื อปลูกต้นไม้ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50 ของพื้นที่วา่ ง
แผนแม่ บทพืน้ ทีส่ ี เขียวของกรุ งเทพมหานคร
การกํา หนดนโยบายที่ จ ะพัฒ นากรุ ง เทพมหานครให้ เ ป็ นเมื อ งที่ น่ า อยู่ (Healthy City)
กรุ ง เทพมหานครร่ วมกับ มหาวิท ยาลัยเกษตรศาสตร์ จึง ได้มีก ารกําหนดกลยุท ธ์ ด้านผัง เมื องและการใช้
ประโยชน์ที่ดินให้มีการจัดทําแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวเพื่อเป็ นกรอบในการดําเนิ นงานให้เกิดพื้นที่สีเขียวและ
สวนสาธารณะโดยมีเป้ าหมายเพื่อให้กรุ งเทพมหานครมีแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวระยะยาว (25 ปี ) เท่ากับ 4
ตารางเมตรต่อคน เพื่อใช้เป็ นกรอบการพัฒนากรุ งเทพมหานครให้เป็ นเมืองสี เขียวและเมืองน่าอยูอ่ ย่างเป็ น
รู ปธรรม ปฏิบตั ิได้ และยัง่ ยืนสื บไปแผนแม่บทพื้นที่สีเขียวของกรุ งเทพมหานคร ได้กาํ หนดโครงการ/
กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการพัฒนาพื้นที่สีเขียวในกรุ งเทพมหานคร ได้แก่
1.การจัดภูมิทศั น์ในเขตเมือง
2.การสร้างพื้นที่สีเขียวทัว่ กรุ งเทพมหานคร
3.การจัดทําแผนปฏิบตั ิการพื้นที่สีเขียวสําหรับกรุ งเทพมหานคร
4.การกําหนด “แนวทางสี เขียว” ในการวางผังเมืองกรุ งเทพมหานคร
5.จัดสร้างสวนสาธารณะที่สามารถดําเนินการได้
6.จัดทําแนวทาง ข้อกําหนดพื้นที่สีเขียวในโครงการพัฒนาทั้งภาครัฐและเอกชน
7.พัฒนาพื้นที่วา่ งสาธารณะให้เป็ นที่พกั ผ่อนหย่อนใจ
8.สร้าง “สวนหย่อมสาธารณะ”
9.ฟื้ นฟูสภาพคูคลองให้มีภูมิทศั น์ที่สวยงาม ช่วยในการระบายนํ้าและการคมนาคมขนส่ ง
10.ปลูกต้นไม้ริมถนน
11.เชิญชวนให้ประชาชนมีส่วนร่ วมสร้างกรุ งเทพมหานครให้เป็ นเมืองสี เขียวโดยจําแนกโครงสร้าง
ฐานข้อมูลพื้นที่สีเขียวออกเป็ น 11 ประเภท ได้แก่
1.สวนสาธารณะ
2.สนามกีฬากลางแจ้ง
3.สนามกอล์ฟ
4.แหล่งนํ้า
41

5.ที่ลุ่ม
6.ที่วา่ ง
7.พื้นที่ไม้ยนื ต้น
8.พื้นที่เกษตรกรรม
9.พื้นที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้ าํ
10.พื้นที่พฒั นาแล้ว เช่น อาคาร บ้านเรื อน ถนน
11.พื้นที่อื่นๆ เช่น พื้นที่ริมคลอง พื้นที่ใต้ทางด่วน ทางพิเศษเกณฑ์การพิจารณาในการกําหนดพื้นที่
เป้ าหมายเพื่อพัฒนาเป็ นพื้นที่สีเขียว
1.สถานภาพพื้นที่สีเขียวในปั จจุบนั
2.เกณฑ์ทางผังเมืองในการกําหนดพื้นที่เป้ าหมาย
2.1 ความหนาแน่นของประชากร (Population density)
2.2 ความหนาแน่นของสัณฐานเมือง (Urban bulk density) ความหนาแน่นของกลุ่มอาคาร
ที่เกาะตัวในพื้นที่ชุมชนที่หนาแน่ นและพื้นที่ว่างที่ปราศจากการใช้ประโยชน์ เป็ นการฟื้ นสภาพ
พื้นที่
ว่างให้เกิดคุณค่าการใช้ประโยชน์ที่เหมาะสม ถูกต้องและเกิดประโยชน์ต่อชุมชนโดยรอบ
2.3 ด้านภูมิสัณฐาน (Urban topography)
3.การวิเคราะห์ จุดอ่อน จุดแข็ง โอกาสและอุปสรรค (SWOT Analysis) ของพื้นที่เป้ าหมาย
3.1 ข้อมูลหลักที่มาจากหลักวิชาการและหลักทางเทคนิค
3.1.1 โดยการสํารวจพื้นที่จากภาพถ่ายดาวเทียม
3.1.2 แปลภาพถ่ายตามโครงสร้างฐานข้อมูล
3.1.3 สํารวจสภาพความเป็ นจริ งของพื้นที่ (existing topography)
3.2 ข้อมูลรองที่มาจากข้อมูลทางสถิติ
3.2.1 ปั จจัยชี้ นาํ เชิ งลบ ได้แก่ ความหนาแน่นของประชากร ความหนาแน่นทาง
สัณฐานเมือง และพื้นที่พฒั นาแล้ว16
3.2.2 ปั จจัยชี้นาํ เชิงบวก ได้แก่ พื้นที่วา่ ง แหล่งนํ้าธรรมชาติ สวัสดิการทางสังคม
พื้นที่กนั ชน
4.ขั้นตอนการดําเนิ นงานในการกําหนดพื้นที่เป้ าหมาย ใช้เกณฑ์ในทุกข้อที่กล่าวมาเพื่อพิจารณาหา
พื้นที่ที่เหมาะสมในการกําหนดพื้นที่สีเขียว
4.1 จัดทําแผนที่พ้ืนที่สีเขียวแสดงขนาดและที่ต้ งั ของพื้นที่สีเขียว พิจารณาจากข้อมูลทาง
เทคนิคและกายภาพ (ภาพถ่ายดาวเทียม)
4.2 พิจารณาเกณฑ์ต่างๆเชิงผังเมืองจากข้อมูลเชิงสถิติและข้อมูลแผนที่ ความหนาแน่นของ
ประชากร สัณฐานของเมืองและการวิเคราะห์ SWOT
42

4.3 สํารวจภาคสนาม ตรวจสอบความถูกต้องจากข้อมูลเทคนิคกับสภาพความเป็ นจริ ง


4.4 จัดทําแนวทางในการพัฒนาพื้นที่สีเขียวตามธรรมชาติและลักษณะเฉพาะของพื้นที่
4.5 ประมาณการค่าใช้จ่ายในการพัฒนาพื้นที่สีเขียว (ตามความเป็ นจริ งและความพร้อม
ก่อนหลัง)
4.6 เสนอแนะแนวทางในการบริ หารจัดการพื้นที่สีเขียว
รู ปแบบและเป้าหมายของการพัฒนาพืน้ ทีส่ ี เขียว
1.พื้นที่ที่ตอ้ งการฟื้ นสภาพเร่ งด่วน
2.พื้นที่รอการพัฒนาและรกร้างไม่ได้ใช้ประโยชน์
3.พื้นที่รกร้างใต้แนวทางสาธารณะและใต้ทางด่วน
4.พื้นที่แหล่งนํ้าและที่ลุ่ม
แผนปฏิบัติการเพือ่ พัฒนาพืน้ ทีเ่ ป้าหมาย
1.การเป็ นเจ้าของที่ดิน โดยการเจรจาซื้ อหรื อเช่า ที่ดินที่ได้มาควรทําหมายแนวเขตในพื้นที่จริ งให้
ชัดเจนเพื่อป้ องกันการบุกรุ กพื้นที่ในอนาคต
2.การออกแบบสวนสาธารณะและการประชาสัมพันธ์
3.การเตรี ยมพื้นที่หรื อการพัฒนาพื้นที่เพื่อรองรั บการปลูกต้นไม้และตกแต่งสวนให้สมบูรณ์ ตาม
แปลนที่กาํ หนด
4.จัดหาต้นกล้า
5.การปลูกต้นไม้และตกแต่งสวน
กลยุทธการได้ มาซึ่งทีด่ ินเพือ่ การพัฒนาเป็ นพืน้ ทีส่ ี เขียว
1.พื้นที่ของเอกชน
1) การออกพระราชบัญญัติเวนคืนที่ดิน
2) การซื้ อที่ดิน
3) การขอรับบริ จาคที่ดินจากเอกชนกรุ งเทพมหานครต้องจัดทําเป็ นโครงการและประชาสัมพันธ์
ล่วงหน้า
4) การทําสัญญาแลกเปลี่ยนที่ดิน
5) การทําสัญญาเช่าที่ดินระยะยาว
6) การสร้างแรงจูงใจในรู ปแบบต่างๆ เช่น ด้านภาษี และเงินชดเชย
2.พื้นที่ของหน่วยงานราชการหรื อรัฐวิสาหกิจ
1) ขอความร่ วมมือ โดยกรุ งเทพมหานครจะสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่ให้เป็ นพื้นที่สีเขียวที่
สมบูรณ์
2) การขอเข้าไปใช้ที่ดิน
3) การขอรับบริ จาคที่ดิน
43

กลยุทธในการเพิม่ พืน้ ทีส่ ี เขียวด้ านผังเมือง


1.การเพิ่มพื้นที่สีเขียวบนพื้นที่นอกอาคาร
2.การเพิ่มพื้นที่สีเขียวด้านในอาคาร เช่น สวนบนหลังคา (Garden Roof)
3.การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในบริ เวณช่องว่างระหว่างอาคาร
4.การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในบริ เวณลานด้านหน้าอาคารห้างสรรพสิ นค้า
5.การเพิ่มพื้นที่สีเขียวในบริ เวณพื้นที่ลานจอดรถ
6.การเพิม่ พื้นที่สีเขียวในแนวเส้นทางคมนาคม
7.การเพิ่มพื้นที่สีเขียวโดยการแทนที่พ้ืนที่เดิม (urban infill)
กลยุทธในด้ านการบริหารจัดการพืน้ ทีส่ ี เขียว
1.ปรับกลไกการบริ หารองค์กร
2.พัฒนากลไกและกระบวนการจัดการเชิงบูรณาการ
3.เพิ่มประสิ ทธิ ภาพการบังคับใช้กฎหมาย
4.ปลูกสร้างจิตสํานึกให้ประชาชน
กลยุทธการลงทุนเพือ่ พัฒนาพืน้ ทีส่ ี เขียว
1.กรุ งเทพมหานครเป็ นผูล้ งทุน
2.ให้ชุมชนมีส่วนร่ วม
3.ให้ธุรกิจมีส่วนร่ วม
4.ขอความร่ วมมือจากหน่วยงานอื่นๆ
5.ตั้งกองทุนบริ จาค
6.จัดเก็บภาษีจากผูป้ ระกอบกิจกรรมที่ไม่เป็ นมิตรต่อพื้นที่สีเขียวและผูก้ ่อปั ญหา
แนวทางการจั ด การจั ด หาสวนสาธารณะของ กทม. เป็ นการกํา หนดแนวทางการจัด หา
สวนสาธารณะ 5 ประเภท คือ
1. สวนขนาดใหญ่ 4 มุมเมือง
1) ประกาศหาพื้นที่ขนาด 20 ไร่ ข้ ึนไป 4 มุมเมืองของ กทม.
2) เช่าระยะยาว 20-30 ปี
3) ดําเนินการตามข้อบัญญัติพสั ดุ
2. สวนสาธารณะในวัด-ราชการ
1) ร่ วมมือกับวัด และหน่วยราชการ
2) ปลูก-ดูแลรักษา
3) กําหนดเขตจัดหาต้นไม้
3. สวนสาธารณะชุมชน แบ่งเป็ น 2 กรณี คือ
44

1) กรณี ขอใช้ จะต้องดําเนิ นการตามข้อบัญญัติวา่ ด้วยการพัฒนาทรัพย์สินที่ประชาชนใช้


สอยร่ วมกัน
2) กรณี ขอเช่า
- เป็ นที่ดินขนาด 5-50 ไร่
- มีทางออกสู่ สาธารณะ
- อยูใ่ กล้ชุมชน
- เช่าในระยะเวลาที่เหมาะสมไม่นอ้ ยกว่า 10 ปี
- ดําเนินการตามข้อบัญญัติพสั ดุ
4. สวนรู ปแบบพิเศษเพื่อการอนุรักษ์พ้ืนที่
1) จัดหาพื้นที่ที่สาํ คัญควรอนุรักษ์
2) เช่าในระยะยาว 30 ปี
3) ผูเ้ ช่ายังคงประกอบอาชีพตามปกติ
4) ต้องเปิ ดให้เป็ นแหล่งเรี ยนรู ้และท่องเที่ยวสาธารณะ
5) ดําเนินการตามข้อบัญญัติพสั ดุ
5. สวนสาธารณะในหมู่บา้ นจัดสรร แบ่งเป็ น 2 กรณี คือ
1) กรณี ติดต่อเจ้าของได้ โดยการขอใช้พ้ืนที่ และดําเนินการตามข้อบัญญัติวา่ ด้วย
การพัฒนาทรัพย์สินที่ประชาชนใช้สอยร่ วมกัน
2) กรณี ติดต่อเจ้าของไม่ได้
- ร่ วมมือกับประชาคม
- ตกลงร่ วมกันเพิม่ พื้นที่สีเขียว
- กําหนดเขตจัดหาต้นไม้
- ร่ วมกับประชาชนปลูกและดูแลรักษา
สวนแนวตั้ง (Vertical Garden)
ปั จจุบนั เนื่ องจากมูลค่าของที่ดินในเมืองมีราคาสู งขึ้น แนวโน้มของการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงอยูใ่ นรู ป
ของการจํากัดพื้นที่เพื่อประหยัดเนื้ อที่ใช้สอย แนวความคิดการจัดทํา “สวนแนวตั้ง” (Vertical Garden) จึง
เป็ นสวนที่เหมาะกับคนเมือง เนื่องจากใช้พ้ืนที่ขนาดเล็กเท่านั้น สวนแนวตั้งเป็ นแนวคิดที่มีมานานแล้ว โดย
สวนริ มรั้ว หรื อกําแพงไม้เลื้อยก็จดั ว่าเป็ นสวนแนวตั้งได้สวนแนวตั้งสเกลใหญ่ผลงานของ Patrick Blanc
ตัวอย่างสวนแนวตั้งจากงานพืชสวนโลก ราชพฤกษ์ 2006ที่มา : สํานักงานสวนสาธารณะ สํานักสิ่ งแวดล้อม
กรุ งเทพมหานคร
สวนลอยฟ้า
นอกจากสวนแนวตั้งยังมีแนวคิดในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวใกล้ตวั มากขึ้น แนวความคิดหนึ่ งคือการ
เพิ่มพื้นที่สีเขียวบนอาคารที่อยูอ่ าศัย สํานักงาน โดยมีวตั ถุประสงค์สําคัญเพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียวให้มากขึ้น เป็ น
45

การพักผ่อนหย่อนใจแก่ผอู ้ าศัยหรื อทํางานในอาคารนั้นๆการเพิ่มพื้นที่สีเขียวขนาดใหญ่ในเมืองในปั จจุบนั


เป็ นหน้าที่ของหน่วยงานราชการ แต่โดยวัตถุ ประสงค์หลักของการเพิ่มพื้นที่สีเขียวก็เพื่อเพิ่ม “ปอดของ
เมือง” ถ้าคนเมืองร่ วมมือกันเพิ่มต้นไม้ใกล้ตวั 20เพียงจุดเล็กเมื่อรวมกันจะสามารถเสริ มสร้างสิ่ งแวดล้อมที่ดี
รอบๆตัวได้ เมื่อนั้นกรุ งเทพมหานครจะกลายเป็ นเมืองน่าอยูอ่ ย่างแท้จริ ง
46

บทที่ 3

เนือ้ หาการวิจัย

3.1 วิธีการดาเนินการวิจัย

งานวิจยั เรื่ อง “การจัดการพื้นที่สีเขียวในชุ มชนเขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร” มีวตั ถุประสงค์ของ


การวิจยั ดังนี้

1. เพื่อศึกษานโยบายการจัดการพื้นที่สีเขียว
2. เพื่อสร้ างความเข้าใจและความเข้มแข็งของชุ มชนในการบริ หารจัดการพื้นที่สีเขียวใน
การอนุรักษ์พ้ืนที่สีเขียวของชุมชนเดิมอย่างยัง่ ยืน
3. เพื่อศึกษารู ปแบบของการจัดการพัฒนาพื้นที่สีเขียวของชุมชนเขตคลองเตย
4. เพื่อเสนอแนวทางในการดาเนิ นการอนุ รักษ์และพัฒนาพื้นที่ สีเขียวในชุ มชนเดิ มอย่าง
ยัง่ ยืน
ในกระบวนการในการดาเนิ นการวิจยั ผูว้ ิจยั ต้องพิจารณาออกแบบเครื่ องมือวิจยั ที่จะทาให้ได้มาซึ่ ง
ข้อมูลเพื่อที่จะนาไปวิเคราะห์และสรุ ปผลตามวัตถุประสงค์ที่ได้กาหนดไว้

ส่ วนที่ 1 ศึกษาบทบาท นโยบายและความสาคัญของการจัดการพื้นที่สีเขียวของชุมชน


ใช้การรวบรวมข้อมูลทุติยภูมิ เป็ นข้อมูลที่ได้จากเอกสารจากหน่ วยงานราชการในท้องที่
และจากแหล่งต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับชุ มชน ประกอบกับการเก็บข้อมูลปฐมภูมิ จากการสังเกต และ
สอบถามจากบุคคลในชุมชนทาให้ทราบข้อมูลเกี่ยวกับการจัดการพื้นที่สีเขียว ที่ยงั คงมีการสื บทอด
และปฏิบตั ิกนั อยูใ่ นปั จจุบนั
ส่ วนที่ 2 ศึกษาการมีส่วนร่ วมของชุ มชนในการจัดการพื้นที่สีเขียวของชุ มชนโดยการสัมภาษณ์จาก
แบบสอบถาม
3.2 เครื่ องมือที่ใช้ในการดาเนินการวิจยั
เก็บข้อมูลโดยใช้แบบสอบถาม “การจัดการพื้นที่สีเขียวในชุ มชนเขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร”
ชุมชนวัดคลองเตยใน 1,2.3 เขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร
แบบสอบถามประกอบด้วย
ส่ วนที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป
ส่ วนที่ 2 การจัดการพื้นที่สีเขียวในชุมชนเขตคลองเตย
ส่ วนที่ 3 การสร้างจิตสานึก การจัดการและดูแลพื้นที่สีเขียวของชุมชน
ส่ วนที่ 4 การจัดการพื้นที่สีเขียวในเมือง สาหรับเมืองน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน
47

3.3 กลุ่มเป้ าหมาย จานวน 100 คน


3.4 ข้อมูลเบื้องต้นของชุมชนคลองเตย (ชุมชนวัดคลองเตยใน 1,2,3 เขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร)
3.4.1 ที่ต้ งั และอาณาเขต(ภาพที่ 3.1 ) ชุมชนคลองเตย กรุ งเทพมหานคร
ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดต่อกับเขตวัฒนาตั้งแต่แนวเขตทางรถไฟสายช่องนนทรี ดา้ น
ตะวัน ออกติ ดถนนสุ ขุม วิทด้านเหนื อ ไปทางทิ ศตะวันออกตามแนวขอบทางของถนน
สุ ขมุ วิทด้านเหนือ ผ่านซอยสุ ขมุ วิท 2(ซอยนานาใต้)จนถึงบริ เวณปากซอยสุ ขุมวิท 52(ซอย
ศิริพร)
ทิศตะวันออก มี อาณาเขตติ ดต่อกับเขตพระโขนงเริ่ มจากบริ เวณปากซอยสุ ขุมวิท 52(
ซอยสิ ริพร)ด้านเหนื อไปทางทิศตะวันตกตามแนวขอบทางจนถึงบริ เวณปลายซอยสวัสดี
ตัดผ่านทางด่วนเฉลิ มมหานครผ่านแนวทางรถไฟเก่าสายปากน้ าผ่านชุ มชนสวนอ้อยจรด
แม่น้ าเจ้าพระยา
ทิศใต้ มีอาณาเขตติดต่อกับอาเภอพระประแดงจังหวัดสมุทรปราการตั้งแต่หลัง
ชุมชนสวนอ้อยจรดแม่น้ าเจ้าพระยาไปทางทิศตะวันตก จนถึ งแนวทางเขตรถไฟสายช่ อง
นนทรี ดา้ นตะวันออก
ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติ ดต่อกับติดต่อกับเขตสาทรและเขตปทุ มวัน ตั้งแต่แนวเขต
ทางรถไฟสายช่ องนนทรี ดา้ นตะวันออกติดแม่น้ าเจ้าพระยาไปทางทิศเหนื อ ตามแนวเขต
ทางรถไฟสายช่องนนทรี ดา้ นตะวันออกบรรจบถนนสุ ขมุ วิทด้านเหนือ

ภาพที่ 3.1 แสดงที่ต้ งั เขตคลองเตย


48

ภาพที่ 3.2 แสดงที่ต้ งั เขตคลองเตย

3.4.2 การเข้าถึงพื้นที่ (ภาพที่ 3.2 ) การเข้าถึงเขตคลองเตย การเข้าถึงพื้นที่ชุมชนสามารถ


เดินทางโดยใช้เส้นทางถนนพระราม 4 และถนนสุ ขมุ วิท

3.4.3 สภาพทางภูมิศาสตร์ เขตคลองเตยและพื้นที่ชุมชนมีลกั ษณะเป็ นที่ราบลุ่ม ที่ต้ งั ของ


หน่วยงานราชการ ชุมชนที่พกั อาศัย ย่านพาณิ ชยกรรม และการท่าเรื อแห่งประเทศไทย

3.4.4 ระบบบริ การขั้นพื้นฐาน

1) ระบบสาธารณูปโภค

2) ระบบสาธารณูปการ
49

การแบ่งเขตการปกครอง
เขตคลองเตยมีการปกครองย่อย 3 แขวง (khwaeng) ได้แก่

พืน้ ที่ จานวนประชากร จานวนบ้ าน ความหนาแน่ นประชากร


อักษรไทย อักษรโรมัน
(ตร.กม.) (กุมภาพันธ์ 2560) (กุมภาพันธ์ 2560) (กุมภาพันธ์ 2560)

คลองเตย Khlong Toei 7.249 69,078 32,199 9,529.31

คลองตัน Khlong Tan 1.901 11,301 11,917 5,944.76

พระโขนง Phra Khanong 3.850 23,571 22,473 6,122.33

ทั้งหมด 13.000 103,950 66,589 7,996.15

ตารางที่ 3.1 แสดงจานวนประชากรเขตปกครอง

ภาพที่ 3.3 แสดงที่ต้ งั เขตคลองเตย


50

บทที่ 4

ผลการวิจัย

ผลการวิจยั นี้ เป็ นการนาผลการสรุ ป แบบสอบถามของผูน้ าและประชาชนในชุ ม ชน ชุ ม ชนวัด


คลองเตยใน 1,2,3 เขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร ที่ได้จากการเก็บรวบรวมข้อมูลเอกสาร มาเพื่อศึกษาดังนี้
4.1 สรุ ปผลการสั มภาษณ์ ผูน้ าชุมชนดังนี้
4.4.1 ตัวแทนผูน้ าชุ มชน ชุ มชนวัดคลองเตยใน 1 ประธานชุ มชน นางรัตนา สี ใส 23 ซอยชุ มชนวัด
คลองเตยใน 1 ประกอบด้วยกรรมการชุมชน 9 คน (เป็ นชุมชนแออัดจานวน 212 หลังคาเรื อน ประชากร
ชาย 249 คน หญิง 318 คน รวม 567 คน) พื้นที่ 6 ไร่
4.4.2 ตัวแทนผูน้ าชุมชน ชุมชนวัดคลองเตยใน 2 ประธานชุมชน นายปั ญญา ศิลารักษ์ 394 ซอยชุมชน
วัดคลองเตยใน 2 นางสมศรี สถานสถิตย์ ประกอบด้วยกรรมการชุมชน10 คน (เป็ นชุมชนแออัดจานวน
425 หลังคาเรื อน ประชากรชาย 800 คน หญิง 987 คน รวม 1,787คน) พื้นที่ 7 ไร่
4.4.3 ตัวแทนผูน้ าชุ มชน ชุ มชนวัดคลองเตยใน 3 ประธานชุ มชน นายนพสิ ทธิ์ ศศิพฒั นกร 21 ซอย
ชุมชนวัดคลองเตยใน 3 ประกอบด้วยกรรมการชุมชน 7 คน (เป็ นชุมชนแออัดจานวน 125 หลังคาเรื อน
ประชากรชาย 537 คน หญิง 421 คน รวม 958 คน) พื้นที่ 2.2 ไร่
4.2 ความคิดเห็นของตัวแทนกลุ่มผูน้ าชุ มชนในพื้นที่ ชุมชนวัดคลองเตยใน 1 ชุมชนวัดคลองเตยใน 2 และ
ชุมชนวัดคลองเตยใน 3 ที่ได้จากการสอบถามในหัวข้อหลัก 3 หัวข้อคือ
1. การจัดการพื้นที่สีเขียวในชุมชนเขตคลองเตย
พบว่าส่ วนใหญ่ได้มีส่วนร่ วมในการจัดการพื้นที่สีเขียวในชุมชนคือ
-เป็ นผูน้ า(ผูน้ าชุมชน) จานวน 4 ราย(คิดเป็ นร้อยละ 4 )
-เป็ นสมาชิกในชุมชนร่ วมประชุมหาแนวทางดาเนินงาน จานวน 27 ราย (คิดเป็ นร้อยละ 27)
-ให้ขอ้ มูลเป็ นแนวทางการดาเนินงาน จานวน 18 ราย (คิดเป็ นร้อยละ 18 )
-เป็ นคณะกรรมการในการจัดการ จานวน 33 ราย (คิดเป็ นร้อยละ 33)
-ร่ วมพิจารณากลัน่ กรองแนวทางการจัดการ จานวน 18 ราย (คิดเป็ นร้อยละ 18)
-ลักษณะการดาเนินการ การจัดการพื้นที่สีเขียวของชุมชนส่ วนใหญ่เห็นด้วยอย่างมาก
-ผลของการประชุ มหารื อเกี่ ยวกับการจัดการพื้นที่สีเขียวของชุ มชน ประชาชนในชุ มชน
รับทราบละขอให้ดาเนินการเป็ นแผนการดาเนินงาน และรู ปธรรมที่ชดั เจน
-ส่ ว นอุ ป สรรคในการด าเนิ น งานพบว่ า องค์ ก รภาครั ฐ ยัง ไม่ ไ ด้เ ข้า มามี ส่ ว นร่ ว มการ
ดาเนินงาน ทาให้ไม่มีงบประมาณมาดาเนินการ
-ข้อเสนอแนะอื่นๆ อยากจะให้การไฟฟ้ านครหลวงจัดระเบียบการเดินสายไฟตลอดแนวจะ
ได้ไม่มีปัญหากับต้นไม้ยนื ต้นที่มีอยูใ่ นปั จจุบนั
51

2. การสร้างจิตสานึก การจัดการและดูแลพื้นที่สีเขียวของชุมชนชน
-เห็นด้วยกับจิตสานึกแห่งการรักษาคุณค่าของการเกื้อกูลสิ่ งมีชีวติ พื้นถิ่น
-ในส่ วนของโครงสร้างพี้นฐานสี เขียวของเมือง เป็ นการสร้างสุ ขภาพ และคุณภาพชีวิตมือ
สาหรับชุมชนและชาวเมือง ชุมชนเห็นด้วยมาก
- สาหรับการจัดการและดูแลพื้นที่สีเขียวของชุมชน เป็ นการใช้ประโยชน์ดว้ ยจิตสานึกถึง
คุณค่าของสิ่ งแวดล้อมตอบว่าเห็นด้วยเกือบทั้งหมด
-ท่านคิดว่าการสร้ างจิตสานึ ก การจัดการและการดูแลพื้นที่สีเขียวของขุมชน ควรมีวิธีการ
อย่างไรส่ วนใหญ่ตอบว่า ให้ผนู้ าชุมชนแจ้งให้ทราบโดยผูน้ าชุมชนเสี ยสละนาประชาชนในชุ มชนร่ วมกัน
พัฒนาชุมชน ปลูกต้นไม้ ทาความสะอาดบ้านเรื อนตัดแต่งต้นไม้

3. การจัดการพื้นที่สีเขียวในเมือง สาหรับเมืองน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน

-ท่านคิดว่าการใช้ประโยชน์ของพื้นที่สีเขียวภายในเมืองด้วยจิตสานึ กถึงคุ ณค่าของสื่ งแวด


ล้อม ตอบว่าเห็นด้วย
-ท่านคิดว่าพืชสี เขียวเพื่อบริ การส่ าธารณะมีคุณค่าต่อชุมชนตอบว่าเห็นด้วยเป็ นอย่างมาก
-ท่านคิดว่า พื้นที่สีเขียว เพื่ออรรถประโยชน์และมีคุณค่าต่อชุมชนตอบเห็นดัวย
-ท่านคิดว่าพื้นที่สีเขียวเพื่อเศรษฐกิจบริ เวณเส้นทางสัญจร มีประโชยน์และมีคุณค่าต่อชุ มชน
และสาธารณะ ตดบว่าเห็นด้วย
-ท่านคิดว่าพื้นที่สีเขียวเพื่อเศรษฐกิจชุมชนมีคุณค่าต่อชุมชน ตอบว่าเห็นด้วยอย่างยิง่
-ท่านคิดว่าพื้นที่สีเขียวเพื่อเพื่ออรรถประโยชน์และมีคุณค่าต่อชุ มชน ตอบว่าเห็ นด้วยอย่าง
มาก
-ท่านคิดว่าพื้นที่สีเขียวบริ เวณเส้นทางสัญจรมีประโยชน์และมีคุณค่าต่อชุมชนและสาธารณะ
ตอบว่าเห็นด้วย
- ท่านคิดว่าการจัดการพื้นที่ สีเขียวในเมือง สาหรับเมื องน่ าอยู่ควรมีวิธีการอย่างไร ตอบว่า
วางแผนปลูกต้นไม้เป็ นจานวนมาก และไม่มีขยะในชุมชน
- ส่ วนข้อเสนอแนะอื่นๆอยากให้ภาครัฐเข้ามาช่วยเหลือดูแลด้วย
52

ภาพที่ 4.1 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 2และวัดคลองเตยใน 2

ภาพที่ 4.2 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 2


53

ภาพที่ 4.3 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3

ภาพที่ 4.4 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3


54

ภาพที่ 4.5 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3

ภาพที่ 4.6 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3


55

ภาพที่ 4.7 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 1-2

ภาพที่ 4.8 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 2- 3


56

ภาพที่ 4.9 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3

ภาพที่ 4.10 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3


57

ภาพที่ 4.11 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3

ภาพที่ 4.12 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3


58

ภาพที่ 4.13 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3

ภาพที่ 4.14 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3


59

ภาพที่ 4.15 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 2

ภาพที่ 4.16 สภาพที่ต้ งั ชุมชนวัดคลองเตยใน 3


60

ภาพที่ 4.17 สภาพบ้านเรื อนชุมชนวัดคลองเตยใน 2มีพ้ืนที่สีเขียวบริ เวณบ้าน

ภาพที่ 4.18 สภาพบ้านเรื อนชุมชนวัดคลองเตยใน 2มีพ้ืนที่สีเขียวบริ เวณบ้าน


61

ภาพที่ 4.19 และ4.20 สภาพบ้านเรื อนและการจัดพื้นที่สีเขียวในชุมชน


62

ภาพที่ 4.21 และ4.22 สัมภาษณ์ นางรัตนา สี ใส ผูน้ าชุมชนวัดคลองเตยใน 1


63

ภาพที่ 4.23 สภาพชุมชนวัดคลองเตยใน 1, 2บริ เวณร้านค้า

ภาพที่ 4.24 สภาพชุมชนวัดคลองเตยใน1,3บริ เวณถนนภายในชุมชน


64

ภาพที่ 4.25 สภาพชุมชนวัดคลองเตยใน 3บริ เวณถนนภายในชุมชน

ภาพที่ 4.26 สภาพชุมชนวัดคลองเตยใน 3บริ เวณถนนทางเข้าภายในชุมชน


65

ภาพที่ 4.27 ถนนด้านหน้าชุมชนวัดคลองเตยใน 3

ภาพที่ 4.28 พื้นที่สีเขียวบริ เวณถนนชุมชนวัดคลองเตยใน2,3


66

ภาพที่ 4.29 และภาพที4่ .30 สภาพพื้นที่สีเขียวถนนภายในบริ เวณชุมชนวัดคลองเตยใน2,3


67

บทที่ 5

สรุปผลการวิจัยและข้ อเสนอแนะ

การวิจยั เรื่ อง “การจัดการพื้นที่สีเขียวชุ มชนเขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร” มีวตั ถุประสงค์เพื่อ


ศึกษา นโยบายการจัดการพื้ นที่ สีเขี ยว เพื่ อสร้ างความเข้าใจและความเข้มแข็งของชุ มชนในการบริ หาร
จัดการพื้นที่สีเขียวในการอนุ รักษ์พ้ืนที่สีเขียวของชุ มชนเดิมอย่างยัง่ ยืน เพื่อศึกษารู ปแบบของการจัดการ
พัฒนาพื้นที่สีเขียวของชุมชนวัดคลองเตยใน 1,2,3 เขตคลองเตย กรุ งเทพมหานครและ เพื่อเสนอแนวทางใน
การดาเนินการอนุรักษ์และพัฒนาพื้นที่สีเขียวในชุมชนเดิมอย่างยัง่ ยืน
5.1 สรุ ปผลการวิจยั ได้ 4 ประเด็นตามวัตถุประสงค์ดงั นี้
5.1.1 นโยบายการจัดการพื้นที่สีเขียว ผลจากการเก็บข้อมูลพอสรุ ปได้วา่ ชุ มชนวัดคลองเตยใน 1, 2,
3 มีความเข้มแข็ง มี ความต้องการที่ จะพัฒนาชุ มชนและจัดการพื้นที่ สีเขี ยวของชุ มชนให้เป็ นชุ มชนที่ มี
สภาพแวดล้อมที่ดีน่าอยูน่ ่าอาศัยตามเป้ าหมายของ Eco City Green City Sustainable City

- เพื่อจากัดการบริ โภคทรัพยากร – Input พลังงาน, น้ า, อาหาร

-เพื่อจากัดมลภาวะ -Out put ความร้ อน, มลพิษในอากาศเช่ นฝุ่ นละออง คาร์ บอนไดออกไซด์
มีเทน, มลพิษในน้ า ฯลฯ

โครงสร้างพื้นฐานสี เขียวของเมือง(Green Infrastructure of a City)

- เป็ นระบบธรรมชาติเพื่อเกื้อกูลชีวติ

-วางแผนเพื่อจัดการธรรมชาติ สวนสาธารณะ ทางสี เขียว พื้นที่ควบคุ มเพื่อการอนุ รักษ์อย่างมีกล


ยุทธ์

- จิตสานึกแห่งการรักษาคุณค่าของการเกื้อกูล ของสิ่ งมีชีวติ พื้นถิ่น กระบวนการนิเวศน์

- จุนเจือทรัพยากรอากาศและน้ า

- สร้างสุ ขภาพและคุณภาพชีวติ ที่ดีสาหรับชุมชนและชาวเมือง

แผนพัฒนากรุ งเทพมหานคร 12 ปี (2552-2563)มีชื่อย่อเป็ นภาษาสากลว่า


68

BANGKOK 2020 Gateway

Green

Good life

โดยวางวิสัยทัศน์ให้กรุ งเทพมหานครเป็ น “เมืองน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน” หรื อ “Sustainable Metropolis”

จุดสี เขียว

โครงข่ายสี เขียว

สาธารณูปโภคสี เขียว

เมืองสี เขียว

พื้นที่สีเขียวในเมือง

สาหรับ “เมืองน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน”


หรื อ “Sustainable Metropolis”

พืน้ ทีส่ ี เขียวในเมือง หมายถึง

พื้นที่ใดๆ ภายในเมือง ที่มีการใช้ประโยชน์ดว้ ยจิ ตสานึ กถึงคุณค่าของสิ่ งแวดล้อม ที่มีต่อคุณภาพ


ชีวติ ของชาวเมืองในระยะยาว และอาจมีความหมายในเชิงบรรยากาศผ่อนคลาย และการพักผ่อนด้วย
69

สานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมจาแนกพื้นที่สีเขียวเป็ น
1. พื้นที่สีเขียวเพื่อการบริ การสาธารณะ
2. พื้นที่สีเขียวเพื่ออรรถประโยชน์
3. พื้นที่พ้ืนที่สีเขียวบริ เวณเส้นทางสัญจร
4. พื้นที่สีเขียวเพื่อเศรษฐกิจชุมชน

ดังนั้นพื้นที่สีเขียวในเมือง ได้แก่พ้นื ที่ใช้ประโยชน์ที่มีการจัดการดังนี้

- พื้นที่ซ่ ึ งไม่เพิ่มความร้อนของสภาพอากาศ
- พื้นที่ซ่ ึ งเกื้อกูลระบบจัดการน้ าตามธรรมชาติ(Zero Waster Water/Zero Increasing Stormwater
Runoff)
- พื้นที่ซ่ ึ งเอื้อความหลากหลายทางชีวภาพ
- พื้นที่ซ่ ึ งส่ งเสริ มการเป็ นกลางเชิงคาร์บอน(Carbon Neutral หรื อ Net Zero Carbon Footprint)

ตัวอย่างเกณฑ์พ้นื ที่สีเขียว

เกณฑ์และแนวทางในการจัดการสิ่ งแวดล้อมสาหรับอาคารสานักงานราชการเขียวในโครงการ
พัฒนาสนับสนุนและ และประเมินการจัดการสิ่ งแวดล้อมของหน่วยงานภาครัฐ

พื้นที่สีเขียวในเมืองหมายถึงพื้นที่ใดๆภายในเมืองที่มีการใช้ประโยชน์ ด้วยจิตสานึ กถึงคุ ณค่าของ


สิ่ งแวดล้อมที่มีต่อคุ ณภาพชี วิตของชาวเมืองในระยะยาวและอาจมีความหมายในเชิ งบรรยากาศผ่อนคลาย
และการพักผ่อนด้วย โดยสานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมจาแนกพื้นที่สีเขียว
เป็ น

1.พื้นที่สีเขียวเพื่อการบริ การสาธารณะ

2.พื้นที่สีเขียวเพื่ออรรถประโยชน์

3.พื้นที่สีเขียวเพื่อบริ เวณทางสัญจร

4.พื้นที่สีเขียวเพื่อเศรษฐกิจชุมชน

ตัวอย่างเกณฑ์พ้นื ที่สีเขียว
70

เกณฑ์และแนวทางในการจัดการสิ่ งแวดล้อมสาหรั บอาคารสานักงานราชการเขี ยว ในโครงการ


พัฒนาสนับสนุน และประเมินการจัดการสิ่ งแวดล้อมของหน่วยงานภาครัฐ

สถานที่ต้ งั ผังบริ เวณและงานภูมิทศั น์

การเลือกที่ต้ งั

-คุณค่าทางนิเวศน์ต่า

-ใช้พ้ืนที่หรื ออาคารที่มีการใช้งานมาแล้ว

-ห่างจากระบบขนส่ งมวลชนไม่เกิน 500 เมตร

งานภูมิสถาปัตยกรรม

-สัดส่ วนพื้นที่วา่ ง หรื อพื้นที่เปิ ดโล่งนอกอาคารไม่นอ้ ยกว่า 30%ของพื้นที่โครงการ

-พื้นที่ปลูกต้นไม้ยนื ต้นไม่นอ้ ยกว่า 1ต้น ต่อพื้นที่เปิ ดโล่ง 100ตารางเมตร

-ใช้พืชพรรณที่เหมาะสมกับสภาพแวดล้อมทางภูมิอากาศและปริ มาณน้ าฝนอย่างน้อย75%ของพื้นที่


ที่เป็ นพืชพรรณทั้งหมด

-มีพ้ืนที่ที่น้ าสามารถซึ มผ่านลงดินได้ไม่นอ้ ยกว่า 5%ของขนาดพื้นที่โครงการ

-สัดส่ วนของพื้นที่หลังคาเขียวหรื อดาดฟ้ าที่ปกคลุมด้วยพืชพรรณ

-มีพ้ืนที่ดาดแข็งที่อยูภ่ ายนอกอาคารที่โดนแดดไม่เกิน 50%ของขนาดพื้นที่ดาดแข็งทั้งหมด

เกณฑ์ สั ด ส่ ว นพื้ น ที่ สี เ ขี ย วเพื่ อบริ ก ารสาธารณะต่ อจ านวนประชากรโดยส านัก งานนโยบายและแผน


ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม 2550

เทศบาลนคร 4 ตารางเมตร/คน

เทศบาลเมือง 3 ตารางเมตร/คน

เทศบาลตาบล 2 ตารางเมตร/คน
71

เกณฑ์สัดส่ วนพื้นที่ สีเขี ยวต่อจานวนประชากรโดยสานักงานนโยบายและแผนทรั พยากรธรรมชาติ และ


สิ่ งแวดล้อม 2550

เทศบาลนคร 10 ตารางเมตร/คน

เทศบาลเมือง 15 ตารางเมตร/คน

เทศบาลตาบล 30 ตารางเมตร/คน

1. พื้นที่สีเขียวเพื่อการบริ การสาธารณะ
2. พื้นที่สีเขียวเพื่ออรรถประโยชน์
3. พื้นที่พ้ืนที่สีเขียวบริ เวณเส้นทางสัญจร
4. พื้นที่สีเขียวเพื่อเศรษฐกิจชุมชน

5.1.2 การสร้างความเข้าใจและความเข้มแข็งของชุมชนในการบริ หารจัดการพื้นที่สีเขียวในการอนุ รักษ์พ้ืนที่


สี เขียวของชุมชนเดิมอย่างยัง่ ยืน กรุ งเทพมหานครเป็ นเมืองใหญ่ มีการเจริ ญเติบโตอย่างต่อเนื่ องในทุกๆด้าน
ทั้งทางด้านกายภาพ เศรษฐกิจ สังคม ประชากร เป็ นแหล่งงานที่ดึงดูดให้ผคู ้ นจากท้องถิ่นต่างๆทัว่ ประเทศ
หลัง่ ไหลเข้ามาประกอบอาชี พหลากหลายประเภท หลากหลายกิจกรรม ปั ญหาที่ตามมาคือ ความแออัดของ
ที่อยูอ่ าศัยประชากรหนาแน่น สาธารณูปโภค สาธารณู ปการไม่เพียงพอ อาชญากรรมเพิ่มขึ้น การจราจร
ติดขัดมลภาวะเป็ นพิษ ขยะเกลื่ อนเมือง น้ าเน่า อากาศเสี ย เสี ยงดัง ฝุ่ นละอองกระจายแทบทุกพื้นที่ ส่ งผล
กระทบต่อสุ ขภาพของผูอ้ าศัยในเมืองทั้งทางตรงและทางอ้อมการเพิ่มพื้นที่สีเขียวจึงเป็ นอีกทางเลือกหนึ่ งใน
การแก้ปัญหาสิ่ งแวดล้อม ทั้งช่วยกรองมลพิษเสริ มสร้างสุ ขภาพกายและสุ ขภาพจิตที่แข็งแรงให้คนเมือง แต่
ปัญหาคือ พื้นที่สีเขียวในเมืองมีไม่เพียงพอกับความต้องการของประชาชน การเข้าถึงเป็ น ไปโดยยากในบาง
พื้นที่ บทบาทของพื้นที่สีเขียวบางแห่ง ไม่เอื้ออานวยต่อความต้องการของผูใ้ ช้บริ การ จึงต้องมีการเพิ่มพื้นที่
สี เขียวให้กบั เมือง เพื่อช่วยให้ประชาชนคนเมืองมีทางเลือกในการพักผ่อนหย่อนใจมากขึ้น
“พื้น ที่สี เ ขี ย ว” ได้มี ผูใ้ ห้ ค าจ ากัด ความไว้ห ลายประการ แต่ ส่ ว นใหญ่ ท ่วั ไปมัก หมายถึ ง
สวนสาธารณะ ซึ่ งเป็ นบริ เวณที่ปลูกต้นไม้เป็ นจานวนมาก กั้นเป็ นขอบเขตไว้เพื่อประชาชนทัว่ ไปจาก
งานวิจยั มาตรการในการเพิ่มและการจัดการพื้นที่สีเขียวในเขตชุ มชนอย่างยัง่ ยืน โดยศูนย์วิจยั ป่ าไม้ คณะวน
ศาสตร์ มหาวิท ยาลัย เกษตรศาสตร์ ที่ เสนอต่อสานัก งานนโยบายและแผนทรั พยากรธรรมชาติ และ
สิ่ งแวดล้อม ได้ให้คานิยามของ “พื้นที่สีเขียวในเขตชุมชนเมือง” ว่าหมายถึง พื้นที่โล่งว่างในเขตเทศบาล ซึ่ ง
มีพืชพรรณเป็ นองค์ประกอบหลัก ได้รับการจัดการตามหลักวิชาวนวัฒนวิทยาและหลักการทางภูมิสถาปั ตย์
เพื่อเสริ มสร้างภูมิทศั น์ให้เอื้ออานวยต่อการพักผ่อนหย่อนใจและเพื่อเสริ มสร้างสภาพแวดล้อมของเมือง อัน
จะทาให้ชุมชนเมืองเป็ นเมืองสี เขียวที่ร่มรื่ นสวยงามและน่าอยูต่ ลอดไป
72

1. พืน้ ที่ธรรมชาติ เป็ นพื้นที่ที่มีอยูต่ ามธรรมชาติ เป็ นแหล่งรวมของระบบนิ เวศที่จาเป็ นต้องอนุ รักษ์
ให้คงอยูใ่ นสภาพที่สมบูรณ์ตลอดไป โดยมีการจัดการที่เหมาะสม ส่ วนใหญ่จะอยูบ่ ริ เวณต้นน้ า ป่ าไม้ ภูเขา
2. พืน้ ทีส่ ี เขียวเพือ่ บริการ เป็ นพื้นที่สีเขียวที่ประชาชนสามารถเข้าไปใช้บริ การเพื่อการพักผ่อนหย่อน
ใจ ออกกาลังกายและเสริ มสร้างทัศนียภาพที่สวยงามให้กบั เมืองในรู ปแบบสวนสาธารณะ สวนหย่อม สนาม
กีฬากลางแจ้ง สนามเด็กเล่น ลานเมือง สวนพฤกษศาสตร์ สวนรุ กขชาติ และสวนสัตว์ ซึ่งกรุ งเทพมหานครมี
พื้นที่สีเขียวในรู ปแบบนี้หลายแห่ง อาทิเช่น สวนหลวง ร.9 สวนลุมพินี ศูนย์เยาวชน ลานคนเมือง ฯลฯ
3.พืน้ ที่สีเขียวเพื่อสิ่ งแวดล้ อม เป็ นพื้นที่สีเขียวที่เสริ มสร้ างคุ ณค่าด้านสิ่ งแวดล้อม เช่ นการเพิ่มก๊า
ออกซิ เจน และลดอุณหภูมิความร้อนในเมือง แม้ประชาชนจะไม่สามารถเข้าไปใช้บริ การได้โดยตรง แต่มี
คุณค่าด้านสิ่ งแวดล้อมซึ่ งเป็ นเสมือนปอดของชุ มชนเมือง โดยรู ปแบบในกรุ งเทพมหานครได้แก่ สวนใน
บ้าน พื้นที่สีเขียวในโรงเรี ยน หน่วยงานราชการ ศาสนสถาน สนามกอล์ฟ
4. พืน้ ทีส่ ี เขียวริมเส้ นทางสั ญจร เป็ นพื้นที่สีเขียวที่อยูใ่ นแนวเส้นทางสัญจรสาธารณะซึ่ งมีบทบาททั้ง
การเสริ มสร้างคุณค่าด้านสิ่ งแวดล้อมและการบริ การ ได้แก่ พื้นที่ตามแนวถนน เกาะกลางถนน ริ มทางเดิน
แนวถอยร่ น ริ มแม่น้ า ลาคลอง ริ มทางรถไฟ
5. พืน้ ทีส่ ี เขียวเพือ่ เศรษฐกิจชุ มชน เป็ นการสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจให้แก่ผเู ้ ป็ นเจ้าของได้แก่ สวนไม้
ผลยืนต้น สวนป่ าเศรษฐกิจ พื้นที่วา่ งในบริ เวณสถานประกอบการ ในกรุ งเทพมหานคร ได้แก่บริ เวณชาน
เมืองทั้งฝั่งตะวันออกและฝั่งตะวันตกของกรุ งเทพมหานคร เช่น สวนผัก สวนผลไม้ ฯลฯโดยในเขตชุมชน
เมืองยังมีพ้ืนที่ที่มีศกั ยภาพและมีความเหมาะสมที่จะนามาพัฒนาเป็ นพื้นที่สีเขียวอย่างยัง่ ยืน ได้แก่ พื้นที่วา่ ง
รกร้าง พื้นที่ส่วนราชการ พื้นที่ศาสนสถาน พื้นที่สถานศึกษา พื้นที่ลานกิจกรรมของชุ มชน พื้นที่ว่าง
ภายหลังการพัฒนาสาธารณูปโภคและสาธารณูปการ พื้นที่วา่ งตามอาคารบ้านเรื อนและสถานประกอบการ
ขอเอกชน เป็ นต้นปั จจุบนั มีกระแสความคิดใหม่ๆในการเชื่ อมต่อพื้นที่นนั ทนาการทัว่ เมืองแทนการกระจุก
ตัวเป็ นจุดๆ ทาให้เกิ ดการเปลี่ ยนแปลงแนวความคิ ดของ “สวนสาธารณะในเมือง” เป็ น “เมืองใน
สวนสาธารณะ” และสวนสาธารณะจะขยายต่ อเชื่ อมกับ ที่ ว่า งสาธารณะต่ า งๆในเมื อง เช่ น ลาน
สวนสาธารณะ ถนน ทาจักรยาน และทางเดินเท้า ทาให้เมืองมีความสวยงามมากขึ้น เรี ยกว่า “อุทยานวิถี”
(Greenways)อุทยานวิถี (Greenways) เป็ นสวนสาธารณะแนวยาวที่เชื่ อมร้อยพื้นที่สาคัญของเมือง ที่โล่งว่าง
ของเมืองเข้าด้วยกัน โดยมีหลากหลายลักษณะคือ
1. เส้ นทางสี เขียว (Parkway) ได้แก่ ระบบทางเท้าในพื้นที่ที่สามารถจัดให้คนเดินต่อเนื่ องในสภาพภูมิ
ทัศน์ที่ดี เช่น ปิ ดถนนที่มีการใช้งานน้อย หรื อเส้นทางรถไฟที่เลิกใช้แล้วเป็ นเส้นทางเดิน
2. เส้ นทางเลียบลานา้ (Blue way) ได้แก่ พื้นที่ริมน้ าต่างๆ
3. เส้ นทางดาดผิว (Pave way) ได้แก่ ทางเท้าย่านที่มีคนใช้เป็ นจานวนมาก ปรับให้เป็ นทางเดินที่
สะดวก มีมา้ นัง่ ร้านขายเครื่ องดื่ม ส่ งเสริ มกิจกรรมการพักผ่อนแบบเมืองในระหว่างทาง
73

4. เส้ นทางเดินเชื่อมลานต่ างๆ (Glaze way) ได้แก่ เส้นทางเชื่ อมลานอาคารและทางเดินในกลุ่มอาคาร


ธุ รกิจและพาณิ ชย์
5.ทางเดินลอยฟ้า (Skyway) ได้แก่ การเชื่อมเส้นทางเดินระดับเหนือศีรษะ ทาให้การสัญจรทางเท้า
สะดวกกว่าการเดินบนระดับบนดิน โดยให้มีภูมิทศั น์ต่อเนื่องสวยงาม
6.เส้ นทางนิเวศ (Eco way) ได้แก่ การสร้างระบบนิเวศในเส้นทางที่สามารถทาได้ในเมือง
7.เส้ นทางจักรยาน (Cycle way) ได้แก่ การจัดเส้นทางให้จกั รยานสามารถสัญจรได้อย่างสะดวก
ปลอดภัยและร่ มรื่ นในเมือง
สาหรั บแนวทางการดาเนิ นการเพื่อให้พ้ืนที่ สีเขี ยวคงอยู่ สานักผังเมือง กรุ งเทพมหานครได้
กาหนดการใช้ประโยชน์ที่ดินในกฎกระทรวงให้ใช้บงั คับผังเมืองรวมกรุ งเทพมหานคร พ.ศ.2549 ในพื้นที่
ฝั่ งตะวันออกและฝั่ งตะวันตกของกรุ งเทพมหานครเป็ นพื้นที่ อนุ รักษ์ชนบทและเกษตรกรรม และพื้นที่
ชนบทและเกษตรกรรม เพื่อส่ งเสริ มให้ประชาชนในพื้นที่ด้ งั เดิมสามารถดารงชี พโดยอาชี พเกษตรกรรมได้
นอกจากนี้กรุ งเทพมหานครได้จดั ตั้งโรงเรี ยนเกษตรทฤษฎีใหม่ตามแนวพระราชดาริ กรุ งเทพมหานคร เพื่อ
สาธิ ตเป็ นต้นแบบให้เกษตรกรโดยทัว่ ไปสามารถนาไปปฏิบตั ิกบั ที่ดินของตนเอง และกรุ งเทพมหานครยัง
ส่ งเสริ มให้ประชาชนปลูกต้นไม้ในบริ เวณบ้านเรื อน ซึ่ งเป็ นแนวทางหนึ่ งในการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในเมืองให้
คงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืนได้จากรายงานโครงการจัดหาและพัฒนาสวนสาธารณะ สนามเด็กเล่น และภูมิทศั น์ของ
เมืองโดยสานักผังเมือง กรุ งเทพมหานคร ได้ให้คานิ ยามของสวนสาธารณะว่า “สวนสาธารณะ เป็ นการใช้
ที่ดินประเภทหนึ่ งที่มีความสาคัญสาหรับชี วิตความเป็ นอยูแ่ บบเมือง (Urban life) สามารถตอบสนองความ
ต้องการการพักผ่อนหย่อนใจ ซึ่ งเป็ นสิ่ งจาเป็ นสาหรับมนุ ษย์” โดยลักษณะการพักผ่อนหย่อนใจของมนุ ษย์
แบ่งเป็ น 2 ลักษณะ คือ
1. Passive Recreation เป็ นการพักผ่อนหย่อนใจในลักษณะความสงบ การผ่อนคลายความเครี ยดความ
เหน็ดเหนื่อย ได้แก่การชื่นชมภูมิทศั น์ของเมือง การใกล้ชิดกับธรรมชาติ การฟังดนตรี ชมสัตว์ นัง่ เล่น ฯลฯ
2. Active Recreation เป็ นการพักผ่อนหย่อนใจที่ตอ้ งใช้แรงในการดาเนิ นกิจกรรม เช่น การออกกาลัง
กาย เดิน วิง่ พายเรื อ ขี่จกั รยาน ฯลฯ
5.1.3 รู ปแบบของการจัดการจัดการพื้นที่สีเขียวของชุ มชนวัดคลองเตยใน1,2,3 เขตคลองเตย การพิจารณา
ถึงรู ปแบบของการจัดการพื้นที่สีเขียวย่อมเห็นผลในระดับนโยบายของชุมชนและของกรุ งเทพมหานคร โดย
มีรูปแบบดังนี้
1. จัดประชุมประชาชนในชุมชนเพื่อหาแนวทางดาเนินการดาเนินการปรับปรุ ง สภาพบ้านเรื อนไม่ให้
รก และเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย ปลูกต้นไม้ยนื ต้น จัดสวนแนวตั้ง แนวทางเดินในชุมชนวัดคลองเตยใน 1,2.3
2. พื้นที่สีเขียวหรื อสภาพไม้ยืนต้นที่ มีอยู่เดิ มตัดแต่งและดาเนิ นการปลู กเพิ่มเติ มให้ร่มรื่ นโดยใช้
นโยบายของชุมชน สมาชิกในชุมชน กรรมการ และผูน้ าชุมชน
74

ปั จจัยและแนวทางที่มีส่วนช่วยส่ งเสริ มกระบวนการจัดการพัฒนาสี เขียวประกอบด้วย


1. ศักยภาพและความพร้อมของชุมชนดังนี้คือ
1.1 คุณลักษณะของผูน้ าชุ มชน ซึ่ งมี ส่วนผลักดัน การจัดการพัฒนาพื้นที่สีเขี ยวของชุ มชน เป็ นที่
ยอมรับของชุ มชน มีความมุ่งมัน่ ในการทางาน มีแนวคิดและวิสัยทัศน์ดา้ นสิ่ งแวดล้อม เห็นถึ ง
ความสาคัญของพื้นที่สีเขียวและสิ่ งแวดล้อม
1.2 ทัศนคติและความสัมพันธ์ของชุมชนในการมีส่วนร่ วมในกิจกรรมที่ชุมชนดาเนิ นอยู่
2. สิ่ งจูงใจ ควรเร่ งดาเนิ นการสร้างแรงจูงใจในประชาชนในชุ มชน เข้ามามีส่วนร่ วมปั จจัยที่ส่งเสริ ม
ให้เกิดแรงจูงใจในการมีส่วนร่ วมของชุมชนในการจัดการพื้นที่สีเขียวของชุมชน
โดยชุมชนเองได้รับผลประโยชน์ในการมีส่วนร่ วมคือ
1. ด้านสังคม มีการพัฒนาและส่ งเสริ มการอนุ รักษ์วิถีชีวิต ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญาท้องถิ่น รวมทั้ง
การพัฒนาด้านสาธารณู ปโภคและสาธารณู ปการ สิ่ งที่ชุมชนจะได้รับเป็ นผลตอบแทนทางสังคม
ได้แก่
- การพัฒนาสังคมในชุมชนอย่างสร้างสรรค์และยัง่ ยืน
- เกิดรู ปแบบความสัมพันธ์ทางสังคมทั้งภายในชุ มชน และส่ งเสริ มระหว่างชุ มชนมากขึ้นทาให้
เกิดการเรี ยนรู ้ในสิ่ งใหม่ มีวสิ ัยทัศน์กว้างไกลมากขึ้น
- เกิ ดสัญญาทางสังคมอันเกิ ดจากการตกลงในสิ ทธิ์ หน้าที่ ความรั บผิดชอบกันของสมาชิ กใน
สังคม เกิดความสามัคคี ลดความขัดแย้ง และมีความเป็ นระเบียบของสังคม
- มีการเอาใจใส่ ต่อบริ การทางสังคมของชุมชนมากขึ้น
- เกิดการกระตุน้ ให้พฒั นาคุณภาพชีวติ ตัวเองและชุมชน
2. ด้า นการจัดการ องค์ก รชุ มชนทั้งภาครั ฐและเอกชนจะต้องมี การจัดการที่ ดี มี การวางแผนในการ
ปรับปรุ ง ควบคุมดูแลไม่ให้เกิดผลกระทบทางลบ การจัดการเพื่อให้ชุมชนได้รับผลตอบแทนในการเข้ามามี
ส่ วนร่ วมถ้าทุ นที่ เป็ นทรั พยากรของท้องถิ่ นต้องถู กทาลาย หรื อเสื่ อมโทรมลง หรื อโครงสร้ างทางสังคม
วัฒนธรรมและวิถีชีวติ ดั้งเดิมของชุมชนถูกกลืน หรื อถูกเปลี่ยนแปลงตามวัฒนธรรมภายนอกเข้าสู่ ชุมชน
5.1.4 เสนอแนวทางในการดาเนินการการจัดการพื้นที่สีเขียวชุมชนเขตคลองเตย(วัดคลองเตยใน 1,2,3,)ใน
ชุมชนเดิมอย่างยัง่ ยืน โดยการจัดตั้งองค์กรชุ มชน ตัวแทนประชาชนในชุ มชน กรรมการชุ มชนเข้ามามีส่วน
ร่ วมในการอนุ รักษ์และพัฒนาพื้นที่สีเขียวของชุ มชนเดิมโดยเริ่ มจัดทาแผนการจัดการ และมีผลกระทบต่อ
ชุมชนน้อยที่สุด โดยอบรมให้ความรู ้แก่ชาวบ้านในชุมชน เกี่ยวกับแนวทางในการอนุ รักษ์และพัฒนาพื้นที่สี
เขียวของชุ มชนเดิมอย่างยัง่ ยืน ส่ งเสริ มให้ผนู ้ าชุ มชนเป็ นแกนนากระตุน้ ให้ชาวบ้านในชุ มชนเกิดแนวคิดที่
จะพัฒนาตนเอง พัฒนาชุ มชนไปพร้ อมๆกับการอนุ รักษ์ธรรมชาติ และระบบนิ เวศในชุ มชน ส่ งเสริ มให้
ชาวบ้านแสดงความคิดเห็นเกี่ ยวกับการจัดการพื้นที่สีเขียว โดยเปิ ดเวทีชาวบ้านร่ วมกันสร้างจิตสานึ ก และ
ตระหนักในคุณค่าของชุ มชนเพื่อการอนุ รักษ์และพัฒนาพื้นที่สีเขียวของชุ มชนเดิมอย่างยัง่ ยืน ร่ วมกันจัดทา
โครงการเพื่อสร้างแรงจูงใจ กระตุน้ ให้เกิดความสนใจที่จะนาพาชุมชนเป็ นชุมชนที่พฒั นาแล้ว
75

การอนุ รักษ์และพัฒนาพื้นที่สีเขียวของชุ มชนเดิ มสู่ แนวทางการจัดการพื้นที่สีเขียวของชุ มชนเขต


คลองเตย(วัดคลองเตยใน 1,2,3 )กรุ งเทพมหานครผลการวิจยั พบว่า ประชาชนในชุ มชน กรรมการชุ มชน
และผูน้ าชุ มชนมีความต้องการที่จะเข้ามามีส่วนร่ วมในการจัดการพื้นที่สีเขียวของชุมชน การจัดการพื้นที่สี
เขี ย วชุ ม ชนอย่า งยัง่ ยืนคื อพื้นที่ สี เขี ยวที่ มี ต้นไม้ยืนต้นขนาดใหญ่ เป็ นองค์ป ระกอบหลัก และได้รับ การ
บารุ งรักษาให้คงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืนและแผนปฏิบตั ิการเชิงนโยบายด้านการจัดการพื้นที่สีเขียวชุ มชนอย่างยัง่ ยืนมี
เป้ าหมายเพิ่มพื้นที่สีเขียวยัง่ ยืน ของชุมชนเมืองโดยภาพรวมให้ได้ไม่นอ้ ยกว่า 5 ตารางเมตร ต่อประชากร 1
คน ภายในระยะเวลา 5 ปี และสามารถดารงรักษาไว้ได้อย่างยัง่ ยืน
บรรณานุกรม

งามพิศ สัตย์สงวน หลักมานุษยวิทยาวัฒนธรรม ภาควิชาสังคมวิทยาและมานุษยวิทยา คณะรัฐศาสตร์


จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย พิมพ์ครั้งที่ 4,2543
สิ ทธิพร ภิรมย์รื่น.การวางแผนและการวางผังเมือง. กรุ งเทพฯ : ภาควิชาออกแบบและวางผังชุมชนเมือง
คณะสถาปัตยกรรมศาสตร์ .มหาวิทยาลัยศิลปากร.2550

สุ วฒั นา ธาดานิติ.การมีส่วนร่ วมของประชาชนในการพัฒนาเมือง.บทความวิชาการประกอบการ


สัมมนา เรื่ องการออกแบบและวางผังชุมชนเมืองและผังเมือง.กรุ งเทพฯ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย,2543

ศูนย์บริ การวิชาการแห่งจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. วิวฒั นาการแนวคิดการวางแผนพัฒนาพื้นที่ :


โครงการเสริ มสมรรถนะการวิเคราะห์วางแผนพื้นที่และประสานเชื่อมโยงการจัดการเชิ งพื้นที่ทุกระดับ
สร้อยสุ ข พงษ์พลู แนวทางการเพิ่มพื้นที่สีเขียวในกรุ งเทพมหานคร
วิทยาภรณ์ จรัสด้วง “การพัฒนาการมีส่วนร่ วมของชุมชนในการจัดการท่องเที่ยวเชิงนิเวศเขตห้ามล่า
สัตว์ป่าทะเลน้อย อาเภอควนขนุน จังหวัดพัทลุง “วิทยานิพนธ์การวางแผนภาคและเมือง
มหาบัณฑิต ภาควิชาการวางแผนภาคและเมือง บัณฑิตวิทยาลัย, จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2544
สุชาติ เอื ้อไตรรัตน์ การศึกษาวิจยั ในการจัดการผังบริเวณที่อยูอ่ าศัยและอาคารบ้ านพัก
อาศัย โดยใช้ ภมู ิปัญญาท้ องถิ่นประสานด้ วยเทคโนโลยีสมัยใหม่เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต : กรณีศกึ ษาชุมชน
แออัดคลองเตย. 12 ชุมชน :2555
ชนายุส ตินารักษ์ : ก่อสร้ าง ซีเอสอาร์ CSR พัฒนาเมือง 17th March 2013
คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . 2546 . รายงาน

ฉบับสมบูรณ์แผนแม่บทพืน
้ ทีส
่ ีเขียวของกรุงเทพมหานคร .

มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.

การพัฒนาที่ว่างสาธารณะเพื่อความเป็นเมืองน่าอยู่ . เอกสาร
ประกอบการประชุมเชิงปฏิบัติการเวทีเครือข่ายเมืองน่าอยู่ ชุมชนน่าอยู่
ครั้งที่ 3 . กรุงเทพมหานคร.
ศูนย์วิจัยป่าไม้ คณะวนศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ . 2547 .
รายงานฉบับสมบูรณ์ มาตรการในการเพิ่มและการจัดการพืน ้ ทีส
่ เี ขียวใน
เขตชุมชนอย่างยัง่ ยืน . มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ บางเขน.
สานักงานเลขาธิการสภาการศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ . 2548 .
รายงานการวิจย
ั การจัดการเรียนรูข
้ องแหล่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต :
สวนสาธารณะ . กรุงเทพมหานคร.
สานักผังเมือง กรุงเทพมหานคร . 2542 . รายงานโครงการจัดทาผัง
เมืองรวมกรุงเทพมหานคร : ด้านสวนสาธารณะ . สานักผังเมือง
กรุงเทพมหานคร.

มูลนิธิพัฒนาไท คณะอนุกรรมการประสานการพัฒนาเมืองอย่าง
ยัง่ ยืน : เมืองน่าอยู่ สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ สถาบันชุมชนท้องถิ่นพัฒนา สถาบันการเรียนรู้และพัฒนาประชา
สังคม องค์กรภาคี พันธมิตรและสานักงานกองทุนสนับสนุนการเสริมสร้าง
สุขภาพ . 2547 .

Faludi, A. and Van der Valk (1994) Rule and Order: Dutch Planning Doctrine in the
TwentiethCentury. Dordrecht: Kluwer. p. 3.
www.nesdb.go.th/portals/0/eco_datas/area/.../05%20chapter%202.pdf
http://www.nesdb.go.th/portals/0/eco_datas/area/data/training_CU/report%20-
%20PDF/05%20chapter%202.pdf สื บค้นข้อมูลออนไลน์เมื่อวันที่ 26 เมษายน 2555
http://www.land.arch.chula.ac.th/data/file_20100204163001.pdf
สื บค้นข้อมูลออนไลน์เมื่อวันที่ 21 กรกฎาคม 2560
ภาคผนวก

แบบสอบถามผู้นาชุมชนและประชาชนในชุมชน
ประกอบการทาวิจัย เรื่อง
“การจัดการพืน้ ที่สีเขียวในชุมชนเขตคลองเตย กรุ งเทพมหานคร”
ผู้ดาเนินงานวิจัย นายวิทยาภรณ์ จรัสด้ วง หัวหน้ าโครงการวิจัย
คณะวิศวกรรมศาสตร์ และสถาปั ตยกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย
------------------------
ส่ วนที่ 1 ข้ อมูลทั่วไป
1. เพศ
ชาย หญิง

2. ชื่อ – สกุล....................................................................................... วันที่ ................................


3. อายุ.........................ปี

4. ตาแหน่ง..................................................... หน่วยงาน ............................................................

5. ระดับการศึกษา..............................................................................

6. ที่อยูป่ ั จจุบนั เลขที่............................. หมูท่ ี่ ................... ตาบล/แขวง....................................

อาเภอ/เขต........................................................ จังหวัด..........................................................

7. อาชีพ..............................................................................

8. รายได้ ตอ่ เดือน................................................ บาท

ส่ วนที่ 2 การจัดการพืน้ ที่สีเขียวในชุมชนเขตคลองเตย


1. ปั จจุบนั ท่านได้ มีสว่ นร่วมหรื อจัดการเกี่ยวกับการจัดการพื ้นที่สเี ขียวในชุมชนหรื อไม่
มีสว่ นร่วม ไม่มีสว่ นร่วม (ข้ ามไปข้ อ 7)
2. ลักษณะการเข้ ามีสว่ นร่วมของท่านเป็ นแบบใด
เป็ นผู้นา (ผู้นาชุมชน)
เป็ นสมาชิกในชุมชนร่วมประชุมหาแนวทางดาเนินงาน
ให้ ข้อมูลเป็ นแนวทางการดาเนินงาน
เป็ นคณะกรรมการในการจัดการ
ร่วมพิจารณากลัน่ กรองแนวทางการจัดการ

3. ลักษณะของการดาเนินการ
เห็นด้ วย ไม่เห็นด้ วย
4. ผลของการประชุมหารื อเกี่ยวกับการจัดการพื ้นที่สเี ขียวของชุมชน

....................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

5. อุปสรรคในการดาเนินงาน

....................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
6. ข้ อเสนอแนะอื่น ๆ
....................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
7. เหตุผลที่ไม่ได้ มีสว่ นร่วมการจัดการและดูแลพื ้นที่สเี ขียวของชุมชน

ไม่มีเวลา ไม่ชอบนโยบาย

ส่ วนที่ 3 การสร้ างจิตสานึก การจัดการและดูแลพืน้ ที่สีเขียวของชุมชน


1. จิตสานึกแห่งการรักษาคุณค่าของการเกื ้อกูลสิง่ มีชีวิตพื ้นถิ่น
เห็นด้ วย ไม่เห็นด้ วย
2. โครงสร้ างพื ้นฐานสีเขียวของเมือง เป็ นการสร้ างสุขภาพและคุณภาพชีวิตสาหรับชุมชนและชาวเมือง
เห็นด้ วย ไม่เห็นด้ วย
3. การจัดการและดูแลพื ้นที่สเี ขียวของชุมชน เป็ นการใช้ ประโยชน์ด้วยจิตสานึกถึงคุณค่าของสิง่ แวดล้ อม
เห็นด้ วย ไม่เห็นด้ วย
4. ท่านคิดว่าการสร้ างจิตสานึก การจัดการและการดูแลพื ้นที่สเี ขียวของชุมชน ควรมีวิธีการอย่างไร
....................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
5. ข้ อเสนอแนะอื่น ๆ
....................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

ส่ วนที่ 4 การจัดการพืน้ ที่สีเขียวในเมือง สาหรับเมืองน่ าอยู่อย่ างยั่งยืน


1. ท่านคิดว่าการใช้ ประโยชน์ของพืชสีเขียวภายในเมืองด้ วยจิตสานึกถึงคุณค่าของสิง่ แวดล้ อม
เห็นด้ วย ไม่เห็นด้ วย
2. ท่านคิดว่าพืชสีเขียวเพื่อบริ การสาธารณะ มีคณุ ค่าต่อชุมชน
เห็นด้ วย ไม่เห็นด้ วย

3. ท่านคิดว่าพื ้นที่สเี ขียว เพื่ออรรถประโยชน์และมีคณ ุ ค่าต่อชุมชน


เห็นด้ วย ไม่เห็นด้ วย
4. ท่านคิดว่าพื ้นที่สเี ขียวบริเวณเส้ นทางสัญจร มีประโยชน์และมีคณ ุ ค่าต่อชุมชนและสาธารณะ
เห็นด้ วย ไม่เห็นด้ วย
5. ท่านคิดว่าพื ้นที่สเี ขียว เพื่อเศรษฐกิจชุมชนมีคณ ุ ค่าต่อชุมชน
เห็นด้ วย ไม่เห็นด้ วย
6. ท่านคิดว่าการจัดการพื ้นที่สเี ขียวในเมือง สาหรับเมืองน่าอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน ควรมีวิธีการอย่างไร
....................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................................
7. ข้ อเสนอแนะอื่น ๆ
....................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................
.................................................................................................................................................

************
ประวัตินักวิจัย
หัวหน้ าโครงการวิจัย
1. ชื่อ-สกุล (ภาษาไทย) นายวิทยาภรณ์ จรัสด้วง
ชื่อ – นามสกุล (ภาษาอังกฤษ) Mr. Wittayaporn Jaratduang
2. หมายเลขบัตรประจาตัวประชาชน 39305 01021 309
3. ตาแหน่ งปัจจุบัน อาจารย์
4. หน่ วยงานทีอ่ ยู่ทสี่ ามารถติดต่ อได้
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย
225 ถนนพญาไท เขตปทุมวัน กรุ งเทพฯ 10330
โทร 0-2252-2736 ต่อ 30 โทรสาร 0-2252-7580
5. ประวัติการศึกษา
ปริญญาตรี เทคโนโลยีการเกษตรบัณฑิต ( เทคโนโลยีภูมิทศั น์ )
สถาบันเทคโนโลยีการเกษตรแม่โจ้ ( มหาวิทยาลัยแม่โจ้ )
ปริญญาโท การวางแผนภาคและเมืองมหาบัณฑิต ( การวางผังเมือง )
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
6. สาขาวิชาการทีม่ ีความชานาญพิเศษ
6.1 อาจารย์ผสู้ อนวิชาภาพร่ าง นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี สาขาวิชาสถาปั ตยกรรมภายใน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย
6.2 อาจารย์ผูส้ อนวิชาภูมิสถาปั ตยกรรมขั้นพื้นฐาน นักศึ กษาระดับปริ ญญาตรี สาขาวิชา
สถาปัตยกรรมภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย
6.3 อาจารย์ผูส้ อนวิชาไม้ประดับภายในอาคาร นักศึกษาระดับปริ ญญาตรี สาขาวิชา
สถาปัตยกรรมภายใน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลตะวันออก วิทยาเขตอุเทนถวาย

You might also like