You are on page 1of 286

คติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี

นางสาวพัชนียา บุนนาค

วิทยานิพนธ์น้เี ป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญาอักษรศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย
คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ปีการศึกษา ๒๕๕๕
ลิขสิทธิ ์ของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
บทคัดย่อและแฟ้ มข้อมูลฉบับเต็มของวิทยานิพนธ์ต้ งั แต่ปีการศึกษา 2554 ที่ให้บริ การในคลังปั ญญาจุฬาฯ (CUIR)
เป็ นแฟ้ มข้อมูลของนิสิตเจ้าของวิทยานิพนธ์ที่ส่งผ่านทางบัณฑิตวิทยาลัย
The abstract and full text of theses from the academic year 2011 in Chulalongkorn University Intellectual Repository (CUIR)
are the thesis authors' files submitted through the Graduate School.
KHUN PHAEN FOLKLORE
IN CHANGWAT KANCHANABURI AND CHANGWAT SUPHANBURI

Miss Patchaneeya Bunnak

A Thesis Submitted in Partial Fulfillment of the Requirements


for the Degree of Master of Arts Program in Thai
Department of Thai
Faculty of Arts
Chulalongkorn University
Academic Year 2012
Copyright of Chulalongkorn University
หัวข้อวิทยานิพนธ์ คติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละ
จังหวัดสุพรรณบุรี
โดย นางสาวพัชนียา บุนนาค
สาขาวิชา ภาษาไทย
อาจารย์ทป่ี รึกษาวิทยานิพนธ์หลัก ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปรมินท์ จารุวร

คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย อนุ มตั ใิ ห้นับวิทยานิพนธ์ฉบับนี้เป็ น


ส่วนหนึ่งของการศึกษาตามหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต

คณบดีคณะอักษรศาสตร์
(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ประพจน์ อัศววิรุฬหการ)

คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์

ประธานกรรมการ
(ศาสตราจารย์ ดร.ศิราพร ณ ถลาง)

อาจารย์ทป่ี รึกษาวิทยานิพนธ์หลัก
(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ปรมินท์ จารุวร)

กรรมการ
(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.ศิรพิ ร ภักดีผาสุข)

กรรมการภายนอกมหาวิทยาลัย
(ผูช้ ว่ ยศาสตราจารย์ ดร.วีรวัฒน์ อินทรพร)

พัชนียา บุนนาค: คติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุร.ี


(KHUN PHAEN FOLKLORE IN CHANGWAT KANCHANABURI AND CHANGWAT
SUPHANBURI) อ.ทีป
่ รึกษาวิทยานิพนธ์หลัก: ผศ.ดร.ปรมินท์ จารุวร, ๒๗๑ หน้า.

วิทยานิพนธ์น้มี ุ่งศึกษารวบรวมข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละ
จัง หวัด สุ พ รรณบุ รี เพื่อ น ามาศึก ษาวิเ คราะห์ล ัก ษณะของข้อ มู ล คติช นเกี่ย วกับ ขุน แผน
และเปรียบเทียบความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนจากข้อมูลคติชนประเภทต่าง ๆ ที่พบในจังหวัด
ทัง้ สอง โดยใช้แนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมเป็นแนวทางในการศึกษาวิเคราะห์
คติช นเกี่ย วกับ ขุน แผนในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด สุ พ รรณบุ รีท่ีร วบรวมได้
มี ๕ ประเภท ได้แก่ ๑) ชือ่ สถานทีแ่ ละชือ่ อื่น ๆ ๒) รูปเคารพ ๓) วัตถุมงคล ๔) จิตรกรรม
และ ๕) เพลงพืน้ บ้าน
ผลการศึก ษาลัก ษณะของข้อ มู ล คติช น พบว่า คติช นเกี่ย วกับ ขุ น แผนในจัง หวัด
กาญจนบุรแี ตกต่างจากจังหวัดสุพรรณบุรี กล่าวคือ คติชนในจังหวัดกาญจนบุรมี กั ถ่ายทอด
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนเป็ นทหารและผูป้ กครองเมือง ส่วนคติชนในจังหวัดสุพรรณบุรี
มักถ่ายทอดเรื่องราวชีวติ ตอนบวชเรียน
ส่วนการศึกษาเปรียบเทียบความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน พบว่า ทัง้ สองจังหวัดต่าง
นับถือขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ ซึ่งสอดคล้องกับการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
ผ่ า นคติช นประเภทต่ า ง ๆ ของแต่ ล ะจัง หวัด การสร้ า งความทรงจ าร่ ว มที่พ บ ได้ แ ก่
การอนุ รกั ษ์และส่งเสริมสถานที่ท่เี กี่ยวข้องกับขุนแผนซึ่งเป็ นการรักษาและสร้างพื้ นที่แห่ ง
ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในท้องถิน่ การสร้างรูปเคารพเพื่อสืบทอดตานานและพิธกี รรม
เกี่ยวกับขุนแผนซึ่งช่วยตอกย้าความเชื่อที่ว่าขุนแผนเคยมีตวั ตนจริง และการสร้างคาขวัญ
และการตัง้ ชือ่ ซึ่งแสดงให้เห็นว่าท้องถิน่ ของตนเกีย่ วข้องกับขุนแผน ทัง้ นี้ มีปจั จัยในการสร้าง
ความทรงจาร่วม ๓ ประการ ได้แก่ การสืบทอดความทรงจาร่วมของท้องถิ่น การช่วงชิง
ความโดดเด่นในเชิงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และการส่งเสริมเศรษฐกิจการท่องเทีย่ ว
ผลการวิเคราะห์การสร้างความทรงจาร่วมทาให้เห็นว่าขุนแผนในความทรงจาร่วมของ
ชาวกาญจนบุรมี ลี กั ษณะเป็นทหารผูม้ ฝี ีมอื เก่งฉกาจ และเป็นเจ้าเมืองทีค่ นท้องถิน่ เคารพนับถือ
ส่วนขุน แผนในความทรงจาร่ วมของชาวสุพ รรณบุรีเป็ นคนท้องถิ่น ที่บวชเรียนจนมีค วามรู้
เชีย่ วชาญทัง้ การเขียนอ่านและวิชาไสยศาสตร์

ภาควิชา ภาษาไทย ลายมือชือ่ นิสติ .........................................................


สาขาวิชา ภาษาไทย ลายมือชือ่ อ.ทีป่ รึกษาวิทยานิพนธ์หลัก......................
ปีการศึกษา ๒๕๕๕

# # 5280180022: MAJOR THAI


KEYWORDS: KHUN PHAEN / KHUN PHAEN FOLKLORE / KANCHANABURI / SUPHANBURI
PATCHANEEYA BUNNAK: KHUN PHAEN FOLKLORE IN CHANGWAT
KANCHANABURI AND CHANGWAT SUPHANBURI. ADVISOR: ASST. PROF.
PORAMIN JARUWORN, Ph.D., 271 pp.

This thesis aimed to investigate and gather the data concerning Khun Phaen Folklore
in Changwat Kanchanaburi and Changwat Suphanburi. This is to analyze the characteristics of the
said data and to make the comparison of the collective memory of Khun Phaen based on the
variety of the folklore found in these two provinces. In this regard, the concept of collective memory
was employed in the analysis.
Khun Phaen Folklore as found in Changwat Kanchanaburi and Changwat Suphanburi
can be categorized into 5 groups: 1) place names and other names, 2) statues and monuments,
3) sacred objects, 4) paintings and 5) folk songs.
According to the research results, Khun Phaen Folklore in Changwat Kanchanaburi was
different from the one of Changwat Suphanburi. That is to say that, for the former, it concerned
Khun Phaen life when serving as the soldier and town ruler, while, for the latter, it focused on his
novicehood life. With respect to the comparative study on Khun Phaen Folklore, Khun Phaen was
recognized as the local hero of both provinces. This conformed to the construction of collective
memory of Khun Phaen in the lens of folklore in these two provinces. In particular, the construction
of collective memory as found by this study was: the conservation and promotion of places
concerning Khun Phaen to conserve and build a site for the collective memory of Khun Phaen in
the local community, the construction of statues and monuments for the continuation of the legend
and ritual of Khun Phaen to strengthen the belief of his existence, and the introduction of slogan
and naming to depict the relevance of the local community to Khun Phaen. Besides, there were
3 elements for the construction of collective memory: the continuation of collective memory in the
local community, the struggle for cultural identity advantages and the tourism economy promotion.
According to the analysis of collective memory, it was revealed that Khun Phaen in the
collective memory of Kanchanaburi people was the great warrior and respectful town ruler, while,
for Suphanburi people’s collective memory, Khun Phaen was a local man who ordained and
became skillful in the literacy with expertise in superstition.

Department: THAI Student’s Signature................................................


Field of Study: THAI Advisor’s Signature................................................
Academic Year: 2012

กิตติกรรมประกาศ

วิทยานิพนธ์ ฉบับนี้ สาเร็จได้ด้วยความเมตตาของผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ปรมิน ท์


จารุวร อาจารย์ทป่ี รึกษาวิทยานิพนธ์ ผูใ้ ห้ความรู้ คาแนะนา และกาลังใจแก่ผวู้ จิ ยั มาตัง้ แต่
ผูว้ จิ ยั เป็ นนิสติ ระดับปริญญาบัณฑิต อาจารย์เป็ นผู้ชแ้ี นวทางให้ผู้วจิ ยั สนใจศาสตร์ทางด้าน
คติชนวิทยา กระทังผู ่ ว้ จิ ยั มุ่งหมายจะศึกษาวิจยั ทางด้านนี้ อาจารย์ได้ให้คาแนะนาและกรุณา
สละเวลาตรวจแก้ไ ขงานวิจยั อย่ างดียิ่ง ผู้วจิ ยั ซาบซึ้งในพระคุ ณ จึง ขอกราบขอบพระคุ ณ
เป็นอย่างสูงไว้ ณ โอกาสนี้
ขอกราบขอบพระคุณคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ ซึ่งประกอบด้วยศาสตราจารย์
ดร.ศิราพร ณ ถลาง ผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.ศิรพิ ร ภักดีผาสุข และผูช้ ่วยศาสตราจารย์ ดร.
วีรวัฒน์ อินทรพร ที่กรุณาตรวจแก้ไขและให้คาแนะนาอันเป็ นประโยชน์ ทาให้วทิ ยานิพนธ์
ฉบับนี้สมบูรณ์ยงิ่ ขึน้
ขอกราบขอบพระคุณศาสตราจารย์พเิ ศษ ดร.กิง่ แก้ว อัต ถากร ครูผเู้ มตตาและกรุณา
ให้ความรูแ้ ละข้อคิดอันทรงคุณค่าแก่ผวู้ จิ ยั
ขอขอบพระคุ ณ ชาวกาญจนบุ รีแ ละชาวสุ พ รรณบุ รี หน่ ว ยงานราชการในจัง หวัด
กาญจนบุ รี แ ละจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี ที่ ก รุ ณ าให้ ข้ อ มู ล อัน มี ค่ า และได้ ช่ ว ยเหลื อ ผู้ ว ิจ ัย
อย่างเต็มกาลังสามารถ ทาให้วทิ ยานิพนธ์ฉบับนี้สาเร็จได้
ขอขอบคุณข้าราชการกลุ่มงานราชบรรณาคม สานักราชเลขาธิการ ที่เป็ นกาลังใจ
และให้โอกาสผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาวิจยั และทาวิทยานิพนธ์ฉบับนี้จนสาเร็จลุล่วง
ขอขอบคุ ณ คุ ณ รัต นพล ชื่น ค้า คุ ณ ดวงหทัย ลือ ดัง คุ ณ บุ ญ พิท ัก ษ์ เสนี บุ ร พทิศ
คุ ณ ชัช ดนั ย ดอกสน คุ ณ อรวรรยา จตุ พ รไพศาล และคุ ณ อรอุ ษ า สุ ว รรณประเทศ
ทีใ่ ห้คาแนะนาและช่วยเหลือจนงานวิจยั นี้สาเร็จได้อย่างราบรื่น
ขอขอบคุณญาติพ่นี ้ อ งที่ค อยช่วยเหลือและเอาใจใส่ผู้วจิ ยั ทุกเมื่อ และสาคัญที่สุ ด
ขอบพระคุณพ่อ แม่ และขอบคุณนางสาวพุทธมนต์ บุนนาค ทีเ่ ป็นแรงใจให้ผวู้ จิ ยั ตัง้ ใจเรียน
และอยู่เคียงข้างผูว้ จิ ยั มาโดยตลอด
สารบัญ

หน้า
บทคัดย่อภาษาไทย ง
บทคัดย่อภาษาอังกฤษ จ
กิตติกรรมประกาศ ฉ
สารบัญ ช
สารบัญตาราง ฎ
สารบัญภาพ ฏ
บทที่ ๑ บทนา ๑
๑.๑ ความเป็นมาของปญั หา ๑
๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิจยั ๕
๑.๓ สมมติฐานของการวิจยั ๕
๑.๔ ขอบเขตของการวิจยั ๕
๑.๕ วิธดี าเนินการวิจยั ๕
๑.๖ ประโยชน์ทค่ี าดว่าจะได้รบั ๖
๑.๗ นิยามศัพท์เฉพาะ ๖
๑.๘ กรอบแนวคิดทีใ่ ช้ในการวิจยั ๗
๑.๙ เอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้อง ๑๑
บทที่ ๒ ภูมหิ ลังเกีย่ วกับขุนแผนจากวรรณคดีและเอกสารทางประวัตศิ าสตร์ ๒๓
๒.๑ ภูมหิ ลังเกีย่ วกับขุนแผนจากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ๒๓
๒.๑.๑ สังเขปชีวประวัตขิ นุ แผน ๓๐
๒.๑.๒ คาเรียกชือ่ ขุนแผน ๓๑
๒.๑.๓ เรื่องราวชีวติ ของขุนแผน ๓๔
๒.๒ ภูมหิ ลังเกีย่ วกับขุนแผนจากคาให้การชาวกรุงเก่า ๕๐
บทที่ ๓ ข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี ๖๒
๓.๑ ข้อมูลคติชนประเภทชือ่ สถานทีแ่ ละชือ่ อืน่ ๆ ๖๗
๓.๑.๑ ข้อมูลคติชนประเภทชือ่ สถานที่ ๖๗
๓.๑.๑.๑ ชือ่ สถานทีท่ ป่ี รากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ๖๗

หน้า
๓.๑.๑.๒ ชือ่ สถานทีท่ ไ่ี ม่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ๗๗
ก) ชือ่ สถานทีท่ างธรรมชาติ ๗๗
ข) ชือ่ วัด ๘๔
ค) ชือ่ หมู่บา้ นและชือ่ ชุมชน ๙๓
ง) ชือ่ ถนน ๙๔
จ) ชือ่ สถานทีอ่ ่นื ๆ ๙๕
๓.๑.๒ ข้อมูลคติชนประเภทชือ่ อืน่ ๆ ๙๖
๓.๒ ข้อมูลคติชนประเภทรูปเคารพ ๙๘
๓.๒.๑ รูปเคารพขุนแผน ๙๙
๓.๒.๑.๑ รูปเคารพขุนแผนทีเ่ ขาชนไก่ ตาบลลาดหญ้า ๑๐๐
๓.๒.๑.๒ รูปเคารพพระยากาญจนบุรที ว่ี ดั ปา่ เลไลยก์
ตาบลลาดหญ้า ๑๐๔
๓.๒.๑.๓ รูปเคารพขุนแผนทีถ่ ้าขุนแผน ตาบลหนองบัว ๑๐๔
๓.๒.๑.๔ รูปเคารพพระยากาญจนบุรที ม่ี หาวิทยาลัยราชภัฏ
กาญจนบุรี ๑๐๕
๓.๒.๒ รูปเคารพของตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ๑๐๖
๓.๒.๒.๑ รูปเคารพขุนไกร ๑๐๗
๓.๒.๒.๒ รูปเคารพนางทองประศรี ๑๐๘
๓.๒.๒.๓ รูปเคารพนางบัวคลี่ ๑๐๙
๓.๒.๒.๔ รูปเคารพกุมารทอง ๑๑๑
๓.๓ ข้อมูลคติชนประเภทวัตถุมงคล ๑๑๓
๓.๔ ข้อมูลคติชนประเภทจิตรกรรม ๑๑๖
๓.๔.๑ จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน
บริเวณบันไดขึน้ ถ้า วัดบ้านถ้า ๑๑๗
๓.๔.๒ จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน
ในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม ๑๒๐
๓.๕ ข้อมูลคติชนประเภทเพลงพืน้ บ้าน ๑๒๕
๓.๕.๑ เพลงทรงเครื่องจากตาบลพนมทวน ๑๒๕
๓.๕.๒ ลานอกเรื่องขุนช้างขุนแผน ๑๓๒

หน้า
บทที่ ๔ ข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรี ๑๓๕
๔.๑ ข้อมูลคติชนประเภทชือ่ สถานทีแ่ ละชือ่ อื่น ๆ ๑๓๘
๔.๑.๑ ข้อมูลคติชนประเภทชือ่ สถานที่ ๑๓๘
๔.๑.๑.๑ ชือ่ สถานทีท่ ป่ี รากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ๑๓๘
๔.๑.๑.๒ ชือ่ สถานทีท่ ไ่ี ม่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ๑๔๓
ก) ชือ่ วัด ๑๔๓
ข) ชือ่ ถนนและแยกจราจร ๑๔๔
ค) ชือ่ อุทยานวรรณคดี ๑๔๖
ง) ชือ่ สถานทีอ่ น่ื ๆ ๑๔๘
๔.๑.๒ ข้อมูลคติชนประเภทชือ่ อื่น ๆ ๑๔๙
๔.๒ ข้อมูลคติชนประเภทรูปเคารพ ๑๕๑
๔.๒.๑ รูปเคารพขุนแผน ๑๕๑
๔.๒.๑.๑ รูปเคารพขุนแผนทีว่ ดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร ๑๕๑
๔.๒.๑.๒ รูปเคารพขุนแผนทีว่ ดั แค ๑๕๒
๔.๒.๒ รูปเคารพของตัวละครอืน่ ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ๑๕๕
๔.๒.๒.๑ รูปเคารพนางพิม ๑๕๕
๔.๒.๒.๒ รูปเคารพขุนช้าง ๑๕๖
๔.๒.๒.๓ รูปเคารพสมภารคง ๑๕๗
๔.๒.๒.๔ รูปเคารพกุมารทอง ๑๕๙
๔.๓ ข้อมูลคติชนประเภทวัตถุมงคล ๑๖๐
๔.๓.๑ พระขุนแผนกรุวดั บ้านกร่าง ๑๖๓
๔.๓.๒ พระขุนแผนกรุวดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร ๑๖๔
๔.๓.๓ พระขุนแผนกรุวดั แค ๑๖๖
๔.๔ ข้อมูลคติชนประเภทจิตรกรรม ๑๖๙
๔.๔.๑ จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน
รอบวิหารคด วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร ๑๗๐
๔.๔.๒ จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนในหอคอยบรรหาร – แจ่มใส ๑๗๓
๔.๔.๓ จิตรกรรมแสดงภาพตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผนทีบ่ า้ นขุนช้าง ๑๗๗
๔.๔.๔ จิตรกรรมฝาผนังเรือ่ งขุนช้างขุนแผน
ทีว่ ดั เขาพระศรีสรรเพชญาราม ๑๘๑

หน้า
๔.๕ ข้อมูลคติชนประเภทเพลงพืน้ บ้าน ๑๘๒
๔.๕.๑ เพลงปรบไก่ (ตบไก่) ๑๘๒
๔.๕.๒ เพลงอีแซวเล่าเรือ่ งขุนช้าง – ขุนแผน ๑๘๕
๔.๕.๓ เพลงส่งเครือ่ ง ๑๘๖
บทที่ ๕ การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี
และจังหวัดสุพรรณบุรี ๑๘๙
๕.๑ การนับถือขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ ในจังหวัดกาญจนบุรี
และจังหวัดสุพรรณบุรี ๑๘๙
๕.๑.๑ คติชนในจังหวัดกาญจนบุรกี บั การนับถือขุนแผน
ในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ ผูเ้ ป็นนักรบและผูป้ กครองเมือง ๑๙๗
๕.๑.๒ คติชนในจังหวัดสุพรรณบุรกี บั การนับถือขุนแผน
ในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ ผูบ้ วชเรียนจนเชีย่ วชาญทาง “วิชาการ” ๒๐๑
๕.๒ การสร้างความทรงจาร่วมเรือ่ งขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี
และจังหวัดสุพรรณบุรี ๒๐๔
๕.๒.๑ การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน ๒๐๔
๕.๒.๑.๑ การสร้างความทรงจาร่วมเรือ่ งขุนแผน
ในจังหวัดกาญจนบุรี ๒๐๗
๕.๒.๑.๒ การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
ในจังหวัดสุพรรณบุรี ๒๑๓
๕.๒.๒ ปจั จัยในการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน ๒๑๘
๕.๒.๒.๑ ปจั จัยด้านการสืบทอดความทรงจาร่วมของท้องถิน่ ๒๑๘
๕.๒.๒.๒ ปจั จัยด้านการช่วงชิงความโดดเด่นในเชิงอัตลักษณ์
ทางวัฒนธรรม ๒๑๙
๕.๒.๒.๓ ปจั จัยด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจการท่องเทีย่ ว ๒๒๒
๕.๓ คติชนกับการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
ในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี ๒๒๔
บทที่ ๖ สรุปผลการวิจยั และอภิปรายผล ๒๒๘
รายการอ้างอิง ๒๔๐
ภาคผนวก ๒๔๗
ประวัตผิ เู้ ขียนวิทยานิพนธ์ ๒๗๑

สารบัญตาราง

หน้า
ตารางที่ ๑ แสดงข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี ๖๔
ตารางที่ ๒ แสดงลาดับภาพและคาบรรยายภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน
บริเวณบันไดขึน้ ถ้านางบัวคลี่ วัดบ้านถ้า ๑๑๙
ตารางที่ ๓ แสดงลาดับภาพและคาบรรยายภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน
ในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม ๑๒๑
ตารางที่ ๔ แสดงข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรี ๑๓๖
ตารางที่ ๕ แสดงลักษณะชือ่ ถนนในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี ๑๔๔
ตารางที่ ๖ แสดงลาดับภาพและคาบรรยายภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน
รอบวิหารคด วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร ๑๗๒
ตารางที่ ๗ แสดงลาดับภาพและคาบรรยายภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน
ประดับฝาผนังหอคอยบรรหาร – แจ่มใส ๑๗๔
ตารางที่ ๘ แสดงชือ่ ตัวละครและคาบรรยายภาพตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผน
ทีบ่ า้ นขุนช้าง ๑๗๘

สารบัญภาพ

หน้า
ภาพที่ ๑ แผนทีจ่ งั หวัดกาญจนบุรี ๖๓
ภาพที่ ๒ วัดปา่ เลไลยก์ ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๖๘
ภาพที่ ๓ วัดใหญ่ดงรัง – ส้มใหญ่ ตาบลหนองขาว อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ๗๒
ภาพที่ ๔ หอระฆังวัดใหญ่ดงรัง – ส้มใหญ่ ตาบลหนองขาว อาเภอท่าม่วง
จังหวัดกาญจนบุรี ๗๔
ภาพที่ ๕ เขาชนไก่ ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๗๔
ภาพที่ ๖ ถ้าขุนแผน ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๗๘
ภาพที่ ๗ ถ้าขุนแผน ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๗๘
ภาพที่ ๘ พระอุโบสถหลังเก่า วัดมโนธรรมาราม (วัดนางโน) อาเภอท่าม่วง
จังหวัดกาญจนบุรี ๘๑
ภาพที่ ๙ ถ้าขุนไกร ตาบลแก่งเสีย้ น อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๘๑
ภาพที่ ๑๐ ทางขึน้ ถ้านางบัวคลี่ วัดบ้านถ้า อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ๘๓
ภาพที่ ๑๑ ถ้านางบัวคลี่ วัดบ้านถ้า อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ๘๓
ภาพที่ ๑๒ วัดขุนแผน ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๘๔
ภาพที่ ๑๓ วัดนางพิม (วัดกาญจนบุรเี ก่า) ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ
จังหวัดกาญจนบุรี ๘๕
ภาพที่ ๑๔ วัดแม่หม้ายเหนือ ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๘๖
ภาพที่ ๑๕ วัดแม่หม้ายใต้ ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๘๗
ภาพที่ ๑๖ วัดถ้าขุนไกร ตาบลแก่งเสีย้ น อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๘๙
ภาพที่ ๑๗ วัดบ้านถ้า ตาบลเขาน้อย อาเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ๙๒
ภาพที่ ๑๘ บริเวณทีเ่ ชือ่ ว่าเคยเป็นทีต่ งั ้ ของหมู่บา้ นนางทองประศรี ตาบลลาดหญ้า
อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๙๓
ภาพที่ ๑๙ ป้ายชือ่ หมู่บา้ นท่าเสา บ้านท่าเสา ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ
จังหวัดกาญจนบุรี ๙๔
ภาพที่ ๒๐ ป้ายชือ่ ชุมชนบ้านขุนแผน บ้านท่าเสา ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ
จังหวัดกาญจนบุรี ๙๔
ภาพที่ ๒๑ ป้ายชือ่ ชุมชนพิมพิลาไลย บ้านท่าเสา ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ
จังหวัดกาญจนบุรี ๙๔

หน้า
ภาพที่ ๒๒ ป้ายชือ่ ถนนขุนแผน ในพืน้ ทีบ่ า้ นท่าเสา ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ
จังหวัดกาญจนบุรี ๙๕
ภาพที่ ๒๓ ป้ายชือ่ ถนนพิมพิลาไลย์ ในพืน้ ทีบ่ า้ นท่าเสา ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ
จังหวัดกาญจนบุรี ๙๕
ภาพที่ ๒๔ เขือ่ นขุนแผน (ท่าลงแพเขือ่ นขุนแผน) อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๙๕
ภาพที่ ๒๕ บริเวณทีเ่ ชือ่ ว่าเคยเป็นทีต่ งั ้ ของตลาดนางทองประศรี ตาบลลาดหญ้า
อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๙๖
ภาพที่ ๒๖ รูปเคารพขุนแผน (รูปปน) ั ้ ทีเ่ ขาชนไก่ ๑๐๐
ภาพที่ ๒๗ รูปเคารพขุนแผน (รูปหล่อ) ทีเ่ ขาชนไก่ ๑๐๐
ภาพที่ ๒๘ ศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่ ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๑๐๒
ภาพที่ ๒๙ รูปเคารพพระยากาญจนบุรที ว่ี ดั ปา่ เลไลยก์ ตาบลลาดหญ้า ๑๐๔
ภาพที่ ๓๐ รูปเคารพขุนแผนทีถ่ ้าขุนแผน ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองฯ
จังหวัดกาญจนบุรี ๑๐๕
ภาพที่ ๓๑ รูปเคารพพระยากาญจนบุรที ม่ี หาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ๑๐๕
ภาพที่ ๓๒ รูปปนขุั ้ นแผนนังบริ
่ กรรมคาถาอยู่หน้าตาราพิชยั สงคราม วัดถ้าขุนไกร
ตาบลแก่งเสีย้ น อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๑๐๖
ภาพที่ ๓๓ รูปเคารพขุนไกร (รูปปน) ั ้ ทีเ่ ขาชนไก่ ๑๐๗
ภาพที่ ๓๔ รูปเคารพขุนไกร (รูปหล่อ) ทีเ่ ขาชนไก่ ๑๐๗
ภาพที่ ๓๕ รูปเคารพขุนไกรทีศ่ าลพ่อขุนไกร วัดถ้าขุนไกร ตาบลแก่งเสีย้ น
อาเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ๑๐๘
ภาพที่ ๓๖ รูปเคารพนางทองประศรีภายในศาลย่าทองประศรี ๑๐๙
ภาพที่ ๓๗ รูปเคารพนางบัวคลีภ่ ายในถ้านางบัวคลี่ วัดบ้านถ้า อาเภอท่าม่วง
จังหวัดกาญจนบุรี ๑๑๐
ภาพที่ ๓๘ รูปเคารพกุมารทองภายในถ้านางบัวคลี่ ๑๑๑
ภาพที่ ๓๙ ป้ายประกาศการจัดสร้างพระขุนแผนของวัดบ้านถ้า ตาบลเขาน้อย ๑๑๕
ภาพที่ ๔๐ ป้ายประกาศการจัดสร้างพระขุนแผนของวัดถ้าขุนแผน ตาบลหนองบัว ๑๑๕
ภาพที่ ๔๑ พระขุนแผนซึ่งจัดสร้างโดยวัดถ้าขุนแผน ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองฯ
จังหวัดกาญจนบุรี ๑๑๖
ภาพที่ ๔๒ ลาตัวของมังกรซึ่งเป็นบริเวณทีพ่ บภาพจิตรกรรมฝาผนัง
เรื่องขุนช้างขุนแผน ๑๑๗

หน้า
ภาพที่ ๔๓ จิตรกรรมฝาผนังเรือ่ งขุนช้างขุนแผนในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม ๑๒๐
ภาพที่ ๔๔ ภาพขุนแผนนังเมื ่ อง ออกว่าราชการงานเมืองกาญจนบุรี สมัยศรีอยุธยา
จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม ๑๒๒
ภาพที่ ๔๕ ตัวอย่างภาพจิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนทีว่ ดั บ้านถ้า
และวัดมโนธรรมาราม ๑๒๓
ภาพที่ ๔๖ แผนทีจ่ งั หวัดสุพรรณบุรี ๑๓๕
ภาพที่ ๔๗ วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร ตาบลรัว้ ใหญ่ อาเภอเมืองฯ จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๓๘
ภาพที่ ๔๘ ต้นมะขามยักษ์วดั แค ภายในคุม้ ขุนแผน เชือ่ ว่าเป็นต้นเดียวกับต้นมะขาม
ทีเ่ ณรแก้วเสกใบมะขามเป็นต่อแตน ๑๔๐
ภาพที่ ๔๙ ถ้าขุนแผน – นางพิม วัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม อาเภออู่ทอง
จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๔๒
ภาพที่ ๕๐ วัดลาวทอง ตาบลสนามชัย อาเภอเมืองฯ จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๔๓
ภาพที่ ๕๑ ป้ายชือ่ ถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี ๑๔๕
ภาพที่ ๕๒ ป้ายชือ่ ถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี ๑๔๕
ภาพที่ ๕๓ ป้ายชือ่ ถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี ๑๔๕
ภาพที่ ๕๔ ชือ่ ถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรที ป่ี รากฏในแผนที่ ๑๔๕
ภาพที่ ๕๕ คุม้ ขุนแผนภายในวัดแค จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๔๖
ภาพที่ ๕๖ บ้านขุนช้างภายในวัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๔๗
ภาพที่ ๕๗ ป้ายชือ่ สถานทีต่ า่ ง ๆ ทีน่ าชือ่ ขุนแผนหรือตัวละครอื่นไปตัง้ ชือ่ สถานที่ ๑๔๘
ภาพที่ ๕๘ ป้ายชือ่ สถานทีต่ า่ ง ๆ ทีน่ าชือ่ ขุนแผนหรือตัวละครอื่นไปตัง้ ชือ่ สถานที่ ๑๔๘
ภาพที่ ๕๙ ป้ายชือ่ สถานทีต่ า่ ง ๆ ทีน่ าชือ่ ขุนแผนหรือตัวละครอื่นไปตัง้ ชือ่ สถานที่ ๑๔๘
ภาพที่ ๖๐ พระนอนวัดพระรูป ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า พระนอนเณรแก้ว ๑๔๙
ภาพที่ ๖๑ ป้ายชือ่ กิจการทีน่ าชือ่ ขุนแผนและตัวละครอื่นมาตัง้ เป็นชือ่ กิจการ ๑๕๐
ภาพที่ ๖๒ ป้ายชือ่ กิจการทีน่ าชือ่ ขุนแผนและตัวละครอื่นมาตัง้ เป็นชือ่ กิจการ ๑๕๐
ภาพที่ ๖๓ ป้ายชือ่ กิจการทีน่ าชือ่ ขุนแผนและตัวละครอื่นมาตัง้ เป็นชือ่ กิจการ ๑๕๐
ภาพที่ ๖๔ ป้ายชือ่ กิจการทีน่ าชือ่ ขุนแผนและตัวละครอื่นมาตัง้ เป็นชือ่ กิจการ ๑๕๐
ภาพที่ ๖๕ รูปเคารพขุนแผนทีว่ ดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๑
ภาพที่ ๖๖ รูปเคารพขุนแผนทีว่ ดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๑
ภาพที่ ๖๗ รูปเคารพขุนแผนในศาลาสักการะ วัดแค จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๒
ภาพที่ ๖๘ รูปเคารพขุนแผนในศาลขุนแผน วัดแค จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๔

หน้า
ภาพที่ ๖๙ ั ้ นแผนทีต่ งั ้ อยู่ในวิหารพระพุทธมงคล วัดแค จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๕
รูปปนขุ
ภาพที่ ๗๐ รูปเคารพนางพิมทีว่ ดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๕
ภาพที่ ๗๑ รูปเคารพนางพิมทีว่ ดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๕
ภาพที่ ๗๒ รูปเคารพขุนช้างภายในบ้านขุนช้าง วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร
จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๖
ภาพที่ ๗๓ รูปเคารพสมภารคงภายในศาลาสักการะ วัดแค จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๗
ภาพที่ ๗๔ บริเวณด้านหน้าศาลาสักการะ วัดแค จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๘
ภาพที่ ๗๕ รูปเคารพสมภารคงภายในศาลหลวงปูค่ ง วัดแค จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๘
ภาพที่ ๗๖ รูปเคารพสมภารคงภายในศาลอาจารย์คง วัดแค จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๕๙
ภาพที่ ๗๗ รูปเคารพกุมารทอง วัดแค จังหวัดสุพรรณบุรี ๑๖๐
ภาพที่ ๗๘ พิพธิ ภัณฑ์พระขุนแผนและพระเครื่องเมืองสุพรรณ วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร ๑๖๓
ภาพที่ ๗๙ คาบรรยายภาพจิตรกรรมเรือ่ งขุนช้างขุนแผน
รอบวิหารคด วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร ๑๗๑
ภาพที่ ๘๐ ภาพจิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน รอบวิหารคด วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร ๑๗๑
ภาพที่ ๘๑ ภาพจิตรกรรมแสดงตัวละครจากเรือ่ งขุนช้างขุนแผน
รอบวิหารคด วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร ๑๗๒
ภาพที่ ๘๒ ภาพจิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนประดับฝาผนังหอคอยบรรหาร – แจ่มใส ๑๗๔
ภาพที่ ๘๓ ภาพตัวละครพลายแก้ว – ขุนแผนในเรื่องขุนช้างขุนแผนทีบ่ า้ นขุนช้าง ๑๗๗
ภาพที่ ๘๔ ภาพจิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนทีว่ ดั เขาพระศรีสรรเพชญาราม ๑๘๒
บทที่ ๑

บทนา

๑.๑ ความเป็ นมาของปัญหา


กาญจนบุรแี ละสุพรรณบุรเี ป็ นจังหวัดที่มอี าณาเขตติดต่อกัน ทัง้ สองจังหวัดมีภูมหิ ลัง
และประวัตคิ วามเป็นมาของท้องถิน่ ยาวนาน หลักฐานหนึ่งทีส่ ะท้อนให้เห็นว่าจังหวัดกาญจนบุรี
และจังหวัดสุพรรณบุรีเป็ นท้องถิ่นที่มคี วามเป็ นมายาวนานคือ วรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผน
วรรณคดีเอกเรื่องสาคัญของไทย
ในวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนปรากฏชื่อเมืองกาญจนบุรีและเมืองสุพรรณบุรีเป็ น
เมื อ งส าคัญ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ ขุ น แผน ตั ว ละครเอกของเรื่ อ ง ขุ น แผนมี ภู มิ ล าเนาเป็ น
ชาวสุพรรณบุรี แต่เมื่อขุนไกรผูเ้ ป็นบิดาต้องพระราชอาญามีโทษประหารชีวติ นางทองประศรี
ผู้เป็ น มารดาได้พ าขุน แผนหรือพลายแก้วในขณะนัน้ หนีไ ปตัง้ รกรากอยู่ ท่เี มือ งกาญจนบุ รี
ขุนแผนได้บวชเรียนและเรียนวิชากับพระสงฆ์ในเมืองกาญจนบุรี ต่อมา เมื่อได้รบั ราชการ
เป็ นทหารตระเวนด่านก็ต้องปฏิบตั ิหน้าที่อยู่ท่เี มืองกาญจนบุ รี กระทังได้ ่ ดารงตาแหน่ งเป็ น
พระสุ รินทรฦๅไชยมไหสูรย์ภักดี เจ้า เมืองกาญจนบุรีใ นช่ว งปลายชีวติ เรื่องราวชีว ิตของ
ขุนแผนจึงเกีย่ วข้องกับทัง้ เมืองกาญจนบุรแี ละเมืองสุพรรณบุรเี ป็นอย่างมาก
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนมีปรากฏอยู่ในเรื่องขุนช้างขุนแผน นิทานพื้นบ้านสุพ รรณบุรี
และกาญจนบุรี ซึ่งเป็นทีน่ ิยมอย่างแพร่หลายมาแต่ครัง้ กรุงศรีอยุธยา เรื่องราวเกิดขึน้ ในรัชสมัย
ของสมเด็จพระพันวษา สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดารงราชานุ ภาพ (๒๕๑๓:
(๓) – (๑๑)) มีพระวินิจฉัย ว่า เรื่องขุนช้างขุนแผนเป็ น เรื่องจริงที่เกิดขึ้นในแผ่นดิน สมเด็จ
พระรามาธิบดีท่ี ๒ ระหว่าง พ.ศ.๒๐๓๔ – ๒๐๗๒ และสมเด็จพระพันวษาในเรื่องขุนช้าง
ขุนแผนคือ สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒
จะเห็ น ได้ ว่ า ระยะเวลาที่ ส มเด็ จ พระรามาธิบ ดี ท่ี ๒ แห่ ง ราชวงศ์ สุ พ รรณภู มิ
ทรงครองราชย์อยู่นัน้ ช่วงเวลาดังกล่าวกรุงศรีอยุธยาสืบทอดลักษณะการปกครองจากสมัย
สมเด็จพระบรมไตรโลกนาถ (พ.ศ.๑๙๙๑ – ๒๐๓๑) ซึ่งจาแนกการปกครองออกเป็ น ๒ ส่วน
ได้แก่ ส่วนกลางคือราชธานี และส่วนภูมภิ าคคือหัวเมืองต่างๆ ทีร่ ายล้อมราชธานีมี ๓ ประเภท
คือ หัวเมืองชัน้ ใน หัวเมืองชัน้ นอก และหัวเมืองประเทศราช (รัตนา หนู น้อย, ๒๕๒๙: ๖๓ –
๖๕)
พระไอย การต าแหน่ ง นาท หารหั ว เ มื อ ง ใน กฎหม ายต ราสามด วง ฉบั บ
ราชบัณ ฑิ ต ยสถาน เล่ ม ๑ (๒๕๕๐: ๑๑๔๘) ปรากฏชื่อ ‚เมือ งการบุ รีย ‛ และ ‚เมือ ง
สุพนั ทบุรีย ‛ เป็ นหัวเมืองชัน้ ในหรือหัวเมืองชัน้ จัตวาของอยุธยา นอกจากนัน้ ยังปรากฏชื่อ

‚เมืองไทรโยค‛ และ ‚เมืองศรีสวัด‛ เป็นหัวเมืองชัน้ ในหรือหัวเมืองชัน้ จัตวาของอยุธยาอยู่ด้วย


ดังนัน้ จะเห็นได้ว่าในสมัยอยุธยา ‚เมืองไทรโยค‛ และ ‚เมืองศรีสวัด ‛ ต่างมีฐานะเป็ นหัวเมือง
ชัน้ จัตวาเทียบเท่ากับ ‚เมืองการบุรยี ‛ และ ‚เมืองสุพนั ทบุรยี ‛ ทัง้ ทีป่ จั จุบนั ‚เมืองไทรโยค‛ และ
‚เมืองศรีสวัด‛ คืออาเภอไทรโยคและอาเภอศรีสวัสดิ ์ ซึ่งเป็ นส่วนหนึ่งของจังหวัดกาญจนบุรี
(ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัดกาญจนบุรี, ๒๕๓๐: ๔)
การเปลี่ ย นแปลงอาณาเขตการปกครองดั ง กล่ า วเป็ น ผลมาจากในรั ช สมั ย
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงจัดตัง้ มณฑลเทศาภิบาลขึน้ ในปี พ.ศ.๒๔๓๗
เพื่อสร้างเอกภาพทางการปกครองและรักษาเอกราชของชาติไทยให้พ้นจากภัยคุกคามของ
มหาอานาจตะวันตก เมืองต่าง ๆ จึงได้รบั การจัดรวมอยู่ในมณฑล  ด้วยเหตุน้ีเมืองกาญจนบุรี
จึงได้รบั การจัดรวมอยู่ในมณฑลราชบุรีซ่ึงประกอบด้วย เมืองราชบุรี กาญจนบุรี ปราณบุรี
เพชรบุรี และสมุทรสงคราม ส่ วนจังหวัดสุพรรณบุรีได้รบั การจัดรวมอยู่ในมณฑลนครชัยศรี
ซึ่งประกอบด้วยเมืองนครชัยศรี สมุทรสาคร และสุพรรณบุรี (พระยาราชเสนา, ๒๕๒๔: ๑๔)
ต่อมาในรัชสมัยพระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยู่หวั ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
ให้ เ ปลี่ ย นค าว่ า เมื อ งเรี ย กว่ า จั ง หวั ด ตามความในประกา ศกระทรวงมหาดไทย
เรื่ อ งทรงพระกรุ ณ าโปรดเกล้ า ฯ ให้ เ ปลี่ ย นค าว่ า เมื อ งเรี ย กว่ า จั ง หวัด เผยแพร่ ใน
ราชกิ จจานุเบกษา เล่ม ๓๓ หน้า ๕๑ - ๕๓ วันที่ ๒๘ พฤษภาคม ๒๔๕๙ ว่า

การปกครองพระราชอาณาจักรแต่โบราณมาได้รวมท้องที่
เปนเขตรจังหวัด จัดเปนเมืองชันเอก ้ โท ตรี แลจัตวา มีผู้ว่าราชการ
เมืองเปนหัวน่าบังคับบัญชาการขึน้ ตรงต่อกรุงเทพฯ บ้าง เมืองน้อย
ขึ้น แก่ เ มื อ งใหญ่ บ้ า ง เปนดัง นี้ ม าจนรั ช สมัย พระบาทสมเด็ จ
พระจุล จอมเกล้าเจ้า อยู่ ห ัว ปิ ย มหาราชาธิราช เมื่อ พ.ศ.๒๔๓๗
(ร.ศ.๑๑๓) จึงได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้จดั การปกครองแก้ไข
วิธเี ดิม รวมท้องทีส่ ่วนหนึ่ง ๆ แห่งพระราชอาณาจักรเข้าเปนมณฑล
มี เ ทศาภิ บ าลเปนหัว น่ า บัง คับ บัญ ชาเหนื อ ผู้ ว่ า ราชการเมื อ ง
อิกชัน้ หนึ่ง เมื่อรูปแห่งการปกครองได้ดาเนิรขึน้ สู่ระเบียบเรียบร้อย
แลขยายออกไปทัวพระราชอาณาจั
่ กรแล้ว เมืองที่เล็กผูค้ นพลเมือง
เบาบาง ก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้ยุบลงเปนชัน้ อาเภอบ้าง
รวมท้องทีห่ ลายเมืองเข้าเปนเมืองเดียวกันบ้าง คงไว้เปนเมืองเฉภาะ


มณฑล คือ รวมเขตจังหวัด ตัง้ แต่ สองจัง หวัดขึ้นไปมากบ้างน้อ ยบ้าง สุ ดแต่ ให้ความสะดวก
ในการปกครองตรวจตราบัญ ชาการของสมุ ห เทศาภิ บ าล จัด เป็ น มณฑลหนึ่ ง มีข้ า ราชการชัน้ สู ง
เป็นผูบ้ ญ
ั ชาการเป็นประธานข้าราชการมณฑลละหนึ่ง (พระยาราชเสนา, ๒๕๒๔: ๖)

ที่ มี ล ัก ษณะภู มิ ป ระเทศอัน เหมาะแก่ ก ารปกครอง ครัน้ มาใน


รัช กาลป ตั ยุ บ ัน นี้ ระเบี ย บการปกครองอย่ า งใดที่ ย ัง ไม่ เ หมาะ
ก็ได้ทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้แก้ไขเพิ่มเติมเปนลาดับมาตาม
โอกาส มี อ าทิ ด ั ง ใน ศกหลั ง ได้ ท รงพระกรุ ณ า โปรด เกล้ า ฯ
ให้รวมเข้าเปนภาค มีอุปราชกากับราชการ แต่ทอ้ งที่ ๆ เรียกว่าเมือง
อันเปนส่วนหนึ่งของมณฑลนัน้ ในบัดนี้คงเรียกว่า เมืองบ้าง จังหวัด
บ้าง สับสนกันอยู่ เพื่อแก้ไขให้เปนระเบียบอันเดียวกัน สาหรับความ
เข้าใจง่ายในการปกครอง จึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลี่ยน
ค าว่ า เมื อ ง ใช้เ รี ย กว่ า จัง หวัด ผู้ ว่ า ราชการเมื อ งให้ เ รีย กว่ า
ผูว้ า่ ราชการจังหวัด

จะเห็นได้ว่าข้อมูลทางประวัติศาสตร์ดงั กล่าวข้างต้นเป็ นหลักฐานที่แสดงให้เห็นว่า


เมืองกาญจนบุรแี ละเมืองสุพรรณบุรที ป่ี รากฏชือ่ ในเรื่องขุนช้างขุนแผนมีอาณาเขตแตกต่างจาก
จังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรใี นปจั จุบนั ประวัติมหาดไทยส่วนภูมิภาค จังหวัด
กาญจนบุรี (๒๕๓๐: ๓๒) กล่าวว่า เมืองกาญจนบุรที ป่ี รากฏชือ่ ในเรื่องขุนช้างขุนแผน ปจั จุบนั
คือพืน้ ทีบ่ า้ นท่าเสา หมู่ท่ี ๒ ตาบลลาดหญ้า อาเภอเมืองกาญจนบุรี ซึ่งเป็ นเพียงส่วนหนึ่งของ
จังหวัดกาญจนบุรใี นปจั จุบนั เท่านัน้ อาจกล่าวได้ว่า การแบ่งอาณาเขตการปกครองของเมือง
กาญจนบุรแี ละเมืองสุพรรณบุรใี นสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้นอันเป็ นสมัยที่ตรงกับเรื่องขุนช้าง
ขุน แผนเป็ น การแบ่ ง หัว เมือ งแยกออกจากกัน ไม่ ไ ด้ร ะบุ พ้นื ที่อ าณาเขตแน่ น อนและไม่ มี
การแสดงพิกดั ทางภูมศิ าสตร์ชดั เจนเหมือนเช่นปจั จุบนั
อนึ่ง เมื่อมีการแบ่งอาณาเขตการปกครองออกเป็ นจังหวัดซึ่งกาหนดพื้นที่อาณาเขต
และพิก ัดทางภู มิศ าสตร์แน่ น อนเช่นในปจั จุบ ัน ร่ อ งรอยสถานที่ซ่ึง ปรากฏในเรื่อ งขุน ช้า ง
ขุนแผนจึงได้รบั การแบ่งตามเกณฑ์ การแบ่งพื้นที่อาณาเขตของจังหวัดมากกว่าจะคานึงถึง
การแบ่งตามเกณฑ์การแบ่งหัวเมืองในสมัยกรุงศรีอยุธยาอันเป็นช่วงเวลาในเรื่อง
ผูว้ จิ ยั พบว่า ปจั จุบนั จังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรมี คี วามพยายามในการ
นาเสนอให้ท้องถิน่ ของตนเป็ นที่รู้จกั ของคนทัวไปในฐานะที
่ ่เป็ นเมืองที่เกี่ยวข้องกับขุนแผน
โดยอาศัยร่องรอยต่าง ๆ เกีย่ วกับขุนแผนซึ่งพบอย่างมากมายและหลากหลายมาเป็นเครื่องมือ
ในการนาเสนอ เช่น จังหวัดกาญจนบุรใี ช้ร่องรอยเกีย่ วกับขุนแผนมาเป็นหลักฐานอ้างอิงในการ
ขอเพิม่ วรรคของคาขวัญประจาจังหวัดจากเดิมคือ “แคว้นโบราณ ด่านเจดีย์ มณีเมืองกาญจน์
สะพานข้ า มแม่ น้ าแคว แหล่ ง แร่ น้ าตก ” เป็ น “เมื อ งขุ น แผน แคว้ น โบราณ ด่ า นเจดี ย์
มณีเมืองกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้ าแคว แหล่งแร่น้ าตก” (พยงค์ เวสสบุตร, ๒๕๕๐ข: ๕๔)
แม้การด าเนิน การดัง กล่ าวจะยัง ไม่ ส ัม ฤทธิผ์ ล แต่ ก ็ถือ เป็ นตัวอย่า งหนึ่ งที่สะท้อ นให้เ ห็น

ความพยายามในการแสดงให้เ ห็น ว่า จัง หวัด กาญจนบุ รีเ กี่ย วข้อ งกับ ขุ น แผน ในขณะที่
วลี “วรรณคดีขน้ึ ชือ่ ” ในคาขวัญประจาจังหวัดสุพรรณบุรที ่วี ่า “เมืองยุทธหัตถี วรรณคดีข้นึ ชือ่
เลือ่ งลือพระเครือ่ ง รุ่งเรืองเกษตรกรรม สูงล้ าประวัติศาสตร์ แหล่งปราชญ์ศลิ ปิ น ภาษาถิน่
ชวนฟงั ” นัน้ ชวนให้คนส่วนใหญ่นึกถึงเรื่องขุนช้างขุนแผนมากกว่าวรรณกรรมเรื่องอื่น ๆ
อย่ า งไรก็ดี ร่ อ งรอยเกี่ย วกับ ขุน แผนบางอย่ า งมีป รากฏในเรื่อ งขุ น ช้า งขุ น แผน
บางอย่างเป็นร่องรอยทีพ่ บเฉพาะในจังหวัดกาญจนบุรหี รือพบเฉพาะในจังหวัดสุพรรณบุรแี ละ
ไม่ ปรากฏในเรื่องขุนช้า งขุนแผน บางอย่า งเป็ นร่ องรอยที่ก ล่า วถึง ในเรื่อ งขุนช้า งขุนแผน
แต่เมื่อผ่านการตีความแล้วเกิดความทับซ้อนกันระหว่างจังหวัดกาญจนบุรกี บั จังหวัดสุพรรณบุรี
ร่องรอยต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนเหล่านี้นับเป็ นสื่อที่มีพลังในการถ่ายทอดความคิด
ความเชือ่ ของคนท้องถิน่ กล่าวคือ เมื่อเวลาผ่านไป ร่องรอยหรือคติชนประเภทต่าง ๆ เกีย่ วกับ
ขุน แผนที่พ บในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด สุ พ รรณบุ รีท าให้ ค นท้ อ งถิ่น รับ รู้ ระลึก ถึง
และถ่ายทอดเรื่องขุนแผนอย่างต่อเนื่อง จนกลายเป็ นความทรงจาร่วม (collective memory)
ขึ้น ในท้ อ งถิ่ น ข้อ มู ล คติช นประเภทต่ า ง ๆ จึง มี ส่ ว นส าคัญ ที่ ท าให้ ค วามทรงจ าร่ ว ม
เรื่องขุนแผนยังคงอยู่ได้ในท้องถิน่ กาญจนบุรแี ละสุพรรณบุรี ผูว้ จิ ยั เห็นว่า การนาแนวคิดเรื่อง
ความทรงจ าร่ว มมาใช้ใ นการศึก ษาวิจ ัย น่ า จะเป็ น ประโยชน์ ต่อ การวิเ คราะห์ข้อ มูล คติช น
ซึ่ง เป็ น สื่อ อัน ทรงพลัง ที่ถ่ า ยทอดความคิด ความเชื่อ ของคนท้อ งถิ่น ซึ่ง น่ า จะท าให้เ ข้า ใจ
ความคิดความเชือ่ ของคนท้องถิน่ ตามมา
เรื่องขุนช้างขุนแผนและร่องรอยต่าง ๆ เกีย่ วกับขุนแผนที่พบในจังหวัดกาญจนบุรแี ละ
จังหวัดสุพรรณบุรีได้สะท้อนให้เห็นว่า ขุนแผนเป็ นผู้ท่อี ยู่ในความรับรู้ของคนทัง้ ในมิติของ
วรรณกรรมและประวัติศ าสตร์ท้อ งถิ่น กล่ า วคือ เป็ น ตัว ละครเอกในเรื่อ งขุ น ช้า งขุน แผน
และเป็นบุคคลทีช่ าวกาญจนบุรแี ละชาวสุพรรณบุรเี ชือ่ ว่าเคยมีตวั ตนอยู่จริง
จากการรวบรวมข้อมูลภาคสนามในเบือ้ งต้น ผูว้ จิ ยั พบคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัด
กาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุ รีอย่างหลากหลาย เช่น ถ้ า ขุนแผน วัดขุนแผน ถ้ าขุนไกร
ถ้านางบัวคลี่ ชุมชนบ้านขุนแผน ชุมชนพิมพิลาไลย ฯลฯ ในจังหวัดกาญจนบุรี วัดป ่าเลไลยก์
วัดแค คุม้ ขุนแผน บ้านขุนช้าง ถนนขุนแผน ถนนพลายแก้ว ฯลฯ ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ผูว้ จิ ยั เห็นว่าข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี
เป็ น ข้อ มู ล ที่น่ า สนใจเพราะสะท้อ นให้ เ ห็น การรับ รู้เ รื่อ งขุ น แผนของชาวกาญจนบุ รีแ ละ
ชาวสุ พ รรณบุรีได้ ผู้ว ิจยั จึงใคร่ เ ก็บ รวบรวมข้อ มู ลคติชนเกี่ย วกับ ขุน แผนที่พ บในจังหวัด
กาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี เนื่องจากเห็นว่าข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนทีพ่ บในท้องถิน่
ดังกล่าวสามารถนามาศึกษาเปรียบเทียบลักษณะของข้อมูลคติชน และศึกษาความสัมพันธ์
ระหว่างข้อมูลคติชนกับการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนได้

๑.๒ วัตถุประสงค์ของการวิ จยั


๑. เพื่อศึกษาลักษณะของข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละ
จังหวัดสุพรรณบุรี
๒. เพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีกบั
จังหวัดสุพรรณบุรจี ากข้อมูลคติชนประเภทต่างๆ

๑.๓ สมมติ ฐานของการวิ จยั


คติชนประเภทต่า งๆ เกี่ย วกับขุนแผนในจังหวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัดสุ พรรณบุ รี
สะท้ อ นให้ เ ห็น การนั บ ถือ ขุ น แผนในฐานะที่เ ป็ น วีร บุ รุ ษ ท้ อ งถิ่น และมีส่ ว นในการสร้ า ง
ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในลักษณะทีแ่ ตกต่างกัน กล่าวคือ การสร้างความทรงจาร่วมเรื่อง
ขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีจะเน้ นช่วงชีวติ ของขุนแผนตอนเป็ นทหารและผู้ปกครองเมือง
ส่วนการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรีจะเน้ นช่วงชีวติ ของขุนแผน
ตอนบวชเรียน

๑.๔ ขอบเขตของการวิ จยั


งานวิจ ัย นี้ จ ะศึก ษารวบรวมข้อ มู ล คติช นประเภทต่ า งๆ ที่เ กี่ย วกับ ขุ น แผนจาก
ภาคสนาม ได้แก่ ชือ่ สถานทีแ่ ละชือ่ อื่น ๆ รูปเคารพ วัตถุมงคล และจิตรกรรม ที่รวบรวมได้
จากจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี ในช่วงปี พ.ศ. ๒๕๕๒ ถึง พ.ศ. ๒๕๕๔ เท่านัน้
นอกจากนี้ จ ะศึก ษาข้อ มู ล คติช นประเภทเพลงพื้น บ้ า นในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด
สุพรรณบุรจี ากเอกสารที่มผี รู้ วบรวมไว้แล้ว และจะใช้ขอ้ มูลจากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
และข้อมูลจากเอกสารต่าง ๆ ทีม่ กี ารตีพมิ พ์แล้วเป็นส่วนเสริม

๑.๕ วิ ธีดาเนิ นการวิ จยั


๑. ศึกษาแนวคิดเรื่องความทรงจาร่วม (collective memory)
๒. รวบรวมข้อมูลคติชนประเภทต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีและ
จังหวัดสุพรรณบุรี จากข้อมูลภาคสนามและเอกสารลายลักษณ์
๓. ศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลคติชนประเภทต่าง ๆ เกีย่ วกับขุนแผน
๔. วิเ คราะห์เ ปรีย บเทีย บความทรงจ าร่ ว มเรื่อ งขุน แผนในจัง หวัด กาญจนบุ รีก ับ
จังหวัดสุพรรณบุรี
๕. เรียบเรียงผลการวิจยั
๖. สรุปผลการวิจยั และอภิปรายผล

๑.๖ ประโยชน์ ที่คาดว่าจะได้รบั


๑. รวบรวมข้อมูลภาคสนามทีเ่ กีย่ วข้องกับคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี
และจังหวัดสุพรรณบุรี
๒. เข้าใจลักษณะและคุณค่าของข้อมูลคติชนทีม่ คี วามสัมพันธ์กบั การสร้างความทรงจาร่วม
เรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี
๓. เป็ นแนวทางศึกษาการสร้างความทรงจาร่วมจากข้อมูลคติชนในท้องถิ่นอื่น ๆ
ต่อไป

๑.๗ นิ ยามศัพท์เฉพาะ
๑. คติ ชนเกี่ยวกับขุนแผน หมายถึง คติชนทีเ่ น้นเรื่องราวเกี่ยวกับขุนแผนเป็ นหลัก
ทัง้ นี้ ข้อมูลบางประเภทยังหมายรวมไปถึงตัวละครอื่น ๆ ในวรรณกรรมเรื่องขุนแผนด้วย

๒. ความทรงจาร่วม (collective memory) หมายถึง ความทรงจาชุดใดชุดหนึ่ง


ทีค่ นในสังคมใดสังคมหนึ่งรับรูร้ ่วมกัน มีส่วนทาให้เกิดความรูส้ กึ ว่าตนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกัน
กับ สัง คมนัน้ ๆ ความทรงจ าร่ ว มดัง กล่ า วได้ร ับ การถ่ า ยทอดผ่า นข้อ มู ล ทางวัฒ นธรรม
ประเภทต่ า ง ๆ ซึ่ง เป็ น เสมือ นเครื่อ งมือ ที่ช่ว ยท าให้เ กิด การแสดงออกและ การผลิต ซ้ า
ให้ความทรงจานัน้ ปรากฏอยู่อย่างต่อเนื่องในสังคม

๓. การสร้ างความทรงจาร่ว มเรื่ อ งขุน แผน หมายถึง การสร้า งเรื่อ งราวชีว ิต


ของขุนแผนผ่านข้อมูลคติชนประเภทต่าง ๆ ซึ่งทาให้ค นในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัด
สุพรรณบุรีต่างมีความทรงจาร่ วมของกลุ่ มตนเอง การสร้า งความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
สะท้อนให้เ ห็น ว่า ความทรงจาร่ ว มเรื่องขุน แผนมี ๒ ส่ ว น คือ ความทรงจ าที่มีม าแต่ เ ดิม
ซึ่งเกิดจากการรับรูเ้ รื่องเล่า ตานาน หรือนิทานพืน้ บ้านของท้องถิน่ ส่วนหนึ่ง และความทรงจาที่
รัฐและชาวบ้านสร้างขึน้ ใหม่จนกลายเป็นการรับรูเ้ รื่องราวเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี
และจังหวัดสุพรรณบุรใี นปจั จุบนั อีกส่วนหนึ่ง

๔. วีรบุรษุ ท้องถิ่ น (local hero) หมายถึง วีรบุรุษที่มกั ปรากฏชื่ออยู่ในตานานหรือ


นิทานพื้นบ้านที่คนท้องถิ่นใดท้องถิน่ หนึ่งรับรู้ร่วมกัน เป็ นวีรบุรุษที่กลุ่มคนเหล่านัน้ เชื่อว่า
เป็นผูท้ เ่ี คยมีตวั ตนจริง มักมีเรื่องเล่าเกีย่ วกับชีวติ หรือมีพธิ กี รรมบางอย่างที่แสดงให้เห็นว่า
คนในท้องถิน่ เคารพนับถือหรือยกย่อง

๑.๘ กรอบแนวคิ ดที่ใช้ในการวิ จยั


งานวิจยั เรื่องนี้ใช้แนวคิดเรื่องความทรงจาร่วม (collective memory) เป็ นแนวทาง
ในการศึกษาวิเคราะห์
ประเด็นการศึกษาเรื่องความทรงจาเริม่ ได้รบั ความสนใจจากนักวิชาการในช่วงปลาย
ศตวรรษที่ ๑๙ และขยายขอบเขตการศึก ษาอย่ า งกว้า งขวางอย่ า งต่ อ เนื่ อ งทัง้ ในระดับ
ความทรงจาส่วนบุคคลและความทรงจาร่วมทางสังคม คาว่า ความทรงจาร่วม (collective
memory) ได้ร ับการนิ ยามขึ้น เป็ นเวลาไม่ น้อ ยกว่า ๓๐ ปี ก่ อนหน้ านี้ และเริ่ม เป็ นที่รู้จ ัก
แพร่หลายในช่วงต้นศตวรรษที่ ๒๐ เมื่อมอริส ฮาล์บวาคซ (Maurice Halbwachs 1992)
นัก สัง คมวิท ยาชาวฝรัง่ เศสเผยแพร่ ผ ลงานเรื่อ ง Social Frameworks of Memory
(Les cadres sociaux de la mémoire) ใน ค.ศ.๑๙๒๕
ต่อมามีนกั วิชาการหลายเชือ้ ชาติได้ศกึ ษาแนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมของฮาลบวาคซ
และเสนอแนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมออกมาอย่างกว้างขวาง อาทิ มาร์ค บลอค (Marc Bloch
1939) ฌ้าคส์ เลอกอฟฟ์ (Jacques LeGoff 1992) ฟิ ลปิ ส์ แอรีส์ (Philip Ariès 1965) มอริส
อกัลฮอน (Maurice Agulhon 1981) ปิ แอร์ โนรา (Pierre Nora 1989) อไลดา อาซมาน
(Aleida Assmann 1996) แจน อาซมาน (Jan Assmann 2006) ฯลฯ นักวิชาการรุ่นต่อมา
เหล่ า นี้ ไ ด้ ต่ อ ยอดและพัฒ นาแนวคิด เรื่อ งความทรงจ าร่ ว มจนเกิด ความชัด เจนมากขึ้ น
เป็ นเหตุ ให้แนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมแพร่หลายและได้รบั การนามาใช้ศกึ ษาวิจยั ข้อมู ล
ในศาสตร์หลายแขนง เช่น สัง คมวิท ยา (sociology) ประวัติศาสตร์ (history) จิต วิท ยา
(psychology) มานุษยวิทยา (anthropology) เป็นต้น
ทัง้ นี้ แนวโน้มการศึกษาเรื่องความทรงจาร่วมตามแนวสังคมวิทยาจะมุ่งเน้นประเด็น
การศึก ษาด้ า นอัต ลัก ษณ์ ท างสัง คมและอัต ลัก ษณ์ ท างกา รเมือ ง ส่ ว นการศึก ษาเรื่อ ง
ความทรงจ าร่ว มตามแนวประวัติศาสตร์จะให้ค วามสนใจด้า นประวัติศ าสตร์ค วามทรงจ า
อัต ลัก ษณ์ ส่ ว นบุ ค คล อัต ลัก ษณ์ ร่ ว มภายใต้ก รอบความจริง ในขณะที่ง านวิจ ัย เกี่ย วกับ
ความทรงจาร่วมตามแนวการศึกษาทางจิตวิทยาส่วนใหญ่มุ่งเน้นให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่าง
ความทรงจากับอัตลักษณ์ ส่วนงานวิจ ัยเกี่ย วกับความทรงจาร่ วมตามแนวการศึก ษาทาง
มานุ ษ ยวิท ยานัน้ หลากหลายและมีข อบเขตของข้อ มู ล ที่ศ ึก ษาวิจ ัย กว้า งขวาง ทัง้ ข้อ มู ล
ประวัตศิ าสตร์ ตานาน พิธีกรรม ตลอดจนประวัตศิ าสตร์วฒ ั นธรรมสมัยใหม่ (new cultural
history)
ผู้ว ิจ ัย พบว่ า ป จั จุ บ ัน มี ค าศัพ ท์ ท่ี ใ ช้ ก ล่ า วถึ ง ความทรงจ าร่ ว มอยู่ ห ลายค า เช่ น
ความทรงจ าร่ วม (collective memory) ความทรงจาร่ว มทางสัง คม (social memory)
ความทรงจาร่วมทางวัฒนธรรม (cultural memory) ความทรงจาสาธารณะ (public memory)

จะเห็นได้ว่า แนวคิด เรื่องความทรงจาร่ว มเป็ น เครื่องมือ ที่ส ามารถนามาใช้ศกึ ษา


แบบสหวิท ยาการได้ ห ลายแง่ มุ ม งานวิจ ัย เรื่อ งนี้ จ ะศึก ษาข้อ มู ล คติช นเกี่ย วกับ ขุน แผน
ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรโี ดยใช้แนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมของนักวิชาการ
๔ คน คือ มอริส ฮาล์บวาคซ (Maurice Halbwachs) แจน อาซมาน (Jan Assmann)
ปิ แอร์ โนรา (Pierre Nora) และอไลดา อาซมาน (Aleida Assmann) ในการวิเคราะห์ขอ้ มูล
เพื่ อ ให้ เ ห็น ความทรงจ าร่ ว มเรื่อ งขุ น แผนในจัง หวัด กาญจนบุ รี แ ละจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี
สามารถสรุปหลักสาคัญของแนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมได้ดงั นี้

มอริส ฮาล์บวาคซ (Maurice Halbwachs, 1980: 82 อ้างถึงใน Anne Whitehead,


2009: 128) ได้เสนอแนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมไว้ใน On Collective Memory ว่า
ความทรงจาร่วมมีส่วนช่วยในการระลึกถึงเหตุการณ์เฉพาะต่าง ๆ และยังนาไปสู่การสร้าง
อัตลักษณ์ของท้องถิน่ โดยความทรงจาร่วมจะได้รบั การสร้างขึน้ อย่างต่อเนื่องและถ่ายทอด
ความทรงจาจากรุ่นสู่รุ่น ทัง้ นี้การสร้างความทรงจาร่วมมีลกั ษณะเป็ นการผลิตซ้ าความทรงจา
ดัง กล่ า วโดยอาศัย วัต ถุ พิธีก รรม ตัว บท และประเพณี สอดคล้อ งกับ ที่แ จน อาซมาน
(Jan Assmann, 1995: 128 อ้างถึงใน Anne Whitehead, 2009: 133) นักวิชาการ
ชาวเยอรมันกล่าวถึงความทรงจาร่วมไว้วา่ ความทรงจาร่วมเป็นเหตุการณ์ทส่ี มาชิกของสังคม
รับรูร้ ่วมกัน ไม่จาเป็นต้องเป็นเหตุการณ์ในอดีตทีห่ ่างจากปจั จุบนั ข้อมูลทางวัฒนธรรมต่าง ๆ
เช่น ตัวบท พิธีกรรม พิธีเฉลิม ฉลอง ฯลฯ ที่พ บเห็นได้ในป จั จุบนั จะเป็ นเครื่อ งมือสาคัญ
ในการถ่ายทอดและเผยแพร่ความทรงจาให้แก่สมาชิกของสังคมจากรุ่นสู่รุ่น โดยทาให้ปรากฏ
อย่างเป็นรูปธรรมและผลิตซ้าอย่างต่อเนื่อง
จากแนวคิด ของนั ก วิช าการข้า งต้ น จะเห็น ได้ ว่ า แนวคิด เรื่อ งความทรงจ าร่ ว ม
ประกอบด้วยสิ่งสาคัญคือ คนในสังคม ความทรงจาร่วมของคนในสังคม และข้อมูลทาง
วัฒนธรรมต่าง ๆ ทีเ่ ป็นเครื่องมือช่วยถ่ายทอดความทรงจาร่วมเรื่องนัน้ ๆ ให้เป็ นที่รบั รู้ของ
คนในสังคมและปรากฏอยู่ในสังคมอย่างต่อเนื่อง สอดคล้องกับแนวคิดเรื่องความทรงจาร่วม
ของปิแอร์ โนรา (Pierre Nora, 1992: 7 อ้างถึงใน Anne Whitehead, 2009: 143) นักวิชาการ
ชาวฝรังเศสที
่ ่เสนอไว้ใน Les Lieux de mémoire ซึ่งแปลเป็ นภาษาอังกฤษในชื่อ Realms
of Memory ว่า ความทรงจาร่วมจะเกิดขึน้ ได้ตอ้ งมีพน้ื ทีแ่ ห่งความทรงจาเป็นเครื่องมือในการ
ถ่ายทอดความทรงจาร่วม ทัง้ นี้พ้ืนที่จริง (the real environment) อาจสูญหายไปแล้ว
แต่พ้นื ที่แห่งความทรงจาซึ่ง เก็บตรึงความทรงจานัน้ ยังคงอยู่ เพื่อให้ความทรงจาร่วมเรื่องนัน้
ยังเป็นทีร่ บั รูข้ องสังคม
การศึกษาแนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมของมอริส ฮาล์บวาคซ แจน อาซมาน และ
ปิ แอร์ โนรา ทาให้เห็นว่า ความทรงจาร่วมจะเกิดขึ้นได้ก็ต่อเมื่อประกอบด้วยคนในสังคม

เรื่อ งราวหรือ เหตุ ก ารณ์ เ ฉพาะต่ าง ๆ ที่ส มาชิกของสัง คมรับ รู้แ ละมีค วามทรงจ าร่ว มกัน
และข้อมู ลทางวัฒนธรรมต่าง ๆ ซึ่งเป็ นเครื่อ งมือ ที่ช่ว ยสร้างความหมายให้เ รื่องราวหรือ
เหตุการณ์เฉพาะต่าง ๆ ยังคงปรากฏอยู่ได้อย่างต่อเนื่องและเป็ นรูปธรรมในสังคม หรืออาจ
เรียกได้ว่าเป็ นเครื่องมือที่ช่วยสร้างหรือจัดสรรพื้นที่แห่งความทรงจาเพื่อให้ความทรงจาร่วม
เรื่องนัน้ ๆ คงอยู่ได้ในสังคม
นอกเหนือจากนี้แล้ว แจน อาซมาน ยังกล่าวไว้ในบทความเรื่อง “Communicative and
Cultural Memory‛ (2010: 109) ว่า ความทรงจาคือ ศักยภาพในการรับรู้อตั ลักษณ์ได้ทงั ้
ในระดับ ตัว ตนและระดับส่ วนรวม อัตลักษณ์ด ังกล่า วเกี่ย วข้อ งกับเวลาและเป็ นผลมาจาก
ความทรงจา เขาได้จาแนกให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างเวลา อัตลักษณ์ และความทรงจา
ไว้ ๓ ระดับ ดังตาราง

ระดับ เวลา อัตลักษณ์ ความทรงจา


(Level) (Time) (Identity) (Memory)
ปจั เจกบุคคล ส่วนบุคคล อัตลักษณ์ส่วน ความทรงจาส่วนบุคคล
(inner(neuromental)) (inner, subjective บุคคล (individual memory)
time) (inner self)
สังคม ส่วนรวม อัตลักษณ์ของสังคม ความทรงจาส่วนรวม
(social) (social time) ซึ่ ง หล่ อ หลอมขึ้ น (communicative
จากบุคคลในสังคม memory)
(social self,
person as carrier
of social roles)
วัฒนธรรม ประวัตศิ าสตร์ อัตลักษณ์ทาง ความทรงจ าร่ ว มทาง
(cultural) ตานาน วัฒนธรรม วัฒนธรรม วัฒนธรรม
(historical, mythical, (cultural identity) (cultural memory)
cultural time)

ทัง้ นี้ แจน อาซมาน (2010: 111 - 113) ได้เสนอว่า ในระดับปจั เจกบุคคล วัตถุต่าง ๆ
เช่น อาหาร งานเฉลิม ฉลอง พิธีก รรม ภาพถ่ า ย ภาพวาด เรื่อ งเล่ า ตัว บทต่ า ง ๆ
ภู มิ ป ระเทศ ไม่ ไ ด้ มี ค วามหมายในตัว เอง แต่ จ ะช่ ว ยกระตุ้ น เตื อ นความทรงจ าของ
คนในสังคม เพราะวัตถุเหล่านี้คอื พื้นที่แห่งความทรงจาที่มตี วั ตนหรือมีความเป็ นเราอยู่ในนัน้
เมื่อเป็นระดับส่วนรวมแล้ว วัตถุต่าง ๆ เช่น อนุสาวรีย์ พิพธิ ภัณฑ์ ห้องสมุด จดหมายเหตุ ฯลฯ
๑๐

ก็ล้วนมีความสาคัญมากขึ้น เพราะสิ่งเหล่านี้จะเชื่อมโยงให้ค นหลายคนกลายเป็ นหนึ่งและ


มีความทรงจาร่วมกัน ซึ่งก็คอื ความทรงจาร่วมทางสังคม หรือความทรงจาร่วมทางวัฒนธรรม
(cultural memory)
ความทรงจาร่วมทางวัฒนธรรมเกิดจากช่วงเวลาใดเวลาหนึ่งในอดีต แต่ไม่ได้เป็นเพียง
อดีตที่สงวนหรือเก็บรักษาไว้เท่านัน้ แต่ยงั มีบทบาทหรือเป็ นสัญลักษณ์อยู่ในสังคม เพราะ
เรื่องราวในอดีตดังกล่าวได้รบั การถ่ายทอดผ่านการเล่าขานตานาน การเขียน การแสดง
ในงานเฉลิมฉลอง และยังคงเลื่อนไหลอยู่ในปจั จุบนั ด้วยเหตุน้ีในปริบทของความทรงจาร่วม
ทางสังคม ความแตกต่างระหว่างตานานกับประวัตศิ าสตร์จงึ หายไป
ส่วนอไลดา อาซมาน (2010: 97 – 100) ได้กล่าวไว้ในบทความเรื่อง ‚Canon and
Archive‛ ว่า พลวัตของความทรงจาในระดับปจั เจกบุคคลเกิดจากปฏิสมั พัน ธ์ท่ตี ่อเนื่องกัน
ระหว่างการจากับการลืม เมื่อจดจาบางอย่าง บางอย่างจะถูกลืมไป ความทรงจาเป็ นผลมาจาก
การเลือกสรร ซึ่งมีขอ้ จากัดทางการทางานของระบบประสาทและข้อจากัดทางวัฒนธรรมเป็ น
ตัว ก าหนดขอบเขต เช่น มีบ างอย่ า งที่ต้อ งการเน้ น (focus) บางอย่ า งที่เ ป็ น อคติ (bias)
นอกจากนี้ ย ัง ถู ก จ ากัด ด้ว ยความกดดัน ทางอารมณ์ ซึ่ง เป็ น ผลให้เ กิด ความเจ็บ ปวดหรือ
ความพยายามกลบฝงั สละทิง้ แทนที่ และลบความทรงจานัน้ ออกไป
เราสามารถจาแนกการลืมได้เป็ น ๒ ลักษณะ คือ การจงใจลืม (active forgetting)
และการหลงลืม (passive forgetting) การจงใจลืมเกิดจากพฤติกรรมที่กระทาด้วยความตัง้ ใจ
เช่น การทิ้ง การทาลาย ซึ่งมีส่ วนสาคัญ อย่างยิ่งต่อการเปลี่ยนแปลงรูป แบบภายในสังคม
ส่วนการหลงลืมเกิดจากพฤติกรรมที่ไม่ได้เกิดจากความตัง้ ใจ เช่น การสาบสูญ การซ่อนเร้น
การกระจาย การเพิกเฉย การปล่อยปละละเลยบางสิง่ ให้อยู่เบือ้ งหลัง ในภาวะแห่งการหลงลืม
วัตถุ (objects) ไม่ได้ถู กทาลายแต่จ ะพ้นจากกรอบความใส่ใจ (attention) การให้คุณค่ า
(valuation) และการใช้ (use)
ตัวอย่างเช่นโบราณคดีเป็ นการศึกษาความทรงจาร่วมทางวัฒนธรรมซึ่งเกิดจากการ
กูค้ นื ซากวัตถุหรือสืบค้นข้อมูลเก่าซึ่งมีทม่ี าจากอดีตอันห่างไกล จากนัน้ พยายามทาให้ขอ้ มูล
หรือวัฒนธรรมที่ถูกลืมไปแล้วกลับมาเป็ นความทรงจาร่วมทางวัฒนธรรมได้ใหม่ การศึกษา
ทางวัฒนธรรมจึงเป็นเรื่องทีต่ อ้ งระมัดระวัง ทัง้ นี้เพราะการลืมเลือนและการจดจานัน้ ต่างก็มที งั ้
ด้านทีย่ งั เลื่อนไหล (active side) และด้านทีห่ ยุดนิ่งแล้ว (passive side) การศึกษาความทรงจา
ทีย่ งั เลื่อนไหล (active memory) มีลกั ษณะเป็นการทาให้อดีตคงอยู่ในปจั จุบนั ส่วนการศึกษา
ความทรงจาทีห่ ยุดนิ่งไปแล้ว (passive memory) เป็นการสงวนรักษาอดีตให้คงความเป็ นอดีต
ต่อไป ความเข้มข้น (tension) ของความเป็ นอดีตของอดีตนี้เองที่เป็ นหัวใจสาคัญของการ
ทาความเข้าใจพลวัตของความทรงจาร่วมทางสังคม
๑๑

อาจกล่ า วโดยสรุ ป ได้ ว่ า ความทรงจ าที่ ย ัง เลื่ อนไหลท าให้ อ ดี ต อยู่ ใ นป จั จุ บ ัน


ส่วนความทรงจาทีห่ ยุดนิ่งแล้วเก็บอดีตให้เป็นอดีตต่อไป อไลดา อาซมาน เรียกความทรงจา
ทีย่ งั เลื่อนไหลทาให้อดีตอยู่ในปจั จุบนั ว่า canon และเรียกความทรงจาที่หยุดนิ่งและเก็บอดีต
ไว้เป็นอดีตต่อไปว่า archive (Aleida Assmann, 2010: 97 – 100)
อไลดา อาซมาน (2010: 98) ยังได้อ้างถึงแนวคิดของเจคอป เบิร์คฮาร์ดท์ (Jakob
Burckhardt) นักประวัตศิ าสตร์ทางวัฒนธรรมซึ่งจาแนกสิ่งที่ยงั คงเหลือในยุค ประวัติศาสตร์
ออกเป็ น ๒ กลุ่ ม คือ สาร (messages) และร่ อ งรอย (traces) เบิร์ ค ฮาร์ด ท์ เ ห็น ว่ า
ตัวบท (texts) และอนุสาวรีย์ (monuments) ซึ่งตกทอดมาถึงคนรุ่นหลัง สามารถระบุผสู้ ร้างสาร
เหล่านี้ได้ ในขณะทีร่ ่องรอยต่าง ๆ ไม่สามารถระบุได้ ด้วยเหตุน้ี เบิร์คฮาร์ดท์จงึ ไม่ค่อยเชื่อ
สารต่าง ๆ เพราะสารเหล่านัน้ อาจได้รบั การเขียนขึน้ โดยผูม้ อี านาจหรือสถาบันรัฐซึ่งอาจทาให้
เกิดการตีความผิดได้ แต่จะเชือ่ หลักฐานทีเ่ กิดจากการเล่าขานสืบทอดกัน จากรุ่นสู่รุ่น
ความทรงจ าร่ ว มทางสัง คมของอไลดา อาซมาน จึง เกิด จากสารหรือ ข้อ มู ล ทาง
วัฒ นธรรมประเภทต่ า ง ๆ ที่ส ร้ า งขึ้น เพื่อ ถ่ า ยทอดและส่ ง ข้อ มู ล สืบ ทอดถึง คนรุ่ น หลัง
เป็นความตัง้ ใจทีจ่ ะให้เกิดการผลิตและใช้สารนัน้ ซ้ าครัง้ แล้วครัง้ เล่าอย่างต่อเนื่อง ด้วยเหตุน้ี
ข้อมูลทางวัฒนธรรมต่าง ๆ จึงปรากฏซ้ าและได้รบั การกล่าวถึงซ้ าอยู่ในความทรงจาที่ยงั คง
เลื่อนไหลอยู่ตลอด

จากการศึกษาแนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมของนักวิชาการต่าง ๆ ข้างต้น ผู้วจิ ัย


ได้นิยามคาว่า ความทรงจาร่วม ในงานวิจยั นี้ว่า “ความทรงจาชุดใดชุดหนึ่งที่ค นในสังคมใด
สังคมหนึ่งรับรูร้ ่วมกัน มีส่วนทาให้เกิดความรูส้ กึ ว่าตนเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสังคมนัน้ ๆ
ความทรงจาร่ว มดัง กล่าวได้ร ับการถ่ายทอดผ่านข้อมูล ทางวัฒนธรรมประเภทต่า ง ๆ ซึ่ง
เป็นเสมือนเครื่องมือทีช่ ว่ ยทาให้เกิดการแสดงออกและการผลิตซ้าให้ความทรงจานัน้ ปรากฏอยู่
อย่างต่อเนื่องในสังคม” ทัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั จะใช้แนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมของมอริส ฮาลบวาคซ
ซึ่งเน้นศึกษาเรื่องความทรงจาร่วมในแง่การสร้างความทรงจาร่วมโดยใช้ขอ้ มูลทางวัฒนธรรม
และแนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมของปิแอร์ โนรา ซึ่งเน้นศึกษาความทรงจาร่วมในแง่พ้นื ที่แห่ง
ความทรงจา เป็ นหลักในการศึกษาข้อ มูลคติชนเกี่ย วกับ ขุนแผนในจัง หวัด กาญจนบุ รีและ
จังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อวิเคราะห์การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในทัง้ ๒ จังหวัดดังกล่าว

๑.๙ เอกสารและงานวิ จยั ที่เกี่ยวข้อง


จากการค้นคว้าเอกสารและงานวิจยั ทีเ่ กีย่ วข้องกับการวิจยั เรื่องนี้ ผูว้ จิ ยั พบว่างานวิจยั
ที่ผ่านมาสามารถแบ่งออกได้เป็ น ๓ กลุ่มคือ งานวิจยั เกี่ยวกับข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผน
งานวิจยั เกีย่ วกับความทรงจาร่วม และงานวิจยั เกีย่ วกับเรื่องขุนช้างขุนแผน ดังนี้
๑๒

๑.๙.๑ งานวิ จยั เกี่ยวกับข้อมูลคติ ชนเกี่ยวกับขุนแผน


งานวิจยั ในกลุ่มนี้เป็นงานวิจยั ของหน่วยงานในจังหวัดกาญจนบุรที พ่ี ยายาม
ชีใ้ ห้เห็นว่าจังหวัดกาญจนบุรเี กีย่ วข้องกับขุนแผนอย่างไรบ้าง พบงานวิจยั ๒ เรื่อง คือ

รายงานการศึ ก ษา กรณี ศึ ก ษาเมื อ งกาญจนบุ รี เ ก่ า เพื่ อ เตรี ย ม


ประกาศเขตอนุรกั ษ์ ของหน่ วยอนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อมธรรมชาติและศิล ปกรรมท้องถิน่ จังหวัด
กาญจนบุ รี ส านั ก งานนโยบายและแผนพัฒ นาทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ปี พ.ศ.๒๕๕๑ คณะผูว้ จิ ยั มีวตั ถุประสงค์เพื่อ
ศึก ษาหาข้อ เท็จ จริง ของเมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า เพื่อ ศึก ษาความคิด เห็น ของชุ ม ชนที่มีต่ อ
เมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า ในเรื่อ งผลกระทบสิ่ง แวดล้อ มที่มีต่ อ เมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า และเพื่อ
ปลูกจิตสานึกให้ประชาชนเกิดความหวงแหน เอาใจใส่ดูแลรักษา และอนุ รกั ษ์สภาพแวดล้อม
เมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า โดยมีเ ป้ าหมายในการเก็บ ข้อ มู ล เกี่ย วกับ เมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า เพื่อ
เตรียมการประกาศเขตการอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมศิลปกรรม ผลการวิจยั พบว่า เมืองกาญจนบุรเี ก่า
มีคุ ณ ค่ า ด้ า นประวัติศ าสตร์ ท้อ งถิ่น และประวัติศ าสตร์ ร ะดับ ชาติ มีค วามส าคัญ ในฐานะ
เมืองหน้าด่านตะวันตกสมัยอยุธยาถึงสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น นอกจากนัน้ ยังมีความสาคัญ
ในด้านวรรณกรรมด้วย ดังเห็นได้จากเมืองกาญจนบุรเี ก่าปรากฏชื่ออย่างชัดเจนในวรรณคดี
เรื่อ งขุน ช้า งขุน แผน อย่ า งไรก็ต าม เมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า ยัง คงประสบป ญ ั หาหลายด้ า น
เช่น ป ญ ั หาด้า นการบริห ารจัด การ ปญั หาด้า นสภาพแวดล้อ มศิล ปกรรม ป ญ ั หาด้านการ
ท่องเที่ยว ฯลฯ จึงควรมีการอนุ ร ักษ์และปรับปรุงบริเวณเมืองกาญจนบุรีเก่าเพื่อประโยชน์
สาธารณะอย่างแท้จริง รายงานการศึกษาเรื่องนี้เป็ นแนวทางให้ผวู้ จิ ยั เห็นว่า บริเวณเมือง
กาญจนบุรเี ก่ามีสถานทีส่ าคัญหลายแห่งที่เกีย่ วข้องกับตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผน และมีชอ่ื
ปรากฏอยู่ใ นเรื่อ งขุน ช้า งขุน แผน นอกจากนัน้ ยัง กล่ า วถึง ความสาคัญของสถานที่ต่า ง ๆ
ดังกล่าวเพื่อแสดงให้เห็นความสาคัญของเมืองกาญจนบุรเี ก่าอีกด้วย

ภูมิ น ามตามรอยขุน แผน สองแดนกาญจน์ – สุพ รรณฯ ของเอนก


อัค รบัณฑิต ปี พ.ศ.๒๕๕๒ เป็ น เอกสารที่ปรับปรุงจากบทเรียนท้องถิ่นของชุมชนภู มินาม
ตามวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละสุพรรณบุรี เอนกเก็บข้อมูลสถานที่
ซึ่งมีความเกีย่ วข้องกับขุนแผนในพืน้ ที่ ๒ จังหวัดคือ จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดสุพรรณบุรี
โดยแบ่งการนาเสนอออกเป็น ๒ ตอนคือ ตอนที่ ๑ ภูมนิ ามในจังหวัดกาญจนบุรี และตอนที่ ๒
ภู มิน ามในจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี ภู มิน ามในจัง หวัด กาญจนบุ รี ได้ แ ก่ เขาชนไก่ (หมู่ บ้ า น
นางทองประศรี) วัดส้มใหญ่ (วิชาดีหลวงตาบุญ) ชุมชนบ้านถ้า (ขุนโจรใหญ่หมื่นหาญ) และ
วัด ใต้ (วัด มโนธรรมาราม) ส่ วนภู ม ิน ามในจัง หวัด สุพ รรณบุ รี ได้แ ก่ วัด ป่า เลไลยก์ วัด แค
๑๓

(หลวงตาคง) และวัดเขาพระ ทัง้ นี้ในการกล่าวถึงแต่ละสถานทีซ่ ่งึ เกีย่ วข้องกับขุนแผน เอนกได้


ให้รายละเอียดเกีย่ วกับประวัตขิ องสถานที่ ความสัมพันธ์ของสถานที่กบั วรรณคดีเรื่องขุนช้าง
ขุนแผน ตัวละครในวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนที่เกี่ยวข้องกับสถานที่นนั ้ ๆ งานวิจยั เรื่องนี้
นับ เป็ น แนวทางในการเก็บ ข้อ มู ล คติช นเกี่ย วกับ ขุน แผนในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด
สุ พ รรณบุ รีไ ด้ ใ นเบื้อ งต้ น อย่ า งไรก็ต าม ผู้ว ิจ ัย ยัง พบว่า มีข้อ มู ล คติช นเกี่ย วกับ ขุน แผน
หลายประเภท ตลอดจนทัศนคติของผู้ท่ีเกี่ยวข้องกับคติชนซึ่งมีค วามน่ าสนใจและเกี่ยวข้อง
สัมพันธ์กนั ที่เอนกไม่ได้นาเสนอผ่านงานวิจยั เรื่องนี้ ผูว้ จิ ยั เห็นว่าข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผน
น่าจะสามารถนาไปตีความโดยใช้แนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมได้อย่างน่าสนใจต่อไป

๑.๙.๒ งานวิ จยั เกี่ยวกับความทรงจาร่วม


งานวิจยั ในกลุ่ มนี้ เป็ นงานวิจ ัยที่ใช้แนวคิดเรื่อ งความทรงจาร่ว มในการ
วิเ คราะห์ ข้ อ มู ล พบว่ า มี ก ารศึ ก ษาความทรงจ าร่ ว มที่ มี ต่ อ บุ ค คล เช่ น งานวิจ ัย ของ
มาวริโซ่ เพเล็จจี้ (Maurizio Peleggi) เป็นงานวิจยั ทีศ่ กึ ษาความทรงจาร่วมของชาวไทยที่มตี ่อ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั การศึกษาความทรงจาร่วมทีค่ นท้องถิน่ มีต่อท้องถิน่
ของตน เช่น งานวิจยั ของไพโรจน์ ไชยเมืองชืน่ ทีศ่ กึ ษาความทรงจาร่วมที่เกิดจากตานานและ
ความเชื่อในสังคมลาปาง และการศึกษาความทรงจาร่วมในเรื่องใดเรื่องหนึ่ง เช่น งานวิจยั
ของชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์ ที่ศกึ ษาความทรงจาร่วมเรื่องเพศในประวัติศาสตร์ไทย ผู้วจิ ยั
ขอกล่าวถึงตามลาดับ ดังนี้

“บทแปล สยาม/ เหลี ย วหลัง - ไทย/ แลหน้ า : พระบาทสมเด็จ พระ


จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ในความทรงจาของชาวไทย” ในรัชกาลที่ ๕: สยามกับอุษาคเนย์และ
ชมพูทวีป เอกสารสรุปการสัมมนาวิชาการเฉลิมพระเกียรติพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หวั ในโอกาสวันพระบรมราชสมภพครบ ๑๕๐ ปี (พ.ศ.๒๓๙๖ – ๒๕๔๖) ของมาวริโซ่
เพเล็จจี้ ปี พ.ศ. ๒๕๔๗ เพเล็จจีศ้ กึ ษาเกีย่ วกับความทรงจาของชาวไทยมีต่อพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ผลการศึกษาพบว่า ชาวไทยมีความทรงจาเกีย่ วกับพระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ในฐานะทีเ่ ป็นกษัตริยผ์ เู้ ปลีย่ นโฉมสยามโบราณให้กลายเป็ นประเทศ
ทีท่ นั สมัย เป็นกษัตริยท์ ม่ี พี ระอัจฉริยภาพและมีพระจริยวัตรงดงาม เพเล็จจี้ได้อ้างถึงแนวคิด
ของปิแอร์ โนรา (Pierre Nora) โดยชีใ้ ห้เห็นว่า ในสังคมไทยมีการสร้างพื้นที่แห่งความทรงจา
เพื่อย้าเตือนความทรงจาเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ให้ค งอยู่ ตลอด
ดังจะเห็นได้จากพระบรมฉายาลักษณ์และพระบรมสาทิสลักษณ์ของพระองค์ทป่ี รากฏให้เห็นใน
ที่สาธารณะและบ้านเรือนของชาวไทยจานวนมาก ตลอดจนมีการแสดงการราลึกถึงพระองค์
ทัง้ โดยทางการซึ่ง ร าลึก ถึงพระองค์ใ นฐานะที่เป็ น พระบิด าผู้ก่อ ตัง้ ชาติส มัยใหม่ และโดย
๑๔

ประชาชนทัวไปซึ ่ ่งบูชาพระองค์ในฐานะทีเ่ ป็นวิญญาณซึ่งปกป้องคุม้ ครอง เพเล็จจีแ้ สดงให้เห็น


ว่า การสร้างความทรงจาของชาวไทยเกี่ยวกับพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั นัน้
ไม่ได้เพิง่ เกิดขึน้ ในปจั จุบนั หากแต่เริม่ ปรากฏให้เห็นตัง้ แต่ในรัชสมัยของพระองค์ ดังจะเห็น
ได้จ ากภาพเหมือ นของพระองค์ท่ีไ ด้ร ับการพิม พ์และเผยแพร่ การจัด งานเฉลิม ฉลองวัน
พระบรมราชสมภพ การจัดงานเฉลิมฉลองการครองราชย์ยาวนานที่สุด การออกเหรียญและ
แสตมป์ทร่ี ะลึก พระทีน่ งอนัั ่ นตสมาคม และทีเ่ ห็นได้ชดั เจนทีส่ ุดคือ พระบรมรูปทรงม้า เพเล็จจี้
อ้างถึงแนวคิดของโนราว่า พระบรมรูปทรงม้าประดิษฐานอยู่ท่กี ลางพระลานซึ่งเป็ นพื้นที่โล่ง
ขนาดใหญ่ นับเป็ นอนุ สรณ์สถานสาคัญที่สุดซึ่งย้ าเตือนความทรงจาเกี่ยวกับเหตุการณ์และ
ทาให้สามารถรื้อฟื้ นความทรงจานัน้ กลับมาได้อกี นอกจากนัน้ นับแต่ปี พ.ศ.๒๔๕๕ มีการ
กาหนดให้มีวนั ปิ ยมหาราชหรือ วันของพระบาทสมเด็จพระจุ ลจอมเกล้าเจ้าอยู่ห ัวคือ วัน ที่
๒๓ ตุลาคม และกาหนดให้เป็ นวันหยุดประจาชาติเพื่อให้ราลึกถึงบุรุษผูเ้ ป็ นบิดาผูก้ ่อตัง้ ชาติ
และเป็นผูน้ าความเจริญมาสู่ประเทศชาติ กิจกรรมต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ ในวันดังกล่าว เช่น นักเรียน
และข้าราชการซึ่งมาชุมนุ มกันที่พระลานเป็ นประจาทุกปี เพื่อวางพวงมาลาที่ฐานพระบรมรูป
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ล้วนแล้วแต่เป็ นการตอกย้ าความทรงจาร่วมที่
ชาวไทยมีต่อพระองค์ เพเล็จจี้ยงั กล่าวถึงสาวกของพระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าด้วยว่า
สาวกของพระองค์ราลึกถึงพระองค์ในฐานะผูน้ าความเจริญและความทันสมัยมาให้ และแสดง
ความเคารพต่อพระองค์เป็ นรายบุคคล เพื่อประโยชน์และความอยู่ดกี นิ ดีของตนเองมากกว่ า
เป็ นกลุ่มในฐานะของชุม ชนในชาติ ผลการศึกษาสรุ ปว่า การราลึกถึง พระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้า เจ้า อยู่ห ัวในสังคมไทยร่ว มสมัยเป็ นการปฏิบตั ิท่หี ลากหลายและไม่เ ป็ นไปใน
ทิ ศ ทางเดี ย วกั น โดยประชาชนกลุ่ ม ต่ า ง ๆ และพิ ธี ก ารของรัฐ ความทรงจ าที่ มี ต่ อ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั จึงไม่ได้ถูกกักไว้ภายในข้อจากัดทางด้านอุดมการณ์
ของรัฐเพียงอย่างเดียว หากแต่ได้กลายเป็ นความทรงจาของสาธารณชนอย่างแท้จริง และ
สะท้อนความสาคัญที่เพิ่มมากขึน้ ของสาธารณชนในสังคมไทยร่วมสมัย งานวิจยั เรื่องนี้เป็ น
แนวทางในการศึกษาเรื่องความทรงจาร่วมที่มีต่อบุคคลและการสร้างความทรงจาร่วมผ่าน
ข้อมูลต่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วกับบุคคลนัน้ ให้แก่ผวู้ จิ ยั

“‘เมืองต้องคาสาป’: ความทรงจาร่วมของสังคมลาปาง” ใน ๒ ฟากแม่น้าวัง


๒ ฝั ง่ นครล าปาง งานวิจ ัย ของไพโรจน์ ไชยเมือ งชื่น ปี พ.ศ.๒๕๕๑ มีว ัต ถุ ป ระสงค์
เพื่อวิเคราะห์ว่าเหตุใดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและการเมืองของสังคมลาปาง
ห ลา ย เรื่ อ ง ไ ด้ ถู ก อ ธิ บ า ย ด้ ว ย ค วา ม เ ชื่ อ เ รื่ อ ง ค า ส า ปข อ ง น า ง สุ ชา ด า ใ น ต า น า น
พระแก้ ว ดอนเต้ า และเหตุ ใ ดคนล าปางส่ ว นหนึ่ ง ถึง เชื่อ ว่ า ล าป างเป็ น เมือ งต้ อ งค าสาป
ความเชือ่ ดังกล่าวมีทม่ี าและมีความสัมพันธ์อย่างไรกับเรื่องราวหรือเหตุการณ์ทเ่ี กิดขึน้ ในสังคม
๑๕

ลาปาง ผลการวิจยั สรุปว่า การรับรูเ้ รื่องราวในตานานพระแก้วดอนเต้าไม่ได้ผา่ นเพียงการเขียน


หรือการฟงั พระธรรมเทศนาเท่านัน้ แต่ได้มกี ารบอกเล่าเรื่องราวสืบต่อกันมาหลายชัวอายุ ่ คน
จนกลายมาเป็ นความทรงจาร่วมของคนในท้องถิน่ ความทรงจาร่วมดังกล่าวไม่ใช่เหตุการณ์
แบบต านานอัน ไกลโพ้ น แต่ เ ป็ น เรื่อ งราวแบบประวัติศ าสตร์ ท่ี ค นในท้ อ งถิ่น รับ รู้ แ ละ
มีจนิ ตนาการร่วมเพราะมีบุคคลและสถานที่อ้างอิงได้โดยเฉพาะนางสุชาดา ตัวเอกของเรื่ อง
ในตานานพระแก้วดอนเต้าได้กลายมาเป็ นเจ้าแม่สุชาดาในการรับรู้ของคนลาปางส่วนหนึ่งที่
เชือ่ ว่า เป็นเสมือนบุคคลทีม่ ชี วี ติ อยู่จริงในประวัตศิ าสตร์หว้ งสมัยหนึ่งเพียงแต่กาหนดช่วงเวลา
ไม่ ไ ด้ แกนกลางของความทรงจาร่ ว มชุด นี้ ค ือ ค าสาปแช่ง ของเจ้า แม่ สุ ช าดาที่ค นล าปาง
ส่วนหนึ่งต่างเชือ่ กันว่า ก่อนทีเ่ จ้าแม่จะถูกประหารชีวติ นัน้ ได้ประกาศเป็นคาสาปว่า ถ้านางเป็ น
ผูบ้ ริสุทธิ ์ก็ขอให้ผทู้ ล่ี งโทษนางจะต้องได้รบั ผลกรรมไปตลอดชั ่วลูกหลาน ประสบแต่ความวิบตั ิ
และมีแต่ความไม่เจริญ ความทรงจาร่วมดังกล่าวมีปฏิสมั พันธ์กบั เรื่องราวหรือเหตุการณ์และ
สถานที่ในลาปาง เช่น วัดพระแก้วดอนเต้าสุชาดาราม วัดนางเหลียว ฯลฯ บริบทของพื้นที่
ดังกล่าวส่งผลให้ความทรงจาร่วมเรื่องเมืองต้องคาสาปเป็ นที่รบั รู้และสามารถเผยแพร่ออกไป
ได้ง่ายขึน้ ในชุมชนและบริเวณพืน้ ทีใ่ กล้เคียง นอกจากนัน้ ในสังคมลาปางยังมีการตอกย้าความ
ทรงจ าร่ ว มด้ ว ยการสร้ า งศาลเจ้ า แม่ สุ ช าดา การจัด สร้ า งอนุ ส าวรีย์ ข องเจ้ า แม่ สุ ช าดา
การจัดสร้างเหรียญหลวงพ่อเกษม เขมโก รุ่นแตงโม ในโอกาสฉลองอนุ สาวรีย์เจ้าแม่สุชาดา
พ.ศ.๒๕๑๗ โดยเชือ่ ว่าเป็นการขอขมาและช่วยลบล้างคาสาปของเจ้าแม่ ในขณะเดียวกันกลับ
เป็ นการตอกย้ าให้เห็นได้ชดั ว่า ความเชื่อดังกล่าวเกิดขึ้นและมีอยู่จริงในสังคมลาปางอย่าง
ต่ อ เนื่ อ งและพร้อ มที่จ ะหยิบ ยกน ามาอธิบ ายความเปลี่ย นแปลงทางสัง คมเศรษฐกิจ หรือ
การท่องเทีย่ วทีเ่ กิดขึน้ ในลาปางได้ตลอดเวลา การศึกษางานวิจยั เรื่องนี้เป็นประโยชน์ต่อผูว้ จิ ยั
อย่างยิง่ ถือเป็นแนวทางการศึกษาเรื่องความทรงจาร่วมของคนในท้องถิน่ ซึ่งมีทม่ี าจากตานาน
ท้องถิน่ และยังคงมีการแสดงออกหรือผลิตซ้าความทรงจาร่วมนัน้ อย่างต่อเนื่องในสังคม

“เพศวิถกี ระแสหลักกับความทรงจาร่วมเรื่องเพศ” ใน ประวัติศาสตร์ของ


เพศวิ ถี: ประวัติศาสตร์เรื่องเพศ/ เรื่องเพศในประวัติศาสตร์ไทย งานวิจยั ของชลิดาภรณ์
ส่งสัมพันธ์ ปี พ.ศ.๒๕๕๑ มุ่งเน้นแสดงให้เห็นว่าความหมายและที่ทางของหลายเรื่องที่ได้รบั
การจัด ว่าเป็ น พื้น ที่ของเพศวิถีแ ตกต่า งไปจากความเชื่อของสังคมไทยในช่วงรอยต่อ ของ
ศตวรรษที่ ๒๐ – ๒๑ และหลายเรื่องแตกต่างไปจากความทรงจาร่วมของคนไทยหลายกลุ่มว่า
คนไทยเคยประพฤติหรือมีค่านิยมในเรื่องเพศ การแต่งงาน และความสัมพันธ์ชายหญิงอย่างไร
ชลิดาภรณ์ช้ใี ห้เห็นความทรงจาร่วมเรื่องเพศวิถี หรือที่ทางของเรื่องเพศของคนหลายกลุ่ม
ความเชื่อในอาณาบริเวณสยามแต่เดิมแตกต่างไปจากกรอบเรื่องเพศกระแสหลัก เรื่องเพศ
ไม่ได้ถูกมองในทางลบ ในทางกลับกันการมองเรื่องเพศและกฎกติกาเรื่องเพศของท้องถิน่ จะ
๑๖

เห็นการให้ความหมายเรื่องเพศว่าเป็ นเรื่องของความอุดมสมบูรณ์ เรื่องเพศยังเป็ นส่วนหนึ่ง


ของนิทานพืน้ บ้าน เพลงพืน้ บ้าน หรือการละเล่นพื้นบ้านอย่างเปิ ดเผย นอกจากนัน้ จิตรกรรม
ฝาผนังและภาพแกะสลักในวัดต่าง ๆ ยังสะท้อนการแต่งกาย วิถชี วี ติ และการกระทาทางเพศ
ระหว่างหญิงกับชาย หญิงกับหญิง และชายกับชาย ทัง้ ในแง่มุมขบขันและเชิงสังวาส ฯลฯ
ชลิดาภรณ์เสนอว่าการศึกษาพิธกี รรม จิตรกรรม และวรรณกรรมทีห่ ลากหลายจะทาให้เห็นการ
ให้ท่ที างกับเรื่องเพศในฐานะส่วนหนึ่งของชีวติ และการนาไปสู่การเกิดโดยคนหลายกลุ่มใน
หลายพืน้ ที่ การเชือ่ มโยงเรื่องเพศกับการเกิดในความหมายนี้จงึ แตกต่างจากการเชือ่ มโยงเรื่อง
เพศกับการเจริญพันธุ์แบบสมัยใหม่ท่เี น้นการจากัดเรื่องเพศให้เป็ นไปเพื่อการสืบพันธุ์มนุ ษย์
แต่เพียงอย่างเดียว แนวคิด ‚รักนวลสงวนตัว ‛ เป็ นตัวอย่ า งหนึ่งที่ถูกใช้เพื่อสนับสนุ นหรือ
โน้มน้าวให้ผหู้ ญิงในสังคมไทยไม่ร่วมเพศก่อนแต่งงาน ในเรื่องดังกล่าวชลิดาภรณ์ได้อ้างถึง
ความสัมพันธ์ระหว่างพระเอกนางเอกในวรรณคดีไทยสมัยอยุธยาถึงต้นรัตนโกสินทร์ท่เี รียน
ในโรงเรียนว่าไม่ได้สนับสนุนแนวทางรักนวลสงวนตัวนัก เช่น นางพิมกับพลายแก้วร่วมเพศกัน
ครัง้ แรกเมื่อนางพิมอายุ ๑๖ ปี ส่วนพลายแก้ว อายุ ๑๘ ปี ลักษณะดังกล่าวขัดแย้งกับความเชือ่
ว่า การหลีกเลี่ยงเรื่อ งเพศก่อนสมรสเป็ นวิถี ปฏิบตั ิของคนในสยามในอดีตที่ถูกละเลยหรือ
ละเมิดโดยคนรุ่ นหลัง ผลการวิจ ัยสรุป ว่า ความทรงจาเกี่ย วกับเพศวิถี เช่น การแต่ งกาย
ที่เหมาะสม ความสัมพันธ์ทางเพศ และรูปแบบการอยู่ร่วมกันของชายหญิง ที่เชื่อกันว่าเป็ น
ส่วนหนึ่งของประเพณีอนั ดีงามทีส่ บื ทอดมาแต่โบราณกาล แท้จริงแล้วคือความทรงจาระยะใกล้
ที่เป็ นผลของนโยบายของรัฐมากกว่าจะเป็ นเรื่อ งสืบทอดหรือวิถีท่ีสืบ ทอดกันมายาวนาน
การศึกษางานวิจยั เรื่องนี้ทาให้ผู้วจิ ยั เห็นมุมมองว่า ความทรงจาร่วมเรื่องหนึ่งที่คนในสังคม
มีร่วมกัน แท้จริงแล้วอาจมีหลายชุดความทรงจาทีเ่ กีย่ วข้องกับเรื่องนัน้ ความทับซ้อนดังกล่าว
เป็ น ผลมาจากการให้ท่ีท างหรือ การสร้า งความทรงจ าให้ค นในสัง คมรับ รู้เ รื่อ งนัน้ ร่ ว ม กัน
งานวิจยั เรื่องนี้จงึ เป็ นงานวิจยั อีกเรื่องหนึ่งที่เป็ นแนวทางในการศึกษาเรื่องความทรงจาร่วม
ให้แก่ผวู้ จิ ยั

๑.๙.๓ งานวิ จยั เกี่ยวกับเรื่องขุนช้างขุนแผน


ผูว้ จิ ยั พบว่า งานวิจยั เกีย่ วกับเรื่องขุนช้างขุนแผนที่ผ่านมาสามารถจาแนก
ได้เป็น ๒ กลุ่มใหญ่ คือ งานวิจยั ที่ศกึ ษาในเชิงวรรรณคดี และงานวิจยั ทีศ่ กึ ษาในเชิงสังคมและ
วัฒนธรรม ดังนี้

๑) งานวิจยั ที่ศกึ ษาในเชิงวรรณคดี เป็ นงานวิจยั ที่มุ่งศึกษาเปรียบเทียบ


เนื้อเรื่องและเหตุการณ์ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน หรือศึกษาวิเคราะห์ตวั ละครในเสภา
เรื่องขุนช้าง – ขุนแผน หรือวิเคราะห์คุณค่าของเสภาเรื่องขุนช้าง - ขุนแผน ได้แก่
๑๗

คุณ ค่ าเชิ งวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผน ของศักดา ปนเหน่ ั้ งเพชร


วิทยานิพนธ์ปริญญาครุศาสตรมหาบัณฑิต บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ.
๒๕๑๗ ศักดามุ่งศึกษาวิเคราะห์คุณค่าเชิงวรรณคดีในเรื่องขุนช้างขุนแผน โดยวิเคราะห์ด้าน
ความเป็นมาของเรื่อง อธิบายลักษณะเรื่อง วิเคราะห์คุณค่าในเชิงกวีนิพนธ์ วิเคราะห์แก่นเรื่อง
ลักษณะนิสยั ตัวละครที่สาคัญ ในด้านการศึกษาตัวละครให้ความเห็นว่า กวีได้เสนอตัวละคร
และพฤติกรรมของตัวละครหลายแบบแตกต่างกัน พฤติกรรมของตัวละครเหล่านัน้ ได้สะท้ อนให้
เห็น วิถีการด าเนิน ชีว ิตของชาวไทยในอดีต และให้แ ง่ค ิดอันเป็ น คติแก่ ผู้อ่ าน ในตอนท้า ย
ของงานวิจยั ได้กล่าวถึงลักษณะสังคม และค่านิยมบางประการของสังคมไทยตามหลักวิชา
สังคมวิทยา นอกจากนี้ยงั ได้กล่าวถึงความสาคัญของพระพุทธศาสนาในสังคมไทยในอดีต
งานวิจยั เรื่องนี้เป็ นแนวทางในการวิเคราะห์ขอ้ มูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่ปรากฏในรูปแบบ
ต่าง ๆ แก่ผวู้ จิ ยั

พระเอกในวรรณคดีคลาสิ คของไทย ขุนแผน: พระเอกแบบนักรบ


ของประจักษ์ ประภาพิทยากร รายงานผลการวิจยั เสนอองค์การการศึกษาวิทยาศาสตร์และ
วัฒนธรรมแห่งสหประชาชาติ (ยู เนสโก) ผ่านส านักงานคณะกรรมการวัฒนธรรมแห่งชาติ
ปี พ.ศ.๒๕๒๗ ประจักษ์มวี ตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะของพระเอก รวมทัง้ ตัวละครประกอบ
ทีส่ าคัญในวรรณคดีคลาสิคของไทย และเพื่อค้นหาเอกลักษณ์ อุดมคติ และค่านิยมทางสังคม
ของไทยในอดีต ที่อ าจสะท้ อ นให้ เ ห็น ได้จ ากพระเอก และตัว ละครประกอบต่ า ง ๆ โดย
นาผลการวิจยั ไปเปรียบเทียบกับผลงานของชาติอ่นื ในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผลการวิจยั
สรุ ป ไ ด้ ว่ า ขุ น แผน เป็ นพ ระเ อกแบบนั ก รบ บุ ค ลิ ก ภา พที่ เ ด่ น ชั ด ของ ขุ น แผนคื อ
มีรูปงาม แบบบาง แต่สง่า เป็ นนักรบ กล้าหาญ เฉียบขาด ตัดสินใจเร็ว มีความจงรักภักดีต่อ
พระมหากษัตริย์ ซื่อตรงต่อมิตร ช่างสังเกต มีความฉลาด ใฝ่ใจการศึกษา มีวาจาอ่อนหวาน
นุ่มนวลต่อผูท้ ่เี ป็ นมิตร เจ้าชู้ มีภรรยามาก นอกจากนี้ ประจักษ์ยงั สรุปไว้ว่า อุดมคติของเรื่อง
ขุนช้างขุนแผนคือ กวีต้องการสอดแทรกอุดมคติของบุคคลตัวอย่างคือ มีความจงรักภักดีต่อ
องค์พระมหากษัตริย์ อันทรงไว้ซ่งึ พระบรมเดชานุ ภาพ และเป็ นผูก้ ล้าหาญ เป็ นนักรบที่พร้อม
พลีชพี เพื่อ ชาติ และเชี่ย วชาญในการรบ งานวิจยั เรื่องนี้ ช่วยให้ผู้วจิ ยั เห็น มุ มมองเกี่ยวกับ
ลักษณะของตัวละครขุนแผนมากยิง่ ขึน้

การศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บบทเสภาเรื่ อ งขุ น ช้ า งขุ น แผน ฉบั บ


หอพระสมุ ด วชิ ร ญาณส าหรับ พระนครกับ ฉบับ ส านวนอื่ น ของชุม สาย สุ ว รรณชมภู
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร ปี พ.ศ.๒๕๓๔
ชุมสายมุ่งศึกษาเปรียบเทียบบทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนฉบับหอพระสมุดวชิรญาณฯ กับฉบับ
๑๘

สานวนอื่น โดยพิจารณาความแตกต่าง ๒ ด้านคือ ความแตกต่างด้านเหตุก ารณ์และเนื้อเรื่อง


และความแตกต่างด้านการใช้คาและสานวนโวหาร ผลการวิจยั สรุปได้ว่า อักขรวิธที ่ปี รากฏใน
สมุดไทยเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนเป็ นอักขรวิธใี นสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้น และเป็ นอักขรวิธี
ทีไ่ ม่มกี ฎเกณฑ์แน่นอน ซึ่งเป็นผลมาจากผูเ้ ขียนสมุดไทยมีจุดมุ่งหมายเพื่อให้ อ่าน และยังสรุป
ได้ว่า เนื้อเรื่องของเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนฉบับหอพระสมุดวชิรญาณฯ กับฉบับสานวนอื่น
มีค วามแตกต่างกัน ๒ ลักษณะคือ ลักษณะแรกพบเนื้อเรื่องตอนนัน้ ๆ ในฉบับสานวนอื่น
แต่ไม่พบในฉบับหอพระสมุดวชิรญาณฯ ส่วนอีกลักษณะหนึ่งพบเนื้อเรื่องตอนนัน้ ๆ ทัง้ ใน
ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณฯ และฉบับสานวนอื่น อย่างไรก็ตามแม้จะปรากฏเนื้อเรื่องตอน
เดียวกันแต่มกั มีรายละเอียดแตกต่างกัน ชุมสายสันนิษฐานว่า ทีเ่ ป็นเช่นนี้เพราะคณะกรรมการ
หอพระสมุดวชิรญาณฯ ผูช้ าระบทเสภาคงเห็นว่า การตัด การเพิม่ และการปรับเหตุการณ์หรือ
เนื้อเรื่องนัน้ ๆ ก็เพื่อให้มคี วามสอดคล้องกับเหตุการณ์หรือเนื้อเรื่องในตอนต้นหรือตอนต่อไป
อันจะทาให้เนื้อเรื่องกระชับ ทัง้ ยังทาให้มคี วามครบบริบูรณ์และสมจริงมากยิ่งขึน้ ส่วนความ
แตกต่างด้านการใช้คาและสานวนโวหารนัน้ ชุมสายสรุปว่า การใช้คาและสานวนโวหารตอน
ขุน แผนขึ้น เรือ นขุ น ช้า งของฉบับ หอพระสมุ ด วชิร ญาณฯ พัฒ นามาจากความฉบับ เก่ า
ซึ่งโรงพิมพ์โสภณพิพรรฒธนากรพิมพ์เผยแพร่เมื่อ พ.ศ.๒๔๖๘ ส่วนการใช้คาและสานวน
โวหารตอนอื่น ๆ ของฉบับหอพระสมุดวชิรญาณฯ มักจะใช้คาและสานวนโวหารทีเ่ ลือกสรรว่าดี
มาจากฉบับอื่น ๆ

บทละครเสภาเรื่องขุนช้ างขุนแผน: การศึ กษาในเชิ ง วรรณคดี


วิ เคราะห์ ของเบญจวรรณ ส่งสมบูรณ์ วิทยานิพนธ์ปริญญาการศึกษามหาบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาไทย บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา ปี พ.ศ.๒๕๔๐ เบญจวรรณมุ่งศึกษาบทละคร
เสภาเรื่ อ งขุ น ช้ า งขุ น แผนที่ ก รมศิ ล ปากรจั ด แสดงตั ้ง แต่ ปี พ.ศ. ๒๔๙๒ - ๒๕๓๗
รวม ๒๗ ตอน เพื่อวิเคราะห์ลกั ษณะเด่น ของเนื้อหา โดยใช้ทฤษฎีรสของวรรณคดีสนั สกฤต
ศึกษาจากเอกสาร บทละคร ตารา งานวิจยั แถบเสียง และจากการสัมภาษณ์ผเู้ ชีย่ วชาญด้าน
การละครและดนตรี ผูจ้ ดั ทาบทละคร ผูบ้ รรจุเพลงและผูข้ บั เสภาในละครเสภา จากการศึกษา
สรุปได้วา่ เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนทีน่ ามาทาบทละครมีรสวรรณคดีครบทัง้ ๙ รส ตามทฤษฎี
วรรณคดีสนั สกฤต รสทัง้ ๙ รสดังกล่าวเกิดจากเนื้อหาและอารมณ์ของตัวละครเป็ นส่วนใหญ่
มิได้เกิดจากความงามทางภาษาเนื่องด้วยข้อจากัดเรื่องรูปแบบของบทละคร โดยมีรสเด่นที่
ปรากฏชัด เจน ๖ รสคือ วีร รส ศฤงคารรส กรุ ณ ารส เราทรรส หาสยรส และอัท ภุ ต รส
เบญจวรรณเสนอว่า ตัวละครขุนไกรและขุนแผนเป็ นตัวละครที่มคี วามกล้าหาญจนทาให้ผเู้ สพ
ได้รบั วีรรส เนื่องจากทัง้ สองต่างเป็ นนักรบที่กล้าหาญ มีจติ ใจที่เข้มแข็ง มุ่งมันปฏิ
่ บตั หิ น้าที่
มีความจงรักภักดีต่อสถาบันพระมหากษัตริย์ ความรักของคนวัยหนุ่ มสาวและความรักของ
๑๙

พ่อแม่ท่มี ีต่อลูกก่ อให้เกิดความซาบซึ้งประทับ ใจในความรัก จนทาให้ผู้เสพเกิดศฤงคารรส


ตัวละครขุนไกรและนางวันทองเป็ นตัวละครที่ทาให้ผู้เสพเกิดความเวทนาจนได้รบั กรุณารส
ตัวละครขุนช้างเป็ นตัวละครที่ทาให้ผเู้ สพเกิดความไม่พอใจมากที่สุดจนทาให้ได้รบั เราทรรส
ซึ่งมีบทบาทเสริมกรุณารสทีม่ ตี ่อตัวละครอื่นให้เด่นชัดขึน้ ขณะเดียวกันตัวละครขุนช้างยังเป็ น
ตัวละครทีท่ าให้เกิดความรู้สกึ ขบขันมากที่สุดจนทาให้ผเู้ สพได้รบั หาสยรส นอกจากนัน้ ความ
เป็นนักรบทีก่ ล้าหาญ มีความรูด้ า้ นคาถาอาคมเป็นอย่างดีของตัวละครขุนแผน ขุนไกร พระไวย
และพลายชุม พล ท าให้ผู้เ สพได้ ร ับ อัท ภุ ต รส ซึ่ ง ช่ว ยเสริม วีร รสให้ มีค วามเด่ น ชัด ยิ่ง ขึ้น
ส่ ว นภยานกรส พีภัต สรส และศานตรส นับ เป็ น รสรองที่เ ป็ น ส่ ว นประกอบให้เ รื่อ งมีร สที่
หลากหลายมากยิง่ ขึน้ การศึกษางานวิจยั เรื่องนี้ทาให้เห็นว่า จากการเสพบทละครเสภาเรื่อง
ขุนช้า งขุน แผน ผู้เ สพสามารถเกิดปฏิกิริยาทางอารมณ์ หรือเกิดความรู้สึก คล้อ ยตามและ
ประทับใจตัวละครอย่างไรบ้าง

๒) งานวิจยั ทีศ่ กึ ษาในเชิงสังคมและวัฒนธรรม ส่วนใหญ่จะมุ่งศึกษาสภาพ


สังคม วัฒนธรรม ประเพณี ความคิด ความเชือ่ ฯลฯ ทีส่ ะท้อนให้เห็นจากเสภาเรื่องขุนช้าง –
ขุนแผน ได้แก่

การใช้ไสยศาสตร์ในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน ของทัศนีย์ สุจนี ะพงศ์


วิท ยานิ พนธ์ปริญ ญามหาบัณ ฑิต สาขาวิช าภาษาไทย จุฬ าลงกรณ์ มหาวิท ยาลัย ปี พ.ศ.
๒๕๑๕ ทัศนีย์มวี ตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะทัวไปของไสยศาสตร์
่ ในวรรณคดีเรื่องขุนช้าง
ขุนแผน เพื่อศึกษาว่า กวีใช้ไสยศาสตร์เพื่อ ประโยชน์ ใ นเชิงวรรณคดีอ ย่างไรบ้า ง และเพื่อ
เปรียบเทียบลักษณะไสยศาสตร์ในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนกับในวรรณคดีเรื่องอื่น ๆ ในสมัย
ใกล้เคียงกัน ผลการวิจยั สรุปได้วา่ ในเรื่องขุนช้างขุนแผนมีทงั ้ ไสยศาสตร์ขาวและไสยศาสตร์ดา
คือ มีท งั ้ ที่ใ ช้ไ ปในทางที่ดี มีป ระโยชน์ ใ นทางป ดั เป่า หรือ ป้ องกัน สิ่ง ร้า ย และที่ใ ห้โ ทษคือ
การทาคุณไสยให้ผอู้ ่นื ได้รบั ผลร้าย โดยผูแ้ ต่งใช้ไสยศาสตร์เพื่อสร้างตัวละครเอกให้มลี กั ษณะ
เป็ น พระเอก เพื่ อ ให้ เ รื่อ งด าเนิ น ไปอย่ า งกระชับ รัด กุ ม และเพื่ อ ให้ เ หตุ ก ารณ์ ใ นเรื่ อ ง
สมเหตุสมผล งานวิจยั เรื่องนี้เป็ นประโยชน์ ในการวิเคราะห์คุณลักษณะของขุนแผน ผูม้ คี วาม
เชีย่ วชาญทางเวทมนตร์และคาถาอาคม นอกจากนี้ อาจเป็ นแนวทางในการเชื่อมโยงความรู้
เรื่องการใช้ไสยศาสตร์ในวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนกับคติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่ปรากฏ
ในรูปแบบต่าง ๆ ได้
๒๐

การศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทยในสมัยรัต นโกสิ นทร์ตอนต้ น


จากเรื่องขุนช้างขุนแผน ของวรนันท์ อักษรพงศ์ วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชา
ภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย ปี พ.ศ.๒๕๑๕ วรนันท์มวี ตั ถุประสงค์เพื่อแสดงให้เห็นว่า
ลักษณะสังคมและวัฒนธรรมไทยในวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนมีสภาพความเป็ นจริงตรงตาม
สมัยทีแ่ ต่งคือ รัชสมัยของพระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราชและพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย ไม่ใช่ลกั ษณะสังคมและวัฒนธรรมในสมัยอยุธยาตามที่ระบุไว้ใน
เนื้อเรื่อง ผลการวิจยั พบว่า ขุนช้างขุนแผนได้บนั ทึกเรื่องราวเกี่ยวกับสังคมและวัฒนธรรม
ในสมัยรัตนโกสินทร์ตอนต้นไว้อย่างละเอียด ใช้เป็ นหลักฐานอ้างอิงประกอบการศึกษาในแง่
สังคมวิทยาได้เป็ นอย่างดี เพราะพรรณนาเกี่ยวกับระบบสถาบันสังคมสมัยรัตนโกสินทร์ไว้
ชัดเจน เช่น การสมรส ครอบครัว การนับถือวงศาคณาญาติ การศึกษา ศาลและการพิจารณา
คดี ประเพณี ความเชื่อ อิทธิพลของสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อบทบาทและพฤติกรรมของ
คนยุคนัน้ งานวิจยั เรื่องนี้จงึ เป็นแนวทางในการศึกษาวิเคราะห์ตวั ละครสาคัญของเรื่องขุนช้าง
ขุนแผนในด้านต่าง ๆ เช่น ค่านิยมของสังคมการศึกษาสมัยโบราณที่มุ่งให้เด็กชายเรียนเพื่อ
เป็ น ทหาร การศึก ษาไสยศาสตร์จ ากพระสงฆ์ การฝึ ก หัด ทดลองวิช าการยุ ท ธควบคู่ ก ับ
กระบวนการทางไสยศาสตร์ ซึ่งล้วนมีส่วนหล่อหลอมให้ขุนแผนมีคุณสมบัตเิ ก่งกล้าสามารถ
ทางเวทมนตร์ คาถาอาคม เป็นทหารทีก่ ล้าหาญ แต่กส็ ามารถฆ่าบุตรชายของตนเพื่อ ปลุกเสก
เป็นกุมารทองได้

ภูมิปัญญาชาวบ้านจากประเพณี บางอย่างในวรรณคดีเรื่องขุนช้าง
ขุนแผน ของปรางทิพ ย์ ฮอนบุ ตร วิทยานิ พนธ์ปริญญามหาบัณ ฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
มหาวิทยาลัยนเรศวร ปี พ.ศ.๒๕๔๐ ปรางทิพย์มวี ตั ถุประสงค์เพื่อศึก ษาภูม ิปญั ญาชาวบ้าน
จากประเพณีบ างอย่ า งในวรรณคดีเ รื่อ งขุ น ช้า งขุน แผน ฉบับ หอสมุ ด แห่ ง ชาติ จ านวน
๖ ประเพณี ผลการวิจยั สรุปได้ว่า ภู ม ิปญั ญาชาวบ้านมีค วามเชื่อมโยงกันในลักษณะที่เป็ น
รูปธรรมคือ การทาพิธกี รรมต่าง ๆ ในช่วงทีม่ กี ารเปลีย่ นแปลงตามเหตุการณ์ท่สี าคัญของชีวติ
และในลักษณะที่เป็ นนามธรรม คือ ความรู้ ความเชื่อ วิธีการประพฤติปฏิบตั ิตน เริ่มตัง้ แต่
ประเพณีการเกิด ประเพณีการทาขวัญ ประเพณีการโกนจุ ก ประเพณีการบวช ประเพณีการ
แต่งงาน ประเพณีการตาย ภูมปิ ญั ญาชาวบ้านเหล่านี้สะท้อนให้เห็นความสัมพันธ์ระหว่างคน
กับคนอื่น ๆ ในสังคม คนกับธรรมชาติ และคนกับสิง่ เหนือธรรมชาติ ภูมปิ ญั ญาชาวบ้านจึงเป็ น
กระบวนการทางความคิดในการสร้างแบบแผนการดาเนินชีวติ เพื่อความเป็ นสิ รมิ งคลแก่ชวี ติ
และเป็นสิง่ ยึดเหนี่ยวจิตใจของคนให้มนคง
ั ่ เข้มแข็ง เกิดความสบายใจและเพื่อประโยชน์ในการ
ดาเนินชีวติ ของมนุษย์ให้สามารถอยู่ร่วมกันได้อย่างมันคง่ ปลอดภัย และสงบสุข
๒๑

สถานภาพและบทบาทของผู้หญิ งและผู้ชายในอดีต: ภาพสะท้อน


จากวรรณกรรมเรื่องขุนช้ างขุนแผน ของอภิวนั ทน์ อดุล ยพิเชฎฐ์ วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณ ฑิต สาขาวิช ามานุ ษ ยวิท ยา มหาวิท ยาลัย ศิล ปากร ปี พ.ศ. ๒๕๔๔ อภิ ว ัน ทน์
มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาสถานภาพและบทบาทของผูห้ ญิงและผูช้ ายไทยในอดีต โดยการศึกษา
จากวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนซึ่งประพัน ธ์โดยพระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย
และกวีราชสานัก เนื่องจากเห็นว่าวรรณกรรมเรื่องนี้มลี กั ษณะเด่นที่ตวั ละครเอกเป็ นสามัญชน
มิใช่กษัตริย์ แตกต่างไปจากวรรณกรรมเรื่องอื่น ๆ ในยุคสมัยนัน้ อภิวนั ทน์มุ่งศึกษาวิเคราะห์
ตัวละครโดยแบ่ งตามเพศ และแบ่ งตามสถานะทางสัง คมและความสัมพัน ธ์ทางสังคมข อง
ตัวละคร จากการศึกษาสรุปได้วา่ ตัวละครเอกฝา่ ยหญิงคือภาพสะท้อนของผูห้ ญิงในกลุ่มชนชัน้
ผูป้ กครองหรือกลุ่มขุนนาง ผูห้ ญิงในชนชัน้ นี้ต้องอยู่ภ ายใต้ค วามคาดหวังทางสังคมในการ
สืบ ทอดสถานภาพทางสังคม ซึ่ง แสดงออกในลัก ษณะของการผลิต ซ้ า รู ป แบบของผู้ห ญิง
ในอุดมคติ โดยมีกลไกแห่งอานาจทางสังคมครอบงาพฤติกรรมทางสังคมของผูห้ ญิงชนชัน้ นี้
การครอบงาแสดงออกในรูปของความสัมพันธ์เชิงอานาจของคนต่างวัย คือ บิดามารดาที่มตี ่อ
บุตร และความสัมพันธ์เชิงอานาจของคนต่างเพศ คือ ผูช้ ายที่มตี ่อผูห้ ญิงที่ปรากฏในค่านิยม
ของความสัมพันธ์ทางสังคมในการดาเนินชีวติ และในคติความเชื่อทางศาสนา ซึ่งลักษณะของ
ผูห้ ญิงในอุดมคติแบบชนชัน้ สูงนี้จะแตกต่างจากผูห้ ญิงชนชัน้ ล่าง เนื่องด้วยผูห้ ญิงชัน้ ล่างหรือ
ผูถ้ ูกปกครองจะมีภาระและความรับผิดชอบทางสังคมที่เปิ ดโอกาสให้หญิงชนชัน้ ล่างมีสิทธิ
มีอสิ ระ และมีอานาจในการตัดสินใจมากกว่าผูห้ ญิงชนชันสู ้ ง ส่วนตัวละครชายทีเ่ ป็นกลุ่มชนชัน้
ผูป้ กครองนัน้ สังคมคาดหวังต่อการดารงสถานะทางสังคมเช่นเดียวกับผูห้ ญิง แต่กลไกแห่ง
อานาจไม่มคี วามเคร่งครัดเท่าผูห้ ญิง เพราะบทบาททางสังคมของผูช้ ายจะสัมพันธ์กบั การทา
กิจกรรมกับสังคมภายนอกซึ่งเกี่ยวข้องกับรัฐ ทัง้ ในส่วนของการเป็ นขุนนางและไพร่ ต้องอยู่
ภายใต้อานาจของรัฐและมูลนาย ลักษณะโครงสร้างทางสังคมที่แตกต่างกันของแต่ละชนชัน้
เป็นปจั จัยต่อสถานะ บทบาท และอานาจของผูห้ ญิงและผูช้ ายในสังคมไทยในอดีต

อนึ่ง ผูว้ จิ ยั พบว่ายังมีงานวิจยั ทีศ่ กึ ษาข้อมูลทีไ่ ด้รบั แรงบันดาลใจจากเสภา


เรื่องขุนช้าง – ขุนแผน จานวน ๑ เรื่อง คือ การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมดัดแปลง
เรื่ อ งขุนช้ า งขุนแผน ของณรงศัก ดิ ์ สอนใจ วิท ยานิ พ นธ์ป ริญ ญามหาบัณ ฑิต สาขาวิช า
ภาษาไทย มหาวิท ยาลัย ศิล ปากร ปี พ.ศ.๒๕๔๕ ณรงศัก ดิม์ ีว ัต ถุ ป ระสงค์เ พื่อ ศึก ษา
เปรียบเทียบวรรณกรรมดัดแปลงเรื่องขุนช้างขุนแผนจานวน ๔ ฉบับ ได้แก่ นวนิยายเรื่อง
ขุนช้างขุนแผนของพิชยั โอตตรดิตถ์ นวนิยายเรื่องขุนช้างขุนแผนของ ป.อินทรปาลิต นิราศ
ขุนช้างขุนแผนของฉันท์ ขาวิไล และบทละครเวทีเรื่องพิมพิลาไลยของปาริชาติ จึงวิวฒ ั นาภรณ์
โดยมุ่ ง ศึก ษาในด้า นรู ป แบบค าประพัน ธ์ กลวิธี ก ารประพัน ธ์ และป จั จัย ในการดัด แปลง
๒๒

วรรณกรรม จากการศึกษาพบว่า วรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนทัง้ ๔ ฉบับดัดแปลงจากบท


เสภาเรื่อ งขุนช้า งขุนแผนฉบับ หอพระสมุ ดฯ โดยใช้รูป แบบค าประพัน ธ์ท่ีแตกต่ า งกัน คือ
นวนิย าย นิ ราศ และบทละครเวที ผู้แต่ งเลือกกลวิธีการประพัน ธ์ต ามความเหมาะสมของ
ค าประพัน ธ์ แ ต่ ล ะประเภท เช่ น การใช้บ ทพรรณนาครวญในค าประพัน ธ์ ป ระเภทนิ ร าศ
การเลือกมุมมองผูเ้ ล่าเรื่องในคาประพันธ์ประเภทนวนิยาย และการใช้ค อรัสในบทละครเวที
เป็นต้น นอกจากนี้พบว่า เนื้อหาของวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนทัง้ ๔ ฉบับมีรายละเอียด
เนื้อหาแตกต่างจากบทเสภาขุนช้างขุนแผนฉบับหอพระสมุดวชิรญาณฯ ผู้แต่งได้ดดั แปลง
เนื้อหา ๓ ลักษณะ ได้แก่ การตัดทอนเนื้อหา การเปลีย่ นแปลงเนื้อหา และการเพิม่ เติมเนื้อหา
ผลการศึกษาสรุปว่า บทละครเวทีเรื่องพิมพิลาไลยมีการตัดทอนเนื้อหามากที่สุด และนวนิยาย
เรื่องขุนช้างขุนแผนของ ป.อิน ทรปาลิตมีเนื้อหาใกล้เคียงกับวรรณคดีบทเสภาเรื่องขุนช้าง
ขุนแผนทีเ่ ป็นงานต้นฉบับมากทีส่ ุด นอกจากนี้ยงั สรุปว่า ปจั จัยในการดัดแปลงวรรณกรรมเรื่อง
ขุนช้างขุนแผนทัง้ ๔ ฉบับนัน้ คือ ปจั จัยด้านปริบททางสังคม ปจั จัยด้านทัศนะของผูแ้ ต่ง และ
ปจั จัยด้านรูปแบบคาประพันธ์

ในวิทยานิพนธ์ฉบับนี้ ผูว้ จิ ยั มุ่งศึกษาลักษณะของข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนที่พบใน


จังหวัดกาญจนบุ รีและจัง หวัดสุพ รรณบุรี เพื่อวิเ คราะห์เปรียบเทีย บความทรงจาร่ วมเรื่อ ง
ขุนแผนในท้องถิน่ ดังกล่าว และเน้นการเก็บข้อมูลภาคสนามประกอบกับการศึกษาวิเคราะห์
จากตัวบทเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ทัง้ นี้ ผูว้ จิ ยั จะได้กล่าวถึงภูมหิ ลังเกี่ยวกับขุนแผน
และข้อ มู ล คติช นภาคสนามเกี่ย วกับ ขุ น แผนในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี
โดยลาดับ ในบทต่อ ๆ ไป
บทที่ ๒

ภูมิหลังเกี่ยวกับขุนแผนจากวรรณคดีและเอกสารทางประวัติศาสตร์

วิท ยานิ พ นธ์ ฉ บับ นี้ เ ป็ น การศึก ษาเรื่อ งราวชีว ิต ของขุ น แผนในเชิง คติช นวิท ยา
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนปรากฏในเรื่องขุนช้างขุนแผนซึ่งเชื่อกันว่าเป็ นเรื่องจริงที่ชาวบ้าน
เล่าสู่กนั ฟงั และมีการแต่งเติมจนกลายเป็ นนิทาน แต่งเป็ นบทเสภา กระทังมี ่ การบันทึกเป็ น
ลายลักษณ์ในเวลาต่อมา
ในบทนี้ ผูว้ จิ ยั จะแสดงให้เห็นภูมหิ ลังเกี่ยวกับขุนแผนจากข้อมูลเอกสาร ๒ ประเภท
คือ วรรณคดีไทย และเอกสารทางประวัตศิ าสตร์ เป็นเบือ้ งต้น โดยจําแนกเป็น ๒ ประเด็นหลัก
คือ ภูมหิ ลังเกี่ยวกับขุนแผนจากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน และภูมหิ ลังเกี่ยวกับขุนแผน
จากคาให้ การชาวกรุงเก่า ก่อนจะได้กล่าวถึงเรื่องราวชีวติ ของขุน แผนจากข้อมูลคติช น
ประเภทต่าง ๆ ในบทต่อ ๆ ไป

๒.๑ ภูมิหลังเกี่ยวกับขุนแผนจากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน


ขุนแผนเป็นตัวละครเอกในเรื่องขุนช้างขุนแผน และถือเป็ นตัวละครในวรรณคดีไทยที่
เป็นทีร่ จู้ กั กันอย่างกว้างขวาง เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน พระราชนิพนธ์ในพระบาทสมเด็จ
พระพุทธเลิศหล้านภาลัย เป็ นวรรณคดีไทยเรื่องสําคัญที่กล่าวถึงเรื่องราวชีวติ ของขุนแผน
ไว้โดยละเอียด
สมเด็จ พระเจ้าบรมวงศ์เ ธอ กรมพระยาดํารงราชานุ ภ าพ (๒๕๔๕: (๓) – (๑๑))
ทรงสันนิษฐานไว้ในตานานเสภาว่า เรื่องขุนช้างขุนแผนเป็ นเรื่องจริงที่เกิดขึน้ ครัง้ กรุงเก่า
นับเป็ น เรื่องในพระราชพงศาวดาร เนื้ อความที่ป รากฏในหนังสือ ค าให้ ก ารชาวกรุง เก่ า
ทําให้ทรงวินิจฉัยว่า สมเด็จพระพันวษาในเรื่องขุนช้างขุนแผน คือ สมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒
และเมื่อทรงพิจารณาเทียบกับพงศาวดาร ทําให้ทรงทราบว่า เรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นเรื่องจริง
ทีเ่ กิดในแผ่นดินสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒ ช่วง พ.ศ.๒๐๓๔ – ๒๐๗๒ ดังที่ผวู้ จิ ยั ได้กล่าวถึง
ไว้ในบททีแ่ ล้ว
เรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นเรื่องจริงทีน่ ํามาเล่าเป็นนิทานพืน้ บ้านนานหลายร้อยปี ต่อมา
จึง มีก วีคิด แต่ ง เป็ น กลอนเพื่อ นํ า ไปขับ เสภา และน่ า จะมีก ารตกแต่ ง เรื่อ งให้ยืด ยาวและ
สนุ กสนานมากยิง่ ขึน้ เรื่องในเสภาจึงน่ าจะคลาดเคลื่อนจากเรื่องเดิมมาก แต่คงจะยังมีเค้า
เรื่องเดิมอยู่บา้ ง ต่อมาหนังสือเสภาทีแ่ ต่งเมื่อครัง้ กรุงเก่าคงจะสูญหายไป เพราะแต่งขึน้ เพื่อ
ใช้ขบั หากิน ทําให้ตอ้ งปกปิดและท่องจําสืบต่อกันมา จนถึงสมัยรัชกาลที่ ๒ และรัชกาลที่ ๓
๒๔

มีก ารแต่ งเพิ่มเติมขึ้น ใหม่ อีก หลายตอน เนื่อ งจากในสมัย ดังกล่ าวมีค รู เ สภาจํา นวนมาก
ประกอบกับมีความนิยมในการเล่นเสภากันอย่างแพร่หลาย และในสมัยรัชกาลที่ ๓ เมื่อมีบท
เสภาสํานวนหลวงบริบูรณ์แล้ว คงจะเริม่ มีผรู้ วบรวมบทเสภาเรียบเรียงต่อกันเป็ นเรื่องจนถึง
สมัยรัชกาลที่ ๔ และสมัยนี้เองก็มคี รูเสภาแต่งเสภาขึน้ อีกหลายตอน กระทังสมั ่ ยรัชกาลที่ ๕
หมอสมิธได้พมิ พ์บทเสภาขึน้ เป็ น ครัง้ แรก ส่งผลให้พวกเสภานิยมขับสํานวนหลวง การขับ
สํานวนนอกจึงน้ อยลง (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุ ภาพ, ๒๕๑๓:
(๑๒) – (๕๒))
สมเด็จ พระเจ้ า บรมวงศ์ เ ธอ กรมพระยาดํ า รงราชานุ ภ าพ เคยมี ล ายพระหัต ถ์
ทูลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ ากรมพระยานริศรานุ วดั ติวงศ์ เมื่อวันที่ ๑๓ สิงหาคม
พุทธศักราช ๒๔๘๓ เกีย่ วกับสมัยทีแ่ ต่งเรื่องขุนแผน พิมพ์เผยแพร่ในสาส์นสมเด็จ เล่ม ๑๙
(สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์, ๒๕๐๔: ๒๑) ว่า

เรื่อ งขุ น แผนนัน้ แต่ ง ในสมัย เมื่อ ไทยเรายัง เชื่อ ถือ วิช า
กฤตยาคมกัน มัน่ คง ตัว ขุ น แผนตามที่พ รรณนาในเรื่อ งประวัติ
ดูเหมือนจะยกย่องคุณวิเศษเหล่านี้ คือเป็ นผู้เชีย่ วชาญกฤตยาคม
อย่าง ๑ เป็นคนซื่อตรงอย่าง ๑ และเป็นเจ้าชูด้ ว้ ยอย่าง ๑ ในหนังสือ
แต่งครัง้ กรุงศรีอยุธยา เช่นใน “คาให้ การชาวกรุงเก่า” ดูยกย่อง
คุ ณ วิเ ศษ ๒ อย่ า งข้า งต้น เป็ น สํ า คัญ คุ ณ วิเ ศษในการเป็ น เจ้า ชู้
ดูมาเฟื่ องฟู ด้วยบทเสภาที่แต่งในสมัยกรุงรัตนโกสินทร์ เช่นตอน
พลายแก้วกับนางพิม และตอนขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้าง เพราะแต่ง
จับใจดีเหลือเกิน ใครอ่านก็เอาใจเข้าด้วยขุนแผนทัง้ นัน้

นอกจากนี้ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้า ฟ้ ากรมพระยานริศ รานุ วดั ติว งศ์ เคยมี


ลายพระหัตถ์ทูลสมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ เมื่อวันที่ ๓ สิงหาคม
พุทธศักราช ๒๔๖๐ เผยแพร่ในสาส์นสมเด็จ เล่ม ๒ (สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ า
กรมพระยานริศรานุวดั ติวงศ์, ๒๕๐๔: ๑๓๑ – ๑๓๒) ว่า

อีกข้อหนึ่งซึ่งทรงเห็นว่า คนชอบเรื่องขุนช้างขุนแผนเพราะ
เป็ น เรื่อ งจริง นั น้ ก็ถู ก ส่ ว นหนึ่ ง แต่ เ ห็น ว่า จะเป็ น ด้ว ยเป็ น เรื่อ งที่
ไม่ เ ป็ น ไปตามใจหวัง ทํ า ให้ใ จผู้ฟ งั นัน้ วับ หวามด้ว ยอีก ส่ ว นหนึ่ ง
เพราะเรื่องของไทยเรา ใครในท้องเรื่องซึ่งน่ารักก็มแี ต่ความดี ถึงจะมี
อันตรายบ้างก็เพียงยักษ์มาลักเอาเมียไป นึกให้ทําอะไรไม่ได้กไ็ ม่ได้
๒๕

นึกให้ฆา่ ยักษ์ตายได้นางกลับก็ตายก็ได้กลับสมนึก มันก็ส้นิ สนุ กไป


ในตัวเอง แต่เรื่องขุนช้างขุนแผนนัน้ นึกไม่สมนึกตะบึงไป ตัง้ แต่แรก
พลายแก้วรักนางพิม ขุนช้างก็รกั พ้อง พลายแก้วน่ าเอ็นดูแต่ขุนช้าง
มีเ งิน นึ ก เอาใจช่ว ยให้พ ลายแก้ว ได้ส มนึ ก ก็จ ริง แต่ เ คราะห์ร้า ย
ต้องจากไปทัพ ขุนช้างก็ขวางเข้ามาให้ใจหวามอีก กลัวจะเสียทีแก่
ขุนช้างเกือ บตาย พลายแก้วกลับมาทันยัง ไม่ท ันเสียตัว ช่วยดีใ จ
เจียนตาย กับเกิดความวิวาทกับลาวทองถึงตัดขาดกัน ต้องเป็ นเมีย
ขุนช้างด้ว ยจํ าใจ ฟ งั น่ าสงสารและเสียใจมาก ครัน้ ขุน แผนคิดถึง
จะมาลอบลักพากลับไป ช่วยดีเนื้อดีใจ วันทองกลับไม่ไป อาลัยรัก
ขุนช้าง มันขวางใจที่สุด ถ้าไม่มีม นต์ก็ต้องถึง ฉุ ด คร่ ากันจึงไปได้
เป็ นนานจึงได้รกั ใคร่ลงรอยกันอย่างเดิม นึกว่าจะเป็ นสุขกันเสียที
ก็ห าเป็ น อย่ า งนึ ก ไม่ ขุ น ช้า งถวายฎี ก ารับ สัง่ ให้ ห าเข้า ไปชํ า ระ
ฟ งั เรื่อ งใจวับ หวามกลัว จะถู ก ตัด สิน ให้ไ ด้แ ก่ ขุน ช้า ง แต่ มีห วัง ที่
ขุนแผนเป็ นผัวเก่ามีทางจะได้แต่ก็ทําผิดไว้ เรื่องกลับหลีกไปเป็ น
วันทองต้องถูกตัดหัว ร้ายไปกว่าอะไรเสียหมดอีก เรื่องมันขวางนํ้าใจ
อยู่ ด ัง นี้ ของเรามีอ ยู่ เรื่อ งเดีย วเท่ านี้ ประกอบกับคํ า แต่ งเหมือ น
เรื่องคนจริงจัง จึงชอบกันไม่รจู้ ดื

เรื่องขุนช้างขุนแผนมีผแู้ ต่งหลายคน และแต่งต่อกันจนกลายเป็ นเรื่องขนาดยาวมาก


เมื่อ หอพระสมุ ด วชิร ญาณรวบรวมและชํ า ระเรื่อ งขุน ช้า งขุ น แผนไว้เ ป็ น สมบัติข องชาติ
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุ ภาพ ในฐานะนายกหอพระสมุดวชิรญาณ
จึงทรงคัดเลือกตอนต่าง ๆ จากฉบับทีแ่ ต่งดีมาชําระและรวบรวมเป็นเล่ม
สุกญ ั ญา ภัทราชัย (๒๕๓๔: ๓๐ – ๓๒) กล่าวไว้ในบทความเรื่อง “‘ขุนช้างแปลงสาร’
ตอนที่หายไปจากเสภาขุนช้าง – ขุนแผน ฉบับหอพระสมุด ฯ” ตีพมิ พ์ในวารสารภาษาและ
วรรณคดีไทย ปี ที่ ๘ ฉบับที่ ๑ เรื่องการตรวจชําระหนังสือ เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า
เมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๐ สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุ ภาพ และพระราชวงศ์
เธอ กรมหมื่นกวีพจน์สุปรีชา ได้ทรงช่วยกันตรวจชําระหนังสือ เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
ขึ้น เป็ น ครัง้ แรกเพื่อ จัด พิม พ์เ ป็ น ฉบับ หอพระสมุ ด วชิร ญาณ โดยทรงใช้ห นั ง สื อ ๔ ฉบับ
ในการชําระ อันได้แก่
๑. ฉบับฝีมอื อาลักษณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๓ จากพระบรมมหาราชวัง เป็นฉบับเก่าทีส่ ุด
๒. ฉบับสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาพิชยั ญาติ ฝีมอื เขียนในสมัยรัชกาลที่ ๔
๓. ฉบับหลวง ฝีมอื อาลักษณ์ในสมัยรัชกาลที่ ๕ พ.ศ.๒๔๑๒
๒๖

๔. ฉบับสมเด็จเจ้าพระยาบรมมหาศรีสุรยิ วงศ์ เขียนในสมัยรัชกาลที่ ๕ พ.ศ.๒๔๑๒


(ฉบับทีห่ มอสมิธพิมพ์เผยแพร่)

เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณ ที่จดั พิมพ์ในคราวที่สมเด็จ


พระเจ้า บรมวงศ์เ ธอ กรมพระยาดํ า รงราชานุ ภ าพ ทรงเป็ น ประธานในการชํ า ระหนัง สือ
มีทงั ้ หมด ๔๓ ตอน ดังนี้

ตอนที่ ๑ กําเนิดขุนช้างขุนแผน
ตอนที่ ๒ เรื่องพ่อขุนช้างขุนแผน
ตอนที่ ๓ พลายแก้วบวชเณร
ตอนที่ ๔ พลายแก้วเป็นชูก้ บั นางพิม
ตอนที่ ๕ ขุนช้างขอนางพิม
ตอนที่ ๖ พลายแก้วเข้าห้องนางสายทอง
ตอนที่ ๗ พลายแก้วแต่งงานกับนางพิม
ตอนที่ ๘ พลายแก้วถูกเกณฑ์ทพั
ตอนที่ ๙ พลายแก้วยกทัพ
ตอนที่ ๑๐ พลายแก้วได้นางลาวทอง
ตอนที่ ๑๑ นางพิมเปลีย่ นชือ่ วันทอง
ตอนที่ ๑๒ นางศรีประจันยกนางวันทองให้ขนุ ช้าง
ตอนที่ ๑๓ พลายแก้วได้เป็นขุนแผน ขุนช้างได้นางวันทอง
ตอนที่ ๑๔ ขุนแผนบอกกล่าว
ตอนที่ ๑๕ ขุนแผนต้องพรากนางลาวทอง
ตอนที่ ๑๖ กําเนิดกุมารทองบุตรนางบัวคลี่
ตอนที่ ๑๗ ขุนแผนขึน้ เรือนขุนช้างได้นางแก้วกิรยิ า
ตอนที่ ๑๘ ขุนแผนพานางวันทองหนี
ตอนที่ ๑๙ ขุนช้างตามนางวันทอง
ตอนที่ ๒๐ ขุนช้างฟ้องว่าขุนแผนเป็นกบฏ
ตอนที่ ๒๑ ขุนแผนลุแก่โทษ
ตอนที่ ๒๒ ขุนแผนชนะความขุนช้าง
ตอนที่ ๒๓ ขุนแผนติดคุก
ตอนที่ ๒๔ กําเนิดพลายงาม
ตอนที่ ๒๕ เจ้าล้านช้างถวายนางสร้อยทองแก่พระพันวษา
๒๗

ตอนที่ ๒๖ เชียงใหม่ชงิ นางสร้อยทอง


ตอนที่ ๒๗ พลายงามอาสา
ตอนที่ ๒๘ พลายงามได้นางศรีมาลา
ตอนที่ ๒๙ ขุนแผนแก้พระท้ายนํ้า
ตอนที่ ๓๐ ขุนแผนพลายงามจับพระเจ้าเชียงใหม่
ตอนที่ ๓๑ ขุนแผนพลายงามยกทัพกลับ
ตอนที่ ๓๒ ถวายนางสร้อยทองสร้อยฟ้า
ตอนที่ ๓๓ แต่งงานพระไวย (พลายงาม)
ตอนที่ ๓๔ ขุนช้างเป็นโทษ
ตอนที่ ๓๕ ขุนช้างถวายฎีกา
ตอนที่ ๓๖ ฆ่านางวันทอง
ตอนที่ ๓๗ นางสร้อยฟ้าทําเสน่ห์
ตอนที่ ๓๘ พระไวยถูกเสน่ห์
ตอนที่ ๓๙ ขุนแผนส่องกระจก
ตอนที่ ๔๐ พระไวยแตกทัพ
ตอนที่ ๔๑ พลายชุมพลจับเสน่ห์
ตอนที่ ๔๒ นางสร้อยฟ้าศรีมาลาลุยไฟ
ตอนที่ ๔๓ จระเข้เถนขวาด

จะเห็น ได้ว่า เรื่องขุน ช้า งขุนแผนนี้ เ ป็ นเรื่อ งขนาดยาว ผ่า นการรวบรวมและชํา ระ


เรื่อ งราวมาหลายสมัย การชําระหนังสือและจัด พิมพ์ เสภาเรื่ องขุน ช้ าง – ขุน แผน ฉบับ
หอพระสมุดวชิรญาณเพื่อให้ได้หนังสือกลอนไว้เป็ นฉบับหลวง จึงคัดเอาแต่กระบวนกลอนที่ดี
และกระบวนความทีม่ สี าระในทางวรรณคดี ด้วยเหตุน้จี งึ มีเรื่องราวบางตอนทีเ่ ป็นบทเสภานอก
ของชาวบ้าน ไม่ได้รบั การบันทึกไว้ สุกญ ั ญา ภัทราชัย (๒๕๓๔: ๓๓) กล่าวว่า บทเสภานอก
ของชาวสุ พ รรณบุ รีมีเ นื้ อ เรื่อ งที่แ ตกต่ า งไปจากเสภาฉบับ หอพระสมุ ด วชิร ญาณ โดยมี
ตอนสําคัญตอนหนึ่งทีแ่ สดงความแตกต่างระหว่างวรรณคดีราชสํานักกับวรรณคดีของชาวบ้าน
คือตอนขุนช้างแปลงสาร ตอนขุนช้างแปลงสารนี้ไม่ปรากฏในเสภาฉบับหอพระสมุด พบแต่
ในการแสดงของชาวบ้าน ทัง้ เพลงทรงเครื่องและลิเก โดยเฉพาะบทลิเกมีการพิมพ์ตอนขุนช้าง


สุจิตต์ วงษ์เทศ (๒๕๔๕: ๑๕๓) กล่าวถึง ชื่อเถนขวาด ไว้ในขุนช้ างขุนแผนแสนสนุก ว่า
ชื่อที่ถูกต้องควรเป็ น เถนขวาด ไม่ใช่ เถรขวาด เพราะ “เถร” หรือ “เถระ” หมายถึง พระผู้ใหญ่ แต่ “เถน”
หมายถึง นักบวชอลัชชี
๒๘

แปลงสารนี้เป็นหนังสือเล่มเล็กทีเ่ รียกว่า “หนังสือวัดเกาะ” อยู่ในชุดลิ เกสิ บสองภาษา เล่ม ๑๓


คาร้องต่าง ๆ พิมพ์โดยโรงพิมพ์พานิชศุภผล เมื่อ พ.ศ.๒๔๕๖

อย่ า งไรก็ต าม เสภาเรื่อ งขุนช้ า ง – ขุน แผน ฉบับ หอพระสมุด วชิรญาณ ถือ เป็ น
สํานวนที่แ พร่หลายและคนส่วนใหญ่ รู้จกั มากที่สุ ด ศัก ดิศ์ รี แย้ม นัดดา (๒๕๔๒: ๖๖๕)
ได้ก ล่ า วถึง เนื้ อ เรื่อ งและโครงเรื่อ งของเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน ไว้ใ นสารานุ ก รม
วัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ ม ๒ ว่า หากนับเนื้อเรื่องที่เ ป็ นมาตรฐานจํานวน ๔๓ ตอน
ดังกล่าวแล้ว พอจะสรุปได้วา่ ช่วงชีวติ ของขุนแผนแบ่งออกเป็ น ๓ ตอน คือตอนแรก ช่วงชีวติ
ตอนเป็ นพลายแก้ว อยู่ในวัยเด็ก และเริ่มรักกับนางพิมพิลาไลย หรือต่ อมาเปลี่ยนชื่อเป็ น
นางวันทอง ตอนที่ ๒ ช่วงชีวติ ตอนเป็ นขุนแผน เป็ นตอนที่ต้องผจญภัยโลดโผนมากที่สุด
และตอนที่ ๓ ช่ว งชีว ิต ตอนเป็ น พระสุ รินทรฦๅไชย เจ้า เมืองกาญจนบุ รี และพลายงาม
บุตรชายได้เข้ารับราชการเป็นทหารแล้ว เป็นตอนทีข่ นุ แผนเข้าสู่วยั ชรา
ในขณะที่ สุจติ ต์ วงษ์เทศ (๒๕๔๕: ๒) กล่าวถึงเนื้อเรื่องและโครงเรื่องของเสภาเรื่อง
ขุนช้าง – ขุนแผนไว้ในขุนช้างขุนแผนแสนสนุก ว่า เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เป็ นเรื่อง
รักสามเส้า ควรจําแนกโครงเรื่องเป็น ๒ ระยะ คือ ระยะแรก เป็นนิทานศักดิ ์สิทธิ ์ของราชสํานัก
ปรากฏเรื่องอยู่ในคาให้การชาวกรุงเก่า เนื้อหามีขนาดสัน้ กล่าวยกย่องขุนแผนเพียงผูเ้ ดียว
เท่ า นัน้ ไม่ ไ ด้ก ล่ าวถึงผู้อ่ืน และเป็ น เรื่องที่มีม าตัง้ แต่ ค รัง้ กรุ ง ศรีอ ยุ ธยา และระยะหลัง
เป็นนิทานสนุกสุขสันต์ของชาวบ้าน กล่าวคือ มีการนํ านิทานศักดิ ์สิทธิ ์มาแต่งเป็ นกลอนเสภา
ไว้สําหรับขับเสภา ซึ่งมีการแต่งเรื่องราวและเพิม่ ตัวละครอื่นเข้ามา โดยแบ่งเรื่องราวระยะหลัง
ได้เป็ น ๒ คราว กล่าวคือ คราวแรก เริม่ ตัง้ แต่กําเนิดขุนช้างขุนแผนจนถึงฆ่านางวันทอง
ซึ่งน่ าจะเป็ นเรื่องราวที่มีมาตัง้ แต่กรุงศรีอ ยุธยาแล้ว และคราวหลัง เริม่ ตัง้ แต่นางสร้อ ยฟ้ า
ทําเสน่ ห์จนถึงจับจระเข้เถนขวาด ซึ่งเป็ นเรื่องที่แต่งเพิม่ ภายหลังในยุคกรุงเทพ แต่ยงั แต่ง
ไม่จบเรื่อง เพราะมีผแู้ ต่งต่อให้ยดื ยาวอีก ดังปรากฏในหนังสือ เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
ภาคปลาย ทีก่ รมศิลปากรชําระใหม่
สุกญั ญา ภัทราชัย (๒๕๓๔: ๒๙) กล่าวว่า เรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เป็ นนิทานพื้นบ้าน
อมตะของคนไทย โดยเฉพาะชาวสุพรรณบุรซี าบซึ้งนิทานเรื่องนี้มากเป็ นพิ เศษ เนื่องจากฉาก
สถานที่ต่ า ง ๆ ในเรื่อ งมีป รากฏให้เ ห็น ของจริง ได้ ใ นเมือ งสุ พ รรณ เช่ น วัด ป่า เลไลยก์
วัดส้มใหญ่ บ้านรัว้ ใหญ่ของขุนช้าง บ้านท่าพีเ่ ลีย้ งของนางพิม ตําบลท่าสิบเบีย้ ตําบลบ้านพลับ
จนถึงอําเภอศรีประจันต์ ซึ่งชวนให้นึกถึงชือ่ ของแม่ยายขุนแผน นิทานเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
เชือ่ กันว่าเป็นเรื่องจริงทีเ่ กิดขึน้ ในสมัยสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒ แห่งกรุงศรีอยุธยา เล่าสู่กนั ฟงั
แต่งเติมต่อมาจนกลายเป็นนิทานเล่าขานและนํามาแต่งเป็นกลอนเสภาในสมัยหลัง
๒๙

อย่างไรก็ดี วัชรี รมยะนันทน์ (๒๕๓๓: ๑๕) ได้สนั นิษฐานถึงสมัยที่แต่งเรื่องขุนช้าง


ขุนแผน ไว้ในบทความเรื่อง “ขุนช้างขุนแผนเริม่ แต่งในรัชกาลใด” ตีพมิ พ์ในวารสารภาษาและ
วรรณคดีไทย ปี ที่ ๗ ฉบับที่ ๒ โดยเสนอความคิดว่า สมัยทีเ่ ริม่ แต่งเป็นวรรณคดีน่าจะตรงกับ
รัชสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช จากความตอนหนึ่งในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ปีขาลวันอังคารเดือนห้า ตกฟากเวลาสามชันฉาย ้
กรุงจีนเอาแก้วอันแพรวพราย มาถวายพระเจ้ากรุงอยุธยา
ให้ใส่ปลายยอดเจดียใ์ หญ่ สร้างไว้แต่เมื่อครัง้ เมืองหงสา
เรียกวัดเจ้าพระยาไทยแต่ไรมา ให้ชอ่ื ว่าพลายแก้วผูแ้ ววไว
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๘)

ความข้างต้น มาจากเนื้ อความตอนกํ าเนิด ขุน แผน กล่ าวถึง เรื่องการสร้างเจดีย์ท่ี


วัดเจ้าพระยาไทย และการบรรจุแก้วที่พ ระเจ้ากรุงจีนนํ า มาถวายพระเจ้าแผ่นดิน ไทยไว้ท่ี
ยอดเจดีย์ เหตุการณ์ “กรุงจีนเอาแก้วอันแพรวพราย มาถวายพระเจ้ากรุงอยุธยา” นี้ วัชรี
รมยะนันทน์ (๒๕๓๕: ๙๘ – ๙๙) ได้กล่าวไว้ในบทความเรื่อง “วัดใหญ่ชยั มงคลกับการศึกษา
ระยะสมัย การแต่ ง เรื่อ งขุ น ช้า งขุ น แผน” ซึ่ง พิม พ์เ ผยแพร่ ใ นหนั ง สือ น้ อมศิ ร สา ด้ ว ยว่ า
“เหตุการณ์ดงั กล่าวไม่น่าจะเป็ นเหตุการณ์สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพราะเมื่อตรวจ
ค้นดูในประชุมพงศาวดารภาคที่ ๕ เรื่องจดหมายเหตุจนี ว่าด้วยสยามแต่โบราณแล้วพบว่า ไม่มี
ข้อความตอนใดทีก่ ล่าวถึงการถวายแก้วเป็นบรรณาการจากพระเจ้ากรุงจีนเลย จะมีกแ็ ต่ไทยที่
มักจะส่งเครื่องบรรณาการไปถวายพระเจ้ากรุงจีน ด้วยหวังเป็ นไมตรีให้การค้าขายกับจีน
เป็ นไปโดยสะดวก และโดยเฉพาะในรัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราชนั ้น ก็ไม่ปรากฏว่า
พระเจ้า กรุงจีนได้ส่งทูตมาแต่อย่ างใด มีแต่ในรัช สมัยของสมเด็จ พระมหาธรรมราชาธิราช
(ตรงกับปี ระกา จุลศักราช ๙๓๕ ในแผ่นดินของพระเจ้าสินจงฮ่องเต้ กษัตริย์องค์ท่ี ๑๓ แห่ง
ราชวงศ์เหม็ง) ไทยได้ส่งทูตไปเมืองจีน และมีราชสาส์นมาขอความยกย่องกับดวงตรา พระเจ้า
สินจงฮ่องเต้กป็ ระทานให้ จึงอาจจะเป็นไปได้วา่ “ดวงตรา” ที่กล่าวถึงนี้เป็ น “แก้ว” ครัน้ เมื่อถึง
สมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราชทีม่ กี ารสร้างชัยมงคลเจดีย์ พระองค์กอ็ าจจะให้นําแก้วที่ได้มา
ตัง้ แต่สมัยสมเด็จพระมหาธรรมราชาธิราชมาบรรจุไว้ท่ยี อดของเจดีย์ ด้วยคิดว่าเป็ นเครื่อง
บรรณาการจากพระเจ้าแผ่นดินจีน เพราะการติดต่อกับจีนในสมัยนัน้ ไม่มคี นไทยที่รู้ภาษาจีน
พอทีจ่ ะเขียนหนังสือได้ ต้องอาศัยคนจีนทีอ่ ยู่ในไทยเป็นผูเ้ ขียนให้ ในการติดต่อกันจึงอาจเกิด
ความเข้าใจผิดขึน้ ได้ โดยฝ่ายจีนถือว่าไทยเป็ นเมืองขึน้ ของจีนโดยไทยไม่รู้ตวั และไทยเราก็
เข้าใจผิดไปว่า ดวงตราทีจ่ นี ส่งมานัน้ เป็นเครื่องบรรณาการจากจีนก็เป็นได้ ”
๓๐

วัชรี รมยะนันทน์ (๒๕๓๓: ๑๕) แสดงทัศนะว่า ถ้าเจดีย์ท่วี ดั เจ้าพระยาไทยตามความ


ที่ป รากฏ สร้ า งขึ้น ในสมัย สมเด็จ พระนเรศวรมหาราช ตามข้อ สัน นิ ษ ฐานของสมเด็ จ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุ ภาพแล้ว ทําให้พอจะสันนิษฐานสมัยที่เริม่ แต่ง
ขุนช้างขุนแผนเป็ นวรรณคดีได้ คือในราวสมัยสมเด็จพระนเรศวรมหาราช เพราะกวีมกั จะใส่
ความเป็ นไปในสมัยนัน้ ลงไปในเรื่องที่ตนแต่ง และเนื่องจากความสอดคล้องของเรื่องจริงกับ
เรื่องทีแ่ ต่งเช่นนี้กย็ งิ่ เป็นเรื่องทีส่ มควรจะนํามากล่าวไว้

จะเห็น ได้ ว่า ความน่ า สนใจของเรื่อ งขุ น ช้า งขุ น แผนไม่ ไ ด้อ ยู่ ท่ีเ รื่อ งราวมีค วาม
สนุ กสนานและมีกระบวนกลอนดีแต่เพียงเท่านัน้ หากแต่ขุนแผนยังเป็ นตัวละครที่มีผเู้ ชื่อว่า
เคยมีตวั ตนจริงอีก ด้วย ผู้วจิ ยั เห็น ว่า การศึกษาคติช นเกี่ยวกับขุน แผนในงานวิจยั เ รื่องนี้
จําเป็นต้องทราบภูมหิ ลังเกีย่ วกับขุนแผนเพื่อใช้ประกอบการศึกษาวิเคราะห์ขอ้ มูลคติชนต่าง ๆ
ต่อไป จึงได้ศกึ ษาภูมหิ ลังเกีย่ วกับขุนแผนจากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน โดยจําแนกเป็ น
ประเด็นต่าง ๆ คือ สังเขปชีวประวัตขิ นุ แผน คําเรียกชือ่ ขุนแผน และเรื่องราวชีวติ ของขุนแผน
ดังจะกล่าวถึงโดยลําดับ ดังนี้

๒.๑.๑ สังเขปชีวประวัติขนุ แผน


ขุน แผน หรือ เดิม ชื่อ พลายแก้ ว เป็ น บุ ต รชายของขุ น ไกรพลพ่ า ย
นายทหารสังกัดกรมอาทมาตหรือหน่ วยตระเวนด่านของกรุงศรีอยุธยา กั บนางทองประศรี
เกิด เมื่อ ปี ข าล วัน อัง คาร เดือ นห้ า ที่เ มือ งสุ พ รรณบุ รี เมื่อ เติบ ใหญ่ ไ ด้บ วชเรีย นและ
เข้า รับ ราชการทหารสนองพระเดชพระคุ ณ สมเด็จ พระพัน วษา จนได้ ร ับ พระราชทาน
บรรดาศักดิ ์เป็ นขุนแผนแสนสะท้าน นายทหารตระเวนด่าน สังกัดกรมอาทมาตเหมือนบิดา


เหตุการณ์สาํ คัญอีกตอนหนึ่งในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน คือตอนขุนแผนได้รบั พระราชทาน
บรรดาศักดิเป็ ์ นพระสุ รินทรฦๅไชยมไหสูร ย์ภ ักดี ตําแหน่ ง ผู้ร งั ้ เมือ งกาญจนบุ ร ี หม่อ มราชวงศ์คึกฤทธิ ์
ปราโมช (๒๕๕๓: ๓๐๒ – ๓๐๓) กล่าวไว้ในขุนช้างขุนแผนแสนสนุก ว่า “คําว่า ผูร้ งั ้ ในทีน่ ้ี หมายความว่ า
ผู้ว่ า ราชการจัง หวัด นัน่ เอง ตํา แหน่ ง รัง้ นี้เ กิด ขึ้น ในแผ่น ดิน สมเด็จพระนเรศวรเป็ นเจ้า แต่ ก่ อ นนัน้ มา
บ้านเมืองในเมืองไทยต่ าง ๆ นัน้ ปกครองด้ว ยคนที่เรีย กว่า พระยากินเมือ ง เจ้าเมืองเมืองใดก็เ รีย กชื่อ
ตามเมืองนัน้ พระยากินเมืองเหล่านี้เป็นขุนนางแบบโบราณ เมื่อตัวตายแล้ว บุตรชายหรือญาติท่ใี กล้ชดิ ที่สุด
ก็ข้นึ รับ ตําแหน่ ง แทน ดูอ อกจะห่างไกลจากการปกครองส่ ว นกลางอยู่มาก สมเด็จพระนเรศวรมหาราช
ไม่ โ ปรดระบบเช่ น นี้ จึง ได้ ท รงพยายามเลิก ตํ า แหน่ ง พระยากิ น เมือ ง เหล่ า นี้ ใ ห้ ม ากที่ สุ ด เท่ า ที่จ ะ
มากได้ พระยากินเมืองบางคนครองเมืองใหญ่ มีอํา นาจมาก ถ้าสังยุ ่ บเลิกไปก็จะกลายเป็ นศัตรู ก็ทรงให้อยู่
ตําแหน่งนัน้ ไปก่อน แต่ตงั ้ ข้าราชการจากส่วนกลางไปกํากับราชการและเรียกว่าผู้รงั ้ จนในที่สุดคําว่าผู้รงั ้ นัน้
ก็หมายถึง ผูว้ ่าราชการนัน้ เอง ความจริงเมืองกาญจนบุร ี ไม่มตี วั พระยากินเมืองอยู่ แต่กต็ งั ้ ขุนแผนเป็ นผู้ รงั ้
อยู่ดี เพราะคําว่าผูร้ งั ้ เป็นศัพท์ทใ่ี ช้กนั ทัวไปแล้
่ ว”
๓๑

และได้รบั พระราชทานบรรดาศักดิ ์เป็ นพระสุรนิ ทรฦๅไชยมไหสูรย์ภกั ดี เจ้าเมือ งกาญจนบุรี


ในเวลาต่อมา ขุนแผนมีภรรยาและบุตร ดังนี้
๑) นางพิมพิลาไลย ต่อมาเปลี่ยนชื่อเป็ น วันทอง บุตรสาวรูปงามของ
พันศรโยธา คหบดีชาวสุพรรณบุรีกบั นางศรีประจัน ขุนแผนกับนางวันทองมีบุตรชาย ๑ คน
ชือ่ พลายงาม
๒) นางสายทอง พี่เลี้ยงของนางพิมพิลาไลย ขุน แผนได้นางสายทอง
เป็นภรรยา เพราะขุนแผนตัง้ ใจจะตอบแทนความดีของนางสายทองที่ช่วยเป็ นแม่ส่อื ให้ตนกับ
นางพิมพิลาไลย แต่ขนุ แผนก็มไิ ด้ยกย่องนางสายทองให้ทดั เทียมกับภรรยาคนอื่น ๆ
๓) นางลาวทอง บุ ตรสาวของแสนคํา แมนกับ นางศรีเงินยวง ขุน แผน
ยกย่องเลีย้ งดู นางลาวทองเป็นอย่างดีในฐานะภรรยาคนหนึ่ง
๔) นางบัวคลี่ บุตรสาวหมื่นหาญกับนางสีจนั ทร์ ขุนแผนได้นางบัวคลี่เป็ น
ภรรยา นางบัวคลีต่ งั ้ ครรภ์บุตรชายและถูกขุนแผนผ่าท้องเอาบุตรชายไปทํากุมารทอง
๕) นางแก้วกิรยิ า ธิดาพระยาสุโขทัยกับคุณหญิงเพ็ญจันทร์ ขุนแผนได้
นางแก้วกิรยิ าตอนขึน้ เรือนขุนช้าง มีบุตรชาย ๑ คน ชือ่ พลายชุมพล

๒.๑.๒ คาเรียกชื่อขุนแผน
เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เป็ นเรื่องขนาดยาว ทัง้ ยังกล่าวถึงเรื่องราว
ชีวติ ของขุนแผนหลายช่วง ด้วยเหตุน้ี ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน จึงปรากฏคําเรียกชื่อ
ขุนแผนหลายชื่อ คําเรียกชื่อต่าง ๆ จะเปลี่ย นแปลงไปตามสถานภาพของขุนแผนแต่ล ะ
ช่วงชีวติ
ตอนที่ถือกําเนิดมานัน้ บิดามารดาของขุนแผนตัง้ ชื่อให้ว่า พลายแก้ว
เนื่องจากช่วงทีเ่ กิดตรงกับช่วงเวลาทีพ่ ระเจ้ากรุงจีนนําดวงแก้วมาถวายสมเด็จพระพันวษาแห่ง
กรุงศรีอยุธยาเพื่อให้ประดับไว้ทย่ี อดเจดียใ์ หญ่ หรือปจั จุบนั คือ วัดใหญ่ชยั มงคล ดังทีผ่ วู้ จิ ยั ได้
กล่าวถึงแล้วข้างต้น

สุจติ ต์ วงษ์เทศ (๒๕๔๕: ๓๗ – ๓๘) กล่าวถึงชื่อพลายแก้วในขุนช้าง


ขุนแผนแสนสนุ ก ไว้อย่างน่ าสนใจว่า ที่มาของคําว่า ‚พลาย‛ ในชื่อพลายแก้วนัน้ ยังไม่ มี
ข้อยุติ อย่างไรก็ตาม สามารถสังเกตได้วา่ บุคคลในตระกูลของพลายแก้วล้วนแล้วแต่เป็นพวก
‚ตระกูลพลาย‛ แทบทัง้ สิน้ กล่าวคือ พลายประจํายาม มีบุตรชายชื่อ พลายจันทน์ ซึ่งต่อมา
ได้เป็นขุนไกร จากนัน้ ขุนไกรมีบุตรชายคือ พลายแก้ว ซึ่งต่อมาได้เป็ นขุนแผน เมื่อขุนแผน
กับนางวันทอง มีบุตรชายก็ได้ตงั ้ ชื่อบุตรว่า พลายงาม ส่ว นบุตรชายของขุนแผนที่เกิดจาก
๓๒

ภรรยาคนอื่น ๆ ต่างก็มีช่อื ขึ้นต้นด้วยคําว่า ‚พลาย‛ คือ บุตรชายที่เกิดกับนางแก้วกิริย า


มีชอ่ื ว่า พลายชุมพล บุตรชายทีเ่ กิดกับนางลาวทองมีชอ่ื ว่า พลายณรงค์ เป็นต้น
ในประเด็น เดีย วกัน นี้ พระยาอนุ ม านราชธนประทานกราบทู ล สมเด็จ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุ วดั ติวงศ์ เมื่อวันที่ ๗ กรกฎาคม พุทธศักราช
๒๔๘๔ พิมพ์เผยแพร่ในบันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่ม ๔ (๒๕๕๔: ๒๓๘) ว่า “พลาย ใน
คําว่า พลายแก้ว พลายงาม คิดด้วยเกล้าฯ ว่า จะเป็ นคนละคํากับ พราย เพราะในภาษามอญ
มีคําว่า ปลาย แปลว่าชายหนุ่มชายโสด ถ้าเทียบกับคําไทยของเก่าก็ตรงกับคําว่า บ่าว”

ต่อมาเมื่อพลายแก้วบวชเรียนเพื่อ ศึกษาวิชาที่วดั ส้มใหญ่ วัดป่าเลไลยก์


และวัดแค จึงได้รบั การเรียกขานว่า เณรแก้ว ตามสถานภาพในขณะนัน้ กระทังบวชเรี ่ ยน
และได้วชิ าจนครบถ้วนตามตํารา วันหนึ่งพลายแก้ว ถูกเกณฑ์ท ั พเพื่อไปศึกเชียงใหม่และ
เชียงทอง และได้ชยั ชนะ มีความดีความชอบ สมเด็จพระพันวษาจึงพระราชทานบรรดาศักดิ ์ให้
เป็นขุนแผน ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ครานัน้ พระองค์ได้ทรงฟงั จึงดํารัสตรัสสังพระหมื


่ ่นศรี
ประทานของต้องตามความชอบมี เจียดกระบีเ่ สือ้ ใส่ได้ประทาน
ตัวอ้ายพลายให้ตงั ้ เป็นขุนแผน อยู่รกั ษาเขตแดนทีป่ ลายด่าน
คุมไพร่หา้ ร้อยคอยเหตุการณ์ แล้วประทานเรือยาวเก้าวา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๒๗๓)

การเรียกชือ่ ขุนแผนในวรรณคดีจงึ เรียกตามบรรดาศักดิ ์ทีไ่ ด้รบั พระราชทาน


ว่า ขุนแผน เกือบตลอดทัง้ เรื่อง หม่อมราชวงศ์ค ึกฤทธิ ์ ปราโมช (๒๕๕๓: ๑๒๘ – ๑๒๙)
แสดงทัศนะเกี่ยวกับบรรดาศักดิ ์ของขุนแผนไว้ในขุนช้ างขุนแผนฉบับอ่านใหม่ สรุปความ
ได้วา่ ขุนแผนนัน้ มีบรรดาศักดิ ์เป็นขุนแน่นอน ส่วนราชทินนามนัน้ เรียกกันแต่ว่า แผน ทัง้ เรื่อง
ซึ่งดูผดิ วิสยั เพราะคงจะต้องมีสร้อยต่อออกไปอีก เมื่อค้นจากทําเนียบข้าราชการในสมัยอยุธยา
ก็ไม่พบราชทินนามของขุนแผน แต่ในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผนมีให้สร้อยนามท้ายนามขุนแผน
ไว้ เช่น ขุนแผนแสนสนิท ขุนแผนแสนสะท้าน ขุนแผนแสนสุภาพ ซึ่งไม่แน่ ว่าจะเป็ นส่วนหนึ่ง
ของราชทินนาม อาจเป็นการต่อเข้าไปเพื่อให้ได้สมั ผัสทีจ่ ะแต่งกลอนเสภาต่อไปได้ อย่างไรก็ดี
ในทํ า เนี ย บข้า ราชการกรมตํ า รวจแต่ ก่ อ นมานั น้ มีอ ยู่ น ามหนึ่ ง ว่ า “พระแผลงสะท้ า น”
บรรดาศักดิ ์และราชทินนามนี้คงอยู่ในทําเนียบเรื่อยมา จนกระทั ่งมีการเลิกบรรดาศักดิ ์ คําว่า
แผลงนัน้ อาจเปลี่ยนมาจากแผนก็ได้ เพราะดูจะมีฤ ทธิ ์มีเดชกว่าคําว่า แผน แต่ก ็เป็ นเพียง
การคาดเดาเท่านัน้
๓๓

ส่วนศักดิ ์ศรี แย้มนัดดา (๒๕๔๒: ๖๖๔ - ๖๖๕) ได้ตงั ้ ข้อสังเกตและวินิจฉัย


เรื่องบรรดาศักดิ ์ของขุนแผนไว้ในสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๒ ว่า คําว่า
‚ขุน แผน‛ เป็ นราชทิน นามที่พ ลายแก้ว ได้ร ับพระราชทานจากพระพัน วษาในคราวรบศึก
เชียงใหม่ครัง้ แรก ซึ่งพลายแก้วมีอายุราว ๑๘ ปี ราชทินนามขุนแผนคงจะมีสร้อยต่อไปอีก
แต่ภาษาชาวบ้านไม่นิยมพูดเต็ม เพราะเห็นว่ายาวไป จึงเรียกสัน้ ๆ ว่า ‚ขุนแผน‛ และด้วย
เหตุ ท่ี เ สภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน มีผู้ แ ต่ ง จํ า นวนหลายคน สร้ อ ยราชทิ น นามจึง มี
หลากหลาย เช่น ขุนแผนแสนสวาสดิ ์ ขุนแผนแสนสุภาพ ขุนแผนแสนประเสริฐ ขุนแผน
แว่นไว ขุนแผนแสนวิเศษ เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม สร้อยราชทินนามที่มคี วามเป็ นไปได้มาก
ทีส่ ุด คือ ขุนแผนแสนสะท้าน ดังปรากฏคํากลอนในเรื่องว่า ‚บุตรขุนแผนแสนสะท้านหลาน
ทองประศรี‛ หรือ ‚ลู กขุนแผนแสนสะท้านหลานขุนไกร‛ ศัก ดิ ์ศรีอ้างถึงพระมติท่สี มเด็จ
พระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยานริศรานุ วดั ติวงศ์ ประทานแก่พระยาอนุ มานราชธน
เมื่อเดือนมิถุนายน พ.ศ.๒๔๘๓ พิมพ์เผยแพร่ในบันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ เล่ม ๔ (๒๕๕๔:
๓๔ – ๓๕) ที่ว่า ‚ส่ ว นขุน แผนนัน้ ปรากฏอยู่ แ ล้ว ว่า เปนชื่อ ตัง้ คิด ว่า คือ ขุน พิษ ณุ แ สนย์
ขุนแผนสท้าน นัน้ เอง คําขับทีว่ า่ ครานัน้ ขุนแผนแสนสะท้าน นันผู ่ แ้ ต่งรูส้ กึ เปนเงา ๆ ว่า คําว่า
สท้าน เกี่ยวข้องกับชื่อขุนแผน‛ และได้แสดงทัศนะว่า ตําแหน่ งขุนนางมักจะมีราชทินนาม
กํากับคล้องจองกันเป็นคู่ ๆ ตัวอย่างเช่น ราชทินนามพิษณุแสนย์คู่กบั ราชทินนามแผนสะท้าน
ราชทินนามเต็มของขุนแผนอาจเป็ นไปในรูปขุนแผนสะท้าน หรือขุนแผนแสนสะท้าน หรือ
ขุนแผนแสนศึกสะท้าน อย่างใดอย่างหนึ่ง

ต่อ มาหลังจากขุน แผนต้องพระราชอาญาถู ก จํา คุ ก พลายงามบุ ตรชาย


ได้ทู ล ขอโอกาสให้ขุน แผนไปศึก เชีย งใหม่ จนได้ร ับ ชัย ชนะกลับ มา ขุน แผนจึง ได้เ ลื่อ น
บรรดาศักดิ ์เป็นพระสุรนิ ทรฦๅไชยมไหสูรย์ภกั ดี ปกครองเมืองกาญจนบุรี ดัง ปรากฏความว่า

อ้ายขุนแผนพลายงามมีความชอบ กูจะตอบแทนมึงให้ถงึ ที่


ขุนแผนให้ไปรัง้ กาญจน์บุรี มีเจียดกระบีเ่ ครื่องยศให้งดงาม
สัปทนคนโทถาดหมากทอง ช้างจําลองของประทานทัง้ คานหาม
สําหรับใช้ไปณรงค์สงคราม ให้สมความตามความชอบทีม่ มี า
ให้เป็นทีพ่ ระสุรนิ ทรฦๅไชย มไหสูรย์ภกั ดีมสี ง่า
แล้วตรัสสังคลั ่ งในมิได้ชา้ เติมเงินตราสิบห้าชังเป็
่ นรางวัล
ทัง้ เสือ้ ผ้าสมปกั ปูมส่าน พระราชทานมากมายหลายหลัน่
ส่วนอ้ายลูกชายพลายงามนัน้ จะให้มนั มียศปรากฏไป
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๗๗๕)
๓๔

อย่างไรก็ตาม คําเรียกชือ่ ขุนแผนในวรรณคดีตอนต่อ ๆ มา ก็ยงั คงเรียกว่า


ขุนแผน ตลอดทัง้ เรื่อง แม้ขุนแผนจะได้รบั พระราชทานยศเป็ นพระสุรนิ ทรฦๅไชยมไหสูรย์
ภักดี เจ้าเมืองกาญจนบุรแี ล้วก็ตาม

๒.๑.๓ เรื่องราวชีวิตของขุนแผน
ในงานวิจยั นี้ ผู้วจิ ยั ขอกล่าวถึงเรื่อ งราวชีวติ ของขุนแผนจากเสภาเรื่อ ง
ขุนช้าง – ขุนแผน โดยจําแนกออกเป็น ๓ ตอน คือ
๑) ช่วงชีวติ ตอนเป็นเด็ก
๒) ช่วงชีวติ ตอนบวชเรียน
๓) ช่วงชีวติ ตอนรับราชการ

๑) ช่วงชีวติ ตอนเป็นเด็ก
ตอนเป็ นเด็ก พลายแก้วมีเพื่อนสนิทที่เ ล่นด้วยกันอยู่ ๒ คน คือ
ขุนช้างบุตรชายหัวล้านของขุนศรีวชิ ยั นายกรมช้างนอกผูเ้ ป็ นเศรษฐี แห่งเมืองสุพรรณบุรีก บั
นางเทพทอง และนางพิมพิลาไลยบุตรสาวรูปงามของพันศรโยธา คหบดีชาวสุพรรณบุรีกบั
นางศรีป ระจัน พลายแก้ว กับ ขุน ช้า งได้ร่ ว มกันดื่มเหล้าสาบานเป็ น เพื่อนที่ซ่ือสัตย์ต่อ กัน
จนวันตาย ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

จะกล่าวถึงพลายแก้วกับขุนช้าง ทัง้ สองข้างออกไปเล่นกับบ่าวข้า


พอพบขุนช้างพลางพูดจา ไปซื้อเหล้าเอามากินด้วยกัน
พลายแก้วกินเหล้าเข้าตํ้าอึก ขุนช้างวางหงึกจนหัวสัน่
ยันกู
่ เมาหนักหนาจนตาชัน เทเหล้าใส่ขนั ชวนเป็นเกลอ
จึงเอามือพลายแก้วลงจดขน เราซื่อต่อกันจนตายเหนอ
ถ้าใครทรยศคดต่อเกลอ ให้เทพเธอสังหารผลาญชีวนั
อันดาบองครักษ์ทงั ้ สีห่ มู่ อย่าให้แคล้วคองกูเป็นแม่นมัน่
ขอให้พลัดมารดาห้าร้อยกัลป์ จิม้ เอาเหล้าในขันขึน้ ควันคอ

(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๑๐ - ๑๑)

ทัง้ พลายแก้วและขุนช้างต่างก็เป็นเพื่อนเล่นของนางพิมพิลาไลย
อยู่มาวันหนึ่ง พลายแก้วอยากเล่นเป็นผัวเมียแทนการเล่นทําบุญให้ทาน พลายแก้วชักชวนให้
นางพิมพิลาไลยเล่นเป็ นเมียขุนช้าง ส่วนตนเองเป็ นคนไปลักนางพิมพิลาไลยมาจากขุนช้าง
๓๕

เหตุการณ์ท่ที งั ้ สามคนเล่นเป็ นผัวเมียในตอนเด็กนี้เสมือนการทํานายให้เห็นเหตุการณ์ท่จี ะ


เกิดขึน้ ในเวลาต่อมาได้เป็นอย่างดี ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ขุนช้างนัน้ เป็นสมภารมอญ ไม่พกั โกนหัวกล้อนสวดมนต์ใหญ่


พลายแก้วนัน้ เป็นสมภารไทย จัดแจงแต่งให้ยกของมา
สวดมนต์ฉนั เสร็จสําเร็จแล้ว ฝา่ ยข้างพลายแก้วอุตริวา่
เราเล่นเป็นผัวเมียกันเถิดรา ขุนช้างร้องว่าข้าชอบใจ
นางพิมว่าไปอ้ายนอกคอก รูปชัวหั
่ วถลอกกูหาเล่นไม่
พลายแก้วว่าเล่นเถิดเป็นไร ให้ขนุ ช้างนัน้ ไซร้เป็นผัวพลาง
ตัวข้าจะย่องเข้าไปหา จะไปลักเจ้ามาเสียจากช้าง
ทัง้ สองคนรบเร้าเฝ้าชวนนาง จึงหักใบไม้วางต่างเตียงนอน
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๑๑)

อยู่ ม าวัน หนึ่ ง สมเด็จ พระพัน วษากษัต ริย์ แ ห่ ง กรุ ง ศรีอ ยุ ธ ยา


มีพ ระราชปรารภจะเสด็จประพาสเพื่อ ทอดพระเนตรกระบือ ป่าแถบเมืองสุพรรณบุรี จึงมี
พระบรมราชโองการให้ขุน ไกรพลพ่ า ยบิด าของพลายแก้ว เตรียมสถานที่ต งั ้ ค่ า ยและลาน
พลับพลา พร้อมทัง้ ให้ตอ้ นฝูงกระบือมาเตรียมพร้อมไว้ ในการนี้ ขุนไกรได้ปฏิบตั หิ น้าทีต่ ามที่
ได้รบั พระบัญชา ทัง้ ทีท่ ราบดีวา่ จะเกิดเหตุร้ายตามความฝนั ในวันที่สมเด็จพระพันวษาเสด็จ
ประพาส กระบือป่าที่ขุนไกรต้อนเตรียมไว้เกิดอาการตื่นและแตกออกจากฝูง หากปล่อยไว้
อาจก่อให้เกิดอันตรายต่อสมเด็จพระพันวษาได้ ขุนไกรจึงตัดสินใจแทงกระบือป่าเหล่านัน้
จนล้มตายจํานวนมาก เป็นเหตุให้สมเด็จพระพันวษากริว้ และมีพระบรมราชโองการให้ประหาร
ชีวติ ขุนไกร
เหตุการณ์ในครัง้ นี้ ทําให้พลายแก้วต้องกําพร้าบิดาตัง้ แต่เด็ก
ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

เหลียวหน้ามาเห็นเจ้าพลายแก้ว รูแ้ ล้วหรือพ่อนัน้ สังขาร์


เจ้ากําพร้าพ่อแล้วแก้วแม่อา พลางกอดจูบลูกยาเข้าจาบัลย์
เจ้าพลายแก้วสะอึกสะอืน้ อ้อน ไม่หลับนอนก่นแต่จะโศกศัลย์
ทองประศรีแสนเศร้าเฝ้ารําพัน กรรมทันแล้วจะทําฉันใดดี

หม่อมราชวงศ์คกึ ฤทธิ ์ ปราโมช (๒๕๕๓: ๓๐) กล่าวไว้ว่า ในสมัยอยุธยาจนถึงในสมัยรัชกาลที่ ๕
แห่งกรุงรัต นโกสินทร์ ทางราชการได้อนุ รกั ษ์โขลงช้างและฝูง ควายไว้แถวจัง หวัดสุพ รรณบุร ีและจังหวัด
กาญจนบุรี
๓๖

เหย้าเรือนจะเย็นเป็นปา่ ช้า ฝูงข้าจะกระจัดกระจายหนี


กรมการสุพรรณจะยํ่ายี ไม่อยู่น่ไี ด้แล้วแก้วแม่อา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๐)

นางทองประศรีได้พาพลายแก้วหนีราชภัยไปอยู่เมืองกาญจนบุรี
ซึ่งเป็ นบ้านของญาติพ่นี ้องขุนไกร เพื่อไม่ให้ตนเองต้องถูกริบเป็ นหม้ ายหลวง พลายแก้ว
ออกจากเมืองสุพรรณบุรแี ละได้มาอยู่ทเ่ี มืองกาญจนบุรตี งั ้ แต่เวลานัน้ ดังปรากฏความว่า

แม่ลูกไปถึงบ้านกาญจน์บุรี ทองประศรีบอกลูกว่าพ่อเอ๋ย
ในเมืองนี้มคี นทีค่ นุ้ เคย แล้วเดินเลยไต่ถามเนื้อความไป
ด้วยผัวเคยบอกเล่าแต่เก่าก่อน ว่าญาติมที ด่ี อนเขาชนไก่
ครัน้ ไปพบพวกพ้องของขุนไกร เขาก็ทําเรือนให้มไิ ด้ชา้
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๕)

๒) ช่วงชีวติ ตอนบวชเรียน
พลายแก้วอยู่ทเ่ี มืองกาญจนบุรีกับนางทองประศรี ผูเ้ ป็ นมารดา
จนอายุ ไ ด้ ๑๕ ปี ก็เ กิด ความคิด อยากจะรับ ราชการเป็ น ทหารเหมือ นขุน ไกรผู้เ ป็ น บิด า
จึงอ้อนวอนให้นางทองประศรีพาไปฝากตัวกับพระอาจารย์ ตัง้ ใจจะบวชเณรเพื่อศึกษาวิชาการ
อันจะเป็นประโยชน์ต่อการรับราชการทหาร ดังความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

จะกล่าวถึงพลายแก้วแววไว เมื่อบิดาบรรลัยแม่พาหนี
ไปอาศัยอยู่ในกาญจน์บุรี กับนางทองประศรีมารดา
อยู่มาจนเจ้าเจริญวัย อายุนนั ้ ได้ถงึ สิบห้า
ไม่วายคิดถึงพ่อทีม่ รณา แต่นึกถึงตรึกตรามากกว่าปี
อยากจะเป็นทหารชาญชัย ให้เหมือนพ่อขุนไกรทีเ่ ป็นผี
จึงอ้อนวอนมารดาได้ปรานี ลูกนี้จะใคร่รวู้ ชิ าการ
พระสงฆ์องค์ใดวิชาดี แม่จงพาลูกนี้ไปฝากท่าน
ให้เป็นอุปชั ฌาย์อาจารย์ อธิษฐานบวชลูกเป็นเณรไว้
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๔๕)

เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน มักกล่าวว่า พลายแก้วอยู่ท่ี “เมืองกาญจน์บุร”ี “เมืองกาญจน์บุร”ี
ในเรื่อ งซึ่ง ตรงกับ สมัย กรุ ง ศรีอ ยุ ธ ยา คือ เมือ งกาญจนบุ ร ีเ ก่ า หรือ พื้น ที่บ้ า นท่ า เสา ตํ า บลลาดหญ้ า
อําเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรใี นปจั จุบนั
๓๗

จากความข้างต้น “ลูกนี้จะใคร่รวู้ ชิ าการ” คําว่า “วิชาการ” อันเป็ น


วิชาที่พลายแก้วต้องการศึกษานัน้ หม่อมราชวงศ์คกึ ฤทธิ ์ ปราโมช (๒๕๕๓: ๔๑) กล่าวว่า
คําว่าวิชาการนี้เป็ นศัพท์เทคนิค ในทําเนียบกองทัพสมัยสมเด็จพระเจ้ากรุงธนบุรมี หาราช
ก็ปรากฏว่ามีกรมวิชาการอยู่ แต่กรมวิชาการนี้มีหน้ าที่รบั ผิดชอบในผ้าประเจียดเครื่องราง
ของขลังที่แจกให้ทหารใช้ ตลอดจนเป็ นแหล่งแห่งคาถาอาคม ตํารับพิชยั สงครามและอื่น ๆ
ที่เป็ นของศักดิ ์สิทธิในการทหารอี
์ กด้วย เพราะฉะนัน้ เมื่อขุนแผนบอกกับแม่ว่า ต้องการจะรู้
วิชาการ ก็หมายความว่า ขุนแผนต้องการจะเรียนวิชาเหล่านี้เพื่อไปใช้ชวี ติ เป็ นทหารต่อไป
ด้วยเหตุน้ี หม่อมราชวงศ์คกึ ฤทธิ ์ ปราโมช (๒๕๕๓: ๔๐๖) จึงสรุปว่า “คําว่าวิชาการในสมัยที่
แต่งเรื่องขุนช้างขุนแผนจึงมีความหมายแตกต่างกับความหมายในปจั จุบนั กล่าวคืออะไรที่เป็ น
เวทมนตร์คาถา หรือเกีย่ วกับเวทมนตร์คาถาแล้ว เรียกว่าวิชาการทัง้ สิน้ ”

เมื่อพลายแก้วอยากศึกษาวิชาการ หรือ คาถาอาคมเวทมนตร์


นางทองประศรีได้พาพลายแก้วไปฝากตัวกับสมภารบุญ วัดส้มใหญ่ ที่เมืองกาญจนบุรี เพื่อให้
พลายแก้วได้เรียนเพื่อสืบทอดวิชาต่อจากขุนไกรพลพ่ายผูเ้ ป็ นบิดา ดังปรากฏความในเสภา
เรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ครัน้ ว่ามาถึงวัดส้มใหญ่ เอาข้าวของตัง้ ไว้ศาลาหน้า


แม่พาพลายแก้วผูแ้ ววตา ไปกราบไหว้วนั ทาท่านสมภาร
ท่านเจ้าขาฉันพาลูกมาบวช ช่วยเสกสวดสอนให้เป็นแก่นสาร
ด้วยขุนไกรบิดามาถึงกาล จะได้อธิษฐานให้ส่วนบุญ
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๔๗)

ระหว่างบวชเรียนศึกษาวิชาที่วดั ส้มใหญ่ เณรแก้วตัง้ ใจศึกษา


เล่าเรียนด้วยความขยันหมันเพี ่ ยร ประกอบกับเป็ นผูม้ ปี ญั ญาเฉลียวฉลาดแคล่วคล่องว่องไว
จึงสามารถเรียนรูว้ ชิ าต่าง ๆ จากสมภารบุญได้อย่างรวดเร็วจนยากที่จะหาพระหรือเณรรูปใด
ในวัดเทียบได้ เณรแก้วเรียนวิชากับสมภารบุญ วัดส้มใหญ่ อยู่เพียงไม่ถึงหนึ่งปี ก็รู้วชิ าของ
สมภารบุญ ได้อ ย่า งครบถ้วน สมภารบุ ญได้สอนตํ า รับ ใหญ่ อันได้แก่ ตํ า ราพิช ยั สงคราม


ประจัก ษ์ ประภาพิท ยากร (๒๕๒๕: ๑๕๑ – ๑๕๕) กล่ าวถึง คาถาอาคมเวทมนตร์ ไว้ใ น
ประเพณี และไสยเวทวิ ทยาในขุนช้างขุนแผน ว่า คาถา คือคําประพันธ์ภาษาบาลี นําเอามาใช้เพื่อแสวง
สิร ิมงคลหรือป้ องกันภยันตรายให้แก่ต น อาคม คือมนตร์ซ่งึ มีอยู่ในคัมภีร์พ ระเวทของศาสนาพราหมณ์
ได้แก่ คัมภีรท์ เ่ี ป็นสูตรคาถาต่าง ๆ เวท คือความรูโ้ ดยเฉพาะความรูใ้ นคัมภีร์พระเวท ได้แก่ คัมภีร์พระเวท
๕ เล่ม และมนตร์ คือข้อความอันศักดิสิ์ ทธิ ์ใช้สวดขับหรือบริกรรมเพื่อกําจัดอุบาทว์จญั ไรให้สน้ิ ไป
๓๘

หัว ใจพระคาถาซึ่งประกอบด้วยวิชาอยู่ ค ง  วิช าปล้นสะดม วิชาการเลี้ย งโหงพรายให้แ ก่


เณรแก้ว ดังความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ครานัน้ จึงโฉมเจ้าเณรแก้ว บวชแล้วรํ่าเรียนด้วยเพียรหมัน่


ปญั ญาไวว่องคล่องแคล่วครัน เรียนสิง่ ใดได้นนไม่
ั ่ ชา้ ที
จนอาจารย์ขยาดฉลาดเฉลียว เณรเณรออกเกรียวอยู่ทน่ี ่ี
จะเปรียบเณรแก้วได้นนั ้ ไม่มี บวชยังไม่ถงึ ปีกเ็ จนใจ
หนังสือสิน้ กระแสทัง้ แปลอรรถ จนสมภารเจ้าวัดไม่บอกได้
ลูบหลังลูบหน้าแล้วว่าไป สิน้ ไส้กูแล้วเณรแก้วอา
ยังแต่สมุดตํารับใหญ่ พืน้ แต่หวั ใจพระคาถา
กูจดั แจงซ่องสุมแต่หนุ่มมา หวงไว้จนชราไม่ให้ใคร
ความรูน้ อกนี้ไม่มแี ล้ว กูรกั เณรแก้วจะยกให้
อยู่คงปล้นสะดมมีถมไป เลีย้ งโหงพรายใช้ได้ทุกตา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๔๗ - ๔๘)

เณรแก้วเรียนรู้ตํารับดังกล่าวแล้วก็อยากเรียนวิชาให้มากยิง่ ขึ้น
จึงได้ลาสมภารบุญไปแสวงหาวิชาเรียนต่อทีเ่ มืองสุพรรณบุรี สมภารบุญแนะนํ าให้เณรแก้วไป
เรียนวิชาทีว่ ดั ปา่ เลไลยก์ เพราะท่านสมภารวัดปา่ เลไลยก์กบั นางทองประศรีนนั ้ รูจ้ กั คุน้ เคยกัน
เณรแก้วไปบอกความมุ่งหมายที่จะบวชเรียนแก่นางทองประศรี
ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

เณรแก้วจึงลามาหาแม่ ทองประศรีวงิ่ แร่มารับขวัญ


พ่อเอ๋ยมาไยทําไมนัน่ แม่ขาขรัวท่านให้ลูกมา
รํ่าเรียนจบแล้วท่านบอกให้ ว่าวัดปา่ เลไลยก์ดนี กั หนา
ว่ารูจ้ กั กันมานานกับมารดา แม่จงพาลูกนี้ไปฝากไว้
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๔๘)


การคงทนอาวุธตามคัมภีรพ์ ระเวท แบ่งออกเป็น ๕ ประการ คือ ๑) วิชาคงกระพัน ๒) วิชาชาตรี
๓) วิชาแคล้วคลาด ๔) วิชามหาอุด ๕) วิชาแต่งตน วิชาคงกระพัน หรือวิชาอยู่คง เป็ นวิชาที่เมื่อกระทําขึ้น
แล้ว สามารถจะอยู่คงทนอาวุธทัง้ ปวง จะฆ่าให้ตายต้องใช้หอกแทงสวนทวารจึงจะตาย (๒๕๒๕: ๑๖๑)
๓๙

นางทองประศรี จึ ง บอกเณรแก้ ว ว่ า ที่ เ มื อ งสุ พ รรณบุ รี มี


ท่ า นสมภารอยู่ ส องรู ป ที่มี ว ิช าดี แ ละยัง รู้ จ ัก รัก ใคร่ ก ับ ขุ น ไกรผู้เ ป็ น บิ ด า คื อ สมภารมี
ขรัววัดปา่ เลไลยก์ และสมภารคง ขรัววัดแค นางทองประศรีตดั สินใจพาเณรแก้วไปฝากตัวเพื่อ
ศึกษาวิชากับสมภารมี วัดปา่ เลไลยก์
เ ณรแก้ ว บวชเ รี ย น อ ยู่ ที่ ว ั ด ป่ า เ ลไ ลย ก์ เ พี ย ง ส า ม เ ดื อ น
ก็ส ามารถเทศน์ ม หาชาติไ ด้ ไ พเราะจับ ใจ นอกจากนี้ เณรแก้ ว ยัง ได้ ศ ึก ษาตํ า รับ ใหญ่
พิชยั สงคราม ตําราสูรย์จนั ทร์ วิชาคงกระพัน วิชาล่องหน วิชาผูกพยนต์ ตลอดจน
เรียนวิชาผูกจิตหญิงอีกด้วย ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ครานัน้ โฉมเจ้าเณรแก้ว ปญั ญาคล่องแคล่วใครจะเหมือน


หมันหมั
่ กภักดีมใิ ห้เตือน หัดเทศน์สามเดือนก็ขน้ึ ใจ
มหาชาติธรรมวัตรสารพัดเพราะ ถ้อยคํามันเหมาะไม่
่ เปรียบได้
สุง้ เสียงเป็นเสน่หด์ งั เรไร เทศน์ทไ่ี หนคนชมนิยมฟงั
จะขึน้ ชือ่ ลือชาว่าเปรื่องปราด ชาวบ้านร้านตลาดเจียนจะคลัง่
เณรเณรรอดเพลไปคอยฟงั เข้าไปนังพู
่ ดจ้อขอเนื้อความ
เจ้าอุตส่าห์ศกึ ษาวิชาการ เขียนอ่านท่องได้แล้วไต่ถาม
ตําหรับใหญ่พชิ ยั สงคราม สูรย์จนั ทร์ฤกษ์ยามก็รอบรู้
อยู่ยงคงกระพันล่องหน ภาพยนตร์ผกู ใช้ให้ต่อสู้
รักทัง้ เรียนเสกเปา่ เป็นเจ้าชู้ ผูกจิตหญิงอยู่ไม่เคลื่อนคลาย
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๕๐)

เณรแก้วมีปญั ญาเฉลียวฉลาดและมีความขยันหมั ่นเพียรจนท่าน


สมภารมีพึงพอใจและรัก ใคร่เ ป็ นอย่า งยิ่ง ระหว่า งบวชเรียนอยู่ท่ีวดั ป่า เลไลยก์ เณรแก้ว
มีโอกาสได้พบนางพิมพิลาไลย เพื่อนเล่นสมัยเด็กซึ่งมาทําบุญที่วดั ทัง้ สองต่างจํากันได้
เณรแก้วจึงตัง้ ใจออกบิณฑบาตไปแถวบ้านนางพิมพิลาไลยเพือ่ ให้ได้พบนางพิมพิลาไลยอีกครัง้


ตําราสูรย์จนั ทร์ เป็นความรูส้ าํ หรับตรวจลางนิมติ ดีรา้ ยในยามยกทัพหรือออกเดินทาง

วิชาคงกระพัน เป็ นวิชาที่เมื่อกระทําขึ้นแล้ว จะสามารถอยู่คงทนอาวุธทัง้ ปวง จะฆ่าให้ตาย
ต้องใช้หอกแทงสวนทวารจึงจะตาย

วิชาผูกพยนต์ เป็นวิชาชัน้ สูงทีก่ ระทําได้ยาก พยนต์คอื รูปหุ่นผูกขึน้ ด้วยอาคมเพื่อใช้ในกิจการ
แทนคนเป็น ๆ อาจเรียกว่า พยนต์ ภาพยนต์ ผ้าพยนต์ และหุ่นยนต์
๔๐

เมื่อถึงวันเทศน์มหาชาติ สมภารมีอาพาธ จึงให้เณรแก้วเทศน์


ั ฑ์มทั รีแทนตน ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า
มหาชาติกณ

ครานัน้ จึงโฉมเจ้าเณรแก้ว เย็นแล้วจะไปเทศน์กผ็ ลัดผ้า


ห่มดองครองแนบกับกายา แล้วไปวันทาท่านขรัวมี
ลุกออกจากห้องของสมภาร อธิษฐานแล้วก็เสกขีผ้ ง้ึ สี
ให้เณรอ้นเดินนําแบกคัมภีร์ มาจากกุฎถี งึ ศาลา
นังตํ
่ ่ามากว่าสงฆ์สํารวมกาย ชม้ายเห็นเจ้าพิมผูน้ ิ่มหน้า
พิมน้อยพอชม้อยไปปะตา อายหน้าก้มนิ่งอยู่ในที
เณรพลายจึงร่ายละลวยซํ้า ประจําจิตประสมเนตรวิเศษศรี
กําลังมนต์ดลพิมให้ยนิ ดี ไม่ขาดทีจ่ ะแลล่อไปต่อตา
พอสบพักตร์เณรพยักให้ทนั ใด ด้วยนํ้าใจผูกพันกระสันหา
เชิญกระหยับมานี่เถิดสีกา ท่านสมภารไม่มาอาพาธไป
จึงให้ขา้ เจ้ามาเทศนา ท่านเจ้ากัณฑ์จะว่าเป็นไฉน
นางพิมยิม้ ตอบไปทันใด ไหนไหนก็เหมือนกันไม่ฉนั ทา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๖๑)

เณรแก้ ว เทศน์ ม หาชาติไ ด้ ไ พเราะจับ ใจจนนางพิม พิล าไลย


เจ้า ของกัณ ฑ์มทั รีถึง กับ เปลื้องผ้า สไบถวายเพื่อ บู ช ากัณ ฑ์เทศน์ จากนัน้ พลายแก้ว และ
นางพิมพิลาไลยได้แอบพบกัน อยู่เสมอ วันหนึ่งเณรแก้วนิมนต์ชตี ้นเพื่อขอสึกเณรชัวคราว ่
และได้ลอบเป็นชูก้ บั นางพิมพิลาไลย โดยมีนางสายทองพีเ่ ลีย้ งของนางพิมพิลาไลยรูเ้ ห็นด้วย
อยู่ ม าวัน หนึ่ ง ขุน ช้า งอยากแต่ ง งานกับ นางพิม พิล าไลยจึง ให้
นางเทพทองไปสู่ขอนางพิมพิลาไลยจากนางศรีประจัน เมื่อ นางพิมพิลาไลยรู้เรื่องดังกล่าว
ก็รบี ให้นางสายทองไปบอกข่าวเรื่องที่ขุนช้างมาสู่ขอแก่เณรแก้ว เณรแก้วกับนางสายทองได้
พู ด คุ ย กัน อย่ า งสนิ ท สนมจนเกิน งามจึง มีค นนํ า ไปฟ้ องท่ า นสมภารมี ท่ า นสมภารโกรธ
จะลงโทษเณรแก้วเป็นเหตุให้เณรแก้วหนีท่านสมภารมีออกจากวัดปา่ เลไลยก์ ช่วงเวลานี้เองที่
เณรแก้วเกิดความคิดว่า ตนเองบวชเรียนวิชาอยู่ทว่ี ดั ปา่ เลไลยก์มาเป็นเวลานาน วิชาความรู้ท่ี
ได้รบั ก็ยงั ไม่ถงึ ขัน้ เชีย่ วชาญ ประกอบกับได้ระลึกถึงท่านสมภารคง ขรัววัดแค ซึ่ง มารดาเคย
บอกไว้วา่ มีวชิ าดี และยังสนิทสนมกับขุนไกรพลพ่ายผูเ้ ป็นบิดามาก่อน เณรแก้วจึงตัดสินใจไป
ฝากตัวเรียนวิชากับสมภารคง วัดแค แม้วา่ ใจจะยังอาวรณ์นางพิมพิลาไลยอยู่บ้าง แต่กไ็ ด้ตดั
ความอาลัยเพื่อไปเรียนวิชาให้ช ีวติ มีโ อกาสเจริญก้าวหน้ า ดัง ปรากฏความในเสภาเรื่อ ง
ขุนช้าง – ขุนแผน ว่า
๔๑

ครานัน้ จึงโฉมเจ้าเณรแก้ว หนีสมภารไปแล้วไม่กลับได้


ยิง่ คิดเวียนวนให้จนใจ อยู่วดั ปา่ เลไลยก์กช็ า้ นาน
วิชาไม่ชาํ นาญเชีย่ วชาญแน่ ยังวัดแคนัน้ ว่าเยีย่ มเหีย้ มหาญ
แม่ทองประศรีบอกมาก็ชา้ นาน ว่าสมภารชือ่ คงเป็นคนดี
อยู่สุพรรณแล้วให้ดน้ ไปค้นหา เพื่อนสนิทบิดาทีเ่ ป็นผี
ไปเรียนต่อพอจะได้ความรู้ดี แต่เป็นห่วงพิมพีน่ ้สี ุดใจ
จะว่าเราหลบลีห้ นีสจั จา จะสึกไปก็วชิ าหาชะงัดไม่
ถึงรักสัตย์ตอ้ งตัดความอาลัย คิดแล้วห่มสไบรีบเดินมา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๑๑๙ - ๑๒๐)

ระหว่ า งที่เ ณรแก้ ว บวชเรีย นศึก ษาวิช ากับ สมภารคง วัด แค


สมภารคงได้ส อนวิช าสะกดทัพ วิช าปลุ ก ผี วิช าผู ก พยนต์ วิช าสะเดาะดาลโซ่ กุ ญ แจ
นอกจากนี้ เณรแก้วยังได้เรียนคัมภีร์พุทธเพทพระเวทมนตร์  ซึ่งได้แก่ คัม ภีร์ปถั มัง ตํารา
พิชยั สงคราม ตลอดจนวิช าสะกด วิชาปลุ ก วิชากํ าบัง เช่น การเสกใบมะขามเป็ นต่อแตน
การถอนอาถรรพณ์ การเลี้ย งผีพ ราย การปลุ ก คาถาต่ า ง ๆ อาทิ คาถามหาละลวย 
คาถาจังงัง ฯลฯ อีกด้วย ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า


สุกญ
ั ญา สุจฉายา (๒๕๕๓: ๓ – ๑๑) กล่าวไว้ในบทความเรื่อง “เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
บันทึกศาสตร์ของชายไทยโบราณ” พิมพ์เผยแพร่ในเอกสารประกอบการสัมมนาวิชาการเรื่อง เครื่องราง
ของขลัง วัฒนธรรมชาวพุทธในสุวรรณภูมิ วันที่ ๑๙ – ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๓ ว่า โบราณเรียกคัมภีรป์ ถั มัง
คัมภีร์อิทธิเ จ ตลอดจนการลงเลขยันต์และวิชาล่อ งหน วิชาอยู่คง วิชาสะกด วิชาดูเมฆ วิชาดูลมหายใจ
เข้าออก (สุรยิ กลา จันทรกลา) วิชาปลุกผีพราย ผูกหุ่นพยนต์ ว่า “พุทธเพท” ทัง้ นี้ ศาสตร์ต่าง ๆ ทัง้ ที่เป็ น
พุทธ คือ ระบบเลขยันต์ และเพท คือ พระเวท (คาถาอาคมต่ าง ๆ ซึ่ง อาจได้รบั มาจากคัมภีร์พ ราหมณ์
จากแขกอินเดีย แขกจาม แขกมลายู หรือ ชาวขอม) ได้ผสมผสานกัน ในวัฒ นธรรมของชาวพุท ธสยาม
สืบเนื่องตลอดมา การแสวงหาวิชาดังกล่าวเป็ นพันธกิจหรือหน้าที่สําคัญของลูกผู้ชายในอดีตที่จะต้องนําพา
ครอบครัวและเผ่าพันธุใ์ ห้อยู่รอดปลอดภัย

คาถามหาละลวย เป็นมนตร์ทท่ี าํ ให้เกิดความเมตตาและความรัก

คาถาจัง งัง เป็ นคาถาบทเดีย วแต่ มีผล ๒ ประการ คือ ถ้ าภาวนาไปประจัญหน้ ากันเข้า
เห็นหน้าเราก็พูดอะไรไม่ออก ได้แต่ยนื ตกตะลึงอยู่ และถ้าต้องการจะเข้าไปในที่ใดโดยมิได้ให้เห็นตัวเป็ น
ประดุจคนหายตัวเข้าไปก็ให้ภาวนาไป ถึงคนเห็นเราเข้าแม้จะรู้จกั กันมาก่อน ก็มอิ าจจําหน้าเราได้ เรียกว่า
กําบังตัวเข้าไป (ประจักษ์ ประภาพิทยากร, ๒๕๒๕: ๑๖๐)
๔๒

สะกดทัพจับคนทัง้ ปลุกผี ผูกพยนต์ฤทธีกําแหงหาญ


ปถั มังกําบังตนทนทาน สะเดาะดาลโซ่กุญแจประจักษ์ใจ
ทัง้ พิชยั สงครามล้วนความรู้ อาจจะปราบศัตรูไม่สูไ้ ด้
ฤกษ์พานาทีทุกสิง่ ไป ทัง้ เสกใบมะขามเป็นต่อแตน
ชํานาญทัง้ กลศึกลึกลับ คุมพลแม่ทพั นับตัง้ แสน
สูส้ กึ ได้สน้ิ ทัง้ ดินแดน มหาละลวยสุดแสนเสน่หด์ ี
จังงังขลังคะนองล่องหน ฤทธิรณแรงราวกับราชสีห์
ถอนอาถรรพณ์กนั ประกอบประกับมี เลีย้ งผีพรายกระซิบทุกสิง่ ไป
วิชาสารพัดจะเรียนพร้อม ซัดซ้อมท่องเล่าทัง้ เก่าใหม่
แต่คะนึงถึงพิมมิได้ไป เพราะอาลัยหลงรักเรียนวิชา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๑๒๒)

จากที่ก ล่ า วมาทัง้ หมดจะเห็น ได้ ว่า ช่ว งชีว ิต ตอนบวชเรีย น


เป็ นช่วงเวลาที่ขุนแผนได้ศกึ ษาวิชาการตามที่ตงั ้ ใจไว้ คือ ศึกษาความรู้เกี่ยวกับการรบและ
การเกี้ยวผูห้ ญิง ความรู้ทางวิชาการ อันได้แก่ เวทมนตร์คาถา เครื่องรางของขลัง และวิทยา
อาคมนี้ได้หล่อหลอมบุคลิกและพฤติกรรมของขุนแผนให้มลี กั ษณะเป็นทัง้ นักรบและนักรักอย่าง
สมบูรณ์ นอกจากนัน้ ยังเป็ นความรู้สําคัญที่ขุนแผนใช้ในการรับราชการทหารและใช้ในชีวติ
ต่อไป

๓) ช่วงชีวติ ตอนรับราชการ
หลังจากบวชเรียนกับสมภารคง วัดแค จนรูว้ ชิ าการครบถ้วนตาม
ตํ า ราแล้ ว พลายแก้ ว ได้ ใ ห้ น างทองประศรีไ ปสู่ ข อนางพิ ม พิล าไลยจากนางศรีป ระจัน
และได้แต่งงานกับนางพิมพิลาไลยในที่สุด กระทังวั ่ นหนึ่ง เมืองเชียงทองได้นําบรรณาการ
มาขึน้ ต่อกรุงศรีอยุธยา การกระทําดังกล่าวส่งผลให้พระเจ้าเชียงอินทร์ กษัตริย์ผคู้ รองนคร
เชียงใหม่ไม่พอใจอย่างยิง่ พระเจ้าเชียงอินทร์จงึ จัดทัพเข้าตีเมืองเชียงทอง เจ้าเมืองเชียงทอง
ไม่ ไ ด้สู้ร บ นอกจากนี้ ย ัง ยิน ยอมกลับ ไปสวามิภ ัก ดิก์ ับ นครเชีย งใหม่ อีก ครัง้ เมื่อ สมเด็จ
พระพันวษาทรงทราบเรื่องก็กริ้วเมืองเชียงทองเป็ นอย่างยิ่ง และมีพระบรมราชโองการให้
จัดทัพไปตีเมืองเชียงทองและให้หาแม่ทพั ไปในการศึกครัง้ นี้
เหตุการณ์ดงั กล่าวเป็ นโอกาสให้ขุนช้างกราบบังคมทูลเสนอชื่อ
พลายแก้ว เพราะพลายแก้วเป็ นผู้มฝี ี มอื ดี เหมาะสมที่จะไปศึกเชียงทองนี้ เพื่อให้พลายแก้ว
ต้องห่างจากนางพิมพิลาไลย ดังปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า
๔๓

ครานัน้ ขุนช้างมหาดเล็ก เฝ้าเหนมาแต่เด็กพิดทูลคล่อง


คิดไปสมใจทีน่ ึกปอง หมายจะครองเจ้าพิมพิลาไลย
จะทูลส่อพลายแก้วให้ไปทัพ แล้วจะกลับไปเกีย้ วเจ้าพิมใหม่
คิดแล้วทูลพลันทันใด ชีวติ อยู่ใต้พระบาทา
อันบุตรขุนไกรทีว่ อดวาย ชือ่ ว่านายพลายแก้วแกล้วกล้า
ได้เมียอยู่สุพรรณพารา แต่มารดาเพื่อนอยู่กาญจน์บุรี
อันฤทธากล้าหาญชาญชัย เลีย้ งภูตพรายได้เป็นถ้วนถี่
อายุประมาณสิบเจ็ดปี ขอจงทราบธุลพี ระบาทา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๑๗๕)

คํากราบบังคมทูลของขุนช้างทําให้พลายแก้วต้องถูกเกณฑ์ทพั
ไปศึกเชียงทองทัง้ ทีเ่ พิง่ จะแต่งงานกับนางพิมพิลาไลยได้เพียง ๒ วันเท่านัน้ ดังปรากฏความ
ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

พลายแก้วรับสังบั
่ งคมทูล ขอเดชะนเรนทร์สูรโปรดเกศา
ชีวติ อยู่ใต้พระบาทา ขออาสาพระองค์ผทู้ รงชัย
ตีทพั เชียงอินทร์และเชียงทอง ให้สมพระทัยปองให้จงได้
ถ้าข้าพระพุทธเจ้ามิบรรลัย ก็มไิ ด้ย่อท้อต่อณรงค์
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๑๘๐)

พลายแก้วคุมทัพและทําสงครามกับเชียงทอง ได้ใช้วชิ าที่ได้จาก


การบวชเรีย นและป ญ ั ญาสามารถทํ า การศึก จนกรุ ง ศรีอ ยุ ธ ยาได้ ร ับ ชัย ชนะ นอกจากนี้
เมื่อพลายแก้วยกทัพมาตัง้ ค่ายที่บ้านจอมทอง พลายแก้วก็ไม่ได้ทําร้ายชาวบ้านจอมทอง
แต่กลับปฏิบตั ิต่อชาวบ้านจอมทองเป็ น อย่างดี เป็ นเหตุให้แสนคําแมนนายแคว้นหมู่บ้า น
จอมทอง และนางศรีเงินยวงยกนางลาวทองบุตรสาวของตนให้แก่พลายแก้ว พลายแก้วสัญญา
ว่าจะเลี้ยงดูนางลาวทองเป็ นอย่างดี และได้พานางลาวทองกลับมาที่เมืองสุพรรณบุรีด้ว ย
ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ท่านพาลาวทองมายกให้ จะเลีย้ งไว้ให้สมซึ่งศักดิ ์ศรี


ท่านอย่าคิดกังขาราคี ร้อยปีไม่อยากให้จากกัน
จะร่วมเรียงเคียงหน้ากว่าจะตาย ไม่เบื่อหน่ายแหนงจิตบิดผัน
บรรดาได้ทรัพย์มานับพัน ไม่แบ่งปนั ให้ใครเท่าใยยอง
๔๔

สารพัดสมบัตทิ ด่ี ไี ด้ ชันตํ


้ ่าลงไปจนข้าวของ
อย่าวิตกจะยกให้ลาวทอง สองท่านอย่าได้เป็นกังวล
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๒๑๕)

นางพิมพิลาไลยป่วยระหว่างพลายแก้วไปทัพ จนต้องเปลี่ยนชื่อ
เป็นนางวันทอง อีกทัง้ ขุนช้างยังได้ทําอุบายหลอกนางศรีประจันและนางวันทองว่า พลายแก้ว
พ่ายแพ้และเสียชีวติ ในสงครามแล้ว นางศรีประจันหลงเชือ่ และบังคับให้นางวันทองแต่งงานกับ
ขุนช้างเพื่อไม่ให้นางวันทองต้องเป็ นหม้ายหลวง นางวันทองจําต้องแต่งงานแต่กไ็ ม่ยนิ ยอม
ร่วมหอกับขุนช้าง
เมื่อพลายแก้วชนะศึกเมืองเชียงใหม่กลับมา สมเด็จพระพันวษา
ได้พระราชทานบรรดาศักดิ ์ให้เป็นขุนแผน ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ครานัน้ พระองค์ได้ทรงฟงั จึงดํารัสตรัสสังพระหมื


่ ่นศรี
ประทานของต้องตามความชอบมี เจียดกระบีเ่ สือ้ ใส่ได้ประทาน
ตัวอ้ายพลายให้ตงั ้ เป็นขุนแผน อยู่รกั ษาเขตแดนทีป่ ลายด่าน
คุมไพร่หา้ ร้อยคอยเหตุการณ์ แล้วประทานเรือยาวเก้าวา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๒๗๓)

จากนัน้ ขุนแผนได้เดินทางกลับไปเมือ งสุ พรรณบุรี เมื่อไปถึง


ขุนแผนทราบว่าขุนช้างบังคับให้นางวันทองแต่งงานด้วยก็โกรธ จะขึน้ ไปฆ่าขุนช้างถึงบนเรือน
นางวันทองห้ามขุนแผนไว้ แต่เมื่อนางวันทองเห็นว่าขุนแผนพานางลาวทองมาด้วยก็โกรธและ
ด่าทออย่างรุนแรง เป็ นเหตุให้ขุนแผนโกรธพานางลาวทองกลับไปบ้านที่เมืองกาญจนบุ รี
ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง - ขุนแผน ว่า

ขุนแผนขัดใจดังไฟติด กูหาคิดถึงอีวนั ทองไม่


สังข้
่ าผูกช้างพลางจะไป บ้านเขาชนไก่ของมารดา
ข้าไทผูกช้างแล้วเสร็จสรรพ รับขนของใส่ลงหนักหนา
สําเร็จเสร็จพลันมิทนั ช้า ขุนแผนมาขึน้ ช้างกับลาวทอง
นางวันนางเวียงพีเ่ ลีย้ งนาง ขึน้ ช้างพังใหญ่ไปทัง้ สอง
บ่าวไพร่หาบหามตามเป็นกอง สองวันก็ถงึ กาญจน์บุรี
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๒๘๕ - ๒๘๖)
๔๕

นางวันทองยอมร่วมหอกับขุนช้างในเวลาต่อมา จากนัน้ ไม่นาน


ขุนแผนหวนคิดถึง นางวันทองจึงได้กลับมาที่เมืองสุพรรณบุรีจนได้เห็นภาพขุนช้างกับนาง
วันทองนอนอยู่ด้วยกัน จึงแค้นเคืองแกล้งมัดนางวันทองกับขุนช้างไว้ด้วยกัน กระทังขุ
่ นช้าง
ยอมขอโทษ ขุนแผนจึงยอมยกโทษให้ แล้วกลับบ้านทีเ่ มืองกาญจนบุรี
ต่ อ มาสมเด็ จ พระพัน วษามี พ ระบรมราชโองการให้ ขุ น แผ น
เข้าฝึกหัดราชการกับจมื่นศรีทก่ี รุงศรีอยุธยา ดังปรากฏความว่า

อ้ายพลายแก้วทีต่ งั ้ เป็นขุนแผน ครัน้ ตีแดนเมืองลาวลงมาได้


ยังหนุ่มแน่นกล้าหาญชาญชัย ถ้าใช้สอยนานไปจะได้การ
แต่เดีย๋ วนี้ให้เกณฑ์ตระเวนไพร ไม่เคยเอามาใช้ในราชฐาน
ถ้าปล่อยปละละเลยเสียช้านาน การงานเวียงชัยไหนจะรู้
ญาติวงศ์พงศามันไม่มี จมื่นศรีสสิ นั ทัดฝึกหัดอยู่
กูฝากอ้ายแผนด้วยช่วยเป็นครู เอามาใช้ในหมู่มหาดเล็ก
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๑๖)

วันหนึ่งนางลาวทองป่วย ขุนแผนฝากเวรไว้กบั ขุนช้างเพื่อ ไป


เยี่ยมไข้ ขุนช้างได้กราบบังคมทูลสมเด็จพระพันวษาว่า ขุนแผนละทิ้งราชการไปหาภรรยา
่ นางลาวทองมาทํางานปกั สะดึงกรึงไหมอยู่ในพระราชวัง
สมเด็จพระพันวษากริว้ และมีรบั สังให้
ส่วนขุนแผนให้ออกตระเวนด่าน ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

เหวยราชามาตย์ไปบัดนี้ พาอีลาวทองมาจากผัว
อ้ายขุนแผนกูไม่ขอเห็นตัว มันทําชัวให้
่ อยู่กาญจน์บุรี
ให้คุมไพร่ไปเทีย่ วตระเวนด่าน ต่อราชการเกิดศึกในกรุงศรี
จึงจะเกณฑ์มนั ให้ไปต่อตี แต่ในราตรีจงรีบไป
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๒๖)
๔๖

ขุนแผนต้องออกตระเวนด่านนับแต่นนั ้ กระทังวั
่ นหนึ่งได้เข้าไป

ทีซ่ ่องของหมื่นหาญ และฝากตัวเป็นสมุนรับใช้ ดังปรากฏความว่า

ขุนแผนบอกออกความไปตามแนว ฉันชือ่ แก้วอยู่กองช้างหกเหล่า


ราชการด่านทางไม่บางเบา เหนื่อยเข้าเต็มทีกห็ นีซน
ทัง้ พ่อแม่ภรรยาก็หาไม่ ยากไร้สารพัดจะขัดสน
จึงดือ้ ดัน้ ดงรามเพราะความจน กลัวจะหนีเขาไม่พน้ เทีย่ วซนมา
หมายจะมาอยู่ในซ่องของเจ้าคุณ ได้พง่ึ บุญคุม้ กายไปภายหน้า
ถ้าเจ้าคุณปรานีมเี มตตา ฉันจะอยู่เป็นข้าจนบรรลัย
พลางเปา่ ละลวยล่องให้ตอ้ งพาน ถูกหมื่นหาญงวยงงสิน้ สงสัย
เพราะฤทธิเดชเวทมนตร์เข้าดลใจ ให้รกั ใคร่ขนุ แผนแม้นลูกตน
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๓๗)

ขุนแผนได้เรียนรูว้ ชิ าจากหมื่นหาญ ทัง้ ยัง ได้ช่วยชีวติ หมื่นหาญ


ให้รอดจากถูกกระทิงขวิด หมื่นหาญยกนางบัวคลี่บุตรสาวของตนให้เพื่อตอบแทนขุนแผน
ต่อ มาหมื่น หาญให้น างบัว คลี่ว างยาพิษ กํ า จัดขุน แผน เพราะเห็น ว่า ขุน แผนมีว ิช าอาคม
แกร่งกล้ากว่าตน ขุนแผนรูท้ นั ด้วยโหงพรายมากระซิบ จึงออกปากขอบุตรชายซึ่งอยู่ในท้อง
ของนางบัวคลี่ เมื่อนางบัวคลี่ยกบุตรชายให้ ขุนแผนจึงผ่าท้องนางบัวคลี่ ในคืนนัน้ แล้วนํ า
บุตรชายไปทําพิธปี ลุกเสกกุมารทอง
จากนัน้ ขุนแผนได้เดินทางไปบ้านดาบก่งธนู ตีดาบฟ้าฟื้ นไว้เป็ น
อาวุธประจํากาย แล้วออกเดินทางไปเมืองพิจติ ร พบม้าซึ่งมีลกั ษณะดีจงึ ซื้อไว้และให้ช่อื ว่า
ม้าสีหมอก ขุนแผนจึงได้ของวิเศษประจําตัว ๓ สิง่ คือ กุมารทอง ดาบฟ้าฟื้ น และม้าสีหมอก
ระหว่างที่อ อกตระเวนด่า นตามที่ตงั ้ ใจไว้แต่ แรก ดัง ปรากฏความในเสภาเรื่อ งขุนช้ า ง –
ขุนแผน ว่า


เรื่อ งซ่ อ งของหมื่น หาญนี้ เอกสารในสมัย หลัง มัก เขีย นด้ ว ยเข้ า ใจผิด ว่ า เป็ น ซ่ อ งโจร
ทัง้ ที่ใ นเสภาเรื่อ งขุนช้ าง – ขุน แผน ปรากฏความว่ า “หมายจะมาอยู่ใ นซ่ อ งของเจ้า คุณ ” หมื่นหาญ
จึงไม่ใช่โจร หม่อมราชวงศ์คกึ ฤทธิ ์ ปราโมช (๒๕๕๓: ๑๓๘) ได้แสดงทัศนะเกี่ยวกับเรื่องนี้ไว้ว่า “ลักษณะ
นายเดชกระดูกดํา ผูซ้ ง่ึ มีตําแหน่งเป็นหมื่นหาญซึง่ คงจะเป็นหมื่นประทวน เจ้าเมืองตัง้ ได้ แล้วก็จะต้องเข้าใจ
ว่าหมื่นหาญคนนี้มิใช่โจร และขบวนการของหมื่นหาญทัง้ หมดก็มิใช่ ซ่อ งโจร หากแต่ หมื่น หาญเป็ นผู้มี
อิท ธิพ ลมากในท้ อ งถิ่ น นั ้น จนถึ ง ทางราชการต้ อ งยอมรับ และตัง้ ให้เ ป็ น หมื่น หาญมีลู ก น้ อ ง ๒๐ คน
ซึง่ ล้วนแล้วแต่เป็นคนเก่งอยู่ยงคงกระพันทัง้ นัน้ หมื่นหาญเองก็ยอดคนเหมือนกัน เพราะ “ปลุกเสกเครื่องฝงั
ไว้ทงั ้ ตัว เป็นปมปุ่มไปทั ่วทัง้ กายตน”
๔๗

จะตีดาบซื้อม้าหากุมาร ให้เชีย่ วชาญวิชาได้ฝา่ ศึก


ถ้าสามสิง่ นี้ได้สมอารมณ์นึก จะอึกทึกมาอย่างไรก็ไม่กลัว
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๓๓)

กุมารทอง ม้าสีหมอก และดาบฟ้าฟื้ น ของวิเศษ ๓ สิง่ นี้เสมือน


อุปกรณ์สําคัญในการประกอบวีรกรรมและส่งเสริมให้ขนุ แผนประสบความสําเร็จ เป็ นทหารที่มี
ชื่อเสียงและเป็ นที่ยอมรับของคนทัวไป
่ หากแต่ขุนแผนก็หาได้ใช้ของวิเศษดังกล่าวแต่ใน
ราชการเท่านัน้ เพราะเมื่อมีของวิเศษประจําตัวแล้ว ก็เกิดความคิดที่จะพานางวันทองหนีจาก
ขุนช้าง ขุนแผนขึ้นเรือนขุนช้างและได้นางแก้วกิรยิ า แล้วลักพานางวันทองไปอยู่ด้ วยกัน
ในปา่ กระทังนางวั
่ นทองครรภ์แก่ ขุนแผนสงสารจึงพานางวันทองไปฝากพระพิจติ รไว้ ต่อมา
ขุน แผนเกรงว่าตนเองจะพลอยทํ า ให้พ ระพิจิต รต้อ งลํ า บากเพราะให้ท่ีหลบซ่ อ นตัว แก่ ต น
ซึ่งผิดกฎหมายบ้านเมืองจึงยอมมอบตัวและเข้าสู่การพิจารณาคดี ดังปรากฏความในเสภา
เรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ครานัน้ ขุนแผนแสนสนิท ได้ฟงั พระพิจติ รก็กม้ เกล้า


ชีแ้ จงเนื้อความตามสําเนา ข้าพเจ้าคิดกลัวซึ่งโทษทัณฑ์
ด้วยมีตราอายัดสกัดด่าน รัว้ แขวงกรมการก็กวดขัน
แต่ปิดบังลูกชายไว้หลายวัน ลูกคิดเกรงเกลือกอันตรายมี
หลวงปลัดยกกระบัตรกรมการ จะบอกกล่าวข่าวขานไม่ควรที่
จะเป็นคบคนผิดติดราคี พระพันปีกจ็ ะทรงพระโกรธา
เจ้าประคุณบอกส่งลูกลงไป ให้พน้ ภัยราคีจะดีกว่า
ช่วยแต่แจ้งไปในท้องตรา ว่าลูกเข้ามาหาแต่โดยดี
กับบอกคําให้การดีฉานว่า ทัง้ ถ้อยคําภรรยาให้ถว้ นถี่
ให้สมกับลุแก่โทษโปรดสักที นอกนี้สุดแต่กรรมทีท่ ํามา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๔๗๓)

เมื่อสมเด็จพระพันวษาทรงชําระความเรียบร้อยแล้ว ขุนแผนเป็ น
ฝ่า ยชนะความ ส่ ว นขุ น ช้า งต้ อ งถู ก ปรับ ไหม ครัง้ นั น้ ขุน แผนยัง ได้ ก ราบบัง คมทู ล ขอ
พระราชทานอภัยโทษให้แก่นางลาวทองด้วยเป็นเหตุให้สมเด็จพระพันวษากริ้วขุนแผนอีกครัง้
จึงมีพระบรมราชโองการให้นําขุนแผนไปจําคุก ขุนช้างได้ฉวยโอกาสตอนขุนแผนถูกจําคุก
ในครัง้ นี้ ฉุดนางวันทองกลับไปอยู่กบั ตนทีเ่ มืองสุพรรณบุรี
๔๘

นางวันทองกลับ ไปอยู่ก ับขุนช้า งที่เมืองสุพรรณบุรี ให้ กําเนิ ด


บุตรชายของขุนแผนชือ่ ว่า พลายงาม เมื่อขุนช้างล่วงรูว้ า่ พลายงามไม่ใช่บุตรชายของตนก็คดิ
ลวงไปฆ่าในป่า แต่เคราะห์ดีท่ผี พี รายของขุนแผนช่วยป้อ งกันพลายงามไว้ได้ เหตุการณ์
ดังกล่าวเป็นเหตุให้นางวันทองตัดสินใจส่งพลายงามไปอยู่กบั ย่าทองประศรีท่เี มืองกาญจนบุรี
เพื่อให้ปลอดภัยจากขุนช้างและให้ได้ศกึ ษาเล่าเรียน ทัง้ ยังจะได้สบื ทอดตําราของขุนแผนด้วย
ต่อมา เมื่อพลายงามเติบใหญ่และเข้ารับราชการเป็นทหารเหมือน
ขุนไกรผูเ้ ป็นปูแ่ ละขุนแผนผูเ้ ป็นบิดา พลายงามได้อาสาไปศึกเชียงใหม่ โดยกราบบังคมทูลขอ
พระราชทานอภัยโทษให้ขุนแผนเป็ นที่ปรึกษาและไปในการศึกครัง้ นี้ด้วย ดังปรากฏความใน
เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ขอพระราชทานโทษโปรดบิดา ไปเป็นคู่ปรึกษากันกลางหน
ทัง้ จะได้ชว่ ยเหลือเผือ่ อับจน แก้กลศึกสูศ้ ตั รูนนั ้
แม้นว่าได้ร่วมคิดกับบิดา จะขอรับอาสาจนอาสัญ
ถ้าพ่ายแพ้แก่พวกเชียงใหม่มนั ขอถวายชีวนั ทัง้ โคตรปราณ
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๖๐๔)

ขุนแผนจึงได้รบั พระราชทานอภัยโทษ ดังปรากฏความตอนที่


สมเด็จพระพันวษาตรัสแก่เหล่าขุนนางน้อยใหญ่ ว่า

อนิจจาอ้ายขุนแผนแสนอาภัพ ตกอันดับเสียคนแทบปน่ ปี้


ติดคุกทุกข์ยากอยู่หลายปี กูน้กี ช็ วมั
ั ่ วลืมไป
ให้บงั อกบังใจกระไรหนอ อ้ายพลายงามมาขอจึงนึกได้
ครัง้ ขออีลาวทองกูหมองใจ จําไว้ชา้ นานถึงปา่ นนี้
ดูดู๋ขนุ นางทัง้ น้อยใหญ่ พากันนิ่งเสียได้ไม่พอที่
ทารกรรมมันมาสิบห้าปี ช่างไม่มผี ใู้ ดใครชอบพอ
เหตุดว้ ยอ้ายนี่ไม่มที รัพย์ เนื้อความมันจึงลับไปเจียวหนอ
ถ้ามังมี่ ไม่จนคนก็ปรอ มึงขอกูขอไม่เว้นวัน
นับประสาหาคนไปสูศ้ กึ ก็ไม่มใี ครนึกถึงมันนัน่
ด้วยอิจฉาว่าวิชาไม่เท่ากัน มันไล่ฟนั เอาเมื่อตามขุนช้างไป
ความกลัววิง่ หัวเป็นดอกล่อ รูจ้ กั ฝีมอื พ่อหรือหาไม่
พระยายมฟงั ว่าช้าอยู่ไย จงสังให้่ ไปถอดอ้ายแผนมา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๖๐๕)
๔๙

ขุนแผนและพลายงามทําศึกครัง้ นี้สําเร็จด้วยชัยชนะ สามารถ


รับตัวนางสร้อยทองพระราชธิดาพระเจ้าล้านช้างซึ่งถูกพระเจ้าเชียงใหม่ชงิ ตัวไปกลับมาถวาย
สมเด็จพระพันวษาได้ สมเด็จพระพันวษาจึงพระราชทานบําเหน็จรางวัลให้แก่ทงั ้ ขุนแผน
และพลายงามตามความดีความชอบที่ได้กระทํา โดยขุนแผนได้บรรดาศักดิ ์เป็ นพระสุรนิ ทร
ฦๅไชยมไหสูรย์ภกั ดี ครองเมืองกาญจนบุรี ส่วนพลายงามได้รบั พระราชทานนางสร้อ ยฟ้ า
ธิดาพระเจ้าเชียงใหม่เป็ นภรรยา และได้บรรดาศักดิ ์เป็ นจมื่นไวยวรนาถ พร้อมทัง้ ได้เข้ารับ
ราชการในกรุงศรีอยุธยาสืบต่อไป ดังปรากฏความในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

อ้ายขุนแผนพลายงามมีความชอบ กูจะตอบแทนมึงให้ถงึ ที่


ขุนแผนให้ไปรัง้ กาญจน์บุรี มีเจียดกระบีเ่ ครื่องยศให้งดงาม
สัปทนคนโทถาดหมากทอง ช้างจําลองของประทานทัง้ คานหาม
สําหรับใช้ไปณรงค์สงคราม ให้สมตามความชอบทีม่ มี า
ให้เป็นทีพ่ ระสุรนิ ทรฦๅไชย มไหสูรย์ภกั ดีมสี ง่า
แล้วตรัสสังคลั ่ งในมิได้ชา้ เติมเงินตราสิบห้าชังเป็ ่ นรางวัล
ทัง้ เสือ้ ผ้าสมปกั ปูมส่าน พระราชทานมากมายหลายหลัน่
ส่วนอ้ายลูกชายพลายงามนัน้ จะให้มนั มียศปรากฏไป
ยังหนุ่มแน่นว่องไวมิใช่น้อย ควรเอาไว้ใช้สอยให้ใกล้ใกล้
จะตัง้ แต่งให้มงึ ให้ถงึ ใจ ให้สมทีม่ ชี ยั ได้เมืองมา
ให้เป็นทีจ่ มื่นไวยวรนาถ หัวหมื่นมหาดเล็กเวรข้างฝา่ ยขวา
พระราชทานเครื่องยศและเงินตรา ปูมส่านเสือ้ ผ้าสารพัน
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๗๗๕)

หลังจากนางวันทองถูก ประหารชีว ิต ขุนแผนก็ไ ด้ไ ปอยู่เ มือ ง


กาญจนบุรี ในวรรณคดีได้กล่าวถึงขุนแผนอีกครัง้ ในตอนที่พระไวยถูกนางสร้อยฟ้าทําเสน่ ห์
จนทํา ให้นางศรีมาลา ภรรยาอีกคนหนึ่งซึ่งเป็ น บุตรสาวของพระพิจิตรถูก พระไวยเฆี่ยนตี
ขุนแผนโกรธพระไวยถึงขัน้ ตัดพ่อตัดลูกกัน และได้วางแผนให้พลายชุมพลปลอมเป็ นมอญ
ยกทัพเข้ามาตีกรุงศรีอยุธยา ขุนแผนได้รบั พระบรมราชโองการให้ไปรบ แต่กแ็ กล้งทําเป็ นแพ้
เพื่อให้พระไวยอาสาออกรบ ขุนแผนจะทําร้ายพระไวย แต่พระไวยได้หนีกลับมากราบบังคม
ทูลสมเด็จพระพันวษา เป็ นเหตุให้สมเด็จพระพันวษาตัดสินความจนนางสร้อยฟ้าต้อ งโทษ
เนรเทศ เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผนจึงยุตลิ ง แต่เรื่องในเสภา
ยังคงดําเนินต่อไปจนถึงตอนพลายชุมพล บุตรชายของขุนแผนกับนางแก้วกิรยิ าปราบจระเข้
เถนขวาดเพื่อแก้เสน่ห์
๕๐

จากทีก่ ล่าวมาทัง้ หมด จะเห็นได้ว่า ภูมหิ ลังเกี่ยวกับขุนแผนจากเสภาเรื่องขุนช้าง –


ขุน แผน ทํ าให้เ ห็น ว่า ขุน แผนเป็ น ที่รู้จกั ในฐานะชายรูป งามที่มีเ สน่ ห์ มีภ รรยาหลายคน
และเป็ นเลิศทางเวทมนตร์คาถาและวิทยาอาคม เป็ นทหารเอกยอดฝี มือผูก้ ล้าหาญ ซื่อสัตย์
มีส ัจ จะ และจงรัก ภัก ดีต่ อ พระเจ้ า แผ่ น ดิ น กตัญ ํู รู้ คุ ณ และมีร ะเบีย บวินั ย แต่ มี นิ สัย
ใจร้อนและวูว่ าม

๒.๒ ภูมิหลังเกี่ยวกับขุนแผนจากคาให้การชาวกรุงเก่า
นอกจากชื่อ ขุ น แผนจะปรากฏอยู่ ใ นวรรณคดีไ ทยแล้ว ยัง ปรากฏอยู่ ใ นหนัง สือ
คาให้ การชาวกรุงเก่ า ซึ่งเป็ นเอกสารทางประวัติศาสตร์ท่แี ปลมาจากภาษาพม่ าอีก ด้ว ย
แม้คาให้การชาวกรุงเก่าจะเป็น “เอกสารทางประวัตศิ าสตร์ชนรอง” ั้ หากแต่ได้บนั ทึกเรื่องราว
ชีว ิต ของขุ น แผนไว้ส่ ว นหนึ่ ง เอกสารดัง กล่ า วจึง มี ค วามสํ า คัญ กับ การศึก ษาวิจ ัย เรื่อ งนี้
เพราะเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนดังกล่าวถือเป็นความทรงจําเรื่องขุนแผนอีกชุดหนึ่งที่เกี่ยวข้อง
และเป็นประโยชน์ต่อการศึกษาวิจยั
สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ (๒๕๑๕: (๑)) ทรงอธิบายไว้
ในอธิ บายเรื่องคาให้การชาวกรุงเก่า ว่า

...หนังสือเรื่องนี้ หอพระสมุดวชิรญาณได้ต้นฉบับมาจาก
เมื อ งพม่ า เมื่ อ พ.ศ.๒๔๕๔ เหตุ ท่ี จ ะได้ ห นั ง สื อ เรื่ อ งนี้ นั ้น
เดิมได้ทราบความว่ามีหนังสือพงศาวดารสยามเปนภาษาพม่าอยู่ใน
หอสมุ ด เมื อ งร่ า งกุ้ ง เรื่ อ ง ๑ เปนหนั ง สื อ เก่ า ยัง ไม่ เ คยพิ ม พ์
กรรมการจึงขอคัดสํา เนาหนังสือพงศาวดารฉบับนัน้ มาให้มองต่ อ
แปลออกเปนภาษาไทย สําเร็จใน พ.ศ.๒๔๕๕...

นอกจากนี้ยงั ทรงอธิบายเพิม่ เติมอีกว่า หนังสือคาให้การชาวกรุงเก่ามีลกั ษณะคล้าย


กับหนังสือคาให้การขุนหลวงหาวัดซึ่งมีปรากฏอยู่ก่อน ต่อมาทราบว่าคาให้การชาวกรุงเก่า
เรียบเรียงขึ้นจากคําบอกเล่าของเชลยชาวไทยที่ถูกกวาดต้อนไปเมืองพม่า เมื่อครัง้ กรุงศรี
อยุธยาเสียแก่พม่า คาให้การชาวกรุงเก่าจึงน่าจะเป็นต้นฉบับของคาให้การขุนหลวงหาวัด
ซึ่งถือเป็ นเอกสารทางประวัติศาสตร์ท่สี ําคัญอีกฉบับหนึ่ง ดังปรากฏความในอธิ บายเรื่อง
คาให้การชาวกรุงเก่า ว่า
๕๑

...เมื่อข้าพเจ้าได้อ่านคําแปลก็มคี วามประหลาดใจแต่แรก
ด้วยสัง เกตเห็น พงศาวดารที่ได้มาจากเมือ งพม่ าฉบับ นี้ รู ปเรื่อ ง
ละม้ายคล้ายคลึงกับหนังสือทีเ่ ราเรียกว่า ‚คําให้การขุนหลวงหาวัด ‛
มากทีเดียว จึงได้ให้ถามไปยังหอสมุดที่เมืองร่างกุ้งว่า พงศาวดาร
สยามฉบับนี้รฐั บาลอังกฤษได้มาจากไหน ได้รบั ตอบมาว่า หนังสือ
เรื่อ งนี้ ร ัฐ บาลอัง กฤษพบในหอหลวงในพระราชวัง ของพระเจ้ า
แผ่นดิน พม่า ที่เมืองมันดะเล ครัง้ ตีเมืองพม่าได้เ มื่อ พ.ศ.๒๔๒๙
แลอธิบายต่อมาว่า หนังสือเรื่องนี้พวกขุนนางพม่าชีแ้ จงว่า พระเจ้า
อังวะให้เรียบเรียงจากคําให้การของพวกไทยทีไ่ ด้ไปเมื่อครัง้ ตีกรุงศรี
อยุธ ยา เมื่อได้ความดัง นี้ก็ไ ม่มีท่สี งสัยต่ อไป เชื่อ ได้เ ปนแน่ ว่า
หนังสือเรื่องนี้เองเปนต้นเดิมของหนังสือซึ่งเรียกกันว่า ‚คําให้การ
ขุนหลวงหาวัด‛ ฉบับทีไ่ ด้มาใหม่น้ี คือ คัดจากฉบับหลวงของพม่า
(สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยาดํารงราชานุภาพ, ๒๕๑๕: (๑) – (๒))

อรอุษา สุวรรณประเทศ (๒๕๕๒: ๒๗ – ๓๕) ได้กล่าวถึงหนังสือ คาให้การขุนหลวง


หาวัด และค าให้ การชาวกรุง เก่า ว่า หนัง สือ ค าให้ การขุนหลวงหาวัด และค าให้ ก าร
ชาวกรุงเก่า เป็ นหนังสือคําให้การที่พระเจ้าอังวะมีโองการให้ข้าราชการพม่าซักถามเชลย
ชาวอยุธยาและจดคําให้การไว้เป็ นความรู้ในราชการ หนังสือสองเรื่องนี้ ความจริงเป็ นเรื่อง
เดียวกันแต่เป็นคนละสํานวนและเรียกชือ่ ต่างกัน เดิมเรียกกันว่า “คาให้การขุนหลวงหาวัด ”
เพราะเข้าใจว่าเป็ นคําให้การของขุนหลวงหาวัดซึ่งก็ค ือพระเจ้าอุทุมพร ที่ได้รบั แต่งตัง้ เป็ น
รัชทายาทครองกรุงศรีอยุธยาต่อจากสมเด็จพระเจ้าบรมโกศ แต่ต่อมาทราบว่าเป็ นคําให้การ
ของคนไทยหลายคน ไม่ใช่แต่พระเจ้าอุทุมพร หรือขุนหลวงหาวัด พระองค์เดียว จึงได้มกี าร
เรียกหนังสือเล่มนี้วา่ “คาให้การชาวกรุงเก่า” อีกชือ่ หนึ่ง

ชื่อขุนแผนมีปรากฏในหนังสือ คาให้ การชาวกรุงเก่า ใน ‚เรื่องสมเด็จพระพันวษา‛


หนังสือเรื่องนี้กล่าวถึงขุนแผนตอนทีไ่ ด้รบั พระราชทานอภัยโทษ แล้วอาสาไปศึกเชียงใหม่เพื่อ
รับตัวนางสร้อยทอง พระราชธิดาของพระเจ้ากรุงศรีสตั นาคนหุตล้านช้าง จนได้รบั ชัยชนะ
และกล่าวถึงตอนทีข่ นุ แผนแก่ชรา แล้วนําดาบเวทวิเศษมาทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระพันวษา

พระเจ้า กรุ ง ศรีส ัต นาคนหุ ต ล้ า นช้า งส่ ง พระราชธิด าพร้อ มเครื่อ งราชบรรณาการ
มาถวายสมเด็จพระพันวษา ความทราบถึงพระเจ้าโพธิสารแห่งเมืองเชียงใหม่ พระเจ้าโพธิสาร
ไม่ พ อใจเนื่ อ งจากเห็ น ว่ า ล้ า นช้ า งคิ ด ตี ต ัว ออกห่ า งจากเชีย งใหม่ จึ ง ส่ ง คนมาลอบชิง
๕๒

พระราชธิดาไป เป็นเหตุให้สมเด็จพระพันวษาพิโรธและมีพระบรมราชโองการให้จดั เตรียมทัพ


และจัดหาทหารฝีมอื ดี ดังปรากฏความในคาให้การชาวกรุงเก่า ว่า

...ครัน้ อยู่มา พระเจ้ากรุงศรีสตั นาคนหุตล้านช้าง มุ่งหมาย


จะเป็นสัมพันธมิตรสนิทสนมกับกรุงเทพทวารวดี จึงส่ง พระราชธิดา
องค์ ห นึ่ ง ซึ่ ง มี พ ระรู ป ลั ก ษณะงามเลิ ศ พึ่ ง เจริ ญ พระชนม์ ไ ด้
๑๖ พรรษา พร้อมด้วยข้าหลวงสาวใช้ขา้ ทาสบริวาร กับเครื่องราช
บรรณาการเป็ นอันมาก มีราชทู ตเชิญพระราชสาส์น พร้อมด้ว ย
เสนาอํ า มาตย์ คุ ม โยธาทวยหาญ เชิ ญ พระราชธิ ด ามาถวาย
พระพันวษา ณ กรุงเทพทวารวดี ครัน้ มาถึงในกลางทาง ข่าวนี้
รู้ข้นึ ไปถึง นครเชียงใหม่ พระเจ้าโพธิสารราชกุมารผู้เ ป็ นพระเจ้า
แผ่นดิน นครเชียงใหม่ ในเวลานัน้ ไม่ ช อบให้ก รุง ศรีส ัตนาคนหุ ต
ล้านช้างไปเป็ นสัมพันธมิตรสนิทกับ นครศรีอยุธยา จึงคุมกองทัพ
ลงมาซุ่มอยู่ ยกเข้าแย่งชิงพระราชธิดานัน้ ไปได้ ฝา่ ยพวกพลกรุงศรี
สัตนาคนหุตที่พ่ายแพ้แตกหนี ก็รีบกลับไปทูลแจ้งเหตุแก่พระเจ้า
กรุงศรีสตั นาคนหุตล้านช้างให้ทรงทราบทุกประการ
ครัน้ ประพฤติเหตุน้ีทราบเข้ามาถึงพระเจ้ากรุงศรีอยุธยา
สมเด็จพระพันวษาก็ทรงพิโรธยิง่ นัก จึงตรัสแก่เสนาอํามาตย์ทงั ้ ปวง
ว่า เจ้านครเชียงใหม่ดูหมิน่ เดชานุ ภ าพของเรา เป็ นผูไ้ ม่ตงั ้ อยู่ใน
ยุตธิ รรม มาแย่งชิงนางผูท้ ่เี ขาจํานงใจจะมาให้แก่เราดังนี้ ก็ผดิ ต่อ
กรรมบถมนุ ษ ย์ว ินัย จํ า จะยกขึ้น ไปปราบเจ้ า นครเชีย งใหม่ ใ ห้
ยําเกรงฝี มือทหารไทย ไม่ประพฤติพาลทุจริตดูหมิ่นต่อเราสืบไป
จึงมีพระราชโองการตรัสสังให้ ่ เตรียมทัพ และตรั สสังพระหมื
่ ่นศรี
มหาดเล็ก ผู้เป็ นขุน นางข้าหลวงเดิมคนสนิทไว้พระทัย ให้เลือ ก
จัดหาทหารทีม่ ฝี ีมอื กล้าศึกสงครามเข้ามาถวาย…
(คาให้การชาวกรุงเก่า, ๒๕๑๕: ๖๒)

การทีส่ มเด็จพระพันวษามีพระบรมราชโองการให้จดั หาทหารฝีมอื ดี ทําให้พระหมื่นศรี


ขุน นางข้า หลวงได้ก ราบบัง คมทู ล เสนอชื่อ ขุน แผนเป็ นทหารไปศึก เชีย งใหม่ ค รัง้ นี้ ทัง้ นี้
ช่วงเวลาดังกล่าว ขุนแผนต้องโทษจําคุกอยู่ สมเด็จพระพันวษาจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ
พระราชทานอภัยโทษให้ขุนแผน เมื่อ ขุนแผนถูก ถอดจากเรือ นจําแล้วก็ได้เข้าเฝ้ าฯ สมเด็จ
พระพันวษา และขออาสาไปศึกเชียงใหม่ครัง้ นี้ ดังปรากฏความในคาให้การชาวกรุงเก่า ว่า
๕๓

...พระหมื่ น ศรี จึ ง กราบทู ล ว่ า ในทหารไทยในเวลานี้


ผูใ้ ดจะเป็นทหารเอกยอดดีไปกว่าขุนแผนนัน้ ไม่มี ด้วยขุนแผนเป็ น
ผู้รู้เวทมนต์เชี่ย วชาญ ใจกล้า หาญเป็ นยอดเสนา และมีใจกตัญ ํู
กตเวทีรู้พ ระเดชพระคุ ณ เจ้า หาตัว เปรีย บได้ย าก บัด นี้ ขุน แผน
เป็ น โทษต้อ งรับ พระราชอาญาจํ าอยู่ ณ คุ ก ถ้า โปรดให้ขุน แผน
เป็ น ทัพ หน้ า ยกขึ้น ไปตีเ มือ งเชีย งใหม่ ใ นครัง้ นี้ ค งจะมีช ยั ชํ า นะ
โดยง่ า ย ไม่ ต้ อ งให้ ร้ อ นถึ ง ทัพ หลวงและทัพ หลัง เพี ย งปานใด
สมเด็จพระพันวษาก็ทรงระลึกได้ถงึ ขุนแผน ด้วยทรงทราบว่าเป็ น
ทหารมีฝีมือมาแต่ก่อน จึง ทรงพระกรุณาโปรดให้ขุนแผนพ้นโทษ
่ พระหมื่นศรีนําขุนแผนเข้ามาเฝ้าโดยเร็ว พระหมื่นศรีไ ด้
มีรบั สังให้
รับ สัง่ แล้ ว ก็ไ ปบอกนครบาลให้ ถ อดขุ น แผนจากเรือ นจํ า นํ า ตัว
เข้ า มาหมอบเฝ้ าถวายบัง คมต่ อ หน้ า พระที่ นั ง่ ในท้ อ งพระโรง
ในขณะนัน้ สมเด็จพระพันวษาจึง มีพระราชโองการตรัสถามขุนแผน
ว่ า เฮ้ ย ไอ้ ขุ น แผน เอ็ ง จะอาสากู ย กขึ้ น ไปตี น ครเชี ย งใหม่
ปราบปรามเจ้าโยนกอันธพาลให้เห็นฝี มือทหารไทย รับนางคืนมา
ให้ กู จ ะได้ ห รื อ มิ ไ ด้ ป ระการใด ขุ น แผนจึ ง กราบบั ง คมทู ล ว่ า
ข้าพระบาทผู้เป็ นข้าทหาร ชีวติ อยู่ในใต้ฝ่าพระบาทของพระองค์
ผูท้ รงพระเดชพระคุณปกเกล้า ฯ มาแต่ปแู่ ละบิดา ข้าพระองค์ขอรับ
อาสาขึ้น ไปตีน ครเชีย งใหม่ ปราบเจ้ า โยนกให้ ก ลัว เกรงพระ
เดชานุ ภาพของพระองค์ รับราชธิดาพระเจ้าล้านช้างคืนมาถวาย
จงได้ ถ้าตีนครเชียงใหม่มไิ ด้แล้ว ขอถวายชีวติ ...
(คาให้การชาวกรุงเก่า, ๒๕๑๕: ๖๓)

เมื่อขุนแผนอาสาไปทัพ สมเด็จพระพันวษาจึงทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ แต่งตัง้


ขุนแผนเป็ นแม่ทพั ขุนแผนจึงไปรับดาบวิเศษและม้าวิเศษจากพระพิจติ รแล้วไปรบจนได้รบั
ชัยชนะ สามารถรับนางสร้อยทอง พระราชธิดาพระเจ้าล้านช้าง พร้อมทัง้ ชิงตัวพระมเหสีและ
พระราชธิดาของพระเจ้าเชียงใหม่มาถวายสมเด็จพระพันวษาได้ ดังปรากฏความในคาให้การ
ชาวกรุงเก่า ว่า

...สมเด็จพระพันวษาได้ทรงฟงั ขุนแผนกราบทูลรับอาสา
แข็ง แรงดัง นัน้ ก็ดีพ ระทัย นั ก จึง โปรดให้ต ัง้ ขุ น แผนเป็ น แม่ ท ัพ
ถืออาชญาสิทธิค์ ุมกองทัพ ทหารไทย ขึ้นไปถึงเมืองพิจิตรจึงแวะ
๕๔

เข้า หาพระพิจิต รเจ้า เมือ ง ขอให้ส่ ง ดาบเวทวิเ ศษกั บ ม้า วิเ ศษที่
ฝากไว้แต่ก่อนคืนมาให้ จะไปใช้ในการรบศึก ดาบวิเศษของขุนแผน
นัน้ ในภายหลังต่อ ๆ มามีผู้เรียกว่า ดาบฟ้ าฟื้ น มีฤทธิ ์เดชนัก
ม้าวิเศษนัน้ เรียกว่า ม้าสีหมอก ขับขีเ่ ข้าสู้สงครามหลบหลีกข้าศึก
ได้แคล่วคล่องว่องไวนัก ขุนแผนได้ดาบเวทวิเศษและม้าวิเศษแล้ ว
ก็ลาเจ้าเมืองพิจติ ร รีบยกขึน้ ไปถึงแดนนครเชียงใหม่ ฝ่ายเจ้านคร
เชียงใหม่รู้ว่ากองทัพกรุงศรีอยุธยายกขึ้นมา จึงแต่งกองทัพให้ยก
ออกมาสู้ร บต้า นทาน ขุน แผนแม่ท ัพ ก็ข บั พลทหารไทยเข้า ต่ อ ตี
พลลาวยวนเชียงใหม่โดยสามารถ กองทัพเชียงใหม่กแ็ ตกพ่ายแพ้
หนีกลับเข้าเมือง จะปิดประตูลงเขื่อนก็ไม่ทนั ขุนแผนก็ยกติดตาม
่ า เมือ งได้ ไล่ฆ่า ฟ นั พลลาวล้ม ตายลงเป็ นอันมาก
รบรุก บุก บันเข้
ฝ่า ยเจ้ า นครเชีย งใหม่ เ ห็น ข้า ศึก เข้า เมือ งได้ ก็ต กใจไม่ ม ีข วัญ
จึง ขึ้น ม้ า หนี อ อกนอกเมือ งไป ขุ น แผนจึง คุ ม ทหารเข้า ล้ อ มวัง
ให้จบั อัครสาธุเทวีมเหสีพระเจ้า เชียงใหม่ กับราชธิดาอันมีนามว่า
เจ้าแว่นฟ้าทอง กับนางสนมน้ อยใหญ่ ของพระเจ้านครเชียงใหม่ให้
รวบรวมไว้พร้อมด้วยกัน และให้เชิญนางสร้อยทองราชธิดาพระเจ้า
นครล้านช้าง ทีเ่ จ้านครเชียงใหม่ไปแย่งชิงมาไว้ ให้ออกมาจากหอคํา
จึงเชิญนางสร้อยทองพระราชธิดาพระเจ้าล้านช้าง กับมเหสีราชธิดา
พระเจ้านครเชียงใหม่ทจ่ี บั ไว้ได้ เลิกกองทัพกลับลงมาถวายพระเจ้า
กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา และกราบทู ล ข้ อ ราชการทั พ ที่ มี ช ั ย ชนะนั ้น
ให้ทรงทราบทุกประการ สมเด็จพระพันวษาก็มพี ระทัยยินดีนกั …
(คาให้การชาวกรุงเก่า, ๒๕๑๕: ๖๓ - ๖๕)

ขุน แผนจึง มีค วามดีค วามชอบในฐานะที่ เ ป็ น แม่ ท ัพ นํ า ทหารไทยไปศึก เชีย งใหม่


จนได้ร ับชัยชนะกลับมา สมเด็จพระพันวษาได้โ ปรดเกล้าฯ พระราชทานบํา เหน็จ รางวัล
จํานวนมากแก่ขนุ แผน ดังปรากฏความตอนหนึ่งในคาให้การชาวกรุงเก่า ว่า

...ในขณะนัน้ พระองค์จงึ โปรดพระราชทานบําเหน็จรางวัล


เป็ นต้น ว่าเงินทอง สิ่ง ของเครื่อ งอุปโภคบริโ ภค แก่ขุนแผนผู้เป็ น
แม่ทพั และนายกองตลอดจนพลโยธาทวยหาญ ผูไ้ ปรบศึกมีชยั ชนะ
มาในครัง้ นัน้ เป็นอันมาก...
(คาให้การชาวกรุงเก่า, ๒๕๑๕: ๖๕)
๕๕

เรื่องราวในตอนปลายของ ‚เรื่องสมเด็จพระพันวษา‛ กล่าวถึงขุนแผนตอนชราภาพแล้ว


ขุนแผนได้นําดาบวิเศษไปทูลเกล้าฯ ถวายสมเด็จพระพันวษา สมเด็จพระพันวษาทรงรับดาบ
วิเศษไว้และพระราชทานนามดาบนัน้ ว่า พระแสงปราบศัตรู ดังปรากฏความในคาให้การ
ชาวกรุงเก่า ว่า

...ฝา่ ยขุนแผน ซึ่งเป็ นทหารเอกยอดดีมชี ่อื เสียงปรากฏใน


กรุงศรีอยุธยา ในครัง้ นัน้ เมื่อคิดเห็นว่าตนแก่ชราแล้ว จึงนํ าดาบ
เวทวิเศษของตนเข้าถวายสมเด็จพระพันวษา เพื่อเป็ นพระแสงทรง
สําหรับพระเจ้าแผ่นดินต่อไป พระองค์ทรงรับไว้เป็ นพระแสงทรง
สําหรับพระองค์ แล้วจึงทรงประสิทธิ ์ประสาทนามว่า พระแสงปราบ
ศัตรู และทรงตัง้ พระนามพระแสงขรรค์แต่ค รัง้ พระยาแกรกนัน้ ว่า
พระขรรค์ไชยศรี โปรดให้มหาดเล็กเชิญตามเสด็จซ้ายขวา และมี
รับสังให้
่ เชิญ พระรูปพระยาแกรกกับมงกุฎของพระยาแกรกเข้าไว้ใน
หอพระที่นมัสการในพระราชวัง พระรูปพระยาแกรกกับมงกุฎทรง
ยังมีปรากฏอยู่ จนตราบเท่าทุกวันนี้...
(คาให้การชาวกรุงเก่า, ๒๕๑๕: ๖๙ - ๗๐)

เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนในคาให้การชาวกรุงเก่า สิน้ สุดลงเพียงเท่านี้ แม้คาให้การ


ชาวกรุงเก่าจะปรากฏเรื่องราวของขุนแผนเพียงบางช่วงของชีวติ แต่กแ็ สดงให้เห็นว่า ขุนแผน
น่ าจะมีต ัวตนอยู่จ ริง เป็ นคนสําคัญ และมีช่อื เสีย งเป็ นที่รู้จกั กันอย่ างกว้า งขวาง มีห น้ า ที่
ราชการในสมัยนัน้ เพราะเมื่อเชลยชาวกรุงเก่าถู กพม่าซักถามก็ได้ให้การเรื่องราวเกี่ยวกับ
ขุน แผนไว้ด้วย ทัง้ ที่ส่ว นใหญ่ แ ล้ว จะเป็ นคํ าให้ก ารเรื่องราวเกี่ยวกับ พระมหากษัตริย์ไ ทย
ในแผ่นดินหรือรัชสมัยต่าง ๆ เป็นสําคัญ

จะเห็นได้วา่ เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนจากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เป็ นเรื่องราว


ทีต่ ่อเนื่องและมีรายละเอียดมาก ส่วนเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนจากคาให้การชาวกรุงเก่าจะ
กล่าวถึงเรื่องราวของขุนแผนเพียงบางช่วงของชีวติ เท่านัน้ อย่างไรก็ตาม เรื่องราวชีวติ ของ
ขุนแผนตอนทีป่ รากฏร่วมกันจากทัง้ เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน และคาให้การชาวกรุงเก่า
คือเรื่องราวชีวติ ตอนที่ขุนแผนได้รบั พระราชทานอภัยโทษและได้ไปศึกเชียงใหม่เพื่อรับตัว
พระราชธิดาของพระเจ้าล้านช้างซึ่งถูกพระเจ้าเชียงใหม่ชงิ ตัวไป จนได้รบั ความดีความชอบ
แม้วรรณคดีไทยและเอกสารทางประวัติศ าสตร์ข้างต้น จะปรากฏเรื่อ งราวชีวติ ของ
ขุน แผนในเหตุ ก ารณ์ ช่ว งเดีย วกัน หากแต่ ร ายละเอีย ดของเรื่อ งราวมีค วามแตกต่ า งกัน
๕๖

กล่าวคือ เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน กล่าวว่า ขณะทีข่ นุ แผนถูกจําคุกอยู่ เกิดศึกเชียงใหม่


พลายงามบุตรชายของขุนแผนได้ทูลขอพระราชทานอภัยโทษให้ขนุ แผนเป็นทีป่ รึกษาไปในการ
ศึกเชียงใหม่ครัง้ นัน้ ด้วย สมเด็จพระพันวษาจึงพระราชทานอภัยโทษแก่ขุนแผน จากนัน้
ขุน แผนและพลายงามทํ า ศึก เชีย งใหม่ จ นได้ ร ับ ชัย ชนะและสามารถรับ ตัว นางสร้อ ยทอง
พระราชธิดาพระเจ้าล้านช้างคืนมาได้สําเร็จ สมเด็จพระพันวษาจึงพระราชทานบําเหน็จรางวัล
ให้ตามความดีความชอบทีไ่ ด้กระทํา ส่วนในคาให้การชาวกรุงเก่า กล่าวว่า ขณะนัน้ ขุนแผน
ถู ก จํ า คุ ก เมื่อ สมเด็จ พระพัน วษาต้ อ งการแม่ ท ัพ ไปศึก เชีย งใหม่ เ พื่อ ชิง นางสร้ อ ยทอง
พระหมื่นศรีได้กราบบังคมทูลเสนอชื่อขุนแผน ขุนแผนจึงได้รบั พระราชทานอภัยโทษ และ
อาสาเป็ นแม่ทพั ไปในศึกเชียงใหม่ จนได้รบั ชัยชนะและสามารถรับตัวนางสร้อยทองคืนมาได้
สําเร็จ ขุนแผนได้รบั พระราชทานบําเหน็จรางวัลจํานวนมาก แต่ไม่มกี ารกล่าวถึงพลายงาม
บุตรชายของขุนแผนแต่อย่างใด นอกจากนัน้ แล้ว เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ยังกล่าวว่า
การไปศึกเชียงใหม่ครัง้ เดียวกันนี้ ขุนแผนและพลายงามเป็ นแม่ทพั คุมนักโทษ ๓๕ คนไปเป็ น
กําลังพล และใช้ความรู้ทางเวทมนตร์คาถาและวิทยาอาคมรบจนได้รบั ชัยชนะและชิงตัวนาง
สร้อยทองมาได้สําเร็จ กระทังขุ ่ นแผนได้รบั พระราชทานบรรดาศัก ดิ ์เป็ นพระสุรนิ ทรฦๅไชย
มไหสูรย์ภกั ดี เจ้าเมืองกาญจนบุรี แต่ในคาให้การชาวกรุงเก่า นัน้ กล่าวถึงเพียงว่า ขุนแผน
เป็นแม่ทพั ไปในศึกเชียงใหม่น้เี พียงผูเ้ ดียว ไม่ได้กล่าวถึงพลายงามและนักโทษ ๓๕ คน
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนอีกตอนหนึ่งที่ เสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผนกับคาให้ การ
ชาวกรุงเก่า กล่าวถึงแตกต่างกันคือ เรื่องดาบเวทวิเศษหรือดาบฟ้าฟื้ น อาวุธคู่ใจของขุนแผน
เสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน มีความตอนหนึ่งที่ขุนแผนกล่าวกับพลายงามว่า ดาบฟ้ าฟื้ น
อันเป็นอาวุธของขุนแผนนี้วเิ ศษกว่าดาบใด และจะฝึ กให้พลายงามใช้ต่อไป ดังปรากฏความ
ตอนหนึ่งในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

พลายงามก็ขดุ ดินลงไป พบดาบดีใจเป็นหนักหนา


ส่งให้พ่อชักวาบปลาบนัยน์ตา ขุนแผนทูนเกศาด้วยสุดรัก
ดาบนี้ต่อไปจะให้เจ้า รบพุ่งจะได้เอาไปเป็นหลัก
อันฟ้าฟื้ นเล่มนี้ดยี งิ่ นัก ดาบอื่นสักหมื่นแสนไม่แม้นเลย
ถึงพระแสงทรงองค์กษัตริย์ ไม่เทียมทัดของเราดอกเจ้าเอ๋ย
จะฝึกเจ้าให้ใช้เสียให้เคย ชมเชยดาบพลางทางเดินมา ฯ
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๖๒๙)

แต่ในคาให้การชาวกรุงเก่า กล่าวว่าเมื่อขุนแผนแก่ชราแล้วได้นําดาบเวทวิเศษมาทูลเกล้า ฯ
ถวายสมเด็จพระพันวษา ดังปรากฏความทีเ่ คยยกมาแล้วข้างต้น
๕๗

จากทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดข้างต้น จะเห็นได้ว่า เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนปรากฏอยู่ทงั ้ ใน


วรรณคดีไ ทยและเอกสารทางประวัติศาสตร์ แม้จะมี ร ายละเอีย ดทัง้ ที่เ หมือนคล้าย และ
แตกต่างกัน แต่กถ็ อื เป็ นเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนฉบับที่เผยแพร่และรับรู้ในสังคมไทย ทัง้ นี้
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน นับเป็นฉบับทีเ่ ผยแพร่และเป็ นที่รบั รู้
อย่ า งกว้า งขวาง กระทัง่ มีก ารนํ า เรื่อ งราวดัง กล่ า วไปผลิต ซํ้ า อย่ า งต่ อ เนื่ อ งในรู ป หนัง สือ
ทัง้ หนังสือเล่าเรื่อง หนังสือถอดคําประพันธ์หลากหลายสํานวน ตลอดจนแบบเรียนภาษาไทย
ของกระทรวงศึกษาธิการ ส่วนเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนในคาให้การชาวกรุงเก่านัน้ ก็ได้รบั
การอ้างถึงในบทวิเคราะห์ – วิจารณ์เรื่องขุนช้างขุนแผนในแง่มุม ต่าง ๆ เรื่องราวชีวติ ของ
ขุน แผนดัง กล่ าวส่ วนใหญ่ ไ ด้รบั การเผยแพร่ เ ป็ น ภาษาไทย และมีจํา นวนหนึ่ งที่ไ ด้ร ับการ
เผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษ

เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนทีไ่ ด้รบั การเผยแพร่เป็นภาษาไทย เช่น

สมบัติ ก วี บทวิ จ ารณ์ ว รรณคดี ชุด ขุน ช้ า งขุน แผนจากวิ ท ยุ ท.ท.ท. (๒๕๐๓)
ของศุภร บุนนาค
เล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน (๒๕๐๔) ของกาญจนาคพันธุ์ และนายตํารา ณ เมืองใต้
วรรณกรรมไทยเรื่อง นิ ราศขุนช้าง – ขุนแผน (๒๕๑๓) ของฉันท์ ขําวิไล
ขุนช้างขุนแผน ฉบับนวนิ ยาย (๒๕๑๕) ของ ป.อินทรปาลิต
นิ ทานจากเสภาเรื่องขุนช้าง ขุนแผน (๒๕๑๖) ของพระตีรณสารวิศวกรรม
ขุนช้างขุนแผนฉบับอ่านใหม่ (๒๕๓๒) ของคึกฤทธิ ์ ปราโมช
ขุนช้างขุนแผน ชุดวรรณคดีไทยร้อยแก้ว (๒๕๓๓) ถอดความโดยเปรมเสรี
ขุนช้างขุนแผน ฉบับนอกทาเนี ยบ (๒๕๓๕) ของอัศศิริ ธรรมโชติ โชติช่วง นาดอน
และครูเสภานิรนาม
ขุน ช้ า งขุน แผน ฉบับ ย้ อ นต านาน (๒๕๔๑) ของโชติช่วง นาดอน และครู เ สภา
นิรนาม
เล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับสมบูรณ์ (๒๕๔๔) ของรื่นฤทัย สัจจพันธุ์
ขุนช้างขุนแผนแสนสนุก (๒๕๔๕) ของสุจติ ต์ วงษ์เทศ
เล่าเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน (๒๕๔๖) ของวิเชียร เกษประทุม
คุยเฟื่ องเรื่องขุนช้างขุนแผน (๒๕๔๗) ของโกวิท ตัง้ ตรงจิต
ขุนช้างขุนแผน ฉบับมองคนละมุม (๒๕๔๘) ของหนอนสุรา
๕๘

นอกจากนี้ ยัง มีแ บบเรีย นภาษาไทยสํ า หรับ นัก เรีย นระดับ ชัน้ ประถมศึก ษาและ
ระดับชัน้ มัธยมศึกษา ที่ได้คดั บางตอนของเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เป็ นส่วนหนึ่งของ
บทเรียนวรรณคดีไทยอีกด้วย เช่น หนังสือส่งเสริ มการอ่านเรื่องขุนช้างขุนแผน ประโยค
มัธ ยมศึ ก ษา (๒๕๑๗) หนั ง สื อ เรี ย นภาษาไทย ชุด พื้น ฐานภาษา ชัน้ ประถมศึ ก ษา
ปี ที่ ๕ เล่ ม ๒ (ตอนพลายงามทูล ขอโทษขุนแผน) หนั ง สื อภาษาไทย ท ๒๐๓ ท ๒๐๔
ชุด ทัก ษสัม พัน ธ์ เล่ ม ๒ ชัน้ มัธ ยมศึ ก ษาปี ที่ ๒ (ตอนพลายแก้ ว แต่ ง งานกับ นางพิม )
หนังสือภาษาไทย ท ๓๐๕ ท ๓๐๖ ชุดทักษสัมพันธ์ เล่ม ๓ ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๓ (ตอน
พลายงามพบพ่ อ ) หนั ง สื อ ภาษาไทย ท ๖๐๖ ชุ ด วรรณลั ก ษณวิ จารณ์ เล่ ม ๒
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ ๖ (ตอนขุนแผนลุแก่โทษ) การคัดเลือกเรื่องราวบางตอนจากเสภาเรื่อง
ขุนช้าง – ขุนแผน มาเป็ นบทเรียนในแบบเรียนภาษาไทยดังกล่าวเป็ นช่องทางหนึ่งในการ
เผยแพร่เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนให้เป็นทีร่ บั รูใ้ นกลุ่มเด็กและเยาวชน

เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนทีไ่ ด้รบั การเผยแพร่เป็นภาษาอังกฤษ ได้แก่


The Story of Khun Chang Khun Phan Told in English by Prem Chaya,
Prince Prem Purachatra พระนิ พ นธ์ ข องพระวรวงศ์เ ธอ พระองค์ เ จ้ า เปรมบุ ร ฉั ต ร
(๑๙๕๙) และ The Tale of Khun Chang Khun Phaen ผลงานแปลของคริส เบเกอร์ และ
ผาสุก พงษ์ไพจิตร (๒๕๕๓)

นอกเหนือ จากนี้แ ล้ว ยัง มีก ารนํ าเรื่อ งราวชีวติ ของขุน แผนไปผลิตซํ้ าและเผยแพร่
ออกมาในรูปแบบอื่น ๆ อีก เช่น ละครพื้นบ้านเรือ่ งขุนช้างขุนแผน ของบริษทั ทีวสี แควร์ จํากัด
เ ผ ย แ พ ร่ ท า ง ส ถ า นี โ ท ร ทั ศ น์ ไ ท ย ที ว ี สี ช่ อ ง ๓ เ มื่ อ ปี พ . ศ . ๒ ๕ ๔ ๑ – ๒ ๕ ๔ ๒
นํ า แสดงโดยอติเ ทพ ชดช้อย เฉลิมพล บุญ รอด และธิญาดา พรรณบัว ภาพยนตร์เรือ่ ง
ขุนแผน สร้างเมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๕ ซึ่งวัชระ ตังคะประเสริฐ แสดงเป็นขุนแผน ตลอดจนดวงตรา
ไปรษณียากรทีร่ ะลึกวันเด็ก ชุดขุนช้างขุนแผน ประจาปี พ.ศ.๒๕๕๔ ของบริษทั ไปรษณียไ์ ทย
จํากัด ซึ่งส่วนใหญ่แล้วมีภู มหิ ลังการรับรู้เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนจาก เสภาเรื่องขุนช้าง –
ขุนแผน นันเอง่

อนึ่ง ผู้วจิ ยั ยังพบว่า เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนได้รบั การถ่ายทอดและเผยแพร่ไว้ใน


หนังสือพ่อสอนลูก ซึ่งเป็ นหนังสือรวบรวมคําสอนของพระราชพรหมยาน หรือ หลวงพ่อฤๅษี
ลิงดํา แห่งวัดจันทาราม (ท่าซุง) จังหวัดอุทยั ธานี โดยพระราชพรหมยาน (๒๕๕๑: ๒๓๒ –
๒๓๔) ได้กล่าวถึงขุนแผนไว้วา่
๕๙

ขุนแผน – เจ้าพระยากาญจนบุรี
ต่อมาเมื่อท่านพกาพรหม ตรัสมาอย่างนัน้ ท่านก็รบั การจุติ
ลงมาเกิดเป็นลูกของแม่ทพั ทีเ่ ขาเรียกกันว่า “ขุนไกร”
ตอนนี้ ประวัติขุน ไกร หรือ ประวัติขุน แผน ต่ า งคนต่ า งก็
ทราบกันดีแ ต่ว่า ประวัติขุน แผนตามแบบฉบับ ที่สุ น ทรภู่ หรือใคร
เขี ย นไว้ ไ ม่ ถู ก เกิ น พอดี ไ ป เป็ น หนั ง สื อ อ่ า นเล่ น เป็ น นิ ย าย
ก็ชา่ งเขาเถอะ
แต่เนื้อแท้จริง ๆ คนในสมัยนัน้ มีระเบียบวินัยมาก ที่เขา
บอกว่าขุนช้างไม่ดี แต่ความจริงขุนช้างเป็นพระยา พระยาภาณุมาศ
ขุนแผนต่อมาขัน้ สุดท้ายเป็นเจ้าพระยากาญจนบุรี
ตอนนี้มาก็รวบรวมกําลังของเมืองไทยอีก เพราะว่าในสมัย
ของขุนแผนน่ ะ รู้สึกว่าไปตีเมืองเหนือเมืองใต้ตีกนั ไม่หยุด ทําเอา
คนไทยทีแ่ ตกแยกออกไปกลับเข้ามาเป็นปึกแผ่นตามเดิม
สําหรับเรื่องนี้ ท่านท้าวพกาพรหม ท่านบอกว่า คนที่เขา
เขียนเรื่องขุนช้างขุนแผนน่ะ เขียนไม่ถูก แต่กไ็ ม่ควรจะไปตําหนิเขา
เขาเขียนเพราะความสนุก
ขุนช้าง เป็นคนดีเป็นคนไม่มลี ูก ขุนแผนก็เป็ นคนดีเป็ นคน
มีลูกมาก ความจริงศัพท์ว่า ขุนช้างก็ดี ศัพท์ว่าขุนแผนก็ดี ไม่ได้มี
ในทําเนียบของราชการ ในทําเนียบของทางราชการ ทัง้ สองคนนี่เป็น
พระยาด้ว ยกัน ทัง้ คู่ แล้ ว ก็เ ป็ น เพื่อ นรัก กัน มาก ตามที่ท่ า นท้า ว
พกาพรหมบอก ท่านบอกว่า “ขุนช้างมีอายุแก่กว่าขุนแผนหนึ่ง ปี
เป็ นเพื่อนเล่นกันมาตัง้ แต่เด็ก และก็เป็ นเพื่อนที่รกั กันมาก ขุนช้าง
เป็นตระกูลของเศรษฐี”
ทีเ่ รียกกันว่า “ขุนช้าง” ก็เพราะว่า ตระกูลนี้เป็ นคนหาช้าง
ให้แก่พระราชาตัง้ แต่สมัยปู่ เมื่อได้ชา้ งมาแล้วก็มกี ารฝึ กช้างควบคุม
ช้าง เรียกว่าเป็นหัวหน้ากองช้าง เขาจึงเรียกว่า ขุนช้าง
สําหรับ “ขุนแผน” นัน้ เป็นแม่ทพั อยู่ในระเบียบวินยั ต้องอยู่
ในแบบแผนกฎข้อ บัง คับ จึ ง ให้ น ามว่ า ขุ น แผน ตามศัพ ท์ ข อง
ชาวบ้าน
แต่ว่าตามศัพท์ทางราชการเขา ตอนแรกก็ดูจะเป็ นหลวง
อะไรก็ไ ม่ ท ราบ แล้ว มาเป็ น พระบํ า ราศหริน ต่ อ มาก็เ ป็ น พระยา
๖๐

กาญจน์ บุรี และเป็ น เจ้าพระยากาญจน์ บุรี ไม่ ช้าก็ต าย เป็ นอันว่า


พระเจ้ามังรายมหาราช ตายแล้วก็เกิด เกิดแล้วก็ตาย
ตอนนี้ จ ะว่า กัน ไป จะเป็ น การหัก ล้ า งความชัวร้ ่ า ยของ
ขุนช้างสักหน่อย ทีเ่ ขาว่า ขุนช้างโกงเมียขุนแผน ขุนแผนก็ไปขโมย
เมียของตัวเองมาจากขุนช้าง เรื่องนี้ไม่น่าจะเป็นไปได้
ตามประวัตนิ ่ี ท่านพกาพรหม บอกไว้ ท่านบอกว่า “ไม่เป็น
เช่นนัน้ ” ขุนแผนเป็นคนมีลูกมากเพราะว่าขุนแผนเป็ นคนมีเมียมาก
ที่มีเมียมากก็เพราะว่าเป็ นคนมีค าถาอาคมดี เป็ นแม่ทพั แม่ทพั นี่
ไม่ใช่ว่าหน้ าบึ้งขึง้ จอ มีหน้าตายิ้มแย้มแจ่มใส ไปไหนก็มีแต่ความ
แช่มชืน่ เป็นทีร่ กั ของบุคคลทัวไป่
ฉะนั ้น เมื่ อ ชาวบ้ า นรัก ได้ สาว ๆ ก็ ร ัก ได้ เ หมื อ นกัน
เมื่อสาว ๆ รักได้ พ่อแผนหนุ่มเมียเผลอก็รกั ได้เหมือนกัน ฉะนัน้ พ่อ
แผนจึงไม่ได้มีเมียแต่เพียงสองคน คือ ลาวทอง กับ พิม พิลาไลย
ความจริงขุนแผนมีเมียมากกว่า นัน้ เพราะว่าฐานะขุน แผนก็ไม่ไ ด้
ยากจนเข็ญใจตามโบราณคดีทเ่ี ขียนไว้
ขุนช้างท่านบอกว่า ถ้าเจ้าแผนมันไม่จบั จ่ายใช้สอยมาก
มันรวยกว่าท่าน
แต่ ท ว่ า อย่ า งจนก็อ ยู่ ใ นขัน้ คหบดีข นาดสู ง แต่ สํ า หรับ
ขุน ช้า ง เป็ น คนไม่ มีลู ก ก็เ ลยถือ เอาลู ก ของขุ น แผนเป็ น ลู ก ของ
ขุนช้างไป
เวลาตอนเช้า ขุน ช้า งก็จ ะต้อ งสังคนใช้่ “หุ ง ข้า วมาก ๆ
แกงมาก ๆ ทํ าขนมมาก ๆ ประเดีย๋ วลู กไอ้แ ผนมัน มามัน จะไม่ มี
อะไรกิน”
ลูก ขุน แผนเวลาไปถึง ขุน ช้างก็ “คุ ณพ่ อ แบบนัน้ คุณ พ่ อ
แบบนี้” คุณพ่อเป็นคนไม่มลี ูก คุณพ่อก็เห่อ อุ้มลูกจูงหลานเป็ นแถว
ลูกขุนแผนต้องการอะไรขุนช้างหาให้ทงั ้ หมด นี่เป็ น อันว่าปรากฏว่า
เขาเป็นคนดีกนั จริง ๆ แต่วา่ หนังสือทีเ่ ขียนไว้น่ะซี ไม่ได้ดตี ามนัน้
คนในเวลานัน้ อยู่ในระเบียบกรอบและพระธรรมวินัยดีมาก
มีขนบธรรมเนียมประเพณีดี แล้วก็พระราชามีสทิ ธิ ์ที่จะสั ่งตัดหัวกัน
แบบสบาย ๆ ถ้าไปทําอย่างนัน้
รวมความว่าชาติทเ่ี ท่าไรนะ ชาติท่ี ๘ ก็มาเกิดเป็ นขุนแผน
หรือเจ้าพระยากาญจนบุรี ตอนนี้กม็ านังรวบรวมกํ ่ าลังพล อาศัยที่มี
๖๑

วิชาการมาก เป็นนักรบเก่ง ล่องหนหายตัวได้ สะเดาะกลอนได้ สร้าง


หุ่นพยนต์ได้ ทําอะไรได้แปลก ๆ การตีการยกทัพไปรบทัพจับศึกก็
ไม่ตอ้ งใช้กําลังพลมาก ก็สามารถจะสูก้ บั ข้าศึกได้ พูดแล้วก็เ หนื่อยใจ
เป็ นอันว่า พระเจ้ามังรายมหาราช ในช่วงระยะไม่ก่ปี ี นัก ท่านก็ว่า
มาถึง ๘ รุ่นแล้ว
หลังทีส่ ุด ตอนที่เป็ นเจ้าพระยากาญจน์บุรี ก็ไปจําศีลอยู่ท่ี
ภูเขาชนไก่ จังหวัดกาญจนบุรี แล้วก็ตายในถิน่ ที่นนั ้ ด้วยกําลังของ
ฌานตายแล้ว ก็ไ ปเป็ น พรหม และหลัง จากนัน้ ต่ อ มาก็ป รากฏว่ า
ในวาระที่ ๙ ก็เห็นจะเป็นรัชกาลที่ ๙ อีกแหละ

จากทีก่ ล่าวมาจะเห็นได้วา่ เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนปรากฏอยู่ทงั ้ ในวรรณคดีไทยและ


เอกสารทางประวัตศิ าสตร์ ตลอดจนแหล่งอื่น ๆ ดังได้กล่าวไปข้างต้น การที่เชื่อว่าขุนแผน
มีตวั ตนอยู่ในอดีตและเป็นเพียงสามัญชน ขุนแผนย่อมต้องมีชอ่ื เสียงหรือมีวรี กรรมเป็ นที่จดจํา
มากเสีย จนเชลยชาวกรุ ง เก่ า กล่ า วถึง เมื่อ ถู ก ซัก ถามในคราวที่มีก ารจดบัน ทึก คํ า ให้ก าร
ทัง้ ทีโ่ ดยส่วนใหญ่แล้วคําให้การจะเป็ นเรื่องราวเกี่ยวกับพระมหากษัตริย์ไทยในรัชสมัยต่าง ๆ
การเป็นผูม้ ชี อ่ื เสียงและมีวรี กรรมทีน่ ่าจดจํานี้เอง ทําให้มกี ารนําเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนไปเล่า
สืบ ต่ อกัน เรื่องราวของขุน แผนได้ร ับ การจดจํ า เรื่อ ยมาและปรากฏให้เ ห็น ในวรรณกรรม
จนกระทังขุ ่ นแผนกลายเป็นตัวละครทีอ่ ยู่ในความรับรูข้ องคนไทยจนทุกวันนี้
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนที่มอี ยู่อย่างหลากหลายนี้เองเป็ นเรื่องที่น่ าสนใจ เมื่อเชื่อว่า
ขุนแผนเป็ นบุคคลที่เคยมีตวั ตนอยู่จริงในอดีตแล้ว ก็ค วรศึกษาวิเคราะห์ต่อไปว่า ในพื้นที่ท่ี
เชื่อว่าขุน แผนเคยใช้ช ีวติ อยู่ คือ พื้นที่บางส่วนในจังหวัดกาญจนบุ รีและจัง หวัด สุพรรณบุ รี
ในป จั จุ บ ัน นัน้ มีก ารรับ รู้ เ รื่อ งราวชีว ิต ของขุน แผนอย่ า งไรบ้า ง ดัง ที่ผู้ว ิจ ัย จะได้ ก ล่ า วถึง
ในบทต่อ ๆ ไป


ตรงกับ ความเชื่อ ของชาวกาญจนบุ ร ีท่วี ่า เมื่อ ขุนแผนซึ่ง มีตําแหน่ ง เป็ นพระยากาญจนบุ รี
สิ้นชีว ิต แล้ว วิญญาณของขุนแผนยัง คงสถิตอยู่ท่เี ขาชนไก่เพื่อ ปกป้ องคุ้มครองลูกหลานชาวกาญจนบุ ร ี
บริเวณเชิง เขาชนไก่ จังหวัดกาญจนบุร ี จึงมีศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่ ซึ่งประกอบด้วยพ่อปู่ขุนแผน และพ่อ ปู่
ขุนไกร
บทที่ ๓

ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี

ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีมีหลายลักษณะ จากการที่ผู้วจิ ยั
สํารวจพื้นที่เพื่อ เก็บข้อมูลภาคสนาม พบว่า พื้นที่ท่มี ีคติชนเกี่ยวกับขุนแผนมี ๒ อําเภอ คือ
อําเภอเมืองกาญจนบุรี และอําเภอท่าม่วง ในเขตอําเภอเมืองกาญจนบุรพี บคติชนในพื้นที่
ตําบลลาดหญ้ า ตํา บลหนองบัว และตํ าบลแก่ง เสี้ยน ส่ว นในเขตอํ าเภอท่า ม่ว งพบคติช น
ในพืน้ ทีต่ ําบลเขาน้อย และตําบลหนองขาว
ในอดี ต เมื อ งกาญจนบุ รี เ ป็ น ทั ง้ เส้ น ทางเดิ น ทั พ เมื อ งหน้ า ด่ า น และสนามรบ
ที่มีความสําคัญยิ่ง หนังสือ กาญจนบุรี ศรีภูมิภาคตะวันตก (๒๕๔๓: ๒๔) กล่าวถึงเมือง
กาญจนบุ รีสมัยอยุธยา (พ.ศ.๑๙๒๑ – ๒๓๑๐) ไว้ว่า “เมื่อ ปี พ.ศ.๑๙๒๑ สมเด็จ พระบรม
ราชาธิราชที่ ๑ ได้สถาปนากรุงศรีอยุธยาเป็ นราชธานีของไทย กาญจนบุรใี นขณะนัน้ ตัง้ อยู่ท่ี
บ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ ก็เป็ นเมืองสําคัญขึ้นมาอย่ างเด่นชัดในด้านการ
สงครามกับพม่า และตํานานทีเ่ กีย่ วกับขุนไกรและขุนแผน”
ป จั จุ บ ัน ชาวกาญจนบุ รีเ รีย กพื้น ที่บ ริเ วณบ้ า นท่ า เสา ตํ า บลลาดหญ้ า ว่ า “เมือ ง
กาญจนบุ รีเ ก่ า ” เมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า แห่ ง นี้ ต งั ้ อยู่ ริม แม่ น้ํ า แควใหญ่ บริเ วณทุ่ ง ลาดหญ้ า
มีลําตะเพินเป็นคูเมืองทางทิศเหนือ ด้านหลังติดกับเขาชนไก่ มีป้อมอยู่ส่มี ุมกําแพง ใช้คนั ดิน
เป็ น กํ า แพงเมือ ง ต่ อ มาในรัช สมัย พระบาทสมเด็จ พระพุ ท ธยอดฟ้ าจุ ฬ าโลกมหาราช
ทรงพระกรุณาโปรดเกล้า ฯ ให้ย้ายเมืองกาญจนบุรมี าตัง้ อยู่บริเวณบ้านปากแพรก เพราะมี
ชัยภูมเิ หมาะสมสําหรับการตัง้ ทัพหลวง ด้วยเหตุน้ี เมืองกาญจนบุรเี ก่าจึงกลายเป็นเมืองร้างไป
(กาญจนบุรี ศรี ภูมิ ภาคตะวันตก, ๒๕๔๓: ๒๗) ปจั จุบ ันกรมศิลปากรประกาศให้เมือ ง
กาญจนบุรเี ก่าเป็นเขตอนุ รกั ษ์ เนื่องจากมีโบราณสถานสมัยกรุงศรีอยุธยาอยู่เป็ นจํานวนมาก
และเป็นเมืองทีเ่ กีย่ วข้องกับขุนแผน ดังจะกล่าวโดยละเอียดต่อไป
นอกจากพืน้ ทีใ่ นเขตเมืองกาญจนบุรเี ก่าแล้ว ผูว้ จิ ยั ยังพบข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผน
ในพื้นที่ตําบลแก่งเสี้ยน อําเภอเมืองกาญจนบุรี ตําบลเขาน้ อย และตําบลหนองขาว อําเภอ
ท่าม่วง ทัง้ ทีพ่ ้นื ที่ต่าง ๆ เหล่านี้อยู่นอกเขตพื้นที่เมืองกาญจนบุรเี ก่า หรือเมืองกาญจนบุรใี น
สมัยกรุงศรีอยุธยาอันเป็ นช่วงเวลาที่เชื่อว่าขุนแผนมีชวี ติ อยู่อกี ด้วย ประเด็นการศึกษาเรื่อง
ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในลักษณะต่าง ๆ สะท้อนการรับรู้เรื่องขุนแผนของคนท้องถิ่น
จึงเป็นประเด็นทีน่ ่าสนใจอย่างยิง่
๖๓

ภาพที่ ๑ แผนทีจ่ งั หวัดกาญจนบุร ี


๖๔

จากการเก็บข้อมูลภาคสนามในช่วง พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๕๔ และการรวบรวมข้อมูลจาก


เอกสารต่าง ๆ ผูว้ จิ ยั จําแนกข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรไี ด้ ๕ ประเภท
มีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้

ตารางที่ ๑ แสดงข้อมูลคติ ชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี


ประเภทของข้อมูล คติ ชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี
๑. ชื่อสถานที่และชื่ออื่น ๆ
๑.๑ ชื่อสถานที่
- ชือ่ สถานทีท่ ป่ี รากฏใน ๑) วัดปา่ เลไลยก์ ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ
เสภาเรื่องขุนช้าง – ๒) วัดส้มใหญ่ ตําบลหนองขาว อําเภอท่าม่วง
ขุนแผน ๓) เขาชนไก่ ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ
๔) บ้านถํ้า ตําบลเขาน้อย อําเภอท่าม่วง
- ชือ่ สถานทีท่ ไ่ี ม่ปรากฏ ก) ชื่อสถานที่ทางธรรมชาติ
ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ๑) ถํ้าขุนแผน
ขุนแผน - บริเวณเขาชนไก่ ตําบลลาดหญ้า
อําเภอเมืองฯ
- วัดถํ้าขุนแผน ตําบลหนองบัว
อําเภอเมืองฯ
๒) ถํ้าขุนไกรทีว่ ดั ถํ้าขุนไกร ตําบลแก่งเสีย้ น
อําเภอเมืองฯ
๓) ถํ้านางบัวคลีท่ ว่ี ดั บ้านถํ้า ตําบลเขาน้อย
อําเภอท่าม่วง
ข) ชื่อวัด
๑) วัดขุนแผน ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ
๒) วัดนางพิม ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ
๓) วัดแม่หม้ายเหนือ ตําบลลาดหญ้า
อําเภอเมืองฯ
๔) วัดแม่หม้ายใต้ ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ
๕) วัดถํ้าขุนไกร ตําบลแก่งเสีย้ น อําเภอเมืองฯ
๖) วัดบ้านถํ้า ตําบลเขาน้อย อําเภอท่าม่วง
๖๕

ประเภทของข้อมูล คติ ชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี


ค) ชื่อหมู่บ้านและชื่อชุมชน
๑) หมู่บา้ นนางทองประศรี ตําบลลาดหญ้า
อําเภอเมืองฯ
๒) ชุมชนบ้านขุนแผนและชุมชนพิมพิลาไลย
บ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ

ง) ชื่อถนน
๑) ถนนขุนแผน บ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้า
๒) ถนนพิมพิลาไลย์ บ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้า

จ) ชื่อสถานที่อื่น ๆ
๑) เขือ่ นขุนแผน (ท่าลงแพเขือ่ นขุนแผน)
อําเภอเมืองฯ
๒) ตลาดนางทองประศรี ตําบลลาดหญ้า
อําเภอเมืองฯ

๑.๒ ชื่ออื่น ๆ ๑) ขุนแผน (ชือ่ รหัสในการใช้วทิ ยุส่อื สารของทหาร)


๒) ขุนแผน (ชือ่ ฝา่ ยรุกในการฝึกนักศึกษาวิชาทหาร)

๒. รูปเคารพ
๒.๑ รูปเคารพขุนแผน ๑) รูปเคารพขุนแผนทีเ่ ขาชนไก่ ตําบลลาดหญ้า
๒) รูปเคารพพระยากาญจนบุรที ว่ี ดั ปา่ เลไลยก์
ตําบลลาดหญ้า
๓) รูปเคารพขุนแผนทีถ่ ้าํ ขุนแผน ตําบลหนองบัว
๔) รูปเคารพพระยากาญจนบุรที ม่ี หาวิทยาลัยราชภัฏ
กาญจนบุรี
๖๖

ประเภทของข้อมูล คติ ชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี


๒.๒ รูปเคารพของ ๑) รูปเคารพขุนไกร
ตัวละครอื่นจากเสภา - ทีเ่ ขาชนไก่ ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ
เรื่องขุนช้าง – ขุนแผน - ทีว่ ดั ถํ้าขุนไกร ตําบลแก่งเสีย้ น อําเภอเมืองฯ
๒) รูปเคารพนางทองประศรีทศ่ี าลย่าทองประศรี
บ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้า
๓) รูปเคารพนางบัวคลีท่ ถ่ี ้าํ นางบัวคลี่
ตําบลเขาน้อย
๔) รูปเคารพกุมารทอง
- ทีศ่ าลพระยากาญจนบุรี วัดปา่ เลไลยก์
ตําบลลาดหญ้า
- ทีถ่ ้าํ นางบัวคลี่ วัดบ้านถํ้า ตําบลเขาน้อย

๓. วัตถุมงคล พระขุนแผน
- พระขุนแผนย่างกุมาร หลวงพ่อปราโมทย์
วัดบ้านถํ้า
- พระขุนแผน วัดถํ้าขุนแผน
- พระขุนแผนเรือนแก้ว หลวงพ่อลําไย
วัดทุ่งลาดหญ้า
- พระขุนแผนเมืองกาญจน์ วัดหัวหิน
- พระขุนแผนรุ่น “เรียกเงินทองไหลมา”
วัดไทรทอง
- พระขุนแผนกรุเขาชนไก่
- พระขุนแผนหลวงปูเ่ หรียญ วัดหนองบัว
- พระขุนแผนกรุวดั เหนือ (กรุวดั เทวสังฆาราม)

๔. จิ ตรกรรม - จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน
บริเวณบันไดขึน้ ถํ้า วัดบ้านถํ้า ตําบลเขาน้อย
จํานวน ๑๔ ภาพ
- จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน
ในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม (วัดนางโน)
จํานวน ๑๖ ภาพ
๖๗

ประเภทของข้อมูล คติ ชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี


๕. เพลงพืน้ บ้าน ๑) เพลงทรงเครื่องจากพนมทวน
- ตอนพระพันวษามีพระราชบัญชาให้ขนุ แผน
ไปตีเชียงใหม่
- ตอนพลายชุมพลแปลงกายเป็นมอญยกทัพ
มาตีเมืองสุพรรณ
- ตอนแม่นางศรีมาลาสอนลูกสาวเมื่อจะติดตาม
พระไวยมาอยูก่ รุงศรีอยุธยา
๒) ลํานอกเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน

๓.๑ ข้อมูลคติ ชนประเภทชื่อสถานที่และชื่ออื่น ๆ

๓.๑.๑ ข้อมูลคติ ชนประเภทชื่อสถานที่


ข้อมูลคติชนกลุ่มนี้มี ๒ ประเภท คือ ประเภทแรกเป็ น ชื่อสถานที่ท่ปี รากฏ
ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ซึ่งจากการออกภาคสนามพบว่า เรื่องราวชีวติ ของขุนแผน
ที่ถ่ายทอดผ่านข้อมูลคติชนเหล่านี้สอดคล้องกับเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน และประเภทที่ ๒
เป็ นชื่อสถานที่ท่ไี ม่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน ซึ่งทําให้ได้เรื่องเล่าหรือตํานาน
ท้องถิน่ ทีอ่ ยู่นอกเหนือจากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ผูว้ จิ ยั ขอกล่าวถึงโดยลําดับ ดังนี้

๓.๑.๑.๑ ชื่อสถานที่ที่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน


ชื่อสถานที่ท่ปี รากฏชื่อในเสภาเรื่ องขุน ช้ าง – ขุน แผน
ได้แก่ วัดปา่ เลไลยก์ วัดใหญ่ดงรัง – ส้มใหญ่ เขาชนไก่ และบ้านถํ้า


ผู้ว ิจยั รวบรวมข้อ มูลเพลงพื้นบ้านในจังหวัดกาญจนบุร ีจากวิทยานิพ นธ์เ รื่อ งเพลงพื้นเมื อ ง
จากพนมทวน ของสุ มามาลย์ เรืองเดช และวิทยานิพนธ์เรื่องการสืบทอดทานองสวดและประเพณี
สวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี ของปรมินท์ จารุวร
๖๘

๑) วัดปา่ เลไลยก์

ภาพที่ ๒ วัดป่าเลไลยก์ ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน มีความว่า เมื่อครัง้


ขุนแผนเป็ นพลายแก้วได้บวชเรียนกับสมภารมี วัดป่าเลไลยก์ โดยกล่าวไว้อ ย่างชัดเจนว่า
วัดปา่ เลไลยก์ทเ่ี ป็นสถานทีศ่ กึ ษาวิชาของพลายแก้วนัน้ อยู่ทเ่ี มืองสุพรรณบุรี ดังความในเสภา
เรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ครัน้ ตระเตรียมสําเร็จเสร็จการ พากันออกจากบ้านเขาชนไก่


ตัดทุ่งมุ่งตรงเข้าพงไพร สามวันทันใดถึงสุพรรณ
จึงแวะเข้าวัดปา่ เลไลยก์ ตรงไปยังกุฎขี รัวมีนนั ่
ทองประศรีกราบกรานสมภารพลัน ดีฉนั มิได้มาหาคุณเลย
ขรัวมีดใี จหัวเราะร่า ไม่เห็นหน้าหลายปีสกี าเหวย
เณรนี้ลูกใครไม่คนุ้ เคย ทองประศรีวา่ คุณเอ๋ยลูกฉันเอง
แต่เพียงขุนไกรแกวอดวาย ดีฉนั นี้เป็นม่ายอยู่เท้งเต้ง
บวชลูกจะให้เรียนเป็นบทเพลง ก็โก้งเก้งอยู่ไกลไม่ได้การ
จะเอามาฝากไว้ให้ขรัวปู่ โปรดบอกความรูเ้ อ็นดูหลาน
ถ้าไม่เรียนรํ่าทําเกียจคร้าน ทรมานทําโทษโปรดตีโบย
(เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน, ๒๕๔๕: ๔๙)

ด้ ว ยเหตุ น้ี วัด ป่ า เลไลยก์ ตํ า บลลาดหญ้ า จัง หวัด


กาญจนบุรจี งึ ไม่ใช่วดั ปา่ เลไลยก์ทก่ี ล่าวถึงในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน แต่วดั แห่งนี้ตงั ้ ชื่อ
ขึ้น ใหม่ ภ ายหลัง เพื่อ ให้ส อดคล้อ งกับ เสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน เพราะตัง้ อยู่ ใ นเขต
เมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า ซึ่ง เชื่อ กัน ว่า ขุน แผนเคยเป็ น เจ้า เมือ งปกครองในสมัย กรุ ง ศรีอ ยุ ธ ยา
ประกอบกับภายในวัดยังมีพระพุ ทธรูปปางป่า เลไลยก์ป ระดิษ ฐานอยู่ด้วย อย่า งไรก็ตาม
๖๙

จากการสัมภาษณ์ชาวบ้านตําบลลาดหญ้า ชาวบ้านส่วนใหญ่ รบั รู้ตรงกันว่าวัดป่าเลไลยก์


แห่ ง นี้ ไ ม่ ใ ช่ ว ัด ป่ า เลไลยก์ ต ามที่ ป รากฏในเสภาเรื่ อ งขุ น ช้ า ง – ขุ น แผน ศรี ส กุ ล
พูลสวัสดิ ์ ชาวบ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้า ได้ให้ขอ้ มูลเพิม่ เติมแก่ผวู้ จิ ยั ว่า “แม้วดั ป่าเลไลยก์
แห่งนี้จะไม่ใช่วดั ป่าเลไลยก์ท่ขี ุนแผนบวชเรียน แต่กน็ ่ าจะเกี่ยวข้องกับขุนแผน เพราะตอนที่
ขุนแผนเป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรคี งต้องสร้างวัดตามธรรมเนียมของผูเ้ ป็ นใหญ่ในเมือง สังเกต
ได้ว่า ในบริเ วณเมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า นี้ มีว ดั เก่ า จํ า นวนมากถึง ๕ วัด ” (ศรีส กุ ล พู ล สวัส ดิ ,์
สัมภาษณ์, ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒)
วัด ป่ า เลไลยก์ น้ี ตัง้ อยู่ ท่ีเ ขาชนไก่ ตํ า บลลาดหญ้ า
อําเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ทางเข้าวัดอยู่ติดถนนสายกาญจนบุ รี - ศรีสวัสดิ ์
เดิมชื่อ “วัดผ่าอก” เอนก อัครบัณฑิต (๒๕๕๒: ๑๐) สันนิษฐานไว้ในภูมินามตามรอย
ขุนแผน สองแดนกาญจน์ – สุพรรณฯ ว่า ชือ่ “วัดผ่าอก” น่าจะมีทม่ี าจากพระพุทธรูปปูนปนั ้
ขนาดใหญ่ปางป่าเลไลยก์ ซึ่งเล่ากันว่าแต่เดิมแตกออกเป็ น ๒ ซีก ต่อมาเมื่อปี พ.ศ.๒๔๖๗
พระครู จ วนซึ่ง เป็ นผู้สํ า รวจวัด ในเขตเมือ งกาญจนบุ รีเก่ า ได้ต งั ้ ชื่อ วัด นี้ ว่า วัด ป่า เลไลยก์
ตามพระพุทธรูปขนาดใหญ่ซ่งึ ประดิษฐานอยู่ภายในมณฑปของวัด และเพื่อให้สอดคล้องกับ
วรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผน
ป จั จุ บ ัน วัด ป่า เลไลยก์เ ป็ น วัด ที่ม ีพ ระสงฆ์จํ า พรรษา
ชาวบ้านมัก เรียกชื่อ วัด สัน้ ๆ ว่า ‚วัดป่า‛ ภายในวัด ประกอบด้ว ยมณฑปซึ่งประดิษ ฐาน
พระพุท ธรูปปูน ปนปางป ั้ ่าเลไลยก์ วิหารร้าง เจดีย์ทรงกลม กําแพงแก้ว โบราณสถาน
ในวัดป่า เลไลยก์น้ีไ ด้ร ับการอนุ รกั ษ์ และพัฒ นาเป็ น โบราณสถานในเขตอนุ รกั ษ์ เมื่อ พ.ศ.
๒๕๕๒
บริเวณหน้าวัดปา่ เลไลยก์ ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมือง
กาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี มีป้ายอธิบายประวัตวิ ดั ป่าเลไลยก์จํานวน ๒ ป้าย ป้ายแรก
เป็ นป้ายอธิบายประวัตทิ ่สี ํานักงานศิลปากรที่ ๒ สุพรรณบุรจี ดั ทําขึน้ และตัง้ อยู่ในพื้นที่วดั
เป็นเวลานานแล้ว ส่วนป้ายทีส่ องเป็นป้ายอธิบายประวัตทิ ก่ี รมศิลปากรร่วมกับองค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดกาญจนบุรเี พิง่ จัดทําขึน้ แล้วนํามาตัง้ ไว้ในบริเวณวัดหลังจากที่โบราณสถานในเขต
เมือ งกาญจนบุรีเ ก่า ได้รบั การประกาศเป็ นเขตอนุ ร ักษ์ อย่ างเป็ น ทางการเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๒
โดยมีการจัดทําป้ายอธิบายประวัติในลักษณะเดียวกันเพื่ออธิบายประวัตโิ บราณสถานอื่น ๆ
ซึ่งตัง้ อยู่ในพืน้ ทีใ่ กล้เคียงด้วย
ข้อความในป้ายอธิบายประวัตวิ ดั ปา่ เลไลยก์ทส่ี ํานักงาน
ศิลปากรที่ ๒ สุพรรณบุรจี ดั ทําขึน้ มีความว่า
๗๐

วัดป่ าเลไลยก์
วัด ป่ า เลไลยก์ เป็ น วัด ร้ า งที่ส ร้า งขึ้น ตัง้ แต่ ส มัย กรุ ง ศรี
อยุ ธ ยา เดิม ชาวบ้ า นเรีย กว่า ‚วัด ผ่ า อก‛ ซึ่ง เดิม มีพ ระพุ ท ธรู ป
ปางมารวิช ยั ประดิษฐานอยู่ภ ายในมณฑป ได้ถู กคนลักลอบเจาะ
อกพระจนทะลุ จึงได้เรียกว่า ‚วัดผ่าอก‛ ในปี พ.ศ.๒๕๑๗ พระสงฆ์
วัดกาญจนบุรเี ก่าจึงได้นําชาวบ้านร่วมกันสร้างพระพุทธรูปปางป่า
เลไลยก์ขน้ึ แทนเพื่อให้สอดคล้องกับเสภาเรื่อง ‚ขุนช้าง – ขุนแผน‛
ตัง้ อยู่ ห่ า งจากวัด ขุน แผนไปทางทิศ เหนื อ ประมาณ ๕๐๐ เมตร
โบราณสถานบริเวณวัดปา่ เลไลยก์ประกอบด้วย
๑. มณฑป รู ป สี่เ หลี่ย ม หัน หน้ า ไปทางทิศ ตะวัน ออก
ภายในพบพระพุทธรูปปางปา่ เลไลยก์ ซึ่งทีส่ ร้างขึน้ ในภายหลัง
๒. วิหาร รูปสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า ผนังก่อทึบ มีประตูเข้าด้าน
ทิศตะวันออก ๒ ประตู มีบนั ไดทางขึ้นทางด้านทิศเหนื อและทิศใต้
หลังคาถูกสร้างขึน้ ใหม่
๓. เจดีย์ เป็นเจดียท์ รงกลม ฐานเขียงรูปสีเ่ หลี่ยมจัตุรสั
ก่อด้วยอิฐสอดิน ฉาบปูน ส่วนยอดทรุดตัวพังทลาย จํานวน ๒ องค์
อยู่ดา้ นทิศตะวันตก และนอกกําแพงแก้วด้านทิศเหนือ
โบราณวัต ถุ ท่ีพ บ มีท งั ้ ภาชนะดิน เผา เครื่อ งสัง คโลก
เครื่อ งถ้ว ยจีน เครื่อ งถ้ ว ยเวีย ดนาม เหล็ก เข้า ไม้ และกระเบื้อ ง
มุงหลังคา

ส่ ว นข้อ ความในป้ ายอธิบ ายประวัติว ัด ป่ า เลไลยก์ ท่ี


กรมศิล ปากรและองค์การบริหารส่ วนจัง หวัดกาญจนบุ รีร่ วมกัน จัด ทําขึ้นเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๒
มีความว่า

วัดป่ าเลไลยก์
โบราณสถานวัด ป่ า เลไลยก์ ประกอบด้ ว ย มณฑป
ประดิ ษ ฐานพระพุ ท ธรู ป ปางป่ า เลไลยก์ พระพุ ท ธรู ป องค์ น้ี
ตามประวัติกล่าวว่า เดิมเป็ นพระพุทธรูปปางมารวิชยั มาก่อนที่จะ
ชํารุดและได้รบั การปฏิสงั ขรณ์เป็ นพระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์อย่าง
ปจั จุบ ัน ถัดจากมณฑปมีว ิหารรู ปสี่เหลี่ย มผืนผ้า ส่ วนด้า นหลัง
วิหารเป็นเจดียท์ รงกลมขนาดใหญ่ สันนิษฐานว่าเป็ นเจดีย์ประธาน
๗๑

ของวัด ด้านข้างเป็ นเจดีย์รายเหลือเพียงส่วนฐาน โบราณสถาน


ทัง้ หมดตัง้ อยู่ภายในเขตกําแพงแก้ว
วัดป่าเลไลยก์ เป็ นชื่อ ที่ตงั ้ ขึน้ ใหม่ในสมัยที่พ ระครูจวน
มาเป็ นผู้นํ า ในการบุก เบิกเมือ งลาดหญ้า เมื่อ ช่ว งปี พ.ศ.๒๔๖๗
โดยตัง้ ชื่อโบราณสถานทุกแห่ง ตามชื่อ ในวรรณคดีเรื่อ งขุนช้า ง –
ขุนแผน
กรมศิลปากรดําเนินการขุดศึกษาทางโบราณคดีครัง้ แรก
ในปี พ.ศ.๒๕๓๓ และต่อมาได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัด
กาญจนบุรี ดําเนินการอนุรกั ษ์และพัฒนาอีกครัง้ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๒

เมื่ อ เปรี ย บเที ย บข้ อ ความในป้ ายอธิ บ ายประวั ติ


วัดปา่ เลไลยก์ขา้ งต้น ผูว้ จิ ยั พบว่าได้กล่าวถึงข้อมูลทีน่ ่าสนใจแตกต่างกันคือ เมื่อกรมศิลปากร
และองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรจี ดั ทําป้ายอธิบายประวัตวิ ดั ป่าเลไลยก์ขน้ึ ใหม่ ไม่ได้
กล่ าวถึง ชื่อ ‚วัด ผ่า อก‛ อัน เป็ นชื่อเดิม ของวัด แห่ งนี้ ก่อ นที่พระครู จวนจะมาตัง้ ชื่อวัดใหม่
ตามวรรณคดีเ รื่อ งขุ น ช้า ง - ขุน แผน ส่ ว นป้ ายอธิบ ายประวัติท่ีสํ า นัก งานศิล ปากรที่ ๒
สุพรรณบุรที ําขึน้ ไม่ได้ระบุชอ่ื พระครูจวนซึ่งเป็ นผูต้ งั ้ ชื่อวัดป่าเลไลยก์แห่งนี้ กล่าวแต่เพียงว่า
เป็ นพระสงฆ์ว ดั กาญจนบุ รีเ ก่ า ที่ม าสํ า รวจโบราณสถานและบริเวณโดยรอบ จะเห็น ได้ว่า
ทางราชการไม่ได้เผยแพร่และบันทึกข้อมูลสําคัญ เช่น ชื่อเดิมของวัด และชื่อพระสงฆ์ท่ตี งั ้ ชื่อ
วัดขึน้ ใหม่ในป้ายประวัตวิ ดั ปา่ เลไลยก์ ดังนัน้ เมื่อเวลาผ่านไป คนส่วนใหญ่กจ็ ะจดจําวัดแห่งนี้
ในชื่อว่า วัดป่าเลไลยก์ ส่วนผูท้ ่ที ราบประวัติดงั ้ เดิมของวัดก็อาจจะมีจํานวนน้อยลงจนต่อไป
อาจไม่มผี ใู้ ห้ขอ้ มูลได้
นอกจากนี้ภายในบริเวณวัดป่าเลไลยก์ ตําบลลาดหญ้า
อําเภอเมืองกาญจนบุรี ยังมีศาลพระยากาญจนบุรตี งั ้ อยู่ ชาวบ้านเล่าว่า ศาลดังกล่าวตัง้ อยู่
นานแล้ว เป็ น ที่ส ักการบู ชาของชาวบ้านและนัก ท่อ งเที่ยว (ศรีสกุ ล พู ลสวัส ดิ ์, สัม ภาษณ์ ,
๒๙ กันยายน ๒๕๕๒) ภายในศาลมีร่อ งรอยการสัก การบู ชาและการนํ าสิ่งของมาแก้บ น
น่ า สัง เกตว่ า เมื่อ ชาวตํ า บลลาดหญ้ า ส่ ว นใหญ่ ก ล่ า วถึง ศาลพระยากาญจนบุ รีซ่ึ ง ตัง้ อยู่ ท่ี
วัด ป่า เลไลยก์แ ห่ ง นี้ มัก จะกล่ า วถึง ศาลเจ้ า พ่ อ เขาชนไก่ ซ่ึง ตัง้ อยู่ ใ นพื้น ที่ใ กล้เ คีย งด้ว ย
โดยอธิบายว่า พระยากาญจนบุรี เป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรี และเมืองกาญจนบุรใี นสมัยกรุงศรีอยุธยา
คือ พืน้ ทีแ่ ถบเขาชนไก่และบ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้า จนเวลาต่อมาเมืองกาญจนบุรไี ด้ขยาย
อาณาเขตเพิม่ ขึน้ และกลายเป็นจังหวัดกาญจนบุรใี นปจั จุบนั


พระยากาญจนบุรคี อื ขุนแผนเมื่อดํารงตําแหน่งเป็นเจ้าเมืองกาญจนบุร ี
๗๒

๒) วัดใหญ่ดงรัง – ส้มใหญ่

ภาพที่ ๓ วัดใหญ่ดงรัง – ส้มใหญ่ ตําบลหนองขาว อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุร ี

วัดใหญ่ดงรัง - ส้มใหญ่ เดิมชื่อวัดส้มใหญ่ วัดส้มใหญ่


แห่งนี้มชี อ่ื ปรากฏอยู่ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เชือ่ กันว่าขุนไกร บิดาของขุนแผนได้มา
เรียนวิชาที่วดั นี้ ต่อมานางทองประศรีได้พ าพลายแก้วมาบวชเรียนกับสมภารบุญที่วดั แห่งนี้
ด้วยเช่นกัน
วัด ใหญ่ ด งรัง - ส้ ม ใหญ่ ตัง้ อยู่ ท่ี ตํ า บลหนองขาว
อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นวัดเก่าแก่ท่สี ร้างมาตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ปรมินท์
จารุวร (๒๕๔๒: ๙) กล่าวไว้ในการสืบทอดทานองสวดและประเพณี สวดพระมาลัยที่บ้าน
หนองขาว จัง หวัดกาญจนบุ รี ว่า ‚...หมู่บ้านดงรังอยู่ทางทิศใต้ข องหมู่ บ้านหนองขาว
แต่เดิมมีวดั ส้มใหญ่ หรือ วัดใหญ่ ดงรังเป็ นวัดประจําหมู่บ้าน หลังจากพม่า เผาทํา ลายก็ถู ก
ปล่ อ ยทิ้ง เป็ น วัด ร้า ง ได้รบั การบู ร ณะขึ้น ใหม่ เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๕ ชื่อ ว่า ‚วัด ใหญ่ ด งรัง –
ส้ม ใหญ่ ‛ ป จั จุ บ ัน ยัง คงมีซ ากปรัก หัก พัง ของเจดีย์ พ ระอุ โ บสถ พระพุ ท ธรู ป ปรากฏอยู่
เล่ากันว่า พลายแก้วเคยมาบวชเณรทีว่ ดั นี้...‛ ดังปรากฏชือ่ วัดส้มใหญ่ในเสภาเรื่องขุนช้าง –
ขุนแผน ตอนหนึ่งว่า

ครัน้ ว่ามาถึงวัดส้มใหญ่ เอาข้าวของตัง้ ไว้ศาลาหน้า


แม่พาพลายแก้วผูแ้ ววตา ไปกราบไหว้วนั ทาท่านสมภาร
ท่านเจ้าขาฉันพาลูกมาบวช ช่วยเสกสวดสอนให้เป็นแก่นสาร
ด้วยขุนไกรบิดามาถึงกาล จะได้อธิษฐานให้ส่วนบุญ
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๔๗)
๗๓

เมื่อพิจารณาประวัติ และลักษณะทางกายภาพของวัด
ใหญ่ ดงรัง – ส้มใหญ่ ทําให้ทราบว่า วัดใหญ่ ดงรัง – ส้มใหญ่ มีประวัติค วามเป็ นมายาวนาน
ตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา ภายในบริเวณวัดพบหอระฆังเก่าซึ่งเคยตีบอกสัญญาณรวบรวม
ไพร่ พ ลของไทยคราวทํ า สงครามกับ พม่า สร้า งในครัง้ สงครามพม่ า บู ร ณะเมื่อ วัน ที่ ๒๙
มกราคม ๒๕๓๘ และมีป้ ายอธิ บ ายประวัติ ห อระฆัง วัด ใหญ่ ด งรัง เป็ น ภาษาไทยและ
ภาษาอังกฤษ ตามลําดับดังนี้

ข้อความภาษาไทย มีความว่า

หอระฆังวัดใหญ่ ดงรัง เป็ นหอระฆังที่ใช้สําหรับกิจของ


สงฆ์ และยังเป็ นระฆังที่ใช้ตีเป็ นสัญญาณรวบรวมไพร่พลของไทย
คราวทําสงครามกับพม่า สมัยกรุงศรีอยุธยา ตัง้ อยู่ในวัดใหญ่ ดงรัง
ซึ่งเป็ นวัดที่เชื่อ กัน ว่า ขุนไกร พ่อ ของขุน แผนมาเรีย นวิชาที่วดั นี้
(วรรณคดีไทยเรื่อ งขุน ช้า งขุน แผน) ภายในวัด ยัง มีโบราณสถาน
ทีบ่ ่งบอกถึงความเจริญรุ่งเรืองในสมัยนัน้ ไว้ให้เห็น และมีการบูรณะ
ไว้อย่างสมบูรณ์

ข้อความภาษาอังกฤษ มีความว่า

Bell Tower at Yai Dong Rang Temple The bell tower


has been used by Buddhist monks, in the reign of Ayudhaya,
the bell was used to signal people to gather defense against
Burma’s invasion. The bell tower is situated in Yai Dong Rang
Temple, where it is believed that ‚Khun Krai‛, father of Khun
Paen, studied from monks. (characters in a classic Thai
literature entitled ‚Khun Chang Khun Paen‛). In the temple,
there are completely restored ancient places which mark the
prosperity in the reign.
๗๔

ภาพที่ ๔ หอระฆังวัดใหญ่ดงรัง – ส้มใหญ่ ตําบลหนองขาว อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุร ี

นอกจากนี้แล้ว ภายในบริเวณวัดใหญ่ดงรัง – ส้มใหญ่


ตําบลหนองขาว อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ยังมีป้ ายคําขวัญของวัดซึ่งแสดงให้เห็น
ชัดเจนว่า วัดใหญ่ดงรัง – ส้มใหญ่แห่งนี้เกีย่ วข้องกับขุนแผน ดังปรากฏคําขวัญว่า “ถิน่ ขุนแผน
แคว้นโบราณ บ้านดงรัง เน้ นปฏิบตั ิ ขัดนิวรณ์ สอนวิป สั สนา หาความสงบ พบสุข ล้ า นาวิธี
ชีถ้ ูกทาง ปลูกคุณธรรม ย้ าพัฒนา”
จะเห็นได้ว่า วัดใหญ่ ดงรัง – ส้มใหญ่ แห่งนี้เกี่ยวข้อง
กับ ขุน แผนคือ มีช่อื วัด นี้ ป รากฏในเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน และเชื่อ กัน ว่า เป็ น วัด ที่
พลายแก้วเคยอาศัยอยู่ชว่ งทีบ่ วชเรียนกับสมภารบุญ

๓) เขาชนไก่

ภาพที่ ๕ เขาชนไก่ ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

เขาชนไก่ เป็ นภู เขาที่ต งั ้ อยู่ริม ถนนสายกาญจนบุรี –


ศรีสวัสดิ ์ เยือ้ งกับบ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้ า อําเภอเมืองกาญจนบุ รี บนเขาเคยมีลานกว้าง
คล้ายกับลานชนไก่ ป จั จุบนั กองพลทหารราบที่ ๙ ใช้บริเวณดังกล่ าวเป็ นลานจอดรถและ
เฮลิคอปเตอร์ ชาวตําบลลาดหญ้าเชื่อว่าเขาชนไก่น้ีเป็ นภูมิลําเนาของนางทองประศรี และ
ขุนไกร
๗๕

หนัง สือ กาญจนบุ รี ศรี ภูมิ ภ าคตะวัน ตก (๒๕๔๓:


๓๑) ให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับเขาชนไก่ไว้ว่า เขาชนไก่ตงั ้ อยู่ท่บี ้านลาดหญ้า หมู่ ๑ ตําบลลาดหญ้า
อําเภอเมือง เป็ นสถานที่สําคัญในการทําสงครามระหว่างไทยกับพม่า เนื่องจากเป็ นภู เขา
ั ่ านํ้าแควใหญ่ มีลกั ษณะพืน้ ทีโ่ ดยรอบ
อยู่ทางด้านเหนือของเมืองกาญจนบุรเี ก่า ซึ่งตัง้ อยู่รมิ ฝงลํ
เป็นทีร่ าบกว้างใหญ่ท่เี รียกว่า ทุ่งลาดหญ้า เขาชนไก่จงึ เหมาะที่จะใช้เป็ นที่สงั เกตการณ์เมื่อ
ยามมีศกึ สงคราม จากการสํารวจบริเวณเชิงเขาชนไก่ได้พบหลักฐานทางโบราณคดีหลายยุค
หลายสมัยจํานวนมาก ได้แก่ เครื่องมือหินกะเทาะแบบต่าง ๆ มีลกั ษณะเป็นแบบสับติดทําจาก
หินกรวดแม่น้ํ า แบบขู ด แบบขวานสัน แบบใช้ป ลายสํ าหรับ ขุด โซ่ ค ล้อ งช้างทําด้ว ยสําริด
กล้องยาสูบสมัยอยุธยา ลูกปดั แก้ว แหวนทองหัวพลอย เป็นต้น
พระบาทสมเด็จ พระจุ ล จอมเกล้าเจ้า อยู่ห ัว (๒๕๑๖:
๒๔) ทรงบรรยายถึงเขาชนไก่ไว้ในโคลงนิ ราศของท้าวสุภตั ติ การภักดี (นาก) ไปตามเสด็จ
เมืองกาญจนบุรี เมื่อปีระกา เบญจศก จุลศักราช ๑๒๓๕ (พ.ศ.๒๔๑๖) มีความตอนหนึ่งว่า

ไปเขาชนไก่บา้ น กาญจนบุรี
ทีอ่ ยู่ทองประศรี สอบเหล้า
ไม่เห็นสักคนมี อยู่ท่ี นัน้ นา
มีแต่สงิ สัตว์เข้า หยุดยังอาไศรย

(พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั , ๒๔๑๖: ๒๔)

เขาชนไก่มีช่อื ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน


อย่างชัดเจนว่าเป็ นสถานที่ท่นี างทองประศรีพาพลายแก้วบุตรชายหนีราชภัยหลังจากขุนไกร
ผูเ้ ป็นสามีถูกประหารชีวติ มาพํานักอาศัยอยู่ในย่านเขาชนไก่ ดังความตอนหนึ่งว่า

แม่ลูกไปถึงบ้านกาญจน์บุรี ทองประศรีบอกลูกว่าพ่อเอ๋ย
ในเมืองนี้มคี นทีค่ นุ้ เคย แล้วเดินเลยไต่ถามเนื้อความไป
ด้วยผัวเคยบอกเล่าแต่เก่าก่อน ว่าญาติมที ด่ี อนเขาชนไก่
ครัน้ ไปพบพวกพ้องของขุนไกร เขาก็ทาํ เรือนให้มไิ ด้ชา้
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๕)

ปจั จุบนั พืน้ ทีบ่ ริเวณเขาชนไก่อยู่ในเขตความรับผิดชอบ


ของกองพลทหารราบที่ ๙ จังหวัดกาญจนบุรี เป็นกองพลขนาดใหญ่และยังเป็นสถานทีส่ ําหรับ
๗๖

ฝึกนักศึกษาวิชาทหาร นอกจากนี้บริเวณเชิงเขาชนไก่ยงั มีศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่ซ่งึ เชือ่ ว่าเป็นที่


สถิตดวงวิญญาณของขุนแผนและขุนไกรตัง้ อยู่ดว้ ย

๔) บ้านถํ้า
บ้านถํ้าเป็ นชุมชนบ้านป่า เชื่อกันว่า บ้านถํ้าแห่งนี้เคย
เป็นซ่องของนายเดชกระดูกดําหรือหมื่นหาญ บิดาของนางบัวคลี่ ภรรยาคนหนึ่งของขุนแผน
นอกจากนี้ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ก็ปรากฏชือ่ บ้านถํ้าอย่างชัดเจน ดังความว่า

จะกล่าวถึงนายเดชกระดูกดํา อยู่บา้ นถํ้าตัง้ กองเป็นซ่องใหญ่


ได้เป็นทีห่ มื่นหาญชาญชัย เป็นหัวไม้มฝี ีมอื เลื่องลือชา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๓๓)

ขุน แผนมีช ีว ิต เกี่ย วข้อ งกับ บ้า นถํ้ า แห่ ง นี้ เ พราะต้อ ง
พระราชอาญาให้ออกตระเวนด่านหลังขุนช้างกราบบังคมทูลฟ้ องว่าขุนแผนหนีราชการไปหา
นางลาวทอง เหตุน้ที ําให้ขนุ แผนคิดจะเสาะหาของวิเศษ ๓ สิง่ เพื่อใช้เป็นประโยชน์ในการทําศึก
สงครามในภายหน้ า จึงออกตระเวนด่านมาพบซ่องของหมื่นหาญ พบนางบั วคลี่ แล้วเห็นว่า
นางบัว คลี่เ ป็ น หญิง ที่มีล ัก ษณะดีแ ละน่ า จะให้กํ า เนิ ด บุ ต รชายได้ จึง ฝากตัว เป็ น สมุ น ของ
หมื่นหาญ แต่ภายหลังหมื่นหาญไม่ไว้วางใจขุนแผนเพราะเห็นว่ามีฝีมอื ดีและไม่ยอมช่วยเหลือ
งานเหมือ นที่ผ่านมา หมื่นหาญจึงออกอุบายให้นางบัวคลี่วางยาขุนแผน แต่โหงพรายของ
ขุนแผนมาเตือนขุนแผนไว้ได้ทนั ขุนแผนโกรธมากและออกปากขอลูกที่อยู่ในท้องนางบัวคลี่
นางบัวคลีก่ ย็ กให้ กลางดึกคืนนัน้ ขุนแผนก็ผ่าท้องนางบัวคลี่และเอาลูก ชายมาทําพิธปี ลุกเสก
เป็นกุมารทอง
เรื่ อ งราวชีว ิต ตอนที่ ขุ น แผนผ่ า ท้ อ งนางบัว คลี่แ ละ
ปลุกเสกลูกชายเป็ นกุมารทองนี้เป็ นที่รบั รู้ของชาวกาญจนบุรอี ย่างกว้างขวาง และได้รบั การ
เผยแพร่อ ย่างต่อเนื่องผ่านคําบอกเล่าของชาวบ้า นและภาพจิต รกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้า ง
ขุนแผนทีว่ ดั บ้านถํ้า อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรแี ห่งนี้
พยงค์ เวสสบุตร (๒๕๕๐ข: ๔๑ - ๔๒) ได้กล่าวถึง
บ้านถํ้าไว้ในบทความเรื่อง “ท่าเสา เมืองเก่ากาญจนบุรี เมืองวรรณคดี – ขุนแผน” ว่า บ้านถํ้า
เป็ นชุมชนบ้านป่า ปจั จุ บนั คือหมู่บ้านถํ้า ตําบลเขาน้ อ ย อําเภอท่า ม่วง จังหวัดกาญจนบุ รี
ภูมปิ ระเทศเป็นหมู่บา้ นเชิงเขา มีหลืบและซอกเขาสลับซับซ้อนไปจนถึงเขาถํ้ามังกรทอง ตําบล
เกาะสําโรง อําเภอเมืองกาญจนบุรี เป็นเทือกเขาทีม่ ถี ้าํ อยู่หลายแห่ง ชาวบ้านซึ่งมีเชือ้ สายเป็ น
ลาวและกะเหรี่ยงได้ต งั ้ ชื่อ ถํ้ าตามบุ ค คลในวรรณคดีเ พื่อ สร้า งความสนใจแก่ท้อ งถิ่น อาทิ
๗๗

ถํ้าหมื่นหาญ ถํ้าขุนแผน ถํ้านางบัวคลี่ ฯลฯ ซึ่งถํ้า บางแห่งนัน้ ไม่มคี วามเกี่ยวข้องกับเรื่อง


ขุนช้างขุนแผนแต่อย่างใด หมู่บ้านถํ้ามีวดั อยู่บริเวณเชิงเขา ชื่อวัดบ้านถํ้า เป็ นวัดโบราณ
มีอายุเก่าแก่หลายร้อยปี สันนิษฐานว่าสร้างขึน้ ในช่วงยุคสุโขทัยถึงยุคกรุงศรีอยุธยา มีประวัติ
เล่าสืบมาว่า เศรษฐีผหู้ นึ่งสร้างวัดนี้ขน้ึ มีหลวงพ่อทองเป็นเจ้าอาวาสรูปแรก หลวงพ่อทองเป็ น
ผูม้ วี ชิ าอาคมแก่กล้าได้สร้างพระพุทธรูปปางมารวิชยั ไว้ในถํ้า ซึ่งปจั จุบนั เรียกถํ้าที่ประดิษฐาน
พระพุทธรูปนี้ว่า ถํ้านางบัวคลี่ เนื่องจากชาวบ้านเชื่อว่าวิญญาณของนางบัวคลี่ท่ถี ูกขุนแผน
ผ่าท้องเอาบุตรชายไปย่างเป็ นกุมารทองได้สงิ สถิตอยู่ ณ ถํ้าแห่งนี้ ผูว้ จิ ยั จะกล่าวถึงประเด็นนี้
โดยละเอียดต่อไป

๓.๑.๑.๒ ชื่อสถานที่ที่ไม่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน


ชือ่ สถานทีท่ ไ่ี ม่ปรากฏชื่อในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
สามารถจําแนกได้หลายกลุ่มคือ ชือ่ สถานทีท่ างธรรมชาติ ได้แก่ ถํ้าขุนแผน ถํ้าขุนไกร และ
ถํ้านางบัวคลี่ ชือ่ วัด ได้แก่ วัดขุนแผน วัดนางพิม (วัดกาญจนบุรีเก่า) วัดแม่หม้ายเหนือ
วัด แม่ ห ม้า ยใต้ วัด ถํ้ า ขุน ไกร และวัด บ้า นถํ้ า ชือ่ หมู่ บ้า นและชือ่ ชุม ชน ได้แ ก่ หมู่ บ้า น
นางทองประศรี ชุมชนบ้านขุนแผน และชุมชนพิมพิลาไลย ชือ่ ถนน ได้แก่ ถนนขุนแผน
ถนนพิม พิล าไลย์ และชือ่ สถานทีอ่ ืน่ ๆ ได้แ ก่ เขื่อ นขุน แผน และตลาดนางทองประศรี
ชือ่ สถานทีก่ ลุ่มนี้จะมีเรื่องเล่าหรือตํานานของท้องถิน่ ประกอบสถานที่ซ่งึ ถือเป็ นข้อมูลคติชนที่
สําคัญเพราะไม่สามารถทราบข้อมูลได้จากวรรณคดีลายลักษณ์ ทําให้เห็นว่า ความทรงจํ า
ดัง กล่ า วเป็ น ความทรงจํ า ส่ ว นที่ มี ม าแต่ เ ดิ ม ซึ่ ง น่ า จะที่ ม าจากการรับ รู้ นิ ท านพื้ น บ้ า น
ผูว้ จิ ยั ขอกล่าวถึงโดยลําดับ ดังนี้

ก) ชื่อสถานที่ทางธรรมชาติ

๑) ถํ้าขุนแผน
จากการเก็ บ ข้ อ มู ล ภาคสนามพบว่ า ในจัง หวัด
กาญจนบุรมี ีสถานที่ท่เี รียกว่า ถํ้าขุนแผน จํานวน ๒ แห่ง คือ ถํ้าขุนแผน บริเวณเขาชนไก่
ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองกาญจนบุรี และถํ้าขุนแผน ตําบลหนองบัว อําเภอเมืองกาญจนบุรี

- ถ้ าขุนแผน บริเวณเขาชนไก่ ตาบลลาดหญ้า


ถํ้ า ขุน แผน บริเ วณเขาชนไก่ ตํ า บลลาดหญ้ า
เป็นถํ้าปิด ตัง้ อยู่ในบริเวณเดียวกับศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่ซ่งึ เชื่อว่าเป็ นที่ส ถิตของวิญญาณพ่อปู่
ขุนแผนและพ่อปู่ขุนไกร และตัง้ อยู่ใ นเขตทหาร มีคํ าสังปิ ่ ดไม่ อนุ ญาตให้บุ ค คลใด ๆ เข้า
๗๘

ชาวบ้า นเชื่อ ว่าถํ้าแห่งนี้ เ ป็ นถํ้า ลึกลับ ภายในถํ้า มีสิ่งศัก ดิ ์สิทธิป์ กปกั รัก ษาอยู่และน่ าจะมี
เครื่องถ้วยชามและทรัพย์สินมีค่าสมัยกรุงศรีอยุธยาเก็บรักษาอยู่เป็ นจํานวนมาก ชาวบ้าน
เล่าว่า สมัยรุ่นปูย่ ่าตายาย เคยมีชาวบ้านบางคนเข้าไปในถํ้าเพื่อยืมเครื่องถ้วยชามมาใช้ในการ
จัดงาน เพราะสมัยก่อนมีการจัดงานมาก ข้าวของเครื่องใช้ทม่ี อี ยู่ไม่เพียงพอ จึงต้องไปหยิบยืม
จากภายในถํ้า เมื่อยืมเครื่องถ้วยชามมาแล้วไม่นํากลับไปคืน เป็นเหตุให้สงิ่ ศักดิ ์สิทธิ ์ที่ปกปกั
รักษาถํ้าไม่พอใจ ต่อมาเมื่อมีชาวบ้านเข้าไปหยิบยืมข้าวของหรือเครื่องถ้วยชามต่าง ๆ อีก
ก็ไม่มใี ครกลับออกมาได้ เชือ่ กันว่าเป็นเพราะสิง่ ศักดิ ์สิทธิ ์ลงโทษให้เมือ่ เข้าไปแล้วจะหาปากถํ้า
ไม่พบ จนไม่สามารถหาทางออกได้ (ทรงศักดิ ์ อินอนันต์, สัมภาษณ์, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๒)

- ถ้ าขุนแผน ตาบลหนองบัว

ภาพที่ ๖ - ๗ ถํ้าขุนแผน ตําบลหนองบัว อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

ถํ้ า ขุ น แผน ตํ า บลหนองบัว เดิม ชื่อ ถํ้ า พุ พ ระ


เนื่องจากพบพระฝงั ดินจํานวนมาก ถํ้าแห่งนี้ตงั ้ อยู่บนเขาพุพระ ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง
กาญจนบุรี อยู่ในเขตวัดถํ้าขุนแผน หรือวัดถํ้าพุทธาวาส ถํ้าแห่งนี้เปลี่ยนชื่อเป็ นถํ้าขุนแผน
ตามคํ า เล่ า ขานที่ เ ชื่ อ ว่ า เป็ น สถานที่ ท่ี ขุ น แผนนํ าลู ก ชายของนางบั ว คลี่ ม าทํ า พิ ธี
ปลุกเสกกุมารทอง
ทางขึน้ ถํ้า ขุนแผนเป็ นบันไดที่ลาดชัน คดเคี้ยว
จํานวนหลายร้อ ยขัน้ ภายในถํ้า มีพ ระประธาน และรูป เคารพขุนแผนในชุด นัก รบโบราณ
ข้างรูปเคารพขุนแผนมีศาลาไม้ขนาดเล็กเรียกว่า ศาลาขุนแผน ตัง้ อยู่ด้วย ปจั จุบนั มีโครงการ
ฟื้ นฟูถ้าํ ขุนแผนแห่งนี้ให้เป็นแหล่งท่องเทีย่ ว
อย่างไรก็ตาม ปจั จุบนั เชือ่ กันว่าถํ้าขุนแผนแห่งนี้
น่ า จะเป็ น เพีย งสถานที่ท่ีขุ น แผนมาพัก อยู่ ต อนตระเวนด่ า นหาของวิเ ศษ ๓ สิ่ง เท่ า นั น้
ส่วนสถานทีป่ ลุกเสกกุมารทองมีผตู้ งั ้ ข้อสังเกตว่า น่ าจะกระทําที่วดั มโนธรรมาราม (วัดนางโน)
ซึ่งจะได้กล่าวถึงต่อไป มากกว่าจะกระทําทีว่ ดั ถํ้าขุนแผนแห่งนี้
๗๙

พยงค์ เวสสบุ ต ร (๒๕๕๐ข: ๕๐ – ๕๓)


ได้วเิ คราะห์ถงึ สถานที่ท่ขี ุนแผนทําพิธี ปลุกเสกกุมารทองไว้ใน “ท่าเสา เมืองเก่ากาญจนบุรี
เมืองวรรณคดี – ขุนแผน” ว่า เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ระบุเพียงว่า สถานที่ท่ขี ุนแผน
ย่างกุมารคือที่ ‚วัดใต้‛ เท่านัน้ ดังปรากฏความว่า

อุม้ เอาทารกยกจากห้อง กุมารทองมาเถิดไปกับพ่อ


หยิบเอาย่ามใหญ่ใส่สวมคอ เอาผ้าห่อลูกชายสะพายไป
เปิดประตูจู่ออกมานอกบ้าน รีบเดินผ่านปา่ ตัดเข้าวัดใต้
ปิดประตูวหิ ารลันดาลใน
่ ลิม่ กลอนซ้อนใส่ไว้ตรึงตรา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๕๔)

คําว่า ‚วัดใต้‛ ที่ปรากฏในบทเสภาเรื่องขุนช้าง


– ขุนแผนนี้เองที่ทําให้เกิดการตีความแตกต่า งกัน ในจังหวัดกาญจนบุรีมวี ดั แห่งหนึ่งชื่อว่า
“วัดใต้” หรือมีช่อื ทางการว่า วัดชัยชุมพลชนะสงคราม ซึ่งตัง้ อยู่ท่บี ้านชุกโดน ตําบลบ้านใต้
อําเภอเมือง เป็นวัดทีม่ ชี อ่ื ปรากฏในสมัยต้นรัตนโกสินทร์วา่ เป็นสถานที่ประชุมพลของกองทัพ
ไทยที่จะยกไปต่อ สู้กบั พม่าที่รุ กรานเข้ ามาทางด่านเจดีย์ส ามองค์ ที่มาของคําว่า “วัดใต้ ”
เป็ น ชื่อ ที่ช าวบ้ า นเรีย กเพราะวัด ตัง้ อยู่ น อกกํ า แพงเมือ งทางด้ า นใต้ คู่ ก ับ วัด เหนื อ หรื อ
วัดเทวสังฆารามทีอ่ ยู่นอกกําแพงเมืองทางทิศเหนือ คําว่า “วัดใต้” เพียงคําเดียวจึงไม่พอที่จะ
ชี้ว่าเป็ นสถานที่ปลุก เสกกุมารทอง เพราะวัดใต้หรือวัดชัย ชุมพลชนะสงครามอยู่ไกลจาก
บ้านถํ้าของหมื่นหาญมาก ต้องเสียเวลาเดินทางผ่านป่า ข้ามแม่น้ํ าแม่กลอง และเป็ นเวลา
ไม่ต่าํ กว่าหนึ่งคืนจึงเดินทางมาถึงวัดใต้ เมื่อต้องใช้เวลาเดินทางเกินหนึ่งวัน จึงไม่น่าจะมีเวลา
ทีจ่ ะปลุกเสกกุมารทองได้ทนั (พยงค์ เวสสบุตร, ๒๕๕๐ข: ๕๐ – ๕๓)

สถา นที่ ท่ี ขุ น แผน ปลุ ก เส กกุ ม ารทอง ตา ม


ความเชือ่ ของชาวบ้านมีอยู่ ๓ แห่ง ได้แก่
๑. ถํ้าขุนแผนทีบ่ า้ นถํ้า อําเภอท่าม่วง
๒. ถํ้าขุนแผนทีต่ ําบลหนองบัว อําเภอเมืองกาญจนบุรี
๓. วัดมโนธรรมารามหรือวัดนางโน อําเภอท่าม่วง

พยงค์ เวสสบุ ต ร (๒๕๕๐ข: ๕๑ – ๕๒)


แสดงทัศนะไว้ว่า การปลุกเสกกุมารทองไม่น่ากระทําภายในถํ้าขุนแผนที่บ้านถํ้าและที่ตําบล
หนองบัว เพราะถํ้าขุนแผนทีบ่ า้ นถํ้าอยู่ใกล้กบั บ้านถํ้ามากเกินไป หมื่นหาญสามารถทําลายพิธี
๘๐

ได้ง่าย ส่วนถํ้าขุนแผนทีต่ ําบลหนองบัวนัน้ ขุนแผนไม่น่าจะสามารถทําพิธกี รรมได้เพราะไม่มี


โบสถ์หรือวิหารบนเขา อีกทัง้ อยู่ไกลจากชุมชนบ้านถํ้ามาก ต้องเดินข้ามเขาในเวลากลางคืน
และต้องข้ามลํานํ้ าแควน้ อย จึงต้องใช้เวลาเกินหนึ่งวัน กว่าจะทําพิธีปลุกเสกกุมารทองได้
ลูกทีน่ ํามาก็จะเน่าเปื่อยเสียก่อน
สถานที่ปลุกเสกกุมารทองที่เป็ นไปได้มากที่สุด
ตามทัศนะของพยงค์ เวสสบุตร คือ ปลุกเสกที่วดั มโนธรรมารามหรือวัดนางโน เนื่องจากวัด
มโนธรรมาราม หรือวัดนางโนมีเขตโบราณสถานสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ซึ่งประกอบด้วย
โบสถ์วหิ ารร้างอายุประมาณ ๔๐๐ ปี เป็ นหลักฐานหนึ่งที่ช่วยสนับสนุ นข้อสันนิษฐานดังกล่าว
นอกจากนี้วดั นางโนอยู่ถดั จากวัดบ้านถํ้าไปทางทิศใต้ประมาณ ๑.๕ กิโลเมตร ทิศทีอ่ ยู่ทางใต้น้ี
อาจหมายถึง “วัดใต้” ตามที่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน ซึ่งระบุไว้ว่า ขุนแผน
ผ่าท้องนางบัวคลีต่ อนดึก นําลูกไปย่างในวิหารจนรุ่งสางจึงเสร็จพิธี แสดงว่าใช้เวลาเพียงครึ่ง
ชัวคื
่ น ดังปรากฏความว่า

ตัง้ จิตสนิทดีไว้ทท่ี าง ภาวนานังย่่ างกุมารทอง


ร้อนทัง้ ตัวทัวกั
่ นนํ้ามันฉ่า กลับหน้ากลับหลังไปทัง้ สอง
เกาะแกร่งแห้งได้ดงั ใจปอง พอรุ่งแจ้งแสงทองขึน้ ทันใด
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๕๔)

นับว่าเป็นเวลาพอดีกบั ทีห่ มื่นหาญรูเ้ รื่องในตอนเช้า จึงเกณฑ์บ่าวไพร่ตามรอยเลือดที่เปื้ อนอยู่


ตามยอดหญ้ามาจนพบ ถ้าหนีไปไกลมากคงไม่มรี อยเลือดให้เห็น ดังปรากฏความใน เสภา
เรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ว่า

ถือหอกดาบง้าวทวนล้วนศัสตรา ทัง้ ปืนยาวมีดตรีกระบีก่ ริช


ธนูหน้าไม้ใส่ยาพิษ จําเริญรอยโลหิตติดตามไป
เป็นโลหิตติดหญ้ามาห่างห่าง ตรงทางปา่ ตัดเข้าวัดใต้
เห็นประตูวหิ ารลันดาลใน
่ ย่องเข้าไปมองดูตามรูดาล
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๕๕)
๘๑

ภาพที่ ๘ พระอุโบสถหลังเก่า วัดมโนธรรมาราม (วัดนางโน) อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุร ี

จากการเก็ บ ข้ อ มู ล ภาคสนาม ผู้ ว ิ จ ั ย พบว่ า


ปจั จุ บ ัน ชาวบ้า นส่ ว นใหญ่ เ ริ่ม เข้า ใจและรับ รู้ต รงกัน ว่า ถํ้ าขุน แผนที่ว ดั ถํ้ า ขุน แผน ตํ า บล
หนองบัว เป็ น ถํ้ า ที่ขุน แผนใช้เ ป็ น ที่พ ัก ระหว่า งตระเวนด่ า นออกตีด าบ ซื้อ ม้ า หากุ ม าร
ส่วนสถานที่ทําพิธีปลุกเสกกุมารทองคือ วัดมโนธรรมาราม หรือวัดนางโน เพราะเชื่อตาม
หลักฐานสนับสนุ นที่วดั นางโนมีเขตโบราณสถานสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น ประกอบกับการ
ประชาสัมพันธ์และการให้ขอ้ มูลของพระสงฆ์และเจ้าหน้าทีข่ องวัด

๒) ถํ้าขุนไกร

ภาพที่ ๙ ถํ้าขุนไกร ตําบลแก่งเสีย้ น อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

ถํ้าขุนไกรตัง้ อยู่บนเขา มี ๒ ถํ้า ชาวบ้านเรียกกันว่า


ถํ้าเล็ก และถํ้าใหญ่ การเดินเข้าถํ้าเล็กต้องขึน้ บันไดประมาณ ๑๕๐ ขัน้ ส่วนการเดินเข้าถํ้าใหญ่
ต้องขึน้ บันไดประมาณ ๕๐๐ ขัน้ เล่ากันว่าขุนไกรออกล่าสัตว์แล้ว หลบฝนมาพบพระธุดงค์
ในถํ้ า พ ระธุ ด ง ค์ รู ป นี้ คื อ อาจา รย์ ค ง ผู้ ถ่ า ยทอ ดวิ ช าอ าคมให้ แ ก่ ขุ น ไก รภายใ น
ถํ้าแห่งนี้ ต่อมาจึง เรียกชื่อถํ้าแห่งนี้ว่า ถํ้าขุนไกร ตามตํานานที่เล่ากันมา เมื่อมีการสร้างวัด
ทีเ่ ชิงเขาอันเป็นทีต่ งั ้ ของถํ้าขุนไกร จึงเรียกวัดดังกล่าวว่าวัดถํ้าขุนไกรด้วย
๘๒

เอกสารต านานประวัติ โดยย่ อ วัด ถ ้า ขุ น ไกร


บันทึกความไว้ตอนหนึ่งว่า วันหนึ่งนายไกรออกล่าสัตว์เช่นปกติ และผ่านมาทางวัดเขาถํ้า
ขณะนัน้ มีฝนตกหนัก ทําให้ตอ้ งเข้าไปหลบฝนอยู่ในถํ้า ทําให้นายไกรได้พบพระธุดงค์รูปหนึ่ง
อยู่ในถํ้าก่อนแล้ว พระธุดงค์รูปนัน้ คือ อาจารย์คง เจ้าอาวาสวัดแค ได้ช่วยสอนและถ่ายทอด
วิชาอาคมให้ สอดคล้อ งกับ ที่เสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน มีเรื่อ งราวว่า ขุนไกรบิด าของ
ขุนแผนนัน้ รูจ้ กั สนิทสนมกับสมภารคง วัดแค ดังความว่า

ครานัน้ ท่านสมภารได้ฟงั ว่า อออือจริงหวาหาลืมไม่


กูชอบชิดเป็นมิตรกับขุนไกร ยังแค้นใจทีม่ นั ม้วยไม่ต่อมือ
โดยจะสิน้ ความคิดวิทยา จะซานมาหากูไม่ได้หรือ
ถ้าใครกล้าตามมาไม่มคี รือ จะฟนั เสียให้ลอื เป็นแทงลาว
ถึงยกทัพนับหมืน่ เต็มพืน้ ภพ จะผูกผ้าพยนต์รบรับให้ฉาว
ไม่ทนั ล่วงราตรีให้หนีกราว กลัวจะยกธงขาวไม่ชงิ ชัย
กูคดิ คิดเสียใจเป็นหนักหนา ดังเสียลูกตาขวาก็ได้
รําพึงถึงมันทุกวันไป กูหมายใจฝากผีมนั ทีเดียว
แล้วเหลียวหน้ามาพิศดูพลายน้อย กะจ้อยร่อยดูไม่หน้าจะอดเหนียว
กาญจน์บุรกี บั สุพรรณไกลกันเจียว อุตส่าห์เทีย่ วด้นปา่ มาหากู
ทองประศรีอยู่ดหี รือไฉน ต่างคนต่างไกลถิน่ ฐานอยู่
เจ็บไข้สงิ่ ใดก็ไม่รู้ อยู่กบั กูเถิดจะบอกซึ่งวิชา
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๑๒๐ – ๑๒๑)

แต่ เ สภาเรื่ อ งขุ น ช้ า ง – ขุน แผนไม่ ไ ด้ ก ล่ า วถึ ง


เหตุก ารณ์ ท่เี กิด ขึ้นก่ อนหน้ า ว่า เหตุใ ดขุน ไกรและอาจารย์ค งจึง รู้จกั ชอบพอกัน ต่า งจาก
ตานานประวัติโดยย่อ วัดถา้ ขุนไกร ซึ่งได้กล่าวถึงเรื่องราวตอนนี้ไว้
ป จั จุ บ ัน ไม่ ส ามารถเดิน เข้า ถํ้ า ขุ น ไกรเพื่อ ขึ้น ไป
ทีถ่ ้าํ ใหญ่ได้ เพราะภายในถํ้ามีสภาพรกร้างและมีคา้ งคาวอาศัยอยูเ่ ป็นจํานวนมาก อีกทัง้ เมื่อถึง
บริเวณปากถํ้าแล้วยังจะต้องลงบันไดซึ่งลาดชันมากอีกด้วย
๘๓

๓) ถํ้านางบัวคลี่

ภาพที่ ๑๐ - ๑๑ ทางขึน้ ถํ้านางบัวคลี่ และถํ้านางบัวคลี่ วัดบ้านถํ้า อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุร ี

ถํ้า นางบัว คลี่ หรือ ถํ้ า มัง กรคู ห าสวรรค์ ตัง้ อยู่ บ น
เขาถํ้า ต้องเดินขึน้ บันไดประมาณ ๒๗๐ ขัน้ เป็ นถํ้าที่ชาวบ้านเชื่อว่าภายหลังจากที่ขุนแผน
ผ่าท้องเอาลูกชายไปย่างเป็นกุมารทองแล้ว วิญญาณของนางบัวคลี่ ภรรยาคนหนึ่งของขุนแผน
มีความผูกพันกับถํ้าแห่งนี้มาก เมื่อเสียชีวติ แล้ววิญญาณจึงสิงสถิตอยู่ ณ ถํ้าแห่งนี้ ทัง้ นี้ผวู้ จิ ยั
จะกล่าวถึงโดยละเอียดต่อไป

นอกจากนี้ ใ นจัง หวัด กาญจนบุ รีย ัง มี ช่ือ สถานที่ท าง


ธรรมชาติอ่นื ๆ ที่ชาวกาญจนบุรีเชื่อว่าเกี่ยวข้องกับขุนแผน หรือ ตัวละครอื่นที่เกี่ยวข้องกับ
ขุนแผน โดยทีส่ ถานทีเ่ หล่านี้ไม่ปรากฏชือ่ อยู่ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน อาทิ ช่องควาย
ชาวบ้า นเชื่อ ว่า เป็ นทางควายเข้าออก ตอนขุน ไกรต้อ นควายป่า ถวายสมเด็จ พระพัน วษา
ทอดพระเนตร เขาคอก ชาวบ้านเชือ่ ว่าเป็นสถานทีท่ ข่ี นุ ไกรไล่ต้อนควายป่าเข้าคอกไม่สําเร็จ
ทําให้สมเด็จพระพันวษากริ้วและประหารชีวติ เนินพลับพลา เชื่อว่าเป็ นที่ประทับของสมเด็จ
พระพันวษาครัง้ เสด็จทอดพระเนตรขุนไกรต้อนควายป่า และชัดหัวเสียบ ซึ่งชาวบ้านเชื่อว่า
เป็นสถานทีท่ ข่ี นุ ไกรถูกนําไปประหารชีวติ และนําศีรษะไปเสียบในปา่
๘๔

ข) ชื่อวัด

๑) วัดขุนแผน

ภาพที่ ๑๒ วัดขุนแผน ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

วัด ขุน แผนเป็ น วัด ที่ไ ด้ร ับการตัง้ ชื่อ ใหม่ใ นสมัย ที่
พระครูจวนพระสงฆ์วดั กาญจนบุรเี ก่าออกสํารวจวัดในเขตเมืองกาญจนบุรเี ก่า สภาพทัวไป ่
ของวัดขุนแผนมีลกั ษณะเป็นวัดร้าง มีพระปรางค์เก่า เป็ นโบราณสถานในเขตอนุ รกั ษ์ บริเวณ
ข้างวัดเคยมีสระนํ้ า ชาวบ้านเล่าว่าเคยเห็นระฆังขนาดใหญ่ จมอยู่ใ ต้น้ํ า มีเพียงหูระฆังโผล่
ขึน้ มา จึงได้พยายามทําทุกวิถที างเพื่อนํ าระฆังขึ้น จากนํ้ า เพราะเชื่อว่าภายในระฆัง น่ าจะมี
พระเครื่องและของมีค่าสมัยกรุงศรีอยุธยาบรรจุอยู่ เคยแม้กระทังนํ ่ าช้างมาฉุ ด หูระฆังแล้วก็ยงั
ไม่ประสบความสําเร็จ ยิง่ พยายามมากเท่าใด ระฆังก็ยงิ่ จมหายไป นอกจากนี้ จากการสอบถาม
ชาวบ้า นในพื้น ที่ตํ า บลลาดหญ้ า คือ สมศรี พงศ์ว ฒ ั นะเควิน อายุ ๗๔ ปี ทํ า ให้ท ราบว่ า
สมัยก่อนเชื่อ กันว่าระฆังใบนี้ตีแล้วส่งเสียงดังถึงเมืองสุ พรรณบุรี (สมศรี พงศ์วฒ ั นะเควิน ,
สัมภาษณ์, ๒๑ กันยายน ๒๕๕๒)
พยงค์ เวสสบุตร (๒๕๕๐ข: ๔๑) สันนิษฐานไว้ว่า
วัดขุนแผนแห่งนี้อาจเป็นวัดมหาธาตุของเมืองกาญจนบุรีในสมัยกรุงศรีอยุธยา เมื่อขุนแผนได้
เป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรคี งจะสร้างวัดแห่งนี้ขน้ึ ตามธรรมเนียมของผูเ้ ป็ นใหญ่หรือเศรษฐีท่นี ิยม
สร้างวัดของตนขึน้ มา
ภายในบริเ วณวัด มีป้ ายอธิบ ายประวัติว ดั ขุน แผน
ซึ่งกรมศิลปากรและองค์การบริหารส่วนจังหวัดร่วมกันจัดทําขึน้ มีความว่า
๘๕

วัดขุนแผน
โบราณสถานวัด ขุน แผน หัน หน้ า ไปทางทิศ ตะวัน ตกสู่
ลํ า ตะเพิ น ประกอบด้ ว ยอุ โ บสถทางด้ า นหน้ า เจดี ย์ ร ายและ
สิ่ง ก่ อ สร้ า งอื่น ๆ ทางด้ า นหลัง และล้ อ มรอบด้ ว ยกํ า แพงแก้ ว
โบราณสถานแห่ ง นี้ มีเ จดีย์ ท รงปรางค์ เ ป็ น ประธาน ของวัด อยู่
ด้านหลังและมีแนวกําแพงแก้วกัน้ แบ่งส่วนพืน้ ทีแ่ ยกออกมาต่างหาก
ปรางค์ประธานยังคงปรากฏการสร้างมุมตรงกลางขนาด
ใหญ่ ขนาบด้วยมุมขนาดเล็กอย่างที่นิยมตัง้ แต่สมัยอยุธยาตอนต้น
ลงมา แต่ปรางค์วดั ขุนแผนมีขนาดเล็กกว่ามาก สันนิษฐานว่าน่ าจะ
สร้า งขึ้น ในช่ว งสมัย อยุ ธ ยาตอนกลาง (ราวพุ ท ธศตวรรษที่ ๒๑)
ลงมา หรื อ ก่ อ นหน้ า นั ้น เล็ก น้ อ ยพร้ อ ม ๆ กับ การเกิด ขึ้น ของ
เมืองกาญจนบุรเี ก่าในฐานะวัดศูนย์กลางของชุมชน
กรมศิลปากรดําเนินการขุดศึกษาทางโบราณคดีค รัง้ แรก
ในปี พ.ศ.๒๕๓๒ และต่อมาได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัด
กาญจนบุรี ดําเนินการอนุ รกั ษ์และพัฒนาอีกครัง้ เมื่อปี พ.ศ. ๒๕๕๒

๒) วัดนางพิม (วัดกาญจนบุรเี ก่า)

ภาพที่ ๑๓ วัดนางพิม (วัดกาญจนบุรเี ก่า) ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

วัด นางพิ ม (วัด กาญจนบุ รี เ ก่ า ) ป จั จุ บ ัน เป็ น วัด


ประจําชุมชนท่าเสา ชาวบ้านเล่าว่า “คงจะเป็นวัดทีข่ นุ แผนเมื่อเป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรีสร้างขึน้
ด้ว ยความระลึก ถึง ภรรยา เพื่อ อุ ทิศ ให้น างพิม พิล าไลยที่ต้อ งโทษประหารชีว ิต ” (ศรีส กุ ล
พูลสวัสดิ ์, สัมภาษณ์, ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒) วัดแห่งนี้มี ๒ ชื่อ คือ วัดกาญจนบุรเี ก่า และ
วัดนางพิม สังเกตได้ว่าเมื่อทางจังหวัด ประสงค์จะแสดงให้เห็นว่าพื้นที่บริเวณบ้านท่าเสาเป็ น
ส่วนหนึ่งของเมืองกาญจนบุรีในสมัยกรุงศรีอยุธยา วัดแห่งนี้ จะได้รบั การกล่าวถึง ในชื่อ วัด
๘๖

กาญจนบุรเี ก่า แต่เมื่อจะกล่าวถึงบริเวณท่าเสาในฐานะที่เป็ นเมืองที่ขุนแผนเคยอาศัยและเป็ น


เจ้าเมือ งก็จ ะเรียกชื่อ วัดแห่ง นี้ ว่า วัด นางพิม ส่ วนชาวบ้า นท่า เสาและชาวบ้านในหมู่บ้า น
ใกล้เคียงนิยมเรียกชือ่ วัดแห่งนี้วา่ วัดนางพิม
วัดนางพิม (วัดกาญจนบุรเี ก่า) เป็ นวัดในเขตพื้นที่
บ้านท่าเสาเพียงวัดเดียวที่อยู่ในเขตอนุ รกั ษ์เมืองกาญจนบุรเี ก่า และยังเป็ นวัดศูนย์กลางของ
ชุมชนท่าเสา สถาพร ขวัญยืน (๒๕๓๔: ๕๐) กล่าวถึงวัดนางพิม (วัดกาญจนบุรีเก่า) ไว้ใน
เมืองกาญจนบุรีเก่า (อ้างถึงในรายงานการศึ กษากรณี ศึกษาเมืองกาญจนบุรีเก่าเพื่อ
เตรียมประกาศเขตอนุรกั ษ์ , ๒๕๕๑: ๖๗) ว่า แต่เดิมวัดนางพิมมีซากโบสถ์และเจดีย์เก่า
ต่อมาใน พ.ศ.๒๔๗๒ พระครูจวนได้สร้างโบสถ์และเจดีย์ข้นึ ใหม่บนฐานเดิม หลังจากนัน้
จึงได้รบั การสถาปนาเป็นวัดทีม่ ชี อ่ื ตามทําเนียบกรมการศาสนาว่า วัดกาญจนบุรเี ก่า สิง่ สําคัญ
ของวัดกาญจนบุรเี ก่าคือ พระอุโบสถ และเจดียท์ รงกลม
จากการสัมภาษณ์ชาวบ้านในพื้นที่บ้านท่าเสา คือ
ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์ ทําให้ทราบว่า ชาวบ้านท่าเสาได้ช่วยกันบูรณะเจดีย์โบราณทรงกลมภายใน
วัดนางพิม (วัด กาญจนบุรีเก่า ) โดยทาสีเจดีย์ด ังกล่าวด้วย (ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์, สัมภาษณ์ ,
๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๓)

๓) วัดแม่หม้ายเหนือ

ภาพที่ ๑๔ วัดแม่หม้ายเหนือ ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

วัด แม่ ห ม้า ยเหนื อ เป็ น วัด ร้ า ง ตัง้ อยู่ ใ นพื้น ที่บ้า น
ท่าเสา ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี จัดเป็นโบราณสถานในเขต
อนุรกั ษ์เมืองกาญจนบุรเี ก่า ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์ ชาวบ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้า เล่าว่า แม่หม้าย
ในที่น้ี สันนิษฐานว่าน่ าจะหมายถึง นางทองประศรีซ่ึงพาพลายแก้วมาอยู่ท่เี มืองกาญจนบุรี
หลังจากขุนไกรต้องโทษประหารชีวติ (ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์, สัมภาษณ์, ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๓)
๘๗

นอกจากนี้ ช าวบ้า นท่ า เสา ตํ าบลลาดหญ้ า ได้ต งั ้


ข้อสันนิษฐานเป็ น ๓ ประการว่า ประการแรก นางทองประศรีอาจเป็ นผู้สร้างวัดแห่งนี้ขน้ึ มา
หลังจากทีต่ งั ้ รกรากและทํามาค้าขายจนมีฐานะมันคง
่ ประการทีส่ อง อาจสร้างในตอนทีข่ นุ แผน
บุตรชายได้เป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรแี ล้ว และประการที่สาม ขุนแผนอาจสร้างวัดแห่งนี้ขน้ึ มา
เพื่อเป็นกุศลแก่มารดาหลังจากทีไ่ ด้ดํารงตําแหน่งเป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรี
ภายในบริเวณวัด มีป้ายอธิบายประวัตวิ ดั แม่หม้าย
เหนือ ซึ่งกรมศิลปากรและองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรรี ่วมกันจัดทําขึน้ มีความว่า

วัดแม่หม้ายเหนื อ
โบราณสถานวัด แม่ ห ม้ า ยเหนื อ หัน หน้ า ไปทางทิ ศ
ตะวันตกของลําตะเพิน ประกอบด้วยวิหารอยู่ทางด้านหน้า และเจดีย์
ทรงกลมเป็นประธานของวัด ทางด้านหลังโดยมีกําแพงแก้วล้อมรอบ
โบราณสถานทัง้ หมดไว้
ส่ ว นของฐานวิห ารจากการขุ ด ศึก ษาทางโบราณคดี
พบว่า มีการก่อสร้างทับซ้อนกันอย่างน้อย ๒ สมัย อีกทัง้ ยังพบเศษ
กระเบื้อ งดิน เผามุ งหลัง คาและตะปูโ ลหะสํ า หรับ ยึด โครงสร้า งไม้
เข้า ไว้ด้ ว ยกัน ทํ า ให้ ส ัน นิ ษ ฐานได้ ว่ า วิห ารวัด แม่ ห ม้ า ยเหนื อ
ก่ออิฐถือปูนมีหลังคาเป็นเครื่องไม้มุงด้วยกระเบือ้ งดินเผา
กรมศิลปากรดําเนินการขุดศึกษาทางโบราณคดีครัง้ แรก
เมื่อปี พ.ศ.๒๕๓๓ และต่อมาได้ร่วมกับองค์การบริหารส่วนจังหวัด
กาญจนบุรี ดําเนินการอนุรกั ษ์และพัฒนาอีกครัง้ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๒

๔) วัดแม่หม้ายใต้

ภาพที่ ๑๕ วัดแม่หม้ายใต้ ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี


๘๘

วัดแม่หม้ายใต้เป็ นวัดร้าง ตัง้ อยู่ในพื้นที่บ้านท่าเสา


ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นโบราณสถานในเขตอนุ รกั ษ์
เมืองกาญจนบุรเี ก่า ชาวบ้านเล่าว่า แม่หม้าย ในที่น้ี ชาวบ้านตัง้ ข้อ สันนิษฐานเช่นเดียวกับ
วัดแม่หม้ายเหนือ ว่าน่ าจะหมายถึง นางทองประศรีซ่งึ พาพลายแก้วมาอยู่ท่เี มืองกาญจนบุรี
หลังจากขุนไกรต้องโทษประหารชีวติ

จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ชาวบ้านท่าเสา ตําบล


ลาดหญ้า ตัง้ ข้อ สันนิ ษฐานเกี่ย วกับ การสร้างวัดแม่ห ม้ายใต้ ๓ ประการ คือ ประการแรก
นางทองประศรีอาจเป็ นผูส้ ร้างวัดแห่งนี้ขน้ึ มาหลังจากที่ตงั ้ รกรากและทํามาค้าขายจนมีฐานะ
มัน่ คงแล้ว ประการที่ส อง วัด แม่ ห ม้ า ยใต้อ าจสร้ า งในตอนที่ขุ น แผนบุ ต รชายของนาง
ทองประศรีได้เป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรแี ล้ว และประการทีส่ าม ขุนแผนอาจสร้างวัดแห่งนี้ขน้ึ มา
เพื่อเป็ นกุศลแก่มารดาหลังจากที่ได้ดํารงตําแหน่ งเป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรแี ล้ว เช่นเดียวกับ
วัดแม่หม้ายเหนือ (ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์, สัมภาษณ์, ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๓)
ภายในบริเวณวัดแม่หม้ายใต้ม ีป้ ายอธิบายประวัติ
วัดแม่หม้ายใต้ ซึ่งกรมศิลปากรและองค์การบริหารส่วนจังหวัดกาญจนบุรีร่วมกันจัดทําขึ้น
มีความว่า

วัดแม่หม้ายใต้
โบราณสถานวัดแม่หม้ายใต้ หันหน้าไปทางทิศตะวันออก
โดยมีกํ า แพงแก้ ว ล้ อ มรอบโบราณสถานทัง้ หมดเข้า ไว้ใ นพื้น ที่
เดียวกัน ประกอบด้วย เจดีย์ราย ๒ องค์ ทางด้านหน้าเหลือเพียง
เฉพาะส่วนฐาน ถัดเข้าไปเป็ นฐานเจดีย์ทรงปรางค์ขนาดเล็ก วิหาร
เป็นทรงสีเ่ หลีย่ มผืนผ้า โดยพบว่าฐานวิหารมีการก่อสร้างซ้อนทับกัน
อย่ า ง น้ อย ๒ ส มั ย ซึ่ ง ส มั ย ห ลั ง พ บว่ า มี ก า รทํ า ฐา น วิ ห า ร
แอ่ น โค้ ง คล้ า ยท้ อ งสํ า เภา อย่ า งที่ นิ ย มกัน ในช่ ว งสมัย อยุ ธ ยา
ตอนปลาย ด้านข้างทางทิศเหนือมีฐานเจดีย์รายทรงกลม ด้านหลัง
วิหารมีเจดียท์ รงกลม และเจดียย์ ่อมุมไม้สบิ สองขนาดเล็กอยู่ดา้ นข้าง
ทางทิศเหนือ
กรมศิลปากรดําเนินการขุดศึกษาทางโบราณคดีครัง้ แรกใน
ปี พ.ศ.๒๕๓๓ และต่ อ มาได้ ร่ ว มกับ องค์ ก ารบริห ารส่ ว นจัง หวัด
กาญจนบุรดี ําเนินการอนุรกั ษ์และพัฒนาอีกครัง้ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๕๒
๘๙

สัง เกตได้ ว่ า ป้ ายอธิ บ ายประวัติ ส ถานที่ จ ะให้


รายละเอียดของโบราณสถานในเขตวัดแม่หม้ายเหนือและวัดแม่หม้ายใต้เท่านัน้ ไม่ได้ให้ขอ้ มูล
ว่า แม่หม้ายซึ่งเป็นชือ่ วัดหมายถึงผูใ้ ด มีทม่ี าอย่างไร แต่เมื่อสัมภาษณ์ชาวบ้าน ทําให้ทราบว่า
แม่หม้ายในที่น้ีน่าจะหมายถึง นางทองประศรีท่ขี ุนไกรผูเ้ ป็ นสามีถูกประหารชีวติ และต้องพา
บุตรชายคือ พลายแก้วอพยพมาตัง้ ถิน่ ฐานทีเ่ มืองกาญจนบุรแี ละทํามาหาเลีย้ งชีพจนสามารถ
ตัง้ ตัวได้ในเวลาต่อมา นอกจากนี้สาเหตุท่ชี าวบ้านสันนิษฐานว่า แม่หม้าย หมายถึงนาง
ทองประศรีนนั ้ เนื่องจากภายในชุมชนท่าเสามีศาลย่าทองประศรีซ่งึ เป็ นศาลสักการบูชาของ
ชาวบ้านมาแต่เดิมตัง้ อยู่ในชุมชนด้วย ดังทีผ่ วู้ จิ ยั จะกล่าวถึงต่อไป

๕) วัดถํ้าขุนไกร

ภาพที่ ๑๖ วัดถํ้าขุนไกร ตําบลแก่งเสีย้ น อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

วัดถํ้าขุนไกรตัง้ อยู่ท่เี ชิงเขา ซึ่งภูเขาลูกดังกล่าวเป็ น


ที่ตงั ้ ของถํ้าขุนไกร บริเวณเชิงเขามีศาลพ่อขุนไกร ภายในศาลประดิษฐานรูปเคารพขุ นไกร
องค์ใหญ่ ๑ องค์ ด้านหน้ าศาลพ่อขุนไกรมีศาลพระภูมิเจ้าที่และมีรูปปนขุ ั ้ นแผนนัง่ บริกรรม
คาถา ด้านหน้ารูปปนขุ ั ้ นแผนมีแท่นซึ่งด้านบนวางตําราพิชยั สงครามอยู่
เอกสารตํานานประวัติโดยย่อของวัดถํ้าขุนไกรซึ่ง
ผูว้ จิ ยั ได้รบั ความเอือ้ เฟื้ อจากทหารหน่วย ม.พัน.๔ รอ. ซึ่งเป็ นเวรประจําการเพื่อดูแลพื้นที่ป่า
แถบนี้ ได้บนั ทึกประวัตขิ องขุนไกรไว้ ดังนี้
๙๐

ตานานประวัติโดยย่อ
วัดถา้ ขุนไกร
ตาบลแก่งเสี้ยน อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี

ตามตํ า นานประวั ติ โ ดยย่ อ ขุ น ไกร พ่ อ ขุ น แผน


กล่าวว่า บิดา – มารดา รวมทัง้ ตัวนายไกรเป็นคนทีม่ ถี นิ่ กําเนิดอยู่ท่ี
เนินเขาชนไก่ นายไกร รุ่นหนุ่ ม ชอบผจญป่า (เขาเรียกว่าพราน)
ความรู้เ รื่อ งคาถาอาคมก็พ อประมาณ เพราะเรีย นมาบ้า งจาก
หลวงตาบุญ เจ้า อาวาสวัดส้มใหญ่ วัน หนึ่งนายไกรออกล่าสัต ว์
เช่นเคย ได้ผา่ นมาทางวัดเขาถํ้า ฝนตกหนักจึงหลบฝนเข้าไปในถํ้า
ก็ พ บพระธุ ด งค์ อ งค์ ห นึ่ ง ซึ่ ง อยู่ ใ นถํ้ า ก่ อ นแล้ ว เมื่ อ ได้ คุ ย กั น
จนชอบอั ธ ยาศัย กั น ดี อาจารย์ ค งก็ ส อนคาถาอาคมในถํ้ า นี้
จนนายไกรเก่งกล้าสามารถ ภายหลังจึงทราบว่า อาจารย์ค งเป็ น
เจ้าอาวาสวัดแค สุพรรณบุรี ต่อจากนัน้ บิดา – มารดา ก็อพยพ
บ้า นเรือ นไปอยู่ ท่ีบ้า นพลับ ความเก่ง กล้า สามารถของนายไกร
ในเรื่องการเป็ นนายพรานรู้กนั ไปทัวกาญจนบุ ่ รี สุพรรณบุรี และ
เมือ งศรีอยุ ธ ยา (อู่ท อง) พระพรรษาจึงให้ขุน ศรีซ่ึง เป็ น คนเมือ ง
กาญจน์ และเคยเป็ นเพื่อนกับนายไกร ไปตามตัวมารับราชการ
ในเมืองสุพรรณบุรี เคยต่อสูพ้ ม่าหลายครัง้ หลายหน จนได้รบั ความ
ดีความชอบเป็นขุน ทุกครัง้ ทีพ่ ระพรรษาเสด็จประพาสป่า ก็จะให้
ขุ น ไ ก ร แ ส ด ง ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร ต้ อ น ค ว า ย ป่ า ใ ห้ ช ม
ทุ ก ครัง้ เป็ น ที่พ อพระทัย เป็ น อย่ า งยิ่ง ขุ น ไกรเมื่อ เป็ น ขุน ก็ไ ด้
แต่งงานเมื่ออายุ ๒๒ ปี กับนางทองประศรี นางทองประศรีขณะนัน้
อายุได้ ๑๙ ปี บ้านอยู่วดั ตะไกร อยู่กนิ ด้วยกันมาจนมีบุตรชายชื่อ
พลายแก้ว (ขุนแผน) ต่อมา พระพรรษาก็เสด็จมาชมการต้อนควาย
เช่ น เคย พอดีก ับ อายุ ขุ น ไกรได้ เ ข้า เบ๊ ญ จเพศ คือ อายุ ๒๕ ปี
ขุนแผนอายุได้ ๒ ขวบ ขุนไกรได้ต้อ นควายป่าเพื่อ จะให้เข้าคอก
ดัง เช่ น เคย (ที่ เ ราเรีย กว่ า เขาคอกจนทุ ก วัน นี้ ) แต่ ค วายป่ า
ไม่ยอมเข้า แม้จะใช้คาถาอาคมควายป่ามันก็ไม่ยอม จึงตัดสินใจ
ใช้หอกไล่แทงจนควายป่าตายเป็ นอันมาก พระพรรษาเห็นเช่นนัน้


ผูว้ จิ ยั สะกดการันต์ตามเอกสารต้นฉบับ
๙๑

จึงพิโรธโกรธมาก จึงสังให้ ่ ประหารชีวติ ขุนไกรเสีย และเอาไปเสียบ


ทีช่ ดั หัวเสียบ (พวกเรายังเรียกว่าชัดหัวเสียบจนทุกวันนี้) ต่อมาเมื่อ
ขุน แผนเป็ น หนุ่ ม และได้เ ป็ น ทหารแล้ว พม่ า มาตีเ มือ งกาญจน์
พระพรรษาก็ส่งให้ขนุ แผนขึน้ มารบ ขุนแผนก็จะมาตัง้ ศาลเพียงตาที่
เขาถํ้านี้ เพื่อขอให้วญ ิ ญาณของพ่อคุ้มครอง (บัดนี้ศาลก็ยงั อยู่เป็ น
หลักฐาน)
เหตุ ก ารณ์ เ รื่อ งนี้ เกิด ขึ้น เมื่อ ระหว่าง พ.ศ.๑๔๔๔ ถึง
พ.ศ.๑๕๔๙ พระพรรษาองค์น้ีเป็ นพระราชโอรสของพระยาพาล
มีพระชนม์มายุได้ ๑๐๕ พรรษา เสวยราชเมื่อพระชนม์มายุได้ ๑๕
พรรษา ในปี พ.ศ.๑๔๕๙ ชาวบ้านเรียกพระมหากษัตริย์องค์น้ีว่า
พระพันวษา
ถ้าท่านสนใจจะไปวัดถํ้าขุนไกรนี้ การเดินทางสบายมาก
ประมาณ ๒๐ นาทีกถ็ งึ ให้ไปทางสะพาน ๑ ข้างโรงแรมรามาริเวอร์
แคว ผ่านโรงเรียนบ้านหัวนา ป่ายุบ แล้วเข้าถนนตัดใหม่ก ว้าง
๗ เมตร ชื่อว่า ‚ถนนกฤติพล‛ เนินสวรรค์ เนินเขาทอง เขาสอย
ดาว ศาลเจ้าพ่อขุนไกร ช่องควาย แล้วก็ถงึ วัดถํ้าขุนไกร ต่อไปก็
ถึ ง เข า ค อ ก เนิ น พ ลั บ พ ลา เ ข า เ ณ รแ ก้ ว ชั ด หั ว เ สี ย บ
แต่ก่อนบริเวณแถวนี้เรียกว่า ดอนใหญ่ ระยะทางจากเมืองกาญจน์
ประมาณ ๑๒ กม. ธรรมชาติข้า งทางจะทํ า ให้ ท่ า นตื่น ตา ตื่น ใจ
โดยตลอดเส้นทางนี้

นอกจากต านานประวัติ โ ดยย่อ วัดถ ้าขุนไกรที่


ได้จากเอกสารของทหารแล้ว ผูว้ จิ ยั พบว่า พยงค์ เวสสบุตร (๒๕๕๐ข: ๔๘) ได้เก็บรวบรวม
ข้อมูลประวัตขิ นุ ไกรโดยอ้างอิงจากเอกสารวัดถํ้าขุนไกรไว้อกี ด้วย ดังปรากฏเนื้อความว่า

ประวัติขนุ ไกร
(เอกสารวัดถํ้าขุนไกร รวบรวมโดยพยงค์ เวสสบุตร)

ขุนไกรอยู่ท่บี ้านพลับใกล้ก ับเขาชนไก่ เมื่อรุ่นหนุ่ มได้


เรีย นคาถาอาคมมาบ้ า งกับ หลวงตาบุ ญ เจ้ า อาวาสวัด ส้ ม ใหญ่
นายไกรชอบล่ า สัต ว์ วัน หนึ่ งได้ ม าถึ ง เขาถํ้ า เกิ ด ฝนตกหนั ก
ได้เ ข้า ไปหลบฝนในถํ้ า บนภู เขา ได้พ บกับ พระธุ ดงค์องค์หนึ่ ง ชื่อ
๙๒

อาจารย์คงซึ่งเป็ นเจ้าอาวาสวัดแค เมืองสุพรรณบุรี นายไกรได้รบั


ถ่ายทอดวิชาอาคมจนแก่กล้า กิตติศพั ท์ของนายไกรเป็นทีเ่ ลื่องลือไป
ถึงกรุงศรีอยุธยา จึงได้ถูกเรียกตัวเข้าเป็ นทหาร ตําแหน่ งขุนไกร
พลพ่าย นายไกรเมื่ออายุได้ ๒๒ ปี ได้แต่งงานกับนางทองประศรีซ่งึ
อายุ ๑๙ ปี บ้านอยู่วดั ตะไกร ใกล้กบั เขาชนไก่เช่นกัน ขุนไกรเมื่อได้
ตําแหน่ งเป็ นขุนได้เข้ามาอยู่ท่เี มืองสุพรรณบุรี ทัง้ สองได้ให้กําเนิด
ขุนแผนทีน่ ่ี ปี ท่นี ายไกรแต่งงานเป็ นปี ท่สี มเด็จพระพันวษาขึน้ เสวย
ราชสมบัตมิ พี ระชนม์พรรษา ๑๕ พรรษา (พ.ศ.๒๐๓๔) สมเด็จพระ
พัน วษาทรงโปรดการล่ า สัต ว์จึงเสด็จไปประทับที่พ ลับ พลาในป่า
บริเวณใกล้ภูเขาและให้ขุนไกรออกไปต้อนควายป่าเข้าคอก ขุนไกร
ทําการไม่สําเร็จและฆ่าควายไปหลายตัว ทําให้พระพันวษาทรงพิโรธ
สัง่ ประหาร และประกาศิ ต ให้ นํ า ศพและศีร ษะขุ น ไกรไปเสีย บที่
บริเวณทีป่ จั จุบนั เรียกว่าชัด (ชัฏ) หัวเสียบ และที่ต้อนควายเรียกว่า
เขาคอก ขณะที่ขุนไกรถูกประหารอายุกําลังเข้าเบญจเพส (๒๕ ปี
ตรงกับ พ.ศ.๒๐๓๗) และนางทองประศรีต้องนํ าขุนแผนซึ่งขณะนัน้
อายุได้ ๒ ขวบเดินปา่ หนีราชภัยมาอยู่กบั ญาติทเ่ี ขาชนไก่

๖) วัดบ้านถํ้า

ภาพที่ ๑๗ วัดบ้านถํ้า ตําบลเขาน้อย อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุร ี

วัด บ้า นถํ้ า ตัง้ อยู่ ท่ีบ้า นถํ้ า ตํ า บลเขาน้ อ ย อํ า เภอ


ท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี ตํานานวัดบ้านถํ้าเล่าว่า ในสมัยสุโขทัย มีเศรษฐีคนหนึ่งพบว่ามีถ้ํา
ขนาดใหญ่ เศรษฐีผนู้ ้ีจงึ ได้นิมนต์พระสงฆ์รูปหนึ่งชื่อว่า หลวงพ่อทอง มาจําพรรษาอยู่ท่ถี ้ํานี้
๙๓

ต่อ มาเศรษฐีได้สร้างพระพุทธรูปแบบพระพุทธชินราชขนาดใหญ่ อ งค์หนึ่งไว้ในถํ้า ป จั จุบนั


พระพุทธรูปดังกล่าวยังคงประดิษฐานอยู่ในถํ้า เรียกกันว่า หลวงพ่อใหญ่ชนิ ราชวัดบ้านถํ้า
ภายในวัด บ้ า นถํ้ า มี ถ้ํ า นางบั ว คลี่ ห รื อ ถํ้ า มั ง กร
คูหาสวรรค์ซ่งึ เชื่อกันว่าเป็ นที่สงิ สถิตวิญญาณของนางบัวคลี่หลังจากที่ถูกขุนแผนผ่าท้องเอา
บุตรชายไปทําพิธปี ลุกเสกกุมารทอง ดังได้เคยกล่าวแล้วข้างต้น

ค) ชื่อหมู่บ้านและชื่อชุมชน

๑) หมู่บา้ นนางทองประศรี

ภาพที่ ๑๘ บริเวณทีเ่ ชือ่ ว่าเคยเป็นทีต่ งั ้ ของหมู่บ้านนางทองประศรี


ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

หมู่ บ้า นนางทองประศรีตงั ้ อยู่ ใ นบริเ วณหน่ ว ยฝึ ก


ประสบการณ์วชิ าชีพของจุฬ าลงกรณ์ มหาวิทยาลัย ชาวบ้านท่าเสาเล่า ว่า นางทองประศรี
มารดาของขุนแผนผูเ้ ป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรเี คยใช้ชวี ติ อยู่บริเวณนี้ ทํามาค้าขายจนมีฐานะ
มังคั
่ ง่ มีบ้านเรือนใหญ่ โต และมีบริวารแวดล้อมมากมาย ชาวบ้านจึงเชื่อว่าแต่เดิมมีหมู่บ้าน
นางทองประศรีเ ป็ น ที่อ ยู่ ข องนางทองประศรี ซึ่ง น่ า จะเป็ น ผู้ใ หญ่ ท่ีมีฐ านะและเป็ น ที่รู้จ ัก
มากพอสมควร ดังจะเห็นได้จากเมื่อเสียชีวติ ไปแล้วก็มกี ารสร้างศาลสัก การบูชาไว้ในชุมชน
ท่าเสาด้วย
๙๔

๒) ชุมชนบ้านขุนแผน และชุมชนพิมพิลาไลย

ภาพที่ ๑๙ - ๒๑ ป้ายชื่อหมู่บ้านท่าเสา ชุมชนบ้านขุนแผน และชุมชนพิมพิลาไลย


บ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

ชุม ชนบ้า นขุน แผนและชุม ชนพิม พิล าไลยเป็ น ชื่อ


ชุม ชนตัง้ อยู่ ท่ีบ้า นท่ า เสา ตํ า บลลาดหญ้ า อํ า เภอเมือ ง จังหวัด กาญจนบุ รี ซึ่ง อยู่ ใ นเขต
การปกครองดูแลของเทศบาลตําบลลาดหญ้า จังหวัดกาญจนบุรี ชื่อชุมชนดังกล่าวเป็ นชื่อที่
ชาวบ้านร่วมกันตัง้ ขึน้ ในช่วงที่ทางเทศบาลตําบลลาดหญ้ามีการจัดระเบียบชุมชนขึ้น โดยมี
จุดประสงค์ในการตัง้ ชื่อเพื่อระลึกถึงขุนแผนและนางพิมพิลาไลย ทัง้ นี้เพราะชาวบ้านเชื่อว่า
แต่เดิมบ้านท่าเสาหรือเมืองกาญจนบุรเี ก่าแห่งนี้เคยเป็นถิน่ พํานักของขุนแผน อีกทัง้ ขุนแผนยัง
เคยเป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรี ในฐานะลูกหลานทีเ่ กิดมาในบ้านท่าเสาจึงตัง้ ใจใช้ช่อื ของขุนแผน
และนางพิมพิลาไลยเป็นชือ่ ชุมชนเพื่อเป็ นเกียรติและเพื่อให้ลูกหลานได้ระลึกถึงบุคคลทัง้ สอง
ตลอดจนเพื่อ ให้ส อดคล้อ งกับ เสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน ด้ว ย ดัง ที่ศ รีส กุ ล พู ล สวัส ดิ ์
ได้กล่าวว่า “ตอนนัน้ เทศบาลเขาจะตัง้ ชือ่ ชุมชน เอามาถามให้พวกเราตัง้ ก็เลยตัง้ ชือ่ ไว้ระลึกถึง
ท่าน เพราะท่านเคยเป็นเจ้าเมืองอยู่ทน่ี ่ี” (ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์, สัมภาษณ์, ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒)

ง) ชื่อถนน
คติช นเกี่ยวกับ ขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุ รีย ังปรากฏ
ในรูปแบบของชือ่ ถนน คือ ถนนขุนแผน และถนนพิมพิลาไลย์
๙๕

ภาพที่ ๒๒ - ๒๓ ป้ายชือ่ ถนนขุนแผน และถนนพิมพิลาไลย์ ในพืน้ ทีบ่ ้านท่าเสา


ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

ถนนขุนแผนและถนนพิมพิลาไลย์เป็ นถนนเก่าที่มี
อยู่แต่เดิม ต่อมาตัง้ ชื่อขึ้นใหม่ในคราวที่เทศบาลตําบลลาดหญ้าจัดระเบียบชุมชน ชื่อถนน
ดังกล่าวสอดคล้องกับชื่อชุมชนบ้านขุนแผนและชุมชนพิมพิลาไลยซึ่งเพิ่ งได้รบั การตัง้ ใหม่
ในคราวเดียวกัน
ถนนขุ น แผนและถนนพิม พิ ล าไลย์ ถื อ เป็ น ถนน
สายหลักของชุมชนบ้า นท่าเสาที่ตดั ผ่านชุม ชนบ้านขุนแผนและชุม ชนพิมพิลาไลยในพื้น ที่
บ้านท่าเสา และเชื่อมกับถนนสายรองที่ตดั เข้าตามตรอกหรือซอยต่าง ๆ จนครบทัง้ ชุมชน
โดยจะใช้ตวั เลขกํากับหลังชื่อถนนขุนแผนและถนนพิมพิลาไลย์เพื่อบ่งบอกว่าเป็นถนนสายรอง
ทีต่ ดั เข้าซอยต่าง ๆ

จ) ชื่อสถานที่อื่น ๆ

๑) เขือ่ นขุนแผน

ภาพที่ ๒๔ เขื่อนขุนแผน (ท่าลงแพเขือ่ นขุนแผน) อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

เขื่อนขุนแผน หรือท่าลงแพเขื่อนขุนแผน เป็ นชื่อที่


เทศบาลเมืองกาญจนบุ รีตงั ้ ขึ้น ใหม่ในปี พ.ศ.๒๕๔๔ สภาพทัวไปเป็่ นท่า นํ้ าริมแม่น้ํ าแคว
๙๖

แต่เดิมเป็นเพียงท่าลงแพสําหรับซื้อขายสินค้าและร้านอาหาร ไม่มชี ่อื เรียก ต่อมามีการตัง้ ชื่อ


บริเวณที่เป็ นท่านํ้ าว่า ท่าลงแพเขื่อนขุนแผน เทศบาลเมืองกาญจนบุรี พ.ศ.๒๕๔๔ บริเวณ
ท่าลงแพดังกล่ าวจะมีแพต่าง ๆ จอดอยู่ ส่วนใหญ่ พบว่าเป็ นแพร้านอาหารสําหรับบริการ
นักท่องเทีย่ ว

๒) ตลาดนางทองประศรี

ภาพที่ ๒๕ บริเวณทีเ่ ชือ่ ว่าเคยเป็นทีต่ งั ้ ของตลาดนางทองประศรี


ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

ตลาดนางทองประศรีตงั ้ อยู่ในเขตพื้นที่บ้านท่า เสา


ตํา บลลาดหญ้ า อํ า เภอเมือ ง จัง หวัด กาญจนบุ รี ใกล้ก ับ เขาชนไก่ ชาวบ้า นท่ า เสา เล่ า ว่า
นางทองประศรี มารดาของขุนแผนได้หนีราชภัยมาตัง้ รกรากทํามาค้าขายอยู่ทเ่ี มืองกาญจนบุรี
บ้านท่าเสาจึงมีร่องรอยของพืน้ ทีบ่ ริเวณหนึ่งที่เชื่อว่าเคยเป็ นที่ตงั ้ ตลาดซึ่งนางทองประศรีเคย
ค้าขายจนมีฐานะดีในเวลาต่อมา

๓.๑.๒ ข้อมูลคติ ชนประเภทชื่ออื่น ๆ


นอกเหนื อ จากการตัง้ ชื่อ สถานที่ต่ า ง ๆ ที่เ กี่ย วกับ ขุน แผนในจัง หวัด
กาญจนบุรแี ล้ว ผูว้ จิ ยั พบว่า ยังมีการนํ าชื่อขุนแผนมาตัง้ เป็ นชื่อรหัสและชื่อกลุ่มในหน่ วยงาน
ทหารอีกด้วย
จากการสัมภาษณ์ พลตรี คนิน ทร วงศาโรจน์ และพันเอก (พิเศษ) ชัยยา
จุ้ยเจริญ นายทหารผูป้ ฏิบตั ิราชการที่กองพลทหารราบที่ ๙ จังหวัดกาญจนบุรี ได้ขอ้ มูลว่า
การใช้วทิ ยุส่อื สารในกองปืนใหญ่ กองพลทหารราบที่ ๙ จะใช้ชอ่ื นักรบในประวัตศิ าสตร์ไทยซึ่ง
มีฝีมือเก่ งกล้าสามารถเป็ นชื่อ รหัสในการวิท ยุส่อื สาร ชื่อขุนแผนเป็ นชื่อรหัสหนึ่ง ที่ใช้วทิ ยุ
โต้ ต อบกัน ในกองปื น ใหญ่ กองพลทหารราบที่ ๙ (คนิ น ทร วงศาโรจน์ และชัย ยา
จุย้ เจริญ, สัมภาษณ์, ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๓)
๙๗

นอกจากนี้พ้นื ที่เขาชนไก่ ซึ่งป จั จุบนั อยู่ในความควบคุมดูแลของกองพล


ทหารราบที่ ๙ ยังเป็นสถานทีซ่ ่งึ ใช้สําหรับฝึก นักศึกษาวิชาทหาร ทัง้ นี้ในการฝึ กนักศึกษาวิชา
ทหารจะมีขนั ้ ตอนทีต่ อ้ งแบ่งนักศึกษาออกเป็ น ๒ ฝ่ายคือ ฝ่ายรุก (เข้าตี) และฝ่ายรับ (ตัง้ รับ)
จากการเก็บข้อมูลออนไลน์ จากเว็บไซต์ Dek-D (บันทึกเขาชนไก่ ปี ๓ (๓๐ พฤศจิกายน
๒๕๕๑), ๒๕๕๒: ออนไลน์) ผูว้ จิ ยั พบบันทึกเรื่องราวซึ่งเขียนโดยนักศึกษาวิชาทหารซึ่งเข้ารับ
การฝึ ก วิช าทหารที่เขาชนไก่ แล้วได้เขีย นบันทึก กล่ า วถึงเหตุก ารณ์ ช่ว งที่มีก ารฝึ ก เอาไว้
ปรากฏข้อมูลทีน่ ่าสนใจ คือ มีการนําชือ่ ขุนแผนมาตัง้ เป็นชือ่ ฝา่ ยในการฝึ กนักศึกษาวิชาทหาร
โดยขุนแผนเป็นฝา่ ยรุก (เข้าตี) ดังปรากฏความตอนหนึ่งในกระดานข้อความว่า

บันทึกเขาชนไก่ปี ๓ (๓๐ พฤศจิ กายน ๒๕๕๑)


เมื่อ เราทํา การเข้าตีห รือตัง้ รับ จะมีค รูฝึ ก ทํ าหน้ าที่ค อย
รายงานผ่านวิทยุส่อื สาร รายงานสถานการณ์ ขอการสนับสนุ น ฯลฯ
และจะมีเสียงกองบัญชาการตอบ ซึ่งเสียงเหล่านี้จะออกอากาศให้
นักศึกษาทหารทีก่ ําลังฝึกได้ยนิ ด้วย ขอเรียกว่า “ละครวิทยุ”
เมื่อเป็นฝา่ ยเข้าตี ช่วงแรกไม่ค่อยได้ยนิ เพราะบริเวณเข้าตี
แรก ๆ ไม่มลี ําโพงออกอากาศ (บชก. = หน่ วยบัญชาการ) (เข้าตี =
ขุนแผน, ตัง้ รับ = ขุนเดช) พอเราเริ่มโผบุกเข้าไปเรื่อย ๆ ครูฝึก
ทีอ่ ยู่กบั เราจะสังหมอบ
่ (ต่อไปนี้จะเรียกคนนี้วา่ ทหารสื่อสาร = ทสส)
รายงานว่า
ทสส: ขณะนี้พบว่าข้าศึกใช้ปืนกลยิงเข้ามายังฝ่ายเรา
แจ้งขอสนับสนุนอาวุธวิถโี ค้งทีพ่ กิ ดั R3542
บชก: หน่วยบัญชาการรับทราบ จะทําการยิงเดีย๋ วนี้
ไปแล้ววว! บึม้ (มีระเบิดตูมขึน้ บริเวณ
ทีเ่ ราหมอบอยู่ ห่างไปเล็กน้อย)
ทสส: ขอบคุณมาก ตอนนี้รงั ปืนกลของข้าศึก
ถูกทําลายแล้ว ขอบคุณมาก
บชก: ยินดีให้บริการ

เมื่อเราตีเข้าไปเรื่อย ๆ จนข้าศึกหนีไปหมด (เพื่อน นศท.


อีกชุด) ฝา่ ยเรายึดทีม่ ั ่นได้
ทสส: ขุน แผน๑ ขอรายงานผลการปฏิบ ัติง าน
ตอนนี้สามารถยึดที่หมายได้แล้ว พบศพข้าศึก
๙๘

จํานวนมาก จับกุมข้าศึกได้ ๒ นาย หนีกระจัด


กระจายไปจํานวนหนึ่ง สามารถยึดเอกสารและ
ปื นอาก้า ๕ กระบอก ฝ่า ยเราไม่ม ีก ารสู ญเสีย
กําลังพล บาดเจ็บเพียงเล็กน้ อย ขวัญกําลังใจ
ดีมาก พร้อมรับภารกิจต่อไป
บชก: รับทราบผลการปฏิบตั ภิ ารกิจ ให้นําเอกสาร
ทีย่ ดึ ได้มาส่งทีก่ องบัญชาการ ข้าศึกทีจ่ บั กุมได้
ให้คุมตัวไว้ จะแจ้งให้ทราบวิธดี ําเนินการต่อไป
ขอบคุณขุนแผน๑ มาก

จากบัน ทึก ข้า งต้ น ทํ า ให้ เ ห็ น ได้ ว่ า ชื่อ ขุ น แผนนั น้ ได้ ร ับ การนํ า ไปใช้
ในหน่ ว ยงานทหาร ทัง้ ที่เ ป็ น ชื่อ เรีย กในการวิท ยุ ส่ือ สาร และชื่อ ฝ่า ยในการฝึ ก นัก ศึก ษา
วิชาทหาร และจากการสัมภาษณ์นายทหารทําให้ทราบว่า การตัง้ ชื่อเรียกในการใช้วทิ ยุส่อื สาร
จะเลือกเอาชือ่ นักรบคนสําคัญทีม่ ฝี ีมอื รบฉกาจมาตัง้ เป็นชือ่ เพื่อเป็นเกียรติแก่บุคคลนัน้ ดังนัน้
การที่ช่อื ของขุน แผนได้ร ับ การกล่ า วถึง ในการใช้ว ิท ยุ ส่ือ สารของกองพลทหารราบที่ ๙
จึงสะท้อนให้เห็นว่า ทหารในปจั จุบนั ซึ่งถือเป็นนักรบรุ่นหลังได้ยกย่องในฝี มอื รบและความเป็ น
ชายชาติทหารจนนําชือ่ ของขุนแผนมาตัง้ เพื่อระลึกถึงและให้เกียรติแก่ขนุ แผน สอดคล้องกับทีม่ ี
ความเชื่อ ว่า บริเ วณเขาชนไก่ ซ่ึง เป็ น ที่ต งั ้ ของกองพลทหารราบที่ ๙ เป็ น ที่สิง สถิต ของ
ดวงวิญญาณขุนแผนและขุนไกร ดังปรากฏศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่ซ่ึงมี รูปเคารพขุนแผนและ
รูปเคารพขุนไกรประดิษฐานอยู่และมีผมู้ าสักการบูชาอย่างต่อเนื่องทัง้ ทีเ่ ป็นคนในพืน้ ทีแ่ ละนอก
พืน้ ทีจ่ งั หวัดกาญจนบุรี

๓.๒ ข้อมูลคติ ชนประเภทรูปเคารพ


ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนอีกประเภทหนึ่งที่พบในจังหวัดกาญจนบุรี คือ ข้อมู ล
คติชนประเภทรูปเคารพ จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม พบว่า รูปเคารพเกี่ยวกับขุนแผนที่
ปรากฏในจังหวัดกาญจนบุรมี กั พบอยู่ในสถานที่ท่เี กี่ยวข้องกับขุนแผน หรือสถานที่ท่มี ีช่อื
ปรากฏอยู่ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เป็ นรูปเคารพของตัวละครในเสภาเรื่องขุนช้าง –
ขุนแผน ซึ่งเชือ่ กันว่าเคยมีตวั ตนอยู่จริง เช่น รูปเคารพขุนแผน รูปเคารพขุนไกร รูปเคารพ
นางทองประศรี รูปเคารพนางบัวคลี่ รูปเคารพกุมารทอง สังเกตได้ว่า รูปเคารพต่าง ๆ
ดังกล่าวต่างเป็ นตัวละครในเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผนที่มีเรื่องราวชีวติ เกี่ยวข้องกับเมือง
กาญจนบุรี
๙๙

ลักษณะรูปเคารพต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนที่พบในจังหวัดกาญจนบุรเี ป็ นรูปเคารพที่มี


ั้
ขนาดแตกต่างกัน พบว่ามีทงั ้ รูปเคารพทีม่ กี ารสร้างขึน้ เป็ นรูปปนและรู ปหล่อ และรูปเคารพที่
เชือ่ ว่าเกิดขึน้ เองด้วยอิทธิฤทธิ ์และความศักดิ ์สิทธิ ์ของบุคคลในเสภาเรื่องขุนช้าง - ขุนแผน
ในที่น้ี สามารถจําแนกข้อมู ลคติชนประเภทรูปเคารพที่พบในจังหวัดกาญจนบุรีไ ด้
๒ กลุ่ ม คือ รู ปเคารพขุน แผน และรูป เคารพของตัว ละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่อ งขุนช้ าง –
ขุนแผน

๓.๒.๑ รูปเคารพขุนแผน
ในจังหวัดกาญจนบุรี รูปเคารพขุนแผนอาจเรียกได้เป็น ๒ ชือ่ คือ รูปเคารพ
ขุนแผน และรูปเคารพพระยากาญจนบุรี ทัง้ นี้เพราะเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนที่อยู่ในความรับรู้
ของชาวกาญจนบุรี และชาวกาญจนบุรใี ห้ความเคารพนับถือ คือเรื่องราวชีวติ ในช่วงที่ขุนแผน
ได้รบั พระราชทานราชทินนามว่า ขุนแผนแสนสะท้าน เป็ นทหารรักษาด่านเมืองกาญจนบุรี
และเรื่อ งราวชีว ิต ในช่ว งที่ขุน แผนได้ร ับ พระราชทานบรรดาศัก ดิเ์ ป็ น พระสุ ริน ทรฦๅไชย
เจ้าเมืองกาญจนบุรี
ด้ว ยเหตุ น้ีช าวกาญจนบุรีจึง ให้ค วามเคารพนับถือขุนแผนทัง้ ในฐานะที่
ขุนแผนเคยอาศัยและเติบโตเป็นชาวบ้านคนหนึ่งในเมืองกาญจนบุรี และในฐานะทีข่ นุ แผนเคย
ดํารงตําแหน่ งเป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรี ซึ่งถือเป็ นบุ คคลสําคัญที่ชาวกาญจนบุรเี คารพยกย่อง
แม้ขนุ แผนจะไม่ได้มชี วี ติ อยู่แล้ว แต่ชาวกาญจนบุรโี ดยเฉพาะชาวบ้านในเขตเมืองกาญจนบุรี
เก่าหรือบ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้า ก็ยงั คงระลึกถึงและสักการบูชาขุนแผนด้วยความเคารพ
อยู่อย่างต่อเนื่องจวบจนทุกวันนี้ เนื่องจากชาวบ้านเชือ่ ว่า วิญญาณของขุนแผนยังคงสถิตอยู่ท่ี
เมืองกาญจนบุรเี พื่อคอยปกปกั รักษาและดูแลชาวบ้านอยู่โดยตลอด
อย่างไรก็ตาม เมื่อพิจารณาเรื่องราวทางประวัตศิ าสตร์ของเมืองกาญจนบุรี
จะเห็นได้ว่า เมืองกาญจนบุรใี นสมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งตรงกับช่วงเวลาที่เชื่อว่าขุนแผนมีชวี ิ ต
อยู่นนั ้ ไม่ได้มอี าณาเขตเทียบเท่ากับจังหวัดกาญจนบุรใี นปจั จุบนั ดังได้กล่าวแล้วในบทที่ ๑ ว่า
เมืองกาญจนบุรใี นสมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งขุนแผนเคยรับราชการเป็นเจ้าเมืองนัน้ ปจั จุบนั น่ าจะมี
อาณาเขตครอบคลุมเพียงพืน้ ทีบ่ า้ นท่าเสา ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองกาญจนบุรี หรื อที่เรียก
กันอีกชือ่ หนึ่งว่า เมืองกาญจนบุรเี ก่า เท่านัน้
เรื่องราวทางประวัตศิ าสตร์ข้างต้น สอดคล้องกับความรับรู้เรื่องที่ขุนแผน
เคยดํารงตําแหน่ งเป็ นพระยากาญจนบุรี ทัง้ นี้เพราะรูปเคารพขุนแผน หรือรูปเคารพพระยา
กาญจนบุรมี กั พบมากในพืน้ ทีบ่ า้ นท่าเสา ตําบลลาดหญ้า และพื้นทีใ่ กล้เคียง อีกทัง้ ชาวบ้านใน
พืน้ ทีด่ งั กล่าวก็เคารพและยกย่องเชิดชูขุนแผนในฐานะอดีตเจ้าเมืองกาญจนบุรี ซึ่งเป็ นบุคคล
สําคัญทีล่ ่วงลับไปแล้วมากกว่าชาวกาญจนบุรที อ่ี าศัยอยู่ในพืน้ ทีไ่ กลออกไป
๑๐๐

อนึ่ ง เป็ น เรื่อ งน่ า สัง เกตว่ า แม้ ขุ น แผนซึ่ ง เคยได้ ร ับ บรรดาศัก ดิ เ์ ป็ น
พระสุรนิ ทรฦๅไชย เจ้าเมืองกาญจนบุรี จะไม่ได้มชี วี ติ อยู่แล้วในปจั จุบนั แต่คนท้องถิน่ ก็ยงั คง
สักการบูชาขุนแผนด้วยความเคารพอย่างต่อเนื่อง แสดงให้เห็นว่า ขุนแผนเป็ นบุคคลสําคัญ
ของท้ อ งถิ่ น และอยู่ ใ นความรับ รู้ ข องคนท้ อ งถิ่ น จากรุ่ น สู่ รุ่ น นอกจากนี้ ย ัง ไม่ พ บว่ า
ชาวกาญจนบุ รีส ร้ า งรู ป เคารพหรือ มีก ารสัก การบู ช ารู ป เคารพเจ้ า เมือ งกาญจนบุ รีค นใด
นอกเหนือจากขุนแผน
ในที่น้ี จะแสดงให้เห็น รู ป เคารพขุน แผนที่ป รากฏในจัง หวัดกาญจนบุ รี
โดยจําแนกให้เห็นชัดเจนตามสถานทีซ่ ่งึ รูปเคารพนัน้ ประดิษฐานอยู่ ทัง้ นี้พบรูปเคารพขุนแผน
ประดิษฐานอยู่ในสถานที่ ๔ แห่ง คือ เขาชนไก่ ตําบลลาดหญ้า วัดปา่ เลไลยก์ ตําบลลาดหญ้า
ถํ้าขุนแผน ตําบลหนองบัว และมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี ดังนี้

๓.๒.๑.๑ รูปเคารพขุนแผนที่เขาชนไก่ ตาบลลาดหญ้า


รูปเคารพขุนแผนที่เขาชนไก่ ประดิษฐานอยู่ภ ายในศาล
เจ้าพ่อเขาชนไก่ หรือทีช่ าวบ้านมักเรียกว่า ศาลพ่อปู่เขาชนไก่ ประกอบด้วย รูปเคารพที่เป็ น
รูปปนดิ ั ้ น และรูปเคารพทีเ่ ป็นรูปหล่อ
ั ้ นมีลกั ษณะเป็นชายสวมชุด
รูปเคารพขุนแผนทีเ่ ป็นรูปปนดิ
ทหาร เป็ นรูปปนที ั ้ ่ประดิษฐานอยู่ภายในศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่แต่ดงั ้ เดิมก่อนที่จะมีการบูรณะ
และสร้างศาลขึน้ ใหม่ เมื่อทหารเข้ามาบูรณะศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่จงึ ได้สร้างรูปเคารพขุนแผน
ที่เ ป็ นรู ป หล่ อ สวมชุด นัก รบขนาด ๒ ใน ๓ เท่ าของตัว จริง ประดิษ ฐานไว้ด้า นขวามือ ของ
รูปเคารพขุนแผนทีเ่ ป็นรูปปนดิ ั้ น

ภาพที่ ๒๖ - ๒๗ รูปเคารพขุนแผนทีเ่ ขาชนไก่


ประกอบด้วยรูปปนั ้ (ภาพซ้าย) และรูปหล่อ (ภาพขวา)
๑๐๑

ศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่ ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัด


กาญจนบุรี ซึ่งเป็ นที่ประดิษฐานรูปเคารพขุนแผนตัง้ อยู่บริเวณเชิงเขาชนไก่ เดิมเป็ นศาลไม้
ตัง้ อยู่ริมถนนสายกาญจนบุรี – ศรีสวัสดิ ์ ปจั จุบนั อยู่ในเขตการปกครองขององค์การบริหาร
ส่วนตําบลลาดหญ้า และเนื่องจากศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่แห่งนี้ตงั ้ อยู่ในเขตพื้นที่ของกองพล
ทหารราบที่ ๙ จึงมีทหารผลัดเวรกันมาดูแลรักษาความสะอาดภายในศาลและบริเวณโดยรอบ
ศาล พร้อ มทัง้ จัดเตรีย มดอกไม้และธู ป สํา หรับ บู ชาเป็ น ประจํ า ทุ กวัน ภายในศาลเจ้า พ่ อ
เขาชนไก่ เป็นทีป่ ระดิษฐานรูปเคารพของขุนแผนและรูปเคารพของขุนไกร
สภาพทัวไปบริ
่ เวณศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่ ประกอบด้วยศาล
ที่ประดิษฐานรูปเคารพ ศาลารายสําหรับนัง่ พัก บันไดขึน้ สู่ตวั ศาล มีรูปปนไก่ ั ้ หลายขนาด
วางเรีย งเป็ น แนวบริเ วณสองฝ งของบั ั่ น ไดแต่ ล ะช่ว ง ด้ า นหลัง ของศาลเจ้ า พ่ อ เขาชนไก่
มีพระพุทธรูปองค์ใหญ่ประดิษฐานอยู่
ชาวบ้านเชือ่ กันว่าพ่อปูเ่ ขาชนไก่ ซึ่งหมายถึงพ่อปู่ขุนแผน
และพ่อ ปู่ขุนไกรมีค วามศักดิส์ ิทธิ ์ คอยปกป้ อ งคุ้ม ครองดู แลลูก หลาน ด้วยเหตุน้ีจึงมีการ
สัก การบูชารูปเคารพของพ่อปู่เขาชนไก่ ทัง้ พ่อ ปู่ขุนแผนและพ่อ ปู่ขุนไกรโดยตลอด ผู้ท่มี า
สัก การบู ชาและบนบานพ่ อปู่ มีทงั ้ ชาวบ้า นท่ าเสา ชาวบ้านลาดหญ้า ชาวบ้านวัง ด้ง ฯลฯ
นักท่องเทีย่ ว รวมถึงผูส้ ญ ั จรไปมา เนื่องจากศาลตัง้ อยู่ในเส้นทางท่องเทีย่ วสําคัญของจังหวัด
การสักการบูชาพ่อปู่เขาชนไก่ ใช้ธูป ๙ ดอก สิง่ ของที่ใช้
บนบานพ่อปู่เขาชนไก่มหี ลากหลายประเภท จํานวนมากน้อยแตกต่างกันตามเรื่องที่บนบาน
ทัง้ พวงมาลัย ผลไม้ ของดํา ๕ อย่าง รูปปนไก่ ั ้ ชน รูปปนช้ ั ้ าง รูปปนม้
ั ้ า หมาก พลู สุรา บุหรี่
ฝิ่น ผ้าขาวม้า นอกจากนี้ยงั มีการจัดหนังกลางแปลง ลิเก และรําถวายเพื่อแก้บนด้วย
จากการสัมภาษณ์ชาวบ้านที่มาสักการบูชาพ่อปู่เขาชนไก่
ถึงสิง่ ของทีม่ ผี นู้ ิยมบนบานพ่อปูเ่ ขาชนไก่ ชาวบ้านต่างกล่าวตรงกันว่า สมัยก่อนนิยมบนบาน
ด้วยฝิ่น เพราะพ่อปูช่ อบ สังเกตได้จากรูปเคารพขุนแผนทีเ่ ป็นรูปปนดิ ั ้ นมีคราบสีน้ําตาลแดงอยู่
บริเ วณปาก คราบดัง กล่ า วเกิด จากผู้บ นบานนํ า ฝิ่ น มาทาที่ป ากของรู ป เคารพเพื่อ แก้บ น
แต่ในปจั จุบนั ฝิ่นจัดเป็นยาเสพติด จึงไม่ค่อยพบเห็นการบนบานพ่อปูเ่ ขาชนไก่ดว้ ยฝิ่นอีก
ชาวบ้า นส่ วนใหญ่ ก ล่า วกัน ว่า เมื่อ บนบานขอสิ่ง ใดจาก
พ่อ ปู่เขาชนไก่ม ัก ได้สิ่งนัน้ สมดัง ใจหวัง ยกเว้น บนบานพ่อ ปู่เขาชนไก่เพื่อ ขอไม่ เป็ นทหาร
จะต้องเป็นทหารทุกรายไป เพราะพ่อปูเ่ ขาชนไก่ ทัง้ พ่อปูข่ นุ แผนและพ่อปูข่ นุ ไกรเป็นทหาร
นอกจากนัน้ นายไพศาล กองม่วง ชาวบ้านคนหนึ่งที่มา
สักการะพ่อปูเ่ ขาชนไก่ได้เล่าว่า “เวลาทีม่ กี ารแห่นาคผ่านศาลพ่อปูเ่ ขาชนไก่ หรือชายชาวบ้าน
ชุมชนท่าเสาบวชพระ นาคต้องไปจุดธูปบอกพ่อปู่เขาชนไก่ หากไม่บอกกล่าวพ่อปู่เขาชนไก่
๑๐๒

อาจเกิดเหตุร้ายหรือความไม่สะดวกสบายกับพ่อแม่หรือญาติของนาคได้” (ไพศาล กองม่วง,


สัมภาษณ์, ๒๓ กรกฏาคม ๒๕๕๒)
นอกจากนี้ นายทรงศักดิ ์ อินอนันต์ เล่าว่า พื้นที่เขาชนไก่
ซึ่งเป็นทีต่ งั ้ ศาลพ่อปูเ่ ขาชนไก่เป็นเมืองลับแล บางคราวอาจได้ยนิ เสียงไก่ขนั ดังก้อง หรือ ในวัน
ขึ้น ๑๕ คํ่า เดือ น ๘ ผู้ท่มี ีบุญจะได้ยินเสียงประโคมพิณ พาทย์ และเห็น การแสดงฟ้ อนรํ า
ในบริเวณศาลพ่อปูเ่ ขาชนไก่ (ทรงศักดิ ์ อินอนันต์, สัมภาษณ์, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๒)
ความเชือ่ ทีช่ าวบ้านต่างเล่าขานกันมากคือ ผูท้ ่สี ญ
ั จรผ่าน
ศาลพ่อปูเ่ ขาชนไก่ตอ้ งทําความเคารพพ่อปูเ่ ขาชนไก่ แล้วจะเดินทางปลอดภัย หากไม่ทําความ
เคารพ เช่น พนมมือไหว้ หรือบีบแตรรถยนต์ อาจประสบอุบตั เิ หตุได้
จากการสัม ภาษณ์ น ายฑรั ท เหลื อ งสอาด ชาวบ้ า น
ลาดหญ้า เกี่ยวกับความเชื่อเรื่องความศัก ดิ ์สิทธิ ์ของพ่อ ปู่เขาชนไก่ นายฑรัท เหลือ งสอาด
เล่าให้ฟ งั ว่า “เคยมีเพื่อนขับรถผ่านหน้ าศาลเจ้าพ่อ เขาชนไก่ แล้ว ไม่ไ ด้แสดงความเคารพ
เมื่อขับต่อไปแม้ยงั ไม่พ้นบริเวณศาล ก็เกิดภาพลวงตาเห็นเป็ นช้างขนาดใหญ่เดินตัดหน้ารถ
จนทําให้เกิดอุบตั เิ หตุ” (ฑรัท เหลืองสอาด, สัมภาษณ์, ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒)

ภาพที่ ๒๘ ศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่ ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

ภายในศาลเจ้าพ่ อ เขาชนไก่ม ีป้ายอธิบ ายประวัติเจ้าพ่ อ


เขาชนไก่ อยู่ดา้ นหน้ารูปเคารพของขุนแผน มีความดังนี้

ประวัติเจ้าพ่อเขาชนไก่

ศาลเจ้ า พ่ อ เขาชนไก่ เดิ ม ประกอบด้ ว ยศาลพ่ อ ปู่


เขาชนไก่ (ขุนแผน ทหารเอกของสมเด็จพระพันวษา พระรามาธิบดี
ที่ ๒ แห่งกรุงศรีอยุธยา ภายหลังได้เป็ นพระสุรนิ ทรฦๅชัย เจ้าเมือง
๑๐๓

กาญจนบุ รี) และศาลพ่ อ ปู่ ขุน ไกร (ขุ น ไกรพลพ่ า ย บิด าขุน แผน
สะท้าน) เป็นศาลไม้เล็ก ๆ ตัง้ อยู่บริเวณเขาชนไก่ สร้างโดยราษฎรที่
อาศัยในบริเวณพื้นที่ใกล้เคียงเขาชนไก่เมื่อประมาณ พ.ศ.๒๔๘๖
เพื่อเป็นทีเ่ คารพบูชา เนื่องจากเชือ่ ถือในความศักดิ ์สิทธิ ์อภินิหารของ
ดวงวิญญาณของขุนแผนสะท้านและขุนไกรพลพ่าย ซึ่งเคยอาศัยอยู่
ที่บ้านดอนเขาชนไก่ เมื่อสมัยกรุงศรีอยุธยาตอนต้น (บริเวณทิศใต้
เขาชนไก่ ใกล้เมืองกาญจนบุรเี ก่า ตําบลท่าเสาป จั จุบนั ) ต่อมาเมื่อ
ประมาณปี พ.ศ.๒๕๑๐ หลวงพ่อบุญงาม วัดท่าเสาได้บูรณะก่ อสร้าง
ขึน้ ใหม่เป็ นศาลพื้นปูน มุงสังกะสี และมีการบูรณะก่อสร้างขึน้ ใหม่
อีกครัง้ โดยพืน้ ยังคงเป็นปูน แต่เปลีย่ นหลังคาเป็นกระเบือ้ ง และเมื่อ
พ.ศ.๒๕๒๗ พล.ท.ประยูร มีเดช เจ้ากรมการรักษาดินแดน ได้ดําริ
ให้สร้างศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่ขน้ึ ใหม่ให้สง่างาม และเหมาะสมกับ เป็ น
ปู ช นี ย สถานที่ สิ ง สถิ ต ดวงวิญ ญาณของบรรพบุ รุ ษ นั ก รบไทย
อัน ศัก ดิส์ ิท ธิ ์ เพื่อ เป็ น ที่เคารพสัก การะของประชาชนทั ่วไป และ
นักศึกษาวิชาทหาร ตลอดจนข้าราชการของกรมการรักษาดินแดน
ทีม่ าฝึก ณ ค่ายฝึกนักศึกษาวิชาทหารเขาชนไก่ โดยให้สร้างเป็นศาล
๑ หลัง และศาลา ๘ หลัง รวมทัง้ ให้ห ล่ อ รู ป ของขุน แผนสะท้า น
(พระสุ ริน ทรฦๅชัย ) และขุนไกรพลพ่ าย ขนาด ๒ ใน ๓ เท่า ของ
ตัว จริ ง ประดิ ษ ฐานไว้ โดยได้ ร ับ ทุ น บริ จ าคจากผู้ มี จิ ต ศรัท ธา
จํานวนหนึ่ง สําหรับรูปปนดิ ั ้ นของขุนแผนสะท้านและขุนไกรพลพ่าย
ในศาลเก่ า นัน้ ให้นํ า มาประดิษ ฐานไว้ใ นศาลคู่ ก ัน โดยได้ทํ า พิธี
รื้อ ศาลเก่ า ตัง้ ศาลใหม่ เมื่อ ๒ กุ ม ภาพัน ธ์ พ.ศ.๒๕๓๘ เวลา
๑๐.๐๙ น. โดยมีพลเอกวิมล วงศ์วานิช ผู้บญ ั ชาการทหารบกเป็ น
ประธานพิธี ศาลเจ้า พ่ อ เขาชนไก่ ม ีค วามศัก ดิส์ ิท ธิเ์ ป็ น ที่เ คารพ
เชื่อ ถื อ เป็ น อย่ า งยิ่ ง ของประชาชนจัง หวัด กาญจนบุ รี ท ั ว่ ไปที่
เดิน ทางผ่ า นไปมา รวมทัง้ นั ก ศึก ษาวิช าทหาร และข้า ราชการ
กรมการรัก ษาดิน แดนที่ม าฝึ ก ภาคสนาม ณ ค่ า ยฝึ ก ฯ ที่บ ริเ วณ
เขาชนไก่ แห่งนี้ ซึ่ง เชื่อว่าผู้ท่ีเคารพบูช าจะมีโชคลาภ มีค วามสุ ข
เจริญ ก้า วหน้ า และปลอดภัย จากอัน ตรายทัง้ ปวง ผู้ใ ดต้อ งการ
สมความปรารถนาในเรื่ อ งใดก็ จ ะนํ า สํ า เร็ จ ความปรารถนา
ในสิง่ นัน้ เสมอ
๑๐๔

จากประวัตเิ จ้าพ่อเขาชนไก่ท่มี กี ารบันทึกเป็ นลายลักษณ์


อักษรไว้ทศ่ี าลเจ้าพ่อเขาชนไก่ ทําให้สงั เกตได้วา่ ศาลทีเ่ ป็นทีป่ ระดิษฐานรูปเคารพของขุนแผน
นี้ไ ด้ร ับการบูร ณะและสร้างใหม่ ถึง ๓ ครัง้ คือ เมื่อ พ.ศ.๒๔๘๖ ชาวบ้า นในบริเวณพื้น ที่
ใกล้เคียงเขาชนไก่ได้สร้างศาลไม้ เล็ก ๆ ขึ้น ต่อมา พ.ศ.๒๕๑๐ หลวงพ่อบุญงาม วัดท่าเสา
ได้บูรณะให้เป็นศาลปูน จนกระทัง่ พ.ศ.๒๕๒๗ พล.ท.ประยูร มีเดช เจ้ากรมการรักษาดินแดน
ได้ดําริให้สร้างศาลขึ้นใหม่ดงั ปรากฏเห็นในทุกวันนี้ การบูรณะและการสร้างใหม่ถงึ ๓ ครัง้
สะท้อนให้เห็นว่า ชาวบ้านและทหารให้ความสํา คัญกับศาลดังกล่าว และที่สําคัญยิง่ คือเคารพ
นับถือและยกย่องว่า พ่อปูเ่ ขาชนไก่ซ่งึ หมายถึงพ่อปู่ขุนแผนและพ่อปู่ขุนไกรมีความศักดิ ์สิทธิ ์
วิญญาณของท่านยังคงสถิตอยู่ทเ่ี ขาชนไก่แห่งนี้เพื่อปกป้องคุม้ ครองลูกหลาน

๓.๒.๑.๒ รูปเคารพพระยากาญจนบุรีที่วดั ป่ าเลไลยก์


ตาบลลาดหญ้า
รูปเคารพพระยากาญจนบุรที ่วี ดั ป่าเลไลยก์ ตําบลลาดหญ้า
อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุรี ประดิษฐานอยู่ภายในศาลปูนซึ่งตัง้ อยู่ในพื้นที่วดั ป ่าเลไลยก์
พระยากาญจนบุ รีก็ คื อ ขุ น แผนเมื่อ ครัง้ เป็ น เจ้ า เมือ งกาญจนบุ รี ใ นสมัย กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา
สภาพทัวไปภายในศาลพบว่
่ ามีร่องรอยการสักการบูชา ถวายพวงมาลัย ดอกไม้ บายศรี ฯลฯ
ทัง้ ยังมีร่องรอยการถวายสิง่ ของแก้บนอีกด้วย

ภาพที่ ๒๙ รูปเคารพพระยากาญจนบุรที ว่ี ดั ป่าเลไลยก์ ตําบลลาดหญ้า

๓.๒.๑.๓ รูปเคารพขุนแผนที่ถา้ ขุนแผน ตาบลหนองบัว


รูปเคารพขุนแผนทีถ่ ้าํ ขุนแผน ตําบลหนองบัว อําเภอเมือง
กาญจนบุรี เป็ นรูปปูนปนลํ ั ้ าตัวครึ่งบนอยู่บนแท่นบูชาที่ติดกับผนังถํ้าด้านหนึ่ง รูปเคารพ
ขุนแผนนี้ประดิษฐานอยู่ภายในถํ้าทางด้านซ้ายขององค์พระประธาน สวมชุดนักรบ สวมหมวก
มือถือดาบ มีร่องรอยการปิ ดทองสักการบู ชา ถวายพวงมาลัย และผูกผ้าสีต่าง ๆ ด้านหน้ า
รู ป เคารพมีรู ป ป นั ้ ไก่ ช นตัง้ อยู่ ๑ คู่ รู ป ป นั ้ ช้ า ง ๑ คู่ และมีรู ป เคารพกุ ม ารทอง ๑ องค์
๑๐๕

นอกจากนัน้ มีข องแก้บนต่า ง ๆ วางถวายอยู่ ด้า นหน้ า รูป เคารพขุนแผน แท่น สัก การบู ช า
ค่อ นข้า งทรุ ดโทรม ขาดการดู แ ลรัก ษาความสะอาด ใกล้ก ับ แท่ น บู ช ามีศ าลาไม้ห ลัง หนึ่ ง
พระสงฆ์และชาวบ้านเรียกว่า ศาลาขุนแผน เชื่อว่าขุนแผนมาพักที่ถ้ําแห่งนี้ตอนตระเวนด่าน
หาของวิเศษ

ภาพที่ ๓๐ รูปเคารพขุนแผนทีถ่ ้ําขุนแผน ตําบลหนองบัว อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

๓.๒.๑.๔ รูปเคารพพระยากาญจนบุรีที่มหาวิ ทยาลัยราชภัฏ


กาญจนบุรี
รู ป เคารพพระยากาญจนบุ รี ท่ี ม หาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ
กาญจนบุรปี ระดิษฐานอยู่ในศาลบูชา ตัง้ อยู่ภายในมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรี มีคณาจารย์
นักศึกษา และบุคลากรมหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุรสี กั การบูชาและขอพร

ภาพที่ ๓๑ รูปเคารพพระยากาญจนบุรที ม่ี หาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุร ี


๑๐๖

นอกจากรูปเคารพขุนแผนทีป่ ระดิษฐานอยู่ในสถานทีท่ งั ้ ๔ แห่งข้างต้นแล้ว


ยังพบรู ปป นขุ ั ้ นแผนตัง้ อยู่ท่ีวดั ถํ้า ขุน ไกร ตํา บลแก่ง เสี้ยน อํ าเภอเมือ งกาญจนบุรีอ ีก ด้ว ย
ดังได้เคยกล่าวถึงตํา นานวัดถํ้า ขุนไกรในหัวข้อ ๓.๑.๑.๒ แล้วว่า ขุนไกรออกล่าสัตว์แล้ว
มาหลบฝนภายในถํ้าซึ่งต่อมามีการตัง้ ชือ่ ถํ้าว่า ถํ้าขุนไกร จนขุนไกรได้พบและทําความรู้จกั กับ
พระอาจารย์คง พระอาจารย์คงถ่ายทอดวิชาอาคมให้ ต่อมาตํานานกล่าวไว้ว่า เมื่อขุนแผน
ได้เ ป็ น ทหาร พม่ า มาตีเ มือ งกาญจน์ พระพัน วษาก็ส่ ง ให้ขุน แผนไปรบ ขุน แผนได้ม าตัง้
ศาลเพียงตาทีเ่ ขาถํ้าแห่งนี้ เพื่อขอให้วญ ิ ญาณของพ่อคุม้ ครอง
ด้วยเหตุน้ี บริเวณวัดถํ้าขุนไกร ด้านหน้าศาลพ่อขุนไกร จึงมีศาลพระภู มิ
ั้
เจ้าที่ประดิษฐานอยู่ เบื้องหน้ าศาลพระภู มมิ รี ูปปนชายสวมชุ ดทหารสะพายดาบอยู่ด้านหลัง
กํ า ลัง นัง่ บริก รรมคาถาอยู่ ห น้ า แท่ น ตํ า ราพิช ยั สงคราม จากการสัม ภาษณ์ ผู้ดู แ ลวัด และ
ทหารทีอ่ ยู่เวรประจําการ ทําให้ทราบว่ารูปปนดั ั ้ งกล่าวคือ รูปปนขุ
ั ้ นแผน ซึ่งได้รบั การสร้างขึน้
เพื่อให้สอดคล้องกับตํานานของวัดถํ้าขุนไกรทีข่ นุ แผนเคยมาตัง้ ศาลเพียงตาเพื่อขอให้วญ ิ ญาณ
ของพ่อขุนไกรคุ้มครองก่อนออกรบ อย่างไรก็ตาม ไม่พบว่ามีร่องรอยการสัก การบูชารูปป นั ้
ดังกล่าว

ั ้ นแผนนังบริ
ภาพที่ ๓๒ รูปปนขุ ่ กรรมคาถาอยู่หน้าตําราพิชยั สงคราม
วัดถํ้าขุนไกร ตําบลแก่งเสีย้ น อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

๓.๒.๒ รูปเคารพของตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้าง - ขุนแผน


นอกเหนือจากรูปเคารพขุนแผนที่พบในสถานที่ต่าง ๆ ๔ แห่ง ดังกล่าว
ข้างต้นในจังหวัดกาญจนบุรยี งั ปรากฏรูปเคารพของตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้ าง –
ขุนแผน ซึ่งมีเรื่องราวชีวติ เกีย่ วข้องกับจังหวัดกาญจนบุรี
รูปเคารพของตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ทีป่ รากฏใน
จังหวัดกาญจนบุรี ได้แก่ รูปเคารพขุนไกร รูปเคารพนางทองประศรี รูปเคารพนางบัวคลี่
และรูปเคารพกุมารทอง ดังจะกล่าวโดยละเอียดต่อไปนี้
๑๐๗

๓.๒.๒.๑ รูปเคารพขุนไกร
ในจัง หวัด กาญจนบุ รี พบรู ป เคารพขุ น ไกรในสถานที่
๒ แห่ง คือ เขาชนไก่ และวัดถํ้ าขุ น ไกร สถานที่ทงั ้ สองแห่ งดัง กล่ าวเกี่ย วข้อ งกับขุน ไกร
ตามที่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน และตามความเชื่อของคนท้องถิน่ กล่าวคือ
ชาวบ้า นเชื่อ ว่า ขุน ไกรมีภู มิลํา เนาเดิม อยู่ ท่ีเ ขาชนไก่ นอกจากนี้ ต านานประวัติ โดยย่ อ
วัดถา้ ขุนไกร ยังกล่าวไว้ว่า ขุนไกรได้เรียนวิชาคาถาอาคมกับอาจารย์ค ง เจ้าอาวาสวัดแค
ทีถ่ ้าํ บนเขาซึ่งปจั จุบนั อยู่ในบริเวณวัดถํ้าขุนไกร

๑) รูปเคารพขุนไกรทีเ่ ขาชนไก่
รูปเคารพขุนไกรที่เขาชนไก่ ประดิษฐานอยู่ท่ีศาล
เจ้าพ่อเขาชนไก่ ประกอบด้วยรูปปนดิ ั ้ น และรูปหล่อ รูปเคารพทีเ่ ป็นรูปปนคื ั ้ อรูปเคารพที่มอี ยู่
แต่เดิมตัง้ แต่ประดิษฐานอยู่ภายในศาลไม้เล็ก ๆ รูปเคารพดังกล่าวขุนไกรสวมชุดทหารและ
สวมหมวกนักรบ มือทัง้ สองข้างจับดาบซึ่งวางพาดอยู่บนตัก รูปปนพ่ ั ้ อปูข่ นุ ไกรมีขนาดเล็กกว่า
ั ้ อปูข่ นุ แผน แต่ตงั ้ อยู่เบื้องหน้ารูปปนพ่
รูปปนพ่ ั ้ อปู่ขุนแผน ด้านขวามือของรูปปนพ่ ั ้ อปู่ขุนไกร
เป็นทีป่ ระดิษฐานรูปหล่อขุนไกรซึ่งทหารได้หล่อขึน้ ให้มขี นาด ๒ ใน ๓ เท่าของตัวจริง ในคราว
ทีท่ หารบูรณะและสร้างศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๗
การสัก การบู ชาพ่อ ปู่ขุนไกรกระทําเหมือ นกับการ
สักการบูชาพ่อปูข่ นุ แผน จากการสังเกตและสัมภาษณ์ชาวบ้านทําให้ทราบว่า ชาวบ้า นนับถือ
พ่อ ปู่ขุนแผนและพ่ อปู่ขุน ไกรโดยเรียกรวมเป็ นพ่ อ ปู่เ ขาชนไก่ เชื่อ ว่า พ่อ ปู่ท งั ้ สองมีค วาม
ศักดิ ์สิทธิ ์และคอยปกป้องคุม้ ครองลูกหลานให้อยู่อย่างร่มเย็นตลอดมา

ภาพที่ ๓๓ - ๓๔ รูปเคารพขุนไกรทีเ่ ขาชนไก่


ประกอบด้วยรูปปนั ้ (ภาพซ้าย) และรูปหล่อ (ภาพขวา)
๑๐๘

นอกจากนี้ บริเ วณหน้ า รู ป เคารพขุน ไกรซึ่ ง เป็ น


รูปหล่อ มีโคลงกระทู้ ๑ บท ซึ่งมีผปู้ ระพันธ์ขน้ึ และพิมพ์ใส่กรอบตัง้ ไว้ มีความว่า

แด่ท่านปู่ ขุนไกรพลพ่าย
ขุน ด่านกาญจน์ประเทศท้า สิบทิศ
ไกร วิทยายุทธมหิทธิ ์ มหุตม์หา้ ว
พล พรรคหมืน่ แสนนิมติ ราญอริ ราบนอ
พ่าย พระพันพรรษท้าว ทีน่ ้สี ถิตเสถียร

๒) รูปเคารพขุนไกรทีว่ ดั ถํ้าขุนไกร

ภาพที่ ๓๕ รูปเคารพขุนไกรทีศ่ าลพ่อขุนไกร


วัดถํ้าขุนไกร ตําบลแก่งเสีย้ น อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

รู ป เคารพขุน ไกรที่ว ดั ถํ้ า ขุน ไกร ตํ า บลแก่ ง เสี้ย น


อําเภอเมืองกาญจนบุรี ประดิษฐานอยู่ภายในศาลพ่อขุนไกร รูปเคารพดังกล่าว ขุนไกรแต่งกาย
อย่างทหาร มีผ้าคลุม เฉวียงบ่า ซ้าย ชาวบ้านเชื่อว่าพ่อขุนไกรคอยปกป้องคุ้ม ครองอยู่ มีการ
สักการบูชาพ่อขุนไกรด้วยธูป เทียน ดอกไม้ พวงมาลัย หมาก พลู นํ้าดื่ม ฯลฯ นอกจากนี้ยงั มี
การนําของแก้บนมาถวายพ่อขุนไกร สังเกตได้ว่าของที่นิยมนํ ามาถวายเมื่อพ่อขุนไกรบันดาล
ให้สําเร็จผลดังบนบาน คือ ดาบ พบว่าวางอยู่ด้านหลังรูปเคารพพ่อขุนไกร และด้านข้างศาล
พ่อขุนไกรเป็นจํานวนหลายสิบเล่ม

๓.๒.๒.๒ รูปเคารพนางทองประศรี
รู ป เคารพนางทองประศรี ป ระดิ ษ ฐานอยู่ ภ ายในศาล
ย่าทองประศรี ซึ่งเป็ นศาลไม้ขนาดเล็กตัง้ อยู่ในพืน้ ที่บ้านท่าเสา ตําบลลาดหญ้า อําเภอเมืองฯ
จังหวัดกาญจนบุรี อยู่ภายในบริเวณศูนย์ฝึกประสบการณ์วชิ าชีพของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
๑๐๙

จากการสอบถามชาวบ้านคือ นางสาวศรีสกุล พูลสวัสดิ ์ ทําให้ทราบว่า ศาลแห่งนี้มมี าตัง้ แต่


สมัยก่อนแล้ว ไม่รวู้ า่ สร้างขึน้ เมื่อใด (ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์, สัมภาษณ์, ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๓)
ศาลแห่งนี้ เป็ น ที่สํา หรับ กราบไหว้ย่าทองประศรี ซึ่งเคย
อาศัยอยู่ท่เี มืองกาญจนบุรี ย่าทองประศรีเปรียบเสมือนญาติผใู้ หญ่ท่ชี าวท่าเสาเคารพนับถือ
และเชือ่ ว่าวิญญาณของย่าทองประศรียงั คอยคุม้ ครองดูแลชาวบ้านตราบจนปจั จุบนั

ภาพที่ ๓๖ รูปเคารพนางทองประศรีภายในศาลย่าทองประศรี

๓.๒.๒.๓ รูปเคารพนางบัวคลี่
รูป เคารพนางบัว คลี่ป ระดิษฐานอยู่ภ ายในถํ้า นางบัว คลี่
หรือ ถํ้ า มัง กรคู ห าสวรรค์ ซึ่ง อยู่ ใ นวัด บ้ า นถํ้ า รู ป เคารพดัง กล่ า วเป็ น รู ป เคารพที่เ ชื่อ ว่ า
เกิด ขึ้นเองด้ว ยอิท ธิฤ ทธิแ์ ละความศัก ดิ ์สิท ธิข์ องนางบัว คลี่ เนื่อ งจากมีตํ า นานเล่า กัน ว่า
วิญญาณของนางบัวคลีซ่ ่งึ ถูกขุนแผนผ่าท้องเอาลูกชายไปทําพิธปี ลุกเสกเป็ นกุมารทองมีความ
ผูกพันกับถํ้าแห่งนี้มาก จึงบันดาลความอัศจรรย์ทําให้ หนิ ในถํ้ามีลกั ษณะนู นออกมาคล้ายหน้า
ของผูห้ ญิง ต่อมาภายหลังจึงมีการลงสีหนิ ส่วนดังกล่าวเป็ นภาพใบหน้าผูห้ ญิง และนํ าชุดไทย
โบราณมาสวมใส่ให้แม่นางบัวคลี่ นอกจากนี้พบว่ามีการลงสีเพิม่ เติมและเปลี่ยนชุดไทยให้แก่
รูปเคารพนางบัวคลีอ่ กี ด้วย
จากการเก็บข้อมูลภาคสนามพบว่า มีผูม้ าสักการบูชาและ
บนบานแม่นางบัวคลี่เป็ น จํานวนมาก สังเกตได้จากของที่นํามาถวายเพื่อแก้บน มีทงั ้ ชุดไทย
สร้อยคอ กําไลข้อมือ กระจก ตุ๊ก ตาผู้หญิง ฯลฯ ซึ่ง จะวางอยู่ ในบริเวณโดยรอบรูปเคารพ
นางบัวคลี่ ด้านข้างรูปเคารพนางบัวคลีม่ ตี หู้ ยอดเหรียญเพื่ออธิษฐานเสีย่ งทายตัง้ อยู่ดว้ ย
๑๑๐

ภาพที่ ๓๗ รูปเคารพนางบัวคลีภ่ ายในถํ้านางบัวคลี่


วัดบ้านถํ้า อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุร ี

บริเวณใกล้ก ับ รูป เคารพนางบัวคลี่ม ีป้ ายอธิบ ายประวัติ


แม่นางบัวคลี่ ทัง้ ข้อความภาษาไทยและภาษาอังกฤษ ตามลําดับดังนี้

ข้อความภาษาไทย มีความว่า

นางบัวคลี่...เป็ นหินธรรมชาติเกิดจากหยดนํ้ า ปราศจาก


การแกะสลัก แต่เดิมเป็นชาวบ้านถํ้า เกิดในสมัยอยุธยา ในรัชสมัย
สมเด็จ พระพัน วษาอัย กาเจ้า ครัง้ นัน้ ...เมื่อ ขุน แผนได้ป ระสงค์
หาของ ๓ สิ่ง คือ ดาบฟ้ าฟื้ น ม้าสีหมอก และกุม ารทอง จึงได้
เดินทางมายังเขตหมู่บ้านถํ้า ได้นางบัวคลี่เป็ นภรรยา ต่อมาเกิด
ขัดใจ ไม่ถูกกับหมื่นหาร ซึ่งเป็ นพ่อของนางบัวคลี่ ขุนแผนจึงฆ่า
ผ่าท้องนางบัวคลีแ่ ล้วเอากุมารทองไป...เชือ่ กันว่า วิญญาณของนาง
บัวคลี่ ซึ่งมีความผูกพันกับถํ้านี้ ได้มาปรากฏเป็ นความอัศจรรย์
บนผนังหิน และงอกเพิม่ ขึน้ เรื่อย ๆ มาตราบจนกระทังทุ ่ กวันนี้

ข้อความภาษาอังกฤษ มีความว่า

‚Nang Bua Klee‛


It is the stone originated from drops with no carving.
The story of ‚Nang Bua Klee‛. She was the woman from Baan
Tham village. She was born in Ayuthya period. During that
time Khun Phaen, young charming man, was arriving this
village to look for three things. They were Pha Phuen sword,
๑๑๑

Simok horse and unborn dead baby (Kumarnthong). He had


met Nang Bua Klee and soon after become husband and wife.
Later, Nang Bua Klee was pregnant with Khun Phaen’s baby.
Nang Bua Klee’s father, Muen Han, was very mad at her. He
and Khun Phaen turned to be enemies. Unfortunately, Nang
Bua Klee was dead before delivering her baby. Khun Phaen
decided to take away the dead body of his child in her belly. ‚It
is believed that Nang Bua Klee’s spirit had returned to this
place in form of the stone amazingly. It keeps getting bigger
since then.‛

๓.๒.๒.๔ รูปเคารพกุมารทอง
รูป เคารพกุม ารทองเป็ น รู ปเคารพที่ปรากฏหลากหลาย
มากที่สุด กล่า วคือ พบอยู่ ในสถานที่ท่เี กี่ย วข้องกับ ขุน แผนมากกว่า หนึ่ งแห่ง ที่สํา คัญ คือ
มักปรากฏร่วมกับรูปเคารพของตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้าง - ขุนแผน
จากการเก็ บ ข้อ มู ล ภาคสนามพบรู ป เคารพกุ ม ารทอง
ประดิษ ฐานร่ ว มกับ รู ป เคารพขุ น แผนอยู่ ภ ายในถํ้ า ขุน แผน ตํ า บลหนองบัว อํ า เภอเมือ ง
กาญจนบุรี ประดิษฐานร่วมกับรูปเคารพพระยากาญจนบุรที ่ศี าลพระยากาญจนบุรี ซึ่งตัง้ อยู่
ภายในบริเ วณวัดป่าเลไลยก์ ตํ าบลลาดหญ้ า อํ าเภอเมือ งกาญจนบุรี ประดิษ ฐานร่ วมกับ
รูปเคารพนางบัวคลี่ท่ถี ้ํานางบัวคลี่ ซึ่งตัง้ อยู่ภ ายในบริเวณวัดบ้านถํ้า อําเภอท่าม่วง จังหวัด
กาญจนบุรี

ภาพที่ ๓๘ รูปเคารพกุมารทองภายในถํ้านางบัวคลี่
๑๑๒

รูปเคารพกุมารทองที่ประดิษฐานอยู่ภ ายในถํ้านางบัวคลี่
ใกล้กบั รูปเคารพนางบัวคลี่ เป็นรูปเคารพกุมารทองเพียงแห่งเดียวที่มพี ้นื ที่สําหรับสักการบูชา
กุมารทองเป็ นส่วนเฉพาะ พบว่ามีผู้สกั การบูชาและบนบานขอพรจากกุมารทองจํานวนมาก
สัง เกตได้จ ากสิ่ง ของที่นํ า มาถวายกุ ม ารทองเพื่อ แก้บ นตัง้ เรีย งรายอยู่ โ ดยรอบรู ป เคารพ
กุมารทอง เช่น ของเล่นเด็ก รถจักรยาน ตุ๊กตา ขนม เครื่องดื่ม ฯลฯ นอกจากนี้การบูชา
กุมารทองภายในถํ้านางบัวคลี่ยงั มีคาถาสําหรับบูชา เรียกว่า คาถาบูชากุมารทองมหาลาภ
มีคาถาว่า ดังนี้

จิ เจ รุ นิ สุ ว ัณ ณะกุ ม าโร ปิ ย ัง มะมะ, สุ ว ัณ ณะ


กุมาโร ลาโภ ภะวัง, สุวณ
ั ณะกุมาโร
ชะโย นิจจัง, ขอกุมารทองลูกแม่นางบัวคลี่ นํ าลาภมาให้
ขอให้ขายของดี นะ ชาลีต.ิ ฯ

คาถาบูชากุมารทองมหาลาภข้างต้น สะท้อนให้เห็น
บทบาททีเ่ ปลีย่ นแปลงไปของกุมารทอง กล่าวคือ แต่เดิมกุมารทองบุตรชายของขุนแผนกับ
นางบัวคลีใ่ นเรื่องขุนช้างขุนแผนมีบทบาทเป็นผูช้ ว่ ยเหลือในทางการรบและการป้องกันตัว
ในขณะที่ปจั จุบนั กุมารทองมีบทบาทเป็ นผู้ช่วยเหลือ ในเรื่องการค้า ธุรกิจ และโชคลาภ
ตามกระแสสังคมในปจั จุบนั

จากข้อมูลคติชนประเภทรูปเคารพเกี่ยวกับขุนแผนที่พบในจังหวัดกาญจนบุรี ทําให้
เห็นได้ว่า รูปเคารพเกี่ยวกับขุนแผนที่พบในจังหวัดกาญจนบุรโี ดยมากมักปรากฏอยู่ร่วมกัน
ภายในสถานที่แห่งเดียว เช่น ศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่เป็ นที่ประดิษฐานรูปเคารพขุนแผนและ
รูปเคารพขุนไกร ถํ้าขุนแผนภายในวัดถํ้าขุนแผน ตําบลหนองบัว เป็ นที่ประดิษฐานรูปเคารพ
ขุน แผนและรู ป เคารพกุ ม ารทอง ถํ้ า นางบัว คลี่ภ ายในวั ด บ้า นถํ้ า อํ า เภอท่ า ม่ ว ง เป็ น ที่
ประดิษฐานรูปเคารพนางบัวคลีแ่ ละรูปเคารพกุมารทอง เป็นต้น จะเห็นได้ว่า รูปเคารพที่นํามา
ประดิษฐานอยู่ร่วมกันต่างเป็นรูปเคารพของบุคคลทีเ่ กีย่ วข้องสัมพันธ์กนั กล่าวคือ ขุนแผนเป็ น
บุตรของขุนไกร กุมารทองเป็นบุตรของขุนแผนกับนางบัวคลี่
ผูว้ จิ ยั สังเกตว่า รูปเคารพขุนแผน รูปเคารพขุนไกรเป็นรูปเคารพทีจ่ ดั สร้างขึน้ ใหม่เพื่อ
การสักการบูชาและระลึกถึงบุคคลทัง้ สองซึ่งเชือ่ ว่าเคยมีตวั ตนอยู่จริง ส่วนรูปเคารพอื่น ๆ เช่น
รูปเคารพนางทองประศรี รูปเคารพกุมารทอง เป็นรูปเคารพทีส่ ามารถหาบูชาได้ตามท้องตลาด
๑๑๓

อาจกล่าวโดยสรุปได้ว่า ในจังหวัดกาญจนบุรีมีรูปเคารพขุนแผนและรูปเคารพของ
ตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน อยู่เป็ นจํานวนมาก รูปเคารพที่ได้รบั การ
สร้างขึน้ เหล่านี้เกีย่ วข้องกับสถานทีต่ ่าง ๆ ทีเ่ กีย่ วข้องกับขุนแผนตามตํานานและความเชือ่ ของ
ชาวบ้า น หรือ ตามเรื่อ งราวในเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง - ขุน แผน สะท้อ นให้เ ห็น ว่า การสร้า ง
รูปเคารพขุนแผนและรูปเคารพของตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เกิดจาก
ชาวบ้านในจังหวัดกาญจนบุรเี ชือ่ ว่าบุคคลเหล่านี้เป็นบุคคลทีเ่ คยมีตวั ตนอยูจ่ ริงในช่วงสมัยหนึ่ง
จึงมีเรื่องราวเล่าขานจดจํากันมาจนทุ กวันนี้ และยังยกย่องนับ ถือบุค คลเหล่ านี้ว่า มีค วาม
ศัก ดิส์ ิทธิ ์ สามารถดลบันดาลให้พ รและคอยปกป้อ งคุ้ม ครองตนได้ ทําให้ม ีก ารสัก การบูช า
รูปเคารพต่าง ๆ เหล่านี้จากรุ่นสู่รุ่นจวบจนปจั จุบนั

๓.๓ ข้อมูลคติ ชนประเภทวัตถุมงคล


ข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนที่พบในจังหวัดกาญจนบุรอี กี ประเภทหนึ่งคือ วัตถุมงคล
เกีย่ วกับขุนแผน ข้อมูลคติชนประเภทนี้สะท้อนให้เห็นว่า มีการนําชือ่ ของขุนแผนไปตัง้ เป็ นชื่อ
วัตถุมงคล โดยเชื่อกันว่าวัต ถุมงคลดังกล่า วอาจมีพุทธคุณ ที่ค ล้ายคลึงกับ คุณลักษณะหรือ
คุณสมบัตขิ องขุนแผนจนเป็นทีย่ อมรับอย่างกว้างขวาง
วัตถุมงคลเกี่ยวกับขุนแผนที่มีค วามโดดเด่นและเป็ นที่รู้จกั มากที่สุดคือ วัตถุมงคล
ประเภทพระเครื่อง หรือพระขุนแผน อุทยั สินธุสาร (๒๕๔๒: ๓๘๙๖ – ๓๘๙๗) กล่าวถึง
พระขุนแผนไว้ในสารานุ ก รมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ ม ๙ ว่า พระขุนแผนเป็ นชื่อ
พระเครื่องสกุลหนึ่งในตับพระขุนแผน มีทงั ้ ปางมารวิชยั และปางสมาธิ ทีร่ จู้ กั กันดีนนั ้ พบจากกรุ
ใน ๓ จังหวัด คือ จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา
จากข้อมูลดังกล่าว สังเกตได้ว่า จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัดกาญจนบุรี และจังหวัด
พระนครศรีอ ยุ ธยาต่า งก็เ ป็ น จัง หวัด ที่ได้ร ับ การกล่ า วถึง ในเสภาเรื่อ งขุนช้ า ง – ขุน แผน
ขุนแผนตัวละครเอกของเรื่องมีเรื่องราวชีวติ ตอนสําคัญเกีย่ วข้องกับจังหวัดทัง้ สามนี้
พระขุน แผนมีห ลายพิม พ์ เช่น พระขุ น แผนพิม พ์ห้ า เหลี่ย ม พระขุน แผนทรงพล
พระขุนแผนไข่ผา่ ซีก พระขุนแผนแตงกวาผ่า พระขุนแผนสะกดทัพ เป็นต้น พระขุนแผนแต่ละ
พิมพ์มลี กั ษณะเป็นองค์พระพุทธปฏิมาประดิษฐานอยู่อย่างชัดเจน ขุนเดช วรกานต์ (๒๕๔๘:
๒๖ – ๓๐) กล่าวถึงพระขุนแผนไว้ในหนังสือมหัศจรรย์พลังพระขุนแผนแห่งสยามประเทศ
ว่า การเรียกชื่อพระขุน แผนนี้เป็ นการเรียกชื่อพระของคนสมัย หลัง ทัง้ สิ้น สันนิ ษฐานว่า
ที่มาของพระขุนแผนนัน้ มาจากคนรุ่นหลังที่ไปขุดพบพระพิมพ์เป็ นผูต้ งั ้ ชื่อให้สอดคล้องกับ
วรรณคดีไทยเรื่องขุนช้างขุนแผน หรืออีกนัยหนึ่งอาจมีผนู้ ํ าพระไปบูชาแล้วได้ประสบการณ์
ที่ดถี ึงพุทธคุณอันศักดิ ์สิทธิใ์ นเรื่องเสน่ ห์ มีพุทธคุณทางเมตตามหานิยมสูงส่ง มีค วามขลัง
ทางการเข้าหาผูห้ ลักผูใ้ หญ่ เหมือนพฤติกรรมของขุนแผนในเรื่องขุนช้างขุนแผนซึ่งเป็นบุรุษที่
๑๑๔

มีเสน่ ห์ในตัวเอง เป็ น คนเจ้าชู้ มีภ รรยามาก มีเวทมนตร์ ค าถาอันศัก ดิ ์สิทธิ ์ นอกจากนี้
อุทยั สินธุสาร (๒๕๔๒: ๓๘๙๗) ยังกล่าวไว้ด้วยว่า พระขุนแผนนี้กล่าวกันว่าโบราณาจารย์
ผู้สร้างได้อ ัญเชิญวิญญาณของขุนแผน แม่ทพั กรุงศรีอยุธ ยาให้เข้า มาสถิตในองค์พระด้ว ย
แล้วบรรจุไว้ในกรุ เพื่อให้ชนชัน้ หลังได้สกั การบูชา และบางท่านยังถือว่าเป็ นพระที่ขุนแผน
สร้างไว้เอง เพราะขุนแผนเป็ นผูเ้ ชีย่ วชาญทางไสยศาสตร์เวทมนตร์คาถา ดังนัน้ ในการปลุก
พระขุนแผน ท่านจึงให้ใช้พระคาถา “สุนะโมโล” คือ หัวใจขุนแผนเป็นการประจุฤทธิ ์ให้เกิดพลัง
ความศักดิ ์สิทธิ ์ด้วย

วิทยานิพนธ์ฉบับนี้จะเก็บรวบรวมเฉพาะข้อมูลพระขุนแผนที่มกี ารจัดสร้างในจังหวัด
กาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรเี ท่านัน้ ในบทนี้ ผูว้ จิ ยั จะกล่าวถึงพระขุนแผนที่มกี ารจัดสร้าง
ในจังหวัดกาญจนบุรี ส่วนพระขุนแผนทีม่ กี ารจัดสร้างในจังหวัดสุพรรณบุรจี ะกล่าวถึงต่อไปใน
บทที่ ๔
อุทยั สินธุสาร (๒๕๔๒: ๓๘๙๖ – ๓๘๙๗) กล่าวถึงพระขุนแผนที่พบในจังหวัด
กาญจนบุรไี ว้ในสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ม ๙ ว่า พระขุนแผนที่จดั สร้างใน
จังหวัดกาญจนบุรีมพี ระขุนแผนวัดเขาชนไก่ และพระขุนแผนสะกดทัพ ทัง้ นี้ พระขุนแผน
วัดเขาชนไก่เป็นเนื้อตะกัวสนิ
่ มจัด ออกสีน้ํ าตาลไหม้ ส่วนพระขุนแผนสะกดทัพเป็ นเนื้อชิน
ผิวกลับดํา องค์พระประทับยืน
นอกจากนี้ในประเทศไทยมีพพิ ธิ ภัณฑ์พระขุนแผนและพระเครื่องเมืองสุพรรณ ตัง้ อยู่ท่ี
วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี ซึ่งรวบรวมและจําลองพระขุนแผนสายและรุ่นต่าง ๆ
จากทัวประเทศไว้
่ อย่างหลากหลาย
พระขุน แผนที่จดั สร้า งในจังหวัดกาญจนบุ รีแ ละได้รบั การจัดแสดงไว้ท่ีพิพิธ ภัณ ฑ์
พระขุนแผนและพระเครื่องเมืองสุพรรณ ณ วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี มีดงั นี้

- พระขุนแผนย่างกุมาร หลวงพ่อปราโมทย์ วัดบ้านถํ้า จังหวัดกาญจนบุรี


- พระขุนแผนเรือนแก้ว หลวงพ่อลําไย สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๔๒
วัดทุ่งลาดหญ้า จังหวัดกาญจนบุรี
- พระขุนแผนเมืองกาญจน์ สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๔๔๐ จํานวนสร้าง ๒๙๙ องค์
วัดหัวหิน จังหวัดกาญจนบุรี
- พระขุนแผนรุ่น ‚เรียกเงินทองไหลมา‛ วัดไทรทอง จังหวัดกาญจนบุรี
- พระขุนแผนกรุเขาชนไก่ จังหวัดกาญจนบุรี
- พระขุนแผนหลวงปูเ่ หรียญ วัดหนองบัว จังหวัดกาญจนบุรี
๑๑๕

นอกจากนี้ จากการค้น ข้อมูลออนไลน์ จากเว็บไซต์ boran5 (พระขุนแผนกรุวดั เหนือ


จังหวัดกาญจนบุร,ี [ม.ป.ป.]: ออนไลน์) ซึ่งเป็ นแหล่งสําคัญในการเช่าและบูชาพระเครื่อง
แหล่งหนึ่ง พบว่า พระขุนแผนกรุวดั เหนือ จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งได้จากกรุวดั เทวสังฆาราม
(วัดเหนือ) เป็ นพระศิลปะสมัยยุค กรุงศรีอยุ ธยาตอนต้น มีอายุการจัดสร้างไม่ต่ํากว่า ๕๐๐ ปี
และจากการเก็บข้อมูล ภาคสนามพบว่า วัดบ้านถํ้า ตํา บลเขาน้ อย อําเภอบ้านถํ้ า จังหวัด
กาญจนบุรี และวัดถํ้าขุนแผน ตําบลหนองบัว อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นวัดที่มกี าร
จัดสร้างและให้เช่าพระขุนแผนอยู่ดว้ ยในปจั จุบนั
วัดบ้านถํ้า ตําบลเขาน้อย อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี จัดสร้างพระขุนแผน และ
กุมารทองลูกแม่นางบัวคลี่ เมื่อพิจารณาการจัดสร้างพระขุนแผนรุ่นดังกล่าวแล้ว จะเห็นได้ว่า
ผู้ส ร้างคือ วัด บ้านถํ้ า ได้นํ า อนุ ภ าคสํ า คัญ ที่เ กี่ย วข้องกับ วัด มาเชื่อ มโย งไว้ใ นการจัดสร้า ง
วัต ถุ ม งคลที่เ กี่ย วกับ ขุ น แผนด้ ว ย กล่ า วคือ วัด บ้ า นถํ้ า แห่ ง นี้ มีส ถานที่สํ า คัญ แห่ ง หนึ่ ง
ซึ่งเป็นทีร่ จู้ กั คือ ถํ้านางบัวคลีซ่ ่งึ ภายในประดิษฐานรูปเคารพนางบัวคลีแ่ ละรูปเคารพกุมารทอง
ทัง้ นางบัวคลีแ่ ละกุมารทองต่างเกีย่ วข้องกับขุนแผน ดังนัน้ วัดบ้านถํ้าจึงเกีย่ วข้องกับขุนแผนไป
โดยปริยาย การจัดสร้างพระขุนแผนจึงช่วยสนับสนุ นความเชื่อเรื่องขุนแผน นางบัวคลี่ และ
กุมารทองให้หนักแน่นยิง่ ขึน้ และช่วยดึงดูดความสนใจจากนักท่องเทีย่ วหรือผูม้ าเยือนได้
ส่วนวัดถํ้าขุนแผน ตําบลหนองบัว อําเภอเมืองกาญจนบุรี ได้ทําป้ายโปสเตอร์ประกาศ
ในลักษณะทีว่ า่ ต้นกําเนิดพระขุนแผนคือ วัดถํ้าขุนแผน และเปิ ดให้เช่าพระขุนแผนที่ศาลาซึ่ง
ตัง้ อยู่บริเวณเชิงบันไดทางขึน้ ถํ้าขุนแผน

ภาพที่ ๓๙ - ๔๐ ป้ายประกาศการจัดสร้างพระขุนแผนของวัดบ้านถํ้า
ตําบลเขาน้อย (ภาพซ้าย) และวัดถํ้าขุนแผน ตําบลหนองบัว (ภาพขวา)
๑๑๖

ภาพที่ ๔๑ พระขุนแผนซึง่ จัดสร้างโดยวัดถํ้าขุนแผน


ตําบลหนองบัว อําเภอเมืองฯ จังหวัดกาญจนบุร ี

พุทธคุณของพระขุนแผนโดดเด่นทางเมตตามหานิยม เสน่ ห์ การผูกมิตร แคล้วคลาด


อยู่ยงคงกระพันชาตรี อย่างไรก็ตาม พระขุนแผนแต่ละรุ่นก็ย่อมมี พุทธคุณแตกต่างกันตาม
ความโดดเด่นของเกจิอาจารย์ผปู้ ลุกเสกด้วย เช่น หากเกจิอาจารย์ผปู้ ลุกเสกโดดเด่นในด้าน
เมตตามหานิยม พระขุนแผนที่จดั สร้างก็จะมีพุทธคุณทางเมตตามหานิยมเป็ นหลัก ในขณะที่
เกจิอาจารย์ผปู้ ลุกเสกโดดเด่นในด้านคงกระพันชาตรี พระขุนแผนทีจ่ ดั สร้างก็จะมีพุ ทธคุณทาง
คงกระพันชาตรีเป็นหลัก
อย่างไรก็ตาม สิง่ ทีต่ อ้ งตระหนักเป็นสําคัญคือ พระขุนแผนแต่ละพิมพ์ท่สี ร้างตามขนบ
การสร้า งพระขุน แผนมีล ักษณะเป็ น องค์พ ระประดิษ ฐานอยู่ อ ย่ างชัดเจน แต่ กลับ เรีย กชื่อ
พระเครื่องตระกูลนี้ว่า พระขุนแผน ก็เพราะเมื่อมีผู้นําไปบูชาแล้วได้บงั เกิดพุทธคุณด้านใด
ด้านหนึ่งอันคล้ายคลึงกับลักษณะของขุนแผนให้เป็นที่ประจักษ์ จึงนํ ามาตัง้ เป็ นชื่อพระเครื่อง
ตระกูลนี้ในเวลาต่อมา

๓.๔ ข้อมูลคติ ชนประเภทจิตรกรรม


ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนอีกประเภทหนึ่งที่พบในจังหวัดกาญจนบุรี คือ ข้อมู ล
คติชนประเภทจิตรกรรม จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนที่พบในจังหวัดกาญจนบุรีเป็ นการ
คัดเลือกเรื่องราวชีวติ บางตอนของขุนแผนมานํ าเสนอผ่านภาพ โดยเลือกเฉพาะเรื่องราวชีวติ
ของขุนแผนตอนที่เกี่ยวข้องกับเมืองกาญจนบุรีและเกี่ยวข้องกับพื้นที่ท่มี ีการนํ าเสนอภาพ
จิตรกรรมนัน้
จากการเก็บข้อมูลภาคสนามพบว่า ในจังหวัดกาญจนบุรมี ภี าพจิตรกรรมเรื่องขุนช้าง
ขุนแผนซึ่งเป็ นที่รู้จกั ในสถานที่ ๒ แห่งคือ วัดบ้านถํ้ า และวัดมโนธรรมาราม (วัด นางโน)
อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี วัดทัง้ สองแห่งนี้มที ต่ี งั ้ อยู่ในบริเวณใกล้เคียงกัน
๑๑๗

๓.๔.๑ จิ ตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน บริ เวณบันไดขึน้ ถา้ วัดบ้านถา้


จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผนที่วดั บ้านถํ้าเป็ นการวาดภาพฝาผนัง
บริเวณทางขึ้นถํ้านางบัวคลี่หรือถํ้ามังกรคูหาสวรรค์ บันไดขึ้นถํ้ามีลกั ษณะเป็ นลําตัวมังกร
ภาพจิตรกรรมเป็ นภาพวาดสีจํานวน ๑๔ ภาพ ใต้ภาพมีคําอธิบายภาพ และชื่อผูบ้ ริจาคเงิน
สภาพทัวไปของภาพมี
่ สหี ลุดลอกบริเวณบางส่วนของภาพ กล่าวถึงเรื่องราวชีวติ ของขุนแผน
ตอนที่ขุนแผนออกเดินทางเสาะหาของวิเศษ ๓ สิ่ง เน้ นนํ าเสนอตอนที่เกี่ยวข้องกับชุมชน
บ้า นถํ้ า โดยเฉพาะตอนที่ขุนแผนพบนางบัวคลี่ จนหมื่น หาญยกนางบัว คลี่ใ ห้เ ป็ นภรรยา
กระทัง่ ขุน แผนผิด ใจกับหมื่น หาญ และผ่า ท้อ งนางบัวคลี่เ พื่อเอาบุ ตรชายมาปลุ ก เสกเป็ น
กุมารทอง

ภาพที่ ๔๒ ลําตัวของมังกรซึง่ เป็นบริเวณทีพ่ บภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน

ฝาผนังบริเวณทางขึน้ ถํ้านางบัวคลี่ซ่งึ มีลกั ษณะเป็ นลําตัวมังกร มีขอ้ ความ


เขียนไว้ก่อนเริม่ ภาพจิตรกรรมเพื่อกล่าวให้ทราบว่า วัดบ้านถํ้ามีความเกีย่ วข้องกับเรื่องขุนช้าง
ขุนแผน ดังปรากฏข้อความว่า

วัดบ้านถํ้านี้ ได้ถูกกล่าวถึงไว้ใน...
‚เรื่องขุนช้างขุนแผน‛ ว่า ถิน่ บ้านถํ้า...
ทีอ่ ยู่ของหมื่นหาญ

นอกจากนี้ ย ัง มีก ารเขีย นข้อ ความเพื่อ อธิบ ายเรื่อ งขุน แผนไว้ท่ี บ ริเ วณ
ฝาผนังทางขึน้ ถํ้านางบัวคลี่ ถัดจากข้อความข้างต้น มีความว่า
๑๑๘

ขุนแผนนี้ ถือว่าเป็นเรื่องทีเ่ กิดขึน้ ในระหว่างแผ่นดินสมเด็จ


พระพันวษา หรือสมเด็จพระรามาธิบดีท่ี ๒ จุลศักราช ๘๕๓ – ๘๙๑
รา ม าธิ บ ดี ท่ี ๒ รา ว พ.ศ. ๒๐๓๔ – ๒ ๐๗ ๒ ซึ่ ง เ ชื่ อ กั น ว่ า
เมือ งกาญจนบุ รีเ ป็ น ภู มิ ลํ า เนาของขุน แผนทหารเอกของสมเด็จ
พระพัน วษา ซึ่ ง ตัง้ บ้ า นเรื อ นอยู่ ท่ี บ้ า นเขาชนไก่ ต.ลาดหญ้ า
ในปจั จุ บนั ในตอนนัน้ ขุนแผนได้อ อกเดินทางเข้าป่าเพื่อ แสวงหา
ของดี ๓ อย่าง คือ กุมารทอง ดาบฟ้าฟื้ น และม้าสีหมอก

จากนัน้ จึง คัด ลอกกลอนเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน ตอนที่ก ล่ า วถึง


นายเดชกระดูกดําหรือหมื่นหาญบิดาของนางบัวคลี่ เพื่อให้สอดคล้องกับสถานทีซ่ ่งึ ปรากฏภาพ
จิตรกรรมคือ บ้านถํ้า อันเป็นถิน่ ของหมื่นหาญ แล้วจึงเชื่อมโยงเข้าสู่เรื่องราวชีวติ ของขุนแผน
ต่อไป กลอนเสภาทีค่ ดั ลอกมานําเสนอก่อนภาพจิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน มีความว่า

จะกล่าวถึงนายเดชกระดูกดํา อยู่บา้ นถํ้า ตัง้ กองเป็นซ่องใหญ่


ได้เป็นทีห่ มื่นหาญชาญชัย เป็นหัวไม้มฝี ีมอื เลือ่ งลือชา
สูงเกือบสีศ่ อกตากลอกโพลง หนวดโง้งงอนปลายทังซ้ายขวา
ขอบตาแดงฉาดดังชาคทา เนื้อแน่นหนังหนา ดูหน้ากลัว
ผมหยิกหยักศก อกเป็นขน ทรหดอดทน มิใช่ชวั ่
ปลุกเศกเครื่องฝงั ไว้ทงั ้ ตัว เป็นปมปุม่ ไปทั ่ว ทัง้ กายตน
อยู่ปืนยืนยง คงอาวุธ เหยียบสะดุดขวากปกั ก็หกั ปน่
มีทหารตัวดี ยีส่ บิ คน ล้วนอยู่ยง คงทน ทุกคนไป
ฯลฯ

ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน บริเวณบันไดขึ้นถํ้านางบัวคลี่
วัดบ้านถํ้า มีการเรียงลําดับภาพและเขียนคําบรรยายภาพเพื่อเล่าเรื่องราวชีวติ ของขุนแผน
ดังตาราง
๑๑๙

ตารางที่ ๒ แสดงลาดับภาพและคาบรรยายภาพจิ ตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน


บริ เวณบันไดขึน้ ถา้ นางบัวคลี่ วัดบ้านถา้
ภาพที่ คาบรรยายภาพ
๑ ได้นางศรีจนั ทร์เป็นภรรยา มีลูกสาวชือ่ ว่า ‚นางบัวคลี‛่
พึง่ รุ่นสาวราวสักสิบเจ็ดปี ดูผอ่ งศรี สําอาง ดังนางใน

๒ บัวคลีพ่ าบ่าวไพร่ออกไปไร่ ขุนแผนผ่านมาพบ คิดว่าถ้าได้นางคนนี้ ไม่แคล้วต้องได้
ลูกหัวปีเป็นแน่
๓ ขุนแผนมาถึงประตูบา้ นหมื่นหาญ ก็คอยจนทหารยามพบเข้าจึงได้พาเข้าบ้าน
๔ หมื่นหาญอยากล่าวัวกระทิง ขุนแผนอาสาตามไปด้วย แล้วได้ช่วยหมื่นหาญจากการ
โดนกระทิงขวิด (ตรงกับสุสานวังหีบปจั จุบนั )
๕ หมื่นหาญยกลูกสาวคือ นางบัวคลีใ่ ห้ขนุ แผน เพราะขุนแผนนัน้ ได้ชว่ ยชีวติ ตนไว้
๖ ขุน แผนอยู่ ก ับ นางบัว คลี่ จนท้อ งได้ ๖ เดือ น พ่ อ ตาใช้ใ ห้ไ ปปล้น ขุน แผนไม่ ไ ป
จึงลองปืน ยิงใส่ขนุ แผน แต่ยงิ ไม่เข้า
๗ หมื่นหาญโกรธทีท่ าํ อะไรขุนแผนไม่ได้ จึงให้นางบัวคลีว่ างยาในอาหาร แต่โหงพราย
มากระซิบช่วยเอาไว้
๘ ขุนแผนรับขวัญวันเข้าหอ บัวคลีเ่ ขินอาย ขุนแผนจึงเปา่ มนต์ จนทัง้ คู่สมฤดี
๙ ขุนแผนโกรธนางบัวคลี่ท่วี างยา จึงออกอุบายขอลูก เมียยกลูกให้ ตกดึกก็ร่ายมนต์
ผ่าท้องเอากุมาร
๑๐ พอมาถึงวัดใต้ (วัดนางโนปจั จุบนั ) ขุนแผนก็เข้าไปในวิหารร้าง เพื่อทําพิธยี ่างกุมาร
๑๑ หมื่นหาญยกพวกมาสูก้ บั ขุนแผนแต่สไู้ ม่ได้ ขุนแผนยกโทษให้ จึงกลับตัวเป็นคนดี
๑๒ ขุนแผนหาเหล็กจนได้ครบ จัดพิธีเชิญช่างตีเหล็ก ฝี มอื ดี ครัน้ ตีดาบเสร็จก็ยกขึน้ ฟ้ า
เกิดฟ้าร้อง ฟ้าผ่า จึงได้ชอ่ื ว่า ‚ดาบฟ้าฟื้ น‛
๑๓ ขุนแผนไปพบม้าทีเ่ มืองมะริด เป็ นลูกม้าลักษณะดีช่อื ‚สีหมอก‛ ของหลวงศรีวรขาน
จึงขอซื้อในราคา ‚สิบห้าตําลึง‛
๑๔ ได้ข องสามสิ่ง สมดังใจหวัง หลังจากนัน้ ก็เข้า กราบนมัสการหลวงพ่ อ วัด ส้ม ใหญ่
(ปจั จุบนั คือ วัดใหญ่ดงรัง) หนองขาว

จิต รกรรมฝาผนั ง เรื่ อ งขุ น ช้ า งขุ น แผน บริ เ วณทางขึ้น ถํ้ า นางบัว คลี่
วัดบ้านถํ้า ตําบลเขาน้อย อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี นําเสนอเรื่องราวชีวติ ช่วงที่ขุนแผน
ออกตระเวนด่านที่เมืองกาญจนบุรีเพื่อหาของวิเศษ ๓ สิ่ง คือ ดาบฟ้ าฟื้ น ม้าสีหมอก และ
กุมารทอง เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนในช่วงนี้เกี่ยวข้องกับเมืองกาญจนบุรี โดยเฉพาะบริเวณ
ชุมชนบ้านถํ้าอย่างชัดเจน
๑๒๐

อย่างไรก็ตาม สังเกตได้ว่า จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน บริเวณ


ทางขึ้น ถํ้ า นางบัว คลี่ วัด บ้า นถํ้ า เริ่ม ต้น กล่ า วถึง นายเดชกระดู ก ดํ า บิด าของนางบัว คลี่
ซึ่งเชื่อว่าเป็ นคนในพื้นที่บ้านถํ้า แล้วค่อยนํ าเสนอเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตาม เสภาเรื่อง
ขุนช้าง – ขุนแผนในลําดับถัดมา เพื่อเชื่อมโยงให้เห็นชัดเจนว่า สถานที่แห่งนี้เกี่ยวข้องกับ
ขุนแผนจริงตามเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน

๓.๔.๒ จิ ตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผนในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม
จิต รกรรมฝาผนัง เรื่อ งขุน ช้า งขุน แผนที่ว ดั มโนธรรมาราม (วัด นางโน)
อยู่ภายในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม ภาพจิตรกรรมเป็นภาพวาดสีจํานวน ๑๖ ภาพ มีคําอธิบาย
ใต้ภาพ และชื่อผูส้ ร้างพร้อมจํานวนเงินบริจาค ภาพจิตรกรรมยังมีสภาพดี สีข องภาพชัดเจน
กล่าวเริม่ ด้วยเรื่องราวชีวติ ตอนขุนแผนเป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรแี ล้วจึงเล่าย้อนถึงตอนทีข่ นุ แผน
ออกตระเวนด่านเพื่อเสาะหาของวิเศษ ๓ สิง่ เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนทีเ่ ล่าผ่านภาพจิตรกรรม
แต่ละภาพเหมือนกับภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน บริเวณบันไดขึน้ ถํ้า วัดบ้านถํ้า
แตกต่างกันเพียงเล็กน้อย ดังจะกล่าวต่อไป

ภาพที่ ๔๓ จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผนในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม

ภาพจิตรกรรมฝาผนัง เรื่อ งขุน ช้า งขุน แผนในหอสมุด วัด มโนธรรมาราม


มีการเรียงลําดับภาพและเขียนคําบรรยายภาพเพื่อเล่าเรื่องราวชีวติ ของขุน แผน ดังตาราง
๑๒๑

ตารางที่ ๓ แสดงลาดับภาพและคาบรรยายภาพจิ ตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน


ในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม
ภาพที่ คาบรรยายภาพ
๑ ขุนแผนนังเมื ่ อง ออกว่าราชการงานเมืองกาญจนบุรี สมัยศรีอยุธยา
๒ ขุนแผนตระเวนไพร ใจหวังจะได้มา้ ดาบ กุมาร จนเดินทางมาถึงบ้านถํ้า
๓ กล่าวถึงนายเดชกระดูกดํา บ้านอยู่บา้ นถํ้า มีเมียชือ่ ศรีจนั ทร์ ลูกชื่อบัวคลี่ ตัวเองเป็ น
หมื่นหาญ (ซึ่งตรงกับบริเวณบ้านถํ้าในปจั จุบนั )
๔ บัวคลีพ่ าบ่าวไพร่ออกไปไร่ ขุนแผนผ่านมาพบคิดว่าถ้าได้นางคนนี้ ไม่แคล้วต้องได้
ลูกหัวปีเป็นแน่
๕ ขุนแผนมาถึงประตูบา้ นหมื่นหาญก็ยนื คอย จนทหารยามมาพบ จึงได้พาเข้าบ้าน

๖ หมื่นหาญอยากล่ากระทิง ขุนแผนอาสาตามไปด้วย แล้วได้ชว่ ยหมื่นหาญจากการโดน


กระทิงขวิด (ตรงกับสุสานวังหีบในปจั จุบนั )
๗ หมื่นหาญยกลูกสาวให้ขนุ แผน เพราะขุนแผนได้ชว่ ยชีวติ ไว้
๘ ขุนแผนรับขวัญวันเข้าหอ บัวคลีเ่ ขินอาย ขุนแผนจึงเปา่ มนต์ จนทัง้ สองสมฤดี
๙ ขุนแผนอยู่กบั บัวคลี่ จนท้องได้ ๖ เดือน พ่อตาใช้ให้ไปปล้น ขุนแผนไม่ไป จึงลองปื น
ยิงเข้าใส่ขนุ แผน แต่ยงิ ไม่เข้า
๑๐ หมื่นหาญโกรธทีท่ าํ อะไรขุนแผนไม่ได้ จึงให้นางบัวคลีว่ างยาในอาหาร แต่โหงพราย
ได้มากระซิบช่วยขุนแผนไว้
๑๑ ขุนแผนโกรธที่นางบัวคลี่วางยา จึงออกอุบายขอลูก เมื่อเมียยกลูกให้ ตกกลางดึก
ร่ายมนต์ ผ่าท้องเอากุมาร
๑๒ พอมาถึงวัดใต้ ขุนแผนก็เข้าไปในวิหารร้าง ทําพิธยี ่างกุมารทอง (บริเวณที่เกิดเหตุ
ตรงกับวัดนางโนในปจั จุบนั )
๑๓ หมื่นหาญยกพวกมาสูก้ บั ขุนแผน แต่สไู้ ม่ได้ ขุนแผนยกโทษแล้วให้กลับตัวเป็นคนดี
๑๔ ขุน แผนหาเหล็กได้ค รบ จัด พิธี เชิญ ช่า งตีด าบฝี ม ือ ดี ครัน้ ตีดาบเสร็จก็ยกขึ้น ฟ้ า
เกิดฟ้าร้องฟ้าผ่า จึงได้ชอ่ื ‚ดาบฟ้าฟื้ น‛
๑๕ ขุนแผนไปพบม้าที่เมืองเพชร เป็ นลูกม้า เมืองมะริด ลักษณะดีช่อื สีหมอกของหลวง
ศรีวรขาน จึงขอซื้อในราคาสิบห้าตําลึง
๑๖ ได้ข องสามสิ่งสมใจหวัง หลัง จากนัน้ ก็เ ข้า ไปกราบนมัส การหลวงพ่ อ วัดส้ม ใหญ่
(ปจั จุบนั คือ วัดใหญ่ดงรัง) หนองขาว
๑๒๒

จากตารางแสดงลํ า ดับ ภาพและคํ า บรรยายภาพจิต รกรรมฝาผนัง เรื่อ ง


ขุนช้างขุนแผนข้างต้น จะเห็นได้ว่า ภาพจิตรกรรมฝาผนังภายในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม
เริม่ ต้นเล่าเรื่องโดยการกล่าวถึงขุนแผนตอนเป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรี แล้วจึงเล่าย้อนไปตอนที่
ขุนแผนออกตระเวนด่านหาของวิเศษ ๓ สิ่ง สะท้อนให้เห็น ว่า ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่อ ง
ขุนช้างขุนแผนในหอสมุดวัดมโนธรรมารามมุ่งเน้นให้ผชู้ มทราบว่า ขุนแผนเคยดํารงตําแหน่ ง
เป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรใี นสมัยกรุงศรีอยุธยา

ภาพที่ ๔๔ ภาพขุนแผนนังเมื
่ อง ออกว่าราชการงานเมืองกาญจนบุร ี สมัยศรีอยุธยา
จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม

จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนที่วดั บ้านถํ้า อําเภอท่าม่วง และจิตรกรรมเรื่องขุนช้าง


ขุนแผน ที่วดั มโนธรรมาราม อําเภอท่าม่วง เป็ นจิตรกรรมที่เลือกนํ าเสนอเรื่องราวชีวติ ของ
ขุนแผนในตอนเดียวกัน คือตอนทีข่ นุ แผนมีเรื่องราวชีวติ เกีย่ วข้องกับเมืองกาญจนบุรี กล่าวถึง
ตอนที่ขุน แผนฝากตัว เป็ น สมุ น ของหมื่น หาญ ได้น างบัว คลี่เ ป็ น ภรรยา จนได้บุ ต รชาย
แล้ว นํ าบุ ต รชายมาย่ า งเป็ น กุ มารทอง ตามทัศ นะของผู้ว ิจ ัย สัน นิษ ฐานได้ว่า การเลือ ก
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนดังกล่าวมานํ าเสนอก็เพื่อให้สอดคล้องกับพื้นที่จริงซึ่งเชื่อกันว่า
ขุนแผนเคยมาใช้ชวี ติ อยู่ท่นี ่ีในช่วงระยะเวลาหนึ่ง อีกทัง้ ในเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน
ได้ระบุไว้อย่างชัดเจนว่าขุนแผนเคยตระเวนด่านเพื่อเสาะหาของวิเศษแล้วผ่านมาทางบ้านถํ้า
การหยิบยกเรื่องราวชีวติ ตอนดังกล่าวช่วยเน้ นยํ้าให้เห็นว่า วัดบ้านถํ้า และวัดมโน
ธรรมารามซึ่งตัง้ อยู่ในจังหวัดกาญจนบุรเี กีย่ วข้องกับขุนแผน จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนที่
วัดบ้านถํ้าสร้างขึน้ ก่อน จากนัน้ ได้เกิดการนําข้อความหรือเรื่องราวมาผลิตซํ้าโดยการวาดภาพ
จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนทีว่ ดั มโนธรรมาราม เพราะมีการตัง้ ข้อสันนิษฐานในเวลาต่อมาว่า
พระอุ โ บสถหลัง เก่ า ซึ่ง ตัง้ อยู่ ใ นบริเ วณเขตโบราณสถานกรุ ง ศรีอ ยุ ธ ยาตอนต้ น วัด มโน
ธรรมารามเป็นสถานทีซ่ ่งึ ขุนแผนทําพิธปี ลุกเสกกุมารทองทีแ่ ท้จริง
๑๒๓

ภาพจิ ต รกรรมฝาผนั ง เรื่ อ งขุ น ช้ า งขุ น แผนที่ว ัด บ้ า นถํ้ า และวัด มโนธรรมาราม


ไม่เพียงแต่จะเลือ กเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนตระเวนด่านเพื่อเสาะหาของวิเศษ ๓ สิ่ง
มานําเสนอเหมือนกันเท่านัน้ หากแต่องค์ประกอบของภาพและคําบรรยายภาพยังคล้ายคลึงกัน
เป็นอย่างยิง่ คําบรรยายภาพจิตรกรรมหลายภาพเป็นข้อความเดียวกัน ภาพจิตรกรรมหลาย
ภาพมีลกั ษณะคล้ายกันในด้านการจัดวางองค์ประกอบของภาพ โดยจะแตกต่างกันบ้างเรื่อง
สีภาพ และรายละเอียดบางประการเพียงเล็กน้อยเท่านัน้

ภาพที่ ๔๕ ตัวอย่างภาพจิตรกรรมเรือ่ งขุนช้างขุนแผนทีว่ ดั บ้านถํ้าและวัดมโนธรรมาราม

อย่างไรก็ตาม ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผนทีว่ ดั บ้านถํ้า อําเภอท่าม่วง กับ


วัดมโนธรรมาราม อําเภอท่าม่วง แตกต่างกัน ดังนี้
ภาพจิตรกรรมทีว่ ดั บ้านถํ้าเริม่ กล่าวถึงนายเดชกระดูกดํา หรือหมื่นหาญ บิดาของนาง
บัวคลี่ก่ อน โดยคัดลอกกลอนเสภาเรื่ องขุน ช้ าง – ขุน แผนมานํ า เสนอไว้ ภาพจิต รกรรม
ภาพแรกยังคงเป็ นภาพครอบครัวของหมื่นหาญ จากนัน้ จึงเล่าเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอน
ออกตระเวนด่านเพื่อหาของวิเศษ ๓ สิง่ ส่วนภาพจิตรกรรมที่วดั มโนธรรมารามเริม่ กล่าวถึง
ขุนแผนตอนเป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรี ในสมัยกรุงศรีอยุธยา เป็นภาพจิตรกรรมภาพแรก แล้วจึง
เล่าย้อนไปถึงเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนออกตระเวนด่านเพื่อหาของวิเศษ ๓ สิง่
ภาพจิตรกรรมภาพที่ ๒ ภายในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม เล่าให้เห็นชัดเจนว่าขุนแผน
ออกตระเวนด่านเพื่อหาของวิเศษ ๓ สิ่ง คือ ม้า ดาบ และกุมาร ในขณะที่ภ าพจิตรกรรมที่
วัดบ้านถํ้าไม่ได้บอกไว้แต่ตอนต้นว่าขุนแผนเดินทางมาที่บ้านถํ้าด้วยเหตุผลใด แต่เมื่อผูช้ ม
ติดตามเรื่องราวจากภาพอื่น ๆ ไปโดยตลอดก็จะทราบได้ในทีส่ ุด
๑๒๔

ภาพจิตรกรรมที่ว ดั บ้านถํ้ า ตอนขุนแผนรับขวัญนางบัว คลี่อ ยู่ถ ัดจากตอนขุน แผน


อยู่กบั นางบัวคลีจ่ นนางบัวคลี่ตงั ้ ท้องได้ ๖ เดือน ในขณะที่ภาพจิตรกรรมที่วดั มโนธรรมาราม
ลําดับภาพได้ถูกต้องตามเรื่องราวชีวติ ของขุนแผน
คําบรรยายภาพตอนขุนแผนเดินทางเสาะหาม้า คําบรรยายภาพของวัดบ้านถํ้าระบุว่า
“ขุนแผนไปพบม้าที่เมืองมะริ ด เป็นลูกม้าลักษณะดีชอ่ื ‘สีหมอก’ ของหลวงศรีวรขาน จึงขอซื้อ
ในราคา ‘สิบห้าตําลึง’” ส่วนคําบรรยายภาพของวัดมโนธรรมารามระบุว่า “ขุนแผนไปพบม้าที่
เมืองเพชร เป็ นลูกม้าเมืองมะริ ดลักษณะดีช่อื สีหมอกของหลวงศรีวรขาน จึงขอซื้อในราคา
สิบ ห้า ตํา ลึง ” เมื่อ พิจ ารณาเรื่อ งราวจากเสภาเรื่อ งขุน ช้ า ง – ขุนแผนแล้ว ทํ า ให้ทราบว่า
คําบรรยายภาพเรื่องม้านัน้ คําบรรยายภาพของวัดมโนธรรมารามตรงตามความในเสภาเรื่อง
ขุนช้าง – ขุนแผน ดังปรากฏความตอนหนึ่งหลังขุนแผนได้ดาบฟ้าฟื้ นแล้วว่า

ได้ดาบดังเทพศัสตรา ต้องตําราฤทธิแรงกําแหงหาญ
มาถึงเรือนไว้ทน่ี มัสการ แล้วคิดอ่านจะไปหาม้าสําคัญ
เอาเงินชังห้
่ ามาใส่ได้ เทีย่ วไปทัวประเทศเขตขั
่ ณฑ์
ไม่ชอบตาหาต่อไปทุกวัน ทัง้ ราชบุรสี ุพรรณเพชรบุรี
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๖๐)

ในขณะทีห่ ลวงทรงพลกับพันภาณซึ่งเป็นผูข้ ายม้าให้ขนุ แผนเดินทางมาทีเ่ มืองเพชรบุรี


ดังปรากฏความว่า

หลวงศรีได้มา้ มามอบให้ ทัง้ ม้าเทศม้าไทยหกสิบห้า


อีเหลืองเมืองมะริดพลอยติดมา ผัวมันท่านว่าเป็นม้านํ้า
มีลูกตัวหนึ่งชือ่ สีหมอก มันออกวันเสาร์ขน้ึ เก้าคํ่า
ร้ายกาจหนักหนานัยน์ตาดํา เห็นม้าหลวงข้ามนํ้าก็ตามมา
มาถึงสิงขรผ่อนพักหยุด ปล่อยม้าอุตลุดให้กนิ หญ้า
กรมการกุยปราณส่งเนื่องมา ผ่านชะอําถึงท่าเพชรบุรี
เลีย้ งม้าอยู่ศาลาบ้านแตงแง บันไดอิฐติดแค่คริ ศี รี
สีหมอกลองเชิงเริงฤทธี เข้ากัดฟนั ขยีเ้ อาม้าเทศ
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๓๖๑)

ตามเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน ม้าสีหมอก หนึ่งในของวิเศษของขุนแผนจึงเป็ น


ลูกม้าเมืองมะริด ซึ่งหลวงทรงพลกับพันภาณขายให้ขนุ แผนทีเ่ มืองเพชรบุรี
๑๒๕

จากที่กล่า วมาข้างต้นจะเห็นได้ว่า ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุน ช้างขุนแผนที่ว ดั


บ้านถํ้าและวัดมโนธรรมารามแสดงให้เห็นความตัง้ ใจของชาวกาญจนบุรที ่จี ะเผยแพร่ให้เห็นว่า
สถานที่ทงั ้ สองแห่งคือ วัดบ้านถํ้า และวัดมโนธรรมาราม อําเภอท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี
เกี่ยวข้องกับขุนแผน โดยอาศัยความสัมพันธ์ของเรื่องราวที่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้ าง –
ขุนแผน กับตํานานทีม่ อี ยู่แต่ดงั ้ เดิมในท้องถิน่ มาใช้ในการสนับสนุนความเชือ่ ทีว่ า่ ขุนแผนเป็ น
บุคคลทีม่ ตี วั ตนอยู่จริงและมีชวี ติ เกีย่ วข้องกับจังหวัดกาญจนบุรี
นอกจากนี้แล้ว ผูว้ จิ ยั ได้ขอ้ ค้นพบเพิม่ เติมว่า ภาพจิตรกรรมทัง้ ๒ แห่งยังเล่าเรื่องราว
ชีวติ ของขุนแผนว่า เมื่อได้ของครบสามสิง่ แล้ว ขุนแผนก็ไปกราบนมัสการหลวงพ่อวัดส้มใหญ่
หนองขาว หลวงพ่อ วัดส้มใหญ่ หนองขาว ก็ค ือ สมภารบุ ญ อาจารย์ค นแรกข องขุน แผน
เรื่องราวชีวติ ตอนดังกล่าวแตกต่างจากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผนที่กล่าวว่า เมื่อขุนแผนได้
ของวิเ ศษครบ ๓ สิ่ง สมดัง ตัง้ ใจแล้ว ก็รีบ กลับ บ้า นที่เ ขาชนไก่ และได้นึก ถึง นางวัน ทอง
จึงคิดไปเมืองสุพรรณบุรี จึงกราบลานางทองประศรีออกปา่ เพื่อรีบไปบ้านขุนช้าง

๓.๕ ข้อมูลคติ ชนประเภทเพลงพืน้ บ้าน


ข้อมูลคติชนประเภทเพลงพืน้ บ้านเกี่ยวกับขุนแผนที่ใช้ศกึ ษาวิเคราะห์ในวิทยานิพนธ์
ฉบับนี้เป็ นเพลงพื้นบ้านเกี่ยวกับขุนแผนที่พบในจังหวัดกาญจนบุรซี ่งึ มีผรู้ วบรวมและตีพมิ พ์
เผยแพร่ไว้แล้ว ประกอบด้วยข้อมูลจากแหล่งข้อมูล ๒ แหล่งคือ เพลงทรงเครื่องจากตําบล
พนมทวน ซึ่งสุมามาลย์ เรืองเดช รวบรวมไว้ในเพลงพื้นเมืองจากพนมทวน (๒๕๑๘) และ
ลํานอกเรื่องขุนช้างขุนแผน ซึ่งปรมินท์ จารุวร รวบรวมไว้ในการสืบทอดทานองสวดและ
ประเพณี สวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี (๒๕๔๒)

๓.๕.๑ เพลงทรงเครื่องจากตาบลพนมทวน
สุมามาลย์ เรืองเดช เก็บรวบรวมเพลงทรงเครื่องจากตําบลพนมทวนได้จาก
วิท ยากร ๒ คน คือ นางแหนม โพธิ ท์ อง และนางกิม ฮุ้ น เห็น ประเสริฐ เนื้ อ เรื่อ งของ
เพลงทรงเครื่องที่เก็บรวบรวมได้อยู่ในวรรณคดีเอกของไทย ๒ เรื่องคือ เรื่องขุนช้างขุนแผน
และเรื่องพระอภัยมณี ในการเล่นเพลงทรงเครื่องนัน้ นิยมเล่นเรื่องขุนช้างขุนแผนกันมาก
เพราะเรื่องราวเกีย่ วกับชาวบ้าน
เนื้ อ เพลงทรงเครื่อ งจากตํ า บลพนมทวน เรื่อ งขุน ช้า งขุน แผน จํ า แนก
เรื่องราวออกเป็น ๓ ตอน คือ
๑. ตอนพระพั น วษามี พ ระราชบั ญ ชาให้ ขุ น แผนไปตี เ ชี ย งใหม่
ประกอบด้ ว ย บทพระพั น วษา บทขุ น แผนรั บ พระราชสาส์ น
บทนางลาวทอง – แก้วกิรยิ า
๑๒๖

๒. ตอนพลายชุ ม พลแปลงกายเป็ น มอญยกทัพ มาตีเ มือ งสุ พ รรณ


ประกอบด้ ว ย บทพลายชุ ม พลแต่ ง กาย บทนางศรีม าลาให้ พ ร
พระไวย บทนางสร้อยฟ้าให้พรพระไวย
๓. ตอนแม่นางศรีมาลาสอนลูกสาวเมื่อจะติดตามพระไวยมาอยู่กรุงศรี
อยุธยา ประกอบด้วย บทแม่ศรีมาลาสอนลูก

จากการศึกษาวิเคราะห์เพลงทรงเครื่องจากตําบลพนมทวน เรื่องขุนช้าง
ขุนแผน พบว่า การเล่นเพลงทรงเครื่องจากตําบลพนมทวนนัน้ พ่อเพลงแม่เ พลงได้อาศัย
เรื่องราวจากวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนมาใช้ร้องเล่น ตัวละครเรื่องขุนช้างขุนแผนที่ได้รบั
การกล่าวถึง ได้แก่ พระพันวษา ขุนแผน นางแก้วกิริยา นางลาวทอง แม่ ข องนางศรีมาลา
จมื่นศรี พระไวย พลายชุมพล นางศรีมาลา นางสร้อยฟ้า
ตัวละครที่มีการกล่าวถึงในการเล่นเพลงทรงเครื่องมากที่สุดคือ ขุนแผน
ทัง้ นี้ ในเนื้อเพลงจะกล่าวถึงขุนแผนโดยใช้ช่อื เรียกต่าง ๆ ได้แก่ ขุนแผน พระยากาญจนบุรี
พระยากาญจน์บุรี หลวงแผน ไอ้ขุนแผน ไอ้แผน แตกต่างกันตามสถานภาพของผูเ้ รียกหรือ
ตามการสวมบทบาทของพ่อ เพลงแม่เ พลง การเรีย กชื่อดังกล่ าวเป็ นการนํ าราชทินนามที่
พระพันวษาพระราชทานมาเรียก เช่น ขุนแผน พระยากาญจนบุรี พระยากาญจน์บุรี นอกจากนี้
จะเห็นได้ว่า ชาวบ้านมีการเรียกชื่อขุนแผน โดยเรียกชื่อ ‚แผน‛ ว่า ไอ้แผน หรือ หลวงแผน
ทัง้ ทีจ่ ริงแล้ว ชือ่ เดิมของขุนแผนคือ พลายแก้ว ไม่ใช่ ‚แผน‛ ชื่อ ‚แผน‛ นี้เป็ นเพียงส่วนหนึ่ง
ของราชทินนามขุนแผนแสนสะท้าน ทีไ่ ด้รบั พระราชทานมา
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนทีส่ ะท้อนจากเพลงทรงเครื่องจากตําบลพนมทวน
เป็ นเรื่องราวชีวติ ตอนที่ขุนแผนได้รบั โปรดเกล้าฯ จากสมเด็จพระพันวษาปูนบําเหน็จให้เป็ น
พระยากาญจนบุ รี ครองเมือ งกาญจนบุ รี ซึ่ ง ถือ ว่ า มีตํ า แหน่ ง สู ง สุ ด ในเมือ งกาญจนบุ รี
โดยสะท้อนให้เห็นว่า เมื่อได้รบั พระราชบัญชาให้ไปศึกเชียงใหม่ แม้จะครองเมืองกาญจนบุรี
อยู่อย่างสุขสําราญ แต่ขนุ แผนก็รบี สนองพระราชบัญชา
นอกจากนัน้ แล้ว เนื้อเพลงยังสะท้อนให้เห็นคุณลักษณะของขุนแผนด้าน
อื่น ๆ คือ เป็นผูม้ คี วามรูเ้ รื่องวิชาคาถาอาคม ความรูเ้ รื่องฤกษ์ยาม ตําราพิชยั สงคราม อันเป็น
คุณลักษณะสําคัญของทหารหรือนักรบ
นอกจากนี้ เ พลงทรงเครื่อ งจากตํ า บลพนมทวนยัง กล่ า วถึ ง ตัว ละคร
อีกกลุ่มหนึ่งคือ บุตรชายทัง้ สองคนของขุนแผน คือ พลายชุมพล และพระไวย โดยได้นําเสนอ
ตัวละครทัง้ สองในตอนเป็ นทหารและต้องไปรบเช่น เดียวกัน ตัว ละครชายจากเรื่องขุนช้า ง
ขุนแผนทีไ่ ด้รบั การกล่าวถึงทัง้ ขุนแผน พระไวย พลายชุมพล ต่างก็เป็ นทหารที่กําลังจะต้องไป
รบทัง้ สิน้ ในขณะทีต่ วั ละครหญิง ได้แก่ นางแก้วกิรยิ า นางลาวทอง นางศรีมาลา นางสร้อยฟ้ า
๑๒๗

ซึ่งเป็นภรรยาต่างก็มบี ทบาทในการขัดขวางไม่ให้ฝ่ายชายไปรบ ทัง้ นี้การกระทําดังกล่าวของ


เหล่าภรรยามีบทบาททําให้การเล่นเพลงทรงเครื่องเป็ นไปด้วยความสนุ กสนานมากยิ่งขึ้น
เพราะเรื่องราวมักเกีย่ วข้องกับเรื่องเพศ
อย่างไรก็ตาม เพลงทรงเครื่องจากตําบลพนมทวน ตอนแม่นางศรีมาลา
สอนลูกสาวเมื่อจะติดตามพระไวยมาอยู่กรุงศรีอยุธยาแตกต่างไปจากเพลงทรงเครื่องบทอื่น
เพราะเป็นเรื่องทีแ่ ม่สอนลูกสาวเรื่องการวางตัวเป็นภรรยาทีด่ แี ละการปรนนิบตั สิ ามี

ตัวอย่างเพลงทรงเครืองจากต
่ าบลพนมทวน เรือ่ งขุนช้างขุนแผน
๑. ตอนพระพันวษามีพระราชบัญชาให้ขนุ แผนไปตีเชียงใหม่ ประกอบด้วย
บทพระพันวษา บทขุนแผนรับพระราชสาส์น บทนางลาวทอง – แก้วกิรยิ า

วิทยากร นางแหนม โพธิ ์ทอง


๑๕ พฤษภาคม ๒๕๑๗
บทพระพันวษา
จอมพงศ์องค์ทา้ วพระพันวษา สถิตย์แท่นมุกดาวิไล
เวลานี้กไ็ ด้สามโมง จะไปท้องพระโรงให้ได้
จอมพงศ์ทรงเครื่องไปอย่างดี ราคาควรธานีนบั ไม่ได้
อินธนูพู่หอ้ ยพลอยระยับ ก็ลว้ นแต่เพชรประดับไปทัง้ กาย
พระมาสวมทรงมงกุฎเพชร จัดพระขรรค์จะเสด็จรีบไป
ใส่ฉลองพระบาทเดินนาถทรง เสด็จออกท้องพระโรงทันใด
ลดองค์ลงนังท้ ่ องพระโรง เสนาล้อมวงขวาซ้าย
จึงดํารัสตรัสถามความบ้านเมือง ราษฎร์รอ้ นเคืองบ้างหรือไม่
ปีน้ถี อ้ ยความหนามเสีย้ น เจ้าชําระหมดเตียนบ้างหรือไม่
หรือว่าข้าวไม่ยากหมากไม่แพง นํ้าท่าแห้งแล้งเป็นไฉน
หรือว่าใครตีฆอ้ งร้องฎีกา เรื่องราวมีมาบ้างหรือไม่

(จมื่น ศรีก ราบทู ล ว่ า บัด นี้ มีพ วกมอญเชีย งใหม่ ย กทัพ มาทางด่ า นสุ พ รรณบุ รี
พระพันวษาจึงปรึกษาว่าแล้วจะให้ผใู้ ดไปรับทัพข้าศึกดี จมื่นศรีทูลว่า เห็นแต่ขุนแผนซึ่งบัดนี้
เป็นพระยากาญจนบุรี พระพันวษาทรงเห็นด้วย)

แล้วจึงสรวลสํารวลร่า ท่านจมืน่ ศรีพูดมาชอบใจ


โอ้วา่ ไอ้แผนอยู่ทงั ้ คน จะมานังกลั
่ วจนอยู่ทําไม
๑๒๘

ปอกกล้วยเข้าปากยากกว่านี้ แต่เชียงใหม่มนั ยังตีเอามาได้


จอมทองเชียงใหม่ได้เป็นแดน เพราะฝีมอื ไอ้ขนุ แผนตีไว้
หยิบกระดาษดินสอเข้ามาจ่อเจียน แล้วพระองค์กเ็ ขียนสาส์นไป
จ่าหน้าทรงธรรม์พนั วษา ได้มสี ารตราเอาไปให้
มีไปถึงพระยากาญจน์บุรี ให้ยกทัพออกไปตีมอญเชียงใหม่
เดีย๋ วนี้ยงั มีพวกรามัญ มาตีด่านสุพรรณ ฯ ทําลาย
ถ้าไอ้แผนรูแ้ ล้วมึงจงเร่งจร จงไปฆ่าไอ้มอญเชียงใหม่
เขียนสรรพพับเสร็จมิได้ชา้ ส่งให้เสนามึงจงเอาไป
(เสนา) ฝา่ ยว่าเสนาไม่อยู่ชา้ รีบไปหาเจ้าฟ้าทันใด
ยกเท้าก้าวจรลี ไปหาไอ้กาญจน์บุรที นั ใด

บทขุนแผนรับพระราชสาส์น และบทนางลาวทอง – แก้วกิรยิ า


(ขุนแผน) กล่าวถึงหลวงแผนแสนศักดา นังอยู
่ ่บนหอหน้าแสนสบาย
พร้อมด้วยแก้วกิรยิ าเจ้าลาวทอง สองคนปรองดองชืน่ ใจ
แต่พอเหลือบชะม้ายชายหางตา เห็นทหารเดินมาแต่ไกล
แล้วขุนแผนลุกเลื่อนเคลื่อนขยับ รีบออกไปรับคุณนาย
ร้องว่า เชิญสิจ๊ะ เชิญสิจ๊ะ ขึน้ ไปนังที
่ พ่ ระเพิงใน

(ขุนแผนลุกออกมาต้อนรับแล้วสังนางแก้
่ วกิรยิ า นางลาวทองให้ออกมาต้อนรับด้วย)

(นางลาวทอง) คุณเอย ข้อยสิบน่ งเฉยทํ


ั่ าไร
โฉมนางลาวทองผ่องโสภา นางร้องว่าเชิญสิจ๊ะคุณพระนาย
แต่พอแขกถึงเรือนน้องไม่เบือนหน้าบาก น้องก็ยกเชีย่ นหมากเอามาให้
หมากซีกพลูใบหาใส่เชีย่ น ทัง้ พลูจบี หมากเจียนนะคะนาย
สีผง้ึ มีสใี นตลีหบั สีแล้วมันจะจับปากนาย
ถ้าหมากของน้องนี้มนั ยัน แต่สม้ โอของฉันแก้ได้
มันเป็นส้มโอบางขุนนนท์ มันจะติดมีขนคุณพระนาย
(นางแก้วกิรยิ า) โฉมยงองค์นางแก้วกิรยิ า นางร้องว่าเชิญสิจ๊ะคุณนาย
ร้องเชิญสิจ๊ะ เชิญสิจ๊ะ มากินหมากสูบยาสิคะนาย

(เมื่อเสร็จเรือ่ งการต้อนรับ ขุนแผนจึงคลีพ่ ระราชสาส์นออกอ่าน)


๑๒๙

ขุนแผนรับลายพระหัตถ์นมัสการ แล้วจึงคลีอ่ อกอ่านทันใด


จ่าหน้าทรงธรรมพันวษา เดีย๋ วนี้ได้มสี าส์นตราเอามาให้
ให้พระยากาญจน์บุรี ยกทัพออกไปตีมอญเชียงใหม่
เดีย๋ วนี้มพี วกรามัญ มาตีด่านสุพรรณทําลาย
ถ้าไอ้แผนรูแ้ ล้วมึงจงเร่งจร จงไปฆ่าไอ้มอญเชียงใหม่

(เมื่ออ่านพระราชสาส์นแล้วขุนแผนก็จะรีบทําตามพระราชบัญชา นางแก้วกิรยิ าและ


นางลาวทองได้กล่าวเตือน)

(นางลาวทอง) ลาวทองร้องว่าช้าไว้ก่อน คุณจะทําใจร้อนไปไม่ได้


อย่าโมโห โทโส นี่เราเป็นคนโตหรือไม่ใช่
โมโห โทโส จงทิง้ เสีย กลับมานอนกับเมียจะเป็นไร
(ขุนแผน) แก้วกิรยิ าลาวทองน้องไม่ตอ้ งห้าม เรื่องความทีพ่ แ่ี ค้นกับไอ้ไวย
สังเสร็
่ จขึน้ หอพระชําระตัว แล้วขุนแผนหวีหวั เอาไว้
แล้วจึงเสกผงลงผัดหน้า ของมีสง่าชาญชัย
แล้วจึงจับยามสามตา จะดูยามพม่าให้ได้
ดูยามพม่าว่าไม้เอก แล้วขุนแผนยกเมฆฉาย
มองเห็นนารายณ์มสี ก่ี ร มือหนึ่งถือศรชาญชัย
แต่พอรูแ้ จ้งแห่งตํารา ขุนแผนหัวเราะร่าร่าชอบใจ

๒. ตอนพลายชุ ม พลแปลงกายเป็ น มอญยกทั พ มาตี เ มื อ งสุ พ รรณ


ประกอบด้วย บทพลายชุมพลแต่ง กาย บทนางศรีม าลาให้พ รพระไวย บทนางสร้อ ยฟ้ าให้
พรพระไวย

บทพลายชุมพลแต่งกาย

วิทยากร นางแหนม โพธิ ์ทอง


๑๕ พฤษภาคม ๒๕๑๖

(พลายชุมพล) แล้วจึงจัดแจงแต่งกายพลายชุมพล แต่งจนเป็นสมิงมัจฉะรา


นุ่งผ้าตาหมากรุกอย่างรามัญ สวมเสือ้ ลงยันต์ยอ้ มว่านยา
คาดตะกรุดโพนทองของบิดา โพกผ้าสีทบั ทิมริมขลิบทอง
๑๓๐

ถือหอกโลหะชนะศึก หาญฮึกจะไปรบกับพีไ่ วย
พลายชุมพลตรวจทัพแลคับคัง่ ทัพหน้าทัพหลังแลเรียงราย

บทนางศรีมาลาให้พรพระไวย

วิทยากร นางกิมฮุน้ เห็นประเสริฐ


๑๕ พฤษภาคม ๒๕๑๖

(ศรีมาลา) โฉมนางยอดนารีศรีมาลา จะให้พรภัสดาเหมือนดังใจ


ขอให้แพ้กบั พระชนะมาร โภยภัยอย่าพานผัวได้
ขอให้ไปดีมาดี โรคาอย่ามีเบียนกาย
ขอให้มอญพม่า ขอให้แพ้ภสั ดาออกไป
ขอให้แพ้กบั พระชนะกะมาร โภยภัยอย่าพานต้องกาย
ให้คุณภิญโญไปยิง่ ยิง่ ล้วนแต่สตั ย์ความจริงนางใน
ชลนัยน์นางไหลนอง นางมองผัวแล้วก็รอ้ งแต่ไห้

บทนางสร้อยฟ้าให้พรพระไวย

วิทยากร นางแหนม โพธิ ์ทอง


๑๕ พฤษภาคม ๒๕๑๖

โอละหนอ คุณนายเอย ข้อยสิบน่ งเฉยทํ


ั่ าไร
โฉมนางสาวน้อยนางสร้อยฟ้า แต่พอได้ฟงั วาจาใจหาย
ตรงเข้ากอดผัวกอดตัวตรึง ข้อยจะเฝ้าคิดถึงคุณพระนาย
คุณจะไปหลงศรีมาลา ให้อเี ม้ยมาด่าให้ขอ้ ยอาย
พ่อคุณจะไปข้อยจะให้พร ให้คุณสถาวรมีชยั
ขอให้เป็นมังเก็บไต่ไม้มงั ไก่ไต่ขอน พอไปถึงตํ้างอนเชียงใหม่
พอไปถึงกองทัพมอญจับตัว ให้มอญจุมหัวคุณพระนาย
ขอให้เป็นมะเร็วเก่งกัน ตัง้ แต่ตวั ยังบ่ทนั บ่ตาย

๓. ตอนแม่นางศรีมาลาสอนลูก สาวเมื่อ จะติดตามพระไวยมาอยู่ก รุ งศรี


อยุธยา ประกอบด้วย บทแม่ศรีมาลาสอนลูก
๑๓๑

บทแม่ศรีมาลาสอนลูก

วิทยากร นางกิมฮุน้ เห็นประเสริฐ


๑๕ พฤษภาคม ๒๕๑๖

(แม่) ลูกรักของแม่มานี่ คราวนี้แม่จะเชิญธงชัย


แม่หมายใจว่าจะฝากผี ศรีมาลามาหนีแม่ไป
จะไปอยู่ยงั บ้านเขา มันเหมือนยังบ้านเราเมื่อไร
จะไปอยู่บา้ นแม่ผวั ก็จงเสงีย่ มเจียมตัวเข้าไว้
เมื่อไปถึงเคหา ยกมือนะวันทาขึน้ ไหว้
ควรน้องก็น้องควรพีก่ พ็ ่ี จะไปอ้ายไปอีเขาไม่ได้
ควรลุงก็ลุงควรป้าก็ป้า อย่าได้ใช้วาจาหยาบคาย
ถึงเวลาจะนอน ฟูกเหมาะเบาะหมอนเตรียมไว้
เขาเป็นผัวต้องนอนขวา เอ็งเป็นภรรยานอนซ้าย
ผัวเขานอนสูงเอ็งจงนอนตํ่า ลูกเอ๋ยจงจําเอาไป
แต่พอผัวบ่นว่าร้อนแล้วหรือ ลุกขึน้ เอาพัดกระพือเอาใจ
แต่พอลุกขึน้ เช้าก่อนผัว จงรีบตรงเข้าครัวเร็วไว
จงเอาไฟมาก่อเอาหม้อมาตัง้ มืออย่านังอั
่ งเตาไฟ
จงตํานํ้าพริกขยิกขยี้ ทัง้ หัวหอมหัวกระเทียมมีเด็ดใส่
ไหปลาร้าอย่าไปไว้หวั นอน อย่าทําอย่างแต่ก่อนไม่ได้
กะปิกะปูดอย่าให้บูดให้แฉะ จงหมันตบหมั
่ นแตะเอาเข้
่ าไว้
ทัง้ ผ้าขีร้ ว้ิ ใช้แล้วจงซัก ลูกเอ๋ยอย่าหมักเก็บไว้
ทัง้ ครกตําพริกตําแล้วจงล้าง อย่าปล่อยให้เป็นยางเยิม้ ไหล
ทีแ่ ม่สงสอนศรี
ั่ มาลา ลูกเอ๋ยลูกหนาจําไว้
ทีแ่ ม่สงสอนครั
ั่ ง้ นี้ จําไว้ให้ดใี ส่ใจ
(ศรีมาลา) ศรีมาลาปูผา้ ลงอ่อนอ่อน รับศีลรับพรแม่ไว้
รับพรแม่ได้ใส่เกศา ถวายบังคมลารีบไป
ยกเท้าก้าวจรลี ทัง้ หมีขมันรีบไป
๑๓๒

๓.๕.๒ ลานอกเรื่องขุนช้างขุนแผน
ปรมินท์ จารุวร (๒๕๔๒: ๑๓๗ – ๑๓๘) ได้เก็บรวบรวมลํานอกที่เคยใช้
ในประเพณีสวดพระมาลัยของชาวบ้านหนองขาว จังหวัดกาญจนบุรี จากนายเฟื่ อง บ้านกล้วย
ไว้ใ นการสื บ ทอดท านองสวดและประเพณี ส วดพระมาลัย ที่ บ้ า นหนองขาว จัง หวัด
กาญจนบุรี พบว่า มีลํา นอกที่มีเ นื้อ หาเกี่ย วกับ วรรณคดีไทยเรื่องต่ าง ๆ หลายเรื่อ ง เช่น
ลํา นอกเรื่อ งขุน ช้างขุน แผน ลํา นอกเรื่อ งพระอภัย มณี ลํ า นอกเรื่องไกรทอง ลํ า นอกเรื่อ ง
ลักษณวงศ์ เป็นต้น
ลํานอกเรื่องขุนช้างขุน แผนกล่าวถึงเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนที่นาง
วันทองถูกนางศรีประจันผูเ้ ป็นมารดายกให้เป็นภรรยาขุนช้าง เพราะขุนช้างทําอุบายว่าขุนแผน
เสียชีวติ นางศรีประจันกลัวนางวันทองจะเป็ นหม้าย อีกทัง้ ขุนช้างก็มฐี านะรํ่ารวยกว่าขุนแผน
นางศรีประจันจึงยกนางวันทองให้ขนุ ช้าง เมื่อขุนแผนทราบก็โกรธจนฉวยดาบ แต่นางลาวทอง
ห้ามไว้ได้ทนั

บทลานอกเรือ่ งขุนช้าง - ขุนแผน

วิทยากร นายเฟื่อง บ้านกล้วย


๑๐ มีนาคม ๒๕๔๒

วันทองเคืองแค้นขุนแผนนักหนา พีช่ า่ งมาลืมเคหาหอห้อง


พีช่ า่ งไม่กลับมารับวันทอง ประเดีย๋ วนี้น้องถูกเขายุยง
ไอ้ขนุ ช้างดูถูกมันเอากระดูกห่อผ้า มันบอกว่าพีแ่ ผนผุยผง
มันบอกว่าลาวแทงตายทีช่ ายดง มันมายุยงแม่ศรีประจัน
มันเข้ามาขอแม่แม่แกก็ให้ เดีย๋ วนี้มนั ปลูกหอใหญ่เอาไว้ให้ฉนั
มันกําลังนอนหอรออยู่ทน่ี นั ่ ถ้าไม่เชือ่ ฉันเชิญท่านครรไล
ขุนแผนแค้นคึกนึกคังแค้ ่ น ในอุราแน่นดังสุมไฟ
ว่าน้อยหรือไอ้ชา้ งคนจังไร มึงมาข่มเหงได้ชา่ งไม่เกรงเรา
ยายศรีประจันแกก็สาํ คัญไม่หยอก โดนแต่เขาหลอกก็ยกลูกสาว
เพราะว่าเห็นเขาดีมนั มังมี
่ กว่าเรา แกจึงยกลูกสาวให้กบั มัน
ชิมนั ช่างทําได้ไม่ไว้หน้า แล้วก็ลุกออกมาจากม่านกัน้
ฉวยดาบออกไปหมายจะฟนั ลาวทองเข้ากัน้ ขุนแผนไว้เอย
๑๓๓

จากการศึกษาข้อมูลคติชนประเภทเพลงพื้นบ้านที่มผี รู้ วบรวมไว้ ขา้ งต้น ผูว้ จิ ยั พบว่า


พ่อเพลงแม่เพลงได้นําตัวละครหรือเรื่องราวจากเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน มาร้องเล่น
ทัง้ เพลงทรงเครื่องและลํานอก เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนทีไ่ ด้รบั การนําเสนอผ่านเพลงพื้นบ้าน
จึงมีทงั ้ ลักษณะที่เหมือนคล้ายและแตกต่างไปจากที่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
ทัง้ นี้ขน้ึ อยู่กบั ปฏิภาณไหวพริบของพ่อเพลงแม่เพลง ตลอดจนอารมณ์ความรูส้ กึ และความรับรู้
ที่ผถู้ ่ายทอดมีต่อบุคคลที่กล่าวถึงในเพลงแตกต่างกันออกไป ภาพของขุนแผนที่ปรากฏใน
เพลงพื้นบ้านจึงสะท้อนให้เห็นมุมมองที่ชาวบ้านรับรู้เรื่องราวชีว ิ ตของขุนแผนแล้วสื่อให้เห็น
ความคิดหรือทัศนะต่อขุนแผนหรือตัวละครอื่น ๆ
เรื่อ งราวที่นํ า เสนอในเพลงพื้น บ้า นทัง้ สองแหล่ ง ต่ า งเป็ น เรื่อ งราวที่เ กี่ย วข้อ งกับ
การไปราชการ การไปทัพ หรือการทําหน้ าที่ของชายชาติทหารทัง้ สิ้น เพลงทรงเครื่องจาก
ตํ า บลพนมทวนนํ า เสนอเรื่อ งราวชีว ิต ตอนขุ น แผนเป็ น เจ้า เมือ งกาญจนบุ รีแ ล้ ว สมเด็จ
พระพันวษาได้มหี นังสือมาบอกให้ขนุ แผนไปช่วยทําศึก ขุนแผนก็ตอบรับพระราชบัญชาด้วย
ความยินดีโดยไม่ฟ งั คําทัด ทานของภรรยาทัง้ สอง สะท้อ นให้เห็นว่า ในความเป็ น นักรบ
ขุนแผนพร้อมทีจ่ ะไปทําศึกเพื่อรักษาบ้านเมืองและแบ่งเบาพระราชภาระของพระเจ้าแผ่นดิน
อยู่เสมอ หล่อหลอมบุคลิกลักษณะของขุนแผนอันเป็นคุณลักษณะสําคัญของทหาร คือ มีความ
จงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์ พร้อมจะสนองพระราชบัญชาอยู่ทุกขณะ แม้ในยามที่ตนมีความ
เป็นอยู่สุขสําราญ การปฏิบตั งิ านสนองพระเดชพระคุณถือเป็ นเรื่องสําคัญที่สุด ส่วนลํานอก
เรื่องขุนช้างขุนแผนเป็นเรื่องรัก ๆ ใคร่ ๆ ทีน่ ําเสนอบทบาทหน้าที่ในการเป็ นทหาร และแสดง
ให้เห็นความรักศักดิ ์ศรี และความใจร้อนวูว่ ามของขุนแผน

การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทต่าง ๆ เกี่ย วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี ทําให้


ผูว้ จิ ยั เห็นว่า ข้อมูลคติชนสอดคล้องกับเรื่องราวของขุนแผนในช่วงชีวติ ตอนต่าง ๆ ตามที่
ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ข้อมูลคติชนประเภทชือ่ สถานทีแ่ ละชือ่ อื่น ๆ สะท้อน
ให้เห็นว่า มีการรับรูแ้ ละระลึกถึงเรื่องราวชีวติ ตอนที่ขุนแผนเป็ นเด็ก ตอนบวชเรียน ตลอดจน
ตอนเป็นทหารและเจ้าเมือง ข้อมูลคติชนประเภทรูปเคารพ สะท้อนให้เห็นความรับรู้เรื่องราว
ชีว ิต ของขุน แผนตอนเป็ น ทหารและเจ้า เมือ ง ข้อ มู ล คติช นประเภทวัต ถุ ม งคลส่ ว นใหญ่
สะท้อนให้เห็นเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนเป็นทหาร สังเกตได้จากชื่อพระขุนแผนรุ่นต่าง ๆ
ตลอดจนผู้จ ัด สร้ า งหรือ แหล่ ง สร้า งพระขุ น แผนต่ า งมีค วามสัม พัน ธ์ เ กี่ย วข้อ งกับ ขุ น แผน
ไม่ทางใดก็ทางหนึ่ง กล่าวคือ จัดสร้างจากสถานทีห่ รือแหล่งทีเ่ ชือ่ ว่าขุนแผนเคยมีเรื่องราวชีวติ
เกี่ย วข้อ งกับ สถานที่นั น้ หรือ มีพุ ท ธคุ ณ สอดคล้ อ งกับ คุ ณ ลัก ษณะสํ า คัญ ของขุ น แผนที่
คนส่วนใหญ่รบั รู้ ส่วนข้อมูลคติชนประเภทจิตรกรรม สะท้อนให้เห็นเรื่องราวชีวติ ของขุนแผน
ตอนเป็นทหาร และมีเรื่องราวชีวติ บางช่วงเกีย่ วข้องกับเมืองกาญจนบุรี ในขณะที่ ขอ้ มูลคติชน
๑๓๔

ประเภทเพลงพื้นบ้าน สะท้อนให้เห็นเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนเป็ นทหารและตอนเป็ น


เจ้าเมือง พร้อมกันนี้ยงั แสดงให้เห็นเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนทีส่ มั พันธ์กบั คนในครอบครัว เช่น
ภรรยา บุ ต ร ตามความรับ รู้และความเข้า ใจของพ่ อ เพลงแม่ เ พลงซึ่ง เป็ น คนท้อ งถิ่น ที่ไ ด้
ถ่ายทอดเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนให้เป็นทีร่ บั รูต้ ่อไป

จากที่กล่าวมาทัง้ หมดจะเห็นได้ว่า ในจังหวัดกาญจนบุรมี ีการเล่าเรื่องที่สะท้อนให้เห็น


ความเชื่อของคนท้องถิ่นซึ่ง เชื่อว่าขุน แผนเคยมีตวั ตนอยู่จ ริง เป็ นนักรบที่มีค วามกล้า หาญ
แม้จ ะลํ า บากในตอนเด็ก แต่ เ มื่อเติบ โตขึ้น ก็ไ ด้เ รีย นวิชาจนเป็ น ผู้มีค วามรู้ค วามสามารถ
เชี่ยวชาญทางวิชาการ ขุนแผนได้ใช้ค วามรู้ค วามสามารถอันเชี่ยวชาญของตน รับราชการ
ทหารด้ว ยความจงรักภัก ดีจนเป็ น ที่ไ ว้วางพระราชหฤทัย ของพระมหากษัตริย์ และได้ร ับ
พระราชทานตํ า แหน่ ง เป็ น เจ้า เมือ งกาญจนบุรี เมื่อ สิ้น ชีว ิต แล้ว ชาวกาญจนบุ รีย ัง เชื่อ ว่า
วิญ ญาณศัก ดิส์ ิท ธิข์ องขุน แผนยังคงสถิต อยู่ เ พื่อ ปกป้ องคุ้ม ครองชาวกาญจนบุ รีและเมือ ง
กาญจนบุรใี ห้ลูกหลานได้เคารพนับถือและสักการบูชา ความเป็ นวีรบุรุษท้องถิน่ นี้เองที่ทําให้
ชือ่ ของขุนแผนยังคงติดตรึงอยู่ในความทรงจําของชาวกาญจนบุรี อันสะท้อนให้เห็นได้จากการ
อนุรกั ษ์สถานทีต่ ่าง ๆ ซึ่งเชือ่ ว่าเกีย่ วข้องกับขุนแผนทัง้ ในฐานะทีเ่ ป็นโบราณสถานและสถานที่
ศักดิ ์สิทธิ ์ และจากการสืบทอดและสร้างสรรค์ขอ้ มูลต่าง ๆ ที่เชื่อมโยงกับขุนแผน เพื่อเป็ นการ
ยกย่ อ งและระลึก ถึง ขุน แผน เช่น การสร้า งรู ป เคารพ การสร้า งวัต ถุ ม งคล การสร้า งงาน
จิตรกรรมเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนอยู่อย่างต่อเนื่อง
บทที่ ๔

ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรี

ข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรมี คี วามหลากหลาย จากการรวบรวม


ข้อมูลภาคสนามในจังหวัดสุพรรณบุรใี นช่วง พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๕๔ ผูว้ จิ ยั พบว่า คติชนเหล่านี้
อยู่ในเขตอาเภอเมืองสุพรรณบุรี และเขตอาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี

ภาพที่ ๔๖ แผนทีจ่ งั หวัดสุพรรณบุร ี


๑๓๖

ผู้ว ิจ ัย จ าแนกข้อ มู ล คติช นเกี่ย วกับ ขุ น แผนในจัง หวัด สุ พ รรณบุ รีไ ด้ ๕ ประเภท
มีรายละเอียดดังตารางต่อไปนี้

ตารางที่ ๔ แสดงข้อมูลคติ ชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรี


ประเภทของข้อมูล คติ ชนที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรี
๑. ชื่อสถานที่และชื่ออื่น ๆ
๑.๑ ชื่อสถานที่
- ชือ่ สถานทีท่ ป่ี รากฏใน ๑) วัดปา่ เลไลยก์ ตาบลรัว้ ใหญ่ อาเภอเมืองฯ
เสภาเรื่องขุนช้าง – ๒) วัดแค ตาบลรัว้ ใหญ่ อาเภอเมืองฯ
ขุนแผน ๓) เขาพระ ตาบลอู่ทอง อาเภออู่ทอง
๔) บ้านรัว้ ใหญ่ (ปจั จุบนั คือ ตาบลรัว้ ใหญ่)
๕) บ้านท่าสิบเบีย้ (ปจั จุบนั คือ ตาบลท่าสิบเบีย้ )
๖) บ้านท่าพีเ่ ลีย้ ง (ปจั จุบนั คือ ตาบลท่าพีเ่ ลีย้ ง)

- ชือ่ สถานทีท่ ไ่ี ม่ปรากฏ ก) ชื่อวัด


ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ๑) วัดพลายชุมพล ตาบลรัว้ ใหญ่ อาเภอเมืองฯ
ขุนแผน ๒) วัดลาวทอง ตาบลสนามชัย อาเภอเมืองฯ

ข) ชื่อถนนและแยกจราจร
๑) ชือ่ ตัวละคร
๒) ชือ่ ของวิเศษของขุนแผน
๓) ชือ่ สถานที่

ค) อุทยานวรรณคดี
๑) คุม้ ขุนแผน
๒) บ้านขุนช้าง

ง) ชื่อสถานที่อื่น ๆ
- ชือ่ อาคารและห้องต่าง ๆ
๑๓๗

ประเภทของข้อมูล คติ ชนที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรี


๑.๒ ชื่ออื่น ๆ ๑) ชือ่ พระพุทธรูป
๒) ชือ่ กิจการร้านค้า
๓) ชือ่ กิจกรรม
๔) ชือ่ ทีมฟุตบอล
๒. รูปเคารพ
๒.๑ รูปเคารพขุนแผน ๑) รูปเคารพขุนแผนทีว่ ดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร
ตาบลรัว้ ใหญ่ อาเภอเมืองฯ
๒) รูปเคารพขุนแผนทีว่ ดั แค ตาบลรัว้ ใหญ่
อาเภอเมืองฯ
๒.๒ รูปเคารพของ ๑) รูปเคารพนางพิมทีว่ ดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร
ตัวละครอื่นจากเสภา ตาบลรัว้ ใหญ่
เรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ๒) รูปเคารพขุนช้างทีว่ ดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร
ตาบลรัว้ ใหญ่
๓) รูปเคารพสมภารคงทีว่ ดั แค ตาบลรัว้ ใหญ่
๔) รูปเคารพกุมารทองทีว่ ดั แค ตาบลรัว้ ใหญ่
๓. วัตถุมงคล พระขุนแผน
๑) กรุวดั บ้านกร่าง
๒) กรุวดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร
๓) กรุวดั แค
๔. จิ ตรกรรม ๑) จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
รอบวิหารคด วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร
จานวน ๓๘ ภาพ
๒) จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน
ในหอคอยบรรหาร – แจ่มใส
จานวน ๑๔ ภาพ
๓) จิตรกรรมแสดงภาพตัวละครจากเรือ่ ง
ขุนช้างขุนแผนทีบ่ า้ นขุนช้าง
จานวน ๑๗ ภาพ
๔) จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน
บนยอดเขาวัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม
จานวน ๑ ภาพ
๑๓๘

ประเภทของข้อมูล คติ ชนที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรี


๕. เพลงพืน้ บ้าน ๑) เพลงปรบไก่
๒) เพลงอีแซวเล่าเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
๓) เพลงส่งเครือ่ ง

๔.๑ ข้อมูลคติ ชนประเภทชื่อสถานที่และชื่ออื่น ๆ

๔.๑.๑ ข้อมูลคติ ชนประเภทชื่อสถานที่


ข้อมูลคติชนกลุ่มนี้มที งั ้ สถานทีท่ ป่ี รากฏชือ่ ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
และสถานทีท่ ไ่ี ม่ปรากฏชือ่ ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ผูว้ จิ ยั ขอกล่าวถึงโดยลาดับ ดังนี้

๔.๑.๑.๑ ชื่อสถานที่ที่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน


ชื่อสถานที่ท่ปี รากฏชื่อ ในเสภาเรื่ องขุนช้ าง – ขุน แผน
ได้แก่ วัดปา่ เลไลยก์ วัดแค เขาพระ บ้านรัว้ ใหญ่ บ้านท่าพีเ่ ลีย้ ง และบ้านท่าสิบเบีย้

๑) วัดปา่ เลไลยก์

ภาพที่ ๔๗ วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร ตาบลรัว้ ใหญ่ อาเภอเมืองฯ จังหวัดสุพรรณบุร ี

ในเสภาเรื่ อ งขุ น ช้ า ง – ขุ น แผน ปรากฏชื่ อ วั ด


ปา่ เลไลยก์ เมืองสุพรรณบุรี เป็นสถานทีท่ เ่ี ณรแก้วบวชเรียนวิชากับสมภารมี ดังปรากฏความว่า


ผู้วจิ ยั รวบรวมข้อมูลเพลงพื้นบ้านในจังหวัดสุพรรณบุ รจี ากวิทยานิพนธ์เ รื่องเพลงปฏิ พากย์:
การศึกษาในเชิ งวรรณคดีวิเคราะห์ ของสุกญ ั ญา สุจฉายา
๑๓๙

ครัน้ ตระเตรียมสาเร็จเสร็จการ พากันออกจากบ้านเขาชนไก่


ตัดทุ่งมุ่งตรงเข้าพงไพร สามวันทันใดถึงสุพรรณ
จึงแวะเข้าวัดปา่ เลไลยก์ ตรงไปยังกุฎขี รัวมีนนั ่
ทองประศรีกราบกรานสมภารพลัน ดีฉนั มิได้มาหาคุณเลย
ขรัวมีดใี จหัวเราะร่า ไม่เห็นหน้าหลายปีสกี าเหวย
เณรนี้ลูกใครไม่คนุ้ เคย ทองประศรีวา่ คุณเอ๋ยลูกฉันเอง
แต่เพียงขุนไกรแกวอดวาย ดีฉนั นี้เป็นม่ายอยู่เท้งเต้ง
บวชลูกจะให้เรียนเป็นบทเพลง ก็โก้งเก้งอยู่ไกลไม่ได้การ
จะเอามาฝากไว้ให้ขรัวปู่ โปรดบอกความรูเ้ อ็นดูหลาน
ถ้าไม่เรียนร่าทาเกียจคร้าน ทรมานทาโทษโปรดตีโบย
(เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน, ๒๕๔๕: ๔๙)

วัด ป่ า เลไลยก์ เมือ งสุ พ รรณบุ รี ซึ่ง ปรากฏชื่อ ใน


เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ปจั จุบนั คือ วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร อยู่รมิ ถนนมาลัยแมน ตาบล
รัว้ ใหญ่ อาเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ชาวบ้านเรียกว่า “วัดป่า” เป็ นพระอาราม
หลวงชัน้ ตรีชนิดวรวิหาร ถือเป็ นวัดเก่าแก่คู่บ้านคู่เมืองของจังหวัดสุพรรณบุรี วัดแห่งนี้เป็ นที่
ประดิษฐานพระพุทธรูปปางป่าเลไลยก์ พระพุทธรูปศักดิ ์สิทธิ ์ที่ชาวสุพรรณบุรแี ละผู้คนทัวไป ่
เคารพบูชา และขนานนามว่า “หลวงพ่อโต วัดปา่ เลไลยก์” เนื่องจากองค์พระสูง ๒๓.๔๗ เมตร
ภายในวัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร ด้านหน้าทางเข้าวิหาร
หลวงพ่อโต มีรูปปนขุ ั ้ นแผนและรูปปนนางพิ
ั้ มตัง้ อยู่เห็นได้ชดั เจน รอบวิหารหลวงพ่อโตคือ
วิหารคด มีภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผนซึ่งคนจานวนมากทีม่ าวัดป่าเลไลยก์สนใจ
นอกจากนี้ ด้ า นหลัง วิห ารหลวงพ่ อ โต บริ เ วณหลัง วัด มีบ้ า นขุ น ช้า ง ซึ่ ง มี ล ัก ษณะเป็ น
หมู่เรือนไทยหลังใหญ่ ดังจะกล่าวโดยละเอียดต่อไป
จากการเก็ บ ข้ อ มู ล ภาคสนาม ท าให้ เ ห็ น ได้ ว่ า
วัดปา่ เลไลยก์วรวิหารแห่งนี้เป็นสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องกับขุนแผนและตัวละครอื่น ๆ ทัง้ ยังปรากฏ
ชื่อ อยู่ ใ นเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน นอกจากนี้ ย ัง มีก ารสร้ า งรู ป เคารพ วัต ถุ ม งคล
จิตรกรรมเกีย่ วกับขุนแผน เพื่อให้ระลึกถึงว่า เรื่องราวชีวติ ส่วนหนึ่งของขุนแผนเกี่ยวข้องกับ
วัดแห่งนี้ ข้อมูลทางวัฒนธรรมต่าง ๆ ดังกล่าวทาให้วดั ป่าเลไลยก์วรวิหารแห่งนี้เป็ นที่รู้จกั
ของชาวสุพรรณบุรแี ละผูค้ นทัวไปว่ ่ าเกีย่ วข้องกับขุนแผน
๑๔๐

๒) วัดแค
ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ขุนแผนเมื่อครัง้
เป็นเณรแก้ว มาบวชเรียนศึกษาวิชากับสมภารคงที่วดั แค เมืองสุพรรณบุรี หลังจากที่ได้บวช
เรียนกับสมภารมี วัดปา่ เลไลยก์มาแล้ว
วัดแค เมืองสุพรรณบุรี ซึ่งเป็นสถานทีบ่ วชเรียนของ
เณรแก้วก็คือ วัดแค จังหวัดสุพรรณบุรีในปจั จุบนั อยู่ท่บี ้านค่ายเก่า หมู่ท่ี ๑ ตาบลรัว้ ใหญ่
อาเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ตามประวัตวิ ดั ระบุว่า วัดแคสร้างเมื่อ พ.ศ.๒๐๓๔
ในสมัยกรุงศรีอยุธยา
ภายในวัดแคมีตน้ มะขามยักษ์ เป็ นหลักฐานที่ทาให้
เชือ่ มันต่
่ อกันมาว่า วัดแคมีอายุเก่าแก่และมีความสาคัญเกีย่ วข้องกับขุนแผน เนื่องจากในเสภา
เรื่ อ งขุนช้ า ง – ขุน แผน ปรากฏความตอนหนึ่ง ว่า ขุน แผนเรีย นวิชาและลองวิช าความรู้
โดยการเสกใบมะขามเป็นต่อแตน ดังความว่า

สะกดทัพจับคนทัง้ ปลุกผี ผูกพยนต์ฤทธีกาแหงหาญ


ปถั มังกาบังตนทนทาน สะเดาะดาลโซ่กุญแจประจักษ์ใจ
ทัง้ พิชยั สงครามล้วนความรู้ อาจจะปราบศัตรูไม่สูไ้ ด้
ฤกษ์พานาทีทุกสิง่ ไป ทัง้ เสกใบมะขามเป็นต่อแตน
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๑๒๒)

ภาพที่ ๔๘ ต้นมะขามยักษ์วดั แค ภายในคุม้ ขุนแผน


เชื่อว่าเป็นต้นเดียวกับต้นมะขามทีเ่ ณรแก้วเสกใบมะขามเป็นต่อแตน

ด้วยเหตุน้ี เมื่อพิจารณาหลักฐานดังกล่าวประกอบ
กับประวัตวิ ดั ซึ่งน่ าจะสร้างมาตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา จึงทาให้เชื่อว่า วัดแคแห่งนี้คอื วัดแค
อัน เคยเป็ น สถานศึก ษาของขุน แผนจริง ป จั จุ บ ัน ต้น มะขามยัก ษ์ด ัง กล่ า วตัง้ อยู่ ใ นบริเ วณ
๑๔๑

คุม้ ขุนแผน อุทยานวรรณคดีซ่งึ สร้างขึน้ ภายหลัง ด้านหน้าต้นมะขามนี้มปี ้ ายอธิบายความซึ่ง


องค์การบริหารส่วนจังหวัดสุพรรณบุรจี ดั ทาขึน้ มีความว่า

ต้นมะขามยักษ์วดั แค
จารึกของตานานที่ย้อนรอยเรื่องราวของวรรณคดีไทย
จากเรื่อ ง “ขุนช้างขุนแผน” ตอนหนึ่ง กล่ าวถึงขุนแผนใช้วชิ าเสก
ใบมะขามให้เป็นตัวต่อตัวแตน เพื่อให้โจมตีขา้ ศึกทีม่ ารุกรานแผ่นดิน
สยาม หลักฐานสาคัญ ในอดีต ที่ยงั คงเหลือ อยู่ม าจนถึงป จั จุบนั คือ
ต้นมะขามยักษ์ อายุป ระมาณกว่า ๑,๐๐๐ ปี ที่ปรากฏอยู่ ภ ายใน
บริเวณ “วัดแค” แห่งนี้ (อบจ. สุพรรณบุร)ี

นอกจากนี้ ภายในวัด แคยั ง เป็ น ที่ ป ระดิ ษ ฐาน


รูปเคารพขุนแผน รูปเคารพสมภารคง และรูปเคารพกุมารทอง ทัง้ ยังมีการจัดสร้างวัตถุมงคล
เกีย่ วกับขุนแผนอยู่อย่างต่อเนื่อง จนเป็นทีร่ จู้ กั กันอย่างกว้างขวางในปจั จุบนั

๓) เขาพระ
ความตอนหนึ่ ง ในเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน
กล่าวว่า ขุนแผนพานางวันทองหนีจากเรือนขุนช้าง หลบหนีความผิด อาญามาท่องเที่ยวอยู่ใน
ปา่ แถบเขาพระ ดังความว่า

ถึงเขาพระทีเ่ คยเขามาไหว้ พระสุกนี่กระไรดังหิง่ ห้อย


ชีบ้ อกวันทองน้องน้อย พระจันทร์ฉายบ่ายคล้อยลงฉับพลัน
รื่นรื่นชืน่ รสเสาวคนธ์ ปนกับกลิน่ แก้มเกษมสันต์
หอมกลิน่ บุปผาสารพัน พระจันทร์ดนหมอกออกแดงดวง
ั้
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๔๐๓)

เขาพระ เมืองสุพรรณบุ รีท่ขี ุนแผนพานางวัน ทอง


หลบหนีมาพักแรมอยู่นนั ้ ปจั จุบนั คือ วัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม ตาบลอู่ทอง อาเภออู่ทอง
จังหวัดสุพรรณบุรี ภายในวัดแห่งนี้ปรากฏร่องรอยเกีย่ วกับขุนแผน คือ ถ้าขุนแผน – นางพิม
ซึ่งเจ้าหน้าทีข่ องวัดเล่าว่า “ขุนแผนพานางพิมหลบหนี จากสุพรรณ จะไปเมืองกาญจน์ ขึน้ มา
พักอยู่ในถ้าบนยอดเขาพระแห่งนี้ ” และลานหินม้าสีหมอก ซึ่งเชื่อกันว่าเป็ นสถานที่ พกั ของ
ม้าสีหมอก พาหนะคู่ใจของขุนแผน จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ผูว้ จิ ยั พบว่า ถ้าขุนแผน –
๑๔๒

นางพิมอยู่ในสภาพรกร้าง แม้ถ้าขุนแผน – นางพิมดังกล่าวจะได้รบั การจัดให้เป็ นมงคลที่ ๘


ของโครงการออมบุ ญ ๙ มหามงคล  ที่ว ดั เขาพระศรีส รรเพชญารามจัด ขึ้น เพื่อ ส่ ง เสริม
การท่องเทีย่ วก็ตาม

ภาพที่ ๔๙ ถ้าขุนแผน – นางพิม วัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม อาเภออู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุร ี

จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้าที่ของวัด ทาให้ทราบว่า
ทางวัดมีโครงการจะสร้างรูปปนขุั ้ นแผนกับรูปปนนางพิ
ั้ มไว้ในถ้าขุนแผน – นางพิม หากแต่ยงั
ขาดแคลนทุนทรัพย์
นอกจากนี้ ผูว้ จิ ยั พบว่า ในมณฑปบนยอดเขามีภาพ
จิตรกรรมตอนขุนแผนชีบ้ อกนางวันทองให้ดูดาวพระศุกร์ปรากฏอยู่ด้วย อย่างไรก็ตาม แม้จะ
ปรากฏร่องรอยเกีย่ วกับขุนแผน ทัง้ ยังมีความเชือ่ ทีข่ นุ แผนพานางวันทองหลบหนีมาพัก ณ ทีน่ ้ี
ตรงตามทีป่ รากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน แต่วดั แห่งนี้กไ็ ม่ได้เป็นทีร่ จู้ กั ว่าเกีย่ วข้องกับ
ขุนแผนมากเท่ากับวัดปา่ เลไลยก์วรวิหารและวัดแค ทัง้ นี้อาจเป็นเพราะที่ตงั ้ ของวัดอยู่ห่างจาก
อาเภอเมือง และไม่มสี ถานทีท่ ่องเทีย่ วอื่น ๆ อยู่โดยรอบ

อนึ่ ง ในป จั จุ บ ัน จัง หวัด สุ พ รรณบุ รี ยัง คงมี ช่ือ ต าบล


บางแห่งที่เหมือ นชื่อหมู่บ้านของตัวละครในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เช่น บ้านรัว้ ใหญ่
อันเป็ นหมู่บ้านของนางแก่นแก้ว ภรรยาคนแรกของขุนช้าง บ้านท่าพีเ่ ลี้ยง อันเป็ นหมู่บ้าน
บิด ามารดาของนางพิม พิล าไลย บ้า นท่ า สิบเบี้ย อัน เป็ น หมู่ บ้า นบิด ามารดาของขุน ช้า ง
แต่ จ ากการเก็บ ข้อ มู ล ภาคสนาม ผู้ว ิจ ัย พบว่ า ชาวบ้า นที่ อ ยู่ ใ นต าบลดัง กล่ า วในป จั จุ บ ัน


โครงการออมบุญ ๙ มหามงคลทีว่ ดั เขาพระศรีสรรเพชญาราม ประกอบด้วย มงคลที่ ๑ พระเจ้า
อู่ทอง มงคลที่ ๒ วิหารพระหยก มงคลที่ ๓ หลวงพ่อเปี้ยน – หลวงพ่อบุญ มงคลที่ ๔ เจ้าพ่อจักรนารายณ์
มงคลที่ ๕ หลวงพ่อ สัง ฆ์ส รรเพชญ์ มงคลที่ ๖ รอยพระพุท ธบาทจาลองในมณฑป มงคลที่ ๗ บ่ อ น้ า
ศักดิ ์สิทธิ ์ มงคลที่ ๘ ถ้าขุนแผน – นางพิม และมงคลที่ ๙ พิพธิ ภัณฑ์พน้ื บ้านเขาพระ
๑๔๓

ทราบข้อมูลเพียงว่าตาบลที่ตนอยู่มชี ่อื เดียวกันกับหมู่บ้านที่ตวั ละครในเสภาเรื่องขุนช้าง –


ขุนแผน เคยใช้ชวี ติ อยู่

๔.๑.๑.๒ ชื่อสถานที่ที่ไม่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน


ชือ่ สถานทีท่ ไ่ี ม่ปรากฏชื่อ ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
สามารถจาแนกได้หลายกลุ่มคือ ชือ่ วัด ชือ่ ถนนและแยกจราจร ชือ่ อุทยานวรรณคดี และ
ชือ่ อาคารและห้องต่าง ๆ แม้ชอ่ื สถานทีท่ ไ่ี ม่ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน จะทาให้มี
เรื่อ งเล่ า แต่ ผู้ว ิจ ัย พบว่ า ในจัง หวัด สุ พ รรณบุ รีมีเ รื่อ งเล่ า น้ อ ยกว่ า ในจัง หวัด กาญจนบุ รี
ดังจะกล่าวถึงโดยลาดับ ดังนี้

ก) ชื่อวัด

๑) วัดพลายชุมพล
จากการสัมภาษณ์คนขับรถโดยสารสามล้อซึ่งประจา
อยู่ท่จี อดรอรับผูโ้ ดยสารบริเวณหน้าวัดพระรูป ตาบลรัว้ ใหญ่ อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี
ทาให้ทราบว่า ในอดีต จังหวัดสุพรรณบุรีเคยมีว ดั ร้างซึ่งอยู่ตดิ กับวัดพระรูปในปจั จุบนั ชื่อว่า
วัดพลายชุมพล แต่ปจั จุบนั ชาวบ้านไม่ทราบว่าผูใ้ ดเป็นผูต้ งั ้ ชือ่
นอกจากนี้ แต่เดิมวัดพลายชุมพลมีเจดีย์เก่าขนาด
ใหญ่ แต่ปจั จุบนั ไม่หลงเหลือร่องรอยใดให้เห็นว่าเคยเป็ นที่ตงั ้ ของวัดดังกล่าวแล้ว จากการ
สัมภาษณ์ชาวบ้านบริเวณดังกล่าว ชาวบ้านมักจะไม่ทราบว่าเคยมีวดั พลายชุมพลอยู่ติดกับ
วัดพระรูปด้วย แต่ถ้าถามจากชาวบ้านอาวุโส จะยังพอทราบว่าเคยมีวดั ดังกล่าวแต่เกิดมา
ก็ไม่เห็นแล้ว อย่างไรก็ตาม ข้อมูลดังกล่าวก็ทาให้เห็นร่องรอยการนาชื่อตัวละครพลายชุมพล
ซึ่งเป็นชือ่ บุตรชายของขุนแผนกับนางแก้วกิรยิ ามาตัง้ เป็นชือ่ วัดตัง้ แต่ในอดีต

๒) วัดลาวทอง

ภาพที่ ๕๐ วัดลาวทอง ตาบลสนามชัย อาเภอเมืองฯ จังหวัดสุพรรณบุร ี


๑๔๔

วัด ลาวทอง ต าบลสนามชัย อ าเภอเมือ ง จัง หวัด


สุพรรณบุรี มีช่อื เดิมว่า “วัดเลา” ต่อมาเปลี่ยนชื่อ เพื่อให้สอดคล้องกับตัวละครนางลาวทอง
ภรรยาอีกคนหนึ่งของขุนแผน ภายในวัดลาวทอง ด้านหลังพระอุโบสถ มีวหิ ารเก่าหลังหนึ่ง
ซึ่งสันนิษฐานกันว่าน่าจะสร้างมาตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยาตอนปลาย
นอกเหนื อ จากชื่อ วัด ที่ช วนให้นึ ก ถึง นางลาวทอง
ตัวละครหนึ่งในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน แล้ว ก็ไม่ได้มสี งิ่ ใดที่ชวนให้ระลึกถึงหรือทาให้
เห็นว่าวัดแห่งนี้เกีย่ วข้องกับขุนแผนหรือตัวละครอื่น ๆ ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน

ข) ชื่อถนนและแยกจราจร
จากการเก็บข้อมูลภาคสนามในจังหวัดสุพรรณบุรี ผูว้ จิ ยั
พบว่า ในเขตเทศบาลเมือ งสุพ รรณบุ รี ถนนสายต่ าง ๆ และแยกจราจรมีช่อื เกี่ย วข้อ งกับ
เสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน จนท าให้ เ ป็ น ที่รู้ จ ัก และจดจ ากัน อย่ า งกว้า งขวางทัง้ จาก
ชาวสุ พ รรณบุ รีเ องและจากผู้ค นทัวไป ่ ชื่อ ถนนและแยกจราจรต่ า ง ๆ เหล่ า นี้ เ ป็ น ชื่อ ที่
ทางเทศบาลเมืองสุพรรณบุรตี งั ้ ขึน้ ใหม่ภายหลัง
ผูว้ จิ ยั รวบรวมข้อมูลชื่อถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาล
เมือ งสุ พ รรณบุ รีแ ละสามารถจ าแนกลัก ษณะชื่อ ถนนที่เ กี่ย วข้อ งกับ เสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง –
ขุนแผน ได้ ๓ ลักษณะ คือ ชือ่ ตัวละคร ชือ่ ของวิเศษของขุนแผน และชือ่ สถานที่ ดังตาราง

ตารางที่ ๕ แสดงลักษณะชื่อถนนในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี
ลักษณะชื่อ ชื่อถนนในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี
๑. ชื่อตัวละคร ถนนพลายแก้ว ถนนเณรแก้ว ถนนขุนแผน
ถนนนางพิม ถนนนางลาวทอง ถนนนางบัวคลี่
ถนนนางแก้วกิรยิ า ถนนนางศรีประจันต์
ถนนขุนไกร ถนนพลายงาม ถนนจมืน่ ไวย
ถนนหลวงนายฤทธิ ์ ถนนพลายชุมพล ถนนพลายอนันต์
ถนนสมภารคง ถนนหมืน่ หาญ ถนนจมื่นศรี ถนนขุนราม
ถนนขุนช้าง ถนนขุนศรีวชิ ยั ถนนนางเทพทอง
ถนนนางแก่นแก้ว ถนนนางศรีมาลา ถนนนางสร้อยฟ้า
ถนนพระพันวษา ถนนนางสร้อยทอง
ถนนหลวงทรงพล ถนนพลายยง
๒. ชื่อของวิ เศษของขุนแผน ถนนกุมารทอง ถนนดาบฟ้าฟื้ น ถนนม้าสีหมอก
๓. ชื่อสถานที่ ถนนท่าสิบเบีย้ ถนนไร่ฝ้าย ถนนปา่ เลไลยก์
๑๔๕

ภาพที่ ๕๑ - ๕๓ ป้ายชือ่ ถนนในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุร ี

ภาพที่ ๕๔ ชือ่ ถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรที ป่ี รากฏในแผนที่


๑๔๖

จะเห็นได้วา่ ส่วนใหญ่ชอ่ื ถนนสายต่าง ๆ ในเขตเทศบาล


เมืองสุพรรณบุรเี ป็ นชื่อตัวละครในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน โดยมีทงั ้ ชื่อตัวละครเอกและ
ชื่อตัวละครอื่น ๆ นอกจากชื่อ ถนนสายต่าง ๆ แล้ว ยังพบชื่อ แยกจราจรและชื่อสะพาน
เดินรถเป็นชือ่ ตัวละครในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน อีกด้วย เช่น แยกเณรแก้ว แยกนางพิม
แยกอาชาสีหมอก สะพานอาชาสีหมอก เป็นต้น

ค) ชื่ออุทยานวรรณคดี
ในจังหวัดสุพรรณบุรมี กี ารสร้างอุทยานวรรณคดีขน้ึ เพื่อ
ระลึกถึงขุนแผนและเรื่องขุนช้างขุนแผน จานวน ๒ แห่ง คือ คุม้ ขุนแผน และบ้านขุนช้าง

๑) คุม้ ขุนแผน

ภาพที่ ๕๕ คุม้ ขุนแผนภายในวัดแค จังหวัดสุพรรณบุร ี

คุ้ม ขุ น แผน เป็ น อุ ท ยานวรรณคดีท่ีส่ ว นราชการ


ท้อ งถิ่น สร้ า งขึ้น เมื่อ พ.ศ.๒๕๒๗ เพื่อ อนุ ร ัก ษ์ ศ ิล ปะทางวรรณกรรมและประวัติศ าสตร์
เป็ นสถานที่ท่องเที่ยวและสถานที่พกั ผ่อนหย่อนใจของประชาชน มีลกั ษณะเป็ นเรือนไทย
ยกพื้นสูง เป็ นแบบเรือนชุดสี่หลัง ตรงกลางเปิ ดโล่ง ภายในมีป้ายอธิบายประวัตคิ ุ้มขุนแผน
ปรากฏความว่า
๑๔๗

ประวัติค้มุ ขุนแผน
สร้างเมื่อ เริม่ สร้างวันที่ ๑๙ สิงหาคม ๒๕๒๕
งบประมาณ ใช้งบประมาณจากองค์การบริหารส่วนจังหวัด
สุพรรณบุรี ปี พ.ศ.๒๕๒๕ เป็นเงิน ๑,๓๑๙,๐๐๐ บาท
และประชาชนชาวจังหวัดสุพรรณบุรรี ่วมบริจาค
สมทบทุน ๓๓๐,๐๐๐ บาท
วัตถุประสงค์ เพื่อเป็นอุทยานวรรณคดีเป็นการอนุรกั ษ์ศลิ ปะ
ทางวรรณกรรมและประวัตศิ าสตร์
และเป็นสถานทีท่ ่องเทีย่ ว และพักผ่อนหย่อนใจ
ของประชาชน
สร้างเสร็จเมื่อ วันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๒๗

คุ้ ม ขุ น แผนอยู่ ภ ายในวัด แค จัง หวัด สุ พ รรณบุ รี


เมื่อเดินเข้ามาในวัด บริเวณทีอ่ ยู่ตดิ กับศาลาสักการะ ทางวัดได้กนั ้ รัว้ เพื่อแบ่งอาณาบริเวณของ
คุม้ ขุนแผนออกจากส่วนอื่น ๆ ของวัด ภายในบริเวณคุม้ ขุนแผนมีสวนพันธุไ์ ม้ต่าง ๆ และยัง
ประกอบไปด้ว ยสิ่ง ต่ า ง ๆ ที่ช วนให้ผู้ม าเยือ นระลึก ถึง ขุน แผนและเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง –
ขุนแผน ได้แก่ ต้นมะขามยักษ์วดั แค ศาลขุนแผน และศาลอาจารย์คง
คุ้ ม ขุ น แผนแห่ ง นี้ ไม่ ใ ช่ คุ้ ม ที่ขุ น แผนเคยอยู่ จ ริง
หากแต่สร้างจาลองขึน้ เพื่อเป็นอุทยานวรรณคดีสาหรับการเรียนรู้

๒) บ้านขุนช้าง

ภาพที่ ๕๖ บ้านขุนช้างภายในวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุร ี

บ้า นขุน ช้า ง เป็ น อุ ท ยานวรรณคดีท่ีส ร้า งขึ้น เพื่อ


ระลึกถึงขุนช้างเศรษฐีใหญ่แห่งเมืองสุพรรณ อยู่ภายในวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร ทางด้านหลัง
วิหารหลวงพ่อโต วัดป่าเลไลยก์ ภายในบ้านขุนช้างมีพ้นื ที่ ๒ ส่วน คือ สวน และเรือนไทย
๑๔๘

เมื่อเดินเข้าประตูบา้ นขุนช้าง ก่อนถึงเรือนไทยจะพบศาลขุนช้างอยู่ทางซ้ายมือ ศาลแห่งนี้เป็ น


ที่ป ระดิษ ฐานรู ป ป นั ้ ขุ น ช้า งส าหรับ ให้ ช าวบ้ า นและผู้ค นทัว่ ไปมากราบไหว้ ดัง จะกล่ า ว
โดยละเอียดต่อไป
เรือ นขุ น ช้า งมีล ัก ษณะเป็ น เรือ นไทยขนาดใหญ่
เป็ น เรือ นไม้ ส ัก ทัง้ หลัง หลัง คาจัว่ ยกพื้น สู ง ตรงกลางเป็ น โถงประดิษ ฐานพระพุ ท ธรู ป
เรือนด้านซ้ายและขวาเป็นสถานทีจ่ ดั แสดงศิลปวัตถุโบราณ เครื่องถ้วยชามต่าง ๆ นอกจากนี้
มีการประดับภาพวาดตัวละครต่าง ๆ ในเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน บริเวณฝาผนังเรือน
และมีการทาฉากประกอบการถ่ายภาพ โดยทาเป็ นรูปขุนช้างนอนอยู่บนตัง่ และภาพขุนแผน
นางพิม ขุนช้างเจาะช่องว่างบริเวณใบหน้าไว้สาหรับให้นกั ท่องเทีย่ วถ่ายภาพ
จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม พระภิกษุ ท่คี อยพรม
น้ ามนต์และให้พรแก่ญาติโยมที่มากราบพระและเยี่ยมบ้านขุนช้างก็จะให้ความรู้และเล่าเรื่อง
เกีย่ วกับขุนช้างให้นักท่องเที่ยวพอทราบประวัตขิ ุนช้างว่า ขุนช้างเป็ นตัวละครในเรื่องขุนช้าง
ขุนแผน เป็นเศรษฐีชาวสุพรรณบุรี ส่วนขุนแผนนัน้ อยู่ทว่ี ดั แค พร้อมกับแนะนาให้ไปเที่ยวชม
คุม้ ขุนแผนทีว่ ดั แคด้วย

ง) ชื่อสถานที่อื่น ๆ
จากการเก็บ ข้อ มู ล ภาคสนามยัง พบชื่อ สถานที่อ่ืน ๆ
ทีเ่ กีย่ วข้องกับเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เช่น อาคารพิพธิ ภัณฑ์พระขุนแผนและพระเครื่อง
เมือ งสุพ รรณ มีช่อื ว่า อาคารพิม พิล าไล ห้อ งประชุม จัด เลี้ย งและห้อ งอาหารในโรงแรม
สองพันบุรี โรงแรมเก่าแก่ในจังหวัดสุพรรณบุรตี งั ้ ชื่อห้องตามชื่อตัวละครต่าง ๆ ในเสภาเรื่อง
ขุน ช้ า ง – ขุนแผน ได้แ ก่ ห้อ งขุนไกร ห้อ งขุน ศรีวชิ ัย ห้องพลายชุม พล ห้อ งพลายงาม
ห้องพลายเพชร ห้องหลวงทรงพล ห้องจมืน่ ไวย ห้องอาหารพลายแก้ว ตลอดจนจุดตรวจของ
ทางสถานีตารวจก็นาชื่อตัวละครพลายเพชรในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน มาตัง้ เป็ นชื่อว่า
จุดสกัดพลายเพชร

ภาพที่ ๕๗ - ๕๙ ป้ายชื่อสถานทีต่ ่าง ๆ ทีน่ าชื่อขุนแผนหรือตัวละครอื่นไปตัง้ ชือ่ สถานที่


๑๔๙

๔.๑.๒ ข้อมูลคติ ชนประเภทชื่ออื่น ๆ


จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ผู้วจิ ยั พบว่า นอกเหนือจากชื่อสถานที่แล้ว
ในจังหวัดสุพรรณบุรีมกี ารนาชื่อขุนแผนและตัวละครอื่น ๆ ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
ไปใช้เรียกหรือตัง้ เป็นชือ่ ต่าง ๆ หลากหลาย ได้แก่ ชือ่ พระพุทธรูป ชือ่ กิจการร้านค้า

๑) ชือ่ พระพุทธรูป
วัดพระรูป จังหวัดสุพรรณบุรี เป็นทีป่ ระดิษฐานพระพุทธรูปปางไสยาสน์
ซึ่งชาวบ้านเรียกว่า “เณรแก้ว” ดังข้อความในป้ายอธิบายสถานที่ท่กี ารท่องเที่ยวแห่งประเทศ
ไทยจัดทาขึน้ มีความว่า

วัด พระรู ป เป็ น วัด เก่ า วัด หนึ่ ง มี อ ายุ อ ยู่ ใ นสมัย อู่ ท อง
ตอนปลาย มีพระปางไสยาสน์ซ่ึงชาวบ้านเรียกว่า “เณรแก้ว เจดีย์
อู่ทอง” และมีพระพุทธบาทไม้หนึ่งเดียวในประเทศไทย และยังเป็ น
กรุพระเครื่องขุนแผนอันเลื่องชือ่ อีกด้วย

ภาพที่ ๖๐ พระนอนวัดพระรูปซึง่ ชาวบ้านเรียกว่า พระนอนเณรแก้ว

อรุณศักดิ ์ กิ่งมณี นักโบราณคดีชานาญการพิเศษ สานักศิลปากรที่ ๒


สุพรรณบุรี ซึ่งดูแลการบูรณปฏิสงั ขรณ์พระนอน “เณรแก้ว” กล่าวถึง ที่มาของชื่อพระนอน
“เณรแก้ว” ไว้ในคอลัมน์ ‘มติ ชน’ จับมือ ‘ศิ ล ปากร – ท้ องถิ่ น’ เปิ ดเวที ถกแหล่ งเรียนรู้
‘ชุมชนสุพรรณฯ’ หนังสือพิมพ์มติชนฉบับวันอังคารที่ ๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔ ซึ่งเขียนโดย
พนิดา สงวนเสรีวาณิช (๒๕๕๔: ๒๐) ว่า “เณรแก้ว” ก็คอื พลายแก้ว (ขุนแผน) ตอนเด็ก
ตามเรื่องกล่าวถึงขุนแผนตอนที่บวชเป็ นเณรที่วดั ป่าเลไลยก์ เจ้าอาวาสให้เณรแก้วไปตักน้ า
ที่ท่าน้ า ปรากฏว่าเณรแก้วเหนื่อยก็มาแอบนอนที่บริเวณท่าน้ า เอาถังหนุ นหัว ผูม้ จี ติ ศรัทธา
จึงสร้างพระนอนขึ้นเพื่อเป็ นอนุ สรณ์ถึง เณรแก้ว เรียกว่า พระนอน “เณรแก้ว” แต่บ างคน
ก็บอกว่า มาจากเห็นว่าพระนอนมีลกั ษณะงดงามเหมือนเณรแก้ว
๑๕๐

จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ผูว้ จิ ยั พบว่า ชาวบ้านเรียกชื่อพระนอนว่า


“พระนอนเณรแก้ว ” เมื่อ สอบถามว่า เหตุ ใ ดจึง มีช่ือ ว่า พระนอนเณรแก้ว ทราบว่า เพราะ
เณรแก้วเป็นเณรรูปงามทีเ่ คยบวชเรียนอยู่ในจังหวัดสุพรรณบุรี แต่ไม่สามารถเล่าเรื่องเชือ่ มโยง
ความเกีย่ วข้องของเณรแก้วกับวัดพระรูปได้

๒) ชือ่ กิจการร้านค้า
ผูว้ จิ ยั พบว่า ในจังหวัดสุพรรณบุรมี เี จ้าของกิจการร้านค้าจานวนมากที่
นาชือ่ ขุนแผนและชือ่ ตัวละครอื่น ๆ ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ไปตัง้ เป็ นชื่อกิจการหรือ
ชือ่ ร้านค้าของตน ชือ่ ขุนแผนได้รบั การนามาตัง้ เป็นชือ่ กิจการมากทีส่ ุด ส่วนชือ่ ตัวละครอื่น ๆ
ที่ผวู้ จิ ยั พบคือ นางทองประศรี นางบัวคลี่ เช่น ร้านอาหารครัวทองประศรีท่ี มนี ้ าพริกขุนแผน
ปลาช่อนทองประศรี เป็นอาหารแนะนาของร้าน หมู่บา้ นบัวคลี่ โครงการบ้านบัวคลี่

ตัวอย่างกิจการทีน่ าชือ่ ขุนแผนไปตัง้ เป็นชือ่ กิจการ มีดงั นี้


- อู่ขนุ แผน
- เต๊นท์รถขุนแผน
- บึงขุนแผน ครัวอาหารปา่
- ร้านขุนแผน (ศูนย์ศลิ ปหัตถกรรม ของดีเมืองสุพรรณ)
- คอกขุนแผนฟิ ล่า (คอกสุนขั )
- ขุนแผนไก่ชน

ภาพที่ ๖๑ – ๖๔ ป้ายชื่อกิจการทีน่ าชื่อขุนแผนและตัวละครอื่นมาตัง้ เป็นชื่อกิจการ


๑๕๑

นอกจากชื่อพระพุทธรูปและชื่อกิจการแล้ว การจัด งานต่าง ๆ ในจังหวัด


สุ พ รรณบุ รีย ัง อาจน าชื่อ ขุ น แผนไปใช้ต ัง้ เป็ น ชื่อ งานได้ เช่ น งานขุ น แผนคลาสสิค ไบค์
สุพรรณบุรี หรือ แม้ก ระทังที ่ มฟุ ตบอลประจ าจังหวัดสุพ รรณบุรียงั ได้รบั การขนานนามว่า
ทีมขุนแผน จนเป็นทีร่ จู้ กั กันอย่างกว้างขวาง

๔.๒ ข้อมูลคติ ชนประเภทรูปเคารพ


ข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนอีกประเภทหนึ่งทีพ่ บในจังหวัดสุพรรณบุรคี อื ข้อมูลคติชน
ประเภทรูป เคารพ จากการเก็บ ข้อมู ลภาคสนาม ผู้วจิ ัยพบว่า รู ปเคารพเกี่ย วกับ ขุน แผน
ที่ป รากฏในจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี พบในสถานที่ท่ี เ กี่ย วข้อ งกับ ขุน แผน จ านวน ๒ แห่ ง คือ
วัด ป่า เลไลยก์วรวิห าร และวัดแค ทัง้ สองแห่ง เป็ นสถานที่ท่ขี ุนแผนเมื่อ ครัง้ เป็ น เณรแก้ว
ได้บวชเรียน
ลักษณะรูปเคารพต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรเี ป็ นรูปเคารพที่มี
ั้
ขนาดแตกต่างกัน มีทงั ้ รูปปนและรู ปหล่อ ในทีน่ ้ี สามารถจาแนกข้อมูลคติชนประเภทรูปเคารพ
ที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรไี ด้ ๒ กลุ่ม คือ รูปเคารพขุนแผน และรูปเคารพของตัวละครอื่น ๆ
จากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน

๔.๒.๑ รูปเคารพขุนแผน
ในจังหวัดสุพรรณบุรี พบรูปเคารพขุนแผนประดิษฐานอยู่ในสถานที่ ๒ แห่ง
คือ วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร และวัดแค จาแนกให้เห็นได้ดงั นี้

๔.๒.๑.๑ รูปเคารพขุนแผนที่วดั ป่ าเลไลยก์วรวิ หาร

ภาพที่ ๖๕ - ๖๖ รูปเคารพขุนแผนทีว่ ดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุร ี


ถ่ายเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๒ และ พ.ศ.๒๕๕๔ ตามลาดับ
๑๕๒

รู ป เคารพขุ น แผนที่ว ัด ป่า เลไลยก์ ว รวิห ารเป็ น รู ป หล่ อ


ขุน แผนในชุด ทหาร ขาซ้ า ยอยู่ บ นแท่ น ขาขวาเหยีย ดตรง มือ ทัง้ สองข้า งจับ ดาบฟ้ าฟื้ น
ประดิษฐานบนแท่นซึ่งด้านหน้ามีป้ายชือ่ “ขุนแผน” อยู่ด้านซ้ายหน้าทางเข้าวิหารหลวงพ่อโต
วัดปา่ เลไลยก์ รูปเคารพดังกล่าวสร้างขึน้ เพื่อระลึกถึงขุนแผนเมื่อครัง้ ยังเป็ นพลายแก้ว ได้เคย
บวชเณรเรียนวิชากับสมภารมี และเคยเทศน์มหาชาติได้ไพเราะจับใจนางพิมพิลาไลยที่วดั
แห่งนี้ ผูว้ จิ ยั พบว่า มีการนาเสือ้ สีเขียวมาสวมทับให้แก่รูปเคารพ และมีร่องรอยการปิ ดทองที่
รู ป เคารพหลายบริเ วณ บริเ วณที่มีก ารปิ ด ทอง ได้ แ ก่ ใบหน้ า แขนทัง้ สองข้า ง ดาบ
โดยเฉพาะใบหน้าพบว่ามีการปิ ดทองมากที่สุด นอกจากนี้มผี ู้ นาผ้าแพรหลากสีมาถวายโดย
ผูกไว้บริเวณเอวและดาบ พร้อมถวายสร้อยคอ ไม่มกี ระถางธูปสาหรับจุดธูปสักการบูชาหน้า
รูปเคารพ ผูท้ ม่ี าสักการบูชาเพียงพนมมือไหว้รูปเคารพดังกล่าวเท่านัน้
จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ผูว้ จิ ยั พบว่า เมื่อ พ.ศ.๒๕๕๒
ด้านข้างรูปเคารพขุนแผนมีรูปปนม้ ั ้ าขนาดเล็ก ซึ่งเปรียบเสมือนม้าสีหมอก พาหนะคู่ใจของ
ขุนแผนมีสภาพชารุ ดตัง้ อยู่ด้วย แต่ เมื่อผู้ว ิจยั เก็บข้อ มูลภาคสนามอีกครัง้ ใน พ.ศ.๒๕๕๔
ไม่พบว่ามีรูปปนม้ ั ้ าดังกล่าวแล้ว

๔.๒.๑.๒ รูปเคารพขุนแผนที่วดั แค
จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ผู้วจิ ยั พบรูปเคารพขุนแผน
ประดิษฐานอยู่ภายในวัดแค ๒ องค์ องค์หนึ่งประดิษฐานอยู่ภายในศาลาสักการะ ใกล้กบั ประตู
ทางเข้าวัด อีกองค์หนึ่งประดิษฐานอยู่ภายในศาลขุนแผนซึ่งตัง้ อยู่ในบริเวณคุม้ ขุนแผน

๑) รูปเคารพขุนแผนทีป่ ระดิษฐานอยู่ในศาลาสักการะ
วัดแค

ภาพที่ ๖๗ รูปเคารพขุนแผนในศาลาสักการะ วัดแค จังหวัดสุพรรณบุร ี


๑๕๓

รูปเคารพขุนแผนที่ประดิษฐานอยู่ในศาลาสักการะ
เรียกว่า พ่อท่านขุนแผน เป็นรูปหล่อขุนแผนในชุดทหาร สะพายดาบไขว้ นังพั ่ บเพียบมือซ้าย
ทับมือขวาอยู่บนแท่นสูงจากพื้นศาลาประมาณ ๐.๕ เมตร รูปเคารพทัง้ องค์มีร่องรอยการ
ปิดทอง มีผนู้ าผ้าขาวม้ามาถวายและแก้บนโดยผูกรอบบริเวณเอวของรูปเคารพ ที่ดาบมีผนู้ า
พวงมาลัยมาคล้องถวาย มีผถู้ วายรูปปนม้ั ้ าลายเสมือนเป็ นตัวแทนของม้าสีหมอก พาหนะคู่ใจ
ของขุนแผน ด้านหน้ารูปเคารพ ทางวัดตัง้ น้ าเปล่า ๑ แก้ว ถวายพ่อท่านขุนแผน และหากมี
ผูน้ าหมากพลูมาถวายก็จะตัง้ บูชาไว้บริเวณหน้ารูปเคารพ หน้าแท่นไม้ประดิษฐานรูปเคารพ
มีแผ่นป้ายคาถาบูชาพ่อท่านขุนแผน วัดแค อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี มีความว่า

คาถาบูชาพ่อท่านขุนแผน วัดแค อาเภอเมือง จังหวัดสุพรรณบุรี


อุกาสะ อุกาสะ มะหามัตตัสสะ
อิมนิ า สะปะริวาเรนะ สักกาเรนะ อะภิปชู ะยามิ
อะยัง อิมนิ า สะปะริวาเรนะ สักกาเรนะ ปูชา
อัมหากัง ฑีฆะรัตตัง เมตตายะ มะหานิ
ยะมัสสะ อัฑฒะนายะ สังวัตตะตูติ

นอกจากนี้ บริเวณหัวเข่ารูปเคารพพ่อท่านขุนแผน
มีแผ่นป้ายบอกความเชือ่ เรื่องการปิดทองขอพรพ่อท่านขุนแผนไว้ มีความว่า

เคล็ด(ไม่)ลับการปิ ดทอง ขอพรพ่อท่านขุนแผน


การได้ปิดทอง หรืออาราธนาพระขุนแผนติดตัวเสมอ
จะเป็นเมตตามหานิยมแก่ตนเอง
ปิดทองทีห่ น้าผาก เมตตามหานิยม การเรียน สมองปราดเปรื่อง
ปิดทองทีบ่ ริเวณมือ การค้าขาย ธุรกิจส่วนตัว
ปิดทองทีข่ าหรือเท้า พนักงานขับรถ ผูท้ ต่ี อ้ งเดินทางบ่อย ๆ
ปิดทองทีป่ าก พนักงานขาย พิธกี ร นักร้อง วิทยากร
ปิดทองทีห่ น้าอกซ้าย ความรัก คู่ครอง

อย่างไรก็ตาม น่ าสังเกตว่า รูปเคารพบูชาพ่อท่าน


ขุนแผนนี้ ประดิษฐานอยู่ภายในศาลาสักการะซึ่ง เป็ นที่ป ระดิษฐานพระพุทธรู ป รูป เคารพ
พระอาจารย์คง เมื่อพุทธศาสนิกชนมากราบพระพุทธรูปและพระอาจารย์ค งแล้ว ก็จะไหว้
พ่อท่านขุนแผนและกุมารทองด้วย
๑๕๔

๒) รูปเคารพขุนแผนทีป่ ระดิษฐานอยู่ในศาลขุนแผน วัดแค

ภาพที่ ๖๘ รูปเคารพขุนแผนในศาลขุนแผน วัดแค จังหวัดสุพรรณบุร ี

รูป เคารพขุนแผนที่ประดิษ ฐานอยู่ ใ นศาลขุ นแผน


วัดแค เป็นรูปปนขุั ้ นแผนในชุดทหาร มือถือดาบฟ้าฟื้ น นังห้่ อยขาขวา
ศาลขุ น แผนแห่ ง นี้ อ ยู่ ภ ายในบริเ วณคุ้ ม ขุ น แผน
ใกล้กบั ต้นมะขามยักษ์วดั แค และศาลอาจารย์ค ง สร้างขึน้ เมื่อ วันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๒๙
จากการสัมภาษณ์เจ้าหน้ าที่ดูแลคุ้มขุนแผนทราบว่า ศาลขุนแผนนี้สร้ างขึ้นเพื่อให้ชาวบ้าน
หรือนักท่องเทีย่ วได้ไหว้สกั การะ เมื่อเดินเข้ามาในบริเวณคุม้ ขุนแผน นักท่องเทีย่ วส่วนใหญ่จะ
เดินไปไหว้ศาลขุนแผน นอกจากนี้ทราบว่า มีผมู้ าบนบานทีศ่ าลนี้เป็นจานวนมาก เพราะเชือ่ ว่า
ขุนแผนมีความศักดิ ์สิทธิ ์และมีคาถาอาคมทีจ่ ะช่วยดลบันดาลให้ตนสมปรารถนาได้
วิญํู บุญยงค์ (๒๕๓๙: ๑๔๔) กล่าวไว้ในตามรอย
ขุนช้างขุนแผน ว่า “พระภิกษุในวัดแคได้เล่าว่า ผู้ท่มี าบนบานที่ศาลนี้ส่วนใหญ่จะเป็ นการ
ขอให้หายจากโรคภัยไข้เจ็บ บ้างก็ขอให้ได้งาน ด้วยเชื่อว่าขุนแผนเก่งทางคาถามหาละลวย
อาจจะบันดาลให้นายจ้างตกลงใจรับไว้เข้าทางาน ด้วยความเมตตาจากอานาจของขุนแผนทีม่ า
บนขอไว้ เมื่อสมหวังแล้ว ก็จะนาอาหาร ผลไม้ และของอื่น ๆ มาแก้ตามที่บนไว้ แต่หากขอ
เป็นทหารย่อมได้เป็ นทุกรายไป” ซึ่งก็เป็ นข้อมูลตรงกับที่ผวู้ จิ ยั ได้สมั ภาษณ์จากพ่อค้าแม่ค้า
ทีม่ าขายของในบริเวณคุม้ ขุนแผนและผูม้ าไหว้สกั การะศาลขุนแผนแห่งนี้

นอกจากนี้ วิญํู บุญยงค์ (๒๕๓๙: ๑๕๐) ยังได้


ั ้ นแผนไว้อกี ด้วยว่า “ภายในวิหารพระพุทธมงคลซึ่งอยู่ในบริเวณวัดแค มีรูปปนั ้
กล่าวถึงรูปปนขุ
ขุนแผนในชุดขุนพลโบราณ ยืนถือ หอกและสะพายดาบไว้ด้านหลัง ด้านหน้ ารูปปนขุ ั ้ นแผน
มีกระถางธูปสาหรับบูชา” แต่จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ผูว้ จิ ยั พบว่า ปจั จุบนั ภายในวิหาร
ั ้ นแผนแล้ว หากแต่รูปปนดั
พระพุทธมงคลไม่ได้เป็นที่สกั การะรูปปนขุ ั ้ งกล่าวยังคงตัง้ อยู่ภายใน
๑๕๕

วิหาร ด้านข้างพระประธาน แต่ไม่มรี ่องรอยการสักการะแต่อย่างใด ทัง้ ยังอยู่ในสภาพทีไ่ ม่ได้รบั


การดูแลรักษา ทัง้ นี้เพราะทางวัดได้จดั สร้างรูปเคารพขุนแผนเป็ นรูปหล่อ และประดิษฐานไว้
บริเวณศาลาสักการะ ดังได้กล่าวไปแล้วข้างต้น

ั ้ นแผนทีต่ งั ้ อยู่ในวิหารพระพุทธมงคล วัดแค จังหวัดสุพรรณบุร ี


ภาพที่ ๖๙ รูปปนขุ

๔.๒.๒ รูปเคารพของตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน


นอกจากรู ปเคารพขุนแผนที่พ บในวัดป่าเลไลยก์วรวิหารและวัดแคแล้ว
ในจังหวัดสุพรรณบุรยี งั ปรากฏรูปเคารพของตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
อีกด้วย รูปเคารพของตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน ได้แก่ รูปเคารพ
นางพิม รูปเคารพขุนช้าง รูปเคารพสมภารคง และรูปเคารพกุมารทอง

๔.๒.๒.๑ รูปเคารพนางพิ ม

ภาพที่ ๗๐ - ๗๑ รูปเคารพนางพิมทีว่ ดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุร ี


ถ่ายเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๒ และ พ.ศ.๒๕๕๔ ตามลาดับ
๑๕๖

ผูว้ จิ ยั พบรูปเคารพนางพิมในจังหวัดสุพรรณบุรปี ระดิษฐาน


อยู่ดา้ นขวา หน้าทางเข้าวิหารหลวงพ่อโต วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร มีลกั ษณะเป็ นรูปปนนางพิ ั้ ม
่ บเพียบ มือซ้ายวางบนตัก ส่วนมือขวายันพื้นข้างลาตัว อยู่บนแท่นซึ่งด้านหน้ามีป้ ายชื่อ
นังพั
“นางพิมพ์” รูปเคารพนี้สร้างขึน้ เพื่อระลึกถึงนางพิมพิลาไลย เพราะวัดป่าเลไลยก์แห่งนี้เป็ น
สถานที่ท่ขี ุนแผนเมื่อครัง้ เป็ นพลายแก้วพบรักกับนางพิม สังเกตได้ ว่า มีการทาสีผมและคิ้ว
ของนางพิมเป็นสีดา และทาสีผา้ นุ่งของนางพิมเป็นสีฟ้า มีผถู้ วายผ้าสไบสีสนั ต่าง ๆ สร้อยมุก
กาไลข้อมือ เข็มขัดสีเงินสีทองให้แก่รูปเคารพ และมีร่อ งรอยการไหว้สกั การะรูปป นด้ ั ้ วย
พวงมาลัย พร้อมทัง้ ปิดทองทีบ่ างบริเวณของรูปเคารพโดยเชื่อกันว่า จะทาให้มรี ูป งามเหมือน
นางพิม บริเวณทีม่ กี ารปิ ดทองได้แก่ หน้าผาก ปาก ติง่ หู หลังมือซ้าย บริเวณที่มกี ารปิ ดทอง
มากทีส่ ุดคือ ปาก นอกจากนี้บริเวณเล็บมือซ้ายของนางพิมมีสแี ดง น่าจะเป็นเพราะผูน้ ายาทา
เล็บมาถวายเป็นผูท้ าให้
จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ผูว้ จิ ยั พบว่า เมื่อ พ.ศ.๒๕๕๒
มีผนู้ าเครื่องสาอาง ได้แก่ แป้งผัดหน้า สีปดั แก้ม และยาทาเล็บ วางถวายรวมอยู่บนถาดอย่าง
ไม่เป็นระเบียบ แต่เมื่อ พ.ศ.๒๕๕๔ ผูว้ จิ ยั ไม่พบว่ามีการวางของถวายดังกล่าว ทัง้ นี้เป็ นเพราะ
ทางวัดได้จดั ระเบียบสภาพแวดล้อมหน้าวิหารใหม่
นอกจากนี้ วิญํู บุญยงค์ (๒๕๓๙: ๑๓๑) กล่าวถึงกลอง
ไชยเภรีของนางพิมไว้ในตามรอยขุนช้างขุนแผน ว่า ภายในวัดป่าเลไลยก์วรวิหารมีกลอง
โบราณซึ่งได้รบั การระบุว่าเป็ นของเล่นของนางพิมพิลาไลย เมื่อครัง้ สมัยเป็ นเด็ก ตัง้ อยู่ด้าน
ขวามือก่อนทางเข้าวิหาร ใกล้กบั รูปปนของนางพิ ั้ ม แต่จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ผู้วจิ ยั
ไม่พบว่ามีกลองดังกล่าวตัง้ อยู่ในบริเวณทีอ่ า้ งถึงแล้ว

๔.๒.๒.๒ รูปเคารพขุนช้าง

ภาพที่ ๗๒ รูปเคารพขุนช้างภายในบ้านขุนช้าง
วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุร ี
๑๕๗

รูปเคารพขุนช้างประดิษฐานอยู่ภายในศาลขุนช้าง ซึ่งอยู่ใน
บริเวณบ้านขุนช้าง วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร เป็ นรูปปนดิ ั ้ น ๒ องค์ อยู่ในท่ายืน ๑ องค์ และ
ท่านัง่ ๑ องค์ ลักษณะของรูปปนเป็ ั ้ นชายหัวล้าน นิ้วมือ สวมแหวนสีทอง ข้อ เท้าสวมกาไล
สีท อง มีร่ องรอยการปิ ดทองในบริเ วณต่ าง ๆ ได้แก่ หน้ า ผาก ตา แก้ม ปาก โดยบริเ วณ
หน้ าผากมีร่องรอยการปิ ดทองมากที่สุด นอกจากนี้ผวู้ จิ ยั พบว่า บริเวณหน้าแข้งของรูปป นั ้
มีผนู้ าปากกาสีดามาวาดเป็นเส้นขน เหมือนเป็นการสื่อถึงความร่ ารวยเป็ นเศรษฐี ตามสานวน
ไทย “ขนหน้ าแข้งไม่ร่วง” ด้านหน้ารูปปนทั ั ้ ง้ สอง มีรูปปนผูั ้ ห้ ญิงขนาดเล็กซึ่งมีผนู้ ามาถวาย
วางเอาไว้ นอกจากนี้ ภ ายในศาลยัง มีก ล่ อ งให้ ร่ ว มท าบุ ญ หน้ า กล่ อ งเขีย นข้อ ความว่ า
“พ่อขุนช้าง เจ้าสัวตัวจริงแห่งเมืองสุพรรณ” และมีกระบอกเซียมซีจานวนมากเตรียมไว้สาหรับ
ผูม้ าไหว้สกั การะ ซึ่งมักบูชาด้วยพวงมาลัยดาวเรือง นอกจากนี้พบว่าสิง่ ของที่ มผี นู้ ามาถวาย
ให้แก่พ่อขุนช้างมีหลากหลาย เช่น สร้อยคอสีทอง น้ าหวาน น้ าดื่ม ผลไม้ ฯลฯ โดยส่วนใหญ่
ผูท้ ม่ี าไหว้พ่อขุนช้างมักขอให้ตนร่ารวย มีเงินมีทองเหมือนขุนช้าง

๔.๒.๒.๓ รูปเคารพสมภารคง
ในเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน สมภารคงเป็ นอาจารย์
ที่ถ่ า ยทอดวิช าความรู้ ม ากมายให้แ ก่ เ ณรแก้ ว จากการเก็บ ข้อ มู ล ภาคสนามในจัง หวัด
สุ พ รรณบุ รี ผู้ว ิจ ัย พบรู ป เคารพสมภารคงประดิษ ฐานอยู่ ท่ีว ดั แค ๓ องค์ คือ รู ป เคารพที่
ประดิ ษ ฐานอยู่ ภ ายในศาลาสั ก การะ รู ป เคารพที่ ป ระดิ ษ ฐานอยู่ ใ นศาลหลวงปู่ ค ง
และรูปเคารพทีป่ ระดิษฐานอยู่ภายในศาลอาจารย์คง

๑) รูปเคารพสมภารคงทีป่ ระดิษฐานอยู่ภายใน
ศาลาสักการะ

ภาพที่ ๗๓ รูปเคารพสมภารคงภายในศาลาสักการะ วัดแค จังหวัดสุพรรณบุร ี


๑๕๘

รูปเคารพสมภารคงที่ป ระดิษ ฐานอยู่ ภ ายในศาลา


สักการะ วัดแค ชาวบ้านเรียกว่า หลวงพ่อคง เป็ นรูปหล่อหลวงพ่อคงห่มจีวร นังขั ่ ดสมาธิ
มือทัง้ สองข้างเหยียดตรงจับบริเวณหัวเข่า อยู่บนแท่นสูงกว่าพื้นศาลาประมาณ ๐.๕ เมตร
ด้านหน้าแท่นประดิษฐานรูปเคารพมีป้ายชือ่ “หลวงพ่อคง” ติดอยู่ รูปเคารพทัง้ องค์มรี ่องรอย
การปิ ด ทอง มีผู้น าสบงมาห่ม ถวาย มีการถวายน้ าดื่ม หมากพลู พวงมาลัย เพื่อ ไหว้
สักการะหลวงพ่อ คง ทัง้ นี้ด้านหน้ ารูปเคารพจะไม่มีกระถางธูปบู ชา แต่ ทางวัดได้เตรีย ม
สถานทีป่ กั ธูปบูชาไว้ดา้ นหน้าศาลาสักการะ

ภาพที่ ๗๔ บริเวณด้านหน้าศาลาสักการะ วัดแค จังหวัดสุพรรณบุร ี

ผู้ ว ิ จ ั ย พบว่ า รู ป เคารพหลวงพ่ อ คงองค์ น้ี เป็ น


รูปเคารพองค์เดียวกับที่วญ ิ ํู บุญยงค์ (๒๕๓๙: ๑๔๙) เคยกล่าวไว้ในตามรอยขุนช้ าง
ขุนแผน ว่าประดิษฐานอยู่ภายในวิหารพระพุทธมงคล วัดแค และมีป้ายบอกว่า “พระอาจารย์
คง อาจารย์ของขุนแผน” ปจั จุบนั ทางวัดได้ย้ายมาประดิษฐานบริเวณศาลาสักการะพร้อมกับ
รูปเคารพขุนแผนทีห่ ล่อขึน้ ใหม่ ดังได้กล่าวไปข้างต้น

๒) รูปเคารพสมภารคงทีป่ ระดิษฐานอยูภ่ ายใน


ศาลหลวงปูค่ ง

ภาพที่ ๗๕ รูปเคารพสมภารคงภายในศาลหลวงปู่คง วัดแค จังหวัดสุพรรณบุร ี


๑๕๙

รู ป เคารพสมภารคงที่ป ระดิษ ฐานอยู่ ภ ายในศาล


หลวงปู่คง เรียกว่า หลวงปู่คง ศาลดังกล่าวตัง้ อยู่บริเวณหน้าคุ้มขุนแผน เป็ นศาลเก่าแก่ท่ี
มีมานานแล้ว ไม่สามารถระบุได้วา่ เริม่ มีตงั ้ แต่เมื่อใด ปจั จุบนั แม้สภาพศาลจะเก่าและดูไม่เป็ น
ระเบียบเรียบร้อย แต่ยงั คงมีผมู้ าไหว้สกั การะสมภารคงทีศ่ าลนี้อยู่

๓) รูปเคารพสมภารคงทีป่ ระดิษฐานอยู่ในศาลอาจารย์คง

ภาพที่ ๗๖ รูปเคารพสมภารคงภายในศาลอาจารย์คง วัดแค จังหวัดสุพรรณบุร ี

รูปเคารพสมภารคงที่ประดิษฐานอยู่ในศาลอาจารย์
คง เรียกกันว่า อาจารย์คง หรือพระอาจารย์ค ง ศาลแห่งนี้ตงั ้ อยู่ภ ายในบริเวณคุ้มขุนแผน
วัดแค ใกล้กบั ต้นมะขามยักษ์ และศาลขุนแผน มีลกั ษณะเหมือนศาลเจ้าที่ สร้างขึน้ เมื่อวันที่
๑๗ กรกฎาคม ๒๕๒๙ ปจั จุบนั ยังมีผมู้ ากราบไหว้ขอพรและบนบานอยู่อย่างต่อเนื่อง

จากข้อมูลข้างต้น แม้ช่อื เรียกสมภารคงจะมีหลากหลาย


เช่ น หลวงพ่ อ คง หลวงปู่ค ง อาจารย์ค ง พระอาจารย์ ค ง แต่ ก ็ล้ ว นหมายถึง สมภารคง
ขรัววัดแคผูเ้ ป็นอาจารย์ของขุนแผนนันเอง

๔.๒.๒.๔ รูปเคารพกุมารทอง
รูปเคารพกุมารทองทีพ่ บทีว่ ดั แคเป็นรูปหล่อ มีชอ่ื ว่า กุมาร
ทองคา ประดิษฐานอยู่ภายในศาลาสักการะ กุมารทองคาอยู่ในท่านังขั ่ ดสมาธิ เหนือแท่นไม้
ศีรษะเกล้าจุก มือทัง้ สองข้างยกขึ้นอยู่ในท่ากวักมื อ รูปเคารพกุมารทองคามีร่องรอยการ
ปิ ดทองทัง้ องค์ นอกจากนี้เป็ นที่น่าสั งเกตว่า มีผู้บนบานขอพร นาของมาถวายและแก้บ น
จานวนมาก สิง่ ของทีน่ ามาถวาย ได้แก่ น้ าดื่ม น้ าหวาน นม ขนมขบเคีย้ ว ผลไม้ ของเล่น
เด็กผู้ชายจาพวกรถยนต์ รถมอเตอร์ไซค์ เสื้อผ้า กาไลข้อมือ สร้อยคอสีทอง สร้อยพระ
๑๖๐

เข็มขัด ทัง้ นี้ถา้ เป็นสิง่ ของจาพวกกาไลข้อมือ สร้อยคอ สร้อยพระ เข็มขัด ผูถ้ วายจะสวม
ให้แก่รูปเคารพ ไม่ได้วางถวายไว้ดา้ นหน้ารูปเคารพเหมือนของอื่น ๆ

ภาพที่ ๗๗ รูปเคารพกุมารทอง วัดแค จังหวัดสุพรรณบุร ี

นอกจากนี้ หน้ าแท่ นบูชาอันเป็ น ที่ประดิษฐานรู ปเคารพ


กุม ารทองยัง มีแผ่นป้ ายเชิญชวนให้ผู้มาไหว้สกั การะร่ว มท าบุญ บริจาคเงินแก่ท างวัด ด้ว ย
ดังมีขอ้ ความว่า

กุมารทองคา
ตาจ๋า ยายจ๋า ร่วมบุญค่าน้ า ค่าไฟ เอาช้างแดงใส่ในถุงเงิน
ถุงทองได้ครับ ขอบคุณครับ...!!!

ั ้ มารทองขนาดเล็ก
ผูว้ จิ ยั พบว่า ในสมัยก่อนวัดแคมีรูปปนกุ
ั ้ นแผนในวิหารพระพุทธมงคล แต่เมื่อมีการหล่อรูปขุนแผนขึน้ ใหม่ จึงได้
อยู่ด้านหน้ ารูปปนขุ
หล่อรู ปกุม ารทอง บุตรชายผู้มีฤทธิ ์ของขุน แผนขึ้นใหม่ใ ห้ม ีข นาดใหญ่ ก ว่าเดิม แล้ว นามา
ประดิษฐานไว้ร่วมกันในศาลาสักการะด้วย

๔.๓ ข้อมูลคติ ชนประเภทวัตถุมงคล


ข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรอี กี ประเภทหนึ่งคือ วัตถุมงคล
เกีย่ วกับขุนแผน ดังได้กล่าวแล้วในบทที่ ๓ ว่า ในจังหวัดกาญจนบุรี มีการนาชื่อของขุนแผน
ไปตัง้ ชื่อวัตถุมงคล โดยเชื่อว่าวัตถุม งคลดังกล่าวมีพุทธคุณที่สอดคล้องกับคุณลักษณะหรือ
คุณสมบัติข องขุนแผน ในจังหวัดสุพ รรณบุรีก็เช่น เดีย วกัน วัตถุ มงคลเกี่ยวกับขุน แผนที่
พบมากและเป็นทีร่ จู้ กั มากทีส่ ุดคือ วัตถุมงคลประเภทพระเครื่อง หรือพระขุนแผน
๑๖๑

พระขุนแผนจากกรุท่พี บในจังหวัดสุพรรณบุรไี ด้รบั การกล่าวขานจากผูท้ ่อี ยู่ในวงการ


พระเครื่องว่า มีความเก่าแก่และศักดิ ์สิทธิ ์ เพราะเชือ่ กันว่าสร้างและบรรจุกรุไว้ตงั ้ แต่สมัยกรุงศรี
อยุธยา อย่างไรก็ตาม นอกจากพระขุนแผนที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรีจะเป็ นพระเครื่องที่
แตกกรุโบราณออกมาแล้ว ผูว้ จิ ยั พบว่ามีพระขุนแผนที่ได้รบั การจัดสร้างและปลุกเสกขึน้ ใหม่
โดยพระสงฆ์เป็นผูป้ ลุกเสกอยู่หลายรุ่น ดังจะกล่าวโดยละเอียดต่อไป
อุทยั สินธุสาร (๒๕๔๒: ๓๘๙๖) กล่าวไว้ในสารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง
เล่ม ๙ ว่า พระขุนแผนที่รู้จกั กันดีนนั ้ พบจากกรุใน ๓ จังหวัดคือ จังหวัดสุพรรณบุรี จังหวัด
กาญจนบุรี และจังหวัดพระนครศรีอยุธยา จังหวัดสุพรรณบุรเี ป็นจังหวัดทีพ่ บพระขุนแผนมาก
ที่สุ ด กรุ ใ หญ่ คือ กรุ ว ัด บ้ า นกร่ า ง พบพระขุ น แผนพิม พ์ห้ า เหลี่ย ม พระขุน แผนทรงพล
พระขุนแผนพิมพ์ใบไม้ร่วง พระขุนแผนพิมพ์เถาวัลย์เลื้อย พระขุนแผนใบมะยม นอกจาก
กรุ ว ดั บ้า นกร่ า งแล้ว ยัง มีก รุ ว ัด พระรู ป ต าบลรัว้ ใหญ่ พบพระขุน แผนไข่ผ่ า ซี ก ซึ่ ง เชื่อ ว่ า
มีอายุมากกว่าพระขุนแผนพิมพ์ห้าเหลี่ยมกรุวดั บ้านกร่างทัง้ หมดนับร้อยปี พบพระขุนแผน
แตงกวาผ่า นอกจากนี้ยงั พบพระขุนแผนที่กรุอ่นื ๆ อีก เช่น กรุวดั ประตูสาร กรุวดั ละคร
กรุวดั แสงจันทร์ กรุวดั แค กรุวดั ปา่ เลไลยก์ กรุวดั พลายชุมพล เป็นต้น
พระขุนแผนทีพ่ บจากการแตกกรุในจังหวัดสุพรรณบุรจี งึ มีทม่ี าจากหลายกรุ มีลกั ษณะ
พิมพ์และเนื้อดินทีแ่ ตกต่างกันในรายละเอียดเล็กน้อย แต่กไ็ ด้รบั การขนานนามว่า พระขุนแผน
เช่ น เดีย วกัน นอกจากนี้ ผู้ว ิจ ัย ยัง พบว่ า มีพ ระเครื่อ งเมือ งสุ พ รรณซึ่ง อยู่ ใ นชุ ด เดีย วกับ
พระขุนแผน มนัส โอภากุล (๒๕๔๒: ๓๙๒๓) ได้แสดงภาพพระเครื่องสมัยอยุธยา (ตอนกลาง
– ตอนปลาย) ไว้ในสารานุ กรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง เล่ ม ๙ เป็ นภาพพระขุนแผน
พิมพ์ต่าง ๆ และพบว่ามีภาพพระพลายงาม พระพันวษา ปรากฏรวมอยู่ดว้ ย
วิญํู บุญยงค์ (๒๕๓๙: ๑๖๗ – ๑๘๑) กล่าวถึงพระเครื่องชุด ขุนแผนไว้ในหนังสือ
ตามรอยขุนช้างขุนแผน ว่า พระเครื่องเมืองสุพรรณทีไ่ ด้รบั การยอมรับและศรัทธาว่าสามารถ
ช่วยป้องกันภยันตรายต่าง ๆ จนถึงกับขนานนามพระเครื่องชุดนี้ให้สอดคล้องกับตัวละครใน
วรรณคดีเรื่องขุน ช้า งขุนแผนคือ พระกรุว ดั พระรูป ซึ่ง มีท งั ้ หมด ๕ แบบคือ พระขุนแผน
พระขุนไกร พระพลายงาม พระพันวษา และพระกุมารทอง พร้อมกันนี้ได้กล่าวอธิบายเรื่อง
พระเครื่องชุดขุนแผนกรุวดั พระรูปไว้อย่างน่าสนใจ ดังนี้

พระขุนแผน เดิมเรียกกันว่า “พระหลังเบีย้ ” เพราะด้านหลัง


อูมเหมือนเบี้ยจัน่ ต่อมาเรียกเป็ นพระขุนแผนโดยไม่ทราบว่าใคร
เป็ น ผู้ต ัง้ ชื่อ นี้ มนั ส โอภากุ ล ในฐานะผู้เ ชี่ย วชาญพระเครื่อ ง
เมืองสุพรรณ สันนิษฐานว่า นักนิยมพระรุ่นก่อนคงเป็ นผูต้ งั ้ ชื่อขึ้น
เพราะเห็นใต้องค์พระซึ่งเป็ นฐานประทับมีลกั ษณะคล้ายเด็กนอน
๑๖๒

หงาย จึงอนุ มานเอาว่าเป็ นรูปกุมารทอง ดังนัน้ เมื่อข้างล่างเป็ น


กุมารทอง ข้างบนก็ต้องเป็ นขุนแผน ในวงการพระเครื่อ งเชื่อว่า
พระขุนแผนมีอทิ ธิฤทธิ ์มากมายดังเช่นตัวขุนแผนในวรรณคดี
พระขุนไกร เป็ นพระกรุเดียวกับพระขุนแผน นักนิยมพระ
รุ่ น ก่ อ นคงจะตัง้ ชื่อ ขึ้น มาจากความเชื่อ ว่ า ใครมีพ ระขุน ไกรไว้
ครอบครองจะช่ว ยให้ร อดพ้น จากภยัน ตรายได้ โดยถือ ว่ า เหตุ ท่ี
ขุน ไกรฆ่ า ควายป่ า จนต้ อ งพระราชอาญาประหารชีว ิต ครัง้ นั น้
เป็ น เพราะมีเ จตนาจะปกป้ องมิให้พ ระเจ้า แผ่น ดิน ได้ร ับ อัน ตราย
จึงควรยกย่องว่าขุนไกร “เป็ นผู้พิทกั ษ์อนั ตราย” และใครบูชาพระ
ขุนไกรก็จะรอดพ้นจากภยันตราย
พระพลายงาม เป็ น พระที่ ม ีอ ิท ธิฤ ทธิท์ างแคล้ ว คลาด
ปลอดภัย ดังคราวถูกขุนช้างลวงไปฆ่า แต่พลายงามก็สามารถรอด
ชีวติ นอกจากนัน้ ยังให้โชคลาภ และประสบแต่ความสุข ลักษณะ
ของพระมีขนาดเกือบเท่าพระขุนแผน แต่ย่อมกว่าเล็กน้อย เป็นพิมพ์
ค่อนข้างตื้น ไม่งดงามเท่าพระขุนแผน องค์พระสูงชลูด เป็ นศิลปะ
อู่ทองสมัยเดียวกับพระขุนแผน และพระขุนไกร
พระพันวษา พระพิมพ์พ ระพัน วษา เป็ น พระที่ค่อ นข้า ง
หายาก เพราะมีลกั ษณะพิเศษตรงทีบ่ ริเวณด้านบนองค์พระเป็ นฉัตร
แสดงให้เห็นว่าเป็ นฉัตรพระมหากษัตริย์ ชัน้ ของฉัตรมีตงั ้ แต่ ๓ ชัน้
ไปจนถึง ๖ ชัน้ เป็ นพระพิม พ์ศ ิลปะอู่ท อง ในวงการพระเครื่อ ง
ถือ ว่ า ผู้ บู ช าพระพิม พ์ พ ระพัน วษาจะช่ ว ยให้ เ กิด อ านาจบารมี
เป็นสง่าราศีมมี งคลแก่ชวี ติ
พระกุมารทอง เป็ นพระเครื่องที่หายากที่สุดในพระเครื่อง
ชุด ขุ น แผนกรุ ว ดั พระรู ป เป็ น พระเนื้ อ ดิน เผาเช่น เดีย วกับ พระ
ขุน แผน พระพลายงาม พระขุ น ไกร และพระพัน วษา แต่ พุ ท ธ
ลักษณะแตกต่างจากพิมพ์อ่นื ๆ โดยรูปทรงองค์พระเป็ นเส้นนู นต่ า
คดเคีย้ วสลับซับซ้อนกันทัง้ องค์ บางคนเรียกว่า “พระยุ่ง” ในวงการ
พระเครื่องได้ยกเอาวรรณคดีตอนทีข่ นุ แผนผ่าท้องนางบัวคลี่และเอา
ลู ก ชายมาปลุ ก เสกเป็ น กุ ม ารทอง มีอ ิท ธิฤ ทธิ ม์ ากมาย เชื่อ ว่ า
ลวดลายที่ส ลับ ซับ ซ้อ นในองค์พระคือ การแสดงให้เ ห็น อิ ท ธิฤ ทธิ ์
สมดังชือ่ พระกุมารทอง
๑๖๓

จากข้อมูลข้างต้น จะเห็นได้ว่า นอกจากชื่อของขุนแผนจะได้รบั การนามาตัง้ เป็ นชื่อ


พระเครื่องแล้ว ชื่อตัวละครอื่น ๆ ได้แก่ ขุนไกร พลายงาม พระพันวษา และกุมารทอง ก็ได้
นามาตัง้ เป็นชือ่ พระเครื่องในชุดขุนแผน โดยมีความเชือ่ ว่าพระเครื่องต่าง ๆ ดังกล่าวมีพุทธคุณ
เป็นทีป่ ระจักษ์ สอดคล้องกับคุณสมบัตขิ องตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผนทีน่ ามาตัง้ เป็นชือ่
อย่างไรก็ตาม จากการเก็บข้อมูลภาคสนามเกี่ยวกับวัตถุมงคลเกี่ยวกับพระขุนแผน
ผูว้ จิ ยั ได้เก็บรวบรวมข้อมูลพระขุนแผนจากพิพธิ ภัณฑ์พระขุนแผนและพระเครื่ องเมืองสุพรรณ
ซึ่งอยู่ท่วี ดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพ รรณบุรี แต่ก ลับไม่พ บว่ามีก ารจัดแสดงพระพิม พ์
พระพันวษา พระขุนไกร พระพลายงาม และพระกุมารทอง แต่อย่างใด พระเครื่องที่จดั แสดง
ในพิพธิ ภัณฑ์ส่วนใหญ่เป็นพระขุนแผนจาลองรุ่นต่าง ๆ

ภาพที่ ๗๘ พิพธิ ภัณฑ์พระขุนแผนและพระเครื่องเมืองสุพรรณ วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร

ผูว้ จิ ยั จะจาแนกข้อมูลคติชนประเภทวัตถุมงคลเกีย่ วกับขุนแผนที่ได้จากการเก็บข้อมูล


ภาคสนามและจากการรวบรวมเอกสารต่าง ๆ ตามกรุทพ่ี บหรือตามแหล่งทีจ่ ดั สร้างวัตถุมงคล
ต่าง ๆ ได้ดงั นี้
๔.๓.๑ พระขุนแผนกรุวดั บ้านกร่าง
๔.๓.๒ พระขุนแผนกรุวดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร
๔.๓.๓ พระขุนแผนกรุวดั แค

๔.๓.๑ พระขุนแผนกรุวดั บ้านกร่าง


พระขุนแผนกรุวดั บ้านกร่าง เป็นพระขุนแผนทีไ่ ด้รบั การขนานนามว่ามีอายุ
เก่าแก่ เพราะสร้างมาตัง้ แต่สมัยกรุงศรีอยุธยา พุทธคุณเป็ นที่ประจักษ์ด้านอยู่ยงคงกระพัน
เมตตามหานิยม
เอกสารประชาสัมพันธ์จงั หวัดสุพรรณบุรี (๒๕๔๘: ๑๙ – ๒๑) ซึ่งศูนย์
ข้อมูลการท่องเทีย่ ว การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทยจัดทาขึน้ เมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๒ อธิบายข้อมูล
เกีย่ วกับวัดบ้านกร่างไว้ว่า วัดบ้านกร่างเป็ นวัดเก่าแก่ตงั ้ แต่สมัยอยุธยา สันนิษฐานว่าน่ าจะมี
๑๖๔

อายุร่วม ๔๐๐ ปี เป็นวัดทีม่ กี รุพระขุนแผนบ้านกร่าง เป็ นเนื้อดินเผาศิลปะอยุธยา สันนิษฐาน


ว่า สร้า งขึ้นหลังสงครามยุ ทธหัตถีระหว่า งสมเด็จ พระนเรศวรมหาราชกับพระมหาอุ ปราช
เมื่อตอนยกทัพกลับผ่านอาเภอศรีประจันต์ได้พกั ทัพริมฝงแม่ ั ่ น้ าสุพรรณบุรี ทรงรับสั ่งให้ทหาร
สร้างพระเครื่องซึ่งเล่ากันว่า เป็ นจานวนถึง ๘๔,๐๐๐ องค์ บรรจุในกรุวดั บ้านกร่างเพื่ออุทิศ
ส่วนกุศลให้แก่ทหารทีเ่ สียชีวติ พระพิมพ์บ้านกร่างคู่เป็ นพระที่มคี วามหมายมาก ในการสร้าง
พระครัง้ นี้แม่พมิ พ์แกะเป็นสององค์คู่กนั โดยสมมติให้เป็ นองค์สมเด็จพระนเรศวรมหาราชและ
สมเด็จพระเอกาทศรถ พระรูปแบบนี้หายากในกรุอ่นื ๆ ทัวประเทศไทย ่
มนัส โอภากุล (อ้างถึงในวิญํู บุญยงค์, ๒๕๓๙: ๑๗๗) แสดงทัศนะ
เกีย่ วกับพระเครื่องวัดบ้านกร่างไว้โดยทาให้เห็นข้อมูลที่สอดคล้องกันเรื่องผูส้ ร้างพระขุนแผน
กรุวดั บ้านกร่างว่า ผูส้ ร้างพระกรุวดั บ้านกร่างน่าจะเป็ นสมเด็จพระนเรศวรมหาราชและสมเด็จ
พระเอกาทศรถ เมื่อคราวกรีธาทัพผ่านมาทางอาเภอศรีประจันต์ เพื่อรบกับพระมหาอุปราชา
หลังจากทรงกระทายุทธหัตถีชนะพระมหาอุปราชาแล้วคงเดินทัพกลับมาทางเดิมซึ่งเวลานัน้
อาจมีวดั บ้านกร่างอยู่ก่อนหรือไม่มกี ไ็ ด้ แต่ทงั ้ สองพระองค์ทรงสร้างพระเครื่องประจุลงในเจดีย์
เพื่อเป็นพุทธบูชา หรือเพื่ออุทศิ ส่วนกุศลให้แก่ทหารหาญของพระองค์ทต่ี อ้ งเสียชีวติ ในการร่วม
สงครามยุทธหัตถีครัง้ นัน้ ต่อมาเมื่อวรรณคดีขนุ ช้างขุนแผนเฟื่ องฟู ผูน้ ิยมพระเครื่องจึงนาชื่อ
พระขุ น แผนมาตัง้ เป็ น ชื่อ พระชุ ด นี้ ซ่ึ ง มี ท ัง้ หมด ๓๙ พิ ม พ์ แต่ ล ะพิ ม พ์ จ ะมี ช่ือ หน้ า ว่ า
“พระขุนแผน...” ทัง้ สิน้
ผู้ว ิจ ัย พบว่ า ชื่อ ของขุ น แผนได้ ร ับ การน าไปตัง้ เป็ น ชื่อ พระเครื่อ งกรุ
วัดบ้านกร่างและเชือ่ กันว่า พระขุนแผนกรุวดั บ้านกร่างมีพุทธคุณหรือมีอทิ ธิฤทธิ ์เช่นเดียวกับ
ขุนแผนในวรรณคดี คือ บูชาแล้วจะมีเสน่ ห์ เมตตามหานิยม คงกระพันชาตรี แทงฟ นั ไม่เข้า
มีอานาจบารมี และหากผูบ้ ูชาเป็นชายก็จะเป็นทีห่ มายปองของหญิงสาว

๔.๓.๒ พระขุนแผนกรุวดั ป่ าเลไลยก์วรวิ หาร


พระขุนแผนกรุวดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร เป็ นพระขุนแผนที่ผนู้ ิยมพระเครื่อง
รูจ้ กั กันดีอกี กรุหนึ่ง เนื่องด้วยวัดปา่ เลไลยก์วรวิหารแห่งนี้ ในอดีตเคยเป็นสถานทีบ่ วชเรียนของ
เณรแก้ว พระขุนแผนกรุวดั ปา่ เลไลยก์วรวิหารนี้มที งั ้ ทีแ่ ตกกรุออกมาและจัดสร้างขึน้ ภายหลัง
โดยส่วนใหญ่พระวิสุทธิสารเถร (หลวงพ่อถิร) ซึ่งเป็ นชาวสุพรรณบุรแี ต่กาเนิ ดเป็ นผูป้ ลุกเสก
เริม่ จัดสร้างราวปี พ.ศ.๒๔๘๐ ถอดแบบมาจากพระขุนแผนกรุเก่าของวัดพระรูป
ภายในพิพิธภัณฑ์พ ระขุนแผนและพระเครื่อ งเมือ งสุพ รรณจัดแสดงป้าย
อธิบายประวัตแิ ละความเป็นมาของพระขุนแผนกรุวดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรไี ว้
มีขอ้ ความดังนี้
๑๖๕

พระขุนแผน กรุวดั ป่ าเลไลยก์วรวิ หาร สุพรรณบุรี


หลวงพ่ อ ถิร แห่ ง วัด ป่ า เลไลยก์ สุ พ รรณบุ รี ท่ า นเป็ น
ชาวเมือ งขุ น แผนโดยก าเนิ ด หลวงพ่ อ ถิร มีช่ือ เสีย งมากในยุ ค
สมัยก่อน เวลามีงานพุทธาภิเษกในเมืองสุพรรณบุรหี รือแถบจังหวัด
ใกล้เคียงคราใด ท่านจะต้องได้รบั นิมนต์ไปร่วมทุกครัง้ พระขุนแผน
ไข่ผ่า ซีกเป็ นหนึ่ง ในพระเครื่องจานวนมากมายหลายพิมพ์ท่ที ่า น
จัด สร้ า งขึ้น โดยส่ ว นมากพระเครื่อ งที่ท่ า นจัด สร้า งด้ว ยเนื้ อ ดิน
ด้านหลังมักมีตรามงกุฏ อันเป็นเครื่องหมายของพระบาทสมเด็จพระ
จุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ประทับอยู่ ซึ่งเป็นตราเดียวกับทีป่ ระดิษฐานอยู่
ที่ ห น้ า บรรณพระวิ ห ารหลวงพ่ อ โต วัด ป่ า เลไลยก์ ส าหรั บ
พระขุนแผนไข่ผ่าซีกรุ่นแรกที่ท่านจัดสร้างขึน้ ในราวปี พ.ศ.๒๔๘๐
นัน้ ได้ถอดแบบมาจากพระขุนแผนกรุเก่าของวัดพระรูป แบ่งแยกเป็น
๒ แบบ คือ พิมพ์นิยมมีเข็มและพิมพ์ไม่มเี ข็ม โดยพิมพ์นิยมมีเข็ม
หรื อ เส้ น ลวดเล็ ก ๆ ฝ งั ไว้ ท่ี ก้ น ด้ า นล่ า งของพระ พระชุ ด นี้ มี
ประสบการณ์ ด้ า นแคล้ ว คลาดคงกระพัน ไม่ แ พ้ ก รุ เ ลยที เ ดี ย ว
โดยเฉพาะด้านเมตตามหานิยมแล้วการันตีได้เลย มิฉะนัน้ พวกหนุ่ ม
เมืองขุนแผนทัง้ หลายคงจะไม่นิยมนาพระขุนแผนของท่านติดตัวไว้
เป็นประจา

ตัวอย่างพระขุนแผนกรุวดั ปา่ เลไลยก์วรวิหาร มีดงั นี้


- พระขุนแผนไข่ผา่ ฝงั เข็ม พระวิสทุ ธิสารเถร (หลวงพ่อถิร)
สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๑๖
- พระขุนแผนไข่ผา่ ซีก พระวิสุทธิสารเถร (หลวงพ่อถิร)
สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๔๙๐ อายุ ๖๒ ปี
- พระขุนแผน รุ่น ปลัดทวี หลวงพ่อมุ่ย ปลุกเสก พ.ศ.๒๔๙๐
- พระขุนแผน รุ่น “เณรแก้ว” สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๑
- พระขุนแผน รุ่น “สมภารมี” วัดปา่ เลไลยก์ สร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๕๒
- พระขุนแผน พิมพ์เถาวัลย์เลือ้ ย เป็นต้น

จากการเก็บข้อ มู ลภาคสนาม ผู้วจิ ัยพบว่า วัดป่าเลไลยก์วรวิหารยังคง


จัด สร้า งและปลุ ก เสกพระขุ น แผนรุ่ น ต่ า ง ๆ อยู่ ใ นป จั จุ บ ัน และมีก ารจัด แสดงแม่ พ ิม พ์
พระขุ น แผนรุ่ น ต่ า ง ๆ ไว้ใ นพิพิธ ภัณ ฑ์ พ ระขุ น แผนและพระเครื่อ งเมื อ งสุ พ รรณด้ ว ย
๑๖๖

และจากการพิจารณาลักษณะขององค์พระขุนแผนกรุวดั ปา่ เลไลยก์วรวิหารรุ่นต่าง ๆ ทีจ่ ดั สร้าง


ขึ้น ภายหลัง พบว่ า มีล ัก ษณะพิม พ์ แ ตกต่ า งกัน อยู่ บ้า ง จึง ได้ ส อบถามเจ้ า หน้ า ที่ป ระจ า
พิพธิ ภัณฑ์ฯ ได้ความว่า ในการจัดสร้างจะมีแม่พมิ พ์พระขุนแผนทีจ่ ดั ทาขึน้ พระขุนแผนที่ต่าง
รุ่นกันจึงมีลกั ษณะองค์พระแตกต่างกันในรายละเอียดอยู่เล็กน้อย เช่น พระขุนแผนเคลือบรุ่น
“สมภารมี” ก็จะมีลกั ษณะเฉพาะคือ
๑) พระเกศคล้ายดอกบัวตูม จรดซุ้ม
๒) พระกรรณ (หู) ด้านซ้าย คล้ายตัวภาษาอังกฤษตัวแอล
๓) พระเนตร (ดวงตา) ด้านขวาใหญ่กว่าด้านซ้าย
๔) เส้นซุ้ม ขวาซ้าย ด้านบนทัง้ สองข้างจรดจะงอย
๕) เสาทัง้ สองข้างเป็นเส้นคู่เห็นได้ชดั
๖) ลาตัวขององค์พระจะใหญ่
๗) ฐานชัน้ ล่างจะเป็นเส้นใหญ่ (นูนหนา) และปลายฐานจรดมุม

นอกจากนี้ยงั สังเกตได้ว่า พระขุนแผนกรุวดั ป่าเลไลยก์วรวิหารที่จดั สร้าง


และปลุกเสกในช่วงปจั จุบนั จะมีก ารตัง้ ชื่อ รุ่นโดยนาชื่อ ของตัวละครในเสภาเรื่องขุนช้ าง –
ขุนแผน มาประกอบชือ่ รุ่นด้วย เช่น พระขุนแผน รุ่น “เณรแก้ว” พระขุนแผน รุ่น “สมภารมี”
พุทธคุณของพระขุนแผนกรุวดั ป่าเลไลยก์วรวิหารโดดเด่นในด้านแคล้วคลาดคงกระพัน และ
เมตตามหานิยม สอดคล้องกับเรื่อ งราวในวรรณคดีท่เี ณรแก้วเคยบวชเรียนที่วดั ป่าเลไลยก์
แห่งนี้ และมีสมภารมีเป็นอาจารย์ผฝู้ ึกวิชาให้จนเณรแก้วรอบรูส้ รรพวิชาต่าง ๆ เป็นอย่างดี

๔.๓.๓ พระขุนแผนกรุวดั แค
พระขุนแผนกรุวดั แค เป็ นพระขุนแผนกรุท่มี ีผู้นิยมพระเครื่องสนใจมาก
อีกกรุหนึ่ง พุทธคุณเป็ นที่ประจักษ์ในด้านอยู่ยงคงกระพันและเมตตามหานิยมเช่นเดียวกับ
พระขุนแผนกรุอ่นื ๆ วัดแคแห่งนี้เป็นทีบ่ วชเรียนอีกแห่งหนึ่งของเณรแก้ว และการบวชเรียน
ทีน่ ่ที าให้เณรแก้วได้เรียนวิชาการหลากหลายจากสมภารคง
จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ผูว้ จิ ยั พบว่า นอกจากพระขุนแผนแล้ว วัดแค
ยังจัดสร้างและปลุกเสกวัตถุมงคล พร้อมทัง้ เปิ ดโอกาสให้ผสู้ นใจบูชาสามารถทาบุญเพื่อบูชา
วัตถุมงคลได้ตลอด และมีการจัดสร้างอย่างต่อเนื่ อง วัตถุ มงคลที่วดั แคจัดสร้า งและได้ร ับ
ความนิยมส่วนใหญ่เป็นวัตถุมงคลเกีย่ วกับขุนแผน และมีวตั ถุมงคลเกีย่ วกับตัวละครอื่นในเรื่อง
ขุนช้างขุนแผน ได้แก่ หลวงปูค่ ง และกุมารทอง
๑๖๗

แผ่นพับประชาสัมพันธ์ขอ้ มูลต่าง ๆ ของวัดแค ระบุรายการวัตถุมงคลที่


วัดแคจัดสร้างและปลุกเสกในรุ่นเศรษฐีมหาศาล เป็ นตัวอย่างวัตถุมงคลที่วดั แคจัดสร้างขึ้น
มีดงั นี้

๑) พระขุนแผน หลวงปูค่ ง เนื้อสามกษัตริย์ (พิมพ์ใหญ่)


๒) พระขุนแผน หลวงปูค่ ง เนื้อสามกษัตริย์ (พิมพ์เล็ก)
๓) พระขุนแผนหลวงปูค่ ง (เนื้อผง)
๔) พระขุนแผนไข่ผา่ ซีก
๕) หลวงปูค่ งลอยองค์
๖) หลวงปูค่ งครอบแก้ว
๗) พระพุทธมงคล
๘) เหรียญหลวงปูค่ งสอนสามเณรแก้ว
๙) กาไลเศรษฐีมหาศาล

นอกจากนี้ ในการบูชาวัตถุมงคล ผูบ้ ูชาจะได้รบั คาถาสาหรับบูชาวัตถุมงคล


แนบไปพร้อมกับวัตถุมงคลด้วย แผ่นคาอธิษฐานขอพรจากวัตถุมงคล มีความดังนี้

แผ่นคาอธิ ษฐาน ฉบับที่ ๑ มีความว่า

คาอธิฐานขอพรหลวงปูค่ ง พ่อท่านขุนแผน พญาต่อเงิน พญาต่อทอง


รุ่นเศรษฐีมหาศาล ๒
วัดแค ตาบลรัว้ ใหญ่ อาเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี

ข้าพเจ้า ชื่อ...............นามสกุล...............ขอประกาศสัจจะอธิฐาน
บุ ญ กุ ศ ลที่ข้า พเจ้า ได้ ส ร้า งมาตัง้ แต่ อ ดีต ชาติ จนถึง ป จั จุ บ ัน ชาติ
สร้างบุญมาข้ามชาติ ข้ามภพ มาบรรจบในชาติป จั จุบนั นี้ ขออุทิศ
ถวายบุ ญ นี้ แ ด่ ห ลวงปู่ ค ง พ่ อ ท่ า นขุน แผน ตลอดถึง สิ่ง ศัก ดิ ส์ ิท ธิ ์
ทัง้ หลาย ขอให้สิ่งที่ข้าพเจ้าปรารถนานัน้ จงสาเร็จ โดยเร็ว พลัน
นับตัง้ แต่วนิ าทีน้ี จากนี้สบื ไปเมื่อหน้าเทอญ...

เมือ่ คุณสาเร็จความปรารถนาในสิง่ นัน้ ๆ ให้คุณทาบุญ แล้วกรวดน้ า


อุทศิ ถวายแด่หลวงปูค่ ง พ่อท่านขุนแผน ทุกครัง้ ไป
๑๖๘

แผ่นคาอธิ ษฐาน ฉบับที่ ๒ มีความว่า

คาถาหัวใจขุนแผน คาถาหัวใจยันต์พระเจ้า ๕ พระองค์ และคาถา


หัว ใจพระฉิ ม พลีห มัน่ ท่ อ งเป็ น ประจ า เพื่อ เพิ่ม เสน่ ห์ ใ ห้ ใ คร ๆ
ประทับใจ เกิดโชคลาภ ค้าง่าย ขายคล่อง ป้องกันภัย กันผี และเป็ น
เมตตามหานิยมดีนกั แล

นะ มะ อะ อุ สุ นะ โม โล นะ โม พุทธายะ นะ ชา ลี ติ

อนึ่ ง ในช่ ว งวัน เสาร์ ๕ (ขึ้น ๕ ค่ า เดื อ น ๕) วัด แคมี ก ารปลุ ก เสก
พระขุนแผนเนื้อดินเผา รุ่นเสาร์ ๕ พิมพ์ใบมะยม พิมพ์แขนอ่อน พิมพ์เทวดา จัมโบ้ พิมพ์ซุ้ม
เรือ นแก้ว พิมพ์ประธาน อันเกิดจากการประชุม ผงพุทธคุณศัก ดิ ์สิทธิอ์ นั หาได้ยาก ได้แ ก่
ผงเก่าพระขุนแผนวัดแค ผงพระขุนแผน รุ่นรักกัน ผงรังพญาต่อเงิน พญาต่อทอง ดินและใบ
มะขามยักษ์อายุพนั ปี วัดแค และมีการปลุกเสกกุมารทองคา รุ่นเสาร์ ๕ ซึ่งมีพธิ มี งั คลาภิเษก
วัน เสาร์ท่ี ๒๐ มีนาคม พ.ศ.๒๕๕๓ โดยแผ่น พับ ประชาสัมพันธ์การจัดสร้า งกุ มารทองค า
รุ่นเสาร์ ๕ ระบุทม่ี าของการจัดสร้างกุมารทองคาไว้ว่า “วัดแคเป็ นวัดสาคัญทางประวัตศิ าสตร์
เนื่องด้วยขุนแผนสมัยเป็ นสามเณรแก้วได้มาร่ าเรียนวิชาอาคมจากพระอาจารย์ค งซึ่งเป็ น
อาจารย์ใหญ่ ท่วี ดั แค กาลเวลาถึงแม้จะล่วงเลยมาเป็ นเวลาหลายร้อยปี แต่ตานานของการ
กาเนิดกุมารทองซึ่งเป็นลูกของขุนแผนกับนางบัวคลีน่ นั ้ เห็นได้วา่ กุมารทองมีฤทธิ ์มีเดชที่คอย
ช่วยเหลือขุนแผน จึงเป็นทีม่ าของการสร้างกุมารทองให้เป็นสิง่ ศักดิ ์สิทธิ ์คู่วดั แคสืบไป”
นอกจากนี้ ผูว้ จิ ยั พบว่า วัดแคยังมีการปลุกเสกกุมารทองอีกหลายครัง้ เช่น
กุมารทองคา รุ่น ๒ (งานเข้า) ขนาดหน้ าตัก ๓ นิ้ว สร้างจานวน ๒๓๔ องค์ ทาบุญองค์ละ
๒,๐๙๙ บาท เททองหล่อ เมื่อวันที่ ๑๑ กรกฎาคม ๒๕๕๓ กุมารทอง ๒๐๐๒ เงิน ทอง นาก
ซึ่งจัดสร้างในตอนทีม่ ขี า่ วพบซากทารก ๒,๐๐๒ ศพ ที่วดั ไผ่เงินโชตนาราม กรุงเทพมหานคร
โดยมีขอ้ ความประชาสัมพันธ์ ดังนี้

ปรากฏการณ์ ว ัต ถุ ม งคลอาถรรพ์ สุ ด เข้ม ขลัง ใครมีไ ว้


ค้ า ขายดี มี โ ชคลาภ และเป็ น ประวัติ ศ าสตร์ ใ นการสร้ า งบุ ญ
กุมารทอง ๒๐๐๒ เงิน ทอง นาก ปลุกเสก ณ วัดแค และวัดไผ่เงิน
โชตนาราม (วัด ที่ พ บซากทารก ๒,๐๐๒ ศพ มี ว ัต ถุ ป ระสงค์
ในการสร้ า ง ๓ ประการ คือ ประการแรก เพื่อ สมทบทุ น บู ร ณะ
ศาลาการเปรียญ วัดแค ยกเป็นสองชัน้ ประการที่สองคือ ร่วมสร้าง
๑๖๙

พระพุทธรูปประจาวันเกิด ๙ ปาง เพื่ออุทศิ บุญให้ดวงวิญญาณทารก


๒ ๐ ๐ ๒ แ ล ะ ด ว ง วิ ญ ญ า ณ เ ด็ ก เ ร่ ร่ อ น เ ด็ ก ที่ ถู ก ท า แ ท้ ง
ทัว่ ราชอาณาจัก ร เพื่ อ ประดิ ษ ฐาน ณ วัด ไผ่ เ งิ น โชตนาราม
กรุงเทพ ฯ และประการสุ ดท้ายคือ เพื่อร่ วมสร้างอุท ยานอนุ สรณ์
สถานทารก ๒๐๐๒

จากข้อมูลคติชนประเภทวัตถุมงคลเกี่ยวกับขุนแผนที่กล่าวมาข้างต้น จะเห็นได้ว่า
ในจังหวัดสุพรรณบุรมี พี ระขุนแผนที่แตกกรุโบราณออกมาจานวนหลายกรุ เช่น กรุวดั พระรูป
กรุวดั บ้านกร่าง กรุวดั ป่าเลไลยก์ กรุวดั แค ฯลฯ และมีการจัดสร้างและปลุกเสกพระขุนแผน
อยู่อย่างต่อเนื่องในปจั จุบนั พุทธคุณเป็นทีป่ ระจักษ์ในด้านแคล้วคลาดคงกระพันชาตรีและด้าน
เมตตามหานิยม เหมือนตัวขุนแผนในวรรณคดีเรื่องขุนช้างขุนแผนอันเป็ นวรรณคดีท้องถิ่น
และถิน่ กาเนิดพระขุนแผนอันตรงตามเรื่องนี้เองที่ทาให้พระขุนแผน เมืองสุพรรณ เป็ นที่รู้จกั
และยอมรับในวงการพระเครื่องมาอย่างต่อเนื่อง นอกจากนี้จะเห็นได้ว่า ในจังหวัดสุพรรณบุรี
ยังมีการสร้างวัตถุมงคลอื่น ๆ เช่น วัตถุมงคลหลวงปูค่ ง ซึ่งเป็นอาจารย์ผปู้ ระสิทธิ ์ประสาทวิชา
แก่ขนุ แผน และสร้างวัตถุมงคลกุมารทอง บุตรชายผูม้ อี ทิ ธิฤทธิ ์ของขุนแผน เพื่อให้ผสู้ นใจร่วม
ทาบุญสมทบทุนโครงการต่าง ๆ ของวัด และบูชาวัตถุมงคลดังกล่าว
ข้อมูลคติชนประเภทวัตถุมงคลเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรจี งึ สะท้อนให้เห็น
ว่า ขุนแผนเป็ น ที่รู้จ ักและจดจ าในจังหวัดสุพ รรณบุรี ในตอนบวชเรียน โดยมีสมภารมีแห่ ง
วัดปา่ เลไลยก์ และสมภารคงแห่งวัดแค เป็นผูถ้ ่ายทอดวิชาความรู้จนทาให้ขุนแผนเป็ นผูม้ วี ชิ า
เวทมนตร์คาถาและวิทยาอาคมเป็นอย่างยิง่

๔.๔ ข้อมูลคติ ชนประเภทจิตรกรรม


ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุน แผนอีกประเภทหนึ่งที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรี คือ ข้อมู ล
คติชนประเภทจิตรกรรม จิตรกรรมเกี่ยวกับเรื่องขุนช้างขุนแผนที่ พบในจังหวัดสุพรรณบุรี
มี ๒ ลักษณะคือ จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน และจิตรกรรมแสดงภาพตัวละครในเรื่องขุนช้าง
ขุนแผน ผูว้ จิ ยั พบว่า ภาพจิตรกรรมทัง้ ๒ ลักษณะ จะนาเสนอเรื่องราวและกล่าวถึงตัวละคร
สาคัญต่าง ๆ ในเรื่องขุนช้างขุนแผน ไม่ได้มุ่งเน้นนาเสนอเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนเท่านัน้
จากการเก็บ ข้อ มูล ภาคสนาม ผู้วจิ ัย พบจิต รกรรมเกี่ยวกั บ เรื่อ งขุน ช้างขุน แผนใน
สถานที่ ๔ แห่ง คือ จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน รอบวิหารคด วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร
จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนในหอคอยบรรหาร – แจ่มใส จิตรกรรมภาพตัวละครในเรื่อง
ขุนช้างขุนแผน ทีบ่ า้ นขุนช้าง วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร และจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน
ทีว่ ดั เขาพระศรีสรรเพชญาราม
๑๗๐

๔.๔.๑ จิ ตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน รอบวิ หารคด


วัดป่ าเลไลยก์วรวิ หาร
จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน รอบวิหารคด วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร
เป็นการวาดภาพนาเสนอเรื่องขุนช้างขุนแผนตามเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน โดยเริม่ ตัง้ แต่
ตอนกาเนิดขุนช้างขุนแผน จนถึงตอนประหารชีวติ นางวันทอง ภาพจิตรกรรมเป็นภาพวาดสีท่ี
นาเสนอเรื่องราวจานวน ๓๓ ภาพ ภาพตัวละครในเรื่อ งขุนช้างขุน แผน ๔ ภาพ และภาพ
ผูเ้ กี่ยวข้องกับเรื่องขุนช้างขุนแผน ๑ ภาพ วาดบนฝาผนังรอบวิหารคด ซึ่งพระธรรมมหา
วีรานุ วตั ร (ฉลอง จินฺตาอินฺโท) เจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร เจ้าคณะจังหวัดสุพ รรณบุรี
พ.ศ.๒๕๒๗ – ๒๕๕๐ เป็นผูด้ าเนินการสร้างเมื่อ พ.ศ.๒๕๓๙ แล้วเสร็จเมื่อปี พ.ศ.๒๕๔๒
จิต รกรผู้ว าดภาพเรื่อ งขุน ช้า ง – ขุ น แผน รอบวิห ารคด คือ เมือ งสิง ห์
จันทร์ฉาย อยู่ท่อี าเภอสองพี่น้อง จังหวัดสุพรรณบุรี และมีจติ รกรสมทบอีก ๑๑ คน ได้แก่
สุ ช าติ ชะยู เ ด็ น เกรี ย งไกร วงษ์ ศ าเวช โชติ ร ัต น์ จิ ร าโรจน์ พุ ท ธชาติ แสนสี ล า
พชร โศก บ้ า น ข าม อนุ ชา ช่ อ พ ยอ ม ชั ย ย ะ ปา น สิ ท ธิ ์ เ กี ย รติ ศ ั ก ดิ ์ สา เ ท ศ
สิทธิโชค สุธรรมมานนท์ ชลลดา ยอดวิรา และณรงค์รฐั มาวิมล
ภาพจิตรกรรมแต่ละภาพจะอยู่ในพื้นที่จากเสาต้นหนึ่งถึงเสาอีกต้นหนึ่ง
แต่ละภาพจึงแยกพืน้ ทีก่ นั อย่างชัดเจนคือ ๑ ภาพต่อ ๑ ช่อง ภาพแรกของวิหารคดเป็ นภาพ
พระธรรมมหาวีรานุ วตั ร (ฉลอง จินฺตาอินฺโท) เจ้าอาวาสวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร ผูด้ าเนินการ
สร้างวิหารคด
จากนั น้ จึง เป็ น ภาพจิต รกรรมน าเสนอเรื่อ งขุ น ช้า งขุ น แผน ภาพที่ ๑
นาเสนอตอนกาเนิดขุนช้างขุนแผนเรื่อยไปจนถึงตอนประหารชีวติ นางวันทอง แต่ละภาพจะมี
คาบรรยายภาพอยู่บริเวณเสาด้านซ้ายของภาพ คาบรรยายดังกล่าวมีทงั ้ ข้อความภาษาไทย
และข้อความภาษาอังกฤษ สาหรับข้อความภาษาไทยเป็ นการคัดเอาบทเสภาเรื่องขุนช้าง –
ขุน แผน มาแสดงไว้ ส่ ว นข้อ ความภาษาอัง กฤษเป็ น การแปลเรื่อ งราวจากเสภาเรื่ อ ง
ขุน ช้ า ง – ขุน แผน ตอนนั น้ ๆ แล้ ว น าใจความส าคัญ มาเรีย บเรีย งความเป็ น ร้ อ ยแก้ ว
ภาษาอังกฤษ
๑๗๑

ภาพที่ ๗๙ - ๘๐ คาบรรยายภาพจิตรกรรมและภาพจิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน
รอบวิหารคด วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร

ส่วนภาพแสดงตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผน นาเสนอตัวละครต่าง ๆ โดย


แบ่งเป็นชุดดังนี้
ชุด ที่ ๑ ประกอบด้ ว ย ขุ น แผน (พลายแก้ ว ) ขรัว ตาจู ว ัด ป่ า เลไลยก์
สมภารคง วัดแค ขุนไกรพลพ่าย นางทองประศรี กุมารทอง และสีหมอก
ชุ ด ที่ ๒ ประกอบด้ ว ย นางพิ ม พิ ล าไลย (บุ ต รพั น ศรโยธากั บ นาง
ศรีป ระจัน ต์ ) นางศรีป ระจัน ต์ (แม่ น างพิม ) พัน ศร โยธา (พ่ อ นางพิม ) นางลาวทอง
นางสายทอง (พีเ่ ลีย้ งนางพิม) นางแก้วกิรยิ า (ธิดาพระยาสุโขทัย) นางบัวคลี่ (ธิดาหมื่นหาญ
– นางสีจนั )
ชุดที่ ๓ ประกอบด้วย สมเด็จพระพันวษา พระเจ้าเชียงใหม่ ขุน ช้า ง
นางเทพทอง (มารดาขุนช้าง) ขุนศรีวชิ ยั (บิดาขุนช้าง) จมื่นศรีเสาวรักษ์ หมื่นหาญ (บิดา
นางบัวคลี)่
ชุดที่ ๔ ประกอบด้วย พลายงาม หรือจมื่นไวยวรนาถ (บุตรผูส้ ามารถของ
ขุนแผนกับวันทอง) พระพิจติ ร (ผูม้ พี ระคุณต่อขุนแผน) แสนคาแมน (นายบ้านจอมทอง, บิดา
นางลาวทอง) นายสร้อยฟ้า (ภรรยาพระราชทานของพลายงาม ธิดาพระเจ้าเชียงอินทร์กบั นาง
อัปสร) นางศรีมาลา (ภรรยาของพลายงาม ลูกสาวพระพิจติ รกับนางบุษบา)
๑๗๒

ภาพที่ ๘๑ ภาพจิตรกรรมแสดงตัวละครจากเรื่องขุนช้างขุนแผน
รอบวิหารคด วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร

นอกจากนี้ยงั มีภาพจิตรกรรม ๑ ภาพที่แสดงภาพผูเ้ กี่ยวข้องกับวรรณคดี


เรื่องขุนช้างขุนแผนในฐานะผูแ้ ต่ง คือ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย สุนทรภู่ และ
ครูแจ้ง โดยจารึกข้อความใต้ภาพว่า “วรรณคดีเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เป็ นบทพระราชนิพนธ์
และบทประพันธ์ของ ๓ ท่านคือ รัชกาลที่ ๒ สุนทรภู่ และครูแจ้ง ซึ่งมีเค้าโครงเรื่องเดิม
มาตัง้ แต่ครัง้ สมัยอยุธยา”
ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน รอบวิหารคด มีสภาพสมบูร ณ์
ลายเส้นและสีของภาพชัดเจน เป็ นภาพจิตรกรรมที่สวยงาม มี การเรียงลาดับภาพและแสดง
คาบรรยายภาพเพื่อนาเสนอเรื่องขุนช้างขุนแผน ดังตาราง

ตารางที่ ๖ แสดงลาดับภาพและคาบรรยายภาพจิ ตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน


รอบวิ หารคด วัดป่ าเลไลยก์วรวิ หาร
ภาพที่ คาบรรยายภาพ
๑ กาเนิดขุนช้างขุนแผน
๒ ถวายตัวขุนช้าง
๓ ขุนไกรต้องโทษประหารชีวติ
๔ นางทองประศรีพาพลายแก้วหนีไปอยู่เมืองกาญจน์บุรี
๕ นางทองประศรีพาเณรแก้วกลับสุพรรณ
๖ นางพิมใส่บาตรเณรแก้ว
๗ นางพิมเปลือ้ งผ้าสไบบูชากัณฑ์เทศน์
๘ พลายแก้วเป็นชูก้ บั นางพิมในไร่ฝ้าย
๙ พลายแก้วเข้าห้องนางพิม
๑๗๓

ภาพที่ คาบรรยายภาพ
๑๐ พลายแก้วเข้าห้องนางสายทอง
๑๑ พลายแก้วแต่งงานกับนางพิม
๑๒ พลายแก้วกับพระยาเชียงทองรบเชียงใหม่
๑๓ พลายแก้วได้นางลาวทอง
๑๔ นางพิมเปลีย่ นชือ่ เป็นวันทอง
๑๕ แต่งงานขุนช้างกับนางวันทอง
๑๖ พลายแก้วได้เป็นขุนแผน
๑๗ ขุนแผนขึน้ บ้านขุนช้าง
๑๘ กาเนิดกุมารทองบุตรนางบัวคลี่
๑๙ ขุนแผนตีดาบฟ้าฟื้ น
๒๐ ขุนแผนถึงเตียงขุนช้างกับวันทอง
๒๑ ขุนแผนพานางวันทองหนี
๒๒ ขุนแผนพานางวันทองลงเล่นน้ า
๒๓ ขุนช้างตามนางวันทอง
๒๔ ขุนช้างฟ้องว่าขุนแผนเป็นกบฎ
๒๕ กาเนิดพลายงาม
๒๖ พลายงามมาหาขุนแผน
๒๗ พลายงามอาสา
๒๘ ขุนแผนยกทัพ
๒๙ พลายงามได้นางศรีมาลาเป็นเมีย
๓๐ แต่งงานพระไวย (พลายงาม) กับศรีมาลา
๓๑ สมเด็จพระพันวษาทรงชาระความขุนช้างกับพระไวย (ทาพิธดี าน้ าพิสูจน์)
๓๒ ขุนช้างถวายฎีกา นางวันทองทูลเป็นกลางไม่เลือกอยู่ กบั ผูใ้ ด
สมเด็จพระพันวษากริว้ ตรัสสังให้
่ ประหารชีวติ นางวันทอง
๓๓ ประหารชีวติ นางวันทอง

๔.๔.๒ จิ ตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนในหอคอยบรรหาร – แจ่มใส


จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนในหอคอยบรรหาร – แจ่มใส เป็ นภาพวาด
สีน้ ามัน ใส่กรอบประดับอยู่ บริเวณฝาผนังรอบหอคอยบรรหาร – แจ่มใส ชัน้ ล่ าง มีจานวน
ทัง้ หมด ๑๔ ภาพ จิตรกรผูว้ าดภาพคือ อาจารย์อุดมลักษณ์ ทรงสุวรรณ สังกัดกองหัตถศิลป์
กรมศิลปากร ใต้ภาพมีคาบรรยายภาพโดยระบุช่อื ตอนภาษาไทยและภาษาอังกฤษ จากนัน้
๑๗๔

คัดลอกข้อความในบทเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน มาบรรยายภาพ ภาพจิตรกรรมเหล่านี้


ไม่ได้นาเสนอเรื่องราวในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผนอย่างต่อเนื่อง หากแต่เลือกนาเสนอ
เพียงบางตอนทีส่ าคัญ และไม่ได้มุ่งเน้นแสดงให้เห็นเรื่องราวชีวติ ของตัวละครใดตัวละครหนึ่ง
เท่านัน้

ภาพที่ ๘๒ ภาพจิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน
ประดับฝาผนังหอคอยบรรหาร – แจ่มใส

ตารางที่ ๗ แสดงลาดับภาพและคาบรรยายภาพจิ ตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน


ประดับฝาผนังหอคอยบรรหาร – แจ่มใส

ภาพที่ คาบรรยายภาพ
๑ ขุนช้าง พลายแก้ว นางพิ ม เมื่อเป็ นเด็ก
Khun Chang, Plai Kaew, Nang Pim: In their childhood
พลายแก้วกินเหล้าเข้าต้าอึก ขุนช้างวางบึกตาปอหลอ
นางพิมพิลาไลยชอบใจงอ สมน้าหน้ามันหนออ้ายจัณฑาล
แล้วนางเล่นหุงข้าวต้มแกง กวาดทรายจัดแจงเป็นรัว้ บ้าน
นางเล่นทาบุญให้ทาน ไปนิมนต์สมภารมาเร็วไว
๒ เณรแก้วไปบิณฑบาตบ้านนางพิ ม
Nen [Novice] Kaew: Begging for food at Nang Pim’s house
เปิดหน้าต่างนางพิมเจ้าแลดู เห็นเจ้าเณรยืนอยูไ่ ม่เงยหน้า
ห่มดองครองแนบกับกายา สีกาสาว์จบั เนื้อดังนวลจันทร์
เดชะพระเวทวิทยามนตร์ เผอิญดลใจพิมให้ปว่ นปนั ่
ห่มผ้าคว้าขันข้าวบาตรพลัน กับสายทองพากันก้าวลงมา
๑๗๕

ภาพที่ คาบรรยายภาพ
๓ พลายแก้วลอบมาพบนางพิ มที่ไร่ฝ้าย
Plai Kaew, Nang Pim: The lovers secret meeting in a cotton field
โลมลูบจูบชายสไบห่ม ขอชมนิดเถิดเจ้าอย่าเศร้าหมอง
ช่างหน้าชมสมควรเป็นนวลละออง นี่กรองเองฤๅเจ้าซือ้ มาแห่งใด
นางสะบัดปดั ชายสไบห่ม อย่ามาชมเลยผ้าคุณแม่ให้
เลียมชมข่มเหงไม่เกรงใจ นี่อะไรเจ้าแก้วไม่ควรการ
๔ พี่เลี้ยงพาลาวทองพบพลายแก้ว
The chaperon: Escorting Laothong to see Plai Kaew
เจ้าลาวทองถอยลงหลังลงนังทรุ
่ ด กระชุน่ ฉุดมือมาหาช้าไม่
พอม่านแหวกสว่างกระจ่างไป แสงไฟปลาบต้องละอองนวล
เจ้าลาวทองซบหน้าไม่นงตรง ั่ บังม่านหมอบลงให้ปนป ั ่ ว่ น
พีเ่ ลีย้ งเลีย่ งหลีกให้ลอยนวล นางก็ซวนทรุดแอบพีเ่ ลีย้ งบัง
๕ นางลาวทองปักม่าน
Nang Laothong: Embroidering tapestries
แล้วนังลงพิ
่ นิจพิษฐาน ขอเดชะม่านข้าสร้างสรรค์
ปกั เสร็จสิน้ ผืนคืนกับวัน กางกันถวายพระปฏิ
้ มากร
เป็นปจั จัยให้ถงึ พระนิพพาน สมบัตพิ สั ถานอย่าย่อหย่อน
แม้นตายวายชีพม้วยมรณ์ ขอให้จรฟากฟ้าสุราลัย
๖ ขุนแผนฟั นม่าน
Khun Pan: Destroying the Curtain with his sword.
สับบันหั
่ นย่
่ อยลงร้อยทบ ฟนั ตรลบม่านมุง้ ไม่เป็นส่า
เห็นขุนช้างกางกอดอยูก่ ายา ทะมื่นดาดาลเดือดเสียดายนาง
วันทองน้องน้อยหนึ่งเท่านัน้ จะเคียงมันก็ไม่ถงึ สักครึง่ ข้าง
เงือ้ ดาบจะใคร่ฟาดให้ขาดกลาง ง้างหัวมาจะสับให้ยบั ลง
๗ ขุนแผนพานางวันทองออกจากบ้านขุนช้าง
Khun Pan: Taking Nang Wanthong away from Khun Chang’s house
ปลอบพลางทางกอดกระซิบบอก ม้าสีหมอกตัวนี้มสี ง่า
เนื้ออ่อนงอนง้อขอษมา อย่าให้สหี มอกม้ากระเดื่องใจ
วันทองสองมือประนมมัน่ พรันพรั
่ นกลั
่ วม้าไม่เข้าใกล้
พีส่ หี มอกของน้องอย่าจองภัย จะขอพีไ่ ปทัง้ ผัวเมีย
๑๗๖

ภาพที่ คาบรรยายภาพ
๘ ขุนแผนพานางวันทองเล่นน้าที่ท่าต้นไทร
Khun Pan, Nang Wanthong: Bathing at Ton Sai waterside
ว่ายกระทุม่ เทีย่ วท่องในท้องน้ า ผุดดาปรีดิ ์เปรมเกษมสานต์
หัวระริกซิกซีก้ นั สาราญ บัวบานเกสรอ่อนลออ
น้ าใสไหลหลังศิ ่ ลาลาด ใสสะอาดจริงจริงหนอเจ้าหนอ
แสนสบายว่ายรีเ่ ฝ้าคลีคลอ ระริกรีห้ วั ร่อแล้วหยอกเย้า
๙ นางวันทองตามหาพลายงาม
Nang Wanthong: Searching for Plai Ngarm
เสียงซ่อแซ้แกกาผวาว่อน จิง้ จอกหอนโหยหาทีอ่ าศัย
จักจันเจื
่ อ้ ยร้องริมลองไน เสียงเรไรหริง่ หริง่ ทีก่ งิ่ รัง
ทัง้ เป็ดผีป่ีแก้วแว่วแว่วหวีด เสียงจังหรีดกรีดแซ่ดงั แตรสังข์
นางวันทองมองหาละล้าละลัง ฤๅผีบงั ซ่อนเร้นไม่เห็นเลย
๑๐ นางสร้อยทองชมดง
Nang Soithong: Admiring the wood
เย็นฉ่ าน้ าไหลพลังพลั
่ ง่ ล้นหลังถั่ งชะง่
่ อนก้อนภูผา
เป็นลาธารมาแต่ชานบรรพตา ล้วนศิลาแลเลื่อมละลานใจ
ทีแ่ ดงเหมือนแสงทับทิมสด ทีเ่ ขียวเหมือนมรกตอันสดใส
ต่างสีซ้อนซับสลับไป แลวิไลเพลิดเพลินตามเนินดอน
๑๑ พลายงามเข้าห้องนางศรีมาลา
Plai Ngarm: Sneaking into Srimala’s bedroom
พักตร์พริม้ เหมือนยิม้ อยู่ทงั ้ หลับ ประทีปจับหน้านวลชวนสมาน
เจ้านิทรามารยาทไม่มปี าน ยิง่ คิดก็ยงิ่ ซ่านสวาทเตือน
ค่อยประคองลองจูบเจ้าทัง้ หลับ หอมกระไรใจวับขยับเขยือ้ น
พอต้องเต้าตัวสันให้ ั ่ อน
่ ฟนเฟื ค่อยลูบเลื่อนโลมเล้าละลานใจ
๑๒ ขุนแผน พลายงาม ลอบเข้าวังพระเจ้าเชียงใหม่
Khun Pan, Plai Ngarm: Sneaking into King Chiengmai’s palace
พ่อลูกชมพลางย่างย่อง ขึน้ พระแท่นในห้องข้างซ้ายก่อน
แหวกวิสูตรสุวรรณอันบวร เข้าในทีบ่ รรจถรณ์ดว้ ยทันใด
เห็นสองนางต่างองค์บรรทมหลับ อัจกลับจับผิวดูผอ่ งใส
งามจริงพริง้ พร้อมละม่อมละไม เป็นนวลปลังดั ่ งใยสาลีช ี
๑๗๗

ภาพที่ คาบรรยายภาพ
๑๓ นางสร้อยทอง นางสร้อยฟ้ า ขึน้ เฝ้ าพระพันวษา
Nang Soithong, Nang Soipha: Seeing King Panwasa
ครานัน้ พระองค์ผทู้ รงเดช ทอดพระเนตรรูปทรงทัง้ สองศรี
น่าชมสมเป็นราชบุตรี ท่วงทีคนละอย่างดูตา่ งกัน
พินิจทรงสร้อยทองละอองพักตร์ นรลักษณ์งามเลิศเฉิดฉัน
ละมุนละม่อมพร้อมพริง้ ทุกสิง่ อัน สมเป็นขวัญของประเทศเขตลาวกาว
๑๔ นางวันทองห้ามทัพ
Nang Wanthong: Stopping the fight
กุศลส่งพีต่ รงมาพบน้อง ขอประคองเคียงกายไม่หน่ายหนี
จะอยู่ดว้ ยน้องน้อยสักร้อยปี แก้วพีอ่ ย่าสะทกสะเทินใจ
ปลอบพลางทางย่างขยับเยือ้ ง ชายชาเลืองโลมเลียมเข้าไปใกล้
ขยับมือมาแม่อย่าเมินไป ขอดอกไม้สกั หน่อยทีร่ อ้ ยกรอง

๔.๔.๓ จิ ตรกรรมแสดงภาพตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผนที่บ้านขุนช้าง
จิตรกรรมแสดงภาพตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผนทีบ่ า้ นขุนช้าง อยู่ภายใน
บริเ วณวัด ป่า เลไลยก์วรวิห าร เป็ น ภาพวาดสี จ านวน ๑๗ ภาพ แขวนประดับ อยู่ ภ ายใน
เรือ นไทยซึ่งใช้จ ัดแสดงศิล ปวัตถุ และเครื่อ งถ้ว ยชามโบราณต่า ง ๆ จิต รกรผู้ว าดภาพคือ
จาเนียร สรฉัตร แต่ละภาพจะน าเสนอตัวละครแต่ ละตัวในเรื่อ งขุน ช้า งขุน แผน ใต้ภ าพ
มีขอ้ ความบรรยายข้อมูลและลักษณะตัวละครนัน้ ๆ เช่น ตัวละครดังกล่าวเป็ นใคร แต่งงาน
กับใคร เป็นบุตรของผูใ้ ด มีความรูค้ วามเชีย่ วชาญในเรื่องใด เป็นต้น
ภาพจิตรกรรมดังกล่าวบรรยายตัวละครรวม ๑๗ ตัว ได้แก่
ขุนไกร พลายแก้ว – ขุนแผน สมเด็จพระพันวษา กุมารทอง สมภารคง
ขรัวตาจู พลายงาม พลายชุมพล นางแก้ว กิริยา นางสร้อ ยฟ้ า นางศรีม าลา ขุนช้า ง
นางสายทอง สีหมอก นางเทพทอง นางทองประศรี และนางพิมพิลาไลย

ภาพที่ ๘๓ ภาพตัวละครพลายแก้ว – ขุนแผนในเรื่องขุนช้างขุนแผนทีบ่ ้านขุนช้าง


๑๗๘

ตารางที่ ๘ แสดงชื่อตัวละครและคาบรรยายภาพตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผน
ที่บ้านขุนช้าง
ชื่อตัวละคร คาบรรยายภาพ
ขุนไกรพลพ่าย ขุนไกรพลพ่ าย แต่งงานกับนางทองประศรี มีลูกชายชื่อ พลายแก้ว
ขุน ไกรมีความรู้ท างคงกระพัน ชาตรี รับ ราชการทหาร มีไ พร่ พลใน
บังคับบัญชา ๗๐๐ คน ถูกสมเด็จพระพันวษาสังประหารชี ่ วติ ริบทรัพย์
สมบัตทิ งั ้ หมดรวมทัง้ ภรรยา ลูก และข้าทาสบริวารด้วย ขุนไกรเป็ น
ห่วงภรรยาและลูก จึงขอร้องให้หลวงฤทธานนท์เพื่อนสนิทไปส่งข่าวให้
นางทองประศรีพาลูกหนีไปก่อนทีพ่ วกทหารจะไปจับตัว
พลายแก้ว – “พลายแก้ว – ขุนแผน”
ขุนแผน ครานัน้ ขุนแผนแสนสนิท เรืองฤทธิ ์ลือดีไม่มสี อง
ข้าศึกนึกกลัวขนหัวพอง แคล่วคล่องแกล้วกล้าวิชาดี
สมเด็จพระพันวษา สมเด็ จ พระพั น วษา เป็ นพระมหากษั ต ริ ย์ แ ห่ ง กรุ ง ศรี อ ยุ ธ ยา
ทรงปกครองบ้ า นเมือ งโดยความสงบ ร่ ม เย็น พระพัน วษามีนิ ส ัย
โกรธง่าย แต่กม็ คี วามยุตธิ รรมต่อพวกทหารอยู่มาก รวมทัง้ ราษฎรด้วย
แต่ชาวประชาทัง้ ปวงต่างก็พากันรักเคารพพระองค์เสมอมา
กุมารทอง กุมารทอง คือ ผีเด็ก เป็นลูกของขุนแผนกับนางบัวคลี่ เมื่อขุนแผนรู้ว่า
นางวางยาพิษ ตน พอนางนอนหลับ ก็ใ ช้มีด ผ่าท้อ งเอาลู กไปทาพิธี
ย่างไฟในโบสถ์หน้าพระประธาน ปลุกเสกด้วยคาถาจนขลัง แล้วตัง้ ชื่อ
ว่า กุ ม ารทอง คอยติด ตามขุน แผนอยู่ ต ลอดเวลา คอยรายงาน
เหตุการณ์ต่าง ๆ ให้ขนุ แผนรู้ โดยไม่มใี ครเห็นตัว
สมภารคง ส ม ภ า ร ค ง จ า อ ยู่ วั ด แ ค สุ พ รร ณ บุ รี มี ว ิ ช า อ า ค ม ข ลั ง ม า ก
ทางโหราศาสตร์ ปลุก ผี คงกระพันชาตรี คาถามหาละลวย ทัง้ การ
เทศน์ จนมีผู้ค นให้ค วามศรัท ธามากมาย ยัง เป็ น พระอาจารย์ข อง
ขุนแผน ได้ถ่ ายทอดวิชาหลายขะแนงให้ขุนแผนจนมีค วามชานาญ
ทุกอย่าง


ผูว้ จิ ยั สะกดการันต์ตามต้นฉบับ
๑๗๙

ชื่อตัวละคร คาบรรยายภาพ
ขรัวตาจู ขรัวตาจู คือพระภิกษุ อยู่วดั ปา่ เลไลยก์ สุพรรณบุรี เก่งทางดูฤกษ์ยาม
โชคชะตา คราวหนึ่งนางพิม พิลาไลยเจ็บหนัก ขรัวตาจู ก็แนะนาให้
เปลีย่ นชือ่ ใหม่เป็นนางวันทอง แล้วอาการเจ็บก็หาย เมื่อขุนช้างบอกว่า
พลายแก้วตายแล้ว นางวันทองก็ไปหาขรัวตาจูให้ชว่ ยทานายดวงชะตา
ของพลายแก้ ว ขรัว ตาจู ท านายว่ า พลายแก้ ว จะชนะศึก ก ลับ มา
ซึ่งก็เป็นจริงตามคาทานายทุกประการ
พลายงาม พลายงาม มีตาแหน่ งทางราชการเป็ น จมื่นไวยวรนาถ เป็ น ลูก ของ
ขุนแผนกับนางวันทอง แต่ไปคลอดทีบ่ า้ นของขุนช้าง เพราะนางถูกฉุ ด
ไปขณะที่ท้องแก่ พลายงามได้อยู่กบั นางทองประศรีท่กี าญจนบุรี ได้
เรีย นรู้ต าราของขุน แผนจนเชี่ย วชาญ ต่ อ มาได้อ าสายกทัพ ไปรบ
เชีย งใหม่ แล้ ว ถือ โอกาสขออภัย โทษให้ขุ น แผนออกจากคุ ก ด้ ว ย
กลับจากสงครามก็ได้ภรรยาสองคน คือ นางศรีมาลา และนางสร้อยฟ้า
พลายชุมพล พลายชุมพล เป็ นลูกของขุนแผนกับนางแก้วกิรยิ า เป็ นน้ องชายของ
พลายงาม เมื่อขุนแผนเป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรี นางทองประศรีขอมา
เลี้ ย งตัง้ แต่ เ ด็ ก ร่ า เรี ย นวิช าหลายสาขา ล่ อ งหนหายตัว ด าดิ น
คงกระพัน ฯลฯ เคยปลอมตัวเป็นมอญ ใช้ชอ่ื สมิงมัตรา ยกทัพมาช่วย
ขุน แผนจับ ตัว พลายงาม ต่ อ มาสมเด็จ พระพัน วษาเรีย กตัว เข้า พบ
แล้ว มอบหน้ า ที่ใ ห้ป ราบเถรขวาด พลายชุม พลก็ท าส าเร็จ สมเด็จ
พระพันวษาจึงแต่งตัง้ ให้เป็นหลวงนายฤทธิ ์
นางแก้วกิรยิ า นางแก้วกิรยิ า เป็ นลูกของพระยาสุโขทัย กับนางเพ็ญจันทร์ เป็ นทาส
อยู่บา้ นขุนช้าง ขุนช้างเลีย้ งนางไว้เหมือนน้องสาว คืนหนึ่งขุนแผนขึน้
บ้า นขุน ช้า งเพื่อ ลัก พาตัวนางวัน ทอง แต่ เข้า ห้อ งผิด จึง ได้น างเป็ น
ภรรยา ขุนแผนได้ให้เงินต่ อนางไปไถ่ตวั จากขุนช้าง นางได้มีลูกกับ
ขุนแผนหนึ่งคน ชือ่ พลายชุมพล
๑๘๐

ชื่อตัวละคร คาบรรยายภาพ
นางสร้อยฟ้า นางสร้อยฟ้า เป็ นธิดาของพระเจ้าเชียงอินทร์ เจ้าเมือ งเชียงใหม่กบั
นางอัปสร มีกริ ยิ าไม่เรียบร้อย ชอบอิจฉา นางได้แต่งงานกับพลายงาม
พร้อ มกับ นางศรีม าลา นางเจ็บ ใจที่พ ลายงามรัก ศรีม าลามากกว่ า
นางจึงให้เถรขวาดทาเสน่ ห์ ต่อมาพลายชุมพลแก้ไขได้ ครัน้ พิสูจน์ว่า
นางผิดจึงถูกประหารชีวติ แต่นางศรีมาลาขออภัยโทษให้ เพียงแต่ถูก
เนรเทศไปอยู่เชียงใหม่ ต่อมานางก็คลอดลูกชายชือ่ พลายยง
นางศรีมาลา นางศรีมาลา เป็ นลูกของพระพิจติ รกับนางบุษบา เป็ นหญิงรูปงามทัง้
กิริย าและน้ า ใจ นางแต่ ง งานกับ พลายงามพร้ อ มกับ นางสร้อ ยฟ้ า
เมื่อพลายงามถูก เสน่ ห์ข องนางสร้อ ยฟ้ าก็ทุ บตีศรีม าลาเป็ นประจ า
เพราะถูก ใส่ค วามจากนางสร้อ ยฟ้ า ครัน้ เมื่อ นางสร้อ ยฟ้ าต้อ งโทษ
ประหารชีว ิต นางก็ช่ ว ยขออภัย โทษให้ ต่ อ มานางก็มีลู ก ชายกั บ
พลายงาม ขุนแผนได้ตงั ้ ชือ่ ให้วา่ พลายเพชร
ขุนช้าง ขุน ช้า ง มีล ัก ษณะรู ป ชัวตั ่ ว ด า หัว ล้ า นมาแต่ ก าเนิ ด นิ ส ัย เจ้ า เล่ ห์
ชื่อ ขุน ช้า งตอนคลอดมีค นน าช้างเผือ กมาถวายสมเด็จ พระพันวษา
พ่อ ชื่อ ขุน ศรีว ิช ยั แม่ ช่อื นางเทพทอง เป็ นคนร่ า รวย เมีย ชื่อ นาง
แก่นแก้ว อยู่ดว้ ยกันปีกว่านางก็ตาย จึงมารักนางพิมพิลาไลย แต่นาง
ไปแต่งงานกับขุนแผน ต่อมาขุนช้างใช้อุบาย จนได้แต่งงานกับนาง
สมใจ
นางสายทอง นางสายทอง เป็นพีเ่ ลีย้ งของนางพิมพิลาไลย นางยังช่วยเป็ นแม่ส่อื ให้
ขุนแผนกับนางพิมรักกัน ต่อมานางก็ตกเป็ นภรรยาของขุนแผนด้วย
แต่นางไม่ เคยมีโอกาสได้อยู่ ร่วมกับขุน แผนเลยในฐานะสามีภ รรยา
แม้ ว่ า ขุ น แผนจะมีห น้ า ที่ร าชการสู ง เป็ น ถึง พระยาสุ ริน ทรฦ ๅไชย
นางสายทองก็ยงั อยู่กบั นางศรีประจัน แม่ของนางพิมพิลาไลยเช่นเดิม
สีหมอก สีหมอก เป็ นม้าแสนรู้พาหนะประจาตัวของขุนแผน แม่เป็ นม้าเทศชื่อ
อีเหลือ ง พ่อ เป็ นม้า น้ า เกิดวัน เสาร์ข้นึ ๙ ค่ า หลวงศรีวรขานได้ร ับ
คาสังจากสมเด็
่ จพระพันวษาให้ไปซื้อม้าที่เมืองมะริด ประเทศอินเดีย
สีหมอกก็ตดิ ตามแม่มาด้วย เป็นม้าเกเรถูกทุบตีเป็ นประจา ขุนแผนไป
พบเข้าทีเ่ พชรบุรี เห็นมีลกั ษณะดี ต้องตามตารา จึงขอซื้อต่ อ แล้วเสก
หญ้าให้กนิ สีหมอกก็ตดิ ตามขุนแผนไปโดยดี
๑๘๑

ชื่อตัวละคร คาบรรยายภาพ
นางเทพทอง นางเทพทอง เป็นแม่ของขุนช้าง นิสยั ปากจัด ด่าเก่ง ตอนนางตัง้ ท้อง
นางฝนั ว่านกตะกรุมคาบช้างเน่ามาให้ ขุนศรีวชิ ยั ผูเ้ ป็ นสามีทานายฝนั
ให้วา่ จะได้ลูกชาย มีวาสนาดี แต่จะต้องขายหน้าเพราะหัวล้านแต่เด็ก
เมื่อนางคลอดขุนช้างก็เป็นจริงเหมือนคาทานาย นางจึงเกลียดขุนช้าง
มาตัง้ แต่เล็ก ซ้ายังดุด่าแช่งไม่เว้นแต่ละวัน
นางทองประศรี นางทองประศรี ชาวบ้านวัดตะไกร พอแต่งงานกับขุนไกรก็ย้ายไปอยู่
กินที่สุพ รรณบุรี มีลูกชายชื่อ พลายแก้ว นางเป็ นที่มีน้ าใจเด็ดเดี่ย ว
ทรหดอดทน เมื่อตอนขุนไกรถูกประหารชีวติ นางพอรู้ข่าวก็รบี พาลูก
หนีไปอยู่กาญจนบุรี ตัง้ หน้ าทามาหากินจนมีฐานะดีข้นึ และเลี้ยงดู
ลูกชายคนเดียวเป็นอย่างดี
นางพิมพิลาไลย นางพิมพิลาไลย เป็นหญิงรูปงาม พ่อชื่อ พันศรโยธา แม่ช่อื ศรีประจัน
แต่ ง งานมี ลู ก ชายชื่อ พลายงาม ต่ อ มานางป่ ว ยหนั ก ขรั ว ตาจู
วัดปา่ เลไลยก์ เปลีย่ นชือ่ เป็นนางวันทอง ไข้จงึ หาย ต่อมาก็แต่งงานกับ
ขุนช้าง พระพันวษาให้นางตัดสินใจว่าจะอยู่กบั ใคร นางตัดสินใจไม่ได้
จึงถูกประหารชีวติ

จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ผูว้ จิ ยั ไม่พบว่ามีภาพวาดตัวละครสาคัญอื่น ๆ


เช่น นางศรีประจัน นางบัวคลี่ ฯลฯ ที่บ้านขุนช้า งแต่อย่า งใด แต่จากการศึกษาข้อมูลจาก
หนังสือตามรอยขุนช้างขุนแผน ของวิญํู บุญยงค์ พบว่าในอดีตมีภาพวาดตัวละครอื่น ๆ
ในเรื่องอีกหลายภาพที่ไม่มกี ารจัดแสดงแล้วในปจั จุบนั นอกจากนี้ยงั จัดแสดงภาพตัวละคร
เหล่านี้เป็นนิทรรศการอยู่บริเวณใต้ถุนเรือนไทยบ้านขุนช้าง แตกต่างจากปจั จุบนั ทีภ่ าพต่าง ๆ
ได้รบั การประดับบนฝาเรือน

๔.๔.๔ จิ ตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผนที่วดั เขาพระศรีสรรเพชญาราม


จิต รกรรมฝาผนั ง เรื่อ งขุน ช้า งขุ น แผนที่ว ดั เขาพระศรีส รรเพชญาราม
เป็นภาพวาดสี จานวน ๑ ภาพ ประกอบด้วยขุนแผน นางวันทอง และม้าสีหมอก เล่าเรื่องตอน
ขุนแผนชี้ให้น างวันทองดูด าวพระศุกร์ ซึ่งเป็ นเหตุก ารณ์ ท่เี กิดขึ้น หลัง จากขุนแผนพานาง
วันทองหลบหนีมาพักแรมทีเ่ ขาพระ ภาพจิตรกรรมดังกล่าววาดบนฝาผนังศาลารายซึ่งอยู่รอบ
พระมณฑปซึ่งเป็นทีป่ ระดิษฐานรอยพระพุทธบาทจาลอง ร่วมกับภาพจิตรกรรมเรื่องเวสสันดร
ชาดก จานวน ๑๓ กัณฑ์ และภาพจิตรกรรมเรื่องพระมหาชนก
๑๘๒

ภาพที่ ๘๔ ภาพจิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนทีว่ ดั เขาพระศรีสรรเพชญาราม

๔.๕ ข้อมูลคติ ชนประเภทเพลงพืน้ บ้าน


ข้อมูลคติชนประเภทเพลงพืน้ บ้านเกี่ยวกับขุนแผนที่ใช้ศกึ ษาวิเคราะห์ในวิทยานิพนธ์
ฉบับ นี้เ ป็ น เพลงพื้น บ้านเกี่ยวกับขุน แผนที่พ บในจัง หวัดสุ พ รรณบุ รีจ ากวิท ยานิ พ นธ์เ รื่อ ง
เพลงปฏิ พากย์: การศึกษาในเชิ งวรรณคดีวิเคราะห์ ของสุกญ ั ญา สุจฉายา ผูว้ จิ ยั ได้คดั บท
เพลงพื้นบ้านเฉพาะที่เกี่ยวข้องกับเรื่องขุนช้างขุนแผนมาศึกษาวิ เคราะห์ บทเพลงที่นามา
ศึกษาประกอบด้วยเพลงปรบไก่ เพลงอีแซวเล่าเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน และเพลงส่งเครื่อง
ซึ่งมีพ่อเพลงแม่เพลงเป็นคนท้องถิน่ สุพรรณบุรี

๔.๕.๑ เพลงปรบไก่ (ตบไก่)

วิทยากร นางเหม อินทร์สวาสดิ นายภู่ ขาเปล่ง


นางจารัส
ตาบลเนินพระปรางค์ อาเภอสองพีน่ ้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
๑ มิถุนายน ๒๕๒๑

สานวนที่ ๑
บทไหว้ครู

นายภู่ สิบนิ้วลูกน้อยยกขึน้ เสมอเศียร (ลูกคู่ วุย้ วุย้ )


จะไหว้ทงั ้ ธูปทัง้ เทียนไหว้แล้วก็บูเอยชา
ลูกคู่ (จะไหว้ทงั ้ ธูป เอ๊ย เออ เอิง เอย ทัง้ เทียน
จะไหว้ทงั ้ ธูปทัง้ เทียน ไหว้แล้วก็บูเอ๊ยชา)
สิบนิ้วเอยยกขึน้ เสมอเกศ
จะไหว้พระพุทธพระธรรม พระสงฆ์คะรากลายเพศ
๑๘๓

ไหว้พระปิฎกปกเกศลูกมาแต่น้อยน้อย
ลูกคู่ (รับ) ไหว้พระปิฎก เอ๊ย เออ เอิง เอย ปกเกศ ไหว้พระปิฎกปกเกศ ลูกมาแต่น้อย
เอยน้อย)
ลูกจะไหว้คุณพ่อบ้านแหลม ทีไ่ ด้ต่อแต้มเพลงให้
ไหว้คุณพ่ออักโข ไหว้หลวงพ่อโตเป็นใหญ่
พอได้บนบานศาลกล่าว เมื่อเรื่องราวเป็นไข้
ให้คุณพ่อมาช่วย จะได้ไม่มว้ ยบรรลัย
คุณพ่อก็ได้ชว่ ยมา เขาจึงรักษาได้หาย
พอพ้นโศกโรคภัย อย่าได้มาแผ้วพาน
ลูกคู่ (รับ) ยกหัตถ์มสั การ ไหว้พ่อช่องด่านไพร
เป็นทีย่ ดึ ทีห่ น่วง คุณพ่อเขาหลวงลูกก็ไหว้
จะไหว้คุณพ่อต่อแต้ม คุณพ่อบ้านแหลมเป็นใหญ่
ลูกมาวันนี้ให้โชคดีโชคชัย มากันตะบอยมานังคอยจนสาย ่
ลูกคู่ (รับ) เอ้ย เออ เอิงเงย มานังตะบอย
่ มานังคอยจนสาย

ฉาด ช่า ฉ่า ช่า เอ๊ ชะ
พอไหว้ครูเสร็จสม ลุกขึน้ ขยับเอาท่า
คนไหนเล่าเป็นแม่โขลง ช่วยชักช่วยโยงกันมา
จะมานังพั ่ งพาบคาบหญ้า เสียเลยนางนงลักษณ์ (รับ)
ลูกคู่ (กระทุง้ ) ฉาด ช่า ฉาด ช้า เอ๊ ชะ
วงที่ ๑
นางเหม เล่นเพลงปรบไก่ สีจนหัวไหล่มนั ...ยอก
อัฐเฟื้ องก็ไม่ถงึ อัฐสลึงไม่ออก
เราจะเล่นทาไม ให้หวั ไหล่มนั ยอก (รับ)
เจ้าขุนช้างของแม่น่เี อ๋ย เกิดมาไม่เคยเห็น
เสียแรงแม่อมุ้ ท้องมา จนเลือดตากระเด็น
ช่างไม่มผี ม ให้แม่ชมสักเส้น (รับ)
ฝา่ ยยายทองประศรี เป็นชนนีไอ้แผน
ขึน้ นังบนเตี
่ ยง ก็ส่งสาเนียงเสียงแปร๋น
ขากเสลดถ่มน้าลาย ชิชะลูกชายไอ้แผน
มาเหน็บแหนบแสบแสน สุดประเสริฐเอยคน
อีวนั ทองสองผัว แสนจะชัวระย ่ า
แกจะรับมาทาไม .......................
๑๘๔

มองเห็นเขางามวิง่ ตามเขาไป เอ๋ยเอิง (รับ)


นายภู่ ตามประดามานังกั ่ นนี่ พวกอีหเี อยเน่า (ซ้า)
ให้แมงวันมันเข้าไปตาย เป็นสองกระบาย ตวงข้าว
ไอ้นนไม่
ั ่ มี มีแต่หเี ปล่าเปล่า
นางเหม คาหนึ่งก็หสี องคาก็หี อยู่ทส่ี เี อยปาก
ว่าได้วา่ ดี ว่าได้ตาสีคนยาก
ว่าเขาคนมี เขาจะเอาหีตบปาก (รับ)
นายภู่ จะเอาหีมาตบปาก เอาควยทาสากกัน้ (ซ้า)
หีเห็นกระดอ หัวร่อออกงัน (หัวเราะ)
นางเหม จะเขียนหมายไปบอก ไปถึงหัวหงอกเทวดา (ซ้า)
ให้เตะไอ้ภู่ ให้มนั ทู่ลงมา
(ร้องส่งราทานองสีนวล)
นางกระจงหลงใหลเอยแต่ . .. เอ้อ เอ๋ ย เอย ยัง ไม่ มีลู ก ผัว ตัว คนเดีย วเอย
นิดนังระหน่อย หน่อย นอน หน่อย น้อย (ซ้า)

วงที่ ๒ กูจะขึน้ ยอดตาล ให้ควยมันยานลากดิน (ซ้า)


หีเล็กหีน้อย แม่จะร้อยให้สน้ิ เอย เชิบเชิบ
หีเล็กหีน้อย แม่จะร้อยให้สน้ิ ฉาดช่า ฉาดชะเอ้ย
คาหนึ่งก็สสี องคาก็สี ว่าได้วา่ ดีได้ตาสีคนยาก
ไปว่าเขาคนมี เขาจะเอาหีตบปาก (รับ)
เมื่อถึงกาหนดตรุษสงกรานต์ กูจะให้ทานหี (ซ้า)
ให้ทานพวกผูช้ าย ให้มนั วายกันเสียที (รับ)
ฯลฯ

จากการศึกษาวิเคราะห์เพลงปรบไก่ สานวนที่ ๑ พบว่า พ่อเพลงแม่เพลง


ได้กล่าวถึง ตัวละครในเรื่อ งขุนช้างขุนแผนเป็ นส่วนหนึ่ งของเนื้อ เพลง โดยบรรยายให้เห็น
ลักษณะของตัวละครนัน้ ตัวละครจากเรื่องขุนช้างขุนแผนที่ได้รบั การกล่าวถึงในเพลง ได้แก่
ขุนช้าง นางทองประศรี ขุนแผน นางวันทอง เนื้อเพลงกล่าวถึงลักษณะของขุนช้างว่ามีศรี ษะ
ล้านมาแต่กาเนิด กล่าวถึงนางทองประศรีต่อว่าขุนแผนที่ไปสนใจนางวันทองหญิงสองผัว
สังเกตได้ว่าเนื้อความที่กล่าวถึงตัวละครต่าง ๆ สะท้อนให้เห็นข้อเสียหรือข้อบกพร่องของ
ตัวละครนัน้ ๆ เนื้อเพลงส่วนอื่น ๆ มีเนื้อหาเกีย่ วกับเรื่องเพศ
๑๘๕

๔.๕.๒ เพลงอีแซวเล่าเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน

เพลงอีแซวเล่าเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน

วิทยากร นายอ้อน เจริญรัศมี


อาเภอสองพีน่ ้อง จังหวัดสุพรรณบุรี

วันทองต้องมนต์ให้ลมื แค้นเอย พอเห็นหน้าขุนแผนตกประหม่าขวัญหาย


ถึงจะลบรีเ้ รื่องหนีลงมาชัน้ ล่าง ยังเป็นห่วงขุนช้างทีร่ ่วมหอกันใหม่ใหม่
น้องมานอนร่วมเตียงได้ขนุ ช้างตัวโต จนผีเข้านอนโค้ เรือนหอหลังใหญ่
มองเห็นพระกาฬจะมาผลาญตัวน้อง อกเอ๋ยเจ้าวันทองให้รอ้ นรุ่มไปยังกะไฟ
อกไหวจะให้หวันอกสั่ นใจพะวง
่ หนังเนื้อจะเป็นเหยื่อหนองไหน่
พอเห็นหน้าเขินแล้ว พ่อพลายแก้วผัวน้อง ผัวเก่าแม่วนั ทองตกประหม่าใจหาย
จิตใจหนักหน่วงยังเป็นห่วงคอยพลาง เห็นพ่อแผนคู่สร้างเขามีดาบสะพาย
เมื่อพ่อแผนชักดาบเจ้าวันทองน้องก็ดน้ิ แต่ชวี ติ ยังไม่สน้ิ ยังมีลมหายใจ
มองเห็นดาบกระดกทีค่ อแทบขาดกระเด็น เจ้าวันทองมองเห็นยกมือขึน้ ไหว้
ขอโทษไปสักครัง้ ยับยัง้ เอาไว้ก่อน เอย ขุนช้างมันนอนตัวดาเป็นควาย
บอกหนาน้องแม่วนั ทองละแม่อย่ากลัว เอย ขุนแผนคือผัวพีไ่ ม่ฆา่ ให้ตาย
พีย่ งั คิดถึงน้องวันทองเป็นเมียเก่า พีย่ งั คิดถึงเจ้า พีย่ งั รักไม่หาย
ถึงพีไ่ ด้ลาวทองพีย่ งั ไม่วายคิดถึง คู่เคล้านอนคลึง สูเ้ มียเก่าของพีไ่ ม่ได้
พอนังใกล้
่ น้องสักนิดขอนังชิ
่ ดน้องสักหน่อย เอย ขอจูบแก้มน้อย ๆ พอให้พช่ี น่ื ใจ เอย
วันทองป้องปิดเอามือปกั เอย เจ้าวันทองเคืองขัดมาข่มเหงน้ าใจ
ว่าเราเป็นคนไม่ดพี ไ่ี ม่อยากแลดู ด้วยลาวทองเคียงคู่ ทัง้ พิมพิราไล
แถวแคว้นนัน้ อีอ้ อกชือ่ ว่าน้อง ว่าหญิงวันทองนี้เป็นคนเหลวใหล
ว่าเป็นหญิงกากีมสี ามีแสนชัว่ หมากพลูหลายผัวว่าเป็นหญิงสองใจ
พ่อแผนใจเบาไม่เห็นใจน้องบ้าง พ่อแผนจึงก่อร่าง ไปทีเ่ ขาชนไก่
ทิง้ น้องไร้แน่ ไม่เหลียวแลนวลน้อง อกเอ๋ยเจ้าวันทอง ให้รอ้ นรุม่ ไปยังกับไฟ
จะต้องเป็นหญิงแม่ม่ายถูกเฆีย่ นหลายทีถูกตีหลายครัง้ เจ็บปวดเจียนวางน้องจึงแทบขาดใจ
จึงเรียกหาหม่อมผัวจะเป็นทีพ่ ง่ึ คับขันคายทิง้ น้องก็ทนไม่ไหว
น้องมันหมดทีพ่ ง่ึ จึงยอมให้ชา้ งเจ้าเป็นผัว จึงได้ยอมเสียตัว หมดความเสียหาย
เมื่อตอนเข้าหอน้องก็รอแผนพี่ ไม่มคี ะที ขุน่ ข้องหมองใจ
นี่พ่อแผนจึดจางเหินห่างไปจากน้อง ไปได้ลาวทองหมดรักหมดใคร่
๑๘๖

นี่ลาวทองต้องโทษด้วยกรมราชทัณฑ์ แกจึงรีม่ าหันมาหาน้องทาไม


จะกลับมาหาเมียเดิมมันไม่ได้ดมกินเดน น้องก็กลัวเกิดเวรว่าผัวมากไป
ขอประทานโทษ พ่อจ๋าอย่าโกรธไปทาไม
นึกว่าดูหน้าฉันให้แน่ สักหน่อยจะไม่แลเห็นใคร เอ่ชา
ไอ้พวกญวนปล่อยเรือก็มาพันปี มันก็แล่นหนีมาในทะเลใหญ่
ั่
ทะเลฝงขวางอยู ่กลางนที ไอ้ญวนก็แล่นหนีกนั มาได้
กูไล่ออกไปนะแม่โยพิน มันทาเรือโดนหินทะลุใหญ่
ทีน้พี วกไทยเขาก็สมมุติ เลยเอาปูนเข้าไปอุดเรือให้
อุดเรือแล้วแม่งามขา ไอ้เย็ดกะพ่อว่ายน้ามาหาไทย เอ่ชา

เพลงอีแซวเล่าเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เป็ นการเล่าเรื่องราวโดยกล่าวถึง


เรื่องราวตอนขุนแผนขึน้ เรือนขุนช้าง และขุนแผนพานางวันทองหนี เนื้อเพลงมีลกั ษณะเป็ น
การตัด พ้อ ของนางวัน ทองอ้า งถึง คราวที่ขุน แผนกลับจากทัพ พานางลาวทองกลับ มาด้ว ย
และเมื่อทะเลาะกันขุนแผนก็กลับไปบ้านเขาชนไก่ ทาให้นางวันทองเสียใจจนยอมเป็ นของ
ขุนช้าง

๔.๕.๓ เพลงส่งเครื่อง

วิทยากร: นางเหม อินทรสวาสดิ ์


ตาบลเนินพระปรางค์ อาเภอสองพีน่ ้อง จังหวัดสุพรรณบุรี
๑ มิถุนายน ๒๕๒๑

สานวนที่ ๑
ตอนตีเชียงใหม่
(ทานองลาว)
เอิงเอยจะกล่าวถึงเจ้าเมือง เอ้อ เอย เจ้าเชียงใหม่
ตัง้ แต่ครองเวียงชัยมานานช้าเอย (รับ ช้าเอย ช้าเอย ชะละช้าเอย ชาเอย ช้าเอย ชะละ
ช้าเอย เอิงเงย ช่อดอกรัก หัวอกจะหักเสียแล้วหล่อนจ๋า เอยช่อดอกรัก หัวอกจะหักเสียแล้ว
หล่อนจ๋า เอ้อ เอ่อ เออ เอิง๊ เอย)
ครองเมืองมาก็นาน เอ่อ จนปา่ นนี้ มีพระราชบุตรีแล้วโตใหญ่เอย (รับ)
เอ้อ...ลูกสาวชือ่ สาวน้อย เจ้าสร้อยฟ้า อายุได้สบิ ห้างามเลิศใจ เอย (รับ)
เออ เอิง๊ เอย โอ้ละหนอเอย คุณเอ๋ยข้อยสิบ่นงิ่ เฉยช้าอยู่ใย
๑๘๗

กล่าวถึงเจ้าเมืองเชียงใหม่ ท่านครอบครองธานีสบาย
(รับ – ฉาดช้า ชา ช้า ชะชา ชะ ละ ละ ฉาด ชา นอยแม่)
ครองเมืองมานานจนปา่ นนี้ ฉันมีราชบุตรีโตใหญ่
เจรจา – อ้าเราสมนามเจ้าเมืองเชียงใหม่ ได้ครอบครองเมืองเชียงใหม่น้มี านานหลายปีแล้ว ป๋า
วันนี้ขอ้ ยจะออกไปท้องพระโหรง
เจ้าเชียงใหม่จดั แจงแต่งกายา แต่งก้ายา จะออกไปดูบ่าวข้าเป็นสันใด
เราจับเอาทหารไทยเอยแล้วเอามา แล้วเอ้ามาใส่คุกคาในเวียงชัยเอย
เอ๋ยน้องเอย หวันนี้ได้เวลาเราสามโมง แล้วสามโมงจะออกไปท้องพระโรงเหมือนอย่างใจ
จะสืบหาทหารไทยใครจ้างมา มันจะดุกล้ามันจะเข้ามาในเวียงชัยเอย
เอ๋ย โอละหน่าย หน่อยเอ๋ย

เพลงส่งเครื่อง สานวนที่ ๑ ตอนตีเ ชียงใหม่ กล่าวถึงเรื่องขุนช้างขุนแผน


ตอนตีเชียงใหม่ เนื้อความกล่า วถึงตัวละครในเรื่อง ๒ ตัว คือ เจ้าเมืองเชียงใหม่ และเจ้า
สร้อยฟ้า โดยกล่าวเพียงว่า เจ้าเชียงใหม่มธี ดิ าคือนางสร้อยฟ้า ทหารเชียงใหม่จบั ทหารไทยได้
เจ้าเชียงใหม่จงึ จะออกท้องพระโรงเพื่อตัดสินความ

จากการศึกษาข้อมูลคติชนประเภทเพลงพืน้ บ้านทีส่ ุกญ ั ญา สุจฉายา รวบรวมไว้ ผูว้ จิ ยั


พบว่า เพลงพืน้ บ้านทีม่ กี ารร้องเล่นในจังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนหนึ่งพ่อเพลงแม่เพลงได้กล่าวถึง
ตัวละครเรื่องขุนช้างขุนแผน และเล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน เนื้อหาของเพลงกล่าวถึงลักษณะของ
ตัวละครนัน้ ๆ เพียงเล็กน้อยเพื่อประกอบการเล่นเพลง หรือเล่าเรื่องขุนช้างขุนแผนในตอนใด
ตอนหนึ่ง
อย่ า งไรก็ต าม สัง เกตได้ ว่ า เรื่อ งราวชีว ิต ของขุ น แผนที่ไ ด้ ร ับ การน าเสนอผ่ า น
เพลงพืน้ บ้านมีลกั ษณะเหมือนกับทีป่ รากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน แต่เพลงพื้นบ้าน
จะแฝงน้ าเสียงซึ่งสะท้อนมุมมองทีช่ าวบ้านมีต่อขุนแผน ตลอดจนตัวละครอื่น ๆ สังเกตได้ว่า
เรื่อ งราวที่นาเสนอในเพลงพื้นบ้า นข้างต้น เป็ นเรื่องราวที่กล่า วถึงเรื่องรัก ๆ ใคร่ ๆ ของ
ขุนแผนทัง้ สิน้ ดังจะเห็นได้จากเพลงปรบไก่ สานวนที่ ๑ นางทองประศรีตดั พ้อต่อว่าขุนแผนที่
ไปยุ่งเกีย่ วกับนางวันทองหญิงสองผัวอีก ส่วนเพลงอีแซวเล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน นางวันทองก็
ตัดพ้อที่เมื่อขุนแผนได้ภรรยาใหม่คอื นางลาวทอง ก็ลืมและไม่ฟ งั นางวันทอง แต่พอเวลา
ผ่านไปก็กลับมายุ่งเกีย่ วกับนางวันทอง

การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุ รี ทาให้


ผูว้ จิ ยั เห็นว่า ข้อมูลคติชนสอดคล้องกับเรื่องราวของขุนแผนตามทีป่ รากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง
– ขุน แผน และไม่ ไ ด้ มุ่ ง เน้ น น าเสนอเพีย งเรื่อ งราวชีว ิต ของขุ น แผนเพี ย งอย่ า งเดีย ว
๑๘๘

แต่นาเสนอเรื่องขุนช้างขุนแผนอันเป็ นนิทานพื้นบ้านของท้องถิน่ ด้วย ข้อมูลคติชนส่วนใหญ่


เกี่ยวข้องกับเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนเมื่อครัง้ เป็ นเณรแก้วตอนบวชเรียนศึกษาวิชาการกับ
สมภารมีและสมภารคงที่เมือ งสุพรรณบุรี จึงมักปรากฏอยู่ในวัด โดยเฉพาะอย่างยิ่งวัด ที่
เณรแก้วเคยบวชเรียน คือ วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร และวัดแค ข้อมูลคติชนประเภทต่าง ๆ อาทิ
ข้อมูลคติชนประเภทวัตถุมงคล ข้อมูลคติชนประเภทจิตรกรรม มีส่วนช่วยสนับสนุนความเชื่อ
เรื่อ งสถานที่ท่ีเ กี่ย วข้อ งกับ ขุน แผนให้ ห นัก แน่ น ยิ่ง ขึ้น ทัง้ ยัง ช่ว ยดึง ดู ด ความสนใจจาก
นักท่องเทีย่ วหรือผูม้ าเยือนอีกด้วย

จากที่กล่าวมาทัง้ หมดจะเห็นได้ว่า ชาวสุพรรณบุรเี ชื่อว่าขุนแผนเคยมีตวั ตนอยู่จริง


เคยบวชเรียนศึกษาวิชาการจนมีความรู้แกร่งกล้า กระทังได้ ่ รบั ราชการทหารสมความตัง้ ใจ
เมื่อเป็นทหารก็ได้ประกอบวีรกรรมจนเป็นทีไ่ ว้วางพระราชหฤทัยและแม้ขนุ แผนจะสิ้นชีวติ แล้ว
แต่ ช าวสุ พ รรณบุ รี ย ัง คงนั บ ถือ และสัก การบู ช าขุ น แผน ตลอดจนอนุ ร ัก ษ์ สืบ ทอด และ
สร้างสรรค์ขอ้ มูลต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับขุนแผน เพื่อเป็ นการยกย่องและระลึกถึงขุนแผนอยู่อย่าง
ต่อเนื่องในปจั จุบนั
บทที่ ๕

การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
ในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรี

งานวิจยั เรื่องนี้ศกึ ษาวิเคราะห์คติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัด


สุพรรณบุรี โดยมีสมมติฐานว่า “คติชนประเภทต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี
และจัง หวัด สุ พ รรณบุ รีส ะท้ อ นให้ เ ห็น การนั บ ถือ ขุ น แผนในฐานะที่เ ป็ น วีร บุ รุ ษ ท้ อ งถิ่ น
และมีส่วนในการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในลักษณะทีแ่ ตกต่างกัน กล่าวคือ การสร้าง
ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรจี ะเน้นช่วงชีวติ ของขุนแผนตอนเป็ นทหาร
และผูป้ กครองเมือง ส่วนการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรจี ะเน้ น
ช่วงชีวติ ของขุนแผนตอนบวชเรียน”
จากสมมติฐานดังกล่าว ผูว้ จิ ยั ขอจาแนกการวิเคราะห์ออกเป็น ๒ ประเด็นหลัก ๆ คือ
การนับถือขุนแผนในฐานะวีร บุรุษท้องถิ่น ในจัง หวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพ รรณบุ รี และ
การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี เพื่อแสดง
ให้เ ห็น ว่า คติชนประเภทต่า ง ๆ สะท้อ นให้เ ห็น การนับถือขุน แผนในฐานะวีรบุ รุษ ท้อ งถิ่น
และแสดงให้เห็นการใช้คติชนในการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน ทัง้ นี้จะวิเคราะห์ปจั จัย
ในการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนเพื่อแสดงให้เห็น ความสัมพัน ธ์ระหว่างคติชนกับ
การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัด
สุพรรณบุรดี ว้ ย

๕.๑ การนับถือขุนแผนในฐานะวีรบุรษุ ท้องถิ่ นในจังหวัดกาญจนบุรี


และจังหวัดสุพรรณบุรี
จากสมมติฐานของการวิจ ัยในส่ วนต้นที่ตงั ้ ไว้ว่า “คติช นประเภทต่า ง ๆ เกี่ย วกับ
ขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรสี ะท้อนให้เห็นการนับถือขุนแผนในฐานะ
ทีเ่ ป็นวีรบุรุษท้องถิน่ ” นัน้ เมื่อได้ศกึ ษาวิจยั แล้ว ผูว้ จิ ยั พบว่า จังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัด
สุพรรณบุรีมีการนับถือขุนแผนในระดับที่แตกต่างกัน กล่าวคือ จังหวัดกาญจนบุรีจะนับถือ
ขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิ่นผูศ้ กั ดิ ์สิทธิ ์ ส่วนในจังหวัดสุพ รรณบุรจี ะนับถือขุนแผนทัง้ ใน
ระดับวีรบุรุษท้องถิน่ ผูศ้ กั ดิ ์สิทธิ ์และในระดับบุคคล
ก่อนจะกล่าวถึงประเด็นนี้ ในเบือ้ งต้น ผูว้ จิ ยั ขอกล่าวถึงความหมายของคาว่า วีรบุรุษ
(hero) ซึ่งมีผใู้ ห้นิยามไว้หลากหลาย เพื่อเป็ นประโยชน์ต่อการศึกษาวิเคราะห์คติชนประเภท
ต่าง ๆ ทีส่ ะท้อนให้เห็นว่าขุนแผนเป็นวีรบุรุษท้องถิน่ ดังนี้
๑๙๐

เกอร์ทรูด โจบส์ (Gertrude Jobes) (1962: 762) นิยามคาว่า วีรบุรุษ (hero) ไว้วา่

ในเทวต านาน วีร บุ รุ ษ มัก หมายถึง ผู้สืบ เชื้อ สายมาจาก


เทพเจ้า ‚In modern usage a hero is understood to be one
distinguished for bold enterprise, courage, fortitude.‛
แต่ในปจั จุบนั วีรบุรุษ หมายถึง ผูป้ ฏิบตั ภิ ารกิจสาคัญที่ยากลาบาก
ด้วยความกล้าหาญและเข้มแข็ง

พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมอังกฤษ – ไทย ฉบับราชบัณ ฑิ ต ยสถาน (๒๕๔๕:


๒๐๘) ให้นิยามคาว่า วีรบุรุษ ว่า ตัวละครสาคัญชายในวรรณกรรมคลาสสิก ตานาน หรือ
เรื่องปรัมปรา มีลกั ษณะกล้าหาญ เข็มแข็ง ฉลาดหลักแหลม มีเทพเจ้าคอยให้ความช่วยเหลือ
และโดยทัวไปเชื
่ อ่ กันว่ามีเชือ้ สายมาจากเทพเจ้า

นอกจากนี้ยงั มีนักวิชาการหลายคนที่ศกึ ษาเรื่องวีรบุรุษได้กล่าวถึง วีรบุรุษ ไว้อย่าง


น่าสนใจ ดังนี้

ลอร์ด แรกเลน (Lord Raglan) ได้ศกึ ษาเรื่องราวชีวติ ของวีรบุรุษในเทพปกรณัมกรีกไว้


ในบทความเรื่อง ‚The Hero of Tradition‛ อ้างถึงในหนังสือ The Study of Folklore ของอลัน
ดันดีส (Alan Dundes 1965: 142 – 157) ซึ่งกิง่ แก้ว อัตถากร (๒๕๑๙: ๑๔๑ – ๑๖๐) ได้แปล
และเรียบเรียงเป็นภาษาไทยในบทความเรื่อง “แง่คดิ จาก ‘วีรบุรุษในวัฒนธรรมประเพณี’ ของ
ลอร์ ด แรกแลน” พบว่ า เรื่อ งราวชีว ิต ของวีร บุ รุ ษ ในเทพปกรณัม กรีก จ านวน ๑๗ คน
มีเหตุการณ์ตรงกันเกือบทุกเรื่องจานวน ๒๒ เหตุการณ์ คือ

๑. มารดาเป็นเจ้าหญิงพรหมจารีย์
๒. บิดาเป็นกษัตริย์
๓. มักเป็นญาติใกล้ชดิ ของมารดา
๔. สภาวะแห่งการมาสู่ปฏิสนธิแปลกกว่าธรรมดา และ
๕. ถูกกล่าวขวัญว่าเป็นลูกของเทพยดา
๖. เมื่อเกิดมักถูกบิดาหรือบุคคลอื่นพยายามปองร้ายชีวติ
๗. ถูกพาหนีไปอย่างลึกลับ
๘. มีผรู้ บั เลีย้ งเป็นบุตรบุญธรรมในแดนไกล
๙. ไม่มคี าบอกเล่าเกีย่ วกับวัยเด็ก แต่
๑๙๑

๑๐. เมื่อถึงวัยหนุ่ม จะกลับไปบ้านเกิดเมืองนอน


หรือไปสู่แว่นแคว้นทีจ่ ะครอบครองในอนาคต
๑๑. หลังจากทีม่ ชี ยั ชนะต่อพระราชา หรือยักษ์ มังกร หรือสัตว์รา้ ย
๑๒. แต่งงานกับเจ้าหญิง ซึ่งเป็นธิดาของผูท้ ค่ี รองแว่นแคว้นอยู่ก่อน และ
๑๓. สถาปนาเป็นพระราชา
๑๔. ปกครองเมืองอย่างไม่มเี หตุการณ์สาคัญอยู่ระยะหนึ่ง และ
๑๕. ออกกฎหมาย แต่
๑๖. ต่อมาทาให้เทพเจ้าพิโรธ และเสื่อมความศรัทธาประชาชน จึง
๑๗. ถูกโค่นจากบัลลังก์และถูกขับลาจากเมือง
๑๘. ตายอย่างลึกลับ
๑๙. มักจะบนยอดเขา
๒๐. ลูก ถ้ามี ไม่ได้สบื สันตติวงศ์
๒๑. ไม่มกี ารฝงั ศพ แต่ถงึ กระนัน้
๒๒. มีอนุสาวรียท์ ส่ี กั การะหนึ่งหรือมากกว่าหนึ่งแห่ง

โจเซฟ แคมพ์เบลล์ (Joseph Campbell) กล่าวถึง วีรบุรุษ ไว้ใน The Power of Myth
(1988: 123 – 127) ซึ่ง บารนี บุญทรง แปลจากภาษาอังกฤษเป็ นภาษาไทยในชื่อว่า
พลานุภาพแห่งเทพปกรณัม (๒๕๕๑: ๒๕๕ – ๒๖๖) มีกงิ่ แก้ว อัตถากร เป็ นบรรณาธิการ
สรุปความได้วา่

วีร บุ รุ ษ คือ ใครบางคนซึ่ ง มอบชีว ิต ของเขาหรือ ของเธอ


ให้กบั บางสิ่งที่ยงิ่ ใหญ่กว่าตัวของเขาเอง ได้ค้นพบหรือทาบางสิ่ง
ทีอ่ ยู่เหนือความสาเร็จและประสบการณ์ในระดับปรกติ ภารกิจของ
วีรบุรุ ษมีอ ยู่สองประเภทคือ ภารกิจ ทางกาย ซึ่ง วีรบุรุ ษได้แสดง
พฤติก รรมอัน กล้ า หาญในการประจัญ บานหรือ ในการช่ว ยชีว ิต
ใครสัก คน อีกประเภทหนึ่ง คือ ภารกิจ ทางจิต วิญ ญาณซึ่ง วีร บุรุ ษ
เรียนรูท้ จ่ี ะสัมผัสชีวติ ทางจิตวิญญาณของมนุษย์ในระดับเหนือปรกติ
แล้ว กลับมาพร้อ มกับสารสาระ...ความเป็ นวีร บุรุ ษมีวตั ถุป ระสงค์
เชิงศีลธรรมคือ การช่วยชีวติ ผูค้ น หรือการช่วยชีวติ คนบางคน หรือ
การสนับสนุ นความคิดหนึ่ง วีรบุรุษเสียสละอุ ทิศตนเองเพื่อบางสิ่ง
โดยมีทงั ้ ประเภทที่เลือกจะออกเดินทางและประเภทที่ไ ม่ได้เลือ ก
ในการผจญภัยประเภทหนึ่ง วีรบุรุษจะออกเดินทางเพื่อประกอบ
๑๙๒

ภารกิจด้วยความตัง้ ใจมุ่งมันและรั ่ บผิดชอบ และมีการผจญภัยที่ถู ก


จับโยนเข้าไป ยกตัวอย่างเช่น การถูกเกณฑ์เข้าสู่กองทัพ แม้ไม่ได้
ตัง้ ใจเช่ น นั น้ แต่ เ มื่อ ได้เ ข้า มามีส่ ว นร่ ว มแล้ว ก็ถือ ว่ า ได้ส วมใส่
เครื่องแบบ และคือสิง่ มีชวี ติ อีกแบบหนึ่ง

กุสุมา รักษมณี (๒๕๓๘: ๑๑๙) ได้กล่าวถึง วีรบุรุษในเทพปกรณัมตะวันออกไว้ใน


บทความเรื่อ ง “วรรณกรรมสดุ ดีข องอิ น เดีย และตะวัน ออกกลาง” ซึ่ ง พิม พ์ เ ผยแพร่ ใ น
วรรณกรรม – ศิ ลปะสดุดี ว่า

การต่อสู้ของวีรบุรุษเป็ นการดาเนินชีวติ ให้สอดคล้องกับ


เป้าหมายของชีวติ (ปุรุษารถะ) อันได้แก่ ธรรมะ อรรถะ กามะ และ
โมกษะ วีรบุรุษควรต่อสูเ้ พื่อธารงหน้าที่ (ธรรมะ) ที่ได้รบั มอบหมาย
เช่น เป็นกษัตริยก์ ต็ อ้ งดูแลทุกข์สุขของประชาชน ควรต่อสู้เพื่อรักษา
ชือ่ เสียง ทรัพย์สมบัติ (อรรถะ) มิให้ผใู้ ดมาช่วงชิงไปได้ บางครัง้ อาจ
ต่อสูเ้ พื่อความรัก (กามะ) ให้สตรีเห็นฝี มอื และตกลงปลงใจหรือต่อสู้
เพื่อความหลุดพ้น (โมกษะ) เพื่อความสุขนิรนั ดร

นิธิ เอียวศรีวงศ์ (๒๕๓๖) ได้นิยามคาว่า วีรบุรุษ ไว้วา่

บุคคลทีไ่ ด้รบั ยกย่องว่าเป็ นผูม้ คี ุณประโยชน์อนั ยิง่ ใหญ่แก่


สังคม การกระทาของวีรบุรุษอาจไม่เพียงแต่เล่าขานกันในยุค สมัย
ของวีรบุรุษ แต่ยงั สืบเนื่องตลอดมาจนทุกกาลสมัย ตราบเท่าที่สงั คม
ยังยกย่องวีรบุรุษผู้นัน้ ผู้ท่ไี ด้รบั ยกย่องว่าเป็ นวีรบุรุษจะต้องเป็ น
คนพิเศษ กระทาในสิง่ ทีย่ งิ่ ใหญ่ซ่งึ คนทัวไปกระท
่ าได้ยาก

ในขณะที่ สุกญั ญา สุจฉายา (๒๕๔๒: ๒๐๓) ได้กล่าวถึง วีรบุรุษ ไว้ในบทความเรื่อง


“พระร่วง: วีรบุรุษในประวัตศิ าสตร์และวีรบุรุษทางวัฒนธรรม” ซึ่งพิมพ์เผยแพร่ในวารสาร
ภาษาและวรรณคดีไทย โดยชีใ้ ห้เห็นว่า วีรบุรุษมี ๒ ลักษณะคือ วีรบุรุษในประวัติศาสตร์
และวีร บุ รุ ษ ทางวัฒ นธรรม วีร บุ รุ ษ ในประวัติศ าสตร์ มีช่อื เสีย งและมีป ระวัติบ ัน ทึก ไว้ใ น
ประวัตศิ าสตร์ พงศาวดาร สามารถระบุได้ว่ามีชวี ติ อยู่ในช่วงสมัยใด มักกล่าวขานถึงวีรกรรม
ด้านต่าง ๆ โดยเฉพาะในเรื่องของการศึกสงคราม การขยายดินแดน เช่น พ่อขุนรามคาแหง
มหาราช สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พระเจ้าตากสินมหาราช พระยาพิชยั ดาบหัก ฯลฯ
๑๙๓

อีกลักษณะหนึ่งเป็ นวีรบุรุษทางวัฒนธรรม ผู้วางรากฐานวัฒนธรรมบางด้านแก่ชุมชน เช่น


สอนให้รู้จ ัก ใช้ไ ฟ รู้จ ัก ปลู ก ข้า ว รู้จ ัก ทอผ้า รู้จ ัก การฟ้ อนร า การดนตรี สอนความคิด
ความเชื่อบางอย่างหรือนากลุ่มชนมาสร้า งเมือง ฯลฯ วีรบุ รุษลักษณะนี้ไม่ มีช่อื ปรากฏใน
ประวัตศิ าสตร์ แต่มชี ่อื อยู่ในตานาน (myth) พงศาวดาร นิทานประจาถิน่ (legend) หรือ
ในพิธกี รรมบางอย่าง ไม่สามารถระบุยุคสมัยได้แน่ ชดั ได้แต่ประมาณอย่างคร่าว ๆ ว่าน่ าจะ
อยู่ในยุคสมัยใดสมัยหนึ่ง มักมีประวัตชิ วี ติ โลดโผน เต็มไปด้วยอิทธิปาฏิหาริย์จนกลายเป็ น
กึง่ เทพกึง่ มนุษย์ เช่น ขุนเจือง พระเจ้าพรหม ท้าวอู่ทอง พระร่วง ฯลฯ

จากการศึกษาภูมหิ ลังเกีย่ วกับขุนแผนจากวรรณคดีไทยและเอกสารทางประวัตศิ าสตร์


และจากการศึกษาข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรีซ่งึ
สะท้ อ นให้เ ห็น เรื่อ งราวชีว ิต ของขุน แผน ประกอบกัน ผู้ว ิจ ัย พบว่ า ชาวกาญจนบุ รีแ ละ
ชาวสุพรรณบุรรี บั รูเ้ รื่องขุนแผนจากเรื่องเล่าเกีย่ วกับขุนแผน นิทานพืน้ บ้านเรื่องขุนช้างขุนแผน
ที่เป็ นความทรงจาส่วนที่มีมาแต่เดิม ตลอดจนรับรู้เรื่ องขุนแผนจากคติชนเกี่ยวกับขุนแผน
ที่มที งั ้ ความทรงจาส่วนที่มมี าแต่เดิม และส่วนที่สร้างขึน้ ใหม่จนทาให้กลายเป็ นความทรงจา
ทีไ่ ปสอดคล้องกับความทรงจาเดิม โดยมองว่าขุนแผนเป็ นทหารผูก้ ล้าหาญ เป็ นเลิศในวิชา
คาถาอาคมซึ่งใช้ประกอบวีรกรรม นอกจากนี้ยงั รับรู้เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนจากเสภาเรื่อง
ขุน ช้ า ง – ขุน แผน ซึ่ง เป็ น ความทรงจาอีก ชุด หนึ่ง ที่ไ ด้แ สดงวีร รสที่ทาให้ค นรับรู้และเกิด
ความทรงจาเกีย่ วกับขุนแผนในฐานะวีรบุรุษผูก้ ล้าหาญซึ่งได้ประกอบวีรกรรมทีน่ ่ายกย่อง

พจนานุ กรมศัพ ท์วรรณกรรมไทย ฉบับราชบัณ ฑิ ต ยสถาน (๒๕๕๒: ๓๗๕)


กล่าวถึง วีรรส ไว้วา่

วีรรส คือความชืน่ ชม เป็นรสทีเ่ กิดจากการรับรูค้ วามมุ่งมัน่


ในการแสดงความกล้ า หาญอัน เป็ น คุ ณ ลัก ษณะของคนชัน้ สู ง
ความกล้าหาญมี ๓ อย่างคือ กล้าให้ (ทานวีระ) กล้าประพฤติธรรม
หรือหน้าที่ (ธรรมวีระ) และกล้ารบ (รณวีระ) อาจมีภาวะเสริมคือ
ความมันคง ่ ความพินิจพิเคราะห์ ความจองหอง ความตื่นตระหนก
ความรุนแรง ความแค้น ความระลึกได้ ฯลฯ วิภ าวะของความ
มุ่ ง มัน่ ได้ แ ก่ การเอาชนะศัต รู การบัง คับ อิน ทรี ย์ ข องตนได้
การแสดงพละกาลัง อนุ ภ าวะของความมุ่งมัน่ ได้แก่ ท่า ทีมนคง ั่
เฉลียวฉลาดในการงาน เข้มแข็ง ขะมักเขม้น พูดจาแข็งขัน
๑๙๔

เมื่อกล่าวถึงเรื่องราวชีวติ ของขุนแผน ขุนแผนเป็ นบุตรของข้าราชบริพารในสมเด็จ


พระพันวษา คือ ขุนไกรพลพ่าย บิดาเป็ นนายทหารมากฝี มือที่ได้รบั ความไว้วางพระราช
หฤทัยจากสมเด็จพระพันวษาให้รกั ษาด่าน มีหน้าทีส่ าคัญคือต้อนกระบือเวลาเสด็จประพาสปา่
ช่วงทีข่ นุ แผนใกล้ถอื กาเนิด นางทองประศรีผเู้ ป็นมารดาฝนั ขุนไกรผูเ้ ป็นบิดาทานายว่าจะได้
บุตรดี ประกอบกับบ้านเมืองขณะนัน้ มีเหตุการณ์สาคัญคือ พระเจ้ากรุงจีนถวายแก้วให้พระเจ้า
กรุงศรีอ ยุธยา ชีวติ ของขุนแผนตอนเด็ก ไม่ราบรื่นนัก โชคชะตากาหนดให้บิดาต้องโทษ
ประหารชีวติ เพราะท าให้ส มเด็จ พระพันวษากริ้ว มารดาจึงต้องพาหนี ราชภัยไปอยู่เ มือ ง
กาญจนบุรี จากทีเ่ คยมีชวี ติ สุขสบายจึงต้องลาบากยากจนและเริม่ ตัง้ รกรากใหม่ ภายหลังชีวติ
เริ่ ม ดี ข้ึน เมื่ อ เติบ โตอยากบวชเรี ย นเพื่ อ จะได้ มี โ อกาสรับ ราชการทหารเหมือ นบิ ด า
หรืออีกมุมมองหนึ่งคือเป็นการพิสูจน์ตนเองเพื่อกอบกูช้ อ่ื เสียงของบิดา กระทังบวชเรี
่ ยนจนมี
ความรูแ้ ตกฉานแล้วจึงมีโอกาสได้รบั ราชการทหาร ทาศึกสาคัญจนได้รบั ชัยชนะทาให้เป็ นที่
ไว้วางพระราชหฤทัย แต่ขุนแผนก็พบอุปสรรคในด้านชีวติ ครอบครัวคือ ขุนช้างเพื่อนเล่น
ในวัยเด็กคอยแย่งชิงนางวันทองผูเ้ ป็ นภรรยา คอยให้ร้ายและกล่าวฟ้องตนจนเป็ นคดีความ
อยู่หลายครัง้ ประกอบกับขุนแผนเป็นคนเจ้าชู้ ทาให้มภี รรยาหลายคนจนเกิดเรื่องราวตามมา
เมื่อถึงช่วงหนึ่งคือตอนได้รบั พระราชอาญาให้ออกตระเวนด่าน ขุนแผนผจญภัยหาของวิเศษ
คือ ดาบฟ้าฟื้ น ม้าสีหมอก และกุมารทอง เพื่อเป็นสิง่ ช่วยเหลือในการเป็นทหาร ของวิเศษ
เหล่านี้มบี ทบาทเป็นผูช้ ว่ ยเหลือขุนแผนในเรื่องต่าง ๆ ทัง้ การศึก ความรัก และคอยเตือนสติ
ขุนแผน อย่างไรก็ดี ในท้ายที่สุดความสามารถและฝี มอื ของขุนแผนทาให้ได้รบั พระราชทาน
ตาแหน่ งเป็ นนายทหารคุมด่านและเป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรีซ่ึงถือเป็ นเมืองหน้ าด่านสาคัญ
ที่ขา้ ศึกจะยกทัพมาในสมัยกรุงศรีอยุธยา ขุนแผนปกครองเมืองกาญจนบุรแี ละไม่มีบทบาท
สาคัญใดอีกในเรื่องขุนช้างขุนแผน ทัง้ ยังไม่มีหลักฐานว่าเสียชีวติ เมื่อใด แต่ ชาวกาญจนบุรี
เชื่อว่า วิญญาณของขุน แผนสถิตอยู่ท่เี ขาชนไก่ คอยปกป้อ งดูแลลูก หลานอยู่ในท้องถิ่นนัน้
เช่นเดียวกับที่พระราชพรหมยาน หรือหลวงพ่อฤๅษีลงิ ดา (๒๕๕๑: ๒๓๒ – ๒๓๔) กล่าวไว้
ในหนังสือ พ่อสอนลูกว่า “วิญญาณของขุนแผนยังคงสถิตอยู่ท่เี ขาชนไก่ ” และน่ าสังเกตว่า
แม้ชาวกาญจนบุรแี ละชาวสุพรรณบุรจี ะเชือ่ ว่าขุนแผนเคยมีตวั ตนอยู่จ ริง แต่กไ็ ม่พบว่ามีสุสาน
ที่เ ก็บ กระดู ก หรือ ร่ อ งรอยหลัก ฐานใด ๆ คงไว้ แ ต่ รู ป เคารพของขุ น แผนที่ค นท้ อ งถิ่น
สักการบูชาและขอพรสืบต่อกันมาจากรุ่นสู่รุ่น
อย่างไรก็ตาม สังเกตได้ว่า ความเป็ นวีรบุรุษของขุนแผนไม่ใช่ลกั ษณะของวีรบุรุษ
แบบพระมหาจัก รพรรดิร าชซึ่ ง มีค วามดีง ามหมดจด หากแต่ ขุ น แผนมีท ัง้ ความดีแ ละ
ข้อบกพร่องอยู่ในตนเอง ทาให้เห็นว่าวีรบุรุษในมุม มองของไทยนัน้ อาจไม่ใช่ค นดีบริสุทธิ ์
สมบูรณ์แบบ ดังจะเห็นได้จากขุนแผนไม่ใช่บุค คลที่เป็ นแบบฉบับ ยังคงมีพฤติกรรมที่เป็ น
ต าหนิ แ ละมี ค วามด่ า งพร้ อ ยบางประการ เช่ น ไม่ ซ่ื อ สัต ย์ ก ับ ภรรย า ใจร้ อ น วู่ ว าม
๑๙๕

แต่มคี ุณสมบัตทิ ส่ี าคัญคือ เป็ นทหารที่ดมี คี วามกล้าหาญ มีความกตัญญูกตเวที จงรักภักดี


ต่อ พระมหากษัตริย์ เห็นแก่ประโยชน์ ของบ้านเมืองมากกว่าประโยชน์ ส่วนตน ดังจะเห็น
ได้จ ากเหตุ การณ์ หลังจากแต่งงานกับนางพิมพิลาไลยเพีย งไม่ ก่วี นั เมื่อ ได้ร ั บพระบัญชา
ให้ไปทัพ ขุนแผนเมื่อครัง้ ยังเป็ นพลายแก้วก็สนองพระบัญชาด้วยความเต็มใจ หรือตอนที่
ขุนแผนต้องโทษจาคุก แม้ตนเองจะมีวชิ าอาคมมากมายแต่เมื่อ ต้องโทษก็ไม่ได้ใช้วชิ าอาคม
สะเดาะกุญแจโซ่ตรวนเพื่อให้ตนเองเป็ นอิสระ กลับรับผิดทางอาญาอยู่เป็ นเวลานาน ทัง้ ยังใช้
ความสามารถทางการรบพิสูจน์ตนเองให้พน้ ผิดอีกด้วย

จากเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนข้างต้น พฤติกรรมและประสบการณ์ชวี ติ ของขุนแผน


สะท้อนให้เห็นความมุ่งมันในการแสดงความกล้
่ าหาญ โดยเฉพาะอย่างยิง่ ความกล้าหาญที่จะ
ประพฤติหน้าทีแ่ ละกล้ารบ ดังเช่นเหตุการณ์ตอนที่ขุนแผนเมื่อครัง้ เป็ นพลายแก้วแต่งงานกับ
นางพิมพิลาไลยได้เพียง ๒ วัน สมเด็จพระพันวษามีพระบรมราชโองการแต่งตัง้ ให้พลายแก้ว
เป็ นแม่ท ัพไปในศึกเชีย งทอง พลายแก้วก็พร้อมปฏิบตั ิหน้ าที่ด้ว ยความเต็ม ใจเพื่อสนอง
พระบรมราชโองการ และเมื่อถึงคราวทาศึกก็ใช้ความกล้าหาญกระทาการรบอย่างเต็มกาลัง
สามารถ เช่นเดียวกับเหตุการณ์ตอนศึกเชียงใหม่เพื่อชิงตัวนางสร้อยทองพระราชธิดาพระเจ้า
กรุง ศรีสตั นาคนหุ ตล้านช้าง ขุนแผนก็ไ ด้แ สดงให้เห็นความมุ่ง มันกล้ ่ า หาญที่จ ะไปท าศึก
โดยมี พ ลายงามบุ ต รชายเป็ น คู่ ค ิ ด และมี นั ก โทษจ าคุ ก ๓๕ คน เป็ น ก าลัง พลเท่ า นั ้น
แต่ทา้ ยทีส่ ุดแล้ว ขุนแผนก็สามารถปฏิบตั หิ น้าที่ทางทหารได้อย่างชาญฉลาด วางแผนการรบ
ได้อย่างรัดกุมและแยบยลจนภารกิจ สาเร็จลุล่วงด้วยดี และได้รบั ความดีความชอบให้ได้รบั
ตาแหน่งเจ้าเมืองกาญจนบุรใี นเวลาต่อมา
นอกจากนี้ เมื่อ มองขุน แผนในฐานะวีร บุ รุ ษ ตามแนวคิด ของโจเซฟ แคมพ์ เ บลล์
จะเห็น ได้ ว่า ขุ น แผนได้ป ฏิบ ัติภ ารกิจ ที่เ ข้า ข่า ยการเป็ น วีร บุ รุ ษ ตามแนวคิด ของโจเซฟ
แคมพ์เบลล์ กล่าวคือ ได้เข้าร่วมต่อสู้ ได้ทาสงครามด้วยความกล้าหาญ เช่น ตอนศึกเชียงใหม่
และตอนนักโทษอาสา ๓๕ คน อันเป็ นการประกอบภารกิจทางกาย แม้โดยส่วนใหญ่แล้ว
ชาวกาญจนบุรแี ละชาวสุ พรรณบุรจี ะไม่สามารถกล่าวถึงวีรกรรมของขุนแผนในตอนต่าง ๆ
ได้อย่างละเอียด แต่ การกล่าวถึงในลักษณะชื่นชมและยอมรับฝี มือ และความสามารถของ
ขุนแผนก็แสดงให้เห็น ถึงการยกย่องขุนแผนในฐานะวีรบุรุษ ขณะเดียวกันขุนแผนก็เป็ นผู้มี
ความรู้ทางวิช าอาคม ความรู้เรื่อ งฤกษ์ย าม และเรื่อ งเหนือ ธรรมชาติ ซึ่งถือเป็ นวิช าที่ใ ช้
ในทางการรบและเป็นส่วนประกอบสาคัญในการประกอบภารกิจหรือวีรกรรมของวีรบุรุษ เช่น
สามารถปลุกเสกกุมารทองและเลีย้ งโหงพรายไว้คอยช่วยเหลือได้
๑๙๖

จากแนวคิดเรื่องวีรบุรุษ ทัง้ วีรบุรุษในเทพปกรณัม วีรบุรุษในประวัตศิ าสตร์ และวีร บุรุษ


ทางวัฒนธรรม ผูว้ จิ ยั พบว่า วีรบุรุษคือบุคคลที่ได้กระทาภารกิจที่ยงิ่ ใหญ่เพื่อส่วนรวมสาเร็จ
ด้วยความรูค้ วามสามารถของตน จนได้รบั การยกย่อง สอดคล้องกับภาพลักษณ์ของขุนแผน
ที่ส ะท้อนให้เห็นจากเรื่องราวชีวติ ตอนต่ าง ๆ ขุนแผนจึง มีล ักษณะเป็ นวีรบุ รุษ เพราะได้
ประกอบภารกิจทางการรบครัง้ สาคัญในแผ่นดินสมเด็จพระพันวษาจนสาเร็จลุล่วงด้วยความรู้
ทางวิช าการและปฏิภ าณไหวพริบ ทางการรบ จนได้ร ับ พระราชทานความดีค วามชอบ
ให้มหี น้าที่ทางราชการสูงขึน้ ตามลาดับ ได้รบั การยกย่องและความไว้วางพระราชหฤทัยให้
ปฏิบตั ริ าชการสาคัญ และสามารถปฏิบ ัตภิ ารกิจเพื่อ รัก ษาเกียรติและศัก ดิ ์ศรีข องบ้านเมือ ง
สนองพระเดชพระคุณได้เป็นอย่างดี

อย่างไรก็ตาม ดังที่ผู้วจิ ยั ได้กล่าวข้างต้นแล้วว่า ชาวกาญจนบุรีและชาวสุพรรณบุรี


มีค วามทรงจาร่ วมเรื่อ งขุน แผนชุด หนึ่ง คือ จากเรื่อ งขุน ช้า งขุน แผนที่เ ป็ นนิ ทานพื้น บ้า น
ซึ่ง เล่ า ขานกัน มานานก่ อ นจะเกิด การช าระเรื่อ งขุน ช้า งขุน แผนเป็ น เสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง –
ขุน แผน อัน เป็ น เสภาฉบับ หลวง ซึ่ ง ถือ เป็ น ความทรงจ าร่ ว มอีก ชุด หนึ่ ง ที่ช าวบ้า นรับ รู้
ภาพของขุนแผนจากเสภาเรื่องดังกล่าวมีลกั ษณะเป็นพระเอกนักรบที่กล้าหาญ มีฝีมอื เก่งกาจ
ประกอบวีรกรรมทาศึกได้ชยั ชนะให้แก่บ้านเมืองจนเป็ นที่ไว้วางพระราชหฤทัย ขุนแผนจึงมี
ลักษณะเป็นวีรบุรุษในความรับรูข้ องผูเ้ สพวรรณคดีเรื่องดังกล่าวแล้วประการหนึ่ง นอกจากนี้
ชาวกาญจนบุรแี ละชาวสุพรรณบุรยี งั ได้รบั รู้เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนจากคติชนประเภทต่าง ๆ
เกีย่ วกับขุนแผนทีส่ บื ทอดกันมาภายในท้องถิน่ จากรุ่นสู่รุ่น กระทังเกิ่ ดความทรงจาร่วมกันว่า
ขุ น แผนเคยมีต ัว ตนอยู่ จ ริง และเป็ น คนท้ อ งถิ่น เดีย วกับ ตน เกิด ความชื่น ชม ยกย่ อ ง
และภาคภู มิใ จที่ท้อ งถิ่น ของตนเคยมีขุน แผนเป็ น วีร บุ รุ ษ ผู้ก ล้ า หาญที่ไ ด้ป ฏิบ ัติร าชการ
สนองพระเดชพระคุณเป็ นที่ไว้วางพระราชหฤทัยกระทังอยู ่ ่ในความทรงจาของคนทุกวันนี้
ในทัศนะของคนท้องถิ่น ขุนแผนจึงเกี่ย วข้องผูกพัน กับตนมากกว่า การเป็ นเพีย งตัวละคร
ยิง่ ไปกว่านัน้ ยังเป็นอันหนึ่งอันเดียวกับท้องถิน่ จนกลายเป็นวีรบุรุษท้องถิน่ ด้วย
เมื่ อ พิ จ ารณาตั ว ขุ น แผนประกอบกั บ นิ ย ามค าว่ า วี ร บุ รุ ษ ตามแน วคิ ด ของ
นิธิ เอียวศรีวงศ์ ซึ่งมองว่า วีรบุรุษคือบุคคลทีไ่ ด้รบั การยกย่องว่าเป็นผูม้ คี ุณประโยชน์แก่สงั คม
การกระท าของวีรบุ รุษยังคงได้รบั การกล่าวขานสืบเนื่องต่อ มาตราบเท่าที่สงั คมยังยกย่อ ง
วีรบุรุษผูน้ นั ้ และนิยามคาว่า วีรบุรุษ ตามแนวคิดของสุกญ ั ญา สุจฉายา ซึ่ง มองว่า วีรบุรุษ
ในประวัติศ าสตร์คือผู้ป ระกอบวีร กรรมด้า นการศึก สงคราม และการขยายดิน แดนต่า ง ๆ
จนได้รบั การบันทึกไว้ในประวัติศ าสตร์ พงศาวดาร และวีร บุรุษ ทางวัฒ นธรรมคือวีร บุรุ ษ
ผูว้ างรากฐานทางวัฒนธรรมบางด้านแก่ชุมชน มักไม่ปรากฏชื่ออยู่ในประวัตศิ าสตร์ แต่มชี ่อื
ปรากฏในตานาน พงศาวดาร นิทานประจาถิน่ หรือพิธกี รรมบางอย่าง จะเห็นได้ว่า ขุนแผน
๑๙๗

เป็ นวีรบุรุษที่ปรากฏชื่ออยู่ทงั ้ ในเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน ซึ่งเชื่อกันว่าเป็ นเรื่องที่เคย


เกิดขึน้ จริง และในเอกสารคาให้การชาวกรุงเก่า ที่แม้เป็ นเอกสารทางประวัตศิ าสตร์ชนั ้ รอง
แต่ก็ได้บนั ทึกความทรงจาเรื่องขุนแผนชุดหนึ่งเอาไว้จนเป็ นที่รบั รู้สืบต่อมา ตลอดจนเป็ น
วีร บุ รุ ษ ที่ไ ด้ร ับ การกล่ า วขานและยกย่ อ งอยู่ ใ นจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี
จวบจนปจั จุบนั

ในงานวิจยั นี้ ผู้วจิ ยั นิยามความหมายของคาว่า วีรบุรุษท้อ งถิ่น (local hero) ว่า


วีรบุรุษทีม่ กั ปรากฏชือ่ อยู่ในตานานหรือนิทานพื้นบ้านที่คนท้องถิน่ ใดท้องถิน่ หนึ่งรับรู้ร่วมกัน
เป็ น วีร บุ รุ ษ ที่ก ลุ่ ม คนเหล่ า นัน้ เชื่ อ ว่า เป็ น ผู้ท่ีเ คยมีต ัว ตนจริง มัก มีเ รื่อ งเล่ า เกี่ย วกับ ชีว ิต
หรือมีพธิ กี รรมบางอย่างทีแ่ สดงให้เห็นว่าคนในท้องถิน่ เคารพนับถือหรือยกย่อง

ความเป็นวีรบุรุษของขุนแผนในท้องถิน่ กาญจนบุรแี ละสุพรรณบุรจี งึ เป็ นการมองจาก


วีรกรรมและเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนทีเ่ ล่าสืบต่อกันมา ประกอบกับการมีรูปเคารพประดิษฐาน
อยู่ ใ นสถานที่ต่ า ง ๆ ซึ่ ง มี ท ัง้ คนในท้ อ งถิ่น และคนทัว่ ไปสัก การบู ช าและบนบานขอพร
เป็นการช่วยยืนยันภาพความเป็นวีรบุรุษท้องถิน่ ของขุนแผน ความเป็นวีรบุรุษซึ่งสะท้อนผ่าน
คติชนเกีย่ วกับขุนแผนทีป่ รากฏในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรนี ้ีเองที่มสี ่วนในการ
สร้างความทรงจาร่ วมเรื่องขุน แผน เพื่อแสดงให้เห็นอัต ลักษณ์ ของท้องถิ่นกาญจนบุรีและ
สุพรรณบุรี ดังที่ผูว้ จิ ยั จะได้กล่าวถึงต่อไปในหัวข้อ ๕.๓ คติชนกับการสร้างความทรงจาร่วม
เรื่องขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี

๕.๑.๑ คติ ชนในจังหวัดกาญจนบุรีกบั การนับถือขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิ่ น


ผูเ้ ป็ นนักรบและผูป้ กครองเมือง
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนที่เกิดขึน้ ในจังหวัดกาญจนบุรี คือ เรื่องราวชีวติ
ช่วงทีข่ นุ แผนเมื่อครัง้ ยังเป็นพลายแก้วหนีมาอยู่เมืองกาญจนบุรพี ร้อมมารดาหลังบิดาต้องโทษ
ประหารชีวติ เป็ นช่วงกาลังเติบโตก่อนบวชเรียน และช่วงรับราชการทหาร กระทังได้ ่ รบั
พระราชทานบรรดาศักดิ ์ให้ดารงตาแหน่งพระสุรนิ ทรฦๅไชยมไหสูรย์ภกั ดี เจ้าเมืองกาญจนบุรี
ในจัง หวัด กาญจนบุ รี ผู้ ว ิจ ัย พบคติ ช นต่ า ง ๆ เกี่ ย วกับ ขุ น แผน เช่ น
พบรูปเคารพซึ่งประดิษฐานอยู่ในศาลต่าง ๆ มีคนท้องถิน่ และคนทัว่ ไปสักการบูชาและขอพร
เพราะเชือ่ ว่ามีความศักดิ ์สิทธิ ์ นอกจากนี้ยงั พบชือ่ สถานทีต่ ่าง ๆ เช่น วัดซึ่งคนท้องถิน่ เชื่อว่า
เมื่อครัง้ ขุนแผนเป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรี ขุนแผนได้สร้างไว้ตามธรรมเนียมของผู้เป็ นใหญ่
ในสมัยนัน้ ที่นิยมสร้างวัด และยัง พบการใช้ช่อื ขุนแผนเป็ นชื่อรหัส ในการใช้วทิ ยุส่อื สารและ
เป็ นชื่อฝ่ายรุกในการฝึ กนักศึกษาวิชาทหาร ซึ่งทหารกองพลทหารราบที่ ๙ คัดเลือกมาจาก
๑๙๘

ชือ่ นักรบผูก้ ล้าหาญและเป็นยอดฝีมอื ทัง้ ยังพบว่ามีชอ่ื ตาแหน่งผูว้ า่ ราชการจังหวัดกาญจนบุรี


สมัยหนึ่งเป็นชือ่ ตาแหน่งพระสุรนิ ทรฦๅชัย (จันทร์ ตุงคสวัสดิ ์) ซึ่งเป็ นชื่อตาแหน่ งเดียวกับที่
ขุนแผนได้รบั พระราชทานบรรดาศักดิ ์เป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรี นอกจากนี้ ในจังหวัดกาญจนบุรี
ยังมีการจัดสร้างวัตถุมงคลที่สะท้อนพุทธคุณด้านแคล้วคลาดอยู่ยงคงกระพันและด้านเมตตา
มหานิยมซึ่งสอดคล้องกับคุณสมบัตขิ องขุนแผนทหารผูม้ วี ชิ าคาถาอาคมเป็ นเลิศ และมีการ
สร้างภาพจิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนในสถานที่ท่มี ตี านานหรือเรื่องเล่าว่าขุนแผนเกี่ยวข้อง
กับสถานทีน่ นั ้ ภาพและคาบรรยายภาพจิตรกรรมได้เล่าเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนซึ่งเกี่ยวข้อง
กับจังหวัดกาญจนบุรไี ว้ ดังแสดงให้เห็นในตารางที่ ๒ และตารางที่ ๓
จากการศึกษาวิเคราะห์ ผูว้ จิ ยั สามารถจาแนกคติชนที่สะท้อนการนับถือ
ขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ ในจังหวัดกาญจนบุรไี ด้ตามช่วงชีวติ ต่าง ๆ ของขุนแผน คือ
คติชนทีเ่ กีย่ วข้องกับเรื่องราวชีวติ ตอนเด็ก เช่น คติชนเกี่ยวกับบิดามารดาซึ่งพบได้ในพื้นที่
เมืองกาญจนบุรเี ก่าและพืน้ ทีต่ าบลแก่งเสีย้ น คติชนทีเ่ กีย่ วข้องกับเรื่องราวชีวติ ตอนบวชเรียน
เช่ น ค าขวัญ ประจ าวัด ใหญ่ ด งรัง - ส้ ม ใหญ่ วัด ที่พ ลายแก้ ว บวชเรีย นกับ สมภารบุ ญ
คติชนทีเ่ กีย่ วข้องกับเรื่องราวชีวติ ตอนเป็นทหาร ซึ่งแบ่งเป็น ๒ ช่วงสาคัญ คือ ตอนเป็ นทหาร
ตระเวนด่าน เช่น คติชนเกี่ยวกับนางบัวคลี่และกุมารทอง และตอนเป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรี
เช่น ชื่อสถานที่แถบเมืองกาญจนบุรเี ก่า เขาชนไก่ รูปเคารพที่ประดิษฐานอยู่ท่ศี าลเจ้าพ่อ
เขาชนไก่
ชาวกาญจนบุรถี อื ว่าขุนแผนเป็นคนท้องถิน่ ทีไ่ ด้ประกอบวีรกรรมจนได้เป็ น
เจ้า เมือ งกาญจนบุ รี และมัก กล่ า วถึง ขุน ไกรและนางทองประศรีบิด ามารดาของขุน แผน
ผูว้ จิ ยั พบว่า คติชนเกี่ยวกับขุนไกรและนางทองประศรีท่ปี รากฏอยู่ในพื้นที่จงั หวัดกาญจนบุรี
ป จั จุ บ ัน ช่ ว ยแสดงให้ เ ห็น ว่า ขุน แผนและบิด ามารดาเกี่ย วข้อ งกับ ท้ อ งถิ่น อย่ า งแนบแน่ น
เช่น บริเวณถ้ าขุนไกร ตาบลแก่งเสี้ยน มีศาลพ่อขุนไกรตัง้ อยู่บริเวณเชิงเขา เชื่อว่าขุนไกร
เคยมาหลบฝนที่ถ้ า และได้พบกับสมภารคง เจ้าอาวาสวัดแค เมือ งสุพรรณบุรี จนขุนไกร
ได้กลายเป็ นศิษย์ทไ่ี ด้รบั การถ่ายทอดวิชา จึงเป็นทีม่ าของความตอนหนึ่งในเสภาเรื่องขุนช้าง
– ขุนแผน ว่า เมื่อขุนแผนครัง้ เป็นพลายแก้วไปบวชเรียนทีส่ ุพรรณบุรี นางทองประศรีคดิ จะพา
พลายแก้วไปบวชเรียนกับสมภารคงเพราะขุนไกรเคยสนิทสนมกับสมภารคง และเมื่อเติบโตขึน้
ขุน แผนออกรบก็จะมาท าพิธีต งั ้ ศาลเพีย งตาเพื่อ ขอพรจากขุน ไกรผู้เ ป็ น บิด าในพื้น ที่แ ถบ
เขาคอกแห่งนี้ นอกจากนี้ ในพื้น ที่เมืองกาญจนบุรเี ก่า ยัง พบศาลย่าทองประศรี หมู่บ้าน
นางทองประศรี และตลาดนางทองประศรี ซึ่งชาวบ้านเชือ่ ว่านางทองประศรีมารดาของขุนแผน
เคยใช้ช ีว ิต อยู่ แ ละท ามาหากิ น จนสร้ า งฐานะให้ ม ัง่ คัง่ ขึ้น ใหม่ อีก ครัง้ ที่เ มือ งกาญจนบุ รี
จะเห็นได้ว่า การเรียกชื่อศาลย่าทองประศรีซ่งึ เป็ นศาลเก่าแก่ในชุมชนท่าเสา สะท้อนให้เห็น
การนับ ถือ นางทองประศรีม ารดาของขุ น แผนในฐานะผู้ใ หญ่ ใ นชุ ม ชนที่ช าวบ้า นเคารพ
๑๙๙

แม้ล่วงลับไปแล้วก็มีการสร้างศาลสักการบูชา นางสาวศรีสกุล พูลสวัสดิ ์ ชาวบ้านท่าเสา


กล่ า วถึง สาเหตุ ท่ีชุม ชนท่ า เสามีศ าลย่ า ทองประศรีไ ว้ว่า “เพราะท่ า นเป็ นแม่ ของเจ้า เมือ ง
เป็นคนใหญ่คนโต มีฐานะ” (ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์, สัมภาษณ์, ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒)
คติชนต่าง ๆ เกี่ยวกับขุน แผนที่พบในจังหวัดกาญจนบุรีแสดงให้เห็นว่า
ขุนแผนเกีย่ วข้องกับเมืองกาญจนบุรี ทัง้ ยังสะท้อนลักษณะที่โดดเด่นและวีรกรรมของขุนแผน
คือ ตอนบวชเรียนกับสมภารบุญที่วดั ส้มใหญ่ไม่นาน ขุนแผนก็เรียนรู้ได้ครบถ้วนตามตารา
ของสมภารบุญ ตอนเป็ นทหารตระเวนด่านและได้เข้าไปอยู่ในซ่องของนายเดชกระดูกดา
หรือหมื่นหาญบิดาของนางบัวคลี่ ขุนแผนได้เรียนวิชาต่อสู้ เมื่อทราบว่าหมื่นหาญวางแผน
ลอบทาร้าย ขุนแผนก็ได้ผา่ ท้องนางบัวคลีแ่ ละนาบุตรชายไปปลุกเสกเป็นกุมารทอง ทัง้ ยังต่อสู้
กับหมื่นหาญจนได้ร ับชัยชนะ ซึ่งถือ เป็ นเรื่องราวตอนสาคัญที่แสดงให้เห็นความสามารถ
ในการแสวงหาของวิเศษไว้ ใ ช้ต่ อ ไป นอกจากนี้ ย ัง มีค ติช นที่ช่ว ยยืน ยัน ว่า เรื่อ งดัง กล่ า ว
เคยเกิด ขึ้น จริง คือ ภายในถ้ านางบัว คลี่ วัด บ้า นถ้ า อ าเภอท่ าม่ ว ง จัง หวัด กาญจนบุ รี
พบรูปเคารพนางบัวคลีม่ ลี กั ษณะเป็นหินนูนจากผนังถ้า ทัง้ ยังมีตานานว่า หลังจากถูกขุนแผน
ผ่า ท้อ งแล้ ว วิญ ญาณของนางบัว คลี่ไ ด้ ส ถิต อยู่ ท่ีถ้ า แห่ ง นี้ และวัด ดัง กล่ า วยัง จัด สร้ า ง
พระขุนแผนย่างกุมารทอง และถ่ายทอดเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนดังกล่าวผ่านจิตรกรรม
ฝาผนังเพื่อแสดงให้เห็นและเน้นย้าเหตุการณ์สาคัญดังกล่าว
จากการออกภาคสนาม ผู้วจิ ยั พบคติชนที่เกี่ยวข้องกับขุนแผนตอนเป็ น
เจ้าเมืองกาญจนบุ รี โดยเฉพาะอย่างยิ่ง ในบริเวณเมือ งกาญจนบุรีเ ก่า ปรากฏวัดต่ าง ๆ
จานวนหลายแห่งในพืน้ ทีห่ มู่บ้านท่าเสา ตาบลลาดหญ้า จังหวัดกาญจนบุรปี จั จุบนั ชาวบ้าน
ได้ ต ัง้ ชื่อ วัด ต่ า ง ๆ เหล่ า นั ้น ให้ เ กี่ ย วข้ อ งกับ ขุ น แผน เช่ น วัด ป่ า เลไลยก์ วัด นางพิ ม
วัดแม่หม้ายเหนือ วัดแม่หม้ายใต้ ฯลฯ เพราะเชื่อว่าขุนแผนสร้างวัดเหล่านี้ขน้ึ ตามธรรมเนียม
ทีผ่ เู้ ป็นใหญ่จะสร้างวัดในเมืองทีต่ นเองปกครอง ดังที่นางสาวศรีสกุล พูลสวัสดิ ์ ชาวบ้านท่าเสา
ตาบลลาดหญ้ า กล่าวว่า “แม้วดั ป่าเลไลยก์แห่งนี้จะไม่ใช่วดั ป่าเลไลยก์ท่ขี ุนแผนบวชเรียน
แต่ก็น่าจะเกี่ยวข้องกับขุนแผน เพราะตอนที่ขุนแผนเป็ นเจ้าเมืองกาญจนบุรีคงต้องสร้างวัด
ตามธรรมเนียมของผู้เป็ นใหญ่ ในเมือง สังเกตได้ว่าในบริเวณเมืองกาญจนบุรเี ก่านี้มีวดั เก่า
จานวนมากถึง ๕ วัด” (ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์, สัมภาษณ์, ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒)
เมื่อขุนแผนเสียชีวติ ไปแล้ว ชาวบ้านเล่าว่า วิญญาณของขุนแผนยังสถิตอยู่
ในเมืองกาญจนบุรเี พื่อปกป้องคุม้ ครองลูกหลาน ดังปรากฏว่ามีการสร้างรูปเคารพต่าง ๆ เช่น
รูปเคารพภายในศาลเจ้าพ่อ เขาชนไก่ ซึ่งชาวบ้านมักจะมาสักการบูชาขอพร บนบานพ่อ ปู่
หรือมาถวายสิ่งของแก้บ น ลาบวช หรือ เมื่อขับรถสัญจรผ่านหน้ า ศาลก็ให้สญ ั ญาณแตร
เพื่อแสดงความเคารพ นอกจากนี้ นายทรงศักดิ ์ อินอนันต์ ชาวบ้านลาดหญ้า ได้เล่าให้ผวู้ จิ ยั
ฟงั ว่า ในคืนวันขึน้ ๑๕ ค่า เดือน ๘ จะมีงานมหรสพ มีการเล่นดนตรีป่ี พาทย์เกิดขึน้ แต่ผมู้ บี ุญ
๒๐๐

เท่านัน้ ที่จะได้เห็นและได้ยนิ เสียง (ทรงศัก ดิ ์ อินอนันต์, สัม ภาษณ์, ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๒)


ชาวบ้า นเล่า ว่า หากผู้ใ ดไม่ แ สดงความเคารพพ่ อ ปู่เขาชนไก่ ผู้นัน้ อาจได้ร ับการลงโทษ
ในลักษณะต่าง ๆ เช่น หากขับรถผ่านศาลพ่อปูเ่ ขาชนไก่ทุกครัง้ เคยให้สญ ั ญาณแตรเพื่อแสดง
ความเคารพ แต่เมื่อตัง้ ใจไม่ให้สญ ั ญาณครัง้ หนึ่ง ขับผ่านไปได้เพียงไม่ก่เี มตร รถก็คว่าเพราะ
คนขับรถเห็นเหมือนช้างเดินตัดหน้ารถ (ฑรัท เหลืองสอาด, สัมภาษณ์, ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒)
หรือเมื่อบุตรชายหลานชายในท้องถิ่นท่าเสาจะบวชเรียน ตามธรรมเนียมบิดามารดาและ
ผูอ้ ุปสมบทจะมาจุดธูปบอกพ่อปูเ่ ขาชนไก่เพื่อขอลาอุปสมบท มีครัง้ หนึ่งที่ลมื ขอลาอุปสมบท
ในวันอุปสมบท บิดาของนาคก็ปว่ ยไม่ได้สติ เมื่อจุดธูปขอขมาพ่อปูเ่ ขาชนไก่จงึ หายเป็ นปรกติ
(ไพศาล กองม่วง, สัมภาษณ์, ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๒)
นอกจากนี้ในพื้นที่เมืองกาญจนบุรีเก่า หรือบ้านท่าเสา ตาบลลาดหญ้า
จังหวัดกาญจนบุรปี จั จุบนั ชาวบ้านยังเป็นผูเ้ สนอชือ่ ขุนแผนและนางพิมพิลาไลยเป็นชื่อชุมชน
และชื่อถนนภายในเขตหมู่บ้า น เพื่อ เป็ น การระลึก ถึงและเป็ นเกียรติแก่ ขุนแผนซึ่งเชื่อว่า
เคยเป็ นผูป้ กครองท้องถิน่ ของตน นางสาวศรีสกุล พูลสวัสดิ ์ ชาวบ้านท่าเสา ได้ให้ขอ้ มูลว่า
“ตอนนัน้ เทศบาลเขาจะตัง้ ชื่อ ชุม ชน เอามาถามให้พวกเราตัง้ ก็เลยตัง้ ชื่อ ไว้ร ะลึกถึง ท่า น
เพราะท่านเคยเป็ นเจ้าเมืองอยู่ท่นี ่ี ” (ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์, สัม ภาษณ์, ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒)
ดังจะเห็นได้ว่า มีช่อื ชุมชนบ้านขุนแผน ชุมชนพิมพิลาไลย ถนนขุนแผน ถนนพิมพิลาไลย์
ปรากฏในพืน้ ทีบ่ า้ นท่าเสา ตาบลลาดหญ้า จังหวัดกาญจนบุรี ผูว้ จิ ยั พบว่า พืน้ ทีท่ พ่ี บคติชน
เกี่ยวกับขุนแผนไม่ได้มีเพียงแต่พ้นื ที่เมืองกาญจนบุรเี ก่าเท่านัน้ ที่พบคติชนที่สะท้อนถึงการ
นับ ถือ ขุน แผนในฐานะวีร บุ รุ ษ ท้อ งถิ่น คติช นดัง กล่ า วยัง แพร่ ก ระจายอยู่ ใ นพื้น ที่อ่ืน ๆ
ของจังหวัดกาญจนบุรดี ว้ ย เช่น เขือ่ นขุนแผน หรือท่าลงแพเมืองกาญจนบุรี ซึ่งอยู่ในอาเภอ
เมืองกาญจนบุรี เป็นชือ่ ที่ทางราชการตัง้ ขึน้ เพื่อระลึกถึงขุนแผน และสะท้อนให้เห็นว่าขุนแผน
ผูม้ วี รี กรรมโดดเด่นถือเป็นบุคคลสาคัญในประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่ กาญจนบุรี
นอกจากนี้แล้ว เพลงพื้นบ้านในจังหวัดกาญจนบุรซี ่งึ เกิดจากการรับรู้เรื่อง
ขุน ช้า งขุนแผนของท้องถิ่น คือ ชาวบ้า น ซึ่ง เป็ นพ่ อเพลงแม่เ พลงผู้ถ่า ยทอดเรื่องราวชีว ิต
ของขุนแผนให้เ ป็ น ที่รบั รู้ผ่า นการเล่ น เพลงพื้น บ้าน เนื้ อหาของเพลงได้เ ล่ าเรื่อ งราวชี ว ิต
ส่ ว นหนึ่ ง ของขุน แผน โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ง ตอนเป็ น ทหารและผู้ป กครองเมือ งกาญจนบุ รี
และสะท้อนให้เ ห็นความรับ รู้เรื่องขุน แผนของชาวบ้า นในฐานะนักรบและเจ้าเมืองที่พร้อ ม
สนองพระราชบัญชาตลอดเวลา ดังได้เคยกล่าวถึงแล้ว
จากที่ ก ล่ า วมาจะเห็ น ได้ ว่ า คติ ช นเกี่ ย วกับ ขุ น แผนที่ พ บในจัง หวัด
กาญจนบุรสี ะท้อนให้เห็นว่าชาวกาญจนบุรนี ับถือขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิ่นที่เป็ นนักรบ
และผู้ปกครองเมืองที่มีค วามกล้าหาญ ดวงวิญญาณยังคงสถิตอยู่ในท้องถิ่นเพื่อดูแ ลและ
ปกป้องคุม้ ครองคนท้องถิน่ สืบไป
๒๐๑

๕.๑.๒ คติ ชนในจังหวัดสุพรรณบุรีกบั การนับถือขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิ่ น


ผูบ้ วชเรียนจนเชี่ยวชาญทาง “วิ ชาการ”
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนที่เกิดขึน้ ในจังหวัดสุพรรณบุรีเป็ นช่วงที่ขุนแผน
เกิด และเติบโตมีเพื่อนเล่นในวัยเด็ก และกลับมาบวชเรียนกับสมภารมี วัดป่าเลไลยก์ และ
สมภารคง วัดแค ในเมืองสุพ รรณบุรีจนมี “วิชาการ” เก่งกล้าสามารถและได้รบั ราชการเป็ น
นายทหารในแผ่นดินสมเด็จพระพันวษา
ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ปรากฏความตอนหนึ่งซึ่งขุนแผนเมื่อครัง้
ยัง เป็ นพลายแก้ว กล่ าวกับ นางทองประศรีว่า ตนเองต้อ งการรู้ “วิช าการ” เพื่อ ให้มีโ อกาส
ได้รบั ราชการทหาร ดังปรากฏความว่า

อยากจะเป็นทหารชาญชัย ให้เหมือนพ่อขุนไกรทีเ่ ป็นผี


จึงอ้อนวอนมารดาได้ปรานี ลูกนี้จะใคร่รวู้ ชิ าการ
(เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน, ๒๕๔๕: ๔๕)

คาว่า “วิชาการ” อันเป็นวิชาความรูท้ ข่ี นุ แผนได้ศกึ ษาเล่าเรียนจากพระสงฆ์


นัน้ ผูว้ จิ ยั ได้กล่าวถึงในบทที่ ๒ แล้วว่าหมายถึงวิชาเกีย่ วกับเวทมนตร์คาถา

เมืองสุพรรณบุรีเป็ นเมืองที่ขุนแผนได้ศกึ ษาวิชาจากพระสงฆ์ ๒ รูป คือ


สมภารมี วัด ป่า เลไลยก์ และสมภารคง วัด แค ขุน แผนจึงมีเ รื่อ งราวชีว ิต ตอนบวชเรีย น
เกี่ย วข้อ งกับ เมือ งสุ พ รรณบุ รี ในตอนที่ขุน แผนบวชเรีย นนัน้ มีท งั ้ เรื่อ งราวตอนที่ศ ึก ษา
“วิชาการ” และเรื่องชีว ิตรักกับนางพิมพิลาไลย ปจั จุบนั ยังพบสถานที่ต่าง ๆ ที่ปรากฏชื่อ
ในเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน อยู่ ใ นจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี เป็ น หลัก ฐานยืน ยัน ให้เ ห็น ว่ า
จังหวัดสุพรรณบุรเี กีย่ วข้องกับขุนแผนและเรื่องขุนช้างขุนแผน
ผู้วจิ ัยพบว่า ในจังหวัด สุพรรณบุรีมกั กล่า วถึงเรื่องราวชีวติ ของขุน แผน
โดยแสดงให้ เ ห็น ว่ า วีร กรรมที่ขุ น แผนได้ ก ระท านั ้ น สะท้ อ นให้ เ ห็น ความเฉลีย วฉลาด
ความกล้าหาญ และความเป็ นนักรบยอดฝี มือ ซึ่งเป็ นผลมาจากการบวชเรียนในวัดที่เมื อ ง
สุพรรณบุ รี ดัง จะเห็นได้จากคติชนที่สะท้อ นถึง การนับถื อขุนแผนในฐานะวีรบุรุ ษท้อ งถิ่น
ในจังหวัดสุพรรณบุรเี ป็ น คติชนที่เกี่ยวข้องกับช่วงชีวติ ตอนบวชเรียน สถานที่สาคัญ ๒ แห่ง
ที่พ บข้อมู ลคติช นและได้ถ่ ายทอดเรื่อ งราวชีวติ ของขุนแผนให้ปรากฏชัด เป็ นรู ปธรรม คือ
วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร และวัดแค จังหวัดสุพรรณบุรี วัดดังกล่าวเป็ นวัดที่ขุนแผนบวชเรียน
จนมีว ิช าความรู้แ ตกฉานและเชี่ย วชาญ กระทังได้ ่ น าวิช าความรู้ ไ ปใช้ร ับ ราชการทหาร
จนเป็นนักรบทีม่ ฝี ีมอื เก่งกาจเป็นทีเ่ ลื่องลือ ผูว้ จิ ยั พบรูปเคารพขุนแผนในวัดที่ขุนแผนเมื่อครัง้
๒๐๒

เป็นพลายแก้วเคยบวชเรียน เช่น รูปเคารพขุนแผนและรูปเคารพนางพิมพิลาไลยประดิษฐาน


อยู่ด้านข้างบันไดขึน้ พระอุโบสถวัดป่าเลไลยก์วรวิหารเพื่อเป็ นการระลึกถึงตอนที่พลายแก้ว
บวชเรียนและเทศน์ มหาชาติได้ไพเราะจับใจจนนางพิมพิ ลาไลยเปลื้องสไบบูชากัณฑ์เทศน์
รูปเคารพสมภารคง อาจารย์ผสู้ อนวิชาแก่ขุนแผนประดิษฐานอยู่ ภายในศาลาสักการะ วัด แค
ใกล้รู ปเคารพดัง กล่ าวมีรู ปเคารพขุนแผนและรู ปเคารพกุม ารทองประดิษฐานรวมอยู่ด้ว ย
รูปเคารพทีป่ ระดิษฐานอยู่ในวัดทีข่ นุ แผนเคยบวชเรียนนัน้ สร้างขึน้ ด้วยวัตถุประสงค์ ๒ ประการ
คือ เพื่อ ให้ชาวบ้านและผู้นับ ถือ สัก การบู ชาตามความศรัทธา ประการหนึ่ ง และเพื่อเป็ น
อนุ สรณ์ ถึงขุนแผนซึ่งเคยบวชเรียนจนมีวชิ าความรู้เชีย่ วชาญและได้เป็ นนักรบที่แกล้วกล้า
อีกประการหนึ่ง
นอกจากรูปเคารพแล้ว ในจังหวัดสุพรรณบุรยี งั พบคติชนอื่น ๆ เกี่ยวกับ
ขุนแผนทีแ่ สดงให้เห็นถึงความยกย่องและนับถือขุนแผน เช่น คาบรรยายภาพจิตรกรรมแสดง
ตัว ละครในเรื่องขุนช้ างขุน แผนที่บ้า นขุน ช้า ง ผู้ว ิจยั พบว่า คาบรรยายภาพตัว ละครอื่น ๆ
เป็ น การเขีย นบรรยายแบบร้อ ยแก้ ว ส่ ว นค าบรรยายภาพตัว ละครพลายแก้ว – ขุน แผน
เป็นภาพเดียวทีน่ าคากลอนในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน มาบรรยายภาพ คากลอนดังกล่าว
สะท้อ นให้เ ห็นความมีอิทธิฤทธิแ์ ละเป็ นเลิศในทางวิชาคาถาอาคมของขุน แผน ดังปรากฏ
คาบรรยายภาพว่า

ครานัน้ ขุนแผนแสนสนิท เรืองฤทธิ ์ลือดีไม่มสี อง


ข้าศึกนึกกลัวขนหัวพอง แคล่วคล่องแกล้วกล้าวิชาดี

หรือเมื่อกล่าวถึงตัวละครอื่น เช่น สมภารคง พระอาจารย์ของขุนแผนก็ได้บรรยายคุณสมบัติ


ด้านความเก่งกล้าสามารถทาง “วิชาการ” ของขุนแผนควบคู่ไปด้วย ดังปรากฏคาบรรยายภาพ
ตัวละครสมภารคงที่บ้านขุนช้างว่า “สมภารคง...ยังเป็ นพระอาจารย์ของขุนแผน ได้ถ่ายทอด
วิชาหลายขะแนง ให้ขนุ แผนจนมีความชานาญทุกอย่าง”
นอกจากนี้ ต้นมะขามยักษ์ภายในคุ้มขุนแผน วัดแค ซึ่งเชื่อกันว่าขุนแผน
เคยลองวิชาคาถาอาคมทีไ่ ด้ร่าเรียนกับสมภารคงจนสามารถเสกใบมะขามเป็น ตัวต่อตัวแตนได้
ปรากฏข้อความในป้ายอธิบายว่า “จารึกของตานานที่ย้อนรอยเรื่องราววรรณคดีไทยจากเรื่อง
“ขุนช้างขุนแผน” ตอนหนึ่ง กล่าวถึงขุนแผนใช้วชิ าเสกใบมะขามให้เป็ นตัวต่อตัวแตนเพื่อให้
โจมตีข้าศึกที่มารุกรานแผ่นดินสยาม” ปจั จุ บนั จึง มีผู้ม ากราบไหว้บูช าต้นมะขามดังกล่า ว
นอกจากนี้ทางวัดแคยังจัดสร้างวัตถุมงคลคือ พระขุนแผน กุมารทองจานวนหลายรุ่น รวมทัง้
พญาต่อพญาแตนเป็นเครื่องรางของขลังให้ผสู้ นใจนาไปบูชา พระขุนแผนที่จดั สร้างในจังหวัด
สุพรรณบุรนี ้ี คนในวงการพระเครื่องนิยมกันว่ามีชอ่ื เสียง พุทธคุณเป็นที่ประจักษ์สอดคล้องกับ
๒๐๓

ลักษณะของขุนแผนคือ โดดเด่นในด้านเมตตามหานิยมและอยู่ยงคงกระพัน อันเป็ นผลมาจาก


การบวชเรียนศึก ษาวิช า เมื่อ บู ช าพระขุน แผนแล้ว เชื่อ ว่าจะมีเสน่ ห์เป็ น ที่หมายปองของ
หญิงสาว นายสุมาตร เมืองช้าง กล่าวว่า “พระขุนแผนมีทวไปหมด ั่ แต่ขุนแผนอยู่ในเมือง
พวกวัดปา่ เลไลยก์ วัดแค เขามีรูปปนขุ ั ้ นแผน ผมไม่ค่อยได้ไป แต่คนเขาไปกัน รบเก่ง รบทีไร
ก็ชนะ พระขุนแผนเขาบอกว่าบูชาแล้วดี คนเมตตา แต่บางคนเขาก็วา่ จะมีเสน่หเ์ หมือนขุนแผน
เนื้อพระก็เป็ นดินเผา มีหลายแบบ หลายรุ่น แล้วแต่ส ร้า ง” (สุมาตร เมืองช้าง, สัมภาษณ์ ,
๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔) นอกจากนี้ภายในบริเวณวัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี
ยังมีพิพธิ ภัณฑ์พระขุนแผนและพระเครื่องเมืองสุพรรณซึ่งจัดแสดงนิทรรศการพระขุนแผน
ทีเ่ คยจัดสร้างแล้วทัวประเทศไทย
่ สะท้อนให้เห็นการเชือ่ มโยงขุนแผนกับพระเครื่องแล้วนับถือ
บูชาเพราะเชือ่ ว่าสามารถให้คุณแก่ตนได้
ในขณะที่เ พลงพื้น บ้า นเกี่ย วกับ ขุน แผนในจังหวัด สุพ รรณบุรีเ ป็ น ข้อ มู ล
คติชนอีกประเภทหนึ่ ง ที่สะท้อนให้เ ห็นภาพขุนแผนในฐานะที่เ ป็ น วีร บุ รุษ นักรัก กล่ าวคือ
เป็นผูม้ คี วามรูท้ างคาถาอาคม เชีย่ วชาญทางการรบ ทาศึก ครัง้ ใดก็ได้รบั ชัยชนะ แต่เจ้าชู้ และ
มีภ รรยาหลายคน แตกต่างจากเพลงพื้นบ้านในจังหวัดกาญจนบุรที ่เี ล่าว่าขุนแผนมีภ รรยา
หลายคน แต่ เ นื้ อ เพลงกล่ า วเน้ น คุ ณ ลัก ษณะการเป็ น นัก รบและเจ้า เมือ งผู้จ งรัก ภัก ดีต่ อ
พระมหากษัตริยอ์ ย่างชัดเจน ดังได้กล่าวแล้ว
คติชนประเภทชือ่ สถานทีแ่ ละชือ่ อื่น ๆ เป็นคติชนอีกประเภทหนึ่งที่สะท้อน
ให้เ ห็นการนับถือ ขุนแผนในฐานะวีรบุ รุษท้องถิ่น เช่น มีการเรียกชื่อพระนอนวัดพระรู ป
จัง หวัด สุ พ รรณบุ รี ว่ า พระนอนเณรแก้ ว เพราะมีต านานว่ า ตอนที่เ ณรแก้ ว บวชเรีย น
ทีว่ ดั ปา่ เลไลยก์ เจ้าอาวาสให้เณรแก้วไปตักน้ าทีท่ ่าน้ า ปรากฏว่าเณรแก้วเหนื่อยก็มาแอบนอน
ทีบ่ ริเวณท่าน้ า เอาถังหนุ นหัว ผูม้ จี ติ ศรัทธาจึงสร้างพระนอนขึน้ เพื่อเป็ นอนุ สรณ์ถงึ เณรแก้ว
บ้างก็บอกว่า พระนอนมีลกั ษณะงดงามเหมือนเณรแก้ว
นอกจากจะมีการนาชือ่ ของขุนแผนเมื่อครัง้ บวชเรียนเป็นเณรแก้วไปใช้เป็ น
ชือ่ เรียกพระพุทธรูปตามความเชือ่ แล้ว ในจังหวัดสุพรรณบุรยี งั มีการตัง้ ชือ่ กิจการร้านค้าต่าง ๆ
โดยใช้ช่อื ขุนแผน แม้จะไม่ได้ใช้ในลักษณะเคารพบูชาเหมือนบุคคลศักดิ ์สิทธิ ์ แต่กเ็ ป็ นการ
ตัง้ ขึน้ โดยนาชื่อเสียงและกิตติศพั ท์ของขุนแผนมาใช้ในฐานะที่เป็ นบุค คลสาคัญของท้องถิ่น
เช่ น อู่ ร ถยนต์ ช่ือ ว่ า “อู่ ขุ น แผน” ฟาร์ ม ไก่ ช นชื่อ ว่ า “ขุ น แผนไก่ ช น” คอกสุ นั ข ชื่อ ว่ า
“คอกขุนแผนฟิ ล่า” ร้านอาหารชือ่ ว่า “บึงขุนแผน” เป็นต้น
จะเห็นได้ว่า คติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรไี ด้สะท้อน
ให้เห็นว่า ชาวสุพรรณบุรนี บั ถือขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ ที่เคยบวชเรียนจนมี “วิชาการ”
เชีย่ วชาญและแตกฉาน สามารถนาความรูไ้ ปใช้รบั ราชการทหารจนสร้างชื่อเสียงให้แก่ตนเอง
และเป็ นที่เคารพยกย่องนับถือของผูอ้ ่นื ได้ ดังปรากฏรูปเคารพในวัดที่ขุนแผนเคยบวชเรียน
๒๐๔

นอกจากนี้ คติชนดัง กล่ าวยัง แสดงให้เห็น ว่า ชาวสุพ รรณบุ รีนับถือขุ นแผนในฐานะนัก รัก
อันสะท้อนให้เห็นได้จากข้อมูลคติชนประเภทเพลงพืน้ บ้าน และข้อมูลคติชนประเภทวัตถุมงคล
ซึ่งทาให้เห็นความเชื่อและความศรัทธาในพุทธคุณของพระขุนแผนในด้านเมตตามหานิยม
ที่เ ชื่อ ว่า บูช าแล้ว จะมีเ สน่ ห์เหมือ นขุน แผน นอกจากนัน้ ยัง นับ ถือ ขุน แผนในระดับ บุ ค คล
กล่าวคือ เข้าถึงขุน แผนได้ง่ายกว่าในจังหวัด กาญจนบุรี เพราะขุนแผนไม่ได้เป็ นเจ้าเมือ ง
สุพรรณบุรี แต่เป็ นบุคคลท้องถิ่นที่ได้ศกึ ษาวิชาจนนาวิชาไปสร้างชื่อเสียงให้แก่ตนเองได้
ดังจะเห็นได้จากมีการนาชื่อขุนแผนไปตัง้ เป็ นชื่อกิจการร้านค้าในจังหวัดสุพรรณบุรแี ต่ไม่พบ
ในจังหวัดกาญจนบุรี

๕.๒ การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรี
งานวิจยั เรื่องนี้ใช้แนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมเป็ นเครื่องมือในการวิจยั เพื่อพิสูจ น์
สมมติฐานที่ว่า “คติชนประเภทต่ า ง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุ รีแ ละจังหวั ด
สุพรรณบุรมี สี ่วนในการสร้างความทรงจาร่วมเรื่ องขุนแผนในลักษณะที่แตกต่างกัน กล่าวคือ
การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรจี ะเน้นช่วงชีวติ ของขุนแผนตอนเป็น
ทหารและผู้ปกครองเมือง ส่วนการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรี
จะเน้นช่วงชีวติ ของขุนแผนตอนบวชเรียน”

๕.๒.๑ การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
เมื่อพิจารณาถึงความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน คนท้องถิน่ แต่ละคนมีความ
รับ รู้ เ รื่ อ งขุ น แผน มี ป ระสบการณ์ จ ากการรับ รู้ เ รื่ อ งราวชีว ิต ของขุ น แผนแตกต่ า งกัน
แต่เมื่อในสังคมมีการถ่ายทอดความทรงจาร่วมเรื่องดังกล่าวผ่านข้อมูลทางวัฒนธรรมประเภท
ต่า ง ๆ เช่น ชื่อสถานที่แ ละชื่ออื่น ๆ รู ปเคารพ วัต ถุม งคล จิตรกรรม เพลงพื้นบ้า น
จึงส่งผลให้เกิดความทรงจาเรื่องขุน แผนร่วมกัน อย่า งไรก็ตาม ความทรงจาเรื่องขุนแผน
ในระดับ ป จั เจกบุ ค คลก็ ย ัง คงมี อ ยู่ และอาจเพิ่ ม มากขึ้ น ตามประสบการณ์ ก ารรับ รู้
ความทรงจาร่วมเรื่องดังกล่าวจากคติชนต่าง ๆ เกีย่ วกับขุนแผนทีป่ รากฏอยู่ในท้องถิน่ ของตน
จากที่ ผู้ว ิจ ัย ได้ ศ ึก ษาและกล่ า วถึ ง แนวคิด เรื่อ งความทรงจ าร่ ว มของ
นัก วิช าการต่ า ง ๆ ไว้ใ นบทที่ ๑ แล้ ว นัน้ ความทรงจ าร่ ว ม ตามทัศ นะของผู้ว ิจ ัย คือ
ความทรงจาชุดใดชุดหนึ่งทีค่ นในสังคมใดสังคมหนึ่งรับรูร้ ่วมกัน มีส่วนทาให้เกิดความรู้สกึ ว่า
ตนเป็นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสังคมนัน้ ๆ ความทรงจาร่วมดังกล่าวได้รบั การถ่ายทอดผ่าน
ข้อมูลทางวัฒนธรรมประเภทต่าง ๆ ซึ่งเป็นเสมือนเครื่องมือทีช่ ว่ ยทาให้เกิดการแสดงออกและ
การผลิตซ้าให้ความทรงจานัน้ ปรากฏอยู่อย่างต่อเนื่องในสังคม
๒๐๕

ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนจึงเกิดจากคนในสังคมรับรู้และจดจาเรื่องราว
ชีว ิต ของขุ น แผนร่ ว มกัน แล้ ว ถ่ า ยทอดความทรงจ าร่ ว มเรื่อ งขุ น แผนให้ ร ับ รู้ สืบ ต่ อ กัน
จากรุ่นสู่รุ่นผ่านการใช้ขอ้ มูลคติชนประเภทต่าง ๆ เกี่ยวกับขุน แผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละ
จังหวัดสุพรรณบุรี ข้อมูลคติชนดังกล่าวจึงเป็นเครื่องมือในการสร้างพืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจาร่วม
เรื่อ งขุ น แผนให้ ป รากฏอย่ า งเป็ น รู ป ธรรมและมีก ารผลิต ซ้ า อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง จะเห็น ได้ ว่ า
ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนเป็ นความทรงจาที่ยงั คงเลื่อนไหลอยู่ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละ
จังหวัดสุพรรณบุรใี นปจั จุบนั
การศึกษาข้อมูลคติชนประเภทต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนที่รวบรวมได้จาก
ภาคสนาม ทาให้เห็นว่า ชาวกาญจนบุรแี ละชาวสุพรรณบุรตี ่างก็มคี วามทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
กล่ า วคือ ประการแรก เชื่อ ว่า ขุน แผนมีต ัว ตนอยู่ จ ริง เป็ น คนในประวัติศ าสตร์ท้อ งถิ่น
ดัง จะเห็น ได้จ ากมีรูป เคารพให้ค นรุ่น หลัง ได้เ คารพกราบไหว้ ประการทีส่ อง มีก ารเล่ า
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนอยู่ในท้องถิ่นจากรุ่นสู่รุ่น และเรื่องเล่ามีความเชื่อมโยงกับสถานที่
ในท้องถิน่ ประการทีส่ าม รับรู้ว่าขุนแผนมีความรู้ความสามารถ เป็ นนักรบผูก้ ล้าหาญและ
มีฝีมือดี ทาศึกให้บ้านเมืองได้รบั ชัยชนะ ประการทีส่ ี ่ รับรู้ว่าขุนแผนเป็ นบุค คลท้องถิ่น
ทีค่ วรเคารพนับถือกราบไหว้ และสามารถดลบันดาลพรให้ได้
ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีส่วนใหญ่สะท้อนให้เห็น
เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนเป็ น ทหาร เป็ นเจ้า เมืองกาญจนบุรี เนื่อ งจากข้อมูล คติช น
เกีย่ วกับขุนแผนกระจายอยู่ในพืน้ ทีเ่ มืองกาญจนบุรเี ก่าและบริเวณโดยรอบซึ่งเป็นพืน้ ทีท่ เ่ี ชือ่ ว่า
คือเมืองกาญจนบุรใี นสมัยกรุงศรีอยุธยา และปจั จุบนั พื้นที่ส่วนหนึ่งอยู่ในเขตทหาร ขุนแผน
ในความทรงจ าร่ วมของชาวกาญจนบุ รีจึงมีล ัก ษณะเป็ น ทหารที่มีฝีมือ เก่ง ฉกาจ และเป็ น
เจ้ า เมือ งที่ค นท้อ งถิ่น เคารพนับ ถือ ส่ ว นข้อ มู ล คติช นเกี่ย วกับ ขุน แผนที่พ บในจัง หวัด
สุพ รรณบุ รี และช่ว ยถ่ า ยทอดความทรงจาร่ วมเรื่องขุน แผน มักพบกระจายอยู่ใ นพื้นที่ว ดั
โดยคนท้องถิน่ มักจดจาเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนที่บวชเรียนเป็ นเณรแก้ว เพื่อเชื่อมโยง
กับข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่ปรากฏอยู่ในพื้น ที่ต่าง ๆ ในจังหวัดสุพรรณบุรี ขุนแผน
ในความทรงจาร่วมของชาวสุพ รรณบุรีจึงมีลกั ษณะเป็ นคนท้องถิ่นที่บวชเรียนจนมีค วามรู้
เชีย่ วชาญทัง้ การเขียนอ่านและวิชาไสยศาสตร์
จากที่กล่ าวมาจะเห็นได้ว่า ข้อมูลคติช นต่าง ๆ เกี่ย วกับขุน แผนที่พ บ
ในทัง้ ๒ จังหวัดมีส่วนสาคัญในการเผยแพร่ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน ทัง้ ยังมีการผลิตซ้ า
ความทรงจาเรื่องดังกล่าวผ่านการใช้ขอ้ มูลคติชนเพื่อถ่ายทอดความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
ให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรมและเกิดขึน้ อย่างต่อเนื่อง การสร้างความทรงจาร่วมผ่านการใช้ขอ้ มูล
คติชนดังกล่าวยังสะท้อนให้เห็นว่า ในท้องถิน่ มีความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน มี ๒ ส่วน คือ
ความทรงจาส่วนที่มีมาแต่เดิมซึ่งเกิดจากการรับรู้เรื่องเล่า ตานาน หรือนิทานพื้นบ้านของ
๒๐๖

ท้องถิ่น และความทรงจาส่วนที่รฐั และชาวบ้านสร้างขึน้ ใหม่ จนกลายเป็ นการรับรู้เรื่องราว


เกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรใี นปจั จุบนั
ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี
จึงถือเป็ นเครื่องมือสาคัญที่ทาให้เกิดการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในทัง้ ๒ จังหวัด
สอดคล้อ งกับ ที่ม อริส ฮาล์บ วาคซ กล่ าวไว้ใน On Collective Memory ว่า การสร้า ง
ความทรงจาร่วมมีลกั ษณะเป็นการผลิตซ้าความทรงจาโดยอาศัยวัตถุ พิธกี รรม ตัวบท และ
ประเพณี (Maurice Halbwachs, 1980: 82 อ้างถึงใน Anne Whitehead, 2009: 128)
นอกจากนี้ การสร้างความทรงจาร่วมดังกล่าวนับเป็ นการสร้างพื้นที่แห่งความทรงจาเพื่อให้
ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนยังคงอยู่ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี สอดคล้อง
กับแนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมของปิ แอร์ โนรา (Pierre Nora, 1992: 7 อ้างถึงใน Anne
Whitehead, 2009: 143) ที่เสนอไว้ใน Les Lieux de mémoire ซึ่งแปลเป็ นภาษาอังกฤษ
ในชื่อ Realms of Memory ว่า ความทรงจาร่วมจะเกิดขึ้นได้ต้องมีพ้นื ที่แห่งความทรงจา
เป็ น เครื่องมือ ในการถ่า ยทอดความทรงจ าร่ วม ทัง้ นี้พ้ืนที่จริง (the real environment)
อาจสูญ หายไปแล้ว แต่พ้ืนที่แห่ งความทรงจ าซึ่งเก็บตรึง ความทรงจ านัน้ ยัง คงอยู่ เพื่อให้
ความทรงจาร่วมเรื่องนัน้ ยังเป็นทีร่ บั รูข้ องสังคม
จากการศึก ษาวิเ คราะห์ ข้อ มู ล คติช นเกี่ย วกับ ขุ น แผนที่พ บในจัง หวัด
กาญจนบุรที งั ้ ๕ ประเภท สังเกตได้วา่ คติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรเี กีย่ วข้องกับ
คน ๓ กลุ่ม หลักคือ คนท้อ งถิ่น ซึ่ง ได้แก่ ชาวบ้า น พระสงฆ์ ทหาร ส่ วนราชการท้อ งถิ่น
ซึ่ ง ได้ แ ก่ เทศบาลต าบล องค์ ก ารบริห ารส่ ว นต าบล องค์ ก ารบริห ารส่ ว นจัง หวัด และ
ส่วนราชการกลางคือ กรมศิลปากร มุ่งสะท้อนให้เห็นความเก่าแก่ของข้อมูลเพื่อให้เห็นความ
เกีย่ วข้องกับขุนแผนมาเป็ นเวลานาน สอดรับกับการใช้ขอ้ มูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่พบใน
จังหวัดกาญจนบุรเี ป็นหลักฐานสนับสนุนในการขอเพิม่ เติมคาว่า “เมืองขุนแผน” เป็ นวรรคแรก
ของคาขวัญ ประจาจังหวัด ดังจะกล่าวต่อไป ส่ วนคติช นเกี่ยวกับขุนแผนที่พ บในจัง หวัด
สุพรรณบุรที งั ้ ๕ ประเภท สังเกตได้ว่า เกี่ยวข้องกับคน ๓ กลุ่มหลัก คือ คนท้องถิน่ ซึ่งได้แก่
ชาวบ้าน และพระสงฆ์ ส่วนราชการท้องถิน่ ได้แก่ เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี องค์การบริหาร
ส่วนจังหวัดสุพรรณบุรี และส่วนราชการกลาง คือ การท่องเที่ยวแห่งประเทศไทย สอดรับกับ
การประชาสัมพันธ์ให้เป็ นที่รบั รู้กนั โดยทัวไปว่่ า จัง หวัดสุพรรณบุรีเป็ นเมืองที่เกี่ยวข้องกับ
ขุนแผน มีวดั และสถานทีท่ ่องเทีย่ วหลายแห่งทีเ่ กีย่ วข้องกับขุนแผน
ในที่น้ี จะจาแนกให้เห็นการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัด
กาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี ตามลาดับ ดังนี้
๒๐๗

๕.๒.๑.๑ การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
ในจังหวัดกาญจนบุรี
จากการศึ ก ษาข้ อ มู ล คติ ช นต่ า ง ๆ เกี่ ย วกับ ขุ น แผน
ในจังหวัดกาญจนบุรี พบว่า คติชนต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนมี ๒ ลักษณะคือ เป็ นคติชนที่มอี ยู่
แต่เดิม ไม่สามารถสืบ หาผู้สร้า งได้ และเป็ นคติชนที่เพิ่งสร้างขึ้นใหม่ สามารถวิเคราะห์
ลักษณะการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรไี ด้ ๓ ประการใหญ่ คือ

๑) การอนุรกั ษ์และส่งเสริมสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องกับขุนแผน


การอนุ ร ัก ษ์ แ ละส่ ง เสริ ม สถานที่ ท่ีเ กี่ ย วข้ อ งกับ
ขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรเี ป็นการรักษาและฟื้ นฟู ตลอดจนสร้างพื้นที่แห่งความทรงจาร่วม
เรื่อ งขุน แผนในท้อ งถิ่น ในที่น้ี ผู้ว ิจ ัย จะแยกอภิป รายโดยกล่ า วถึง การอนุ ร ัก ษ์ ส ถานที่ท่ี
เกีย่ วข้องกับขุนแผนก่อนในตอนต้น และจะกล่าวถึงการส่งเสริมสถานทีท่ เ่ี กี่ยวข้องกับขุนแผน
ในลาดับต่อไป
จากการเก็บข้อ มู ลภาคสนาม ผู้ว ิจยั พบว่า มีก าร
อนุ รกั ษ์สถานที่ท่เี กี่ยวข้องกับขุนแผนในบริเวณเมืองกาญจนบุรเี ก่า หรือบ้านท่าเสา ตาบล
ลาดหญ้า อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรใี นปจั จุบนั คติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่พบ
ในพืน้ ทีด่ งั กล่าวจึงเป็นคติชนทีส่ าคัญและโดดเด่นทีส่ ุดในจังหวัดกาญจนบุรี ทัง้ นี้เพราะเชื่อว่า
พืน้ ทีด่ งั กล่าวคือ เมืองกาญจนบุรใี นสมัยกรุงศรีอยุธยาซึ่งตรงกับช่วงสมัยที่ขุนแผนมีชวี ติ อยู่
และเคยเป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรี
เมืองกาญจนบุ รีเ ก่า เป็ นเมือ งที่มีค วามส าคัญทาง
ประวัตศิ าสตร์ เนื่องจากในสมัยกรุงศรีอยุธยาเคยเป็นเมืองหน้าด่านสาคัญทางตะวันตก และ
ยังมีความสัมพันธ์กบั เรื่องขุนช้างขุนแผน ดัง ปรากฏสถานที่สาคัญต่าง ๆ เช่น วัดขุนแผน
วัดนางพิม วัดแม่หม้ายเหนือ วัดแม่หม้ายใต้ เขาชนไก่ ฯลฯ อยู่ในสภาพรกร้าง ชาวบ้าน
ท่าเสา ตาบลลาดหญ้า และส่วนราชการท้องถิน่ คือ เทศบาลตาบลลาดหญ้า จึงร่วมมือกัน
อนุรกั ษ์และฟื้ นฟูโบราณสถานในเขตเมืองกาญจนบุรเี ก่า จนกระทังโบราณสถานในเขตนี
่ ้ได้รบั
การขึน้ ทะเบียนจากกรมศิลปากรทัง้ หมด (หน่ วยอนุ รกั ษ์สงิ่ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรม
ท้องถิน่ จังหวัดกาญจนบุร,ี ๒๕๕๑: ๖๒ – ๗๘) เนื่องจากชาวบ้านและส่วนราชการท้องถิ่น
ตระหนัก ว่ า พื้น ที่เ มื อ งกาญจนบุ รีเ ก่ า แห่ ง นี้ คือ เมือ งกาญจนบุ รีใ นสมัย กรุ ง ศรีอ ยุ ธ ยา
ซึ่งขุนแผนเคยได้รบั พระราชทานความไว้วางพระราชหฤทัยให้ดารงตาแหน่งพระสุรนิ ทรฦๅไชย
เจ้าเมืองกาญจนบุรี อีกทัง้ เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตัง้ แต่นางทองประศรีพาขุนแผนเมื่อครัง้
ยังเป็นพลายแก้วหนีราชภัยมาอยู่ย่านเขาชนไก่ลว้ นแล้วแต่เกิดขึน้ ในพื้นที่เมืองกาญจนบุรเี ก่า
๒๐๘

เมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า จึง เป็ น พื้น ที่ท่ีขุ น แผนใช้ช ีว ิต อยู่ ม ากที่สุ ด และเป็ น หลัก ฐานส าคัญ
ทีส่ นับสนุนว่า จังหวัดกาญจนบุรเี กีย่ วข้องกับขุนแผน
นอกจากนี้ ใ นจัง หวัด กาญจนบุ รีย ัง มีก ารส่ ง เสริม
สถานที่ท่เี กี่ยวข้องกับขุนแผนให้เป็ นที่รู้จกั ในวงกว้าง จากการเก็บข้อมูลภาคสนาม ผูว้ จิ ยั
พบว่ า สถานที่ท่ี เ กี่ ย วข้ อ งกับ ขุ น แผนในจัง หวัด กาญจนบุ รี ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น สถานที่ ท่ี มี
เรื่องเล่าหรือตานานท้องถิ่น อธิบายความเกี่ยวข้องของสถานที่กบั ขุนแผน เช่น ถ้ าขุนแผน
ถ้านางบัวคลี่ ด้วยเหตุน้ีจึงมีเพียงคนท้องถิน่ เท่านัน้ ที่ทราบว่าสถานที่ดงั กล่าวเกี่ยวข้องกับ
ขุนแผน นอกจากนี้ยงั มีสถานทีจ่ านวนหนึ่งทีม่ ชี อ่ื ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เช่น
เขาชนไก่ อย่างไรก็ดี ผูว้ จิ ยั พบว่ามีการใช้ขอ้ มูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนประเภทต่าง ๆ มาเป็น
เครื่องมือในการส่งเสริมให้สถานที่ต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับขุนแผนเป็ นที่รู้จกั เช่น ถ้าขุนแผน
ในบริเวณวัดถ้าขุนแผน ตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เดิมชื่อ
ถ้ าพุ ทธาวาส ต่ อมาเรีย กกันว่า ถ้ าขุนแผน เพราะเชื่อว่า ระหว่ างขุน แผนออกเดิน ทาง
แสวงหาของวิเ ศษ ๓ สิ่ง คือ ดาบฟ้ าฟื้ น ม้า สีหมอก และกุม ารทองนัน้ ขุนแผนได้ม า
พักเหนื่อยที่ถ้ าแห่งนี้ ภายในถ้ าจึงมีรูปเคารพขุนแผนประดิษฐานอยู่ และมีศาลาขุนแผน
ซึ่งเป็ นศาลาไม้ตงั ้ อยู่ขา้ งรูปเคารพ พระสงฆ์ในวัดเล่าว่า ศาลาไม้ดงั กล่าวเป็ นที่พกั ชัวคราว ่
ของขุนแผน นอกจากนี้ ถ้านางบัวคลี่ ในบริเวณวัดบ้านถ้า ตาบลเขาน้อย อาเภอท่าม่วง
จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นสถานที่อีกแห่งหนึ่งที่ได้รบั การส่งเสริมให้เป็ นที่รู้จ ั กว่าเกี่ยวข้องกับ
ขุนแผน เชือ่ กันว่า นางบัวคลี่ ภรรยาคนหนึ่งของขุนแผนซึ่งถูกขุนแผนผ่าท้องเอาบุตรชายไป
ทาพิธีปลุ กเสกเป็ นกุ ม ารทอง เมื่อ สิ้น ชีว ิต แล้ว วิญ ญาณของนางได้สิง สถิตอยู่ท่ี ถ้ า แห่ ง นี้
เพื่อปกป้องลูกหลาน ทางวัดบ้านถ้าได้เผยแพร่เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนผ่านภาพจิตรกรรม
ฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน ตอนทีข่ นุ แผนเดินทางมาที่บา้ นถ้า พบนางบัวคลี่ จนได้บุตรชาย
เป็ นกุมารทอง นอกจากนี้ยงั จัดสร้างวัตถุมงคลจาพวกพระเครื่อง ได้แก่ พระขุนแผน และ
จัดสร้างกุมารทองเพื่อให้ผสู้ นใจบูชาอีกด้วย
จากตัวอย่างทีก่ ล่าวข้างต้น จะเห็นได้วา่ การส่งเสริม
สถานที่ท่เี กี่ยวข้องกับขุนแผนให้เป็ นที่รู้จกั นัน้ ในสถานที่ ๑ แห่งปรากฏว่ามีการใช้ข้อมูล
คติชนเกี่ยวกับขุนแผนมากกว่า ๑ ประเภท กล่าวคือ สถานที่ท่มี เี พียงคนท้องถิน่ ที่ทราบว่า
เกี่ย วข้อ งกับขุน แผนเนื่ อ งจากมี เ รื่อ งเล่ า หรือ ต านานซึ่ง รับ รู้กนั ในกลุ่ ม คนท้อ งถิ่น เท่ า นัน้
คนท้องถิน่ และส่วนราชการท้องถิน่ จึงเปลีย่ นชื่อใหม่ให้เกี่ยวข้องกับขุนแผน เช่น ถ้าขุนแผน
ตาบลหนองบัว เปลี่ยนจากชื่อเดิมคือ ถ้าพุทธาวาส เพราะมีเรื่องเล่าเกี่ยวกับขุนแผนดังได้
กล่าวแล้วข้างต้น หรือหากเป็นสถานทีท่ ย่ี งั ไม่มชี อ่ื และพบว่าเกีย่ วข้องกับขุนแผน คนท้องถิน่
และส่วนราชการท้องถิน่ ก็ตงั ้ ชือ่ ใหม่เพื่อให้สอดคล้องกับขุนแผน ดังจะกล่าวโดยละเอียดต่อไป
นอกจากนี้ในสถานทีเ่ ดียวกันอาจมีการสร้างรูปเคารพเพื่อให้สอดคล้องกับเรื่องเล่าหรือตานาน
๒๐๙

ของท้องถิน่ ทัง้ ยังช่วยทาให้สถานทีน่ นั ้ ๆ กลายเป็นพืน้ ทีศ่ กั ดิ ์สิทธิ ์และเพิม่ ความน่ าเชื่อถือว่า


สถานที่ดงั กล่าวเกี่ยวข้องกับขุนแผนอีกด้วย ดังที่ปรากฏรูปเคารพขุนแผนประดิษฐานอยู่
ภายในถ้าขุนแผน และปรากฏรูปเคารพนางบัวคลีป่ ระดิษฐานอยู่ภายในถ้านางบัวคลี่
อย่ า งไรก็ดี จะเห็น ได้ว่ า การสร้า งข้อ มู ล คติช น
ประเภทจิตรกรรมในจังหวัดกาญจนบุรเี ป็ นอีกปฏิบตั กิ ารหนึ่งที่นอกจากจะเป็ นการสร้างพื้นที่
แห่งความทรงจาเพื่อถ่ายทอดเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนเป็นทหารและเจ้าเมืองซึ่งเกีย่ วข้อง
กับสถานทีน่ นั ้ ให้เป็นทีร่ บั รูแ้ ล้ว ภาพจิตรกรรมแสดงเรื่องราวเกีย่ วกับขุนแผนซึ่งเกิดจากความ
ร่วมมือระหว่างวัดกับชาวบ้านดังกล่าวยังช่วยเชื่อมโยงและส่งเสริมให้สถานที่นัน้ ดูมีค วาม
เกี่ยวข้องกับขุนแผนมากขึน้ ด้วย เช่น ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน บริเวณ
บันไดขึน้ ถ้ า วัดบ้านถ้ า ทาให้เห็นเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนที่เกี่ยวข้องกับนางบัวคลี่
และเชือ่ มโยงให้เห็นว่าถ้านางบัวคลีเ่ กี่ยวข้องกับขุนแผนตอนขุนแผนผ่าท้องนางบัวคลี่เพื่อเอา
บุตรชายไปปลุกเสกเป็นกุมารทอง ภาพจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผนในหอสมุดวัดมโน
ธรรมารามเป็นพืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในฐานะที่เป็ นสถานที่ปลุกเสกกุมารทอง
และเป็นหลักฐานแสดงความเกี่ยวข้องระหว่างขุน แผนกับวัดมโนธรรมาราม จนทาให้วดั มโน
ธรรมารามเป็ นที่รู้จกั ว่าเกี่ยวข้องกับขุนแผน นอกจากนัน้ คาบรรยายภาพจิตรกรรมที่เล่าว่า
ขุนแผนปลุกเสกกุมารทองเสร็จแล้วไปนมัสการหลวงพ่อวัดส้มใหญ่กเ็ ป็ นตอนที่ไม่ปรากฏใน
เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน แต่อยู่ในความทรงจาของคนท้องถิน่
ผูว้ จิ ยั พบว่า วัดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับขุนแผน เช่น
วัดถ้ าขุนแผน วัดบ้านถ้ า และวัดที่อยู่ในจังหวัดกาญจนบุรี พระสงฆ์อาจนาพระขุนแผน
ออกจากกรุหรือปลุกเสกพระขุนแผนซึ่งเชือ่ ว่ามีพุทธคุณด้านอยู่ย งคงกระพัน และด้านเมตตา
มหานิยมตรงกับคุณสมบัตขิ องขุนแผน การจัดสร้างวัตถุมงคลดังกล่าว นอกจากจะทาเพื่อให้
ผู้ส นใจได้บู ช าเป็ น สิริม งคลแก่ต นเองแล้ว ยังช่วยส่ง เสริมให้ว ดั ที่ ม ีการสร้า งพระขุนแผน
ดูมคี วามเกีย่ วข้องกับขุนแผนด้วย ทัง้ ที่จริงแล้วการเรียกชื่อพระขุนแผนเป็ นการเรียกชื่อของ
คนสมัยหลัง โดยเทียบเคียงพุทธคุณกับคุณสมบัตขิ องขุนแผนเท่านัน้ ดังได้กล่าวแล้วข้างต้น

๒) การสร้างรูปเคารพเพื่อสืบทอดตานานและพิธกี รรม
เกีย่ วกับขุนแผน
การสร้ า งรู ป เคารพขุ น แผนและรู ป เคารพของ
ตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรเี ป็ นการสืบทอดตานาน
และพิธีก รรมเกี่ย วกับ ขุ น แผน หรือ กล่ า วอีก นั ย หนึ่ ง คือ การรัก ษาและสร้ า งพื้น ที่แ ห่ ง
ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนให้คงอยู่ไปในขณะเดียวกัน ผ่านการสร้างรูปเคารพเป็ นสื่อแทน
เพื่อถ่ายทอดเรื่องเล่าหรือตานานของท้องถิน่ ให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม
๒๑๐

ตานานและพิธกี รรมเกี่ยวกับขุนแผนในประสบการณ์
การรับรู้ของคนท้องถิน่ มีส่วนสาคัญในการย้าให้คนท้องถิ่นเชื่อว่าขุนแผนเคยมี ตวั ตนอยู่จริง
ซึ่งทาให้เกิดการบูชาและการสร้างรูปเคารพต่าง ๆ เช่น บริเวณเชิงเขาชนไก่ ตาบลลาดหญ้า
อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี เป็ นที่ต ัง้ ของศาลเจ้าพ่อเขาชนไก่ ซึ่งเป็ นศาล
ประดิษฐานรู ปเคารพพ่ อปู่ขุน แผน และรูป เคารพพ่อ ปู่ขุน ไกร ชาวบ้านเชื่อ ว่ า หลังจาก
ขุนแผนได้รบั ตาแหน่งเป็นพระสุรนิ ทรฦๅไชย เจ้าเมืองกาญจนบุรี มาปกครองเมืองในบริเวณ
เขาชนไก่น้ี เมื่อสิ้นชีวติ แล้ว วิญญาณก็ยงั คงสถิตอยู่ท่เี ขาชนไก่เพื่อปกป้อ งคุ้ม ครองดูแล
ลูกหลานชาวกาญจนบุรี ชาวบ้านจึงตัง้ ศาลแห่งนี้ข้นึ ถวายแด่ดวงวิญญาณของขุนแผนและ
ขุนไกร พร้อมทัง้ สักการบูชาขอพรและบนบานอยู่เป็นประจา
ต านานประวัติ ว ัด ถ้ า ขุ น ไกร ต าบลแก่ ง เสี้ ย น
อาเภอเมืองกาญจนบุรี จังหวัดกาญจนบุรี ซึ่งกล่าวถึงพระอาจารย์คงกับขุนไกรที่ได้กล่าวไว้
ข้างต้น เป็ นอีกตัวอย่างหนึ่งที่ทาให้มกี ารสร้างรูปเคารพพ่อปู่ขุนไกร และสืบทอดความเชื่อ
และความทรงจาร่วมของคนท้องถิน่ ให้เป็นทีร่ บั รู้ ตลอดจนถ่ายทอดความทรงจาร่วมให้คงอยู่
คู่ทอ้ งถิน่ ต่อไป
ผู้ว ิจ ัย พบว่ า ต านานท้ อ งถิ่น มี ส่ ว นช่ ว ยตอกย้ า
ความเชื่อ และความทรงจ าร่ วมเรื่อ งขุน แผนของคนท้อ งถิ่น ขณะเดีย วกัน ก็ช่ว ยเติม เต็ม
บางส่วนของความทรงจาที่ขาดหายไป เช่น เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนที่ เ สภาเรื่อ ง
ขุนช้าง – ขุนแผน ฉบับหอพระสมุดวชิรญาณไม่ได้รวบรวมไว้ ตัวอย่างเช่นตานานประวัติ
วัดถ้าขุนไกร ทาให้ทราบว่าพระอาจารย์คงกับขุนไกรบิดาของขุนแผนรู้จกั กันในตอนที่ขุนไกร
มาหลบฝนในถ้ า และได้ฝ ากตัวเป็ นศิษย์เรีย นวิชาพระอาจารย์ค งจนสนิ ทสนมคุ้นเคยกัน
เหตุการณ์ตอนดังกล่าวไม่ได้ปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน แต่ในเสภากล่าวถึง
ตอนพลายแก้วจะบวชเรียนที่เมืองสุ พรรณบุรี นางทองประศรีจะพาไปฝากตัวเป็ นศิษย์ของ
สมภารคงซึ่งรูจ้ กั คุน้ เคยกันดีกบั ขุนไกรผูเ้ ป็นบิดาเท่านัน้
จาก การเก็ บ ข้ อ มู ล ภา คสน าม ผู้ ว ิ จ ั ย พ บว่ า
รู ป เคารพที่พ บในจัง หวัด กาญจนบุ รีส่ ว นใหญ่ เ ป็ น รู ป เคารพที่ค นท้อ งถิ่น ไม่ ส ามารถบอก
ช่วงเวลาทีส่ ร้างได้ ทราบแต่เพียงว่า “นานมากแล้ว” หรือ “เกิดมาก็เห็นแล้ว” แต่กม็ รี ูปเคารพ
จานวนหนึ่ง ได้แก่ รูปหล่อขุนแผน และรูปหล่อขุนไกรที่เขาชนไก่ ตาบลลาดหญ้า ที่ทราบ
ช่วงเวลาสร้าง รูปเคารพขุนแผนและรูปเคารพของตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้าง –
ขุนแผน ในจังหวัดกาญจนบุรเี กิดจากความเชื่อและความศรัทธาของคนท้องถิน่ ซึ่งรับรูเ้ รื่องเล่า
หรือตานาน และมีพธิ กี รรมการสักการบูชา จนเชื่อว่าขุนแผนและตัวละครอื่นซึ่งเกี่ยวข้องกับ
ขุนแผนและท้องถิน่ ทีต่ นอาศัยอยู่เคยมีตวั ตนอยู่จริง และดวงวิญญาณของบุคคลเหล่านี้ ยงั คง
สถิต อยู่ ณ สถานที่ท่รี ู ป เคารพประดิษ ฐานเพื่ อ ปกป้ อ งคุ้ม ครองลู ก หลานในท้อ งถิ่นต่ อ ไป
๒๑๑

ด้วยเหตุน้จี งึ มักพบรูปเคารพประดิษฐานอยู่ในสถานที่ท่มี ตี านานและความเชื่อของคนท้องถิน่


เกีย่ วกับตัวละครนัน้ รองรับ เช่น รูปเคารพขุนแผน และรูปเคารพขุนไกรทีศ่ าลเจ้าพ่อเขาชนไก่
รูปเคารพขุนแผนที่ถ้าขุนแผน ตาบลหนองบัว รู ปเคารพขุนไกรที่วดั ถ้ าขุนไกร รู ปเคารพ
นางบัวคลีท่ ว่ี ดั บ้านถ้า พื้นที่ประดิษฐานรูปเคารพในจังหวัดกาญจนบุรสี ่วนใหญ่มกั เป็ นพื้นที่
ทีม่ เี รื่องเล่าเกีย่ วกับขุนแผนตอนเป็ นเจ้าเมือง เช่น รูปเคารพที่พบบริเวณเมืองกาญจนบุรเี ก่า
และเป็ นพื้น ที่ท่มี ีเรื่องเล่าเกี่ยวกับ ขุนแผนตอนเป็ นทหารตระเวนด่า น เช่น รูป เคารพที่พ บ
บริเวณตาบลหนองบัว อาเภอเมืองกาญจนบุรี และตาบลเขาน้อย อาเภอท่าม่วง
อย่ า งไรก็ต าม จะเห็น ได้ ว่ า การสร้ า งรู ป เคารพ
ต่าง ๆ ดังกล่าวเป็ นการรักษาพื้นที่แห่งความทรงจาคือ เรื่องเล่าและตานานซึ่งเกี่ยวข้องกับ
ความทรงจ าร่ว มเรื่อ งขุน แผนที่มีม าแต่ เดิม ประการหนึ่ ง และยังเป็ นการสร้างพื้นที่แ ห่ ง
ความทรงจาคือ เผยแพร่และแสดงให้เห็นความทรงจาร่วมเรื่องขุน แผนอย่ างเป็ น รูปธรรม
อีกประการหนึ่ง

๓) การสร้างคาขวัญและการตัง้ ชือ่
การสร้ า งค าขวัญ และการตัง้ ชื่อ ให้ เ กี่ย วข้อ งกับ
ขุนแผนเป็ นการสร้างพื้นที่แห่งความทรงจาโดยใช้ภ าษาเป็ นสื่อสัญลักษณ์ถ่ายทอดความคิด
และความทรงจา ในที่น้ี ผูว้ จิ ยั จะแยกอภิปรายโดยกล่าวถึงการสร้างคาขวัญเป็ นลาดับแรก
และจะกล่าวถึงการตัง้ ชือ่ เป็นลาดับต่อไป
ผูว้ จิ ยั พบว่า ในจังหวัดกาญจนบุรีมีความพยายาม
ที่จ ะใช้ข้อ มู ลคติช นเกี่ย วกับ ขุน แผนที่พ บในจัง หวัด กาญจนบุ รีเ ป็ น จานวนมากเป็ น ข้อ มู ล
สนั บ สนุ น การขอเพิ่ม วรรคของค าขวัญ ประจ าจัง หวัด กาญจนบุ รี โดยการเพิ่ม ค าว่ า
“เมืองขุนแผน” เป็นวรรคแรกของคาขวัญประจาจังหวัด กล่าวคือ “(เมืองขุนแผน) แคว้นโบราณ
ด่านเจดีย์ มณีเมือ งกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้ าแคว แหล่งแร่น้ า ตก” (พยงค์ เวสสบุตร,
๒๕๕๑: ๕๔) แม้การดาเนินการดังกล่าวจะยังไม่สมั ฤทธิ ์ผล แต่กถ็ อื เป็นตัวอย่างหนึ่งทีส่ ะท้อน
ให้เห็นความพยายามในการแสดงให้เห็นและเป็ นที่ร ั บรู้ว่า จังหวัดกาญจนบุรีเกี่ยวข้องกับ
ขุนแผน
นอกจากนี้ ยังพบการนาชื่อของขุนแผนไปใช้สร้า ง
คาขวัญประจาสถานที่ในท้องถิ่น เช่น วัดใหญ่ ดงรัง - ส้มใหญ่ ตาบลหนองขาว อาเภอ
ท่าม่วง จังหวัดกาญจนบุรี มีคาขวัญจารึกไว้บริเวณสระน้ าของวัดว่า “ถิน่ ขุนแผน แคว้น
โบราณ บ้านดงรัง เน้ น ปฏิบ ัติ ขัด นิวรณ์ สอนวิป สั สนา หาความสงบ พบสุข ล้ า น าวิธี
ชี้ถูกทาง ปลูกคุณธรรม ย้ าพัฒนา” คาว่า “ถิน่ ขุนแผน” ซึ่งปรากฏในคาขวัญนี้มีท่มี าจาก
๒๑๒

นางทองประศรีพาพลายแก้วมาบวชเรียนเป็ นสามเณรอยู่กบั สมภารบุ ญที่วดั ส้มใหญ่ วัดใหญ่


ดงรัง - ส้มใหญ่ จึงเป็นอีกพืน้ ทีห่ นึ่งทีถ่ ่ายทอดความทรงจาเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี
การสร้างคาขวัญดังกล่าวแสดงให้เห็นการนาข้อมูล
คติช นซึ่ ง ถือ เป็ น ทรัพ ยากรวัฒ นธรรมมาใช้เ ป็ น เสมือ นเครื่อ งแสดงอัต ลัก ษณ์ ข องชุม ชน
ซึ่งสะท้อนให้เห็นคุณค่าเชิงจิตวิญญาณของข้อมูลคติชนที่พบในท้องถิน่ (ธนิก เลิศชาญฤทธ์ ,
๒๕๕๔: ๔๕)
นอกจากการสร้างคาขวัญแล้ว ผูว้ จิ ยั พบว่ามีการนา
ชือ่ ขุนแผนและชือ่ ตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน มาตัง้ เป็ นชื่อสถานที่และ
ชื่ออื่น ๆ อีกด้วย ข้อมูลคติชนประเภทชื่อสถานที่และชื่ออื่น ๆ ที่พบในจังหวัดกาญจนบุรี
สะท้อนให้เห็นว่า มีทงั ้ ชื่อที่มีอยู่แต่เดิมและปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน ได้แก่
วัดส้มใหญ่ เขาชนไก่ บ้านถ้ า ซึ่งอยู่ในพื้นที่ท่มี ีเรื่องราวชีวติ ตอนขุนแผนบวชเรียนและ
เป็ น ทหาร และชื่อ ที่คนท้อ งถิ่น หรือ ส่ วนราชการท้อ งถิ่นตัง้ ขึ้น ใหม่ ได้แก่ วัดป่า เลไลยก์
ถ้าขุนแผน ถ้านางบัวคลี่ วัดขุนแผน วัดนางพิม วัดแม่หม้ายเหนือ วัดแม่หม้า ยใต้ หมู่บา้ น
นางทองประศรี ตลาดนางทองประศรี ชุมชนบ้านขุนแผน ชุมชนพิมพิลาไลย ถนนขุนแผน
ถนนพิมพิลาไลย์ ซึ่งอยู่ในพืน้ ทีท่ ม่ี เี รื่องราวชีวติ ตอนขุนแผนเป็นเจ้าเมือง วัดถ้าขุนไกร และ
วัดบ้านถ้า ซึ่งอยู่ในพืน้ ทีท่ ม่ี เี รื่องราวชีวติ ตอนขุนแผนเป็นทหารตระเวนด่ าน
ผู้ว ิจ ัย พบว่า พระสงฆ์แ ละชาวบ้ า นตัง้ ชื่อ ต่ า ง ๆ
ที่เกี่ยวกับขุนแผนเพื่อให้สอดคล้องกับความเชื่อที่ว่าท้องถิน่ ของตนเกี่ยวข้องกับขุนแผนและ
เรื่องขุนช้างขุนแผน ประกอบกับ มีหลักฐานต่าง ๆ เช่น โบราณสถานและสถานที่ในท้องถิน่
ทีส่ อดคล้องกับความเชือ่ ดังกล่าวช่วยสนับสนุนให้ความเชือ่ เรื่องขุนแผนมีความหนักแน่นยิง่ ขึน้
ขณะเดียวกันเทศบาลตาบล และองค์ก ารบริหารส่วนตาบลเห็นคุณค่าและตัง้ เป้ าหมายที่จะ
รักษาสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องกับขุนแผนไว้ โดยเฉพาะอย่างยิง่ สถานทีบ่ างแห่งที่มอี ายุเก่าแก่และ
สมควรได้ ร ับ การขึ้น ทะเบีย นเป็ น โบราณสถาน ส่ ว นราชการท้ อ งถิ่น ได้ ป ระสานงานกับ
ส่วนราชการกลางคือ กรมศิลปากร เพื่อดาเนินการอนุรกั ษ์ตามขันตอน ้
นอกจากนี้ส ังเกตได้ว่า ชื่อสถานที่ท่ไี ม่ป รากฏใน
เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ในจังหวัดกาญจนบุรสี ่วนใหญ่เป็ นชื่อที่เชื่อมโยงกับตานานหรือ
เรื่องเล่าของท้องถิน่ เช่น ถ้าขุนไกรทีว่ ดั ถ้าขุนไกร ตาบลแก่งเสี้ยน อาเภอเมืองกาญจนบุรี
จังหวัดกาญจนบุรี ตานานประวัติโดยย่อ วัดถา้ ขุนไกร ([ม.ป.ป.]: ๑) กล่าวว่า ถ้าขุนไกร
มีค วามเกี่ยวข้อ งกับ ขุน ไกร กล่า วคือ “วันหนึ่ง นายไกร (ขุน ไกร) ออกล่ าสัต ว์ต ามปรกติ
เจอฝนตกหนักจึงเข้ามาหลบในถ้า ได้พบพระธุดงค์รูปหนึ่งชื่ออาจารย์คง เจ้าอาวาสวัดแค
ซึ่ง ได้สอนและถ่ า ยทอดวิชาอาคมให้ อาจารย์ค งรูป นี้เ องที่เป็ นอาจารย์ส อนเณรแก้วตอน
บวชเรีย นอยู่ ท่ีว ดั แค เมือ งสุ พ รรณบุ รี นอกจากนี้ ต ามต านานท้อ งถิ่น ยัง กล่ า วไว้ด้ว ยว่า
๒๑๓

เมื่อ ขุน แผนเป็ น หนุ่ ม และได้เ ป็ น ทหารแล้ว พม่ า มาตีเ มือ งกาญจน์ สมเด็จ พระพัน วษา
มีพระราชโองการให้ขุนแผนขึน้ มารบ ขุนแผนได้ตงั ้ ศาลเพียงตาไว้ท่เี ขาถ้า ใกล้กบั บริเวณ
ถ้าขุนไกร” เป็นต้น นอกจากนี้ ผูว้ จิ ยั พบว่า ในจังหวัดกาญจนบุรมี กี ารนาชือ่ ของขุนแผนไปใช้
ในแวดวงทหาร เพราะบริเ วณเมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า ซึ่ง เชื่อ ว่า เป็ น เมือ งกาญจนบุ รีใ นสมัย
กรุงศรีอยุธยามีค่ายทหารตัง้ อยู่ กล่าวคือ ทหารกรมทหารปื นใหญ่ กองพลทหารราบที่ ๙
จังหวัดกาญจนบุรี ได้นาชือ่ ขุนแผนไปตัง้ เป็นชือ่ รหัสในการใช้วทิ ยุส่อื สาร และใช้เป็ นชื่อของ
ฝา่ ยรุกในการฝึกนักศึกษาวิชาทหาร เนื่องจากยกย่องว่าขุนแผนเป็ นนักรบคนสาคัญที่มฝี ี มอื ดี
ในประวัตศิ าสตร์
จากทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดจะเห็นได้วา่ การสร้างคาขวัญ
และการตัง้ ชื่อเป็ นวิธีการหนึ่งในการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนที่ช่วยถ่ายทอดและ
เผยแพร่ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรใี ห้เป็ นที่รบั รู้และดารงอยู่ ในท้องถิน่
ต่อไป

๕.๒.๑.๒ การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
ในจังหวัดสุพรรณบุรี
จากการศึกษาข้อมูลคติชนต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนที่พบ
ในจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี พบว่า คติช นเกี่ย วกับ ขุน แผนมี ๒ ลัก ษณะคือ เป็ น คติช นที่มีอ ยู่
แต่เดิม ไม่ส ามารถสืบหาผู้สร้างได้ และเป็ นคติช นที่เพิ่ง สร้างขึ้นใหม่ เพื่อให้เกี่ยวข้องกับ
ขุนแผน อย่างไรก็ตาม คติชนส่วนใหญ่ ไม่ได้มุ่งเน้ นที่ขุนแผนเพียงบุค คลเดียว แต่ยงั พบ
ข้อมูลเกีย่ วกับตัวละครอื่น ๆ ในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน รวมอยู่ด้วย สามารถวิเคราะห์
ลักษณะการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรไี ด้ ๓ ประการใหญ่ คือ

๑) การอนุรกั ษ์และส่งเสริมสถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องกับขุนแผน


การอนุ ร ัก ษ์ แ ละส่ ง เสริ ม สถานที่ ท่ีเ กี่ ย วข้ อ งกับ
ขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรเี ป็ นการรักษาและสร้างพื้นที่แห่งความทรงจาร่วมเรื่องขุน แผน
ในท้อ งถิ่น จากการเก็บ ข้อ มู ล ภาคสนาม ผู้ว ิจ ัย พบว่า ส ถานที่ท่ีเ กี่ย วข้อ งกับ ขุน แผน
ในจังหวัดสุพรรณบุรเี ป็นสถานทีท่ ป่ี รากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ได้แก่ วัดปา่ เลไลยก์
วรวิหาร วัดแค และเขาพระ การอนุรกั ษ์และการส่งเสริมให้สถานทีท่ เ่ี กีย่ วข้องกับขุนแผนเป็น
ทีร่ จู้ กั ในวงกว้างจึงเกิดขึน้ พร้อมกัน เนื่องจากเชือ่ ว่าพืน้ ทีจ่ ริงซึ่งขุนแผนเคยมีชวี ติ อยู่กบั พื้นที่
แห่งความทรงจาทีส่ ร้างขึน้ ในเวลาต่อมาเป็นพืน้ ทีเ่ ดียวกัน กล่าวคือ เป็ นพื้นที่ท่เี กี่ยวข้องกับ
ขุนแผนตอนบวชเรียน ผูท้ ่มี บี ทบาทในการสร้างความทรงจาร่วมมากที่สุดคือ พระสงฆ์ และ
ส่วนราชการ
๒๑๔

ลักษณะเด่นของข้อมูลคติชนต่าง ๆ เกีย่ วกับขุนแผน


ทีผ่ วู้ จิ ยั พบในจังหวัดสุพรรณบุรคี อื คติชนเกี่ยวกับขุนแผนส่วนใหญ่เป็ นคติชนที่สร้างขึน้ ใหม่
เพื่อให้พ้นื ที่ต่าง ๆ ในจังหวัดสุพรรณบุรีดู ประหนึ่งว่า เกี่ยวข้องกับขุนแผนและเรื่องขุ นช้าง
ขุ น แผนอย่ า งชัด เจน โดยอาศัย เรื่ อ งราวจากเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผนเป็ น หลัก
เมื่อวิเคราะห์ขอ้ มูลตามแนวคิดเรื่องความทรงจาร่วมของปิ แอร์ โนรา (Pierre Nora, 1992: 7
อ้างถึงใน Anne Whitehead, 2009: 143) ซึ่งมีหลักการว่าความทรงจาร่วมจะปรากฏอยู่ได้
ต้องมีพ้นื ที่แห่งความทรงจา แต่พ้นื ที่แห่งความทรงจาไม่จาเป็ นต้องเป็ นพื้นที่จริงหรือพื้นที่
เดี ย วกับ ในอดี ต เสมอไป หากเพี ย งแต่ มี พ้ื น ที่ ไ ว้ ส าหรับ ถ่ า ยทอดความทรงจ าร่ ว ม
ความทรงจาร่วมนัน้ ก็สามารถปรากฏอยู่ได้ในสังคม ตัวอย่างเช่นการสร้างอุทยานวรรณคดี
๒ แห่งในจังหวัดสุพรรณบุรี คือ คุ้ม ขุนแผนซึ่งตัง้ อยู่ภ ายในบริเวณวัดแค และบ้านขุนช้าง
ซึ่งตัง้ อยู่ภายในบริเวณวัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร ชื่อสถานที่ทงั ้ สองแห่งนี้ ชวนให้ผไู้ ปเยือนนึกว่า
เป็ นที่พกั ของขุนแผนและขุนช้าง ทัง้ ที่อุทยานวรรณคดีทงั ้ สองแห่ง สร้างขึน้ เพื่อระลึกถึงและ
เป็ น แหล่ ง เรี ย นรู้ แ ละถ่ า ยทอดเรื่ อ งขุ น ช้ า งขุ น แผน นิ ท านพื้ น บ้ า นของสุ พ รรณบุ รี
แต่คงปฏิเสธไม่ได้ทค่ี นส่วนหนึ่งรับรูแ้ ละจดจาความเป็น “เมืองขุนแผน” ของจังหวัดสุพรรณบุรี
ได้จากอุทยานวรรณคดีท่ไี ด้รบั การสร้างสรรค์ข้นึ ทัง้ นี้อาจกล่า วได้ว่า การสร้างอุ ทยาน
วรรณคดีใ นพื้น ที่ท่ี มีค วามเชื่อ ว่ า เกี่ย วข้อ งกับ ขุ น แผนและเรื่อ งขุน ช้า งขุ น แผนเป็ น การ
ผสมผสานระหว่างพื้นที่จริงกับพื้นที่ใหม่ท่คี นในสมัยต่อมาเป็ นผู้สร้างความหมายให้มีความ
เกีย่ วข้องกับขุนแผน
นอกจากนี้ คติชนประเภทจิตรกรรมเกีย่ วกับขุนแผน
และเรื่องขุนช้างขุนแผนทีพ่ บในสถานทีต่ ่าง ๆ ได้แก่ จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน
รอบวิห ารคด วัดป่าเลไลยก์วรวิหาร จิตรกรรมเรื่องขุน ช้างขุนแผนในหอคอยบรรหาร –
แจ่มใส จิตรกรรมแสดงภาพตัวละครจากเรื่องขุนช้างขุนแผนที่บ้านขุนช้าง วัดป่าเลไลยก์
วรวิหาร จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผนบนยอดเขาวัดเขาพระศรีสรรเพชญาราม ซึ่งสร้างขึ้น
เพื่อระลึกถึงและแสดงให้เห็นว่าจังหวัดสุพรรณบุรีเป็ นเมืองที่เกี่ยวข้องกับขุนแผนและเรื่อง
ขุนช้างขุน แผน ยังมีส่วนส าคัญในการถ่ายทอดและสืบทอดความทรงจ าร่วมเรื่องขุนแผน
ในจังหวัดสุพรรณบุรี เช่นเดียวกับการจัดสร้างวัตถุมงคลเกี่ยวกับขุนแผนอย่างต่อเนื่องในวัด
ซึ่งเชื่อว่าขุนแผนเคยใช้ชวี ติ อยู่หรือเคยบวชเรียนจนมีวชิ าความรู้ทงั ้ ตารับวิชาการและวิชา
ไสยศาสตร์เชีย่ วชาญ มีส่วนช่วยให้วดั ทีม่ กี ารจัดสร้างวัตถุมงคลเป็นทีส่ นใจของคนท้องถิน่ และ
คนทัวไป ่ ถือเป็นช่องทางในการถ่ายทอดเรื่องราวชีวติ ของขุนแผน และช่วยส่งเสริมให้สถานที่
ทีเ่ กีย่ วข้องกับขุนแผนเป็นทีร่ จู้ กั ไปในขณะเดียวกัน
๒๑๕

๒) การสร้างรูปเคารพเพื่อสืบทอดตานานและพิธกี รรม
เกีย่ วกับขุนแผน
การสร้ า งรู ป เคารพขุ น แผนและรู ป เคารพของ
ตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่องขุน ช้ าง – ขุนแผน ในจังหวัดสุพรรณบุรเี ป็ นการถ่ายทอด
ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนให้ปรากฏอย่างเป็ นรูปธรรม รูปเคารพดังกล่าวยังมีส่วนกระตุ้น
ให้เกิดการระลึกถึงและถ่ายทอดเรื่องขุนช้างขุนแผนในท้องถิน่
ผูว้ จิ ยั พบว่า ในจังหวัดสุพรรณบุรมี กั สร้างรูปเคารพ
ดังกล่าวเพื่อประดิษฐานอยู่ในสถานที่ต่าง ๆ ซึ่งเรื่องขุนช้างขุนแผนได้กล่าวถึงไว้ จากการ
ออกภาคสนาม ผูว้ จิ ยั พบว่า พืน้ ทีท่ ร่ี ูปเคารพขุนแผนและรูปเคารพตัวละครอื่นประดิษฐานอยู่
เป็ นพื้นที่ท่ีเกี่ยวข้อ งกับขุนแผนในตอนบวชเรียน ได้แก่ วัดป่าเลไลยก์ว รวิหาร และวัดแค
รูปเคารพดังกล่าวเกิดจากทางวัดสร้างขึน้ เพื่อให้ระลึกถึงขุนแผนและตัวละครอื่น ๆ ซึ่งเชื่อว่า
เคยมีต ัว ตนอยู่ จ ริง และเพื่อ ให้ ช าวบ้า นและนัก ท่ อ งเที่ย วสัก การบู ช า พบทัง้ รู ป เคารพ
ที่ไม่ทราบช่วงเวลาสร้าง เช่น รูปเคารพขุนแผน รูปเคารพนางพิมที่วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร
รูปเคารพสมภารคงภายในศาลาสัก การะ และภายในศาลหลวงปู่ค งที่วดั แค และรูปเคารพ
ที่พอจะทราบช่วงเวลาสร้าง เช่น รูปเคารพขุนช้างที่วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร ซึ่งสร้างขึน้ เพื่อ
ประดิษ ฐานในศาลพ่ อ ขุน ช้า งในคราวที่สร้า งบ้า นขุนช้า งเป็ น อุ ทยานวรรณคดี รูป เคารพ
ขุนแผนในศาลขุนแผน วัดแค ซึ่งสร้างขึน้ เมื่อวันที่ ๑๗ กรกฎาคม ๒๕๒๙ ในคราวที่สร้าง
คุม้ ขุนแผนเป็นอุทยานวรรณคดี
ผู้ว ิจ ัย พบว่า ลัก ษณะเด่ น ของการสร้า งรู ป เคารพ
ในจังหวัดสุพรรณบุรคี อื เป็ นการสร้างรูปเคารพเพื่อผสานพื้นที่จริงกับพื้นที่แห่งความทรงจา
ทีส่ ร้างขึน้ ใหม่ กล่าวคือ วัดปา่ เลไลยก์วรวิหาร และวัดแค จังหวัดสุพรรณบุรี ต่างเป็นพืน้ ทีจ่ ริง
ทีค่ นท้องถิน่ รับรู้ และเรื่องขุนช้างขุนแผนเล่าว่า ขุนแผนเมื่อครัง้ เป็นพลายแก้วบวชเรียนศึกษา
วิชาที่วดั ทัง้ ๒ แห่งนี้ วัดทัง้ ๒ แห่งดังกล่าวยังมีประวัติความเป็ นมาว่า สร้างขึน้ ตัง้ แต่สมัย
กรุงศรีอยุธยาอันเป็ นช่วงเวลาที่เชื่อว่าขุนแผนมีชวี ติ อยู่ ขณะเดียวกันปจั จุบนั วัดทัง้ ๒ แห่ง
ได้จดั สรรพื้นที่ส่วนหนึ่ง เพื่อสร้างอุทยานวรรณคดีค ือ บ้า นขุนช้างที่วดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร
และคุม้ ขุนแผนทีว่ ดั แค ซึ่งถือเป็นพืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจาทีส่ ร้างขึน้ ใหม่ ผูว้ จิ ยั พบว่า การสร้าง
รูปเคารพขุนช้างประดิษฐานในศาลพ่อขุนช้าง ช่วยทาให้พน้ื ทีบ่ า้ นขุนช้างดูศกั ดิ ์สิทธิ ์ และทาให้
เมื่อเห็นรู ป เคารพขุนช้า งก็มีการเล่ าเรื่องขุนช้า งขุน แผนต่อ ไปได้ เช่น เดีย วกับ การสร้า ง
รูปเคารพสมภารคงภายในศาลอาจารย์คงที่คุ้มขุนแผน วัดแค ในคราวที่สร้างคุ้มขุนแผนเป็ น
อุทยานวรรณคดี ทัง้ ที่ในวัดแคมีรูปเคารพสมภารคงภายในศาลหลวงปู่คงซึ่งเป็ นศาลเก่าแก่
แต่อยู่ภายนอกบริเวณคุ้มขุนแผนอยู่แล้ว กลวิธดี งั กล่าวช่วยสร้างความศักดิ ์สิทธิ ์ให้แก่พ้นื ที่
แห่งความทรงจาทีส่ ร้างขึน้ ใหม่ และช่วยผสานพืน้ ทีจ่ ริงกับพืน้ ทีใ่ หม่ได้อย่างกลมกลืน
๒๑๖

นอกจากนี้ ผู้วจิ ยั ยังพบว่า แม้การสร้างรู ปเคารพ


ขุน แผนในจัง หวัดสุ พรรณบุ รีจ ะเป็ นรู ปเคารพขุนแผนสวมชุด ทหาร ดูน่ าเกรงขามเหมือ น
รูปเคารพขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรกี ต็ าม หากแต่การทีร่ ูปเคารพประดิษฐานอยู่ในพืน้ ที่จริง
ทีข่ นุ แผนเคยบวชเรียน ทาให้มกี ารเล่าเรื่องราวชีวติ ตอนบวชเรียน เช่น การเสกใบมะขามเป็ น
ตัวต่อตัวแตน การศึกษาวิชาอาคม โดดเด่นมากกว่าจะกล่าวถึงขุนแผนตอนเป็นทหาร
อนึ่ง การสืบทอดความเชื่ออันมีหลักฐานปรากฏใน
เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เช่น ต้นมะขามยักษ์วดั แค จังหวัดสุพรรณบุรี เป็ นต้นมะขาม
ที่เชื่อว่าขุน แผนนาใบมะขามมาเสกเป็ น ตัวต่ อตัว แตน ในปจั จุบนั ต้นมะขามยัก ษ์ดงั กล่า ว
อยู่ ใ นบริเ วณคุ้ ม ขุน แผน และมีผู้จุ ด ธู ป และถวายของบู ช าด้ว ย เชื่อ ว่า มีค วามศัก ดิส์ ิท ธิ ์
ต้นมะขามยักษ์ดงั กล่าวนับเป็นอนุสรณ์สถานให้ระลึกถึงเรื่องขุนช้างขุนแผน ทัง้ ยังช่วยผสาน
พื้นที่จริงและพื้น ที่แ ห่ง ความทรงจ าที่สร้างขึ้นใหม่ ส่ง ผลให้คุ้ม ขุน แผน อุท ยานวรรณคดี
ทีส่ ร้างขึน้ ใหม่เกีย่ วข้องกับขุนแผนได้อย่างแยบยล

๓) การสร้างคาขวัญและการตัง้ ชือ่
เมื่อกล่าวถึง คาขวัญประจาจังหวัดสุพรรณบุรี ที่ว่า
“เมืองยุทธหัตถี วรรณคดีขน้ึ ชือ่ เลือ่ งลือพระเครือ่ ง รุ่งเรืองเกษตรกรรม สูงล้ าประวัตศิ าสตร์
แหล่ ง ปราชญ์ ศ ิล ปิ น ภาษาถิน่ ชวนฟ งั ” นั น้ “วรรณคดีข้ึน ชื่อ ” ของจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี
ทีค่ นส่วนใหญ่มกั จะนึกถึงคือ เรื่องขุนช้างขุนแผน เนื่องจากปจั จุบนั โดยเฉพาะในเขตเทศบาล
เมืองสุพรรณบุรี อาเภอเมืองสุพรรณบุรี จังหวัดสุพรรณบุรี ส่วนราชการท้องถิน่ คือเทศบาล
เมือ งสุ พ รรณบุ รี มีน โยบายให้น าชื่อ ตัว ละครในเรื่อ งขุน ช้า งขุน แผนมาตัง้ เป็ น ชื่อ สถานที่
เพื่อเป็ นการระลึกถึงตัวละครต่าง ๆ ที่ชาวบ้านเชื่อว่าเคยมีตวั ตนอยู่จริง และเพื่อระลึกว่า
เรื่องขุนช้า งขุน แผนเป็ นนิ ทานพื้นบ้านของจังหวัดสุพ รรณบุ รี ดังจะเห็นได้จากการนาชื่อ
ขุนแผนและชื่อตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่ องขุนช้ า ง – ขุน แผน มาตัง้ เป็ นชื่อถนน เช่น
ถนนพลายแก้ว ถนนเณรแก้ว ถนนขุนแผน ถนนนางพิม ถนนนางลาวทอง ถนนขุนไกร
ถนนพลายงาม ถนนพลายชุมพล ถนนพระพันวษา ถนนดาบฟ้ าฟื้ น ถนนไร่ฝ้ าย ฯลฯ
ชือ่ แยกจราจร เช่น แยกเณรแก้ว แยกอาชาสีหมอก ฯลฯ ชื่อสาธารณสมบัติ เช่น สะพาน
อาชาสีหมอก เป็ นต้น คนท้องถิน่ และผูส้ ญ ั จรในจังหวัดสุพรรณบุรีจงึ ได้ซึมซับบรรยากาศ
ทีเ่ กีย่ วข้องกับเรื่องขุนช้างขุนแผนได้อย่างชัดเจน
การตัง้ ชื่อถนนโดยนาชื่อ ตัวละครจากเรื่องขุ นช้า ง
ขุน แผนมาตัง้ อย่ า งเป็ น ระบบยัง ช่ ว ยสนั บ สนุ น ให้ค นท้ อ งถิ่น และคนทัว่ ไปจดจ าจัง หวัด
สุพรรณบุรใี นฐานะเมืองทีเ่ กีย่ วข้องกับขุนแผนและเรื่องขุนช้างขุนแผนได้เป็นอย่างดี
๒๑๗

นอกจากนัน้ ในจังหวัดสุพรรณบุรี ยังมีภาคเอกชน


หรือบุคคลทัวไปน
่ าชือ่ ตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผนไปตัง้ เป็ นชือ่ กิจการร้านค้าของตน เพราะ
เห็นว่าทากิจการอยู่ในเมืองสุพรรณบุรซี ่งึ ถือเป็ น “เมืองขุนแผน” เพื่อสร้างความโดดเด่นและ
ดึงดูดความสนใจ เช่น อู่ซ่อมรถยนต์ช่อื ว่า “อู่ขุนแผน” เต๊นท์ขายรถชื่อว่า “เต๊นท์ขุนแผน”
ร้านอาหารชือ่ ว่า “บึงขุนแผน” ร้านจาหน่ายสินค้าหัตถกรรมชื่อว่า “ร้านขุนแผน” ห้องอาหาร
พลายแก้วในโรงแรมสองพันบุรี คอกสุนัขชื่อว่า “คอกขุนแผนฟิ ล่า ” และฟาร์มไก่ชนชื่อว่า
“ขุนแผนไก่ชน” เป็นต้น

จากทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดจะเห็นได้ว่า การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน


ในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรมี ี ๓ ลักษณะสาคัญ คือ การอนุ รกั ษ์และส่งเสริม
สถานที่ท่เี กี่ยวข้องกับขุนแผน การสร้างรูปเคารพเพื่อสืบทอดตานานและพิธีกรรมเกี่ยวกับ
ขุนแผน และการสร้างคาขวัญและการตัง้ ชื่อ เมื่อพิจารณาลักษณะการสร้างความทรงจาร่วม
เรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรตี ามแนวคิดเรื่องพื้นที่แห่งความทรงจา
ของปิ แอร์ โนรา (Pierre Nora, 1992: 7 อ้างถึงใน Anne Whitehead, 2009: 143) ผูว้ จิ ยั
ได้ข้อ ค้นพบว่า ลัก ษณะการสร้า งพื้น ที่แ ห่ ง ความทรงจ าในจังหวัด กาญจนบุ รี แ ละจัง หวัด
สุพรรณบุรมี ี ๓ ลักษณะ คือ การสร้างพืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจาโดยการอนุรกั ษ์และส่งเสริมสถานที่
ทีเ่ กีย่ วข้องกับขุนแผนถือเป็นการจัดสรรพื้นที่ (area) เพื่อให้สถานที่ซ่งึ ประกอบไปด้วยข้อมูล
คติชนประเภทต่าง ๆ ทาหน้าทีถ่ ่ายทอดความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน ส่วนการสร้างพืน้ ทีแ่ ห่ง
ความทรงจ าโดยการสร้างรูปเคารพถือ เป็ นการสร้า งพื้นที่ศกั ดิส์ ิทธิเ์ พื่อเชื่อมโยงความคิด
ความเชือ่ ของคนกับพืน้ ที่ (area) ของสถานทีต่ ่าง ๆ ในขณะทีก่ ารสร้างพืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจา
โดยการสร้า งค าขวัญ และการตัง้ ชื่อ ถือ เป็ น การสร้า งพื้น ที่ส ัญลักษณ์ โดยการใช้ภ าษาเป็ น
เครื่องมือในการถ่ายทอดความทรงจา นอกจากนี้ จะเห็นได้ว่า ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผน
ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรกี ค็ อื พื้นที่แห่งความทรงจาที่ประกอบด้วยเรื่องราว
ชีวติ ของขุนแผน การรักษาและฟื้ นฟู ตลอดจนการสร้างข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนจึงเป็ น
การสร้า งพื้น ที่แ ห่ ง ความทรงจ าร่ ว มเรื่อ งขุน แผนในท้อ งถิ่น ทัง้ นี้ พ้ืน ที่ (area) หนึ่ ง ๆ
อาจประกอบไปด้ ว ยข้อ มู ล คติช นหลายประเภท หรือ อาจกล่ า วได้ ว่ า มี ห ลายพื้น ที่แ ห่ ง
ความทรงจา
อย่างไรก็ตาม จากทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดจะเห็นได้วา่ การสร้างความทรงจาร่วม
เรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรจี ะเน้นช่วงชีวติ ของขุนแผนตอนเป็นทหารและผูป้ กครองเมือง
ดังจะเห็น ได้จากข้อมูลคติชนที่พบส่วนใหญ่สะท้อนให้เห็นเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนในตอน
ดังกล่าวและอยู่ในพืน้ ทีเ่ มืองกาญจนบุรเี ก่าซึ่งเชื่อว่าเป็ นเมืองกาญจนบุรใี นสมัยกรุงศรีอยุธยา
ทีข่ นุ แผนเคยเป็นทหารตระเวนด่านและเคยเป็ นเจ้าเมือง ส่วนการสร้างความทรงจาร่วมเรื่อง
๒๑๘

ขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรจี ะเน้นช่วงชีวติ ของขุนแผนตอนบวชเรียน ดังจะเห็นได้จากข้อมูล


คติชนที่พ บส่ วนใหญ่ สะท้อ นให้เห็นเรื่อ งราวชีวติ ของขุนแผนในช่วงดัง กล่ า วและอยู่ ในวัด
ซึ่งเชือ่ ว่าขุนแผนเคยบวชเรียนอยู่จริง
ในทัศนะของผูว้ จิ ยั พืน้ ทีท่ เ่ี กีย่ วข้องกับขุนแผนเป็นพืน้ ทีเ่ พียงส่วนหนึ่งของ
จังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี แต่ปจั จุบนั กาลังถูกขยายให้เป็ นที่รบั รู้ของคนทัวไป ่
ด้วยประโยชน์ ใ นด้านอัตลักษณ์ ทางวัฒนธรรมและเศรษฐกิจ ตัวอย่างหนึ่ งที่เห็นได้ชดั คือ
ความพยายามในการเรียกท้องถิน่ ตนเองว่า “เมืองขุนแผน” เพราะต่างก็มหี ลักฐานสนับสนุนว่า
ท้องถิน่ ของตนเกีย่ วข้องกับขุนแผน อย่างไรก็ตาม สิง่ ทีจ่ ะมองข้ามไปไม่ได้คอื การแบ่งพื้นที่
ในวรรณคดีกบั พืน้ ทีใ่ นปจั จุบนั นัน้ ไม่เท่ากัน เมืองกาญจนบุรแี ละเมืองสุพรรณบุรี ไม่ได้มพี ้นื ที่
เท่ากับจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรีในป จั จุบนั พื้นที่แห่งความทรงจาร่วมเรื่อง
ขุนแผนของจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรีจึงไม่ใช่พ้นื ที่แห่งความทรงจาเดียวกับ
พืน้ ทีท่ เ่ี กิดเรื่องราวขึน้ ในสมัยกรุงศรีอยุธยาไปทัง้ หมด หากแต่ขอ้ มูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผน
ทีพ่ บสะท้อนให้เห็นลักษณะทีน่ ่าสนใจว่า พืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจาในจังหวัดกาญจนบุรเี ป็ นพืน้ ทีท่ ่ี
เกีย่ วข้องกับขุนแผนโดยมีเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน และตานานหรือเรื่องเล่าของท้องถิน่
รองรับ มีรูปเคารพทีม่ คี วามเชือ่ และตานานทีส่ มั พันธ์กบั พืน้ ทีน่ นั ้ ๆ สนับสนุนและช่วยถ่ายทอด
ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนให้เห็นอย่างเป็นรูปธรรม ส่วนพืน้ ที่แห่งความทรงจาเรื่องขุนแผน
ในจัง หวัด สุ พ รรณบุ รีส่ ว นใหญ่ จ ะถู ก รองรับ ด้ว ยข้อ มู ล จาก เสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน
และไม่ได้มุ่งเน้นนาเสนอตอนทีเ่ กีย่ วข้องกับขุนแผนเพียงอย่างเดียว

๕.๒.๒ ปัจจัยในการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
จากการศึกษาแนวคิดเรื่องความทรงจาร่ว มและการสร้างความทรงจาร่วม
เรื่อ งขุ น แผนในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี ผู้ว ิจ ัย พบป จั จัย ในการสร้ า ง
ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี ๓ ด้าน คือ ปจั จัยด้าน
การสืบทอดความทรงจาร่วมของท้องถิน่ ปจั จัยด้านการช่วงชิงความโดดเด่นในเชิงอัตลักษณ์
ทางวัฒนธรรม และปจั จัยด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจการท่องเทีย่ ว

๕.๒.๒.๑ ปัจจัยด้านการสืบทอดความทรงจาร่วมของท้องถิ่ น
ป จั จัย ส าคัญ ในการสร้า งความทรงจ าร่ ว มเรื่อ งขุน แผน
ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรคี อื ความพยายามในการสืบทอดความทรงจาร่วม
เรื่องขุนแผนให้คนในจังหวัดกาญจนบุรรี บั รู้ร่วมกันและคนในจังหวัดสุพรรณบุรีรบั รู้ร่วมกัน
และถ่ายทอดความทรงจาร่วมดังกล่าวให้เป็นทีร่ บั รูส้ บื ต่อกันจากรุ่นสู่รุ่น เป้าหมายและวิถที าง
๒๑๙

ในการสืบ ทอดความทรงจ าร่ ว มเรื่อ งขุน แผนในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี
จึงมีลกั ษณะเป็นการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนให้ปรากฏอยู่ในท้องถิน่ อย่างต่อเนื่อง
ตามทัศนะของผูว้ จิ ยั การสร้างความทรงจาร่วมดังกล่าว
ไม่ได้หมายถึงการสร้างพืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจาขึน้ ใหม่แต่เพียงอย่างเดียว หากแต่ยงั หมายถึง
การรื้อ ฟื้ น และการผลิต ซ้ า พื้นที่แ ห่ ง ความทรงจ าเรื่อ งขุน แผนที่มีอ ยู่ แ ต่ เ ดิม ให้ป รากฏชัด
อย่ า งเป็ น รู ป ธรรมและปรากฏอย่ า งต่ อ เนื่ อ งในท้อ งถิ่น กาญจนบุ รีแ ละท้อ งถิ่น สุ พ รรณบุ รี
ด้วยเหตุน้ี ข้อมูลคติชนประเภทต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนซึ่ง ถือเป็ นเครื่องมือ สาคัญในการ
เผยแพร่ ค วามทรงจ าร่ ว มให้เ ป็ น ที่ร ับ รู้ใ นท้ อ งถิ่น และในสั ง คมทัวไปจึ
่ ง มีค วามส าคัญ ยิ่ง
เพราะหากทัง้ ๒ จังหวัดไม่สามารถใช้ขอ้ มูลทางวัฒนธรรมดังกล่าวเผยแพร่ความทรงจาร่วม
เรื่องขุนแผนได้อย่างมีประสิทธิภาพ หรือเครื่องมือดังกล่าวไม่อยู่ในสภาพที่สามารถเป็ นพื้นที่
แห่งความทรงจาได้ กล่าวคือ อยู่ในสภาพรกร้าง หรือชารุดทรุดโทรม ก็ย่อมทาให้การสืบทอด
ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนของท้องถิน่ ไม่เกิดประสิทธิผลเท่าทีค่ วร
ดัง นั น้ การรัก ษาและการฟื้ น ฟู ใ ห้ ข้อ มู ล คติช นเกี่ย วกับ
ขุนแผนที่พ บในจังหวัด กาญจนบุรีและจังหวัด สุพ รรณบุ รีอ ยู่ในความสนใจของสังคมอย่า ง
ต่อเนื่อง จึงถือเป็ น กระบวนการหนึ่งที่ท าให้ การสืบทอดความทรงจาร่ วมเรื่องขุนแผนของ
ท้องถิน่ ได้ อาจกล่าวอีกนัยหนึ่งได้วา่ การรักษาและการฟื้ นฟูขอ้ มูลทางวัฒนธรรมเหล่านี้กค็ อื
การสงวนรักษาและการสร้างพืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจา ซึ่งก็คอื การสร้างความทรงจาร่วมนันเอง ่

๕.๒.๒.๒ ปัจจัยด้านการช่วงชิ งความโดดเด่นในเชิ งอัตลักษณ์


ทางวัฒนธรรม
จังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุ รีต่างต้องการให้
จัง หวัด ของตนเป็ น ที่รู้จ ัก ในฐานะเมือ งขุน แผน โดยอาศัย ความทรงจ าร่ ว มเรื่อ งขุน แผน
ชุดต่าง ๆ คือจากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน จากคาให้การชาวกรุงเก่า ตลอดจนความ
ทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในท้องถิน่ ของตนทีเ่ ชือ่ ว่าขุนแผนเป็นคนท้องถิน่ และเคยมีตวั ตนอยู่จริง
ประกอบเข้า ด้วยกันกับข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่พบในจังหวัดกาญจนบุ รีและจังหวัด
สุพ รรณบุ รีม าใช้เ ป็ น หลักฐานยืน ยัน ว่า จัง หวัด ของตนเกี่ย วข้องกับ ขุน แผน และเหมาะสม
ทีจ่ ะได้รบั การขนานนามว่า เมืองขุนแผน
ความทรงจ าร่ วมเรื่อ งขุน แผนจึง ถู กน ามาใช้น าเสนอให้
จังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรเี ป็นทีร่ จู้ กั ว่ามีความเกีย่ วข้องกับขุนแผน และวรรณคดี
เอกของไทยเรื่องขุนช้างขุนแผน ประการหนึ่ง และใช้สนับสนุ นความคิดเรื่องเมืองขุนแผน
เพื่อยังประโยชน์ในด้านต่าง ๆ ให้แก่ทอ้ งถิน่ อีกประการหนึ่ง
๒๒๐

ปจั จัยด้านการช่วงชิงความโดดเด่น ในเชิงอัตลักษณ์ทาง


วัฒ นธรรมแสดงให้ เ ห็ น ทั ง้ ในระดับ ระหว่ า งจั ง หวัด กาญจนบุ รี ก ับ จัง หวัด สุ พ รรณบุ รี
และในระดับท้องถิน่ เดียวกัน กล่าวคือ ในระดับระหว่างจังหวัด ผู้วจิ ยั พบป้ ายขนาดใหญ่
ริมถนนเข้า สู่เขตอาเภอเมืองฯ จังหวัดสุพรรณบุรี มีข้อความว่า “สุพรรณบุรี เมืองขุนแผน
เมืองยุทธหัตถี” คาว่า “เมืองขุนแผน” ในข้อความดังกล่าวเป็นหลักฐานสาคัญทีแ่ สดงให้เห็นว่า
จังหวัดสุพรรณบุรถี อื ว่าจังหวัดของตนคือ เมืองขุนแผน อย่างชัดเจน
นอกจากนี้ จ ัง หวัด สุ พ รรณบุ รีย ัง ได้ ร ับ การขนานนามว่า
เมืองขุนแผน จนเป็ นที่รบั รู้อย่างกว้างขวางมาโดยตลอด ดังจะเห็นได้จากข้อความในข่าว
หนัง สือ พิม พ์ท่ีมกั เรียกบุค คลในข่า วซึ่งมีภูมิลาเนาอยู่ ในจัง หวัดสุ พรรณบุรีว่า “หนุ่ มเมือ ง
ขุนแผน” หรือเรียกผูว้ า่ ราชการจังหวัดสุพรรณบุรวี า่ “พ่อเมืองขุนแผน” หรือเรียกทีมฟุตบอล
ประจาจังหวัดสุพรรณบุรีอย่างไม่เป็ นทางการว่า “ทีมขุนแผน” เป็ นต้น เนื่องจากในจังหวัด
สุพรรณบุรมี คี วามทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนที่เชื่อกันมาเป็ นระยะเวลานานว่า ขุนแผนเกี่ยวข้อง
กับจังหวัดสุพรรณบุรี และความทรงจาร่วมชุดนี้ได้รบั การถ่ายทอดให้เป็ นที่ร ั บรู้ในวงกว้าง
จนคนทัวไปรั ่ บรูแ้ ละเข้าใจไปแล้วว่า จังหวัดสุพรรณบุรคี อื เมืองขุนแผน
ส่วนจังหวัดกาญจนบุรีนัน้ ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน
ของคนท้อ งถิ่น ประกอบกับข้อมูลทางวัฒนธรรมต่าง ๆ เกี่ย วกับ ขุนแผนที่มีอยู่ ในจังหวัด
กาญจนบุรีได้กระตุ้นให้คนท้องถิ่นเห็นลักษณะเด่นดังกล่าวของท้องถิ่นตน และเกิดความ
พยายามทีจ่ ะรือ้ ฟื้ นและสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนให้แพร่หลายมากยิง่ ขึน้ ดังจะเห็น
ได้จากมีบทความท้องถิน่ ซึ่งแสดงร่องรอยและหลักฐานต่าง ๆ เพื่อสนับสนุ นความคิดเรื่อง
เมือ งขุน แผน เขียนโดยพยงค์ เวสสบุ ต ร พิม พ์เ ผยแพร่โ ดยชมรมข้า ราชการบานาญและ
ผู้อ าวุ โ ส จัง หวัด กาญจนบุ รี ออกมาหลายฉบับ ได้ แ ก่ บทความเรื่อ ง “เมือ งขุ น แผน”
พิมพ์เผยแพร่ เมื่อ วันที่ ๑ กรกฎาคม ๒๕๔๖ บทความเรื่อ ง “ท่า เสา เมืองเก่ากาญจนบุ รี
เมือ งวรรณคดี – ขุน แผน” พิม พ์เ ผยแพร่ เ มื่อ วัน ที่ ๓๑ มีน าคม ๒๕๕๐ บทความเรื่อ ง
“ขุ น แผนแสนสะท้ า น เจ้ า เมือ งกาญจน์ พระสุ ริน ทรฦ ๅชัย ” พิม พ์ เ ผยแพร่ เ มื่อ วัน ที่
๒๙ กันยายน ๒๕๕๐ และบทความเรื่อง “กุมารทอง วรรณคดีขุนช้างขุนแผน” พิมพ์เผยแพร่
เมื่อวันที่ ๓๑ ธันวาคม ๒๕๕๑
บทความดังกล่าวข้างต้นได้แสดงวัตถุประสงค์ในการศึกษา
ไว้อย่างชัดเจนว่า เป็ นการศึกษาและเรียบเรียงขึ้น เพื่อสนับสนุ นความคิดเรื่องเมืองขุนแผน
ดังปรากฏความว่า
๒๒๑

บทความเรื่อ งนี้ คงจะช่ ว ยสนับ สนุ น ให้ มีค าว่า “เมือ ง


ขุนแผน” ในคาขวัญของจังหวัดด้วยคือ “เมืองขุนแผน แคว้นโบราณ
ด่านเจดีย์ มณีเมืองกาญจน์ สะพานข้ามแม่น้ าแคว แหล่งแร่น้ าตก”
(พยงค์ เวสสบุตร, ๒๕๕๐ข: ๕๔)

...ขุ น แผนเป็ น ชายชาติ ท หารก าพร้ า พ่ อ มาตัง้ แต่ อ ายุ


๕ ขวบ แต่กม็ คี วามอุตสาหะใฝห่ าความรู้จนมีความเก่งกล้าสามารถ
อาสาออกศึก จนมีค วามชอบได้เ ป็ น ขุน แผนแสนสะท้า นมารัก ษา
เมืองหน้ าด่านกาญจนบุรี และในบัน้ ปลายของชีวติ ได้รบั ตาแหน่ ง
เป็ นพระสุรินทรฦๅชัย เจ้าเมือ งกาญจนบุรี ด้ว ยเหตุน้ี ขุนแผน
จึงนับเป็ นวีรชนผูห้ นึ่งซึ่งมีเลือดเนื้อเชื้อไขเป็ นชาวกาญจนบุรแี ละ
เมืองกาญจนบุรกี เ็ ปรียบเสมือนเมืองของขุนแผน ซึ่งได้มาอยู่ตงั ้ แต่
เยาว์วยั จนได้กลับมาเป็นเจ้าเมือง...
(พยงค์ เวสสบุตร, ๒๕๕๐ก: คานา)

ขุนแผนเมืองกาญจน์ สุพรรณเมืองขุนช้าง
(พยงค์ เวสสบุตร, ๒๕๕๐ก: ๓๐)

นอกจากนี้ ผูว้ จิ ยั ยังพบว่า เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์ ศิลปิ น


แห่งชาติ สาขาวรรณศิลป์ พ.ศ.๒๕๓๖ ผูม้ ภี ูมลิ าเนาเป็นชาวกาญจนบุรี ได้ประพันธ์กวีนิพนธ์
เกีย่ วกับจังหวัดกาญจนบุรไี ว้ในหนังสือ เขียนแผ่นดิ น (๒๕๓๖) ปรากฏความตอนหนึ่งว่า

เมืองขุนแผนแคว้นโบราณด่านเจดีย์ มิง่ มณีพลอยงามน้ าต้น


งามภูงามน้างามคน คือมนต์แม่กลองเมืองกาญจน์

จากการศึกษาวิเคราะห์ ผูว้ จิ ยั พบว่า การสร้างความทรงจา


ร่ว มเรื่อ งขุน แผนในจัง หวัด สุพ รรณบุรีเป็ น ไปเพื่อ รัก ษาและสืบ ทอดความทรงจาร่ วมเรื่อ ง
ขุนแผนให้คงอยู่ในท้องถิน่ และสังคมทัวไป ่ กล่าวคือ พยายามรักษาสมญานามเมืองขุนแผน
ให้อยู่คู่จงั หวัดสุพรรณบุรตี ่อไป ส่วนในจังหวัดกาญจนบุรนี นั ้ การสร้างความทรงจาร่วมเรื่อง
ขุนแผนเป็นไปเพื่อรักษาและสืบทอดความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนให้คงอยู่ในท้องถิน่ และเพื่อ
สร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนให้สงั คมทัวไปรั ่ บรูว้ า่ จังหวัดกาญจนบุรเี กีย่ วข้องกับขุนแผน
และสมควรที่จะได้รบั การขนานนามว่า เมืองขุนแผน ทัง้ นี้ คติชนประเภทต่าง ๆ เกี่ยวกับ
๒๒๒

ขุนแผนทีพ่ บในทัง้ ๒ จังหวัดถือเป็นเครื่องมือสาคัญทีท่ าให้เกิดการสร้างความทรงจาร่วมเรื่อง


ขุนแผนขึน้ ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี
อย่างไรก็ดี ในทัศนะของผูว้ จิ ยั ทัง้ จังหวัดกาญจนบุรีและ
จังหวัดสุพรรณบุรีต่างก็เกี่ยวข้องกับขุนแผน มีความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผน และมีคติชน
ที่ช่วยสนับสนุ นให้ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนคงอยู่ในท้องถิ่น จึงเป็ นเรื่องยากที่จะระบุ
ให้ชดั เจนว่าจังหวัดใดคือ เมืองขุนแผน หากแต่จากการศึกษาวิจยั เรื่องนี้ได้แสดงให้เห็นแล้วว่า
ขุนแผนเกี่ยวข้องกับทัง้ จังหวัด กาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุ รี อาจกล่าวได้ว่า จังหวัด
กาญจนบุ รี คื อ เมื อ งขุ น แผนในฐานะที่ เ ป็ น ท้ อ งถิ่ น ที่ ขุ น แผนใช้ ช ี ว ิ ต อยู่ เ ป็ น ส่ ว นใหญ่
ทัง้ ในตอนเด็ก ตอนเป็ นทหาร และตอนเป็ นผู้ปกครองเมือง ส่วนจังหวัดสุพรรณบุรคี ือเมือง
ขุนแผนในฐานะทีเ่ ป็นภูมลิ าเนาและเป็นทีบ่ วชเรียนศึกษาวิชาจนได้เป็นทหารสมความตัง้ ใจ

อนึ่ง ป จั จัยในการสร้างความทรงจาร่วมด้า นการช่วงชิง


ความโดดเด่น ในเชิงอัต ลักษณ์ ทางวัฒนธรรม ยัง สะท้อนให้เห็นได้ภ ายในท้องถิ่น เดียวกัน
กล่ าวคือ ในจัง หวัดกาญจนบุรีพบข้อ มูล คติชนเกี่ยวกับ ขุน แผนกระจายอยู่ใ นหลายพื้น ที่
ของจังหวัด หากแต่พบข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนมากในเขตเมืองกาญจนบุรเี ก่า หรือพื้นที่
บ้านท่าเสา ตาบลลาดหญ้า ซึ่งเชื่อกัน ว่าเป็ นเมืองกาญจนบุรใี นสมัยกรุงศรีอยุธยาที่ขุนแผน
เป็ นผูป้ กครองเมือง ดังที่ผวู้ จิ ยั ได้กล่าวถึงแล้ว ความพยายามในการสร้างความทรงจาร่วม
เรื่อ งขุน แผนซึ่ ง เกิด จากความร่ ว มมือ ระหว่ า งจัง หวัด กับ ส่ ว นราชการย่ อ ยภายในจัง หวัด
ช่วยสร้างประโยชน์ใ นการสร้างความโดดเด่นในเชิงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมในระดับท้องถิ่น
ด้วยเช่นกัน ดังจะเห็นได้จากความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนได้รบั การนามาเป็ นข้อมูลสนับสนุ น
ในการรวบรวมข้อ มู ล เกี่ย วกับ เมือ งกาญจนบุ รีเ ก่ า เพื่อ เตรีย มการประกาศเขตอนุ ร ัก ษ์ 
และทาให้เมืองกาญจนบุรเี ก่าซึ่งตัง้ อยู่ในพื้นที่บ้านท่าเสา ตาบลลาดหญ้า ได้รบั การกล่าวถึง
และเป็นทีส่ นใจในเวลาต่อมา

๕.๒.๒.๓ ปัจจัยด้านการส่งเสริ มเศรษฐกิ จการท่องเที่ยว


ปจั จัยในการสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัด
กาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรที ่สี าคัญอีกประการหนึ่งคือ ปจั จัยด้านการส่งเสริมเศรษฐกิจ
การท่องเที่ยว ดังจะเห็นได้จาก พบว่ามีขอ้ มูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนอยู่อย่างหลากหลายใน


ดูเ พิ่ม เติม หน่ ว ยอนุ ร ัก ษ์ ส ิ่ง แวดล้อ มธรรมชาติแ ละศิล ปกรรมท้อ งถิ่น จัง หวัด กาญจนบุ รี
สานักงานนโยบายและแผนพัฒนาทรัพยากรธรรมชาติและสิง่ แวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิง่ แวดล้อ ม, รายงานการศึ ก ษา กรณี ศึก ษาเมื อ งกาญจนบุรีเก่ าเพื่ อ เตรียมประกาศเขตอนุ รกั ษ์ ,
(กาญจนบุร:ี สานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุร,ี ๒๕๕๑). หน้า ๖๒ – ๘๕.
๒๒๓

จังหวัดกาญจนบุ รีและจังหวัดสุ พรรณบุรี เช่น ข้อมูลคติชนประเภทสถานที่ ข้อมูลคติช น


ประเภทรู ปเคารพ ข้อมู ลคติชนประเภทวัต ถุมงคล ข้อ มูลคติช นประเภทจิต รกรรม ฯลฯ
ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนเหล่านี้พบในสถานที่ต่าง ๆ ของจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัด
สุพ รรณบุ รี เช่น วัด สถานที่ท างธรรมชาติ ชุม ชน ร้า นค้า เป็ นต้น ผู้ว ิจ ัย พบว่า สถานที่
บางแห่งที่พบคติชนเกี่ยวกับขุนแผนเป็ นสถานที่ท่องเที่ยวที่ มนี ักท่องเที่ยวสนใจอยู่แล้ว เช่ น
วัด ป่ า เลไลยก์ ว รวิห าร ซึ่ ง เป็ น สถานที่ ป ระดิ ษ ฐานหลวงพ่ อ โต พระพุ ท ธรู ป ศัก ดิ ส์ ิ ท ธิ ์
คู่บ้านคู่เมืองสุพรรณบุรี สถานที่บางแห่งเป็ นสถานที่ทางธรรมชาติท่ไี ม่เป็ นที่รู้จกั แพร่หลาย
เช่น วัด ถ้ าขุนแผน วัด ถ้ า ขุน ไกร จัง หวัด กาญจนบุรี แต่มีข้อ มู ลคติช นเกี่ยวกับขุนแผน
ปรากฏอยู่ และมีแนวโน้มทีจ่ ะพัฒนาให้สถานที่นนั ้ เป็ นที่สนใจขึน้ มาได้ ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับ
ขุนแผนไม่เพียงแต่เป็นเครื่องมือสาคัญที่ทาให้เกิดช่องทางในการสร้างความหมายให้แก่พ้นื ที่
ในจังหวัดกาญจนบุรีแ ละจังหวัดสุพ รรณบุรีเ พื่อท าให้สถานที่ต่ าง ๆ ที่พบคติช นเกี่ยวกับ
ขุนแผนกลายเป็นจุดสนใจเท่านัน้ หากแต่ยงั เป็นข้อมูลทางวัฒนธรรมที่ตอบสนองต่อนโนบาย
การส่งเสริมเศรษฐกิจการท่องเทีย่ วของทางจังหวัดอีกด้วย
ด้วยปจั จัยในการสร้างความทรงจาร่ วมด้านการส่งเสริม
เศรษฐกิจการท่อ งเที่ยวนี้ เองที่ทาให้เ กิดการสร้างความทรงจาร่วมเรื่อ งขุน แผนในจังหวัด
กาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี ผ่านการใช้คติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่พบเป็ นเครื่องมือสาคัญ
ในการสร้างความหมายให้แก่พ้นื ที่ต่าง ๆ ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนจึงทัง้ มีบทบาทเป็ น
พืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนเพือ่ สืบทอดความรับรูเ้ รื่องขุนแผน และมีบทบาทในการ
สร้างความหมายให้แก่พ้นื ที่หรือสถานที่ต่าง ๆ ในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรี
เพื่อส่ งเสริมให้ท งั ้ ๒ จังหวัดเป็ น แหล่ง ข้อมูล ทางวัฒนธรรมที่น่ าสนใจ และส่งเสริมให้เกิด
ความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจการท่องเทีย่ ว

จากที่กล่าวมาทัง้ หมดจะเห็นได้ว่า ปจั จัยในการสร้างความทรงจาร่วมเรื่อ งขุนแผน


ในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี ม ี ๓ ด้า น คือ การสืบ ทอดความทรงจ าร่ ว ม
ของท้อ งถิ่น การช่ว งชิงความโดดเด่ น ในเชิง อัต ลัก ษณ์ ท างวัฒ นธรรม และการส่ ง เสริม
เศรษฐกิจการท่อ งเที่ยว ส่งผลให้มีผู้เกี่ย วข้องกับกระบวนการสร้างความทรงจาร่ วมเรื่อ ง
ขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีและจัง หวัด สุพ รรณบุรี ๓ กลุ่ม หลัก คือ คนท้องถิ่น ซึ่งได้แ ก่
ชาวบ้าน พระสงฆ์ ทหาร ส่ วนราชการท้องถิ่น ซึ่ง ได้แก่ เทศบาลต าบล องค์การบริห าร
ส่ ว นต าบล องค์ ก ารบริห ารส่ ว นจัง หวัด และส่ ว นราชการกลาง ซึ่ ง ได้แ ก่ กรมศิล ปากร
และการท่ อ งเที่ย วแห่ ง ประเทศไทย กล่ า วคื อ คนท้ อ งถิ่น เป็ น กลุ่ ม บุ ค คลส าคัญ ที่ ร ับ รู้
และถ่ายทอดเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนจนทาให้เกิดการสืบทอดความทรงจาร่วมของท้องถิ่น
ต่ อ มาเมื่ อ รัฐ หรื อ ส่ ว นราชการท้ อ งถิ่ น เข้ า มามี บ ทบาทในการเผยแพร่ ค วามทรงจ า
๒๒๔

ผ่า นป้ า ยประชาสัม พัน ธ์ ป้ า ยอธิบ ายสถานที่ ฯลฯ บนพื้น ฐานความทรงจ าส่ ว นเดิม ของ
คนท้องถิน่ คนท้องถิน่ จึงละทิง้ บทบาทในการถ่ายทอดเรื่องเล่าไป อย่างไรก็ตาม ส่วนราชการ
ท้อ งถิ่น ยังถือ เป็ น หน่ ว ยงานสาคัญ ที่ผ ลัก ดัน ให้พ้นื ที่ท่ีเ กี่ย วข้อ งกับ ขุน แผนมีค วามหมาย
และยัง ประโยชน์ ใ นด้ า นอัต ลัก ษณ์ ท างวัฒ นธรรมและเศรษฐกิ จ การท่ อ งเที่ ย ว โดยมี
ส่ ว นราชการกลางเป็ น หน่ ว ยงานอัน ทรงพลัง ที่ป ระกาศให้ เ ห็น ความส าคัญ ของจัง หวัด
กาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรใี นฐานะทีเ่ ป็นเมืองทีเ่ กีย่ วข้องกับขุนแผน

๕.๓ คติ ชนกับการสร้างความทรงจาร่วมเรือ่ งขุนแผนในฐานะวีรบุรษุ ท้องถิ่ น


ในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรี
จากการศึกษาคติชนประเภทต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัด
สุพรรณบุรี และการวิเคราะห์เรื่องการสร้างความทรงจาร่วมเกี่ยวกับขุนแผน ทาให้เห็นว่า
คติชนประเภทต่า ง ๆ เกี่ยวกับขุน แผนในจังหวัดกาญจนบุ รีและจังหวัดสุพรรณบุรีสะท้อ น
ให้เห็นการนับถือขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ และยังมีส่วนในการสร้างความทรงจาร่วม
เรื่องขุนแผนในลักษณะที่แตกต่างกัน กล่าวคือ คติชนประเภทต่าง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนที่พบ
ในจังหวัด กาญจนบุ รีมีส่วนในการสร้างความทรงจาร่ว มเรื่องขุนแผนโดยเน้ นช่ว งชีวติ ของ
ขุนแผนตอนเป็นทหารและผูป้ กครองเมือง ภาพของขุนแผนที่เป็ นที่รบั รู้ในจังหวัดกาญจนบุรี
จึงเป็นนักรบฝีมอื ดี มีวชิ าความรู้แตกฉานทางการรบและทางไสยเวทวิทยา และเป็ นเจ้าเมือง
ผูก้ ล้าหาญจงรักภักดีต่อพระมหากษัตริย์และบ้านเมือง แม้เมื่อเสียชีวติ ไปแล้ว ดวงวิญญาณ
ยังคงสถิตอยู่ในพืน้ ทีเ่ มืองกาญจนบุรเี พื่อคอยดูแลปกป้องคุ้มครองลูกหลานซึ่งเป็ นคนท้องถิน่
ส่ ว นคติช นประเภทต่ า ง ๆ เกี่ย วกับ ขุน แผนที่พ บในจัง หวัด สุ พ รรณบุ รีมีส่ ว นในการสร้า ง
ความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนโดยเน้ นช่วงชีวติ ของขุนแผนตอนบวชเรียน ภาพของขุนแผน
ที่เป็ นที่รบั รู้ในจังหวัดสุพรรณบุรจี ึงเป็ นนักรบผู้กล้าหาญ มีฝี มอื ดี ซึ่งได้เคยบวชเรียนที่เมือง
สุพรรณบุรจี นมี “วิชาการ” เชีย่ วชาญและแตกฉาน สามารถนาความรู้ไปรับราชการเป็ นทหาร
จนสร้างชือ่ เสียงให้แก่ตนเอง และเป็นทีเ่ คารพยกย่องนับถือของผูอ้ ่นื ได้
ชาวกาญจนบุ รีแ ละชาวสุ พ รรณบุ รีต่ า งก็นั บ ถื อ ขุ น แผนในฐานะวีร บุ รุ ษ ท้ อ งถิ่ น
ดังจะเห็นได้จากมีการสร้างรู ปเคารพขุน แผนและรูปเคารพตัวละครอื่น ๆ จากเสภาเรื่อ ง
ขุนช้าง – ขุนแผน ไว้สกั การะในท้องถิน่ และปรากฏว่ามีมากกว่าหนึ่งแห่ง นอกจากนัน้ แล้ว
ยัง มีก ารฟื้ น ฟู แ ละสร้า งข้อ มู ล คติช นประเภทอื่น ๆ เช่น ข้อ มู ล คติช นประเภทชื่อ สถานที่
และชื่ออื่น ๆ ข้อมูลคติชนประเภทวัตถุมงคล ข้อมูลคติชนประเภทจิตรกรรม และข้อมูล
คติชนประเภทเพลงพืน้ บ้าน เพื่อเป็นเครื่องมือทีช่ ว่ ยแสดงให้เห็นว่าขุนแผนเคยมีตวั ตนอยู่จริง
และอยู่ในฐานะทีเ่ ป็นบุคคลสาคัญ มีวรี กรรมเล่าขานสืบทอดกันมา จนคนรุ่นหลังเคารพยกย่อง
๒๒๕

ข้อสังเกตสาคัญคือ การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละ
จังหวัด สุพ รรณบุรีไม่ ได้เกิด จากการสร้า งข้อมู ลทางวัฒนธรรมขึ้นใหม่ แต่ เพียงอย่า งเดีย ว
แต่ยงั หมายถึงการส่งเสริมหรือฟื้ นฟูให้ขอ้ มูลทางวัฒนธรรมที่เคยมีอยู่แล้วกลับมาเป็ นที่รู้จกั
หรือเป็นทีส่ นใจใหม่อกี ครัง้ ซึ่งถือเป็นปฏิบตั กิ ารทางสังคมอย่างหนึ่ง
ลักษณะดังกล่าวข้างต้นสอดคล้องกับที่อภิญญา เฟื่ องฟูสกุล (๒๕๔๖: ๑๑๓) กล่าวไว้
ในอัตลักษณ์ ว่า “การเคลื่อนไหวทางสังคมต่าง ๆ ไม่ไ ด้มเี ป้ าหมายทางการเมือ งเสมอไป
หลายกรณีเป็นความเคลื่อนไหวเพื่อแสดงตัวตนทางวัฒนธรรม ดังนั น้ รูปแบบและยุทธศาสตร์
การเคลื่ อ นไหวจึ ง เปลี่ ย นไปจากเดิ ม ไม่ ใ ช่ เ รื่ อ งของการออกมาเรี ย กร้ อ งบนถนน
แต่เพียงอย่างเดียว และไม่ได้เน้นการแก้ปญั หาโดยผ่านกลไกรัฐแต่อย่างเดียว แต่เป็ นเรื่อง
ของการต่อสูเ้ ชิงสัญลักษณ์ เน้นกระบวนการผลิตความหมายและการสร้างอัตลักษณ์ใหม่ ”
ความเป็นวีรบุรุษของขุนแผนประกอบกับข้อมูลทางวัฒนธรรมทีม่ อี ยู่แต่เดิมและที่สร้าง
ขึน้ ใหม่ น้ีเองนาไปสู่การสร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัด
สุพรรณบุรโี ดยนาเสนอแบบมุ่งเน้นรายละเอียดทีแ่ ตกต่างกัน เพื่อการสร้างอัตลักษณ์ความเป็ น
“เมืองขุนแผน” ของจังหวัด กล่าวคือ จังหวัดกาญจนบุรี ต้องการแสดงให้เห็นภาพของขุนแผน
ในลักษณะของนักรบผูก้ ล้าหาญ ประกอบกับ พื้นที่ของจังหวัดกาญจนบุรีเกี่ยวข้องสัมพันธ์กบั
ประวัติศ าสตร์ด้านการรบ เมือ งกาญจนบุ รีเก่ า หรือ เมืองกาญจนบุรีใ นสมัย กรุง ศรีอยุ ธ ยา
ซึ่งเชือ่ ว่าตรงกับสมัยทีข่ นุ แผนเป็นเจ้าเมือง สอดรับกับผูเ้ กีย่ วข้องในการสร้างความทรงจาร่วม
คือ คนท้องถิน่ ซึ่งได้แก่ ชาวบ้าน พระสงฆ์ ทหาร ส่วนราชการท้องถิน่ ซึ่งได้แก่ เทศบาล
ตาบล องค์ก ารบริห ารส่ว นต าบล องค์การบริห ารส่ว นจัง หวัด และส่ว นราชการกลาง คือ
กรมศิลปากร ความเข้มข้นของการนับถือขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ จึงมีมากในพืน้ ทีเ่ มือง
กาญจนบุรเี ก่า เนื่องจากเป็นพืน้ ทีท่ เ่ี ชือ่ ว่าขุนแผนเคยเป็ นเจ้าเมือง ดัง ที่ผวู้ จิ ยั ได้กล่าวถึงแล้ว
อีกทัง้ เป็นพืน้ ทีต่ งั ้ ของกองพลทหารราบที่ ๙ ในปจั จุบนั นอกจากนัน้ ชาวบ้านกาญจนบุรแี ละ
ทหารมีส่ วนส าคัญในการสืบทอด ดูแ ลและฟื้ นฟู ข้อมูล ทางวัฒ นธรรม เช่น การบู รณะศาล
เจ้า พ่ อ เขาชนไก่ การสร้า งรู ป หล่ อ พ่ อ ปู่ขุน แผนและรูป หล่ อ พ่อ ปู่ขุนไกร หรือ แม้ก ระทั ่ง
นอกพื้นที่เมืองกาญจนบุรีเก่า เช่น วัดถ้ าขุนไกร ตาบลแก่งเสี้ยน อาเภอเมืองกาญจนบุรี
ก็เป็ นพื้นที่ควบคุมของทหาร ทางราชการได้ส่งนายทหารจากกองพลในกรุงเทพมหานคร
มาเข้าเวรประจาการอยู่ในพื้นที่ และแม้จะผลัดเวรมาประจาการ แต่ทหารก็มคี วามรู้เกี่ยวกับ
สถานทีซ่ ่งึ เกีย่ วข้องกับขุนแผนอยู่บา้ งมากน้อยต่างกัน จะเห็นได้ว่า บุคคลที่เกี่ยวข้องในการ
สร้างความทรงจาร่วมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรปี ระกอบกับข้อมูลคติชนประเภทต่าง ๆ
ทาให้เห็นภาพของขุนแผนในแง่มุมตอนเป็ นทหารและเจ้าเมือง และสะท้อนให้เห็นว่าขุนแผน
เกีย่ วข้องกับจังหวัดกาญจนบุรไี ด้อย่างเป็นรูปธรรม
๒๒๖

อย่างไรก็ตาม จังหวัดกาญจนบุรปี จั จุบนั ก็เป็ นพื้นที่แห่งความทรงจาเรื่องอื่น ๆ เช่ น


ความทรงจาร่วมเรื่องสงครามโลกครัง้ ที่ ๒ โดยมีขอ้ มูลคติชนทีส่ ะท้อนให้เห็นความทรงจา เช่น
สะพานข้ า มแม่ น้ า แคว สุ ส านทหารสัม พัน ธมิ ต ร ต านาน ๑ ไม้ ห มอนเท่ า กับ ๑ ศพ
อยู่ ด้ ว ยเช่ น กัน แสดงให้ เ ห็ น ว่ า อัต ลัก ษณ์ ข องจัง หวัด กาญจนบุ รี มี ค วามเลื่ อ นไหล
มีหลายลักษณะและแตกต่างกันในแต่ละช่วงเวลา จึงถือได้ว่าอัตลักษณ์ความเป็ นเมืองขุนแผน
เมื อ งแห่ ง นั ก รบและการท าสงครามเป็ น อั ต ลั ก ษณ์ ห นึ่ ง ใน อั ต ลั ก ษณ์ ท ั ง้ หมดที่ มี อ ยู่
อย่างหลากหลายของจังหวัดกาญจนบุรี
ในขณะที่จ ังหวัดสุ พ รรณบุ รีต้อ งการแสดงให้เ ห็น ภาพของขุน แผนในลัก ษณะของ
ผูท้ ่ไี ด้บวชเรียนศึกษาวิชาความรู้จนแตกฉาน นาความรู้ไปใช้รบั ราชการทหาร จนมีฝีมือดี
เป็ น ที่เลื่อ งลือ ขุน แผนจึง เกี่ย วข้องกับ ทัง้ พระพุ ท ธศาสนาและไสยเวทวิท ยา สอดรับ กับ
ผู้เ กี่ยวข้องในการสร้างความทรงจาร่ วมเรื่อ งขุน แผนในจัง หวัด สุพ รรณบุ รีค ือ คนท้อ งถิ่น
ซึ่งได้แก่ ชาวบ้าน และพระสงฆ์ ส่วนราชการท้องถิ่น ซึ่งได้แก่ เทศบาลเมืองสุพรรณบุ รี
องค์ ก ารบริห ารส่ ว นจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี และส่ ว นราชการกลางคือ การท่ อ งเที่ ย วแห่ ง
ประเทศไทย ที่มุ่งเน้ นความเป็ นท้องถิ่นพุทธศาสนาซึ่งมีวดั วาอาราม มีการปลุกเสกและ
จัดสร้างวัตถุมงคลอันได้แก่ พระเครื่อง เครื่องรางของขลังจานวนมาก อย่างไรก็ดี จังหวัด
สุพรรณบุรกี ไ็ ม่ได้มุ่งเน้นการแสดงอัตลักษณ์ความเป็นเมืองขุนแผนเพียงอัตลักษณ์เดียว เพราะ
ในท้อ งถิ่น สุ พรรณบุ รีก็มีค วามทรงจ าร่ วมเรื่อ งอื่น ๆ อยู่ ด้ว ย เช่น ความทรงจ าร่ ว มเรื่อ ง
สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ความทรงจาร่วมเรื่องสงครามยุทธหัตถี เป็นต้น
โจเซฟ แคมพ์เบลล์ (1988: 134) (อ้างถึง ใน บารนี บุญ ทรง, ๒๕๕๑: ๒๗๕)
กล่ า วไว้ ว่ า “สั ง คมจ าเป็ น ต้ อ งมี ว ี ร บุ รุ ษ เพราะสัง คมจะต้ อ งมี ก ลุ่ ม ภาพจิ น ตนาการ
(constellation images) ที่จะดึงแนวโน้มสู่การแบ่งแยกทัง้ หมดให้รวมกัน ให้เข้าสู่เป้าหมาย
บางประการร่ว มกัน ” ในความเป็ นจริงแล้ว ทัง้ จัง หวัด กาญจนบุ รีและจังหวัดสุ พ รรณบุ รี
ต่างก็เป็ นเมืองที่เกี่ยวข้องกับขุนแผนเหมือนกัน แต่ต่างกันที่การเลือกนาเสนอช่วงชีวติ ของ
ขุนแผนที่เกี่ยวข้องกับจังหวัดของตน แม้ จะเน้ น รายละเอียดต่างกันคือ จังหวัดกาญจนบุรี
เน้ นคุณสมบัติข องการเป็ นชายชาติทหารที่มีฝีมือจนได้เป็ น ใหญ่ เป็ นโตด้ว ยความสามารถ
และจังหวัดสุพรรณบุรเี น้น คุณสมบัตขิ องการเป็ นนักบวชที่มคี วามเฉลียวฉลาด และมี ความรู้
แตกฉาน จนทาให้ได้รบั ราชการสมความตัง้ ใจ แต่ความทรงจาร่วมที่มเี หมือนกันคือ ขุนแผน
เป็ น วีรบุ รุษท้องถิ่น ได้ร ับ การนามาใช้ในการสร้า งอัต ลัก ษณ์ข องท้องถิ่นได้ ดัง ที่จงั หวัด
กาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรพี ยายามทีจ่ ะนาเสนอความเป็ น “เมืองขุนแผน” ให้กลายเป็ น
ภาพจาแบบหนึ่งของจังหวัดแก่คนท้องถิน่ และคนในสังคม
๒๒๗

จากทีก่ ล่าวมาทัง้ หมดจะเห็นได้ว่า พื้นที่แห่งความทรงจาร่วมเรื่องขุน แผนเป็ นพื้นที่


เพียงส่วนหนึ่งเท่านัน้ ในพื้นที่แห่งความทรงจาทัง้ หมดของท้องถิน่ กาญจนบุรแี ละสุพรรณบุรี
และอยู่ร่วมกับพืน้ ทีแ่ ห่งความทรงจาเรื่องอืน่ ๆ หากแต่มคี วามสาคัญและโดดเด่นมากเพียงพอ
ที่ท้องถิ่นสามารถนามาใช้เป็ นเครื่องมือ ในการสร้างประโยชน์ในทางเศรษฐกิจและประโยชน์
ในการสร้างอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมได้อย่างแยบยล
บทที่ ๖

สรุปผลการวิจยั และอภิปรายผล

การศึกษาวิจยั เรื่องคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรนี ้ี


มีวตั ถุประสงค์เพื่อศึกษาลักษณะของข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละ
จังหวัดสุพ รรณบุรี และเพื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบความทรงจารววมเรื่อ งขุนแผนในจังหวัด
กาญจนบุรกี บั จังหวัดสุพรรณบุรจี ากข้อมูลคติชนประเภทตวาง ๆ โดยมีสมมติฐานววา “คติชน
ประเภทตวาง ๆ เกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรสี ะท้อนให้เห็นการ
นับถือขุนแผนในฐานะที่เ ป็ น วีร บุรุ ษท้อ งถิ่น และมีสวว นในการสร้า งความ ทรงจารวว มเรื่อ ง
ขุนแผนในลักษณะที่แตกตวางกัน กลวาวคือ การสร้างความทรงจารววมเรื่องขุนแผนในจังหวัด
กาญจนบุรจี ะเน้นชววงชีวติ ของขุนแผนตอนเป็นทหารและผูป้ กครองเมือง สววนการสร้างความ
ทรงจารววมเรื่องขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรจี ะเน้นชววงชีวติ ของขุนแผนตอนบวชเรียน”
จากวัตถุประสงค์และสมมติฐานดังกลวาว ผูว้ จิ ยั ได้ดาเนินการวิจยั โดยศึกษารวบรวม
ข้อมูลคติชนประเภทตวาง ๆ เกี่ยวกับขุนแผน ได้แกว ข้อมูลคติชนประเภทชื่อสถานที่และ
ชื่ออื่น ๆ ข้อมูลคติชนประเภทรูปเคารพ ข้อมูลคติชนประเภทวัตถุมงคล และข้อมูลคติชน
ประเภทจิตรกรรม ทีร่ วบรวมได้จากภาคสนามในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี และ
ศึกษาข้อมูลคติชนประเภทเพลงพืน้ บ้านในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรจี ากเอกสาร
ที่มีผรู้ วบรวมไว้แล้ว ผูว้ จิ ยั นาข้อมูลที่รวบรวมได้ขา้ งต้นมาศึกษาเปรียบเทียบข้อมูลคติชน
ประเภทตวาง ๆ เกี่ยวกับขุนแผน และวิเคราะห์เปรียบเทียบความทรงจารววมเรื่องขุนแผน
ในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด สุ พ รรณบุรีต ามแนวคิด เรื่อ งความทรงจ ารว ว ม (collective
memory) โดยแบวงการศึกษาออกเป็น ๔ สววนหลักคือ ๑) การศึกษาภูมหิ ลังเกี่ยวกับขุนแผน
จากวรรณคดีและเอกสารทางประวัติศาสตร์ ๒) การศึกษารวบรวมข้อมูลคติชนเกี่ยวกับ
ขุ น แผนในจั ง หวัด กาญจนบุ รี ๓) การศึก ษารวบรวมข้ อ มู ล คติ ช นเกี่ ย วกับ ขุ น แผน
ในจังหวัดสุพรรณบุรี และ ๔) การศึกษาวิเคราะห์การสร้างความทรงจารววมเรื่องขุนแผน
ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี ผลการศึกษาวิจยั สรุปได้ดงั นี้

ขุน แผนมีช่ือ ปรากฏอยูว ใ นเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน วรรณคดีเ อกของไทย


ซึ่งเชือ่ กันววาเป็นเรื่องจริงที่เกิดขึน้ สมัยกรุงศรีอยุธยา ในฐานะตัวละครเอกฝวายชาย และมีช่อื
ปรากฏอยูวในหนังสือ คาให้การชาวกรุงเก่า ซึ่งเป็ นเอกสารทางประวัตศิ าสตร์ท่แี ปลมาจาก
ภาษาพมว า ใน “เรื่อ งสมเด็จ พระพัน วษา” ในฐานะบุ ค คลที่มีต ัว ตนอยูว ใ นแผวน ดิน สมเด็จ
พระพันวษา เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน กลวาวถึงเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนไว้อยวางละเอียด
๒๒๙

จาแนกได้เป็นชววงชีวติ ตอนเด็กซึ่งเกิดและเติบโตอยูวท่เี มืองสุพรรณบุรจี นบิดาถูกประหารชีวติ


ชววงชีวติ ตอนบวชเรียนศึกษาวิชากับสมภารบุญ วัดส้มใหญว สมภารมี วัดปวาเลไลยก์ และ
สมภารคง วัด แค และชวว งชีวติ ตอนรับ ราชการ ไปทาศึก ได้รบั ชัยชนะจนได้เ ป็ น ขุน แผน
ออกตระเวนดวา นหาของวิเ ศษ ๓ สิ่ง ติดคุ ก และไปทาศึกมีค วามดีค วามชอบจนได้เ ป็ น
เจ้า เมือ งกาญจนบุ รี ในขณะที่เ รื่อ งราวชีว ิต ของขุน แ ผนที่ป รากฏในหนั ง สือ ค าให้ ก าร
ชาวกรุงเก่า เป็ นเพียงเรื่อ งราวบางชววงตอนของชีว ิต กลว าวถึงขุน แผนนายทหารฝี มือ ดี
ในแผวนดินสมเด็จพระพันวษา ตอนได้รบั พระราชทานอภัยโทษ แล้วอาสาไปศึกเชียงใหมว
เพื่อ ชิง ตัวนางสร้อ ยทองพระราชธิด าพระเจ้ากรุ งศรีส ัตนาคนหุตล้านช้า ง จนได้รบั ชัยชนะ
กลับมา และกลวาวถึง ตอนขุนแผนแกวชราและนาดาบเวทวิเศษมาทูล เกล้า ฯ ถวายสมเด็จ
พระพั น วษา แม้ เ รื่ อ งราวชี ว ิ ต ของขุ น แผนที่ ป รากฏในวรรณคดี ไ ทยและเอกสาร
ทางประวัติศ าสตร์จ ะกลว า วถึงความตอนเดีย วกันคือ ตอนศึกเชีย งใหมว แตว มีรายละเอีย ด
แตกตวางกันคือ
ประการแรก เสภาเรื่อ งขุนช้ าง – ขุน แผน กลว าวววา พลายงามบุ ตรชายขุนแผน
เป็นผูท้ ูลขอพระราชทานอภัยโทษแกวขนุ แผน สววนคาให้การชาวกรุงเก่า กลวาวววาพระหมื่นศรี
เป็นผูท้ ูลขอพระราชทานอภัยโทษ ไมวมกี ารกลวาวถึงพลายงามแตวอยวางใด
ประการที ส่ อง เสภาเรื่ อ งขุ น ช้ า ง – ขุ น แผน กลว า ววว า การไปศึก เชีย งใหมว
ในครัง้ เดียวกันนี้ ผู้เป็ นแมวทพั คือ ขุนแผนและพลายงาม ซึ่งเกณฑ์นักโทษ ๓๕ คนไปเป็ น
ก าลัง พลจนได้ร ับ ชัย ชนะและชิง ตัว นางสร้อ ยทองมาได้ด้ว ยการใช้ค าถาอาคมในการรบ
แตว ใ นค าให้ ก ารชาวกรุง เก่ า กลว า ววว า ขุน แผนเป็ น แมว ท ัพ เพีย งคนเดีย ว ไมว ไ ด้ ก ลว า วถึง
พลายงามและนักโทษ ๓๕ คนแตวอยวางใด
ประการทีส่ าม เสภาเรื่องขุน ช้ าง – ขุนแผน มีค วามตอนหนึ่ง ที่ขุนแผนกลวาวกับ
พลายงามววา ดาบฟ้ าฟื้ นอันเป็ นอาวุธของขุนแผนนี้วเิ ศษกววาดาบใด และจะฝึ กให้พลายงาม
ใช้ตวอไป แตวใ นคาให้ การชาวกรุงเก่ า ระบุ ววาเมื่อ ขุนแผนแกวชราแล้วได้น าดาบเวทวิเศษ
มาทูลเกล้า ฯ ถวายสมเด็จพระพันวษา

การศึก ษาภู มิห ลัง เกี่ย วกับ ขุ น แผนจากเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน และจาก
คาให้การชาวกรุงเก่า ทาให้ผวู้ จิ ยั รับรู้เรื่องราวชีวติ ของขุนแผนซึ่งถือเป็ นความทรงจารววม
เรื่องขุนแผนชุดหนึ่งทีอ่ ยูวในความรับรูข้ องคนทัวไป
่ นอกเหนือจากการศึกษาภูมหิ ลังเกี่ยวกับ
ขุนแผนจากวรรณคดีและเอกสารทางประวัตศิ าสตร์แล้ว ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษารวบรวมข้อมูลคติชน
เกี่ ย วกับ ขุ น แผนในจัง หวัด กาญจนบุ รี พบข้ อ มู ล คติ ช นเกี่ ย วกับ ขุ น แผนมากในเขต
เมืองกาญจนบุรเี กวาหรือพืน้ ทีบ่ า้ นทวาเสา ตาบลลาดหญ้า และยังพบข้อมูลคติชนกระจายอยูว ใน
ตาบลหนองบัว และตาบลแกวงเสี้ยน ในเขตอาเภอเมืองกาญจนบุรี ตาบลเขาน้อย และตาบล
๒๓๐

หนองขาว ในเขตอาเภอทวามววง จังหวัดกาญจนบุรี จาแนกคติชนทีพ่ บได้เป็ น ๕ ประเภทคือ


ข้อมูลคติชนประเภทชื่อสถานที่และชื่ออื่น ๆ ข้อมูลคติชนประเภทรูปเคารพ ข้อมูลคติชน
ประเภทวัตถุมงคล ข้อมูลคติชนประเภทจิตรกรรม และข้อมูลคติชนประเภทเพลงพืน้ บ้าน

๑. ข้อมูลคติชนประเภทชื่อสถานที่และชื่ออื่น ๆ พบทัง้ ชื่อสถานที่ท่ปี รากฏในเสภา


เรื่องขุนช้ า ง – ขุนแผน เชวน วัดปวาเลไลยก์ วัด ส้ม ใหญว เขาชนไกว บ้า นถ้ า และชื่อ ที่
ไมว ป รากฏในเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน เชวน ถ้ า ขุน แผน ถ้ า ขุน ไกร ถ้ า นางบัว คลี่
วัดขุนแผน วัดนางพิม วัดแมวหม้ายเหนือ วัดแมวหม้ายใต้ วัดถ้าขุนไกร วัดบ้านถ้า หมูวบ้าน
นางทองประศรี ชุมชนบ้านขุนแผน ชุมชนพิมพิลาไลย ถนนขุนแผน ถนนพิมพิลาไลย์
เขือ่ นขุนแผน ตลาดนางทองประศรี เป็นต้น สววนชือ่ อื่น ๆ นัน้ พบววาเป็ นการนาชื่อขุนแผน
มาใช้ในแวดวงการทางานของทหารกองพลทหารราบที่ ๙ คือ ใช้เป็ นชื่อรหัสในการใช้วทิ ยุ
สื่อสารของทหาร และใช้เป็นชือ่ ฝาว ยรุกในการฝึกนักศึกษาวิชาทหาร
๒. ข้อมูลคติชนประเภทรูปเคารพ พบทัง้ รูปเคารพขุนแผน และรูปเคารพตัวละครอื่น ๆ
จากเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน มีการเรียกชื่อรูปเคารพขุนแผน ๒ ลักษณะคือ บางแหวง
เรียกววา รูปเคารพขุนแผน บางแหวงเรียกววา รูปเคารพพระยากาญจนบุรี ทัง้ นี้เพราะตาแหนว ง
พระยากาญจนบุรเี ป็ นตาแหนว งที่ขุนแผนได้รบั พระราชทานมาพร้อมราชทินนามพระสุรนิ ทร
ฦๅไชยมไหสูรย์ภกั ดีหลังจากทาศึกเชียงใหมวได้รบั ชัยชนะ สววนรูปเคารพของตัวละครอื่นที่พบ
ได้แกว รูปเคารพขุนไกรบิดาขุนแผน รูปเคารพนางทองประศรีมารดาขุนแผน รูปเคารพ
นางบัวคลี่ภรรยาขุนแผน และรูปเคารพกุมารทองบุตรชายขุนแผน รูปเคารพตวาง ๆ ที่พบ
ประดิษฐานอยูวน้มี เี รื่องราวหรือตานานเกีย่ วข้องกับสถานทีท่ ร่ี ูปเคารพนัน้ ประดิษฐานอยูว
๓. ข้อ มู ล คติช นประเภทวัต ถุ ม งคล ที่พ บในจัง หวัด กาญจนบุ รีค ือ พระขุ น แผน
พระขุนแผนนี้มลี กั ษณะเป็ นพระพุทธปฏิมา ไมวใชวขุนแผน แตวเรียกววาพระขุนแผน เพราะ
คนรุวนหลังเชื่อมโยงพุทธคุณด้านเมตตามหานิยม ด้ านอยูวยงคงกระพัน อันเป็ นที่ประจักษ์
แกวผเู้ ลื่อมใสบูชาเข้ากับคุณสมบัตคิ วามเป็ นผูร้ ู้วชิ าคาถาอาคมของขุนแผน ผูว้ จิ ยั พบววามีการ
จัดสร้างในวัดทีม่ ตี านานหรือเรื่องเลวาววาเกีย่ วข้องกับขุนแผน เชวน พระขุนแผน วัดถ้าขุนแผน
ซึ่งเป็นถ้าทีข่ นุ แผนเคยมาพักระหววางการออกตระเวนดวาน พระขุนแผนยวางกุมาร วัดบ้านถ้า
ซึ่ง เชื่อววาวิญญาณของนางบัว คลี่ ภรรยาที่ถู กขุนแผนผวา ท้อ งเอาบุต รชายไปปลุ กเสกเป็ น
กุมารทองสถิตอยูว
๔. ข้อมูลคติชนประเภทจิตรกรรม เป็ นจิตรกรรมฝาผนังเลวาเรื่องขุนช้างขุนแผนโดย
เลือกนาเสนอตอนทีข่ นุ แผนมีเรื่องราวชีวติ เกี่ยวข้องกับสถานที่ในจังหวัดกาญจนบุรี กลวาวคือ
ตอนขุนแผนออกตระเวนดวานมาทางบ้านถ้า พบภาพจิตรกรรมในสถานที่ ๒ แหวงคือ จิตรกรรม
ฝาผนังเรื่องขุนช้างขุนแผน บริเวณบันไดขึน้ ถ้า วัดบ้านถ้า และจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้าง
๒๓๑

ขุนแผนในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม จิตรกรรมที่พบเกิ ด จากความรวว มมือ ระหววา งวัดกับ


ชาวบ้านในลักษณะการทาบุญบริจาคเงินบารุงวัดผวานการสร้างภาพจิตรกรรรม
๕. ข้อมูลคติชนประเภทเพลงพื้นบ้าน เนื้อหาของเพลงเสนอเรื่องราวชีวติ สววนหนึ่ง
ของขุนแผน เชวน ตอนเป็ นผู้รงั ้ เมืองกาญจนบุรี ตอนได้รบั พระราชบัญชาให้ไปตีเชียงใหมว
เป็ น ต้น เนื้ อ หามัก เกี่ย วข้อ งกับ การไปราชการ การไปทัพ หรือ การท าหน้ า ที่ข องทหาร
และสะท้ อ นให้ เ ห็ น บุ ค ลิ ก ลัก ษณะของขุ น แผนอัน เป็ น คุ ณ ลัก ษณะส าคัญ ของทหารคื อ
มีความจงรักภักดีตวอพระมหากษัตริย์ พร้อมจะสนองพระราชบัญชาอยูวทุกขณะ
ผูว้ จิ ยั พบววา ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่ พบในจังหวัดกาญจนบุรีทงั ้ ๕ ประเภท
เกีย่ วข้องกับคน ๓ กลุวมหลักคือ คนท้องถิน่ ซึ่งได้แกว ชาวบ้าน พระสงฆ์ ทหาร สววนราชการ
ท้องถิน่ ซึ่งได้แกว เทศบาลตาบล องค์การบริหารสววนตาบล องค์การบริหารสววนจังหวัด และ
สววนราชการกลางคือ กรมศิลปากร ข้อมูลคติชนตวาง ๆ สอดคล้องกับเรื่องราวของขุนแผน
ในชว ว งชีว ิต ตอนตว า ง ๆ ตามที่ป รากฏในเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผน ทัง้ ในตอนเด็ก
ตอนบวชเรียน และตอนรับราชการ โดยเกี่ยวข้องมากในตอนรับราชการ คือชววงที่ขุนแผน
เป็นทหารแล้ว เพราะเมื่อขุนแผนได้รบั ราชการเป็นทหาร สมเด็จพระพันวษามีพระราชบัญชา
ให้ขนุ แผนรักษาดวานอยูวทเ่ี มืองกาญจนบุรี นอกจากนี้ ข้อมูลคติชนทีพ่ บยังทาให้ทราบเรื่องราว
ชีวติ ตอนทีไ่ มวปรากฏอยูวในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ด้วย

สววนการศึกษารวบรวมข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรนี นั ้ ผูว้ จิ ยั พบ


ข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรกี ระจายอยูวในเขตอาเภอเมืองสุพรรณบุรี และ
อาเภออูวทอง จังหวัดสุพรรณบุรี จาแนกคติชนที่พบได้เป็ น ๕ ประเภท เชวนเดียวกับที่พบใน
จังหวัดกาญจนบุรี คือ ข้อมูลคติชนประเภทชื่อสถานที่และชื่ออื่น ๆ ข้อมูลคติชนประเภท
รูปเคารพ ข้อมูลคติชนประเภทวัตถุ มงคล ข้อมูลคติชนประเภทจิตรกรรม และข้อมูลคติชน
ประเภทเพลงพืน้ บ้าน

๑. ข้อมูลคติชนประเภทชื่อสถานที่และชื่ออื่น ๆ พบทัง้ ชื่อสถานที่ท่ปี รากฏในเสภา


เรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เชวน วัดปวาเลไลยก์ วัดแค เขาพระ บ้านรัว้ ใหญว บ้านทวาสิบเบี้ย
บ้านทวาพี่เลี้ยง และชื่อที่ไมวปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน เชวน วัดพลายชุมพล
วัดลาวทอง ถนนพลายแก้ว ถนนเณรแก้ว ถนนขุนแผน ถนนนางพิม ถนนนางลาวทอง
ถนนขุ น ไกร ถนนพลายงาม ถนนพลายชุ ม พล ถนนพระพัน วษา ถนนดาบฟ้ าฟื้ น
ถนนไรวฝ้าย แยกเณรแก้ว แยกอาชาสีหมอก สะพานอาชาสีหมอก คุม้ ขุนแผน บ้านขุนช้าง
ฯลฯ สว ว นชื่อ อื่ น ๆ นั ้น พบวว า เป็ นการน าชื่อ พลายแก้ ว หรือ เณรแก้ ว หรื อ ขุ น แผน
ไปใช้เ รีย กชื่อ เชวน ชื่อพระนอนวัด พระรูป จัง หวัดสุพ รรณบุ รี เรีย กววา พระนอนเณรแก้ว
๒๓๒

ชือ่ กิจการร้านค้าตวาง ๆ เชวน อูวขนุ แผน เต๊นท์ขนุ แผน บึงขุนแผน ร้านขุนแผน ห้องอาหาร
พลายแก้ว คอกขุน แผนฟิ ลว า ขุนแผนไกว ชน ชื่อ งานหรือ ชื่อ กิจ กรรม เชวน งานขุนแผน
คลาสสิคไบค์ ชือ่ ทีมฟุตบอลท้องถิน่ คือ ทีมขุนแผน เป็นต้น ข้อมูลคติชนประเภทชือ่ ทีโ่ ดดเดวน
และสวงผลให้คนสววนใหญวรบั รูว้ าว จังหวัดสุพรรณบุรเี กีย่ วข้องกับขุนแผนและเรื่องขุนช้างขุนแผน
คือ ชือ่ ถนนสายตวาง ๆ ทีใ่ ช้สญ ั จรไปมาในเขตเทศบาลเมืองสุพรรณบุรี สววนชื่อกิจการร้านค้า
ตวาง ๆ พบแตวในจังหวัดสุพรรณบุรี ไมวพบในจังหวัดกาญจนบุรี
๒. ข้อมูลคติชนประเภทรูปเคารพ พบทัง้ รูปเคารพขุนแผน และรูปเคารพของตัวละคร
อื่น ๆ จากเสภาเรื่ อ งขุนช้ า ง – ขุน แผน ได้แ กว รูป เคารพนางพิม รู ป เคารพสมภารคง
รูปเคารพขุนช้าง รูปเคารพกุมารทอง รูปเคารพทีพ่ บประดิษฐานอยูวในสถานทีท่ เ่ี ชือ่ ววาขุนแผน
เคยใช้ชวี ติ อยูวจริง เชวน ทีว่ ดั ปาว เลไลยก์วรวิหาร วัดแค อันเป็นวัดทีข่ นุ แผนบวชเรียนศึกษาวิชา
นอกจากนี้ พ บรู ป เคารพของตัว ละครอื่ น เชว น รู ป เคารพขุ น ช้ า ง รู ป เคารพกุ ม ารทอง
ประดิษฐานอยูวในสถานที่ซ่งึ ได้รบั การจัดสร้างเพื่อเป็ นอุทยานวรรณคดีให้คนระลึกถึงขุนแผน
และเรื่องขุนช้างขุนแผน เพื่อถวายทอดเรื่องเลวาให้เห็นอยวางเป็นรูปธรรมและทาให้พ้นื ที่มคี วาม
นวาสนใจมากยิง่ ขึน้
๓. ข้อ มู ล คติช นประเภทวัต ถุ ม งคล ที่พ บสว ว นใหญว เ ป็ น พระขุ น แผนกรุ ตว า ง ๆ
ซึ่งมีช่อื เสียงในวงการพระเครื่อง ได้แกว กรุวดั บ้านกรวาง กรุวดั ป วาเลไลยก์วรวิหาร กรุวดั แค
ทัง้ ยังพบการจัดสร้างวัตถุมงคลเกีย่ วกับขุนแผนอยวางตวอเนื่อง นอกจากนี้พบววามีการจัดแสดง
พระขุนแผนพิมพ์ตวาง ๆ ทีพ่ บในประเทศไทยอยูวภายในพิพธิ ภัณฑ์พระขุนแผนและพระเครื่อง
เมืองสุพรรณ วัดปาว เลไลยก์วรวิหาร จังหวัดสุพรรณบุรี อีกด้วย
๔. ข้อมูลคติชนประเภทจิตรกรรม พบ ๒ ลักษณะคือ จิตรกรรมเลวาเรื่องขุนช้างขุนแผน
และจิตรกรรมแสดงภาพตัวละครจากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน จิตรกรรมเลวาเรื่องขุนช้าง
ขุนแผนพบทัง้ ทีเ่ ลวาเรื่องขนาดยาว ได้แกว จิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน รอบวิหารคด
วัดปวาเลไลยก์วรวิหาร และที่เลือ กนาเสนอเรื่อ งราวบางตอน ได้แกว จิตรกรรมเรื่องขุนช้าง
ขุนแผนในหอคอยบรรหาร – แจวมใส และจิตรกรรมฝาผนังเรื่องขุนช้างขุ นแผน ที่วดั เขาพระ
ศรีสรรเพชญาราม สววนจิตรกรรมแสดงภาพตัวละครจากเรื่องขุนช้างขุนแผน พบทีบ่ า้ นขุนช้าง
ภายในบริเวณวัดปวาเลไลยก์วรวิหาร ซึ่งเป็ นอุทยานวรรณคดีท่สี ร้างขึ้นเพื่อ ให้ระลึก ถึงเรื่อ ง
ขุนช้างขุนแผน
๕. ข้อ มู ล คติช นประเภทเพลงพื้น บ้า น เป็ น การถว า ยทอดข้อ มู ล เกี่ย วกับ ลัก ษณะ
ตัวละครในเรื่องขุนช้างขุนแผนหรือเลวาเรื่องขุนช้างขุนแผน ไมวได้มุวงเน้นนาเสนอตัวละครใด
ตัว ละครหนึ่ ง โดยเฉพาะ นอกจากนี้ เ มื่อ กลวา วถึง ขุน แผนก็ม ัก กลว า วถึง เรื่อ งความรัก และ
ความเจ้าชู้
๒๓๓

ผูว้ จิ ยั พบววา ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรที งั ้ ๕ ประเภท


เกี่ยวข้องกับคน ๓ กลุวมหลัก คือ คนท้องถิน่ ซึ่งได้แกว ชาวบ้าน และพระสงฆ์ สววนราชการ
ท้องถิ่น ได้แกว เทศบาลเมืองสุพรรณบุรี องค์การบริหารสววนจังหวัดสุพรรณบุรี และสวว น
ราชการกลาง คือ การทวองเที่ยวแหวงประเทศไทย สังเกตได้ววา วัดมีบทบาทสาคัญ ในการ
ถวายทอดเรื่องราวชีวติ ของขุนแผน ทัง้ ในด้านการสงวนรักษาพื้นที่จริงซึ่งเชื่อกันววา ขุนแผน
เคยใช้ชวี ติ อยูว และการจัดสรรพืน้ ทีใ่ หมวเพื่อสืบทอดเรื่องราวและความทรงจารววมเรื่องขุนแผน
ให้คงอยูวตวอไป

เมื่อผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาวิเคราะห์ขอ้ มูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนที่พบในจังหวัดกาญจนบุรแี ละ


จังหวัดสุพรรณบุรี และศึกษาภูมหิ ลังเกี่ยวกับขุนแผนจากเสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน และ
คาให้การชาวกรุงเก่า ประกอบกัน ทาให้เห็นได้วาว ชาวกาญจนบุรแี ละชาวสุพรรณบุรยี อมรับ
ในฝี มอื ชื่นชมความสามารถ และนับถือขุนแผนในฐานะวีรบุรุษซึ่งเป็ นคนท้องถิ่นผูก้ ล้าหาญ
มีความรู้วชิ าอาคมและสามารถนาไปใช้ทาศึกจนได้รบั ชัยชนะและสร้างชื่อเสียงให้แกวตนเอง
นอกจากชาวกาญจนบุรีแ ละชาวสุ พ รรณบุ รีจะมีค วามทรงจ ารว ว มเรื่อ งขุน แผนชุด หนึ่ ง คือ
ความทรงจ ารว ว มเรื่อ งขุนแผนจากเสภาเรื่ อ งขุน ช้ า ง – ขุน แผนแล้ว ยัง พบต านานหรือ
เรื่อ งเลว า เกี่ย วกับ ขุน แผนที่เ ลว า สืบ กันมาภายในท้อ งถิ่น กาญจนบุ รีแ ละท้อ งถิ่น สุ พ รรณบุ รี
จากรุวนสูวรุวน และพบววามีรูปเคารพประดิษฐานอยูวตามสถานที่ตวาง ๆ ในจังหวัด รูปเคารพ
ตวาง ๆ เหลวานี้ทาให้ภาพความเป็นวีรบุรุษท้องถิน่ ของขุนแผนเดวนชัดยิง่ ขึน้
การศึกษาลักษณะของข้อ มูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัด
สุพรรณบุรี ทาให้ผวู้ จิ ยั สรุปได้ววา คติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่พบในจังหวัดกาญจนบุรสี ะท้อน
ให้เห็นววา ชาวกาญจนบุรนี บั ถือขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ ที่เป็ นนักรบและผูป้ กครองเมือง
ผู้กล้าหาญ ดวงวิญญาณของขุนแผนยังคงสถิตอยูวในท้อ งถิ่นเพื่อ ดูแลและปกป้อ งคุ้ม ครอง
คนท้องถิน่ สืบไป ในขณะทีค่ ติชนเกีย่ วกับขุนแผนที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรไี ด้สะท้อนให้เห็น
ววา ชาวสุ พ รรณบุ รีนับ ถือ ขุ น แผนในฐานะวีร บุ รุ ษ ท้อ งถิ่น ที่เ คยบวชเรีย นจนมี “วิช าการ”
เชี่ยวชาญและแตกฉาน สามารถนาความรู้ไ ปรับราชการเป็ นทหารจนสร้างชื่อ เสียงให้แ กว
ตนเองและเป็นทีเ่ คารพยกยวองนับถือของผูอ้ ่นื ได้
นอกจากข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนทีพ่ บในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี
จะสะท้อนให้เห็นการนับถือขุนแผนในฐานะเป็ นวีรบุรุษท้องถิ่นแล้ว คติชนประเภทตวาง ๆ
เกีย่ วกับขุนแผนยังมีสววนสาคัญในการสร้างความทรงจารววมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี
และจังหวัดสุพรรณบุรดี ว้ ย
๒๓๔

ในงานวิจยั เรื่องนี้ ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษาแนวคิดเรื่องความทรงจารววมจากนักวิชาการ ๔ คน


คือ มอริส ฮาลบวาคซ แจน อาซมาน ปิแอร์ โนรา และอไลดา อาซมาน แล้วให้นิยามคาววา
ความทรงจารววม ววาหมายถึง ความทรงจาชุดใดชุดหนึ่งที่คนในสังคมใดสังคมหนึ่งรับรู้รววมกัน
มีสววนทาให้เกิดความรู้สึกววาตนเป็ นอันหนึ่งอันเดียวกันกับสังคมนัน้ ๆ ความทรงจารววม
ดังกลวาวได้รบั การถวายทอดผวานข้อมูลทางวัฒนธรรมประเภทตวาง ๆ ซึ่งเป็ นเสมือนเครื่องมือที่
ชววยทาให้เกิดการแสดงออกและการผลิตซ้าให้ความทรงจานัน้ ปรากฏอยูวอยวางตวอเนื่องในสังคม
ความทรงจารววมเรื่องขุนแผนจึงเกิดจากคนในสังคมรับรู้และจดจาเรื่องราวชีวติ ของ
ขุน แผนรว วมกัน แล้ว ถว า ยทอดความทรงจ ารว ว มเรื่อ งขุน แผนให้ร ับ รู้สืบ ตว อ กัน จากรุว น สูว รุว น
ผวานการใช้ข้อมูล คติชนประเภทตว าง ๆ เกี่ยวกับขุน แผนในจังหวัดกาญจนบุ รีและจัง หวัด
สุพรรณบุรี
ดังจะเห็นได้จากข้อมูลคติชนประเภทตวาง ๆ เกีย่ วกับขุนแผนทีพ่ บในจังหวัดกาญจนบุรี
และจัง หวัด สุ พ รรณบุ รี ได้ ส ะท้ อ นให้ เ ห็ น วว า ชาวกาญจนบุ รี แ ละชาวสุ พ รรณบุ รี ตว า งมี
ความทรงจารววมเรื่องขุนแผน คือ
ประการแรก เชือ่ ววาขุนแผนมีตวั ตนอยูวจริง เป็นคนในประวัตศิ าสตร์ทอ้ งถิน่
ประการทีส่ อง มีการเลวาเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนอยูวในท้องถิน่ จากรุวนสูวรุวน
ประการทีส่ าม รับรูว้ าว ขุนแผนมีความรูค้ วามสามารถ เป็นนักรบผูก้ ล้าหาญและมีฝีมอื ดี
ประการที ส่ ี ่ รับ รู้ วว า ขุ น แผนเป็ น บุ ค คลท้ อ งถิ่ น ที่ ค วรเคารพนั บ ถื อ กราบไหว้
และสามารถดลบันดาลพรให้ได้

นอกจากนี้ ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรี
ยังเป็นเครื่องมือสาคัญทีท่ าให้เกิดการสร้างความทรงจารววมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรี
และจังหวัดสุพรรณบุรี ผู้วจิ ยั พบลักษณะการสร้างความทรงจารววมเรื่องขุนแผนในจังหวัด
กาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี ๓ ลักษณะสาคัญคือ ๑) การอนุ รกั ษ์และสวงเสริมสถานที่ท่ี
เกีย่ วข้องกับขุนแผน ๒) การสร้างรูปเคารพเพื่อสืบทอดตานานและพิธกี รรมเกี่ยวกับขุนแผน
และ ๓) การสร้างคาขวัญและการตัง้ ชือ่ โดยมีปจั จัยในการสร้างความทรงจารววม ๓ ประการคือ
ปจั จัย ด้า นการสืบ ทอดความทรงจ ารว ว มของท้อ งถิ่น ป จั จัย ด้า นการชวว งชิง ความโดดเดว น
ในเชิงอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม และปจั จัยด้านการสวงเสริมเศรษฐกิจการทวองเทีย่ ว

เมื่อวิเคราะห์เปรียบเทียบความทรงจารววมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรกี บั จังหวัด
สุพรรณบุรจี ากข้อมูลคติชนประเภทตวาง ๆ แล้วพบววา ข้อมูลคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัด
กาญจนบุรีสววนใหญว สะท้อนให้เห็นเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนเป็ นทหาร เป็ นเจ้าเมือ ง
กาญจนบุรี ขุนแผนในความทรงจ ารววมของชาวกาญจนบุรีจึงมีลกั ษณะเป็ นทหารที่มีฝีมือ
๒๓๕

เกว ง ฉกาจและเป็ น เจ้า เมือ งที่ค นท้อ งถิ่น เคารพนับ ถือ สว วนข้อ มู ล คติช นเกี่ย วกับ ขุน แผน
ในจังหวัดสุพรรณบุรีสววนใหญว สะท้อนให้เห็นเรื่องราวชีวติ ของขุนแผนตอนที่บวชเรีย นเป็ น
เณรแก้ ว ขุ น แผนในความทรงจ ารว ว มของชาวสุ พ รรณบุ รีจึง มี ล ัก ษณะเป็ น คนท้ อ งถิ่ น
ทีบ่ วชเรียนจนมีความรูเ้ ชีย่ วชาญทัง้ การเขียนอวานและวิชาไสยศาสตร์

ความคิดความเชื่อของชาวกาญจนบุรแี ละชาวสุพรรณบุรที ่เี ชื่อววาขุนแผนเคยมีตวั ตน


อยูวจริงในท้องถิน่ ของตน เป็ นนักรบผู้กล้าหาญและมีฝีมือดี ทาศึกให้บ้านเมืองได้รบั ชัยชนะ
และการนับถือขุนแผนในฐานะวีรบุรุษท้องถิน่ นี้เองที่ทาให้ขุนแผนยังคงอยูวในความทรงจาของ
ชาวกาญจนบุรแี ละชาวสุพรรณบุรี อันสะท้อนให้เห็นได้จากการอนุ รกั ษ์และสวงเสริมสถานที่
ตวาง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับขุนแผน และการสืบทอดและสร้างสรรค์ข้อ มูลตวาง ๆ ที่เชื่อมโยงกับ
ขุนแผน เพื่อเป็นการยกยวองและระลึกถึงขุนแผน เชวน การสร้างรูปเคารพ การสร้างวัตถุมงคล
การสร้างงานจิตรกรรมเพื่อ เลวาเรื่องราวชีวติ ของขุนแผน ตลอดจนการรักษาเพลงพื้นบ้าน
ซึ่งสะท้อนให้เห็นการรับรู้เรื่องขุนแผนอยูวอยวางตวอเนื่อง ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนที่พบ
ในจังหวัดกาญจนบุ รแี ละจังหวัดสุพรรณบุรเี หลวานี้ มีสววนสาคัญในการสร้างความทรงจารววม
เรื่อ งขุน แผนขึ้น ในท้องถิ่น เป็ นข้อมูล ทางวัฒ นธรรมที่มีท งั ้ คุ ณควา เชิงอัต ลักษณ์ กลวา วคือ
ได้รบั การนามาใช้แสดงความสัมพันธ์และความทรงจารววมเรื่องขุนแผนของชาวกาญจนบุรแี ละ
ชาวสุพรรณบุรใี ห้คงอยูวสบื ไป และมีคุณควาเชิงเศรษฐกิจและสังคม กลวาวคือ ได้รบั การนามาใช้
ในการสวงเสริมเศรษฐกิจการทวองเทีย่ วของท้องถิน่ ได้อยวางแยบยล

จากการศึกษาทัง้ หมดได้ขอ้ สรุปววา ข้อมูลคติชนประเภทตวาง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนที่พบ


ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรไี ด้สะท้อนให้เห็นการนับถือขุนแผนในฐานะที่เป็ น
วีร บุ รุ ษ ท้อ งถิ่น ทัง้ ยัง มีสว ว นส าคัญ ในการสร้า งความทรงจ ารว ว มเรื่อ งขุน แผนในจัง หวัด
กาญจนบุรีและจังหวัด สุพ รรณบุ รี คติช นประเภทตวา ง ๆ เกี่ยวกับ ขุน แผนที่พบในจัง หวัด
กาญจนบุรสี ะท้อนให้เห็นววา การสร้างความทรงจารววมเรื่องขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรจี ะเน้น
ชวว งชีว ิต ของขุน แผนตอนเป็ น ทหารและผู้ป กครองเมือ ง ในขณะที่ค ติช นประเภทตว า ง ๆ
เกี่ยวกับขุนแผนที่พบในจังหวัดสุพรรณบุรีสะท้อนให้เห็นววา การสร้างความทรงจารววมเรื่อง
ขุนแผนในจังหวัดสุพรรณบุรจี ะเน้นชววงชีวติ ของขุนแผนตอนบวชเรียน
๒๓๖

อภิ ปรายผลการวิ จยั


จากการศึก ษาวิจ ัย เรื่อ งคติช นเกี่ย วกับ ขุ น แผนในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด
สุ พ รรณบุ รี ผู้ว ิจ ัย ได้ ข้อ ค้น พบและประเด็น ที่นว า สนใจซึ่ ง จะเป็ น ประโยชน์ ใ นด้า นข้อ มู ล
และเป็ นประโยชน์ ตวอการศึกษาทางคติชนวิทยา การศึกษาทางวรรณคดี และการศึกษา
เรื่องความทรงจารววม ดังจะอภิปรายผลตวอไปนี้
ในการศึกษาวิจยั เรื่องนี้ ผูว้ จิ ยั ได้รวบรวมข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนทัง้ ข้อมูลจาก
การออกภาคสนามในจัง หวัดกาญจนบุ รีแ ละจัง หวัดสุ พ รรณบุ รี จากการสัม ภาษณ์ บุค คล
ในพืน้ ที่ และข้อมูลจากเอกสารทีม่ ผี รู้ วบรวมและเผยแพรวแล้วมาใช้ในการศึกษาวิเคราะห์ เชวน
ภูมินามตามรอยขุนแผน สองแดนกาญจน์ – สุพรรณฯ (๒๕๕๒) ของเอนก อัครบัณฑิต
บทความเรื่อง “เมืองขุนแผน” (๒๕๔๖) “ขุนแผนแสนสะท้าน เจ้าเมืองกาญจน์ พระสุรินทร
ฦๅไชย” (๒๕๕๐ก) “ทวาเสา เมืองเกวากาญจนบุรี เมืองวรรณคดี – ขุนแผน” (๒๕๕๐ข) และ
“กุมารทอง วรรณคดีขนุ ช้างขุนแผน” (๒๕๕๑) ของพยงค์ เวสสบุตร ข้อมูลที่ได้จงึ เป็ นข้อมูล
ปจั จุบนั และมีค วามหลากหลาย ข้อ มูลบางอยวางเป็ นข้อ มูลที่ยงั ไมวมผี ู้รวบรวมมากวอ น เชวน
ชือ่ สถานทีบ่ างแหวงและชือ่ อื่น ๆ รูปเคารพที่ประดิษฐานในสถานที่ตวา ง ๆ วัตถุมงคลบางรุวน
ภาพจิตรกรรมในสถานที่ตวาง ๆ เป็ นต้น หรือบางสววนหากเป็ นข้อมูลที่มผี ู้รวบรวมไว้แล้ว
ผู้ว ิจ ัย ก็พ บวว า ยัง ไมว ไ ด้ น ามาสัง เคราะห์ แ ละวิเ คราะห์ ข้อ มู ล ตว า ง ๆ ในลัก ษณะงานวิจ ัย
ทัง้ ยังไมวพบววามีการตัง้ ประเด็นศึกษาในแงววรี บุรุษท้องถิน่ และความทรงจารววม งานวิจยั เรื่องนี้
นอกจากจะทาให้ได้ขอ้ มูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรี
และได้เ ข้า ใจลักษณะและคุ ณ คว า ตลอดจนเห็น ความส าคัญ ของข้อ มู ล คติช นเรื่อ งขุน แผน
ในทัง้ ๒ จัง หวัด แล้ว ยัง ชี้ใ ห้เ ห็น ความนว า สนใจในการน าแนวคิด เรื่อ งความทรงจ า รว ว ม
มาศึกษาวิจยั ข้อมูลทางคติชนได้อกี ด้วย
ผูว้ จิ ยั พบววา การนาแนวคิดเรื่องความทรงจารววมมาใช้ในการศึกษาวิจยั ในระยะแรก
เป็นการศึกษาวิจยั เรื่องการพลัดถิน่ เพื่อศึกษาเรื่องเลวาทีต่ ดิ มากับคนทีต่ อ้ งอพยพหรือย้ายไปอยูว
ในพื้นที่ใหมว หรือใช้ในการศึกษาวิจยั เรื่องชาติและการฟื้ นฟูแนวคิดเรื่องชาติ เรื่องสงคราม
และการฟื้ นฟูประเทศหลังสงคราม เป็ นต้น แตว งานวิจยั ในระยะหลังมานี้มกี ารใช้แนวคิดเรื่อง
ความทรงจารววมในการศึกษาวิจยั ในแวดวงตวาง ๆ ทัง้ งานวิจยั ทางประวัตศิ าสตร์ และงานวิจยั
แนวสหวิทยาการมากขึ้น เชวน การศึก ษาวิจยั เรื่อง “สยาม/ เหลียวหลัง – ไทย/ แลหน้ า :
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูวหวั ในความทรงจาของชาวไทย” ของมาวริโซว เพเล็จจี้
(๒๕๔๗: ๑๕๒ – ๑๖๙) ซึ่ง สะท้อ นให้ เ ห็น วว า พื้น ที่ห รือ วัต ถุ แ หว ง ความทรงจ าตว า ง ๆ
อันได้แกว ภาพ อนุสาวรียแ์ ละรูปเคารพ ฯลฯ มีสววนสาคัญในการสร้างความทรงจารววมเกี่ยวกับ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูวหวั ในทัศนะของผูว้ จิ ยั สิง่ ทีน่ วาสนใจในงานของเพเลจจี้
ก็ค ือ ความทรงจารววมดังกลวาวเป็ นความทรงจารววมที่คนในสังคมมีตวอพระมหากษัตริย์ไทย
๒๓๗

ซึ่ง เป็ นบุ ค คลจริง ในประวัติศ าสตร์ไทย พื้น ที่หรือ วัตถุ แ หว งความทรงจาตว า ง ๆ ที่ป รากฏ
จึงมีบทบาทในการสนับสนุ นและย้ าเตือนความทรงจาเกี่ยวกับเหตุการณ์ท่เี คยเกิดขึน้ อยวาง
จริงแท้ในอดีต ในขณะทีง่ านวิจยั เรื่องคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัด
สุ พ รรณบุ รีนั น้ ความทรงจ ารว ว มเรื่อ งขุน แผนเป็ น ความทรงจ ารว ว มที่ช าวกาญจนบุ รีแ ละ
ชาวสุ พ รรณบุ รีมีตว อ ขุน แผนซึ่ง เชื่อ ววา เคยมีตวั ตนจริง อยูว ใ นประวัติศ าสตร์ท้อ งถิ่ น ของตน
ขณะเดีย วกันขุนแผนก็ เป็ นตัวละครอยูวใ นเสภาเรื่ องขุน ช้ า ง – ขุน แผน และเป็ น ตัว ละคร
ในนิทานพื้นบ้านเรื่องขุนช้างขุนแผนของท้องถิน่ ด้วยเชวนกัน ลักษณะดังกลวาวนี้เองที่เน้นย้า
ให้เ ห็น ววา คติช นประเภทตว า ง ๆ เกี่ย วกับ ขุน แผนที่พ บในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด
สุพรรณบุรีมคี วามสาคัญและมีคุณควายิง่ ตวอการสร้างความทรงจารววมเรื่องขุนแผนในท้องถิ่น
เพราะนอกจากจะมีบ ทบาทในการสร้า งและย้ า เตือ นความทรงจ ารว ว มเรื่อ งดัง กลว า วแล้ ว
ยังมีบทบาทในการสนับสนุ นความเชื่อ เรื่องขุนแผนในฐานะที่เป็ นบุค คลจริงในประวัติศาสตร์
ท้องถิน่ ให้เป็นทีร่ บั รูข้ องคนท้องถิน่ และคนทัวไปสื
่ บตวอกันจากรุวนสูวรุวน
นอกจากนี้ยงั มีการนาแนวคิดเรื่องความทรงจารววมไปใช้ในการศึกษาเรื่องเพศ คือ
งานวิ จ ั ย เรื่ อ ง “เพศวิ ถี ก ระแสหลั ก กั บ ความทรงจ ารว ว มเรื่ อ งเพศ ” ของชลิ ด าภรณ์
สวงสัมพันธ์ (๒๕๕๑: ๓๒ – ๘๑) ซึ่งสะท้อนให้เห็น ววาข้อมูลทางวัฒนธรรมเป็ นข้อมูลสาคัญที่
สะท้อนให้เห็นความทรงจาหรือความคิดความเชื่อของคนในสังคม เชวนเดียวกับ งานวิจยั เรื่อง
“สงครามความทรงจา: การรับรู้กบั ความทรงจารววมทางสังคมในวิกฤตไฟใต้ ” ของวิไลวรรณ
จงวิไลเกษม ([ม.ป.ป.]: ออนไลน์ ) ซึ่งสะท้อ นให้เห็นบทบาทอัน ทรงพลังของข้อมูล ทาง
วัฒนธรรม คือ เรื่องเลวาทรายขาว ในฐานะประวัตศิ าสตร์ฉบับท้องถิน่
อนึ่ง แนวการศึกษาวิจยั เรื่องความทรงจารววมทีพ่ บในปจั จุบนั ไมวได้เป็นเพียงการศึกษา
รวบรวมข้อมูลทางวัฒนธรรมเพื่อวิเคราะห์ให้เห็นความทรงจารววมเทวานัน้ หากแตวยงั มีงานวิจยั
ที่แสดงให้เห็นววามีการใช้ขอ้ มูลทางวัฒนธรรมเป็ นเครื่องมือในปฏิบตั กิ ารทางสังคมเพื่อสร้าง
พืน้ ทีค่ วามทรงจา หรือแม้กระทังเพื ่ ่อลบล้างความทรงจารววมของสังคมด้วย เชวน งานวิจยั เรื่อง
“จากพื้น ที่ค วามทรงจ า: สูว พ้นื ที่ชุม ชนประวัติศ าสตร์ท้องถิ่น ภาคใต้ ” ของอุทิศ สัง ขรัต น์
([ม.ป.ป.]: ออนไลน์ ) ซึ่งสะท้อนให้เห็นการใช้ข้อมูลทางวัฒนธรรมในปฏิบตั กิ ารทางสังคม
ในการสร้างพืน้ ทีค่ วามทรงจาเพื่อสร้างพื้นที่ชุมชนและประวัตศิ าสตร์ท้องถิน่ ภาคใต้ งานวิจยั
เกี่ย วกับ ความทรงจ ารว ว มที่นว า สนใจยิ่ ง เรื่อ งหนึ่ ง คือ งานวิจ ัย เรื่อ ง “‘เมือ งต้ อ งค าสาป’:
ความทรงจารววมของสังคมลาปาง” ของไพโรจน์ ไชยเมืองชืน่ ซึ่งมีแงวมุมทีน่ วาสนใจเพราะทาให้
เห็นบทบาทของข้อมูลทางวัฒนธรรม ทัง้ ในฐานะที่เป็ นเครื่องมือในการสร้างความทรงจารววม
และในฐานะทีเ่ ป็นเครื่องมือในการพยายามลบล้างความทรงจารววม
ในขณะที่ง านวิจ ัย เรื่อ งคติช นเกี่ย วกับ ขุ น แผนในจัง หวัด กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด
สุพรรณบุรนี ้ไี ด้แสดงให้เห็นชัดเจนแล้วววา ข้อมูลคติชนประเภทตวาง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนที่พบ
๒๓๘

ในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรเี ป็นเครื่องมือสาคัญในการเผยแพรวความทรงจารววม


เรื่องขุนแผน และเป็นเสมือนพืน้ ทีแ่ หวงความทรงจาทีท่ าให้ความทรงจารววมเรื่องขุนแผนยังคง
อยูวในท้องถิน่ กาญจนบุรแี ละท้องถิน่ สุพรรณบุรี โดยมีการผลิตซ้าความทรงจารววมเรื่องดังกลวาว
ให้เห็นอยวางเป็นรูปธรรมและเกิดขึน้ อยวางตวอเนื่องผวานข้อมูลทางวัฒนธรรมเหลวานี้
การศึกษาวิจยั เรื่อ งนี้โดยใช้แนวคิดเรื่องความทรงจารววมจึงทาให้เห็นความสาคัญ
และคุ ณ คว า ของข้อ มู ล คติช นเกี่ย วกับ ขุ น แผนซึ่ ง ถือ เป็ น เครื่อ งมือ ส าคัญ ในการเผยแพรว
ความทรงจารววมเรื่องขุนแผนในท้องถิน่ และมีประโยชน์ในด้านอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและ
เศรษฐกิจ กลวาวคือ ข้อมูลคติชนตวาง ๆ เกี่ยวกับขุนแผนที่พบในทัง้ ๒ จังหวัดสะท้อนให้เห็น
การนับ ถือ ขุน แผนในฐานะวีร บุ รุ ษ ท้อ งถิ่น และเป็ น เครื่อ งมือ ส าคัญ ที่มีสว ว นในการสร้า ง
ความทรงจ ารว วมเรื่อ งขุนแผนในทัง้ ๒ จังหวัด การสร้างความทรงจ ารววมดังกลวาวถือเป็ น
ปฏิบตั กิ ารทางสังคมที่ทาให้ชาวกาญจนบุรแี ละชาวสุพรรณบุรยี งั คงสืบทอดความทรงจารววม
เรื่อ งขุ น แผนไว้ใ นท้อ งถิ่น ของตนได้ โดยมีข้อ มู ล ทางวัฒ นธรรมดัง กลว า วเป็ น พื้น ที่แ หว ง
ความทรงจาทีช่ วว ยสร้างความหมายให้แกวความทรงจารววมเรื่องขุนแผน สืบทอดความคิดเรื่อง
ความเป็นเมืองขุนแผน เป็นลูกหลานของขุนแผนตวอไปได้ ขณะเดียวกันข้อมูลทางวัฒนธรรม
ซึ่งเป็ นเครื่องมือในปฏิบตั ิการทางสังคมก็ยงั ประโยชน์ ในด้านอัตลักษณ์ทางวัฒนธรรมและ
เศรษฐกิจไปด้วยพร้อมกัน
งานวิจยั เรื่องคติชนเกีย่ วกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรแี ละจังหวัดสุพรรณบุรนี ้จี งึ เป็น
งานวิจยั อีกเรื่องหนึ่งที่เป็นเครื่องยืนยันให้เห็นความสัมพันธ์ของคติชนหรือข้อมูลทางวัฒนธรรม
กับ การสร้า งความทรงจ ารว ว มเพื่อ รัก ษาและสืบ ทอดความทรงจ ารว ว มให้ค งอยูว ใ นท้อ งถิ่น
ซึ่ง ท าให้เ ห็น วว า สามารถน าแนวคิด เรื่อ งความทรงจ ารว ว มมาใช้ใ นการศึก ษาข้อ มู ล คติช น
ในท้องถิน่ ตวาง ๆ ซึ่งมีอยูวอยวางหลากหลายได้
นอกเหนือจากนี้แล้ว ผูว้ จิ ยั ได้ศกึ ษานิยามคาววา “วีรบุรุษ” จากเอกสารและจากแนวคิด
ของนัก วิชาการหลายคน แม้จ ะยังไมว พ บววามีนัก วิช าการทว า นใดนิ ย ามความหมายค าววา
“วีรบุรุษท้องถิน่ ” ไว้ แตวจากการนาข้อมูลและแนวคิดตวาง ๆ มาสังเคราะห์ ทาให้ผวู้ จิ ยั นิยาม
ความหมายคาววา “วีรบุรุษท้องถิน่ (local hero)” ในงานวิจยั นี้วาว “วีรบุรุษทีม่ กั ปรากฏชือ่ อยูวใน
ตานานหรือ นิท านพื้นบ้า นที่ค นท้อ งถิ่น ใดท้อ งถิ่นหนึ่ ง รับ รู้รว ว มกัน เป็ น วีรบุ รุ ษ ที่ก ลุว ม คน
เหลวานัน้ เชื่อววาเป็ นผูท้ ่เี คยมีตวั ตนจริง มักมีเรื่องเลวาเกี่ยวกับชีวติ หรือมีพธิ กี รรมบางอยวาง
ทีแ่ สดงให้เห็นววาคนในท้องถิน่ เคารพนับถือหรือยกยวอง”

อนึ่ ง ในการศึก ษาวิจ ัย เรื่อ งนี้ ผู้ว ิจ ัย ได้ ข้อ ค้น พบที่นว า สนใจและเป็ น ประโยชน์ ตว อ
การศึกษาทางวรรณคดี กลว า วคือ ผู้ว ิจ ัย พบววา ต านานหรือเรื่อ งเลว า เกี่ย วกับ ขุน แผนหรือ
ตัวละครอื่นในเรื่องขุนช้างขุนแผนนัน้ เป็นวรรณกรรมมุขปาฐะทีช่ าวบ้านรับรู้อยูวในความทรงจา
๒๓๙

มาแตวเดิม แตวเมื่อมีการชาระเรื่องขุนช้างขุนแผนเป็ น เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน อันเป็ น


เสภาฉบับหลวง โดยคัดเอาตอนทีม่ กี ระบวนกลอนดีไปชาระรวบรวมเป็นเลวม ตานานหรือเรื่อง
เลว าของท้องถิ่น อาจไมว ได้ถู กรวบรวมเข้าไปในชุด ความทรงจาฉบับ หลวง แตวย ัง คงอยูว ใ น
ความทรงจาของชาวบ้า น ข้อ มูล คติช นเกี่ยวกับ ขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุ รีแ ละจังหวัด
สุพรรณบุรที ไ่ี ด้จากการศึกษาวิจยั เรื่องนี้จงึ ชววยเติมเต็มเรื่องราวสววนที่ขาดหายไป เชวนที่ผวู้ จิ ยั
ได้ ข้ อ ค้ น พบวว า สาเหตุ ท่ี ขุ น ไกรมี ค วามสนิ ท สนมกับ สมภารคง วัด แค จนภา ยหลั ง
เมื่อพลายแก้วต้องการบวชเรียนศึกษาวิชา นางทองประศรีจงึ ได้พาไปฝากตั วกับสมภารคง
ด้ว ยสนิ ท สนมกับ บิด าก็เ พราะขุน ไกรบิด าของขุน แผนเคยมาหลบฝนที่เ ขาถ้ า ได้พ บกับ
พระอาจารย์คงและได้พูดคุยกันจนถูกอัธยาศัย พระอาจารย์คงจึงถวายทอดวิชาอาคมให้ขนุ ไกร
เรื่องราวดังกลวาวเป็ น ตัวอยวางเรื่องราวที่ไมวปรากฏในเสภาเรื่องขุนช้ าง – ขุนแผน อันเป็ น
เสภาฉบับหลวง ข้อมูลคติชนที่ได้จากการทาวิจยั เรื่องนี้จึงชววยผสานเรื่องราวของท้องถิ่น
ซึ่ง ไมว ไ ด้ ร ับ การบัน ทึก ไว้ เ ข้า กับ เสภาฉบับ หลวง ซึ่ ง นว า จะเป็ น ประโยชน์ ตว อ การศึก ษา
ทางวรรณคดีตวอไป

จากที่กลวาวมาทัง้ หมด จะเห็นได้ววา การศึกษาวิจยั เรื่องนี้มีประโยชน์ ในแงวของการ


รวบรวมข้อ มู ล คติช นภาคสนาม และมีป ระโยชน์ ใ นแงว ข องการศึก ษาทางคติช นวิท ยา
การศึกษาเรื่องความทรงจารววม และการศึกษาทางวรรณคดี ที่สาคัญที่สุดคืองานวิจยั เรื่องนี้
ได้ทาให้เห็นคุณควาและความสาคัญของข้อมูลคติชนซึ่งมีพลังในการสร้างความทรงจารววม
ของท้องถิน่ ไว้อยวางชัดเจน

ข้อเสนอแนะ
ในงานวิจยั เรื่องนี้ ผู้วจิ ยั ได้ศกึ ษาวิเคราะห์ข้อมูลคติชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัด
กาญจนบุ รีแ ละจัง หวัด สุ พ รรณบุ รีโ ดยใช้มุ ม มองเรื่อ งวีร บุ รุ ษ ท้ อ งถิ่น และใช้แ นวคิด เรื่อ ง
ความทรงจ ารว ว ม อาจมีก ารรวบรวมและศึก ษาวิเ คราะห์ ข้อ มู ล คติช นเกี่ย วกับ ขุ น แผน
ในจังหวัดพระนครศรีอยุธยา แล้วนามาวิเคราะห์โดยใช้แนวคิดเรื่องความทรงจารววมตวอไป
นอกจากนี้ ยัง มีป ระเด็น การศึก ษาเรื่อ งตัว ละครในวรรณคดีท่มี ีบ ทบาทในท้อ งถิ่น ตว า ง ๆ
การศึกษาวีรบุรุษในท้อ งถิน่ ถื่น ๆ ตลอดจนการศึกษาเรื่องอัตลักษณ์และความทรงจารววม
ซึ่งนวาจะได้ผลการศึกษาทีห่ ลากหลายและทาให้เห็นความสัมพันธ์ระหววางข้อมูลทางวัฒนธรรม
กับท้องถิน่ ได้อยวางกว้างขวางยิง่ ขึน้
รายการอ้างอิง

ภาษาไทย
กฎหมายตราสามดวง ฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน เล่ม ๑. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๕๐.
กาญจนบุรี ศรีภมู ิ ภาคตะวันตก. กรุงเทพฯ: คุรุสภา, ๒๕๔๔.
กาญจนาคพันธุ์ และนายตารา ณ เมืองใต้. เล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน. พระนคร:
ไทยวัฒนาพานิช, ๒๕๐๔.
กิง่ แก้ว อัตถากร. คติ ชนวิ ทยา. กรุงเทพฯ: คุรุสภา, ๒๕๑๙.
กุสุมา รักษมณี. วรรณกรรมสดุดขี องอินเดียและตะวันออกกลาง. วรรณกรรม – ศิ ลปะสดุดี.
ภาควิชาวรรณคดี คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์
จัดพิมพ์เนื่องในการสัมมนาทางวิชาการ “ยอยศธรรมิกราช” ในวโรกาส
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หวั ทรงครองราชย์สมบัตคิ รบ ๕๐ ปี ๖ – ๗ กรกฎาคม
๒๕๓๘ (๒๕๓๘): ๑๑๙.
โกวิท ตัง้ ตรงจิต. คุยเฟื่ องเรื่องขุนช้างขุนแผน. กรุงเทพฯ: สุวรี ยิ าสาส์น, ๒๕๔๗.
ขุนเดช วรกานต์. มหัศจรรย์พลังพระขุนแผนแห่งสยามประเทศ. กรุงเทพฯ: กู๊ดมอร์นิ่ง,
๒๕๔๘.
คนินทร วงศาโรจน์, พลตรี. สัมภาษณ์ , ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๓.
คาให้การชาวกรุงเก่า คาให้การขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดารกรุงเก่า
ฉบับหลวงประเสริ ฐอักษรนิ ติ์ . พระนคร: คลังวิทยา, ๒๕๑๕.
คึกฤทธิ ์ ปราโมช, หม่อมราชวงศ์. ขุนช้างขุนแผนฉบับอ่านใหม่. พิมพ์ครัง้ ที่ ๕. กรุงเทพฯ:
ดอกหญ้า, ๒๕๕๓.
แคมพ์เบลล์, โจเซฟ และมอยเยอร์ส, บิลล์. พลานุภาพแห่งเทพปกรณัม. แปลโดย
บารนี บุญทรง. กิง่ แก้ว อัตถากร, บรรณาธิการ. นนทบุร:ี อมรินทร์บุ๊คเซ็นเตอร์,
๒๕๕๑.
จุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั , พระบาทสมเด็จพระ. โคลงนิ ราศของท้าวสุภตั ติ การภักดี (นาก).
[ม.ป.ท.: ม.ป.พ], ๒๕๑๖.
ฉันท์ ขาวิไล. วรรณกรรมไทยเรื่องนิ ราศขุนช้าง – ขุนแผน. พระนคร: ธนาคารกรุงเทพฯ,
๒๕๑๓.
ชลิดาภรณ์ ส่งสัมพันธ์. เพศวิถกี ระแสหลักกับความทรงจาร่วมเรื่องเพศ. ใน ประวัติศาสตร์
ของเพศวิ ถี: ประวัติศาสตร์เรื่องเพศ/ เรื่องเพศในประวัติศาสตร์ไทย, ๓๒ – ๘๑.
กรุงเทพฯ: มูลนิธสิ ร้างความเข้าใจเรื่องสุขภาพผูห้ ญิง (สคส.) และสถาบันวิจยั
๒๔๑

ประชากรและสังคม (วปส.) มหาวิทยาลัยมหิดล, ๒๕๕๑.


ชัยยา จุย้ เจริญ, พันเอก (พิเศษ). สัมภาษณ์ , ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๓.
ชุมสาย สุวรรณชมภู. การศึกษาเปรียบเทียบบทเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน
ฉบับหอพระสมุดวชิ รญาณสาหรับพระนครกับฉบับสานวนอื่น.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๓๔.
โชติชว่ ง นาดอน และครูเสภานิรนาม. ขุนช้างขุนแผนฉบับย้อนตานาน. กรุงเทพฯ:
พลอยตะวัน, ๒๕๔๑.
ฑรัท เหลืองสอาด. สัมภาษณ์ , ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒.
ณรงศักดิ ์ สอนใจ. การศึกษาเปรียบเทียบวรรณกรรมดัดแปลงเรื่องขุนช้างขุนแผน.
วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๕.
ดารงราชานุภาพ, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ กรมพระยา. อธิบายเรือ่ งคาให้การชาวกรุงเก่า.
ใน คาให้การชาวกรุงเก่า คาให้การขุนหลวงหาวัด และพระราชพงศาวดาร
กรุงเก่าฉบับหลวงประเสริ ฐอักษรนิ ต์ ิ , (๑) – (๑๐). พระนคร: คลังวิทยา, ๒๕๑๕.
ตานานประวัติโดยย่อ วัดถา้ ขุนไกร ตาบลแก่งเสี้ยน อาเภอเมือง จังหวัดกาญจนบุรี.
[ม.ป.ท.]: [ม.ป.พ.], [ม.ป.ป.].
ทรงศักดิ ์ อินอนันต์. สัมภาษณ์ , ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๒.
ทัศนีย์ สุจนี ะพงศ์. การใช้ไสยศาสตร์ในเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๑๕.
ธนิก เลิศชาญฤทธ์. การจัดการทรัพยากรวัฒนธรรม. กรุงเทพฯ: ศูนย์มานุษยวิทยาสิรนิ ธร
(องค์กรมหาชน), ๒๕๕๔.
นริศรานุวดั ติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม ๒.
พระนคร: คุรุสภา, ๒๕๐๔.
นริศรานุวดั ติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยา. สาส์นสมเด็จ เล่ม ๑๙.
พระนคร: คุรุสภา, ๒๕๐๔.
นริศรานุวดั ติวงศ์, สมเด็จพระเจ้าบรมวงศ์เธอ เจ้าฟ้ากรมพระยา. บันทึกเรื่องความรู้ต่าง ๆ
เล่ม ๔. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, ๒๕๕๔.
นิธิ เอียวศรีวงศ์. การเมืองไทยสมัยพระเจ้ากรุงธนบุรี. พิมพ์ครัง้ ที่ ๔. กรุงเทพฯ: มติชน,
๒๕๓๖.
เนาวรัตน์ พงษ์ไพบูลย์. เขียนแผ่นดิ น. กรุงเทพฯ: ธนาคารกรุงเทพ, ๒๕๓๖.
บันทึกเขาชนไก่ ปี ๓ (๓๐ พฤศจิ กายน ๒๕๕๑). [ออนไลน์]. ๒๕๕๒. แหล่งทีม่ า:
writer.dek-d.com/writer/story/view.php?id=383340 [๑๖ ธันวาคม ๒๕๕๓]
๒๔๒

เบญจวรรณ ส่งสมบูรณ์. บทละครเสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน: การศึกษาในเชิ งวรรณคดี


วิ เคราะห์. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย
บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยบูรพา, ๒๕๔๐.
ปรมินท์ จารุวร. การสืบทอดทานองสวดและประเพณี สวดพระมาลัยที่บ้านหนองขาว
จังหวัดกาญจนบุรี. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๔๒.
ประกาศกระทรวงมหาดไทย เรื่องทรงพระกรุณาโปรดเกล้าฯ ให้เปลีย่ นคาว่าเมือง
เรียกว่าจังหวัด. ๒๔๕๙. ราชกิ จจานุเบกษา ๓๓ (๒๘ พฤษภาคม)
ประจักษ์ ประภาพิทยากร. ประเพณี และไสยเวทวิ ทยาในขุนช้างขุนแผน. กรุงเทพฯ:
องค์การค้าของคุรุสภา, ๒๕๒๕.
ประจักษ์ ประภาพิทยากร. พระเอกในวรรณคดีคลาสิ คของไทย ขุนแผน: พระเอก
แบบนักรบ. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, ๒๕๒๗.
ประวัติมหาดไทยส่ วนภูมิภาค จังหวัดกาญจนบุรี . กรุงเทพฯ: ประยูรวงศ์, ๒๕๓๐.
ปรีชา อินทรปาลิต. ขุนช้ างขุนแผน ฉบับนวนิ ยาย. นครหลวงฯ: บันดาลสาส์น, ๒๕๑๕.
ปรางทิพย์ ฮอนบุตร. ภูมิปัญญาชาวบ้านจากประเพณี บางอย่างในวรรณคดีเรื่องขุนช้าง
ขุนแผน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย มหาวิทยาลัยนเรศวร,
๒๕๔๐.
เปรมเสรี. ขุนช้าง – ขุนแผน ชุดวรรณคดีไทยร้อยแก้ว. กรุงเทพฯ: บารุงสาส์น, ๒๕๓๓.
พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมไทย ฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน. กรุงเทพฯ: ราชบัณฑิตยสถาน,
๒๕๕๒.
พจนานุกรมศัพท์วรรณกรรมอังกฤษ – ไทย ฉบับราชบัณฑิ ตยสถาน. กรุงเทพฯ:
ราชบัณฑิตยสถาน, ๒๕๔๕.
พนิดา สงวนเสรีวาณิช. ‘มติชน’ จับมือ ‘ศิลปากร – ท้องถิน่ ’ เปิดเวทีถกแหล่งเรียนรู้
‘ชุมชนสุพรรณฯ’. มติ ชน (๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๕๔): ๒๐.
พยงค์ เวสสบุตร. เมืองขุนแผน. เอกสารเผยแพร่โดยชมรมข้าราชการบานาญและผูอ้ าวุโส
จังหวัดกาญจนบุรี, ๒๕๔๖.
พยงค์ เวสสบุตร. ขุนแผนแสนสะท้าน เจ้าเมืองกาญจน์ พระสุรนิ ทรฦๅไชย. เอกสารเผยแพร่
โดยชมรมข้าราชการบานาญและผูอ้ าวุโส จังหวัดกาญจนบุรี, ๒๕๕๐ก.
พยงค์ เวสสบุตร. ท่าเสา เมืองเก่ากาญจนบุรี เมืองวรรณคดี-ขุนแผน. เอกสารเผยแพร่
โดยชมรมข้าราชการบานาญและผูอ้ าวุโส จังหวัดกาญจนบุรี, ๒๕๕๐ข.
๒๔๓

พยงค์ เวสสบุตร. กุมารทอง วรรณคดีขนุ ช้างขุนแผน. เอกสารเผยแพร่โดยชมรม


ข้าราชการบานาญและผูอ้ าวุโส จังหวัดกาญจนบุรี, ๒๕๕๑.
พระขุนแผนกรุวดั เหนื อ จังหวัดกาญจนบุรี. [ออนไลน์]. [ม.ป.ป.]. แหล่งทีม่ า:
www.boran5.com/.../พระเครื่อง/พระขุนแผน-กรุวดั เหนือ-จ.กาญจนบุรี
[๒๐ กรกฎาคม ๒๕๕๔]
พระตีรณสารวิศวกรรม. นิ ทานจากเสภาเรื่องขุนช้าง ขุนแผน. พระนคร: ตีรณสาร, ๒๕๑๖.
พระราชพรหมยาน. พ่อสอนลูก. อุทยั ธานี: วัดท่าซุง, ๒๕๕๑.
ไพโรจน์ ไชยเมืองชืน่ . ‘เมืองต้องคาสาป’: ความทรงจาร่วมของสังคมลาปาง. ใน
๒ ฟากแม่น้าวัง ๒ ฝัง่ นครลาปาง, ๑๗๙ – ๒๒๐. ลาปาง: โครงการหนังสือ
คู่มอื ประวัตศิ าสตร์นครลาปางเพื่อส่งเสริมการท่องเทีย่ วเชิงวัฒนธรรม, ๒๕๕๑.
ไพศาล กองม่วง. สัมภาษณ์ , ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๒.
มนัส โอภากุล. พระเครื่องเมืองสุพรรณ. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง ๙
(๒๕๕๒): ๓๙๒๓.
มาวริโซ่ เพเล็จจี.้ บทแปล สยาม/ เหลียวหลัง – ไทย/ แลหน้า: พระบาทสมเด็จ
พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หวั ในความทรงจาของชาวไทย. ใน ชาญวิทย์ เกษตรศิร,ิ
บรรณาธิการ. รัชกาลที่ ๕: สยามกับอุษาคเนย์และชมพูทวีป, ๑๕๒ – ๑๗๐.
กรุงเทพฯ: มูลนิธโิ ตโยต้าประเทศไทย, ๒๕๔๗.
รัตนา หนูน้อย. ฐานะของเมืองสุพรรณบุรีในประวัติศาสตร์อยุธยา ระหว่าง พ.ศ.๑๘๙๓
ถึง พ.ศ.๒๒๓๑. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาประวัตศิ าสตร์
บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๙.
ราชเสนา, พระยา. การปกครองระบอบเทศาภิบาล. ใน วุฒชิ ยั มูลศิลป์ และสมโชติ อ๋องสกุล,
บรรณาธิการ. มณฑลเทศาภิ บาล: วิ เคราะห์เปรียบเทียบ, ๖ – ๒๗. กรุงเทพฯ:
แสงรุง้ การพิมพ์, ๒๕๒๔.
รื่นฤทัย สัจจพันธุ.์ เล่าเรื่องขุนช้างขุนแผน ฉบับสมบูรณ์ . เชียงใหม่: ธารปญั ญา, ๒๕๔๔.
วรนันท์ อักษรพงศ์. การศึกษาสังคมและวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสิ นทร์ตอนต้น
จากเรื่องขุนช้างขุนแผน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๑๕.
วัชรี รมยะนันทน์. ขุนช้างขุนแผนเริม่ แต่งในรัชกาลใด. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย
๗, ๒ (๒๕๓๓): ๑๓ – ๑๘.
วัช รี รมยะนัน ทน์ . วัด ใหญ่ ช ยั มงคลกับ การศึก ษาระยะสมัยการแต่ ง เรื่อ งขุน ช้า งขุน แผน.
น้ อมศิ รสา (๒๕๓๕): ๙๘ – ๙๙.
วิเชียร เกษประทุม. เล่าเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน. กรุงเทพฯ: พัฒนาศึกษา, ๒๕๔๖.
๒๔๔

วิญํู บุญยงค์. ตามรอยขุนช้างขุนแผน. กรุงเทพฯ: ต้นอ้อ แกรมมี,่ ๒๕๓๙.


วิไลวรรณ จงวิไลเกษม. สงครามความทรงจา: การรับรู้กบั ความทรงจาร่วมทางสังคม
ในวิ กฤตไฟใต้. [ออนไลน์]. [ม.ป.ป.]. แหล่งทีม่ า:
www.deepsouthwatch.org/sites/.../Wilaiwan%20-%20Memr.War_.pdf
[๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕]
ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์. สัมภาษณ์ , ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒.
ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์. สัมภาษณ์ , ๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๓.
ศักดา ปนเหน่ ั ้ งเพชร. คุณค่าเชิ งวรรณคดีเรือ่ งขุนช้างขุนแผน. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต, บัณฑิตวิทยาลัย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๑๗.
ศักดิ ์ศรี แย้มนัดดา. ขุนแผน. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง ๒ (๒๕๕๒):
๖๖๒ – ๖๖๕.
ศุภร บุนนาค. สมบัติกวี บทวิ จารณ์ วรรณคดีชดุ ขุนช้างขุนแผนจากวิ ทยุ ท.ท.ท.. [ม.ป.ท.]:
ผดุงศึกษา, ๒๕๐๓.
สมศรี พงศ์วฒ ั นะเควิน. สัมภาษณ์ , ๒๑ กันยายน ๒๕๕๒.
สุกญ ั ญา ภัทราชัย. ‘ขุนช้างแปลงสาร’ ตอนทีห่ ายไปจากเสภาขุนช้าง – ขุนแผน
ฉบับหอพระสมุด ฯ. วารสารภาษาและวรรณคดีไทย ๘, ๑ (๒๕๓๔): ๓๐ – ๓๒.
สุกญ ั ญา สุจฉายา. เพลงปฏิ พากย์: การศึกษาเชิ งวรรณคดีวิเคราะห์. วิทยานิพนธ์ปริญญา
มหาบัณฑิต, สาขาวิชาภาษาไทย จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ๒๕๒๓.
สุกญ ั ญา สุจฉายา. พระร่วง: วีรบุรุษในประวัตศิ าสตร์และวีรบุรุษทางวัฒนธรรม.
วารสารภาษาและวรรณคดีไทย ๑๖ (ธันวาคม ๒๕๔๒): ๒๐๓.
สุกญ ั ญา สุจฉายา. เสภาเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน บันทึกศาสตร์ของชายไทยโบราณ.
เอกสารประกอบการสัมมนาวิ ชาการเรื่องเครื่องรางของขลัง
วัฒนธรรมชาวพุทธในสุวรรณภูมิ วันที่ ๑๙ – ๒๐ สิงหาคม ๒๕๕๓ (๒๕๕๓):
๓ – ๑๑.
สุจติ ต์ วงษ์เทศ. ขุนช้างขุนแผนแสนสนุก. กรุงเทพฯ: ศิลปวัฒนธรรม, ๒๕๔๕.
สุมาตร เมืองช้าง. สัมภาษณ์ , ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๕.
สุมามาลย์ เรืองเดช. เพลงพืน้ เมืองจากพนมทวน. กรุงเทพฯ: คุรุสภา, ๒๕๑๘.
เสภาเรื่องขุนช้างขุนแผน. พระนคร: แพร่พทิ ยา, ๒๕๑๓.
เสภาเรื่องขุนช้าง - ขุนแผน. พิมพ์ครัง้ ที่ ๑๙. กรุงเทพฯ: บรรณาคาร, ๒๕๔๕.
๒๔๕

หน่วยอนุรกั ษ์สงิ่ แวดล้อมธรรมชาติและศิลปกรรมท้องถิน่ จังหวัดกาญจนบุร.ี รายงานการศึกษา


กรณี ศึกษาเมืองกาญจนบุรีเก่าเพื่อเตรียมประกาศเขตอนุรกั ษ์. กาญจนบุร:ี
สานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุร,ี ๒๕๕๑.
หนอนสุรา. ขุนช้างขุนแผน ฉบับมองคนละมุม. กรุงเทพฯ: เทียนเล่มน้อย, ๒๕๔๘.
หนังสือส่งเสริ มการอ่านเรื่องขุนช้างขุนแผน ประโยคมัธยมศึกษา. กรุงเทพฯ:
กรมวิชาการ, ๒๕๑๗.
อภิญญา เฟื่ องฟูสกุล. อัตลักษณ์ . กรุงเทพฯ: คณะกรรมการสภาวิจยั แห่งชาติ
สาขาสังคมวิทยา สานักงานคณะกรรมการวิจยั แห่งชาติ, ๒๕๔๖.
อภิวนั ทน์ อดุลยพิเชฎฐ์. สถานภาพและบทบาทของผูห้ ญิ งและผูช้ ายในอดีต: ภาพสะท้อน
จากวรรณกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน. วิทยานิพนธ์ปริญญามหาบัณฑิต,
สาขาวิชามานุษยวิทยา มหาวิทยาลัยศิลปากร, ๒๕๔๔.
อรอุษา สุวรรณประเทศ. สมเด็จพระนเรศวรมหาราช พลังขับเคลื่อนเบือ้ งหลัง
ประชาชาติ . พิมพ์ครัง้ ที่ ๒. กรุงเทพฯ: อมรินทร์พริน้ ติง้ แอนด์พบั ลิชชิง่ , ๒๕๕๒.
อัศศิริ ธรรมโชติ และคณะ. ขุนช้าง – ขุนแผน ฉบับนอกทาเนี ยบ. กรุงเทพฯ: ใบบัว, ๒๕๓๕.
อุทยั สินธุสาร. พระขุนแผน. สารานุกรมวัฒนธรรมไทย ภาคกลาง ๙ (๒๕๔๒):
๓๘๙๖ – ๓๘๙๗.
อุทศิ สังขรัตน์. จากพืน้ ที่ความทรงจา: สู่พนื้ ที่ชมุ ชนประวัติศาสตร์ท้องถิ่ นภาคใต้.
[ออนไลน์]. [ม.ป.ป.]. แหล่งทีม่ า: www.ysl-history.com/Synthesis/002.doc
[๑๖ กรกฎาคม ๒๕๕๕]
เอกสารประชาสัมพันธ์จงั หวัดสุพรรณบุรี. กรุงเทพฯ: การท่องเทีย่ วแห่งประเทศไทย,
๒๕๔๘.
เอนก อัครบัณฑิต. ภูมินามตามรอยขุนแผน สองแดนกาญจน์ – สุพรรณฯ. กาญจนบุร:ี
สานักศิลปะและวัฒนธรรม มหาวิทยาลัยราชภัฏกาญจนบุร,ี ๒๕๕๒.

ภาษาอังกฤษ
Agulhon, Maurice. Marianne into Battle: Republican Imagery and Symbolism in
France, 1789 – 1880. by Janet Lloyd. Cambridge: Cambridge University Press,
1981.
Ariès, Philippe. Centuries of Childhood: A Social History of Family Life. by Robert
Baldick. New York: Vintage, 1965.
๒๔๖

Assmann, Aleida. Canon and Archive. In Astrid Erll, and Ansgar Nünning, eds.
A companion to cultural memory studies, 97 - 108.
Germany: Walter de Gruyter GmbH, 2010.
Assmann, Aleida. Text, Traces, Trash: The Changing Media of Cultural Memory.
Representations 56 (1996): 123 – 134.
Assmann, Jan. Communicative and Cultural Memory. In Astrid Erll, and Ansgar
Nünning, eds. A companion to cultural memory studies, 109 – 113.
Germany: Walter de Gruyter GmbH, 2010.
Assmann, Jan. Religion and Cultural Memory. by Rodney Livingstone. Stanford:
Stanford University Press, 2006.
Ben – Amos, Dan, and Weissberg, Liliane. Cultural memory and the construction of
identity. Detroit: Wayne state university press, 1999.
Bloch, Marc. Feudal Society. by L.A. Manyon. New York: Routledge, 1939.
Campbell, Joseph, and Moyers, Bill. The Power of Myth. Apostrophe S Productions:
United States of America, 1988.
Erll, Astrid, and Nünning, Ansgar. A companion to cultural memory studies.
Germany: Walter de Gruyter GmbH, 2010.
Halbwachs, Maurice. On Collective Memory. Lewis A. Coser, ed. Chicago:
University of Chicago Press, 1992.
Jobes, Gertrude. Dictionary of Mythology Folklore and Symbol. New York:
The Scarecrow Press Inc., 1962.
LeGoff, Jacques. History and Memory. by Steven Rendall and Elizabeth Claman.
New York: Columbia University Press, 1992.
Nora, Pierre. Between Memory and History: Les Lieux de Mémoire. by Marc
Roudebush. Representations 26 (1989): 7 – 24.
Olick, Jeffrey K. The Collective Memory Reader. Oxford University Press: United
States of America, 2011.
Whitehead, Anne. Memory. New York: Routledge, 2009.
ภาคผนวก
๒๔๘

ภาคผนวก ก

ตารางแสดงข้อมูลคติ ชนเกี่ยวกับขุนแผนในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรี

คติ ชนเกี่ยวกับขุนแผน คติ ชนเกี่ยวกับขุนแผน


ประเภทของข้อมูล
ในจังหวัดกาญจนบุรี ในจังหวัดสุพรรณบุรี
๑. ชื่อสถานที่และชื่ออื่น ๆ
๑.๑ ชื่อสถานที่
- ชื่อสถานทีท่ ่ี วัดป่าเลไลยก์ วัดป่าเลไลยก์ วัดแค เขาพระ
ปรากฏในเสภา วัดส้มใหญ่ บ้านรัว้ ใหญ่
เรือ่ งขุนช้าง – เขาชนไก่ บ้านท่าสิบเบี้ย
ขุนแผน บ้านถํ้า บ้านท่าพีเ่ ลีย้ ง
- ชื่อสถานทีท่ ่ี ถํ้าขุนแผน ถํ้าขุนไกร วัดพลายชุมพล วัดลาวทอง
ไม่ปรากฏใน ถํ้านางบัวคลี่ ถนนพลายแก้ว ถนนเณรแก้ว
เสภาเรื่องขุนช้าง วัดขุนแผน วัดนางพิม ถนนขุนแผน ถนนนางพิม
– ขุนแผน วัดแม่หม้ายเหนือ ถนนนางลาวทอง ถนนขุนไกร
วัดแม่หม้ายใต้ ถนนพลายงาม ถนนพลายชุมพล
วัดถํ้าขุนไกร วัดบ้านถํ้า ถนนพระพันวษา
หมู่บ้านนางทองประศรี ถนนดาบฟ้าฟื้น ถนนไร่ฝ้าย
ชุมชนบ้านขุนแผน แยกเณรแก้ว แยกนางพิม
ชุมชนพิมพิลาไลย แยกอาชาสีหมอก
ถนนขุนแผน ถนนพิมพิลาไลย สะพานอาชาสีหมอก
เขื่อนขุนแผน คุม้ ขุนแผน
ตลาดนางทองประศรี บ้านขุนช้าง
๑.๒ ชื่ออื่น ๆ - ขุนแผน - ชื่อพระพุทธรูป ได้แก่
(ชื่อรหัสในการใช้วทิ ยุส่อื สาร พระนอนเณรแก้ว
ของทหาร) (พระนอนวัดพระรูป)
- ขุนแผน - ชื่อกิจการร้านค้า เช่น
(ชื่อฝา่ ยรุกในการฝึกนักศึกษา อู่ขุนแผน เต๊นท์ขุนแผน
วิชาทหาร) บึงขุนแผน ร้านขุนแผน
ห้องอาหารพลายแก้ว
คอกขุนแผนฟิล่า ขุนแผนไก่ชน
- ชื่ออื่น ๆ เช่น
อาคารพิมพิลาไล
งานขุนแผนคลาสสิคไบค์
ทีมขุนแผน
๒๔๙

คติ ชนเกี่ยวกับขุนแผน คติ ชนเกี่ยวกับขุนแผน


ประเภทของข้อมูล
ในจังหวัดกาญจนบุรี ในจังหวัดสุพรรณบุรี
๒. รูปเคารพ
๒.๑ รูปเคารพขุนแผน - รูปเคารพขุนแผน - รูปเคารพขุนแผน
ทีเ่ ขาชนไก่ ต.ลาดหญ้า ทีว่ ดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร
- รูปเคารพพระยากาญจนบุร ี - รูปเคารพขุนแผนทีว่ ดั แค
ทีว่ ดั ป่าเลไลยก์
- รูปเคารพขุนแผน
ทีถ่ ้ําขุนแผน ต.หนองบัว
- รูปเคารพพระยากาญจนบุร ี
ทีม่ หาวิทยาลัยราชภัฏ
กาญจนบุร ี

๒.๒ รูปเคารพของ - รูปเคารพขุนไกร - รูปเคารพนางพิม


ตัวละครอื่นจาก ทีเ่ ขาชนไก่ และทีว่ ดั ถํ้าขุนไกร ทีว่ ดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร
เสภาเรื่องขุนช้าง – - รูปเคารพนางทองประศรี - รูปเคารพขุนช้าง
ขุนแผน ทีศ่ าลย่าทองประศรี บ้านท่าเสา ทีว่ ดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร
- รูปเคารพนางบัวคลี่ - รูปเคารพสมภารคงทีว่ ดั แค
ทีถ่ ้ํานางบัวคลี่ วัดบ้านถํ้า - รูปเคารพกุมารทองทีว่ ดั แค
- รูปเคารพกุมารทอง
ทีถ่ ้ํานางบัวคลี่ วัดบ้านถํ้า

๓. วัตถุมงคล พระขุนแผน พระขุนแผน


- พระขุนแผนย่างกุมาร - กรุวดั บ้านกร่าง
วัดบ้านถํ้า - กรุวดั ป่าเลไลยก์วรวิหาร
- พระขุนแผนวัดถํ้าขุนแผน - กรุวดั แค
- พระขุนแผนเรือนแก้ว
วัดทุ่งลาดหญ้า
- พระขุนแผนเมืองกาญจน์
วัดหัวหิน
- พระขุนแผนกรุเขาชนไก่
- พระขุนแผนรุ่น
“เรียกเงินทองไหลมา”
วัดไทรทอง
- พระขุนแผนหลวงปู่เหรียญ
วัดหนองบัว
- พระขุนแผนกรุวดั เหนือ
๒๕๐

คติ ชนเกี่ยวกับขุนแผน คติ ชนเกี่ยวกับขุนแผน


ประเภทของข้อมูล
ในจังหวัดกาญจนบุรี ในจังหวัดสุพรรณบุรี
๔. จิ ตรกรรม - จิตรกรรมฝาผนัง - จิตรกรรมฝาผนัง
เรือ่ งขุนช้างขุนแผน เรือ่ งขุนช้าง – ขุนแผน
บริเวณบันไดขึน้ ถํ้า รอบวิหารคด วัดป่าเลไลยก์
วัดบ้านถํ้า (๑๔ ภาพ) วรวิหาร (๓๘ ภาพ)
- จิตรกรรมฝาผนัง - จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน
เรือ่ งขุนช้างขุนแผน ในหอคอยบรรหาร – แจ่มใส
ในหอสมุดวัดมโนธรรมาราม (๑๔ ภาพ)
(๑๖ ภาพ) - จิตรกรรมแสดงภาพตัวละคร
จากเรื่องขุนช้างขุนแผน
ทีบ่ ้านขุนช้าง (๑๗ ภาพ)
- จิตรกรรมเรื่องขุนช้างขุนแผน
บนยอดเขาวัดเขาพระศรี
สรรเพชญาราม
(๑ ภาพ)

๕. เพลงพื้นบ้าน - เพลงทรงเครื่องจากพนมทวน - เพลงปรบไก่


- ลํานอกเรื่องขุนช้าง - ขุนแผน - เพลงอีแซวเล่าเรื่องขุนช้าง –
ขุนแผน
- เพลงส่งเครื่อง
๒๕๑

ภาคผนวก ข

กาเนิ ดขุนแผน
(จากบทความเรื่อง “เมืองขุนแผน” ของพยงค์ เวสสบุตร
๑ กรกฎาคม ๒๕๔๖
เผยแพร่โดยชมรมข้าราชการบํานาญและผูอ้ าวุโส จังหวัดกาญจนบุร)ี

ขุนแผนเป็ นตัวเอกของเรื่อง เดิมชื่อพลายแก้ว พ่อชื่อขุนไกรพลพ่าย อยู่ท่บี ้านพลับ


แม่ชอ่ื นางทองประศรี อยู่ทว่ี ดั ตระไกร ทัง้ สองมีภูมลิ ําเนาอยู่ทเ่ี มืองกาญจนบุรี ต่อมาขุนไกรได้
เป็ น ทหารและย้า ยมาอยู่ ท่สี ุพ รรณบุ รี และให้กําเนิด พลายแก้ว (ขุน แผน) ขึ้นที่น่ี ขุน ไกร
ถึงคราวเคราะห์ทําผิดพลาดในการต้อนฝูงกระบือจนแตกตื่นเมื่อครัง้ สมเด็จพระพันวษาเสด็จ
ประพาสปา่ ล่าสัตว์ ขุนไกรต้องโทษถูกประหาร นางทองประศรีพาพลายแก้วหนีราชภัยไปอยู่
บ้านเดิมทีก่ าญจนบุรี พลายแก้วเมื่อเริม่ เป็นหนุ่มได้บวชเป็ นเณรและได้เข้า มาศึกษาวิชายุทธ
กับขรัวตา “มี” สมภารวัดป่าเลไลย์เมืองสุพรรณ พลายแก้วเมื่อสึกออกมาได้แต่งงานกับนาง
พิมพิลาไลย อยู่กนิ กับนางพิมได้ไม่เท่าใดก็ถูกเกณฑ์เป็นทหารได้เป็นแม่ทพั ไปตีเมืองเชียงใหม่
กลับจากพิชติ เมือ งเชียงใหม่ พลายแก้ว ได้นางลาวทองลูกสาวนายบ้านจอมทองเป็ นเมีย
และได้ค วามชอบเป็ น ขุนแผนสะท้านดูแ ลเขตแดนกาญจนบุรี ถ้า เป็ นยุ ค ป จั จุ บนั ก็ต รงกับ
ตําแหน่งตํารวจตระเวนชายแดน
การได้นางลาวทองเป็นเมียอีกคนหนึ่ง ทําให้เกิดความหึงหวงกับนางพิมพิลาไลยซึ่งได้
เปลี่ยนชื่อเป็ นนางวันทอง จนนางวันทองต้องตกไปเป็ นเมียตามเล่ห์กลของขุนช้ าง ต่อมา
ขุนช้างและขุนแผนถูกเรียกตัวไปเข้ามารับราชการที่กรุงศรีอยุธยา ขุนแผนถูกขุนช้างใส่ความ
ว่าหนีราชการไปหานางลาวทองซึ่งป่วยอยู่ท่กี าญจนบุรี ทําให้ขุนแผนถูกลงโทษห้ามเข้าเฝ้ า
และนางลาวทองถูกนํามากักตัวไว้ในวัง ชีวติ ขุนแผนในระยะนี้ตกตํ่าเที่ยวเร่ร่อนไปตามป ่าดง
เพื่อหาของวิเศษประจําตัว เช่นสร้างดาบฟ้ าฟื้ น และได้นางบัวคลี่ลูก หมื่นหาญหัวหน้ าโจร
เป็ นเมีย ขุนแผนได้กุ มารทองจากนางบัว คลี่ จากนัน้ ขุนแผนไปได้น างแก้ว กิริยาเป็ นเมีย
อีกคนหนึ่งเมื่อครัง้ บุกขึน้ เรือนขุนช้างพานางวันทองหนีไปอยู่ทเ่ี มืองพิจติ ร
ขุนแผนเข้ามอบตัว ตามคํา แนะนํ าของเจ้าเมืองพิจิตรและชนะความได้นางวันทอง
กลับคืน นางวันทองตัง้ ท้องพลายงาม ขุนแผนใจร้อนทูลขอนางลาวทองออกจากวัง ทําให้
พระพันวษากริว้ ให้จําคุกขุนแผน ขุนช้างจึงถือโอกาสฉุดนางวันทองไปอยู่ด้วย ขุนแผนติดคุก
อยู่ ๑๕ ปี จงึ พ้นโทษเมื่ออยุธยาเกิดศึกกับเชียงใหม่อีก พลายงามลูกติดท้องนางวันทองได้
อาสาศึกและขอขุนแผนไปด้วย เมื่อทัง้ ๒ พ่อลูกชนะศึกกลับมา ขุนแผนได้ยศเป็ นพระสุรนิ ทร์
ฦาชัยเจ้าเมืองกาญจนบุรีและพลายงามได้เป็ นจมื่นไวยวรนารถอยู่ท่กี รุงศรีอยุธยา ต่อมา
๒๕๒

ในงานแต่งงานของจมื่นไวยวรนารถ ขุนช้างเมาอาละวาดได้ทําการจาบจ้วงหยาบช้า ทําให้


จมื่นไวยได้รบั ความอับอาย จมื่นไวยจึงไปชิงนางวันทองให้มาอยู่กบั ขุนแผน ทําให้นางวันทอง
ต้อ งถู ก ประหารชีว ิต ด้ ว ยไม่ ส ามารถตัด สิน ใจว่ า จะอยู่ ก ับ ขุ น แผนหรือ ขุ น ช้า ง หลัง จาก
นางวันทองสิน้ ชีวติ แล้ว ขุนแผนได้กลับไปอยู่เป็นเจ้าเมืองกาญจนบุรจี นตราบสิน้ อายุขยั
๒๕๓

ภาคผนวก ค

ขุนแผนแสนสะท้าน
เจ้าเมืองกาญจน์ พระสุรินทรฦๅชัย
(จากบทความเรื่อง “ขุนแผนแสนสะท้าน เจ้าเมืองกาญจน์ พระสุรนิ ทร์ฦๅชัย”
ของพยงค์ เวสสบุตร
๒๙ กันยายน ๒๕๕๐
เผยแพร่โดยชมรมข้าราชการบํานาญและผูอ้ าวุโส จังหวัดกาญจนบุร)ี

 กาเนิ ดขุนแผน
พ.ศ.๒๐๒๘ (ตามวรรณคดี) แผ่นดินสมเด็จพระพันวษา นายไกรชาวบ้านพลับอายุ
๒๒ ปี และนางทองประศรีชาวบ้านวัดตระไกรอายุ ๑๙ ปี ทัง้ สองอยู่บริเวณใกล้เคียงกัน ที่
เขาชนไก่ เมืองกาญจนบุรี และได้แต่งงานกัน นายไกรมีอาชีพเป็ นพรานมีความรู้ในวิชาอาคม
และวิทยายุทธ์ กิตศิ พั ท์ของนายไกรทําให้ได้รบั การแต่งตัง้ เป็ นทหารตําแหน่ งขุนไกรพลพ่าย
ขุนไกรจึงเข้ามารับราชการอยู่เมืองสุพรรณ ณ ทีน่ ้ที งั ้ สองได้กําเนิดบุตรชายตัง้ ชื่อว่าพลายแก้ว
(ขุนแผน) พลายแก้วในวัยเด็กมีเพื่อนเล่นซึ่งในจํานวนนัน้ เมื่อโตขึน้ ก็ค ือขุนช้างและนางพิม
พิลาไลย

 นางทองประศรีพาพลายแก้วมาอยู่กาญจนบุรี
พลายแก้วอายุได้ ๕ ปี เศษ ก็จําต้องออกจากสุพรรณหนีราชภัยมากับนางทองประศรี
ผูเ้ ป็นแม่มาอยู่บา้ นเดิมทีเ่ ขาชนไก่ ด้วยเหตุทข่ี นุ ไกรถูกประหารชีวติ เมื่อครัง้ สมเด็จพระพันวษา
เสด็จออกมาล่าสัตว์ท่ปี ่าเมืองกาญจน์ ขุนไกรต้อนควายป่าเข้าคอกไม่สําเร็จและฆ่าควายไป
หลายตัว ทําให้พระพันวษาพิโรธ

 พลายแก้วบวชเณรได้พบกับนางพิ ม
นางทองประศรีประกอบการค้าอยู่ท่บี ้านเดิมจนรํ่ารวย พลายแก้วอายุ ๑๕ ปี จึงขอ
บวชเณรศึกษาวิชาอาคมตามรอยบิดาอยู่ท่วี ดั ส้มใหญ่ จากนัน้ จึงเข้าไปอยู่ท่วี ดั ป ่าเลไลย์ และ
วัดแคทีเ่ มืองสุพรรณบุรี พลายแก้วได้พบกับนางพิม เกิดได้เสียและได้แต่งงานกัน
๒๕๔

 พลายแก้วถูกเกณฑ์ไปทาศึกกับเมืองเชียงใหม่
กรุงศรีอยุธยาเกิดศึก เชียงใหม่กรณีชงิ เมือ งเชียงทอง (หลวงพระบาง) นายช้างซึ่ง
รับ ราชการเป็ น ขุ น ช้า งมหาดเล็ก หลงรัก นางวัน ทองจึง เพ็ด ทู ล ให้ พ ลายแก้ว เป็ น แม่ ท ัพ
พลายแก้วจึงจําต้องจากเมียไปทําศึกได้เมืองเชียงทองคืนมาขึน้ กับกรุงศรีอยุธยาและตีเมือง
ลําปางลําพูนได้ จากนัน้ จึงนําทัพมาตัง้ อยู่ทบ่ี า้ นจอมทอง

 พลายแก้วได้นางลาวทองและได้ยศเป็ นขุนแผน
ณ บ้านจอมทอง นายบ้านได้นํานางลาวทองลูกสาวมาให้รบั ใช้ พลายแก้วจึงได้นาง
ลาวทองเป็นเมีย ต่อมาได้รบั พระบรมราชโองการให้ถอยทัพกลับ พลายแก้วได้รบั แต่งตัง้ มียศ
เป็นขุนแผนแสนสะท้านให้ไปเป็นนายด่านเมืองกาญจนบุรี

 นางพิ มเปลี่ยนชื่อเป็ นวันทอง ถูกบังคับให้แต่งงานกับขุนช้าง


ระหว่างที่พลายแก้วขึ้นไปทําศึก นางพิม พิลาไลยป่วยได้รบั การเปลี่ยนชื่อ ใหม่เป็ น
วันทอง ขุนช้างนํ ากระดูกมาหลอกว่าพลายแก้วตาย นางวันทองถูกบังคับให้แต่งงานใหม่กบั
ขุนช้าง นางวันทองแต่งแล้วไม่ยอมเข้าหอจะรอจนกว่ากองทัพกลับมา

 ขุนแผนโกรธละนางวันทองไปอยู่เมืองกาญจน์
พลายแก้วได้เป็ นขุนแผนแล้วจึงพาลาวทองขึน้ ไปรับนางวันทองที่สุพรรณ ขุนแผน
เข้าใจผิดและโกรธทีน่ างวันทองแต่งงานใหม่และไม่สามารถทําให้เมียทัง้ สองเลิกหึงหวงกันได้
จึงละนางวันทองกลับไปเมืองกาญจน์ ทําให้นางวันทองน้อยใจและถูกขืนใจตกเป็นเมียขุนช้าง

 ขุนแผนต้องพรากนางลาวทอง
สมเด็จพระพันวษาให้จมื่นศรีนําขุนช้างขุนแผนมาฝึ กเป็ นมหาดเล็กรับราชการในวัง
จมื่นศรีจงึ ให้ขุนช้างขุนแผนคืนดีกนั และสาบานเป็ นเพื่อนนํ้ ามิตรร่วมด้วยกับขุนเพชรขุนราม
ต่อมาขุนแผนทราบข่าวนางลาวทองป่วย ขุนช้างจึงรับอาสาอยู่เวรทําหน้าที่แทน แล้วทําการ
ให้รา้ ยว่าขุนแผนปีนกําแพงวังลอบไปหาเมีย สมเด็จพระพันวษาทรงกริว้ จึงให้คุมนางลาวทอง
มากักไว้ในวังห้ามขุนแผนเข้ามากรุงศรีอยุธยา

 ขุนแผนออกหาของเพิ่ มอิ ทธิ ฤทธิ์


ขุนแผนได้รบั ความว้าเหว่ค ิดแก้แค้นขุนช้าง จึงออกตระเวนไพรหาของสําคัญเพื่อ
ป้องกันตนและเดินทางมาถึงบ้านถํ้าซึ่งเป็นชุมชนโจรของหมื่นหาญ ณ ที่น้ีขุนแผนได้มโี อกาส
๒๕๕

ช่วยหมื่นหาญให้รอดพ้นจากการถูกกระทิงขวิด หมื่ นหาญชอบใจจึงยกนางบัวคลี่ลูกสาวให้


เป็นเมีย ขุนแผนอยู่กนิ กับนางบัวคลีจ่ นนางตัง้ ท้อง

 ขุนแผนได้กมุ ารทอง
ขุนแผนถูกหมื่นหาญบังคับให้ออกปล้นสะดม ขุนแผนไม่ยอมทําจึงเกิดขัดแย้งและ
มีก ารประลองอิทธิฤทธิก์ นั หมื่นหาญสู้ไ ม่ไ ด้จึงเกลี้ยกล่ อ มนางบัว คลี่ให้วางยาพิษขุนแผน
นางบัวคลี่เป็ นชาวบ้านป่ามีค วามรัก ผู้เ ป็ นพ่อ แม่ม ากกว่าขุนแผนซึ่งเป็ นคนพเนจรจึงยอม
ทําร้ายขุนแผน ขุนแผนทราบความจากผีพรายที่เลี้ยงไว้ จึงอุบายขอลูกจากนางบัวคลี่และผ่า
นําเด็กในท้องไปทําพิธปี ลุกเสกเป็นกุมารทอง หมื่นหาญนําคนมาล้อมจับแต่สู้ไม่ได้ กุมารทอง
ช่วยนําขุนแผนกลับไปบ้านทีเ่ ขาชนไก่

 ขุนแผนตีดาบฟ้ าฟื้ น
ขุนแผนได้กุมารทองแล้วจึงออกหาเหล็กตามลักษณะไสยเวทที่ต่าง ๆ เช่น เหล็กยอด
เจดีย์ เหล็กดามโลงผี เหล็กไหล ฯลฯ นํามาหลอมรวมกันให้ช่างตีได้ดาบที่แข็งและคมเรียกว่า
ดาบฟ้าฟื้ น

 ขุนแผนได้ม้าสีหมอก
ขุนแผนต้องการได้ม้าดีเป็ นพาหนะ จึงออกค้นหาและเดินทางมาถึงเมืองเพชรบุ รี
ที่เมือ งนี้ขุนแผนได้พ บม้า หนุ่ ม ต้องลักษณะ ซึ่งหลวงทรงพลได้นํา มาจากเมืองมะริด แขวง
ตะนาวศรี หลวงทรงพลได้รบั ราชโองการให้เป็ นเจ้าหน้ าที่ไปจัดหาซื้อม้าจากพวกอาหรับที่
เข้ามาค้าขายและนําเข้ามาทางด่านสิงขรพักอยู่เพชรบุรี ม้าสีหมอกเป็ นม้าหนุ่ มนิสยั พยศร้าย
หลวงทรงพลจึงยกให้ขนุ แผน

 ขุนแผนบุกเรือนขุนช้าง
ขุนแผนเมื่อได้ของสําคัญ ๓ ประการไว้ต่อสูป้ ้ องกันตัวแล้ว จึงเดินทางไปสุพรรณบุกขึน้
เรือนขุนช้างเพื่อลักพาตัวนางวันทอง

 ขุนแผนได้นางแก้วกิ ริยาเป็ นเมีย


ขุนแผนเข้า ห้อ งผิดหลงไปเข้าห้ องนางแก้วกิริยา นางแก้ว กิริยานี้ เป็ นลู กเจ้าเมือ ง
สุโขทัยซึ่งถูกปรับเป็ นพินัยใช้หนี้หลวง มีเงินไม่พอจึงขอยืมเงินขุนช้างและให้นางแก้วกิรยิ า
มาเป็ นทาสรับใช้ ขุนแผนได้นางแก้วกิรยิ ามาเป็ นเมียและมอบเงินไว้ให้เพื่อไถ่ตวั นางแก้ว
กิรยิ าชีห้ อ้ งขุนช้างกับนางวันทองให้ขุนแผน
๒๕๖

 ขุนแผนพานางวันทองหนี เข้าป่ าถูกไล่ตามจับ


ขุน แผนพานางวัน ทองข้า มแม่น้ํ า ไปพักที่เ นิน ผาริม นํ้ า ท่ า ต้น ไทร ขุน ช้างนํ ากํ า ลัง
ติดตามถูกขุนแผนทําร้ายจึงไปฟ้องพระพันวษา พระพันวษาให้จมื่นศรี ขุนเพชร ขุนรามนํ าทัพ
ไปล้อมจับ ขุนแผนเสกหญ้าเป็ นหุ่นตีทพั หมื่นศรีแตกกลับไป ขุนแผนฆ่าขุนเพชรขุนรามตาย
ขุนแผนต้องหาเป็นกบฏถูกประกาศจับ

 นางวันทองตัง้ ท้อง
ขุนแผนพักอยู่ในป่าใกล้กบั หมู่บ้านชาวละว้า นางวันทองตัง้ ท้อ ง ขุนแผนคิดขอลุแก่
โทษ จึงพานางวันทองขึ้น ไปขอความช่วยเหลือ จากเจ้าเมือ งพิจิตร ขุนแผนนํ าดาบฟ้ าฟื้ น
ไปซ่อนและฝากม้าสีหมอกไว้ทพ่ี จิ ติ ร ขุนแผนถูกนําตัวส่งกรุงศรีอยุธยา

 ขุนแผนพบนางแก้วกิ ริยาและชนะคดี
นางแก้วกิรยิ าซึ่งได้เงินไถ่ตวั จึงออกจากบ้านขุนช้างมาค้าขายอยูท่ ต่ี ลาดกรุงศรีอยุธยา
นางแก้วกิรยิ าทราบข่าวจึงได้มาหาขุนแผน การชําระคดีขนุ แผนได้นําเหตุการณ์ทข่ี นุ ช้างทรยศ
หักหลังมาสู้จึงได้รบั การอภัยพ้นโทษ พระพันวษาทรงตัดสินให้นางวันทองไปอยู่กบั ขุนแผน
ขุนแผนจึงพาเมียทัง้ ๒ ไปพักอาศัยอยู่กบั จมื่นศรี

 ขุนแผนต้องโทษจาคุก
ขุนแผนถึงคราวเคราะห์ไม่ทอดเวลาทีเ่ กิดขึน้ ออกไปก่อน มีความเป็นห่วงนางลาวทอง
ทีอ่ ุตส่าห์ตดิ ตามมาด้วยจากเมืองเหนือ จึงขอให้จมื่นศรีชว่ ยทูลขอพระพันวษาทรงปล่อยตัวนาง
ลาวทองออกจากวัง ทําให้พระพันวษาพิโรธลงโทษสังจํ ่ าคุกขุนแผนดังบทเสภา
“ครัง้ ขุนเพชรขุนรามตามออกไป บังอาจใจฆ่าเสียปน่ ปี้
กูกง็ ดอาญาไม่ฆา่ ตี ซํ้ายกอีวนั ทองให้แก่ตวั
ยังลวนลามตามขออีลาวทอง จองหองไม่คดิ ท่วมหัว
พูดเล่นตามใจไม่เกรงกลัว เพราะตัวอีลาวทองต้องอยู่วงั
ไกลตาตกว่าไม่ไว้ใจ มันกลัวกูน้ไี พล่เอาข้างหลัง
ฟงั มันเจรจาดูน่าชัง ถ้าแม้นตัง้ หน้ารับราชการไป
ทําดีอย่าว่าแต่ลาวทอง อีกสองสามคนกูจะให้
เห็นไม่ทําแล้วยิง่ ทะนงใจ ละไว้จะกําเริบทุกเวลา”
ครอบครัวขุนแผนต้องเกิดแตกแยกอีก ด้วยขุนช้างพาคนมาฉุ ดนางวันทองไปอยู่ด้วย
ทีส่ ุพรรณส่วนนางแก้วกิรยิ ามาปลูกกระท่อมอยู่ใกล้คุกคอยดูแลขุนแผน
๒๕๗

 กาเนิ ดพลายงาม
นางวันทองอยู่กบั ขุนช้างได้ให้กําเนิดลูกของขุนแผนให้ช่อื ว่าพลายงามอายุได้ ๙ ขวบ
หน้าตาเช่นขุนแผน ทําให้ขนุ ช้างขุน่ เคืองจึงหลอกพาไปฆ่าในปา่ พวกผีพรายของขุนแผนช่วย
ปกป้องและไปเข้าฝนั นางวันทองให้ไปช่วย นางวันทองจึงให้พลายงามหนีภยั ไปอยู่กบั นางทอง
ประศรีทก่ี าญจนบุรี พลายงามได้ศกึ ษาวิชาอาคมเช่นเดียวกับขุนแผนจนอายุได้ ๑๓ ปี จึงลาย่า
มาหาขุนแผนและไปอาศัยอยู่กบั จมื่นศรี จมื่นศรีจงึ พามาถวายตัวเป็นมหาดเล็ก

 เกิ ดศึกกับเชียงใหม่
เหตุด้วยกรุ งศรีอ ยุธยาให้พ ระท้า ยนํ้ าเป็ นทูต ไปรับ นางสร้อยทองธิดาเจ้าเมือ งกรุ ง
นาคนหุต (ศรีสตั นาคนหุต – ล้านช้าง) เพื่อนํามาถวายตัวต่อพระพันวษา ระหว่างทางเจ้าพิชยั
เชียงอินทร์เจ้ากรุงเชียงใหม่ส่งกําลังมาชิงตัวและจับพระท้ายนํ้ าไปเชียงใหม่ พระพั นวษาได้
พลายงามอาสาไปตีเชียงใหม่

 ขุนแผน นางลาวทองพ้นโทษ
พลายงามขออภัยโทษให้ขุนแผน ขุนแผนติดคุกอยู่ ๑๕ ปี จึงพ้นโทษ พระพันวษา
โปรดให้ปล่อยนางลาวทองออกจากวัง ขุนแผนพานางแก้วกิรยิ าและนางลาวทองมาอาศัยอยู่
บ้านจมื่นศรี ทีบ่ า้ นจมื่นศรี ขุนแผนได้พบกับนางทองประศรีซ่ึ งจมื่นศรีให้ไปรับจากวัดตระไกร
มาอยู่ดว้ ย

 ขุนแผน พลายงามออกศึก นางแก้วกิ ริยาคลอดพลายชุมพล


วันเดินทางไปออกศึก นางแก้วกิรยิ าได้ให้กําเนิดลูกชายให้ช่อื ว่าพลายชุมพล ก่อนถึง
เมืองลพบุรี ขุนแผนแวะที่บ้านก่งธนู ขุดดาบฟ้าฟื้ นที่ซ่อนไว้ท่โี คนต้นไทร จากนัน้ จึงไปแวะ
เยีย่ มพระพิจติ ร

 ขุนแผนแวะรับม้าสีหมอก พลายงามได้เสียกับนางศรีมาลา
ขุนแผนแวะเยี่ยมพระพิจติ ร ขอรับม้าสีหมอกที่ฝากไว้ พลายงามพบกับนางศรีมาลา
ลูกสาวพระพิจติ ร เกิดชอบพอและได้เสียกัน
๒๕๘

 ขุนแผน พลายงามชนะศึก
ทัพ เชีย งใหม่ ถู ก ตีแ ตก ขุน แผน พลายงามลัก ลอบเข้า เมือ งเชีย งใหม่ ปลดปล่ อ ย
พระท้ายนํ้ า และจับพระเจ้าเชียงใหม่ได้ ขุนแผนคุมตัวพระเจ้าเชียงใหม่และครอบครัวลงมา
กรุงศรีอยุธยา ขากลับแวะเมืองพิจติ รและขอหมัน้ นางศรีมาลาให้แก่พลายงาม

 ขุนแผน พลายงามได้รบั พระราชทานความชอบ


ขุน แผนได้ ร ับ การแต่ ง ตัง้ ให้เ ป็ น เจ้ า เมือ งกาญจนบุ รีเ ป็ น พระสุ ริน ทร์ ฦ าชัย ส่ ว น
พลายงามได้เป็ น จมื่นไวยวรนาถ หัว หมื่น มหาดเล็ก รับ ราชการที่ก รุง ศรีอ ยุธ ยาและได้ร ับ
พระราชทานนางสร้อยฟ้ าธิดาพระเจ้าเชียงใหม่เป็ นภรรยา ส่วนนางสร้อ ยทองธิดาพระเจ้า
ล้านช้างได้เป็นชายาพระพันวษา และพระเชียงอินทร์ได้รบั อภัยโทษทรงโปรดให้กลับไปครอง
เมืองเชียงใหม่

 แต่งงานพระไวยพลายงาม
ขุนแผนทูลพระพันวษาว่าเมื่อครัง้ ไปทําศึกที่เชียงใหม่ พลายงามได้หมัน้ ไว้กบั นาง
ศรีมาลา พระพันวษาจึงโปรดให้พระพิจติ รนํ าศรีมาลามาแต่งงานพร้อมกัน วันแต่งงานที่จวน
พระไวย นางวันทองและขุนช้างมาร่วมงานด้วย ในงานขุนช้างเมาสุราลําเลิกบุญ คุณพระไวย
ถูกพระไวยทําร้ายถูกขับออกจากงาน

 ขุนช้างต้องโทษ
ขุน ช้า งทู ล ถวายฎีก ากล่ า วโทษพระไวยที่พ ระไวยทํ า ร้า ย พระไวยสู้ค ดีว่า ขุน ช้า ง
ทําความอับอายและเคยทําร้ายตนในวัยเด็ก พระพันวษาทรงให้พสิ ูจน์ด้วยพระอัยการโบราณ
ให้ทงั ้ ๒ ฝา่ ยดํานํ้า ขุนช้างสูไ้ ม่ได้จงึ ถูกจําคุกรอการประหาร นางวันทองอ้อนวอนให้จมื่นไวย
ทูลขออภัยโทษ ขุนช้างจึงรอดตายกลับไปอยู่สุพรรณ

 จมื่นไวยพรากนางวันทองจากขุนช้าง
การที่ขุน ช้า งสร้า งความอับอายให้จ มื่น ไวย และนางวัน ทองต้อ งไปอยู่ ก ับ ขุน ช้า ง
พระไวยจึงลอบขึน้ เรือนขุนช้างพานางวันทองมาอยู่กบั ขุนแผนที่บ้านอยุธยา ขุนช้างจึงเข้ามา
ถวายฎีกากล่าวโทษ
๒๕๙

 นางวันทองต้องโทษประหาร
พระพันวษาทรงพิโรธขุน ช้าง ขุน แผน และพระไวยที่แย่ง ตัว นางวันทองและต่ างก็
กระทําการโดยไม่เกรงกฎหมายบ้านเมือง ทรงตําหนิโทษแล้วจึงให้นางวันทองตัดสินใจว่า
จะไปอยู่กบั ใคร นางวันทองตัดสินใจไม่ถูก พระพันวษาทรงพิโรธจึงให้ประหารนางวันทอง

 นางสร้อยฟ้ าทาเสน่ ห์
นางสร้อยฟ้ า นางศรีมาลาหึงหวงพระไวยเกิดทะเลาะกัน พระไวย นางทองประศรี
ลงโทษตีนางสร้อยฟ้ าที่ไม่ยอมเลิก ทะเลาะ นางสร้อ ยฟ้ าคิดแก้แค้นจึงไปหาเถรขวาดที่ว ดั
พระยาแมนให้ทําเสน่ ห์ เถรขวาดนี้ เจ้าเชียงอินทร์ให้ลงมาอยู่ท่กี รุงศรีอยุธยาคอยดูแลนาง
สร้อยฟ้า พระไวย นางทองประศรีถูกกระทําจึงรักใคร่นางสร้อยฟ้า นางศรีมาลาถูกนางสร้อยฟ้า
แกล้งเกิดทะเลาะกัน จมื่นไวยกลับลงโทษตีนางศรีมาลาและพลอยถูกพลายชุมพลทีเ่ ข้าห้าม

 พลายชุมพลหนี ไปฟ้ องขุนแผน


พลายชุม พลรู้ค วามจากกุ ม ารทองว่า พระไวยถู ก ทํ า เสน่ ห์ จึง หนี ไ ปฟ้ องขุน แผน
พลายชุมพลทราบความจากนางแก้วกิรยิ าว่ายังมีตาและยายอยู่เมืองสุโขทัย จึงหนีไปกับกุมาร
ทองไปหาพระสุโขทัยผูเ้ ป็นตา เจ้าเมืองสุโขทัยพาพลายชุมพลไปบวชเณรอยู่ทว่ี ดั กะพังทอง

 ขุนแผน พระพิ จิตรลงมาว่ากล่าวจมื่นไวย


พระไวย นางทองประศรี ถู ก กระทํ า หลงรัก นางสร้ อ ยฟ้ า จึ ง ไม่ เ ชื่อ ฟ งั ขุ น แผน
นางทองประศรีเข้าข้างพระไวย ขุน แผน พระพิจิตรจึงกลับคืนเมือง ขุน แผนโกรธพระไวย
คิดหาทางแก้ไขการทําเสน่ห์

 พลายชุมพลยกทัพหุ่นมนตร์มาติ ดเมืองสุพรรณ
พลายชุมพลเล่าเรียนวิชาอาคม ผูกหุ่นมนตร์ส่งข่าวถึงขุนแผน ขุนแผนแนะให้พลาย
ชุมพลนํ า ทัพหุ่นมนตร์มาติดเมืองสุพรรณเพื่อล่อพระไวยให้นําทัพออกมาจะได้จบั พระไวย
พลายชุมพลปลอมตัวเป็ นมอญชื่อสมิงมัตรานํ าทัพหุ่นมนตร์มาตัง้ อยู่ท่เี ดิมบาง ขุนแผนได้รบั
คําสังให้
่ นําทัพไปปราบทัพมอญ ขุนแผนยอมแพ้แกล้งให้ถูกจับได้ และพบกับพลายชุมพล
ทัง้ สองพ่อลูกนําทัพหุ่นมนตร์จากสุพรรณมาตัง้ อยู่ทบ่ี า้ นตาลาน พันเภาเจ้าเมืองสุพรรณหนีมา
แจ้งข่าวศึกว่าขุนแผนถูกจับ
๒๖๐

 พระไวยยกทัพ
สมเด็จพระพันวษาทรงแต่งตัง้ พระไวยเป็นแม่ทพั พระไวยนําทัพมาตัง้ อยู่ทว่ี ดั บ้านลาด
ได้พบปีศาจนางวันทองทีป่ ลอมตัวเป็นหญิงสาวมาเตือนพระไวย พระไวยจําใจต้องยกกําลังไป
ตัง้ ทัพอยู่ทบ่ี างกระทิง

 พระไวยแตกทัพ
ทัพหุ่นมนตร์ของพระไวยและพลายชุมพลปะทะกัน พระไวยรูว้ า่ เป็นทัพของขุนแผนกับ
พลายชุมพล พระไวยจึงหนีมาทูลพระพันวษา พระพันวษาทรงให้นางศรีมาลาไปพบขุนแผน
ขุนแผนพาพลายชุมพลมาเข้าเฝ้าพระพันวษา

 พลายชุมพลจับเสน่ ห์
สมเด็จ พระพัน วษาทรงให้จมื่นศรีและพลายชุมพลไปจับคนทําเสน่ ห์ ทัง้ สองจับได้
เถรขวาดและเณรจิว๋ นํ าไปคุมขังไว้ท่ที มิ ตํารวจ เถรขวาด เณรจิว๋ หนีออกมาได้จากที่คุมขัง
แปลงตัวเป็ นจระเข้หนีไปทางนํ้ า พระพันวษาให้นํานางสร้อยฟ้ า นางศรีมาลามาชําระคดีโดย
ผ่านพิธลี ุยไฟ

 นางสร้อยฟ้ าถูกลงโทษ
นางสร้อยฟ้าพิสูจน์ตวั เองไม่ได้ ถูกลงโทษประหารชีวติ นางศรีมาลาทูลขอชีวติ เพราะ
นางสร้อยฟ้าท้องได้ ๓ เดือน นางสร้อยฟ้าพ้นโทษประหารถูกเนรเทศกลับบ้านเมือง ระหว่าง
ทางพบกับเถรขวาดทีอ่ ่างทอง เถรขวาดตามไปส่ง ขึน้ จากเรือทีบ่ า้ นระแหงเมืองตาก เดินบกไป
ถึงเชียงใหม่รวมเวลาเดินทางเกือบ ๒ เดือน

 นางสร้อยฟ้ า ศรีมาลาได้ลูกชาย
นางศรีมาลาคลอดได้ลูกชาย ขุนแผนให้ชอ่ื ว่าพลายเพชร ส่วนนางสร้อยฟ้าก็ได้ลูกชาย
ให้ชอ่ื ว่าพลายยง (หรืออีกชือ่ หนึ่งว่าพลายบัว)

 เถรขวาดคิ ดแก้แค้น
เถรขวาดคิดแก้แค้นพลายชุมพลจึงลงไปเมืองอ่างทองแปลงตัวเป็ นจระเข้ไล่ทําร้าย
ชาวบ้าน พลายชุมพลรับอาสาจับจระเข้ ได้ตวั เถรขวาดนําไปประหาร พลายชุมพลมีความชอบ
ได้รบั ยศเป็นหลวงนายฤทธิ ์
๒๖๑

 จบเรื่องตามวรรณคดี
วรรณคดีขนุ ช้างขุนแผนฉบับหอสมุดแห่งชาติจะจบลงตอนที่พลายชุมพลกําจัดจระเข้
เถรขวาดลงได้และได้รบั ยศเป็นหลวงนายฤทธิ ์ และจะตัดตอนที่พลายยง (หรือพลายบัว) บุตร
ของนางสร้อยฟ้าทีล่ กั ลอบลงมาจะฆ่านางศรีมาลาและถูกจับได้ และได้รบั การอบรมให้ลดการ
พยาบาทต่อ กัน บทเสภาตอนนี้ค งจะเป็ นการต่อเติมที่ยดื ยาวมากไปและคงไม่สนุ กไม่ได้รบั
ความนิยม จึงไม่ได้รบั การชําระรวมลงในฉบับหอสมุดแห่งชาติ
๒๖๒

ภาคผนวก ง

ข้อมูลเกี่ยวกับพระขุนแผนกรุวดั บ้านกร่าง
จากป้ ายอธิ บายข้อมูลในพิ พิธภัณฑ์พระขุนแผนและพระเครื่องเมืองสุพรรณ
วัดป่ าเลไลยก์วรวิ หาร จังหวัดสุพรรณบุรี

จากการเก็บ ข้อมูลภาคสนามที่พิพิธภัณฑ์พระขุนแผนและพระเครื่อ งเมืองสุพรรณ


ผู้ว ิจ ัย พบว่ า ภายในพิพิธ ภัณ ฑ์ ด ัง กล่ า วมีก ารจัด แสดงแผ่ น ป้ ายอธิบ ายข้อ มู ล เกี่ย วกับ
พระขุนแผนกรุวดั บ้านกร่าง ทัง้ ประวัติ พุทธคุณ ที่มาของชื่อ การจํา แนกพิมพ์ อายุการสร้าง
และลักษณะของพระขุน แผนกรุว ดั บ้า นกร่ า งไว้อย่ างละเอีย ด พบทัง้ ข้อมู ล ภาษาไทยและ
ข้อมูลภาษาอังกฤษ ข้อมูลดังกล่าวเป็นข้อมูลสําคัญทีส่ มควรบันทึกไว้ เพราะเมื่อเวลาผ่านไป
มีผู้ท ราบข้อ มู ล น้ อ ยลงจนข้อ มู ล อาจสู ญ หายได้ ผู้ว ิจ ัย จึง ได้ ร วบรวม ข้อ มู ล ดัง กล่ า วไว้
เพื่อเป็นประโยชน์ในการศึกษาวิจยั ต่อไป

ข้อมูลภาษาไทยเกี่ยวกับพระขุนแผนกรุวดั บ้านกร่าง

สังเขปประวัติ...พระขุนแผน กรุบ้านกร่าง
พระขุนแผน กรุวดั บ้านกร่าง นับเป็นพระกรุทม่ี ชี อ่ื เสียงโด่งดังมานานแล้ว วัดนี้ตงั ้ อยู่
ที่อําเภอศรีประจันต์ เป็ นวัดใหญ่พอสมควร สันนิษฐานว่า สร้างมาตัง้ แต่ค รัง้ กรุงศรีอยุธยา
องค์พระเจดียท์ พ่ี บพระบ้านกร่างองค์เดิมนัน้ พังทลายไปนานแล้ว ปจั จุบนั ได้สร้างขึน้ ใหม่คร่อม
องค์เดิม พระกรุวดั บ้านกร่างแตกกรุออกเมื่อใดไม่มใี ครทราบแน่นอน คนเฒ่าคนแก่เล่าให้ฟงั ว่า
เมื่อประมาณปี พ.ศ.๒๔๔๐ เห็นพระวัดบ้านกร่างกองสุมเป็ นพะเนินที่โคนต้นพิกุลหน้าวิหาร
หลังเก่า สันนิษฐานว่าองค์พระเจดีย์คงพังทลายลงมา พระเณรจึงช่วยกันรวบรวมพระเครื่อง
มากองไว้ทใ่ี ต้ตน้ พิกุล ในสมัยนัน้ ยังไม่ค่อยมีคนสนใจเท่าใดนัก
ต่อมามีชาวเรือทีเ่ ป็นคนต่างถิน่ นําเอาสินค้าร่องเรือมาขายที่สุพรรณฯ จอดพักเรือที่
ท่านํ้าหน้าวัด บางคนก็ขน้ึ ไปเที่ยวในวัดบ้านกร่างและเก็บเอาพระวัดบ้านกร่างติดตัวกลับไป
กันมาก ชาวบ้านแถบนัน้ มีบางคนเอาพระไปเก็บไว้ค นละพานสองพาน เพื่อ นฝูงญาติมิตร
ต่างถิน่ ไปมาหาสู่กแ็ จกพระไปคนละองค์สององค์ ต่อมามีผนู้ ํ าพระบ้านกร่างติดตัวไปแล้วเกิ ด
ถูก ทํา ร้า ยแต่ไ ม่เ ป็ น อะไร จึง เกิดความนิ ยมกันมากขึ้น เกิด การเสาะหาพระบ้านกร่ างกัน
มากขึน้ เป็นลําดับ พระทีก่ องไว้ทว่ี ดั ก็อนั ตรธานหายไปหมด


ผูว้ จิ ยั สะกดการันต์ตามต้นฉบับ
๒๖๓

พระกรุวดั บ้านกร่างนี้ใครเป็ นผูส้ ร้างนัน้ ไม่มใี ครทราบแน่ ชดั แต่จากการสันนิษฐาน


กันว่าเป็ นพระที่สมเด็จพระนเรศวรฯ และสมเด็จพระเอกาทศรถสร้างไว้ เนื่องจากเมื่อครัง้
สมเด็จพระนเรศวรกรีฑาทัพผ่านมาทางอําเภอศรีประจันต์เพื่อรบกับพม่า หลังจากทรงกระทํา
ยุท ธหัตถีชนะแล้ว คงจะเดินทัพกลับ และอาจหยุด พัก ที่ต รงบริเวณนี้ ก็เ ป็ น ได้ และพระวัด
บ้านกร่างพิมพ์ขุนแผนอกใหญ่ ก็มีลกั ษณะรูปทรงเหมือนกับ พระขุนแผนเคลือบกรุวดั ใหญ่
ไชยมงคลมากจนเกือบจะเป็นพิมพ์เดียวกันและก็เป็นทีร่ กู้ นั ว่าพระขุนแผนเคลือบนัน้ สร้างโดย
สมเด็จพระพนรัตน์ วัดป่าแก้ว บรรจุ ไ ว้ในเจดีย์วดั ใหญ่ ไ ชยมงคล เพื่อ เป็ นการเฉลิม ฉลอง
ชัยชนะในครัง้ นัน้ และเป็ นการอุทิศบุญกุศลให้แก่ทหารหาญที่เสียชีวติ ในพระราชสงคราม
ครัง้ นัน้ อีกประการหนึ่งก็คอื พระที่เป็ นทรงคู่แบบพระวัดบ้านกร่างนัน้ มีท่นี ่ีท่เี ดียว ก็น่าจะมี
ความหมายถึง สมเด็จพระนเรศวรฯ และสมเด็จพระเอกาทศรถ ทางด้านศิลปะก็เป็นศิลปะแบบ
อยุธยาตอนกลาง ซึ่งตรงกับสมัยของสมเด็จพระนเรศวรฯ พอดี จึงเป็ นที่น่าเชื่อได้ว่า พระกรุ
วัดบ้านกร่างเป็นพระทีส่ มเด็จพระนเรศวรฯ และสมเด็จพระเอกาทศรถได้ทรงโปรดให้สร้างขึน้
ในครัง้ นัน้
พระกรุวดั บ้านกร่างมีจํานวนองค์พระและพิมพ์ต่าง ๆ มากมาย พอจะรวบรวมได้ดงั นี้
พระขุนแผนพิมพ์อกใหญ่ พระขุนแผนพิมพ์อกเล็ก พิมพ์ทรงพลใหญ่ พิมพ์ทรงพล
เล็ก พิม พ์ป ระธาน พิม พ์ ซุ้ ม เหลือ บ พิม พ์เ ถาวัล ย์ พิม พ์ ใ บไม้ ร่ ว ง พิม พ์ ซุ้ ม ประตู พิม พ์
หน้าเทวดาซุ้มเดีย่ ว – ซุ้มคู่ พิมพ์หน้าฤาษี พิมพ์หน้านาง พิมพ์แขนอ่อน พิมพ์ใบมะขาม พิมพ์
ใบพุทรา พิมพ์ปรกโพธิ ์ พิมพ์ก้างปลา พิมพ์ฐานกระหนก พิมพ์ฐานหมอน พิมพ์เศียรโต และ
พิมพ์บา้ นกร่างคู่ยงั แยกออกได้อกี หลายพิมพ์ เช่น พิมพ์หน้ายักษ์ พิมพ์หน้าเทวดา ซุ้มเดีย่ ว –
ซุ้มคู่ พิมพ์เศียรโต พิมพ์หน้าแก่ พิมพ์หน้าฤาษี พิมพ์หน้านุ่ ม พิมพ์หน้ายาว พิมพ์หน้ากลม
พิมพ์อกครุฑ พิมพ์หน้ามงคล และพิมพ์สองปาง เป็นต้น

พระขุนแผน กรุวดั บ้านกร่าง สุพรรณบุรี


ในบรรดาพระเครื่องชัน้ นําของเมืองสุพรรณบุรี มักมีชอ่ื ของ “พระขุนแผน” รวมอยู่ใน
พระกรุยอดนิยมต่าง ๆ จํานวนมาก หนึ่งในจํานวนนัน้ คือ พระขุนแผน กรุวดั บ้านกร่างเมือง
สุพรรณบุรี ซึ่งเป็นพระกรุโบราณ มีอายุการสร้างมาหลายร้อยปี กล่าวกันว่าความงดงามของ
พุทธศิล ปะนัน้ โดดเด่น ยิ่งนัก ส่ว นพุท ธคุณนัน้ ก็เลิศลํ้ าเกินคํ าบรรยาย ทัง้ เมตตามหานิย ม
มหาเสน่ ห์ ตลอดจนคงกระพัน ชาตรี ยากที่ จ ะหาพระพิ ม พ์ ใ ดเสมอเหมื อ น จั ด เป็ น
พระยอดนิยมชัน้ แนวหน้าของวงการมานาน
๒๖๔

พระกรุวดั บ้านกร่าง พระดี พระดังแห่งเมืองสุพรรณบุรี


วัดบ้านกร่าง อันเป็นแหล่งกําเนิด “พระขุนแผน กรุบ้านกร่าง” อันเลื่องชื่อนี้ ตัง้ อยู่ท่ี
ั ่ น ออกของแม่ น้ํ า ท่ า จีน หรือ แม่ น้ํ า
ตํ า บลศรีป ระจัน ต์ จัง หวัด สุ พ รรณบุ รี อยู่ ท างฝ งตะวั
สุพรรณบุรี ตรงข้ามกับทีว่ า่ การอําเภอศรีประจันต์ วัดนี้เป็ นวัดโบราณที่สร้างมาตัง้ แต่ครัง้ สมัย
กรุงศรีอยุธยา พระเครื่อง กรุ วดั บ้านกร่างแตกกรุจ ากเจดีย์หลังพระวิหารเก่าในบริเวณวัด
บ้านกร่าง เมื่อราว พ.ศ.๒๔๔๐ มีเรื่องเล่ากันว่า ตอนทีพ่ ระแตกกรุออกมาใหม่ ๆ พวกพระสงฆ์
และชาวบ้านได้นําพระทัง้ หมดมากมายหลายพิมพ์ม าวางไว้ใต้ต้นโพธิ ์ใหญ่ใกล้วหิ าร เด็กวัด
ในสมัย นัน้ ได้นํ า พระที่ว างไว้ม าเล่ น ร่ อ นแข่ง ขัน กัน ในลํ า นํ้ า สุ พ รรณบุ รี เป็ น ที่ส นุ ก สนาน
เนื่องจากว่า ในสมัยนัน้ พระวัดบ้านกร่าง ยังไม่มมี ูลค่า และความนิยมมากมายเหมือนดังเช่น
ปจั จุบนั

ที่มาแห่งชื่อ “พระขุนแผน”
ชือ่ “พระขุนแผน” ทัง้ ของเมืองสุพรรณหรือขุนแผนเมืองไหนก็ตามเป็ นการเรียกชื่อ
พระของคนสมัยหลัง เพราะคนโบราณสร้างพระพิมพ์ ไม่เคยพบหลักฐานว่ามีการตัง้ ชื่อพระ
เอาไว้ด้วย มีแ ต่ค นรุ่ นหลัง ที่ไปขุด พบพระพิม พ์เ ป็ น ผู้ต งั ้ ชื่อ ให้ทงั ้ สิ้น พระกรุว ดั บ้านกร่ า ง
ก็เช่นเดียวกัน เมื่อแตกกรุใหม่ ๆ ก็ไม่มชี อ่ื คนสุพรรณบุรยี ุคนัน้ เรียกกันเพียงว่า “พระวัดบ้าน
กร่าง” คือถ้าเป็นพระองค์เดียวก็เรียก “พระบ้านกร่างเดี่ยว” ถ้าเป็ นพระ ๒ องค์คู่ตดิ กันก็เรียก
“พระบ้านกร่างคู่” ต่อมาจึงมีการตัง้ ชือ่ ให้เป็นพระขุนแผนบ้าง พระพลายเดี่ยวบ้าง พระพลายคู่
บ้าง ทีม่ าของชือ่ พระพิมพ์ขนุ แผนเหล่านี้ เชื่อว่าคนตัง้ ชื่อคงต้องการให้คล้องจองกลมกลืนกับ
ตัวละครในวรรณคดีเรื่องขุนช้าง – ขุนแผน ที่โด่งดัง อันมีถนิ่ กําเนิดในย่านสุพรรณบุรี คําว่า
พระบ้านกร่าง จึงค่อย ๆ เลือนหายไป หรืออีกนัยหนึ่ง ชือ่ ของพระขุนแผนอาจได้มาจากการทีม่ ี
ผูบ้ ูชากราบไหว้ หรืออาราธนานํ าติดตัวไปไว้ป้ อ งกันอุบตั ิภ ัยต่าง ๆ แล้วได้ประจัก ษ์ค วาม
ศักดิ ์สิทธิ ์ในอํานาจพุทธคุณทีม่ คี ุณวิเศษเหมือนขุนแผนในวรรณคดีโดยเฉพาะด้านเสน่หเ์ มตตา
มหานิยม อาจด้วยเหตุน้ีจงึ เรียกชือ่ ว่า พระขุนแผน สืบมา

การจาแนกพิ มพ์ทรงพระกรุวดั บ้านกร่าง


พระกรุวดั บ้านกร่าง เข้าใจว่ามีจํานวนถึง ๘๔,๐๐๐ องค์ ตามคติการสร้างพระพิมพ์
ในสมัยโบราณ เมื่อพระแตกกรุขน้ึ มาก็ได้มผี แู้ ยกแบบ แยกพิมพ์ต่าง ๆ ตามความแตกต่างของ
พุทธลักษณะ ซึ่งมีจํานวนกว่า ๓๐ พิมพ์ข้นึ ไป บางแบบก็เรียกว่า “พระขุนแผน” ซึ่งมีพิมพ์
ยอดนิยม เช่น พิมพ์หา้ เหลีย่ มอกใหญ่ พิมพ์ห้าเหลี่ยมอกเล็ก พิมพ์ทรงพลใหญ่ พิมพ์ทรงพล
เล็ก พิมพ์พระประธาน พิมพ์เถาวัลย์เลือ้ ย พิมพ์แขนอ่อน ฯลฯ บางแบบก็เรียกว่า “พระพลาย”
อันหมายถึงลูกของขุนแผน ซึ่งมีทงั ้ ทีพ่ มิ พ์เป็นคู่ตดิ กัน เรียกว่า “พระพลายคู่” และองค์เดี่ยว ๆ
๒๖๕

เรียกว่า “พระพลายเดีย่ ว” ซึ่งแต่ละพิมพ์กย็ งั แบ่งแยกออกไปอีกเป็ นสิบ ๆ พิมพ์ เช่น พลายคู่


หน้ายักษ์ หน้ามงคล หน้าฤาษี หน้ าเทวดา พลายเดี่ยวพิมพ์ชะลูด พิมพ์ก้างปลา ฯลฯ การที่
คนรุ่ น เก่ า เลือ กที่จ ะตัง้ ชื่อ พระพิม พ์ นั น้ ๆ ว่ า ขุ น แผน คงจะดู รู ป ร่ า งศิล ปะในองค์ พ ระ
ถ้าพระองค์ใดมีรูปแบบศิลปะสวยงามสะดุดตา ก็เรียกว่า พระขุนแผน ไว้ก่อน ส่วนพระพิมพ์ใด
หย่อนคุณค่าทางด้านศิลปะความงาม ความอ่อนช้อยก็ตงั ้ ชือ่ เรียกว่า พระพลาย เพื่อให้แตกต่าง
กันไป

อายุการสร้างของพระขุนแผน กรุวดั บ้านกร่าง


พระขุนแผน กรุวดั บ้านกร่าง สุพรรณบุรี เมื่อพิจารณาจากศิลปะแล้ว บอกให้รู้ว่าเป็ น
พระในสมัย อยุ ธ ยาตอนกลาง โดยมีศลิ ปะที่อ่ อ นช้อยสวยงาม เป็ น เอกลัก ษณ์ ข องตัว เอง
ที่ สํ า คั ญ ที่ สุ ด คื อ ใ นจํ า นวนพระขุ น แผน กรุ ว ั ด บ้ า น กร่ า งนี้ มี อ ยู่ พิ ม พ์ ห นึ่ ง นั ้ น คื อ
“พระขุนแผน พิมพ์ห้าเหลี่ยมอกใหญ่ ” มีลกั ษณะและศิลปะเหมือนกับ “พระขุนแผนเคลือบ”
ที่แตกกรุออกมาจากเจดีย์วดั ใหญ่ ชยั มงคล พระนครศรีอยุธยา ซึ่งเจดีย์องค์น้ีมีบนั ทึกไว้ใน
พงศาวดารว่า สมเด็จพระนเรศวรมหาราช โปรดให้สร้างขึน้ ในปี พ.ศ.๒๑๓๕ ตามคําทูลแนะนํ า
ของสมเด็จพระพนรัตน์ วัดป่าแก้ว เพื่อ เฉลิม พระเกียรติแห่งชัยชนะในการทํายุทธหัตถีกบั
พระมหาอุปราชาแห่งพม่า พระเจดีย์องค์น้ีช่อื ว่า “พระเจดีย์ชยั มงคล” แต่ชาวบ้านเรียกว่า
“พระเจดีย์ใ หญ่ ” เพราะเป็ น เจดีย์ท่ีใ หญ่ ท่ีสุ ด ในอยุ ธ ยา ซึ่ ง ตามประเพณีม าแต่ โ บราณว่ า
เมื่อสร้างพระเจดีย์แล้ว จะสร้างพระพิมพ์บรรจุไว้ด้วยเพื่อสืบทอดพระพุทธศาสนา ถือกันว่า
ได้กุ ศ ลแรง พระขุ น แผนเคลือ บคงสร้า งเพื่อ บรรจุ ไ ว้ใ นเจดีย์ วัด ใหญ่ ช ยั มงคลในครัง้ นั น้
ความคล้ายคลึงกันของพุทธศิลป์ข องพระขุนแผนเคลือบกรุวดั ใหญ่ ชยั มงคลกับพระขุนแผน
กรุ ว ัด บ้ า นกร่ า ง สุ พ รรณบุ รี โดยเฉพาะพิม พ์ ห้ า เหลี่ ย มอกใหญ่ น้ี เมื่ อนํ า พระทัง้ สอง
มาเปรียบเทียบกันจะเห็นความแตกต่างกันน้อยมาก โดยเฉพาะเส้นสายและลวดลายการแกะ
ของแม่พิม พ์ ทํ าให้น่าเชื่อว่า ช่างที่แกะสมัยนัน้ คงเป็ นคนคนเดีย วกัน หรือ สกุ ล ช่างศิลปะ
ในสํานักเดียวกัน อายุการสร้างอาจไม่แตกต่างกันมากนัก หรืออาจแกะในคราวเดียวกัน หรือ
พิมพ์ในคราวเดียวกัน แต่ได้มีก ารแยกบรรจุเจดีย์ต่างกัน ดังนัน้ จึงพอที่จะสันนิษฐานได้ว่า
พระขุนแผน กรุวดั บ้านกร่าง คงมีอายุในราวรัชกาลสมเด็จพระนเรศวรมหาราช หรือประมาณ
๔๐๐ ปีล่วงมาแล้ว

ลักษณะธรรมชาติ พระกรุวดั บ้านกร่าง


พระกรุ ว ัด บ้ า นกร่ า ง โดยทัว่ ไปไม่ ว่ า จะเป็ น พิม พ์พ ระขุ น แผน พระพลายเดี่ย ว
พระพลายคู่ นัน้ เป็ นพระเนื้ อ เดีย วกัน คือ เนื้ อ ดิน เผาผสมว่า นและเกสรดอกไม้น านาชนิ ด
ไม่ ป รากฏว่ า มี เ นื้ อ ประเภทอื่ น ลัก ษณะเนื้ อ พระมี ท ัง้ ชนิ ด เนื้ อละเอี ย ดและเนื้ อ หยาบ
๒๖๖

แต่ส่วนใหญ่จะเป็นประเภทเนื้อหยาบทีม่ สี ่วนผสมของกรวดทรายมาก มีทงั ้ แดง สีพกิ ุล สีเขียว


และสีดํา ตามความอ่อนแก่ของความร้อนในขณะเผาไฟ แต่ไม่วา่ จะเป็ นเนื้อหยาบหรือละเอียด
สิ่งที่ขาดไม่ได้คือ ต้องมีว่านดอกมะขาม มีแร่ทรายเงิน แร่ทรายทอง และ “รอยว่านหลุด ”
อยู่ด้วยทุกองค์ รอยว่านหลุดดังกล่าวเป็ นร่องเล็ก ๆ สัณฐานไม่แน่ นอน เป็ นรูปแท่งสี่เหลี่ยม
บ้าง สามเหลี่ยมบ้าง และเป็ นร่องลึก ร่องตื้นก็ได้ รอยว่านหลุ ดนี้ ถือเป็ นเอกลักษณะของ
เนื้อพระกรุวดั บ้านกร่างทีจ่ ะขาดเสียมิได้ในการพิจารณา
นอกจากนี้ พระกรุวดั บ้านกร่างยังเป็ นพระกรุท่ผี วิ สะอาดเนื่องจากกรุพระมีสภาพดี
ไม่จมดินหรือถูกนํ้ าท่วมขัง ดังนัน้ จึงไม่ม ีค ราบขี้ก รุเกาะติดหนาให้เห็น จะมีเพียงแต่ฝ้ ากรุ
บาง ๆ ฉาบติดอยู่ แต่ถา้ ผ่านการใช้หรือการสัมผัสก็จะเหลือผิวฝ้ากรุตามซอกองค์พระเท่านัน้
พระกรุว ดั บ้า นกร่ างเป็ น พระที่มีช่อื เสีย งโด่ง ดัง ไม่ ว่าจะเป็ นพระขุนแผน พระพลายเดี่ย ว
พระพลายคู่ ล้ว นแต่ เ ป็ น พระกรุท่ีมีอายุ หลายร้อ ยปี และมีพุ ท ธคุ ณ สูง ส่ ง ทางด้านเมตตา
มหานิ ย ม มหาเสน่ ห์ แคล้ว คลาด และคงกระพัน ชาตรีเ ป็ น เลิศ จึง เป็ น ที่นิ ย มเสาะหากัน
มานานแล้ว แม้ปจั จุบนั ความนิยมก็ไม่ได้ลดลงน้อยลงไปเลย

ข้อความภาษาอังกฤษเกี่ยวกับพระขุนแผนกรุวดั บ้านกร่าง

It is believed that Khun Paen Small Buddha Images, Suphanburi origin from
the underground hiding place at the temple of Wat Barn Krang, are highly sacred in
term of evident Buddha’s grace, invulnerable, beloved and popular. They were made in
2135 B.E. (1592 A.D.) by King Naraesuan the Great and the Supreme Buddhist Monk
Nopparat from the temple of Pah Kaew.

The Antiguity of Phra Khun Paen


Further to their graphic art, we could refer to the middle ages of Aytthaya.
At that age, the graphic art was so gentle and unique. Significantly, one of Khun Paen
Small Buddha Images from Barn Krang Kru, Big Pentagon Shape was similar to
Coated Khun Paen Small Buddha Image which was discovered under the underground
hiding place in a pagoda at the grand temple of Chai Mongkol, Ayutthaya province.
It was pointed out in the annals that King Naresuan the Great gave command to build
the pagoda in 2135 B.E. (1592 A.D.) The pagoda was built according to the suggestion


ผูว้ จิ ยั คัดลอกตามต้นฉบับจากป้ายอธิบายข้อมูลในพิพธิ ภัณฑ์ฯ
๒๖๗

by the supreme Buddhist monk, Phra Nopparat from the temple of Pah Kaew, in order
to glorify King Narasuen’s victory against King Uparacha of Burma. The pagoda was
named “Phra Jaedee Chai Mongkol” (Chai Pagoda) but the villagers called it as
“Phra Jaedee Yai” (Giant Pagoda) since it was the biggest pagoda in Aytthaya. It was
an ancient custom that as soon as people had finished building a pagoda, they would
made small Buddha Images and kept them under the underground hiding place for the
sake of highly good deeds. Coated Khun Paen Small Buddha Images were made and
kept inside the pagoda. Comparing Barn Krang Kru and Coated Khun Paen Small
Buddha Images, we found little difference for the aspect of graphic arts and mold
pattern. It was highly believed that the carver was the same or came from the same
family or art school. Their ages were a bit different but kept in the difference places.
We, therefore, assumed that Khun Paen Small Buddha Images from Barn Krang Kru
could date back to the reign of King Naresuan the Great or about 400 years ago.

The Characteristics of Ban Krang Kru Small Buddha Images


Generally, Barn Krang Kru Small Buddha Images are the same content which
made from baked clay mixed with various kinds of sages and flowers. It was not found
other content. There are rough and powdered, but mostly are rough with gravel. They
can be red, yellow, green and black. Their colors are different according to the
temperature of burning. Significantly, all Barn Krang Kru Small Buddha Images must
contain “Wam Dok Makam” (species of sage), silver and gold. Last but not least, there
is a small nook on every small images and we call it “Roy Warn Lud” (the nook where
sage was peeled away)
Furthermore, Barn Krang Kru Small Buddha Images have clean surface
because they were kept in the safe place out of flood or bury. There is very little dust
inside their nooks. These images are very famous until now. They are precious in term
of antiquity, highly Buddha’s grace and popularity. People believe that the Buddha
Images causes beloved, popular, enchanting, safe and invulnerable.
๒๖๘

The Legend of Khun Paen Small Buddha Image


Khun Paen Small Buddha Image from the Temple of Barn Krang, Suphanburi
The origin of famous Small Buddha Images were from underground hiding
places which we called “Kru.” One of the most famous Kru is Barn Krang Kru in
Suphanburi City where was an ancient Kru. Khun Paen Small Buddha Images or
“Phra Khun Paen” were discovered at Barn Krang Kru for hundreds years ago. They
are very famous and popular until now. It is said that the images are outstanding in
Buddhist Arts. In addition, the Buddha’s grace is superior in term of generosity,
popularlity, enchanting and being invulnerable.
๒๖๙

ภาคผนวก จ

รายชื่อผูใ้ ห้สมั ภาษณ์


ในการเก็บข้อมูลภาคสนามในจังหวัดกาญจนบุรีและจังหวัดสุพรรณบุรี
ช่วง พ.ศ.๒๕๕๒ – ๒๕๕๔

จังหวัดกาญจนบุรี
ที่ ชื่อ – สกุล วันสัมภาษณ์ ที่อยู่
๑. พลตรี คนินทร วงศาโรจน์ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ตําบลลาดหญ้า
๒. พันเอก (พิเศษ) ชัยยา จุย้ ๑๕ กรกฎาคม ๒๕๕๓ ตําบลลาดหญ้า
เจริญ
๓. ฐิตวิ รรณ เหมือนจิต ๒๓ กรกฎาคม ๒๕๕๒ ตําบลวังด้ง
๔. ฑรัท เหลืองสอาด ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒ ตําบลลาดหญ้า
๕. ทรงศักดิ ์ อินอนันต์ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๒ ตําบลลาดหญ้า
๖. ธานี เหลืองสอาด ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒ ตําบลหนองบัว
๗. ประภาภรณ์ มิตรสงเคราะห์ ๒๑ กันยายน ๒๕๕๒ ตําบลลาดหญ้า
๘. ปราณี อินอนันต์ ๒๗ ธันวาคม ๒๕๕๒ ตําบลลาดหญ้า
๙. เป๋า โคกแก้ว ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒ ตําบลลาดหญ้า
๑๐. ไพศาล กองม่วง ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒ ตําบลลาดหญ้า
๑๑. วรรณา วิภาคะหรรษา ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒ ตําบลลาดหญ้า
๑๒. วิชวน วิภาคะหรรษา ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒ ตําบลลาดหญ้า
๑๓. แววตา จงอายุวรรณะ ๑๕ สิงหาคม ๒๕๕๒ ตําบลลาดหญ้า
๑๔. ศรีสกุล พูลสวัสดิ ์ ๒๙ กันยายน ๒๕๕๒, ตําบลลาดหญ้า
๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๓,
๑๕ พฤษภาคม ๒๕๕๔
๑๕. สมศรี พงศ์วฒั นะเควิน ๒๑ กันยายน ๒๕๕๒ ตําบลลาดหญ้า
๒๗๐

จังหวัดสุพรรณบุรี
ที่ ชื่อ – สกุล วันสัมภาษณ์ ที่อยู่
๑. กัลยา เลิศลอยปญั ญาไทย ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๓ อําเภอเดิมบางนางบวช
๒. ยุพนิ จันทร์นุ่ม ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๓ อําเภอเดิมบางนางบวช
๓. เรณู เชีย่ วชาญ ๒๒ สิงหาคม ๒๕๕๓ อําเภอเดิมบางนางบวช
๔. สุมาตรา เมืองช้าง ๑๐ พฤศจิกายน ๒๕๕๔ อําเภอเดิมบางนางบวช
๕. สุพตั รา อ่อนเยีย่ ม ๒๗ กันยายน ๒๕๕๓ อําเภออู่ทอง
๖. สร้อยฟ้า ศรีบุญเพ็ง ๒๗ กันยายน ๒๕๕๓ อําเภออู่ทอง
๗. หนึ่งนุช มิง่ มีสุข ๒๖ กันยายน ๒๕๕๓ อําเภออู่ทอง
๘. อรอุมา ภาภิรมย์ ๒๖ กันยายน ๒๕๕๓ อําเภออู่ทอง
๙. อารีย์ เสร็จกิจ ๑๐ ธันวาคม ๒๕๕๒, อําเภอศรีประจันต์
๑๒ มีนาคม ๒๕๕๓
๒๗๑

ประวัติผ้เู ขียนวิทยานิพนธ์

นา ง ส า วพั ช นี ย า บุ น น า ค เ กิ ด วั น อา ทิ ต ย์ ท่ี ๒ ๐ กั น ยา ย น พ .ศ. ๒ ๕ ๓๐


ทีก่ รุงเทพมหานคร เป็นบุตรของนายสุรพล บุนนาค และนางวนิดา บุนนาค สาเร็จการศึกษา
ระดับ มัธ ยมศึก ษาตอนปลายจากโรงเรีย นเซนต์โ ยเซฟ บางนา จากนัน้ ได้เ ข้า ศึก ษาต่ อ
ที่คณะอักษรศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย เป็ นนิสิต โครงการพิเศษหลักสูตรภาษาและ
วรรณคดีไทย รุ่นที่ ๑๓ สาเร็จการศึกษาปริญญาอักษรศาสตรบัณฑิต (เกียรตินิยมอันดับ ๑)
สาขาวิชาภาษาไทย ภาควิชาภาษาไทย คณะอักษรศาสตร์ จุฬ าลงกรณ์ มหาวิท ยาลัย
ในปี การศึกษา ๒๕๕๑ และเข้าศึกษาต่อ ในระดับปริญญามหาบัณฑิต สาขาวิชาภาษาไทย
(วรรณคดี ไ ทย) ภาควิช าภาษาไทย คณะอัก ษรศาสตร์ จุ ฬ าลงกรณ์ ม หาวิท ยาลัย
ในปี การศึ ก ษา ๒๕๕๒ ป ัจ จุ บ ั น รั บ ราชการเป็ นข้ า ราชการพลเ รื อ นในพระอง ค์
สานักราชเลขาธิการ ตาแหน่งวิทยากร ตัง้ แต่วนั จันทร์ท่ี ๑๘ ตุลาคม พ.ศ.๒๕๕๓

You might also like