You are on page 1of 636

คานา

ด้ ว ยคณะกรรมการบู ร ณาการนโยบายพั ฒ นาภาค (ก.บ.ภ.) ได้ ก าหนดนโยบายและ


หลักเกณฑ์และวิธีการจัดทาแผนปฏิบัติราชการประจาปีของจังหวัดและกลุ่มจังหวัด ประจาปีงบประมาณ พ.ศ.
2565 โดยแผนดังกล่าวต้องยึดแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี นโยบายของรัฐบาล แผนการบริหารราชการแผ่นดิน
แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ แผนรายสาขา/เฉพาะด้านต่างๆ เช่น แผนพัฒนาการเกษตร
นโยบายโซนนิ่งภาคเกษตร แผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ แผนแม่บทการพัฒนาอุตสาหกรรมไทย แผน
จัดการคุณภาพสิ่งแวดล้อม แผนแม่บทการบริหารจัดการน้า ยุ ทธศาสตร์การพัฒนาเพื่อเสริมสร้างความมั่นคง
ของชาติ ที่สาคัญจะต้องมีการรับฟังความคิดเห็นของประชาชนในท้องถิ่น เพื่อทราบถึงความต้องการและ
ศักยภาพของประชาชน รวมทั้งมุ่งเน้นการทางานแบบเครือข่ายร่วมกันทุกภาคส่วนโดยคานึงถึงความพร้อม
ของทุกภาคส่ ว น เพื่อ ร่ ว มกัน วางยุ ทธศาสตร์การพัฒ นาจั งหวั ด/กลุ่ มจั งหวั ด ให้ เหมาะสมกั บโอกาสและ
ศักยภาพของจังหวัด/กลุ่มจังหวัด และร่วมมือในการสนับสนุนการขับเคลื่อนแผนพัฒนาจังหวัด/กลุ่มจังหวัด
จั ง หวั ด เชี ย งราย โดยคณะกรรมการบริห ารงานจั งหวั ดแบบบู รณาการจัง หวั ด เชี ย งราย
ได้ดาเนินการทบทวนแผนพัฒนาจังหวัด โดยมอบหมายให้คณะทางานขับเคลื่อนยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัด
ประชุมและทบทวนในแต่ละประเด็นยุทธศาสตร์ และนาเสนอผลการทบทวนต่อคณะอนุกรรมการ ก.บ.จ.
จังหวัดเชียงราย ด้านการจัดทาแผนพัฒนาและงบประมาณ รวมทั้งประชุมหารือร่วมกันระหว่างส่วนราชการ
องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น รวมทั้ง ผู้แทนภาคประชาสังคม และผู้แทนภาคธุรกิจเอกชน เพื่อรับฟังความ
คิดเห็นเกี่ยวกับแผนพัฒนาจังหวัดได้ทาการทบทวนเบื้องต้นนี้
แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย (พ.ศ. 2566 - 2570) ฉบับนี้ จึงมุ่งการพัฒนาจังหวัดแบบองค์รวม
ครอบคลุมทุกมิติ อีกทั้งได้มีการประเมินสถานการณ์ความเสี่ยงจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส
โคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อจังหวัดเชียงราย โดยมุ่งเน้นการทางานแบบบูรณาการร่วมกันทุกภาคส่วน และ
เป็นแนวทางสาคัญในการขับเคลื่อนการพัฒนาจังหวัดเชียงรายไปข้างหน้า ตามวิสัยทัศน์จังหวั ดเชียงรายที่ว่า
“เชียงรายเมืองท่องเที่ยวสร้างสรรค์ สะอาด ปลอดภัย น่ายล” โดยมี เป้าประสงค์ 3 ข้อ ได้แก่
เป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ : เพื่อสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นการ
พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าและยั่งยืน การค้า การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชิงสร้างสรรค์ และ การ
ส่งเสริมนวัตกรรมสินค้าเกษตรมูลค่าสูงโดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนาและสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
เป้าหมายการพัฒนาสิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์ : เพื่อสร้างสมดุลของระบบนิเวศและสนับสนันการ
เติบโตอย่างยั่งยืนบทสังคมเศรษฐกิจสรรค์เพื่อรับรองการพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายการพัฒนาสังคมสร้างสรรค์ : เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ลดความเหลื่อมล้าในสังคม
ส่งเสริ มการเรี ย นรู้ ตลอดชีวิตสาหรับ คนทุกช่ว งวัย และเสริมสร้างความปลอดภัยและความมั่งคงในชีวิต
ทรัพย์สินของประชาชนเพื่อนาไปสู่สังคมสร้างสรรค์
จากเป้าหมายการพัฒนาของจังหวัดที่กาหนดขึ้น สามารถแบ่งประเด็นการพัฒนาดังนี้ แบ่งออกเป็น 5
ประเด็นสาคัญ ดังนี้
ประเด็ น การพัฒนาที่ 1 การสร้างมูล ค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิงสรรค์โ ดยดารงฐานวัฒ นธรรม
ล้านนา
ประเด็ นการพัฒนาที่ 2 การส่ งเสริมการผลิ ตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสิ นค้าเกษตรเชิง
สร้างสรรค์ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิ
สติกส์
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารงความสมบูรณ์และ
ยั่งยืน
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทรัพยากรมนุษย์และความมั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคม
สร้างสรรค์
โดยวิสัยทัศน์ เป้าประสงค์ และประเด็น การพัฒนา สามารถวัดติดตามประเมินผลความสาเร็จความ
คุ้มค่าของแผนงาน/โครงการที่เกิดขึ้นลงไปสู่ประชาชนในพื้นที่ โดยในเครื่องมือ CIPP Model มาใช้ในการ
ติดตามความสาเร็จ ซึ่งผลที่เกิดขึ้นสามารถนาไปใช้ประโยชน์สูงสุดต่อจังหวัดเชียงราย ในการพัฒนาปรับปรุง
แผนงาน โครงการในรอบปีต่อไป

คณะกรรมการบริหารงานจังหวัดแบบบูรณาการจังหวัดเชียงราย
กันยายน 2564
สัญลักษณ์จังหวัดเชียงราย

ตราประจาจังหวัดเชียงราย
รูปช้างสีขาวใต้เมฆ

เมื่อพญามังรายได้ทรงรวบรวมหัวเมืองฝ่ายเหนือในอาณาเขตรอบ ๆ ได้แล้ว จึงทรงกรีฑาทัพไปแสดง


ฝีมือในการยุทธต่อหัวเมืองฝ่ายใต้ลงมา จึงได้ไปรวมพล ณ เมืองลาวกู่เต้า และหมอควาญได้นาช้างมงคลของ
พญามังราย ไปทอด (ผูก) ไว้ในป่าหัวดอยทิศตะวันออกพลัดหายไป พญามังราย จึงได้เสด็จติดตามรอยช้า ง
ไปจนถึงดอยทองริมแม่น้ากกนัทธี ได้ทัศนาการเห็นภูมิประเทศเป็นที่ราบลุ่ม อุดมสมบูรณ์เป็นชัยภูมิที่ดี
จึง ได้ส ร้า งเมือ งใหม่ขึ้น ที่นั ้น ให้ก่อ ปราการโอบดอยจอมทองไว้ใ นท่า มกลางเมือ ง ขนานนามเมือ งว่า
“เวียงเชียงราย” ตามพระนามของพญามังรายผู้สร้าง เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ. 1805 ดังนั้น จึงได้นารูป
ช้ า งสี ขาวใต้ เมฆแห่ งความรุ่ งเรื อง และอยู่ เย็ นเป็ นสุ ข บนพื้ นสี ม่ วงของ วั นเสาร์ ซึ่ งตรงกั บวั นประสู ติ ของ
พญาเม็งราย เป็นสีประจาจังหวัด

คาขวัญของจังหวัดเชียงราย
“เหนือสุดในสยาม ชายแดนสามแผ่นดิน
ถิ่นวัฒนธรรมล้านนา ล้าค่าพระธาตุดอยตุง”

ธงประจาจังหวัดเชียงราย
ดอกไม้ประจาจังหวัดเชียงราย
ชื่อดอกไม้ ดอกพวงแสด
ชื่อวิทยาศาสตร์ Pyrostegia Venusta (ker) Miers
วงค์ Bignona Ceae
ลักษณะชนิดพันธ์ไม้ ไม้เลื้อยต่างประเทศ
ชื่ออื่นๆ Orange trumpet, Flane
Flower, Fire – Cracder Vine

ต้นไม้ประจาจังหวัด

ชื่อพันธุ์ไม้ กาสะลองคา
ชื่อวิทยาศาสตร์ Radermachera ignea (Kurz) Steenis
วงค์ Dignoniaceae
ชื่ออื่น ๆ ปีบทอง, แคเป๊าะ, สาเภาหลามต้น,
สะเภา, อ้อยช้าง, จางจืด
สารบัญ

เรื่อง หน้า
บทสรุปผู้บริหาร 1
ความสอดคล้องกับแผน ๓ ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๐
และสรุปสาระสาคัญของแผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย 2
สาระสาคัญแผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ. 2566 - 2570) 3
ข้อมูลเพื่อการพัฒนา 3
-ข้อมูลพื้นฐานทางกายภาพ 3
-ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ 44
ประเด็นปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที่ 167
ผลการพัฒนาและแก้ไขปัญหาจังหวัดที่ผ่านมา 178
-ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสร้างมูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม
เชิงนิเวศ และเชิงสุขภาพ โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา 178
-ประเด็นการพัฒนาที่ 2 : การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรม
เพื่อยกระดับสินค้าเกษตรภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
(Sustainable Development Goals–SDGs) 179
-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ให้ดารงความสมบูรณ์ยั่งยืน 180
-ประเด็นการพัฒนาที่ 4 : การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการค้า
การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชื่อมโยงกลุ่มจังหวัดกลุ่มอาเซียน + 6 และ GMS 181
-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
และการเสริมสร้างความเป็นพลเมืองเพื่อสร้างจิตสานึกความรักสถาบันหลักของชาติ 182
-ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตและทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้
ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข 183
ประเด็นการพัฒนา 184
บทวิเคราะห์ 184
เป้าหมายการพัฒนาจังหวัด 227
ตัวชี้วัดความสาเร็จตามเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดเชียงราย 229
ประเด็นการพัฒนาจังหวัด 232
สารบัญตาราง

ตารางที่ หน้า
1 การใช้ ที่ ดิ น พ.ศ. 2556 – 2562 5
2 จานวนประชากร จังหวัดเชียงราย 7
3 ผลการสารวจเส้นทาง R3A เพื่อพัฒนาโอกาสทางการท่องเที่ยว เน้นการส่งเสริม
บทบาทของไทยในการเป็นจุดเริ่มต้น/จุดสิ้นสุดของการเดินทางท่องเที่ยว 8
4 โครงข่ายทางหลวงชนบทจังหวัดเชียงราย 25
5 สถิติการขนส่งทางอากาศ พ.ศ. 2559 – 2563 29
6 สถิติผู้ใช้ไฟฟ้า และการจาหน่ายพลังงานไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค
จังหวัดเชียงราย จาแนกตามประเภทผู้ใช้ พ.ศ. 2558 – 2563 31
7 การเปรียบเทียบจานวนผู้ใช้ไฟฟ้ารายอาเภอระหว่างปี พ.ศ. 2559-2562 32
8 ผู้ใช้ไฟฟ้า และการจาหน่ายกระแสไฟฟ้า จาแนกตามประเภทผู้ใช้
เป็นรายอาเภอ ปี 2562 33
9 ข้อมูลการใช้น้าประปา จังหวัดเชียงราย ปีพ.ศ. 2560-2562 33
10 สถิติการประปา จาแนกเป็นรายอาเภอ พ.ศ. 2562 34
11 ประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จาแนกตามการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร พ.ศ. 2558 – 2561 35
12 จานวนแปลงที่ดินที่ถูกเวนคืนพื้นที่จังหวัดเชียงราย 38
13 จานวนสิ่งปลูกสร้าง/แปลงไม้ยืนต้นที่ถูกเวนคืนพื้นที่จังหวัดเชียงราย 39
14 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาค และจังหวัด ณ ราคาประจาปี พ.ศ. 2562 45
15 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย (GPP) 16 สาขา ( ณ ราคาคงที่)
จาแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2558 – 2562 46
16 มูลค่าผลิตภัณฑ์ภาคนอกการเกษตร เรียงลาดับตามมูลค่า (ณ ราคาคงที่)
จาแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2562 49
17 อัตราการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ภาคนอกการเกษตร (% Growth Rate)
จาแนกตามสาขาการผลิต 51
18 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดและอัตราการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
และแนวโน้มปี 2564 53
19 สรุปรายได้เฉลี่ย ปี 2558- 2562 ของจังหวัดเชียงราย ลักษณะเศรษฐกิจ
และสังคมของครัวเรือนจากข้อมูลจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ในปี 2558-2562 56
สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่ หน้า
20 ข้อมูลทางสถานะทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2562 57
21 รายได้จากท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว (ล้านบาท) จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563 60
22 สถิติจานวนนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563 61
23 สถิติค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยนักท่องเที่ยว จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2562 62
24 สถิติรายได้เฉลี่ยจากผู้เยี่ยมเยือน จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2562-2563 64
25 จานวนสถานประกอบการที่พักแรม จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563 65
26 มูลค่าการค้าชายแดนและผ่านแดนด้านจังหวัดเชียงราย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2558 – 2563 66
27 เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงมูลค่าการค้าชายแดนและผ่านแดนด้านจังหวัดเชียงราย
ปี พ.ศ. 2563 เทียบกับปี 2562 67
28 สถิติสะสมจานวนโรงงานที่ได้รับอนุญาตให้ประกอบกิจการ ตาม พ.ร.บ.โรงงาน
พ.ศ. 2535 รายจาพวก ณ สิ้นปี 2562 ในจังหวัดเชียงราย 71
29 การที่ใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรของจังหวัดเชียงราย ปี 2562 จาแนกตามอาเภอ
(เรียงลาดับตามพื้นที่ทาการเกษตรรวม) 72
30 การปลูกพืชเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย ปีการผลิต 2562/63 และ 2563/64 74
31 ด้านปศุสัตว์ของจังหวัดเชียงราย ปี 2562-2563 75
32 ด้านการประมงของจังหวัดเชียงราย ปี 2563 แยกตามรายอาเภอ 76
33 ข้อมูลร้อยละการเก็บเกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรด้านพืชรายเดือนของจังหวัดเชียงราย 77
34 ข้อมูลร้อยละการเก็บเกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรด้านปศุสัตว์รายเดือนของจังหวัดเชียงราย 78
35 ข้อมูลร้อยละการเก็บเกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรด้านประมงรายเดือนของจังหวัดเชียงราย 79
36 ข้อมูลการทาเกษตรอินทรีย์ ปีพ.ศ. 2563 81
37 ข้อมูลการการรับรอง GAP 82
38 แสดงจานวนครัวเรือนเกษตรกรของจังหวัดเชียงราย 82
39 ประเภทสหกรณ์และจานวนสมาชิก ปี 2563 83
40 จานวนและสมาชิกสถาบันเกษตรกรจังหวัดเชียงราย ปี 2564 85
41 ข้อมูล Smart Farmer, Young Smart Farmer 86
42 โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2559-2564 87
43 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ 88
44 สินค้า OTOP 5 ดาว ของจังหวัดเชียงราย 89
สารบัญตาราง (ต่อ)
ตารางที่ หน้า
45 จานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามสถานภาพแรงงาน จังหวัดเชียงราย
ปี 2562-2563 91
46 ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีงานทาจาแนกตามอาชีพ ปีพ.ศ. 2560-2563
ของไตรมาสที่ 1 ปี 2563 93
47 จานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามระดับการศึกษาที่สาเร็จ
จังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2563 94
48 ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางาน
ไตรมาสที่ 1-4 พ.ศ. 2562และไตรมาสที่ 1 – 3 พ.ศ. 2563 95
49 จานวนสถานศึกษา และ ศูนย์พัฒนาเด็กเล็ก และอื่นๆ ในระดับเตรียมอนุบาล
แต่ละสังกัดปีการศึกษา 2563 96
50 โรงเรียน จาแนกตามสังกัด เป็นรายอาเภอ ปีการศึกษา 2562-2563 98
51 จานวนของสถาบันการศึกษาในจังหวัดเชียงราย มีทั้งสิ้น 21 แห่ง
โดยในลาดับที่ 9 – 21 เป็นสถาบันอาชีวศึกษา 100
52 สถานพยาบาล จาแนกตามประเภท เป็นรายอาเภอ ปีงบประมาณ 2563 110
53 ข้อมูลสถานบริการสาธารณสุข ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดเชียงราย ปี 2563 112
54 จานวนสถานพยาบาลที่มีเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน และจานวนเตียง จังหวัดเชียงราย
ปีพ.ศ. 2557 – 2562 113
55 ระดับสถานบริการสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ตามแผนพัฒนาระบบสาธารณสุข
ส่วนภูมิภาค 113
56 สถานบริการสาธารณสุขในสังกัดอื่นและภาคเอกชน 113
57 จานวนบุคลากรสาธารณสุขของจังหวัดเชียงรายเทียบกับประชากร 115
58 จานวนเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ของรัฐบาล เป็นรายอาเภอเทียบกับประชากร
เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ของรัฐบาล พ.ศ. 2562 116
59 จานวนบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐนอกกระทรวงสาธารณสุขและภาคเอกชน
จังหวัดเชียงราย 116
60 ข้อมูลสถิติชีพจังหวัดเชียงราย 2558 – 2562 (ณ 30 ธันวาคม ของทุกปี)
(ข้อมูลตามรายงานประจาปี 62 ของสานักงานสาธารณสุข) 117
61 สาเหตุการตายที่สาคัญ 10 อันดับโรค (อัตราต่อ 100,000 ประชากร) ปี 2557-2562 119
62 ข้อมูลผลการดาเนินงาน ในปี 2560-2564 125
สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่ หน้า
63 การควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด ปี 2563 128
64 การควบคุมตัวยา เปรียบเทียบปี 2561 – ปี 2563 128
65 การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ปี 2561- ปี 2562 129
66 สถิติอุบัติเหตุการจราจรทางบก และความเสียหาย พ.ศ. 2558-2563 130
67 เนื้อที่ป่าไม้ของจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2556 – 2562 133
68 พื้นที่ป่าสงวนจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2563 134
69 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้าผิวดินเฉลี่ยทั้งลาน้า แม่น้ากก ประจาปี พ.ศ.2563 145
70 สถิติน้าปริมาณน้าในอ่างเก็บน้าขนาดกลาง 145
71 ปริมาณน้าท่าจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2564 146
72 ปริมาณน้าฝนจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2564 147
73 สถิติการผลิต และการจาหน่ายน้าประปา ของการประปาส่วนภูมิภาค
ปีงบประมาณ 2558 – 2562 148
74 การเกิดจุดความร้อน ในปีพ.ศ. 2564 150
75 ข้อมูลขยะมูลฝอย 131
76 สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง 161
77 สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้อง 161
78 ประเภทแหล่งกาเนิดมลพิษ 163
79 ภัยจากแผ่นดินไหว พ.ศ. 2556 – 2563 166
80 สรุปปัญหาและความต้องการของพื้นที่จังหวัดเชียงราย 172
81 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 1 178
82 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 2 179
83 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 3 180
84 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 4 181
85 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 5 182
86 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 6 183
87 ภาพรวมเศรษฐกิจจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2564 184
88 การเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดเชียงราย 185
89 สัดส่วนของแรงงานนอกระบบที่เป็นผู้สูงอายุ 188
90 รายได้จากท่องเที่ยว (ล้านบาท) จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563 190
สารบัญตาราง (ต่อ)

ตารางที่ หน้า
91 สถิติจานวนนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563 190
92 อัตราการพานักโดยเฉลี่ย (วัน) ของนักท่องเที่ยว จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2562 192
93 เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงมูลค่าการค้าชายแดนและผ่านแดนด้านจังหวัดเชียงราย
ปี พ.ศ. 2563 เทียบกับปี 2562 193
94 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ 195
95 สัดส่วนภาคอุตสาหกรรมและบริการที่เกี่ยวข้องกับการค้าการลงทุน 196
96 ผลผลิตทางการเกษตรสาคัญ ประจาปี พ.ศ. 2563 198
97 ปศุสัตว์ที่สาคัญของจังหวัดเชียงราย ประจาปี พ.ศ. 2562 198
98 ดัชนีการพัฒนาจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2560-2562 202
99 สัดส่วนของแรงงานนอกระบบ ปีพ.ศ. 2554-2563 209
100 ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดเชียงราย และเป้าหมายในการพัฒนารายประเด็น 231
101 ความสอดคล้องของประเด็นการพัฒนาและแผนงานโครงการในแผนปฏิบัติการประจาปี 241
สารบัญรูปภาพ

ภาพที่ หน้า

1 แผนที่จังหวัดเชียงราย 4
2 แผนที่แสดงเส้นทางเชื่อมต่อ R3A และ R3B 22
3 แผนที่แสดงตาแหน่งเส้นทางบริเวณเขตพื้นที่อาเภอที่การก่อสร้างเส้นทาง
โครงข่ายชนบทมากที่สุด 27
4 พื้นที่โครงการตามแนวเส้นทางรถไฟ สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ 37
5 สถานีเส้นทางรถไฟทางคู่สายใหม่ ”เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ” 38
6 พื้นที่เสี่ยงไฟป่ารุนแรง จานวน 6 อาเภอ 16 ตาบล 149
7 7 สถานการณ์ไฟป่าและหมอกควัน 4 จังหวัดภาคเหนือ เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน
โดยจุดความร้อน ระบบ VIIRS 150
8 สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ของจังหวัดเชียงราย 205
9 มิติในการพิจารณาผลกระทบจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) 206
10 กิจกรรมทางเศรษฐกิจของคนในกลุ่มจังหวัดเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจาก Covid 19 206
11 การปรับตัวในช่วงสถานการณ์โควิด 19 210
12 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์กับแผนพัฒนาจังหวัด 211
13 เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดเชียงราย 227
14 โครงการตามจุดเน้นการพัฒนาจังหวัดเชียงราย ปีพ.ศ. 2566 -2570 243
สารบัญแผนภูมิ

แผนภูมิที่ หน้า

1 แสดงการใช้ ที่ ดิ น พ.ศ. 2556 – 2562 6


2 เนื้อที่จาแนกตามอาเภอ พ.ศ. 2563 6
3 แสดงข้อมูลการจาแนกตามการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
พ.ศ. 2558 – 2561 36
4 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย (GPP) 16 สาขา ( ณ ราคาคงที่)
พ.ศ. 2558 – 2562 และการพยากรณ์มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ปัจจุบัน – 2567 47
5 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมเฉลี่ยต่อคนจังหวัดเชียงราย (GPP) 16 สาขา
( ณ ราคาคงที่) พ.ศ. 2558 – 2562 และการพยากรณ์มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม
ปัจจุบัน – 2567 47
6 สัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย (GPP 16 สาขา) พ.ศ. 2562
(ณ ราคาตลาดปัจจุบัน) จาแนกตามสาขา 48
7 สัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2562 (ณ ราคาตลาดปัจจุบัน)
จาแนกตามภาคเกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ 49
8 สัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2562 (ณ ราคาตลาดปัจจุบัน)
จาแนกตามภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เรียงลาดับรายละเอียด
ตามมูลค่าสาขา 50
9 เปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ภาคนอกการเกษตร
(% Growth Rate) จาแนกตามภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ปี 2562
เทียบ ปี 2561 และปี 2562 เทียบ ปี 2558 52
10 รายได้เฉลี่ยต่อปีของจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ.2558-2562
และการพยากรณ์รายได้เฉลี่ย 57
11 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนและการพยากรณ์แนวโน้มในอนาคต 58
12 รายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนและการพยากรณ์แนวโน้มในอนาคต 59
13 หนี้สินทั้งหมดของครัวเรือนและการพยากรณ์แนวโน้มในอนาคต 59
14 สถิติจานวนนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563 61
15 สถิติค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยตามประเภทของนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย
ปี พ.ศ. 2558-2562 63
16 สถิติรายได้เฉลี่ยจากผู้เยี่ยมเยือน จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2562-2563 64
สารบัญแผนภูมิ (ต่อ)

แผนภูมิที่ หน้า

17 เปรียบเทียบจานวนสถานประกอบการที่พักแรม จังหวัดเชียงราย
ปี พ.ศ. 2558-2563 65
18 มูลค่านาเข้า ส่งออก และดุลการค้าและการพยากรณ์แนวโน้มในอนาคต 68
19 สัดส่วนพื้นที่ทั้งหมดของจังหวัดเชียงราย และพื้นที่ทาการเกษตร แสดงเป็นร้อยละ 73
20 จานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงปศุสัตว์ของจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2563 75
21 จานวนสหกรณ์ และจานวนสมาชิกทั้งหมด 84
22 สถาบันเกษตรกรจังหวัดเชียงราย 85
23 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ในประเทศ
ปี พ.ศ.2558 – 2562 และแนวโน้มในอนาคต 88
24 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ในต่างประเทศ
ปี พ.ศ.2558 – 2562 และแนวโน้มในอนาคต 89
25 เปรียบเทียบจานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามสถานภาพแรงงาน
จังหวัดเชียงราย ปี 2562-2563 91
26 สถานการณ์จานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีงานทาปี 2560-2567 92
27 สัดส่วนของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีงานทาจาแนกตามอาชีพ ปี 2563 93
28 สัดส่วนของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามระดับการศึกษา 95
29 โรงเรียน จาแนกตามสังกัด เป็นรายอาเภอ ปีการศึกษา 2563 99
30 สถานพยาบาลในจังหวัดเชียงราย ปีงบประมาณ 2563 111
31 อัตราการเกิดของประชากรจังหวัดเชียงราย 118
32 เปรียบเทียบข้อมูลสถิติชีพจังหวัดเชียงราย 2558 – 2562 118
33 สาเหตุการตายที่สาคัญ 10 อันดับโรค ปี พ.ศ.2562 120
34 สัดส่วนของแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ 121
35 สถานการณ์สถิติการเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุบนท้องถนน ปี พ.ศ. 2558 – 2563 132
36 แสดงเปรียบเทียบเนื้อที่ป่าไม้ของจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2556 – 2562 133
37 สัดส่วนการใช้ที่ดินในพื้นที่จังหวัดเชียงรายตามการใช้ประโยชน์ ปี พ.ศ. 2563 137
38 สถิติผลการตรวจวัดคุณภาพน้าผิวดินแม่น้ากกย้อนหลัง 3 ปี (พ.ศ.2561 -2563) 144
39 แผนภูมิแสดงปริมาณน้าท่าจังหวัดเชียงรายปี พ.ศ. 2562-2564 146
สารบัญแผนภูมิ (ต่อ)

แผนภูมิที่ หน้า

40 เปรียบเทียบจุดความร้อนสะสม 9 จังหวัดภาคเหนือ จากดาวเทียมระบบ VIIRS


ปี 2564 ระหว่างวันที่ 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม 153
41 คุณภาพอากาศโดยวัดปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนสูงสุด (มคก./ลบ.ม.) 154
42 คุณภาพอากาศโดยจานวนวันที่ PM2.5 เกินมาตรฐาน 154
43 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย (GPP) 16 สาขา ( ณ ราคาคงที่)
พ.ศ. 2558 – 2562 และการพยากรณ์มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ปัจจุบัน – 2567 485
44 ผลผลิตมวลรวมจังหวัด พ.ศ. 2562 (ณ ราคาตลาดปัจจุบัน) จาแนกตามภาคเกษตร
ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ 186
45 สัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2562 (ณ ราคาตลาดปัจจุบัน)
จาแนกตามภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เรียงลาดับรายละเอียดตามมูลค่าสาขา 187
46 โครงสร้างแรงงานของจังหวัดเชียงราย 188
47 จานวนประชากรในจังหวัดจาแนกตามสถานภาพการทางาน ปี พ.ศ. 2562-2563 188
48 สถานการณ์จานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีงานทาปี 2560-2567 189
49 สถานการณ์ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง
และผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ 189
50 สถิติจานวนนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563 191
51 มูลค่าการค้าชายแดนของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 จาแนกตามด่านศุลกากร 193
52 ดุลการค้า ปีพ.ศ. 2558-2567 194
53 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ในประเทศ
ปี พ.ศ.2558 – 2562 และแนวโน้มในอนาคต 195
54 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ในต่างประเทศ
ปี พ.ศ.2558 – 2562 และแนวโน้มในอนาคต 195
55 สัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร 197
56 จานวนครัวเรือนเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน 197
57 ประชาชนที่อยู่ที่ 15 ปีขึ้นไปที่อยู่ในกาลังแรงงานและนอกกาลังแรงงาน 197
58 คุณภาพอากาศโดยจานวนวันที่ PM2.5 เกินมาตรฐาน 200
59 การเปรียบเทียบดัชนีการพัฒนาจังหวัดเชียงรายและประเทศ 203
60 การเปรียบเทียบดัชนีการพัฒนาจังหวัดเชียงรายในปีพ.ศ. 2560-2562 203
สารบัญแผนภูมิ (ต่อ)

แผนภูมิที่ หน้า

61 จานวนและรายได้จากนักท่องเที่ยวที่ลดลงอย่างมีนัยสาคัญในช่วงสถานการณ์
โควิด 19 207
62 มูลค่านาเข้า ส่งออก และดุลการค้าและการพยากรณ์แนวโน้มในอนาคต 208
63 สัดส่วนของแรงงานในจังหวัดเชียงราย 209
64 ทิศทางในการพัฒนาของจังหวัดเชียงราย 225
1

แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย (พ.ศ. ๒๕๖๖ - ๒๕๗๐)


1. บทสรุปผู้บริหาร
จากบริบทของจังหวัดเชียงราย ที่มีความโดดเด่นจากลักษณะทางภูมิศาสตร์ที่เป็น ประตูสู่การค้า การ
ลงทุนการท่องเที่ยว และ Logistics สู่กลุ่มประเทศ GMS อีกมีทรัพยากรทางธรรมชาติ และศิลปวัฒนธรรม
กลุ่มชาติพันธุ์ที่หลากหลาย ซึ่งเป็นฐานการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ ทาให้จังหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดที่สามารถ
ขับเคลื่อนโดยใช้เศรษฐกิจสร้างสรรค์ได้ แต่อย่างไรก็ตามจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโควิด 19 บริบท
ของสังคมสูงวัย การเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีที่เข้าสู่ยุคดิจิทัล ส่งผลจังหวัดเชียงรายในระยะ 5 ปีต่อจากนี้มี
ความจาเป็นต้องปรับตัวและต้องขับเคลื่อนระบบเศรษฐกิจโดยเน้นการดึงศักยภาพที่โดดเด่นของจังหวัดมาใช้
พร้ อมๆกับ การปรั บ ตัว ต่ อบริ บ ทที่เปลี่ ย นแปลง ส าหรับแผนพัฒ นาจังหวัดในระยะ 5 ปี ได้มี การกาหนด
เป้าหมายในการพัฒนาเป็น “เชียงรายเมืองท่องเที่ยวสร้างสรรค์ สะอาด ปลอดภัย น่ายล” การขับเคลื่อน
ดังกล่ าวมีความจ าเป็ น ต้องเน้ น การพัฒ นา เศรษฐกิจสร้ า งสรรค์ สิ่งแวดล้อมสร้ า งสรรค์ และสังคม
สร้างสรรค์ ควบคู่ไปด้วยทั้งนี้เพื่อทาให้เกิดการพัฒนาอย่างสมดุลในทุกมิติ
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดเชียงราย ประกอบด้วย 5 ประเด็นหลักได้แก่ 1. การสร้างมูลค่าเพิ่มด้าน
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา 2. การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อ
ยกระดับสินค้าเกษตรเชิงสร้างสรรค์ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน 3. การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้าน
การค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส์ 4. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารง
ความสมบู ร ณ์แ ละยั่ งยื น 5. การพัฒ นาคุณ ภาพชีวิต ทรัพ ยากรมนุ ษย์แ ละความมั่ นคงเพื่อ ส่ งเสริม สั งคม
สร้างสรรค์
โครงการสาคัญในการพัฒนาของจังหวัดเชียงราย มี 15 โครงการสาคัญ ได้แก่ 1.การปรับปรุงและ
พัฒ นาแหล่ งท่องเที่ย วเชิงวัฒ นธรรม เชิงนิเวศ และเชิงสุ ขภาพให้ มีคุณภาพเพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิง
สร้างสรรค์ 2.การพัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือข่ายการท่องเที่ยว 3.การพัฒนากิจกรรมและการตลาดเพื่อ
ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 4.การสร้างเสริมการใช้นวัตกรรมเพื่อผลผลิตทางการเกษตรเชิงสร้างสรรค์
5.การเชียงรายเมืองเกษตรมูลค่าสูง (ชา กาแฟและสมุนไพร) 6.การพัฒนาศักยภาพการผลิตและสร้างเครือข่าย
การผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพ อาหารปลอดภัยจังหวัดเชียงราย 7.การเพิ่มขีดความสามารถผู้ประกอบการและ
การพัฒนาตลาดเชิงสร้างสรรค์ 8.การส่งเสริมและพัฒนาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชายแดนเศรษฐกิจข้ามแดน
และเขตเศรษฐกิจพิเศษ 9.การส่งเสริมและพัฒนาระบบ Logistic เพื่อเชื่อมโยงการค้าการลงทุน 10.เชียงราย
เมืองสีเขียว 11.การบริหารจัดการทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ 12.การป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าหมอก
ควันและฝุ่นละอองแบบบูรณาการของจังหวัดเชียงราย 13.การพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสร้างสรรค์
14. การพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ และศักยภาพแรงงาน และ15. การส่งเสริมเชียงรายด้านความมั่นคงและ
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
สาหรับเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดเชียงราย มีการกาหนดตัวชี้วัดในการพัฒนาอย่างเป็นรูปธรรม และ
สามารถวัดติดตามประเมินผลความสาเร็จความคุ้มค่าของแผนงาน/โครงการที่เกิดขึ้นลงไปสู่ประชาชนในพื้นที่
โดยในเครื่องมือ CIPP Model มาใช้ในการประเมินผลความสาเร็จ ซึ่งผลที่เกิดขึ้นสามารถนาไปใช้ประโยชน์
สูงสุดต่อจังหวัดเชียงรายและทาให้เกิดการพัฒนาอย่างยั่งยืนต่อไป
2. ความสอดคล้องกับแผน ๓ ระดับ ตามนัยยะของมติคณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ ๔ ธันวาคม ๒๕๖๐ และสรุปสาระสาคัญของแผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย
ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ยุทธศาสตร์ชาติ ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม
 เป้าหมาย ประเทศไทยมีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึน้  เป้าหมาย อนุรักษ์และรักษาทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อม และวัฒนธรรม ให้คนรุ่นต่อไปได้ใช้  เป้าหมาย สร้างความเป็นธรรม และลดความเหลื่อมล้้าในทุกมิติ
แผนระดับ 1
 ประเด็น การเกษตรสร้างมูลค่า, สร้างความหลากหลายด้านการท่องเที่ยว ,พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานผูป้ ระกอบการ
อย่างยั่งยืน มีสมดุล ประเด็น การลดความเหลื่อมล้้า สร้างความเป็นธรรมในทุกมิติ
ยุคใหม่  ประเด็น สร้างการเติบโตอย่างยั่งยืนบนสังคมเศรษฐกิจสีเขียว


แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ แผนการปฏิรูปประเท แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับ นโยบายและแผนระดับชาติ
ประเด็น ท่องเที่ยว ประเด็น เศรษฐกิจฐานราก
 การปฏิรปู การเพิม่ ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ ที่ 13 ว่าด้วยความมั่นคงแห่งชาติ
 นโยบายความมั่นคงแห่งชาติที่ 11 การรักษาความมั่นคงด้านทรัพยากรธรรมชาติและ
 เป้าหมายประเด็นของแผนแม่บทฯ ความสามารถ  เป้าหมายประเด็นของแผนแม่บทฯ รายได้ของ
 การปฏิรปู เกิดความสมดุลระหว่างการอนุรกั ษ์และการใช้ประโยชน์
ยุทธศาสตร์เศรษฐกิจมูลค่าสูงทีเ่ ป็นมิตรต่อ
สิ่งแวดล้อม สิ่งแวดล้อม
แผนระดับ 2 ทางการแข่งขันด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทยดี ประชากรกลุม่ รายได้น้อยเพิ่มขึ้นอย่างกระจายและอย่าง
ลดความขัดแย้งของการพัฒนาที่ใช้ฐานทรัพยากรธรรมชาติ ยุทธศาสตร์วิถีชีวิตที่ยั่งยืน นโยบายความมั่นคงแห่งชาติที่ 12: เสริมสร้างความมั่นคงทางพลังงานและอาหาร
ขึ้น ต่อเนื่อง ยุทธศาสตร์สงั คมแห่งโอกาสและความเสมอ
บรรเทาผลกระทบสิ่งแวดล้อมและลดภัยพิบัตทิ างธรรมชาติ
 แผนย่อยของแผนแม่บทฯ 5.1  แผนย่อยของแผนแม่บทฯ 16.1
 ก้าลังคนของประเทศมีทักษะทีเ่ อื้อต่อการสร้างผลิตภาพแรงงาน
ภาค
- เป้าหมายแผนย่อย 050101 - เป้าหมายแผนย่อย 160101 และคุณภาพชีวิตที่ดี


แผนระดับ 3 แผนพัฒนาภาคเหนือ แผนพัฒนาภาคเหนือตอนบน 2
ฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์ของประเทศ” ตามแนวคิด เศรษฐกิจสร้างสรรค์ สานสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ สุขภาวะดี วิถีชีวิตยั่งยืน ภายในปี 2570 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 จะเป็นเมืองน่าอยู่อย่างยัง่ ยืน

เป้าหมายการพัฒนาจังหวัด ตัวชี้วัดความสาเร็จตามเป้าหมายการพัฒนาจังหวัด
เชียงรายเมืองท่องเที่ยวสร้างสรรค์ สะอาด ปลอดภัย น่ายล เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดสาคัญ คือ การเป็นเมืองท่องเที่ยวสร้างสรรค์ตามมาตรฐาน UNESCO
เป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์
จ้านวนแหล่งท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ (3แห่งต่อปี) จ้านวนของสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวได้รับมาตรฐาน SHA (10 แห่งต่อปี) การเพิ่มจ้านวนนวัตกรรมสินค้าเกษตรเชิงสร้างสรรค์( 3ชิ้นต่อปี) จ้านวนโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมเพื่อเข้าสู่แหล่ง
สาระสาคัญ
ท่องเที่ยวส้าคัญและส่งเสริมการค้าการลงทุนได้รบั การพัฒนา (10 แห่งต่อปี) จ้านวนกิจกรรมทีส่ นับสนุนการกระตุ้นเศรษฐกิจในมิตกิ ารค้า การลงทุน (4 กิจกรรมต่อปี)
แผนพัฒนา
เป้าหมายการพัฒนาสิ่งแวดล้อมสรรค์
จังหวัด
จ้านวนพื้นที่สีเขียวที่ได้รบั การฟื้นฟูและสร้างใหม่ (300 ไร่ต่อไป) ร้อยละการเกิดจุดความร้อนลดลงจากปีทผี่ ่านมา(Hotspots) (ร้อยละ10 ต่อปี) จ้านวนแหล่งน้้าที่ได้รับการพัฒนาและฟื้นฟูเพื่อป้องกันการกัดเาาะตลิง่ (3 แหล่งต่อปี)
เป้าหมายการพัฒนาสังคมสร้างสรรค์
จ้านวนประชาชนที่ได้รบั การส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต (ไม่น้อยกว่า 500คนต่อปี) จ้านวนแกนน้าประชาชนได้รับการพัฒนาศักยภาพในการสร้างความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน (ไม่น้อยกว่า 1,000 คนต่อปี) จ้านวนประชาชนที่มปี ัญหาทางสังคม ได้รับการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต (ไม่น้อยกว่า 1,000 คนต่อปี)

ประเด็นการ 1. การสร้างมูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิง 2. การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับ 3. การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ 4. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ด้ารง 5.การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อ
พัฒนาจังหวัด สรรค์โดยด้ารงฐานวัฒนธรรมล้านนา สินค้าเกษตรเชิงสร้างสรรค์ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน โลจิสติกส์ ความสมบูรณ์และยั่งยืน ส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์
    
1. เพิ่มจ้านวนแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิง 1.ส่งเสริมและยกระดับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่ 1. เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ 1. เพิ่มพื้นที่สีเขียว การบริหารจัดการน้้า และแก้ไข 1. เพิ่มศักยภาพคนทุกกลุ่มวัยและ
สรรค์โดยด้ารงฐานวัฒนธรรมล้านนา เกษตรมูลค่าสูงเชิงสร้างสรรค์ และ โลจิสติกส์ ปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ ยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสร้างสรรค์
แผนงาน
2. เพิ่มคุณภาพมาตรฐาน และส่งเสริม 2. เพิ่มสัดส่วนสินค้าเกษตรที่ได้คุณภาพมาตรฐานสากล 2. เพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอก 2.ส่งเสริมความมั่งคง ความปลอดภัยใน
การตลาดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ควันและส่งเสริมเชียงรายเมืองสะอาด ชีวิตและรับมือกับภัยด้านสุขภาพจากโรค
อุบัติใหม่และโรคอุบัติา้า

    
1. โครงการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิง 1. โครงการสร้างเสริมการใช้นวัตกรรมเพื่อผลผลิตทาง 1.โครงการเพิ่มขีดความสามารถผู้ประกอบการและการพัฒนาตลาดเชิง 1.โครงการเชียงรายเมืองสีเขียว 1.โครงการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิต
วัฒนธรรม เชิงนิเวศ และเชิงสุขภาพให้มีคุณภาพ การเกษตรเชิงสร้างสรรค์ สร้างสรรค์ 2.โครงการบริหารจัดการทรัพยากรน้้าแบบบูรณาการ เชิงสร้างสรรค์
เพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 2. โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและสร้างเครือข่าย 2.โครงการส่งเสริมและพัฒนาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชายแดนเศรษฐกิจ 3.โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าหมอกควันและฝุ่น 2.โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ และ
โครงการสาคัญ 2.โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือข่ายการ การผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพ อาหารปลอดภัยจังหวัด ข้ามแดนและเขตเศรษฐกิจพิเศษ ละอองแบบบูรณาการของจังหวัดเชียงราย ศักยภาพแรงงาน
ท่องเที่ยว เชียงราย 3.โครงการส่งเสริมและพัฒนาระบบ Logistic เพื่อเชื่อมโยงการค้าการลงทุน 3.โครงการส่งเสริมเชียงรายด้านความมั่นคง
3.โครงการพัฒนากิจกรรมและการตลาดการ 3. โครงการเชียงรายเมืองเกษตรมูลค่าสูง และปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
ท่องเที่ยวเชิงสร้างรรค์ (ชา กาแฟ และสมุนไพร)
3

3. สาระสาคัญแผนพัฒนาจังหวัด (พ.ศ. 2566 - 2570)


3.1 ข้อมูลเพื่อการพัฒนา
3.1.1 ข้อมูลพื้นฐานทางกายภาพ
ลักษณะทางกายของจังหวัด เชียงรายเป็นจังหวัดที่ตั้งอยู่ในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย มี
ภูมิศาสตร์อยู่ทางเหนือสุดของประเทศ ทาเลที่ตั้งของจังหวัด อยู่ติดกับสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์ และ
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ปัจจุบันจังหวัดเชียงรายได้รั บความสนใจเนื่องจากเป็นจังหวัดที่
เชื่อมโยงไปสู่สาธารณรัฐแห่งสหภาพ เมียนมาร์ และสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และประเทศจีน
ตอนใต้ ผ่านทางหลวงเอเชียสาย 2 และทางหลวงเอเชียสาย 3 มีขนาดพื้นที่ของจังหวัดเชียงรายมี พื้นที่
11,678.369 ตร.กม. มากเป็นอันดับที่ 12 ของประเทศ มีน้าแม่กก น้าแม่อิง แม่น้ารวก และแม่น้าโขง เป็น
แม่น้าสาย
1) ด้านกายภาพ
(1.1) ที่ตั้ง จังหวัดเชียงรายตั้งอยู่เหนือสุดของประเทศไทย อยู่ระหว่างเส้นรุ้งที่ 19 องศาเหนือถึง
20 องศา 30 ลิปดาเหนือและเส้นแวงที่ 99 องศา 15 ลิปดา ถึง 100 องศา 45 ลิปดาตะวันออก อยู่ห่างจาก
กรุงเทพฯ 829 กิโลเมตร
(1.2) อาณาเขต
ทิศเหนือ ติดต่อกับ สาธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพเมี ย นมาร์ และ สาธารณรั ฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว
ทิศตะวันออก ติดต่อกับ สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
ทิศใต้ ติดต่อกับ จังหวัดพะเยาและลาปาง
ทิศตะวันตก ติดต่อกับ สาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมาร์และจังหวัดเชียงใหม่
4

ภาพที่ 1 แผนที่จังหวัดเชียงราย

แนวเขตชายแดนติดต่อกับประเทศเมียนมา ด้านอาเภอแม่จัน แม่สาย แม่ฟ้าหลวง และเชียงแสน


รวม 153 กิ โ ลเมตร แนวชายแดนติ ด ต่ อกั บ สาธารณรั ฐ ประชาธิ ป ไตยประชาชนลาว มีร ะยะทาง 155
กิโลเมตร
(1.3) สภาพภูมิประเทศ
มีภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูงในทวีปตอนเหนือ (North Continental Highland) มีพื้นที่ราบสูงเป็น
หย่อมๆ ในเขตอาเภอแม่สรวย เวียงป่าเป้า และเชียงของ บริเวณเทือกเขาจะมีความสูงประมาณ 1,500 –
2,000 เมตรจากระดับน้าทะเล บริเวณส่วนที่ราบตามลุ่มแม่น้าสาคัใในตอนกลางของพื้นที่ ได้แก่อาเภอพาน
เมือง แม่จัน แม่สาย เชียงแสน และเชียงของ มีความสูงประมาณ 410–580 เมตรจากระดับน้าทะเล
(1.4) สภาพภูมิอากาศ
ฤดูร้อน ประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ -กลางเดือนพฤษภาคม มีอุณหภูมิเฉลี่ยสูงสุด 30.6 องศา
เซลเซียส อุณหภูมิสูงสุด 35.4 องศาเซลเซียส
ฤดูฝน ประมาณกลางเดือนพฤษภาคม-กลางเดือนตุลาคม มีฝนตกทั้งปี 145 วันปริมาณฝนรวม
ตลอดทั้งปี 2,042.6 มิลลิเมตร
ฤดูห นาว อยู่ ในช่ ว งกลางเดือนตุล าคม-กลางเดือนกุ มภาพันธ์ อุณหภูมิ ต่าสุ ดเฉลี่ ย 15.1 องศา
เซลเซียส อุณหภูมิต่าสุด 10.2 องศาเซลเซียส
(1.5) ทรัพยากรดินและการใช้ประโยชน์จากที่ดิน
ลักษณะของทรัพยากรดินแบ่งออก 4 ประเภท ประกอบด้วย
1) ดิ น บริ เ วณที่ ร าบริ ม ฝั่ ง แม่ น้ าและที่ เ นิ น เป็ น ดิ น ที่ เ กิ ด จากการทั บ ถมของตะกอนที่ ถู ก น้ า
พัดพา มีอายุไม่นานนัก เนื้อดินมีลักษณะเป็นดินร่วนและดินเหนียว พบทั่วไปบริเวณริมฝั่งน้า
5

2) ดินบริเวณที่ราบลุ่มและที่ราบต่า เกิดจากาการทับถมของตะกอนน้าพัดพาพบบริเวณที่ราบลุ่ม
และที่ราบต่า เนื้อดินมีลักษณะเป็นดินโคลนหรือดินเหนียว
3) ดิ น บริ เ วณที่ร าบ และเนิ น เขา เป็นดิน ที่เกิด จากตะกอนน้าน้ าพัดพา หรือหิ น ที่ส ลายผุ พั ง
ลักษณะเนื้อดินค่อนข้างร่วนระบายน้าได้ดี ดินชนิดนี้พบกระจายอยู่ทั่วไปบริเวณใกล้ที่ราบเชิงเขา
4) ดินบริเวณที่ลาดเขาและที่สูงเป็นดินที่เกิดจากการผุพังของหิน เนื้อดินมีทั้งดินละเอียดปานกลาง
และดินร่วน การระบายน้าปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่า หรือปานกลาง
สาหรับการถือครองที่ดินทางการเกษตร พบว่ า จากเนื้ อ ที่ ทั้ ง หมด7,298,9881 ไร่ มี เ นื้ อ ที่ ใ ช้
ประโยชน์ ใ นปี 2562 จานวน 3,017,669 ไร่ แบ่ ง ออกเป็ น เนื้ อ ที่ น อกการเกษตร จานวนไร่ และ
1,415,848 เนื้ อ ที่ ป่ า จานวน 2,865,464 ไร่ ทั้ ง นี้ จ ากข้ อ มู ล ตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2556-2562 พบว่ า
สั ด ส่ ว นของพื้ น ที่ เ กษตรในช่ ว งตั้ ง แต่ ปี พ.ศ. 2559 ถึ ง ปี พ .ศ. 2562 มี แ นวโน้ ม ลดลง และมี พื้ น ที่
นอกการเกษตรเพิ่ ม ขึ้ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในขณะที่ พื้ น ที่ ป่ า ไม้ มี แ นวโน้ ม ลดลง
ตารางที่ 1 การใช้ ที่ ดิ น พ.ศ. 2556 – 2562
เนื้อที่ใช้ประโยชน์ (ไร่)
ปี เนื้อที่ทั้งหมด พื้นที่ทา
นอกการเกษตร เนื้อที่ป่าไม้
การเกษตร
2556 7,298,981 3,013,338 1,297,680 2,987,963
2557 7,298,981 3,015,537 1,282,718 3,000,726
2558 7,298,981 3,015,220 1,319,894 2,963,867
2559 7,298,981 3,018,979 1,356,976 2,923,026
2560 7,298,981 3,018,733 1,387,759 2,892,489
2561 7,298,981 3,018,012 1,404,926 2,876,043
2562 7,298,981 3,017,669 1,415,848 2,865,464
ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร รายงานสถิติจังหวัดเชียงราย สถิติจังหวัดเชียงราย,2563.
6

แผนภูมิที่ 1 แสดงการใช้ ที่ ดิ น พ.ศ. 2556 – 2562


3,500,000
3,013,338 3,015,537 3,015,220 3,018,979 3,018,733 3,018,012 3,017,669
3,000,000

2,500,000

2,000,000

1,500,000 1,415,848
1,356,976 1,387,759 1,404,926
1,297,680 1,282,718 1,319,894

1,000,000

500,000

0
2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562

พื้นที่ทำกำรเกษตร นอกกำรเกษตร เนื้อที่ป่ำไม้

ที่มา : สานักงานเศรษฐกิจการเกษตร รายงานสถิติจังหวัดเชียงราย สถิติจังหวัดเชียงราย,2563.

(1.6) การปกครอง
สาหรับ การปกครองของจั งหวัดเชียงราย แบ่ง ออกเป็น 18 อาเภอ ประกอบด้ว ย อาเภอเมือง
อาเภอเวียงชัย อาเภอเชียงของ อาเภอพใาเม็งราย อาเภอแม่สรวย อาเภอเทิง อาเภอดอยหลวง อาเภอแม่
จัน อาเภอพาน อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอเวียงป่าเป้า อาเภอเวียงแก่น อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอแม่ลาว
อาเภอเชียงแสน อาเภอแม่สาย อาเภอขุนตาล อาเภอป่าแดด ทั้งนี้อาเภอที่มีพื้นที่มากที่สุด ได้แก่ อาเภอแม่
สรวย อาเภอเมือง อาเภอเวียงป่าเป้า
แผนภูมิที่ 2 เนื้อที่จาแนกตามอาเภอ พ.ศ. 2563

แม่ฟ้าหลวง ขุนตาลเวียง แม่ลาว ดอยหลวง เมืองเชียงราย เวียงชัย เชียงของ


6% เชียง 3% 3% 11% 3% 7%
เวียงแก่น 2% รุ้ง
พใาเม็งราย 5% 2% เทิง
5% 7%
แม่สรวย
เวียงป่าเป้า 12% พาน
11% 9%
แม่สาย เชียงแสน แม่จัน ป่าแดด
2% 5% 5% 3%

ที่ ม า: ที่ ทาการปกครองจั ง หวั ด , 2563


7

(1.7) ประชากรในจังหวัดเชียงราย
จากสถิติของกรมการปกครองกระทรวงมหาดไทย จานวนประชากรจังหวัดเชียงราย ในปี พ.ศ.2562
รวมทั้งสิ้น 1,289,304 คน เป็นชาย 632,413 คน หใิง 665,891 คน ทั้งนี้แบ่งเป็นผู้ที่มีสัใชาติไทย และมี
ชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน รวมทั้งสิ้นจานวน 1,162,223 คน และเป็นผู้ที่ไม่มีสัใชาติไทยและมีชื่ออยู่ในทะเบียน
บ้าน รวมทั้งสิ้นจานวน 117,832 คน

ตารางที่ 2 จานวนประชากร จังหวัดเชียงราย


ลักษณะข้อมูล ชาย หญิง รวม
แยกตามเพศ 632,413 665,891 1,298,304
แยกตามลักษณะสถานะของบุคคล
- ผู้ที่มีสัใชาติไทย และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน 572,169 597,443 1,180,472
- ผู้ที่ไม่ได้สใ
ั ชาติไทย และมีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้าน 54,664 63,168 117,832
- ผู้ที่มีชื่ออยู่ในทะเบียนบ้านกลาง (ทะเบียนซึ่งผู้อานวยการทะเบียน
กลางกาหนดให้จดั ทาขึ้นสาหรับ ลงรายการบุคคลที่ไม่อาจมีชื่อใน 5,580 5,280 10,860
ทะเบียนบ้าน)
- ผู้ที่อยู่ระหว่างการย้าย (ผู้ที่ย้ายออกแต่ยังไม่ได้ย้ายเข้า) 692 523 1,215
ที่มา : ระบบสถิติทางการทะเบียน,2563
2 ) โครงสร้างพื้นฐาน
(2.1) ระบบขนส่งทางถนน
1) โครงข่า ยถนนเส้นทาง R3 คือเส้นทางเชื่อมโยงตามระเบียงเศรษฐกิจเหนือ -ใต้จาก
กรุงเทพมหานครสู่จีนตอนใต้ ผ่านประเทศเมียนมาร์ และลาว ประกอบด้วย 2 เส้นทางย่อยดังนี้
- เส้นทาง R3A หรือ R3E: เชื่อมโยงระหว่าง ไทย-ลาว-จีน จากประเทศไทย (เชียงราย-
เชียงของ) ข้ามแม่น้าโขงไปยังประเทศลาว (ห้วยทราย-หลวงน้าทา-บ่อเต็น) และเข้าสู่ประเทศจีน (บ่อหาน-
เชียงรุ่ง-คุณหมิง) รวมระยะทาง 1200 กิโลเมตร
- เส้นทาง R3B หรือ R3W: เชื่อมโยงระหว่าง ไทย-ประเทศเมียนมาร์ -จีน จากประเทศไทย
(เชียงราย-แม่สาย) ผ่านประเทศประเทศเมียนมาร์ (ท่าขี้เหล็ก-เชียงตุง-แม่ลา) และเข้าสู่ประเทศจีน (ดาลั๊ว -
เชียงรุ้ง-คุนหมิง ) โดยเชื่อมโยงกับเส้นทาง R3A ที่เชียงรุ้งและคุณหมิง รวมระยะทางจากแม่สายถึงเชียงรุ้ง
380 กิโลเมตร
8

ตารางที่ 3 ผลการสารวจเส้นทาง R3A เพื่อพัฒนาโอกาสทางการท่องเที่ยว เน้นการส่งเสริมบทบาทของไทยในการเป็นจุดเริ่มต้น/จุดสิ้นสุดของการเดินทางท่องเที่ยว


เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
จุดแข็ง 1.มีแหล่ง เป็นพื้นที่ เป็นพื้นที่ที่มีความ 1.เส้นทาง R3A 1.นักท่องเที่ยวโดยเฉพาะชาวตะวันตกให้ความสนใจพื้นที่ในบริเวณตอนเหนือของ
ต่อ ท่องเที่ยว เหมาะ หลากหลายและ มนประเทศจีน สปป.ลาว เพิ่มขึ้นเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เคยปิดและไม่ได้รับการส่งเสริมให้มีการ
การ จานวนมาก สาหรับการ ความสวยงามของ ได้รับการพัฒนา ท่องเที่ยวมานาน (โดยเฉพาะในช่วงสงครามอินโดจีนครั้งที่ 1-2)
ท่องเที่ยว และมีความ เป็น ธรรมชาติ เป็น Freeway ที่ 2.เป็นพื้นที่ที่มีความหลากหลายและความสวยงามของธรรมชาติ ทรัพยากร (ป่า
บน R3A หลากหลาย จุดเริ่มต้น ทรัพยากร (ป่า ทันสมัย มีสิ่ง ภูเขา ถ้า น้าตก และ สัตว์ป่า) และสังคมวัฒนธรรม โดยเฉพาะกลุ่มชาติพันธุ์ต่างๆที่
ของแหล่ง สาหรับการ ภูเขา ถ้า น้าตก อานวยความ มีเอกลักษณ์ของตนเอง ซึ่งสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวประเทศที่ 3 ได้ดี
ท่องเที่ยว เดินทางต่อ และสัตว์ป่า) และ สะดวกครบ และ
2.โครงสร้าง ยอดจาก สังคมวัฒนธรรม ทาให้การเดินทาง
พื้นฐานเกือบ R3A ใน โดยเฉพาะกลุ่ม สะดวกอย่างยิ่ง
สมบูรณ์เต็ม ลักษณะไป ชาติพันธุ์ต่างๆ ที่มี 2.แหล่งท่องเที่ยว
100% เรือกลับรถ/ เอกลักษณ์ของ ตลอดทั้งเส้นทาง
ไปรถ กลับ ตนเอง เป็นจานวนมาก
เรือล่อง และมีความ
แม่น้าโขง หลากหลาย
9

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
จุดแข็ง 1.การทางาน 1.บริษัท 1.บริษัทท่องเที่ยว 1.กระบวนการ 1.แหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและสังคมวัฒนธรรมในพื้นที่ ซึ่งเป็นแม่เหล็กดึงดูด
ต่อ ของ ท่องเที่ยว ขาดประสบการณ์ ตรวจลงตรา นักท่องเที่ยว กลุ่มนี้กาลังถูกทาลายเนื่องจากไร้ทิศทางและนโยบาย ในการพัฒนา
การ หน่วยงาน ขาด โดยเฉพาะในเรื่อง (Visas) และพิธี อย่างชัดเจน ประกอบกับคนในพื้นที่ ต้องการความทันสมัย โดยไม่รู้เท่าทัน และขาด
ท่องเที่ย ต่าง ๆ ที่ไม่ ประสบการ ความรู้เรื่องแหล่ง การตรวจคนเข้า ความรู้ในการพัฒนาอย่างยั่งยืน
วบน สอด ณ์ ท่องเที่ยว และการ เมืองที่ล่าช้าและ 2.กระบวนการ ตรวจลงตรา และพิธีการตรวจคนเข้าเมืองที่ล่าช้า และยุ่งยากซับซ้อน
R3A ประสานกัน โดยเฉพาะ อานวยคามสะดวก ยุ่งยากซับซ้อนทา ทาให้เสียโอกาสการท่องเที่ยว 3.สิ่งอานวยความสะดวกและโครงสร้างพื้นฐาน ยังไม่
ในการ ในเรื่อง ในการผ่านแดน ให้เสียโอกาสการ เพียงพอสาหรับการรองรับนักท่องเที่ยว กลุ่มตลาดบน
ส่งเสริมการ ความรู้เรื่อง 2.เจ้าหน้าที่และ ท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวให้ แหล่ง หน่วยงานภาครัฐ 2.แหล่งท่องเที่ยว
เป็นไปใน ท่องเที่ยว ของ สปป.ลาว ยัง เชิงสังคม-
ทิศทาง และการ ไม่สามารถบูรณา วัฒนธรรมของจีน
เดียวกัน อานวยความ การพัฒนา มีรูปแบบการ
2.หน่วยงาน สะดวกใน แผนการท่องเที่ยว พัฒนาที่มีสภาพ
ภาครัฐที่ การผ่าน ยั่งยืนได้ บังคับ ซึ่งอาจจะ
เกี่ยวข้องกับ แดน 3.แหล่งท่องเที่ยว ถูกจริต
การ 2.แหล่ง ยังไม่ได้รับการ นักท่องเที่ยวจาก
ท่องเที่ยวยัง ท่องเที่ยวยัง พัฒนาไปเท่าที่ควร ประเทศอื่น ๆ
10

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
ไม่เข้า ไม่ได้รับการ 4.การทาให้ อาจพิจารณาไปใน
ใจความ พัฒนาไป ทันสมัยในพื้นที่ทา ทิศทางตรงกันข้าม
ต้องการ เท่าที่ควร ให้แหล่งท่องเที่ยว 3.ความ
แท้จริง 3.สิ่งอานวย ทางธรรมชาติ และ หลากหลายทาง
(Insight) ความสะดวก สังคม-วัฒนธรรม ชาติพันธุ์และ
ของ และ เสื่อมสลาย เอกลักษณ์ของแต่
นักท่องเที่ยว โครงสร้าง 5.สิ่งอานวยความ ละกลุ่มอยู่ใน
เน้นเฉพาะ พื้นฐานยังไม่ สะดวกและ สภาพเสื่อมถอย
การส่งเสริม เพียงพอ โครงสร้างพื้นฐาน ทาให้นักท่องเที่ยว
การ สาหรับการ ยังไม่เพียงพอ ที่ต้องการสัมผัส
ท่องเที่ยว รองรับ สาหรับการรองรับ วัฒนธรรมที่ยังไม่
จากสิ่งที่ นักท่องเที่ยว นักท่องเที่ยวกลุ่ม ผ่านการปรุงแต่ง
ตนเองมีอยู่ กลุ่มตลาด ตลาดบน ไม่ต้องเดินทางไป
(Supply บน เยี่ยมชม
Side 4.ตลอด
Promotion) เส้นทาง
โดยยังไม่ให้ R3A แม้
11

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
ความสนใจ สภาพถนน
พัฒนาสิ่งที่ ในปัจจุบัน
ตนเองมีอยู่ จะอยู่ใน
ตนเองสนอง สภาพดี แต่
ความ ขาดสิ่ง
ต้องการ อานวยความ
แท้จริงของ สะดวก อาทิ
นักท่องเที่ยว จุดพักรถ
ปั๊มน้ามัน
ร้านค้า
6.ตลอดเส้นทาง 4. บริษัทท่องเที่ยวขาดประสบการณ์ โดยเฉพาะในเรื่องความรู้แหล่งท่องเที่ยว
R3A สภาพถนนใน และการอานวยความสะดวกในการผ่านแดน
ปัจจุบันอยู่ใน 5. เส้นทางการท่องเที่ยวยังไม่สามารถเชื่อมโยงให้เป็น Circle R3A-R3B ได้
สภาพเสียหายและ
ทาให้การเดินทง
ล่าช้า รวมทั้งยัง
ขาดสิ่งอานวย
12

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
ความสะดวก อาทิ
จุดพักรถ
ปั๊มน้ามัน ร้านค้า
โอกาสต่อ 1.สายการ ภาคเหนือ สนามบินและสาย 1.เศรษฐกิจจีนที่ นักท่องเที่ยวมองว่าการเดินทางมาเยือนไทยและ สปป.ลาวเป็นแผนการเดินทาง
การ บิน Low- ของ สปป. การบิน Low-cost ขยายตัวอย่าง เดียวกัน แต่พิจารณาว่าจีนเป็นคนละเส้นทางทาให้สนใจเฉพาะการใช้ R3Aช่วงไทย-
ท่องเที่ยว cost ที่เปิด ลาว และ จะให้ทาหลวงน้า ต่อเนื่อง และนโย สปป.ลาวเท่านั้น นั้นทาให้ไทยมีโอกาสเป็นทั้งจุดริ่มต้น และสิ้นสุดการเดินทางของ
บน R3A เส้นทาง แม่น้าโขงยัง ทากลายเป็น บาลของจีนในการ การท่อเที่ยวจากประเทศที่ 3
ใหม่ๆ สู่ เป็นพื้นที่ จุดหมายการ เชื่อมภูมิภาค (BRI)
เชียงรายทา ใหม่สาหรับ ท่องเที่ยวใหม่ ทาให้การ
ให้สามารถ การ และหายพัฒนา ท่องเที่ยวใน
ใช้เชียงราย ท่องเที่ยวทา แผนการเดินทาง รูปแบบคาราวาน
เป็น ให้มี ให้ดีจะสามารถ ขยายตัวมากขึ้น
จุดเริ่มต้น/ ศักยภาพใน เชื่อมโยงกับการ 2.สานการบิน
สิ้นสุดการ การดึงดูด ท่องเที่ยวบน Full-sevice และ
เดินทางได้ นักท่องเที่ยว เส้นทาง R3Aได้ดี Low-cost จะเริ่ม
ง่าย จากประเทศ เปิดเที่ยวบินมาก
ที่3 ได้อีก ยิ่งขึ้น ทาให้เกิด
13

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
2. โครงสร้าง จานวนมาก โอกาสในการ
ภาษีและ ท่องเที่ยวแบบ
Life Style Mulimodal
ที่ Trnspotations
เปลี่ยนแปลง เช่นการเดินทาง
ในประเทศ โดนรถยนต์และ
ไทยทาให้คน กลับเครื่องบิน
ชั้นกลางที่
ขยายตัว
ต่อเนื่องเริ่ม
สนใจการ
ท่องเที่ยว
รูปแบบ
ใหม่ๆที่มี
ความผจใ
ภัย และ/
หรืออนุรักษ์
14

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
สิ่งแวดล้อม
และสังคม-
วัฒนธรรม
เพิ่มมาก
ยิ่งขึ้น ดังนั้น
การ
ท่องเที่ยว
แบบ
คาราวาน
(รถยนต์และ
จักรยานยนต์
) การเดินป้า
การไปค้าง
แรมกับกลุ่ม
ชาติพันธุ์จะ
มีจานวน
นักท่องเที่ยว
15

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
ที่ต้องการ
เดินทางบน
R3Aเพิ่มขึ้น
ภาวะ ระบบรถไฟที่ ระบบรถไฟ ระบบรถไฟที่ การเดินทางด้วย การเชื่อมโยงเส้นทางการท่องเที่ยวให้เกิดเส้นทางในลักษณะ Circle ยังไม่สามารถ
คุกคาม เชื่อมโยงจีน- ที่เชื่อมโยง เชื่อมโยงจีนสปป. สายการบินที่มรา เกิดขึ้นได้เนื่องจาก
ต่อ สปป.ลาว- จีน-สปป. ลาว ภาคอีสานจะ คาบัตรโดยสาร ปัใหาความขัดแย้งระหว่างรัฐบาลและชนกลุ่มน้อยในประเทศเพื่อนบ้าน และปัใหา
การ ภาคอีสาน ลาว-ภาค ทาให้หลวงน้าหา ลดลง และการ ความมั่นคง (ยาเสพติดกลุ่มหัวรุนแรง/สุดโต่งทางศาสนาและความเชื่อ)
ท่องเที่ย จะลด อีสาน จะลด และบ่อทาน เดินทางโดยรถไฟ
วบน ความสาคัใ ความสาคัใ กลายเป็นแหล่ง ในอนาคตจะทาให้
R3A ของการใช้ ของการ อุตสาหกรรมซึ่งจะ จานวน
เชียงรายเป็น เดินทางมา ทาให้ นักท่องเที่ยวจีน
จุดเริ่มต้น/ ห้วยทราย ทรัพยากรธรรมชา และไทยที่เดินทาง
สิ้นสุดการ ติเสื่อมโทรม เช่น บนเส้นทางR3A
เดินทาง เตียวกับวิถีชีวิต ลดลง
ระบบรถไฟที่ ของคนในพื้นที่ที่
เชื่อมโยงจีน- จะสูใเสีย
สปป.ลาว- เอกลักษณ์ไปทาให้
16

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
ภาคอีสาน ขาดความน่าสนใจ
จะลด ในการไปท่องเที่ยว
ความสาคัใ เนื่องจากพื้นที่
ของการใช้ กลายเป็นย่าน
เชียงรายเป็น อุดสาหกรรม
จุดเริ่มต้น/
สิ้นสุดการ
เดินทาง
เป้าหมาย ต้องวาง ต้นทางและ พัฒนาให้ เพื่อดึง ให้เชียงรายกลายเป็นเมืองต้นทางและ/หรือปลายทางของการเดินทางระหว่าง
position ให้ ปลายทางใน กลายเป็น นักท่องเที่ยวจีน ประเทศ เพื่อรับนักท่องเที่ยวที่ต้องการเดินทางไป สปป.ลาว จีน และเมียนมา
กลายเป็นต้น การเดินทาง เป้าหมายในการ แบบคาราวานมา
ทาง- ด้วยแม่น้า ท่องเที่ยวแบบ เมืองไทยให้
ปลายทาง โขง (ไป ผจใภัยและการ เพิ่มขึ้น
ของการ หลวงพระ เรียนรู้วัฒนธรรม
เดินทาง บาง/เวียง ของกลุ่มชาติพันธุ์
ท่องเที่ยวบน จันทร์/จีน/ (Hiking &
เส้นทางR3A ลาวใต้) Adventure
17

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
โดยเฉพาะ trip/Hill Tribes
การดึง Cultural Trip)
นักท่องเที่ยว
จากประเทศ
ที่ 3
อุปสรรค ทาอย่างไรถึง ต้อง 1. กลุ่มชาติพันธุ์ 1. บริษัทท่องเที่ยว
ที่พบ จะทาให้ เชื่อมโยง ในพื้นที่ต้องการ ในประเทศจีนยัง
1. นักท่อง เชียงรายกับ ความทันสมัย จน ไม่สามารถปรับตัว
เที่ยวอยู่ใน ห้วยทราย ทาให้ตนเอง ได้อย่างเต็มที่กับ
พื้นที่นานขึ้น เพื่อส่งเสริม สูใเสียเอกลักษณ์ รูปแบบการ
2. นักท่อง ให้ 2. ท่องเที่ยว FT ที
เที่ยวจับจ่าย นักท่องเที่ยว ทรัพยากรธรรมชา ต้องมีการ
มากยิ่งขึ้น จากประเทศ ติถูกทาลายและยัง ออกแบบแผนการ
3. ผลประ ที่ 3เดินทาง ไม่มีแผนการใน เดินทางที่มีความ
โยชน์ตกอยู่ มาเชียงราย การอนุรักษ์อย่าง ยุ่งยากซับซ้อน
กับคนใน และเดินทาง เป็นรูปธรรม 2. กฎระเบียบ
พื้นที่ ต่อไป (เนือ่ งจากต้องการ เรื่องการอานวย
18

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
ท่องเที่ยวใน พัฒนาภาคการ ความสะดวกใน
ภาคเหนือ ผลิตอุตสาหกรรม การเดินห า ง ผ่ า
ของ สปป. เพื่อดึงเงินลงทุน น แ ด นสา ห รั
ลาวและ จากต่างประเทศ บนักท่องเที่ยวยัง
กลับมา มากกว่า) ไม่มีความสะดวก
เชียงรายอีก 3. การเชื่อมโยง เท่าที่ควร
ครั้งเพื่อ เส้นทางกับ
เดินทางต่อ ประเทศไทยบน
เส้นทางR3Aเพื่อ
การท่องเที่ยวยัง
ขาดการพัฒนา
แนว 1. พัฒนา 1. ต้องสร้าง 1. ต้องสร้าง 1. ต้องสร้าง 1. พัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวโดยเฉพาะให้เป็นวงกลมไม่ซ้าเส้นทางเดิมทั้งใน
ทางการ เส้นทาง เครือข่าย เครือข่ายของ เครือข่ายของ ต่างประเทศต้องเร่งเจรจากับเมียนมา
แก้ไข/ ท่องเที่ยว ของบริษัท หน่วยงานภาครัฐที่ หน่วยงานภาครัฐที่ 2. ต้องเจรจากับหน่วยงานอื่น ๆ ทั้งในประเทศและต่างประเทศ เพื่อผ่อนคลาย
พัฒนา โดยเฉพาะให้ ท่องเที่ยว มีหน้าที่เกี่ยวข้อง มีหน้าที่เกี่ยวข้อง กฎระเบียบและสนับสนุนอานวยความสะดวกให้นักท่องเที่ยวที่ต้องการเดินทาง
เป็นวงกลม เพื่อถ่ายทอด กับการท่องเที่ยว กับการท่องเที่ยว ท่องเที่ยวใน 2 ประเทศ
ไม่ซ้าเส้นทาง องค์ความรู้ และบริษัท และบริษัท โดยเฉพาะในเรื่องของการตรวจ
19

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
เดิมทั้งใน และส่งต่อ ท่องเที่ยวของไทย ท่องเที่ยวของไทย ลงตรา (Vรลร)และกระบวนการ
และ ลูกค้า และสปป.ลาว เพื่อ และสปป.ลาว เพื่อ ตรวจคนเข้าเมือง รวมทั้งศึกษา
ต่างประเทศ ระหว่างกัน ถ่ายทอดองค์ ถ่ายทอดองค์ ความเป็นไปได้ในการสร้างรับGMS Single Visa
ต้องเร่ง โดยมี ความรู้ ขยาย ความรู้ ขยาย 3. ต้องสร้างเครือข่ายของหน่วยงานภาครัฐที่มีหน้าที่เกี่ยวข้องกับการท่องเที่ยวและ
เจรจากับ ข้อตกลง โอกาสให้นักลงทุน โอกาสให้นักลงทุน บริษัทท่องเที่ยวของไทยและสปป.ลาว เพื่อถ่ายทอด
เมียนมา ด้านการ ไทยสามารถเข้าไป ไทยสามารถเข้าไป 4. ต้องเร่งพัฒนาองค์ความรู้ในการวางแผนพัฒนาการท่องเที่ยวอย่างยั่งยืนในมิติ
2. พัฒนา แบ่งปัน พัฒนาแหล่ง พัฒนาแหล่ง ทรัพยากรธรรมชาตสิ่งแวดล้อม และเอกลักษณ์ของแต่ละกลุ่มชาติพันธุ์
สถานที่ ผลประโยชน์ ท่องเที่ยวและสิ่ง ท่องเที่ยวและสิ่ง 5. สร้างเส้นทางท่องเที่ยวแบบมี Theme เช่น Grand
ท่องเที่ยว อย่างยั่งยืน อานวยความ อานวยความ Tai Circle
3. พัฒนาสิ่ง 2. เชื่อมโยง สะดวกทางการ สะดวกทางการ
อานวยความ แหล่ง ท่องเที่ยว และการ ท่องเที่ยว และการ
สะดวกใน ท่องเที่ยว ส่งต่อลูกค้า ส่งต่อลูกค้า
การเดินทาง ต่าง ๆ กับ ระหว่างกันโดยมี ระหว่างกันโดยมี
ข้ามชายแดน แหล่ง ข้อตกลงด้าน ข้อตกลงด้านการ
4. ส่'งเสริม ท่องเที่ยวใน การแบ่งปัน แบ่งปัน
แผนการ ประเทศไทย ผลประโยชน์อย่าง ผลประโยชน์อย่าง
ท่องเที่ยว เพื่อต่อยอด ยั่งยืน ยั่งยืน
20

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
แบบ และขาย 2. ต้องเร่งพัฒนา 2. ต้องเร่งพัฒนา
Demand พร้อมกันใน องค์ความรู้ในการ องค์ความรู้
Driven ลักษณะ วางแผน ในการวางแผน
5. ต้องมีการ 2-Country พัฒนาการ พัฒนาการ
ระดมสมอง Tour ท่องเที่ยวอย่าง ท่องเที่ยวอย่าง
และสร้าง Package ยั่งยืนในมิติ ยั่งยืนในมิติ
เครือข่าย 3. ต้อง ทรัพยากรธรรมชา ทรัพยากรธรรมชา
หน่วยงานที่ เจรจากับ ติสิ่งแวดล้อม และ ติสิ่งแวดล้อม และ
เกี่ยวข้องกับ หน่วยงาน เอกลักษณ์ของแต่ เอกลักษณ์ของแต่
การ อื่น ๆ ทั้งใน ละกลุ่มชาติพันธุ์ ละกลุ่มชาติพันธุ์
ท่องเที่ยว ประเทศและ
ตลอดทั้ง ใน
Supply สปป.ลาว
Chain เพื่อผ่อน
คลาย
กฎระเบียบ
และ
21

เชียงราย เมืองห้วย เมืองน้าทาและ สิบสองปันนา - ประเทศที่ 3 (นักท่องเที่ยวจากประเทศอื่นๆ ที่มิใช่ ไทย จีน และ สปป. ลาว
ทราย เมืองบ่อเต็น นครคุนหมิง
แขวงบ่อ แขวงหลวงน้าทา มณฑลยูนนาน
แก้ว ประเทศจีน
สนับสนุน
อานวยความ
สะดวกให้
นักท่องเที่ยว
ที่ต้องการ
เดินทาง
ท่องเที่ยวใน
2 ประเทศ
22

ภาพที่ 2 แผนที่แสดงเส้นทางเชื่อมต่อ R3A และ R3B

2) สะพานข้ามแม่น้าโขงแห่งที่ 4 ตั้งอยู่ข้ามแม่น้าจากฝั่งไทย (เชียงของ) ไปยังลาว (บ่อแก้ว) เป็น


เส้นทางเชื่อมระหว่าง เชียงรายกับคุนหมิง ผ่านประเทศลาวตามแนวเส้นทาง R3 ด้วยระยะทาง 430 กิโลเมตร
เพื่อส่งเสริมการขยายตัวทางด้านอุตสาหกรรม การค้าการลงทุน การเกษตร และภาคบริการ ถือเป็นจุดที่ทาให้
เส้นทาง R3A มีการเชื่อมโยงใน 3 ประเทศ (ไทย-ลาว-จีน) อย่างสมบูรณ์
3) ทางหลวงแผ่นดิน จังหวัดเชียงรายมีทางหลวงแผ่นดินสายสาคัใดังต่อไปนี้
3.1) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1
ทางหลวงแผ่ น ดิน หมายเลข 1 หรื อถนนพหลโยธิน เป็นถนนสายประธานในพื้นที่ซึ่งเป็นเส้นทาง
เดียวกับถนน AH 2 เป็นถนนที่สามารถเชื่อมโยงไปยังประเทศอื่น ๆ ในทวีปเอเชียได้ โดยเป็นถนนที่ยาวที่สุด
ในเครือข่ายทางหลวงสายเอเชีย มีระยะทางทั้งสิ้น 20,557 กิโลเมตร ผ่านประเทศใี่ปุ่น เกาหลีจีน เอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้ อินเดีย ปากีสถาน อัฟกานิสถาน และอิหร่าน สิ้นสุดที่ประเทศตุรกี โดยเชื่อมต่อกับทาง
หลวงยุโรป E80 มีระยะทางผ่านประเทศไทยรวม 703 กิโลเมตร ส่วนที่พาดผ่านจังหวัดเชียงรายทาหน้าที่
เชื่อมโยงพื้นที่เข้ากับจังหวัดเชียงใหม่ที่ด้านทิศใต้ และเชื่อมโยงไปยังจังหวัดท่าขี้เหล็ก ประเทศเมียนมาร์ได้ที่
อาเภอแม่สาย กิจกรรมการใช้ที่ดินโดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ว่ างเปล่า ส่วนที่เป็นเขตเมืองจะมี
กิจ กรรมการใช้ที่ดินหนาแน่ น เป็ น ย่ านพาณิช ยกรรม ลั กษณะของทางหลวงแผ่ นดินหมายเลข 1 เป็น
23

ถนนลาดยางแอสฟัลท์มีขนาด 6 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง) และมีไหล่ทาง ส่วนบริเวณใกล้ทางแยก และใกล้


ทางเข้าเมืองมีขนาด 8 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง)
3.2) ทางหลวงสายเอเชีย 3 (Asian Highway 3 : AH 3)
ทางหลวง AH 3 เป็นถนนสายประธานในพื้นที่ เป็น ทางหลวงสายหนึ่งในโครงการเครือข่ายทางหลวง
เอเชีย มีความยาว 7,331 กิโลเมตร (4,555 ไมล์) โดยเริ่มต้นจากเมืองอูลาน-อูเด รัสเซีย ผ่าน จีน เมียนมาร์ สปป.
ลาว ผ่ า นพรมแดน สปป.ลาว ที่ อ าเภอเชี ย งของ และสิ้ น สุ ด ที่ ท างหลวงแผ่ น ดิ น หมายเลข 1 หรื อ ถนน
พหลโยธิน (AH2) ที่แยกแม่กรณ์ อาเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย ระยะทางที่ผ่านในประเทศไทย 116.5
กิโลเมตร ส่วนที่พาดผ่านจังหวัดเชียงรายทาหน้าที่เชื่อมโยงพื้นที่เข้ากับอาเภอเชียงของที่ด้านทิศเหนือ กิจกรรม
การใช้ที่ดินโดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ว่างเปล่า ส่วนที่เป็นเขตเมืองจะมีกิจกรรมการใช้ที่ดิน
หนาแน่น เป็นย่านพาณิชยกรรม ลักษณะของทางหลวง AH 3 เป็นถนนลาดยางแอส-ฟัลท์ มีขนาด 4-6 ช่อง
จราจร (รวม 2 ทิศทาง) และมีไหล่ทาง ส่วนบริเวณใกล้ทางแยก และใกล้ทางเข้าเมืองมีขนาด 8 ช่องจราจร
(รวม 2 ทิศทาง)
3.3) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 118
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 118 เป็นถนนสายหลักในพื้นที่ ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างจังหวัด เชียงราย
ไปยังจังหวัดเชียงใหม่ที่ด้านทิศใต้ กิจกรรมการใช้ที่ดินโดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ว่างเปล่า ส่วนที่เป็น
เขตเมืองจะมีกิจกรรมการใช้ที่ดินหนาแน่น เป็นย่านพาณิชยกรรม ลักษณะของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 118
เป็นถนนลาดยางแอสฟัลท์ มีขนาด 2 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง) และมีไหล่ทาง ส่วนบริเวณใกล้ทางแยก และ
ใกล้ทางเข้าเมืองมีขนาด 4 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง)
3.4) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1016
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1016 เป็นถนนสายรองในพื้นที่ ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างอาเภอ แม่จัน
ไปยังอาเภอเชียงแสน ซึ่งเป็นพื้นที่ตั้งของท่าเรือเชียงแสน นับเป็นเส้นทางโลจิสติกส์เส้นทางหนึ่ง กิจกรรมการ
ใช้ที่ดินโดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ว่างเปล่า ส่วนที่เป็นเขตเมืองจะมีกิจกรรมการใช้ที่ดินหนาแน่น
เป็นย่านพาณิชยกรรม ลักษณะของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1016 เป็นถนนลาดยางแอส-ฟัลท์ มีขนาด 2
ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง) และมีไหล่ทาง ส่วนบริเวณใกล้ทางแยก และใกล้ทางเข้าเมืองมีขนาด 4 ช่อง
จราจร (รวม 2 ทิศทาง)
3.5) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1020
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1020 เป็นทางหลวงสายรองในพื้นที่ ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างอาเภอ
เมืองเชียงรายเข้ากับอาเภอเทิง และอาเภอเชียงของ ซึ่งเป็นส่วนหนึ่งของถนน AH 3 มีลักษณะเป็นเส้นทางโลจิ
สติกส์ กิจกรรมการใช้ที่ดินโดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ว่างเปล่า ส่วนที่เป็นเขตเมืองจะมีกิจกรรม
การใช้ที่ดินหนาแน่น เป็นย่านพาณิชยกรรม ลักษณะของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1020 เป็นถนนลาดยาง
แอสฟัลท์ มีขนาด 2 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง) และมีไหล่ทาง ส่วนบริเวณใกล้ทางแยก และใกล้ทางเข้าเมือง
มีขนาด 4 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง)
24

3.6) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1041


ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1041 เป็นทางหลวงสายรองในพื้นที่ ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างอาเภอแม่
สายเข้ากับอาเภอเชียงแสน มีลักษณะเป็นเส้นทางโลจิสติกส์ที่ใช้ขนส่งระหว่างเมืองการค้าชายแดน กิจกรรม
การใช้ที่ดินโดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ว่างเปล่า ส่วนที่เป็นเขตเมืองจะมีกิจกรรมการใช้ที่ดินหนาแน่น
เป็นย่านพาณิชยกรรม ลักษณะของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1041 เป็นถนนลาดยางแอสฟัลท์ มีขนาด 2 ช่อง
จราจร (รวม 2 ทิศทาง) และมีไหล่ทาง ส่วนบริเวณใกล้ทางแยก และใกล้ทางเข้าเมืองมีขนาด 4 ช่องจราจร (รวม
2 ทิศทาง)
3.7) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1089
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1089 เป็นถนนสายหลักในพื้นที่ ทาหน้าที่เชื่อมโยงพื้นที่อาเภอ แม่จัน
จังหวัดเชียงราย เข้ากับอาเภอเมือง จังหวัดเชียงใหม่ที่ด้านทิศตะวันตก กิจกรรมการใช้ที่ดินโดยรอบเป็นพื้นที่
เกษตรกรรมและพื้นที่ว่างเปล่า ส่วนที่เป็นเขตเมืองจะมีกิจกรรมการใช้ที่ดินหนาแน่น เป็นย่าน พาณิชยกรรม
ลักษณะของทางหลวงแผ่น ดินหมายเลข 1089 เป็นถนนลาดยางแอสฟัล ท์ มีขนาด 2 ช่องจราจร (รวม 2
ทิศทาง) และมีไหล่ทาง ส่วนบริเวณใกล้ทางแยก และใกล้ทางเข้าเมืองมีขนาด 4 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง)
3.8) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1129
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1129 เป็นทางหลวงสายรองในพื้นที่ ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างอาเภอ
เชียงแสนเข้ากับอาเภอเชียงของ เป็นเส้นทางโลจิสติกส์ที่ใช้ขนส่งเชื่อมโยงระหว่างการขนส่งทางน้าของท่าเรือ
เชียงแสนแห่งที่ 2 เข้ากับการคมนาคมขนส่งทางบก ซึ่งมีเส้นทางต่อไปยังอาเภอเชียงของที่เป็นเมืองการค้า
ชายแดนของจังหวัดเชียงราย กิจกรรมการใช้ที่ดินโดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ว่างเปล่า ส่วนที่เป็น
เขตเมืองจะมีกิจกรรมการใช้ที่ดินหนาแน่น เป็นย่านพาณิชยกรรม ลักษณะของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1129
เป็นถนนลาดยางแอสฟัลท์ มีขนาด 2 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง) และมีไหล่ทาง ส่วนบริเวณใกล้ทางแยก และใกล้
ทางเข้าเมืองมีขนาด 4 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง)
3.9) ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1290
ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1290 เป็นทางหลวงสายรองในพื้นที่ ทาหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างอาเภอแม่
สายเข้ากับอาเภอเชียงแสน มีลักษณะเป็นเส้นทางโลจิสติกส์ ที่ใช้ขนส่งระหว่างเมืองการค้าชายแดน ใช้เป็น
เส้ น ทางการขนส่ ง หลั กอี กเส้ น ทางหนึ่ งระหว่างการขนส่ งสิ นค้าของท่า เรือเชียงแสนแห่ งที่ 2 เข้า กับการ
คมนาคมขนส่งทางบก กิจกรรมการใช้ที่ดินโดยรอบเป็นพื้นที่เกษตรกรรมและพื้นที่ว่างเปล่า ส่วนที่เป็นเขต
เมืองจะมีกิจกรรมการใช้ที่ดินหนาแน่น เป็นย่านพาณิชยกรรม ลักษณะของทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1290
เป็นถนนลาดยางแอสฟัลท์ มีขนาด 2 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง) และมีไหล่ทาง ส่วนบริเวณใกล้ทางแยก
และใกล้ทางเข้าเมืองมีขนาด 4 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง)
3.10) ถนนสายรองและถนนสายย่อยอื่นๆ
ถนนสายรองและถนนสายย่อยอื่นๆ ที่มีอยู่ในพื้นที่บริเวณอาเภอแม่สาย อาเภอเชียงแสน และอาเภอ
เชียงของ เป็นเส้นทางที่สามารถใช้เดินทางเชื่อมโยงระหว่างพื้นที่อยู่อาศัยเข้ากับพื้นที่กิจกรรมอื่นๆ ทั้งใน
และนอกเมืองได้ นอกจากนั้นยังมีถนนสายย่อยต่างๆ ในพื้นที่เมืองที่ทาหน้าที่เชื่ อมโยงพื้นที่กิจกรรมภายใน
25

เมื อ ง โดยเฉพาะกิ จ กรรมด้ า นการค้ า ชายแดน ที่ มี ย านพาหนะเข้ า - ออก ตลอดช่ ว งเวลาเปิ ด ท าการ
โดยลักษณะของถนนสายรองและถนนสายย่อยเส้นอื่นๆ มีทั้งเป็นถนนลาดยางแอสฟัลท์ และถนนคอนกรีต
มีจานวน 2 ช่องจราจรเป็นส่วนใหใ่ (รวม 2 ทิศทาง)
4) ทางหลวงชนบท
ทางหลวงชนบทในจังหวัดเชียงรายอยู่ในความรับผิดชอบของกรมทางหลวงชนบท (ทช.) มีหน้าที่ใน
การเชื่อมโยงพื้นที่ระหว่างอาเภอ ตาบล และหมู่บ้านที่อยู่ในจังหวัดเชียงราย และพื้นที่เศรษฐกิจชายแดน
นอกจากนั้นยังทาหน้าที่เป็นเสมือนทางลัดที่เชื่อมโยงพื้นที่ เศรษฐกิจชายแดนให้มีความคล่องตัวในการสัใจร
ซึ่งโครงข่ายทางหลวงชนบทนับเป็นโครงข่ายที่สนับสนุนการเดินทางที่สามารถเชื่อมโยงเข้าได้ในพื้นที่ระดับ
ย่อยที่ทางหลวงแผ่นดินไม่สามารถเข้าถึงได้ การวางตัวของโครงข่ายทางหลวงชนบท อยู่รอบนอกของย่านพื้นที่
กิจกรรมทางธุรกิจ แต่มีการวางตัวบริเวณพื้นที่ชานเมือง หรือพื้นที่ชุมชนชนบท เพื่อเชื่อมโยงย่านกิจกรรมการ
อยู่อาศัยของชุมชนดังกล่าวเข้ากับโครงข่ายทางหลวงแผ่นดิน เพื่อให้ประชาชนสามารถเข้าพื้นที่กิจกรรมทาง
ธุรกิจในพื้นที่ต่างๆ ของจังหวัดเชียงรายได้อย่างสะดวก ลักษณะของทางหลวงชนบทที่เชื่อมโยงพื้นที่ เศรษฐกิจ
ชายแดนมีพื้นผิวลาดยางแอสฟัลท์ มีจานวนช่องจราจร 2 ช่องจราจร (รวม 2 ทิศทาง) เนื่องจากความต้องการ
การเดิน ทางภายในพื้นที่ที่ทางหลวงชนบทพาดผ่านมีจานวนน้อย ทาให้จานวนช่องจราจรสามารถรองรับ
ปริมาณการเดินทางได้อย่างเพียงพอ ไม่ก่อให้เกิดปัใหาการจราจร
ตารางที่ 4 โครงข่ายทางหลวงชนบทจังหวัดเชียงราย
หมายเลข ระยะทาง
ชื่อสายทาง อาเภอ
ทางหลวง (กม.)
ชร.4001 แยกทางหลวงหมายเลข 1016 (กม.ที่ 12+200) – บ้านแม่มะ แม่จัน เชียงแสน 19.640
แยกทางหลวงหมายเลข 1016 (กม.ที่ 28+650) - บ้านท่า
ชร.4004 เชียงแสน แม่จัน 17.853
ข้าวเปลือก
ชร.4007 แยกทางหลวงหมายเลข 1129 (กม.ที่ 14+000) – บ้านแซว เชียงของ เชียงแสน 38.121
ชร.1009 แยกทางหลวงหมายเลข 1 (กม.ที่ 867+100) – บ้านสันถนนใต้ แม่จัน แม่สาย 23.574
แยกทางหลวงหมายเลข 1020 (กม.ที่ 118+070) - บ้านม่วงเจ็ด
ชร.4011 เชียงของ 10.150
ต้น
ชร.4014 แยกทางหลวงหมายเลข 1020 (กม.ที่ 104+600) – บ้านแก่นใต้ เชียงของ 8.254
แยกทางหลวงหมายเลข 1020 (กม.ที่ 109+200) - บ้านเกี๋ยง
ชร.4027 เชียงของ 10.125
เหนือ
แยกทางหลวงชนบทหมายเลข ชร.4014 (กม.ที่ 0+700) - บ้านซ้อ
ชร.5031 เชียงของ 7.250
ใต้
แยกทางหลวงชนบทหมายเลข ชร.4001(กม.ที่ 3+230) - พระธาตุ
ชร.5033 เชียงแสน 8.700
จอมกิตติ
ชร.1038 แยกทางหลวงหมายเลข 1 (กม.ที่ 876+000) – บ้านด้าย แม่สาย 9.650
26

หมายเลข ระยะทาง
ชื่อสายทาง อาเภอ
ทางหลวง (กม.)
ชร.1041 แยกทางหลวงหมายเลข 1 (กม.ที่ 890+450) – บ้านสันผักฮี้ แม่สาย 1.160
ชร.1042 แยกทางหลวงหมายเลข 1 (กม.ที่ 882+000) – บ้านด้าย แม่สาย 10.828
ชร.4049 แยกทางหลวงหมายเลข 1098 (กม.ที่ 38+500) – บ้านป่าตึง ดอยหลวง เชียงแสน 20.444
แยกทางหลวงชนบทหมายเลข ชร.3059 (กม.ที่ 1+740) - บ้านสัน
ชร.5054 แม่สาย 11.400
นา
แยกทางหลวงชนบทหมายเลข ชร.3059 (กม.ที่ 4+240) - บ้าน
ชร.5055 แม่สาย 7.700
ปางห้า
ชร.3059 แยกทางหลวงหมายเลข 123 (กม.ที่ 8+242) – บ้านทุ่งเกลี้ยง แม่สาย 16.509
ชร.4060 แยกทางหลวงหมายเลข 1016 (กม.ที่ 22+500) – บ้านศรีดอนมูล เชียงแสน 4.950
ชร.4002 แยก ทล. 1020 (กม.ที่ 34+400) – บ้านหนองสองห้อง เทิง,ป่าแดด 9.143
ชร.1003 แยก ทล. 1 (กม.ที่ 808+700) – บ้านห้วยส้านพลับพลา แม่ลาว 9.144
ชร.4005 แยก ทล. 1126 (กม.ที่ 29+800) – บ้านแม่ลอยไร ป่าแดด,เทิง 12.939
ชร.4008 แยก ทล. 1020 (กม.ที่ 87+200) - บ้านศรีสะอาด ขุนตาล,พใาเม็งราย 9.689
ชร.4012 แยก ทล. 1020 (กม.ที่ 62+950) - บ้านหนองเสา เทิง,พใาเม็งราย 16.312
เวียงเชียงรุ้ง,
ชร.4013 แยก ทล. 1173 (กม.ที่ 20+600) - บ้านป่ายางมน(ฮ่องฮี) 16.125
เวียงชัย,เมือง
ชร.4016 แยก ทล. 1020 (กม.ที่ 12+300) - บ้านปงหลวง เมือง 9.060
ชร.4017 แยก ทล. 1152 (กม.ที่ 19+500) – บ้านห้วยก้างราษฎร์ เวียงชัย,พใาเม็งราย 13.972
ชร.4018 แยก ทล. 1020 (กม.ที่ 90+200) - บ้านเนิน 878 (พใาพิภักดิ์) ขุนตาล 10.769
ชร.1022 แยก ทล. 1 (กม.ที่ 817+950) – บ้านหัวดอย เมือง 19.593
ชร.4024 แยก ทล. 1020 (กม.ที่ 24+600) - บ้านโป่งช้าง เมือง,เทิง 11.300
ชร.4029 แยก ทล. 1155 (กม.ที่ 51+975) - บ้านผาตง เวียงแก่น 13.260
ชร.1030 แยก ทล. 1 (กม.ที่ 782+500) - บ้านร้องหลอด พาน 31.980
ชร.4034 แยก ทล. 1098 (กม.ที่ 27+050) - บ้านดงมหาวัน ดอยหลวง,เวียงเชียงรุ้ง 14.800
ชร.3037 แยก ทล. 118 (กม.ที่ 134+050) – บ้านใหม่หมอกจ๋าม แม่สรวย,เมือง 69.870
ชร.4044 แยก ทล. 1207 (กม.ที่ 7+800) – บ้านรวมมิตร เมือง 17.050
ชร.1046 แยก ทล. 1 (กม.ที่ 811+450) - บ้านป่าซางใต้ แม่ลาว 8.275
ชร.5047 แยก ทช. ชร.3037 (กม.ที่ 5+300) – เกษตรทีส่ งู วาวี แม่สรวย 25.785
ชร.1056 แยก ทล. 1 (กม.ที่ 788+020) – บ้านเก่า พาน 12.400
ชร.1057 แยก ทล. 1 (กม.ที่ 782+200) - บ้านบวกขอน พาน 6.000
ชร.3058 แยก ทล. 118 (กม.ที่ 63+500) – โครงการหลวงห้วยน้าริน เวียงป่าเป้า 12.150
ชร.4061 แยก ทล. 1155 (กม.ที่ 57+900) – โครงการหลวงห้วยแล้ง เวียงแก่น 9.300
27

หมายเลข ระยะทาง
ชื่อสายทาง อาเภอ
ทางหลวง (กม.)
ชร.5032 แยก ทช. ชร.4052 (กม.ที่ 13+400) – บ้านแม่หม้อ แม่ฟ้าหลวง 12.472
ชร.5023 สาย จ.3 ผังเมืองรวมเชียงราย เมือง 21.311
ชร.5051 สาย ค3 ถนนผังเมอืงรวมเชียงราย เมือง 3.134
เมีอง,แม่จัน,ดอยหลวง
ชร.1063 แยก ทล. 1 (กม.946+736) - ท่าเรือเชียงแสน 14.550
,เวียงเชียงรุ้ง,เชียงแสน
ที่มา: กรมทางหลวงชนบท, 2563

4.1) พิกัดตาแหน่งโครงข่ายทางหลวงชนบทจังหวัดเชียงราย
โดยตามพิกัดตาแหน่งโครงข่ายในการสนับสนุนการเดินทางที่สามารถเชื่อมโยงเข้าได้ในพื้นที่
ระดับ ย่อยที่ทางหลวงแผ่ นดิน ได้ มีการวางตัวของโครงข่ายทางหลวงชนบท โดยจะกาหนดจุดพิกัดที่มีการ
ก่อสร้างเส้นทางโครงข่ายในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงรายในเขตพื้นที่อาเภอที่มีการก่อสร้างมากที่สุดจะอยู่เขต
อาเภอแม่สาย อาเภอแม่จัน อาเภอเชียงแสน และอาเภอเชียงของ ซึ่งเป็นเส้นทางที่เชื่อมต่อกันระหว่างเขต
พื้นที่อาเภอ

ภาพที่ 3 แผนที่แสดงตาแหน่งเส้นทางบริเวณเขตพื้นที่อาเภอที่การก่อสร้างเส้นทางโครงข่ายชนบทมากที่สุด
28

(2.2) ระบบขนส่งทางน้า
จังหวัดเชียงรายมีท่าเรือเพื่อการขนส่งสินค้าขนาดใหใ่ 2 แห่ง คือ (1) ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2
และ (2) ท่าเรือเชียงของ ซึ่งให้บริการขนส่งสินค้าทั้งภายในประเทศ และต่างประเทศ ดาเนินการโดยการ
ท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) โดยท่าเรือแต่ละแห่งมีลักษณะดังต่อไปนี้
1) ท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2
1.1) ท่ า เรื อ พาณิ ช ย์ เ ชี ย งแสน เป็ น ประตู ก ารค้ า ระหว่ า งประเทศไทย กั บ ประเทศลุ่ ม
แม่น้าโขงตอนบน เพื่อส่งเสริมการขนส่ง การค้าระหว่างประเทศ ตามข้อตกลงว่าด้วยความร่วมมือเพื่อกา ร
เดินเรือพาณิชย์ในแม่น้าล้านช้าง-แม่น้าโขง ระหว่าง 4 ประเทศ คือ จีน เมียนมา สปป.ลาว และไทย รวมถึง
เป็นการเสริมสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจและการลงทุน ให้สอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม
แห่งชาติ โดยคณะรัฐมนตรีได้มีมติเมื่อวันที่ 16 ตุลาคม 2550 เห็นชอบและอนุมัติในหลักการให้กรมเจ้าท่า
ดาเนิ น การก่อ สร้ า งเพื่ อใช้ท ดแทนท่า เรื อ เชีย งแสนแห่ ง แรก ซึ่ง ตั้งอยู่ ในตัว เมืองประวั ติศาสตร์ เชีย งแสน
ทาให้ไม่สามารถขยายศักยภาพได้ ทั้งนี้ได้เริ่มก่อสร้างเมื่อวันที่ 12 พฤษภาคม 2552 ต่อมาคณะรัฐมนตรีได้มี
มติเมื่อวันที่ 18 มกราคม 2554 ให้การท่าเรือแห่งประเทศไทย (กทท.) เป็นผู้บริหารท่าเรือเชียงแสนแห่งที่ 2
ศักยภาพของท่าเรือเชียงแสน 2 ประกอบด้วย ท่าเทียบเรือแบบทางลาด 2 ระดับ จานวน 2
ท่า ใช้สาหรับขนถ่ายสินค้าทั่วไป และท่าเทียบเรือแนวดิ่ง 1 ท่า สาหรับขนถ่ายสินค้าทั่วไป และคอนเทนเนอร์
ท่าเทียบเรือทางลาดด้านทิศเหนือ ความยาวท่าเทียบ เรือ 300 เมตร มีเนื้อที่ 9,600 ตารางเมตร จานวน 6 ท่า
สามารถรับเรือขนาดยาว 50 เมตร ได้พร้อมกัน 3 ลา ท่าเทียบเรือทางลาดด้านทิศใต้ ความยาวท่าเทียบเรือ
300 เมตร มีเนื้อที่ 9,600 ตารางเมตร จานวน 6 ท่า สามารถรับเรือขนาดยาว 50 เมตร ได้พร้อมกัน 3 ลา ท่า
เทียบเรือแนวดิ่ง ความยาวท่าเทียบเรือ 200 เมตร สามารถรับเรือขนาดความยาว 50 เมตร ได้ พร้อมกัน 4 ลา
ในอาณาบริเวณท่าเรือ ได้เตรียมที่จอดเรือ ขนาด 200x800 เมตร พร้อมด้วยโรงพักสินค้า ขนาด 30x30 เมตร
จานวน 2 หลัง และ ลานวางพักสินค้า ไว้บริการ
โครงข่ายการขนส่งของท่าเรือเชียงแสน 2 สามารถเชื่อมโยงการขนส่งเข้ากับประเทศจีนที่
ท่าเรือกวนเหลย ใช้เส้นทางเดินเรือระยะทาง 265 กิโลเมตร ระดับน้าลึก 1.5 – 7.0 เมตร แตกต่างตามช่วง
ฤดูกาล โดยประเทศจีนได้ปรับปรุงร่องน้าทางเดินเรือ รวมถึงก่อสร้างเขื่อนเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้า และควบคุม
ระดับน้าให้สามารถบรรทุ กสินค้าได้ตลอดทั้งปี ในส่วนโครงข่ายการขนส่งภายในประเทศ ใช้การเชื่อมโยง
ท่าเรือเข้ากับโครงข่ายการขนส่งทางถนน สามารถเดินทางได้ 3 เส้นทาง ได้แก่
- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1290 อาเภอแม่สาย - อาเภอเชียงแสน
- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1016 อาเภอแม่จัน - อาเภอเชียงแสน
- ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1129 อาเภอเชียงแสน – อาเภอเชียงของ
(2.3) ระบบขนส่งทางอากาศ
ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวงเชียงราย อยู่ภ ายใต้การดูแลของบริษัท ท่าอากาศยานไทยจากัด
(มหาชน) มีจานวนหลุมจอดเครื่องบิน 4 หลุมจอด มีจานวนเที่ยวบินภายในประเทศ 42 เที่ยวบิน/วัน จานวน
เที่ยวบินระหว่างประเทศ 10 เที่ยวบิน/สัปดาห์ จานวนสายการบินที่ให้บริการจานวน 10 สาย และจานวนสาย
29

การบินให้บริการระหว่างประเทศปี 2561 จานวน 4 สายการบิน มีพื้นที่ในส่วนผู้โดยสาร 16,665 ตร.ม. พื้นที่


อาคารคลังสินค้า 412 ตร.ม. สามารถรองรับการขนส่งสินค้าได้ปีละ 3,400 ตัน เป็นท่าอากาศยานที่สามารถ
รองรับทั้งในส่วนของผู้โดยสาร และการขนส่งสินค้าทางอากาศได้ ทั้งจะเห็นได้ว่าจานวนเที่ยวบินในรอบ 5 ปีที่
ผ่านมามีจานวนเพิ่มมากกว่าเกือบ 3 เท่าตัว จากเดิมในปี 2559 มีจานวนเที่ยวบิน 14,073 เทียว ในปี 2561
เพิ่มขึ้นเป็น 19,724 เที่ยว และมีจานวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นจากเดิมปี 2555 จานวน 926,323 คน มีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นในปี 2560 เป็น 2,385,224 คน และเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องในปี 2561 เป็นจานวน 2,804,700 คน ซึ่งใน
ปี 2562 เพิ่มขึ้นเป็นจานวน 2,953,096 คน และในปี 2563 มีจานวนที่ลดลงเป็นจานวน 1,513,295 คนซึ่ง
เนื่องจากประสบปัใหาในสถานการณ์ของ Covid 19

ตารางที่ 5 สถิติการขนส่งทางอากาศ พ.ศ. 2559 – 2563

เส้นทาง ลักษณะ ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563


รวม จานวนเที่ยวบิน 14,073 16,901 19,724 20,130 12,124
ผู้โดยสาร (คน) 1,959,353 2,385,224 2,804,700 2,928,878 1,513,295
การขนถ่ายสินค้า (ตัน) 4,973 4,433 3,629 2,534 963
การขนถ่ายทางไปรษณีย์ภัณฑ์ 825 739 17
1 0
(ตัน)
ระหว่าง จานวนเที่ยวบิน 492 743 1,770 2,744 402
ประเทศ ผู้โดยสาร (คน) 27,360 82,170 214,782 341,971 36,384
การขนถ่ายสินค้า (ตัน) 0 0 0 0 0
การขนถ่ายทางไปรษณีย์ภัณฑ์ 0 0 0
0 0
(ตัน)
ภายใน จานวนเที่ยวบิน 13,581 16,158 17,954 17,386 11,722
ประเทศ ผู้โดยสาร (คน) 1,931,993 2,303,054 2,589,918 2,586,907 1,476,911
การขนถ่ายสินค้า (ตัน) 4,973 4,433 3,629 2,534 963
การขนถ่ายทางไปรษณีย์ภัณฑ์ 825 739 17
1 0
(ตัน)
ที่มา :ท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวง เชียงราย.2563

(2.4) ระบบขนส่งทางราง
โครงการรถไฟสายใหม่สาย เด่นชัย -เชียงราย-เชียงของ คือ โครงการพัฒนาโครงข่ายทางรถไฟ
ภายใต้การดูแลโครงการของการรถไฟแห่งประเทศไทยร่วมกับภาคเอกชน ที่มีวัตถุประสงค์ในการเชื่อมโยงกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการขนส่งระหว่างประเทศในภูมิภาค เนื่องจากผลที่คาดว่าจะ
ได้รับเมื่อโครงการนี้แล้วเสร็จคือ การลดต้นทุนทางด้านโลจิสติกส์ของประเทศ ลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานในการ
ขนส่งสินค้า อีกทั้งยังอานวยความสะดวกในด้านการคมนาคมของประชาชน
30

(2.5) ด่านศุลกากรและจุดผ่อนปรน
1) ด่านศุลกากรเชียงแสน ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย 57150
2) ด่านศุลกากรแม่สาย ตาบลแม่สาย อาเภอแม่สาย จังหวัดเชียงราย 57130
3) ด่านศุลกากรเชียงของ ตาบลเวียง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 57140
นอกจากนี้ ยังมีจุดผ่อนปรนการค้าชายแดนไทยด้านจังหวัดเชียงราย ดังนี้
4) จุดผ่อนปรนที่ติดกับประเทศสาธารณรัฐแห่งสหภาพเมียนมา จานวน 5 จุด ดังนี้
4.1) จุดผ่อนปรนบ้านปางห้า ตาบลเกาะช้าง อาเภอแม่สาย
4.2) จุดผ่อนปรนบ้านสายลมจอย อาเภอเวียงพางคา อาเภอแม่สาย
4.3) จุดผ่อนปรนบ้านเกาะทราย ตาบลแม่สาย อาเภอแม่สาย
4.4) จุดผ่อนปรนบ้านป่าแดง หมู่ที่ 5 ตาบลเกาะช้าง อาเภอแม่สาย
4.5) จุดผ่อนปรนบ้านสบรวก หมู่ที่ 1 ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน
5) จุดผ่อนปรนที่ติดกับประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว จานวน 6 จุด
ดังนี้
5.1) จุดผ่อนปรนบ้านสบรวก หมู่ที่ 1 ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน
5.2) จุดผ่อนปรนบ้านสวนดอก หมู่ที่ 8 ตาบลบ้านแซว
5.3) จุดผ่อนปรนบ้านแจมป๋อง ตาบลหล่ายงาว อาเภอเวียงแก่น
5.4) จุดผ่อนปรนบ้านห้วยลึก หมู่ที่ 4 ตาบลม่วงยาย อาเภอเวียงแก่น
5.5) จุดผ่อนปรนบ้านร่มโพธิ์ทอง (เลาเจอ) หมู่ที่ 9 ตาบลตับเต่า อาเภอเทิง
5.6) จุดผ่อนปรนบ้านหาดบ้าย หมู่ที่ 1 ตาบลริมโขง อาเภอเชียงของ
31

(2.6) ระบบไฟฟ้า
สาหรับระบบไฟฟ้า เมื่อพิจารณาจากสถิติผู้ใช้ไฟฟ้า และการจาหน่ายพลังงานไฟฟ้าของการ
ไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย จาแนกตามประเภทผู้ใช้ พ.ศ. 2558 - 2562 พบว่า ปี 2562 มีผู้ใช้ไฟฟ้า
จานวน 451,198 รายเพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2558 จานวน 40,845 ราย พลังงานไฟฟ้าที่จาหน่ายและใช้ ในปี
2562 อยู่ที่ 1,387,400,397 กิโลวัตต์-ชั่วโมง

ตารางที่ 6 สถิติผู้ใช้ไฟฟ้า และการจาหน่ายพลังงานไฟฟ้าของการไฟฟ้าส่วนภูมิภาค จังหวัดเชียงราย จาแนก


ตามประเภทผู้ใช้ พ.ศ. 2558 – 2563

ประเภทอัตรา ปีพ.ศ. 2558 ปีพ.ศ. 2559 ปีพ.ศ. 2560 ปีพ.ศ. 2561 ปีพ.ศ.2562
ไฟฟ้า
จานวนผู้ใช้ไฟฟ้า 410,353 421,438 432,532 438,835 451,198
(ราย)
พลังงานไฟฟ้าที่ 1,171,897,648 1,240,361,090 1,276,887,749 1,276,980,049 1,387,400,397
จาหน่ายและใช้
(กิโลวัตต์-ชั่วโมง)
บ้านที่อยู่อาศัย 438,761,561 464,330,523 476,304,780 487,672,187 542,560,991
กิจการขนาดเล็ก 213,729,636 225,212,815 231,286,279 237,985,512 257,036,166
กิจการขนาด 199,051,928 211,781,111 218,729,977 214,042,642 227,025,741
กลาง
กิจการขนาด 246,036,398 261,091,880 269,325,908 258,670,471 270,062,302
ใหใ่
อื่น ๆ 74,318,125 77,944,761 81,240,805 78,609,237 75,093,988

ที่มา : สถิติผู้ใช้ไฟฟ้า สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2563

เมื่อพิจารณาประเภทของการใช้ไฟฟ้าในตารางที่ 6 พบว่า ในปี พ.ศ. 2562 จานวนผู้ใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น


โดยในปี 2562 สั ด ส่ ว นของการใช้ ไ ฟฟ้ า ส าหรั บ บ้ า นที่ อ ยู่ อ าศั ย และกิ จ การขนาดเล็ ก เพิ่ ม ขึ้ น อยู่ ที่
542,560,991 กิโลวัตต์-ชั่วโมง และ257,036,166 กิโลวัตต์-ชั่วโมง ในขณะที่กิจการขนาดกลาง และกิจการ
ขนาดใหใ่มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น 227,025,741 กิโลวัตต์-ชั่วโมง และ 270,062,302 กิโลวัตต์-ชั่วโมง
ตามลาดับ ในขณะที่ ปี พ.ศ. 2561 สัดส่วนของการใช้ไฟฟ้าสาหรับบ้านที่อยู่อาศัยและกิจการขนาดเล็กเพิ่มขึ้น
เมื่อเทีย บจากปี 2560 เช่นกัน อยู่ ที่ 487,672,187 กิโ ลวัตต์-ชั่วโมง และ 237,985,512 กิโ ลวัตต์-ชั่ว โมง
ในขณะที่กิจการขนาดกลาง และกิจการขนาดใหใ่มีปริมาณการใช้ไฟฟ้าลดลง 214,042,642กิโลวัตต์-ชั่วโมง
และ 258,670,471 กิโลวัตต์-ชั่วโมง เมื่อเทียบกับปี 2560
32

ตารางที่ 7 การเปรียบเทียบจานวนผู้ใช้ไฟฟ้ารายอาเภอระหว่างปี พ.ศ. 2559-2562

จานวนผู้ใช้ไฟฟ้า
อาเภอ
2559 2560 2561 2562
เมืองเชียงราย 88,954 91,755 93,172 96,502
เวียงชัย 16,636 16,988 17,371 17,792
เชียงของ 21,611 21,611 22,581 22,696
เทิง 25,460 25,460 26,526 27,030
พาน 43,652 44,627 44,966 45,818
ป่าแดด 9,998 10,147 10,342 10,610
แม่จัน 33,521 34,350 35,155 35,808
เชียงแสน 20,582 21,011 21,268 21,604
แม่สาย 34,135 35,065 35,342 36,088
แม่สรวย 21,610 22,313 22,809 23,738
เวียงป่าเป้า 21,887 22,430 22,786 23,366
พใาเม็งราย 12,860 12,860 13,673 14,083
เวียงแก่น 8,604 8,604 9,227 9,634
ขุนตาล 10,320 10,320 10,778 11,047
แม่ฟ้าหลวง 14,530 14,923 15,162 15,398
แม่ลาว 20,235 20,650 21,135 21,591
เวียงเชียงรุ้ง 8,733 9,000 9,308 9,574
ดอยหลวง 8,169 8,305 8,305 8,546
รวม 421,497 430,419 439,906 451,198
ที่มา: สถิติจังหวัดเชียงราย.2563

เมื่อพิจารณาตารางที่ 7 พบว่าในปีพ.ศ. 2562 อาเภอที่มีผู้ใช้ไฟฟ้ามากที่สุด 3 อันดับแรก ได้แก่


อ าเภอเมื อ งเชี ย งราย ถั ด มาเป็ น อ าเภอพาน และอ าเภอแม่ ส าย และอ าเภอที่ ใ ช้ ไ ฟฟ้ า น้ อ ยที่ สุ ด ได้ แ ก่
อาเภอดอยหลวง เมื่อเปรียบเทียบ จานวนผู้ใช้ไฟฟ้าในปี พ.ศ. 2561 และ พ.ศ.2562 พบว่า ในทุกพื้นที่มี
จานวนผู้ใช้ไฟฟ้าเพิ่มขึ้น
33

ตารางที่ 8 ผู้ใช้ไฟฟ้า และการจาหน่ายกระแสไฟฟ้า จาแนกตามประเภทผู้ใช้ เป็นรายอาเภอ ปี 2562


การจาหน่ายกระแสไฟฟ้า (ล้านกิโลวัตต์/ชั่วโมง) (Gwh.)
จานวนผู้ สถานที่ราชการ
อาเภอ สถานธุรกิจ/
ใช้ไฟฟ้า ที่อยู่อาศัย /องค์กรไม่ อื่นๆ รวม
อุตสาหกรรม แสวงหาผลกาไร
เมืองเชียงราย 96,502 156.59 308.28 0.55 7.85 473.27
เวียงชัย 17,792 22.26 26.01 0.20 1.43 49.9
เชียงของ 22,969 22.49 23.35 2.08 3.50 51.42
เทิง 27,030 24.16 22.70 3.02 2.19 52.07
พาน 45,818 3.58 3.25 0.34 0.09 7.26
ป่าแดด 10,610 0.86 0.69 0.15 0.05 1.75
แม่จัน 35,808 40.15 38.02 3.75 0.53 82.45
เชียงแสน 21,604 25.74 63.26 3.49 1.33 938.2
แม่สาย 36,088 61.24 159.94 2.70 1.62 225.5
แม่สรวย 23,738 1.58 1.79 0.01 0.02 3.4
เวียงป่าเป้า 23,366 1.74 2.05 0.00 0.02 3.81
พใาเม็งราย 14,083 12.80 8.76 0.71 0.40 22.67
เวียงแก่น 9,634 8.48 4.85 0.60 0.22 14.15
ขุนตาล 11,047 10.06 6.29 1.02 0.79 18.16
แม่ฟ้าหลวง 15,398 19.39 10.80 2.37 0.41 32.97
แม่ลาว 21,591 28.17 35.51 0.08 0.65 64.41
เวียงเชียงรุ้ง 9,574 8.61 4.90 - 0.12 13.63
ดอยหลวง 8,546 7.79 3.54 0.46 0.28 12.07
รวม 451,19 455.69 723.99 22.53 21.50 1,223.71
ที่มา : การไฟฟ้าส่วนภูมิภาคจังหวัดเชียงราย, 2563.
เมื่อพิจารณาประเภทผู้ใช้ไฟฟ้าในตารางที่ 8 พบว่า อาเภอเมืองเชียงราย แม่สาย เชียงแสน
เป็นอาเภอที่จาหน่ายกระแสไฟฟ้าเพื่อธุรกิจมากที่สุด 3 อันดับแรก ในส่วนการจาหน่ายกระแสไฟฟ้าสาหรับที่
อยู่อาศัยมากที่สุด ได้แก่ อาเภอเมืองเชียงราย แม่สาย แม่จัน มีการจาหน่ายกระแสไฟฟ้าเพื่อที่อยู่อาศัยมากที่สุด 3
อันดับแรก

(2.7) การประปา
ตารางที่ 9 ข้อมูลการใช้น้าประปา จังหวัดเชียงราย ปีพ.ศ. 2560-2562
ข้อมูลการใช้ประปา ปีพ.ศ. 2558 ปีพ.ศ. 2559 ปีพ.ศ. 2560 ปีพ.ศ. 2561 ปีพ.ศ. 2562
ผู้ใช้น้า (ราย) 58,913 62,938 65,707 68,483 71,657
ปริมาณการผลิต (ลบ.ม.) 18.5 20.3 20.7 21.2 14.1
ปริมาณการจาหน่าย (ลบ.ม.) 13.1 13.8 14.3 14.7 41.3
เฉลี่ยการใช้น้า (ลบ.ม. / ราย / 18.6 18.3 18.2 17.9 22.4
เดือน)
ที่มา : สานักงานสถิติจังหวัดเชียงราย, 2563
34

สาหรับข้อมูลการใช้น้าประปา พบว่าปริมาณการใช้น้าประปาของจังหวัดเชียงรายเพิ่มขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง ทั้งนี้ในปี พ.ศ. 2562 มีปริมาณการผลิต 14.1 ลบ.ม. และอัตราการใช้น้าเฉลี่ย 22.4 ลบ.ม. / ราย /
เดือน
เมื่อจ าแนกพื้นที่การใช้ประปา พบว่า จานวนผู้ใช้น้ามากที่สุ ดอยู่ในพื้นที่อาเภอเมือง ถัดมา
อาเภอแม่สาย และอาเภอพาน และสาหรับปริมาณน้าที่จ่ายเพื่อ สาธารณประโยชน์ พบว่าอยู่ในพื้นที่อาเภอ
เมืองมากที่สุด ถัดมาคืออาเภอแม่สาย และอาเภอแม่จัน สาหรับอัตราการน้าสูใเสียมากที่สุดที่อาเภอแม่จัน
อาเภอเชียงแสน และอาเภอเมืองตามลาดับ

ตารางที่ 10 สถิติการประปา จาแนกเป็นรายอาเภอ พ.ศ. 2562

อาเภอ กาลังการผลิต ปริมาณน้าที่ ปริมาณน้าที่ ปริมาณน้า ที่ ปริมาณน้าที่จ่าย อัตราน้า อัตราการ


(ลบ.ม) ผลิตได้จริง ผลิตจ่าย จาหน่าย แก่ เพือ่ สูใเสีย ใช้น้า ผู้ใช้น้า
(ลบ.ม) (ลบ.ม) ผู้ใช้ (ลบ.ม.) สาธารณประโยชน์ ทั้งหมด (ลบ.ม/ (ราย)
(จ่ายฟรี) (ลบ.ม) (%) ราย)

เมืองเชียงราย 17,520,000 11,679,867 552,559 8,443,321 2,683,987 24.08 267 32,419


เวียงชัย - - - - - - - -
เชียงของ 1,752,000 10,75,703 61,767 825,318 188,618 18.07 210 4,004
เทิง 876,000 585,614 39,849 460,049 85,716 15.06 232 2,030
พาน 3,504,000 1,235,328 31,662 940,272 - 21.44 183 5,318
ป่าแดด - - - - - - - -
แม่จนั 1,752,000 1,398,541 278,149 756,652 363,740 29.95 260 2,964
เชียงแสน 876,000 720,890 114,734 404,182 201,974 29.69 175 2,315
แม่สาย 5,694,000 4,744,391 698,246 3,105,514 940,631 20.95 215 14,593
แม่สรวย - - - - - - - -
เวียงป่าเป้า 1,752,000 678,361 20,008 555,254 103,099 15.54 180 3,121
พใาเม็งราย 438,000 114,122 10,756 96,545 6,821 6.17 185 532
เวียงแก่น - - - - - - - -
ขุนตาล - - - - - - - -
แม่ฟ้าหลวง - - - - - - - -
แม่ลาว - - - - - - - -
เวียงเชียงรุ้ง - - - - - - - -
ดอยหลวง - - - - - - - -
รวมยอด 34,164,000 22,232,817 1,807,730 15,587,107 4,837,981 22.88 237 67,296
ที่มา : สานักงานการประปาเขต 9 รายงานสถิติจังหวัดเชียงราย สถิติจังหวัดเชียงราย,2563.
35

(2.8) ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ
สาหรับข้อมูลระบบเทคโนโลยีสารสนเทศของประชาชนในจังหวัดเชียงราย พบว่าในช่วง 2558-
2561 ประชาชนมีการใช้คอมพิวเตอร์เพิ่มขึ้นจากเล็กน้อยจากเดิมในปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 25.59 ในปี 2560
เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 26.15 แต่มีแนวโน้มลดลงร้อยละ 24.2 ในปี 2561 ในส่วนการใช้อินเตอร์เน็ต มีการ
ขยายตัวเพิ่มขึ้นประมาณร้อยละ 18 จากเดิมมีผู้ใช้คิดเป็นร้อยละ 27.39 ในปี 2558 ในปี 2560 เพิ่มขึ้นเป็น
ร้อยละ 43.01 และในปี 2561 เพิ่มขึ้นเป็นร้อยละ 43.5 แสดงให้เห็นว่าประชาชนมีความสามารถในการเข้าถึง
ข้อมูลออนไลน์เพิ่มขึ้น นอกจากนี้มีจานวนผู้ใช้โทรศัพท์มือถือเพิ่มขึ้นจากเดิมในปี 2558 อยู่ที่ร้อยละ 76.36
เพิ่มขึ้นเป็น ร้อยละ 83.96 ในปี 2560 และยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง เป็นร้อยละ 92.6 ในปี 2561
ตารางที่ 11 ประชากรอายุ 6 ปีขึ้นไป จาแนกตามการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร พ.ศ.
2558 – 2561
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
จานวน ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561
และการสื่อสาร
การใช้คอมพิวเตอร์ จานวนประชากร 1,088,384 1,085,262 1,081,368 1,077,006
ใช้ 278,467 280,670 282,814 255,299
ร้อยละ 25.59 25.86 26.15 24.2
ไม่ใช้ 809,917 804,592 798,554 821,707
ร้อยละ 74.41 74.14 73.85 75.8
การใช้อินเตอร์เน็ต จานวนประชากร 1,088,384 1,085,262 1,081,368 1,077,006
ใช้ 298,101 386,755 465,094 485,958
ร้อยละ 27.39 35.64 43.01 43.5
ไม่ใช้ 790,283 698,507 616,274 591,048
ร้อยละ 72.61 64.36 56.99 56.5
การมีโทรศัพท์มือถือ จานวนประชากร 1,088,384 1,085,262 1,081,368 1,077,006
มี 831,093 840,363 907,888 927,332
ร้อยละ 76.36 77.43 83.96 92.6
ไม่มี 257,291 244,899 173,480 149,674
ร้อยละ 23.64 22.57 16.04 7.4

ที่มา : การสารวจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2563.


36

แผนภูมิที่ 3 แสดงข้อมูลการจาแนกตามการใช้อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
พ.ศ. 2558 – 2561
1,000,000

800,000

600,000

400,000

200,000

0
การใช้คอมพิวเตอร์ การใช้อินเตอร์เน็ต การมีโทรศัพท์มือถือ

2558 2559 2560 2561

ที่มา : การสารวจเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร (ครัวเรือน) สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2563.

3) การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน
สาหรับพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่กาลังจะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ ได้แก่ โครงการก่อสร้างเส้นทาง
รถไฟสายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ ซึ่งการรถไฟแห่งประเทศเป็นผู้ริเริ่ม เส้นทางนี้เป็นส่วนหนึ่งของโครงการ
ภายใต้ยุทธศาสตร์การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่งของประเทศไทยพ.ศ. 2558-2564 สาหรับ
แนวเส้ น ทางโครงการเริ่ ม ต้น ที่ส ถานี เด่ น ชัย ถึง สถานี เชีย งของ รวมระยะทางประมาณ 323.1 กิโ ลเมตร
ประกอบด้วย 26 สถานี ผ่านพื้นที่ 24 จังหวัด และรูปแบบสถานทีมี 3 ขนาด คือ ป้ายหยุดรถไฟ 13 สถานี
สถานีขนาดเล็ก 9 สถานี และสถานีขนาดใหใ่ 4 สถานี โดยการก่อสร้างเป็นทางคู่ระดับดินในแนวเส้นทาง
เส้นทางใหม่ทั้งหมดและมีเขตทางข้างละ 25 เมตร สาหรับจังหวัดเชียงรายประกอบด้วย 12 สถานี 7 อาเภอ
ได้แก่
1. อาเภอป่าแดด (สถานีบ้านป่าแดด สถานีบ้านถิ่นเจริใ)
2. อาเภอเมือง (สถานีบ้านโป่งเกลือ สถานีบ้านป่าเหียง สถานีเชียงราย)
3. อาเภอเวียงชัย (สถานีเมืองชุม)
4. อาเภอเวียงเชียงรุ้ง (สถานีเวียงเชียงรุ้ง สถานีบ้านป่าซาง)
5. อาเภอเทิง (สถานีบ้านเกี๋ยง)
6. อาเภอเชียงแสน (สถานีเชียงแสน)
7. อาเภอเชียงของ (สถานีบ้านเขียะ สถานีเชียงของ) ดังภาพ
37

ภาพที่ 4 พื้นที่โครงการตามแนวเส้นทางรถไฟ สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ

ความคืบหน้าการดาเนินการการก่อสร้าง
ในปี พ.ศ. 2564 ได้มีการเปิดประมูล รถไฟทางคู่สายใหม่ ”เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ” ระยะทาง
323 กม. วงเงินรวม 72,920 ล้านบาท โดยจะเริ่มเปิดขายซองประมูลเมื่อวันที่ 19 มี นาคม-17 พฤษภาคม
พ.ศ. 2564 ประกอบด้วย สัใใาที่ 1 ช่วงเด่นชัย -งาว ระยะทาง 103 กม. ราคากลาง 26,599.16 ล้านบาท
สัใใาที่ 2 งาว-เชียงราย ระยะทาง 132 กม. ราคากลาง 26,913.78 ล้านบาท และสัใใาที่ 3 เชียงราย-เชียง
ของ ระยะทาง 87 กม. ราคากลาง 19,406.31 ล้านบาท สาหรับรายละเอียดงานก่อสร้าง ประกอบด้วย งาน
ก่อสร้างทางรถไฟ งานก่อสร้างงานอุโมงค์รถไฟ งานก่อสร้างสถานีรถไฟและป้ายหยุดรถ งานก่อสร้างถนน
ยกระดับข้ามทางรถไฟ ถนนลอดใต้รถไฟ และงานรื้อย้ายสิ่งปลูกสร้างและอุปสรรคต่าง ๆ ที่อยู่ในเขตพื้น ที่
โครงการพร้อมสร้างรั้วสองข้างทางตลอดแนวเส้นทาง เพิ่มความรวดเร็ว ความปลอดภัยในการบริการ และ
ติดตั้งระบบอาณัติสัใใาณและโทรคมนาคมตลอดทั้งสายทาง มีระยะเวลาก่อสร้าง 72 เดือน จะส่งมอบพื้นที่
ก่อสร้างให้แล้วเสร็จใน 2 ปี
38

ภาพที่ 5 สถานีเส้นทางรถไฟทางคู่สายใหม่ ”เด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ”

ตารางที่ 12 จานวนแปลงที่ดินที่ถูกเวนคืนพื้นที่จังหวัดเชียงราย
จานวนแปลงที่ดิน (แปลง)
อาเภอ นส.3ก นส. ที่
โฉนด 3 สปก. ท.ค. น.ส.ล. สาธารณประโยชน์ ป่าไม้ รวม

เทิง 60 - - - - - - 60
ป่าแดด 429 3 35 1 - - 1 469
เมืองเชียงราย 609 17 1 22 1 1 1 652
เวียงชัย 453 11 2 6 - - - 472
เวียงเชียงรุ้ง 516 40 88 50 1 - - 695
ดอยหลวง - - 59 7 - - - 66
เชียงแสน - - 9 16 - - - 25
เชียงของ 316 12 342 62 - 1 - 733
รวม 2,383 83 536 164 2 2 2 3,172
ที่มา การรถไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (2563)
39

ตารางที่ 13 จานวนสิ่งปลูกสร้าง/แปลงไม้ยืนต้นที่ถูกเวนคืนพื้นที่จังหวัดเชียงราย

จานวนไม้ยืนต้น
อาเภอ จานวนสิ่งปลูกสร้าง (หลัง)
(แปลง)
เทิง 7 43
ป่าแดด 179 272
เมืองเชียงราย 85 498
เวียงชัย 82 312
เวียงเชียงรุ้ง 331 501
ดอยหลวง - 50
เชียงแสน 7 15
เชียงของ 100 428
รวม 791 2,119
ที่มา การรถไฟฟ้าแห่งประเทศไทย (2563)

จากตารางที่ 12 และ 13 พบว่าได้มีการสารวจที่ดิน สิ่งปลูกสร้าง และแปลงไม้ยืนต้นที่ถูกเวนคืนพื้นที่


จังหวัดเชียงราย โดยมีจานวนที่ดินที่ถูกเวนคืน จานวน 3,172 แปลง มีสิ่งปลูกสร้าง 791 หลัง และจานวนไม้
ยืนต้น 2,119 แปลง

ผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นกับจังหวัดเชียงราย
สาหรับผลกระทบที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในจังหวัดเชียงรายโดยการคาดการณ์จากสานักงานนโยบายและ
แผนขนส่งระบบราง (2560) พบว่าปริมาณการขนส่งสินค้าโดยใช้รถไฟช่วงนี้ จะมีปริมาณสินค้าประมาณ 2.10
ล้านต้นต่อปี ในปี 2565 และจะเพิ่มขึ้นเป็น 4.25 ล้านตันในปี 2580 สินค้าที่ทาการขนส่งโดยใช้รถไฟเส้น
ดังกล่าวส่วนใหใ่เป็นสินค้าเกษตร ได้แก่ข้าวโพด ชา น้ามันปาล์ม ผักสด ลาไยอบแห้ง และน้าตาลเป็นต้น
นอกจากนี้ยังมีการคาดการณ์ปริมาณผู้โดยสารเส้นทางรถไฟ สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ โดยในปี 2565 มี
ปริมาณผู้โดยสารเส้นทางเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ จานวน2,004,215 คน และเพิ่มขึ้นเป็น 2,702,460 คนใน
ปี 2580
40

1) เศรษฐกิจโดยรวม (Regional Economy)


1.1) ช่วยกระตุ้นให้เกิดการขยายตัวเศรษฐกิจในภูมิภาคและเศรษฐกิจของจังหวัดตามเส้นทาง
ก่อสร้าง
1.2) ด้านการจ้ างงาน การซื้อขายวัสดุก่อสร้าง การเข้าพักโรงแรม/ที่พักอาศัย การใช้บริการ
ร้านอาหาร และการซื้อขายสินค้าอุปโภค-บริโภคในท้องถิ่นระหว่างการก่อสร้าง
1.3) ด้านอุตสาหกรรมการผลิต จะได้รับผลดีจากเส้นทางการขนส่งขาไป (เชียงของ-เด่นชัย)
1.4) ด้านการกระจายวัตถุดิบการผลิตจากจังหวัดภาคเหนือสู่อุตสาหกรรมผลิตที่มีที่ตั้งอยู่ภาค
กลาง ส่วนขากลับ (เด่นชัย -เชียงของ) ผู้ผลิตในภาคกลางจะได้รับประโยชน์จากการขนส่ง
สินค้าที่ถูกลงในการเข้าถึงตลาดภาคเหนือและประเทศจีน
2) ด้านการท่องเที่ยว
จากเส้นทางรถไฟที่จะเกิดขึ้นช่วยยกระดับมาตรฐานการท่องเที่ยว ทาให้เกิดกระจายนักท่องเที่ยว
ให้เข้าถึงเมืองท่องเที่ยวต่างๆ มากขึ้น และส่งเสริมเรื่องการคมนาคมให้มีความสะดวกและต้นทุนต่าลง ทั้งนี้
จังหวัดสามารถจัดกิจกรรมส่งเสริมการท่องเที่ยวในช่วงฤดูท่องเที่ยวต่างๆ ได้มากขึ้น และทาให้เกิดเส้นทาง
และรูปแบบการท่องเที่ยวแบบใหม่เกิดขึ้นอีกมากมาย
3) การค้าชายแดน
จากโครงการนี้จะส่งผลต่อการเติบโตของมูลค่าการค้าชายแดน ทาให้เกิดการส่งออกผ่านแดนมากขึ้น
(เชียงของ) และเชื่อมโยงถึงการเปลี่ยนถ่ายสินค้าลงเรือที่ท่าเรือพาณิชย์เชียงแสน
4) ด้านการลงทุน
ช่วยส่งเสริมปัจจัยดึงดูดการลงทุน เนื่องจากรถไฟทาให้ลดต้นทุนการขนส่งและเกิดการเจริใเติบโต
ของความเป็นเมืองอย่างรวดเร็ว และกระจายความเจริใ ไปสู่ชนบท ได้ง่าย ดึงดูดการลงทุนใภาคอุตสาหกรรม
5) ด้านการคมนาคมขนส่ง
การก่อสร้างเส้นทางรถไฟ สายเด่นชัย-เชียงราย-เชียงของ ทาให้เกิดเชื่อมโยงการขนส่งสินค้าระหว่าง
ภูมิภาค เชื่อมต่อการขนส่ง ภายใต้นโยบาย การค้าและการลงทุนของจีน เช่น One Belt, One Road policy
(OBOR) การเชื่อมโยงเมืองหน้าด่านของระเบียงเศรษฐกิจเหนือ -ใต้ (North-South Economic Corridor:
NSEC) การเชื่อมต่อเส้นทางบก R3A (ไทย-สปป.ลาว-จีน) และ R3B (ไทย-เมียนมาร์) ตลอดจนช่วยประหยัด
พลั ง งาน ประหยั ด ต้น ทุน การขนส่ ง การลดต้น ทุน การขนส่ งสิ นค้ าเกษตรสู่ ภ าคอุต สาหกรรม ลดจานวน
รถบรรทุกขนาดใหใ่ ลดการนาเข้าน้ามันดิบในปริมาณสูง และลดอุบัติเหตุบนท้องถนน
6) แนวโน้มธุรกิจใหม่ที่จะเกิดขึ้น
จากโครงการนี้จะทาให้ เกิดแหล่งท่องเที่ยวใหม่ พร้อมธุรกิจการท่องเที่ยว เช่น โรงแรม ร้านอาหาร
ธุรกิจการบริการ กิจกรรมสันทนาการ เกิดธุรกิจการก่อสร้าง และอสังหาริมทรัพย์ มีการซื้อขายที่ดิน สร้างบ้าน
อยู่อาศัย สร้างโครงการบ้านพักอาศัย โรงงานอุตสาหกรรม เป็นต้น เกิดการพัฒนาพื้นที่โดยรอบสถานีรถไฟ
(Transit Oriented Development) และอาจพัฒนาต่อยอดเป็นเมืองอัจฉริยะ (Smart City) เกิดการพัฒนา
พื้นที่การเกษตรมากขึ้น มีการเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร และมีการสร้างโครงงานอุตสาหกรรมแปรรูปสินค้า
41

การเกษตร มีการพัฒนาธุรกิจด้านการขนส่งสินค้าและโลจีสติกส์ มีการสร้างศูนย์เปลี่ยนถ่ายการขนส่งสินค้า


มากขึ้นเพื่อการเชื่อมโยงการขนส่งสินค้าทางราง และเกิดการสร้างธุรกิจใหม่กับคนในท้องถิ่น อาจเป็นใน
รูปแบบของ Start-up และช่วยยกระดับขีดความสามารถในการแข่งขันวิสาหกิจขนาดเล็กและขนาดกลาง
(SMEs
4) สถานที่ท่องเที่ยวและเทศกาลสาคัญของจังหวัด

การท่องเที่ยว การท่องเที่ยว การท่องเที่ยว การท่องเที่ยว การท่องเที่ยว


เชิงวิถีชมุ ชน เชิงประวัติศาสตร์ เชิงนิเวศ เชิงศาสนา ด้านกีฬา
และวัฒนธรรม และวิถีพุทธ และนันทนาการ
1. ชุมชนตาบลบ้านแซว 1. อนุสาวรียพ์ ่อขุนเม็งราย 1. ไร่แม่ฟ้าหลวง 1. วัดพระสิงห์ 1. อุทยานแห่งชาติ
ต้นแบบอีสานล้านนา มหาราช 2. น้าพุร้อนโป่งพระบาท 2. วัดพระแก้ว ดอยหลวง
2. แหล่งเรียนรู้การจัดการ 2. พระตาหนักดอยตุง 3. น้าพุร้อนป่าตึงหรือ 3. วัดร่องขุ่น 2. อุทยานแห่งชาติ
ทรัพยากรอย่างยั่งยืน 3. ทะเลสาบเชียงแสน น้าพุร้อนห้วยหินฝน 4. พระธาตุดอยตุง ขุนแจ
เทศบาลตาบลครึ่ง หรือหนองบงคาย 4. ลานทองอุทยาน 5. วัดป่าสัก
3. ศูนย์เรียนรู้พัฒนา 4. สบรวก หรือ ดินแดน วัฒนธรรมลุ่มน้าโขง 6. วัดพระธาตุผาเงา
เศรษฐกิจพอเพียงต้นแบบ แห่งสามเหลี่ยมทองคา 5. ดอยแม่สลอง 7. วัดพระธาตุจอมกิตติ
ในระดับประเทศ 5. สามเหลี่ยมทองคา 6. ดอยหัวแม่คา 8. วัดพระธาตุจอมจ้อ
บ้านโป่งศรีนคร 6. ท่าเรือบั๊ค 7. สวนแม่ฟ้าหลวง 9. พระธาตุจอมแว่
4. หมู่บ้านเศรษฐกิจพอเพียง 8. ถ้าผาจม 10. วัดพระเจ้าทองทิพย์
บ้านท่าขันทอง 9. ถ้าปุ่ม ถ้าปลา
10. ถ้าเสาหินพใานาค
บ้านหาดบ้าย
11. ดอยผาตั้ง
12. หาดผาได
13. ภูชี้ฟ้า
14. ดอยช้าง ดอยวาวี
15. บ่อน้าร้อนธรรมชาติ
แม่น้ากก
16.น้าตกขุนกรณ์
17.น้าตกห้วยแม่ซ้าย
ที่มา: สานักงานปลัดกระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา, 2562

สาหรับเทศกาลสาคัญของจังหวัด ประกอบด้วย
1.งานพ่อขุ น เม็ งราย จั ดประมาณปลายเดือนมกราคมถึง ต้นเดื อนกุ มภาพั นธ์ เป็นงานประจาปี
ภายในงานจะมีการออกร้าน จัดนิทรรศการและมหรสพต่างๆ
2.งานวันลิ้นจี่เชียงรายและสับปะรดนางแล จัดประมาณกลางเดือนพฤษภาคมของทุกปี ภายในงาน
จะมีการประกวดขบวนรถและประกวดธิดาลิ้นจี่ การออกร้านจาหน่ายสินค้า
3.ประเพณีป๋าเวณีปี๋ใหม่เมือง หรือเทศกาลสงกรานต์ ได้กาหนดให้มีตั้งแต่วันที่ 13-16 เมษายน
โดยการเนรมิตถนนเล่นน้ากลางเมืองเชียงราย ภายในงานจะมีกิจกรรมต่างๆ มากมาย เช่น ทาบุใตักบาตร
42

ในช่วงเช้า สรงน้าพระพุทธสิหิงค์ ขนทรายเข้าวัด สรงน้าพ่อขุนเม็งรายมหาราช รดน้าดาหัวผู้สูงอายุแต่ละ


ชุมชน ประกวดเทพีสงกรานต์ แข่งขัน กีฬาพื้นบ้าน ขบวนแห่ ประกวดร้องเพลงลูกทุ่ง บนถนนเล่นน้าคือ
ถนนธนาลัย จะใช้เป็นถนนเพื่อการเล่นน้าตลอดทั้งสาย โดยเทศบาลได้ออกแบบอุโมงค์ที่มีสายน้าใสสะอาดพุ่ง
ออกมาจากทั้งสองฟากถนน รวมทั้งติดตั้งระบบน้าพุ เพื่อสร้างสีสันบรรยากาศของความชุ่มฉ่าของสายน้า
ตลอดเทศกาล พร้อมกันนี้ได้จัดให้มีพิธีรดน้าดาหัว ผู้ว่าราชการจังหวัด นายอาเภอ หัวหน้าส่วนราชการต่าง ๆ
และผู้สูงอายุ เพื่อเป็นการแสดงออกถึงความเคารพนับถือและความเป็นสิริ มงคลตามประเพณีที่ชาวล้านนาได้
ปฏิบัติสืบต่อกันมาตลอดทั้งเป็นการร่วมสืบสานวัฒนธรรมอันดีให้กับชนรุ่นหลัง
4.ประเพณียี่เป็งลอยกระทง จัดขึ้น ณ สนามฝึกนักศึกษาวิชาทหาร (สนาม รด.) เชิงสะพานแม่ฟ้า
หลวง ทุกวันขึ้น 15 ค่า เดือน 12 ของทุกปี โดยจะมีการจัดงาน 2 วัน ในวัน แรกจะมีกิจกรรมลอยกระทงเล็ก
การประกวดหนูน้อยนพมาศ และวันต่อมาจะมีขบวนแห่กระทงที่ยิ่งใหใ่จากสวนตุง และโคมฯ ถนนธนาลัย
สู่สถานที่จัดงาน และ มีการประกวดนางนพมาศ ประกวดโคม ประกวดกระทง พร้อมการแสดงบนเวทีอย่าง
ตระการตาโครงการจัดงานวัฒนธรรมสัมพันธ์ลุ่มน้าโขง จัดขึ้ นเป็นประจาทุกปี เป็นการจัดงานเพื่อเชื่อมความ
สัมพันธไมตรีของประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง ได้แก่ ไทย ลาว จีน พม่า เวียดนาม และกัมพูชา เป็นการ
ส่งเสริมการท่องเที่ยวและแลกเปลี่ยนศิลปวัฒนธรรม ประเพณีระหว่างประเทศในอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง ซึ่ง
จะส่งผลดีต่อการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงรายและประเทศไทย รวมทั้งเป็นการสานสัมพันธ์กับประเทศเพื่อน
บ้านให้แนบแน่น เชื่อมโยงเศรษฐกิจการค้าระหว่างประเทศ เป็นการผูกมิตรไมตรีที่ดีต่อกัน อันจะนาไปสู่การ
ขยายฐานความสัมพันธ์ให้แน่นแฟ้นมากยิ่งขึ้น ส่งผลดีในปัจจุบันและอนาคตทางด้านการค้า การลงทุน การ
พัฒนาด้านการท่องเที่ยวในประเทศลุ่มแม่น้าโขง จึงทาให้เป็นงานที่ยิ่งใหใ่และส่งผลดีต่อการพัฒนาประเทศ
จัดขึ้นราวปลายเดือนตุลาคมหรือต้นพฤศจิกายนของทุกปี
5.ประเพณีอัญเชิญพระพุทธรูปแวดเวียงเจียงฮาย เป็นขบวนแห่พระคู่บ้านคู่เมืองที่สาคัใๆ ของ
วัดต่างๆ ประดิษฐานบนบุษบกแห่ให้ประชาชนสักการะบูชาโปรยข้าวตอกดอกไม้ในบ่ายวันที่ 31 ธันวาคม
ของทุกปี เพื่อเป็นศิริมงคลสาหรับเมืองเชียงราย ส่งท้ายปีเก่าที่กาลังจะผ่านไปและรับปีใหม่ที่กาลังจะมาถึง
แล้วตักบาตรในวันที่ 1 มกราคมตอนเช้ารับวันปีใหม่ ซึ่งมีพื้นฐานความคิด มาจากตานานพระเจ้าเลียบโลก
ด้วยมีจุดมุ่งหมายให้ประชาชนได้มีโอกาสสักการะบูชาพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมือง ซึ่งประดิษฐานอยู่ตาม
วัดวาอารามต่างๆ ในตัวเมืองเชียงราย เพื่อเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตในวาระของการส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ โดย
การอัใเชิใพระพุทธรูปศักดิ์สิทธิ์คู่บ้านคู่เมืองเชียงราย มาประดิษฐานบนบุษบกที่ได้สร้างขึ้นโดยช่างศิลปินที่มี
ชื่อเสียงของจังหวัดเชียงราย จัดเป็นขบวนอัใเชิใไปรอบเมืองเชียงราย ให้พุทธศาสนิกชนได้มีโอกาสกราบไหว้
สักการะบูชาด้วย ข้าวตอก ดอกไม้ จึงถือเป็นการเริ่มต้นปีใหม่ที่เป็นสิริมงคลยิ่งนัก
6.เทศกาลวันเข้าพรรษา วันเข้าพรรษาเป็นวันสาคัใวันหนึ่งในทางพระพุทธศาสนา เมื่อถึงวันนี้แล้ว
พระภิกษุสามเณรจะต้องทาพิธีอธิษฐานพรรษา คือ อธิษฐานเพื่ออยู่ประจาในวัดใดวัดหนึ่งที่ตนทาพิธีอธิษฐาน
นั้นตลอด 3 เดือนในฤดูฝน คือตั้งแต่แรม 11 ค่า เดือน 8 จนถึงขึ้ น 15 ค่า เดือน 11 เมื่อถึงวันเข้าพรรษา
พุทธศาสนิกชนย่อมมีส่วนเกี่ยวข้อง เพราะถือว่าเป็นโอกาสดีที่จะได้บาเพ็ใบุใบาเพ็ใกุศลเป็นพิเศษ เช่น การ
ถวายผ้าอาบน้าฝน การถวายจตุ ปัจจัยไทยธรรมและถวายเทียนพรรษา ซึ่งถือว่าเป็นการถวายเป็นพุทธบูชา
43

ธรรมบูชา สังฆบูชาระหว่างพรรษา และเพื่อให้ความสว่างในเวลามีพิธีกรรมทางศาสนาในเวลากลางคืน ดังนั้น


จังหวัดเชียงรายมีความตระหนักและเห็นความสาคัใ จึงได้ยึดเป็นนโยบายหลัก ในการสนับสนุนส่งเสริม
ขนบธรรมเนียมประเพณีวัฒนธรรมอันดีงามของท้องถิ่น จึงได้จัดทาโครงการสืบสานประเพณีหล่อเทียนพรรษา
ขึ้น และจัดขบวนเทียนพรรษาอย่างยิ่งใหใ่เป็นประจาทุกปี บริเวณสวนตุงและโคมฯ ถนนธนาลัย
7.งานตานหาพญามังราย เนื่องในวันที่ 26 มกราคม ของทุกปี จะเป็นวันคล้ายวันที่พใามังราย หรือ
พ่อขุนเม็งรายมหาราช ได้ทรงสร้างเมืองเชียงรายไว้เมื่อวันที่ 26 มกราคม พ.ศ.1805 เทศบาลนครเชียงราย ได้
สานึกในพระมหากรุณาธิคุณของพระองค์ท่าน จึงได้จัดพิธีบาเพ็ใกุศลสักการะดวงพระวิใใาณพ่อขุนเม็งราย
มหาราชขึ้นในวันที่ 25 มกราคม ของทุกปี ณ วัดดอยงาเมือง ในงานมีกิจกรรมทางศาสนาจัดพิธีกรรมแบบ
ล้านนา ซึ่งประกอบไปด้วย พิธีสักการะบูชาพระสถูป การสืบชะตาเมือง การทาบุใเมือง และการจัดกิจกรรม
สมโภชเมือง อาทิ การฟ้อนเล็ บ การฟ้อนดาบ และการตีกลองสะบัดชัย เพื่อถวายแด่องค์พ่อขุนเม็ งราย
มหาราช อีกทั้งยังเป็นการแสดงออกถึง ความกตัใญูกตเวที และการเคารพต่อดวงพระวิใใาณของพระองค์
ท่าน โดยพี่น้องชาวเชียงราย และพี่น้องชุมชนในเขตเทศบาลจะเข้าร่วมในพิธีอันศักดิ์สิทธิ์ครั้งนี้ด้วยการนาพาน
พุ่ม หรือพานดอกไม้เครื่องบูชาสักการะ ถวายดวงพระวิใใาณพ่อขุน เม็งรายมหาราช เพื่อความร่มเย็นของ
เมืองเชียงรายและความเป็นสิริมงคลแก่ชีวิตอีกด้วย นอกจากพิธีดังกล่าวแล้ว ในช่วงปลายเดือนมกราคมของ
ทุกปี จังหวัดเชียงรายร่วมกับองค์กรต่าง ๆ ทั้งภาครัฐและเอกชนจะมีการร่วมกันจัดงานกาชาดประจาปี ของ
จังหวัดเชียงรายหรือที่นิยมเรียกกันว่า "งานพ่อขุนเม็งรายมหาราช" ซึ่งจัดขึ้นประมาณปลายเดือนมกราคมของ
ทุกปี ภายในงานจะมีการออกร้านจัดนิทรรศการของส่วนราชการและเอกชน งานรื่นเริงต่าง ๆ การจัดจาหน่าย
สินค้า อาหาร และข้าวของเครื่องใช้ ซึ่งสามารถดึงดูดนักท่องเที่ยวและ ช่วยกระตุ้นเศรษฐกิจของหวัดเชี ยงราย
ได้เป็นอย่างดี
8.งานปีใหม่เคาท์ด าวน์หอนาฬิกา มหกรรมงานวันส่งท้ายปีเก่าต้อนรับปีใหม่ ร่ว มนับถอยหลัง
(เค้าท์ดาวน์) เพื่อเข้าสู่ปีใหม่พร้อมกัน ณ บริเวณหอนาฬิกาเฉลิมพระเกียรติ ถนนบรรพปราการ อาเภอ
เมือง จังหวัดเชียงราย ภายในงานมีการเปิดการจาหน่ายอาหารและเครื่องดื่ม การแสดงของ วงดนตรี และ
สลับการแสดงของชุมชน นักเรียน นิสิต นักศึกษา จากชุมชนและสถาบันการศึกษา ในเขตเทศบาลฯ การ
แสดงกลองบูช าและกลองยาว การแสดงกลองสะบัดชัย โดยจุดนับถอยหลังส่งท้าย ปีเ ก่าต้อนรับปีใหม่ มี
การจุดพลุเฉลิมฉลอง และการปล่อยโคมไฟเพื่อเป็นสิริมงคลแก่ตนเองและครอบครัว มีฉากหลังเป็นหอ
นาฬิกาที่สุดอลังการให้นักท่องเที่ยวไทยและต่างประเทศได้ชื่นชมความงดงามโดยงานเริ่มตั้งแต่เวลา 17.00
น. ของวันที่ 31 ธันวาคม เป็นต้นไป
9.งานประเพณีแห่โคมไฟ ไหดอก จัดขึ้นเนื่องในวันมาฆบูชา ซึ่งตรงกับวันขึ้น 15 ค่า เดือน 3ซึ่งถือได้
ว่าเป็นวันสาคัใทางพระพุทธศาสนาและเป็นวันที่เกิดเหตุอัศจรรย์ขึ้นหลายประการ คือ พระสงฆ์สาวกของ
พระพุทธเจ้า จานวน 1,250 รูป มาเฝ้าพระพุทธเจ้าโดยมิได้นัดหมายกันมาก่อน ซึ่งพระสงฆ์ทั้งหมดล้วน
แล้วแต่เป็นพระอรหันต์ที่พระพุทธเจ้าอุปสมบทโดยตรงจากพระพุทธเจ้า และในวันมาฆบูชานี้พระพุทธเจ้าได้
แสดงพระโอวาทปาติโมกข์ในที่ประชุมสงฆ์ เนื้อหาโดยสรุป คือให้ละเว้นความชั่วทุกชนิด ทาความดี และทา
จิตใจให้ผ่องใส และเมื่อวันมาฆบูชาได้เวียนมาบรรจบครบรอบทุกปี เทศบาลนครเชียงรายร่วมกับคณะสงฆ์
44

จังหวัดเชียงรายจึงได้ จัดงานประเพณี แห่โคมไฟ ไหดอก ขึ้นเพื่อถวายเป็นพุทธบูชาและเพื่อให้พุทธศาสนิกชน


ร่วมกันสร้างบุใกุศลสืบทอดพระพุทธศาสนาต่อไป
10.ตั ก บาตรเที่ ย งคื น ในครั้ ง อดี ต เมื่ อ ใกล้ เ วลาประมาณเที่ ย งคื น ในคื น วั น พุ ธ ขึ้ น 15 ค่า
จะมีประชาชนจานวนมากมาร่วมทาบุใตักบาตรพระภิกษุสงฆ์ สามเณร ภายในเขตเทศบาลนครเชียงราย ตาม
ถนนสายต่าง ๆ จ านวนหลายร้อยรู ป โดยเรียกวันดังกล่าวว่า "วันเป็งปุ๊ด" และมีประวัติ ความเป็นมาสื บ
เนื่องมาจากความเชื่อที่ว่า พระมหาอุปคุตซึ่งเป็นพระอรหันต์องค์หนึ่งที่มี มหาอิทธิฤทธิ์สามารถดลบันดาลโชค
ลาภวาสนาได้ออกจากการเข้าฌานสมาบัติที่ใต้สะดือทะเลแล้วแปลงกายเป็นสามเณรน้อยออกมาโปรดสัตว์
โลกเชื่อกันว่าหากผู้ใดได้ทาบุใตักบาตรพระมหาอุปคุตแล้วบุคคลนั้นถือว่าเป็นผู้มีบุใ จะมีโชคลาภวาสนา
ร่ารวยเป็นเศรษฐีและบังเกิ ดความเป็นสิริมงคล แก่ชีวิต ซึ่งประเพณีการตักบาตรเที่ยงคืนวันเป็งปุ๊ด ถือเป็น
ประเพณีล้านนาที่ปฏิบัติสืบต่อกันมา ช้านาน เพราะว่าแต่ละปีอาจมีวันเพ็ใขึ้น 15 ค่า ที่ตรงกับวันพุธ เพียง
แค่ 1 ครั้ง หรือ 2 ครั้งเท่านั้น หลายคนจึงเฝ้ารอที่จะมาทาบุใตักบาตรในวันดังกล่าว เทศบาลนครเชียงรายจึง
ได้จัดงานประเพณี ตักบาตรวันเป็งปุ๊ดเพื่อให้คงอยู่คู่วัฒนธรรมล้านนาของชาวเชียงรายสืบไป
11. ประเพณีตักบาตรเทโวโรหณะ คือ การทาบุใตักบาตร ในวันแรม 1 ค่า เดือน 11 เนื่องในโอกาส
ที่พระพุทธเจ้าเสด็จลงจากเทวโลก คาว่า เทโว ย่อมาจากคาว่า เทโวโรหณะ ซึ่งแปลว่า การเสด็จลงจากเทวโลก
ความเดิมมีว่าในพรรษาที่ 7 นับแต่วันตรัสรู้พระพุทธเจ้าเสด็จไปจาพรรษาอยู่บนสวรรค์ชั้นดาวดึงส์เพื่อเทศน์
โปรดพระพุทธมารดา จนบรรลุโสดาปัตติผล ครั้นออกพรรษาในวันขึ้น 15 ค่า เดือน 11 แล้วจึงเสด็จลงจากเท
วโลกที่เมืองสังกัสสะนคร ในกาลที่เสด็จลงจากเทวโลก ได้มีเนินเป็นอันเดียวกันจนถึงพรหมโลก เมื่อทรงแลดู
ข้างล่าง สถานที่นั้นก็มีเนินอันเดียวกันจนถึงอเวจีมหานรก ทรงแลดูทิศใหใ่และทิศเฉียง จักรวาลหลายแสนก็มี
เนินเป็นอันเดียวกัน เทวดาก็เห็นพวกมนุษย์ แม้พวกมนุษย์ก็เห็นเทวดา สัตว์นรกก็เห็นมนุ ษย์และเทวดา ต่างก็
เห็นกันเฉพาะหน้าทีเดียว ลาดับนั้น พระผู้มีพระภาคเจ้าจึงทรงเปล่งฉัพพรรณรังสีขณะที่พระองค์เสด็จลงมา
จากสวรรค์ชั้นดาวดึงส์ รุ่งขึ้นวันแรม 1 ค่า เดือน 11 ชาวเมืองจึงพากันทาบุใตักบาตรเป็นการใหใ่เพราะไม่ได้
เห็นพระพุทธเจ้ามาถึง 3 เดือน การทาบุใตั กบาตรในวันนั้นจึงได้ชื่อว่า ตักบาตรเทวโรหนะ ต่อมามีการเรียก
กร่อนไปเหลือเพียง ตักบาตรเทโว เพื่อระลึกถึงเหตุการณ์ในวันนั้นและเพื่อเป็นการอนุรักษ์วัฒนธรรมประเพณี
ที่ดีงามให้ คงอยู่ เทศบาลนครเชีย งรายจึ งได้จัดงานประเพณี "ตักบาตรเทโว" เพื่อสื บทอดและทานุบารุง
พระพุทธศาสนาเป็นประจาทุกปี

3.1.2 ข้อมูลเชิงเปรียบเทียบ
1) ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ
ข้อมูลด้านเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายเป็นการแสดงภาพรวมผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัด มูลค่า
ผลิตภัณฑ์มวลรวม (GPP) 16 สาขา วิเคราะห์มูลค่าผลิตภัณฑ์นอกภาคเกษตรที่สาคัใของจังหวัด อัตราการ
เจริใเติบโตทางเศรษฐกิจและแนวโน้มเศรษฐกิจจังหวัดเชียงราย รายได้ รายจ่ ายและหนี้สินต่อครัวเรือน
รวมถึงสถานการณ์ของการผลิตที่สาคัใของจังหวัด เช่น สถานการณ์การท่องเที่ยว รายได้จากการท่องเที่ยว
รวมถึงค่าใช้จ่ายของนักท่องเที่ยวที่เกิดขึ้น สถานการณ์การค้าชายแดนที่ส่งผลต่อเศรษฐกิจ ผลกระทบของ
45

การค้าและการลงทุนในเขตเศรษฐกิจพิเศษ นอกจากนี้ยังเน้นถึงภาคการเกษตร การใช้ที่ดิน รายการเพาะปลูก


ของเกษตรกร ข้อมูลสินค้าเกษตรที่สาคัใ รวมทั้งพืชเศรษฐกิจ ปศุสัตว์ และการประมง รวมถึงมาตรฐาน
สินค้าเกษตรและข้อมูลการรวมกลุ่มของเกษตรกร เช่น ข้อมูล Smart Farmer, Young Smart Farmer
ผลิตภัณฑ์ชุมชนและสินค้าตามโครงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ เป็นต้น

1.1) ข้อมูลผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดเชียงราย

ตารางที่ 14 ผลิตภัณฑ์มวลรวมภาค และจังหวัด ณ ราคาประจาปี พ.ศ. 2562

การเรียงลาดับ
ผลิตภัณฑ์มวลรวม ประชากร ผลิตภัณฑ์มวลรวม ผลิตภัณฑ์มวลรวม
ภาค/จังหวัด ภาค และจังหวัด (1,000 คน) จังหวัด จังหวัดต่อคน
(ล้านบาท) ต่อคน (บาท)
ภาคเหนือ ประเทศ

ทั่วราชอาณาจักร 15,752,466 68,325 235,653


กรุงเทพมหานคร
6,863,231 16,326 489,320 2/77
และปริมณฑล
ภาคเหนือ 1,325,857 11,487 118,932 5/6
เชียงราย 113,402 1,173 98,732 9/17 49/77
ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , กันยายน 2563

ตารางที่ 14 ข้อ มูล ผลิ ตภั ณฑ์มวลรวมรายภาคและจังหวัด ข้อมูล ผลิ ตภัณฑ์มวลรวมของจังหวั ด


เชียงรายมีมูลค่ารวม 113,402 ล้านบาท เมื่อเปรียบเทียบกับระดับประเทศพบว่าเป็นลาดับที่ 49 จาก 77
จังหวัด ของประเทศ และเป็นลาดับที่ 9 จาก 17 จังหวัดในภาคเหนือ ส่วนรายละเอียดมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม
จังหวัดเชียงราย (GPP) 16 สาขา ( ณ ราคาคงที)่ จาแนกตามสาขาการผลิต พ.ศ. 2558 – 2562 ดังตารางที่
46

ตารางที่ 15 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย (GPP) 16 สาขา ( ณ ราคาคงที่) จาแนกตามสาขาการผลิต


พ.ศ. 2558 – 2562
(หน่วย : ล้านบาท)
ประเภทผลิตภัณฑ์ พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562
ภาคเกษตร 32,922 35,655 34,886 34,876 33,985
1.สาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์และการป่าไม้ 32,009 34,732 33,952 33,891 33,013
2.สาขาประมง 913 923 934 985 972
ภาคนอกการเกษตร 61,490 64,343 66,991 66,853 64,263
3.สาขาการทาเหมืองแร่ และย่อยหิน 755 763 781 723 715
4.สาขาอุตสาหกรรม(การผลิต) 3,316 3,312 3,304 3,289 3,251
5.สาขาไฟฟ้า ก๊าซและการประปา 1,432 1,452 1,478 1,452 1,435
6.สาขาการก่อสร้าง 4,321 4,218 4,203 4,081 3,896
7.สาขาขายส่ง ขายปลีก การซ่อมรถยนต์ฯ 14,207 14,278 15,152 14,024 13,871
8.สาขาโรงแรมและภัตตาคาร 3,068 3,124 3,152 2,971 2,815
9.สาขาการขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการ
4,112 4,103 3,874 3,962 3,814
คมนาคม
10.สาขาตัวกลางทางการเงิน 7,062 8,104 8,372 7,953 7,438
11.สาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้
3,836 4,123 4,073 4,958 4,157
เช่าและบริการฯ
12.สาขาการบริหารราชการ และการป้องกัน
4,494 4,782 4,568 4,312 4,125
ประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ
13.สาขาการศึกษา 10,113 11,023 12,784 13,253 12,879
14.สาขาบริการด้านสุขภาพ และงานสังคม
3,299 3,543 3,687 4,248 4,311
สงเคราะห์
15.สาขาให้บริการชุมชน สังคม และบริการ
1,149 1,189 1,218 1,275 1,235
ส่วนบุคคลอื่นๆ
16.สาขาลูกจ้างครัวเรือนส่วนบุคคล 326 329 345 352 321
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 94,410 99,840 104,435 109,874 113,402
มูลค่าผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อคน (บาท) 81,835 83,952 89,724 91,432 95,895
ประชากร (1,000) คน 1,154 1,161 1,132 1,148 1,152

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , กันยายน 2563


47

แผนภูมิที่ 4 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย (GPP) 16 สาขา ( ณ ราคาคงที่) พ.ศ. 2558 – 2562


และการพยากรณ์มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ปัจจุบัน - 2567

150,000.00 137,940.71
128,711.46131,673.80
130,000.00 119,482.21122,444.55
113,402.00
110,000.00

90,000.00

70,000.00

50,000.00
2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

มูลค่าผลิตภัณฑ์ฯ ที่ผ่านมา มูลค่าผลิตภัณฑ์ฯ จากการพยากรณ์

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , กันยายน 2563

แผนภูมิที่ 5 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมเฉลี่ยต่อคนจังหวัดเชียงราย (GPP) 16 สาขา ( ณ ราคาคงที่) พ.ศ.


2558 – 2562 และการพยากรณ์มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ปัจจุบัน - 2567

130,000.00
120,000.00 112,347.22
108,993.27
110,000.00 105,639.32
102,285.37
98,931.42
95,895.00
100,000.00
90,000.00
80,000.00
70,000.00
60,000.00
50,000.00
2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

มูลค่าผลิตภัณฑ์/ต่อคน ที่ผ่านมา มูลค่าผลิตภัณฑ์/ต่อคน จากการพยากรณ์

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , กันยายน 2563

มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย (GPP) 16 สาขา ( ณ ราคาคงที่) จาแนกตามสาขาการผลิต


พ.ศ. 2558 – 2562 พบว่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดในปี 2562 เพิ่มขึ้นจากปี 2561 ประมาณ 3,528 ล้านบาท
โดยในปี 2562 มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด 113,402 ล้านบาท ซึ่งทาให้มูลค่าผลผลิตภัณฑ์เฉลี่ยต่อคน
48

เพิ่มขึ้นจากปี 2561 เป็น 95,895 บาทต่อปี มูลค่าผลิตภัณฑ์ในส่วนของภาคการเกษตรจะเห็นได้ว่า ปี 2562 มี


มูลค่าทั้งหมด 33,985 ล้านบาท ซึ่งลดลงจากปีก่อนและมูลค่าของภาคนอกการเกษตรในปี 2562 มีมูลค่า
ทั้งหมด 64,263 ล้านบาท ซึ่งลดลงจากปี 2561 เช่นกัน เมื่อพิจารณาผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงรายในปี
2562 เทียบสัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคนอกการเกษตรมีสัดส่วนสูงกว่าภาคเกษตร ประมาณ 2 เท่า แต่
หากไม่แยกภาคเกษตรหรือภาคนอกการเกษตรจะพบว่า ในจานวน 16 สาขา สาขาเกษตรกรรม การล่าสัตว์
และการป่าไม้ มีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมสูงที่สุดคือ 33,013 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 33.60 รองลงมาคือ
สาขาขายส่ง ขายปลี ก การซ่อมรถยนต์ฯ มีมูลค่า 13,871 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ 14.12 และ สาขา
การศึกษามีมูลค่า 12,879 ล้านบาท คิดเป็นร้อยละ13.11 ตามลาดับ ดังแผนภูมิที่ 6

แผนภูมิที่ 6 สัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย (GPP 16 สาขา) พ.ศ. 2562 (ณ ราคาตลาด


ปัจจุบัน) จาแนกตามสาขา
สาขาการบริหารราชการฯ,
สาขาอุตสาหกรรม(การผลิต),
สาขาบริการด้าน 4.20%
3.31%
อสังหาริมทรัพย์ฯ, 4.23% สาขาการก่อสร้าง, 3.97%
สาขาบริการด้านสุขภาพฯ, สาขาโรงแรมและภัตตาคาร,
4.39% สาขาการขนส่งฯ, 3.88% 2.87%
สาขาตัวกลางทางการเงิน,
7.57% สาขาไฟฟ้า ก๊าซและการ
ประปา, 1.46%
สาขาการศึกษา, 13.11% สาขาให้บริการชุมชน สังคมฯ,
1.26%
สาขาประมง, 0.99%
สาขาการทาเหมืองแร่ฯ,
0.73%
สาขาขายส่ง ขายปลีกฯ, สาขาลูกจ้างครัวเรือนฯ,
14.12% 0.33%

สาขาเกษตรกรรมฯ, 33.60%

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , กันยายน 2563

เมื่อจาแนกสั ดส่ว นของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงรายออกเป็นภาคที่ส าคัใ ได้แก่ ภาคเกษตร


ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ จะพบว่า ภาคบริการมีมูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดสูงที่สุดมากถึงร้อยละ
60 รองลงมาคือ ภาคเกษตร และภาคอุตสาหกรรม คิดเป็นสัดส่วนร้อยละ 35 และร้อยละ 5 ตามลาดับ ดัง
แผนภูมิที่ 7
49

แผนภูมิที่ 7 สัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2562 (ณ ราคาตลาดปัจจุบัน) จาแนกตามภาค


เกษตร ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ
ภาคอุตสาหกรรม
5%

ภาคเกษตร
35%

ภาคบริการ
60%

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , กันยายน 2563

ตารางที่ 16 มูลค่าผลิตภัณฑ์ภาคนอกการเกษตร เรียงลาดับตามมูลค่า (ณ ราคาคงที่) จาแนกตามสาขาการผลิต


พ.ศ. 2562
พ.ศ.2562
ประเภทผลิตภัณฑ์ ภาคนอกการเกษตร มูลค่า ร้อยละของ
ร้อยละ
(ล้านบาท) ภาคฯ
1.สาขาอุตสาหกรรม(การผลิต) 3,251 5.06
ภาคอุตสาหกรรม 2.สาขาไฟฟ้า ก๊าซ และการประปา 1,435 2.23 8.40
3.สาขาการทาเหมืองแร่และย่อยหิน 715 1.11
1.สาขาขายส่ง ขายปลีก การซ่อมรถยนต์ฯ 13,871 21.58
2.สาขาการศึกษา 12,879 20.04
3.สาขาตัวกลางทางการเงิน 7,438 11.57
4.สาขาบริการด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 4,311 6.71
5.สาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการฯ 4,157 6.47
6.สาขาการบริหารราชการ และการป้องกันประเทศ
ภาคบริการ 4,125 6.42 91.60
รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ
7.สาขาการก่อสร้าง 3,896 6.06
8.สาขาการขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการคมนาคม 3,814 5.93
9.สาขาโรงแรมและภัตตาคาร 2,815 4.38
10.สาขาให้บริการชุมชน สังคม และบริการส่วนบุคคลอื่นๆ 1,235 1.92
11.สาขาลูกจ้างครัวเรือนส่วนบุคคล 321 0.50
50

มูลค่าผลิตภัณฑ์ภาคนอกการเกษตรทั้งหมด เมื่อแยกเป็นภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการจะทาให้
ทราบถึงสัดส่วนของภาคบริการที่มีมากถึงร้อยละ 91.60 และภาคอุตสาหกรรมมีเพียงร้อยละ 8.40 เท่านั้น ซึ่ง
มูลค่าส่วนใหใ่ 5 ลาดับแรก เกิดจาก สาขาขายส่ง ขายปลีก การซ่อมรถยนต์ฯ รองลงมาคือ สาขาการศึกษา
สาขาตั ว กลางทางการเงิ น สาขาบริ ก ารด้ า นสุ ข ภาพและงานสั ง คมสงเคราะห์ และสาขาบริ ก ารด้ า น
อสังหาริมทรั พย์ การให้เช่าและบริ การฯ ตามล าดับ ส่ วนภาคอุตสาหกรรม มี 3 ลาดับ ได้แก่ สาขา
อุตสาหกรรม(การผลิต) สาขาไฟฟ้า ก๊าซ และประปา สาขาการทาเหมืองแร่และย่อยหิน ตามลาดับ ดังข้อมูล
ในตารางที่ 16 และแผนภูมิที่ 8

แผนภูมิที่ 8 สัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2562 (ณ ราคาตลาดปัจจุบัน) จาแนกตาม


ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เรียงลาดับรายละเอียดตามมูลค่าสาขา

1.สาขาอุตสาหกรรม(การผลิต)

2.สาขาไฟฟ้า ก๊าซและการประปา
ภาคอุตสาหกรรม,
[PERCENTAGE]
3.สาขาการทาเหมืองแร่ และย่อยหิน

4% 2% 1% 5%
2% 1% 1.สาขาขายส่ง ขายปลีก การซ่อมรถยนต์ฯ
6%

6% 2.สาขาการศึกษา
22%
6% 3.สาขาตัวกลางทางการเงิน

6% 4.สาขาบริการด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์

5.สาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและ
7%
บริการฯ
20%
12% 6.สาขาการบริหารราชการ และการป้องกันประเทศ
รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ
7.สาขาการก่อสร้าง
ภาคบริการ,
[PERCENTAGE]
8.สาขาการขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการ
คมนาคม
9.สาขาโรงแรมและภัตตาคาร

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , กันยายน 2563


51

ตารางที่ 17 อัตราการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ภาคนอกการเกษตร (% Growth Rate) จาแนกตามสาขาการผลิต

อัตราการ อัตราการ
เปลี่ยนแปลง เปลี่ยนแปลง
ประเภทผลิตภัณฑ์
ของปี 2562 ของปี 2562
เทียบ ปี 2558 เทียบ ปี 2561
1.สาขาอุตสาหกรรม(การผลิต) -1.96% -1.16%
ภาคอุตสาหกรรม 2.สาขาไฟฟ้า ก๊าซและการประปา 0.21% -1.17%
3.สาขาการทาเหมืองแร่ และย่อยหิน -5.30% -1.11%
1.สาขาขายส่ง ขายปลีก การซ่อมรถยนต์ฯ -2.37% -1.09%
2.สาขาการศึกษา 27.35% -2.82%
3.สาขาตัวกลางทางการเงิน 5.32% -6.48%
4.สาขาบริการด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์ 30.68% 1.48%
5.สาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและ
8.37% -16.16%
บริการฯ
6.สาขาการบริหารราชการ และการป้องกันประเทศ
-8.21% -4.34%
ภาคบริการ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ
7.สาขาการก่อสร้าง -9.84% -4.53%
8.สาขาการขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการ
-7.25% -3.74%
คมนาคม
9.สาขาโรงแรมและภัตตาคาร -8.25% -5.25%
10.สาขาให้บริการชุมชน สังคม และบริการส่วน
7.48% -3.14%
บุคคลอื่นๆ
11.สาขาลูกจ้างครัวเรือนส่วนบุคคล -1.53% -8.81%
ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , กันยายน 2563

เมื่อเปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงมูลค่าผลิตภัณฑ์ในภาคอุตสาหกรรมและภาคบริการของปี
2562 เทียบกับ ปี 2558 หรือ 5 ปีที่ผ่านมา พบว่า แนวโน้มของสาขาบริการด้านสุ ขภาพและงานสังคม
สงเคราะห์ มีอัตราการเปลื่ยนแปลงเติบโตเพิ่มขึ้นมากถึงร้อยละ 30.68 รองลงมาคือ สาขาการศึกษาที่เติบโต
ขึ้นถึงร้อยละ 27.35 และ สาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการฯ มีอัตราการเติบโตร้อยละ
8.37 ส่วนสาขาที่มีแนวโน้มอัตราการเปลี่ยนแปลงมูลค่าผลิตภัณฑ์ที่ลดลงมากที่สุดได้แก่ สาขาการก่อสร้าง
ลดลงร้อยละ 9.84 รองลงมาคือสาขาโรงแรมและภัตตาคารลดลงร้อยละ 8.25 สาขาการบริหารราชการและ
การป้องกันประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ ลดลงร้อยละ 8.21 และ สาขาการขนส่ง สถานที่เก็บ
สินค้า และการคมนาคม ลดลงร้อยละ 7.25
52

ส่ว นตัว เลขการเปรี ยบเทีย บอัตราการเปลี่ยนแปลงมูล ค่าผลิตภัณฑ์ในภาคอุตสาหกรรมและภาค


บริการของปี 2562 เทียบกับปี 2561 ในระยะเวลา 1 ปีที่ผ่านมา จะเห็นว่าอัตราการเปลี่ยนแปลงของ 15
สาขามีแนวโน้มอัตราการเปลี่ยนแปลงมูลค่าผลิตภัณฑ์ที่ลดลง โดยเฉพาะสาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์การ
ให้ เช่าและบริ การ มีอัต ราการเปลี่ ย นแปลงลดลงมากที่สุ ดร้อยละ 16.16 (ซึ่ง เทียบกั บปี 2558 มีการ
เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเป็นลาดับที่ 3) รองลงมาคือสาขาลูกจ้างครัวเรือนส่วนบุคคล ลดลงร้อยละ 8.81 สาขา
ตัวกลางทางการเงินลดลงร้อยละ 6.48 สาขาโรงแรมและภัตตาคาร และสาขาการก่อสร้าง ลดลงร้อยละ 5.25
และ 4.53 ตามลาดับ และเมื่อพิจารณาแนวโน้มของอัตราการเปลี่ยนแปลงมูลค่าผลิตภัณฑ์ ที่เพิ่มขึ้น มีเพียง
สาขาเดียวคือ สาขาบริการด้านสุขภาพและงานสังคมสงเคราะห์ มีอัตราการเปลื่ยนแปลงเติบโตเพิ่มขึ้นร้อยละ
1.48 ซึ่งจะเห็นว่าตั้งแต่ปี 2558 จนถึงปี 2562 สาขานี้ยังคงมีแนวโน้มอัตราการเติบโตเป็นผลบวกมาตลอด
ส่วนสาขาการศึกษา (ซึ่งเทียบกับปี 2558 มีการเปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้นเป็นลาดับที่ 2) มีอัตราการเปลี่ยนแปลง
ลดลงเล็กน้อยคือ ลดลงร้อยละ 2.82 ดังแผนภูมที่ 8

แผนภูมิที่ 9 เปรียบเทียบอัตราการเปลี่ยนแปลงผลิตภัณฑ์ภาคนอกการเกษตร (% Growth Rate) จาแนกตาม


ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ ปี 2562 เทียบ ปี 2561 และปี 2562 เทียบ ปี 2558

-16.16% 8.37%
5.สาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและบริการฯ

1.48% 30.68%
4.สาขาบริการด้านสุขภาพ และงานสังคมสงเคราะห์

-6.48% 5.32%
3.สาขาตัวกลางทางการเงิน

-2.82% 27.35%
2.สาขาการศึกษา
-2.37%
-1.09% ฯ
1.สาขาขายส่ง ขายปลีก การซ่อมรถยนต์

-5.30% -1.11%
3.สาขาการทาเหมืองแร่ และย่อยหิน

-1.17% 0.21%
2.สาขาไฟฟ้า ก๊าซและการประปา
-1.96%
-1.16%
1.สาขาอุตสาหกรรม(การผลิต)

-30.00% -20.00% -10.00% 0.00% 10.00% 20.00% 30.00% 40.00%


53

หมายเหตุ :
อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) ปี 2562 เทียบ ปี 2561
ภาคอุตสาหกรรม
อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) ปี 2562 เทียบ ปี อัตราการเปลี่ยนแปลง
2558 ปีที่ต้องการ ปีฐาน
% Growht
ปีฐาน
อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) ปี 2562 เทียบ ปี 2561
ภาคบริการ
อัตราการเปลี่ยนแปลง (%) ปี 2562 เทียบ ปี 2558

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , กันยายน 2563

1.2) ภาพรวมประมาณการเศรษฐกิจจังหวัดเชียงรายปี 2563 และแนวโน้มปี 2564


ตารางที่ 18 ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดและอัตราการเจริใเติบโตทางเศรษฐกิจ และแนวโน้มปี 2564
ตัวชี้วัดการเจริญเติบโตทาง
หน่วย 2560 2561 2562E 2563F 2564F
เศรษฐกิจ
การเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคา ล้านบาท 103,673 110,815 113,075 100,150 105,451
ประจาปี : GPP current prices ร้อยละ 3.8 6.9 2.0 -11.4 5.3
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด แบบปริมาณ ล้านบาท 54,681 57,075 58,481 53,425 56,020
ลูกโซ่ : Gross provincial product
ร้อยละ 4.4 4.4 2.5 -8.6 4.9
(CVMs)
จานวนประชากร : Population คน 1,157,635 1,155,593 1,153,558 1,151,526 1,149,498
ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดต่อหัว : GPP
บาท/คน/ปี 89,556 95,895 98,023 86,972 91,736
per capita
ดัชนีปริมาณผลผลิตภาคเกษตร :
ร้อยละ 6.3 14.6 -10.3 3.6 5.4
Agriculture (API)
ดัชนีภาคอุตสาหกรรม : Industry (IPI) ร้อยละ 4.2 -0.8 2.5 -3.1 3.8
ดัชนีภาคบริการ : Service (SI) ร้อยละ 3.3 8.6 6.5 -13.5 6.5
ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน : Private
ร้อยละ -0.2 4.9 5.5 -9.7 5.2
Consumption (Cp)
ดัชนีการลงทุนภาคเอกชน : Private
ร้อยละ 0.8 6.6 2.0 2.3 4.0
Investment (Ip)
ดัชนีรายจ่ายภาครัฐบาล : Government
ร้อยละ -4.8 -13.0 -4.2 -0.1 5.2
Expenditure (G)
54

ดัชนีมูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลีย่ :
ร้อยละ 8.9 6.4 3.3 -2.5 3.5
Border Trade (XM)
รายได้เกษตรกร : Farm Income ร้อยละ 11.6 12.9 -0.3 -4.6 12.6
เสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
อัตราเงินเฟ้อ : Inflation rate %p.a. 0.6 -0.3 1.7 -0.4 0.8
ผู้มีงานทา : Employment คน 636,530 631,993 610,696 594,250 605,607
ที่มา : สานักงานคลังจังหวัดเชียงราย, 2564

สาหรับภาพรวมเศรษฐกิจจังหวัดเชียงราย ปี 2563 พบว่า ผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด ณ ราคา


ประจาปี มีอัตราการขยายตัวลดลงร้อยละ 11 โดยเป็นผลจากดัชนีภาคอุตสาหกรรม ดัชนีภาคบริการ และ
ดัชนีการบริโภคภาคเอกชน ดัชนีมูลค่าการค้าชายแดนโดยเฉลี่ย ที่ลดลง ทั้งนี้สาเหตุหนึ่งที่ส่งผลให้อัตราการ
ขยายตัวลดลงเนื่องมากจากการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus
Disease 2019 (COVID -19)) ที่ส่งผลให้ตัวเลขดัชนีการเติบโตในเกือบทุก ภาคส่วนมีอัตราที่ลดลง และส่วน
แนวโน้มในปี 2564 คาดว่าผลกระทบดังกล่าวจะทาให้ดัชนีต่างๆ มีทิศทางที่ดีขึ้นเนื่องจากการปรับตัวของ
ภาคอุตสาหกรรม ภาคบริการ การบริโภคภาคเอกชน แม้กระทั่งการค้าชายแดนที่สามารถมีการเคลื่อนย้าย
ถ่ายโอนการส่งออกและนาเข้าสินค้าได้บ้างบางประเภท ซึ่งคาดว่าจะทาให้เกิดการขยายตัวของเศรษฐกิจใน
จังหวัดเพิ่มขึ้นกว่าปีที่ผ่านมา
ด้านเสถียรภาพทางเศรษฐกิจจังหวัดเชียงราย อัตราเงินเฟ้อทั่วไปในปี 2563 ปรับตัวลดลงจากปี
2562 ร้ อ ยละ -0.4 ต่ อ ปี จากการลดลงของดั ช นี ภ าคบริ ก าร ดั ช นี ก ารบริ โ ภคภาคเอกชน ดั ช นี
ภาคอุตสาหกรรม นอกจากนี้ รายได้เกษตรกรลดลง ดัช นีมูลค่าการค้าชายแดนลดลงเป็นลาดับ ปี 2563
สาหรับผู้มีงานทาลดลงจากปี 2562 ร้อยละ -2.69 ทาให้มีผู้มีงาน จานวน 594,250 คน
แนวโน้มเศรษฐกิจจังหวัดเชียงราย ในปี 2564
เศรษฐกิจจังหวัดเชียงรายในปี 2564 จะขยายตัวในอัตราร้อยละ 3.8 (โดยมีช่วงคาดการณ์ที่ร้อย
ละ 3.3 – 4.3) โดยเป็นผลจากการขยายตัวของการค้าชายแดนภาคบริการ การใช้จ่ายภาครัฐ ภาคเกษตร การ
บริโภคภาคเอกชน และการลงทุนภาคเอกชน เป็นสาคัใ
ปัจจัยสนับสนุนเศรษฐกิจในปี 2564 ของจังหวัดเชียงราย
1. มาตรการเพิ่มประสิทธิภาพการใช้จ่ายงบประมาณรายจ่ายประจาปีงบประมาณ พ.ศ.2564
กาหนดเป้าหมายการเบิกจ่ายร้อยละ 100 จะส่งผลให้มีเม็ดเงินลงสู่ระบบเศรษฐกิจโดยเร็ว
2. มาตรการของรัฐบาลเพื่อเยียวยาและกระตุ้นเศรษฐกิจด้านต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง เพื่อส่งเสริม
การลงทุน และมาตรการบรรเทาผลกระทบและเสริมสภาพคล่องให้ผู้ประกอบการ ส่งเสริมการ
ใช้จ่ายของประชาชน เช่น โครงการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมภาคการท่องเที่ยว ประกอบด้วย 3 โครงการ คือ
กาลังใจเราเที่ยวด้วยกัน และเที่ยวปันสุข โครงการจ่ายคนละครึ่งเฟส 1 - 2 และโครงการเพิ่มวงเงินให้แก่ผู้ถือ
55

บัตรสวัสดิการแห่งรัฐอีก 500 บาท ระหว่างเดือนตุลาคม 2563 - มีนาคม 2564 ซึ่งจะช่วยให้มีเงินหมุนเวียน


ในระบบเศรษฐกิจเพิ่มขึ้นในช่วงที่เหลือของปี 2563 และส่งแรงขับเคลื่อนต่อเนื่องไปยังปี 2564 และโครงการ
“เราชนะ” ที่ช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบจากการระบาดของ COVID-19 ระลอก 2 โครงการเรารักกัน เป็นต้น
3. แผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย ได้มีการสนับสนุนส่งเสริมให้เกิดการพัฒนาด้านการท่องเที่ยว
อย่างรอบด้าน ทั้งด้านความปลอดภัย เส้นทางการท่องเที่ยว ที่พัก สถานที่ท่องเที่ยว และอีกมากมายเพื่อ
กระตุ้นให้เกิดการท่องเที่ยวภายในจังหวัด เช่น โครงการ ปิดตา-เปิดใจ สัมผัสชียงรายเมืองน่าเที่ยว จุดหมาย
ปลายทางแห่งการพักผ่อน โครงการเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการ ด้านการท่องเที่ยวโดยชุมชน (CTB)
จังหวัดเชียงราย เป็นต้น

ปัจจัยเสี่ยงเศรษฐกิจในปี 2564 ของจังหวัดเชียงราย


1. สถานการณ์การแพร่ระบาดของโคโรน่าไวรัส (COVID-19) ทาให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจยังไม่
สามารถดาเนินธุรกิจได้ตามปกติซึ่งส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจในวงกว้าง
2. ปัใหาความไม่แน่นอนทางการเมืองส่งผลต่อการขับเคลื่อนนโยบายที่มีความสาคัใต่อการ
พัฒนาประเทศ และบั่นทอนความเชื่อมั่นของนักลงทุน
3. ความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติและสภาพอากาศที่แปรปรวนส่งผลต่อปริมาณผลผลิตในภาค
เกษตรลดลง
4. ปัใหาหมอกควันและพฤติกรรมที่หลากหลายของนักท่อ งเที่ยว รวมถึงการแข่งขันด้านการ
ท่องเที่ยว ประกอบกับค่าใช้จ่ายต่อหัวของนักท่องเที่ยวที่สูงขึ้นจากเงินบาทที่แข็งค่าอาจส่งผลให้นักท่องเที่ยว
ลดลง
5. ความกังวลต่อสถานการณ์เศรษฐกิจทั้งในประเทศและเศรษฐกิจโลกที่หดตัว ส่งผลต่อความ
เชื่อมั่นต่อนักลงทุนและผู้ประกอบการ

1.3) รายได้และสถานะทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย ของคนเชียงราย


ลักษณะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือนจากข้อมูลจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ในปี 2558-2562
พบว่า รายได้เฉลี่ยของประชากรจังหวัดเชียงรายในปี 2562 เท่ากับ 73,718.78 บาทต่อคนต่อปี มีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้นจากปี 2558 มาเป็นลาดับ ซึ่งหากเทียบปี 2562 กับปี 2561 จะเห็นได้ว่ามีรายได้รวมทุกอาเภอรวม
เพิ่มขึ้นถึง 2,008.85 บาทต่อคนต่อปี ขณะที่ปีก่อนหน้าคือในปี 2561 เปรียบเทียบกับปี 2560 มีรายได้ลดลง
352.09 บาทต่อคนต่อปี
56

ตารางที่ 19 สรุปรายได้เฉลี่ย ปี 2558- 2562 ของจังหวัดเชียงราย ลักษณะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน


จากข้อมูลจาเป็นพื้นฐาน (จปฐ.) ในปี 2558-2562

เปรียบเทียบ เปรียบเทียบ
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562
61-60 62-61
ที่ อาเภอ
รายได้ รายได้ รายได้ รายได้ รายได้ รายได้เพิ่ม/ รายได้เพิ่ม/
ลาดับ
เฉลี่ย เฉลี่ย เฉลี่ย เฉลี่ย เฉลี่ย ลด ลด
เมือง
1 74,687 85,307 84,711.11 82,227.02 89,477.98 2 -2,484.09 7,250.96
เชียงราย
2 เวียงชัย 70,404 77,204 77,461.52 78,720.66 80,120.28 3 1,259.14 1,399.62
3 เชียงของ 65,324 74,778 70,555.53 66,937.66 67,412.42 9 -3,617.87 474.76
4 เทิง 61,919 65,970 64,787.34 62,007.22 63,184.68 13 -2,780.12 1,177.46
5 พาน 72,829 73,858 70,468.12 70,327.79 72,269.95 6 -140.33 1,942.16
6 ป่าแดด 74,359 68,683 61,394.80 64,306.21 65,184.68 11 2,911.41 1,379.66
7 แม่จัน 70,494 79,252 74,088.49 78,398.58 76,097.53 5 4,310.09 -2,301.05
8 เชียงแสน 71,784 80,209 74,477.39 75,358.84 79,403.94 4 881.45 4,045.10
9 แม่สาย 90,156 88,506 95,501.30 97,190.27 98,057.75 1 1,688.97 867.48
10 แม่สรวย 58,111 64,421 62,705.85 58,701.80 59,987.13 14 -4,004.05 1,285.33
11 เวียงป่าเป้า 52,966 59,893 62,735.21 62,542.77 66,738.31 10 -192.44 4,195.54
12 พใาเม็งราย 58,653 60,498 55,203.17 56,460.02 58,517.10 15 1,256.85 2,057.08
13 เวียงแก่น 57,878 57,909 55,818.28 55,001.41 52,706.48 18 -816.87 -2,294.93
14 ขุนตาล 62,794 70,005 61,121.52 66,711.97 65,472.93 12 5,590.45 -1,239.04
15 แม่ฟ้าหลวง 46,899 45,937 55,989.32 56,569.53 53,503.57 17 580.21 -3,065.96
16 แม่ลาว 69,922 74,825 68,431.39 66,404.09 71,682.97 7 -2,027.30 5,278.88
17 เวียงเชียงรุ้ง 65,881 71,238 72,976.80 70,584.81 68,600.80 8 -2,391.99 -1,984.01
18 ดอยหลวง 79,741 69,929 56,569.04 56,603.05 57,993.90 16 34.01 1,390.85
รวม 67,784 73,373 72,062.02 71,709.93 73,718.78 -352.09 2,008.85

ที่มา: สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ , กันยายน 2563

เมื่อพิจารณารายได้ตามอาเภอ จากตารางที่ 17 พบว่า ในปี 2562 อาเภอที่รายได้เฉลี่ยมากที่สุด คือ


อาเภอแม่สาย มีรายได้เท่ากับ 98,057.75 บาทต่อคนต่อปี รองลงมาคือ อาเภอเมือง เท่ากับ 89,477.98 บาท
ต่อคนต่ อปี และอั น ดั บ ที่ 3 คื อ อาเภอเวีย งชั ย 80,120.28 บาทต่อ คนต่อ ปี หากเปรี ยบเที ยบการ
เปลี่ยนแปลงของรายได้เฉลี่ยของคนในอาเภอต่างๆ ในปี 2562 เทียบกับปี 2561 นั้น จะพบว่า อาเภอเมือง
57

เชี ย งรายมี ก ารเพิ่ มขึ้ น ของรายได้ ของคนต่ อ ปีม ากที่ สุ ด คือ 7,250.96 บาท รองลงมาคื อ อ าเภอแม่ ล าว
เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 5,278.88 บาท และ อาเภอเวียงป่าเป้า เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 4,195.54 บาท เป็นต้น
ส่วนอาเภอที่มีการลดลงของรายได้ของคนต่อปีมากที่สุดคือ อาเภอแม่ฟ้าหลวง รองลงมาคือ อาเภอแม่จัน
อาเภอเวียงแก่น และอาเภอเชียงรุ้ง ตามลาดับ

แผนภูมิที่ 10 รายได้เฉลี่ยต่อปีของจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ.2558-2562 และการพยากรณ์รายได้เฉลี่ย


80,000.00

75,087.18 75,825.94
73,718.78 74,348.41
75,000.00
73,373.00 73,718.78
72,062.02 71,709.93 72,590.84
70,000.00 71,852.08
67,784.00
65,000.00
ปี 2558 ปี 2559 ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564 ปี 2565 ปี 2566 ปี 2567

income Forecast(income)
Lower Confidence Bound(income) Upper Confidence Bound(income)
เอ็กซ์โพเนนเชียล (Forecast(income))

ที่มา: รายงานคุณภาพชีวิตของประชาชน จากข้อมูล จปฐ. ปี 2562 สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย, 2562.

ตารางที่ 20 ข้อมูลทางสถานะทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2562

ตัวชี้วัด ข้อมูลตัวชี้วัด 2562


1.จานวนครัวเรือน 381,542
2.รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน 15,056.38
3.ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน 12,635.31
4.หนี้สินเฉลี่ยต่อครัวเรือน จาแนกตามวัตถุประสงค์ของการกู้ยืม
- หนี้สินทั้งสิ้น 99,623.55
- เพื่อใช้ทาการเกษตร 41,194.63
- เพื่อใช้ซื้อ/เช่าซื้อบ้านและที่ดิน 26,045.51
- เพื่อใช้จ่ายในครัวเรือน 15,974.55
- เพื่อใช้ทาธุรกิจที่ไม่ใช่การเกษตร 12,785.65
- เพื่อใช้ในการศึกษา 1,077.46
- อื่น ๆ 2,545.74
ที่มา: การสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม
2562
58

หมายเหตุ: 1. ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือน หมายถึง ค่าใช้จ่ายเฉลีย่ ที่จาเป็นต้องใช้ในการยังชีพ โดยไม่รวมค่าใช้จ่าย


ค่าใช้จ่ายประเภทสะสมทุน เช่น การซื้อบ้าน ที่ดิน เป็นต้น
2. ค่าใช้จ่ายที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค รวมค่าภาษี ของขวัใ และเงินบริจาค เบีย้ ประกันภัย เงินซื้อสลากกิน
แบ่ง ดอกเบี้ยเงินกู้ และค่าใช้จ่ายอื่นๆ ที่ไม่เกี่ยวกับการอุปโภคบริโภค

จากข้อมูลสถานถานะทางเศรษฐกิจของครัวเรือนจังหวัดเชียงรายปี พ.ศ. 2562 มีจานวนครัวเรือน


ทั้งหมด 381,542 ครัวเรือน รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนเท่ากับ 15,056.38 บาท โดยครัวเรือนเป็นหนี้
เพื่อใช้ทาการเกษตรมากที่สุด เท่ากับ 41,194.63 บาทต่อครัวเรือน ถัดมาเป็นการใช้ซื้อ/เช่าซื้อบ้านและที่ดิน
26,045.51 บาทต่ อครั ว เรื อน และใช้จ่ ายในครัว เรือ นเท่ากั บ 15,974.55 บาทต่อครัว เรือ น ซึ่งจากข้อมู ล
ดังกล่าว หากไม่มีสถาการณ์ การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 จะทาให้แนวโน้ม
รายได้เฉลี่ย ต่อเดือนของครั ว เรือนในอนาคตมีการเปลี่ ยนแปลงเพิ่มขึ้น รายจ่ายเฉลี่ ยเฉลี่ ยต่อเดือนของ
ครัวเรือนมีแนวโน้มคงที่ ซึ่งจะส่งผลให้หนี้สินทั้งหมดของครัวเรือนมีแนวโน้มที่ลดลง ดังแผนภูมิที่ 11

แผนภูมิที่ 11 รายได้เฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนและการพยากรณ์แนวโน้มในอนาคต

20,000
18,500
17,000 16,307
15,056 15,721
15,135
15,500
14,000
12,500
11,000
9,500
8,000
6,500
5,000
2545 2547 2549 2550 2552 2554 2556 2558 2560 2562 2564 2566 2568

Values Forecast Lower Confidence Bound Upper Confidence Bound เอ็กซ์โพเนนเชียล (Values)

ที่มา: การสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม


2562
59

แผนภูมิที่ 12 รายจ่ายเฉลี่ยต่อเดือนของครัวเรือนและการพยากรณ์แนวโน้มในอนาคต

13,500

13,000 12,635
12,500

12,000 11,555 11,568 11,581 11,594 11,607


11,500

11,000

10,500

10,000

9,500

9,000
2553 2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

Values Forecast Lower Confidence Bound Upper Confidence Bound เอ็กซ์โพเนนเชียล (Values)

ที่มา: การสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม


2562

แผนภูมิที่ 13 หนี้สินทั้งหมดของครัวเรือนและการพยากรณ์แนวโน้มในอนาคต

150,000.00
130,000.00
110,000.00 99,623.55

90,000.00
71,455.31 69,250.10 67,044.89
70,000.00
50,000.00
30,000.00
10,000.00
-10,000.00
-30,000.00
2545 2547 2549 2550 2552 2554 2556 2558 2560 2562 2564 2566 2568

Values Forecast Lower Confidence Bound Upper Confidence Bound เอ็กซ์โพเนนเชียล (Values)

ที่มา: การสารวจภาวะเศรษฐกิจและสังคมของครัวเรือน สานักงานสถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม


2562
60

1.4 ) สถานการณ์ของสาขาการผลิตที่สาคัญของจังหวัด
1) สถานการณ์การท่องเที่ยว
1.1) รายได้จากการท่องเที่ยว
เมื่ อ พิ จ ารณารายได้ จ ากการท่อ งเที่ ย วของจัง หวั ด เชี ย งรายในปี พ.ศ. 2563 ตามที่ มี
สถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 ทาให้รายได้จากการท่องเที่ยวของ
จั ง หวั ด เชี ย งรายลดลงมากถึ ง ร้ อ ยละ 48.96 รายได้ จ ากนั ก ท่ องเที่ ย วชาวไทย เดิ มในปี 2562 มี ร ายได้
22,474.22 ล้านบาท ลดลงเหลือ 13,968.15 ล้านบาท ลดลงไปจากปี 2562 คิดเป็นร้อยละ 37.85 และ
รายได้จากชาวต่างประเทศปี 2562 6,817.49 ล้านบาท ลดลงเหลือ 981.40 ล้านบาท ลดลงไปจากปี 2562
มากถึงร้อยละ 85.60

ตารางที่ 21 รายได้จากท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยว (ล้านบาท) จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563

%การ
ประเภท เปลี่ยนแปลง
2558 2559 2560 2561 2562R 2563P
นักท่องเที่ยว (ปี63เทียบปี
62)
ชาวไทย 17,379.53 18,173.56 19,978.30 21,995.16 22,474.22 13,968.15 -37.85
ชาว
5,468.55 5,574.46 6,075.56 6,622.55 6,817.49 981.40 -85.60
ต่างประเทศ*
รวม 22,848.08 23,748.02 26,053.86 28,617.71 29,291.71 14,949.55 -48.96

หมายเหตุ: P หมายถึง ข้อมูลเบื้องต้น (จานวนผู้เยี่ยมเยือนและรายได้ใช้โครงสร้าง ปี 2562) ผู้เยี่ยมเยือน หมายถึง ผู้ที่


เดินทางเพื่อการท่องเที่ยว และอื่น ๆ เช่น การเยี่ยมเพื่อน/ใาติ ทั้งที่พักค้างคืน และไม่พักค้างคืน โดยเป็นการพักค้างในสถาน
พักแรม บ้านใาติ/บ้านเพื่อน และอืน ๆ
* ผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติระดับจังหวัด หมายถึง ชาวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาประเทศไทยตั้งแต่ก่อนการปิดด่านตรวจคนเข้า
เมือง และพานักในจังหวัดต่าง ๆ ซึ่งครอบคลุมผู้ที่วางแผนการท่องเที่ยวระยะสั้น แต่ไม่สามารถเดินทางกลับภูมลิ าเนาได้ตาม
แผนการเดินทาง (ไม่รวมชาวต่างชาติที่ประกอบอาชีพในประเทศไทย)
ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา
R หมายถึง ปรับปรุงหลังประชุมคณะกรรมการสนับสนุน กากับและติดตามการจัดทาสถิตินักท่องเที่ยว และรายได้ด้านการ
ท่องเที่ยว และคณะทางานพัฒนาข้อมูลสถิตินักท่องเที่ยว และรายได้ด้านการท่องเที่ยว ครั้งที่ ๒/๒๕๖๓
61

1.2) จานวนนักท่องเที่ยว
สาหรับจานวนนักท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงรายหากพิจารณาจากจานวนผู้เยี่ยมเยือนในปี
พ.ศ. 2558-2563 รายละเอียดดังตารางที่ 22
ตารางที่ 22 สถิติจานวนนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563
%การ
ประเภทผู้ เปลี่ยนแปลง
รายการย่อย 2558 2559 2560 2561 2562 2563
เยี่ยมเยือน (ปี63เทียบปี
62)
ชาวไทย 2,201,902 2,298,952 2,496,186 2,673,521 3,091,201 2,059,088 -33.39
จานวน ชาว
484,132 483,472 512,997 533,029 637,947 114,595 -82.04
นักท่องเที่ยว ต่างประเทศ
รวม 2,686,034 2,782,424 3,009,183 3,206,550 3,729,148 2,173,683 -41.71
ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

จากตารางแสดงจานวนนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในจังหวัดเชียงรายซึ่งตามที่ มีสถาณการณ์การ
ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทาให้ในปี 2563 มีจานวนนักท่องเที่ยว และจานวนนักทัศนาจร ลดลง
ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ซึ่งเดิมในปี 2562 จานวนนักท่องเที่ยวชาวไทย มีจานวน 3,091,201 คน ใน
ปี 2563 ลดลงเหลือ 2,059,088 คน ลดลงไปจากปี 2562 คิดเป็นร้อยละ 33.39 เช่นเดียวกัน นักท่องเที่ยว
ชาวต่างชาติ เดิมในปี 2562 จานวนนักท่องเที่ยว มีจานวน 637,947คน ในปี 2563 ลดลงเหลือ 114,595 คน
ลดลงไปจากปี 2562 มากถึงร้อยละ 82.04

แผนภูมิที่ 14 สถิติจานวนนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563


หน่วย 1,000 คน
3,729.15
3,009.18 3,206.55
2,686.03 2,782.42
2,173.68
3,091.20
2,496.19 2,673.52
2,201.90 2,298.95 637.95
484.13 483.47 513.00 533.03 2,059.09
114.60

2558 2559 2560 2561 2562 2563

ชาวไทย ชาวต่างประเทศ รวม

ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา


62

หน่วย: 1,000 คน
4,000.00
3,500.00 2,762.55 2,754.78 2,747.01 2,739.25
3,000.00 2,173.68
2,500.00
2,000.00 2,514.02 2,552.75 2,591.48 2,630.21
1,500.00 2,059.09
1,000.00 256.45 209.92
114.60 163.39 116.87
500.00
-
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ชาวไทย Forecast(ชาวไทย) ชาวต่างประเทศ


Forecast(ชาวต่างประเทศ) รวม Forecast(รวม)

ที่มา : สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ เป็นรายจังหวัด พ.ศ. 2552 – 2561 สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ, 2562.

จากสถิติผู้เยี่ยมเยือนจังหวัดเชียงราย พบว่า จานวนนักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นจากต่อเนื่องโดย


ในปี 2560 นักท่องเที่ยวทั้งหมด 3,442,162 คน จาแนกเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทย จานวน 2,848,911 คนและ
นักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ จานวน 593,251 คน ในขณะที่ปี 2561 นักท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นเป็น 3,676,497 คน
จาแนกเป็นนักท่องเที่ยวชาวไทย จานวน 3,057,968 คนและนักท่องเที่ยวชาวต่างชาติ จานวน 618,529 คน

1.3) ค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ย

ตารางที่ 23 สถิติค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยนักท่องเที่ยว จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2562

ประเภทของนักท่องเที่ยว 2558 2559 2560 2561 2562


ชาวไทย 2,854.56 2,922.07 3,053.26 3,171.82 3,311.76
ผู้เยี่ยมเยือน ชาวต่างประเทศ 3,473.41 3,573.73 3,800.27 3,956.30 4,139.62
รวม 2,981.73 3,052.74 3,199.95 3,324.36 3,474.67
ชาวไทย 2,899.81 2,969.52 3,104.89 3,226.84 2,270.66
นักท่องเที่ยว ชาวต่างประเทศ 3,544.45 3,649.31 3,883.59 4,044.52 2,375.89
รวม 3,032.90 3,106.43 3,258.26 3,386.44 2,289.93
ชาวไทย 2,037.28 2,086.44 2,147.45 2,234.28 3,251.44
นักทัศนาจร ชาวต่างประเทศ 2,024.73 2,089.24 2,223.57 2,317.18 4,045.72
รวม 2,034.93 2,086.96 2,161.56 2,249.36 3,407.14
ที่มา : สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ เป็นรายจังหวัด พ.ศ. 2552 – 2562 สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2564
63

แผนภูมิที่ 15 สถิติค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยตามประเภทของนักท่องเที่ยว จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2562

4,045.72
ชาวต่างประเทศ
นักทัศนาจร

3,251.44
ชาวไทย

2,375.89
ชาวต่างประเทศ
นักท่องเที่ยว

2,270.66
ชาวไทย

4,139.62
ชาวต่างประเทศ
ผู้เยี่ยมเยือน

3,311.76
ชาวไทย

0.00 500.00 1,000.00 1,500.00 2,000.00 2,500.00 3,000.00 3,500.00 4,000.00 4,500.00

2562 2561 2560 2559 2558

ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

สถิ ติ ค่ า ใช้ จ่ า ยโดยเฉลี่ ย นั ก ท่ อ งเที่ ย ว ที่ ม ายั ง จั ง หวั ด เชี ย งราย ปี พ.ศ. 2558-2562 มี ป ระเภท
นักท่องเที่ยวจาแนกได้ 3 ประเภท คือ ผู้เยี่ยมเยือน นักท่องเที่ยว และ นักทัศนาจร ซึ่งประเภทนักท่องเที่ยวยัง
สามารถระบุได้ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ เมื่อพิจารณาค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยของผู้เยี่ยมเยือน ในปี 2562
อยู่ที่ 3,474.67 บาทต่อคนต่อวัน ซึ่งมีแนวโน้มสูงขึ้นมาตั้งแต่ปี 2558 เมื่อจาแนกประเภทของผู้เยี่ยมเยือน
พบว่ า ชาวต่ างประเทศใช้จ่ า ยมากกว่ าชาวไทย โดยค่ าใช้จ่ ายผู้ เยี่ ยมเยื อนชาวต่า งประเทศ มี ค่า ใช้ จ่า ย
4,139.62 บาทต่อคนต่อวัน ในขณะที่ผู้เยี่ยมเยีอนชาวไทย มีค่าใช้จ่าย 3,311.76 บาทต่อคนต่อวัน
ส่วนค่าใช้จ่ายโดยเฉลี่ยของนักท่องเที่ยว พบว่า ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักท่องเที่ยวในปี 2562 อยู่ที่
2,289.93 บาทต่อคนต่อวัน หากจาแนกประเภทของนักท่องเที่ยวพบว่า ชาวต่างประเทศใช้จ่ายมากกว่าชาว
ไทยเล็ ก น้ อ ย โดยค่า ใช้จ่ า ยนั ก ท่ องเที่ย วชาวต่ างประเทศ มี ค่า ใช้จ่ า ย 2,375.89 บาทต่อ คนต่อ วั น ส่ ว น
นั ก ท่ อ งเที่ ย วชาวไทย มี ค่ าใช้ จ่ าย 2,270.66บาทต่ อ คนต่ อ วั น และในส่ ว นนั ก ทั ศ นาจร ในปี 2562 มี
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยของนักทัศนาจร อยู่ที่ 3,407.14 บาทต่อคนต่อวัน หากจาแนกประเภทของนักทัศนาจรพบว่า
ชาวต่างประเทศใช้จ่ายมากกว่าชาวไทย โดยค่าใช้จ่า ยนักทัศนาจรต่างประเทศ มีค่าใช้จ่าย 4,045.72 บาทต่อ
คนต่อวัน ในขณะที่นักทัศนากจรชาวไทย มีค่าใช้จ่าย 3,251.44บาทต่อคนต่อวัน
64

รายได้จากผู้เยี่ยมเยือน

ตารางที่ 24 สถิติรายได้เฉลี่ยจากผู้เยี่ยมเยือน จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2562-2563

2562 2563 %การเปลี่ยนแปลง


ประเภทของผู้เยี่ยมเยือน
(ล้านบาท) (ล้านบาท) (ปี63 เทียบ ปี62)
ผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย 22,474.22 13,968.15 - 37.85
ผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างประเทศ 6,817.49 981.40 -85.60
รวม 29,292 14,950 -48.96

ที่มา : สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ เป็นรายจังหวัด พ.ศ. 2562 – 25623 สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2564

แผนภูมิที่ 16 สถิติรายได้เฉลี่ยจากผู้เยี่ยมเยือน จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2562-2563

29,292
30,000.00
22,474.22
25,000.00
20,000.00 13,968.15 14,950
15,000.00
6,817.49
10,000.00
5,000.00 981.4
0.00
2562 2563

ผู้เยี่ยมเยือนชาวไทย ผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างประเทศ รวม

ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา

รายได้โดยเฉลี่ยจากผู้เยี่ยมเยือน ที่มาเยือนจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2562-2563 เมื่อพิจารณาค่า


รายได้โดยเฉลี่ยของผู้เยี่ยมเยือนจังหวัดเชียงราย พบว่า ในปี 2563 จังหวัดเชียงรายมีรายได้จากการท่องเที่ยว
อยู่ที่ 14,950 บาท โดยแบ่งเป็น รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยจานวน 13,968.15 ล้านบาท และรายได้จาก
ผู้เยี่ยมเยือนชาวต่างชาติ จานวน 981.40 ล้านบาท
65

เมื่อพิจารณาเปรียบเทียบกับปี พ.ศ. 2562 พบว่า รายได้จากผู้เยี่ยมเยือนมีแนวโน้มลดลงอย่างมาก


โดยคิดเป็น %การเปลี่ยนแปลง (ปี63เทียบปี62)ในภาพรวมของจังหวัด ติดลบถึง -48.96 % โดยรายได้จากผู้
เยี่ยมเยือนจากชาวต่างชาติลดลงมากที่สุดถึง -85.60 % ผู้เยี่ยมเยือนชาวไทยลดลง - 37.85% เนื่องมาจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ซึ่งเริ่มตั้งแต่ช่วงเดือนธันวาคม 2562 ส่งผลกระทบต่อการ
ท่องเที่ยวจังหวัดเชียงรายและการท่องเที่ยวระดับประเทศเป็นอย่างมาก ทาให้การเดินทางท่องเที่ยวระหว่าง
ประเทศหยุดชะงัก ทาให้จานวนนักท่องเที่ยวต่างชาติที่เดินทางเข้ามาในจังหวัดเชียงรายลดลง เนื่องนโยบาย
ปิดประเทศห้ามเดินทางเข้าออกระหว่างประเทศ และนโยบายการเดินทางข้ามจังหวัดเพื่อป้องกันโรคติดต่อ
ส่งผลต่อรายได้จากการท่องเที่ยวจังหวัดเชียงรายที่ลดลง

1.4) จานวนห้องพักและอัตราการเข้าพัก

ตารางที่ 25จานวนสถานประกอบการที่พักแรม จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563

ประเภท 2559 2560 2561 2562 2563 %การ


เปลี่ยนแปลง
(ปี63 เทียบ ปี62)
จานวนห้อง 16,014 16,886 17,003 17,053 17,053 -
อัตราการเข้าพัก 46.37 50.75 54.96 54.92 38.31 -16.61
จานวนผู้ที่มาเข้าพักชาวไทย 2,248,161 2,447,333 2,628,486 2,640,617 2,059,088 - 33.39
จานวนผู้ที่มาเข้าพักชาวต่างชาติ 461,830 492,345 513,519 525,845 114,595 - 82.04
จานวนผู้ที่มาเข้าพักรวม 2,709,991 2,939,678 3,142,005 3,166,462 1,880,917 -41.71
ที่มา : สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ เป็นรายจังหวัด พ.ศ. 2552 – 2562 สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ, 2563

แผนภูมิที่ 17 เปรียบเทียบจานวนสถานประกอบการที่พักแรม จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563

4,000,000
3,142,005 3,166,462
2,939,678
2,709,991 2,628,486 2,640,617
3,000,000 2,447,333
2,248,161
2,059,0881,880,917
2,000,000

1,000,000 461,830 492,345 513,519 525,845


114,595
0
2559 2560 2561 2562 2563

จานวนผู้ที่มาเข้าพักชาวไทย จานวนผู้ที่มาเข้าพักชาวต่างชาติ จานวนผู้ที่มาเข้าพักรวม

ที่มา : กองเศรษฐกิจการท่องเที่ยวและกีฬา กระทรวงการท่องเที่ยวและกีฬา


66

สาหรับจานวนห้องพักแรกในจังหวัด พบว่าตั้งแต่ปี พ.ศ. 2559 -2563 พบว่าจานวนห้องพบของ


จังหวัดเชียงรายในปี 2563 มีจานวน 17,053 ห้อง เพิ่มขึ้นเมื่อเทียบกับปี 2558 ซึ่งมีจานวน 16,014 ห้อง ซึ่ง
เพิ่มขึ้นจานวน 1,035 ห้อง เมื่อพิจารณาอัตราการเข้าพักในปี 2563 พบว่ามีอัตราการเข้าพักของนักท่องเที่ยว
เพียง ร้อยละ 38.31 เมื่อเปรียบเทียบจากปีที่ผ่านมาพบว่า มีแนวโน้มลดลงอย่างเห็นได้ชัด อันเนื่องมากจาก
สถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโควิด -19 ที่ส่งผลให้นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและชาวต่างชาติลดลง
จึงส่งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงราย

2)สถานการณ์การค้าชายแดน
2.1) มูลค่าการส่งออกและนาเข้า

ตารางที่ 26 มูลค่าการค้าชายแดนและผ่านแดนด้านจังหวัดเชียงราย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2558 - 2563


หน่วย : ล้านบาท
ประเทศ พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563
นาเข้า 158.38 182.07 153.19 287.36 391.35 1,461.83
ส่งออก 15,695.85 12,199.17 12,692.41 14,872.25 14,727.02 14,798.89
เมียนมา
ดุลการค้า 15,537.47 12,017.10 12,539.22 14,584.89 14,335.67 13,337.06
รวม 15,854.23 12,381.24 12,845.60 15,159.61 15,118.37 16,260.72
นาเข้า 584.74 92.31 497.67 404.75 524.19 279.31
ส่งออก 19,518.09 18,107.84 15,352.48 15,781.09 9,716.62 6,032.81
สปป.ลาว
ดุลการค้า 18,933.35 18,015.53 14,854.81 15,376.34 9,192.43 5,753.50
รวม 20,102.83 18,200.15 15,850.15 16,185.84 10,240.81 6,312.12
นาเข้า 4,638.87 6,517.39 7,189.20 6,670.01 7,554.58 8,263.41
ส่งออก 4,430.77 7,721.43 11,880.62 12,819.34 19,775.02 17,469.00
จีนตอนใต้
ดุลการค้า - 208.10 1,204.04 4,691.42 6,149.33 12,220.44 9,205.59
รวม 9,069.64 14,238.82 19,069.82 19,489.35 27,329.60 25,732.41
นาเข้า 5,381.99 6,791.77 7,840.06 7,362.12 8,470.12 10,004.55
ส่งออก 39,644.71 38,028.44 39,925.51 43,472.68 44,218.66 38,300.70
มูลค่ารวม
ดุลการค้า 34,262.72 31,236.67 32,085.45 36,110.56 35,748.54 28,296.15
รวม 45,026.70 44,820.21 47,765.57 50,834.80 52,688.78 48,305.25
ที่มา : สานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย , 2564
67

จากตารางพบว่า มูลค่าการค้าชายแดนรวม ปี 2563 มีมูลค่าเท่ากับ 48,305.25 ล้านบาท มูลค่าการ


ส่งออก มีมูลค่าเท่ากับ 38,300.70 ล้านบาท มูลค่าการนาเข้ามีมูลค่าเท่ากับ10,004.55 ล้านบาท ดุลการค้า
เท่ากับ 28,296.15ล้านบาท เมื่อพิจารณามูลค่าการค้าชายแดนและผ่านแดนด้านจังหวัดเชียงราย ตั้งแต่ปี
พ.ศ.2558 – 2563 จะพบว่า มูลค่ารวมที่เกิดขึ้นในปี 2563 มีมูลค่ารวมลดลงจากปี 2562 ลดลง 4,383.53
ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 8.32 เนื่องจากมีแนวโน้มในการนาเข้าเพิ่มขึ้น และส่งออกลดลง ทาให้
ดุลการค้ากับทุกๆ ประเทศลดลง คิดเป็นร้อยละ 20.85

ตารางที่ 27 เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงมูลค่าการค้าชายแดนและผ่านแดนด้านจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ.


2563 เทียบกับปี 2562

ประเทศ พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 2563 - 2562 เปลี่ยนแปลง %


นาเข้า 391.35 1,461.83 1,070.48 273.54
ส่งออก 14,727.02 14,798.89 71.87 0.49
เมียนมา
ดุลการค้า 14,335.67 13,337.06 -998.61 -6.97
รวม 15,118.37 16,260.72 1,142.35 7.56
นาเข้า 524.19 279.31 -244.88 -46.72
ส่งออก 9,716.62 6,032.81 -3,683.81 -37.91
สปป.ลาว
ดุลการค้า 9,192.43 5,753.50 -3,438.93 -37.41
รวม 10,240.81 6,312.12 -3,928.69 -38.36
นาเข้า 7,554.58 8,263.41 708.83 9.38
ส่งออก 19,775.02 17,469.00 -2,306.02 -11.66
จีนตอนใต้
ดุลการค้า 12,220.44 9,205.59 -3,014.85 -24.67
รวม 27,329.60 25,732.41 -1,597.19 -5.84
นาเข้า 8,470.12 10,004.55 1,534.43 18.12
ส่งออก 44,218.66 38,300.70 -5,917.96 -13.38
มูลค่ารวม
ดุลการค้า 35,748.54 28,296.15 -7,452.39 -20.85
รวม 52,688.78 48,305.25 -4,383.53 -8.32

เมื่อพิจารณาสถานการณ์รายประเทศ พบว่า ประเทศเมียนมาทาการค้ากับจังหวัดเชียงราย มี มูลค่า


รวมที่เกิดขึ้นในปี 2563 เพิ่มขึ้นจากปี 2562 มูลค่า 1,142.35 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 7.56
เนื่องจากเรามีแนวโน้มในการนาเข้าเพิ่มขึ้นมากถึงร้อยละ 273.54 แต่ส่งออกไปเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 0.49 ทา
ให้ขาดดุลการค้ามูลค่า 998.61ล้านบาท หรือดุลการค้าลดลงร้อยละ 6.97 ประเทศลาวทาการค้ากับจังหวัด
68

เชียงราย มูลค่ารวมที่เกิดขึ้นในปี 2563 มีมูลค่ารวมลดลงจากปี 2562 ลดลง 3,928.69 ล้านบาท หรือลดลง


คิดเป็นร้อยละ 38.36 เรามีแนวโน้มในการนาเข้าจากลาวลดลง 244.88 ล้านบาท แต่กลับส่งออกลดลงมากถึง
3,683.81 ล้านบาท ทาให้ดุลการค้าลดลง 3,438.93 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 37.41 และในส่วนของ
ประเทศจีนได้ทาการค้ากับจังหวัดเชีย งราย มูลค่ารวมที่เกิดขึ้นในปี 2563 มีมูล ค่ารวมลดลงจากปี 2562
ลดลง 1,597.19 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 5.84 เนื่องจากเรามีแนวโน้มในการนาเข้าเพิ่มขึ้น 708.83
ล้านบาท และส่งออกไปจีนลดลง 2,306.02 ล้านบาท ทาให้ดุลการค้าลดลง 3,014.85 ล้านบาท หรือคิดเป็น
ร้อยละ 24.67

แผนภูมิที่ 18 มูลค่านาเข้า ส่งออก และดุลการค้าและการพยากรณ์แนวโน้มในอนาคต

มูลค่านาเข้า หน่วย: ล้านบาท


10,000.00
8,263.41
7,554.58
8,000.00 7,189.20
6,517.39 6,670.01

6,000.00
4,638.87

4,000.00

2,000.00 1,461.83
584.74 497.67 287.36 404.75 391.35 524.19 279.31
158.38 182.07 92.31 153.19
-
พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563
นาเข้าจาก นาเข้าจาก นาเข้าจาก

มูลค่าส่งออก หน่วย: ล้านบาท


22,000.00 19,518.09
18,107.84
18,000.00 15,695.85 19,775.02
15,352.48 17,469.00
15,781.09
14,872.25 14,727.02 14,798.89
14,000.00
12,199.17 12,692.41
9,716.62
12,819.34
10,000.00 11,880.62
6,032.81
6,000.00 7,721.43

2,000.00 4,430.77
พ.ศ. 2558 พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562 พ.ศ.2563

ส่งออกไป ส่งออกไป ส่งออกไป


69

หน่วย: พันล้านบาท
53,543.84 54,760.68 55,977.53
60,000.00 52,327.00
48,305.25
50,000.00

40,000.00 32,418.03 32,110.18 31,802.34 31,494.49


28,296.15
30,000.00
20,000.00

10,000.00

-
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ดุลการค้า Forecast(ดุลการค้า) รวมมูลค่าการค้า Forecast(รวมมูลค่าการค้า)

2.2) สินค้าส่งออกและนาเข้า
เมื่อจาแนกรายสินค้า โดยพิจารณาสิ นค้านาเข้า – ส่งออก ที่สาคัใของการค้าชายแดนและ
การค้าผ่านแดน ในปี พ.ศ. 2563 เมื่อจาแนกเป็นรายประเทศ ได้แก่
1) ไทย-เมียนมา
สินค้าส่งออกสาคัญ 5 อันดับแรกได้แก่ เครื่องดื่มไม่มีแอลกอฮอล์ น้ามันดีเซล ผ้าผืนและ
ด้าย ปูนซิเมนต์ และรถจักรยานยนต์และส่วนประกอบ
สินค้านาเข้าสาคัญ 5 อันดับแรก ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ ธัใพืช สัตว์น้า ปลาหมึกสด แช่เย็น
แช่แข็ง และโค กระบือ สุกร แพะ แกะ
2) ไทย-สปป.ลาว
สินค้าส่งออกที่สาคัใ 5 อันดับแรก ได้แก่ น้ามันดีเซล สินค้าปศุสัตว์อื่นๆ น้ามันสาเร็จรูป
อื่นๆ รถยนต์นั่ง สินค้าอุตสาหกรรมอื่นๆ
สินค้านาเข้าที่สาคัใ 5 อันดับแรกได้แก่ เชื้อเพลิงอื่นๆ ทองคา ผักและของปรุงแต่งจากผัก
ทองแดงและผลิตภัณฑ์ และเครื่องรับส่งสัใใาณและอุปกรณ์ติดต่อ
3) ไทย-ประเทศจีน (ตอนใต้)
สิ น ค้ า ส่ ง ออกส าคั ใ 5 อั น ดั บ แรกได้ แ ก่ ผลไม้ ส ด แช่ เ ย็ น แช่ แ ข็ ง และแห้ ง เครื่ อ ง
คอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ ยางพารา ผลิตภัณฑ์ยาง ไม้แปรรูป ลาไยแห้ง
สินค้านาเข้าสาคัใ 5 อันดับแรก ได้แก่ เครื่องคอมพิวเตอร์และอุปกรณ์ เครื่องรับ -ส่งสัใใา
และอุปกรณ์ติดต่อ เทปแม่เหล็ก จานแม่เหล็กสาหรับคอมพิวเตอร์ เครื่องรับวิทยุโทรศัพท์ โทรเลข โทรทัศน์
เคมีภัณฑ์อื่นๆ
2.3) การขอรับสิทธิประโยชน์จากคณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI)
โดย คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน (BOI) ได้มีประกาศที่ 13/2558 ลงวันที่ 15 ธันวาคม
2558 เรื่อง การกาหนดประเภทกิจการเป้าหมายและเงื่อนไขของกิจการที่ให้การส่งเสริมการลงทุนในเขต
70

พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงราย และ ประกาศที่ 2/2559 เรื่องแก้ไขเพิ่มเติมกิจการเป้าหมายในเขตพัฒนา


เศรษฐกิ จ พิ เ ศษ ลงวั น ที่ 10 มกราคม 2559 โดย สิ ท ธิ แ ละประโยชน์ ใ ห้ ไ ด้ รั บ ตามหลั ก เกณฑ์ ป ระกาศ
คณะกรรมการส่งเสริมการลงทุน ที่ 4/2557 ปัจจุบันเพื่อให้การส่งเสริมการลงทุนในพื้น ที่เขตเศรษฐกิจพิเศษ
เป็นไปอย่างต่อเนื่อง จึงได้ขยายระยะเวลาการขอรับสิทธิประโยชน์ออกไปจนถึงวันที่ 31 ธันวาคม 2563 (ตาม
ประกาศ BOI ที่ 7/2561)
ในปัจจุบัน กนพ. ได้มีการประกาศเพิ่มจานวนกิจการที่ได้รับสิทธิประโยชน์ในการลงทุน
ระดับสูงสุดเพิ่มขึ้นอีก 10 กิจการ ได้แก่
1) กิจการอบพืชและไซโล
2) กิจการผลิตผลิตภัณฑ์จากผลพลอยได้หรือเศษวัสดุทางการเกษตร
3) กิจการผลิตโครงสร้างโลหะสาหรับงานก่อสร้างหรืองานอุตสาหกรรม
4) กิจการผลิตสิ่งพิมพ์ทั่วไป
5) กิจการผลิตอาหารสัตว์หรือส่วนผสมอาหารสัตว์
6) กิจการผลิตวัสดุก่อสร้าง และกิจการผลิตผลิตภัณฑ์ คอนกรีตอัดแรงสาหรับงาน
สาธารณูปโภค
7) กิจการผลิตสิ่งปรุงแต่งสาหรับประทินร่างกาย เช่น สบู่ ยาสระผม ยาสีฟัน
8) กิจการผลิตผลิตภัณฑ์พลาสติกสาหรับสินค้าอุปโภค
9) กิจการผลิตสิ่งของจากเยื่อหรือกระดาษ และ
10) กิจการพัฒนาอาคารสาหรับโรงงานอุตสาหกรรมและ/หรือคลังสินค้า
นอกจากนี้ ส าหรั บ การลงทุ น ในกิ จ การประเภทอื่น ๆนอกเหนือ จากกลุ่ ม กิจ การทั้ ง 20
กิจการข้างต้น ผู้ลงทุนจะได้รับสิทธิประโยชน์ในการลงทุนเช่นเดียวกัน แต่จะมีระดับสิทธิประโยชน์ เงื่อนไข
หรื อรู ป แบบการสนั บ สนุ น การลงทุน ที่แตกต่า งกัน อันถื อเป็ นการกระจายโอกาสในการลงทุน ที่ทั่ว ถึงทั้ ง
ผู้ประกอบการรายใหใ่และรายย่อย รวมถึงการได้โอกาสของประชาชนในพื้นที่ ที่สนใจจะลงทุนทาธุรกิจใน
พื้นที่เขตพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษเชียงรายทั้ง 3 อาเภอ
โดยการก าหนดรู ป แบบการพั ฒ นาทางด้ า นเศรษฐกิ จ ของเขตพั ฒ นาเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ
เชียงรายสามารถแบ่งเป็น 2 กลุ่มหลัก คือ
1) กลุ่มธุรกิจที่มีโอกาสการลงทุนตามศักยภาพของพื้นที่ ประกอบด้วย การท่องเที่ยวเชิง
คุณภาพ บริการ โลจิสติกส์ การค้าชายแดน อุตสาหกรรมเชิงนิเวศและการแปรรูปสินค้าเกษตร
2) กลุ่มธุรกิจเพื่อตอบสนองต่อการขยายตัวของเมืองและสังคม เช่น ธุรกิจบริการด้าน
การศึกษา ธุร กิจ บริ การทางการแพทย์ ธุรกิจบริการทางการเงิน อั นเป็นการกาหนดประเภทของธุรกิจที่
เหมาะสมและสอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของจังหวัด ความต้องการของประชาชนในพื้นที่ และนาไปสู่เป้าหมาย
การยกระดับคุณภาพชีวิตของประชาชนในระยะยาว
71

3) สถานการณ์ของภาคอุตสาหกรรม
โครงสร้างการผลิตภาคอุตสาหกรรมภายในจังหวัดเชียงราย
สาหรับโรงงานอุตสาหกรรมในพื้นที่จังหวัดเชียงราย มีโรงงานที่ได้รับอนุใาตให้ประกอบ
กิ จการ (สะสม) ณ วั นที่ 31 ธั นวาคม 2562 จ านวนทั้ งสิ้ น 2,079 โรงงาน เงิ นลงทุ นรวม 20890 ล้ านบาท
และมีจานวนคนงานรวมทั้งหมด 15,568 คน โดยจาแนกออกเป็นจาพวกโรงงานตามพระราชบัใใัติโรงงาน
พ.ศ. 2535 ได้ดังนี้

ตารางที่ 28 สถิติสะสมจานวนโรงงานที่ได้รับอนุใาตให้ประกอบกิจการ ตาม พ.ร.บ.โรงงาน พ.ศ. 2535 ราย


จาพวก ณ สิ้นปี 2562 ในจังหวัดเชียงราย

เงินลงทุน คนงาน
จาพวกที่ จานวนโรงงาน
(ล้านบาท) ชาย หญิง รวม
1 1,074 224 1,712 52 1,764
2 274 792 1,205 786 1,991
3 731 19,873 7,912 3,901 11,813
รวม 2,079 20,890 10,829 4,739 15,568

สาขาอุตสาหกรรมที่มีการลงทุนมากที่สุด 3 อันดับแรกของจังหวัดเชียงราย ได้แก่


1) สาขาอุ ต สาหกรรมเกษตร ได้ แ ก่ ก ลุ่ ม อุ ต สาหกรรมผลิ ต ภั ณ ฑ์ จ ากพื ช ประกอบด้ ว ย
การผลิ ต ข้าว ข้าวโพดเลี้ ย งสั ตว์ ถั่ว เหลื อง ขิง กระเทียม ล าไย ลิ้ นจี่ สั บปะรด เป็นหลั ก เช่น โรงสี ข้า ว
รองลงมาได้แก่ โรงอบเมล็ดพืช และผลิตผลทางการเกษตร โรงงานขิงดอง ปัจจุบันมีจานวนโรงงานทั้งสิ้น
1,293 โรง เงินลงทุน 6,031.88 ล้านบาท คนงาน 4,071 คน
2) อุตสาหกรรมอื่น ๆ ประกอบด้วยกิจการเกี่ยวกับห้องเย็น กิจการเกี่ยวกับหิน กรวด ดิน
หรือทรายที่ใช้ในการก่อสร้าง กิจการเกี่ยวกับยาสูบ โรงน้าแข็งฯลฯ ปัจจุบันมีจานวนโรงงานทั้งสิ้น 169 โรง
เงินลงทุน 3,062.49 ล้านบาท คนงาน 1,645 คน
3) อุตสาหกรรมอโลหะ ประกอบด้วย กิจการเกี่ยวกับการทาอิฐ ท่อ กิจการเกี่ยวกับซีเมนต์
คอนกรีตผสมเสร็จ ปัจจุบันมีโรงงานทั้งสิ้น 161 โรงงาน เงินลงทุน 1,475 ล้านบาท คนงาน 1,381 คน
72

4) ภาคเกษตร
4.1) การใช้ที่ดินเพื่อการเกษตร

ตางรางที่ 29 การที่ใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรของจังหวัดเชียงราย ปี 2562 จาแนกตามอาเภอ (เรียงลาดับตาม


พื้นที่ทาการเกษตรรวม)

เนื้อที่เพาะปลูก (ไร่)
พื้นที่ พืชไร่/พืช พื้นที่ทา ร้อยละ
ทุ่งหญ้าโรงเรือน
อาเภอ ทั้งหมด ไม้ผล/ไม้ยืน สวน/พืชน้า/ การเกษตร พื้นที่
ที่นา สัตว์/สถานที่
(ไร่) ต้น เกษตร รวม ทั้งหมด
เพาะเลี้ยงสัตว์น้า
ผสมผสาน
1 เมืองเชียงราย 1,038,238 180,945 140,342 174,907 5877 502,071 48.36
2 แม่สรวย 882,594 40,726 116,151 213,536 815 371,228 42.06
3 เทิง 538,451 135,906 108,805 76,814 3265 324,790 60.32
4 พาน 616,850 203,321 51,784 35,421 13482 304,008 49.28
5 เวียงป่าเป้า 779,368 51,069 66,529 169,134 1416 288,148 36.97
6 แม่จัน 425,585 106,456 50,969 80,842 3043 241,310 56.70
7 เชียงของ 480,439 122,070 73,820 15,246 796 211,932 44.11
8 พใาเม็งราย 296,235 84,806 87,160 38,763 418 211,147 71.28
9 แม่ฟ้าหลวง 417,502 12,057 52,639 119,599 47 184,342 44.15
10 เชียงแสน 286,686 55,111 44,650 62,356 2854 164,971 57.54
11 เวียงชัย 219,621 88,910 46,204 16,182 1486 152,782 69.57
12 เวียงแก่น 290,405 13,170 49,563 86,343 56 149,132 51.35
13 ดอยหลวง 199,480 28,322 65,463 37,920 478 132,183 66.26
14 เวียงเชียงรุ้ง 172,184 53,885 37,429 28,161 327 119,802 69.58
15 แม่สาย 192,010 92,384 9,538 11,859 3562 117,343 61.11
16 แม่ลาว 134,671 47,763 21,737 26,816 982 97,298 72.25
17 ป่าแดด 162,216 59,740 28,011 6,708 1130 95,589 58.93
18 ขุนตาล 166,446 52,135 15,769 13,582 244 81,730 49.10
รวม 7,298,981 1,428,776 1,066,563 1,214,189 40,278 3,749,806 51.37
ที่มา : ข้อมูลการใช้ที่ดิน กรมพัฒนาที่ดิน 2561-2562 *ค่าตัวเลขได้มาจากการคานวณด้วยระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร์
73

จากข้อมูลการใช้ที่ดินเพื่อทาการเกษตรของจังหวัดเชียงรายในปี พ.ศ. 2562 พบว่า จังหวัดเชียงรายมี


พื้นที่ทั้งหมดมี 7,298,981 ไร่ ทาการเกษตร 3,749,806 ไร่ หรือคิดเป็นร้อยละ 51.37 ของพื้นที่ทั้งหมด โดยมี
การใช้พื้นที่เพื่อทานามากที่สุด 1,428,776 ไร่ รองลงมาคือ ปลูก พืชไร่/พืชสวน/พืชน้า/เกษตรผสมผสาน
1,214,189 ไร่ ปลู กไม้ผล/ไม้ยืน ต้น และเป็นทุ่งหใ้าโรงเรือนสัตว์/สถานที่เพาะเลี้ยงสัตว์น้า ตามล าดับ
สาหรับการใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรของจังหวัดเชียงราย พบว่า อาเภอที่ใช้ที่ดินเพื่อการเกษตรมากที่สุด ได้แก่
อาเภอเมืองเชียงราย 502,071 ไร่ คิดเป็นร้อย 48.36 ของพื้นที่ ถัดมาเป็นอาเภอแม่สรวย 371,228 ไร่ คิด
เป็นร้อยละ 42.06 ของพื้นที่ และอาเภอเทิง 324,790 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 60.32 ของพื้นที่
เมื่อเทียบสัดส่วนของพื้นที่ทาการเกษตรต่อพื้นที่ตัวอาเภอทั้งหมด พบว่า อาเภอที่มีสัดส่วนของใช้
ที่ดินเพื่อการเกษตรมากที่สุด ได้แก่ อาเภอแม่ลาว คิดเป็นร้อยละ 72.25 รองลงมาคืออาเภอพใาเม็งราย คิด
เป็นร้อยละ 71.28 และอาเภอเวียงเชียงรุ้ง กั บอาเภอเวียงชัย มีสัดส่วนใกล้เคียงกันคือ คิดเป็นร้อย 69.58
และร้อยละ 69.57 ของพื้นที่ ตามลาดับ

แผนภูมิที่ 19 สัดส่วนพื้นที่ทั้งหมดของจังหวัดเชียงราย และพื้นที่ทาการเกษตร แสดงเป็นร้อยละ

พื้นที่ทั้งหมด 7,298,981 ไร่


[CATEGORY
NAME]
[PERCENTAGE]
[CATEGORY
ที่นา
NAME]
38%
[PERCENTAGE]
พื้นที่ทาการเกษตร 3,749,806ไร่
หรือ 51.37%
ไม้ผล/ไม้ยืนต้น
29%
74

4.2) ข้อมูลสินค้าเกษตรที่สาคัญของจังหวัดเชียงราย
4.2.1) ด้านการปลูกพืชเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย ปีการผลิต2562/63 และ
2563/64

ตารางที่ 30 การปลูกพืชเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย ปีการผลิต 2562/63 และ 2563/64

ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่
พื้นที่ปลูก (ไร่) พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิต (ตัน)
จังหวัด/อาเภอ (กิโลกรัม)
2562/63 2563/64 2562/63 2563/64 2562/63 2563/64 2562/63 2563/64
ข้าวนาปี 1,290,746 1,335,403 1,155,349 1,331,851 634,777 755,160 492 567
ข้าวนาปรัง 454,187 340,505 432,325 327,222 296,970 207,433 654 634
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่นที่ 1 346,612 260,828 345,631 251,629 260,747 189,225 752 752
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่นที่ 2 40,342 14,774 33,789 11,383 21,788 6,306 540 554
ยางพารา 353,485 353,485 269,386 300,462 59,063 67,003 219 223
ลาไย 239,711 246,135 213,316 219,137 90,015 95,428 422 435
ชา 85,419 87,897 81,344 86,885 88,076 70,451 1,028 880
สับปะรด 62,509 68,751 56,206 58,875 163,782 146,940 2,914 2,782
กาแฟ 58,831 51,333 50,655 51,324 7,447 8,071 129 132
มันสาปะหลัง 45,929 33,088 44,529 31,598 134,036 81,250 2,918 2,571
ลิ้นจี่ 13,724 13,373 13,600 12,981 2,492 2,954 183 223

สาหรับสถานการณ์การปลูกพืชของจังหวัดเชียงราย พบว่า เศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย ได้แก่ ข้าว


ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยางพารา ลาไย ชา สับปะรด กาแฟ มันสาปะหลัง และลิ้นจี่ เมื่อพิจารณาตามชนิดของพืชใน
ปีการผลิต 2563/2564 พบว่า เกษตรกรในจังหวัดเชียงรายใช้พื้นที่ส่วนใหใ่ในการปลูกข้าวนาปีมากที่สุด
จานวนรวม 1,335,403 ไร่ มีผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ 1,331,851 ตัน และ ผลผลิตเฉลี่ย/เนื้อที่เก็บเกี่ยว จานวน
567 กิโลกรัม ซึ่งจะเห็นว่า ในปีการผลิต 2563/2564 มีการปลูกข้าวนาปีเพิ่มขึ้น และมีจานวนผลผลิตเพิ่มขึ้น
ตามจานวนพื้นที่เพาะปลูก รองลงมาเกษตรกรใช้พื้นที่ในการปลูกข้าวนาปรัง จานวน 340,505 ไร่ ผลผลิตที่
เก็บเกี่ยวได้ 207,433 ตันและ ผลผลิตเฉลี่ย/เนื้อที่เก็บเกี่ยว จานวน 634 กิโลกรัม และเกษตรกรใช้พื้นที่ในการ
ปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์จานวน 275,602 ไร่ ผลผลิตที่เก็บเกี่ยวได้ 195,531 ตันและ ผลผลิตเฉลี่ย/เนื้อที่เก็บ
เกี่ยว จานวน 1,306 กิโลกรัม ตามลาดับ ในแต่ละปีการผลิต เกษตรกรจะทาการเพาะปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
จานวน 2 ครั้ง ข้าวโพดรุ่นแรก เริ่มปลูกในช่วงฤดูฝน ประมาณช่วงเดือนเมษายน-มิถุนายน และเก็บเกี่ยว
ผลผลิตในเดือนสิงหาคม-พฤศจิกายน การเพาะปลูกข้าวโพดรุ่น 2 ประมาณช่วงฤดูแล้ง แต่ข้าวโพดรุ่นนี้จะมี
75

ปริมาณผลผลิตไม่มาก การเพาะปลูกจะเริ่มในเดือนธันวาคม และเก็บเกี่ยวในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ของปี


ถัดไป
4.2.2) ด้านการปศุสัตว์ของจังหวัดเชียงราย ปี 2563

ตารางที่ 31 ด้านปศุสัตว์ของจังหวัดเชียงราย ปี 2562-2563

จังหวัด/ จานวนเกษตรกร จานวนสัตว์(ตัว) ผลผลิต(ตัน) ราคาเฉลี่ย/ กก.


อาเภอ 2562 2563 2562 2563 2562 2563 2562 2563
สัตว์ปีก
(ไก่พื้นเมือง, 78,041 77,126 2,966,830 3,100,965 15,982.86 10,881.41 106.39 110.16
ไก่ไข่, ไก่เนื้อ)
สุกร 7,401 5,006 148,261 125,806 71,741.97 42,130.47 65.67 76.84
โคเนื้อ 4,533 4,577 36,627 37,857 9,122.33 5,951 91.68 93.15
กระบือ 1,694 1,646 14,398 13,743 5,658.91 353.04 90.67 94.44
โคนม 152 141 5,159 4,740 7,142 6352 18.00 21.76
กระบือ 1,694 1,646 14,398 13,743 5,658.91 353.04 90.67 94.44
ที่มา : สานักงานปศุสัตว์จังหวัดเชียงราย, 2563

แผนภูมิที่ 20 จานวนเกษตรกรผู้เลี้ยงปศุสัตว์ของจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2563


โคเนื้อกระบือ โคนม กระบือ
สุกร
5% 2% 0% 2%
5%

สัตว์ปีก
86%

ที่มา : สานักงานปศุสตั ว์จังหวัดเชียงราย,2563

จากข้อมูลปศุสัตว์จังหวดเชียงรายในปี 2563 พบว่าจังหวัดเชียงรายมีจานวนเกษตรกรที่เลี้ยง สัตว์ปีก


(ไก่พื้นเมือง, ไก่ไข่, ไก่เนื้อ) มีจานวนมากที่สุด คือ 77,126 ราย โดยมีจานวนทั้งสิ้น 3,100,965 ตัว ผลผลิต
76

10,881.41 ตัน รองลงมาคือสุกร มีเกษตรกรที่เลี้ยงสุกร 5,006 ราย โดยมีจานวนสุกรทั้งสิ้น 125,806 ตัว


ผลผลิต 42,130.47 ตัน และ โคเนื้อ มีเกษตรกรที่เลี้ยงโคเนื้อ 4,577 ราย โดยมีจานวนโคเนื้อทั้งสิ้น 37,857
ตัว ผลผลิต 5,951 ตัน ตามลาดับ

4.2.3) ด้านการประมงของจังหวัดเชียงราย

ตารางที่ 32 ด้านการประมงของจังหวัดเชียงราย ปี 2563 แยกตามรายอาเภอ

ประเภทสัตว์ จานวนเกษตรกร จานวนพื้นที่(ไร่) ผลผลิต(ตัน) ราคาเฉลี่ย/ กก.


น้า 2562 2563 2562 2563 2562 2563 2562 2563
ปลานิล 10,178 11,740 15,264.89 12,206.96 8,073.36 3,840.38 53.21 49.24
ปลาดุก 2,640 2,752 1,990.62 1875.49 3,162.8 513.44 51.10 49.27
กุ้งก้ามกราม 50 87 506.12 766.42 29.92 76.12 216.48 286.39
รวม 12,868 14,579 17,762 14,849 11,266 4,430 - -

ที่มา : สานักงานประมงจังหวัดเชียงราย, 2562

สถานการณ์ด้านการประมงของจังหวัดเชียงราย ปี 2563 พบว่า จังหวัดเชียงรายมีเกษตรกรทาประมง


จานวนทั้งสิ้น 14,579 ราย โดยมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปี พ.ศ. 2562 จานวน 1,702 ราย ในปี พ.ศ. 2563 มีการ
ใช้พื้นที่รวม 14,849 ไร่ ปริมาณผลผลิตมากถึง 4,430 ตัน เมื่อพิจารณาประเภทสัตว์น้าพบว่า ประเภทสัตว์น้า
ที่ทาการเลี้ ย งมากที่สุ ดคือ ปลานิ ล มีเกษตรกรผู้ เลี้ ยงจานวน 11,740 ราย พื้นที่ในการเพาะเลี้ ยงจานวน
12,206.96 ไร่ ผลผลิ ต 3,840.38 ตันต่อปี ราคาเฉลี่ ยปลานิล กก.ละ 49.24 บาท รองลงมา ปลาดุก มี
เกษตรกรผู้เลี้ยงจานวน 2,752 ราย พื้นที่ในการเพาะเลี้ยงจานวน 1875.49 ไร่ ผลผลิต 513.44 ตันต่อปี ราคา
เฉลี่ยปลาดุก กก.ละ 49.7 บาท และสัตว์น้าประเภทกุ้งก้ามกราม มีเกษตรกรผู้เลี้ยงจานวน 87 ราย พื้นที่ใน
การเพาะเลี้ยงจานวน 766.42 ไร่ ผลผลิต 76.12 ตันต่อปี ราคาเฉลี่ย กก.ละ 286.39บาท ตามลาดับ
77

2.4.7 ปฏิทินการเก็บเกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรรายเดือนของจังหวัดเชียงราย

ตารางที่ 33 ข้อมูลร้อยละการเก็บเกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรด้านพืชรายเดือนของจังหวัดเชียงราย
ปี 2563 ปี 2564
ชนิดสินค้า
ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค. ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย. พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ด้านพืช
1. ข้าวนาปี
ช่วงเวลาการออก
1 15 77 7 1 15 77 7
ผลผลิต (ร้อยละ)
2. ข้าวนาปรัง
ช่วงเวลาการออก
5 20 70 5
ผลผลิต (ร้อยละ)
3. ลาไย
ช่วงเวลาการออก
16 79 5
ผลผลิต (ร้อยละ)
4. ลิน้ จี่
ช่วงเวลาการออก
3 95 2
ผลผลิต (ร้อยละ)
5. สับปะรด
ช่วงเวลาการออก
4.75 4.25 3.99 2.80 2.01 3.31 4.27 6.55 20.13 24.78 11.43 11.73 4.75 4.25 3.99 2.80
ผลผลิต (ร้อยละ)
6. ส้มโอ
ช่วงเวลาการออก
1.98 9.28 9.99 9.99 13.37 22.71 22.71 14.92 3.24 1.80
ผลผลิต (ร้อยละ)
7. ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์
ช่วงเวลาการออก
20 50 30 10 20 50 20
ผลผลิต (ร้อยละ)
8. ชา
ช่วงเวลาการออก
10 10 10 40 10 10 10
ผลผลิต (ร้อยละ)
9. กาแฟ
ช่วงเวลาการออก
10 40 33 15 2
ผลผลิต (ร้อยละ)
10. มันสาปะหลัง
ช่วงเวลาการออก
10 30 40 20
ผลผลิต (ร้อยละ)
11. ปาล์มน้ามัน
ช่วงเวลาการออก
5 5 5 5 5 5 5 5 25 5 5 5 5 5 5 5
ผลผลิต (ร้อยละ)
12. ยางพารา
ช่วงเวลาการออก
10.18 10.10 10.55 12.13 10.93 7.43 3.00 2.11 6.05 9.25 9.16 9.25 10.10 10.18 10.51 12.03
ผลผลิต (ร้อยละ)
รวม - 24.00 49.00 29.97
ที่มา : สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, 2564
78

ปฏิทินการเก็บเกี่ยวผลผลิต สินค้าเกษตรด้านพืช จังหวัดเชียงราย พบว่า การเก็บเกี่ยวผลผลิตสินค้า


เกษตรด้านพืชรายเดือนของจังหวัดเชียงราย ประเภทของพืชที่มีการเก็บเกี่ยวตลอดทั้งปี คือ สับประรด ปาล์ม
น้ามัน ส้มโอ ยางพาราส่วนพืชที่มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วงฤดูร้อน เริ่มต้นประมาณกลางเดือนกุมภาพันธ์ถึง
กลางเดือนพฤษภาคม ได้แก่ ข้าวนาปรัง ลิ้นจี่ ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ กาแฟ มันสาปะหลัง ข้าวโพดหวาน ฤดูฝน
เริ่มต้นประมาณกลางเดือนพฤษภาคมถึงกลางเดือนตุลาคม พืชที่มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วงฤดูฝน ได้แก่
ลาไย ชา มะม่วง ข้าวโพดเลี้ ยงสัตว์ รุ่นที่ 2 ข้าวโพดหวาน ฤดูหนาว เริ่มต้นประมาณกลางเดือนตุลาคมถึง
กลางเดือนกุมภาพันธ์ พืชที่มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตในช่วงฤดูหนาว ได้แก่ ข้าวนาปี ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ รุ่นที่ 1
มันฝรั่ง เมื่อพิจารณาถึงช่วงเวลาที่มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตทางการเกษตรประเภทพืชมากที่สุด คือช่วงฤดู ร้อนที่
มีผลผลิตของพืชต่างๆออกสู่ท้องตลาดมากที่สุด ประมาณร้อยละ 49.00 รองลงมาคือ ฤดูหนาว ร้อยละ 29.97
และฤดูร้อน ร้อยละ 24.00 ตามลาดับ

ตารางที่ 34 ข้อมูลร้อยละการเก็บเกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรด้านปศุสัตว์รายเดือนของจังหวัดเชียงราย

ปี 2564
ชนิดสินค้า
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ด้านปศุสัตว์
1. โคเนื้อ
ช่วงเวลาการออก
7.85 6.77 11.17 7.77 12.49 12.02 6.16 7.42 7.65 7.00 6.67 7.04
ผลผลิต(ร้อยละ)
2. น้านมดิบ
ช่วงเวลาการออก
9.88 10.63 9.83 10.87 9.02 8.36 7.88 7.47 5.21 4.10 8.16 8.59
ผลผลิต(ร้อยละ)
3. สุกร
ช่วงเวลาการออก
7.53 6.77 7.44 9.32 8.39 8.49 7.64 9.17 6.85 9.18 9.60 9.61
ผลผลิต(ร้อยละ)
4. ไก่เนื้อ
ช่วงเวลาการออก
9.95 6.42 3.74 5.43 13.91 6.98 7.99 7.21 11.95 10.02 6.11 10.30
ผลผลิต(ร้อยละ)
5. ไข่ไก่
ช่วงเวลาการออก
8.73 23.17 13.15 11.59 16.18 12.27 3.67 1.66 0.13 3.05 2.74 3.48
ผลผลิต(ร้อยละ)
รวม 8.78 10.75 9.01 8.99 11.99 9.62 6.66 6.58 6.35 6.67 6.65 7.8
ที่มา : สานักงานปศุสตั ว์จังหวัดเชียงราย,2564

ปฏิทินการเก็บเกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรด้านปศุสัตว์รายเดือนของจังหวัดเชียงราย พบว่า การเก็บ


เกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรด้านปศุสัตว์รายเดือนของจังหวัดเชียงราย มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตตลอดทั้งปี ได้แก่ โค
เนื้อ น้านมดิบ สุกร ไก่เนื้อ ไข่ไก่ เมื่อพิจารณาถึงช่วงเวลาที่มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรด้านปศุสัตว์ราย
เดือนของจังหวัดเชียงราย มากที่สุด คือ เดือนพฤษภาคมมีการเก็บผลผลิตร้อยละ 11.99 รองลงมาเดือน
79

กุมภาพันธ์มีการเก็บผลผลิตร้อยละ 10.75 และเดือน มิถุนายนการเก็บผลผลิตร้อยละ 9.62 ตามลาดับช่วงฤดู


หนาวที่มีผลผลิตของพืชต่างๆออกสู่ท้องตลาดมากที่สุด ประมาณร้อยละ 43.56 รองลงมาคือ ฤดูฝน ร้อยละ
37.76 และฤดูร้อน ร้อยละ 18.59 ตามลาดับ

ตารางที่ 35 ข้อมูลร้อยละการเก็บเกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรด้านประมงรายเดือนของจังหวัดเชียงราย

ปี 2564
ชนิดสินค้า
ม.ค. ก.พ. มี.ค. เม.ย พ.ค. มิ.ย. ก.ค. ส.ค. ก.ย. ต.ค. พ.ย. ธ.ค.
ด้านประมง
1. ปลาดุก
ช่วงเวลาการออก
9.38 7.81 7.81 10.16 7.81 7.81 7.81 7.81 8.59 8.59 8.59 8.59
ผลผลิต(ร้อยละ)
2. ปลานิล
ช่วงเวลาการออก
9.27 7.95 7.95 9.93 7.95 7.95 7.95 7.95 7.95 7.95 7.95 9.27
ผลผลิต(ร้อยละ)
3. กุ้งเพาะเลีย้ ง
ช่วงเวลาการออก
8.97 7.69 7.69 10.26 7.69 7.69 7.69 7.69 7.69 8.97 8.97 8.97
ผลผลิต(ร้อยละ)
รวม 9.2 7.81 7.81 10.11 7.81 7.81 7.81 7.81 8.07 8.5 8.5 8.94
ที่มา : สานักงานประมงจังหวัดเชียงราย, 2564

ปฏิทินการเก็บเกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรด้านประมงรายเดือนของจังหวัดเชียงราย พบว่า การเก็บ


เกี่ยวผลผลิตสินค้าเกษตรด้านประมงรายเดือนของจังหวัดเชียงราย มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตตลอดทั้งปี ได้แก่
ปลานิล ปลาดุก กุ้งกร้ามกราม เมื่อพิจารณาถึงช่วงเวลาที่มีการเก็บเกี่ยวผลผลิ ตสินค้าเกษตรด้านประมงราย
เดือนของจังหวัดเชียงราย มากที่สุด คือ เดือนเมษายนมีการเก็บผลผลิตร้อยละ 10.11 รองลงมาเดือนมกราคม
มีการเก็บผลผลิตร้อยละ 9.21 และเดือนธันวาคมมีการเก็บผลผลิตร้อยละ 8.94 ตามลาดับ เมื่อพิจารณาลึกลง
ไปพบว่า ช่วงเดือน พฤษภาคม – เดือนกันยายน เป็นช่วงที่ปลาน้าจืดผสมพันธุ์และสางไข่มากที่สุด จึงเป็นช่วง
ที่มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตลดลง

4.3) ข้อมูลสินค้าเกษตรที่ได้รับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI)


ข้อมูลสินค้าเกษตรที่ได้รับรองสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของจังหวัดเชียงรายจากกรมทรัพย์สินทาง
ปัใใา กระทรวงพาณิชย์ มีดังนี้
3.1) สับปะรดภูแล เป็นสับปะรดที่ปลูกในตาบลนางแล ตาบลท่าสุด และตาบลบ้านดู่ อาเภอ
เมือง จังหวัดเชียงราย ขนาดเล็กมีน้าหนักตั้งแต่ 150 -1,000 กรัม ขอขึ้นทะเบียนโดย องค์การบริหารส่วน
ตาบลนางแล และคณะกรรมการเครือข่ายผู้ปลูกสับปะรดภูแลจังหวัดเชียงราย วันขึ้นทะเบียน 8 พฤศจิกายน
2548
80

3.2) สับปะรดนางแล เป็นสับปะรดพันธุ์น้าผึ้ง ซึ่งอยู่ในกลุ่ม Smooth cayenne เช่นเดียวกับ


พันธุ์ปัตตาเวีย ขอบเขตการปลูกสับปะรดนางแล อยู่ในเขตพื้นที่ตาบลนางแล อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ขอ
ขึ้นทะเบียนโดย องค์การบริหารส่วนตาบลนางแล วันขึ้นทะเบียน 8 พฤศจิกายน 2548
3.3 กาแฟดอยตุง เป็นกาแฟอาราบิก้า ที่ได้จากผลกาแฟสดที่ ปลูกในพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุง
บนเทือกเขานางนอน จังหวัดเชียงรายที่ระดับความสูง 800-1,200 เมตร จากระดับน้าทะเล และผลิตเป็นสาร
กาแฟ และกาแฟคั่วเม็ด บนพื้นที่โครงการพัฒนาดอยตุงด้วยกรรมวิธีของโครงการ เนื้อที่ขอบเขตประมาณ
93,515 ไร่ หรือ 149.62 ตารางกิโลเมตร ขอขึ้นทะเบียนโดย มูลนิธิแม่ฟ้าหลวง ในพระบรมราชูปถัมภ์ วันขึ้น
ทะเบียน 15 สิงหาคม 2548
3.4 กาแฟดอยช้าง เป็นกาแฟอาราบิก้าสายพันธุ์หลัก คาทูรา คาติมอร์ และคาทุย ที่ได้จากผล
กาแฟสด ที่ปลูกที่หุบเขาดอยช้าง ที่ระดับความสูง 1,000-1,700 เมตร จากระดับน้าทะเล นามาผลิตด้วยกรรมวิธี
มาตรฐานเป็นกาแฟสารและกาแฟคั่ว-บด ที่มีคุณภาพสูง ขอบเขตการปลูกกาแฟดอยช้าง อยู่ในหุบเขาดอยช้าง
เขตพื้นที่ ตาบลวาวี อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย ขอขึ้นทะเบียนโดย กลุ่มผู้ปลูกกาแฟดอยช้าง วันขึ้น
ทะเบียน 28 กรกฎาคม 2549
3.5 ชาเชียงราย เป็นผลิตภัณฑ์ชาเขียวและชาอู่หลง ที่ได้จากชาพันธุ์อัสสัมและพันธุ์ชาจีน โดย
ปลูก และผลิตตามกรรมวิธีเฉพาะตามหลักการผลิตชา ขอบเขตพื้นที่การปลูกและผลิตชาเชียงราย ครอบคลุม
พื้นที่ ในเขตอาเภอเมือง อาเภอแม่สรวย อาเภอเวียงป่าเป้า อาเภอแม่ลาว อาเภอแม่จัน อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอ
เชียงของ อาเภอเวียงเชียงรุ้ง และอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ขอขึ้นทะเบียนโดย มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วัน
ขึ้นทะเบียน 3 กันยายน 2553
3.6 ข้าวเหนียวเขี้ยวงูเชียงราย คือ ข้าวเหนียวพันธุ์เขี้ยวงู 8974 เป็นข้าวเหนียวพันธุ์พื้นเมืองที่ไว
ต่อแสง ปลูกได้ในฤดูนาปี มีเมล็ดเล็ก เรียวยาว สีขาวขุ่น เมื่อนึ่งสุกแล้วนุ่มเหนียวติดกันแต่ไม่เละ มีความเลื่อม
มันค่อนข้างมาก และมีกลิ่นหอม ข้าวคืนตัวเร็วและไม่แข็ง นิยมนามาทาเป็นขนมหวาน เช่น ข้าวเหนียวมูล พบ
ปลู กมากในพื้น ที่ 4 อาเภอ ได้แก่ อาเภอแม่ส าย อาเภอเชียงแสน อาเภอแม่จัน และอาเภอพาน จังหวัด
เชียงราย
3.7 ข้าวก่าล้านนา มีแหล่งปลูกอยู่หลายแหล่ง ข้าวก่าดอยสะเก็ด ลาต้นมีลักษณะเป็นสีม่วงเข้ม
หรือ สีดา เปลือกเมล็ดสีม่วง เมล็ดข้าวกล้องสีม่วง ข้าวล้าอมก๋อย ลาต้นมีลักษณะเป็นสีม่วงปนเขียว เมล็ด
ข้าวกล้องและเยื่อหุ้มเมล็ดสีม่วง ข้าวก่าพะเยา ลาต้นมีลักษณะเป็นสีม่วง มีเมล็ดข้าวกล้องสีม่วงเช่นกัน ข้าวก่า
พื้นเมือง ลาต้นมีลักษณะเป็นสีม่วง สีม่วงปนเขียว หรือสีเขียว เมล็ดข้าวกล้องสีฟาง และสีฟางม่วง พื้นที่การ
ผลิตอยู่ในจังหวัดเชียงใหม่ เชียงราย ลาปาง ลาพูนแพร่ น่าน พะเยา และจังหวั ดแม่ฮ่องสอน ซึ่งจะผลิตใน
ระบบการผลิตข้าวแบบ GAP
81

4.4) ข้อมูลมาตรฐานสินค้าเกษตร
4.4.1) พื้นที่การทาเกษตรอินทรีย์ ด้านข้าว

ตารางที่ 36 ข้อมูลการทาเกษตรอินทรีย์ ปีพ.ศ. 2563

ชนิดสินค้า จานวนราย/แปลง จานวนไร่


1) ข้าว T1 (เตรียมความพร้อม) 937 ราย 4,992.50 ไร่
ข้าว T2 (ปรับเปลี่ยน) 304 ราย 3,115.25 ไร่
รับรองแล้ว 427 ราย 4,560.25 ไร่
รวมทั้งสิ้น 1,668 ราย 12,668.00 ไร่
2) พืช (แปลง)
ปรับเปลี่ยน 33 ราย/ 34 แปลง 207.8375 ไร่
รับรองแล้ว 95 ราย/ 95 แปลง 1,134.53 ไร่
รวมทั้งสิ้น 128 ราย/129 แปลง 1,342.3675 ไร่
3) ประมง ปรับเปลี่ยน 1 ราย 0.95 ไร่
4) ปศุสัตว์ รับรองแล้ว 96 แปลง/ ราย -
- พืชอาหารสัตว์ 38 แปลง
- ไก่ไข่ 51 ราย
- ไก่พื้นเมือง 1 ราย
- สุกร 5 ราย
ที่มา : สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, 2564

จากตารางที่ 34 แสดงข้อมูลในปี พ.ศ. 2563 เกษตรกร 1,668 ราย พื้นที่ 12,668 ไร่ ด้านพืช
เกษตรกร 128 ราย พื้นที่ 1,342.3675 ไร่ ด้านประมง เกษตรกร 1 ราย พื้นที่ 0.95 ไร่ และ ด้านปศุสัตว์
เกษตรกร 96 ฟาร์ม
82

4.4.2) การรับรอง GAP ด้านข้าว ในปี พ.ศ. 2563

ตารางที่ 37 ข้อมูลการการรับรอง GAP

ชนิดสินค้า จานวนราย/แปลง จานวนไร่


1) พืช (แปลง) 6,291 ราย/ 10,170 แปลง 47,079.71 ไร่
2) ข้าว GAP Seed (ราย) 47 ราย 74 ไร่
3) ข้าว GAP ทั่วไป (ราย) 1,026 ราย 10,054.75 ไร่
4) ประมง 526 ราย 5,436 ไร่
5) ปศุสัตว์ 686 ฟาร์ม -
รวมทั้งสิ้น 8,576 ราย/ฟาร์ม 62,644.46 ไร่
ที่มา : สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, 2564

จากตารางที่ 35 เกษตรกร 1,073 ราย พื้นที่ 10,128.75 ไร่ ด้านพืช เกษตรกร 6,291 ราย พื้นที่
47,079.71 ไร่ ด้านประมง เกษตรกร 526 ฟาร์ม พื้นที่ 5,436 ไร่ และ ด้านปศุสัตว์ จานวน 686 ฟาร์ม

4.5) ครัวเรือนเกษตรกรและแรงงานภาคเกษตร ปีพ.ศ. 2563

ตารางที่ 38 แสดงจานวนครัวเรือนเกษตรกรของจังหวัดเชียงราย

จานวนครัวเรือน ร้อยละจานวนครัวเรือน
อาเภอ จานวนครัวเรือน(1)
เกษตรกร(2) เกษตร /ครัวเรือนทั้งหมด
เมืองเชียงราย 135,612 19,649 14.49
เวียงชัย 18,340 8,058 43.94
เชียงของ 27,395 11,209 40.92
เทิง 33,041 16,721 50.61
พาน 51,238 18,603 36.31
ป่าแดด 9,499 5,826 61.33
แม่จัน 45,653 11,537 25.27
เชียงแสน 24,680 6,455 26.15
แม่สาย 54,660 6,752 12.35
แม่สรวย 32,247 14,747 45.73
เวียงป่าเป้า 28,331 10,717 37.83
83

จานวนครัวเรือน ร้อยละจานวนครัวเรือน
อาเภอ จานวนครัวเรือน(1)
เกษตรกร(2) เกษตร /ครัวเรือนทั้งหมด
พใาเม็งราย 15,625 8,671 55.49
เวียงแก่น 13,030 5,835 44.78
ขุนตาล 11,752 6,828 58.10
แม่ฟ้าหลวง 24,822 7,657 30.85
แม่ลาว 13,648 5,216 38.22
เวียงเชียงรุ้ง 10,637 5,606 52.70
ดอยหลวง 8,615 4,318 50.12
รวม 558,825 174,405 31.21
ที่มา : 1. สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2563
2. สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย กรมส่งเสริมการเกษตร, 2563

จากตารางที่ 36 แสดงให้ถึงจานวนครัวเรือนเกษตรกรในพื้นที่ต่างๆ พบว่า ในพื้นที่ที่มีครัวเรือนภาค


เกษตรมากที่สุด 3 อาเภอแรก ได้แก่ อาเภอป่าแดด อาเภอขุนตาล และ อาเภอพใาเม็งราย โดยครัวเรือนภาค
เกษตรมีสัดส่วนร้อยละ 61.33 58.10 และ 55.49 ตามลาดับ

4.6)สถาบันเกษตรกรและองค์กรเกษตรกร
4.6.1) ประเภทสหกรณ์และจานวนสมาชิก

ตารางที่ 39 ประเภทสหกรณ์และจานวนสมาชิก ปี 2563

จานวนสหกรณ์ จานวนสมาชิกทั้งหมด
ประเภทสหกรณ์
(แห่ง) (ราย)
ในภาคเกษตร 68 178,488
1. สหกรณ์การเกษตร 66 177,827
2. สหกรณ์ประมง 2 661
นอกภาคเกษตร 56 66,266
3. สหกรณ์ออมทรัพย์ 9 31,342
4. สหกรณ์บริการ 14 1,771
5. สหกรณ์เครดิตยูเนี่ยน 33 33,153
รวม 124 244,754
ที่มา : สานักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย, สานักงานประมงจังหวัดเชียงราย,2563
84

จานวนสหกรณ์และสมาชิกในปี 2563 มีจานวน124 แห่ง มีสมาชิก จานวน 244,754 ราย เมื่อ


จาแนกตามประเภทของสหกรณ์ พบว่าส่วนใหใ่เป็นสหกรณ์ในภาคการเกษตร จานวน 68 แห่ง มีสมาชิก
ทั้งสิ้น 178,488 คน และที่เหลือเป็นสหกรณ์นอกภาคการเกษตรจานวน 56 แห่ง มีสมาชิกจานวน 66,266 ราย

แผนภูมิที่ 21 จานวนสหกรณ์ และจานวนสมาชิกทั้งหมด


จานวนสหกรณ์
70 66
60
50
40 33
30
14
20 9
10 2
0

จานวนสมาชิกทั้งหมด
200,000 177,827
150,000

100,000
33,153 31,342
50,000
1,771 661
0
85

กลุ่มเกษตรกรจังหวัดเชียงราย

ตารางที่ 40 จานวนและสมาชิกสถาบันเกษตรกรจังหวัดเชียงราย ปี 2564

จานวน
จานวนกลุ่ม สมาชิก
ประเภทสหกรณ์
(กลุม่ ) ทั้งหมด
(ราย)
กลุ่มเกษตรกร 55 5,590
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร 266 5,320
กลุ่มยุวเกษตรกร 92 1,380
กลุ่มวิสาหกิจชุมชน 3,010 45,566
รวม 3,423 57,856
ที่มา : สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย และสานักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย, 2564

แผนภูมิที่ 22 สถาบันเกษตรกรจังหวัดเชียงราย

สถาบันเกษตรกรจังหวัดเชียงราย ปี 2564
กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร
8%
กลุ่มเกษตรกร
กลุ่มยุวเกษตรกร
1%
3%

กลุ่มวิสาหกิจชุมชน
88%

กลุ่มเกษตรกร กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร กลุ่มยุวเกษตรกร กลุ่มวิสาหกิจชุมชน

สถาบันเกษตรกรจังหวัดเชียงราย ปี 2564 พบว่ามีจานวนทั้งสิ้น 3,423 กลุ่ม โดยแบ่งเป็น


กลุ่มวิสาหกิจชุมชน จานวน 3,010 กลุ่ม กลุ่มแม่บ้านเกษตรกร จานวน 266 กลุ่ม กลุ่มยุวเกษตรกร จานวน
92 กลุ่ ม กลุ่ ม เกษตรกร จ านวน 55 กลุ่ ม ตามล าดับ เมื่อ พิ จารณาถึ ง สมาชิ กกลุ่ มเป็ น รายบุค คลพบว่ า มี
เกษตรกรเข้าเป็นสมาชิกสถาบันเกษตรกรจังหวัดเชียงราย จานวน 57,856 ราย โดยแบ่งเป็นสมาชิกกลุ่ ม
วิสาหกิจชุมชน จานวน 45,566 ราย รองลงมากลุ่มเกษตรกรมีสมาชิก จานวน 5,590 ราย กลุ่มแม่บ้าน
เกษตรกร มีสมาชิกจานวน 5,320 ราย กลุ่มยุวเกษตรกร มีสมาชิกจานวน 1,380 ราย ตามลาดับ
86

4.6.2) ข้อมูลจานวน Smart Farmer และYoung Smart Farmer

ตารางที่ 41 ข้อมูล Smart Farmer, Young Smart Farmer

จานวน (ราย) รวม


ประเภท
ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 (ราย)
Smart Farmer 2,178 1,087 984 4,249
- เกษตร 1,378 378 360 2,116
- ปศุสัตว์ 330 120 80 530
- ประมง 250 268 120 638
- สหกรณ์ 65 85 - 150
- ปฏิรูปที่ดิน 53 47 47 147
- ข้าว 102 169 350 621
- หม่อนไหม - 20 27 47
Young Smart Farmer 30 35 68 133
- พืช 30 35 40 105
- ปศุสัตว์ - - 10 10
- ประมง - - 18 18
รวม 2,208 1,122 1,052 4,382
ที่มา : สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย สานักงานประมงจังหวัดเชียงราย สานักงานปศุสัตว์จังหวัดเชียงราย
สานักงานการปฏิรูปทีด่ ินจังหวัดเชียงราย สานักงานสหกรณ์จังหวัดเชียงราย ศูนย์วิจยั ข้าวเชียงราย
ศูนย์หม่อนไหมเฉลิมพระเกียรติฯน่าน

เมื่อพิจารณา Smart Farmer และ Young Smart Farmer ด้านการเกษตร ตั้งแต่ปี 2561-2563
ของจังหวัดเชียงราย พบว่าในปี พ.ศ. 2563 จังหวัดเชียงราย มีจานวน Smart Farmer และ Young Smart
Farmer ทั้งสิ้น 4,382 ราย โดยแบ่งเป็น Smart Farmer ทั้งสิ้น 4,249ราย และ Young Smart Farmer
จานวน 133 ราย ซึ่งหากเปรียบเทียบกับปี 2561-2562 พบว่ามีการสมัครเข้ามาเป็น Smart Farmer เพิ่มขึ้น
ทุกปีแต่จานวนผู้สมัครแต่ละปีมีจานวนน้อยลง เมื่อพิจารณารายด้านแล้วพบว่า Smart Farmer ประเภท
เกษตรกรมีจานวนมากที่สุดจานวน 2,116 ราย รองลงมา ประเภทประมง 628 ราย และประเภทข้าว 621
รายตามลาดับ ส่วนเกษตรกร Young Smart Farmer มีเพิ่มขึ้นทุกปีตามลาดับ เมื่อพิจารณา เกษตรกร
Young Smart Farmer ในจังหวัดเชียงรายพบว่า เกษตรกร Young Smart Farmer ที่มีมากที่สุดคือประเภท
พื ช จ านวน 105 ราย รองลงมาประเภทประมง จ านวน 18 รายและประเภทปศุ สั ต ว์ จ านวน 10 ราย
ตามลาดับ
87

2.8.3 โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ ปี 2559-2564

ตารางที่ 42 โครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหใ่ ปี 2559-2564

ลาดับ ประเภท ชนิดสินค้า จานวน จานวนพื้นที่ จานวน


แปลงใหญ่(แปลง) (ไร่) เกษตรกร(ราย)
1 ข้าว ข้าว 98 74,508.65 6,245
2 พืชสวน ส้มโอ ลาไย มะม่วง 29 15,293.77 1,845
ส้มเขียวหวาน ปาล์ม
ยางพารา พืชผัก สมุนไพร
3 พืชไร่ สับปะรด มันฝรั่ง ถั่วเหลือง 9 4,105.25 660
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ หวาย ชา
4 ประมง ปลานิล กบนา 11 3,944.41 739
5 ปศุสัตว์ โคนม โคเนื้อ ไก่พนื้ เมือง ผึ้ง 7 2,100.83 251
6 ไม้ดอกไม้ประดับ ไผ่กวนอิม 1 490.25 31
7 หม่อนไหม หม่อนไหม 1 55.28 63
รวม 153 100,498.04 9,834
ที่มา : สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, 2564

เมื่อพิจารณาโครงการระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหใ่ ปี 2564 พบว่า จังหวัดเชียงรายมี


จานวนพื้นที่เกษตรแปลงใหใ่จานวนทั้งสิ้น 153 แปลง จานวนพื้นที่ 100,498.04 ไร่ มีเกษตรกรที่เข้าร่วม
ทั้งหมด 9,834 ราย โดยแบ่งเป็นพื้นที่เกษตรแปลงใหใ่ที่มีพื้นที่มากที่สุดคือ ประเภทข้าว 98 แปลง จานวน
74,508.65 ไร่ รองลงมา ประเภทพืชสวน ประกอบไปด้วย ส้มโอ ลาไย มะม่วง ส้มเขียวหวาน ปาล์ม ยางพารา
พืชผัก สมุนไพร 29 แปลง จานวน 15,293.77 ไร่ และ ประเภทพืชไร่ พืชไร่ ประกอบไปด้วย สับปะรด มัน
ฝรั่ง ถั่วเหลือง ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ หวาย ชา 9 แปลง จานวน 4,105.25 ไร่ ตามลาดับ
88

5) ผลิตภัณฑ์ชุมชนและสินค้าตามโครงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
5.1) รายรับจากสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์

ตารางที่ 43 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์

ปีงบประมาณ 2558 2559 2560 2561 2562


ในประเทศ 1,723,900,016 2,074,610,553 2,533,657,734 3,047,166,463 3,855,592,243
ต่างประเทศ 257,284,680 345,463,410 334,577,071 450,029,143 450,421,324
รวม 1,981,184,696 2,420,073,963 2,868,234,805 3,497,195,606 4,306,013,567
ที่มา : กรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย, 2562

แผนภูมิที่ 23 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ในประเทศ ปี พ.ศ.2558 –


2562 และแนวโน้มในอนาคต

7,000.00 6,409.34
5,876.16
6,000.00 5,342.98
4,809.80
5,000.00 4,276.62
3,855.59
4,000.00
3,000.00
2,000.00
1,000.00
-
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ผลการจาหน่าย OTOP ในประเทศ Forecast


89

แผนภูมิที่ 24 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ในต่างประเทศ ปี พ.ศ.2558 –


2562 และแนวโน้มในอนาคต
800.00 754.36
652.73 653.00
551.10 551.37
600.00
450.42
400.00

200.00

-
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ผลการจาหน่าย OTOP ต่างประเทศ Forecast

เมื่อพิจารณารายรับจากสินค้าตามโครงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ หรือ OTOP พบว่า รายรับจาก


การจาหน่ายสินค้าOTOP เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทั้งในตลาดในประเทศและต่างประเทศ ผลการจาหน่ายสินค้า
OTOP ในปี 2562 รวมทั้งสิ้ น จ านวน 4,306,013,567 บาท แบ่ง ออกเป็น ตลาดในประเทศ จานวน
3,855,592,243 บาท หรือคิดเป็นร้อยละ 89.54 ของผลการจาหน่ายทั้งหมด และตลาดต่างประเทศ จานวน
450,421,324 บาท คิดเป็นร้อยละ 10.46 ของผลการจาหน่ายทั้งหมด และจากแผนภูมิจะพบว่า แนวโน้ม ผล
การจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่ งผลิตภัณฑ์ ทั้งในประเทศและต่างประเทศในอนาคตตั้งแต่ปี
2564 – 2567 มีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้นเป็นลาดับ

5.2) สินค้า OTOP ของจังหวัดเชียงราย

ตารางที่ 44 สินค้า OTOP 5 ดาว ของจังหวัดเชียงราย

ลา
ประเภท ผลิตภัณฑ์ จานวนผู้ผลิต/ผู้ประกอบการ
ดับ
1 อาหาร น้าพริก 12
พืชผัก ผลไม้ 17
น้าผึ้ง 8
ขนม 8
ผักและผลไม้แปรรูป 11
เนื้อสัตว์ นม ไข่ แปรรูป 9
ข้าวกล้องและข้าวสาร 2
2 เครื่องดื่ม ชา 31
กาแฟ 3
สมุนไพร 3
90

น้าผลไม้สกัด 1
น้าแร่ธรรมชาติ 2
3 เครื่องแต่งกาย กระเป๋า 10
เครื่องนุ่งห่ม 7
รองเท้า 1
4 ของใช้ ของทาจากไม้ 3
เคหะสิ่งทอ 1
แกะสลักทีไ่ ม่ใช่ไม้ 2
5 สมุนไพร วัตถุอันตราย 2
เครื่องสาอางสมุนไพร 11
ยาจากสมุนไพร 1
ที่มา : สานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย, 2563

จากข้อมูลของพัฒนาชุมชนพบว่า สินค้าที่เป็น OTOP 5 ดาว ในปีพ.ศ. 2563 พบว่า มี


จานวนทั้งสิ้น 145 รายการ โดย สินค้า 3 อันดับที่เป็นสินค้าที่ได้รับมาตรฐาน OTOP 5 ดาวมากที่สุด ได้แก่
สินค้าประเภทชา พืชผัก ผลไม้ และ น้าพริกมากที่สุด ทั้งนี้สังเกตได้สินค้าที่มี OTOP 5 ดาวของจังหวัด
เชียงรายมีสินค้าเกษตรมูลค่าสูงที่น่าสนใจ ได้แก่ ชา กาแฟ น้าผึ้งและสมุนไพรแปรรูป มีอยู่ จานวนไม่มากนัก
ดังนั้นควรผลักดันสินค้ารายการดังกล่าวเป็นสินค้า OTOP ประเภท 5 ดาวต่อไป

2) ด้านสังคมและความมั่นคง
2.1) แรงงาน
สาหรับการสารวจสภาวะการทางานของประชากรในปี 2562 จากข้อมูลแรงงาน ใน ปี2563 พบว่า
จังหวัดเชียงรายมีจานวนประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปมี จานวน 952,814 คน โดยเป็นผู้ที่อยู่ในกาลังแรงงาน
614,018 คน คิดเป็นร้อยละ 64 และเป็นผู้ที่ไม่อยู่ในกาลังแรงงาน 338,795 คน คิดเป็นร้อยละ 36 ของ
จานวนประชากรที่มีอายุ 15 ปีขึ้นไปทั้งหมด สาหรับกลุ่มผู้ที่ อยู่ในกาลังแรงงาน 614,018 คน นั้นแยกได้เป็น
ผู้มีงานทา 612,500 คน ผู้ว่างงาน มีจานวน 1,518 คน ผู้ไม่อยู่ในกาลังแรงงาน จานวน 338,795 คน
จาแนกเป็นทางานบ้าน จานวน 88,179เรียนหนังสือ จานวน 85,329 คน และอื่นๆ จานวน 156,286 คน ดัง
ตารางที่ 40
91

ตารางที่ 45 จานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามสถานภาพแรงงาน จังหวัด เชียงราย ปี 2562-


2563

สถานภาพแรงงาน กาลังคน เฉลี่ยทั้งปี ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3


2562
อายุ 15 ปีขึ้นไป 952,814 598,934 952,445 952,000
กาลังแรงงานรวม กาลังแรงงาน
ปัจจุบัน
- ผู้มีงานทา 462,484 590,611 578,999 592,959
- ผู้ว่างงาน 2,297 6,570 9,935 6,124
กาลังแรงงานที่รอ 1,518 1,753 1,016 155
ฤดูกาล
รวม 614,018 598,934 589,950 599,238
ผู้ไม่อยู่ในกาลัง ทางานบ้าน 88,179 99,952 108,736 102,157
แรงงาน เรียนหนังสือ 85,329 89,894 92,609 95,080
อื่นๆ 156,286 126,229 161,150 155,525
รวม 338,795 353,865 362,495 352,762
ที่มา : รายงานสถิติจังหวัดเชียงราย, 2563.

แผนภูมิที่ 25 เปรียบเทียบจานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามสถานภาพแรงงาน


จังหวัดเชียงราย ปี 2562-2563

เปรียบเทียบจานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามสถานภาพแรงงาน จังหวัดเชียงราย


ปี 2562-2563

ผู้ที่ไม่ได้อยู่ในกาลังแรงงาน
36% กาลังแรงงาน
64%

กาลังแรงงาน ผู้ที่ไม่ได้อยู่ในกาลังแรงงาน
92

เมื่อวิเคราะห์สถานการณ์จานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีงานทาปี 2560-2567 พบว่า แนวโน้ม


ของการมีงานทาของประชากรมีแนวโน้มลดลง เนื่องด้วยอัตราการเกิดของจานวนประชากร และเมื่อพิจารณา
จาแนกตามอาชีพ ปี พ.ศ. 2560-2563 พบว่า สัดส่วนของผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้ านการเกษตรและการ
ประมงผู้บัใใัติกฎหมาย และ ข้าราชการ ระดับอาวุโสและผู้จัดการ ตลอดจนผู้ประกอบวิชาชีพ ด้านเทคนิค
สาขาต่ า งๆ และอาชี พ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งเพิ่ ม ขึ้ น ในขณะที่ พนั ก งานบริ ก ารและพนั ก งานในร้ า นค้ า และตลาด
ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ ยวข้อง และผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักร
และผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบมีแนวโน้มลดลง
เมื่อพิจารณาผู้มีงานทาในปี พ.ศ. 2563 จาแนกตามอาชีพ พบว่า อาชีพที่มีผู้ ทางานมากที่สุ ด
5 อันดับแรก คือ ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง 255,533 คน รองลงมาคือพนักงาน
บริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 117,361 คน อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ
67,865 คน ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง 66,126 คน และผู้ปฏิบัติการ
โรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ 19,674 คน

แผนภูมิที่ 26 สถานการณ์จานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีงานทาปี 2560-2567

ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีงานทาปี 2560-2567


800,000
600,000
400,000
200,000
0
2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีงานทา


พยากรณ์ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีงานทา
ขีดจากัดความเชื่อมั่นระดับล่างประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีงานทา
93

ตารางที่ 46 ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีงานทาจาแนกตามอาชีพ ปีพ.ศ. 2560-2563 ของไตรมาสที่ 1 ปี


2563

ไตรมาสที่ 1
จาแนกตามอาชีพ 2560 2561 2562 2563
 ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง 255,499 297,078 314,929 255,533
 พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด 115,039 106,787 104,734 117,361
 อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ 24,969 21,055 20,255 67,865
 ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกีย่ วข้อง 86,885 75,585 52,925 66,126
 ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ 94,316 81,445 71,136 19,674
 ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ 17,152 18,791 17,719 18,318
 ผู้ประกอบวิชาชีพ ด้านเทคนิค สาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง 10,393 11,151 14,741 16,973
 ผู้บัใใัติกฎหมาย ข้าราชการ ระดับอาวุโสและผู้จัดการ 14,720 10,522 16,445 15,020
 เสมียน 14,287 12,604 14,143 13,741
รวม 633,261 635,019 627,027 590,611

ที่มา : การสารวจภาวะการทางานของประชากร สถิติแรงงาน สานักงานสถิติแห่งชาติ


กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม, 2563

แผนภูมิที่ 27 สัดส่วนของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีงานทาจาแนกตามอาชีพ ปี 2563

3% 2%
3% 3% 3%
11%
43%

12%

20%

ผู้ปฏิบัติงานที่มีฝีมือในด้านการเกษตรและการประมง พนักงานบริการและพนักงานในร้านค้าและตลาด
อาชีพขั้นพื้นฐานต่างๆ ในด้านการขายและการให้บริการ ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าทีเ่ กี่ยวข้อง
ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผูป้ ฏิบัติงานด้านการประกอบ ผู้ประกอบวิชาชีพด้านต่างๆ
ผู้ประกอบวิชาชีพ ด้านเทคนิค สาขาต่างๆ และอาชีพที่เกี่ยวข้อง ผู้บัใใัติกฎหมาย ข้าราชการ ระดับอาวุโสและผู้จัดการ
เสมียน
94

เมื่ อ พิ จ ารณาระดั บ การศึ ก ษาของผู้ มี ง านท า พบว่ า ผู้ มี ง านท าส่ ว นใหใ่ จบการศึ ก ษา ต่ ากว่ า
ประถมศึกษา จานวน 163,392 คน (ร้อยละ 28) รองลงมาคือ ระดับประถมศึกษา 132,320 คน (ร้อยละ 23 )
มัธยมศึกษาตอนต้น 80,563 (ร้อยละ 14) ไม่ได้เรียน จานวน 63,190 (ร้อยละ 11) ระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลาย จานวน 100,474 คน(ร้อยละ 17) และระดับอุดมศึกษา จานวน 37,802 คน (ร้อยละ 7) ดังตารางที่ 42

ตารางที่ 47 จานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามระดับการศึกษาที่สาเร็จ จังหวัดเชียงราย พ.ศ.


2563

ระดับการศึกษา สายการศึกษา เฉลี่ยทั้งปี ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3


2562
ไม่ได้เรียน - 63,190 103,890 96,134 93,468
ก่อนประถมศึกษา - 163,392 275,977 280,863 277,025
ระดับประถมศึกษา -- 132,320 186,029 170,429 186,862
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น - 80,563 146,642 142,422 130,505
ระดับมัธยมศึกษาตอน สายสามัใ 78,596 128,517 126,592 137,278
ปลาย สายอาชีวศึกษา 11,934 11,832 12,693 12,371
สายวิชาการศึกษา 9,944 321 - -
ระดับอุดมศึกษา สายวิชาการ - 53,884 63,702 51,351
สายวิชาชีพ 27,858 31,986 39,243 44,080
สายวิชาการศึกษา 9,944 13,721 20,367 19,060
ระดับมหาวิทยาลัย
การศึกษาอื่น ๆ - - - - -
ไม่ทราบ - 94 432 - -
รวม 955,482 952,799 952,445 952,000
ที่มา : รายงานสถิติจังหวัดเชียงราย, 2563.
95

แผนภูมิที่ 28 สัดส่วนของประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป จาแนกตามระดับการศึกษา

7% 11%
ไม่ได้เรียน
17%
ก่อนประถมศึกษา
28%
ระดับประถมศึกษา
14%
ระดับมัธยมศึกษาตอนต้น
23% ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ระดับอุดมศึกษา

ตารางที่ 48 ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีงานทา จาแนกตามสถานภาพการทางาน ไตรมาสที่ 1-4 พ.ศ. 2562


และไตรมาสที่ 1 – 3 พ.ศ. 2563

สถานภาพ ปี 2562 ปี 2563


การทางาน ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3 ไตรมาสที่ 4 ไตรมาสที่ 1 ไตรมาสที่ 2 ไตรมาสที่ 3
นายจ้าง 13,285 12,773 15,046 12,365 13,566 9,887 10,919
ลูกจ้างรัฐบาล 52,646 58,513 50,537 50,855 49,256 52,783 45,648
ลูกจ้างเอกชน 147,505 119,068 125,146 147,342 166,584 122,675 134,380
ทางานส่วนตัว 241,726 248,698 233,304 242,840 238,439 259,611 253,535
ช่วยธุรกิจครัวเรือน 171,465 17,8915 178,576 140,327 122,766 134,043 148,477
การรวมกลุ่ม - - 2,383 1,099 - - -
รวม 627,027 617,917 604,992 594,828 509,611 578,999 592,959
ที่มา : รายงานสถิตจิ ังหวัดเชียงราย, 2563.

เมื่อพิจ ารณาผู้ มีงานทาจาแนกตามสถานภาพการทางาน พบว่า ส่ วนใหใ่เป็นการทางานส่ว นตัว


จานวน 238,439คน รองลงมาคือลูกจ้างเอกชน จานวน 166,584 คน ช่วยธุรกิจครัวเรือน จานวน 122,766
คน ลูกจ้างเอกชน จานวน 166,584คน ลูกจ้างรัฐบาล จานวน 49,256 คน และนายจ้าง จานวน 13,566 คน
96

หากพิจารณาสถานภาพการทางานของประชากร พบว่า เมื่อวิเคราะห์ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มี


งานทา จาแนกตามไตรมาสที่ 1-4 พ.ศ. 2561 และไตรมาสที่ 1 พ.ศ. 2562 เปรียบเทียบไตรมาสที่ 1 พ.ศ.
2561 – พ.ศ.2562 พบว่าสถานภาพการทางาน ของนายจ้าง ลูกจ้างรัฐบาล และลูกจ้างเอกชน มีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้น ส่วนการทางานส่วนตัว การช่วยธุรกิจครัวเรือน มีแนวโน้มลดลง ในขณะที่การรวมกลุ่มของแรงงานใน
ปีพ.ศ. 2563 ไม่มีการรวมกลุ่มเลย
2.2) การศึกษา
จังหวัดเชีย งราย มีส ถานศึกษาตั้งแต่ระดับขั้นพื้นฐานจนถึงระดับอุดมศึกษาเพื่อให้เยาวชนได้รั บ
การศึกษาอย่างครบถ้วนรวมทั้งสามารถให้บริการแก่จังหวัดใกล้เคียงและประเทศเพื่อนบ้าน ในปี2563 จังหวัด
เชียงรายมีสถิติเกี่ยวกับการศึกษา ดังนี้
2.2.1) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
จังหวัดเชียงราย มีการจัดการศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน ในปีการศึกษา 2563 โดยมีสถานศึกษาตั้งแต่
ระดับอนุบาล ประถมศึกษา มัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย ทั้งสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ
และนอกสังกัดกระทรวงศึกษาธิการ พบว่า จานวนสถานศึกษาทั้งหมดในจังหวัดเชียงราย มีจานวน 938 แห่ง
และมีจานวนระดับอนุบาล 487 แห่ง

ตารางที่ 49 จ านวนสถานศึกษา และ ศูนย์พัฒ นาเด็กเล็ ก และอื่นๆ ในระดับเตรียมอนุบาล แต่ ละสังกัด


ปีการศึกษา 2563
จานวน จานวนระดับ
ที่ หน่วยงาน สังกัด
สถานศึกษา อนุบาล
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา สานักงานคณะกรรมการ -
1 41
เขต 36 พื้นที่เชียงราย การศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สานักงานคณะกรรมการ -
2 104
เชียงราย เขต 1 การศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สานักงานคณะกรรมการ -
3 167
เชียงราย เขต 2 การศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สานักงานคณะกรรมการ -
4 141
เชียงราย เขต 3 การศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา สานักงานคณะกรรมการ -
5 134
เชียงราย เขต 4 การศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการ -
6 ศูนย์การศึกษาพิเศษประจาจังหวัดเชียงราย 1
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการ -
7 โรงเรียนศึกษาสงเคราะห์แม่จัน 1
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
สานักงานคณะกรรมการ -
8 โรงเรียนเชียงรายปใัใานุกลู 1
การศึกษาขั้นพื้นฐาน
97

จานวน จานวนระดับ
ที่ หน่วยงาน สังกัด
สถานศึกษา อนุบาล
กระทรวงการอุดมศึกษา -
9 มหาวิทยาลยัแม่ฟ้าหลวง 1
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
มหาวิทยาลยัเทคโนโลยรีาชมงคลล้านนา กระทรวงการอุดมศึกษา -
10 1
เชียงราย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
กระทรวงการอุดมศึกษา -
11 มหาวิทยาลัยพะเยา วิทยาเขตเชียงราย 1
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริการ กระทรวงการอุดมศึกษา -
12 1
เฉลิมพระเกยีรติ จังหวัดเชียงราย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
กระทรวงการอุดมศึกษา -
13 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 1
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
วิทยาลัยสงฆ์เชียงราย มหาวิทยาลัยมหา กระทรวงการอุดมศึกษา -
14 1
จุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
กระทรวงการอุดมศึกษา -
15 วิทยาลัยเชียงราย 1
วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
สานักงานส่งเสริมการปกครอง
16 โรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น 53 439
ท้องถิ่น จังหวัดเชียงราย
โรงเรียนสาธิต มหาวิทยาลัยราชภัฏ กระทรวงการอุดมศึกษา
17 1 -
เชียงราย วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม
สานักงานพระพุทธศาสนา -
18 โรงเรียนพระปริยัติธรรมแผนกสามัใ 21
แห่งชาติ
สถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัด -
8
เชียงราย ของรัฐบาล สานักงานคณะกรรมการการ
19
สถานศึกษาสังกัดอาชีวศึกษาจังหวัด อาชีวศึกษา -
5
เชียงราย ของเอกชน
โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน / ศูนย์ -
20 กองกากับการ ตชด. ที่ 32 12
การเรยีน ตชด.
สานักงานส่งเสริมการศึกษานอก
ศูนย์การศึกษานอกระบบและการศึกษา
21 ระบบและการศึกษาตาม 18 -
ตามอัธยาศัยอาเภอ
อัธยาศัยอาเภอ
โรงเรียนเอกชนในระบบ สานักงานคณะกรรมการส่งเสริม 74 -
22
โรงเรียนเอกชนนอกระบบ การศึกษา เอกชน 127 -
สานักงานพัฒนาสังคมและความ
23 สถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน มั่นคงของ มนุษย์จังหวัด - 48
เชียงราย
รวม 916 487
ที่มา : ข้อมูลสารสนเทศทางการศึกษา ปีการศึกษา 2563 สานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย,2563.
98

เมื่อพิจารณาตารางที่ 49 โรงเรียน จาแนกตามสังกัด เป็นรายอาเภอ ปีการศึกษา 2563 พบว่า


อาเภอเมืองจังหวัดเชียงรายมีโรงเรียนมากที่สุด จานวน 119 โรง รองลงมา อาเภอพาน มีจานวนโรงเรียน
ทั้งหมด 58 โรง และอาเภอแม่สรวย จานวน 56 โรงตามลาดับ เมื่อจาแนกตามสังกัดพบว่า โรงเรียนในจังหวัด
เชี ย งราย สั ง กัด ภายใต้ สนง.คณะกรรมการการศึ กษาขั้ น พื้น ฐาน จ านวน 534 โรง (คิด เป็น รอยละ 77)
รองลงมาสังกัดสนง.บริหารงานคณะกรรมการส่งเสริมการศึกษาเอกชน จานวน 73 โรง (คิดเป็นรอยละ 10)
และสังกัดกรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น จานวน 49 โรง (ร้อยละ 7) ตามลาดับ เมื่อพิจารณาถึ ง
แนวโน้มของจานวนโรงเรียนในพื้นที่จังหวัดเชียงรายปี 2562-2566 พบว่ามีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง อัน
เนื่องมาจากการเกิดของประชากรต่า ครอบครัวส่วนมากมักมีลูก 1-2 คน จึงส่งผลให้ยางโรงเรียนไม่มีนักเรียน
เข้าศึกษาส่งผลต่อการยุบ ปิดตัวของโรงเรียนในที่สุด

ตารางที่ 50 โรงเรียน จาแนกตามสังกัด เป็นรายอาเภอ ปีการศึกษา 2562-2563

2562 2563

สนง.บริ สนง.เขต
สนง. สนง.บริ สนง.เขต สนง. กรม
กรม หารงาน พื้นที่
ที่ อาเภอ คณะกรร หารงาน พื้นที่ คณะกรร ส่งเสริม
ส่งเสริมการ คณะกรร การศึกษ
มการ คณะกรรม การศึกษา มการ การ
รวม ปกครอง รวม มการ า
การศึกษา การส่งเสริม มัธยมศึก การศึกษ ปกครอง
ส่วน ส่งเสริม มัธยมศึก
ขั้น การศึกษา ษา เขต าขั้น ส่วน
ท้องถิ่น การศึกษา ษา เขต
พื้นฐาน เอกชน 36 พื้นฐาน ท้องถิ่น
เอกชน 36
เมือง
127 84 22 13 8 119 75 23 13 8
1 เชียงราย
2 เวียงชัย 26 19 3 2 2 24 17 3 2 2
3 เชียงของ 43 36 3 1 3 39 32 3 1 3
4 เทิง 57 50 2 3 2 55 48 2 3 2
5 พาน 67 50 5 7 5 58 41 5 7 5
6 ป่าแดด 15 9 2 3 1 14 8 2 3 1
7 แม่จนั 56 44 5 5 2 54 41 6 5 2
8 เชียงแสน 37 29 3 3 2 33 25 3 3 2
9 แม่สาย 51 34 11 4 2 49 32 11 4 2
10 แม่สรวย 57 53 1 1 2 56 51 2 1 2
11 เวียงป่าเป้า 47 40 4 1 2 48 37 5 1 2
12 พใาเม็งราย 29 23 2 1 3 26 20 2 1 3
13 เวียงแก่น 24 22 1 - 1 23 21 1 0 1
14 ขุนตาล 22 16 2 2 2 20 14 2 2 2
15 แม่ฟ้าหลวง 33 32 - - 1 32 31 0 0 1
99

2562 2563

สนง.บริ สนง.เขต
สนง. สนง.บริ สนง.เขต สนง. กรม
กรม หารงาน พื้นที่
ที่ อาเภอ คณะกรร หารงาน พื้นที่ คณะกรร ส่งเสริม
ส่งเสริมการ คณะกรร การศึกษ
มการ คณะกรรม การศึกษา มการ การ
รวม ปกครอง รวม มการ า
การศึกษา การส่งเสริม มัธยมศึก การศึกษ ปกครอง
ส่วน ส่งเสริม มัธยมศึก
ขั้น การศึกษา ษา เขต าขั้น ส่วน
ท้องถิ่น การศึกษา ษา เขต
พื้นฐาน เอกชน 36 พื้นฐาน ท้องถิ่น
เอกชน 36
16 แม่ลาว 18 16 - 1 1 17 15 0 1 1
17 เวียงเชียงรุ้ง 18 13 2 2 1 18 13 2 2 1
18 ดอยหลวง 16 14 1 - 1 15 13 1 0 1
รวม 743 584 69 49 41 697 534 73 49 41
ที่มา : 1.สานักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษา จ.เชียงราย เขต 1,2,3,4
2. สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษาเขต 36 จ.เชียงราย 3. กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น
ปี 2560 รายงานสถิติจังหวัดเชียงรายพ.ศ. 2560 สถิติจังหวัดเชียงราย สานักงานสถิติแห่งชาติ,2561.
และปี 2561 และรายงานสถิติจังหวัดเชียงรายพ.ศ. 2562 สถิติจังหวัดเชียงราย,2563

แผนภูมิที่ 29 โรงเรียน จาแนกตามสังกัด เป็นรายอาเภอ ปีการศึกษา 2563

สนง.คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
[PERCENTAGE]
[PERCENTAGE]
[PERCENTAGE]
สนง.บริหารงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน
[PERCENTAGE]
กรมส่งเสริมการปกครองส่วนท้องถิ่น

สนง.เขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 36

2.2.2) ระดับอาชีวศึกษา และระดับอุดมศึกษา


จังหวัดเชียงราย มีการจัดการศึกษาระดับอาชีวศึกษาและระดับอุดมศึกษาปีการศึกษา2562 โดยมี
สถานศึกษาที่จัดการเรียนการสอนทั้ง 2 ระดับ ตามตารางที่ 50 ดังนี้
100

ตารางที่ 51 จ านวนของสถาบั น การศึก ษาในจัง หวั ด เชีย งราย มี ทั้ ง สิ้ น 21 แห่ ง โดยในล าดั บ ที่ 9 – 21
เป็นสถาบันอาชีวศึกษา รายชื่อดังนี้
ที่ สถาบันการศึกษาในจังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัย
1. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
2. มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
3. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
4. มหาวิทยาลัยรามคาแหง สาขาวิทยบริการเฉลิมพระเกียรติเชียงราย
5. มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิทยบริการศูนย์เชียงราย
6. มหาวิทยาลัยพะเยา วิทยาเขตเชียงราย
7. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ห้องเรียนวัดพระแก้ว -เชียงราย (วิทยาเขตนคร
เชียงราย)
8. มหาวิทยาลัยเชียงราย (เอกชน)
วิทยาลัย
9. วิทยาลัยเทคนิคเชียงราย
10. วิทยาลัยอาชีวศึกษาเชียงราย
11. วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเชียงราย
12. วิทยาลัยเทคนิคกาใจนาภิเษกเชียงราย
13. วิทยาลัยการอาชีพเชียงราย
14. วิทยาลัยการอาชีพเทิง
15. วิทยาลัยการอาชีพเวียงเชียงรุ้ง
16. วิทยาลัยอาชีวศึกษาพณิชยการเชียงราย
โรงเรียน (สถาบันอาชีวศึกษา)
17. โรงเรียนเทคโนโลยีกรุงธนเชียงราย
18. โรงเรียนวิรุณบริหารธุรกิจและเทคโนโลยีเชียงราย
19. โรงเรียนโปลิเทคนิคเชียงราย
20. โรงเรียนอาชีวศึกษาแม่สาย
21. โรงเรียนชัยศิษย์บริหารธุรกิจและเทคโนโลยีเชียงของ
101

2.2.3) ศักยภาพและโอกาสทางการศึกษา
จังหวัดเชียงรายมีศักยภาพและโอกาสทางการศึกษาที่ส่งผลต่อการพัฒนาจังหวัดเชียงราย ในแต่ละ
ระดับการศึกษา ดังนี้ (แผนปฏิบัติราชการ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. 2562 ของสานักงานศึกษาธิการจังหวัด
เชียงราย)
1) การศึกษาระดับขั้นพื้นฐาน
การจัดการศึกษาระดับการศึกษาขั้นพื้นฐานของจังหวัดเชียงราย ในภาพรวมมีการจัดการศึกษาขั้น
พื้นฐานตั้งแต่ระดับก่อนประถมศึกษาจนถึงระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย โดยมีสถานศึกษาขั้นพื้นฐาน สังกัด
สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน กระทรวงศึกษาธิการเป็นหน่วยงานหลักในการจัดการศึกษา
และหน่วยงานอื่นที่จัดการศึกษาขั้นพื้น ฐาน ได้แก่ โรงเรียนเอกชนสั งกัดส านักงานคณะกรรมการส่งเสริม
การศึกษาเอกชน โรงเรียนสังกัดองค์การบริหารส่วนจังหวัดเชียงราย โรงเรียนสังกัดองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
(เทศบาล, องค์การบริหารส่วนตาบล) โรงเรียนตารวจตระเวนชายแดน สังกัดสานักงานตารวจแห่งชาติ
โรงเรียนสาธิตมหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย สังกัดมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงรายสานักงานคณะกรรมการการ
อุดมศึกษา และโรงเรียนปริยัติธรรม แผนกสามั ใสังกัดสานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ โดยโรงเรียนทุก
สังกัดที่จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานได้จัดการศึกษาครอบคลุมทุกพื้นที่ของจังหวัดเชียงราย
2) การศึกษาระดับอาชีวศึกษา
จังหวัดเชียงราย มีการจัดการศึกษาระดับอาชีวศึกษา โดยมีสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการ
อาชีว ศึกษา และสั งกัด ส านั ก งานคณะกรรมการส่ งเสริมการศึก ษาเอกชน ที่กระจายทั่ ว พื้นที่ ของจั งหวั ด
เชียงราย สามารถรองรับผู้เรียนได้เต็มตามศักยภาพ มีบุคลากรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาใด้านวิชาชีพเฉพาะ
ทาง สามารถถ่ายทอดความรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีการจัดอบรมวิชาชีพให้กับประชาชนในพื้นที่จังหวัด
เชียงรายได้อย่างทั่วถึงและมีการจัดสอนภาษาต่างประเทศ เช่น ภาษาอังกฤษภาษาจีน โดยเจ้าของภาษา เพื่อ
รองรับการขยายตัวของเขตเศรษฐกิจพิเศษส่งผลให้สามารถผลิตบุคลากรรองรับตลาดแรงงาน และรองรับเขต
เศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย
3) การศึกษานอกระบบ
การศึกษานอกระบบ เป็นกระบวนการจัดการศึกษาให้กับผู้พลาดโอกาสเรียนจากระบบการศึกษาปกติ
หรือผู้ต้องการพัฒนาตนเอง ได้รับการเรียนรู้ โดยเน้นการเพิ่มศักยภาพของผู้เรียน ที่จะส่งเสริมและสนับสนุน
ให้ประชาชนทุกคนได้รับโอกาสทางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ส่งผลให้ประชาชนได้รับการศึกษาอย่างต่อเนื่องตลอด
ชีวิตได้อย่างแท้จริง เกิดสังคมแห่งการเรียนรู้ที่กว้างขวางอันจะส่งผลให้ประเทศมีศักยภาพและในการแข่งขัน
และการพัฒนา เพราะเป็ นการพัฒ นาที่ยึดคนเป็นศูนย์กลางของการพัฒนาโดยมุ่งเน้นให้คนมีคุณธรรมนา
ความรู้ อันจะเป็นการนาไปสู่สังคมแห่งการเรียนรู้และภูมิปัใใาตามปรัชใา “คิดเป็น”ซึ่งจังหวัดเชียงรายโดย
สานักงาน กศน.จังหวัดเชียงราย ได้จัดกิจกรรมการศึกษานอกระบบ ดังต่อไปนี้
3.1) การศึกษานอกระบบขั้นพื้นฐาน
ระดับประถม มัธยมศึกษาตอนต้น และ มัธยมศึกษาตอนปลาย จัดการศึกษาสาหรับกลุ่มเป้าหมาย
ทั่วไปและกลุ่มเป้าหมายพิเศษ เพื่อยกระดับการศึกษา เช่น ประชาชนวัยแรงงานที่ไม่จบการศึกษาขั้นพื้นฐาน
102

กลุ่มชาติพันธุ์ กลุ่มผู้ด้อยโอกาส แรงงานต่างด้าว ที่สอดคล้องกับสภาพความต้องการและความจาเป็น ของแต่


ละกลุ่มเป้าหมายและมีการจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา
กศน.) เพื่อให้ผู้เรียนได้เรียนจบแล้วสามารถประกอบอาชีพได้อย่างสอดคล้องกับการพัฒนาการจัดการศึกษาใน
เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย
3.2) การจัดการศึกษาต่อเนื่อง
(1) การจัดการศึกษาอาชีพระยะสั้นหลักสูตรช่างพื้นฐาน เช่น ช่างปูน ช่างไม้ช่างก่อสร้า ง ช่างไฟ
ฟูา เป็นต้น และอาชีพระยะสั้นอื่น ๆ ที่สอดคล้องกับตลาดแรงงงานและมีการต่อยอดอาชีพเดิม ให้พัฒนา
ปรับปรุงเป็นที่ยอมรับของตลาด เป็นการสร้างงาน และพัฒนาอาชีพที่เป็นไปตามความต้องการของแต่ละพื้นที่
(2) การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาสังคมและชุมชน สนับสนุนกิจกรรมอั นเนื่องมาจากพระราชดาริ
จัดตั้งหมู่บ้านเรียนรู้ตามรอยพระยุคลบาท เพื่อเสริมสร้างให้ดาเนินกิจกรรมตามปรัชใาของเศรษฐกิจพอเพียง
(3) การจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต โดยได้เตรียมการพัฒนาหลักสูตรเตรียมพร้อมป้ องภัย
แผ่นดินไหว ตามแนวพระราชดาริสมเด็จพระเทพรัตนราชสุดา ฯ สยามบรมราชกุมารี “ให้ผู้เรียนเตรียมพร้อม
สามารถช่วยเหลือตนเองได้จากเหตุแผ่นดินไหว โดยเชื่อมโยงกับวิชาวิทยาศาสตร์”
3.3) การจัดการศึกษาตามอัธยาศัยและการพัฒนาคุณภาพชีวิต ได้แก่
(1) ส่งเสริมให้เกิดชุมชนรักการอ่าน การเรียนรู้ มีอาสาสมัครส่งเสริมการอ่านและบ้านหนังสือ
ชุมชน ด้วยกระบวนการมีส่วนร่วม
(2) การจั ด กิ จ กรรมกระบวนการเรี ย นรู้ เ พื่ อ ครอบครั ว และชุ ม ชน โดยให้ ค วามส า คั ใ การ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ในกลุ่มผู้สูงอายุ ประชาชนวัยแรงงาน และ เยาวชนนอกโรงเรียน
(3) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามอัธยาศัยเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน เช่น การส่งเสริม
การใช้ สื่ อ และเทคโนโลยี ที่เ หมาะสม เพื่ อการเรี ยนรู้เ รื่ องภาษาและวั ฒ นธรรมตลอดจนการเรี ยนรู้ เรื่ อ ง
ประชาคมอาเซียน และ เขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย
(4) จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตลอดชีวิตใน กศน.ตาบล ที่หลากหลาย และสอดคล้องกับบริบทของ
ชุมชน เพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนและชุมชน โดยได้บูรณาการความรู้ต่าง ๆ ในชุมชนให้
เชื่อมโยงกับหลักสูตร กศน. เพื่อให้เกิดกระบวนการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องตลอดชีวิตเพื่อพร้อมการดารงชีวิต
ในช่วงการเปลี่ยนแปลงในเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย
(5) ร่วมเผยแพร่ประชาสัมพันธ์ข่าวสารทางราชการ ให้ประชาชนได้รับรู้ เพื่อให้ประชาชนเกิดการ
รับรู้ข่าวสารอย่างเท่าทันเหตุการณ์เพื่อพัฒนาตนเอง และ ชุมชน ให้พร้อมเข้าสู่ประชาคมอาเซียน ครอบคลุม
ทั้งพื้นที่จังหวัดเชียงราย โดยให้ ความส าคัใเป็นพิเศษกับอาเภอต่าง ๆในเขตพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษจังหวัด
เชียงราย และ อาเภอตามแนวชายแดน
(6) การจั ด การศึ ก ษาตามอั ธ ยาศั ย และพั ฒ นาคุ ณ ภาพชี วิ ต ส าหรั บ คนพิ ก ารอย่ า งมี คุ ณ ภาพ
สอดคล้องกับความต้องการจาเป็นของแต่ละบุคคล สนับสนุนสิ่งอานวยความสะดวก สื่อและบริการอื่นใดทาง
การศึกษาสาหรับคนพิการในจังหวัดเชียงราย โดยศูนย์การศึกษาพิเศษ ประจาจังหวัดเชียงราย
103

4) การศึกษาระดับอุดมศึกษาการจัดการศึกษาระดับอุดมศึกษา
ถือว่าได้จังหวัดเชียงราย มีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่มีความพร้อม ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัด
เชียงราย สามารถจัดการศึกษารองรับประชาชน ชาวเชียงรายและจังหวัดอื่นๆ ตลอดจนการจัดการศึกษาให้
ประชาชนของประเทศเพื่อนบ้ าน และสามารถจัดการศึกษารองรับการพัฒ นาเขตเศรษฐกิจพิเศษจังหวัด
เชียงราย โดยมีสถาบันการศึกษาระดับอุดมศึกษาที่ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย จานวน 8 แห่ง ประกอบด้วย
(1) มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
(2) มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
(3) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงราย
(4) มหาวิทยาลัยเชียงราย
(5) มหาวิทยาลัยพะเยา วิทยาเขตเชียงราย
(6) มหาวิทยาลัยรามคาแหง ศูนย์วิทยบริการจังหวัดเชียงราย
(7) วิทยาลัยสงฆ์ มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย
(8) มหาวิทยาลัยสุโขทัยธรรมาธิราช สาขาวิทยบริการศูนย์เชียงราย
ในส่วนของมหาวิทยาลัยหลักที่ตั้งอยู่ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ได้จัดการศึกษาตั้งแต่ระดับปริใใาตรี
จนถึงระดับปริใใาเอก ทั้งหลักสูตรปกติและหลักสูตรนานาชาติ ที่หลากหลายรองรับผู้เรียน
2.2.4) ประเด็นปัญหาด้านคุณภาพการศึกษา
ประเด็นปัใหาด้านคุณภาพการศึกษา มีสาเหตุจากปัจจัยต่างๆ ทั้งภายในกระทรวงและจากปัจจัย
ภายนอก พอประมวลสรุปได้ดังนี้
ด้านคุณภาพผู้เรียน
1) ระดับปฐมวัย
(1) ประเด็นปัใหา
-เด็กไม่ได้รับการพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
(2) สาเหตุของปัใหา
-ขาดครูที่มีความรู้เกี่ยวกับการจัดการศึกษาปฐมวัย
-ขาดสื่อ อุปกรณ์ในการจัดการเรียนการสอนปฐมวัย
2) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(1) ประเด็นปัใหา
-สัมฤทธิผลทางการเรียนอยู่ในเกณฑ์ต่า
-ผู้เรียนขาดคุณลักษณะที่พึงประสงค์
-เด็กด้อยโอกาส/เด็กพิการ/เด็กกลุ่มที่มีความต้องการพิเศษยังไม่ได้รับโอกาสการพัฒนา
อย่างเต็มตามศักยภาพ
(2) สาเหตุของปัใหา
-การขาดแคลนครู
104

-เทคนิควิธีการสอนและการจัดกระบวนการเรียนไม่ส่งเสริมให้เด็กรู้จักการคิดวิเคราะห์
-ขาดสื่อ อุปกรณ์ และรูปแบบวิธีการเรียนการสอนที่เหมาะสมกับเด็กที่มีความต้องการ
พิเศษเฉพาะ
3) การอาชีวศึกษา
(1) ประเด็นปัใหา
-ผู้ เ รี ย นและผู้ ส าเร็ จ การอาชี ว ศึ กษามี ส มรรถนะไม่ ส อดคล้ อ งกั บ ความต้ อ งการของ
ตลาดแรงงาน
-นักเรียนไม่นิยมเรียนอาชีวศึกษา
(2) สาเหตุของปัใหา
-ภาพลักษณ์ เจตคติและค่านิยมของการเรียนอาชีวศึกษาไม่ดี ประกอบกับค่าตอบแทน
และการยอมรับในสังคมต่า
-ผู้สาเร็จการอาชีวศึกษาระดับ ปวช. และ ปวส.ส่วนใหใ่ไม่ออกสู่ตลาดแรงงานมุ่งเข้า
เรียนต่อในสถาบันอุดมศึกษาที่เปิดสอนระดับปริใใาตรีในสาขาอื่นๆ ทาให้ขาดแคลนแรงงานระดับกลางอย่าง
ต่อเนื่อง
-ขาดแคลนครู อาจารย์ด้านวิชาชีพ
-ขาดทิศทางและเปูาหมายการพัฒนากาลังคนโดยรวมของจังหวัด
4) การศึกษาระดับอุดมศึกษา
(1) ประเด็นปัใหา
-บัณฑิตขาดความสามารถคิด วิเคราะห์แก้ปัใหาและทักษะความรู้พื้นฐานที่จาเป็น
-บัณฑิตมีสมรรถนะไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
(2) สาเหตุของปัใหา
-ปรัชใาการรับผู้เข้าศึกษาระดับอุดมศึกษาเปลี่ยนไปคือ เน้นให้ผู้จบมัธยมศึกษาทุกคน
เข้าเรียนอุดมศึกษา
-ผู้ตัดสินใจเข้าศึกษาในระดับอุดมศึกษา ไม่มีข้อมูลประกอบการตัดสินใจ และไม่รู้ทิศทาง
ความต้องการกาลังคน
5) การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
(1) ประเด็นปัใหา
-ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของผู้เรียนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานอยู่ในเกณฑ์ต่า
-ประชาชนกลุ่มเป้าหมายมีจานวนมากและมีความหลากหลาย
(2) สาเหตุของปัใหา
-ความรู้ความสามารถของบุคลากรโดยเฉพาะอย่างยิ่งการมีวุฒิตรงตามวิชาที่สอนของ
ครูผู้สอนยังไม่เพียงพอ
105

-การจัดการเรียนการสอนให้แก่ผู้เรียนขาดความต่อเนื่อง เนื่องจากมีครูย้ายเข้าออกบ่อย
ทาให้การจัดกิจกรรมไม่เกิดสัมฤทธิผล
-กลุ่มเป้าหมายในพื้นที่ห่างไกลมีข้อจากัดในการเข้าถึงบริการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
ส่งผลให้ไม่ได้รับข้อมูลที่ทันสมัยและถูกต้อง
ด้านครู คณาจารย์และบุคลากรทางการศึกษา
1) ประเด็นปัใหา
(1) การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน มี ปั ใ หาขาดแคลนครู ส อนสาขาวิ ช าหลั ก โดยเฉพาะ
ภาษาต่างประเทศ วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์
(2) การอาชี ว ศึ ก ษาขาดแคลนครู ด้ า นวิ ช าชี พ เนื่ อ งจากไม่ ส ามารถรั บ ผู้ ที่ มี ค วามรู้ แ ละ
ประสบการณ์จากผู้ที่ไม่มีใบประกอบวิชาชีพครูได้
(3) ในระดับอุดมศึกษา สัดส่วนอาจารย์ต่อนิสิตในบางสาขาวิชายังไม่เป็นไปตามเกณฑ์รวมทั้ง
อาจารย์ประจาส่วนใหใ่จบใหม่ยังขาดประสบการณ์ และบางสาขายังขาดคณาจารย์ที่มีความเชี่ยวชาใเฉพาะ
ทาง
(4) การศึกษานอกระบบขาดครูและบุคลากรที่มีวุฒิตรงตามวิชาที่สอน
(5) การศึกษาพิเศษ ขาดนักวิชาชีพที่จะจัดการศึกษาสาหรับเด็กพิการและครูส่วนใหใ่ขาด
ประสบการณ์ในการจัดการศึกษาสาหรับเด็กพิการ
2) สาเหตุของปัใหา
(1) มาตรการควบคุมอัตรากาลังภาครัฐ ทาให้กระทรวงศึกษาธิการถูกตัดอัตราครูจากการ
เกษียณอายุราชการและเกษียณก่อนกาหนด
(2) ผู้จบครุศาสตร์อุตสาหกรรมบัณฑิต วิศวกรรมศาสตร์บัณฑิต ที่มีความเชี่ยวชาใเฉพาะไม่
สามารถเป็ น ครู อ าชี ว ศึ กษาได้ เนื่ องจากไม่มี ใบอนุ ใ าตประกอบวิช าชี พครูท าให้ เกิ ดปั ใหาขาดแคลนครู
อาจารย์ที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาใที่เหมาะสมอย่างต่อเนื่อง
(3) ไม่สามารถจูงใจคนที่มีความรู้ความสามารถมาเป็นครูอาจารย์ในสถาบันการศึกษาได้
(4) ไม่มีสถาบันผลิตครูใหม่ที่มีความเชี่ยวชาใเฉพาะในการพัฒนาครู คณาจารย์ประจาการ
อย่างเป็นระบบ รวมทั้งศึกษาวิจัยและพัฒนาวิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง เพื่อสร้างความเป็นมืออาชีพและส่งเสริม
สนับสนุนให้วิชาชีพครูเป็นที่ยอมรับในสังคม
(5) เส้นทางความก้าวหน้า (Career path) ด้านการวิจัยไม่ชัดเจน ไม่จูงใจให้อาจารย์ใน
สถาบันอุดมศึกษาทาการวิจัยและสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม

ด้านการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการศึกษา
1) ประเด็นปัใหา
(1) การนาเทคโนโลยีสารสนเทศเข้ามาใช้เป็นเครื่องมือช่วยในการเรียนการสอนของครูยังมี
น้อย
106

(2) ทรัพยากรด้านเทคโนโลยีสารสนเทศมีไม่เพียงพอทาให้การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ
การเรียนรู้ของผู้เรียนและพัฒนาทักษะในการค้นคว้า เป็นเครื่องมือในการศึกษาหาความรู้แก่ตนเองยังทาได้
น้อย
(3) สาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐานไม่เอื้อต่อการนาเทคโนโลยีสารสนเทศมาใช้ในการ
เรียนการสอนอย่างสมบูรณ์
(4) ขาดการเชื่อมโยงเครือข่ายเพื่อการศึกษาที่มีอยู่เพื่อนาไปสู่การเรียนรู้ร่วมกันเช่น Uninet,
MOE Net เป็นต้น
(5) ขาดการใช้สื่อสารมวลชน สื่อวิทยุโทรทัศน์ สื่อหนังสือ ตาราเรียน และอุปกรณ์ต่างๆ
รวมทั้งห้องสมุดเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้อย่างพอเพียงและมีคุณภาพ
(6) ขาดหน่วยงานกลางเพื่อดูแลและบริหารจัดการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศทางการศึกษา
2) สาเหตุของปัใหา
(1) ครู ข าดความสามารถและทั ก ษะด้ า นเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ที่ จ ะน ามาสร้ า งและใช้
บทเรียนผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ และช่วยในการเรียนการสอนให้มีคุณภาพและประสิทธิภาพ
(2) ขาดการพัฒนาครู และบุคลากรให้รู้จักใช้เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อเพิ่มคุณภาพการเรียน
การสอน รวมทั้งการแก้ปัใหาขาดแคลนครู
(3) ขาด content และ courseware ส าหรับการทาบทเรียนเพื่อการเรียนรู้ทางสื่ อ
อิเล็กทรอนิกส์
(4) มีความแตกต่างในการเข้าถึงบริการ Internet ระหว่างพื้นที่ในเมือง นอกเมืองขนาด และ
ประเภทโรงเรียน
(5) ขาดการสนับสนุนอย่างจริงจังและต่อเนื่องจากภาครัฐในการพัฒนาเทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อการศึกษา รวมทั้งขาดกลไกที่จะจูงใจให้ภาคเอกชนเข้ามาร่วมระดมทรัพยากร
(6) หน่วยงานที่ดาเนินการด้านเทคโนโลยีสารสนเทศดาเนินการในลักษณะต่างคนต่างทา เกิด
ความซ้าซ้อน ขาดการบูรณาการและเชื่อมโยงกันเป็นเครือข่ายเพื่อประหยัดทรัพยากรร่วมกัน
ด้านการจัดระบบการศึกษาที่ส่งผลต่อคุณภาพการศึกษา
1) ระดับปฐมวัย
(1) ประเด็นปัใหา
-ความไม่พร้อมในการจัดการศึกษาปฐมวัย ทั้งด้านครู อาคารสถานที่และวัสดุอุปกรณ์
-การจัดการศึกษาปฐมวัยของแต่ละหน่วยงานยังขาดความเข้มแข็ง
(2) สาเหตุของปัใหา
-ศูนย์เด็กปฐมวัยมีจานวนไม่เพียงพอที่จะให้บริการในการเตรียมความพร้อมแก่เด็กปฐมวัยได้
อย่างทั่วถึง มีคุณภาพ
-ขาดหน่วยงานที่ทาหน้าที่ดูแลพัฒนาเด็กปฐมวัยในส่วนของกระทรวงศึกษาธิการ
107

-ขาดการประสานและดาเนินการในเชิงบูรณาการร่วมกันระหว่างหน่วยงานที่ดูแลเด็กปฐมวัย
อย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งระหว่างหน่วยงานภาครัฐด้วยกันและกับภาคเอกชนทั้งในระดับนโยบายและระดับ
ปฏิบัติ
2) ระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
(1) ประเด็นปัใหา
-ขาดความเชื่ อ มโยงระหว่ า งระบบการประกั น คุ ณ ภาพภายในของสถานศึ ก ษากั บ การ
ปรับปรุง/พัฒนาคุณภาพการเรียนการสอน
-สถานศึกษามีคุณภาพแตกต่างกัน
(2) สาเหตุของปัใหา
-ขาดการประสานความร่วมมือเป็นเครือข่ายระหว่างสถานศึกษาเพื่อร่วมกันพัฒนาคุณภาพ
การศึ ก ษา รวมทั้ ง ความร่ ว มมื อ ระหว่ า งสถานศึ ก ษาต่ า งระดั บ /สั ง กั ด และกั บ ชุ ม ชนท้ อ งถิ่ น อปท.และ
ภาคเอกชน
-โรงเรียนขนาดเล็ก ปัใหาโรงเรียนขนาดเล็ก เป็นปัใหาที่สาคัใประการหนึ่งในการพัฒนา
คุณภาพการศึกษา
-ปัจจัยด้านการเมืองการดาเนินงานตามภารกิจของกระทรวงศึกษาธิการต้องปรับเปลี่ยนตาม
นโยบายของรัฐมนตรีที่เข้ามาบริหารซึ่งมีการปรับเปลี่ย นบ่อยครั้ง ส่งผลให้การดาเนินงานขาดความต่อเนื่อง
และผลักดันอย่างจริงจัง นโยบายที่ดีหลายเรื่องไม่สามารถนาไปสู่การปฏิบัติและบังเกิดผลเป็นรูปธรรมได้
หลายเรื่องต้องใช้เวลานานกว่าจะประสบผลสาเร็จ และหลายเรื่องต้องหยุดชะงักลงไม่ สามารถสานต่อได้
3) การอาชีวศึกษา
(1) ประเด็นปัใหา
-การจัดอาชีวศึกษาไม่เน้นการฝึกปฏิบัติและสมรรถนะทางวิชาชีพ และไม่เชื่อมโยงกับสถาน
ประกอบการเท่าที่ควร ทาให้ผู้สาเร็จการศึกษามีสมรรถนะไม่สอดคล้องกับความต้องการของตลาดแรงงาน
-ขาดการจั ด หลั ก สู ตรที่ห ลากหลายสอดคล้ อ งกับ ความต้ องการของกลุ่ ม เป้ า หมายต่ างๆ
รวมทั้งเชื่อมโยงกับการทางาน
-ขาดความเชื่อมโยงการจัดอาชีวศึกษากับการศึกษาระดับพื้นฐานและอุดมศึกษาไม่สามารถ
ดึงดูด จูงใจผู้เรียนให้สนใจเรียนอาชีวศึกษาได้มากเท่าที่ควร
(2) สาเหตุของปัใหา
-ขาดกลไกการพัฒนาระบบมาตรฐานสมรรถนะและกลไกการเรียนรู้/การจัด การเรียนการ
สอนร่วมกับสถานประกอบการอย่างเป็นระบบและต่อเนื่อง
-ขาดระบบการแนะแนวการศึกษาอาชีพ และการประชาสัมพันธ์เพื่อสร้างความเข้าใจใน
อาชีพ เส้นทางความก้าวหน้าในอาชีพ รายได้ ค่าตอนแทน
4) การศึกษาระดับอุดมศึกษา
(1) ประเด็นปัใหา
108

-สถาบั น อุดมศึกษามุ่งเน้ นการจั ดการเรียนการสอนเชิงพาณิช ย์ เน้นการผลิ ตบัณฑิตเชิง


ปริมาณ มีลักษณะเป็นอุดมศึกษาเพื่อมวลชน (mass) ในขณะที่กลไกการควบคุมคุณภาพไม่เข้มแข็ง
-การจัดหลักสูตรการเรียนการสอนขาดการเน้นฝึกภาคปฏิบัติและการเชื่อมโยงกับการทางาน
ทาให้ผู้สาเร็จการศึกษาขาดคุณลักษณะที่สาคัใบางประการที่ผู้ใช้ต้องการ
-การผลิตกาลังคนยังไม่สามารถตอบสนองความต้องการ โดยเฉพาะในสาขาที่ขาดแคลน
(2) สาเหตุของปัใหา
-การบริหารจัดการและภาวะผู้นา ระบบการบริหารจัดการที่อยู่ภายใต้ระบบราชการ ทาให้
ขาดความอิส ระ คล่ องตัว ในการบริ หารจัดการ รวมทั้งขาดระบบการพัฒ นาผู้ บริหารและคณาจารย์อย่าง
ต่อเนื่อง ส่งผลกระทบต่อการพัฒนาคุณภาพอุดมศึกษา
-ขาดระบบและกลไกส่งเสริมการวิจัยและสร้างองค์ความรู้ นวัตกรรมและการวิจัยขาดระบบ
การสร้างความเข้มแข็งด้านการผลิตผลงานวิจัย รวมทั้งระบบความเชื่อมโยงระหว่างอุดมศึกษาแล ะภาคการ
ผลิต
-การจัดการศึกษาเชิงพาณิชย์ จัดอุดมศึกษาในลักษณะเป็น mass ที่ไม่มีการควบคุมคุณภาพ
โดยไม่คานึกถึงภาวการณ์ทางานของบัณฑิตที่จะก่อให้เกิดมูลค่าเพิ่มต่อสังคมในอนาคตเป็นการผลิตที่เน้น
ปริมาณมากกว่าคุณภาพ
-การจัดสรรงบประมาณยังไม่สะท้องคุณภาพการศึกษา และยังมิได้ใช้เป็นกลไกกากับเชิง
นโยบาย และการพัฒนาคุณภาพมาตรฐานอุดมศึกษา
5) การศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
(1) ประเด็นปัใหา
-ความไม่คล่องตัวในการบริหารจัดการและการนานโยบายไปสู่ การปฏิบัติของหน่วยงาน
สถานศึกษาในสังกัด และภาคีเครือข่าย
-ขาดการประสานความร่วมมือและการควบคุมคุณภาพมาตรฐานการศึกษาที่มีเอกภาพ
(2) สาเหตุของปัใหา
-ขาดแคลนบุคลากรทั้งเชิงปริมาณและคุณภาพ
-ขาดสื่อและวัสดุอุปกรณ์ส่งเสริมการเรียนรู้ที่มีคุณภาพหลากหลายตรงกับความต้องการของ
ผู้เรียนเฉพาะกลุ่ม เช่น คนพิการ ผู้สูงอายุและกลุ่มชาติพันธุ์
-การมีส่วนร่วมของภาคีเครือข่ายยังไม่กว้างขวางและเข้มแข็งเพียงพอ
-ขาดความคล่องตัวในการบริหารจัดการ การประสานความร่วมมือและการควบคุมคุณภาพ
และมาตรฐานการศึกษานอกระบบและการศึกษาตามอัธยาศัย
ด้านการสร้างความเข้มแข็งของสถานศึกษา
(1) ประเด็นปัใหา
-สถานศึกษาระดับขั้นพื้นฐานขาดอิสระและความคล่องตัวในการบริหารจัดการให้เป็นไป
อย่างมีประสิทธิภาพ
109

-มีปัใหาความพร้อมและเข้มแข็งของเขตพื้นที่การศึกษาในการสนับสนุนส่งเสริมการพัฒนา
คุณภาพมาตรฐานการศึกษา
-การจัดอาชีวศึกษายังขาดความอิสระ คล่องตัวและความเข้มแข็งในการปฏิบัติภารกิจ
-การอุดมศึกษาไม่สามารถพัฒนาสู่ความเป็นเลิศในการดาเนินภารกิจทั้ง 4 ด้านอันได้แก่ 1)
การจัดการเรียนการสอน 2) การวิจัยและสร้างองค์ความรู้ 3) การให้บริการทางวิชาการ
-การส่งเสริมและอนุรักษ์ศิลปะและวัฒนธรรม รวมทั้งยังไม่สามารถสนองตอบความต้องการ
กลุ่มเป้าหมายที่หลากหลายมากขึ้น
(2) สาเหตุของปัใหา
-การกระจายอานาจสู่เขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาได้ดาเนินการแล้วตามกฎหมายแต่
ยังประสบปัใหาในทางปฏิบัติ
-ในระดั บ การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ยั ง มี ค วามเคยชิ น ของหน่ ว ยปฏิ บั ติ ใ นการรั บ ค า สั่ ง จาก
หน่วยงานส่วนกลางบ และหน่วยงานส่วนกลางเคยชินกับการมอบหมาย/สั่งการให้หน่วยปฏิบัติดาเนินการตาม
ประกอบกับหน่วยปฏิบัติ บุคลากรในพื้นที่ และสถานศึกษาไม่คุ้นเคยในระบบการบริหารแบบเป็นอิสระด้วย
ตนเอง บุคลากรบางส่วนยังไม่มีความมั่นใจในการตัดสินใจทิศทางของหน่วยงาน
-ความไม่พร้อมของระบบเพื่อรองรับการกระจายอานาจ 4 ด้าน สู่สถานศึกษาและเขตพื้นที่
การศึกษาในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน
-สถานบันอาชีวศึกษาบางส่วนยังไม่เป็นนิติบุคคลทาให้ไม่ส ามารถดาเนินภารกิจให้สนอง
ความต้องการทั้งของประชาชนและประเทศได้
-สถาบั น อุ ด มศึ ก ษาของรั ฐ ส่ ว นใหใ่ ยั ง บริ ห ารภายใต้ ร ะบบราชการ แม้ ว่ า จะได้ มี ค วาม
พยายามนามหาวิทยาลั ยออกจากระบบราชการเป็นมหาวิทยาลัยในกากับของรัฐ แต่การดาเนินงานยังไม่
บรรลุผลทั้งหมด
-สภามหาวิทยาลัยและนายกสภามหาวิทยาลัยยังไม่มีบทบาทในการพัฒนามหาวิทยาลัยและ
รับผิดชอบต่อมหาวิทยาลัยเท่าที่ควร
ด้านการส่งเสริมการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วนของสังคม
(1) ประเด็นปัใหา
-การส่งเสริมและสนับสนุนให้ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น องค์กรชุมชนสถาน
ประกอบการ องค์กรวิชาชีพ ศิษย์เก่า พ่อแม่ ผู้ปกครอง เข้ามามีส่วนร่วม ในการจัดการศึกษา และสนับสนุน
การจัดการศึกษาและการพัฒนากาลังคน รวมทั้งร่วมกับสถานศึกษาในการดาเนินภารกิจต่าง ๆยังทาได้น้อย
-ขาดกลไกที่จ ะจู งใจ และกฎระเบียบของรัฐ ยังเป็นอุปสรรค ส่ งผลให้ ภ าคส่ ว นต่าง ๆไม่
สามารถเข้ามามีส่วนร่วมจัดการศึกษาและแข่งขันด้านการพัฒนาคุณภาพกับภาครัฐได้มาก
-การมีส่วนร่วมระหว่างหน่วยงานที่ให้บริการการศึกษาด้วยกันเองยังมีน้อย อาทิระหว่าง
มหาวิทยาลัยกับสถานศึกษาและเขตพื้นที่ สถาบันอาชีวศึกษากับการศึกษาขั้นพื้นฐาน เป็นต้นทั้งในการดาเนิน
ภารกิจและการบริหารทรัพยากร บริหารบุคลากร บริหารวิชาการ
110

-ขาดการสนับสนุนให้ชุมชน ปัจเจก ภาคเอกชน ฯลฯ เข้ามาร่วมจัดการศึกษาและเป็นแหล่ง


เรียนรู้ เช่น พิพิธภัณฑ์ ภูมิปัใใาท้องถิ่น ฯลฯ
(2) สาเหตุของปัใหา
-การเผยแพร่ ประชาสั มพัน ธ์ และการสร้า งความเข้ าใจให้ ห น่ ว ยงาน/องค์กรต่า งๆเห็ น
ความสาคัใของการศึกษาและเข้ามาร่วมจัดและหรือสนับสนุนการจัดการศึกษายังทาได้น้อย
-นโยบายและการปฏิ บั ติ ต ามนโยบาย รวมทั้ง การแบ่ ง ภาระความรั บ ผิ ด ชอบในการจั ด
การศึกษาระหว่างภาครัฐและเอกชนยังไม่ชัดเจน
-ขาดการรณรงค์ให้มีส่วนร่วมอย่างเป็นรูปธรรมและต่อเนื่อง
2.3) สาธารณสุข
จากข้อมูล และสถานการณ์ด้านสุขภาพของจังหวัดเชียงราย พบว่าในปี 2563 จังหวัดเชียงรายมี
ประชากรทั้งหมด 1,282,554 คน มีป ระชากรผู้ สูงอายุ จานวน 180,002 คน คิดเป็นร้อยละ 14.0 ของ
ประชากรทั้งจังหวัด และแนวโน้มทิศทางกลุ่มประชากรภายในปี 2567 ของประเทศไทยจะเข้าสู่สังคมผู้สูงอายุ
อย่างสมบูรณ์
2.3.1) สถานบริการสาธารณสุข ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข
จากข้อมูลและสถานการณ์สถานพยาบาล จาแนกตามประเภท เป็นรายอาเภอ ปีงบประมาณ 2563
พบว่าจังหวัดเชียงรายมีสถานพยาบาลทั้งสิ้น จานวน 787 แห่ง ประกอบด้วย โรงพยาบาลรัฐบาล จานวน 21
แห่ง โรงพยาบาลเอกชน จานวน 5 แห่ง โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จานวน 214 แห่ง และ คลินิกทุก
ประเภท จานวน 547 แห่ง
ตารางที่ 52 สถานพยาบาล จาแนกตามประเภท เป็นรายอาเภอ ปีงบประมาณ 2563
โรงพยาบาล คลินิกทุกประเภท
ที่ อาเภอ โรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชน ส่งเสริมสุขภาพ
ตาบล
1 เมืองเชียงราย 4 3 30 232
2 เวียงชัย 1 0 9 15
3 เชียงของ 1 0 17 25
4 เทิง 1 0 16 13
5 พาน 1 0 20 24
6 ป่าแดด 1 0 6 10
7 แม่จัน 1 0 15 42
8 เชียงแสน 1 0 13 25
9 แม่สาย 1 1 11 67
10 แม่สรวย 1 0 12 23
11 เวียงป่าเป้า 1 0 10 22
12 พใาเม็งราย 1 0 8 8
111

โรงพยาบาล คลินิกทุกประเภท
ที่ อาเภอ โรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชน ส่งเสริมสุขภาพ
ตาบล
13 เวียงแก่น 1 0 9 3
14 ขุนตาล 1 0 6 7
15 แม่ฟ้าหลวง 1 0 13 7
16 แม่ลาว 1 0 9 9
17 เวียงเชียงรุ้ง 1 0 6 7
18 ดอยหลวง 1 0 4 8
รวม 21 5 214 547
ที่มา : สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย รายงานสถิตจิ ังหวัดเชียงราย สถิติจังหวัดเชียงราย,2563

แผนภูมิที่ 30 สถานพยาบาลในจังหวัดเชียงราย ปีงบประมาณ 2563


โรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชน
3% 1%
โรงพยาบาลส่งเสริม
สุขภาพตาบล
27%

คลินิกทุกประเภท
69%

โรงพยาบาลรัฐบาล โรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล คลินิกทุกประเภท

หากจาแนกสถานพยาบาลในจังหวัดเชียงราย พบว่า จานวนเตียง รพศ./รพช. จานวน 1,717 เตียงใน


จังหวัดเชียงราย มีโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล จานวน 217 แห่ง ทั้งนี้อาเภอที่มีจานวนเตียง รพศ./รพช.
มากกว่า 100 เตียง ได้แก่ อาเภอเมือง อาเภอพาน และอาเภอแม่จัน
112

ตารางที่ 53 ข้อมูลสถานบริการสาธารณสุข ในสังกัดกระทรวงสาธารณสุข จังหวัดเชียงราย ปี 2563


อาเภอ จานวนเตียง รพศ./รพช.
ลาดับ รพ.สต.ทั้งหมด
อาเภอ ตามกรอบ มีอยู่จริง สสช.
1 เมือง รพศ. 756 เตียง 758 เตียง 30 0
-รพ.โอเวอร์บรุ๊ค รพศ. 223 เตียง 223 เตียง 0 0
-รพ.เกษมราษฎร์ศรีบรุ ินทร์ รพศ. 120 เตียง 120 เตียง 0 0
-รพ.เชียงรายอินเตอร์ รพศ. 60 เตียง 59 เตียง 0 0
-รพ.เกษมราษฎร์แม่สาย รพศ. 30 เตียง 30 เตียง 0 0
-รพ.ค่ายเม็งรายมหาราช รพศ. 60 เตียง 60 เตียง 0 0
-รพ.มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง รพศ. 107 เตียง 107 เตียง 0 0
-รพ.ศูนย์การแพทย์ รพศ. 400 เตียง 80 เตียง 0 0
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
-รพ.กรุงเทพเชียงราย รพศ. 57 เตียง 57 เตียง 0 0
2 เวียงชัย (พระใาณสังวร) รพช. 30 เตียง 30 เตียง 9 0
3 เวียงเชียงรุ้ง รพช. 30 เตียง 30 เตียง 6 0
4 เทิง รพช. 60 เตียง 66 เตียง 16 0
5 เชียงของ รพช. 90 เตียง 68 เตียง 17 0
6 พใาเม็งราย รพช. 30 เตียง 48 เตียง 8 0
7 เวียงแก่น รพช. 30 เตียง 30 เตียง 9 1
8 ขุนตาล รพช. 30 เตียง 34 เตียง 6 0
9 พาน รพช. 120 เตียง 118 เตียง 20 0
10 ป่าแดด รพช. 30 เตียง 30 เตียง 6 0
11 แม่สรวย รพช. 60 เตียง 59 เตียง 12 0
12 เวียงป่าเป้า รพช. 60 เตียง 64 เตียง 10 0
13 แม่จัน รพช. 120 เตียง 108 เตียง 15 0
14 แม่สาย รพช. 90 เตียง 98 เตียง 11 0
15 เชียงแสน รพช. 60 เตียง 60 เตียง 13 0
16 แม่ฟ้าหลวง รพช. 30 เตียง 30 เตียง 12 0
17 แม่ลาว รพช. 30 เตียง 30 เตียง 9 0
18 ดอยหลวง รพช. 30 เตียง - 4 0
รวม 2,743 เตียง 2,397 เตียง 213 1
ที่มา : สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย,2563.
หมายเหตุ : รพ. 30 เตียง 8 แห่ง , รพ. 60 เตียง 3 แห่ง , รพ. 90 เตียง 4 แห่ง , รพ. 120 เตียง 2 แห่ง , รพ. 756 เตียง 1 แห่ง ,
รพ.ดอยหลวง เปิดเฉพาะ OPD ตั้งแต่ ธันวาคม 2557
113

เมื่อพิจารณาจานวนสถานพยาบาลที่มีเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน และจานวนเตียง จังหวั ดเชียงราย ปี


พ.ศ. 2557 – 2561 พบว่าจานวนสถานพยาบาลมีจานวนคงที่ แต่ ปี พ.ศ. 2559 มีจานวนเตียงรองรับผู้ป่วย
จานวน 1,696 เตียง และมีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ปี พ.ศ. 2560 จานวน 2,077 ปี พ.ศ. 2561 จานวน 1,929 เตียง
และ ปี พ.ศ. 2562 จานวน 2,717 เตียงตามลาดับ

ตารางที่ 54 จานวนสถานพยาบาลที่มีเตียงรับผู้ป่วยไว้ค้างคืน และจานวนเตียง จังหวัดเชียงราย ปีพ.ศ. 2557


– 2562
ปี จานวนแห่ง เตียง
2557 21 2,427
2558 21 2,267
2559 18 1,696
2560 20 2,077
2561 21 1,929
2562 30 2,717
ที่มา : สานักงานปลัดกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข สถิติสุขภาพ สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2563.

2.3.2) การจัดระดับสถานบริการสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย
ตารางที่ 55 ระดับสถานบริการสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ตามแผนพัฒนาระบบสาธารณสุขส่วนภูมิภาค

ระดับสถานบริการ
ระดับ A ระดับ S
ระดับ M (Mid-Level
(Advance&Sophisticate (Standard- ระดับ F (First-Level Referal Hostital)
Referal Hostital)
Technology) Level Referal
Hostital) M1 M2 F1 F2 F3
-โรงพยาบาลเชียงรายประชานุ - รพ. แม่สาย รพ. เวียงป่า - รพ.สมเด็จฯ รพ.
เคราะห์ศูนย์ความเชี่ยวชาใ รพ. พาน และ เป้า , รพ. เทิง - รพ. เวียงเชียงรุ้ง ดอย
ระดับสูง รพ. แม่จัน และ รพ. เชียง - รพ. พใาเม็งราย หลวง
1.ทารกแรกเกิดระดับ 2 ของ - รพ. เวียงแก่น
2.โรคมะเร็ง ระดับ 2 - รพ. ขุนตาล
3.อุบัติเหตุและฉุกเฉิน ระดับ 1 - รพ. ป่าแดด
4.โรคหัวใจและหลอดเลือด - รพ. แม่สรวย
ระดับ 1 - รพ. เชียงแสน
- รพ. แม่ฟ้าหลวง
- รพ. แม่ลาว
1 แห่ง - - 3 แห่ง 3 แห่ง 10 แห่ง 1 แห่ง
ที่มา : สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย, 2559.
หมายเหตุ -โรงพยาบาลแม่จัน ขอเลื่อนจาก M 2 เป็น M 1 ในปีงบประมาณ 2558
-โรงพยาบาลเชียงของ ขอเลื่อนจาก F1เป็น M 2 ในปีงบประมาณ 2559
114

สาหรับการจัดระดับบริการสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย ตามแผนพัฒนาระบบสาธารณสุขส่วนภูมิภาค
พบว่า ระดับ A ได้แก่ โรงพยาบาลเชียงรายประชานุเคราะห์ ระดับ M ได้แก่ โรงพยาบาลแม่สาย โรงพยาบาล
พาน และโรงพยาบาลแม่จัน นอกจากนั้นโรงพยาบาลอื่นๆในจังหวัดเป็นโรงพยาบาลระดับ F

2.3.3) สถานบริการสาธารณสุขในสังกัดอื่นและภาคเอกชน
ตารางที่ 56 สถานบริการสาธารณสุขในสังกัดอื่นและภาคเอกชน

โรงพยาบาลเอกชน โรงพยาบาลสังกัดทบวงมหาวิทยาลัย โรงพยาบาลสังกัดกระทรวงกลาโหม


จานวน/
ชื่อโรงพยาบาล จานวน/เตียง ชื่อโรงพยาบาล จานวน/เตียง ชื่อโรงพยาบาล
เตียง
1. โรงพยาบาล 120 1. โรงพยาบาล 107 1. โรงพยาบาลค่ายเม็ง 60 เตียง
เกษมราษฎร์ศรี มหาวิทยาลัยแม่ฟ้า รายมหาราช
บุรินทร์ หลวง
2. โรงพยาบาล 223
โอเวอร์บรุ๊ค
สถานบริการสาธารณสุขในสังกัดอื่นและภาคเอกชน
สถานบริการ จานวน สถานบริการ จานวน สถานบริการ จานวน
1. คลินิกแพทย์ 174 แห่ง 2. คลินิกทันตแพทย์ 52 แห่ง 3. คลินิกเทคนิคการแพทย์ 9 แห่ง
สถานบริการ จานวน สถานบริการ จานวน สถานบริการ จานวน
4. คลินิกการ 229/11 แห่ง 5. คลินิก 9 แห่ง 6. คลินิกสาขาการแพทย์ 13 แห่ง
พยาบาลและ กายภาพบาบัด แผนไทย
ผดุงครรภ์
7. สถานที่ขาย 184 แห่ง 8. สถานที่ขายยา 59 แห่ง 9. สถานที่ขายยาแผน 18 แห่ง
ยาแผนปัจจุบัน แผนปัจจุบันเฉพาะ โบราณ
บรรจุเสร็จ
10. สถานที่ผลิต 6 แห่ง 11. สหคลินิก 5 แห่ง
ขายยาแผน
โบราณ
ที่มา : รายงานประจาปี 2561 สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เชียงราย, 2562.
115

สถานบริการสาธารณสุขในสังกัดอื่นประกอบด้วย 4 โรงพยาบาลได้แก่ 1. โรงพยาบาลเกษมราษฎร์ศรี


บุรินทร์ 2. โรงพยาบาลโอเวอร์บรุ๊ค 3. โรงพยาบาลมหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง และ4. โรงพยาบาลค่ายเม็งราย
มหาราช สถานบริการสาธารณสุขภาคเอกชน คลินิกแพทย์ จานวน 174 แห่ง และเป็นคลินิกทันตแพทย์
จานวน 52 แห่ง
2.3.4) ข้อมูลบุคลากรสุขภาพ

จานวนบุคลากรในสายงานหลัก ได้แก่ แพทย์ ทันตแพทย์ เภสัชกรและพยาบาลวิชาชีพ นักวิชาการ


สาธารณสุข จพ.สาธารณสุข จพ.ทันตสาธารณสุข/ทันตาภิบาล มีจานวน แพทย์ทั้งสิ้น 3,820 คน บุคลากร
ทางการแพทย์ คิดเป็น อัตราส่วน 1 : ประชากรในจังหวัดเชียงราย เท่ากับ 1 : 2,495 คน ทันตแพทย์ จานวน
136 คน อัตราส่วน 1 : ประชากรในจังหวัดเชียงราย เท่ากับ 1 : 8,451 เภสัชกร จานวน 171 คน อัตราส่วน
1 : ประชากรในจังหวัดเชียงราย เท่ากับ 1 : 6.870 และพยาบาลวิชาชีพ จานวน 2,224 คน อัตราส่วน 1 :
ประชากรในจังหวัดเชียงราย เท่ากับ 1 : 542 คน นักวิชาการสาธารณสุข จานวน 477 คน จพ.สาธารณสุข
จานวน 191 คน จพ.ทันตสาธารณสุข/ทันตาภิบาล จานวน 89 คน ตามลาดับ

ตารางที่ 57 จานวนบุคลากรสาธารณสุขของจังหวัดเชียงรายเทียบกับประชากร
จานวน (ปฏิบัติงานจริง) อัตราส่วน 1 : ประชากร
บุคลากรสาธารณสุข
สสจ. รพศ. รวม จ.เชียงราย ระดับประเทศ
แพทย์ 2 221 486 1 : 2,495 1 : 3,720
ทันตแพทย์ 115 21 136 1 : 8,451 1 : 13,267
เภสัชกร 116 55 171 1 : 6.870 1 : 7,352
พยาบาลวิชาชีพ 1,235 998 2,224 1 : 542 1 : 607
นักวิชาการสาธารณสุข 454 23 477 1 : 2,092 -
จพ.สาธารณสุข 482 9 191 1 : 6,071 -
จพ.ทันตสาธารณสุข/ทันตาภิบาล 86 3 89 1 : 13,091 -
รวม 2,490 1,330 3,820
ที่มา : รายงานประจาปี 2562 สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เชียงราย, 2563.
116

ตารางที่ 58 จานวนเจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ของรัฐบาล เป็นรายอาเภอเทียบกับประชากรเจ้าหน้าที่ทาง


การแพทย์ของรัฐบาล พ.ศ. 2562
อัตราส่วน 1 : ประชากร
เจ้าหน้าที่ทางการแพทย์ของรัฐบาล รวม
จ.เชียงราย
แพทย์ 401 1 : 2,922
ทันตแพทย์ 130 1 : 9,013
เภสัชกร 186 1 : 6299
พยาบาล 2,206 1 : 531
พยาบาลเทคนิค 8 1 : 146,460
ที่มา : สานักงานสาธารณสุขจังหวัดเชียงราย รายงานสถิตจิ ังหวัดเชียงราย สถิติจังหวัดเชียงราย,2563.

เมื่อพิจารณาจานวนบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐนอกกระทรวงสาธารณสุขและภาคเอกชนจังหวัด
เชี ย งราย พบว่ า รพ.โอเวอร์ บ รุ๊ ค มี จ านวนบุ ค ลากรสาธารณสุ ข ภาครั ฐ นอกกระทรวงสาธารณสุ ข และ
ภาคเอกชนมากที่สุด จานวน 266 คน รองลงมารพ.เกษมราษฎร์ศรีบุรินทร์ มีจานวนบุคลากร จานวน 191 คน
และ รพ.มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง จานวน 86 คนตามลาดับ

ตารางที่ 59 จานวนบุคลากรสาธารณสุขภาครัฐนอกกระทรวงสาธารณสุขและภาคเอกชน จังหวัดเชียงราย

จานวนบุคลากร (คน)
สถานบริการ ทันต พยาบาล จนท.
แพทย์ เภสัชกร รวม หมายเหตุ
แพทย์ วิชาชีพ อื่นๆ
รพ.โอเวอร์บรุ๊ค 27 1 13 179 49 266 เอกชน
รพ.เกษมราษฎร์ศรีบุรินทร์ 28 3 13 126 21 191 เอกชน
รพ.มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง 10 2 3 28 43 86 ทบวงมหา-
วิทยาลัย
รพ.ค่ายเม็งรายมหาราช 4 1 1 13 73 47 ก.กลาโหม
รพ.เชียงรายอินเตอร์ 9 NA NA NA NA 9 เอกชน
รพ.เกษมราษฎร์แม่สาย 17 NA NA NA NA NA เอกชน
โรงพยาบาลศูนย์การแพทย์ 29 NA NA NA NA NA ทบวงมหา-
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง วิทยาลัย
เทศบาลนครเชียงราย - - - 7 9 17 อปท.
เรือนจากลางเชียงราย - - - 4 4 8 ก.ยุติธรรม
รวม 624
ที่มา : รายงานประจาปี 2562 สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เชียงราย, 2563.
117

2.3.5) ข้อมูลสถิติชีพของประชากรจังหวัดเชียงราย
จากข้อมูลสถิติชีพจังหวัดเชียงราย พบว่า จานวนเกิดมีชีพของเด็กในปี 2562 มีจานวน 9,441คน
เพิ่มขึ้นจากปี 2561 ซึ่งมีจานวน 9,384 คน ทั้งนี้จะเห็นได้ว่าในช่วงปี 2558-2561 จานวนเด็กที่เกิดในจังหวัด
เชียงรายมีแนวโน้มลดลงอย่างต่อเนื่อง อันเนื่องมาจากการศึกษาที่สูงขึ้น และโอกาสทางสังคมที่เปิดกว้างมาก
ขึ้นของเพศหใิง จะทาให้ผู้หใิงออกไปทางานนอกบ้าน แทนที่จะรับหน้าที่เพียงแค่แม่บ้านที่คอยดูแ ลลูกๆ
เท่านั้น นอกจากนี้ การเข้าถึงการรักษาที่มีประสิทธิภาพมากขึ้นในหลายประเทศ รวมทั้งผลสาเร็จของการ
คุมกาเนิดก็เป็นสาเหตุสาคัใที่ทาให้อัตราการเกิดโดยไม่ตั้งใจลดลงมากเช่นกัน

ตารางที่ 60 ข้อมูลสถิติชีพจังหวัดเชียงราย 2558 – 2562 (ณ 30 ธันวาคม ของทุกปี) (ข้อมูลตามรายงาน


ประจาปี 62 ของสานักงานสาธารณสุข)

2558 2559 2560 2561 2562


สถิติชีพ
จานวน อัตรา จานวน อัตรา จานวน อัตรา จานวน อัตรา จานวน อัตรา
เกิดมีชีพ* 10,229 8.42 9,587 7.5 9,429 7.7 9,384 7.34 9,441 8.06
ตาย* 8,846 7.28 9,216 7.2 8,231 6.4 8,525 6.67 8,996 7.68
อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ* 1,383 0.11 – – – – 859 0.67 – –
ทารกตาย** 39 3.81 39 4.1 38 4.0 57 6.07 20 2.12
มารดาตาย** 2 19.55 1 10.4 0 0 0 0 2 21.18
เด็กอายุต่ากว่า 5 ปีตาย* 64 1.20 – – – – 78 0.93 – –
ที่มา : รายงานประจาปี 2562 สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เชียงราย, 2563.
ข้อมูลเกิดมีชีพ, การตาย, ทารกตาย, เด็กต่ากว่า 5 ปีตาย จากสูติบตั ร, มรณะบัตร
หมายเหตุ 1. อัตราเกิดมีชีพ, อัตราตาย /1,000 คน 2. อัตราเพิ่มตามธรรมชาติ/ประชากร 100 คน 3. อัตราทารก/การเกิดมี
ชีพ 1,000 คน 4. อัตรามารดาตาย/การเกิดมีชีพ 100,000 คน 5. อัตราเด็กอายุต่ากว่า 5 ปีตาย/การเกิดมีชีพ 1,000 คน
118

แผนภูมิที่ 31 อัตราการเกิดของประชากรจังหวัดเชียงราย

อัตราการเกิดของประชากรจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2567


15,000

10,000

5,000

0
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

อัตราการเกิด การพยากรณ์(อัตราการเกิด)
ขีดจากัดความเชื่อมั่นระดับล่าง(อัตราการเกิด) ขีดจากัดความเชื่อมั่นระดับบน(อัตราการเกิด)

แผนภูมิที่ 32 เปรียบเทียบข้อมูลสถิติชีพจังหวัดเชียงราย 2558 – 2562

เปรียบเทียบข้อมูลสถิติชีพจังหวัดเชียงราย 2558 – 2562


12,000
10,000
10,229
8,000 9,587 9,216 9,429 9,384 9,441 8,996
8,846 8,525
8,231
6,000
4,000
2,000
0
2558 2559 2560 2561 2562

เกิดมีชีพ ตาย
119

2.3.6) สาเหตุการตายที่สาคัญ 10 อันดับโรค

ตารางที่ 61 สาเหตุการตายที่สาคัใ 10 อันดับโรค (อัตราต่อ 100,000 ประชากร) ปี 2557-2562


2558 2559 2560 2561 2662
ที่ โรค จานวน จานวน จานวน จานวน จานวน อัตรา
อัตรา อัตรา อัตรา อัตรา
(คน) (คน) (คน) (คน) (คน)
1 เนื้องอกร้าย 1,603 133.51 1,438 112.51 1,404 109.84 1,747 114.48 1,491 127.25
ทุกชนิด

2 โรคของ 78 6.47 161 12.6 361 28.24 672 52.19 699 59.66
ระบบ
ประสาท
อื่นๆ
3 การติดเชื้อ 504 42.15 633 49.52 433 33.88 474 38.61 581 49.59
ในกระแส
เลือด
4 ปอดบวม 379 31.43 611 47.80 583 45.61 508 39.45 584 49.84
5 อุบัติเหตุ 282 23.38 350 27.38 345 26.99 307 23.84 325 27.74
การขนส่ง
6 ไตวาย 477 39.55 456 35.68 439 34.35 490 38.05 211 18.01
7 เลือดออก 203 16.83 198 15.49 150 11.74 260 20.19 187 15.96
ในสมอง
8 ความดัน 193 16.00 203 15.88 265 20.73 158 12.27 175 14.94
โลหิตสูง
9 โรคหัวใจ 86 7.13 303 23.71 265 20.73 277 21.51 134 11.44
ขาดเลือด
10 โรคปอดอุด 383 31.76 414 32.39 319 24.96 266 20.66 119 10.16
กั้นเรื้อรัง
ที่มา : มรณะบัตร กระทรวงมหาดไทย ปี 2558-2562
รายงานประจาปี 2561 สานักงานสาธารณสุขจังหวัด เชียงราย, 2562.
120

[PERCENTAGE]
[PERCENTAGE]
[PERCENTAGE]

[PERCENTAGE] [PERCENTAGE]
[PERCENTAGE]
[PERCENTAGE]
[PERCENTAGE] [PERCENTAGE]
[PERCENTAGE]

โรคระบบประสาท การติดเชื้อในกระแสเลือด ปอดบวม ไตวาย อบัติเหตุการขนส่ง


โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง เลือดออกในสมอง โรคหัวใจ เนื้องอกร้าย

แผนภูมิที่ 33 สาเหตุการตายที่สาคัญ 10 อันดับโรค ปี พ.ศ.2562

ที่มา สานักงานสถิติแห่งชาติ , 2563

เมื่อพิจารณาถึงสาเหตุการเสียชีวิต สาคัใ 10 อันดับโรค ได้แก่ เนื้องอกร้ายทุกชนิด การติดเชื้อใน


กระแสเลือด ปอดบวม ไตวาย อุบัติเหตุการขนส่ง โรคปอดอุดกั้นเรื้อรัง ความดันโลหิตสูง เลือดออกในสมอง
โรคหัวใจ ขาดเลือด โรคของระบบประสาทอื่นๆ (อัตราต่อ 100,000 ประชากร) ปี 2557-2562 พบว่า 3 โรคที่
มีอัตราจากการเสียชีวิตมากที่สุดได้แก่ อัตราการเสียชีวิตจากโรคเนื้องอกร้ายทุกชนิด จานวน 1,491 คน
รองลงมา โรคของระบบประสาทอื่นๆ 699 คน และ โรคปอดบวม จาวน 581 คน ตามลาดับ
121

2.4) สวัสดิการสังคม
2.4.1 สวัสดิการสังคมของกลุ่มแรงงาน
แผนภูมิที่ 34 สัดส่วนของแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบ

800,000
700,000
178,275 161,260 177,542
600,000 144,343 127,941 143,611 148,861 153,906 131,786
500,000 142,721
400,000
300,000 554,015 583,888 580,203 532,716 541,804 515,952 488,361 484,136 473,205 450,238
200,000
100,000
0
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

นอกระบบ ในระบบ

ที่มา สานักงานสถิติแห่งชาติ , 2563

จากแผนภูมิแสดงให้เห็นสัดส่วนของแรงงานในระบบและแรงงานนอกระบบของจังหวัดเชียงราย จาก
สัดส่วนของแรงงานทั้งหมด พบว่าร้อยละ 75 เป็น แรงงานนอกระบบ ดังนั้น ประเด็นสาคัใประการหนึ่งคือ
การไม่มีสวัสดิการสังคมใดๆ ที่จะคุ้มครองแรงงานนอกระบบเหล่านี้ ทั้งนี้จะเป็นปัใหาสังคมที่สาคัใโดยเฉพาะ
อย่างยิ่งในสถานการณ์การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึ่งส่งผลให้กิจการปิด
กิจการลงแรงงานนอกระบบเหล่านี้จาเป็นออกจากงาน และหากไม่ได้ทาประกันสังคมไว้แรงงานกลุ่มนี้จะไม่ได้
รับสวัสดิการใดๆเลย
2.4.2 การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมทางสังคมของจังหวัด ด้านสังคมและความมั่นคงของมนุษย์
สามารถสรุปได้ดังนี้
จุดแข็ง
1) มีองค์กรภาคีเครือข่ายภาคสังคมจังหวัดมีหลากหลาย ประกอบไปด้วยส่วนราชการที่ปฏิบัติงาน
ด้านสังคม องค์กรเอกชน และภาคประชาสังคม ตลอดจนองค์กรที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการ เช่น องค์กร
สวัสดิการชุมชน องค์กรสาธารณประโยชน์ ชมรมผู้สูงอายุ โรงเรียนผู้สูงอายุ และกองทุนสวัสดิการชุมชน เป็น
ต้น ที่สามารถเป็นกลไกขับเคลื่อนการจัดสวัสดิการสังคมของจังหวัดได้
2) จังหวัดมีทุนทางสังคมหลายด้านในสถาบัน ชุมชน และท้องถิ่น อันประกอบไปด้วยผู้นา อาสาสมัคร
กลุ่ม/องค์กร ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม องค์ความรู้และภูมิปัใใาหลายแขนงที่สามารถส่งเสริมให้เป็นพลังทาง
สังคมทั้งด้านการป้องกัน แก้ไขปัใหา และการพัฒนาเป็นส่ว นหนึ่งในการจัดบริการทางสังคม โดยเฉพาะ
122

ประเด็น ที่เด่นชัด เช่น การขับ เคลื่ อนระบบสุขภาพอาศัยภูมิปัใใาการรักษาของหมอพื้นบ้านและการใช้


สมุนไพร โดยสมัชชาสุขภาพ การพัฒนาเกษตรชีวภาพและอาหารปลอดภัย โดย เครือข่ายตลาดสีเขียว เป็นต้น
3) ส่วนราชการ และองค์กรมีความพร้อมด้านบุคลากรทางาน สามารถร่วมสนับสนุนการขับเคลื่อน
ตามแนวนโยบายรัฐบาลให้เป็นส่วนหนึ่งในการจัดสวัสดิการสังคมของจังหวัดได้ เช่น ประชารัฐ เศรษฐกิจฐาน
รากและทุนชุมชน เป็นต้น นอกจากนี้ยังมีกองทุนหรือแหล่งทุนเพื่อการทางานป้องกันและแก้ไขปัใหาสังคม
หลายแหล่ง โดยเฉพาะในกระทรวงการพัฒนาสังคมฯ เช่น กองทุนคุ้มครองเด็ก กองทุนส่งเสริม และพัฒนา
คุณภาพชีวิตคนพิการ กองทุนป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ กองทุนผู้สูงอายุ และกองทุนส่งเสริมการ
จัดสวัสดิการสังคม นอกจากนี้ยังมีแหล่งทุนที่มีอยู่ในท้องถิ่น เช่น กองทุนสนับสนุนการสร้างเสริมสุขภาพ และ
กองทุนหลักประกันสุขภาพแห่งชาติ เป็นต้น
4) กิจกรรมการดาเนินงานของส่วนราชการ องค์กรเอกชน และภาคประชาสังคมเป็นส่วนหนึ่งใน
สวัสดิการสังคม โดยในพื้นที่จังหวัดมีการเร่งรัดการทางานตามภายใต้กฎหมายหลายด้าน ซึ่งเป็นผลต่อการ
จัดระบบบริการทางสังคมเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้มากขึ้นกว่าเดิม เช่น การประชาสัมพันธ์การใช้สิทธิประกั นตน
ตามกฎหมายประกันตนมาตรา 40 กองทุนการออมแห่งชาติ การจัดสิ่งอานวยความสะดวกแก่คนพิการในที่
สาธารณะอย่างน้อย 5 สถานที่บังคับต้องมี การจัดตั้งศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิตและอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.) และ
ศูนย์บริการคนพิการ เป็นต้น
5) มี ท รั พ ยากรธรรมชาติ ที่ ส มบู ร ณ์ ซึ่ง เป็ น ที่นิ ย มส าหรั บ นัก ท่ อ งเที่ ย วที่ ชื่น ชอบบรรยากาศการ
ท่องเที่ยวเชิงธรรมชาติ เช่น ขุนน้านางนอน ถ้าหลวง เวียงหนองหล่ม เป็นต้น ซึ่งเป็นที่รู้จักของคนทั้งในและ
ต่างประเทศที่มีการรวมพลังกายและพลังใจของผู้คนจากทั่วทุกมุมโลกในภารกิจช่วยทีมหมูป่าออกจากถ้าหลวง
6) เป็ น เมื องศิล ปะที่มีความงดงามและทรงคุณค่าด้ว ยการรวมตัว กันของกลุ่ มศิล ปินเชียงรายที่มี
ชื่อเสียงในระดับโลก ภาพลักษณ์ของเชียงรายจึงเป็นเมืองที่มีจุดเด่นในด้านการท่องเที่ยว หรือกล่าวอีกนัยหนึ่ง
คือสามารถสร้างรายได้หลักจากการท่องเที่ยว
จุดอ่อน
1) ขาดการเชื่อมโยงการทางานเชิงบูรณาการร่วมกันระหว่างองค์กรให้เป็นเอกภาพ โดยภาพรวมจะ
ทางานเฉพาะส่วนประเด็น เฉพาะกลุ่มและองค์กรที่มีระบบความสัมพันธ์และสนใจในเรื่องเดียวกันเท่านั้น
รวมถึงการสร้างโอกาสในการทางานร่วมกันมีน้อยและขาดความต่อเนื่อง
2) องค์กรชุมชนและท้องถิ่นมีการปรับใช้ทุนทางสังคมของท้องถิ่น (กลุ่มองค์กร ผู้นา องค์ความรู้ และ
ภูมิปัใใาท้องถิ่น ฯลฯ) ยั งไม่เต็มที่ในการจัดระบบบริการทางสังคม ขาดกระบวนการพัฒนาต่อยอดจาก
ทุนเดิมที่มีให้เกิดประโยชน์อย่างกระจ่างชัด เช่น ภูมิปัใใาด้านหมอพื้นบ้าน สมุนไพร วัฒนธรรมประเพณี
ท้องถิ่น และเครือข่าย/ขบวนองค์กรชุมชนในบางประเด็น เป็นต้น
3) ขาดข้อมูลกลางด้านการจัดสวัสดิการสังคมระดับจังหวัด โดยข้อมูลค่อนข้างกระจายในระบบการ
จัดสวัสดิการสังคมในภาพรวมจังหวัด เนื่องจากสวัสดิการสังคมมีหลายภาคส่วนเกี่ยวข้อง ไม่ได้มีเพียงองค์กร
สวัสดิการชุมชน และองค์กรสาธารณประโยชน์ภายใต้กฎหมาย แต่ยังรวมไปถึงองค์กรที่เป็นทางการและไม่เป็น
ทางการ ท้องที่และท้องถิ่นที่ยังไม่ได้เป็นเครือข่ายการทางานร่วมกัน
123

โอกาส
1) การตื่นตัวของภาคประชาสังคมจังหวัดกับการจัดสวัสดิการสังคม โดยบทบาทภายใต้กฎหมายและ
ระเบียบการดาเนินโครงการ/กิจกรรมหลายเรื่องที่เปิดโอกาสให้ภาคประชาชนเป็นส่วนหนึ่งในกระบวนการ
ทางาน และมีส่วนร่วมกับส่วนราชการ ภาคเอกชน และภาคส่วนอื่นๆ ทาให้ภาคประชาชนมีการตื่นตัวในการ
ทางานมากขึ้น โดยเฉพาะด้านสวัสดิการสังคมที่เกิดจากภาคประชาชนดาเนินเอง และทางานร่วมกับชุมชน
ท้องถิ่นของตนเอง
2) กระแสประชารัฐและการสนับสนุนของส่วนราชการ เอกชน และภาคประชาชน เป็นการทางาน
แนวทางใหม่ใ นลั กษณะภาคประชาชนน าและส่ ว นราชการสนับสนุน และการสร้ างหุ้ นส่ ว นในกิจกรรม/
โครงการร่วมกันที่เกิดจากนโยบายของรัฐบาลและกระบวนการทางานของส่วนราชการ มีส่วนในการสนับสนุน
3) ได้รับการสนับสนุนด้านนโยบายจากภาครัฐเช่น นโยบายด้านความมั่นคง (ปัใหายาเสพติด) ความ
ปลอดภั ย (ความปลอดภั ย ในการเดิ น ทาง ความปลอดภัย ในชีวิ ตและทรั พย์ สิ น และความปลอดภัย จาก
เหตุการณ์ภัยพิบัติต่างๆ) การเป็นเมืองที่สะอาด (ปัใหาขยะ) ซึ่งนโยบายดังกล่าวสามารถเชื่อมโยงไปสู่การ
สนับสนุนด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด
อุปสรรค
1) กระแสทุนนิยม และโลกาภิวัฒน์บีบรัดต่อสภาพความเป็นอยู่ของชนทุกระดับ เป็นปัจจัยทาลาย
ระบบความสัมพันธ์ของบุคคล ชุมชนและสถาบัน ส่งผลให้เกิดความอ่อนแอและความเปราะบางของเกราะคุ้ม
กันทางสังคมที่มีอยู่ในท้องถิ่น ไม่เพียงพอต่อการรองรับสภาพปัใหาสังคมและเศรษฐกิจที่รุมเร้าเข้ามา เช่น
สถานการณ์การตั้งครรภ์ในเด็กและเยาวชน ความรุนแรงในครอบครัว เด็กถูกทอดทิ้ง และผู้สูงอายุขาดคนดูแล
เป็นต้น
2) สภาพสังคม สภาพภูมิศาสตร์ที่เป็ นพื้นที่ช ายแดน หลากหลายของกลุ่ มชนที่เข้ามาอาศัย และ
มีประวัติศาสตร์การย้ายถิ่นฐานของกลุ่มชนมายาวนานจากปัจจัยหลายด้าน เช่น สงคราม การเมือง การค้า
การเข้ามาตั้งรกรากถิ่นฐานใหม่ และการเข้ามาทางาน เป็นต้น ประกอบกับบางท้องถิ่นเป็นพื้นที่สูง การติดต่อ
เข้าถึงล าบากและห่ างไกล จึงมีส ภาพเป็น สั งคมชายขอบ ไร้ส ถานะทางทะเบียน ขาดการติดต่อกับสั งคม
ภายนอก ก่อให้เกิดกลุ่มขาดโอกาสเข้าถึงบริการทางสังคม
3) เมืองชายแดนการติดต่อระหว่างประเทศเป็นปัจจัยต่อการอพยพหลั่งไหลของผู้คน อันเป็นปัจจัย
ต่อปัใหาสังคมทางอ้อม ได้แก่ ที่อยู่อาศัย อาชใากรรม ยาเสพติด และค้ามนุษย์ ฯลฯ
2.4.3) แนวทางการพัฒนาด้านสวัสดิการสังคม
1) เพื่ อ ลดความเหลื่ อ มล้ า การเข้ า ถึ ง สิ ท ธิ แ ละบริ ก ารทางสั ง คม โดยการจั ด การระบบข้ อ มู ล
กลุ่มเป้าหมายทางสังคม เช่น ผู้สูงอายุ คนพิการ และผู้ด้อยโอกาส 5 กลุ่ม (คนเร่ร่อน คนยากไร้ คนไร้สถานะ
ทางทะเบียน ผู้ติดเชื้อ/ผู้ได้รับผลกระทบ และผู้พ้นโทษ) เป็นต้น เพื่อรองรับการพัฒนาและการช่วยเหลือตาม
สิทธิขั้นพื้นฐานและตามความจาเป็น รวมถึงการสร้างโอกาสรับรู้ต่อช่องทางการขอรับการช่วยเหลือและการใช้
สิทธิบริการทางสังคมสู่กลุ่มเป้าหมายอย่างทั่วถึง ผ่านกิจกรรม/โครงการต่างๆ เช่น การออกหน่วยบริการทาง
124

สังคม หน่วยบริการเคลื่อนที่เพื่อการประชาสัมพันธ์สิทธิการรับบริการ การสารวจชุมชน อาสาสมัคร/หน่วย


ติดตามกลุ่มเป้าหมาย เป็นต้น
2) สร้ า งเครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ จั ด สวั ส ดิ ก ารสั ง คม โดยการเสริ ม สร้ า งองค์ ก รภาคประชาชน
ภาคประชาสังคม และภาคเอกชนให้มีส่วนร่วมในการจัดสวัสดิการสังคม มากยิ่งขึ้น เกิดกระบวนการจัดตั้งและ
พัฒนาสถานะองค์กรเป็นองค์กรสวัสดิการชุมชน และองค์กรสาธารณประโยชน์ เป็นเครือข่ายการจัดระบบ
บริการทางสังคมใน 7 สาขาการจัดสวัสดิ การสังคม (การศึกษา สุขภาพอนามัย การมีงานทาและรายได้ ที่อยู่
อาศัย นันทนาการ ยุติธรรม และบริการทางสังคมทั่วไป) เพื่อการเฝ้าระวัง ป้องกันและแก้ไขปัใหาในพื้นที่
และการมีการพัฒนาระบบประสานการทางานเป็นขบวนองค์กรที่เข้มแข็ง เช่น เป็นเครือข่ายสุขภาพ เครือข่าย
สวัสดิการชุมชน เครือข่ายแรงงานนอกระบบ ศูนย์ประสานงานระดับตาบล/อาเภอ ศูนย์พัฒนาคุณภาพชีวิต
และอาชีพผู้สูงอายุ (ศพอส.) เป็นต้น
3) การรื้ อ ฟื้ น ระบบคุ ณ ค่ า ทุ น ทางสั ง คมต่ อ การปรั บ ใช้ ใ นกระบวนการสร้ า งสั ง คมสวั ส ดิ ก าร
โดยส่ ง เสริ ม การการปรั บ ใช้ทุ น ทางสั งคมในท้ องถิ่น ให้ เป็ นส่ ว นหนึ่ งในพัฒ นาระบบสวั ส ดิ การสั งคม เช่ น
กลุ่มองค์กร ผู้นาทางความคิด ปราชใ์ องค์ความรู้ภูมิปัใใา และวัฒนธรรมท้องถิ่น เป็นต้น โดยการถอด
บทเรียน การสร้างสรรค์คุณค่าแห่งองค์ความรู้/ภูมิปัใใา เพื่อการพัฒนาและปรับใช้อย่างเหมาะสมสาหรับ
องค์กรภาคีภาคสั งคมทุกระดับ เช่น ภูมิปัใใาหมอเมือง หมอพื้นบ้าน สมุนไพร งานหัตถกรรมประจาถิ่น
ศิลปกรรม การแปรรูปผลิตภัณฑ์อาหาร เป็นต้น
4) การสร้างพลังการขับเคลื่อนกลไกทางสังคมเพื่อสร้างเสริมสวัสดิการสังคมทุกระดับ โดยการ
บูรณาการการทางานเชิงยุทธศาสตร์ ด้านการพัฒ นาของจังหวั ดระหว่างภาคีภาคสังคมทุกระดับ เพื่อร่ว ม
ขั บ เคลื่ อ นงานพั ฒ นาและสวั ส ดิ ก ารสั ง คมดู แ ลกลุ่ ม เป้ า หมายอย่ า งสอดคล้ อ งกั บ สภาพปั ใ หาพื้ น ที่ แ ละ
สถานการณ์เร่งด่วน และการส่งเสริมหุ้นส่วนการจัดสวัสดิการสังคมอย่างหลากหลายตามแนวทางการยกระดับ
สังคมสวัสดิการในพื้นที่จังหวัด เช่น ธุรกิจเพื่อสังคม ประชารัฐ กิจกรรมสาธารณประโยชน์ สวัสดิการทางเลือก
การช่วยเหลือสังคมขององค์กรเอกชน และจิตอาสาทางานเพื่อสังคม เป็นต้น ซึ่งเป็นงานที่มาจากการสนับสนุน
ทั้งภาคราชการ ภาคเอกชน อปท. องค์กรศาสนา องค์กรธุรกิจ และองค์กรภาคประชาชน เพื่อคอยเติมเต็ม
กับระบบสวัสดิการกระแสหลั กที่รัฐ บาลจัดให้แต่อาจยังกระจายไม่ทั่ว ถึงการดูแลกลุ่ มเป้าหมายและสาขา
สวัสดิการสังคมที่มีอยู่ ไม่ว่าจะเป็นการศึกษาสาหรับเด็กยากไร้ สถานสงเคราะห์เด็ก สถานรับเลี้ยงเด็กเอกชน ฯลฯ
125

2.5) อาชญากรรม
สาหรับสถานการณ์อาชใากรรมจากข้อมูลการการจับกุมผู้กระทาผิดในคดีแต่ละกลุ่มที่เกิดขึ้นในปี
พ.ศ. 2559 – 2564 โดยพิจารณาจากความสามารถในการจับกุมผู้กระทาผิดในคดีแต่ละกลุ่มที่เกิดขึ้นและ
จับกุมได้โดยคานวณจากผลการจับกุมคดี แต่ละกลุ่มได้ตามรอบการรายงานของสานักตารวจแห่งชาติต่อ
จานวนคดีแต่ละกลุ่มที่ได้รับแจ้ง ทั้งนี้ คดีให้หมายความถึงคดีที่อยู่ในความผิด 4 กลุ่ม ได้แก่
1. คดีความผิดเกี่ยวกับชีวิต ร่างกาย และเพศ
2. คดีความผิดเกี่ยวกับทรัพย์
3. คดีฐานความผิดพิเศษ
4. คดีความผิดที่รัฐเป็นผู้เสียหาย
พบว่าแนวโน้มคดีคดีประทุษร้ายต่อทรัพย์ และคดีที่รัฐเป็นผู้เสียหาย มีแนวโน้มเพิ่มขึ้น ทั้งนี้เห็น
ได้จากจานวนรับแจ้งเพิ่มขึ้น
เมื่อพิจารณาในปี พ.ศ. 2563 พบว่า เกิดคดีที่รัฐเป็นผู้เสียหายมากที่สุด 10,833 ราย จับกุม
10,613 ราย รองลงมาคือคดีประทุษร้ายต่อทรัพย์ 632 ราย จับกุม 530 ราย รองลงมาคือ คดีฐานความผิด
พิเศษ 284 ราย จับกุม 97 ราย และคดีชีวิต ร่างกาย และเพศ 225 ราย จับกุม 213 ราย ดังตารางที่ 57

ตารางที่ 62 ข้อมูลผลการดาเนินงาน ในปี 2560-2564

ข้อมูลผลการดาเนินงาน ในปี 2560-2564


ประเภท 2560 2561 2562 2563 2564
ความผิด (1 ม.ค-1 ก.พ.)
แจ้ง จับ แจ้ง จับ แจ้ง จับ แจ้ง จับ แจ้ง จับ
1. คดีชีวิต 228 176 246 224 223 203 225 213 19 19
ร่างกาย และ
เพศ
2. คดี 1,015 741 567 486 582 496 632 530 41 37
ประทุษร้ายต่อ
ทรัพย์
3.คดีฐาน 294 130 484 213 506 301 284 97 15 5
ความผิดพิเศษ
4.คดีที่รัฐเป็น 6,167(1) 6,238(2) 8,824(1) 8,700(2) 10,342(1) 10,023(2) 10,833(1) 10,613(2) 998(1) 1,022(2)
ผู้เสียหาย*
หมายเหตุ : (1)จับกุม (ราย) (2) ผู้ต้องหาที่ถูกจับกุม (คน)
ที่มา : ตารวจภูธรจังหวัดเชียงราย สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2564
126

2.6) ปัญหายาเสพติด
2.6.1) สถานการณ์การเปลี่ยนแปลงที่มีผลต่อปัญหายาเสพติดในพื้นที่
สถานการณ์การเปลี่ยนในระดับโลก ระดับภูมิภาค และระดับประเทศมีผลกระทบโดยตรงต่อ
สถานการณ์ยาเสพติดในอนาคตหลายประการ เช่น
- แนวโน้ มกระแสประชาคมโลก จากข้ อมู ล จากส านั กงานยาเสพติ ด และอาชใากรรม
แห่งสหประชาชาติ (PDODC) พื้นที่สามเหลี่ยมทองคา ในพื้นที่ชายแดน อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย แขวง
บ่อแก้ว สปป.ลาว และเมืองท่าขี้เหล็ก สหภาพเมียนมา เป็นแหล่งผลิตยาเสพติดจากพื้นที่พระจันทร์เสี้ยว
ทองคา และชี้แนวโน้มว่า สหภาพเมียนมาเป็นแหล่งผลิตฝิ่นรายใหใ่ที่สุดของโลก รองจากประเทศอัฟกานิสถาน
ซึ่งส่งผลกระทบต่อสถานการณ์ยาเสพติดโลก รวมถึงประเทศไทยโดยเฉพาะจังหวัดเชียงราย ที่มีเขตชายแดน
ติดต่อสหภาพเมียนมา
- แนวโน้มกระแสประชาคมระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชีย จากการที่สหรัฐอเมริกากาหนด
ยุทธศาสตร์ด้านต่างประเทศที่ให้ความสาคัใกับทวีปเอเชีย (Pivot to Asia) เพื่อสร้างสมดุลในความสัมพันธ์
กับประเทศใี่ปุ่น เกาหลี เวียดนาม สิงค์โปร์ เมียนมา และไทย และมีหลายหัวข้อที่ต้องห้ามสาหรับหยิบยกขึ้น
มาเจรจาระหว่างประเทศด้วยเกรงว่าจะทาลายความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ (Sensitive issues) สิทธิมนุษยชน
ระบบการเมือง ระบอบประชาธิปไตย บทบาทขององค์การภาคเอกชน และความขัดแย้งในสังคมสมัยใหม่จะมี
สาเหตุมาจากความขัดแย้ งระหว่างอารยธรรมวัฒนธรรม ศาสนา ชาติพันธุ์ และผลประโยชน์ทางเศรษฐกิจ
ตลอดจนการต่างประเทศที่ให้ความสาคัใกับปัใหายาเสพติดที่จะถูกลักลอบนาเข้า นาออกไปยังต่างประเทศ
หรือส่งผลกระทบโดยตรงต่อประเทศที่เป็นเจ้าของเงินทุนช่วยเหลือเป็นหลัก
- แนวโน้มกระแสประชาคมอาเซียน เมื่อประเทศในภูมิภาครวมตัวกันเป็นประชาคมอาเซียน
ใน พ.ศ. 2558 ส่งผลกระทบต่อแนวโน้มสถานการณ์ยาเสพติดและการบริหารจัดการเพื่อแก้ไขปัใหายาเสพติด
ทั้งทางบวกและทางลบหลายประการ ผลกระทบทางลบเช่น การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อเสริมสร้าง
เครือข่ายความเชื่อมโยงระหว่างประเทศไทยกับประเทศอื่นๆ ในภูมิภาคจะเอื้ออานวยต่อการลาเลียงยาเสพติด
ทั้งต่อประเทศต้นทางที่เป็นแหล่งผลิตยาเสพติด ประเทศทางผ่านที่เป็นจุดแวะพัก และประเทศปลายทางที่เป็น
ตลาดผู้บริโภค เส้นทางลาเลียงยาเสพติดจะมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลาและเกิดความหลากหลายมากขึ้น
ก่อให้เกิดความยุ่งยากในการสกัดกั้นและปราบปราม เกิดอาชใากรรมทางเศรษฐกิจข้ามชาติ อาชใากรรมที่
เกี่ยวข้องกับยาเสพติด และอาชใากรรมคอมพิวเตอร์ แผนประทุษกรรมเกี่ยวกับยาเสพติดจะพลิกแพลงและ
ซับซ้อนมากขึ้น การใช้ประโยชน์จากเทคโนโลยีสมัยใหม่ที่เอื้อต่อการประกอบอาชใากรรมระหว่ างประเทศ
ธุรกรรมทางการเงินระหว่างประเทศและการฟอกเงิน นักลงทุนต่างชาติจะอาศัยสิทธิลงทุนสัใชาติอาเซียนเข้า
มาลงทุนในไทยมากขึ้น เกิดปัใหาการประกอบธุรกิจของคนต่างด้าว
ผลกระทบเชิงลบจากการที่ประเทศสมาชิกมีระบบกฎหมายที่แตกต่างกันและบทลงโทษที่
รุนแรงไม่เหมือนกัน เกิดช่องว่างในความได้เปรียบระหว่างประเทศ เป็นเหตุให้นักค้ายาเสพติดหลบหนีจากการ
กระทาความผิดในประเทศที่มีบทลงโทษหนักหรือมีมาตรการที่รุนแรงไปยังประเทศอื่นที่มีบทลงโทษเบากว่า
และอานาจในการบังคับใช้กฎหมายของเจ้าหน้าที่ในกระบวนการยุติธรรมในแต่ละประเทศอยู่ภายใต้ขอบเขต
127

พรมแดนของประเทศตน ตลอดจนแผนประทุษกรรมเกี่ยวกับอาชใากรรมและยาเสพติดจะพัฒนารูปแบบที่
พลิกแพลงมากขึ้น ทาให้การป้องกันและปราบปรามมีความยุ่งยากและซับซ้อนยิ่งขึ้น
- แนวโน้มการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม และการเมือง เป็นปัจจัยและเงื่อนไขให้
เกิดผลต่อปัใหายาเสพติดทั้งในด้านการผลิต การค้า การนาเข้า การส่งออก และการแพร่ระบาดของยาเสพติด
เช่นการเปลี่ยนแปลงด้านรายได้ แรงจู งใจด้านรายได้จากการค้ายาเสพติดทาให้อัตราจานวนผู้ค้ายาเสพติด
เพิ่มขึ้น อาชใากรรมด้านยาเสพติดมีความสั มพันธ์กับกระบวนการพัฒนาทางเศรษฐกิจ รวมทั้งเกิดความ
เกี่ยวข้องกันของอาชใากรรมด้านต่างๆ ด้วย เช่น องค์กรอาชใากรรมด้านยาเสพติดกับอาชใากรรมทาง
ทรั พย์ สิ น อาชใากรรมทางเศรษฐกิ จ เงื่อนไขจากการเปลี่ ยนแปลงไปสู่ ระบบเปิดทางเศรษฐกิจทาให้ เกิ ด
การแฝงตัวเข้ามาขององค์กรอาชใากรรม
2.6.2) แนวโน้มสถานการณ์ยาเสพติดในพื้นที่
เนื่องจากเชียงรายมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้านที่เป็นแหล่งผลิตยาเสพติดที่สาคัใ
เช่น สหภาพเมียนมาที่เป็นแหล่งผลิตยาเสพติดหลักในภูมิภาคอาเซียนทั้งฝิ่น เฮโรอีน ยาบ้า และไอซ์ โดยเฉพาะ
ยาบ้าซึ่งผลิตเพื่อส่งตลาดในประเทศเป็นหลัก สปป.ลาว เป็นประเทศที่ผลิตกัใชาและส่งผลกระทบต่อประเทศ
ไทยมากที่สุ ดในอาเซียน รวมทั้งมีการปลูกฝิ่นทางภาคเหนือของประเทศเป็นจานวนมาก นอกจากนี้ยังเป็น
ประเทศทางผ่านยาเสพติดจากเมียนมามายังไทย เวียดนามและกัมพูชา รวมถึงเป็นทางผ่านสารตั้งต้นเข้าสู่แหล่ง
ผลิตในพื้นที่สามเหลี่ยมทองคา ทาให้ด้านจังหวัดเชียงรายต้องกาหนดมาตรการปราบปรามจับกุมและสกัดกั้น
อย่างเข้มงวด ทั้งสกัดกั้นการลักลอบนาเข้ายาเสพติดทางบก ผ่านทางชายแดนทางบกที่มีอาณาเขตติดต่อกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน โดยเส้นทางดังกล่าวมักใช้เป็นพื้นที่เก็บพักยาเสพติดและเป็นเขตอิทธิพลของชนกลุ่มน้อยใน
ประเทศเพื่อนบ้าน และลักลอบขนยาเสพติดเข้ามาในประเทศภายในจังหวัด ผ่านทางอาเภอแม่สาย แม่ฟ้าหลวง
และแม่จัน นอกจากนี้ยังพบว่าขบวนการขนยาเสพติดใช้เส้นทางทางน้า ลักลอบขนยาเสพติดผ่านทางแม่น้า
ระหว่างประเทศและน่านน้าระหว่างประเทศ ดังนั้นการพัฒนาเส้นทางคมนาคมที่สาคัใภายในจังหวัดจึงต้อง
คานึงถึงผลกระทบดังกล่าวด้วย นอกจากขบวนการค้าจากภายนอกประเทศแล้ว พบว่าเครือข่ายการค้ายาเสพ
ติดจะเปลี่ยนแปลงไปเป็นลักษณะองค์กรอาชใากรรมที่ขยายตัวกว้างขึ้น เช่น เครือข่ายนักโทษในเรือนจายังคง
เป็นกลุ่มหลักในการเชื่อมโยงการค้ากับกลุ่มนักค้ายาเสพติดในพื้นที่
จากสถานการณ์ การควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด ปี 2563 พบว่า ในปี 2563 ได้มีการ
จับกุมผู้ค้ายาเสพติกได้ จานวน 6,807 คน ผู้ผลิตจานวน 250 คน จาหน่าย จานวน 1,103 คน
128

ตารางที่ 63 การควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด ปี 2563

การดาเนินการการควบคุมตัวยาและผู้ค้ายาเสพติด
ประเภทข้อกล่าวหา/การจับกุม ปี 2563
จับได้ 6,807
ผลิต 250
จาหน่าย 1,103
ที่มา : ตารวจภูธรจังหวัดเชียงราย, 2563.

เมื่อพิจารณาถึงการควบคุมตัวยา พบว่าในปี พ.ศ. 2563 สามารถจับกุมยาเสพติดประเภทยาไอซ์ ได้


มากที่สุดจานวน 1,342,841.776 กิโลกรัม รองลงมา ยาไอซ์จานวนบ้า 35,764,989.5 เม็ด และ เคตามีน
จานวน 148,369.00กิโลกรัม ตามลาดับ

ตารางที่ 64 การควบคุมตัวยา เปรียบเทียบปี 2561 – ปี 2563

ประเภทยาเสพติด ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563


ยาบ้า (เม็ด) 98,192,371.00 134,511,725.50 35,764,989.5
ยาไอซ์ (กิโลกรัม) 4,299 1,160 1,342,841.776
เฮโรอีน (กิโลกรัม) 165.21 23.43 3,356.052
ฝิ่น (กิโลกรัม) 29 54.31 29,352.409
เคตามีน (กิโลกรัม) - 96.19 148,369.00
ที่มา : ตารวจภูธรจังหวัดเชียงราย, 2563.

2.6.3) การดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่
จากการดาเนินงานการป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ปี 2561- ปี 2562 พบว่า
การดาเนินงานการป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติดมีทิศทางแนวโน้มที่ลดลงจากปี พ.ศ. 2561
ในปี พ.ศ. 2562 พบว่าการดาเนินการสถานศึกษาผ่านเกณฑ์เชิงคุณภาพ คิดเป็นร้อยละ 91.21 การดาเนินการ
โดยการเสริ มสร้ างภู มิคุ้ มกั นยาเสพติ ดที่ผ่ านเกณฑ์เชิงคุณภาพ ป.1 - 6 (คน) คิ ดเป็นร้อยละ 76.09 การ
ดาเนินการ การป้องกันยาเสพติดในเยาวชนนอกสถานศึกษา คิดเป็นร้อยละ 69.67 การดาเนินการโดยเยาวชน
อาสารักษาดินแดนต้านภัยยาเสพติดย.อส. คิดเป็นร้อยละ 89 การดาเนินการโดยสถานประกอบการผ่านเกณฑ์
129

“มยส.” คิดเป็นร้อยละ 128.57 การดาเนินการโดยสถานประกอบการผ่านเกณฑ์ “โรงงานสีขาว” คิดเป็นร้อย


ละ 103.33

ตารางที่ 65 การป้องกันกลุ่มผู้มีโอกาสเข้าไปเกี่ยวข้องกับยาเสพติด ปี 2561- ปี 2562

ปี 2561 ปี 2562
การดาเนินการ
เป้าหมาย ผล ร้อยละ เป้าหมาย ผล ร้อยละ
สถานศึกษาผ่านเกณฑ์เชิงคุณภาพ (แห่ง) 207 216 104.35 626 571 91.21
เสริมสร้างภูมิคมุ้ กันยาเสพติดทีผ่ ่านเกณฑ์ 87,296 87,278 103.7 87,296 66,427 76.09
เชิงคุณภาพ ป.1 - 6 (คน)
การป้องกันยาเสพติดในเยาวชนนอก 7,095 22,856 322.14 7,292 5,081 69.67
สถานศึกษา(คน)
เยาวชนอาสารักษาดินแดนต้านภัยยาเสพ 100 100 100 100 89 89
ติดย.อส.(คน)
สถานประกอบการผ่านเกณฑ์ “มยส.” 50 52 104 7 9 128.57
(แห่ง)
สถานประกอบการผ่านเกณฑ์ “โรงงานสี 100 107 107 30 31 103.33
ขาว” (แห่ง)
ที่มา : ศูนย์อานวยการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดจังหวัดเชียงราย ,2563.

2.6.4) แนวทางการดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติดในพื้นที่
แนวทางการดาเนินการป้องกันและแก้ไขปัใหายาเสพติดในพื้นที่ ในปี พ.ศ. 2562 ได้มีการยกระดับ
เพิ่มความเข้มข้นการป้องกันและแก้ไขปัใหายาเสพติด ตามแผนปฏิบัติการ "เชียงรายโมเดล" มาตั้งแต่ปี 2561
ตามนโยบายของรัฐบาลที่ต้องการแก้ไขปัใหาให้พี่น้องประชาชนครอบคลุมในทุกมิติ ทั้งทางด้านเศรษฐกิจ
สังคม ความมั่นคง และสุขภาวะ โดยดาเนินการมาตรการด้านการป้องกัน ปราบปราม และบาบัดรักษายาเสพ
ติด และบูรณาการการทางานร่ว มกัน ของทุกหน่ว ยงาน ทั้งภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน โดยมี
แผนการดาเนินงาน 4 มาตรการ ประกอบด้วย 1) มาตรการแก้ไขปัใหาหมู่บ้านที่ได้รับผลกระทบรุนแรงจาก
ยาเสพติด 2) มาตรการลดการแพร่ระบาดในพื้นที่ และการป้องกันและบาบัดฟื้นฟู 3) มาตรการปราบปราม
และบังคับใช้กฎหมาย 4) มาตรการกากับติดตามและประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้
ในมาตรการปราบปรามและบังคับใช้กฎหมาย มีการดาเนินงานที่สาคัใ คือ การสกัดกั้น การสืบสวน
ปราบปราม การลดความเดือดร้อนการแพร่ระบาดยาเสพติดในหมู่บ้านชุมชนตามเรื่องร้องเรียนของประชาชน
การจัดระเบียบสังคม และการเฝ้าระวังยาเสพติดภาคประชาชน ผลการปฏิบัติงานในห้วง 1 ตุลาคม 2561 -
28 กุมภาพันธ์ 2562 ที่สนใจ มีดังนี้
130

1. ด้านการสกัดกั้นยาเสพติดตามแนวชายแดน ดาเนินการจับกุมคดียาเสพติดตามแนวชายแดน
จานวน 105 ครั้ง ผู้ต้องหา 104 คน การปะทะ 6 ครั้ง ฝ่ายผู้ลาเลียงยาเสพติดเสียชีวิต 13 ศพ ของกลางยาบ้า
62,357,336 เม็ด ไอซ์ 600 กิโลกรัม เฮโรอีน 70 กิโลกรัม ฝิ่นดิบ 9 กิโลกรัม กัใชา 14 กรัม และเคตามีน 60
กิโลกรัม
2. ด้านการปราบปรามยาเสพติด จับกุมข้อหารายสาคัใรวมจานวน 52 ราย ผู้ต้องหา 61 คน และ
จับกุมรายย่อย 2,713 ราย ผู้ต้องหา 2,498 คน โดยจาแนกเป็นข้อหา ผลิต 49 ราย/14 คน นาเข้า 3 ราย/3
คน จาหน่าย 156 ราย/116 คน ครอบครองเพื่อจาหน่าย 490 ราย/ 371 คน ครอบครอง 322 ราย/301 คน
เสพ 1,693 ราย/1,693 คน ของกลางยาเสพติด ยาบ้า 82,278,560.5 เม็ด ไอซ์ 381,308.29 กรัม เฮโรอีน
22,003.35 กรัม กัใชา 294.503 กรัม เคตามีน 669 กรัม ฝิ่น 10,157.869 กรัม ต้นกัใชา 77 ต้น
3. ด้ านการดาเนิ น งานตามข้อร้ องเรี ยนของประชาชนผ่ านสายด่ ว นยาเสพติด 1386 ได้รับ เรื่อ ง
ร้องเรียนทั้งหมด 55 เรื่อง พบพฤติการณ์เกี่ยวข้องกับยาเสพติด 17 ราย ดาเนินการจับกุม 13 ราย นาส่ง
กระบวนการบ าบั ด 4 ราย และในห้ วงวันที่ 17-20 ธ.ค.61 ได้มีการปิดล้ อมตรวจค้นนักค้ารายใหใ่ทั่ว ทั้ง
จังหวัด จับกุมจานวน 58 คดี ผู้ต้องหา 57 คน ของกลางยาบ้า จานวน 28,760,564 เม็ด เฮโรอีน จานวน
30.9 กรัม
4. ด้านการยึดและอายัดทรัพย์สินคดียาเสพติด ดาเนินการตรวจยึดทรัพย์สินเครือข่ายการค้ายาเสพ
ติดในพื้นที่จังหวัดเชียงรายปีงบประมาณ 62 (ต.ค.61-ก.พ.62) 29 ราย มูลค่า 11.58 ล้านบาท
5. ด้านผลการดาเนิน งานจัดระเบี ยบสั งคม ดาเนินการตรวจสอบสถานบริการและสถานบันเทิง
จานวน 321 แห่ง พบการกระทาผิด 65 ครั้ง มีการสั่งปิดสถานบริการและตักเตือน สาเหตุส่วนใหใ่มาจากการ
ปล่อยให้ผู้มีอายุต่ากว่า 20 ปีเข้าไปใช้บริการ และขายเครื่องดื่มแอลกอฮอร์แก่เด็กและเยาวชนดังกล่าว แต่ยัง
ไม่พบสถานบริการที่เป็นแหล่งมั่วสุมยาเสพติดแต่อย่างใด
สาหรับการป้องกันและปราบปรามยาเสพติดในจังหวัดเชียงรายอย่างเข้มข้น ส่งผลการดาเนินงาน
สามารถทาลายเครือข่ายการรค้า ยาเสพติด และลดความเดือดร้อนของประชาชนจากปัใหาการแพร่ระบาด
ของยาเสพติดในหมู่บ้านชุมชน

2.7) อุบัติเหตุทางถนน

ตารางที่ 66 สถิติอุบัติเหตุการจราจรทางบก และความเสียหาย พ.ศ. 2558-2563


อุบัติเหตุการจราจรทางบก 2558 2559 2560 2561 2562 2563

จานวนอุบัติเหตุ (แห่ง) 2,233 2,234 2,149 1,484 832 597


จานวนคนตายและบาดเจ็บ 2,077 2,568 1,855 1,341 717 453
(ราย)
-ตาย 287 259 292 256 165 196
-บาดเจ็บ 1,790 2,309 1,563 1,085 552 317
131

อุบัติเหตุการจราจรทางบก 2558 2559 2560 2561 2562 2563

ทรัพย์สินเสียหาย (บาท) 52,549,395 36,979,395 40,417,390 16,855,400 595,000 51,500


สาเหตุที่เกิดอุบัติเหตุ 1,774 1,984 2,165 1,148 1,495 586
-ขับรถเร็วเกินอัตราที่ 392 528 319 253 199 77
กฎหมายกาหนด
-ตัดหน้าระยะกระชั้นชิด 476 533 362 222 95
-ฝ่าฝืนป้ายหยุด 5 1 12
-ฝ่าฝืนสัใใาณไฟจราจร 4 16 4 3 314
-ไม่ ใ ห้ สั ใ ใาณจอด/ชะลอ/ 70 32 48 3
เลี้ยว 11
-บรรทุกเกิดพิกัด 0 1 1
-ขับรถไม่ชานาใ 65 109 89 7
-อุปกรณ์ชารุด 8 3 2 27 14
-เมาสุรา 180 47 79 42 34 24
-หลับใน 38 64 33 19 23 10
-อื่นๆ 536 650 1216 588 803 265
ที่มา : สานักงานตารวจภูธรจังหวัดเชียงราย,2563.

จากการวิเคราะห์สถิติการเกิดอุบัติเหตุการจราจรทางบก และความเสียหาย 5 ปีย้อนหลัง พบว่าใน


พื้นที่จังหวัดเชียงราย พบจานวนการเกิดอุบัติเหตุทางจราจรทางบกเพิ่มขึ้นในทุกปี แต่ในปี พ.ศ. 2562 กลับมี
แนวโน้มที่ลดลง พบจานวนการเกิดอุบัติเหตุทั้งสิ้น 832แห่ง จานวนคนตายและบาดเจ็บ 717 ราย จากสถิติ
พบแนวโน้มลดลง และในปี 2563 พบว่าจานวนผู้บาดเจ็บจากการจราจรทางบกเพิ่มลดลงถึง 533 รายน้อย
กว่าปีที่ผ่านๆมาอย่างเห็นได้ชัด ส่วนคนตายในปีดังกล่าวพบว่ามีจานวนลดลง นอกจากนี้ยังพบว่าสาเหตุการ
เกิดอุบัติเหตุส่วนใหใ่เกิดสาเหตุอื่นๆนอกเหนือจากสาเหตุในตารางข้างต้น และสาเหตุที่พบจากสถิติพบว่าการ
เกิดอุบัติเหตุส่วนใหใ่เกิดจากฝ่าฝืนสัใใาณไฟจราจรจานวน 314 ครั้ง รองลงมาการขับรถเร็วเกินอัตราที่
กฎหมายก าหนดจ านวน 199 ครั้ ง รองลงสาเหตุ เ กิด จากการ-ตั ด หน้า ระยะกระชั้ น ชิด จ านวน 95 ครั้ ง
ตามลาดับ ส่วนสาเหตุการเมาสุราซึ่งคาดว่าเป็นสาเหตุหลักส่วนหนึ่งจากการเกิดอุบัติเหตุ ในปีล่าสุดพบว่ามี
จานวนลดลง ส่วนสาเหตุที่มีแนวโน้มเพิ่มขึ้นจากปีก่อนๆ คือการหลับใน และอุปกรณ์ชารุด และพบจานวน
ทรัพย์สินเสียหายจากการเกิดอุบัติเหตุในปีล่าสุด หรือประมาณการค่าทรัพย์สินเสียหาย 595,000 บาท
จากข้อมูลรายงานสรุปของศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนนจังหวัดเชียงราย คาดว่าสาเหตุส่วน
หนึ่งที่เกิดอุบัติเหตุทางจราจรทางบกเกิดจากการใช้รถใช้ถนนในช่วงเทศกาลสาคัใ เช่นเทศกาลปีใหม่ และ
เทศกาลท่องเที่ยวภายในจังหวัด เป็นต้น ดังนั้นจึงได้เตรียมความพร้อมดาเนินการป้ องกันและลดอุบัติเหตุที่จะ
เกิดขึ้น
132

แผนภูมิที่ 35 สถานการณ์สถิติการเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุบนท้องถนน ปี พ.ศ. 2558 – 2563

สถานการณ์การเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุบนท้องถนน ปี พ.ศ. 2558 – 2567

287 292
259 256
197
165 149 126 103 80

2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567
การเสียชีวิต การพยากรณ์(การเสียชีวิต)

การวิเคราะห์สถิติการเสียชีวิตเนื่องจากอุบัติเหตุบนท้องถนน ปี พ.ศ. 2558 – 2563 พบว่า ในช่วงปี


พ.ศ. 2558 – 2563 มี แ นวโน้ ม ลดลง โดยเฉพาะอย่ า งยิ่ ง ในปี 2562 ลดลงเหลื อ 832 แห่ ง และมี ก าร
คาดการณ์ว่าจะมีแนวโน้มลดลงเรื่อยๆ เนื่องจากมีมาตรการดาเนินงานและรณรงค์ให้ประชาชนตื่นตัวมากขึ้น
และเตรียมพร้อมตัวเองก่อนขับรถมีการส่งเสริมการขับขี่ปลอดภัยใส่หมวกกันน๊อคกันอย่างจริงจัง อย่างไรก็
ตามแนวโน้มของจานวนผู้เสียชีวิตจากอุบัติเหตุ ยังคงที่ เนื่องจากมีเทศกาลสาคัใที่เป็นปัจจัยเกื้อหนุนให้เกิด
อุบัติเหตุทางถนนมากขึ้น เช่น เทศกาลส่งท้ายปีเก่า ต้อนรับปีใหม่ เทศกาลสงกรานต์ เป็นต้น และประชาชน
ดื่มสุราและขับรถในขณะเมาสุรามากขึ้น รวมทั้งนักท่องเที่ยวจากต่างจั งหวัดที่ไม่ชานาใเส้นทางทาให้เกิด
อุบัติเหตุขึ้นได้
133

3) ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
3.1) ทรัพยากรป่าไม้
พื้นที่จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ทั้งหมด 11.678.369 ตารางกิโลเมตร หรือ 7,189,310.58 ไร่ ในปี 2562
มีพื้นที่ป่าไม้จานวน 2,865,464.13 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 39.86 ของพื้นที่ทั้งหมด จากตารางและกราฟจะเห็นได้
ว่า จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ป่าไม้ลดลงในทุกๆปีตามลาดับ

ตารางที่ 67 เนื้อที่ป่าไม้ของจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2556 – 2562


ปี พ.ศ. เนื้อที่จังหวัดเชียงราย (ไร่) เนื้อที่ป่า (ไร่) ร้อยละของพื้นจังหวัด
2556 7,189,310.58 2,963,866.59 41.23
2557 7,189,310.58 3,000,725.57 41.47
2558 7,189,310.58 2,987,963.46 41.29
2559 7,189,310.58 2,923,026.46 40.66
2560 7,189,310.58 2,892,488.89 40.23
2561 7,189,310.58 2,876,043.23 40.00
2562 7,189,310.58 2,865,464.13 39.86
ที่มา : รายงานสถิตจิ ังหวัดเชียงราย, 2563.

แผนภูมิที่ 36 แสดงเปรียบเทียบเนื้อที่ป่าไม้ของจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2556 – 2562

8,000,000.00
7,000,000.00
6,000,000.00
5,000,000.00
เนื้อที่จังหวัดเชียงราย (ไร่)
4,000,000.00
เนื้อที่ป่า (ไร่)
3,000,000.00
2,000,000.00
1,000,000.00
0.00
2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562

การวิเคราะห์เนื้อที่ป่าไม้ของจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2556 – 2562 พบว่า มีแนวโน้มลดลงเพิ่มขึ้นทุก


ปี หากพิจารณาจานวนพื้นที่ป่าไม้ในปี 2560-2561 ปี 2561-2562 เมื่อเปรียบเทียบแล้ว กลับมีแนวโน้มลดลง
134

เล็กน้อยเหลือเพียง -10,579.1 ไร่ ซึ่งคิดเป็นร้อยละ -0.40 ของพื้นที่ป่าจากปีที่ผ่านมา เนื่องด้วยที่ผ่านมา


รัฐบาลมีนโยบายในการเพิ่มพื้นที่ป่าอนุรักษ์ 25% เป็นการดาเนินการตามกรอบยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี(พ.
ศ. 2560-2579) แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560-2564) ส่วนที่ 4 ยุทธศาสตร์
การพัฒนาประเทศ ยุทธศาสตร์ที่ 4 การเติบโตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาอย่างยั่งยืนเป้าหมายที่
1 รักษาและฟื้นฟูฐานทรัพยากรธรรมชาติ และภายใต้วิสัยทัศน์ของกรมอุทยานแห่งชาติ สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
“ภายในปี 2569 ประเทศไทยจะมีป่าอนุรักษ์เพิ่มขึ้นเป็น 25% ของพื้นที่ประเทศ” ประกอบกับ ในปีที่ผ่านมา
จังหวัดเชียงราย รายงานผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัดเชิงยุ ทธศาสตร์ จังหวัดเชียงรายในตัวชี้วัดความสาเร็จ
ของการเพิ่มจานวนพื้นที่ป่าไม้ กาหนดเป้าหมายโดยเพิ่มจานวนพื้นที่ป่าไม้ (จากการสารวจจากภาพถ่าย
ดาวเทียม) มากกว่า 3,000,725.57 ไร่ ผลการดาเนินการในปี 2562 ข้อมูลจากสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 15
(เชียงราย)พบว่ามีจานวนพื้นที่ป่าไม้เพิ่มขึ้น 1,137,150.55 ไร่ จานวนพื้นที่ป่าไม้ทวงคืนได้-เข้าครอบครองในปี
2562 กาหนดเป้าหมายมากกว่าหรือเท่ากับ 2,034.54 ไร่ ผลการดาเนินการจานวน 11,287.69 ไร่ ทาให้ส่งผล
ต่อการลดลงของจานวนป่าไม้ของจังหวัดเชียงราย
แต่เมื่อพิจารณาสถานการณ์แนวโน้มของจานวนพื้นที่ป่าไม้ในจังหวัดเชียงราย พบว่า สถานการณ์
จานวนพื้นที่ป่าไม้จังหวัดเชียงราย ปีพ.ศ. 2556-2567 มีแนวโน้มลดลงอย่างเห็นได้ชัด เนื่องมาจากสาเหตุ
สาคัใหลายประการ ได้แก่ การลักลอบตัดไม้ทาลายป่า การเผาป่า การบุกรุก ทาลายป่า เพื่อต้องการที่ดินเป็น
ที่อยู่อาศัย และทาการเกษตร การทาไร่เลื่อนลอยของชาวเขาในพื้นที่ต้นน้าลาธาร และการใช้ที่ดิน เพื่อดาเนิน
โครงการของรัฐบาล เช่น การจัดนิคมสร้างตนเอง การชลประทาน การไฟฟ้าพลังน้า การก่อสร้างทาง กิจการ
รักษาความมั่นคงของชาติ เป็นต้น

ตารางที่ 68 พื้นที่ป่าสงวนจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2563


ที่ ชื่อป่าสงวนแห่งชาติ พื้นที่ พื้นที่ (ไร่)
(ตร.กม.)
1 ป่าขุนห้วยงิ้ว ป่าเชียงเคี่ยน และป่าขุนห้วยโป่ง 478.12 298,828.00
ต.ยางฮอม ป่าตาล แม่เปา งิ้ว ปล้อง เชียงเคี่ยน อ.เทิง จ.เชียงราย
2 ป่าดอยขมิ้น และป่าน้าแหย่ง 16.00 10,000.00
ต.เวียง สถาน อ.เชียงของ จ.เชียงราย
3 ป่าดอยถ้าผาตอง ป่าดอยสันป่าก๋อย และป่าน้าแม่งาม 93.75 58,593.00
ต.แม่ข้าวต้ม บ้านดู่ นางแล อ.เมือง จ.เชียงราย
4 ป่าดอยทาและป่าดอยบ่อส้ม 32.00 20,000.00
ต.เวียง อ.เทิง จ.เชียงราย
5 ป่าดอยนางนอน 61.56 38,475.00
ต.แม่สาย โป่งผา ห้วยไคร้ อ.แม่สาย จ.เชียงราย
6 ป่าดอยนางแล ป่าดอยยาวและป่าดอยพระบาท 61.56 38,475.00
ต.นางแล บ้านดู่ อ.เมือง จ.เชียงราย
135

ที่ ชื่อป่าสงวนแห่งชาติ พื้นที่ พื้นที่ (ไร่)


(ตร.กม.)
7 ป่าดอยบ่อ 238.70 149,185.00
ต.ป่าตึง แม่ยาว บ้านดู่ อ.แม่จัน เมือง จ.เชียงราย
8 ป่าดอยปุย 95.86 59,912.00
ต.ป่าก่อดา บัวสลี สันทราย ดงมะดะ ห้วยสัก อ.เมือง จ.เชียงราย
9 ป่าดอยม่อนปู่เมา และป่าดอยม่อนหินขาว 4.32 2,700.00
ต.งิ้ว เวียง อ.เทิง จ.เชียงราย
10 ป่าดอยหลวง ป่าน้ายาว และป่าน้าซ้อ 212.50 132,812.00
ต.สถาน ห้วยซ้อ อ.เชียงของ จ.เชียงราย
11 ป่าน้ามะและป่าสบรวก 19.24 12,028.00
ต.ป่าสัก เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
12 ป่าน้าม้าและป่าน้าช้าง 87.12 54,453.00
ต.เวียง สถาน ศรีดอยชัย อ.เชียงของ จ.เชียงราย
13 ป่าน้าแม่คา ป่าน้าแม่สลอง และป่าน้าแม่จันฝั่งซ้าย 566.00 353,750.00
ต.แม่คา ป่าซาง ป่าตึง อ.แม่จัน จ.เชียงราย
14 ป่าน้าหงาวฝั่งซ้าย 170.00 106,250.00
ต.ตับเต่า หงาว อ.เทิง จ.เชียงราย
15 ป่าโป่งสลี 1.07 668.75
ต.สันทราย อ.เมือง จ.เชียงราย
16 ป่าแม่ข้าวต้มและป่าห้วยลึก 24.58 15,362.50
ต.แม่จัน บ้านดู่ แม่ข้าวต้ม อ.แม่จนั เมือง จ.เชียงราย
17 ป่าแม่โขงฝั่งขวา 161.20 100,750.00
ต.เวียง อ.เชียงของ จ.เชียงราย
18 ป่าแม่ปืม และป่าแม่พุง 270.54 169,087.00
ต.หัวง้ม แม่เย็น ป่าแดด แม่ใจ ป่าแฝก อ.พาน แม่ใจ จ.เชียงราย
19 ป่าแม่ปูนน้อย ป่าแม่ปูนหลวง และป่าห้วยโป่งเหม็น 638.00 398,750.00
ต.สันสลี เวียง บ้านโป่ง ป่างิ้ว หัวฝาย แม่เจดีย์ แม่ อ.เวียงป่าเป้า
จ.เชียงราย
20 ป่าแม่ลอยไร่ ป่าสักลอและป่าน้าพุง 150.00 93,750.00
ต.เชียงเคี่ยน แม่ลอย ป่าแงะ ป่าแดด สันมะค่า ลอ อ.เทิง กิ่ง อ.ป่าแดด พาน จุน จ.
เชียงราย
21 ป่าแม่ลาวฝั่งขวา 199.00 124,375.00
ต.สันสลี เวียง บ้านโป่ง ป่างิ้ว หัวฝาย แม่เจดีย์ แม่ อ.เวียงป่าเป้า
จ.เชียงราย
22 ป่าแม่ลาวฝั่งขวา 271.10 169,437.00
ต.แม่สรวย แม่พริก ศรีถ้อย ท่าก๊อ อ.แม่สรวย จ.เชียงราย
136

ที่ ชื่อป่าสงวนแห่งชาติ พื้นที่ พื้นที่ (ไร่)


(ตร.กม.)
23 ป่าแม่ลาวฝั่งขวา ป่าแม่ส้าน และป่าแม่ใจ 273.00 170,625.00
ต.แม่คาวโตน ป่าหุ่ง สันกลาง เมืองพาน แม่เย็น ศรีถ้อย อ.พาน แม่ใจ จ.เชียงราย
24 ป่าแม่ลาวฝั่งซ้าย 1,137.50 710,937.00
ต.แม่สรวย ป่าแดด ศรีถ้อย ท่าก้อ อ.แม่สรวย จ.เชียงราย
25 ป่าแม่ลาวฝั่งซ้าย และป่าแม่กกฝั่งขวา 325.00 203,125.00
ต.แม่ยาว ห้วยชมภู แม่กรณ์ บัวสลี ดงมะดะ อ.เมือง จ.เชียงราย
26 ป่าแม่อิงฝั่งขวา และป่าแม่งาว 567.30 354,563.00
ต.สถาน ม่วงยาง ครึ่ง ปอ บุใเรือง อ.เชียงของ จ.เชียงราย
27 ป่าสบกกฝั่งขวา 425.16 265,725.00
ต.บ้านแซว ปงน้อย อ.เชียงแสน แม่จัน จ.เชียงราย
28 ป่าห้วยต้นยาง และป่าห้วยแม่แก้ว 80.00 50,000.00
ต.เจริใเมือง แม่อ้อ อ.พาน จ.เชียงราย
29 ป่าห้วยป่าแดง ป่าห้วยป่าตาล และป่าห้วยไคร้ 211.36 132,100.00
ต.ยางฮอม ป่าตาล ต้า ตับเต่า เวียง หงาว อ.เทิง จ.เชียงราย
30 ป่าห้วยสักและป่าแม่กกฝั่งขวา 306.00 191,250.00
ต.ป่าซาง ดงมหาวัน ทุ่งกอ เวียงชัย ดอนศิลา ผางาม ห้วย อ.เวียงชัย เมือง จ.เชียงราย
รวมทั้งหมด 7177.54 4,485,966.25
ที่มา : กรมป่าไม้, 2563.
3.2) ทรัพยากรดิน

ธรณีวิทยาทั่วไปในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยชนิดของตะกอนหินตะกอน หินแปร และหิน


อัคนีชนิดต่างๆ ที่พบกระจายอยู่ทั่วไปในพื้นที่จังหวัดเชียงราย สาหรับการใช้ที่ดินในพื้นที่จังหวัดเชียงราย
สามารถจาแนกพื้นที่ตามการใช้ประโยชน์ออกเป็น 6 ลักษณะ มีรายละเอียดในแต่ละพื้นที่ ดังนี้
- พื้นที่เกษตรกรรม ได้แก่ บริเวณที่เป็นการเพาะปลูกและเลี้ยงสัตว์ กระจายตัวอยู่ใ นบริเวณที่เป็นที่
ราบ ที่ราบลุ่มน้า หรือที่ราบระหว่างหุบเขา ครอบคลุมพื้นที่ในทุกอาเภอ มีจานวน 1,581 พื้นที่มีพื้นที่ทั้งหมด
ประมาณ 3,935.68 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 34.02 ของพื้นที่จังหวัด
- พื้นที่ป่าไม้ ได้แก่ บริเวณที่เป็นพื้นที่ป่า กระจายตัวอยู่ทั่วไป โดยมักจะเป็นพื้นที่เขาสูงมีจานวน 940
พื้นที่ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ 4,369.98 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 37.77 ของพื้นที่จังหวัด
ซึ่งมีพื้นที่มากที่สุด
- พื้นที่เพาะปลูกในเขตชลประทาน ได้แก่ บริ เวณที่ราบลุ่มน้า ทั้งสองฝั่งของลาน้าอยู่ในเขต
ชลประทาน ครอบคลุมพื้นที่ในทุกอาเภอ มีจานวน 716 พื้นที่ มีพื้นที่ทั้งหมด 2,501.49 ตารางกิโลเมตร คิด
เป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ21.62 ของพื้นที่จังหวัด
137

- พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ ได้แก่ บริเวณที่ลุ่มมีหใ้าปละพุ่มไม้เตี้ยๆ ครอบคลุมบริเวณเกือบทุกอาเภอ ยกเว้น


กิ่งอาเภอเวียงแก่น มีจานวน 227 มีพื้นที่ทั้งหมด 214.05 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ร้อยละ 1.85 ของพื้นที่
จังหวัด
- พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง ได้แก่ บริเวณที่มีประชากรอาศัยค่อนข้างหนาแน่น และมีการปลูก
สร้างที่พัก
- พื้นที่แหล่งน้า ได้แก่ บริเวณที่เป็นแหล่งน้าต่างๆ มีจานวน 183 พื้นที่ มีพื้นที่ทั้งหมดประมาณ
81.55 ตารางกิโลเมตร คิดเป็นพื้นที่ประมาณร้อยละ 0.7 ของพื้นที่จังหวัด
แผนภูมิที่ 37 สัดส่วนการใช้ที่ดินในพื้นที่จังหวัดเชียงรายตามการใช้ประโยชน์ ปี พ.ศ. 2563

[PERCENTAGE]
[PERCENTAGE]
[PERCENTAGE]
[PERCENTAGE] [PERCENTAGE]

[PERCENTAGE]

พื้นที่เกษตรกรรม พื้นที่ป่าไม้ พื้นที่เพาะปลูกในเขตชลประทาน


พื้นที่ลุ่มชื้นแฉะ พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสร้าง พื้นที่แหล่งน้า

ทรัพยากรดินแบ่งออกเป็นกลุ่มใหใ่ๆ
1) ดินบริเวณที่ราบริมฝั่งแม่น้าและที่เนิน เป็นดินที่เกิดจากการทับถมของตะกอนที่ถูกน้าพัดพา
มีอายุไม่นานนัก เนื้อดินมีลักษณะเป็นดินร่วนและดินเหนียว พบทั่วไปบริเวณริมฝั่งน้า
2) ดินบริเวณที่ราบลุ่มและที่ราบต่า เกิดจากาการทับถมของตะกอนน้าพัดพาพบบริเวณที่รายลุ่ม
และที่ราบต่า เนื้อดินมีลักษณะเป็นดินโคลนหรือดินเหนียว
3) ดินบริเวณที่ราบ และเนินเขา เป็นดินที่เกิดจากตะกอนน้าน้าพัดพา หรือหินที่สลายผุพัง
ลักษณะเนื้อดินค่อนข้างร่วนระบายน้าได้ดี ดินชนิดนี้พบกระจายอยู่ทั่วไปบริเวณใกล้ที่ราบเชิงเขา
4) ดินบริเวณที่ลาดเขาและที่สูงเป็นดินที่เกิดจากการผุพงของหิน เนื้อดินมีทั้งดินละเอียดปาน
กลางและดินร่วน การระบายน้าปานกลาง ความอุดมสมบูรณ์ของดินต่า หรือปานกลาง
5) การถือครองที่ดินทางการเกษตร 2,301,138 ไร่ ส่วนใหใ่เป็นพื้นที่ปลูกข้าว 1,630,697 ไร่
พืชไร่ 523,144 ไร่ ไม้ผลและไม้ยืนต้น 144,297 ไร่
138

3.3) ทรัพยากรน้า
3.3.1) สภาพภูมิประเทศและสภาพลุ่มน้า
จังหวัดเชียงรายแบ่งลุ่มน้าหลักเป็น 2 ลุ่มน้าใหใ่ ๆ มีลุ่มน้ากกและลุ่มน้าโขง (เหนือ) ซึ่งแต่ละลุ่มน้าก็
มีลุ่มน้าย่อยสาคัใหลายสาย ซึ่งจะไหลลงแม่น้าโขงสาหรับแม่น้าที่เป็นปัจจัยต่อการเกษตรและการอุปโภค
บริโภคของราษฎร ได้แก่
1.1) ลุ่มน้ากก
ลักษณะภูมิประเทศของลุ่มน้ากกส่วนใหใ่ประกอบไปด้วยเทือกเขาสูงชันทางทิศเหนือ คือเทือกเขา
แดนลาว ทิศใต้ คือ เทือกเขาขุนตาล ทิศตะวันออก คือ เทือกเขาผีปันน้า ซึ่งเป็นต้นกาเนิดของแม่น้าสาขาที่
สาคัใ มีที่ราบเชิงเขากระจายอยู่ระหว่างหุบเขาและมีที่ราบลุ่มแม่น้าตลอดสองข้างฝั่งลา
น้าแม่น้ากก มีต้นกาเนิดมาจากภูเขาทางเหนือในรัฐเชียงตุง สหภาพเมียนมาร์ ไหลเข้าสู่เขตประเทศ
ไทยที่ช่องน้าแม่กก อาเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ แล้วไหลไปทางทิศตะวันออกผ่าน อาเภอแม่อาย เข้าสู่เขต
อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ผ่านตัวเมืองเชียงราย จากนั้นไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือ เข้าสู่อาเภอ
เชียงแสน แล้วไหลไปลงสู่แม่น้าโขงที่บ้านสบกก ตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงรายความยาว
ของแม่น้ากกรวมทั้งหมด 285 กิโลเมตร ช่วงแรกประมาณ 128 กิโลเมตร อยู่ในเขตสหภาพเมียนมาร์ ส่วนที่
อยู่ในประเทศไทยยาวประมาณ 157 กิโลเมตร
1.1.1) ลุ่มน้าสาขาแม่น้าฝาง
ลุ่มน้าสาขาแม่น้าฝาง (รหัสลุ่มน้าสาขา 0302) มีพื้นที่ลุ่มน้าสาขาประมาณ2,011.27 ตารางกิโลเมตร
หรือ 1,257,043.75 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 27.56 ของพื้นที่ลุ่มน้ากก ความยาวของลาน้าแม่ฝางประมาณ 122
กิโลเมตร ความลาดชันเฉลี่ยประมาณ 1:750 โดยบริเวณต้นน้ามีความลาดชันประมาณ 1:200 กลางน้า
ประมาณ 1:1,500 และท้ายน้าประมาณ 1:18,000 ลาน้าย่อยที่สาคัใ ได้แก่น้าแม่ทะลบ น้าแม่งอนน้อย น้า
แม่มาว น้าแม่นาวาง น้าแม่สาว และน้าแม่แหลงหลวง เป็นต้น
น้าแม่ฝาง มีต้นน้าอยู่บริเวณดอยขุนห้วยฝางและดอยหัวโท ซึ่งอยู่ทางตอนใต้ของอาเภอ ไชยปราการ
จังหวัดเชียงใหม่ ไหลไปทางทิศเหนือ ผ่านอาเภอฝาง แล้วไหลไปบรรจบกับแม่น้ากกที่ตาบลท่าตอน อาเภอแม่
อาย จังหวัดเชียงใหม่
1.1.2) ลุ่มน้าสาขาน้าแม่ลาว
ลุ่มน้าสาขาน้าแม่ลาว (รหัสลุ่มน้าสาขา 0303) มีพื้นที่ลุ่มน้าสาขาประมาณ2,798.43 ตารางกิโลเมตร
หรือ 1,749,018.75 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 38.33 ของพื้นที่ลุ่มน้ากก ความยาวของลาน้าแม่ลาว ประมาณ 210
กิโลเมตร ความลาดชันเฉลี่ยประมาณ 1:1,000 โดยบริเวณต้นน้า มีความลาดชันประมาณ 1:500 กลางน้า
ประมาณ 1:1,000 และท้ายน้าประมาณ 1:2,000 ลาน้าย่อย ที่สาคัใ ได้แก่ น้าแม่โถ น้าแม่เจดีย์ น้าแม่ฉาง
ข้าว น้าแม่ปูนหลวง น้าแม่ต๊าก น้าแม่ยางมิ้น น้าตาช้าง น้าแม่สรวย และน้าแม่กรณ์น้อย เป็นต้น
น้าแม่ลาว มีต้นกาเนิดจากเทือกเขาผีปันน้าในเขตอาเภอเวียงป่าเป้า จังหวัดเชียงราย ไหลไป
ทางทิศเหนือผ่านอาเภอเวียงป่าเป้า เข้าสู่อาเภอแม่สรวย จากนั้นเป็นเส้นแบ่งเขตระหว่าง อาเภอพานกับ
139

อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย แล้วไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเข้าสู่อาเภอเมืองจังหวัดเชียงราย จนไป


บรรจบกับแม่น้ากกที่บ้านปาตุง ตาบลรอบเวียง อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
1.1.3) ลุ่มน้าสาขาน้าแม่สรวย
ลุ่มน้าสาขาน้าแม่สรวย (รหัสลุ่มน้าสาขา 0304) มีพื้นที่ลุ่มน้าสาขาประมาณ 425.57 ตาราง
กิโลเมตร หรือ 265,981.25 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.83 ของพื้นที่ลุ่มน้ากก ความยาวของลาน้าแม่สรวย ประมาณ
60 กิโลเมตร ความลาดชันเฉลี่ยประมาณ 1: 200
น้าแม่สรวย มีต้นน้าอยู่ บริเวณดอยแม่วังน้อยและดอยหลุมข้าว ซึ่งอยู่ทางตอนเหนือของ
อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย โดยน้าแม่ส รวยไหลลงไปทางทิศตะวันออกเฉียงใต้ แล้วไหลไปบรรจบกับน้า
แม่ลาวที่บ้านกาด ตาบลแม่สรวย อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
1.1.4) ลุ่มน้าสาขาน้าแม่กกตอนล่าง
ลุ่มน้าสาขาน้าแม่กกตอนล่าง (รหัสลุ่มน้าสาขา 0305) มีพื้นที่ลุ่มน้าสาขาประมาณ 2,065.14
ตารางกิโลเมตร หรือ 1,290,712.50 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 28.28 ของพื้นที่ลุ่มน้ากก ความยาวของแม่น้ากก
เฉพาะส่วนที่อยู่ในเขตประเทศไทยประมาณ 157 กิโลเมตร ความลาดชันเฉลี่ยประมาณ 1 : 1,500 ลาน้าย่อย
ที่สาคัใ ได้แก่ น้าแม่ฝาง น้าเมืองงาม ห้วยน้าริน ห้วยลู ห้วยหมากเลี่ยม น้าแม่ยาว น้าแม่กรณ์ น้าแม่ลาว
และห้วยเผือ เป็นต้น
น้าแม่กก มีต้นกาเนิดมาจากภูเขาทางเหนือในรัฐเชียงตุง สหภาพเมียนมาร์ ไหลมาทางทิศใต้เข้าสู่เขต
ประเทศไทย ที่ช่องน้าแม่กก อาเภอแม่อาย จังหวัดเชียงใหม่ และมีน้าฝางไหลมารวมที่ตาบลท่าตอน อาเภอแม่
อาย จังหวัดเชียงใหม่ จากนั้นไหลไปทางทิศตะวันออก เข้าสู่เขตอาเภอเมืองจังหวัดเชียงราย จากนั้นไหลไป
ทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเข้าสู่อาเภอเชียงแสน แล้วไหลไปลงแม่น้าโขงที่บ้านสบกก ตาบลบ้านแซว อาเภอ
เชียงแสน จังหวัดเชียงราย
1.2) ลุม่ น้าโขง (ภาคเหนือ)
แม่น้าโขง เป็นแม่น้านานาชาติที่มีต้นกาเนิดมาจากที่ราบสูงธิเบต ไหลผ่านตอนใต้ของประเทศจีนผ่าน
ตะวันออกของสหภาพเมียนมาร์ ภาคเหนือและภาคตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทยผ่านประเทศลาว
และประเทศกัมพูชา ก่อนที่จะไหลลงสู่ทะเลจีนใต้ในภาคใต้ของเวียดนาม แม่น้าโขงจัดเป็นแม่น้าสายที่ยาว
ที่สุดในเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และเป็นแม่น้าที่มีขนาดใหใ่ที่สุดสายหนึ่งของโลก สภาพภูมิประเทศโดยทั่วไป
ของลุ่มน้าโขง (เหนือ) ในประเทศไทยล้อมรอบไปด้วยเทือกเขา มีระดับความสูงระหว่าง300-1,550 ม.รทก.
เทือกเขาที่สาคัใ ได้แก่ เทือกเขาดอยภูลังกา ดอยสันปันน้า ดอยแม่สุก ดอยขุนแม่ต๋าและดอยขุนแม่ต๋อม เป็น
ต้น ขอบเขตพื้นที่ลุ่มน้าสาขาลุ่มน้าโขง (ภาคเหนือ) แสดงในรูปที่ 4 โดยมีสภาพภูมิประเทศและสภาพลุ่มน้าแต่
ละลุ่มน้าสาขา ดังนี้
1.2.1) ลุ่มน้าสาขาแม่น้าโขงตอนบน
ลุ่มน้าสาขาแม่น้าโขงตอนบน (รหัสลุ่มน้าสาขา 0202) มีพื้นที่ลุ่มน้าสาขาประมาณ 1,107.52 ตาราง
กิโลเมตร หรือ 692,193.75 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.04 ของพื้นที่ลุ่มน้าโขง(ภาคเหนือ) ลุ่มน้าสาขาแม่น้าโขง
ตอนบนถูกแบ่งออกเป็น 2 ส่วน ด้วยลุ่มน้ากก คือ ลุ่มน้าสาขาแม่น้าโขงตอนบนส่วนที่ 1 และลุ่มน้าสาขาแม่น้า
140

โขงตอนบนส่วนที่ 2 โดยลุ่มน้าสาขาแม่น้าโขงตอนบนส่วนที่ 1 ตั้งอยู่ทางฝั่งซ้ายของแม่น้ากก มีพื้นที่ลุ่มน้า


429.20 ตารางกิโลเมตร แม่น้าสายสาคัใในพื้นที่ลุ่มน้าสาขาแม่น้าโขงตอนบนส่วนที่ 1 คือ น้าแม่มะ ซึ่งมีต้น
กาเนิดจากดอยตุง ในเขตตาบลห้วยไคร้ อาเภอแม่สายจังหวัดเชียงราย ความยาวของลาน้าแม่มะ ประมาณ 50
กิโลเมตร ความลาดชันเฉลี่ย 1:500 โดยบริเวณต้นน้าจะมีความลาดชันประมาณ 1:65 ไหลไปทางทิศ
ตะวันออกเฉียงเหนือลงแม่สายที่บ้านเวียงแก้ว ตาบลศรีดอนมูล อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย นอกจากนี้
ยังมีห้วยเกี๋ยง ซึ่งเป็นลาน้าสายสั้น ๆ ที่ไหลลงแม่น้าโขงโดยตรง สาหรับลุ่มน้าสาขาแม่น้าโขงตอนบนส่วนที่ 2
ตั้งอยู่ทางฝั่งขวาของแม่น้ากก มีพื้นที่ลุ่มน้า 678.31 ตารางกิโลเมตร แม่น้าสายสาคัใในพื้นที่ลุ่มน้าสาขาแม่น้า
โขงตอนบนส่วนที่ 2 คือ น้าแม่บงมีต้นกาเนิดจากดอยกิ่วนกในเขตตาบลบ้านแซว อาเภอเชียงแสน จังหวัด
เชียงราย ความยาวของลาน้าแม่บงประมาณ 55 กิโลเมตร ไหลไปทางทิศตะวันตกบรรจบกับห้วยป่ าไร่ แล้ว
ไหลขนานมาตามแนวลาน้าแม่กกบรรจบกับห้วยแอบหลวง และไหลลงสู่แม่น้าโขงที่บ้านสบกก ตาบลเวียง
อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย นอกจากนี้ยังมีลาน้าสายสั้นๆ ไหลลงสู่แม่น้าโขงโดยตรง ได้แก่ ห้วยกว๊าน
น้าแม่เงิน ห้วยเม็ง ห้วยน้าสม เป็นต้น
1.2.2) ลุ่มน้าสาขาน้าแม่จัน (น้าแม่คา)
ลุ่มน้าสาขาน้าแม่จั น (น้าแม่คา) (รหัส ลุ่ มน้าสาขา 0203) มีพื้นที่ลุ่ มน้าสาขาประมาณ
1,193.18 ตารางกิโลเมตร หรือ 745,737.50 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.90 ของพื้นที่ลุ่มน้าโขง(ภาคเหนือ) มีแม่น้า
สายสาคัใได้แก่ น้าแม่คา และน้าแม่จัน น้าแม่คา มีความยาวของลาน้าประมาณ131 กิโลเมตร ความลาดชัน
เฉลี่ยประมาณ 1:500 โดยบริเวณต้นน้ามีความลาดชันประมาณ 1:200 กลาง น้าประมาณ 1:500 และท้ายน้า
ประมาณ 1:1,000 ในส่วนของน้าแม่จัน มีความยาวประมาณ 51 กิโลเมตร จากการสอบถามจากราษฎรใน
พื้นที่ทราบว่า ปัจจุบันมีการรุกล้าลาน้า ทาให้ลาน้าแคบและตื้นเขิน ปริมาณน้าค่อนข้างน้อยในช่วงบริเวณ
ตั้งแต่อาเภอแม่จันจนไปถึงจุดบรรจบน้าแม่คา ดังนั้นปริมาณน้าที่ไหลลงสู่แม่น้าโขงส่วนใหใ่จึงเป็นน้าที่มาจาก
ลาน้าแม่คา ลาน้าย่อยที่สาคัใของลุ่มน้าสาขาน้าแม่จัน ได้แก่ ห้วยแม่เมาะ ห้วยแสลบ น้าแม่สลอง น้าแม่เปิน
เป็นต้น น้าแม่คา มีต้นกาเนิดจากภูเขาตามแนวชายแดนในเขตอาเภอแม่ฟ้าหลวง ไหลไปทางทิศตะวันออก
เฉียงใต้ผ่านอาเภอแม่ฟ้าหลวง แล้วไหลไปทางทิศตะวันออกเข้าสู่ที่ราบลุ่มบรรจบกับน้าแม่จันที่บ้านสันมะเค็ด
ในเขตอาเภอแม่จัน จากนั้นไหลไปทางทิศตะวันออกเฉียงเหนือเข้าสู่เขตอาเภอเชียงแสน แล้วไหลไปลงแม่น้า
โขงที่บ้านสบคา ตาบลเวียง อาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
1.2.3) ลุ่มน้าสาขาแม่น้าอิงตอนบน
ลุ่มน้าสาขาแม่น้าอิงตอนบน (รหัสลุ่มน้าสาขา 0204) มีพื้นที่ลุ่มน้าสาขาประมาณ 892.69 ตาราง
กิโลเมตร หรือ 577,931.25 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 8.90 ของพื้นที่ลุ่มน้าโขง (เหนือ) ครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่ต้นน้า
ของแม่น้าอิงจนถึงกว๊านพะเยา ความยาวของลาน้าอิงในช่วงนี้ประมาณ 34 กิโลเมตร ความลาดชันเฉลี่ย
ประมาณ 1:2,500 แม่น้าอิงมีต้นกาเนิดจากภูเขาตามแนวเขตจังหวัดพะเยากับจังหวัดลาปาง ไหลไปทางทิศ
ตะวันออก ผ่านอาเภอแม่ใจ แล้วไหลไปทางทิ ศใต้ลงสู่กว๊านพะเยาที่อาเภอเมือง จังหวัดพะเยา ลาน้าย่อยที่
ไหลลงแม่น้าอิง ได้แก่ น้าแม่ปืม และน้าเหยียน นอกจากนี้ยังมีลาน้าย่อยสายสั้นๆ ที่ไหลลงสู่กว๊านพะเยา
141

โดยตรง ได้แก่ ห้วยตุ้ม น้าแม่เรือ ห้วยแม่ต๋า เป็นต้น และแหล่งน้าที่สาคัใ 2 แห่ง ได้แก่ กว๊านพะเยา และ
หนองเล็งทราย โดยมีรายละเอียดดังนี้
กว๊านพะเยา เป็นแหล่งน้าจืดขนาดใหใ่ที่สุดในภาคเหนือตอนบน ตั้งอยู่ที่ตาบลเวียง อาเภอเมือง
จังหวัดพะเยา โดยที่ปลายด้านใต้ของแนวภูเขาดอยห้วยน้าขาวและแนวภูเขาดอยสันกลาง เป็นแหล่งรับน้าจาก
แม่น้าและลาห้วยโดยรอบ ด้านทิศตะวันออกของกว๊านพะเยาเป็นที่ตั้งของชุมชน ส่วนด้านทิศตะวันตกเป็นที่
ราบกว้าง ซึ่งมีความลาดเทจากภูเขาลงสู่กว๊าน
หนองเล็งทราย เป็นแหล่งน้าธรรมชาติในอดีตเคยมีทางน้าเชื่อมต่อกับหนองฮ่างซึ่งอยู่ในเขตอาเภอ
พาน ปัจจุบันทางน้าตื้นเขินเป็นส่วนใหใ่ บริเวณตอนใต้ของหนองมีฝายน้าล้น โดยน้าที่ล้นจะไหลลงสู่แม่น้าอิง
และไหลลงสู่กว๊านพะเยา นอกจากนี้บริเวณพื้นที่ด้านทิศใต้ตาบลแม่ใจได้มีการขุดสระเพื่อใช้เป็นแหล่งน้า
สาหรับผลิตน้าประปาให้แก่ชุมชน
1.2.4) ลุ่มน้าสาขาแม่น้าอิงตอนกลาง
ลุ่มน้าสาขาแม่น้าอิงตอนกลาง (รหัสลุ่มน้าสาขา 0205) มีพื้นที่ลุ่มน้าสาขาประมาณ 2,182.72 ตาราง
กิโลเมตร หรือ 1,364,200 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 21.77 ของพื้นที่ลุ่มน้าโขง(ภาคเหนือ) ครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่
กว๊านพะเยาจนถึงจุดบรรจบแม่ลาว ความยาวของลาน้าอิงในช่วงนี้ประมาณ 158 กิโลเมตร ความลาดชันเฉลี่ย
ประมาณ 1:6,500 ลาน้าย่อยที่สาคัใ ได้แก่ ร่องขุ่น ร่องบ่อ ร่องช้าง แม่น้าพุง น้าจุน น้าแม่ลอย แม่ลาว เป็น
ต้น
แม่น้าอิง ที่อยู่ในลุ่มน้าสาขาแม่น้าอิงตอนกลาง เริ่มตั้งแต่จุดออกของกว๊านพะเยาไหลไปทางทิศเหนือ
ตามเส้นแบ่งขอบเขตอาเภอเมืองกับอาเภอดอกคาใต้จนถึงจุดบรรจบแม่น้าพุง แล้วไหลไปทางทิศตะวันออก
เข้าสู่เขตอาเภอจุน จังหวัดพะเยา จากนั้นไหลไปทางทิศเหนือแล้วไหลเข้าสู่เขตอาเภอเทิง ไปบรรจบแม่ลาว
ทางฝั่งขวาของลาน้าบริเวณตาบลเวียง อาเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
1.2.5) ลุ่มน้าสาขาแม่น้าพุง
ลุ่มน้าสาขาแม่น้าพุง (รหัสลุ่มน้าสาขา 0206) มีพื้นที่ลุ่มน้าสาขาประมาณ 1,117.85 ตารางกิโลเมตร
หรือ 698,656.25 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 11.15 ของพื้นที่ลุ่มน้าโขง (ภาคเหนือ) มี แม่น้าพุงซึ่งเป็นลาน้าสาขาของ
แม่น้าอิง เป็นลาน้าสายหลัก ความยาวของลาน้าประมาณ 100 กิโลเมตรความลาดชันเฉลี่ยประมาณ 1:1,500
โดยบริเวณต้นน้ามีความลาดชัน ประมาณ 1:400 กลางน้าประมาณ1:20,000 และท้ายน้าประมาณ 1:1,000
ลาน้าย่อยที่สาคัใ ได้แก่ ล่องเคียน น้าแม่แก้ว น้าแม่อ้อ น้าแม่ฮ่าง ห้วยเอี้ยง เป็นต้น
แม่น้าพุง มีต้นกาเนิดจากภูเขาในเขตอาเภอพาน ไหลไปทางทิศตะวันออกผ่านตาบลป่าแงะ ตาบลป่า
แดด แล้วไหลไปลงแม่น้าอิงที่บริเวณตาบลสันมะค่า อาเภอพาน จังหวัดเชียงรายลักษณะภูมิประเทศส่วนใหใ่
เป็นที่ราบเชิงเขา
1.2.6) ลุ่มน้าสาขาแม่ลาว
ลุ่มน้าสาขาแม่ลาว (รหัสลุ่มน้าสาขา 0207) มีพื้นที่ลุ่มน้าสาขาประมาณ1,346.94 ตารางกิโลเมตร
หรือ 841,837.50 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 13.43 ของพื้นที่ลุ่ มน้าโขง (ภาคเหนือ)ความยาวของลาน้าแม่ลาว
ประมาณ 97 กิโลเมตร ความลาดชันเฉลี่ยประมาณ 1:600 โดยบริเวณต้นน้ามีความลาดชันประมาณ 1:150
142

กลางน้าประมาณ 1:4,500 และท้ายน้าประมาณ 1:5,000 ลาน้าย่อยที่สาคัใ ได้แก่ น้าแม่วาน น้าแม่ใวน น้า


แม่เปือย น้าแม่หงาว เป็นต้นน้าแม่ลาว มีต้นกาเนิดจากแนวเทือกเขาทางตอนใต้ของลุ่มน้าในเขตอาเภอเชียง
คาไหลจากทิศตะวันออกเฉียงใต้ไปทางทิศตะวันตกเฉียงเหนือ ผ่ านอาเภอเชียงคา แล้ วไหลลงสู่ ที่ราบลุ่ ม
จากนั้นไหลไปบรรจบกับน้าแม่หงาว แล้วไหลลงสู่แม่น้าอิงในเขตอาเภอเทิง สภาพภูมิประเทศของลุ่ มน้า สาขา
แม่ลาวเป็นภูเขาสูงล้อมรอบสลับกับที่ราบลุ่มเชิงเขา มีที่ราบลุ่มอยู่บริเวณตอนกลางของลุ่มน้า
1.2.7) ลุ่มน้าสาขาแม่น้าอิงตอนล่าง
ลุ่มน้าสาขาแม่น้าอิงตอนล่าง (รหัสลุ่มน้าสาขา 0208) มีพื้นที่ลุ่มน้าสาขาประมาณ 1,697.93 ตาราง
กิโลเมตร หรือ 1,061,206.25 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 16.93 ของพื้นที่ลุ่มน้าโขง(ภาคเหนือ) ครอบคลุมพื้นที่ตั้งแต่
จุดบรรจบแม่ลาวจนถึงจุดบรรจบแม่น้าโขง ความยาวของลาน้าอิง ในช่วงนี้ประมาณ 133 กิโลเมตร ความลาด
ชันเฉลี่ย 1:3,500 ลาน้าย่อยที่สาคัใ ได้แก่ น้าแม่ต๊าก น้าแม่ต๊า ห้วยช้าง เป็นต้น
แม่น้าอิง ที่อยู่ในลุ่มน้าสาขาแม่น้าอิงตอนล่าง เริ่มตั้งแต่จุดบรรจบแม่ลาวในเขตอาเภอเทิง ไหลจาก
ทิศ เหนื อ ไปทางทิ ศใต้จ นถึ ง เขตรอยต่อ ระหว่ างอาเภอพใาเม็ง รายและอาเภอขุน ตาล จึง ไหลไปทางทิ ศ
ตะวันออกเฉียงเหนือเข้าสู่เขตอาเภอเชียงของ แล้วไหลไปลงแม่น้าโขงที่บริเวณตาบล ศรีดอนชั ย อาเภอเชียง
ของ จังหวัดเชียงราย
1.2.8) ลุ่มน้าสาขาแม่น้าโขงส่วนที่ 2
ลุ่มน้าสาขาแม่น้าโขงส่วนที่ 2 (รหัสลุ่มน้าสาขา 0209) มีพื้นที่ลุ่มน้าสาขาประมาณ 489.11 ตาราง
กิโลเมตร หรือ 305,693.75 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 4.88 ของพื้นที่ลุ่มน้าโขง(ภาคเหนือ) มีน้าแม่งาว เป็ นลาน้าสาย
หลัก ความยาวของลาน้าประมาณ 51 กิโลเมตร ความลาดชันเฉลี่ยประมาณ 1:350 โดยบริเวณต้นน้ามีความ
ลาดชันประมาณ 1:150 กลางน้าประมาณ 1:250 และท้ายน้าประมาณ 1:350 ลาน้าย่อยที่สาคัใ ได้แก่ ห้วย
ม่วง ห้วยหาน ห้วยคุ ห้วยโป่งหลวง ห้วยผาตั้ง ห้วยสาน ห้วยติ้ว น้าคา น้าวอง เป็นต้น
น้ าแม่ ง าว ไหลจากบริ เ วณเทื อ กเขาทางทิ ศตะวั น ตกเฉี ย งใต้ ไหลลงสู่ แ ม่ น้ าโขงทางทิ ศ
ตะวันออกเฉียงเหนือโดยประมาณ บริเวณต้นน้ามีความลาดชันสูง สภาพภูมิประเทศของลุ่มน้าสาขาแม่น้าโขง
ส่วนที่ 2 ล้อมรอบด้วยภูเขาสูง มีที่ราบลุ่มอยู่บริเวณตอนปลายของลุ่มน้า

3.3.2) สถานการณ์น้าจังหวัดเชียงราย
เชียงรายมีแม่น้าสายสาคัใ 6 สาย ดังได้กล่าวข้างต้นแล้ว ยังมีหนองน้า ร่องน้า ลาน้าเล็กๆ เช่น
แม่น้าจัน แม่น้าปรุง และอ่างเก็บน้าทั้ง 18 อาเภอ มีแหล่งน้ารวมไม่น้อยกว่า 1,179 แห่ง รวมเป็นพื้นที่ผิวน้า
ทั้งสิ้น 167,657.75 ไร่ แหล่งน้าเพื่อการเกษตร ประกอบด้วย บ่อบาดาลส่วนตัว 20,184 บ่อ บ่อบาดาล
สาธารณะ 2,215 บ่อแหล่งน้าธรรมชาติ มีแม่น้า ห้วย ลาธาร คลอง 1,087 สาย หนอง บึง 461 แห่ง น้าพุน้า
ซับ 38 แห่ง
จังหวัดเชียงราย มีแม่น้า ห้วย ลาธาร คลอง 1,593 สาย ซึ่งในจานวนนี้มีที่ใช้งานได้ในฤดูแล้ง 1,056
สาย มีหนอง บึง 461 แห่ง ที่มีสภาพใช้งานได้ในฤดูแล้ง 422 แห่ง มีน้าพุ 38 แห่ง ที่มีสภาพใช้งานได้ในฤดู
แล้ง 37 แห่ง และอื่น ๆ 51 แห่ง ที่มีสภาพใช้งานในฤดูแล้ง 50 แห่ง แหล่งน้าธรรมชาติ มีการใช้ประโยชน์เพื่อ
143

การพักผ่อนหย่อนใจ การผลิตน้าประปา เพาะเลี้ยงสัตว์น้า เช่น ปลานิล แหล่งน้าธรรมชาติ สายหลักที่ชาว


จังหวัดเชียงรายใช้ประโยชน์คือ แม่น้ากกและแม่น้าโขง ในอดีต น้าในแม่น้ากก มีระดับสูง เคยล้นท่วมพื้นที่
ใกล้เคียงกับลาน้า แต่ในปัจจุบันมีระดับน้าลดลงมาก ซึ่งสาเหตุของอุทกภัยส่วนใหใ่เกิดจากการตัดไม้ทาลาย
ป่าในพื้นที่ต้นน้าลาธาร ในฤดูฝนเกิดน้าหลาก ทาให้กรวด ดินและทรายจานวนมาก ถูกน้าพัดพามาทับถม
อย่างรวดเร็ว ความตื้นเขินของแม่น้ากกจึงเกิดขึ้นในอัตราสูง ปัใหาดังกล่าวเกิดในพื้นที่ลุ่มน้าโขงเช่นเดียวกัน
แม่น้ากก มีต้นกาเนิดจากประเทศพม่าไหลผ่าน อาเภอแม่อาย จัง หวัดเชียงใหม่ อาเภอแม่จันอาเภอ
เมือง อาเภอเวียงชัยอาเภอพใาเม็งราย จังหวัดเชียงราย และไหลลงแม่น้าโขงที่ อาเภอเชียงแสนจังหวัด
เชียงราย เป็นเส้นทางน้าสายสาคัใที่ก่อให้เกิดชุมชนและศิลปะวัฒนธรรมสองฝั่งแม่น้ามากมายเนื่องจากแม่น้า
กกมีความอุดมสมบูรณ์ของพันธุ์ปลานานาชนิดและเป็นเส้นเลือดที่ใช้หล่อเลี้ยงพื้นที่เกษตรกาหนดเป็นแหล่งน้า
ผิวดินประเภทที่ 2 มีผลการตรวจวัดคุณภาพน้าแม่น้ากกประจาปี พ.ศ.2563 อยู่ในเกณฑ์ดีมาก (WQI=92)
รายละเอียดดังตารางดังต่อไปนี้

ตารางที่ 69 ผลการตรวจวัดคุณภาพน้าผิวดินเฉลี่ยทั้งลาน้า แม่น้ากก ประจาปี พ.ศ.2563

แม่น้า ประเภทคุณภาพน้าผิวดินเฉลีย่ ทั้งลาน้าที่ตรวจวัดได้ ปัใหาคุณภาพน้าที่ เกณฑ์มาตราฐานคุณภาพ


กก พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ. 2563 คาดการณ์พ.ศ. สาคัใ น้า
2564
กก 2 (WQI 2 (WQI 2 (WQI 2 (WQI 80) - 2 (WQI 71-90)
71) 80) 92)

หมายเหตุ : ค่า WQI เฉลี่ยทั้งลาน้า แม่น้ากก คานวณจากค่าเฉลี่ย WQI 4 สถานี(ตรวจวัด 16 ตัวอย่าง)


ที่มา : สานักงานสิ่งแวดล้อมภาคที่ 1 สานักปลัดกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม,2563
144

แผนภูมิที่ 38 สถิติผลการตรวจวัดคุณภาพน้าผิวดินแม่น้ากกย้อนหลัง 3 ปี (พ.ศ.2561 -2563)

สถานการณ์คุณภาพน้าผิวดินเฉลี่ยทั้งลาน้า แม่น้ากก ประจาปี พ.ศ.2561-2567


150
เกณฑ์มาตราฐานคุณภาพน้า2 (WQI 71-90)

100 102.66 106.56 110.45


92 87.85742311 91.29842183 94.73942055
71 80 80.00
80 73.06 76.04 79.03
50

0
2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567
ชื่อแกน

ประเภทคุณภาพน้าผิวดิน
การพยากรณ์(ประเภทคุณภาพน้าผิวดิน)
ขีดจากัดความเชื่อมั่นระดับล่าง(ประเภทคุณภาพน้าผิวดิน)
ขีดจากัดความเชื่อมั่นระดับบน(ประเภทคุณภาพน้าผิวดิน)

ทั้งนี้จากสถิติผลการตรวจวัดคุณภาพน้าผิวดินแม่น้ากกย้อนหลัง 3 ปี (พ.ศ.2561 -2563) จะเห็นได้ว่า


ผลการตรวจวัดคุณภาพน้าผิวดินแม่น้ากก มีคุณภาพดีขึ้น โดยเฉพาะปี พ.ศ. 2563 ที่อยู่ในขั้นระดับดีมาก
คาดการณ์ว่าปี พ.ศ.2564-2567 จะอยู่ในเกณฑ์ดี(WQI 80) ดาเนินการตรวจวัดคุณภาพน้าผิวดิน แม่น้ากก
ตั้งแต่ บริเวณสะพานแม่น้ากก ตาบลบ้านแซวอาเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย (KK01) จนถึง บริเวณสะพาน
แม่ฟ้าหลวง อาเภอเมือง จังหวัดเชียงราย(KK04) มีคุณภาพน้าอยู่ในเกณฑ์ดีถึงดีมาก (WQI=72-93) แต่ทั้งนี้
ปรากฏการปนเปื้อนของแบคทีเรียกลุ่มฟีคอลโคลิฟอร์ม (FCB) สูงเกินกว่ามาตรฐานกาหนด บริเวณสะพาน
เหนือเมืองเชียงราย (KK03) ซึ่งมีสาเหตุจากการปนเปื้อนอุจจาระของสัตว์เลือดอุ่นสูง อาทิเช่น มนุษย์ หนู สุกร
เป็นต้น แสดงถึงความไม่สะอาด และไม่ปลอดภัยในการบริโภค หากไม่ผ่านการฆ่าเชื้อโรคก่อน
แหล่งน้าที่สาคัใของอาเภอเชียงแสน ได้แก่ แม่น้าโขง , แม่น้ากก, แม่น้าคา, แม่น้า
รวก พื้นที่ชุ่มน้าโลก (หนองบงกาย)แหล่งน้าที่สาคัใของอาเภอเชียงของ ได้แก่ แม่น้าโขง แม่น้าอิง
แหล่งน้าที่สาคัใของอาเภอแม่สาย ได้แก่ แม่น้าสาย แม่น้ารวก อ่างเก็บน้าห้วยไคร้ อ่างเก็บน้าถ้าเสา
หินพใานาค
จากสถานการณ์ฝนและสถานการณ์น้าในจังหวัดเชียงรายปี 2564 พบว่าสถานการณ์น้าในอ่างเก็บน้า
ขนาดกลางและขนาดเล็กรวม 119 แห่ง ประกอบไปด้วยอ่างเก็บน้าขนาดกลาง จานวน 4 แห่ง อ่างเก็บน้า
ขนาดเล็ก จานวน 115 แห่ง ความจุรวม 182.8725 ล้านลูกบาศก์ เมตร ปัจจุบันมีปริมาณน้าเหลือเพียง
100.494 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 54.95 ของความจุรวม
การวิเคราะห์ถึงปริมาณน้าในอ่างเก็บน้าขนาดกลางพบว่า ในปี พ.ศ. 2561 มีปริมาณน้า 83.038 ล้าน
ลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 86.80 ของปริมาณความจุอ่างฯ ส่วนในปี พ.ศ. 2562 พบว่ามีปริมาณน้า
145

61.571 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 64.36 ของปริมาณความจุอ่างฯ ในปี พ.ศ. 2563 พบว่ามีปริมาณ


น้า 45.49 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 48.03 ของปริมาณความจุอ่างฯ ในปี พ.ศ. 2564 พบว่ามีปริมาณ
น้า 52.724 ล้านลูกบาศก์เมตร คิดเป็นร้อยละ 55.1 ของปริมาณความจุอ่างฯ จะเห็นได้ว่าปริมาณน้าในอ่าง
เก็บน้าขนาดกลางมีแนวโน้มลดลงอย่างเห็นได้ชัดเจน เนื่องจากในปี 2563 เกิดปัใหาภัยแล้งในหลายพื้นที่
รวมทั้งเกิดการเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศสืบเนื่องมาจากปัใหาภาวะโลกร้อน แต่ปี 2564 มีแนวโน้มที่
เพิ่มขึ้น ซึ่งคาดการณ์ว่าอีก 3 ปีข้างหน้า ปริมาณน้าของอ่างเก็บน้าจังหวัดเชียงรายมีแนวโน้มลดลงอย่างเห็นได้
ชัด (สานักงานชลประทานจังหวัดเชียงราย, 2563.)

ตารางที่ 70 สถิติน้าปริมาณน้าในอ่างเก็บน้าขนาดกลาง
อ่างเก็บน้า ความจุ ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563 ปี 2564
อ่างฯ (ล้าน % (ล้าน % (ล้าน % (ล้าน %
(ล้าน ลบ. ลบ.ม.) ลบ.ม.) ลบ.ม.) ลบ.ม.)
ม.)
- อ่างเก็บน้าห้วย 6.300 6.317 100.27 1.344 21.33 1.591 25.27 2.517 39.95
ช้าง ต.สถาน
อ.เชียงของ
- อ่างเก็บน้า 9.000 11.110 123.44 4.110 45.67 3.770 41.89 3.230 35.89
แม่ต๊าก
ต.ดอนศิลา อ.เวียง
ชัย
- อ่างเก็บน้าแม่ 73.000 57.798 79.18 47.974 65.72 34.914 47.83% 39.998 54.79
สรวย
ต.แม่สรวย อ.แม่
สรวย
- อ่างเก็บน้าดอยงู 7.366 7.813 106.07 8.143 110.55 5.683 77.15% 6.979 94.75
ต.แม่เจดีย์ อ.เวียง
ป่าเป้า
รวม 4 แห่ง 95.666 83.038 86.80 61.571 64.36 45.49 48.03 52.724 55.11

สานักงานชลประทานจังหวัดเชียงราย, 2564.

ส่วนสถานการณน้าท่าในจังหวัดเชียงราย ได้แก่ แม่น้ากก(ฝายเชียงราย) ปริมาณน้าท่า 176.791ล้าน


ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที รองลงมาคือ ฝายแม่ลาว(น้าแม่ลาว) ปริมาณน้าท่า73.737 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวินาที
ฝายถ้าวอก (น้าแม่ลาว) 22.777 ล้านลูกบาศก์เมตรต่อวินาที และ น้าแม่ลาว(ฝายชัยสมบัติ) 22.498 ล้าน
146

ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที ขณะที่น้าแม่ลาว(ฝ่ายโป่งนก) ปริมาณน้าท่ามีเพียง 4.227 ลูกบาศก์เมตรต่อวินาที


หากเปรียบเทียบจากปีที่ผ่านมาพบว่าปริมาณน้าท่ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น

ตารางที่ 71 ปริมาณน้าท่าจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2564


ที่ โครงการ ระดับน้าหน้าฝาย(ลบ.ม./วินาที) รวมทั้งสิ้น
(ลบ.ม./วินาที)
ปี2562 ปี2563 ปี2564 ปี2562 ปี2563 ปี2564
1 ฝายเชียงราย (แม่น้ากก) 0.000 388.500 353.548 163.599 188.762 176.791
2 ฝายแม่ลาว (น้าแม่ลาว) 0.000 427.500 83.528 59.16 22.225 73.737
3 ฝายโป่งนก 0.000 399.00 3.201 2.684 3.534 4.227
4 ฝ า ย ถ้ า ว อ ก 0.000 413.300 61.728 25.649 20.540 22.777
(น้าแม่ลาว)
5 ฝ า ย ชั ย ส ม บั ติ 0.000 396.067 74.183 29.718 20.969 22.498
(น้าแม่ลาว)
รวม 0 2024.367 576.188 280.81 256.03 300.03

แผนภูมิที่ 39 แผนภูมิแสดงปริมาณน้าท่าจังหวัดเชียงรายปี พ.ศ. 2562-2564

ปริมาณน้าท่าจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2562 - 2564


320
300
ปริมาณน้าฝน (ล้าน ลบ.ม.)

280
260
240
220
ปี2562 ปี2563 ปี2564
147

ตารางที่ 72 ปริมาณน้าฝนจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2564

ค่าเฉลี่ย
สะสมทั้งปี
ปริมาณน้าฝน 29-ม.ค.-64 28-ม.ค.-64 27-ม.ค.-64 หน่วย 10 ปี
(เริ่ม เม.ย. 63 – ม.ค.64)
(ปี53-62)
ที่ทาการโครงการชลประทานเชียงราย
0.0 0.0 0.0 มิลลิเมตร 1,194.2 1,664.4
ต.รอบเวียง อ.เมือง
ที่ทาการฝายถ้าวอก
6.2 0.0 0.0 มิลลิเมตร 1,277.1 1,367.7
ต.จอมหมอกแก้ว อ.แม่ลาว
สถานีฝายเชียงราย ต.รอบเวียง
0.0 0.0 0.0 มิลลิเมตร 1,013.2 1,509.0
อ.เมือง
สถานีฝายโป่งนก ต.เวียง อ.เวียงป่าเป้า
2.5 0.0 0.0 มิลลิเมตร 918.7 1,137.2

สถานีอ่างฯห้วยช้าง ต.สถาน
0.0 0.0 0.0 มิลลิเมตร 1,171.6 1,601.8
อ.เชียงของ
สถานีอ่างฯแม่ต๊าก ต.ดอนศิลา
0.0 0.0 0.0 มิลลิเมตร 762.1 1,448.4
อ.เวียงชัย
สถานีโครงการแม่สาย ต.แม่สาย
0.1 0.0 0.0 มิลลิเมตร 1,340.7 1,770.8
อ.แม่สาย
สถานีอ่างฯดอยงู ต.แม่เจดีย์
0.0 0.0 0.0 มิลลิเมตร 931.1 1,008.9
อ.เวียงป่าเป้า

จากสถิติการผลิต และการจาหน่ายน้าประปา ของการประปาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2558 –


2562 พบว่า ในปี พ.ศ. 2562 มีจานวนผู้ใช้น้าลดลงจากปีที่ผ่านมา ซึ่งมีจานวนผู้ใช้น้าทั้งหมด 67,296 ราย แต่
มีปริมาณการผลิตและการใช้น้าเพิ่มมากขึ้น โดยมีปริมาณการผลิต 22.23 ล้านลูกบาศก์เมตร มีปริมาณการ
จาหน่าย 15.58 ล้านลูกบาศก์เมตร เฉลี่ยการใช้น้า 23.7 ลบ.ม. / ราย / เดือน และจากการวิเคราะห์
สถานการณ์ป ริมาณการใช้น้าปี พ.ศ. 2558-2557 ปริมาณการใช้น้า อีก 5 ปีข้างหน้ามีแนวโน้มเพิ่มขึ้น
ตามลาดับ ดังตารางที่
148

ตารางที่ 73 สถิติการผลิต และการจาหน่ายน้าประปา ของการประปาส่วนภูมิภาค ปีงบประมาณ 2558 –


2562
2558 2559 2560 2561 2562
ผู้ใช้น้า (ราย) 58,913 62,938 65,707 68,483 67,296
ปริมาณการผลิต (ล้านลูกบาศก์เมตร) 18.5 20.3 20.7 21.2 22.23
ปริมาณการจาหน่าย (ล้านลูกบาศก์เมตร) 13.1 13.8 14.3 14.7 15.58
เฉลี่ยการใช้น้า (ลบ.ม. / ราย / เดือน) 18.6 18.3 18.2 17.9 23.7

ที่มา : รายงานสถิตจิ ังหวัดเชียงราย, 2563.

3.4 ) สถานการณ์มลพิษและคุณภาพสิ่งแวดล้อม
3.4.1) ไฟป่าและหมอกควัน
การเกิดไฟป่าและหมอกควันในพื้นที่ จะมีลักษณะเกิดโดยจะมี ผู้ลักลอบเผ่าป่า หรือลักลอบเผาวัชพืช
ในพื้นที่ แปลงเกษตรกรรม ลุกลามเข้าไปในพื้นที่และไฟป่าได้ขยายวงกว้างขึ้นไปเรื่อยๆ จนทาให้เกิดหมอก
ควันไฟป่ าปกคลุมไปทั่วบริ เวณพื้นที่จังหวัด และมีค่าฝุ่นละอองในอากาศเกินมาตรฐานที่กาหนดไว้ ส่งผล
กระทบต่อสุขภาพและเศรษฐกิจการท่ องเที่ยวของจังหวัดเชียงราย ซึ่งลักษณะการเกิดไฟป่าและหมอกควัน
ตามที่กล่าวจะเกิดขึ้นกระจายทั่วไปในพื้นที่จังหวัดเชียงรายทุกอาเภอในช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน
จังหวัดเชียงราย มีพื้นที่ป่าไม้จานวน 2,876,043.23 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 40.00 ของพื้นที่ทั้งหมด เมื่อ
เข้าสู่ฤดูแล้ง และสภาพอากาศมีความแห้งแล้ง จะทาให้ใบไม้ ต้นไม้ในเขตพื้นที่ป่าง่ายต่อการเกิดไฟป่า และ
ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวเป็นช่วงที่เกษตรกรต้องเตรียมพื้นที่เกษตรกรรม เพื่อทาการเพาะปลูกตามฤดูกาล ซึ่ง
มีการแผ้วถางวัชพืชจาพวก เห็ด ผักหวาน งอกขึ้นมา ส่งผลให้ประชาชนที่อาศัยใกล้บริเวณพื้นที่ป่ามีรายได้ ซึ่ง
บุคคลกลุ่มนี้จะทาการลักลอบเผาป่า จนทาให้เกิดไฟลุกลามเผาไหม้เข้าไปในเขตพื้นที่ป่าและขยายวงกว้างขึ้น
เรื่อยๆ จนทาให้เกิดหมอกควันปกคลุมไปทั่วพื้นที่จังหวัด และมีค่าฝุ่นละอองในอากาศเกินมาตรฐาน
การประเมินความเสี่ยงจากสถานการณ์ไฟป่าและหมอกควันจังหวัดเชียงรายในทุกๆปี จังหวัดเมื่อเข้า
สู่ฤดูแล้งและสภาพภูมิอากาศมีแห้งแล้งจะเกิดไฟป่าและหมอกควันปกคลุมไปทั่วพื้นที่จังหวัดเชียงราย และมี
ค่าฝุ่นละอองในอากาศเกินมาตรฐานที่กาหนดไว้ ส่งผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน และเศรษฐกิจการ
ท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงราย จากสถิติจะเห็นว่าไฟป่าและหมอกควันที่เกิดขึ้นมีขนาดหรือขอบเขตภัยอยู่ใน
ระดับ 1-2 ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ อาเภอ จังหวัด ยังสามารถรับมือได้
พื้นที่เสี่ยงไฟป่ารุนแรง จานวน 6 อาเภอ 16 ตาบล
2.1 อาเภอเมืองเชียงราย จานวน 2 ตาบล ได้แก่ ตาบลห้วยชมพู ตาบลแม่ยาว
2.2 อาเภอเวียงป่าเป้า จานวน 2 ตาบล ได้แก่ ตาบลเวียง ตาบลสันสลี
2.3 อาเภอแม่สรวย จานวน 7 ตาบล ได้แก่ ตาบลวาวี ตาบลป่าแดด ตาบลท่าก๊อ ตาบลศรีถ้อย
ตาบลเจดีย์หลวง ตาบลแม่สรวย ตาบลแม่พริก
149

2.4 อาเภอแม่ฟ้าหลวง จานวน 3 ตาบล ได้แก่ ตาบลแม่สลองใน ตาบลแม่สลองนอก ตาบล


เทอดไทย
2.5 อาเภอเวียงแก่น จานวน 1 ตาบล ได้แก่ ตาบลปอ
2.6 อาเภอเทิง จานวน 1 ตาบล ได้แก่ ตาบลตับเต่า

ภาพที่ 6 พื้นที่เสี่ยงไฟป่ารุนแรง จานวน 6 อาเภอ 16 ตาบล


ที่มา : สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย, 2562.
150

ภาพที่ 7 สถานการณ์ไฟป่าและหมอกควัน 4 จังหวัดภาคเหนือ เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน


โดยจุดความร้อน ระบบ VIIRS
ที่มา : สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย, 2564

จากสถานการณ์ไฟป่าหมอกควันจังหวัดเชียงรายปี พ.ศ. 2564 พบว่า จานวนจุดความร้อนสะสม


(Hotspots) ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ที่ตรวจพบด้วยดาวเทียมระบบ VIIRS จานวนจุดความร้อน (Hotspots)
ระหว่างวันที่ 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม 2564 พบว่ามีจุดความร้อนสะสมมากที่สุด 1,517 จุด ลดลงจาก
ปี พ.ศ. 2563 ซึ่งมีจานวน 7,391 จุด (ต่ากว่า 5,874 จุด) คิดเป็น ร้อยละ 79.48 ซึ่งสัดส่วนการลดลงของจุด
ความร้อนมากที่สุดเมื่อเทียบกับกลุ่มภาคเหนือตอน บน 2

ตารางที่ 74 การเกิดจุดความร้อน ในปีพ.ศ. 2564

ประเภทของพื้นที่ จาแนกตามอาเภอ
เกิดจุดความร้อนมากทีส่ ุด ดังนี้ 1) อ.แม่สรวย 385 จุด
1) ป่าสงวนแห่งชาติ 767 จุด 2) อ.เวียงป่าเป้า 192 จุด
2) ป่าอนุรักษ์ 408 จุด 3) อ.เทิง 161 จุด
3) พื้นที่เกษตร 197 จุด 4) อ.เมืองเชียงราย 151 จุด
4) เขต สปก. 78 จุด 5) อ.พาน 137 จุด
5) ชุมชนและอื่น ๆ 60 จุด
6) พื้นที่ริมทางหลวง 7 จุด
ที่มา : สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย, 2564
151

เมื่อจาแนกตามพื้นที่พบว่า พื้นที่เกิดจุดความร้อนมากที่สุด ได้แก่ ป่าสงวนแห่งชาติ ป่าอนุรักษ์


และพื้นที่เกษตร โดยอาเภอที่มีจุดความร้อนมากที่สุด ได้แก่ อาเภอแม่สรวย อาเภอเวียงป่าเป้า และอาเภอเทิง
การวิเคราะห์สาเหตุของการเผาในพื้นที่ป่า
จากการวิเคราะห์ข้อมูลขิงสานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 15 และสานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 2
เชียงราย พบว่าเป็นการเผาเพื่อหาของป่าและล่าสัตว์มากกว่าการเผาเพื่อทาการเกษตร
สาเหตุของปัญหา
1) การหาของป่า ล่าสัตว์
2) ความเชื่อว่าถ้าฝนตกหลังจากที่เกิดไฟป่าแล้วจะมีของป่าขึ้นจานวนมาก เช่น ผักหวาน หน่อไม้
และเห็ดต่าง ๆ เป็นต้น ดั้งนั้น เมื่อหน่วยงานด้านพยากรณ์อากาศได้คาดหมายลักษณะอากาศว่าจะมีฝนตก
ชาวบ้านก็จะลักลอบจุดเพิ่มยิ่งขึ้น
3) การเผาเพื่อเตรียมพื้นที่เกษตร
4) มีเชื้อเพลิงสะสมมาก เนื่องจากในปี 2560-61 มีการเผาน้อย ประกอบกับสภาพภูมิอากาศแห้งแล้ง
ฝนทิ้งช่วง ทาให้การจุดติดง่ายและไฟลุกลามขยายพื้นที่ได้รวดเร็ว
5) ไม่มีการดาเนินการ “ชิงเผา” และ “จัดระเบียบการเผา” เพื่อลดปริมาณสะสมของเชื้อเพลิงในป่า
และหลีกเลี่ยงการก่อปัใหาหมอกควัน ก่อนช่วงเดือนมีนาคม-เมษายน ซึ่งถือว่าเป็นช่วงวิกฤติ
6) การไม่รับทราบข่าวสารของทางราชการ เนื่องจากส่วนใหใ่ของผู้กระทาผิดที่เกี่ยวข้องกับคดีไฟป่า
และหมอกควัน จะเป็นกลุ่มชาติพันธุ์และประชากรแฝงซึ่งไม่รู้ภาษาไทย ทาให้ไม่ทราบถึงข้อมูลข่าวสารของ
ทางราชการ
7) การเผาด้วยความคึกคะนอง หรือการเผาที่เกิดจากผู้ที่มีสติไม่สมประกอบ
8) การกลั่นแกล้งลักลอบจุด
9) การเผาป่าเพื่อให้รุกล้าพื้นที่เกษตร
10) การเผาเพื่อให้แตกหใ้าอ่อน เป็นพืชอาหารสัตว์
11) การเผาเพื่อกาจัดขยะและสิ่งปฏิกูลในชุมชน
12) ไฟป่าข้ามเขตรอยต่อของพื้นที่ ที่มีลักษณะเป็นภูมิประเทศสูงชัน หรือเป็นหุบลึก ไม่สามารถเข้า
ไปควบคุมการขยายพื้นที่เผาไหม้ได้อย่างทันสถานการณ์
13) หมอกควันข้ามแดนจากการเผาของประเทศเพื่อนบ้านละจังหวัดข้างเคียง ประกอบกับความกด
อากาศต่าแผ่ลงมาปกคลุม ทาให้เกิดปัใหาหมอกควันในจังหวัดวิกฤติเพิ่มขึ้น
ผลการดาเนินการที่ผ่านมาของจังหวัดได้มีมาตราการดังต่อไปนี้
• ประกาศขอความร่วมมืองดเผาในที่โล่งทุกชนิด ตั้งแต่ 1 ตุลาคม 2563 เป็นต้นไป
• ประกาศห้ามเผาในที่โล่งทุกชนิด “90 วัน ปลอดการเผา” ในห้วงระยะเวลา
ตั้งแต่ 1 กุมภาพันธ์ - 30 เมษายน 2564
• ประกาศห้ามมิให้บุคคลใดเข้าไปในพื้นที่ป่าสงวนแห่งชาติ และป่าอนุรักษ์
152

ตั้งแต่ 5 มีนาคม – 30 เมษายน 2564


• ประกาศจังหวัดเชียงราย ขอความร่วมมืองดการเผาในที่โล่ง
ระหว่างวันที่ 1 - 31 พ.ค. 64
• ประชาสัมพันธ์สื่อทุกประเภทในทุกอาเภอ
• ติดตามสถานการณ์ ออกลาดตระเวนเฝ้าระวังเข้าพื้นที่ ตรวจสอบจุดความร้อน ควบคุมไฟป่า
และรายงานสถานการณ์ไฟป่า
• หน่วยงานที่เกี่ยวข้องดาเนินกิจกรรมทาแนวกันไฟ ชิงเก็บ ลดปริมาณเชื้อเพลิงในป่า

ภาคการเกษตร
- สานักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงรายร่วมสภาเกษตรกรจังหวัดเชียงราย ได้ลงนามบันทึกข้อตกลงความ
ร่วมมือ (MOU) งดเผาทุกประเภทในที่โล่ง ระหว่างผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงรายกับประธานสภาเกษตรกร
จังหวัดเชียงราย และผู้แทนสภาเกษตรกรอาเภอ 18 อาเภอ
- สนง.เกษตรอาเภอ ดาเนินโครงการบูรณาการสิ่งแวดล้อมและสาธารณภัย โดยบริหารจัดการพื้นที่
การเกษตรและวัสดุการเกษตร เพื่อลดการเผาและปัใหาหมอกควัน เช่น การทาปุ๋ยหมักจากเศษวัสดุทาง
การเกษตร การอัดฟางก้อนเพื่อเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มจาหน่ายให้เป็นรายได้ของชุมชน โดยบริษัทเอกชนนาไปผลิต
เป็นพลังงานชีวมวล ซึ่งปัจจุบันมีเครื่องอัดฟาง ประจาอยู่ ณ บ้านสันหลวง ตาบลจันจว้า อาเภอแม่จัน
- การอัดฟางก้อนเพื่อการปศุสัตว์ ปัจจุบันมีเครื่องอัด 5 เครื่อง ดาเนินงานโดยสานักงานปศุสัตว์
จังหวัด
- ได้มีการจัดสรรงบประมาณยุทธศาสตร์กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 จัดซื้อเครื่องอัดฟางก้อนใน
พื้นที่จังหวัดเชียงราย 5 เครื่อง อยู่ใน 5 อาเภอ คือ แม่จัน เชียงแสน เชียงของ เวียงชัย ป่าแดด
- ในปีงบประมาณ 2564 จัดซื้อเพิ่มเติมอีก 5 เครื่อง ต่อยอดโครงการเดิมอีก 20 เครื่อง รวมเป็น 25
เครื่อง

แอพลิเคชั่น
- การพัฒนา Mobile Application “Smoke Watch” ใช้ในการแจ้งเตือนการเกิดจุดความร้อน เข้าเฝ้า
ระวังและระงับเหตุ

การมีส่วนร่วมภาคประชาสังคม
จังหวัดเชียงรายโดย ผู้ว่าราชการจังหวัดเชียงราย ได้จัดตั้งกองทุนการป้องกันแก้ไขปัใหาไฟป่า และหมอก
ควันโดยได้รับความร่วมมือจากภาคเอกชนในการระดมทุนจากการแข่งขันกีฬากอล์ฟ และยิงปืนรณยุทธ
1. สนับสนุนการปฏิบัติงานลาดตระเวน ,จัดหาอุปกรณ์ในการทา Safety Zone
2. สนับสนุนสวัสดิการปฏิบัติงาน
- จ่ายเงินรางวัลผู้ชี้เบาะแสการเผา
153

- จ่ายเงินช่วยเหลือกรณีบาดเจ็บ หรือเสียชีวิตจากการปฏิบัติงาน
จากการดาเนินการการเฝ้าระวังและติดตามสถานการณ์จุดความร้อนในช่วงก่อนและหลังวันประกาศ
ห้ามเผา แสดงให้เห็ นถึงการลดลงจุ ดความร้อนสะสมอย่างต่อเนื่อง สะท้อนให้เห็นว่าจังหวัดมีมาตราการ
ดาเนินการจริงจังและเครือข่ายมีความเข้มแข็ง มีการทางานในพื้นที่อย่างต่อเนื่องจึงส่งผลให้การแก้ไขปัใหาไฟ
ป่าและหมอกควันอย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้นต่อไป

แผนภูมิที่ 40 เปรียบเทียบจุดความร้อนสะสม 9 จังหวัดภาคเหนือ จากดาวเทียมระบบ VIIRS ปี 2564


ระหว่างวันที่ 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม

14,000
11,945
12,000
10,000
8,066 7,489
จุดความร้อน (จุด)

8,000
5,822
6,000
4,000 2,822 2,787
1,765 1,665 1,517
2,000
-
แม่ฮ่องสอน เชียงใหม่ ตาก ลาปาง ลาพูน แพร่ พะเยา น่าน เชียงราย จังหวัด
ปี 2564 11,945 8,066 7,489 5,822 2,822 2,787 1,765 1,665 1,517

ที่มา : สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย, 2564

จากการเปรียบเทียบการเกิดไฟไหม้ป่าและหมอกควัน พื้นที่ 9 จังหวัดภาคเหนือ ในปีพ.ศ. 2564


พบว่า จุดสะสมความร้อนของจังหวัดเชียงรายมีน้อยที่สุด เมื่อเทียบกับ 9 จังหวัด ง
154

3.4.2 สถานการณ์หมอกควันภาคเหนือ

แผนภูมิที่ 41 คุณภาพอากาศโดยวัดปริมาณฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอนสูงสุด (มคก./ลบ.ม.)


450 402
400 366
350
300 275
256
ค่าสูงสุด (มคก./ลบ.ม.)

250
200 ปี 2563
152
150 106 109 ปี 2564
99
100
50
0
เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน จังหวัด

ที่มา : สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย, 2564

แผนภูมิที่ 42 คุณภาพอากาศโดยจานวนวันที่ PM2.5 เกินมาตรฐาน

100
77 78 77 79
80 70
จานวนวันที่เกินมาตรฐาน (วัน)

60 54
46 45
40
20
0
เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน
ปี 2563 77 78 77 79
ปี 2564 70 54 46 45
ลดลง/เพิ่มขึ้น (วัน) -7 -24 -31 -34
ที่มา : สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย, 2564
155

จากข้ อ มู ล ในปี พ .ศ. 2564 พบว่ า สถานการณ์ ฝุ่ น ละออง PM2.5 ตั้ ง แต่ วั น ที่ 1 มกราคม - 31
พฤษภาคม 2564 PM2.5 เกินมาตรฐาน (มากกว่า 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) ปริมาณฝุ่นละอองขนาด
ไม่เกิน 2.5 ไมครอน ใน 9 จังหวัดภาคเหนือ ได้แก่ เชียงราย เชียงใหม่ ลาพูน ลาปาง แพร่ น่าน พะเยา
แม่ฮ่องสอน และตาก ตั้งแต่วันที่ 1 มกราคม ถึง 15 พฤษภาคม 2564 พบว่า PM2.5 มีค่าสูงสุด 402
ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร ในวันที่ 31 มีนาคม 2564 โดยมากกว่าปี 2563 ซึ่งมีค่า 366 มคก./ลบ.ม.(21
มี.ค. 2563) ซึ่งพบในจังหวัดเชียงราย และในพื้นที่จังหวัดเชียงรายมี จานวนวันที่มีค่าฝุ่นละออง PM2.5 เกิน
มาตรฐาน (มากกว่า 50 ไมโครกรัมต่อลูกบาศก์เมตร) จานวน 70 วัน น้อยกว่าปี 2563 ซึ่งมีจานวน 77 วัน
สาหรับความรุนแรงของปัใหาหมอกควันภาคเหนือในปี 2563 มีปัจจัยสาคัใมาจากสภาพอากาศที่
แห้งแล้งยาวนาน และเกิดความแห้งแล้งเร็วกว่าปีที่ผ่านมาทาให้เกิดไฟได้ง่าย ลุกลามอย่างรวดเร็ว และเมื่อ ไฟ
ลามเขาสู่พื้นที่ป่าซึ่งมีเชื้อเพลิง (กิ่งไม้ใบไม้แห้ง) จานวนมาก ทาให้ไฟที่ลุกไหม้มีความรุนแรงประกอบกับ พื้นที่
เป็นภูเขาสูงชันจึงเป็นอุปสรรคต่อการเข้าดับไฟของเจ้าหน้าที่ อีกทั้งงบในช่วงระหว่างเดือนธันวาคม ถึง เดือน
มีนาคม มีอุณหภูมิผกผันในระดับล่าง ทาให้เกิดลักษณะคล้ายมีฝาชีการยกตัวของอากาศไม่ดี การระบายควัน
และฝุ่นละอองเกิดได้ค่อนข้างน้อย ฝุ่นละอองขนาดไม่เกิน 2.5 ไมครอน จึงมีการสะสมตัวใน ปริมาณมาก
สรุปผลการดาเนินงานป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันภาคเหนือ
1) การดาเนินงานป้องกันและแก้ไขปัใหาหมอกควันภาคเหนือ ปี 2564 ยังคงมุ่งเน้นการทางาน
แบบไร้รอยต่อ โดยอาศัยความร่วมมือจากทุกภาคส่วน มีเป้าหมายที่คนจุด อันเป็นสาเหตุที่แท้จริงของปัใหา
ดาเนินงานภายใต้พระราชบัใใัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย 2550 ตามแนวทาง“4 มาตรการเชิงพื้นที่ 5
มาตรการบริหารจัดการ” ประกอบด้วย 4 พื้นที่หลัก ได้แก่ 1) พื้นที่ป่าอนุรักษ์และป่าสงวนแห่งชาติ 2) พื้นที่
เกษตรกรรม 3) พื้นที่ชุมชนและเขตเมือง 4) และพื้นที่ริมทาง และ 5) มาตรการบริหารจัดการ ได้แก่ 1) ระบบ
บัใชาการเหตุการณ์2) มาตรการสร้างความตระหนัก 3) มาตรการลดปริมาณเชื้อเพลิง 4) มาตรการจิตอาสา
ประชารั ฐ และ 5) การบังคับใช้กฎหมาย โดยมีกระทรวงมหาดไทย เป็นหน่วยงานหลั ก กระทรวงอื่นที่
เกี่ยวข้อง ได้แก่ กระทรวงกลาโหม กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงคมนาคม กระทรวงสาธารณสุข
กระทรวงการ อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ
หน่ ว ยงาน ที่เกี่ย วข้องให้ การสนั บ สนุ น อย่ างเต็มที่ การดาเนินการในระดับพื้นที่ ผู้ ว่าราชการจังหวัดเป็น
ผู้อานวยการ สั่งการแบบเบ็ดเสร็จ (Single Command) หน่วยงานที่เกี่ยวข้องในสังกัดทุกกระทรวง สนับสนุน
และปฏิบัติ ตามแผนงานและข้อสั่งการอย่างเต็มกาลังความสามารถ บูรณาการสั่งการจากผู้ว่าราชการจังหวัด
นายอาเภอ ไปจนถึงระดับผู้ใหใ่บ้าน ให้เข้าถึงกลุ่มเป้าหมายที่มีพฤติกรรม จุดไฟเผาป่าและเศษวัสดุทาง
การเกษตรใน ชุมชน สาหรับ การจัดการเชื้อเพลิ ง จังหวัด กาหนดแผนจัดการเชื้อเพลิง โดยพิจารณาจาก
ปริมาณเชื้อเพลิง สะสม และแนวทางที่เหมาะสม กาหนดพื้นที่เสี่ยงหรือหมู่บ้านเสี่ยงที่เกิดจากการเผาซ้าซาก
จากข้อมูลสถิติ ย้อนหลัง เพื่อวางแผนงานให้เหมาะสมและใช้ทรัพยากรที่มีให้เกิดประสิทธิภาพ กรมควบคุม
156

มลพิษและ สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) สนับสนุนข้อมูลในการ


กาหนดแผนงาน รับมือปัใหา
2) ในช่วงวิกฤติหมอกควันทุกจังหวัดได้เร่งระดมสรรพกาลังเพื่อควบคุมและดับไฟ การใช้อากาศ ยาน
สนับสนุนการลาดตระเวนและดับไฟ การขอความร่วมมือจากเครือข่าย อาทิชมรมโดรนจิตอาสา ชมรม ร่มบิน
และกลุ่มมอเตอร์ไซด์วิบาก ในการสนับสนุนการลาดตระเวนและแจ้งพิกัดให้เจ้าหน้าที่ การจัดชุด ปฏิบัติการ
เข้าประจ าการในระดับ หมู่บ้ านโดยบูร ณาการกาลั งพลจากทั้งเจ้าหน้าที่ป่าไม้ทหาร ตารวจ ฝ่ายปกครอง
เจ้าหน้าที่ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย อาสาสมัคร และจิตอาสา การปิดป่าอนุรักษ์และ บังคับใช้กฎหมาย
อย่างเด็ดขาด การเพิ่มความเข้มงวดในการควบคุม แหล่งกาเนิดฝุ่นละอองทุกประเภทการฉีดพ่นและโปรย
ละอองน้าเพื่อเพิ่มความชุ่มชื้น รวมไปถึงการดูแลเฝ้าระวังผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของ ประชาชน ทั้งนี้
การประชุมทางไกลผ่านจอภาพ เพื่อติดตามสถานการณ์ไฟป่ าและหมอกควัน เป็นประจาทุก สัปดาห์โดยมี
กองบัใชาการควบคุมสถานการณ์ไฟป่าและหมอกควันภาคเหนือภาคที่กองทัพ 3 ทาหน้าที่ ประธานการ
ประชุม 9 จังหวัดภาคเหนือ มีหน่วยทหารในพื้นที่ ศูนย์อุตุนิยมวิทยาภาคเหนือ สานักงานพัฒนา เทคโนโลยี
อวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) กรมอุทยานแห่งชาติสัตว์ป่าและพันธุ์พืช กรมป่าไม้ และกรม
ควบคุ ม มลพิ ษ เข้ า ร่ ว มการประชุ ม ทั้ ง นี้ เ พื่ อ ให้ ทุ ก หน่ ว ยงานได้ แ ลกเปลี่ ย นข้ อ มู ล เพื่ อ ชี้ แ จง แผนการ
ปฏิบัติงาน และรายงานผลการดาเนินงาน ปัใหาอุปสรรคต่างๆ รวมถึงเปิดโอกาสให้กองทัพภาค 3 และ กรม
ควบคุมมลพิษ ได้ติดตามและกากับการดาเนินงานให้มีประสิทธิภาพสูงสุด เพื่อลดระดับความรุนแรง ของ
สถานการณ์หมอกควัน
3) สาหรับการแก้ไขปัใหาหมอกควันข้ามแดน นายกรัฐมนตรีได้มีสารไปยังสาธารณรัฐแห่ง สหภาพ
เมียนมา สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักรกัมพูชา ขอให้ร่วมกันแก้ไข ปัใหาหมอก
ควันข้ามแดน เมื่อวันที่5 กุมภาพันธ์ 2563 และได้กล่าวถ้อยแถลงในระหว่างการประชุมสุดยอด อาเซียนสมัย
พิเศษ ว่าด้วยการแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) ผ่านระบบการประชุม ทางไกล
เมื่อวันที่ 14 เมษายน 2563 ขอบคุณเลขาธิการอาเซียนที่ช่วยจัดการประชุมหารือระหว่างประเทศ ไทยกับ
ประเทศสมาชิกอาเซียนที่เกี่ยวข้อง เพื่อร่วมกันแก้ไขปัใหาไฟป่าและหมอกควันข้ามแดน ทั้งนี้ การประชุม
หารือระหว่างประเทศไทยกับประเทศสมาชิกอาเซียนที่เกี่ยวข้องได้แก่ สาธารณรัฐแห่ งสหภาพ เมียนมา
สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว และราชอาณาจักรกัมพูชาจัดขึ้น เมื่อวันที่ 3 เมษายน 2563 ใน
รูปแบบของการประชุมทางไกลผ่านจอภาพ เพื่อหารือเร่งด่วนในการลดและควบคุมจุดความร้อน รวมถึง
แนวทางในการแก้ไขปัใหาหมอกควันข้ามแดนอย่างยั่งยืน โดยมีอธิบดีกรมควบคุมมลพิษ เป็นผู้แทนฝ่ายไทย
และผู้แทนสานักเลขาธิการอาเซียน ทาหน้าที่ฝ่ายเลขานุการการประชุม
157

ปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะ


จากการประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อถอดบทเรียน (AfterAction Review : AAR) การป้องกันและ แก้ไข
ปัใหาหมอกควัน ภาคเหนือ ปี 2563 เน้นการขยายผลปัจจัยความสาเร็จ และแก้ไขในส่วนที่เป็นปัใหา
อุป สรรคของการดาเนิ น งานให้ เป็ นวิถีใหม่พร้อมทั้ง ปรับเปลี่ ยนแนวทางการ เข้ากับสถานการณ์ปัจจุบัน
โดยเฉพาะการน าเทคโนโลยี ที่ทัน สมัย เข้ามาปรับใช้เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภ าพการดาเนินงานและยกร่างเป็น
ข้อเสนอแผนงานการป้องกันและแก้ไขปัใหาหมอกควันภาคเหนืออย่างยั่งยืน นาเสนอเพื่อโปรดทราบในการ
ประชุมสรุปผลการถอดบทเรียน และมอบนโยบายการป้องกันและแก้ไขปัใหาไฟป่าและหมอกควันภาคเหนือ
ในวันที่ 21 พฤษภาคม 2563 โดยมีรองนายกรัฐมนตรี(พลเอก ประวิตร วงษ์สุวรรณ) เป็นประธานการประชุม
ทั้ ง นี้ เ พื่ อ เป็ น แนวทางในการจั ด ท า แผนงานและมาตรการแก้ ไ ขปั ใ หาอย่ า งยั่ ง ยื น ต่ อ ไป โดยเบื้ อ งต้ น
ประกอบด้วย 10 ประเด็นหลัก ได้แก่
1) การบัใชาการและบูรณาการทุกหน่วยงานที่เกี่ยวข้องให้พิจารณาแนวทางที่ชัดเจน ในการ ผลักดัน
ให้การป้องกันและแก้ไขปัใหาไฟป่าและหมอกควัน ทั้ง ในส่วนของแผนงานและงบประม ถูกดาเนินการ อย่าง
ต่อเนื่องภายใต้กลไกของพระราชบัใใัติป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย พ.ศ. 2550 และถูกบรรจุไว้ใน
แผนการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยแห่งชาติและกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จะได้
หารือหน่วยงานที่เกี่ยวข้องเพื่อพิจารณากลไกที่เหมาะสมในการจัดตั้งคณะกรรมการบริหารจัดการสถานการณ์
ไฟป่ า และหมอกควัน ระดั บ ชาติ ( มี น ายกรั ฐ มนตรี ห รื อ รองนายกรัฐ มนตรี ที่ ได้ รั บ มอบหมายเป็น ประธาน
กรรมการ) ระดับจังหวัด (มีผู้ว่าราชการจังหวัดเป็นประธานกรรมการ) และระดับอาเภอ (มีนายอาเภอเป็น
ประธานกรรมการ) ให้สามารถบริหารจัดการสถานการณ์ ได้อย่างเบ็ดเสร็จเหมาะสม ทันสถานการณ์และ
บูรณาการในทิศทางที่ชัดเจน ภายใต้กลไกของกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
2) การจัดหา/สนับสนุนด้านอัตรากาลัง อุปกรณ์ยานพาหนะ และงบประมาณ ให้ทุกหน่วยงาน บูรณา
การก าลั ง พลและทรั พ ยากร จากทั้ ง ในและนอกพื้ น ที่ มาสนั บ สนุ น การด าเนิ น งาน การบั ใ ชาการของ
คณะกรรมการบริหารจัดการสถานการณ์ฯ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม กระทรวงมหาดไทย
และกองทัพ จัดให้มีชุดพิทักษ์ป่า และชุดปฏิบัติการระดับหมู่บ้าน ในการลาดตระเวน เฝ้าระวัง ดับไฟ ดูแลป่า
และพิจ ารณา จั ดการฝึ กอบรม ให้ ค วามรู้ ในการปฏิบัติงานและการดูแลตัว เองเพื่อความปลอดภัยในการ
ปฏิบั ติงาน ฝึกอบรมการปฏิบั ติอย่ างต่อเนื่อง เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภ าพสมรรถนะและความปลอดภัยของชุด
ปฏิบัติการ เจ้าหน้าที่และจิตอาสาและให้จัดหาและสนับสนุนอากาศยาน ยานพาหนะ และอุปกรณ์ทันสมัย
เช่น โดรน กล้อง NCAPs เป็นต้น เพื่อการลาเลียง การปฏิบัติ การเฝ้าระวัง และการดับไฟรวมถึงอุปกรณ์ ที่
จาเป็นให้เพียงพอ กับชุดปฏิบัติการ โดยเฉพาะการเข้าปฏิบัติการในพื้นที่ห่างไกล เขตป่าลึก
3) การป้ อ งกั น เฝ้ า ระวั ง และดั บ ไฟโดยกระทรวงทรั พ ยากรธรรมชาติ แ ละสิ่ ง แวดล้ อ ม
กระทรวงมหาดไทยและกองทัพ พิจารณาจัดตั้งจุดลงทะเบียนเพื่อคัดกรองผู้เข้าป่าร่วมกับการจัดทาแอปพลิเค
158

ชัน ในการลงทะเบียนเข้าพื้นที่ป่ากาหนดแผนงานในการลาดตะเวนและดับไฟ โดยบูรณาการทุกภาคส่วนและ


ให้ ชุดพิทักษ์ป่า และชุดปฏิบัติการระดับหมู่บ้าน เป็นกลไกหลักในการปฏิบัติการ เพิ่มจานวนสถานีควบคุมไฟ
ป่า ให้ครอบคลุมทุกอาเภอเฝ้าระวัง พื้นที่ที่ได้รับความสนใจจากประชาชน ชี้แจงทาความเข้าใจและสร้างการ
มีส่วนร่วมของกลุ่มเสี่ยงที่มีพฤติกรรมการเผาป่าหรือบุกรุกทาลายป่า เพิ่มความชุ่มชื้นให้พื้นที่ป่า แหล่งน้า และ
อื่นๆ
4) การบริหารจัดการเชื้อเพลิงและการจัดระเบียบการเผาให้จังหวัด ร่วมกับกระทรวง มหาดไทย และ
กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม พิจารณาใช้แนวทางการขอความร่วมมือให้จัดการเชื้อเพลิง
ภายใต้การควบคุม โดยให้มีการพัฒนาแอปพลิเคชันสาหรับการลงทะเบียนเพื่อขออนุใาตจัดเชื้อเพลิงและ
แสดงแผนการจัดการเชื้ อเพลิง เพื่อเพิ่มความสะดวกในการเข้าถึงข้อมูลของเจ้าหน้าที่ ประชาชน ให้อปท.
รับผิดชอบการสารวจพื้นที่ที่ต้องจัดการเชื้อเพลิงกาหนดข้อตกลงชุมชนทาความเข้าใจ ประชาชน และรับ
ลงทะเบียนการจัดการเชื้อเพลิง พร้อมทั้งกรอกข้อมูลลงแอปพลิเคชันเพื่อให้จังหวัดและนาเสนอคณะกรรมการ
บริหารจัดการสถานการณ์ ไฟป่าและหมอกควันระดับชาติรวบรวมและจัดทาแผนการจัดการ เชื้อเพลิงใน
ภาพรวมโดยใช้ข้อมูลจากภาพถ่ายดาวเทียมและการพยากรณ์สถานการณ์หมอกควันมาประกอบ การจัดทา
แผนการจัดการเชื้อเพลิง ทั้งนี้ให้มีการประชาสัมพันธ์แผนการจัดการเชื้อเพลิงล่ว งหน้าผ่านแอปพลิเคชั่นและ
ช่องทางการสื่อสารของจังหวัด อาเภอ ชุมชน เพื่อให้เจ้าหน้าที่และประชาชน รับทราบและปฏิบัติตามได้
อย่างถูกต้อง
กระทรวงเกษตรและสหกรณ์กระทรวงการอุดมศึกษาวิทยาศาสตร์วิจัยและนวัตกรรม และ กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ให้การสนับสนุ นด้านวิชาการ ให้คาแนะนา และร่วมกันสื่อสาร ข้อมูลที่
ถูกต้องเพื่อทาความเข้าใจกับประชาชนในการปฏิบัติตามแผนการจัดการเชื้อเพลิง รวมถึง เร่งจัดเตรียม ข้อมูล
และพัฒนาระบบคาดการณ์เพื่อกาหนดปริมาณเชื้อเพลิง พื้นที่และช่วงเวลาจัดการเชื้อเพลิงให้เหมาะสม กับ
สภาพพื้นที่สภาพปัใหาและวิถีชีวิตของประชาชน
5) การสร้ างการรั บรู้ให้กับประชาชนโดยให้จังหวัด กรมส่งเสริมคุณภาพสิ่งแวดล้อม และ กรม
ประชาสัมพันธ์เป็นหน่วยงานหลัก และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ให้การสนับสนุนนการประชาสัมพันธ์เชิงรุก ผ่าน
หอกระจายข่าว เสียงตามสาย ให้เข้าถึงระดับหมู่บ้าน และให้มีการลงพื้นที่พบปะชาวบ้าน ของเจ้าหน้าที่
อาสาสมัครจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์และประชาสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องทั้งปีเร่งสร้างการรับรู้สร้างจิตสานึก ในการ
รักและดูแลป่าไม้โดยเฉพาะในโรงเรียน ชุมชน และหมู่บ้าน รวมถึงพิจารณาขอความร่วมมือสื่ อมวลชน ในการ
ใช้มาตรการกดดันทางสังคมกับผู้เผา สาหรับในสถานการณ์วิกฤตให้จังหวัดจัดให้มีการแถลงข่าว เป็นประจา
ทุกวันเพื่อให้ประชาชนรับทราบสถานการณ์ที่ถูกต้อง และแนวทางการแก้ไขปัใหาของภาครัฐ
159

ทั้งนี้ ให้ กระทรวงการพัฒ นาสั งคมและความมั่นคงของมนุษย์เข้ามามีส่ ว นร่ว มในการปรับเปลี่ ยน


พฤติกรรมและทาความเข้าใจกับประชาชน เพื่อลดการเผา อนุรักษ์ป่า และปรับเปลี่ยนวิถีชีวิตไปสู่การเป็น
ชุมชนปลอดการเผา
6) การส่งเสริมการมีส่วนร่วมจากทุกภาคส่วนให้จังหวัด เป็นแกนหลักในการเปิดโอกาสให้ทุก ภาค
ส่ ว นเข้ า มามี ส่ ว นร่ ว มตั้ ง แต่ ขั้ น ตอนการวางแผนไปจนถึ ง การปฏิ บั ติ โ ดยกระทรวงมหาดไทย กระทรวง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และกองทุนสนับสนุนด้านงบประมาณ อุปกรณ์เครื่องมือ และองค์ความรู้
ที่จาเป็น ในการปฏิบัติงานและส่งเสริมให้ภาคประชาชน จิตอาสาและเครือข่าย เข้ามาร่วมเป็นชุดพิทักษ์ป่า
และชุดปฏิบัติระดับหมู่บ้าน พิจารณาจัดเวทีสาธารณะเรื่องการดูแลรักษาป่า และแก้ไขปัใหาหมอกควันอย่าง
มีส่ ว นร่ ว ม เพื่ อเป็ น เวทีให้ ทุ กภาคส่ ว นได้ แสดงความคิด เห็ น ส่ งเสริ มบทบาทภาคเอกชน อาทิการจัดท า
โครงการ CSR และการจัดตั้งกองทุนแก้ไขปัใหาไฟป่าหมอกควันระดับจังหวัดและกองทุนระดับชุมชนหมู่ บ้าน
รวมถึง ส่งเสริมและขยายผล ชุมชนต้นแบบปลอดการเผาหรือชุมชนต้นแบบอนุรักษ์ป่า
7) การส่งเสริมทางเลือกอาชีพและการกาจัดเศษวัสดุการเกษตรให้กระทรวงเกษตร และสหกรณ์
และจั ง หวั ด รวบรวมแนวทางการท าเกษตรที่สู ง และส่ งเสริม แนวทางที่ เหมาะสมกั บพื้ น ที่ ปรับ เปลี่ ย น
การเกษตรไปสู่เกษตรปลอดการเผา เกษตรอินทรีย์เกษตรที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม กาหนดมาตรการที่ชัดเจน
ในการลดการส่งเสริมการปลูกพืชเชิงเดี่ยว พิจารณาความเป็นไปได้ในการรับซื้อเศษวัสดุทางการเกษตร พร้อม
กับผลผลิตทางการเกษตร เสริมทางเลือกในการจัดการเศษวัสดุการเกษตร โดยเฉพาะการจัดการเศษวัสดุใน
พื้นที่โดยไม่ต้องเก็บขนออกจากพื้นที่ ส่งเสริมตลาดผลผลิตทางการเกษตรปลอดการเผา รวมถึง การส่งเสริม
อาชีพอื่นตามความต้องการของชาวบ้าน เพื่อลดการใช้ประโยชน์จากป่าและการบุกรุกป่า
8) การส่งเสริมการใช้ข้อมูลทางวิชาการในการป้องกันและแก้ไขปัใหาไฟป่าและหมอกควัน โดย
จังหวัด กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม สานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ
(องค์การมหาชน) และหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง จัดให้มีคณะทางานวิชาการเพื่อพัฒนาและรวบรวมองค์ความรู้ ที่
เกี่ย วข้องกับ การป้ องกัน และแก้ไขปั ใหาไฟป่าและหมอกควันย่างยั่งยืน จัดทาฐานข้อมูล สนับสนุน การ
ป้ อ งกั น และแก้ ไ ขปั ใ หา พั ฒ นาระบบคาดการณ์ ร ะบบเตื อ นภั ย และระบบสนั บ สนุ น การตั ด สิ น ใจ การ
ประยุกต์ใช้ข้อมูลและมาตรการด้านเศรษฐศาสตร์ ในการแก้ไขปัใหา รวมถึงเสนอตัวชี้วัดที่เหมาะสม ในการ
วั ด ผลการปฏิ บั ติ ง านให้ ส อดคล้ อ งกั บ สถานการณ์ แ ละสามารถประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ง านได้ อ ย่ า ง มี
ประสิทธิภาพ และให้ กรมป่าไม้กรมอุทยานแห่งชาติสัตว ป่า และพันธุ์พืชจัดส่งขอบเขตพื้นที่เกษตรในป่า
หารือร่วมกับสานักงานพัฒนาเทคโนโลยีอวกาศและภูมิสารสนเทศ (องค์การมหาชน) การประมวลผลข้อมูลจุด
ความร้ อ นแยกตามการใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น พร้ อ มทั้ ง ให้ ก ระทรวงสาธารณสุ ข จั ด เก็ บ และเผยแพร่ ข้ อ มู ล
ผลกระทบต่อสุขภาพจากปัใหาไฟป่าและหมอกควัน เพื่อกระตุ้นให้ทุกภาคส่วนให้ความสาคัใกับการแก้ไข
ปัใหาหมอกควัน และการบรรเทาผลกระทบต่อสุขภาพอนามัยของประชาชน
160

9) การฟื้น ฟูพื้ น ที่ป่ า ที่ได้ รั บ ความเสี ยหายจากไฟไหม้โ ดยกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ


สิ่งแวดล้อม ร่วมกับจังหวัด จะได้เร่งรัดดาเนินการสารวจและจัดทาแผนที่แสดงพื้นที่ที่ต้องมีการปลูกป่า หรือ
ฟื้นฟูป่า และจัดทาแผนการฟื้นฟูป่า พร้อมระบุพื้นที่ และช่วงเวลาในการดาเนินการให้ชัดเจน โดยให้มีการนา
เทคโนโลยีภูมิสารสนเทศและภาพถ่ายดาวเทียม เข้ามาใช้ประกอบการจัดทาแผนที่และการระบุพื้นที่ ปลูกป่า
10) การแก้ไขปัใหาหมอกควันข้ามแดนกระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม และ กระทรวง
การต่างประเทศ ให้มีการหารือกับประเทศสมาชิกอาเซียน ให้เกิดแนวทางปฏิบัติที่ชัดเจน และมีผล การ
ดาเนินงานที่เป็นรูปธรรม ให้ประสานความร่วมมือป้องกันมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน ข้อตกลง ตามกลไก
อาเซียนเรื่องมลพิษจากหมอกควันข้ามแดน ASEAN (Agreement on Transboundary Haze Pollution)
และให้กองทัพภาคที่ 3 และจังหวัดชายแดนสร้างความร่วมมือกับประเทศเพื่อนบ้านในระดับ พื้นที่อย่างจริงจัง
และต่อเนื่อง
3.4.3) สถานการณ์ขยะมูลฝอย
จั งหวั ดเชี ย งรายเป็ น จั ง หวัด ที่มีศัก ยภาพสู ง ด้านการท่ องเที่ยว เนื่อ งจากมีท รัพยากรธรรมชาติ ที่
สวยงาม มีสถานที่ท่องเที่ยวที่เป็นจุดสนใจหลายแห่ง ซึ่งสร้างรายได้ให้กับจังหวัดนับหมื่นล้านต่อปี และมีสังคม
เมืองที่มีการขยายตัวสูงตามจานวนที่ประชากรเพิ่มขึ้น และการพัฒนาด้านเศรษฐกิจ สังคม รวมทั้งเทคโนโลยี
ส่งผลให้เกิดการบริโภคเพิ่มสูงขึ้น ทาให้ปริมาณขยะมูลฝอยเพิ่มขึ้น ซึ่งควรได้รับการแก้ไข เพื่อไม่ให้ส่งผล
กระทบต่อสิ่งแวดล้อมและการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงรายในอนาคต
เมื่อพิจารณาถึงสถานการณ์ขยะมูลฝอยจังหวัดเชียงราย พบว่า จากการสารวจสถานการณ์ขยะมูล
ฝอยของจังหวัดเชียงราย ปีพ.ศ. 2562 โดยกรมควบคุมมลพิษ พบว่าในพื้นที่จังหวัดเชียงราย มีปริมาณขยะมูล
ฝอยที่เกิดขึ้น0.22 ล้านตัน ปริมาณขยะมูลฝอยที่เก็บขนได้0.12 ล้านตัน ปริมาณขยะมูลฝอยที่กาจัดถูกต้อง
0.07 ล้านตัน ปริมาณขยะมูลฝอยที่ถูกนาไปใช้ประโยชน์0.02 ล้านตัน ปริมาณขยะมูลฝอยที่กาจัดไม่ถูกต้อง
0.05 ล้านตัน สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง ได้แก่778 แห่ง ประกอบไปด้วย หมักทาปุ๋ย43 แห่ง MBT28
แห่ง RDF35 แห่ง ฝังกลบถูกหลักวิชาการ672 แห่ง (กรมควบคุมมลพิษ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม, 2563)
161

ตารางที่ 75 ข้อมูลขยะมูลฝอย
พ.ศ. ปริมาณขยะมูล ปริมาณขยะมูล ปริมาณขยะมูล ปริมาณขยะมูล ปริมาณขยะมูล
ฝอยที่เกิดขึ้น ฝอยที่เก็บขนได้ ฝอยที่กาจัดถูกต้อง ฝอยที่ถูกนาไปใช้ ฝอยที่จากัดไม่
ประโยชน์ ถูกต้อง

2557 0.41 ล้านตัน 0.11 ล้านตัน 0.11 ล้านตัน 0.06 ล้านตัน 0.05 ล้านตัน

2558 0.43 ล้านตัน 0.16 ล้านตัน 0.11 ล้านตัน 0.06 ล้านตัน 0.05 ล้านตัน

2559 0.40 ล้านตัน 0.16 ล้านตัน 0.10 ล้านตัน 0.04 ล้านตัน 0.05 ล้านตัน

2560 0.40 ล้านตัน 0.20 ล้านตัน 0.17 ล้านตัน 0.04 ล้านตัน 0.02 ล้านตัน

2561 0.35 ล้านตัน 0.18 ล้านตัน 0.15 ล้านตัน 0.04 ล้านตัน 0.03 ล้านตัน

2562 0.22 ล้านตัน 0.12 ล้านตัน 0.07 ล้านตัน 0.02 ล้านตัน 0.05 ล้านตัน

ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ.2563.
ตารางที่ 76 สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง
สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง 2558 2559 2561 2560 2562
สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ถูกต้อง 778 778 778 778 778
หมักทาปุ๋ย 43 43 43 43 43
MBT 28 28 28 28 28
RDF 35 35 35 35 35
ฝังกลบถูกหลักวิชาการ 672 672 672 672 672
เตาเผาผลิตพลังงาน (WTE) 0 0 0 0 0
เทกองควบคุม (<50 ตัน/วัน) 0 0 0 0 0

ตารางที่ 77 สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้อง
สถานที่กาจัดขยะมูลฝอยที่ไม่ถูกต้อง 2558 2559 2561 2560 2562
เทกองควบคุม (<50 ตัน/วัน) 0 0 0 0 0
เตาเผาไม่มีระบบบาบัดมลพิษทางอากาศ 0 0 0 0 0
การเทกอง 2 2 2 2 2
การเผากลางแจ้ง 0 0 0 0 0
สถานีขนถ่าย 82 82 82 82 82

เมื่อเปรียบเทียบสถานการณ์ขยะมูลฝอยจังหวัดเชียงรายตั้งแต่ ปี พ.ศ. 2557-2562 พบว่า ปริมาณ


ขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นมีปริมาณลดลงอย่างเห็นได้ชัด โดยเฉพาะ 3 ปีย้อนหลังคือปี พ.ศ. 2560-2561 ลดลงถึง 5
162

ล้านตัน ปีพ.ศ. 2561-2562 ลดลง 13 ล้านตัน และจากการพยากรณ์ถึง สถานการณ์ปริมาณขยะมูลฝอยที่


เกิดขึ้น พ.ศ. 2557-2567 พบว่าแนวโน้มของการเกิดขยะมูลฝอยของจังหวัดเชียงรายมีแนวโน้มลดลงอย่ าง
ต่อเนื่อง เนื่องด้วยยุทธศาสตร์การพัฒนาจังหวัดที่เน้นการพัฒนาจังหวัดให้เป็นเมืองสะอาด การสนับสนุนจาก
ราชการส่วนกลาง นโยบายของรัฐบาลที่ให้ขยะเป็นวาระแห่งชาติ
เมื่อเปรียบเทียบในรายพื้นที่โดยแบ่งตามลักษณะการปกครองท้องถิ่น พบว่า พื้นที่ในขังหวัดเชียงราย
ที่มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้นมากที่สุด 5 อันดับแรกคือ เขตเทศบาลนครเชียงรายมีปริมาณขยะมูลฝอยมาก
ที่สุด โดยมีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น 39,252.10 ตัน รองลงมาเทศบาลตาบลบ้านดู่ มีปริมาณขยะมูลฝอยที่
เกิดขึ้น 9,880.55 ตัน เทศบาลตาบลแม่สาย มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น 9,592.20 ตัน องค์การบริหารส่วน
ตาบลวาวี มีปริมาณขยะมูลฝอยที่เกิดขึ้น 7,300.00 ตัน และ เทศบาลตาบลท่าสาย มีปริมาณขยะมูลฝอยที่
เกิดขึ้น 4,423.80 ตัน ตามลาดับ
จากข้อมูลทั้งหมดจะเห็นได้ว่า โครงการสาหรับแก้ปัใหาขยะของจังหวัดเชียงรายสามารถรองรับ
ปริมาณขยะที่เกิดขึ้นในอนาคตได้ แต่จังหวัดเชียงรายยังมีปัใหาขยะสะสมเพิ่มขึ้น จังหวัดเชียงรายควรกาหนด
มาตรการเร่งด่วนโดยเพิ่มบริการเก็บขนขยะมูลฝอยไม่ให้ตกค้างในชุมชน และเพื่อให้จังหวัดเชียงรายเป็น
จังหวัดในการจัดการขยะมูลฝอยอย่างยั่งยืนเละลดผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมและภาวะโลกร้อน จังหวัด
เชียงรายควรมีการจัดโครงการ/กิจกรรม การประชาสัมพันธ์ โดยให้เข้าถึงทั้งในระดับบุคคล ชุมชนและองค์กร
ในการส่งเสริมการให้ความรู้เกี่ยวกับปัใหาที่เกิดจากขยะมูลฝอย และ วิธีการป้องกันและแก้ไขปัใหาขยะมูล
ฝอยที่เกิดขึ้นในจังหวัด
3.4.4) แหล่งกาเนิดมลพิษ
จังหวัดเชียงรายเป็นหนึ่งในหลาย ๆ จังหวัดที่มีการขยายตัวอย่างรวดเร็วของเศรษฐกิจชุมชน โรงงาน
อุตสาหกรรม โครงสร้างพื้นฐาน อาคารและสิ่งก่อสร้าง จากรายงานแผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย พบว่า อัตรา
การขยายตัวทางเศรษฐกิจในช่วงที่ผ่านมา (พ.ศ. 2550 – 2563) มีการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง ในทุกภาคการ
ผลิต จากการสารวจฐานข้อมูลแหล่งกาเนิดมลพิษในจังหวัดเชียงราย ของสานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่ ง แวดล้ อ มจั ง หวั ด เชี ย งราย ร่ ว มกั บ สถาบั น การศึ ก ษาสิ่ ง แวดล้ อ ม มหาวิ ท ยาลั ย แม่ ฟ้ า หลวง พบว่ า
แหล่งกาเนิดมลพิษ ส่วนใหใ่เกิดจากสถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิ งมากที่สุด จานวน 119 แห่ง รองลงมาคือ
โรงงานอุตสาหกรรม จานวน 36 แห่ง และสถานบริการห้องพัก จานวน 33 แห่ง ตามลาดับดังตาราง
163

ตารางที่ 78 ประเภทแหล่งกาเนิดมลพิษ
ประเภท จานวน (แห่ง)
2560 2561 2562
โรงงานอุตสาหกรรม 35 37 36
สถานีบริการน้ามันเชื้อเพลิง 102 111 119
สถานีบริการน้ามัน ม.12 - -
สถานีบริการน้ามัน ม.11 - -
โรงฆ่าสัตว์ 10 10 11
ฟาร์มไก่ไข่ - -
ฟาร์มไก่เนื้อ - -
ฟาร์มโคนม - -
ตลาดสด 9 9 9
สถานที่กาจัดขยะ - -
สถานบริการห้องพัก 25 32 33
ที่มา : กรมควบคุมมลพิษ, 2562

3.5) ด้านสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย
จากข้อมูลการวิเคราะห์ผลกระทบจากสถานการณ์สาธารณภัยภายในจังหวัดเชียงรายของสานักงาน
ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย พบว่า
3.5.1) อุทกภัยและดินโคลนถล่ม จังหวัดเชียงรายมีภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูง มีพื้นที่ราบสูงเป็น
หย่อมๆ และมีพื้นที่ตามลุ่มแม่น้าสาคัใในตอนกลางของพื้นที่จังหวัด ปัจจุบันการขยายตัวของชุมชนในพื้นที่
จังหวัดเชียงรายมีลักษณะก้าวกระโด ทาให้มีการก่อสร้างอาคารบ้านเรือนของประชาชนและเส้นทางคมนาคม
เกิดขึ้นอย่างรวดเร็ว ทาให้เกิดปรากฏการณ์ ดังนี้
- แม่น้า ลาน้า ถูกรุกล้า เพื่อสร้างอาคารบ้านเรือนของประชาชนและเส้นทางคมนาคมสาหรับสัใจร
ไปมา
- พื้นที่ที่เคยเป็นทางระบายน้าธรรมชาติและพื้นที่ที่เคยเป็นพื้นที่รองรับน้าธรรมชาติ ถูกถมเพื่อสร้าง
อาคารบ้านเรือนของประชาชนและเส้นทางคมนาคมสาหรับสัใจรไปมา
- พื้นที่บนภูเขาถูกแผ้วถางและปรับไถหน้าดิน เพื่อสร้างบ้านเรือนที่อยู่อาศัย และทาเป็นพื้นที่เกษตรกรรม
ของประชาชน
- เมื่อเกิดฝนตกหนักติดต่อกันก็จะเกิดเหตุการณ์น้าป่าไหลหลากและดินโคลนถล่ม น้าท่วมขัง น้าล้น
ตลิ่ง ในหลายพื้นที่ของจังหวัดเชียงราย ในบางเหตุการณ์ทาให้ประชาชนต้องเสียชีวิตและทรัพย์สิน บ้านเรือน
สั ต ว์ เ ลี้ ย ง พื้ น ที่ เ กษตรกรรม ผลผลิ ต ทางการเกษตร สิ่ ง สาธารณประโยชน์ ข องประชาชน และ สิ่ ง
สาธารณประโยชน์ของทางราชการได้รับความเสียหายเป็นวงกว้าง
164

- เมื่อเกิดฝนตกหนักติดต่อกันก็จะเกิดเหตุการณ์น้าป่าไหลหลากและดินโคลนถล่ม น้าท่วมขัง น้าล้น


ตลิ่ง ในหลายพื้นที่ของจังหวัดเชียงราย ในบางเหตุการณ์ทาให้ประชาชนต้องเสียชีวิต และทรัพย์สิน บ้านเรือน
สัตว์เลี้ยง พื้นที่เกษตรกรรม ผลผลิตทางการเกษตร สิ่งสาธารณประโยชน์ของทางราชการได้รับความเสียหาย
เป็นวงกว้าง
- การประเมินความเสียงจากสถานการณ์อุทกภัยและดินโคลนถล่ม ในพื้นที่ จังหวัดเชียงราย พบว่า
ในทุกๆปีจังหวัดเชียงรายจะได้รับอิทธิพลจากร่องมรสุมและร่องความกดอากาศต่าผาดผ่าน และในบางปีจะ
ได้รับผลกระทบจากพายุหมุนเขตร้อน เช่น พายุดีเปรสชั่น พายุโซนร้อน เป็นต้น ทาให้เกิดฝนตกหนักติดต่อกัน
เป็นเหตุทาให้เกิดอุทกภัยและดินโคลนถล่มในพื้น ที่จังหวัดเชียงราย จากสถิติข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี จะ
เห็นได้ว่าอุทกภัยและดินโคลนถล่มในพื้นที่จังหวัดเชียงรายมีขนาดหรือขอบเขตภัยในระดับ 1-2 ซึ่งองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่อาเภอ จังหวัด ยังสามารถรับมือได้
3.5.2) วาตภัย (พายุโซนร้อน) เหตุการณ์การเกิดวาตภัยในพื้นที่จังหวัดเชียงราย มีลักษณะกระแส
ลมพัดรุนแรงมากและมีฝนฟ้าคะนองตามมาด้วย มักจะเกิดขึ้นในระยะสั้นๆ ประมาณ 1-2 ชั่วโมง พายุก็จะ
สงบ ก่อนที่จะเกิดวาตภัย (พายุฤดูร้อน) สภาพอากาศจะอบอ้าวติดต่อกันหลายวัน ลักษณะการเกิดวาตภัย
ดังกล่าวจะเกิดในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ -พฤษภาคม
- จังหวัดเชียงราย ประกอบด้วยประชากรหลายเผ่าชาติพันธ์กระจายอยู่ทั่วพื้นที่จังหวัด การสร้าง
บ้านเรือนของประชาชนจะมีการสร้างที่อยู่อาศัย เป็นบ้านไม้ทั้งหลังบางบ้านครึ่งไม้ครึ่งคอนกรีต บางบ้าน
คอนกรีตทั้งหลัง และมีการมุงหลังคาบ้านด้วยสังกะสี กระเบื้อง ในบางพื้นที่ยังมุงด้วยใบหใ้าคา และใบตองตึง
เมื่อเกิดวาตภัย (พายุฤดูร้อน) กระแสลมจะพัดหลังคาบ้านที่มุงด้วยสังกะสี กระเบื้อง ใยหใ้าคา และใบตองตึง
เสียหายในหลายพื้นที่ กระแสลมยังพัดต้นพืช ผลผลิตทางการเกษตรของประชาชนได้รับความเสียหายเป็นวง
กว้างอีกด้วย
- การประเมินความเสียงจากสถานการณ์วาตภัย (พายุฤดูร้อน) ด้วยในทุกปีจังหวัดเชียงรายจะได้รับ
ผลกระทบจากมวลอากาศเย็นหรือความกดอากาศสูงแผ่ลงมาปกคลุม ซึ่งช่วงนั้นจังหวัดเชียงรายเป็นช่วงฤดู
ร้อนเมื่อมีอากาศเย็นหรือมวลอากาศเย็นมากระทบจะทาให้เกิดความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ จึงเป็น
สาเหตุของการเกิดพายุฤดูแล้งขึ้น จากข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี จะเห็นได้ วาตภัยในพื้นที่จังหวัดเชียงรายมีขนาด
หรือขอบเขตภัย อยู่ในระดับ 1-2 ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่อาเภอ จังหวัดยังรับมือได้
3.5.3) วาตภัย (พายุลูกเห็บ) ลักษณะการเกิดพายุลูกเห็บ ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย จะมีลักษณะ
กระแสลมพัดแรงมาก มีฝนฟ้าคะนอง และมีลูกเห็บจานวนมากตกลงมาด้วย จะเกิดเหตุการณ์ ประมาณ 1
ชั่วโมง พายุลูกเห็บก็จะสงบลง ก่อนที่จะเกิดวาตภัย (พายุลูกเห็บ) สภาพอากาศจะร้อนอบอ้าว ก้อนเมฆจะมีสี
แดง ซึ่งลักษณะเหตุการณ์วาตภัย (พายุลูกเห็บ) ตามที่กล่าวมาจะเกิดขึ้นกระจายทั่วไปในพื้นที่จังหวัดเชียงราย
ทุกอาเภอในช่วงเดือนกุมภาพันธ์-พฤษภาคม
จากการประเมินความเสี่ยงจากสถานการณ์วาตภัย (พายุลูกเห็บ) ด้วยในทุกๆปีจังหวัดเชียงราย จะ
ได้รับผลกระทบจากมวลอากาศเย็นหรือความกดอากาศสูงแผ่ลงมาปกคลุมซึ่งช่วงนั้นจังหวัดเชียงรายเป็นช่วง
ฤดูร้อน เมื่อมีอากาศเย็นหรือมวลอากาศเย็นมากระทบ จะทาให้เกิดความแปรปรวนของสภาพภูมิอากาศ จึง
165

เป็นสาเหตุการเกิดพายุลูกเห็บขึ้น จากสถิติข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี พายุลูกเห็บที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดเชียงราย มี


ขนาดหรือขอบเขตภัยอยู่ในระดับที่ 1-2 ซึ่งองค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่อาเภอ จังหวัด ยังสามารถ
รับมือได้
3.5.4) ภัยแล้ง ลักษณะการเกิดภัยแล้งในพื้นที่จังหวัดเชียงราย มีลักษณะเนื่องจากปริมาณน้าใน
แม่น้า ลาน้า ลาห้วย อ่างเก็บน้าแห้งขอด ไม่มีปริมาณน้าอุปโภค-บริโภค หรือมีไม่เพียงพอสาหรับใช้เพื่อการ
เกษตรกรรม ซึ่งลักษณะภัยแล้งตามที่กล่าวมา จะกระจายไปทั่วทุกพื้นที่ ในช่วงเดือนกุมภาพันธ์ -พฤษภาคม
ประชาชนส่วนใหใ่ในพื้นที่ ยังอาศัยน้าในแม่น้า ลาน้า ลาห้วย อ่างเก็บน้า เพื่อใช้ในการอุปโภค บริโภค และ
ใช้เพื่อการเกษตร เมื่อเกิดภาวะฝนทิ้งช่วง ภาวะฝนแล้งและปริมาณน้าในแม่น้า ลาน้า ลาห้วย อ่างเก็บน้าแห้ง
ขอด ประชาชนได้ รั บ ความเดื อดร้ อน ปริ มาณน้าไม่ เพีย งพอส าหรับ ใช้ ในการอุปโภค บริ โ ภคและใช้ เพื่ อ
การเกษตร
3.5.5) ภัยจากอากาศหนาว ลักษณะภัยจากอากาศหนาวในพื้นที่ จากอุณหภูมิที่ต่ากว่า 15 องศา
เซลเซียส เกิน 3 วัน อากาศหนาวปกคลุมไปทั่วทุกอาเภอในช่วงเดือนพฤศจิกายน-กุมภาพันธ์
- เนื่องจากสภาพภูมิประเทศเป็นเทือกเขาสูง มีพื้นราบสูงเป็นหย่อมๆ และตั้งอยู่เหนือสุดของประเทศ
ไทย มวลอากาศหนาวจากประเทศจีนแผ่ปกคลุมทั่วทุกพื้นที่ ทาให้ประชาชนได้ผลกระทบจากอากาศหนาว ที่
อุณหภูมิต่ากว่า 15 องศาเซลเซียส เกิน 3 วัน โดยเฉพาะประชาชนที่อาศัยอยู่บนพื้น ที่สูงจะได้รับผลกระทบ
จากอากาศหนาว ที่อุณหภูมิต่ากว่า 10 องศาเซลเซียส มากกว่า 3 วันขึ้นไป และทาให้ประชาชนที่ฐานะ
ยากจน เด็ก และคนชรา มีผ้าห่ม เครื่องนุ่งห่ม สาหรับกันหนาวจากภัยอากาศหนาวไม่เพียงพอ
- การประเมินความเสี่ยงจากสถานการณ์ภัยจากอากาศหนาวในพื้นที่ จังหวัดเชียงรายได้รับผลกระทบ
จากมวลอากาศเย็นจากประเทศจีนปกคลุมทั่วทุกพื้นที่ อุณหภูมิต่ากว่า 15 องศาเซลเซียส เกิน 3 วัน จากสถิติ
ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี จะเห็นได้ว่าภัยจากอากาศหนาวมีขนาดหรือขอบเขตภัยอยู่ในระดับ 1-2 ซึ่งองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่นแห่งพื้นที่ อาเภอ จังหวัด ยังสามารถรับมือได้
การวิเคราะห์ภัยจากอากาศหนาว พ.ศ. 2562 พบว่า มีแนวโน้มลดลง และมีผลให้การให้ความ
ช่วยเหลือลดลงตามไปด้วย อันเนื่องมาจากการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิของโลกที่สูงขึ้นเรื่อยๆ หรือที่เรียกว่า
ภาวะโลกร้อน ทาให้ฤดูหนาวมีอากาศเพิ่มสูงขึ้นและมีระยะเวลาที่สั้นลง ส่วนการให้ความช่วยเหลือมีมากขึ้น
อย่างต่อเนื่องเพราะมีหน่วยงานให้ความสาคัใในการจัดการกับปัใหา
3.5.6) ภัยจากแผ่นดินไหว ลักษณะภัยที่เกิดจากแผ่นดินไหวในพื้นที่จังหวัดเชียงราย มีลักษณะเป็น
การเคลื่อนตัวของเปลือกโลกหรือแผ่นดิน ทาให้แผ่นดินแยกเป็นรอยยาวไปตามรอยเลื่อนที่พาดผ่าน ซึ่งการ
เกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว ไม่สามารถคาดการณ์ล่วงหน้าได้ ต้องมีการเฝ้าระวังตลอดทั้งปี
- การเกิดเหตุการณ์แผ่นดินไหว เป็นเหตุการณ์ที่ประชาชนในพื้นยังขาดองค์ ความรู้ในการรับมือ เช่น
การปฏิบัติตนอย่างไรเมื่อเกิดแผ่นดินไหว การออกแบบก่อสร้างอาคารบ้านเรือนที่อยู่อาศัยต้านแผ่นดินไหว
หรือความล่อแหลม ความเปราะบาง จากแผ่ นดิน ไหวในพื้นที่จังหวัดเชียงราย มีกระจายอยู่ทั่ว ไปในพื้นที่
จังหวัด
166

- การประเมินความเสียงจากสถานการณ์ภัยจากแผ่นดินไหวในพื้นที่จังหวัดเชียงราย พบว่ามีรอยเลื่อน
ที่ทรงพลังพาดผ่าน 3 รอยเลื่อน ประกอบด้วย รอยเลื่อนแม่จัน รอยเลื่อนแม่อิงและรอยเลื่อนพะเยา จากสถิติ
ข้อมูลย้อนหลัง 3 ปี จะเห็นได้ว่า เหตุการณ์แผ่นดินไหวในพื้นที่เชียงราย เมื่อวันที่ 5 พฤษภาคม 2557 วัด
แรงสั่นสะเทือนได้ 6.3 ริกเตอร์ มีขนาดขอบเขตภัยในระดับ 2 ซึ่งจังหวัดสามารถรับมือได้ และต้องเร่งให้
ความรู้แก่ประชาชนในการเตรียมความพร้อมรับมือจากแผ่นดินไหวที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
ตารางที่ 79 ภัยจากแผ่นดินไหว พ.ศ. 2556 – 2563

จานวน
พื้นที่ จานวน โรงงาน สิ่งสา มูลค่าความ
ปี ครั้ง เสียชีวติ บาดเจ็บ ศาสน สถาน สถานที่
ประสบภัย บ้านเรือน อุตสา ธารณ เสียหาย
พ.ศ. ที่เกิดภัย (คน) (คน) สถาน ศึกษา ราชการ
(อาเภอ) เสียหาย (หลัง) หกรม ประโยชน์ (ล้านบาท)
(ครั้ง)
2556 - - - - - - - - - - -
2557 1 7 16,988 1 23 160 126 15 12 57 610,895,990.75
2558 - - - - - - - - - - -
2559 - - - - - - - - - - -
2560 - - - - - - - - - - -
2561 - - - - - - - - - - -
2562 - - - - - - - - - - -
2563 - - - - - - - - - - -
รวม 1 7 16,988 1 23 160 126 15 12 57 610,895,990.75
ที่มา : สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย, 2563.

สรุปภัยจากแผ่นดินไหว พ.ศ. 2556 – 2563 ในภาพรวมเกิดในปี 2557 มีพื้นที่ประสบภัย 7 แห่ง


จานวนบ้านเรือนเสียหาย 16,998 หลัง มีผู้บาดเจ็บ 23 คน ศาสนสถานเสียหาย 160 แห่ง สถานศึกษา
เสียหาย 126 แห่ง สถานที่ราชการเสียหาย 57 แห่ง คิดเป็นมูลค่าความเสียหาย 610,895,990.75 บาท
ตามลาดับ เนื่องจากสถานการณ์แผ่นดินไหวไม่สามารถคาดการณ์ได้อย่างชัดเจน โดยแต่ปี 2557 เป็นต้นมาไม่
มีความเสียหายจากภัยแผ่นดินไหวอีกเลย
167

3.1.3 ประเด็นปัญหาและความต้องการเชิงพื้นที่
1) ปัญหาและความต้องการของประชาชนในพื้นที่
การวิเคราะห์กระบวนการมีส่วนร่วมของประชาชน การมีส่วนร่วมของประชาชน (Public
Participation) เป็ น แนวคิ ด ที่ มี ค วามส าคั ใ อย่ า งมากต่ อ การบริ ห ารงานในภาคสาธารณะตามระบอบ
ประชาธิปไตย ไม่ว่าจะเป็นการบริหารงานของรัฐบาลระดับชาติ หรือการบริหารจัดการในระดับท้องถิ่นการมี
ส่วนร่วมก่อให้เกิดผลดีต่อการขับเคลื่อนองค์กรหรือการพัฒนาชุมชน เพราะมีผลในทางจิตวิทยาเป็นอย่างยิ่ง
กล่าวคือผู้ที่เข้ามามีส่วนร่วมย่อมเกิดความภาคภูมิใจที่ได้เป็นส่วนหนึ่งของการบริหาร ความคิดเห็นถูกรับฟัง
และนาไปปฏิบัติเพื่อการพัฒนาองค์กรและชุมชน และที่สาคัใผู้ที่มีส่วนร่วมจะมีความรู้สึกเป็นเจ้าขององค์กร
และชุมชน ความรู้สึกเป็นเจ้าของจะเป็นพลังในการขับเคลื่อนที่ดีที่สุดซึ่งประชาชนในจังหวัดเชียงรายนั้นจะ
เข้ามามีส่วนร่วมในบริหารจัดการชุมชนของตนเอง โดยประชาชนจะเข้ามามีบทบาทในการกาหนดการพัฒนา
ชุมชนด้วยตนเอง ซึ่งหน่ วยงานส่ว นกลางทั้งในระดับจังหวัดจนถึงระดับชาติมีบทบาทหน้าที่เพียงให้ การ
สนับสนุนเท่านั้น
1.1 ) วิเคราะห์สภาพปัญหาของพื้นที่และความต้องการของประชาชน ตามแผนพัฒนา
อาเภอ
- ปัญหาด้านโครงสร้างพื้นฐาน
1. ปัใหาด้านคมนาคมขนส่ง ได้แก่ ทางหลวงแผ่นดินหมายเลข 1020 นอกจากเป็นเส้นทาง
เชื่อมระหว่างเมืองแล้วยังเป็นเส้นทางสายหลักภายในชุมชน จึงมีการสัใจรทั้งรถบรรทุกน้ามัน รถบรรทุก
สิ น ค้า รถโดยสาร รถยนต์ รถจั กรยานยนต์ รถจัก รยาน และขนาดเขตทางค่อนข้ างคับแคบในเขตผ่ า น
ศูนย์กลางชุมชนและไม่มีบาทวิถี
2. ปัใหาสาธารณูปโภคและโครงสร้างพื้นฐาน พบว่าการขาดแคลนแหล่งน้าที่สะอาดในการ
อุปโภคบริโภคในครัวเรือนพร้อมระบบการจัดการน้าอุปโภคบริโภคของหมู่บ้าน/ชุมชนที่อยู่นอกเขตประปา
ส่วนภูมิภาค โดยเฉพาะในช่วงฤดูแล้งจะพบปัใหามากที่สุด รวมทั้งขาดแหล่งสาธารณูปโภคที่สาคัใ เช่น
สถานีรถโดยสารประจาทาง โรงพยาบาล ไปรษณีย์ ตลาดสด ห้องสมุดประชาชน สนามกีฬากลาง ธนาคาร
3. จานวนบุคลากรด้านการช่างมีจานวนไม่เพียงพอ ทาให้การบริการประชาชนได้ไม่ทั่วถึง
ขาดแคลนในด้านงบประมาณ เทคโนโลยีที่ทันสมัย ทาให้การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานที่ตั้งไว้ไม่สามารถทาได้
ทุกโครงการจึงต้องเลือกโครงการที่สาคัใและจาเป็นเร่งด่วนก่อน
4. การทางานล่าช้า ถนนบางสายชารุด เสียหาย เนื่องจากมีรถบรรทุกเกินน้าหนักวิ่งตลอดเวลา
รวมทั้งมีเศษหินและทรายที่ตกลงจากรถบรรทุกสู่ถนน สร้างความเดือดร้อนให้กับผู้สัใจร โดยไม่มีการดาเนินการ
ตามกฎหมายกับรถเหล่านี้อย่างจริงจัง ทาให้ถนนชารุดเสียหาย ประชาชนได้รับความเดือดร้อนจากการสัใจร
ไปมา ส่วนในด้านไฟฟ้าและประปาก็มีหน่วยงานรับผิดชอบอยู่แล้ว หากทางอาเภอเข้าไปดาเนินการก็จะเป็นการ
ทางานที่ซ้าซ้อน
168

- ปัญหาด้านเศรษฐกิจและการเกษตร
1. ปัใหาการขาดแหล่งน้าเพื่อการเกษตร เนื่องจากประชาชนร้อยละ 80 ประกอบอาชีพ
เกษตรกรรม น้าถือเป็นปัจจัยหลักในการเพาะปลูก ยังพบว่าพื้นที่ส่วนใหใ่ยังอยู่นอกเขตชลประทานอาศัย
แหล่ งน้าธรรมชาติในการทาการเกษตร ซึ่งต้องประสบปั ใหาการขาดแคลนน้าในการทาการเกษตรทั้งใน
ฤดูกาลปกติและหลังฤดูกาลปกติ รวมทั้งการบริหารการจัดการน้าในพื้นที่ไม่สามารถบริหารจัดการน้าได้เต็ม
ศักยภาพ
2. ปัใหาการเกษตร พบว่าการเกษตรกรมีพฤติกรรมการเพาะปลูกที่เปลี่ยนแปลงมีการใช้
เครื่องจักรกล สารเคมี ปุ๋ยเคมี เพิ่มขึ้น ส่งผลให้มีต้นทุนในการผลิตที่เพิ่มขึ้น และขาดความรู้การใช้เทคโนโลยีที่
เหมาะสมกับการประกอบอาชีพเกษตรกรรม อีกทั้งการใช้สารเคมี/สารพิษ ในการทาเกษตรทาให้พื้นที่เกษตรมี
สารปนเปื้อน และผลิตผลทางการเกษตรมีสารปนเปื้อนส่งผลต่อสุขภาพของผู้บริโภค
3. ปัใหาหนี้สินภาคการเกษตร เกษตรกรประสบปัใหาหนี้สิน ทั้งในระบบและนอกระบบ
4. ปัใหาด้านการตลาด เกษตรกรยังขาดการรวมกลุ่มที่เข้มแข็ง จึงขาดการต่อรองด้านราคา
ผลผลิตกับพ่อค้า
5. ปั ใ หาผลผลิ ต ทางการเกษตรตกต่ าและผลผลิ ต การเกษตรต่ อ ไร่ ล ดลง และสิ น ค้ า
การเกษตรขาดการพัฒนาต่อยอดเพื่อเพิ่มมูลค่าและการตลาด
6. ความต้องการของประชาชนส่วนใหใ่เป็นโครงการด้านโครงสร้างพื้นฐานขนาดใหใ่ ซึ่งส่วนมากเกิน
ศักยภาพของอาเภอที่จะดาเนินการได้ เช่น สถานีรับ-ส่งผู้โดยสาร สนามกีฬากลาง ธนาคาร และโรงพยาบาล
- ปัญหาด้านสังคมและคุณภาพชีวิต
1. ปัใหาที่ดินทากิน เนื่องจากพื้นที่ทากินของประชาชนบางส่วนยังอยู่ในเขตป่าสงวนทาให้ไม่สามารถ
ออกเอกสารสิทธิ์ได้ ส่งผลต่อความมั่นคงในการประกอบอาชีพและการดารงชีวิตของประชาชน แนวทางแก้ไข
ควรมีการกาหนดแนวเขตป่าและที่ทากินของประชาชนให้เกิดความชัดเจน ตลอดจนมีการกาหนดแนวทางใน
การทากินในเขตป่าสงวนอย่างชัดเจน เกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนในการบริหารจัดการที่ดิน
2. ปัใหาสังคม พบว่า ยาเสพติดยังมีการแพร่ระบาดในพื้นที่ ทั้งผู้เสพและผู้ค้า เนื่องจากมีพื้นที่ที่ติด
ชายแดน ซึ่งพื้นที่ตามแนวตะเข็บชายแดนเป็นจุดลาเลียงและพักยาเสพติดก่อนนาเข้ามาในพื้นที่ชั้นในได้ แนว
ทางแก้ไขต้องเกิดกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชนและประชาชนในการป้องกันและแก้ไขปัใหายาเสพติดในพื้นที่
3. ปัใหาความยากจน ได้แก่ ทุนในการประกอบอาชีพการเกษตรสูง พืชผลเสียหาย รายได้ไม่คุ้มทุน
รายได้น้อย/รายจ่ายสูง ไม่มีเงินออม มีหนี้สินมาก การช่วยเหลือเกื้อกูลกันมีน้อย ไม่มีความรู้และขาดทักษะใน
การประกอบอาชีพ ไม่จัดทาบัใชีรายรับ รายจ่ายครัวเรือน ดาเนินชีวิตแบบสังคมเมืองพึ่งพาภายนอก ดื่มสุรา
และเล่นการพนัน และเกียจคร้านการทากิน
4. จ านวนครู พี่ เ ลี้ ย งในศู น ย์ พั ฒ นาเด็ ก เล็ ก มี จ านวนไม่ เ พี ย งพอกั บ ความต้ อ งการของเด็ ก เล็ ก
นอกจากนี้ศูนย์พัฒนาเด็กเล็กส่วนใหใ่ยังไม่ได้มาตรฐาน ครูยังขาดทักษะประสบการณ์ในการดูแลเด็ก จึงต้อง
มีการสรรหาครูอัตราจ้างในการดูแลเด็กให้มีจานวนเพียงพอและต้องพัฒนาศักยภาพของผู้ดูแลเด็กให้เข้ารับการ
ฝึกอบรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการทางาน
169

5. ปัใหาหนี้นอกระบบของประชาชน รวมทั้ง ความทันสมัยและกระแสวัตถุนิยมทาให้ประชาชนใน


ท้องถิ่นให้ความสาคัใกับวัตถุนิยมมากเกินความจาเป็น
6. ปัใหาครอบครัวแตกแยก ปัใหาเด็กและเยาวชนมีพฤติกรรมไม่เหมาะสม อันเนื่องมาจากปัใหาครอบครัว
7. การบริการจัดการและการเตรียมความพร้อมของหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครอง
ส่วนท้องถิ่น ภาคประชาชน เพื่อรองรับการพัฒนายังขาดความพร้อมและมีความล่าช้า รวมทั้งการรวมกลุ่มของ
ประชาชนเพื่อทากิจกรรมร่วมกันมีน้อยขาดประสิทธิภาพและทรัพยากรมนุษย์ไม่ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
ผู้นาทุกระดับมีการสับเปลี่ยนโยกย้ายตาแหน่งบ่อย ทาให้การพัฒนาขาดความต่อเนื่อง
8. ประชาชนยังขาดความรู้ ความเข้าใจในการปฏิบัติงานของระบบราชการ การติดตามข้อมูลข่าวสาร
เป็นไปอย่างล่าช้า รวมทั้งขาดความรู้ความความเข้าใจเกี่ยวกับอาเซียน ส่งผลทาให้เสียเปรียบในเรื่องต่างๆ
เช่น ภาษา การสื่อสาร และวิถีชีวิต ขนบธรรมเนียม และวัฒนธรรมของแต่ละประเทศ
9. ขาดแคลนบุ ค ลากร ผู้ เ ชี่ ย วชาใ ในการให้ บ ริ ก ารด้ า นการแพทย์ แ ละสาธารณสุ ข มู ล ฐานแก่
ประชาชน รวมทั้งการให้บริการยังไม่ทั่วถึง
10. ปัใหาด้านการศึกษา ได้แก่ เด็กที่จบการศึกษาภาคบังคับไม่ได้ศึกษาต่อหรือฝึกอาชีพ เนื่องจาก
ครอบครัวมีฐานะยากจนจึงขาดโอกาสในการเข้าถึงการศึกษา
- ปัญหาด้านสาธารณสุข
1. โรคติด ต่อ เรื้ อรั ง เป็ น ปั ใหาสาธารณสุ ขที่ ส าคัใ ได้แ ก่ โรคมะเร็ง โรคหั ว ใจและหลอดเลื อ ด
โรคความดั น โลหิ ต สู ง โรคหั ว ใจขาดเลื อ ด โรคหลอดเลื อ ดสมอง (อั ม พฤกษ์ แ ละอั ม พาต) โรคเบาหวาน
ซึ่งโรคกลุ่มนี้มักเกิดจากปัจจัยเสี่ยงหลายประการ เช่น การสูบบุหรี่ การบริโภคอาหารที่มีสัดส่วนที่ไม่เหมาะสม
การขาดการออกกาลั งกาย และความเครี ยด โดยมีรากฐานมาจากวิถีชิวิตและสิ่งแวดล้อมที่ไม่เอื้ออานวย
ต่อการมีสุขภาพดี
2. อั ตราการติ ดเชื้ อ HIV ในกลุ่ ม ประชากรยังคงอยู่ในระดับ สู ง และแพร่ กระจายไปสู่ บุคคลใน
ครอบครัว กลุ่มเยาวชนมีพฤติกรรมเสี่ยงที่มีแนวโน้มรุนแรงขึ้นทั้งในด้านการดื่มสุรา การสูบบุหรี่ และการมี
พฤติกรรมทางเพศก่อนวัยอันควร
3. ปั ใ หาสุ ข ภาพจิ ต พบอั ต ราการฆ่ า ตั ว ตายอยู่ ใ นระดั บ สู ง โดยมี ส าเหตุ ม าจากความเครี ย ด
ปัใหาครอบครัว ปัใหาด้านเศรษฐกิจและสังคม
4. โรคติดต่อที่สาคัใที่พบอัตราการป่วยและอัตราการตายอยู่ในระดับสูงประกอบด้วยโรคไข้เลือดออก
โรคแลปโตสไปรซิส และวัณโรค รวมทั้งประชาชนมีพฤติกรรมเสี่ยงต่อการเกิดโรคเรื้อรัง เพราะขาดความ
ตระหนักต่อการป้องกันปัจจัยเสี่ยงที่มีต่อสุขภาพ
5. ผู้สูงอายุส่วนใหใ่ยังขาดการเอาใจใส่ดูแลจากบุตรหลานและเด็กเล็ก ส่วนใหใ่พ่อแม่ต้องไปทางาน
ต่างจั งหวัด ได้ทิ้งบุ ตรหลานไว้กับ ผู้ สู งอายุ ซึ่งผู้ สู งอายุเหล่ านี้ขาดความรู้ ความเข้าใจในเรื่องโภชนาการ
ทาให้เด็กเป็นโรคขาดสารอาหาร และบางรายอาจเกิดปัใหาขาดความอบอุ่นในครอบครัว ทาให้ เป็นเด็กมีปัใหา
ในสังคม
170

6. เพิ่มภาระค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาลให้กับประชาชนของเพื่อนบ้าน การกลับมาของโรคอุบัติซ้า
และการควบคุมโรคระบาด ความปลอดภัยด้านอาหารหรือคุณภาพมาตรฐานของผลิตภัณฑ์สินค้า
7. ปัใหาด้านการสาธารณสุข ได้แก่ มีโรคติดต่อประจาถิ่นที่สาคัใต้องเฝ้าระวัง เช่น โรคไข้เลือดออก
โรคฉี่หนู โรคอุจจาระร่วง และโรคมือเท้าปาก ส่วนโรคอุบัติใหม่ อุบัติซ้า เช่น ไข้หวัดใหใ่ ไข้หวัดใหใ่ 2009
- ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. ปัใหาด้านการปลูกสร้างอาคาร การปลูกสร้างอาคารล่วงล้าเขตโบราณสถาน โดยเฉพาะ คูน้า คัน
ดินกาแพงเมือง ถึงแม้โบราณสถานเหล่านี้ จะเสื่อมสลาย และชารุดทรุดโทรมไปบ้างแล้ว แต่ยังคงคุณค่าและ
เป็นหลักฐานทางประวัติศาสตร์ควรที่จะสงวนไว้ รวมทั้งการใช้ประโยชน์ที่ดินมีการปลูกสร้างอาคารรุกล้าและ
มีการทาลายทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเป็นบริเวณกว้าง
2. ปัใหาเกี่ยวกับที่ดิน ขาดเอกสารสิทธิ์ที่ดินทากิน มีการบุกรุกทาการเกษตรในพื้นที่ดินของรัฐ
เป็นที่สาธารณะประโยชน์ ป่าสงวนแห่งชาติ และอุทยานแห่งชาติ
3. ปั ใ หาทรั พ ยากรธรรมชาติ เ สื่ อ มโทรม ได้ แ ก่ การเสี ย ดุ ล ยภาพและความอุ ด มสมบู ร ณ์ ข อง
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม โดยเฉพาะป่าไม้ลดลงอย่างรวดเร็วเป็นเหตุให้ปริมาณน้าในดินและผิวดิน
ความชุ่มชื่นในอากาศลดลง หน้าดินถูกชะล้าง สิ่งแวดล้อมเป็นพิษ เกิดภัยธรรมชาติ และการกัดเซาะตลิ่งตาม
ลาน้ากก
4. ปัใหาด้านสิ่งแวดล้อมมีถูกทาลาย ได้แก่ ปัใหาหมอกควัน ไฟป่า และการบุกรุกพื้นที่ป่าเพื่ อทา
การเกษตร การตัดไม้ทาลายป่าในพื้นที่ การขยายเขตทากิน และการใช้พื้นที่ไม่ถูกหลักวิชาการ
5. ปัใหาสภาวะโลกร้อน ส่งผลให้เกิดภัยธรรมชาติ รวมถึงมีความเสียงจากแผ่นดินไหวเนื่องจากบาง
พื้นทีอ่ ยู่ในเขตลอยเลื่อนแผ่นดินไหว
6. ปัใหาจากภัยธรรมชาติ เช่น น้าท่วม ฝนแล้ง ทาให้ผลผลิตของประชาชนไม่ได้มาตรฐาน ประชาชน
เกิดความเดือดร้อน ทางอาเภอได้เข้าไปให้ความช่วยเหลือในด้านการบรรเทาสาธารณภัย แต่อย่างไรก็ตาม
การช่วยเหลือต่าง ๆ เหล่านี้ก็ยังไม่ทั่วถึง รวมทั้งปัใหาประชาชนขาดความรู้ ความเข้าใจผิดเกี่ยวกับการใช้ปุ๋ยเคมี
และยาฆ่าแมลงในอัตราสูง
7. ขาดแคลนบุคลากรและเจ้าหน้าที่ในการปฏิบัติหน้าที่ รวมทั้งประชาชนส่วนใหใ่เกิดความมักง่าย
มองเห็นประโยชน์ส่วนตนมากกว่าส่วนรวม ทาให้ขาดจิตสานึกและความรู้ความเข้าใจในการดูแลรักษา
สิ่งแวดล้อม
8. ประชาชนส่วนใหใ่ยังขาดความรู้ ความเข้าใจ และจิตสานึก ในการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมโดยวัดได้
จากการสร้างมลพิษทางอากาศ มีการเผาทาลายขยะอย่างไม่ถูกสุขลักษณะ ไม่มีความเข้าใจในการคัดแยกขยะ
รวมถึงการทิ้งขยะตามไหล่ทาง ถนน พื้นที่สาธารณะ และเผาป่าเพื่อทาไร่เลื่อนลอย โดยไม่มีการปลูกทดแทน
- ปัญหาด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1. จังหวัดชายแดนมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้แก่ ประเทศพม่า ลาว และเชื่อมต่อไป
ยังจีนตอนใต้ ประชาชนจึงอาจได้รับผลกระทบในด้านการเฝ้าระวังป้องกันและควบคุมโรคติดต่อ โรคอุบัติใหม่
171

อุบัติซ้า ที่เกิดขึ้นและมาจากพื้นที่ชายแดน รวมถึงการตรวจสอบและควบคุมคุณภาพผลิตภัณฑ์ ทั้งอาหาร


เครื่องดื่ม เครื่องสาอาง ที่มาจากประเทศเพื่อนบ้านที่อาจมีผลกระทบต่อสุขภาพ
2. ประชาชนขาดจิตสานึกและมีพฤติกรรมเสี่ยงในการใช้รถใช้ถนน ทาให้สถิติอุบัติเหตุมีแนวโน้มเพิ่มสูงขึ้น
3. ปัใหาด้านสังคมและความมั่นคงที่เกิดจากประเทศเพื่อนบ้าน ปัใหายาเสพติด การเล่นการพนัน
ตามแนวชายแดน การเกิดอุบัติเหตุตามเส้นทางการคมนาคมขนส่ง การค้ามนุษย์ แรงงานต่างด้าว รวมทั้ง
อาชใากรรมข้ามชาติ
172

ตารางที่ 80 สรุปปัใหาและความต้องการของพื้นที่จังหวัดเชียงราย

ลาดับ ปัญหาและความต้องการ กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่


ดาเนินการ
1 การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการลงทุนทั้งในประเทศและต่างประเทศ หน่วยงาน จั ง ห วั ด
จากการส่งเสริมความร่วมมือกับประเทศอาเซียน+6 และ GMS เพื่อรองรับการเจริใเติบโตทางเศรษฐกิจ จากการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของจังหวัด ภาครัฐ เชี ยง รา ย
เชียงราย เพื่อรองรับการเป็นเขตเศรษฐกิจ และส่งเสริมขีดความสามารถในการแข่งขันของอาเซียน การเป็นศูนย์กลางการเชื่อมโยง และเป็น เมืองสถานี ภาคเอกชน แ ล ะ ก ลุ่ ม
ขนส่งระบบราง ดังนั้นจังหวัดจึงจาเป็นต้องส่งเสริมความร่วมมือระหว่างประเทศอาเซียน+6 และกลุ่ม GMS เพื่อสร้างความมั่นคงทางเศรษฐกิจกับ ผู้ประกอบการ ป ร ะ เ ท ศ
ประเทศเพื่อนบ้าน สร้างเครือข่ายการค้า การลงทุน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันทางการค้า โดยเฉพาะเรื่องพัฒนาขีดความสามารถในการ และผู้ผลิต อาเซียน+6
แข่งขันด้านการลงทุน ในการรองรับการเป็นตลาดเดียวและการมีฐานการผลิตร่วมกัน จาเป็นอย่างยิ่งที่ต้องดาเนินยุทธศาสตร์เชิงรุก โดยการสร้าง สินค้า และ และ GMS
ปฏิสัมพันธ์กับประเทศในกลุ่มอาเซียน +6 และ GMS เพื่อสร้างความสัมพันธ์อันดี และเพื่อส่งเสริมโอกาสทางการค้าการลงทุน ความร่วมมือที่ดีให้เกิด ผู้ประกอบการ
ขึ้นกับจังหวัดในอนาคต อีกทั้งเตรียมความพร้อมกับการเมืองสถานีขนส่งระบบรางที่จะเกิดขึ้นในอนาคตอันใกล้ ธุรกิจ
ท่องเที่ยวใน
จังหวัดและ
กลุ่มประเทศ
อาเซียน +6
และ GMS
2 - โครงการบริหารจัดการทรัพยากรน้าแบบบูรณาการและ โครงการการบริหารจัดการน้าในพื้นที่ทางการเกษตร ประชาชนใน พื้นที่
เนื่องจากปัใหาอุทกภัยในพื้นที่จังหวัด จัดว่าเป็นปัใหาใหใ่ เนื่องจากจังหวัดเป็นพื้นที่ต้นน้า หากเกิดปัใหาดังกล่าวจะส่งผลกระทบต่ อประชาชนใน พื้ น ที่ ที่ ใ ช้ อาเภอ
พื้นที่และจังหวัดใกล้เคียงตลอดจนเกิดผลกระทบในระดับประเทศ เมื่อเกิดฝนตกหนัก ในช่วงเดือนสิงหาคม-กันยายนของทุกปี สาเหตุหลักของการเกิด ประโยชน์จาก เวียงเชียง
อุทกภัยในพื้นที่เกิดจาก แม่น้าสายหลักตื้นเขินทาให้ไม่สามารถระบายไม่น้าได้ทัน มีปริมาณน้าท่าตามธรรมชาติในลุ่มน้ามาก แต่ไม่สามารถรอบรับน้าได้ แหล่งน้า รุ้ง/อาเภอ
173

ลาดับ ปัญหาและความต้องการ กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่


ดาเนินการ
ใน ปริมาณมาก อีกทั้งพื้นที่ต้นน้าลาธารถูกทาลายโดยการบุกรุกพื้นที่ป่า อันเป็นพื้นที่ต้นน้าสาคัใ จึงเป็นสาเหตุทาให้เกิดปัใหาน้าท่วม ดินโคลนถล่ ม เทิง/
ในช่วงฤดูน้าหลากและส่งผลต่อปริมาณน้าต้นทุนที่เข้าสู่ระบบชลประทานลดลง ภาครัฐในจังหวัดจึงเห็นถึงความสาคัใของปัใหาดังกล่าวและจาเป็นต้อง อาเภอ
เร่งแก้ไขปัใหาโดยด่วน เพื่อบริหารจัดการแหล่งน้าในพื้นที่ ในการป้องกันปัใหาน้าท่วม ดินโคลนถล่ม และการใช้น้าในภาคการเกษตร จึงจั ดกิจกรรมขุด พาน/
รอกแหล่งน้า เพื่อขยายขนาดปริมาณพื้นที่จัดเก็บน้า และเพื่อแก้ไขปัใหาดังที่กล่าวมา อาเภอ
นอกจากนี้จังหวัดเชียงรายมีประชากรหลายหลายกลุ่มชาติพันธุ์ อีกทั้งพื้นที่ตั้งอยู่ห่างไกล ไม่สะดวกในการเดินทางเพื่อเข้ารับการบริการ สาธารณะ เชียงแสน/
จากส่วนกลางในพื้นที่จังหวัด เช่น การเข้าถึงระบบประปา ไฟฟ้า ถนน โรงพยาบาล เป็นต้น ทาให้กลุ่มราษฎรในพื้นที่ห่างไกลยังมีคุ ณภาพชีวิตที่ต่า อาเภอแม่
กว่ามาตรฐานที่ควรได้รับ ดังนั้นหน่วยงานภาครัฐในจังหวัดจึงเห็นถึงความสาคัใของปัใหานี้ และเห็นว่าปัใหาการขาดน้าดื่ม น้าใช้เพื่อการอุปโภค สรวย /
บริโภคของราษฎรในพื้นที่ห่างไกล เป็นปัใหาที่สาคัใและต้องเร่งดาเนินการแก้ไขโดยด่วน เนื่องจากเป็นปัใหาต่อเนื่อง หากไม่รีบดาเนินก ารจะส่งผล
กระทบให้เกิดปัใหาสุขภาพ อันจะนามาซึ่งความสูใเสียทั้งชีวิตทรัพย์สิน และงบประมาณเป็นจานวนมาก ดังนั้นจึงดาเนินการแก้ไข โดยการเพิ่ ม
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการแหล่งน้า เช่น การพัฒนาระบบประปาภูเขาในพื้นที่สูง การสร้างถังเก็บน้าในพื้นที่ที่ขาดน้าดื่มน้าใช้ และ พัฒนาระบบ
บริหารจัดการน้าในพื้นที่ที่ประสบปัใหา เป็นต้น
3 การแก้ไขปัญหาไฟป่าหมอกควันแบบบูรณาการและยั่งยืนจังหวัดเชียงราย ประชาชนใน ที่ทาการ
จากปัใหาหมอกควันในภาคเหนือตอนบนของประเทศไทยเป็นปัใหาสาคัใเนื่องจากส่งผลกระทบต่อความเป็นอยู่ของประชาชน ได้แก่ ผลกระทบต่อ จังหวัด ปกครอง
สุขภาพของประชาชน โดยเฉพาะผู้ที่มีภูมิต้านทานต่า เช่น ผู้สูงอายุ เด็กเล็ก และผู้ป่วยโรคระบบทางเดินหายใจ รวมทั้งทาให้เกิดความเสี ยหายต่ออาคาร เชียงราย อาเภอ
บ้านเรือน เกิดความเดือดร้อนราคาใแก่ประชาชน บดบังทัศนวิสัย และเป็นอุปสรรคในการคมนาคมและขนส่ง การทาลายทรัพยากรธรรมชาติ และ ต่างๆ/
ระบบนิเวศป่าไม้ รวมทั้งผลกระทบต่อการท่องเที่ยวที่เป็นระบบเศรษฐกิจที่สาคัใของพื้นที่ ดังนั้นจังหวัดจึงจาเป็นต้องติดตามและเฝ้าระวังปัใหาดัง กล่าว เชียงราย
อย่างใกล้ชิด

4 การพัฒนาและการเพิ่มมูลค่าการตลาดและการประชาสัมพันธ์เส้นทางเชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ และเชิงสุขภาพอย่างสร้างสรรค์เพื่อเป็นการสร้า ง ประชาชน ที่ทาการ


174

ลาดับ ปัญหาและความต้องการ กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่


ดาเนินการ
รายได้สู่ชุมชนอย่างยั่งยืน ภาครัฐ ปกครอง
จากนโยบายเศรษฐกิจด้านการท่องเที่ยวของรัฐบาล ที่มุ้งเน้นพัฒนาการด้านการท่องเที่ยวของประเทศไทย ไปสู่แหล่งท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ มี มาตรฐาน ภาคเอกชน อาเภอ
ความปบอดภัย และบริการระดับสากล เน้นเอกลักษณะและวัฒนธรรมไทย ควบคู่กับการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ และส่งเสริมตลาดท่องเที่ยวเชิ งรุก บุคลากรด้าน ต่างๆ/
ทั้งในและต่างประเทศ จังหวัดเชียงรายจึงเห็นความสาคัใของนโยบายดังกล่าว โดยเน้นว่าศักยภาพของจังหวัดสามารถพัฒนาให้เป็นแหล่งท่องเที่ ยวเชิง การท่องเที่ยว เชียงราย
นิเวศ และเชิงสุขภาพ เพื่อดึงดูนักท่องเที่ยวให้เข้ามาเที่ยวในจังหวัด และสร้างภายได้ให้กับจังหวัด ดังนั้นหน่วยงานที่เกี่ ยวข้อง จึงพัฒนาการท่องเที่ยวใน
นักท่องเที่ยว
จังหวัดโดยเน้นการท่องเที่ยวเชิงอนุรักษ์ทั้งทรัพยากรธรรมชาติ ประเพณี วัฒนธรรม เน้นการพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เช่น กิจการสปา นวดแผน นักลงทุน
ไทย แหล่ งน้ าพุร้ อนที่เป็น แหล่ งทุน เดิมด้านการท่องเที่ยวของจังหวัด และพัฒ นาบุคลากรด้านการท่อ งเที่ยว ส่ งเสริมความรู้ความเข้าใจให้ ส ถาน ในพื้นที่
ประกอบการภายในพื้นที่ รับรู้ สร้างเข้าใจ และร่วมมือกันเพื่อดาเนินงานตามหลักการในนโยบายดังกล่าว อันจะส่งผลดีต่อจังหวัดและประเท ศชาติใน ดาเนินการ
อนาคต
5. โครงการการเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความสงบเรียบร้อย การบริหารจัดการ การอานวยความเป็นธรรมการป้องกันแก้ไขปัญหาการทุจริตและ
ปัญหาด้านความมั่นคงอื่น ๆ โดยภาคประชาสังคมแบบบูรณาการ
เนื่องจากปัใหาสภาพสังคม และภัยคุกคามรูปแบบต่างๆในปัจจุบันส่งผลกระทบในวงกว้างในระดับจังหวัด และระดับประเทศ ยิ่งปัใหาในพื้นที่จังหวด
เชียงราย ซึ่งเป็นแนวเขตติดต่อกับประเทศเพื่อนบ้าน หรือจังหวัดชายแดน ตลอดจนในปัจจุบันเชียงรายเป็นเมืองท่องเที่ยวที่นักท่องเที่ยวทั้งชาวไทยและ
ชาวต่างชาตินิยมมาเที่ยวเป็นจานวนมาก การที่ภัยคุกคามจะเข้าถึงจึงเกิดขึ้นได้ง่าย ดังนั้นภาครัฐในจังหวัดจึงเห็นถึงความสาคัใของปัใหา จึงสนับสนุน
โครงการเพื่อเสริมสร้างและเพิ่มประสิทธิภาพการรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนในพื้นที่ ตลอดจนกลุ่มผู้ เข้ามา
ท่องเที่ยวในจังหวัด โดยการสร้างมาตรการการรักษาความปลอดภัยในการใช้รถใช้ถนน การตั้งด่านบริการและสร้างพลังมวลชนระหว่างประชาชนในพื้นที่
กับภาครัฐ ภาคเอกชนในจังหวัด เพื่อสอดส่องดู เฝ้าระวัง และเตือนภัยร่วมกัน เป็นต้น
6 การพัฒนาประสิทธิภาพการผลิตทางการเกษตรและ สร้างมูลค่าเพิ่ม ภายใต้เกษตรปลอดภัย เกษตรกรรมยั่งยืน และเกษตรมูลค่าสูง เกษตรกรใน จังหวัด
เนื่องจากประชากรในพื้นที่ส่วนใหใ่ประกอบอาชีพเกษตรกรรม และมักประสบปัใหาผลผลิตล้นตลาดส่งผลให้ราคาตกต่า ปัใหาต้นทุนการผลิตสูง และ จังหวัด เชียงราย
175

ลาดับ ปัญหาและความต้องการ กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่


ดาเนินการ
มีแนวโน้มว่าจะสูงขึ้นไปเรื่อยๆ เช่น ค่าแรงงาน ค่าปัจจัยการผลิตในด้านต่างๆ ซึ่งปัใหาดังกล่าวเป็นปัใหาที่สาคัใของเกษตรกร ดังนั้นภาครัฐจึงมองเห็ น เชียงราย
ถึงประเด็นปัใหาดังกล่าว ซึ่งจาเป็นต้องพัฒนาเร่งด่วนโดยการพัฒนาระบบการผลิตให้ได้มาตรฐานสากลตามหลักเกณฑ์และวิธีการที่ดีในการผลิ ตอาหาร
หรือใช้เครื่องมือการแปรรูปสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพตรงตามความต้องการของตลาดและขยายช่องทางการจาหน่ายสู่ตลาดระดับกลางและระดับสูงให้
มากขึ้น โดยการส่งเสริมให้เกษตรกรมีความรู้ความเข้าใจในการลดต้นทุนการผลิต และการแปรูปผลิตภัณฑ์เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่ม เป็นต้น
7 การพัฒนาเส้นทางคมนาคมเพื่อการขนส่ง การท่องเที่ยว การเกษตรและการสัญจร ประชาชน พื้นที่
เนื่องจากรัฐบาลมีนโยบายการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต และเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ โดยการขยายก าร ภาครัฐ อาเภอ
ให้บริการสาธารณูปโภคโภคขั้นพื้นฐานที่มีความจาเป็นต่อการดารงชีวิตของประชาชน ให้กระจายไปสู่ภูมิภาคอย่างทั่วถึงรวมทั้งพัฒนาถนนไร้ฝุ่นโดยการ ภาคเอกชน เวียงป่า
ยกระดับมาตรฐานทางในชนบทให้เป็นถนนคอนกรีต หรือลาดยาง ประกอบกับสภาพถนนในหมู่บ้านและถนนเชื่อมหมู่บ้านเป็นถนนลูกรังเป็นหลุม เป็น ที่ใช้พื้นที่ใน เป้า เวียง
บ่อไม่สามารถสัใจรได้ในฤดูฝนและฤดูแล้งทาให้เกิดฝุ่น เป็นอันตรายต่อสุขภาพของประชาชนในพื้นที่ การเดินทางไม่สะดวก ตลอดจนการขนส่งสินค้า ถนนดังกล่าว ชัย แม่สาย
หรือขนส่งผลิตผลทางการเกษตร ไม่เป็นไปตามเวลาที่กาหนด หากได้รับการสนับสนุนงบประมาณ ประชาชนจะได้รับประโยชน์อย่างยิ่งทั้งด้านการ เวียงแก่น
เดินทาง การคมนาคมขนส่งสินค้าทางการเกษตร หรือในบางพื้นที่สามารถพัฒนาเป็นแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ได้ในอนาคต เวียงเชียง
รุ้ง เมือง
เชียงของ
ขุนตาล
พใาเม็ง
ราย ป่า
แดด และ
ดอยหลวง
8 การส่งเสริมและพัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตคนเชียงราย เกษตรกร พื้นที่
176

ลาดับ ปัญหาและความต้องการ กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่


ดาเนินการ
การที่ประชาชนในพื้นที่จังหวัดประสบปัใหาจากสภาวะราคาผลผลิตตกต่า ในช่วงที่ผลผลิตออกสู่ท้องตลาดเป็นจานวนมาก การเลิกจ้างงานจากโรง งาน ประชาชนใน อาเภอ
อุตสาหกรรม ภาวการณ์ส่งสินค้าออกตกต่า และปัใหาภัยแล้ง จาเป็นที่ประชาชนชาวจังหวัดเชียงราย จะๆได้นาแนวทางการดาเนินงานตามหลักปรัชใา พื้นที่ที่ประสบ พใาเม็ง
ของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 เศรษฐกิจพอเพียง นาไปปรับใช้ในชีวิตประจาวัน เพื่อตระหนักถึงการสร้างภูมิคุ้มกันให้กับ ตัวเอง ตลอดจน ปัใหา ราย ดอย
ส่งเสริมการเรียนรู้สาหรับประชาชนในชุมชน ทั้งกิจกรรมลดค่าใช้จ่ายที่ไม่จาเป็น เพื่อลดภาระหนี้สิน นาไปสู่วิถีชีวิตอย่างมีความสุขและยั่งยืน ภาครัฐใน หลวง พาน
จังหวัดจึงดาเนินการตามแนวปรัชใาเศรษฐกิจพอเพียง เช่น จัดกิจกรรมปลูกไผ่ซางหม่นเพิ่มพื้นที่สีเขียว สร้างศูนย์เรียนรู้โครงการอันเ นื่องมาจาก เทิง
พระราชดาริ ในพื้นที่ที่ประสบปัใหาเป็นต้น แม่ลาว แม่
ฟ้าหลวง
และขุน
ตาล
9 -การพัฒนาศักยภาพการผลิตและการตลาดสินค้าเกษตรปลอดภัย กลุ่มเกษตรกร พื้นที่
การที่รัฐบาลมุ่งเสริมสร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจภายใต้ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน โดยมุ่งให้ภาคเอกชนร่วมมือกับภาครัฐและภาคประชาชนใน สถาบัน การเกษตร
การดาเนินการ เพื่อพัฒนาสินค้าและบริการให้ได้มาตรฐาน และสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภคในสังคมปัจจุบัน ภาครัฐในจังหวัดจึงเห็ นถึง การเกษตร ในจังหวัด
ความสาคัใในปัใหาดังกล่าว ดังนั้นจึงหาแนวทางแก้ไขปัใหาโดยการช่วยเหลือเกษตรกรรายย่อย ในเรื่องปัจจัยการผลิตอย่างทั่วถึงตลอดจนการใช้กลไก และผู้ค้า/ เชียงราย
ตลาดดูแลราคาสินค้าเกษตรประเภทที่มีราคาตกต่าให้เพิ่มสูงขึ้น เช่น การส่งเสริมและพัฒนา สร้างความตระหนักรู้ให้เกษตรกรในพื้นที่ถึง การทาเกษตร ผู้ประกอบการ
อินทรีย์ เพื่อเพิ่มมูลค่าสินค้า เป็นต้น และผู้บริโภค
ในพื้นที่จังหวัด
เชียงราย
10 -พัฒนาอนุรักษ์และฟื้นฟูพื้นที่จังหวัดเชียงรายให้เป็นพื้นที่สีเขียว ประชาชน พื้นที่ต้นน้า
จากนโยบายรัฐบาล นายกรัฐมนตรี พลเอกประยุทธ จันทร์โอชา ที่สนับสนุนนโยบายด้านการรักษาความมั่นคงของฐานทรัพยากร และการสร้างสมดุล ทั่วไปใน พื้ น ที่ ป่ า
177

ลาดับ ปัญหาและความต้องการ กลุ่มเป้าหมาย พื้นที่


ดาเนินการ
ระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ในระยะเฉพาะหน้า เร่งป้องกันและฟื้นฟูพื้นที่อนุรักษ์ ทรัพยากรป่าไม้และสัตว์ป่า โดยให้ จังหวัด อนุรักษ์
ความสาคัใในการแก้ไขปัใหาการบุกรุกที่ ดินของรัฐ การจัดทาแนวเขตของรัฐให้ชัดเจน การเร่งรัดกระบวนการพิสูจน์สิทธิ การถือครองที่ดิน เป็นต้น เชียงราย
ดังนั้นหน่วยงานภาครัฐในพื้นที่จังหวัดเชียงราย จึงเห็นถึงความสาคัใในนโยบายดังกล่าว ประกอบกับปัใหาการลดจานวนของพื้นที่ป่าไม้ในพื้ นที่จังหวัด ประชาชนใน
ที่เกิดจากสาเหตุการบุกรกเพื่อขยายพื้นที่ทางการเกษตร การจับจองของนายทุน หรือการออกเอกสารสิทธิ์ที่ไม่ถูกต้อง ดังนั้นจึงต้องดาเนินการแก้ไขโดย พื้นที่ลุ่มน้า
ด่วน โดยการสร้างองค์ความรู้และพัฒนาการมีส่วนร่วมในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมชุมชน จัดหาพันธ์ไม้ที่สามารถเจริใเ ติบโตได้ดี ต่อเนื่องและ
โดยการปลูกฟื้นฟูสภาพป่าไม้ เนื่องจากประชาชนในพื้นที่ได้รับผลกระทบจากความเสื่อมโทรมจากพื้นที่ป่าไม้ที่ลดลง นามาซึ่งปัใหาภัยธรรมชาติ เช่น ภัย ประชาชนใน
แล้ง น้าท่วม เป็นต้น พื้นที่เป้าหมาย
178

3.1.4 ผลการพัฒนาและแก้ไขปัญหาจังหวัดที่ผ่านมา
ส าหรั บ การพั ฒ นาของจั ง หวั ด เชี ย งราย ได้ มี ก ารก าหนดวิ สั ย ทั ศ น์ ก ารพั ฒ นาในระยะเวลา 5 ปี
(พ.ศ. 2561 – 2565) ว่า เชียงราย เมืองแห่งความสุข สะอาด ปลอดภัย น่ายล โดยมีประเด็นยุทธศาสตร์ใน
การขับเคลื่อนให้บรรลุวิสัยทัศน์ที่กาหนด 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ ดังนี้

ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสร้างมูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ และเชิงสุขภาพ โดย


ดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา

เป้าประสงค์:
1. เพื่อปรับปรุงและพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ และเชิง
สุขภาพให้เกิดการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน GMS และ ASEAN+3+6
2. เพื่อส่งเสริมการตลาดและการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ และเชิงสุขภาพ
อย่างสร้างสรรค์
ผลการดาเนินการที่ผ่านมา โครงการสาคัญดังนี้
1.โครงการยกระดับศักยภาพบุคลากร สินค้า บริการ และการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวจังหวัด
เชียงรายแบบบูรณาการ ได้แก่
กิจกรรมที่ 1 เชียงรายเบนนาเล่ (Chiang Rai Biennale 2022)
กิจกรรมที่ 2 ประชาสัมพันธ์เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ และเชิงสุขภาพ โดย
ดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา
กิจกรรมที่ 3 การพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยวชุมชนสร้างสรรค์ต้นแบบและศักยภาพบุคลากร
เครือข่ายท่องเที่ยวโดยชุมชนจังหวัดเชียงรายเพื่อความยั่งยืน
กิจกรรมที่ 4 การอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีศิลปะการ วิถีชีวิตในท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย
3. โครงการ การพัฒนาและสร้างแหล่งท่องเที่ยวให้ได้มาตรฐานแบบบูรณาการ โดยได้พัฒนาและ
สร้างแหล่งท่องเที่ยวและโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคม จานวน 14 แห่ง

ตารางที่ 81 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 1

ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ความสาเร็จการพัฒนา


จานวนแหล่งท่องเที่ยว ไม่น้อยกว่า 8 แห่ง 14 แห่ง บรรลุ
และโครงสร้างพื้นฐานด้าน (ตัวชี้วัดปี 2565)
คมนาคมเพื่อเข้าสู่แหล่ง
ท่องเที่ยวสาคัใได้รับการ
พัฒนา
179

ผลสัมฤทธิ์
1. จังหวัดเชียงรายได้รับการพัฒนาเส้นทางท่องเที่ยวและแหล่งท่องเที่ยว เชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ
และเชิงสุขภาพให้เกิดการเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน GMS และ ASEAN+3, +6 ตามกลยุทธ์ของจังหวัด
2. จังหวัดเชียงรายมีฤดูการท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี มีกิจกรรมการท่องเที่ยวทางเลือกสู่กลุ่มเป้าหมาย
ให้มากยิ่งขึ้น
3. จังหวัดเชียงรายมีแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงามและปลอดภัย มีแหล่งท่องเที่ยวที่เกิดขึ้นใหม่ดึงดูด
นักท่องเที่ยวมาเที่ยวจังหวัดเชียงรายเพิ่มขึ้น
4. เกิดการยกระดับสินค้าและการบริการด้านการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงรายให้มีมาตรฐานสู่ระดับ
สากล
5. จังหวัดเชียงรายเกิดรายได้จากการท่องเที่ยวเพิ่มขึ้นและกระจายรายได้สู่ชุมชนอย่างยั่งยืน

ประเด็นการพัฒนาที่ 2 : การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรม เพื่อยกระดับสินค้าเกษตรภายใต้แนว


ทางการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals–SDGs)

เป้าประสงค์:
1. พัฒนาศักยภาพ สร้างความเข้มแข็งให้กับเกษตร สถาบันเกษตรกร ผู้ประกอบการด้านการเกษตร
2. เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการสินค้าและบริการทางการเกษตรให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
ผลการดาเนินการที่ผ่านมา โครงการสาคัญดังนี้
1. โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิต เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและสร้างเครือข่ายการผลิต การตลาด การ
บริโภคสินค้าเกษตรคุณภาพ อาหารปลอดภัย จังหวัดเชียงรายแบบบูรณาการ โดยมีกิจกรรมหลัก คือ ส่งเสริม
และพัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตคนเชียงรายตามศาสตร์พระราชา

ตารางที่ 82 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 2

ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ความสาเร็จการพัฒนา


จานวนกลุ่มเกษตรกรที่ ไม่น้อยกว่า 10 กลุ่ม 10 กลุ่ม บรรลุ
ได้รับการส่งเสริมและ (ตัวชี้วัดปี 2565)
พัฒนาเพื่อยกระดับ
คุณภาพชีวิตตามศาสตร์
พระราชาและได้มาตรฐาน
GMP
180

ผลสัมฤทธิ์
1. เกษตรกรพัฒนาเป็นเกษตรกรต้นแบบ
2. เพิ่มขีดความสามารถในการผลิตและแข่งขันสินค้าเกษตร
3. สร้างความมั่นใจในการบริโภคสินค้าเกษตร

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 3 : การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารงความสมบูรณ์ยั่งยืน
เป้าประสงค์

1. เพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและแก้ไขไฟป่าหมอกควันโดยการมีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน
2. เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการน้า
ผลการดาเนินการที่ผ่านมา โครงการสาคัญดังนี้
1. โครงการบริหารจัดการทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ ซึ่งเป็นการพัฒนาแหล่งน้า จานวน 4 แห่ง
2. โครงการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติ สิ่งแวดล้อมและสาธารณะภัยแบบบูรณาการจังหวัด
เชียงรายได้แก่ กิจกรรมที่ 1 การแก้ไขปัใหาหมอกควันไฟป่าและฝุ่นละอองขนาดเล็กจังหวัดเชียงราย และ
กิจกรรมหลักที่ 2 ขับเคลื่อนจังหวัดเชียงราย “เมืองสะอาด ปลอดภัย น่ายล” บนฐานภูมิปัใใาเศรษฐกิจ
พอเพียง

ตารางที่ 83 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 3

ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ความสาเร็จการพัฒนา


จานวนจุดความร้อน (Hot อย่างน้อยร้อยละ 10 ร้อยละ 79 บรรลุ
Spot) ลดลงจากปีก่อน (ปีพ.ศ.2564)
จานวนแหล่งน้าที่ได้รับ ไม่น้อยกว่า 4 แห่ง 4 แห่ง บรรลุ
การพัฒนาและฟื้นฟูเพื่อ
ป้องกันการกัดเซาะตลิ่ง

ผลสัมฤทธิ์ เพิ่มประสิทธิภาพในการบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ด้วยการพัฒนา


คุณภาพอากาศและแหล่งน้า
181

ประเด็นการพัฒนาที่ 4 : การพัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขันด้านการค้า การลงทุนและบริการ


โลจิสติกส์เชื่อมโยงกลุ่มจังหวัดกลุ่มอาเซียน + 6 และ GMS

เป้าประสงค์:
1. เพื่อส่งเสริมความร่วมมือการค้าชายแดนในภาพรวม ให้เกิดการแข่งขันเสรีทางเศรษฐกิจกลุ่ม
ประเทศอาเซียน+6 และ GMS
2. เพื่อเพิ่มมูลค่าการค้าชาแดนและผ่านแดน
3. พัฒนาภูมิปัใใาท้องถิ่นสู่ผลิตภัณฑ์สินค้า OTOP และ SMEs เพื่อเพิ่มมูลค่าการแข่งขัน เพิ่มมูลค่า
การจาหน่ายผลิตภัณฑ์ OTOP
ผลการดาเนินการที่ผ่านมา โครงการสาคัญดังนี้
โครงการการพัฒนาสินค้า การค้า การลงทุน และการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชายแดน เขตเศรษฐกิจ
พิเศษจังหวัดเชียงรายแบบบูรณาการ ได้แก่
กิจกรรมที่ 1 เสริมสร้างความสัมพันธ์ด้านการค้า การลงทุน กับกลุ่มประเทศเพื่อนบ้านและอนุภูมิภาค
ลุ่มน้าโขง
กิจกรรมที่ 2 การส่งเสริมและพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ
กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาและเพิ่มช่องทางการตลาดผลิตภัณฑ์ Chiang Rai Brand
กิจกรรม 4 ยกระดับการพัฒนาชุมชนท่องเที่ยวเชิงคุณภาพเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ตารางที่ 84 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 4

ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ความสาเร็จการพัฒนา


จานวนกิจกรรมที่ อย่างน้อย 4 กิจกรรม 4 กิจกรรม บรรลุ
สนับสนุนการกระตุ้น
เศรษฐกิจในมิติการค้า
การลงทุน

ผลสัมฤทธิ์
ส่งเสริมและสนับสนุนด้านการค้า การลงทุน การพัฒนาผลิตภัณฑ์เพื่อกระตุ้นเศรษฐกิจ
182

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 5 : การรักษาความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน และการ


เสริมสร้างความเป็นพลเมืองเพื่อสร้างจิตสานึกความรักสถาบันหลักของชาติ

เป้าประสงค์:
1. สร้างเครือข่ายภาคประชาชนให้ตระหนักรู้และพร้อมรับมือภัยพิบัติและสาธารณภัย
2. สร้างการมีส่วนร่วมของหมู่บ้านชุมชนให้มีความเข้มแข็งในการรักษาความมั่นคงและความสงบ
เรียบร้อยในพื้นที่ภายในและพื้นที่ตามแนวชายแดน
3. พัฒนาศักยภาพบุคลากรและเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการภัยคุกคามความมั่นคงรูปแบบใหม่
และพัฒนาระบบการรักษาความปลอดภัยภาคประชาชน
4. เพื่อให้สังคมในจังหวัดเชียงรายมีความสงบเรียบร้อย ปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน ปัใหายาเสพ
ติดลดลง การจราจรมีความปลอดภัย

ผลการดาเนินการที่ผ่านมา โครงการสาคัญดังนี้
1.โครงการปกป้อง เทิดทูน สถาบันหลักของชาติ และการสร้างความเป็นระเบียบเรียบร้อยในจังหวัด
เชียงรายแบบบูรณาการ
2.โครงการเชียงรายเมืองมั่นคงและปลอดภัยแบบบูรณาการ
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมรณรงค์ป้องกันและแก้ไขปัใหายาเสเพติด (TO BE NUMBER ONE) จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมขับเคลื่อนและขยายผลโครงการร้อยใจรักษ์เพื่อแก้ไขปัใหายาเสพติดจังหวัด
เชียงรายปี 2565
กิจกรรมที่ 3กิจกรรมป้องกันปราบปรามและบาบัดรักษาผู้เสพยาเพสติดภายใต้แผนประชารัฐร่วมใจ
สร้างหมู่บ้าน/ชุมชนมั่นคงปลอดภัยยาเสพติด
กิจกรรม ที่ 4 กิจกรรมเตรียมความพร้อมและป้องกันการค้ามนุษย์ด้านแรงงานต่างด้าว
กิจกรรม ที่ 5 กิจกรรมพัฒนาศักยภาพ อปพร. จิตอาสาสาธารณภัย และอาสาสมัครอื่น ๆ
กิจกรรม ที่ 6 กิจกรรมเสริมสร้างองค์ความรู้ภัยพิบัติ
กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติและสาธารณภัยของจังหวัดเชียงราย

ตารางที่ 85 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 5
ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ความสาเร็จการพัฒนา
จานวนแกนนาประชาชน ไม่น้อยกว่า 9,000 คน 9,000 บรรลุ
ได้รับการพัฒนาศักยภาพ
ในการสร้างความ
ปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน
183

ผลสัมฤทธิ์
เพิ่มศักยภาพเครือข่ายในทุกระดับ เพื่อสร้างความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน

ประเด็นยุทธศาสตร์ที่ 6 : การพัฒนาคุณภาพชีวิตและทรัพยากรมนุษย์เพื่อให้ประชาชนอยู่เย็นเป็นสุข
เป้าประสงค์:
1. เพื่อแก้ไชปัใหาความยากจน ลดปัใหาสังคม การว่างงานและขาดรายได้ของประชาชนในจังหวัด
เชียงราย
2. เพื่อเฝ้าระวัง ควบคุม ป้องกันโรคและภัยสุขภาพในจังหวัดเชียงราย
3. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนชาวเชียงรายให้ดีขึ้น
ผลการดาเนินการที่ผ่านมา โครงการสาคัญดังนี้
โครงการเสริมสร้างประสิทธิภาพและการพัฒนาคุณภาพชีวิตประชาชนในจังหวัดเชียงราย ได้แก่
กิจกรรมที่ 1 ส่งเสริมอาชีพทางเลือกเพื่อสร้างรายได้ผู้สูงอายุติดสังคมในชุมชน
กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงานผู้สูงอายุ และแรงงานนอกระบบให้มีทักษะฝีมือแรงงาน
เพื่อการสร้างงานสร้างอาชีพ
กิจกรรมที่ 3 เปิดโลกกว้างสู่อาชีพ เพื่อพัฒนาและเตรียมความพร้อมการมีงานทาทุกช่วงวัย
กิจกรรมที่ 4 ลดความเหลื่อมล้าทางสังคมให้แก่ผู้ใช้แรงงาน เกษตรกร ผู้ประกอบการ และประชาชน
ในจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมส่งเสริมและพัฒนาคุณภาพชีวิตในกลุ่มเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงราย

ตารางที่ 86 ความสาเร็จของการพัฒนาประเด็นการพัฒนาที่ 6

ตัวชี้วัด เป้าหมาย ผลการดาเนินงาน ความสาเร็จการพัฒนา


จานวนประชาชนที่มี ไม่น้อยกว่า 3,5000 บรรลุ
ปัใหาทางสังคม ได้รับ 3,500 คน
การพัฒนาคุณภาพชีวิต

ผลสัมฤทธิ์
ประชาชนที่ประสบปัใหาทางสังคม ได้รับการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
184

3.2 ประเด็นการพัฒนา
3.2.1 บทวิเคราะห์
สาหรับการวิเคราะห์ศักยภาพของจังหวัดเชียงราย เพื่อนาข้อมูลดังกล่าวมากาหนดเป็นประเด็นการ
พัฒนาจังหวัด เพื่อจัดข้อเสนอแผนงานโครงการที่สาคัญ (Flagship Project) ของจังหวัดนั้น ในการวิเคราะห์
ดังกล่าวได้ใช้ ข้อมูล 4 ส่วนมาวิเคราะห์ร่วมกัน ได้แก่ ข้อมูล สาคัญเชิงพื้นที่ ในส่วนที่ 2 ข้อมูลระดับมหภาค
ได้แก่ ดัชนี พัฒนาระดับจังหวัด ซึ่งเป็นข้อมูลที่จัดทาโดยสานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและ
สังคมแห่งชาติ มาวิเคราะห์ร่วมกัน ส่วนที่ 3 ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรั สโคโรนา
2019 (COVID-19) ต่อจังหวัดเชียงราย ส่วนที่ 4 กรอบทิศทางการพัฒนาซึ่งเป็นนโยบายตามแผนระดับที่ 1-3
และแผนพัฒนาท้องถิ่น มาวิเคราะห์ ศักยภาพและโอกาสในการพัฒนาจังหวัด จากนั้นจึง นาไปเป็นข้อมูลใน
การกาหนดทิศทางการพัฒนาของจังหวัดในพ.ศ. 2566-2570 ต่อไป

1) ข้อมูลเชิงสถิติที่สาคัญเชิงพื้นที่
1.1) ภาพรวมเศรษฐกิจ
ตารางที่ 87 ภาพรวมเศรษฐกิจจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2564
ตัวชี้วัดการเจริญเติบโต 2558 2559 2560 2561E 2562F 2563F 2564F
ทางเศรษฐกิจ
ผลผลิตมวลรวมจังหวัด 95,217 99,835 103,673 110,815 113,075 100,150 105,451
ณ.ราคาประจาปี (ล้าน
บาท)
ผลผลิตมวลรวมจังหวัด 51,274 52,376 54,681 57,075 58,481 53,425 56,020
ที่แท้จริง
(แบบปริมาณลูกโซ่
:CMVs)
(ล้านบาท)
ผลผลิตมวลรวมจังหวัด 81,962 86,089 89,556 95,895 98,023 86,972 91,736
ต่อหัวต่อปี (บาทต่อ
หัวต่อปี)
อัตราการเจริญเติบโต 1.91 2.15 4.40 4.40 2.5 -8.6 4.9
ทางเศรษฐกิจ
ที่มา : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,2563
เมื่อพิจารณาภาพรวมของเศรษฐกิจของจังหวัดของจังหวัดเชียงราย พบว่าจังหวัดเชียงรายมีการ
เจริญเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง แต่ในช่วงปี พ.ศ. 2562 เป็นต้นมาเกิดสถานการณ์ที่ไม่อาจควบคุมได้ ไม่ว่า
จะเป็นปัญหาไฟป่าหมอกควัน และการระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus
185

Disease 2019 (COVID -19)) ส่งผลกระทบอย่างมากกับอัตราการเจริญเติบโตของจังหวัด ทาให้มีแนวโน้ม


การชะลอตัวของเศรษฐกิจ โดยในปี พ.ศ. 2564 ประมาณการณ์ว่า ผลผลิตมวลรวมจังหวัด ของผลผลิตมวล
รวมจังหวัดต่อหัวต่อปี เท่ากับ 91,736 บาทต่อหัวต่อคนต่อปี ทั้งที่ก่อนหน้านี้คาดว่า ผลผลิตมวลรวมจังหวัด
ต่อหัวต่อปี ประมาณ 100,437 บาทต่อหัวต่อปี ลดลงกว่าที่คาดการณ์ไว้ ร้อยละ 8.67 ทั้งนี้ หากไม่ได้เกิด
สถานการณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 (Coronavirus Disease 2019
(COVID -19) จะพบว่ามูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย ก็จะยังคงเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องจนกระทั้งปี
พ.ศ. 2567
แผนภูมิที่ 43 มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย (GPP) 16 สาขา ( ณ ราคาคงที่) พ.ศ. 2558 –
2562 และการพยากรณ์มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวม ปัจจุบัน - 2567

150,000.00 137,940.71
128,711.46131,673.80
130,000.00 119,482.21122,444.55
113,402.00
110,000.00

90,000.00

70,000.00

50,000.00
2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

มูลค่าผลิตภัณฑ์ฯ ที่ผ่านมา มูลค่าผลิตภัณฑ์ฯ จากการพยากรณ์

ตารางที่ 88 การเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดเชียงราย
จังหวัด ผลิตภัณฑ์มวลรวม ประชากร ผลิตภัณฑ์มวลรวม การเรียงลาดับผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัด
จังหวัด (1,000 คน) จังหวัด ต่อคน
ต่อคน (บาท)
(ล้านบาท) ภาคเหนือ ประเทศ

เชียงราย 113,402 1,173 98,732 9/17 49/77

ที่มา : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,2563
หากทาการเปรียบเทียบผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อคนของจังหวัดเชียงรายกับภาคเหนือและประเทศ เพื่อ
พิจารณาขนาดของเศรษฐกิจของจังหวัด พบว่า ในขณะนี้ ผลิตภัณฑ์มวลรวมต่อคนของจังหวัด เท่ากับ 98,732
บาทต่อคนต่อปี คิดเป็นลาดับที่ 9 ของภาคเหนือ และเป็นลาดับที่ 49 ของประเทศ ซึ่งแสดงให้เห็นจังหวัด
เชียงราย เป็นจังหวัดที่มีขนาดเศรษฐกิจขนาดกลางเมื่อเทียบกับจังหวัดอื่นๆ
186

แผนภูมิที่ 44 ผลผลิตมวลรวมจังหวัด พ.ศ. 2562 (ณ ราคาตลาดปัจจุบัน) จาแนกตามภาคเกษตร


ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ

ภาคอุตสาหกรรม
5%

ภาคเกษตร
35%

ภาคบริการ
60%

ที่มา : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,2563
เมื่อพิจารณาสัดส่วนของภาคเศรษฐกิจสาคัญของจังหวัดพบว่า ร้อยละ 60 ของผลิตภัณฑ์มวลรวม
ส่ว นใหญ่เป็ น ภาคบริ การร้ อยละ 60 ภาคเกษตร ร้อยละ 35 และภาคอุตสาหกรรมร้อยละ 5 และเมื่อ
พิจารณาสัดส่ วนของผลผลิตมวลรวมจังหวัดเชียงรายพบว่า สัดส่ วนของผลผลิตมวลรวมจังหวัด ทั้งนี้เมื่อ
จาแนกไปในรายสาขาการผลิตพบว่า สาขาการผลิตที่มีสัดส่วนมากที่สุดได้ สาขาการขายส่งและการขายปลีก
การซ่อมยานยนต์แ ละจั กรยานยนต์ ถัดมาเป็นสาขาการศึก ษา และสาขากิจ กรรมทางการเงิน และการ
ประกันภัย
187

แผนภูมิที่ 45 สัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมจังหวัดเชียงราย พ.ศ. 2562 (ณ ราคาตลาดปัจจุบัน) จาแนกตาม


ภาคอุตสาหกรรม และภาคบริการ เรียงลาดับรายละเอียดตามมูลค่าสาขา

1.สาขาอุตสาหกรรม(การผลิต)

ภาคอุตสาหกรรม,
2.สาขาไฟฟ้า ก๊าซและการประปา
[PERCENTAGE]

3.สาขาการทาเหมืองแร่ และย่อยหิน
4% 2% 1% 5% 2%1%
6%
1.สาขาขายส่ง ขายปลีก การซ่อมรถยนต์ฯ
6%
22%
2.สาขาการศึกษา
6%

3.สาขาตัวกลางทางการเงิน
6%

4.สาขาบริการด้านสุขภาพ และงานสังคม
7% สงเคราะห์
20% 5.สาขาบริการด้านอสังหาริมทรัพย์ การให้เช่าและ
12%
บริการฯ
6.สาขาการบริหารราชการ และการป้องกัน
ภาคบริการ, ประเทศ รวมทั้งการประกันสังคมภาคบังคับ
[PERCENTAGE]
7.สาขาการก่อสร้าง

8.สาขาการขนส่ง สถานที่เก็บสินค้า และการ


คมนาคม

ที่มา : สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ,2563
(1.1.2) โครงสร้างแรงงาน
แผนภูมิที่ 46 โครงสร้างแรงงานของจังหวัดเชียงราย
800,000

600,000

400,000

200,000

0
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

นอกระบบ ในระบบ

สานักงานสถิติแห่งชาติ , 2564
188

จากภาพแสดงให้ถึงโครงสร้างของแรงงานของจังหวัดเชียงราย ส่วนใหญ่เป็นแรงงานนอก
ระบบ ดังนั้นแรงงานกลุ่มดังกล่าวจึงขาดสวัสดิการจากประกันสังคมในช่วยเหลือและดูแลเมื่อเกิดสถานการณ์
ไม่คาดฝัน ได้แก่ กิจการปิดตัวลง การเจ็บไข้ได้ป่วย การลาในกรณีต่างๆ ทั้งนี้ เมื่อพิจารณาลงในโครงสร้างอายุ
ของแรงงานนอกระดับของจังหวัด พบว่า สัดส่วนของแรงงานผู้ สูงอายุที่เป็นแรงงานนอกระบบสูงขึ้นอย่าง
ต่อเนื่อง ดังนั้นจึงควรหาแนวทางในการพัฒนาทักษะของแรงงานกลุ่มดังกล่าวต่อไป
ตารางที่ 89 สัดส่วนของแรงงานนอกระบบที่เป็นผู้สูงอายุ
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563
สัดส่วน 8.74 11.68 13.42 15.23 14.99 16.25 15.23 16.34 17.77 22.16
แรงงานนอก
ระบบ (60ปี+)
สัดส่วน 75.66 78.36 76.57 78.68 80.90 78.23 76.64 75.88 78.22 75.93
แรงงานนอก
ระบบ
สานักงานสถิติแห่งชาติ , 2564
แผนภูมิที่ 47 จานวนประชากรในจังหวัดจาแนกตามสถานภาพการทางาน ปี พ.ศ. 2562-2563

122,766
ช่วยธุรกิจครัวเรือน
171,465

238,439
ทางานส่วนตัว
241,726

166,584
ลูกจ้างเอกชน
147,905

49,256
ลูกจ้างรัฐบาล
52,646

13,566
นายจ้าง
13,285

- 50,000 100,000 150,000 200,000 250,000 300,000

2563 2562

นอกจากประเด็นประชากรที่เป็นวัยสูงอายุที่เพิ่มขึ้นซึ่งเป็นสัญญานสะท้อนให้เห็นข้อพึงระวังในบริบท
สังคมสูงวัยที่ต้องจังหวัดต้องเผชิญคือ จานวนของแรงงานผู้สูงอายุ นอกระบบดังกล่าวที่อาจจะไม่มีสวัสดิการ
ใดๆรองรับกาลังเพิ่มขึ้นสูงขึ้น และเมื่อจาแนกประชากรในจังหวัดจาแนกตามสถานภาพการทางาน พบว่า
จานวนประชากรในจังหวัดส่วนใหญ่มีสภาพการทางานคือ ทางานส่วนตัว และช่วยธุรกิจครัวเรือน ซึ่งมีความ
เป็ นไปได้สู งที่จะเป็น กลุ่มแรงงานนอกระบบ ดังนั้นกลุ่ มอาชีพนี้เป็นกลุ่ ม จาเป็นที่จังหวัดและหน่ว ยงานที่
189

เกี่ยวข้องควรต้องติดตามประเมินสถานการณ์และให้การช่วยเหลือ ซึ่งกลุ่มคน 2 กลุ่มอาชีพมีความเสี่ยง จะตก


อยู่ในความลาบากหากเกิดสถานการณ์ไม่คาดฝัน
แผนภูมิที่ 48 สถานการณ์จานวนประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไปที่มีงานทาปี 2560-2567

800,000
600,000
400,000
200,000
0
2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีงานทา


พยากรณ์ประชากรอายุ 15 ปีขึ้นไป มีงานทา

จากที่กล่าวมาข้างต้นสอดคล้องกับ ข้อมูลในกลุ่มวัยทางาน ซึ่งจากข้อมูล แสดงให้เห็นว่าแนวโน้มของ


ประชากรวัยแรงงานกาลังจะลดลง และเมื่อจาแนกตามกลุ่มอาชีพแล้วจะพบสัญญาญการขาดแคลนแรงงาน
บางกลุ่มอาชีพซึ่งเป็นกลุ่มแรงงานมีทักษะ ได้แก่ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่
เกี่ยวข้อง และผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ อีกด้วย

แผนภูมิที่ 49 สถานการณ์ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง และ


ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผู้ปฏิบัติงานด้านการประกอบ
150,000.00

100,000.00
66,126.00
53,333.00
45,429.89
37,526.79
50,000.00
19,674.00
3,259.82
0.00
2560 2561 2562 2563 2564 2565 -45,127.43
2566
-20,933.81
-50,000.00

-100,000.00

ผู้ปฏิบัติงานด้านความสามารถทางฝีมือและธุรกิจการค้าที่เกี่ยวข้อง

ผู้ปฏิบัติการโรงงานและเครื่องจักรและผูป้ ฏิบัติงานด้านการประกอบ
190

1.2) สาขาเศรษฐกิจสาคัญของจังหวัด
1) สาขาท่องเที่ยว
เมื่อพิจารณารายได้จากการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงรายในปี พ.ศ. 2563 ตามที่มีสถาณ
การณ์การระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 หรือโรคโควิด 19 ทาให้รายได้จากการท่องเที่ยวของจังหวัด
เชียงรายลดลงมากถึงร้อยละ 48.96 รายได้จากนักท่องเที่ยวชาวไทย เดิมในปี 2562 มีรายได้ 22,474.22
ล้านบาท ลดลงเหลือ 13,968.15 ล้านบาท ลดลงไปจากปี 2562 คิดเป็นร้อยละ 37.85 และรายได้จากชาว
ต่างประเทศปี 2562 6,817.49 ล้านบาท ลดลงเหลือ 981.40 ล้านบาท ลดลงไปจากปี 2562 มากถึงร้อยละ
85.60
ตารางที่ 90 รายได้จากท่องเที่ยว (ล้านบาท) จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563
%การ
ประเภท เปลี่ยนแปลง
2558 2559 2560 2561 2562R 2563P
นักท่องเที่ยว (ปี63เทียบปี
62)
ชาวไทย 17,379.53 18,173.56 19,978.30 21,995.16 22,474.22 13,968.15 -37.85
ชาว
5,468.55 5,574.46 6,075.56 6,622.55 6,817.49 981.40 -85.60
ต่างประเทศ*
รวม 22,848.08 23,748.02 26,053.86 28,617.71 29,291.71 14,949.55 -48.96

ตารางที่ 91 สถิติจานวนนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563


%การ
ประเภทผู้ เปลี่ยนแปลง
รายการย่อย 2558 2559 2560 2561 2562 2563
เยี่ยมเยือน (ปี63เทียบปี
62)
ชาวไทย 2,201,902 2,298,952 2,496,186 2,673,521 3,091,201 2,059,088 -33.39
จานวน ชาว
484,132 483,472 512,997 533,029 637,947 114,595 -82.04
นักท่องเที่ยว ต่างประเทศ
รวม 2,686,034 2,782,424 3,009,183 3,206,550 3,729,148 2,173,683 -41.71

จากตารางแสดงจานวนนักท่องเที่ยวที่มาเที่ยวในจังหวัด เชียงรายซึ่งตามที่ มีสถาณการณ์การ


ระบาดโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ทาให้ในปี 2563 มีจานวนนักท่องเที่ยว และจานวนนักทัศนาจร ลดลง
ทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ซึ่งเดิมในปี 2562 จานวนนักท่องเที่ยวชาวไทย มีจานวน 3,091,201 คน ใน
ปี 2563 ลดลงเหลือ 2,059,088 คน ลดลงไปจากปี 2562 คิดเป็นร้อยละ 33.39 เช่นเดียวกัน นักท่องเที่ยว
191

ชาวต่างชาติ เดิมในปี 2562 จานวนนักท่องเที่ยว มีจานวน 637,947คน ในปี 2563 ลดลงเหลือ 114,595 คน
ลดลงไปจากปี 2562 มากถึงร้อยละ 82.04
แผนภูมิที่ 50 สถิติจานวนนักท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2563
หน่วย 1,000 คน
3,729.15
3,206.55
3,009.18
2,686.03 2,782.42

2,173.68
3,091.20
2,673.52
2,496.19
2,201.90 2,298.95
2,059.09
513.00 533.03 637.95
484.13 483.47
114.60

2558 2559 2560 2561 2562 2563

ชาวไทย ชาวต่างประเทศ รวม

หน่วย: 1,000 คน
4,000.00
3,500.00
3,000.00 2,762.55 2,754.78 2,747.01 2,739.25
2,173.68
2,500.00
2,514.02 2,552.75 2,591.48 2,630.21
2,000.00
1,500.00 2,059.09

1,000.00
500.00 114.60 256.45 209.92 163.39 116.87
-
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ชาวไทย Forecast(ชาวไทย) ชาวต่างประเทศ


Forecast(ชาวต่างประเทศ) รวม Forecast(รวม)

ที่มา : สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ เป็นรายจังหวัด พ.ศ. 2552 – 2561 สานักงานสถิตแิ ห่งชาติ, 2562

อีก ประเด็น หนึ่ งที่ น่ า สนใจประเด็น หนึ่ งคื อ ระยะเวลาพ านั กโดยเฉลี่ ย ของนั กท่ องเที่ ย ว
เท่ากับ 2.54 วัน ซึง่ มีแนวโน้มลดลงต่อเนื่องตั้งแต่ปี 2558 โดยเฉพาะอย่างยิ่งนักท่องเที่ยวชาวไทย ดังนั้นจึง
ควรมีนโยบายที่เพิ่มระยะเวลาพานักของนักท่องเที่ยวโดยพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและสร้างกิจกรรม
192

เชิงประสบการณ์เพื่อดึงดูดให้นักท่องเที่ยวให้อยู่นานขึ้น ตลอดจนประชาสัมพันธ์โดยใช้กลยุทธ์การสร้าง Story


Telling เพื่อสร้างความน่าสนใจให้กับการท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย

ตารางที่ 92 อัตราการพานักโดยเฉลี่ย (วัน) ของนักท่องเที่ยว จังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ. 2558-2562


ประเภทนักท่องเที่ยว 2558 2559 2560 2561 2562
ชาวไทย 2.62 2.56 2.48 2.45 2.42
ชาวต่างประเทศ 3.10 3.07 2.96 2.98 2.91
รวม 2.71 2.65 2.57 2.54 2.51

ที่มา : สรุปสถานการณ์ท่องเที่ยวภายในประเทศ เป็นรายจังหวัด พ.ศ. 2552 – 2562 สานักงานสถิติแห่งชาติ, 2564

2) การค้าชายแดนและสินค้าตามโครงการหนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
สาหรับมูลค่าการค้าชายแดนพบว่ามีแนวโน้มชะลอตัว มูลค่าการค้าชายแดนและผ่านแดนด้านจังหวัด
เชียงราย ตั้งแต่ปี พ.ศ.2558 – 2563 จะพบว่า มูลค่ารวมที่เกิดขึ้นในปี 2563 มีมูลค่ารวมลดลงจากปี 2562
ลดลง 4,383.53 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 8.32 เนื่องจากมีแนวโน้มในการนาเข้าเพิ่มขึ้น และส่งออก
ลดลง ทาให้ดุลการค้ากับทุกๆ ประเทศลดลง คิดเป็นร้อยละ 20.85
เมื่อพิจารณาสถานการณ์รายประเทศ พบว่า ประเทศเมียนมาทาการค้ากับจังหวัดเชียงราย มี มูลค่า
รวมที่เกิดขึ้นในปี 2563 เพิ่มขึ้นจากปี 2562 มูลค่า 1,142.35 ล้านบาท หรือเพิ่มขึ้นคิดเป็นร้อยละ 7.56
เนื่องจากเรามีแนวโน้มในการนาเข้าเพิ่มขึ้นมากถึงร้อยละ 273.54 แต่ส่งออกไปเพิ่มขึ้นเพียงร้อยละ 0.49 ทา
ให้ขาดดุลการค้ามูลค่า 998.61ล้านบาท หรือดุลการค้าลดลงร้อยละ 6.97 ประเทศลาวทาการค้ากับจังหวัด
เชียงราย มูลค่ารวมที่เกิดขึ้นในปี 2563 มีมูลค่ารวมลดลงจากปี 2562 ลดลง 3,928.69 ล้านบาท หรือลดลง
คิดเป็นร้อยละ 38.36 เรามีแนวโน้มในการนาเข้าจากลาวลดลง 244.88 ล้านบาท แต่กลับส่งออกลดลงมากถึง
3,683.81 ล้านบาท ทาให้ดุลการค้าลดลง 3,438.93 ล้านบาท หรือคิดเป็นร้อยละ 37.41 และในส่วนของ
ประเทศจีนได้ทาการค้ากับจังหวัดเชีย งราย มูลค่ารวมที่เกิดขึ้นในปี 2563 มี มูล ค่ารวมลดลงจากปี 2562
ลดลง 1,597.19 ล้านบาท หรือลดลงคิดเป็นร้อยละ 5.84 เนื่องจากเรามีแนวโน้มในการนาเข้าเพิ่มขึ้น 708.83
ล้านบาท และส่งออกไปจีนลดลง 2,306.02 ล้านบาท ทาให้ดุลการค้าลดลง 3,014.85 ล้านบาท หรือคิดเป็น
ร้อยละ 24.67 ทั้งนี้เมื่อจาแนกข้อมูลตามด่านศุลกากรพบว่า ในช่วงปีพ.ศ. 2563 พบว่าลดลงของมูลค่าการค้า
ชายแดนในส่วนของด่านเชียงแสนและด่านเชียงของ แต่ในส่วนของด่านแม่สาย มีมูลค่าการค้าชายแดนที่
เพิ่มขึ้น ดังนั้นสะท้อนเห็นว่าในท้ายที่สุดผู้ประกอบการมีความจาเป็นต้องปรับตัว และหาวิธีทางในการซื้อของ
สินค้าระหว่างกัน และเมื่อทาการพยากรณ์ดุลการค้าในช่วงปีพ.ศ. 2565-2567 พบว่า ดุลการค้ามีแนวโน้ม
เพิ่มขึ้น
193

ตารางที่ 93 เปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงมูลค่าการค้าชายแดนและผ่านแดนด้านจังหวัดเชียงราย ปี พ.ศ.


2563 เทียบกับปี 2562
ประเทศ พ.ศ.2562 พ.ศ.2563 2563 - 2562 เปลี่ยนแปลง %
นาเข้า 391.35 1,461.83 1,070.48 273.54
ส่งออก 14,727.02 14,798.89 71.87 0.49
เมียนมา
ดุลการค้า 14,335.67 13,337.06 -998.61 -6.97
รวม 15,118.37 16,260.72 1,142.35 7.56
นาเข้า 524.19 279.31 -244.88 -46.72
ส่งออก 9,716.62 6,032.81 -3,683.81 -37.91
สปป.ลาว
ดุลการค้า 9,192.43 5,753.50 -3,438.93 -37.41
รวม 10,240.81 6,312.12 -3,928.69 -38.36
นาเข้า 7,554.58 8,263.41 708.83 9.38
ส่งออก 19,775.02 17,469.00 -2,306.02 -11.66
จีนตอนใต้
ดุลการค้า 12,220.44 9,205.59 -3,014.85 -24.67
รวม 27,329.60 25,732.41 -1,597.19 -5.84
นาเข้า 8,470.12 10,004.55 1,534.43 18.12
ส่งออก 44,218.66 38,300.70 -5,917.96 -13.38
มูลค่ารวม
ดุลการค้า 35,748.54 28,296.15 -7,452.39 -20.85
รวม 52,688.78 48,305.25 -4,383.53 -8.32

แผนภูมิที่ 51 มูลค่าการค้าชายแดนของกลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2
จาแนกตามด่านศุลกากร

30,000.00
25,000.00 28,130.33
20,000.00 24,174.58 25,732.41
19,162.65
21,747.49
15,000.00 15,331.16
10,000.00 12,265.72 16,260.72
11,646.67 6,312.12
5,000.00 9,876.72
8,245.24
-
พ.ศ. 2560 พ.ศ. 2561 พ.ศ. 2562 พ.ศ.2563

แม่สาย เชียงแสน เชียงของ


194

แผนภูมิที่ 52 ดุลการค้า ปีพ.ศ. 2558-2567


หน่วย: พันล้านบาท
53,543.84 54,760.68 55,977.53
60,000.00 52,327.00
48,305.25
50,000.00
40,000.00 32,418.03 32,110.18 31,802.34 31,494.49
28,296.15
30,000.00

20,000.00

10,000.00
-
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ดุลการค้า Forecast(ดุลการค้า) รวมมูลค่าการค้า Forecast(รวมมูลค่าการค้า)

อย่างไรก็ตามจากข้อมูลการค้าชายแดนและการค้าผ่านแดนของจังหวัดเชียงราย ประเทศไทย
ได้ดุล การค้าอย่ างต่อเนื่อง แม้จ ะเป็ นช่ว งสถานการณ์ การแพร่ระบาด ของโรคติดเชื้อไวรั ส โคโรนา 2019
(COVID-19) ก็ตาม ซึ่งการได้ดุลการค้า นามาซึ่งเงินไหลเข้ามาย่อมเป็นผลดีต่อการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ หากจังหวัดสามารถคว้าโอกาสดังกล่าว และทาให้เกิดเป็นผลโยชน์ กระจายในพื้นที่ ก็จะทาให้
เกิดการจ้างงานที่เพิ่มขึ้น และรายได้ของรายได้ของในที่สุด ทั้งนี้เมื่อพิจารณาสินค้านาเข้าในจังหวัดเชียงราย
พบว่ า การน าเข้ า สิ น ค้ า จากประเทศเมี ย นมาและสปป.ลาว ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น สิ น ค้ า เกษตร หรื อ สิ น ค้ า ใน
อุตสาหกรรม Extractive Industry ซึ่งเป็นอุตสาหกรรมที่นาหรือสกัดทรัพยากรธรรมชาติให้เป็นสินค้าขึ้นมา
เช่น อุตสาหกรรมขุดเจาะน้ามัน อุตสาหกรรมป่าไม้ อุตสาหกรรมการเลี้ยงสัตว์ การทาเหมืองแร่ เป็นต้น (อภิ
ยุกต์ อานวยกาญจนสิน, 2564) ซึ่งเป็นกลุ่มอุตสาหกรรมที่ไม่ได้พบในจังหวัดเชียงราย ดังนั้นจึง ทาให้ไม่ได้เกิด
การกระจายผลประโยชน์ลงไปในพื้นที่ แต่อย่างไรก็ตามสินค้าเกษตรยังคงเป็นสินค้าที่เป็นโอกาสในการสร้าง
ความเปรียบโดยเปรียบเทียบได้แก่ ทุเรียน ลาไย สับปะรด ยางพารา ข้าวโพด มันสาปะหลัง ปลายข้าว สินค้า
ที่กล่าวมาเป็นสินค้าที่ได้เปรียบโดยเปรียบเทียบในตลาดของประเทศจีนทั้งสิ้น (ปวีณา ลี้ตระกูล, 2564) ซึ่งผู้
กาหนดนโยบายระดับจังหวัดสามารถส่งเสริมสินค้าดังกล่าวได้โดยจากการวิเคราะห์ของศูนย์วิจัยกสิกร (2564)
ได้ทาการวิเคราะห์ว่า ตลาดจีนตอนใต้เป็นตลาดใหญ่ที่สุด และมีศักยภาพ ผู้บริโภคมีกาลังซื้อ ซึ่งในอนาคตจะ
เป็นตลาดที่สาคัญของประเทศมากกว่าประเทศมาเลเซีย และกัมพูชา อีกไม่เกิน 5 ปีข้างหน้า ดังนั้น การ
สนับสนุนการค้าผ่านแดนให้มีการเจริญเติบโตมากขึ้น ย่อมส่งผลดีต่อการเจริญเติบโตของจังหวัดเชียงราย ทั้งนี้
จังหวัดเชียงรายมีความสัมพันธ์อันดีกับประเทศจีน โดยจะเห็นได้จากการดาเนินนโยบายความสัมพันธ์เมืองพี่
เมืองน้อง (Sister Cities) ระหว่างจังหวัดเชียงรายกับมณฑลยูนนาน ซึ่งทางจังหวัดเชียงราย ควรใช้โอกาสจาก
ความสัมพันธ์ส่งเสริมการค้าการลงทุนระหว่างกันอย่างเป็นรูปธรรม
195

สาหรับรายได้ของสินค้าหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ของจังหวัดเชียงราย รายละเอียด


ดังตารางที่ 94 และแผนภูมิที่ 53-54
ตารางที่ 94 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์
ปีงบประมาณ 2558 2559 2560 2561 2562
ในประเทศ 1,723,900,016 2,074,610,553 2,533,657,734 3,047,166,463 3,855,592,243
ต่างประเทศ 257,284,680 345,463,410 334,577,071 450,029,143 450,421,324
รวม 1,981,184,696 2,420,073,963 2,868,234,805 3,497,195,606 4,306,013,567
กรมพัฒนาชุมชน กระทรวงมหาดไทย,2562

แผนภูมิที่ 53 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ในประเทศ ปี พ.ศ.2558 –


2562 และแนวโน้มในอนาคต

8,000.00
6,409.34
5,876.16
6,000.00 5,342.98
4,809.80
4,276.62
3,855.59
4,000.00

2,000.00

-
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ผลการจาหน่าย OTOP ในประเทศ Forecast

แผนภูมิที่ 54 ผลการจาหน่ายสินค้าตามโครงการ หนึ่งตาบล หนึ่งผลิตภัณฑ์ ในต่างประเทศ ปี พ.ศ.2558 –


2562 และแนวโน้มในอนาคต

800.00 754.36
652.73 653.00
551.10 551.37
600.00
450.42
400.00

200.00

-
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ผลการจาหน่าย OTOP ต่างประเทศ Forecast


196

จากการเจริญเติบโตของรายได้สินค้าหนึ่งตาบลหนึ่งผลิตภัณฑ์ (OTOP) ของจังหวัดเชียงราย


เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง จากสถิติในปีงบประมาณ 2562 มียอดจาหน่ายสินค้า OTOP เท่ากับ 4,306,013,567
บาท มีสัดส่วนการจาหน่ายในประเทศ ประมาณ ร้อยละ 89 และต่างประเทศ ร้อยละ 11ปริมาณยอดจาหน่าย
มีอัตราการเจริญเติบโตร้อยละ 23.35 ซึ่งสูงกว่า2561 มียอดจาหน่ายสินค้า OTOP เท่ากับ3,855,592,243
บาท มีสัดส่วนการจาหน่ายในประเทศ ประมาณ ร้อยละ 87 และต่างประเทศ ร้อยละ 13 เท่าเดิม อัตราการ
เจริญเติบโตร้อยละ 21.93
จากอัตราการเจริญเติบโตของการค้าชายแดน และ สินค้า OTOP แสดงให้เห็นว่าจากเดิมที่
จังหวัดมุ่งเน้นและให้ความสาคัญกับการค้าชายแดนมาโดยตลอดแต่ในขณะนี้มีทิศทางชะลอตัว ดังนั้นจังหวัด
อาจจะจาเป็นต้องเปลี่ยนจุดเน้นในปีนี้ โดยอาจจะมุ่ งเน้นการท่องเที่ยวหรือสินค้า OTOP ซึ่งมีอัตราการ
เจริญเติบโตเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง

ตารางที่ 95 สัดส่วนภาคอุตสาหกรรมและบริการที่เกี่ยวข้องกับการค้าการลงทุน
ภาคเศรษฐกิจ 2558 2559 2560 2561 2562
อุตสาหกรรม 5,503 5,527 5,563 5,464 5,401
ภาคบริการที่เกีย่ วข้องกับการค้า 36,604 37,792 41,384 46,094 51,145
การลงทุน
มูลค่าผลิตภัณฑ์มวลรวมที่ 42,107 43,319 46,947 51,558 56,546
เกี่ยวข้องกับการค้าการลงทุน
อัตราการเจริญเติบโต 2.88 8.38 9.82 9.67
ร้อยละภาคการค้าการลงทุน 44.60 43.39 44.95 46.92 49.86
ของผลิตภัณฑ์มวลรวมทั้งหมด

เมื่อพิจารณาอัตราการเจริญเติบโตของภาคอุตสาหกรรมและการค้าการลงทุนในช่วงปี พ.ศ. 2558-


2562 พบว่าอัตราการเจริญเติบโตที่เกี่ยวข้องกับภาคดังกล่าวในช่วงปีพ.ศ. 2560-2562 เพิ่มขึ้นอย่างก้าว
กระโดด โดยอยู่ที่ร้อยละ 9 ในขณะที่สัดส่วนของภาคการค้ าการลงทุนซึ่งรวมภาคอุตสากรรมด้วยคิดเป็นร้อย
ละ 49.86 ในปีพ.ศ. 2562 ดังนั้นหากจังหวัดต้องการให้เกิดการเจริญเติบโตที่เพิ่มขึ้นการส่งเสริมการค้าการ
ลงทุนเป็นแนวทางหนึ่งในการพัฒนาจังหวัด
197

3) ภาคการเกษตร
แผนภูมิที่ 55 สัดส่วนของผลิตภัณฑ์มวลรวมในภาคเกษตรและนอกภาคเกษตร

65.13 64.45 64.15 60.85 56.67

34.87 35.71 33.40 31.74 29.97

พ.ศ.2558 พ.ศ.2559 พ.ศ.2560 พ.ศ.2561 พ.ศ.2562


GPPในภาคเกษตร GPPนอกภาคเกษตร

แผนภูมิที่ 56 จานวนครัวเรือนเกษตรกรที่ขึ้นทะเบียน

175,793 174,405
167,903
161,526
152,754
140,387

2558 2559 2560 2561 2562 2563

เมื่อพิจารณาภาคการเกษตรพบว่า แนวโน้มของผลิตภัณฑ์มวลรวมภาคเกษตรมีแนวโน้มลดลง อีกทั้ง


เริ่มมีสัญญาณการลดลงของครัวเรือนภาคเกษตร ดังนั้นเกษตรกรเริ่มที่มีการปรับเปลี่ยนอาชีพออกไปหายัง
สาขาเศรษฐกิจอื่น อย่างไรก็ตามยังคงมีแรงงานอยู่ในภาคเกษตรสูง ดังนั้นจาเป็นต้องสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ
ภาคเกษตรโดยเน้นการใช้นวัตกรรมเข้ามาช่วยในการผลิต การแปรรูปสินค้าเกษตร อีกทั้งทาให้เกษตรกรเป็น
เกษตรกรที่เป็น Smart Farmer เพื่อตอบสนองนโยบาย Thailand 4.0 ซึ่งเป็นนโยบายเป็นการปรับเปลี่ยน
จากเดิมที่เกษตรกรลงมือทามากได้ผลตอบแทนน้อยมาสู่แบบลงมือทาน้อยได้ผลตอบแทนมาก
198

ตารางที่ 96 ผลผลิตทางการเกษตรสาคัญ ประจาปี พ.ศ. 2563

จังหวัด/อาเภอ พื้นที่ปลูก (ไร่) พื้นที่เก็บเกี่ยว (ไร่) ผลผลิต (ตัน) ผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่


(กิโลกรัม)
2561/62 2562/63 2561/62 2562/63 2561/62 2562/63 2561/62 2562/63
ข้าวนาปี 1,249,246 1,290,746 1,232,146 1,155,349 714,114 634,777 572 492
ข้าวนาปรัง 408,663 454,187 407,418 432,325 283,828 296,970 695 654
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่นที่ 1 358,122 346,612 357,778 345,631 264,150 260,747 738 752
ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์รุ่นที่ 2 35,573 40,342 35,526 33,789 25,271 21,788 710 540
ถั่วเหลืองรุ่น 1 146 1,087 146 1,087 41 291 281 268
ถั่วเหลืองรุ่น 2 12,792 13,740 12,756 13,740 3,288 2,770 257 202
มันสาปะหลัง 52,222 45,929 51,134 44,529 160,065 134,036 3,065 2,918
ลาไย 139,024 139,771 132,942 137,221 66,156 58,364 498 425
ลิ้นจี่ 18,624 13,724 18,537 13,600 5,653 2,492 305 183
ยางพารา 299,563 353,485 246,249 269,386 51,741 59,063 210 219
สับปะรด 67,924 62,509 59,372 56,206 174,537 163,782 93,335 90,127

สาหรับผลผลิตที่สาคัญในภาคการเกษตรของจังหวัดเชียงราย พบว่า ส่วนใหญ่เกษตรกรปลูกข้าว


เหนียวเป็นหลัก โดยมีพื้นที่เพาะปลูกในช่วงข้าวนาปี 1,155,349 ไร่ และ ในช่วงเป็นข้าวนาปรัง เท่ากับ
432,325 ไร่ ในส่วนพืชผัก ไม้ผลและไม้ยืนต้นสาคัญ พบว่ามีสินค้าเกษตรที่เป็นพืช GI ของจังหวัดเชียงราย
ได้แก่ ชา กาแฟ และสับปะรด ในส่วนปศุสัตว์ที่สาคัญ ได้แก่ ไก่ สุกร เป็ด และโคเนื้อ เป็นสัตว์ที่เกษตรกร
เลี้ยงมากที่สุด รายละเอียดดังตารางที่ 95

ตารางที่ 97 ปศุสัตว์ที่สาคัญของจังหวัดเชียงราย ประจาปี พ.ศ. 2562

ปศุสัตว์ที่สาคัญ ปริมาณ (ตัว)


โคเนื้อ 36,627
สุกร 148,261
ไก่ 5,046,238
เป็ด 144,775
อื่นๆ 21,485
199

1.2) ด้านสังคม
1.2.1) บริบทสังคมสูงวัย
ประเด็นที่สาคัญด้านสังคมที่สาคัญ ได้แก่ บริบทของสังคมสูงวัย ในจังหวัดเชียงราย มีความ
รุนแรงมากขึ้น โดยในปีพ.ศ. 2563 สัดส่วนผู้สูงอายุสูงถึงร้อยละ 19.20 ซึ่งเท่ากับว่าจังหวัดเชียงราย กาลังเข้า
สู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Complete Aged Society) ซึ่งจะส่งผลกระทบทาให้โครงสร้างแรงงาน
เปลี่ยนแปลงไป โดยมีสัดส่วนของผู้อยู่ในกาลังแรงงานลดลง ในขณะที่ผู้ ที่นอกกาลังแรงงาน หรือคนไม่ทางาน
มากขึ้น ทั้งนี้คนที่อยู่นอกกาลังแรงงานส่วนใหญ่เป็นกลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มแม่บ้านและกลุ่มของนักเรียนนักศึกษา
ดังนั้นจึงควรมีการส่งเสริมให้กลุ่มผู้สูงอายุ กลุ่มผู้หญิงที่เป็นแม่บ้านเข้าสู่ตลาดแรงงาน เพื่อชดเชยแรงงานมี
แนวโน้มลดลง
แผนภูมิที่ 57 ประชาชนที่อยู่ที่ 15 ปีขึ้นไปที่อยู่ในกาลังแรงงานและนอกกาลังแรงงาน
ป ร ะ ช า ก ร อ า ยุ 1 5 ปี ขึ้ น ไ ป ที่ อ ยู่ ใ น กา ลั ง แ ร ง ง า น แ ล ะ น อ ก กา ลั ง แ ร ง ง า น
กาลังแรงงาน นอกกาลังแรงงาน

700,000 637,093 640,460 633,501


597,181
600,000
500,000
400,000 353,865
316,631 314,516 318,125
300,000
200,000
100,000
0
ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2563

1.2.2) คุณภาพชีวิตของครัวเรือน
สาหรับคุณภาพชีวิตของครัวเรือนในจังหวัดเชียงราย พบว่า จากสถานการณ์ด้านเศรษฐกิจ พบว่า
รายได้เฉลี่ยต่อคนดีขึ้น ปี 2563 รายได้เฉลี่ยต่อคน เท่ากับ 74,348.41 ซึ่งสูงกว่า ปี 2562 รายได้เฉลี่ยต่อคน
73,718.78 บาทต่อปี เพิ่มขึ้น ร้อยละ 0.85 จากปี 2562 สัดส่วนของคนจนในจังหวัดลดลง โดยในปีพ.ศ.
2562 ลดลงเหลือร้อยละ 8.83 และสถานการณ์การกระจายรายได้มีความเหลื่อมล้าลดลง และหนี้สิน ส่วน
ใหญ่เกิดจากหนี้จากการทาเกษตรกร แต่อย่างไรก็ตามสถานการณ์เกี่ยวกับบริบทของสังคมสูงวัยของจังหวัด
ชัดเจนขึ้น โดย ในปีพ.ศ. 2562 สัดส่วนของผู้สูงอายุ ร้อยละ 17.40 เพิ่มขึ้นจากเดิมใน ปี พ.ศ. 2560 สัดส่วน
ของผู้สูงอายุ ร้อยละ 15.04 อีกทั้งสถานการณ์การการอยู่ลาพังของผู้สูงอายุ พบว่า ปี พ.ศ. 2562 มีการ
200

คาดการณ์ว่า ผู้สูงอายุที่อยู่ลาพัง ร้อยละ 12.03 ซึ่งเป็นอันดับที่ 75 ของประเทศ ในขณะที่ปีพ.ศ. 2560 มี


สัดส่วนของผู้สูงอายุ ลาพัง ร้อยละ 16.28 หรือเป็นอันดับที่ 77 ของประเทศ ดังนั้นจากจานวนผู้สูงอายุที่มี
สัดส่วนเพิ่มมากขึ้น ส่งผลให้จังหวัดอาจมีนโยบายส่งเสริมและสนับสนุนการเตรียมความพร้อมเข้าสู่สังคมสูงวัย
การส่ งเสริมการทางานของผู้สูงอายุ เพื่อทดแทนประชากรวัยแรงงานที่จะลดลงในอนาคตทั้งนี้อาจทาการ
ส่งเสริมให้เกิดการเรียนรู้เรียนตลอดชีวิต (Life Long Learning) เพื่อให้ผู้สูงอายุในจังหวัดเชีย งรายมีคุณภาพ
ชีวิตที่ดี อยู่อย่างมีคุณค่าและมีศักดิ์ศรี

1.3) ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
1.3.1) หมอกควัน และฝุ่นละออง
ในปัจจุบันปัญหาสาคัญของจังหวัดเชียงรายเป็นปัญหาฝุ่นละออง ทั้งนี้จะให้ได้ว่าปริมาณฝุ่นละออง
และค่าคุณภาพอากาศ ในปี พ.ศ. 2564 โดยภาพรวมพบว่า ดีขึ้น เมื่อเทียบกับ ปี พ.ศ.2563 จานวนวันเกิน
มาตรฐานค่าฝุ่นละออง PM 2.5 ลดลง โดจานวนวันที่ PM2.5 เกินมาตรฐาน 70 วัน แต่ในปีนี้ค่าสูงสุดที่
ตรวจพบ PM 2.5 402 มคก./ลบ.ม. ซึ่งถือว่าสูงมากและสูงกว่า ปี พ.ศ. 2563 ดังนั้นปัญหาถือเป็นปัญหาใหญ่
และถือเป็นวาระเร่งด่วนของจังหวัดที่ควรแก้ไข ทั้งนี้ฝุ่นละอองนอกจากกระทบต่อคุณภาพชีวิตของคนใน
จังหวัดเชียงรายแล้ว ยังกระทบต่อภาคการท่องเที่ยวซึ่งถือเป็นสาขาเศรษฐกิจที่สาคัญของจังหวัด
แผนภูมิที่ 58 คุณภาพอากาศโดยจานวนวันที่ PM2.5 เกินมาตรฐาน

100
77 78 77 79
80 70
จานวนวันที่เกินมาตรฐาน (วัน)

60 54
46 45
40
20
0
เชียงราย พะเยา แพร่ น่าน
ปี 2563 77 78 77 79
ปี 2564 70 54 46 45
ลดลง/เพิ่มขึ้น (วัน) -7 -24 -31 -34

ที่มา : สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย, 2564


201

หากพิจารณาจุดความร้อนสะสมซึ่งเกิดจากการเผาอันเป็นสาเหตุสาคัญที่ทาให้เกิดหมอกควันและฝุ่น
ละออง พบว่าในปี พ.ศ. 2564 จังหวัดเชียงราย สามารถควบคุมสถานการณ์การเกิดจุดความร้อนสะสมได้เป็น
อย่างดี โดยในปี พ.ศ. 2564 จานวนจุดความร้อน (Hotspots) ระหว่างวันที่ 1 มกราคม – 31 พฤษภาคม
2564 พบว่ามีจุดความร้อนสะสมมากที่สุด 1,517 จุด ลดลงจากปี พ.ศ. 2563 ซึ่งมีจานวน 7,391 จุด (ต่ากว่า
5,874 จุด) คิดเป็น ร้อยละ 79.48 ซึ่งสัดส่วนการลดลงของจุดความร้อนมากที่สุดเมื่อเทียบกับกลุ่ม ภาคเหนือ
ตอน บน 2 จากความพยายามดังกล่าว ทาให้จานวนปริมาณวันที่เกิดมาตรฐานของปริมาณฝุ่นละอองสะสม
ลดลง แต่อย่างไรก็ตามคุณภาพของอากาศที่เกินมาตรฐานอยู่ในปริมาณที่สูงเพิ่มขึ้น ดังนั้นจึงควรมีมาตรการ
การเฝ้าระวังและกากับดูแลเรื่องหมอกควันและการกวดขันให้ไม่ให้เกิดการเผาจึงเป็นนโยบายที่จังหวัด ควรให้
ความสนใจและดูแลอย่างต่อเนื่อง อีกทั้งควรสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับจังหวัดข้างเคียงและประเทศเพื่อน
บ้านด้วย เพื่อให้การควบคุมและดูแลสถานการณ์ หมอกควัน และฝุ่นละออง เป็นการดาเนินการในเชิงระบบ
และมีการบูรณาการงานร่วมกัน
1.3.2) ภัยแล้ง
ส าหรั บ สถานการณ์ ภั ย แล้ ง เป็ น อี ก สถานการณ์ ที่ ค วรต้ อ งดู แ ลและเยี ย วยาความเดือ ดร้ อ นของ
ประชาชนอย่างใกล้ สาหรับสถานการณ์ภัยแล้งในจังหวัดเชียงรายในปี พ.ศ. 2563 พบว่า
1. ด้านการเกษตร จังหวัดเชียงราย เกิดสถานการณ์ภัยแล้งตั้งแต่วันที่ 19 ตุลาคม 2562 และได้
ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) ตามระเบียบกระทรวงการคลังว่า
ด้วยเงินทดรองราชการเพื่อช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน พ.ศ. 2562 จานวน 15 อาเภอ 78 ตาบล
667 หมู่บ้าน ราษฎรได้รับผลกระทบ 70,096 คน 28,471 ครัวเรือน พื้นที่เกษตรได้รับความเสียหาย ได้แก่
- นาข้าว 220,468.25 ไร่
- พืชไร่ 25,439.40 ไร่
- พืชสวน 1,664.00 ไร่
- บ่อปลา 361 บ่อ
- บ่อกุ้ง 10 บ่อ
พื้นที่ประกาศเขตการให้ความช่วยเหลือผู้ประสบภัยพิบัติกรณีฉุกเฉิน (ภัยแล้ง) ได้แก่ อาเภอดอย
หลวง, อาเภอเวียงแก่น, อาเภอเมืองเชียงราย, อาเภอเวียงชัย, อาเภอเชียงของ, อาเภอขุนตาล, อาเภอพาน,
อาเภอเชียงแสน, อาเภอพญาเม็งราย, อาเภอเทิง, อาเภอแม่ฟ้าหลวง, อาเภอเวียงเชียงรุ้ง อาเภอแม่จัน อาเภอ
ป่าแดด และอาเภอแม่สาย
2. ด้านอุปโภคบริโภค สถานการณ์น้าในพื้นที่จังหวัดเชียงราย แบ่งออกเป็น
2.1 สถานการณ์น้าในเขตชลประทาน จานวนโครงการชลประทาน รวมทั้งสิ้น 595
โครงการ 671,035 ไร่ ความจุเก็บกักรวม 252.92 ล้านลูกบาศก์เมตร และ พื้นที่เกษตรในเขตชลประทาน
316,150 ไร่
202

2.2 สถานการณ์น้านอกเขตชลประทาน
- ปริมาณการผลิตน้าประปา 946,942 ลูกบาศก์เมตร/เดือน (ที่มา : กปภ.เชียงราย)
- จานวนบ่อบาดาลที่ใช้ในการอุปโภคบริโภค จานวน 521 บ่อ (ที่มา : ทสจ.เชียงราย)
- ประปาท้องถิ่น 100 แห่ง (ที่มา : สนง.ส่งเสริมการปกครองท้องถิ่นจังหวัดเชียงราย)
- พื้นที่เสี่ยงขาดแคลนน้าเพื่อการอุปโภคบริโภค จานวน 11 อาเภอ 36 ตาบล 185 หมู่บ้าน
(จาก 18 อาเภอ 124 ตาบล 1,764 หมู่บ้าน)
3. ด้านอุตสาหกรรม จากการสารวจในพื้นที่จังหวัดเชียงราย จานวน 18 อาเภอ มีโรงงาน
อุตสาหกรรม จานวน 2,081 แห่ง ยังไม่มีพื้นใดแจ้งประสบปัญหาขาดแคลนน้า

2) ข้อมูลตัวชี้วัดการพัฒนาของจังหวัดเชียงราย
สาหรับข้อมูลการพัฒนาของจังหวัด เป็นการพัฒนาเครื่องมือที่ใช้วัดสถานะการพัฒนาพื้นที่
จังหวัดและกลุ่มจังหวัดเชิงเปรียบเทียบ ที่จัดขึ้นโดยสานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้
นาเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs มาปรับใช้เป็นกรอบในการ
ปรับปรุงตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัด เพื่อให้จังหวัดมีข้อมูลตัวชี้วัดที่สะท้อนระดับการพัฒนาในพื้นที่และ
สอดคล้องกับเป้าหมายการจัดทาตัวชี้วัด SDGs ในระดับพื้นที่ของประเทศ ดัชนีดังกล่าวได้แบ่งมิติการพั ฒนา
ออกเป็น 5 ด้าน ได้แก่ด้านการพัฒนาคน ด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสันติภาพและ
ยุติกรรม ด้านความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา รายละเอียดดังต่อไปนี้
ตารางที่ 98 ดัชนีการพัฒนาจังหวัดเชียงราย ปีพ.ศ. 2560-2562
มิติการพัฒนาจังหวัด ดัชนีการพัฒนาจังหวัดเชียงราย ค่ากลาง
ปี 2560 ปี 2561 ปี 2562 ปี 2562
ด้านการพัฒนาคน 60.81 65.03 65.86 63.20
ด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง 47.81 49.58 50.01 50.03
ด้านสิ่งแวดล้อม 52.84 52.86 50.94 50.92
ด้านสันติภาพและยุตธิ รรม 55.60 59.35 62.48 63.43
ด้านความเป็นหุน้ ส่วนการพัฒนา 39.12 31.40 34.99 44.64
ภาพรวม 50.67 50.16 51.63 52.87
ที่มา สานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ,2564

จากข้อมูล 3 ปีย้อนหลังพบว่าดัชนีการพัฒนาจังหวัดเชียงราย สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง ทั้งนี้ในด้าน


ที่โดดเด่นได้แก่ ด้านการพัฒนา ด้านสันติภาพและยุติธรรม ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง และ
ด้านความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา ตามลาดับ อย่างไรก็พิจารณาจากค่ากลางของประเทศ ในภาพรวมการพัฒนา
จังหวัดเชียงรายยังมีการพัฒนาต่ากว่าค่ากลางของประเทศ ทั้งนี้สถานการณ์ดังกล่าวเป็นเช่นเดียวกับจังหวัดใหญ่
อย่างจังหวัดเชียงใหม่ ทั้งนี้จังหวัดที่มีดัชนีการพัฒนาจังหวัดสูงที่สุด 3 จังหวัดแรกของประเทศได้แก่ อันดับที่ 1
นนทบุรี อันดับที่ 2 ระยอง และอันดับที่ 3 ชลบุรี
203

ภาพแผนภูมิที่ 59 การเปรียบเทียบดัชนีการพัฒนาจังหวัดเชียงรายและประเทศ
ภาพรวม
80
60
ด้านความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา 40 ด้านการพัฒนาคน
20
0

ด้านสันติภาพและยุติธรรม ด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง

ด้านสิ่งแวดล้อม

เชียงราย ค่ากลาง

ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2564)


จากการเปรียบเทียบดัชนีการพัฒนาจังหวัด เชียงราย พบว่า เมื่อเปรียบเทียบกับค่าเฉลี่ยของประเทศ
พบว่าในภาพรวมการพัฒนาในปีพ.ศ. 2562 ต่ากว่าค่าเฉลี่ยของประเทศ โดยภาพรวมอยู่ที่ร้อยละ 51.63 โดย
การพั ฒ นาที่ สู ง กว่ า ค่ า กลางได้ แ ก่ มิ ติ ก ารพั ฒ นาคน นอกจากนั้ น ด้ า นเศรษฐกิ จ และความมั่ น คง ด้ า น
สิ่งแวดล้อม ด้านสันติภาพและยุติธรรม และด้านความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา ยังต่ากว่าค่ากลาง
แผนภูมิที่ 60 การเปรียบเทียบดัชนีการพัฒนาจังหวัดเชียงรายในปีพ.ศ. 2560-2562
ภาพรวม
70
60
50
ด้านความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา 40 ด้านการพัฒนาคน
30
20
10
0

ด้านสันติภาพและยุติธรรม ด้านเศรษฐกิจและความมั่นคง

ด้านสิ่งแวดล้อม

ดัชนีการพัฒนาจังหวัดเชียงราย ดัชนีการพัฒนาจังหวัดเชียงราย ดัชนีการพัฒนาจังหวัดเชียงราย

ที่มา : สานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ (2564)


เมื่อทาการเปรียบเทียบการพัฒนาจังหวัด เชียงรายในช่วง 3 ปีที่ภาพมา พบว่า โดยภาพรวมจังหวัดมี
การพัฒนาอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ในทุกมิติการพัฒนา แต่อย่างไรก็ตามมีด้านการพัฒนาความเป็นหุ้นส่วน
204

การพัฒนาที่มีการพัฒนาน้อยกว่าในปี พ.ศ. 2560 ซึ่งเป็นประเด็นที่จังหวัดมีความจาเป็นที่จะเร่งการพัฒนา


ประเด็นดังกล่าว
หากจาแนกการวิเคราะห์รายมิติเพื่อให้เห็นตัวชี้วัดสาคัญที่อยู่ต่ากว่าค่ากลางของประเทศ และต้อง
ได้รับการแก้ไข ดังนี้
มิติการพัฒนาคน (People) ภาพรวมตัวชี้วัดในมิตินี้ของจังหวัดเชียงราย อยู่ที่ร้อยละ 65.86 สูง
กว่าค่ากลางของประเทศ และสูงกว่าปีก่อนหน้านี้ โดยปีก่อนอยู่ที่ ร้อยละ 65.03 ทั้งนี้ดัวชี้วัดที่ต่ากว่าค่าเฉลี่ย
ของประเทศได้แก่ ร้อยละของทารกแรกเกิดที่มีน้าหนักต่ากว่าเกณฑ์ จานวนปีการศึกษาเฉลี่ยประชากรไทยอายุ
15-59 ปี ค่าเฉลี่ยคะแนน o-net มัธยมศึกษาตอนปลาย
มิติด้านเศรษฐกิจและความมั่งคั่ง (Prosperity) ในมิติพบว่าปีปัจจุบันตัวชี้วัดของจังหวัด
เชียงราย อยู่ที่ร้อยละ 50.01 ต่ากว่าค่ากลางของประเทศ แต่สูงกว่าปีก่อนหน้านี้ โดยปีก่อนอยู่ที่ ร้อยละ 49.58
เมื่อวิเคราะห์ในตัวชี้วัดพบว่าตัวชี้วัดที่ต่ากว่าค่ากลางได้แก่ อัตราส่วนหนี้เฉลี่ยต่อรายได้เฉลี่ยของครัวเรือน ผลิต
ภาพแรงงาน ปริมาณการใช้ไฟฟ้าภาคครัวเรือน สัดส่วนผู้ที่อยู่ในระบบประกันสังคมต่อกาลังแรงงาน ร้อยละของ
ครัวเรือนที่มีบ้านและที่ดินเป็นของตนเอง และร้อยละของหมู่บ้านที่ถนนสายหลักใช้การได้ตลอดปีที่ต่ากว่าค่า
กลาง
มิติด้านสิ่งแวดล้อม (Planet) ในมิติพบว่าปีปัจจุบันตัวชี้วัดของจังหวัด เชียงราย อยู่ที่ร้อยละ
50.01 ต่ากว่าค่ากลางของประเทศ และต่ากว่าปีก่อนหน้านี้ โดยปีก่อนอยู่ที่ ร้อยละ 52.86 เมื่อวิเคราะห์ใน
ตัวชี้วัดพบว่าตัวชี้วัดที่ต่ากว่าค่ากลางได้แก่ ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงน้าประปา และร้อยละของประชากรที่
ประสบอุทกภัย
มิติด้านสันติภาพและยุติธรรม (Peace) ในมิติพบว่าปีปัจจุบันตัวชี้วัดของจังหวัดเชียงราย อยู่ที่
ร้อยละ 62.48 สูงกว่าค่ากลางของประเทศ และสู งกว่าปีก่อนหน้านี้ โดยปีก่ อนอยู่ที่ ร้อยละ 59.35 เมื่อ
วิเคราะห์ในตัวชี้วัดพบว่าตัวชี้วัดที่ต่ากว่าค่ากลางได้แก่ จานวนเจ้าหน้าที่ตารวจ และ อัตราการฆ่าตัวตาย
มิติด้าน ความเป็นหุ้นส่วนพัฒนา (Partnership) ในมิตินี ปัจจุบันตัวชี้วัดของจังหวัดเชียงราย
อยู่ที่ร้อยละ 34.99 ต่ากว่าค่ากลางของประเทศ แต่สูงกว่าปีก่อนหน้านี้ โดยปีก่อนอยู่ที่ ร้อยละ 31.40 เมื่อ
วิเคราะห์ในตัวชี้วัดพบว่าตัวชี้วัดที่ต่ากว่าค่ากลาง ได้แก่ ร้อยละของประชากรที่เข้าถึงอินเตอร์เน็ต ร้อยละภาษีที่
ท้องถิ่นจัดเก็บได้ ความสามารถในการเบิกจ่ายงบประมาณของจังหวัด และัดส่วนองค์กรชุมชนต่อประชากรแสน
คน ยังต่ากว่าค่ากลาง
205

จากข้อมูลดัชนีพัฒนาจังหวัดเชียงราย แม้ภาพรวมการพัฒนาจังหวัดจะดีขึ้น โดยเฉพาะ ด้าน


การพัฒนาคน แต่อย่างไรก็ตาม การพัฒนาด้านอื่นๆ มีความสาคัญไม่แพ้กัน ไม่ว่าจะเป็น ด้านเศรษฐกิจและ
ความมั่นคง ด้านสิ่งแวดล้อม ด้านสันติภาพและยุติธรรม ด้านความเป็นหุ้นส่วนการพัฒนา ดังนั้นจึงมีความ
จาเป็นต้องพัฒนาในทุกๆ มิติ อย่างไรก็ตามเนื่องจากพื้นที่ของจังหวัดมีขนาดใหญ่ และประชากรที่มาก อีกทั้ง
ยังเป็นพื้นที่สูง ดังนั้นการพัฒนาในมิติต่างๆ ยังคงมีข้อจากัด ทั้งนี้เพื่อเป็นการพัฒนาได้นาเป้าหมายการพัฒนา
ที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) จังหวัดควรนาตัวชี้ดังกล่าวมาพัฒนาร่วมกับเป้าหมาย
การพัฒนาจังหวัด เพื่อให้จังหวัดมีทิศทางการพัฒนาที่ยั่งยืนต่อไป

3) ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ต่อ


จังหวัดเชียงราย
จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ส่งผลกระทบไปทั่วโลก
จึงทาให้ในส่ วนนี้ มีการวิเคราะห์ ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ต่อจังหวัดเชีย งราย ทั้งนี้จากสถานการณ์การแพร่ระบาดระลอกที่ 3 ในช่วงวันที่ 6 เมษายน
2564 พบว่ามีจานวนผู้ติดเชื้อสะสม จานวน 2,944 คน รักษาหายแล้ว 2,361 และจานวนผู้เสียชีวิต 27 คน
และจากข้อมูลวันที่ 16 สิงหาคม 2564 พบว่า มีผู้ฉีดวัคซีนจานวน 190,636 คน หรือคิดเป็น ร้อยละ 21.27
ของประชากรจังหวัดเชียงรายทั้งหมด

Covid
ระลอก 1

Covid
ระลอก 2
Covid ระลอก
3

ภาพที่ 8 สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ของจังหวัด


เชียงราย
จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่ส่งผลกระทบไปทั่วโลก
จึงทาให้มีการวิเคราะห์ ผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
ต่อจั งหวัด เชีย งราย ทั้งนี้ เพื่อเป็ น แนวทางการพัฒ นาจั งหวัดต่อ ไป โดยมี การวิเคราะห์ ผ ลกระทบของ
สถานการณ์ดังกล่าวออกเป็น 7 กลุ่มสาคัญ ดังนี้ ได้แก่ ภาคบริการ ภาคการท่องเที่ยว ภาคธุรกิจโดยเฉพาะ
206

ธุรกิจ รายย่ อย และแรงงานนอกระบบ ภาคเกษตรที่มีมูลค่าลดลงเนื่องจากหากหดตัวของภาคบริการ แต่


อย่ า งไรตามจากสถานการณ์ ดั ง กล่ า วส่ ง ผลให้ ป ระชาชนระมั ด ระวั ง และดู แ ลสุ ข ภาพมากยิ่ ง ขึ้ น อี ก ทั้ ง
ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการฟื้นฟู

ภาคบริการได้รับผลกระทบ รายได้จากการท่องเที่ยว สินค้า OTOP ยอดขาย ทรัพยากรธรรมชาติได้รับ


มากที่สุด ลดลง เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การฟื้นฟู

ธุรกิจรายย่อยปิดกิจการ /
แรงงานนอกระบบได้รับ ภาคการเกษตรเนื่องจากภาค ประชาชนระมัดระวังและ
ผลกระทบ เกิดปัญหา การ บริการที่ได้รับผลกระทบ ดูแลสุขภาพมากยิ่งขึ้น
ว่างงาน

ภาพที่ 9 มิติในการพิจารณาผลกระทบจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

อย่างไรก็ตามผลกระทบในจากจากโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) มีประเด็นที่น่าสนใจ


ดังนี้
3.1) ภาคบริการ
จากสถานการณ์ โ ควิ ดส่ ง ผลให้ ภ าคบริการได้รับ การผลกระทบอย่างมาก ทั้ งนี้เ นื่องจาก
นโยบาย Social Distancing และการมาตราการต่างๆ ส่งผลให้กิจกรรมทางเศรษฐกิจในจังหวัดมีสัญญาณการ
ชลอตัวลง ทั้งนี้ จ ากภาพที่ 8 เป็น ข้อมูลแสดงให้ ถึงการใช้โ ทรศัพท์มาเส้ นทาง พบว่าใน 1 ปีที่ผ่านมามี
สัญญาณชัดเจนว่าความถี่ในการเดินทางลดลง โดยภาพรวมของจังหวัดแพร่ในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลงลดลง
ร้อยละ 60 ดังนั้นเป็นสัญญาณที่ชัดเจนว่ากิจกรรมทางเศรษฐกิจของคนในจังหวัดเชียงรายเปลี่ยนแปลงไป

ภาพที่ 10 กิจกรรมทางเศรษฐกิจของคนในกลุ่มจังหวัดเปลี่ยนแปลงไป เนื่องจาก Covid 19


207

3.2) ภาคการท่องเที่ยว
แผนภูมิที่ 61 จานวนและรายได้จากนักท่องเที่ยวที่ลดลงอย่างมีนัยสาคัญในช่วงสถานการณ์โควิด 19

4,000,000 40,000.00

3,000,000 30,000.00

2,000,000 20,000.00

1,000,000 10,000.00

0 0.00
2558 2559 2560 2561 2562 2563
จานวนนักท่องเที่ยว รายได้จากนักท่องเที่ยว

สาหรับผลกระทบจากของสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ที่


เกิดขึ้นกับภาพรวมของการท่องเที่ยวพบว่า ในช่วงพรก.ฉุกเฉิน ที่ควบคุมการเข้าออกของประชาชนในจังหวด
เชียงราย พบว่า ภาพรวมของจานวนของผู้เยี่ยมเยือนและรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนจังหวัดเชียงราย ลดลง
ประมาณร้ อยละ 50 ทั้งนี้ สถานการณ์การท่องเที่ยวของจังหวัดในกลุ่ มภาคเหนือตอนบน2 และ จังหวัด
เชีย งราย ซึ่งเป็ น จั งหวัดท่องเที่ย วหลั กของภาคเหนือมีส ถานการณ์ไม่แตกต่างกัน แต่อย่างไรก็ตาม หาก
เปรียบเทียบกับสถานการณ์การท่องเที่ยวในภาคเหนือ และประเทศไทยในภาพรวม พบว่าจังหวัดเชียงรายมี
สัดส่วนของลดลงของจานวนผู้มาเยี่ยมเยือน และรายได้จากผู้เยี่ยมเยือนน้อยกว่าภาพรวมของภาคเหนือและ
ประเทศ อย่ างไรก็ตามการท่องเที่ย วหลั งจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัส โคโรนา 2019
(COVID-19) มีความจาเป็นต้องปรับเปลี่ยนให้เป็นการท่องเที่ยวภายในบริ บทใหม่ หรือ New normal ดังนั้น
ไม่ว่าจะเป็นภาครัฐและภาคเอกชน จาเป็นที่จะปรับตัวกับสถานการณ์ภายใต้บริบทใหม่ที่เกิดขึ้น
208

3.3) ภาคการค้าการลงทุน
แผนภูมิที่ 62 มูลค่านาเข้า ส่งออก และดุลการค้าและการพยากรณ์แนวโน้มในอนาคต

หน่วย: พันล้านบาท
53,543.84 54,760.68 55,977.53
60,000.00 52,327.00
48,305.25
50,000.00

40,000.00 32,418.03 32,110.18 31,802.34 31,494.49


28,296.15
30,000.00
20,000.00

10,000.00

-
2558 2559 2560 2561 2562 2563 2564 2565 2566 2567

ดุลการค้า Forecast(ดุลการค้า) รวมมูลค่าการค้า Forecast(รวมมูลค่าการค้า)

สาหรับการค้าชายแดนและการค้าผ่านของจังหวัดเชียงราย พบว่าแม้ในปี พ.ศ. 2563 มูลค่าการค้า


รวม และการได้ดุลการค้าจะลดลง แต่จากการพยากรณ์พบว่ามีสัญญานการค้าชายแดนและการผ่านแดนที่
เพิ่มขึ้นทั้งนี้เนื่องจากมีสัญญาณการฟื้นตัวจากประเทศจีน แต่อย่างไรก็ตามความได้เปรียบดุลการค้า ส่งผลให้
ประเทศคู่ค้าอย่างเมียนมาและสปป.ลาว ออกมาตรการที่มิใช่ภาษีอย่างต่อเนื่องที่เชื่อมโยงกับมาตรการ
ทางด้านสุขอนามัยต่าง ๆ ที่เป็นอุปสรรคต่อการค้าของประเทศไทย ซึ่งจะส่งผลต่อการค้าชายแดนในจังหวัด
เชียงรายด้วยเช่นกัน อาทิเช่น เมียนมา ได้ออกประกาศสั่งระงับไม่ให้ส่ง สินค้ากลุ่มเครื่องดื่ม 5 รายการ คือ
น้าอัดลม เครื่องดื่มชูกาลัง, เครื่องดื่มที่มีส่วนผสมของกาแฟและชา, กาแฟสาเร็จรูป, นมข้นหวานและนมข้นจืด
ผ่านชายแดนทางบกจากทุกประเทศที่มีพรมแดนติดต่อกับเมียนมาตั้งแต่ 1 พฤษภาคม 2564 ไปจนกว่าจะมี
คาสั่งเปลี่ยนแปลง และสปป.ลาว ได้ประกาศใช้มาตรการชะลอการนาเข้า สินค้าอาหารทะเลและน้ามันจาก
ประเทศไทย นอกจากนั้ น ยั ง มี ม าตรการล็ อ กดาวน์ ในบางประเทศคู่ ค้ า ส่ ง ผลให้ ต้ น ทุ น การขนส่ ง เพิ่ ม ขึ้ น
มาตรการต่ างๆ นี้ ย่ อ มกระทบต่ อการค้ าชายแดนและการผ่ านแดนของจัง หวั ดเชี ยงราย จึ งท าให้ ในช่ว ง
สถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ผู้ประกอบการการค้าชายแดนใน
พื้นทีจ่ ังหวัดเชียงราย นอกเหนือจากความเสี่ยงที่เกิดจากการแพร่ระบาดของโควิด-19 แล้ว ยังจะต้องรับความ
เสี่ยงเกี่ยวกับมาตรการที่มิใช่ภาษีที่เชื่อมโยงกับมาตรการทางด้านสุขอนามัยต่างๆ ซึ่งเป็น เสี่ยงในการดาเนิน
ธุรกิจที่ยากจะควบคุมได้
209

3.4) ภาคแรงาน

แผนภูมิที่ 63 สัดส่วนของแรงงานในจังหวัดเชียงราย

800,000

600,000

400,000

200,000

0
2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563

นอกระบบ ในระบบ

ตารางที่ 99 สัดส่วนของแรงงานนอกระบบ ปีพ.ศ. 2554-2563


2554 2555 2556 2557 2558 2559 2560 2561 2562 2563
สัดส่วนแรงงานนอก
ระบบ (60ปี+) 8.74 11.68 13.42 15.23 14.99 16.25 15.23 16.34 17.77 22.16
สัดส่วนแรงงานนอก
ระบบ 75.66 78.36 76.57 78.68 80.90 78.23 76.64 75.88 78.22 75.93

จากผลกระทบของธุรกิจที่ปิดตัวลงเนื่องจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา
2019 (COVID-19) ส่ งผลกระทบต่อ ตลาดแรงงานโดยตรง ดัง นั้น แรงงานที่มี ความเสี่ ยงที่ขาดสวัส ดิ การ
คุ้มครองเนื่องจากการว่างงานอันเนื่องจากธุรกิจที่ปิดตัวลง ทั้งนี้เมื่อวิเคราะห์โครงสร้างของแรงงานนอกระบบ
มากกว่า ร้อยละ 20 เป็นแรงงานผู้สูงอายุ ซึ่งแรงงานกลุ่มนี้หากเกิดการว่างงาน เนื่องจากมีข้อจากัดด้านอายุ
จึงทาโอกาสในการหางานใหม่เป็นไปได้ยาก ดังนั้นทางจังหวัดและหน่วยงานที่เกี่ยวข้องควรที่จะเฝ้าระวังและ
หามาตราการช่วยเหลือแรงงานกลุ่มนี้

3.5) ผลกระทบด้านสังคมและสุขภาพ
จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้มีกการ
ประกาศใช้ พระราชกาหนดการบริหารราชการในสถานการณ์ฉุกเฉิน พ.ศ. 2548 หรือ พรก.ฉุกเฉิน ทาให้เกิด
มาตราการการจากัดการเดินทางในช่วงเดินทาง และมาตรการระยะห่างทางสังคม ผลจากมาตราการต่าง
ดังกล่าวส่งผลกระทบกับมิติด้านสังคมและสุขภาพเข่นกัน
210

มิติด้านสังคม จากการทางานที่บ้านหรือ Work from home ทาให้ครอบครัวมีเวลาอยู่


ด้วยกันมากขึ้น ปัญหาเรื่องเด็กแว้น การมั่วสุมของวัยรุ่นลดลง ในช่วงพรก.ฉุกเฉิน
มิติด้านสุขภาพ ประชาชนใส่ใจในสุขภาพและสุขอนามัยมากขึ้น ส่งให้ปัญหาเกี่ยวกับโรค
ทางเดินหายใจลดลง เนื่องจากประชาชนใส่หน้ากากมากขึ้น
3.6) ผลกระทบด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
สาหรับผลกระทบด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม จากสถานการณ์การระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ซึง่ ดูเหมือนว่าจะเป็นผลด้านบวก โดยจากมาตราการจากัดเวลา
การเดินทาง และการเว้นระยะห่างจากสังคม ส่งผลให้ ระบบนิเวศในแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติมีโอกาสใน
การฟื้นฟูตัวเอง เนื่องจากปราศจากนักท่องเที่ยว อีกทั้งการจากัดการเดินทางของประชาชน หรือการ
สนับสนุนในอยู่บ้านมากขึ้นส่งผลให้มลพิษทางอากาศลดลง
จากการวิเคราะห์ผลกระทบในมิติต่างๆ จากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19) ทาให้จังหวัดเชียงรายมีความจาเป็นต้องปรับตัวปรับตัวในช่วงสถานการณ์โควิด 19 และกาหนด
ทิศทางการพัฒนาในช่วงสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) และหลังจาก
โรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 ผ่อนคลาย

ภาพที่ 11 การปรับตัวในช่วงสถานการณ์โควิด 19

จากการกาหนดนโยบายและแนวทางการพัฒนาจังหวัด เชียงรายภายใต้สถานการณ์ที่เปลี่ยนแปลงที่
คาดการณ์ได้ยากของสถานการณ์โควิด 19 นั้น ดังนั้นจึงมีความจาเป็นที่ต้องจัดลาดับความสาคัญในการพัฒนา
ทั้งนี้ เมื่อวิเคราะห์จากสถานการณ์ พบว่า สาขาเศรษฐกิจที่มีศักยภาพในการพัฒนาแม้อยู่ในช่วงสถานการณ์โค
วิด 19 ได้ แก่ สาขาเศรษฐกิจ เกี่ ย วกับ สุ ขภาพ สิ นค้ า เศรษฐกิ จฐากราก และสาขาเกษตร เนื่ องจากเป็ น
211

ปัจจัยพื้นฐาน แต่อย่างไรก็ตามมีสัญญาณการคลี่คลายทางเศรษฐกิจ จากการค้าชายแดนและการค้าผ่า นที่เริ่ม


ขึ้นในปี พ.ศ. 2564 ซึ่งจะส่งผลให้ ภาคอุตสาหกรรมปรับตัวเพิ่มขึ้นในไม่ช้า อย่างไรก็ตามสาขาเศรษฐกิจสาคัญ
ของจังหวัดแพร่ ได้แก่ ภาคศีกษาและการท่องเที่ยว ทั้งนี้ขึ้นอยู่กับการฉีดวัคซีน และการสร้างภูมิคุ้มกันหมู่ของ
คนในจังหวัด และคนในประเทศเป็นสาคัญ

4 ) กรอบทิศทางการพัฒนา
จากกรอบทิศทางการพัฒนาของจังหวัดเชียงรายสามารถเชื่อมโยงกับยุทธศาสตร์ต่าง ๆ ของประเทศ
โดยแบ่งออกออกเป็นแผนระดับที่ 1 ยุทธศาสตร์ชาติระยะยาว 20 ปี (พ.ศ. 2560 – 2579) แผนระดับที่ 2
แผนปฏิรูปประเทศ นโยบายความมั่นคงแห่งชาติ แผนแม่บทภายใต้ ยุทธศาสตร์ชาติ และแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 13 และแผนระดับที่ 3 ได้แก่ นโยบายรัฐบาล แผนพัฒนาภาคเหนือ และแผนพัฒนา
กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 ซึ่งแผนต่าง ๆมีรายละเอียดดังนี้

ภาพที่ 12 ความเชื่อมโยงของยุทธศาสตร์กับแผนพัฒนาจังหวัด
212

1)แผนระดับที่ 1
ยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ. 2561 – 2580)
ภายใต้วิสัยทัศน์ประเทศไทย “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้วด้วยการพัฒนาตาม
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง” ประกอบด้วย 5 ประเด็นยุทธศาสตร์ชาติ
1. ความมั่นคง
2. การสร้างความสามารถในการแข่งขัน
3. การพัฒนาและเสริมสร้างศักยภาพคน
4. การสร้างโอกาสและความเสมอภาคและเท่าเทียมกันทางสังคม
5. การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
6. การปรับสมดุลและการพัฒนาระบบบริหารจัดการภาครัฐ
2) แผนระดับที่ 2
2.1) แผนปฏิรูปประเทศ
1. ด้านการเมือง
2. ด้านการบริหารราชการแผ่นดิน
3. ด้านกฎหมาย
4. ด้านกระบวนการยุติธรรม
5. ด้านเศรษฐกิจ
6. ด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
7. ด้านสาธารณสุข
8. ด้านสื่อสารมวลชน เทคโนโลยีสารสนเทศ
9. ด้านสังคม
10. ด้านพลังงาน
11. ด้านป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ
2.2) แผนแม่บทภายใต้ยุทธศาสตร์ชาติ
1. ด้านความมั่นคง
2. ด้านการต่างประเทศ
3. ด้านการเกษตร
4. อุตสาหกรรมและบริการแห่งอนาคต
5. การท่องเที่ยว
6. พื้นที่และเมืองน่าอยู่อัจฉริยะ
7. โครงการพื้นฐาน ระบบโลจิสติกส์และดิจิทัล
8. ผู้ประกอบการและวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อมยุคใหม่
213

9. เขตเศรษฐกิจพิเศษ
10. การปรับเปลี่ยนค่านิยมและวัฒนธรรม
11. ศักยภาพคนตลอดช่วงชีวิต
12. การพัฒนาการเรียนรู้
13. การเสริมสร้างให้คนไทยมีสุขภาวะที่ด
14. ศักยภาพการกีฬา
15. พลังทางสังคม
16. เศรษฐกิจฐานราก
17. ความเสมอภาคและหลักประกันทางสังคม
18. การเติบโตอย่างยั่งยืน
19. การบริหารจัดการน้าทั้งระบบ
20. การบริการประชาชนและประสิทธิภาพภาครัฐ
21. การต่อต้านการทุจริตและประพฤติมิชอบ
22. กฎหมายและกระบวนการยุติธรรม
23. การวิจัยและพัฒนานวัตกรรม
2.3) ร่างแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 13 (พ.ศ . 2565 – 2570)
(ข้อมูล ณ 10 มีนาคม 2564 )
เศรษฐกิจมูลค่าสูงที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม ปรับทิศทางของภาคการผลิตเดิมส่งเสริม
โอกาสทางเศรษฐกิจใหม่
1. ไทยเป็นประเทศชั้นนาด้านสินค้าเกษตรและเกษตรแปรรูปมูลค่าสูง
- การปรับโครงสร้างให้มีผลิตภาพและผลตอบแทนสูง
- เกษตรกรเข้าถึงช่องทางการตลาดที่หลากหลาย
- มีโ ครงสร้ า งพื้ น ฐานและสิ่ งอ านวยความสะดวกที่ เ หมาะสม อาทิ แหล่ ง น้ าและ
ระบบโลจิสติกส์
- เทคโนโลยีชีวภาพได้รับการวิจัยและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
2. ไทยเป็นจุดหมายของการท่องเที่ยวที่เน้นคุณค่าและความยั่งยืน
- มีภาพลักษณ์ในฐานะจุดหมายการท่องเที่ยวเน้นคุณค่าและความยั่งยืน
- มีจุดเด่นด้านการท่องเที่ยวรูปแบบเฉพาะ กิจกรรมหลากหลาย เพื่อดึงดูดนักท่อง
เที่ยวคุณภาพ
- รายได้จากการท่องเที่ยวกระจายสู่เมืองรอง ชุมชน และผู้ประกอบการรายย่อย
3. ไทยเป็นฐานการผลิตยานยนต์ไฟฟ้าของอาเซียน
- มีการลงทุนพัฒนาเทคโนโลยี นวัตกรรม และทักษะแรงงาน อย่างต่อเนื่อง
214

- ปริมาณการใช้ยานยนต์ไฟฟ้าภายในประเทศเพิ่มขึ้น และมีสถานีอัดประจุไฟฟ้าที่
เพียงพอและครอบคลุม
- มีมาตรการช่วยเหลือผู้ได้รับผลกระทบและแผนรองรับการเปลี่ยนผ่านที่ชัดเจน
4. ไทยเป็นศูนย์กลางทางการแพทย์ และสุขภาพมูลค่าสูง
- มีชื่อเสียงในการให้บริการทางการแพทย์ขั้นสูง โรคเฉพาะทาง บริการความงาม และ
การส่งเสริมสุขภาวะ
- ลงทุนวิจัยและพัฒนาองค์ความรู้และเทคโนโลยีขั้นสูง
- ระบบสาธารณสุขมีคุณภาพ สามารถจัดสรรทรัพยากรอย่างเพียงพอและเหมาะสม
ต่อผู้รับบริการจากทั้งในและต่างประเทศ
5. ไทยเป็นประตูการค้าการลงทุนและจุดยุทธศาสตร์ทางโลจิสติกส์ที่สาคัญของภูมิภาค
- กฎระเบี ย บ กระบวนการน าเข้ า ส่ งออก และข้อ ตกลงการค้า ระหว่ า งประเทศ
ส่งเสริมศักยภาพ เอื้อต่อการดาเนินธุรกิจ และสามารถลดต้นทุนโลจิสติกส์
- โครงสร้างพื้นฐานเชื่อมโยงโครงข่ายเส้นทางคมนาคมขนส่งในอาเซียนไร้รอยต่อ
- ผู้ประกอบการมีศักยภาพการแข่งขันในระดับสากล
6. ไทยเป็นฐานการผลิตอิเล็กทรอนิกส์อัจฉริยะ และบริการดิจิทัลของอาเซียน
- เทคโนโลยี ความรู้ และนวัตกรรม ทั้งซอฟท์แวร์และดิจิทั ลคอนเทนต์ ได้รับการ
พัฒนาอย่างต่อเนื่อง
- มีโครงสร้างพื้นฐาน และปัจจัยแวดล้อมที่ส่งเสริมการประกอบธุรกิจด้านดิจิทัล
- มีระบบเฝ้าระวังและป้องกันการโจมตีทางไซเบอร์ประชาชนมีทักษะทางดิจิทัล
สังคมแห่งโอกาสและความเสมอภาค ใช้เทคโนโลยี ข้อมูล และดิจิทัลแพลทฟอร์มเป้นเครื่องมือ
7. ไทยมี SMEs ที่เข้มแข็ง มีศักยภาพสูง และสามารถแข่งขันได้
- การแข่งขันเปิดกว้างและเป็นธรรม ลดความเหลื่อมล้าระหว่าง SMEs และธุรกิจ
ขนาดใหญ่
- SMEs มีศักยภาพสูง สามารถพัฒนาและใช้เทคโนโลยีเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ
- SMEs มีบทบาทในภาคการส่งออก สามารถเชื่อมโยงกับ GVCs
- วิสาหกิจเพื่อสังคมขยายตัว และวิสาหกิจชุมชนมีศักยภาพ สามารถสร้างมูลค่าเพิ่ม
8. ไทยมีพื้นที่และเมืองหลักของภูมิภาคที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจ ทันสมัย และน่าอยู่
- ความเหลื่ อมล้ าเชิงพื้นที่ล ดลง ทั้งในด้า นเศรษฐกิจและบริการสาธารณะ มีการ
พัฒนาเศรษฐกิจตามศักยภาพพื้นที่ และเชื่อมโยงระหว่างเมืองและชนบท
- พื้นที่เศรษฐกิจ/เมืองหลักมีโครงสร้างพื้นฐาน ที่รองรับกิจกรรมทางเศรษฐกิจที่เป็น
มิตรต่อสิ่งแวดล้อม
- อปท. ชุมชน ภาคเอกชนในพื้นที่ มีศักยภาพและบทบาทในการพัฒนาพื้นที่และ
เมือง
215

9. ไทยมีค วามยากจนข้ า มรุ่ น ลดลง และคนไทยทุ ก คนมี ค วามคุ้ ม ครองทางสัง คมที่


เพียงพอ เหมาะสม
- คนจนข้ามรุ่นลดลง จากมาตรการช่วยเหลือแบบมุ่งเป้า และฐานข้อมูลที่สามารถ
ระบุคนจนและปัญหา
- นโยบายการเงินการคลังและกฎหมายส่งเสริมการกระจายรายได้
- ทุกกลุ่มคนสามารถเข้าถึงดิจิทัลได้อย่างทั่วถึง
- เด็กยากจนสามารถเข้าถึงการศึกษาในระดับที่สูงกว่าการศึกษาภาคบังคับ
- ความคุ้มครองทางสังคมเพียงพอ เหมาะสม
วิถีชีวิตที่ยั่งยืน ใช้ระบบการจัดการที่มีประสิทธิภาพและเทคโนดลยีเพื่อจัดการกับปัญหา
สิ่งแวดล้อม พัฒนาความสามารถในการรับมือกับภัยธรรมชาติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
10. ไทยมีเศรษฐกิจหมุนเวียนและสังคมคาร์บอนต่า
- ขยะและน้าเสียได้รับการจัดการที่ถูกต้องและหมุนเวียนกลับไปใช้ประโยชน์มากขึ้น
- พลังงานหมุนเวียนเป็นแหล่งพลังงานหลักสาหรับการผลิตไฟฟ้าของประเทศ
- ผลิตภัณฑ์ที่มาจากวัสดุเหลือใช้และปล่อยคาร์บอนในปริมาณต่าได้รับการสนับสนุน
ทั้งในด้านการพัฒนานวัตกรรมการผลิต และการจูงใจผู้บริโภค
11. ไทยสามารถปรับตัวและลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติ
- พื้นที่ที่มีความเสี่ยงภัยสูงได้รับการจัดการให้มีความเสี่ยงที่ลดลง
- ป่าและพื้นที่ชุมน้าได้รับการอนุรักษ์
- ระบบการจัดการภัยในทุกระดับได้รับการปรับปรุงให้มีประสิทธิภาพและศักยภาพที่
สูงขึ้น
- เป้าหมายการลดความเสี่ยงจากภัยธรรมชาติและสภาพ
- ภูมิอากาศเป็นส่วนหนึ่งของการวางแผนพัฒนาพื้นที่
- ทุกภาคส่วนได้รับการพัฒนาขีดความสามารถในการรับมือกับภัยธรรมชาติ
ปัจจัยสนับสนุนการพลิกโฉมประเทศ กลไกการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์มีประสิทธิภาพ และ
กลไลการบริหารจัดการภาครัฐมีความทันสมัย
12. ไทยมีกาลังคนสมรรถนะสูงมุ่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ตอบโจทย์การพัฒนาแห่งอนาคต
- ระบบการศึกษามีคุณภาพ สามารถพัฒนาทักษะสาคัญ และเอื้อต่อการสร้างสังคม
แห่งการเรียนรู้ตลอดชีวิต
- สถาบันอุดมศึกษาปรับบทบาท ให้สามารถพัฒนาทุนมนุษย์ในทุกช่วงวัย
- กลไกการพัฒนาฝีมือมีคุณภาพ ทันสมัย ได้มาตรฐานนโยบายการจัดการก าลังคน
ภายใต้สังคมสูงวัยมีความชัดเจน และระบบฐานข้อมูลการจัดการก าลังคนมีประสิทธิภาพ
- สถาบันทางสังคมเอื้อต่อการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์
-
216

13. ไทยมีภาครัฐที่มีสมรรถนะสูง
- ภาครัฐบูรณาการ เป็นเอกภาพ
- โครงสร้างภาครัฐมีความยืดหยุ่น และมีความยั่งยืนทางการคลัง
- การบริหารงานภาครัฐและการให้บริการสาธารณะปรับสู่รูปแบบดิจิทัลอย่างเต็ม
รูปแบบ
- กฎหมาย กฎระเบียบ และมาตรการภาครัฐทันสมัย สนับสนุนการพลิกโฉมประเทศ
ทุกภาคส่วนมีส่วนร่วมในการพัฒนาและติดตามตรวจสอบการพัฒนาประเทศ

3) แผนระดับที่ 3
3.1) นโยบายรัฐบาล
นโยบายหลัก 12 ด้านของรัฐบาล
1. การปกป้องและเชิดชูสถาบันพระมหากษัตริย์
2. การสร้างความมั่นคงและความปลอดภัยของประเทศ และความสงบสุขของประเทศ
3. การทานุบารุงศาสนาศิลปะและวัฒนธรรม
4. การสร้างบทบาทของไทยในเวทีโลก
5. การพัฒนาเศรษฐกิจและความสามารถในการแข่งขันของไทย
6. การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจและการกระจายความเจริญสู่ภูมิภาค
7. การพัฒนาสร้างความเข้มแข็งจากฐานราก
8. การปฏิรูปกระบวนการเรียนรู้และการพัฒนาศักยภาพของคนไทยทุกช่วงวัย
9. การพัฒนาระบบสาธารณสุขและหลักประกันทางสังคม
10. การฟื้น ฟู ทรั พยากรธรรมชาติ และการรักษาสิ่ งแวดล้ อมเพื่อสร้างการเติบโตอย่าง
ยั่งยืน
11. การปฏิรูปการบริหารจัดการภาครัฐ
12. การป้องกันและปราบปรามการทุจริตและประพฤติมิชอบ และกระบวนการยุติธรรม
นโยบายเร่งด่วน 12 เรื่องของรัฐบาล
1. การแก้ไขปัญหาในการดารงชีวิตของประชาชน
2. การปรับปรุงระบบสวัสดิการและพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชน
3. มาตรการเศรษฐกิจเพื่อรองรับความผันผวนของเศรษฐกิจโลก
4. การให้ความช่วยเหลือเกษตรกรและพัฒนานวัตกรรม
5. การยกระดับศักยภาพของแรงงาน
6. การวางรากฐานระบบเศรษฐกิจของประเทศสู่อนาคต
7. การเตรียมคนไทยสู่ศตวรรษที่ 21
217

8. การแก้ไ ขปั ญหาทุ จ ริ ตและประพฤติ มิช อบในวงราชการทั้ งฝ่ ายการเมือ งและฝ่ า ย


ราชการประจา
9. การแก้ไขปัญหายาเสพติดและสร้างความสงบสุขในพื้นที่ชายแดนภาคใต้
10. การพัฒนาระบบการให้บริการประชาชน
11. การจัดเตรียมมาตรการรองรับภัยแล้งและอุทกภัย
12. การสนับสนุนให้มีการศึกษา การรับฟั งความเห็นของประชาชนและการดาเนินการ
เพื่อแก้ไขเพิ่มเติมรัฐธรรมนญ
3.2) ร่างแผนการพัฒนาภาคเหนือ (พ.ศ.2566-2570)
เป้า หมายการพัฒนา “ฐานเศรษฐกิจสร้ างสรรค์ของประเทศ” ตามแนวคิด เศรษฐกิจ
สร้างสรรค์ สานสัมพันธ์ระหว่างพื้นที่ สุขภาวะดี วิถีชีวิตยั่งยืน”
แนวทางในการพัฒนา
1. Creative : พัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูง โดยการสร้างระบบนิเวศ เมือง และ
พื้นที่สร้างสรรค์ ตลอดจนสามารถพัฒนาสู่การเป็นสินค้าและบริการสร้างสรรค์
2. Connect : สร้างโอกาสในการเชื่อมโยงเศรษฐกิจภายในประเทศและกับอนุภูมิภาค ทั้ง
ในส่วนของระเบียงเศรษฐกิจพิเศษ เขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน เมืองสร้างสรรค์ และกลุ่มผู้คนสร้างสรรค์
3. Clean พัฒนาตามแนววิถีใหม่ (New Normal) บนฐานการเติบโตอย่างยั่งยืน ของการ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม การดูแลความสะอาดของเมือง และการใช้พลังงานสะอาด
4. Care ให้ความสาคัญอย่างต่อเนื่องกับการดูแลผู้สูงอายุและผู้ด้อยโอกาสในสังคมและพัฒ
นาศักยภาพแรงงาน
3.3) แผนพัฒ นากลุ่ม จัง หวัด ภาคเหนือตอนบน 2 (เชีย งราย พะเยา แพร่ น่า น)
ประจาปี พ.ศ. 2566 – 2570
 เป้าหมายการพัฒนา ภายในปี 2570 กลุ่มจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 จะเป็ น
เมืองน่าอยู่อย่างยั่งยืน
 ประเด็นการพัฒนา
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 พัฒนาเป็นฐานเศรษฐกิจมูลค่าสูง
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 ส่งเสริมและพัฒนาสุขภาวะ “New Normal” สู่ “High Sustainable”
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและพัฒนาขีดความสามรถในการรับมือสาธารณ
ภัย
218

5) การวิเคราะห์ SWOT ของจังหวัดเชียงราย


 ปัจจัยภายใน (Internal Factors)
พบว่าจุดแข็ง (Strength) และจุดอ่อน (Weakness) สามารถสรุปรายละเอียดได้ ดังนี้
1) จุดแข็ง (Strength)
ลาดับที่ การวิเคราะห์ SWOT ระดับความสาคัญ
ปัจจัยภายใน ด้านจุดแข็ง (Strength – S)
1 จุดภูมิศาสตร์ ทาเล ที่ตั้งเป็นจุดศูนย์กลางเชื่อมโยงกับประเทศ GMS มีเส้นทาง
คมนาคมสะดวก ทั้งทางน้า ทางบก และทางอากาศ 4.63
2 มีทรัพยากรการท่องเที่ยวที่สามารถพัฒนาเป็นการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มประเภทMICE
การท่องเที่ยวกีฬาและผจญภัย การท่องเที่ยวเพื่อสุ ขภาพ และการท่องเที่ยวแบบ
พานักระยะยาวซึ่งสามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับการท่องเที่ยวของจังหวัด 4.58
3 ทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ส่งผลให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพของชนิด
พันธุ์พืช และสัตว์ป่า เป็นที่น่าสนใจของนักท่องเที่ยว 4.05
4 พื้นที่การเกษตรที่อุดมสมบูรณ์ สามารถผลิตอาหารและสินค้าเกษตรที่สาคัญ
อาทิ ข้าวหอมมะลิ กาแฟ ชา ลาไย ลิ้นจี่ สับปะรดภูแล สับปะรดนางแล ปลานิล
ส้มโอเวียงแก่น ข้าวเหนียวเขี้ยวงู และโคขุน 4.53
5 สิ น ค้ า เกษตรของจั ง หวั ด เชี ย งรายมี อั ต ลั ก ษณ์ มี ลั ก ษณะบ่ ง ชี้ เ ฉพาะทาง
ภูมิศาสตร์หลากหลายชนิด 4.00
6 มีกลุ่ม Young Smart Farmer เกษตรกรรุ่นใหม่ให้มีขีดความสามารถด้าน
การเกษตร สามารถทดแทนเกษตรกรผู้สูงอายุ และสร้างแรงจูงใจให้คนรุ่นใหม่
หันมาประกอบอาชีพ 3.74
7 ที่ตั้ง มีภูมิประเทศและภูมิภาคที่น่าอยู่ มีแหล่งทรัพยากรธรรมชาติและแหล่ง
ท่ อ งเที่ ย วทางธรรมชาติ ที่ มี ชื่ อ เสี ย ง รวมทั้ ง การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง สุ ข ภาพ เชิ ง
วัฒนธรรม เชิงนิเวศน์ สามารถเชื่อมโยงไปยังกลุ่มท่องเที่ยว GMS และกลุ่ม
ASEAN +3, +6 4.68
8 มีสถาบันการศึกษาและบุคลากรทางการศึกษาภาครัฐและเอกชนทุกระดับทาให้
ประชากรได้รับโอกาสทางการศึกษาที่ทั่วถึง สถาบันศึกษามีส่วนช่ วยสนับสนุน
การพัฒนาของจังหวัด 4.26
9 มีศิลปินที่มีชื่อเสียง และปราชญ์ชาวบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย
สามารถใช้เป็นต้นแบบและสามารถถ่ายทอดความรู้ได้ 4.32
10 สถานบริการด้านสุขภาพที่ได้มาตรฐาน มี โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลเอกชน
สถานบริการในระดับอาเภอ และระดับตาบลครอบคลุมทุกพื้นที่ ตลอดจนภูมิ 4.21
219

ลาดับที่ การวิเคราะห์ SWOT ระดับความสาคัญ


ปัญญาและการแพทย์ทางเลือก
11 ต้นทุนด้านศิลปวัฒนธรรมล้านนาและชาติพันธุ์ เป็นอัตลักษณ์ที่โดดเด่น มีความ
หลากหลายด้านภูมิปัญญาทางศิลปะ เป็นเมืองศิลปิน 4.47
12 สินค้าผลิตภัณฑ์ OTOP สินค้าวิสาหกิจชุมชนที่มีคุณภาพและเป็นเอกลักษณ์ ที่มี
ศักยภาพ และเป็นโอกาสในการสนับสนุนเศรษฐกิจชุมชน 3.79
13 ภาคประชาสังคมและประชาชนมีการรวมกลุ่มและการมีส่วนรวมในกิจกรรมด้าน
สังคมศิลปวัฒนธรรม ศาสนาและประเพณีท้องถิ่นร่วมกันทาให้ประชาชนอยู่เย็น
เป็นสุข 4.05
14 มีหน่วยงานด้านความมั่นคงที่มีความเข้มแข็ง สามารถบูรณาการ การทางานได้
อย่างมีประสิทธิภาพ 3.89
15 ลักษณะของคนในพื้นที่ ที่ลักษณะเป็นมิตร และยิ้มแย้มแจ่มใส มีเอกลักษณ์ด้าน
ภาษา และการแต่งกายซึ่งเป็นเสน่ห์ให้กับการท่องเที่ยว 4.32
16 มีลั กษณะภูมิอากาศที่เย็ นสบายเหมาะกับการเป็นเมืองน่าอยู่ และเป็นเมือง
สาหรับการท่องเที่ยว 4.68
ค่าเฉลี่ยรวม 4.26

2) จุดอ่อน (Weakness)
ลาดับที่ การวิเคราะห์ SWOT ระดับความสาคัญ
ปัจจัยภายใน ด้านจุดอ่อน (Weakness - W)
1 มีพื้นที่ชลประทานน้อย ในขณะที่ต้นทุนการผลิตแหล่งน้ามีมูลค่าสูง ทาให้พื้นที่
ส่วนใหญ่ขาดแคลนน้าในฤดูแล้ง 4.42
2 ทรัพยากรดินเริ่มเสื่อมโทรมจากการใช้สารเคมีจากระบบการเกษตรบนพื้นที่สูงที่ไม่
ถูกต้อง การเผาก่อนและหลังการเก็บเกี่ยว ส่งผลต่อปัญหาหมอกควัน ปัญหาการ
ปนเปื้อนทางสารเคมี 4.58
3 เกษตรกรขาดเอกสารสิทธิ์ที่ดินทากินรายได้เฉลี่ยต่อคนต่ากว่ารายได้เฉลี่ยของ
ประเทศ ทาการเกษตรแบบขาดการบริหารจัดการด้านการผลิต 4.32
4 ผู้ประกอบ SME มีศักยภาพไม่เพียงพอในการเชื่อมโยงด้านการค้าการลงทุนทั้ง
ในและต่างประเทศ 4.21
5 แหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วเชิ ง ธรรมชาติ มี ข้ อ จ ากั ด ไม่ ส ามารถเที่ ย วได้ ต ลอดปี (low
season) ทาให้ท่องเที่ยวไม่ตอ่ เนื่อง 4.05
6 ประชาชนทุกภาคส่วนขาดการเตรียมความพร้อมที่รับมือต่อการเปลี่ยนแปลงใน 4.32
220

ลาดับที่ การวิเคราะห์ SWOT ระดับความสาคัญ


บริบทที่เปลี่ยนแปลงไปส่งให้เกิดการปรับตัวการดาเนินธุรกิจ และการดาเนิน
ชีวิตในช่วงภาวะวิกฤตสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019
(COVID-19)
7 ปัญหาสิ่งแวดล้อมในชุมชนเมือง เช่น ปัญหาขยะ ปัญหาน้าเสีย และ มลพิษทาง
อากาศ 4.26
8 สภาพภูมิศาสตร์มีแนวชายแดนติดกับประเทศเพื่อนบ้านทั้งทางบกและทางน้า
เป็นอุปสรรคต่อการป้องกันปัญหาด้านความมั่นคง 4.00
9 ความเหลื่อมล้าทางสังคมของกลุ่มชาติพันธุ์ยังได้รับการช่วยเหลือ ดูแลน้อย 3.89
10 ความเจริญของเมืองทาให้เกิดประชากรแฝง ทาให้เกิดปัญหาทางสังคม 3.89
11 มีปัญหาหมอกควันและฝุ่นละอองขนาดเล็กเกินมาตรฐาน ซึ่งเป็นผลมาจาก การ
เผาป่า การเผาในที่โล่ง และการเผาวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร ส่งผลกระทบ
โดยตรงต่อการดารงชีวิตของประชาชน ภาวะเศรษฐกิจและการท่องเที่ยว 4.63
12 คุณภาพสินค้าทางการเกษตรยังไม่มีคุณภาพตรงกับมาตรฐานการผลิต 4.26
13 ขาดการจัด zoning การสร้างผลผลิตทางการเกษตรให้อยู่ในพื้นที่เดียวกัน ใน
การกาหนดการผลิตทางการเกษตรออกเป็นกลุ่ม โดยใช้ เกณฑ์แบ่งเขตจากชนิด
ของดิน น้าฝน อุณหภูมิ พืชเศรษฐกิจ เพื่อใช้ในการวางแผนการเกษตรระยะยาว 4.16
14 ขาดการวางแผนด้านการพัฒนาด้านการท่องเที่ยวอย่างเป็นระบบ และไม่มีสา
มารนาทรัพยากรการท่องเที่ยวมาใช้ได้อย่างเต็มประสิทธิภาพ 4.53
ค่าเฉลี่ยรวม 4.25

 ปัจจัยภายนอก (External Factors)


พบว่าโอกาสหรือทิศทางการพัฒนาและข้อจากัด ที่เป็นปัญหาหรืออุปสรรค สามารถสรุปรายละเอียด
ได้ ดังนี้
3) โอกาส (Opportunities)
ลาดับที่ การวิเคราะห์ SWOT ระดับความสาคัญ
ปัจจัยภายนอกด้านโอกาส (Opportunity - O)
1 เป็นพื้นที่ในแนวระเบี ยงเศรษฐกิจ เหนือ – ใต้ ตามกรอบความร่วมมือ GMS
ส่งผลต่อการพัฒนาจังหวัดเพื่อการเชื่อมโยงกับประเทศต่าง ๆ 4.26
2 การพัฒนาท่าอากาศยานแม่ฟ้าหลวงเชียงราย เพื่อรองรับการขยายตัวของจานวน 4.42
ผู้โดยสาร จานวนสายการบิน และปริมาณการบินที่เพิ่มขึ้น
221

ลาดับที่ การวิเคราะห์ SWOT ระดับความสาคัญ


3 รัฐ บาลมีน โยบายสนับ สนุ นด้านการค้าและการลงทุน โดยให้ มีการจัดตั้งเขต
พัฒนาเศรษฐกิจพิเศษจังหวัดเชียงราย ส่งให้เกิดมูลค่าทางการค้า การลงทุน
และการท่องเที่ยวในจานวนมากขึ้น 3.42
4 มีการพัฒนารถไฟรางคู่ เด่นชัย – เชียงราย – เชียงของ มีความชัดเจนมากขึ้น
ทาให้ต่อไปเป็นเมืองสถานีขนส่งระบบราง 4.63
5 รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการลงทุนด้า นโครงสร้างพื้นฐานการคมนาคมขนส่ง
และการบริ ห ารจั ดการทรั พยากรน้า ทาให้ ภ าคเกษตรและบริการสามารถมี
ช่องทางในการเพิ่มมูลค่า 4.53
6 ภาครัฐและเอกชนสนับสนุนการจัดการศึกษาระดับนานาชาติ ส่งผลให้จังหวัดมี
นักลงทุนทางการศึกษามาลงทุนและประชาชนในจังหวัดได้เรียนระดับนานาชาติ 4.16
7 รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมด้านสังคมโดยได้มีสนับสนุนสร้างค่านิยมในคนไทยปลูก
จิตสานึก และภูมิใจด้านประวัติศาสตร์และวัฒนธรรมท้องถิ่น ฯลฯ 3.79
8 รัฐ บาลมีนโยบายสนั บ สนุ น การพัฒ นาอย่างยั่งยืน ได้แก่ ประยุกต์ใช้ปรัช ญา
เศรษฐกิจพอเพียง และนโยบายประชารัฐ รัฐบาลมีนโยบายสนับสนุนการบริหาร
จัดการพื้นที่เกษตรกรรม (โซนนิ่งการเกษตรกรรม) 4.21
9 รัฐบาลมีนโยบายส่งเสริมเพิ่มสัดส่วนการใช้พลังงานทดแทน เพื่อลดภาวการณ์
ปล่อยก๊าซเรือนกระจก 4.32
10 กระแสนิยมของผู้บริโภค เน้นอาหารเพื่อสุขภาพ อีกทั้งจากเหตุการณ์ระบาด
ของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้ประชาชนยิ่งเห็นมาใส่
ใจสุ ข ภาพมากขึ้ น ท าให้ จั ง หวั ด มุ่ ง ไปสู่ เ มื อ งเกษตรปลอดภั ย เมื อ งอาหาร
ปลอดภัย 4.63
11 รั ฐ บาลมีน โยบายด้ านความมั่น คงบริ เวณพื้ นที่ช ายแดนเน้นหนักในด้า นการ
ป้องกันและปราบปรามแก้ไขปัญหายาเสพติด ปัญหาการค้ามนุษย์ ปั ญหาการ
ลักลอบหลบหนีเข้าเมือง และการจัดระเบียบสังคม 4.37
12 จากมาตราการการจากัดการเดินทางในช่วงเดินทาง และมาตรการระยะห่างทาง
สังคม ส่ งผลให้ ทรัพยากรธรรมชาติได้รับการฟื้นฟูด้วยตนเอง ส่งผลให้แหล่ ง
ท่องเที่ยวเชิงนิเวศน์มีความอุดมสมบูรณ์และมีความสวยงาม 4.16
13 การเป็นพื้นที่ชายแดน ส่งผลต่อการสร้างงานสร้างรายได้แก่คนในพื้นที่เป็นการ
เปิดโดอกาสให้คนในพื้นที่ทางานใกล้บ้าน 4.26
14 ท่าเรือของประเทศไทยมีนโยบายพัฒนาแนวทางความร่วมมือกับแนวแม่น้าโขง
ส่งผลดีต่อการขนส่งสินค้า การค้าข้ามชายแดน 4.37
222

ลาดับที่ การวิเคราะห์ SWOT ระดับความสาคัญ


15 นโยบายการส่งเสริมการท่องเที่ยวในจังหวัดเชียงรายจากหน่วยงานภายนอก
อาทิ อพท. ที่ส่งเสริมให้เชียงรายเป็นเมืองสร้างสรรค์ยูเนสโก 4.16
ค่าเฉลี่ยรวม 4.24

ข้อจากัด (Threats)
ลาดับที่ การวิเคราะห์ SWOT ระดับความสาคัญ
ปัจจัยภายนอกด้านภัยคุกคาม (Threat - T)
1 สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้
เศรษฐกิจหยุดชะงักไปทั่วโลกและทั่วประเทศ ซึ่งส่งผลกระทบโดยตรงกับจังหวัด
เชียงรายในทุกๆ มิติ 4.68
2 การนาสินค้าจากประเทศเพื่อนบ้านเข้ามาแข่งขันกับผู้ประกอบการท้องถิ่น โดยเฉพาะ
พืชผัก ผลไม้เมืองหนาว เป็นอุปสรรคต่อความสามารถในการแข่งขันของจังหวัด 4.26
3 กฎระเบียบทางค้า การขนส่งใน GMS ในประเทศ GMS มีข้อจากัดบางประการ
ทาให้เสียดุลการค้า 4.32
4 การกาหนดมาตรฐานคุณภาพสินค้าเกษตรและอาหาร และการกาหนดมาตรา
เพื่อเฝ้าระวังโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ส่งผลให้เกิดมาตรการ
กีดกันทางการค้าที่ไม่ใช่ภาษี 4.37
5 เกิดการเคลื่อนย้ายแรงงานฝีมืออย่างเสรีตามกรอบประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ส่งผลให้ทรัพยากรมนุษย์ที่มีคุณค่าเคลื่อนย้าย เข้า-ออก ภายในประเทศ 4.00
6 ปัญหาด้านสังคมและความมั่นคงที่เกิดจากประเทศเพื่อนบ้าน ปัญหายาเสพติด
การค้ามนุษย์ แรงงานต่างด้าวอาชญากรรมข้ามชาติ และการลับลอบเข้าเมือง
ของคนไร้รัฐ ปัญหาคนขอทาน/คนไร้ที่พึ่ง 4.26
7 ภาครัฐมีเพิ่มภาระค่าใช้จ่ายการรักษาพยาบาลชาวต่างด้าวเพิ่มขึ้น เกิดโรคอุบัติ
ใหม่ และโรคอุบัติซ้าความไม่ปลอดภัยด้านอาหารและผลิตภัณฑ์สุขภาพ 4.16
8 ปัญ หาเรื่ องสิ่งแวดล้ อม ปั ญหาภาวะโลกร้อน ส่งผลให้ เกิดภัยธรรมชาติ เช่น
แผ่นดินไหว อุทกภัย ดินถล่ม ภัยหนาว หมอกควันไฟป่า 4.53
9 ผลกระทบจากประเทศเพื่อนบ้าน ทาให้ไม่สามารถควบคุมปัญหามลพิษได้ เช่น
ปัญหาหมอกควันข้ามแดน ขยะอิเล็กทรอนิกส์ สารเคมีอันตราย สารเคมีทาง
การเกษตร บรรจุภัณฑ์สินค้าเกษตรจากจีน 4.47
10 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ ภัยธรรมชาติ ปัญหาภัยแล้ง/ความแห้งแล้ง
เกิ ด ขึ้ น ต่ อ เนื่ อ ง และมี แ นวโน้ ม รุ น แรงและบ่ อ ยขึ้ น ส่ ง ผลกระทบถึ ง 4.58
223

ลาดับที่ การวิเคราะห์ SWOT ระดับความสาคัญ


ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้เกิดความเสียหาย ปริมาณน้าต้นที่เข้า
ระบบชลประทานลดลง
11 ปัญหาการเผาป่ าของประเทศเพื่อนบ้าน ทาให้เพิ่มปัญหาฝุ่ นละอองในพื้นที่
จังหวัดเชียงราย 4.63
12 ระบบการขนส่งที่ไม่มีประสิทธิภาพส่งผลต่อคุณภาพของสินค้าทางการเกษตร
ส่งผลต่อมูลค่าของสินค้าลดลง 4.42
13 ความไม่สามารถดึงดูดธุรกิจที่เกี่ยวข้องกับการค้าชายแดนในพื้นที่ ส่งผลให้เกิด
การสูญเสียโอกาสต่อการเป็นเมืองชายแดน และระเบียงเศรษฐกิจภาคเหนือ 4.53
14 ระเบียบราชการที่ซ้าซ้อน และการขาดระบบการบริหารจัดการแบบเบ็ดเสร็จ
ส่งผลให้สูญเสียโอกาสในการเป็นเมืองเขตเศรษฐกิจพิเศษ 4.47
15 จากการมุ่งเน้นการเติบโตทางเศรษฐกิจมากกว่าความสมดุลระหว่างเศรษฐกิจ
สังคม และสิ่งแวดล้อม ส่งผลทาให้ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมเกิดความ
เสื่อมโทรม 4.37
ค่าเฉลี่ยรวม 4.40

การวิเคราะห์ความสัมพันธ์
1) จุดแข็งภายในองค์กร + โอกาสภายนอก
- เมืองเขตเศรษฐกิจพิเศษเชื่อมโยงกลุ่มประเทศ GMS
- เมืองชายแดนและมีการพัฒนาให้เมืองสถานีขนส่งระบบราง
- เป็นแหล่งผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพระดับโลก (ข้าวหอมมะลิ กาแฟ ชา) และเป็นแหล่งผลิตสินค้า
เฉพาะ (สับปะรดนางแล สับปะรดภูแล ข้าวเหนียวเขี้ยวงู และ ส้มโอเวียงแก่น)
- เป็นเมืองที่มีศักยภาพด้านการท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มประเภทMICE การท่องเที่ยวกีฬาและผจญภัย
การท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ และการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว
- เป็นเมืองศิลปิน
-เป็ น เมื อ งที่ ส ามารถพั ฒ นาการท่ อ งเที่ ย วและธุ ร กิ จ บริ ก ารต่ อ เนื่ อ งให้ มี คุ ณ ภาพสามารถสร้ า ง
มูลค่าเพิ่มอย่างยั่งยืน และกระจายประโยชน์อย่างทั่วถึง รวมทั้งต่ อยอดการผลิตสินค้าและบริการที่มีศักยภาพ
สูงด้วยภูมิปัญญาและนวัตกรรม
- เป็ นแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุ ขภาพ เชิงนิเวศน์ เชิงประวัติศาสตร์ เชิงวัฒนธรรม เชื่อมโยงกลุ่ ม อนุ
ภูมิภาคลุ่มน้าโขง (GMS)
- เป็นเมืองที่น่าอยู่ Green city และ food safety
- ความมั่น คงและความปลอดภั ย ในชีวิตและทรัพย์สิ น สนับสนุน ด้านการค้ าการลงทุ น และการ
ท่องเที่ยวในพื้นที่
224

2) จุดแข็งภายในองค์กร + อุปสรรคภายนอก
-การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ภายในบริบทปกติใหม่ (Next normal)
- ส่งเสริมความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน และกลุ่มประเทศ GMS และ ASEAN+6 เพื่อกาหน
มาตรการสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคง และสิ่งแวดล้อม
- ส่งเสริมให้มีการผลิตสินค้าการเกษตรปลอดภัยให้ได้มาตรฐานระดับสากล และบริหารจัดการการ
ผลิตสินค้าเกษตร
- ส่งเสริมมาตรฐานฝีมือแรงงาน และพัฒนามาตรฐานแรงงานระดับฝีมือ (Skill labor)
- สร้างมาตรการที่เข้มงวดในการควบคุมการเคลื่อนย้ายของประชากรแฝง แรงงานและผู้ติดตามเพื่อ
ป้องกันปัญหาสังคม
-สร้างมาตราการเฝ้าระวังสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)และ
โรคที่เป็นสาเหตุการเสียชีวิตสาคัญ
- ส่งเสริมมาตรฐานบรรจุภัณฑ์ และคุณภาพสินค้า OTOP สู่สากลและ GMS
3) จุดอ่อนภายในองค์กร + โอกาสภายนอก
- บริหารจัดการทรัพยากรการผลิต ให้มีประสิทธิภาพเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม (น้า ดิน พันธุ์พืช พันธุ์
สัตว์ คน เทคโนโลยี ฯลฯ)
- พัฒนาผู้ประกอบการและเสริมสร้างเครือข่ายทั้งในและต่างประเทศ
- ส่งเสริมให้มีการท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปีและสร้างรายได้ให้ชุมชนอย่างยั่งยืน
- ส่งเสริมการทาของเสียให้เป็นของดีและมีมูลค่าเพิ่ม
- พัฒนาระบบสร้างสุขภาพภาคประชาชน
- การบริหารจัดการศูนย์อานวยการความปลอดภัยทางถนน
- ส่งเสริมมาตรการนาเข้าแรงงานระดับล่างตามกฎหมายพัฒนาส่งเสริมเทคโนโลยีเพื่อทดแทนการใช้
แรงงาน
- อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและพื้นที่ป่าไม้ตามแนวพระราชดาริ
- พัฒนาระบบรับมือภัยพิบัติทุกภาคส่วน
4) จุดอ่อนภายในองค์กร + อุปสรรคภายนอก
-ส่งเสริมการพัฒนาเศรษฐกิจฐานรากเพื่อลดความเสี่ยงจากสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)
- ส่งเสริมการบริหารจัดการและการลดความเสี่ยงจากปัญหาหมอกควันไฟป่าแบบบูรณาการทั้งระบบ
- ส่งเสริมการวางแผนการผลิตสินค้าตามเขตเกษตรเศรษฐกิจ
- ส่งเสริมการผลิตตามแนวปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง และทฤษฎีใหม่
- ส่งเสริมการพัฒนาประสิทธิภาพสถาบันเกษตรกร และผู้ประกอบการ
- ส่งเสริมการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และสังคมเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต
225

กาหนดทิศทางประเด็นการพัฒนาจังหวัดและจุดเน้นการพัฒนาที่สาคัญ (Positioning)
แผนภูมิที่ 64 ทิศทางในการพัฒนาของจังหวัดเชียงราย

จุดแข็ง (S) 4.26 จุดอ่อน (W) 4.25

โอกาส (O) 4.24 อุปสรรค (T) 4.40

S
4.26,3.4.40 4

Cash cow 3 Star

2
T O
-4 -3 -2 -1 1
-1 1 2 3 4

-2
Dog Question Mark
-4

-4

ผลจากการวิเคราะห์ศักยภาพและโอกาสของจังหวัดเชียงราย และได้มีการให้คะแนนความสาคัญแล้ว
พบว่า จังหวัดเชียงราย ควรกาหนดกลยุทธ์เชิงป้องกัน โดยจุดแข็งที่จังหวัดแพร่มีมาเป็นช่วยทาให้อุปสรรคที่
ต้องเผชิญอยู่ผ่านไปได้ โดยจากอุปสรรคที่ต้องเผชิญที่สาคัญ ได้แก่ เกิด สถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อ
ไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19) ปัญหาหมอกควันไฟป่า อีกทั้งบริบทของสังคมสูงวัยที่จะส่งผลให้โครงสร้าง
ของแรงงานในจังหวัดเปลี่ยนแปลงไป ซึ่งสาเหตุสาคัญนี้จะส่งผลให้เศรษฐกิจหยุดชะงักไปทั่วโลก ทั่วประเทศ
รวมทั้งจังหวัด เชียงรายด้วย ดังนั้น โดยจังหวัดเชียงรายควรนาจุดแข็งการเป็นเมืองชายแดน 3 ประเทศ ที่
สามารถเป็น จุดศูนย์กลางเชื่อมโยงกับประเทศ GMS มีเส้นทางคมนาคมสะดวก ทั้งทางน้า ทางบก และทาง
อากาศ มีทรัพยากรการท่องเที่ยว และทรัพยากรธรรมชาติที่สมบูรณ์ส่งผลให้เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ
ของชนิดพันธุ์พืช และสัตว์ป่า เป็นที่น่าสนใจของนักท่องเที่ยว มีพื้นที่การเกษตรที่อุดมสมบูรณ์ สามารถผลิต
อาหารและสินค้าเกษตรที่สาคัญ อาทิ ข้าวหอมมะลิ กาแฟ ชา ลาไย ลิ้นจี่ สับปะรดภูแล สับปะรดนางแล ปลา
นิล ส้มโอเวียงแก่น ข้าวเหนียวเขี้ยวงู และโคขุน ตลอดจนมีสถาบันการศึกษาที่ทาให้ประชากรได้รับโอกาส
ทางการศึกษาที่ทั่วถึง และสถาบันศึกษามีส่วนช่วยสนับสนุนการพัฒนาของจังหวัด มีศิลปินที่มีชื่อเสียง และ
ปราชญ์ชาวบ้านและภูมิปัญญาท้องถิ่นที่หลากหลาย สามารถใช้เป็นต้นแบบและสามารถถ่ายทอดความรู้ได้
ตลอจน มีลักษณะภูมิอากาศที่เย็นสบายเหมาะกับการเป็นเมืองน่าอยู่ และเป็นเมืองสาหรับการท่องเที่ยว โดย
สามารถจัดทาแผนงานโครงการที่สามารถนาจุดแข็งของจังหวัดเป็นแนวทางการพัฒนาได้แก่ การท่องเที่ยวเชิง
สร้างสรรค์ภายในบริบทปกติใหม่ (Next normal) การส่งเสริมความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน และกลุ่ม
ประเทศ GMS และ ASEAN+6 เพื่อกาหนมาตรการสังคม เศรษฐกิจ ความมั่นคง และสิ่งแวดล้อม การส่งเสริม
226

ให้มีการผลิตสินค้าการเกษตรปลอดภัยให้ได้มาตรฐานระดับสากล และบริหารจัดการการผลิตสินค้าเกษตร
การส่ งเสริมมาตรฐานบรรจุ ภัณฑ์ และคุณภาพสินค้า OTOP สู่ สากลและ GMS ควบคู่กับการส่งเสริม
มาตรฐานฝีมือแรงงาน และพัฒนามาตรฐานแรงงานระดับฝีมือ (Skill labor) การ สร้างมาตรการที่เข้มงวดใน
การควบคุ ม การเคลื่ อ นย้ า ยของประชากรแฝง แรงงานและผู้ ติ ด ตามเพื่ อป้ อ งกัน ปั ญ หาสั ง คม การสร้ า ง
มาตราการเฝ้าระวังสถานการณ์การระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)และโรคที่เป็นสาเหตุ
การเสียชีวิ ตสาคัญ ตลอดจนการเตรียมความพร้อมของแหล่งท่องเที่ยวโดยใช้แนวคิดเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ควบคู่กับการสร้างมาตรฐานให้กับนักท่องเที่ยว เพื่อเป็นการเตรียมความพร้อมหลังจากสถานการณ์โควิด 19
คลี่คลาย
6) แนวทางการพัฒนาที่สาคัญ (Positioning)
แนวทางการพัฒนาที่สาคัญของจังหวัดเชียงราย มี 4 ด้าน ดังนี้
1. เมื อ งท่ อ งเที่ ย วสร้ า งสรรค์ อ ารยธรรมล้ า น นา ที่ เ น้ น คุ ณ ค่ า และค วามยั่ ง ยื น ของ
ทรัพยากรธรรมชาติ และเชื่อมโยงสู่ GMS
จังหวัดเชีย งราย เป็ นเมืองท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ที่เน้นคุณค่าและความยั่งยื น เนื่องจากจังหวัด
เชียงรายมีที่ตั้งภูมิประเทศ และภูมิอากาศที่น่าอยู่ มีทรัพยากรธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติที่มี
ชื่อเสียง ได้แก่
1.1. การท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ และสปา เช่น น้าพุร้อนในพื้นที่อาเภอแม่จัน อาเภอเมือง อาเภอเวียง
ป่าเป้า และมีธุรกิจ สปาของเอกชนที่มีชื่อเสียงหลายแห่งในพื้นที่
1.2 การท่องเที่ยวทางประวัติศาสตร์ ศิลปวัฒนธรรมและชาติพันธุ์ เช่น โบราณสถาน อาเภอเชียงแสน
วัดพระแก้ว หมู่บ้านศิลปิน บ้านดา วัดพระธาตุดอยตุง วัดร่องขุ่น หมู่บ้านชนเผ่าซึ่งอาศัยอยู่แบบดั้งเดิม
1.3 การท่ อ งเที่ ย วเชิ ง นิ เ วศน์ เช่ น หมู่ บ้ า นท่ อ งเที่ ย วชุ ม ชน แ ละ หมู่ บ้ า นท่ อ งเที่ ย ว OTOP
ที่หลากหลาย การล่องแพ อุทยานแห่งชาติภูชี้ฟ้า ดอยแม่สลอง ดอยตุง ล่องเรือในลาน้ากก/รวมทั้งแหล่ง
ท่องเที่ยวทางเลือกใหม่ อาทิ สนามกอล์ฟหลายสนามในพื้นที่ ซึ่งมีความพร้อมและเป็นที่นิยมของชาวไทยและ
ต่างชาติ นอกจากนั้นสามารถเชื่อมโยงไปยังกลุ่มท่องเที่ยวในอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง (GMS) เช่น การท่องเที่ยว
ตามเส้นทาง R3A,R3B และการท่องเที่ยวลาน้าโขง เป็นต้น
1.4 การท่องเที่ยวเฉพาะกลุ่มประเภทMICE การท่องเที่ยวกีฬาและผจญภัย การท่องเที่ยวเพื่อสุขภาพ
และการท่องเที่ยวแบบพานักระยะยาว
2.เมืองน่าอยู่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
จังหวัดเชียงรายเป็น เมืองที่มีทรั พยากรธรรมชาติอุดมสมบูรณ์ มี สภาพแวดล้อมทางกายภาพที่ดี
สังคมเข้มแข็ง มีความสงบ สะอาด ปลอดภัย มีระเบียบวินัย ประชาชนมีคุณภาพชีวิตที่ดี วิถีชีวิตความเป็นอยู่
ดี มีความสุข มีภูมิปัญญาท้องถิ่นที่ ช่วยเกื้อกูลให้ ชุมชนเข้มแข็ง มีการสืบทอดรักษาและปรับใช้ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น ตลอดจนพัฒนาต่อยอดให้เกิดเทคโนโลยีที่เหมาะสม นามาใช้ประโยชน์กับการผลิตและวิถีชีวิตความ
เป็นอยู่ของชุมชนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
227

3. เมืองเกษตรกรรมสีเขียวและอาหารปลอดภัย
จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่การเกษตรที่อุดมสมบูรณ์ เอื้อต่อการเป็นแหล่งพัฒนาพันธุ์พืชและพันธุ์สัตว์
สามารถผลิตอาหารและสินค้าเกษตรที่สาคัญของภาคเหนือ รวมทั้งมีพืชเฉพาะถิ่นที่มีคุณภาพได้มาตรฐาน
ระดับสากลเป็นที่ต้องการของผู้บริโภคระดับบน เช่น ข้าวหอมมะลิ ข้าวเหนียวเขี้ยวงู ชา กาแฟ สับปะรดภูแล
สับปะรดนางแล ลาไย ลิ้นจี่ ส้มโอเวียงแก่น ปลานิล และโคเนื้อ
4. เมืองการค้าชายแดนเชื่อมโยงประเทศในกลุ่ม GMS
จังหวัดเชียงรายมีที่ทาเลที่ตั้งเป็นจุดยุทธศาสตร์ทางด้านการคมนาคมขนส่งสู่กลุ่มประเทศ GMS เป็น
จังหวัดชายแดนที่เป็นประตูสู่การค้า การลงทุนการท่องเที่ยว และ Logistics สู่ประเทศ สปป.ลาว ประเทศ
พม่า และประเทศจีน ตอนใต้ นอกจากนี้มีโครงการนโยบายรัฐบาลที่ส่งเสริมจังหวัดให้เป็นเมืองเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษที่ส่งเสริมการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน และพัฒนาเมืองสถานีขนส่งระบบราง รวมทั้งสร้าง
ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อนบ้าน GMS ตามกรอบความร่วมมือทางด้านเศรษฐกิจและสังคมเอื้อต่อกิจกรรม
การค้า การลงทุน การท่องเที่ยวอีกด้วย

3.2.2 เป้าหมายการพัฒนาจังหวัด
จากแนวทางการพัฒนาที่สาคัญของจังหวัดเชียงรายที่ได้วิเคราะห์ไว้ จึงนามากาหนดเป้าหมายการ
พัฒนาจังหวัดในระยะ 5 ปี ในปีพ.ศ. 2566-2570 ดังนี้
“เชียงรายเมืองท่องเที่ยวสร้างสรรค์ สะอาด ปลอดภัย น่ายล”

ภาพที่ 13 เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดเชียงราย

เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดเชียงราย เน้นการดาเนินการพัฒนา 3 ประเด็นสาคัญเพื่อนาไปสู่การผลักดัน


ให้เชียงรายเมืองท่องเที่ยวสร้างสรรค์ สะอาด ปลอดภัย น่ายล ได้แก่
228

เป้าหมายการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ : เพื่อสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นการ
พัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าและยั่งยืน การค้า การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชิงสร้างสรรค์ และ การ
ส่งเสริมนวัตกรรมสินค้าเกษตรมูลค่าสูงโดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนาและสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
เป้าหมายการพัฒนาสิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์ : เพื่อสร้างสมดุลของระบบนิเวศและสนับสนันการ
เติบโตอย่างยั่งยืนบทสังคมเศรษฐกิจสรรค์เพื่อรับรองการพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
เป้าหมายการพัฒนาสังคมสร้างสรรค์ : เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ลดความเหลื่อมล้าในสังคม
ส่งเสริ มการเรี ย นรู้ ตลอดชีวิตสาหรับ คนทุกช่ว งวัย และเสริมสร้างความปลอดภัยและความมั่งคงในชีวิต
ทรัพย์สินของประชาชนเพื่อนาไปสู่สังคมสร้างสรรค์

จากเป้าหมายการพัฒนาของจังหวัดที่กาหนดขึ้น สามารถแบ่งประเด็นการพัฒนาดังนี้แบ่งออกเป็น 5
ประเด็นสาคัญ ดังนี้
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสร้างมูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิงสรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรม
ล้านนา
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินค้าเกษตรเชิง
สร้างสรรค์ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิ
สติกส์
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารงความสมบูรณ์และ
ยั่งยืน
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทรัพยากรมนุษย์และความมั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคม
สร้างสรรค์
229

3.2.3 ตัวชี้วัดความสาเร็จตามเป้าหมายการพัฒนาจังหวัดเชียงราย
เป้าหมายการพัฒนาจังหวัดเชียงราย: เชียงรายเมืองท่องเที่ยวสร้างสรรค์ สะอาด ปลอดภัย น่ายล

ค่าเป้าหมายรายปี ค่าเป้าหมาย 5 ปี
เป้าหมายการพัฒนา ตัวชี้วัด / เป้าหมายรวม 5 ปี ข้อมูลค่าฐาน
2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
1. เพื่ อ สร้ างการเจริ ญเติ บโตทาง 1. จานวนแหล่งท่องเที่ยวเชิง 3 แหล่ง 3 3 3 3 3 15
เศรษฐ กิ จโดยเน้ นการพั ฒนาการ สร้างสรรค์เพิ่มขึ้น
ท่ องเที่ ยวเชิ งคุ ณค่ าและยั่ งยื น การค้ า
การลงทุ น และบริ ก ารโลจิ ส ติ ก ส์ เ ชิ ง 2.จานวนของสถานประกอบการ 10 10 15 15 20 20 80
สร้ างสรรค์ และ การส่งเสริ มนวัตกรรม ด้านการท่องเที่ยวได้รับมาตรฐาน
สิ น ค้ า เกษตรมู ล ค่ า สู ง โดยด ารงฐาน SHA เพิ่มขึ้น
วั ฒนธ รรมล้ านนาและสมดุ ลของ 3.จานวนนวัตกรรมสินค้าเกษตร 3 3 3 3 3 3 15
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เชิงสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น

4.จานวนโครงสร้างพื้นฐานด้าน 10 10 10 10 10 10 50
คมนาคมเพื่อเข้าสู่แหล่ง
ท่องเที่ยวสาคัญและส่งเสริม
การค้าการลงทุนได้รับการพัฒนา
5.จานวนกิจกรรมที่สนับสนุนการ อย่างน้อยปี 4 4 4 4 4 4
กระตุ้นเศรษฐกิจในมิติการค้า ละ 4
การลงทุน
230

ค่าเป้าหมายรายปี ค่าเป้าหมาย 5 ปี
เป้าหมายการพัฒนา ตัวชี้วัด / เป้าหมายรวม 5 ปี ข้อมูลค่าฐาน
2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
2. เพื่อสร้างสมดุลของระบบนิเวศและ 1. จานวนพื้นที่สีเขียวที่ได้รับการ 300 ไร่ 300 300 300 300 300 1,500 ไร่
สนับสนันการเติบโตอย่างยั่งยืนบทสังคม ฟื้นฟูและสร้างใหม่
เศรษฐกิจสรรค์เพื่อรับรองการพัฒนา
เมืองให้น่าอยู่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 2. ร้อยละการเกิดจุดความร้อน ร้อยละ 10 10 10 10 15 15 15
ลดลงจากปีที่ผ่านมา(Hotspots)

3.จานวนแหล่งน้าที่ได้รับการ 3 แหล่ง 3 3 3 3 3 15
พัฒนาและฟื้นฟูเพื่อป้องกันการ
กัดเซาะตลิ่ง
3.เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ลดความ 1.จานวนประชาชนที่ได้รับการ 500 คน 500 500 500 500 500 2,500
เหลื่อมล้าในสังคม ส่งเสริมการเรียนรู้ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ตลอดชีวิตสาหรับคนทุกช่วงวัย และ
เสริมสร้างความปลอดภัยและความมั่ง 2.จานวนแกนนาประชาชนได้รับ 1,000 คน 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 5,000
คงในชีวิตทรัพย์สินของประชาชนเพื่อ การพัฒนาศักยภาพในการสร้าง
นาไปสู่สังคมสร้างสรรค์ ความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน
3. จานวนประชาชนที่มีปัญหา ไม้อยกว่า 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 5,000
ทางสังคม ได้รับการพัฒนา 1,000 คน
คุณภาพชีวิต
231

3.2.4 ประเด็นการพัฒนาจังหวัด
1) ประเด็นการพัฒนา
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสร้างมูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านน
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินค้าเกษตรเชิงสร้างสรรค์ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส์
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารงความสมบูรณ์และยั่งยืน
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทรัพยากรมนุษย์และความมั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์
2) วัตถุประสงค์
ตารางที่ 100 ประเด็นการพัฒนาของจังหวัดเชียงราย และเป้าหมายในการพัฒนารายประเด็น
ประเด็นการพัฒนา วัตถุประสงค์
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสร้างมูลค่าเพิ่ม 1.เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานสิ่งอานวยความสะดวก และพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการด้านการ
ด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์โดยดารงฐาน ท่องเที่ยว
วัฒนธรรมล้านนา 2.เพื่อพัฒนากิจกรรมการท่องเที่ยว ธุรกิจบริการการท่องเที่ยว ระบบบริหารจัดการ และพัฒนาศักยภาพบุคคลากร
ด้านการท่องเที่ยว
3. เพื่อพัฒนาการตลาดและการประชาสัมพันธ์
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การส่งเสริมการผลิต 1.เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน พัฒนาการผลิต พัฒนาเกษตรกร และเครือข่ายเกษตรให้มีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
และพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินค้า 2.เพื่อแปรรูปและสร้างมูลค่าเพิ่มสินค้าเกษตร พัฒนานวัตกรรมการเกษตรเชิงสร้างสรรค์
เกษตรเชิงสร้างสรรค์ภายใต้แนวทางการ 3.เพื่อประชาสัมพันธ์ การตลาดและการจัดการสินค้าเกษตรเชิงสร้างสรรค์ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
พัฒนาที่ยั่งยืน
232

ประเด็นการพัฒนา วัตถุประสงค์
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจ 1.เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานทางการค้า การลงทุนรับรองการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุนและ
สร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ การบริการ
และ โลจิสติกส์ 2.เพื่อพัฒนานวัตกรรมระบบบริหารจัดการ พัฒนาผู้ประกอบการและเครือข่ายในการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้าน
การค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส์
3.เพื่อพัฒนาด้านการตลาด และช่องทางการตลาดของสินค้าภายในแนวคิดการพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการ 1.เพื่อป้องกัน อนุรักษ์ ฟื้นฟูทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้คงความสมบูรณ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารง 2.เพื่อพัฒนาศักยภาพบริหารจัดการด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ความสมบูรณ์และยั่งยืน 3.เพื่อสร้างสมดุลระหว่างการพัฒนาควบคู่กับการอนุรักษ์และป้องกันทรัพยากรธรรมโดยเน้นการอยู่ร่วมกับธรรมชาติ
และสร้างเครือข่ายความร่วมมือด้านทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพ 1.เพื่อพัฒนาปัจจัยพื้นฐานทางสังคม สร้างความมั่งคง แก้ไขปัญหาและสร้างความเข้มแข็งความมั่นคงรับรองบริบท
ชีวิตและความมั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคม ทางสังคมที่เปลี่ยนแปลงไป
สร้างสรรค์ 2.เพื่อสร้างโอกาสการเรียนรู้และพัฒนาสังคมให้เป็นเมืองน่าอยู่สาหรับคนทุกกลุ่มวัย
3.เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตประชาชนและสร้างความมั่งคงในชีวิตและทรัพย์สินนาไปสู่สังคมสร้างสรรค์
233

2) เป้าหมายและตัวชี้วัด
ค่าเป้าหมายรายปี ค่าเป้าหมาย 5 ปี
เป้าหมายการพัฒนา ตัวชี้วัด / เป้าหมายรวม 5 ปี ข้อมูลค่าฐาน
2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสร้าง 1. จานวนแหล่งท่องเที่ยวเชิง 3 แหล่ง 3 3 3 3 3 15
มูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิงสรรค์ สร้างสรรค์เพิ่มขึ้น
โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา
2.จานวนของสถานประกอบการ 10 10 15 15 20 20 80
ด้านการท่องเที่ยวได้รับมาตรฐาน
SHA เพิ่มขึ้น
3.จานวนโครงสร้างพื้นฐานด้าน 5 5 5 5 5 5 25
คมนาคมเพื่อเข้าสู่แหล่ง
ท่องเที่ยวสาคัญได้รับการพัฒนา
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การส่งเสริม 1. การเพิ่มสัดส่วนสินค้าเกษตร ร้อยละ 10 10 15 20 25 30 30
การผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อ ที่ได้คุณภาพ มาตรฐานสากล จากปีที่ผ่าน
ยกระดับสินค้าเกษตรเชิงสร้างสรรค์ และเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม มา
ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน 2.จานวนนวัตกรรมสินค้าเกษตร 3 3 3 3 3 3 15
เชิงสร้างสรรค์เพิ่มขึ้น
3.การส่งเสริมและยกระดับ อย่างน้อย 3 3 3 3 3 3 15
ผลิตภัณฑ์ชา กาแฟและสมุนไพร กลุ่ม
สู่เกษตรมูลค่าสูงเชิงสร้างสรรค์
234

ค่าเป้าหมายรายปี ค่าเป้าหมาย 5 ปี
เป้าหมายการพัฒนา ตัวชี้วัด / เป้าหมายรวม 5 ปี ข้อมูลค่าฐาน
2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนา 1.การส่งเสริมการเพิ่มจานวน อย่างน้อย 20 20 20 20 20 20 100
เศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การ ผู้ประกอบการ/SMEsเศรษฐกิจ ราย
ลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส์ สร้างสรรค์
2.จานวนกิจกรรมที่สนับสนุนการ อย่างน้อยปี 4 4 4 4 4 4
กระตุ้นเศรษฐกิจในมิติการค้า ละ 4
การลงทุน
3.จานวนโครงสร้างพื้นฐานด้าน 5 5 5 5 5 5 25
คมนาคมและระบบโลจิสจิกต์ที่
ดีรองรับด้านการค้า การลงทุน
การบริการที่ได้รับการพัฒนา `
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการ 1. จานวนพื้นที่สีเขียวที่ได้รับการ 300 ไร่ 300 300 300 300 300 1,500 ไร่
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ ฟื้นฟูและสร้างใหม่
ดารงความสมบูรณ์และยั่งยืน
2. ร้อยละการเกิดจุดความร้อน ร้อยละ 10 10 10 10 15 15 15
ลดลงจากปีที่ผ่านมา(Hotspots)

3.จานวนแหล่งน้าที่ได้รับการ 3 แหล่ง 3 3 3 3 3 15
พัฒนาและฟื้นฟูเพื่อป้องกันการ
กัดเซาะตลิ่ง
235

ค่าเป้าหมายรายปี ค่าเป้าหมาย 5 ปี
เป้าหมายการพัฒนา ตัวชี้วัด / เป้าหมายรวม 5 ปี ข้อมูลค่าฐาน
2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนา 1.จานวนประชาชนที่ได้รับการ 500 คน 500 500 500 500 500 2,500
คุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อ ส่งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
ส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์
2.จานวนแกนนาประชาชนได้รับ 1,000 คน 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 5,000
การพัฒนาศักยภาพในการสร้าง
ความปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน
3. จานวนประชาชนที่มีปัญหา ไม้อยกว่า 1,000 1,000 1,000 1,000 1,000 5,000
ทางสังคม ได้รับการพัฒนา 1,000 คน
คุณภาพชีวิต
236

3) แนวทางการพัฒนา
สาหรับแนวทางการพัฒนากาหนดเป็นห่วงโซ่คุณค่าได้ดังต่อไปนี้
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสร้างมูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิงสรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา
237

ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินค้าเกษตรเชิงสร้างสรรค์ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
238

ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส์


239

ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารงความสมบูรณ์และยั่งยืน
240

ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิต ทรัพยากรมนุษย์และความมั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์


241

ตารางที่ 101 ความสอดคล้องของประเด็นการพัฒนาและแผนงานโครงการในแผนปฏิบัติการประจาปี


ประเด็นการพัฒนา แผนงาน โครงการจุดเน้น
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสร้าง 1.เพิ่มจานวนแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงสรรค์โดยดารงฐาน 1.โครงการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิง
มูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิง วัฒนธรรมล้านนา นิเวศ และเชิงสุขภาพให้มีคุณภาพเพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิง
สรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรม สร้างสรรค์
ล้านนา 2. เพิ่มคุณภาพมาตรฐาน และส่งเสริมการตลาดการ 2.โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือข่ายการท่องเที่ยว
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ 3.โครงการพัฒนากิจกรรมและการตลาดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
เชิงสร้างสรรค์
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การ 3.ส่งเสริมและยกระดับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่เกษตร 1.โครงการสร้างเสริมการใช้นวัตกรรมเพื่อผลผลิตทางการเกษตรเชิง
ส่งเสริมการผลิตและพัฒนา มูลค่าสูงเชิงสร้างสรรค์ สร้างสรรค์
นวัตกรรมเพื่อยกระดับสินค้า 2.โครงการเชียงรายเมืองเกษตรมูลค่าสูง (ชา กาแฟและสมุนไพร)
เกษตรเชิงสร้างสรรค์ภายใต้แนว 4.เพิ่มสัดส่วนสินค้าเกษตรที่ได้คุณภาพมาตรฐานสากลและ 3.โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและสร้างเครือข่ายการผลิต
ทางการพัฒนาที่ยั่งยืน เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม สินค้าเกษตรคุณภาพ อาหารปลอดภัยจังหวัดเชียงราย

ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนา 5. เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน 1.โครงการเพิ่มขีดความสามารถผู้ประกอบการและการพัฒนาตลาด


เศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การบริการ และ โลจิสติกส์ เชิงสร้างสรรค์
การลงทุน การบริการ และ โลจิ 2.โครงการส่งเสริมและพัฒนาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชายแดน
สติกส์ เศรษฐกิจข้ามแดนและเขตเศรษฐกิจพิเศษ
3.โครงการส่งเสริมและพัฒนาระบบ Logistic เพื่อเชื่อมโยงการค้า
การลงทุน
242

ประเด็นการพัฒนา แผนงาน โครงการจุดเน้น


ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การ 6.เพิ่มพื้นทีส่ ีเขียว การบริหารจัดการน้า และแก้ไขปัญหา 1.โครงการเชียงรายเมืองสีเขียว
จัดการทรัพยากรธรรมชาติและ การบุกรุกที่ดินของรัฐ 2.โครงการบริหารจัดการทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ
สิ่งแวดล้อมให้ดารงความสมบูรณ์ 7.เพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควัน 3.โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าหมอกควันและฝุ่นละออง
และยั่งยืน และส่งเสริมเชียงรายเมืองสะอาด แบบบูรณาการของจังหวัดเชียงราย
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 : การ 8.เพิ่มศักยภาพคนทุกกลุ่มวัยและยกระดับคุณภาพชีวิตเชิง 1.โครงการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสร้างสรรค์
พัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคง สร้างสรรค์ 2.โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ และศักยภาพแรงงาน
เพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ 9. ส่งเสริมความมั่งคง ความปลอดภัยในชีวิตและรับมือกับ 1.โครงการส่งเสริมเชียงรายด้านความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิต
ภัยด้านสุขภาพจากโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติซ้า และทรัพย์สิน
243

ภาพที่ 14 โครงการตามจุดเน้นการพัฒนาจังหวัดเชียงราย ปีพ.ศ. 2566 -2570


สรุปแผนงาน/โครงการตามแผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย 5 ป (พ.ศ. 2566 - 2570)

บัญชีรายการชุดโครงการ โครงการ งบประมาณรวม งบประมาณดําเนินการ


พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570

ประเด็นยุทธศาสตรที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยว 3 6,875,140,300 643,072,300 1,466,342,000 1,594,942,000 1,579,942,000 1,590,842,000 6,875,140,300


เชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา

ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนา 3 1,480,240,655 282,140,195 273,958,865 355,213,865 286,913,865 282,013,865 1,480,240,655


นวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนว
ทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคดาน 3 961,390,000.00 243,766,000 179,406,000 179,406,000 179,406,000 179,406,000 961,390,000
การคา การลงทุน การบริการและ โลจิสติกส
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและ 3 36,975,348,960.00 7,183,684,200 7,517,916,190 7,537,916,190 7,367,916,190 7,367,916,190 36,975,348,960
สิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคง 3 91,201,515,198 14,752,445,705 17,504,216,507 19,079,315,738 20,285,238,999 19,580,298,250 91,201,515,198
เพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
รวมทั้งสิ้น 15 137,493,635,113 23,105,108,400 26,941,839,562 28,746,793,793 29,699,417,054 29,000,476,305 137,493,635,113.24
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
แผนงานที1่ เพิ่มจํานวนแหลงทองเที่ยวชุมชนเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
โครงการ ปรับปรุงและพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ และ 2 344,512,300 1,096,252,000 1,231,252,000 1,221,252,000 1,221,252,000 4,989,520,300
เชิงสุขภาพใหมีคุณภาพเพื่อรองรับการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 1.1 การพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร วัฒนธรรม 51,330,000 45,000,000 45,000,000 45,000,000 45,000,000 106,330,000
และศิลปะเพื่อรองรับการทองเที่ยว
กิจกรรมที่ 1 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงประวัติศาสตร เชิงวัฒนธรรม และ 1 2 สํานักงานโยธาธิการและ 25,000,000 25,000,000 25,000,000 25,000,000 25,000,000
เชิงกีฬา บานเวียงใต หมูที่ 3 ตําบลเวียง อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 2 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงวัฒนธรรมวิถีชีวิตชุมชนริมแมน้ํา 20,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 80,000,000
กก บานฝงหมิ่น หมูที่ 6 ตําบลริมกกอําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
1 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ เชิงประวัติศาสตร และเชิงวัฒนธรรม 1 2 สํานักงานโยธาธิการและ 20,000,000 20,000,000
วัฒนธรรมวิถีชีวิตชุมชนริมแมน้ํากก ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 3 ปรับปรุงถนนทางเขาวัดเทพนิมิตสุดเขตสยาม ตําบลเวียง
อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย ระยะทาง 3.645 กิโลเมตร
ปรับปรุงถนนทางเขาวัดเทพนิมิตสุดเขตสยาม ตําบลเวียง อําเภอเชียงของ 1 2 แขวงทางหลวงชนบท 6,330,000 6,330,000
จังหวัดเชียงราย ระยะทาง 3.645 กิโลเมตร เชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 1.2 การพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อรองรับการ 56,885,700 65,000,000 65,000,000 65,000,000 65,000,000 316,885,700
ทองเที่ยว
กิจกรรมยอยที่ 1 ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน และพัฒนาที่พักริมทางเพื่อ 15,000,000 15,000,000 15,000,000 15,000,000 60,000,000
รองรับการทองเที่ยว
1 ปรับปรุงและพัฒนาที่พักริมทาง ทางหลวงหมาย 1 ตอน พาน – รองขุน ต. 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 15,000,000 15,000,000
ทรายขาว อ.พาน จ.เชียงราย ปริมาณงาน 1 แหง 1
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมยอยที่ 2 พัฒนาแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติและเชิงนิเวศเพื่อสืบ สํานักบริหารพื้นที่ 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 200,000,000
สานอัตลักษณวัฒนธรรมลานนา อนุรักษที่ 15 (เชียงราย)
1 กอสรางอาคารศูนยการศึกษาเรียนรูการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ 1 2 สํานักบริหารพื้นที่ 2,335,000 2,335,000
สืบสานอัตลักษณวัฒนธรรมลานนา อนุรักษที่ 15 (เชียงราย)
2 กอสรางอาคารศูนยการศึกษาเรียนรูการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ 1 2 สํานักบริหารพื้นที่ 2,020,000 2,020,000
อุทยานแหงชาติดอยหลวง ณ ที่ทําการอุทยานแหงชาติดอยหลวง (น้ําตกปู อนุรักษที่ 15 (เชียงราย)
แกง)
3 ปรับปรุงเสนทางเขาสูแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติเชิงนิเวศอุทยาน 1 2 สํานักบริหารพื้นที่ 6,077,000 6,077,000
แหงชาติดอยหลวง (น้ําตกปูแกง) โดยใชยางพาราเปนสวนประกอบ อนุรักษที่ 15 (เชียงราย)
4 ปรับปรุงเสนทางเขาสูแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติเชิงนิเวศวนอุทยาน 1 2 สํานักบริหารพื้นที่ 270,300 270,300
น้ําตกหวยตาดทอง อนุรักษที่ 15 (เชียงราย)
5 พัฒนาปรับปรุงโครงสราง พื้นฐาน และสิ่งอํานวยความสะดวก บริเวณการ 1 2 สํานักบริหารพื้นที่ 7,826,700 7,826,700
ทองเที่ยวของเขตหามลาสัตวปาเวียงเทิง อนุรักษที่ 15 (เชียงราย)
6 พัฒนาปรับปรุงโครงสราง พื้นฐาน และสิ่งอํานวยความสะดวกบริเวณการ 1 2 สํานักบริหารพื้นที่ 8,692,700 8,692,700
ทองเที่ยวของวนอุทยานหวยน้ําชาง อนุรักษที่ 15 (เชียงราย)
7 พัฒนาปรับปรุงโครงสราง พื้นฐาน และสิ่งอํานวยความสะดวกบริเวณการ 1 2 สํานักบริหารพื้นที่ 164,000 164,000
ทองเที่ยวของวนอุทยานน้ําตกหวยตาดทอง อนุรักษที่ 15 (เชียงราย)
กิจกรรมยอยที่ 3 ปาเพื่อนันทนาการและพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศสูการ
เรียนรูเชิงสรางสรรค
1 กิจกรรมปาเพื่อนันทนาการและพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศสูการเรียนรู 1 2 สํานักจัดการทรัพยากรปา 14,500,000 14,500,000
เชิงสรางสรรค ไมที่ 2 (เชียงราย)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมหลักที่ 1.3 การพัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงสุขภาพและกีฬาเพื่อ 17,582,000 17,582,000 17,582,000 17,582,000 17,582,000 87,910,000
รองรับการทองเที่ยว
กิจกรรมยอยที่ 1 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงกีฬาริมแมน้ําโขง 17,582,000 17,582,000 17,582,000 17,582,000 70,328,000
บานหัวเวียง หมูที่ 1 ตําบลเวียง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
1 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงกีฬาริมแมน้ําโขง 1 2 สํานักงานโยธาธิการและ 17,582,000 17,582,000
ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 1.4 การพัฒนาและปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวย 148,214,600 41,970,000 41,970,000 41,970,000 41,970,000 316,094,600
ความสะดวกเพื่อรองรับการทองเที่ยว
กิจกรรมยอยที่ 1 พัฒนาปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานและสิ่งอํานวยความ แขวงทางหลวงชนบท 32,170,000 32,170,000 32,170,000 32,170,000 128,680,000
สะดวก เพื่อรองรับการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค เชียงราย
1 ปรับปรุงบูรณะถนนสายแกไขบริเวณจุดเสี่ยงอันตรายทางถนนสาย ชร. 1 2 แขวงทางหลวงชนบท 9,000,000 9,000,000
4018 แยกทางหลวงหมายเลข 1020-บานเนิน 878 (พญาพภักดิ์) ตําบล เชียงราย
ยางฮอม อําเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย ระยะทาง 3.00 กิโลเมตร
2 ปรับปรุงบูรณะถนนสาย ชร.1030 แยกทางหลวงหมายเลข 1 – บานรอง 1 2 แขวงทางหลวงชนบท 9,500,000 9,500,000
หลอด ตําบลหัวงม อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย ระยะทาง 2.600 กิโลเมตร เชียงราย

3 กอสรางถนนสายบานดงมวงคํา - บานสันเกล็ดทอง ตําบลโปงงาม อําเภอ 1 2 แขวงทางหลวงชนบท 20,910,000 20,910,000


แมสาย จังหวัดเชียงราย ระยะทาง 4.170 กิโลเมตร เชียงราย
4 อํานวยความปลอดภัยติดตั้งไฟฟาแสงสวางและไฟสัญญาณจราจรถนนสาย 1 2 แขวงทางหลวงชนบท 4,000,000 4,000,000
ชร.4007แยกทางหลวงหมายเลข 1129 - บานแซว ตําบลบานแซว, แมเงิน เชียงราย
อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย ระยะทาง 2.100 กิโลเมตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
5 งานบํารุงถนนสาย ชร.4013 แยกทางหลวงหมายเลข 1173 - บานปายาง 1 2 แขวงทางหลวงชนบท 9,900,000 9,900,000
มน (ฮองฮี) ตําบลทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย ระยะทาง เชียงราย
2.800 กิโลเมตร
6 งานบํารุงถนนสาย ชร.1022 แยกทางหลวงหมายเลข 1 - บานหัวดอย 1 2 แขวงทางหลวงชนบท 9,500,000 9,500,000
ตําบลปาออดอนชัย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย ระยะทาง 2.550 กิโลเมตร เชียงราย

7 ปรับปรุงบูรณะและแกไขบริเวณจุดเสี่ยงอันตรายทางถนน สาย ชร.4052 1 2 แขวงทางหลวงชนบท 2,200,000 2,200,000


แยกทางหลวงหมายเลข 1234 - บานหัวแมคํา ตําบลเทอดไทย อําเภอแมฟา เชียงราย
หลวง จังหวัดเชียงราย ระยะทาง 0.400 กิโลเมตร
8 อํานวยความปลอดภัยติดตั้งไฟฟาแสงสวางและไฟสัญญาณจราจรถนนสาย 1 2 แขวงทางหลวงชนบท 1,950,000 1,950,000
ชร.4052 แยกทางหลวงหมายเลข 1234 - บานหัวแมคํา ตําบลเทอดไทย เชียงราย
อําเภอแมฟาหลวง จังหวัดเชียงราย ระยะทาง 1.000 กิโลเมตร
กิจกรรมยอยที่ 2 ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐาน และพัฒนาที่พักริมทางเพื่อ 5,000,000 5,000,000
รองรับการทองเที่ยว
2 ปรับปรุงผิวจราจร ทางหลวงหมายเลข 1417 ตอน ทางเขาหวยคอนกอม 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 5,000,000 5,000,000
ต.แมสรวย อ.แมสรวย จ.เชียงราย ปริมาณงาน 600 เมตร 1
กิจกรรมยอยที่ 3 ปรับปรุงภูมิทัศนแหลงทองเที่ยวเงนิเวศกลางใจเมือง 1 2 สํานักงานโยธาธิการและ 10,000,000 10,000,000
ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
1.กอสรางทางขึ้นพระธาตุดอยสะเก็น 1 2 สํานักงานโยธาธิการและ 4,000,000 4,000,000
ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
2.กอสราง/ปรับปรุงศาลากิจกรรม 1 2 สํานักงานโยธาธิการและ 2,000,000 2,000,000
ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
3.ปรับภูมิทัศนทางเดินปาและภูมิทัศนโดยรอบ 1 2 สํานักงานโยธาธิการและ 2,000,000 2,000,000
ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
4.ปรับปรุงฐานองคพระธาตุดอยสะเก็น 1 2 สํานักงานโยธาธิการและ 2,000,000 2,000,000
ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 4 พัฒนาและยกระดับแหลงทองเที่ยวทางธรรมชาติ 1 2 สํานักงานโยธาธิการและ 8,227,300 8,227,300
วัฒนธรรมและสรางเศรษฐกิจชุมชนและการพัฒนาดานคุณภาพสิ่งแวดลอม ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
ในพื้นที่ทองเที่ยว
1.เสนทางศึกษาธรรมชาติถ้ําเลียงผา-ถ้ําพญานาค 1 2 สํานักงานโยธาธิการและ 3,065,000 3,065,000
ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
2.เสนทางศึกษาธรรมชาติ ปาพรุ ปูดอกขอแดง สระขุดน้ํามรกต 1 3 สํานักงานโยธาธิการและ 5,162,300 5,162,300
ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 5 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงสุขภาพ 9,800,000 9,800,000 9,800,000 9,800,000 39,200,000
1.พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงสุขภาพสวนสมเด็จพระศรีนครรินทร ระยะที่ 2 1 2 สํานักงานทองเที่ยวและ 9,800,000 9,800,000
กีฬาจังหวัดเชียงราย /
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย / สํานักงาน
โยธาธิการและผังเมือง
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 6 กิจกรรมกอสรางประติมากรรม เพื่อสงเสริมการทองเที่ยว 1 2 สํานักงานโยธาธิการและ 25,000,000 25,000,000


ผังเมืองจังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมหลักที่ 1.5 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเพื่อรองรับการเปนเครือขายเมือง 1 2 สนง.การทองเที่ยวและ 200,000,000 200,000,000 200,000,000 200,000,000 800,000,000
สรางสรรค กีฬา
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 1.6 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงพุทธวิถี วัดเทพนิมิต สุดเขตยาม 1 2 สนง.การทองเที่ยวและ 300,000,000 385,000,000 400,000,000 400,000,000 1,485,000,000
กีฬา
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 1.7 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเวียงหนองหลม 1 2 สนง.การทองเที่ยวและ 275,000,000 325,000,000 300,000,000 300,000,000 1,200,000,000
กีฬา
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 1.8 ยกระดับชุมชนทองเที่ยว OTOP นวัตวิถีเชิงคุณภาพ 1 2 สํานักงานพัฒนาชุมชน 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 20,000,000
รองรับโครงการตลาดทองเที่ยวรูปแบบวิถีชีวิตใหมและวิถีตอไป (New and จังหวัดเชียงราย, มทร.
Next Normal) ลานนา ,มหาวิทยาลัยแม
ฟาหลวง

กิจกรรมหลักที่ 1.9 พัฒนาแหลงทองเที่ยวถ้ําหลวง ขุนน้ํา-นางนอน 1 2 สํานักบริหารพื้นที่ 100,000,000 100,000,000 100,000,000 100,000,000 400,000,000
อนุรักษที่ 15
(เชียงราย)
กิจกรรมหลักที่ 1.10 กิจกรรมปาเพื่อนันทนาการและพัฒนาแหลงทองเที่ยว 1 2 สํานักจัดการทรัพยากรปา 14,500,000 14,500,000 14,500,000 14,500,000 14,500,000 72,500,000
เชิงนิเวศสูการเรียนรูเชิงสรางสรรค ไมที่ 2 (เชียงราย)
กิจกรรมที่ 1.11 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงนิเวศ วัฒนธรรมและสุขภาพ 1 2 อุทยานแหงชาติขุนแจ 500,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 20,500,000
อุทยานแหงชาติขุนแจ
กิจกรรมที่ 1.12 พัฒนาศักยภาพแหลงเรียนรู แหลงทองเที่ยว และสงเสริม 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 6,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000 30,000,000
การดําเนินงานวิสาหกิจชุมชน : คีรีชัย ยามะ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมที่ 1.13 พัฒนาศักยภาพแหลงเรียนรู และแหลงทองเที่ยวในชุมชนสู 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 12,000,000 12,000,000 12,000,000 12,000,000 12,000,000 60,000,000
การเกษตรที่ยั่งยืน
กิจกรรมที่ 1.14 พัฒนาพุทธสถานและแหลงทองเที่ยวเชิงพระพุทธศาสนา 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 50,000,000
กิจกรรมที่ 1.15 การบูรณาการการทองเที่ยวกลุมจังหวัดภาคเหนือตอนบน 2 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 10,000,000 10,000,000

กิจกรรมที่ 1.16 การทําแผนเตรียมความพรอมการพัฒนาการทองเที่ยวเวียง 2 2 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 1,500,000 100,000 100,000 100,000 100,000 1,900,000
หนองหลมตามเกณฑการทองเที่ยวของสภาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนโลก
(GSTC-D)
กิจกรรมที่ 1.17 การออกแบบการปรับปรุงภูมิทัศนและสิ่งอํานวยความ 2 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏ 12,000,000 100,000 100,000 100,000 100,000 12,400,000
สะดวกรองรับการเปนแหลงทองเที่ยวคุณภาพของพื้นที่เวียงหนองหลมและ เชียงราย
บริเวณโดยรอบ
แผนงานที่ 2 เพิ่มคุณภาพมาตรฐาน และสงเสริมการตลาดการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค
โครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือขายการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค 2 117,760,000 80,260,000 83,860,000 78,860,000 83,260,000 444,000,000

กิจกรรมหลักที่ 2.1 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรและผูประกอบการภาคการ 16,200,000 16,000,000 16,000,000 16,000,000 16,000,000 80,200,000


ทองเที่ยว
กิจกรรมยอยที่ 1 การขับเคลื่อนทองเที่ยวชุมชนเชิงสรางสรรคตนแบบ ใน 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 8,000,000
บริบทแบบ New Normal ของจังหวัดเชียงราย
1 การขับเคลื่อนทองเที่ยวชุมชนเชิงสรางสรรคตนแบบ ในบริบทแบบ New 1 2 สํานักงานทองเที่ยวและ 2,200,000 2,200,000
Normal ของจังหวัดเชียงราย กีฬาจังหวัด และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมยอยที่ 2 การยกระดับ Wellness Tourism 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 4,000,000
1 การยกระดับ Wellness Tourism 1 2 สภาอุตสาหกรรม 1,000,000 1,000,000
ทองเที่ยว/สํานักงาน
ทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด
กิจกรรมยอยที่ 3 การพัฒนาผูประกอบการแหลงทองเที่ยวน้ําพุรอนในจังหวัด 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 12,000,000
เชียงรายใหมีคุณภาพระดับสากล
1 การพัฒนาผูประกอบการแหลงทองเที่ยวน้ําพุรอนในจังหวัดเชียงรายใหมี 1 2 สภาอุตสาหกรรม 3,000,000 3,000,000
คุณภาพระดับสากล ทองเที่ยว/สํานักงาน
ทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด
กิจกรรมยอยที่ 4 การเพิ่มศักยภาพผูประกอบการและแหลงทองเที่ยวลานนา 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 40,000,000
ตะวันออก รูปแบบ Wellness Hub GMS เพื่อรองรับการทองเที่ยววิถีใหม

1 การเพิ่มศักยภาพผูประกอบการและแหลงทองเที่ยวลานนาตะวันออก 1 2 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี 10,000,000 10,000,000


รูปแบบ Wellness Hub GMS เพื่อรองรับการทองเที่ยววิถีใหม ราชมงคลลานนา เชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 2.2 การพัฒนาและสรางความเขมแข็งกับภาคีเครือขายภาค 2,880,000 2,880,000 2,880,000 2,880,000 2,880,000 14,400,000


การทองเที่ยว
กิจกรรมยอยที่ 1 การเสริมสรางความเขมแข็งภาคีเครือขายเพื่อเพิ่มศักยภาพ 480,000 480,000 480,000 480,000 1,920,000
ดานการทองเที่ยว
1 การเสริมสรางความเขมแข็งภาคีเครือขายเพื่อเพิ่มศักยภาพดานการ 1 2 สถานีตํารวจทองเที่ยว 480,000 480,000
ทองเที่ยว เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมยอยที่ 2 การประชุมสัมมนาการพัฒนาความรวมมือเครือขายการ 2,400,000 2,400,000 2,400,000 2,400,000 9,600,000
ทองเที่ยวภาคเหนือและอนุภูมิภาคลุมน้ําโขงตอนบน จังหวัดเชียงราย สูการ
พัฒนาการทองเที่ยวสรางสรรคอยางยั่งยืน
1 การประชุมสัมมนาการพัฒนาความรวมมือเครือขายการทองเที่ยว 1 2 สํานักงานการทองเที่ยว 2,400,000 2,400,000
ภาคเหนือและอนุภูมิภาคลุมน้ําโขงตอนบน จังหวัดเชียงราย สูการพัฒนาการ และกีฬาจังหวัดเชียงราย
ทองเที่ยวสรางสรรคอยางยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 2.3 ทองเที่ยวชุมชนเชียงรายสรางสรรค 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 9,000,000 5,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 12,480,000
กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 2.4 การทองเที่ยวเชียงรายในวิถีใหม วิถีไทย วิถีชุมชน (New 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 8,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 20,000,000
Normal Tourism in Chiang Rai) กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 2.5 การสงเสริมการทองเที่ยวเชิงอาหาร: การพัฒนา 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 8,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 20,000,000
เมนูอาหารชุมชน เชียงราย (Chiangrai Local Signature Menu กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 2.6 พัฒนาศักยภาพบุคลากรดานการทองเที่ยวและยกระดับ 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 3,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 7,000,000
มาตรฐานการใหบริการดานการทองเที่ยว กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 2.7 พัฒนาศักยภาพเทคนิคการสื่อความหมายสําหรับแหลง 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 3,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 7,000,000
ทองเที่ยว กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 2.8 เสริมสรางศักยภาพและองคความรูดานการทองเที่ยว 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 5,000,000
ใหแกผูนําการทองเที่ยวระดับพื้นที่จังหวัดเชียงราย กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 2.9 ยกระดับการบริหารจัดการดานการทองเที่ยวโดยชุมชน 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 3,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 7,000,000
(Community Based Tourism) จังหวัดเชียงราย กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 2.10 พัฒนาศักยภาพการบริหารจัดการแหลงทองเที่ยวน้ําพุ 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 2,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 6,000,000
รอนอยางยั่งยืน กีฬาจังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมหลักที่ 2.11 ทองเที่ยวชุมชนวิถีชาและกาแฟ เชียงราย (Chiangrai 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 10,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 30,000,000
Tea - Coffee Community & Atelier ) กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 2.12 การสรางชุดขอมูลการทองเที่ยวและสื่อเชิงสรางสรรค 2 2 สนง. การทองเที่ยวและ 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 15,000,000
สําหรับเผยแพรประชาสัมพันธสรางการรับรูทางการทองเที่ยวของพื้นที่เวียง กีฬาจังหวัดเชียงราย
หนองหลมและพื้นที่โดยรอบ
กิจกรรมหลักที่ 2.13 การพัฒนาเสนทางและกิจกรรมทองเที่ยวเชิง 2 2 สนง. การทองเที่ยวและ 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 20,000,000
สรางสรรคประสบการณ (Creative Experiential Design) ดานการอนุรักษ กีฬาจังหวัดเชียงราย
แหลงเมืองเกาโบราณคดีและธรณีวิทยา
กิจกรรมหลักที่ 2.14 การพัฒนาระบบการตลาดและกิจกรรมสงเสริมการ 2 2 สนง. การทองเที่ยวและ 5,000,000 5,000,000 5,000,000 15,000,000
ประชาสัมพันธพื้นที่ชุมน้ําเวียงหนองหลมและบริเวณโดยรอบ กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 2.15 การประเมินและแผนปรับปรุงการพัฒนาการทองเที่ยว 2 2 สนง. การทองเที่ยวและ 600,000 600,000 600,000 1,800,000
พื้นที่เวียงหนองหลมและพื้นที่โดยรอบ กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 2.16 วิ่ง ปน สืบสานสูลานพระธาตุดอยตุง 2 2 สนง. การทองเที่ยวและ 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 2.17 พัฒนาชุมชนนวัตวิถีตามมาตรฐานการทองเที่ยวชุมชน 1 2 สํานักงานพัฒนาชุมชน 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 20,000,000
ในระดับสากล จังหวัดเชียงราย, มทร.
ลานนา ,มหาวิทยาลัยแม
ฟาหลวง

กิจกรรมหลักที่ 2.18 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการทองเที่ยวในชุมชน 2 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏ 4,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 8,000,000
เพื่อเตรียมความพรอมการเปนแหลงทองเที่ยวคุณภาพของพื้นที่เวียงหนอง เชียงราย
หลมและพื้นที่โดยรอบ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมหลักที่ 2.19 การทําแผนเตรียมความพรอมการพัฒนาการทองเที่ยว 2 2 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 1,500,000 100,000 100,000 100,000 100,000 1,900,000
เวียงหนองหลมตามเกณฑการทองเที่ยวของสภาการทองเที่ยวอยางยั่งยืนโลก
(GSTC-D)
กิจกรรมหลักที่ 2.20 การออกแบบการปรับปรุงภูมิทัศนและสิ่งอํานวยความ 2 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏ 12,000,000 100,000 100,000 100,000 100,000 12,400,000
สะดวกรองรับการเปนแหลงทองเที่ยวคุณภาพของพื้นที่เวียงหนองหลมและ เชียงราย
บริเวณโดยรอบ
กิจกรรมที่ 2.21 การยกระดับการทองเที่ยวสรางสรรคเชิงสุขภาพบนฐานภูมิ 1 2 สํานักวิชาการทองเที่ยว 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 7,500,000
ปญญาลานนา มหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย
กิจกรรมที่ 2.22 การพัฒนาศักยภาพบุคลากรทางการทองเที่ยวในจังหวัด 3 2 อบจ.เชียงราย 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000
เชียงราย
กิจกรรมที่ 2.23 สัมมนาการสรางความรวมมือและสรางเครือขายธุรกิจ 3 2 อบจ.เชียงราย 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000
ทองเที่ยวของชุนชน ผูประกอบการ หนวยงานราชการภายในจังหวัด
เชียงรายสูการเปนเมืองทองเที่ยวสรางสรรค
กิจกรรมที่ 2.24 สงเสริมการทองเที่ยวจังหวัดเชียงราย "วิ่งเทรลทาสายหมอก 3 อบจ.เชียงราย 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000
ดอกไมงาม"
กิจกรรมที่ 2.25 รัก(ษ)สุดเขตประเทศไทย @ผาไดเวียงแกน 3 2 เทศบาลตําบลมวงยาย 500,000 500,000 500,000 500,000 500,000 2,500,000
กิจกรรมที่ 2.26 พัฒนาและสนับสนุนยกระดับแหลงทองเที่ยวเพื่อสราง 3 2 อําเภอแมสาย 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000
รายไดสูชุมชนอยางยั่งยืน (งานมหัศจรรย 10 ชาติพันธแมสาย)
กิจกรรมที่ 2.27 พัฒนา แหลงทองเที่ยวพระธาตุดอยตุง 3 2 อําเภอแมสาย 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000
กิจกรรมที่ 2.28 ถนนสุขภาพ สีเขียว ปน,วิ่ง,เดิน เที่ยวอนุรักษ ตําบลดอน 3 2 อําเภอเวียงชัย 4,180,000 4,180,000 4,180,000 4,180,000 4,180,000 20,900,000
ศิลา อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
โครงการพัฒนากิจกรรมและการตลาดเพื่อสงเสริมการทองเที่ยวเชิง 2 180,800,000 289,830,000 279,830,000 279,830,000 286,330,000 1,316,620,000
สรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 3.1 การพัฒนากิจกรรมและผลิตภัณฑเพื่อสงเสริมดานการ 7,600,000 22,250,000 22,250,000 22,250,000 22,250,000 96,600,000
ทองเที่ยว
กิจกรรมยอยที่ 1 การพัฒนาสินคาและบริการดวยนวัตกรรมการออกแบบ 3 2 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 2,000,000 4,450,000 4,450,000 4,450,000 4,450,000 19,800,000
บริการ เพื่อตอยอดทุนทางวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นดานการทองเที่ยว พัฒนาชุมชนจังหวัด
เชิงสรางสรรค จังหวัดเชียงราย เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 2 การพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงรายสูเครือขาย 15,000,000 15,000,000 15,000,000 15,000,000 60,000,000
เมืองสรางสรรค Creative City
1. กิจกรรมพัฒนาเสนทางทองเที่ยวเชิงสรางสรรคโดยใชอัตลักษณเมือง 1 2 สํานักงานวัฒนธรรม 2,500,000 2,500,000
เชียงราย Cultural Identities จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 3 สืบสานประเพณีนมัสการและสรงน้ําพระธาตุดอยตุง 1 สํานักงานวัฒนธรรม 800,000 800,000 800,000 800,000 800,000 4,000,000
ประจําป 2566 จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 4 การอนุรักษและสืบสานวัฒนธรรมประเพณีศิลปะวิถีชีวิต
ลานนาอยางสรางสรรค
1 จัดงานการอนุรักษและสืบสานวัฒนธรรมประเพณีศิลปะวิถีชีวิตลานนา 1 2 สํานักงานวัฒนธรรม 300,000 300,000
อยางสรางสรรค จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 5 การสงเสริมและประชาสัมพันธการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค 1 2 สํานักงานการทองเที่ยว 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 8,000,000
จังหวัดเชียงราย และกีฬาจังหวัดเชียงราย
1 วิ่งนอย รอยภาพ ซึมซาบวิถีชีวิตชุมชน 1 2 สํานักงานการทองเที่ยว 1,200,000 1,200,000
และกีฬาจังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
2 วิ่ง ปน สืบสานสูลานพระธาตุดอยตุง 1 2 สํานักงานการทองเที่ยว 800,000 800,000
และกีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 3.2 การสงเสริมการตลาดการสงเสริมและการประชาสัมพันธ 1,800,000 2,180,000 2,180,000 2,180,000 2,180,000 10,520,000
เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพดานการทองเที่ยว
กิจกรรมยอยที่ 1 การสงเสริมและประชาสัมพันธการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค 2,180,000 2,180,000 2,180,000 2,180,000 8,720,000
จังหวัดเชียงราย
1 กิจกรรมประชาสัมพันธการทองเที่ยวจังหวัดเชียงราย 1 2 สถานีวิทยุกระจายเสียง 1,000,000 1,000,000
แหงประเทศไทยจังหวัด
เชียงราย/สํานักงานการ
ทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด
เชียงราย

1 กิจกรรมการทองเที่ยวสรางประสบการณใหม ชา กาแฟ เชิงสรางสรรค 1 2 สถานีวิทยุกระจายเสียง 800,000 800,000


(Tea & Coffee New Experience) แหงประเทศไทยจังหวัด
เชียงราย/สํานักงานการ
ทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 3.3 สงเสริมกิจกรรมการทองเที่ยวและสืบสานประเพณี 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 20,000,000
ทองถิ่นจังหวัดเชียงราย กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 3.4 สงเสริมการทองเที่ยวชาติพันธุ สีสันแหงลานนา เชียงราย 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 15,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 55,000,000
กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 3.9 ปน ลัด เลาะ ริมฝงโขง เชื่อมโยง 3 แผนดิน 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 15,000,000
กีฬาจังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมหลักที่ 3.10 CHIANGRAI NIGHT RUN 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 3.11 ปน-วิ่ง-พาย สองสายน้ํา สามยอดดอย สี่ชายแดน สาน 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 13,000,000 13,000,000 13,000,000 13,000,000 13,000,000 65,000,000
สัมพันธการทองเที่ยวอยางยั่งยืน กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 3.12 เดิน-วิ่ง มาราธอน ณ เชียงของ สองฝงโขง เชื่อมโยง 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
ไทย-ลาว กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 3.14 การสงเสริมและประชาสัมพันธการทองเที่ยวจังหวัด 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 25,000,000
เชียงราย กีฬาจังหวัดเชียงราย/
ประชาสัมพันธ
กิจกรรมที่ 3.15 รอยเรียง สืบสาน อัตลักษณผาทอชุมชน จังหวัดเชียงราย 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 7,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 27,000,000
กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 3.16 การสงเสริมการทองเที่ยวเชิงกีฬา Sport Tourism 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 10,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 30,000,000
กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 3.17 การสงเสริมการทองเที่ยวเชิงเกษตร เชิงสุขภาพและ 1 2 สนง. การทองเที่ยวและ 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
สมุนไพร จังหวัดเชียงราย กีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 3.18 การสงเสริมกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค Tea & 1 2 สํานักงานการทองเที่ยว 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
Coffee Festival และกีฬาจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 3.19 สงเสริมการทองเที่ยวเชียงรายมืองสรางสรรค 1 สนง.การทองเที่ยวและ 100,000,000 100,000,000 100,000,000 100,000,000 400,000,000
กีฬาจังหวัดเชียราย/
มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง/
วัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมหลักที่ 3.20 การจับคูและสรางเครือขายธุรกิจของผูประกอบการใน 1 2 สภาอุตสาหกรรมทองเที่ยว 1,100,000 1,100,000 1,100,000 1,100,000 1,100,000 5,500,000
จังหวัดเชียงรายทั้งภาคการผลิตและบริการ
กิจกรรมหลักที่ 3.21 โครงการพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมจังหวัดเชียงรายสู 1 สํานักงานวัฒนธรรม 15,000,000 15,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 45,000,000
เครือขายเมืองสรางสรรค จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 3.22 โครงการเฉลิมฉลองเมืองเชียงรายครบรอบ ๗๖๕ ป 1 สํานักงานวัฒนธรรม 5,000,000 5,000,000
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 3.23 เฉลิมฉลองเมืองเชียงรายครบรอบ ๗๖๕ ป 1 2 สํานักงานวัฒนธรรม 1,500,000 1,500,000
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 3.24 การอนุรักษและสืบสานวัฒนธรรมประเพณีศิลปะวิถีชีวิต 1 2 สํานักบริหารพื้นที่ 300,000 300,000 300,000 300,000 300,000 1,500,000
ลานนาอยางสรางสรรค อนุรักษที่ 15 (เชียงราย)
กิจรรมหลักที่ 3.25 จัดงานวัฒนธรรมสัมพันธลุมน้ําโขง 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 25,000,000
กิจกรรมหลักที่ 3.26 จัดกิจกรรมการแขงขันเรือจังหวัดเชียงราย 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
กิจกรรมที่ 3.27 สงเสริมการทองเที่ยงเชิงศิลปะ วัฒนธรรม ประเพณีและภูมิ 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 50,000,000
ปญญาทองถิ่นนครเชียงราย
กิจกรรมที่ 3.28 มหกรรมเปดประสบการณเอ็กซตรีม อีสปอรต และกีฬา 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 25,000,000
ทางน้ํา เชียงราย
กิจกรรมที่ 3.29 การพัฒนาระบบสารสนเทศและเทคโนโลยีเพื่อการบริหาร 2 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏ 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 12,000,000
จัดการและสราง Platform สนับสนุนการวางแผนตัดสินใจทองเที่ยว เชียงราย
กิจกรรมที่ 3.30 การพัฒนาเทคโนโลยีนวัตกรรม (Digital Tourism) เพื่อ 2 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏ 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 12,000,000
สงเสริมการทองเที่ยวพื้นที่ชุมน้ําเวียงหนองหลมและบริเวณโดยรอบ เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมที่ 3.31 Chiangrai Road Classic 4 2 บริษัท สิงหปารค 4,500,000 4,500,000 4,500,000 4,500,000 4,500,000 22,500,000
เชียงราย จํากัด/สนง.
การทองเที่ยวและกีฬา
จังหวัดเชียงราย/สภา
อุตสาหกรรมทองเที่ยว

กิจกรรมที่ 3.32 Famfestival on the Hill 4 2 บริษัท สิงหปารค 17,000,000 17,000,000 17,000,000 17,000,000 17,000,000 85,000,000
เชียงราย จํากัด/สนง.
การทองเที่ยวและกีฬา
จังหวัดเชียงราย/สภา
อุตสาหกรรมทองเที่ยว

กิจกรรมที่ 3.33 International Balloon Fiesta 4 2 บริษัท สิงหปารค 23,000,000 23,000,000 23,000,000 23,000,000 23,000,000 115,000,000
เชียงราย จํากัด/สนง.
การทองเที่ยวและกีฬา
จังหวัดเชียงราย/สภา
อุตสาหกรรมทองเที่ยว

กิจกรรมที่ 3.34 Thailand Skate Fest 4 2 บริษัท สิงหปารค 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 20,000,000
เชียงราย จํากัด/สนง.
การทองเที่ยวและกีฬา
จังหวัดเชียงราย/สภา
อุตสาหกรรมทองเที่ยว
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสตร หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. ชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 1 การสรางมูลคาเพิ่มดานการทองเที่ยวเชิงสรรคโดยดํารงฐานวัฒนธรรมลานนา
กิจกรรมที่ 3.35 Chiangrai Marathon 4 2 บริษัท สิงหปารค 5,500,000 5,500,000 5,500,000 5,500,000 5,500,000 27,500,000
เชียงราย จํากัด/สนง.
การทองเที่ยวและกีฬา
จังหวัดเชียงราย/สภา
อุตสาหกรรมทองเที่ยว

กิจกรรมที่ 3.36 Chiangrai Triathlon 4 2 บริษัท สิงหปารค 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 20,000,000
เชียงราย จํากัด/สนง.
การทองเที่ยวและกีฬา
จังหวัดเชียงราย/สภา
อุตสาหกรรมทองเที่ยว

กิจกรรมที่ 3.37 การกอสรางสวนสาธารณโขงหลง เพื่อสงเสริมการทองเที่ยว 3 2 เทศบาลตําบลแมเงิน อ. 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 50,000,000
เชียงแสน

รวมทั้งสิ้น 3 โครงการ 643,072,300 1,466,342,000 1,594,942,000 1,579,942,000 1,590,842,000 6,875,140,300


บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนงานที่ 3 สงเสริมและยกระดับผลิตภัณฑทางการเกษตรสูเกษตรมูลคาสูงเชิงสรางสรรค
โครงการสรางเสริมการใชนวัตกรรมเพื่อผลผลิตทางการเกษตรเชิง 2 26,533,700 31,952,680 34,952,680 34,952,680 29,952,680 158,344,420
สรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 4.1 การสงเสริมกิจกรรมตนแบบเพื่อมุงเนนการทํา 3,826,900 6,800,000 6,800,000 6,800,000 6,800,000 31,026,900
เกษตรเชิงสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 1 สงเสริมและยกระดับศักยภาพกลุมเกษตรกรรุนใหม 2,108,900 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 22,108,900
Smart Farmer เพื่อเปนกลุมตนแบบ
กิจกรรมที่ 1 สงเสริมและพัฒนาวิสาหกิจชุมชนจังหวัดเชียงราย 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัด 675,000 675,000
กิจกรรมที่ 2 สงเสริมและพัฒนาการแปรรูปสินคาและการออกแบบ 2 2 มทร.ลานนา 1,033,900 1,033,900
บรรจุภัณฑและตราสินคา
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาและทดสอบระบบการผลิต โลจิสติกสและโซ 2 2 ม.ราชภัฎเชียงราย 400,000 400,000
อุปทาน
กิจกรรมยอยที่ 2 สงเสริมเกษตรกรตนแบบทําการเกษตรเชิง 1,100,000 1,300,000 1,300,000 1,300,000 1,300,000 6,300,000
สรางสรรค (เชื้อราเพื่อการเกษตร)
กิจกรรมที่ 1 อบรมเชิงปฏิบัติการ 2 หลักสูตร (เชื้อราสรางรายได และ 2 2 ม.แมฟาหลวง 910,000 910,000
เชื้อราลดตนทุนการผลิต)
กิจกรรมที่ 2 จัดกิจกรรมเผยแพรผลการดําเนินงานสงเสริมเกษตร 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย 190,000 190,000
สรางสรรคสูเกษตรกร (18 อําเภอ)
กิจกรรมยอยที่ 3 ยกระดับกลุมวิสาหกิจชุมชนตนแบบ 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย 618,000 500,000 500,000 500,000 500,000 2,618,000
กิจกรรมหลักที่ 4.2 การนํานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต 22,706,800 25,152,680 28,152,680 28,152,680 23,152,680 127,317,520
สินคาการเกษตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมยอยที่ 1 การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําดวยระบบ IoT และเกษตรอัฉ 2 2 มทร.ลานนา ,สนง.ประมงจังหวัด 2,500,000 2,500,000
ริยะ เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 2 การบูรณาการยกระดับเกษตรกรสู next normal 14,523,500 7,529,420 10,529,420 10,529,420 5,529,420 48,641,180
ดวยเทคโนโลยีและนวัตกรรม
กิจกรรมที่ 1 ยกระดับกลุมเกษตรทฤษฎีใหมตนแบบดวยระบบเกษตร 1 2 สนง.เกษตรและสหกรณจังหวัด 1,800,000 1,800,000
อัจฉริยะในการบริหารจัดการพื้นที่และผลผลิต เชียงราย,สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย
,มทร.ลานนา,ม.แมฟาหลวง
กิจกรรมที่ 2 ผลิตปุยชีวภาพไนโตรเจนจากแหนแดงเพื่อลดการใชปุย 1 2 ศูนยวิจัยพืชสวนเชียงราย 523,500 529,420 529,420 529,420 529,420 2,641,180
อินทรียในนาขาว
กิจกรรมที่ 3 พัฒนาเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรียดวยระบบ 2 2 ม.แมฟาหลวง ,ม.ราชภัฎเชียงราย,สนง. 3,000,000 3,000,000
เกษตรอัจฉริยะ เกษตรและสหกรณจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 4 บมเพาะ local startup ดานเกษตรเพื่อเชื่อมโยง 2 2 ม.แมฟาหลวง ,สนง.เกษตรและ 2,000,000 2,000,000


สินคาอัตลักษณชุมชนสูตลาดทุกระดับ สหกรณจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 5 พัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตวน้ํามูลคาสูงดวยนวัตกรรม 3,600,000 7,000,000 10,000,000 10,000,000 5,000,000 35,600,000


เกษตรอัจฉริยะ
กิจกรรมที่ 1 การเพาะเลี้ยงสัตวน้ําดวยระบบ Big Data และเกษตร 2 2 มทร.ลานนา ,สนง.ประมงจังหวัด 2,500,000 2,500,000
อัจฉริยะ เชียงราย

กิจกรรมที่ 2 การเพิ่มศักยภาพการเพาะเลี้ยงปลาน้ําเย็นมูลคาสูง 1 2 สนง.ประมงจังหวัดเชียงราย 1,100,000 1,100,000


,โครงการหลวงดอยตุง
กิจกรรมยอยที่ 3 พัฒนาการแปรรูปและเพิ่มมูลคาสินคาเกษตรบน 2 2 มทร.ลานนา ,ศูนยสงเสริมและพัฒนา 3,233,300 2,773,260 2,773,260 2,773,260 2,773,260 14,326,340
พื้นที่สูง เกษตรที่สูงเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมยอยที่ 4 พัฒนานวัตกรรมสรางมูลคาเพิ่มในวัสดุเหลือใชทาง 2 2 ม.แมฟาหลวง , สนง.เกษตรและ 2,450,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 22,450,000
การเกษตร สหกรณจังหวัดเชียงราย, สนง.
อุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 4.3 พัฒนาศักยภาพการผลิตผักปลอดภัยครบวงจร 1 2 สนง.เกษตจังหวัดเชียงราย,สํานักงาน 6,850,000 9,850,000 9,850,000 9,850,000 9,850,000 46,250,000
เกษตรอําเภอ
กิจกรรมหลักที่ 4.4 โครงการสงเสริมการสรางรายไดชุมชนเครือขาย 1 2 สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย, 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
จากเกษตรปลอดภัย เกษตรอินทรียภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ มทร.ลานนา
พอเพียง
กิจกรรมหลักที่ 4.5 โครงการโคก หนอง นา โมเดล หวงโซคุณคาที่ 1 2 สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย, 2,500,000 2,500,000 2,500,000 2,500,000 2,500,000 12,500,000
เขมแข็งของระบบเศรษฐกิจฐานรากของชุมชน มทร.ลานนา

กิจกรรมหลักที่ 4.6 บมเพาะ local startup ดานเกษตรเพื่อเชื่อมโยง 2 2 ม.แมฟาหลวง,สํานักงานเกษตรและ 2,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 22,000,000
สินคาอัตลักษณชุมชนสูตลาดทุกระดับ สหกรณจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 4.7 การสงเสริมและพัฒนาการแปรรูปสินคาและการ 2 2 มทร.ลานนา เชียงราย/สํานักงาน 350,000 350,000 350,000 350,000 350,000 1,750,000
ออกแบบบรรจุภัณฑ และตราสินคา เกษตรจังหวัดเชียงราย

โครงการเชียงรายเมืองเกษตรสรางสรรคมูลคาสูง สูการพัฒนา (ขา 2 14,235,200 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 54,235,200


กาแฟและสมุนไพร)
กิจกรรมหลักที่ 5.1 การสงเสริมกิจกรรมการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค 2,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 22,000,000
Tea & Coffee Festival
กิจกรรมยอยที่ 1 การทองเที่ยวสรางประสบการณใหม ชา กาแฟ เชิง 1 2 สํานักงานการทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด 500,000 500,000
สรางสรรค (Tea & Coffee New Experience) เชียงราย

กิจกรรมที่ 2 Tea & Coffee Festival 1 2 สํานักงานการทองเที่ยวและกีฬาจังหวัด 1,500,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 21,500,000
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 5.2 สงเสริมและยกระดับศักยภาพพัฒนาชา-กาแฟ 10,935,200 10,935,200
ครบวงจร
กิจกรรมยอยที่ 1 ยกระดับการผลิตชาสูมาตรฐานอาหารปลอดภัย 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย ,ศูนย 815,000 815,000
สงเสริมและพัฒนาเกษตรที่สูง
กิจกรรมยอยที่ 2 ยกระดับการผลิตกาแฟสูมาตรฐานอาหารปลอดภัย 2 2 ม.ราชภัฎเชียงราย,สนง.เกษตรจังหวัด 730,000 730,000
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 3 สงเสริมการขอรับรองมาตรฐานเกษตรอินทรีย PGS 2 2 ม.แมฟาหลวง ,สนง.เกษตรจังหวัด 500,000 500,000
และเชื่อมโยงเครือขาย (ชาและกาแฟ) เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 4 พัฒนาผูประกอบการและ start up +ประกวด 2 2 มทร.ลานนา, สนง.เกษตรจังหวัด 3,200,000 3,200,000


กาแฟ+ตรวจสอบวิเคราะหคุณภาพ เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 5 ยกระดับการใชนวัตกรรมเพื่อการแปรรูปและเพิ่ม 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย,ศูนย 3,593,300 3,593,300


มูลคาชา-กาแฟ (ลดการนําเขาเครื่องจักร) สงเสริมเกษตรที่สูงเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 6 เพิ่มประสิทธิภาพกลุมเกษตรกรตนแบบผูปลูกกาแฟ 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย, ศูนย 2,096,900 2,096,900


อินทรีย สงเสริมเกษตรที่สูงเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 5.3 สงเสริมและยกระดับการพัฒนาสมุนไพรครบวงจร 1,300,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 21,300,000

กิจกรรมยอยที่ 1 สงเสริมการผลิตสมุนไพรเชิงพื้นที่ 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย 1,300,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 21,300,000


กิจกรรมยอย 1 การพัฒนามาตรฐานสมุนไพรจังหวัดเชียงราย 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย 700,000 700,000
กิจกรรมยอย 2 การพัฒนาผลิตภัณฑสมุนไพรที่มีคุณภาพและ 2 2 ม.แมฟาหลวง, ม.ราชภัฎเชียงราย 795,000 795,000
มาตรฐานโดยประยุกตใชเทคโนโลยีและนวัตกรรม
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 5.4 สงเสริมและยกระดับศักยภาพการผลิตกาแฟครบ 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, ศูนย 10,515,160 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 50,515,160
วงจร สงเสริมและพัฒนาอาชีพการเกษตร
จังหวัดเชียงราย (เกษตรที่สูง),
มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 5.5 พัฒนาเทคโนโลยีการอบแหงที่เหมาะสมสําหรับ 2 2 มทร.ลานนา เชียงราย/มหาวิทยาลัย 875,000 875,000 875,000 875,000 875,000 4,375,000
พัฒนาเอกลักษณผลิตภัณฑชา กาแฟและสมุนไพร แมฟาหลวง/สํานักงานเกษตรและ
สหกรณจังหวัดเชียงราย/เกษตรพื้นที่สูง
กิจกรรมหลักที่ 5.6 ยกระดับการใชนวัตกรรมเพื่อการแปรรูปและเพิ่ม 2 2 มทร.ลานนา, สํานักงานเกษตรจังหวัด 3,113,260 3,113,260 3,113,260 3,113,260 3,113,260 15,566,300
มูลคาชาและกาแฟ เชียงราย,เกษตรพื้นที่สูง

กิจกรรมหลักที่ 5.7 พัฒนาผูประกอบการและ Startup ชาและกาแฟ 2 2 ม.แมฟาหลวง , สํานักงานเกษตร 3,300,000 3,300,000 3,300,000 3,300,000 3,300,000 16,500,000
จังหวัดเชียงราย,สํานักงานเกษตรและ
สหกรณจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 5.8 การยกระดับศักยภาพเกษตรกรในการเพิ่มมูลคา 2 2 มฟล.,รชภ.ชร.มทร.ลานนา กษ.ชร. 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
ผลผลิตทางการเกษตรพื้นถิ่นของจังหวัดเชียงรายดวยคุณภาพและ
มาตรฐาน
กิจกรรมหลักที่ 5.9 การพัฒนาและเพิ่มมูลคาผลิตภัณฑและบริการ 2 2 มฟล.,รชภ.ชร.มทร.ลานนา สอจ. 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
จากผลิตผลทางการเกษตรพื้นถิ่นในจังหวัดเชียงรายดวยมาตรฐาน
นวัตกรรมและอัตลักษณชุมชน
กิจกรรมหลักที่ 5.10 การพัฒนาผูประกอบการรุนใหม (Startup) และ 2 2 มฟล.,รชภ.ชร. กษ.ชร. สอจ. พาณิชย 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 15,000,000
การเชื่อมโยงตลาดเพื่อเพิ่มชองทางการขายที่ยั่งยืน จังหวัด

กิจกรรมหลักที่ 5.11 การสรางความเขมแข็งของเครือขายชุมชนตลอด 2 2 มฟล.,รชภ.ชร. มทร.ลานนา, กษ.ชร. 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 5,000,000
หวงโซอุปทานเพื่อรวมพัฒนาเชิงพื้นที่ใหเติบโตอยางยั่งยืน สอจ. พาณิชยจังหวัด
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 5.12 การพัฒนาคุณภาพผลผลิตและผลิตภัณฑชาและ 2 2 มฟล., กษ. ชร., ททท.ชร 3,500,000 2,000,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 10,000,000
กาแฟเชียงรายเพื่อเพิ่มมูลคา สูการบริการทองเที่ยวเชิงสรางสรรค

กิจกรรมหลักที่ 5.13 สงเสริมการปลูกสมุนไพรและพัฒนาอาชีพกลุม 2 2 มฟล., กษ. ชร., 2,500,000 2,500,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 11,000,000
เกษตรกรในจังหวัดเชียงรายแบบครบวงจรอยางยั่งยืน
แผนงานที่ 4 เพิ่มสัดสวนสินคาเกษตรที่ไดคุณภาพมาตรฐานสากลและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม
โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและสรางเครือขายการผลิตสินคา 2 241,371,295 232,006,185 310,261,185 241,961,185 242,061,185 1,267,661,035
เกษตรคุณภาพ อาหารปลอดภัยอยางสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 6.1การยกระดับและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อ 6,255,300 5,700,000 5,700,000 5,900,000 6,000,000 29,555,300
สรางมูลคาเพิ่มใหกับสินคาการเกษตรปลอดภัยอาหารปลอดภัย
กิจกรรมยอยที่ 1 ยกระดับการผลิตขาวสูมาตรฐานอาหารปลอดภัย 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย 2,335,600 2,335,600
กิจกรรมยอยที่ 2 สงเสริมและยกระดับศักยภาพกลุมเกษตรกรผูปลูก 3,120,600 3,120,600
ไมผลครบวงจร
กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพการผลิตลําไยใหมีคุณภาพไดมาตรฐาน 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย 224,100 224,100
(ลําไย)
กิจกรรมที่ 2 สงเสริมและยกระดับผลิตภัณฑลําไยสดของจังหวัด 2 2 ม.ราชภัฎเชียงราย 1,200,000 1,200,000
เชียงรายสูเกษตรมูลคาสูงเชิงสรางสรรค (ลําไย)
กิจกรรมที่ 3 สนับสนุนการผลิตลิ้นจี่สูมาตรฐานอาหารปลอดภัย (ลิ้นจี่) 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย 338,500 338,500

กิจกรรมที่ 4 การแปรรูปและสรางมูลคาเพิ่มเพื่อยกระดับผลิตภัณฑ 2 2 ม.ราชภัฎเชียงราย 1,358,000 1,358,000


ทางการเกษตรเชิงสรางสรรค (ลิ้นจี่)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมยอยที่ 3 พัฒนาศักยภาพการผลิตและสรางเครือขายการ 1,506,400 3,700,000 3,700,000 3,900,000 4,000,000 16,806,400
เลี้ยงโคเนื้อคุณภาพ อาหารปลอดภัยจงหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 1 สงเสริมการผลิตโคเนื้อ/โคขุน ตามมาตรฐานปลอดภัย 1 2 สนง.ปศุสัตวจังหวัด 512,400 512,400
GMP/GAP
กิจกรรมที่ 2 สงเสริมพัฒนาการผลิตอาหารสัตวเพื่อสรางมูลคาเพิ่มใน 1 2 สนง.ปศุสัตวจังหวัด 257,800 257,800
การเลี้ยงโคเนื้อ/โคขุน
กิจกรรมที่ 3 การบริหารจัดการของเสียในกระบวนการผลิตโคเนื้อ /โค 1 2 สนง.ปศุสัตวจังหวัด 131,200 131,200
ขุน
กิจกรรมที่ 4 สรางการรับรูและการประชาสัมพันธและสงเสริม 1 2 สนง.ปศุสัตวจังหวัด 605,000 605,000
การตลาด
กิจกรรมยอยที่ 4 พัฒนาศักยภาพการผลิตและสรางเครือขายการ 799,100 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 8,799,100
เลี้ยงแพะคุณภาพ อาหารปลอดภัยจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศักยภาพการผลิตและสรางเครือขายการเลี้ยงแพะ 1 2 สนง.ปศุสัตวจังหวัดเชียงราย 378,600 378,600
คุณภาพ อาหารปลอดภัยจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 2 สงเสริมอาชีพใหกับประชาชน และเกษตรกรการ ดวย 1 2 มณฑลทหารบกที่ 37 (ร.17 พ.3) 420,500 420,500
การเลี้ยงเเพะ
กิจกรรมหลักที่ 5.2 การสงเสริมและยกระดับการผลิตสินคา 32,545,000 6,000,000 6,000,000 10,500,000 16,000,000 71,045,000
การเกษตรปลอดภัยตามศาสตรพระราชา
กิจกรรมยอยที่ 1 สงเสริมและขับเคลื่อนการพัฒนายกระดับคุณภาพ 28,720,000 6,000,000 6,000,000 10,500,000 16,000,000 67,220,000
ชีวิตคนเชียงรายตามศาสตรพระราชา
กิจกรรมที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตพืชภายใตมาตรฐานอินทรีย 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย,โครงการ 12,000,000 6,000,000 6,000,000 16,000,000 40,000,000
และ GAP ตามแนวทางโครงการหลวง หลวงหวยโปง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมที่ 2 กอสรางอาคารคัดบรรจุและแปรรูปผลผลิตภายใต 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย,โครงการ 6,000,000 6,000,000 4,500,000 16,500,000
มาตรฐานอินทรียและ GAP ตามแนวทางโครงการหลวง หลวงหวยน้ําริน

กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาศักยภาพการผลิต ผลิตภัณฑจากสมุนไพร 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย,โครงการ 10,000,000 10,000,000


คุณภาพสูงครบวงจรเพื่อประโยชนทางการแพทย หลวงสะโงะ, ม.แมโจ

กิจกรรมที่ 4 สงเสริมและพัฒนายกระดับคุณภาพชีวิตคนเชียงราย 1 2 สํานักงานจังหวัดเชียงราย ,สนง.เกษตร 720,000 720,000


ตามศาสตรพระราชา (สํานักงานจังหวัด) จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 2 สงเสริมและยกระดับศักยภาพการผลิต 1 2 สนง.เกษตรจังหวัดเชียงราย ,อําเภอ 3,825,000 3,825,000


สมเขียวหวานสีทองครบวงจร เชียงของ

กิจกรรมหลักที่ 5.3 การสงเสริมการตลาดและประชาสัมพันธสินคา 700,000 700,000


การเกษตร
กิจกรรมยอยที่ 1 การประชาสัมพันธผลิตภัณฑทางการเกษตรสูเกษตร 1 2 สนง.ประชาสัมพันธจังหวัดเชียงราย 700,000 700,000
มูลคาสูงเชิงสรางสรรค
กิจกรรมที่ 1 จางเหมาบุคลากร 1 2 สนง.ประชาสัมพันธจังหวัดเชียงราย 340,000 340,000
กิจกรรมที่ 2 ผลิตสื่อประชาสัมพันธและเผยแพร 1 2 สนง.ประชาสัมพันธจังหวัดเชียงราย 360,000 360,000
กิจกรรมหลักที่ 5.4 สงเสริมและยกระดับศักยภาพการผลิตขาวครบ 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย 2,335,600 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 22,335,600
วงจร
กิจกรรมหลักที่ 5.5 สงเสริมและยกระดับศักยภาพกลุมเกษตรกรผูปลูก 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย 3,120,550 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 23,120,550
ไมผลครบวงจร (ลําไย ,ลิ้นจี่)
กิจกรรมหลักที่ 5.6 สงเสริมและยกระดับศักยภาพการผลิตผักครบวงจร 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 20,000,000

กิจกรรมหลักที่ 5.7 สงเสริมและยกระดับศักยภาพการผลิต 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย 3,825,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 23,825,000
สมเขียวหวานสีทองครบวงจร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 5.8 ขยายผลโครงการหลวงและโครงการพระราชดําริ 1 2 - สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย 20,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 100,000,000
- โครงการหลวง 7 โครงการ
กิจกรรมหลักที่ 5.9 สงเสริมการอนุรักษพันธุกรรมพืช 1 2 - สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย 20,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 20,000,000 100,000,000
อันเนื่องมาจากพระราชดําริ - สํานักงานจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 5.10 สงเสริมและยกระดับศักยภาพการผลิตสับปะรด 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 20,000,000


ครบวงจร มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 5.11 เพิ่มประสิทธิภาพศูนยการเรียนรูไมผลเมือง 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, 2,500,000 4,000,000 6,500,000


หนาวบนพื้นที่สูงอยางยืน โครงการหลวงผาตั้ง

กิจกรรมหลักที่ 5.12 กอสรางศูนยถายทอดเทคโนโลยีและฝกอบรม 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย 12,000,000


การผลิตพืช ตามแนวทางโครงการหลวง โครงการหลวงหวยโปง 10,000,000
โครงการหลวงแมปูนหลวง 2,000,000
กิจกรรมหลักที่ 5.13 เพิ่มประสิทธิภาพอาคารผลิตผลศูนยพัฒนา 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย 8,000,000
โครงการหลวง โครงการหลวงสะโงะ 4,000,000
โครงการหลวงหวยแลง 4,000,000
กิจกรรมหลักที่ 5.14 เพิ่มประสิทธิภาพอาคารศูนยการเรียนรูไมตัดใบ 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, 3,500,000 3,500,000
โครงการหลวงหวยน้ําริน
กิจกรรมหลักที่ 5.15 เพิ่มประสิทธิภาพศูนยการเรียนรูพืชสมุนไพร 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, 1,500,000 1,500,000
และการผลิตไมดอกไมกระถางอยางยืน โครงการหลวงสะโงะ

กิจกรรมหลักที่ 5.16 กอสรางอาคารแสดงผลิตภัณฑและจัดจําหนาย 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, 3,500,000 3,500,000


สมุนไพรแปรรูป โครงการหลวงสะโงะ

กิจกรรมหลักที่ 5.17 กอสรางศูนยถายทอดเทคโนโลยีและฝกอบรม 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, 4,000,000 4,000,000


การผลิต และการแปรรูปชาจีน โครงการหลวงแมปูนหลวง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 5.18 พัฒนาประสิทธิภาพการผลิตกาแฟอาราบิกา 1 2 สํานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย, 18,000,000 18,000,000
ภายใตมาตรฐานอาหารปลอดภัยที่เปนมิตรกับสิ่งแวดลอม โครงการหลวงหวยโปง

กิจกรรมหลักที่ 5.19 สงเสริมและพัฒนาอาชีพการตลาด ในพื้นที่ คทช. 1 2 สํานักงานสหกรณจังหวัดเชียงราย, 7,078,660 7,078,660


สํานักงานประมงจังหวัด, ศูนยสงเสริม
และพัฒนาการเกษตรจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 5.20 ยกระดับกลุมเกษตรทฤษฎีใหมตนแบบดวยระบบ 1 2 สนง.เกษตรและสหกรณจังหวัด,เกษตร 1,800,000 1,800,000 1,800,000 1,800,000 1,800,000 9,000,000
เกษตรอัจฉริยะในการบริหารจัดการพื้นที่และผลผลิต จังหวัด,มทร.ลานนา,ม.แมฟาหลวง

กิจกรรมหลักที่ 5.21 โรงสีขาววิสาหกิจชุมชนเกษตรกรแปรรูปขาว 1 2 สนง.สภาเกษตรจังหวัดเชียงราย 4,745,000 4,745,000


ปลอดภัยแบบยั่งยืนแมจัน
กิจกรรมหลักที่ 5.22 พัฒนาเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรียดวย 2 2 ม.แมฟาหลวง,สํานักงานเกษตรและ 3,000,000 . 10,000,000 10,000,000 10,000,000 33,000,000
ระบบเกษตรอัจฉริยะ สหกรณจังหวัดเชียงราย,สํานักงาน
เกษตรจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 5.23 การพัฒนาอาชีพคุณภาพีวิตเกษตรกรในพื้นที่ 2 2 - มทร.ลานนาเชียงราย 2,410,800 2,410,800 2,410,800 2,410,800 2,410,800 12,054,000
จังหวัดเชียงราย - สํานักงานเกษตรและสหกณจังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 5.24 สงเสริมและสนับสนุนการทําเกษตรอินทรียและ 2 2 มทร.ลานนา เชียงราย/สํานักงาน 4,800,000 4,800,000 4,800,000 4,800,000 4,800,000 24,000,000
เกษตรปลอดภัยวิถีชาวบาน เพื่อตอยอดสูนักธุรกิจเกษตร เกษตรและสหกรณจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 5.24 ถายทอดนวัตกรรมและเทคโนโลยีเพื่อการพัฒนา 2 2 มทร.ลานนา เชียงราย/สํานักงาน 4,800,000 4,800,000 4,800,000 4,800,000 4,800,000 24,000,000
กระบวนการผลิต เกษตรและสหกรณจังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 5.25 การกาวสูการเปนเกษตรกรมืออาชีพ (Smart 2 2 มทร.ลานนา เชียงราย/สํานักงาน 4,800,000 4,800,000 4,800,000 4,800,000 4,800,000 24,000,000
farmer) และนักธุรกิจเกษตร (Agri - preneurship) ดวยการ เกษตรและสหกรณจังหวัดเชียงราย
ถายทอดองคความรู ดานการบริหารจัดการฟารมอยางมีประสิทธิภาพ
ทั้งดานการผลิต การเงิน และการตลาด

กิจกรรมหลักที่ 5.26 พัฒนาระบบฐานขอมูลสารสนเทศการเกษตร 2 2 มทร.ลานนา เชียงราย/สํานักงาน 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
อินทรียและเกษตรปลอดภัยที่มีมาตรฐานและครบวงจร เกษตรและสหกรณจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 5.27 สงเสริมและพัฒนาการแปรรูปสินคาและการ 2 2 มทร.ลานนา เชียงราย/สํานักงาน 4,800,000 4,800,000 4,800,000 4,800,000 4,800,000 24,000,000
ออกแบบบรรจุภัณฑ และตราสินคา เกษตรและสหกรณจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 5.28 การวิเคราะหตนทุนการผลิต และการตั้งราคาขาย 2 2 มทร.ลานนา เชียงราย/สํานักงาน 2,400,000 2,400,000 2,400,000 2,400,000 2,400,000 12,000,000
เกษตรและสหกรณจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 5.29 สงเสริมและพัฒนาการทํา Digital Marketing 2 2 มทร.ลานนา เชียงราย/สํานักงาน 2,400,000 2,400,000 2,400,000 2,400,000 2,400,000 12,000,000
สําหรับผลิตภัณฑและสินคาทางการเกษตร เกษตรและสหกรณจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 5.30 ถายทอดกระบวนการสืบยอนกลับผลิตภัณฑและ 2 2 มทร.ลานนา เชียงราย/สํานักงาน 4,800,000 4,800,000 4,800,000 4,800,000 4,800,000 24,000,000
สินคาทางการเกษตร เกษตรและสหกรณจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 5.31 กอสรางศูนยฝกอบรมอาชีพเกษตรกรสถานี 3 2 กรมสงเสริมการเกษตร/องคการ 8,000,000 8,000,000 8,000,000 8,000,000 8,000,000 40,000,000
เกษตรวิถีพอเพียง องคการบริหารสวนตําบลสันกลาง อําเภอพาน บริหารสวนตําบลสันกลาง
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 5.32 พัฒนาอุตสาหกรรมกาแฟอําเภอเวียงแกน 3 2 ที่ทําการปกครองอําเภอเวียงแกน/ 5,010,385 5,010,385 5,010,385 5,010,385 5,010,385 25,051,925
สํานักงานเกษตรอําเภอเวียงแกน
กิจกรรมหลักที่ 5.33 สงเสริมการปลูกโกโกแบบครบวงจรและเพิ่ม 3 2 ที่ทําการปกครองอําเภอเวียงแกน/ 15,000,000 15,000,000 15,000,000 15,000,000 15,000,000 75,000,000
ผลิตภัณฑการเกษตรมูลคาสูงพรีเมี่ยมในพื้นที่อําเภอเวียงแกนจังหวัด สํานักงานเกษตรอําเภอเวียงแกน
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 2 การสงเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินคาเกษตรเชิงสรางสรรคภายใตแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 5.34 เชียงรายตนแบบเมืองอาหารปลอดภัย 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 50,000,000
กิจกรรมหลักที่ 5.35 ปรับปรุงระบบผลิตและการแปรรูปอาหารจาก 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 60,000,000 60,000,000 60,000,000 60,000,000 60,000,000 300,000,000
เนื้อสัตวปลอดภัยสําหรับผูบริโภค (โรงฆาสัตวสีเขียว)
กิจกรรมหลักที่ 5.36 เกษตรอินทรียสูการทองเที่ยวและเมืองอาหาร 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 25,000,000
ปลอดภัย
กิจกรรมหลักที่ 5.37 สงเสริมกลุมเกษตรในการเพิ่มประสิทธิภาพผลิต 3 2 เทศบาลตําบล หลายงาว 445,000 445,000 445,000 445,000 445,000 2,225,000
และพัฒนาคุณภาพสมโอ
กิจกรรมหลักที่ 5.38 การสงเสริมองคความรูเพื่อลดตนทุนและเพิ่ม 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน 50,000 50,000 50,000 50,000 50,000 250,000
ประสิทธิภาพการผลิตลําไย
กิจกรรมหลักที่ 5.39 สงเสริมการรวมกลุมเกษตรกรลําไย 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน 50,000 50,000
กิจกรรมหลักที่ 5.40 การสงเสริมองคความรูเพื่อลดตนทุนและเพิ่ม 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน 50,000 50,000 50,000 50,000 200,000
ประสิทธิภาพการผลิตนาขาว
กิจกรรมหลักที่ 5.41 สงเสริมการรวมกลุมเกษตรกรนาขาว 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน 50,000 50,000 50,000 50,000 200,000
กิจกรรมหลักที่ 5.42 สงเสริมกลุมเกษตรในการเพิ่มประสิทธิภาพผลิต 3 2 เทศบาลตําบลหลายงาว 445,000 445,000 445,000 445,000 445,000 2,225,000
และพัฒนาคุณภาพสมโอ

รวมทั้งสิ้น 3 โครงการ 282,140,195 273,958,865 355,213,865 286,913,865 282,013,865 1,480,240,655


บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคดานการคา การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส
แผนงานที่ 5 เพิ่มมูลคาเศรษฐกิจสรางสรรคดานการคา การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส
โครงการเพิ่มขีดความสามารถผูประกอบการและ 2 8,500,000 19,500,000 19,500,000 19,500,000 19,500,000 86,500,000
การพัฒนาตลาดเชิงสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 7.1 การพัฒนาผูประกอบการเพื่อเพิ่ม 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 20,000,000
ศักยภาพการผลิตสินคา
กิจกรรมยอยที่ 1 การพัฒนาผูประกอบการเพื่อเพิ่ม 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000
ศักยภาพสินคา GI เชื่อมโยงสูสากล
กิจกรรมที่ 1 การขับเคลื่อน กํากับดูแล และติดตาม 1 2 สํานักงานพาณิชยจังหวัด 248,500 248,500
ประเมินศักยภาพสินคา GI เชียงราย
กิจกรรมที่ 2 การเตรียมความพรอมผูประกอบการที่ 1 2 สํานักงานพาณิชยจังหวัด 500,000 500,000
ไดรับอนุญาตใชตราสัญลักษณสิ่งบงชี้ทางภูมิศาสตร (GI) เชียงราย

กิจกรรมที่ 3 การยกระดับคุณภาพ สรางมูลคาเพิ่มและ 1 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 1,251,500 1,251,500


การผลักดันการใชประโยชนเชิงพาณิชยสินคา GI ใหม
จังหวัดเชียงราย (เครื่องเคลือบเวียงหลง)
กิจกรรมที่ 4 การสงเสริมกิจกรรมการตลาดและการ 1 2 สํานักงานพาณิชยจังหวัดเชียงราย 2,000,000 2,000,000
สื่อสารการตลาดในระดับประเทศและระดับสากล และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 7.2 การสรางตราสินคาสินคาของ 8,500,000 15,500,000 15,500,000 15,500,000 15,500,000 70,500,000


จังหวัดเพื่อสรางมูลคาเพิ่มเชิงสรางสรรค
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคดานการคา การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส
กิจกรรมยอยที่ 1 การพัฒนาผูประกอบการสินคา 4,500,000 4,500,000 4,500,000 4,500,000 4,500,000 4,500,000
ภายใตผลิตภัณฑจังหวัดเชียงราย Chiang Rai Brand
เชื่อมโยงสูสากล
กิจกรรมที่ 1 การอบรมเพิ่มขีดความสามารถให 1 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 300,000 300,000
ผูประกอบการในยุค Digital
กิจกรรมที่ 2 การพัฒนาและยกระดับสินคาภายใตตรา 1 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 1,000,000 1,000,000
ผลิตภัณฑจังหวัดเชียงราย (Chiang Rai Brand) ใหมี
มาตรฐานสูสากล
กิจกรรมที่ 3 การสงเสริมพัฒนาบรรจุภัณฑ เพื่อผลิต 1 2 สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด 500,000 500,000
สินคาพรีเมี่ยมภายใตตราผลิตภัณฑจังหวัดเชียงราย เชียงราย และมหาวิทยาลัย
(Chiang Rai Brand) ราชภัฏเชียงราย
กิจกรรมที่ 4 เจรจาธุรกิจและ Business Matching 1 2 สํานักงานพาณิชยจังหวัด 200,000 200,000
เชียงราย
กิจกรรมที่ 5 การจัดงานแสดงและจาหนายสินคา 1 2 สํานักงานพาณิชยจังหวัด 2,500,000 2,500,000
ภายใตตราผลิตภัณฑจังหวัดเชียงราย (Chiang Rai เชียงราย
Brand)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคดานการคา การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส
กิจกรรมยอยที่ 2 การพัฒนาสินคาเกษตรสําคัญของ 1 2 สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด 2,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 14,000,000
จังหวัดเชียงรายดวยนวัตกรรมสรางสรรคสูผลิตภัณฑ เชียงรายและสภา
เกษตรแปรรูปมูลคาสูง อุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 3 การพัฒนาศักยภาพการตลาดเชิงรุก 1 2 สํานักงานอุตสาหกรรมจังหวัด 2,000,000 8,000,000 8,000,000 8,000,000 8,000,000 34,000,000
ของผูประกอบการ SMEs จังหวัดเชียงรายเพื่อเพิ่มชอง เชียงรายและสภา
ทางการจําหนายสินคาดวยเทคโนโลยีและดิจิทัล อุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย
มาตรฐานสูสากล

โครงการสงเสริมและพัฒนาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจ 2 18,250,000 13,500,000 13,500,000 13,500,000 13,500,000 72,250,000


ชายแดนเศรษฐกิจขามแดนและเขตเศรษฐกิจพิเศษ
อยางสวรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 8.1 การสงเสริมการพัฒนาเขต 7,250,000 2,500,000 2,500,000 2,500,000 2,500,000 17,250,000
เศรษฐกิจพิเศษและระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ
กิจกรรมยอยที่ 1 กิจกรรมการเตรียมความพรอมใน 1 2 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 700,000 700,000
การพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ
(Northern Economic Corridor : NEC)
กิจกรรมยอยที่ 2 กิจกรรมสงเสริมการลงทุนและการ 1 2 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 1,100,000 1,100,000
บริหารงานในการสนับสนุนการขับเคลื่อนเขตพัฒนา
เศรษฐกิจพิเศษ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคดานการคา การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส
กิจกรรมยอยที่ 3 กิจกรรมสงเสริมความสัมพันธเมืองพี่ 1 2 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 700,000 700,000
เมืองนอง (Sister City) ความสัมพันธกับประเทศเพื่อน
บาน และภารกิจงานดานตางประเทศของจังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 4 การพัฒนาศักยภาพการใชประโยชน 1 2 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 4,750,000 4,750,000


จากพื้นที่โดยรอบตามเสนทางกอสรางทางรถไฟ สาย
เดนชัย – เชียงราย – เชียงของ

กิจกรรมที่ 1 การศึกษาระบบโครงสรางพื้นฐาน 1 2 สํานักงานจังหวัดเชียงราย


ระบบโลจีสติกส และการใชประโยชนที่ดินตามเสนทาง
กอสรางรถไฟสายเดนชัย – เชียงราย – เชียงของ

กิจกรรมที่ 2 การจัดประชุมเพื่อนําเสนอผลการศึกษา 1 2 สํานักงานจังหวัดเชียงราย


และระดมความคิดเห็นทุกภาคสวนเพื่อใหผลการศึกษา
มีความสมบูรณ ครอบคลุมทุกมิติในการพัฒนา
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคดานการคา การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส
กิจกรรมที่ 3 จัดทําขอเสนอเชิงนโยบายในระดับจังหวัด 1 2 สํานักงานจังหวัดเชียงราย
และระดับประเทศ ในการเตรียมการใชประโยชนที่ดิน
และขอเสนอโครงการที่หนวยงานสวนกลางควรใหการ
สนับสนุน

กิจกรรมหลักที่ 8.2 การสงเสริมการคาชายแดนและ 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 5,000,000


การคาขามแดนของจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 1 การเสริมสรางความเขมแข็งของเครือขาย 1 2 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 500,000 500,000
ผูประกอบการการคาชายแดนในพื้นที่จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 2 การประชุมเชิงปฏิบัติการเพื่อสรางความรู 1 2 สํานักงานพาณิชจังหวัด 500,000 500,000


ความเขาใจผูประกอบการและประชาชนที่ประกอบ เชียงราย
อาชีพที่เกี่ยวของกับการคาชายแดนในพื้นที่จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 8.3 โครงการนครเชียงรายเมืองอัจฉริยะ 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 50,000,000
(Smart City)
โครงการสงเสริมและพัฒนาระบบ Logistic เพื่อ 2 217,016,000 146,406,000 146,406,000 146,406,000 146,406,000 802,640,000
เชื่อมโยงการคาการลงทุนอยางสรางสรรค
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคดานการคา การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส
กิจกรรมหลักที่ 9.1 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน 91,610,000 75,796,000 75,796,000 75,796,000 75,796,000 303,184,000
คมนาคมเพื่อรองรับการพัฒนาระบบโลจิสติกส
กิจกรรมยอยที่ 1 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน 1 2 แขวงทางหลวงชนบทเชียงรายและ 70,610,000 54,796,000 54,796,000 54,796,000 54,796,000 70,610,000
คมนาคม เพื่อรองรับโลจิสติกส แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2

กิจกรรมที่ 1 ปรับปรุงถนนสายบานหลวง - บานศิวิไล 1 2 แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย 24,750,000 24,750,000


ตําบลครึ่ง, หวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
ระยะทาง 5.650 กิโลเมตร
กิจกรรมที่ 2 ปรับปรุงบูรณะถนนสาย ชร.5023 จ.3 ผัง 1 2 แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย 24,200,000 24,200,000
เมืองรวมเชียงราย อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
ระยะทาง 3.150 กิโลเมตร
กิจกรรมที่ 3 ปรับปรุงบูรณะถนนสายบานฝงหมิ่น - 1 2 แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย 21,660,000 21,660,000
บานหนองบัวแดง ตําบลริมกก อําเภอเมือง จังหวัด
เชียงราย ระยะทาง 4.245 กิโลเมตร
กิจกรรมยอยที่ 2 ปรับปรุงซอมแซมทางหลวง 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 1 21,000,000 21,000,000 21,000,000 21,000,000 21,000,000 21,000,000
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมปรับปรุงซอมแซมทางหลวง 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 1 6,000,000 6,000,000
หมายเลข 1378 ตอนสามัคคีใหม-หวยปูระหวาง กม.
11+110 – กม.12+925
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคดานการคา การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส
กิจกรรมที่ 2 ปรับปรุงซอมแซมทางหลวงหมายเลข 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 1 15,000,000 15,000,000
1149 ตอนหวยไคร-หวยน้ําริน ระหวาง กม.21+500 –
กม.25+000
กิจกรรมหลักที่ 9.2 การพัฒนาระบบอํานวยความ 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2 54,796,000 54,796,000
ปลอดภัยเพื่อรองรับการพัฒนาระบบโลจิสติกส
กิจกรรมยอยที่ 1 งานไฟฟาแสงสวาง ทางหลวง 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2 9,584,000 9,584,000
หมายเลข 1174 ตอน แมต๋ํานอย - ทุงงิ้ว ระหวาง กม.
41+095 - กม.54+965 (เปนชวงๆ) ตําบลแมต๋ํา
อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 2 งานไฟฟาแสงสวาง ทางหลวง 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2 6,550,000 6,550,000


หมายเลข 1174 ตอน แมต๋ํานอย - ทุงงิ้ว ระหวาง กม.
66+515 - กม.82+924 (เปนชวงๆ) และทางหลวง
หมายเลข 1020 ตอน ชมภู - เชียงของ ระหวาง กม.
105+310 – กม.134+764 (เปนชวงๆ) ตําบลหวยซอ
และ ตําบลศรีดอนชัย อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคดานการคา การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส
กิจกรรมยอยที่ 3 งานไฟฟาแสงสวาง ทางหลวง 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2 4,631,000 4,631,000
หมายเลข 1292 ตอน พวงพยอม - แมลอยไร ระหวาง
กม.19+000 - กม.35+955 (เปนชวงๆ) ตําบลแมลอย
อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 4 งานไฟฟาแสงสวาง ทางหลวง 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2 6,937,000 6,937,000


หมายเลข 1020 ตอน โปงเกลือ - บานปลอง ระหวาง
กม.30+190 - กม.35+900 และทางหลวงหมายเลข
1126 ตอน พาน - บานวัง ระหวาง กม.21+500 -
กม.43+985 (เปนชวงๆ) ตําบลเชียงเคี่ยน อําเภอเทิง
จังหวัดเชียงราย และ ตําบลปาแงะ อําเภอปาแดด
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 5 งานไฟฟาแสงสวาง ทางหลวง 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2 5,555,000 5,555,000


หมายเลข 1128 ตอน เชียงเคี่ยน - ปาแงะ ระหวาง
กม.0+676 - กม.3+435 (เปนชวงๆ) และทางหลวง
หมายเลข 1202 ตอน สันตนแหน - ปาแดด ระหวาง
กม.41+945 - กม.44+954 (เปนชวงๆ) ตําบลเชียง
เคี่ยน อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย และ ตําบลโรงชาง
อําเภอปาแดด จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคดานการคา การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส
กิจกรรมยอยที่ 6 งานไฟฟาแสงสวาง ทางหลวง 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2 4,952,000 4,952,000
หมายเลข 1098 ตอน กิ่วพราว - ทาขาวเปลือก
ระหวาง กม.6+000 - กม.10+780 (เปนชวงๆ) ตําบล
ทาขาวเปลือก อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 7 งานไฟฟาแสงสวาง ทางหลวง 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2 4,352,000 4,352,000


หมายเลข 1016 ตอน กิ่วพราว - เชียงแสน ระหวาง
กม.26+650 - กม.29+950 (เปนชวงๆ) และทางหลวง
หมายเลข 1290 ตอน แมสาย - กิ่วกาญจน ระหวาง
กม.38+107- กม.38+407 (เปนชวงๆ) ตําบลเวียง
อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 8 งานราวกันอันตราย ทางหลวง 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2 8,705,000 8,705,000


หมายเลข 1290 ตอน แมสาย - กิ่วกาญจน ระหวาง
กม.33+000 - กม.38+500 ตําบลเวียง อําเภอเชียง
แสน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 9 งานราวกันอันตราย ทางหลวง 1 2 แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2 3,530,000 3,530,000


หมายเลข 1326 ตอน รองบัวทอง - สบเปา ระหวาง
กม.0+481- กม.13+197 (เปนชวงๆ) ตําบลผางาม
อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 3 การพัฒนาเศรษฐกิจสรางสรรคดานการคา การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส
กิจกรรมหลักที่ 9.3 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐานดาน 1 2 แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย 70,610,000 70,610,000 70,610,000 70,610,000 70,610,000 353,050,000
คมนาคม

รวมทั้งสิ้น 3 โครงการ 243,766,000 179,406,000 179,406,000 179,406,000 179,406,000 961,390,000


บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
แผนงานที่ 6 เพิ่มพื้นที่สีเขียว การบริหารจัดการน้ํา และแกไขปญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ
โครงการเชียงรายเมืองสีเขียวสรางสรรค 5 80,588,700 79,388,700 79,388,700 79,388,700 79,388,700 398,143,500
กิจกรรมหลักที่ 10.1 การอนุรักษปองกัน 46,373,700 45,173,700 45,173,700 45,173,700 45,173,700 227,068,500
สงเสริมฟนฟูและใชประโยชนในพื้นที่ปาเพื่อ
ฟนฟูพื้นที่สีเขียว
กิจกรรมยอยที่ 1 กิจกรรมอนุรักษ ปองกัน 10,738,700 9,538,700 9,538,700 9,538,700 9,538,700 48,893,500
สงเสริมและฟนฟูพื้นที่สีเขียวอยางมีสวนรวม
กิจกรรมที่ 1 เพิ่มพื้นที่สีเขียวเพื่อสิ่งแวดลอม 1 5 สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ 1,361,300 1,361,300 1,361,300 1,361,300 1,361,300 6,806,500
เมือง สิ่งแวดลอมจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 2 ปลูกปาสรางรายไดในพื้นที่ปา 1 5 สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่15 5,200,000 5,200,000 5,200,000 5,200,000 5,200,000 26,000,000
อนุรักษ เชียงราย
กิจกรรมยที่ 3 กิจกรรมสรางความตะหนักรู 1 5 สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่15 1,200,000 1,200,000
และปลูกจิตสํานึกในการมีสวนรวมการอนุรักษ เชียงราย/มหาวิทยาลัยราชภัฏ
ปาตามศาสตรพระราชา เชียงราย/เกษตรจังหวัด
กิจกรรมที่ 4 การสงเสริมการใชพลังงาน 1 5 สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่15 897,400 897,400 897,400 897,400 897,400 4,487,000
ทดแทนในพื้นที่อนุรักษ เชียงราย
กิจกรรมที่ 5 สงเสริมการเลี้ยงผึ้งโพรงในพื้นที่ 1 5 สภาองคกรชุมชน/สํานักงานเกษตร 2,080,000 2,080,000 2,080,000 2,080,000 2,080,000 10,400,000
ปาธรรมชาติและพื้นที่การเกษตรรอบปา จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 2 สงเสริมศักยภาพการ 1 5 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 2 4,100,000 4,100,000 4,100,000 4,100,000 4,100,000 20,500,000
อนุรักษและใชประโยชนในพื้นที่ปาชุมชนอยาง เชียงราย
สมดุลและยั่งยืน
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
กิจกรรมที่ 1 พัฒนาแหลงทองเที่ยวทาง 1 5 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 2 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
ธรรมชาติในพื้นที่ปาชุมชน เชียงราย
กิจกรรมที่ 2 สงเสริมอนุรักษและใชประโยชน 1 5 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 2 2,100,000 2,100,000 2,100,000 2,100,000 2,100,000 10,500,000
พืชสมุนไพรในปาชุมชนอยางยั่งยืน เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 3 การพัฒนาตนแบบการปลูก 1 5 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 15,000,000
ปาโดยใชนวัตกรรมสมัยใหมเพื่อปลูกปาบน ลานนาเชียงราย/สํานักบริหารพื้นที่
พื้นที่ภูมิประเทศเขาถึงไดยาก อนุรักษท1ี่ 5 เชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 10.2 การจัดการขยะแบบ 1,300,000 1,300,000 1,300,000 1,300,000 1,300,000 6,500,000
บูรณาการ
กิจกรรมยอยที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพการ 1 5 สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ 1,300,000 1,300,000 1,300,000 1,300,000 1,300,000 6,500,000
จัดการขยะมูลฝอย ชีวิตวิถีใหม New Normal สิ่งแวดลอมจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 10.3 กิจกรรมอนุรักษ ปองกัน 1 5 สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่15 4,235,000 4,235,000 4,235,000 4,235,000 4,235,000 21,175,000
สงเสริมและฟนฟูพื้นที่สีเขียวอยางมีสวนรวม เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 1 ฝกอบรมเชิงปฏิบัติการเพื่อ 1 5 สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่15 4,235,000 4,235,000 4,235,000 4,235,000 4,235,000 21,175,000
ปลูกปญญาและสงเสริมการปลูกปาในเขตปา เชียงราย/มหาวิทยาลัยราชภัฏ
อนุรักษ เชียงราย/เกษตรจังหวัด
กิจกรรมหลักที่ 10.4 สงเสริมการเพิ่ม 1 5 สํานักงานพลังงานจังหวัดเชียงราย 11,500,000 11,500,000 11,500,000 11,500,000 11,500,000 57,500,000
ประสิทธิภาพและสนับสนุนการใชเทคโนโลยี
พลังงานทดแทนประสิทธิภาพสูง
กิจกรรมหลักที่ 10.5 เพิ่มพื้นที่สีเขียวเทศบาล 3 5 เทศบาลนครเชียงราย 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 25,000,000
นครเชียงราย (Chiangrai garden city)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 10.6 อนุรักษและดูแลรักษา 3 5 เทศบาลนครเชียงราย 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 25,000,000
ทรัพยากรธรรมชาติโดยการสงเสริมการมีสวน
รวมเพื่อการอนุรักษและพัฒนาอยางยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 10.7 อนุรักษ ฟนฟูปานอกทุง 3 5 อําเภอขุนตาล 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 7,500,000
สาธารณะประโยชน
โครงการบริหารจัดการทรัพยากรน้ําอยาง 1 5 โยธาธิการ จังหวัดเชียงราย 7,067,948,000 7,385,016,000 7,405,016,000 7,235,016,000 7,235,016,000 36,328,012,000
สรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 11.1 การกอสรางเขื่อนปองกัน 1 5 โยธาธิการ จังหวัดเชียงราย 84,500,000 84,400,000 84,400,000 84,400,000 84,400,000 422,100,000
ตลิ่งริมแมน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 1.1 กอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง 1 5 โยธาธิการ จังหวัดเชียงราย 10,500,000 10,500,000 10,500,000 10,500,000 10,500,000 10,500,000
ริมแมน้ําเผื่อ พรอมปรับปรุงภูมิทัศน บานแม
เผื่อ หมูที่ 4 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียง
รุง จังหวัดเชียงราย ความยาว 320 เมตร

กิจกรรมยอยที่ 1.2 การกอสรางเขื่อนปองกัน 1 5 โยธาธิการ จังหวัดเชียงราย 10,500,000 10,400,000 10,400,000 10,400,000 10,400,000 10,500,000
ตลิ่งริมแมน้ําพุง บริเวณฝายหนองสองหอง หมู
ที่ 8 ตําบลปาแงะ อําเภอปาแดด จังหวัด
เชียงราย ความยาว 200 เมตร

กิจกรรมยอยที่ 1.3 การกอสรางเขื่อนปองกัน 1 5 โยธาธิการ จังหวัดเชียงราย 15,000,000 15,000,000 15,000,000 15,000,000 15,000,000 15,000,000
ตลิ่งริมแมน้ําคํา บานสันหลวงกลาง หมูที่ 8
ตําบลจอมสวรรค อําเภอแมจัน จังหวัด
เชียงราย ความยาว 500 เมตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
กิจกรรมยอยที่ 1.4 การกอสรางเขื่อนปองกัน 1 5 โยธาธิการ จังหวัดเชียงราย 9,500,000 9,500,000 9,500,000 9,500,000 9,500,000 9,500,000
ตลิ่งริมแมน้ําลาว บานหนองคึก หมูที่ 8 ตําบล
บัวสลี อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย ความ
ยาว 300 เมตร

กิจกรรมยอยที่ 1.5 การกอสรางเขื่อนปองกัน 1 5 โยธาธิการ จังหวัดเชียงราย 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000
ตลิ่งริมแมน้ําอิง พรอมปรับปรุงภูมิทัศน บาน
เวียงใต หมูที่ 15 ตําบลเวียง อําเภอเทิง จังหวัด
เชียงราย ความยาว 200 เมตร

กิจกรรมยอยที่ 1.6 การกอสรางเขื่อนปองกัน 1 5 โยธาธิการ จังหวัดเชียงราย 14,000,000 14,000,000 14,000,000 14,000,000 14,000,000 14,000,000
ตลิ่งริมแมน้ําอิง บานชวา หมูที่ 3 ตําบลสัน
ทรายงาม อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ความ
ยาว 250 เมตร

กิจกรรมยอยที่ 1.7 การกอสรางเขื่อนปองกัน 1 5 โยธาธิการ จังหวัดเชียงราย 9,000,000 9,000,000 9,000,000 9,000,000 9,000,000 9,000,000
ตลิ่งริมแมน้ําอิง บานสันทรายทอง หมูที่ 6
ตําบลสันทรายงาม อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
ความยาว 160 เมตร

กิจกรรมยอยที่ 1.8 การกอสรางเขื่อนปองกัน 1 5 โยธาธิการ จังหวัดเชียงราย 6,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000 6,000,000
ตลิ่งริมแมน้ํางาว บานหลายงาว หมูที่ 1
ตําบลหลายงาว อําเภอเวียงแกน จังหวัด
เชียงราย ความยาว 200 เมตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 11.2 การบริหารจัดการ 1 5 ชลประทานเชียงราย 60,000,000 15,000,000 15,000,000 15,000,000 15,000,000 120,000,000
ทรัพยากรน้ําเพื่อปองกันปญหาอุทกภัยและ
บรรเทาปญหาภัยแลง
กิจกรรมยอยที่ 2.1 ขุดลอกหนองเขียว ระยะที่ 1 5 ชลประทานเชียงราย 40,000,000 40,000,000 40,000,000 40,000,000 40,000,000 40,000,000
3 ตําบลจันจวาใต อําเภอแมจัน จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 2.2 ขุดลอกลําน้ําลาว 1 5 ชลประทานเชียงราย 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000
กิจกรรมยอยที่ 2.3 การปองกันและบรรเทา 1 5 ศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณภัย 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000 10,000,000
ปญหาความเดือนรอนของประชาชนในพื้นที่ เขต 15 เชียงราย
อันเนื่องมาจากปญหาภัยแลงและอุทกภัยใน
พื้นที่จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมหลักที่ 11.3 การนํานวัตกรรมเพื่อเพิ่ม 2 5 มหาวิทยาลัยราษภัฏเชียงราย 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 3.1 การสรางแมขายการ 2 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย/สํานัก 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000
จัดการน้ําชุมชนตามแนวพระราชดําริ ดวย บริหารพื้นที่อนุรักษที่ 15 เชียงราย
วิทยาศาสตรและเทคโนโลยี ในจังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 11.4 สนับสนุนการบริหาร 1 5 1.โครงการชลประทานเชียงราย 6,712,832,000 7,000,000,000 7,000,000,000 7,000,000,000 7,000,000,000 34,712,832,000
จัดการทรัพยากรน้ําเพื่อปองกันการเกิด 2.ศูนยปองกันและบรรเทาสาธารณ
อุทกภัยและบรรเทาปญหาภัยแลง 3,640 แหง ภัย เขต 15 เชียงราย
3.ประมงจังหวัดเชียงราย
4.ประปาสวนภูมิภาคจังหวัดเชียงราย
5.อําเภอ 18 อําเภอ

กิจกรรมหลักที่ 11.5 โครงการพัฒนาปรับปรุง 1 5 ชลประทาน จังหวัดเชียงราย 203,616,000 278,616,000 298,616,000 128,616,000 128,616,000 1,038,080,000
เพิ่มประสิทธิภาพดานแหลงน้ําและปองกัน
บรรเทาภัยอันเกิดจากน้ําแบบบูรณาการ
กิจกรรมยอยที่ 1 โครงการพัฒนา อนุรักษ 1 5 ชลประทานเชียงราย 195,000,000 150,000,000 170,000,000 515,000,000
และฟนฟูเวียงหนองหลม จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 2 โครงการแกมลิงหนองไคร 1 5 ชลประทานเชียงราย 50,000,000 50,000,000 50,000,000 50,000,000 200,000,000
ไหว พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 3 โครงการแกมลิงหนองกกหลง 1 5 ชลประทานเชียงราย 30,000,000 30,000,000 30,000,000 30,000,000 120,000,000
พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 4 ขุดลอกลําน้ําพุง 1 5 ชลประทานเชียงราย 40,000,000 40,000,000 40,000,000 40,000,000 160,000,000
กิจกรรมยอยที่ 5 กอสรางถนนคอนกรีตเสริม 1 3 กรมชลประทาน/องคการบริหารสวน 8,616,000 8,616,000 8,616,000 8,616,000 8,616,000 43,080,000
เหล็กสาย 5L-RMC องคการบริหารสวนตําบล ตําบลสันกลาง
สันกลาง อําเภอพาน จังหวัดเชียงรายปรับปรุง
สนามกีฬาถนนสุขภาพ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
กิจกรรมยอยที่ 6 กอสรางถนนคอนกรีตเสริม 1 3 กรมชลประทาน/องคการบริหารสวน 4,872,000 4,872,000 4,872,000 4,872,000 4,872,000 24,360,000
เหล็กสาย 6L-RMC องคการบริหารสวนตําบล ตําบลสันกลาง
สันกลาง อําเภอพาน จังหวัดเชียงรายปรับปรุง
สนามกีฬาถนนสุขภาพ

กิจกรรมหลักที่ 11.6 นวัตกรรมการบริหาร 2 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 25,000,000
จัดการน้ําแบบบูรณาการ
กิจกรรมยอยที่ 1 การพัฒนาการตรวจวัด 2 5 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 25,000,000
คุณภาพน้ําดวยลูกบอลตรวจมลพิษแบบ IoT ลานนาเชียงราย
เพื่อรักษาคุณภาพน้ําของ
ลุมน้ํากก

แผนงานที่ 7 เพิ่มประสิทธิภาพการแกไขปญหาไฟปาและหมอกควันและสงเสริมเชียงรายเมืองสะอาด
โครงการปองกันและแกไขปญหาไฟปาหมอก 5 35,147,500 53,511,490 53,511,490 53,511,490 53,511,490 249,193,460
ควันและฝุนละอองอยางสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 12.1 การบูรณาการเพื่อเพิ่ม 20,396,500 30,860,490 30,860,490 30,860,490 30,860,490 143,838,460
ประสิทธิภาพการปองกันและแกไขปญหา
หมอกควันและไฟปา
กิจกรรมยอยที่ 1 กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพ 9,033,800 9,033,800 9,033,800 9,033,800 9,033,800 45,169,000
การบริหารจัดการดานไฟปา หมอกควัน และ
ฝุนละอองขนาดเล็ก PM 2.5 เชิงพื้นที่
กิจกรรมที่ 1 สรางเครือขายบริหารจัดการ 1 5 สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ 1,853,800 1,853,800 1,853,800 1,853,800 1,853,800 9,269,000
เชื้อเพลิงลดการเผา สิ่งแวดลอมจังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
กิจกรรมที่ 2 ปองกันและแกไขปญหาไฟปา 1 5 สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ 2,300,000 2,300,000 2,300,000 2,300,000 2,300,000 11,500,000
หมอกควันและฝุนละอองแบบบูรณาการ สิ่งแวดลอมจังหวัดเชียงราย
“เชียงรายไรหมอกควัน รวมใจกัน ลด เลิก เผา”

กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมบูรณาการการมีสวนรวม 1 5 สํานักงานปองกันและบรรเทาสา 1,192,000 1,192,000 1,192,000 1,192,000 1,192,000 5,960,000


ในการบริหารจัดการเพื่อปองกันมลพิษจาก ธารณภัยจังหวัดเชียงราย
หมอกควันและไฟปา จ.เชียงรายขนาดเล็ก
PM2.5 จ.เชียงราย

กิจกรรมที่ 4 ประกาศวาระจังหวัดเชียงรายใน 1 5 สํานักงานปองกันและบรรเทาสา 308,000 308,000 308,000 308,000 308,000 1,540,000


การรณรงคปองกันและแกไขปญหาไฟปา ธารณภัยจังหวัดเชียงราย
หมอกควัน และฝุนละอองขนาดเล็ก PM2.5
ประจําป 2565 - 2566 (Kick off)

กิจกรรมยอยที่ 5 สงเสริมและยกระดับ 1 5 สํานักงานเกษตร จังหวัดเชียงราย 1,380,000 1,380,000 1,380,000 1,380,000 1,380,000 6,900,000
ศักยภาพชุมชนปลอดการเผาตนแบบ
กิจกรรมที่ 6 การสงเสริมหมูบานกักเก็บ 2 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย/ 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
คารบอนเพื่อลดภาวะโลกรอนในจังหวัด สํานักงานทรัพยากรธรรมชาติและ
เชียงรายเพื่อมุงสูการเปนเมืองคารบอนต่ํา สิ่งแวดลอมจังหวัดเชียงราย
(Low-carbon Cities)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
กิจกรรมยอยที่ 2 เสริมสรางศักยภาพและ 11,362,700 21,826,690 21,826,690 21,826,690 21,826,690 98,669,460
ความตระหนักรูดานการปองกันและแกไข
ปญหาไฟปาหมอกควันและฝุนละอองอยางมี
สวนรวมทุกภาคสวน

กิจกรรมที่ 1 เพิ่มประสิทธิภาพราษฎรชวย 1 5 สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่15 2,500,000 12,564,000 12,564,000 12,564,000 12,564,000 52,756,000


พนักงานเจาหนาที่ปฏิบัติงานลาดตระเวน เชียงราย
ปองกัน ประชาสัมพันธและดับไฟ ปาพื้นที่
รอยตอปาอนุรักษ ตามประกาศหามเผาในพื้นที่
โลงของจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 2 เสริมสรางภาคีเครือขาย 1 5 สํานักบริหารพื้นที่อนุรักษที่15 2,755,000 2,755,000 2,755,000 2,755,000 2,755,000 13,775,000


อาสาสมัครชุมชนปองกันไฟปาและรักษาปา เชียงราย
กิจกรรมที่ 3 การฝกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพ 1 5 ปกครองจังหวัดเชียงราย 600,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 1,000,000 4,600,000
ชุดลาดตระเวนปองกันและดับไฟปาในพื้นที่
ตําบลเสี่ยงเกิดไฟปา
กิจกรรมที่ 4 การขับเคลื่อนชุดลาดตระเวน 1 5 ปกครองจังหวัดเชียงราย 3,996,000 3,996,000 3,996,000 3,996,000 3,996,000 19,980,000
ปองกันและดับไฟปาพื้นที่หมูบานเสี่ยง ใน 18
อําเภอ ภายใตศูนยอํานวยการแกไขปญหาไฟ
ปาระดับอําเภอ

กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมเพิ่มแหลงเก็บน้ําสํารอง 1 5 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 2 1,125,000 1,125,000 1,125,000 1,125,000 1,125,000 5,625,000


ในการแกไขปญหาไฟปาในพื้นที่ปาสงวน เชียงราย
แหงชาติ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
กิจกรรมที่ 6 กิจกรรมรณรงคและสราง 1 5 สํานักงานสภาเกษตร จังหวัด 386,700 386,690 386,690 386,690 386,690 1,933,460
เครือขายผูนําชุมชน เชียงราย/สํานักงานเกษตร จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 12.2 นวัตกรรมในการแกไข 14,000,000 15,500,000 15,500,000 15,500,000 15,500,000 76,000,000
ปญหาหมอกควัน
กิจกรรมยอยที่ 1 สงเสริมการใชและผลิตแทง 2 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 2,000,000 10,000,000
เชื้อเพลิงเขียวจากเศษวัสดุเหลือใชจาก
การเกษตรของเกษตรกรในจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 2 ศูนยการเรียนรูนวัตกรรม 2 5 มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 20,000,000
ผลิตวัสดุจากเศษวัสดุเหลือทิ้งจากการเกษตร
สําหรับโครงสรางพื้นฐานเพื่อผูสูงอายุ
กิจกรรมยอยที่ 3 การพัฒนาตนแบบการดับไฟ 2 5 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 3,000,000 15,000,000
ปาโดยใชนวัตกรรมสมัยใหมเพื่อยับยั้งไฟตน ลานนาเชียงราย/สํานักบริหารพื้นที่
เพลิงขนาดเล็กกอนจะลุกลามเปนไฟปา อนุรักษท1ี่ 5 เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 4 การวิเคราะหทางคณิตศาสตร 2 5 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 5,000,000 25,000,000
เพื่อคํานวณหาเชื้อเพลิงสะสมในปาดวยระบบ ลานนาเชียงราย
image processing จากกลอง Multispectral
และภาพถายดาวเทียม

กิจกรรมหลักที่ 12.3 เพิ่มประสิทธิภาพการ 1 5 สํานักจัดการทรัพยากรปาไมที่ 2 1,500,000 1,500,000 1,500,000 1,500,000 6,000,000


แกไขปญหาไฟปาและหมอกควันในพื้นที่ปา เชียงราย
สงวนแหงชาติ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แหลง ยุทธศาสต พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
แผนงาน/โครงการ หนวยดําเนินการ
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหดํารงความสมบูรณและยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 12.4 พัฒนาระบบสารสนเทศ 1 5 สนง.ปภ.จ.ชร. 4,900,000 4,900,000 4,900,000 4,900,000 19,600,000
เตรียมความพรอมเพื่อรับมือสาธารณภัย ใน
พื้นที่จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 12.5 การปองกันและแกไข 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน/อําเภอเมือง 751,000 751,000 751,000 751,000 751,000 3,755,000
ปญหาไฟปา หมอกควันตําบลดอยลาน เชียงราย
รวมทั้งสิ้น 6 โครงการ 7,183,684,200 7,517,916,190 7,537,916,190 7,367,916,190 7,367,916,190 36,975,348,960
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
แผนงานที่ 8 เพิ่มศักยภาพคนทุกกลุมวัยและยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสรางสรรค
โครงการพัฒนาโครงสรางพื้นฐานและการยกระดับ 3 124,307,800.00 113,016,400.00 113,016,400.00 113,016,400.00 113,036,400.00 576,393,400.00
คุณภาพชีวิตเชิงสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 13.1 การพัฒนาคุณภาพชีวิตตลอด 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 14,456,400.00 14,456,400.00
ทุกชวงวัย
กิจกรรมยอยที่ 1 การประชุมชี้แจงการดําเนิน 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 1,275,000.00 1,275,000.00
โครงการใหกับผูบริหารและครูผูสอนที่เขารวม 100
โรงเรียน
กิจกรรมยอยที่ 2 กระบวนการถายทอดความรู 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 2,469,600.00 2,469,600.00
กิจกรรมยอยที่ 3 กระบวนการแลกเปลี่ยนเรียนรู 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 2,469,600.00 2,469,600.00
และการอบรมเชิงปฏิบัติการ
กิจกรรมยอยที่ 4 การจัดตั้งชุมชนการเรียนรูทาง 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 1,200,000.00 1,200,000.00
วิชาชีพ (PLC) ในโรงเรียน
กิจกรรมยอยที่ 5 การนําแผนการจัดการเรียนการ 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 1,580,000.00 1,580,000.00
สอนไปสูการปฏิบัติจริงผานชุมชนการเรียนรูทาง
วิชาชีพ (PLC) วงรอบที่1
กิจกรรมยอยที่ 6 การนําแผนการจัดการเรียนการ 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 1,580,000.00 1,580,000.00
สอนไปสูการปฏิบัติจริงผานชุมชนการเรียนรูทาง
วิชาชีพ (PLC) วงรอบที่2
กิจกรรมยอยที่ 7 กิจการนําแผนการจัดการเรียนการ 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 1,580,000.00 1,580,000.00
สอนไปสูการปฏิบัติจริงผานชุมชนการเรียนรูทาง
วิชาชีพ (PLC) วงรอบที่3
กิจกรรมยอยที่ 8 การประเมินผลโครงการ 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 975,800.00 975,800.00
กิจกรรมยอยที่ 9 การจัดเวทีแลกเปลี่ยนเรียนรู 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 1,326,400.00 1,326,400.00
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 13.2 การพัฒนาเมืองที่เปนมิตรกับ 1,000,000.00 4,195,000.00 4,195,000.00 4,195,000.00 4,195,000.00
ผูสูงอายุ
กิจกรรมยอยที่ 1 ยกระดับคุณภาพชีวิตผูสูงอายุ 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง , สสจ. 1,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 13,000,000.00
เชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 13.3 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน 44,000,000.00 44,000,000.00 44,000,000.00 44,000,000.00 44,000,000.00 220,000,000.00
เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
กิจกรรมยอยที่ 1.พัฒนาโครงสรางพื้นฐานระบบ 1 3 การประปาสวนภูมิภาคสาขาเชียงราย 44,000,000.00 44,000,000.00 44,000,000.00 44,000,000.00 44,000,000.00 220,000,000.00
ประปาของจังหวัดเชียงราย เพื่อใหประชาชนเขาถึง
น้ําประปามากขึ้น และบรรเทาปญหาการขาดแคลน
น้ําในชวงภัยแลง

กิจกรรมที่ 1 การแกไขปญหาน้ําอุปโภคบริโภคไม 1 3 การประปาสวนภูมิภาคสาขาเชียงราย 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00


เพียงพอและปรับปรุงสาธารณูปโภคดานประปาใน
พื้นที่ ชุมชนดอยพระบาท ชุมชนดอยเขาควาย หมู
23, 24 ตําบลรอบเวียง อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 2 เเกไขปญหาน้ําอุปโภคบริโภคไม 1 3 การประปาสวนภูมิภาคสาขาเชียงราย 12,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 48,000,000.00
เพียงพอและปรับปรุงสาธารณูปโภคดานประปาใน
พื้นที่ อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 3 แกไขปญหาน้ําอุปโภคบริโภคไม 1 3 การประปาสวนภูมิภาคสาขาเชียงราย 9,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 57,000,000.00
เพียงพอและปรับปรุงสาธารณูปโภคดานประปาใน
พื้นที่ ตําบลทาสาย - ตําบลสันทราย อําเภอเมือง
เชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 4 วางทอขยายเขตจายน้ําใหพื้นที่หมูที่ 5 1 3 การประปาสวนภูมิภาคสาขาเชียงราย 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 100,000,000.00


และหมูที่ 3 ชุมชนบานดงเหนือและบานดงใต ตําบล
นางแล อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 13.4 การพัฒนาโครงสรางพื้นฐาน 1 3 ปกครองจังหวัดเชียงราย 32,574,000.00 32,574,000.00 32,574,000.00 32,574,000.00 32,574,000.00 162,870,000.00
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต
กิจกรรมยอยที่ 1 การกอสรางถนนลาดยางผิวทาง 1 3 ปกครองจังหวัด/ทต.ปาออดอนชัย 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00
แอสฟลตติกคอนกรีต บานปาตึง หมูที่ 18 เชื่อมตอ
บานโพธิ์งาม หมูที่ 20 ตําบลปาออดอนชัย อําเภอ
เมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 2 เสริมผิวแอสฟลตติกคอนกรีต 1 3 ปกครองจังหวัด/ทต.ปาออดอนชัย 1,086,000.00 1,086,000.00 1,086,000.00 1,086,000.00 1,086,000.00 1,086,000.00


ถนนบานปาออ หมูที่ 11 ตําบลปาออดอนชัย อําเภอ
เมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 3 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 3 กรมชลประทาน/องคการบริหาร 8,616,000.00 8,616,000.00 8,616,000.00 8,616,000.00 8,616,000.00 1,086,000.00
สาย 5L-RMC องคการบริหารสวนตําบลสันกลาง สวนตําบลสันกลาง
อําเภอพาน จังหวัดเชียงรายปรับปรุงสนามกีฬาถนน
สุขภาพ

กิจกรรมยอยที่ 4 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 1 3 กรมชลประทาน/องคการบริหาร 4,872,000.00 4,872,000.00 4,872,000.00 4,872,000.00 4,872,000.00 1,086,000.00


สาย 6L-RMC องคการบริหารสวนตําบลสันกลาง สวนตําบลสันกลาง
อําเภอพาน จังหวัดเชียงรายปรับปรุงสนามกีฬาถนน
สุขภาพ

กิจกรรมยอยที่ 5 การติดตั้งไฟฟาสองสวางบนถนน 1 3 สํานักงานทางหลวงชนบทเชียงราย/ 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 1,086,000.00


ชร. 1030 หมู 11 บานหวยตุม ตําบลหัวงม อําเภอ องคการบริหารสวนตําบลหัวงม
พาน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 6 การติดตั้งไฟฟาสองสวางบนถนน 1 3 สํานักงานทางหลวงชนบทเชียงราย/ 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 1,086,000.00
ชร. 1030 หมู 12 บานปาขา ตําบลหัวงม อําเภอ องคการบริหารสวนตําบลหัวงม
พาน จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 7 การติดตั้งไฟฟาสองสวางบนถนน 1 3 สํานักงานทางหลวงชนบทเชียงราย/ 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 1,086,000.00
ชร. 1030 หมู 1 บานปางิ้ว ตําบลหัวงม อําเภอพาน องคการบริหารสวนตําบลหัวงม
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 8 การรางระบายน้ําสองขางถนน หมู 1 3 สํานักงานทางหลวงชนบทเชียงราย/ 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
4 บานหนองฮาง ตําบลหัวงม อําเภอพาน จังหวัด องคการบริหารสวนตําบลหัวงม
เชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 13.5 การขับเคลื่อนเชียงรายเมือง 1 3 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
คุณธรรมสูความยั่งยืน Chiangrai Moral City
กิจกรรมยอยที่ 1 กิจกรรมสงเสริมคุณธรรมของภาคี 1 3 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00
เครือขายทางสังคม 13 เครือขาย
กิจกรรมยอยที่ 2 กิจกรรมสมัชชาคุณธรรม/ตลาด 1 3 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
นัดคุณธรรม(ระดับอําเภอ/จังหวัด)
กิจกรรมยอยที่ 3 กิจกรรมเสริมพลังเครือขาย 1 3 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
(ถายทอด-ขยายผล-สื่อความดี)
กิจกรรมยอยที่ 4 สืบสานภูมิปญญา เดินหนา 1 3 สํานักงานพัฒนาสังคมและความ 534,200.00 534,200.00 534,200.00 534,200.00 534,200.00 2,671,000.00
“อาวุโสศิลป” มั่นคงของมนุษยจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 5 บานลําดวนชวนชื่น 1 3 สํานักงานพัฒนาสังคมและความ 3,660,800.00 3,660,800.00 3,660,800.00 3,660,800.00 3,660,800.00 18,304,000.00


มั่นคงของมนุษยจังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 13.6 การพัฒนาครูมัธยมศึกษา 2 3 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 14,456,400.00 14,456,400.00 14,456,400.00 14,456,400.00 14,456,400.00 72,282,000.00
ตอนตนในจังหวัดเชียงรายใหเปน Learning Coach
ผานการจัดการเรียนการสอนแบบ Active
Learning ขับเคลื่อนดวยชุมชน การเรียนรูทาง
วิชาชีพ (PLC) เพื่อรองรับการเปลี่ยนแปลงสู
ศตวรรษที่ 21

กิจกรรมหลักที่ 13.7 ลดความเหลื่อมล้ําทางสังคม 1 3 สํานักงานยุติธรรมจังหวัดเชียงราย 416,000.00 416,000.00 416,000.00 416,000.00 416,000.00 2,080,000.00
ใหแกผูใชแรงงาน เกษตรกร ผูประกอบการ และ
ประชาชนในจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 13.8 เทคโนโลยีดิจิทัลในการสราง 1 3 สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
งาน สรางอาชีพ สรางรายไดแกชุมชนในยุคอนาคต เชียงราย, มทร.ลานนา ,ม.แมฟา
(New and Next Normal) หลวง
กิจกรรมหลักที่ 13.9 การพัฒนาชุมชนไมทิ้งคน 1 3 สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 20,000,000.00
เปราะบางทางเศรษฐกิจไวขางหลัง เชียงราย, มทร.ลานนา
กิจกรรมหลักที่ 13.10 ตนแบบชุมชนที่พึ่งตนเองใน 1 3 สํานักงานพัฒนาชุมชนจังหวัด 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
ปจจัยสี่ เชียงราย, มทร.ลานนา
กิจกรรมหลักที่ 13.11 ขับเคลื่อนเชียงรายเมือง 1 3 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
คุณธรรมสูความยั่งยืน Chiangrai Moral City
กิจกรรมที่ 13.12 สืบสานถายทอดภูมิวัฒนธรรมกับ 1 3 ศูนยพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัด 405,000.00 375,000.00 375,000.00 375,000.00 395,000.00 1,925,000.00
กลุมเปาหมายเด็กและเยาวชนจังหวัดเชียงราย เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 1 สํารวจ ปรับปรุง และเก็บรวบรวม 1 3 ศูนยพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัด 30,000.00 30,000.00
ขอมูลภูมิวัฒนธรรมในพื้นที่สูงในเขตพื้นที่รับผิดชอบ เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 2 จัดกิจกรรมอบรมถายทอดภูมิ 1 3 ศูนยพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัด 127,500.00 127,500.00 127,500.00 127,500.00 127,500.00 637,500.00
วัฒนธรรมกับกลุมเปาหมายเด็กและเยาวชน เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 3 ผลิตสื่อ เอกสารเผยแพร 1 3 ศูนยพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัด 20,000.00 20,000.00
ประชาสัมพันธภูมิวัฒนธรรม เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 4 อบรมเด็กและเยาวชน อาสาสมัคร 1 3 ศูนยพัฒนาราษฎรบนพื้นที่สูงจังหวัด 247,500.00 247,500.00 247,500.00 247,500.00 247,500.00 1,237,500.00
และจิตอาสาในการดูแลผูสูงอายุ และคนพิการใน เชียงราย
ชุมชนบนพื้นที่สูง
โครงการพัฒนาและสงเสริมอาชีพ และศักยภาพ 4 37,882,923.00 31,227,423.00 31,227,423.00 31,227,423.00 31,227,423.00 162,792,615.00
แรงงาน สูเมืองสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 14.1 พัฒนาโครงสรางพื้นฐานและ 13,769,200.00 8,760,700.00 8,760,700.00 8,760,700.00 8,760,700.00 48,812,000.00
การยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสรางสรรค

กิจกรรมยอยที่ 1 พัฒนาฝมือแรงงานจังหวัดเชียงราย 1 4 สถาบันพัฒนาฝมือแรงงานจังหวัด 1,000,000.00 3,800,000.00 3,800,000.00 3,800,000.00 3,800,000.00 16,200,000.00


เชียงราย
กิจกรรมที่ 2 การสรางธุรกิจการคาออนไลน 1 4 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย 1,621,700.00 1,621,700.00 1,621,700.00 1,621,700.00 1,621,700.00 8,108,500.00
(พาณิชยอิเล็กทรอนิกส) เชิงสรางสรรค
กิจกรรมที่ 3 การพัฒนาทักษะดานการ 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 839,000.00 839,000.00 839,000.00 839,000.00 839,000.00 4,195,000.00
ประชาสัมพันธ ในยุคดิจิทัล
กิจกรรมที่ 4 การพัฒนาอาชีพระยะสั้นสําหรับ 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 2,577,400.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 12,577,400.00
เยาวชนและประชาชนในจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 5 การประชุมวางแผนขับเคลื่อนโครงการ 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 13,400.00 13,400.00
กิจกรรมที่ 6 การพัฒนาทักษะชางเทคนิคพื้นฐาน 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 1,066,500.00 1,066,500.00
กิจกรรมที่ 7 การพัฒนาทักษะอาชีพเกษตรกร 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 956,400.00 956,400.00
สมัยใหม
กิจกรรมที่ 8 การพัฒนาทักษะอาชีพการทําเบเกอรรี่ 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 279,100.00 279,100.00
กิจกรรมที่ 9 การพัฒนาทักาะอาชีพดานอาหาร 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 213,300.00 213,300.00
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 10 ตรวจเยี่ยมการดําเนินโครงการ 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 16,000.00 16,000.00
กิจกรรมที่ 11 สรุปรายงานการดําเนินโครงการเพื่อ 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 32,700.00 32,700.00
เผยแพรประชาสัมพันธ
กิจกรรมที่ 12 การพัฒนาคุณภาพชีวิตแรงงาน 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 465,000.00 465,000.00
ผูสูงอายุ และแรงงานนอกระบบใหมีทักษะฝมือ
แรงงาน เพื่อการสรางงานสรางอาชีพ
กิจกรรมที่ 13 พัฒนาและเสริมสรางศักยภาพเด็ก 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 493,700.00 493,700.00
และเยาวชนตนแบบ ดานภาษา ศิลปะ กีฬา ดนตรี
วัฒนธรรม และอาชีพ
กิจกรรมที่ 14 สืบสานภูมิปญญา เดินหนา “อาวุโส 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 534,200.00 3,660,800.00
ศิ ป”
กิจกรรมที่ 15 บานลําดวนชวนชื่น 1 4 อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย 3,660,800.00 3,660,800.00
กิจกรรมยอยที่ 2 สงเสริมทักษะผูดูแลผูสูงอายุ 2 4 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 1,000,000.00 1,000,000.00
กิจกรรมยอยที่ 3 สงเสริม และพัฒนาอาชีพใหมี 1 4 มณฑลทหารบกที่ 37 8,000,000.00 8,000,000.00
ความหลากหลายเพื่อเพิ่มศักยภาพใหกับสังคมผูมี
ความเปรา บาง
กิจกรรมหลักที่ 14.2 การพัฒนาศักยภาพแรงงาน 1 4 สพร.20ชร 730,000.00 730,000.00 730,000.00 730,000.00 730,000.00 3,650,000.00
ดานภาษาตางประเทศ
กิจกรรมหลักที่ 14.3 โครงการสงเสริมและพัฒนา 2 4 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 2,800,000.00 2,800,000.00 2,800,000.00 2,800,000.00 2,800,000.00 14,000,000.00
ทักษะการนวดแผนไทยเพื่ออาชีพ และรายไดอยาง
กิั่จกรรมหลั
ื กที่ 14.4 สงเสริมทักษะผูดูแลผูสูงอายุ 2 4 มหาวิทยาลัยแมฟาหลวง 1,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 21,000,000.00
กิจกรรมหลักที่ 14.5 ยกระดับคุณภาพชีวิตดวย 2 4 มทร.ลานนาเชียงราย 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 12,500,000.00
นวัตกรรมดวยชุมชนสูการพัฒนาอาชีพอยางยั่งยืน
กิจกรรมหลักที่ 14.6 เพิ่มศักยภาพคนทุกกลุมวัย 2 4 มทร.ลานนาเชียงราย 2,040,400.00 2,040,400.00 2,040,400.00 2,040,400.00 2,040,400.00 10,202,000.00
และยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสรางสรรค
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 14.7 อาคารเอนกประสงค ศูนย 1 4 มณฑลทหารบกที่ 37 5,647,000.00 5,647,000.00
ฝกอบรมเครือขายประชาชนแบบบูรณาการ จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 14.8 จัดตั้งศูนยเรียนรูการเพาะเห็ด 1 4 มณฑลทหารบกที่ 37 800,000.00 800,000.00 800,000.00 800,000.00 800,000.00 4,000,000.00
ในชุมชนภายในคายเม็งรายมหาราช มณฑลทหารบก
ที่ 37
กิจกรรมยอยที่ 1 จัดจางวิทยากรที่มีประสบการณ 1 4 มณฑลทหารบกที่ 38 64,300.00 64,300.00 64,300.00 64,300.00 64,300.00 321,500.00
โดยตรงเขามาอบรมเจาหนาที่ผูรับผิดชอบโครงการฯ

กิจกรรมยอยที่ 2 จัดสรางเรือนโรงเพาะเห็ด และ 1 4 มณฑลทหารบกที่ 39 631,600.00 631,600.00 631,600.00 631,600.00 631,600.00 3,158,000.00
จัดซื้อวัสดุอุปกรณการเพาะเห็ด
กิจกรรมยอยที่ 3 จัดอบรมใหความรูแกประชาชน 1 4 มณฑลทหารบกที่ 40 104,100.00 104,100.00 104,100.00 104,100.00 104,100.00 520,500.00
ชุมชนรอบคายเม็งรายมหาราช ผูที่สนใจ และ
ประชากรกลุมเปราะบาง
กิจกรรมหลักที่ 14.9 การพัฒนาประสิทธิภพการ 1 4 ร.17 พัน 3 420,463.00 420,463.00 420,463.00 420,463.00 420,463.00 2,102,315.00
ผลิตทางการเกษตรและ สรางมูลคาเพิ่ม ภายใต
เกษตรปลอดภัยและเกษตรกรรมยั่งยืน

กิจกรรมหลักที่ 14.10 การพัฒนาคุณภาพชีวิต 1 4 สนง.แรงงานจังหวัด 465,000.00 465,000.00 465,000.00 465,000.00 465,000.00 2,325,000.00
แรงงานผูสูงอายุ และแรงงานนอกระบบใหมีทักษะ
ฝมือแรงงาน เพื่อการสรางงานสรางอาชีพ
กิจกรรมหลักที่ 14.11 พัฒนาและเสริมสราง 1 4 สํานักงานศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย 493,700.00 493,700.00 493,700.00 493,700.00 493,700.00 2,468,500.00
ศักยภาพเด็กและเยาวชนตนแบบ ดานภาษา ศิลปะ
กีฬา ดนตรี วัฒนธรรม และอาชีพ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 14.12 เสริมสรางความสุขทางใจ 2 4 มฟล., สสจ.เชียงราย. อบจ.ชร. 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 9,000,000.00
และความปลอดภัยของผูสูงอายุในชุมชน : พัฒนา
ชุมชนตนแบบ (ระยะที่ 2)
กิจกรรมหลักที่ 14.13 พัฒนาทักษะสมอง EF เพื่อ 1 4 พัฒนาสังคมและความมั่นคงของ 1,970,960.00 1,970,960.00 1,970,960.00 1,970,960.00 1,970,960.00 9,854,800.00
คุณภาพชีวิตเด็กปฐมวัย จังหวัดเชียงราย มนุษย, สสจ.ชร.ศึกษาธิการ จว.,
ทองถิ่น จว.
กิจกรรมหลักที่ 14.14 พัฒนาศักยภาพเยาวชนนัก 1 4 สสจ.ชร., คชส., พัฒนาสังคมและ 446,200.00 446,200.00 446,200.00 446,200.00 446,200.00 2,231,000.00
สื่อสารสงเสริมสุขภาพ จังหวัดเชียงราย ความมั่นคงของมนุษย, ทองถิ่น จว.,
สภาเด็กและเยาวชน
กิจกรรมหลักที่ 14.15 สรางงานสรางอาชีพจากวิถี 3 4 เทศบาลนครเชียงราย 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
ชีวิตชุมชน
แผนงานที่ 9 สงเสริมความมั่งคง ความปลอดภัยในชีวิตและรับมือกับภัยดานสุขภาพจากโรคอุบัติใหมและโรคอุบัติซ้ํา
โครงการสงเสริมเชียงรายเมืองสรางสรรคดาน 1 121,453,700.00 70,447,100.00 92,447,100.00 70,447,100.00 70,447,100.00 425,242,100.00
ความมั่นคง และปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
กิจกรรมหลักที่ 15.1การเสริมสรางความมั่นคงและ 51,515,100.00 4,200,500.00 4,200,500.00 4,200,500.00 4,200,500.00 68,317,100.00
ปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
กิจกรรมยอยที่ 1 โครงการสงเสริมเชียงรายดาน 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 500,000.00 500,000.00
ความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน
กิจกรรมที่ 1 อบรมเสริมสรางความรูแกสวนราชการ 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย
ผูประสานงานการประเมินคุณธรรม และความ
โปรงใส การดําเนินงานของหนวยงานของภาครัฐ
(ITA) ประจําป พ.ศ.2566

กิจกรรมที่ 2 อบรมการบริหารความเปลี่ยนแปลง 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย


(PMQA) ประจําป พ.ศ.2566
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 3 อบรมใหความรู "วินัยและดําเนินการ 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย
ทางวินัย"
กิจกรรมที่ 4 อบรม " การเสริมสรางความรู พ.ร.บ. 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย
จัดซื้อจัดจาง และการบริหารพัสดุ
กิจกรรมที่ 5 อบรมการบริหารความเสี่ยง (แนวคิด 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย
การบริหารความเสี่ยง แนวทางการประเมินความ
เสี่ยงการบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการ)
กิจกรรมที่ 6 อบรมใหความรู "การสรางทีมงานที่มี 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย
ประสิทธิภาพ เพื่อความโปรงใส
กิจกรรมยอยที่ 2 การเพิ่มประสิทธิภาพการ 1 1 ศูนยดํารงธรรมจังหวัด 500,000.00 500,000.00
ปฏิบัติงานเพื่อแกไขปญหาความเดือดรอนเรงดวน
ของประชาชน การรักษาความสงบเรียบรอย การ
บริหารจัดการ และการอํานวยความเปนธรรม

กิจกรรมที่ 1 การเพิ่มประสิทธิภาพบุคลากร 1 1 ศูนยดํารงธรรมจังหวัด 400,000.00 400,000.00


เครือขายศูนยในการแกไขปญหาความเรงดวนของ
ประชาชน
กิจกรรมที่ 2 การสรางการรับรูการปฏิบัติงานเพื่อ 1 1 ศูนยดํารงธรรมจังหวัด 50,000.00 50,000.00
แกไขปญหาความเดือดรอนเรงดวนของประชาชน
กิจกรรมที่ 3 การออกหนวยเคลื่อนที่บริการรับเรื่อง 1 1 ศูนยดํารงธรรมจังหวัด 50,000.00 50,000.00
รองเรียนรองทุกขใหแกประชาชน
กิจกรรมยอยที่ 3 พิทักษเชียงราย เมืองมั่นคงใน 46,015,100.00 4,200,500.00 4,200,500.00 4,200,500.00 4,200,500.00 62,817,100.00
ทุกมิติ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 1 การพัฒนาศักยภาพเครือขายภาค 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
ประชาชนเฝาระวังและสนับสนุนการปฏิบัติการจัด เชียงราย
ระเบียบสังคม เพื่อสรางสังคมมั่นคงอยางยั่งยืนแบบ
องครวม

กิจกรรมที่ 2 การฝกจัดตั้งชุดรักษาความปลอดภัย 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00


หมูบาน (ชรบ.)การรณรงคสรางการรับรูภัยคุกคาม เชียงราย
และปญหาดานความมั่นคงตามแนวชายแดน
กิจกรรมที่ 3 การมีสวนรวมภาคประชาชน เพื่อสราง 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
จิตสํานึกความรักสถาบันหลักของชาติ และ เชียงราย
เสริมสรางความปรองดองสมานฉันท มุงสูการเปน
ตําบลมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
กิจกรรมที่ 4 การสรางการรับรูภัยคุกคามและปญหา 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 300,000.00 300,000.00
ดานความมั่นคง เชียงราย
กิจกรรมที่ 5 การจัดตั้งดานชุมชน แบบบูรณาการ 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด
เพื่อยับยั้งภัยโรคติดตอ ภัยทางถนน และภัยดาน เชียงราย
ความมั่นคงอื่น
กิจกรรมที่ 6 การพัฒนาศักยภาพและสงเสริมองค 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 2,700,500.00 2,700,500.00 2,700,500.00 2,700,500.00 2,700,500.00 13,502,500.00
ความรูดานความมั่นคงและความปลอดภัยในชีวิต เชียงราย
และทรัพยสินใหแกคณะกรรมการหมูบาน จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 7 กิจกรรมยอยที่ 4 สัมมนาใหความรู 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 2,000,000.00 2,000,000.00
เกี่ยวกับดานความมั่นคงและการรักษาความสงบ เชียงราย
เรียบรอยของประชาชนในพื้นที่ชายแดนและพื้นที่
ปกติ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 8 ดําเนินการสรางศูนยพัฒนากลไกฝาย 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 38,827,000.00 38,827,000.00
ปกครองจังหวัดเชียงราย เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย เชียงราย
สําคัญของรัฐบาลและการแกไขปญหาความ
เดือดรอนของประชาชน

กิจกรรมที่ 9 การสรางเครือขายจิตอาสา เพื่อความ 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 687,600.00 687,600.00


มั่นคงในชีวิตและทรัพยสิน เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 4 การสรางความมั่นคงตามแนว 4,500,000.00 4,500,000.00
ชายแดน เพื่อพรอมเผชิญกับภัยคุกคามทุกรูปแบบ
กิจกรรมที่ 1 การรณรงคสรางการรับรูภัยคุกคาม 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 300,000.00 300,000.00
และปญหาดานความมั่นคงตามแนวชายแดน เชียงราย
กิจกรรมที่ 2 การรณรงคสรางการรับรูภัยคุกคาม 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 200,000.00 200,000.00
และปญหาดานความมั่นคงตามแนวชายแดน เชียงราย
กิจกรรมที่ 3 การเสริมสรางประสิทธิภาพเครือขาย 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 300,000.00 300,000.00
ดานการขาวตามแนวชายแดน มุงสูการเปน ตําบล เชียงราย
มั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
กิจกรรมที่ 4 การสรางการมีสวนรวมภาคประชาชน 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 200,000.00 200,000.00
เพื่อสรางจิตสํานึกความรักสถาบันหลักของชาติ เชียงราย
กิจกรรมที่ 5 สัมมนาใหความมรูเกี่ยวกับดานความ 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 2,000,000.00 2,000,000.00
มั่นคงและการรักษาความสงบเรียบรอยของ เชียงราย
ประชาชนในพื้นที่ชายแดนและพื้นที่ปกติ
กิจกรรมที่ 6 การฝกทบทวนชุดรักษาความปลอดภัย 1 1 ที่ทําการปกครองครองจังหวัด 500,000.00 500,000.00
หมูบาน (ชรบ.) พื้นที่ชายแดน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพ เชียงราย
ดานความมั่นคง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 7 โครงการพัฒนาศักยภาพเครือขายภาค 1 1 ตํารวจภูธรจังหวัดเชียงราย 500,000.00 500,000.00
ประชาชนแบบบูรณาการ เพื่อชวยปฏิบัติการดาน
การขาวและภัยทางไซเบอรของจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 8 รวมพลังเยาวชนรักชาติ รักถิ่น 1 1 วัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย 500,000.00 500,000.00
กิจกรรมหลักที่ 15.2 การพัฒนาระบบบริหารจัดการ 3,282,000.00 3,282,000.00 3,282,000.00 3,282,000.00 3,282,000.00 16,410,000.00
ดานความปลอดภัยทางถนน
กิจกรรมยอยที่ 1 พัฒนาระบบบริหารจัดการดาน 1 1 สนง.ปภ.จ.เชียงราย 3,282,000.00 3,282,000.00 3,282,000.00 3,282,000.00 3,282,000.00 16,410,000.00
ความปลอดภัยทางถนนแบบบูรณาการ
กิจกรรมที่ 1 พัฒนาศูนยขอมูลและระบบบริหาร 1 1 สนง.ปภ.จ.เชียงราย 940,000.00 940,000.00 940,000.00 940,000.00 940,000.00 4,700,000.00
จัดการดานความปลอดภัยทางถนน
กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพบุคลากรและการ 1 1 สนง.ปภ.จ.เชียงราย 547,000.00 547,000.00 547,000.00 547,000.00 547,000.00 2,735,000.00
เชื่อมโยงขอมูลอุบัติเหตุทางถนนจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 3 เสริมสรางศักยภาพทีมสอบสวน 1 1 สนง.ปภ.จ.เชียงราย 685,000.00 685,000.00 685,000.00 685,000.00 685,000.00 3,425,000.00
อุบัติเหตุระดับพื้นที่
กิจกรรมที่ 4 ปลูกจิตสํานึกรักความปลอดภัยทาง 1 1 สนง.ปภ.จ.เชียงราย 680,000.00 680,000.00 680,000.00 680,000.00 680,000.00 680,000.00
ถนนในสถานศึกษา แนวทางการดําเนินกิจกรรม
กิจกรรมที่ 5 เพิ่มศักยภาพผูนําชุมชนดานความ 1 1 สนง.ปภ.จ.เชียงราย 430,000.00 430,000.00 430,000.00 430,000.00 430,000.00 430,000.00
ปลอดภัยทางถนน ผูนําหมวกทองคํา
กิจกรรมหลักที่ 15.3 การเตรียมความพรอมรับมือ 8,200,000.00 3,350,000.00 25,350,000.00 3,350,000.00 3,350,000.00 43,600,000.00
ภัยพิบัติและสาธารณภัย
กิจกรรมยอยที่ 1 พัฒนาประสิทธิภาพเจาหนาที่ 1 1 สํานักงานปองกันและบรรเทาสา 1,000,000.00 1,000,000.00
และผูนําชุมชนดานการจัดการภัยพิบัติ “รวมพลคน ธารณภัยจังหวัดเชียงราย
กูภัยจังหวัดเชียงราย” (Chiangrai Emergency
Response Team : CERT)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 2 เสริมสรางองคความรูภัยพิบัติ 1 1 สํานักงานปองกันและบรรเทาสา 500,000.00 500,000.00
ธารณภัยจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 3 การเตรียมพรอมรับมือกับภัย 1 1 สํานักงานปองกันและบรรเทาสา 3,350,000.00 3,350,000.00
พิบัติและสาธารณภัยของจังหวัดเชียงราย ธารณภัยจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 1 เสริมสรางศักยภาพการจัดการความ 1 1 สํานักงานปองกันและบรรเทาสา 1,569,700.00 1,569,700.00 1,569,700.00 1,569,700.00 1,569,700.00 1,569,700.00
เสี่ยงจากภัยพิบัติโดยอาศัยชุมชนเปนฐาน ธารณภัยจังหวัดเชียงราย
(Community Based Disaster Risk
Management : CBDRM) ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 2 ฝกอบรมจัดตั้งอาสาสมัครปองกันและ 1 1 สํานักงานปองกันและบรรเทาสา 248,800.00 248,800.00 248,800.00 248,800.00 248,800.00 248,800.00


บรรเทาสาธารณภัย (อส.ปภ.) ธารณภัยจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 3 ฝกอบรมทบทวนอาสาสมัครปองกัน 1 1 สํานักงานปองกันและบรรเทาสา 181,500.00 181,500.00 181,500.00 181,500.00 181,500.00 181,500.00
และบรรเทาสาธารณภัย (อส.ปภ.) ธารณภัยจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 4 เสริมสรางการรับรูเยาวชนดานการ 1 1 สํานักงานปองกันและบรรเทาสา 1,350,000.00 1,350,000.00 1,350,000.00 1,350,000.00 1,350,000.00 1,350,000.00
ปองกันและบรรเทาสาธารณภัย ธารณภัยจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 15.4 การเพิ่มประสิทธิภาพในการ 5,100,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 37,100,000.00
ปองกันและแกไขปญหายาเสพติด
กิจกรรมยอยที่ 1 เชียงรายเมืองมั่นคง ปลอดภัยยา 1 1 ศปส.จ. 4,600,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 32,600,000.00
เสพติด"
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมขับเคลื่อนขยายผลโครงการ 1 1 ศปส.จ. 1,500,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 2,435,889,830.00
รอยใจรักษ สรางความมั่งคงดานอาชีพและ
เกษตรกรรม ปองกันปญหายาเสพติดอยางยั่งยืน
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมรณรงคปองกันและแกไข 1 1 ศปส.จ. 1,200,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,200,000.00
ปญหายาเสพติด สรางเครือขายเยาวชน TO BE
NUMBER ONE จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 3 กิจกรรมขับเคลื่อนการปองกันและ 1 1 ศปส.จ. 1,600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 4,000,000.00
แกไขปญหายาเสพติดเชิงพื้นที่ สรางตําบลมั่นคง
ปลอดภัยยาเสพติด
กิจกรรมที่ 4 กิจกรรมเพิ่มศักยภาพ ชรบ. หมูบาน 1 1 ศปส.จ. 300,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 6,700,000.00
ชายแดนจังหวัดเชียงราย ปองกันปญหายาเสพติด
และภัยความมั่นคงตอจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 5 กิจกรรมสรางเครือขายเยาวชนจังหวัด 1 1 ศปส.จ. 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,200,000.00
เชียงราย หางไกลยาเสพติด
กิจกรรมที่ 2 โครงการฝกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพ 1 1 ตํารวจภูธรจังหวัดเชียงราย 500,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 500,000.00
เครือขายภาคประชาชนอาสาสมัครตํารวจตอตานภัย
อาชญากรรมและยาเสพติด
กิจกรรมหลักที่ 15.5 การพัฒนาจังหวัดมุงสูจังหวัด 1,916,000.00 1,916,000.00
ใสสะอาดและจังหวัดคุณธรรม
กิจกรรมยอยที่ 1 ดําเนินการจัดอบรมถายทอดองค 1 1 ยุติธรรมจังหวัดเชียงราย 416,000.00 416,000.00
ความรูดานกฎหมายเบื้องตนที่มีความจําเปนแกผูใช
แรงงาน เกษตรกร ผูประกอบการ ผูนําชุมชนและ
ประชาชนทั่วไป

กิจกรรมยอยที่ 2 การขับเคลื่อนเชียงรายเมือง 1 1 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย 1,500,000.00 1,500,000.00


คุณธรรมสูความยั่งยืน
Chiangrai Moral City
กิจกรรมที่ 1 กิจกรรมสมัชชาคุณธรรม/ตลาดนัด 1 1 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย 1,000,000.00 1,000,000.00
คุณธรรม(ระดับอําเภอ/จังหวัด)
กิจกรรมที่ 2 กิจกรรมเสริมพลังเครือขาย (ถายทอด- 1 1 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย 500,000.00 500,000.00
ขยายผล-สื่อความดี)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 15.6 พิทักษเชียงราย เมืองมั่นคงใน 1 1 ที่ทําการปกครองจังหวัดเชียงราย 687,600.00 687,600.00 687,600.00 687,600.00 687,600.00 3,438,000.00
ทุกมิติ
กิจกรรมยอยที่ 2.5 การสรางเครือขายจิตอาสา เพื่อ 1 1 ที่ทําการปกครองจังหวัดเชียงราย 687,600.00 687,600.00 687,600.00 687,600.00 687,600.00 3,438,000.00
ความมั่นคงในชีวิตและทรัพยสิน
กิจกรรมหลักที่ 15.7 การสรางความมั่นคงตามแนว 1 1 ที่ทําการปกครองจังหวัดเชียงราย 1,100,000.00 1,100,000.00 1,100,000.00 1,100,000.00 1,100,000.00 5,500,000.00
ชายแดน เพื่อพรอมเผชิญกับภัยคุกคามทุกรูปแบบ

กิจกรรมยอยที่ 1 การรณรงคสรางการรับรูภัย 1 1 ที่ทําการปกครองจังหวัดเชียงราย 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00


คุกคามและปญหาดานความมั่นคงตามแนวชายแดน
กิจกรรมยอยที่ 2 การเสริมสรางประสิทธิภาพ 1 1 ที่ทําการปกครองจังหวัดเชียงราย 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00
เครือขายดานการขาวตามแนวชายแดน มุงสูการเปน
ตําบลมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน
กิจกรรมยอยที่ 3 การฝกทบทวนชุดรักษาความ 1 1 ที่ทําการปกครองจังหวัดเชียงราย 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
ปลอดภัยหมูบาน (ชรบ.) พื้นที่ชายแดน เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพดานความมั่นคง
กิจกรรมหลักที่ 15.8 พัฒนาระบบบริหารจัดการ 1 1 สนง.ปภ.จ.ชร. 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 17,500,000.00
ดานความปลอดภัยทางถนนแบบบูรณาการ
กิจกรรมที่ 1 พัฒนาประสิทธิภาพเจาหนาที่และผูนํา 1 1 สนง.ปภ.จ.ชร. 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
ชุมชนดานการจัดการภัยพิบัติ “รวมพลคนกูภัย
จังหวัดเชียงราย” (Chiangrai Emergency
Response Team : CERT)

กิจกรรมที่ 2 พัฒนาศักยภาพ อปพร. จิตอาสาสา 1 1 สนง.ปภ.จ.ชร. 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
ธารณภัย และอาสาสมัครอื่น ๆ
กิจกรรมที่ 3 เสริมสรางองคความรูภัยพิบัติ 1 1 สนง.ปภ.จ.ชร. 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 15.8 การพัฒนาศักยภาพเครือขาย 1 1 ตํารวจภูธรจังหวัดเชียงราย 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
ภาคประชาชนแบบบูรณาการ เพื่อชวยปฏิบัติการ
ดานการขาวและภัยทางไซเบอรของจังหวัดเชียงราย
กิจกรรมหลักที่ 15.9 อบรมเสริมสรางความรูแกสวน 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 826,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 4,826,000.00
ราชการ
กิจกรรมยอยที่ 1 อบรมเสริมสรางความรูแกสวน 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 174,000.00 174,000.00 174,000.00 174,000.00 174,000.00 870,000.00
ราชการ ผูประสานงานการประเมินคุณธรรม และ
ความโปรงใส การดําเนินงานของหนวยงานของ
ภาครัฐ (ITA) ประจําป พ.ศ.๒๕๖๖

กิจกรรมยอยที่ 2 อบรมการบริหารความ 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 139,200.00 139,200.00 139,200.00 139,200.00 139,200.00 696,000.00


เปลี่ยนแปลง (PMQA) ประจําป พ.ศ.๒๕๖๖
กิจกรรมยอยที่ 3 อบรมใหความรู "วินัยและ 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 210,200.00 210,200.00 210,200.00 210,200.00 210,200.00 1,051,000.00
ดําเนินการทางวินัย"
กิจกรรมยอยที่ 4 อบรม " การเสริมสรางความรู 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 222,700.00 222,700.00 222,700.00 222,700.00 222,700.00 1,113,500.00
พ.ร.บ.จัดซื้อจัดจาง และการบริหารพัสดุ
กิจกรรมยอยที่ 5 อบรมการบริหารความเสี่ยง 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 70,100.00 70,100.00 70,100.00 70,100.00 70,100.00 350,500.00
(แนวคิดการบริหารความเสี่ยง แนวทางการประเมิน
ความเสี่ยงการบริหารความเสี่ยงแบบบูรณาการ)

กิจกรรมยอยที่ 6 อบรมใหความรู "การสรางทีมงาน 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 183,800.00 183,800.00 183,800.00 183,800.00 183,800.00 919,000.00
ที่มีประสิทธิภาพ เพื่อความโปรงใส
กิจกรรมหลักที่ 10 โครงการรวมพลังเยาวชนรักชาติ 1 1 สํานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
รักถิ่น
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมหลักที่ 11 ปลูกจิตสํานึกดานความปลอดภัย 1 1 ที่ทําการปกครองจังหวัดเชียงราย 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 12,500,000.00
ดานวินัยจราจร และพัฒนาระบบบริหารจัดการ (กลุมงานความมั่นคง)
ดานความปลอดภัยทางถนน
กิจกรรมหลักที่ 12 การเพิ่มประสิทธิภาพการ 1 1 สํานักงานจังหวัดเชียงราย 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
ปฏิบัติงานเพื่อแกไขปญหาความเดือดรอนเรงดวน
ของประชาชน การรักษาความสงบเรียบรอย การ
บริหารจัดการ และการอํานวยความเปนธรรม

กิจกรรมหลักที่ 13 ดําเนินการสรางศูนยพัฒนากลไก 1 1 ที่ทําการปกครองจังหวัดเชียงราย 38,827,000.00 38,827,000.00 38,827,000.00 38,827,000.00 38,827,000.00 194,135,000.00


ฝายปกครองจังหวัดเชียงราย เพื่อขับเคลื่อนนโยบาย
สําคัญของรัฐบาลและการแกไขปญหาความ
เดือดรอนของประชาชน
กิจกรรมหลักที่ 14 สัมมนาใหความรูเกี่ยวกับดาน 1 1 ที่ทําการปกครองจังหวัดเชียงราย 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
ความมั่นคงและการรักษาความสงบเรียบรอยของ (กลุมงานความมั่นคง)
ประชาชนในพื้นที่ชายแดนและพื้นที่ปกติ
โครงการที่ขอรับการสนับสนุนจากกระทรวง/กรม
1.โครงการขยายเขต จําหนายน้ํา 2 1 กปภ.สาขาเชียงราย 5,100,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 19,100,000.00
กิจกรรมที่ 1 งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ําบานยก 2 1 กปภ.สาขาเชียงราย 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
เจริญ หมู 8 ตําบลเมืองชุม อําเภอเวียงชัย จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 2 งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ําชุมชน 2 1 กปภ.สาขาเชียงราย 2,100,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 4,100,000.00
ดอยสะเก็น หมู 5 ตําบลรอบเวียง อําเภอเมือง
เชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 3 งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ําบาน 2 1 กปภ.สาขาเชียงราย 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
หนองดาน หมู 1 ตําบลรอบเวียง อําเภอเมือง
เชียงราย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
2. โครงการกอสรางปรับปรุงระบบประปาและอาคาร 2 1 กปภ.สาขาเชียงราย 158,000,000.00 160,000,000.00 160,000,000.00 80,000,000.00 80,000,000.00 638,000,000.00

กิจกรรมที่ 1 งานปรับปรุงระบบผลิตน้ําประปา 2 1 กปภ.สาขาเชียงราย 58,000,000.00 60,000,000.00 60,000,000.00 60,000,000.00 60,000,000.00 298,000,000.00


ขนาด 500 ลบ.ม./ชม. และแกปญหาการจายน้ํา
การประปาสวนภูมิภาคสาขาเชียงราย อําเภอเมือง
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 2 กอสรางสถานีจายน้ําและวางทอขยาย 2 1 กปภ.สาขาเชียงราย 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 100,000,000.00
เขตจายน้ําใหพื้นที่หมูที่ 5 และหมูที่ 3 ชุมชนบานดง
เหนือและบานดงใต ตําบลนางแล อําเภอเมือง
เชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 3 กอสรางสถานีจายน้ําและขยายเขตจาย 2 1 กปภ.สาขาเชียงราย 80,000,000.00 80,000,000.00 80,000,000.00 240,000,000.00


น้ําพื้นที่บานดอย หมู3 ตําบลริมกก และตําบลแม
ยาว อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
3. งานปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบทอจายน้ํา / 2 1 การประปาสวนภูมิภาค 16,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 56,000,000.00
งานยายแนวทอที่ไดรับผลกระทบจากหนวยงานอื่น
กิจกรรมที่ 1 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบทอ 2 1 กปภ.สาขาเชียงราย 16,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 56,000,000.00
จายน้ําการประปาสวนภูมิภาคสาขาเชียงราย อําเภอ
เมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
4. โครงการปรับปรุงขยายระบบประปาและการ 2 1 กปภ.สาขาเชียงราย 770,000,000.00 770,000,000.00 770,000,000.00 770,000,000.00 770,000,000.00 3,850,000,000.00
บริหารจัดการลดน้ําสูญเสีย
กิจกรรมที่ 1 ปรับปรุงขยายระบบประปาและการ 2 1 กปภ.สาขาเชียงราย 770,000,000.00 770,000,000.00 770,000,000.00 770,000,000.00 770,000,000.00 3,850,000,000.00
บริหารจัดการลดน้ําสูญเสีย การประปาสวนภูมิภาค
สาขาเชียงราย อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
รวม 4 โครงการ 949,100,000.00 943,500,000.00 943,500,000.00 863,500,000.00 863,500,000.00 4,563,100,000.00
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
โครงการที่ขอรับการสนับสนุนจาก อปท
1.โครงการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตเชิง 3 4,698,298,108.02 4,847,544,708.02 4,929,362,268.02 5,029,444,908.02 5,095,512,828.02 24,600,162,820.10
สรางสรรค (ดานถนน)
กิจกรรมที่ 1 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 เทศบาลตําบลเม็งราย 5,015,380.72 5,015,380.72 5,015,380.72 5,015,380.72 5,015,380.72 25,076,903.60
คุมพญามังราย ถึง วัดสันติอุดมธรรม ตําบลเม็งราย
กิจกรรมที่ 2 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 เทศบาลตําบลเม็งราย 11,523,797.20 11,523,797.20 11,523,797.20 11,523,797.20 11,523,797.20 57,618,986.00
บานหนองบัวคํา หมูที่ 7 ถึง บานสันติธรรม หมู
ที่ 11 ตําบลเม็งราย
กิจกรรมที่ 3 การปรุงผิวทางแอสฟลทติกคอนกรีต 3 3 องคการบริหารสวนตําบลหัวงม 1,966,000.00 1,966,000.00 1,966,000.00 1,966,000.00 1,966,000.00 9,830,000.00
ถนนสาย ชร.ถ. 144-05 บานปาแดง - บานบวกขอน
หมู 6 – 8 ตําบลหัวงม อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 4 ปรุงผิวทางแอสฟลทติกคอนกรีต ถนน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลหัวงม 1,966,000.00 1,966,000.00 1,966,000.00 1,966,000.00 1,966,000.00 9,830,000.00
สาย ชร.ถ. 144-05 บานปาแดง - บานบวกขอน หมู
6 – 8 ตําบลหัวงม อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 5 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ซอย 3 3 องคการบริหารสวนตําบลหัวงมและ 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00
1 บานหนองฮาง หมูที่ 4 เชื่อมตําบลทานตะวัน สวนราชการที่เกี่ยวของ

กิจกรรมที่ 6 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก ซอย 3 3 องคการบริหารสวนตําบลหัวงม 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00
1 บานหนองฮาง หมูที่ 4 เชื่อมตําบลทานตะวัน
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 7 การกอสรางถนน คสล. รหัสทางหลวง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเมืองพาน 16,500,000.00 16,500,000.00 16,500,000.00 16,500,000.00 66,000,000.00
ทองถิ่น ชร.ถ 99 - 017 สายบานหนองบัว - บานปา
ไผ
กิจกรรมที่ 8 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จาก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 1,245,500.00 1,245,500.00 1,245,500.00 1,245,500.00 1,245,500.00 6,227,500.00
สายบานปาตึง หมู 5 ถึงสายบานใหมเจริญ หมู 18
บานปาตึง - ใหมเจริญ หมูที่ 5-18 ตําบลเจริญเมือง
อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 9 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 1,356,200.00 1,356,200.00 1,356,200.00 1,356,200.00 1,356,200.00 6,781,000.00


จากสายบานจําปู หมู 6 ถึงสาย บานดงหลวง หมู 7
จําปู - ดงหลวง หมูที่ 6 – 7 ตําบลเจริญเมือง
อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 10 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 2,065,000.00 2,065,000.00 2,065,000.00 2,065,000.00 2,065,000.00 10,325,000.00


รหัสสายทาง ชร.ถ. 63-008 จากสาย บานปายางหมู
8 ถึงสายบานปาบง หมู 9 ปายาง-ปาบง หมูที่ 8-9
ตําบลเจริญเมือง อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 11 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก สาย 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 8,001,900.00 8,001,900.00 8,001,900.00 8,001,900.00 8,001,900.00 40,009,500.00
บานปาป ถึงสาย อางเก็บน้ําหวยตนยาง (โครงการ
พระราชดําริ) บานปาป หมูที่ 12 ตําบลเจริญเมือง
อบต.เจริญเมือง อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 12 การซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 778,200.00 778,200.00 778,200.00 778,200.00 778,200.00 3,891,000.00


จากสายซอย 6 ถึงสายสุสาน บานกลวย หมูที่ 3
ตําบลเจริญเมือง อบต.เจริญเมือง อําเภอพาน
จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 13 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 1,731,900.00 1,731,900.00 1,731,900.00 1,731,900.00 1,731,900.00 8,659,500.00
รหัสสายทาง ชร.ถ 63-010 จากสาย บานฐาน
ตะเคียนทอง - อางเก็บน้ําหวยเมี้ยง บานฐาน
ตะเคียนทอง หมูที่ 21 ตําบลเจริญเมือง อําเภอพาน
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 14 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 5,958,000.00 5,958,000.00 5,958,000.00 5,958,000.00 5,958,000.00 29,790,000.00


บานปาซาง - บานหวยแสนสุข - อางเก็บน้ําหวยตน
ยาง (โครงการพระราชดําริ) หมูที่ 11, 12 ,16 ตําบล
เจริญเมือง อบต.เจริญเมือง อําเภอพาน จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 15 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 6,978,800.00 6,978,800.00 6,978,800.00 6,978,800.00 6,978,800.00 34,894,000.00


รหัสสายทาง ชร.ถ 63-005 จากสายบานปาบง -
ฟาฮาม ถึงสายปาเกี๊ยะ บานปาบง หมูที่ 9 ตําบล
เจริญเมือง อบต.เจริญเมือง อําเภอพาน จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 16 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 6,885,600.00 6,885,600.00 6,885,600.00 6,885,600.00 6,885,600.00 34,428,000.00


รหัสสายทาง ชร.ถ 63-012 จากสายบานดงตะเคียน
ถึงสายอางเก็บน้ําหวยหมออุง (โครงการ
พระราชดําริ) บานฐานตะเคียนทอง หมูที่ 21 ตําบล
เจริญเมือง อบต.เจริญเมือง อําเภอพาน จังหวัด
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 17 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จาก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 2,991,700.00 2,991,700.00 2,991,700.00 2,991,700.00 2,991,700.00 14,958,500.00
สายบานกลวย หมู 3 ถึงสายบานสันทราย หมู 1
บานกลวย-สันทราย หมูที่ 3-1 ตําบลเจริญเมือง
อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 18 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 664,300.00 664,300.00 664,300.00 664,300.00 664,300.00 3,321,500.00


รหัสสายทาง ชร.ถ 63-013 จากสายหวยดอกอูน ถึง
สายทางหลวงแผนดินหมายเลข 1 บานหวยดอกอูน
หมูที่ 20 ตําบลเจริญเมือง อําเภอพาน จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 19 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก จาก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 4,163,200.00 4,163,200.00 4,163,200.00 4,163,200.00 4,163,200.00 20,816,000.00
สายบานปาซาง หมู 11 ถึงสาย บานใหมเจริญ หมู
18 บานปาซาง-ใหมเจริญ หมูที่ 11-18 ตําบลเจริญ
เมือง อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 20 กอสรางถนน ค.ส.ล. สายเลียบคลอง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 40,000,000.00
ชลประทาน หมูที่ 4 เชื่อม หมูที่ 5
กิจกรรมที่ 21 กอสรางถนน ค.ส.ล. หมูที่ 6 (ถนน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 2,900,000.00 2,900,000.00 2,900,000.00 2,900,000.00 2,900,000.00 14,500,000.00
คลองซอย 9)
กิจกรรมที่ 22 กอสรางถนนแอสฟลทติกคอนกรีต 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
เลียบคลองชลประทาน หมูที่ 4 หมูที่ 5 เชื่อมตําบล
จอมหมอกแกว
กิจกรรมที่ 23 ปรับปรุงถนนลาดยางแอสฟลทติกคอ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 8,000,000.00
นกรีต เลียบคลองชลประทาน เชื่อมระหวางหมูที่ 3,
11 ต.ปากอดํา - หมูที่ 3 ต.บัวสลี อ.แมลาว จ.
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 24 กอสรางถนน ค.ส.ล. หมูที่ 1 (ถนน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 7,400,000.00 7,400,000.00 7,400,000.00 7,400,000.00 29,600,000.00
คลองซอย 10)
กิจกรรมที่ 25 กอรางถนน ค.ส.ล. สายเลียบคลอง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 48,000,000.00
ชลประทานหมูที่ 3 เชื่อม หมูที่ 11
กิจกรรมที่ 26 กอสรางถนนแอสฟลทติกคอนกรีต 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 15,000,000.00
สายเลียบคลองชลประทาน หมูที่ 3 หมูที่ 11 เชื่อม
ตําบลบัวสลี
กิจกรรมที่ 27 ซอมสรางถนน ค.ส.ล. ซอยขาง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 900,000.00 900,000.00 900,000.00 2,700,000.00
โรงเรียนเกา
กิจกรรมที่ 28 กอสรางถนนแอสฟลทติกคอนกรีต 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 4,500,000.00 4,500,000.00 9,000,000.00
หมูที่ 11 เชื่อมตําบลแมกรณ
กิจกรรมที่ 29 กอสรางถนน ค.ส.ล. หมูที่ 4 (ถนน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 1,700,000.00 1,700,000.00
คลองซอย 8)
กิจกรรมที่ 30 กอสรางถนนหินคลุกสายการเกษตร 3 2 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 850,000.00 850,000.00 850,000.00 850,000.00 850,000.00 4,250,000.00
ภายในหมูบาน หมูที่ 5
กิจกรรมที่ 31 กอสรางถนน ค.ส.ล. หมูที่ 5 (ถนน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 2,200,000.00 2,200,000.00
คลองซอย 7)
กิจกรรมที่ 32 ปรับปรุงถนนลาดยางแอสฟสทติกคอ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปาซาง 10,055,000.00 10,055,000.00 10,055,000.00 10,055,000.00 10,055,000.00 50,275,000.00
นกรีต (Asphatic Corete) เชื่อมระหวาง หมูที่ 5
ตําบลปาซาง อําเภอเวียงเชียงรุง - บานรวมแกว หมู
ที่ 9 ตําบลปงนอย อําเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 33 กอสรางถนนคอนกรีต 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปาซาง 7,500,000.00 7,500,000.00 7,500,000.00 7,500,000.00 7,500,000.00 37,500,000.00
เสริมเหล็กหวยปูแกง หมูที่ 5 ตําบลปาซาง
อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 34 กอสรางถนนคอนกรีต 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปาซาง 7,500,000.00 7,500,000.00 7,500,000.00 7,500,000.00 7,500,000.00 37,500,000.00
เสริมเหล็กสํานักสงฆ หมูที่ 4 ตําบลปาซาง
อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 35 เสริมผิวทางแอสฟลทติก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปาซาง 6,850,000.00 6,850,000.00 6,850,000.00 6,850,000.00 6,850,000.00 34,250,000.00
คอนกรีต เชื่อมตอระหวาง หมูที่ 5,14,8
ตําบลปาซาง อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 36 เสริมผิวทางแอสฟลทติก คอนกรีต 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปาซาง 11,440,000.00 11,440,000.00 11,440,000.00 11,440,000.00 11,440,000.00 57,200,000.00
ทางเชื่อมระหวาง หมูที่ 9 หมูที่ 15 ตําบลปาซาง
อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย และตําบลตาด
ควัน อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 37 เสริมผิวทางแอสฟลทติก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปาซาง 5,250,000.00 5,250,000.00 5,250,000.00 5,250,000.00 5,250,000.00 26,250,000.00


คอนกรีต ถนนสายวนอุทยานน้ําตกตาดสายรุง
หมูที่ 6 ตําบลปาซาง อําเภอเวียงเชียงรุง
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 38 ปรับปรุงถนนทางหลวงทองถิ่น สาย 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 9,864,000.00 9,864,000.00 9,864,000.00 9,864,000.00 39,456,000.00


ชร.ถ.66-004 บานสันไทรงาม -บานปาสักงาม ตําบล
ดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 39 ปรับปรุงถนนลาดยาง สายทางบานปา 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 3,827,000.00 3,827,000.00 3,827,000.00 3,827,000.00 15,308,000.00


เลา ถึง บานสันไทรงาม ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 40 ปรับปรุงถนนลาดยาง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 12,000,000.00
แอสฟลทติก คอนกรีต (Asphaltic Concrete)
เชื่อมระหวาง หมูที่ 4 - หมูที่ 11 ตําบลดงมหาวัน
อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 41 ปรับปรุงถนนแอสฟลทติกคอนกรีต 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 12,565,000.00 12,565,000.00 25,130,000.00


สายทางชร.ถ.10086 บานปาเลา หมูที่ 3 ตําบลดง
มหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย ถึง
สะพานเฉลิมพระเกียรติ บานหนองบัวแดง ตําบลแม
ขาวตม อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 42 ขยายสะพานคอนกรีตเสริมเหล็กบาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 3,000,000.00


ใหมรองหวาย หมูที่ 11 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 43 ขยายสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 3,000,000.00
บานปาเลา หมูที่ 3 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 44 กอสรางถนนลาดยางแอสฟลติกคอ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 10,091,000.00 10,091,000.00 10,091,000.00 30,273,000.00
นกรีต บานปาสักงาม หมูที่ 9 (เวียงราชพลี) ตําบล
ดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 45 กอสรางถนนลาดยางแอสฟลทติก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 8,000,000.00
คอนกรีต (Asphaltic Concrete)
โดยวิธี Pavement In-Place Recycling
เชื่อมระหวาง หมูที่ 3 ตําบลดงมหาวัน
อําเภอเวียงเชียงรุง - หมูที่ 4 ตําบลทุงกอ
อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 46 กอสรางถนนลาดยางแอสฟลทติก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 8,000,000.00
คอนกรีต (Asphaltic Concrete) โดยวิธี
Pavement In-Place Recycling เชื่อมระหวาง หมู
ที่ 3 - หมูที่ 4 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 47 ขยายสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก บาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
ใหมรองหวาย หมูที่ 11 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 48 ขยายถนนสายหลัก (ถนน อบจ.) บาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 20,000,000.00
ใหมมหาวัน หมูที่ 12 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 49 ขยายไหลถนน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 9,570,000.00 9,570,000.00 9,570,000.00 9,570,000.00 38,280,000.00
รหัสสายทาง ชร. ถ 66 - 018 บานดงมหาวัน
หมูที่ 1 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 50 กอสรางถนน คสล.เริ่มตน โรงสีนาย 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 3,000,000.00


ไพบูลย ถึง ทอเหลี่ยม บานรองหวาย
หมูที่ 2 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 51 กอสรางสะพานขามคลองสามแสน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 15,000,000.00


บานรองหวาย หมูที่ 2 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 52 ขยายไหลถนนสายหลัก บานปาเลา 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 5,000,000.00 5,000,000.00
หมูที่ 3 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 54 กอสรางถนนลาดยาง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 4,800,000.00 4,800,000.00 4,800,000.00 4,800,000.00 19,200,000.00
เพื่อการเกษตร สายหนองดาน ถึงถนนสี่เลน
บานสันไทรงาม หมูที่ 5 ตําบลดงมหาวัน
อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 55 กอสรางถนนแอสฟลติก (ลาดยาง) 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00
บานสันไทรงาม หมูที่ 5 จุดเริ่มตนสามแยกศาลา
หมูบาน ถึง ถนนลาดยางเดิม ตําบลดงมหาวัน อําเภอ
เวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 56 กอสรางถนน คศล. เริ่มตนบาน นาย 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 6,000,000.00
ผอง มั่นไร ถึงนา นายสนิท ไชยสาร
บานสันไทรงาม หมูที่ 5 ตําบลดงมหาวัน
อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 57 ขยายไหลถนนสายหลัก บานสันไทร 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 20,000,000.00
งาม หมูที่ 5 (สองขางทาง) เริ่มตนสะพานเขาหมูบาน
ถึง วัดสันไทรงาม ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียง
รุง
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 58 ขยายไหลถนน คสล. เริ่มตนหนา วัด 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
สันติวราราม ถึง ถนน สี่เลน บานดอยศิริมงคล หมู
ที่ 7 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 59 ขยายไหลถนนสายหลักของหมูบาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 22,500,000.00
(พรอมปายเตือนสัญญาณจราจร) บานดอยศิริมงคล
หมูที่ 7 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 60 กอสรางถนนลาดยางแอสฟลติก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00


เริ่มตน หนาวัดสันติวราราม ถึง ถนนสี่เลน บาน
ดอยศิริมงคล หมูที่ 7 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 61 กอสรางถนนลาดยางแอสฟลติก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00


เริ่มตนนา นางระเบียบ พรมหลา ถึงนา -นางเศียรศรี
พุทธสอน บานดอยศิริมงคลหมูที่ 7 ตําบลดงมหา
วัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 62 ขยายไหลถนน คสล.พรอมวางทอ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 5,000,000.00 5,000,000.00


บานปาสักงาม หมูที่ 9 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 63 ขยายไหลถนน เริ่มตนหนาวัดบาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 4,500,000.00 4,500,000.00
ดอยศิริ ถึงเขตหมูที่ 8 บานปงบน หมูที่ 10 ตําบล
ดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 64 เสริมผิวลาดยาง AC.ชร.ถ.66-016 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 9,975,000.00 9,975,000.00 9,975,000.00 9,975,000.00 9,975,000.00 49,875,000.00
บานสันไทรงาม – บานปาสักงาม ตําบลดงมหาวัน
อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 65 เสริมผิวลาดยาง AC.ชร.ถ.66-001 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 4,370,000.00 4,370,000.00 4,370,000.00 4,370,000.00 4,370,000.00 21,850,000.00
บานปาสักงาม – แยกดอยหลวงอําเภอเวียงเชียงรุง
จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 66 กอสรางขยายสะพานคอนกรีตเสริม 3 3 เทศบาลตําบลบานเหลา 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 6,000,000.00
เหล็กลําน้ําเผื่อ หมูที่ 4 ตําบลทุงกอ เชื่อม บานปา
เลา หมูที่ 3 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 67 กอสรางถนน คสล. (บานนายอินทร 3 3 เทศบาลตําบลบานเหลา 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
จันทร สิทธิขันแกว - บานนายบุญยัง) ถนนไปบาน
น้ําตกพัฒนา หมูที่ 4 ตําบลทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 68 ปรับปรุงถนนลาดยางแอสฟลทติก 3 3 เทศบาลตําบลบานเหลา 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00


คอนกรีต (Asphaltic Concrete)
เชื่อมระหวางหมูที่ 4 ตําบลทุงกอ - หมูที่ 11
ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 69 ปรับปรุงถนนลาดยางแอสฟลทติก 3 3 เทศบาลตําบลบานเหลา 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 16,000,000.00


คอนกรีตถนน สามแยกเสี้ยว บานเหลาเจริญราษฎร
หมู 11 ถึง อางหวยกั้ง เชื่อมถนน บานโปง หมูที่ 15
ตําบลทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 70 ปรับปรุงถนนลาดยางแอสฟลทติก 3 3 เทศบาลตําบลบานเหลา 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 8,000,000.00


คอนกรีต บานเหลาเจริญราษฎร หมู 11 ตําบลทุง
กอ ถึงบานเหลา หมูที่ 6 ตําบลทุงกอ อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 71 ปรับปรุงถนนลาดยางแอสฟลทติก 3 3 เทศบาลตําบลบานเหลา 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 10,000,000.00
คอนกรีต (ที่นา นายบุญถม พรมราช - ฝายแดง)
ถนนลาดยาง พาราติกสคอนกรีต หมูที่ 11 ตําบลทุง
กอ อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 72 ปรับปรุงถนนลาดยางแอสฟลทติก 3 3 เทศบาลตําบลบานเหลา 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 7,500,000.00


คอนกรีต (สวนยาง นายวีรศักดิ์ เหลามะโฮง - บาน
นางสมหมาย สุขเกษม) หมูที่ 11 ตําบลทุงกอ (นอก
เขต) อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 73 กอสรางถนนหินคลุก (ที่นา นายสม 3 3 เทศบาลตําบลบานเหลา 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 3,000,000.00


สินธ พรีศักดิ์ - ที่นา นางเปลี่ยง ทองรักษา) หมูที่
11 ตําบลทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 74 ปรับปรุงถนนลาดยางแอสฟลทติก 3 3 เทศบาลตําบลบานเหลา 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 6,000,000.00


คอนกรีต ( ถนนสายแมเผื่อ หมู 4 ตําบลดงมหาวัน -
บานรองหวาย หมูที่ 11 ตําบลดงมหาวัน ) อําเภอ
เวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 75 ขยายถนนลาดยาง 3 3 เทศบาลตําบลบานเหลา 2,700,000.00 2,700,000.00


บานแมเผื่อ - สะพานบานรองหวาย พรอมขยาย
สะพาน หมูที่ 4 ตําบลดงมหาวัน
อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 76 กอสรางถนนลูกรังเสนทางเชื่อระหวาง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลทุงกอ 3,700,000.00 3,700,000.00


ตําบลปาซาง ตําบลทุงกอและตําบลผางาม
(เสนทางการทองเที่ยว) อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 77 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็กของ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลทุงกอ 2,103,000.00 2,103,000.00
ชลประทาน เชื่อมตอระหวาง ตําบลดงมหาวัน กับ
หมูที่ 2 บานดงชัย ตําบลทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 78 กอสรางถนนลาดยาง จากบาน นาย 3 3 องคการบริหารสวนตําบลทุงกอ 2,500,000.00 2,500,000.00


บุญลือ อินตะนางแล ถึง บานโปง หมูที่ 15 หมูที่ 6
บานเหลา ตําบลทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 79 กอสรางคอนกรีตเสริมเหล็ก ซอย 1 3 3 องคการบริหารสวนตําบลทุงกอ 2,019,000.00 2,019,000.00 4,038,000.00


ถึงแยก หมูที่ 14 (ตอจากของเดิม) หมูที่ 8 บานดง
ปาสัก ตําบลทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 80 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็กจาก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลทุงกอ 4,483,000.00 4,483,000.00


ทอเหลี่ยมถึงอางเก็บน้ํารองขุน หมูที่ 8 บานดงปา
สัก ตําบลทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 81 กอสรางสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปอ 3,117,000.00 3,117,000.00 3,117,000.00 3,117,000.00 3,117,000.00 15,585,000.00


ขามแมน้ํางาว บานดอน หมูที่ 3 เชื่อม บานปอกลาง
หมูที่ 5 ตําบลปอ เชื่อมบานหวยแลง หมูที่ 2 ตําบล
ทาขาม อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 82 กอสรางสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปอ 7,613,000.00 7,613,000.00 7,613,000.00 7,613,000.00 7,613,000.00 38,065,000.00
ขามแมน้ํางาว บานปางหัดใหมหมูบานบริวารบาน
ปางหัด เชื่อม บานพิทักษคีรีหมูบานบริวารบานปาง
หัด หมูที่ 2 ตําบลปอ อําเภอเวียงแกน จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 83 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลปอ 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 12,500,000.00


บานหวยแลง ม.2 ต.ทาขามเชื่อมบานปอกลาง ม.5
ต.ปอ อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 84 กอสรางสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลปอ 3,117,000.00 3,117,000.00 3,117,000.00 3,117,000.00 3,117,000.00 15,585,000.00
ขามแมน้ํางาว บานปางหัด หมูที่ 2 เชื่อมบานดอน
หมูที่ 3 เชื่อมบานปอกลาง หมูที่ 5 ตําบลปอ เชื่อม
บานหวยแลง หมูที่ 2 ตําบลทาขาม อําเภอเวียงแกน
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 85 กอสรางสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลปอ 2,338,000.00 2,338,000.00 2,338,000.00 2,338,000.00 2,338,000.00 11,690,000.00


ขามแมน้ํางาว บานหนองเตา หมูที่ 4 เชื่อม บาน
หวยหาน หมูที่ 9 ตําบลปอ อําเภอเวียงแกน จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 86 ปรับปรุงผิวจราจรสายทางบานปางปอ 3 2 องคการบริหารสวนตําบลปอ 2,509,000.00 2,509,000.00 2,509,000.00 2,509,000.00 2,509,000.00 12,545,000.00


หมูที่ 1 ตําบลปอ อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
เชื่อม บานราษฎรภักดี หมูที่ 10 ตําบลตับเตา อําเภอ
เทิง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 87 การกอสรางสะพาน คสล. หมูที่ 7 3 3 เทศบาลตําบลทาสาย อ.เมือง 11,499,500.00 11,499,500.00 11,499,500.00 11,499,500.00 11,499,500.00 57,497,500.00
บานปาหัด ต.ทาสาย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 88 เรียงหิน พรอมดาดคอนกรีต ลําหวย 3 3 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
มะกอกหวาน หมู 4 บานปายางใหม ถึง หมู 8 บาน
ปาเหมือดสันติสุข ตําบลเวียงพางคํา อําเภอแมสาย
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 89 กอสรางถนนลาดยางแอสฟลทติก 3 2 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 2,000,100.00 2,000,100.00 2,000,100.00 2,000,100.00 2,000,100.00 10,000,500.00
คอนกรีตถนนเลียบคลองชลประทาน สาย RMC 1
บานปาเหมือดสุขสําราญ หมู 9 ตําบลเวียงพางคํา
ถึง บานสันธาตุ หมู 5 ตําบลศรีเมืองชุม อําเภอ แม
สาย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 90 กอสรางถนนลาดยางแอสฟลทติก 3 2 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 967,000.00 967,000.00 967,000.00 967,000.00 967,000.00 4,835,000.00
คอนกรีต ถนนเลียบคลองชลประทาน สาย RMC 1
ระหวางบานปายางใหม หมู 4 ถึง ถึงตําบลแมสาย
อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 91 กอสรางถนนแอสฟลาสติก คลอง 3 2 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
1R-RMC1 ขางโรงไฟฟา - ถนนเลนพหลโยธิน -
ถนนสี่เลนพหลโยธิน - บอวิน (สุดเขตตําบลเวียงพาง
คํา) กม 0+000-3+000 ระยะทาง 3 กิโลเมตร ตําบล
เวียงพางคํา อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 92 กอสรางถนนแอสฟลาสติก คลอง 3 2 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
RMC1 -3R - RMC1 ถนนปายาง ถึง ชอนนางรีสอรท
รวมคูน้ํา ระยะทาง 3 กิโลเมตร กม.2+392-4+580
ระยะทาง 2.188 กม. ตําบลเวียงพางคํา อําเภอแม
สาย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 93 กอสรางถนนแอสฟลาสติก คลอง 3 2 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
2R-RMC1 กม.3+700 ปมแกส ) เหมืองหนองบัว
ตลอดสาย ถึงบานนานา รวมคูน้ํา ระยะทาง 3.700
กม. ตําบลเวียงพางคํา อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 94 กอสรางถนนแอสฟลาสติก คลอง 3R- 3 2 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
RMC1 กม. 0+000 - 2+500 (ดานขวา) สายทาง
สายในบานสันโคง ระยะทาง 2.500 กม. ตําบลเวียง
พางคํา อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 95 กอสรางถนน คสล. เสนเลียบดอย 3 2 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
บานปายางผาแตก หมู 10 หมู 4, บานปายางใหม
หมู 5 บานปาเหมือดรุงเจริญ ตําบลเวียงพางคํา
อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 96 ปรับปรุงภูมิทัศนและเรียงหินรอบ 3 2 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
หนองน้ําสาธารณะ “หนองแหวน” บานปาเหมือด
สุขสําราญ หมูที่ 9 ตําบลเวียงพางคํา อําเภอแมสาย
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 97 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลแมจัน อ.แมจัน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
พรอมระบบระบายน้ําถนนอินทรพาณิชย, ถนน
อินทรพาณิชย ซอย 1, ถนนอินทรพาณิชย ซอย 2

กิจกรรมที่ 98 การซอมแซมถนนลาดยาง โดยการ 3 2 อบต.ศรีเมืองชุม อ.แมสาย 19,000,000.00 19,000,000.00 19,000,000.00 19,000,000.00 19,000,000.00 95,000,000.00
เสริมผิวทางแอสฟลทติกคอนกรีตในพื้นที่อบต.ศรี
เมืองชุม ความยาวรวม 10,710 เมตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 99 การซอมแซมถนนในพื้นที่ อบต.ศรี 3 2 อบต.ศรีเมืองชุม อ.แมสาย 41,000,000.00 41,000,000.00 41,000,000.00 41,000,000.00 41,000,000.00 205,000,000.00
เมืองชุม ความยาวรวม 30,033 เมตร
กิจกรรมที่ 100 กอสรางถนนแอสฟลทติกคอนกรีต 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 2,513,000.00 2,513,000.00 2,513,000.00 2,513,000.00 2,513,000.00 12,565,000.00
สายทางเขาสูหนองแดง บานโปงเกลือใต หมูที่ 18
ตําบลดอยลาน อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 101 กอสรางถนนลาดยางผิวจราจรชนิด 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 5,670,000.00 5,670,000.00 5,670,000.00 5,670,000.00 22,680,000.00


เคฟซิล สายทางบานดอยทอง หมูที่ 17 ตําบลดอย
ลาน เชื่อมบานรองเบอ หมูที่ 29 ตําบลหวยสัก
อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 102 กอสรางถนนลาดยางผิวจราจรชนิด 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 6,750,000.00 6,750,000.00 6,750,000.00 6,750,000.00 27,000,000.00


เคฟซิล สายทางบานใหมน้ําเย็น หมูที่ 9 ตําบลดอย
ลาน เชื่อมบานดอนชุม หมูที่ 21 ตําบลหวยสัก
อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 103 กอสรางถนนลาดยางแอสพัลต 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 4,220,000.00 4,220,000.00 4,220,000.00 12,660,000.00


คอนกรีตชวงกลาง สายทางบานจําหวาย หมูที่ 2
ตําบลดอยลาน อําเภอเมืองเชียงรายเชื่อมบานดงชัย
หมูที่ 8 ตําบลแมออ อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 104 กอสรางถนนลาดยางผิวจราจรชนิด 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 5,275,000.00 5,275,000.00 5,275,000.00 15,825,000.00


เคฟซิล สายทางบานดอยสมบูรณ หมูที่ 12 ตําบล
ดอยลาน อําเภอเมืองเชียงราย เชื่อมบานสารภี หมูที่
5และบานโปงชางนอก หมูที่ 6 ตําบลเชียงเคี่ยน
อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 105 โครงการกอสรางถนนลาดยางผิว 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 10,550,000.00 10,550,000.00 21,100,000.00
จราจรชนิดเคฟซิล สายทางบานโปงเกลือใต หมูที่ 18
ตําบลดอยลาน อําเภอเมืองเชียงราย เชื่อมบานรอง
เปา หมูที่ 7 และบานกลวยใหม หมูที่ 18 ตําบลสัน
มะเค็ด อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 106 กอสรางถนนลาดยางผิวจราจรชนิด 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 10,550,000.00 10,550,000.00


เคฟซิล สายทางบานรองขุน หมูที่ 5 ตําบลดอยลาน
อําเภอเมืองเชียงราย เชื่อมบานโปงชางนอก หมูที่ 6
ตําบลเชียงเคี่ยน อําเภอเทิง งหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 107 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 3,270,000.00 3,270,000.00 3,270,000.00 3,270,000.00 3,270,000.00 16,350,000.00
สายทางบานจําบอน หมูที่ 1 ถึง สายบานจําหวาย
หมูที่ 2 ตําบลดอยลาน อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 108 กอสรางถนนแอสฟลทติกคอนกรีต 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 8,196,000.00 8,196,000.00 8,196,000.00 8,196,000.00 8,196,000.00 40,980,000.00
สายทาง บานใหมน้ําเย็น หมูที่ 9 ถึงอางเก็บน้ําหวย
เอี้ยง บานใหมน้ําเย็น หมูที่ 9 ตําบลดอยลาน อําเภอ
เมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 109 กอสรางถนนแอสฟลทติกคอนกรีต 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 7,401,000.00 7,401,000.00 7,401,000.00 7,401,000.00 7,401,000.00 37,005,000.00
สายทางบานจําบอน หมูที่ 1 ถึงอางเก็บน้ําหวยเคียน
บานจําบอน หมูที่ 1 ตําบลดอยลาน อําเภอเมือง
เชียงราย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 110 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 3,258,000.00 3,258,000.00 3,258,000.00 3,258,000.00 3,258,000.00 16,290,000.00
สายทาง บานใหมดอยลาน หมูที่ 21 ถึง สายมอนสูง
บานใหมดอยลาน หมูที่ 21 ตําบลดอยลาน อําเภอ
เมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 111 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 9,368,000.00 9,368,000.00 9,368,000.00 9,368,000.00 9,368,000.00 46,840,000.00
สายทาง บานใหมรุงเรือง หมูที่ 10 ถึง สายบาน
ทรายงามใต หมูที่ 19 ตําบลดอยลาน อําเภอเมือง
เชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 112 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 อบต.ตาดควัน 313,000.00 313,000.00 313,000.00 313,000.00 313,000.00 1,565,000.00
(สายในจุดชมวิว) บานแมต๋ําน้ําตก หมูที่ 6 ตําบล
ตาดควัน
กิจกรรมที่ 113 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลตาดควัน 3,472,000.00 3,472,000.00 3,472,000.00 3,472,000.00 3,472,000.00 17,360,000.00
(ทางเขาบานเยาแมต๋ํา) บานเยาแมต่ํา หมูที่ 4
กิจกรรมที่ 114 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 อบต.แมต๋ํา 1,930,000.00 1,930,000.00 1,930,000.00 1,930,000.00 1,930,000.00 9,650,000.00
บานสันมะปน หมูที่ 7 ตําบลแมต๋ํา
กิจกรรมที่ 115 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 อบต.แมต๋ํา 1,930,000.00 1,930,000.00 1,930,000.00 1,930,000.00 1,930,000.00 9,650,000.00
สายหวยเกาคา บานปามื่น หมูที่ 8 ตําบลแมต๋ํา
กิจกรรมที่ 116 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 อบต.แมต๋ํา 1,680,000.00 1,680,000.00 1,680,000.00 1,680,000.00 1,680,000.00 8,400,000.00
บานปามวง หมูที่ เชื่อมบานแสงใต หมูที่ 10 ตําบล
แมต๋ํา
กิจกรรมที่ 117 ปรับผิวจราจรทางไปอางเก็บน้ําหวย 3 2 อบต.แมเปา 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
แมเลียบ หมู 9 ตําบลแมเปา
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 118 กอสรางกอสรางถนนคอนกรีตเสริม 3 2 เทศบาลตําบลไมยา 8,721,103.70 8,721,103.70 8,721,103.70 8,721,103.70 8,721,103.70 43,605,518.50
เหล็ก สายอางเก็บน้ําหวยกาง หมูที่ 10 เชื่อมบาน
สันมวงคํา หมูที่ 7 ตําบลไมยา
กิจกรรมที่ 119 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลไมยา 1,825,431.01 1,825,431.01 1,825,431.01 1,825,431.01 1,825,431.01 9,127,155.05
บานศรีชุม หมู 10 - อางเก็บน้ําหวยกาง ตําบลไมยา
กิจกรรมที่ 120 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลไมยา 2,892,828.40 2,892,828.40 2,892,828.40 2,892,828.40 2,892,828.40 14,464,142.00
บานไมยามิตรภาพ หมู 16 ถึงอางเก็บน้ําไมยา
กิจกรรมที่ 121 ซอมสรางถนนลาดยาง Asphaltic 3 2 เทศบาลตําบลไมยา 1,535,569.11 1,535,569.11 1,535,569.11 1,535,569.11 1,535,569.11 7,677,845.55
Concrete สายทาง ชร3101 บานหวยกางรัฐ
กิจกรรมที่ 122 กอสรางถนนลาดยาง Asphaltic 3 2 เทศบาลตําบลไมยา 1,564,461.64 1,564,461.64 1,564,461.64 1,564,461.64 1,564,461.64 7,822,308.20
Concrete สันอางเก็บน้ําหวยกาง
กิจกรรมที่ 123 กิจกรรมกอสรางถนนลาดยางสาย 3 2 เทศบาลตําบลไมยา 3,504,608,486.00 3,504,608,486.00 3,504,608,486.00 3,504,608,486.00 3,504,608,486.00 17,523,042,430.00
บานสันโคง หมูที่ 8 เชื่อมบานสันหลวง หมู 8 ต.แม
เปา
กิจกรรมที่ 124 กิจกรรมซอมสรางถนนลาดยาง สาย 3 2 เทศบาลตําบลไมยา 12,490,047.18 12,490,047.18 12,490,047.18 12,490,047.18 12,490,047.18 62,450,235.90
ทางหวยกางนาลอม หมู 11 เชื่อม บานสันทรายงาม
หมูที่ 2 ตําบลสันทรายงาม
กิจกรรมที่ 125 กิจกรรมกอสรางถนนคอนกรีตเสริม 3 2 เทศบาลตําบลไมยา 4,409,335.51 4,409,335.51 4,409,335.51 4,409,335.51 4,409,335.51 22,046,677.55
หล็กสายสันปาสัก บานไมยามิตรภาพ หมูที่ 16
กิจกรรมที่ 126 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลไมยา 4,409,335.51 4,409,335.51 4,409,335.51 4,409,335.51 4,409,335.51 22,046,677.55
สายสันปาสัก หมูที่ 16 ตําบลไมยา
กิจกรรมที่ 127 กอสรางถนนลาดยาง Asphaltic 3 2 เทศบาลตําบลไมยา 12,490,047.18 12,490,047.18 12,490,047.18 12,490,047.18 12,490,047.18 62,450,235.90
Concrete สายทางหวยกางนาลอม หมู 11 เชื่อม
บานสันทรายงาม หมูที่ 2 ตําบลสันทรายงาม
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 128 กอสรางถนนลาดยาง Asphaltic 3 2 เทศบาลตําบลไมยา 35,046,084.86 35,046,084.86 35,046,084.86 35,046,084.86 35,046,084.86 175,230,424.30
Concrete สาย บานสันโคง หมูที่ 8 เชื่อม บานสัน
หลวง หมู 8 ต. แมเปา
กิจกรรมที่ 129 การปรับปรุงซอมแซมถนนเพื่อ 3 2 เทศบาลตําบลเมืองชุม อ.เวียงชัย 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
การเกษตรโดยการลงหินคลุก บานดอนแกว หมูที่ 1
ต.เมืองชุมเชื่อม บานดงมะตื๋น หมูที่ 7 ต.ผางาม อ.
เวียงชัยจ.เชียงราย

กิจกรรมที่ 130 การกอสรางถนนเขาพื้นที่การเกษตร 3 2 เทศบาลตําบลแมเงิน อ.เชียงแสน 1,350,000.00 1,350,000.00 1,350,000.00 1,350,000.00 1,350,000.00 6,750,000.00
สายหลังโรงพัก บานปงของ หมูที่ 5
กิจกรรมที่ 131 การกอสรางถนนหินคลุก เขาพื้นที่ 3 2 เทศบาลตําบลแมเงิน อ.เชียงแสน 2,450,000.00 2,450,000.00 2,450,000.00 2,450,000.00 2,450,000.00 12,250,000.00
การเกษตร สายหลังสุสานบานไร หมูที่ 7
กิจกรรมที่ 132 การซอมแซมถนนคอนกรีตเสริม 3 2 เทศบาลตําบลแมเงิน อ.เชียงแสน 1,952,500.00 1,952,500.00 1,952,500.00 1,952,500.00 1,952,500.00 9,762,500.00
เหล็ก สาย ปตท. บานแมเงิน หมูที่ 6
กิจกรรมที่ 133 การกอสรางถนนคอนกรีต สายทุง 3 2 เทศบาลตําบลแมเงิน อ.เชียงแสน 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 9,000,000.00
ทานตะวัน บานปงของเหนือ หมูที่ 10
กิจกรรมที่ 134 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลแมเงิน อ.เชียงแสน 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 9,000,000.00
สายหวยชัยมงคล บานแมคําเหนือ หมูที่ 12
กิจกรรมที่ 135 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลแมเงิน อ.เชียงแสน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
เชื่อมระหวางตําบลแมเงิน และตําบลบานแซว
(บานแมเงิน หมูที่ 6 ตําบลแมเงิน - บานหวยกวาน
หมูที่ 9 ตําบลบานแซว)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 136 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลแมเงิน อ.เชียงแสน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00
เชื่อมระหวางตําบลแมเงิน และตําบลริมโขง (บาน
สันตนเปา หมูที่ 1 - บานหาดทรายทอง หมูที่ 8
ตําบลริมโขง)

กิจกรรมที่ 137 การกอสราง/ปรับปรุง/ซอมแซม 3 2 เทศบาลตําบลบานแซว อ.เชียงแสน 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 20,000,000.00
ถนนสาย ชร.3174 สายทางบานแมแอบ หมูที่ 11 ถึง
บานหวยเดื่อ หมูที่ 4

กิจกรรมที่ 138 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลบานแซว อ.เชียงแสน 9,750,000.00 9,750,000.00 9,750,000.00 9,750,000.00 9,750,000.00 48,750,000.00
ระหวางหมูบาน เสนทางบานทุง หมูที่ 2 ถึง บาน
ทาขันทอง หมูที่ 3
กิจกรรมที่ 139 โครงการกอสรางขยายไหลทาง 3 2 เทศบาลตําบลบานแซว อ.เชียงแสน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
ระหวางหมูบาน เสนทางบานปาตึง หมูที่ 5 ถึง บาน
หวยกวาน หมูที่ 9

กิจกรรมที่ 140 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลบานแซว อ.เชียงแสน 1,540,000.00 1,540,000.00 1,540,000.00 1,540,000.00 1,540,000.00 7,700,000.00
เชื่อมระหวางตําบล เสนทางบานสันทรายกองงาม
หมูที่ 10 ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัด
เชียงราย ถึง บานคีรีสุวรรณ หมูที่ 8 ตําบลหนองปา
กอ อําเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที 141 การปรับปรุงซอมแซมถนนแอสฟลท 3 2 เทศบาลตําบลโยนก อ.เชียงแสน 5,960,000.00 5,960,000.00 5,960,000.00 5,960,000.00 5,960,000.00 29,800,000.00
ติกคอนกรีต รหัสสายทาง ชร.ถ 116-03 จากสาย
บานดอยงาม หมูที่ 8 ถึงสาย บานทุงฟาฮาม หมูที่ 5
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 142 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลโยนก อ.เชียงแสน 1,780,000.00 1,780,000.00 1,780,000.00 1,780,000.00 1,780,000.00 8,900,000.00
สาย ขร.ถ 116-03 (บานโคงงาม หมูที่ 7)
กิจกรรมที่ 143 กอสรางถนนหินคลุกปรับเกลี่ยเรียบ 3 2 เทศบาลตําบลหวยสัก อ.เมือง 2,580,000.00 2,580,000.00 2,580,000.00 2,580,000.00 2,580,000.00 12,900,000.00
บานรองเบอ หมูที่ 9 เชื่อม บานดงปาเหมี้ยง หมูที่
10 ต.หวยสัก อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย
กิจกรรมที่ 144 กอสรางถนนหินคลุกปรับเกลี่ยเรียบ 3 2 เทศบาลตําบลหวยสัก อ.เมือง 2,600,000.00 2,600,000.00 2,600,000.00 2,600,000.00 2,600,000.00 13,000,000.00
บานรองเบอ หมูที่ 19 เชื่อมบานเนินสะดวก หมูที่
31 ต.หวยสัก อ.เมืองเชียงราย จ.เชียงราย
กิจกรรมที่ 145 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลยางฮอม อ.ขุนตาล 1,950,000.00 1,950,000.00 1,950,000.00 1,950,000.00 1,950,000.00 9,750,000.00
เขาพื้นที่การเกษตร หมูที่ 1
กิจกรรมที่ 146 งานเสริมผิวทางแอสฟลทติกคอนก 3 2 เทศบาลตําบลยางฮอม อ.ขุนตาล 1,125,000.00 1,125,000.00 1,125,000.00 1,125,000.00 1,125,000.00 5,625,000.00
รีต สายทางบานปาแดงใหม ม.21 – ปาสุสานบาน
ปาแดง
กิจกรรมที่ 147 งานเสริมผิวทางแอสฟลทติก 3 2 เทศบาลตําบลยางฮอม อ.ขุนตาล 1,260,000.00 1,260,000.00 1,260,000.00 1,260,000.00 1,260,000.00 6,300,000.00
คอนกรีต สายบานยางฮอม หมูที่ 8 -บานยางฮอมใหม

กิจกรรมที่ 148 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลยางฮอม อ.ขุนตาล 3,900,000.00 3,900,000.00 3,900,000.00 3,900,000.00 3,900,000.00 19,500,000.00
สายบานหวยสักเหนือ หมูที่ 15 - แมน้ําอิง
กิจกรรมที่ 149 กอสรางสะพานคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลยางฮอม อ.ขุนตาล 1,559,000.00 1,559,000.00 1,559,000.00 1,559,000.00 1,559,000.00 7,795,000.00
หวยหลวงใต
กิจกรรมที่ 150 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลยางฮอม อ.ขุนตาล 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 18,000,000.00
สายกลางบานน้ําแพร หมู 4 ตําบลยางฮอม อําเภอ
ขุนตาล จังหวัดเชียงรายเชื่อมบานแมต๋ํา หมู 9
ตําบลแมต๋ํา อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 151 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลยางฮอม อ.ขุนตาล 3,900,000.00 3,900,000.00 3,900,000.00 3,900,000.00 3,900,000.00 19,500,000.00
สายขึ้นอางเก็บน้ําบานแพร หมูที่ 14
กิจกรรมที่ 152 ซอมสรางผิวทางแอสฟสติกคอนกรีต 3 2 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 1,631,000.00 1,631,000.00 1,631,000.00 1,631,000.00 1,631,000.00 8,155,000.00
บานหวยโปง หมู 5
กิจกรรมที่ 153 กอสรางถนนแอสฟสติกคอนกรีต 3 2 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 16,947,000.00 16,947,000.00 16,947,000.00 16,947,000.00 16,947,000.00 84,735,000.00
บานตาน้ําอิง หมู 10 ตําบลตา อําเภอขุนตาล เชื่อม
บานหวยไครใหม หมู 6 ตําบลเวียง อําเภอเทิง

กิจกรรมที่ 154 กอสรางถนนแอสฟสติกคอนกรีต 3 2 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 7,400,000.00 7,400,000.00 7,400,000.00 7,400,000.00 7,400,000.00 37,000,000.00
บานตาหลวงใหม หมู 13 ตําบลตา อําเภอขุนตาล
เชื่อม บานหวยไครใหม หมู 6 ตําบลเวียง อําเภอเทิง

กิจกรรมที่ 155 กอสรางถนนแอสฟสติกคอนกรีต 3 2 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 5,579,000.00 5,579,000.00 5,579,000.00 5,579,000.00 5,579,000.00 27,895,000.00
บานพระเนตร หมู 11 ตําบลตา อําเภอขุนตาลเชื่อม
บานหวยไครใหม หมู 6 ตําบลเวียง อําเภอเทิง

กิจกรรมที่ 156 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 1,818,000.00 1,818,000.00 1,818,000.00 1,818,000.00 1,818,000.00 9,090,000.00
บานพระเนตร หมู 8 (สายรองเคาะ)
กิจกรรมที่ 157 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 566,000.00 566,000.00 566,000.00 566,000.00 566,000.00 2,830,000.00
บานพระเนตร หมู 11
กิจกรรมที่ 158 เสริมผิวทาง Asphaltic Concrete 3 2 เทศบาลตําบลบานตา อ.ขุนตาล 3,054,000.00 3,054,000.00 3,054,000.00 3,054,000.00 3,054,000.00 15,270,000.00
กิจกรรมที่ 156 เสริมผิวทาง Asphaltic Concrete 3 2 เทศบาลตําบลบานตา อ.ขุนตาล 921,600.00 921,600.00 921,600.00 921,600.00 3,686,400.00
ซอยเชื่อมหมูบาน ซอย 36,37 และซอย 88 หมู 1
ต.ตา
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 186 เสริมผิวทาง Asphaltic Concrete 3 2 เทศบาลตําบลบานตา อ.ขุนตาล 1,222,560.00 1,222,560.00 1,222,560.00 3,667,680.00
ซอยเชื่อมหมูบาน ซอย 17,99-104 หมู 15 ต.ตา

กิจกรรมที่ 187 เสริมผิวทาง Asphaltic Concrete 3 2 เทศบาลตําบลบานตา อ.ขุนตาล 1,124,640.00 1,124,640.00 2,249,280.00
ซอยเชื่อมหมูบาน ซอย 22-23 และซอย 96 หมู 6
ต.ตา
กิจกรรมที่ 188 เสริมผิวทาง Asphaltic Concrete 3 2 เทศบาลตําบลบานตา อ.ขุนตาล 1,681,920.00 1,681,920.00
ซอยเชื่อมหมูบาน ซอย 44,51 และซอย 85 หมู 12
ต.ตา
กิจกรรมที่ 189 พัฒนาเสนทางขนสงผลผลิตทางการ 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมเจดีย 8,800,000.00 8,800,000.00 8,800,000.00 8,800,000.00 8,800,000.00 44,000,000.00
เกษตรบานปาแงะ ม.5-บานทุงยาว ม.7 ตําบลแม อ.เวียงปาเปา
เจดีย อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 190 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลปางิ้ว อ.เวียงปาเปา 20,700,000.00 20,700,000.00 20,700,000.00 20,700,000.00 20,700,000.00 103,500,000.00
ม.7 บานแมหาง และ ม.8 บานหวยมะเกลี้ยง
ตําบลปางิ้ว อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย เชื่อม
ตําบลแมแวน อําเภอพราว จังหวัดเชียงใหม

กิจกรรมที่ 191 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลเวียงกาหลง อ.เวียงปา 6,187,000.00 6,187,000.00 6,187,000.00 6,187,000.00 6,187,000.00 30,935,000.00
เขาสูพื้นที่ทางการเกษตรบานปาจั่น ม.๗ ตําบลเวียง เปา
กาหลง ถึงบานฮางต่ํา ม.3 ตําบลปางิ้ว อําเภอเวียง
ปาเปา จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 192 ปรับปรุงผิวจราจรดวยแอสฟลทติ 3 2 เทศบาลตําบลเวียงปาเปา อ.เวียงปา 8,112,000.00 8,112,000.00 8,112,000.00 8,112,000.00 8,112,000.00 40,560,000.00
กคอนกรีต เปา
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 193 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลปางิ้ว อ.เวียงปาเปา 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00
ม. 2 ตําบลปางิ้ว อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
เชื่อม ตําบลวังแกว อําเภอวังเหนือ จังหวัดลําปาง

กิจกรรมที่ 194 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริม 3 2 องคการบริหารสวนตําบลบานโปง 1,694,000.00 1,694,000.00 1,694,000.00 1,694,000.00 1,694,000.00 8,470,000.00
เหล็กสายวัดเวียงมนคลพนาราม บานสัน ม.3 ตําบล อ.เวียงปาเปา
บานโปง เชื่อม บานปาเหมือด ม.5 ตําบลปางิ้ว
อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 195 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลทาขาม 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
บานทาขาม ม.1 ตําบลทาขาม - บานทุงคํา ม.5
ตําบลหลายงาว อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
(เสนบอขยะ)

กิจกรรมที่ 196 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลทาขาม 52,100.00 52,100.00 52,100.00 52,100.00 52,100.00 260,500.00
บานทุงคํา หมูที่ 2 ตําบลหลายงาว – บานทาขาม
หมูที่ 1 ตําบลทาขาม อําเภอเวียงแกน จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 197 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลทาขาม 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
บานขวากเหนือ ม.5 ต.ทาขาม – บาน หลายงาว ม.1
ต.หลายงาว อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 198 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 8,100,000.00 8,100,000.00 8,100,000.00 8,100,000.00 8,100,000.00 40,500,000.00
เชื่อมตําบลแมกรณกับตําบลโปงแพร
กิจกรรมที่ 199 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 8,100,000.00 8,100,000.00 8,100,000.00 8,100,000.00 8,100,000.00 40,500,000.00
เชื่อมตําบลแมกรณกับตําบลปาออดอนชัย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 200 กอสรางถนนลาดยางเชื่อมตําบล แม 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 2,080,000.00 2,080,000.00 2,080,000.00 2,080,000.00 2,080,000.00 10,400,000.00
กรณกับตําบลบัวสลี
กิจกรรมที่ 201 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
เชื่อมระหวางตําบลแมกรณ ถึงตําบลปาออดอนชัย
กิจกรรมที่ 202 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็กทาง 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 5,241,600.00 5,241,600.00 5,241,600.00 5,241,600.00 5,241,600.00 26,208,000.00
ไปถ้ําพระมิ่งโมลี บานเมืองรวง ม.5
กิจกรรมที่ 203 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 2,844,800.00 2,844,800.00 2,844,800.00 2,844,800.00 2,844,800.00 14,224,000.00
ทางไปสํานักสงฆปาสักทอง บานปาสักทอง หมูที่ 13

กิจกรรมที่ 204 ปรับปรุงผิวการจราจร Overlay 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 8,095,000.00 8,095,000.00 8,095,000.00 8,095,000.00 8,095,000.00 40,475,000.00
(ASPHALT ONCRETEWEARING COURSE) เชื่อม
ระหวางบาน เมืองรวง หมูที่ 5 ไปบานแมสาด หมูที่
4 ถึงบานฝงหมิ่น หมูที่ 7

กิจกรรมที่ 206 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 3,292,800.00 3,292,800.00 3,292,800.00 3,292,800.00 3,292,800.00 16,464,000.00
บานเมืองรวง หมูที่ 5 จุดที่ 1
กิจกรรมที่ 207 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 3,136,000.00 3,136,000.00 3,136,000.00 3,136,000.00 3,136,000.00 15,680,000.00
บานเมืองรวง หมูที่ 5 จุดที่ 2
กิจกรรมที่ 208 กอสรางถนนลาดยางเชื่อมบานแม 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 2,496,000.00 2,496,000.00 2,496,000.00 2,496,000.00 2,496,000.00 12,480,000.00
กรณ หมูที่ 1 ถึงบานเวียงหวาย หมูที่ 2 ต.แมกรณ
กิจกรรมที่ 209 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 16,800,000.00 16,800,000.00 16,800,000.00 16,800,000.00 16,800,000.00 84,000,000.00
เชื่อมระหวางบานแมสาด หมูที่ 4 ถึงบานหนองเขียว
หมูที่ 12
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 210 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 9,632,000.00 9,632,000.00 9,632,000.00 9,632,000.00 9,632,000.00 48,160,000.00
ทางเขาบานปางกอง,ปางกลาง หมูบานบริวาร บาน
แมสาด หมูที่ 4
กิจกรรมที่ 211 การปรับปรุงเสริมผิวแอสฟลต 3 2 เทศบาลตําบลเวียงเหนือ อ.เวียงชัย 2,150,000.00 2,150,000.00 2,150,000.00 2,150,000.00 2,150,000.00 10,750,000.00
คอนกรีต ถนนสายในหมูบาน บานเวียงเดิม หมูที่ 2
– บานไตรแกว หมูที่ 8 ตําบลเวียงเหนือ อําเภอ
เวียงชัย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 212 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลเวียงเหนือ อ.เวียงชัย 2,433,000.00 2,433,000.00 2,433,000.00 2,433,000.00 2,433,000.00 12,165,000.00
ถนนสายเลียบคลองสงน้ําสายใหญฝงซาย (RMC)
โครงการฝายเชียงราย บานพนาลัย หมูที่ 11ตําบล
เวียงเหนือ

กิจกรรมที่ 213 ซอมสรางถนนสายหลักตําบลดอย 3 2 เทศบาลตําบลดอยฮาง อ.เมือง 2,912,000.00 2,912,000.00 2,912,000.00 2,912,000.00 2,912,000.00 14,560,000.00
ฮาง อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 214 การกอสรางถนนคอนกรีตเสริม 3 2 เทศบาลตําบลแมจัน อ.แมจัน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
เหล็กพรอมระบบระบายน้ําถนนอินทรพาณิชย ,
ถนนอินทรพาณิชย ซอย 1, ถนนอินทรพาณิชย ซอย
2

กิจกรรมที่ 215 กอสรางถนนลาดยางแอสฟลทติ 3 3 อบต.ศรีค้ํา/อ.แมจัน 2,950,000.00 2,950,000.00 2,950,000.00 2,950,000.00 2,950,000.00 14,750,000.00
กคอนกรีต บานปายาง หมูที่ 2 ตําบลศรีค้ํา อําเภอ
แมจัน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 216 กอสรางถนนสายวัฒนธรรม หมูที่ 1 3 3 อบต.จอมสวรรค/อ.แมจัน 7,964,000.00 7,964,000.00 7,964,000.00 7,964,000.00 7,964,000.00 39,820,000.00
ต.จอมสวรรค
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 217 กอสรางถนนลาดยางผิวจราจร 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 21,351,000.00 21,351,000.00 21,351,000.00 21,351,000.00 21,351,000.00 106,755,000.00
ASPHALTCONCRETEรอบแหลงทองเที่ยวหนอง
หลวง บานแมลัว หมูที่ 1ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 218 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
สายทางบานสันโคง หมูที่ 10 ตําบลปาตึง - บานเลา
สิบ หมูที่ 3 ตําบลแมสลองนอก
กิจกรรมที่ 219 กอสรางถนนลาดยางแอสฟลทติ 3 3 อบต.ศรีค้ํา/อ.แมจัน 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
กคอนกรีตสายทางบานปายาง เชื่อม บานโพธนาราม
ต.สันทราย อ.แมจัน หมูที่ 2 ปายาง ต.ศรีค้ํา อ.แม
จัน

กิจกรรมที่ 220 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 อบต.ศรีค้ํา/อ.แมจัน 2,180,800.00 2,180,800.00 2,180,800.00 2,180,800.00 2,180,800.00 10,904,000.00
หมูที่ 7 บานเวียงสา ต.ศรีค้ํา เชื่อม หมูที่ 14 ต.แมคํา
อ.แมจัน
กิจกรรมที่ 221 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 อบต.ศรีค้ํา/อ.แมจัน 2,157,600.00 2,157,600.00 2,157,600.00 2,157,600.00 2,157,600.00 10,788,000.00
หมูที่ 8 บานแมสลองนอก ต.ศรีค้ํา เชื่อม ต.ปาซาง
อ.แมจัน
กิจกรรมที่ 222 ขยายไหลทางพรอมติดตั้งไฟฟาสอง 3 3 อบต.จอมสวรรค/อ.แมจัน 4,649,000.00 4,649,000.00 4,649,000.00 4,649,000.00 4,649,000.00 23,245,000.00
สวางระบบโซลาเซลล หมูที่ 6 ต.จอมสวรรค
กิจกรรมที่ 223 กอสรางถนน คสล. ถนนทางหลวง 3 3 อบต.จอมสวรรค/อ.แมจัน 6,225,000.00 6,225,000.00 6,225,000.00 6,225,000.00 6,225,000.00 31,125,000.00
ทองถิ่น ชร-ถ-60-002 สายบานขี้เหล็ก-บานสันโคง
งาม ต.จอมสวรรค
กิจกรรมที่ 224 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 835,000.00 835,000.00 835,000.00 835,000.00 835,000.00 4,175,000.00
บานแมแพงหมูที่ 5ตําบลทาขาวเปลือก
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 225 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 6,550,000.00 6,550,000.00 6,550,000.00 6,550,000.00 6,550,000.00 32,750,000.00
บานผานศึกหมูที่ 10 เชื่อมบานทาขาวเปลือก หมูที่
2ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 226 ปรับปรุงถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,704,000.00 1,704,000.00 1,704,000.00 1,704,000.00 1,704,000.00 8,520,000.00
บานผาแตกหมูที่ 12ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 227 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,330,000.00 1,330,000.00 1,330,000.00 1,330,000.00 1,330,000.00 6,650,000.00
บานทับกุมารทองหมูที่ 8 ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 228 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 6,613,000.00 6,613,000.00 6,613,000.00 6,613,000.00 6,613,000.00 33,065,000.00
บานแมลากหมูที่ 6 ตําบลทาขาวเปลือกเชื่อมกับ
ตําบลจันจวาใต
กิจกรรมที่ 229 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 6,810,000.00 6,810,000.00 6,810,000.00 6,810,000.00 6,810,000.00 34,050,000.00
บานผาแตกหมูที่ 12 ตําบลทาขาวเปลือกเชื่อมกับ
บานธรรมจาริกหมูที่ 13 ตําบลแมจัน
กิจกรรมที่ 230 ปรับปรุงถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,692,000.00 1,692,000.00 1,692,000.00 1,692,000.00 1,692,000.00 8,460,000.00
บานผาแตกหมูที่ 12 ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 231 ปรับปรุงถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,910,000.00 1,910,000.00 1,910,000.00 1,910,000.00 1,910,000.00 9,550,000.00
บานศรียางชุมหมูที่ 13 ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 232 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 6,914,400.00 6,914,400.00 6,914,400.00 6,914,400.00 6,914,400.00 34,572,000.00
สายทางหวยไมฮางบานแมแพง หมูที่ 5ตําบลทา
ขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 233 ปรับปรุงผิวจราจรเดิมโดยการ 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 2,204,000.00 2,204,000.00 2,204,000.00 2,204,000.00 2,204,000.00 11,020,000.00
กอสรางรางระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก พรอม ฝา
ปดเพื่อขยายผิวจราจรและระบายน้ํา ชวงที่ 1บาน
แมลัว หมูที่ 1
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 234 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,244,000.00 1,244,000.00 1,244,000.00 1,244,000.00 1,244,000.00 6,220,000.00
บานทาขาวเปลือก หมูที่ 2ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 235 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,333,000.00 1,333,000.00 1,333,000.00 1,333,000.00 1,333,000.00 6,665,000.00
บานแมหะหมูที่ 3 ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 236 ปรับปรุงผิวจราจรเดิมโดยการ 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 884,000.00 884,000.00 884,000.00 884,000.00 884,000.00 4,420,000.00
กอสรางรางระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก พรอม ฝา
ปดเพื่อขยายผิวจราจรและระบายน้ํา บานแมหะ หมู
ที่ 3

กิจกรรมที่ 237 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,699,000.00 1,699,000.00 1,699,000.00 1,699,000.00 1,699,000.00 8,495,000.00
บานแมแพงหมูที่ 4 ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 238 ปรับปรุงผิวจราจรเดิมโดยการ 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 3,196,000.00 3,196,000.00 3,196,000.00 3,196,000.00 3,196,000.00 15,980,000.00
กอสรางรางระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก พรอม ฝา
ปดเพื่อขยายผิวจราจรและระบายน้ํา บานแมลาก
หมูที่ 6

กิจกรรมที่ 239 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 940,000.00 940,000.00 940,000.00 940,000.00 940,000.00 4,700,000.00
บานทับกุมารทอง หมูที่ 8ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 240 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 2,342,000.00 2,342,000.00 2,342,000.00 2,342,000.00 2,342,000.00 11,710,000.00
บานทับกุมารทอง หมูที่ 8ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 241 ปรับปรุงผิวจราจรเดิมโดยการ 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 731,000.00 731,000.00 731,000.00 731,000.00 731,000.00 3,655,000.00
กอสรางรางระบายน้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก พรอม ฝา
ปดเพื่อขยายผิวจราจรและระบายน้ํา บานทับกุมาร
ทอง หมูที่ 8
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 242 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 6,181,000.00 6,181,000.00 6,181,000.00 6,181,000.00 6,181,000.00 30,905,000.00
บานผานศึกหมูที่ 10 เชื่อมบานทาขาวเปลือก หมูที่
2ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 243 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 966,000.00 966,000.00 966,000.00 966,000.00 966,000.00 4,830,000.00
บานผาเรือ หมูที่ 11ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 244 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 4,925,000.00
บานผาเรือ หมูที่ 11ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 245 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,552,000.00 1,552,000.00 1,552,000.00 1,552,000.00 1,552,000.00 7,760,000.00
บานผาเรือ หมูที่ 11ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 246 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 3,347,000.00 3,347,000.00 3,347,000.00 3,347,000.00 3,347,000.00 16,735,000.00
บานผาแตก หมูที่ 12ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 247 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 3,112,000.00 3,112,000.00 3,112,000.00 3,112,000.00 3,112,000.00 15,560,000.00
บานผาแตกหมูที่ 12 เชื่อมบานศรียางชุม หมูที่ 13
ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 248 ซอมสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,840,000.00 5,840,000.00 5,840,000.00 5,840,000.00 5,840,000.00 29,200,000.00
บานศรียางชุม หมูที่ 13ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 249 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,493,000.00 1,493,000.00 1,493,000.00 1,493,000.00 1,493,000.00 7,465,000.00
บานแมลัวหมูที่ 1 ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 250 ปรับปรุงถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 918,000.00 918,000.00 918,000.00 918,000.00 918,000.00 4,590,000.00
บานแมหะ หมูที่ 3ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 251 ปรับปรุงถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 2,418,000.00 2,418,000.00 2,418,000.00 2,418,000.00 2,418,000.00 12,090,000.00
บานทับกุมารทอง หมูที่ 8ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 252 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,317,000.00 1,317,000.00 1,317,000.00 1,317,000.00 1,317,000.00 6,585,000.00
บานทับกุมารทอง หมูที่ 8ตําบลทาขาวเปลือก
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 253 ปรับปรุงถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 6,413,000.00 6,413,000.00 6,413,000.00 6,413,000.00 6,413,000.00 32,065,000.00
บานผานศึก หมูที่ 10ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 254 ปรับปรุงถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,672,000.00 1,672,000.00 1,672,000.00 1,672,000.00 1,672,000.00 8,360,000.00
บานผาแตก หมูที่ 12ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 255 ปรับปรุงถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,895,000.00 1,895,000.00 1,895,000.00 1,895,000.00 1,895,000.00 9,475,000.00
บานศรียางชุม หมูที่ 13ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 256 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 6,611,000.00 6,611,000.00 6,611,000.00 6,611,000.00 6,611,000.00 33,055,000.00
พรอมกอสรางทอลอดเหลี่ยมคอนกรีตเสริมเหล็ก
บานแมลากหมูที่ 6 ตําบลทาขาวเปลือกเชื่อมตําบล
จันจวา

กิจกรรมที่ 257 ปองกันและแกไขปญหายาเสพติด 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 1,314,000.00 1,314,000.00 1,314,000.00 1,314,000.00 1,314,000.00 6,570,000.00
คากอสรางลานกีฬาหมูที่ 7 บานทาขาวเปลือกตําบล
ทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 258 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 6,719,000.00 6,719,000.00 6,719,000.00 6,719,000.00 6,719,000.00 33,595,000.00
บานผาแตกหมูที่ 12 ตําบลทาขาวเปลือก เชื่อมกับ
บานธรรมจาริก หมูที่ 13ตําบลแมจัน อําเภอแมจัน
กิจกรรมที่ 259 กอสรางถนนคอนกรีตแอสฟลทติก 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 2,700,000.00 2,700,000.00 2,700,000.00 2,700,000.00 2,700,000.00 13,500,000.00
(Asphaltic Concrete) เชื่อมระหวางบานปาตึง หมู
ที่ 7 และหมูที่ 8 ตําบลปาตึง
กิจกรรมที่ 260 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 2,830,000.00 2,830,000.00 2,830,000.00 2,830,000.00 2,830,000.00 14,150,000.00
สายหวยปู - บานปางผักฮี้ หมูที่ 12 ตําบลปาตึง
กิจกรรมที่ 261 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 1,400,000.00 1,400,000.00 1,400,000.00 1,400,000.00 1,400,000.00 7,000,000.00
สายทางบานจะกอนะ หมูที่ 19 ตําบลปาตึง - บาน
หวยหยวกปาโซ หมูที่ 9 ตําบลแมสลองใน
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 262 ปรับปรุงผิวจราจรแอสฟลทติก 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 4,380,000.00 4,380,000.00 4,380,000.00 4,380,000.00 4,380,000.00 21,900,000.00
คอนกรีตสามแยกบานทาตนแฟน ม.3 ต.ปาตึง - ทาง
เชื่อมบานแมคี ม.9 ต.ปาซาง
กิจกรรมที่ 263 กอสรางถนน คสล. บานสันโคง หมูที่ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 3,641,000.00 3,641,000.00 3,641,000.00 3,641,000.00 3,641,000.00 18,205,000.00
10 - บานปาเมี้ยง หมูที่ 9 รหัสทางหลวงทองถิ่น
1089
กิจกรรมที่ 264 ซอมสรางถนนลาดยางแอสติก 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00
คอนกรีตบานผาตั้ง หมูที่ 6 ต.ปาตึง ถึงบานแมคี หมู
ที่ 9 ต.ปาซาง
กิจกรรมที่ 265 กอสรางถนนสายน้ําตกตาดทอง 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 4,106,900.00 4,106,900.00 4,106,900.00 4,106,900.00 4,106,900.00 20,534,500.00
บานปาตึง หมูที่ 7 รหัสทางหลวงทองถิ่น 1089
กิจกรรมที่ 266 กอสรางถนน คสล. บานแมเฟอง 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 4,425,000.00 4,425,000.00 4,425,000.00 4,425,000.00 4,425,000.00 22,125,000.00
หมูที่ 5 ถึง บานปาตึง หมูที่ 8 ตําบลปาตึง
กิจกรรมที่ 267 ซอมสรางถนนลาดยางแอสติก 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 47,500,000.00
คอนกรีตสายทางหมูที่ 1 - หมูที่ 4 รหัสทางหลวง
ทองถิ่น 107
กิจกรรมที่ 268 ซอมสรางถนนลาดยางแอสฟลติ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 7,454,000.00 7,454,000.00 7,454,000.00 7,454,000.00 7,454,000.00 37,270,000.00
กคอนกรีตสายทาง บานปาบง ม.2 - บานสันโคง ม.
10 รหัสทางหลวงทองถิ่น 1089
กิจกรรมที่ 269 กอสรางถนน คสล. บานหวยกางปลา 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 1,248,400.00 1,248,400.00 1,248,400.00 1,248,400.00 1,248,400.00 6,242,000.00
(หวยปู) หมูที่ 15 รหัสทางหลวงทองถิ่น 1089

กิจกรรมที่ 270 กอสรางถนน คสล. บานแสนใหม 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 3,010,600.00 3,010,600.00 3,010,600.00 3,010,600.00 3,010,600.00 15,053,000.00
หมูที่ 19 จุดที่ 1 รหัสทางหลวงทองถิ่น 1089
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 271 กอสรางถนน คสล. บานแสนใหม 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 555,300.00 555,300.00 555,300.00 555,300.00 555,300.00 2,776,500.00
หมูที่ 19 จุดที่ 2 รหัสทางหลวงทองถิ่น 1089
กิจกรรมที่ 272 กอสรางถนน คสล. บานแสนใหม 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 277,300.00 277,300.00 277,300.00 277,300.00 277,300.00 1,386,500.00
หมูที่ 19 จุดที่ 3 รหัสทางหลวงทองถิ่น 1089
กิจกรรมที่ 273 กอสรางถนน คสล. บานแสนใหม 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 2,663,200.00 2,663,200.00 2,663,200.00 2,663,200.00 2,663,200.00 13,316,000.00
หมูที่ 19 จุดที่ 4 รหัสทางหลวงทองถิ่น 1090
กิจกรรมที่ 274 กอสรางถนน คสล. บานสันโคง หมูที่ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 5,800,000.00 5,800,000.00 5,800,000.00 5,800,000.00 5,800,000.00 29,000,000.00
10 ต.ปาตึง ถึง บานรองคี หมูที่ 1 ต.ปาซาง
กิจกรรมที่ 275 โคมถนนพลังงานแสงอาทิตยแบบ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 49,000,000.00
ประกอบในชุดเดียวกัน (ALL In One Solar Street
Ligth) ในเขตพื้นที่ อบต.ปาตึง
กิจกรรมที่ 276 โคมถนนพลังงานแสงอาทิตยแบบ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 5,950,000.00 5,950,000.00 5,950,000.00 5,950,000.00 5,950,000.00 29,750,000.00
ประกอบในชุดเดียวกัน บานน้ําตกตาดทอง หมูที่ 7
ต.ปาตึง
กิจกรรมที่ 277 โคมถนนพลังงานแสงอาทิตยแบบ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 2,170,000.00 2,170,000.00 2,170,000.00 2,170,000.00 2,170,000.00 10,850,000.00
ประกอบในชุดเดียวกัน บานปาตึง หมูที่ 8 ต.ปาตึง
กิจกรรมที่ 278 โคมถนนพลังงานแสงอาทิตยแบบ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 49,000,000.00
ประกอบในชุดเดียวกัน บานสันโคง หมูที่ 10 ถึง
บานทาตนแฟน หมูที่ 3 ต.ปาตึง
กิจกรรมที่ 279 โคมถนนพลังงานแสงอาทิตยแบบ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 3,640,000.00 3,640,000.00 3,640,000.00 3,640,000.00 3,640,000.00 18,200,000.00
ประกอบในชุดเดียวกัน บานหวยปู หมูที่ 15 ต.ปาตึง
กิจกรรมที่ 280 โคมถนนพลังงานแสงอาทิตยแบบ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 49,000,000.00
ประกอบในชุดเดียวกัน บานหวยกางปลา หมูที่ 15
ต.ปาตึง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 281 โคมถนนพลังงานแสงอาทิตยแบบ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 2,100,000.00 2,100,000.00 2,100,000.00 2,100,000.00 2,100,000.00 10,500,000.00
ประกอบในชุดเดียวกัน อบต.ปาตึง
กิจกรรมที่ 282 โคมถนนพลังงานแสงอาทิตยแบบ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 17,500,000.00
ประกอบในชุดเดียวกัน สถานที่ทองเที่ยวน้ําพุรอน
ปาตึง ต.ปาตึง
กิจกรรมที่ 283 ซอมสรางถนนลาดยางแอสฟนติ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 7,410,000.00 7,410,000.00 7,410,000.00 7,410,000.00 7,410,000.00 37,050,000.00
กคอนกรีต สายทางบานปาบง หมูที่ 2 ถึง บานสัน
โคง หมูที่ 10 ต.ปาตึง
กิจกรรมที่ 284 ซอมสรางถนนลาดยางแอสฟนติ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 5,300,000.00 5,300,000.00 5,300,000.00 5,300,000.00 5,300,000.00 26,500,000.00
กคอนกรีต สายทางบานทาตนแฟน หมูที่ 3 ต.ปาตึง
กิจกรรมที่ 285 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 3,575,000.00 3,575,000.00 3,575,000.00 3,575,000.00 3,575,000.00 17,875,000.00
บานน้ําตกตาดทอง หมูที่ 7 ต.ปาตึง
กิจกรรมที่ 286 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 49,500,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recycling สายทาง ชร.ถ
1-0087เชื่อมระหวาง หมูที่ 7 ตําบลปาแงะ อําเภอ
ปาแดด–หมูที่ 5 ตําบลดอยลานอําเภอเมืองเชียงราย
จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 287 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,750,000.00 9,750,000.00 9,750,000.00 9,750,000.00 9,750,000.00 48,750,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recycling (Asphaltic
Concrete)โดยวิธี Pavement In-Place Recycling
สายทาง ชร.ถ 1-0078 เชื่อมระหวาง หมูที่ 2 ตําบล
ไมยา อ.พญาเม็งราย – หมูที่ 11 ตําบลงิ้ว
อําเภอเทิงจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 288 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,940,000.00 9,940,000.00 9,940,000.00 9,940,000.00 9,940,000.00 49,700,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recyclingสายทาง ชร.ถ
1-0020 เชื่อมระหวาง หมูที่ 8 ตําบลหงาว – หมูที่ 4
ตําบลเวียง อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 289 การกอสรางถนนลาดยาง 3 2 อบจ.เชียงราย 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 49,500,000.00
ผิวจราจร แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic
Concrete) สายทาง ชร.ถ 1-0094 เชื่อมระหวาง
หมูที่ 7 ตําบลศรีดอนชัย – หมูที่ 10 ตําบลสถาน
อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 290 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,870,000.00 9,870,000.00 9,870,000.00 9,870,000.00 9,870,000.00 49,350,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recycling สายทาง ชร.ถ
1-0019 เชื่อมระหวาง หมูที่ 8 ตําบลเวียง – หมูที่ 2
ตําบลสันทรายงาม อําเภอเทิงจังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 291 การปรับปรุงถนนลาดยาง 3 2 อบจ.เชียงราย 9,980,000.00 9,980,000.00 9,980,000.00 9,980,000.00 9,980,000.00 49,900,000.00
ผิวจราจรแอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic
Concrete) โดยวิธี Pavement In-Place Recycling
สายทาง ชร.ถ 1-0045 เชื่อม
ระหวาง หมูที่ 4 ตําบลริมกก – หมูที่ 5 ตําบล
แมขาวตม อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 292 การกอสรางถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,810,000.00 9,810,000.00 9,810,000.00 9,810,000.00 9,810,000.00 49,050,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
สายทาง ชร.ถ 1-0021 เชื่อมระหวาง หมูที่ 9ตําบล
ศรีดอนไชย – หมูที่ 9 ตําบลแมลาว
อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 293 การกอสรางถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,960,000.00 9,960,000.00 9,960,000.00 9,960,000.00 9,960,000.00 49,800,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)สาย
ทาง ชร.ถ 1-0007หมูที่ 3 ตําบลสันกลาง – หมูที่ 13
ตําบลทรายขาว อําเภอพาน
เชื่อมระหวาง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 294 การกอสรางถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,960,000.00 9,960,000.00 9,960,000.00 9,960,000.00 9,960,000.00 49,800,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
สายทาง ชร.ถ 1-0095 เชื่อมระหวาง หมูที่ 8
ตําบลสถาน – หมูที่ 9 ตําบลทรายเวียง อําเภอเชียง
ของ จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 295 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,830,000.00 9,830,000.00 9,830,000.00 9,830,000.00 9,830,000.00 49,150,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recyclingสายทาง ชร.ถ
1-0036 เชื่อมระหวาง หมูที่ 3 ตําบลศรีค้ํา –หมูที่ 4
ตําบลปาซาง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 296 การกอสรางถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,944,000.00 9,944,000.00 9,944,000.00 9,944,000.00 9,944,000.00 49,720,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
สายทาง ชร.ถ 1-0040 เชื่อมระหวาง หมูที่ 11
ตําบลยางฮอม – หมูที่ 3 ตําบลแมต๋ํา อําเภอ
ขุนตาล จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 297 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,840,000.00 9,840,000.00 9,840,000.00 9,840,000.00 9,840,000.00 49,200,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
โดยวิธี Pavement In-Place Recycling
สายทาง ชร.ถ 1-0043 เชื่อมระหวาง หมูที่ 4
ตําบลรอบเวียง – หมูที่ 1 ตําบลดอยฮาง
อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 298 การกอสรางถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 49,500,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)สาย
ทาง ชร.ถ 1-0055 เชื่อมระหวาง หมูที่ 13 ตําบล
หวยสัก อําเภอเมือง – หมูที่ 11 ตําบลแมออ อําเภอ
พาน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 299 การกอสรางถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,984,000.00 9,984,000.00 9,984,000.00 9,984,000.00 9,984,000.00 49,920,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
สายทาง ชร.ถ 1-0080 เชื่อมระหวาง หมูที่ 18
ตําบลแมเปา – หมูที่ 3 ตําบลเม็งราย อําเภอพญา
เม็งราย จังหวัด

กิจกรรมที่ 300 การกอสรางถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 39,200,000.00


แอสฟลท ติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)สาย
ทาง ชร.ถ 1-0054 เชื่อมระหวาง หมูที่ 11
ตําบล นางแล – หมูที่ 2 ตําบลแมขาวตม อําเภอ
เมือง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 301 การกอสรางถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 39,600,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
สายทาง ชร.ถ 1-0096 เชื่อมระหวาง หมูที่ 8
ตําบลบุญเรือง – หมูที่ 16 ตําบลหวยซอ
อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 302 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 39,600,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
โดยวิธี Pavement In-Place Recycling
สายทาง ชร.ถ 1-0005 เชื่อมระหวาง หมูที่ 8 ตําบล
สันมะเค็ด – หมูที่ 1 ตําบลเวียงหาว อําเภอพาน
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 303 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 9,900,000.00 39,600,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
โดยวิธี Pavement In-Place Recycling
สายทาง ชร.ถ 1-0035 เชื่อมระหวาง
หมูที่ 2 ตําบลสันทราย – หมูที่ 4
ตําบลจอมสวรรค อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 304 การกอสรางถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,944,000.00 9,944,000.00 9,944,000.00 9,944,000.00 39,776,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
สายทาง ชร.ถ 1-0041 เชื่อมระหวาง หมูที่ 10
ตําบลตา อําเภอขุนตาล – หมูที่ 21 ตําบลเวียง
อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 305 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,973,000.00 9,973,000.00 9,973,000.00 29,919,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
โดยวิธี Pavement In-Place Recycling
สายทาง ชร.ถ 1-0002 เชื่อมระหวาง หมูที่ 1
ตําบลสันมะเค็ด – หมูที่ 4 ตําบลแมออ อําเภอ
พาน จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 306 การกอสรางถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,956,000.00 9,956,000.00 9,956,000.00 29,868,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
สายทาง ชร.ถ 1-0023 เชื่อมระหวางหมูที่ 14
ตําบลหงาว – หมูที่ 22 ตําบลตับเตา
อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 307 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,840,000.00 9,840,000.00 9,840,000.00 29,520,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recycling สายทาง ชร.ถ
1-0059 เชื่อมระหวาง หมูที่ 6 ตําบลแมสรวย อําเภอ
แมสรวย – หมูที่ 10 ตําบลจอมหมอกแกว
อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 308 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,840,000.00 9,840,000.00 9,840,000.00 29,520,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recyclingสายทาง ชร.ถ
1-0067 เชื่อมระหวาง หมูที่ 1 ตําบลปากอดํา –หมูที่
7 ตําบลจอมหมอกแกว อําเภอแมลาว จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 309 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,900,000.00 9,900,000.00 19,800,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
โดยวิธี Pavement In-Place Recycling
สายทาง ชร.ถ 1-0028 เชื่อมระหวาง
หมูที่ 5 ตําบลโปงผา –หมูที่ 3 ตําบลศรีเมืองชุม
อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 310 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,900,000.00 9,900,000.00 19,800,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recyclingสายทาง ชร.ถ
1-0029 เชื่อมระหวาง หมูที่ 1 ตําบลศรีเมืองชุม –
หมูที่ 2 ตําบลโปงผา อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 311 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,920,000.00 9,920,000.00 19,840,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
โดยวิธี Pavement In-Place Recycling
สายทาง ชร.ถ 1-0030 เชื่อมระหวาง
หมูที่ 11 ตําบลดอนศิลา – หมูที่ 5
ตําบลผางาม อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 312 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,950,000.00 9,950,000.00 19,900,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recycling สายทาง ชร.ถ
1-0057 เชื่อมระหวาง หมูที่ 7 ตําบลเจดียหลวง –
หมูที่ 14 ตําบลปาแดด อําเภอแมสรวย จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 313 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,974,000.00 9,974,000.00 19,948,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)
โดยวิธี Pavement In-Place Recycling
สายทาง ชร.ถ 1-0064 เชื่อมระหวาง หมูที่ 1
ตําบลหลายงาว–หมูที่ 4 ตําบลมวงยาย อําเภอเวียง
แกน จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 314 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,840,000.00 9,840,000.00 19,680,000.00
แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recyclingสายทาง ชร.ถ
1-0066 เชื่อมระหวาง หมูที่ 1 ตําบลบัวสลี อําเภอ
แมลาว –หมูที่ 7 ตําบลแมกรณ อําเภอเมืองเชียงราย
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 315 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,840,000.00 9,840,000.00 19,680,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recyclingสายทาง ชร.ถ
1-0072 เชื่อมระหวาง หมูที่ 12 ตําบลปากอดํา
อําเภอแมลาว – หมูที่ 14 ตําบลปาออดอนชัย
อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 316 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,970,000.00 9,970,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recyclingสายทาง ชร.ถ
1-0032 เชื่อมระหวาง หมูที่ 7 ตําบลเวียงเหนือ–หมู
ที่ 4 ตําบลเวียงชัย อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 317 การปรับปรุงถนนลาดยางผิวจราจร 3 2 อบจ.เชียงราย 9,980,000.00 9,980,000.00


แอสฟลทติกคอนกรีต (Asphaltic Concrete)โดยวิธี
Pavement In-Place Recyclingสายทาง ชร.ถ
1-0062 เชื่อมระหวาง หมูที่ 5 – หมูที่ 6 ตําบลปา
แดดอําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 318 การกอสรางถนนลาดยาง ชนิดแอส 3 2 เทศบาลตําบลทาสาย อ.เมือง 13,660,000.00 13,660,000.00 13,660,000.00 13,660,000.00 13,660,000.00 68,300,000.00
ฟตทติกคอนกรีต เชื่อมระหวาง หมูที่ 7 บานปาหัด
ต.ทาสาย ผานหมูที่ 8 บนหวยบง ต.ทานสาย ถึงหมู
18 บานปาตึงงาม ต.ปาออดอนชัย

กิจกรรมที่ 319 ซอมสรางผิวทางแอสฟลตคอนกรีต 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมเปา 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 20,000,000.00
โยวิธี PAVEMENT IN PLACE RECYCLING สายทาง
ชร.ถ107-12บานทุงเจาเหนือ หมู 13 ตําบลแมเปา

กิจกรรมที่ 320 ปรับปรุงถนนลาดยางสายใน บานสบ 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมเปา 1,300,000.00 1,300,000.00 1,300,000.00 1,300,000.00 1,300,000.00 6,500,000.00
เปา หมู 20 ตําบแมเปา
กิจกรรมที่ 321 ปรับปรุงถนนสายบานมวง หมูที่ 3 3 2 เทศบาลตําบลมวงยาย 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
ตําบลมวงยาย เชื่อมสายบานหลายงาว หมูที่ 1
ตําบลหลายงาว อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 322 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลมวงยาย 7,613,000.00 7,613,000.00 7,613,000.00 7,613,000.00 7,613,000.00 38,065,000.00
สาย ชร.ถ 24-006 บานมวง – บานยายใต – บาน
ยายเหนือ (ชวงที่ 1) ตําบลมวงยาย อําเภอเวียงแกน
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 323 กอสรางถนนคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 2 เทศบาลตําบลมวงยาย 9,183,000.00 9,183,000.00 9,183,000.00 9,183,000.00 9,183,000.00 45,915,000.00
สาย ชร.ถ 24-006 บานมวง – บานยายใต – บาน
ยายเหนือ (ชวงที่ 2) ตําบลมวงยาย อําเภอเวียงแกน
จังหวัดเชียงราย

2.โครงการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตเชิง 3 1,291,753,300.00 1,302,253,301.00 1,302,253,302.00 1,302,253,303.00 1,302,253,304.00 6,500,766,510.00


สรางสรรค (ดานทรัพยากรแหลงน้ํา)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 1 การกอสรางระบบผลิตน้ําประปา 3 3 เทศบาลตําบลเม็งราย 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
หมูบาน เพื่ออุปโภคบริโภค ตามบัญชีนวัตกรรมไทย
รหัส 01020003 บานหนองเสา หมูที่ 6 ตําบล
เม็งราย

กิจกรรมที่ 2 การกอสรางระบบผลิตน้ําประปา 3 3 เทศบาลตําบลเม็งราย 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00


หมูบาน เพื่ออุปโภคบริโภค ตามบัญชีนวัตกรรมไทย
รหัส 01020003 บานสันปาสัก หมูที่ 3 ตําบลเม็ง
ราย

กิจกรรมที่ 3 วางทอระบายน้ํา คสล. พรอมบอพัก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเมืองพาน 10,500,000.00 10,500,000.00 10,500,000.00 10,500,000.00 42,000,000.00
ขยายไหลทาง รหัสทางหลวงทองถิ่น ชร.ถ 99 - 012
สายบานดอนตัน - บานรองหลอดเหนือ
กิจกรรมที่ 4 รางระบายน้ําสองขางถนน หมู 4 บาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลหัวงม 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
หนองฮาง ตําบลหัวงม อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย สํานักงานทางหลวงชนบทเชียงราย

กิจกรรมที่ 5 กอสรางระบบประปา ปอกแทงคขนาด 3 3 เทศบาลตําบลไมยา 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
ใหญ หมูที่ 9 ตําบลไมยา
กิจกรรมที่ 6 กอสรางระบบประปา ปอกแทงคขนาด 3 3 เทศบาลตําบลไมยา 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
ใหญ หมูที่ 2 ตําบลไมยา
กิจกรรมที่ 7 กอสรางระบบประปา ปอกแทงคขนาด 3 3 เทศบาลตําบลไมยา 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
ใหญ หมูที่ 1 ตําบลไมยา
กิจกรรมที่ 8 กอสรางระบบประปา ปอกแทงคขนาด 3 3 เทศบาลตําบลไมยา 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
ใหญ หมูที่ 17 ตําบลไมยา
กิจกรรมที่ 9 กอสรางระบบประปา ปอกแทงคขนาด 3 3 เทศบาลตําบลไมยา 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
ใหญ หมูที่ 3 ตําบลไมยา
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 10 ขุดลอกอางเก็บน้ําหวยกาง ตําบลไมยา 3 5 เทศบาลตําบลไมยา 4,013,700.00 4,013,700.00 4,013,700.00 4,013,700.00 4,013,700.00 20,068,500.00

กิจกรรมที่ 11 ขุดลอกอางเก็บน้ําไมยา 3 5 เทศบาลตําบลไมยา 402,700.00 402,700.00 402,700.00 402,700.00 402,700.00 2,013,500.00


กิจกรรมที่ 12 ปรับปรุงซอมแซมและขยายเขตระบบ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 1,356,200.00 1,356,200.00 1,356,200.00 1,356,200.00 1,356,200.00 6,781,000.00
ประปาหมูบานแบบบาดาล ขนาดใหญ บานดงหลวง
หมูที่ 7 ตําบลเจริญเมือง อําเภอพาน จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 13 ปรับปรุงซอมแซมและขยายเขตระบบ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 361,400.00 361,400.00 361,400.00 361,400.00 361,400.00 1,807,000.00


ประปาหมูบานแบบบาดาล ขนาดกลาง บานทราย
ทอง หมูที่ 17 ตําบลเจริญเมือง อําเภอพาน จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 14 ปรับปรุงซอมแซมและขยายเขตระบบ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเจริญเมือง 388,600.00 388,600.00 388,600.00 388,600.00 388,600.00 1,943,000.00


ประปาหมูบานแบบบาดาล ขนาดกลาง บานปาป
หมูที่ 12 ตําบลเจริญเมือง อําเภอพาน จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 15 ขุดเจาะบอบาดาลพรอมเครื่องสูบน้ํา 3 3 องคการบริหารสวนตําบลตา/อ.ขุน 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 2,115,000.00


บานตาหัวฝาย หมูที่ 3 ตาล
กิจกรรมที่ 16 ขุดเจาะบอบาดาลพรอมเครื่องสูบน้ํา 3 3 องคการบริหารสวนตําบลตา/อ.ขุน 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 2,115,000.00
บานพระเนตร หมูที่ 4 ตาล
กิจกรรมที่ 17 ขุดเจาะบอบาดาลพรอมเครื่องสูบน้ํา 3 3 องคการบริหารสวนตําบลตา/อ.ขุน 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 2,115,000.00
บานหวยโปง หมูที่ 5 ตาล
กิจกรรมที่ 18 ขุดเจาะบอบาดาลพรอมเครื่องสูบน้ํา 3 3 องคการบริหารสวนตําบลตา/อ.ขุน 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 2,115,000.00
บานพระเนตร หมูที่ 8 ตาล
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 19 ขุดเจาะบอบาดาลพรอมเครื่องสูบน้ํา 3 3 องคการบริหารสวนตําบลตา/อ.ขุน 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 2,115,000.00
บานตารองไผ หมูที่ 12 ตาล
กิจกรรมที่ 20 ขุดเจาะบอบาดาลพรอมเครื่องสูบน้ํา 3 3 องคการบริหารสวนตําบลตา/อ.ขุน 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 2,115,000.00
บานพระเนตร หมูที่ 18 ตาล
กิจกรรมที่ 21 กอสรางรางสงน้ํา น้ําแพร หมูที่ 4 3 3 เทศบาลตําบลยางฮอม อ.ขุนตาล 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 20,000,000.00
กิจกรรมที่ 22 กอสรางระบบประปาหมูบาน แบบ 3 3 เทศบาลตําบลบานตา อ.ขุนตาล 3,161,000.00 3,161,000.00 3,161,000.00 3,161,000.00 3,161,000.00 15,805,000.00
บาดาลขนาดใหญ หมู 20 ต.ตา
กิจกรรมที่ 23 ขุดลอกหนองไครไหวทั้งบริเวณ 3 5 อําเภอขุนตาล 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 18,000,000.00
กิจกรรมที่ 24 ซอมแซมอางเก็บน้ํา บานหวยศัก หมู 3 5 อําเภอขุนตาล 800,000.00 800,000.00 800,000.00 800,000.00 800,000.00 4,000,000.00
ที่ 15
กิจกรรมที่ 25 ขุดลอกอางเก็บน้ําบานหวยโปง หมู 3 5 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 1,959,000.00 1,959,000.00 1,959,000.00 1,959,000.00 1,959,000.00 9,795,000.00
19
กิจกรรมที่ 26 ขุดลอกหนองอีกิ้ว บานพระเนตร หมู 3 5 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 8,680,000.00 8,680,000.00 8,680,000.00 8,680,000.00 8,680,000.00 43,400,000.00
14
กิจกรรมที่ 27 ขุดลอกหนองแขม (แกมลิง) บานพระ 3 5 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 7,609,000.00 7,609,000.00 7,609,000.00 7,609,000.00 7,609,000.00 38,045,000.00
เนตร หมู 14
กิจกรรมที่ 28 ขุดลอกรองโปง บานหวยโปง หมูที่ 5 3 5 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 2,440,000.00 2,440,000.00 2,440,000.00 2,440,000.00 2,440,000.00 12,200,000.00
เชื่อม บานพระเนตร หมูที่ 11
กิจกรรมที่ 29 ขุดลอกลําหวยรองแฮด บานพระเนตร 3 5 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
หมู 14
กิจกรรมที่ 30 กอสรางฝายคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 5 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 559,000.00 559,000.00 559,000.00 559,000.00 559,000.00 2,795,000.00
บานตาหัวฝาย หมูที่ 3
กิจกรรมที่ 31 กอสรางฝายกั้นน้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 5 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 395,000.00 395,000.00 395,000.00 395,000.00 395,000.00 1,975,000.00
บานหวยโปง หมูที่ 5
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 32 กอสรางฝายกั้นน้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 5 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 395,000.00 395,000.00 395,000.00 395,000.00 395,000.00 1,975,000.00
บานหวยโปง หมูที่ 19
กิจกรรมที่ 33 กอสรางรางระบายน้ํารูปตัวยูแบบมี 3 5 เทศบาลตําบลบานตา อ.ขุนตาล 3,380,000.00 3,380,000.00 3,380,000.00 3,380,000.00 3,380,000.00 16,900,000.00
ฝาปด บริเวณซอย 95 (ฝงทิศเหนือลําเหมืองรอง
กลาง) หมู 6 ต.ตา
กิจกรรมที่ 34 กอสรางรางระบายน้ําคอนกรีตเสริม 3 5 เทศบาลตําบลบานตา อ.ขุนตาล 4,255,000.00 4,255,000.00 4,255,000.00 4,255,000.00 4,255,000.00 21,275,000.00
เหล็ก รองหอย หมู 2,16,1 และ หมู 13
กิจกรรมที่ 35 กอสรางรางระบายน้ําคอนกรีตเสริม 3 5 เทศบาลตําบลบานตา อ.ขุนตาล 4,447,000.00 4,447,000.00 4,447,000.00 4,447,000.00 4,447,000.00 22,235,000.00
เหล็ก รองบอน หมู 6,7 และ หมู 15
กิจกรรมที่ 36 ซอมแซมอางเก็บน้ํา บานหวยสัก 3 5 เทศบาลตําบลยางฮอม อ.ขุนตาล 800,000.00 800,000.00 800,000.00 800,000.00 800,000.00 4,000,000.00
หมูที่ 15
กิจกรรมที่ 37 ปรับปรุงระบบประปาหมูบาน บาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
สวนดอก หมูที่ 3
กิจกรรมที่ 38 กอสรางระบบประปาภูเขา บานแม 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 1,300,000.00 1,300,000.00 1,300,000.00 1,300,000.00 1,300,000.00 6,500,000.00
สาด หมูที่ 4
กิจกรรมที่ 39 กอสรางฝายกั้นน้ํา ทามวงขาว บาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 3,750,000.00
แมสาด หมูที่ 4
กิจกรรมที่ 40 ปรับปรุงระบบประปาภูเขาหมูบาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 3,500,000.00
ดาดคอนกรีตฝายกั้นน้ําบานเมืองรวง หมูที่ 5
กิจกรรมที่ 41 กอสรางระบบประปาหมูบาน แบบ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 1,153,700.00 1,153,700.00 1,153,700.00 1,153,700.00 1,153,700.00 5,768,500.00
บาดาล
ขนาดเล็ก บานปางมุง ม. 6 บริเวณโบสถคริสต
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 42 กอสรางระบบประปาหมูบาน แบบ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 1,153,700.00 1,153,700.00 1,153,700.00 1,153,700.00 1,153,700.00 5,768,500.00
บาดาลขนาดเล็ก บานปางมุง หมูที่ 6 บริเวณที่
สาธารณะหมูบาน
กิจกรรมที่ 43 ปรับปรุงระบบประปาหมูบาน บาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 3,600,000.00
ใหม หมูที่ 8
กิจกรรมที่ 44 วางทอประปาแหลงน้ําใหม หวยปูทา 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 3,600,000.00
บานใหม หมูที่ 8
กิจกรรมที่ 45 กอสรางฝายกั้นน้ํา ตนผึ้ง บานปาง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 4,750,000.00
กอก หมูที่ 9
กิจกรรมที่ 46 กอสรางระบบประปาหมูบาน แบบ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 4,091,000.00 4,091,000.00 4,091,000.00 4,091,000.00 4,091,000.00 20,455,000.00
บาดาลขนาดใหญมาก บานปางริมกรณ หมูที่ 10
บริเวณฌาปณสถาน บานปางริมกรณ
กิจกรรมที่ 47 กอสรางระบบประปาแบบบาดาล 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 2,800,000.00 2,800,000.00 2,800,000.00 2,800,000.00 2,800,000.00 14,000,000.00
ขนาดใหญ บานหนองเขียว หมูที่ 12
กิจกรรมที่ 48 วางระบบทอประปาภูเขาแหลงใหม 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
ตอจากจุดเดิม บานปาสักทอง หมูที่ 13
กิจกรรมที่ 49 ปรับปรุงระบบประปาหมู บานปาง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
กอก หมูที่ 9
กิจกรรมที่ 50 กอสรางรางระบายน้ํา ลําเหมือง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 3,750,000.00 3,750,000.00 3,750,000.00 3,750,000.00 3,750,000.00 18,750,000.00
ประตูลอ
ถึงบาน เมืองรวง หมูที่ 5 บานแมสาด หมูที่ 4
กิจกรรมที่ 51 กอสราง ผนังปองกันตลิ่งพัง บริเวณ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
หนาวัดสวนดอก ซอยทันใจ บานสวนดอก หมูที่ 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 52 กอสรางผนังปองกันตลิ่งพัง บริเวณ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
สะพานลําน้ํากรณ บานสวนดอก หมูที่ 3
กิจกรรมที่ 53 กอสรางผนังปองกันตลิ่งพัง บริเวณ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
บาน นายอเนกบานสวนดอก หมูที่ 3
กิจกรรมที่ 54 กอสรางผนังปองกันตลิ่งพัง บริเวณ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
บานนายดี พรมปญญา ถึงบานนายสมศักดิ์ จันทรา
บานปางกอก หมูที่ 9
กิจกรรมที่ 55 กอสรางอางเก็บน้ําแมสาด บานแม 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 300,000,000.00 300,000,000.00 300,000,000.00 300,000,000.00 300,000,000.00 1,500,000,000.00
สาด หมูที่ 4
กิจกรรมที่ 56 กอสรางฝายกั้นหวยลึก บานปางมุง 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 3,750,000.00
หมูที่ 6

กิจกรรมที่ 57 กอสรางเรียงหินกลองกาเบี้ยนแมน้ํา 3 5 ทต.ทาสาย/อําเภอเมืองเชียงราย 24,600,000.00 24,600,000.00 24,600,000.00 24,600,000.00 24,600,000.00 123,000,000.00


ลาว (ฝงซาย) เขตหมูที่ 2 บานรองธาร เขตหมูที่ 3
บานทาสาย และเขตหมูที่ 7 บานปาหัด
กิจกรรมที่ 58 กอสรางเรียงหินกลองกาเบี้ยนแมน้ํา 3 5 ทต.ทาสาย/อําเภอเมืองเชียงราย 16,300,000.00 16,300,000.00 16,300,000.00 16,300,000.00 16,300,000.00 81,500,000.00
ลาว (ฝงขวา) เขตหมูที่ 4 บานแมลาว และเขตหมูที่
8บานหวยบง
กิจกรรมที่ 59 กอสรางระบบประปาหมูบานแบบผิว 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน/อําเภอเมือง 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 21,255,000.00
ดินขนาดใหญ หมูที่ 8 บานดอนเจริญ ตําบลดอย เชียงราย
ลาน อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 60 กอสรางระบบประปาหมูบานแบบผิว 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน/อําเภอเมือง 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 21,255,000.00
ดินขนาดใหญ บานใหมน้ําเย็น หมูที่ 9 ตําบล เชียงราย
ดอยลาน อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 61 กอสรางระบบประปาหมูบานแบบผิว 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน/อําเภอเมือง 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 21,255,000.00


ดินขนาดใหญ บานดอยทอง หมูที่ 17 ตําบลดอย เชียงราย
ลาน อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 62 กอสรางธนาคารน้ําใตดินระบบเปด 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน/อําเภอเมือง 310,000.00 310,000.00 310,000.00 310,000.00 310,000.00 1,550,000.00
บานจําหวาย หมูที่ 2 ตําบลดอยลาน อําเภอเมือง เชียงราย
เชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 63 กอสรางธนาคารน้ําใตดินระบบเปด 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน/อําเภอเมือง 728,000.00 728,000.00 728,000.00 728,000.00 728,000.00 3,640,000.00
บานรองขุน หมูที่ 5 ตําบลดอยลาน อําเภอเมือง เชียงราย
เชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 64 กอสรางธนาคารน้ําใตดินระบบเปด 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน/อําเภอเมือง 333,000.00 333,000.00 333,000.00 333,000.00 333,000.00 1,665,000.00
บานโละปาตุม หมูที่ 7 ตําบลดอยลาน อําเภอเมือง เชียงราย
เชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 65 กอสรางธนาคารน้ําใตดินระบบเปด 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน/อําเภอเมือง 748,000.00 748,000.00 748,000.00 748,000.00 748,000.00 3,740,000.00
บานดอนเจริญ หมูที่ 8 ตําบลดอยลาน อําเภอเมือง เชียงราย
เชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 66 กอสรางธนาคารน้ําใตดิน ระบบเปด 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน/อําเภอเมือง 139,000.00 139,000.00 139,000.00 139,000.00 139,000.00 695,000.00
บานใหมน้ําเย็น หมูที่ 9 ตําบลดอยลาน เชียงราย
อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 67 กอสรางธนาคารน้ําใตดิน ระบบเปด 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน/อําเภอเมือง 777,000.00 777,000.00 777,000.00 777,000.00 777,000.00 3,885,000.00
บานใหมรุงเรือง หมูที่ 10 ตําบลดอยลาน อําเภอ เชียงราย
เมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 68 กอสรางธนาคารน้ําใตดิน ระบบเปด 3 5 เทศบาลตําบลดอยลาน/อําเภอเมือง 3,210,000.00 3,210,000.00 3,210,000.00 3,210,000.00 3,210,000.00 16,050,000.00
บานดอยสมบูรณ หมูที่ 12 ตําบลดอยลาน เชียงราย
อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 69 กอสรางวางทอระบายน้ํา พรอมบอ 3 3 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
พักน้ํา ซอย 1 หมู 8 บานปาเหมือดสันติสุข ถึง ซอย
6 หมู 9 บานปาเหมือดสุขสําราญ ตําบลเวียงพางคํา
อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 70 การผันน้ําโขงเขาพื้นที่การเกษตร 3 2 เทศบาลตําบลแมเงิน อ.เชียงแสน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
กิจกรรมที่ 71 การกอสรางคลองสงน้ําคอนกรีตเสริม 3 3 เทศบาลตําบลแมเงิน อ.เชียงแสน 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
เหล็ก สายกอดหมาเหลี้ยม บานปาคาเหนือ หมูที่ 9

กิจกรรมที่ 72 การปรับปรุงภูมิทัศนหนองอึ่ง 3 2 เทศบาลตําบลเวียง อ.เชียงแสน 43,000,000.00 43,000,000.00 43,000,000.00 43,000,000.00 43,000,000.00 215,000,000.00
กิจกรรมที่ 73 กอสรางระบบผลิตน้ําประปาหมูบาน 3 3 เทศบาลตําบลเม็งราย 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
เพื่ออุปโภคบริโภค ตามบัญชีนวัตกรรมไทย รหัส
01020003 บานสันปาสัก หมูที่ 3 ตําบลเม็งราย
กิจกรรมที่ 74 ปรับปรุงภูมิทัศนลําน้ําถ้ํา ตําบลโปง 3 2 อําเภอแมสาย 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00
งาม อําเภอแมสาย
กิจกรรมที่ 75 ปรับปรุงภูมิทัศนขุนน้ําโปงและลําน้ํา 3 2 อําเภอแมสาย 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00
โปง ตําบลโปงงาม อําเภอแมสาย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 76 ขุดเจาะบอบาลดาลพรอมติดตั้งเครื่อง 3 2 อําเภอเวียงชัย 4,750,000.00 4,750,000.00 4,750,000.00 4,750,000.00 4,750,000.00 23,750,000.00
สูบน้ําพลังงานแสงอาทิตเพื่อการเกษตรพรอมถังเก็บ
น้ําคอนกรีตเสริมเหล็ก หมูที่ 5 บานชัยพฤกษ ตําบล
ดอนศิลา อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 77 กอสรางระบบประปาขนาดใหญ หมูที่ 3 5 อบต.ปาซาง/อําเภอเวียงเชียงรุง 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
8 ตําบลปาซาง อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 78 กอสรางประปาบาดาลขนาดใหญ หมู 3 5 อบต.ปาซาง/อําเภอเวียงเชียงรุง 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 12,500,000.00
ที่ 16 ตําบลปาซาง อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 79 กอสรางประปาบาดาลขนาดใหญ หมู 3 5 อบต.ปาซาง/อําเภอเวียงเชียงรุง 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 12,500,000.00
ที่ 12 ตําบลปาซาง อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 80 กอสรางรางระบายน้ําคอนกรีตเสริม 3 5 อบต.ปาซาง/อําเภอเวียงเชียงรุง 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 35,000,000.00
เหล็ก หมูที่ 5,14,8 ตําบลปาซาง อําเภอเวียงเชียงรุง
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 81 กอสรางธนาคารน้ําใตดินระบบปด ใน 3 5 อบต.ปาซาง/อําเภอเวียงเชียงรุง 2,362,000.00 2,362,000.00 2,362,000.00 2,362,000.00 2,362,000.00 11,810,000.00
พื้นที่ตําบลปาซาง จํานวน 15 หมูบาน อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 82 สรางสถานีสูบน้ําดวยพลังงาน 3 5 อบต.ปาซาง/อําเภอเวียงเชียงรุง 200,000,000.00 200,000,000.00 200,000,000.00 200,000,000.00 200,000,000.00 1,000,000,000.00
แสงอาทิตยพรอมระบบสงน้ํา แมน้ํากก อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 83 สูบน้ําระบบประปาหมูบาน แบบ 3 5 อบต.ดงมหาวัน/อําเภอเวียงเชียงรุง 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
พลังงานแสงอาทิตย บานดงมหาวัน หมูที่ 1 ตําบล
ดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 84 กอสรางฝายกั้นน้ําพรอมประตู เปด- 3 5 อบต.ดงมหาวัน/อําเภอเวียงเชียงรุง 1,900,000.00 1,900,000.00 1,900,000.00 1,900,000.00 1,900,000.00 9,500,000.00
ปด รองมะเกี๋ยง บานดงมหาวัน หมูที่ 1 ตําบลดง
มหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 85 กอสรางระบบกระจายน้ําดวย 3 5 อบต.ดงมหาวัน/อําเภอเวียงเชียงรุง 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
พลังงานแสงอาทิตย หนองแคหาง บานปงเคียน หมู
ที่ 8 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 86 กอสรางฝายอุมน้ํากกเพื่อการเกษตร 3 5 อบต.ดงมหาวัน/อําเภอเวียงเชียงรุง 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00


บานปงเคียน หมูที่ 8 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 87 ขุดลอกลําน้ําแมเผื่อหมู 15 ถึง หมู 6 3 5 อบต.ทุงกอ/อําเภอเวียงเชียงรุง 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00
ตําบลทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 88 กอสรางระบบประปาบาดาล หมู 8 3 5 อบต.ทุงกอ/อําเภอเวียงเชียงรุง 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 12,500,000.00
บานดงปาสัก ตําบลทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 89 กอสรางฝายน้ําลนรองจิก หมู 10 3 5 อบต.ทุงกอ/อําเภอเวียงเชียงรุง 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 12,500,000.00
บานหวยเคียนใต ตําบลทุงกอ (จุดที่ 2)
กิจกรรมที่ 90 โครงการขุดลอกหนองปาไครคาง 3 5 อบต.ดงมหาวัน/อําเภอเวียงเชียงรุง 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
บานสันไทรงาม หมูที่ 5 ตําบลดงมหาวัน อําเภอเวียง
เชียงรุง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 91 ขุดลอกลําน้ําแมสักตลอดแนว หมู 3 5 ทต.บานเหลา/อําเภอเวียงเชียงรุง 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
6,11 ยาวประมาณ 5 กิโลเมตร ตําบลทุงกอ อําเภอ
เวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 92 ขุดลอกลําน้ําแมเผื่อตลอดแนวหมู 6 3 5 ทต.บานเหลา/อําเภอเวียงเชียงรุง 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
ตําบลทุงกอ หมู 4 ตําบลดงมหาวัน ยาวประมาณ 5
กิโลเมตร อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 93 กอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งพังตลอด 3 5 ทต.บานเหลา/อําเภอเวียงเชียงรุง 26,000,000.00 26,000,000.00 26,000,000.00 26,000,000.00 26,000,000.00 130,000,000.00
แนวลําน้ําแมสัก มี 3 ชวงยาว ประมาณ 2
กิโลเมตร ตําบลทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 94 ขุดเจาะบอบาดาลในเขตเทศบาล 3 5 ทต.บานเหลา/อําเภอเวียงเชียงรุง 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00


จํานวน 5 หมูบาน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 95 ขุดสระในเขตเทศบาล จํานวน 5 3 5 ทต.บานเหลา/อําเภอเวียงเชียงรุง 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
หมูบาน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 96 ขุดลอกหวยไมฮาง บานแมแพง หมูที่ 3 5 เทศบาลตําบลทาขาวเปลือก อําเภอ 31,672,000.00 31,672,000.00 31,672,000.00 31,672,000.00 31,672,000.00 158,360,000.00
5 ตําบลทาขาวเปลือก อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย แมจัน

กิจกรรมที่ 97 กอสรางเขื่อนกั้นตลิ่ง ตําบลแมจัน 3 5 องคการบริหารสวนตําบลแมจัน 4,080,000.00 4,080,000.00 4,080,000.00 4,080,000.00 4,080,000.00 20,400,000.00
หมูที่ 12 เชื่อมตอ หมูที่ 1 และเชื่อมตอ หมูที่ 5
ตําบลปาตึง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 98 กอสรางพนังกั้นน้ํา ค.ส.ล. หมูที่ 8 ไป 3 5 องคการบริหารสวนตําบลแมจัน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00
หมูที่ 4 ตําบลแมจัน อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 99 กอสรางวางกลองเกเบี้ยนตลิ่งลํา 3 5 ทต.แมไร/อ.แมจัน 498,000.00 498,000.00 498,000.00 498,000.00 498,000.00 498,000.00


เหมือง บานสันกอง หมูที่ 7 ตําบลแมไร อําเภอแมจัน
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 100 ปรับปรุงลําเหมืองกอไก บานปาตึง 3 5 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 13,112,000.00 13,112,000.00 13,112,000.00 13,112,000.00 13,112,000.00 13,112,000.00
หมูที่ 8 ตําบลปาตึง
กิจกรรมที่ 101 ปรับปรุงลําเหมืองกอไก จํานวน 2 3 5 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 2,258,000.00 2,258,000.00 2,258,000.00 2,258,000.00 2,258,000.00 2,258,000.00
ชวง บานปาตึง หมูที่ 8 ตําบลปาตึง
กิจกรรมที่ 102 พัฒนาแหลงน้ําในพื้นที่ตําบลปาตึง 3 5 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00
กิจกรรมที่ 103 กอสรางระบบระบายน้ํา เพื่อ 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 49,000,000.00 49,000,000.00 49,000,000.00 49,000,000.00 49,000,000.00 245,000,000.00
บรรเทาปญหาน้ําทวมพื้นที่ตําบลปาตึง พรอม
ปรับปรุงผิวจราจร
กิจกรรมที่ 104 กอสรางพนังกั้นน้ําจัน พรอม 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 35,000,000.00
ประตูน้ํา ปด-เปด หมูที่ 3 ตําบลปาตึง
กิจกรรมที่ 105 กอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง บานแม 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 17,467,000.00 17,467,001.00 17,467,002.00 17,467,003.00 17,467,004.00 87,335,010.00
แพง หมูที่ 4เชื่อมบานทาขาวเปลือกหมูที่ 7 ตําบล
ทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 106 ปรับปรุงภูมิทัศนหนองขี้เหล็ก หมูที่ 3 3 อบต.จอมสวรรค/อ.แมจัน 7,500,000.00 7,500,000.00 7,500,000.00 7,500,000.00 7,500,000.00 37,500,000.00
4 ต.จอมสวรรค
กิจกรรมที่ 107 กอสรางรางระบายน้ํา คสล. รูปตัวยู 3 3 อบต.จอมสวรรค/อ.แมจัน 1,028,000.00 1,028,000.00 1,028,000.00 1,028,000.00 1,028,000.00 5,140,000.00
แบบมีผาปดภายในหมูบาน หมูที่ 7 ต.จอมสวรรค
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 108 กอสรางรางระบายน้ํา คสล. รูปตัววี 3 3 อบต.จอมสวรรค/อ.แมจัน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
ถนนสายบานขี้เหล็ก-บานสันโคงงาม ต.จอมสวรรค

กิจกรรมที่ 109 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานทาขาวเปลือก หมูที่ 2ตําบลทา
ขาวเปลือก

กิจกรรมที่ 110 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานแมหะ หมูที่ 3ตําบลทาขาวเปลือก

กิจกรรมที่ 111 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานแมแพง หมูที่ 4ตําบลทาขาวเปลือก

กิจกรรมที่ 112 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานแมแพง หมูที่ 5ตําบลทาขาวเปลือก
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 113 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานแมลาก หมูที่ 6ตําบลทาขาวเปลือก

กิจกรรมที่ 114 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานทาขาวเปลือก หมูที่ 7ตําบลทา
ขาวเปลือก

กิจกรรมที่ 115 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานทับกุมารทอง หมูที่ 8ตําบลทา
ขาวเปลือก

กิจกรรมที่ 116 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานปาไร หมูที่ 9ตําบลทาขาวเปลือก

กิจกรรมที่ 117 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานผานศึก หมูที่ 10แหงที่ 1 ตําบล
ทาขาวเปลือก
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 118 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานผานศึก หมูที่ 10แหงที่ 2 ตําบล
ทาขาวเปลือก

กิจกรรมที่ 119 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานผาเรือ หมูที่ 11แหงที่ 1 ตําบลทา
ขาวเปลือก

กิจกรรมที่ 120 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานศรียางชุม หมูที่ 13แหงที่ 2 ตําบล
ทาขาวเปลือก

กิจกรรมที่ 121 ระบบผลิตน้ําประปา(Water 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 5,200,000.00 26,000,000.00
Treatment Systme)POG ขนาดใหญ L รองรับ
121-300 ครัวเรือนกําลังการผลิต 10 ลูกบาศก
เมตร/ชั่วโมง บานเนินทอง หมูที่ 14แหงที่ 1 ตําบล
ทาขาวเปลือก

กิจกรรมที่ 122 กอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง บานทา 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 11,475,000.00 11,475,000.00 11,475,000.00 11,475,000.00 11,475,000.00 11,475,000.00
ขาวเปลือกหมูที่ 7 ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 123 กอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง บานผาเรือ 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 17,467,000.00 17,467,000.00 17,467,000.00 17,467,000.00 17,467,000.00 87,335,000.00
หมูที่ 11ตําบลทาขาวเปลือก
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 124 กอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง บานผาน 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 8,944,000.00 8,944,000.00 8,944,000.00 8,944,000.00 8,944,000.00 44,720,000.00
ศึก หมูที่ 10ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 125 พัฒนาปรับปรุงฟนฟูแหลงน้ําโดย 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 2,899,000.00 2,899,000.00 2,899,000.00 2,899,000.00 2,899,000.00 14,495,000.00
การขุดลอกหนองเกาหาบานทับกุมารทอง หมูที่ 8
ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 126 พัฒนาแหลงทองเที่ยวโดยการ 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 6,080,000.00 6,080,000.00 6,080,000.00 6,080,000.00 6,080,000.00 30,400,000.00
ปรับปรุงภูมิทัศนรอบหนองหลวง
กิจกรรมที่ 127 กอสรางทํานบดินเพื่อกักเก็บน้ํา อาง 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 962,000.00 962,000.00 962,000.00 962,000.00 962,000.00 4,810,000.00
เก็บน้ําหวยลึก บานแมแพง หมูที่ 4ตําบลทา
ขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 128 ปรับปรุงฟนฟูแหลงน้ําอางเก็บน้ํา 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 21,800,000.00 21,800,000.00 21,800,000.00 21,800,000.00 21,800,000.00 109,000,000.00
หวยไมฮางบานแมแพง หมูที่ 5ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 129 ปรับปรุงฟนฟูแหลงน้ําหนองผึ้งบาน 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 12,840,000.00 12,840,000.00 12,840,000.00 12,840,000.00 12,840,000.00 64,200,000.00
แมลาก หมูที่ 6ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 130 ปรับปรุงฟนฟูแหลงน้ําอางเก็บน้ํา 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 9,930,000.00 9,930,000.00 9,930,000.00 9,930,000.00 9,930,000.00 49,650,000.00
หวยอมบานศรียางชุม หมูที่ 13ตําบลทาขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 131 ปรับปรุงฟนฟูแหลงน้ําอางเก็บน้ําแม 3 3 ทต.ทาขาวเปลือก/อ.แมจัน 3,196,000.00 3,196,000.00 3,196,000.00 3,196,000.00 3,196,000.00 15,980,000.00
ลากเนินทองบานเนินทอง หมูที่ 14ตําบลทา
ขาวเปลือก
กิจกรรมที่ 132 กอสรางดาดคลองระบายน้ํา คสล. 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 9,058,000.00 9,058,000.00 9,058,000.00 9,058,000.00 9,058,000.00 45,290,000.00
บริเวณฝายกอไก หมูที่ 8 ตําบลปาตึง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 137 ปรับปรุงอาคารระบายน้ําเดิมพรอม 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 150,000,000.00
ติดตั้งเครื่องสูบน้ําแบบแนวตั้ง (Vertical pump)
ขนาด 1 ลบ.ม./วินาที จํานวน 2 ชุด/1 สถานี ตําบล
ปาตึง รวมทั้งสิ้น 3 สถานี

กิจกรรมที่ 138 ขุดลอกเปดทางน้ําลําเหมือง 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
เชื่อมโยงพนังกั้นน้ําจันและกอสรางอุโมงคน้ําลอด
หมูที่ 2 ตําบลปาตึง
กิจกรรมที่ 139 เขื่อนปองกันตลิ่งเพื่อบรรเทาปญหา 3 3 อบต.ปาตึง/อ.แมจัน 4,300,000.00 4,300,000.00 4,300,000.00 4,300,000.00 4,300,000.00 21,500,000.00
น้ําทวมแมน้ําจัน หมูที่ 4 ตําบลปาตึง (สวนตอเนื่อง
งานกอสรางของกรมโยธาธิการและผังเมือง ระยะที่ 1)

กิจกรรมที่ 140 พัฒนาแหลงน้ํา(ขุดลอกแกมลิง) 3 5 เทศบาลตําบลมวงยาย 1,922,000.00 1,922,000.00 1,922,000.00 1,922,000.00 1,922,000.00 9,610,000.00
บานมวง หมูที่ 3 ตําบลมวงยาย อําเภอเวียงแกน
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 141 กอสรางฝายน้ําลนลําหวยหิน บาน 3 5 เทศบาลตําบลมวงยาย 716,000.00 716,000.00 716,000.00 716,000.00 716,000.00 3,580,000.00
มวง หมูที่ 3 ตําบลมวงยาย อําเภอเวียงแกน จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 142 ขุดลอกลําหวยน้ําบอ บานยายเหนือ 3 5 เทศบาลตําบลมวงยาย 610,000.00 610,000.00 610,000.00 610,000.00 610,000.00 3,050,000.00
หมูที่ 2 ตําบลมวงยาย อําเภอเวียงแกน จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 143 ขุดลอกลําหวยปาเขือง บานยาย 3 5 เทศบาลตําบลมวงยาย 160,000.00 160,000.00 160,000.00 160,000.00 160,000.00 800,000.00
เหนือ หมูที่ 2 ตําบลมวงยาย อําเภอเวียงแกน
จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 144 ขุดลอกสระเก็บน้ําหวยหลูและ 3 5 เทศบาลตําบลมวงยาย 1,120,000.00 1,120,000.00 1,120,000.00 1,120,000.00 1,120,000.00 5,600,000.00
กอสรางทางน้ําลน บานหลู หมูที่ 1 ตําบลมวงยาย
อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 145 ปรับปรุงฝายหวยคํา หมูที่ 1 บานห 3 5 เทศบาลตําบลหลายงาว 642,000.00 642,000.00 642,000.00 642,000.00 642,000.00 3,210,000.00
ลายงาว ตําบลหลายงาว อําเภอเวียงแกน จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 146 กอสรางสระเก็บน้ําหวยหวาย บาน 3 5 เทศบาลตําบลหลายงาว 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
แจมปอง หมูที่ 5 ตําบลหลายงาว อําเภอเวียงแกน
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 147 กอสรางฝายชะลอน้ําคอนกรีตเสริม 3 5 เทศบาลตําบลหลายงาว 874,600.00 874,600.00 874,600.00 874,600.00 874,600.00 4,373,000.00
เหล็ก ลําหวยผาตั้ง บานปางหัด หมูที่ 2 ตําบลปอ
อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 148 กอสรางฝายชะลอน้ําลําหวยดินแดง 3 5 เทศบาลตําบลหลายงาว 642,000.00 642,000.00 642,000.00 642,000.00 642,000.00 3,210,000.00
บานทุงทราย หมูที่ 3 ตําบล หลายงาว อําเภอเวียง
แกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 149 กอสรางฝายน้ําลนคอนกรีตเสริม 3 5 เทศบาลตําบลทาขาม 631,000.00 631,000.00 631,000.00 631,000.00 631,000.00 3,155,000.00
เหล็กหวยสาน จุด 2 ตําบลทาขาม อําเภอเวียงแกน
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 150 กอสรางฝายน้ําลนคอนกรีตเสริม 3 5 เทสบาลตําบลทาขาม 631,000.00 631,000.00 631,000.00 631,000.00 631,000.00 3,155,000.00
เหล็กหวยสาน จุด 1 ตําบลทาขาม อําเภอเวียงแกน
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 151 กอสรางผนังกั้นน้ําเซาะปองกันตลิ่ง 3 5 องคการบริหารสวนตําบลเวียง 8,500,000.00 8,500,000.00 8,500,000.00 8,500,000.00 8,500,000.00 42,500,000.00
แมน้ําลาว บานดงหลายหนา ม.๗ ตําบลเวียง อําเภอ อําเภอเวียงปาเปา
เวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 152 กอสรางผนังกั้นน้ําเซาะปองกันตลิ่ง 3 5 องคการบริหารสวนตําบลเวียง 8,500,000.00 8,500,000.00 8,500,000.00 8,500,000.00 8,500,000.00 42,500,000.00
แมน้ําลาว บานกู ม.๖ ตําบลเวียง อําเภอเวียงปาเปา อําเภอเวียงปาเปา
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 153 กอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งลําน้ําลาว 3 5 เทศบาลตําบลปางิ้ว อําเภอเวียงปา 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 150,000,000.00
ตําบลปางิ้ว อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย เปา
กิจกรรมที่ 154 พัฒนาแหลงน้ําสาธารณะ 3 5 เทศบาลนครเชียงราย 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
ประกอบดวย หนองน้ําลัด หนองขี้บวน หนองแสน
ตอ หนองปาไคร หนองปง
กิจกรรมที่ 155 พัฒนาแมน้ํากกสายใน(กกหลง) 3 5 เทศบาลนครเชียงราย 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
กิจกรรมที่ 156 ปรับปรุงภูมิทัศนแหลงรวบรวมน้ํา 3 5 เทศบาลนครเชียงราย 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 30,000,000.00
เสียสูการพัฒนาระบบนิเวศอยางยั่งยืน
กิจกรรมที่ 157 แกไขปญหาน้ําเสียจากบอขยะ และ 3 5 เทศบาลนครเชียงราย 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
เสนทางภายในเพื่อเปนแหลงศึกษาดูงานดาน
สิ่งแวดลอม
กิจกรรมที่ 158 ขุดลอกรองผักหนาม พรอมกอสราง 3 5 อําเภอเวียงชัย 8,849,700.00 8,849,700.00 8,849,700.00 8,849,700.00 8,849,700.00 44,248,500.00
ฝาย 3 จุด ตําบลดอนศิลา อําเภอเวียงชัย จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 159 พัฒนาพื้นที่ริมน้ํากกเพื่อยกระดับ 3 3 เทศบาลนครเชียงราย 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
คุณภาพชีวิตประชาชน
3.โครงการพัฒนาและยกระดับคุณภาพชีวิตเชิง 3 8,478,749,874.00 11,139,727,574.71 12,611,009,244.81 13,738,849,864.81 12,967,821,194.81 58,936,157,753.14
สรางสรรค (ดานโครงสรางพื้นฐาน)
กิจกรรมที่ 1 กอสรางลานกีฬาอเนกประสงค 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00
กิจกรรมที่ 2 กอสรางอาคารอเนกประสงค ศพด. 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 6,000,000.00
อบต.ปากอดํา
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 3 กอสรางเมรุ หมูที่ 4 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปากอดํา 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
กิจกรรมที่ 4 ปรับปรุงสนามกีฬากลาง 3 3 อําเภอเวียงชัย 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 100,000,000.00
กิจกรรมที่ 5 กอสรางลานกีฬาชุมชน ในเขตเทศบาล 3 3 เทศบาลตําบลบานเหลา 10,000,000.00 10,000,000.00 20,000,000.00
ตําบลบานเหลา อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 6 กอสรางศูนยสงเสริมหัตถกรรมและ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปอ 670,000.00 670,000.00 670,000.00 670,000.00 670,000.00 3,350,000.00


กลุมผูสูงอายุ ตําบลปอ อําเภอเวียงแกน จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมที่ 7 กอสรางศูนยบริการนักทองเที่ยวจุดชม 3 2 องคการบริหารสวนตําบลปอ 1,417,700.00 1,417,700.00 1,417,700.00 1,417,700.00 1,417,700.00 7,088,500.00
วิวผาตั้ง บานผาตั้ง หมูที่ 14 ตําบลปอ อําเภอเวียง
แกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 8 กอสรางศูนยทอผาไทลื้อ ตําบลปอ 3 2 องคการบริหารสวนตําบลปอ 629,900.00 629,900.00 629,900.00 629,900.00 629,900.00 3,149,500.00
อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 9 กอสรางอาคารศูนยพัฒนาคุณภาพชีวิต 3 3 เทศบาลตําบลหลายงาว 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 12,500,000.00
และสงเสริมอาชีพผูสูงอายุ ต.หลายงาว อําเภอเวียง
แกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 10 ปรับปรุงตอเติมอาคารกลุมวิสาหกิจ 3 2 เทศบาลตําบลหลายงาว 383,000.00 383,000.00 383,000.00 383,000.00 383,000.00 1,915,000.00
ชุมชนอุหวยเอียน บานหวยเอียน หมูที่ 6 ตําบลห
ลายงาว อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 11 กอสรางโดมอเนกประสงคหมูบาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 1,620,000.00 1,620,000.00 1,620,000.00 1,620,000.00 1,620,000.00 8,100,000.00
บานเมืองรวง หมูที่ 5
กิจกรรมที่ 12 กอสรางโดมอเนกประสงค บาน เวียง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 880,000.00 880,000.00 880,000.00 880,000.00 880,000.00 4,400,000.00
หวาย หมูที่ 2
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 13 กอสรางอาคารจําหนายสินคาพรอม 3 2 องคการบริหารสวนตําบลแมกรณ 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00
ปรับปรุงภูมิทัศน บานเมืองรวง หมูที่ 5
กิจกรรมที่ 14 ศูนยการเรียนรูเพื่อเพิ่มพูนทักษะและ 3 3 เทศบาลนครเชียงราย 89,000,000.00 89,000,000.00 89,000,000.00 89,000,000.00 89,000,000.00 445,000,000.00
พัฒนาศักยภาพเมือง
กิจกรรมที่ 15 Day Care ผูสูงอายุเทศบาลนคร 3 3 เทศบาลนครเชียงราย 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 150,000,000.00
เชียงราย
กิจกรรมที่ 16 ศูนยการเรียนรูเชิงวิชาการ เทศบาล 3 3 เทศบาลนครเชียงราย 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00
นครเชียงราย
กิจกรรมที่ 17 กอสรางปรับปรุงระบบไฟฟาเปน 3 3 เทศบาลนครเชียงราย 300,000,000.00 300,000,000.00 300,000,000.00 300,000,000.00 300,000,000.00 1,500,000,000.00
เคเบิลใตดิน
กิจกรรมที่ 18 ศูนยควบคุมระบบเทคโนโลยี 3 3 เทศบาลนครเชียงราย 50,000,000.00 50,000,000.00 50,000,000.00 50,000,000.00 50,000,000.00 250,000,000.00
สารสนเทศ (War room)
กิจกรรมที่ 19 ติดตั้งกลองวงจรปดนครเชียงราย 3 3 เทศบาลนครเชียงราย 50,000,000.00 50,000,000.00 50,000,000.00 50,000,000.00 50,000,000.00 250,000,000.00
กิจกรรมที่ 20 ปรับปรุงภูมิทัศนรอบเมือง 3 2 เทศบาลตําบลมวงยาย 4,980,000.00 4,980,000.00 4,980,000.00 4,980,000.00 4,980,000.00 24,900,000.00
โบราณสถานดงเวียงแกน
กิจกรรมที่ 21 การอนุรักษและปรับปรุงเมือง 3 2 เทศบาลตําบลมวงยาย 65,200,000.00 65,200,000.00 65,200,000.00 65,200,000.00 65,200,000.00 326,000,000.00
โบราณสถานดงเวียงแกน
กิจกรรมที่ 22 กอสรางหองน้ําสาธารณะ บานดอย 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 283,000.00 283,000.00 283,000.00 283,000.00 283,000.00 1,415,000.00
ทอง หมูที่ 17 ตําบลดอยลาน อําเภอเมืองเชียงราย
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 23 กอสรางหองน้ําสาธารณะ บานใหมน้ํา 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 283,000.00 283,000.00 283,000.00 283,000.00 283,000.00 1,415,000.00
เย็น หมูที่ 9 ตําบลดอยลาน อําเภอเมืองเชียงราย
จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 24 กอสรางหองน้ําสาธารณะ บานรองดู 3 2 เทศบาลตําบลดอยลาน 283,000.00 283,000.00 283,000.00 283,000.00 283,000.00 1,415,000.00
หมูที่ 16 ตําบลดอยลาน อําเภอเมืองเชียงราย
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 25 พัฒนาแหลงทองเที่ยว อางหนองบัว 3 2 อบต.เจริญเมือง 2,641,900.00 2,641,900.00 2,641,900.00 2,641,900.00 2,641,900.00 13,209,500.00
(โครงการพระราชดําริ) โดยกอสรางอาคารจําหนาย
สินคาและของที่ระลึกผลิตภัณฑประจําชุมชน หมูที่
10 บานดงตะเคียน ตําบลเจริญเมือง อําเภอพาน
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 26 ปรับปรุงโครงสรางพื้นฐานสิ่งอํานวย 3 2 เทศบาลตําบลเวียงเทิง อําเภอเทิง 4,888,000.00 4,888,000.00 4,888,000.00 4,888,000.00 4,888,000.00 24,440,000.00
ความสะดวกรองรับการเปนแหลงทองเที่ยว จังหวัดเชียงราย
โครงการปรับปรุงถนนเรียบคูเมืองเพื่อสงเสริมการ
ทองเที่ยว หมู 1 ตําบลเวียง อําเภอเทิง จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมที่ 27 พัฒนาแหลงทองเที่ยวเชิงสืบสานอัต 3 2 เทศบาลตําบลเวียงเทิง อําเภอเทิง 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
ลักษณวัฒนธรรมลานนา ปรับปรุงภูมิทัศนขวง จังหวัดเชียงราย
วัฒนธรรมเวียงเทิง หมู 1 ตําบลเวียง อําเภอเทิง
จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 28 ศูนยจัดการขยะพลังงานทางเลือก 3 5 อําเภอเทิง 4,395,000.00 4,395,000.00 4,395,000.00 4,395,000.00 4,395,000.00 21,975,000.00


(อาคาร+รถบรรทุกขยะ) เทศบาลตําบลเวียงเทิง
อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 29 การติดตั้งกลองวงจรปด เพื่อดูแล 3 3 เทศบาลตําบลไมยา 1,213,000.00 1,213,000.00 1,213,000.00 1,213,000.00 1,213,000.00 6,065,000.00
รักษาความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสินของ
ประชาชน ภายในพื้นที่ ตําบลไมยา
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 30 ติดตั้งไฟสัญญาณจราจร ไฟกระพริบ 3 3 เทศบาลตําบลไมยา 5,473,000.00 5,473,000.00 5,473,000.00 5,473,000.00 5,473,000.00 27,365,000.00
ไฟสองสวาง และอุปกรณดานการจราจรในพื้นที่
ตําบลไมยา
กิจกรรมที่ 31 ติดตั้งไฟฟาแสงสวาง ทางหลวงชนบท 3 3 เทศบาลตําบลไมยา 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
ชร 2015
กิจกรรมที่ 32 ติดตั้งไฟฟาสองสวางบนถนน ชร. 3 3 องคการบริหารสวนตําบลหัวงม 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
1030 หมู 11 บานหวยตุม ตําบลหัวงม อําเภอพาน สํานักงานทางหลวงชนบทเชียงราย
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 33 ติดตั้งไฟฟาสองสวางบนถนน ชร. 3 3 องคการบริหารสวนตําบลหัวงม 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
1030 หมู 12 บานปาขา ตําบลหัวงม อําเภอพาน สํานักงานทางหลวงชนบทเชียงราย
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 34 ติดตั้งไฟฟาสองสวางบนถนน ชร. 3 3 องคการบริหารสวนตําบลหัวงม 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
1030 หมู 1 บานปางิ้ว ตําบลหัวงม อําเภอพาน สํานักงานทางหลวงชนบทเชียงราย
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมที่ 35 ติดตั้งไฟฟาสองสวาง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดงมหาวัน 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 6,000,000.00
ตามไหลทาง (ไฟฟาสาธารณะ) ตําบลดงมหาวัน
(ติดไฟฟาสองสวาง สายทางบานปาเลา -
บานสันไทรงาม และสายบานสันไทรงาม)
อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 36 ติดตั้งโคมไฟถนนแสงสวางสาธารณะ 3 3 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
ระบบโซลาเซลลระบบพลังงานแสงอาทิตย ตั้งแต
บานหวยน้ําริน หมู 7 เชื่อมบานปายางผาแตก หมู
10 เชื่อมบานปายางใหม หมู 4 และเชื่อบานปา
เหมือดรุงเจริญ หมูที่ 5 (ถนนเลียบดอย) ตําบลเวียง
พางคํา ถึงศูนยกําจัดขยะอําเภอแมสาย

กิจกรรมที่ 37 ติดตั้งไฟฟาสาธารณะ (ไฟกิ่ง) สาย 3 3 เทศบาลตําบลเวียงพางคํา อ.แมสาย 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 17,500,000.00
ทางเลียบดอย ระหวางบานหวยน้ําริน หมู 7 ต.
เวียงพางคํา ถึง บานจอง หมู 9 ต.โปงผา อ.แมสาย
จ.เชียงราย

กิจกรรมที่ 38 กอสรางลานตากพืชผลทางการเกษตร 3 2 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 637,000.00 637,000.00 637,000.00 637,000.00 637,000.00 3,185,000.00


บานพระเนตร หมูที่ 4
กิจกรรมที่ 39 กอสรางลานตากพืชผลทางการเกษตร 3 2 อบต.ตา/อ.ขุนตาล 2,652,000.00 2,652,000.00 2,652,000.00 2,652,000.00 2,652,000.00 13,260,000.00
บานตาหลวงใหม หมูที่ 13
กิจกรรมที่ 25 การกอสรางลานตากผลผลิตทางการ 3 2 เทศบาลตําบลบานตา อ.ขุนตาล 4,050,000.00 4,050,000.00 4,050,000.00 4,050,000.00 4,050,000.00 20,250,000.00
เกษตร บริเวณปาสุสาน หมูที่ 13 ต.ตา
กิจกรรมที่ 24 กอสรางโรงเรือนปลูกผักอัจฉริยะ 3 2 องคการบริหารสวนตําบลปาตึง อ. 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
พื้นที่ตําบลปาตึง แมจัน
กิจกรรมที่ 39 กอสรางลานกิจกรรมศูนยพัฒนาเด็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปาตึง อ. 2,833,000.00 2,833,000.00 2,833,000.00 2,833,000.00 2,833,000.00 14,165,000.00
เล็กองคการบริหารสวนตําบลปาตึง พื้นที่มีสวนผสม แมจัน
ของยางพารา พรอมโครงหลังคาคลุม
กิจกรรมที่ 40 กอสรางอาคารศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปาตึง อ. 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 8,000,000.00
(แบบสถ.ศพด.1) บานจะพือ หมูที่ 16 ต.ปาตึง แมจัน
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 41 ปองกันและแกไขปญหายาเสพติด 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปาตึง อ. 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
กิจกรรมกอสรางลานกีฬา/สนามกีฬา ตําบลปาตึง แมจัน
กิจกรรมที่ 42 ปรับปรุงอาคารศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลปาตึง อ. 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 423,000.00 2,115,000.00
องคการบริหารสวนตําบลปาตึง แมจัน
กิจกรรมที่ 43 ติดตั้งโคมไฟถนนพลังงานแสงอาทิตย 3 3 อบต.จอมสวรรค/อ.แมจัน 4,900,000.00 4,900,000.00 4,900,000.00 4,900,000.00 4,900,000.00 24,500,000.00
แบบประกอบในชุดเดียวกัน (All In One Solar
Street Light) หมูที่ 7 ต.จอมสวรรค
กิจกรรมที่ 42 ปรับภูมิทัศนเกาะแมฟา 3 2 เทศบาลนครเชียงราย 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
กิจกรรมที่ 43 พัฒนาปรับปรุงภูมิทัศนบริเวณแหลง 3 2 องคการบริหารสวนตําบลปอ 778,400.00 778,400.00 778,400.00 778,400.00 778,400.00 3,892,000.00
ทองเที่ยวในพื้นที่ตําบลปอ (ลานจอดรถจุดชมวิว
ดอยผาตั้ง) บานผาตั้ง หมูที่ 14 ตําบลปอ อําเภอ
เวียงแกน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมที่ 44 โครงการพัฒนาและยกระดับคุณภาพ 7,763,035,974.00 10,424,013,674.71 11,893,295,344.81 13,011,135,964.81 12,240,107,294.81 55,331,588,253.14


ชีวิตเชิงสรางสรรค (ดานแหลงน้ํา) 1
กรมทรัพยากรน้ํา 1,284,379,800.00 2,371,686,900.71 2,766,472,570.81 3,019,475,990.81 3,457,384,392.81 12,899,399,655.14
กิจกรรมยอยที่ 1 ขุดลอกหนองประปา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 1,000,000.00 22,000,000.00 22,000,000.00 22,000,000.00 22,000,000.00 89,000,000.00
กิจกรรมยอยที่ 2 ขุดลอกหลงทาบาน 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
กิจกรรมยอยที่ 3 ขุดลอกลําน้ําคาว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
กิจกรรมยอยที่ 5 ขุดลอกแมน้ําฮาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
กิจกรรมยอยที่ 6 ระบบกระจายน้ําจากฝายน้ําลน 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 23,629,900.00 23,629,900.00 23,629,900.00 23,629,900.00 23,629,900.00 118,149,500.00
บานหนองสองหอง
กิจกรรมยอยที่ 7 คาใชจายในการติดตามตรวจสอบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 6,000,000.00
และประเมินผลคุณภาพน้ําลุมน้ําโขงในสวนของ
ประเทศไทย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 8 โครงการกอสรางบอธนาคารน้ําใต 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00
ดินระบบปด
กิจกรรมยอยที่ 9 อนุรักษฟนฟูหวยเคียน 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 40,204,000.00 40,204,000.00 40,204,000.00 40,204,000.00 40,204,000.00 201,020,000.00
กิจกรรมยอยที่ 10 อนุรักษฟนฟูหนองซง ระยะ 3 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 96,600,200.00 96,600,200.00 96,600,200.00 96,600,200.00 96,600,200.00 483,001,000.00
พรอมระบบกระจายน้ําดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 11 กอสรางระบบกระจายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 15,287,600.00 15,287,600.00 15,287,600.00 15,287,600.00 15,287,600.00 76,438,000.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
วาวี (บานทุงพราว)
กิจกรรมยอยที่ 12 อนุรักษฟนฟูหนองบัวหลวง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 133,569,700.00 133,569,700.00 133,569,700.00 133,569,700.00 133,569,700.00 667,848,500.00
พรอมระบบกระจายน้ําดวยพลังงานแสงอาทิตย
(พื้นที่ลุมต่ํา) ระยะที่ 1
กิจกรรมยอยที่ 13 อนุรักษฟนฟูหนองหลวง พรอม 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 124,153,000.00 124,153,000.00 124,153,000.00 124,153,000.00 124,153,000.00 620,765,000.00
ระบบกระจายน้ําดวยพลังงานแสงอาทิตย (พื้นที่ลุม
ต่ํา) ระยะที่ 1
กิจกรรมยอยที่ 14 อนุรักษฟนฟูหนองบัว พรอม 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 49,202,700.00 49,202,700.00 49,202,700.00 49,202,700.00 49,202,700.00 246,013,500.00
ระบบกระจายน้ําดวยพลังงานแสงอาทิตย
(มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย)
กิจกรรมยอยที่ 15 อนุรักษฟนฟูแหลงน้ําธรรมชาติ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 39,629,100.00 39,629,100.00 39,629,100.00 39,629,100.00 39,629,100.00 198,145,500.00
ยางฮอม พรอมระบบกระจายน้ําดวยพลังงาน
แสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 16 ปรับปรุงซอมแซมอางเก็บน้ําสัน 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 10,051,000.00 10,051,000.00 10,051,000.00 10,051,000.00 10,051,000.00 50,255,000.00
ปาสัก พรอมระบบกระจายน้ํา
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 17 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 862,400.00 862,400.00 862,400.00 862,400.00 862,400.00 4,312,000.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
หวยกางปลา (จํานวน 6 แหง)
กิจกรรมยอยที่ 18 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพอาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 18,471,100.00 18,471,100.00 18,471,100.00 18,471,100.00 18,471,100.00 92,355,500.00
เก็บน้ําหวยกาง และระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 19 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 22,000,000.00 22,000,000.00 22,000,000.00 22,000,000.00 22,000,000.00 110,000,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการอนุรักษ ฟนฟู
พัฒนาแหลงน้ําชุมชนและระบบกระจายน้ํา ตําบลห
งาว อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย อําเภอภูซาง
จังหวัดพะเยา

กิจกรรมยอยที่ 20 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําแมฉางขาว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 552,800.00 552,800.00 552,800.00 552,800.00 552,800.00 2,764,000.00


กิจกรรมยอยที่ 21 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําสันปาสัก 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 552,800.00 552,800.00 552,800.00 552,800.00 552,800.00 2,764,000.00
กิจกรรมยอยที่ 22 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยกาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 552,800.00 552,800.00 552,800.00 552,800.00 552,800.00 2,764,000.00
กิจกรรมยอยที่ 23 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยงิ้ว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 550,000.00 550,000.00 550,000.00 550,000.00 550,000.00 2,750,000.00
กิจกรรมยอยที่ 24 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยเอี้ยง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 552,800.00 552,800.00 552,800.00 552,800.00 552,800.00 2,764,000.00
กิจกรรมยอยที่ 25 กอสรางระบบกระจายน้ําดวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 9,394,700.00 9,394,700.00 9,394,700.00 9,394,700.00 9,394,700.00 46,973,500.00
พลังงานแสงอาทิตยหนองบัวนอย
กิจกรรมยอยที่ 26 กอสรางระบบกระจายน้ําดวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 8,571,500.00 8,571,500.00 8,571,500.00 8,571,500.00 8,571,500.00 42,857,500.00
พลังงานแสงอาทิตยหนองบัวหลวง
กิจกรรมยอยที่ 27 กอสรางระบบกระจายน้ําดวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 4,965,200.00 4,965,200.00 4,965,200.00 4,965,200.00 4,965,200.00 24,826,000.00
พลังงานแสงอาทิตยหวยสาน
กิจกรรมยอยที่ 28 กอสรางระบบกระจายน้ําดวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 5,984,400.00 5,984,400.00 5,984,400.00 5,984,400.00 5,984,400.00 29,922,000.00
พลังงานแสงอาทิตยหนองสถาน
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 29 กอสรางระบบกระจายน้ําดวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 5,318,000.00 5,318,000.00 5,318,000.00 5,318,000.00 5,318,000.00 26,590,000.00
พลังงานแสงอาทิตยหนองสลาบ
กิจกรรมยอยที่ 30 กอสรางระบบกระจายน้ําดวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 4,520,900.00 4,520,900.00 4,520,900.00 4,520,900.00 4,520,900.00 22,604,500.00
พลังงานแสงอาทิตยหนองมันปลา
กิจกรรมยอยที่ 31 กอสรางระบบกระจายน้ําดวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 4,560,100.00 4,560,100.00 4,560,100.00 4,560,100.00 4,560,100.00 22,800,500.00
พลังงานแสงอาทิตยหนองแสะ
กิจกรรมยอยที่ 32 อนุรักษฟนฟูเวียงหนองหลม - 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 98,570,200.00 98,570,200.00 98,570,200.00 98,570,200.00 98,570,200.00 492,851,000.00
หนองเขียว พรอมระบบกระจายน้ําดวยพลังงาน
แสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 33 อนุรักษฟนฟูเวียงหนองหลม - 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 112,008,300.00 112,008,300.00 112,008,300.00 112,008,300.00 112,008,300.00 560,041,500.00
หนองไคร พรอมระบบกระจายน้ําดวยพลังงาน
แสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 34 อนุรักษฟนฟูเวียงหนองหลม - 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 107,797,000.00 107,797,000.00 107,797,000.00 107,797,000.00 107,797,000.00 538,985,000.00
หนองปาเหมี่ยงและหนองบัวตนยาง พรอมระบบ
กระจายน้ําดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 35 จัดตั้งกลุมผูใชน้ําในพื้นที่ จํานวน 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
5 กลุม (เวียงหนองหลม, หนองเขียว, หนองไคร,
หนองปาเหมี่ยง-หนองบัว, หลงกก-แมน้ําลัว)

กิจกรรมยอยที่ 36 การบริหารจัดการทรัพยากรน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00


ในพื้นที่ (เวียงหนองหลม, หนองเขียว, หนองไคร,
หนองปาเมียง-หนองบัว, หลงกก-แมน้ําลัว)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 37 กอสรางระบบกระจายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 15,398,100.00 15,398,100.00 15,398,100.00 15,398,100.00 15,398,100.00 76,990,500.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
วาวี (บานมังกาลา)
กิจกรรมยอยที่ 38 อนุรักษฟนฟูหลงกก พรอมระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 305,369,500.00 305,369,500.00 305,369,500.00 305,369,500.00 305,369,500.00 1,526,847,500.00
กระจายน้ําดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 39 กอสรางระบบกระจายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 18,553,873.50 18,553,873.50 18,553,873.50 18,553,873.50 74,215,494.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
หวยกางปลา(บานหวยปู)
กิจกรรมยอยที่ 40 คาใชจายในการติดตาม 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 4,800,000.00
ตรวจสอบและประเมินผลคุณภาพน้ําลุมน้ําโขงใน
สวนของประเทศไทย
กิจกรรมยอยที่ 41 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 492,758.70 492,758.70 492,758.70 492,758.70 1,971,034.80
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
แมสลอง
กิจกรรมยอยที่ 42 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 492,758.70 492,758.70 492,758.70 492,758.70 1,971,034.80
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
หวยกางปลา
กิจกรรมยอยที่ 43 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 494,267.15 494,267.15 494,267.15 494,267.15 1,977,068.60
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
วาวี
กิจกรรมยอยที่ 44 ปรับปรุงซอมแซมระบบกระจาย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 33,083,215.74 33,083,215.74 33,083,215.74 33,083,215.74 132,332,862.96
น้ําพุทธยาน พุทธธรรมจักร (รอยใจรัก)
กิจกรรมยอยที่ 45 ปรับปรุงซอมแซมฝายน้ําลนทุง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 50,035,120.65 50,035,120.65 50,035,120.65 50,035,120.65 200,140,482.60
แพะ พรอมระบบกระจายน้ํา
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 46 ปรับปรุงซอมแซมฝายน้ําลน 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 48,828,364.65 48,828,364.65 48,828,364.65 48,828,364.65 195,313,458.60
แกวลูน พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 47 ปรับปรุงซอมแซมฝายน้ําลนหวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 5,530,965.00 5,530,965.00 5,530,965.00 5,530,965.00 22,123,860.00
ตาดควร พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 48 ปรับปรุงซอมแซมฝายน้ําลนหวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 5,530,965.00 5,530,965.00 5,530,965.00 5,530,965.00 22,123,860.00
เคียน พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 49 ปรับปรุงซอมแซมฝายน้ําลนหวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 4,525,335.00 4,525,335.00 4,525,335.00 4,525,335.00 18,101,340.00
แมตาก 1 พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 50 ปรับปรุงซอมแซมฝายน้ําลนหวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 5,028,150.00 5,028,150.00 5,028,150.00 5,028,150.00 20,112,600.00
แมตาก 2 พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 51 ปรับปรุงซอมแซมฝายใตทอ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 3,016,890.00 3,016,890.00 3,016,890.00 3,016,890.00 12,067,560.00
เหลี่ยม พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 52 ปรับปรุงซอมแซมฝายน้ําลนหวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 4,022,520.00 4,022,520.00 4,022,520.00 4,022,520.00 16,090,080.00
แมเลียบ พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 53 ปรับปรุงซอมแซมฝายน้ําลนแม 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 7,542,225.00 7,542,225.00 7,542,225.00 7,542,225.00 30,168,900.00
คาวโตน พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 54 ปรับปรุงซอมแซมอางเก็บน้ําหวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 9,050,670.00 9,050,670.00 9,050,670.00 9,050,670.00 36,202,680.00
กางปลา
กิจกรรมยอยที่ 55 ปรับปรุงซอมแซมอางเก็บน้ําหิน 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 5,028,150.00 5,028,150.00 5,028,150.00 5,028,150.00 20,112,600.00
แตก 1 พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 56 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพฝายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 28,660,455.00 28,660,455.00 28,660,455.00 28,660,455.00 114,641,820.00
ลนหวยตาดควัน
กิจกรรมยอยที่ 57 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพฝายใต 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 18,252,184.50 18,252,184.50 18,252,184.50 18,252,184.50 73,008,738.00
ทอเหลี่ยม
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 58 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพฝายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 11,816,152.50 11,816,152.50 11,816,152.50 11,816,152.50 47,264,610.00
ลนแมคาวโตน
กิจกรรมยอยที่ 59 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพฝายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 27,413,473.80 27,413,473.80 27,413,473.80 27,413,473.80 109,653,895.20
ลนแมตาก2
กิจกรรมยอยที่ 60 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพฝายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 18,453,310.50 18,453,310.50 18,453,310.50 18,453,310.50 73,813,242.00
ลนหวยเคียน
กิจกรรมยอยที่ 61 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพฝายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 19,458,940.50 19,458,940.50 19,458,940.50 19,458,940.50 77,835,762.00
ลนหวยดินดํา
กิจกรรมยอยที่ 62 ปรับปรุงซอมแซมอางเก็บน้ําหวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 30,425,335.65 30,425,335.65 30,425,335.65 30,425,335.65 121,701,342.60
งิ้ว พรอมระบบกระจายน้ําดวยพลังงานแสงอาทิตย

กิจกรรมยอยที่ 63 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพฝายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 12,268,686.00 12,268,686.00 12,268,686.00 12,268,686.00 49,074,744.00


ลนหวยแมตาก
กิจกรรมยอยที่ 64 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพฝายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 18,956,125.50 18,956,125.50 18,956,125.50 18,956,125.50 75,824,502.00
ลนหวยแมตาก1
กิจกรรมยอยที่ 65 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพฝายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 12,469,812.00 12,469,812.00 12,469,812.00 12,469,812.00 49,879,248.00
ลนหวยแมเลียบ
กิจกรรมยอยที่ 66 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพฝายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 16,090,080.00 16,090,080.00 16,090,080.00 16,090,080.00 64,360,320.00
ลนหวยออ
กิจกรรมยอยที่ 67 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 17,699,088.00 17,699,088.00 17,699,088.00 17,699,088.00 70,796,352.00
สงน้ําจากฝายน้ําลนหวยดินดํา
กิจกรรมยอยที่ 68 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 14,129,101.50 14,129,101.50 14,129,101.50 14,129,101.50 56,516,406.00
สงน้ําจากฝายน้ําลนหวยตาดควัน
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 69 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 13,777,131.00 13,777,131.00 13,777,131.00 13,777,131.00 55,108,524.00
สงน้ําจากฝายน้ําลนหวยแมเลียบ
กิจกรรมยอยที่ 70 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 13,525,723.50 13,525,723.50 13,525,723.50 13,525,723.50 54,102,894.00
สงน้ําจากฝายน้ําลนหวยออ
กิจกรรมยอยที่ 71 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 14,279,946.00 14,279,946.00 14,279,946.00 14,279,946.00 57,119,784.00
สงน้ําจากอางเก็บน้ําสันปาสัก
กิจกรรมยอยที่ 72 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพอาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 16,291,206.00 16,291,206.00 16,291,206.00 16,291,206.00 65,164,824.00
เก็บน้ําสันปาสัก
กิจกรรมยอยที่ 73 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 32,682,975.00 32,682,975.00 32,682,975.00 32,682,975.00 130,731,900.00
สงน้ําจากอางเก็บน้ําหวยงิ้ว
กิจกรรมยอยที่ 74 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพอาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 14,430,790.50 14,430,790.50 14,430,790.50 14,430,790.50 57,723,162.00
เก็บน้ําหวยงิ้ว
กิจกรรมยอยที่ 75 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 492,255.89 492,255.89 492,255.89 492,255.89 1,969,023.56
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการ
หลวงวาวี (บานแมปูนนอยกะเหรี่ยง)
กิจกรรมยอยที่ 76 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 28,006,795.50 28,006,795.50 28,006,795.50 28,006,795.50 112,027,182.00
สงน้ําจากอางเก็บน้ําหวยตุมเหนือ
กิจกรรมยอยที่ 77 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 494,769.96 494,769.96 494,769.96 494,769.96 1,979,079.84
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
วาวี (บานปาคา)
กิจกรรมยอยที่ 78 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 495,775.59 495,775.59 495,775.59 495,775.59 1,983,102.36
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการ
หลวงวาวี (บานหวยไร)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 79 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 493,462.64 493,462.64 493,462.64 493,462.64 1,973,850.56
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
วาวี (บานหวยงู)
กิจกรรมยอยที่ 80 ปรับปรุงซอมแซมฝายน้ําลนแม 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 35,421,305.49 35,421,305.49 35,421,305.49 35,421,305.49 141,685,221.96
ลาว พรอมระบบกระจายน้ําดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 81 อนุรักษฟนฟูหลงกก พรอมระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 305,530,506.60 305,530,506.60 305,530,506.60 305,530,506.60 1,222,122,026.40
กระจายน้ําดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 82 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําแมฉางขาว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 553,096.50 553,096.50 553,096.50 553,096.50 2,212,386.00
กิจกรรมยอยที่ 83 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําสันปาสัก 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 553,096.50 553,096.50 553,096.50 553,096.50 2,212,386.00
กิจกรรมยอยที่ 84 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยกาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 553,096.50 553,096.50 553,096.50 553,096.50 2,212,386.00
กิจกรรมยอยที่ 85 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยงิ้ว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 553,096.50 553,096.50 553,096.50 553,096.50 2,212,386.00
กิจกรรมยอยที่ 86 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยเอี้ยง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 553,096.50 553,096.50 553,096.50 553,096.50 2,212,386.00
กิจกรรมยอยที่ 87 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 23,620,000.00 23,620,000.00 23,620,000.00 23,620,000.00 94,480,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการอนุรักษ ฟนฟู
พัฒนาแหลงน้ําชุมชนและระบบกระจายน้ํา ตําบล
ศรีโพธิ์เงิน สันมะคา อําเภอปาแดด จังหวัดเชียงราย
ตําบลหวยแกว อําเภอแมออน จังหวัดเชียงใหม

กิจกรรมยอยที่ 88 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 22,990,000.00 22,990,000.00 22,990,000.00 22,990,000.00 91,960,000.00


เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการปรับปรุงทาง
น้ําสาขา แมน้ําพง
กิจกรรมยอยที่ 89 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 27,390,000.00 27,390,000.00 27,390,000.00 27,390,000.00 109,560,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการปรับปรุงทาง
น้ําสาขา น้ําแมจัน
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 90 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 33,780,000.00 33,780,000.00 33,780,000.00 33,780,000.00 135,120,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการอนุรักษและ
ฟนฟูระบบโครงขายแหลงน้ํา 4 ตําบล _ หวยสัก,
เวียงชัย, ดอนศิลา, เมืองชุม _

กิจกรรมยอยที่ 91 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 31,290,000.00 31,290,000.00 31,290,000.00 31,290,000.00 125,160,000.00


เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการเพิ่ม
ประสิทธิภาพระบบโครงขายแหลงน้ํา 3 ตําบล (
จันจวา, ปาสัก, โยนก )
กิจกรรมยอยที่ 92 คาใชจายในการติดตาม 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 3,600,000.00
ตรวจสอบและประเมินผลคุณภาพน้ําลุมน้ําโขงใน
สวนของปร เทศไทย
กิจกรรมยอยที่ 93 ปรับปรุงซอมแซมฝายน้ําลนหวย 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 39,536,877.14 39,536,877.14 39,536,877.14 118,610,631.42
ดินดํา พรอมระบบกระจายน้ําดวยพลังงาน
แสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 94 กอสรางฝายน้ําลนแมจัน พรอม 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 35,388,834.96 35,388,834.96 35,388,834.96 106,166,504.88
ระบบกระจายน้ําดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 95 กอสรางระบบกระจายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 10,075,400.00 10,075,400.00 10,075,400.00 30,226,200.00
สนับสนุนโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร (อพ.สธ.ครึ่ง)

กิจกรรมยอยที่ 96 กอสรางระบบกระจายน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 10,075,400.00 10,075,400.00 10,075,400.00 30,226,200.00


สนับสนุนโครงการอนุรักษพันธุกรรมพืชอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ สมเด็จพระเทพ
รัตนราชสุดาฯ สยามบรมราชกุมาร (อพ.สธ.)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 97 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 493,695.00 493,695.00 493,695.00 1,481,085.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
แมสลอง (บานพนาสวรรค)
กิจกรรมยอยที่ 98 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 495,407.00 495,407.00 495,407.00 1,486,221.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
แมสลอง (บานอังหลอ)
กิจกรรมยอยที่ 99 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 494,198.00 494,198.00 494,198.00 1,482,594.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการหลวง
แมสลอง (บานสันติคีรี)
กิจกรรมยอยที่ 100 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 495,004.00 495,004.00 495,004.00 1,485,012.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการ
หลวงแมสลอง (บานสามสูง)
กิจกรรมยอยที่ 101 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 3,022,620.00 3,022,620.00 3,022,620.00 9,067,860.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการ
หลวงหวยกางปลา (บานหวยปู)
กิจกรรมยอยที่ 102 ปรับปรุงซอมสรางระบบสงน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 11,183,690.00 11,183,690.00 11,183,690.00 33,551,070.00
จากอางเก็บน้ําแมฉางขาว
กิจกรรมยอยที่ 103 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 494,702.00 494,702.00 494,702.00 1,484,106.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการ
หลวงวาวี (บานใหมพัฒนา)
กิจกรรมยอยที่ 104 ปรับปรุงซอมสรางระบบสงน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 10,679,920.00 10,679,920.00 10,679,920.00 32,039,760.00
จากอางเก็บน้ําแมฉางขาว
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 105 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 494,198.00 494,198.00 494,198.00 1,482,594.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการ
หลวงวาวี (บานหวยน้ําอุน)
กิจกรรมยอยที่ 106 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพอาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 29,923,940.00 29,923,940.00 29,923,940.00 89,771,820.00
เก็บน้ําแมฉางขาว
กิจกรรมยอยที่ 107 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 495,004.00 495,004.00 495,004.00 1,485,012.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการ
หลวงวาวี (บานผาแดงลีซอ)
กิจกรรมยอยที่ 108 ปรับปรุงซอมสรางระบบสงน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 17,077,800.00 17,077,800.00 17,077,800.00 51,233,400.00
จากอางเก็บน้ําหวยไมยา
กิจกรรมยอยที่ 109 กอสรางระบบกระจายน้ําสะอาด 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 493,695.00 493,695.00 493,695.00 1,481,085.00
สนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบโครงการ
หลวงวาวี (บานหวยนากาด)
กิจกรรมยอยที่ 110 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 12,291,990.00 12,291,990.00 12,291,990.00 36,875,970.00
ระบบสงน้ําจากอางเก็บน้ําหวยเอี้ยง
กิจกรรมยอยที่ 111 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพอาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 30,105,300.00 30,105,300.00 30,105,300.00 90,315,900.00
เก็บน้ําหวยเอี้ยง
กิจกรรมยอยที่ 112 ปรับปรุงเพิ่มประสิทธิภาพ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 16,120,640.00 16,120,640.00 16,120,640.00 48,361,920.00
ระบบสงน้ําจากอางเก็บน้ําหวยเอี้ยง
กิจกรรมยอยที่ 113 อนุรักษฟนฟูเขตหามลาสัตวปา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 21,158,340.00 21,158,340.00 21,158,340.00 63,475,020.00
หนองบงคาย(แองเชียงแสน)
กิจกรรมยอยที่ 114 อนุรักษฟนฟูแมน้ําโขง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 19,143,260.00 19,143,260.00 19,143,260.00 57,429,780.00
กิจกรรมยอยที่ 115 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําแมฉางขาว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 554,147.00 554,147.00 554,147.00 1,662,441.00
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 116 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําสันปาสัก 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 554,147.00 554,147.00 554,147.00 1,662,441.00
กิจกรรมยอยที่ 117 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยกาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 554,147.00 554,147.00 554,147.00 1,662,441.00
กิจกรรมยอยที่ 118 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยงิ้ว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 554,147.00 554,147.00 554,147.00 1,662,441.00
กิจกรรมยอยที่ 119 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยเอี้ยง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 554,147.00 554,147.00 554,147.00 1,662,441.00
กิจกรรมยอยที่ 120 อนุรักษฟนฟูหนองหลวง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 22,165,880.00 22,165,880.00 22,165,880.00 66,497,640.00
กิจกรรมยอยที่ 121 อนุรักษฟนฟูหนองฮาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 25,188,500.00 25,188,500.00 25,188,500.00 75,565,500.00
กิจกรรมยอยที่ 122 อนุรักษฟนฟูแมน้ํากก 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 16,120,640.00 16,120,640.00 16,120,640.00 48,361,920.00
กิจกรรมยอยที่ 123 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 33,510,000.00 33,510,000.00 33,510,000.00 100,530,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบโครงการอนุรักษและ
ฟนฟูระบบโครงขายแหลงน้ํา 4 ตําบล _ จันจวา,
สันทราย, จันจวาใต, จอมสวรรค _

กิจกรรมยอยที่ 124 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 24,090,000.00 24,090,000.00 24,090,000.00 72,270,000.00


เหมาะสม สํารวจ ออกแบบโครงการอนุรักษและ
ฟนฟูระบบโครงขายแหลงน้ํา 6 ตําบล _ จันจวา,
สันทราย, ทาขาวเปลือก, จันจวาใต, จอมสวรรค,
โยนก _

กิจกรรมยอยที่ 125 คาใชจายในการติดตาม 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 1,200,000.00 1,200,000.00 2,400,000.00


ตรวจสอบและประเมินผลคุณภาพน้ําลุมน้ําโขงใน
สวนของประเทศไทย
กิจกรรมยอยที่ 126 กอสรางรางระบายน้ําพรอมฝา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 1,500,000.00 1,500,000.00 3,000,000.00
ปดบริเวณหนาบานพออุยยี่ คําปน ถึงบานนางขันคํา

กิจกรรมยอยที่ 127 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําแมฉางขาว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 553,828.00 553,828.00 1,107,656.00


บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 128 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําสันปาสัก 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 553,828.00 553,828.00 1,107,656.00
กิจกรรมยอยที่ 129 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยกาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 553,828.00 553,828.00 1,107,656.00
กิจกรรมยอยที่ 130 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยงิ้ว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 553,828.00 553,828.00 1,107,656.00
กิจกรรมยอยที่ 131 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยเอี้ยง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 553,828.00 553,828.00 1,107,656.00
กิจกรรมยอยที่ 132 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 33,549,000.00 33,549,000.00 67,098,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการปรับปรุงทาง
น้ําสาขา แมลาว
กิจกรรมยอยที่ 133 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 33,652,000.00 33,652,000.00 67,304,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการอนุรักษและ
ฟนฟูระบบโครงขายแหลงน้ํา 4 ตําบล _ งิ้ว, ปลอง,
ศรีดอนไชย, หนองแรด _

กิจกรรมยอยที่ 134 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 22,840,000.00 22,840,000.00 45,680,000.00


เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการอนุรักษและ
ฟนฟูระบบโครงขายแหลงน้ํา 3 ตําบล _ จันจวา, ปา
สัก, โยนก _

กิจกรรมยอยที่ 135 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําแมฉางขาว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 550,000.00 550,000.00 1,100,000.00

กิจกรรมยอยที่ 136 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําสันปาสัก 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 550,000.00 550,000.00 1,100,000.00


กิจกรรมยอยที่ 137 โครงการอนุรักษและฟนฟูระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 23,160,080.00 23,160,080.00 46,320,160.00
โครงขายแหลงน้ํา หนองหลวง
กิจกรรมยอยที่ 138 โครงการอนุรักษและฟนฟูระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 19,132,240.00 19,132,240.00 38,264,480.00
โครงขายแหลงน้ํา ทะเลสาบเชียงแสน
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 139 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 23,407,000.00 23,407,000.00 46,814,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการเพิ่ม
ประสิทธิภาพระบบโครงขายแหลงน้ํา 4 ตําบล (
จันจวา, สันทราย, จันจวาใต, จอมสวรรค )

กิจกรรมยอยที่ 140 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 29,181,000.00 29,181,000.00 58,362,000.00


เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการเพิ่ม
ประสิทธิภาพระบบโครงขายแหลงน้ํา 6 ตําบล (
จันจวา, สันทราย, ทาขาวเปลือก, จันจวาใต, จอม
สวรรค, โยนก )

กิจกรรมยอยที่ 141 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยกาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 550,000.00 550,000.00 1,100,000.00


กิจกรรมยอยที่ 142 โครงการอนุรักษและฟนฟูระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 21,146,160.00 21,146,160.00 42,292,320.00
โครงขายแหลงน้ํา หนองซง
กิจกรรมยอยที่ 143 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 22,195,000.00 22,195,000.00 44,390,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการอนุรักษและ
ฟนฟูแหลงน้ํา 4 ตําบล _ ปาแฝก, หัวงม, ทานตะวัน,
เวียงหาว
กิจกรรมยอยที่ 144 โครงการอนุรักษและฟนฟูระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 17,621,800.00 17,621,800.00 35,243,600.00
โครงขายแหลงน้ํา หนองเขียว
กิจกรรมยอยที่ 145 คาใชจายในการติดตาม 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 1,200,000.00 1,200,000.00
ตรวจสอบและประเมินผลคุณภาพน้ําลุมน้ําโขงใน
สวนของประเทศไทย
กิจกรรมยอยที่ 146 ปรับปรุงซอมแซมอางเก็บน้ําจอ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 8,031,280.00 8,031,280.00
เกาหาง พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 147 กอสรางฝายน้ําลนหวยยางงาม 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 8,031,280.00 8,031,280.00
พรอมระบบกระจายน้ํา
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 148 กอสรางฝายน้ําลนแมคํา พรอม 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 2,990,447.00 2,990,447.00
ระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 149 กอสรางอางเก็บน้ําหวยแมเลียบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 58,276,980.00 58,276,980.00
พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 150 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 15,000,000.00 15,000,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการเพิ่ม
ประสิทธิภาพแหลงน้ํา 2 ตําบล ( บานแซว, แมเงิน )
กิจกรรมยอยที่ 151 โครงการกอสรางอางเก็บน้ํา 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 42,365,000.00 42,365,000.00
หวยปาติ้ว พรอมระบบกระจายน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 152 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําแมฉางขาว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 552,151.00 552,151.00

กิจกรรมยอยที่ 153 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําสันปาสัก 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 552,151.00 552,151.00


กิจกรรมยอยที่ 154 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยกาง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 552,151.00 552,151.00
กิจกรรมยอยที่ 155 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยงิ้ว 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 552,151.00 552,151.00
กิจกรรมยอยที่ 156 บํารุงรักษาอางเก็บน้ําหวยเอี้ยง 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 552,151.00 552,151.00
กิจกรรมยอยที่ 157 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 23,693,000.00 23,693,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการปรับปรุงทาง
น้ําสาขา แมน้ําอิงตอนกลาง
กิจกรรมยอยที่ 158 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 31,024,000.00 31,024,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการปรับปรุงทาง
น้ําสาขา น้ําแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 159 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 24,724,000.00 24,724,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการปรับปรุงทาง
น้ําสาขา แมน้ําโขงตอนบน _ลําน้ําแมมะ_
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 160 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 33,505,000.00 33,505,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการปรับปรุงทาง
น้ําสาขา แมน้ําอิงตอนลาง
กิจกรรมยอยที่ 161 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 27,258,000.00 27,258,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการปรับปรุงทาง
น้ําสาขา แมน้ําโขงตอนบน _ลําน้ําแมบง_
กิจกรรมยอยที่ 162 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 26,068,000.00 26,068,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการอนุรักษและ
ฟนฟูระบบโครงขายแหลงน้ํา ตําบลบุญเรือง _
หนองปาปรัง _

กิจกรรมยอยที่ 163 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 32,312,000.00 32,312,000.00


เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการอนุรักษและ
ฟนฟูแหลงน้ํา 2 ตําบล _ บานแซว, แมเงิน _
กิจกรรมยอยที่ 164 คาใชจายในการศึกษาความ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 29,893,000.00 29,893,000.00
เหมาะสม สํารวจ ออกแบบ โครงการเพิ่ม
ประสิทธิภาพระบบโครงขายแหลงน้ํา ตําบลบุญเรือง
( หนองปาปรัง )

กิจกรรมยอยที่ 165 โครงการอนุรักษและฟนฟู 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 15,058,650.00 15,058,650.00


แหลงน้ํา หนองฮาง
กิจกรรมยอยที่ 166 โครงการอนุรักษและฟนฟูระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 23,089,930.00 23,089,930.00
โครงขายแหลงน้ํา หนองปาปรัง
กิจกรรมยอยที่ 167 โครงการอนุรักษและฟนฟู 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 16,564,520.00 16,564,520.00
แหลงน้ําหนองเรือหนองสะแล็บ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 168 โครงการอนุรักษและฟนฟูระบบ 1 3 กรมทรัพยากรน้ํา 16,062,560.00 16,062,560.00
โครงขายแหลงน้ําหนองแดง
กรมชลประทาน 1,619,788,000.00 3,177,066,000.00 4,292,650,000.00 5,101,331,200.00 6,446,685,200.00 20,637,520,400.00
กิจกรรมยอยที่ 1 กอสรางทอหลอดเหลี่ยม คสล. 1 3 กรมชลประทาน 11,000,000.00 11,000,000.00 11,000,000.00 11,000,000.00 11,000,000.00 55,000,000.00
บริเวณลําเหมืองปง
กิจกรรมยอยที่ 2โครงการขุดลอกลําเหมืองปง 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
กิจกรรมยอยที่ 3โครงการขุดลอกบอน้ําสาธารณะ 1 3 กรมชลประทาน 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 47,500,000.00
บริเวณสุสาน
กิจกรรมยอยที่ 4 โครงการขุดลอกลําเหมืองลําไสไก 1 3 กรมชลประทาน 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 47,500,000.00
ทุกเสนในหมูบาน
กิจกรรมยอยที่ 5โครงการกอสรางฝายชะลอน้ําลนลํา 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00
เหมืงโปงขางนานายแฉลม ขางนานายสมบูรณ ทา
ยะนา
กิจกรรมยอยที่ 6โครงการขุดเจาะบอบาดาลเพื่อ 1 3 กรมชลประทาน 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 6,000,000.00
การเกษตร
กิจกรรมยอยที่ 7โครงการกอสรางบอธนาคารน้ําใต 1 3 กรมชลประทาน 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 47,500,000.00
ดินระบบเปด
กิจกรรมยอยที่ 8โครงการขุดลอกลําเหมืองพื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00
การเกษตร
กิจกรรมยอยที่ 9โครงการกอสรางฝายทดน้ําและราง 1 3 กรมชลประทาน 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00
สงน้ําเหมืองหวไครบริเวณเลยบานนายบรรจง ออน
ตะไคร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 10ฝายบานทรายทองพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00
น้ํา จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบ
โครงการหลวงหวยแลง พื้นที่ชลประทาน 800 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 11ฝายพรอมระบบสงน้ําบานหวยมวง 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 40,000,000.00


จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการขยายผลโครงการหลวง
หวยน้ําริน พื้นที่ชลประทาน 200 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 12ฝายหวยปาจําพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 45,000,000.00


จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบ
โครงการหลวงหวยโปง พื้นที่ชลประทาน 350 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 13ฝายพรอมระบบสงน้ําบานงิ้วเฒา 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 40,000,000.00


จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการพัฒนาปาไมตามแนว
พระราชดําริ พื้นที่ชลประทาน 200 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 14ฝายพรอมระบบสงน้ําบานผาวี 1 3 กรมชลประทาน 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 47,500,000.00


จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการพัฒนาปาไมตามแนว
พระราชดําริ พื้นที่ชลประทาน 200 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 15ปรับปรุงระบบสงน้ําฝงขวาอาง 1 3 กรมชลประทาน 5,800,000.00 5,800,000.00 5,800,000.00 5,800,000.00 5,800,000.00 29,000,000.00


เก็บน้ําหวยตาควน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ระยะที่ 2 พื้นที่รับประโยชน 800 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 16ปรับปรุงระบบสงน้ําฝงซายอาง 1 3 กรมชลประทาน 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 35,000,000.00
เก็บน้ําหวยเอี้ยง จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการอนุรักษ
และพัฒนาปาตนน้ําหวยเอี้ยงอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ (ระยะที่ 2) พื้นที่รับประโยชน 200 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 17ปรับปรุงระบบสงน้ําฝายปางไคร 1 3 กรมชลประทาน 14,000,000.00 14,000,000.00 14,000,000.00 14,000,000.00 14,000,000.00 70,000,000.00


อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะที่ 2 พื้นที่รับ
ประโยชน 700 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 18ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00
หวยหลวง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะที่ 2
พื้นที่รับประโยชน 500 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 19ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00


หวยแดด อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะที่ 2
พื้นที่รับประโยชน 500 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 20ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00


หมออุง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่รับ
ประโยชน 600 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 21ปรับปรุงระบบสงน้ําฝายหวยบอ 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 40,000,000.00
สม อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะที่ 2 พื้นที่รับ
ประโยชน 1,500 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 22ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 4,750,000.00
สายใหญฝงขวา RMC ฝายวังเคียน โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ กม. 0+000 ถึง 2+000
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 23งานซอมแซมระบบสงน้ําอางเก็บ 1 3 กรมชลประทาน 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 3,600,000.00


น้ําแมตาแมว โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
กม. 2+000 ถึง กม.2+500 โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 24ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายหวย 1 3 กรมชลประทาน 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 2,250,000.00


แลง 1 จัดหาน้ําสนับสนุนศูนยพัฒนาโครงการหลวง
หวยแลง ความยาวรวม 900 เมตร พรอมขุดลอก
ตะกอนหนาฝาย โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 25ซอมแซมทางระบายน้ําลนพรอม 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00


ทอสงน้ําอางเก็บน้ําหวยหินฝน โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ จํานวน 480 ตารางเมตร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 26ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 4,925,000.00


ระบบสงน้ําฝงขวาอางเก็บน้ําหวยทราย โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ กม. 1+800 ถึง กม.2+800
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 27งานซอมแซมระบบสงน้ําฝายจอ 1 3 กรมชลประทาน 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 1,750,000.00


หนานวงค โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ความยาว 1,200 เมตร โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 28ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายหวย 1 3 กรมชลประทาน 390,000.00 390,000.00 390,000.00 390,000.00 390,000.00 1,950,000.00
แลง 2 จัดหาน้ําสนับสนุนศูนยพัฒนาโครงการหลวง
หวยแลง ความยาวรวม 700 เมตร พรอมขุดลอก
ตะกอนหนาฝาย โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 29ซอมแซมคลองสงน้ําสาย 1L-LMC 1 3 กรมชลประทาน 550,000.00 550,000.00 550,000.00 550,000.00 550,000.00 2,750,000.00
อางเก็บน้ําหวยหมากเอียก โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ ความยาว 0.366 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 30ซอมแซมระบบทอสงน้ําสถานี 1 3 กรมชลประทาน 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 4,750,000.00


พัฒนาการเกษตรที่สูงบานหวยหยวกปาโซ โครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ความยาว 1,000 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 31ซอมแซมหินเรียงทํานบดินพรอม 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00


หินคลุก อางเก็บน้ําแมมอญ โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ จํานวน 1 แหง โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 32ซอมแซมระบบสงน้ําฝายหวยปาง 1 3 กรมชลประทาน 970,000.00 970,000.00 970,000.00 970,000.00 970,000.00 4,850,000.00


หมู จัดหาน้ําสนับสนุนศูนยพัฒนา โครงการหลวง
หวยแลง ความยาว 1,700 เมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 33ซอมแซมหินเรียงหนา ทรบ.ปาก 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
คลอง พรอมขุดลอกตะกอนคลองสงน้ําฝงซาย อาง
เก็บน้ําหวยเดื่อ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
จํานวน 300 ตารางเมตร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 34ซอมแซมดาดคอนกรีตคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00


1L-RMC กม. 1+500 ถึง 2+500 พรอมขุดลอก
ตะกอน อางเก็บน้ําหวยสัก โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 35งานซอมแซมระบบทอสงน้ําฝาย 1 3 กรมชลประทาน 840,000.00 840,000.00 840,000.00 840,000.00 840,000.00 4,200,000.00


หวยกางปลา กม.0+300 ถึง กม.1+800 จัดหาน้ํา
สนับสนุนโรงเรียนวัดหนองบัวพิทยาและหมูบาน
ใกลเคียง โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 36ซอมแซมคลองสงน้ําสาย LMC 1 3 กรมชลประทาน 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 3,250,000.00
ฝายตนผึ้ง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
พรอมขุดลอกตะกอนคลองสงน้ํา ความยาว 0.372
เมตร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 37ซอมแซมระบบสงน้ําฝายแมแกว 1 3 กรมชลประทาน 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 3,750,000.00


โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สาย RMC
กม.0+500 ถึง กม.1+400 โครงการชลประทาน
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 38ซอมแซมระบบสงน้ําฝายเหลา 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00
สวนออย โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ความยาว 1,800 เมตร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 39ซอมแซมฝายพรอมขุดลอก 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00


ตะกอนหนาฝายแมเจดีย โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ จํานวน 1 แหง โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 40ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองฝง 1 3 กรมชลประทาน 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 3,500,000.00


ซาย อางเก็บน้ําแมเปน โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ ความยาว 0.369 เมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 41ซอมแซมระบบทอสงน้ําอางเก็บ 1 3 กรมชลประทาน 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 3,600,000.00


น้ําแมออ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กม.
4+000 ถึง กม.5+000 โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 42ซอมแซมระบบคลองสงน้ําอาง 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00


เก็บน้ําหวยนาน โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ สาย LMC กม.0+030 ถึง กม.0+700
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 43ซอมแซมคลองสงน้ําฝงซายพรอม 1 3 กรมชลประทาน 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 2,250,000.00


ขุดลอกตะกอน อางเก็บน้ําหวยปู โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ ความยาว 0.255 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 44ซอมแซมระบบทอสงน้ําอางเก็บ 1 3 กรมชลประทาน 740,000.00 740,000.00 740,000.00 740,000.00 740,000.00 3,700,000.00
น้ําหวยตนยาง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
กม. 0+500 ถึง กม.2+500 โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 45ซอมแซมระบบคลองสงน้ําอาง 1 3 กรมชลประทาน 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 2,250,000.00


เก็บน้ําหวยปลอง โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ สาย LMC กม.0+200 ถึง กม.0+700
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 46ซอมแซมทายทางระบายน้ําลน 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00


อางเก็บน้ําหวยปู โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ จํานวน 480 ตารางเมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 47ซอมแซมฝายพรอมขุดลอก 1 3 กรมชลประทาน 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 1,750,000.00


ตะกอนหนาฝายหวยเดื่อ โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ จํานวน 1 แหง โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 48ซอมแซมฝายตนผึ้ง โครงการอัน 1 3 กรมชลประทาน 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 1,750,000.00
เนื่องมาจากพระราชดําริ พรอมขุดลอกตะกอน
จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 49ซอมแซมระบบสงน้ําฝายทุงมะ 1 3 กรมชลประทาน 320,000.00 320,000.00 320,000.00 320,000.00 320,000.00 1,600,000.00
แกงนอก โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ความยาว 1,100 เมตร โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 50ซอมแซมระบบสงน้ําฝายบานฟา 1 3 กรมชลประทาน 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 3,250,000.00
ไทยงาม จัดหาน้ําสนับสนุนศูนยการเรียนตํารวจ
ตระเวนชายแดนบานฟาไทยงาม ความยาวรวม
1,100 เมตร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 51ซอมแซมฝายจะพือ โครงการอัน 1 3 กรมชลประทาน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00
เนื่องมาจากพระราชดําริ พรอมขุดลอกตะกอน
จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 52ซอมแซมระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00
หวยฝาย โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กม.
0+100 ถึง กม.0+300 พรอมขุดลอกตะกอนคลอง
สงน้ํา โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 53ซอมแซมคลองสงน้ําฝงซาย 1 3 กรมชลประทาน 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 3,500,000.00


พรอมขุดลอกตะกอน ฝายจะพือ โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ ความยาว 0.150 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 54ซอมแซมระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 470,000.00 470,000.00 470,000.00 470,000.00 470,000.00 2,350,000.00


ดอยงิ้ว (น้ําจํา) โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
สาย RMC กม.0+000 ถึง กม.0+600 พรอมขุด
ลอกตะกอนคลอง โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 55ซอมแซมระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 440,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 2,200,000.00


หวยซอ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สาย
RMC กม.0+500 ถึง กม.1+000 พรอมขุดลอก
ตะกอนคลอง โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 56ซอมแซมโครงการชลประทานอัน 1 3 กรมชลประทาน 2,736,000.00 2,736,000.00 2,736,000.00 2,736,000.00 2,736,000.00 13,680,000.00
เนื่องมาจากพระราชดําริตามขอเสนอเกษตรกร (ใน
เขตจังหวัดเชียงราย)
กิจกรรมยอยที่ 57ฝายพรอมระบบสงน้ําบานผาวี 1 3 กรมชลประทาน 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 47,500,000.00
จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการพัฒนาปาไมตามแนว
พระราชดําริ พื้นที่ชลประทาน 200 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 58ฝายพรอมระบบสงน้ําบานงิ้วเฒา 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 40,000,000.00


จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการพัฒนาปาไมตามแนว
พระราชดําริ พื้นที่ชลประทาน 200 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 59ปรับปรุงอางเก็บน้ําหวยเฮี๊ย 1 3 กรมชลประทาน 25,000,000.00 25,000,000.00 25,000,000.00 25,000,000.00 25,000,000.00 125,000,000.00


อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 60ปรับปรุงปองกันตลิ่งทายฝายแม 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 45,000,000.00
ลาว โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 61ปองกันการกัดเซาะตลิ่งในลําน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 90,000,000.00
สรวย เขื่อนแมสรวย ระยะที่ 3 โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 62ฝายหนองปลาเหยี่ยนพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 23,000,000.00 23,000,000.00 23,000,000.00 23,000,000.00 23,000,000.00 115,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 300 ไร
กิจกรรมยอยที่ 63ฝายพรอมระบบสงน้ําบานหวย 1 3 กรมชลประทาน 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 30,000,000.00
ขี้เหล็ก พื้นที่ชลประทาน 200 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 64ปรับปรุงคลองระบายน้ําขางคลอง 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
LMC (ฝงซาย) กม.7+850 ถึง กม. 9+000
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 65ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 10 1 3 กรมชลประทาน 3,150,000.00 3,150,000.00 3,150,000.00 3,150,000.00 3,150,000.00 15,750,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 66ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 9 1 3 กรมชลประทาน 2,800,000.00 2,800,000.00 2,800,000.00 2,800,000.00 2,800,000.00 14,000,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 67ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 8 1 3 กรมชลประทาน 2,450,000.00 2,450,000.00 2,450,000.00 2,450,000.00 2,450,000.00 12,250,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 68ปรับปรุงคลองระบายน้ําขางคลอง 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
LMC (ฝงซาย) กม.1+735 ถึง กม.3+465 โครงการ
สงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 69ปรับปรุงทาย ทรบ.ปลายคลองฝง 1 3 กรมชลประทาน 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 4,500,000.00 22,500,000.00
ขวาอางเก็บน้ําแมสรวย โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 70ปรับปรุงบอพักน้ํา LMC กม. 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
18+000 โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 71ปรับปรุงอาคารอัดน้ํา พรอมติดตั้ง 1 3 กรมชลประทาน 3,950,000.00 3,950,000.00 3,950,000.00 3,950,000.00 3,950,000.00 19,750,000.00
เกียรมอเตอร จํานวน 8 แหง โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 72งานปรับปรุงระบบสงน้ํา ฝงขวา 1 3 กรมชลประทาน 28,000,000.00 28,000,000.00 28,000,000.00 28,000,000.00 28,000,000.00 140,000,000.00
ฝายชัยสมบัติ ระยะ2 พื้นที่รับประโยชน 2,000 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 73ปรับปรุงระบบสงน้ําฝายหวยบอ 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 40,000,000.00
สม อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะที่ 2 พื้นที่รับ
ประโยชน 1,500 ไร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 74ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00


หวยหลวง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะที่ 2
พื้นที่รับประโยชน 500 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 75ปรับปรุงระบบสงน้ําฝายปางไคร 1 3 กรมชลประทาน 14,000,000.00 14,000,000.00 14,000,000.00 14,000,000.00 14,000,000.00 70,000,000.00


อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะที่ 2 พื้นที่รับ
ประโยชน 700 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 76ฝายหวยปาจําพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 45,000,000.00
จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบ
โครงการหลวงหวยโปง พื้นที่ชลประทาน 350 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 77ฝายพรอมระบบสงน้ําบานหวยมวง 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 40,000,000.00


จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการขยายผลโครงการหลวง
หวยน้ําริน พื้นที่ชลประทาน 200 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 78ซอมแซมระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 470,000.00 470,000.00 470,000.00 470,000.00 470,000.00 2,350,000.00
ดอยงิ้ว (น้ําจํา) โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
สาย RMC กม.0+000 ถึง กม.0+600 พรอมขุด
ลอกตะกอนคลอง โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 79ซอมแซมระบบทอสงน้ํา ฝายหวย 1 3 กรมชลประทาน 920,000.00 920,000.00 920,000.00 920,000.00 920,000.00 4,600,000.00
เย็น (หวยกาญจน) โครงการจัดหาน้ําสนับสนุน
โรงเรียนตํารวจตระเวนชายแดนอาชีวศึกษาเชียงราย
- พะเยา ความยาว 1,800 เมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 80ซอมแซมโครงการชลประทานอัน 1 3 กรมชลประทาน 2,736,000.00 2,736,000.00 2,736,000.00 2,736,000.00 2,736,000.00 13,680,000.00


เนื่องมาจากพระราชดําริตามขอเสนอเกษตรกร (ใน
เขตจังหวัดเชียงราย)
กิจกรรมยอยที่ 81ขุดลอกคลองโดยรถขุดดําเนินการ 1 3 กรมชลประทาน 3,100,000.00 3,100,000.00 3,100,000.00 3,100,000.00 3,100,000.00 15,500,000.00
เอง ทางน้ําชลประทานในเขต โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 82ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
RMC สายใหญฝงขวา ฝายเชียงราย กม. 9+859 ถึง
12+000 โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 83ซอมแซมระบบสงน้ําฝายตนหนุน 1 3 กรมชลประทาน 760,000.00 760,000.00 760,000.00 760,000.00 760,000.00 3,800,000.00
จัดหาน้ําสนับสนุน กม.0+100 ถึง กม.1+800 ศูนย
พัฒนาโครงการหลวงหวยโปง โครงการชลประทาน
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 84ซอมแซมอาคารระบายน้ําขาง 1 3 กรมชลประทาน 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 3,250,000.00
คลอง คลองสายใหญฝงซาย จํานวน 2 แหง
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 85ซอมแซมอาคารรับน้ําเขา คลอง 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00
สายใหญฝงซาย ชวง กม. 9+000 ถึง กม.15+000
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 86ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสาย 1 3 กรมชลประทาน 1,300,000.00 1,300,000.00 1,300,000.00 1,300,000.00 1,300,000.00 6,500,000.00
ใหญฝงซาย LMC ชวง กม.9+000 ถึง ก 11+000
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 87ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองซอย 1 3 กรมชลประทาน 1,100,000.00 1,100,000.00 1,100,000.00 1,100,000.00 1,100,000.00 5,500,000.00
2R - LMC ชวง กม.0+000 ถึง ก 1+800 โครงการ
สงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 88ซอมแซมบํารุงรักษาระบบ 1 3 กรมชลประทาน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
ชลประทาน ตามขอเสนอของเกษตรกรผูใชน้ํา
ชลประทาน โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 89ซอมแซมบํารุงรักษาระบบ 1 3 กรมชลประทาน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
ชลประทาน โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 90ซอมแซมบํารุงรักษา โครงการ 1 3 กรมชลประทาน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
ชลประทาน ในเขตโครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 91ปรับปรุงสะพานขามคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 100,000,000.00
สายใหญฝงซาย กม. 9+000 โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 92กําจัดวัชพืช โครงการสงน้ําและ 1 3 กรมชลประทาน 850,000.00 850,000.00 850,000.00 850,000.00 850,000.00 4,250,000.00
บํารุงรักษาแมลาว
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 93บํารุงรักษาทางลําเลียงใหญ 1 3 กรมชลประทาน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 94บํารุงรักษาหัวงานและคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 4,520,000.00 4,520,000.00 4,520,000.00 4,520,000.00 4,520,000.00 22,600,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 95บํารุงรักษาหัวงานและคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 5,600,000.00 5,600,000.00 5,600,000.00 5,600,000.00 5,600,000.00 28,000,000.00
โครงการชลประทานเชียงราย พื้นที่ 1,316 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 96คาบริหารการสงน้ําในเขต 1 3 กรมชลประทาน 740,000.00 740,000.00 740,000.00 740,000.00 740,000.00 3,700,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 97บริหารการสงน้ํา โครงการ 1 3 กรมชลประทาน 2,100,000.00 2,100,000.00 2,100,000.00 2,100,000.00 2,100,000.00 10,500,000.00
ชลประทานเชียงราย พื้นที่ชลประทาน 201,776 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 98ปรับปรุงถังพักน้ําโครงการสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
และบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 99ซอมแซมผิวถนนบริเวณหัวงาน 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
ฝายเชียงราย ระยะทาง 358 เมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 100ซอมแซมบานพักขาราชการ 1 3 กรมชลประทาน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00
ระดับ 7-8 โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว 1

กิจกรรมย อยที่ 101ซอมแซมบานพักขาราชการ 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
ระดับ 5-6 โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว 1
หลัง
กิจกรรมยอยที่ 102ซอมแซมบานพักขาราชการ 1 3 กรมชลประทาน 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 8,000,000.00
ระดับ 1-2 โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
จํานวน 2 หลัง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 103ซอมแซมปอมยามโครงการสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 97,000.00 97,000.00 97,000.00 97,000.00 97,000.00 485,000.00
และบํารุงรักษาแมลาว 1 แหง
กิจกรรมยอยที่ 104ซอมแซมปายชื่อโครงการ 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
โครงการกอสราง สํานักงานชลประทานที่ 2
กิจกรรมยอยที่ 105ซอมแซมคลังพัสดุและโรงจอดรถ 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00
ในที่ทําการฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 2
กิจกรรมยอยที่ 106ซอมแซมบานพักขาราชการแฝด 1 3 กรมชลประทาน 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00
2 ชั้น โครงการกอสราง สํานักงานชลประทานที่ 2

กิจกรรมยอยที่ 107ซอมแซมรั้วที่ทําการ โครงการ 1 3 กรมชลประทาน 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
สงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว 1 แหง
กิจกรรมยอยที่ 108ซอมแซมรั้วโครงการ โครงการ 1 3 กรมชลประทาน 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 4,750,000.00
กอสราง สํานักงานชลประทานที่ 2
กิจกรรมยอยที่ 109ซอมแซมโรงอาคารเก็บพัสดุฝาย 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00
ชางกล จํานวน 1 หลัง
กิจกรรมยอยที่ 110ซอมแซมบานพักขาราชการ 1 3 กรมชลประทาน 850,000.00 850,000.00 850,000.00 850,000.00 850,000.00 4,250,000.00
ระดับ 3-4 ฝายถ้ําวอก จํานวน 1 หลัง โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 111ซอมแซมบานพักขาราชการ 2 1 3 กรมชลประทาน 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 3,250,000.00
ชั้น โครงการกอสราง สํานักงานชลประทานที่ 2
กิจกรรมยอยที่ 112ซอมแซมที่ทําการฝายสงน้ําและ 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00
บํารุงรักษาที่ 3 จํานวน 1 หลัง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 113ซอมแซมอาคารที่ทําการ ฝายถ้ํา 1 3 กรมชลประทาน 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 4,750,000.00
วอก จํานวน 1 หลัง โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 114ซอมแซมอาคารหองพัก 7 หอง 1 3 กรมชลประทาน 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 6,000,000.00
โครงการกอสราง สํานักงานชลประทานที่ 2
กิจกรรมยอยที่ 115ซอมแซมที่ทําการฝายสงน้ําและ 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00
บํารุงรักษาที่ 1 จํานวน 1 หลัง
กิจกรรมยอยที่ 116ซอมแซม รั้ว ปายโครงการ ปอม 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
ยาม ที่ทําการ ฝายเชียงราย ความยาว 550 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 117ซอมแซมอาคารบานพัก 2 ชั้น 1 3 กรมชลประทาน 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 3,600,000.00 18,000,000.00
แหงที่ 1 โครงการกอสราง สํานักงานชลประทานที่ 2

กิจกรรมยอยที่ 118ปรับปรุงบานพัก 10 ครอบครัว 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
ฝายสงน้ําและบํารุงรักษาที่ 4 จํานวน 1 หลัง
กิจกรรมยอยที่ 119ซอมแซม รั้ว ปายโครงการ ปอม 1 3 กรมชลประทาน 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 4,750,000.00
ยาม ฝายถ้ําวอก ความยาว 750 เมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 120โครงการอางเก็บน้ําแมตาชาง 1 3 กรมชลประทาน 177,381,000.00 177,381,000.00 177,381,000.00 177,381,000.00 177,381,000.00 886,905,000.00
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 121โครงการประตูระบายน้ําบาน 1 3 กรมชลประทาน 100,000,000.00 100,000,000.00 100,000,000.00 100,000,000.00 100,000,000.00 500,000,000.00
แกนเจริญ จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 122โครงการประตูระบายน้ําบานสัน 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00
มะเค็ดพรอมอาคารประกอบ พื้นที่รับประโยชน 580
ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 123โครงการพัฒนาแกมลิงเวียง 1 3 กรมชลประทาน 285,000,000.00 285,000,000.00 285,000,000.00 285,000,000.00 285,000,000.00 1,425,000,000.00
หนองหลมพรอมอาคารประกอบ ปริมาณเก็บกัก
3.80 ลานลูกบาศกเมตร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 124สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 35,000,000.00 35,000,000.00 35,000,000.00 35,000,000.00 35,000,000.00 175,000,000.00
ระบบสงน้ําบานศรีชัยมงคล พื้นที่ชลประทาน 1,200
ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 125สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 150,000,000.00
ระบบสงน้ําบานเมืองกาญจน พื้นที่ชลประทาน
1,000 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 126สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 32,000,000.00 32,000,000.00 32,000,000.00 32,000,000.00 32,000,000.00 160,000,000.00
ระบบสงน้ําบานปงของ พื้นที่ชลประทาน 1,200 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 127สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 40,000,000.00 40,000,000.00 40,000,000.00 40,000,000.00 40,000,000.00 200,000,000.00
ระบบสงน้ําบานยายเหนือ พื้นที่ชลประทาน 1,200
ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 128สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 48,000,000.00 48,000,000.00 48,000,000.00 48,000,000.00 48,000,000.00 240,000,000.00
ระบบสงน้ําบานหาดบาย พื้นที่ชลประทาน 1,400 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 129สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 35,000,000.00 35,000,000.00 35,000,000.00 35,000,000.00 35,000,000.00 175,000,000.00
ระบบสงน้ําบานปาตาล พื้นที่ชลประทาน 1,200 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 130ฝายพรอมระบบสงน้ําหวยเครือ 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 100,000,000.00
บา พื้นที่ชลประทาน 1,200 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 131ฝายน้ําแมฮางพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 21,870,000.00 21,870,000.00 21,870,000.00 21,870,000.00 21,870,000.00 109,350,000.00
พื้นที่ชลประทาน 400 ไร
กิจกรรมยอยที่ 132ฝายทุงซานโตนพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 25,700,000.00 25,700,000.00 25,700,000.00 25,700,000.00 25,700,000.00 128,500,000.00
พื้นที่ชลประทาน 300 ไร
กิจกรรมยอยที่ 133ฝายหวยแมสานพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00
น้ํา พื้นที่ชลประทาน 200 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 134ปรับปรุงคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
FTO.36-RMC พรอมอาคารประกอบ โครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 135ปรับปรุงคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
FTO.45-RMC พรอมอาคารประกอบ โครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 136ปรับปรุงคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
1R-3L-RMC พรอมอาคารประกอบ ระยะ 0.450
กิโลเมตร โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 137ปรับปรุงคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
3L-4L-RMC พรอมอาคารประกอบ ระยะ 0.900
กิโลเมตร โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 138ปรับปรุงคลองแยกซอย 7L-RMC 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
พรอมอาคารประกอบ กม.2+640 ถึง กม.3+331
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 139ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO.1L 1 3 กรมชลประทาน 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 30,000,000.00
ก(พิเศษ)-RMC พรอมอาคารประกอบ ระยะที่ 2
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 140ปรับปรุงฝายทดน้ํารองหวาย 1 3 กรมชลประทาน 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 141ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00
หมออุง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่รับ
ประโยชน 600 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 142ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00
หวยแดด อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะที่ 2
พื้นที่รับประโยชน 500 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 143ปรับปรุงระบบสงน้ําฝงซายอาง 1 3 กรมชลประทาน 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 35,000,000.00


เก็บน้ําหวยเอี้ยง จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการอนุรักษ
และพัฒนาปาตนน้ําหวยเอี้ยงอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ (ระยะที่ 2) พื้นที่รับประโยชน 200 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 144ปรับปรุงระบบสงน้ําฝงขวาอาง 1 3 กรมชลประทาน 5,800,000.00 5,800,000.00 5,800,000.00 5,800,000.00 5,800,000.00 29,000,000.00


เก็บน้ําหวยตาควน อันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ระยะที่ 2 พื้นที่รับประโยชน 800 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 145ฝายบานทรายทองพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00
สงน้ํา จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบ
โครงการหลวงหวยแลง พื้นที่ชลประทาน 800 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 146ซอมแซมระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 440,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 440,000.00 2,200,000.00


หวยซอ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สาย
RMC กม.0+500 ถึง กม.1+000 พรอมขุดลอก
ตะกอนคลอง โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 147ซอมแซมคลองสงน้ําฝงซาย 1 3 กรมชลประทาน 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 3,500,000.00


พรอมขุดลอกตะกอน ฝายจะพือ โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ ความยาว 0.150 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 148ซอมแซมระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00


หวยฝาย โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กม.
0+100 ถึง กม.0+300 พรอมขุดลอกตะกอนคลอง
สงน้ํา โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 149ซอมแซมฝายจะพือ โครงการอัน 1 3 กรมชลประทาน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00
เนื่องมาจากพระราชดําริ พรอมขุดลอกตะกอน
จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 150ซอมแซมระบบสงน้ําฝายบานฟา 1 3 กรมชลประทาน 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 3,250,000.00
ไทยงาม จัดหาน้ําสนับสนุนศูนยการเรียนตํารวจ
ตระเวนชายแดนบานฟาไทยงาม ความยาวรวม
1,100 เมตร โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 151ซอมแซมระบบสงน้ําฝายทุงมะ 1 3 กรมชลประทาน 320,000.00 320,000.00 320,000.00 320,000.00 320,000.00 1,600,000.00
แกงนอก โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ความยาว 1,100 เมตร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 152ซอมแซมฝายตนผึ้ง โครงการอัน 1 3 กรมชลประทาน 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 1,750,000.00
เนื่องมาจากพระราชดําริ พรอมขุดลอกตะกอน
จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 153ซอมแซมฝายพรอมขุดลอก 1 3 กรมชลประทาน 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 1,750,000.00
ตะกอนหนาฝายหวยเดื่อ โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ จํานวน 1 แหง โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 154ซอมแซมทายทางระบายน้ําลน 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00


อางเก็บน้ําหวยปู โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ จํานวน 480 ตารางเมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 155ซอมแซมระบบคลองสงน้ําอาง 1 3 กรมชลประทาน 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 2,250,000.00


เก็บน้ําหวยปลอง โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ สาย LMC กม.0+200 ถึง กม.0+700
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 156ซอมแซมระบบทอสงน้ําอางเก็บ 1 3 กรมชลประทาน 740,000.00 740,000.00 740,000.00 740,000.00 740,000.00 3,700,000.00


น้ําหวยตนยาง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
กม. 0+500 ถึง กม.2+500 โครงการชลประทาน
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 157ซอมแซมคลองสงน้ําฝงซาย 1 3 กรมชลประทาน 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 2,250,000.00
พรอมขุดลอกตะกอน อางเก็บน้ําหวยปู โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ ความยาว 0.255 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 158ซอมแซมระบบคลองสงน้ําอาง 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00


เก็บน้ําหวยนาน โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ สาย LMC กม.0+030 ถึง กม.0+700
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 159ซอมแซมระบบทอสงน้ําอางเก็บ 1 3 กรมชลประทาน 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 3,600,000.00


น้ําแมออ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ กม.
4+000 ถึง กม.5+000 โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 160ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองฝง 1 3 กรมชลประทาน 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 3,500,000.00


ซาย อางเก็บน้ําแมเปน โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ ความยาว 0.369 เมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 161ซอมแซมฝายพรอมขุดลอก 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00


ตะกอนหนาฝายแมเจดีย โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ จํานวน 1 แหง โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 162ซอมแซมระบบสงน้ําฝายเหลา 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00


สวนออย โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ความยาว 1,800 เมตร โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 163ซอมแซมระบบสงน้ําฝายแมแกว 1 3 กรมชลประทาน 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 3,750,000.00
โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ สาย RMC
กม.0+500 ถึง กม.1+400 โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 164ซอมแซมคลองสงน้ําสาย LMC 1 3 กรมชลประทาน 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 650,000.00 3,250,000.00
ฝายตนผึ้ง โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
พรอมขุดลอกตะกอนคลองสงน้ํา ความยาว 0.372
เมตร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 165งานซอมแซมระบบทอสงน้ําฝาย 1 3 กรมชลประทาน 840,000.00 840,000.00 840,000.00 840,000.00 840,000.00 4,200,000.00


หวยกางปลา กม.0+300 ถึง กม.1+800 จัดหาน้ํา
สนับสนุนโรงเรียนวัดหนองบัวพิทยาและหมูบาน
ใกลเคียง โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 166ซอมแซมดาดคอนกรีตคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00


น้ํา 1L-RMC กม. 1+500 ถึง 2+500 พรอมขุดลอก
ตะกอน อางเก็บน้ําหวยสัก โครงการอันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 167ซอมแซมหินเรียงหนา ทรบ.ปาก 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
คลอง พรอมขุดลอกตะกอนคลองสงน้ําฝงซาย อาง
เก็บน้ําหวยเดื่อ โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
จํานวน 300 ตารางเมตร โครงการชลประทาน
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 168ซอมแซมระบบสงน้ําฝายหวย 1 3 กรมชลประทาน 970,000.00 970,000.00 970,000.00 970,000.00 970,000.00 4,850,000.00
ปางหมู จัดหาน้ําสนับสนุนศูนยพัฒนา โครงการ
หลวงหวยแลง ความยาว 1,700 เมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 169ซอมแซมหินเรียงทํานบดินพรอม 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00


หินคลุก อางเก็บน้ําแมมอญ โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ จํานวน 1 แหง โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 170ซอมแซมระบบทอสงน้ําสถานี 1 3 กรมชลประทาน 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 4,750,000.00


พัฒนาการเกษตรที่สูงบานหวยหยวกปาโซ โครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ความยาว 1,000 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 171ซอมแซมคลองสงน้ําสาย 1 3 กรมชลประทาน 550,000.00 550,000.00 550,000.00 550,000.00 550,000.00 2,750,000.00


1L-LMC อางเก็บน้ําหวยหมากเอียก โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ ความยาว 0.366 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 172ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายหวย 1 3 กรมชลประทาน 390,000.00 390,000.00 390,000.00 390,000.00 390,000.00 1,950,000.00


แลง 2 จัดหาน้ําสนับสนุนศูนยพัฒนาโครงการหลวง
หวยแลง ความยาวรวม 700 เมตร พรอมขุดลอก
ตะกอนหนาฝาย โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 173งานซอมแซมระบบสงน้ําฝายจอ 1 3 กรมชลประทาน 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 1,750,000.00


หนานวงค โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
ความยาว 1,200 เมตร โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 174ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 4,925,000.00
น้ํา ระบบสงน้ําฝงขวาอางเก็บน้ําหวยทราย โครงการ
อันเนื่องมาจากพระราชดําริ กม. 1+800 ถึง กม.
2+800 โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 175ซอมแซมทางระบายน้ําลนพรอม 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00


ทอสงน้ําอางเก็บน้ําหวยหินฝน โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ จํานวน 480 ตารางเมตร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 176ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายหวย 1 3 กรมชลประทาน 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 2,250,000.00


แลง 1 จัดหาน้ําสนับสนุนศูนยพัฒนาโครงการหลวง
หวยแลง ความยาวรวม 900 เมตร พรอมขุดลอก
ตะกอนหนาฝาย โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 177งานซอมแซมระบบสงน้ําอางเก็บ 1 3 กรมชลประทาน 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 720,000.00 3,600,000.00


น้ําแมตาแมว โครงการอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
กม. 2+000 ถึง กม.2+500 โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 178ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 4,750,000.00


น้ําสายใหญฝงขวา RMC ฝายวังเคียน โครงการอัน
เนื่องมาจากพระราชดําริ กม. 0+000 ถึง 2+000
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 179ขุดลอกตะกอนคลองสงน้ําฝาย 1 3 กรมชลประทาน 490,000.00 490,000.00 490,000.00 490,000.00 490,000.00 2,450,000.00


แมแกวฝงขวา สายRMC กม.0+000 ถึง กม. 2+700
โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 180ขุดลอกตะกอนหนาฝายทุงมะ 1 3 กรมชลประทาน 420,000.00 420,000.00 420,000.00 420,000.00 420,000.00 2,100,000.00
แกงนอก กม.0+000 ถึง กม.1+000 โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 181ขุดลอกตะกอนคลองสงน้ําฝาย 1 3 กรมชลประทาน 380,000.00 380,000.00 380,000.00 380,000.00 380,000.00 1,900,000.00
เหลาสวนออย กม.0+000 ถึง กม.1+100 โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 182ขุดลอกตะกอนคลองสงน้ําฝาย 1 3 กรมชลประทาน 320,000.00 320,000.00 320,000.00 320,000.00 320,000.00 1,600,000.00
จอหนานวงค กม.0+000 ถึง กม.1+300 โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 183ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําหวยฝาย โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 184ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําหวยปลอง โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศกเมตร

กิจกรรมยอยที่ 185ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําหวยสละ โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 186ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําหวยลึกใหญ โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศกเมตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 187ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 12,500,000.00
เก็บน้ําหวยน้ําเย็น โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 55,500 ลูกบาศกเมตร

กิจกรรมยอยที่ 188ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําน้ําวอง โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 189ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําสะโงะใต โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 11,000 ลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 190ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําน้ําหงาว โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 191ขุดลอกจางเหมาฝายหวยบอสม 1 3 กรมชลประทาน 480,000.00 480,000.00 480,000.00 480,000.00 480,000.00 2,400,000.00
โครงการชลประทานเชียงราย ปริมาณดินไมนอยกวา
10,000 ลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 192ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําหวยสัก (ระยะ 2 ) โครงการชลประทาน
เชียงราย ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศก
เมตร

กิจกรรมยอยที่ 193ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําหวยพราพลาด โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 11,000 ลูกบาศกเมตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 194ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําหวยใจ โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 195ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําหวยซอ โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 196ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
เก็บน้ําดอยงู ระยะที่ 2 โครงการชลประทาน
เชียงราย ปริมาณดินไมนอยกวา 60,000 ลูกบาศก
เมตร

กิจกรรมยอยที่ 197ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําแมมอญ โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 198ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 12,500,000.00
เก็บน้ําน้ําทราย โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 55,500 ลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 199ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําหวยตาควน โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศกเมตร

กิจกรรมยอยที่ 200ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําหวยลุง โครงการชลประทานเชียงราย
ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศกเมตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 201ขุดลอกจางเหมาฝายโปงนก กม. 1 3 กรมชลประทาน 490,000.00 490,000.00 490,000.00 490,000.00 490,000.00 2,450,000.00
14+200 ถึง กม.16+200 โครงการชลประทาน
เชียงราย ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศก
เมตร

กิจกรรมยอยที่ 202ขุดลอกอางเก็บน้ําจางเหมา อาง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
เก็บน้ําแมขาวตมทาสุด โครงการชลประทาน
เชียงราย ปริมาณดินไมนอยกวา 10,000 ลูกบาศก
เมตร

กิจกรรมยอยที่ 203ขุดลอกคลองโดยรถขุด 1 3 กรมชลประทาน 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 1,800,000.00 9,000,000.00


ดําเนินการเอง คลองสงน้ําสาย RMC.1 ,RMC.2 และ
RMC.3 โครงการพัฒนาการเกษตรแมสาย
โครงการชลประทานเชียงราย ปริมาณดิน 90,730
ลูกบาศกเมตร

กิจกรรมยอยที่ 204ขุดลอกตะกอนหนาฝายโปงนก 1 3 กรมชลประทาน 490,000.00 490,000.00 490,000.00 490,000.00 490,000.00 2,450,000.00


โครงการชลประทานเชียงราย ปริมาณดินไมนอยกวา
10,000.00 ลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 205ซอมแซมบานระบายพรอม 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00
อาคารแบงน้ํา 4L-RMC ฝงขวา ฝายชัยสมบัติ กม.
0+850 จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 206ซอมแซมบานระบายพรอม 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00


อาคารแบงน้ํา 4L-RMC ฝงขวา ฝายชัยสมบัติ กม.
0+853 จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 207ซอมแซมบานระบายพรอม 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00
อาคาร 1R-RMC ฝงขวา ฝายชัยสมบัติ กม. 3+500
จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 208ซอมแซมบานระบายพรอม 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
อาคารปากเหมือง ฝายชัยสมบัติ กม. 0+210 จํานวน
1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 209ซอมแซมบานระบายพรอม 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
อาคารระบายน้ํา ฝายชัยสมบัติ กม. 4+120 จํานวน
1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 210ซอมแซมบานระบายพรอม 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00
อาคารแบงน้ํา 1R-RMC ฝงขวา ฝายชัยสมบัติ กม.
1+200 จํานวน 1แหง โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 211ซอมแซมบานระบายพรอม 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00


อาคารแบงน้ํา 3R-RMC ฝงขวา ฝายชัยสมบัติ กม.
2+750 จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 212ซอมแซมบานระบายพรอม 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00


อาคารแบงน้ํา 3R-RMC ฝงขวา ฝายชัยสมบัติ กม.
2+753 จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 213ซอมแซมบานระบายพรอม 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
อาคารทดน้ํา 2R-RMC ฝงขวา ฝายชัยสมบัติ กม.
3+350 จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 214ซอมแซมหินเรียงดานหนาและ 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00


ดานทายอาคารระบบสงน้ํา ฝายชัยสมบัติ กม.
5+660 ความยาว 50 เมตร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 215ซอมแซมบานประตู ทรบ.ปาก 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00
คลอง RMC สายใหญฝงขวา ฝายชัยสมบัติ กม.
0+000 จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 216ซอมแซมดาดคอนกรีตคลองสาย 1 3 กรมชลประทาน 800,000.00 800,000.00 800,000.00 800,000.00 800,000.00 4,000,000.00


ใหญฝงขวา ฝายชัยสมบัติ กม. 0+500 ถึง 2+100
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 217ซอมแซมระบบไฮดรอลิกบาน 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
ระบายฝายเชียงราย จํานวน 1 แหง โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 218ซอมแซมอาคารบังคับน้ําพรอม 1 3 กรมชลประทาน 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00
เครื่องกวานบานระบายอางเก็บน้ําหวยพราพลาด
จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 219ซอมแซมบานระบายพรอม 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00
อาคาร 2R-RMC กม. 4+500 ฝายชัยสมบัติ จํานวน
1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 220ซอมแซมระบบสงน้ําฝายผาแล 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
กม.0+000 ถึง กม.0+500 พรอมขุดลอกตะกอน
หนาฝาย โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 221ซอมแซมสระเก็บน้ําบานหวยน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00
ริน โครงการพัฒนาดอยตุง จํานวน 300 ตารางเมตร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 222ซอมแซมระบบควบคุมบาน 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
ระบาย ฝายเชียงราย จํานวน 1 แหง โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 223ซอมแซมสระเก็บน้ําบานจะลอ 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00
โครงการพัฒนาดอยตุง จํานวน 1,500 ตารางเมตร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 224ซอมแซมระบบสงน้ําฝายแมลอย 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
ไร กม.0+000 ถึง กม.0+400 พรอมขุดลอกตะกอน
คลองสงน้ํา โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 225ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00
น้ํา 8L-RMC ฝงขวา ฝายเชียงราย กม. 3+900 ถึง
5+090 โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 226ซอมแซมฝายบานลาบา 1 3 กรมชลประทาน 970,000.00 970,000.00 970,000.00 970,000.00 970,000.00 4,850,000.00
โครงการพัฒนาดอยตุง จํานวน 3 แหง โครงการ
ชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 227ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00
น้ํา RMC สายใหญฝงขวา ฝายเชียงราย กม. 13+443
ถึง 14+552 โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 228ซอมแซมฝายน้ํางาวพรอมขุด 1 3 กรมชลประทาน 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 3,500,000.00


ลอกตะกอนหนาฝาย จํานวน 1 แหง โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 229ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 975,000.00 975,000.00 975,000.00 975,000.00 975,000.00 4,875,000.00
น้ําสาย 1R-RMC.2 โครงการพัฒนาการเกษตรแม
สาย กม. 0+450 ถึง กม.8+450 โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 230ซอมแซมอาคาร ทรบ.ฝายทุงผึ้ง 1 3 กรมชลประทาน 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 3,500,000.00
จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 231ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 4,750,000.00
น้ํา สาย K ฝงขวา ฝายเชียงราย กม. 0+000 ถึง
2+000 โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 232ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
น้ําสาย 2R-RMC.1 โครงการพัฒนาการเกษตรแม
สาย กม.0+530 ถึง กม.1+400 โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 233ซอมแซมทอลอดถนนคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00


น้ําสายใหญฝงซาย ฝายเชียงราย กม. 6+940 จํานวน
1แหง โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 234ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 4,925,000.00
น้ําสาย 1R-RMC.1 โครงการพัฒนาการเกษตรแม
สาย กม.6+220 ถึง กม.8+200 โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 235ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายหวย 1 3 กรมชลประทาน 790,000.00 790,000.00 790,000.00 790,000.00 790,000.00 3,950,000.00


ปาตาล ความยาวรวม 1,200 เมตร พรอมขุดลอก
ตะกอนหนาฝาย โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 236ซอมแซมดาดคอนกรีตคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
น้ําสายใหญฝงซาย ฝายเชียงราย กม. 4+980 ถึง
6+940 โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 237ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 990,000.00 990,000.00 990,000.00 990,000.00 990,000.00 4,950,000.00
น้ําสาย 1R-RMC.1 โครงการพัฒนาการเกษตรแม
สาย กม.3+800 ถึง กม.4+000 โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 238ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายทด 1 3 กรมชลประทาน 890,000.00 890,000.00 890,000.00 890,000.00 890,000.00 4,450,000.00


น้ําหวยตอง ความยาวรวม 1,600 เมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 239ซอมระบบทอสงน้ํา กม.0+000 1 3 กรมชลประทาน 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00 3,500,000.00
ถึง กม.0+700 โครงการจัดหาน้ําใหโครงการบาน
เล็กในปาใหญบานอาขา โครงการชลประทาน
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 240ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
น้ําสาย 1L-RMC.3 โครงการพัฒนาการเกษตรแมสาย
กม.1+150 ถึง กม.2+000 โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 241ซอมแซมคอนกรีตดาดคลอง 1 3 กรมชลประทาน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00


LMC อางเก็บน้ําแมตาก ความยาว 0.324 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 242ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสาย 1 3 กรมชลประทาน 764,000.00 764,000.00 764,000.00 764,000.00 764,000.00 3,820,000.00
ใหญ RMC ชวง กม.31+597 ถึง 39+082 โครงการ
สงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 243ซอมแซมสะพานน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 4,750,000.00
หวยชาง สาย LMC กม 0+230 ถึง กม.0+260
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 244ซอมแซมอาคารพรอมบาน 1 3 กรมชลประทาน 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00
ระบายคลองสายใหญ ฝายถ้ําวอก กม. 5+300
จํานวน 1 แหง โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 245ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองซอย 1 3 กรมชลประทาน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
4L-RMC ชวง กม.4+370 ถึง กม. 10+180
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 246ซอมแซมหินเรียงทายอาคารทอ 1 3 กรมชลประทาน 850,000.00 850,000.00 850,000.00 850,000.00 850,000.00 4,250,000.00
สงน้ําฝงขวาอางเก็บน้ําแมตาก จํานวน 860 ตาราง
เมตร โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 247ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายบาน 1 3 กรมชลประทาน 830,000.00 830,000.00 830,000.00 830,000.00 830,000.00 4,150,000.00
ราษฎรภักดี ความยาวรวม 1,200 เมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 248ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายบาน 1 3 กรมชลประทาน 820,000.00 820,000.00 820,000.00 820,000.00 820,000.00 4,100,000.00
หวยคุณพระ กม.0+00 ถึง กม.1+100 โครงการ
จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชน
ในพื้นที่อนุรักษษตามแนวพระราชดําริ อุทยาน
แหงชาติขุนแจ โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 249ซอมแซมดาดคอนกรีตคลองสาย 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00


ใหญ ฝายถ้ําวอก กม. 5+500 ถึง 9+000 โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 250ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
น้ําสาย RMC.2 โครงการพัฒนาการเกษตรแมสาย
กม.10+710 ถึง กม.12+780 โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 251ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองซอย 1 3 กรมชลประทาน 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00


3L-RMC ระยะที่ 2 ชวง กม.8+050 ถึง กม.8+833
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 252ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายบาน 1 3 กรมชลประทาน 780,000.00 780,000.00 780,000.00 780,000.00 780,000.00 3,900,000.00
ราษฎรรักษา ความยาวรวม 1,100 เมตร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 253ซอมแซมคันคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 494,000.00 494,000.00 494,000.00 494,000.00 494,000.00 2,470,000.00
1R-4L-RMC ระยะทาง 0.900 กิโลเมตร โครงการสง
น้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 254ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายบาน 1 3 กรมชลประทาน 800,000.00 800,000.00 800,000.00 800,000.00 800,000.00 4,000,000.00
ขุนลาว กม.0+300 ถึง กม. 2+100 โครงการจัดหา
น้ําสนับสนุนโครงการพัฒนาคุณภาพชีวิตชุมชนใน
พื้นที่อนุรักษษตามแนวพระราชดําริ อุทยานแหงชาติ
ขุนแจ โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 255ซอมแซมทอสงน้ําเขานาคลอง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00


ซอย 4L-RMC จํานวน 3 แหง โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 256ซอมแซมอาคารบังคับน้ําคลอง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
สายใหญ ฝายถ้ําวอก กม. 4+560 จํานวน 1 แหง
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 257ซอมแซมคอนกรีตดาดคลอง 1 3 กรมชลประทาน 1,700,000.00 1,700,000.00 1,700,000.00 1,700,000.00 1,700,000.00 8,500,000.00
RMC ชวง กม.2+000 ถึง กม.2+200 โครงการสง
น้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 258ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 4,925,000.00
น้ําสาย 1L-1R-RMC.1 โครงการพัฒนาการเกษตร
แมสาย กม.5+527 ถึง กม.6+280 โครงการ
ชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 259ซอมแซมคอนกรีตดาดคลอง 1 3 กรมชลประทาน 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 2,250,000.00
FTO.14-RMC จํานวน 1,250 ตารางเมตร โครงการ
สงน้ําและบํารุงรักแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 260ซอมแซมระบบทอสงน้ําโครงการ 1 3 กรมชลประทาน 550,000.00 550,000.00 550,000.00 550,000.00 550,000.00 2,750,000.00
จัดหาน้ําบานจะกอนะ ความยาว 0.350 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 261ซอมแซมอาคารอัดน้ําคลองซอย 1 3 กรมชลประทาน 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00
8L-RMC กม.12+508 จํานวน 1 แหง โครงการสง
น้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 262ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายหวย 1 3 กรมชลประทาน 830,000.00 830,000.00 830,000.00 830,000.00 830,000.00 4,150,000.00
น้ําเย็น กม.0+000 ถึง กม.1+000 จัดหาน้ํา
สนับสนุนโครงการขยายผลโครงการหลวงวาวี
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 263ซอมแซมกระบะรับน้ําขางคลอง 1 3 กรมชลประทาน 200,000.00 200,000.00 200,000.00 200,000.00 200,000.00 1,000,000.00


กม.20+476 โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว

กิจกรรมยอยที่ 264ซอมแซมอาคารบังคับน้ําคลอง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00


สายใหญ ฝายถ้ําวอก กม. 1+810 จํานวน 1 แหง
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 265ซอมแซมอาคารระบายน้ําขาง 1 3 กรมชลประทาน 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00
คลองสายใหญ กม.29+825 โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 266ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 975,000.00 975,000.00 975,000.00 975,000.00 975,000.00 4,875,000.00
น้ําสาย RMC.3 โครงการพัฒนาการเกษตรแมสาย
กม.4+200 ถึง กม.5+200 โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 267ซอมแซมคลอง FTO.32 ชวง 1 3 กรมชลประทาน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
กม.0+000 ถึง กม.1+000 โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 268ซอมแซมหินเรียงทายฝายบาน 1 3 กรมชลประทาน 890,000.00 890,000.00 890,000.00 890,000.00 890,000.00 4,450,000.00
ทุงหลวงพรอมระบบทอสงน้ํา ความยาว 1,300 เมตร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 269ซอมแซมคลอง FTO.35 ชวง 1 3 กรมชลประทาน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00
กม.1+500 ถึง กม.2+500 โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 270ซอมแซมทายฝายถ้ําวอก จํานวน 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
1แหง โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 271ซอมแซมคลอง 8L-RMC ชวง 1 3 กรมชลประทาน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00
กม.4+000 ถึง 8+000 โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 272ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00
น้ําสาย RMC.2 โครงการพัฒนาการเกษตรแมสาย
กม.4+238 ถึง กม.7+450 โครงการชลประทาน
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 273ซอมแซมคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00
2R-8L-RMC ชวง กม.0+900 ถึง กม.1+500
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 274ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝายบาน 1 3 กรมชลประทาน 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 3,750,000.00
มวงชุม ความยาวรวม 1,400 เมตร พรอมขุดลอก
ตะกอนหนาฝาย โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 275ซอมแซมคลอง FTO.38 ชวง 1 3 กรมชลประทาน 250,000.00 250,000.00 250,000.00 250,000.00 250,000.00 1,250,000.00
กม.0+000 ถึง กม.0+400 โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 276ซอมแซมระบบทอสงน้ําฝาย 1 3 กรมชลประทาน 820,000.00 820,000.00 820,000.00 820,000.00 820,000.00 4,100,000.00
หวยสานพรอมระบบสงน้ํา กม. 0+100 ถึง กม.
2+100 จัดหาน้ําสนับสนุนโรงเรียนตํารวจตระเวน
ชายแดนบานดอยลานและหมูบานใกลเคียง
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 277งานซอมแซมคลอง FTO. 28L- 1 3 กรมชลประทาน 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00
RMC จํานวน 600 ตารางเมตร โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 278ซอมแซมคอนกรีตดาดคลองสง 1 3 กรมชลประทาน 990,000.00 990,000.00 990,000.00 990,000.00 990,000.00 4,950,000.00
น้ําสาย 1L-RMC.1 โครงการพัฒนาการเกษตรแมสาย
กม.1+500 ถึง กม.2+000 โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 279ซอมแซมคอนกรีตดาดคลอง 1 3 กรมชลประทาน 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 3,750,000.00


RMC อางเก็บน้ําแมตาก โครงการชลประทาน
เชียงราย ความยาว 0.321 เมตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 280ซอมแซมระบบสงน้ําฝายน้ําวอง 1 3 กรมชลประทาน 490,000.00 490,000.00 490,000.00 490,000.00 490,000.00 2,450,000.00
ความยาวรวม 500 เมตร พรอมขุดลอกตะกอนหนา
ฝาย โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 281งานซอมแซมระบบทอสงน้ําฝาย 1 3 กรมชลประทาน 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 750,000.00 3,750,000.00
หวยไคร กม.0+400 ถึง กม. 2+200 จัดหาน้ํา
สนับสนุนโครงการขยายผลโครงการหลวงวาวี
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 282ซอมแซมดาดคอนกรีตคลองผัน 1 3 กรมชลประทาน 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 980,000.00 4,900,000.00


น้ําแมกรณ - แมกก กม. 3+480 ถึง 3+850
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 283ซอมแซมอุปกรณบังคับน้ําและ 1 3 กรมชลประทาน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 5,000,000.00
บานระบาย จํานวน 20 แหง โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 284กําจัดวัชพืช (โดยแรงคน) อาง 1 3 กรมชลประทาน 113,000.00 113,000.00 113,000.00 113,000.00 113,000.00 565,000.00
เก็บน้ําแมเปน จํานวน 35 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 285กําจัดวัชพืช (โดยแรงคน) คลอง 1 3 กรมชลประทาน 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 985,000.00 4,925,000.00
สงน้ําสาย RMC.1 ,RMC.2 และ RMC.3 โครงการ
พัฒนาการเกษตรแมสาย ปริมาณ 300 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 286กําจัดวัชพืช (โดยแรงคน) อาง 1 3 กรมชลประทาน 204,000.00 204,000.00 204,000.00 204,000.00 204,000.00 1,020,000.00
เก็บน้ําหวยตาควน จํานวน 60 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 287กําจัดวัชพืช (โดยแรงคน) หัว 1 3 กรมชลประทาน 250,000.00 250,000.00 250,000.00 250,000.00 250,000.00 1,250,000.00
งานและคลองสงน้ําสายใหญฝงขวา RMC ฝายถ้ําวอก
กม. 0+000 ถึง 2+430 จํานวน 53 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 288บํารุงรักษาทางลําเลียงใหญ 1 3 กรมชลประทาน 808,000.00 808,000.00 808,000.00 808,000.00 808,000.00 4,040,000.00


โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 289บํารุงรักษาทางลําเลียงใหญ 1 3 กรมชลประทาน 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 950,000.00 4,750,000.00
คลอง LMC อางเก็บน้ําแมตาก โครงการชลประทาน
เชียงราย ระยะทาง 0.900 กิโลเมตร
กิจกรรมยอยที่ 290ปรับปรุงคันคลองซอย 11L-RMC 1 3 กรมชลประทาน 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 30,000,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว ระยะทาง
3.000 กิโลเมตร
กิจกรรมยอยที่ 291ปรับปรุงคันคลองซอย 1 3 กรมชลประทาน 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 90,000,000.00
13L-RMC ระยะที่ 2 โครงการสงน้ําและบํารุงรักษา
แมลาว ระยะทาง 3.00 กิโลเมตร
กิจกรรมยอยที่ 292ปรับปรุงคันคลอง RMC ระยะที่ 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00
5 ระยะทาง 2.500 กิโลเมตร โครงการสงน้ําและ
บํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 293โครงการเจาะบอบาดาลพัฒนา 1 3 กรมชลประทาน 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 6,000,000.00
น้ําบาดาลเพื่อการเกษตร
กิจกรรมยอยที่ 294โครงการวางทอระบายน้ํา ซอย 6 1 3 กรมชลประทาน 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 4,800,000.00
หนาบานนางวัฒนา อายดี ถึงลําน้ําหวยไคร
กิจกรรมยอยที่ 295โครงการขุดเจาะบอบาดาลเพื่อ 1 3 กรมชลประทาน 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 4,800,000.00
การเกษตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 296โครงการกอสรางบอธนาคารน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 4,800,000.00
ใตดินระบบปด
กิจกรรมยอยที่ 297โครงการขุดลอกลําเหมืองพื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 4,800,000.00
การเกษตร
กิจกรรมยอยที่ 298โครงการกอสรางบอธนาคารน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 6,000,000.00
ใตดินระบบเปด
กิจกรรมยอยที่ 299โครงการกอสรางฝายทดน้ํา และ 1 3 กรมชลประทาน 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 4,800,000.00
รางสงน้ําเหมืองหวยไคร บริเวณเลยบานนายบรรจง
ออนตะไคร
กิจกรรมยอยที่ 300จัดระบบน้ําโครงการอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 60,000,000.00
แมแกว (ระยะที่ 5) พื้นที่ 1,000 ไร สํานักงานจัด
รูปที่ดินและจัดระบบน้ําเพื่อเกษตรกรรมที่ 3
กิจกรรมยอยที่ 301จัดระบบน้ําโครงการอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 80,000,000.00
แมสรวย (ระยะที่ 1) พื้นที่ 1,800 ไร สํานักงานจัด
รูปที่ดินและจัดระบบน้ําเพื่อเกษตรกรรมที่ 3

กิจกรรมยอยที่ 302จัดระบบน้ําโครงการโครงการสง 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 60,000,000.00


น้ําและบํารุงรักษาแมลาว (ระยะที่ 1) พื้นที่ 1,000 ไร
สํานักงานจัดรูปที่ดินและจัดระบบน้ําเพื่อ
เกษตรกรรมที่ 3

กิจกรรมยอยที่ 303ปรับปรุงจัดระบบน้ําโครงการสง 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 48,000,000.00


น้ําและบํารุงรักษาแมลาว (ระยะที่ 1) พื้นที่ 1,000 ไร
สํานักงานจัดรูปที่ดินและจัดระบบน้ําเพื่อ
เกษตรกรรมที่ 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 304ปรับปรุงคลองสงน้ําสาย 1L- 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 60,000,000.00
RMC.1 โครงการพัฒนาการเกษตรแมสาย พื้นที่
ชลประทาน 1,000 ไร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 305งานจางจัดหาและติดตั้ง 1 3 กรมชลประทาน 13,570,000.00 13,570,000.00 13,570,000.00 13,570,000.00 54,280,000.00


เครื่องมือตรวจวัดพฤติกรรมเขื่อนพรอมระบบรับสง
ขอมูลอัตโนมัติ เขื่อนแมตาก
กิจกรรมยอยที่ 306ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO.28 1 3 กรมชลประทาน 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 28,000,000.00
พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 307ปรับปรุงอาคารรับน้ําเขา คลอง 1 3 กรมชลประทาน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 4,000,000.00
ซอย 4L-RMC จํานวน 5 แหง
กิจกรรมยอยที่ 308ปรับปรุงถนนคันคลอง4LRMC 1 3 กรมชลประทาน 13,000,000.00 13,000,000.00 13,000,000.00 13,000,000.00 52,000,000.00
ฝงซาย ชวง กม.0+020 ถึม กม.4+328
กิจกรรมยอยที่ 309ปรับปรุงรางเทอัดน้ํากลางคลอง 1 3 กรมชลประทาน 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 72,000,000.00
RMC กม.4+240
กิจกรรมยอยที่ 310ปรับปรุงคลองระบายน้ําคลอง 1 3 กรมชลประทาน 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 16,000,000.00
ซอย 4L-RMC ฝงขวา กม. 0+040 ถึง กม. 4+328
กิจกรรมยอยที่ 311ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO.39 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 20,000,000.00
พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 312ปรับปรุงระบบสงน้ําพรอม 1 3 กรมชลประทาน 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 72,000,000.00
อาคารประกอบ ปตร.เจาวรการบัญชา ระยะที่ 2
กิจกรรมยอยที่ 313ปรับปรุงไซฟอนอัดน้ําหวยรอง 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 40,000,000.00
ธาร กม.6+240
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 314ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 13 1 3 กรมชลประทาน 2,450,000.00 2,450,000.00 2,450,000.00 2,450,000.00 9,800,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 315ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 12,000,000.00
น้ําคํา อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ชลประทาน
500 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 316ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 80,000,000.00
แมตาแมว อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่รับ
ประโยชน 600 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 317อางเก็บน้ําหวยหกพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 80,000,000.00
สงน้ํา ปริมาณกักเก็บ 0.250 ลบ.ม.
กิจกรรมยอยที่ 318ฝายเตาบมพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 40,000,000.00
จัดหาน้ําสนับสนุนพื้นที่การเกษตรในเขตปฎิรูปที่ดิน
พื้นที่ชลประทาน 2000 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 319ปรับปรุงระบบสงน้ําฝายบานยาย 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 32,000,000.00


เหนือ-บานยายใต (จัดหาน้ําสนับสนุนเกษตรแปลง
ใหญ) ต.มวงยาย อ.เวียงแกน จ.เชียงราย พื้นที่
ชลประทาน 600 ไร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 320สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 80,000,000.00


ระบบสงน้ําบานปากอิง พื้นที่ชลประทาน 1600 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 321คันกั้นน้ําแมพุงฝงขวา ระยะ 2 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 120,000,000.00
พื้นที่รับประโยชน 1000 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 322โครงการพัฒนาแกมลิงเวียง 1 3 กรมชลประทาน 150,000,000.00 150,000,000.00 150,000,000.00 150,000,000.00 600,000,000.00
หนองหลม ปริมาณเก็บกัก 3.00 ลานลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 323คันกั้นน้ําคําบานมวงหมูสี พื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 40,000,000.00
รับประโยชน 600 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 324ปองกันการกัดเซาะตลิ่งในลําน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 72,000,000.00
สรวย เขื่อนแมสรวย ระยะที่ 4
กิจกรรมยอยที่ 325ปรับปรุงคลอง 1L-RMC พรอม 1 3 กรมชลประทาน 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 24,000,000.00
อาคารประกอบ โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว

กิจกรรมยอยที่ 326ปรับปรุงคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 40,000,000.00


FTO.3L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 327โครงการกอสรางคันกั้นน้ําแมพุง 1 3 กรมชลประทาน 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 72,000,000.00
ฝงซาย พื้นที่รับประโยชน 1000 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 328โครงการประตูระบายน้ําบาน 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 48,000,000.00
มวงหมูสีพรอมอาคารประกอบ พื้นที่รับประโยชน
800 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 329โครงการประตูระบายน้ําบานสัน 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 48,000,000.00
ผักแคพรอมอาคารประกอบ พื้นที่รับประโยชน 700
ไร โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 330คันกั้นน้ําพุงปองกันตลิ่งฝายวัง 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 80,000,000.00
เคียน พื้นที่รับประโยชน 1500 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 331ประตูระบายน้ําพรอมอาคาร 1 3 กรมชลประทาน 50,000,000.00 50,000,000.00 50,000,000.00 50,000,000.00 200,000,000.00
ประกอบลําน้ํางาม พื้นที่รับประโยชน 3500ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 332ประตูระบายน้ําแมคําบานสันธาตุ 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 80,000,000.00
พื้นที่รับประโยชน 1200 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 333โครงการประตูระบายน้ํารองธาตุ 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 80,000,000.00
พื้นที่รับประโยชน 800 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 334อาคารบังคับน้ําปากลําหวยแม 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 40,000,000.00
มอญ พื้นที่รับประโยชน 600 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 335โครงการประตูระบายน้ําบาน 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 48,000,000.00
หนองผักจิก แหงที่ 3 พื้นที่รับประโยชน 650 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 336อาคารรับน้ําและระบายน้ําหนอง 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 36,000,000.00
ฮาง พื้นที่รับประโยชน 2000 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 337คันกั้นน้ําพรอมอาคารระบายน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 60,000,000.00
แมจน ตําบลปาตึง พื้นที่รับประโยชน 2000 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 338สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 80,000,000.00
ระบบสงน้ําบานซาวา พื้นที่ชลประทาน 500 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 339สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 35,000,000.00 35,000,000.00 35,000,000.00 35,000,000.00 140,000,000.00
ระบบสงน้ําบานตาน้ําอิง พื้นที่ชลประทาน 2500 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 340สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 80,000,000.00
ระบบสงน้ําบานหนองฮาง พื้นที่ชลประทาน 2000 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 341สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 23,000,000.00 23,000,000.00 23,000,000.00 23,000,000.00 92,000,000.00
ระบบสงน้ําศรีรมเย็น พื้นที่ชลประทาน 1800 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 342สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 22,000,000.00 22,000,000.00 22,000,000.00 22,000,000.00 88,000,000.00
ระบบสงน้ําบานทาวแกนจันทร พื้นที่ชลประทาน
1500 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 343สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 32,000,000.00 32,000,000.00 32,000,000.00 32,000,000.00 128,000,000.00
ระบบสงน้ําบานตนปลอง พื้นที่ชลประทาน 1800 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 344ฝายแมเลียบพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 39,200,000.00
พื้นที่ชลประทาน 1200 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 345ฝายบานทุงกวางใตพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 80,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 2000 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 346ปรับปรุงระบบสงน้ําฝายน้ํางาว 1 3 กรมชลประทาน 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 39,200,000.00
พื้นที่ชลประทาน 500 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 347อางเก็บน้ําหวยสาพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 45,000,000.00 45,000,000.00 45,000,000.00 45,000,000.00 180,000,000.00
น้ํา พื้นที่ชลประทาน500 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 348อางเก็บน้ําหวยกองหินและ 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 120,000,000.00
ระบบสงน้ํา 1 แหง ปริมาณกักเก็บ 0.250 ลบ.ม.
กิจกรรมยอยที่ 349ฝายพรอมระบบสงน้ําหวยปอ 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 32,000,000.00
(ติดปญหาที่ดิน) พื้นที่ชลประทาน 750 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 350ฝายหวยตนงิ้วพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 60,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 1,200 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 351ฝายหวยมะยมพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 40,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 500 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 352ฝายบานปาหมุนพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 72,000,000.00
น้ํา พื้นที่ชลประทาน 1,300 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 353ฝายคึกฤทธิ์พรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 98,000,000.00 98,000,000.00 98,000,000.00 98,000,000.00 392,000,000.00
จัดหาน้ําสนับสนุนพื้นที่การเกษตรในเขตปฎิรูปที่ดิน
พื้นที่ชลประทาน 700 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 354ฝายวังเกาไฮพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 32,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 200 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 355อางเก็บน้ําแมสาดพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 50,000,000.00 50,000,000.00 50,000,000.00 50,000,000.00 200,000,000.00
สงน้ํา ปริมาณกักเก็บ 1.081 ลบ.ม.
กิจกรรมยอยที่ 356ฝายพรอมระบบสงน้ําบานเขื่อน 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 32,000,000.00
แกว พื้นที่ชลประทาน 500 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 357ปรับปรุงคลองสงน้ํา 1R-RMC 1 3 กรมชลประทาน 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 38,000,000.00
อางเก็บน้ําแมตาก พื้นที่ชลประทาน 1,000 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 358ปรับปรุงระบบคลองสงน้ํา RMC 1 3 กรมชลประทาน 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 24,000,000.00
ฝายโปงนก พื้นที่ชลประทาน 60 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 359ปรับปรุงอาคารระบายน้ําลน อาง 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 40,000,000.00
เก็บน้ําหวยหมอเฒา อันเนื่องมาจากพระราชดําริ
พื้นที่รับประโยชน 650 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 360ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 20,000,000.00


หวยเดื่อ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะที่ 2
พื้นที่ชลประทาน 500 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 361ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 48,000,000.00
หวยหมากเอียก อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่
รับประโยชน 1,500 ไร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 362ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 40,000,000.00


หวยดีหมี อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่
ชลประทาน 500 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 363ปรับปรุงระบบสงน้ําฝายปางไคร 1 3 กรมชลประทาน 14,000,000.00 14,000,000.00 14,000,000.00 14,000,000.00 56,000,000.00
อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะที่ 3 พื้นที่
ชลประทาน 10,000ไร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 364ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 60,000,000.00


หวยน้ํามา อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่
ชลประทาน 2,000 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
พื้นที่ชลประทาน 1,200 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 365ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 27,000,000.00 27,000,000.00 27,000,000.00 27,000,000.00 108,000,000.00


หวยมะแกงอันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะที่ 2
พื้นที่ชลประทาน 1,200 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 366ฝายบานอายิโกะพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 36,000,000.00


น้ํา พื้นที่ชลประทาน 300 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 367ฝายพรอมระบบสงน้ําบานโปง 1 3 กรมชลประทาน 48,000,000.00 48,000,000.00 48,000,000.00 48,000,000.00 192,000,000.00
เหนือ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ชลประทาน
800 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 368ฝายพรอมระบบสงน้ําบานสาม 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 36,000,000.00
เตา จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการรักษน้ําเพื่อพระแม
ของแผนดินลุมน้ําคํา พื้นที่ชลประทาน 150 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 369ฝายพรอมระบบสงน้ําบานขา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 36,000,000.00


แหยง จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการรักษน้ําเพื่อพระ
แมของแผนดินลุมน้ําคํา พื้นที่ชลประทาน 140 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 370อางเก็บน้ําหวยโปงพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 120,000,000.00


สงน้ํา จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการหลวงหวยโปง
พื้นที่ชลประทาน 3,000 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 371ฝายพรอมระบบสงน้ํา จัดหาน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 36,000,000.00


สนับสนุนพื้นที่ขยายผลสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูง
ตามพระราชดําริบานธารทอง พื้นที่ชลประทาน
1,800 ไร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 372ฝายหวยคุพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 36,000,000.00


จัดหาน้ําสนับสนุนศูนยพัฒนาโครงการหลวงผาตั้ง
พื้นที่ชลประทาน 150 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 373อางเก็บน้ําหวยปาสักพรอม 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 80,000,000.00
ระบบสงน้ํา ปริมาณกักเก็บ 0.200 ลบ.ม.
กิจกรรมยอยที่ 374ฝายรองนารีพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 22,000,000.00 22,000,000.00 22,000,000.00 22,000,000.00 88,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 1,000 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 375อางเก็บน้ําหวยรองคตพรอม 1 3 กรมชลประทาน 40,000,000.00 40,000,000.00 40,000,000.00 40,000,000.00 160,000,000.00
ระบบสงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 600 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 376ฝายพรอมระบบสงน้ําบานปุยคํา 1 3 กรมชลประทาน 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 28,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 350 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 377อางเก็บน้ําหวยปูบอง (ติดปญหา 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 120,000,000.00
ที่ดิน) ปริมาณกักเก็บ 0.250 ลบ.ม.
กิจกรรมยอยที่ 378บํารุงรักษาทางลําเลียงใหญ 1 3 กรมชลประทาน 808,000.00 808,000.00 808,000.00 808,000.00 3,232,000.00
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 379ปรับปรุงคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 12,000,000.00
FTO.12-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 380ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 11 1 3 กรมชลประทาน 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 14,000,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 381ปรับปรุงคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 16,000,000.00
FTO.13L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 382งานปองกันการกัดเซาะตลิ่งใน 1 3 กรมชลประทาน 25,000,000.00 25,000,000.00 25,000,000.00 25,000,000.00 100,000,000.00
ลําน้ําลาว ระยะที่ 1
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 383ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 12 1 3 กรมชลประทาน 2,100,000.00 2,100,000.00 2,100,000.00 2,100,000.00 8,400,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 384ปรับปรุงอาคารบานพัก 2 ชั้น 1 3 กรมชลประทาน 1,950,000.00 1,950,000.00 1,950,000.00 1,950,000.00 7,800,000.00
แหงที่ 2 โครงการกอสราง สํานักงานชลประทานที่ 2

กิจกรรมยอยที่ 385ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 14 1 3 กรมชลประทาน 2,800,000.00 2,800,000.00 2,800,000.00 2,800,000.00 11,200,000.00


R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 386ปรับปรุงประตูระบายทรายคลอง 1 3 กรมชลประทาน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 4,000,000.00
LMC และ RMC โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแม
ลาว
กิจกรรมยอยที่ 387โครงการปรับปรุงระบบน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 3,600,000.00
บาดาลเพื่อการเกษตร
กิจกรรมยอยที่ 388โครงการขุดลอกลําเหมืองเสน 1 3 กรมชลประทาน 1,100,000.00 1,100,000.00 1,100,000.00 3,300,000.00
ขางปาชา
กิจกรรมยอยที่ 389โครงการขุดลอกลําเหมืองปง 1 3 กรมชลประทาน 1,000,000.00 1,000,000.00 1,000,000.00 3,000,000.00
กิจกรรมยอยที่ 390โครงการขุดลอกลําเหมืองขาง 1 3 กรมชลประทาน 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 3,600,000.00
บานพอครูประเสริฐ
กิจกรรมยอยที่ 391โครงการขุดลอกลําเหมืองสาย 1 3 กรมชลประทาน 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 3,600,000.00
ทรายนอย ม.8 - ม.6 ตําบลบานดาย
กิจกรรมยอยที่ 392จัดระบบน้ําโครงการอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00 8,000,000.00 24,000,000.00
แมสรวย (ระยะที่ 2) พื้นที่ 800 ไร สํานักงานจัดรูป
ที่ดินและจัดระบบน้ําเพื่อเกษตรกรรมที่ 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 393ปรับปรุงจัดระบบน้ําโครงการสง 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 36,000,000.00
น้ําและบํารุงรักษาแมลาว (ระยะที่ 2) พื้นที่ 1,100 ไร
สํานักงานจัดรูปที่ดินและจัดระบบน้ําเพื่อ
เกษตรกรรมที่ 3

กิจกรรมยอยที่ 394สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 26,000,000.00 26,000,000.00 26,000,000.00 78,000,000.00


ระบบสงน้ําบานดงหลวง พื้นที่ชลประทาน 1,000 ไร

กิจกรรมยอยที่ 395ปรับปรุงฝายแมลาว 1 3 กรมชลประทาน 150,000,000.00 150,000,000.00 150,000,000.00 450,000,000.00


กิจกรรมยอยที่ 396ปรับปรุงคลองระบายน้ําคลอง 1 3 กรมชลประทาน 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 12,000,000.00
RMC ฝงขวา กม. 1+600 ถึง กม. 4+400
กิจกรรมยอยที่ 397ปรับปรุงคันกั้นน้ําแมสาย 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 30,000,000.00
โครงการพัฒนาการเกษตรแมสาย พื้นที่รับประโยชน
1,500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 398ฝายหวยน้ําอุน พื้นที่รับประโยชน 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 27,000,000.00
600 ไร
กิจกรรมยอยที่ 399ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 17 1 3 กรมชลประทาน 4,200,000.00 4,200,000.00 4,200,000.00 12,600,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 400ปรับปรุงสะพานขามคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 1,940,000.00 1,940,000.00 1,940,000.00 5,820,000.00
สายใหญฝงขวา กม. 21+100 RMC โครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 401ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 18 1 3 กรมชลประทาน 2,100,000.00 2,100,000.00 2,100,000.00 6,300,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 402ปรับปรุงคันคลองซอย 7R-LMC 1 3 กรมชลประทาน 6,500,000.00 6,500,000.00 6,500,000.00 19,500,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 403ปรับปรุงสะพานขามคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 1,580,000.00 1,580,000.00 1,580,000.00 4,740,000.00
สายใหญฝงขวา กม. 31+000 RMC โครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 404ปรับปรุงคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 6,000,000.00
FTO.2L-RMC พรอมอาคารประกอบ โครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 405ทํานบดินหวยบงงามพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 90,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 600 ไร
กิจกรรมยอยที่ 406ฝายแมเจดียใหมพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 40,000,000.00 40,000,000.00 40,000,000.00 120,000,000.00
น้ํา ( แหงที่ 1 ) พื้นที่รับชลประทาน 4,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 407อางเก็บน้ําหวยบุปผาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 60,000,000.00
ระบบสงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 700 ไร
กิจกรรมยอยที่ 408งานปรับปรุงทอลอดน้ําแมเผื่อ 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 45,000,000.00
RMC กม.23+356 ยาว 67.50 ม. พื้นที่ชลประทาน
360 ไร
กิจกรรมยอยที่ 409ระบบสงน้ําอางก็บน้ําหวยตนงุน 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 30,000,000.00
อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่ชลประทาน 2,400
ไร
กิจกรรมยอยที่ 410ปรับปรุงระบบสงน้ําสาย LMC 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 36,000,000.00
อางเก็บน้ําหวยทราย อันเนื่องมาจากพระราชดําริ
พื้นที่ชลประทาน 2,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 411ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 18,000,000.00
ตาดผาแดง อันเนื่องมาจากพระราชดําริ พื้นที่
ชลประทาน 1,000 ไร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 412ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 21,000,000.00
แมมอญ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ ระยะทึ่ 3
พื้นที่ชลประทาน 2,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 413ฝายพรอมระบบสงน้ําบาน 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 30,000,000.00
ปาเมี้ยงหวยโปง จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการพัฒนา
พื้นที่สูงแบบโครงการหลวงหวยโปง พื้นที่ชลประทาน
150 ไร

กิจกรรมยอยที่ 414ฝายหวยไหลเหลาพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 27,000,000.00


น้ํา จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการพัฒนาพื้นที่สูงแบบ
โครงการหลวงหวยโปง พื้นที่ชลประทาน 200 ไร

กิจกรรมยอยที่ 415ทํานบดินศูนยพัฒนาโครงการ 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 45,000,000.00


หลวงหวยแลง จัดหาน้ําสนับสนุนศูนยพัฒนา
โครงการหลวงหวยแลง พื้นที่ชลประทาน 50 ไร
กิจกรรมยอยที่ 416ฝายบานปางขอนพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 27,000,000.00
น้ํา จัดหาน้ําสนับสนุนสถานีพัฒนาการเกษตรที่สูง
ปางขอน พื้นที่ชลประทาน 200 ไร
กิจกรรมยอยที่ 417ฝายหวยยาบแงซายพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 9,800,000.00 9,800,000.00 9,800,000.00 29,400,000.00
สงน้ํา จัดหาน้ําสนับสนุนพื้นที่ขยายผลสถานี
พัฒนาการเกษตรที่สูงตามพระราชดําริบานธารทอง
พื้นที่ชลประทาน 600 ไร

กิจกรรมยอยที่ 418คันกั้นน้ําพุงฝงซายและฝงขวา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 30,000,000.00


พื้นที่รับประโยชน 1,000 ไร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 419ระบบผันน้ําขุนแมบง พื้นที่รับ 1 3 กรมชลประทาน 50,000,000.00 50,000,000.00 50,000,000.00 150,000,000.00
ประโยชน 10,625 ไร
กิจกรรมยอยที่ 420โครงการประตูระบายน้ําบานใหม 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 36,000,000.00
ในพรอมอาคารประกอบ พื้นที่รับประโยชน 620 ไร

กิจกรรมยอยที่ 421ประตูระบายน้ําบานเอียน พื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 40,000,000.00 40,000,000.00 40,000,000.00 120,000,000.00


รับประโยชน 1,500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 422โครงการแกมลิงหนองสลาบ 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 45,000,000.00
พื้นที่รับประโยชน 500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 423โครงการการแกมลิงหนองหนา 1 3 กรมชลประทาน 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 12,000,000.00
พนัง พื้นที่รับประโยชน 170 ไร
กิจกรรมยอยที่ 424โครงการพัฒนาแกมลิงเวียง 1 3 กรมชลประทาน 170,000,000.00 170,000,000.00 170,000,000.00 510,000,000.00
หนองหลม ปริมาณเก็บกัก 3.00 ลานลูกบาศกเมตร
พื้นที่รับประโยชน 2,150 ไร
กิจกรรมยอยที่ 425สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 25,000,000.00 25,000,000.00 25,000,000.00 75,000,000.00
ระบบสงน้ําบานดงมีชัย พื้นที่ชลประทาน 1,800 ไร

กิจกรรมยอยที่ 426สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 25,000,000.00 25,000,000.00 25,000,000.00 75,000,000.00


ระบบสงน้ําบานมวงชุม พื้นที่ชลประทาน 1,100 ไร

กิจกรรมยอยที่ 427สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00 30,000,000.00 90,000,000.00


ระบบสงน้ําบานสันโคง พื้นที่ชลประทาน 1,600 ไร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 428สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 27,000,000.00 27,000,000.00 27,000,000.00 81,000,000.00
ระบบสงน้ําบานแมต๋ํานอย พื้นที่ชลประทาน 2,500
ไร
กิจกรรมยอยที่ 429สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 34,000,000.00 34,000,000.00 34,000,000.00 102,000,000.00
ระบบสงน้ําหนองฝงแดง พื้นที่ชลประทาน 2,000 ไร

กิจกรรมยอยที่ 430สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 25,000,000.00 25,000,000.00 25,000,000.00 75,000,000.00


ระบบสงน้ําบานแมพริก พื้นที่ชลประทาน 2,000
ไร
กิจกรรมยอยที่ 431อางเก็บน้ําบานปากอิงพรอม 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 45,000,000.00
ระบบสงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 2,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 432สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 25,000,000.00 25,000,000.00 25,000,000.00 75,000,000.00
ระบบสงน้ําบานหวยตุม พื้นที่ชลประทาน 2,000 ไร

กิจกรรมยอยที่ 433ฝายหวยแดนเมืองพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 45,000,000.00


สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 1,500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 434อางเก็บน้ําหวยบง พื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 18,000,000.00 18,000,000.00 18,000,000.00 54,000,000.00
ชลประทาน 3,500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 435ฝายรองแฮดพรอมระบบสงน้ํา 1 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 45,000,000.00
แหง พื้นที่ชลประทาน 2,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 436อางเก็บน้ําหวยหากพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 60,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 1,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 437ฝายบานสันกางปลาพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 30,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 3,000 ไร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 438ฝายตนผึ้งพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 20,000,000.00 60,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 600 ไร
กิจกรรมยอยที่ 439โครงการกอสรางคันกั้นน้ําแมพุง 1 3 กรมชลประทาน 22,000,000.00 22,000,000.00 22,000,000.00 66,000,000.00
ฝงขวา พื้นที่รับประโยชน 1,500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 440บํารุงรักษาทางลําเลียงใหญ 1 3 กรมชลประทาน 614,000.00 614,000.00 614,000.00 1,842,000.00
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 441ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 15 1 3 กรมชลประทาน 3,150,000.00 3,150,000.00 3,150,000.00 9,450,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 442ปรับปรุงทอลอดถนนคลองซอย 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 30,000,000.00
4L-RMC จํานวน 3 แหง
กิจกรรมยอยที่ 443ปรับปรุงคันคลองซอย 8R-LMC 1 3 กรมชลประทาน 6,500,000.00 6,500,000.00 6,500,000.00 19,500,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 444ปรับปรุงคันคลองซอย 6R-LMC 1 3 กรมชลประทาน 6,500,000.00 6,500,000.00 6,500,000.00 19,500,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 445ปรับปรุงคันคลองซอย 5R-LMC 1 3 กรมชลประทาน 6,500,000.00 6,500,000.00 6,500,000.00 19,500,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 446ปรับปรุงสะพานขามคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 9,000,000.00
สายใหญฝงซาย กม.0+250- 14R-LMC โครงการ
สงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 447ปรับปรุงสะพานขามคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 7,500,000.00
สายใหญฝงซาย กม. 19+000 LMC โครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 448ปรับปรุงคลองซอย 2L-RMC 1 3 กรมชลประทาน 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 7,500,000.00
พรอมอาคารประกอบ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 449ปรับปรุงอาคารระบายน้ําขาง 1 3 กรมชลประทาน 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 9,000,000.00
คลอง RMC
กิจกรรมยอยที่ 450ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 16 1 3 กรมชลประทาน 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 10,500,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 451ปรับปรุงถนนคันคลองRMC ฝง 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 15,000,000.00
ขวา ชวง กม.4+815 ถึม กม.6+240
กิจกรรมยอยที่ 452โครงการทําฝายน้ําลนเหมืองตา 1 3 กรมชลประทาน 1,500,000.00 1,500,000.00 3,000,000.00
หยา เพื่อชะลอน้ํา
กิจกรรมยอยที่ 453จัดระบบน้ําโครงการอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 20,000,000.00
แมสรวย (ระยะที่ 3) พื้นที่ 950 ไร สํานักงานจัดรูป
ที่ดินและจัดระบบน้ําเพื่อเกษตรกรรมที่ 3
กิจกรรมยอยที่ 454ปรับปรุงจัดระบบน้ําโครงการสง 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 18,000,000.00
น้ําและบํารุงรักษาแมลาว (ระยะที่ 3) พื้นที่ 950 ไร
สํานักงานจัดรูปที่ดินและจัดระบบน้ําเพื่อ
เกษตรกรรมที่ 3

กิจกรรมยอยที่ 455ฝายพรอมระบบสงน้ําบานดอน 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 18,000,000.00


จัดหาน้ําสนับสนุนศูนยพัฒนาโครงการหลวงหวยแลง
พื้นที่ชลประทาน 250 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 456งานปรับปรุงคลองสงน้ําฝงขวา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 20,000,000.00


ฝายชัยสมบัติ สาย 4R-RMC
กิจกรรมยอยที่ 457งานปรับปรุงคลองสงน้ําฝงขวา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 20,000,000.00
ฝายชัยสมบัติ สาย 3R-RMC
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 458ฝายบานปางกลวยพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 40,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 1,300 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 459สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 25,000,000.00 25,000,000.00 50,000,000.00
ระบบสงน้ําบานสาน พื้นที่ชลประทาน 2,000 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 460อางเก็บน้ําหวยจอ พื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 21,000,000.00 21,000,000.00 42,000,000.00
ชลประทาน 1,100 ไร โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 461โครงการกอสรางคันกั้นน้ําแมพุง 1 3 กรมชลประทาน 16,000,000.00 16,000,000.00 32,000,000.00


ฝงขวา พื้นที่ประโยชน 1,000 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 462โครงการประตูระบายน้ําบาน 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 24,000,000.00
ทรายมูลพรอมอาคารประกอบ พื้นที่ประโยชน 500
ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 463ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO( 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00 10,000,000.00
พิเศษก) -RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 464ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO.9 1 3 กรมชลประทาน 4,000,000.00 4,000,000.00 8,000,000.00
L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 465ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 1 3 กรมชลประทาน 6,500,000.00 6,500,000.00 13,000,000.00
53L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 466ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 22 1 3 กรมชลประทาน 3,150,000.00 3,150,000.00 6,300,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 467ปรับปรุงสะพานขามคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 2,000,000.00 2,000,000.00 4,000,000.00
สายใหญฝงขวา กม. 6+240RMC โครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 468ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 21 1 3 กรมชลประทาน 4,200,000.00 4,200,000.00 8,400,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 469ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 19 1 3 กรมชลประทาน 2,450,000.00 2,450,000.00 4,900,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 470ปรับปรุงคันคลองซอย 13R-LMC 1 3 กรมชลประทาน 6,500,000.00 6,500,000.00 13,000,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 471โครงการประตูระบายน้ําบานปา 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 24,000,000.00
หมุนพรอมอาคารประกอบ พื้นที่ประโยชน 800 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 472อาคารรับน้ําและระบบระบาย 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 40,000,000.00
น้ําบานเหลา พื้นที่ประโยชน 1,500 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 473ระบบผันน้ําลุมน้ําแมจัน พื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 55,000,000.00 55,000,000.00 110,000,000.00
ประโยชน 3,000 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 474โครงการประตูระบายน้ําบานแม 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 24,000,000.00
คาววังพรอมอาคารประกอบ พื้นที่ประโยชน 700 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 475โครงการแกมลิงหนองจอมะตื่น 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00 10,000,000.00
ปริมาณเก็บกัก 0.060 ลานลูกบาศกเมตร
กิจกรรมยอยที่ 476โครงการแกมลิงหนองจอยาว 1 3 กรมชลประทาน 7,000,000.00 7,000,000.00 14,000,000.00
ปริมาณเก็บกัก 0.100 ลานลูกบาศกเมตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 477สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 28,000,000.00 28,000,000.00 56,000,000.00
ระบบสงน้ําบานหวยไครใหม พื้นที่ชลประทาน 2,500
ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 478สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 25,000,000.00 25,000,000.00 50,000,000.00
ระบบสงน้ําบานเกี๋ยงใต พื้นที่ชลประทาน 2,300 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 479สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00 60,000,000.00
ระบบสงน้ําบานยายเหนือ พื้นที่ชลประทาน 3,000
ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 480สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00 60,000,000.00
ระบบสงน้ําบานปาตึงงาม1 พื้นที่ชลประทาน 2,100
ไร โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 481สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 38,000,000.00 38,000,000.00 76,000,000.00
ระบบสงน้ําบานศรีวิไล พื้นที่ชลประทาน 2,800 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 482สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 35,000,000.00 35,000,000.00 70,000,000.00
ระบบสงน้ําบานสันนคร (จัดหาน้ําสนับสนุนเกษตร
แปลงใหญ) พื้นที่ชลประทาน 3,000 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 483อางเก็บน้ําหวยปากแดง พื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 18,000,000.00 18,000,000.00 36,000,000.00


ชลประทาน 1,000 ไร โครงการชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 484อางเก็บน้ําบานสานพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00 60,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 1,000 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 485ฝายหนองปงพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 18,000,000.00 18,000,000.00 36,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 1,500 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 486ฝายพรอมระบบสงน้ําบานปาตน 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 18,000,000.00
ผึ้ง พื้นที่ชลประทาน 170 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 487ฝายหวยไลเหล็กพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 24,000,000.00
น้ํา พื้นที่ชลประทาน 180 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 488อางเก็บน้ําหวยหากพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 40,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 1,000 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 489อางเก็บน้ําหวยเคียนพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 48,000,000.00 48,000,000.00 96,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 400 ไร โครงการชลประทาน
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 490งานปรับปรุงคลองสงน้ําฝงขวา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 20,000,000.00
ฝายชัยสมบัติ สาย 2R-RMC
กิจกรรมยอยที่ 491ปรับปรุงระบบสงน้ําฝายแมแกว 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 18,000,000.00
อันเนื่องมาจากพระราชดําริ
กิจกรรมยอยที่ 492ปรับปรุงระบบสงน้ําฝายขอนซุง 1 3 กรมชลประทาน 4,000,000.00 4,000,000.00 8,000,000.00
อันเนื่องมาจากพระราชดําริ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 493ฝายพรอมระบบสงน้ําบานปาง 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 18,000,000.00
ซาง จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการขยายผลโครงการ
หลวงวาวี พื้นที่ชลประทาน 160 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 494ฝายบานดอยชางพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00 18,000,000.00


น้ํา จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการขยายผลโครงการ
หลวงวาวี พื้นที่ชลประทาน 200 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 495ฝายพรอมระบบสงน้ําหวยโปงสะ 1 3 กรมชลประทาน 13,000,000.00 13,000,000.00 26,000,000.00


ลํา จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการขยายผลโครงการ
หลวงวาวี พื้นที่ชลประทาน 400 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 496ฝายพรอมระบบสงน้ําบานทุง 1 3 กรมชลประทาน 13,000,000.00 13,000,000.00 26,000,000.00


พราวจัดหาน้ําสนับสนุนโครงการขยายผลโครงการ
หลวงวาวี พื้นที่ชลประทาน 220 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 497งานปรับปรุงคลองสงน้ําฝงขวา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 20,000,000.00


ฝายชัยสมบัติ สาย 1R-RMC
กิจกรรมยอยที่ 498ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00 20,000,000.00
บานวังลาว (หวยปูเหลือง) อันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ
กิจกรรมยอยที่ 499ปรับปรุงระบบสงน้ําคลอง 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00 24,000,000.00
1R-3L-RMC คู1+690 ฝายโปงนก ม.5,2,12 ต.สันสลี
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 500บํารุงรักษาทางลําเลียงใหญ 1 3 กรมชลประทาน 258,600.00 258,600.00 517,200.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมวัง
กิจกรรมยอยที่ 501บํารุงรักษาทางลําเลียงใหญ 1 3 กรมชลประทาน 872,600.00 872,600.00 1,745,200.00
โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 502ปรับปรุงคันคลองซอย 9R-LMC 1 3 กรมชลประทาน 6,500,000.00 6,500,000.00 13,000,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 503ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO.11 1 3 กรมชลประทาน 2,000,000.00 2,000,000.00 4,000,000.00
L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 504ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO.8 1 3 กรมชลประทาน 1,000,000.00 1,000,000.00 2,000,000.00
L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 505ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO.10 1 3 กรมชลประทาน 3,000,000.00 3,000,000.00 6,000,000.00
L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 506ปรับปรุงคันคลองซอย 12R-LMC 1 3 กรมชลประทาน 6,500,000.00 6,500,000.00 13,000,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 507ปรับปรุงคันคลองซอย 11R-LMC 1 3 กรมชลประทาน 6,500,000.00 6,500,000.00 13,000,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 508ปรับปรุงคันคลองซอย 10R-LMC 1 3 กรมชลประทาน 6,500,000.00 6,500,000.00 13,000,000.00
โครงการสงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 509ปรับปรุงสะพานขามคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 2,000,000.00 2,000,000.00 4,000,000.00
สายใหญฝงขวา กม. 18+720 RMC โครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 510ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 20 1 3 กรมชลประทาน 2,800,000.00 2,800,000.00 5,600,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 511ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 23 1 3 กรมชลประทาน 2,450,000.00 2,450,000.00 4,900,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 512ปรับปรุงทํานบดินพรอมอาคาร 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 40,000,000.00
ประกอบ เขื่อนหวยเดื่อ อันเนื่องมาจากพระราชดําริ
กิจกรรมยอยที่ 513ปรับปรุงทํานบดินพรอมอาคาร 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00 40,000,000.00
ประกอบ อางเก็บน้ําหวยปาสิก อันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ
กิจกรรมยอยที่ 514ปรับปรุงจัดระบบน้ําโครงการสง 1 3 กรมชลประทาน 11,000,000.00 11,000,000.00
น้ําและบํารุงรักษาแมลาว (ระยะที่ 4) พื้นที่ 1,000 ไร
สํานักงานจัดรูปที่ดินและจัดระบบน้ําเพื่อ
เกษตรกรรมที่ 3

กิจกรรมยอยที่ 515ปรับปรุงอาคารระบายน้ําลน อาง 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00


เก็บน้ําดอยงิ้ว อันเนื่องมาจากพระราชดําริ
กิจกรรมยอยที่ 516ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
51L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 517ฝายหวยกิ่วนกพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 518ฝายสันปายางพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 25,000,000.00 25,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 519อางเก็บน้ําหวยปุพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 35,000,000.00 35,000,000.00
น้ํา พื้นที่ชลประทาน 1,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 520ฝายหวยโปงแดงพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 4,000,000.00 4,000,000.00
น้ํา พื้นที่ชลประทาน 350 ไร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 521ปรับปรุงระบบสงน้ําฝงซายฝาย 1 3 กรมชลประทาน 19,000,000.00 19,000,000.00
โปงน้ํารอน ระยะ1
กิจกรรมยอยที่ 522อางเก็บน้ําหวยน้ําพุพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 45,000,000.00 45,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 450 ไร
กิจกรรมยอยที่ 523ฝายตนมวงพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 700 ไร
กิจกรรมยอยที่ 524ฝายบานวังชมภูพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 800 ไร
กิจกรรมยอยที่ 525ฝายบานใหมเจริญพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 526ฝายหวยบงพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 527สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 3,000,000.00 3,000,000.00
ระบบสงน้ําบานแมต๋ํา พื้นที่ชลประทาน 2,600 ไร
กิจกรรมยอยที่ 528สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 25,000,000.00 25,000,000.00
ระบบสงน้ําบานปาตึงงาม2 พื้นที่ชลประทาน 1,800
ไร
กิจกรรมยอยที่ 529สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 40,000,000.00 40,000,000.00
ระบบสงน้ําบานโปงเกลือ พื้นที่ชลประทาน 2,500 ไร

กิจกรรมยอยที่ 530ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 31 1 3 กรมชลประทาน 2,800,000.00 2,800,000.00


R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 531ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 34 1 3 กรมชลประทาน 4,200,000.00 4,200,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 532ปรับปรุงสะพานขามคลองสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 1,300,000.00 1,300,000.00
สายใหญฝงซาย กม. 0+300 14R-LMC โครงการ
สงน้ําและบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 533ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 33 1 3 กรมชลประทาน 3,500,000.00 3,500,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 534ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 35 1 3 กรมชลประทาน 2,100,000.00 2,100,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 535ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 27 1 3 กรมชลประทาน 3,150,000.00 3,150,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 536ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 24 1 3 กรมชลประทาน 3,500,000.00 3,500,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 537ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 28 1 3 กรมชลประทาน 3,500,000.00 3,500,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 538อางเก็บน้ําพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 45,000,000.00 45,000,000.00
บานลิไข พื้นที่ชลประทาน 2,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 539ฝายบานพลูทองพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 6,000,000.00 6,000,000.00
น้ํา พื้นที่ชลประทาน 500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 540ฝายหวยเคียนพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 350 ไร
กิจกรรมยอยที่ 541อางเก็บน้ําหวยตาดพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 45,000,000.00 45,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 1,500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 542ปรับปรุงฝายกอตึ๋งพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00
สงน้ํา ระยะ2 (ติดปญหาที่ดิน)พื้นที่ชลประทาน 600
ไร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 543ปรับปรุงระบบสงน้ําฝงซายฝาย 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00
โปงน้ํารอน ระยะ2 (ติดปญหาที่ดิน)พื้นที่ชลประทาน
3,500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 544ปรับปรุงฝายกอตึ๋งพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00
สงน้ํา ระยะ1
กิจกรรมยอยที่ 545ปรับปรุงระบบสงน้ําฝายลูกที่ 4 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00
โครงการพัฒนาดอยตุง พื้นที่รับประโยชน 150 ไร
กิจกรรมยอยที่ 546ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00
แมคํา พื้นที่รับประโยชน 300 ไร
กิจกรรมยอยที่ 547ปรับปรุงระบบสงน้ําอางเก็บน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00
หวยหมากเมี้ยง พื้นที่ชลประทาน 1,600 ไร
กิจกรรมยอยที่ 548ทํานบดินสถานีพัฒนาการ 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00
เกษตรที่สูงบานปางขอน พื้นที่รับประโยชน 300 ไร
กิจกรรมยอยที่ 549ฝายพรอมระบบสงน้ําบานปาง 1 3 กรมชลประทาน 12,000,000.00 12,000,000.00
ออย จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการขยายผลโครงการ
หลวงวาวี พื้นที่ชลประทาน 350 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 550ฝายพรอมระบบสงน้ําบานปาง 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00


ตนผึ้ง จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการขยายผลโครงการ
หลวงวาวี พื้นที่ชลประทาน 100 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 551ฝายพรอมระบบสงน้ําบานปาง 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
อาณาเขต จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการขยายผล
โครงการหลวงวาวี พื้นที่ชลประทาน 200 ไร
โครงการชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 552ฝายพรอมระบบสงน้ําบานปาง 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00


กลาง จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการขยายผลโครงการ
หลวงวาวี พื้นที่ชลประทาน 200 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 553ฝายพรอมระบบสงน้ําบานหวย 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00


โตง จัดหาน้ําสนับสนุนโครงการขยายผลโครงการ
หลวงวาวี พื้นที่ชลประทาน 120 ไร โครงการ
ชลประทานเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 554ฝายทุงหลวงพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00


พื้นที่ชลประทาน 500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 555ฝายหวยปาตองพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 1,800 ไร
กิจกรรมยอยที่ 556ประตูระบายน้ําบานแมมะ 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00
พื้นที่รับประโยชน 600 ไร
กิจกรรมยอยที่ 557ประตูระบายน้ําดอยจําป พื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00
รับประโยชน 2,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 558คันกั้นน้ําฮางพรอมอาคาร 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
ประกอบ พื้นที่รับประโยชน 1,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 559คันกั้นน้ําแมคาวพรอมอาคาร 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
ประกอบ พื้นที่รับประโยชน 1,200 ไร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 560โครงการระบายน้ํา แมคํา-น้ํามะ 1 3 กรมชลประทาน 55,000,000.00 55,000,000.00
พื้นที่รับประโยชน 2,500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 561คันกั้นน้ําแมคําฝงขวา ปตร.ปาก 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00
เหมืองอุดม พื้นที่รับประโยชน 2,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 562แกมลิงหนองกลวยพรอมอาคาร 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00
ประกอบ พื้นที่รับประโยชน 300 ไร
กิจกรรมยอยที่ 563แกมลิงหนองบัวพรอมอาคาร 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00
ประกอบ พื้นที่รับประโยชน 1,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 564แกมลิงหนองดินดําพรอมอาคาร 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00
ประกอบ พื้นที่รับประโยชน 200 ไร
กิจกรรมยอยที่ 565แกมลิงหวยตะเคียนพรอม 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00
อาคารประกอบ พื้นที่รับประโยชน 300 ไร
กิจกรรมยอยที่ 566แกมลิงหนองแดงระยะ 2 พื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00
รับประโยชน 200 ไร
กิจกรรมยอยที่ 567โครงการแกมลิงหนองเวียงหวาย 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00
พื้นที่รับประโยชน 400 ไร
กิจกรรมยอยที่ 568โครงการแกมลิงหนองสามขา 1 3 กรมชลประทาน 8,000,000.00 8,000,000.00
พื้นที่รับประโยชน 500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 569โครงการแกมลิงหนองผักหนาม 1 3 กรมชลประทาน 10,000,000.00 10,000,000.00
พรอมอาคารประกอบ พื้นที่รับประโยชน 750 ไร

กิจกรรมยอยที่ 570สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 40,000,000.00 40,000,000.00


ระบบสงน้ําบานสันปูเลย พื้นที่ชลประทาน 2,500 ไร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 571สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 40,000,000.00 40,000,000.00
ระบบสงน้ําบานสันตนธง พื้นที่ชลประทาน 1,800 ไร

กิจกรรมยอยที่ 572บํารุงรักษาทางลําเลียงใหญ 1 3 กรมชลประทาน 754,000.00 754,000.00


โครงการชลประทานเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 573สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 35,000,000.00 35,000,000.00
ระบบสงน้ําวังแฮด พื้นที่ชลประทาน 2,500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 574สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 40,000,000.00 40,000,000.00
ระบบสงน้ําบานปาแหยง พื้นที่ชลประทาน 2,500 ไร

กิจกรรมยอยที่ 575ปรับปรุงคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00


FTO.16L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 576ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO.15 1 3 กรมชลประทาน 2,000,000.00 2,000,000.00
L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 577ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO.14 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00
L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 578ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 32 1 3 กรมชลประทาน 3,150,000.00 3,150,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 579ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 25 1 3 กรมชลประทาน 2,450,000.00 2,450,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 580ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 26 1 3 กรมชลประทาน 2,800,000.00 2,800,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 581ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 29 1 3 กรมชลประทาน 2,100,000.00 2,100,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 582ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 30 1 3 กรมชลประทาน 2,450,000.00 2,450,000.00
R-LMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 583ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO. 1 3 กรมชลประทาน 7,000,000.00 7,000,000.00
47L-RMC พรอมอาคารประกอบ โครงการสงน้ํา
และบํารุงรักษาแมลาว
กิจกรรมยอยที่ 584ปรับปรุงทํานบดิพรอมอาคาร 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00
ประกอบ อางเก็บน้ําหวยเอียน อันเนื่องมาจาก
พระราชดําริ
กิจกรรมยอยที่ 585ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 1 3 กรมชลประทาน 7,800,000.00 7,800,000.00
49L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 586ปรับปรุงคลองแยกซอย FTO 1 3 กรมชลประทาน 9,800,000.00 9,800,000.00
64L-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 587สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 35,000,000.00 35,000,000.00
ระบบสงน้ําบานสันปาคาม พื้นที่ชลประทาน 2,500
ไร
กิจกรรมยอยที่ 588สถานีสูบน้ําดวยไฟฟาพรอม 1 3 กรมชลประทาน 35,000,000.00 35,000,000.00
ระบบสงน้ําบานทุงยาว (จัดหาน้ําสนับสนุนเกษตร
แปลงใหญ)พื้นที่ชลประทาน 2,500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 589ฝายจะตี - ติดอุทยานฯ พื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 5,000,000.00 5,000,000.00
ชลประทาน 600 ไร
กิจกรรมยอยที่ 590อางเก็บน้ําหวยปูพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 35,000,000.00 35,000,000.00
น้ํา พื้นที่ชลประทาน 500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 591ฝายบานเวียงสรวย พื้นที่ 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00
ชลประทาน 300 ไร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 592ฝายบานยานําพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 200 ไร
กิจกรรมยอยที่ 593ฝายหวยแมกึ๊ดพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 300 ไร
กิจกรรมยอยที่ 594ฝายหวยปาชางพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 300 ไร
กิจกรรมยอยที่ 595อางเก็บน้ําหวยแมกึ๊ดพรอม 1 3 กรมชลประทาน 45,000,000.00 45,000,000.00
ระบบสงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 2,500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 596ฝายบานแมเปาใตพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 25,000,000.00 25,000,000.00
น้ํา พื้นที่ชลประทาน 900 ไร
กิจกรรมยอยที่ 597ฝายบานแมเปาเหนือพรอม 1 3 กรมชลประทาน 20,000,000.00 20,000,000.00
ระบบสงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 800 ไร
กิจกรรมยอยที่ 598ฝายบานหนองเลียบพรอมระบบ 1 3 กรมชลประทาน 15,000,000.00 15,000,000.00
สงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 800 ไร
กิจกรรมยอยที่ 599ฝายทุงในพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 800 ไร
กิจกรรมยอยที่ 600ฝายหวยชางลอดพรอมระบบสง 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
น้ํา พื้นที่ชลประทาน 1,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 601ฝายเดื่อปองพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 2,000 ไร
กิจกรรมยอยที่ 602ปรับปรุงคลองแยกซอย 1 3 กรมชลประทาน 2,000,000.00 2,000,000.00
FTO.16La-RMC พรอมอาคารประกอบ
กิจกรรมยอยที่ 603ฝายปาตองพรอมระบบสงน้ํา 1 3 กรมชลประทาน 9,000,000.00 9,000,000.00
พื้นที่ชลประทาน 1,500 ไร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 604อางเก็บน้ําหวยบงงามพรอม 1 3 กรมชลประทาน 30,000,000.00 30,000,000.00
ระบบสงน้ํา พื้นที่ชลประทาน 600 ไร
กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 210,932,000.00 210,932,000.00 210,932,000.00 210,932,000.00 25,000,000.00 868,728,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1 โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 2โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 3โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 4โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 5โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 6โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 7โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 8โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 9โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 10โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 11โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 12โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 13โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 14โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 15โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 16โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 1,965,700.00 9,828,500.00
การเกษตรดวยพลังงานแสงอาทิตย
กิจกรรมยอยที่ 17โครงการพัฒนาน้ําบาดาลเพื่อ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 13,494,800.00 13,494,800.00 13,494,800.00 13,494,800.00 13,494,800.00 67,474,000.00
การเกษตรแปลงใหญ พื้นที่ 500 ไร
กิจกรรมยอยที่ 18โครงการพัฒนาแหลงน้ําบาดาล 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 164,780,000.00 164,780,000.00 164,780,000.00 164,780,000.00 164,780,000.00 823,900,000.00
ขนาดใหญโดยใชเทคโนโลยีที่ทันสมัย (Riverbank
Filtration)
กิจกรรมยอยที่ 19โครงการพัฒนาแหลงน้ําบาดาล 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 603,000.00 603,000.00 603,000.00 603,000.00 603,000.00 3,015,000.00
สงเสริมการดําเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
โครงการรอยใจรักษ
กิจกรรมยอยที่ 20โครงการพัฒนาแหลงน้ําบาดาล 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 603,000.00 603,000.00 603,000.00 603,000.00 603,000.00 3,015,000.00
สงเสริมการดําเนินงานอันเนื่องมาจากพระราชดําริ
โครงการรอยใจรักษ
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 21โครงการสํารวจศึกษาและ 1 3 กรมทรัพยากรน้ําบาดาล 25,000,000.00 25,000,000.00
ประเมินศักยภาพน้ําบาดาลเพื่อการบริหารจัดการ
ทั่วประเทศ
การประปาสวนภูมิภาค 212,673,600.00 212,673,600.00 210,125,600.00 212,673,600.00 212,673,600.00 1,060,820,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1 โครงการกอสรางปรับปรุงขยาย 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 183,218,800.00 183,218,800.00 183,218,800.00 183,218,800.00 183,218,800.00 916,094,000.00
การประปาสวนภูมิภาคสาขาแมสาย-(หวยไคร)-(แม
จัน)-(เชียงแสน) อําเภอแมสาย อําเภอแมจัน อําเภอ
เชียงแสน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 2งานปรับปรุงระบบผลิตน้ําประปา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 11,614,800.00 11,614,800.00 11,614,800.00 11,614,800.00 11,614,800.00 58,074,000.00


ขนาด 500 ลบ.ม./ชม. และแกปญหาการจายน้ํา
การประปาสวนภูมิภาคสาขาเชียงราย ตําบลรอบ
เวียง อําเภอเมือง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 3งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 1,424,000.00 1,424,000.00 1,424,000.00 1,424,000.00 1,424,000.00 7,120,000.00


หมูบานชาญทิพยธานี ตําบลทาสาย อําเภอเมือง
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 4งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 1,647,000.00 1,647,000.00 1,647,000.00 1,647,000.00 1,647,000.00 8,235,000.00
บานยกเจริญ หมู 8 ตําบลเมืองชุม อําเภอเวียงชัย
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 5งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 2,194,000.00 2,194,000.00 2,194,000.00 2,194,000.00 2,194,000.00 10,970,000.00
ชุมชนดอยสะเก็น หมู 5 ตําบลรอบเวียง อําเภอเมือง
เชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 6งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ําหมู 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 1,488,000.00 1,488,000.00 1,488,000.00 1,488,000.00 1,488,000.00 7,440,000.00
5 บานปาเหมือด ตําบลปางิ้ว อําเภอเวียงปาเปา
จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 7งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 385,000.00 385,000.00 385,000.00 385,000.00 385,000.00 1,925,000.00
บานศรีดอนชัย หมู 15 ตําบลศรีดอนชัย อําเภอ
เชียงของ จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 8งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 87,000.00 87,000.00 87,000.00 87,000.00 87,000.00 435,000.00
บานสันสะลึก หมู 11 (ซอย 28) ตําบลเม็งราย
อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 9งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 365,000.00 365,000.00 365,000.00 365,000.00 365,000.00 1,825,000.00
บานทุงงิ้วเหนือ หมู 11 ตําบลสถาน อําเภอเชียงของ
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 10งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 3,133,000.00 3,133,000.00 3,133,000.00 3,133,000.00 3,133,000.00 15,665,000.00
บานปาจั่น หมู 7 ตําบลเวียงกาหลง อําเภอเวียงปา
เปา จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 11งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 273,000.00 273,000.00 273,000.00 273,000.00 273,000.00 1,365,000.00
บานแฟน หมู 6 ตําบลสถาน อําเภอเชียงของ จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 12งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 681,000.00 681,000.00 681,000.00 681,000.00 681,000.00 3,405,000.00
บานหนองดาน หมู 1 ตําบลรอบเวียง อําเภอเมือง
เชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 13งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 130,000.00 130,000.00 130,000.00 130,000.00 130,000.00 650,000.00
บานเม็งราย หมูที่ 10 (ซอยนายบุญศรี บุญยวง)
ตําบลเม็งราย อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 14งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 689,000.00 689,000.00 689,000.00 689,000.00 689,000.00 3,445,000.00
บานทุงพราว ตําบลเมืองพาน อําเภอพาน จังหวัด
เชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 15งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 468,000.00 468,000.00 468,000.00 468,000.00 468,000.00 2,340,000.00
บานสบสม หมู 3 ตําบลเวียง อําเภอเชียงของ จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 16งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 371,000.00 371,000.00 371,000.00 371,000.00 371,000.00 1,855,000.00
บานทุงพัฒนา หมู 13 ตําบลเวียง อําเภอเชียงของ
จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 17งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 1,379,000.00 1,379,000.00 1,379,000.00 1,379,000.00 1,379,000.00 6,895,000.00
บานเวียงกาหลง หมู 15 ตําบลแมเจดีย อําเภอเวียง
ปาเปา จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 18งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 341,000.00 341,000.00 341,000.00 341,000.00 341,000.00 1,705,000.00
ซอย 2 บานฮางต่ํา หมู 12 ตําบลปางิ้ว อําเภอเวียง
ปาเปา จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 19งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 237,000.00 237,000.00 237,000.00 237,000.00 237,000.00 1,185,000.00
กาดกลางเวียง ตําบลเวียง อําเภอเวียงปาเปา จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 20งานวางทอขยายเขตจําหนายน้ํา 1 3 การประปาสวนภูมิภาค 2,548,000.00 2,548,000.00 2,548,000.00 2,548,000.00 2,548,000.00 12,740,000.00
บานสันมะเค็ด และบานหัวฝาย ตําบลเวียงกาหลง
อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 39,900,000.00 42,900,000.00 42,900,000.00 44,100,000.00 45,300,000.00 215,100,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1เจาะบอบาดาลพรอมเสมิรธดูดน้ํา 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00
ลึก 140 เมตร (หลังอาคารอเนกประสงค)
กิจกรรมยอยที่ 2โครงการทอหลอดเหลี่ยมตัวยูตลอด 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00
เสนทางในหมูบานและใสทอลําเหมืองตั้งแตสามแยก
ไปหาตนโพธิ์ลําเหมืองเสนการเกษตร
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 3โครงการวางทอลําเหมืองและทํา 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 10,100,000.00 10,100,000.00 10,100,000.00 10,100,000.00 10,100,000.00 50,500,000.00
ถนนจากทางสาธารณะขางทาขาวเชื่อมตอเสนทาง
บานนายยก เตจะ
กิจกรรมยอยที่ 4โครงการขุดลอกลําเหมืองพื้นที่ 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00
การเกษตร
กิจกรรมยอยที่ 5โครงการสรางฝายทดน้ํานาลุงหวาง 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00
กิจกรรมยอยที่ 6โครงการเจาะบาดาลเพื่อการเกษตร 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 6,000,000.00
พรอมติดตั้งระบบสูบน้ําโซลาเซล
กิจกรรมยอยที่ 7การทําฝายน้ําลนลําเหมืองฮองปลา 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 8,000,000.00
กั้งในเขตเชื่อมตอ ต.หวยไครและ ต.แมไร (ได
ผลประโยชน ม.4,3,8 และบานปาบงงาม)
กิจกรรมยอยที่ 8โครงการขุดลอกลําเหมืองทุกสาย 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 6,000,000.00
ของหมูบานเพื่อรองรับในดานการเกษตร
กิจกรรมยอยที่ 9โครงการปรับปรุงฝายนาอายไข นา 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 6,000,000.00
ลุงอุน
กิจกรรมยอยที่ 10โครงการขุดลอกลําเหมืองหลัง 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,200,000.00 1,200,000.00 2,400,000.00
บานนายปนแกว ปนตาดวง - สุสานคริสต
กิจกรรมยอยที่ 11โครงการทําฝายน้ําลน ฝายชะลอ 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,200,000.00 1,200,000.00
น้ํา ลําเหมืองสายขาง อบต.หวยไคร
กรมเจาทา 172,060,000.00 172,060,000.00 172,060,000.00 172,060,000.00 172,060,000.00 860,300,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1โครงการจางเหมาขุดลอกและ 1 3 กรมเจาทา 24,350,000.00 24,350,000.00 24,350,000.00 24,350,000.00 24,350,000.00 121,750,000.00
บํารุงรักษารองน้ําภายในประเทศที่แมน้ําอิง (บริเวณ
กม.ที่ 133)
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 2โครงการจางเหมาขุดลอกและ 1 3 กรมเจาทา 24,350,000.00 24,350,000.00 24,350,000.00 24,350,000.00 24,350,000.00 121,750,000.00
บํารุงรักษารองน้ําภายในประเทศที่แมน้ําอิง (บริเวณ
กม.ที่ 65)
กิจกรรมยอยที่ 3โครงการจางเหมาขุดลอกและ 1 3 กรมเจาทา 16,520,000.00 16,520,000.00 16,520,000.00 16,520,000.00 16,520,000.00 82,600,000.00
บํารุงรักษารองน้ําภายในประเทศที่แมน้ําลาว
(บริเวณ กม.ที่ 42)
กิจกรรมยอยที่ 4โครงการจางเหมาขุดลอกและ 1 3 กรมเจาทา 10,150,000.00 10,150,000.00 10,150,000.00 10,150,000.00 10,150,000.00 50,750,000.00
บํารุงรักษารองน้ําภายในประเทศที่แมน้ําลาว
(บริเวณ กม.ที่ 25)
กิจกรรมยอยที่ 5โครงการจางเหมาขุดลอกและ 1 3 กรมเจาทา 10,640,000.00 10,640,000.00 10,640,000.00 10,640,000.00 10,640,000.00 53,200,000.00
บํารุงรักษารองน้ําภายในประเทศที่แมน้ําลาว
(บริเวณ กม.ที่ 60)
กิจกรรมยอยที่ 6โครงการจางเหมาขุดลอกและ 1 3 กรมเจาทา 6,780,000.00 6,780,000.00 6,780,000.00 6,780,000.00 6,780,000.00 33,900,000.00
บํารุงรักษารองน้ําภายในประเทศที่แมน้ําลาว
(บริเวณ กม.ที่ 153)
กิจกรรมยอยที่ 7โครงการจางเหมาขุดลอกและ 1 3 กรมเจาทา 8,930,000.00 8,930,000.00 8,930,000.00 8,930,000.00 8,930,000.00 44,650,000.00
บํารุงรักษารองน้ําภายในประเทศที่แมน้ําลาว
(บริเวณ กม.ที่ 54)
กิจกรรมยอยที่ 8โครงการจางเหมาขุดลอกและ 1 3 กรมเจาทา 33,710,000.00 33,710,000.00 33,710,000.00 33,710,000.00 33,710,000.00 168,550,000.00
บํารุงรักษารองน้ําภายในประเทศที่แมน้ํากก (บริเวณ
กม.ที่ 3)
กิจกรรมยอยที่ 9คาจางเหมาขุดลอกและบํารุงรักษา 1 3 กรมเจาทา 36,630,000.00 36,630,000.00 36,630,000.00 36,630,000.00 36,630,000.00 183,150,000.00
แมน้ําโขง บริเวณทางเขาทาเทียบเรือเชียงแสน แหง
ที่ 2
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กรมปาไม 2,927,168,072.00 2,927,168,072.00 2,927,168,072.00 2,927,168,072.00 2,927,168,072.00 14,635,840,360.00
กิจกรรมยอยที่ 1 โครงการปลูกปาเพื่อฟนฟูระบบ 1 3 กรมปาไม 2,927,168,072.00 2,927,168,072.00 2,927,168,072.00 2,927,168,072.00 2,927,168,072.00 14,635,840,360.00
นิเวศ
สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 39,900,000.00 42,900,000.00 44,100,000.00 45,300,000.00 215,100,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1 เจาะบอบาดาลพรอมเสมิรธดูดน้ํา 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00
ลึก 140 เมตร (หลังอาคารอเนกประสงค)
กิจกรรมยอยที่ 2โครงการทอหลอดเหลี่ยมตัวยูตลอด 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00
เสนทางในหมูบานและใสทอลําเหมืองตั้งแตสามแยก
ไปหาตนโพธิ์ลําเหมืองเสนการเกษตร
กิจกรรมยอยที่ 3โครงการวางทอลําเหมืองและทํา 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 10,100,000.00 10,100,000.00 10,100,000.00 10,100,000.00 10,100,000.00 50,500,000.00
ถนนจากทางสาธารณะขางทาขาวเชื่อมตอเสนทาง
บานนายยก เตจะ
กิจกรรมยอยที่ 4โครงการขุดลอกลําเหมืองพื้นที่ 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00
การเกษตร
กิจกรรมยอยที่ 5โครงการสรางฝายทดน้ํานาลุงหวาง 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 7,500,000.00
กิจกรรมยอยที่ 6โครงการเจาะบาดาลเพื่อการเกษตร 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 6,000,000.00
พรอมติดตั้งระบบสูบน้ําโซลาเซล
กิจกรรมยอยที่ 7การทําฝายน้ําลนลําเหมืองฮองปลา 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 1,600,000.00 8,000,000.00
กั้งในเขตเชื่อมตอ ต.หวยไครและ ต.แมไร (ได
ผลประโยชน ม.4,3,8 และบานปาบงงาม)
กิจกรรมยอยที่ 8โครงการขุดลอกลําเหมืองทุกสาย 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 6,000,000.00
ของหมูบานเพื่อรองรับในดานการเกษตร
กิจกรรมยอยที่ 9โครงการปรับปรุงฝายนาอายไข นา 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 1,500,000.00 6,000,000.00
ลุงอุน
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 10โครงการขุดลอกลําเหมืองหลัง 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,200,000.00 1,200,000.00 2,400,000.00
บานนายปนแกว ปนตาดวง - สุสานคริสต
กิจกรรมยอยที่ 11โครงการทําฝายน้ําลน ฝายชะลอ 1 3 สํานักงานทรัพยากรน้ําแหงชาติ 1,200,000.00 1,200,000.00
น้ํา ลําเหมืองสายขาง อบต.หวยไคร
สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม 8,300,000.00 14,450,000.00 18,050,000.00 25,850,000.00 25,850,000.00 92,500,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1โครงการขุดลอกลําหวยสารภี หมู 18 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 6,000,000.00
1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00
เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 2โครงการขุดลอกลําหวยกวาน บาน 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 7,000,000.00
1,400,000.00 1,400,000.00 1,400,000.00 1,400,000.00 1,400,000.00
แซวกลาง หมู 14 เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 3โครงการกอสรางฝายชะลอน้ํา 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 10,000,000.00
2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00
(ถาวร) บานแซวกลาง ม.14 เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 4โครงการกอสรางฝายกักเก็บน้ํา จุด 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 12,500,000.00
2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00
ที่ 1 บานหวยน้ําเย็น (กวาง 10 ม.) เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 5โครงการกอสรางฝายกักเก็บน้ํา จุด 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 3,000,000.00
600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00
ที่ 2 บานหวยน้ําเย็น (กวาง 3 ม.) เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 6โครงการกอสรางฝายกักเก็บน้ํา จุด 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 3,000,000.00
600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00
ที่ 3 บานหวยน้ําเย็น (กวาง 3 ม.) เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 7โครงการกอสรางฝายกักเก็บน้ํา จุด 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 10,000,000.00
2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00
ที่ 5 บานหวยน้ําเย็น (กวาง 10 เมตร) เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 8โครงการกอสรางฝายชะลอน้ํา 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 8,000,000.00
2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00
เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 9โครงการกอสรางคลองสงน้ํา (แบบ 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 2,800,000.00
700,000.00 700,000.00 700,000.00 700,000.00
ตัว U) 763 เมตร เกษตรกรรม
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 10โครงการกอสรางคลองสงน้ํา 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 1,800,000.00
450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00
(แบบตัว U) 510 เมตร เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 11โครงการกอสรางคลองสงน้ํา 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 2,000,000.00
500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00
(แบบตัว U) 600 เมตร เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 12ขุดลอกคลองจาก หนองทุง ถึง 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 1,500,000.00
500,000.00 500,000.00 500,000.00
รองขุน เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 13ขุดลอกไสไก รองปาขา ถึง หนอง 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 900,000.00
300,000.00 300,000.00 300,000.00
ไมหา เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 14ขุดลอกไสไก ดงผักแค ถึงรองขุน 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 900,000.00
300,000.00 300,000.00 300,000.00
เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 15ฝายกักเก็บน้ํา จุดที่ 4 บานหวยน้ํา 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 7,500,000.00
2,500,000.00 2,500,000.00 2,500,000.00
เย็น (กวาง 10 เมตร) เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 16โครงการสระเก็บน้ําหวยหวาย 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 4,800,000.00
2,400,000.00 2,400,000.00
บานแจมปอง เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 17โครงการสระเก็บน้ําทาดิน บานหลู 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 600,000.00
300,000.00 300,000.00
เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 18ขุดลอกอางสารภี หมู 18 พรอม 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 9,000,000.00
4,500,000.00 4,500,000.00
ระบบกระจายน้ํา เกษตรกรรม
กิจกรรมยอยที่ 19ขุดลอกลําหวยหวาย หมู 1 1 3 สํานักงานการปฏิรูปที่ดินเพื่อ 1,200,000.00
600,000.00 600,000.00
เกษตรกรรม
สํานักงานจังหวัด 236,038,000.00 236,038,000.00 236,038,000.00 236,038,000.00 236,038,000.00 1,180,190,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1 ขุดลอกลําน้ําหนองเขียว 1 3 สํานักงานจังหวัด 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 17,500,000.00
กิจกรรมยอยที่ 2โครงการกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง 1 3 สํานักงานจังหวัด 14,000,000.00 14,000,000.00 14,000,000.00 14,000,000.00 14,000,000.00 70,000,000.00
ริมแมน้ําอิง
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 3โครงการกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง 1 3 สํานักงานจังหวัด 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 9,500,000.00 47,500,000.00
ริมแมน้ําลาว
กิจกรรมยอยที่ 4โครงการขุดลอกหนองหลวงเพื่อ 1 3 สํานักงานจังหวัด 60,000,000.00 60,000,000.00 60,000,000.00 60,000,000.00 60,000,000.00 300,000,000.00
การพัฒนาและสงเสริมอาชีพดานการประมง
กิจกรรมยอยที่ 5โครงการกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง 1 3 สํานักงานจังหวัด 10,500,000.00 10,500,000.00 10,500,000.00 10,500,000.00 10,500,000.00 52,500,000.00
ริมแมน้ําเผื่อ พรอมปรับปรุงภูมิทัศน
กิจกรรมยอยที่ 6โครงการเขื่อนปองกันตลิ่งริมแมน้ํา 1 3 สํานักงานจังหวัด 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
อิง พรอมปรับปรุงภูมิทัศน
กิจกรรมยอยที่ 7โครงการเขื่อนปองกันตลิ่งริมแมน้ํา 1 3 สํานักงานจังหวัด 10,500,000.00 10,500,000.00 10,500,000.00 10,500,000.00 10,500,000.00 52,500,000.00
พุง
กิจกรรมยอยที่ 8โครงการกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง 1 3 สํานักงานจังหวัด 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00
ริมแมน้ําคํา
กิจกรรมยอยที่ 9โครงการกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง 1 3 สํานักงานจังหวัด 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 9,000,000.00 45,000,000.00
ริมแมน้ําอิง
กิจกรรมยอยที่ 10การกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งริม 1 3 สํานักงานจังหวัด 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 15,000,000.00 75,000,000.00
แมน้ําลาว พรอมปรับปรุงภูมิทัศน บานสันมะหลอด
หมูที่ 2 ตําบลปาออดอยชัย อําเภอเมืองเชียงราย
จังหวัดเชียงราย ความยาว 150 เมตร

กิจกรรมยอยที่ 11การกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่งริม 1 3 สํานักงานจังหวัด 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00


แมน้ําอิง พรอมปรับปรุงภูมิทัศน บานเวียงใต หมูที่
15 ตําบลเวียง อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย ความยาว
250 เมตร

กิจกรรมยอยที่ 12ขุดลอกลําน้ําลาว 1 3 สํานักงานจังหวัด 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00


บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 13การปองกันและบรรเทาปญหา 1 3 สํานักงานจังหวัด 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
ความเดือดรอนของประชาชนในพื้นที่ อัน
เนื่องมาจากปญหาภัยแลงและอุทกภัยในพื้นที่จังหวัด
เชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 14โครงการกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง 1 3 สํานักงานจังหวัด 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 6,000,000.00 30,000,000.00


ริมแมน้ํางาว
กิจกรรมยอยที่ 15โครงการกอสรางระบบสูบน้ําดวย 1 3 สํานักงานจังหวัด 565,600.00 565,600.00 565,600.00 565,600.00 565,600.00 2,828,000.00
พลังงานแสงอาทิตยเพื่อการเกษตร หมูที่ 3 บานปา
ลัน
กิจกรรมยอยที่ 16โครงการขุดลอกหนองสาธารณะ 1 3 สํานักงานจังหวัด 210,000.00 210,000.00 210,000.00 210,000.00 210,000.00 1,050,000.00
ประโยชน หมูที่ 21 บานชัยมงคล
กิจกรรมยอยที่ 17โครงการกอสรางระบบสูบน้ําดวย 1 3 สํานักงานจังหวัด 565,600.00 565,600.00 565,600.00 565,600.00 565,600.00 2,828,000.00
พลังงานแสงอาทิตยเพื่อการเกษตร หมูที่ 27 บาน
ดอนแกว
กิจกรรมยอยที่ 18โครงการกอสรางระบบสูบน้ําดวย 1 3 สํานักงานจังหวัด 565,600.00 565,600.00 565,600.00 565,600.00 565,600.00 2,828,000.00
พลังงานแสงอาทิตยเพื่อการเกษตร หมูที่ 22 บานรม
โพธิ์ทอง
กิจกรรมยอยที่ 19โครงการกอสรางระบบสูบน้ําดวย 1 3 สํานักงานจังหวัด 565,600.00 565,600.00 565,600.00 565,600.00 565,600.00 2,828,000.00
พลังงานแสงอาทิตยเพื่อการเกษตร หมูที่ 6 บานทา
กอพลับพลา
กิจกรรมยอยที่ 20โครงการกอสรางระบบสูบน้ําดวย 1 3 สํานักงานจังหวัด 565,600.00 565,600.00 565,600.00 565,600.00 565,600.00 2,828,000.00
พลังงานแสงอาทิตยเพื่อการเกษตร หมูที่ 26 บาน
ใหมสุขสรรค
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 21โครงการบริหารจัดการทรัพยากร 1 3 สํานักงานจังหวัด 40,000,000.00 40,000,000.00 40,000,000.00 40,000,000.00 40,000,000.00 200,000,000.00
น้ําแบบบูรณาการ กิจกรรมบริหารจัดการน้ําเพื่อ
อุปโภคบริโภค งานขุดลอกหนองเขียว ระยะที่ 3

กรมโยธาธิการและผังเมือง 479,000,000.00 479,000,000.00 479,000,000.00 479,000,000.00 479,000,000.00 2,395,000,000.00


กิจกรรมยอยที่ 1เขื่อนปองกันตลิ่งริมแมน้ําอิง บาน 1 3 กรมโยธาธิการและผังเมือง 38,000,000.00 38,000,000.00 38,000,000.00 38,000,000.00 38,000,000.00 190,000,000.00
ศรีดอนชัย ตําบลศรีดอนชัย อําเภอเชียงของ จังหวัด
เชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 2เขื่อนปองกันตลิ่งริมแมน้ําคํา หมูที่ 1 3 กรมโยธาธิการและผังเมือง 110,000,000.00 110,000,000.00 110,000,000.00 110,000,000.00 110,000,000.00 550,000,000.00
1 บานมวงหมูสี หมูที่ 9 บานแมคําฝงหมิ่น ตําบล
จันจวาใต และหมูที่ 13 บานมวงคําใหม ตําบลแมคํา
อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 3เขื่อนปองกันตลิ่งริมแมน้ําอิง เชื่อม 1 3 กรมโยธาธิการและผังเมือง 21,000,000.00 21,000,000.00 21,000,000.00 21,000,000.00 21,000,000.00 105,000,000.00
แมน้ําลาว พรอมปรับปรุงภูมิทัศน บานเวียงจอมจอ
หมูที่ 20 ตําบลเวียง อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 4กอสรางระบบปองกันน้ําทวมพื้นที่ 1 3 กรมโยธาธิการและผังเมือง 310,000,000.00 310,000,000.00 310,000,000.00 310,000,000.00 310,000,000.00 1,550,000,000.00


ชุมชนบานดู จังหวัดเชียงราย
กรมพัฒนาที่ดิน 37,754,000.00 37,754,000.00 37,754,000.00 37,754,000.00 37,754,000.00 188,770,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1 สถานีตรวจอากาศ วัดคุณภาพน้ํา 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 600,000.00 3,000,000.00
และวัดการสูญเสียหนาดิน ตําบลนางแล อําเภอเมือง
เชียงราย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 2ซอมแซมสระเก็บน้ํา บานสันปูเลย 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 5,301,000.00 5,301,000.00 5,301,000.00 5,301,000.00 5,301,000.00 26,505,000.00
หมู 3 ตําบลแมสรวย อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 3ซอมแซมสระเก็บน้ํา บานสันสลี หมู 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 6,824,000.00 6,824,000.00 6,824,000.00 6,824,000.00 6,824,000.00 34,120,000.00
5 ตําบลสันสลี อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 4งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 412,000.00


เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร
ตําบลตา อําเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 5งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 535,600.00 535,600.00 535,600.00 535,600.00 535,600.00 2,678,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปาตาล อําเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 6งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 2,781,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ยางฮอม อําเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 7งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 597,400.00 597,400.00 597,400.00 597,400.00 597,400.00 2,987,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ครึ่ง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 8งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 1,133,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ริมโขง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 9งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 350,200.00 350,200.00 350,200.00 350,200.00 350,200.00 1,751,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เวียง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 10งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 865,200.00 865,200.00 865,200.00 865,200.00 865,200.00 4,326,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ศรีดอนชัย อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 11งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 412,000.00 412,000.00 412,000.00 412,000.00 412,000.00 2,060,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
สถาน อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 12งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 1,050,600.00 1,050,600.00 1,050,600.00 1,050,600.00 1,050,600.00 5,253,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
หวยซอ อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 13งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 309,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
บานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 14งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปาสัก อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 15งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 144,200.00 144,200.00 144,200.00 144,200.00 144,200.00 721,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
โยนก อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 16งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 412,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เวียง อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 17งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 123,600.00 123,600.00 123,600.00 123,600.00 123,600.00 618,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ศรีดอนมูล อําเภอเชียงแสน จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 18งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 288,400.00 288,400.00 288,400.00 288,400.00 288,400.00 1,442,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
โชคชัย อําเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 19งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 2,781,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปงนอย อําเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 20งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 576,800.00 576,800.00 576,800.00 576,800.00 576,800.00 2,884,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
หนองปากอ อําเภอดอยหลวง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 21งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 103,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
งิ้ว อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 22งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 515,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เชียงเคี่ยน อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 23งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 412,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ตับเตา อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 24งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 247,200.00 247,200.00 247,200.00 247,200.00 247,200.00 1,236,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปลอง อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 25งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 618,000.00 618,000.00 618,000.00 618,000.00 618,000.00 3,090,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมลอย อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 26งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 412,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เวียง อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 27งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 968,200.00 968,200.00 968,200.00 968,200.00 968,200.00 4,841,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ศรีดอนไชย อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 28งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 515,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
สันทรายงาม อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 29งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 412,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร
ตําบลหงาว อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 30งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 494,400.00 494,400.00 494,400.00 494,400.00 494,400.00 2,472,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
หนองแรด อําเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 31งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 288,400.00 288,400.00 288,400.00 288,400.00 288,400.00 1,442,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปาแงะ อําเภอปาแดด จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 32งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 206,000.00 206,000.00 206,000.00 206,000.00 206,000.00 1,030,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปาแดด อําเภอปาแดด จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 33งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 515,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
โรงชาง อําเภอปาแดด จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 34งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 515,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ศรีโพธิ์เงิน อําเภอปาแดด จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 35งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 2,781,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
สันมะคา อําเภอปาแดด จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 36งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 206,000.00 206,000.00 206,000.00 206,000.00 206,000.00 1,030,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ตาดควัน อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 37งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 659,200.00 659,200.00 659,200.00 659,200.00 659,200.00 3,296,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เม็งราย อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 38งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 2,781,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมต๋ํา อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 39งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 885,800.00 885,800.00 885,800.00 885,800.00 885,800.00 4,429,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมเปา อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 40งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 576,800.00 576,800.00 576,800.00 576,800.00 576,800.00 2,884,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ไมยา อําเภอพญาเม็งราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 41งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 412,000.00 412,000.00 412,000.00 412,000.00 412,000.00 2,060,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เจริญเมือง อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 42งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 309,000.00 309,000.00 309,000.00 309,000.00 309,000.00 1,545,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ทรายขาว อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 43งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 494,400.00 494,400.00 494,400.00 494,400.00 494,400.00 2,472,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ทานตะวัน อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 44งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 206,000.00 206,000.00 206,000.00 206,000.00 206,000.00 1,030,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ธารทอง อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 45งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 247,200.00 247,200.00 247,200.00 247,200.00 247,200.00 1,236,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
มวงคํา อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 46งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 309,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เมืองพาน อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 47งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมเย็น อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 48งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 618,000.00 618,000.00 618,000.00 618,000.00 618,000.00 3,090,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมออ อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 49งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 2,781,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เวียงหาว อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 50งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 2,781,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
สันมะเค็ด อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 51งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 2,781,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ดอยลาน อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 52งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 1,133,000.00


เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ทาสาย อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 53งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 412,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ทาสุด อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 54งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 515,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
นางแล อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 55งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 309,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
บานดู อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 56งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 515,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปาออดอนชัย อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 57งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 412,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมกรณ อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 58งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 206,000.00 206,000.00 206,000.00 206,000.00 206,000.00 1,030,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมขาวตม อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 59งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 123,600.00 123,600.00 123,600.00 123,600.00 123,600.00 618,000.00


เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมยาว อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 60งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 309,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ริมกก อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 61งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 576,800.00 576,800.00 576,800.00 576,800.00 576,800.00 2,884,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
หวยสัก อําเภอเมืองเชียงราย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 62งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 103,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
จันจวา อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 63งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 515,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ทาขาวเปลือก อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 64งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 515,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปาซาง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 65งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 309,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปาตึง อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 66งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 309,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมจัน อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 67งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 412,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมไร อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 68งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 103,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
สันทราย อําเภอแมจัน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 69งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 412,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ดงมะดะ อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 70งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
บัวสลี อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 71งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปากอดํา อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 72งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 103,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
โปงแพร อําเภอแมลาว จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 73งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เจดียหลวง อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 74งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปาแดด อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 75งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 103,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมพริก อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 76งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมสรวย อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 77งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ศรีถอย อําเภอแมสรวย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 78งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
บานดาย อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 79งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
โปงผา อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 80งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 61,800.00 309,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
หวยไคร อําเภอแมสาย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 81งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 1,133,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ทาขาม อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 82งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 1,133,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
มวงยาย อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 83งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 535,600.00 535,600.00 535,600.00 535,600.00 535,600.00 2,678,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร
ตําบลหลายงาว อําเภอเวียงแกน จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 84งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 473,800.00 473,800.00 473,800.00 473,800.00 473,800.00 2,369,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ดอนศิลา อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 85งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 556,200.00 2,781,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ผางาม อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 86งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 1,133,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เมืองชุม อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 87งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 103,000.00 515,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เวียงชัย อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 88งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เวียงเหนือ อําเภอเวียงชัย จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 89งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 494,400.00 494,400.00 494,400.00 494,400.00 494,400.00 2,472,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ดงมหาวัน อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 90งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 947,600.00 947,600.00 947,600.00 947,600.00 947,600.00 4,738,000.00


เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ทุงกอ อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 91งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 618,000.00 618,000.00 618,000.00 618,000.00 618,000.00 3,090,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปาซาง อําเภอเวียงเชียงรุง จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 92งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 103,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
ปางิ้ว อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 93งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 20,600.00 103,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมเจดีย อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 94งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 226,600.00 1,133,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
แมเจดียใหม อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 95งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 82,400.00 412,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เวียง อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
กิจกรรมยอยที่ 96งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00
เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
เวียงกาหลง อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย

กิจกรรมยอยที่ 97งานกอสรางแหลงน้ําในไรนานอก 1 3 กรมพัฒนาที่ดิน 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 41,200.00 206,000.00


เขตชลประทาน ขนาด 1,260 ลูกบาศกเมตร ตําบล
สันสลี อําเภอเวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย
กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 828,000.00 828,000.00 828,000.00 828,000.00 828,000.00 4,140,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1เจาะบอบาดาล หมูที่ 2 บานสันกอง 1 3 กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 276,000.00 276,000.00 276,000.00 276,000.00 276,000.00 1,380,000.00

กิจกรรมยอยที่ 2 เจาะบอบาดาล หมูที่ 12 บานทุง 1 3 กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 276,000.00 276,000.00 276,000.00 276,000.00 276,000.00 1,380,000.00
ศรีทอง
กิจกรรมยอยที่ 3 เจาะบอบาดาล หมูที่ ๘ บานศรีบัง 1 3 กรมสงเสริมการปกครองทองถิ่น 276,000.00 276,000.00 276,000.00 276,000.00 276,000.00 1,380,000.00
วัน
กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และพันธุพืช 35,541,000.00 35,541,000.00 35,541,000.00 35,541,000.00 589,788,000.00 731,952,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1ปลูกปาทั่วไป จังหวัดเชียงราย 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 2,418,000.00 2,418,000.00 2,418,000.00 2,418,000.00 2,418,000.00 12,090,000.00
พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 2ปลูกปาทั่วไป จังหวัดพะเยา 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 1,677,000.00 1,677,000.00 1,677,000.00 1,677,000.00 1,677,000.00 8,385,000.00
พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 3สรางปาสรางรายได จังหวัดเชียงราย 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 7,700,000.00 7,700,000.00 7,700,000.00 7,700,000.00 7,700,000.00 38,500,000.00
พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 4สรางปาสรางรายได จังหวัดพะเยา 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 8,250,000.00 8,250,000.00 8,250,000.00 8,250,000.00 8,250,000.00 41,250,000.00
พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 5สงเสริมการปลูกไมปาในเขตบริหาร 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 912,000.00 912,000.00 912,000.00 912,000.00 912,000.00 4,560,000.00
เพื่อการอนุรักษ จังหวัดเชียงราย พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 6สงเสริมการปลูกไมปาในเขตบริหาร 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 684,000.00 684,000.00 684,000.00 684,000.00 684,000.00 3,420,000.00
เพื่อการอนุรักษ จังหวัดพะเยา พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 7สงเสริมการปลูกไมยืนตนในเขต 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 1,200,000.00 6,000,000.00
บริหารเพื่อการอนุรักษ จังหวัดเชียงราย พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 8สงเสริมการปลูกไมยืนตนในเขต 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00
บริหารเพื่อการอนุรักษ จังหวัดพะเยา พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 9ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 10ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 11ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 12ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 13ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 14ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 15ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 16ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 17ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 18ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 19ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 20ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 3 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 22,700.00 113,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 21ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 22ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 23ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 24ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 25ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 26ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 27ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 28ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 29ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 30ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 31ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 32ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 33ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 34ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 35ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 36ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 37ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 38ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 39ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 40ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 41ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 42ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 43ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 44ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 45ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 46ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 47ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 48ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 49ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 50ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 51ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 52ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 53ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 54ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 55ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 56ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 57ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 58ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 59ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 60ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 61ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 62ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 63ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 64ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 65ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 66ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 67ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 68ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 69ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 70ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 71ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 72ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 73ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 74ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 75ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 76ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 77ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 78ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 79ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 80ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 81ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 82ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 83ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 84ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 85ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 86ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 87ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 88ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 89ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 90ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 91ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 92ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 93ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 94ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 95ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 96ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 97ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 98ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 99ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยนชนิด 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
กระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 100ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 101ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 102ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 103ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 104ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 105ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 106ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 107ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 108ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 109ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 110ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 111ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 112ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 113ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 114ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 115ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 116ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 117ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 118ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 119ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 120ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 121ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 122ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 123ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 124ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 125ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 126ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 127ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 128ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 129ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 130ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 131ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 132ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 133ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 134ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 135ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 136ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 137ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 138ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 139ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 140ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 141ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 142ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 143ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 144ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 145ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 146ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 147ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 148ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 149ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 150ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 151ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 152ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 153ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 154ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 155ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 156ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 157ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 158ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 159ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 160ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 161ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 162ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 163ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 164ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 165ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 166ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 167ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 168ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 169ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 170ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 171ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 172ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 173ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 174ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 175ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 176ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 177ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 178ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 179ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 180ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 181ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 182ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 183ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 184ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 185ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 186ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 187ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 188ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 189ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 190ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 191ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 192ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 193ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 194ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 195ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 196ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 197ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 198ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 199ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 200ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 201ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 202ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 203ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 204ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 205ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 206ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 207ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 208ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 209ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 210ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 211ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 212ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 213ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 214ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 215ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 216ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 217ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 218ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 219ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 220ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 221ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 222ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 223ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 224ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 225ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 226ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 227ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 228ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 229ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 230ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 231ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 232ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 233ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 234ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 235ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 236ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 237ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 238ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 239ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 240ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 241ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 242ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 243ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 244ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 245ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 246ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 247ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 248ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 249ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 250ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 251ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 252ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 253ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 254ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 255ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 256ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 257ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 258ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 259ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 260ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 261ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 262ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 263ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 264ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 265ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 266ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 267ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 268ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 269ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 270ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 271ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 272ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 273ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 274ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 275ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 276ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 277ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 278ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 279ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 24,800.00 124,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 3 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 280ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 281ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 282ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 283ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 284ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 285ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 286ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 287ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 288ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 289ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 290ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 291ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 292ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 293ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 294ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 295ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 296ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 297ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 298ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 299ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 300ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 301ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 302ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 303ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 304ฝายตนน้ําแบบกลองเกเบี้ยน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 36,800.00 184,000.00
ชนิดกระสอบดินทรายผสมซีเมนต ขนาด 5 เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 305ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 5 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 35,700.00 35,700.00 35,700.00 35,700.00 35,700.00 178,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 306ฝายตนน้ําแบบกึ่งถาวร ขนาด 5 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 35,700.00 35,700.00 35,700.00 35,700.00 35,700.00 178,500.00
เมตร พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 307ปลูกหญาแฝกเพื่ออนุรักษดิน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 330,000.00 330,000.00 330,000.00 330,000.00 330,000.00 1,650,000.00
และน้ํา พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 308ปลูกหญาแฝกเพื่ออนุรักษดิน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 330,000.00 330,000.00 330,000.00 330,000.00 330,000.00 1,650,000.00
และน้ํา พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 309ปลูกหญาแฝกเพื่ออนุรักษดิน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 1,056,000.00 1,056,000.00 1,056,000.00 1,056,000.00 1,056,000.00 5,280,000.00
และน้ํา พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 310ปลูกหญาแฝกเพื่ออนุรักษดิน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 825,000.00 825,000.00 825,000.00 825,000.00 825,000.00 4,125,000.00
และน้ํา พันธุพืช
กิจกรรมยอยที่ 311ปลูกหญาแฝกเพื่ออนุรักษดิน 1 3 กรมอุทยานแหงชาติ สัตวปา และ 1,320,000.00 1,320,000.00 1,320,000.00 1,320,000.00 1,320,000.00 6,600,000.00
และน้ํา พันธุพืช
กองทัพบก 138,172,300.00 138,172,300.00 138,172,300.00 138,172,300.00 138,172,300.00 690,861,500.00
กิจกรรมที่ 1 ขุดลอกอางเก็บน้ําพระเนตร 1 3 กองทัพบก 10,145,700.00 10,145,700.00 10,145,700.00 10,145,700.00 10,145,700.00 50,728,500.00
กิจกรรมที่ 2ขุดลอกลําหวยตากหงาย พรอมแกมลิง 1 3 กองทัพบก 2,143,000.00 2,143,000.00 2,143,000.00 2,143,000.00 2,143,000.00 10,715,000.00
และคลองเชื่อมสระ
กิจกรรมที่ 3ขุดลอกหวยปาแดง 1 3 กองทัพบก 915,700.00 915,700.00 915,700.00 915,700.00 915,700.00 4,578,500.00
กิจกรรมที่ 4ขุดลอกหนองกวาง 1 3 กองทัพบก 2,055,200.00 2,055,200.00 2,055,200.00 2,055,200.00 2,055,200.00 10,276,000.00
กิจกรรมที่ 5ขุดลอกหนองดินดาก-หนองโคง 1 3 กองทัพบก 1,140,800.00 1,140,800.00 1,140,800.00 1,140,800.00 1,140,800.00 5,704,000.00
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมที่ 6ขุดลอกหนองสมปอย - หนองแซะ 1 3 กองทัพบก 5,893,200.00 5,893,200.00 5,893,200.00 5,893,200.00 5,893,200.00 29,466,000.00
พรอมคลองเชื่อม
กิจกรรมที่ 7ขุดลอกหนองไครไหว พรอมคลองเชื่อม 1 3 กองทัพบก 1,582,100.00 1,582,100.00 1,582,100.00 1,582,100.00 1,582,100.00 7,910,500.00
กิจกรรมที่ 8ขุดลอกหนองอายหลา 1 3 กองทัพบก 17,759,000.00 17,759,000.00 17,759,000.00 17,759,000.00 17,759,000.00 88,795,000.00
กิจกรรมที่ 9ขุดลอกหนองประชาภิวัฒน ม.10 1 3 กองทัพบก 2,526,500.00 2,526,500.00 2,526,500.00 2,526,500.00 2,526,500.00 12,632,500.00
กิจกรรมที่ 10ขุดลอกอางเก็บน้ําพระราชดําริหวยน้ํา 1 3 กองทัพบก 25,400,900.00 25,400,900.00 25,400,900.00 25,400,900.00 25,400,900.00 127,004,500.00
ดุก
กิจกรรมที่ 11ขุดลอกหนองบอจีน 1 3 กองทัพบก 10,739,800.00 10,739,800.00 10,739,800.00 10,739,800.00 10,739,800.00 53,699,000.00
กิจกรรมที่ 12ขุดลอกแกมลิงหนองหลวง 1 3 กองทัพบก 9,592,400.00 9,592,400.00 9,592,400.00 9,592,400.00 9,592,400.00 47,962,000.00
กิจกรรมที่ 13ขุดลอกหนองหลม 1 3 กองทัพบก 5,827,900.00 5,827,900.00 5,827,900.00 5,827,900.00 5,827,900.00 29,139,500.00
กิจกรรมที่ 14ขุดลอกหนองวังดิน 1 3 กองทัพบก 5,172,400.00 5,172,400.00 5,172,400.00 5,172,400.00 5,172,400.00 25,862,000.00
กิจกรรมที่ 15ขุดลอกหนองหลง หนองแอก 1 3 กองทัพบก 3,955,800.00 3,955,800.00 3,955,800.00 3,955,800.00 3,955,800.00 19,779,000.00
กิจกรรมที่ 16ขุดลอกอางเก็บน้ําหวยเกี๋ยง 1 3 กองทัพบก 14,316,300.00 14,316,300.00 14,316,300.00 14,316,300.00 14,316,300.00 71,581,500.00
กิจกรรมที่ 17ขุดลอกอางเก็บน้ําหวยแยกซาย 1 3 กองทัพบก 7,723,800.00 7,723,800.00 7,723,800.00 7,723,800.00 7,723,800.00 38,619,000.00
กิจกรรมที่ 18ขุดลอกอางเก็บน้ําหวยโปรง 1 3 กองทัพบก 5,517,400.00 5,517,400.00 5,517,400.00 5,517,400.00 5,517,400.00 27,587,000.00
กิจกรรมที่ 19ขุดลอกอางเก็บน้ําหวยดอกดาย 1 3 กองทัพบก 4,041,800.00 4,041,800.00 4,041,800.00 4,041,800.00 4,041,800.00 20,209,000.00
กิจกรรมที่ 20ขุดลอกอางเก็บน้ําหวยชางนอย 1 3 กองทัพบก 386,300.00 386,300.00 386,300.00 386,300.00 386,300.00 1,931,500.00
กิจกรรมที่ 21ขุดลอกอางเก็บน้ํามอนปาเหียง 1 3 กองทัพบก 1,336,300.00 1,336,300.00 1,336,300.00 1,336,300.00 1,336,300.00 6,681,500.00
สํานักงานนโยบายและแผนทรัพยากรธรรมชาติและ 67,547,800.00 67,547,800.00 67,547,800.00 67,547,800.00 67,547,800.00 337,739,000.00
สิ่งแวดลอม
กิจกรรมยอยที่ 1 คากอสรางระบบรวบรวมและ 1 3 สํานักงานนโยบายและแผน 67,547,800.00 67,547,800.00 67,547,800.00 67,547,800.00 67,547,800.00 337,739,000.00
บําบัดนํ้าเสีย เทศบาลตําบลแมสาย จังหวัดเชียงราย ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
1 แหง
อําเภอเมืองเชียงราย 53,129,200.00 53,129,200.00 53,129,200.00 53,129,200.00 53,129,200.00 265,646,000.00
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 1 โครงการกอสรางประปาหมูบาน 3 เทศบาลตําบลบานดู 5,635,000.00 5,635,000.00 5,635,000.00 5,635,000.00 5,635,000.00 28,175,000.00
แบบผิวดินขนาดใหญมาก หมูที่ 5 บานปาไร 3
กิจกรรมยอยที่ 2โครงการกอสรางประปาหมูบาน 3 เทศบาลตําบลบานดู 4,217,700.00 4,217,700.00 4,217,700.00 4,217,700.00 4,217,700.00 21,088,500.00
แบบผิวดินขนาดใหญ สนามกีฬากลางเทศบาลตําบล
บานดู 3
กิจกรรมยอยที่ 3โครงการกอสรางประปาหมูบาน 3 เทศบาลตําบลบานดู 4,217,700.00 4,217,700.00 4,217,700.00 4,217,700.00 4,217,700.00 21,088,500.00
แบบผิวดินขนาดใหญ หมูที่ 9 บานปาแฝก 3
กิจกรรมยอยที่ 4โครงการกอสรางประปาหมูบาน 3 เทศบาลตําบลบานดู 2,286,000.00 2,286,000.00 2,286,000.00 2,286,000.00 2,286,000.00 11,430,000.00
แบบบาดาลขนาดกลาง โรงเรียนเทศบาลตําบลบานดู
หมูที่ 2 3
กิจกรรมยอยที่ 5กอสรางระบบประปาหมูบานแบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 21,255,000.00
ผิวดินขนาดใหญ หมูที่ 9 บานใหมน้ําเย็น 3
กิจกรรมยอยที่ 6กอสรางระบบประปาหมูบานแบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 21,255,000.00
ผิวดินขนาดใหญ หมูที่ 17 บานดอยทอง 3
กิจกรรมยอยที่ 7กอสรางระบบประปาหมูบานแบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 21,255,000.00
ผิวดินขนาดใหญ หมูที่ 8 บานดอนเจริญ 3
กิจกรรมยอยที่ 8กอสรางระบบประปาหมูบานแบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 4,251,000.00 21,255,000.00
ผิวดินขนาดใหญ หมูที่ 13 บานดอยจําตอง 3
กิจกรรมยอยที่ 9กอสรางระบบประปาหมูบานแบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 3,478,000.00 3,478,000.00 3,478,000.00 3,478,000.00 3,478,000.00 17,390,000.00
บาดาลขนาดใหญ หมูที่ 2 บานจําหวาย 3
กิจกรรมยอยที่ 10กอสรางระบบประปาหมูบานแบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 3,478,000.00 3,478,000.00 3,478,000.00 3,478,000.00 3,478,000.00 17,390,000.00
บาดาลขนาดใหญ หมูที่ 18 บานโปงเกลือใต 3
กิจกรรมยอยที่ 11กอสรางระบบประปาหมูบานแบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 3,478,000.00 3,478,000.00 3,478,000.00 3,478,000.00 3,478,000.00 17,390,000.00
บาดาลขนาดใหญ หมูที่ 21 บานใหมดอยลาน 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 12กอสรางธนาคารน้ําใตดิน ระบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 3,210,000.00 3,210,000.00 3,210,000.00 3,210,000.00 3,210,000.00 16,050,000.00
เปด หมูที่ 12 บานดอยสมบูรณ 3
กิจกรรมยอยที่ 13กอสรางธนาคารน้ําใตดิน ระบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 748,000.00 748,000.00 748,000.00 748,000.00 748,000.00 3,740,000.00
เปด หมูที่ 8 บานดอนเจริญ 3
กิจกรรมยอยที่ 14กอสรางธนาคารน้ําใตดิน ระบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 777,000.00 777,000.00 777,000.00 777,000.00 777,000.00 3,885,000.00
เปด หมูที่ 10 บานใหมรุงเรือง 3
กิจกรรมยอยที่ 15กอสรางธนาคารน้ําใตดิน ระบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 310,000.00 310,000.00 310,000.00 310,000.00 310,000.00 1,550,000.00
เปด หมูที่ 2 บานจําหวาย 3
กิจกรรมยอยที่ 16กอสรางธนาคารน้ําใตดิน ระบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 728,000.00 728,000.00 728,000.00 728,000.00 728,000.00 3,640,000.00
เปด หมูที่ 5 บานรองขุน 3
กิจกรรมยอยที่ 17กอสรางธนาคารน้ําใตดิน ระบบ 3 เทศบาลตําบลดอยลาน 731,000.00 731,000.00 731,000.00 731,000.00 731,000.00 3,655,000.00
เปด หมูที่ 11 บานปาเก็ด 3
กิจกรรมยอยที่ 18โครงการเจาะบอน้ําบาดาลพรอม 3 เทศบาลตําบลดอยฮาง 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
ติดตั้งเครื่องสูบน้ําแบบใชพลังงานแสงอาทิตย 3
กิจกรรมยอยที่ 19ปรับปรุงและพัฒนาการบริหาร 3 เทศบาลตําบลดอยฮาง 102,000.00 102,000.00 102,000.00 102,000.00 102,000.00 510,000.00
จัดการน้ําระบบธนาคารน้ําใตดิน 3
กิจกรรมยอยที่ 20ปรับปรุงและพัฒนาการบริหาร 3 เทศบาลตําบลดอยฮาง 71,100.00 71,100.00 71,100.00 71,100.00 71,100.00 355,500.00
จัดการน้ําระบบธนาคารน้ําใตดิน 3
กิจกรรมยอยที่ 21โครงการปรับปรุงระบบประปา 3 เทศบาลตําบลดอยฮาง 2,157,700.00 2,157,700.00 2,157,700.00 2,157,700.00 2,157,700.00 10,788,500.00
จากน้ําตกหวยแกวสูหมูบานในตําบลดอยฮาง อําเภอ
เมืองเชียงราย 3
อําเภอปาแดด 14,151,200.00 14,151,200.00 14,151,200.00 14,151,200.00 14,151,200.00 70,756,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1เจาะบอบาดาล หมูที่ 1 บานโปงสลี 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นโรงชาง 276,000.00 276,000.00 276,000.00 276,000.00 276,000.00 1,380,000.00
3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 2ขุดลอกเปดทางน้ําลําเหมือง 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นโรงชาง 255,000.00 255,000.00 255,000.00 255,000.00 255,000.00 1,275,000.00
สาธารณะ (สายรัญจวนฝงทิศตะวันออก) 3
กิจกรรมยอยที่ 3เปลี่ยนทอเมนระบบประปา หมูที่ 1 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นโรงชาง 313,000.00 313,000.00 313,000.00 313,000.00 313,000.00 1,565,000.00
3
กิจกรรมยอยที่ 4กอสรางระบบกรองน้ําบาดาล หมูที่ 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นโรงชาง 281,000.00 281,000.00 281,000.00 281,000.00 281,000.00 1,405,000.00
11 3
กิจกรรมยอยที่ 5ขุดลอกเปดทางน้ําลําเหมืองาส 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นโรงชาง 295,000.00 295,000.00 295,000.00 295,000.00 295,000.00 1,475,000.00
ธารณะภายในหมูบาน บานศรีสหมิตร หมูที่ 10 3
กิจกรรมยอยที่ 6ขุดลอกเปดทางน้ําลําเหมือง 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นโรงชาง 448,200.00 448,200.00 448,200.00 448,200.00 448,200.00 2,241,000.00
สาธารณะ (สายกลาง ม.3 ม.10 และ ม.11) 3
กิจกรรมยอยที่ 7โครงการขุดลอกกักเก็บน้ํา หวยตน 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นโรงชาง 283,000.00 283,000.00 283,000.00 283,000.00 283,000.00 1,415,000.00
ฮาง บานสันกอง หมูที่ 2 3
กิจกรรมยอยที่ 8โครงการขุดลอกคลองสายกลาง 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นปาแงะ 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
หมูบานพรอมอาคารประกอบ บานใหมพัฒนา หมู 3
ต.ปาแงะ อ.ปาแดด จ.เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 9โครงการขุดลอกหวยลากหินพรอม 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นปาแงะ 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
อาคารประกอบ บานหนองสองหอง หมู 8 ต.ปาแงะ
อ.ปาแดด จ.เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 10โครงการขุดลอกหนองประมง 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นปาแงะ 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 2,000,000.00 10,000,000.00
พรอมอาคารประกอบ บานชัยมงคล หมู 17 ต.ปา
แงะ อ.ปาแดด จ.เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 11โครงการขุดลอกหวยแมสูนพรอม 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นปาแงะ 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 20,000,000.00
อาคารประกอบ บานสันเจริญ หมู 11 ต.ปาแงะ อ.
ปาแดด จ.เชียงราย 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
อําเภอแมฟาหลวง 4,123,000.00 4,123,000.00 4,123,000.00 4,123,000.00 4,123,000.00 20,615,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1 โครงการกอสรางถังเก็บน้ํา คสล. 3 องคการบริหารสวนตําบลแมฟาหลวง 236,000.00 236,000.00 236,000.00 236,000.00 236,000.00 1,180,000.00
บานปายางมูเซอ หมู 16 3
กิจกรรมยอยที่ 2โครงการปรับปรุงระบบน้ําประปา 3 องคการบริหารสวนตําบลแมฟาหลวง 1,350,000.00 1,350,000.00 1,350,000.00 1,350,000.00 1,350,000.00 6,750,000.00
บานหวยน้ําขุน หมูที่ 18 3
กิจกรรมยอยที่ 3โครงการกอสรางถังเก็บน้ํา คสล. 3 องคการบริหารสวนตําบลแมฟาหลวง 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
บานปางพระราชทาน หมู 15 3
กิจกรรมยอยที่ 4โครงการกอสรางถังเก็บน้ํา คสล. 3 องคการบริหารสวนตําบลแมฟาหลวง 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 2,475,000.00
บานขาแหยงพัฒนา หมู 5 3
กิจกรรมยอยที่ 5โครงการปรับปรุงระบบประปาภูเขา 3 องคการบริหารสวนตําบลแมฟาหลวง 247,000.00 247,000.00 247,000.00 247,000.00 247,000.00 1,235,000.00
บานอาขาปากลวย หมู 7 3
กิจกรรมยอยที่ 6โครงการปรับปรุงระบบประปาภูเขา 3 องคการบริหารสวนตําบลแมฟาหลวง 498,000.00 498,000.00 498,000.00 498,000.00 498,000.00 2,490,000.00
บานสามัคคีเกา หมู 11 3
กิจกรรมยอยที่ 7โครงการกอสรางถังเก็บน้ํา คสล. 3 องคการบริหารสวนตําบลแมฟาหลวง 343,000.00 343,000.00 343,000.00 343,000.00 343,000.00 1,715,000.00
บานสามัคคีใหม หมู 13 3
กิจกรรมยอยที่ 8โครงการกอสรางถังเก็บน้ํา คสล. 3 องคการบริหารสวนตําบลแมฟาหลวง 454,000.00 454,000.00 454,000.00 454,000.00 454,000.00 2,270,000.00
บานสวนปา หมู 14 3
อําเภอเวียงปาเปา 25,154,997.00 25,154,997.00 25,154,997.00 25,154,997.00 25,154,997.00 125,774,985.00
กิจกรรมยอยที่ 1ธนาคารน้ําใตดิน (รูปแบบระบบปด) 3 เทศบาลตําบลเวียง 3,000.00 3,000.00 3,000.00 3,000.00 3,000.00 15,000.00
ชุมชนบานหัวเวียง หมูที่1 3
กิจกรรมยอยที่ 2ขุดเจาะบอบาดาล ชุมชนบานกู 3 เทศบาลตําบลเวียง 498,000.00 498,000.00 498,000.00 498,000.00 498,000.00 2,490,000.00
(ที่วาการอําเภอเวียงปาเปา) หมูที่6 3
กิจกรรมยอยที่ 3ดาดคอนกรีตลําหวยบงตําบลเวียง 3 เทศบาลตําบลเวียง 489,000.00 489,000.00 489,000.00 489,000.00 489,000.00 2,445,000.00
ปาเปา ชุมชนบานกู หมูที่6 (ชวง 1) 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 4ดาดคอนกรีตลําหวยบงตําบลเวียง 3 เทศบาลตําบลเวียง 489,000.00 489,000.00 489,000.00 489,000.00 489,000.00 2,445,000.00
ปาเปา ชุมชนบานในเวียง หมูที่2 (ชวง 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 5ขุดลอกสระน้ํา (บอ1) ชุมชนบาน 3 เทศบาลตําบลเวียง 270,068.00 270,068.00 270,068.00 270,068.00 270,068.00 1,350,340.00
สันติพัฒนา หมูที่11 3
กิจกรรมยอยที่ 6ขุดลอกสระน้ํา (บอ2) ชุมชนบาน 3 เทศบาลตําบลเวียง 891,029.00 891,029.00 891,029.00 891,029.00 891,029.00 4,455,145.00
สันติพัฒนา หมูที่11 3
กิจกรรมยอยที่ 7งานเจาะบอน้ําบาดาล หมูที่11 3 3 เทศบาลตําบลเวียง 267,000.00 267,000.00 267,000.00 267,000.00 267,000.00 1,335,000.00
กิจกรรมยอยที่ 8กอสรางประตูระบายน้ําพรอมราง 3 เทศบาลตําบลเวียง 711,000.00 711,000.00 711,000.00 711,000.00 711,000.00 3,555,000.00
สงน้ํา OTOP ชุมชนบานในเวียง หมูที่2 3
กิจกรรมยอยที่ 9โครงการจางเหมากอสรางเขื่อน 3 เทศบาลตําบลเวียงกาหลง 1,720,000.00 1,720,000.00 1,720,000.00 1,720,000.00 1,720,000.00 8,600,000.00
กลองหิน Gobion ปองกันตลิ่งพัง ขนาดสูง 3.50
เมตร ยาว 130 เมตร 3
กิจกรรมยอยที่ 10โครงการกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง 3 เทศบาลตําบลแมเจดีย 5,003,000.00 5,003,000.00 5,003,000.00 5,003,000.00 5,003,000.00 25,015,000.00
แมน้ําลาว แบบกลองลวดตาขาย ชุมชนแมขะจาน 2
กวาง 4.50 เมตร สูง 4.00 เมตร ยาว 300.00 เมตร
ตามแบบที่กําหนดพรอมปายโครงการ

3
กิจกรรมยอยที่ 11โครงการกอสรางเขื่อนปองกันตลิ่ง 3 เทศบาลตําบลแมเจดีย 5,069,000.00 5,069,000.00 5,069,000.00 5,069,000.00 5,069,000.00 25,345,000.00
แมน้ําลาว แบบกลองลวดตาขาย ชุมชนสันติสุข
กวาง 4.50 เมตร สูง 4.00 เมตร ยาว 300.00 เมตร
ตามแบบที่กําหนดพรอมปายโครงการ
3
กิจกรรมยอยที่ 12กอสรางแทงคกักเก็บน้ําประปา 3 เทศบาลตําบลปางิ้ว 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
หมูบาน หมูที่ 12ตําบลปางิ้ว 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 13กอสรางแทงคกักเก็บน้ําประปา 3 เทศบาลตําบลปางิ้ว 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
หมูบาน หมูที่ 11ตําบลปางิ้ว 3
กิจกรรมยอยที่ 14กอสรางแทงคกักเก็บน้ําประปา 3 เทศบาลตําบลปางิ้ว 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
หมูบาน หมูที่ 10 ตําบลปางิ้ว 3
กิจกรรมยอยที่ 15กอสรางแทงคกักเก็บน้ําประปา 3 เทศบาลตําบลปางิ้ว 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
หมูบาน หมูที่ 3 ตําบลปางิ้ว 3
กิจกรรมยอยที่ 16ปรับปรุงระบบประปาหมูบาน หมู 3 เทศบาลตําบลปางิ้ว 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 2,250,000.00
ที่ 16 บานสันปูเลย ตําบลปางิ้ว อําเภอเวียงปาเปา
3
กิจกรรมยอยที่ 17ปรับปรุงระบบประปาหมูบาน หมู 3 เทศบาลตําบลปางิ้ว 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 450,000.00 2,250,000.00
ที่ 12 บานฮางต่ําเหนือ ตําบลปางิ้ว อําเภอเวียงปา
เปา 3
กิจกรรมยอยที่ 18ปรับปรุงระบบประปาหมูบาน 3 เทศบาลตําบลปางิ้ว 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 3,500,000.00 17,500,000.00
หมูที่ 2 บานปาสัก ตําบลปางิ้ว อําเภอเวียงปาเปา
จ.เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 19กอสรางแทงคกักเก็บน้ําประปา 3 เทศบาลตําบลปางิ้ว 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 3,000,000.00 15,000,000.00
หมูบาน หมูที่ 2 บานปาสัก ตําบลปางิ้ว อําเภอ
เวียงปาเปา จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 20ขุดสระเก็บน้ําหนองผักกาน หมูที่ 3 เทศบาลตําบลปางิ้ว 100,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00 500,000.00
5 บานปาเหมือด ตําบลปางิ้ว อําเภอเวียงปาเปา
จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 21โครงการขุดเจาะบอน้ําบาดาล 3 3 องคการบริหารสวนตําบลเวียง 244,900.00 244,900.00 244,900.00 244,900.00 244,900.00 1,224,500.00
อําเภอพาน 19,808,505.00 22,365,505.00 23,125,505.00 23,633,505.00 25,795,505.00 114,728,525.00
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 1โครงการขุดลอกลําหวยโปง 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่น 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
3 ทานตะวัน
กิจกรรมยอยที่ 2โครงการขุดแกมลิงตนมะขาม 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่น 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
(หนองฮาง) 3 ทานตะวัน
กิจกรรมยอยที่ 3โครงการขุดลอกลําหวยผาลาด 3 3 องคการบริหารสวนตําบลทานตะวัน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
กิจกรรมยอยที่ 4โครงการขุดลําลอกหวยปาสัก 3 3 องคการบริหารสวนตําบลทานตะวัน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
กิจกรรมยอยที่ 5โครงการขุดลอกลําหวยโจ 3 3 องคการบริหารสวนตําบลทานตะวัน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
กิจกรรมยอยที่ 6โครงการขุดลอกลําหวยรองเปา 3 3 องคการบริหารสวนตําบลทานตะวัน 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
กิจกรรมยอยที่ 7โครงการขุดลอกแหลงน้ําหนอง 3 องคการบริหารสวนตําบลดอยงาม 490,000.00 490,000.00 490,000.00 490,000.00 490,000.00 2,450,000.00
ควายหลวง 3
กิจกรรมยอยที่ 8โครงการวางทอระบายน้ําพรอมบอ 3 องคการบริหารสวนตําบลดอยงาม 2,252,105.00 2,252,105.00 2,252,105.00 2,252,105.00 2,252,105.00 11,260,525.00
พัก 3
กิจกรรมยอยที่ 9โครงการขุดลอกลําเหมืองเชื่อมม. 3 องคการบริหารสวนตําบลดอยงาม 111,400.00 111,400.00 111,400.00 111,400.00 111,400.00 557,000.00
8,2 และ 10 3
กิจกรรมยอยที่ 10โครงการขุดลอกลําน้ําฮาง 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดอยงาม 460,000.00 460,000.00 460,000.00 460,000.00 460,000.00 2,300,000.00
กิจกรรมยอยที่ 11โครงการขุดลอกลําน้ําแมสาน 3 3 องคการบริหารสวนตําบลดอยงาม 422,000.00 422,000.00 422,000.00 422,000.00 422,000.00 2,110,000.00
กิจกรรมยอยที่ 12โครงการขุดเจาะบอบาดาล หมูที่ 3 องคการบริหารสวนตําบลดอยงาม 411,000.00 411,000.00 411,000.00 411,000.00 411,000.00 2,055,000.00
13 บานแมหนาด 3
กิจกรรมยอยที่ 13โครงการขุดลอกลําน้ําแมฮาง (จุด 3 องคการบริหารสวนตําบลดอยงาม 482,000.00 482,000.00 482,000.00 482,000.00 482,000.00 2,410,000.00
ที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 14โครงการขุดเจาะบอบาดาลพรอม 3 องคการบริหารสวนตําบลดอยงาม 343,000.00 343,000.00 343,000.00 343,000.00 343,000.00 1,715,000.00
ติดตั้งระบบสูบน้ําพลังงานแสงอาทิตย 3
กิจกรรมยอยที่ 15โครงการกอสรางคลองคอนกรีต 3 องคการบริหารสวนตําบลดอยงาม 9,665,000.00 9,665,000.00 9,665,000.00 9,665,000.00 9,665,000.00 48,325,000.00
สงน้ํา สายประตูโขง หมูที่ 6 บานสันมะกอก 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 16โครงการขุดเจาะบอบาดาลพรอม 3 องคการบริหารสวนตําบลดอยงาม 343,000.00 343,000.00 343,000.00 343,000.00 343,000.00 1,715,000.00
ติดตั้งระบบสูบน้ําพลังงานแสงอาทิตย 3
กิจกรรมยอยที่ 17โครงการเจาะบอน้ําบาดาล หมูที่ 3 องคการบริหารสวนตําบลดอยงาม 208,000.00 208,000.00 208,000.00 208,000.00 208,000.00 1,040,000.00
10 บานสันธาตุ 3
กิจกรรมยอยที่ 18โครงการขุดลอกหนองน้ํา 3 องคการบริหารสวนตําบลธารทอง 1,621,000.00 1,621,000.00 1,621,000.00 1,621,000.00 1,621,000.00 8,105,000.00
สาธารณะ หมู 6 หมูที่ 7 บานดงขนุน ตําบลธารทอง
อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 19โครงการขุดลอกหนองกอเติม 3 องคการบริหารสวนตําบลธารทอง 2,557,000.00 2,557,000.00 2,557,000.00 2,557,000.00 10,228,000.00
หมูที่ 10 บานดงนคร ตําบลธารทอง อําเภอพาน
จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 20โครงการขุดลอกหนองวังปลาขอน 3 องคการบริหารสวนตําบลธารทอง 760,000.00 760,000.00 760,000.00 2,280,000.00
นอยบน หมูที่ 5 บานราษฎรดํารง ตําบลธารทอง
อําเภอพาน จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 21โครงการขุดลอกหนองน้ําบอ หมู 3 องคการบริหารสวนตําบลธารทอง 508,000.00 508,000.00 1,016,000.00
ที่ 7 บานดงขนุน ตําบลธารทอง อําเภอพาน จังหวัด
เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 22โครงการขุดลอกหนองไมสักบน 3 องคการบริหารสวนตําบลธารทอง 1,621,000.00 1,621,000.00
หมูที่ 7 บานดงขนุน ตําบลธารทอง อําเภอพาน
จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 23โครงการขุดลอกหนองวังปลาขอน 3 องคการบริหารสวนตําบลธารทอง 541,000.00 541,000.00
หมูที่ 4 บานปารวก ตําบลธารทอง อําเภอพาน
จังหวัดเชียงราย 3
อําเภอเชียงแสน 62,364,800.00 62,364,800.00 62,364,800.00 62,364,800.00 62,364,800.00 311,824,000.00
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 1โครงการกอสรางรางระบายน้ํา 3 เทศบาลตําบลเชียงแสน 497,000.00 497,000.00 497,000.00 497,000.00 497,000.00 2,485,000.00
คอนกรีตเสริมเหล็กพรอมฝาปดคอนกรีตเสริมเหล็ก
บานศรีดอนมูล หมูที่ 13 ตําบลศรีดอนมูล อําเภอ
เชียงแสน จังหวัดเชียงราย
3
กิจกรรมยอยที่ 2โครงการกอสรางคลองสงน้ํา 3 เทศบาลตําบลเชียงแสน 996,000.00 996,000.00 996,000.00 996,000.00 996,000.00 4,980,000.00
คอนกรีตเสริมเหล็ก 3
กิจกรรมยอยที่ 3โครงการกอสรางทอเหลี่ยม ลํา 3 เทศบาลตําบลเชียงแสน 1,563,000.00 1,563,000.00 1,563,000.00 1,563,000.00 1,563,000.00 7,815,000.00
เหมือง 3
กิจกรรมยอยที่ 4โครงการขุดลอกแหลงน้ํา 3 3 เทศบาลตําบลเชียงแสน 9,725,800.00 9,725,800.00 9,725,800.00 9,725,800.00 9,725,800.00 48,629,000.00
กิจกรรมยอยที่ 5เจาะบอบาดาล (ทต.เวียง) บานเวียง 3 เทศบาลตําบลเชียงแสน 270,000.00 270,000.00 270,000.00 270,000.00 270,000.00 1,350,000.00
เหนือ ต.เวียง อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 6โครงการซื้อเครื่องสูบน้ํา บานทุงฟา 3 เทศบาลตําบลเชียงแสน 41,000,000.00 41,000,000.00 41,000,000.00 41,000,000.00 41,000,000.00 205,000,000.00
ฮาม หมู 5 ต.โยนก อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 7โครงการขุดลอกหนองบง บานสบ 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นบานแซว 1,482,000.00 1,482,000.00 1,482,000.00 1,482,000.00 1,482,000.00 7,410,000.00
กก หมูที่ 7 ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัด
เชียราย 3
กิจกรรมยอยที่ 8โครงการขุดลอกหนองทุง บานแซว 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นบานแซว 3,589,000.00 3,589,000.00 3,589,000.00 3,589,000.00 3,589,000.00 17,945,000.00
หมูที่ 1 ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน จังหวัด
เชียราย 3
กิจกรรมยอยที่ 9โครงการขุดลอกหนองไมหา บาน 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่นบานแซว 967,000.00 967,000.00 967,000.00 967,000.00 967,000.00 4,835,000.00
แซว หมูที่ 1 ตําบลบานแซว อําเภอเชียงแสน
จังหวัดเชียราย 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 10ปรับปรุงอางเก็บน้ํา หมูที่ 6 บาน 3 องคการบริหารสวนตําบลแมเงิน 100,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00 100,000.00 500,000.00
กิ่วกาญจน ตําบลริมโขง อําเภอเชียงของ จังหวัด
เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 11ขุดลอกลําเหมืองเพื่อการเกษตร 3 องคการบริหารสวนตําบลศรีดอนมูล 125,000.00 125,000.00 125,000.00 125,000.00 125,000.00 625,000.00
หมูที่ 9 บานสันมะเค็ด หมู 9 ต.ปาสัก อ.เชียงแสน
จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 12ขุดลอกแมน้ําจัน ชวงที่ 2 บาน 3 องคการบริหารสวนตําบลปาสัก 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
หนองบัวสด , ปาสักนอย หมูที่ 5,3 ต.ปาสัก อ.เชียง
แสน 3
กิจกรรมยอยที่ 13ขุดเจาะบอบาดาลบานปาสักนอย 3 องคการบริหารสวนตําบลปาสัก 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 350,000.00 1,750,000.00
หมูที่ 13 ต.ปาสัก อ.เชียงแสน 3
กิจกรรมยอยที่ 14ฝายชะลอน้ําเหมืองสัน บานปาสัก 3 องคการบริหารสวนตําบลปาสัก 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00
นอย หมู 3 ต.ปาสัก อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 15ฝายชะลอน้ําทุงแพะ บานปาสัก 3 องคการบริหารสวนตําบลปาสัก 250,000.00 250,000.00 250,000.00 250,000.00 250,000.00 1,250,000.00
นอย หมูที่ 3 ต.ปาสัก อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 16ขุดเจาะบอบาดาลบานปาสักนอย 3 องคการบริหารสวนตําบลปาสัก 250,000.00 250,000.00 250,000.00 250,000.00 250,000.00 1,250,000.00
หมูที่ 3 ต.ปาสัก อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 17กอสรางฝายชะลอน้ําลําเหมือง 3 องคการบริหารสวนตําบลปาสัก 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 400,000.00 2,000,000.00
ปงสลี และลําเหมืองสบจัน หมูที่ 5 บานหนองบัวสด
ต.ปาสัก อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 3
อําเภอแมจัน 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 7,000,000.00 35,000,000.00
กิจกรรมยอยที่ 1 ขุดลอกรองเชียงรายตอนบน บาน 3 เทศบาลตําบลแมจัน 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 900,000.00 4,500,000.00
ทุงฟาฮาม หมู 5 ต.โยนก อ.เชียงแสน จ.เชียงราย
3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 2 ขุดลอกน้ําลัว บานโคงงาม หมูที่ 7 3 เทศบาลตําบลแมจัน 5,600,000.00 5,600,000.00 5,600,000.00 5,600,000.00 5,600,000.00 28,000,000.00
ต.โยนก อ.เชียงแสน จ.เชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 3 ขุดลอกแมน้ําจัน ชวงที่ 4 บาน 3 องคการบริหารสวนตําบลจันจวา 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
หนองบัวสอ , ปางหมอปวง หมูที่ 5,6 ต.ปาสัก อ.
เชียงแสน จ.เชียงราย 3
อําเภอเชียงของ 67,321,700.00 69,007,300.00 69,007,300.00 69,007,300.00 69,007,300.00 343,350,900.00
กิจกรรมยอยที่ 1กอสรางฝายน้ําลนลําหวยน้ําชาง 3 เทศบาลเมือง ตําบลสถาน 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 2,475,000.00
(จุดที่ 1) ม.5 3
กิจกรรมยอยที่ 2ขยายเขตประปาสวนภูมิภาคหัว 3 เทศบาลตําบลเวียง 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 10,000,000.00 50,000,000.00
เวียง-หวยกอก 3
กิจกรรมยอยที่ 3กอสรางฝายหลวงพรอมระบบสงน้ํา 3 เทศบาลตําบลเวียง 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 5,000,000.00 25,000,000.00
3
กิจกรรมยอยที่ 4เจาะบอบาดาลเพื่อการเกษตร 3 3 เทศบาลตําบลเวียง 959,000.00 959,000.00 959,000.00 959,000.00 959,000.00 4,795,000.00
กิจกรรมยอยที่ 5ธนาคารน้ําใตดิน 3 3 เทศบาลตําบลเวียง 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 300,000.00 1,500,000.00
กิจกรรมยอยที่ 6ขยายเขตประปาสวนภูมิภาค 3 เทศบาลตําบลเวียง 4,014,000.00 4,014,000.00 4,014,000.00 4,014,000.00 4,014,000.00 20,070,000.00
บานท งทราย 3
กิจกรรมยอยที่ 7เจาะบอบาดาลเพื่อการเกษตร 3 3 เทศบาลตําบลเวียง 959,000.00 959,000.00 959,000.00 959,000.00 959,000.00 4,795,000.00
กิจกรรมยอยที่ 8เจาะบอบาดาลศูนยพัฒนาเด็กเล็ก 3 เทศบาลตําบลเวียง 959,000.00 959,000.00 959,000.00 959,000.00 959,000.00 4,795,000.00
บานทุงนานอย 3
กิจกรรมยอยที่ 9เจาะบอบาดาลบานทุงพัฒนา 3 3 เทศบาลตําบลเวียง 959,000.00 959,000.00 959,000.00 959,000.00 959,000.00 4,795,000.00
กิจกรรมยอยที่ 10เจาะบอบาดาลบานหวยกอก 3 3 เทศบาลตําบลเวียง 959,000.00 959,000.00 959,000.00 959,000.00 959,000.00 4,795,000.00
กิจกรรมยอยที่ 11กอสรางฝายน้ําลนลําหวยรอง 3 เทศบาลตําบลเวียง 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 2,475,000.00
แหยง (จุดที่ 3) บานเตน หมู 8 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 12กอสรางฝายน้ําลนลําหวยรอง 3 เทศบาลตําบลเวียง 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 2,475,000.00
แหยง (จุดที่ 2) บานเตน หมู 8 3
กิจกรรมยอยที่ 13กอสรางถังเก็บน้ําคอนกรีตเสริม 3 เทศบาลตําบลครึ่ง 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 2,030,000.00
เหล็กบานประชาภิวัฒน หมูที่ 10 ตําบลครึ่ง
อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 14กอสรางถังเก็บน้ําคอนกรีตเสริม 3 เทศบาลตําบลครึ่ง 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 2,030,000.00
เหล็ก บานสาน หมูที่ 1 ตําบลครึ่ง อําเภอเชียง
ของ จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 15โครงการถังเก็บน้ําคอนกรีตเสริม 3 เทศบาลตําบลครึ่ง 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 2,030,000.00
เหล็ก บานไชยปราการ หมู 11 ตําบลครึ่ง อําเภอ
เชียงของ จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 16ปรับปรุงคุณภาพน้ําเพื่อพัฒนา 3 เทศบาลตําบลครึ่ง 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
คุณภาพชีวิตประชาชนสําหรับอุปโภคบริโภคใน
ภาวะภัยแลงอยางยังยืน บานครึ่งเหนือ หมูที่ 2
ตําบลครึ่ง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
3
กิจกรรมยอยที่ 17กอสรางถังเก็บน้ําคอนกรีตเสริม 3 เทศบาลตําบลครึ่ง 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 2,030,000.00
เหล็ก บานครึ่งใต หมูที่ 3 ตําบลครึ่ง อําเภอ
เชียงของ จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 18โครงการกอสรางหอถังสูงคอนกรีต 3 เทศบาลตําบลครึ่ง 272,000.00 272,000.00 272,000.00 272,000.00 272,000.00 1,360,000.00
เสริมเหล็ก บานหลวงใหมพัฒนา หมูที่ 8 ตําบล
ครึ่ง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย 3
กิจกรรมยอยที่ 19กอสรางหอถังสูงคอนกรีตเสริม 3 เทศบาลตําบลครึ่ง 272,000.00 272,000.00 272,000.00 272,000.00 272,000.00 1,360,000.00
เหล็ก บานศรีลานนา หมูที่ 5 ตําบลครึ่ง อําเภอ
เชียงของ จังหวัดเชียงราย 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 20ขุดลอกแกมลิงหลงปาหา บานตอง 3 เทศบาลตําบลครึ่ง 443,000.00 443,000.00 443,000.00 443,000.00 443,000.00 2,215,000.00
หมูที่ 6 ตําบลครึ่ง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
3
กิจกรรมยอยที่ 21โครงการกอสรางระบบธนาคารน้ํา 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
ใตดินระบบเปด หนองบัว หมูที่ 2 บานบุญเรือง
ตําบลบุญเรือง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
ขนาดกวาง 40.00 เมตร ยาว 90.00 เมตร ลึกเฉลี่ย
จากพื้นดินเดิม 1.50 เมตร ลาดเอียง 1:1 ปริมาณดิน
ขุดไมนอยกวา 5,121ลูกบาศกเมตร พรอมเจาะ
สะดือบอขนาดกวาง 20.00 เมตร ยาว 20.00 เมตร
ลึก 4.00 เมตร ปริมาณดินขุดไมนอยกวา 1,600
ลูกบาศกเมตร (ตามแบบ ทต.บุญเรืองกําหนด )

3
กิจกรรมยอยที่ 22โครงการกอสรางระบบธนาคารน้ํา 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 310,000.00 310,000.00 310,000.00 310,000.00 310,000.00 1,550,000.00
ใตดินระบบเปด ลําหวยรองยาว หมูที่ 3 บานซาววา
ตําบลบุญเรือง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
ขนาดกวาง 40.00 เมตร ยาว 40.00 เมตร ลึก 3.00
เมตร ลาดเอียง 1:1 ปริมาณดินขุดไมนอยกวา
5,109ลูกบาศกเมตร พรอมเจาะสะดือบอขนาดกวาง
20.00 เมตร ยาว 20.00 เมตร ลึก 4.00 เมตร ลาด
เอียง 1:1 ปริมาณดินขุดไมนอยกวา 1,600 ลูกบาศก
เมตร (ตามแบบ ทต.บุญเรืองกําหนด )

3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 23โครงการกอสรางระบบธนาคารน้ํา 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 500,000.00 2,500,000.00
ใตดินระบบเปด หนองวังดิน หมูที่ 7 บานปาเคาะ
ตําบลบุญเรือง อําเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
ขนาดกวาง 40.00 เมตร ยาว 90.00 เมตร ลึกเฉลี่ย
จากพื้นดินเดิม 1.50 เมตร ลาดเอียง 1:1 ปริมาณดิน
ขุดไมนอยกวา 5,121ลูกบาศกเมตร พรอมเจาะ
สะดือบอขนาดกวาง 20.00 เมตร ยาว 20.00 เมตร
ลึก 4.00 เมตร ปริมาณดินขุดไมนอยกวา 1,600
ลูกบาศกเมตร (ตามแบบ ทต.บุญเรืองกําหนด )

3
กิจกรรมยอยที่ 24โครงการขุดเจาะบอบาดาล 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 384,000.00 384,000.00 384,000.00 384,000.00 384,000.00 1,920,000.00
บริเวณบานบุญเรือง หมู 2 ขนาดทอ 6 นิ้ว ประเภท
2 ชนิดทอเหล็ก BS-M มอก.227-2532 ประเภท
ความลึกไมนอยกวา 150 เมตร แบบแปลนตามแบบ
เทศบาลกําหนด
3
กิจกรรมยอยที่ 25โครงการขุดเจาะบอบาดาล 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 2,030,000.00
บริเวณบานบุญเรือง หมู 1 ขนาดทอ 6 นิ้ว ประเภท
2 ชนิดทอเหล็ก BS-M มอก.227-2532 ประเภท
ความลึกไมนอยกวา 160 เมตร แบบแปลนตามแบบ
เทศบาลกําหนด
3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 26โครงการขุดเจาะบอบาดาล 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 497,000.00 497,000.00 497,000.00 497,000.00 497,000.00 2,485,000.00
บริเวณบานปาเคาะ หมู 7 ขนาดทอ 6 นิ้ว ประเภท
2 ชนิดทอเหล็ก BS-M มอก.227-2532 ประเภท
ความลึกไมนอยกวา 200 เมตร แบบแปลนตามแบบ
เทศบาลกําหนด
3
กิจกรรมยอยที่ 27ขุดลอกหนองปูอินทร หมู 2 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 1,823,200.00 1,823,200.00 1,823,200.00 1,823,200.00 1,823,200.00 9,116,000.00
ปากกวาง 19.00 ม. ลึก 2.50 ม. ยาว 750.00 ม.
หรือมีปริมาณดินขุด 35,625.00 ลบ.ม.ตามแบบ
แปลนเทศบาลตําบลกําหนด
3
กิจกรรมยอยที่ 28ขุดลอกหนองหลวง หมู 9 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 543,000.00 543,000.00 543,000.00 543,000.00 543,000.00 2,715,000.00
ปากกวาง 45.00 ม. ลึก 2.50 ม.ยาว 100.00 ม.
หรือมีปริมาณดินขุด 10,364 ลบ.ม.ตามแบบแปลน
เทศบาลกําหนด
3
กิจกรรมยอยที่ 29ขุดลอกหนองปลาสะเด็ด หมู 10 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 1,273,000.00 1,273,000.00 1,273,000.00 1,273,000.00 1,273,000.00 6,365,000.00
ขนาดปากกวางเฉลี่ย 70.00 ม. กนกวางเฉลี่ย 65.00
ม. ปากยาวเฉลี่ย 150.00 ม. กนยาวเฉลี่ย 145.00
ม. ลึกเฉลี่ย 2.50 ม. หรือมีปริมาณดินขุดไมนอยกวา
24,890.63 ลบ.ม.ตามแบบแปลนเทศบาลกําหนด

3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 30ขุดลอกหนองปูดวง หมู 10 ขนาด 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 1,060,000.00 1,060,000.00 1,060,000.00 1,060,000.00 1,060,000.00 5,300,000.00
ปากกวางเฉลี่ย 50.00 ม. กนกวางเฉลี่ย 44.00 ม.
ปากยาวเฉลี่ย 150.00 ม. กนยาวเฉลี่ย 144.00 ม.
ลึกเฉลี่ย 3.00 ม. หรือมีปริมาณดินขุดไมนอยกวา
20,727.00 ลบ.ม.ตามแบบแปลนเทศบาลกําหนด

3
กิจกรรมยอยที่ 31ขุดลอกอางเก็บน้ําหวยแดนเมือง 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 3,960,000.00 3,960,000.00 3,960,000.00 3,960,000.00 3,960,000.00 19,800,000.00
หมู 6 ขนาดปากกวางเฉลี่ย 90.00 ม. กนกวางเฉลี่ย
84.00 ม. ปากยาวเฉลี่ย 300.00 ม. กนยาวเฉลี่ย
294.00 ม. ลึกเฉลี่ย 3.00 ม. หรือมีปริมาณดินขุดไม
นอยกวา 77,517 ลบ.ม.ตามแบบแปลนเทศบาล
กําหนด
3
กิจกรรมยอยที่ 32ขุดลอกหนองชางตาง หมู 5 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 7,470,000.00 7,470,000.00 7,470,000.00 7,470,000.00 7,470,000.00 37,350,000.00
ขนาดปากกวางเฉลี่ย 200.00 ม. กนกวางเฉลี่ย
194.00 ม. ปากยาวเฉลี่ย 250.00 ม. กนยาวเฉลี่ย
244.00 ม. ลึกเฉลี่ย 3.00 ม. หรือมีปริมาณดินขุดไม
นอยกวา 145,977 ลบ.ม.ตามแบบแปลนเทศบาล
กําหนด
3
กิจกรรมยอยที่ 33โครงการขุดเจาะบอบาดาล 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 361,000.00 361,000.00 361,000.00 361,000.00 361,000.00 1,805,000.00
บริเวณบานตนปลอง หมู 8 ขนาดทอ 6 นิ้ว ประเภท
2 ชนิดทอเหล็ก BS-M มอก.227-2532 ประเภท
ความลึกไมนอยกวา 140 เมตร แบบแปลนตามแบบ
เทศบาลกําหนด
3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 34โครงการขุดเจาะบอบาดาล 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 384,000.00 384,000.00 384,000.00 384,000.00 1,536,000.00
บริเวณบานซาววา หมู3 ขนาดทอ 6 นิ้ว ชนิดทอ
เหล็ก BS-M มอก.277-2532 ประเภท 2 ความลึก
ไมนอยกวา 150 ม. รายละเอียดตามแบบเทศบาล
ตําบลบุญเรืองกําหนด
3
กิจกรรมยอยที่ 35โครงการขุดเจาะบอบาดาล 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 1,624,000.00
บริเวณบานตนปลอง หมู8 ขนาดทอ 6 นิ้ว ชนิดทอ
เหล็ก BS-M มอก.277-2532 ประเภท 2 ความลึก
ไมนอยกวา 160 ม. รายละเอียดตามแบบเทศบาล
ตําบลบุญเรืองกําหนด
3
กิจกรรมยอยที่ 36โครงการขุดเจาะบอบาดาล 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 406,000.00 406,000.00 406,000.00 406,000.00 1,624,000.00
บริเวณบานภูแกง หมู10 ขนาดทอ 6 นิ้ว ชนิดทอ
เหล็ก BS-M มอก.277-2532 ประเภท 2 ความลึก
ไมนอยกวา 160 ม. รายละเอียดตามแบบเทศบาล
ตําบลบุญเรืองกําหนด
3
กิจกรรมยอยที่ 37โครงการขุดเจาะบอบาดาล 3 เทศบาลตําบลบุญเรือง 489,600.00 489,600.00 489,600.00 489,600.00 1,958,400.00
บริเวณบานหก หมู 4 ขนาดทอ 6 นิ้ว ชนิดทอเหล็ก
BS-M มอก.277-2532 ประเภท 2 ความลึกไมนอย
กวา 170 ม.ตามแบบเทศบาลตําบลบุญเรืองกําหนด

3
กิจกรรมยอยที่ 38กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเชียงคานใหม หมู 14 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 39กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานศรีดอนมูล หมู 9 (จุดที่ 1) 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 40กสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเตน หมู 8 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 41กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงงิ้ว หมู 2 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 42กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเชียงคานใหม หมู 14 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 43กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานศรีดอนมูล หมู 9 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 44กสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเตน หมู 8 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 45กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงงิ้ว หมู 2 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 46กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเชียงคานใหม หมู 14 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 47กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานศรีดอนมูล หมู 9 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 48กสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเตน หมู 8 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 49กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงงิ้ว หมู 2 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 50กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเชียงคานใหม หมู 14 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 51กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานศรีดอนมูล หมู 9 (จุดที่ 4) 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 52กสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเตน หมู 8 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 53กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงงิ้ว หมู 2 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 54กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเชียงคานใหม หมู 14 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 55กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานศรีดอนมูล หมู 9 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 56กสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเตน หมู 8 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 57กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงงิ้ว หมู 2 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 58กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงอางใหม หมู 15 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 59กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานน้ํามาเหนือ หมู 10 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 60กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) น้ํามา หมู 3 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 61กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงอางใหม หมู 15 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 62กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานน้ํามาเหนือ หมู 10 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 63กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) น้ํามา หมู 3 (จุดที่ 2) 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 64กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงอางใหม หมู 15 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 65กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานน้ํามาเหนือ หมู 10 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 66กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) น้ํามา หมู 3 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 67กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงอางใหม หมู 15 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 68กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานน้ํามาเหนือ หมู 10 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 69กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) น้ํามา หมู 3 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 70กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงอางใหม หมู 15 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 71กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานน้ํามาเหนือ หมู 10 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 72กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) น้ํามา หมู 3 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 73กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานใหมธาตุทอง หมู 16 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 74กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงงิ้วเหนือ หมู 11 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 75กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเชียงคาน หมู 4 (จุดที่ 1) 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 76กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานใหมธาตุทอง หมู 16 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 77กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงงิ้วเหนือ หมู 11 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 78กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเชียงคาน หมู 4 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 79กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานใหมธาตุทอง หมู 16 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 80กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงงิ้วเหนือ หมู 11 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 81กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเชียงคาน หมู 4 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 82กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานใหมธาตุทอง หมู 16 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 83กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงงิ้วเหนือ หมู 11 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 84กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเชียงคาน หมู 4 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 85กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานใหมธาตุทอง หมู 16 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 86กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงงิ้วเหนือ หมู 11 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 87กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานเชียงคาน หมู 4 (จุดที่ 5) 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 88กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานสถานใต หมู 12 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 89กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานแฟน หมู 5 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 90กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานสถานใต หมู 12 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 91กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานแฟน หมู 5 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 92กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานสถานใต หมู 12 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 93กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานแฟน หมู 5 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 94กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานสถานใต หมู 12 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 95กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานแฟน หมู 5 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 96กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานสถานใต หมู 12 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 97กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานแฟน หมู 5 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 98กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานน้ํามาเหนือ หมู 13 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 99กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงอาง หมุ 6 (จุดที่ 1) 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 100กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานน้ํามาเหนือ หมู 13 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 101กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงอาง หมุ 6 (จุดที่ 2) 3
กิจกรรมยอยที่ 102กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานน้ํามาเหนือ หมู 13 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 103กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงอาง หมุ 6 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 104กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานน้ํามาเหนือ หมู 13 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 105กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงอาง หมุ 6 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 106กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานน้ํามาเหนือ หมู 13 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 107กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานทุงอาง หมุ 6 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 108กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานสถาน ม.1 (จุดที่ 5) 3
กิจกรรมยอยที่ 109กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานสถาน ม.1 (จุดที่ 4) 3
กิจกรรมยอยที่ 110กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานสถาน ม.1 (จุดที่ 3) 3
กิจกรรมยอยที่ 111กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานสถาน ม.1 (จุดที่ 2) 3
บัญชีรายการชุดโครงการ งบประมาณดําเนินการ
แผนงาน/โครงการ แหลง ยุทธศาสต หนวยดําเนินการ พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ. พ.ศ.
งปม. รชาติ 2566 2567 2568 2569 2570 2566-2570
ประเด็นการพัฒนาที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อสงเสริมสังคมสรางสรรค
กิจกรรมยอยที่ 112กอสรางระบบธนาคารน้ําใตดิน 3 เทศบาลตําบลสถาน 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 7,300.00 36,500.00
(ระบบปด) บานสถาน ม.1 (จุดที่ 1) 3
กิจกรรมยอยที่ 113ขุดลอกหนองงูเหลือม บานน้ํา 3 เทศบาลตําบลสถาน 507,000.00 507,000.00 507,000.00 507,000.00 507,000.00 2,535,000.00
มา หมู 3 3
กิจกรรมยอยที่ 114กอสรางฝายน้ําลนลําหวยรอง 3 เทศบาลตําบลสถาน 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 2,475,000.00
แหยง (จุดที่ 1) บานเตน หมู 8 3
กิจกรรมยอยที่ 115กอสรางฝายน้ําลนลําหวยน้ําชาง 3 เทศบาลตําบลสถาน 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 2,475,000.00
(จุดที่ 2) ม.15 3
กิจกรรมยอยที่ 116กอสรางฝายน้ําลนลําหวยน้ําชาง 3 เทศบาลตําบลสถาน 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 2,475,000.00
(จุดที่ 1) หมู 15 3
กิจกรรมยอยที่ 117กอสรางฝายน้ําลนลําหวยน้ําชาง 3 3 เทศบาลตําบลสถาน 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 2,475,000.00
กิจกรรมยอยที่ 118กอสรางฝายน้ําลนลําหวยฮองรอง 3 เทศบาลตําบลสถาน 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 495,000.00 2,475,000.00
3
กิจกรรมยอยที่ 119โครงการกอสรางเขื่อนปองกัน 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตําบล 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 12,000,000.00 60,000,000.00
ตลิ่งลําน้ําสม 3 เวียง
กิจกรรมยอยที่ 120โครงการกอสรางเขื่อนปองกัน 3 องคกรปกครองสวนทองถิ่น ตําบล 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 4,000,000.00 20,000,000.00
ตลิ่งลําน้ําสม 3 เวียง

รวมทั้งสิ้น 5 โครงการ 14,752,445,705 17,504,216,507 19,079,315,738 20,285,238,999 19,580,298,250 91,201,515,198


แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ปี พ.ศ. 2566
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ 1
การสร้างมูลค่ามูลค่าเพิ่มด้านการท่องเทีย่ วเชิงสร้างสรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา

1. โครงการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ และเชิงสุขภาพให้มีคุณภาพ


เพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
2. โครงการการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือข่ายการท่องเที่ยว
3. โครงการการพัฒนากิจกรรมและการตลาดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ 1 การสร้างมูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิงสรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา
แผนงาน เพิ่มจานวนแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงสรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา

หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ และเชิงสุขภาพให้มี
คุณภาพเพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
๒. แผนงาน เพิ่มจานวนแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงสรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา
๓. แนวทางการพัฒนา เพื่อสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าและยั่งยืน
การค้า การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชิงสร้างสรรค์ และ การส่งเสริมนวัตกรรมสินค้า
เกษตรมูลค่าสู งโดยดารงฐานวัฒนธรรมล้ านนาและสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
๔. ความสาคัญของ แผนพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบับที่ 1๓ มีแนวทางการพัฒ นาการ
โครงการ หลักการและ ท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและความยั่งยืนมีธุรกิจบริการต่อเนื่องกับการท่องเที่ยว บริการ
เหตุผล สุขภาพและการศึกษาที่ได้มาตรฐาน รวมทั้งผลิตภัณฑ์สร้างสรรค์ที่สร้างมูลค่าเพิ่ม โดย
แผนพัฒนาภาคเหนือ กาหนดให้ภาคเหนือเป็นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์มูลค่าสูงเชื่อมโยง
เศรษฐกิจกับประเทศในกลุ่มอนุภูมิภาคลุ่มน้าโขง มียุทธศาสตร์การพัฒนาภาคเหนือใน
ด้า นการท่ องเที่ ยวที่ เน้ นพั ฒ นาการท่ องเที่ย วและธุ รกิ จบริก ารต่ อเนื่อ งให้ มีคุ ณภาพ
สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มอย่างยั่งยืน และกระจายประโยชน์อย่างทั่วถึง โดยการพัฒนา
คุณ ภาพแหล่ งท่ อ งเที่ ย ว ปรั บ ปรุ ง โครงสร้า งพื้ นฐานและสิ่ งอ านวยความสะดวกที่ มี
มาตรฐานและสอดคล้องกับกลุ่มเป้าหมาย สนับสนุนการเชื่อมโยงเส้นทางท่องเที่ยวทั้ง
ระหว่ า งแหล่ ง ท่ อ งเที่ ย วในภาคเชื่ อ มโยงกั บ ประเทศเพื่ อ นบ้ า น อาทิ เส้ น ทางสาย
วัฒนธรรม และส่งเสริมกิจกรรมท่องเที่ยวแนวใหม่เพื่อสร้างรายได้ต ลอดปี รักษาอัต
ลักษณ์ของเมือง โดยให้ความสาคัญต่อการอนุรักษ์ สืบสานประเพณี วัฒนธรรม สถาปัต
กรรมพื้นบ้าน และเมืองเก่า การส่งเสริมการเรียนรู้ของชุมชน และการสร้าง “แบรนด์”
หรือเอกลักษณ์ของเมือง รวมทั้งพัฒนาสภาพแวดล้อมเมืองศูนย์กลางของจังหวัด และ
เมืองท่องเที่ยวให้ เป็นเมืองน่าอยู่ เพื่อสนับสนุน การพัฒนาเมืองให้มีคุณค่าเอื้อต่อการ
ขยายตัวทางเศรษฐกิจและสังคมอย่างสมดุล โดยมีวัตถุประสงค์คือ 1. เพื่อกระจายความ
เจริ ญ และโอกาสทางเศรษฐกิ จ ไปสู่ ภู มิ ภ าคอย่ า งยั่ ง ยื น มากขึ้ น 2. เพื่ อ พั ฒ นาพื้ น ที่
เศรษฐกิจใหม่ให้สนับสนุนการเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน 3. เพื่อพัฒนาเมือง
ศูนย์กลางของจังหวัดเป็นเมืองน่าอยู่สาหรับคนทุกกลุ่มในสังคม เป็นต้น
ในด้านยุทธศาสตร์การพัฒนาในระยะแผนพัฒนาการท่องเที่ยวแห่งชาติ ฉบับที่
๒ (พ.ศ. 2560 – 2564) ยุทธศาสตร์ที่ ๑ การพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว สินค้า
บริการด้านการท่องเที่ยวให้เกิดความสมดุลและยั่งยืน โดยพัฒนาคุณภาพแหล่งท่องเที่ยว
สินค้าและบริการทุกรูปแบบอย่างมีมาตรฐาน พัฒนาแหล่งท่องเที่ยว สินค้าและบริการ
อย่างยั่งยืน สร้ างสมดุลในแหล่ งท่องเที่ยว สินค้าและบริการ ทั้งในเชิงพื้นที่ เชิงเวลา
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
ฤดูกาล และรูปแบบการท่องเที่ยว ยุทธศาสตร์ที่ ๒ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานและสิ่ง
อานวยความสะดวก เพื่อรองรับการขยายตัวของอุตสาหกรรมท่องเที่ยว โดยการพัฒนา
ระบบโลจิสติกส์ ด้านการท่องเที่ยว การพัฒนาสิ่งอานวยความสะดวกด้านการท่องเที่ยว
และพัฒนาระบบความปลอดภัย และสุขอนามัยในแหล่งท่องเที่ยว
จังหวัดเชียงรายมีต้นทุนทางธรรมชาติและแหล่งท่องเที่ยวที่สวยงาม ทั้งที่เป็นที่
รู้จัก และแหล่งท่องเที่ยวแห่งใหม่ในเชิงงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ และเชิงสุขภาพ ซึ่งยังมี
ความจาเป็นในการพัฒนาปรับปรุงแหล่งท่องเที่ยวให้มีความสะดวก ปลอดภัยสามารถ
เข้า ถึง ได้ทุ กช่ ว งวั ย และสามารถรองรั บนั กท่ องเที่ย วได้ ทุก ประเภท ดัง นั้น จัง หวั ด
เชียงรายจึงมีโครงการปรับปรุงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงวัฒนธรรม เชิงนิเวศ และ
เชิงสุขภาพให้มีคุณภาพเพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เพื่อปรับปรุงและพัฒนา
แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงรายให้เป็นเมืองที่มีความพร้อมในการรองรับนักท่องเที่ยว
อันจะเป็นการสร้างงานสร้างรายได้ให้แก่คนในพื้นที่จังหวัดเชียงราย และเป็นการจูงใจให้
นักท่องเที่ยวเข้ามาเยี่ยมเยือนจังหวัดเชียงรายต่อไป
๕. วัตถุประสงค์ของ 1. เพื่อเพิ่มจานวนแหล่ง/เส้นทาง ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
โครงการ 2. เพื่อปรับปรุงและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงรายให้มีคุณภาพรองรับการ
ท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
๖. ตัวชี้วัดและค่า จานวนแหล่งท่องเที่ยว/เส้นทางเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงราย ได้รับการ
เป้าหมาย พัฒนาไม่น้อยกว่า 5 แหล่ง
๗. พื้นที่เป้าหมาย พื้นที่จังหวัดเชียงราย
๘. กิจกรรมหลัก
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน และพัฒนาที่พักริมทางเพื่อรองรับการท่องเที่ยว
งบประมาณ 15,000,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 1
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๒ กิจกรรมหลักที่ ๒ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติและเชิงนิเวศเพื่อสืบสานอัตลักษณ์วัฒนธรรมล้านนา
8,097,000 บาท
งบประมาณ สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 15 (เชียงราย)
ผู้รับผิดชอบ สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๘.๓ กิจกรรมหลักที่ ๓ ป่าเพื่อนันทนาการและพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศสู่การเรียนรู้เชิงสร้างสรรค์
งบประมาณ 14,500,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 2 (เชียงราย)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๔ กิจกรรมหลักที่ ๔ ปรับปรุงถนนทางเข้าวัดเทพนิมิตสุดเขตสยาม ตาบลเวียง อาเภอเชียงของ จังหวัด
เชียงราย ระยะทาง 3.645 กิโลเมตร
งบประมาณ 6,330,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๕ กิจกรรมหลักที่ ๕ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศและเชิงกีฬาริมแม่น้าโขง บ้านหัวเวียง หมู่ที่ 1 ตาบลเวียง
อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
งบประมาณ 17,582,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๖ กิจกรรมหลักที่ ๖ พัฒนาปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก เพื่อรองรับการท่องเที่ยว
เชิงสร้างสรรค์
งบประมาณ 18,500,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๗ กิจกรรมหลักที่ ๗ ปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐาน และพัฒนาที่พักริมทางเพื่อรองรับการท่องเที่ยว
งบประมาณ 5,000,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 1
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๘ กิจกรรมหลักที่ ๘ พัฒนาและยกระดับแหล่งท่องเที่ยวทางธรรมชาติวัฒนธรรมและสร้างเศรษฐกิจชุมชน
และการพัฒนาด้านคุณภาพสิ่งแวดล้อมในพื้นที่ท่องเที่ยว
งบประมาณ 8,227,300 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 15 (เชียงราย)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๙ กิจกรรมหลักที่ ๙ พัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ
งบประมาณ 9,800,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงราย
๘.๙ กิจกรรมหลักที่ 10 กิจกรรมก่อสร้างประติมากรรม เพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยว
งบประมาณ
ผู้รับผิดชอบ 25000000 บาท
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงราย
สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๙ กิจกรรมหลักที่ การพัฒนาแหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศเพื่อรองรับการท่องเที่ยว
1๑
งบประมาณ 19,288,700 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 15 เชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๙ กิจกรรมหลักที่ พัฒนาปรับปรุงโครงสร้างพื้นฐานและสิ่งอานวยความสะดวก เพื่อรองรับการท่องเที่ยว
1๒ เชิงสร้างสรรค์
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
งบประมาณ 20,910,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๙ กิจกรรมหลักที่ ปรับปรุงภูมิทัศน์แหล่งท่องเที่ยวเชิงนิเวศกลางใจเมือง
1๓
งบประมาณ 10,000,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๙. หน่วยงานดาเนินงาน สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 1
สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 15 (เชียงราย)
สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 2 (เชียงราย)
แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย
สานักงานโยธาธิการและผังเมืองจังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ 178,235,000 บาท
๑๒. ผลผลิต (output) แหล่งท่องเที่ยว/เส้นทางเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงราย ได้รับการพัฒนาไม่
น้อยกว่า 5 แหล่ง
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ แหล่งท่องเที่ยวและเส้นทางเข้าสู่แหล่งท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงรายได้รับการปรับปรุง
(Outcome) พัฒนาให้มีคุณภาพเพื่อรองรับการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ และรองรับนักท่องเที่ยวทุก
กลุ่มทุกช่วงวัย แหล่งท่องเที่ยวงมีความปลอดภัย และเป็นการอานวยความสะดวกให้แก่
นักท่องเที่ยวรวมถึงคนในพื้นที่จังหวัดเชียงรายอีกด้วย

* หมายเหตุ
๑. กาหนดให้ใช้ฟรอนต์ TH Sarabun PSK ๑๖
๒. ตัวเลขไทย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ 1 การสร้างมูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิงสรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา
แผนงาน เพิ่มจานวนแหล่งท่องเที่ยวชุมชนเชิงสรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา

หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือข่ายการท่องเที่ยว
๒. แผนงาน เพิ่มคุณภาพมาตรฐาน และส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
๓. แนวทางการพัฒนา เพื่อสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าและ
ยั่งยืน การค้า การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชิงสร้างสรรค์ และ การส่งเสริมนวัตกรรม
สินค้าเกษตรมูลค่าสูงโดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนาและสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
๔. ความสาคัญของ อุตสาหกรรมการท่องเที่ยวสร้างงานสร้างรายได้เป็น 1 ใน 10 ของงานทั่วโลก
โครงการ หลักการและ หรื อ ประมาณ 330 ล้ า นงาน และในปี พ.ศ. 2562 มี ร ายได้ ป ระชาชาติ ข องการ
เหตุผล ท่องเที่ย วโลกเป็ นร้อยละ 10.3 ของรายได้ประชาชาติโ ลก อีกทั้งในปี พ.ศ. 2562
รายได้ป ระชาชาติ การท่องเที่ยวไทยยังเป็นร้อยละ 18.39 ของรายได้ประชาชาติทั้ง
ประเทศไทย โดยเป็นสัดส่วนทางอ้อมร้อยละ 10.54 และทางตรงร้อยละ 7.85
ภาคอุตสาหกรรมธุรกิจท่องเที่ยว เป็นธุรกิจที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์
การแพร่ระบาดของ COVID -19 โดยอุตสากรรมการท่องเที่ยวได้รั บผลกระทบมากที่สุด
และใช้ เ วลาฟื้น ธุ ร กิ จ นานกว่า อุ ต สาหกรรมประเภทอื่ น ๆ โดยการเกิ ด สถานการณ์
COVID-19 นักท่องเที่ยวต่างชาติลดลง โดยเฉพาะนักท่องเที่ยวจีน ซึ่งเป็นนักท่องเที่ยว
ตลาดใหญ่ที่สุดของประเทศไทย และในภาคเหนือ ทาให้การเดินทางท่องเที่ยวหยุดชะงัก
ตั้งแต่ปลายเดือนมกราคม 2563
โดยจากวิกฤตดังกล่าว ทาให้เกิดความเปลี่ยนแปลงเกิดขึ้นในหลากหลายรูปแบบ
โดยเฉพาะเรื่อง New Normal และ SHA อุตสาหกรรมท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงราย ทั้ง
เจ้าของธุรกิจ ผู้ประกอบการท่องเที่ยว พนักงาน และชุมชน ต้องปรับตัว เพื่อให้เข้ากับ
การเปลี่ยนแปลงจากสถานการณ์ COVID - 19 ดังนั้น จึงควรดาเนินโครงการเพื่อให้
ความรู้ ข้อเสนอแนะ เกี่ยวกับการปรับตัวเพื่อรองรับการท่องเที่ ยวแบบ New Normal
ของการท่องเที่ยวในประเทศไทย และในจังหวัดเชียงรายในประเด็นต่างๆ อาทิ ที่พัก
ร้านอาหาร แหล่งท่องเที่ยว การท่องเที่ยวชุมชนการให้ บริการท่องเที่ยว เมื่อ Social
Distancing ได้สร้างกฎเกณฑ์ใหม่ๆ สาหรับการใช้ชีวิตเพิ่มมากขึ้น รวมถึงพฤติกรรม
ทางการท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามสถานการณ์และเทคโนโลยี
ใหม่มีความเกี่ยวข้องและมีความจาเป็นในการท่องเที่ยวมากยิ่งขึ้น
ดังนั้น จึงมีความจาเป็นต้องดาเนินโครงการพัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือข่าย
การท่ อ งเที่ ย ว เพื่ อ ให้ เ กิ ด ปรั บ ตั ว และการปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบการบริ ก ารทางการ
ท่องเที่ยวต่างๆ ให้ตรงตามมาตรฐานและทิศทางการพัฒนาการท่องเที่ยวที่มุ่งเน้นความ
ยั่ งยื น ให้ กับ ผู้ ป ระกอบการและยัง คงอัต ลั กษณ์ข องการท่อ งเที่ยววิถี ชีวิ ตวัฒ นธรรม
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
ล้านนาและวิถีไทยไว้อย่างงดงาม และให้ผู้ประกอบการทางการท่องเที่ยวได้รับมาตรฐาน
ทางการท่องเที่ยวมากขึ้น
๕. วัตถุประสงค์ของ 1. เพื่อพัฒนาศักยภาพบุคลากรเครือข่ายการท่องเที่ยวจังหวัดเชียงราย
โครงการ 2. เพื่อยกระดับมาตรฐานการให้บริการทางการท่องเที่ยวของผู้ประกอบการและ
เครือข่ายด้านการท่องเที่ยวได้รับมาตรฐาน SHA เพิ่มมากขึ้น
๖. ตัวชี้วัดและค่า จานวนของสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวได้รับมาตรฐาน SHA เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า
เป้าหมาย ร้อยละ 5
๗. พื้นที่เป้าหมาย พื้นที่จังหวัดเชียงราย
๘. กิจกรรมหลัก
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ การขับเคลื่อนท่องเที่ยวชุมชนเชิงสร้างสรรค์ต้นแบบ ในบริบทแบบ New Normal ของ
จังหวัดเชียงราย
งบประมาณ 2,200,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
๘.๒ กิจกรรมหลักที่ ๒ การเสริมสร้างความเข้มแข็งภาคีเครือข่ายเพื่อเพิ่มศักยภาพด้านการท่องเที่ยว
งบประมาณ 480,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สถานีตารวจท่องเที่ยวเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๓ กิจกรรมหลักที่ ๓ การประชุมสัมมนาการพัฒนาความร่วมมือเครือข่ายการท่องเที่ยวภาคเหนือและอนุ
ภูมิภาคลุ่มน้าโขงตอนบน จังหวัดเชียงราย สู่การพัฒนาการท่องเที่ยวสร้างสรรค์อย่าง
ยั่งยืน
งบประมาณ 2,400,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
๘.๔ กิจกรรมหลักที่ ๔ การยกระดับ Wellness Tourism
งบประมาณ 1,000,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
๘.๕ กิจกรรมหลักที่ ๕ การพัฒนาผู้ประกอบการแหล่งท่องเที่ยวน้าพุร้อนในจังหวัดเชียงรายให้มีคุณภาพระดับ
สากล
งบประมาณ 3,000,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สภาอุตสาหกรรมท่องเที่ยว
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
๘.๖ กิจกรรมหลักที่ ๖ การเพิ่มศักยภาพผู้ประกอบการและแหล่งท่องเที่ยวล้านนาตะวันออก รูปแบบ
Wellness Hub GMS เพื่อรองรับการท่องเที่ยววิถีใหม่
งบประมาณ 10,000,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัด
๘.๗ กิจกรรมหลักที่ ๗ การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงกีฬาเพื่อสนับสนุนจังหวัดเชียงรายให้เป็น Sport City
งบประมาณ 800,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
๙. หน่วยงานดาเนินงาน สานักงานท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สถานีตารวจท่องเที่ยวเชียงราย
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ 19,880,000 บาท
๑๒. ผลผลิต (output) 1. มีเครือข่ายชุมชนด้านการท่องเที่ยวสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวได้รับ
มาตรฐาน SHA เพิ่มขึ้น
2. เครือข่ายชุมชนด้านการท่องเที่ยวสถานประกอบการด้านการท่องเที่ยวได้รับการ
พัฒนาศักยภาพเพิ่มขึ้น
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผู้ประกอบการและเครือข่ายชุมชนด้ านการท่องเที่ยวของจังหวัดเชียงรายเตรียมพร้อม
(Outcome) สาหรับการฟื้นตัวของอุตสาหกรรมการท่องเที่ยวหลังการระบาดของไวรัสโควิด – 19
โดยการส่งเสริมความเชื่อมั่น โดยใช้มาตรฐานความปลอดภัยด้านสุขอนามัย เน้นความ
สะอาด ปลอดภัย มีคุณภาพและมาตรฐานของการบริการ รวมถึงความรับผิดชอบต่อ
สังคม

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ 1 การสร้างมูลค่าเพิ่มด้านการท่องเที่ยวเชิงสรรค์โดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนา
แผนงาน เพิ่มคุณภาพมาตรฐาน และส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์

หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการการพัฒนากิจกรรมและการตลาดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
๒. แผนงาน เพิ่มคุณภาพมาตรฐาน และส่งเสริมการตลาดการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
๓. แนวทางการพัฒนา เพื่อสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าและ
ยั่งยืน การค้า การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชิงสร้างสรรค์ และ การส่งเสริมนวัตกรรม
สินค้าเกษตรมูลค่าสูงโดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนาและสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อม
๔. ความสาคัญของ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน มีเป้าหมายการพัฒนาที่
โครงการ หลักการและ มุ่ ง เน้ น การยกระดั บ ศั ก ยภาพของประเทศในหลากหลายมิ ติ บนพื้ น ฐานแนวคิ ด ๓
เหตุผล ประการ ได้แก่ (๑) “ต่อยอดอดีต ”โดยมองกลับไปที่รากเหง้าทางเศรษฐกิจ อัตลักษณ์
วัฒนธรรม ประเพณี วิถีชีวิต และจุดเด่นทางทรัพยากรธรรมชาติที่หลากหลาย รวมทั้ง
ความได้เปรียบเชิงเปรียบเทียบของประเทศในด้านอื่น ๆ นามาประยุกต์ผสมผสานกับ
เทคโนโลยีและนวัตกรรม เพื่อให้สอดรับกับบริบทของเศรษฐกิจและสังคมโลกสมัยใหม่
(๒) “ปรับปัจจุบัน” เพื่อปูทางสู่อนาคต ผ่านการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศใน
มิ ติ ต่ า ง ๆ ทั้ ง โครงข่ า ยระบบคมนาคมและขนส่ ง โครงสร้ า งพื้ น ฐานวิ ท ยาศาสตร์
เทคโนโลยี และดิจิทัล และการปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนาอุตสาหกรรมและ
บริ การอนาคต และ (๓) “สร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต” ด้วยการเพิ่ มศักยภาพของ
ผู้ ป ระกอบการ พัฒ นาคนรุ่นใหม่ รวมถึ งปรั บรูป แบบธุ รกิจ เพื่ อตอบสนองต่อ ความ
ต้องการของตลาด
นโยบายการท่องเที่ยวในแผนพัฒ นาเศรษฐกิจฉบับที่ 13 ได้มุ่งเน้นไปที่การ
ท่องเที่ยวเชิงคุณภาพ เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม คงไว้ซึ่งเอกลักษณ์หรืออัตลักษณ์ความเป็น
ไทย โดยพัฒนากลุ่มคลัสเตอร์ตามศักยภาพแต่ละพื้นที่ ส่งเสริมการท่องเที่ยวตามความ
ต้องการของตลาด เช่น การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ การท่องเที่ยวเชิงเกษตร การท่องเที่ยว
เชิงศิลปะและวัฒนธรรม การท่องเที่ยวโดยชุมชน เป็นต้น
จั งหวัดเชียงรายเป็นจังหวัดที่มีทรัพยากรทางธรรมชาติและต้นทุน ทางการ
ท่องเที่ย วที่ อุดมสมบูรณ์ มี กิจกรรมทางการท่ องเที่ย วที่มี ความหลากหลายรวมทั้ง มี
หลากหลายชาติพันธุ์ที่อาศัยอยู่ร่วมกัน นอกจากนี้จังหวัดเชียงรายยังได้มุ่งให้เป็นเมือง
แห่งการออกแบบ (City of Design) เนื่องจากเชียงราย มีอัตลักษณ์ที่โดดเด่น มีศิล ปิน
ล้ า นนาจ านวนมาก มี ก ารสร้ า งสรรค์ ท างศิ ล ปะที่ สื บ ทอดกั น มา ทั้ ง จิ ต รกรรม
ประติมากรรมและสถาปั ตยกรรม ที่บ่งบอกถึงภู มิปัญญาและวัฒ นธรรมทางท้องถิ่ น
นอกจากนั้น ยังมีความสาคัญทางด้านประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม
ดั ง นั้ น จั ง หวั ด เชี ย งรายจึ ง เห็ น ควรด าเนิ น โครงการพั ฒ นากิ จ กรรมและ
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
การตลาดเพื่อส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ เพื่อสร้างโอกาสและช่องทางส่งเสริม
การตลาดและการประชาสั ม พัน ธ์ด้ า นการท่อ งเที่ ยว ทั้ งแหล่ ง ท่อ งเที่ย วหลั ก แหล่ ง
ท่องเที่ยวรองเชื่อมโยงภายในจังหวัด สู่การเชื่อมโยงการท่องเที่ยวระดับ ภูมิภาค หรือ
นานาชาติ โดยการรองรับกระแส (Trend) การท่องเที่ยวของนักท่องเที่ยวให้สอดคล้อง
กับสภาวการณ์การท่องเที่ยววิถีใหม่ในปัจจุบัน
๕. วัตถุประสงค์ของ 1. เพื่อพัฒนาและการเพิ่มมูลค่าการตลาดและการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิง
โครงการ สร้างสรรค์ของจังหวัดเชียงราย
2. เพื่อเป็นการส่งเสริม สนับสนุน อนุรักษ์ และเผยแพร่ภูมิปัญญา ประเพณีและกิจกรรม
การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ของจังหวัดเชียงราย
๖. ตัวชี้วัดและค่า จานวนของกิจกรรมที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5 กิจกรรม
เป้าหมาย
๗. พื้นที่เป้าหมาย พื้นที่จังหวัดเชียงราย
๘. กิจกรรมหลัก
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ การพัฒนาสินค้าและบริการด้วยนวัตกรรมการออกแบบบริการ เพื่อต่อยอดทุนทาง
วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้องถิ่นด้านการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ จังหวัดเชียงราย
งบประมาณ 2,000,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ พัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
๘.๒ กิจกรรมหลักที่ ๒ การพัฒนาทุนทางวัฒนธรรมของจังหวัดเชียงรายสู่เครือข่ายเมืองสร้างสรรค์ Creative
City
งบประมาณ 2,500,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๓ กิจกรรมหลักที่ ๓ สืบสานประเพณีนมัสการและสรงน้าพระธาตุดอยตุง ประจาปี 2566
งบประมาณ 800,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๔ กิจกรรมหลักที่ ๔ การอนุรักษ์และสืบสานวัฒนธรรมประเพณีศิลปะวิถีชีวิตล้านนาอย่างสร้างสรรค์
งบประมาณ 300,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 15 (เชียงราย)
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๘.๕ กิจกรรมหลักที่ ๕ การส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงกีฬาเพื่อสนับสนุนจังหวัดเชียงรายให้เป็น Sport City
งบประมาณ 1,200,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
๘.๖ กิจกรรมหลักที่ ๖ การส่งเสริมและประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ จังหวัดเชียงราย
งบประมาณ 1,800,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
๙. หน่วยงานดาเนินงาน พัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย
สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่ 15 (เชียงราย)
สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
สถานีวิทยุกระจายเสียงแห่งประเทศไทยจังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ 8,600,000 บาท
๑๒. ผลผลิต (output) 1. มีกิจกรรมที่ส่งเสริมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์เพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่า 5 กิจกรรม
2. มีผู้เข้าร่วมกิจกรรมและสร้างการรับรู้ไม่น้อยกว่า 10,000 คน
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกิดการส่งเสริมตลาดและการประชาสัมพันธ์การท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์
(Outcome) 2. การท่องเที่ยวจังหวัดเชียงรายฤดูการท่องเที่ยวได้ตลอดทั้งปี มีกิจกรรมการท่องเที่ยว
ทางเลือก สู่กลุ่มเป้าหมายให้มากยิ่งขึ้น
3. อัตลักษณ์ทางวัฒนธรรม ท้องถิ่นได้รับการกระตุ้น ฟื้นฟู อนุรักษ์ ศิลปะ
4. เกิดรายได้จากการท่องเที่ยว และกระจายรายได้สู่ชุมชนอย่างยั่งยืน

* หมายเหตุ
๑. กาหนดให้ใช้ฟรอนต์ TH Sarabun PSK ๑๖
๒. ตัวเลขไทย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ 2
การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินค้าเกษตรเชิงสร้างสรรค์
ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน

1. โครงการสร้างเสริมการใช้นวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเชิงสร้างสรรค์
2. โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและสร้างเครือข่ายการผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพ
อาหารปลอดภัยอย่างสร้างสรรค์
3. โครงการเชียงรายเมืองเกษตรมูลค่าสูง (ชา กาแฟ และสมุนไพร)
แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ ๒ การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินค้าเกษตรเชิง
สร้างสรรค์ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนงาน ส่งเสริมและยกระดับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่เกษตรมูลค่าสูงเชิงสร้างสรรค์
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการสร้างเสริมการใช้นวัตกรรมเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มผลผลิตทางการเกษตรเชิง
สร้างสรรค์
๒. แผนงาน ส่งเสริมและยกระดับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่เกษตรมูลค่าสูงเชิงสร้างสรรค์
๓. แนวทางการพัฒนา . เพื่อสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าและ
ยั่งยืน การค้า การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชิงสร้างสรรค์ และ การส่งเสริมนวัตกรรม
สินค้าเกษตรมูลค่าสูงโดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนาและสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
๔. ความสาคัญของ จังหวัดเชียงรายมียุทธศาสตร์ การพัฒนาด้านการเกษตร โดยการส่งเสริมการ
โครงการ หลักการและ ผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพ มาตฐานสากล และเป็นมิต รกับสิ่งแวดล้อม เพื่อให้เป็นเมือง
เหตุผล เกษตรกรรมอย่างยั่งยืน การยกระดับศักยภาพเกษตรกรรุ่นใหม่ ให้เป็นเกษตรกรต้นแบบ
ที่สามารถดาเนินกิจกรรมและประกอบธุรกิจด้านการเกษตรที่เข้มแข็ง พึ่งพาตัวเองได้
เน้นการบริหารจัดการและเทคโนโลยีการเกษตร มีการใช้วิทยาการ ความคิดสร้างสรรค์
นวั ต กรรม วิ ท ยาศาสตร์ การวิ จั บ และพั ฒ นา เพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต และ
การตลาด จนเป็นเกษตรกรมือ อาชีพที่ เป็นผู้ น าทางการเกษตรในท้อ งถิ่น และสร้า ง
เครือข่ายความร่วมมือในทุกระดับ ขับเคลื่อนงานส่งเสริมการเกษตรและองค์กรเกษตรกร
ให้ มีค วามเข้มแข็ง ดาเนิ นกิจ กรรมที่เกี่ ยวข้ องกับ การเกษตรได้ อย่า งมีประสิ ท ธิภ าพ
นาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ปัจจุบันเกษตรกรจังหวัดเชียงราย ยังประสบปัญหาและ
ความท้าทายนานัปการ เช่น ปัญหาสินค้าเกษตรไม่ได้คุณภาพ ผลผลิตล้นตลาด ปัญหา
การระบาดของโรคและแมลง ทาให้มีการใช้สารเคมีในภาคการเกษตรมากขึ้น ส่งผลให้
ต้นทุนการผลิตสูง ขาดการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการแปรรูปและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ บรรจุภัณฑ์ เพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มและการขายสินค้าเชิงสร้างสรรค์ที่มีมูลค่าสูง
การรวมกลุ่มของเกษตรกรและสร้างเครือข่ายที่เข้มแข็งยังมีน้อย และขาดองค์ความรู้ใน
การบริหารจัดการ ปัญหาการเปลี่ยนแปลงสัดส่วนโครงสร้างประชากรที่กาลังเข้าสู่สังคม
ผู้สูงอายุ และความท้าทายจากภายนอก เช่น การเปลี่ยนแปลงของสภาพภูมิอากาศ การ
กีดกันทางการค้าที่รุนแรงขึ้น การเปิดเสรีการค้าสินค้าเกษตร และความเปลี่ยนแปลงของ
ตลาดโลก ปั ญหาต่า ง ๆ ข้างต้น ส่ งผลกระทบต่อความสามารถในการแข่งขัน ความ
ยากจนของเกษตรกรรายย่อย และนาไปสู่ปัญหาความเหลื่อมล้าด้านรายได้ในที่สุด จึง
จาเป็นต้องรีบเร่งรัดส่งเสริมและพัฒนาให้เกิดการรวมกลุ่มเกษตรกร การส่งเสริมและ
ยกระดั บ กลุ่ มเกษตรกร ทั้ง ในด้ านการบริ ห ารจัด การกลุ่ ม การผลิ ตสิ นค้ าเกษตรที่ มี
ศักยภาพ/สร้ างสรรค์ การผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพ ปลอดภัย ได้มาตรฐาน การเพิ่ม
มูลค่าสินค้าเกษตร การพัฒนาระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถ
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
การแข่งขันและทันต่อสถานการณ์ รวมถึงสอดคล้องกับความต้องการของผู้บริโภค ทาให้
กลุ่มเกษตรกรมีความเข้มแข็ง นาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน ไม่ว่าจะเป็นการส่งเสริมให้
วิสาหกิจชุมชนสามารถนาวัตถุดิบ ทรัพยากร หรือภูมิปัญญาของชุมชนมาใช้ให้เหมาะสม
กับกิจการวิสาหกิจชุมชนและสภาพท้องถิ่น นั้น ๆ ซึ่งผลิตภัณฑ์วิสาหกิจชุมชนที่ดีต้อง
เป็น Smart Product ซึ่งมีคุณภาพมาตรฐานที่ปลอดภัย ต่อผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม
ตอบสนองต่อความต้องการของผู้บริโภค และมีศักยภาพในการแข่งขันทางการตลาดทั้ง
ในประเทศและต่างประเทศ ดังนั้น ในการส่งเสริมวิสาหกิจชุมชนจึงจาเป็นต้องพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ให้มีคุณภาพได้มาตรฐานการผลิตและผลิตภัณฑ์เป็นที่เชื่อถือของผู้บริโภค มี
การออกแบบผลิตภัณฑ์และบรรจุภัณฑ์ที่ทันสมัยตรงตามความต้องการของตลาด รวมถึง
ต้องมีการส่งเสริมกิจกรรมด้านการประชาสัมพันธ์เพื่อพัฒนาสู่การแข่งขัน และพัฒนา
วิสาหกิจชุมชนต้นแบบ (Smart Group) เพื่อเป็นแหล่งเรียนรู้แก่องค์กรเกษตรกร
เกษตรกร และผู้สนใจทั่วไป ซึ่งจะมีส่วนช่วยในการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับภาคการเกษตร
และสร้างความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน ให้กับวิสาหกิจชุมชนในจังหวัดเชียงรายและประเทศ
ไทย เพื่อส่งเสริมและยกระดับศักยภาพกลุ่มเกษตรกรรุ่นใหม่ Smart Farmer ให้เป็น
กลุ่ ม เกษตรกรต้ น แบบในลั ก ษณะของการเกษตรเชิ ง สร้ า งสรรค์ และยกระดั บ กลุ่ ม
วิสาหกิจชุมชนต้นแบบต่อไป
ในขณะเดี ย วกั น การน านวั ต กรรมเพื่ อ เพิ่ ม ประสิ ท ธิ ภ าพการผลิ ต สิ น ค้ า
การเกษตรนับเป็นเรื่องที่สาคัญ ด้วยจังหวัดเชียงรายมีเกษตรกรที่เลี้ยงปลานิลจานวน
มาก แต่ด้วยปัญหาต้นทุนที่ผู้เลี้ยงปลานิลเกิดภาวะขาดทุนโดยทันที คือต้นทุนที่เกิดจาก
ปัญหา“ปลาน็อคน้า” เนื่องจากสภาพภูมิอากาศแปรปรวน ส่งผลให้ปลาปรับอุณหภูมิใน
ร่างกายไม่ทัน อีกทั้งหากเกิดสภาวะมืดครึ้ม ไม่มีแดด ซึ่งพืชและสาหร่ายในบ่อไม่สามารถ
สังเคราะห์แสงได้ทาให้ปริมาณออกซิเจนที่ละลายในน้า (Dissolved oxygen, DO) มีไม่
เพียงพอต่อความต้องการของปลา (ปริมาณ DO ที่พอเหมาะต่อการดารงชีวิตของปลาคือ
๓-๔ mg/L) ทาให้เกิดปรากฏการณ์ปลาตายเป็นจานวนมากโดยเฉพาะเวลากลางคืนถึง
ตอนเช้ามืดหรือช่วงที่มีอากาศร้อนจัดและมีฝนตกตามลงมา ดังนั้น การยกระดับการเลี้ยง
ปลานิ ล ในเขตพื้น ที่เชี ยงรายเพื่อ ให้ ไ ด้คุณ ภาพและสามารถแข่ งขัน ได้ใ นตลาดสากล
เกษตรกรผู้เลี้ยงปลานิลจาเป็นต้องมีองค์ความรู้ในด้านการบริหารจัดการคุณภาพน้าและ
ใช้เทคโนโลยี แ ละนวั ตกรรมในการปรับตั ว เข้า กับสภาวะภูมิอ ากาศที่แปรปรวนและ
สามารถวิเคราะห์ภาพรวมการวางแผนการตลาดล่วงหน้าในอนาคตเพื่อเชื่อมโยงตลาด
และการวางแผนการผลิตเพื่อการพัฒนาในทิศทางเดียวกัน ดังนั้นการร่วมมือระหว่าง
สถาบันการศึกษา หน่วยงานของรัฐ องค์การบริหารส่วนท้องถิ่นและภาคประชาชนจึง
เป็นสิ่งสาคัญ คณะทางานมีประสบการณ์การทางานบริการวิชาการและการวิจัยในพื้นที่
เป็นระยะเวลา ๔ ปี ได้เล็งเห็นความสาคัญของการสร้างศูนย์การเรียนรู้การยกระดับการ
เลี้ยงปลานิลโดยใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรม โดยให้ตาบลสันกลาง อาเภอพาน จังหวัด
เชียงราย (ชุมชนที่เลี้ยงปลานิลมากที่สุดในอาเภอพาน โดยมีเกษตรผู้เลี้ยงปลานิลจานวน
๒๘๗ ราย บนพื้ น ที่ ๑,๘๔๘ ไร่ ) เป็ น ชุ ม ชนต้ น แบบในการเพาะเลี้ ย งปลานิ ล ที่ ไ ด้
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
มาตรฐานและเป็นสถานที่ในการถ่ายทอดเทคโนโลยี โดยมีมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลล้านนา เชียงรายเป็นสถาบันการศึกษาในการถ่ายทอดเทคโนโลยีและออกแบบ
เทคโนโลยี แ ละนวั ต กรรมต่ า ง ๆ ที่ ส ามารถผลิ ต ได้ ใ นประเทศไทยเพื่ อ ให้ มี ร าคาที่
เกษตรกรและผู้ประกอบการสามารถเข้าถึงได้และเป็นการสร้างอาชีพใหม่ให้กับชุมชน
และยกระดับเศรษฐกิจฐานรากเพื่อแก้ไขปัญหาความยากจน
๕. วัตถุประสงค์ของ 1. เพื่อส่งเสริมและยกระดับศักยภาพกลุ่มเกษตรกรรุ่นใหม่ Smart Farmer และกลุ่ม
โครงการ วิสาหกิจชุมชนเพื่อเป็นกลุ่มต้นแบบในการทาการเกษตรเชิงสร้างสรรค์
2. เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าการเกษตรด้วยการสร้างนวัตกรรมเพาะเลี้ยงสัตว์
น้าด้วยระบบ IoT และเกษตรอัฉริยะ
๖. ตัวชี้วัดและค่า 1. การเพิ่มจานวนนวัตกรรมสินค้าเกษตรเชิงสร้างสรรค์ อย่างน้อย 7 นวัตกรรม
เป้าหมาย
๗. พื้นที่เป้าหมาย 1. ตาบลห้วยไคร้ อาเภอแม่สาย และตาบลเวียง อาเภอเทิง จังหวัดเชียงราย
2. เกษตรกรจังหวัดเชียงราย 18 อาเภอ ที่ขึ้นทะเบียนกับกรมส่งเสริมการเกษตรและ/
หรือเคยได้เข้าร่วมกิจกรรมของ Young Smart Farmer และ Smart Farmer ของ
จังหวัดเชียงราย
3. ตาบลแม่สรวย อาเภอแม่สรวย จังหวัดเชียงราย
4. พื้นที่อาเภอ ๑๘ อาเภอ ในจังหวัดเชียงราย
๘. กิจกรรมหลัก
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ กิจกรรมหลักที่ 1 การส่งเสริมกิจกรรมต้นแบบเพื่อมุ่งเน้นการทาเกษตรเชิงสร้างสรรค์
งบประมาณ งบประมาณ 3,826,900 บาท
ผู้รับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบ สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ล้านนา มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
๘.๒ กิจกรรมหลักที่ ๒ กิจกรรมหลักที่ 1 การนานวัตกรรมเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสินค้าการเกษตร
งบประมาณ งบประมาณ 2,500,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบ สานักงานประมงจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานประมงจังหวัดเชียงราย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราช
มงคลล้านนา
๙. หน่วยงานดาเนินงาน 1. สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
ผู้รับผิดชอบ: นายนาวิน อินทจักร
ตาแหน่ง: เกษตรจังหวัดเชียงราย
สถานที่ติดต่อ : สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
โทรศัพท์: ๐๕๓ 152684
2. ศูนย์ความป็นเลิศทางด้านการวิจัยเชื้อรา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
๑) ผู้รับผิดชอบ: ศาสตราจารย์เกียรติคุณ ดร. เควิน เดวิด ไฮด์
ตาแหน่ง: หัวหน้าศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านการวิจัยเชื้อรา
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
สถานที่ติดต่อ: ศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านการวิจัยเชื้อรา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้า
หลวง
โทรศัพท์: ๐๕๓ ๙๑๖๙๖๑
๒) ผู้รับผิดชอบ: อาจารย์ ดร. นริษฎา ทองกลาง
ตาแหน่ง: หัวหน้าฝ่ายบริหารทั่วไปและวิจัยประยุกต์
สถานที่ติดต่อ : ศูนย์ความเป็นเลิศทางด้านการวิจัยเชื้อรา มหาวิทยาลัยแม่ฟ้า
หลวง
โทรศัพท์: ๐๕๓ ๙๑๖๙๖๖
3. มหาวิทยาลัยราชมงคลล้านนา เชียงราย
4. สานักงานประมงจังหวัดเชียงราย
5. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
6. องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ 6,326,900
๑๒. ผลผลิต (output) 1. วิสาหกิจชุมชนได้รับการส่งเสริม/ถ่ายทอดเทคโนโลยี การบริหารจัดการกลุ่ม การผลิต
สินค้าเกษตรคุณภาพ ปลอดภัย ได้มาตรฐาน การแปรรูปและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร
ระบบโลจิสติกส์และโซ่อุปทาน
2. วิสาหกิจชุมชนสามารถผลิตสินค้าได้ตรงตามความต้องการของตลาด ทั้งด้านปริมาณ
และคุณภาพ
3. จานวนเกษตรกรเป้าหมายได้รับความรู้และทักษะในการทาเกษตรเชิงสร้างสรรค์ (เชื้อ
ราเพื่อการเกษตร)
4. ร้อยละของเกษตรกรที่นาความรู้และทักษะในการเพิ่มรายได้และลดค่าใช้จ่ายจากการ
ประกอบอาชีพเกษตร
5. จานวนช่องทางการเผยแพร่เพื่อขยายผลสู่เชิงพื้นที่ (18 อาเภอ)
6. วิสาหกิจชุมชนต้นแบบได้รับถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตสินค้าชนิดใหม่
7. วิสาหกิจชุมชน สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตทางการเกษตรของสมาชิกและ
คนในชุมชน และได้รับการพัฒนาบรรจุภัณฑ์ที่สวยงาม เหมาะสม สามารถเก็บรักษา
คุณภาพ และเพิ่มมูลค่าให้กับสินค้าได้
8. มีระบบเฝ้าระวังปลาน๊อคแบบออนไลน์ ๑ ระบบ
9. เกษตรกรได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีจานวน ๑๒๐ คน
10. มีต้นแบบนวัตกรรมการเลี้ยงสัตว์น้าด้วยความหนาแน่นสูง ๓ ระบบ และต้นแบบ
การบริหารจัดการการกู้ชีพสัตว์น้าที่มีประสิทธิภาพสูง จานวน ๑ สถานี
11. มี Big data ผลผลิตปลานิล ๑ กลุ่มเป้าหมาย
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลลัพธ์ (Outcome)
(Outcome) เชิงปริมาณ
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
1. วิสาหกิจชุมชนได้รับการพัฒนา จานวน 2 กลุ่ม
2. เกษตรกร อย่างน้อย จานวน 150 คน มีความรู้และทักษะในการทาเกษตรเชิง
สร้างสรรค์ (เชื้อราเพื่อการเกษตร)
3. สินค้าเกษตรมีมูลค่าเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3
4. มีการเผยแพร่องค์ความรู้การทาเกษตรเชิงสร้างสรรค์ สู่ 18 อาเภอ อย่างน้อย
1 ช่องทาง
5. วิสาหกิจชุมชนได้รับการพัฒนาให้เป็นต้นแบบ จานวน 1 กลุ่ม
6. สามารถลดความสู ญ เสี ย ทางด้ า นเศรษฐกิ จ จากการเลี้ ย งลดลงร้ อ ยละ ๘๐
(ภายในปี ๒๕๖๖)
7. สามารถเพิ่ม ประสิ ท ธิภ าพในการผลิ ต ได้ ไม่น้ อ ยกว่า ร้อ ยละ ๓๐ (ภายในปี
๒๕๖๗)
8. เพิ่มมูลค่าสัตว์น้า ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ (ภายในปี ๒๕๖๘)
9. เกิดผลิตภัณฑ์สัตว์น้ามูลค่าสูง (ภายในปี ๒๕๖๙)
10. เกิดระบบบริหารจัดการตลาดสัตว์น้าของจังหวัดเชียงรายตลอดห่วงโซ่อุปทาน
(ภายในปี ๒๕๗๐)
11. เกษตรกรมีทางออกสาหรับการแก้ปัญหาน็อคน้าของสัตว์น้าที่ชัดเจนเป็นระบบ
และมั่นใจได้เชิงวิชาการและเชิงปฏิบัติการ
เชิงคุณภาพ
1. วิสาหกิจชุมชนมีความเข้มแข็ง เกษตรกรได้รับการพัฒนาและเรียนรู้ ตั้งแต่การ
บริหารจัดการกลุ่ม การผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพ ปลอดภัย ได้มาตรฐาน การ
แปรรูป/เพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตร การจัดการโลจิสติกส์ และเชื่อมโยงโซ่อุปทาน
นาไปสู่การพัฒนาอย่างยั่งยืน
2. เกษตรกรมี ค วามรู้ แ ละทั ก ษะในการท าเกษตรเชิ ง สร้ า งสรรค์ (เชื้ อ ราเพื่ อ
การเกษตร) จานวน 2 หลักสูตร ประกอบด้วยหลักสูตรเชื้อราสร้างรายได้ (เห็ด
ทาน้อยได้มาก) และหลักสูตร เชื้อราลดต้นทุนการผลิต (การป้องกันโรคพืชที่เกิด
จากเชื้อรา) และสามารถผลิตสินค้าเกษตรให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ลด
ต้นทุนการผลิต และทาให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
3. วิสาหกิจชุมชนมีความเข้มแข็ง เกษตรกรได้รับการพัฒนาและเรียนรู้ ในเรื่องการ
ผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพ ปลอดภัย ได้มาตรฐาน การแปรรูป/เพิ่มมูลค่าสินค้า
เกษตร
4. ผลิตภัณฑ์มวลรวมของจังหวัดเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ ๑๐ (มั่งคั่ง)
5. เกิดต้นแบบการนาเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาใช้เพิ่มประสิทธิภาพการผลิตสัตว์
น้า (มั่นคง)
6. เกิดการนาต้นแบบไปประยุกต์ใช้ในวงกว้างของกลุ่มเกษตรกรผู้ เลี้ ยงสัต ว์น้า
(ยั่งยืน)
7. เกษตรกรมีความสามารถพึ่งพาตนเองและมีการร่วมกลุ่มการผลิต (สังคมเป็น
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
ธรรม)
8. ผู้บริโภคได้บริโภคผลิตภัณฑ์สัตว์น้าคุณค่าสูง (ประชาชนมีความสุข)

* หมายเหตุ
๑. กาหนดให้ใช้ฟรอนต์ TH Sarabun PSK ๑๖
๒. ตัวเลขไทย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ ๒ การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินค้าเกษตรเชิง
สร้างสรรค์ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนงาน ส่งเสริมและยกระดับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่เกษตรมูลค่าสูงเชิงสร้างสรรค์
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาศักยภาพการผลิตและสร้างเครือข่ายการผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพ
อาหารปลอดภัยอย่างสร้างสรรค์
๒. แผนงาน ส่งเสริมและยกระดับผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่เกษตรมูลค่าสูงเชิงสร้างสรรค์
๓. แนวทางการพัฒนา เพื่อสร้ างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าและ
ยั่งยืน การค้า การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชิงสร้างสรรค์ และ การส่งเสริมนวัตกรรม
สินค้าเกษตรมูลค่าสูงโดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนาและสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
๔. ความสาคัญของ จังหวัดเชียงราย มีประชากรทั้งสิ้น 1,298,304 คน ทาการเกษตร 327,118
โครงการ หลักการและ คน คิดเป็นร้อยละ 53.52 และมีพื้นที่การเกษตร จานวน 3,536,634 ไร่ คิดเป็นร้อย
เหตุผล ละ 48.45 ของพื้นที่จังหวัดเชียงราย มีพื้นที่ที่ได้รับการรับรองมาตรฐานกระบวนการ
ผลิตที่ปลอดภัย จานวน 63,433.77 ไร่ไร่ มีพื้นที่เกษตรอินทรีย์ 12,668 ไร่ รวม
พื้นที่เกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ จานวน 76,101.77 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 3.95
ของพื้นที่เกษตรในจังหวัด (สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงราย, 2562)
รัฐบาลไทยมุ่งเน้นการส่งเสริมการเกษตรอินทรีย์มาตั้งแต่ปี พ.ศ.2554 โดยเน้นการผลิต
ที่ไม่ใช้สารเคมี หรือใช้ในระดับที่ปลอดภัย รวมทั้งตรวจสอบและเฝ้าระวังการใช้สารเคมีที่
เป็นอันตรายต่อผู้บริโภคในการเลี้ยงสัตว์ เพื่อลดความเสี่ยงต่อสุขภาพของประชาชนอัน
เนื่องมาจากสารเคมีทางการเกษตร อย่างไรก็ตามพบว่าพฤติกรรมและวิถีทาการเกษตร
ของเกษตรกรเปลี่ยนแปลงไป โดยเน้นความสะดวกและรวดเร็ว และลดต้นทุน ทาให้
เกษตรกรใช้สารเคมีที่มีราคาถูกมาใช้ โดยไม่คานึงถึงผู้บริโภคและสิ่งแวดล้อม
ผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชนที่เกิดจากการใช้สารเคมีทางการเกษตร มี
สาเหตุมาจากการตกค้างในผลผลิตทางการเกษตร การตกค้างในสิ่งแวดล้อม และจาก
การถ่ายทอดและสะสมในห่วงโซ่อาหาร ซึ่งในที่สุดก็ได้ก่อให้เกิดผลกระทบต่อสุขภาพ
ของประชาชน ทั้งที่เป็นผู้ใช้สารเคมี ผู้บริโภค และผู้เกี่ยวข้องในวงจรการใช้สารเคมี ซึ่ง
ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม ได้
ศึกษาผลกระทบจากสารเคมีกาจัดศัตรูพืชในจังหวัดเชียงราย พบว่า ผลการวิเคราะห์สาร
กาจัดศัตรูพืชตกค้างในตัว อย่างดิน น้าและพืช มีสารตกค้างจานวน 11 ชนิด มีกลุ่ ม
นักศึกษาซึ่งมีแนวโน้มการได้รับสารสู่ร่างกายมากที่สุด และเมื่อประเมินความเสี่ยงพบว่า
ประชากรในจังหวัดเชียงรายเกินครึ่งหนึ่งของจังหวัดเชียงราย มีความเสี่ยงที่จะประสบ
ปัญหาสุขภาพ (ศูนย์วิจัยและฝึกอบรมด้านสิ่งแวดล้อม, 2559) ซึ่งสอดคล้องกับการ
ตรวจพบสารฆ่าแมลงโคลีนเอสเตอร์เลสในเลือดของประชาชนอาเภอเวียงแก่น ปี 2562
จานวน 2,553 คน อยู่ในระดับเสี่ยงและไม่ปลอดภัยมากถึงร้อยละ 59.97 โดยเฉพาะ
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
ผลการตรวจเลือดของเด็กนักเรียนตั้งแต่ ป.4-ม.3 โรงเรียนปอวิทยา ตาบลปอ อาเภอ
เวีย งแก่น จ านวน 211 คน พบว่ าอยู่ในระดับเสี่ ยงและไม่ปลอดภัยร้อยละ 74.88
(คณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) อาเภอเวียงแก่น, 2562)
จังหวัดเชียงรายก็ได้กาหนดวิสัยทัศน์จังหวัดเชียงรายให้เป็น “เชียงรายเมือง
ท่องเที่ยวสร้างสรรค์ สะอาด ปลอดภัย น่ายล” ในร่างแผนพัฒนาจังหวัดเชียงราย 5 ปี
(พ.ศ.2566-2570) ซึ่งเป็นนโยบายที่ให้จังหวัดเชียงรายมีความปลอดภัยในด้านความ
มั่นคงและการบริโภคอาหารที่ปลอดภัย แม้ว่าจังหวัดเชียงรายมีการส่งเสริมให้เกษตรกร
ผลิ ต สิ น ค้ า เกษตรปลอดภั ย ทั้ ง ด้ า นพื ช ปศุ สั ต ว์ และประมง ส่ ง เสริ ม ให้ มี เ ครื อ ข่ า ย
เกษตรกรผู้ ผ ลิ ตสิ นค้าเกษตรปลอดภั ย เช่ น เครือข่ายเกษตรกรผลิ ตพืช ผั กปลอดภั ย
เครือข่ายเกษตรกรยางพารา เกษตรกรเครือข่ายโคเนื้อล้านนา และเกษตรกรเครือข่ายผู้
เลี้ยงปลานิล เป็นต้น ซึ่งเครือข่ายเกษตรกรเหล่านี้มีการพัฒนาตัวเองเข้าสู่ระบบการผลิต
จนได้รับรองมาตรฐานปลอดภัยและอินทรีย์ แต่ยังประสบปัญหาจาหน่ายสินค้าได้ราคา
ตามสินค้าเกษตรเคมีทั่วไป ในขณะที่การผลิตแบบปลอดภัยมีกระบวนการที่ยุ่งยากกว่า
จึงมีความต้องการให้ผลผลิตคุณภาพเหล่านั้นมีมูลค่าที่สูงขึ้น ทั้งที่จังหวัดเชียงรายมีตลาด
สินค้าเกษตรปลอดภัยหลายแห่ง แต่การบริโภคสินค้าเกษตรปลอดภัย ยังมีอยู่ในวงจากัด
ผู้บริโภคยังขาดความตระหนักการเลือกบริโภคอาหารที่ปลอดภัย มีผลให้พื้นที่การผลิต
สินค้าเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ของจังหวัดเชียงรายมีเพียงร้อยละ 3.05 ของ
พื้นที่เกษตรทั้งจังหวัด ตลอดจนสินค้าเกษตรยังขาดการพัฒนาต่อยอดหรือแปรรูปโดยใช้
เทคโนโลยีและนวัตกรรมมาเพิ่ มมูลค่า สินค้าขาดคุณภาพและมาตรฐานไม่สอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้บริโภค ทาให้ผลิตผลและสินค้าทางการเกษตรของไทยเกิดคุณค่าทาง
เศรษฐกิจน้ อย จึงควรจัดทาโครงการพัฒ นาศักยภาพการผลิ ต สร้างมูลค่าเพิ่ม สร้าง
เครือข่ายการผลิตและบริโภคสินค้าเกษตรคุณภาพอาหารปลอดภัยจังหวัดเชียงรายอย่าง
ยั่งยืน เพื่อนาไปสู่การผลิตอย่างถูกต้องเหมาะสมเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม พัฒนายกระดับ
แปรรูปและเพิ่มมูลค่าผลิตภัณฑ์แปรรูป สื่อสารและช่องทางการตลาดใหม่ๆ เฝ้าระวัง
และสร้ างเครือข่ายการผลิ ตและการบริโภค ตลอดจนสร้างความตระหนักให้เกิดการ
บริโภคสินค้าเกษตรและอาหารที่ปลอดภัย เพื่อลดผลกระทบต่อสุขภาพของประชาชน
ชาวเชียงราย และสร้างขวัญและกาลังใจให้เกษตรกรผลิตสินค้าเกษตรคุณภาพมีความ
ปลอดภัย และดาเนินโครงการพัฒนาและส่งเสริมการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมทาง
การเกษตรขึ้น อันจะส่งผลให้เกิดการบริหารจัดการข้อมูลของทุกภาคส่วนที่ เกี่ยวข้อง มี
ระบบฐานข้อมูลที่เป็นเอกภาพสามารถใช้ร่วมกันได้ ซึ่งจะนามาซึ่งการพัฒนาอย่างเป็น
ทิศทางเดียวกัน
ทั้งนี้ ต้องเร่งรัดการพัฒนาศักยภาพของเกษตรกรและสินค้าเกษตรที่สาคัญของ
จังหวัดเชียงราย ทั้งด้านการพัฒนาการผลิต การตลาด เพื่อให้จังหวัดเชียงรายเป็นแหล่ง
ผลิ ต สิ น ค้ า เกษตรที่ ไ ด้ ม าตรฐาน เพื่ อ เพิ่ ม ขี ด ความสามารถในการแข่ ง ขั น ทั น ต่ อ
สถานการณ์ และให้ ส อดรั บ กั บ ความต้ อ งการของผู้ บ ริ โ ภคทั้ ง ในและต่ า งประเทศ
โดยเฉพาะเรื่องการบริหารจัดการสินค้าเกษตร และความมั่นคงด้านอาหาร การสร้าง
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
มูลค่าเพิ่มด้วยนวัตกรรมและความคิดสร้างสรรค์ การพัฒนาการสื่อสารและช่องทาง
การตลาดใหม่ๆ เพื่อให้สามารถกระจายผลผลิตสินค้าเกษตรที่สาคัญของจังหวัดเชียงราย
ได้อย่างทั่วถึง และลดปัญหาผลผลิตล้นตลาด ซึ่งจะส่งผลต่อราคาสินค้าทางการเกษตร
การพัฒนาด้านการผลิตให้ครบถ้วนตามห่วงโซ่อุปสงค์ อุปทานการสร้างเอกลักษณ์แ ละ
มาตรฐานของสิ น ค้ า เพื่ อ การพั ฒ นาตราสิ น ค้ า ซึ่ ง จะเป็ น การสร้ า งความมั่ น ใจให้ กั บ
ผู้บริโภค ตลอดจนการปรับปรุงพัฒนาสินค้าเกษตรที่มีปัญหาเพื่อช่วยเหลือเกษตรกรให้มี
รายได้เพิ่มขึ้น ซึ่งจะสามารถสร้างมูลค่าทางเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงรายได้อย่างยั่งยืน
๕. วัตถุประสงค์ของ 1. เพื่อยกระดับการผลิตข้าวสู่มาตรฐานอาหารปลอดภัย
โครงการ 2. เพื่อส่งเสริมและยกระดับศักยภาพกลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกไม้ผลครบวงจร
3. เพื่อพัฒนาศักยภาพการผลิตและสร้างเครือข่ายการเลี้ยงโคเนื้อคุณภาพ อาหาร
ปลอดภัยจงหวัดเชียงราย
4. พัฒนาศักยภาพการผลิตและสร้างเครือข่ายการเลี้ยงแพะคุณภาพ อาหารปลอดภัย
จังหวัดเชียงราย
5. ส่งเสริมและยกระดับการผลิตสินค้าการเกษตรปลอดภัยตามศาสตร์พระราชา
6. ประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่เกษตรมูลค่าสูงเชิงสร้างสรรค์
7. เพื่อยกระดับกลุ่มเกษตรทฤษฎีใหม่ต้นแบบด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะในการบริหาร
จัดการพื้นที่และผลผลิต
8. เพื่อผลิตปุ๋ยชีวภาพไนโตรเจนจากแหนแดงเพื่อลดการใช้ปุ๋ยอินทรีย์ในนาข้าว
9. เพื่อพัฒนาเกษตรปลอดภัยและเกษตรอินทรีย์ด้วยระบบเกษตรอัจฉริยะ
10. เพื่อบ่มเพาะ local startup ด้านเกษตรเพื่อเชื่อมโยงสินค้าอัตลักษณ์ชุมชนสู่ตลาด
ทุกระดับ
11. เพื่อพัฒนาการเพาะเลี้ยงสัตว์น้ามูลค่าสูงด้วยนวัตกรรมเกษตรอัจฉริยะ
12. เพื่อพัฒนาการแปรรูปและเพิ่มมูลค่าสินค้าเกษตรบนพื้นที่สูง
13. เพื่อพัฒนานวัตกรรมสร้างมูลค่าเพิ่มในวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร และพัฒนา
ศักยภาพการผลิตผักปลอดภัยครบวงจร
๖. ตัวชี้วัดและค่า 1. การเพิ่มจานวนสินค้าเกษตรที่ยกระดับเข้าสู่กระบวนการรับรองคุณภาพ
เป้าหมาย มาตรฐานสากลและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม อย่างน้อย 10 ชนิดสินค้า
๗. พื้นที่เป้าหมาย 1. เกษตรกรแปลงใหญ่ข้าวกลุ่มธนาคารเมล็ดพันธุ์ข้าวชุมชนบ้านครึ่งใต้ประชาภิวัฒน์
อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย จานวน 100 ราย
2. พื้นที่ตาบลห้วยซ้อ อาเภอเชียงของ เกษตรกรจานวน 30 ราย
3. เกษตรกรกลุ่มผู้ผลิตลิ้นจี่คุณภาพบ้านนางแลใน จานวน 25 ราย
4. พื้นที่อาเภอต่าง ๆ ของจังหวัดเชียงราย เมืองเชียงราย เชียงของ เวียงป่าเป้า เทิง ป่า
แดด พาน เวียงชัย แม่จัน เชียงแสน แม่สาย แม่สรวย พญาเม็งราย ขุนตาล แม่ลาว เวียง
เชียงรุ้ง และดอยหลวง
5. จานวน 7 อาเภอ ได้แก่ แม่สรวย พาน ป่าแดด พญาเม็งราย ขุนตาล เวียงชัย และ
เวียงป่าเป้า
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
6. 18 อาเภอในจังหวัดเชียงราย
7. หมู่ที่ 4 บ้านใหม่เจริญ ตาบลริมโขง อาเภอเชียงของ จังหวัดเชียงราย
8. กลุ่มเกษตรกรผู้ปลูกผัก จังหวัดเชียงราย จานวน 2 กลุ่ม อ.เชียงของ
9. พื้นที่ 18 อาเภอในจังหวัดเชียงราย
10. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
๘. กิจกรรมหลัก
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ กิจกรรมหลักที่ 1 การยกระดับและเพิ่มประสิทธิภาพการผลิตเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับ
งบประมาณ สินค้าการเกษตรปลอดภัยอาหารปลอดภัย
ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ 11,831,700 บาท
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้รับผิดชอบ สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย สานักงานปศุสัตว์จังหวัด
๘.๒ กิจกรรมหลักที่ ๒ กิจกรรมหลักที่ 2 การส่งเสริมและยกระดับการผลิตสินค้าการเกษตรปลอดภัยตาม
งบประมาณ ศาสตร์พระราชา
ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ 32,545,000 บาท
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้รับผิดชอบ สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย ,โครงการหลวงห้วยโป่ง
โครงการหลวงห้วยน้าริน โครงการหลวงสะโงะ มหาวิทยาลัยแม่โจ้
สานักงานจังหวัดเชียงราย อาเภอเชียงของ
๘.3 กิจกรรมหลักที่ 3 กิจกรรมหลักที่ 3 การส่งเสริมการตลาดและประชาสัมพันธ์สินค้าการเกษตร
งบประมาณ งบประมาณ 700,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบ สานักงานปศุสัตว์จังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานปศุสัตว์จังหวัดเชียงราย
สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดเชียงราย
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ 4 กิจกรรมหลักที่ 4 การบูรณาการยกระดับเกษตรกรสู่ next normal ด้วยเทคโนโลยี
งบประมาณ และนวัตกรรม
ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ 21,470,600 บาท
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้รับผิดชอบ สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
1. สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงราย
2. สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
3. มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
4. มทร.ล้านนา
5. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
6. ศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย
7. สานักงานประมงจังหวัดเชียงราย
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
8. โครงการหลวงดอยตุง
9. ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรที่สูงเชียงราย
10. สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย
11. สานักงานเกษตรอาเภอ
๙. หน่วยงานดาเนินงาน 1. สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
2. สานักงานเกษตรและสหกรณ์จังหวัดเชียงราย
3. ศูนย์วิจัยพืชสวนเชียงราย
4. สานักงานประมงจังหวัดเชียงราย
5. โครงการหลวงดอยตุง
6. ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรที่สูงเชียงราย
7. สานักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย
8. สานักงานปศุสัตว์จังหวัดเชียงราย
9. สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ 2 เชียงราย
10. สานักงานจังหวัดเชียงราย
11. สานักงานประชาสัมพันธ์จังหวัดเชียงราย
12. อาเภอเชียงของ
13. มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
14. มทร.ล้านนา
15. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
ผู้รับผิดชอบ : นายนาวิน อินทจักร ตาแหน่ง : เกษตรจังหวัดเชียงราย
สถานที่ติดต่อ : สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย โทรศัพท์ : ๐๕๓-๑๕๒๖๘๔
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ 66,547,300
๑๒. ผลผลิต (output) 1. จานวนเกษตรกรเป้าหมายได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตข้าวคุณภาพได้
มาตรฐานปลอดภัย
2. ร้อยละของผลผลิตสินค้าเกษตรมีมูลค่าต่อไร่เพิ่มขึ้น
3. ร้อยละของเกษตรกรมีความพร้อมในการเข้าสู่การรับรองมาตรฐาน
4. เกษตรกรชาวสวนลาไย ในจังหวัดเชียงรายสามารถเก็บรักษาอายุลาไยสด ได้ตรงตาม
ความต้องการของตลาดทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
5. จานวนเกษตรกรเป้าหมายได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตลิ้นจี่คุณภาพได้
มาตรฐานปลอดภัย
6. ร้อยละของผลผลิตสินค้าเกษตรมีมูลค่าต่อไร่เพิ่มขึ้น
7. แผนธุรกิจผลิตภัณฑ์ลิ้นจี่ของชุมชน (Business Model) จานวน 1 แผนธุรกิจ
8. ผลิตภัณฑ์ลิ้นจี่รูปแบบใหม่ (ผลิตภัณฑ์ใหม่) จานวน 4 ผลิตภัณฑ์
9. ชุมชนมีตราสินค้าและต้นแบบบรรจุภัณฑ์สาหรับผลิตภัณฑ์ลิ้นจี่รูปแบบใหม่ จานวน
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
4 ผลิตภัณฑ์
10. เกษตรกรได้รับการพัฒนาฟาร์มผลิตโคเนื้อเข้าสู่มาตรฐานและมีผลิตภัณฑ์จากเนื้อ
โคที่มีคุณภาพและปลอดภัย
11. เกษตรกรลดต้นทุนการผลิตและมูลค่าเพิ่มของโคเนื้อ
12. เกษตรกรสามารถบริหารจัดการของเสียในฟาร์มโดยสร้างมูลค่าเพิ่ม
13. มีสื่อที่สามารถแสดงให้ประชาชนได้รับรู้กระบวนการผลิตโคเนื้อคุณภาพ
๑4. มีฟาร์มแพะของเกษตรกรพัฒนาฟาร์มสู่ระบบ GFM ไม่น้อยกว่า 20 ฟาร์ม และ
มาตรฐานฟาร์ม GAP ไม่น้อยกว่า 5 ฟาร์ม มีแพะสายพันธุ์ดีตรงกับความต้องการของ
ตลาด
15. มีการส่งเสริมและสนับสนุนการดาเนินงานสนองโครงการพระราชดาริ และโครงการ
หลวงในพื้นที่จังหวัดเชียงรายเพิ่มขึ้น
16.มีการเผยแพร่และประชาสัมพันธ์สร้างการรับรู้ให้กับประชาชนทั่วไป ในการ
ขับเคลื่อนการพัฒนาโครงการพระราชดาริ และโครงการหลวงของจังหวัดเชียงราย
17. เกิดเครือข่ายเกษตรกรผู้ผลิตสินค้าและอาหารปลอดภัยในจังหวัดเชียงราย
18. เกษตรกรได้รับความรู้ ในการใช้เทคโนโลยีเพื่อผลิตสินค้าและอาหารปลอดภัย
19. ขยายตลาดการบริโภคสินค้าเกษตรและอาหารปลอดภัย
20. มีการใช้ระบบสารสนเทศ และการประชาสัมพันธ์สินค้าเกษตรปลอดภัย
21. มีการนาผลผลิตสินค้าเกษตร อาหารปลอดภัย ของจังหวัดเชียงรายเชื่อมโยงตลาดสู่
ภูมิภาคอื่น ๆ ของประเทศไทย
22. สื่อประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่เกษตรมูลค่าสูงเชิงสร้างสรรค์ ของ
จังหวัดเชียงราย
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ผลลัพธ์ (Outcome)
(Outcome) เชิงปริมาณ
1. เกษตรกรจานวน 40 ราย มีความรู้การผลิตข้าวคุณภาพได้มาตรฐานปลอดภัยและ
นามาใช้ในการผลิตของตนเองได้
2. สินค้าเกษตรมีมูลค่าเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3
3. เกษตรกรมีความพร้อมในการเข้าสู่การรับรองมาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60
4. เกษตรกรจานวน 30 ราย มีความรู้การผลิตลาไยคุณภาพได้มาตรฐานปลอดภัยและ
นามาใช้ในการผลิตของตนเองได้
5. สินค้าเกษตรมีมูลค่าเพิ่มขึ้นไม่น้อยกว่าร้อยละ 3
6. เกษตรกรมีความพร้อมในการเข้าสู่การรับรองมาตรฐานไม่น้อยกว่า ร้อยละ 60
7. เกษตรกรจานวน 25 ราย มีความรู้การผลิตลิ้นจี่คุณภาพได้มาตรฐานปลอดภัยและ
นามาใช้ในการผลิตของตนเองได้
8. ชุมชนมีทิศทางในการผลิตสินค้าและดาเนินธุรกิจโดยมีตลาดเป้าหมายที่ชัดเจน
สาหรับจาหน่ายผลิตภัณฑ์ใหม่ ตามแผนธุรกิจลิ้นจี่ของชุมชน (Business Plan) จานวน
1 แผนธุรกิจ
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
9. ชุมชนมีผลิตภัณฑ์ลิ้นจี่รูปแบบใหม่ที่ทันสมัย สอดคล้องกับแนวโน้ม (Trend) ของ
ตลาดในยุคปัจจุบัน จานวน 4 ผลิตภัณฑ์
10. รายได้จากผลผลิตลิ้นจี่ของเกษตรกร มีมูลค่าเพิ่มขึ้น 5-10 %
11.ฟาร์มโคเนื้อที่ผ่านการรับรองระบบความปลอดภัยจานวนร้อยละ 50 ของเกษตรกร
ที่เข้าร่วมโครงการ
12. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากากรลดต้นทุนและการสร้างมูลค่าเพิ่มในกระบวนการ
เลี้ยง โดยมีรายได้จากการเลี้ยงแพะมีรายได้เพิ่มขึ้นร้อยละ ๕ ต่อปี จากรายได้ปกติ
13. จานวนผู้ประกอบการชุมชนที่มีความพร้อมในการประกอบธุรกิจ 10 ราย
14. จานวนผลิตภัณฑ์ที่พัฒนาจากอัตลักษณ์ชุมชน จานวน 10 ผลงาน
15. ชุมชนได้รับการพัฒนาทักษะ องค์ความรู้ เทคโนโลยี และนวัตกรรม จานวนไม่น้อย
กว่า 10 ชุมชน
16. เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการแปรรูปการณ์ลดของเหลือทิ้งจากการเกษตร ร้อย
ละ 30 จากฐานรายได้เดิมเทียบกับปีก่อนหน้า
17. อัตราการลดของเหลื อทิ้งทางการเกษตรของชุมชน/วิส าหกิจชุมชนที่เข้าร่ว ม
โครงการไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 จากปริมาณของเหลือทิ้งทางการเกษตรเที ยบกับปีก่อน
หน้า
เชิงคุณภาพ
1. เกษตรกรมีความรู้ในการผลิตข้าวคุณภาพได้มาตรฐานปลอดภัย และสามารถผลิตสิน
ข้าวให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ทาให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
2. เกิดการสร้างอาชีพ และสร้างรายได้แก่เกษตรกรชาวสวนลาไยในจังหวัดเชียงราย
ช่ว ยแก้ปั ญหาราคาสิ น ค้ าเกษตรตกต่ า เกษตรกรชาวสวนล าไย เกิด การเรี ยนรู้แ ละ
สามารถเพิ่มมูลค่าผลผลิตทางการเกษตร ผลผลิตที่ได้มีคุณภาพและปริมาณตามความ
ต้องการของตลาดในปัจจุบัน
3. เกษตรกรมีความรู้ในการผลิตลิ้นจีคุณภาพได้มาตรฐานปลอดภัย และสามารถผลิต
สินค้าลิ้นจี่ให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน ทาให้มีรายได้เพิ่มขึ้น
4. ประชาชนได้บริโภคอาหารที่ปลอดภัยต่อสุขภาพ
5. สร้างอาชีพการเลี้ยงโคเนื้อที่เป็นมิตรกับสิงแวดล้อม ส่งผลให้เกษตรกรมีความยั่งยืน
6. สร้างความเชื่อมั่นในเรื่องของคุณภาพของผู้ประกอบการคู่ค้าทั้งในและต่างประเทศ
สร้างความมั่นใจ ความน่าเชื่อถือให้กับคู้ค้าและผู้บริโภค
7.เกษตรกร ได้รับการถ่ายทอดองค์ความรู้เรื่องการผลิตแพะคุณภาพดี มีการเชื่อมโยง
เครื อ ข่ า ยด้ า นการผลิ ต และการตลาดได้ อ ย่ า งเป็ น รู ป ธรรม และสามารถขยายผล
ความสาเร็จให้แก่เกษตรกรรายอื่นได้
8. เกษตรกรในพื้นที่โครงการพระราชดาริ และโครงการหลวง ได้รับการส่งเสริมการสร้าง
อาชีพ และสร้างรายได้ ที่ยั่งยืน
9. เกษตรกรจังหวัดเชียงรายและประชาชนทั่วไป มีโอกาสสามารถเข้าถึงองค์ความรู้ด้าน
การเกษตรของแนวพระราชดาริ และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง และสามารถ
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
นามาใช้ในชีวิตประจาวัน และรู้ถึงการขับเคลื่อนและสนับสนุนการพัฒนาพื้นที่โครงการ
พระราชดาริ และโครงการหลวงของจังหวัดเชียงราย
10. เกษตรกรได้รับการพัฒนาไปพร้อม ๆ กับผลผลิตที่ได้การรับรองคุณภาพมาตรฐาน
ตามความต้องการของผู้บริโภค และสามารถอยู่ในสังคมที่ได้รับผลกระทบจากโรคระบาด
โควิด-19 ได้อย่างมีความสุข มั่งคั่งมั่นคงและยั่งยืนสืบไป
11. ประชาชนทั่วไปรู้จักผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรสู่เกษตรมูลค่าสูงเชิงสร้างสรรค์ของ
จังหวัดเชียงราย
12. เกษตรจังหวัดเชียงราย ที่ผลิตผลิตภัณฑ์ทางการเกษตรเชิงสร้างสรรค์มีรายได้
เพิ่มขึ้น

* หมายเหตุ
๑. กาหนดให้ใช้ฟรอนต์ TH Sarabun PSK ๑๖
๒. ตัวเลขไทย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ ๒ การส่งเสริมการผลิตและพัฒนานวัตกรรมเพื่อยกระดับสินค้าเกษตรเชิง
สร้างสรรค์ภายใต้แนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืน
แผนงาน เพิ่มสัดส่วนสินค้าเกษตรที่ได้คุณภาพมาตรฐานสากลและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการเชียงรายเมืองเกษตรมูลค่าสูง (ชา กาแฟ และสมุนไพร)
๒. แผนงาน เพิ่มสัดส่วนสินค้าเกษตรที่ได้คุณภาพมาตรฐานสากลและเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
๓. แนวทางการพัฒนา เพื่อสร้ างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าและ
ยั่งยืน การค้า การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชิงสร้างสรรค์ และ การส่งเสริมนวัตกรรม
สินค้าเกษตรมูลค่าสูงโดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนาและสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
๔. ความสาคัญของ ปัจจุบันแนวโน้มการบริโภคชาและกาแฟเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องทุกปี ด้วยผู้บริโภค
โครงการ หลักการและ หั น มาใส่ ใ จในเรื่ อ งสุ ข ภาพและความปลอดภัย มากขึ้น ทาให้ การเลื อกซื้อ สิ น ค้ าของ
เหตุผล ผู้บริโภคจึงมุ่งเน้นเลือกซื้อสินค้าที่ได้การรับรองมาตรฐานด้านคุณภาพ ระบบการผลิต
และความปลอดภัยเพิ่มมากขึ้น ชาและกาแฟเป็นพืชเศรษฐกิจสาคัญของจังหวัดเชียงราย
ที่สามารถสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรผู้ปลูกและแปรรูปเป็นจานวนมาก เนื่องจากพื้นที่มี
ความเหมาะสมในการปลูกพืชทั้ง 2 ชนิดนี้ ผลผลิตที่ป้อนเข้าสู่อุตสาหกรรมแปรรูปชา
และกาแฟสามารถสร้างรายได้ให้กับจังหวัดและสินค้าดังกล่าวสามารถส่งออกจาหน่ายยัง
ต่างประเทศได้อีกด้วย อย่างไรก็ตาม เกษตรกรผู้ปลูกและผลิตชาและกาแฟในจังหวัด
เชียงราย ส่ว นใหญ่ยังคงต้องการให้มีการพัฒนา ส่งเสริมและสนับสนุนจากภาครัฐใน
รูปแบบการบูรณาการให้ครบทั้งวงจรตั้งแต่ต้นน้า กลางน้า และปลายน้า ในด้านต้นน้า
เกษตรกรผู้ปลูกและผลิตต้องการพัฒนาและเพิ่มคุณภาพผลผลิตให้มีคุณภาพปลอดภัยต่อ
การบริโภค ลดการใช้สารเคมีในแปลงปลูก ด้านกลางน้าพบว่าผู้ประกอบการโรงงานแปร
รูปชาและกาแฟขนาดกลางและขนาดเล็กมีโรงงานที่ไม่ถูกสุขลักษณะ ซึ่งเป็นอุปสรรค
สาคัญในการขอรับรองมาตรฐานการผลิตซึ่งส่งผลต่อความเชื่อมั่นด้านคุณภาพและความ
ปลอดภัยของผู้บริโภคในยุคปัจจุบันหากมีการส่งเสริมและพัฒนาโรงงานแปรรูปชาและ
กาแฟให้ถูกสุขลักษณะจะช่วยให้ผู้ประกอบการมีช่องทางและโอกาสทางการตลาดเพิ่ม
มากขึ้น ด้านปลายน้า พบว่า สินค้าชาและกาแฟไทยมีเอกลักษณ์และมีศักยภาพในการ
แข่งขันตลาด ทั้งในและต่างประเทศ ขาดแต่เพียงการส่งเสริมอย่างต่อเนื่องในเรื่องการ
ประชาสัมพันธ์สินค้า การส่งเสริมการขาย การเจาะตลาดใหม่ๆ ในต่างประเทศ จากที่ได้
กล่าวมาทั้งหมดนี้ เกษตรกรผู้ผลิตชาและกาแฟของจังหวัดเชียงรายควรได้รับการส่งเสริม
และสนับสนุนจากภาครัฐในรูปแบบการบูรณาการให้ครบทั้ง Value chain อย่างต่อเนื่อง
และมีร ะบบในการส่งเสริม การพัฒนา การควบคุมคุณภาพผลผลิตชาและกาแฟของ
จังหวัดเชียงรายอย่างยั่งยื นต่อไปในอนาคต โดยให้เกษตรกรผู้ผลิตชา-กาแฟในจังหวัด
เชียงรายมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องการจัดการ การแปรรูป และการผลิตผลผลิตให้มี
คุณภาพได้มาตรฐานยั่งยืนต่อไป
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
นอกจากชาและกาแฟ สมุนไพรก็ยังเป็นพืชเศรษฐกิจที่สาคัญ จากการประชุ ม
คณะรัฐมนตรี เมื่อวันที่ 11 สิงหาคม 2558 นายกรัฐมนตรี ได้มีข้อสั่งการให้กระทรวง
สาธารณสุขร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้องพัฒนาพืชสมุนไพรให้สามารถใช้ประโยชน์ได้
อย่างมีประสิทธิภาพเป็นที่ยอมรับและสร้างมูลค่าเพิ่มให้แก่ผลิตภัณฑ์สมุนไพร ในปัจจุบัน
ภาพรวมตลาดสมุนไพรและผลิตภัณฑ์สมุนไพรมีการเติบโตของตลาดด้านสุขภาพของโลก
เกี่ยวกับการใช้สมุนไพรและผลิตภัณฑ์แบบดั่งเดิม (Herbal/Traditional Products) ที่
ทาจากธรรมชาติต่างมีแนวโน้มไปสู่การพัฒนานวัตกรรมอาหารและยาเพื่อสุขภาพที่ทามา
จากวั ต ถุ ดิ บ ธรรมชาติ เ ป็ น หลั ก โดยสมุ น ไพรถู ก ใช้ เ ป็ นวั ต ถุ ดิ บ เพื่ อ ผลิ ต ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ใ น
อุตสาหกรรมต่อเนื่อง อาทิ อุตสาหกรรมเครื่องสาอาง อุตสาหกรรมอาหารและเครื่องดื่ม
ผลิตภัณฑ์เสริมอาหาร และยาสมุนไพร ดังนั้นตลาดสมุนไพรจึงเป็นตลาดที่มีการเติบโต
สูงอย่างต่อเนื่อง ด้านตลาดส่งออกที่บริโภคสมุนไพรที่สาคัญได้แก่ญี่ปุ่น จีน และอเมริกา
เป็นต้น การบริโภคของคนรุ่นใหม่ ที่นิยมใช้สมุนไพรมีส่วนสาคัญในการเพิ่มมูลค่าของ
ผลิตภัณฑ์สมุนไพร เพราะเป็นทางเลือกในการดูแลสุขภาพโดยมองว่าปลอดภัยและมา
จากธรรมชาติ ซึ่งจะยังมีแนวโน้มเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่องและคาดว่าจะยังคงเพิ่มขึ้นอีก
ต่อไปในขณะที่สถานการณ์สมุนไพรไทยในภาพรวมของประเทศไทย ปี 2562 พบว่า
อัตราการเติบโตของอุตสาหกรรมสมุนไพรในภาพรวมมีการเติบโตขึ้นกว่า ร้อยละ 5 จาก
ปีที่ผ่านมา โดยมีมูลค่าการใช้และส่งออกในกลุ่มผลิตภัณฑ์เสริมอาหารรวมกว่า 80,000
ล้านบาท กลุ่มสปาและผลิตภัณฑ์สปา ประมาณ 10,000 ล้านบาท และกลุ่มยาแผน
โบราณตามภูมิปัญญาการแพทย์ไทย ประมาณ 10,000 ล้านบาท นอกจากนี้พบว่ามี
สมุนไพรที่นิยมปลูกแต่การจัดการอย่างเป็นระบบทาให้เกิดการขาดแคลนวัตถุดิบหลาย
ชนิ ด คุณภาพวัต ถุดิบไม่ได้ม าตรฐาน และปั ญหาด้านการกาหนดมาตรฐานคุ ณภาพ
วัตถุดิบ ขณะที่ผู้ประอบการอุตสาหกรรมส่วนใหญ่เป็นผู้ประกอบการขนาดกลางและ
ขนาดเล็กที่มีความสามารถในการแข่งขันน้อย ในด้านตลาดสมุนไพรไทยในการเข้าสู่ AEC
และข้อตกลงทางการค้าที่เป็นอุปสรรคต่อการผลิตและจาหน่ายสินค้า ด้านการลงทุน
การวิจัยและพัฒนาสมุนไพรพบว่ายังค่อนข้างกระจัดกระจายไม่เพียงพอต่อการรองรับ
การพัฒ นาของประเทศรวมทั้งการจัด สรรงบประมาณและทรัพยากรในการส่ งเสริ ม
สมุนไพรที่ผ่านมาเป็นแบบชั่วคราว ขาดการต่อเนื่องและถาวร บางอย่างซ้าซ้อน ทาให้
การพัฒนาสมุนไพรไม่บรรลุเป้าหมายที่ตั้งไว้ จึงนาไปสู่การจัดทาแผนแม่บทแห่งชาติว่า
ด้วยการพัฒนาสมุนไพรไทย ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564 เพื่อพัฒนาสมุนไพรต่อยอด
ทั้งด้านการรักษาและผลิตภัณฑ์ประเภทอื่น สร้างมูลค่าเพิ่มทางเศรษฐกิจที่จะมีความ
เชื่อมโยงทางอุตสาหกรรมและภาเศรษฐกิจต่าง ๆ อย่างครบวงจร และทาให้เกิดความ
รวมมือของหน่วยงานทั้งภาครัฐและเอกชน
ในด้านการพัฒ นาคุณภาพวัตถุดิบสมุนไพรเด่นของจังวัดเพื่อพัฒนาต่อยอดสู่
ผลิตภัณฑ์คุณภาพ สร้างรายได้แก่ประชาชนและยกระดับเศรษฐกิจฐานราก นั้น จังหวัด
เชียงรายได้คัดเลือกสมุนไพร ขมิ้นชัน ซึ่งเป็น 1 ในพืช สมุนไพรหลัก ตามแผนแม่บท
แห่งชาติว่าด้วยการพัฒนาสมุนไพร ฉบับที่ 1 พ.ศ. 2560-2564 ให้มีการพัฒนาเพื่อให้
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
ประเทศไทยส่ งออกวัตถุดิบสมุนไพรชั้นนาของภูมิภ าคอาเซียน รวมถึงมูล ค่าวัตถุดิบ
สมุนไพรในประเทศเพิ่มขึ้นอย่างน้อย 1 เท่าตัว ปัจจุบันความต้องการใช้ขมิ้นชันคุณภาพ
มีปริมาณเพิ่มสูงขึ้น แต่ปริมาณขมิ้นชันที่มีคุณภาพมีปริมาณไม่เพียงพอ ดังนั้น ศูนย์วิจัย
พืชสวนเชียงราย สังกัดกรมวิชาการเกษตร กระทรวงเกษตรและสหกรณ์ ได้ศึกษาการ
ผลิตหัวพันธุ์ขมิ้นชันปลอดโรค ซึ่งขยายพันธุ์ด้วยวิธีเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่อพืช ปลูกในวัสดุ
ปลูกที่ไม่ใช้ดิน (กาบมะพร้าวสับ) โดยใช้ขมิ้นพันธุ์รับรองของกรมวิชาการเกษตร คือ
ขมิ้นชันพันธุ์ตรัง1 และตรัง 84-2 ซึ่งมีปริมาณสารสาคัญร้อยละ 11-12 ปริมาณน้ามัน
หอมระเหยร้อยละ 6-7นอกจากนี้กรมวิชาการเกษตรได้มีการศึกษาวิจัยการผลิตขิง และ
ปทุมมาปลอดโรค ซึ่งเป็นพืชวงศ์เดียวกับขมิ้นชัน โดยใช้เทคโนโลยีในการปลูก และการ
จัดการแปลงปลูก ส่งผลให้สามารถปลูกซ้าในพื้นที่เดิมได้โดยปราศจากการระบาด และ
ความเสี ย หายที่ เ กิ ด จากของโรคหั ว เน่ า สาเหตุ จ ากเชื้ อ แบคที เ รี ย Ralstonia
solanacearum ที่อาศัยอยู่ในดินได้นานหลายปี ดังนั้นเทคโนโลยีการผลิตดังกล่าว
รวมถึงหัวพันธุ์ดี ปลอดโรค จะสามารถใช้เป็นต้นแบบ (Model) ในการผลิตขมิ้นชัน
คุณภาพ สาระส าคัญ ได้มาตรฐาน ซึ่งจะเป็น นวัตกรรมใหม่ในการยกระดับการปลู ก
ขมิ้นชันคุณภาพ ที่สามารถตรวจสอบ และรับรองมาตรฐานได้ทั้งหมดของระบบการผลิต
เป็นการสร้างมาตรฐานขมิ้นชันคุณภาพ และสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับผลผลิตขมิ้นชันของ
จั ง หวั ด เชี ย งราย รวมถึ ง เกิ ด การพั ฒ นาศั ก ยภาพเกษตรกรผู้ ผ ลิ ต ขมิ้ น ชั น ส่ ง ผลให้
เกษตรกรมีรายได้เพิ่มขึ้นอย่างยั่งยืน
๕. วัตถุประสงค์ของ 1. เพื่อส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ Tea & Coffee Festival
โครงการ 2. เพื่อส่งเสริมและยกระดับศักยภาพผลผลิตชา-กาแฟ ให้เพิ่มมูลค่าและสอดคล้องกับ
ความต้องการของตลาดอย่างครบวงจร
3. เพื่อส่งเสริมและยกระดับการพัฒนาสมุนไพรให้ได้มาตรฐานครบวงจร
๖. ตัวชี้วัดและค่า 1. การส่งเสริมและยกระดับผลิตภัณฑ์ชา กาแฟและสมุนไพรสู่เกษตรมูลค่าสูงเชิง
เป้าหมาย สร้างสรรค์ อย่างน้อย 10 ผลิตภัณฑ์
๗. พื้นที่เป้าหมาย 1. พื้นที่ อาเภอเมืองเชียงราย อาเภอเทิง อาเภอแม่สรวย อาเภอแม่ฟ้าหลวง อาเภอเวียง
ป่าเป้า และอาเภอขุนตาล จังหวัดเชียงราย
2. แปลงใหญ่สมุนไพรเชียงของจังหวัดเชียงราย และกลุ่มวิสาหกิจชุมชนตาบลดอนศิลา
อาเภอเวียงชัย จานวน 60 ราย
3. กลุ่มวิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการด้านสมุนไพรในเครือข่ายเชียงรายเมืองสมุนไพร
และคลัสเตอร์สมุนไพรล้านนาตะวันออก (เชียงราย) จานวน ๒๐ กลุ่ม/ราย
๘. กิจกรรมหลัก
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ กิจกรรมหลักที่ 1 การส่งเสริมกิจกรรมการท่องเที่ยวเชิงสร้างสรรค์ Tea & Coffee
งบประมาณ Festival
ผู้รับผิดชอบ งบประมาณ 2,000,000 บาท
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ผู้รับผิดชอบ สานักงานการท่องเที่ยวและกีฬาจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
๘.๒ กิจกรรมหลักที่ ๒ กิจกรรมหลักที่ 2 ส่งเสริมและยกระดับศักยภาพพัฒนาชา-กาแฟครบวงจร
งบประมาณ งบประมาณ 10,935,200 บาท
ผู้รับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบ สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศูนย์ส่งเสริมและพัฒนาเกษตรที่สูง, ม.ราชภัฎเชียงราย, ม.แม่ฟ้า
หลวง, มทร.ล้านนา
๘.3 กิจกรรมหลักที่ 3 กิจกรรมหลักที่ 3 ส่งเสริมและยกระดับการพัฒนาสมุนไพรครบวงจร
งบประมาณ งบประมาณ 2,795,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ ผู้รับผิดชอบ สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ม.ราชภัฎเชียงราย, ม.แม่ฟ้าหลวง
๙. หน่วยงานดาเนินงาน ๑. สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย
๒. มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
๓. มหาวิทยาลัยราชภัฎเชียงราย
๔. มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนา เชียงราย
ผู้รับผิดชอบ : นายนาวิน อินทจักร ตาแหน่ง : เกษตรจังหวัดเชียงราย
สถานที่ติดต่อ : สานักงานเกษตรจังหวัดเชียงราย โทรศัพท์ : ๐๕๓-๑๕๒๖๘๔
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ 15,730,200
๑๒. ผลผลิต (output) 1. จานวนเกษตรกรเป้าหมายได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีการผลิตชาคุณภาพตาม
มาตรฐานเกษตรอินทรีย์แบบมีส่วนร่วม (PGS)
2. ร้อยละของผลผลิตสินค้าเกษตรมีมูลค่าต่อไร่เพิ่มขึ้น
3. ร้อยละของเกษตรกรผู้ปลูกชามีความพร้อมในการเข้าสู่การรับรองมาตรฐาน
4. เกษตรกรชาและกาแฟได้รับการตรวจสอบคุณภาพผลผลิตและผลิตภัณฑ์ เพื่อใช้เป็น
แนวทางในการพัฒนาผลผลิตและผลิตภัณฑ์ต่อไป
5. ผลิตภัณฑ์ชาและกาแฟเชียงรายที่เป็นเอกลักษณ์และอัตลักษณ์เฉพาะถิ่นมูลค่าสูง สู่
ภาคการท่องเที่ยวและบริการ
6. มีสมุนไพรที่ผลิตได้คุณภาพตามมาตรฐานเกษตรปลอดภัย/เกษตรอินทรีย์
7. มีเกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรผู้ผลิตสมุนไพรที่ผลิตได้คุณภาพตามมาตรฐานเกษตร
ปลอดภัย/เกษตรอินทรีย์ จานวน 60 ราย
8. สมุนไพรได้รับการเพิ่มมูลค่า
9. กลุ่มวิสาหกิจชุมชน/ผู้ประกอบการด้านสมุนไพร จานวนไม่น้อยกว่า ๒๐ กลุ่ม/ราย
ได้รับการถ่ายทอดเทคโนโลยีและนวัตกรรมการพัฒนาผลิตภัณฑ์สมุนไพรให้มีคุณภาพ
และมาตรฐาน
10 มีผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน จานวนไม่น้อยกว่า ๒๐ ผลิตภัณฑ์
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. จ านวนเกษตรกรเป้ า หมายได้ รั บ การถ่ า ยทอดเทคโนโลยี ก ารผลิ ต ชาคุ ณ ภาพได้
(Outcome) มาตรฐานปลอดภัย
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
หัวข้อ รายละเอียด
2. มูลค่าจากการจาหน่ายผลผลิตและผลิตภัณฑ์ชาและกาแฟมีมูลค่าสูงขึ้น
3. สร้างรายได้ เกิดการหมนุเวียนเสรษฐกิจในพื้นที่ได้อย่างยั่งยืน
4. เกษตรกร/กลุ่มเกษตรกรมีศักยภาพในการผลิตสมุนไพร สมุนไพรที่ผลิตได้มีคุณภาพ
ตามมาตรฐานเกษตรปลอดภัย/เกษตรอินทรีย์
5. สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กับสินค้าสมุนไพรของเกษตรกร
6. ผู้บริโภคมีทางเลือกในการบริโภคสินค้าปลอดภัย สินค้าอินทรีย์
7. กลุ่มวิสาหกิจชุมชนมีรายได้จากการจาหน่ายผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีมาตรฐาน
8. เกิดการยกระดับวิสาหกิจชุมชนและผู้ประกอบการด้านสมุนไพรให้สามารถพัฒนา
ผลิตภัณฑ์สมุนไพรที่มีมาตรฐานและมีศักยภาพทางการตลาดได้

* หมายเหตุ
๑. กาหนดให้ใช้ฟรอนต์ TH Sarabun PSK ๑๖
๒. ตัวเลขไทย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ ๓
การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และโลจิสติกส์

1. โครงการการเพิ่มขีดความสามารถผู้ประกอบการและการพัฒนาตลาดเชิงสร้างสรรค์
2. โครงการการส่งเสริมและพัฒนาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชายแดนเศรษฐกิจข้ามแดนและ
เขตเศรษฐกิจพิเศษอย่างสร้างสรรค์
3. โครงการการส่งเสริมและพัฒนาระบบ Logistic เพื่อเชื่อมโยงการค้าการลงทุนอย่างสร้างสรรค์
แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ ๓ การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ
โลจิสติกส์
แผนงาน เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส์

หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการการเพิ่มขีดความสามารถผู้ประกอบการและการพัฒนาตลาดเชิงสร้างสรรค์
๒. แผนงาน เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส์
๓. แนวทางการพัฒนา เพื่อสร้ างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าและ
ยั่งยืน การค้า การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชิงสร้างสรรค์ และ การส่งเสริมนวัตกรรม
สินค้าเกษตรมูลค่าสูงโดยดารงฐานวัฒนธรรมล้านนาและสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
๔. ความสาคัญของ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน เป็นกรอบแนวทางหนึ่งของยุทธศาสตร์ชาติ
โครงการ หลักการและ ระยะ 20 ปี โดยมุ่งเน้น “ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็น ประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการ
เหตุผล พัฒ นาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” การพัฒ นาสมรรถนะ ทางเศรษฐกิจ
ส่งเสริมการค้า การลงทุน พัฒนาสู่ชาติการค้า , การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจ
ชุมชน พัฒนาทักษะ ผู้ประกอบการ ยกระดับผลิตภาพแรงงาน และพัฒนา SMEs สู่
สากล, การพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจพิเศษและเมือง พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดน และ
พัฒนาระบบเมืองศูนย์กลางความเจริญ ซึ่งการพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้
และคุณภาพชีวิตของประชาชน ให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเติบโตของเศรษฐกิจ
ที่อยู่บนหลักการและการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืน จนเข้าสู่
กลุ่มประเทศที่มีรายได้สูงลดความเหลื่อมล้้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ ดีมี
สุ ข ส่ ง ผลให้ เศรษฐกิ จ ในประเทศมี ความเข้ ม แข็ ง มี ค วามสามารถในการแข่ งขั น กั บ
ประเทศต่าง ๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (ปี 2560-
2564) ยุทธศาสตร์ที่ 3 การสร้างความเข้มแข็งทางเศรษฐกิจและแข่งขัน ได้อย่างยั่งยืน
มีแนวทางเสริมสร้างขีดความสามารถการแข่งขันในเชิงธุรกิจของภาคบริการ ยุทธศาสตร์
ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้นที่เศรษฐกิจ เพื่อกระจาย ความเจริญสู่
ภูมิภาคของประเทศไทย โดยเน้นการพัฒนาภาคเหนือให้เป็นฐานเศรษฐกิจสร้างสรรค์
มูลค่าสูง และยุทธศาสตร์ที่ 10 การต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน
และภูมิภาค โดยใช้ประโยชน์จากจุดเด่นของท้าเลที่ตั้งของประเทศเป็นจุดเชื่อมโยงส้าคัญ
ของแนวระเบี ย งเศรษฐกิจ ต่ าง ๆ ให้ เ กิ ดประโยชน์ อย่ า งเต็ มศั ก ยภาพในการพัฒ นา
เศรษฐกิจและสังคมไทย และแผนพัฒนาฯ ฉบั บที่ 12 ซึ่งได้ก้าหนด
เป้ า หมายส้ า คัญตามแนวทางการพัฒ นา คือ แนวทางที่ 2) การ
ยกระดับศักยภาพการแข่งขันและการหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง แนวทาง
ที่ 5) การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคม อย่างเป็นมิตร กับ
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
สิ่งแวดล้อม
ตามวิสั ยทัศน์การพัฒนาจังหวัดเชียงราย “เชียงรายเมืองท่องเที่ยวสร้างสรรค์
สะอาด ปลอดภั ย น่ า ยล” โดยประเด็ น เศรษฐกิ จ สร้ า งสรรค์ มุ่ ง เน้ น ด้ า นท่ อ งเที่ ย ว
เน้ น คุ ณ ค่ า และความยั่ ง ยื น เกษตรและเกษตรแปรรู ป มู ล ค่ า สู ง และประตู ก ารค้ า
การลงทุน และระบบ Logistic การพัฒนาผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตสินค้า
ที่จะท้าให้ผู้ประกอบการมีความเข้มแข็งมากขึ้นในกระบวนการผลิต พร้อมทั้งท้าให้สินค้า
เกิดคุณภาพ ที่จะสามารถต่อยอดการพัฒนาไปสู่การสร้างตราสัญลักษณ์จังหวัดเชียงราย
(Branding Academy) โดยประยุกต์ใช้แนวคิดวัฒนธรรมตราสินค้า (Brand Culture)
และการสร้างคุณค่าร่วมกับ (Value Co-Creation) เพื่อเป็นแนวทางในการด้าเนินการ
ก้าหนดอัตลักษณ์ของจังหวัดเชียงรายให้เป็นรูปแบบเดียวกันทั้งสินค้า การบริการ เป็น
อี ก รู ป แบบในการพั ฒ นาเพื่ อ สร้ า งมู ล ค่ า เพิ่ ม ให้ กั บ สิ น ค้ า และบริ ก าร ส้ า หรั บ
ผู้ประกอบการ SMEs และผู้ประกอบการ OTOP เพื่อสร้างความได้เปรียบทางการ
แข่งขันของจังหวัดเชียงราย ทั้งในระดับภูมิภาคและระดับประเทศ
๕. วัตถุประสงค์ของ 1. เพื่อพัฒนาผู้ประกอบการและเพิ่มศักยภาพการผลิตสินค้า
โครงการ 2. เพื่อสร้างตราสินค้าของจังหวัดที่ก่อให้เกิดการสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงสร้างสรรค์
๖. ตัวชี้วัดและค่า 1. การส่งเสริมการเพิ่มจ้านวนผู้ประกอบการ/SMEsเศรษฐกิจสร้างสรรค์ ไม่น้อยกว่า
เป้าหมาย 100 ราย
2. การเพิ่มกิจกรรมในการส่งเสริม พัฒนาและเตรียมความพร้อมผู้ประกอบการภายใต้
บริบทที่เปลี่ยนแปลง ไม่น้อยกว่า 2 กิจกรรม
๗. พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดเชียงราย
๘. กิจกรรมหลัก การเพิ่มขีดความสามารถผู้ประกอบการและการพัฒนาตลาดเชิงสร้างสรรค์
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ การพัฒนาผู้ประกอบการเพื่อเพิ่มศักยภาพการผลิตสินค้า
งบประมาณ 8,000,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ ส้านักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย ส้านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย สภา
อุตสาหกรรมจังหวัดเชียงราย และมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๘.๒ กิจกรรมหลักที่ ๒ การสร้างตราสินค้าของจังหวัดเพื่อสร้างมูลค่าเพิ่มเชิงสร้างสรรค์
งบประมาณ 4,500,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ ส้านักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย ส้านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย และ
มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๙. หน่วยงานดาเนินงาน ส้านักงานพาณิชย์จังหวัดเชียงราย ส้านักงานพัฒนาชุมชนจังหวัดเชียงราย มหาวิทยาลัย
ราชภัฏเชียงราย ส้านักงานอุตสาหกรรมจังหวัดเชียงรายและสภาอุตสาหกรรมจังหวัด
เชียงราย
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ 12,500,000 บาท
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
๑๒. ผลผลิต (output) 1. ยกระดับสินค้าสิ่งบ่งชี้ทางภูมิศาสตร์ (GI) ของจังหวัดเชียงราย ให้มีคุณภาพ
มีมาตรฐานและเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
2. ยกระดับสินค้าภายใต้ตราสัญลักษณ์จังหวัดเชียงราย (Chiang Rai Brand) ให้มี
คุณภาพ มีมาตรฐาน และเป็นที่รู้จักอย่างแพร่หลาย
3. ผู้ประกอบการมีรายได้เพิ่มขึ้นจากการขยายช่องทางการตลาดเชิงสร้างสรรค์
4. เกิดช่องทางการตลาดใหม่ๆ และมีการสื่อสารการตลาดในระดับประเทศและระดับ
สากล
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. เกิดการกระตุ้นเศรษฐกิจและสร้างรายได้ให้จังหวัดเชียงราย
(Outcome) 2. มีอัตราการจ้างงานเพิ่มมากขึ้น
3. สามารถดึงดูดนักท่องเที่ยว และนักลงทุนเข้ามาในจังหวัดเชียงราย
4. ผู้ประกอบการ SMEs, OTOP มีความสามารถในการแข่งขันและสามารถปรับตัวเป็น
ผู้ประกอบการในยุค Thailand 4.0 ได้ในภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง

* หมายเหตุ
๑. กาหนดให้ใช้ฟรอนต์ TH Sarabun PSK ๑๖
๒. ตัวเลขไทย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ ๓ การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ
โลจิสติกส์
แผนงาน เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส์
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการการส่งเสริมและพัฒนาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชายแดนเศรษฐกิจข้ามแดนและ
เขตเศรษฐกิจพิเศษอย่างสร้างสรรค์
๒. แผนงาน เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส์
๓. แนวทางการพัฒนา เพื่อสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าและยั่งยืน
การค้า การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชิงสร้างสรรค์ และ การส่งเสริมนวัตกรรมสินค้า
เกษตรมูลค่าสู งโดยดารงฐานวัฒนธรรมล้ านนาและสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
๔. ความสาคัญของ การสร้างความสามารถในการแข่งขัน เป็นกรอบแนวทางหนึ่งของยุทธศาสตร์
โครงการ หลักการและ ชาติระยะ 20 ปี โดยมุ่งเน้น “ความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศพัฒนาแล้ว ด้วยการ
เหตุผล พัฒ นาตามหลั ก ปรัช ญาของเศรษฐกิจพอเพียง” การพัฒ นาสมรรถนะทางเศรษฐกิ จ
ส่งเสริมการค้า การลงทุน พัฒนาสู่ชาติการค้า , การพัฒนาผู้ประกอบการและเศรษฐกิจ
ชุมชน พัฒนาทักษะ ผู้ประกอบการ ยกระดับผลิตภาพแรงงานและพัฒนา SMEs สู่สากล,
การพัฒ นาพื้น ที่เศรษฐกิจ พิเศษและเมือง พัฒ นาเขตเศรษฐกิจพิเศษ ชายแดน และ
พัฒนาระบบเมืองศูนย์กลางความเจริญ ซึ่ง การพัฒนาที่สามารถสร้างความเจริญ รายได้
และคุณภาพชีวิตของประชาชนให้เพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง ซึ่งเป็นการเติบโตของเศรษฐกิจที่
อยู่บนหลักการ และการขยายตัวของเศรษฐกิจอย่างต่อเนื่องและมีความยั่งยืน จนเข้าสู่
กลุ่มประเทศที่มีรายได้สูง ลดความเหลื่อมล้้าของการพัฒนาลดลง ประชากรมีความอยู่ดี
มีสุ ข ส่ งผลให้ เศรษฐกิจในประเทศมีความเข้มแข็ง มีความสามารถในการแข่งขันกับ
ประเทศต่าง ๆ ทั้งภายในประเทศและต่างประเทศ
ยุทธศาสตร์ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 20 (ปี 2560-
2564) ยุทธศาสตร์ที่ 9 การพัฒนาภาค เมือง และพื้น ที่เศรษฐกิจ เพื่อกระจายความ
เจริ ญ สู่ ภู มิภ าคของประเทศไทย โดยเน้ นการพัฒ นาภาคเหนื อให้ เ ป็น ฐานเศรษฐกิ จ
สร้างสรรค์มูลค่าสูง และยุทธศาสตร์ที่ 10 การต่างประเทศ ประเทศเพื่อนบ้าน และ
ภูมิภาค โดยใช้ประโยชน์จากจุดเด่นของท้าเลที่ตั้งของประเทศเป็นจุดเชื่อมโยงส้าคัญของ
แนวระเบียงเศรษฐกิจต่าง ๆ ให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มศักยภาพในการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสั งคมไทย และแผนพัฒ นาฯ ฉบั บที่ 12 ซึ่ง ได้ก้า หนดเป้าหมายส้ า คัญตามแนว
ทางการพัฒนา คือ แนวทางที่ 2) การยกระดับศักยภาพการแข่งขันและการหลุดพ้นกับ
ดักรายได้ปานกลางสู่รายได้สูง แนวทางที่ 5) การสร้างความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
และสังคม อย่างเป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


ตามนโยบายรั ฐ บาลที่ ส่ ง เสริ ม จั ง หวั ด เชี ย งรายให้ เ ป็ น เมื อ งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษ
ชายแดนที่เอื้อต่อการส่งเสริมการค้า การลงทุน และการท่องเที่ยว การพัฒนาศักยภาพ
ผู้ประกอบการในพื้นที่เขตเศรษฐกิจพิเศษเพื่อให้สามารถปรับตัวได้ทันกับการแข่งขันทาง
การค้าการลงทุน และการท่องเที่ยวที่จะต้องเชื่อมโยงกับประเทศเพื่อนบ้าน จึงมีความ
จ้าเป็นจะต้องอาศัยการเตรียมความพร้อมในการพัฒนาศักยภาพให้สามารถแข่งขันได้
สอดคล้องกับแนวทางการพัฒนาฐานการผลิตและการลงทุนเพื่อเพิ่มขีดความสามารถใน
การแข่งขัน เพื่อให้เกิดผลต่อความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอย่างยั่งยืน
จังหวัดเชียงราย เป็นจังหวัดที่มีความส้าคัญและมีศักยภาพทางเศรษฐกิจของ
ประเทศ เนื่องจากมีภูมิประเทศที่อยู่เหนือสุดของประเทศ ถือเป็นประตูหน้าด่านที่ส้าคัญ
ในการเชื่อมโยงไปยังกลุ่มประเทศ CLMV และกลุ่มประเทศอนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง
(GMS) และอาเซียน ได้โดยสะดวก นอกจากนั้น คณะกรรมการนโยบายเขตพัฒนา
เศรษฐกิ จ พิ เ ศษ (กนพ.) ได้ มี ป ระกาศ กนพ. ที่ ๒/๒๕๕๘ ก้ า หนดพื้ น ที่ เ ขตพั ฒ นา
เศรษฐกิจพิเศษซึ่งจังหวัดเชียงรายยังเป็นหนึ่งในสิบเขตเศรษฐกิจพิเศษชายแดนของ
ประเทศไทย โดยครอบคลุมถึง 3 อ้าเภอ ได้แก่ อ้าเภอแม่สาย อ้าเภอเชียงแสน และ
อ้าเภอเชียงของ ประกอบกับในปี 2564 ได้มีระเบียบส้านักนายกรัฐมนตรีว่าด้วยการ
พัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ พ.ศ. 2564 ก้าหนดให้มีพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ 4 ภาค โดย
จั ง หวั ด เชี ย งรายเป็ น หนึ่ ง ในพื้ น ที่ เ ป้ า หมายของระเบี ย งเศรษฐกิ จ พิ เ ศษภาคเหนื อ
(Northern Economic Corridor : NEC) ประกอบด้วย จังหวัดเชียงราย เชียงใหม่
ล้าพูน และล้าปาง โดยมุ่งเน้นการส่งเสริมให้เกิดการกระจายความเจริญทางเศรษฐกิจ
และสังคมทั้งในระดับภาคและระดับพื้นที่อย่างทั่วถึง โดยสอดคล้องกับศักยภาพพื้นที่
และความต้องการของประชาชนในระดับพื้นที่ เพื่อให้เกิดการพัฒนาเศรษฐกิจพิเศษแต่
ละแห่งเป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ อันจะน้าไปสู่การพัฒนาที่ยั่งยืน
๕. วัตถุประสงค์ของ 1. เพื่อการส่งเสริมการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษและระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ
โครงการ 2. เพื่อการส่งเสริมการค้าชายแดนและการค้าข้ามแดนของจังหวัดเชียงราย
๖. ตัวชี้วัดและค่า การเพิ่มกิจกรรมในการส่งเสริม พัฒนาและเตรียมความพร้อมผู้ประกอบการภายใต้
เป้าหมาย บริบทที่เปลี่ยนแปลง อย่างน้อย 2 กิจกรรม
๗. พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดเชียงราย
๘. กิจกรรมหลัก การส่งเสริมและพัฒนาการขับเคลื่อนเศรษฐกิจชายแดนเศรษฐกิจข้ามแดนและเขต
เศรษฐกิจพิเศษ
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ การส่งเสริมการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษและระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ
งบประมาณ 7,250,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ ส้านักงานจังหวัดเชียงราย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๘.๒ กิจกรรมหลักที่ ๒ การส่งเสริมการค้าชายแดนและการค้าข้ามแดนของจังหวัดเชียงราย
งบประมาณ 1,000,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ ส้านักงานพาณิชจังหวัดเชียงรายและมหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๙. หน่วยงานดาเนินงาน ส้านักงานจังหวัดเชียงราย ส้านักงานพาณิชจังหวัดเชียงราย และมหาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ 8,250,000 บาท
๑๒. ผลผลิต (output) 1. จังหวัดเชียงรายมีกิจกรรม/โครงการเพื่อรองรับการขับเคลื่อนพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจ
พิเศษภาคเหนือ (Northern Economic Corridor : NEC)
2. จังหวัดเชียงรายมีระบบการบริหารจัดการเพื่อสนับสนุนการส่งเสริมการลงทุนในพื้นที่
เขตเศรษฐกิจพิเศษ
3. จังหวัดเชียงรายมีกิจกรรม/โครงการเพื่อส่งเสริมความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อบ้าน
เมืองพี่เมืองน้อง และต่างประเทศ
4. เกิดความเข้มแข็งของเครือข่ายและผู้ประกอบการการค้าชายแดนในพื้นที่จังหวัด
เชียงราย
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. จังหวัดเชียงรายมีความพร้อมในการขับเคลื่อนพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจพิเศษภาคเหนือ
(Outcome) (Northern Economic Corridor : NEC)
2. จังหวัดเชียงรายมีศูนย์บริการเบ็ดเสร็จด้านการลงทุน เพื่ออ้านวยความสะดวกนัก
ลงทุนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3. เกิดความร่วมมือทางเศรษฐกิจและขับเคลื่อนแนวระเบียงเศรษฐกิจ ภายใต้แผนงาน
ความร่วมมืออนุภูมิภาคลุ่มแม่น้าโขง (GMS) กลุ่มอาเซียน+3 และอาเซียน+6
4. จั งหวัดเชียงรายได้รับการกระตุ้นเศรษฐกิจชายแดนเศรษฐกิจข้ามแดนและเขต
เศรษฐกิจพิเศษ

* หมายเหตุ
๑. ก้าหนดให้ใช้ฟรอนต์ TH Sarabun PSK ๑๖
๒. ตัวเลขไทย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ ๓ การพัฒนาเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ
โลจิสติกส์
แผนงาน เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส์
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการการส่งเสริมและพัฒนาระบบ Logistic เพื่อเชื่อมโยงการค้าการลงทุนอย่าง
สร้างสรรค์
๒. แผนงาน เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจสร้างสรรค์ด้านการค้า การลงทุน การบริการ และ โลจิสติกส์
๓. แนวทางการพัฒนา เพื่อสร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยเน้นการพัฒนาการท่องเที่ยวเชิงคุณค่าและยั่งยืน
การค้า การลงทุนและบริการโลจิสติกส์เชิงสร้างสรรค์ และ การส่งเสริมนวัตกรรมสินค้า
เกษตรมูลค่าสู งโดยดารงฐานวัฒนธรรมล้ านนาและสมดุลของทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อม
๔. ความสาคัญของ ยุทธศาสตร์ชาติด้านการสร้างความสามารถในการแข่งขัน ตามยุทธศาสตร์ชาติ
โครงการ หลักการและ ระยะ 20 ปี มี เ ป้ า หมายการพั ฒ นาที่ มุ่ ง เน้ น การยกระดั บ ศั ก ยภาพของประเทศใน
เหตุผล หลากหลายมิติ บนพื้นฐานการต่อยอดอดีต ปรับปัจจุบัน และสร้างคุณค่าใหม่ในอนาคต
เศรษฐกิจเติบโตอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน มีขีดความสามารถในการแข่งขันสูงขึ้น โดย
ประเด็นการพัฒนาในด้านการพัฒนาระบบโลจิสติกส์ที่มีความเชื่อมโยงกับการพัฒนา
เศรษฐกิจนั้ น การส่งเสริมและพัฒนาระบบโลจิสติกส์ จะช่วยเสริมสร้างศักยภาพด้าน
การค้าและการลงทุน ใช้ตาแหน่งที่ตั้งทางภูมิศาสตร์ของพื้นที่ในการส่งเสริมการคมนาคม
ขนส่ง และโลจิสติกส์ให้เป็นฐานการผลิตของภูมิภาคเพื่อการส่งออกสู่ต่างประเทศ ซึ่งจะ
สามารถพัฒนาความสามารถในการแข่งขันให้ไปสู่เป้าหมายของการพัฒนาได้
แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมแห่ ง ชาติ ฉบั บ ที่ 1 2 (ปี 2560-2564)
ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 3 การสร้ า งความเข้ ม แข็ ง ทางเศรษฐกิ จและแข่ ง ขั น ได้ อ ย่ า งยั่ ง ยื น มี
วัตถุประสงค์เพื่อสร้างความเข็มแข็งให้เศรษฐกิจขยายตัวอย่างมีเสถียรภาพและยั่งยืน
พร้อมทั้งสร้างความเข้มแข็งให้กับเศรษฐกิจรายสาขา โดยการเร่งการลงทุนในโครงสร้าง
พื้นฐานและระบบโลจิสติกส์และสร้างบรรยากาศการลงทุนที่จูงใจให้ภาคเอกชนขยาย
การลงทุนโดยเฉพาะอย่างยิ่งในสาขาเป้าหมายที่สาคัญและเป็นการเสริมสร้างศักยภาพ
การค้าการลงทุนของผู้ประกอบการในประเทศที่จะก่อให้เกิดการเพิ่มมูลค่าทางเศรษฐกิจ
จังหวัดเชียงรายได้กาหนดยุทธศาสตร์ภายใต้วิสัยทัศน์ “เชียงรายเมืองท่องเที่ยว
สร้ า งสรรค์ สะอาด ปลอดภั ย น่ า ยล” เพื่ อ มุ่ ง สู่ เ ป้ า หมายส าคั ญ 3 ประการ คื อ
(1)เศรษฐกิจสร้างสรรค์ (2)สิ่งแวดล้อมสร้างสรรค์ (3)สังคมสร้างสรรค์ เพื่อตอบสนอง
ต่อการพัฒนาประเทศและการขยายตัวของเศรษฐกิจ จึงต้องมีการพัฒนาโครงข่ายถนน
เพื่อรองรับปริมาณความต้องการในการเดินทางและการขนส่งจังหวัดเชียงรายเป็นเมือง
ชายแดน มีเขตเศรษฐกิจพิเศษ และการเชื่อมโยงกับอนุภูมิภาค GMS และ AEC เพื่อ
ขยายฐานเศรษฐกิจของภาคในการพัฒนาด้านโลจิสติกส์ การท่องเที่ยว การค้า และการ
ลงทุน จึงต้องมีการพัฒนาโครงข่ายถนนเพื่อรองรับปริมาณความต้องการเดินทางและ
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
ขนส่งสินค้าระหว่างพื้นที่ เพื่อเป็นการสนับสนุนการพัฒนาเมืองและพื้นที่เขตเศรษฐกิจ
พิเศษ ทาให้มีการเชื่อมต่อการเดินทางและการขนส่งโดยสมบูรณ์ ส่งผลให้ เกิดระบบ
โครงข่ายเส้นทางและระบบขนส่ งย่อยในการเชื่อมต่อกับระบบหลักของประเทศและอนุ
ภูมิภ าคตามแนวระเบี ยงเศรษฐกิจเหนือ -ใต้ เพื่อการพัฒ นาประเทศให้ มี เศรษฐกิจ ที่
เข้มแข็ง และยั่งยืน
๕. วัตถุประสงค์ของ เพื่อพัฒนาระบบอานวยความปลอดภัยเพื่อรองรับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์
โครงการ
๖. ตัวชี้วัดและค่า การสนับสนุนสภาพแวดล้อมและระบบโลจิสจิกต์ที่ดีรองรับด้านการค้า การลงทุน การ
เป้าหมาย บริการ อย่างน้อย 2 กิจกรรม
๗. พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดเชียงราย
๘. กิจกรรมหลัก การส่งเสริมและพัฒนาระบบ Logistic เพื่อเชื่อมโยงการค้าการลงทุน
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ การพัฒนาระบบอานวยความปลอดภัยเพื่อรองรับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์
งบประมาณ 127,364,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย และแขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ 2 การพัฒนาระบบอานวยความปลอดภัยเพื่อรองรับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์
งบประมาณ 19,042,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ แขวงทางหลวงชนบทเชียงราย และแขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๙. หน่วยงานดาเนินงาน แขวงทางหลวงเชียงรายที่ 2
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ 146,406,000 บาท
๑๒. ผลผลิต (output) ระบบอานวยความปลอดภัยได้รับการพัฒนาเพื่อรองรับการพัฒนาระบบโลจิสติกส์
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1. ระบบอานวยความปลอดภัยได้รับการพัฒนาเพื่อรองรับระบบโลจิสติกส์ที่ก่อให้เกิด
(Outcome) การส่งเสริมเขตเศรษฐกิจชายแดน (SEZ) เชื่อมโยงกับอนุภูมิภาค GMS และ AEC
2. ส่งเสริมการค้า การลงทุน ทั้งในและต่างประเทศ
3. เพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันในด้านเศรษฐกิจของจังหวัดเชียงราย

* หมายเหตุ
๑. กาหนดให้ใช้ฟรอนต์ TH Sarabun PSK ๑๖
๒. ตัวเลขไทย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ 4
การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารงความสมบูรณ์และยั่งยืน

1. โครงการเชียงรายเมืองสีเขียวสร้างสรรค์
2. โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าหมอกควันและฝุ่นละอองอย่างสร้างสรรค์
3. โครงการบริหารจัดการทรัพยากรนาอย่างสร้างสรรค์
แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารงความสมบูรณ์และ
ยั่งยืน
แผนงาน เพิ่มพื้นที่สีเขียว การบริหารจัดการน้า และแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ
หัวข้อ รายละเอียด
1. ชื่อโครงการ โครงการเชียงรายเมืองสีเขียวสร้างสรรค์
2. แผนงาน เพิ่มพื้นที่สีเขียว การบริหารจัดการน้า และแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ
3. แนวทางการพัฒนา เพื่อสร้างสมดุลของระบบนิเวศและสนับสนันการเติบโตอย่างยั่งยืนบทสังคมเศรษฐกิจ
สรรค์เพื่อรับรองการพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
4. ความสาคัญของ ผลจากการพัฒนาประเทศในช่ว งกว่าสามทศวรรษที่ผ่านมา ซึ่งใช้แนวทางการ
โครงการ หลักการและ พัฒนาประเทศไปสู่ภาวะทันสมัย ตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 1-
เหตุผล 12 ได้ก่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลงแก่สังคมไทยอย่างมากมาย ทั้งด้านเศรษฐกิจ การเมือง
วัฒ นธรรม สังคมและสิ่ งแวดล้อมซึ่งผลจากการเปลี่ยนแปลงดังกล่ าวทาให้ เราได้เห็ น
ตั ว เลขของอั ต ราการเจริ ญ เติ บ โตทางเศรษฐกิ จ ที่ สู ง ขึ้ น ความเจริ ญ ของถนน ไฟฟ้ า
น้าประปา ระบบสาธารณูปโภคต่าง ๆ การขยายการศึกษาไปสู่เด็กและเยาวชนในวัยเล่า
เรียนอย่างทั่วถึง ทาให้อัตราการอ่านออกเขียนได้ของประชากรอยู่ในระดับสูงขึ้นทั้งนี้จาก
ผลบวกของกระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมก็ยังมีผลติดลบตามมาจากการมุ่งส่งเสริม
การผลิตทางอุตสาหกรรมของภาคเมือง การส่งเสริมการเกษตรแผนใหม่เพื่อการค้าและ
การส่งออกรวมถึงการขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผลให้ชุมชนในชนบทเกิดภาวะ
อ่อนแอในหลาย ๆ ด้านอีกทั้งความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
ฯลฯ ทั้งนี้ผลพวงจากการพัฒนาดังกล่าว จึงทาให้มีการปรับเปลี่ยนกระบวนทัศน์ ในการ
สร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมซึ่งได้ปรากฏใน
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12 (2560-2564) ประกอบกับ
แนวทางในการขับ เคลื่ อ นประเทศไทยให้ มีค วามเข้ม แข็ ง มั่น คง มั่ ง คั่ งและยั่ง ยืน ใน
ยุทธศาสตร์ชาติ ระยะ 20 ปี (พ.ศ. 2560-2579) ด้านโดยมีจุดมุ่งหมายในยุทธศาสตร์
ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ในการสร้างสมดุล
ระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ภายใต้กรอบแนวคิดของการพัฒนา
อย่างยั่ง ยืน (Sustainable Development) ประกอบกับจังหวัดเชียงรายที่มี
วิสั ย ทัศ น์ ที่มุ่ งไปสู่ เชี ยงรายเมือ งท่ องเที่ย วสร้ างสรรค์ สะอาด ปลอดภัย น่ ายล ใน
ประเด็น ยุทธศาสตร์ที่ 3 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดรงความ
สมบูรณ์และยั่งยืนจังหวัดเชียงรายจึงได้เล็งเห็นความสาคัญ เกี่ยวกับประเด็นปัญหาด้าน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม อันเนื่องมาจาก
สถานการณ์พื้นที่ป่าไม้ของจังหวัดเชียงรายที่ผ่านมาถูกทาลายลงอย่างรวดเร็วตาม
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.2566
แรงหนุนเนื่องของประชากรที่เพิ่มขึ้นผนวกกับพลังผลักดันทางเศรษฐกิจระบบทุนนิยมเสรี
ที่มุ่งค้าขาย โดยใช้พื้นที่ป่าเป็นตั วสาคัญเชิงพาณิชย์ การเช่นนี้ก่อให้เกิดภาวะแห้งแล้ง
เนื่องจากต้นน้าลาธารถูกทาลาย ฝนไม่ตกต้องตามฤดูกาล เมื่อยามน้าหลากก็เกิดน้าท่วม
ฉับ พลั น และมีการพัง ทลายของดินอย่างรุ นแรง จนเป็นปัญหาต่อการประกอบอาชี พ
ทางการเกษตร กลายเป็ น ทุ ก ข์ ร้ อ นแก่ ป ระชาชนจนก่ อ ให้ เ กิ ด ผลกระทบด้ า นอื่ น ๆ
นอกจากนั้นความเป็นเมืองและอุตสาหกรรมที่ขยายตัวเพิ่มมากขึ้นในจังหวัดเชียงราย
ส่ ง ผลให้ เ กิ ด ความเสื่ อ มโทรมของระบบนิ เ วศและสิ่ ง แวดล้ อ ม จากความเจริ ญ ด้ า น
อุตสาหกรรม การท่องเที่ยวอย่างรวดเร็วก่อให้เกิดปัญหาขยะมูลฝอยและของเสียอันตราย
ที่เกินขีดการรองรับของระบบนิเวศ
จากปัญหาที่เกิดขึ้นจังหวัดเชียงรายจึงเล็งเห็นความสาคัญของปัญหาที่ต้องแก้ไข
อย่างเร่งด่วน จึงจัดทาโครงการเชียงรายเมืองสีเขียว เพื่อ การฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้าแบบ
บูรณาการเพื่อให้กลับคืนความอุดมสมบูรณ์ มีความหลากหลายทางชีวภาพ และเพื่อ
รักษาสิ่งแวดล้อม โดยมุ่งเน้นการพัฒนาทางเศรษฐกิจที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมควบคู่กัน
ไปนาไปสู่การพัฒนาอย่างยังยืนต่อไป
5. วัตถุประสงค์ของ 1) เพื่อเพิ่มพื้นที่สีเขียว ฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้าที่และพื้นที่เสื่อมโทรม ให้กลับคืนความอุดม
โครงการ สมบูรณ์ทางระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
2) เพื่อปลูกจิตสานึกและสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของประชาชน ในการอนุรักษ์
คุ้มครอง ป้องกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้ยั่งยืน รวมถึงการส่งเสริมคุณภาพชีวิตและ
ความเป็นอยู่ของประชาชน
3) เพื่อบริหารจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ
6. ตัวชี้วัดและค่า 1) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของพื้นที่สีเขียวจังหวัดเชียงราย ร้อยละ 5 จากปีที่ผ่านมา
เป้าหมาย 2) ร้อยละที่เพิ่มขึ้นของปริมาณขยะมูลฝอยที่ได้รับการจัดการ ร้อยละ 10 จากปีที่ผ่านมา
3) ประชาชน บุคลากรภาครัฐมีประสิทธิภาพในการบริหารจัดการ และฟื้นฟูการอนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม เพิ่มขึ้นร้อยละ 20
7. พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดเชียงราย
8. กิจกรรมหลัก การอนุรักษ์ป้องกันส่งเสริมฟื้นฟูและใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าเพื่อฟื้นฟูพื้นที่สีเขียว
8.1 กิจกรรมหลักที่ 1 อนุรักษ์ ป้องกัน ส่งเสริมและฟื้นฟูพื้นที่สีเขียวอย่างมีส่วนร่วม
งบประมาณ 10,738,700
ผู้รับผิดชอบ สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่15 เชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย/หาวิทยาลัยราชภัฏ
เชียงราย
8.2 กิจกรรมหลักที่ 2 ส่งเสริมศักยภาพการอนุรักษ์และใช้ประโยชน์ในพื้นที่ป่าชุมชนอย่างสมดุลและยั่งยืน
งบประมาณ 4,100,000
ผู้รับผิดชอบ สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 2เชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -
8.3 กิจกรรมหลักที่ 3 การพัฒนาต้นแบบการปลูกป่าโดยใช้นวัตกรรมสมัยใหม่เพื่อปลูกป่าบนพื้นที่ภูมิประเทศ
เข้าถึงได้ยาก
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.2566
งบประมาณ 3,000,000
ผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่15 เชียงราย
กิจกรรมหลัก การจัดการขยะแบบบูรณาการ
8.4 กิจกรรมหลักที่ 4 เพิ่มประสิทธิภาพการจัดการขยะมูลฝอย ชีวิตวิถีใหม่ New Normal
งบประมาณ 1,300,000
ผู้รับผิดชอบ สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง -
9. หน่วยงานดาเนินงาน สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย
10. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
11. งบประมาณ 19,138,700 บาท
12. ผลผลิต (output) 1) จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่สีเขียวเพิ่มขึ้น ฟื้นฟูพื้นที่ป่าต้นน้าที่และพื้นที่เสื่อมโทรม ให้
กลับคืนความอุดมสมบูรณ์ทางระบบนิเวศและความหลากหลายทางชีวภาพ
2) ประชาชนมีการตระหนักถึงความสาคัญของทรัพยากรธรรมชาติและมีส่วนร่วมในการ
อนุรักษ์ คุ้มครอง ป้องกันรักษาทรัพยากรธรรมชาติให้ยั่งยืน
3) มีการบริหารจัดการขยะอย่างมีประสิทธิภาพ
13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ จังหวัดเชียงรายมีพื้นที่ป่าต้นน้าที่อุดมสมบูรณ์ทางระบบนิเวศและความหลากหลายทาง
(Outcome) ชีวภาพ และมีการจัดการสิ่งแวดล้อมแบบบูรณาการ ส่งผลต่อการคุณภาพชีวิตของประ
ชานชนสู่การพัฒนาอย่างยังยืนต่อไป

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.2566


แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารงความสมบูรณ์และ
ยั่งยืน
แผนงาน เพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันและส่งเสริมเชียงรายเมืองสะอาด
หัวข้อ รายละเอียด
1. ชื่อโครงการ โครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าหมอกควันและฝุ่นละอองอย่างสร้างสรรค์
2. แผนงาน เพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหาไฟป่าและหมอกควันและส่งเสริมเชียงรายเมืองสะอาด
3. แนวทางการพัฒนา เพื่อสร้างสมดุลของระบบนิเวศและสนับสนันการเติบโตอย่างยั่งยืนบทสังคมเศรษฐกิจ
สรรค์เพื่อรับรองการพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
4. ความสาคัญของ จังหวัดเชียงราย มีพื้นที่ทั้งหมดจานวนทั้งสิ้น 7,298,981 ไร่ แบ่งเป็น พื้นที่ป่า
โครงการ หลักการและ อนุรักษ์ 1,659,051.08 ไร่ (ร้อยละ 22.93 ของพื้นที่จังหวัด) พื้นที่ป่าสงวน (ตาม
เหตุผล ประกาศกฎกระทรวงฯ) 4,701,807.34 ไร่ (ร้อยละ 64.41 ของพื้นที่จังหวัด) และ
พื้นที่เกษตรกรรม 3,747,330 ไร่ (ร้อยละ 51.91 ของพื้นที่จังหวัด) ซึ่งบางส่วนของ
พื้นที่เกษตรกรรมทับซ้อนกับพื้นที่ป่า ลักษณะภูมิประเทศส่วนใหญ่เป็นพื้นที่ภูเขาและที่
ราบเชิงเขาประมาณร้อยละ 70 ของพื้นที่ทั้งหมด และมีอาณาเขตติดต่อกับประเทศ
เพื่ อ นบ้ า นถึ ง 2 ประเทศ ได้ แ ก่ สาธารณรั ฐ แห่ ง สหภาพเมี ย นมา และสาธารณรั ฐ
ประชาธิป ไตยประชาชนลาว ประกอบกับในช่ว งฤดูแล้งโดยเฉพาะอย่างยิ่งช่ว งเดือน
กุมภาพันธ์และเดือนมีนาคม ประชาชนทั้งภายในจังหวัดและพื้นที่ข้างเคียงจะประกอบ
กิจกรรมการเผาในที่โล่ง เช่น การเผาเศษวัสดุทางการเกษตรเพื่อเตรียมพื้นที่ การเผาขยะ
การเผาป่าเพื่อเก็บหาของป่าเพื่อล่าสัตว์ การจุดไฟเพื่อการปศุสัตว์ และการจุดไฟเพื่อบุ ก
รุกหรือยึดถือครอบครองพื้นที่ป่า เป็นต้น ต่างเป็นองค์ประกอบของสาเหตุของ ปัญหา
คุณภาพอากาศที่รุนแรง
จากที่ผ่านมาภาครัฐมีนโยบายจัดทาแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยมีจุดมุ่งหมาย
ในยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ใน
การสร้างสมดุลระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน มีจุดเน้นในข้อ 4.4.3
ในการจัดการมลพิษที่มีผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อม และสารเคมีในภาคเกษตรทั้งระบบ ให้
เป็นไปตามมาตรฐานสากลและค่ามาตรฐานสากล ซึ่งสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ในการการสร้างการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ประเด็นการสร้างความมั่นคงของฐาน
ทรัพยากรธรรมชาติและยกระดับคุณภาพสิ่งแวดล้อม เพิ่มขีดความสามารถในการรับมือ
ภัยพิบัติและการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ
ประกอบกั บ จั ง หวั ด เชี ย งรายที่ มี วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ มุ่ ง ไปสู่ เชี ย งรายเมื อ งท่ อ งเที่ ย ว
สร้ า งสรรค์ สะอาด ปลอดภั ย น่ า ยล ในประเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 3 การจั ด การ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดรงความสมบูรณ์และยั่งยืนจังหวัดเชียงรายจึงได้
เล็งเห็นความสาคัญ ในการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าหมอกควันและฝุ่นละอองแบบ
บูรณาการของจังหวัดเชียงราย
เนื่องด้วยพื้นที่ภาคเหนือตอนบน ประสบปัญหาหมอกควันอย่างรุนแรงในช่วงต้นปี
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.2566
2564 ตรวจพบแนวโน้มการเพิ่มสูงขึ้นของปริมาณฝุ่นขนาดเล็ก (PM10) ตั้งแต่เดือน
กุม ภาพั น ธ์ 2564 เป็ น ต้ น มา จากข้ อ มู ล ภาพถ่ า ยดาวเที ย มตรวจพบจุ ด ความร้ อ น
(Hotspot) จานวนมากในพื้นที่ประเทศไทย พม่า ลาว เวียดนาม และกัมพูชา และในช่วง
เวลาดังกล่าวมวลอากาศเย็นเริ่มปกคลุมพื้นที่ภาคเหนือตอนบนของประเทศไทย สภาพ
อากาศแห้งและนิ่ง ฝุ่นละอองสามารถแขวนลอยอยู่ในบรรยากาศได้นาน ไม่สามารถ
แพร่กระจายออกไปได้และไม่ตกลงสู่พื้น ก่อให้เกิดสภาพฟ้าหลัว มีหมอกควันปกคลุม
ทัศนวิสัยต่ากว่า 1 กิโลเมตร ในหลายจังหวัด เนื่องมาจากสภาพภูมิประเทศที่เป็นภูเขา
สูงชันประกอบกับอาชีพของประชาชนในพื้นที่จังหวัดเชียงราย มีอาชีพเกษตรกรรมทา
ให้มีการเผาเศษวัชพืช หรือเผาเพื่อเตรียมพื้นที่ ซึ่งเป็นวิธีการที่สะดวก ประหยัด และง่าย
ซึ่งปั ญหาดังกล่าวในปี 2564 ยั งมีแนวโน้มที่เพิ่มสู งขึ้นเรื่อยๆ ส่ งผลกระทบ ให้ เกิด
ปั ญ หาด้ า นสุ ข ภาพของประชาชน ระบบนิ เวศป่า ไม้ ทรัพ ยากรธรรมชาติถู ก ทาลาย
รวมถึงส่งผลกระทบต่อเศรษฐกิจ และการท่องเที่ยวของกลุ่มจังหวัดลดลง
จังหวัดเชียงรายจึงมีความจาเป็นเร่งด่วนที่จะต้องดาเนินการเพิ่มประสิ ทธิภาพใน
การบริหารจัดการเชิงพื้นที่ (การแก้ไขปัญหาในระยะเร่งด่วนและในช่วงวิกฤต) อย่าง
ทันท่วงทีและเป็นไปอย่างต่อเนื่อง จึงได้จัดทาโครงการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่า
หมอกควันและฝุ่นละอองแบบบูรณาการของจังหวัดเชียงราย เพื่อลดอันตรายต่อสุขภาพ
อนามัยของประชาชน ส่งเสริมเศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิ่งด้านการท่องเที่ยวซึ่งเป็น
แหล่งรายได้หลักของจังหวัด และรักษาความสุมบูรณ์ของสภาพแวดล้อม นาไปสู่การ
บรรลุเป้าหมายระดับชาติตามแผนปฏิบัติการขับเคลื่อนวาระแห่งชาติ “การแก้ไขปัญหา
มลพิษด้านฝุ่นละออง” การสร้างความยั่งยืนของการแก้ไขปัญหาไฟป่าหมอกควันโดยลด
การเผา จาเป็นต้องการบริหารจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตรให้สามารถนามาใช้
ประโยชน์และสร้างมูลค่าเพิ่มสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรในพื้นที่จังหวัดเชียงรายต่อไป
5. วัตถุประสงค์ของ 1) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหามลพิษจากหมอกควันและไฟป่าในพื้นที่จังหวัด
โครงการ เชียงราย
2) เพื่อสร้างการรับรู้ ความตระหนัก ปลูกจิตสานึก และสร้างเครือข่ายการมีส่วนร่วมของ
ทุกภาคส่วนในการเตรียมรับสถานการณ์หมอกควันและไฟป่า
3) เพื่อสร้างนวัตกรรมในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษจากหมอกควันและไฟป่าใน
พื้นที่จังหวัดเชียงราย
6. ตัวชี้วัดและค่า 1) จานวนการเกิดจุดพิกัดความร้อน (hot spot) ลดลงร้อยละ 15 จากปีที่ผ่านมา
เป้าหมาย 2) หมู่บ้านปลอดการเผา (ช่วง 60 วัน อันตราย) ร้อยละ 100
3) เครือข่ายอาสาอาสาสมัครในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษจากหมอกควันและไฟ
ป่าในพื้นที่จังหวัดเชียงรายจานวน 20 ชุมชน
7. พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดเชียงราย
8. กิจกรรมหลัก การบูรณาการเพื่อเพิ่มประสิทธิภาพการป้องกันและแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่า
8.1 กิจกรรมหลักที่ 1 กิจกรรมเพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการด้านไฟป่า หมอกควัน และฝุ่นละอองขนาด
เล็ก PM 2.5 เชิงพื้นที่
งบประมาณ 9,033,800
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.2566
ผู้รับผิดชอบ สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย/สานักงานเกษตร จังหวัด
เชียงราย
8.2 กิจกรรมหลักที่ 2 เสริมสร้างศักยภาพและความตระหนักรู้ด้านการป้องกันและแก้ไขปัญหาไฟป่าหมอกควัน
และฝุ่นละอองอย่างมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน
งบประมาณ 11,362,700
ผู้รับผิดชอบ สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่15 เชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ปกครองจังหวัดเชียงราย/สานักจัดการทรัพยากรป่าไม้ที่ 2เชียงราย/สานักงานสภา
เกษตร จังหวัดเชียงราย/สานักงานเกษตร จังหวัดเชียงราย/
8.3 กิจกรรมหลักที่ 3 นวัตกรรมในการแก้ไขปัญหาหมอกควัน
งบประมาณ 14,000,000
ผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงราย/สานักบริหารพื้นที่อนุรักษ์ที่15
เชียงราย
9. หน่วยงานดาเนินงาน สานักงานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย
10. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
11. งบประมาณ 34,396,500
12. ผลผลิต (output) 1) เพิ่มประสิทธิภาพการแก้ไขปัญหามลพิษจากหมอกควันและไฟป่าในพื้นที่จังหวัด
เชียงราย ให้แก่ประชาชน หน่วยงานภาครัฐ
2) หมู่บ้านปลอดการเผา (ช่วง 60 วัน อันตราย) ร้อยละ 100
3) เครือข่ายอาสาอาสาสมัครในการป้องกันและแก้ไขปัญหามลพิษจากหมอกควันและไฟ
ป่าในพื้นที่จังหวัดเชียงรายจานวน 20 ชุมชน
13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ 1) ปัญหาหมอกควันและไฟป่าในพื้นที่จังหวัดเชียงรายลดลง
(Outcome) 2) คุณภาพอากาศในพื้นที่มีคุณภาพที่อยู่ในเกณฑ์มาตรฐานไม่ส่งผลกระทบต่อสุขภาพ
ของประชาชน
3) หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น และประชาชนในพื้นที่ มี
ส่วนร่วมในการแก้ไขปัญหาหมอกควันและไฟป่า

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.2566


แบบ จ.1-1
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ 4 การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดารงความสมบูรณ์และ
ยั่งยืน
แผนงาน เพิ่มพื้นที่สีเขียว การบริหารจัดการน้า และแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ
หัวข้อ รายละเอียด
1. ชื่อโครงการ โครงการบริหารจัดการทรัพยากรน้าอย่างสร้างสรรค์
2. แผนงาน เพิ่มพื้นที่สีเขียว การบริหารจัดการน้า และแก้ไขปัญหาการบุกรุกที่ดินของรัฐ
3. แนวทางการพัฒนา เพื่อสร้างสมดุลของระบบนิเวศและสนับสนันการเติบโตอย่างยั่งยืนบทสังคมเศรษฐกิจ
สรรค์เพื่อรับรองการพัฒนาเมืองให้น่าอยู่ที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม
4. ความสาคัญของ การบริหารจัดการน้าก็เป็นปัญหาร้ายแรงปัญหาหนึ่ง ทุกวันนี้ “ภัยแล้ง” กับ “ภัยน้า
โครงการ หลักการและ หลาก” เป็นภัยประจาปี การจัดการทรัพยากรน้าและลุ่มน้าตามแนวทางการพัฒนาที่
เหตุผล ผ่านมานั้น มักมุ่งเน้นการจัดหาแหล่งน้า การจัดหาน้า รวมถึงการนาทรัพยากรในพื้นที่ลุ่ม
น้ามาใช้ตอบสนองความต้องการทางเศรษฐกิจ กลับกลายเป็นตัวเร่งให้เกิดความเสื่อม
โทรมในระบบนิเวศและพื้นที่ลุ่มน้าอย่างหนัก
จากที่ผ่านมาภาครัฐมีนโยบายจัดทาแผนยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี โดยมีจุดมุ่งหมาย
ในยุทธศาสตร์ที่ 5 ด้านการสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม ใน
การสร้ างสมดุล ระหว่างการอนุรักษ์กับการใช้ประโยชน์อย่างยั่งยืน ซึ่งสอดคล้ องกับ
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560 – 2564) ในการการ
สร้างการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจและสังคมที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อม โดยมีกลยุทธ์ใน
การบริหารจัดการน้าให้สมดุลระหว่างการอุปสงค์และอุปทานของน้า
ประกอบกั บ จั ง หวั ด เชี ย งรายที่ มี วิ สั ย ทั ศ น์ ที่ มุ่ ง ไปสู่ เชี ย งรายเมื อ งท่ อ งเที่ ย ว
สร้ า งสรรค์ สะอาด ปลอดภั ย น่ า ยล ในประเด็ น ยุ ท ธศาสตร์ ที่ 3 การจั ด การ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมให้ดรงความสมบูรณ์และยั่งยืน จังหวัดเชียงรายจึงได้
เล็ ง เห็ น ความส าคั ญ น้ าซึ่ ง ถื อ ว่ า เป็ น ทรั พ ยากรที่ จ าเป็ น ทั้ ง ในภาคเกษตรกรรมและ
อุ ต สาหกรรม มี ค วามส าคั ญ อย่ า งยิ่ ง ในการพั ฒ นาขั บ เคลื่ อ นจั ง หวั ด แม้ แ ต่ ใ นการ
ดารงชีวิตการอุปโภคบริโภคการประกอบอาหารชาระร่างกายการเพาะปลูกเลี้ยงสัตว์เป็น
แหล่ ง ที่ อ ยู่ อ าศั ย ของปลาและสั ต ว์ น้ าอื่ น ๆ ในภาคอุ ต สาหกรรมต้ อ งใช้ น้ าใน
ขบวนการผลิ ต โดยใช้ ล้ า งของเสี ย หล่ อ เครื่ อ งจั ก รและระบายความร้ อ นน้ าจึ ง เป็ น
ทรัพยากรที่สาคัญอย่างมากและเป็นทรัพยากรที่ทรงคุณค่าจึงมีความจาเป็นที่ทุกฝ่ายต้อง
รับรู้ตระหนักและเข้าใจอย่างลึกซึ้ง อีกทั้งปัญหาเกี่ยวกับ ทรัพยากรน้าที่ประเทศไทย
ประสบอยู่และกาลังทวีความรุนแรงมากขึ้น ในปัจจุบันมีหลายประการ ได้แก่ ปัญหาน้า
เน่าเสีย อันมีสาเหตุมาจากหลายปัจจัย ทั้งน้าเสียจาก ภาคการเกษตร การเพาะปลูก
เลี้ยงสัตว์ น้าเสียจากภาคอุตสาหกรรมและน้าเสียจากชุมชน ปัญหาการขาดแคลนน้าใน
ฤดูแล้ง ปัจจุบันเกิดขึ้นในระดับวิกฤตในหลายพื้นที่และทวีความรุนแรงมากยิ่งขึ้น น้าใน
เขื่อนสาคัญต่างๆ ขณะเดียวกันความต้องการใช้น้ากลับมีมากและเพิ่มขึ้นเรื่อยๆ เป็นสิ่ง
บอกเหตุ ส าคัญ ที่แ สดงให้ เ ห็ น ถึง แนวโน้ม ความรุ นแรงของภั ยแล้ ง ในอนาคต ปัญ หา
คุณภาพน้า ปัญหาการชะล้างพังทลายของดิน เนื่องจากผิวดินถูกเปลี่ยนสภาพไปเป็น
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.2566
พื้ น ที่ ก ารเกษตรจ านวนมาก ท าให้ ห น้ า ดิ น เปิ ด โล่ ง เมื่ อ มี ฝ น ตกลงมาอย่ า งหนั ก จึ ง
ก่อให้เกิดการชะล้างพังทลายได้ง่าย ปัญหาการเกิดอุทกภัย เป็นปัญหาที่เกิดขึ้น แทบทุก
ปีในช่วงฤดูมรสุม เมื่อฝนตกหนักหรือตกติดต่อกันเป็นเวลานานๆ สาเหตุเนื่องมาจาก
การตัดไม้ทาลายป่า แหล่งน้าตื้นเขินทาให้รองรับน้าได้น้อยลง ปัญหา ความขัดแย้งใน
การใช้น้าเนื่องจากความต้องการใช้น้าของประชาชนมีเพิ่มมากขึ้นจึงทาให้ในพื้นที่ ที่มี
ความต้องการใช้น้าสูงและมีการขาดแคลนน้า เกิดปัญหาการแย่งน้ากัน ปัญหาการใช้
ทรัพยากร น้าอย่างไม่เหมาะสม เป็นต้น
จากปั ญ หาที่ ก ล่ า วมาข้ า งต้ น ประกอบกั บ การด าเนิ น งานการพั ฒ นาจั ง หวั ด
เชี ย งราย จึ ง ต้ อ งเสนอขอโครงการบริ ห ารจั ด การน้ าแบบบู ร ณาการ เพื่ อ เพิ่ ม
ประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้าทั้งปริมาณและคุณภาพอย่างเป็นรูปธรรมทั้งในระยะ
สั้นและระยะยาว โดยทั้งหน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน ผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย และชุมชนใน
ลุ่มน้า ควรต้องร่วมกันทบทวนและปรับปรุงกระบวนการจัดการน้าบางส่วนให้มีความ
เหมาะสมกับกาลปัจจุบันด้วยแนวคิดของนโยบายที่ตั้งอยู่บนฐานแห่งความเป็นจริง และ
สามารถปฏิบัติได้โดยอาศัยข้อมูล ความรอบรู้ และสติปัญญาของผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่ายที่
เข้าใจในรากเหง้าแห่งปัญหา ซึ่งการจัดการน้าในปัจจุบันควรมีกลไกสาคัญได้แก่ การมี
ส่ ว นร่ ว มของทุ ก ฝ่ า ยในการท างานแบบร่ ว มด้ ว ยช่ ว ยกั น คิ ด ช่ ว ยกั น หารู ป แบบและ
วิธีดาเนินการแก้ปัญหาต่าง ๆ แบบบูรณาการในทุกมิติเสมอ จึงจะบังเกิดผลสัมฤทธิ์อย่ าง
ยั่งยืนโดยไม่เกิดความขัดแย้งในสังคม
5. วัตถุประสงค์ของ 1. เพื่อก่อสร้างเขื่อนป้องกันตลิ่งริมแม่น้า ป้องกันการกัดเซาะ
โครงการ 2. เพื่อป้องกันและบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในพื้นที่ด้านแหล่งน้า
3. เพื่อสนับสนุนและส่งเสริมให้เกิดการบริหารจัดการน้าอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
6. ตัวชี้วัดและค่า แหล่งน้าได้รับการบริหารจัดการ ฟื้นฟูจานวน 3 แหล่ง
เป้าหมาย
7. พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดเชียงราย
8. กิจกรรมหลัก การบริหารจัดการทรัพยากรน้าแบบบูรณาการ
8.1 กิจกรรมหลักที่ 1 กิจกรรมการก่อสร้างเขื่อนป้องกันตลิ่งริมแม่น้า
งบประมาณ 84,500,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ โยธาธิการ จังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย
8.2 กิจกรรมหลักที่ 2 การบริหารจัดการทรัพยากรน้าเพื่อป้องกันปัญหาอุทกภัยและบรรเทาปัญหาภัยแล้ง๖
งบประมาณ 60,000,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ ชลประทาน จังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง ศูนย์ป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยเขต 15 เชียงราย
8.๓ กิจกรรมหลักที่ 3 นวัตกรรมการบริหารจัดการน้าแบบบูรณาการ
งบประมาณ 2,000,000 บาท
ผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สานักทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.2566
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลล้านนาเชียงราย สานักทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย ปภ.15 เชียงราย
9. หน่วยงานดาเนินงาน สานักทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมจังหวัดเชียงราย
10. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
11. งบประมาณ 146,500,000 บาท
12. ผลผลิต (output) 1. ได้เขื่อนป้องกันตลิ่งริมแม่น้า
2. ป้องกันและบรรเทาปัญหาความเดือดร้อนของประชาชนในพื้นที่ด้านแหล่งน้า
3. เกิดการบริหารจัดการน้าอย่างถูกต้องตามหลักวิชาการ
13. ผลที่คาดว่าจะได้รับ เกิดการบริหารจัดการน้าแบบบูรณาการเน้นการบริหารจัดการน้าให้เกิดประโยชน์สูงสุด
(Outcome) เพื่อให้ประชาชนสามารถใช้ในได้อย่างคุ้มค่า พร้อมทั้งมุ่งในการแก้ไขปัญหาน้าท่วมและ
การขาดแคนน้าในการเกษตรและอุปโภคบริโภค และภาคอุตสาหกรรม โดยการบริหาร
จัดการรักษาพัฒนาแหล่งน้าให้เพียงพอต่อการใช้งาน ทั้งในภาวะน้าขาดและน้าเกิน ซึ่ง
หลักในการบริหารจัดการน้าแบบบูรณาการในรูปแบบต่าง ๆ

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.2566


ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ ๕
การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์

1. โครงการพัฒนาโครงสร้างพืนและการยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสร้างสรรค์
2. โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ และศักยภาพแรงงานสู่เมืองสร้างสรรค์
3. โครงการส่งเสริมเชียงรายเมืองสร้างสรรค์ด้านความมั่นคง และปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ ๕ การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์
แผนงาน เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจฐานราก การค้าการลงทุนให้สามารถแข่งขันได้ เชื่อมโยงภูมิภาค และ
ต่างประเทศ
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นและการยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสร้างสรรค์
๒. แผนงาน เพิ่มศักยภาพคนทุกกลุ่มวัยและยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสร้างสรรค์
๓. แนวทางการพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ลดความเหลื่ อมล้าในสังคม ส่ งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สาหรับคนทุกช่วงวัย และเสริมสร้างความปลอดภัยและความมั่งคงในชีวิตทรัพย์สินของ
ประชาชนเพื่อนาไปสู่สังคมสร้างสรรค์
๔. ความสาคัญของ จังหวัดเชียงรายมีประเด็นการพัฒนา ปี ๒๕๖๖ ยุทธศาสตร์ที่ ๕ การพัฒนาคุณภาพชีวิต
โครงการ หลักการและ และความมั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ แผนงาน เพิ่มศักยภาพคนทุกกลุ่มวัยและ
เหตุผล ยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสร้างสรรค์ โดยเฉพาะประเด็นการเตรียมความพร้อมสู่สังคมสูง
วัยเชิงรุกและบูรณาการ เนื่องจากจังหวัดเชียงรายได้กลายเป็นสังคมสูงอายุอย่างสมบูรณ์
ในปี พ.ศ. ๒๕๖๓ และกว่าร้อยละ ๖ เป็นผู้สูงอายุกลุ่มพึ่งพา (ข้อมูลจาก HDC สานักงาน
สาธารณสุ ข จั ง หวั ด ชี ย งราย วั น ที่ 1 ตุ ล าคม 2562) ส่ ง ผลกระทบต่ อ ทั้ ง สั ง คมและ
เศรษฐกิจ จาเป็นต้องมีผู้ดูแล และต้องใช้ง บประมาณในการดูแลด้านสุขภาพเป็นอย่าง
มาก ดังนั้นวิธีการที่ช่วยให้ผู้สูงอายุยังมีสุขภาพดีทั้งกาย ใจ สามารถช่วยเหลือตัวเองได้
นานที่ สุ ด จึ ง เป็ น สิ่ ง ส าคั ญ เพื่ อ ลดภาวะพึ่ ง พิ ง ได้ สาเหตุ ห ลั ก ที่ ท าให้ ผู้ สู ง อายุ ที่ ยั ง
ช่วยเหลือตัวเองได้กลายเป็นผู้สูงอายุที่ต้องพึงพิงผู้ อื่นอย่างรวดเร็ว คือ การหกล้ม การ
สูญเสียการทรงตัวส่งผลให้เกิดการบาดเจ็บ เมื่อผู้สูงอายุกลายเป็นบุคคลพึ่งพิงแล้วอาจ
ส่งผลให้ผู้สูงอายุมีความรู้สึกถดถอยทางใจและผู้ดูแลเกิดความทุกข์ทรมานทางจิตใจได้
นอกจากนี้ จากเหตุการณ์การแพร่ระบาดของไวรัสโควิด ๑๙ ยังส่งผลกระทบต่อสภาพ
จิตใจคนในชุมชนรวมถึงผู้สูงอายุและผู้ดูแล ในปี 2565 จังหวัดได้เล็งเห็นความสาคัญและ
ได้พัฒนาชุมชนต้นแบบในการส่ งเสริมความสุ ขใจและความปลอดภัยของผู้ สูงอายุใน
ชุมชนต้นแบบ 3 อาเภอ การขยายโอกาสให้ผู้สูงอายุชุมชนอื่นได้มีโอกาสได้รับการดูแล
และส่งเสริมความสุขใจและความปลอดภัยป้องกันการหกล้มให้กว้างขวาง ขยายพื้นที่
และจานวนผู้สูงอายุให้ครอบคลุมมากขึ้น จึงเป็นสิ่งจาเป็นเพื่อลดความเหลื่อมล้า และ
ความสามารถในการเข้าถึงบริการของภาครัฐได้ ซึ่งจะช่ว ยให้ ผู้สูงอายุและครอบครัว
ชุมชน มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีสิ่งแวดล้อมที่เหมาะสม ปลอดภัย ให้ครอบคลุมทั้งอาเภอได้
มากขึ้น

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


รวมทั้งยุทธศาสตร์ชาติ 2561-2580 :การสร้างการเติบโตบนคุณภาพชีวิตที่เป็น
มิ ต รกั บ สิ่ ง แวดล้ อ มแผนแม่ บ ทภายใต้ ยุ ท ธศาสตร์ ช าติ , แผนปฏิ บั ติ ร าชการ
กระทรวงมหาดไทย,แผนแม่ บทการบริห ารจั ดการทรั พยากรน้า 20 ปี : การพั ฒ นา
โครงสร้างพื้นฐาน, การพัฒนาภูมิภาคเมืองและพื้นที่เศรษฐกิจ ,การจัดการน้าอุปโภค
บริโภค โดยมีตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัด: มิติสิ่งแวดล้อม “ร้อยละของครัวเรือนที่
เข้าถึงน้าประปา" ประเด็นการพัฒนาของจังหวัด ที่ 5 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความ
มั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ กาหนดให้องค์กรภาครัฐมีหน้าที่เพิ่มประสิทธิภาพ
การให้ บ ริ การของรัฐ ซึ่งปัจจุบันยังมีครัว เรือนที่ไม่ผ่ านเกณฑ์ในตัว ชี้วัดของการมีน้า
สะอาดสาหรับดื่มและบริโภคเพียงพอตลอดปี ดังนั้นจาเป็นต้องแก้ไขปัญหาน้า เพื่อการ
อุ ป โภค บริ โ ภคให้ กั บ ประชาชนร่ ว มกั น อย่ า งบู ร ณาการ ลดความซ้ าซ้ อ นของการ
ดาเนินการระหว่าง อปท. และการประปาส่วนภูมิภาค
นอกจากนี้ ใ นปั จ จุ บั น มณฑลทหารบกที่ 37 ค่ า ยเม็ ง รายมหาราช ยั ง ขาดอาคาร
เอนกประสงค์ ศูนย์ฝึกอบรมเครือข่ายประชาชนแบบบูรณาการ เนื่องจากสถานที่เคยใช้
ในการฝึกอบรมได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้ อไวรัสโคโร
นา 2019 (โควิด-19) อาคารบางส่วนได้รับมอบหมายจากคณะกรรมการโรคติดต่อจังหวัด
เชียงราย แปรสภาพเป็นโรงพยาบาลสนามซึ่งไม่สามารถใช้ดาเนินการการอบรมและจัด
กิจกรรมในการอบรมได้ อาจใช้ระยะเวลายาวนานจนกว่าสถานการณ์จะคลี่คลาย มณฑล
ทหารบกที่ 37 จึงมีความประสงค์จั ดสร้างอาคารเอนกประสงค์ ศูนย์ฝึกอบรมเครือข่าย
ประชาชนแบบบูรณาการ จังหวัดเชียงราย เพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และความมั่นคง
เพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ ของประชาชน ชุมชนในค่าย, ชุมชนรอบค่าย , ชุมชนในเขต
เทศบาลเมืองเชียงรายและประชาชนในพื้นที่จังหวัดเชียงรายรวมถึงประชาชนนอกพื้นที่
จังหวัดเชียงรายที่เข้าร่วมกิจกรรมการอบรมดังกล่าวข้างต้น

๕. วัตถุประสงค์ของ ๑. เพื่อพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ
โครงการ ๒. เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตตลอดทุกช่วงวัย
๓. เพื่อพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
๖. ตัวชี้วัดและค่า ๑. ประชาชนในพื้นจังหวัดเชียงรายที่มีอายุ ๓๕ ปีขึ้นไป และรายได้ครัวเรือนเฉลี่ยน้อย
เป้าหมาย กว่า ๓๘,๐๐๐ บาท/ปี ได้รับการตรวจสุขภาพประจาปีอย่างเหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อย
ละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ๒๐๐ คน
๒. ประชาชนในเขตพื้นที่จัง หวัดเชีย งรายผ่ านการอบรมให้ ความรู้ด้านโภชนาการที่
เหมาะสม ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ๒๐๐ คน
๓. ประชาชนในเขตพื้นที่จังหวัดเชียงรายผ่านการอบรมให้ความรู้เรื่องการใช้ยาและการ
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
ปฐมพยาบาลเบื้องต้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๘๐ ของกลุ่มเป้าหมาย ๒๐๐ คน
๔.ครูผู้สอนสามารถทาหน้าที่เป็น Learning Coach ด้วยกระบวนการ Active Learning
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพเพื่อแก้ไขปัญหาการเรียนรู้
ของผู้เรียน
๕.ผู้เรียนมีผลสัมฤทธิ์ด้านการเรียนสูงขึ้น เกิดการพัฒนาการเรียนการสอนตามบริบทของ
ผู้เรียน และสามารถสร้างนวัตกรรมที่เกิดจากการจัดการเรียนรู้ได้
๖.จานวนที่เพิ่มขึ้นของครัวเรือนที่เข้าถึงประปา ตัวชี้วัดการพัฒนาระดับจังหวัด: มิติ
สิ่งแวดล้อม “ร้อยละของครัวเรือนที่เข้าถึงน้าประปา"
๗. การพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และความมั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์โดยเน้นการ
อบรมเครือข่ายประชาชนแบบบูรณาการ เพิ่มขึ้นร้อยละ ๕๐
๗. พื้นที่เป้าหมาย ในพื้นที่จังหวัดเชียงราย
๘. กิจกรรมหลัก พัฒนาโครงสร้างพื้นและการยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสร้างสรรค์แบบบูรณาการ
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ การพัฒนาเมืองที่เป็นมิตรกับผู้สูงอายุ
งบประมาณ ๑,๐๐๐,๐๐๐
ผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง , สสจ.เชียงราย
หน่วยงานที่
เกี่ยวข้อง
๘.๒ กิจกรรมหลักที่ ๒ การพัฒนาคุณภาพชีวิตตลอดทุกช่วงวัย
งบประมาณ ๑๔,๔๕๖,๔๐๐
ผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๘.๓ กิจกรรมหลักที่ ๓ การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
งบประมาณ ๔๔,๐๐๐,๐๐๐
ผู้รับผิดชอบ กปภ.เชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๘.๔ กิจกรรมหลักที่ ๔ โครงการอาคารเอนกประสงค์ ศูนย์ฝึกอบรมเครือข่ายประชาชนแบบบูรณาการจังหวัด
เชียงราย
งบประมาณ ๕,๖๔๗,๐๐๐
ผู้รับผิดชอบ มณฑลทหารบกที่ 37
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๙. หน่วยงานดาเนินงาน มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง , กปภ.เชียงราย, มณฑลทหารบกที่ 37
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ ๖๕,๑๐๓,๔๐๐
๑๒. ผลผลิต (output) ๑.ประชาชนในเขต จ.เชียงราย ได้รั บการตรวจสุขภาพประจาปีต่อเนื่อง ๕ ปี จานวน
๒๐๐ คน
๒.ประชาชนในเขต จ.เชี ย งราย ได้ รั บ การถ่ า ยทอดความรู้ ที่ ถู ก ต้ อ งเกี่ ย วกั บ เรื่ อ ง
โภชนาการและการใช้ยาในการบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นอย่างถูกวิธี จานวน ๒๐๐
คน
๓. ครูผู้สอนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนของจังหวัดเชียงราย จานวน ๓๐๐
คน (จานวน ๕ เขตพื้นที่การศึกษา เขตละ ๒๐ โรงเรียน รวม ๑๐๐ โรงเรียน ๆ ละ ๓
คน)
๔. เกิดชุมชนแห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ จานวน ๑๐๐ ชุมชน (โรงเรียน)
๕. ผู้เรียนระดับชั้นมัธยมศึกษาตอนต้นในโรงเรียนของจังหวัดเชียงรายที่ครูผู้สอนเข้าร่วม
โครงการ จานวน ๓,๐๐๐ คน (จานวน ๕ เขตพื้นที่การศึกษา เขตละ ๒๐ โรงเรียน รวม
๑๐๐ โรงเรียน ๆ ละ ๓๐ คน) * สพป.1 แห่ง + สพม.1 แห่ง"
๖. สามารถวางท่อส่งและท่อจ่ายน้าประปา จากพื้นที่จ่ายน้าที่มีความดันสูงส่งไปยังพื้นที่
ห่างไกลตาบลต่างๆ ได้แก่ ต.รอบเวียง ต.เวียงชัย ต.สันทราย ต.ท่าสาย ต.บ้านดู่ ต.นาง
แล ต.ท่าสุด
๗. มีอาคารเอนกประสงค์ เอื้อต่อการจัดการอบรมเครือข่ายประชาชนแบบบูรณาการ
จังหวัดเชียงราย
๘. ส่งเสริมให้เป็นแหล่งศึกษาเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง“โครงการ
เดินตามรอยเท้าพ่อ” อย่างยั่งยืน
๙. มีอาคารเอนกประสงค์ มีอาคารเอนกประสงค์ เพื่อรองรับภารกิจแปรสภาพเป็น
โรงพยาบาลสนามที่อาจเกิดขึ้นจากสถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโร
นา ๒๐๑๙ (โควิด- 19)
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. ประชาชนที่มีรายได้น้อยในเขตจังหวัดเชียงรายจานวน ๒๐๐ คน สามารถลดความ
(Outcome) เสี่ยงจากการเกิดโรคติดต่อและโรคไม่ติดต่อได้จากการพยากรณ์โรค และสามารถเข้าถึง
การรักษาหรือบริการด้านสุขภาพได้อย่างรวดเร็ว
๒. เพิ่มประสิทธิภาพในการทางานให้แก่ประชาชนที่มีรายได้น้อยจานวน ๒๐๐ คน
๓. สามารถลดค่าใช้จ่ายในการรักษาพยาบาลในครัวเรือนของประชาชนที่มีรายได้น้อยที่
เข้าร่วมโครงการได้
๔. ประชาชนที่มีรายได้น้อยในเขตจังหวัดเชียงราย มีความรู้ด้านโภชนาการและการใช้ยา
ในการบรรเทาอาการเจ็บป่วยเบื้องต้นด้วยตนเองได้อย่างมีประสิทธิภาพและปลอดภัย
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
๕. ครูผู้สอนมีองค์ความรู้และสามารถถ่ายทอดองค์ความรู้โดยใช้กระบวนการ Active
Learning ในชั้นเรียนได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๖. คณะครูในโรงเรียนการเกิดช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันผ่านกระบวนการของชุมชน
แห่งการเรียนรู้ทางวิชาชีพ สร้างความเข้มแข็งทางวิชาการให้กับโรงเรียน
๗. ผู้เรียนเกิดทักษะการคิดวิเคราะห์ตามเป้าหมายการเรียนรู้ในศตวรรษที่ ๒๑ และ
สามารถต่อยอดองค์ความรู้แบบตลอดชีวิตได้อย่างเหมาะสม
๘. แก้ไขปัญหาน้าอุปโภคบริโภคไม่เพียงพอในเขตพื้นที่เมืองของจังหวัดเชียงราย ได้แก่
ครัวเรือน สถานที่ราชการ ธุรกิจ สถานที่สาคัญ โรงพยาบาล ในอาเภอเมือง-อาเภอเวียง
ชัย คิดเป็นจานวนผู้ได้รับประโยชน์ ประมาณ ๑๐๐,๐๐๐ ราย
๙. เพิ่มจานวนครัวเรือนที่เข้าถึงระบบสาธารณูปโภคน้าประปา
(ไม่น้อยกว่า ๑,๕๐๐ ครัวเรือน/ปี)
๑๐. สร้างเครือข่ายประชาชนแบบบูรณาการ ด้านการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์และความ
มั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์ จังหวัดเชียงราย
๑๑. สร้างรายได้ส่งเสริมศึกษาเรียนรู้ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง “โครงการ
เดินตามรอยเท้าพ่อ” อย่างยั่งยืน
๑๒. มี ส ถานที่เพื่อรองรับ ภารกิ จแปรสภาพเป็นโรงพยาบาลสนามที่อาจเกิด ขึ้นจาก
สถานการณ์ การแพร่ระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา ๒๐๑๙ (โควิด- 19)

* หมายเหตุ
๑. กาหนดให้ใช้ฟรอนต์ TH Sarabun PSK ๑๖
๒. ตัวเลขไทย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ ๕ การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์
แผนงาน เพิ่มมูลค่าเศรษฐกิจฐานราก การค้าการลงทุนให้สามารถแข่งขันได้ เชื่อมโยงภูมิภาค และ
ต่างประเทศ
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ และศักยภาพแรงงานสู่เมืองสร้างสรรค์
๒. แผนงาน เพิ่มศักยภาพคนทุกกลุ่มวัยและยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสร้างสรรค์
๓. แนวทางการพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ลดความเหลื่ อมล้าในสังคม ส่ งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สาหรับคนทุกช่วงวัย และเสริมสร้างความปลอดภัยและความมั่งคงในชีวิตทรัพย์สินของ
ประชาชนเพื่อนาไปสู่สังคมสร้างสรรค์
๔. ความสาคัญของ โครงสร้างประชากรของจังหวัดเชียงราย ข้อมูล ณ เดือนกรกฎาคม ๒๕๖๔ มีจานวน
โครงการ หลักการและ ผู้สูงอายุ ๒๕๐,๗๑๒ คน จากประชากรทั้งจังหวัด จานวน ๑,๒๙๗,๓๑๙ คน หรือคิดเป็น
เหตุผล ร้อยละ ๑๙.๓๒ ข้อมูลย้อนหลัง ๗ ปี เริ่มจากปี พ.ศ.๒๕๕๗ ซึ่งมีจานวนผู้สูงอายุร้อยละ
๑๔.๒๑ สั ดส่ วนจานวนประชากรผู้สู งอายุ ได้เพิ่มขึ้นเป็นขั้นบันไดอย่างชัดเจนจนถึง
ปัจจุบัน จึงนับได้ว่าจังหวัด เชียงรายกาลังเปลี่ยนแปลงโครงสร้างประชากรจากสังคมสูง
วัย (Aging society) ก้าวสู่สังคมสูงวัยอย่างสมบูรณ์ (Aged society)
ปัจจัยสนับสนุนสถานการณ์ดังกล่าวเนื่องจากความเจริญทางแพทย์และสาธารณสุข
ในปั จ จุ บั น ส่ ง ผลให้ ประชากรกลุ่ มสู ง อายุมี อายุยื นยาวขึ้น ในขณะอัตราการเกิดของ
ประชากรลดลง ส่งผลให้สัดส่วนประชากรกลุ่มนี้มีจานวนมากขึ้นตามลาดับ
ข้อมูลจากรายงานสถานการณ์ทางสังคมจังหวัดเชียงราย พ.ศ. ๒๕๖๓ – ๒๕๖๔ ซึ่ง
จัดทาโดยสานักงานพัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงราย รายงานว่า
ผู้สูงอายุภายในจังหวัด ประกอบด้วยผู้สูงอายุกลุ่มติดเตียง จานวน ๓,๘๙๘ คน ติดบ้าน
๑๑,๔๒๓ คน และติดสังคม จานวน ๒๒๖,๓๙๑ คน
ส่วนหนึ่งของผู้สูงอายุดังกล่าว เป็นกลุ่มที่มีศักยภาพ มีความสามารถ มีความรู้
มีภูมิปัญญา ที่สามารถถ่ายทอดวิชาให้ลูกหลานรุ่นต่อรุ่น หรือในกลุ่มผู้สูงอายุด้วยกัน
ส่วนหนึ่งเป็นผู้สูงอายุที่ไม่ได้เตรียมความพร้อมด้านเศรษฐกิจรองรับช่วงเวลาการ
เป็นผู้สูงวัย ไม่มีอาชีพ ไม่มีรายได้ ลูกหลานไม่มีศักยภาพให้การดูแลอย่างมีคุณภาพ เป็น
กลุ่มที่ต้องส่งเสริมให้มีอาชีพ มีรายได้เลี้ยงดูตนเอง
รัฐบาลส่งเสริมให้ผู้สูงอายุได้มีการรวมกลุ่มเพื่อทากิจกรรมร่วมกัน ช่วยเหลือซึ่งกัน
และกัน หนึ่งในกิจกรรมการรวมกลุ่มคือการจัดตั้งโรงเรียนผู้สูงอายุ มีการดาเนินกิจกรรม
มีการบริหารจัดการ มีกิจกรรมฝึกอบรมอาชีพ ผลิตสินค้าที่เป็นเอกลักษณ์ของผู้สูงอายุ
และส่วนใหญ่ จดทะเบียนเป็นองค์กรสาธารณประโยชน์ภายใต้ พ.ร.บ.ส่งเสริมการจัด
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
สวัสดิการสังคม พ.ศ.๒๕๔๖
รู ป แบบของครอบครั ว ปั จ จุ บั น ในสั ง คม ส่ ว นใหญ่ เ ป็ น ครอบครั ว เดี่ ย ว เด็ ก ใน
ครัวเรือน ออกจากบ้านเพื่อการศึกษา สมาชิกวัยแรงงาน ออกจากบ้านเพื่อทางาน จึงมัก
เห็ นภาพผู้สู งอายุพักอาศัยอยู่ในบ้านล าพัง หรือบางครัวเรือน มีเพียงผู้ สูงอายุ ความ
จาเป็นในการจัดบริการเพื่อดูแลผู้สูงอายุจึงเป็นความจาเป็นและต้องดาเนินการเร่งด่วน

การส่ ง เสริ ม และพั ฒ นาทั กษะฝี มือ แรงงาน เช่น อบรมระยะสั้ น อบรมยกระดับ ฝี มื อ
แรงงานเป็นกลไกสาคัญในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ ที่สามารถส่งเสริมและ
สนั บ สนุ น ให้ แ รงงานไทยมีง านท า หากเป็ น กลุ่ ม ผู้ ที่ว่ า งงาน เมื่ อมี โ อกาสเข้ า รับ การ
ฝึกอบรม มีความรู้ความสามารถที่สูงขึ้น จะมีโอกาสในการสร้างงาน สร้างอาชีพใหม่ ช่วย
ให้ แรงงานเหล่ านี้มีอาชีพที่มั่นคง การส ารวจภาวการณ์ทางานของประชากรจังหวัด
เชียงราย ปี 2563 ไตรมาสที่1- 4 ข้อมูลของสานักงานสถิติจังหวัดเชียงราย สานักงาน
สถิติแห่งชาติ กระทรวงดิจิทัลเพื่อเศรษฐกิจและสังคม พบว่า ใน ไตรมาสที่ 1-4 มีคิดเป็น
อัตราการว่างงาน ร้อยละ 0.7,1.7,1.0 และ0.3 ของกาลังแรงงานรวม เมื่อเปรียบเทียบ
กับช่วงเวลาเดียวกันของปี 2562 พบว่า อัตราการว่างงาน มีค่าเพิ่มขึ้นอย่างต่อเนื่อง การ
ส่งเสริมทักษะการประกอบอาชีพด้านการนวดไทย เป็นอาชีพหนึ่งในการดูแลสุขภาพและ
สามารถสร้างรายได้ให้กับตนเองและประเทศได้อีกทางหนึ่ง โดยการนวดแผนไทยเป็น
อาชีพที่ใช้เงินลงทุนทุนในการประกอบอาชีพน้อยและสามารถสร้างรายได้ให้กับตนเอง
และครอบครั ว ได้ โ ดยผู้ ป ระกอบอาชี พ นี้ จ า เป็ น ต้ อ งได้ รั บ การฝึ ก ฝนและต้ อ งมี
ความสามารถในด้านการปฏิบัติการนวดที่ถูกต้องและจาเป็นต้องมีการส่งเสริมและพัฒนา
ทักษะฝีมือแรงงาน เช่น การอบรมระยะสั้นเช่น การนวดไทย ผลิตภัณฑ์สมุนไพรสาหรับ
การนวด และอบรมยกระดับฝีมือแรงงาน เช่น การบูรณาการองค์ความรู้ด้านการนวด
ไทย ผลิตภัณฑ์สมุนไพรสาหรับการนวด การนวดแบบแผนจีน และการนวดทางการกีฬา
เพื่อพัฒนาอาชีพแก่ผู้ว่างงานในจังหวัดเชียงราย
เพื่อเป็นการฟื้นฟูเศรษฐกิจและสังคมที่ได้รับผลกระทบจากสถานการณ์การระบาดของ
โรคติดเชื้อไวรั ส โคโรนา 2019 และให้ ทันต่อเทคโนโลยีและการเปลี่ยนแปลงตาม
สถานการณ์ต่าง ๆ เป็นการสร้างโอกาสให้กับประชาชนผู้ว่างงานในจังหวัดเชียงราย ให้มี
คุณภาพชีวิตที่ดีและมั่นคง สามารถผ่านพ้นวิกฤตต่าง ๆ ไปได้ รวมถึงการปรับเปลี่ยน
วิธีการเรียนรู้ การทางานแบบ New Normal ที่มีการแพร่ระบาดของไวรัสโควิด-19 ด้วย

๕. วัตถุประสงค์ของ ๑. เพื่อพัฒนาและเพิ่มทักษะฝีมือแรงงานในจังหวัดเชียงราย
โครงการ ๒. เพื่อส่งเสริมอาชีพให้เป็นแรงงานกลุ่ม
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
๖. ตัวชี้วัดและค่า ๑. ผลิตแรงงานเพิ่มขึ้น ไม่น้อยกว่าร้อยละ 60
เป้าหมาย ๒. ผู้เรียนและเยาวชนร้อยละ ๘๐ มีทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลด้านอาชีพการค้า
ออนไลน์
๓. ค่าร้อยละ ๓๐ ของผู้ผ่านการฝึกทักษะฝีมือมีรายได้เพิ่มขึ้น
๔. จานวนผู้ผ่านการฝึกทักษะฝีมือแรงงาน ร้อยละ ๘๐
๗. พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดเชียงราย
๘. กิจกรรมหลัก โครงการพัฒนาและส่งเสริมอาชีพ และศักยภาพแรงงานสู่เมืองสร้างสรรค์
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ การพัฒนาและเพิ่มทักษะฝีมือแรงงาน
งบประมาณ ๑๒,๙๗๕,๘00
ผู้รับผิดชอบ สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สนง.แรงงานจังหวัดเชียงราย
ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย
สนง.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงราย/สานักวิชาวิทยาศาสตร์
สุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
มณฑลทหารบกที่ 37
๘.๒ กิจกรรมหลักที่ ๒ การส่งเสริมอาชีพให้เป็นแรงงานกลุ่ม
งบประมาณ ๒,๘๐๐,๐๐๐
ผู้รับผิดชอบ มหาวิทยาลัยแม่ฟ้าหลวง
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๙. หน่วยงานดาเนินงาน สถาบันพัฒนาฝีมือแรงงานจังหวัดเชียงราย
สนง.แรงงานจังหวัดเชียงราย
ศึกษาธิการจังหวัดเชียงราย อาชีวศึกษาจังหวัดเชียงราย
สนง.พัฒนาสังคมและความมั่นคงของมนุษย์จังหวัดเชียงราย/สานักวิชาวิทยาศาสตร์
สุขภาพ มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงราย
มณฑลทหารบกที่ 37
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ ๑๕,๗๗๕,๘๐๐
๑๒. ผลผลิต (output) ๑. แรงงานสูงอายุและแรงงานนอกระบบมีความรู้และทักษะฝีมือ จานวน ๑๐ กลุ่ม
จานวน ๒๐๐ คน
๒. ประชาชนชุมชนรอบค่ายเม็งรายมหาราช ผู้ที่สนใจ และประชากรกลุ่มเปราะบาง
มีการประกอบอาชีพที่หลากหลาย
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
๓. มีรายได้เพิ่มขึ้นจากการประกอบอาชีพ และยกระดับคุณภาพชีวิตอย่างสร้างสรรค์
๔. เด็กและเยาวชนมีทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลด้านอาชีพการค้าออนไลน์
๕. เด็กและเยาวชนมีทักษะเทคโนโลยีดิจิทัลด้านสื่อการประชาสัมพันธ์
๖. รู ป แบบการเสริ ม สร้ า งทั ก ษะและประสบการณ์ ด้ า นอาชี พ ส าหรั บ เยาวชนใน
สถานศึกษาที่สอดคล้องกับวิถีการผลิตในชุมชน บุคลากรในสถานศึกษามีทักษะอาชีพ
ระดั บ มั ธ ยมศึ ก ษาตอนต้ น และระดั บ อาชี ว ศึ ก ษาในสถานศึ ก ษากลุ่ ม เป้ า หมายมี
ความสามารถในการจัดการเรียนรู้ และการพัฒนาแผนการจัดกิจกรรม สื่อ – นวัตกรรม
และเครื่องมือที่ใช้ในการเสริมสร้างทักษะและประสบการณ์ด้านอาชีพสาหรับเยาวชนใน
สถานศึกษาที่สอดคล้องกับวิถีการผลิตในชุมชน จานวน ๓๖๐ คน
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑.แรงงานสูงอายุและแรงงานนอกระบบ มีศักยภาพเพิ่มขึ้น มีโอกาสและทางเลือกในการ
(Outcome) ประกอบอาชีพ มีรายได้เพิ่มขึ้น และได้รับการคุ้มครองตามกฎหมาย
๒. ประชาชนชุมชนรอบค่ายเม็งรายมหาราช ผู้ที่สนใจ และประชากรกลุ่มเปราะบาง
มีการประกอบอาชีพเพิ่มขึ้น และลดภาระหนี้สิน
๓. มีการแปรรูปเห็ด และผลิตภัณฑ์เห็ดจัดส่งออกในประเทศ และต่างประเทศ
๔. เห็ดกลายเป็นที่ต้องการของตลาด ทาให้เศรษฐกิจเกิดการพัฒนา
๕. ประชาชนชุมชนรอบค่ายเม็งรายมหาราช ผู้ที่สนใจ และประชากรกลุ่มเปราะบาง
ปรับตัวได้ทันต่อความผันผวนของสถานการณ์ทางเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดล้อม
๖. เกิดเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา ชุมชนและสถานประกอบการ
ในท้องถิ่น เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตเชิงสร้างสรรค์ด้วยเทคโนโลยีดิจิทัล
๗. ราษฎรที่เข้าร่วมกิจกรรมมีรายได้เพิ่มขึ้น พึ่งตนเองได้ มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
๘. เยาวชนที่ เ ข้ า ร่ ว มกิ จ กรรมได้ รั บ การพั ฒ นาทั ก ษะอาชี พ เพื่ อ ยกระดั บ คุ ณ ภาพ
การศึกษาและคุณภาพชีวิตที่เหมาะสม
๙. แรงงานที่เข้าร่วมกิจกรรมได้รับรู้ ความเข้าใจ เกิดการรวมกลุ่มเพื่อประกอบอาชีพ มี
ทักษะฝีมือด้านแรงงานเพิ่มขึ้น มีช่องทางการจัดจาหน่ายหรือตลาดรองรับ มีรายได้
เพิ่มขึ้น

* หมายเหตุ
๑. กาหนดให้ใช้ฟรอนต์ TH Sarabun PSK ๑๖
๒. ตัวเลขไทย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖


แบบ จ.๑-๑
(Project Brief รายโครงการ)
แบบสรุปโครงการแบบย่อ (Project Brief)
ประเด็นการพัฒนาจังหวัดที่ ๕ การพัฒนาคุณภาพชีวิตและความมั่นคงเพื่อส่งเสริมสังคมสร้างสรรค์
แผนงาน ส่งเสริมความมั่งคง ความปลอดภัยในชีวิตและรับมือกับภัยด้านสุขภาพจากโรคอุบัติใหม่และโรคอุบัติ
ซ้า
หัวข้อ รายละเอียด
๑. ชื่อโครงการ โครงการส่งเสริมเชียงรายเมืองสร้างสรรค์ด้านความมั่นคง และปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน
๒. แผนงาน ส่งเสริมความมั่งคง ความปลอดภัยในชีวิตและรับมือกับภัยด้านสุขภาพจากโรคอุบัติใหม่
และโรคอุบัติซ้า
๓. แนวทางการพัฒนา เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิต ลดความเหลื่ อมล้าในสังคม ส่ งเสริมการเรียนรู้ตลอดชีวิต
สาหรับคนทุกช่วงวัย และเสริมสร้างความปลอดภัยและความมั่งคงในชีวิตทรัพย์สินของ
ประชาชนเพื่อนาไปสู่สังคมสร้างสรรค์
๔. ความสาคัญของ สืบเนื่องจากการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในปัจจุบันได้เป็นไปอย่างรวดเร็วและหลายมิติทา
โครงการ หลักการและ ให้ ภู มิทั ศ น์ ของโลกเปลี่ ย นแปลงไปอย่ า งมีนั ย ส าคั ญ ซึ่ ง การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิด ขึ้ น นี้
เหตุผล ก่อให้เกิดโอกาส ทั้งในด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดล้อม เทคโนโลยี และการเมืองของ
ประเทศไทย และในขณะเดียวกัน ก็เป็นความเสี่ยงและภัยคุกคามที่ต้องบริหารจัดการ
ด้วยความยากลาบากมากขึ้น ซึ่งสถานการณ์ภัยพิบัติที่เกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัดเชียงราย ใน
ปัจจุบัน มีความถี่ ทวีความรุนแรง ซับซ้อนและขยายวงกว้ างเพิ่มมากขึ้น โดยการเกิดภัย
พิบัติแต่ละครั้งสร้างความสูญเสียต่อชีวิตและทรัพย์สินของประชาชนและรัฐ ตลอดจน
พื้น ที่การเกษตรสั ตว์เลี้ ยง พื้นที่เศรษฐกิจ เขตชุมชน โครงสร้างพื้นฐาน และสถานที่
สาคัญ เป็นจานวนมาก สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย ใน
ฐานะกองอานวยการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย ซึ่งมีห น้าที่ใน
การบูรณาการ อานวยการ ประสานการปฏิบัติงาน ด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัยทั้งหน่วยงานภาครัฐ รัฐวิสาหกิจ เอกชน รวมถึงภาคประชาชนจึงได้นาแนวคิดในการ
บริหารจัดการทรัพยากรยุคใหม่ “สาธารณภัยเป็นเรื่องที่สามารถเตรียมความพร้อม เพื่อ
ป้องกันและลดความเสียหายได้ ” โดยให้ความสาคัญกับการป้องกัน การลดผลกระทบ
และการเตรีย มความพร้อม ในช่วงก่อนเกิดภัยพิบัติควบคู่กับการจัดการภาวะฉุกเฉิน
ในขณะเกิดภัย โดยการสร้างความรู้ ให้ แก่ป ระชาชนพัฒ นาศักยภาพชุมชน/หมู่บ้า น
พั ฒ นาระบบแจ้ ง เตื อ นภั ย ในชุ ม ชน/หมู่ บ้ า น โดยให้ ป ระชาชนในชุ ม ชน/หมู่ บ้ า น
อาสาสมัครเข้ามามีส่วนร่วมในการดาเนินกิจกรรมในการแจ้งเตือนภัยพิบัติ และพัฒนา
ระบบสารสนเทศเพื่อการแจ้งเตือนและเฝ้าระวังสาธารณภัย ถือว่าเป็นสิ่งที่สาคัญยิ่งใน
การเตรี ย มความพร้อมรับมือภัยพิบัติทางธรรมชาติที่อาจจะเกิดขึ้น รวมถึงการฟื้นฟู
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
บูรณะภายหลังภัยพิบัติสิ้นสุด โดยมีเป้าหมาย เพื่อป้องกันและลดผลกระทบจากสาธารณ
ภัยลดความเสี่ยงของประชาชนจากสาธารณภัยสร้างความพร้อมในการบริหารจัดการสา
ธารณภัยได้อย่างทันเหตุการณ์และมีประสิทธิภาพ ลดผลกระทบและความสูญเสียให้น้อย
ที่สุ ด ตลอดจนช่ว ยเหลือผู้ประสบภัยให้ ได้รับการสงเคราะห์ ช่ว ยเหลือตรงตามความ
ต้องการและเป็นธรรม สามารถกลับไปดารงชีวิตได้ตามปกติโดยเร็ว รวมทั้งฟื้นฟูบูรณะ
พื้นที่ประสบภัยให้กลับคืนสู่สภาพเดิมโดยเร็วที่สุด ดังนั้น เพื่อเป็นการลดความเสี่ยงจาก
การเกิดภัยพิบัติ บรรเทาและลดผลกระทบจากสาธารณภัยที่อาจเกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัด
เชียงราย จึงมีความจาเป็นในการจัดฝึกอบรมเพิ่มประสิทธิภาพเจ้าหน้าที่และผู้นาชุมชน
ให้ มี ค วามรู้ ความเข้ า ใจ และเกิ ด ทั ก ษะปฏิ บั ติ ด้ า นสาธารณภั ย ที่ ถู ก ต้ อ งตาม
มาตรฐานสากล พั ฒ นาศั ก ยภาพ อปพร. อาสาสมั ค ร จิ ต อาสาสาธารณภั ย ในการ
สนับสนุน ช่วยเหลือภาครัฐในการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัย และเพื่อให้ศูนย์ อป
พร. ในทุกระดับในพื้นที่จังหวัดเชียงราย สามารถขับเคลื่อนงาน อปพร. ให้มีศักยภาพ
และประสิ ทธิ ภ าพมากยิ่ งขึ้ น รวมถึง เป็ น การเตรี ย มความพร้ อมในการพัฒ นาทัก ษะ
ความสามารถเมื่อเผชิญเหตุและช่วยเหลือผู้ประสบสาธารณภัย สามารถสนองนโยบาย
ของรัฐบาลและความต้องการของประชาชนได้ทันต่อสถานการณ์ภัย
๕. วัตถุประสงค์ของ ๑.เพื่อเสริมสร้างความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
โครงการ ๒.เพื่อพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านความปลอดภัยทางถนน
๓.เพื่อเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติและสาธารณภัย
๔.เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
๕.เพื่อพัฒนาจังหวัดมุ่งสู่จังหวัดใสสะอาดและจังหวัดคุณธรรม
๖. ตัวชี้วัดและค่า ๑.การลดอุบัติเหตุทางถนนในชุมชนลดลงร้อยละ ๑๐
เป้าหมาย ๒. จานวนบุคลากรในหน่วยงานที่มีหน้าที่ประสานการปฏิบัติด้านการป้องกันกรณีเกิดสา
ธารณภัยขึ้นในพื้นที่จังหวัด ทั้งหน่วยงานทหาร หน่วยงานพลเรือน องค์กรปกครองส่วน
ท้องถิ่น ผู้นาท้องที่ ผู้นาชุมชน องค์การสาธารณกุศล อาสาสมัคร และภาคประชาชน มี
ความรู้และทักษะด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยอย่างเป็นระบบและมีเอกภาพ
ตามมาตรฐานสากล พร้อมเผชิญเหตุและช่วยเหลือผู้ประสบภัยในระดับพื้นที่ สามารถ
สนับสนุนการจัดการภาวะฉุกเฉินได้อย่างมีประสิทธิภาพ จานวนไม่น้อยกว่า ๗๐๐ คน
๓.การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ในการทางานโครงการรณรงค์ป้องกันและ
แก้ไขปัญหายาเสพติดจังหวัดเชียงรายอย่างน้อยปีละ ๑ ครั้ง จานวน ๕๐๐ คน
๔.อาสาสมัครภาคประชาชน หรือเจ้าหน้าที่ของรัฐ ในจังหวัดเชียงราย มีความรู้มี
ศักยภาพด้านร่างกายและจิตใจเพิ่มขึ้น สามารถเป็นเครือข่ายพลังมวลชนในการเฝ้าระวัง
และกลั่นกรองภัยคุกคามด้านความมั่นคง และโรคระบาดในรูปแบบต่าง ๆ ร่วมถึง การ
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
แจ้งข่าวให้กับเจ้าหน้าที่ด้านความมั่นคง ตลอดถึงการพิทักษ์รักษาไว้ซึ่งสถาบันชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์ และการปกครองระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์
ทรงเป็นประมุขสืบต่อไป

๗. พื้นที่เป้าหมาย จังหวัดเชียงราย
๘. กิจกรรมหลัก โครงการส่งเสริมเชียงรายเมืองสร้างสรรค์ด้านความมั่นคง และปลอดภัยในชีวิตและ
ทรัพย์สิน
๘.๑ กิจกรรมหลักที่ ๑ การเสริมสร้างความมั่นคงและปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิน
งบประมาณ ๑๓,๓๘๘,๑๐๐
ผู้รับผิดชอบ สานักงานจังหวัดเชียงราย ศูนย์ดารงธรรมจังหวัด
ที่ทาการปกครองครองจังหวัดเชียงราย ตารวจภูธรจังหวัดเชียงราย วัฒนธรรมจังหวัด
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง เชียงราย
๘.๒ กิจกรรมหลักที่ ๒ การพัฒนาระบบบริหารจัดการด้านความปลอดภัยทางถนน
งบประมาณ ๓,๒๘๒,๐๐๐
ผู้รับผิดชอบ สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๘.๓ กิจกรรมหลักที่ ๓ การเตรียมความพร้อมรับมือภัยพิบัติและสาธารณภัย
งบประมาณ ๔,๘๕๐,๐๐๐
ผู้รับผิดชอบ สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๘.๔ กิจกรรมหลักที่ ๔ การเพิ่มประสิทธิภาพในการป้องกันและแก้ไขปัญหายาเสพติด
งบประมาณ ๕,๑๐๐,๐๐๐
ผู้รับผิดชอบ ศปส.จ. ตารวจภูธรจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๘.๕ กิจกรรมหลักที่ ๕ การพัฒนาจังหวัดมุ่งสู่จังหวัดใสสะอาดและจังหวัดคุณธรรม
งบประมาณ ๒,๔๑๖,๐๐๐
ผู้รับผิดชอบ ยุติธรรมจังหวัดเชียงราย สานักงานวัฒนธรรมจังหวัดเชียงราย
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๙. หน่วยงานดาเนินงาน สานักงานจังหวัดเชียงราย
ยุติธรรมจังหวัดเชียงราย
ศปส.จ. ตารวจภูธรจังหวัดเชียงราย
สานักงานป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยจังหวัดเชียงราย
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
ที่ทาการปกครองครองจังหวัดเชียงราย
ศูนย์ดารงธรรมจังหวัด
๑๐. ระยะเวลาในการ 1 ปี (กันยายน 2565 – ตุลาคม 2566)
ดาเนินงาน
๑๑. งบประมาณ ๒๙,๐๓๖,๑๐๐
๑๒. ผลผลิต (output) ๑.คณะกรรมการหมู่บ้าน จานวน ๑,๗๖๓ หมู่บ้าน ๆ ละ ๒ คน รวม ๓,๕๒๖ คน มีองค์
ความรู้ที่สามารถนาไปปฏิบัติหน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
๒.จานวนบุคลากรในหน่วยงานที่มีหน้าที่ประสานการปฏิบัติด้านการป้องกันและบรรเทา
สาธารณภัย กรณีที่เกิดสาธารณภัยขึ้นในพื้นที่จังหวัด ทั้งหน่วยงานทหาร หน่วยงานพล
เรือน องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นาท้องที่ ผู้นาชุมชน องค์การสาธารณกุศล
อาสาสมัคร และภาคประชาชน มีความรู้และทักษะด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณ
ภัยอย่างเป็นระบบและมีเอกภาพตามมาตรฐานสากล พร้อมเผชิญเหตุและช่วยเหลือ
ผู้ประสบภัยในระดับพื้นที่ สามารถสนับสนุนการจัดการภาวะฉุกเฉินได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ จานวนไม่น้อยกว่า ๗๐๐ คน
๓. เจ้าหน้าที่และบุคลากรเครือข่ายผู้ประสานงานศูนย์ดารงธรรมมีความรู้และทักษะใน
การปฏิบัติงานที่สูงขึ้น
๔. ประชาชนมีความเข้าใจบทบาทและภารกิจของศูนย์ดารงธรรม รวมทั้งมีส่วนร่วมใน
การแก้ไขปัญหาข้อร้องเรียน
๕. จัดกิจกรรมเพื่อยกระดับการขับเคลื่อนงานเชียงรายเมืองคุณธรรม อย่างน้อย ๒๐
กิจกรรมต่อปี
๖. บุคคล ครอบครัว องค์กร ชุมชนคุณธรรมต้นแบบเพิ่มมากขึ้น
๗. แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมด้านส่งเสริมคุณธรรม ที่ทุกภาคส่วนร่วมบูรณาการ
ขับเคลื่อน
๑๓. ผลที่คาดว่าจะได้รับ ๑. คณะกรรมการหมู่บ้าน มีศักยภาพและองค์ความรู้ด้านความมั่นคงและความปลอดภัย
(Outcome) ในชีวิตและทรัพย์สิน
๒. คณะกรรมการหมู่บ้านได้รับทราบถึงบทบาทและหน้าที่ของตน ทาให้สามารถปฏิบัติ
หน้าที่ได้อย่างมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น
๓. หมู่บ้าน/ชุมชน มีความเข้มแข็งพร้อมรับมือกับสถานการณ์ต่างๆที่จะเกิดขึ้นได้
๔. เสริมประสิทธิภาพการลดเหตุจากสาธารณภัย และเกิดการมีส่วนร่วมในการเฝ้าระวัง
ป้องปราม และการช่วยเหลือหลังเกิดเหตุสาธารณภัย รวมถึงการสนับสนุนการจัดการใน
ภาวะฉุกเฉินครอบคลุมทุกสาธารณภัยที่อาจเกิดขึ้นในพื้นที่จังหวัด ของหน่วยงานองค์กร
ปกครองส่วนท้องถิ่น ผู้นาท้องที่ ผู้นาชุมชน องค์การสาธารณกุศล อาสาสมัคร และภาค
Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖
ประชาชน
๕. บุคลากรในหน่วยงานที่มีหน้าที่ประสานการปฏิบัติด้านการป้องกันและบรรเทาสา
ธารณภัย กรณีเกิดสาธารณภัยขึ้นในพื้นที่จังหวัดมีความรู้และทักษะด้านการป้องกันและ
บรรเทาสาธารณภัยอย่างเป็นระบบ และมีเอกภาพตามมาตรฐานสากล พร้อมเผชิญเหตุ
และช่วยเหลือผู้ประสบภัยในระดับพื้นที่ สามารถสนับสนุนการจัดการภาวะฉุกเฉินได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
๖. เรื่ อ งร้ อ งเรี ย น/ร้ อ งทุ ก ข์ และการให้ บ ริ ก ารประชาชน สามารถตอบสนองและ
ดาเนินการจนได้ข้อยุติมากกว่า ร้อยละ 80
๗. ประชาชนพึงพอใจในการให้บริการจากหน่วยงานภาครัฐอย่างทั่วถึงและเป็นธรรม
๘. ประชาชนในหมู่บ้าน ชุมชน มีองค์ความรู้เรื่องภัยพิบัติ และสามารถช่วยเหลือตนเอง
ในเบื้องต้นเมื่อเกิดภัยพิบัติขึ้น
๙. ประชาชนในหมู่ บ้ า น ชุ ม ชน เป็ น เครื อ ข่ า ยในการแจ้ ง เตื อ นภั ย ให้ ท างราชการ
ครอบคลุมทั่วพื้นที่ และมีอุปกรณ์เครื่องมือเฝ้าระวังแจ้งเตือนภัยภายในหมู่บ้าน ชุมชน
๑๐. หน่วยงานราชการด้านการป้องกันและบรรเทาสาธารณภัยในระดับจังหวัด อาเภอ
และในระดับท้องถิ่น เข้าใจถึงขั้นตอนและแนวทางในการเข้าจัดการภั ยพิบัติที่เกิดขึ้น
อย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ
๑๑. นักเรียนเข้าใจถึงกระบวนการเตรียมความพร้อมรับมือกับภัยพิบัติ
๑๒. ประชาชนมีความเชื่อมั่นในการจัดการภัยพิบัติของหมู่บ้าน ชุมชน และหน่วยงาน
ของราชการในพื้นที่จังหวัด
๑๓. ประชาชนและทางราชการมีความปลอดภัยในชีวิตและทรัพย์สิ นจากภัยพิบัติที่
เกิดขึ้น
๑๔. ภาพลั ก ษณ์ ด้ า นการจั ด การภั ย พิ บั ติ ข องจั ง หวั ด เชี ย งราย เป็ น ที่ เ ชื่ อ มั่ น ของ
นักท่องเที่ยว นักลงทุนทั้งชาวไทยและชาวต่างประเทศ ที่จะเข้ามาท่องเที่ยว และลงทุน
ในจังหวัดเชียงราย
๑๕. ประชาชนและทุกภาคส่วน มีส่วนร่วมในการสร้างสังคมคุ ณธรรม สังคมเอื้ออาทร
ยกระดับเมืองคุณธรรมของจังหวัดเชียงราย และการขยายผลคุณธรรมความดีในทุกกลุ่ม
วัยอย่างต่อเนื่องและยั่งยืน

* หมายเหตุ
๑. กาหนดให้ใช้ฟรอนต์ TH Sarabun PSK ๑๖
๒. ตัวเลขไทย

Template โครงการแผนปฏิบตั ิราชการประจาปี พ.ศ.๒๕๖๖

You might also like