You are on page 1of 41

แผนพัฒนาการท่องเที่ยวบ้านนาเชือก

ระยะ 5 ปี (2560-2564)

จัดทำโดย
ชุมชนบ้านนาเชือก หมู่ 9 ตาบลแร่ อาเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
ภายใต้โครงการการหมู่บ้านราชมงคล ปี 2559
คำขวัญบ้ำนนำเชือก
วัดดอยงามลา วัฒนธรรมภูไท

ปลาใหญ่เขื่อนนาอูน แหล่งอุดมสมบูรณ์ภูพาน

งามตระการผ้าย้อมมูลควาย มากมายอารยะธรรม

นานาเศรษฐกิจพอเพียง เคียงคู่เทคโนโลยี
คำนำ

แผนพัฒนาการท่องเที่ ย วบ้ า นนาเชื อ ก ตาบลแร่ อ าเภอพั ง โคน จั ง หวั ดสกลนคร


ปี 2560-2564 เกิดขึ้นจากความร่วมมือร่วมใจของคนในชุมชนบ้านนาเชือก เป็ น แนวทางการ
พัฒนาชุมชนเชิงบรูณาการ โดยคนในชุมชนเป็นผู้ขับเคลื่อนและดาเนิน การหลั ก เพื่ อ น าบ้ า นนา
เชือกสู่การเป็น “หมู่บ้ำนท่องเที่ยว” ที่มีชื่อเสี ย งในอนาคต เป็ น หนึ่ ง แผนงานในการพั ฒ นา
เศรษฐกิจ สัมคม และสิ่งแวดล้อมของชุมชน บนพื้นฐานของทุนทางธรรมชาติ และวิถีชีวิตของคน
ในชุมชน ซึ่งจะเป็นอีกแนวทางในการสร้างงาน สร้างรายได้ สร้างความอยู่ดีมีสุขให้คนในชุมชน
บ้านนาเชือกอย่างยั่งยืน
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวบ้านเชือก สาเร็จได้ด้วยการสนับสนุนของโครงการหมู่ บ้ า น
ราชมงคล ปี 2559 โดยมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคอีสาน วิทยาเขตสกลนคร การจั ดท า
แผนพัฒนานี้เกิดจากกระบวนการแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชนและผู้ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ ง โดยมี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาสกร นันทพานิช เป็นผู้ดาเนินการ/ที่ปรึกษา ให้คาแนะน าจนส าเร็ จ
เป็นแผนพัฒนาการท่องเที่ยวบ้านนาเชือก ระยะ 5 ปี (2560-2564) ซึ่งชุมชนบ้านนาเชือกจะใช้
เป็นแนวทางสาหรับพัฒนาการท่องเที่ยวให้บรรลุตามเป้าหมายที่ได้วางไว้ร่วมกัน

คณะทางาน
กันยายน 2559
สำรบัญ
ส่วนที่ 1 : บทนา 1
1.1 ความเป็นมาและความสาคัญ 1
1.2 วัตถุประสงค์ 2
ส่วนที่ 2 : ข้อมูลชุมชนบ้านนาเชือก 3
2.1 ประวัติและความเป็นมาของชุมชน 3
2.2 ข้อมูลทางกายภาพ 3
2.2.1 ที่ตั้ง/ สภาพพื้นที่ 3
2.2.2 อาณาเขต 3
2.2.2 สถานที่สาคัญ 4
2.2.4 ระบบสาธารณูปโภค/โครงสร้างพื้นฐาน 4
2.2.5 สิ่งแวดล้อมตามธรรมชาติ 4
2.2.6 แหล่งท่องเที่ยวในชุมชน 5
2.3 ข้อมูลด้านสังคมและวัฒนธรรม 6
2.3.1 ประชากร 6
2.3.2 ประเพณีและวัฒนธรรม 6
2.3.3 ศาสนาและความเชื่อ 7
2.3.4 ภูมิปัญญาชาวบ้าน 7
2.3.5 การปกครอง 7
2.4 ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ 8
2.4.1 รายได้-รายจ่าย 8
2.4.2 กลุ่มอาชีพ 8
ส่วนที่ 3 : ศักยภาพและภาพอนาคตการพัฒนาการท่องเที่ยวชุมชนบ้านนาเชือก 10
3.1 ศักยภาพด้านการท่องเที่ยว 10
3.2 ภาพอนาคตด้านการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านนาเชือก 12
ส่วนที่ 4 : แผนพัฒนาการท่องเทียวบ้านนาเชือกระยะ 5 ปี (2560-2564) 13
4.1 วิสัยทัศน์ 13
4.2 ตัวชี้วัดความสาเร็จตามเป้าหมายของภาพอนาคตในการพัฒนา 13
การท่องเที่ยวบ้านนาเชือกในระยะเวลา 5 ปี
4.3 ประเด็นยุทธศาสตร์ กลยุทธ์ และโครงการภายใต้แผนพัฒนา 15
การท่องเที่ยวบ้านนาเชือก
ส่วนที่ 5 : ข้อเสนอแนะแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวบ้านนาเชือกสู่ความสาเร็จ 23
ภำคผนวก : 25
รายชื่อผู้ร่วมจัดทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวบ้านนาเชือก 26
ภาพประกอบกิจกรรม 28
ส่วนที่ 1
บทนำ
1.1 ควำมเป็นมำและควำมสำคัญ
บ้านนาเชือก เป็นหนึ่งหมู่บ้านที่เข้าร่วมโครงการยกระดั บ คุ ณ ภาพชี วิ ตของหมู่ บ้ า น
ชุมชน แบบมีส่วนร่วม 84 หมู่บ้าน ชุมชนเฉลิมพระเกียรติ หรือ “หมู่บ้านราชมงคล” ซึ่ ง มี ก าร
ดาเนินงานมาตั้งแต่ปี 2554 จนถึงปัจจุบัน (ปี 2559) เป็นระยะเวลา 6 ปี ท าให้ ชุ ม ชนบ้ า นนา
เชือกเกิดการพัฒนาทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม ถือเป็นหมู่บ้านต้นแบบในการพัฒนา
ที่ประสบความสาเร็จ ผลจากการดาเนินโครงการดังกล่าวท าให้ คนในชุ ม ชนเกิ ดการเรี ย นรู้
ทราบความต้องการที่แท้จริงของตนเอง โดยได้มองเห็นความสาคั ญที่ความสุขของคนในชุมชนเป็น
หลัก และได้กาหนดตาแหน่งของตนเองเป็น“ชุมชนพอเพียง” มุ่งที่จะพัฒนาชุมชนบนพื้ น ฐาน
ของสิ่งที่มีอยู่จากความเป็นตัวตนของชุมชม สร้างสรรค์งานจากชุมชน ให้มีความสุข พออยู่ พอกิน
ลดความเหลื่อมล้าในสังคม เป็นกาวเชื่อมโยงชุมชน พร้อมที่ จะเดิน และเติ บ โตไปพร้ อ ม ๆ กั น
มากกว่าการเติบโตไปเฉพาะกลุ่ม ไม่เป็นชุมชนที่ต่างคนต่างอยู่
ในปี 2558 คณะทางานโครงการ ฯ ได้ร่วมกับชุมชนบ้านนาเชือกในการถอดบทเรี ย น
ความสาเร็จในการดาเนินโครงการ ตลอดจนการร่วมค้นหาทิศทางการพัฒนาชุมชนในอนาคต ซึ่ ง
ได้กาหนดทิศทางในการพัฒนาชุมโดยพิจารณาสิ่งที่คนในชุมชนสามารถเข้าไปมีส่ ว นร่ ว มในการ
พัฒนาได้อย่างทั่วถึง สร้างกิจกรรม/พัฒนา ชิ้นงานในชุมชนชนโดยให้มหี ่วงโซ่การทางานในชุมชน
ที่ยาว เพื่อกระจายงานในชุมชนให้ได้มากที่สุด เนื่องจากคนในชุมชน มีทักษะและความชานาญไม่
เหมือนกัน โดยเห็นพร้องต้องกันว่า การพั ฒ นาชุ ม ชนบ้ า นนาเชื อ กในอนาคตควรมุ่ ง ให้ เ ป็ น
“หมู่บ้านท่องเที่ยว” เนื่องจากชุมชนมีศักยภาพด้านการพัฒนาผลิตภัณฑ์จากทุนทางปัญญาและ
ทรัพยากรที่มีอยู่ เป็นชุมชนที่มีจิตบริการสามารถพัฒนาศักยภาพในการบริการให้คนในชุมชนได้
มีศักยภาพในการผลิตผลผลิตทางการเกษตร รวมทั้งมีกลุ่มอาชีพที่หลากหลายสามารถเป็ น แหล่ ง
ท่องเที่ยวและแหล่งเรียนรู้ได้ นอกจากนี้บ้านนาเชือกยังมีทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ ที่ ส วยงาม
ตั้งอยู่บริเวณเขื่อนน้าอูน สามารถพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติได้ (ทิศทางการพัฒนาแสดง
ดังภาพ)
จากความต้ องการของคน ในชุ ม ชนและ ศั ก ยภาพที่ มี อ ยู่ จึ ง น ามา สู่ ก ารจั ดท า
“แผนพัฒนำกำรท่องเที่ยวบ้ำนนำเชือก ปี 2560-2564” ด้ ว ยกระบวนการแบบมี ส่ ว นร่ ว ม
ภายใต้การสนับสนุนของโครงการหมู่บ้านราชมงคล ปี 2559 โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาสกร
|2
นันทพาณิช เป็นผู้ดาเนินการ (Facilitator) และให้คาปรึกษาในการจัดทาแผนพัฒนาจนส าเร็ จ
สามารถนาไปแนวทางการพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนประสบความสาเร็จตามความคาดหวัง

ผลิตภัณฑ์
สร้างกิจกรรม/พัฒ นา ชิ้ น งานในชุ ม ชนชน
จากงานมีห่วงโซ่การดาเนินงานในชุ ม ชนให้
หมู่บ้ำนกำร
ยาวหรือมากที่สุด เพื่อที่จะกระจายงานในแต่
ท่องเที่ยว
ละกระบวนการให้คนชุมชนเข้ามาร่วมได้ ม าก
ที่สุด (คนในชุมชน มี ทั ก ษะต่ า งกั น มี ค วาม
ชานาญไม่เหมือนกัน ) ซึ่ ง จะท าให้ ชุ ม ชนมี
ผลผลิตทางการเกษตร การบริการ
ความเข้มแข็ง
ทิศทางการพัฒนาบ้านนาเชือก1
1.2 วัตถุประสงค์
1. สร้างความรู้ความเข้าใจในการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวให้กับชุมชนบ้านนาเชือก
2. สร้างกระบวนการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชนบ้านนาเชือก
3. จัดทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยวบ้านนาเชือกระยะ 5 ปี (2560-2564)

1
ทิศทางการพัฒนาจากการถอดบทเรียนการพัฒนาหมู่บ้านราชมงคล บ้านนาเชือก ปี 2554-2558 โดยมี
ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาสกร นันทพานิช ผู้ดาเนินการ (Facilitator)
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 3

ส่วนที่ 2
ข้อมูลชุมชนบ้ำนนำเชือก
2.1 ประวัติและควำมเป็นมำของชุมชน
บ้านนาเชือกก่อตั้งขึ้นเมื่อปี พ.ศ. 2515 มีจานวนครัวเรือนก่อตั้งครั้งแรก 35 ครัวเรื อ น
เป็นหมู่บ้านแยกออกจากบ้านโคกสะอาด หมู่ที่ 6 ตาบลแร่ ประชากรส่วนใหญ่เป็นชาวไทโส้ พื้นที่
หมู่บ้านตั้งอยู่ในเขตป่าสงวนแห่งชาติเทือกเขาภูพาน ซึ่งเดิมบ้านนาเชือกตั้งอยู่บริเวณที่เก็บกับน้า
เขื่อนน้าอูน วัดดอยสุเทพนิมิตในปัจจุบัน แต่ปริมาณน้าในเขื่อนน้าอูนเพิ่มขึ้นทุกปี ทาให้ ชาวบ้ า น
นาเชือกอพยบครัวเรือนไปสร้างบ้านใหม่ในบริเวณที่ตั้งหมู่บ้านในปัจจุบัน และยังใช้ชื่อหมู่ บ้ า น
เดิม คือ “บ้ำนนำเชือก” โดยมีผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านร่วมกับบ้านโคกสะอาด นายชนะ โซ่ เ มื อ งแซะ
นายขันหา จันฑะวงศ์ และ นายสี ไชยเชษฐ์ ได้ ข อตั้ ง เป็ น หมู่ บ้ า นอย่ า งเป็ น ทางการในปี
พ.ศ. 2530 ผู้ใหญ่บ้านคนแรกคือ นายเสริม โซ่เมืองแซะ
2.2 ข้อมูลทำงกำยภำพ
2.2.1 ที่ตั้ง/ สภำพพื้นที่
บ้านนาเชือก หมู่ที่ 9 ตาบลแร่ อาเภอพัง โคน จั ง หวั ดสกลนคร ตั้ ง อยู่ ห่ า งจาก
อาเภอพังโคน 24 กิโลเมตร ตั้งอยู่บนลาดเขา พื้นที่ส่วนใหญ่ลาดชัน โดยพื้นที่ตั้งบ้านเรือนเป็นที่
ติดชายน้า ซึ่งมีพื้นที่ 80 ไร่ พื้นที่ทาการเกษตรจึงเป็นพื้นที่ลาดชันชายเขาติดกับเขตป่าสงวน และ
พื้นที่ติดเขื่อนน้าอูน โดยแบ่งเป็นเขตพื้นที่น้าท่วมถึง และน้ าท่ ว มไม่ ถึ ง และมี พื้น ที่ ส าธารณะ
จานวน 76 ไร่ ซึ่งจะมีน้าท่วมขังในฤดูฝน และสามารถใช้พื้นที่ในช่วงน้าลดได้ในระยะเวลา 2-4
เดือน สภาพเนื้อดินอุดมสมบูรณ์ต่า พื้นที่ติดเขาเนื้อดินเป็นดินทราย พื้นที่ติดเขื่อนเนื้อดิน เป็ น ดิ น
เหนียว หากมีปริมาณน้ามาก พื้นที่เพาะปลูกที่มีเนื้อดินเป็นดินทรายจะได้ผ ลผลิ ตดี แต่ พื้น ที่ ดิน
เหนียวจะได้ผลผลิตต่า หากปริมาณน้าน้อยพื้นที่ที่เป็นดินเหนียวใจได้ผลผลิตดีกว่า
2.2.2 อำณำเขต
ทิศเหนือ มีอาณาเขตติดกับ เขื่อนน้าอูน
ทิศใต้ มีอาณาเขตติดกับ เทือกเขาภูพาน และ เขื่อนน้าอูน
ทิศตะวันออก มีอาณาเขตติดกับ บ้านคาแหว ตาบลไร่
ทิศตะวันตก มีอาณาเขตติดกับ เขื่อนน้าอูน
|4

ตาแหน่งที่ตั้งบ้านนาเชือกติดเขื่อนน้าอูน
2.2.3 สถำนที่สำคัญ
1) โรงเรียน 1 แห่ง
2) วัด 2 แห่ง
ได้แก่ วัดดอยเทพนิมิต (ธรรมยุต) และวัดโนนหินกอง (มหานิกาย)
3) สานักสงฆ์ 1 แห่ง คือ สานักสงฆ์ขันติคีรีวนาราม
4) ฉางข้าว 1 แห่ง
2.2.4 ระบบสำธำรณูปโภค/โครงสร้ำงพื้นฐำน
1) แหล่งน้าเพื่ออุปโภคและบริโภคในหมู่บ้าน
- บ่อน้าบาดาล 3 บ่อ
- บ่อประปา 2 บ่อ
- โรงกรองน้า 1 แห่ง
2) ไฟฟ้า มีระบบไฟฟ้าครอบคลุมทุกครัวเรือน
3) การสื่อสาร ระบบเครือข่ายโทรศัพท์เข้าถึงหมู่บ้าน ชาวบ้านนาเชือกมี
โทรศัพท์มือถือใช้แทบทุกครัวเรือน
4) การคมนาคม บ้านนาเชือกห่างจากอาเภอพังโคน 24 กม. มีทางเข้า-ออก 2
เส้นทาง คือ เส้นทางบ้านคาแหว-นาเชือก ระยะทาง 3 กม. และ เส้นทางบ้านนาเลา-นาเชือก
ระยะทาง 3 กม. ถนนในหมู่บ้านเป็นถนนคอนกรีต
2.2.5 สิ่งแวดล้อมตำมธรรมชำติ
1) แหล่งน้าใต้ดิน จานวน 3 แห่ง
2) แหล่งน้าผิวดิน จานวน 2 แห่ง
3) ลาห้วย จานวน 1 แห่ง
4) ป่าชุมชน จานวน 100 ไร่
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 5

2.2.6 แหล่งท่องเที่ยวในชุมชน
บ้านนาเชือกสถานที่ สภาพแวดล้อม และศักยภาพของคนในชุมชนซึ่งสามารถ
พัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวได้ เช่น
แหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
1) วัดดอยเทพนิมิต
2) สานักสงฆ์คีวนาราม
แหล่งท่องเที่ยวตำมธรรมชำติ/เชิงนิเวท
1) เขื่อนน้าอูน
2) ป่าชุมชน
3) หนองหลุมหนิ
4) ป่ายางนา
แหล่งเรียนรู้
1) แหล่งเรียนรู้การผลิตผ้าย้อมมูลควย /ผ้าย้อมสีธรรมชาติ
2) แหล่งเรียนรู้การเลี้ยงกะบือไทย
3) แหล่งเรียนรู้หัตถกรรมเครื่องจักรสาน
ฯลฯ

สภาพแวดล้อมและแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติบ้านนาเชือก
|6
2.3 ข้อมูลด้ำนสังคมและวัฒนธรรม
2.3.1 ประชำกร2
จานวนครัวเรือนทั้งหมด 74 หญิง, ชาย,
114,…
ครัวเรือน ประชากรทั้งสิ้น 233 คน เป็นชาย 114 119,…
คน หญิง 119 คน
กลุ่มชำติพันธ์ มี 3 กลุ่ม ได้แก่
ภูไท โย้ย และลาว
2.3.2 ประเพณีและวัฒนธรรม
- บ้านนาเชือกมีความเชื่อตามฮีต 12 คลอง 14 ที่ยังปฏิบัติกันอย่างต่อเนื่องของ
คนในชุมชนดังตาราง
เดือน ประเพณี กิจกรรม
เดือน 1 บุญปีใหม่, บุญเลี้ยงเจ้าปู่ ร่วมกันทาบุญตักบาตรและทาพิธีเลี้ ยงปู่ต า
เดือน 3 บุญประทายข้าวเปลือก รับบริจากข้าวเปลือกและปัจ จัย ร่วมกัน ทาบุญตักบาตร
เดือน 5 บุญสงกรานต์ ทาบุญตักบาตร รดน้า ขอพรผู้สูงอายุ สงน้าพระ
เดือน 6 บุญวันสาคัญทาง ทาบุญตักบาตรร่วมกัน อุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษ
พระพุทธศาสนา
เดือน 8 บุญประเพณีเข้าพรรษา ทาบุญตักบาตรร่วมกัน อุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษ
เดือน 9 บุญข้าประดับดิน ทาบุญตักบาตรร่วมกัน อุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษ
เดือน 10 บุญข้าวสาก ทาบุญตักบาตรร่วมกัน อุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษ
เดือน 11 บุญประเพณีออกพรรษา ทาบุญตักบาตรร่วมกัน อุทิศส่วนกุศลให้บรรพบุรุษ
เดือน 12 บุญกฐิน ตั้งกองกฐินที่ศาลาอเนกประสงค์ของหมู่บ้าน เปิดรับ
บริจากแล้วนาไปทอดถวายที่วัด
ความเชื่อด้านผีบ้าน ผีเรือน บรรพบุรุษ ซึ่งมีอิทธิพลทาให้ชาวบ้านมีการใช้ขีวิตอย่าง
ระมัดระวังมากขึ้น นอกจากนี้ยังมีความเชื่อเรื่องเกี่ยวข้องกับข้าว เช่น ในวันพระห้ามตักข้าวใน
ยุ้งฉาง ห้ามสีข้าว และมีความเชื่อเรื่องจ้า (คนที่สามารถสื่อสารและติดต่อหรือประกอบพิธีกรรม
กับปู่ตาโดยคัดเลือกมาจากชาวบ้าน ผ่านพิธีเสี่ยงทายคนที่ปู่ตาจะเลือกและได้รับการแต่งตั้งจา
ชาวบ้านให้เป็นจ้า โดยมีบทบาดในการทาพิธีกรรมต่าง ๆ ตามความเชื่อของชาวบ้าน)
- ก่อนหลังฤดูทานาจะมีการทาพิธีเลี้ยงแม่ธรณี

2
องค์การบริหารส่วนตาบลแร่, สิงหาคม 2559
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 7

- การขึ้นบ้านใหม่ (โดยพิธีการจะเดินวนซ้ายรอบบ้าน 3 รอบ ตักบาตร)


- การทาขันธ์ 5 ขันธ์ 8 เพื่อไว้พระในวันพระ
- การเล่นพนันในงานศพ
- การงดเหล้าเข้าพรรษาและในงานบุญ
2.3.3 ศำสนำและควำมเชื่อ: ชาวบ้านนาเชือกนับถือศาสนาพุธ มีวัด 2 แห่ง คือ
- วัดดอยเทพนิมิต (ธรรมยุต) และวัดโนนหินกอง (มหานิกาย) มีสานักสงฆ์ 1 แห่ง
คือ สานักสงฆ์ขันติคีรีวนาราม
2.3.4 ภูมิปัญญำชำวบ้ำน
1. ประเภท : การทอผ้า การทอผ้ามัดหมี่ การจักสาน การย้อมคราม หมอสมุนไพร
การนวด
2. แหล่งที่มา: สืบทอดจากรุ่นพ่อแม่ ปู่ย่าตายาย
3. การเปลี่ยนแปลง: มีการเปลี่ยนแปลงทางด้านภูมิปัญญา โดยจานวนชาวบ้านที่มี
ความรู้ภูมิปัญญาหลายอย่างมีจานวนไม่มากและไม่มกี ารสืบทอด หรือการ ประกอบ อาชีพ
ตามภูมิปัญญาที่มี
4. การสืบทอด : บางภูมิปัญญามีการสืบทอดโดยการถ่ายทอดภูมิปัญญาแก่รุ่นลูก
รุ่นหลาน เช่น การทอผ้า แต่หลายภูมิปัญญาก็ยังไม่มีผู้สืบทอด เช่น หมอสมุนไพร
2.3.5 กำรปกครอง
บ้านนาเชือกมีการปกครองโดยแบ่งออกเป็นคุ้ม มีทั้งหมด 4 คุ้ม ประกอบด้วย
1) คุ้มศรีสุขพัฒนา
2) คุ้มส่งเสริมพัฒนา
3) คุ้มดอกคูณ
4) พระจันทร์
มีผู้ใหญ่บ้าน และผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้านจานวน 3 คน โดยผู้ใหญ่บ้านคนปัจจุบัน
(2559) คือ นายสุพรรณ สุจริต
บ้านนาเชือกมีการจัดตั้งคณะกรรมการฝ่ายต่าง ๆ เพื่อการปกครอง บริหาร
จัดการหมู่บ้าน ประกอับด้วย
1) คณะกรรมการฝ่ายปกครองหมู่บ้าน
2) คณะกรรมการฝ่ายรักษาความสงบ
3) คณะกรรมการด้านสิ่งแวดล้อมและสาธารณะสุข
4) คณะกรรมการด้านวัฒนธรรมและประเพณี
5) คณะกรรมการกลุ่มสตรีแม่บ้าน
ฯลฯ
|8
2.4 ข้อมูลด้ำนเศรษฐกิจ3
2.4.1 รำยได้-รำยจ่ำย
รายได้ส่วนใหญ่ของคนในหมู่บ้านมาจากการทาการเกษตร เช่น ทานา-ทาสวน
จากข้อมูลความจาเป็นพื้นฐานระดับหมู่บ้านปี 2559 สรุปข้อมูลทางด้านเศรษฐกิจของชุมชนบ้าน
นาเชือกดังต่อไปนี้
1) รำยได้
จากการสารวจรายได้ของประชาชนในหมู่บ้านนาเชือก 74 ครัวเรือน พบว่า
รายได้จากจากทุกแหล่งรวม อยู่ที่ 151,335 บาท/ครัวเรือน/ปี หรือ 51,423 บาท/คนต่อปี
โดยที่มาของรายได้ครอบครัวประกอบด้วยรายได้จากอาชีพหลัก อาชีพรอง รายได้อื่น ๆ และ ทา-
หาเอง
2) รำยจ่ำย
รายจ่ายในครัวเรือนของชุมชนบ้านนาเชือก ซึ่งประกอบด้วยรายจ่ายที่
จาเป็น ไม่จาเป็น หนี้สิน โดยเฉลี่ยอยู่ที่ 108,977 บาท/ครัวเรือน หรือ 37,,608 บาท/คน/ปี
2.4.2 กลุ่มอำชีพ
บ้านนาเชือกมีการจัดตั้งกลุ่มอาชีพต่าง ๆ ช่วยในการสร้างรายได้ในกับคนใน
หมู่บ้าน เช่น
- กลุ่มทอผ้า - กล่มสตรี
- กลุ่มเลี้ยงวัว - กลุ่มเงินออมทรัพย์
- กลุ่มกองทุนหมู่บ้าน - กลุ่มผู้เลี้ยกะบือ
- กลุ่มผู้เลี้ยงไก่ดา - กลุ่มแปรรูปปลา
ฯลฯ

3
องค์การบริหารส่วนตาบลแร่ ,สิงหาคม 2559
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 9

ผลิตภัณฑ์ของชุมชนบ้านนาเชือก
| 10

ส่วนที่ 3
ศักยภำพและภำพอนำคตกำรพั ฒนำกำรท่ องเที่ ยวของชุมชนบ้ำ นนำเชื อก

3.1 ศักภำพกำรพัฒนำด้ำนกำรท่องเที่ยวบ้ำนนำเชือก
กำรท่องเทียว4 คือ “การให้บุคคลภายนอกเข้ามาสัมผัส ชื่นชม แบ่ ง ปั น ทรั พ ยากร
การท่องเที่ยว ได้แก่ ธรรมชาติ และ วิถีชีวิต โดยการให้บริการของคนในชุ ม ชน ก่ อให้ เ กิ ด
แรงจูงใจ ความประทับใจ และนามาสู่การสร้างเศรษฐกิจชุมชน”
การท่องที่ยว ตามนิยามดังกล่าว เกิดจากการร่วมคิดของคนในชุมชนบ้ า นนาเชื อ ก ซึ่ ง
เป็นจุดเริ่มต้นในการสร้างความเข้ า ใจอั น จะน าไปสู่ ความร่ ว มมื อ ของคนในชุ ม ชนเพื่ อ การ
พัฒนาการท่องเที่ยวบ้านนาเชือก และจากการวิเคราะห์ศักยภาพในการพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย ว
ของชุมชน โดยพิจารณาจากสภาพแวดล้อมภายในชุมชน (จุดแข็ง จุดอ่อน) และ สภาพแวดล้อม
ภายนอก (โอกาส อุปสรรค) แสดงดังตาราง พบว่าบ้านนาเชือกมีจุดแข็งที่สามารถพั ฒ นาเป็ น
หมู่บ้านท่องเที่ยว เช่น มีแหล่งน้า และ ทุ่งหญ้ า ธรรมชาติ ที่ ส วยงาม มี พื้น ที่ ส ามารถจั ดตั้ ง
แค้มหรือที่พักสาหรับนักท่องเที่ยว มีน้าอุปโภคบริโภค ตั้งอยู่ ติดอุ ท ยาน มี ก ลุ่ ม ผลิ ตภั ณ ฑ์ ก ลุ่ ม
อาชีพที่มีชื่อเสียง มีกลุ่มอนุรักษ์ควายไทย และสิ่งสาคัญคือคนในชุมชนมีความสนใจที่จะพัฒนาให้
บ้านนาเชือกเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยว ทั้งนี้ยังมีจุดอ่อนที่ยังต้องพั ฒ นา เช่ น คนในชุ ม ชนยั ง ขาด
ความรู้ด้านการท่องเที่ยว การบริหารการท่องเที่ยว ขาดการวางแผน ไม่มีคณะกรรมการบริ ห าร
การท่องเที่ยว ขาดงบประมาณในการดาเนินการ ความร่วมมือของคนในชุมชนยังมีน้อย ยังไม่มี
รูปแบบกิจกรรมการท่องเที่ยว ขาดสถานที่เป็นจุดอานวยความสะวดก ภูมิทัศน์ยังไม่สวยาม ทั้ ง นี้
ในปัจจุบันภาครัฐให้การสนับสนุนส่งเสริมในการพัฒนาชุมชนให้เกิดความเข้มแข็งอย่า งต่ อ เนื่ อ ง
ซึ่งถือเป็นโอกาสสาคัญที่ชุมชนบ้ า นนาเชื อ กจะต้ อ งประสานงานเพื่ อ บู ร ณาการพั ฒ นาการ
ท่องเที่ยวให้สาเร็จและเกิดความยั่งยืน ถึงแม้จะมีมีอุปสรรคในการพัฒนาบ้าง เช่น พื้นที่ห่างไกล
เมือง พื้นที่เป้าหมายที่จะจัดที่พักเป็นพื้นที่ของกรมธนารักษ์ ไฟฟ้าไม่สม่าเสมอ ดั ง นั้ น คนใน
ชุมชนต้องร่วมหากลยุทธ์ แนวทางการลดอุปสรรคต่าง ๆ โดยบรูณาการความร่ ว มมื อ จากภาค
ส่วนอื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

4
“การท่องเทียว” ตามนิยามของชุมชนบ้านนาเชือก จากกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเทียว
โดยมีผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ภาสกร นันทพานิช เป็นผู้ดาเนินการ
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 11

ตำรำง : การวิเคราะห์ AWOT ด้านการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านนาเชือก


จุดแข็ง จุดอ่อน
S1: มีผลิตภัณฑ์ชุมชนและกลุ่มผลิตภัณฑ์ W1: คนในชุมชนขาดความรู้เรื่องการบริห ารจัดการ
ที่มี ชื่อเสียง การท่องเที่ยว
S2: มีพื้นที่สวยงามสาหรับสร้ างที่พัก W2: คนในชุมชนขาดความรู้และความเข้าใจเรื่อง
S3: พื้นที่ชุมชนติดอุทยาน การท่องเที่ยว
S4: มีแหล่งน้าธรรมชาติที่สวยงาม W3: ยังไม่มีรูปแบบการบริหารจัดการที่ดี
S5: มีทุ่งหญ้า (ยังไม่มีคณะกรรมการบริหารการท่องเที่ ยว)
S6: มีกลุ่มอาชีพที่หลากหลาย เช่น อนุรักษ์ W4: ขาดงบประมาณในการดาเนิ นการ
ควายไทย กลุ่มแปรรูปปลา ฯลฯ
S7: มีน้าอุปโภคบริการโภค W5: ขาดการวางแผน
S8: คนในชุมชนสนใจ W6: การร่วมมือของคนในชุมชนยังน้อย
W7: ไม่มีรูปแบบ/กิจกรรมการท่องเที่ยว
W8: ขาดสถานที่เป็นจุดอานวยการ
W9: ภูมิทัศน์ยังไม่สวยงาม
โอกำส อุปสรรค
O1: มีหน่วยงานวิชาการให้การสนับ สนุ น T1: พื้นที่ห่างไปเมือง
O2: นโยบายภาครัฐส่งเสริม T2: พื้นที่เป้าหมายที่จะจัดที่พักเป็นพื้น ที่ของ
กรมธนารักษ์
T3: ไฟฟ้าไม่สม่าเสมอ
| 12

3.2 ภำพอนำคตด้ำนกำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวของชุมชนบ้ำนนำเชือก
จากการวิ เ คราะห์ ส ภาพแวดล้ อ มภายในและภายนอกเพื่ อ สนั บ สนุ น การจั ดท า
แผนพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านนาเชือก คนในชุ ม ชนได้ ร่ ว มวาดภาพอนาคตในการ
พัฒนาการท่องเที่ยว ซึ่งถือเป็นวิสัยทัศน์ในการพัฒนาบ้านนาเชือกให้เป็นหมู่บ้ า นท่ อ งเที่ ย วที่ มี
ชื่อเสียงในอนาคตดังนี้

“เป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวโดยชุมชน มีโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพที่เหมาะสมและ
สามารถรองรับการท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืน คนในชุมชนมีความรู้ความเข้าใจ มีส่วนรวมและมี
รายได้จากการท่องเที่ยว มีการสืบสานกิจการของชุมชนโดยคนรุ่นใหม่ คนในชุมชนได้รับ
ประโยชน์ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีความภาคภูมิใจในความเป็นชุมชนและรักษา
ขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชน ผู้ที่มาท่องเที่ยวมีความประทับใจและมีความสุขจากการ
ได้มาแบ่งปัน ชื่นชม สัมผัสธรรมชาติและวิถีชีวิตของชุมชน มีการบริหารจัด การ และการ
บริการที่ดี และมีอุปกรณ์การท่องเที่ยวที่เพียงพอสาหรับรองรับการท่องเที่ยวที่มีความ
เหมาะสมกับความสามารถในการรองรับได้ของชุมชน ส่งผลต่ อความเป็นอยู่ที่ดีของคนใน
ชุมชนและเศรษฐกิจชุมชน”
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 13

ส่วนที่ 4
แผนพัฒนำกำรท่องเที่ยวบ้ำนนำเชือกระยะ 5 ปี (2560-2559)
4.1 วิสัยทัศน์
“เป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวโดยชุมชน มีโครงสร้างพื้นฐานทางกายภาพที่เหมาะสมและ
สามารถรองรับการท่องเที่ยวได้อย่างยั่งยืน คนในชุมชนมี ความรู้ความเข้าใจ มีส่วนรวมและมี
รายได้จากการท่องเที่ยว มีการสืบสานกิจการของชุมชนโดยคนรุ่นใหม่ คนในชุมชนได้รับ
ประโยชน์ มีความเป็นอยู่ที่ดีขึ้น มีความภาคภูมิใจในความเป็นชุมชนและรักษาขนบธรรมเนียม
ประเพณีของชุมชน ผู้ที่มาท่องเที่ยวมีความประทับใจและมีความสุขจากการได้มาแบ่งปัน ชื่นชม
สัมผัสธรรมชาติและวิถีชีวิตของชุมชน มีการบริหารจัดการ และการบริการที่ดี และมีอุปกรณ์
การท่องเที่ยวที่เพียงพอสาหรับรองรับการท่องเที่ยวที่มีความเหมาะสมกับความสามารถในการ
รองรับได้ของชุมชน ส่งผลต่อความเป็นอยู่ที่ดีของคนในชุมชนและเศรษฐกิจชุมชน”
4.2 ตัวชี้วัดควำมสำเร็จตำมเป้ำหมำยของภำพอนำคตในกำรพัฒนำกำรท่องเที่ยวบ้ำนนำ
เชือกในระยะเวลำ 5 ปี
ตำรำง: ตัวชี้วัดความสาเร็จการดาเนินงานด้านการท่องเที่ยวบ้านนาเชือกระยะเวลา 5 ปี
ระยะเวลำ
ประเด็น/ตัวชี้วัด หน่วยตัวชี้วัด ภำยใน 2 ปี 3-5 ปี 5 ปี ขึ้นไป
(อยู่ได้) (มั่นคง) (ยั่งยืน)
จานวนผู้มาเที่ยว คน 500 1,000 2,000
รายได้ บาท 1,000,000 2,000,000 4,000,000
กลุ่ม-องค์กรที่เกี่ยวข้อง จานวนกลุ่ม 3 5 5
การบริหารจัดการ ระดับการยอมรับ ได้รับการยอมรับ ได้รับการยอมรับใน เป็นตัวอย่างที่ดี
จากชุมชน (มี ระดับอาเภอ ได้รับการ
ระบบการบริหาร จังหวัด ยอมรับใน
จัดการที่ดี) (มีความเข้มแข็ง) ระดับประเทศ
คนรุ่นใหม่ที่เข้ามารับ ร้อยละของ 5  5 - 20 20
การสืบทอดกิจการ ผู้เกี่ยวข้องทั้งหมด
การกระจายรายได้และ ร้อยละของ 70  70-90  90
การมีส่วนร่วม ครัวเรือน
กิจกรรมการท่องเที่ยว กิจกรรม 5 5-9  10
| 14
ระยะเวลำ
ประเด็น/ตัวชี้วัด หน่วยตัวชี้วัด ภำยใน 2 ปี 3-5 ปี 5 ปี ขึ้นไป
(อยู่ได้) (มั่นคง) (ยั่งยืน)
เพียงพอและอุปกรณ์ที่
พร้อม (ผลิตภัณฑ์การ
ท่องเที่ยว)
แหล่งเรียนรู้/ขยายการ จานวนครั้งการ 3  3-10  10
เรียนรู้ ให้บริการ ตาบล อาเภอ จังหวัด/ภูมิภาค ระดับประเทศ
ระดับการขยายการ
เรียนรู้
การจัดการผลประโยชน์ ครวเรือน ร้อยละ 70 70-90 มากกว่า 90
(ครัวเรือน)
พันธมิตรและเครือข่าย ระดับ ตาบล/อาเภอ จังหวัด/ภูมิภาค ประเทศและ
ต่างประเทศ
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 15
| 16
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 17
| 18
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 19
| 20
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 21
| 22
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 23

ส่วนที่ 5
สรุปและข้อเสนอแนะ

แผนพัฒนาการท่องเที่ยวของชุมชนบ้านนาเชือก เกิดจากความร่วมมือร่วมใจของคนใน
ชุมชนเพื่อเป็นแนวทางในการพัฒนาบ้านนาเชือกอย่างยั่งยืน ซึ่งบริหารจัดการโดยคนในชุมชน
สามารถสร้างรายได้ สร้างงานสร้างอาชีพ บนพื้นฐานของทรัพยกรการท่องเที่ยว ซึ่งประกอบด้วย
ธรรมชาติ และ วิถีชีวิตที่มีอยู่ โดยมุ่งหวังว่าบ้านนาเชือกจะเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยวชุมชนที่ มี
ชื่อเสียงเป็นที่รู้จักกันทั้งในระดับท้องถิ่น ประเทศ และนานาชาติ
จากกระบวนการจัดทาแผนพัฒนาแบบมีส่วนร่วมของคนในชุมชนบ้านนาเชือก ทาให้
คนในชุมชนบ้านนาเชือก เข้าใจบทบาทของการท่องเทียวต่อการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ
สิ่งแวดล้อมภายในชุมชน ซึ่งจะเป็นรากฐานในการพั ฒนาบ้านนาเชือกให้เกิดความยั่งยืน ทาให้คน
ได้ชุมชนได้มองเห็นศักยภาพของตนเองและชุมชนสาหรับพัฒนาเป็นหมู่บ้านท่องเที่ยว โดยได้
มองเห็นความเข้มแข็งของคนในชุมชน ศักยภาพทางด้านพื้นที่ ตลอดจนความเป็นอัตลักษณ์ของ
วิถีชีวิต วัฒนธรรม กอรปกับโอกาสทจากจากภายนอก เช่น นโยบายภาครัฐ
จากการร่วมวิเคราะห์ศักยภาพของชุมชน ทาให้เกิดแผนพัฒนาการท่องเที่ยวบ้านนา
เชือกในระยะ 4 ปี (2560-2564) ประกอบด้วย 4 ประเด็นยุทธศาสตร์ 14 กลยุทธ์ 44 โครงการ
ทั้งนี้เพื่อให้การดาเนินงานตามแผนพัฒนาบรรลุตามเป้าหมาย คนในชุมชนควรมีการ
สร้างความร่วมมือกับเครือข่ายทั้งภาครัฐและเอกชน และควรมีการดาเนินโครงการเร่งด่วน
จานวน 14 โครงการ ซึ่งถือว่าเป็นโครงการฐานรากที่สาคัญอันจะนามาสู่การพัฒนาการ
ท่องเที่ยวอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน ซึ่งประกอบด้วย
ยุทธศาสตร์ที่ 1: กำรพัฒนำควำมรู้และกำรมีส่วนร่วมของชุ มชนเกี่ยวกับกำรท่องเที่ยวโดย
ชุมชน
1) โครงการรณรงค์และประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับการท่องเที่ยวชุมชนผ่านหอกระจาย
ข่าว
2) โครงการสารวจศักยภาพของประชาชนและครัวเรือนในชุมชนเกี่ยวการท่องเที่ยว
โดยชุมชนบ้านนาเชือกเพื่อสร้างการมีส่วนร่วมโครงการระดมทุนภายในเพื่อใช้ใน
กิจการการท่องเที่ยวโดยชุมชน
3) โครงการออกแบบและจัดตั้งกลุ่มองค์กรประชาชนในชุมชนที่เกี่ยวกับการท่องเที่ยว
ชุมชนบ้านนาเชือกเพื่อสร้างการมีส่วนร่วม
ยุทธศาสตร์ที่ 2: พัฒนาระบบบริหารจัดการและเครือข่ายการท่องเที่ยวชุมชน
| 24
1) โครงการระดมทุนภายในเพื่อใช้ในกิจการการท่องเที่ยวโดยชุมชน
2) โครงการกาหนดบทบาทและพัฒนาศักยภาพผู้นาองค์กรการท่องเที่ยวชุมชน
3) โครงการจัดทาฐานข้อมูลสมาชิกตามความถนัดและความสามารถ
4) โครงการจัดตั้งกลุ่ม/องค์กรที่เกี่ยวข้องกับการ ท่องเที่ยวชุมชน
5) โครงการจัดทาระเบียบข้อบังคับในการบริหารจัดการองค์กรหรือการบริหารจัดการ
การท่องเที่ยวโดยชุมชน

ยุทธศาสตร์ที่ 3: กำรพัฒนำรูปแบบ และกิจกรรมกำรท่องเที่ยวโดยชุมชน


6) โครงการค้นหาและพัฒนารูปแบบ เส้นทาง และกิจกรรมท่องเที่ยว
7) โครงการจัดหาวัสดุอุปกรณ์เพื่อรองรับการท่องเที่ยวชุมชนบ้านนาเชือก
8) โครงการปรับปรุงภูมิทัศน์ของชุมชนและแหล่งท่องเที่ยวของชุมชนบ้านนาเชือก
9) โครงการสารวจและหาแนวทางในการปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวชุมชนบ้านนาเชือก
10) โครงการสารวจ ออกแบบ และจัดทาแบบจาลองพื้นที่การท่องเที่ยวและอาคาร
สถานที่เพื่อสนับสนุนการท่องเที่ยวโดยชุมชนบ้านนาเชือก
11) โครงการจัดสร้างห้องน้าและห้องสุขาในบริเวณที่พักค้างและตามจุดบริการ
นักท่องเที่ยว
12) โครงการปรับปรุงและพัฒนาเส้นทางคมนาคมบริเวณสถานที่ท่องเที่ยวชุมชนบ้าน
นาเชือก
13) โครงการจัดหาระบบสารองไฟ
14) โครงการจัดหา พัฒนา และสร้างระบบแสงสว่างในบริเวณพื้นที่การท่องเที่ยว
ชุมชนบ้านนาเชือก

--------------------------------------------------------------
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 25

ภาคผนวก
 รายชื่อผู้ร่วมจัดทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยว บ้านนาเชือก ตาบล
พังโคน อาเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร
 ภาพกิจกรรมการจัดทาแผนพัฒนาการท่องเที่ยว
| 26

รำยชื่อผู้ร่วมจัดทำแผนพัฒนำกำรท่องเที่ยว
บ้ำนนำเชือก ตำบลพังโคน อำเภอ พังโคน จังหวัดสกลนคร
ที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง หมำยเหตุ
1 ผศ.ดร.ภาสกร นันทพานิช ที่ปรึกษาโครงการ มภร.ราชภัฏอุบลราชธานี
2 ดร.สุดารัตน์ สกุลคู หัวหน้าโครงการ มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร
3 นางเดือนรุ่ง สุวรรณโสภา คณะทางานโครงการ มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร
4 ผศ. ศิริพร สารคล่อง คณะทางานโครงการ มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร
5 ผศ.กรรณิการ์ สมบุญ คณะทางานโครงการ มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร
6 นางสาวพนิดา ใครลามเมา คณะทางานโครงการ มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร
7 นางสาวจงกล พูลสวัสดิ์ คณะทางานโครงการ มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร
8 นางสาวขนิษฐา ทุมา คณะทางานโครงการ มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร
9 นางสาวชลาลัย เหง้าน้อย คณะทางานโครงการ มทร.อีสาน วิทยาเขตสกลนคร
10 นายวทัญญู วรรณวงศ์ คณะทางานโครงการ คลินิกเทคโนโลยี มทร.อีสาน
วิทยาเขตสกลนคร
11 นายสุพรรณ สุจริต ผู้ใหญ่บ้าน บ้านนาเชือ
12 นายสายสุณี ไชยหงษา ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน บ้านนาเชือ
13 นางวาสนา สีหาบุตร ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน บ้านนาเชือก
14 นางทองคา ใจชน ผู้ช่วยผู้ใหญ่บ้าน บ้านนาเชือก
15 นายเพชร ชาติชานิ สมาชิกสภาเทศบาล แร่ เขต 4 บ้านนาเชือก
16 นายถาวร ชัยเชษฐ์ กรรมการหมู่บ้าน บ้านนาเชือก
17 นายโพธ์ศรี อ้อยที กรรมการหมู่บ้าน บ้านนาเชือก
18 นายเคี่ยม ไชยเชษฐ์ กรรมการหมู่บ้าน บ้านนาเชือก
19 นางอาภาพร บาลลา กรรมการหมู่บ้าน บ้านนาเชือก
20 นายประสาท จันทะวงค์ กรรมการหมู่บ้าน บ้านนาเชือก
21 นางไพรวัลย์ ตาแก้ว กรรมการหมู่บ้าน บ้านนาเชือก
22 นางนง เข็มสูงเนิน กรรมการหมู่บ้าน บ้านนาเชือก
23 นางบัวผัน จันวงศ์ กรรมการหมู่บ้าน บ้านนาเชือก
24 นางลักขณา กุลสอนนาน กรรมการหมู่บ้าน บ้านนาเชือก
25 นายสวาท ชัยเชษฐ์ กรรมการหมู่บ้าน บ้านนาเชือก
26 นายสีทัศน์ ชัยเชษฐ์ กรรมการหมู่บ้าน บ้านนาเชือก
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 27

ที่ ชื่อ-สกุล ตำแหน่ง หมำยเหตุ


27 นางอุลัยวรรณ โซ่เมืองแซะ ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
28 นางดารา สุจริต ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
29 นางบัวเรียน ชาติชานิ ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
30 นางศรีวะ บาลลา ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
31 นางอรสร ฉิมป้อง ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
32 นางสีดา เกตุพันธ์ ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
33 นางทัศนีย์ จันทะวงค์ ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
34 นายธงชัย บาลลา ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
35 นางฉวี โซ่เมืองแซะ ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
36 นายกุหลาบ โพธิ์ศรี ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
36 นางชญาณิศ บุญพิคา ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
38 นายสมบูรณ์ ชัยเชษฐ์ ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
39 นายแสน นวลอาสา ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
40 นายสะไกร ไชยวงษา ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
41 นายนฤชา โถคานาม ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
42 นางบัวทัน ใจชน ตัวแทนชุชม บ้านนาเชือก
| 28
ภำพกิจกรรมกำรจัดทำแผนพัฒนำกำรท่องเที่ยว
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 29
| 30
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 31
| 32
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 33

บันทึก :
| 34
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 35

การท่องเที่ยวนาเชือก จะพัฒนาอย่างยั่งยืน
เราทุกคนต้องร่วมมือกัน
| 36

มหำวิทยำลัยเทคโนโลยีรำชมงคลอี สำน

สร้างคนสู่งาน เชี่ยวชาญเทคโนโลยี
แ ผ น พั ฒ น ำ ก ำ ร ท่ อ ง เ ที่ ย ว บ้ ำ น น ำ เ ชื อ ก ร ะ ย ะ 5 ปี ( 2 5 6 0 - 2 5 6 4 ) | 37

สนับสนุนการจัดกิจกรรมโดย
โครงการหมู่บ้านราชมงคล
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตสกลนคร
199 หมู่ 3 ตาบลพังโคน อาเภอพังโคน จังหวัดสกลนคร
โทรศัพท์/โทรสาร 042-772-393

You might also like