You are on page 1of 59

คู่มือแนวทางการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ

ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก


ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
กระทรวงสาธารณสุข
หนังสือ คู่มือแนวทางการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔
ที่ปรึกษา แพทย์หญิงอัมพร เบญจพลพิทักษ์ อธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
นายแพทย์ขวัญชัย วิศิษฐานนท์ รองอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คณะผูจ้ ัดทา
คณะกรรมการพิจารณาหลักเกณฑ์การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน
และการแพทย์ทางเลือก ประจาปี พ.ศ. 2564
1. นายแพทย์มรุต จิรเศรษฐสิริ อดีตอธิบดีกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ที่ปรึกษา
๒. ดร.รัชนี จันทร์เกษ ผู้อานวยการกองวิชาการและแผนงาน ประธาน
๓. นางเสาวณีย์ กุลสมบูรณ์ ผู้ทรงคุณวุฒิ
๔. นางวันทนี เจตนธรรมจักร ผู้ทรงคุณวุฒิ
๕. ผู้ช่วยศาสตราจารย์พิเชษฐ เวชวิฐาน หัวหน้าสาขาแพทย์แผนไทย มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน
วิทยาเขตสกลนคร
๖. นายประเสริฐ อัตโตหิ ผู้อานวยการวิทยาลัยการสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดชลบุรี
๗. ดร.ภก.วุฒิชัย วิสุทธิพรต เภสัชกรชานาญการพิเศษ วิทยาลัยสาธารณสุขสิรินธร จังหวัดพิษณุโลก
๘. ภก.สุขกมล สุขสว่างโรจน์ เภสัชกรชานาญการ สานักงานสาธารณสุขจังหวัดสุราษฎร์ธานี
๙. นายแพทย์ขวัญชัย วิศิษฐานนท์ ผู้อานวยการสถาบันการแพทย์แผนไทย
๑๐. นายแพทย์เทวัญ ธานีรัตน์ ผู้อานวยการกองการแพทย์ทางเลือก
๑๑. ดร.นันทศักดิ์ โชติชนะเดชาวงศ์ ผู้อานวยการกองคุ้มครองและส่งเสริมภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย
และแพทย์พนื้ บ้านไทย
๑๒. ดร.ภก.ปรีชา หนูทิม ผู้อานวยการกองพัฒนายาแผนไทยและสมุนไพร
๑๓. นางบุญใจ ลิ่มศิลา ผู้อานวยการสถาบันการแพทย์ไทย-จีน
๑๔. นางอัจฉรา เชียงทอง รองผู้อานวยการด้านบริการ สถาบันการแพทย์แผนไทย
๑๕. นายแพทย์กุลธนิต วนรัตน์ หัวหน้ากลุ่มงานวิจัยการแพทย์แผนไทย สถาบันการแพทย์แผนไทย
๑๖. นายสมศักดิ์ กรีชัย หัวหน้ากลุ่มงานสนับสนุนเขตสุขภาพ กองวิชาการและแผนงาน
๑๗. ผู้แทนสานักงานสาธารณสุขจังหวัดสกลนคร
๑๘. ผู้อานวยการโรงพยาบาลสมเด็จพระยุพราชสว่างแดนดิน จังหวัดสกลนคร
๑๙. ผู้แทนโรงพยาบาลอู่ทอง จังหวัดสุพรรณบุรี
๒๐. ผู้แทนโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบลบ้านคลองเสียด จังหวัดกระบี่
บรรณาธิการ
1. นายยิ่งศักดิ์ จิตตะโคตร์ นักวิชาการสาธารณสุขชานาญการ
2. นางสาวสุภาพร ยอดโต เภสัชกรชานาญการ
3. นางสาวกัญณัฏฐ์ อุทุมพร นักวิชาการสาธารณสุขปฏิบัติการ
4. นางสาวภัทธีรา แรงกล้า แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ
5. นางสาวณัฐพร ฤทธิ์สืบเชื้อ แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ
6. นายณัฐกิจ บุญครอง แพทย์แผนไทยปฏิบัติการ
7. นางสาวจุฑามาศ ฮีมซัน นักวิเคราะห์นโยบายและแผน
พิมพ์ครั้งที่ 1/2564
จัดพิมพ์ กองวิชาการและแผนงาน กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
จานวนพิมพ์ ๓๐ เล่ม เมษายน พ.ศ. ๒๕๖๔
คำนำ
ระบบบริ ก ารด้ า นการแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ ผ สมผสาน ได้ ถู ก บรรจุ อ ยู่ ใ นแผนพั ฒ นา
ระบบบริ ก ารสุ ข ภาพ (Service Plan) ของกระทรวงสาธารณสุ ข ซึ่ ง ในระดั บ นโยบายได้ ใ ห้ ค วามส าคั ญ
ต่อการจัดบริการด้านการแพทย์แผนไทยฯ ในหน่วยบริการสาธารณสุขทุกระดับ รวมถึงเห็นชอบให้มีการจัดตั้ง
กลุ่มงานการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกขึ้นในสานักงานสาธารณสุขจังหวัด เพื่อเป็นกลไกสาคัญ
ระดับพื้นที่ในการขับเคลื่อน พัฒนา ส่งเสริม สนับสนุนการดาเนินงานด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์
พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกในส่วนภูมิภาคให้เป็นไปอย่างมีประสิทธิภาพ ทาให้ประชาชนเข้าถึงบริการ
ด้ า นการแพทย์ แ ผนไทยและการแพทย์ ท างเลื อ กที่ มี คุ ณ ภาพได้ ม าตรฐานอย่ า งเท่ า เที ย มและทั่ ว ถึ ง
เกิ ด ความเชื่ อ มั่ น ชอบ และใช้ บ ริ ก ารด้ า นการแพทย์ แ ผนไทยฯ และสมุ น ไพรไทยในการดู แ ลสุ ข ภาพ
ภายในครอบครัวและชุมชนอย่างยั่งยืนต่อไป
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ได้จัดทาโครงการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ
ด้ า นการแพทย์ แ ผนไทย การแพทย์ พื้ น บ้ า น และการแพทย์ ท างเลื อ กมาอย่ า งต่ อ เนื่ อ ง เป้ า หมายส าคัญ
เพื่ อ พั ฒ นา ยกระดั บ คุ ณ ภาพมาตรฐานการบริ ห าร และการจั ด บริ ก าร รวมทั้ ง เป็ น การสร้ า งโอกาส
ในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ของบุคลากรระหว่างหน่วยงาน เครือข่ายงานด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์
ทางเลือก และการเชิดชูเกียรติ ให้กับหน่วยงานสาธารณสุขที่มีผลการดาเนินการโดดเด่นในระดับประเทศ
คู่มือแนวทางการประกวดพื้น ที่ต้น แบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน
และการแพทย์ทางเลือก ฉบับนี้ได้จัดทาขึ้นเพื่อให้หน่วยงานและผู้ที่เกี่ยวข้องใช้เป็นแนวทางในการดาเนิน
การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
ประกอบด้วย 3 ส่วนหลัก ดังนี้
ส่วนที่ 1 ความเป็นมา
ส่วนที่ 2 ขั้นตอนการดาเนินงานการประกวด
ส่วนที่ 3 ภาคผนวก
ทั้งนี้ขอขอบพระคุณผู้บริหาร ผู้ทรงคุณวุฒิ อาจารย์ภาคมหาวิทยาลัย ผู้แทนหน่วยงานที่ได้รับรางวัล
พื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก และบุคลากร
ที่เกี่ยวข้อง ที่ได้ร่วมดาเนินการจัดทาคู่มือฉบับนี้ และขอขอบคุณคณะกรรมการพิจารณาหลักเกณฑ์การประกวด
พื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกที่ได้พิจารณา
ทบทวนเกณฑ์การประกวดฯ อันจะก่อให้เกิดประโยชน์ต่อการดาเนินการประกวดฯ และการพัฒนาการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกในอนาคตต่อไป

กลุ่มงานสนับสนุนเขตสุขภาพ กองวิชาการและแผนงาน
มีนาคม 2564
สารบัญ
เรื่อง หน้า
ส่วนที่ ๑ ความเป็นมา ๑
๑.1 หลักการและเหตุผล ๑
๑.2 วัตถุประสงค์ ๑
๑.๓ คานิยามความหมายที่เกี่ยวข้อง ๑
๑.๔ กลุ่มเป้าหมาย ๒
1.5 ประเภทการประกวด ๓
๑.6 ระดับการประกวด ๓
1.7 กระบวนการประกวด ๓
๑.8 การเชิดชูเกียรติ ๔
ส่วนที่ ๒ ขั้นตอนการดาเนินงานการประกวด ๕
๒.๑ ชี้แจงเกณฑ์การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ๕
1) เกณฑ์ระดับประเทศ ๕
o ประเภท สสจ. ๕
o ประเภท รพศ.รพท./ รพช./ รพ.สต. ๑๙
2) เกณฑ์ระดับเพชร (ทุกประเภท สสจ./ รพศ.รพท./ รพช./ รพ.สต.) ๓๕
3) ใบสมัครเข้ารับการประกวดฯ ๔๓
2.2 แนวทางการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ (ระบบออนไลน์) ๔๕
๒.3 ปฏิทินการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ๔๗
ส่วนที่ 3 ภาคผนวก ๔๙
๓.๑ หน่วยบริการที่ได้รับรางวัลพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับเพชรและ ๔๙
ระดับประเทศ ปีงบประมาณ พ.ศ. 2556 – 256๓
๓.๒ จุดเด่นพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ พ.ศ. 255๘ – 256๓ ๕๑
ส่วนที่ ๑ ความเป็นมา


ส่วนที่ 1 ความเป็นมา
การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ
ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
1.1 หลักการและเหตุผล
ระบบบริการสุขภาพไทย การบริการด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ผสมผสาน มีบทบาท
เกี่ย วกับ การดูแ ลสุขภาพของประชาชนเพิ่มมากขึ้น ทุกกลุ่มโรคและกลุ่มวัย เป็นกาลังสาคัญ ในการรักษา
ควบคู่ กั บ การแพทย์ แ ผนปั จ จุ บั น ได้ เ ป็ น อย่ า งดี ท าให้ มี ก ารบรรจุ ร ะบบบริ ก ารด้ า นการแพทย์ แ ผนไทย
และการแพทย์ผสมผสานอยู่ในแผนพัฒนาระบบบริการสุขภาพ (Service Plan) ของกระทรวงสาธารณสุข
เพื่อให้เ กิด การพัฒ นา และยกระดับ การบริก าร การดาเนิน งานด้า นการแพทย์แ ผนไทยและการแพทย์
ทางเลือ กส าหรับ หน่ว ยงานในส่ ว นภูมิภ าคให้ ส อดคล้ องกับ บริบ ทของระบบบริ การการแพทย์ แผนไทย
และการแพทย์ ทางเลื อก และส่ งเสริ ม ให้ บุ คลากรทางด้านการแพทย์แผนไทยฯ ในหน่ว ยงานสาธารณสุข
ทุกระดับ ทั้งส่วนกลางและภูมิภาค ใช้ความรู้ ความสามารถ และความทุ่มเทในการดาเนินงาน ในการสร้าง
ความเชื่อมั่นและการยอมรับให้กับประชาชนที่มารับบริการด้านการแพทย์แผนไทยฯ และยาสมุนไพรไทย
กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ตระหนักถึงการทุ่มเทในการดาเนินงานของทุกภาคส่วน
เพื่อให้เกิดการพัฒนา ยกระดับการบริ หาร การบริการ กระบวนการทางานด้านการแพทย์แผนไทยฯ ให้มี
คุณภาพ และมาตรฐาน เกิดผลงานเชิงประจักษ์ที่สามารถถ่ายทอดเป็นองค์ความรู้ สาหรับบุคลากรสาธารณสุข
และประชาชนที่ ให้ ความสนใจ และสามารถน าองค์ ค วามรู้ ม าพั ฒ นาต่ อ ยอดได้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ
และประสิ ทธิผลอย่ างเหมาะสมต่ อไป ดังนั้นจึงได้กาหนดแนวทางการประกวดพื้ นที่ต้ นแบบดี เด่นแห่ งชาติ
ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือกขึ้น เพื่อคัดเลือกและเชิดชูเกียรติหน่วยงาน
สาธารณสุ ขที่ ผลงานเชิงประจั กษ์ มีความโดดเด่น ทั้งด้านการบริหารจัดการ และหรือ/ด้านการจัดบริ ก าร
การแพทย์แผนไทยฯ เพื่อสร้างโอกาสในการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ของบุคลากรระหว่างหน่วยงาน เครือข่ายงาน
ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
ปัจจุบันมีหน่วยงานสาธารณสุขของรัฐที่ได้รับรางวัลพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย
การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลื อก ตั้งแต่ปี พ.ศ. 2556 – 256๓ ระดับเพชรจานวน ๑๑ แห่ง
และระดับประเทศจานวน ๓๔ แห่ง (รายละเอียดตามภาคผนวกที่ 3.1)
1.2 วัตถุประสงค์
๑) เพื่อให้เกิดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์
ทางเลือกในหน่วยบริการสาธารณสุขของรัฐที่มีความโดดเด่นในการให้บริการ และพัฒนางานด้านการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกที่สามารถให้หน่วยบริการสาธารณสุขของรัฐนาไปต่อยอดการบริหารจัดการ
และการบริการให้สอดคล้องกับบริบทของพื้นที่
2) เพื่อให้เกิดเวทีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้และถ่ายทอดประสบการณ์ของหน่วยบริการสาธารณสุขของรัฐ
ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกทุกระดับ
3) เพื่อให้เกิดการส่งเสริม กระตุ้นการพัฒนาองค์ความรู้ การให้บริการสาธารณสุขด้านการแพทย์แผนไทย
และการแพทย์ทางเลือก ในหน่วยงานสาธารณสุขส่วนภูมิภาคอย่างเป็นระบบ มีประสิทธิภาพ
๑.๓ คานิยามความหมายที่เกี่ยวข้อง
พื้นที่ต้นแบบดีเด่น แห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
หมายถึง หน่วยงานสาธารณสุข ของรัฐที่มีการพัฒนางาน พัฒนาคน และกระบวนการทางานด้วยมาตรฐาน
1
คุณภาพ และประสิทธิภาพ แสดงผลการทางานที่มี ความโดดเด่น ด้านการบริหารจัดการ และหรือ/โดดเด่น
ด้านการให้บริการ และมีการขับเคลื่อนพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์
ทางเลือกอย่างเป็นระบบ โดยแบ่งระดับการประกวดเป็น 2 ระดับ ได้แก่ ระดับประเทศ และระดับเพชร
การแพทย์แผนไทย1 หมายถึง กระบวนการทางการแพทย์เกี่ยวกับการตรวจ วินิจฉัย บาบัด รักษา
หรือป้องกันโรค หรือการส่งเสริมและฟื้นฟูสุขภาพของมนุษย์ การผดุงครรภ์ การนวดไทย และให้หมายความ
รวมถึง การเตรียมการผลิตยาแผนไทย และการประดิษฐ์อุปกรณ์และเครื่องมือทางการแพทย์ ทั้งนี้ โดยอาศัย
ความรู้หรือตาราที่ได้ถ่ายทอดและพัฒนาสืบต่อกันมา
การแพทย์พื้นบ้าน2 หมายถึง การตรวจ การวินิจฉัย การบาบัด การรักษา การป้องกันโรค การส่งเสริม
และการฟื้นฟูสุขภาพ โดยใช้องค์ความรู้ซึ่งสืบทอดกันมาในชุมชนท้องถิ่น ทั้งนี้ ด้วยกรรมวิธีการแพทย์แผนไทย
การแพทย์ทางเลือก3 หมายถึง การแพทย์ทางเลือกที่สามารถนาไปใช้ทดแทนการแพทย์แผนปัจจุบัน
เนื่องจาก ไม่สามารถบาบัดรักษาได้ด้วยการแพทย์แผนปัจจุบันได้ในขณะนั้น เช่น กรณีผู้ป่วยแพ้ยาจนไม่สามารถ
รักษาได้ด้วยยา เป็นต้น หรือผู้ป่วยอยู่ในระยะสุดท้ายที่ไม่สามารถรักษาได้ด้วยการแพทย์แผนปัจจุบัน
กรมฯ หมายถึง กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
คณะกรรมการฯ หมายถึง คณะกรรมการคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย
การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
แบบ ตบ. 1 หมายถึง ใบสมัครเข้าร่วมประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ ด้านการแพทย์แผนไทย
การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ระดับประเทศ
แบบ ตบ. ๒ หมายถึง ใบสมัครเช้าร่วมประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ ด้านการแพทย์แผนไทย
การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ระดับเพชร (เพชรปีที่ 1 – 4)
การสิ้นสุดสถานภาพการประกวดฯ ระดับเพชร หมายถึง หน่วยงานสาธารณสุขของรัฐที่เคยได้รับ
รางวัลพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศ แล้ว และเข้าเงื่อนไข 2 ข้อ ดังนี้
- ไม่เข้าร่วมประเมินหรือมีคะแนนประเมินต่ากว่าเกณฑ์ ต่อเนื่อง 2 ปี
- ระยะเวลาการประกวดระดับเพชร รวมแล้วเกิน 5 ปี
(นับผลย้อนหลังตั้งแต่การประกวดฯ ปี 2562 เป็นต้นไป) **โดยสามารถเข้ารับการประกวดฯ ระดับประเทศได้อีก
ทั้งนี้ต้องเว้นระยะห่างจากปีที่สิ้นสุดสถานภาพการประกวดระดับเพชร อย่างน้อย 1 ปี
1.4 กลุ่มเป้าหมาย/ผู้ได้รับผลประโยชน์
1) กลุ่มเป้าหมาย
หน่วยบริการสาธารณสุขของรัฐ 4 ประเภท คือ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด โรงพยาบาลศูนย์/
โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน และโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ
60 พรรษา นวมินทราชินี 12 เขตสุขภาพ
2) ผู้ที่ได้รับผลประโยชน์
- บุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก

พระราชบัญญัติ วิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๕๖, ค้นคว้าจาก http:// www.thaimed.or.th/wp-
content/uploads/2017/05/พรบ.วิชาชีพแพทย์แผนไทย-พ.ศ.๒๕๕๖.pdf

พระราชบัญญัติ วิชาชีพการแพทย์แผนไทย พ.ศ. ๒๕๕๖, ค้นคว้าจาก http:// www.thaimed.or.th/wp-
content/uploads/2017/05/พรบ.วิชาชีพแพทย์แผนไทย-พ.ศ.๒๕๕๖.pdf

การแพทย์ทางเลือก, ค้นคว้าจาก https://thaicam.go.th/healthy-choices-01/
2
- ประชาชน และเครือข่ายที่เกี่ยวข้อง เช่น เครือข่ายหมอพื้นบ้าน วิสาหกิจชุมชน ภาคมหาวิทยาลัย
และภาคเอกชน
1.5 ประเภทการประกวด แบ่งออกเป็น 4 ประเภท ดังนี้
1) ประเภทสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
2) ประเภทโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
3) ประเภทโรงพยาบาลชุมชน
4) ประเภทโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี
1.6 ระดับการประกวด
๑) ระดับเขตสุขภาพ (ดาเนินการประกวดโดยเขตสุขภาพ/สานักงานสาธารณสุขจังหวัดที่ได้รับ
มอบหมาย)
ดาเนินการคัดเลือกหน่วยบริการสาธารณสุขของรัฐตามเกณฑ์การประกวดฯ ของกรมการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกหรือตามเกณฑ์ที่เขตสุขภาพกาหนด ในแต่ละประเภท เพื่อเป็นตัวแทนระดับ
เขตสุขภาพไปประกวดฯ ระดับประเทศต่อไป
๒) ระดับประเทศ (ดาเนินการโดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก)
ดาเนินการคัดเลือกหน่วยงานสาธารณสุขของรัฐที่เป็นตัวแทนระดับเขตสุขภาพ ทั้ง ๔ ประเภท
ตามเกณฑ์การประกวดฯ ของกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก เพื่อคัดเลือกหน่วยงานที่มีคะแนน
สูงสุดลาดับที่ ๑ เป็นพื้นที่ต้นต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศ และไปประกวดฯ ระดับเพชรต่อไป
3) ระดับเพชร (ดาเนินการโดยกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก)
ดาเนินการประเมินหน่วยงานสาธารณสุขของรัฐที่เป็นพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศ
ทั้ง ๔ ประเภท และเป็นหน่วยงานที่ไม่เป็นผู้สิ้นสุดสถานภาพการประกวดฯ ระดับเพชร ตามเงื่อนไขที่กรมฯ
กาหนด โดยแบ่งการประเมินระดับเพชรออกเป็นเพชรปีที่ ๑ – ๔ ตามเกณฑ์การประกวดฯ ของกรมการแพทย์
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
1.7 กระบวนการประกวด (รายละเอียดตามส่วนที่ ๒)
1) หน่วยงานที่เข้าร่วมประกวดฯ ระดับประเทศและเพชร ทั้ง ๔ ประเภท ส่งใบสมัครมายังกรมฯ
ตามแบบฟอร์มที่กาหนด
- ระดับประเทศ (แบบ ตบ.๑)
- ระดับเพชร (แบบ ตบ.2)
2) หน่วยงานที่เข้าร่วมประกวดฯ ระดับประเทศและเพชร ทั้ง ๔ ประเภท ส่งเอกสารผลงาน ได้แก่
- รูปเล่มเอกสารผลงาน : ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ PDF และรูปเล่มฉบับสมบูรณ์
หมายเหตุ จัดทารูปเล่ม กรณีประกวดฯ ระดับประเทศ และเพชรปีที่ ๔
- เอกสารการนาเสนอ : ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ PDF
3) หน่วยงานที่เข้าร่วมประกวดฯ ระดับประเทศและเพชร ทั้ง ๔ ประเภท เข้ารับการคัดเลือกรอบที่ 1
การนาเสนอผลงานโดยวาจาต่อคณะกรรมการฯ
4) คณะกรรมการฯ คัดเลือกหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ได้คะแนนสูงสุด ๓ อันดับแรกของ
ระดับประเทศ และปีที่ ๔ ของระดับเพชร ทัง้ ๔ ประเภท เพื่อเข้ารับการคัดเลือกรอบที่ 2 การนาเสนอวีดิทัศน์
หมายเหตุ อาจมีการประเมินในระดับพื้นที่ ในกรณีที่คณะกรรมการร้องขอ หรือมีข้อสังเกตุ

3
5) คณะกรรมการฯ ตัดสินการประกวดตามเกณฑ์ที่กาหนด (**โดยการพิจารณาของคณะกรรมการฯ
ถือเป็นที่ยุต)ิ ดังนี้
- เกณฑ์ระดับประเทศ : มีคะแนนรวมทั้งการนาเสนอผลงานโดยวาจาและการนาเสนอวีดิทัศน์/
การประเมินในระดับพื้นที่ ไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ของคะแนนทั้งหมด และเรียงลาดับหน่วยงานที่มีคะแนน
สูงสุดเป็นลาดับที่ 1, ๒ และ ๓
- เกณฑ์ระดับเพชร : คัดเลือกหน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์การประเมินฯ ระดับเพชร ดังนี้
o เกณฑ์เพชรที่ 1 : คะแนนการนาเสนอผลงานโดยวาจา ไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ของคะแนน
ทั้งหมด
o เกณฑ์เพชรที่ ๒ : คะแนนการนาเสนอผลงานโดยวาจา ไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ของคะแนน
ทั้งหมด
o เกณฑ์เพชรที่ ๓ : คะแนนการนาเสนอผลงานโดยวาจา ไม่ต่ากว่าร้อยละ ๙0 ของคะแนน
ทั้งหมด
o เกณฑ์เพชรที่ 4 : คะแนนการนาเสนอผลงานโดยวาจาและการนาเสนอวีดิทัศน์/การประเมิน
ในระดับพื้นที่ ไม่ต่ากว่าร้อยละ 90 ของคะแนนทั้งหมด
6) กรมฯ ประกาศผลการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศและเพชร ทั้ง ๔ ประเภท
ผ่านทางเว็บไซด์กรมฯ (www.dtam.moph.go.th) และแจ้งผลการประกวดแก่หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
หมายเหตุ รูปแบบการประกวดฯ สามารถปรับเปลี่ยนตามสถานการณ์และความเหมาะสม
1.8 การเชิดชูเกียรติ
1) ระดับเขตสุขภาพ
หน่วยงานฯ ที่ได้รับคะแนนสูงสุดลาดับที่ ๑ ในแต่ละประเภท ได้รับใบประกาศนียบัตร
2) ระดับประเทศ
- หน่ ว ยงานฯ ที่ได้รั บ คะแนนสู งสุ ดล าดับ ที่ 1 ในแต่ล ะประเภท ได้รับ โล่ พร้อมเงิน สนั บ สนุ น
เพื่อนาไปพัฒนาต่อยอดงานบริการด้านการแพทย์แผนไทยฯ
- หน่ ว ยงานฯ ที่ได้รั บ คะแนนสู งสุ ดล าดับ ที่ 2 ในแต่ล ะประเภท ได้รับ โล่ พร้อมเงิน สนั บ สนุ น
เพื่อนาไปพัฒนาต่อยอดงานบริการด้านการแพทย์แผนไทยฯ
- หน่ ว ยงานฯ ที่ได้รั บ คะแนนสู งสุ ดล าดับ ที่ 3 ในแต่ล ะประเภท ได้รับ โล่ พร้อมเงิน สนั บ สนุ น
เพื่อนาไปพัฒนาต่อยอดงานบริการด้านการแพทย์แผนไทยฯ
3) ระดับเพชร
หน่วยงานประกวดระดับเพชรปีที่ ๔ ที่ผ่านเกณฑ์การประเมินฯ ในแต่ละประเภท ได้รับโล่พร้อม
เงินสนับสนุนเพื่อนาไปพัฒนาต่อยอดงานบริการด้านการแพทย์แผนไทยฯ

4
ส่วนที่ ๒ ขั้นตอนการดาเนินงาน
การประกวด


เกณฑ์การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
ระดับประเทศ (สาหรับประเภท สสจ.)
**************************************
คาชี้แจง : เกณฑ์การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ระดับประเทศ ใช้สาหรับ
1. หน่วยงานสาธารณสุขที่เป็นสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
2. หน่ วยงานสาธารณสุ ขที่ไม่เคยได้รับรางวัลชนะเลิ ศการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่ งชาติ ฯ ระดับประเทศมาก่อน หรือเคยได้รับรางวัลแต่สิ้ นสุ ดสถานภาพ
การประกวดระดับเพชรแล้ว โดยสามารถเข้ารับการประกวดฯ ระดับประเทศได้อีก ทั้งนี้ต้องเว้นระยะห่างจากปีที่สิ้นสุดสถานภาพการประกวดระดับเพชร อย่างน้อย 1 ปี
3. หน่วยงานสาธารณสุขทีส่ มัครเข้ารับการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศ ตามเอกสารที่กรมกาหนด (*แบบ ตบ.๑)
องค์ประกอบของเกณฑ์
1. หมวดการนาองค์กร ๕๐ คะแนน
2. หมวดการวางแผนเชิงยุทธศาสตร์ ๕๐ คะแนน
3. หมวดการให้ความสาคัญกับผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย ๔๕ คะแนน
4. หมวดการวิเคราะห์ข้อมูลและการจัดการความรู้ ๔๕ คะแนน
5. หมวดการมุ่งเน้นทรัพยากรบุคคล ๓0 คะแนน
6. หมวดการมุ่งเน้นระบบการปฏิบัติการ ๓0 คะแนน
7. หมวดผลลัพธ์การดาเนินการ ๒๒๕ คะแนน
8. หมวดการนาเสนอ ๒๕ คะแนน
รวม 500 คะแนน
การประเมินผล
คะแนนรวมทั้งการนาเสนอและการประเมินระดับพื้นที่ ไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ของคะแนนทั้งหมด โดยมีคะแนนสูงสุดเป็นลาดับที่ 1, ๒ และ ๓ ของประเภทสานักงาน
สาธารณสุขจังหวัด
หมายเหตุ คัดเลือกหน่วยงานที่มีคะแนนการนาเสนอสูงสุด ๓ อันดับแรก สาหรับการประเมินในระดับพื้นที่

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๕
เกณฑ์การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
ระดับประเทศ (สาหรับประเภท สสจ.)
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
1.หมวด 1.1 50 1.1.1 ผู้บริหารหน่วยงานมีการกาหนด 1. มีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ และ ๑. เอกสาร/สื่อ ................................คะแนน
การนา วิสัยทัศน์ และถ่ายทอดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ค่านิยมที่สอดคล้องกับทิศทางของ อิเล็กทรอนิกส์
องค์กร ค่านิยม และ ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ จังหวัด กรม และกระทรวง = ๕ คะแนน ประชาสัมพันธ์วิสัยทัศน์
พันธกิจ ทางเลือกของจังหวัด โดยมีการกาหนด 2. มีการประชาสัมพันธ์ทั้งในรูปแบบ พันธกิจ และค่านิยมของ
ทิศทางและเป้าหมายระยะยาว เอกสารและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น อีเมล์ หน่วยงาน
อย่างน้อย 5 ปี (๑๕ คะแนน) เว็บไซต์ = ๑๐ คะแนน

1.2 การ 1.2.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา 1. มีคาสั่งแต่งตั้งฯ กาหนดขอบเขต 1. คาสั่งแต่งตั้ง ................................คะแนน


กากับดูแล งานด้านการแพทย์แผนไทยและ และบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการฯ คณะกรรมการฯ
องค์กร การแพทย์ทางเลือก ระดับจังหวัด โดยมี 2. มีการประชุมคณะกรรมการพัฒนา 2. รายงานการประชุมฯ
องค์ประกอบจากหัวหน้าส่วนราชการ งานด้านการแพทย์แผนไทยและ ๓. ภาพกิจกรรม
ระดับจังหวัด และภาคีเครือข่ายที่ การแพทย์ทางเลือก ระดับจังหวัด
เกี่ยวข้อง (๑๕ คะแนน) 3. มีรายงานการประชุมฯ
(มีครบทั้ง ๓ ข้อ = ๑๕ คะแนน, ไม่มีข้อ
ใดข้อหนึ่ง = ๐ คะแนน)

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๖
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
๑.๒.๒ การควบคุมกากับการดาเนินงาน 1. มีการควบคุมกากับการดาเนินงาน ๑. แผนการดาเนินงาน ................................คะแนน
การนิเทศงานด้านการแพทย์แผนไทย ด้านการแพทย์แผนไทยฯ = ๕ คะแนน โครงการ/แผนค่าใช้จ่าย
และการแพทย์ทางเลือกของจังหวัด 2. มีการนิเทศงานการแพทย์แผนไทย งบประมาณการดาเนินงาน
(๒0 คะแนน) และการแพทย์ทางเลือก อย่างน้อย ๒ ด้านการแพทย์แผนไทยฯ
ครั้ง/ปี = ๕ คะแนน ๒. รายงานสรุปการนิเทศ
3. การกาหนดตัวชี้วัดด้านการแพทย์ งาน ปัญหาอุปสรรค และ
แผนไทยฯ ของจังหวัด สอดคล้องและ ข้อเสนอแนะ
สามารถตอบนโยบายตัวชี้วัดกรม/ ๓. รายงานผลตามนโยบาย
กระทรวง = ๑๐ คะแนน ตัวชี้วัดกรม/กระทรวง
ด้านการแพทย์แผนไทยฯ

2.หมวด 2.1 การ 50 ๒.๑.๑ การจัดทาแผนปฏิบัติการ สาขา 1. มีแผนปฏิบัติการฯ ระดับจังหวัด โดย 1. แผนปฏิบัติการฯ ระดับ ................................คะแนน
การวางแผน วางแผน การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ บูรณาการการดาเนินงานร่วมกับ จังหวัด ที่มีการบูรณาการกับ
ผสมผสาน ระดับจังหวัด (ระยะสั้นและ หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ระยะปานกลาง) ที่บูรณาการการ - ๒-๔ หน่วยงาน = 5 คะแนน ๒. แผนปฏิบัติการฯ ระดับ
ดาเนินงานร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง - มากกว่า ๔ หน่วยงาน = ๑๐ คะแนน จังหวัด ทีเ่ ชื่อมโยงกับ
สามารถเชื่อมโยงกับแผนพัฒนาระบบ 2. แผนปฏิบัติการฯ สามารถเชื่อมโยง แผนพัฒนาระบบบริการ
บริการ (Service Plan) สาขา กับแผนพัฒนาระบบบริการ (Service (Service Plan) สาขา
การแพทย์แผนไทยฯ และอื่นๆ เช่น Plan) สาขาการแพทย์แผนไทยฯ และ การแพทย์แผนไทยฯ และ
การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ เมืองสมุนไพร อื่นๆ เช่น การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ อื่นๆ
สมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ เป็นต้น เมืองสมุนไพร สมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ
(๒๐ คะแนน) เป็นต้น = ๑๐ คะแนน

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๗
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
2.1.2 การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการสู่ 1. มีการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการสู่การ ๑. ผลดาเนินงานการ ................................คะแนน
การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม และมีการ ปฏิบัติงานด้านการแพทย์แผนไทยและ ถ่ายทอดแผนฯ (เช่น สรุป
พัฒนา ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง การแพทย์ทางเลือกของจังหวัดไปยัง รายงานการประชุม หนังสือ
(๒๐ คะแนน) หน่วยงานและบุคลากรที่เกี่ยวข้อง ชี้แจงแผนปฏิบัติระดับ
= 10 คะแนน จังหวัด)
2. มีการพัฒนา และติดตามผล ๒. รายงานผล
การดาเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการอย่าง การดาเนินงาน ปัญหา
ต่อเนื่อง อุปสรรค และการแก้ไข
- อย่างน้อย 1 ไตรมาส = 2.5 คะแนน ปัญหาตามแผนปฏิบัติการ
- อย่างน้อย 2 ไตรมาส = 5 คะแนน รายไตรมาส
- อย่างน้อย 3 ไตรมาส = 7.5 คะแนน
- 4 ไตรมาส = 10 คะแนน

2.1.3 การจัดทารายงานสรุปผล 1. มีการจัดทารายงานสรุปผลการ 1. รายงานสรุปผล ................................คะแนน


การดาเนินงานประจาปี (Year Report) ดาเนินงานประจาปี การดาเนินงานประจาปี
ตามแผนปฏิบัติการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน - ดาเนินการครบทุกกิจกรรมตาม (ฉบับผู้บริหาร)
การวิเคราะห์และถอดบทเรียนสาหรับ แผนปฏิบัติการ
การวางแผนปฏิบัติการในปีงบประมาณ = ๑๐ คะแนน
ต่อไป (10 คะแนน) - ดาเนินการไม่ครบทุกกิจกรรมตาม
แผนปฏิบัติการ = ๐ คะแนน

3. หมวด 3.1 การ 45 3.1.1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง 1. มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบ ................................คะแนน


การให้ สร้าง ทีมสหวิชาชีพด้านการแพทย์แผนไทย ระหว่างทีมสหวิชาชีพ การประชุมฯ
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๘
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
ความสาคัญ ความสัมพันธ์ การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ - อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี = 5 คะแนน ๒. รายงานสรุปผล
กับผู้มีส่วน กับ ทางเลือกในหน่วยงาน ปีที่ผ่านมา - อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี = 15 คะแนน การประชุมฯ
ได้ส่วนเสีย ผู้รับบริการ (15 คะแนน) ๓. ภาพการจัดประชุมฯ
ของ และผู้มีส่วน
หน่วยงาน ได้ส่วนเสีย 3.1.2 การทบทวน พัฒนาหรือจัดทา 1. มีแนวทางเวชปฏิบัติในการรักษาโรค 1. คู่มือแนวทางเวชปฏิบัติฯ ................................คะแนน
ของ แนวทางเวชปฏิบัติ (CPG) ในการรักษา ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ (CPG) ในการรักษาโรค
หน่วยงาน โรคด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ระดับ
พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก จังหวัด
ระดับจังหวัด เพื่อสนับสนุนหน่วย - อย่างน้อย 1 โรค = 2.5 คะแนน
บริการ (15 คะแนน) - อย่างน้อย 2 โรค = 5 คะแนน
- อย่างน้อย 3 โรค = 8 คะแนน
- อย่างน้อย 4 โรค = 12 คะแนน
- อย่างน้อย 5 โรค = 15 คะแนน

3.1.3 เครือข่ายในการร่วมพัฒนา 1. มีเครือข่ายในการร่วมพัฒนา ส่งเสริม 1. สรุปผลการดาเนินงาน/ ................................คะแนน


ส่งเสริม และสนับสนุนงานแพทย์แผน และสนับสนุนงานแพทย์แผนไทยฯ โดย กิจกรรมที่ร่วมกับเครือข่ายที่
ไทยฯ เช่น กลุ่มผู้ปลูก เครือข่ายหมอ มีกิจกรรม และผลการดาเนินงานร่วมกัน เกี่ยวข้อง
พื้นบ้าน วิสาหกิจชุมชน - อย่างน้อย 2 เครือข่าย = 5 คะแนน 2. ภาพกิจกรรม
ภาคมหาวิทยาลัย และภาคเอกชน - อย่างน้อย ๕ เครือข่าย = 15 คะแนน
(15 คะแนน)

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๙
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
4.หมวด 4.1 การวัด 45 4.1.1 การติดตาม วิเคราะห์ 1. มีการติดตาม วิเคราะห์ ประเมินผล ๑. รายงานผลการ ................................คะแนน
การ การวิเคราะห์ ประเมินผลข้อมูลการบริการผ่านระบบ ข้อมูลการบริการผ่านระบบฐานข้อมูล ดาเนินงาน รายไตรมาส/
วิเคราะห์ และการ ฐานข้อมูล HDC ได้อย่างถูกต้อง HDC ได้อย่างถูกต้องตามช่วงเวลา ราย รายงานการประชุมฯ
ข้อมูลและ ปรับปรุงผล ตามช่วงเวลา รวมถึงจัดทารายงานผล ไตรมาส 2. รายงานสรุปผล
การจัดการ การ การดาเนินงาน และข้อเสนอเพื่อ - ไม่มีการดาเนินการ = 0 คะแนน การดาเนินงาน และข้อเสนอ
ความรู้ของ ดาเนินการ การพัฒนางานด้านการแพทย์แผนไทย - อย่างน้อย ๑ ครั้ง = ๒ คะแนน ในการพัฒนาด้านการแพทย์
หน่วยงาน ของ การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ - อย่างน้อย ๒ ครั้ง = ๕ คะแนน แผนไทยฯ
หน่วยงาน ทางเลือก ระดับจังหวัด ปีที่ผ่านมา - อย่างน้อย ๓ ครั้ง = ๑๐ คะแนน
(30 คะแนน) - 4 ครั้ง = 20 คะแนน
2. มีสรุปรายงานผลการดาเนินงาน และ
ข้อเสนอเพื่อการพัฒนางานด้าน
การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน
และการแพทย์ทางเลือก ระดับจังหวัด
= 10 คะแนน

4.2 การ 4.2.1 ผลงานวิชาการของหน่วยงาน 1. มีการรวบรวมข้อมูล/ผลงานวิชาการ 1. เอกสารผลงานวิชาการ ................................คะแนน


จัดการ หรือการถ่ายทอดความรู้ หรือเผยแพร่ ด้านการแพทย์แผนไทยฯ ในปีที่ผ่านมา 2. เอกสารประกอบ
ความรู้ของ ข้อมูล/ผลงานวิชาการของหน่วยงาน - อย่างน้อย 2 เรื่อง/ปี = ๕ คะแนน การประชุม/สรุปรายงานการ
หน่วยงาน ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ - ผลงานวิชาการด้านการแพทย์แผนไทย ประชุมฯ
ทางเลือก ปีที่ผ่านมา (15 คะแนน) ฯ ได้รับรางวัลระดับจังหวัด อย่างน้อย 1 3. เอกสาร/ใบ
เรื่อง = ๕ คะแนน ประกาศนียบัตรผลงานที่
ได้รับรางวัล (ถ้ามี)

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๑๐
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
2. มีการเผยแพร่ข้อมูล/ผลงานวิชาการ 4. ช่องทางการเผยแพร่
ด้านการแพทย์แผนไทยฯ ในระดับ ข้อมูลวิชาการ
จังหวัด/เขตสุขภาพ - การจัดประชุมวิชาการหรือ
- อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี = ๕ คะแนน การถ่ายทอดความรู้
- การเผยแพร่ในการประชุม
ผู้บริหารระดับจังหวัด
- ผ่านสื่ออิเล็กทรอนิกส์ ของ
หน่วยงาน/เครือข่ายใน
ระดับจังหวัด/เขต
- เอกสาร/แผ่นพับ ที่
เผยแพร่ให้ความรู้ประชาชน

5.หมวด 5.1 ขีด 30 5.1.1 การรวบรวมข้อมูล วิเคราะห์ 1. มีข้อมูลการวิเคราะห์ภาระงานและ 1. แผนการวิเคราะห์ภาระ ................................คะแนน


การมุ่งเน้น ความ ภาระงาน เพื่อจัดทาแผนอัตรากาลัง จัดทาแผนอัตรากาลังฯ ระดับจังหวัด ที่ งาน และกรอบอัตรากาลัง
ทรัพยากร สามารถและ บุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยและ สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบบริการ บุคลากรด้านการแพทย์
บุคคลของ อัตรากาลัง การแพทย์ทางเลือก ระดับจังหวัด ให้ สาธารณสุข (Service plan) = ๕ แผนไทยฯ
หน่วยงาน บุคลากรของ สอดคล้องกับแผนพัฒนาระบบบริการ คะแนน
หน่วยงาน สาธารณสุข (Service plan)
(๕ คะแนน)

5.1.2 มีการรวบรวมและตรวจสอบ ๑. มีข้อมูลบุคลากรด้านการแพทย์แผน 1. ความถูกต้องของข้อมูล ................................คะแนน


ข้อมูลบุคลากรด้านการแพทย์แผนไทยฯ ไทยฯ ในหน่วยบริการ ในแต่ละพื้นที่ บุคลากรด้านการแพทย์

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๑๑
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
ในหน่วยบริการ ในแต่ละพื้นที่ ของ ของจังหวัด และมีการตรวจสอบความ แผนไทยในหน่วยบริการ
จังหวัด ปีที่ผ่านมา (1๕ คะแนน) ถูกต้องของข้อมูล ในแต่ละพื้นที่ ของจังหวัด
- อย่างน้อย ๑ ครั้ง/ปี = ๕ คะแนน (เปรียบเทียบความถูกต้อง
- มากกว่า ๑ ครั้ง/ปี = ๑๐ คะแนน ของข้อมูลจากโปรแกรม
๒. มีข้อมูลบุคลากรด้านการแพทย์แผน HROPS ของสานักงาน
ไทยฯ ในหน่วยบริการ ในแต่ละพื้นที่ ปลัดกระทรวงสาธารณสุข)
ของจังหวัด จากโปรแกรม HROPS ของ
สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข =
๕ คะแนน

5.2 การ 5.2.1 การพัฒนาศักยภาพบุคลากร ๑. มีการพัฒนาศักยภาพบุคลากรด้าน 1. สรุปผลการดาเนินงาน/ ................................คะแนน


พัฒนา ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ เอกสารประกอบการอบรม
บุคลากรของ ทางเลือกของหน่วยงาน ปีที่ผ่านมา ทางเลือก ๒. ภาพกิจกรรม
หน่วยงาน (5 คะแนน) - อย่างน้อย ๒ ครั้ง/ปี = 5 คะแนน

5.2.2 การสร้างแรงจูงใจของบุคลากร 1. มีการสร้างแรงจูงใจของบุคลากรใน 1. ผลการประกวด / ................................คะแนน


ในหน่วยงาน โดยมีการให้รางวัล หรือ หน่วยงาน = ๕ คะแนน ประกาศนียบัตร
ยกย่องชมเชย เพื่อเสริมสร้างให้มีผล - มีการยกย่อง เชิดชูเกียรติบุคลากรที่มี 2. ภาพกิจกรรม
การดาเนินงานการแพทย์แผนไทยและ ความเสียสละ และโดดเด่นในการ
การแพทย์ทางเลือกที่ดี (๕ คะแนน) ปฏิบัติงานของหน่วยงาน
- มีการจัดประกวดบุคลากรดีเด่นในแต่
ละสายงานประจาหน่วยงาน อย่างน้อย
1 ครั้ง/ปี
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๑๒
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
6.หมวด 6.1 30 6.1.1 การแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา 1. มีการแต่งตั้งคณะกรรมการพัฒนา 1. คาสั่งแต่งตั้ง ................................คะแนน
การมุ่งเน้น กระบวนการ งานด้านการแพทย์แผนไทย และ งานด้านการแพทย์แผนไทยฯ ระดับ คณะกรรมการฯ
ระบบการ ทางานของ การแพทย์ทางเลือก เพื่อขับเคลื่อนงาน หน่วยงาน 2. รายงานสรุปผล
ปฏิบัติการ หน่วยงาน ด้านการแพทย์แผนไทย และการแพทย์ - น้อยกว่า 2 คณะฯ = 1 คะแนน การประชุมฯ
ของ ทางเลือก ระดับหน่วยงาน - มากกว่า ๒ คณะฯ = 3 คะแนน ๓. ภาพการประชุมฯ
หน่วยงาน (10 คะแนน) - มากกว่า ๓ คณะฯ = ๕ คะแนน
2. มีการประชุมเพื่อติดตามผลการ
ดาเนินงาน
- น้อยกว่า 2 ครั้ง = 1 คะแนน
- มากกว่า ๒ ครั้ง = 3 คะแนน
- มากกว่า ๓ ครั้ง = ๕ คะแนน

6.1.2 ระบบบริหารจัดการเพื่อ 1. มีระบบบริหารจัดการเพื่อสนับสนุน 1. เอกสาร/คาสั่งกาหนด ................................คะแนน


สนับสนุนการใช้ยาสมุนไพรในจังหวัด การใช้ยาสมุนไพรในจังหวัด ดังนี้ รายการบัญชียาสมุนไพร/
เพิ่มมากขึ้น (10 คะแนน) - มีบัญชียาสมุนไพรของจังหวัด = 2 เอกสารสนับสนุนการใช้
คะแนน ยาสมุนไพรและการปรุงยา
- มีการกาหนดรายการยาสมุนไพร เฉพาะรายต่างๆ ในจังหวัด
ทดแทนยาแผนปัจจุบัน = 2 คะแนน 2. ข้อมูลมูลค่ายาสมุนไพร
- มีการสนับสนุนการใช้ยาปรุงเฉพาะราย ของจังหวัด และปัญหา
= 3 คะแนน อุปสรรค ข้อเสนอแนะ
- มีมูลค่าการใช้ยาสมุนไพรของจังหวัด
เพิ่มขึ้นจากปีที่ผ่านมา = 3 คะแนน

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๑๓
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
6.1.3 การสนับสนุนหน่วยบริการให้ 1. มีการสนับสนุนหน่วยบริการให้ 1. เอกสารสนับสนุนให้ ................................คะแนน
จัดบริการในพื้นที่ให้เป็นแหล่งการ จัดบริการในพื้นที่ให้เป็นแหล่งการเรียนรู้ จัดบริการในพื้นที่ให้เป็น
เรียนรู้ด้านการแพทย์แผนไทยและ ด้านการแพทย์แผนไทยฯ ในแต่ละด้าน แหล่งการเรียนรู้
การแพทย์ทางเลือกในแต่ละด้าน - อย่างน้อย 2 แห่ง/จังหวัด ด้านการแพทย์แผนไทยฯ /
(5 คะแนน) = 5 คะแนน รายงานผลการดาเนินงาน

6.2 6.2.1 มีผลงาน/องค์ความรู้/นวัตกรรม ๑. มีผลงาน/องค์ความรู้/นวัตกรรมหรือ 1. เอกสาร/รายงานผลงาน/ ................................คะแนน


ประสิทธิผล หรืองานวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย งานวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย องค์ความรู้/นวัตกรรมหรือ
การ การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ งานวิจัย ด้านการแพทย์
ปฏิบัติงาน ทางเลือก ที่สามารถนาไปใช้ในการ ทางเลือก ที่สามารถนาไปใช้ในการแก้ไข แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน
ของ แก้ไขปัญหาสุขภาพของพื้นที่ ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ และการแพทย์ทางเลือก ที่
หน่วยงาน (5 คะแนน) - อย่างน้อย 1 เรื่อง = 2 คะแนน สามารถนาไปใช้ในการแก้ไข
- มากกว่า 1 เรื่อง = 5 คะแนน ปัญหาสุขภาพของพื้นที่

7.ผลลัพธ์ 7.1 ผลลัพธ์ 225 7.1.1 มีผลการดาเนินงานตามตัวชี้วัด 1. มีการรายงานผลการดาเนินงานตาม 1. รายงานผล ................................คะแนน


การ ด้าน บรรลุผลตามแผนยุทธศาสตร์และ ตัวชี้วัดตามแผนยุทธศาสตร์และ การดาเนินงานตามตัวชี้วัด
ดาเนินการ ประสิทธิผล แผนปฏิบัติการด้านการแพทย์ แผนปฏิบัติการด้านการแพทย์แผนไทย รายไตรมาส
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกของ และการแพทย์ทางเลือกของจังหวัดที่ 2. สรุปผลการดาเนินงาน
จังหวัดที่กาหนด ปีที่ผ่านมา กาหนด ปีที่ผ่านมา ประจาปีงบประมาณ และ
(10๐ คะแนน) - อย่างน้อย 1 ไตรมาส = 10 คะแนน ข้อเสนอแนะ
- อย่างน้อย 2 ไตรมาส = 20 คะแนน
- อย่างน้อย 3 ไตรมาส = 40 คะแนน
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๑๔
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
- 4 ไตรมาส และ = 80 คะแนน
2. สรุปผลการดาเนินงานประจาปี
งบประมาณ และข้อเสนอแนะ = 20
คะแนน

7.1.2 ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ 1. ข้อมูลร้อยละของการให้บริการ 1. ข้อมูลร้อยละของ ................................คะแนน


ได้รับบริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค ผู้ป่วยนอกด้านการแพทย์แผนไทยฯ การให้บริการผู้ป่วยนอก
และฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์ - ร้อยละ 19.50 ขึ้นไป = 30 คะแนน ด้านการแพทย์แผนไทยฯ
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ระดับ - ร้อยละ 19.50 = 25 คะแนน ปีที่ผ่านมา
จังหวัด ปีที่ผ่านมา - ร้อยละ 16.50-19.49 = 1๕ (ประเมินจากระบบ
(3๐ คะแนน) คะแนน ฐานข้อมูล HDC)
- ร้อยละ 13.50-16.49 = 7 คะแนน
- ร้อยละ 10.50-13.49 = 3 คะแนน
- น้อยกว่า ร้อยละ 10.50 = 0 คะแนน

7.1.3 ผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ๑. ผลการดาเนินการ (ร้อยละที่เพิ่มขึ้น) 1. ข้อมูลร้อยละของ ................................คะแนน


ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟู - มากกว่าร้อยละ 10 = 4๐ คะแนน การให้บริการผู้ป่วยนอก
สภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย - ร้อยละ 10 = 35 คะแนน ด้านการแพทย์แผนไทยฯ
และการแพทย์ทางเลือก ระดับจังหวัด - ร้อยละ 7.5 – 9.9 = 20 คะแนน ปีที่ผ่านมาเปรียบเทียบกับ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 จากผลงานที่ผ่านมา - ร้อยละ 5.5 – 7.4 = 10 คะแนน ปีก่อนหน้า ๑ ปี
(4๐ คะแนน) - ร้อยละ 1.0 – 5.4 = 5 คะแนน (ประเมินจากระบบ
- น้อยกว่า ร้อยละ 1.0 = 0 คะแนน ฐานข้อมูล HDC)

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๑๕
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
7.1.4 ร้อยละของหน่วยบริการ 1. มีหน่วยบริการที่ใช้ยาสมุนไพร 1. ทะเบียนการใช้ยา ................................คะแนน
สาธารณสุขทุกระดับภายในจังหวัดมี ทดแทนยาแผนปัจจุบัน สมุนไพรทดแทนยา
การใช้ยาสมุนไพรทดแทนยา - มากกว่าร้อยละ 30.0 = 4๐ คะแนน แผนปัจจุบัน แยกระดับ
แผนปัจจุบัน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 30 - ร้อยละ 30.0 = 35 คะแนน หน่วยบริการ (รพศ./รพท./
ของหน่วยบริการ - ร้อยละ 25.0 – 29.9 = 20 คะแนน รพช./รพ.สต.)
- รพศ./รพท. อย่างน้อย 5 รายการ - ร้อยละ 20.0 – 24.9 = 10 คะแนน
(๑๐๐%) - ร้อยละ 15.0 – 19.9 = 5 คะแนน
- รพช./รพ.สต. อย่างน้อย 2 รายการ - น้อยกว่า ร้อยละ 15.0 = 0 คะแนน
(๑๐๐%)
(4๐ คะแนน)

7.1.5 มีผลการดาเนินการด้านการ 1. มีผลการดาเนินงานด้านการคุ้มครอง 1. เอกสารผล ................................คะแนน


คุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทย ภูมิปัญญาการแพทย์แผนไทยผ่านตาม การดาเนินงานฯ
ตามเกณฑ์ที่กรมฯ ได้มีการกาหนดราย เกณฑ์ทกี่ รมฯ ได้มีการกาหนดรายปี 2. รายงานผล
ปี และรายงานผลครบถ้วน สมบูรณ์ตาม - น้อยกว่าร้อยละ 50 = 0 คะแนน การดาเนินงานฯ
กิจกรรมที่กาหนด เช่น การขึ้นทะเบียน - มากกว่าร้อยละ 50 = 10 คะแนน
ตารับยา/ตาราการแพทย์แผนไทย การ 2. มีรายงานผลการดาเนินงานด้าน
จดทะเบียนสิทธิในภูมิปัญญาการแพทย์ การคุ้มครองภูมิปัญญาการแพทย์แผน
แผนไทย เป็นต้น (15 คะแนน) ไทยผ่านตามเกณฑ์ที่กรมฯ ได้มีการ
กาหนดรายปี = 5 คะแนน

8.หมวด 8.1 รูปเล่ม 1๕ 8.1.1 องค์ประกอบเนื้อหาเรียงตาม ๑. องค์ประกอบเนื้อหา 1. รูปเล่มเอกสาร ................................คะแนน


การนาเสนอ เอกสาร หมวด/กิจกรรมเกณฑ์การประเมินพื้นที่ (ส่งเอกสารในรูปแบบไฟล์
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๑๖
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศ - เนื้อหาสอดคล้อง ครบถ้วน เรียงตาม PDF ทางอีเมล์
(๑๐ คะแนน) หมวด/กิจกรรมเกณฑ์การประเมินพื้นที่ ispt.oasp.dtam@gmail.
ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศ com ให้เลขาฯ ก่อนวัน
- การลาดับเนื้อหามีความต่อเนื่องเข้าใจ ประกวด ๑ สัปดาห์)
ง่ายและการใช้ภาษาได้ถูกต้องตรงตาม ๒. รูปเล่มเอกสารตัวจริงให้
ความหมาย จานวนหน้าไม่เกิน 50 หน้า นามาในวันประกวด และทา
(มีครบ = ๑๐ คะแนน, ไม่มีข้อใดข้อหนึ่ง สาเนาอย่างน้อย ๕ เล่ม
= ๐ คะแนน) หมายเหตุ ข้อ ๑ และ ๒
8.1.2 รูปแบบรายงาน (๕ คะแนน) ๑. รูปแบบรายงาน ต้องเป็นเอกสารชุดเดียวกัน ................................คะแนน
- มีความสมบูรณ์น่าอ่าน ห้ามแก้ไข คณะกรรมการจะ
- มีองค์ประกอบที่ครบถ้วน เช่น คานา ยึดการให้คะแนนข้อ ๑ เป็น
สารบัญ หมายเลขหน้า ปกหน้า-หลัง สาคัญ
เป็นต้น
(มีครบ = ๕ คะแนน, ไม่มีข้อใดข้อหนึ่ง
= ๐ คะแนน)
8.2 การ 10 8.2.1 การนาเสนอและตอบคาถาม 1. การนาเสนอ ๑. เอกสาร/สื่อการนาเสนอ ................................คะแนน
นาเสนอ คณะกรรมการได้ถูกต้องตรงประเด็น - วิธีการ/เทคนิคการนาเสนอที่น่าสนใจ (ส่งเอกสารในรูปแบบไฟล์
(๑๐ คะแนน) = 2 คะแนน PDF ทางอีเมล์
- เนื้อหาในการนาเสนอครอบคลุมทุก ispt.oasp.dtam@gmail.
ประเด็น กระชับสั้น เข้าใจง่าย จานวน com ให้เลขาฯ ก่อนวัน
ไม่เกิน 1๕ สไลด์ = 2 คะแนน ประกวด)
- เวลาในการนาเสนอไม่เกิน ๑๐ นาที
= 4 คะแนน
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๑๗
หมวดการ คะแนน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เต็ม เกณฑ์การประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน
2. การตอบคาถาม = 2 คะแนน หมายเหตุ ต้องเป็นไฟล์ที่
พร้อมนาเสนอ และไม่
อนุญาตให้แก้ไขหลังการส่ง

รวมคะแนน 500

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๑๘
เกณฑ์การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
ระดับประเทศ (สาหรับประเภท รพศ.รพท./รพช./รพ.สต.สอน.)
**************************************
คาชี้แจง : เกณฑ์การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ระดับประเทศ ใช้สาหรับ
1. หน่วยงานสาธารณสุ ข ได้แก่ โรงพยาบาลศูนย์ โรงพยาบาลทั่ว ไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุ ขภาพตาบล สถานีอนามัยเฉลิมพระเกีย รติ
60 พรรษา นวมินทราชินี
2. หน่ วยงานสาธารณสุ ขที่ไม่เคยได้รับรางวัลชนะเลิ ศการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่ งชาติ ฯ ระดับประเทศมาก่อน หรือเคยได้รับรางวัลแต่สิ้ นสุ ดสถานภาพ
การประกวดระดับเพชรแล้ว โดยสามารถเข้ารับการประกวดฯ ระดับประเทศได้อีก ทั้งนี้ต้องเว้นระยะห่างจากปีที่สิ้นสุดสถานภาพการประกวดระดับเพชร อย่างน้อย 1 ปี
3. หน่วยงานสาธารณสุขทีส่ มัครเข้ารับการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศ ตามเอกสารที่กรมกาหนด (*แบบ ตบ.๑)
องค์ประกอบของเกณฑ์
1. หมวดด้านบริหาร 100 คะแนน
2. หมวดด้านบริการ 250 คะแนน
3. หมวดด้านวิชาการ 1๒๕ คะแนน
4. หมวดการนาเสนอ ๒๕ คะแนน
รวม 500 คะแนน
การประเมินผล
คะแนนรวมทั้งการนาเสนอและการประเมินระดับพื้นที่ ไม่ต่ากว่าร้อยละ 80 ของคะแนนทั้งหมด โดยมีคะแนนสูงสุดเป็นลาดับที่ 1, ๒ และ ๓ ของแต่ะละประเภท
หมายเหตุ คัดเลือกหน่วยงานที่มีคะแนนการนาเสนอสูงสุด ๓ อันดับแรก สาหรับการประเมินในระดับพื้นที่

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๑๙
เกณฑ์การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
ระดับประเทศ (สาหรับประเภท รพศ.รพท./รพช./รพ.สต.สอน.)
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
1.หมวด 1.1 สิ่งแวดล้อม ๑๐ ๑.๑.๑ มีพื้นที่ให้บริการความรู้ด้าน ๑. มีพื้นทีใ่ ห้บริการความรู้ 1. พืน้ ทีใ่ ห้บริการความรู้ ...........................คะแนน
ด้านบริหาร ภูมิทศั น์ การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน - อย่างน้อย ๓ เรื่อง = ๒ คะแนน ๒. ภาพกิจกรรม
(รวม ๑๐๐ และการแพทย์ทางเลือก ได้แก่ ๑) ความรู้ - อย่างน้อย 6 เรื่อง = 5 คะแนน ๓. แผ่นพับ/กิจกรรม/
คะแนน) สื่อในการให้บริการ
เกี่ยวกับธาตุเจ้าเรือน ๒) การใช้ยา
ความรู้
สมุนไพรไทยการรักษา ๓) ท่ากายบริหาร
๔) นวัตกรรม ๕) งานวิจัย ๖) ผลงานเด่น
ที่เกี่ยวกับการแพทย์แผนไทย การแพทย์
พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
๗) อื่นๆ (๕ คะแนน)

1.1.2 การประชาสัมพันธ์เกี่ยวกับ ๑. มีการประชาสัมพันธ์ภายใน 1. แผ่นพับ/กิจกรรม/ ...........................คะแนน


การให้บริการการแพทย์แผนไทย หน่วยงาน สื่อในการประชาสัมพันธ์
การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ - อย่างน้อย 2 ช่องทาง = ๑ คะแนน ๒. ภาพกิจกรรม
ทางเลือกทั้งภายในและนอกหน่วยงาน - มากกว่า ๒ ช่องทาง = ๒.5 คะแนน
(5 คะแนน) ๒. มีการประชาสัมพันธ์ภายนอก
หน่วยงาน
- อย่างน้อย 2 ช่องทาง = ๑ คะแนน
- มากกว่า ๒ ช่องทาง = ๒.5 คะแนน

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๒๐
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
1.2 การนา 3๕ 1.2.1 ผู้บริหารหน่วยบริการมีการแต่งตั้ง ๑. มีคาสั่งแต่งตั้งฯ กาหนดขอบเขต 1. คาสั่งแต่งตั้ง ...........................คะแนน
องค์กร และ คณะกรรมการพัฒนางานด้านการแพทย์ และบทบาทหน้าที่ของคณะกรรมการฯ คณะกรรมการฯ
การจัดทา แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ระดับ ๒. มีการประชุมคณะกรรมการพัฒนา 2. รายงานการประชุมฯ
แผนปฏิบัติการ หน่วยงาน (1๐ คะแนน) งานด้านการแพทย์แผนไทยและ ๓. ภาพกิจกรรม
การแพทย์ทางเลือก ระดับหน่วยงาน
๓. มีรายงานการประชุมฯ
(มีครบทั้ง ๓ ข้อ = ๑๐ คะแนน, ไม่มี
ข้อใดข้อหนึ่ง = ๐ คะแนน)

1.2.2 ผู้บริหารหน่วยบริการมีการกาหนด ๑. มีการกาหนดวิสัยทัศน์ พันธกิจ 1. เอกสาร/สื่อ ...........................คะแนน


และถ่ายทอดวิสัยทัศน์ พันธกิจ ค่านิยม ค่านิยมที่สอดคล้องกับทิศทางของ อิเล็กทรอนิกส์
ด้านการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ จังหวัด กรม และกระทรวง ประชาสัมพันธ์วิสัยทัศน์
ทางเลือกของหน่วยงาน โดยมีการกาหนด ๒. มีการประชาสัมพันธ์ทั้งในรูปแบบ พันธกิจ และค่านิยมของ
ทิศทางและเป้าหมายระยะยาว อย่างน้อย เอกสารและสื่ออิเล็กทรอนิกส์ เช่น หน่วยงาน
5 ปี (๕ คะแนน) อีเมล์ เว็บไซด์
(มีครบทั้ง ๒ ข้อ = ๕ คะแนน, ไม่มีข้อ
ใดข้อหนึ่ง = ๐ คะแนน)

1.2.3 มีการนาข้อมูลมาวิเคราะห์ และ ๑. มีการนาข้อมูลมาวิเคราะห์ และ 1. ผลการวิเคราะห์ ...........................คะแนน


จัดลาดับความสาคัญของปัญหา เพื่อจัดทา จัดลาดับความสาคัญของปัญหา ข้อมูล และจัดลาดับ
แผนงาน/โครงการ/กิจกรรม ในการ ๒. มีแผนงาน/โครงการ/กิจกรรมใน ความสาคัญของปัญหา
ดาเนินงานแก้ไขปัญหาที่สอดคล้องกับ การดาเนินงานแก้ไขปัญหาที่สอดคล้อง 2. แผนงาน/โครงการ/
แผนปฏิบัติการด้านการแพทย์แผนไทย กับแผนปฏิบัติการด้านการแพทย์แผน กิจกรรมในการ
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๒๑
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ ไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ ดาเนินงานแก้ไขปัญหาที่
ทางเลือก ระดับหน่วยงาน ตามข้อสั่งการ/ ทางเลือก ระดับหน่วยงาน ตามข้อสั่ง สอดคล้องกับแผนปฏิบัติ
นโยบายของจังหวัด กรม และกระทรวง การ/นโยบายของจังหวัด กรม และ การด้านการแพทย์แผน
(๑๐ คะแนน) กระทรวง ไทยฯ ระดับหน่วยงาน
(มีครบทั้ง ๒ ข้อ = ๑๐ คะแนน, ไม่มี ตามข้อสั่งการ/นโยบาย
ข้อใดข้อหนึ่ง = ๐ คะแนน) ของจังหวัด กรม และ
กระทรวง

1.2.๔ การติดตามประเมินผล ปรับปรุง ๑. มีรายงานผลการติดตาม และ 1. รายงานผลการ ...........................คะแนน


แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง ปรับปรุงการดาเนินงานตามแผนงาน/ ติดตาม และปรับปรุง
และมีการจัดทารายงานสรุปผลการ โครงการ/กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง อย่าง การดาเนินงานตาม
ดาเนินงานประจาปี ปีที่ผ่านมา น้อย ๔ ครั้ง/ปี (ไตรมาสละ 1 ครั้ง) แผนงาน/โครงการ/
(Year Report) (๑๐ คะแนน) ๒. มีรายงานสรุปผลการดาเนินงาน กิจกรรมอย่างต่อเนื่อง
ประจาปี รายไตรมาส
(มีครบทั้ง ๒ ข้อ = ๑๐ คะแนน, ไม่มี ๒. รายงานสรุปผล
ข้อใดข้อหนึ่ง = ๐ คะแนน) การดาเนินงานประจาปี

1.3 ระบบข้อมูล 10 1.3.1 การติดตาม วิเคราะห์ ประเมินผล 1. มีการติดตาม วิเคราะห์ ประเมินผล ๑. รายงานผลการ ...........................คะแนน
สารสนเทศ และ ข้อมูลการบริการผ่านระบบฐานข้อมูล ข้อมูลการบริการผ่านระบบฐานข้อมูล ดาเนินงาน รายไตรมาส/
การวิเคราะห์ HDC ได้อย่างถูกต้องตามช่วงเวลา รวมถึง HDC ได้อย่างถูกต้องตามช่วงเวลา ราย รายงานการประชุม
ต้นทุนการ จัดทารายงานผลการดาเนินงาน และ ไตรมาส 2. รายงานสรุปผล
จัดบริการด้าน ข้อเสนอเพื่อการพัฒนางานด้านการแพทย์ - ไม่มีการดาเนินการ = 0 คะแนน การดาเนินงาน และ
การแพทย์ แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และ - มีการดาเนินการ = ๒.๕ คะแนน
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๒๒
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
แผนไทย การแพทย์ทางเลือก ระดับหน่วยงาน 2. มีสรุปรายงานผลการดาเนินงาน ข้อเสนอในการพัฒนา
การแพทย์ ปีที่ผ่านมา (5 คะแนน) และข้อเสนอเพื่อการพัฒนางานด้าน ด้านการแพทย์แผนไทยฯ
พื้นบ้าน และ การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน
การแพทย์ และการแพทย์ทางเลือก ระดับ
ทางเลือก หน่วยงาน
- ไม่มีการดาเนินการ = 0 คะแนน
- มีการดาเนินการ = ๒.๕ คะแนน

1.3.2 มีการรวบรวม และวิเคราะห์ข้อมูล ๑. มีข้อมูลการรวบรวมและผลการ 1. รายงานผลการ ...........................คะแนน


ด้านการเงินในการจัดบริการด้าน วิเคราะห์ด้านการเงินในการจัดบริการ วิเคราะห์ด้านการเงิน
การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์ ในการจัดบริการด้าน
และการแพทย์ทางเลือก พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก การแพทย์แผนไทย
ปีที่ผ่านมา (5 คะแนน) = ๕ คะแนน การแพทย์พื้นบ้าน และ
การแพทย์ทางเลือก

1.4 บุคลากร ๓0 1.4.1 ผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ ๑. มีข้อมูลการพัฒนาศักยภาพและ 1. เอกสารข้อมูลการ ...........................คะแนน


แผนไทยฯ ได้รับการพัฒนาศักยภาพที่ สมรรถนะผู้ปฏิบัติงานด้านการแพทย์ พัฒนาศักยภาพและ
สอดคล้องกับแผนปฏิบัติการ และเพิ่ม แผนไทยฯ ในหน่วยงาน สมรรถนะผู้ปฏิบัติงาน
สมรรถนะในการปฏิบัติงาน ปีที่ผ่านมา - อย่างน้อย ๒ เรื่อง/คน = ๕ คะแนน ด้านการแพทย์แผนไทยฯ
(๒๐ คะแนน) - มากกว่า ๒ เรื่อง/คน = ๒0 คะแนน ในหน่วยงาน

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๒๓
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
1.4.2 มีบุคลากรตาแหน่งแพทย์แผน ๑. ข้อมูลบุคลากรตาแหน่งแพทย์ 1. เอกสารข้อมูล ...........................คะแนน
ไทย/แพทย์แผนไทยประยุกต์ในหน่วย แผนไทย/แพทย์แผนไทยประยุกต์ใน บุคลากรตาแหน่งแพทย์
บริการปฏิบัติงานประจา ตามกรอบ หน่วยบริการต่อการให้บริการ แผนไทย/แพทย์แผนไทย
อัตรากาลังของแพทย์แผนไทยตามระดับ ประชาชนในชุมชน ตามกรอบ ประยุกต์ในหน่วยบริการ
สถานบริการ ของสานักงานปลัดกระทรวง อัตรากาลังของแพทย์แผนไทยตาม ตามกรอบอัตรากาลัง
สาธารณสุข (1๐ คะแนน) ระดับสถานบริการ ของสานักงาน ของแพทย์แผนไทยตาม
(รายละเอียดตามเอกสารแนบเกณฑ์ ๑) ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ระดับสถานบริการ ของ
= ๑๐ คะแนน สานักงานปลัดกระทรวง

1.5 การมีส่วน 15 1.5.1 มีเครือข่ายในการร่วมพัฒนา 1. มีเครือข่ายในการร่วมพัฒนา 1. สรุปผลการ ...........................คะแนน


ร่วมของชุมชน ส่งเสริม และสนับสนุนงานแพทย์แผนไทย ส่งเสริม และสนับสนุนงานแพทย์ ดาเนินงาน/กิจกรรมที่
และภาคี ฯ เช่น กลุ่มผู้ปลูก เครือข่ายหมอพื้นบ้าน แผนไทยฯ โดยมีกิจกรรม และผล ร่วมกับเครือข่ายที่
เครือข่าย วิสาหกิจชุมชน ภาคมหาวิทยาลัย และ การดาเนินงานร่วมกัน เกี่ยวข้อง
ภาคเอกชน (15 คะแนน) - อย่างน้อย 2 เครือข่าย = 5 คะแนน 2. ภาพกิจกรรม
- อย่างน้อย ๕ เครือข่าย = 15
คะแนน

2.หมวด 2.1 การ 1๔0 2.1.1 การจัดให้บริการด้านการแพทย์ ๑. มีการจัดบริการด้านการแพทย์ 1. รายงานผลการ ...........................คะแนน


บริการ จัดบริการ แผนไทยฯ 4 สาขา ได้แก่ ๑) เวชกรรม แผนไทยฯ ให้บริการด้านการแพทย์
(รวม ๒๕๐ ไทย ๒) เภสัชกรรมไทย ๓) การนวดไทย - ครบทุกสาขา = 10 คะแนน แผนไทยฯ ในแต่ละด้าน
คะแนน) ๔) ผดุงครรภ์ไทย (15 คะแนน) - ครบทุกสาขา ร่วมกับการปรุงยา (๔ สาขา)
เฉพาะราย = 15 คะแนน ๒. ภาพกิจกรรม
การให้บริการ
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๒๔
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
2.1.2 การจัดบริการแบบผสมผสาน ๑. มีการให้บริการแบบผสมผสาน 1. รายงานผลการ ...........................คะแนน
ระหว่างแพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์แผน ระหว่างแพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์ ให้บริการและการส่งต่อ
ไทย และแพทย์ทางเลือก เช่น คลินิก แผนไทย และแพทย์ทางเลือก ในการ ผู้ป่วยผสมผสานฯ
กัญชา, Intermediate care (IMC), รักษาพยาบาลฯ ผู้ป่วย ๒. แนวทางการดูแล
Palliative care และการส่งต่อผู้ป่วย ๒. มีแนวทางการส่งต่อผู้ป่วยระหว่าง ผู้ป่วยและการส่งต่อ
ระหว่างแพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์แผน แพทย์แผนปัจจุบัน แพทย์แผนไทย ผู้ป่วยระหว่างแพทย์แผน
ไทย และแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ และแพทย์ทางเลือกอื่น ๆ ปัจจุบัน แพทย์แผนไทย
(๓0 คะแนน) (มีครบทั้ง ๒ ข้อ = ๓๐ คะแนน, ไม่มี และแพทย์ทางเลือก
ข้อใดข้อหนึ่ง = ๐ คะแนน)

2.1.๓ การใช้ยาสมุนไพรทดแทนยาแผน หน่วยบริการมีการใช้ยาสมุนไพร 1. ทะเบียนยาสมุนไพร ...........................คะแนน


ปัจจุบัน ทดแทนยาแผนปัจจุบัน ทดแทนยาแผนปัจจุบัน
- รพศ./รพท. อย่างน้อย 5 รายการ ๑. รพศ./รพท. ของหน่วยบริการ
(๑๐๐%) - อย่างน้อย 3 รายการ = ๕ คะแนน
- รพช./รพ.สต. อย่างน้อย 2 รายการ - อย่างน้อย 5 รายการ = ๑0 คะแนน
(๑๐๐%) - มากกว่า 5 รายการ = ๒0 คะแนน
(20 คะแนน) ๒. รพช./รพ.สต.
- อย่างน้อย ๒ รายการ = ๕ คะแนน
- มากกว่า ๒ รายการ = ๒0 คะแนน

2.1.๔ แนวทางและการจัดบริการ หน่วยบริการมีแนวทางและจัดบริการ 1. แนวทางการให้ ...........................คะแนน


การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ การแพทย์แผนไทยฯ บริการตามกลุ่มโรค
ทางเลือกตามกลุ่มโรค เพื่อให้บริการ ๑. รพศ./รพท.
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๒๕
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ป้องกัน รักษา ส่งเสริม และฟื้นฟูสภาพ - อย่างน้อย ๕ กลุ่มโรค = ๑๐ คะแนน ๒. ข้อมูลการรับบริการ
ของผู้มารับบริการ - มากกว่า 5 กลุ่มโรค = ๓๐ คะแนน ตามกลุ่มโรค (แยกโรค)
- รพศ./รพท. อย่างน้อย ๕ กลุ่มโรค ๒. รพช.
- รพช. อย่างน้อย ๔ กลุ่มโรค - อย่างน้อย ๔ กลุ่มโรค = ๑๐ คะแนน
- รพ.สต. อย่างน้อย ๒ กลุ่มโรค - มากกว่า ๔ กลุ่มโรค = ๓๐ คะแนน
(๓๐ คะแนน) ๓. รพ.สต.
- อย่างน้อย ๒ กลุ่มโรค = ๑๐ คะแนน
- มากกว่า ๒ กลุ่มโรค = ๓๐ คะแนน

2.1.๕ การมีส่วนร่วมกับทีมสหวิชาชีพใน รพศ./รพท. 1. สรุปผลการออก ...........................คะแนน


การให้บริการผู้ป่วยใน และการจัดบริการ ๑. มีส่วนร่วมกับทีมสหวิชาชีพใน ให้บริการเชิงรุกร่วมกับ
เชิงรุก (๔๕ คะแนน) การให้บริการผู้ปว่ ยใน ทีมสหวิชาชีพในชุมชน
- อย่างน้อย ๓ ครั้ง/สัปดาห์ = ๕ ๒. ภาพกิจกรรมการออก
คะแนน ให้บริการเชิงรุกร่วมกับ
- มากกว่า ๓ ครั้ง/สัปดาห์ = ๑5 ทีมสหวิชาชีพในชุมชน
คะแนน ๓. สรุปผลการมีส่วน
๒. มีการจัดบริการเชิงรุก เช่น การ ร่วมกับทีมสหวิชาชีพใน
เยี่ยมบ้าน การออกหน่วย การให้บริการผู้ป่วยใน
- อย่างน้อย ๑ ครั้ง/สัปดาห์ = ๑๐ ๔. ภาพกิจกรรมการมี
คะแนน ส่วนร่วมกับทีมสห
- มากกว่า ๑ ครั้ง/สัปดาห์ = ๓๐ วิชาชีพในการให้บริการ
คะแนน ผู้ป่วยใน
รพช.
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๒๖
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
๑. มีส่วนร่วมกับทีมสหวิชาชีพใน
การให้บริการผู้ป่วยใน
- อย่างน้อย ๔ ครั้ง/สัปดาห์ = ๕
คะแนน
- มากกว่า ๔ ครั้ง/สัปดาห์ = ๑5
คะแนน
๒. มีการจัดบริการเชิงรุก เช่น การ
เยี่ยมบ้าน การออกหน่วย
- อย่างน้อย ๒ ครั้ง/สัปดาห์ = ๑๐
คะแนน
- มากกว่า ๒ ครั้ง/สัปดาห์ = ๓๐
คะแนน
รพ.สต.
๑. มีการจัดบริการเชิงรุก เช่น การ
เยี่ยมบ้าน การออกหน่วย
- อย่างน้อย ๔ ครั้ง/สัปดาห์ = ๒๐
คะแนน
- มากกว่า ๔ ครั้ง/สัปดาห์ = ๔๕
คะแนน

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๒๗
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
2.2 มาตรฐาน ๓5 2.2.1 การประเมินผลตามมาตรฐาน ผลการประเมินตามมาตรฐาน 1. ผลการประเมิน ...........................คะแนน
บริการ โรงพยาบาลส่งเสริมและสนับสนุน รพ.สส.พท. มาตรฐาน รพ.สส.พท.
การแพทย์แผนไทย และการแพทย์ ๑. ไม่ได้มาตรฐาน = ๐ คะแนน
ผสมผสาน (รพ.สส.พท.) ของสถาบัน ๒. ได้มาตรฐาน
การแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ - ผ่านเกณฑ์มาตรฐานระดับพื้นฐาน =
แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก ๘ คะแนน
กระทรวงสาธารณสุข (1๕ คะแนน) - ระดับดี = ๑๐ คะแนน
- ระดับดีมาก = ๑๒ คะแนน
- ระดับดีเยี่ยม = ๑๕ คะแนน

2.2.2 รายการวัตถุดิบสมุนไพรที่นามาใช้ รพศ./รพท. 1. ทะเบียนข้อมูล ...........................คะแนน


ประกอบการปรุงยาเฉพาะราย และ ๑. มีรายการวัตถุดิบสมุนไพรที่นามาใช้ วัตถุดิบสมุนไพรที่
รายการยาสมุนไพร (ทั้งในและนอกบัญชี ประกอบการปรุงยาเฉพาะราย นามาใช้ประกอบการ
ยาหลักแห่งชาติฯ) ที่มีคุณภาพ และ - อย่างน้อย ๓๐ รายการ = ๕ คะแนน ปรุงยาเฉพาะราย
สามารถตรวจสอบแหล่งที่มาได้ - มากกว่า ๓๐ รายการ = ๑๐ คะแนน (เฉพาะรพศ./รพท./
(๒0 คะแนน) ๒. มีรายการยาสมุนไพร (ทั้งในและ รพช.)
นอกบัญชียาหลักแห่งชาติฯ) 2. เอกสารรายการยา
- อย่างน้อย ๓๐ รายการ = ๕ คะแนน สมุนไพร (ทั้งในและนอก
- มากกว่า ๓๐ รายการ = ๑๐ คะแนน บัญชียาหลักแห่งชาติฯ)
รพช.
๑. มีรายการวัตถุดิบสมุนไพรที่นามาใช้
ประกอบการปรุงยาเฉพาะราย
- อย่างน้อย ๒๐ รายการ = ๕ คะแนน
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๒๘
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
- มากกว่า ๒๐ รายการ = ๑๐ คะแนน
๒. มีรายการยาสมุนไพร (ทั้งในและ
นอกบัญชียาหลักแห่งชาติฯ)
- อย่างน้อย ๒๐ รายการ = ๕ คะแนน
- มากกว่า ๒๐ รายการ = ๑๐ คะแนน
รพ.สต.
๑. มีรายการยาสมุนไพร (ทั้งในและ
นอกบัญชียาหลักแห่งชาติฯ)
- อย่างน้อย ๑๐ รายการ = ๕ คะแนน
- มากกว่า ๑๐ รายการ = ๒๐ คะแนน
2.3 ผลลัพธ์ของ 75 2.3.1 ร้อยละของผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ 1. ข้อมูลร้อยละของการให้บริการ 1. ข้อมูลร้อยละของ ...........................คะแนน
การจัดบริการ ได้รับบริการตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และ ผู้ป่วยนอกด้านการแพทย์แผนไทยฯ การให้บริการผู้ป่วยนอก
ฟื้นฟูสภาพด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทย - ร้อยละ 19.50 ขึ้นไป = ด้านการแพทย์แผนไทยฯ
และการแพทย์ทางเลือกของหน่วยงาน 30 คะแนน ปีที่ผ่านมา
ปีที่ผ่านมา (30 คะแนน) - ร้อยละ 19.50 = 25 คะแนน (ประเมินจากระบบ
- ร้อยละ 16.50-19.49 = ฐานข้อมูล HDC)
14 คะแนน
- ร้อยละ 13.50-16.49 =
7 คะแนน
- ร้อยละ 10.50-13.49 =
3 คะแนน
- น้อยกว่า ร้อยละ 10.50 =
0 คะแนน
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๒๙
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
2.3.2 ผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ๑. ผลการดาเนินการ (ร้อยละที่ 1. ข้อมูลร้อยละของ ...........................คะแนน
ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพ เพิ่มขึ้น) การให้บริการผู้ป่วยนอก
ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและ - มากกว่าร้อยละ 10 = ๔๕ คะแนน ด้านการแพทย์แผนไทยฯ
การแพทย์ทางเลือก ของหน่วยงาน - ร้อยละ 10 = ๔๐ คะแนน ปีที่ผ่านมาเปรียบเทียบ
เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 จากผลงานที่ผ่านมา - ร้อยละ 7.5 – 9.9 = ๓๐ คะแนน กับปีก่อนหน้า ๑ ปี
(45 คะแนน) - ร้อยละ 5.5 – 7.4 = ๑๕ คะแนน (ประเมินจากระบบ
- ร้อยละ 1.0 – 5.4 = ๗ คะแนน ฐานข้อมูล HDC)
- น้อยกว่า ร้อยละ 1.0 = 0 คะแนน
3.หมวด 3.1 นวัตกรรม/ ๘0 3.1.1 นวัตกรรม/งานวิจัยด้านการแพทย์ ๑. มีนวัตกรรม/งานวิจัยด้าน 1. เอกสารผลงาน ...........................คะแนน
วิชาการ งานวิจัย และการ แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และ การแพทย์แผนไทยฯ นวัตกรรม/งานวิจัย
(รวม ๑๒๕ นาใช้ประโยชน์ การแพทย์ทางเลือกที่นามาประยุกต์ใช้ใน - อย่างน้อย ๒ เรื่อง = ๑๐ คะแนน
คะแนน) หน่วยงาน เพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ - มากกว่า ๒ เรื่อง = ๒๕ คะแนน
และเผยแพร่ (๓0 คะแนน) ๒. มีการเผยแพร่นวัตกรรม/งานวิจัย
ด้านการแพทย์แผนไทยฯ
- อย่างน้อย ๒ ช่องทาง = ๕ คะแนน

3.1.2 การประเมินผลการนานวัตกรรม/ ๑. มีการประเมินผลการนานวัตกรรม/ 1. สรุปผลการ ...........................คะแนน


งานวิจัยไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงานในการ งานวิจัยไปประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน ประเมินผลการนา
แก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ ในการแก้ปัญหาสุขภาพของพื้นที่ และ นวัตกรรม/งานวิจัยไป
(2๕ คะแนน) ข้อเสนอแนะในการพัฒนา ประยุกต์ใช้ในหน่วยงาน
- ไม่มีการดาเนินการ = 0 คะแนน ในการแก้ปัญหาสุขภาพ
- มีการดาเนินการ = ๒๕ คะแนน ของพื้นที่ และ

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๓๐
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
ข้อเสนอแนะในการ
พัฒนา

3.1.3 นวัตกรรม/งานวิจัยที่เผยแพร่ถูก ๑. มีการนานวัตกรรม/งานวิจัยที่ถูก 1. ข้อมูลของหน่วย ...........................คะแนน


นาไปต่อยอดใช้พัฒนางานในระดับจังหวัด เผยแพร่ไปต่อยอดใช้พัฒนางานใน บริการที่นานวัตกรรม/
เขตสุขภาพ หรือประเทศ (2๕ คะแนน) ระดับจังหวัด เขตสุขภาพ หรือประเทศ งานวิจัยที่ถูกเผยแพร่ไป
= ๒๕ คะแนน ต่อยอดใช้พัฒนางาน

3.2 การจัดการ 4๕ 3.2.1 การถ่ายทอดองค์ความรู้/ ๑. มีการถ่ายทอดองค์ความรู้/การ 1. รายงานการประชุม/ ...........................คะแนน


ความรู้ การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ในการจัดทา แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ในการจัดทา เอกสารประกอบการ
แนวทางการรักษาพยาบาลด้านการแพทย์ แนวทางการรักษาพยาบาลด้าน ประชุม
แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และ การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน 2. แนวทาง
การแพทย์ทางเลือก ระหว่างทีมสหวิชาชีพ และการแพทย์ทางเลือก ระหว่าง การรักษาพยาบาล
ในหน่วยบริการ (2๕ คะแนน) ทีมสหวิชาชีพในหน่วยบริการ ด้านการแพทย์แผนไทยฯ
- อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี = ๑๐ คะแนน ในหน่วยบริการ
- มากกว่า ๒ ครั้ง/ปี = 2๕ คะแนน ๓. ภาพกิจกรรม
การถ่ายทอดองค์ความรู้/
การแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๓๑
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
3.2.2 การเผยแพร่ การถ่ายทอดองค์ ๑. มีการเผยแพร่ การถ่ายทอดองค์ 1. เอกสาร/สื่อ ...........................คะแนน
ความรู้/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ดา้ น ความรู้/การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ด้าน อิเล็กทรอนิกส์การ
การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน การแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน เผยแพร่ การถ่ายทอด
และการแพทย์ทางเลือกให้กับบุคลากรใน และการแพทย์ทางเลือกให้กับบุคลากร องค์ความรู้/การ
หน่วยบริการ และประชาชนในชุมชน ในหน่วยบริการและประชาชนในชุมชน แลกเปลี่ยนเรียนรู้
(20 คะแนน) - อย่างน้อย ๑๐ ครั้ง/ปี = 10 คะแนน 2. ภาพกิจกรรม
- มากกว่า ๑๐ ครั้ง/ปี = 20 คะแนน

4.หมวด 4.1 รูปเล่ม ๑5 4.1.1 องค์ประกอบเนื้อหาเรียงตาม ๑. องค์ประกอบเนื้อหา 1. รูปเล่มเอกสาร ...........................คะแนน


การ เอกสาร หมวด/กิจกรรมเกณฑ์การประเมินพื้นที่ - เนื้อหาสอดคล้อง ครบถ้วน เรียงตาม (ส่งเอกสารในรูปแบบ
นาเสนอ ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศ หมวด/กิจกรรมเกณฑ์การประเมิน ไฟล์ PDF ทางอีเมล์
(รวม ๒๕ (๑๐ คะแนน) พื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ispt.oasp.dtam@gm
คะแนน) ระดับประเทศ ail.com ให้เลขาฯ ก่อน
- การลาดับเนื้อหามีความต่อเนื่อง วันประกวด ๑ สัปดาห์)
เข้าใจง่ายและการใช้ภาษาได้ถูกต้อง ๒. รูปเล่มเอกสารตัวจริง
ตรงตามความหมาย จานวนหน้าไม่ ให้นามาในวันประกวด
เกิน 50 หน้า และทาสาเนาอย่างน้อย
(มีครบ = ๑๐ คะแนน, ไม่มีข้อใดข้อ ๕ เล่ม
หนึ่ง = ๐ คะแนน) หมายเหตุ ข้อ ๑ และ ๒
4.1.2 รูปแบบรายงาน (๕ คะแนน) ๑. รูปแบบรายงาน ต้องเป็นเอกสารชุด ...........................คะแนน
- มีความสมบูรณ์น่าอ่าน เดียวกัน ห้ามแก้ไข
คณะกรรมการจะยึดการ

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๓๒
หมวดการ คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ข้อคิดเห็น/เสนอแนะ
กิจกรรม เกณฑ์การประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
ประเมิน เต็ม ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
- มีองค์ประกอบที่ครบถ้วน เช่น คานา ให้คะแนนข้อ ๑ เป็น
สารบัญ หมายเลขหน้า ปกหน้า-หลัง สาคัญ
เป็นต้น
(มีครบ = ๕ คะแนน, ไม่มีข้อใดข้อหนึ่ง
= ๐ คะแนน)
4.2 การนาเสนอ ๑๐ 4.2.1 การนาเสนอและตอบคาถาม 1. การนาเสนอ ๑. เอกสาร/สื่อการ ...........................คะแนน
คณะกรรมการได้ถูกต้องตรงประเด็น - วิธีการ/เทคนิคการนาเสนอที่ นาเสนอ(ส่งเอกสารใน
(๑๐ คะแนน) น่าสนใจ รูปแบบไฟล์ PDF ทาง
= 2 คะแนน อีเมล์
- เนื้อหาในการนาเสนอครอบคลุมทุก ispt.oasp.dtam@gm
ประเด็น กระชับสั้น เข้าใจง่าย จานวน ail.com ให้เลขาฯ ก่อน
ไม่เกิน 1๕ สไลด์ = 2 คะแนน วันประกวด)
- เวลาในการนาเสนอไม่เกิน ๑๐ นาที หมายเหตุ ต้องเป็นไฟล์
= 4 คะแนน ที่พร้อมนาเสนอ และไม่
2. การตอบคาถาม = 2 คะแนน อนุญาตให้แก้ไขหลังการ
ส่ง

รวมคะแนน 500

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๓๓
เอกสารแนบเกณฑ์ ๑

กรอบอัตรากาลังแพทย์แผนไทยตามขนาดของหน่วยบริการ
สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
ขนาด XL-Extra (5 ศูนย์เขต XL-
(จังหวัด) S (18 จังหวัด) M (15 จังหวัด) L (22 จังหวัด) XL (16 จังหวัด) จังหวัด) ศูนย์เขต XL Extra
อัตรากาลัง 3 5 6 6 7 6 7
โรงพยาบาลศูนย์
ขนาด (เตียง) <700 701 – 1,000 >1,000
อัตรากาลัง 3 – 28 3 - 13 6
โรงพยาบาลทั่วไป
ขนาด (เตียง) M1 <200 M1 >200 S <400 S >400
อัตรากาลัง 3–6 3 – 11 3 - 13 5-6
โรงพยาบาลชุมชน
ขนาด (เตียง) F <30 F 31 - 60 F 61 - 90 F >90 M2 <100 M2 >100
อัตรากาลัง 3–4 3–4 3–4 3–4 3–4 3–4
โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา
ขนาด (ประชากร) ขนาดเล็ก ขนาดกลาง ขนาดใหญ่
(<3,000) (3,000-8,000) (8,001 ขึ้นไป)
อัตรากาลัง - 1 ๑
อ้างอิง : กองบริหารทรัพยากรบุคคล สานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข (2560)
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๓๔
เกณฑ์การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
ระดับเพชร (สาหรับประเภท สสจ./รพศ.รพท./รพช./รพ.สต.)
**************************************
คาชี้แจง : เกณฑ์การประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ระดับเพชร ใช้สาหรับ
1. หน่วยงานสาธารณสุขที่เคยได้รับรางวัลชนะเลิศการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ ฯ ระดับประเทศ ทุกประเภท ได้แก่ สานักงานสาธารณสุขจังหวัด
โรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป โรงพยาบาลชุมชน โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี
2. หน่วยงานสาธารณสุขที่สมัครเข้ารับการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่ งชาติ ฯ ระดับเพชร ตามเอกสารที่กรมกาหนด (แบบ ตบ.๒) และไม่เป็นผู้สิ้นสุ ด
สถานภาพการประกวดระดับเพชร (นับผลย้อนหลังตั้งแต่การประกวด ปี 2562 เป็นต้นไป) ตามเงื่อนไข 2 ข้อ ดังนี้
๒.๑ ไม่เข้าร่วมประเมินหรือมีคะแนนประเมินต่ากว่าเกณฑ์ ต่อเนื่อง 2 ปี
๒.๒ ระยะเวลาการประกวดระดับเพชร รวมแล้วเกิน 5 ปี
หมายเหตุ สามารถเข้ารับการประกวดฯ ระดับประเทศได้อีก ทั้งนี้ต้องเว้นระยะห่างจากปีที่สิ้นสุดสถานภาพการประกวดระดับเพชร อย่างน้อย 1 ปี
องค์ประกอบของเกณฑ์
1. หมวดการวางแผน ๘๐ คะแนน
2. หมวดผลการดาเนินงาน ๑๐๐ คะแนน
3. หมวดผลลัพธ์เชิงประจักษ์ ๑๐๐ คะแนน
4. หมวดการนาเสนอ ๒๐ คะแนน
การประเมินผล
เกณฑ์ แนวทางการประเมิน หมวดที่ประเมิน คะแนนเต็ม ผ่านเกณฑ์ เอกสารที่ต้องส่ง
เกณฑ์ปีที่ ๑ ผลงานเด่น และแผนการดาเนินงานต่อเนื่อง 3 ปี ๑,๔ ๑๐๐ ๘๐% สื่อการนาเสนอ/เอกสารผลงานเด่น
เกณฑ์ปีที่ ๒ ผลการดาเนินงาน และความก้าวหน้าของผลงานเด่น 1, ๒ และ ๔ ๒๐๐ ๘๐% สื่อการนาเสนอ/เอกสารผลงานเด่น
ผลการดาเนินงาน และความก้าวหน้าของผลงานเด่น
เกณฑ์ปีที่ ๓ 1, ๒ และ ๔ ๒๐๐ ๙๐% สื่อการนาเสนอ/เอกสารผลงานเด่น
ที่แตกต่างจากการนาเสนอปีที่ 2
สื่อการนาเสนอ/รูปเล่มเรื่องราวความสาเร็จ
เกณฑ์ปีที่ ๔ ผลงานเชิงประจักษ์ และประเมินระดับพื้นที่ 1-๔ ๓๐๐ ๙๐%
(success story) ของผลงานเชิงประจักษ์
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๓๕
เกณฑ์การประกวดผลงานเด่นของพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
ระดับเพชร (สาหรับประเภท สสจ./รพศ.รพท./รพช./รพ.สต.)
หมวดการ คะแน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ผลคะแนน/ข้อคิดเห็น
กิจกรรม นเต็ม เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
๑. หมวด ๑.1 การ ๘0 ๑.๑.๑ การจัดทาแผนปฏิบัติการ สาขา 1. มีแผนปฏิบัติการฯ ระดับจังหวัด/ 1. แผนปฏิบัติการฯ ระดับ ..............................คะแนน
การ วางแผน การแพทย์แผนไทยและการแพทย์ หน่วยงาน ที่บูรณาการการดาเนินงาน จังหวัด/หน่วยงาน ที่มีการ
วางแผน ปฏิบตั ิการ ผสมผสาน ทีบ่ ูรณาการการดาเนินงาน ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง บูรณาการกับหน่วยงานที่
ร่วมกับหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง สามารถ - ๒-๔ หน่วยงาน = ๒.5 คะแนน เกี่ยวข้อง
เชื่อมโยงกับแผนพัฒนาระบบบริการ - มากกว่า ๔ หน่วยงาน = ๕ คะแนน ๒. แผนปฏิบัติการฯ ระดับ
(Service Plan) สาขาการแพทย์แผน 2. แผนปฏิบัติการฯ สามารถเชื่อมโยง จังหวัด/หน่วยงาน
ไทยฯ และอื่นๆ เช่น การท่องเที่ยวเชิง กับแผนพัฒนาระบบบริการ (Service ทีเ่ ชื่อมโยงกับแผนพัฒนา
สุขภาพ เมืองสมุนไพร สมุนไพรเพื่อ Plan) สาขาการแพทย์แผนไทยฯ และ ระบบบริการ (Service
เศรษฐกิจ เป็นต้น (๑๐ คะแนน) อื่นๆ เช่น การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ Plan) สาขาการแพทย์
เมืองสมุนไพร สมุนไพรเพื่อเศรษฐกิจ แผนไทยฯ และอื่นๆ
เป็นต้น = ๕ คะแนน

๑.1.2 แผนปฏิบัติการระยะสั้น/ระยะ ๑. แผนปฏิบัติการ ๑. แผนปฏิบัติการระยะสั้น/ ..............................คะแนน


กลาง (๓ ปี) ทีส่ อดคล้องกับแผน ๑.๑ สอดคล้องกับแผนจังหวัด/แผน ระยะกลาง (๓ ปี)
จังหวัด/แผนภาค/แผนกรม/แผน ภาค/แผนกรม/แผนกระทรวง
กระทรวง (๕๐ คะแนน) = ๕ คะแนน
๑.๒ สอดคล้องกับสภาพปัญหาสุขภาพ
ของพื้นที่ = ๑๐ คะแนน
๑.๓ การดาเนินงานมีความต่อเนื่อง
= ๑๕ คะแนน
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๓๖
หมวดการ คะแน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ผลคะแนน/ข้อคิดเห็น
กิจกรรม นเต็ม เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
๑.๔ ผลลัพธ์ที่ได้ต้องเป็นผลลัพธ์เชิง
ประจักษ์และสามารถส่งผลต่อการ
พัฒนาและแก้ไขปัญหาสุขภาพในพื้นที่
ได้ = ๒๐ คะแนน

๑.1.3 การถ่ายทอดแผนปฏิบัติการสู่ 1. มีการถ่ายทอดแผนปฏิบัติการสู่การ ๑. ผลดาเนินงานการ ..............................คะแนน


การปฏิบัติอย่างเป็นรูปธรรม และมีการ ปฏิบัติงานด้านการแพทย์แผนไทยและ ถ่ายทอดแผนปฏิบัติการสู่
พัฒนา ติดตามประเมินผลอย่างต่อเนื่อง การแพทย์ทางเลือกของจังหวัด/ การปฏิบัติงานด้านการแพทย์
(๑๐ คะแนน) หน่วยงาน ไปยังหน่วยงานและบุคลากร แผนไทยและการแพทย์
ที่เกี่ยวข้อง = ๕ คะแนน ทางเลือกของจังหวัด/
2. มีการพัฒนา และติดตามผล หน่วยงาน ไปยังหน่วยงาน
การดาเนินงาน ตามแผนปฏิบัติการ และบุคลากรที่เกี่ยวข้อง (เช่น
อย่างต่อเนื่อง สรุปรายงานการประชุม
- อย่างน้อย 1 ไตรมาส = ๐.๕ คะแนน หนังสือชี้แจงแผนปฏิบัติ
- อย่างน้อย 2 ไตรมาส = ๒ คะแนน ระดับจังหวัด/หน่วยงาน)
- อย่างน้อย 3 ไตรมาส = ๓.๕ คะแนน ๒. รายงานผล
- 4 ไตรมาส = ๕ คะแนน การดาเนินงาน ปัญหา
อุปสรรค และการแก้ไข
ปัญหาตามแผนปฏิบัติการ
รายไตรมาส

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๓๗
หมวดการ คะแน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ผลคะแนน/ข้อคิดเห็น
กิจกรรม นเต็ม เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
๑.1.4 การจัดทารายงานสรุปผลการ 1. มีการจัดทารายงานสรุปผลการ 1. รายงานสรุปผล ..............................คะแนน
ดาเนินงานประจาปี (Year Report) ดาเนินงานประจาปี การดาเนินงานประจาปี
ตามแผนปฏิบัติการ เพื่อใช้เป็นข้อมูลใน - ดาเนินการครบทุกกิจกรรมตาม (ฉบับผู้บริหาร)
การวิเคราะห์ และถอดบทเรียนสาหรับ แผนปฏิบัติการ = ๑๐ คะแนน
การวางแผนปฏิบัติการในปีงบประมาณ - ดาเนินการไม่ครบทุกกิจกรรมตาม
ต่อไป (10 คะแนน) แผนปฏิบัติการ = ๐ คะแนน

๒. หมวด ๒.1 การสร้าง ๑๐๐ ๒.1.1 การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่าง 1. มีการประชุมแลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1. เอกสารประกอบ ..............................คะแนน


ผลการ ความสัมพันธ์ ทีมสหวิชาชีพด้านการแพทย์แผนไทย ระหว่างทีมสหวิชาชีพ การประชุมฯ
ดาเนินงาน กับผู้รับบริการ การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ - อย่างน้อย 2 ครั้ง/ปี = 10 คะแนน ๒. รายงานสรุปผล
และผู้มีส่วนได้ ทางเลือกในหน่วยงาน ปีที่ผ่านมา - อย่างน้อย 4 ครั้ง/ปี = 20 คะแนน การประชุมฯ
ส่วนเสียของ (20 คะแนน) ๓. ภาพการจัดประชุมฯ
หน่วยงาน
๒.1.๒ เครือข่ายในการร่วมพัฒนา 1. มีเครือข่ายในการร่วมพัฒนา 1. สรุปผลการดาเนินงาน/ ..............................คะแนน
ส่งเสริม และสนับสนุนงานแพทย์แผน ส่งเสริม และสนับสนุนงานแพทย์แผน กิจกรรมที่ร่วมกับเครือข่ายที่
ไทยฯ เช่น กลุ่มผู้ปลูก เครือข่ายหมอ ไทยฯ โดยมีกิจกรรม และผลการ เกี่ยวข้อง
พื้นบ้าน วิสาหกิจชุมชน ดาเนินงานร่วมกัน 2. ภาพกิจกรรม
ภาคมหาวิทยาลัย และภาคเอกชน - อย่างน้อย 2 เครือข่าย = 10
(20 คะแนน) คะแนน
- อย่างน้อย ๕ เครือข่าย = 20
คะแนน

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๓๘
หมวดการ คะแน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ผลคะแนน/ข้อคิดเห็น
กิจกรรม นเต็ม เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
๒.๒ การ ๒.๒.๑ ผลการดาเนินงานตาม ๑. ความก้าวหน้าในการดาเนินงานตาม ๑. รายงานผลการดาเนินงาน ..............................คะแนน
ดาเนินงาน แผนปฏิบัติการอย่างต่อเนื่อง แผนปฏิบัติการ = ๓๐ คะแนน ตามแผนปฏิบัติการ
ตาม (๖๐ คะแนน) ๒. ข้อเสนอแนะสาหรับการแก้ไขปัญหา รายไตรมาส
แผนปฏิบัติ และอุปสรรคที่เกิดขึ้นระหว่างการ ๒. ข้อเสนอแนะสาหรับการ
การ ดาเนินงานตามแผน เพื่อพัฒนาผลการ แก้ไขปัญหาและอุปสรรคที่
ปฏิบัติงานให้ได้ผลลัพธ์เชิงประจักษ์ที่ เกิดขึ้นระหว่าง
ส่งผลต่อการพัฒนาและแก้ไขปัญหา การดาเนินงานตามแผน
สุขภาพในพื้นที่ได้ = ๓๐ คะแนน รายไตรมาส

๓. หมวด ๓.1 ผลลัพธ์ ๑๐0 ๓.๑.๑ ผลลัพธ์เชิงประจักษ์ ที่สามารถ ผลลัพธ์เชิงประจักษ์ ๑. เอกสาร/รายงานผลที่ ..............................คะแนน
ผลลัพธ์ เด่นเชิง ส่งผลต่อการพัฒนาและแก้ไขปัญหา ๑. มีประสิทธิภาพ/ประสิทธิผล และให้ แสดงข้อมูลเกี่ยวกับผลลัพธ์
ประจักษ์ สุขภาพในพื้นที่ได้ ความสาคัญกับการให้บริการทาง เชิงประจักษ์
(ผลงานเชิงประจักษ์ หมายถึง ผลงาน การแพทย์แผนไทยฯ = ๔0 คะแนน ๒. ข้อเสนอแนะสาหรับการ
เด่นที่ผ่านการตกลงร่วมกันระหว่าง ๒. มีความคุ้มค่า และเพิ่มโอกาสในการ นาผลงานมาประยุกต์ใช้และ
กรรมการและผู้เข้าร่วมประกวด) เข้าถึงบริการด้านการแพทย์แผนไทยฯ พัฒนาต่อยอดในงาน
(๗0 คะแนน) อย่างปลอดภัย = 1๕ คะแนน
๓. มีการเผยแพร่เป็นที่ยอมรับ/การ
นาไปประยุกต์ใช้ และเพิ่มมูลค่าการ
บริการสุขภาพ
- ระดับเขตสุขภาพ = ๕ คะแนน
- ระดับประเทศ = 1๕ คะแนน

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๓๙
หมวดการ คะแน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ผลคะแนน/ข้อคิดเห็น
กิจกรรม นเต็ม เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
๓.2 ผลลัพธ์ 3.2.1 ผู้ป่วยนอกทั้งหมดที่ได้รับบริการ ๑. ผลการดาเนินการ (ร้อยละที่เพิ่มขึ้น) 1. ข้อมูลร้อยละของการ ..............................คะแนน
พื้นฐานเชิง ตรวจ วินิจฉัย รักษาโรค และฟื้นฟูสภาพ 1.1 ระดับจังหวัด (สสจ.) ให้บริการผู้ป่วยนอก
ประจักษ์ ด้วยศาสตร์การแพทย์แผนไทยและ - ต่อเนื่อง 4 ปี = 15 คะแนน ด้านการแพทย์แผนไทยฯ
การแพทย์ทางเลือก เพิ่มขึ้นร้อยละ 10 - ต่อเนื่อง 3 ปี = 5 คะแนน (ประเมินจากระบบ
จากผลงานที่ผ่านมา จนถึงปัจจุบัน - ต่อเนื่อง 2 ปี = 2.5 คะแนน ฐานข้อมูล HDC)
ต่อเนื่องอย่างน้อย 4 ปี 1.2 ระดับหน่วยงาน (รพศ./รพท./รพช./ โดยมีการเน้นเรื่องการ
(โดยมีการเน้นเรื่องการให้บริการ รพ.สต.) ให้บริการด้านการแพทย์แผน
ด้านการแพทย์แผนไทยฯ ใน - ต่อเนื่อง 4 ปี = 15 คะแนน ไทยฯ ใน Intermediate
Intermediate care (IMC), Palliative - ต่อเนื่อง 3 ปี = 5 คะแนน care (IMC), Palliative care
care, ส่งเสริมการปรุงยาเฉพาะราย - ต่อเนื่อง 2 ปี = 2.5 คะแนน ส่งเสริมการปรุงยาเฉพาะราย
และรวมถึงการใช้ยาสมุนไพรทดแทนยา และรวมถึงการใช้ยาสมุนไพร
แผนปัจจุบัน) (๑๕ คะแนน) ทดแทนยาแผนปัจจุบัน

3.2.2 ผลงาน/องค์ความรู้/นวัตกรรม สสจ. 1. ข้อมูลของหน่วยบริการที่ ..............................คะแนน


หรืองานวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย ๑. มีผลงาน/องค์ความรู้/นวัตกรรมหรือ นาผลงาน/องค์ความรู้/
การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ งานวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย นวัตกรรมหรืองานวิจัยด้าน
ทางเลือก ที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ การแพทย์แผนไทย
การพัฒนางานในระดับจังหวัด เขต ทางเลือก ที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน การแพทย์พื้นบ้าน และ
สุขภาพ หรือประเทศ/แก้ไขปัญหา การพัฒนางานในระดับจังหวัด เขต การแพทย์ทางเลือก
สุขภาพของพื้นที่ (๑๕ คะแนน) สุขภาพ หรือประเทศ ประยุกต์ใช้ในการพัฒนางาน
= 15 คะแนน ในระดับจังหวัด เขตสุขภาพ
รพศ./รพท./รพช./รพ.สต. หรือประเทศ/แก้ไขปัญหา
สุขภาพของพื้นที่
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๔๐
หมวดการ คะแน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ผลคะแนน/ข้อคิดเห็น
กิจกรรม นเต็ม เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
1. มีผลงาน/องค์ความรู้/นวัตกรรมหรือ 2. เอกสาร/รายงานผลงาน/
งานวิจัยด้านการแพทย์แผนไทย องค์ความรู้/นวัตกรรมหรือ
การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ งานวิจัย ด้านการแพทย์
ทางเลือก ที่สามารถนาไปประยุกต์ใช้ใน แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน
การแก้ไขปัญหาสุขภาพของพื้นที่ และการแพทย์ทางเลือก ที่
= 15 คะแนน สามารถนาไปใช้ในการแก้ไข
ปัญหาสุขภาพของพื้นที่

๔.หมวด ๔.1 การ ๒0 4.๑.1 รูปเล่ม/เอกสาร (๑๐ คะแนน) ๑. องค์ประกอบเนื้อหา 1. รูปเล่มเอกสาร ..............................คะแนน
การ นาเสนอ/ - ปีที่ ๑ – ๓ : จัดทาเอกสารประกอบ - เนื้อหาสอดคล้อง ครบถ้วน เรียงตาม (ส่งเอกสารในรูปแบบไฟล์
นาเสนอ รูปเล่มเอกสาร ผลงานเด่น (ไม่ต้องทารูปเล่ม) หมวด/กิจกรรมเกณฑ์การประเมินพื้นที่ PDF ทางอีเมล์
- ปีที่ 4 : จัดทาเป็นรูปเล่มผลงาน ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับเพชร ispt.oasp.dtam@gmail.c
เชิงประจักษ์ - การลาดับเนื้อหามีความต่อเนื่อง om ให้เลขาฯ ก่อนวัน
เข้าใจง่ายและการใช้ภาษาได้ถูกต้อง ประกวด ๑ สัปดาห์)
ตรงตามความหมาย ๒. รูปเล่มเอกสารตัวจริงให้
- *เฉพาะปีที่ ๔ เขียนเป็นเรื่องราว นามาในวันประกวด และทา
ความสาเร็จ (success story) จานวน สาเนาอย่างน้อย ๕ เล่ม
ไม่เกิน ๕ หน้า และเอกสารประกอบ หมายเหตุ ข้อ ๑ และ ๒
จานวนหน้าไม่เกิน 50 หน้า ต้องเป็นเอกสารชุดเดียวกัน
- *เฉพาะปีที่ 4 รูปเล่มมีความสมบูรณ์ ห้ามแก้ไข คณะกรรมการจะ
ครบถ้วน และน่าอ่าน ยึดการให้คะแนนข้อ ๑ เป็น
(มีครบ = ๑๐ คะแนน, ไม่มีข้อใดข้อ สาคัญ
หนึ่ง = ๐ คะแนน)
ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๔๑
หมวดการ คะแน เกณฑ์การให้คะแนน หลักฐาน/ข้อมูล **ผลคะแนน/ข้อคิดเห็น
กิจกรรม นเต็ม เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน (คะแนน) ประกอบการประเมิน ของคณะกรรมการฯ
๔.๑.๒ การนาเสนอและตอบคาถาม 1. การนาเสนอ ๑. เอกสาร/สื่อการนาเสนอ
คณะกรรมการได้ถูกต้องตรงประเด็น - วิธีการ/เทคนิคการนาเสนอที่น่าสนใจ (ส่งเอกสารในรูปแบบไฟล์
(๑๐ คะแนน) = 2 คะแนน PDF ทางอีเมล์
- เนื้อหาในการนาเสนอครอบคลุมทุก ispt.oasp.dtam@gmail.co
ประเด็น กระชับสั้น เข้าใจง่าย จานวน m ให้เลขาฯ ก่อนวัน
ไม่เกิน 1๕ สไลด์ = 2 คะแนน ประกวด)
- เวลาในการนาเสนอไม่เกิน ๑๐ นาที หมายเหตุ ต้องเป็นไฟล์ที่
= 4 คะแนน พร้อมนาเสนอ และไม่
2. การตอบคาถาม = 2 คะแนน อนุญาตให้แก้ไขหลังการส่ง

ลงชื่อ................................................................คณะกรรมการ ๔๒
แบบ ตบ. 1

ใบสมัคร
ขอรับการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน
และการแพทย์ทางเลือก ระดับประเทศ ประจาปี พ.ศ. 256๔
1. ประเภท  สานักงานสาธารณสุขจังหวัด  โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป
 โรงพยาบาลชุมชน  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สอน.
2. ชื่อหน่วยงาน ..................................................................................................................................................
ที่อยู่................................................ตำบล...............................................อำเภอ...............................................
จังหวัด..........................................................................รหัสไปรษณีย์..............................................................
เบอร์โทรศัพท์……………………………..................E-mail (หน่วยงำน).................................................................
๓. ผู้นาเสนอผลงาน
ชื่อ-สกุล..............................................................................ตำแหน่ง ...............................................................
เบอร์โทรศัพท์/มือถือ..........................................................E-mail..................................................................
๔. ผู้ประสานงานหลัก
ชื่อ-สกุล..............................................................................ตำแหน่ง ...............................................................
เบอร์โทรศัพท์/มือถือ..........................................................E-mail..................................................................
หมายเหตุ รายละเอียดอื่น ๆ ให้ปฏิบัติตามเกณฑ์การประกวด
ผู้สมัคร ผู้บริหารหน่วยงานรับรอง

ลงชื่อ.................................................................... ลงชื่อ....................................................................
(..........................................................) (..........................................................)
ตำแหน่ง........................................................... ตำแหน่ง...........................................................
วันที่................................................................ วันที่................................................................
โปรดส่งใบสมัครขอรับการประกวดฯ มายัง กลุ่มงานสนับสนุนเขตสุขภาพ กองวิชาการและแผนงาน
**ทาง E-mail: ispt.oasp.dtam@gmail.com (Scan PDF file) ภายในวันที่ 10 มกราคม 2564**
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการประกวดฯ ทาง QR-CODE หรือ Link ด้านล่าง
https://qrgo.page.link/DSwgN

๔๓
แบบ ตบ. ๒

ใบสมัคร
ขอรับการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ ด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน
และการแพทย์ทางเลือก ระดับเพชร ประจาปี พ.ศ. 256๔
1. ประเภท  สานักงานสาธารณสุขจังหวัด  โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป
 โรงพยาบาลชุมชน  โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สอน.
2. ชื่อหน่วยงาน ..............................................................................................................................................................
ที่อยู.่ ....................................................ตำบล...................................................อำเภอ.................................................
จังหวัด...............................................................................รหัสไปรษณีย์.....................................................................
เบอร์โทรศัพท์……………………………....................................E-mail (หน่วยงำน)..........................................................
๓. ได้รับรางวัลชนะเลิศพื้นที่ตน้ แบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศ ในปี พ.ศ. ......….…............…............………………
๔. ประวัติเข้ารับการประเมินธารงศักยภาพพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศ
 ไม่เคยเข้ำรับกำรประเมิน  เคยเข้ำรับกำรประเมินธำรงศักยภำพพื้นที่ตน้ แบบดีเด่นฯ ระดับประเทศ
ครั้งที่ 1 พ.ศ. .................................... ผลกำรประเมิน  ผ่ำน  ไม่ผ่ำน
ครั้งที่ 2 พ.ศ. .................................... ผลกำรประเมิน  ผ่ำน  ไม่ผ่ำน
ครั้งที่ 3 พ.ศ. .................................... ผลกำรประเมิน  ผ่ำน  ไม่ผ่ำน
ครั้งที่ 4 พ.ศ. .................................... ผลกำรประเมิน  ผ่ำน  ไม่ผ่ำน
**สมัครเข้ารับการประเมินระดับเพชร (ตามเกณฑ์ใหม่) ปีท…ี่ ………………………………………………………………………
5. ผู้นาเสนอผลงาน
ชื่อ-สกุล....................................................................................ตำแหน่ง ....................................................................
เบอร์โทรศัพท์/มือถือ................................................................E-mail........................................................................
6. ผู้ประสานงานหลัก
ชื่อ-สกุล....................................................................................ตำแหน่ง ....................................................................
เบอร์โทรศัพท์/มือถือ................................................................E-mail........................................................................
หมายเหตุ รายละเอียดอื่น ๆ ให้ปฏิบัตติ ามเกณฑ์การประกวด
ผู้สมัคร ผู้บริหารหน่วยงานรับรอง

ลงชื่อ.................................................................... ลงชื่อ....................................................................
(..........................................................) (..........................................................)
ตำแหน่ง........................................................... ตำแหน่ง...........................................................
วันที่................................................................ วันที่................................................................
โปรดส่งใบสมัครขอรับการประกวดฯ มายัง กลุ่มงานสนับสนุนเขตสุขภาพ กองวิชาการและแผนงาน
**ทาง E-mail: ispt.oasp.dtam@gmail.com (Scan PDF file) ภายในวันที่ 10 มกราคม 2564**
ดาวน์โหลดเอกสารประกอบการประกวดฯ ทาง QR-CODE หรือ Link ด้านล่าง
https://qrgo.page.link/DSwgN

๔๔
แนวทางการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย
การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก ประจาปี พ.ศ. 2564
ผ่านระบบสื่ออิเล็กทรอนิกส์ (Zoom Meeting)
**********************
1. วิธีการคัดเลือกพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศและเพชร ประกอบด้วย ๒ รอบ ดังนี้
๑.๑ รอบที่ ๑ การนาเสนอผลงานโดยวาจา (ผ่านระบบ Zoom Meeting)
- ส่งเอกสารผลงานในรูปแบบไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ PDF และรูปเล่มฉบับสมบูรณ์ (กรณีประกวดฯ
ระดับประเทศ และเพชรปี ที่ ๔) เพื่อให้เลขาฯ แต่ละประเภทรวบรวมส่ งให้ คณะกรรมการฯ
พิจารณาตามระยะเวลาที่กาหนด
- เข้ารับการคัดเลือกฯ ผ่านระบบออนไลน์ ตามวันและเวลาที่กาหนด ณ ห้องประชุมของสานักงาน
สาธารณสุ ข จั ง หวั ด หรื อ โรงพยาบาลศู น ย์/ โรงพยาบาลทั่ ว ไปที่ เ ป็น ต้น สั ง กั ด โดยให้ ยึ ดเป็น
ศูนย์กลางในการประกวดฯ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทมี่ ีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ระยะเวลาในการนาแสนอหน่วยงานละ ๓๐ นาที (นาเสนอผลงาน ๒๐ นาที และตอบคาถาม ๑๐ นาที)
หากครบตามเวลาที่กาหนด จะให้ ยุติการนาเสนอ และตอบคาถามทันที โดยจะมีสัญญาณเตือน
จากฝ่ายเลขาฯ ก่อนหมดเวลา
หมายเหตุ มี ก ารเปลี่ ย นแปลงเกณฑ์ ร ะยะเวลาในการน าเสนอ ตามมติ ก ารประชุ ม เตรี ย ม
ความพร้อมการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน
และการแพทย์ทางเลือก ประจาปี พ.ศ. 2564 เมื่อวันที่ 30 มีนาคม 256๔
๑.๒ รอบที่ ๒ การนาเสนอวีดีทัศน์ (ผ่านระบบ Zoom Meeting)
- สาหรับหน่วยงานที่ผ่านการคัดเลือกรอบที่ ๑ ซึง่ หมายถึง หน่วยงานที่ผ่านเกณฑ์การประเมินที่ได้
คะแนนสูงสุด ๓ อันดับแรกของระดับประเทศ และปีที่ ๔ ของระดับเพชร ทุกประเภท
- จัดทาวีดิทัศน์พื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ เพื่อนาเสนอผลการดาเนินงาน (แทนการลงพื้นที่)
รายละเอียดตามที่กาหนด ส่งให้คณะกรรมการฯ พิจารณาตามระยะเวลาที่กาหนด ความยาว
ไม่เกิน 15 นาที มีเนื้อหาสาระสาคัญ ดังนี้
๑) แนะนาหน่วยงาน/ความเป็นมา
๒) ขั้นตอนการดาเนินงาน/ผลการดาเนินงานที่เป็น Best practice
๓) ผลลัพธ์ที่ได้/นวัตกรรม
๔) ปัญหาอุปสรรค/ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
๕) อื่น ๆ
- เข้ารับการคัดเลือกฯ ผ่านระบบออนไลน์ ตามวันและเวลาที่กาหนด ณ ห้องประชุมของสานักงาน
สาธารณสุ ข จั ง หวั ด หรื อ โรงพยาบาลศู น ย์/ โรงพยาบาลทั่ ว ไปที่ เ ป็น ต้น สั ง กั ด โดยให้ ยึ ดเป็น
ศูนย์กลางในการประกวดฯ พร้อมด้วยเจ้าหน้าที่ทมี่ ีความเชี่ยวชาญด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ
- ระยะเวลาในการนาแสนอแห่งละ ๑ ชั่วโมง (นาเสนอวีดิทัศน์ ๑5 นาที และตอบคาถาม 4๕ นาที)
หากครบตามเวลาที่กาหนด จะให้ยุติการนาเสนอ และตอบคาถามทันที โดยจะมีสัญญาณเตือน
จากฝ่ายเลขานุการก่อนหมดเวลา
หมายเหตุ อาจมีการประเมินในระดับพื้นที่ หรือต้องรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติม ในกรณีที่คณะกรรมการ
ร้องขอ หรือมีข้อสังเกตุ
2. มีการถ่ายทอดสดการประกวดฯ ผ่าน Facebook live สาหรับผู้ที่สนใจเข้าร่วม
45
3. หน่ ว ยงานที่ เ ข้ า รั บ การคั ด เลื อ กฯ ต้ อ งเข้ า รั บ การทดสอบระบบและการสื่ อ สาร (ผ่ า นระบบ Zoom
Meeting) ก่อนวันประกวด และวันประกวดก่อนเริ่มการประกวด ๑ ชั่วโมง หากไม่เข้าร่วมการทดสอบ
ระบบ จะถือว่าสละสิทธิ์การทดสอบฯ
4. ประธานคณะกรรมการของแต่ละประเภท จับฉลากล าดับการนาเสนอและแจ้งให้ห น่วยงาน ที่เข้ารับ
การคัดเลือกฯ ทราบก่อนวันประกวด
5. คณะกรรมการฯ ครบองค์ประชุม ณ สถานที่ที่กาหนด อย่างน้อย ๓ ใน ๕ ขององค์ประชุม จึงดาเนินการ
คัดเลือกพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ตามกาหนดการ
6. การนาเสนอผลงานหากครบตามเวลาที่กาหนด จะให้ ยุติการนาเสนอ โดยจะมีสัญญาณเตือนจากฝ่าย
เลขานุการก่อนหมดเวลาการนาเสนอ
(**หากเกิดข้ อ ผิ ด พลาดของระบบเทคโนโลยีร ะหว่ างการนาเสนอ ให้ ห น่ว ยงานนั้ น ยุ ติ การน าเสนอ
และเตรียมการนาเสนอใหม่อีกครั้ง ทั้งนี้ให้เป็นดุลพินิจของประธาน/คณะกรรมการฯ)
7. ช่วงรอยต่อของการนาเสนอระหว่างหน่วยงาน ให้หน่วยงานในลาดับถัดไปเตรียมความพร้อมการฉายไฟล์
สาหรับนาเสนอผ่านระบบออนไลน์ ก่อนถึงเวลาการนาเสนอ
8. เมื่อสิ้นสุดการนาเสนอผลงานครบถ้วนแล้ว คณะกรรมการฯ สรุปผลการคัดเลือกฯ เพื่อให้ฝ่ายเลขานุการ
ทาเรื่องเสนอต่อผู้บริหารกรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือกต่อไป

46
ปฏิทินการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ปี พ.ศ. 2564 (รูปแบบออนไลน์)
ลาดับ กระบวนการคัดเลือก ระยะเวลา รายละเอียด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
๑.๑ เขตแจ้งผลการประกวดฯ ระดับเขตสุขภาพ - เขตสุขภาพ/หน่วยงานที่
๔ ประเภท ได้แก่ รับผิดชอบ
เขตส่งผลการประกวด ภายใน - สานักงานสาธารณสุขจังหวัด

ระดับเขตสุขภาพ มายังกรมฯ ๑ มี.ค. ๖๔ - โรงพยาบาลศูนย์/ทัว่ ไป
- โรงพยาบาลชุมชน
- โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สอน.
ภายใน ๒.๑ ใบสมัครเข้าร่วมประกวดฯ - หน่วยงานที่เข้าร่วม
๑๐ มี.ค. ๖๔ - ระดับประเทศ (ตามแบบ ตบ.๑) ประกวดระดับประเทศ
- ระดับเพชร (ตามแบบ ตบ.๒) และระดับเพชร
๒.๒ รูปเล่มเอกสารผลงาน
๑๕ มี.ค. ๖๔ - ไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ PDF (ส่งทางอีเมล์
ispt.oasp.dtam@gmail.com)
หน่วยงานที่เข้าร่วมประกวดฯ จัดส่ง ๒๒ มี.ค. ๖๔ - รูปเล่มฉบับสมบูรณ์ จานวน ๕ เล่ม (ส่งตามที่อยู่ด้านล่าง)
๒ เอกสารผลงานประกอบการประกวดฯ ถึง กลุ่มงานสนับสนุนเขตสุขภาพ กองวิชาการและแผนงาน
มายังกรมฯ กรมการแพทย์แผนไทยและการแพทย์ทางเลือก
(เพื่อให้คณะกรรมการฯ พิจารณา) เลขที่ 88/23 หมู่ 4 ถนนติวานนท์ ตาบลตลาดขวัญ อาเภอ
เมือง จังหวัดนนทบุรี 11000 โทร. ๐ ๒๑๔๙ ๕๖๕๓
หมายเหตุ จัดทารูปเล่มกรณีประกวดระดับประเทศ และเพชรปีที่ ๔
๓๐ เม.ย. ๖๔ ๒.๓ เอกสารการนาเสนอ (Power Point)
เป็นไฟล์อิเล็กทรอนิกส์ PDF (ส่งทางอีเมล์
ispt.oasp.dtam@gmail.com)
๓๐ มี.ค. ๖๔ ๓.๑ ประชุมเตรียมความพร้อม ร่วมกับคณะกรรมการฯ - กรมการแพทย์แผนไทยฯ
กรมฯ จัดประชุมเพื่อเตรียมความ
๓ ภายใน เม.ย. ๖๔ ๓.๒ แจ้งแนวทางและปฏิทินการประกวดฯ แก่หน่วยงาน - คณะกรรมการคัดเลือกฯ
พร้อมการประกวดฯ
ภูมิภาค - หน่วยงานภูมิภาค
๔.1 เตรียมความพร้อมของระบบออนไลน์ (Zoom Meeting) - IT กรมการแพทย์แผนไทยฯ
ระหว่างกรมฯ และหน่วยงานที่เข้าร่วมประกวดฯ พร้อมทั้ง - IT หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ทดสอบระบบและการสื่อสาร ตามวันเวลาที่กาหนด ดังนี้ - หน่วยงานที่เข้าร่วม
๑๗ พ.ค. ๖๔ - เช้า (09.00-12.00 น.) : สานักงานสาธารณสุขจังหวัด ประกวดระดับประเทศ
- บ่าย (13.00-16.00 น.) : โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป และระดับเพชร
๔ เตรียมความพร้อมของระบบออนไลน์ ๑๘ พ.ค. ๖๔ - เช้า (09.00-12.00 น.) : โรงพยาบาลชุมชน
- บ่าย (13.00-16.00 น.) : โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล
หมายเหตุ ขอความอนุเคราะห์สสจ.หรือรพศ./รพท.ต้นสังกัด
เป็นศูนย์กลางการประกวดฯ ระบบออนไลน์ และอานวย
ความสะดวกแก่หน่วยงานที่เข้าร่วมประกวดฯ ในสังกัดของท่าน
๔.๒ แจ้งลาดับการนาเสนอในวันทดสอบระบบออนไลน์
๕.๑ ทดสอบระบบออนไลน์ (Zoom Meeting) ก่อนเริ่ม - กรมการแพทย์แผนไทยฯ
การประกวด ๑ ชม. - คณะกรรมการคัดเลือกฯ
๕.๒ หน่วยงานที่เข้าร่วมประกวดฯ ระดับประเทศและเพชร - หน่วยงานที่เข้าร่วม
การคัดเลือกรอบที่ ๑ นาแสนอผลงานแห่งละ ๒๐ นาที และตอบคาถาม ๑๐ นาที ประกวดระดับประเทศ/
๕ ตามเกณฑ์และวันเวลาทีก่ าหนด ดังนี้ ระดับเพชร
การนาเสนอผลงานโดยวาจา
๒๔-๒๕ พ.ค. ๖๔ - สานักงานสาธารณสุขจังหวัด/โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป - หน่วยงาน IT
๒๗-๒๘ พ.ค. ๖๔ - โรงพยาบาลชุมชน/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สอน. - หน่วยงานที่สนใจเข้ารับ
หมายเหตุ พร้อมถ่ายทอดการนาเสนอผ่าน Facebook live กรมฯ ฟังการนาเสนอ
๓๑ พ.ค. ๖๔ ๕.๓ ประกาศผลหน่วยงานที่ผ่านการคัดเลือกรอบที่ ๑
๖.๑ สาหรับหน่วยงานที่ได้คะแนนสูงสุด ๓ อันดับแรกของ - หน่วยงานที่เข้าร่วม
หน่วยงานที่ผ่านการคัดเลือกรอบที่ ๑ ระดับประเทศ และปีที่ ๔ ของระดับเพชร ทุกประเภท ประกวดระดับประเทศ
จัดทาวีดทิ ัศน์ประกอบการคัดเลือกรอบที่ ๒ ภายใน จัดทาวีดิทัศน์พื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ความยาวไม่เกิน และระดับเพชร (ที่ผ่าน

ส่งมายังกรมฯ ๓๐ มิ.ย. ๖๔ 15 นาที โดยมีเนื้อหาสาระสาคัญ ดังนี้ การคัดเลือก)
(เพื่อให้คณะกรรมการฯ พิจารณาล่วงหน้า) - แนะนาหน่วยงาน/ความเป็นมา
- ขั้นตอนการดาเนินงาน/ผลการดาเนินงานที่เป็น Best practice

47
ลาดับ กระบวนการคัดเลือก ระยะเวลา รายละเอียด หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
- ผลลัพธ์ที่ได้/นวัตกรรม
- ปัญหาอุปสรรค/ปัจจัยแห่งความสาเร็จ
- อื่น ๆ
ทั้งนี้ ต้องรวบรวมข้อมูลเพิ่มเติมในกรณีที่คณะกรรมการร้องขอ
๗.๑ ทดสอบระบบออนไลน์ (Zoom Meeting) ก่อนเริ่ม - กรมการแพทย์แผนไทยฯ
การประกวด ๑ ชม. - คณะกรรมการคัดเลือกฯ
๗.๒ ประธานจับฉลากลาดับการนาเสนอ - หน่วยงานที่เข้าร่วม
๗.๓ หน่วยงานที่ผา่ นการคัดเลือกรอบที่ ๑ นาเสนอวีดิทัศน์ ประกวดระดับประเทศ
การคัดเลือกรอบที่ ๒ แห่งละ ๑๕ นาที และตอบคาถาม ๔๕ นาที ตามวันเวลาที่ และระดับเพชร (ที่ผ่าน
กาหนด ๔ ประเภท ดังนี้ การคัดเลือก)
๗ การนาเสนอวีดิทัศน์ ๗ ก.ค. ๖๔ - สานักงานสาธารณสุขจังหวัด/โรงพยาบาลศูนย์/ทั่วไป - หน่วยงาน IT
๘ ก.ค. ๖๔ - โรงพยาบาลชุมชน/โรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สอน. - หน่วยงานที่สนใจเข้ารับ
หมายเหตุ ฟังการนาเสนอ
- พร้อมถ่ายทอดการนาเสนอผ่าน Facebook live กรมฯ
- อาจมีการประเมินในระดับพื้นที่เพิม่ เติม ในกรณีที่คณะกรรมการ
ร้องขอ หรือมีข้อสังเกตุ
ภายใน 8.๑ ประกาศผลทางเว็ปไซด์ของกรมฯ และแจ้งหน่วยงาน - กรมการแพทย์แผนไทยฯ
ประกาศผลการประกวดพื้นที่ต้นแบบ ๑๕ ก.ค. ๖๔ ที่เกี่ยวข้อง (www.dtam.moph.go.th)
๘ ดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศและ ก.ค.-ส.ค. ๖๔ 8.2 จัดทาวีดีทัศน์พื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ
เพชร ประจาปี พ.ศ. 2564
9.๑ กรมฯ ส่งหนังสือเชิญหน่วยงานทีไ่ ด้รับรางวัล - กรมการแพทย์แผนไทยฯ
รับรางวัลในงานมหกรรมสมุนไพร ๙.๒ โอนเงินสนับสนุนให้กับหน่วยบริการ - หน่วยงานที่ได้รับรางวัล
๙ แห่งชาติฯ ครั้งที่ 18 ก.ย. ๖๔ ที่ผ่านเกณฑ์การประเมิน และมีผลงานเชิงประจักษ์ เพื่อ
นาไปพัฒนาต่อยอดงานบริการด้านการแพทย์แผนไทย
การแพทย์พื้นบ้าน และการแพทย์ทางเลือก
หมายเหตุ อาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม อันเนื่องจากสถานการณ์การแพร่ระบาดของเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (COVID-19)

48
ส่วนที่ ๓ ภาคผนวก

๔๙
หน่วยบริการที่ได้รับรางวัลพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติ ด้านการแพทย์แผนไทย
การแพทย์พื้นบ้านและการแพทย์ทางเลือก ระดับเพชรและระดับประเทศ ปี 2556 – 256๓
ระดับเพชร (๑๑ แห่ง)
 ประเภทสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
o สสจ.สุราษฎร์ธานี (ปี 2558)
o สสจ.สกลนคร (ปี 2562)
o สสจ.มหาสารคาม (ปี 256๓)
 ประเภทโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
o รพ.เจ้าพระยาอภัยภูเบศร จ.ปราจีนบุรี (ปี 2560)
o รพร.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร (ปี 2560)
o รพ.พระปกเกล้า จ.จันทบุรี (ปี 2561)
 ประเภทโรงพยาบาลชุมชน
o รพ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี (ปี 2558)
o รพ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช (ปี 25๖๓)
 ประเภทโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี
o รพ.สต.โพนทองวัฒนา จ.สกลนคร (ปี 2560)
o รพ.สต.บ้านคลองเสียด จ.กระบี่ (ปี 2560)
o รพ.สต.ปากอ่าง จ.กาแพงเพชร (ปี 2561)

ระดับประเทศ (๓๔ แห่ง)


 ประเภทสานักงานสาธารณสุขจังหวัด
o สสจ.สุราษฎร์ธานี (ปี 2556)
o สสจ.มหาสารคาม (ปี 2557)
o สสจ.สกลนคร (ปี 2558)
o สสจ.อานาจเจริญ (ปี 2559)
o สสจ.ศรีสะเกษ (ปี 2560)
o สสจ.เลย (ปี 2561)
o สสจ.นครพนม (ปี 2562)
o สสจ.ขอนแก่น (ปี 256๓)
 ประเภทโรงพยาบาลศูนย์/โรงพยาบาลทั่วไป
o รพ.เจ้าพระยาอภัยภูเบศร จ.ปราจีนบุรี (ปี 2556)
o รพ.พระปกเกล้า จ.จันทบุรี (ปี 2557)

49
o รพร.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร (ปี 2558, หมายเหตุ เปลี่ยนประเภทการประกวด และได้รับ
รางวัลพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ระดับประเทศ ประเภทโรงพยาบาลชุมชน ปี 2556)
o รพ.อุดรธานี จ.อุดรธานี (ปี 2559)
o รพ.กาแพงเพชร จ.กาแพงเพชร (ปี 2560)
o รพ.ขอนแก่น จ.ขอนแก่น (ปี 2561)
o รพ.นครพนม จ.นครพนม (ปี 2562)
o รพ.สิรินธร จ.ขอนแก่น (ปี 256๓)
 ประเภทโรงพยาบาลชุมชน
o รพ.อูท่ อง จ.สุพรรณบุรี (ปี 2556)
o รพ.คีรีรัฐนิคม จ.สุราษฎร์ธานี (ปี 2556)
o รพ.เคียนซา จ.สุราษฎร์ธานี (ปี 2557)
o รพ.วิภาวดี จ.สุราษฎร์ธานี (ปี 2558)
o รพ.ท่าศาลา จ.นครศรีธรรมราช (ปี 2559)
o รพ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ (ปี 2560)
o รพ.พระอาจารย์ฝั้น อาจาโร จ.สกลนคร (ปี 2561)
o รพ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ (ปี 2562)
o รพ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ธานี (ปี 256๓)
 ประเภทโรงพยาบาลส่งเสริมสุขภาพตาบล/สถานีอนามัยเฉลิมพระเกียรติ 60 พรรษา นวมินทราชินี
o รพ.สต.โพนทองวัฒนา จ.สกลนคร (ปี 2556)
o รพ.สต.บ้านคลองเสียด จ.กระบี่ (ปี 2556)
o รพ.สต.ปากอ่าง จ.กาแพงเพชร (ปี 2557)
o รพ.สต.บ้านเกาะจา จ.กระบี่ (ปี 2558)
o รพ.สต.ท่าสะท้อน จ.สุราษฎร์ธานี (ปี 2559)
o รพ.สต.เพ็กใหญ่ จ.ขอนแก่น (ปี 2560)
o รพ.สต.เชิงทะเล จ.ภูเก็ต (ปี 2561)
o รพ.สต.บ้านสี่แยกสวนป่า จ.นครศรีธรรมราช (ปี 2562)
o รพ.สต.เกาะแก้ว จ.ภูเก็ต (ปี 256๓)

50
จุดเด่นพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติด้านการแพทย์แผนไทย การแพทย์พื้นบ้าน
และการแพทย์ทางเลือก ประจาปี 2558 – 2563
รพ.พระอาจารย์ฟั่น อาจาโร จ.สกลนคร (รพช)
สสจ.สกลนคร
• การส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพรทดแทนยาแผนปัจจุบัน
• แพทย์แผนไทยครอบคลุมทั้งจังหวัด
แบบสมเหตุผล (RHMU)
• สนับสนุนการผลิตและกระจายยาสมุนไพรของ
สสจ.เลย • ตารับยาโรคผิวหนัง และสะเก็ดเงิน
รพ.พระอาจารฝั้น อาจาโร
สนับสนุนงานแพทย์แผนไทยในด้าน • โรงงานผลิตยาสมุนไพร GMP
• เมืองสมุนไพรสกลนคร (มหานครแห่งพฤกษเวช)
บริหาร บริการ และวิชาการ
• แหล่งศึกษาดูงาน : รพ.พท.หลวงปู่แฟ้บ สุภัทโท
สสจ.นครพนม
รพ.กาแพงเพชร (รพศ/รพท) และวัดคาประมง
(6 ยุทธศาสตร์ : บริการ R2R นวัตกรรม สมุนไพร
องค์กรแพทย์ยอมรับ ศูนย์เรียนรู้ และภูมิปัญญา)
• Palliative Care
รพร.สว่างแดนดิน จ.สกลนคร (รพศ/รพท)
• น้าสกัดย่านาง ชาระแผลเนื้อเน่า จัดบริการด้วยมาตรฐานวิชาชีพ :
รพ.นครพนม (รพศ/รพท) • Stroke Unit, IMC, IPD
Necrotizing fasciitis (IMC, บูรณาการท่องเที่ยวเชิง
• กิจกรรมออกกาลังกาย Tri-exercise • จัดทา CPG และนาไปใช้ทั้งเครือข่าย
สุขภาพกับประเทศลาว, หมอ • สนับสนุนการใช้ยาปรุงเฉพาะรายทุกรพ.สต.
พื้นบ้านสู่ระบบบริการสุขภาพ)
รพ.สต.ปากอ่าง จ.กาแพงเพชร
• ยาพอกสมุนไพรรักษาแผล รพ.สต.โพนทองวัฒนา จ.สกลนคร
โรคมะเร็งเต้านม นวัตกรรมหินน้อยใส่หม้อก็ทับได้
• บ่งต้อด้วยหนามหวาย รพ.อุดรธานี (รพศ/รพท)
• สปา และอบสมุนไพร 5 สูตร
Palliative Care/IMC/นวัตกรรม
รพ.อู่ทอง จ.สุพรรณบุรี (รพช) ในโรงงานผลิตยาสมุนไพร
(อโรคยศาล, ตารับยาโรคสะเก็ดเงิน, สสจ.อานาจเจริญ
GMP) เชื่อมโยงเครือข่ายงานระดับปฐมภูมิ
รพ.เจ้าพระยาอภัยภูเบศร ทุติยภูมิ และตติยภูมิภายในจังหวัด
จ.ปราจีนบุรี (รพศ/รพท) สสจ.มหาสารคาม
• ตำรับนำมันต้นกระดูกไก่ดำ- เมืองสมุนไพร (กลุ่มผูป้ ลูก/โรงงาน
ขัดมอน (โรคข้อเข่ำเสื่อม) WHO-GMP/ยาและผลิตภัณฑ์สมุนไพร)
• ยำสมุนไพรรักษำเบำหวำน
• รวบรวมวิจัยนวดไทย
สสจ.ศรีสะเกษ
นานโยบายสู่การพัฒนางานอย่างเป็นรูปธรรม
รพ.พระปกเกล้า จ.จันทบุรี (รพช) • ศูนย์แพทย์แผนไทยมาตรฐาน (รพ.ขุนหาญ)
การรักษาโรคสะเก็ดเงินและโรคตับแข็ง • มีแหล่งผลิตยาที่ได้มาตรฐาน GMP (รพ.ห้วยทับทัน)
(ยาตารับรพ.) สสจ.ขอนแก่น • เครือข่ายเข้มแข็ง
• บูรณาการงานร่วมกับภาคีเครือข่าย
สสจ.สุราษฎร์ธานี • พัฒนาเทคโนโลยีเพื่อนามาใช้ในการบริหาร รพ.ขุนหาญ จ.ศรีสะเกษ (รพช)
SURAT MODEL :
รพ.ขอนแก่น (รพศ/รพท) (อโรคยาศาล, IPD, ยาพอกเข่าตารับ
ต้นน้า กลางน้า ปลายน้า
• การแกะต้อรักษาโรคตาต้อ รพ./ยาปรับธาตุ,การดูแลผู้สูงอายุ)
รพ.วิภาวดี จ.สุราษฎร์ฯ (รพช) • OA-TTAM KKH Model (โปรแกรม รพ.สต.เพ็กใหญ่ จ.ขอนแก่น
4 โรค: DM/HT/Stroke/CA ผู้สูงอายุโรคข้อเข่าเสื่อม) • การดูแลแผลผู้ป่วยเบาหวานด้วย
• Mittraphap NCD TTAM model น้ายาล้างแผลเปลือกมังคุด
รพ.กาญจนดิษฐ์ จ.สุราษฎร์ฯ (รพช) (ส่งเสริมการใช้ยาสมุนไพร NCD) • นวัตกรรมตาลต้านตึง (ยืดกล้ามเนื้อ)
• นวัตกรรม“TTM – KD Stroke care model” • ยาพอกสมุนไพร “แก่นนคร” (ลดปวด) • จ่ายยาปรุงเฉพาะราย
• คลินิก NCD ครบวงจร บูรณาการร่วมกับสหวิชาชีพ • ยาพอกเข่า “สูตรชานุรักษ์”
รพ.กาบเชิง จ.สุรินทร์ (รพช)
รพ.สิรินธร จ.ขอนแก่น (รพศ/รพท)
รพ.สต.ท่าสะท้อน จ.สุราษฎร์ฯ (อโรคยศาล, IPD, หมอพื้นบ้านสู่ระบบบริการ,
• ภูมิปัญญาสู่งานวิจัย (น้ามันทิพย์ตะโจ)
ผู้นาชุมชนในการดูแลสุขภาพ ตารับโลดทะนงแดง รักษางูพิษกัด)
• เครือข่ายเข้มแข็ง จัดป่าสร้างสุข
รพ.สต.บ้านเกาะจา จ.กระบี่ รพ.ท่าศาลา ปีที่ได้ระดับประเทศ
เกาะจาโอสถ (จ่ายยาปรุงเฉพาะราย) จ.นครศรีธรรมราช (รพช) ปี 2558
• การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพและความงาม
รพ.สต.บ้านคลองเสียด จ.กระบี่ • ปัญหาโรคสตรีและภาวะมีบุตรยาก ปี 2559
• จ่ายยาปรุงเฉพาะราย • โคลนทะเลบ้านแหลม (วิจัยพอกเข่า)
• นวัตกรรมลูกประคบไร้คนคบ ปี 2560
รพ.สต.บ้านสี่แยกสวนป่า จ.นครศรีฯ
• สารวจและขึ้นทะเบียนหมอพื้นบ้าน ปี 2561
รพ.สต.เชิงทะเล จ.ภูเก็ต (ระบบสุขภาพต้นทุนต่า, นิทรรศการมีชีวิต
แหล่งเรียนรู้ของประชาชน, เครือข่ายเข้มแข็ง)
• วิถีคนเชิงเล : การท่องเที่ยวเชิงสุขภาพ ปี 2562
• ชุดพกพายาทาพระเส้น (ลดปวด) รพ.สต.เกาะแก้ว จ.ภูเก็ต
• ตีนเล สปาเท้า (บรรเทาอาการชาผู้ป่วยเบาหวาน) • พัฒนายาปรุงเฉพาะรายในรูปแบบยาต้มสาเร็จ ปี 2563
• แผ่นประคบเย็นผักบุ้งทะเล (บรรเทาแผลปวดแสบ • สารวจและรวบรวมข้อมูลหมอพื้นบ้านและสมุนไพรในชุมชน
ร้อน แมลงสัตว์กัดต่อย) • 7 เครือข่ายสุขภาพด้านการแพทย์แผนไทย ๕๑
คู่มือแนวทางการประกวดพื้นที่ต้นแบบดีเด่นแห่งชาติฯ ประจาปีงบประมาณ พ.ศ. ๒๕๖๔

You might also like