You are on page 1of 287

 ตําราสําหรับการฝกอบรมจากสถาบันหรือสถานพยาบาล และจากสถาบัน

การศึกษาที่สภาการแพทยแผนไทยรับรอง ตามมาตรา 12 (2) (ก), (ข) แหง


พระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทยแผนไทย พ.ศ. 2556
 ตําราที่ใชเปนแนวทางในการการสอบความรูในวิชาชีพ เพื่อขอขึ้นทะเบียน
และรับใบอนุญาตเปนผูป ระกอบวิชาชีพการแพทยแผนไทย

โดย หมอชนาณัติ แสงอรุณ


ผูทรงคุณวุฒิฯ สภาการแพทยแผนไทย
ประธานชมรมแพทยแผนไทยพัฒนาแหงประเทศไทย
 เอกสารเผยแพรเพื่อสงเสริมและสนับสนุนการศึกษาดานการแพทยแผนไทย
 ตําราสําหรับการฝกอบรมจากสถาบันหรือส ถานพยาบาล และจา กสถาบัน
การศึกษาที่สภาการแพทยแผนไทยรับรอง ตามมาตรา 12 (2) (ก), (ข) แหง
พระราชบัญญัติวิชาชีพการแพทยแผนไทย พ.ศ. 2556
 ตําราที่ใชเปนแนวทางในการการสอบความรูในวิชาชีพ เพื่อขอขึ้นทะเบียนและ
รับใบอนุญาตเปนผูประกอบวิชาชีพการแพทยแผนไทย

เภสัชกรรมไทย
ตําราแพทยแผนโบราณทั่วไป
สาขาเภสัชกรรม กองการประกอบโรคศิลปะ

ชื่อหนังสือ : เภสัชกรรมไทย ( ตําราแพทยแผนโบราณทั่วไป สาขาเภสัชกรรม กองการประกอบโรคศิลปะ )


รูปแบบหนังสือ E-book : วันพุธ, 0๙ กรกฎาคม 2557
จัดทําและเผยแพรโดย : หมอชนาณัติ แสงอรุณ ผูทรงคุณวุฒิฯ สภาการแพทยแผนไทย
และประธานชมรมแพทยแผนไทยพัฒนาแหงประเทศไทย
สถานทีเ่ ผยแพรโดย : หองสมุดแพทยไทย. สภาการแพทยแผนไทย ดอทคอม., ดาวนโหลดหนังสือฟรี
วัตถุประสงค : เอกสารเผยแพรเพื่อสงเสริมและสนับสนุนการศึกษาดานการแพทยแผนไทย

โดย หมอชนาณัติ แสงอรุณ


ผูทรงคุณวุฒิฯ สภาการแพทยแผนไทย
ประธานชมรมแพทยแผนไทยพัฒนาแหงประเทศไทย
 เอกสารเผยแพรเพื่อสงเสริมและสนับสนุนการศึกษาดานการแพทยแผนไทย
รายชื่อคณะกรรมการจัดทําตําราสาขาเภสัชกรรมแผนโบราณ

ที่ปรึกษา
๑. นายทรงยศ ชัยชนะ ผูอ้ าํ นวยการกองการประกอบโรคศิลปะ
๒. นายไพบูลย์ แก้วกาญจน์ ประธานอนุกรรมการแผนโบราณทั ่วไป

ผู้รวบรวมและเรียบเรียง
๑. นางอุบล มณีกุล
๒. นางสาวกมลภัค สําราญจิตร์

คณะกรรมการพัฒนาตํารา
๑. นายประกิต สุมนกาญจน์ ประธานกรรมการ
๒. นายสุวตั ร์ ตัง้ จิตรเจริญ รองประธานกรรมการ
๓. นายวสันต์ ไชยฉกรรจ์ กรรมการ
๔. นายปริญญา อุทศิ ชลานนท์ กรรมการ
๕. นายเล็ก ธนแก่น กรรมการ
๖. นายโกมล ล้วนแก้ว กรรมการ
๗. นายสินทร ไชยฉกรรจ์ กรรมการ
๘. นายชัยยง ธรรมรัตน์ กรรมการ
๙. นายสมบูรณ์ ลิม้ ประเสริฐ กรรมการ
๑๐. นางอุบล มณีกุล กรรมการ
๑๑. นางสาวกมลภัค สําราญจิตร์ กรรมการและเลขานุ การ
๑๒. นางกัญญา อุ่นสมัย กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ
คํานํา

ตําราแพทย์แผนโบราณทั ่วไปสาขาเภสัชกรรมฉบับนี้กองการประกอบโรคศิลปะ สํานักงาน


ปลัดกระทรวงสาธารณสุข ร่วมกับคณะอนุกรรมการแผนโบราณทั ่วไปจัดทําขึน้ โดยรวบรวมจาก
ตําราทีก่ ระทรวงสาธารณสุขรับรอง จํานวน ๕ เล่ม คือ
๑. ตําราเวชศึกษา ของพระยาพิษณุประสาทเวช เล่ม ๑,๒,๓
๒. ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง เล่ม ๑,๒
๓. ตําราคัมภีรแ์ พทย์แผนโบราณ ของขุนโสภิตบรรณาลักษณ์ เล่ม ๑,๒,๓
๔. ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑,๒,๓
๕. ตําราเวชศึกษาและตําราประมวลหลักเภสัช ของโรงเรียนแพทย์แผนโบราณ (วัดพระ
เชตุพนฯ)
และตําราอื่นๆทีม่ อี ยู่ นํามาเรียบเรียงเนื้อหาให้มคี วามเหมาะสมครบถ้วน จัดเป็นหมวดหมู่
ตามลําดับความสําคัญของเนื้อหา เพื่อให้ง่ายต่อการเรียนการสอนของค รูและศิษย์ และให้เป็นตํารา
มาตรฐานการเรียนการสอนแพทย์แผนโบราณทั ่วไป สาขาเภสัชกรมของกระทรวงสาธารณสุข

ในอดีตการศึกษาหาความรู้ การประกอบโรคศิลปะแผ นโบราณทั ่วไปนัน้ เป็นการศึกษา


หาความรูจ้ ากตําราหรือเรียนสืบต่อกันมา โดยการมอบตัวเป็นศิษย์ มิได้มหี ลักสูตรการเรียน การสอน
ทีเ่ ป็นมาตรฐาน
กองการประกอบโรคศิลปะ สํานักงานปลัดกระทรวงสาธารณสุข ได้ตระหนักถึงความสําคัญใน
เรื่องนี้ เป็นความจําเป็นทีจ่ ะต้องมีตาํ ราทีไ่ ด้มาตรฐาน เพื่อให้โรงเรียน ครูผรู้ บั มอบตัวศิษย์ ได้ใช้เป็น
ตําราในการจัดการเรียนการสอนทีเ่ ป็นมาตรฐานแนวทางเดี ยวกัน และเพื่อให้การผลิตบุคลากร
ทางการแพทย์แผนโบราณทั ่วไปมีมาตรฐานและเป็นทีย่ อมรับของสังคมสามารถนําความรูไ้ ปประกอบ
วิชาชีพในการปรุงยาการผลิตยา และยังเป็นการสนับสนุนงานสาธารณสุขมูลฐาน ให้การ
รักษาพยาบาลเบือ้ งต้นในชุมชนนอกจากนี้ยงั เป็น การอนุรกั ษ์และเผยแพร่สมุนไ พรไทย และใช้
ทรัพยากรทีม่ อี ยูใ่ ห้เกิดประโยชน์สงู สุดลดการสูญเสียเศรษฐกิจของประเทศ

กองการประกอบโรคศิลปะ หวังว่า หนังสือเล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผูท้ ต่ี อ้ งการศึกษาหา


ความรูเ้ กีย่ วกับแพทย์แผนโบราณ ผูท้ จ่ี ะทดสอบความรูเ้ พื่อขอขึน้ ทะเบียนและรับใบอนุญาตเป็น
ผูป้ ระกอบโรคศิลปะแผนโบราณทั ่วไป สาขาเภสัชกรรมต่อไป

กองการประกอบโรคศิ ลปะ
สารบัญ

หน้า

บทที่ ๑. ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเภสัชกรรม ๑
๑. ประวัตคิ วามเป็นมาของการแพทย์แผนโบราณ ๑
๒. จรรยาเภสัช ๓
๓. หลักเภสัช ๔ ประการ ๔
๔. ประวัตยิ าเบญจกูล ๕

บทที่ ๒ เภสัชวัตถุ ๗
๑. หลักในการพิจารณาตัวยา ๕ ประการ ๗
๒. พืชวัตถุ ๘
๓. สัตว์วตั ถุ ๑๐๓
๔. ธาตุวตั ถุ ๑๐๖
๕. ตัวอย่างเดียวเรียกได้หลายชื่อ ๑๐๘
๖. ตัวยามีสรรพคุณใกล้เคียง ๑๑๑
๗. การเก็บยา ๑๐๒
๘. ตัวยาประจําธาตุ ๑๐๓
๙. สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน ๑๐๔
๑๐. สมุนไพรทีเ่ ป็นพืชเศรษฐกิจ ๑๔๓

บทที่ ๓ สรรพคุณเภสัช ๑๔๙


๑. ยารสประธาน ๑๔๙
๒. รสของตัวยา ๔,๖,๘,๙ รส ๑๕๐
๓. รสยาประจําธาตุ ๑๕๗
๔. รสยาแก้ตามวัย ๑๕๗
๕. รสยาแก้ตามฤดู ๑๕๗
๖. รสยาแก้ตามกาล ๑๕๘
หน้า

บทที่ ๔ คณาเภสัช ๑๖๐


๑. จุลพิกดั ๑๖๑
๒. พิกดั ๑๖๔
๓. มหาพิกดั ๑๘๔

บทที่ ๕ เภสัชกรรม ๑๙๖


๑. วิธปี รุงยา ๑๙๖
๒. การชั ่งตัวยา ๑๙๙
๓. การคัดเลือก,การเก็บตัวยา ๒๐๑
๔. การใช้ตวั ยาอันตราย ๒๐๒
๕. ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ ๒๘ ขนาน ๒๐๗

บรรณานุกรม ๒๐๓

ภาคผนวก ก. ๒๒๔
การสับยา ๒๒๕
การอบยา ๒๒๖
การบดยา ๒๒๗
การร่อนยา ๒๒๘
วิธกี ารปรุงยาตามหลักการยาแผนโบราณ ๒๓๐

ภาคผนวก ข. ๒๕๘
แบบปฏิบตั กิ ารเภสัชวัตถุ ๒๕๙
แบบปฏิบตั กิ ารสัตว์วตั ถุ ๒๖๓
แบบปฏิบตั กิ ารธาตุวตั ถุ ๒๔๒
แบบปฏิบตั กิ ารสรรพคุณเภสัช ๒๖๘
แบบปฏิบตั กิ ารคณาเภสัช ๒๗๑
สารบัญแผนภูมิ

หน้า

แผนภูมิที่ ๑ หลักเภสัช ๔ ๖

แผนภูมิที่ ๒ สรุปความสัมพันธ์ของหัวข้อเนื้อหาในบทที่ ๒ ๑๔๘

แผนภูมิที่ ๓ สรุปความสัมพันธ์ของหัวข้อเนื้อหาในบทที่ ๓ ๑๔๙

แผนภูมิที่ ๔ สรุปความสัมพันธ์ของหัวข้อเนื้อหาในบทที่ ๔ ๑๙๕

แผนภูมิที่ ๕ ยาสามัญประจําบ้าน ๒๘ ขนาน ๒๒๑

แผนภูมิที่ ๖ สรุปความสัมพันธ์ของหัวข้อเนื้อหาเภสัชกรรมแผนโบราณ ๒๒๒


1

บทที่ ๑
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับเภสัชกรรม
๑. ประวัติความเป็ นมา
๑.๑ ประวัติความเป็ นมาของการแพทย์แผนโบราณ
ประวัตกิ ารแพทย์แผนโบราณนัน้ เริม่ มีบนั ทึกไว้ตงั ้ แต่สมัยพุทธกาล ซึง่ ในสมัยนัน้ มีชาย
ผูห้ นึ่ง ชื่อ ชีวกโกมารภัจจ์ มีความสนใจในการศึกษาวิชาแพทย์ เพราะเห็นว่าเป็นวิชาชีพทีไ่ ม่
เบียดเบียนผูใ้ ด ท่านเป็นผูท้ เ่ี ปี่ยมไปด้วยความเมตตากรุณา ปรารถนาทีจ่ ะให้มนุษย์มคี วามสุข
จึงได้ไปศึกษาวิชาการทางการแพทย์ในสํานักทิศาปาโมกข์แห่งเมืองตักศิลา ท่านเป็นผูท้ ่ี ฉลาดมี
ความสามารถในการเรียนรู้ เรียนได้มาก เรีย นได้เร็ว ความทรงจําดี ใช้เวลาเรียนน้อยกว่าผูอ้ ่นื
เมื่อจบวิชาแพทย์แล้ว สามารถรักษาคนไข้ครัง้ เดียวก็หายได้ ในเวลาต่อมาพระเจ้าพิมพิสาร ทรง
ประชวรด้วยโรคริดสีดวงทวาร ก็ทรงโปรดให้หมอชีวกโกมารภัจจ์เข้าไปถวายการรักษา หมอชีวก
โกมารภัจจ์ท่านได้ถวายการรักษาด้วยการทายาเพียงครัง้ เดียว พระเจ้าพิมพิสารก็ทรงหายจากโรค
ทีเ่ ป็น จึงโปรดให้เป็นแพทย์หลวงประจําพระองค์และบํารุงพระสงฆ์ นับว่าหมอชีวกโกมารภัจจ์
เป็นแพทย์ผมู้ คี วามรูค้ วามสามารถตัง้ แต่ในครัง้ พุทธกาล และมีผเู้ คารพผกย่องมากมาย
๑.๒ ประวัติการแพทย์แผนโบราณในประเทศไทย
๑.๒.๑ การแพทย์แผนโบราณสมัยก่อนรัตนโกสินทร์
ประวัตกิ ารแพทย์แผนโบราณในประเทศไทยนัน้ ได้มกี ารค้นพบศิลาจารึก
ของอาณาจักรขอมประมารปี พ.ศ. ๑๗๒๕-๑๗๒๙ ในสมัยพระเจ้าชัยวรมันที่ ๗ ทรงบําเพ็ญพระ
ราชกุศลโดยการสร้างสถานพยาบาล เรียกว่า อโธคยาศาลา โดยมีผทู้ าํ หน้าทีร่ กั ษาพยาบาล
ได้แก่ หมอ พยาบาล เภสัชกร รวม ๙๒ คน มีพธิ กี รรมบวงสรวงพระไภสั ชยคุรุไวฑูรย์ ด้วยยา
และอาหารก่อนแจกจ่ายไปยังผูป้ ว่ ย ต่อมามีการค้นพบหินบดยาสมัยทวาราวดีและศิลาจารึกของพ่อ
ขุนรามคําแหงมหาราช ในสมัยสุโขทัยได้บนั ทึกไว้วา่ ทรงสร้างสวนสมุนไพรขนาดใหญ่บนเขาหลวง
หรือเขาสรรพยา เพื่อให้ราษฏรได้เก็บสมุนไพรไปใช้รกั ษาโรคยามเจ็บปว่ ย
ในสมัยสมเด็จพระนารายณ์มหาราชแห่งกรุงศรีอยุธยา ได้คน้ พบบันทึกว่า
มีระบบการจัดหายาทีช่ ดั เจนสําหรับราษฏร มีแหล่งจําหน่ายยาและสมุนไพรหลายแห่งทัง้ ในและ
นอกกําแพงเมือง มีการรวบรวมตํารับยาต่างๆ ขึน้ เป็นครัง้ แรกในประวัตศิ าสตร์การแพทย์โบราณ
เรียกว่า “ตําราพระโอสถพระนารายณ์” การแพทย์แผนโบราณมีความรุ่งเรืองมากโดยเฉพาะการ
นวด ในสมัยนี้การแพทย์แผนตะวันตกเริม่ เข้ามามีบทบาท โดยมิชชันนารีชาวฝรั ่งเศสเข้ามาจัดตัง้
โรงพยาบาลรักษาโรค แต่ขาดความนิยมจึงได้ลม้ เลิกไป
2

๑.๒.๒ การแพทย์แผนโบราณในสมัยรัตนโกสินทร์
รัชกาลที่ ๑ พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้าจุฬาโลกมหาราช ได้ทรง
ปฏิสงั ขรณ์วดั โพธาราม หรือ “วัดโพธิ ์ ” ขึน้ เป็นพระอารามหลวง ให้ช่อื ว่า “วัดพระเช ตุพนวิมล
มังคลาราม” ทรงให้มกี ารรวบรวมและจารึกตํารายา ฤๅษีดดั ตน ตําราการนวดไว้ตามศาลารายส่วน
การจัดหายาของทางราชการมีการจัดตัง้ กรมหมอและโรงพระโอสถคล้ายกับในสมัยอยุธยา แพทย์ทร่ี บั
ราชการ เรียกว่า หมอหลวง ส่วนหมอทีร่ กั ษาราษฎรทั ่วไป เรียกว่”หมอราษฎร
า ” หรือ “หมอเชลยศักดิ” ์
รัชกาลที่ ๒ พระบาทสมเด็จพระพุทธเลิศหล้านภาลัย ทรงเห็นว่าคัมภีร์
แพทย์โรงพระโอสถสมัยอยุธยานัน้ สูญหายไป เนื่องจากตอนนัน้ มีสงครามกับพม่า ๒ ครัง้ บ้านเมือง
ถูกทําลายและราษฎรรวมทัง้ หมอแผนโบราณถูกกวาดต้อนไปเป็นเชลย ทําให้ตาํ รายาและข้อมู ล
เกีย่ วกับการแพทย์ของไทยถูกทําลายไปด้วย จึงมีพระบรมราชโองการให้เหล่า ผูช้ าํ นาญโรคและ
สรรพคุณยา รวมทัง้ ผูท้ ม่ี ตี าํ รายานําเข้ามาถวายและให้กรมหมอหลวงคัดเลือก ให้จดเป็นตําราหลวง
สําหรับโรงพระโอสถ และในปี พ.ศ.๒๓๕๙ มีพระบรมราชโองการโปรดเกล้าฯ ให้ตรากฎหมายชื่อว่า
“กฎหมายพนักงานพระโอสถถวาย”
รัชกาลที่ ๓ พระบ าทสมเด็จพระนั ่งเกล้าเจ้าอยูห่ วั ทรงปฏิสงั ขรณ์
วัดพระเชตุพนวิมลมังคลารามอีกครัง้ ทรงโปรดเกล้าฯให้มกี ารจัดตัง้ โรงเรี ยนแพทย์แผนโบราณ
แห่งแรก คือ “โรงเรียนแพทย์แผนโบราณวัดโพธิ ์” ในงานฉลองวัดโพธิ ์สมัยนัน้ ทรงดําริวา่ อันตํารายา
ไทยและการรักษาโรคแบบอื่นๆ เช่น การบีบนวด ประคบ หมอทีม่ ชี ่อื เสียงต่างก็หวงตําราของแต่ละ
คนไว้เป็นความลับ ตลอดจนทรงดําริวา่ การรักษาโรคทางตะวันตกกําลังแผ่อทิ ธิ พลลงเข้ามาใน
ประเทศสยาม และในเวลาอันใกล้น่าจะบดบังรัศมี ของการแพทย์แผ นโบราณเสียหมดสิน้ สุดท้าย
อาจไม่มตี าํ รายาไทยเหลืออยูเ่ พื่อประโยชน์ของอนุ ชนรุ่นหลังก็ได้ จึงทรงประกาศให้ผมู้ ตี าํ รับตํารายา
โบราณทั ่งหลายทีม่ สี รรพคุณดีและเชื่อถือได้ เท่าทีม่ อี ยูส่ มัยนัน้ นํามาจารึกเป็นหลักฐานไว้บนหิน
อ่อน ประดับไว้บนผนังพระอุโบสถ ศาลาราย เสา และกําแพงวิหารคดรอบพระเจดียส์ อ่ี งค์ และตาม
ศาลาต่างๆ ของวัดโพธิ ์ ทีป่ ฏิสงั ขรณ์ในครัง้ นัน้ การจารึกนี้เป็นตําราบอกสมุฏฐานของโรคและ
วิธกี ารรักษา และยังได้มกี ารจัดหาสมุนไพรทีใ่ ช้ปรุงยาและหายากมาปลูกไว้ในวัดโพธิ ์เป็นจํานวน
มาก นอกจากนัน้ ได้ทรงให้ปนรู ั ้ ปฤาษีดดั ตนในท่าต่างๆ เพื่อช่วยให้ผปู้ ระสงค์จะฝึกตนเป็นแพทย์
หรือหาทางบําบัดตนได้ศกึ ษาเป็นสาธารณะทาน นับว่าเป็นการจัดการศึกษาให้กบั ประชาชนรูปแบบ
หนึ่ง ตํารายาเหล่านี้พอจะทราบกันดีในบรรดาหมอไทยว่า ตํารายาดีจริงๆนัน้ คงไม่ได้รบั การ
เปิดเผยอย่างแท้จริง แต่กเ็ ป็นอนุสรณ์และเป็นโรงเรียนการแพทย์ของเมืองไทย รัชสมัยนี้มกี ารนําเอา
การแพทย์แผนตะวันตกเข้ามาเผย แพร่โดยคณะมิชชันนารีชาวอเมริกนั โดยการนําของนายแพทย์
แดน บีช บรัดเลย์ ซึง่ คนไทยเรียกว่า“หมอบรัดเลย์” เช่น การปลูกฝีป้องกันไข้ทรพิษการใช้ยาเม็ดควินิน
รักษาโรคไข้จบั สั ่นเป็นต้น
รัชกาลที่ ๔ พระบาทสมเด็จพระจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้นําการแพทย์แผน
ตะวันตกมาใช้มากขึน้ เช่น การสูตกิ รรมสมัยใหม่ แต่ไม่สามารถให้ประชาชนเปลีย่ นความนิยมได้
3

เพราะการรักษาพยาบาลแผนโบราณของไทย เป็นจารีตประเพณีและวัฒนธรรมสืบเนื่องกันมาและ
เป็นส่วนหนึ่งของวิถชี วี ติ ของไทย
รัชกาลที่ ๕ พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยูห่ วั มีการจัดตัง้ ศิรริ าช
พยาบาลใน พ .ศ.๒๔๓๑ มีการเรียนการสอนและให้การรักษาทัง้ การแพทย์ทงั ้ แผนโบราณและ
แผนตะวันตกร่วมกันหลักสูตร ๓ ปี การจัดการเรียนการสอนและบริการรักษาทางการแพทย์
ทัง้ แผนโบราณและแผนตะวันตกร่วมกันเป็นไปด้วยความยากลําบาก มีการขัดแย้งระหว่างผูส้ อน
และผูเ้ รียนเป็นอย่างมาก ด้วยหลักการแนวคิด และวิธกี ารเรียนการสอนทีแ่ ตกต่างกัน ทําให้ยาก
ทีจ่ ะ ผสมผสานกันได้ มีการพิมพ์ตาํ ราแพทย์สาํ หรับใช้ในโรงเรียนแพทย์เป็นครัง้ แรกในปี
พ.ศ. ๒๔๓๘ โดยพระยาพิษณุ ชื่อตํารา “แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ ” ได้รบั ยกย่อ งให้เป็นตํารา
แห่งชาติฉบับแรก ต่อมาพระยาพิษณุประสาทเวชเห็นว่า ตําราเหล่านี้ยากแก่ผศู้ กึ ษาจึงได้พมิ พ์ตาํ รา
ขึน้ ใหม่ ได้แก่ ตําราแพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ฉบับหลวง ๒ เล่ม และตําราแ พทย์ศาสตร์สงั เขป ๓
เล่ม ซึง่ ยังคงใช้เป็นตําราทางการแพทย์มาจนทุกวันนี้
รัชกาลที่ ๖ พระบาทสมเด็จพระมงกุฎเกล้าเจ้าอยูห่ วั มีการสั ่งยกเลิก
วิชาการแพทย์แผนโบราณ และต่อมาในปี พ .ศ. ๒๔๖๖ มีประกาศให้ใ ช้พระราชบัญญัตกิ ารแพทย์
เป็นการ ควบคุมการประกอบโรคศิลปะ เพื่อป้องกันอันตรายทีอ่ าจเกิดกับประชาชน อันเนื่องมาจาก
การประกอบโรคศิลปะของผูทีไ่ ม่้ มคี วามรูแ้ ละมิได้ฝึกหัดด้วยความไม่พร้อมในด้านการเรียนการสอ
น การสอบ และ
การประชาสัมพันธ์ทําให้หมอพืน้ บ้านจํานวนมากกลัวถูกจับจึงเลิกประกอบอาชีพนี้ บ้างก็เผาตําราทิง้
รัชกาลที่ ๗ พระบาทสมเด็จพระปกเกล้าเจ้าอยูห่ วั ได้ตรากฎหมายเสนาบดี
แบ่งการประกอบโรคศิลปะออกเป็น“แผนปจั จุบนั ” และ”แผนโบราณ” โดยกําหนดไว้วา่
(1) ประเภทแผนปจั จุบนั คือ ผูป้ ระกอบโรคศิลปะโดยความรูจ้ าก
ตําราอันเป็นหลักวิชาโดยสากลนิยม ซึง่ ดําเนินและจําเริญขึน้ โดยอาศัยการศึกษา ตรวจค้น และ
ทดลองของผูร้ ใู้ นทางวิทยาศาสตร์ท ั ่วโลก
(2) ประเภทแผนโบราณ คือ ผูป้ ระกอบโรคศิลปะโดยอ าศัย
ความสังเกต ความชํานาญ อันได้สบื ต่อกันมาเป็นที่ ตัง้ หรืออาศัยตําราอันมีมาแต่โบราณ
มิได้ดาํ เนินไปในทางวิทยาศาสตร์
รัชกาลที่ ๙ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ภูมพิ ลอดุลยเดชมหาราช
ในรัชสมัยนี้มกี ารจัดตัง้ สมาคมของโรงเรียนแพทย์แผนโบราณ ได้ก่อตัง้ ขึน้ ทีว่ ดั โพธิ ์ กรุงเทพฯ
ในปี พ.ศ. ๒๕๐๐ นับนัน้ มา สมาคมต่างๆ ก็ได้แตกสาขาออกไป ป ั จจุบนั ก็มโี รงเรียนแพทย์ แผน
โบราณทีม่ กี ารดําเนินงานอย่างต่อเนื่องอยูเ่ ป็นจํานวนมาก ทัง้ ในกรุงเทพฯ และต่างจังหวัดใน ปี พ.ศ.
๒๕๒๕ ได้ก่อตัง้ โรงเรียนอายุรเวทวิทยาลัย (ชีวกโกมารภัจจ์) ให้การอบรมศึกษาด้านการแพทย์แผน
โบราณแบบประยุกต์มาจนกระทั ่งทุกวันนี้
4

๒. จรรยาเภสัช
ผูท้ จ่ี ะเป็นเภสัชกรนอกจากจะต้องศึกษาถึงหลักเภสัชกรรมแล้ว ยังจะต้องมีคุณธรรม คือ
ต้องมีจรรยาทีด่ งี าม ซึง่ จะเป็นเครื่องยึดเหนี่ยวให้ประพฤติดี ปฏิบตั ใิ นทางทีถ่ ูกทีค่ วรและชอบธรรม
เป็นทางนําความสุขความเจริญรุ่งเรืองมาสู่ตน จรรยาเภสัช ๔ ประการ มีดงั นี้
๒.๑ ต้องมีความขยันหมั ่นเพียร หมั ่นเอาใจใส่ศกึ ษาวิชาการแพทย์เพิม่ เติม ให้เหมาะแก่
กาลสมัยอยูเ่ สมอ โดยไม่เกียจคร้าน
๒.๒ ต้องพิ จาณาหาเหตุผลในการปฏิ บตั ิ งานด้วยความสะอาด ประณีต ไม่ประมาทไม่มกั ง่าย
๒.๓ ต้องมีความซื่อสัตย์สจุ ริต และมีเมตตาจิตแก่ผใู้ ช้ยา ไม่โลภเห็นแก่ลาภ โดยหวัง
ผลกําไรมากเกินควร
๒.๔ ต้องละอายต่อบาป ไม่กล่าวเท็จหรือกล่าวโอ้อวด ให้ผอู้ ่นื หลงเชื่อในความรู้
ความสามารถอันเหลวไหลของตน
๒.๕ ต้องปรึกษาผู้ชาํ นาญ เมื่อเกิดการสงสัยในตัวยาชนิดใด หรือวิธปี รุงยา โดยไม่
ปิดบังความเขลาของตน
ความสําคัญขอ งจรรยาเภสัชนี้ เพื่อให้เภสัชกรระลึกอยูเ่ สมอว่าการปรุงยา หรือผสมยา
หรือการประดิษฐ์วตั ถุใดๆ ขึน้ เป็นยาสําหรับมนุ ษย์ ต้องมีความรับผิดชอบต่อชีวติ มนุ ษย์ จะต้อง
มีความสะอาด ประณีต รอบคอบ นึกถึงอยูเ่ สมอว่าเป็นสิง่ ทีบ่ าํ บัดโรคภัยไข้เจ็บต่อชีวติ มนุษย์
มิใช่เป็นยาทําลายชีวติ มนุษย์ ฉะนัน้ เภสัชกรจึงต้องมีจติ ใจบริสุทธิ ์ยึดหลักจรรยาเภสัชเปรียบ
เหมือนศีล ๕ เป็นข้อยึดเหนี่ยวหรือเป็นกฎข้อบังคับเตือนใจเตือนสติให้ผเู้ ป็นเภสัชกร ประพฤติ
ปฏิบตั ไิ ปในทางทีถ่ ูกทีค่ วรเป็นทางนําไปสู่คุณงามความดี และนําความเจริญก้าวห น้าแห่งวิชาชีพ
สืบต่อไปชั ่วกาลนาน

๓. หลักเภสัช ๔ ประการ
การศึกษาวิชาเภสัชกรรมแผนโบราณ จําเป็นต้องรูห้ ลักสําคัญของการศึกษาวิชานี้ เพื่อได้
จดจําง่ายได้จดั ไว้เป็นหลักฐานใหญ่ๆ ทีเ่ รียกว่า “หลักเภสัช ” โดยจําแนกออกเป็น ๔ บท
เพราะผูท้ จ่ี ะเป็นเภสัชกรแผนโบราณจําเป็นต้องรูห้ ลักใหญ่ ๔ ประการนี้ก่อน คือ
๓.๑ เภสัชวัตถุ คือ รูจ้ กั วัตถุธาตุนานาชนิดทีจ่ ะนํามาใช้เป็นยารักษาโรคและรักษาไข้
จะต้องรูล้ กั ษณะพืน้ ฐานของตัวยาหรือสมุนไพรแต่ละชนิดคือ ต้องรูจ้ กั ชื่อ ลักษณะ สี กลิน่ และรส
๓.๒ สรรพคุณเภสัช คือ รูจ้ กั สรรพคุณของวัตถุนานาชนิดทีจ่ ะนํามาใช้เป็นยา จะต้องรู้
รสของตัวยานัน้ ๆก่อนจึงสามารถทราบสรรพคุณได้ภายหลัง
๓.๓ คณาเภสัช
คือ รูจ้ กั การจัดหมวดหมู่ตวั ยาหลายสิง่ หลายอย่าง รวมเรียกเป็นชื่อเดียว
๓.๔ เภสัชกรรม
คือ รูจ้ กั การปรุงยาผสมเครื่องยาหรือตัวยา ตามทีก่ าํ หนดในตํารับยา หรือตามใบสั ่ง
5

๔. ประวัติยาเบญจกูล
เบญจกูล หรือ พิกดั เบญจกูล เป็นพิกดั ยาทีใ่ ช้กนั มากในตํารับยาไทย เพราะว่าใช้ประจํา
ในธาตุทงั ้ ๔ คือ ดิน นํ้า ลม ไฟ ในร่างกายของคนเรา ทัง้ ยังใช้แก้ในกองฤดู กองสมุงๆอี ฏฐานต่
กด้วาย
พระอาจารย์ท่านได้กล่าวสืบต่อกันมาว่ามีฤๅษี ๖ ตน ซึง่ แต่ละคนได้คน้ คว้าตัวยา โดย
บังเอิญตัวแต่ละอย่างนัน้ มีสรรพคุณรักษาโรค และสมุฏฐานต่างๆได้ ซึง่ มีประวัตดิ งั นี้
ฤๅษีตนหนึ่งชื่อ “ปพั พะตัง” บริโภคซึง่ ผลดีปลี เชื่อว่า อาจจะระงับอชิณโรคได้ (แพ้ของแสลง)
ฤๅษีตนหนึ่งชื่อ “อุธา” บริโภคซึง่ รากช้าพลู เชื่อว่า อาจจะระงับซึง่ เมื่อยขบได้
ฤๅษีตนหนึ่งชื่อ “บุพเทวา” บริโภคซึง่ เถาสะค้าน เชื่อว่า อาจระงับเสมหะและวาโยได้
ฤๅษีตนหนึ่งชื่อ “บุพพรต” บริโภคซึง่ รากเจตมูลเพลิง เชื่อว่า อาจจะระงับโรคอันบังเกิดแต่ดี
อันทําให้หนาวและเย็นได้
ฤๅษีตนหนึ่งชื่อ “มหิทธิธรรม” บริโภคซึง่ เหง้าขิง เชื่อว่า อาจระงับตรีโทษได้
ฤๅษีตนหนึ่งชื่อ “มุรทาธร ” เป็นผูป้ ระมวลสรรพยาทัง้ หมดนี้เข้าด้วยกัน ให้ช่อื ว่า เบญจกูล
เสมอภาค เชื่อว่า ยาเบญจกูลนี้ อาจระงับโรคอันบังเกิดแก่ ทวัตติงสาการ คือ อาการ ๓๒ ของ
ร่างกายมีผมเป็นต้นและมันสมองเป็นทีส่ ุด และบํารุงธาตุทงั ้ ๔ ให้บริบรู ณ์
ตัวยาแต่ละตัวในเบญจกูล ใช้เป็นยาประจําธาตุได้ดงั นี้

ดอกดีปลี ประจําธาตุดนิ (ปถวีธาตุ)


รากช้าพลู ประจําธาตุน้ํา (อาโปธาตุ)
เถาสะค้าน ประจําธาตุลม(วาโยธาตุ)
รากเจตมูลเพลิง ประจําธาตุไฟ(เตโชธาตุ)
เหง้าขิง ประจําทวารของร่างกาย (อากาศธาตุ)
6

แผนภูมิที่ ๑ หลักเภสัช ๔
หลักเภสัช ๔ ประการ

๑. เภสัชวัตถุ ๒. สรรพคุณเภสัช ๓. คณาเภสัช ๔. เภสัชกรรม

๑.๑ พืชวัตถุ ๑.๒ สัตว์วตั ถุ ๑.๓ ธาตุวตั ถุ ๒.๑ ยารสประธาน ๓ รส ๒.๒ รสของตัวยา ๓.๑ จุลพิกดั ๓.๒ พิกดั ๓.๓ มหาพิกดั ๔.๑วิธปี รุงยา ๔.๒ การใช้ยา ๔.๓ ยาสามัญ
(ตัวยาอย่างเดียวกัน) อันตราย ประจําบ้าน

- พืชจําพวกต้น - สัตว์บก - ธาตุสลายตัวง่าย - ยารสเย็น - ต่างกันที่ - พิกดั ยา 2 สิง่ - มหาพิกดั - ยาผง - การสะตุ (กระทรวง
- พืชจําพวกเครือ,เถา - สัตว์นํ้า - ธาตุสลายตัวยาก - ยารสร้อน ลักษณะ - พิกดั ยา 3 สิง่ ตรีกฎก - ยาเม็ด - การประสะ สาธารณสุข
- พืชจําพวกหัว,เหง้า - สัตว์อากาศ - ยารสสุขมุ - ต่างกันที่สี - พิกดั ยา 4 สิง่ - มหาพิกดั - ยานํ้า - การฆ่า ประกาศไว้ 28
- พืชจําพวกผัก - มหาพิกดั ตรีสาร - ยาเอาไอรม- ขนาน)
- พืชจําพวกหญ้า ตรีผลา สูดดมกลิน่

2.2.1 รสยา 4 รส 2.2.2 รสยา 6 รส 2.2.3 รสยา 8 รส 2.2.4 รสยา 8 รส


- รสฝาด - รสหวาน - รสขม - รสฝาด
- รสเผ็ด - รสเปรีย้ ว - รสฝาด - รสหวาน
- รสเค็ม - รสเค็ม - รสเค็ม - รสเมาเบื่อ
- รสเปรีย้ ว - รสเผ็ด - รสเผ็ดร้อน - รสขม
- รสขม - รสหวาน - รสเผ็ดร้อน
- รสฝาด - รสเปรีย้ ว - รสมัน
- รสเย็นหอม - รสหอมเย็น
- รสมัน - รสเค็ม
- รสเปรีย้ ว (รสจืด)
7

บทที่ ๒
เภสัชวัตถุ

เภสัชวัตถุ คือ วัตถุธาตุนานาชนิดทีน่ ํามาใช้ประกอบเป็นยารักษาโรค


ตามคัมภีรแ์ พทย์กล่าวไว้วา่ “สรรพวัตถุต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ มาในโลกนี้ลว้ นเกิดขึน้ แต่ธาตุ ทัง้ ๔
ย่อมเป็นยารักษาโรคได้ทงั ้ สิน้ ” ตามคํากล่าวก็อาจจะเป็นได้ แต่จะมี สรรพคุณและประโยชน์มาก
น้อยอย่างไรต้องสุดแล้วแต่ชนิดของวัตถุนนั ้ ๆ จึงจําเป็นต้องเรียนรูใ้ ห้ลกึ ซึง้ ถึงรูปลักษณะ ส่วนที่
ใช้ ชนิดของวัตถุธาตุอ่อนหรือแก่ เก่าหรือใหม่ สดหรือแห้ง มีคุณภาพดีหรือเลวอย่างไร เมื่อ
นํามาใช้แล้วจะมีสรรพคุณจริงตามตําราหรือไม่การเอาใจใส่อย่างละเอียดและปราณีอย่างนี้ ต้องมีอยูป่ ระจําตัว
เภสัชกรเสมอ
เภสัชวัตถุจาํ แนกออกได้เป็น ๓ ประเภท คือ
ประเภทที่ ๑ พืชวัตถุ ได้แก่ พรรณไม้ต่างๆ จําแนกออกได้เป็นพืชจําพวกต้น , พืชจําพวก
เถา-เครือ,พืชจําพวกหัว-เหง้า,พืชจําพวกผัก และพืชจําพวกหญ้า ซึง่ จะต้อ งรูจ้ กั ส่วนต่างๆ ของพืชที่
นํามาใช้เป็นยา เป็นต้นว่า ราก ,หัว,ต้น,กะพี,้ แก่น,เปลือก,ใบ,ดอก,เกสร, ผล,เมล็ด ว่ามี รูป ,สี ,กลิน่
,รส และมีช่อื เรียกอย่างไร
ประเภทที่ ๒ สัตว์วตั ถุ ได้แก่ ร่างกายและอวัยวะของสัตว์ทงั ้ หลาย จําแนกสัตว์ออกได้เป็น
สัตว์บก,สัตว์น้ํา และสัตว์อากาศ ซึง่ จะต้องรูจ้ กั ส่วนต่างๆ ทีน่ ํามาใช้เป็นยา เป็นต้นว่า ขน, เขา,เขีย้ ว
,นอ ,หนัง , กราม , กรวด ,นํ้าดี ,เล็บ ,กระดูก ว่าเป็นของสัตว์อะไร มีรปู ,สี ,กลิน่ ,รส และมีช่อื
เรียกอย่างไร
ประเภทที่ ๓ ธาตุวตั ถุ ได้แก่ แร่ธาตุต่างๆ ทีเ่ กิดขึน้ เอง หรือสิง่ ทีป่ ระกอบขึน้ จากแร่ธาตุ
หรือสิง่ สังเคราะห์ขน้ึ จําแนกธาตุออกได้เป็นธาตุทส่ี ลายตัวได้ง่าย และธาตุทส่ี ลายตัวได้ยาก ซึง่
จะต้องรูจ้ กั แร่ธาตุนนั ้ ๆ ว่ามีรปู ,สี ,กลิน่ ,รส และมีช่อื เรียกอย่างไร

๑. หลักในการพิ จารณาตัวยา ๕ประการ


ในการทีจ่ ะรูจ้ กั เภสัชวัตถุนนั ้ ๆ จําเป็นต้องรูใ้ ห้ลกึ ซึง้ ถึงรูปลักษณะพืน้ ฐานของวัตถุธาตุ ซึง่
มีหลักในการพิจารณาตัวยา ๕ ประการ คือ
๑.๑ รูป คือ การรูร้ ปู ลักษณะของตัวยานัน้ ว่ามีรปู ร่างทีป่ รากฏเป็นอย่างไร ถ้าเป็นพืช
วัตถุกต็ อ้ งรูว้ า่ เป็นพืชจําพวกต้น จําพวกเถา จําพวกหัว จําพวกผักหรือหญ้าว่ามีส่วนต่างๆ เช่น
ต้น ราก ใบ ดอก ผล มีรปู อย่างไร ถ้าเป็นสัตว์วตั ถุกต็ อ้ งรูว้ า่ เป็นสัตว์จาํ พวก สัตว์บก สัตว์น้ํา สัตว์
อากาศว่ามีอวัยวะต่างๆ เช่น ขน เขา นอ เขีย้ ว กระดูกมีรปู เป็นอย่างไร ถ้าเป็นธาตุวตั ถุ ก็ตอ้ งรู้
ว่าเป็นธาตุสลายตัวได้ง่าย ธาตุสลายตัวได้ยากว่า มีสถานะเป็นของแข็ง ของเหลวเป็นเกล็ด เป็น
แผ่น หรือเป็นผง เป็นต้น เรียกว่า รูจ้ กั รูปของตัวยา
8

๑.๒ สี คือ การรูส้ ขี องตัวยานัน้ ว่ามีสอี ะไร เช่น ใบไม้มสี เี ขียว กระดูกสัตว์มสี ขี าวแก่นฝางมีส ี
แดง ยาดํามีสดี าํ จุนสีมสี เี ขียว กํามะถันมีสเี หลือง เป็นต้น เรียกว่ารูจ้ กั สีของตัวยา
๑.๓ กลิ่ น คือ การรูก้ ลิน่ ของตัวยานัน้ ว่ามีกลิน่ เป็นอย่างไร อย่างนี้กลิน่ หอมหรือกลิน่ เหม็น
เช่น กฤษณา กํายาน อบเชย ดอกมะลิ ชะมดเช็ด อําพันทอง มีกลิน่ หอม ยาดํา กํามะถัน กระดูกสัตว์
มหาหิงคุ์ มีกลิน่ เหม็น เป็นต้น เรียกว่ารูจ้ กั กลิน่ ของตัวยา
๑.๔ รส คือ การรูร้ สของตัวยานัน้ ว่ามีรสเป็นอย่างไร ให้รวู้ า่ อย่างนี้รสจืด รสขม รสหวาน
รสเปรีย้ ว รสเมาเบื่อ รสเผ็ดร้อน รสมัน รสหอมเย็น รสเค็ม หรือฝาด เช่น พริกไทย มีรสร้อน มะนาว
มีรสเปรีย้ ว นํ้าผึง้ มีรสหวาน เป็นต้น เรียกว่ารูจ้ กั รสของตัวยา
๑.๕ ชื่อ คือ การรูช้ ่อื ของตัวยานัน้ ว่าเขาสมมติช่อื เรียกไว้อย่างไร เช่น สิง่ นัน้ เรียกชื่อเป็นข่า
กะทือ มะขาม วัว กวาง เสือ เกลือ กํามะถัน ศิลายอน เป็นต้น เรียกว่า รูจ้ กั ชื่อของตัวยา
ในหลัก ๕ ประการดังกล่าวมานี้ จะเป็นข้อพิสจู น์ทาํ ให้เรารูว้ า่ เป็นตัว ยาอะไร ฉะนัน้ การจะ
รูจ้ กั ตัวยาได้นนั ้ จึงต้องอาศัยหลัก ๕ ประการดังกล่าวนี้

๒. พืชวัตถุ
๒.๑ พืชจําพวกต้น ได้แก่ พืชพรรณไม้ เป็นต้นเล็ก ต้นใหญ่ เป็นกอ เป็นพุ่ม มีแก่นบ้าง
ไม่มแี ก่นบ้าง ซึง่ นิยมเรียกกันว่า ต้น ส่วนมากใช้ราก แก่น เปลือก ใบ ฝกั หรือลูก จะอธิบายถึงรสและ
สรรพคุณของส่วนทีใ่ ช้ทาํ ยาดังต่อไปนี้ :
กรรณิ กา(กันนิ กา) ไม้พุ่มขนาดใหญ่ หรือ ไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก
ต้น รสขมเย็น สรรพคุณ แก้ปวดศีรษะ
ใบ รสขม สรรพคุณ บํารุงนํ้าดี
ดอก รสขมหวาน สรรพคุณ แก้ไข้ แก้ลมวิงเวียน
ราก รสขม สรรพคุณ แก้ทอ้ งผูก บํารุงธาตุ บํารุงกําลัง บํารุงเส้นผม
ให้ดกดํา บํารุงผิวหนังให้สดชื่น
กฤษณา (ไม้หอม ) ไม้ตน้ ขนาดย่อม ถึงขนาดกลาง
เนื้อไม้ รสขมหวาน สรรพคุณ บํารุงโลหิต บํารุงหัวใจ บํารุงตับ ปอด แก้ลมหน้ามืดวิงเวียน
กันเกรา(ตําเสา) ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
แก่น รสเฝื่ อนฝาดขม สรรพคุณ แก้ไข้จบั สั ่น บํารุงธาตุ แก้หดื ไอมองคร่อ ริดสีดวง
ท้องมาน แน่ นหน้าอก ท้องเดิน มูกเลือด แก้พษิ ฝีกาฬ บํารุงม้าม บํารุงโลหิต แก้ปวดแสบ ปวดร้อน
เป็นยาอายุวฒั นะ
กรัก (แก่นขนุนละมุด) ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
แก่น รสหวานชุ่มขม สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงโลหิต สมานแผล
ใบ เผาให้เป็นถ่านผสมกับนํ้าปูนใสหยอดหู สรรพคุณ แก้ปวดหู แก้หเู ป็นนํ้าหนวก
ไส้ในลูก รสฝาดหอมหวาน สรรพคุณ แก้ตกเลือดทางทวารเบาของสตรี กินแล้วทําให้เลือดหยุด
9

กัลปพฤกษ์ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง ใบเล็กคล้ายขีเ้ หล็ก ดอกขาวคล้ายแคฝอย ฝ ั กแบนยาว


ข้างในเป็นชัน้ ๆ สีเทา ภายนอกฝกั เป็นกํามะหยี่
เนื้อในฝกั รสขมเอียนติดหวานเล็กน้อย สรรพคุณ ระบายท้อง แก้อุจจาระ
เป็นพรรดึก และระบายท้องเด็กได้ดี
กัลปังหา(กาละปังหา) ไม้พุ่มขนาดย่อม เกิดใต้ทะเล ไม่มใี บและดอก
เนื้อไม้และต้น รสฝาด สรรพคุณ สมานแผล แก้เนื้อหนังฉีกขาด แก้บาดแผลตามเนื้ออ่อน
กระเชา ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่
เปลือก รสเมา แก้โรคผิวหนัง แก้ปวดข้อ
กระทิ ง ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
ใบ ขยําแช่น้ําสะอาดล้างตา สรรพคุณ แก้ตาแดง ตาฝ้า ตามัว
นํ้ามันจากเมล็ด รสร้อน สรรพคุณ ทาถูนวด
ปวดข้
แก้อ แก้เคล็ดขัดยอก บวม
ดอก กลิน่ หอม รสเย็น สรรพคุณ บํารุงหัวใจ
กระแบก ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ คุมธาตุ แก้ทอ้ งร่วง สมานแผล
กระเบียน(มะกอกพราน) ไม้พุ่มขนาดใหญ่
ใบ รสฝาด สรรพคุณ ตําพอกบาดแผลสดหายเร็ว
กระเบา (กระเบานํ้า) ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
ผลสุก รับประทานเนื้อในได้ คล้ายเผือก
นํ้ามันจากเมล็ดใน รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้โรคผิวหนังต่างๆ แก้โรคเรือ้ น
กะโบลิ ง ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
เปลือกต้น รสเมาเบื่อ สรรพคุณ เป็นยาบํารุงผม
เปลือกต้นและผล รสเมาเบื่อรพคุ
สรณ ทาแก้ปวด ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ ทากันทากกัด
กะพังอาด (พญามือเหล็ก) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
แก่นและเนื้อไม้ รสขมเมาเล็กน้อย สรรพคุณ ดับไข้จบั สั ่น ดับพาไข้ แก้กระษัย
แก้โลหิต ลดความร้อน ฝนทาศีรษะ แก้รงั แค
กะเพราทัง้ ๒ (ขาว-แดง) ไม้ตน้ เล็ก
ใช้ทงั ้ ๕ รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ บํารุงธาตุ แก้ปวดท้อง ขับผายลม แก้ทอ้ งอืดเฟ้อ
10

กระแจะ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ผล รสมันสุขมุ สรรพคุณ บํารุงร่างกาย
เนื้อไม้ รสจืดเย็น สรรพคุณ บํารุงดวงจิต ขับผายลม แก้ไข้
กระเจี๊ยบแดง ไม้ลม้ ลุกเนื้ออ่อน ขึน้ เป็นพุ่มเตีย้
ใบ รสเปรีย้ ว สรรพคุณ กัดเสลด ทําให้โลหิตไหลเวียนดี
เมล็ดใน รสจืดเป็นเมือก สรรพคุณ แก้อ่อนเพลีย บํารุงกําลัง บํารุงธาตุ
ใช้ทงั ้ ๕ สรรพคุณ แก้พยาธิตวั จีด๊
ผล รสจืดเมาเล็กน้อย สรรพคุณ ขับเหงื่อ แก้รอ้ นภายใน
กระดังงาไทย ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
นํ้ามันทีก่ ลั ่นออกจากดอก ใช้ปรุงเป็นเครื่องสําอาง
ต้น กิง่ ก้าน ใบ รสเฝื่อน สรรพคุณ ขับปสั สาวะ ปสั สาวะพิการ
ดอก รสสุขมุ กลิน่ หอม สรรพคุณ บํารุงโลหิต บํารุงธาตุ บํารุงหัวใจ
กระโดงแดง ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม
ใบ รสขมเมา สรรพคุณ ระงับปราสาท แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ทําบสบาย
ให้นอนหลั
กระโดน ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
เปลือกต้น รสฝาดเมา สรรพคุณ แก้พษิ งู สมานแผล แก้เคล็ด เมื่อย
ดอก รสสุขมุ สรรพคุณ บํารุงภายหลังคลอดบุตร
กระโดนดิ น ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
เปลือกต้น รสจืด สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้ปวดเมือ่ ยตามร่างกาย แก้ไตพิการ แก้เบาหวาน
กระตังใบ(กระตังบาย) ไม้พุ่มขนาดย่อม
ราก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้ไข้ ขับเหงื่อ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย
กระถิ นไซ่ง่อน ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้บดิ แก้ธาตุพกิ าร คุมธาตุ สมานแผล
ราก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้ไข้ ขับเหงื่อ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย
กระถิ นเทศ(กระถิ นดอกหอม) ไม้พุ่มขนาดใหญ่
ราก รสเฝื่ อน สรรพคุณ แก้พษิ สัตว์กดั ต่อย เป็นยาอายุวฒั นะ
กระถิ นไทย(กระถิ นดอกขาว) ไม้พุ่มขนาดกลาง
ราก รสจืดเฝื่ อน สรรพคุณ ขับระดูขาว ขับผายลม เป็นยาอายุวฒั นะ
11

กระถิ นป่ า ไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก


เปลือกและราก รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้อาเจียน แก้(ลงแดง
อติสาร
)สมานแผลห้ามเลือด
กระถิ นพิ มาน(กระถิ นวิ มาน) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
ราก รสฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้พษิ สัตว์กดั ต่อย
เห็ดทีเ่ กิดขึน้ จากไม้กระถินพิมาน รสเบื่อเมา แก้ปวดฝีในหู แก้เริม งูสวัด ผสมกับ
ตัวยาแก้ใช้พษิ ไข้กาฬ
กระทุ่ม ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
ใบ รสขมเฝื่ อนเมา สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้ปวดมวนในท้อง
กระท้อนป่ า ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
ราก(สุม) รสฝาดเย็น สรรพคุณ ดับพาร้อน ถอนพิษไข้ แก้ไข้รากสาด แก้บดิ ใช้ผสม
ยามหานิล มหากาฬ
กระท่ อม ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
ใบ รสขมเฝื่ อนเมา สรรพคุณ แก้ปวดท้อง แก้บดิ ปวดเบ่ง ท้องร่วงลงแดง
แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ถ้ารับประทานทําให้เมา อาเจียน คอแห้ง
กระบือเจ็ดตัว(กระทู้เจ็ดแบก) ไม้พุ่มขนาดเล็ก
ใบ รสร้อน สรรพคุณ ขับนํ้าคาวปลา แก้สนั นิบาตหน้าเพลิง ขับเลือรคลอดบุ
ดหลังกาตร
การบูรขาว-ดํา ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
เมล็ดใน รสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ ท้องร่วง ปวดเบ่ง คุมธาตุ
เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ คุมธาตุ สมานแผล
กระพี้เขาควาย ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่
เนื้อไม้ รสจืดเย็น สรรพคุณ แก้พาไข้กลับชํ้า ถอนพิษไข้ ถอนพิ
ดสําแดง
ษผิ แก้รอ้ นใน
กราย(หางกราย) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
ลูก รสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ อุจจาระเป็นมูกเลือด ปวดเบ่ง เสมหะเป็นพิษ แก้ทอ้ งเดิน
เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ กล่อมเสมหะและให้อุจจาระเป็นก้อน แก้อุจจาระเป็นฟอง
กรวยป่ า ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่
ใบ รสเมา สรรพคุณ แก้พษิ กาฬ แก้โรคผิวหนังผื่นคัน แก้รดิ สีดวงจมูก
ดอก รสเมาเย็น สรรพคุณ แก้พษิ กาฬ พิษไข้
เมล็ด รสเมาเย็น สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงทวาร
12

กล้วยตีบ ไม้ลม้ ลุก


ราก รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ทอ้ งเสีย (ใช้รากสาด) แก้รอ้ นในกระหายนํ้า
ใบ รสฝาด สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงจมูก แก้ผ่นื คันตามผิวหนัง
กวาวต้น ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
ดอก รสเย็น สรรพคุณ ถอนพิษไข้ ผสมยาหยอดตาแก้ตาฟาง ขับปสั สาวะ
ยาง รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง
ใบ รสเย็น สรรพคุณ ตําพอกถอนพิษฝีและสิว
เมล็ด รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือน
ราก รสเมาร้อน สรรพคุณ แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ ขับพยาธิ แก้รดิ สีดวงทวาร
การะเกด เป็นไม้พุ่มจําพวกเตย
ดอก รสขมหอม สรรพคุณ แก้โรคเสมหะในอก บํารุงธาตุ ใช้ผสมยาหอม
การบูร ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่
ใบ เปลือกต้น เนื้อไม้ กลั ่นเป็นการบูรเกล็ด ได้รสร้อน สรรพคุณ แก้ปวดท้อง จุ ก
เสียด แก้ธาตุพกิ าร ขับลมในลําไส้ แก้ไอ
กาหลง ไม้พุ่มขนาดย่อมถึงกลาง
ดอก รสจืด สรรพคุณ แก้ปวดศีรษะ ลดความดันโลหิตสูง แก้เลือดออกตามไรฟนั แก้เสมหะ
กาสามปี ก(เกล็ดปลาช่อน) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง และเป็นไม้พุ่มขนาดย่อมก็ม ี
เปลือกราก รสจืดเฝื่อน สรรพคุณ แก้ปวด แก้เคล็ดบวม
ใบ รสจืด สรรพคุณ แก้ไข้
ก้างปลาแดง ไม้พุ่มขนาดกลาง
ราก รสจืดเย็น สรรพคุณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้ไข้ ขับพิษไข้หวั (หัด ,สุกใส ,
ดําแดง) ลดความร้อน (แก้ตวั ร้อน)
ก้างปลาทะเล ไม้พุ่มขนาดย่อม และเกิดตามชายทะเล
ใบ เนื้อไม้ รสกร่อยเค็ม สรรพคุณ แก้ไข้กาํ เดา รักษาตา
เปลือกต้น รสฝาดเค็ม สรรพคุณ สมานแผล ห้ามเลือด
ราก รสเย็นกร่อย สรรพคุณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้ไข้ ถอนพิษผิดสําแดง ถอนพิษไข้กาฬ
กานพลู ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม
ดอก รสร้อน สรรพคุณ บํารุงธาตุ แก้ปวดท้อง แน่น จุกเสียด แก้ราํ มะนาด แก้ปวดฟนั
แก้ปวดท้อง ท้องขึน้ แก้ทอ้ งร่วง ชุบลําสีอุดฟนั แก้ปวดฟ๑นั ดอกใส่
ทุบ ขวดนมให้เด็กรับประทาน
13

ก้ามกุ้ง ก้ามกาม ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ก้ามปู เมล็ด รสเมา สรรพคุณ แก้กลาก เกลือ้ น โรคเรือ้ น
เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้ปากเปื่อยเป็นแผล แก้เหงือก บวม แก้ปวดฟนั แก้
ท้องร่วง แก้รดิ สีดวงทวาร
กุ่มนํ้า ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงขนาดกลาง
ราก รสร้อน สรรพคุณ แก้ปวดท้อง บํารุงธาตุ
เปลือกต้น รสร้อน สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ ขับผายลม
กุ่มบก ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
ใบ รสจืดเย็น สรรพคุณ บํารุงหัวใจ
เปลือกต้น รสรอ้ น สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ แก้แน่นท้อง มักใช้ร่วมกับเปลือกต้นทองหลางใบมน
แก้ว ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม
ใบ รสร้อนเผ็ด ขมสุขมุสรรพคุณขับโลหิตระดูสตี บํารุงธาตุ แก้จุกเสียดแน่นในท้องขับผายลม
รากแห้ง-สด รสเผ็ดขมสุขมุ สรรพคุณ แก้ปวดสะเอว แก้ผ่นื คันทีเ่ กิดจากควา มชืน้
แก้ฝีฝกั บัวทีเ่ ต้านม แก้ฝีมดลูก แผลคัน พิษแลงสัตว์กดั ต่อย
โกงกาง(มีทงั ้ ชนิ ดใบใหญ่และใบเล็ก) ไม้ยนื ต้นขนาดเล็กถึงกลาง
เปลือกต้น รสฝาดเค็มสรรพคุณ ห้ามโลหิต สมานแผล แก้ทอ้ งร่วง แก้บดิ แก้อติสาร
โกฐกะกลิ้ง(แสลงใจ,ลูกกะจี,้ ว่านไฟต้น) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
เมล็ด(มีส่วนผสมของสตริค๊ นิน) รสขมเมา สรรพคุณ แก้ลมอัมพาต อิดโรย บํารุง
ธาตุ บํารุงหัวใจ เจริญอาหารขับนํ้าย่อย กระตุน้ ประสาทส่วนกลาง ถ้ารับประทานมากเป็นพิษทําให้
กล้ามเนื้อกระตุก ชัก ขากรรไกรแข็ง
ใบ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ตําพอกแก้แผลเน่าเปื่อยเรือ้ รัง
โกฐกักกรา ไม้ตน้ ขนาดกลาง รากส่งมาจากจีน อินเดีย ฮ่องกง
ราก รสฝาดน้อย เผ็ดร้อนซ่า สรรพคุณ ขับลมในลําใส้ แก้คลื่นเหียนอาเจียน
แก้ดพี กิ าร ปวดหัวตัวร้อน นอนสะดุง้ แก้รดิ สีดวงทวาร
โกฐกระดูก เป็นไม้ตน้ ขนาดเล็กถึงกลาง จากประเทศจีน
เปลือกราก รสร้อน กลิน่ หอม สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย ขับลมในลําใส้ แก้โลหิตจาง
โกฐก้านพร้าว ไม้ลม้ ลุกเนื้ออ่อน
ราก มีลกั ษณะคล้ายทางหนูมะพร้าวแห้ง ไม่มกี ลิน่ หอมใด ๆ รสเย็น สรรพคุณ
แก้ไข้ แก้หอบ แก้สะอึก แก้เสมหะเป็นพิษ
14

โกฐจุฬาลัมพา ไม้เนื้อ่อนล้มลุกเป็นพุ่มขนาดย่อม
ใช้ทงั ้ ต้น รสขมกลิน่ หอม สรรพคุณ แก้ไข้เจรียง แก้ไช้ทม่ี ผี ่นื ขึน้ ตามตัว เช่น
หัดเหือด สุกใส ดําแดง ฝี ดาษ ไข้รากสาด แก้หดื ไอ แก้ไข้เพื่อเสมหะ

โกฐนํ้าเต้า ไม้พุ่มขนาดใหญ่
ราก (ปอกเปลือกออกนําไปนึ่งแล้วตากแห้ง) รสฝาดหอม สรรพคุณ แก่ธาตุพกิ าร
อาหารไม่ยอ่ ย บํารุงธาตุแก้ทอ้ งอืด ขับลมในลําไส้ ขับปสั สาวะและอุจจาระให้เดินสะดวก ระบายท้อง
รูถ้ ่ายรูป้ ิดเอง แก้เจ็บตา แก้รดิ สีดวงทวาร

โกฐสอ ไม้ขนาดเล็กจําพวกโสม
รากรสสุขมกลิน่ หอม สรรพคุณ แก้ไข้ แก้หดื แก้ไอ บํารุงหัวใจให้ชุ่มชืน้

กอมขม หรือ ดีงูต้น ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้ รสขม สรรพคุณ แก้ไข้จบั สั ่น และไข้ตวั ร้อน
เปลือกต้น รสขมจัด สรรพคุณ แก้ไข้จบั สั ่น (มาลาเรีย) ไข้ป้าง และไข้ทุกชนิด

ก่อ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้คลื่นเหียนอาเจียน สมานแผล ห้ามโลหิต
เนื้อในเมล็ด รสหวาน สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงลําไส้ แก้อ่อนเพลีย

กําจัด (พริกหอม ลูกระมาด หมากมาด) เป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เมล็ด รสสุขมุ กลิน่ หอม สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน บํรุางโลหิต บํารุงหัวใจ ขับลมในลําไส้
รากและเนื้อไม้ รสร้อน สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ แก้ลมขึน้ เบือ้ งสูง หน้ามืด
ตาลาย วิงเวียน ขับระดู

กําลังช้างเผือก (กําลังช้างสาร) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้ รสขมน้อย สรรพคุณ บํารุงธาตุ แก้อ่อนเพลีย บํารุงโลหิต

กําลังวัวเถลิ ง (กําลังทรพี)ไม้พุ่มขนาดใหญ่
เนื้อไม้และเปลือกต้น รสขมเฝื่ อน สรรพคุณบํารุงโลหิต บํารุงธาตุ บํารุงเส้นเอ็น
บํารุงร่างกาย แก่ปวดเมื่อยตามร่างกาย
15

กําลังเสื่อโคร่ง (กําลังพญาเสื่อโคร่ง) ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสร้อนเล็กน้อย กลิน่ หอม สรรพคุณ บํารุงธาตุ บํารุงเส้นเอ็น เจริญ
อาหาร บํารุงกําลัง แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย

กําลังหนุมาน (กําลังราชสีห)์ ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เนื้อไม้และรากรสขม
สรรพคุณแก้น้ําดีพกิ าร คือ นอนสะดุง้ ผวาหลับๆ ตืร้่นอนหน้
ๆ านํ้าตาไหล
เกว้า (เขว้า กํายาน ชาติ สมิง ) ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่
ราก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง
ยอด รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้ปวดศีรษะ
ใบสด รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ตําคัน้ เอานํ้าใส่แผลฆ่าเชือ้ โรค

ยาง (เรียกว่ากํายาน ) รสสุขมุ หอม สรรพคุณ แก้ลม บํารุงเส้นเอ็น แก้หลอ ดลมอักเสบ


สมานแผล แก้ขดั เบา

ขันทองพยาบาท( หมากดูก ยาง ปรอก ) ไม้พุ่มขนาดใหญ่ หรือไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


เนื้อไม้ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้ลมพิษ แก้ไข้ แก้กามโรค
เปลือกต้น รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ทําให้ฟนั ทน รักษาโรคตับพิการ แก้ประดง
แก้พษิ ในกระดูก แก้โรคผิวหนัง ฆ่าพยาธิ แก้โรคเรือ้ น มะเร็ง คุดทะราด กลาก เกลือ้ น

ข่าต้น (ตะไคร้ต้น เทพทาโร) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้และราก รสร้อนกลิน่ หอมฉุน สรรพคุณ แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ ขับลมในลําไส้
แก้ลมขึน้ เบือ้ งสูง หน้ามืด วิงเวียน

ขี้ครอก ไม่พุ่มขนาดย่อมคล้ายมะเขือ
ใบ รสขืน่ สรรพคุณ แก้ไอ ขับเสมหะ
ราก รสเย็น สรรพคุณ ถอนพิษไข้ทงั ้ ปวง
ใช้ทงั ้ 5 รสขืน่ เย็น สรรพคุณ แก้ไตพิการ

ขี้หนอน ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้นรสขมเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน แก้หวัดคัดจมูก นํ้ามูกไหล
16

ขี้เหล็กบ้าน ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


ใบ รสขม สรรพคุณ แก้ระดูขาว แก้นิ่ว ขับปสั สาวะ แก้กระษัย ถ่ายพิษไข้
พิษเสมหะ ถ่ายพรรดึก
ดอก รสขม สรรพคุณ แก้หดื ฟอกศีรษะแก้รงั แค แก้โรคประสาท แก้นอนไม่หลับ
เปลือกต้น รสขม สรรพคุณ แก้กระษัย แก้รดิ สีดวงทวาร
กระพี้ รสขม สรรพคุณ แก้รอ้ นรุ่ม กระสับกระส่ายเพราะพิษไข้
แก่น รสขม สรรพคุณ แก้กามโรค หนองใน แก้กระษัย แก้เหน็บชา แก้ไฟธาตุพกิ าร
ราก รสขมเย็น สรรพคุณ แก้ไข้กลับ แก้ซ้าํ

ขี้เหล็กเลือด ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง ใบอ่อนมีสแี ดงเข้ม


แก่น รสขมจัด สรรพคุณ แก้กระษัย แก้ไตพิการ ปวดบั ่นเอว ขับปสั สาวะ บํารุงโลหิต ขับระดูเสีย

ขี้อ้าย ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้นรสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ แก้อุจจาระเป็นฟอง แก้ปวดเบ่ง สมานแผล

เข็มขาว (เข็มใหญ่) ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงขนาดกลาง


ราก รสหวาน สรรพคุณ แก้โรคตา เจริญอาหาร

เข็มแดง ไม้พุ่มขนาดใหญ่
ราก รสหวานเย็น สรรพคุณ แก้เสมหะ แก้กาํ เดา บํารุงธาตุ แก้บวม แก้เจ็บตัว

เข็มป่ า ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม ถึงขนาดกลาง


เปลือกต้น รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ตําคัน้ เอานํ้าหยอดหูฆ่าแมลงเข้าหู
ใบ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ฆ่าพยาธิทงั ้ ปวง
ดอก รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้โรคตา ตาแฉะ ตาแดง
ลูก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงงอกในจมูก
ราก รสเฝื่ อน สรรพคุณ ขับเสมหะในท้อง ขับแสมหะในทรวงอกและแก้ฝีในท้อง

เขยตาย(ลูกเขยตายแม่ยายทําศพ,เขยตายแม่ยายชักปก
) เป็นไม้พุ่มขนาดเล็กถึงกลางเนื้อแข็ง
ราก รสชื่นปร่า สรรพคุณ กระทุง้ พิษ แก้พษิ ฝีภายในและภายนอก ขับนํ้านม
แก้พษิ งู พิษแมลงกัดต่อย แก้ไข้กาฬ แก้โรคผิวหนังพุพอง
ดอกและลูก รสร้อนเมา สรรพคุณ ตําทารักษาโรคหิด
17

ขอนดอกไม้ยนื ต้นตายจากต้นพิกุลและต้นตะแบก ลักษณะเหมือนไม้ผุสขี าวเป็นจุด ในเนื้อไม้


ขอนดอก รสจืดหอมสรรพคุณ บํารุงตับ ปอด หัวใจ บํารุงทารกในครรภ์ ทําให้ใจชุ่มชื่น

ข่อย ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


แก่น รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้แมงกินฟนั แก้รดิ สีดวงจมูก
เปลือกต้นและเนื้อไม้ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้แมงกินฟนั แก้ปวดฟนั
ใบ รสเมาอ่อน สรรพคุณ คั ่วให้กรอบชงนํ้ารับประทานเป็นยาระบายอ่อนๆ
เมล็ด รสมันร้อนน้อยสรรพคุณ บํารุงธาตุ เจริญอาหาร แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ เป็นยาอายุวฒั นะ
ราก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ฆ่าพยาธิ แผลเน่าเปื่อย

ข่อยหย็อง หรือ ข่อยเตี้ย ไม้ยนื ต้นขนาด กลาง


รากและเนื้อไม้ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ขับปสั สาวะ ขับเมือกมันในลําไส้ แก้กระ
นัย ไตพิการ แก้คลื่นเหียนอาเจียน

เขี้ยวงู(เล็บครุฑ) ไม้ตน้ ขนาดย่อม


ราก รสจืดเย็ น สรรพคุณ แก้นยั ไตพิการ ขับปสั สาวะ แก้พษิ ซาง แก้ไข้ แก้
สะอึก แก้ปวดศีรษะ ตัวร้อน แก้ไข้สนั นิบาต
เมล็ด รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้พษิ สัตว์กดั ต่อย ถอนพิษไข่เน่า ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
เปลือกต้น รสฝาดหวานชุ่ม สรรพคุณ แก้พษิ ตานซาง แก้อุจจาระเป็นฟ อง เหม็น
เปรีย้ ว แก้ทอ้ งเสีย แก้ตานขโมย ขับพยาธิไส้เดือนในท้อง
ราก รสฝาดหวานเบื่อ ขับพยาธิไส้เดือน บํารุงธาตุ เจริญอาหาร

ไข่มด ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ใบ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง กลากเกลือ้ น
ดอก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือนในท้อง
ลูก รสร้อน สรรพคุณ ตําพอกฝี บ่มหนองให้แตกเร็ว
เปลือกต้น รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ตําคัน้ เอานํ้าหยอดหู แก้แมงเข้าหู
กระพี้ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้เกลือ้ นช้าง
แก่น รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้โรคเรือ้ น
ราก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้พยาธิ ขีก้ ลาก แก้รงั แค
18

คงคาเดือด (หมากเล็กหมากน้ อย) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ใบ,เปลือก,ต้น รสเย็นเฝื่อน สรรพคุณ ต้นเอานํ้าอาบ แก้คนั แก้ทรางตัวร้อน

คนทา(สีฟัน กะลันทา) ไม้พุ่มขนาดใหญ่


รากอ่อนและต้น รสขมเฝื่อนฝาดเย็สรรพคุ
น ณ แท้องร่วงบิด ลดความร้อนในร่างกาย
กระทุง้ พิษไข้พษิ ไข้กาฬ ไข้หวั ลมทุกชนิด แก้รอ้ นในกระหายนํ้า

คนที สอเขมา หรือ คนที สอดํา ไม้พุ่มขนาดใหญ่


เปลือกต้น รสร้อน สรรพคุณ แก้ปวดท้อง แก้เลือด แก้ลม เป็นยาอายุวฒั นะ
รากและใบ รสร้อน สรรพคุณ ต้มรับประทานหรือประคบ แก้ปวดข้อ ปวด
กล้ามเนื้อ บํารุงและรักษาไข้
ใบสด รสร้อนหอม สรรพคุณ คัน้ เอานํ้ารับประทานแก้ปวดศีรษะ รักษาเยือ่ จมูก
อักเสบ ถอนพิษสาหร่ายทะเล
ยาง รสร้อนเมาสรรพคุณ บํารุงกําลัง ขับเลือดขับลมให้กระจาย ฆ่าพยาธิ ผิวหนัง แก้คุดทะราด
ราก รสเมาร้อน สรรพคุณ แก้ลม ขับเหงื่อ แก้รดิ สีดวงแห้ง

คัดลิ้ น ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


ราก รสร้อนจัด สรรพคุณ แก้เส้นเอ็นพิการ บํารุงเส้นเอ็น ห้ามใช้กบั บุคคลทีเ่ ป็น
โรคเส้นประสาทพิการ

คันทรง มี ๒ ชนิด คือไม้พุ่มขนาดย่อมและเป็นต้นขนาดย่อม แต่สรรพคุณเหมือนกัน


เปลือกต้นและใบ รสฝาดเฝื่อน สรรพคุณ ต้มอาบแก้บวม เนื่องจากโรคไต หัวใจ
พิการ นํ้าเหลืองเสีย เหน็บชา

คราม ไม้พุ่มต้นเล็ก
ใบ รสเย็น สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้ตวั ร้อน แก้ปวดศีรษะ
ต้น รสเย็น สรรพคุณ ฟอกขับปสั สาวะให้บริสุทธิ ์ แก้กระษัย แก้นิ่ว แก้ปะขุสั สาว
น่ ข้น

ครอบทัง้ ๓ (ครอบจักรวาล, ครอบตลับ, ครอบฟันสี) ไม้ลม้ ลุกเนื้ออ่อน


ครอบจักรวาล (สารเข้าเลือก,ก่องเข้า)
ครอบตลับ(มะก่องเข้าหลวง)
ครอบฟนั สี (ตอบแตบ, โผงผาง)
ต้น รสขม สรรพคุณ บํารุงโลหิตและขับลม
19

ใบ รสขมติดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ บ่มหนองฝี ให้แตกเร็ว


ดอก รสขม สรรพคุณ ฟอกลําไส้ให้สะอาด บ่มหนองให้เกิดเร็ว
ราก รสขม สรรพคุณ แก้ลม แก้ดี บํารุงธาตุ แก้มุตกิด แก้ไอ แก้ไข้ผอมเหลือง บํารุงกําลัง

ครอบฟั นสี (ตอบแตบ, โผงผาง)


ต้น รสขม สรรพคุณ บํารุงโลหิตและขับลม
ใบ รสขมติดรอนเล็กน้อย สรรพคุณ บ่มหนองฝี ให้แตกเร็ว
ดอก รสขม สรรพคุณ ฟอกลําไส้ให้สะอาด บ่มหนองให้เกิดเร็ว
ราก รสขม สรรพคุณ แก้ลม แก้ดี บํารุงธาตุ แก้มุตกิด แก้ไอ แก้ไข้ผอมเหลือง บํารุงกําลัง

คางแดง (คาง, กางขี้มอด, มะขามป่ า) ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่


เปลือกต้น รสฝาดเฝื่อน สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้ตกโลหิต แก้บวม แก้ฝี แก้พยาธิ
เปื่อยเน่ า แก้ลาํ ไส้พกิ าร บํารุงธาตุ ฝนทารักษาโรคเรือ้ น แผลเน่าเปื่อยเรือ้ รัง ทาหัวฝี
ใบ รสเฝื่ อน สรรพคุณ แก้ไอ
ดอก รสหวาน สรรพคุณ บํารุงธาตุ แก้ปวดบาดแผล แก้พษิ ฟกบวม คุดทะราด
แก้ แก้ตาอักเสบ

ควิ นิน (ต้นซิ งโคน่ า) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ก้าน,ใบและเปลือกต้น รสขมจัด สรรพคุณ แก้ไข้จ(มาลาเรี
บั สั ่น ย) บํารุงนํ้าดี แก้รอ้ นใน

คูน (ชัยพฤกษ์) ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงขนาดกลาง ใบใหญ่ ดอกสีเหลือง ห้อยเป็นพวง


ฝกั กลมยาวเกลียง เนื้อในสีดาํ
เนื้อในฝกั รสหวานเอียน สรรพคุณ ระบายท้อง ช่วยบรรเทาการแน่นหน้าอก ฟก
ชํ้า แก้ลมเข้าข้อและขัดข้อ
ดอก รสขมเปรีย้ ว สรรพคุณ แก้ไข้ เป็นยาระบาย
เปลือกและใบ รสฝาดเมา สรรพคุณ บดผสมทาฝี และเม็ดผื่นตามร่างกาย
ใบ รสเมา สรรพคุณ ระบายท้อง แก้พยาธิผวิ หนัง
ราก รสเมา สรรพคุณ ฝนทารักษาขีก้ ลาก และเป็นยากระบายท้อง แก้คุดทะราด
แก่น นักไสยศาสตร์ใช้ทาํ ปลัดขิกลงยันต์ผกู เอวเด็ก เพื่อให้ปีศาจไม่รบกวนเด็ก
เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง สมานแผล
เปลือกเม็ดและเปลือกฝกั รสเมาเบื่อสรรพคุณ ถอนพิษยาเบื่อเมา ทําให้อาเจียน
กระพี้ รสเมา สรรพคุณ แก้ราํ มะนาด
20

แค (แคแดง,แคขาว) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้นรสฝาดจัดสรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง คุมธาตุ บิดมูกเลือด สมานแผลทัง้ ภายในและ
ภายนอก
ใบ รสจืดมัน สรรพคุณ แก้ไข้เปลีย่ นอากาศ(ไข้หวั ลม) แก้ไข้หวัด
เปลือกต้นแคปา่ รสฝาด สรรพคุณ ต้มเอานํ้าชะล้างบาทดแผลให้แผลหายเร็ว

แคแตร (แคแกล) ไม้ปา่ ยืนต้นขนาดกลาง


ดอก รสหวานเย็น สรรพคุณ ขับเสมหะและโลหิต ขับผายลม
ราก รสหวานเย็น สรรพคุณ ขับเสมหะ แก้ลม

แคฝอย (แคขาว) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้และเปลือกต้น รสฝาดเฝื่อนหวาน สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้บวม แก้ตก
โลหิต แก้พยาธิ แก้ฝีเปื่อยพัง
ราก รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงงอก

คําไทย(คําแสด,คําเงาะ)ไม้พุ่มขนาดใหญ่ หรือไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก


ดอก รสหวาน สรรพคุณ บํารุงโลหิต แก้โรคโลหิตจาง สมานแผลแก้บดิ แก้โรคไต
เมล็ด รสร้อนหอม สรรพคุณ แก้ลม สมานแผล ตัดไข้
รก (เนื้อหุม้ เมล็ด) รสหวาน สรรพคุณ ระบายท้อง

คําฝอย(คํา,ดอกคํา) ไม้ลม้ ลุกเนื้ออ่อน


ดอก รสหอมร้อนสรรพคุณ บํารุงหัวใจ บํารุงประสาท ขับระดู ดอกแห้ง รักษาโรคดีพกิ าร
เกสร รสหวาน สรรพคุณ บํารุงโลหิตและนํ้าเหลืองให้เป็นปกติ แก้แสบร้อนตามผิวหนัง
เมล็ด รสหวานร้อน สรรพคุณ ระบายท้อง ขับเสมหะ แก้โรคผิวหนัง แก้บวม
ขับระดู ปน่ เป็นยาพอก แก้ปวดมดลูกหลังคลอดบุตร
นํ้ามันจากเมล็ด รสร้อน สรรพคุณ แก้โรคขัดข้อ อัมพาต แก้ฝี

ควํา่ ตายหงายเป็ น (ฆ้องสามย่านตัวผู)้ ไม้ตน้ เล็ก ใบหนา


ใบ รสเย็นเฝื่ อน สรรพคุณ ตําพอกแก้ปวด แก้อกั เสบ ฟกบวม และถอนพิษ นํ้าที่
คัน้ จากใบผสมการบูรใช้ทาถูนวดแก้เคล็ด แก้ขดั แพลง

ไคร้เครือ ไม้ตน้ เล็ก


ราก รสขมขืน่ ปร่า สรรพคุณ แก้พษิ ไข้ พิษกาฬ เจริญอาหาร ชูกาํ ลัง
21

ฆ้องสามย่าน ไม้ตน้ ขนาดเล็ก


ใบ รสเย็น สรรพคุณ ตําพอกฝีถอนพิษ แก้ปวด รับประทานายในดับพิษร้อน ใบ
ผสมนํ้าประสานทองสะตุ ตําตากแดดให้แห้ง บดเป็นผงทาลิน้ เด็กอ่อน แก้ละอองซาง
งิ้ว ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่
ใบสด สรรพคุณ ตําคัน้ เอานํ้าทาต่อมในคออักเสบ กากพอกแก้ฟกชํ้า อักเสบบวม
ดอกแห้ง สรรพคุณ ตําผสมนํ้าทาระงับปวด
ราก รสเบื่อเมา สรรพคุณ บํารุงกําลัง แต่ทาํ ให้อาเจียน
ยาง รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้ระดูตกหนัก บํารุงร่างกาย
งิ้วป่ า (งิ้วผา ,นุ่นป่ า) ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่
ราก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ บํารุงกําลัง ทําให้อาเจียน
ใบ ตําเป็นผง ทาภายนอกแก้ฟกชํ้า ฝนกับนํ้าทาแก้ต่อมอักเสบ
ดอกแห้ง ทํายาทาระงับความปวด และแก้พษิ ไข้ใช้ผสมกับเมล็ดฝิ่น นํ้านมแพะ และ
นํ้าตาลแก้รดิ สีดวง
ยาง รสฝาด สรรพคุณ บํารุงกําลัง แก้ระดูขาว

หงอนไก่ดอกกลม(หงอนไก่ป่า) ไม้ดอกต้นเล็กๆ
ราก รสเผ็ดขืน่ ร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้เข้เพื่อลม (ไข้ฤดูฝนมีอาการท้องอืดเฟ้อ)
แก้ไข้พา แก้โลหิต แก้ลมอัมพฤกษ์ บํารุงธาตุ แก้หดื แก้เสมหะ

หงอนไก่ทะเล ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ราก รสกร่อยเค็ม สรรพคุณ ขับนํ้าคาวปลาหลัคลอดบุ
ง ตร แก้ประจําเดือนไม่ปกติ

เหงือกปลาหมอ(ดอกขาว,ดอกสีฟ้า) ไม้พุ่มขนาดกลางใบเป็นจักเว้าใหญ่ ริมใบมีหนามแหลมคม


ใบ รสร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ตําพอกรักษาโรคปวดบวมและแผลอักเสบ
ใบอ่อน ต้มกับเปลือกต้นอบเชย รับประทานแก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ
ลูก รสร้อน สรรพคุณ ขับโลหิตอย่างแรง แก้ฝีตานซาง
ราก รสเฝื่ อนเค็ม สรรพคุณ ต้มอาบแก้พาไข้หวั ผื่นคัน แก้โรคผิวหนังทุกชนิด
ต้นมัดตําให้ละเอียด พอกปิดแผลเรือ้ รัง ถอนพิษ รับประทานแก้พษิ ฝีดาษ เป็นยาตัด
รากฝี ใช้ทงั ้ ๕ รสร้อน สรรพคุณ แก้ไข้หวั แก้พาฝี แก้พษิ กาฬได้ดมี าก
22

จักรนารายณ์ (ไม้ตน้ เล็ก)


ใบสด รสเย็น สรรพคุณ ตําผสมสุราพอกปิดแก้พษิ ฝี แก้ปวด แก้ฟกบวม ถอนพิษ
ได้ดี แก้อกั เสบทุกชนิด แก้พษิ สัตว์กดั ต่อย

จันทน์กระพ้อ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


แก่น รสร้อนหอม สรรพคุณ แก้ไข้สนั นิบาต แก้ไข้เพื่อเลือดและลม
ดอก รสเย็นหอมจัด สรรพคุณ แก้ไข้ บํารุงหัวใจ

จันทน์เกราะ ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เนื้อไม้ รสขมหอม สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน แก้ไข้เพื่อดี แก้กระษัย แก้ตบั ปอดพิการ
แก้รอ้ นในกระหายนํ้า

จันทน์ ชะมด หรือ จันทน์ หอม ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


แก่น รสขมหอม สรรพคุณ บํารุงหัวใจ แก้ลมวิงเวียน แก้คลื่นเหียนอาเจียน ทําให้ใจ
ชื่นบาน สดชื่นแจ่มใส ชูกาํ ลังใช้ทาํ ยาหอม

จันทน์ แดง ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


เนื้อไม้ และแก่น รสขมเย็น สรรพคุณ แก้ไอ แก้ซางอันบังเกิดแต่ดี แก้เลือดออก
ตามไรฟนั แก้บาดแผล แก้ไข้เพื่อดีพกิ ารทําให้ช่นื ใจ แก้รอ้ นดับพิษทุไข้
กชนิด ฝนทาแก้ฟกบวม

จันทน์ เทศ ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


เนื้อไม้และแก่น รสขมหอมร้อน สรรพคุณ แก้ไข้ดเี ดือด ดีพลุ่ง แก้กระสับกระส่าย
ตาลอยเผลอสติ บํารุงตับ ปอด นํ้าดี
เมล็ดใน รสหอมฝาดหวานสุขมุ สรรพคุณ แก้กระหายนํ้า บํารุงกําลัง แก้ลม แก้จุก
เสียด แก้กาํ เดา แก้ทอ้ งร่วง แก้ปวดขัดมดลูก ขับลมในลําไส้ บํารุงโลหิต แก้บดิ บํารุงธาตุ
รกหุม้ เมล็ด(ดอก) รสหอมฝาดร้อน สรรพคุณ บํารุงโลหิต บํารุงผิวเนื้อให้เจริญ

จันทน์ลกู หอม ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เนื้อไม้ รสขมหวาน สรรพคุณ บํารุงประสาท บํารุงเนื้อหนังให้สดชื่น แก้ไข้ต ับ ปอด
พิการ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้เหงื่อตกหนัก ขับพยาธิ
ผลสุก รสหวานฝาด สรรพคุณ รับประทานกับนํ้ากะทิสด บํารุงกําลัง แก้ทอ้ งเสีย
23

จันทน์โอ หรือ ลูกอิ นทร์ ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เนื้อไม้ รสขมหวาน สรรพคุณ บํารุงประสาท บํารุงกําลัง แก้ตบั ปอดพิการ แก้ไข้
แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้เหงื่อตกหนัก แก้ไข้ตวั ร้อน

จันทนา (จันทน์ขาว) ไม้พุ่มยืนต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้ รสขมเย็น สรรพคุณ แก้ไข้อนั บังเกิดแต่ตบั และดี บํารุงเลือดลม
แก่น รสหอมเย็นติดร้อนสรรพคุณ แก้ไข้กาํ เดา บํารุงหัวใจ แก้ลม แก้อ่อนเพลีย

จาก ไม้กอใบคล้ายใบมะพร้าว เกิดทีล่ ุ่มเค็ม


ใบ รสฝาด สรรพคุณ แก้ลมจรต่างๆ แก้เสมหะและดับพิษทัง้ ปวง
นมจาก เป็นเกล็ดสีดาํ อยูใ่ ต้ทอ้ งใบ รสฝาดกร่อย สรรพคุณ แก้ลมจร ลมปว่ ง แก้
ไข้ ท้องเสีย แก้พษิ ตานซ่างลิน้ เป็นฝ้าละอองขาว

จามจุรี,ก้ามปู,ฉําฉา ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ สมานแผลในปาก ในคอ เหงือกหรือฟนั ผุ แก้
ริดสีดวงทวาร แก้ทอ้ งร่วง ห้ามโลหิตตกใน
เมล็ด รสฝาดเมา สรรพคุณ แก้กลาก เกลือ้ น และโรคเรือ้ น แก้เยือ่ ตาอักเสบ
ใบ รสเย็น สรรพคุณ ทําให้เย็นดับพิษ แก้ปวดแสบปวดร้อน

จิ กเขา ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ปวดศีรษะ แก้เสมหะพิการ แก้ระดูขาว
เมล็ด รสร้อน สรรพคุณ แก้แน่ นจุกเสียด

จิ กนา ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ปวดศีรษะ แก้เลือดออกตามไรฟนั ใช้เบื่อปลา
เนื้อไม้ รสร้อนเฝื่ อนๆ สรรพคุณ ขับระดูขาว
เมล็ด รสร้อน สรรพคุณ แก้แน่ นจุกเสียด รัดมดลูกหลังการคลอดบุตร แก้เยือ่
ตาอักเสบ แก้อาเจียน ฝนทาแก้ตวั ร้อน แก้ไอเด็ก
ใบ รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง
ราก รสขืน่ เอียน สรรพคุณ ระบายท้อง
24

จุกโรหิ ณี ไม้พุ่มขนาดย่อม
ราก รสขมเย็น สรรพคุณ ถอนพิษไข้กาฬ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า ลดความร้อนใน
ร่างกาย บางตําราว่า รสสุขมุ สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อโลหิต แก้ลมปลายไข้

เจตพังคี ไม้ตน้ เล็กๆ


ราก รสเผ็ดขืน่ ปร่า สรรพคุณ แก้ทอ้ งขึน้ ปวดแน่นในท้อง ขับลมทําให้เรอ ฝนกับ
นํ้าปูนใส ผสมกับมหาหิงคุแ์ ละการบูรทาท้องเด็กอ่อน แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ แก้ปวดท้อง ขับผายลม

เจตมูลเพลิ งขาว ไม้พุ่มขนาดเล็ก


ใบ รสร้อน สรรพคุณ แก้ลมและเสมหะ
ดอก รสร้อน สรรพคุณ แก้โรคตา แก้หนาวและเย็น
ต้น รสร้อน สรรพคุณ ขับโลหิตประจําเดือน
ราก รสร้อน สรรพคุณ ขับลมในกระเพาะอาหารและลําไส้ แก้รดิ สีดวงทวาร แก้บวม
แก้คุดทะราด บํารุงธาตุ บํารุงโลหิต

เจตมูลเพลิ งแดง (ไฟใต้ดิน) ไม้พุ่มขนาดเล็ก


ราก รสร้อน สรรพคุณ บํารุงธาตุ บํารุงโลหิต ขับลมในลําไส้และกระเพาะอาหารให้
เรอ แก้ทอ้ งอืด เฟ้อ เสียด แน่ นหน้าอก ทําให้ร่างกายเกิดความอบอุ่น ถ้ารับประทานมาก ทําให้แท้ง
ลูก บดเป็นผงปิดพอกฝี ทําให้เกิดความร้อน เกลื่อนฝีได้ แก้รดิ สีดวงทวาร

เฉี ยงพร้านางแอ ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงขนาดกลาง


เปลือกต้น รสฝาดเย็น สรรพคุณ ลดความร้อน แก้ไข้ กล่อมเสมหะ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า

ชะมดต้น(ฝ้ ายผี) ไม้ลม้ ลุกเนื้ออ่อนหรือไม้พุ่ม


ใบ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ฆ่าพยาธิผวิ หนัง กลาก เกลือ้ น
ดอก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้พยาธิไส้เดือน
ต้น รสเมาเบื่อ สรรพคุณ เกลือ้ นช้าง เกลือ้ นใหญ่ เรือ้ นกวาง เรือ้ นนํ้าเต้า
ราก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ฆ่าพยาธิตามชุมชนและรากผม รังแค
ลูกและใบ ตําพอกฝี เร่งหนองให้แตกเร็ว
เปลือกต้น รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ตําคัน้ เอานํ้าหยอดหูฆ่าแมงเข้าหู
ใช้ทงั ้ ๕ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ รักษาฝี ภายใน
25

ชะมวง(ส้มมวง) ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงขนาดกลาง


ใบ ผล รสเปรียว สรรพคุณ ระบายท้อง แก้ไข้ กัดฟอกเสมหะ แก้ธาตุพกิ าร
ราก รสเปรีย้ ว สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน

ชบา ไม้พุ่มขนาดย่อม
รากสด รสร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ตําพอกแก้พษิ ฝี ฟกบวม รับประทานขับ
นํ้าย่อยอาหาร เจริญอาหาร

ชะอม ไม้พุ่มขนาดย่อม
ราก รสร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ทอ้ งขึน้ อึกเฟ้อ ขับลมในลําไส้ แก้ปวดเสียว
ในท้อง(มดลูกอักเสบ)

ชะเอมเทศ(ชะเอมจีน) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ใบ รสเฝื่ อนหวาน สรรพคุณ ทําให้เสมหะแห้ง แก้ดพี กิ าร
ดอก รสเฝื่ อน สรรพคุณ แก้คนั แก้ฝีดาษ
ต้น รสหวานน้อย สรรพคุณ ขับลมให้ลงเบือ้ งตํ่า
ราก รสหวาน สรรพคุณ ขับเลือดเน่า บํารุงหัวใจชุ่มชืน้ แก้กาํ เดา แก้เสมหะเป็นพิษ แก้น้ําลาย
เหนียว ทําให้ชุ่มคอเปลือกราก ทําให้อาเจียน

ชมพู่นํ้าดอกไม้ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อในลูก รสเปรีย้ วหวานเย็น สรรพคุณ ปรุงยาหอมชูกาํ ลัง ทําให้ใจคอชุ่มชื่น
บํารุงหัวใจเหมาะสําหรับเป็นอาหารแก่คนไข้หนัก

ชา หรือ เมี่ยง ไม้ตน้ ขนาดย่อม


ใบ รสฝาด สรรพคุณ รมแก้หดื ชงแก่ ๆ รับประทาน แก้พษิ ของยาอันตราย
สมานแผล กากใบชา ใช้โขลกหิดพอกแผลถูกไฟ ถูกนํ้าร้อนลวก บางตําราว่า รสฝาด สรรพคุณ แก้
ท้องร่วง แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย บํารุงหัวใจให้ชุ่มชื่น

ช้าพลู(ผักอีไร) ไม้ตน้ เล็กๆ


ราก รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้คถู เสมหะ ขับเสมหะให้ตกทางทวารหนัก
ต้น รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้เสมหะในทรวงอก
ลูก(ดอก) รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้เสมหะในลําคอ
ใบ รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ทําให้เสมหะงวดและแห้งเข้า
26

ช้างงาเดียว ไม้ตน้ เล็กๆ


ราก รสขืน่ สรรพคุณ แก้พษิ ฝี ภายใน แก้กระษัย แก้ปสั สาวะพากร แก้ไตพิการ

ชิ งขี่ ไม้พุ่มขนาดย่อม
ต้น รสขืน่ ปร่า สรรพคุณ แก้ฟกบวม
ลูก รสขืน่ ปร่า สรรพคุณ แก้เจ็บคอ ลําคออักเสบ
ดอก รสขืน่ เมา สรรพคุณ แก้โรคมะเร็ง
ราก รสขมขืน่ สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อลม ขับลมในท้องให้ซ่านออกมา แก้ไข้รอ้ นในทุกชนิด
ใบ รสเฝื่ อนเมา สรรพคุณ ต้มเอานํ้าอาบแก้โรคผิวหนัง ไข้ฝีกาฬ สันนิบาต ตะคริว

ชุมเห็ดเทศ ไม้พุ่มใหญ่
ใบ รสเบื่อเอียน สรรพคุณ ตําหรือขยีท้ าแก้กลากเกลือ้ น โรคผิวหนังชนิดมีตวั
ต้น รสเบื่อเอียน สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือน
ดอก รสเบื่อเอียน สรรพคุณ ระบายอ่อนๆ
ต้น ราก ใบ รสเบื่อเอียน สรรพคุณ แก้กระษัยเส้น แก้ทอ้ งผูก ขับปสั สาวะ

ชุมเห็ดไทย(ชุมเห็ดเล็ก) ไม้ตน้ ขนาดเล็ก


เมล็ด คั ่วให้เกรียม ตําผง ชงนํ้าร้อนเหมือนกาแฟ รสขมหอมเล็กน้อย สรรพคุณ
บํารุงหัวใจให้ชุ่มชื่น ทําให้นอนหลับ แก้กระษัย ขับปสั สาวะ
ใช้ทงั ้ ๕ รสขมเบื่อ สรรพคุณ แก้ไข้ ขับพยาธิในท้องเด็ก

ช้อยนางรํา (สอยนางรํา) ไม้พุ่มขนาดย่อม


ใบ รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน แก้ไข้พษิ

ชัด ไม้ตน้ ขนาดย่อม


เมล็ด(ลูก) รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง กล่อมเสมหะและอาจม

ซาก ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


ไม้น้รี บั ประทานไม่ได้ เป็นพาอาจถึงตายได้ ถ้าจะนําไปปรุงเป็นยาต้องเผาให้เป็นถ่าน
ถ่าน รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้ไข้พษิ เซื่องซึม แก้โรคผิวหนัง

ดีหมี ไม้ตน้ ขนาดใหญ่


เนื้อไม้ รสขม สรรพคุณ ระงับความร้อน ดับพิษไข้ แก้ปวดศีรษะ ขับเหงื่อ
27

ตะดกนา(พญาช้างดํา) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง เรียกชื่อ ตะโก หรือ พญาช้างดํา


ผล รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง ตกโลหิต แก้มวนท้อง ขับพยาธิ แก้กระษัยปืแก้ ่ อยฝีเน่าเ
เลือกลูก เผาเป็นถ่าน แช่น้ํารับประทาน ขับระดูขาว ขับปสั สาวะ
เลือกต้อนและเนื้อไม้
สฝาดติดขม สรรพคุณ บํารุงธาตุ
บํารุงกําลัง บํารุงกําหนัด แก้กามตาย
ด้าน
เปลือกต้น เผาเป็นด่างแช่น้ํารับประทาน ขับระดูขาว ขับปสั สาวะ ต้มกับเกลือรักษา
รํามะนาด แก้ปวดฟนั เป็นยาอายุวฒั นะ

ตะโกสวน(ตะโกไทย) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้นและลูกอ่อน รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้อาเจียน แก้บดิ สมานแผล

ตะขบไทย ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้ รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้บดิ มูกเลือด
ราก รสฝาด สรรพคุณ กล่อมเสมหะ และอาจม
ใบ รสฝาดเอียน สรรพคุณ ขับเหงื่อ

ตะขบป่ า ไม้ยนื ต้นขนาดกลางมีหนาม


เนื้อไม้ รสเบื่อเอียน สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือน แก้ตานขโมย แก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน ประดง

ตะไคร้ต้น (ตะไคร้บก) ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงกลาง


ราก รสปร่า สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ ดับกลิน่ คาว ขับผายลม ทําให้เรอ แก้ปสั สาวะพิการ

ตะไคร้นํ้า ไม้พุ่มขนาดย่อมขึน้ อยูร่ มิ นํ้า


ราก รสจืด สรรพคุณ แก้กระษัย แก้ปสั สาวะพิการ แก้ช้าํ รั ่ว เบาหยดย้อย

ตะเคียนทอง ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


เนื้อไท้และแก่น รสขมหวาน สรรพคุณ แก้คุดทะราด แก้เสมหะ แก้โลหิต แก้
กําเดา แก้ไข้ สัมประชวร (ไข้ทม่ี อี าการแสดงทีด่ วงตา ให้เป็นสี แดง เหลือง เขียว)

ตับใหญ่(มะพลับดง) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้และราก รสฝาดเลีย่ นเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ทัง้ ปวง แก้พษิ วัณโรค

ตับเต่าน้ อย ไม้พุ่มขนาดย่อม
รากและต้น รสขมเย็นเอี น สรรพํ
ย าคุณดับพิษไข้ทงั ้ ปวง แก้ตวั ร้อน ดับพิษซาง แก้พษิ ฝีในท้อง
28

ตาตุ่ม ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงกลาง


ต้น รสขมเอียนร้อน สรรพคุณ ขับผายลม แก้โลหิตพิการ ถ่ายเสมหะ
ใบ รสร้อนเอียน สรรพคุณ แก้ลมบ้าหมู
ยาง รสร้อน สรรพคุณ ถ่ายหนองและลม ถ่ายอุจจาระอย่างแรง และกัดทําลาย
อย่างแรงจนนํ้าหมดตัวถึงตาย และเข้าตาอาจบอดได้

ตาเสือ ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ กล่อมเสมหะ และขับโลหิต
ใบ รสฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้บวม
ผล รสฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้บวมข้อ

ตาเสือทุ่ง ไม้ยนื ต้น


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงจมูก
ใบ รสขมฝาด สรรพคุณ แก้อหิวาตกโรค แก้ทอ้ งร่วง แก้อาเจียน

ตานขโมย ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้บดิ มูกเลือด
เนื้อไม้ รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้พาตานซาง ขับพยาธิไส้เดือน แก้ซางลงท้อง
ใบ รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้เม็ดซางขึน้ ปาก
ผล รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้ตานขโมย พุงโร
ราก รสเบื่อเมา สรรพคุณ ขับพยาธิทุกชนิด แก้พษิ ตานซาง แก้ทอ้ งร่วง
ตานดํา ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่
เนื้อไม้และราก รสเมาเอียน สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือน ตัวตืด แก้พษิ ตานซาง
ผอมแห้ง ละลายไขข้อ ทําให้เกิดความร้อน
i
0

ตาลโตนด ไม้ยนื ต้นสูง จําพวกปาล์ม


งวงตาล รสหวานเย็นสรรพคุณ แก้พษิ ตานซาง ขับพยาธิ ทําให้ดวงจิตชื่นบาน
ก้านตาลและใบสด ลนไฟบิดเอานํ้ารับประทาน รสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ แก้
ท้องร่วง แก้โลหิต อมแก้ปากเปื่อย
ราก รสหวานเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ตานซาง ชูกาํ ลัง ขับพยาธิ
29

ตานเสี้ยน ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงกลาง


เปลือกต้นและเนื้อไม้ รสเบื่อเมาเล็กน้อย สรรพคุณ แก้อุจจาระธาตุพกิ าร
อุจจาระเป็นฟองสีเขียว สีขาวเป็นมูกเลือด
ราก รสจืดเบื่อเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ตานซาง กล่อมอาจม ขับพยาธิไส้เดือน

ตีนเป็ ดตัน (พญาสัตตบรรณ)ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสขม สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อดีพกิ าร สมานลําไส้
ใบ รสจืด สรรพคุณ แก้ไข้หวัด
ดอก รสขมเย็น สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อโลหิต ไข้ตวั ร้อน ไข้เหนือ
ราก รสร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ขับผายลม
กระพี้ รสร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ขับโลหิตให้ตก

ตีนเป็ ดนํ้า ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสจืดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้นิ่ว แก้ไข้
กระพี้ รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้เกลือ้ น
ใบ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ฆ่าพยาธิผวิ หนัง กลาก เกลือ้ น แก้ไข้หวัด

ตูมกาต้ม ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้พษิ สัตว์กดั ต่อย พิษงูกดั โดยฝนั กับสุรา ชุบสําลี
ปิดบาดแผล ผสมรําให้มา้ กิน ขับพยาธิตวั ดีด เมล็ด รสเมา สรรพคุณ รับประทานทําให้อาเจียน อัได้นตรายถึงตาย

เตยหอม ไม้น้ําต้นเล็กๆ เป็นกอ


ใบ รสเย็นหอม สรรพคุณ บํารุงหัวใจ ดับพิษไข้ ชูกาํ ลัง
รากและต้น รสจืดหอม สรรพคุณ แก้กระษัย,ไตพิการ ขับปสั สาวะ

ต่อไส้ ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ราก รสจืดเอียน สรรพคุณ ขับปสั สาวะ บํารุงเส้นเอ็น
ใบอ่อน ตําผสมดินสอพองสุมขม่อมเด็ก แก้หวัดคัดจมูก

เต่าร้าง(เต่ารัง)้ ไม้ยนื ต้นขนาดกลางจําพวกหมาก


หัวและราก รสหวานเย็นขม สรรพคุณ ดับพิษตับ ปอด แก้หวั ใจพิการ
30

ตองแตก หรือ ทนดี ไม้พุ่มขนาดย่อม


ราก รสจืดเฝื่ อนขมน้อย สรรพคุณ ระบายอ่อนๆ ถ่ายลมถ่ายเสมหะ ไม่ไซ้ทอ้ ง
ใบและเมล็ด รสเบื่อขมน้อย สรรพคุณ ถ่ายพยาธิ แก้ฟกบวม แก้ดซี ่าน แก้หดื

ถั ่วแระต้น ไม้พุ่มเล็กๆ
เมล็ด รสมัน สรรพคุณ บํารุงเส้นเอ็น ทําให้เกิดความอบอุ่น
รา รสจืด สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้น้ําปสั สาวะเป็นสีแดงเหลืองคล้ายขมิน้ และ ปสั สาวะน้อย

ถั ่วแระผี ไม้พุ่มเล็กๆ
ราก รสจืดขืน่ ๆ สรรพคุณ ขับละลายก้อนนิ่วเกิดจากไต กระตุน้ เตือนไตให้ทาํ งาน

ทรงบาดาล ไม้พุ่มขนาดย่อม
ราก รสเบื่อขมสรรพคุณถอนพิษผิดสําแดง(ไข้ซ้าํ ) แก้สะอึก (เนื่องจากกระเพาะอาหาร
ขยายตัว)

ทับทิ ม ไม้พุ่มใบเล็กๆยอดแดง มีอยู๒่ ชนิด คือ ชนิดดอกแดง และชนิดดอกขาว


ต้น ราก รสเบื่อเมา สรรพคุณ ขับพยาธิตวั ตืด และพยาธิไส้เดือน
ใบ รสฝาด สรรพคุณ แก้เด็กท้องร่วง บิดมูกเลือด
เปลือกลูก รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง บิด ปิดธาตุ ฝนกับนํ้าปูนใส ทาแก้พุพอง เน่าเปื่อย
ทับทิมทัง้ ๕ สรรพคุณ แก้ทอ้ งเสีย บิด มูกเลือด

ท้าวยายม่อม ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ต้น รสจืดเฝื่อน สรรพคุณ ขับเสมหะให้ลงเบือ้ งตํ่า ขับพิษไข้(หัหดวั สุกใสดําแดง
) แก้ไข้
ราก รสจืดขืน่ สรรพคุณ แก้พษิ งู แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้อาเจียน แก้หดื ไอษฝีแก้พิ

ท้ายยายม่อมดอกแดง(ปทุมราชา)
ราก รสจืดขืน่ สรรพคุณ ถอนพิษสัตว์กดั ต่อย แก้พษิ งู

ทิ้ งถ่อน (พญาช้างเผือก,พญาฉัททัน) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสร้อนสุขมุ สรรพคุณ เจริญอาหาร ขับผายลม บํารุงธาตุ แก้ธาตุพกิ าร
ราก แก่น รสขมร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้เจ็บเอว เจ็บหลัง เส้นตึง ท้องอืด
ใบ เผาไฟผสมกับนํ้ายาสูบ ฉีดฆ่าตัวแมลงและตัวหนอนได้
31

เทพทาโร ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


เปลือกต้น รสร้อน สรรพคุณ แก้ลมจุกเสียด แน่น เฟ้อ แก้อาการปวดท้อง ขับ
ผายลม บํารุงธาตุ ขับลมในลําไส้ และกระเพาะอาหาร

ทุเรียน ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ราก รสฝาด สรรพคุณ คุมธาตุ แก้ทอ้ งร่วง
เปลือกลูก รสฝาด สรรพคุณ คุมธาตุ สมานแผล แก้น้ําเปลืองเสียพุพอง แก้ฝีตานซาง
กลิน่ ของเปลือกลูกทุเรียน ขับไล่ตวั เรือดได้ เผาเป็นขีเ้ ถ้า ละลายนํ้ามันมะพร้าว ทาแก้คางทูม
เนื้อในลูก มีธาตุกาํ มะถัน รับประทานมากๆ ทําให้เกิดความร้อนในร่างกาย แก้โรค
ผิวหนังและขับพยาธิไส้เดือนในท้องได้

ทองพันชั ่ง ไม้พุ่มต้นเล็ก
ใบ รสเบื่อเย็น สรรพคุณ ดับพิษไข้ แก้ไข้ตวั ร้อน แก้พยาธิผวิ หนัง
ราก รสเมาเบื่อสรรพคุณ แก้กลากเกลือ้ น ผื่นคัและโรคผิ
น วหนังทีเ่ ป็นนํ้าเหลืองบางชนิด

ทองระอาหรือลิ้นงูเห่า ไม้พุ่มขนาดเล็ก
ใบ รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ ตํากับสุรา พอกแก้ปวดฝี ถอนพิษปวดอักเสบ
ราก รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ ฝนกับสุรา ทาแก้พษิ ตะขาบ แมลงปอ่ ง

ทองหลาง ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง มีหนามตลอดทัง้ ต้น


ใบ เปลือกต้น รสเฝื่ อนเอียนเย็น สรรพคุณ แก้เสมหะ แก้ลมเป็นพิษ หยอดตาแก้
ตาแดงตาฝ้าฟางและตาแฉะ
ราก รสเมาเอียนเย็น สรรพคุณ แก้พยาธิในท้อง แก้ตาฟาง แก้เสมหะ

ทองหลางใบมน (ทองหลางบก) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง ใบคล้ายใบถั ่วพู


เปลือกต้น รสเฝื่ อนเอียน สรรพคุณ แก้เสมหะ แก้ลม แก้กอ้ นนิ่วในไต
กระพี้ รสเฝื่ อนเอียน สรรพคุณ แก้พษิ ฝี
แก่น รสเฝื่ อนเอียนเย็น สรรพคุณ แก้ฝีในท้อง(วัณโรค)
ใบ รสเบื่อเอียนเย็น สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือน แก้ตวั ร้อน แก้รดิ สีดวง
ดอก รสขืน่ เอียนเย็น สรรพคุณ ขับโลหิตระดู
ลูก(ฝกั )รสขม สรรพคุณ บํารุงนํ้าดี
ราก รสเฝื่ อนเอียน สรรพคุณ แก้พษิ ทัง้ ปวง
32

ทองหลางใบมนต่าไม้ง ยนื ต้นขนาดกลาง ใบตามเส้นเป็นสีเหลืองแกมเขียว ใบเหมือนทองหลางใบมน


ใบสด รสเอียนเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน ดับพิษ
ใบแก่สด รมควันไต้ให้ตายนึ่งชุบสุดแผล
ราปิ แก้เนื้อร้ายตายลุกลามบวมแดง
(เนื้อเน่า)

ทองโหลง ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง ไม่มหี นาม


ใบ เปลือกต้น รสเฝื่ อนเอียนเย็นสรรพคุณ แก้ไข้ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้โรคตา

เที ยนเกล็ดหอย ไม้ตน้ เล็กๆ


เมล็ด รสเผ็ดร้อนขมหอม สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน หน้ามืด ตามัว แก้โลหิตจาง
แก้เย็นชาปลายมือปลายเท้า

เที ยนขม ลักษณะไม่ปรากฏ เพราะส่งมาจากต่างประเทศ


เมล็ด รสขม สรรพคุณ แก้ไข้ แก้ดพี กิ าร แก้ครั ่นเนื้อครั ่นตัว นอนสะดุง้ ผวา หลับๆ ตื่นๆ

เทียนขาว ไม้ตน้ เล็กๆ (ยีห่ ร่า)


เมล็ด รสเผ็ดร้อนขม สรรพคุณ บํารุงกําลัง ขับผายลม แก้เส้นศูนย์กลางท้อง
พิการ แก้ชพี จรอ่อนหรือพิการ นอนสะดุง้ ผวา(โทษนํ้าดี) แก้คลั ่งเพ้อ

เที ยนแดง ไม้ตน้ เล็กๆคล้ายผักชี


เมล็ด รสเผ็ดร้อนขมเล็กน้อย สรรพคุณ ขับเสมหะ แก้ลม แก้น้ําดีพกิ าร แก้ลม
เสียดแทง แก้คลื่นเหียนอาเจียน

เทียนดํา ไม้พุ่มขนาดย่อม
เมล็ด รสเผ็ดขมสรรพคุณ ขับเสมหะให้ลงสู่คถู ทวาร ขับลมในลําไส้ แก้อาเจียน บํารุงโลหิต
ใบและต้น รสจืดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้หนอนใน(กามโรค)
เปลือกต้น รสจืดเฝื่ อน สรรพคุณ ขับระดูขาว

เทียนต้น หรือ เทียนย้อมมือ ไม้พุ่ม


ใบ รสฝาด สรรพคุณ แก้เล็บถอด อักเสบชํ้า
ยอดอ่อน รสฝาด สรรพคุณ แก้เด็กท้องร่วงได้ผลดีทุกระยะ

เทียนตากบ ไม้ตน้ เล็กๆ


เมล็ด รสเผ็ดร้อนขมหอม ขับลมในลําไส้ให้ผายเรอ
แก้กระเพาะอาหารพิการ กําเริบ หย่อน พิการ
33

เทียนตาตั ๊กแตน ไม้ตน้ เล็กๆ


เมล็ด รสขมเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ บํารุงธาตุ แก้เสมหะพิการ แก้กาํ เดา

เทียนเยาวพาณี คล้ายผักชี แต่โตกว่า


เมล็ด รสหวานกลิน่ หอม สรรพคุณ กระจายเสมหะ กระจายลมทีล่ ั ่นโครกครากอยู่
ั ่ ว่ นอยูร่ อบขอบสะดือ แก้คลื่นเหียน อาเจียน
ในท้อง แก้จุกเสียด แก้ลมปนป

เที ยนลวด ไม่ปรากฏลักษณะ เพราะสั ่งมาจากต่างประเทศ


ราก รสร้อนขมหอม สรรพคุณ แก้น้ําดีพกิ าร แก้กาํ เดา นอนสะดุง้ สะทกสะท้าน
แก้เพ้อคลั ่ง ขับนํ้าดีให้ตกลําไส้

เที ยนดอก ไม้ตน้ เล็กๆ นิยมใช้ดอกสีขาวทํายา


ใบ รสเย็น สรรพคุณ ตําพอกแก้ปวดนิ้วเท้(เก๊
า าท์) เล็บขบ ถอนพิษปวด
อักเสบ

ไทรกร่าง ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ ต้มชะล้างบาดแผล สมานแผล

ไทรใหญ่ ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ สมานแผล

ไทรย้อย ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


รากอากาศ รสจืดสรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้กระษัยไตพิการ บํารุนม
งนํ้าแก้ปสั สาวะมีสตี ่างๆ

ทํามัง ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสร้อนหอมฉุน สรรพคุณ ขับผายลม แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ บํารุงธาตุ แก้จุกเสียด

ธรณี สาร ไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก


ราก รสจืดเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน แก้พษิ ตานซางเด็ก

นนทรี ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสฝาดสรรพคุณ ขับโลหิต กล่อมเสมหะและโลหิต แก้ทอ้ งร่วง ขับผายลม

นมควาย ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ราก เนื้อไม้ รสฝาดเบื่อ สรรพคุณ แก้กระษัย แก้เบาเหลืองเบาแดง
34

นมนาง หรือ นมสาว ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสเย็นเอียน สรรพคุณ บํารุงนํ้านม
เนื้อไม้และราก รสเย็นสรรพคุณระงับความร้อน แก้ไข้พษิ แก้ไข้หวั หัด สุกใส ดําแดง
ราก รสเย็น สรรพคุณ แก้คลื่นเหียนอาเจียน แก้เจ็บหลังเจ็บเอว
ใบ รสเย็น สรรพคุณ ตําผสมนํ้าทาหรือพ่น แก้รอ้ นภายใน
ลูก รสเย็น สรรพคุณ ต้มเอานํ้ารับประทานและอาบ แก้ซาง แก้เด็กตัวร้อน

นางแย้มไม้พุ่ม ราก รสเย็นสรรพคุณ แก้พษิ ฝีภายใจ ขับปสั สาวะ แก้โรคลําไส้ แก้กระษัย ไตพิการ

หนาดดํา ไม้ตน้ เล็กๆ

หนาดใหญ่ ไม้ยนื ต้นล้มลุก


ใบ รสเมาฉุ นเล็กน้อย สรรพคุณ แก้จุกเสียด แน่นเฟ้อ ขับผายลม แก้ปวดท้อง
ขับเหงื่อ ขับเสมหะ มวนเป็นบุหรีส่ บู แก้รดิ สีดวงจมูก

หนามพรม ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม มี ๒ชนิด คือ พรมปา่ และพรมบ้าน


แก่น รสเฝื่ อนมันขมฝาดเล็กน้อยสรรพคุณ บํารุงไขมัน บํารุงกําลัง บํารุงร่างกาย

นุ่น ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสเอียนเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ แก้รอ้ นใน
เมล็ด รสเอียนมัน สรรพคุณ ระบายท้อง ขับปสั สาวะ คัน้ เอานํ้ามันทํานํ้ามันใส่ผม

เนระพูสี ไม้จาํ พวกเฟริน์และผักกูด


ต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ มูกเลือด แก้ไข้ทอ้ งเสีย (ไข้รากสาด) แก้ปวดเบ่ง แก้ไข้
เหนือ แก้ไข้พษิ ไข้กาฬ
เหง้า รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้ธาตุพกิ าร แก้ปอดพิการ แก้ลมสันนิบาต ๗
จําพวก ดับพิษไข้ แก้คอเปื่อย ลิน้ เปลื่อย แก้ไอ แก้ซางเด็ก
รากอากาศ สรรพคุณ คล้ายกับเหง้า

น้ อยหน่ า ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ใบ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ฆ่าเชือ้ โรค ขับตัวกิมชิ าติในลําไส้ (พยาธิไส้เดือน)
โขลกปน่ พอกแก้ฟกชํ้า ฆ่าพยาธิผวิ หนังกลากเกลือ้ น
เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ สมานแผล ปิดธาตุ
35

เปลือกลูก รสฝาด สรรพคุณ ฝนกับสุราทาแก้พษิ งูกดั


ราก รสขมเอียน สรรพคุณ ระบายท้อง

น้ อยโหน่ ง ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ใบ รสเบื่อขม สรรพคุณ ตําพอกแก้ฟกบวม ฆ่าพยาธิผวิ หนัง
ผลดิบ รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง บิด ขับตัวกิมชิ าติ (พยาธิไส้เดือนในท้อง)

เนี ยม ไม้ตน้ เล็กๆ


ใบ รสหอมฉุ น สรรพคุณ ทํายานัตถ์ แก้หวัดคัดจมูก
ลูกลิด หรือ ปอบิด ไม้พุ่มขนาดย่อม
ผล รสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ แก้บวมเบ่ง แก้เสมหะพิการ ตําพอกแก้
คล็ปดวดเ
บวม
เปลือก ต้นราก รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง บํารุงธาตุ

บุนนาค ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง มี ๒ ชนิด คือ บุนนาคบ้าน และ บุนนาคปา่ นิยมใช้บุนนาคปา่


ซึง่ มีสรรพคุณดีกว่า
ใบ รสฝาด สรรพคุณ แก้บาดแผลสด สมานแผล
เปลือกต้น รสฝาดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ กระจายหนอง
กระพี้ รสขืน่ สรรพคุณ แก้เสมหะในลําคอ
แก่น รสขืน่ สรรพคุณ แก้เลือดออกตามไรฟนั
ราก รสร้อน สรรพคุณ ขับลมในลําไส้
ดอก รสหอมเย็น สรรพคุณ บํารุงโลหิต บํารุงผิวกายให้สดชื่น แก้รอ้ น
กระสับกระส่าย ชูกาํ ลัง แก้ลมกองละเอียด หน้ามืดวิงเวียนใจสั ่น อ่อนเพลีย ใจหวิว

เบญกานี ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ลูกเบญกานี เป็นยางไม้เกิดจากต้นเบญกานี
(ลักษณะเป็นก้อนลูกกลมๆ เป็นหนาม
)
รสฝาดจัด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง บิด ปวดเบ่ง แก้อาเจียน สมานแผล

เบญจมาศบ้าน ไม้ดอกต้นเล็ก
ดอก รสหอมเย็น สรรพคุณ ทํายาหอมชูกาํ ลัง แก้ไข้ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า

เบน หรือ เบนขอ ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น แก่น ใบ รสจืดขืน่ สรรพคุณ แก้เส้นเอ็นพิการ แก้กระษัยเหน็บชา
แก้เหน็บชา แก้ไขข้อ กามโรค
36

ใบเงิน ไม้พุ่มขนาดย่อม
ใบ รสเย็น สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้พษิ ร้อน ล้อมตับดับพิษ

ใบทอง ไม้พุ่มต้นเล็ก
ใบ รสเย็น สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้พษิ ร้อน ล้อมตับดับพิษ

ใบนาค ไม้พุ่มขนาดย่อม
ใบ รสเย็น สรรพคุณ ดับพิษ แก้ไข้พษิ ร้อน ล้อมตับดับพิษ

ประดงเลือด หรือ ประดงไฟ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้ รสเย็นเฝื่อนเมาเล็กน้อย สรรพคุณ แก้เม็ดประดงผื่นคัน แดงทัง้ ตัว แก้
ปวดแสบปวดร้อน มีน้ําเหลืองไหล

ประดู่ขาว หรือ สะตืไม้


อ ยนื ต้นขนาดใหญ่ ใช้ท๕งั ้ รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้ไข้หดั สุกใส ดําแดง
เหือด และพิษฝีดาษ แก้ทอ้ งร่วง แก้ปอดอักเสบเนื่องจากพิ(หัษดไข้สุหกวั ใส ดําแดง
)

ประดู่ลาย ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ ต้มเอานํ้าอม แก้ปากเปื่อย ปาก แตก ยางสด รส
ฝาด สรรพคุณ ทาแก้ปากเปื่อย
เนื้อไม้ และแก่น รสฝาดหวาน
สรรพคุณ บํารุงโลหิต คุมธาตุ กล่อมโลหิต ระงับเสมหะ

ประดู่ส้ม ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


แก่น เนื้อไม้ รสขมหวาน สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อกําเดาและโลหิต

ประดู่เสน ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


แก่น รสขมหวาน สรรพคุณ แก้คุดทะราด แก้ไข้เพื่อเสมหะ โลหิต และกําเดา
ปุม่ รสฝาดขมเบื่อ สรรพคุณ ต้มเอาไอรมทวาร แก้รดิ สีดวงทวาร

ประทัดจีน หรือประทัดใหญ่ ไม้พุ่มขนาดย่อม


ราก รสขมจัด สรรพคุณ แก้ไข้ทุกชนิด ไข้จบั สั ่น ขับนํ้าลาย เจริญอาหาร

ประยงค์ป่า ไม้พุ่มขนาดย่อม
ปุม่ รสฝาดขืน่ สรรพคุณ ถอนเสมหะ แก้พษิ ทัง้ ปวง แก้หอบ แก้ไอ
37

ประยงค์บ้าน หรือ หอมไกล ไม้พุ่มขนาดย่อม


ราก รสเบื่อเอียน สรรพคุณ ถอนพิษยาเบื่อเมา ทําให้อาเจียน

ปรู ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงกลาง


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้หดื ไอ แก้ทอ้ งร่วง ปิดธาตุ
เนื้อไม้ รสฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงลําไส้ และทวารหนัก
แก่น รสจืดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้น้ําเหลือง บํารุงกําลัง
ผล รสร้อนเบื่อ สรรพคุณ บํารุงธาตุ แก้จุกเสียด ขับพยาธิ

โปรง ไม้ลุ่มนํ้าเค็มยืนต้นขนาดกลาง
เปลือกต้น รสฝาดจัดเฝื่อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้อาเจียน คุมอาจม
แก้เสมหะและโลหิต สมานแผล

โปร่งฟ้ า ไม้พุ่มขนาดย่อม
ั โรคระยะบวม แก้ตาฝ้าฝาง ตามัว
ราก รสเฝื่ อนเย็น สรรพคุณ แก้วณ

ปลาไหลเผือก ไม้พุ่มขนาดย่อม
ราก รสขมเบื่อเมาเล็กน้อย สรรพคุณ ตัดไข้ทุกชนิด แก้วณ
ั โรคระยะบวม ถ่ายพิษ
ฝีในท้องและถ่ายพิษต่างๆ

เปล้าใหญ่ ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


ใบ รสร้อนเมาเอียน สรรพคุณ บํารุงธาตุ
เปลือกต้น และกระพี้ รสร้อนเมาเอียน สรรพคุณ แก้เลือดร้อน
ผล รสร้อนเมาเอียน สรรพคุณ ขับโลหิตในเรือนไฟ ขับนํ้าคาวปลา
แก่น รสร้อนเมาเอียน สรรพคุณ ขับเลือด ขับหนองให้ตก ขับพยาธิไส้เดือน
ราก รสร้อนเมาเอียน สรรพคุณ ขับผายลม

เปล้าน้ อย ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


เปลือกต้น รสร้อน สรรพคุณ ทําให้อาหารงวด ช่วยย่อยอาหาร
ใบ รสร้อน สรรพคุณ แก้คนั ตามตัว
ผล รสร้อน สรรพคุณ ขับหนองให้กระจาย
ราก รสร้อน สรรพคุณ แก้ลมขึน้ เบือ้ งบนให้เป็นปกติ
แก่น รสร้อน สรรพคุณ ขับโลหิต แก้ช้าํ ใน
38

เปล้านํ้าเงิน ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น แก่น รสขมเย็น สรรพคุณ บํารุงโลหิตสตรีให้สมบูรณ์
เปลือก ลูก ราก รสขมเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า

ปี บ ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงกลาง
ดอก รสเฝื่ อนกลิน่ หอม สรรพคุณ ตากแห้งผสมบุหรีส่ บู แก้รดิ สีดวงจมูก
ราก รสเฝื่ อนสรรพคุณปิ้งให้กรอบต้มรับประทาน แก้ทอ้ งร่วง บิด แก้บ่ปงวดเ
แก้เสมหะพิการ
ใบสด รสฝาด สรรพคุณ เคีย้ วอม ดับกลิน่ สุรา
ลูกสุก รสฝาดหวาน สรรพคุณระบายท้อง กล่อมอาจม ดูดกลิน่ เหม็น วางบนหีบศพดับกลิน่ เหม็น
ราก รสฝาด สรรพคุณ แก้น้ําเหลืองเสีย

ฝางส้ม ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง เนื้อไม้เป็นสีขาว


เนื้อไม้ รสฝาดติดเปรีย้ ว สรรพคุณ ขับฟอกโลหิต แก้ไข้

ฝางเสน ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง เนื้อไม้สแี ดงและเหลือง


แก่น รสขมขืน่ ฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้ธาตุพกิ าร แก้รอ้ น แก้โลหิตออกทาง
ทวารหนัก แก้ไข้กาํ เดา แก้เสมหะ

ฝ้ ายขาว ไม้พุ่มขนาดย่อม
เปลือกราก รสขืน่ เอียนสรรพคุณ ขับโลหิตะรดูสตรี บีบมดลูก รับประทานมากๆ อาจแท้งได้

ฝ้ ายแดง ไม้พุ่ม
ใบ รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ แก้ไข้ ขับเหงื่อ แก้พษิ ตานซางเด็ก
ฝ้ ายเทศ หรือ สําลี ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
เมล็ด รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้หนองใน(กามโรค) ขับหนองให้แห้ง

ฝิ่ น ไม้ตน้ เล็ก ๆคล้ายต้นมะเขือ


ยาง เคีย่ วให้สุก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้บดิ เรือ้ รัง แก้ลงแดง ทําให้นอนหลับ ทา
แก้เจ็บปวด ทาหัวริดสีดวงทวาร
ขีย้ าฝิ่ น รสเมาเบื่อสรรพคุณ แก้บดิ มูกเลือด ลงแดง แก้ปวดเบ่ง แก้ไอ ทําให้นอนหลับ
39

ฝิ่ นต้น ไม้พุ่มขนาดย่อม ใบคล้ายใบมะละกอ


เปลือกต้น รสฝาดเมา สรรพคุณ คุมธาตุ แก้ทอ้ งร่วง แก้อาเจียน แก้ลงแดง แก้
ปวด แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย

ฝี หมอบ ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่


ใบ รสเฝื่ อนเย็น สรรพคุณ ตําพอกฝี แก้ปวดอักเสบ ถอนพิษ
เนื้อไม้ รสขมสรรพคุณ ฝนกับนํ้าปูนใส เกลื่อนหัวฝี รับประทานแก้รคปอดและลํ
วณ
ั โ าไส้

พญาไก่เถื่อน หรือ มะเฟื องป่ า ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้ ราก รสเย็น สรรพคุณ ดับพิษร้อนถอนพิษไข้กลับ แก้พษิ อักเสบ ฝนทาแก้
พิษร้อน แก้ฟกบวม แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย

พญายา ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้ รสขมเย็นสรรพคุณ แก้ไข้ แก้กระษัยแก้โลหิต แก้ผอมแห้ง ดับพิษร้อน

พญารากขาว(โคลงเคลง) ไม้พุ่มขนาดย่อม
ราก รสขม บํารุงธาตุ เจริญอาหาร แก้อ่อนเพลีย กินเป็นยาชูกาํ ลังหลังฟื้นไข้

พญารากดํา ไม้ยนื ต้นขนาดกลางใหญ่


เนื้อไม้ ยาง รสขมน้อย สรรพคุณ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้เจ็บเอว เจ็บหลัง
แก้กระษัย ไตพิการ
ดอก รสขมเย็น สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อโลหิต แก้ไข้ตวั ร้อน ไข้เหนือ
ราก รสร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ขับผายลม

พญาปล้องทอง ไม้เถาเนื้อแข็งคล้ายปล้องอ้อย
ต้น รสจืดเย็น สรรพคุณ ถอนพิษไข้ พิษกาฬ แก้รอ้ นใน ถอนพิษยาเบื่อเมา

พญามุติ ไม้ลม้ ลุกเนื้ออ่อน


เถา รสร้อน สรรพคุณ บํารุงธาตุ เจริญอาหาร ขับลมในลําไส้ แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ แก้ทอ้ งร่วง

พญารากเดียว
ราก รสจืด สรรพคุณ แก้ไข้ ลดความร้อน ปน่ เป็นแป้งใช้เป็นเครื่องประทินผิว
40

พลับพลึง ไม้ลม้ ลุกยืนต้นเตีย้ ๆ


ใบ รสเอียน สรรพคุณ ทําให้อาเจียนเป็นเสมหะ ใช้ประคบแก้ช้าํ และเคล็ดยอก ลน
ไฟให้ตายนึ่ง พันตามอวัยวะทีเ่ คล็ดยอก บวม แพลง ถอนพิษได้ดี

พิ กลุ ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ ฆ่าแมงกินฟนั
กระพี้ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้เกลือ้ น
แก่น รสขมเฝื่ อน สรรพคุณ บํารุงโลหิต
ใบ รสเมาเบื่อฝาด สรรพคุณ ฆ่าเชือ้ กามโรค
ดอก รสฝาดกลิน่ หอม สรรพคุณ แก้ลม บํารุงโลหิต
ราก รสขม สรรพคุณ บํารุงโลหิต แก้เสมหะ

พิ ลงั กาสา ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ต้น รสเมา สรรพคุณ แก้โรคเรือ้ น โรคผิวหนัง
ใบ รสร้อน สรรพคุณ แก้ตบั พิการ
ดอก รสขมเมา สรรพคุณ ฆ่าเชือ้ โรค
ลูก รสฝาดสุขมุ สรรพคุณ แก้ทอ้ งเสีย
ราก รสเมา สรรพคุณ แก้กามโรค และหนองใน

พริ กป่ า ไม้พุ่มขนาดเล็ก


ราก รสเย็น สรรพคุณ ดับพิษไข้ แก้รอ้ น แก้ลม

พิ มเสนต้น ไม้พุ่มขนาดย่อม
ใบ รสเย็นหอม สรรพคุณ แก้ลม บํารุงหัวใจ แก้ไข้ตวั ร้อน ถอนพิษไข้

พุงดอ ไม้พุ่มต้นอ่อน
ราก รสเปรีย้ วเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ฝีตานซาง ดับพิษทัง้ ปวง ทําให้นอนหลับ
กระทุง้ พิษแก้รอ้ นใน แก้ไข้ แก้ประดง ผื่นคัน ฝนกับนํ้าสุกหรือปูนใส ทาแก้อณ
ั ฑะบวม

พุดตาน ไม้พุ่มขนาดย่อม
ราก รสเย็น ดับพิษไข้ แก้ไข้ แก้ประดงผื่นคันตามผิ
หนัง วปวดแสบปวดร้อนตามร่างกาย
41

พุ่มเรียงบ้าน หรือ ชํามะเรียงป่ า ไม้พุ่มขนาดย่อม


ราก รสเบื่อจืดขมเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ไข้เหนือ แก้ไข้สนั นิบาต แก้ไข้รอ้ นภายใน
กระสับกระส่าย หมอมักใช้พุมเรียงทัง้ ๒ อย่างนี้รวมกัน
เพกา ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
เปลือกต้น รสฝาดเย็นขมเล็กน้อย สรรพคุณ ตํากับสุรา ทา พ่นตามตัวสตรีทท่ี น
การอยูไ่ ฟไม่ได้ ทําให้หนังชา สมานแผล ทําให้น้ําเหลืองปกติ ดับพิษโลหิต
ฝกั แก่ รสขม สรรพคุณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า
ฝกั อ่อน รสขมร้อน สรรพคุณ ขับผายลม
เมล็ดแก่ รสขม สรรพคุณ ระบายท้อง
ราก รสฝาดขมน้อย สรรพคุณ บํารุงธาตุ ทําให้เกิดนํ้าย่อยอาหาร แก้ทอ้ งร่วง ฝน
กับนํ้าปูนใส ทาแก้บวมอักเสบ
แพงพวยบก ไม้ประดับต้นเล็ก
ราก รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ แก้มะเร็ง นํ้าเหลืองเสีย
มะกรูด ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม
ผล รสเปรีย้ ว สรรพคุณ ใช้ทาํ ยาดอง ฟอกโลหิตระดู ถอนพิษผิดสําแดง
ผิวลูก รสปร่าหอมติดร้อน สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ ขับระดู
นํ้าในลูก รสเปรีย้ ว สรรพคุณ แก้เลือดออกตามไรฟนั
ราก รสปร่า สรรพคุณ กระทุง้ พิษไข้ แก้พษิ ฝีภายใน แก้เสมหะเป็นโทษ
มะเกลือ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
ผล รสเบื่อเมา สรรพคุณ ตําคัน้ เอานํ้าประมาณ ๒ ช้อนโต๊ะผสมหัวกะทิหรือนมสด
รับประทานขับพยาธิตวั ตืด พยาธิไส้เดือน ได้ผลดี
มะเกลือเลือด ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
เนื้อไม้ แก่น รสขมปร่า สรรพคุณ แก้โลหิตจาง ขับโลหิตประจําเดือนสตรี แก้
กระษัย บํารุงกําลัง แก้ธาตุพกิ าร
มะกลํา่ ตาช้าง หรือ มะกลํา่ ต้น ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
ใบ รสเบื่อเอียน สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงทวาร
เมล็ดใน รสเบื่อเมา สรรพคุณ เบื่อพยาธิไส้เดือน
ราก รสเปรีย้ วเล็กน้อย สรรพคุณ แก้เสมหะในลําคอ แก้หดื ไอ แก้ไข้รอ้ นใน
42

มะกาต้น ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ใบ รสขมขืน่ สรรพคุณ ถ่ายเสมหะและโลหิต ถ่ายพิษตานซางเด็
ชัดลมขึ
ก น้ เบือ้ งสูงให้ลงตํ่า
เปลือกต้น รสขมฝาด สรรพคุณ แก้กระษัย สมานลําไส้

มะกอกนํ้า ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม ชอบขึน้ ริมนํ้า


เมล็ด รสเปรีย้ วฝาด สรรพคุณ แก้เสมหะในลําคอ ทําให้ชุ่มคอ แก้กระหายนํ้า

มะกอกป่ า ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสฝาดเย็นเปรีย้ ว สรรพคุณ ดับพิษกาฬ แก้รอ้ นในอย่างแรง แก้ลงท้อง
แก้ปวดมวน แก้สะอึก
ใบ รสฝาดเปรีย้ ว สรรพคุณ คัน้ เอานํ้าหยอดหู แก้ฝีในหู แก้ปวดหู แก้รหู อู กั เสบ
ผล รสฝาดเปรีย้ ว สรรพคุณ แก้เลือดออกตามไรฟนั
ผล เปลือก ใบ ยาง รสเปรีย้ วฝาดหวานชุสรรพคุ
่มคอ ณ แก้บดิ แก้ธาตุพารกิ แก้น้ําดีไม่ปกติ

มะกอกเผือก ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


ผล รสเปรีย้ วเย็นสรรพคุณ แก้รอ้ นใน ดับพิษไข้ ถอนพิษผิดสําแดง แก้รอ้ นในกระหายนํ้า

มะขามแขก ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


ใบ รสเปรีย้ ว สรรพคุณ ระบายท้อง
ฝกั รสเปรีย้ ว สรรพคุณ แก้ทอ้ งผูก ระบายท้อง ริแก้
ดสีดวงทวาร
(สตรีมคี รรภ์หา้ มใช้
)

มะขามเทศ ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสฝาดสรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง คุมธาตุ ต้มเอานํ้าชะล้างบาดแผลทําให้หายเร็ว

มะขามไทยไ ม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ตระกูลมะขามใหญ่ ๒ ชนิมดี คือ มะขามขีแ้ มว


ฝกั เล็กกลมยาว และมะขามกระดาน ฝกั ใหญ่ แบบโค้งคล้ายรูปเคียว
เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ ต้มเอานํ้าชะล้างบาดแผลทําให้หายเร็ว ฝนกับนํ้าปูน
ใสใส่แผลเรือ้ รังทําให้หายเร็ว
ใบแก่ รสเปรีย้ วฝาด สรรพคุณ ขับเสมหะในลําไส้ แก้บดิ แก้ไอ ต้มนํ้าโกรกศีรษะ
เด็กเวลาเช้ามืด แก้หวัดคัดจมูก
เนื้อในฝกั รสเปรีย้ วจัด สรรพคุณ กัดเสมหะ แก้กระหายนํ้า ทําให้เกิดนํ้าลาย
43

นํ้าส้มมะขามเปี ยกรสเปรีย้ ว สรรพคุณรับประทานกับนํ้าปูนใส ขับเลือด ขับลมสําหรับสตรี


เปลือกเมล็ด รสฝาดสรรพคุณ คั ่วไฟเอาเปลือกแช่น้ํารับประทาน แก้ทอ้ งร่วง แก้อาเจียน
เมล็ดใน คั ่วแล้ว รสมันเบื่อ สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือนตัวกลม
รกมะขาม รสฝาดเปรีย้ วเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ทอ้ งเสีย

มะขามป้ อม ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ผลอ่อน รสฝาดขม สรรพคุณ บํารุงเนื้อหนังให้สมบูรณ์
ผลแก่ รสเปรีย้ วฝาดขม สรรพคุณ แก้ไข้เจือลม แก้เสมหะ ทําให้ชุ่มคอ

มะขวิ ด ไม้ยนื ต้นขนาดกลางมีหนาม


ใบ เปลือกต้น รสฝาดสรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้พยาธิ แก้ฝีเปื่อยพัง แก้ตกเลือด ห้ามระดูสตรี

มะเขือขื่น ไม้ตน้ เล็กๆ


ราก รสขืน่ เอียนเปรีย้ วเล็กน้อสรรพคุ
ย ณ แก้สนั นิบาต แก้น้ําลายเหนียว ขับเสมหะ ทําให้
นํ้าลายน้อย

มะค่าทัง้ ๒ ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่๒ม ี อย่าง คือ มะค่าโมงและมะค่าแต้หรือมะค่าเล็ก


ปุม่ มะค่า รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ต้มเอาไอรม แก้หวั ริดสีดวงทวาร แก้พยาธิผวิ หนัง

มะคําไก่ ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


ใบ รสขมเบื่อเล็กน้อย สรรพคุณ ตําให้ละเอียด พอกแก้พษิ ฝี
ราก รสขมเบื่อเล็กน้อย สรรพคุณ แก้กระษัย แก้เส้นเอ็น ทําให้เส้นเอ็นหย่อน
ใช้ทงั ้ ๕ รสขมเบื่อเล็กน้อย สรรพคุณ แก้รดิ สีดวง ขับปสั สาวะ แก้กระษัย

มะคําดีควาย ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ผลแก่ รสขม สรรพคุณ แก้กาฬภายใน ดับพิษทัง้ ปวง บํารุงนํ้าดี ต้มเอาฟองสุม
ศีรษะเด็ก แก้หวัดคัดจมูก สุมเป็นถ่าน สรรพคุณ ดับพิษร้อนภายใน แก้พษิ ไข้ พิษซาง แก้หอบ
เนื่องจากปอดชืน้ และปอดบวม

มะงั ่ว ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ราก รสปร่าจืดสรรพคุณ กระทุง้ พิษ แก้ผดิ สําแดง แก้พษิ ฝีภายใน แก้เสมหะเป็นโทษ
44

มะดัน ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ราก ใบ รสเปรีย้ สรรพคุ
ว ณ แก้กระษัย แก้ระดูเสีย กัดเสมหะ ขับฟอกโลหิต ระบายอ่อน แก้หวัด

มะดูก ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ราก รสเฝื่ อนเย็น สรรพคุณ แก้ปวดประดง นํ้าเหลืองเสีย ผื่นคัน แก้กามโรค เส้น
เอ็นพิการ แก้พษิ ฝีภายใน(วัณโรค)

มะเดื่อชุมพร ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง ชะล้างบาดแผลทําให้สมานแผล
ราก รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ กระทุง้ พิษไข้ กล่อมเสมหะและโลหิต แก้ไข้หวั ลม
ไข้กาฬ ไข้พษิ ทุกชนิด

มะเดื่อดง ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่


เปลือกต้น รสฝาดสรรพคุณ กล่อมเสมหะ แก้ทอ้ งเสีย แก้เม็ดประดง ผื่นคันตามตัว

มะเดื่อปล้อง ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกราก รสฝาดเฝื่อน สรรพคุณ แก้เม็ดฝี แก้ปวดข้อ ปวดกระดูก
มะเดื่อหอม ไม้ตน้ เป็นพุ่มขนาดใหญ่
ราก รสหอมเย็น สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ บํารุงหัวใจ ชูกาํ ลัง ทําให้ช่นื บาน

มะตูม ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง มี ๓ ชนิด คือ ลูกกลม ลูกยาว และลูกนิ่ม


ราก รสปร่าซ่าชื่นเล็กน้อย สรรพคุณ แก้พษิ ไข้ แก้สติเผลอ รักษานํ้าดี
เปลือก ราก ลําต้น รสปร่าซ่าขืน่ สรรพคุณ แก้ไข้จบั สั ่น ขับลมในลําไส้
ใบสด รสปร่าซ่าขืน่ สรรพคุณ คัน้ เอานํ้ารับประทาน แก้หวัด แก้หลอดลมอักเสบ
แก้บวม แก้เยือ่ ตาอักเสบ
ผลอ่อน นชิดเปลือกลูกแข็ง หั ่นตากแดดปรุงเป็นยาธาตุ
สรรพคุณ แก้ธาตุพกิ าร
ผลสุก รับประทานเป็นยาช่วยย่อยอาหาร ระบายท้อง แก้โรคไฟธาตุอ่อน บิด
ท้องเสีย แก้ครั ่นเนื้อครั ่นตัว

มะนาว ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ใบ รสปร่าซ่า สรรพคุณ กัดฟอกเสมหะและระดู ใช้ในพิกดั ๑๐๘ ใบ
ราก รสขืน่ จืด สรรพคุณ ถอดพิษไข้กลับซํ้า ฝนกับสุกราทาฝี แก้อกั เสบ แก้ปวด
45

นํ้าในลูก รสเปรีย้ วสรรพคุณ กัดเสมหะ แก้ไอ ฟอกโลหิตทําให้ผวิ งาม แก้เลือดออกตามไรฟนั


เมล็ด (คั ่วไฟ) รสขมหอม สรรพคุณ ขับเสมหะ แก้ซางเด็ก

มะปราง ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง มีอย่างเปรีย้ วและอย่างหวาน


รากมะปรางหวาน รสจืดเย็สรรพคุ
น ณ ถอนพิษไข้กลับซํ้า ถอนพิษผิดสําแดง แก้ไข้ตวั ร้อน

มะปริง ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ราก รสจืดเย็น สรรพคุณ ถอนพิษผิดสําแดง แก้ไข้กลับซํ้า แก้ไข้ตวั ร้อน

มะฝ่ อ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ใบ (ลนไฟนาบท้องเด็) กรสร้อน สรรพคุณ แก้ปวดท้อง แก้ทอ้ งขึน้ แก้ลกู อัณฑะยาน
เปลือกต้น ราก รสเมาเบืสรรพคุ
่อ ณ แก้พษิ โรคอันเกิดต่อผิวหนังซึง่ มีอาการคัน

มะพลับ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


รากเย็น รสเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ของแสลง

มะพร้าว ไม้ยนื ต้นขนาดกลางคล้ายต้นตาล


ดอกรสฝาดหอม สรรพคุณ บํารุงโลหิต แก้ปากเปื่อย
รากรสหวานฝาดเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้ไข้ทอ้ งเสีย
นํ้ามะพร้าว รสหวานสรรพคุณ บํารุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย ทําให้จติ ใจชุ่มชืน้ บํารุงครรภ์
มะแฟน ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
ราก รสเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ของแสลง

มะเฟื อง ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ลูก รสเปรีย้ วหวานสรรพคุณ กัดเสมหะ ละลายก้อนนิ่ว ขับปสั สาวะ แก้กามโรค ขับโลหิตพิการ
ใบ ราก รสเย็นสรรพคุณ ดับพิษร้อน แก้ไข้ แก้กาฬขึน้ ภายนอก ภายใน แก้พษิ ผิดสําแดง

มะเฟื องป่ า (พยาไก่เถื่อน) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสเย็นฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งล่วง แก้บดิ

มะไฟ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ราก รสจืด สรรพคุณ แก้วณ ั โรค สุมเป็นถ่าน สรรพคุณ ดับพิษร้อน แก้พษิ ตาลซาง
มาแก้พษิ ฝี พุพอง เริม งูสวัส ใช้ดบั พิษได้ดมี าก
46

มะไฟเดือนห้า ไม้พุ่มขนาดกลางถึงใหญ่
ต้นรสเผ็ดร้อน สรรพคุณ บํารุงธาตุ
ราก รสร้อนเมาสรรพคุณ แก้โรคเรือ้ น ฆ่าพยาธิโรคเรือ้ น ขันไส้เดือน ขับโลหิต ระดูให้ตก
ใบ รสร้อน สรรพคุณ แก้ฟกชํ้า พลัดตกหกล้มจนตับปอดพิการ แก้ไข้ตวั เย็น
หมดสติ เจริญธาตุ แก้พษิ ฝี

มะมาด ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงกลาง


เนื้อไม้ รสร้อน สรรพคุณ แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ แน่น จุกเสียด ขับลมในลําไส้

มะม่วง ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เมล็ดใน รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งล่วง สมานลําไส้ ทาบาดแผลทําให้หายเร็ว
กาฝากมะม่วง รสเย็น สรรพคุณ แก้ปวดศีรษะ แก้ความดันโลหิตสูง

มะม่วงหิ มพานต์ ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


เมล็ด รสมันเมา สรรพคุณ บํารุงเส้นเอ็น แก้โรคผิวหนัง กลาก เกลือ้ น
ยาง สรรพคุณ กัดทําลายเนื้อด้านเป็นตุ่มโต
เปลืกต้น ลูก รสฝาด สรรพคุณ พอกดับพิษ

มะเม่า ไม้พุ่มขนาดเล็กเตีย้ แจ้ง


ต้น ราก รสจืด สรรพคุณ บํารุงไต ขับปสั สาวะ แก้มดลูกพิการ และตกขาว

มะยม ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม ถึงกลาง มี ๒ ชนิด คือ มะยมตัวผู้ ต้นเล็กออกดอกแล้วไม่ตดิ


ลูก หมอนิยมใช้ทาํ ยา และมะยมตัวเมีย ต้นใหญ่ออกดอก ติดลูกดก
เปลือกต้น รสเปรีย้ ว สรรพคุณ แก้ไข้เพือ่ โลหิต แก้เม็ดผื่นคัน
ใบ รสเปรีย้ ว สรรพคุณ ดับพิษไข้ แก้ไข้ตวั ร้อน และไข้หวั
ราก รสจืดเย็นติดเปรีย้ ว สรรพคุณ แก้เม็ดประดง ผื่นคัน นํ้าเหลืองเสีย

มะรุม ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสร้อน สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ ทําให้ผายเรอ คุมธาตุอ่อนๆ แก้ลม
ราก รสเผ็ด หวาน ขม สรรพคุณ แก้บวม บํารุงไฟธาตุ ทุบคอแตกอมไว้ ข้างแก้ม
ดื่มสุราจะไม่เมา
47

มะละกอ ไม้ยนื ต้นไม่มแี ก่น


รากแก่ รสฉุ นเอียน สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้กามโรค
รากอ่อน รสฉุ นเอียนน้อย สรรพคุณ บํารุงนํ้านม
ยาง สรรพคุณ กัดแผล หัวหูด สิว ฆ่าพยาธิผวิ หนัง

มะแว้งต้น ไม้ตน้ เล็กขนาดมะเขือพวง


ราก รสเปรีย้ วเอียน สรรพคุณ แก้ไข้สนั นิบาต กัดเสมหะ แก้น้ําลายเหนียว ขับปสั สาวะ
ผลสุก รสขืน่ ขม สรรพคุณ กัดเสมหะในลําคอ แก้ไอ
ผลดิบ รสขืน่ ขม สรรพคุณ บํารุงนํ้าดี แก้เบาหวาน

มหาละลาย ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ คล้ายมะพร้าว


เนื้อไม้ รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้พษิ ไข้กาฬ ดับพิษร้อนถอนพิษไข้ เกลื่อนหัวฝี แก้ปวดบวม

มหาสดํา ไม้ยนื ต้น ลักษณะคล้ายมะพร้าว


เนื้อไม้ รสเย็น สรรพคุณ ดับพิษร้อน แก้ไข้พษิ ไข้กาล แก้รอ้ นในกระหายนํ้า

มหาหิ งคุ์ ไม้ยนื ต้นเล็กๆ


ยาง รสขมร้อนเหม็น สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ แก้ทอ้ งขึน้ อืด เฟ้อ แน่น จุกเสียด
แกเปวดท้อง บํารุงธาตุ ช้าท้องเด็กแก้ทอ้ งขึน้ ปวดท้อง ทําให้ผายลม

มะหาด ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


แก่น รสร้อน สรรพคุณ แก้ลมแก้กระษัย ละลายเลือด แก้เส้นเอ็นพิการ ฟองได้
จากการต้มเคีย่ วเปลือกต้น มีลกั ษณะคล้ายจาวมะพร้าว เอาผ้าห่อบีบนํ้าให้แห้งนําไปย่าง หรือคั ่วให้
เหลือง เรียกว่า ปวกหาด รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือน พยาธิเส้นด้าย พยาธิตวั ตืด

มะหวด ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม เรียกอีอย่างหนึ่งว่า สีหวด


ราก รสเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ร้อน ก้วณ ั โรค
เมล็ด รสฝาด สรรพคุณ แก้ไอกรน แก้ไข้ทราง

มะอึก ไม้ยนื ต้นจําพวกมะเขือ


ราก รสเย็นเปรีย้ วเล็กน้อย สรรพคุณ กัดเสมหะ แก้น้ําลายเหนียว ดับพิษร้อน
ภายใน กระทุง้ พิษ แก้ไข้เพื่อดี ไข้สนั นิบาต
48

มะแฮ็คโกนี ไม้ยนื ต้นขนาดกลางใบและผลเล็กกว่ามะฮอกกานี


เมล็ดใน รสขมจัด สรรพคุณ แก้ไข้จบั สั ่น ไข้ป้าง

มะฮอกกานี ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เมล็ดใน รสขมจัด สรรพคุณแก้ไข้จบั สั ่น (มาลาเรีย) และไช้ตวั ร้อน

มังคุด ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกลูก รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งล่วง บิดมูกเลือด สมานแผล
เนื้อในลูก รสเปรีย้ วหวาน สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงร่างกาย บิดมูกเลือด

มังตาล ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


เปลือกต้น ลูก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ รบกวนเส้นประสาทและผิวหนัง ทําให้คนั
ใช้เบื่อปลาด อกแห้ง รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แช่น้ําหรือชงแทนใบชา รับประทาน แก้ขดั เบา แก้ชกั
แก้ลมบ้าหมู ผสมกับนํ้ามันทาแผลฝีดาษ
ต้นและกิง่ ก้านอ่อน รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้คลื่นเหียนอาเจียน หยอดหู แก้ปวด

หมาก ไม้ยนื ต้นจําพวกปาล์ม


ใบ รสเย็นเฝื่ อน สรรพคุณ ต้มเอานํ้าอาบ แก้คนั แก้เด็กออกไข้หวั รับประทานรส
ความร้อนในร่างกาย แก้ไข้
ลูก รสฝาดจัด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง แก้อาเจียน ขับเหงื่อ ฝนทาปาก แก้ปากเปื่อย
สัตว์กนิ ขับพยาธิ
ราก รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า
ทะลายหมาก รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน

หมากผู้ ไม้ตน้ เล็ก


ใบ รสจืด สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน เหือด หัด สุกใส ดําแดง ต้มอาบ แก้คนั ตามผิวหนัง
ราก ต้มเอานํ้าอม แก้ฟนั ผุ หรือแก้สารปรอทกิน

ม้ากระทืบโรง ไมพุ่มต้นเล็กๆ
ใช้ทงั ้ ต้น รสขมน้อย สรรพคุณ บํารุงธาตุ บํารุงกําลัง บํารุงกําหนัด

หมีเหม็น ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ มูกเลือด แก้ปวดมดลูก แก้พษิ ฝี ผื่นคัน
49

ยาง รสฝาดขม สรรพคุณ แก้แผลฟกชํ้า


ราก รสขมเบื่อ สรรพคุณ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย หรือกล้ามเนื้ออักเสบ

โมกมันหรือโมกน้ อย ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกตัน รสฝาดเมา สรรพคุณ บํารุงธาตุให้เป็นปกติ แก้คุดทะราด
แก่น รสร้อน สรรพคุณ แก้ลมลั ่นดาน
กระพี้ รสขม สรรพคุณ แก้ดพี กิ าร
ใบ รสขม สรรพคุณ ขับนํ้าเหลือง แก้ทอ้ งมาน แก้ตบั พิการ
ดอก รสจือ สรรพคุณ ทําลายพรรดึก
ลูก รสเมา สรรพคุณ ฆ่าแมงกินฟนั

โมกหลวงหรือโมกใหญ่ ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมหรือขนาดกลาง


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ มูกเลือด
เมล็ด รสฝาด สรรพคุณ สมานท้อง ลําไส้
ใบ รสฝาดเมา สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือน

หม่อน ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ใบ รสเมา สรรพคุณ แก้ตาแดง ตาแฉะ ตาฟาง แก้ไอ ระงับประสาท

เมี่ยงหรือชา ไม้พุ่มขนาดใหญ่ หรือไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก


กิง่ และใบ รสฝาดเมาน้อย สรรพคุณ ก้พษิ ยาอันตราย สมานแผล
(มีกรดแทนนิ)นรมแก้หดื

เมี่ยงอีลาม (ชา) ไม้พุ่มขนาดใหญ่ หรือไม่ยนื ต้นขนาดย่อม เกิดทางจ.เชียงใหม่


ใบ หมักดองทําเป็นเมีย่ งอม รสฝาดขม เปรีย้ ว สรรพคุณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า
แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย

เหมือดคน (มะไฟแรด) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้ รสขมน้อย สรรพคุณ ดับพิษร้อน แก้ไข้ ถอนพิษผิดสําแดง
ราก รสขมน้อย สรรพคุณ แก้ไข้หวัด ไข้ปวดบวม ไข้พษิ ไข้หดั สุกใส

มดยอบ เป็นยางของต้นไม้ห่อด้วยหางสัตว์
มดยอบ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ขับเสมหะ ขับปสั สาวะ ขับเหงื่อ ขับภายลม อมแก้เจ็บ
คอ แก้แผลในปาก
50

ยาดํา เป็นยาทีส่ กัดจากยางเหลืองในใบว่านหางจระเข้


ยาดํา รสเหม็นขมจัด สรรพคุณ ถ่ายท้อง ถ่ายพิษไข้ ถ่ายพยาธิไส้เดือน ตัวตืด
ขับนํ้าดี แต่ไซ้ทอ้ ง ฝนกับสุราทาหัวฝี แก้อาการฟกบวม

ยาสูบ ไม้พุ่มขนาดย่อม ใบแก่ห ั ่นเป็นฝอย ใช้เป็นยาสูบ


ยาสูบรสเมา สรรพคุณผสมทํายานัตถุ์ แก้หวัด คัดจมูก แก้รดิ สีดวงจมูก แช่เอานํ้า
ผสมยา ทาแก้โรคผิวหนัง หิด กลาก เกลือ้ น ผื่นคัน ฆ่าตัวหนอน

ยาง ไม้ยนื ตันขนาดใหญ่


เปลือกต้น รสฝาดเฝื่อน สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงพลวก
ใบ รสฝาดเมา สรรพคุณ แก้ปวดฟนั โยกคลอน แก้มุตกิด คุมประจําเดือนให้มาตาม
กําหนด คุมกําเนิดให้มบี ุตรห่างได้
ยาง รสขมเย็น สรรพคุณ กล่อมเสมหะ แก้กามโรค สมานแผล

ยาน่ องต้น ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ยาง เป็นพิษถูกบาดแผลทําให้ตายได้ เพราะยางไม้น้วี งิ่ เข้าสู่กระแสโลหิตได้เร็วมมาก
ใช้แต่นอนทีส่ ุด จะมีผลในทางดีได้ หรือใช้แก้ชอ็ กหมดสติ

ยี่โถไทย ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ใบ ดอก รสหอมเย็น สรรพคุณ บํารุงหัวใจ ขับชีพจร
เปลือกราก รสเมา สรรพคุณเป็นพิษต่อหัวใจทําให้ตายได้

ยี่โถฝรั ่ง ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ยาง และเมล็ด รสเมาเบื่อมาก สรรพคุณ เป็นพิษต่อหัวใจ ใช้ทาํ ยาไม่ได้

ยอป่ า ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


แก่น รสขมร้อน สรรพคุณ ขับเลือด ขับลม ขับนํ้าาหลั
คาวปล
งคลอดบุตร แก้บาดทะยักปากมดลูก

รงทองไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
ยาง (ฆ่าฤทธิ ์แล้ว) รสเอียนเบื่อ สรรพคุณ ถ่ายอย่างแรง ถ่ายลม ถ่ายนํ้าเหลืองเสีย
ถ่ายเสมหะ ถ่ายโลหิต ฝนกับหัวกะทิสดทาแผลพุพอง แก้ปวด และให้ล่อนออดดี
51

ระกํา (สละ) ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อในลูกสุก รสเปรีย้ วอมหวาน สรรพคุณ แก้ไอ กัดเสมหะ

ระย่อม ไม้ตน้ เล็กลงราก


ราก รสขมเมานิดหน่อย สรรพคุณ แกเปวกศีรษะเนื่องจากความดันโลหิตสูง
แก้คลุม้ คลั ่ง เนื่องจากดีและโลหิต ช่วยย่อยอาหารและระงับประสาท ถ้ากินจะมีอาการข้างเคียง คือ
หน้าแดง ตัวแดง แน่ นจมูก และง่วงนอน
(ก่อนใช้ตอ้ งคั ่วให้เหลืองเสียก่อน อาการแทรกซ้อนจะน้อยลง

ระงับ เป็นไม้พุ่ม
ใบ รสเย็น สรรพคุณแก้ไข้ตวั ร้อน แก้ไข้พษิ ทัง้ ปวง กระทุง้ พิษ แก้ไข้จบั สั ่น และ
ไข้ซมึ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า

รักขาว ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมมี ๓ ชนิด คือ ดอกขาว ดอกสีม่วง และชนิดดอกซ้อน

รักซ้อน นิยมเอารากไปทํานางกวัก และรักยม เพื่อให้คนรักใคร่นิยมนับถือ


ต้น รสขม สรรพคุณ บํารุงทวารทัง้ ๙
ใบ รสจืด สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงทวาร แก้คุดทะราด
ผล รสเอียน สรรพคุณ แก้รงั แค
ราก รสขม สรรพคุณ แก้ไข้เหนือและมูกเลือด
ยาง รสเอียน สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงในลําไส้ แก้กลากเกลือ้ น ทาปลาช่อนย่างให้เด็ก
รับประทาน ขับพยาธิไส้เดือนได้ รับประทานมากทําให้อาเจียนและท้องร่วงได้

รักใหญ่ ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสเมา สรรพคุณ บํารุงกําลัง แก้กามโรค แก้บดิ แก้ทอ้ งร่วง แก้ปวดข้อ
เรือ้ รัง แต่ทาํ ให้อาเจียน
เมล็ด เรียกว่า ลูกรักเทศ รสขมฝาด สรรพคุณแก้แผลในปาก ในคอเปื่อย แก้ปวดฟนั
แก้คุดทะราด ริดสีดวง แก้อกั เสบและปวดไส้เลื่อน
ราก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง พยาธิลาํ ไส้ ไอ และโรคตับ
ยาง รสขมเอียน สรรพคุณ กัดทําลาย ถ่ายอย่างแรง แก้ปวดฟนั แก้โรคผิวหนัง
(อันตราย) ใช้ลงพืน้ สําหรับติดทอง หรือเรียกว่าลงรักปิดทองพระ หรือเครื่องใช้บางอย่าง ไม้น้มี พี ษิ
อาจทําให้มอี าการผื่นคันได้
52

ราชดัด ไม้พุ่มขนาดเล็ก
ลูก รสขม สรรพคุณ แก้กระษัย บํารุงนํ้าดี เจริญอาหาร
เมล็ดรสขมฝาด สรรพคุณ แก้บดิ มูกเลือด และแก้ทอ้ งล่วง
ราก รสขม สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน แก้ไข้พษิ

ราชพฤกษ์ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง ใบคล้ายใบขีเ้ หล็กแต่โตกว่าเล็กน้อย ดอกสีแดงออกเป็นช่อ ฝกั แบนสัน้


กระพี้ รสฝาดเมา สรรพคุณ แก้ราํ มะนาด ปวดฟนั
ใบ รสฝาดเมา สรรพคุณ ฆ่าเชือ้ โรคผิวหนังทุกชนิด
ดอก รสฝาดเมา สรรพคุณ แก้ปวดแผลเรือ้ รัง พุพอง
เนื้อในฝกั รสหวานเอียน สรรพคุณ ขับถ่ายอุจจาระ ถ่ายเสมหะ
แก่น รสเมา สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือน

เร่ว ไม้ยนื ต้นจําพวกกระวาน มี ๒ ชนิด คือ เร่วน้อย เร่วใหญ่

เร่วใหญ่ ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


ต้น รสสุขมุ สรรพคุณ แก้คลืน่ เหียนอาเจียน
ใบ รสจืด สรรพคุณ แก้ปสั สาวะพิการ
ดอก รสขม สรรพคุณ แก้เม็ดผื่นคันคล้ายผด
ผล รสขมเผ็ด สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อดี และเสมหะ แก้รดิ สีดวงทวารทัง้ ๙
เมล็ด รสเผ็ด สรรพคุณ แก้คลื่นเหียนอาเจียน ขับผายลม บํารุงนํ้านม

เร่วน้ อย ไม้ยนื ต้นล้มลุกเนื้ออ่อน


ต้น รสขมเย็น สรรพคุณแก้ไข้เพื่อดี
ใบ รสจืด สรรพคุณ ขับปสั สาวะ
ดอก รสขมเผ็ด สรรพคุณ แก้ไข้ทม่ี เี ม็ดขึน้ ตามตัว
ผล รสขมเผ็ด สรรพคุณ แก้ไข้รดิ สีดวง แก้หดื ไอ แก้ระดูขาว
เมล็ด รสขมเผ็ด สรรพคุณ ขับลมในลําไส้แก้คลื่นเหียนอาเจี น นแ้ อืดเฟ้อ แก้ปวดท้อง
ก้ทอ้ ยงขึ
แก้รดิ สีดวง แก้หดื ไอ กัดเสมหะ แก้ความดันโลหิตตํ่าทําให้ขบั สูงขึน้ แก้ไข้สนั นิบาด
ราก รสขืน่ สรรพคุณ แก้หดื

โรกทัง้ ๒ คือ โรกแดง โรกขาว ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เนื้อไม้ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง ผื่นคันองเสี
นํ้าเหลื
ย เรือ้ น มะเร็ง ทําให้นอนหลับดี
53

ละหุ่ง มี ๒ ชนิด คือ ละหุ่งแดง ละหุ่งขาว ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมล้มลุกเนื้ออ่อน


นํ้ามัน รสมันเอียน สรรพคุณ ระบายอุจจาระเด็กได้ดี
เมล็ด เป็นยาอันตราย รับประทาน ๒ – ๓ เมล็ดอาจตายได้
ใบ รสจืดขืน่ สรรพคุณ แก้ช้าํ รั ่ว ขับนํ้านม ขับเลือด ขับลม แก้เลือดลมพิการ
ราก (สุมไฟเป็นถ่าน) รสจืด สรรพคุณ แก้ไข้เซื่องซึม และเป็นยาสมานด้วย

ลั ่นทม ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงกลาง ใช้เฉพาะลั ่นทมไทย


แก่น รสขมเอียน สรรพคุณ ถ่ายโลหิต ถ่านเสมหะ ถ่ายพิษทัง้ ปวง

ลาน ไม้ยนื ต้นจําพวกปาล์มและตาล หรือมะพร้าว


ใบ (สุมเป็นถ่าน) รสเย็น สรรพคุณ แก้พษิ อักเสบ ฟกบวม แก้พษิ ต่างๆ
กาบทาง รสเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ตาลซาง แก้พษิ ร้อนใน กระหายนํ้า
ราก รสเย็นเฝื่ อน สรรพคุณ แก้รอ้ นใน ขับเหงื่อ แก้ไข้หวัด

ลิ้นงูเห่า หรือทองระอา ไม้พุ่มขนาดเล็ก


ใบ รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ ตํากับสุราพอกแก้ปวดฝี ถอนพิษปวดอักเสบ
ราก รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ ฝนกับสุรา ทาแก้พษิ ตะขาบ แมลงปอ่ ง และแก้พษิ งู

โลด ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง เดีย๋ วนี้บางท่านเข้าใจว่าคือ โลดทะนงแดง


เปลือกต้น รสร้อน สรรพคุณ ขับระดู ขับลมในลําไส้ แก้ปวดท้อง แน่น จุกเสียด

โลดทะนงไม้ตน้ เล็กลงราก ๒มี ชนิด คือ โลดทะนงแดง โลดทะนงขาว หมอนิยมใช้ชนิดรากแดง


ราก รสเย็นเมาร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ถอนพิษยาเบื่อเมา แก้พษิ งู ถอนพิษเสมหะ
แก้หอบหืด แก้วณ
ั โรค เกลื่อนหัวฝี ทําให้ยบุ และดูดหนองและแก้พษิ งู

เลี่ยน ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ มี ๒ ชนิด คือ เลีย่ นเล็ก เลีย่ นใหญ่


ต้น รสขมเมา สรรพคุณ แก้โรคผิวหนังเรือ้ น แต่ทาํ ให้ผวิ หนังเกรียม ลอกเป็นขุย
เจริญอาหาร เป็นยาอายุวฒั นะ
ยาง รสขมเมา สรรพคุณ แก้มา้ มโต (พิษจับไข้จบั สั ่น)
ใบ รสขมเมา สรรพคุณ ขับพยาธิ ขับปสั สาวะ แก้นิ่ว บํารุงโลหิตประจําเดือน
ดอก รสขมเมา สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน
ใบกับดอก ตํารวมกัน พอกศีรษะ แก้ปวดหัว ปวดประสาท
54

ลูก รสขมเมา สรรพคุณแก้โรคเรือ้ น และฝีคนั ทะมาลา


เมล็ด รสขมเมา สรรพคุณ แก้ปวดข้อ

ลําจวน ไม้พุ่ม ขนาดกลาง


เบา เ เบาขุน่ แก้กระเพาะปสั สาวะพิการ
รากอากาศ รสจืด สรรพคุณ แก้ขดั บาหวาน

ลําโพง ไม่ยนื ต้นล้มลุก มี๒ ชนิด คือ ลําพงขาว ต้นสีขาว ดอกไม้ซอ้ นกัน และลําโพงแดง หรือกาสลัก
มีตน้ สีแดงจนเกือบจะดํา ดอกซ้อนกันมาก หมอนิยมใช้ลาํ โพงกาสลักมากทีส่ ุด
ใบ รสเมา สรรพคุณ พอกสีทาํ ให้ยบุ แก้บวม อักเสบ
ดอกแห้ง รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้หอบหืด โฑรงจมูกอักเสบ แก้รดิ สีดวงจมูก
นํ้ามัน (จากเมล็ด) รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ทาฆ่าเชือ้ โรค แก้กลาก เกลื่อน หิด เหา จําพวกมีตวั
เมล็ด รสเมาเบื่อ สรรพคุณ รับประทานแต่น้อยเพียงสองถึงสามเมล็ดเบารุงประสาท
ได้ดี มีความจําแม่น ถ้ารับประทานมากทําให้ประสาทเสีย วิกลจริตได้
ราก รสเมาเบื่อหวานน้อย สรรพคุณ ฝนทาแก้เผ็ดร้อน ถอนพิศษ ปวดอักเสบ
แก้ปวดฝี สุมเป็นถ่าน รับประทาน แก้ไข้รอ้ น ไข้กาฬ แก้ไข้เซื่องซึม แก้กระสับกระส่าย เพ้อคลั ่ง แก้หอบ แก้ไอ

ลําเจียก ไม้พุ่มขนาดย่อม
รากอากาศรสจืดหวานเล็กน้อยสรรพคุณขับปสั สาวะ แก้นิ่ว แก้น้ําปสั สาวะพิการ
ดอก รสหอมเย็น สรรพคุณ แก้ลม บํารุงหัวใจ

ลําดวน ไม้พุ่มขนาดใหญ่
ดอก รสหอมเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ แก้ลม บํารุงหัวใจ

ลําไย ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ราก รสเฝื่ อนขืน่ สรรพคุณ แก้เสมหะ แก้ลม กระจายเลือดเนื่องจากพลัดตกหก
ล้มแก้ช้าํ ใน แก้น้ําลายเหนียว

หว้า ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ แก้ปากเปื่อย คอเปื่อยเป็นเม็ดเนื่องจากร้อน
ในแก้น้ําลายเหนียว
ใบ รสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ แก้ลน้ิ เป็นฝ้าขาว แก้แผลในปาก
เมล็ด รสฝาด แก้ปสั สาวะมากเกินควร แก้ทอ้ งร่วง บิด และถอนผิดแสลงใจ
55

สน (รวมทัง้ สนเหนือ และสนทะเล) ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


แก่น รสขมเผ็ดมัน สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อเสมหะ แก้ประสาทฟุ้งซ่าน แก้อ่อนเพลีย
แก้คลื่นเหียนอาเจียน บํารุงไขมันในกระดูก กระจายลม
นํ้ามัน รสร้อน สรรพคุณ ทาแก้เคล็ด ขัดยอก แพลง อักเสบ ใช้ประคบท้อง
แก้บวม แก้ลาํ ไส้พกิ าร แก้มดลูกพิการ

ชัน รสฝาด สรรพคุณ สมานแผล ปิดธาตุ

สมแผง ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


เปลือกต้น รสฝาดสรรพคุณใช้กวาดช่องคลอดเพื่อรักษากระดูกขาวให้
แห้งไป
ใบ รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้ฟกชํ้า แก้อาเจียนเป็นโลหิต

สนสร้อย ไม้พุ่งขนาดย่อม
ใบ รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน ไข้หวัด ไอ แก้พษิ ร้อนในกระหายนํ้า

ส้มกบ ไม้ลม้ ลุกเนื้ออ่อน


ใบ รสเย็น สรรพคุณ ดับพิษ โขลกกับสุราใช้กากปิดแก้ปวดฝี แก้บวม ชุบสําลี
อมข้างแก้ม แก้ฝีในคอ แก้ต่อมทอนซิลอักเสบ แก้ไข้คอตัน ถอนพิษต่างๆ

ส้มกุ้ง ไม้พุ่งขนาดใหญ่
ใบ รสเปรีย้ ว สรรพคุณ กัดเสมหะในคอ แก้ไอ แก้หอบหืด

ส้มจีน ไม้พุ่มขนาดใหญ่
เปลือกลูก รสร้อนหอม สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย ใจสั ่น

ส้มเขียวหวาน ไม้พุ่มขนาดใหญ่
เปลือกลูก รสร้อนหอม สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย ใจสั ่น
นํ้าส้มคัน้ รสเปรีย้ วหวาน สรรพคุณ แก้ฟนั ผุ ระบายอ่อน

ส้มเช้า ไม้ยนื ต้นจําพวกสลัดได มีรสเปรีย้ วตอนเช้า พอสายก็จางหายไป


ใบ รสเปรีย้ ว สรรพคุณ โขลกดําพอกปิดฝี แก้ปวด บวม ถอนพิษ
ยาง รสเปรีย้ ว สรรพคุณ ขับพยาธิ แก้จุกเสียด แก้ทอ้ งมาน แก้บวม แก้มา้ มย้อย
แก้ไข้ปา่ เรือ้ รัง ขับนํ้าย่อยอาหาร ระบายอ่อนๆ
56

ส้มเสี้ยว ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ใบ รสเปรีย้ วจัดสรรพคุณ ฟอกโลหิตประจําเดือน ขับปสั สาว
ะ ถ่ายเสมหะ แก้ไอ
เปลือกต้น รสฝาดสรรพคุณ แก้แผลเปื่อยพัง ห้ามโลหิต แก้ทอ้ งเสีย แก้บดิ

ส้มโอ ไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก


เปลือกลูก รสร้อนหอม สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน หน้ามืด ตาลาย ใจสั ่น

สนุ่น ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ ทําให้หวั ใจเต้นแรง ชูชพี จร ต้มเอานํ้าให้เด็กอาบ
แก้ตวั ร้อน แก้หวัด คัดจมูก

โสน ไม้ลม้ ลุกเนื้ออ่อน


ใบสด รสเย็นมัน สรรพคุณ พอกแก้ปวดฝี ถอนพิษเจ็บปวด
ใบแห้ง เผาแช่น้ํา รสจืด สรรพคุณ ขับปสั สาวะ
ดอก รสมัน สรรพคุณ สมานลําไส้
ราก รสเย็น สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้กระหายนํ้า

เสนี ยด ไม้พุ่มขนาดย่อม
ใบ ดอก รสขม สรรพคุณ แก้ไข้ แก้หดื
ราก รสเย็น สรรพคุณ แก้ฝีในท้อง (วัณโรค) บํารุงโลหิต

สมี ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


เปลือกต้น รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้กลากเกลือ้ น
ใบ รสขมสรรพคุณแก้ตบั อักเสบ บเอานํ
บี ้ าทาแก้สวิ ตามใบหน้า ทาตัว ถอนพิษไข้
ดอก รสขม สรรพคุณ แก้มดลูกอักเสบพิการ แก้สตรีมคี รรภ์ตกโลหิต
ผล รสขม สรรพคุณ ทําให้สาํ รอกเอาเสมหะออก
ไส้ รสขมเมา สรรพคุณ ฆ่าเชือ้ โรคภายใน
ราก รสขมเมา สรรพคุณ แก้ลงแดง ถ่ายอุจาระเป็นโลหิต
สมุลแว้ง ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
เปลือกต้น รสหอมฉุนปร่า สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน ใจสั ่น แก้พษิ หวัด กําเดา
ขับลมในลําไส้ แก้ธาตุพกิ าร
57

เสม็ดขาว ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง มี ๒ ชนิด คือ เสม็ดแดง เสม็ดขาว สรรพคุณ


เหมือนกันใช้อย่างแดงมาก
ใบ รสร้อน สรรพคุณ ตําพอกแก้เคล็ดขัดยอก ฟกบวม ลนไฟขีไ้ ต้ นาบท้องเด็ก
แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ แก้ปวดท้อง

เสมาบ้าน และ เสมาป่ไม้ายนื ต้นจําพวกสลัดไดเสมาบ้านใบไม่มหี นาม เสมาปา่ มีหนามมาก


สรรพคุณทัง้ ๒ ชนิดเหมือนกัน
ใบ รสเย็น เป็นเมือก สรรพคุณ พอกฝีแก้ปวดบวม ดูดถอนพิษทําให้เย็น

แสมทะเล ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


แก่น รสเค็มเฝื่ อนขม ขับลมในกระดูก ขับโลหิตประจําเดือนสตรี ขับถ่ายโลหิต
ระดูสตรีให้ปกติ แก้กระษัย
แสมสาร ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่
แก่น รสขมกร่อยสรรพคุณระบายถ่ายเสมหะ ถ่ายกระษัย โลหิตระดูสตรี ทําอ็ให้
นอ่เอส้น เ

สมอดีงู ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


ผล รสขมฝาด สรรพคุณ แก้พษิ ดี พิษโลหิต แก้ไอ ขับถ่ายโลหิตระดูสตรี
ถ่ายระบายอุจจาระแรงกว่าสมอชนิดอื่นมาก

สมอทะเล ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ใบและผล รสร้อน สรรพคุณ ถ่ายอุจจาระ ถ่ายลม ถ่ายโลหิตเป็นพิษ (ห้ามใช้ถ่าย
ในผูป้ ว่ ยเป็นไข้) ใบนึ่งให้สุขเสียก่อนตากแห้งจึงใช้ทาํ ยา
เปลือกต้น รสร้อน สรรพคุณ ขับผายลม
เมล็ดใน รสร้อน สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือน
ราก รสร้อน สรรพคุณ แก้โลหิตระดูพกิ ารมาไม่ตามปกติ

สมอเทศ ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่ จากประเทศอินเดีย


ผลรสเปรีย้ วและฝาดจัด สรรพคุณ ระบายอ่อนๆ ระบายเสมหะ ระบายลมรูถ้ ่าย
รูป้ ิดเอง แก้เสมหะ ทําให้ลมเดินสะดวก
58

สมอไทย ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


ผล รสฝาดติดเปรีย้ ว สรรพคุณ ระบายอ่อนๆ แก้ลมปว่ ง แก้พษิ ร้อนภายใน
คุมธาตุแก้ลมจุกเสียด รูผ้ ายธาตุ รูร้ ะบายรูถ้ ่ายอุะ จถ่จาร
ายพิษไข้ คุมธาตุในตัวเสร็จ แก้ไข้เพื่อเสมหะ

สมอพิ เภก ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


เปลือกต้น รสเย็นฝาด สรรพคุณ ขับปสั สาวะ
ใบ รสฝาด สรรพคุณ แก้บาดแผล
ดอก รสฝาด สรรพคุณ แก้โรคตา
ผลอ่อน รสเปรีย้ ว สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อเสมหะ และไข้เจือลม
ผลแก่ รสเปรีย้ วฝาดหวาน สรรพคุณ แก้เสมหะจุกคอ ทําให้ชุ่มคอ แก้โรคตา
บํารุงธาตุ แก้ไข้ แก้รดิ สีดวง
เมล็ดใน รสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ
แก่น รสฝาด สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงพลวง
ราก รสเย็น สรรพคุณ แก้โลหิตร้อน

สมอร่องแร่ง ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ผล รสขม สรรพคุณ ขับโลหิตระดูให้ออกเป็นปกติ ขับโลหิตระดูทเ่ี น่าเหม็น

สละ ไม้ยนื ต้นจําพวกปาล์ม เรียกอีกอย่างหนึ่งคือ ระกํากอ


รสหวานหอม สรรพคุณ แก้เสมหะ แก้ไข้ ขับเสลด

สลัดได ไม้ยนื ต้นจําพวกกระบองเพชร


ต้น เผาเป็นด่าง รสขมเมาเล็กน้อย สรรพคุณ แก้หดื ไอ ผอมแห้ง อัมพาตแก้ฟก
บวม จุกเสียด แก้ทอ้ งผูก
ยาง รสเบื่อเมาขมร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ถ่ายอุจจาระ ถ่ายเสมหะ ถ่ายโลหิต
เป็นยาถ่ายอย่างแรง

แสลงใจ หรือ ลูกกระจี้ หรือ โกฐกะกลิ้ง ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น เนื้อไม้ เมล็ด รสเบื่อเมาขมร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ตัดไข้ แก้กระษัย
เจริญอาหาร ทําให้หวั ใจเต้นแรง
ใบ รสขมเบื่อเมา สรรพคุณ ตําพอกปิดแผลเน่าเปื่อยเรือ้ รัง แก้โรคไตพิการ
59

เมล็ด รสเบื่อเมาขมเล็กน้อย สรรพคุณ บํารุงประสาท บํารุงหัวใจให้หวั ใจเต้นแรง


เจริญอาหาร ทําให้ลาํ ไส้ทาํ งานได้เป็นปกติ เป็นยาเบื่อ ใช้มากเป็นอันตรายถึงตายได้
ราก รสเบื่อเมาขมร้อน สรรพคุณ แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ

สลอด ไม้พุ่มขนาดย่อม
ใบ รสฝาดเมาเย็น สรรพคุณ แก้ลมอัมพฤกษ์ ดับเตโชธาตุมใิ ห้เจริญ (ทําให้ตวั
เย็นชืด) กลากเกลือ้ น คุดทะราด
ดอก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ถ่ายอย่างแรง ถ่ายพิษต่างๆ เป็นยาอันตราย

สะแก ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เมล็ดใน รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ขับพยาธิเส้นด้าย ขับพยาธิไส้เดือน
ใช้ทงั ้ ๕ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ เบื่อพยาธิไส้เดือน ขับพยาธิเส้นด้ายแก้เด็กเป็น
ตานขโมย พุงโร ปวดท้อง อุจจาระสีขาว หยาบ เหม็นคาว

สะแกแสง ไม้ยนื ต้นขนาดย่อมถึงกลาง


ใบ รสเบื่อเมา สรรพคุณ สุมไฟเอาควันรม ฆ่าเชือ้ พยาธิผวิ หนัง
เนื้อไม้ รสเบื่อเมาสรรพคุณแก้รดิ สีดวงจมูก แก้โรคผิวหนังกลากเกลือ้ นเรือ้ น นํ้าเหลืองเสีย
ใช้ทงั ้ ๕ รสเบื่อเมา สรรพคุณ ถอนพิษไข้ได้ดี

สะเดา ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสฝาดขม สรรพคุณ แก้บดิ มูกเลือด ท้องร่วง
ใบแก่ รสขม สรรพคุณ บํารุงธาตุ ช่วยย่อยอาหาร
ใบอ่อน รสขม สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง นํ้าเหลืองเสีย พุพอง
ก้าน รสขม สรรพคุณ แก้ไข้ บํารุงนํ้าดี แก้รอ้ นในกระหายนํ้า
ดอก รสขม สรรพคุณแก้พษิ โลหิต กําเดา แก้รดิ สีดวงในคอ(เป็นเม็ดยอดคันในคอ
)
ผล รสขมเย็น สรรพคุณ บํารุงหัวใจให้เต้นเป็นปกติ
แก่น รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้คลื่นเหียน อาเจียน
ราก รสขมเย็น สรรพคุณ แก้เสมหะเกาะอยูใ่ นทรวงอก แก้เสมหะจุกคอ
กระพี้ รสขม สรรพคุณ บํารุงนํ้าดี แก้ดพี กิ ารทําให้คลั ่งเพ้อ
ยาง รสขมเย็น สรรพคุณ ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้
60

สะเดาดง ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสขมฝาดสรรพคุณดับพิษร้อน แก้พษิ ร้อนกระหายนํ้า แก้ทอ้ งร่วง แก้ธาตุพกิ าร

สะเดาอิ นเดีย ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสขมจัด สรรพคุณ ตัดไข้ แก้ไข้จบั สั ่น แก้ไข้ประจําฤดู

สบู่ขาว ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เนื้อไม้และใบ รสเบื่อเย็สรรพคุ
น ณแช่น้ําให้เด็กอาบ แก้พษิ ตานซาง ถอนพิษ แก้ตวั ร้อน
ยาง รสฝาด สรรพคุณ กวาดแก้เด็กลิน้ เปื่อย ลิน้ เป็นฝ้าละออง
นํ้ามันจากเมล็ด ถ่ายอย่างแรง เป็นยาอันตราย

สบู่ดง ไม้ตน้ เล็กขนาดไม้พุ่ม


นํ้ามันจากเมล็ด เป็นยาถ่ายอย่างแรง อันตรายถึงตาย ไม่นิยมมาใช้ทาํ ยา

สัก ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่


ใบ รสเฝื่ อน สรรพคุณ แก้พษิ เสมหะ แก้พษิ โลหิต
เนื้อไม้ รสเผ็ดเล็กน้อย สรรพคุณ บํารุงโลหิต แก้อ่อนเพลีย แก้ไอ ขับลมใน
กระดูก แก้บวม ขับปสั สาวะ คุมธาตุ

สักขี หรือ กรักขี ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


แก่น รสเผ็ดฝาด สรรพคุณ บํารุงธาตุ บํารุงโลหิต ขับเสมหะ แก้เลือดออกตาม
ไรฟนั แก้คุดทะลาด แก้บดิ มูกเลือก

สารพัดพิ ษ ไม้พุ่มเล็ก ๆ
ลูก รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้เซื่องซึม แก้พษิ ไข้กลับซํ้า
ราก รสเบื่อเฝื่ อนเย็น สรรพคุณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย
ทาแก้พษิ ตะขาบ แมงปอ่ ง แก้ปวดฝี

สารภี ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


ดอก รสหอมเย็น สรรพคุณ ชูกาํ ลัง บํารุงหัวใจให้ชุ่มชื่น ใช้ทาํ ยาหอม
61

สีเสียด ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


เปลือกต้นและยาง รสฝาดจัด สรรพคุณ คุมธาตุ แก้บดิ มูกเลือด แก้ทอ้ งร่วง แก้
ลงแดง แก้อติสาร ชะล้างบาดแผล ทําให้แผลหายเร็ว

สําโรง ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้บดิ มูกเลือด
ใบ รสขืน่ สรรพคุณ ระบายอุจจาระ
เปลือกฝกั สุมเผาแช่น้ําเป็นด่าง รสเฝื่อน สรรพคุณ แก้โรคไตพิการ ขับลมใน
กระเพาะอาหาร ขับเมือกมันในลําไส้
เนื้อในฝกั รสฝาดหวาน สรรพคุณ สมานลําไส้ แก้ไตพิการ

สํารอง ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


เนื้อหุม้ เมล็ด รสเปรีย้ วหวาน
สรรพคุณทําให้ใจคอชุ่มชื่นบาน แก้กระหายนํ้า

หัศคุณไทย ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ต้น รสร้อน สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ ขับไส้เดือน
ใบ รสร้อน สรรพคุณ แก้ปวดท้อง เสียดแทง แก้หดื ไอ
ดอก รสร้อน สรรพคุณ ขับเสมหะให้ลงสู่ทวารหนัก
ผล รสร้อนเอียน สรรพคุณ ขับเสมหะให้ลงสู่ทวารหนัก
ราก รสร้อน สรรพคุณ ขับเลือดและหนองให้ออก แก้คุดทะราด แก้รดิ สีดวงจมูก
หัศคุณเทศ ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง
เปลือกต้น รสร้อน สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ให้กระจาย
ดอก รสเมาร้อนสรรพคุณ แก้แผลเรือ้ รังตามเนื้ออ่อน หรือ ปลายองคชาต
เนื้อไม้ รสร้อน สรรพคุณ ขับลมในท้องให้กระจาย ทําให้ผายเรอ
เมล็ด รสร้อนหอม สรรพคุณ ทําให้อุจจาระไม่เกาะลําไส้
กระพี้ รสร้อน สรรพคุณ ขับโลหิตในลําไส้
ราก รสร้อน สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงผอมแห้ง แก้รดิ สีดวงจมูก
ใบ คัน้ เอานํ้า รสร้อน สรรพคุณ หยอดตาแก้คนั

หางกระรอก ไม้พุ่มขนาดย่อม
ราก รสเย็นเบื่อสรรพคุณ แก้พษิ สัตว์กดั ต่อย แก้พษิ งู ใช้ทงั ้ ทาและรับประทาน
62

หางกราย ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


ลูก รสฝาดสรรพคุณแก้บดิ อุจจาระเป็นมูกเลือด ปวดเบ่ง แก้เสมหะเป็นพิษ แก้ทอ้ งเดินอย่างแรง
เปลือกต้น รสฝาด
สรรพคุณกล่อมเสมหะทําให้อุจจาระเป็นก้อน แก้อุจจาระเป็นฟอง คุมธาตุ

หางนกยูง ไม้พุ่มขนาดย่อมมี๒ ชนิด คือ ชนิดดอกสีเหลืองและดอกสีแดง นิยมใช้ดอกสีแดง


ราก รสร้อนเฝื่ อนเล็กน้อย สรรพคุณ ขับโลหิตระดูสตรี แก้วณั โรคชนิดบวม

หูเสือ ไม้ตน้ เล็กๆ มี ๒ ชนิด คือ หูเสือไทย และหูเสือจีน สรรพคุณ เหมือนกัน


ใบ รสจืดสรรพคุณ คัน้ เอานํ้าหยอดหู แก้ฝีในหู แก้ปวดหู แก้หเู ป็นนํ้าหนวก ช่องหูอกั เสบ

โหระพา ไม้ตน้ เล็ก


ใช้ทงั ้ ๕ รสหอมร้อนปร่า สรรพคุณ แก้ปวดท้อง ขับผายลม

อนันตคุณ ไม้พุ่ม
ใบ รสร้อน สรรพคุณ แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ ขับผายลม แก้ธาตุพกิ าร เจริญอาหาร
แก้ทอ้ งล่วง บํารุงกําลัง บํารุงโลหิต

อบเชยต้น ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


เปลือกต้น รสหอมติดร้อน สรรพคุณ บํารุงดวงจิต แก้อ่อนเพลีย

อัคคีทวาร ไม้พุ่มขนาดย่อม
ต้น รสจืดขืน่ สรรพคุณ ขับปสั สาวะ
ใบ รสขืน่ เบื่อ สรรพคุณ แก้ปวกศีรษะ แก้รดิ สีดวงทวาร แก้กลากเกลือ้ น
ผลสุก รสเปรีย้ วขืน่ สรรพคุณ แก้ไอ แก้เยือ่ ตาอักเสบ
รากและต้น รสฝาดเบื่อเย็น สรรพคุณ ฝนทาแก้เกลือ้ น ทาหัวริดสีดวง

อ้ายข้าว ไม้ยนื ต้น


ราก รสมัน สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงกําหนัด

อิ นทนิ น ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


ใบ รสขมเย็นเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ทางเดินปสั สาวะพิการ แก้เบาหวาน
63

อีเหนี ยวใหญ่ ไม้พุ่มเล็ก ๆ


ราก รสเบื่อเอียนเย็น สรรพคุณ ขับพยาธิไส้เดือน พยาธิลาํ ไส้ แก้ตวั ร้อน ดับพิษ
ตานซาง แก้ลาํ ไส้อกั เสบ

อีเหนี ยวเล็ก ไม้ยนื ต้นเล็กๆ


ใบ รสจืด สรรพคุณ ตําพอกแผล ถอนพิษได้ดี
ราก รสจืดเอียน สรรพคุณ แก้กาฬมูตร เป็นเม็ดในทางเดินปสั สาวะเป็นพิษ
อักเสบขับปสั สาวะให้เดินสะดวก

อุโลก ไม้ยนื ต้นขนาดกลาง


แก่น เปลือกต้น รสขม สรรพคุณ แก้ไข้พษิ ไข้กาฬและไข้ตวั ร้อน
ราก รสขมเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ แก้พษิ ร้อนในกระหายนํ้า

อ้อ ไม้ลาํ ต้นเล็ก ยาวมีขอ้ คล้ายอ้อยแต่ไส้กลวง มีดอกคล้ายอ้อย


หน่ อ นึ่งเอานํ้าหยอดหู แก้หอู กั เสบ แก้ปวดหู แก้หนู ้ําหนวกและช่
กเสบองหูอ ั

อ้อย ไม้ยนื ต้นล้มลุก มีหลายพันธุ์ นิยมใช้ออ้ ยดงทํายา


ต้นอ้อยแดง เผาคัน้ เอานํ้า รสหวานขม สรรพคุณ แก้เสมหะ แก้หดื แก้
ไข้สมั ประชวร ขับปสั สาวะ แก้นิ่ว แก้ช้าํ รั ่ว
ตาอ้อยแดง รสขม สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน แก้พษิ ตานซาง บํารุงธาตุน้ํา
บํารุงกําลัง ขับปสั สาวะ

อ้อยช้าง ไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่


แก่น รสหวานน้อย สรรพคุณ ทําให้ชุ่มคอ แก้เสมหะเหนียว แก้กระหายนํ้า ทําให้จติ ใจชื่นบาน

เอื้อง ไม้ประเภทกล้วยไม้
ต้น รสจืด สรรพคุณ แก้ไข้ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า ขับปสั สาวะ บํารุงกําลัง ขับผายลม
แก้บดิ บํารุงธาตุ แก้ลมวิงเวียน แก้จุกเสียด แก้ไข้สนั นิบาต
ราก ใบ รสหอม สรรพคุณ แก้ไข้เนื่องจากการอักเสบในช่องคลอดสตรีหลังการคลอดบุตรใหม

เอื้องบก ไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก


ราก รสจืดขืน่ สรรพคุณ แก้ปสั สาวะพิการ แก้ช้าํ รั ่ว ปสั ะปริ
สาวะออกก
ดกะปรอย
64

๒.๒ พืชจําพวกเถา- เครือ ได้แก่ พรรณไม้ทเ่ี ป็นเถา- เครือ เลือ้ ยพาดพันตามต้นไม้


ตามรัว้ เลือ้ ยตามพืน้ ดิน บางเถา- เครือ ก็สนั ้ บางเถา- เครือ ก็ยาว บางชนิดมีมอื เกาะ บางชนิดก็ไม่
มีมอื เกาะ ซึง่ มนุ ษย์เรานิยมเรียกว่า เถา หรือ เครืมใช้
อ ทีทน่ าํ ิยยามี ดังนี้

กรด ไม้เถาเนื้อแข็ง
เปลือกต้นและราก รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง บิด แก้ปวดท้อง จุกเสียด
ผล รสฝาดเบื่อ สรรพคุณ ขับไส้เดือน ต้มเอานํ้าอม แก้เหงือกบวม ปากเปื่อย

กระดอม ไม้เถาเลือ้ ยตามพืน้ ดิน จําพวกมะระขีน้ ก


ลูก รสขม สรรพคุณ บํารุงนํ้าดี แก้ดแี ห้ง ดีฝอ่ ดีเลือด คลั ่งเพ้อ เจริญอาหาร ทําให้
โลหิตเย็น บํารุงมดลูก

กระไดลิ ง ไม้เถาแบนพาดพันต้นไม้
เถา รสเบื่อเมา
สรรพคุณแก้พษิ ทัง้ ปวง แก้ตวั ร้อน ขับเหงื่อ แก้ไข้ แก้พษิ ฝี แก้ไข้เซื่องซึม

กระทกรก ไม้เถายืนต้น
เปลือกต้น รสฝาด สรรพคุณ แก้แผลเน่าเปื่อย
ใบ รสเย็นเฝื่ อน สรรพคุณ แก้หวัดคัดจมูก
เถา รสฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ ถอนพิษยาเบื่อเมา คุมธาตุ รักษาบาดแผล
เมล็ด รสร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้เด็กท้องขึน้ อืดเฟ้อ
ราก รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้กามโรค ตัวร้อนเนื่องจากพิษไข้

กระทกรก (กระโปรงทอง, รกช้ าง, เถาสิ งโต, ผ้าขี้ริ้วห่อทอง)


เถา-ใบ รสชุ่มเย็นเอียสรรพคุ
น ณขับปสั สาวะ ขับเสมหะทรวงอก แก้ไอ แก้บวม
ผลสุก รสหวานเปรีย้ ว สรรพคุณ บํารุงปอด แก้ปอดอักเสบ ขับเสมหะ

กระทงลาย (กระทุงลาย) ไม้เถาพาดตามต้นไม้


เถา ราก รสขมฝาด สรรพคุณ แก้ไอ แก้บดิ แก้ปวดท้อง
ราก รสขมจัด สรรพคุณ แก้ไข้จบั สั ่น (มาลาเรีย)
กระทุงหมาบ้า ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้
เถา รสเบื่อเอียน สรรพคุณ ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ กระทุง้ พิษไข้หวั ไข้กาฬ
พิษฝี ขับปสั สาวะ แก้ดกี าํ เริบนอนละเมอเพ้อกลุม้ ปวดศีรษะ เซื่องซึม
65

กระพังโหมไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื มีๆ ๒ ชนิดคือ ตูดหมู ตูดหมาสรรพคุณเหมือนกัน


ใบ เถา รสกลิน่ เหม็น สรรพคุณ แก้ตานซาง แก้ตวั ร้อน ขับลม แก้ธาตุพกิ าร
ท้องเสีย เจริญอาหาร ขับพยาธิไส้เดือน
ใบ ตําพอก แก้พษิ งู แก้ปวดฟนั แก้ราํ มะนาด
หมายเหตุ กระพังโหมทีแ่ ท้ตอ้ งเป็นชนิดทีม่ ยี างออกเมื่อเด็ดใบและเถาสดๆ ชนิดไม่มยี าง
เรียกว่า ย่านพาโหม ไม่ใช่กระพังโหม

กระเพียด หรือ หนอนตายยาก ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันตามต้นไม้


ราก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน แก้รดิ สีดวงทวาร ใช้ทุบแช่น้ํา
ทําลาย ตัวแมลงได้

กวาวเครือขาว และ กวาวเครือแดง ไม้เถาพาดพันตามต้นไม้ใหญ่


เปลือกเถา รสเย็นเบื่อเมา สรรพคุณ แก้พษิ งู
หัว รสเย็นเบื่อเมา สรรพคุณ บํารุงเนื้อหนังให้เต่งตึง บํารุงสุขภาพให้สมบูรณ์
บํารุงความกําหนัด (ถ้ารับประทานมากอาจเป็นอันตรายได้)

กรุงเขมา ไม้เถาขนาดเล็กๆ
ราก รสเย็นหอมสุขสรรพคุ
มุ ณแก้ไข้ทม่ี พี ษิ ร้อน แก้ดซี ่าน บํารุงร่างกายให้แข็งแรง

แกแล ไม้เถายืนต้น
แก่น รสข่มขืน่ สรรพคุณ บํารุงนํ้าเหลือง แก้พุพอง บํารุงกําลัง

โกฐพุงปลา เป็นไม้อาศัยเกาะอยูบ่ นต้นไม้อ่นื คล้ายกล้วยไม้ เป็นไม้ลม้ ลุกเนื้ออ่อน


ลูก รสฝาดสรรพคุณแก้ทอ้ งร่วง แก้อาเจียน แก้บดิ แก้ปวดเบ่ง แก้เสมหะพิการ สมานแผล

กําจาย (หนามจาย) ไม้เถามีหนาม


ราก รสเบื่อเย็นเล็กน้อย สรรพคุณ ขับระดูสตรี แก้พษิ งู ถอนพิษแมลงกัดต่อย
แก้พษิ ฝี แก้แผลเรือ้ รัง

กําแพงเจ็ดชัน้ (ลุ่มนก) ไม้เถาขนาดใหญ่


เถา รสเบื่อเมา สรรพคุณ ขับโลหิตระดูสตรี บํารุงโลหิต ขับผายลม แก้ไข้ แก้
ปวดตามข้อ แก้เม็ดประดงผื่นคัน
66

ขจร ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันตามต้นไม้ หรือบางแห่งเรียกว่า สลิด


ราก รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ ทําให้อาเจียน ถอนพิษยาเบื่อเมา ดับพิษทัง้ ปวง
หยอดตา แก้ตาอักเสบ ตาแฉะ ตาแดง ตามัว

ขมิ้นเครือ ไม้เถาเลือ้ ยพันต้นไม้ใหญ่


ต้น รสฝาดเฝื่ อนร้อน สรรพคุณ แก้น้ําดีพกิ าร ขับฝายลมทําให้เรอ
ใบ รสฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้บดิ มดลูก ขับโลหิตระดูสตรีเสียให้เป็นปกติ
ดอก รสฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้บดิ มูกเลือก
ราก รสฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้ลมอัมพฤกษ์ บํารุงนํ้าเหลือง ฝนหยอดตา
แก้กระจกตา แก้ตาแดง ตาแฉะ ตามัว และตาอักเสบ

ข้าวสารเถา หรือ เถาข้าวสาร ไม้เลือ้ ยพันตามต้นไม้


ราก รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ แก้ตาแดง ตาแฉะ ตามัว

ขี้กาขาว ไม้เถาเลือ้ ยตามพืน้ ดิน


เถา รสขม สรรพคุณ บํารุงนํ้าดี ดับพิษ เสมหะและโลหิต
ใบ รสขม สรรพคุณ ตําสุมขม่อมเด็กในตอนเย็น ๆ แก้หวัด คัดจมูก
ลูก รสขมจัดสรรพคุณแก้ตบั ปอดพิการ ถ่ายอุจจาระ ถ่าหะ
ยเสมถ่ายพิษตานซาง

ขี้กาแดง ไม้เถาเลือ้ ยตามพืน้ ดิน


ลูก รสขมจัด สรรพคุณ บํารุงนํ้าดี แก้พษิ เสมหะและโลหิต ถ่ายและล้างโทษ
เสมหะ และอุจจาระให้ตก
ราก รสขม สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน ดับพิษไข้ แก้ปวดศีรษะ บํารุงนํ้าดี
ลูก มีคุณสมบัตพิ เิ ศษ คือ ถ่ายพิษตานซาง แก้ตานขโมยพุงโรเด็กได้ดี

เขี้ยวงู หรือ ตึ่งเครือคําตัวแม่ ไม้เถาเนื้อแข็งเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


เถา รสขืน่ ร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ขับโลหิตในมดลูกหลังคลอดบุตร แก้สนั นิบาต
หน้าเพลิง แก้มดลูกอักเสบ แก้ปวดท้อง ขับลม

คนทีสอขาว ไม้เถายืนต้นขนาดย่อม หรือเรียกว่า คนทีสอเครือ


ใบ รสขมเมา สรรพคุณ บํารุงนํ้าดี ขับลม ฆ่าพยาธิผวิ หนัง
ดอก รสขมเมาสรรพคุณบํารุงนํ้าดี แก้ไข้ แก้พยาธิ แก้หดื ไอ แก้ไข้ในหญิงมีครรภ์
เมล็ด รสขม สรรพคุณ เจริญอาหาร
67

ราก รสขม สรรพคุณ แก้โรคตับ ถ่ายนํ้าเหลืองเสีย ขับเหงื่อ ขับปสั สาวะ บํารุงธาตุ


แก้ปวดข้อและปวดกล้ามเนื้อ

คนที สอทะเล เป็นไม้เลือ้ ยตามพืน้ ทราย


ต้น รสเผ็ดร้อนสรรพคุณแก้ตวั พยาธิ ฟกบวม แก้เสมหะ แก้ลม แก้รดิ สีดวงในคอ

คัดเค้า ไม้เถายืนต้นมีหนามแหลมคม
เถา รสฝาด สรรพคุณ แก้เสมหะ บํารุงโลหิต
ลูก รสฝาดอมเปรีย้ ว สรรพคุณ ขับฟอกโลหิตระดูสตรีทเ่ี น่าร้าย
ราก รสเย็นฝาดเล็กน้อย สรรพคุณ ขับและแก้ไข้เพื่อโลหิต

คุคะ (ขรุขระ) ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เถา รสเย็น สรรพคุณ ระงับความร้อน แก้ไข้รอ้ นในกระสับกระส่าย แก้ปวดเมื่อย
ตามร่างกาย แก้น้ําเหลืองเสีย

โคคลาน ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เถา รสขมเบื่อเย็น สรรพคุณ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย ครั ่นตัว เส้นตึง
แก้ปวดหลัง ปวดเอว แก้กระษัย ขับปสั สาวะ แก้ไตพิการ บํารุงโลหิต

โคกกระออม หรือ ตุ้มต้อก ไม้เลือ้ ยขนาดเล็กคล้ายมะระ


เถา รสขมขืน่ สรรพคุณ แก้ไข้
ใบ รสขมขืน่ สรรพคุณ แก้หดื
ดอก รสขมขืน่ สรรพคุณ ขับโลหิต
ลูก รสขมขืน่ เย็น สรรพคุณ ดับพิษไฟลวก
ราก รสขมเย็น สรรพคุณ แก้พษิ งู ใช้หยอดตาแก้ตาต้อ
ใช้ทงั ้ ๕ รสขมเย็น สรรพคุณ ขับปสั สาวะ บํารุงนํ้านม ระบายท้อง แก้ไข้

คอเบ็ด (คอเป็ ด) ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


สรรพคุณบํารุงโลหิต แก้ไข้ตวั ร้อน แก้กระษัย ขับปสั สาวะ
เถา รสขืน่ เอียนขม

จิ งจ้อขาว หรือ จิ งจ้อหลวง ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันตามต้นไม้


เถา รสร้อนสรรพคุณ แก้ลมพรรดึก กระตุน้ ลําไส้ช่วยย่อยอาหารมหะ
แก้เสโลหิตและกําเดา
68

จิ งจ้อแดง หรือ จิ งจ้อเหลี่ยม ไม้เถาเลื่อยพาดพันต้นไม้


เถา รสหวาน สรรพคุณ บํารุงเนื้อให้สดชื่น
ราก รสร้อนขืน่ เล็กน้อสรรพคุ
ย ณแก้เสมหะและลม ช่วยการย่อยอาหาร แก้กาํ เดา และโลหิต
ชะลูกขาว ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันตามต้นไม้
เปลือกเถา รสหอมเย็น สรรพคุณ ขับผายลม แก้ปวดในท้อง
ใบ ลูก รสร้อนหอมสุขสรรพคุ
มุ ณแก้ไข้รอ้ นใน กระสับกระส่าย สะอึก แก้ดพี กิ าร แก้คุดทะราด
ชะลูกแดง ไม้เถาเนื้อแข็งยืนต้น
ใบ รสร้อนหอมสุขมุ สรรพคุณ กระจายโลหิต
ราก รสเย็น สรรพคุณ แก้โรคไข้เรือ้ รัง แก้เลือดออกตามไรฟนั
ชะเอมไทย (ส้มป่ อยหวาน) ไม้เถายืนต้นขนาดกลาง
เนื้อไม้ เถา รสหวานชุ่ม สรรพคุณ แก้เสมหะในลําคอ แก้คอแห้ง แก้ลม บํารุง
ธาตุ บํารุงกําลัง บํารุงกล้ามเนื้อให้เจริญ ขับเสมหะ แก้น้ําลายเหนียว แก้เลือดออกตามไรฟนั
ใบ รสขืน่ สรรพคุณ ขับโลหิตระดู
ดอก รสขืน่ ขมน้อย สรรพคุณ ช่วยย่อยอาหาร
ราก รสหวานเอียน สรรพคุณ แก้เสมหะจุกคอ แก้ไอ บํารุงหัวใจให้สดชื่น
ชะเอมบ้าน (ชะเอมสวน) ไม้เถาเลื่อยพาดพันตามต้นไม้
ราก รสหวานเอียสรรพคุ
น ณกัดเสมหะในลําคอ หยอดตา แก้เจ็บตา ตาอักเสบ
ชะเอมป่ า หรือ ชะเอมเถา ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้
เถา รสหวานเอียน สรรพคุณ ถ่ายลม แก้คอแห้ง บํารุงผิวหนัง แก้โรคตา
ใบ รสขมน้อย สรรพคุณ ถ่ายโลหิต
ดอก รสขมน้อย สรรพคุณ แก้ดแี ละโลหิตพิการ
ผล รสขมน้อย สรรพคุณ ถ่ายเสมหะ
ราก รสหวานเอียน สรรพคุณ แก้กระหายนํ้า ทําให้ชุ่มคอ
ชิ งช้าชาลี (บอระเพ็ดตัวผู)้ ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้
เถา รสขม สรรพคุณ แก้พษิ ฝีดาษ แก้ไข้เหนือ ไข้เพื่อโลหิต แก้ฝีกาฬ บํารุง
กําลัง บํารุงธาตุ เจริญอาหาร ทําให้เลือดเย็น แก้มะเร็ง
ใบ รสขมเมา สรรพคุณ ฆ่าพยาธิผวิ หนัง แก้มะเร็ง
ดอก รสขมเมาสรรพคุณขับพยาธิในท้อง แก้ราํ มะนาด ปวดฟนั แก้แมลงเข้าหู
69

เชื อกเขาไฟ (ย่างทราย) ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เถา รสขมสรรพคุณระบายท้อง แก้แน่น จุกเสียด ขับลมในลําไส้ แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ

แซ่ม้าทะลาย ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เถา รสฝาดเย็สรรพคุ
น ณแก้พษิ ร้อน แก้เม็ดประดง ผื่นคัน แก้โรคผิวหนัง นํ้าเหลืองเสีย

ซองแมว (ซ้องแมว) ไม้เถายืนต้น คล้ายพวกต้นตรุษจีน


ใบ รสขม สรรพคุณ ระบายท้อง แก้ปวดหู แก้ปวดศีรษะ แก้ผมร่วง ต้มอมแก้
เหงือกบวม แก้ปวดฟนั
ลูก รสขมเล็กน้อย สรรพคุณ แก้โรคท้องมาน แก้ปวดข้อ ปวดกล้ามเนื้อ แก้ไอ
แก้วณั โรค ทาแก้แผลนํ้ากัด
ราก รสขมเย็นสรรพคุณแก้วณั โรค แก้รอ้ นในกระหายนํ้า ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้

หญ้านาง (ปู่ เจ้าเขาเขียว หรือ หญ้าภคิ นี) มี ๒ ชนิดคือ ชนิดขาว และเขียว เป็นไม้
เถาเลือ้ ย พากพันต้นไม้อ่นื
ราก รสเย็นขม สรรพคุณ แก้ไข้ทุกชนิด ไข้พษิ ไข้เหนือ ไข้หวั เหือด หัด สุกใส
ฝีดาษ ไข้กาฬ ขับกระทุง้ พิษได้ดี

หญ้านางใหญ่ (โพกพาย) ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันตามต้นไม้อ่นื


เถา รสเย็นสรรพคุณดับพิษไข้ แก้กระษัย ขับปสั สาวะ
แก้โลหิตพิการ แก้บวม ตามตัว

หญ้านางแดง ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


ราก รสเย็น สรรพคุณ ฝนใส่น้ํากิน แก้ไข้หมากไหม้ (ไข้พษิ ) แก้พษิ สําแดง
แก้เมาเห็ด เมาสุรา ถอนพิษได้ดี (บางคนเรียก รางจืด)

ดีปลี ไม้เถาคล้ายพริกไทย เลือ้ ยพาดพันต้นไม้


ดอก รสร้อน สรรพคุณ แก้ปถวีธาตุพกิ าร แก้ทอ้ งร่วง ขับลมในลําไส้
เถา รสเผ็ดร้อนสรรพคุณแก้ปวดฟนั แก้ปวดท้อง แน่น จุกเสียด ท้องขึน้ อืดเฟ้อ

ตาไก่ ไม้เถายืนต้น
เปลือกเถา รสเบื่อเมาเล็กน้อย สรรพคุณ ขับโลหิตระดูสตรีให้เป็นปกติ แก้โลหิตระดู
ขาว ระดเู น่ าเหม็น แก้มดลูกอักเสบ เจ็บเสียวท้องน้อย แก้ปวดหลัง ปวดเอว บํารุงโลหิต
70

ตานหม่อน (ตาลขี้นก) ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


ใช้ทงั ้ ต้น รสเบื่อเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ตานซาง บํารุงเนื้อหนังให้ชุ่มชื่น คุมธาตุ
ขับไส้เดือนในท้อง

ตีนเป็ ดตาเครือ (เถาเอ็นอ่อน) เป็นไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


ใบ รสเบื่อเอียน สรรพคุณ แก้ปวดเสียวตามร่างกาย แก้เส้นตึง เมื่อยขบ ทําให้
เส้นเอ็นหย่อน
เถา รสขม สรรพคุณ แก้เส้นตึง แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย

ตูมกาเครือ ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื มี ๒ ชนิด คือ ชนิดเถาสีแดง และ สีขาว


เถา รสขมสรรพคุณแก้ไข้เพื่อเสมหะและดี บํารุงไฟธาตุ ช่วยย่อยอาหาร ขับผายลม
ราก รสขมเอียน สรรพคุณ แก้พษิ ไข้ตวั ร้อน ถอนพิษงู
หัว รสขมเอียน สรรพคูณ แก้รดิ สีดวง

แตงกวา ไม้เถาเลือ้ ยไปตามพืน้ ดิน และพาดพันต้นไม้ตาย


ผล รสเย็น สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้ปสั สาวะขัด

แตงไทย ไม้เถาเลือ้ ยไปตามพืน้ ดิน และพาดพันต้นไม้ตาย


ใบ ดอก รสจืด สรรพคุณ แก้ไข้ ลดความร้อน

แตงอุลิด หรือ แตงโม ไม้เถาเลือ้ ยไปตามพืน้ ดิน และพาดพันต้นไม้ตาย


นํ้าคัน้ จากผล รสหวานเย็น สรรพคุณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้ปากเป็นแผล
ขับปสั สาวะ แก้อาการอ่อนเพลียละเหีย่ ใจ แก้อาการแน่น
เปลือกผล รสหวานเย็สรรพคุ
น ณแก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้ปากและลิน้ เป็นแผล
เมล็ดใน รสมันหวาน สรรพคุณ ช่วยหล่อลืน้ ลําไส้ แก้กระเพาะปสั สาวะอักเสบ
แก้ลมขึน้ เบือ้ งสูง (ความดันสูง) ขับเสมหะ แก้อาเจียนเป็นเลือด แก้ไอเรือ้ รัง
ราก ใบ เถา รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้บดิ แก้ทอ้ งร่วง

แตงหนู ไม้เถาเลือ้ ยไปตามพืน้ ดิน


เถา รสขืน่ ขม สรรพคุณ ขับเสมหะ
ใบ ลูก รสขืน่ ขม สรรพคุณ แก้ไขจับสะท้านร้อนสะท้านหนาว
ดอก รสขม สรรพคุณ ขับโลหิต
ราก รสขมเย็น สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้ลม แก้คุดทะราด แก้เสมหะ
71

แตงร้าน ไม้เถาเลือ้ ยไปตามพืน้ ดิน


ใบ รสจืด สรรพคุณ แก้ไข้ แก้ตวั ร้อน

ต้อยติ่ ง ไม้ตน้ เล็ก


เมล็ด รสเย็นฝาด สรรพคุณ ดูดหนอง สมานแผล ทําให้แผลแห้งเร็ว

ตําลึง (ผักสี่บาท, ผักแคบ) ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


ใบ รสเย็น สรรพคุณ ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ แก้ไข้ตวั ร้อน แก้พษิ ฝี ถอนพิษ
ขนของใบไม้ และตําแย แก้ปวดแสบปวดร้อน แก้คนั
เถา รสเย็นสรรพคุณใช้น้ําในเถาหยอดตา แก้ตาฝ้า ตาแดง ตาชํ้า ตาแฉะ ตาอักเสบ
ราก รสเย็น สรรพคุณ แก้ดวงตาเป็นฝ้า ดับพิษทัง้ ปวง

ถอบแถบ ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


ใช้ทงั ้ ต้น รสเบื่อเอียสรรพคุ
น ณแก้พษิ ตานซาง แก้ตานขโมย ขับพยาธิเสมหะถ่ายลม
ใบ ใช้ทงั ้ ๓ ใบ ใส่เกลือเล็กน้อย ต้มเอานํ้าให้เด็กอ่อนรับประทาน ระบายท้องได้ดี

ถั ่วผี ไม้ลม้ ลุกเครือ


ราก รสเย็น สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้ปสั สาวะพิการ

ถั ่วลันเตา ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เถา รสเย็น สรรพคุณ แก้ตบั พิการ ชักตับ แก้ตบั ทรุด
ฝกั รสมัน สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงไขข้อ

เถาเกล็ดนาคราช ไม้เถาเลือ้ ย
เถา รสเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ตะขาบ แมงปอ่ ง แก้พษิ งู และถอนพิษต่างๆ คั ่วให้
เหลือง ดองสุราสรรพคุณขับโลหิตระดู แก้ปวดเอวปวดหลัง เนื่องจากโลหิตระดูไม่ปกติ

เถาคัน ไม้เถาพาดพันต้นไม้อ่นื ๒มี ชนิด คือ ชนิดแดง และชนิดขาว แต่นิยมใช้ชนิดแดงมาก


เถา รสขืน่ ขม สรรพคุณ ขับเสมหะ แก้กระษัย ทําให้เส้นหย่อน ฟอกเลือด ขับลม
แก้ฟกชํ้าภายใน ขับเลือดเน่าและขับคาวปลาหลังการคลอด
ใบ อังไฟพอเหีย่ ว ปิดหัวฝี ให้ฝีแตกเร็ว
72

เถาคุ ไม้เถายืนต้น
เถา รสฝาดสรรพคุณแก้เม็ดประดง ขับลมในข้อขัด แก้ปวดข้อและแท่งกระดูก
ราก รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้มอื เท้าอ่อนเพลีย

เถานาคราช (ว่านนาคราช) ไม้เลือ้ ยพาดพันต้นไม้ผุ


เถา รสเย็น สรรพคุณ ถอนพิษอักเสบ ปวดแสบ ปวดร้อน ถอนพิษสัตว์ กัดต่อย
แก้พษิ ฝี แก้สตั ว์มพี ษิ ขบกัด

เถาปล้อง ไม้เถายืนต้น
ใบ รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ ตํากับสุราพอก แก้ปวดฝี ถอนพิษปวดอักเสบ
ราก รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ ฝนกับสุราทา แก้พษิ ตะขาบ แมงปอ่ ง พิษงู

เถามวก(เครือเขามวก ) ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้๒มีชนิด คือ แดงและขาว


มักใช้ทงั ้๒รวมกัน
เถา รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ บํารุงโลหิต แก้โลหิตจาง แก้ทอ้ งร่วง ลงแดง
เนื้อเถา รสขมเบื่อเย็น สรรพคุณ แก้ไอเซื่องซึม แก้ปวดขัดตามร่างกาย รักษา
บาดแผลให้หายเร็ว ทําให้มลี มเบ่งช่วยให้คลอดบุตรเร็ว

เถาลิ้ นเสือ ไม้เลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เถา รสขืน่ สรรพคุณ แก้ตบั ทรุด ตับพิการ ม้ามโต บํารุงตับ

เถาวัลย์หญ้านาง ไม้เถาเลือ้ ยตามพืน้ ดิน


เถา ใบ รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ ลดความร้อน
เถาวัลย์ปนู ไม้เถาขนาดเล็ก
น ณขับปสั สาวะ แก้กระษัย ขับเสมหะ ทําให้เส้นเอ็นหย่อน
เถา รสจืดเบื่อเอียสรรพคุ
ใบสด ขยีก้ บั ปูนเอาฟอง ทาบาดแผลสด
เถาวัลย์เปรียง ไม้เลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื
เถา รสเบื่อเอียน สรรพคุณ ถ่ายเส้น ถ่ายกระษัย แก้เส้นเอ็นขอด เส้นตึง
แก้ปวดเมื่อย ทําให้เส้นเอ็นหย่อน ขับปสั สาวะ ถ่ายเสหะลงสู่คถู วาร
เถาเอ็น หรือ เถาเมื่อย ไม้ประเภทเดียวกับตีนเป็ดเครือ (เถาเอ็นอ่อน)
เถา รสขมติดเมา สรรพคุณ แก้ปวดเมือ่ ย แก้เส้นตึง บํารุงเส้นเอ็น
เมล็ด รสร้อนสรรพคุณขับลมในลําไส้ แก้ปวดท้อง แน่น จุกเสียด ท้องขึน้ อืดเฟ้อ
73

ทองระอา หรือ เถาปล้อง ไม้เถาขนาดใหญ่


เถา รสเอียน สรรพคุณ ถอนพิษยาเบื่อเมา ถอนพิษไข้ตวั ร้อน

นมพิ จิตร ไม้เถาคล้ายมะระ


เถา รสขม สรรพคุณ แก้ไขทีม่ พี ษิ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า บํารุงนํ้านม

นมแมว ไม้เถายืนต้น
เนื้อไม้ ราก รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้ไข้หวัด ใช้เพื่อเสมหะ และไข้ทบั ระดู

นมวัว เป็นไม้เถายืนต้น ถ้าอยูใ่ กล้ไม่อ่นื ก็เลือ้ ยพาดพัน


เนื้อไม้ เถา รสเย็นเฝื่อน สรรพคุณ แก้ไข้กลับ
ผล รสเย็น สรรพคุณ ตําทาแก้เม็ดตุ่มผื่นคันตามตัว
ราก รสเย็น สรรพคุณ บํารุงนํ้านม แก้โรคผอมแห้งในสตรีหลังคลอดบุตร

หนามไก่ไห้ ไม้เถายืนต้น
ราก รสเย็น สรรพคุณ ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้ทุกชนิด แก้ไข้ความร้อนสูง ชักคลั ่ง
เพ้อ ไข้จบั สั ่น แก้ไข้พษิ หัด สุกใส ดําแดง

หนามเล็บแมว หรือ หนามเล็บเหยี่ยว ไม้เถายืนต้น


ราก รสเปรีย้ วขืน่ สรรพคุณ ขับระดูขาว ขับปสั สาวะ แก้มดลูกพิการ ฝีมุตกิด
ฝีในมดลูก แก้เบาหวาน

หนามพัน หรือ หนามหีน


ราก รสฝาด สรรพคุณ กล่อมโลหิต แก้ไขพาระดู (ไข้ทบั ประดูหรือระดูทบั ไข้)

หนาวเดือนห้า ไม้เถาพาดพันต้นไม้ใหญ่
เถา รสเบื่อเมาเย็น สรรพคุณ ขับเหงื่ออย่างแรง แก้ไข้ ลดความร้อน ใช้มากอาจ
เป็นอันตรายถึงตายได้

หนอนตายหยาก (กะเพียดหนู) ไม้เลือ้ ยตามพืน้ ดินหรือพาดพันต้นไม้อ่นื


ราก รสเบื่อเมาสรรพคุณทุบให้ละเอียดผสมนํ้า ฟอกล้างผม ฆ่าเหา หิด และกลาก
รากสดพอกปิดปากแผลให้สตั ว์ในส่วนทีเ่ ลียไม่ถงึ ฆ่าหนอนและแมลงตายสิน้
นํ้าแช่รากไม้น้ี ใช้ราดฉีดทําลายหนอนหรือแมลงทีม่ ารบกวนพืชผักได้
74

ต้มรับประทานแก้โรคผิวหนังผื่นคัน ต้มกับยาฉุย รวมหัวริดสีดวงทวาร ทําให้แห้งฝอ่


รากสดทุบให้แตก ใส่ปากไหปลาร้า ทิง้ ไว้คา้ งคืน รุ่งขึน้ หนอนจะตายสิน้

นํ้าเต้า ไม้เถาเลือ้ ยตามพืน้ ดิน หรือพันต้นไม้อ่นื


ใบ รสจืดเย็น สรรพคุณ ขับปสั สาวะ ดับพิษร้อน แก้ไข
ผล รสเย็น สรรพคุณ บํารุงนํ้านม ขับปสั สาวะ

นํ้าเต้าขม ไม้เถาเลือ้ ยตามพืน้ ดิน หรือพันต้นไม้อ่นื


ใบ รสขมเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน ดับพิษอักเสบ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้
พุพอง แก้เริม งูสวัด แก้ฟกบวม

บอระเพ็ด ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


เถา รสขมเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ฝีดาษ ไข้เหนือ ไข้พษิ แก้รอ้ นใน กระหายนํ้า
ทําให้เนื้อเย็น สะอึก บํารุงกําลัง บํารุงนํ้าดี บํารุงไฟธาตุ
ใบ รสขมเมาสรรพคุณฆ่าพยาธิไส้เดือน ฆ่าแมลงเข้าหู แก้ราํ มะนาด ปวดฟนั
ลูก รสขม สรรพคุณ แก้ไข้ แก้เสมหะเป็นพิษ
ราก สรรพคุณ แก้ไข้สงู มีอาการเพ้อคลั ่ง

บอระเพ็ดพุงช้ าง (สบู่เลือด) ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื ๆ


เถา รสขมเมา สรรพคุณ ขับโลหิตระดู กระจายลมทีแ่ น่นในอก
ใบ รสขม สรรพคุณ บํารุงไฟธาตุ
ดอก รสขมเมา สรรพคุณ โรคผิวหนัง ผื่นคัน ช่วยย่อยอาหาร
หัว รสขม สรรพคุณ หั ่นตากแห้งทําผงรับประทานกับนํ้าผึง้ บํารุงกําลัง ขับผาย
ลม เจริญอาหาร เป็นยาอายุวฒั นะ

บวบขม ไม้เถาล้มลุกเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


ลูกสด รสขม สรรพคุณ ฟอกศีรษะ แก้คนั แก้รงั แค
เมล็ด รสเมา สรรพคุณ แก้หดื
รังบวบแห้ง รสจืดเมา แก้รดิ สีดวงจมูก

บวบหอม ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


ลูกอ่อน รสจืด สรรพคุณ บํารุงร่างกาย
ราก รสจืด สรรพคุณ บํารุงธาตุ บํารุงนํ้าดี ระบายพิษไข้
75

พระขรรค์ไชยศรี (หนาวเดือนห้า หรือฝนแสนห่า) ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เถา รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ขับเหงื่อ ระงับความร้อน เป็นยาอันตราย เพราะขับ
เหงื่อมาก ทําให้หนาวสั ่นอาจถึงชีวติ ได้

พาหมี ไม้เถายืนต้น
ราก รสเอียนเบื่อเมา สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงลําไส้ แก้รดิ สีดวงจมูก อันตรายเพราะ
เป็นยาเบื่ออย่างแรง

พาดไฉน หรือ อีล้มุ ไม้เถายืนต้น


เถาและราก รสร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ถ่ายเสมหะ และโลหิต ขับผายลม แก้หดื
แก้ไอ แก้คุดทะราด แก้โรคพยาธิผวิ หนัง

พริ กไทย ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เถา รสร้อน สรรพคุณ แก้เสมหะในทรวงอก แก้อติสาร (ท้องร่วงอย่างแรง)
ใบ รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้ลมจุกเสียดแน่น ปวดมวนในท้อง
ดอก รสร้อน สรรพคุณ แก้จกั ษุแดงเนื่องจากความดันโลหิตสูง
เมล็ด รสร้อนเผ็ด สรรพคุณ แก้ลมอัมพฤกษ์ ลมมุตฆาต ลมลั ่นในท้อง
แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ บํารุงธาตุ แก้เสมหะเฟื่อง

พริ กหาง ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


เมล็ด รสเย็น สรรพคุณ ขับปสั สาวะ ถอนพิษฟกบวม แก้กามโรค บํารุงธาตุ

พริ กหอม ไม้เถายืมต้น


ใบ รสเผ็ด สรรพคุณ แก้ราํ มะนาด ปวดฟนั ทําให้น้ําลายใส
เมล็ด รสร้อน สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ให้ผายเรอ ขับปสั สาวะ

พลูแก ไม้เถาพาดพันต้นไม้อ่นื ใบเล็กคล้ายพลูจนี


ต้น รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้รดิ สีดวง
ใบ รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ฆ่าเชือ้ โรคผิวหนัง
ดอก รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้โรคตา
ราก รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้เลือด ขับลม
ใช้ทงั ้ ๕ รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้โรคเรือ้ น มะเร็ง คุดทะราด
แก้กามโรค แก้โรคผิวหนัง
76

พลูเขียว ไม้เถาพาดพันต้นไม้อ่นื
ใบ รสเย็น สรรพคุณ แก้ราํ มะนาด ปวดฟนั ทําให้น้ําลายใส

พลูคาว ไม้เถาต้นเล็ก
ใบ รสร้อนเล็กน้อยกลิน่ คาวชื่น สรรพคุณ แก้กามโรค แก้น้ําเหลืองเสีย แก้เข่าข้อ
ทําให้แผลแห้ง แก้โรคผิวหนังทุกชนิด

พลูจีน ไม้เถาพาดพันต้นไม้อ่นื ๆ
ใบสด รสเผ็ด สรรพคุณ ลนไฟอุ่นๆ ปิดหน้าอกเด็ก แก้ปอดและหลอดลมอักเสบ
ปิดตามต่อมนํ้าเหลือง แก้อกั เสบทําให้ยบุ เร็ว เคีย้ วอมในปาก แก้แมงกินฟนั
นํ้าคัน้ จากใบสด รสเผ็ด สรรพคุณ ช่วยบํารุงเยือ่ กระเพาะอาหาร

พลูทองหลวง ไม้เถาพาดพันต้นไม้อ่นื
ใบ รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้ปากเหม็น แก้ปวดฟนั ขยีก้ บั สุราทาแก้ลมพิษ
ใช้ลนไฟปิดหน้าอก แก้ปวดแสบปวดร้อน ลนไฟนาบท้องเด็ก แก้ปวดท้องและแก้อณ ั ฑะยาน

พลูป่า ไม้เถาเล็กๆขึน้ ตามภูเขา


ใบ รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้ราํ นาด ปวดฟนั

พลูเหลือง ไม้เถาพาดพันต้นไม้อ่นื
ใบ รสเผ็ด สรรพคุณ ขับลม แก้ผ่นื คัน แก้ปากเหม็น

เพชรกะฏัก ไม้เถาเนื้ออ่อน
ต้น รสขืน่ ร้อน สรรพคุณ แก้ไข้หวัด แก้ไข้เพื่อดี แก้มนึ งงศีรษะ แก้โรคประสาท
แก้นอนไม่หลับ แก้พรรดึก กระจายลมแน่นในทรวงอก

เพชรสังฆาต (ขันข้อ,สามร้อยต่อ) ไม้เถาเนื้ออ่อนเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


เถา รสขืน่ ร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้กระดูกแตก หัก ซ้น ขับลมในลําไส้
แก้รดิ สีดวงทวารหนัก

เพชรหึง ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


เถา รสขืน่ ร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ ขับผายลม แก้ไข้จบั สั ่น
เรือ้ รัง แก้มา้ มโต พุงโร เนื่องจากพิษไข้มาลาเรีย
77

ฟักข้าว ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


ใบ รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน ถอนพิษอักเสบ
เมล็ด รสมัน สรรพคุณ บํารุงปอด แก้ฝีในปอด
ราก รสเบื่อเย็น สรรพคุณ ถอนพิษทัง้ ปวง

ฟั กทอง ไม้เถาพาดพันต้นไม้อ่นื และเลือ้ ยตามพืน้ ดิน


ราก รสเบื่อเอียน สรรพคุณ แก้พษิ สัตว์กดั ต่อย แก้กามตายด้าน
เมล็ด รสมันเบื่อ สรรพคุณ ขับพยาธิในท้อง

มะกาเครือ หรือ สะไอเครือ ไม้เถายืนต้น


เถา รสขมฝาดเฝื่ อนเย็น สรรพคุณ แก้บดิ มูกเลือด ปวดเบ่ง ขับฟอกโลหิตระดู
มะกลํา่ ตาหนู หรือ มะกลํา่ เครือ ไม้เถาพาดพันต้นไม้อ่นื
ราก รสเปรีย้ วเย็สรรพคุ
น ณแก้เสมหะในลําคอ แก้ไอ แก้เสียงแห้ง กล่องเสียงอักเสบ
เมล็ด รสขืน่ เย็น แก้รดิ สีดวงตา และกระจกตาอักเสบ

มะกลํา่ เครือ เป็นพิษต่อร่างกายมากไม่ควรใช้

มะขามเครือ ไม้เถาพาดพันต้นไม้อ่นื
เถา รสเปรีย้ ว สรรพคุณ ขับเสมหะ ถ่ายท้อง ฟอกโลหิตระดู

มะเดื่อดิ น ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


ราก รสฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้เม็ดประดงผื่นคัน ลมพิษ แก้พษิ ฝีภายใน
แก้ตบั ไตพิการ บํารุงกําลังขับโลหิตระดู

มะตึ่ง ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื ๆ


เปลือก ราก รสขมเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ แก้กระษัย แก้ดซี ่าน แก้ตบั อักเสบ
แก้ปวดตามข้อมือเท้าบวม

มะระขี้นก (ผักไห) ไม้เถาเล็กๆ


ใบ เถา รสขม สรรพคุณ แก้ไข้ บํารุงนํ้าดี ระบายอ่อนๆ
ผล รสขม สรรพคุณ แก้พษิ ฝี แก้บวม แก้ปวดเจ็บอักเสบจากพิษต่างๆ
แก้ปากเปื่อยปากเป็นฝ้าขาวเป็นขม บํารุงระดูสตรี
78

มะระจีน ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


ใบ รสขม สรรพคุณ แก้ไข้หวัด ไข้ตวั ร้อน บํารุงนํ้าดี

มะลิ เป็นไม้เถายืนต้น คล้ายไม้พุ่ม ถ้าไม้อ่นื อยูใ่ กล้กพ็ าดพันหรือคลุม


เถา รสขืน่ เย็น สรรพคุณ แก้คุดทะราด ขับเสมหะ และโลหิต
ใบสด รสเย็นฝาด สรรพคุณ แก้แผลพุพอง แก้แผลเรือ้ รัง พิษฝีดาษ
ดอก รสหอมเย็สรรพคุ
น ณทําให้จติ ใจแช่มชื่น แก้ไอ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้เจ็บตา

มะลิ วลั ย์ (มะลิ ป่า) ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


ดอก รสเย็นหอม สรรพคุณ บํารุงหัวใจ แก้ไข้ตวั ร้อน
ราก รสเย็นจืด สรรพคุณ ถอนพิษยาเบื่อเมา ถอนพิษไข้ แก้พษิ อักเสบต่างๆ

มะแว้งเครือ ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


ผล รสขม สรรพคุณ แก้ไอ ขับเสมหะ แก้เบาหวาน บํารุงนํ้าในตับอ่อน
ราก รสขืน่ เปรีย้ วเล็กน้อสรรพคุ
ย ณขับเสมหะ แก้ไอ แก้ไข้สนั นิบาต แก้น้ําลายเหนียว

ยางน่ องเครือ ไม้เถายืนต้น


ยาง รสเมาเบื่อสรรพคุณ บํารุงหัวใจอย่างแรง นําพิษซึมเข้าบาทแผลอย่างรวดเร็ว
ยางน่อง ไม่ใช้ยาพิษ แต่นําฤทธิ ์ยาพิษเข้าทางบาทแผลได้รวดเร็วมาก

รางจืด และรางเย็น ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


ราก รสเย็นสรรพคุณถอนพิษเบื่อเมา แก้ไข้ตวั ร้อน ถอนพิษไข้อนใน
แก้ร้ กระหายนํ้า

รางแดง ไม้เถายืนต้น
เถา รสจืดเย็น สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้กระษัยเส้นตึง กระษัยกร่อนทุกชนิด

ลิ้ นมังกร ไม้เถาเล็กๆ ใช้ชนิดดอกแดงมาก


เถา รสเย็น สรรพคุณ ถอนพิษสัตว์กดั ต่อย แก้พษิ งู

ลุ่มนก ไม้เถาขนาดใหญ่
เถา รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้ปวดตามข้อ แก้เม็ดประดงผื่นคัน แก้ไข้บาํ รุงโลหิต
ขับผายลม ฟอกและขับโลหิตระดู
79

เล็บมือนาง ไม้เถายืนต้น
ใบ รสเย็นเอียนเบื่อ สรรพคุณ ทาแก้พษิ ฝี แก้อกั เสบ
ผล รสเบื่อเอียน สรรพคุณ ขับไส้เดือน ทําให้สะอึก
ราก รสเบื่อเอียน สรรพคุณ ขับอุจจาระเป็นฟองขาวเหม็นคาว
ใช้ทงั ้ ๕ รสเบื่อเอียนเล็กน้อย สรรพคุณ ขับพยาธิ แก้พษิ ตานซาง

เล็บลอก ไม้เถาพาดพันไม้อ่นื
เถา รสเย็น สรรพคุณ บํารุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย บํารุงประสาท แก้ไข้เซื่องซึม

ลําไยเถา ไม้เถายืนต้น
ราก รสฝาดเฝื่ อนร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้เสมหะ แก้ลม แก้ชอกชํ้าภายใน

ส้มป่ อย ไม้เถายืนต้น
ใบ รสเปรีย้ วฝาดเล็กน้อย สรรพคุณ ถ่ายเสมหะ ล้างเมือกมันในลําไส้ แก้บดิ
ฟอกล้างโลหิตระดู ประคบให้เส้นเอ็นอ่อน

สะบ้าดํา ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เมล็ด รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง กลากเกลือ้ น หิด ฆ่าเชือ้ โรคผิวหนัง
สุมเป็นถ่าน แก้พษิ ไข้เซื่องซึม แก้พษิ ร้อนต่างๆ

สะบ้ามอญ ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เมล็ด รสเมา สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน สุมเป็นถ่าน แก้พษิ ไข้ตวั ร้อน
สะบ้าลาย ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้
เมล็ด รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง นํ้าเหลืองเสีย

สะบ้าเลือด ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เมล็ด รสเบื่อเมา สรรพคุณ แก้โรคผิวหนังผื่นคัน แก้หดิ ฆ่าพยาธิผวิ หนัง

สามสิ บ (รากสามสิ บ) ไม้เถาเล็กๆ


ราก รสเย็นหวานชุ่ม สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงตับ ปอด บํารุงเด็กในครรภ์

สีฟันเครือ ไม้เถายืนต้น
เถา รสเย็นฝาด สรรพคุณ บํารุงโลหิตระดูสตรีให้สมบูรณ์
80

ใบ รสเย็น สรรพคุณ ตําพอกแก้ปวดฝี


ดอก รสเย็น สรรพคุณ แก้ตาชํ้าอักเสบ แก้แมลงสัตว์กดั ต่อย

แสลงใจเครือ ไม้เถา
เมล็ด รสเมาเบื่อ สรรพคุณ บํารุงหัวใจ บํารุงประสาท บํารุงธาตุ ทําให้ความจําดี
แก้อมั พาต แก้ปวดเมื่อยบัน้ เอว แก้กระษัย ขับปสั สาวะ ใช้มากเป็นพิษชักกระตุกถึงตายได้
ใบ ตํากับสุราพอก แก้แผลเน่าเปื่อย
ราก รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ

แสลงพัน ไม้เถาพาดพันต้นไม้อ่นื
เถา รสเมาเบื่อร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้โรคผิวหนังผืน่ คัน นํ้าเหลืองเสีย
กระจายเลือดเน่ าเสียให้เดินสะดวก บํารุงโลหิต ขับฟอกโลหิตระดู

สลอดนํ้า ไม้เถายืนต้น
ใบ รสจืด สรรพคุณ บํารุงเนื้อหนังให้สมบูรณ์
ดอก รสเมาเอียนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้รดิ สีดวงจมูก แก้ปวดศีรษะ
ราก รสเย็นจืดสรรพคุณแก้ไข้เหนือ ไข้พษิ ระบายอ่อนๆ ถ่ายพิษไข้ ถ่ายพรรดึก

สํามะงา ไม้เถายืนต้น
ใบ รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ ต้มเอานํ้าอาบ แก้โรคผิวหนัง ประดง ผื่นคัน

หนุมานประสานกาย เป็นไม้เถายืนต้น
ใบ รสฝาดเย็นเอียน สรรพคุณ แก้ไอ แก้หดื หอบ แก้อาเจียนเป็นโลหิต (วัณโรคปอด)
ห้ามเลือดและสมานแผลได้ดี

หางไหลขาว ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้


เถา รสเอียนเล็กน้อย สรรพคุณ ถ่ายเสมหะและโลหิต ถ่ายลม ถ่ายเส้นเอ็น

หวายขม เป็นพืชจําพวกเถามีหวั – เหง้า คล้ายเหง้าข่า


หัว รสขมเย็น สรรพคุณ แก้ไอ บํารุงนํ้าดี แก้รอ้ นในกระหายนํ้า
81

หวายตะค้า เป็นพืชพวกเถาไม่มหี วั
เถา ต้น รสเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ร้อน แก้พษิ ไข้กาฬ แก้ชกั เพราะความร้อนสูง
แก้สลบ แก้หอบ แก้ลน้ิ กระด้างคางแข็ง เนื่องจากพิษไข้
คุณสมบัตพิ เิ ศษ ต้องสุมไฟเสียก่อน จึงมาผสมยา มีอาํ นาจดับพิษร้อน พิษไข้ได้วเิ ศษ

หวายโป่ ง เป็นพืชจําพวกเถา (ส่วนมากนํามาทําขาเก้าอีห้ วาย)


เถา รสจืด สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน แก้ซางชัก

หวายลิ ง (หวายเย็บจาก) เป็นพืชจําพวกเถาเลีอ้ ย ลงหัวคล้ายข่า


เหง้า รสขมกร่อย สรรพคุณ แก้ไข้ แก้ตวั ร้อน แก้ไข้เพื่อดีและโลหิต

อบเชยเถา ไม้เถาเลือ้ ยพาดพันต้นไม้อ่นื


ราก รสหอมเย็น สรรพคุณ บํารุงหัวใจ แก้ลมวิงเวียน ทําจิตใจให้ชุ่มชื่น ขับลมใน
ลําไส้ แก้ปวดมวนในท้อง

อังกาบไม้เถาเลือ้ ยต้นเล็กๆ 3มีชนิด คือ ชนิดดอกเหลือง ดอกขาว ดอกม่วงดํา สรรพคุณเหมือนกัน


น ณแก้เสมหะ เจริญไฟธาตุ ฟอกโลหิตระดูสตรี ขับปสั สาวะ
ราก รสเฝื่ อสรรพคุ

อัญชันบ้าน ไม้เถาพาดพันต้นไม้อ่นื ใช้ชนิดดอกสีขาวมาก


ราก รสจืดสรรพคุณขับปสั สาวะ แก้ปวดฟนั โคนฟนั อักเสบ แก้ตาฝ้าฟาง ตามัว

อัญชันป่ า ไม้เถายืนต้น
ราก รสเบื่อเอียสรรพคุ
น ณถอนพิษยาเบื่อเมา ถอนพิษไข้และพิษอักเสบ เป็นแผลอักเสบ

อุโลกเครือ ไม้เถาต้นเล็กๆ
ต้น รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ ขับปสั สาวะ
ใบสด รสเย็น สรรพคุณ แก้ต่อมทอนซิลอักเสบ เจ็บคอ แก้พษิ ฝี ปวดแสบปวดร้อน
ถอนพิษจากการอักเสบ
82

2.3 พืชจําพวกหัว – เหง้า ได้แก่ พรรณไม้ทไ่ี ม่ใช้หวั หรือเหง้าฝงั ลงดิน ส่วนมากเป็นพืช


ล้มลุก เมื่อเข้าฤดูฝน ฝนตกลงมาก็แตกหน่ อออกต้นเจริญงอกงาม และเมื่อถึงฤดูแล้ง ฝนไม่มกี เ็ หีย่ ว
เฉาลง ล้มแห้งตายไป เมื่อถึงฤดูฝนก็แตกหน่อเจริญงอกงามมาใหม่อกี เป็นดังนี้เรื่อยไป บางชนิดก็
ทนทานต่อความแห้งแล้งได้ดี บางชนิดทนทานต่อความแห้งแล้งไม่ค่อยได้ แล้วแต่ชนิดของพืช
จะกําหนดแน่ นอนไม่ได้ แต่ทเ่ี รียกกันว่าตัวนัน้ ต้องมีลกั ษณะกลม ถ้ายาวก็ตอ้ งมีลกั ษณะกลม
มากกว่า เหง้านัน้ อาจเป็นลักษณะแบนเป็นปุม่ เป็นแง่งหรือยาวรี มีลกั ษณะต่างๆ กัน พวกหัว เช่น
หัวบุก หัวกลอย และหัวกระดาด ส่วนหง้าและแง่งจะหาดูได้ง่าย เช่น เหง้าสับปะรด เหง้าข่า แง่งขิง
แง่งไพล แง่งกระชาย และหาข้อพึงสังเกตเอาไว้วา่ มีลกั ษณะเป็นอย่างไร พวกนี้ตามท้องถิน่ ทั ่วๆ ไป
นิยมเรียกกันว่าหัว หรือเหง้า ตัวอย่างดังต่อไปนี้

กระชายไม้ลม้ ลุกลงหัว มี3 ชนิด คือ กระชายเหลือง กระชายดํา กระชายแดง นิยมใช้อย่างเหลือง


หัว รสเผ็ดร้อนขมหอม สรรพคุณ แก้ปากเปื่อย ปากแตกเป็นแผล ขับระ ดูขาว
แก้ใจสั ่น แก้ปวดมวนในท้อง แก้บดิ มูกเลือด บํารุงกําลัง
แง่งหรือรากใหญ่ ทีต่ ดิ กับหัว รสเผ็ดร้อนขมเล็กน้อย สรรพคุณ แก้กามตายด้าน
ทําให้จติ ใจกระชุ่มกระชวย มีคุณสมบัตคิ ล้ายโสมจีน

กระชายผีมด หรือหัวร้อยรูไม่ใช่ไม้ลงหัว เป็นพวกกล้วยไม้เป็นโป ง่ ทข่ี อ้ และลําต้น


ใหญ่
หัว รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ บํารุงหัวใจ ขับชีพจร ขับพยาธิในท้อง แก้พษิ ในข้อกระดูก
แก้เม็ดประดง
กระดาดทัง้ 2 ไม้ลงหัว มี 2 ชนิด คือ กระดาดแดง กระดาดขาว
หัว รสเมาขืน่ สรรพคุณ หุงกับนํ้ามัน ใส่แผล กัดฝ้าแผล กัดหนอง แก้เรือ้ รัง
รับประทานแก้เถาดานในท้องและกัดเมือกมันในท้องได้ดอี กี ด้วย

กระแตไต่ไม้ ลักษณะคล้ายกล้วยไม้ เกาะอยูบ่ นต้นไม้ใหญ่ๆ


หัว รสจืดเบื่อ สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้นิ่ว แก้เบาหวาน เบื่อพยาธิ แก้ไตพิการ แก้แผลผุพอง

กะทื อ ไม้ลงหัวจําพวกขิง
หัว เหง้า รสขมขืน่ น้อยๆ สรรพคุณ บํารุงนํ้านมสตรีให้สมบูรณ์ แก้ปวดมวนใน
ท้อง แก้บดิ ขับผายลม ขับปสั สาวะ หัวกะทือหมกไฟฝนกับนํ้าปูนใส รับประทาน แก้ปวดเบ่ง
แก้บดิ แก้เสมหะ เป็นพิษ แก้แน่ นหน้าอก กล่อมอาจม ขับนํ้าย่อยอาหารให้ลงลําไส้
ราก รสขมขืน่ เล็กน้อย สรรพคุณ แก้ไข้ตวั เย็น แต่รสู้ กึ ร้อนภายใน
83

ต้น รสขมขืน่ สรรพคุณ แก้เบื่ออาหาร ทําให้เจริญอาหาร


ใบ รสขมขืน่ เล็กน้อสรรพคุ
ย ณขับเลือดเน่าในมดลูก และขับนํ้าคาวปลา หลังคลอดบุตรใหม่ๆ
ดอก รสขมขืน่ สรรพคุณ แก้ไข้เรือ้ รัง ไข้จบั สั ่นผอมเหลือง แก้ไข้ตวั เย็น

กะทื อป่ า ไม้ลงหัว


หัว เหง้า รสขมขืน่ เล็กน้อย สรรพคุณ บํารุงนํ้านมสตรีให้บริบรู ณ์ แก้ปวดมวนใน
ท้อง แก้บดิ ขับผายลม ขับปสั สาวะ หัวกะทือหมกไฟฝนกับนํ้าปูนใส รับประทานแก้ปวด เบ่ง แก้บดิ
แก้เสมหะเป็นพิษ แก้แน่ นหน้าอก กล่อมอาจม ขับนํ้าย่อยอาหารให้ลงลําไส้
ราก รสขมขืน่ น้อยๆ สรรพคุณ แก้ไข้ตวั เย็น แต่รอ้ นใน

กระเที ยม ไม้ลงหัวต้นเล็ก
หัว รสร้อนฉุ น สรรพคุณ แก้ไอ แก้โรคผิวหนัง กลาก เกลือ้ น แผลเน่า เนื้อร้าย
บํารุงธาตุ ขับโลหิตระดู แก้โรคประสาท นํ้าคัน้ จากหัว หยอดหู แก้ปวดหูและหูออ้ื

กลอย ไม้ลงหัว
หัว รสขืน่ คัน สรรพคุณ กัดเถาดานเป็นก้อนแข็งอยูใ่ นท้อง หุงกับนํ้ามัน ทาแผล
กัดหนองและฝ้า

กระวานไม้มเี หง้าหรือหน่ อคล้ายข่า ๒มีชนิด คือ ชนิดขาว และชนิดดํา สรรพคุณเหมือนกัน


ใบ รสเผ็ดเล็กน้อยกลิน่ หอม สรรพคุณ ขับลมให้ผายเรอ ขับเสมหะ แก้ไองซึ
ข้เซืม่
ดอก รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้เจ็บตา ตาแฉะ ตามัว
ลูก รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ขับเสมหะ โลหิต และลม

ขมิ้นชัน ไม้ลงหัว
หัว รสฝาดเอียน สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อดี คลั ่งเพ้อ แก้ไข้เรือ้ รังผอมเหลือง
แก้โรคผิวหนัง แก้เสมหะและโลหิต แท้องร่วง สมานแผล

ขมิ้นอ้อย ไม้ลงหัว
หัว รสฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ แก้ครั ่นเนื้อครั ่นตัว สมานลําไส้ แก้กระดูกขาว
ขับปสั สาวะ ตําพอกแก้ฟกบวม อักเสบ
ใบ รสเฝื่ อน สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้บวมชํ้า
84

ข่าใหญ่ (ข่าหลวง) เป็นพืชลงหัวจําพวกกระวาน โคนต้นขาว หัวขาว


เหง้า หัว รสเผ็ดร้อนขม สรรพคุณ แก้ปวดท้อง แก้จุกเสียดแน่น ขับลมให้
กระจาย แก้ฟกบวม แก้พษิ แก้บดิ ตกโลหิต แก้ลมปว่ ง แก้เกลือ้ น แก้สนั นิบาตหน้าเพลิง ตําผสม
กับเกลือมะขามเปียกให้สตรีคลอดใหม่ๆ รับประทานขับเลือด ขับนํ้าคาวปลา
ใบ รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ ฆ่าพยาธิ กลาก ต้มนํ้าอาบ แก้ปวดเมื่อยตามข้อ
ดอก รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ ท่าแก้เกลือ้ น กลาก
ผล รสเผ็ดร้อนฉุ น สรรพคุณ ช่วยย่อยอาหาร แก้ปวดท้อง คลื่นเหียน อาเจียน
ท้องอืดเฟ้อ แก้บดิ มีตวั และไม่มตี วั
ตัวอ่อน (หน่อ ) รสเผ็ ดร้อนหวานเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ลมแน่นหน้าอก
บํารุงเตโชธาตุ ช่วยย่อยอาหาร
ต้นแก่ รสเผ็ดร้อนซ่า สรรพคุณ ตําผสมนํ้ามันมะพร้าว ทาแก้ปวดเมื่อยตาม
กล้ามเนื้อ แก้ปวดข้อ แก้ลมตะคริว
ราก รสเผ็ดร้อนปร่สรรพคุ
า ณ แก้เลือดเดินไม่สะดวก แก้เหน็บชาสมหะและโลหิ
แก้เ ต

ข่าตาแดง ลักษณะเหมือนข่าใหญ่ แต่เล็กกว่าเล็กน้อย โคนต้นสีแดง หน่อขึน้ ใหม่แดง


รสจัดกว่าข่าหลวง
เหง้า หัว รสเผ็ดร้อนขม สรรพคุณ แก้ปวดท้อง แก้จุกเสียดแน่น ขับลมให้
กระจาย แก้ฟกบวม แก้พษิ แก้บดิ ตกโลหิต แก้ลมปว่ ง แก้เกลือ้ น แก้สนั นิบาตหน้าเพลิง ตําผสม
กับเกลือมะขามเปียกให้สตรีคลอดใหม่ๆ รับประทานขับเลือด ขับนํ้าคาวปลา
ใบ รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ ฆ่าตัวพยาธิกลาก ต้มนํ้าอาบ แก้ปวดเมื่อยตามข้อ
ดอก รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ ทาแก้เกลือ้ น กลาก
ผล รสเผ็ดร้อนฉุ น สรรพคุณ ช่วยย่อยอาหาร แก้ ปวดท้อง คลื่นเหียน อาเจียน
ท้องอืดเฟ้อ แก้บดิ มีตวั และไม่มตี วั
ต้นอ่อน (หน่อ ) รสเผ็ดร้อนหวานน้อยๆ สรรพคุณ แก้ลมแน่นหน้าอก บํารุง
เตโชธาตุ ช่วยย่อยอาหาร
ต้นแก่ รสเผ็ดร้อนซ่า สรรพคุณ ตําผสมนํ้ามันมะพร้าว ทาแก้ปวดเมื่อยตาม
กล้ามเนื้อ ปวดข้อ แก้ลมตะคริว
ราก รสเผ็ดร้อนปร่สรรพคุ
า ณ แก้เลือดเดินไม่สะดวก แก้เหน็บชา แก้เสมหะและโลหิต
85

ข่าลิ ง (ข่าเล็ก ข่าน้ อย) ลักษณะเหมือนข่าใหญ่ทุกประการ แต่เล็กกว่าเท่าตัว


หัว เหง้า รสเผ็ดร้อนซ่า สรรพคุณ แก้กามโรค แก้จุกเสียด แน่นเฟ้อ
ต้น รสเผ็ดร้อนซ่า สรรพคุณ แก้ฝีดาษ ฝีทราย ฝีเส้น ฝีฝกั บัว
ใบ รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้เกลือ้ นน้อยใหญ่ ฆ่าพยาธิ
ดอก ผล รสเผ็ดร้อนขมซ่า สรรพคุณ ขับพยาธิลาํ ไส้ ฆ่าพยาธิภายนอก
ราก รสเผ็ดร้อนหอม สรรพคุณ แก้พษิ ฝีภายใน-ภายนอก

ข่านํ้า (ดาหลา) ต้นใบคล้ายข่า แต่เล็กกว่า ต้นเอนคล้ายกะทือ


หัว เหง้า รสเผ็ดร้อนเฝื่อน สรรพคุณ แก้เม็ดประดง แก้ผ่นื คันตามผิวหนัง
ต้น หน่ ออ่อน ดอก รสเผ็ดร้อนซ่า สรรพคุณ แก้เสมหะในคอ แก้ลมแน่ นหน้าอก
(อุระเสมหะ) บํารุงเตโชธาตุให้สมบูรณ์ แก้เลือดออกตามไรฟนั

ข้าวเย็นใต้ ไม้เลือ้ ยลงหัวชนิดนี้ เนื้อในหัว สีขาว


หัวและราก รสกร่อยหวานมันเล็กน้สรรพคุ อย ณ แก้กามโรค นํ้าเหลืองเสียพุพอง ขับปสั สาวะ
ใบ รสขืน่ สรรพคุณ แก้ปากบวม อักเสบ
ดอก รสขืน่ เบื่อ สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง แก้คุดทะราด
ผล รสขืน่ จัด สรรพคุณ ลนไฟนาบลูกอัณฑะ แก้อณ ั ฑะอุง้ (ไส้เลื่อน)

ข้าวเย็นเหนื อ ไม้เถาลงหัว เนื้อในหัวสีเหลือง


หัวและราก รสกร่อยหวานมันเล็กน้อย สรรพคุณ แก้กามโรค แก้เส้นเอ็นพิการ
แก้น้ําเหลืองเสียพุพอง ผื่นคัน แก้ปสั สาวะ
ต้น รสจืดเย็น สรรพคุณ แก้ไข้เรือ้ รัง ไข้ตวั ร้อน
ใบ รสจืดเย็น สรรพคุณ แก้ไข้เหนือ แก้ไข้สนั นิบาต
ผล รสขืน่ จัด สรรพคุณ แก้ลมริดสีดวง

ขิ งแคลง (ขิ งป่ า) ไม้ลงหัว หรือลงแง่ง แต่เล็กกว่าขิงบ้าน


เหง้า รสหวานเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้ไข แก้ลมพรรดึก แก้ลมพานไส้ แก้แน่น
แก้เสียดแทง แก้นอนไม่หลับ แก้คลื่นเหียนอาเจียน

ขิ งบ้าน ไม้ลงหัวจําพวกเป็นแง่ง หรือเหง้า


เหง้า รสหวานเผ็ดร้อสรรพคุ
น ณขับลม แก้ปวดท้อง แก้จุกเสียด เจริญอากาศธาตุ
ต้น รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ ขับลมให้ผายเรอ
86

ใบ รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ บํารุงกําเดา


ดอก รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้โรคประสาท ซึง่ ทําให้ใจขุน่ มัว
ราก รสหวานเผ็ดร้อน สรรพคุณ ขับเสมหะในลําคอ เจริญอาหาร

เข้าค่า ไม้ตน้ ลงหัว


หัว รสร้อน สรรพคุณ แก้ฟกบวม แก้พยาธิ แก้คุดทะราด
ยาง รสร้อนจัด สรรพคุณ กัดนํ้าลาย แต่เป็นพิษต่อร่างกาย

คล้า หรือ คลุ้ม ไม้ลงหัวหรือเหง้า เป็นกอคล้ายข่า


หัว รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ แก้ไข้สงู ไข้พษิ ไข้กาฬ แก้พษิ ไข้ตวั ร้อน (ลดความ
ร้อน) แก้ไข้เหนือ แก้ปอดบวม แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้ไข้รากสาด แก้ไข้หดั สุกใส ดําแดง ฝีดาษ

คูน ไม้ลงหัว ต้นคล้ายบอน


หัว รสเผ็ดขืน่ คัน สรรพคุณ แก้กอ้ นเถาดานในท้อง สุมเป็นเถ้าถ่านผสมยา
แก้พษิ ไข้ตวั ร้อน แก้ไข้เซื่องซึม แก้พษิ ตานซางเด็ก หุงกับนํ้ามันทาบาทแผล กัดฝ้า กัดหนองได้ดี

ง่อนตาหงาย ไม้ตน้ เล็กๆลงหัว


หัว รสเย็น สรรพคุณ ถอนพิษของเบื่อเมา ถอนพิษไข้ตวั ร้อน ไข้จบั สั ่น

ดองดึง ไม้เถาเลือ้ ยขนาดเล็กลงหัว


หัว รสร้อนเมา สรรพคุณ แก้โรคเรือ้ น คุดทะราด แก้ปวดข้อ (รูมาติซ ั ่ม)
แก้กามโรค แก้พษิ สัตว์กดั ต่อย
เต่าเกียด ไม้พุ่มลงหัว
หัว รสเย็นหอมฉุ ย สรรพคุณ แก้ตบั ปอดพิการ ชักตับ กัดฟอกเสมหะ แก้ไอ

ถั ่วพู ไม้เถาเลือ้ ยชนิดลงหัว


หัว รสหวานชุ่มสรรพคุณชูกาํ ลัง บํารุงครรภ์ แก้อ่อนเพลีย บํารุงดวงใจ ให้ชุ่มชื่น
ท้าวยายม่อม ไม้ชนิดลงหัว
หัว ทําแป้งเรียกว่า แป้งท้าวยายม่อม รสมัน สรรพคุณ ผสมนํ้าตาลกรวด ให้คนไข้
รับประทาน บํารุงกําลัง บํารุงหัวใจ ทําให้จติ ใจชุ่มชื่น

บุก ไม้ลม้ ลุกลงหัว


่ นสรรพคุณกัดเถาคาน กัดเสมหะ หุงกับนํ้ามันทาแผลกัดฝ้า กัดหนอง
หัว รสเบือเมาคั
87

บัวนํ้า บัวสาย อันทีจ่ ริงจําพวกบัวนํ้าหรือบัวสายนี้ เป็นพืชประเภททีอ่ ยูใ่ นนํ้ามีหวั และ


เหง้าด้วยก็เลยเอามาอธิบายในพืชจํานวนนี้ดว้ ย คือ
๑. บัวขม สายเล็ก พันธุด์ อกขาว
๒. บัวกินสาย สายขนาดกลาง พันธุด์ อกขาวแกมชมพู
๓. บัวสัตตบุษย์ สายใหญ่ พันธุด์ อกขาวปลอด
๔. บัวสัตตบรรณ สายใหญ่ พันธุด์ อกสีแดงและสีชมพู
๕. บัวจงกลนี สายใหญ่ พันธุด์ อกสีชมพู
๖. บัวเผื่อน สายขนาดกลาง พันธุด์ อกสีซดี ขาว
๗. บัวผัน สายเห็ด พันธุด์ อกสีคราม ถ้าดอก
สีม่วงหรือสีชมพู สายและ
ดอกจะใหญ่
บัวทัง้ หมดนี้ มีสรรพคุณเหมือนกันคือ
ดอก รส ฝาดหอมเย็น สรรพคุณ บํารุงหัวใจให้ชุ่มชื่น บํารุงกําลัง แก้ไข้ตวั ร้อน
เมล็ด (คั ่ว) รสขมหอม สรรพคุณ บํารุงกําลัง เจริญอาหาร
หัว รสหอมมัน สรรพคุณ บํารุงร่างกาย ชูกาํ ลัง บํารุงครรภ์

บัวบกป่ า ไม้ลงหัว (บัวสันโดษ)


หัว รสเบื่อขมเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง บํารุงธาตุ เจริญอาหาร เป็นยา
อายุวฒั นะ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย

บัวหลวง ไม้จาํ พวกเหง้า มีชนิดต่างๆ ดังนี้


๑. บัวหลวงแดง พันธุด์ อกสีแดง
๒. บัวหลวงขาว พันธุด์ อกสีขาว
๓. บัวสัตตบงกชแดง พันธุด์ อกสีแดงซ้อน
๔. บัวสัตตบงกชขาว พันธุด์ อกขาวสีซอ้ น
รวมทัง้ ๔ ชนิดคือมีคุณสมบัตเิ หมือนกันคือ
เหง้า รสหวานมันเล็กน้อย สรรพคุณ บํารุงกําลัง แก้รอ้ นใน กระหายนํ้า
แก้เสมหะ แก้ไข้เพื่อดี แก้อาเจียน แก้ไข้ตวั ร้อน
ดอก รสฝาดหอมสรรพคุณ บํารุงครรภ์ แก้ไข้ ทําให้เกิดลมแบ่งคลอดบุตรได้ง่าย
88

เกสร รสฝาดหอม สรรพคุณ แก้ไข้ รากสาด หรือไข้ทอ้ งเสีย ชูกาํ ลังทําให้ช่นื ใจ


บํารุงครรภ์ รักษา
ฝกั รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งเสีย แก้พษิ เห็ดเมา ขับรกให้ออกเร็วเวลาคลอดบุ
ร ต
เปลือกเมล็ด รสฝาด สรรพคุณ แก้ทอ้ งร่วง สมานแผล
เมล็ด รสหวานมัน สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงไขข้อ ทําให้กระชุ่มกระชวย
ดีบวั รสขม สรรพคุณ ขยายหลอดเลือดในหัวใจ แก้กกระหายหลังจากอาเจียน
เป็นโลหิต แก้น้ํากามเคลื่อนขณะหลับ
ใบอ่อน มีวติ ามินซี รสฝาดเปรีย้ ว สรรพคุณ บํารุงร่างกายให้ชุ่มชื่น
ใบแก่ รสฝาดเปรีย้ วเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ไขบํารุงเลือด

ปรงบ้าน ไม้พุ่มลงหัว
หัว รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ ฝนกับนํ้าปูนใสทา แก้ลาํ ลาบเพลิง งูสวัด เริม ดับพิษ
ปวดแสบปวดร้อน

ปรงป่ า ไม้ลงหัวใหญ่
หัว รสฝาดเย็น สรรพคุณฝนกับสุราทา แก้ฟกบวม สมานแผล แก้แผลเรือ้ รัง แผลกลาย
ดอก รสเผ็ด สรรพคุณ บํารุงร่างกาย บํารุงธาตุ แก้ลม แก้ดแี ละเสมหะพิการ ไม้ลงหัว
หัว รสเผ็ดขมจัด สรรพคุณ แก้ไข้ แก้หวัด แก้กาํ เดา ขับลมในลําไส้ ตําสุม
ศีรษะเด็ก แก้หวัดกําเดา

เปราะหอมขาว ไม้ลงหัวชนิดเดียวกับเปราะหอมแดง
หัว ใบ รสร้อนหอม สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ให้ผายเรอ แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ ทํา
ยาสุมขม่อมเด็ก แก้หวัด กําเดา ซางชัก และลมซาง
ต้น รสหอมติดร้อน สรรพคุณ ขับเลือดเน่ าของสตรีหลังคลอดบุตร
ดอก รสหอมฉุ ยสรรพคุณ แก้เด็กนอนสะดุง้ ผวา ร้องไห้ตาค้าง ชักตาเหลือก

เปราะหอมแดง ไม้ลงหัวจําพวกมหากาฬ
หัว รสหอมเผ็ดเล็กน้อสรรพคุ
ย ณขับเลือด ขับหนองให้ตก แก้ไอ แก้ลมพิษ แก้ผ่นื คัน
ต้น รสหอมเผ็ดเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ
ใบ รสร้อนกลิน่ หอม สรรพคุณ แก้เกลือ้ นวงใหญ่
ดอก รสหอมติดร้อน สรรพคุณ แก้โรคตาอักเสบ ตาแฉะ
89

พุทธรักษาดอกแดง ไม้ลม้ ลุกลงหัว


หัว รสเย็นขืน่ สรรพคุณ บํารุงปอด แก้อาเจียนและไอเป็นโลหิต

ไพล ไม้ลงหัว
หัว รสฝาดขืน่ เอียน สรรพคุณ ตําคัน้ ผสมกับเกลือสะตุ ๑ ช้อนโต๊ะรับประธาน
ถ่ายพิษบิด ขับลมในลําไส้ ขับประจําเดือนสตรี ฝนทาแก้เคล็ดบวมยอก และผสมกับนํ้ามันเบนซิน
ทาแก้เหน็บชาชนิดบวมสมานแห
ใบ รสขืน่ เอียน สรรพคุณ แกครั ่นเนื้อครั ่นตัว แก้ปวดเมื่อย
ต้น รสฝาดขืน่ เอียน สรรพคุณ แก้อุจจาระพิการ แก้ธาตุพกิ าร อุจจาระพิการ
ดอก รสขืน่ สรรพคุณ แก้ช้าํ ใน กระจายเลือดเป็นก้อนเป็นนิ่ม
ราก รสเบื่อเอียนสรรพคุณแก้เลือดกําเดาออกทางปากทางจมูก แก้อาเจียนเป็นโลหิต

มหากาฬ (ว่านมหากาฬ) ไม้ลงหัว


หัว รสเย็นสรรพคุณดับพิษกาฬ ดับพิษร้อน แก้พษิ ไข้เซื่องซึม แก้กระสับกะส่าษอั
ย แก้
กเสบ
พิ
ใบ รสเย็น สรรพคุณ ตําพอกถอนพิษฝี แก้อกั เสบ ปวดแสบปวดร้อน

มหาสสดง ไม้กอลงหัว
หัว รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ แก้พษิ ร้อน แก้พษิ หัวกาฬ แก้ตวั ร้อน ขับปสั สาวะ
ยัง้ ไม้เถาเลือ้ ยลงหัว
หัว รสหวานมันสรรพคุณดับพิษ แก้เส้นเอ็นพิการ แก้กามโรค นํ้าเหลืองเสีย เข้าข้อ

เร็ดหนู ไม้ตน้ เล็ก ๆ ลงหัว


หัว ราก รสร้อนเล็กน้อยสรรพคุณบํารุงธาตุ เจริญอาหาร แก้อ่อนเพลีย แก้กามตายด้าน

ลําพันแดง หรือ ลําพันข้าว ไม้ลงเหง้าอยูร่ มิ ทะเล


เหง้า รสเค็มกร่อย สรรพคุณ ขับโลหิตระดูสตรี ขับลมในลําไส้ แก้จุกเสียด
แก้โลหิตระดูทาํ ให้พษิ ให้คลั ่งเพ้อ

หวานตะมอย ไม่ใช่ไม้ลงหัว (พวกกล้วยไม้)


ใบ รสเย็น สรรพคุณ แก้มอื เท้าเย็น บํารุงหัวใจ ทําให้ชพี จรเต้นเร็ว แก้ไข้กาฬ
กระทุง้ พิษ ดับพิษร้อน ขับพยาธิ
90

สิ งหโมรา ไม้กอลงเหง้า ลําต้นเป็นหนามสีแดง


เหง้า ก้าน ใบ รสขมร้อสรรพคุ
น ณบํารุงโรหิต ช่วยย่อยอาหาร ขับนํ้าคาวปลาหลังคลอดบุตร

โสมไม้เถาลงหัว มีโสมจีนและโสมอเมริกา จีนเรียก จินเส็ง จะนํามาใช้ได้ต๗อ้ –งมี๘อายุ


ปี
หัว ราก รสขมมัสรรพคุ
น ณบํารุงกําลังให้แข็งแรงกระปรีก้ ระเปร่า บํารุงโลหิต

โหราไม้ตน้ เล็ก ๆ ลงหัว ส่วนมากได้มาตาดประเทศจีน ในประเทศไทยมีบา้ งเล็กน้อย


หัว รสเมาเบื่อสรรพคุณขับเสมหะ แก้หอบหืด แก้โรคผิวหนัง เรือ้ น มะเร็ง คุดทะราด

อุตพิ ด ไม้กอลงหัว
หัว รสขืน่ คัน สรรพคุณ แก้ไอ ขับปสั สาวะ กัดล้างเสมหะ แก้รดิ สีดวงทวารหนัก
แก้รดิ สีดวงจมูก แก้โรคท้องมาน

๒.๔ พืชจําพวกผัก ได้แก่ พรรณไม้ตน้ เล็ก ๆ หรือต้นใหญ่ เป็นกอ ตันตํ่า ต้นสูง หรือ
เลือ้ ยไปอยูบ่ นบกก็ม ี อยูใ่ นนํ้าก็ม ี บางชนิดใช้เป็นอาหารได้ และนิยมเรียกว่า ผัก ดังตัวอย่างต่อไปนี้

ผักกระชับ เป็นไม้พุ่มขนาดย่อม (ซักบ้อเช้า)


ราก รสจืดเย็น สรรพคุณ ระงับความร้อน แก้ไข้ ขับปสั สาวะ

ผักกระเฉด (ผักรูน้ อน) เป็นไม้เลือ้ ย


ใบ และ นม รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน ถอนพิษอักเสบ

ผักกระโฉม
ใบ รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้พษิ ไข้ตวั ร้อน ไข้หวัด แก้ปวดศีรษะ

ผัดกาด (หัวไชเท้า)
หัว รสเย็น สรรพคุณ ตําคัน้ กับนํ้าตาลทรายแดง แก้อาเจียนเป็นโลหิต
เมล็ด รสเผ็ดชุ่ม ขับเสมหะและโลหิต ระบายอ่อนๆ ระงับอาการหอบ แก้ลมจุกเสียด

ผักกาดนา ไม้ตน้ เล็กๆ


ใช้ทงั ้ ต้น รสเย็น สรรพคุณ กระทุง้ พิษภายใน แก้พษิ ตัวร้อน (ลดความร้อน) แก้ไข้
หัดสุกใสดําแดง แก้พษิ ฝี ดาษ ขับเหงื่อ
91

ผักกาดนํ้า
ใช้ทงั ้ ต้น รสเย็น สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้นิ่ว แก้ช้าํ รั ่ว แก้กามโรค ระงับความร้อน
แก้ทางเดินปสั สาวะอักเสบ
ผักกูด ไม้ตน้ เล็กขึน้ อยูร่ มิ นํ้า
ใบ รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ แก้ตวั ร้อน แก้พษิ อักเสบ
ผักขึ้นฉ่ าย ไม้ตน้ เล็ก
ใช้ทงั ้ ต้น รสเย็นหอม สรรพคุณ ความดันโลหิต บํารุงร่างกาย แก้เบาหวาน
ผักโขมหนาม ไม้ตน้ เล็กๆ มีหนามตามข้อ
ใจ ณแก้ช้าํ ใน แก้ไข้ แก้ตวั ร้อน แก้เด็กลิน้ เป็นฝ้าละออง เจริญอาหาร
ราก รสขมเย็นชื่นสรรพคุ
ผักโขมหัด ไม้ตน้ เล็ก
ราก รสเย็นชื่น สรรพคุณ แก้พษิ ร้อนใน ต้มเอานํ้าอาบ แก้เม็ดผื่นคัน ถอนพิษไข้
แก้เสมหะ ขับปสั สาวะ
ผักโขมหิ น (ผักขมหิ น)
ต้น รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ ผายลมผายเรอ แก้เสมหะและดีพกิ าร
ผักขวง (สะเดาดิ น) ไม้เลือ้ ยต้นเล็กๆ
ใช้ทงั ้ ต้น รสขมสรรพคุณบํารุงนํ้าดี ระงับความร้อน ตําให้ละเอียดสุมหัวเด็ก แก้หวัดขัดจมูก
ผักคราดหัวแหวน ไม้ตน้ เล็ก
ใช้ทงั ้ ต้น รสเอียนเบื่อเล็กน้อย สรรพคุณ แก้พษิ ตานซาง แก้รดิ สีดวง แก้ผอม
เหลือง แก้เด็กตัวร้อน แก้ปอดบวม แก้ต่อมทอนซิลอักเสบ
ผักเค็ด ไม้พุ่มขนาดเล็ก
ใบ รสขืน่ ขม สรรพคุณ ต้มเอานํ้าอาบ แก้บาดแผล แพ้ผ่นื คัน
ราก รสขมเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ร้อนภายในร่างกาย
ผักชี ลา ไม้ตน้ เล็กๆ
ลูก รสขมฝาดร้อนหอม สรรพคุณ แก้ไข้เนื่องจากซาง แก้กระหายนํ้า บํารุงธาตุ
แก้คลื่นเหียน อาเจียน ขับลมในลําไส้ แก้สะอึก แก้ตาเจ็บ
ราก รสหอมเย็สรรพคุ
น ณกระทุง้ พิษไข้หวั หัดเหือด สุกใส ดําแดง แก้ไอ เจ็บคอ
92

ผักชี ล้อม ไม้ตน้ เล็กๆ


เมล็ด รสผอมร้อนเล็กน้อสรรพคุ
ย ณขับลมในลําไส้ แก้ธาตุพกิ าร แก้ไอ แก้หอบ บํารุงปอด

ผักตับเต่านํ้า ไม้น้ํา
ใช้ทงั ้ ต้น รสจืดเฝื่ อนสรรพคุณแก้เสมหะและลม แก้เพ้อกลุม้ แก้ไขเพื่อดี ช่วยย่อยอาหาร

ผักหนอก (บัวบก) ไม้ตน้ เล็กๆใบกลม


ใช้ทงั ้ ต้น รสขมเล็กน้อย สรรพคุณ ตําคัน้ เอานํ้ารับประทาน บํารุงหัวใจ แก้ช้าํ ใน
เนื่องจากพลัดตกหกล้ม แก้เมื่อยล้า อ่อนเพลีย แก้บดิ ท้องเสีย

ผักบุ้งขัน ผักชนิดนี้มอี ยูท่ งั ้ นํ้าจืด นํ้าเค็ม เป็นเถาเลือ้ ยตามพืน้ ดิน


เถา ใบ รสขืน่ เย็น สรรพคุณ ถอนพิษลมเพลมพัด แก้พยาธิตวั จิด๊

ผักบุ้งขาว ไม้เลือ้ ยทอดยอด


ใบ เถา รสเย็น สรรพคุณ ถอนพิษทัง้ ปวง แก้พษิ ลมเพลมพัด แก้ตาฟาง
ใบ ตําพอก แก้พษิ ฝี ถอนพิษอักเสบ
ผักบุ้งจีน ไม้ตน้ เล็ก
ใช้ทงั ้ ต้น รสเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ฝี ถอนพิษยาเบื่อเมา แก้ตาฟาง ตามัว

ผักบุ้งแดง ไม้เลือ้ ยทอด


ใบ เถา รสเย็น สรรพคุณ ถอนพิษยาเบื่อเมา แก้ตาฟาง ตามัว
ใบ ตําพอก สรรพคุณ แก้พษิ ฝี ถอนพิษอักเสบ

ผักบุ้งร้วม ไม้น้ํา
ใช้ทงั ้ ต้น สรขมสรรพคุณแก้พษิ ทัง้ ปวง ใช้ตม้ เข้ากระโจมเอาไอรม ขับเหงื่อ แก้บวม เหน็บชา

ผักเบีย้ ไม้ตน้ เล็กๆ


ใบ รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ แก้ตวั ร้อน แก้พษิ ตานซาง

ผักเป็ ดขาว ไม้เลือ้ ยตามพืน้ ดิน


ใช้ทงั ้ ต้น รสขืน่ เอียน สรรพคุณ ดับพิษโลหิต ทําให้โลหิตเย็น ฟอกและบํารุง
แก้ระดูสตรีเน่าเหม็น แก้ปวดเอวและท้องน้อย
ผัดเป็ดแดง ไม้เลือ้ ยตามพืน้ ดิน
93

ใช้ทงั ้ ต้น รสขืน่ เอียน สรรพคุณ ดับพิษโลหิต ทําให้โลหิตเย็น เป็นยาระบายอ่อนๆ


ฟอกและบํารุงโลหิต แก้ระดูพกิ ารดําเหม็น แก้ปวดเอวและท้องน้อย

ผักปอดตัวผู้ ไม้ใบเล็กๆ ขึน้ ตามทุง่ นา


ราก รสขืน่ เล็กน้อย สรรพคุณ แก้โลหิตพิการ ขับลมให้กระจาย

ผักปอดตัวเมีย เหมือนกับผักปอดตัวผู้ แต่ตน้ และใบใหญ่กว่า


ต้น รสขืน่ เล็กน้อย สรรพคุณ แก้ปวดมดลูกแก้สนั นิบาตหน้าเพลิง

ผักปลัง ไม้เลือ้ ยมี ๒ ชนิด คือ ชนิดแดง และชนิดขาว สรรพคุณเหมือนกัน


ต้น รสเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ฝี แก้อกั เสบ
ใบ รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ แก้กลาก
ดอก รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ แก้เกลือ้ น
ราก รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ แก้โรคผิวหนัง แก้รงั แค แก้ทอ้ งผูก
ผักแพวแดง ไม้ตน้ เล็ก
ราก รสร้อน สรรพคุณ แก้ลม แก้กระเพาะอาหารพิการ อุจจาระหยาบ แก้ทอ้ งมาน
แก้รดิ สีดวง แก้หดื ไอ แก้เส้นประสาทพิการ แก้ปวดเมื่อยตามข้อกระดูก

ผักหวานบ้าน ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม


ราก รสร้อน สรรพคุณ แก้ตวั ร้อน ถอนพิษไข้ แก้ไข้กลับ
ผักหวานป่ า ไม้ยนื ต้นขนาดย่อม
ราก รสเย็นสรรพคุณแก้ดพี กิ าร แก้เชื่อมมัว แก้ไข้ แก้รนกระหายนํ
อ้ นใ ้า แก้กระสับกระส่าย

ผักแว่น ไม้ตน้ เล็ก อยูร่ มิ นํ้า ชูใบ ก้านยาว


ใช้ทงั ้ ต้น รสจืด สรรพคุณ แก้เสมหะ แก้ดเี ดือด เจริญอาหาร

ผักเสี้ยนไทย ไม้ตน้ เล็กๆ


ต้น รสชื่นร้อนฉุ น สรรพคุณ ขับโลหิตระดูทเ่ี น่าเสีย
เมล็ด รสเมา สรรพคุณ สับไส้เดือนในท้อง

ผักเสี้ยนผี ไม้ตน้ เล็กๆ


ต้น รสขมร้อนเหม็นเขียว สรรพคุณ ทําให้หนองแห้ง
ใบ รสขม สรรพคุณ แก้ปสั สาวะพิการ
94

ดอก รสขมขืน่ สรรพคุณ ฆ่าพยาธิผวิ หนัง


ลูก รสเมา สรรพคุณ ฆ่าพยาธิ
ราก รสร้อนขืน่ เล็กน้อสรรพคุ
ย ณแก้สตรีผอมแห้งเนื่องจากอยูไ่ ฟไม่แก้
ได้ฝีในท้อง
ใช้ทงั ้ ๕ สรรพคุณ คุมธาตุ แก้ลม แก้ปวดท้อง จนเจริญไฟธาตุ แก้ทอ้ งร่วง
แก้ฝีในตับปอด ฝี ในลําไส้ ขับหนองสี

ผักหูปลาช่อน เป็นไม้ตน้ เล็ก ๆ คล้ายโด่ไม่รลู้ ม้ แต่เล็กกว่า


ต้น รสจืดเหม็นเขียวเล็กน้อสรรพคุ
ย ณแก้พษิ ตานซางแก้ฝีตานซ าง เม็ดผื่นคัน แก้ตวั ร้อน

ผักหนาม ไม้น้ําเนื้ออ่อน
ใช้ทงั ้ ต้น สรรพคุณ แก้ปสั สาวะพิการ

๒.๕ พืชจําพวกหญ้า ได้แก่ พรรณไม้ทเ่ี ป็นกอ เป็นเถา หรือเป็นต้นก็มี มีทงั ้ เกิดอยู่


บนบก ในนํ้า เกิดขึน้ บนเนินผา กําแพงโบสถ์และบนเจดียเ์ ก่า ๆ นํามาใช้เป็นอาหารสัตว์ และปรุง
เป็นยาได้ ดังตัวอย่างต่อไปนี้

กกลังกา (กกขนาก) พวกหญ้าต้นกลม หรือสามเหลีย่ มมน


ต้น รสจืดเย็นขมน้อย สรรพคุณ ขับนํ้าดีได้ตกลงลําไส้
ใบ รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ ฆ่าพยาธิ
ดอก รสฝาดเย็น สรรพคุณ แก้แผลเปื่อยพุพองในปาก
ราก รสขมเอียน สรรพคุณ แก้ช้าํ ใน ขับโลหิตเน่ าเสียให้ออกจากร่างกาย
หัว รสขมเอียน สรรพคุณ บํารุงธาตุ เจริญอาหาร แก้เสมหะเฟื่อง

กะเม็ง ไม้ตน้ เล็กจําพวกหญ้า มี ๒ ชนิด คือ ชนิดดอกขาวและดอกเหลือง กะเม็งมี


รสเอียนและมีธาตุเหล็กเจือปนอยูด่ ว้ ย
ต้น รสเอียน สรรพคุณ ขับลมให้กระจาย แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ บํารุงโลหิต
ดอก รสเอียน สรรพคุณ แก้ดซี ่าน ตับอักเสบ
ราก รสเอียน สรรพคุณ ขับลมในลําไส้และกระเพาะอาหาร
95

หญ้ากระต่ายจาม ไม้ตน้ เตีย้ ใบเป็นฝอย


ต้น รสจืดเย็น สรรพคุณ แก้ช้าํ ใน แก้โลหิตคลั ่งให้กระจายตกท วารหนัก
แก้อาเจียนเป็นโลหิต

หญ้ากระทืบยอด ไม้ตน้ เล็กใบเป็นฝอย


ต้น รสเย็น สรรพคุณ แก้ไข้ แก้รอ้ นใน ขับปสั สาวะ ถอนพิษยาเบื่อเมา
แก้สะอึก ตําพอกแก้ฝีกาฬ แก้แผลเรือ้ รัง
ราก รสเย็น สรรพคุณ แก้หนองใน แก้นิ่ว

หญ้าเกล็ดหอย ไม้เลือ้ ยตามพืน้ ดิน


ใช้ทงั ้ ต้น รสขมเย็นเล็กน้อสรรพคุ
ย ณ ลดความร้อน แก้ไข้ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า

หญ้าเกล็ดหอยจีน ไม้ตน้ เล็กๆ


ใช้ทงั ้ ต้น รสเย็น สรรพคุณ แก้พษิ ร้อนภายใน แก้อาเจียนเป็นโลหิต ผสม สุราอม
แก้ลาํ คออักเสบ แก้ฝีในลําคอ แก้ต่อมนํ้าลายและต่
มทอนซิอ ลอักเสบ ตําพอกแก้ปวดฝี แก้ฝีอกั เสบ

หญ้าเกล็ดหอยเล็ก
ใช้ทงั ้ ต้น รสขมเย็นเล็กน้อสรรพคุ
ย ณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้พษิ ร้อนภายใน

ขัดมอน ไม้ตน้ เล็กๆ จําพวกหญ้า


ราก เป็นเมือก รสเผ็ด สรรพคุณ แก้พษิ ไข้ ไข้กาฬ แก้ไข้หดั สุกใส ดําแดง ฝีดาษ
แก้รอ้ นใน แก้เยือ่ หุม้ สมองอักเสบ แก้ปวดมดลูก

ขลู่ (หนาดวัว) ไม้พุ่มต้นเล็กๆ จําพวกหญ้า


ต้น รสเหม็นขืน่ สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้ปสั สาวะพิการ
ใบ คั ่วให้เกรียม รสหอมเย็น ณชงนํ้ารับประทาน ขับปสั สาวะ แก้กระหายนํ้า
สรรพคุ
ย ณ ขับโลหิตประจําเดือน ขับระดูขาว ขับปสั สาวะ แก้กามโรค
เปลือก รสเมาเบื่อเล็กน้อสรรพคุ

หญ้าคา ไม้กอ ใบยาวแหลมคม


ราก รสหวานเย็นเล็กน้อย สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า บํารุงไต
แก้ดซี ่าน แก้ตบั อักเสบ แก้อ่อนเพลีย แก้เบื่ออาหาร
โคกกระสุน (กาบินหนี ) จําพวกหญ้า ใบคล้ายผักกระเฉด
ต้น ใบ รสขมเล็กน้อย สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้กระษัย แก้ปสั สวะพิการ
96

หญ้างวงช้าง ไม่ตน้ เล็ก ๆ


ใช้ทงั ้ ต้น รสเย็นสรรพคุณแก้พษิ ตานซาง ลดไข้ในเด็ก แก้กระหายนํ้า ละลายก้อนนิ่ว แก้โรคตา

จันใบหอม ไม้ตน้ เล็ก ๆ จําพวกหญ้า


ใช้ทงั ้ ต้น รสร้อน สรรพคุณ ขับลมนําไส้ กํ้าจุกเสียดแน่นเฟ้อ แก้ปวดท้อง แก้
ธาตุพกิ าร ขับโลหิตระดูสตรี

หญ้าชันกาด (หญ้าหวาย)
หัว รสจืดเย็น สรรพคุณ แก้ทางเดินปสั สาวะอักเสบ ขับปสั สาวะ แก้อาการบวม
นํ้าเนื่องจากโรคไตและโรคหัวใจ ลดความร้อน แก้พษิ ไข้กาฬ

หญ้าไซ พืชจําพวกหญ้าเกิดอยูใ่ นนํ้า


ใช้ทงั ้ ต้น รสจืดขืน่ สรรพคุณ ขับฟอกโลหิตประจําเดือนสตรีให้เป็นปกติแก้ปวดมดลูก
บํารุงโลหิต

หญ้าดอกขาว (หมอน้ อย)


ต้น รสขืน่ เล็กน้อย สรรพคุณ ขับผายลม แก้ปวดท้อง แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ
ใบสด รสเย็น สรรพคุณ ตําพอก ถอนพิษ แก้อกั เสบ

หญ้าตีนกา
ต้น รสขมเย็น สรรพคุณ ลดความร้อน แก้พษิ ไข้กาฬ บํารุงหัวใจ ตําผสมสุรา
ทาแก้ฟกบวมอักเสบ แก้ปวดแสบปวดร้อนตามร่างกาย

หญ้าตีนนก ไม้ตน้ เล็กคล้ายหมากดิบนํ้าค้าง


ต้น รสขม สรรพคุณบํารุงนํ้าดี บํารุงธาตุ แก้ไขเพื่อดี แก้รอ้ นในกระหายนํ้า

หญ้าใต้ใบ (ลูกใต้ใบ) ไม้ตน้ เล็ก ๆ


ใช้ทงั ้ ต้น รสขมเย็น สรรพคุณระงับความร้อน แก้พษิ ไข้ แก้ไขมาลาเรีย แก้กามโรค
ขับระดูขาว ตําผสมสุราพอก แก้พษิ ฝี แก้ฟกบวม

ตําแยแมว (ตําแยตัวผู้)
ราก รสขืน่ สรรพคุณ ขับเสมหะ ทําให้อาเจียน ทําให้ระคายเคืองทางเดินอาหาร
97

หญ้าถอดปล้อง จําพวกไม้น้ํา
ต้น รสจืดเย็น สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้นิ่ว บํารุงไต ขับระดูขาว

โทงเทง (โคมจีน)
ใช้ทงั ้ ๕ รสเย็น สรรพคุณ แก้ต่อมทอนซิลอักเสบ แก้เจ็บในลําคอ แก้ปวดแสบ
ปวดร้อน ฝนหยอดตา แก้ตาแฉะ แก้ปวดเคืองในลูกตา แก้ตาอักเสบ

หญ้านํ้าดับไฟ
ต้น ใบ ราก รสเย็นสรรพคุณ ตําคัน้ เอานํ้าทา แก้ปวดแสบปวดร้อน แก้แผลพุพอง
ใบ รสเย็น สรรพคุณ ตําผสมสุรา พอกแก้พษิ ฝี แก้ปวดบวม แก้พษิ ไฟไหม้ นํ้าร้อน
ลวกสุมศีรษะเด็กเวลาเย็น แก้หวัดคัดจมูก
ราก รสเย็น สรรพคุณ แก้พษิ สุนขั กัด

หญ้านํ้านมราชสีห์
ต้น รสขม สรรพคุณ แก้ปสั สาวะมีสแี ดงเหลืองขุน่ บํารุงนํ้านม

หญ้าหนวดปลาดุก
ใช้ทงั ้ ต้น รสขม สรรพคุณ บํารุงโลหิต เจริญอาหาร แก้ไข้มาลาเรีย แก้ไข้ ผอม
เหลือง แก้ไอ แก้หดื

หญ้าหนวดแมว (พยับเมฆ)
ต้น รสจืด สรรพคุณ ขับปสั สาวะขับนิ่ว แก้กระษัย แก้ปวดเมื่อยบัน้ เอว ใช้มากเป็น
อันตราย กดหัวใจทําให้หยุดเต้นได้

หญ้าปราบ (โด่ไม่ร้ลู ้ม)


ใช้ทงั ้ ต้น รสจืดขืน่ สรรพคุณแก้ไข แก้กระษัย แก้ปสั สาวะพิการ บํารุงกําหนัด

หญ้าปากควาย
ใช้ทงั ้ ต้น รสเย็น สรรพคุณ ดับพิษกาฬ แก้ไขพิษไข้หวั ทุกชนิด ช่วยย่อยอาหาร แก้
พิษแก้ไข้ตรีโทษ

หญ้าปื นตอ ไม้เลือ้ ยพาดพันต้นไม้


หัว รสหวานเล็กน้อย สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงตับ ปอด หัวใจ
98

ไผ่ พืชจําพวกหญ้า เป็นกอ ตระกูลเดียวกันมีดงั นี้


ไผ่ปา่ ไม่มหี นาม
ไผ่สสี ุก มีหนามน้อย ต้นใหญ่กว่า
ไผ่บง ไม่มหี นาม ลําใหญ่
ไผ่ลาย มีลาํ เป็นสีลายสวย
ไผ่รวก ลําเล็ก แข็ง มีหนามน้อย
ไม้จาํ พวกนี้แทงหน่ ออ่อน ๆ รับประทานเป็นอาหารได้สรรพคุ
ทงั ้ สิน้ ณเหมือนกัน
ใบ รสชื่นเฝื่ อน สรรพคุณ ฟอกล้างโลหิตระดูทเ่ี สีย
ตา สุมเป็นถ่าน รสจืสรรพคุ
ด ณแก้รอ้ นในกระหายนํ้า ดูดแก๊สในกระเพาะอาหาร
ราก รสเฝื่ อน สรรพคุณ ขับปสั สาวะ แก้ไตพิการ แก้หนองใน ขับระดูสตรี

ไผ่เหลือง ไม้ยนื ต้นเป็นกอ ลําเหลือง


ตาไผ่ รสจืด สรรพคุณ เอา ๗ ตาต้มรับประทาน แก้สตรีตกโลหิตมากเกินไป

หญ้าฝรั ่น ไม้จากประเทศสเปน
ใช้เกสร รสขมหวานเล็กน้อย สรรพคุณ บํารุงธาตุ บํารุงโลหิต ชูกาํ ลัง
แก้สวิงสวาย แก้ไข แก้ตบั ไต แก้โรคเส้นประสาท แก้ซางเด็ก

หญ้าพันงูขาว
ใช้ทงั ้ ต้น รสจืดขืน่ สรรพคุณ ช่วยย่อยอาหาร แก้ไขตรีโทษ แก้พษิ ฝี

หญ้าพันงูเขียว
ใช้ทงั ้ ต้น รสจืด สรรพคุณ ขับเหงื่อ ขับปสั สาวะ

หญ้าพันงูแดง
ต้น รสจืด สรรพคุณ แก้ขดั เบา
ใบ รสจืดเย็น สรรพคุณ แก้คออักเสบ เป็นเม็ดเป็นหนามในคอ
ดอก รสจืด สรรพคุณ แก้เสมหะคั ่งในทรวงอก ละลายก้อนนิ่ว
ราก รสจืด สรรพคุณ ขับปสั สาวะ
ใช้ทงั ้ ต้น รสจืดเย็น สรรพคุณ รสจืด สรรพคุณ แก้ไข แก้อกั เสบในลําคอ

หญ้าพันงูนา
ใช้ทงั ้ ต้น รสจืด สรรพคุณ ขับเหงื่อ แก้ไขตัวร้อน
99

หญ้าแพรก
ใช้ทงั ้ ต้น รสขมเย็น สรรพคุณ แก้พษิ เจ็บปวด แก้อกั เสบ แก้สตรีตกโลหิต
มากเกินไป แก้รอ้ นใน กระหายนํ้า แก้ไขพิษ ไข้กาฬ ไข้หดั สุกใส ดําแดง

หญ้าพองลม (ปู่ เจ้าลอยท่า) ไม้น้ํา


ต้น รสจืดเย็น สรรพคุณ แก้ไขตัวร้อน แก้รอ้ นกระสับกระส่าย

หญ้าแห้วหมู หญ้าชนิดลงหัว มี ๒ ชนิด เล็ก ใหญ่


หัว รสซ่าติดจะร้อนผลิต สรรพคุณ บํารุงธาตุ เจริญอาหาร ขับลมในลําไส้ แก้ทอ้ งขึน้
อืดเฟ้อ บํารุงกําลัง บํารุงครรภ์รกั ษา

ว่าน ว่านต่าง ๆ ก็จดั เป็นพืชวัตถุ เช่นเดียวกับพืชวัตถุท ั ่ว ๆ ไป ว่าน นอกจากจะมี


ประโยชน์ทาํ ยา ยังมีประโยชน์ทางคุณไสย อิทธิฤทธิ ์ ชนบางพวกถือว่า ว่านบางชนิดนําโชคลาภมา
ให้ แต่ในทีน่ ้จี ะบรรยายเฉพาะว่านทีม่ สี รรพคุณในทางนํามาใช้เป็นยาเท่านัน้

ว่านคันทมาลา ไม้ลงหัว
หัว รสฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ อมแก้ต่อมทอนซิลอักเสบ แก้ฝีในคอ แก้เจ็บคอ ฝน
ทาแก้เคล็ดบวม

ว่านชักมดลูก ไม้ลม้ ลุกลงหัว


หัว รสฝาดเบื่อสรรพคุณแก้มดลูกพิการ แก้ปวดมดลูก ชักมดลูกให้เข้าอู่หลังคลอดบุตร

ว่านนางคํา ไม้ลงหัว
หัว รสร้อนฝาดเฝื่ อน สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ แก้ปวดท้อง แก้กามโรค เม็ดผื่นคัน
คุมธาตุ ตําพอก แก้ฟกชํ้า บวม เคล็ดขัดยอก
ราก รสขืน่ ฝาด สรรพคุณ สมานแผล คุมธาตุ ขับเสมหะ

ว่านนํ้า ไม้น้ําชอบอยูต่ ามทีล่ ุ่มนํ้าขึน้ ถึงแง่ง หรือเหง้า


เหง้า หรือ ราก รสร้อนกลิน่ หอมแรง สรรพคุณ แก้บดิ แก้ปวดท้อง แน่ นจุกเสียด
แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ ฝนกับสุราทาหน้าอกเด็ก แก้ปวดและหลอดลมอักเสบ
ใบ รสเผ็ดร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ แก้ปวดกล้ามเนื้อ ปวดข้อ แก้ปวดศีรษะ
หัว นํ้ามันทีไ่ ด้จากหัว ขับลมในท้อง แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ แก้โรคกระเพาะอาหาร
100

ว่านเพชรน้ อย ไม้ลม้ ลุกลงหัว


หัว รสเฝื่ อน สรรพคุณ รับประทานทําให้ชาตามผิวหนัง ระงับความเจ็บปวด
เมื่อยล้าแก้กระษัย แก้กร่อน ขับระดูขาว แก้อาการกระตุกเนื่องจากเส้นประสาทพิการ

ว่านมหาเมฆ ไม้ลม้ ลุกลงหัว


หัว รสฝาดเฝื่ อสรรพคุ
น ณแก้ปวดมดลูก แก้มดลูกอักเสบ บวม ชักมดลูกให้เข้าอู่หลังคลอดบุตร

ว่านร่อนทอง ไม้ลงหัวเล็ก ๆ
หัว รสปร่า สรรพคุณ ช่วยย่อยอาหาร แก้ทอ้ งเสีย แก้บดิ มูกเลือด คุมธาตุ แก้พษิ
ตานซาง แก้พษิ ฝี พิษงู ตะขาบ แมงปอ่ ง

ว่านสากเหล็ก ไม้ลงหัว มีตน้ ละหัวคล้ายสาก


หัว และ ราก รสขมเมา
สรรพคุณแก้มดลูกอักเสบ ชักมดลูกให้เข้าอู่หลังการคลอดบุตร

ว่านหางจระเข้ ไม้ลงเหง้า
ราก เหง้า รสเย็นเบื่อขม สรรพคุณ แก้กามโรค แก้ทางเดินปสั สาวะอักเสบ
ใบ รสเย็นเป็นเมือก สรรพคุณ ปิดแก้ปวดศีรษะ ดูดพิษอักเสบต่าง ๆ วุน้ เมือกทีใ่ บ
รับประทานแก้กามโรค

ว่านงาช้าง (หอกสุระกาฬ)
ใช้ทงั ้ ต้น รสเฝื่ อนร้อนเล็กน้สรรพคุ
อย ณแก้คุณอันบุคคลกระทํด้าวยผมเนื้อหนัง กระดูก
ใบ รสเฝื่ อนร้อนเล็กน้อย สรรพคุณ ระบายอุจจาระ แก้ระดูสตรีพกิ าร
ต้น ใช้ตาํ โขลกผสมกับสุรา แก้เลือดดีขน้ึ แก้บาดทะยักปากมดลูกในเรือนไฟ

ว่านหางนาก
ใบ รสเย็น สรรพคุณ ตําพวกปิดแผล ถอนพิษอักเสบ แก้พษิ ตะขาบ แมงปอ่ ง

ว่านหอยแครง หรือ ว่านแสงอาทิ ตย์ ไม่ใช่ไม้ลงหัว


ใบ รสเย็น สรรพคุณ แก้ไอ แก้อาเจียนเป็นโลหิต แก้ช้าํ ในเนื่องจากพลัดตกหกล้ม
แก้รอ้ นในกระหายนํ้า

ว่านกลีบแรด รสเย็นจืด สรรพคุณ แก้พษิ ไข้ พิษตานซาง แก้กาฬมูตร แก้อาเจียน แก้พษิ


กําเดา แก้น้ําลายเหนียว
101

ว่านตีนตะขาบรสเมาเย็นสรรพคุณถอนพิษสัตว์กดั ต่อย แก้ฟกบวม เคล็ดยอก แก้หเู ป็นนํ้าหนวก

ว่านหางช้าง รสร้อนขมขืน่ ซ่า สรรพคุณ แก้คุณอันบุคคลทําด้วยกระดูกผีคุณคน ใบต้ม


ระบาย อุจจาระธาตุ แก้ระดูสตรีพกิ าร

ว่านมหากาฬรสเย็นปร่าสรรพคุณดับพิษไข้ แก้พษิ ตานซาง แก้พษิ ไข้รอ้ น กลุม้ เพ้อคลั ่ง

ว่านเปราะรสขมร้อน กลิน่ หอม


สรรพคุณแก้ธาตุพกิ าร แก้พษิ ลม แก้ปวดบวม บํารุงหัวใจ

ว่านเพชรหึงไม้เถา รสเมาเบื่อร้อนขม
สรรพคุณถอนพิษสัตว์กดั ต่อย แก้เคล็ดยอกชํ้าบวม

ว่านสะดุ้ง รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย แก้พษิ บาดแผล บาดทะยัก ถอด


พิษ สัตว์กดั ต่อ

ว่านเพชรใหญ่รสเมาเบื่อสรรพคุณแก้โรคผิวหนัง ฆ่าพยาธิ คุดทะราด และรักษาแผลมีเชือ้

ว่านสามพันตึง รสเมาเบื่อร้อนขืสรรพคุ
น่ ณแก้ปวดเมื่อย แก้พษิ สัตว์กดั ต่อย ทําให้หนังชา

ว่านดักแด้ รสขมเบื่อ สรรพคุณ แก้พษิ สัตว์กดั ต่อย ทําให้หนังชา แก้ไขพิษ ไข้กาฬ

ว่านม้า รสเมาขมร้อนสรรพคุณบํารุงเส้นเอ็น บํารุงไข้ขอ้ แก้ปวดเมื่อย ตามข้อทําให้เดินทน

เห็ด เห็ดสมควรจัดเห็ดอยูใ่ นพืชวัตถุ เนื่องเพราะเห็นนี้ใช้เพาะปลูก และเจริญเติบโตคล้ายพืช


เห็ดโคน รสเย็นหวาน สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงร่างกาย แก้ช้าํ ใน

เห็ดจาวมะพร้าว รสเย็นหวาน สรรพคุณ ชูกาํ ลัง บํารุงร่างกาย แก้ช้าํ ใน

เห็ดจอมปลวกรสเย็นหวานสรรพคุณบํารุงกําลัง บํารุงร่างกาย บํารุงเนื้อหนังให้สดชื่น

เห็ดตับเต่าขาว เป็นเมือก รสเย็น สรรพคุณ บํารุงร่างกาย แก้ช้าํ ใน

เห็ดตับเต่าดํา เป็นเมือก รสเย็น สรรพคุณ บํารุงร่างกาย แก้ช้าํ ใน

เห็ดฟาง รสเย็นหวาน สรรพคุณ ชูกาํ ลัง บํารุงร่างกาย แก้ช้าํ ใน

เห็ดเผาะ รสเย็นหวาน สรรพคุณ ชูกาํ ลัง บํารุงร่างกาย เจริญอาหาร แก้ช้าํ ใน


102

เห็ดหูหนู รสจืดหวาน สรรพคุณ บํารุงร่างกาย ทําให้เนื้อเย็น แก้ช้าํ ใน

เห็ดกระถิ นพิ มาน ได้จากไม้กระถินพิมานผุ


รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ แก้เริม งูสวัด ไฟลามทุ่ง แก้พษิ ฝี อกั เสบ แก้ไข้กาฬ

เห็ดขี้ควาย เกิดจากกองขีค้ วายทีข่ ไ้ี ว้นานและแห้ง


รสเมาเบื่อสรรพคุณแก้ลมกองละเอียด แก้นอนไม่หลับ แก้พษิ ไข้รอ้ นกระสับกระส่าย

เห็ดขี้ววั เกิดจากกองขีว้ วั ทีข่ ก้ี องไว้นานและแห้ง


รสเมาเบื่อสรรพคุณ แก้ลมกองละเอียด แก้นอนไม่หลับ แก้พษิ ไข้รอ้ นกระสับกระส่าย

เห็ดงูเห่า เกิดจากรากไม้ ลักษณะคล้ายงูเห่าแผ่แม่เบีย้ ขึน้ เป็นรา


รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้ไขพิษ ไข้กาฬ ดับความร้อน แก้กระสับกระส่าย

เห็ดหญ้าคา รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้พษิ ฝี อกั เสบ ปวดแสบปวดร้อน

เห็ดหญ้าแพรกรสเมาเบื่อสรรพคุณแก้พษิ โลหิต แก้ไข้ทอ้ งเดิน แก้ไขกาฬ แก้ลม ดับพิษ ฝีอกั เสบ

เห็ดหญ้าหวายรสเผ็ดฝาดชื่นสรรพคุณแก้พษิ ไข้เพ้อคลั ่ง แก้รอ้ นรุ่ม แก้ทอ้ งเดิน แก้ลม แก้ไขกาฬ

เห็ดตาลเกิดจากไม้ตาลผุ รสฝาดเบื
สรรพคุ
่อ ณแก้ไขพิษ ไข้กาฬ รากสาด
ไข้ ดับพิษฝี

เห็ดเตย เกิดจากไม้เตยผุ รสเมาเบื่อเย็น สรรพคุณ แก้ไข้พษิ ไข้กาฬ แก้รอ้ น


กระสับกระส่าย แก้ลงแดง แก้ไข้รากสาด

เห็ดไผ่ เกิดจากไม้ไผ่ผุ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ ระงับประสาท แก้นอนไม่หลับ ร้อนรุ่ม

เห็ดมะขาม เกิดจากไม้มะขามผุ รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ แก้ไข้พษิ ไข้กาฬ ฝี อกั เสบ


เห็ดมะพร้าวเกิดจากไม้มะพร้าวผุ รสฝาดเบื
สรรพคุ
่อ ณแก้พษิ ไข้ แก้ทอ้ งร่วง แก้พษิ โลหิต แก้รอ้ นรุ่ม

เห็ดหมากเกิดจากไม้หมากผุ รสฝาดเบื
สรรพคุ
่อ ณแก้พษิ ไข้ แก้ทอ้ งร่วง แก้พษิ โลหิต แก้รอ้ นรุ่ม

เห็ดไม้แดง เกิดจากไม้แดงผุ รสเ


ย็ดฝาดสรรพคุณแก้ไขพิษ ไข้กาฬ แก้พษิ ฝี อกั เสบ

เห็ดไม้ตบั เต่า รสเย็นเบื่อ สรรพคุณ แก้ไขพิษ ไข้ทม่ี พี ษิ ร้อนสูง ใช้ตดั ศิลา คือใช้หดั สุกใส
ดําแดง และไข้หวั ต่าง ๆ
103

เห็ดไม้รวก เกิดจากไม้รวกผุ รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน แก้พษิ ไข้รอ้ นรุ่ม

เห็ดร่างแห หรือ เห็ดระย้า เป็นส่าราเกิดจากดิน มีระย้ารอบดอก รสเมาเบื่อเย็น สรรพคุณ


แก้ไข้พษิ ถอนพิษกาฬ

๓. สัตว์วตั ถุ
๓.๑ สัตว์บก ได้แก่ สัตว์ทอ่ี าศัยอยูบ่ นบก และหากินบนบก ตัวอย่าง

แมลงสาบ ใช้มลู ประกอบยา สรรพคุณ แก้ลน้ิ ขาวเป็นฝ้า เป็นละออง แก้เม็ดยอด ในปาก


แก้ฟกบวมทีม่ พี ษิ ร้อน แก้กามโรค (ต้องคั ่วหรือสุมก่อนปรุง)

กวาง เขาแก่ สรรพคุณ แก้ไขกาฬ ไข้พษิ เขาอ่อนบํารุงร่างกาย บํารุงกําลัง บํารุงความ


กําหนัด ถอนพิษผิดสําแดง

วัวป่ า เขาวัว สรรพคุณ แก้ตวั ร้อน ดับพิษไข้ แก้พษิ กาฬ ถอนพิษผิดสําแดง ตับบํารุง
ร่างกาย บํารุงตับดี แก้ดซี ่าน บํารุงนํ้าดี บํารุงโลหิต เป็นกระสายทําให้ยาแล่นเร็ว

ควายเผือก กระดูก สรรพคุณ แก้โรคอันบังเกิดจากกระจําพิษนํ้าเหลือง แผลกลาย


กาม โรคเข้าข้อออกดอก

งูเห่า สรรพคุณ แก้โรคกระษัย ปวดเมื่อย แน่น เสียด บํารุ(ก่งอกํนปรุ


าลัง ง ต้องย่างไฟเสีก่ยอน)

เสือ ใช้กระดูก สรรพคุณ บํารุงกระดูก เลือด เนื้อ ไข้ขอ้ แก้ปวดเมื่อยหัวเข่า

หมี ใช้เขีย้ ว สรรพคุณ ดับพิษ พิษอักเสบ แก้ตวั ร้อน แก้พษิ ตานซาง ปวดในข้อ เส้นเอ็น
แก้ช้าํ ในกระจายเลือด กระดูก บํารุงโลหิต กระจายโลหิต บํารุงกําลัง

ช้าง ใช้กระดูก สรรพคุณ แก้โรคอันบังเกิดจากกระดูก โรคเรือ้ น มะเร็ง

วัวดํา ใช้มลู ทํายา สรรพคุณ ดับพิษร้อนถอนพิษไข้ทงั ้ ปวง แก้ไฟลามทุ่ง แก้งสู วัด


แก้ลมพิษ แก้ฟกบวม
104

๓.๒ สัตว์นํ้า ได้แก่ สัตว์ทเ่ี กิดและหากินอยูใ่ นนํ้า

ปลาช่อน ใช้ดที าํ ยา สรรพคุณ แก้ตาต้อ ตาแดง หางตากแห้งแก้โรคในปาก ลิน้ เป็นฝ้า


เป็นเม็ด ตัวร้อน นอนสะดุง้ หลังร้อนมือเท้าเย็น แก้หอบ ซางทับสํารอกชักเพราะความร้อนสูง
เกล็ดทําให้เกิดลมเบ่ง

ปลาหมอใช้ทงั ้ ตัวทํายาสรรพคุณแก้กระษัยปลาหมอ ดี แก้พยาธิกนิ ผมร่วงเป็นหย่อมๆ ช่วยให้ผมดํา

ปลากระเบนใช้หนังทํายา สรรพคุณขับเลือดเน่ าร้าย หลังจากการคลอดบุตร ขับนํ้าคาวปลา

ปลาพะยูนใช้เขีย้ วทํายาสรรพคุณแก้พษิ ใช้กาฬ พิษไข้ซาง พิษไข้ตวั ร้อน ร้อนใน กระหายนํ้า

วาฬ ใช้น้ํากาม ซึง่ เรียกว่า อําพันทอง สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงหัวใจ แก้อ่อนเพลีย


แก้ลมวิงเวียน

ตะพาบนํ้า ใช้ดที าํ ยา สรรพคุณ ขับลมและเลือด แก้ลมกองละเอียด คือลมวิงเวียนหน้ามือ


พิษปวดกระดูก ถอนพิษฟกบวมอักเสบ ถอนพิษสัตว์กดั ต่อย

กบ ใช้น้ํามันสรรพคุณทาแก้ปวดเมื่อย ขัดยอก เคล็ดกระดูก แก้พษิ ไข้ ไข้


(สุมกไฟ
าฬ)

ปูนา ใช้ทงั ้ ตัว ดําคัน้ ปนกับสุรา สรรพคุณ แก้ช้าํ ใน กระจายโลหิต

ปูทะเล ใช้กา้ ม สรรพคุณ ดับพิษกาฬ แก้พษิ อักเสบ แก้ไข้รอ้ นใน กระหายนํ้า

จระเข้ ใช้ดี สรรพคุณ ขับเลือดร้าย ขับนํ้าคาวปลา แก้โรคตา แก้สนั นิบาตหน้าเพลิง

เต่านา ใช้กระดองอก สรรพคุณ ถอนพิษฟกบวมอักเสบ ถอนพิษสัตว์กดั ต่อย ทํากระสาย


ยาแก้หดื บํารุงนํ้านม

หัวเต่านา แก้ตบั ทรุด แก้มา้ มโต

ปลาหมึก กระดอง หรือ ลิน้ ทะเล สรรพคุณ แก้เม็ดยอดในปาก ฆ่าเชือ้ โรค กัด สิวฝ้า
แก้ปวดท้อง แก้มกู เลือด

หอยต่าง ๆ ใช้เปลือกทํายา สรรพคุณ แก้โรคลําไส้

แมงดาทะเล กระดองรสเค็ม สรรพคุณ ใช้ทาํ ยา แก้โลหิตเป็นพิษ แก้ซางเด็ก


105

ม้านํ้า ใช้กระดูกทํายา สรรพคุณ แก้โรคไต แก้ปวดหลัง แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย


บํารุงกระดูก บํารุงกําลัง

๓.๓ สัตว์อากาศ ได้แก่ สัตว์ทม่ี ปี ีก บินไปมาในอากาศได้ ตัวอย่าง

ผึง้ ใช้น้ําหวานในรังทํายา สรรพคุณ บํารุงร่างกาย บํารุงกําลัง แก้อ่อนเพลีย เห นื่อยหอบ


แก้สะอึก แก้ไข้ตรีโทษ

นกกา หรือ อีกาใช้กระดูกและขนทํายาสรรพคุณแก้พษิ กาฬ ใช้กาฬ แก้พษิ ตานซาง

นกนางแอ่น ใช้รงั ทํายา สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงความกําหนัด แก้อ่อนเพลีย

นกกรด ใช้น้ํามัน สรรพคุณ แก้โรคผิดหนังผื่นคัน แก้มะเร็ง

นกกระจอกถอนขนออกใช้
ทัง้ ตัวสรรพคุณบํารุงร่างกาย บํารุงกําลัง บํารุงความกําหนัด

นกออก ใช้น้ํามันทํายา สรรพคุณ แก้โรคผิวหนังผื่นคัน

นกพิ ราบ ใช้มลู ทํายา สรรพคุณ แก้ไขเกิดจากพิษตานซาง แก้ซางร้าย (ความร้อนสูงชัก)


แก้ลมเบ่ง แก้ปวดท้อง (ต้องคั ่วก่อนปรุงยา)

นกยูง ใช้ขนทํายา สรรพคุณ แก้ซางลิน้ ขาวเป็นฝ้าละออง แก้หละ แก้ซาง ละอองในปาก


แก้หอบหืด แก้ซาง ชักตาเหลือกตาซอน

ค้างคาวแม่ไก่ ใช้เลือดทํายา สรรพคุณ บํารุงโลหิต และบุรุษโลหิตจาง แก้ผอมแห้ง บํารุง


กําลัง แก้เหน็บชา

นกกานํ้าใช้ดที าํ ยาสรรพคุณแก้โรคหนังศีรษะพิการ แก้ผมร่วง บํารุงเส้


ม นให้ผดกดํา
106

๔. ธาตุวตั ถุ
๔.๑ ธาตุที่สลายตัวง่าย
ได้แก่ แร่ธาตุต่าง ๆ ทีเ่ กิดขึน้ เองตามธรรมชาติ หรือแร่ธาตุทป่ี ระกอบขึน้ ตามกรรมวิธมี ี
คุณสมบัตสิ ลายตัวง่าย เช่น ถูกความร้อนเพียงเล็กน้อย แช่น้ําหรือใช้มอื ขยี้ ธาตุวตั ถุเหล่านี้บางอย่าง
เมื่อสลายตัวออกไปแล้ว ก็ไม่สามารถกลับสู่สภาพเดิมได้ ตัวอย่าง

กํามะถันเหลืองเกิดขึน้ โดยธรรมชาติ สีเหลืองอ่อนนวล ถูกความร้อนเพียงเล็กน้อยก็สลายตัว


สรรพคุณ แก้จุดเสียดในโรคปว่ ง แก้โรคผิวหนังผุพอง นํ้าเหลืองเสีย ฆ่าเชือ้ โรค
ฆ่าแม่พยาธิทงั ้ ภายในและภายนอก ใช้หุงนํ้ามันทาแก้หดิ ขับลมในกระดูก

กํามะถันแดง (มาด) สีแดงใช้หุงกับนัน้ ใส่แผลเรือ้ รัง สรรพคุณ แก้แผลเปื่อยลาม บดผงผสม


เหล้าทาดับพิษใช้กาฬบางชนิด เช่น ไข้งสู วัด เป็นต้น

สารส้ม ก้อนสีขาว สรรพคุณ สมานได้ทงั ้ ภายนอกและภายใน ชะล้างระดูขาว แก้บาดแผล


ทําให้หนองแห้ง แก้แผลในปากในคอ ขับปสั สาวะ แก้นิ่ว

เกลือสิ นเธาว์ เกลือทีไ่ ด้จากดินเค็ม ดินโปง่ สรรพคุณ แก้พรรดึก ล้างเมือกในลําไส้


ขับพยาธิในท้อง ละลายนิ้ว แก้ตรีโทษ

ดีเกลือ รสเค็มขม สรรพคุณ ถ่ายท้องผูก ถ่ายโรคกระษัย ทําให้เส้นเอ็นหย่อน เป็นยาถ่าย


อุจจาระได้ดี

เกลือ รสเค็ม สรรพคุณรักษาเนื้อหนังไมให้เน่าเปื่อย บํารุงธาตุ๔ทแก้


งั ้ น้ําดีพกิ าร แก้น้ําเหลืองเสีย

จุนสี รสเปรีย้ วฝาด สรรพคุณ กัดล้างหัวฝี กัดหัวหูด คุดทะราด รักษาโรคฟนั (ระวังถ้าแพ้


ฟนั จะโยกหลุดได้)

ดิ นประสิ วสรรพคุณขับลมทีค่ ั ่งค้างตามเส้น ทําให้เส้นเอ็นอนหย่ถอนพิษ แก้คนั ตามผิวหนัง

พิ มเสนเกล็ด สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียนหน้ามืด บํารุงหัวใจ ทําให้จติ ใจชุ่มชื่น ทําให้เรอ และ


ผายลม แก้จุกเสียดแน่นเฟ้อ แก้ปวดท้อง แก้แผลสด แผลเรือ้ รัง

นํ้าตาลกรวด สรรพคุณ แก้คอแห้ง ชูกาํ ลัง ทําให้เนื้อหนังชุ่มชื่น

ดิ นเหนี ยว สรรพคุณ ดูดลมให้ลงเบือ้ งตํ่า ถอนพิษอักเสบ


107

ดิ นขุยปู สรรพคุณ แก้พษิ กาฬ แก้ไขปว่ ง แก้ไขทีม่ พี ษิ ร้อน

ดิ นรังหมาร่า สรรพคุณ แก้กระหายนํ้า ดับพิษร้อนถอนพิษอักเสบ

ดิ นท้ องเรือจ้าง สรรพคุณ แก้เลือดออกตามไรฟนั ทําให้หนังชุ่มชื่น

ดิ นถนําถํา้ สรรพคุณ แก้ตาแฉะ ตาอักเสบ

ดิ นถนําส้วม สรรพคุณ แก้ตาแฉะ ตาอักเสบ

ดิ นสอพองสรรพคุณห้ามเหงื่อ แก้เม็ดผดผื่นคัน ระงับพิษทีเ่ กิดขึน้ ในร่างกาย ทําให้ร่างกายเย็น

ตะกั ่วนมและตะกั ่วแข็ง ผสมกับนํ้ามันรักษาบาดแผล แก้พษิ อักเสบต่าง ๆ

๔.๒ ธาตุที่สลายตัวยาก

เหล็ก ใช้สนิมทํายา สรรพคุณ บํารุงโลหิต แก้ตบั ทรุด ม้ามโตย้อย แก้คุดทะราด และผสม


ยาแก้ไข้จบั สั ่น

หิ นฟันม้า มีตามภูเขา ลักษณะเป็นชี้ ๆ คล้ายฟนั ม้า สีเหมือนปูนแห้ง สรรพคุณ ดับพิษ


ทัง้ ปวง แก้พษิ ในปาก แก้คออักเสบบวม

หิ นเขี้ยวมังกร มีลกั ษณะเหมือนเขีย้ วสัตว์ใหญ่แข็งมาก เกิดตามหน้าผา หรือตามภูเขาใน


ประเทศจีน สรรพคุณ บํารุงหัวใจ บํารุงประสาท แก้โรคประสาท แก้สะดุง้ ตกใจผวา

แก้วแกลบ มีลกั ษณะเป็นเกล็ดขาวบาง เกิดขึน้ ตามภูเขาทีม่ หี นิ ผุ ๆ รสเย็น กร่อยสรรพคุณ


ขับปสั สาวะ แก้พษิ โลหิตนํ้าเหลือง และโรคตา

ทองคํา เกิดจากแร่ใต้ดนิ เป็นธาตุแท้สเี หลือง สรรพคุณ บํารุงเนื้อหนังให้เจริญดับพิษร้อน


ถอนพิษไข้ แก้พษิ อักเสบ แก้สะดุง้ ผวา

หิ นปะการัง สรรพคุณ แก้พษิ ไข้ ไข้กาฬ และฝี ทม่ี พี ษิ อักเสบ

บัลลังก์ศิลา (หิ นอ่อนจีน) เกิดในประเทศจีน สีขาวขุน่ มัว สีเทาบ้าง สีแดง สลับบ้าง รสเย็น
สรรพคุณ แก้พษิ อักเสบ แก้ปวดร้อน ดับพิษทุกอย่าง ห้ามเหงื่อ ใช้โรค แผลเรือ้ รัง และกามโรค
108

นมผา เป็นหินงอกย้อยออกมาแล้วแห้งแข็ง หินจําพวกนี้ เนื้อผุ ๆ มีเกิดตามภูเขาทาง


ภาคเหนือ สรรพคุณ ผสมยาหยอดตา แก้ตาอักเสบขุน่ มัวฝ้าฟางให้แจ่มใสใช้ฝนกับสุรา ทาตาม
ผิวหนัง แก้ปวดแสบร้อน แก้โรคประดงบางจําพวก

หรดาลกลีบทอง เป็นสารชนิดหนึ่งอยูใ่ ต้ดนิ เป็นก้อนคล้ายสารหนู มีสเี หลือง เป็นเงาและ


ไม่เป็นเงา สรรพคุณ ใช้ผสมยากวาด ก็เม็ดยอดในปากเด็ก แก้ซางในปากเด็ก ใช้ผสมยากัดชน
หนวด เครา ให้ร่วงหลุดไป

ศิ ลายอนตัวผู้ เกิดในประเทศจีน เป็นหินอ่อนชนิดหนึ่งสีขาวใสคล้ายสารหนู สรรพคุณ แก้


เสมหะ แก้ทอ้ งเสีย และใช้อนั บังเกิดเพื่อดี

ศิ ลายอนตัวเมีย สรรพคุณ แก้ไขฟกบวม แก้ฝีเส้น ฝีเอ็น ฝีคณ


ั ฑมาลา

๕. ตัวยาเรียกได้หลายชื่อ
ตัวยาทีเ่ รียกได้ ๒ ชื่อนี้ มิได้เป็นมาตรฐานเท่าใดนัก บางตําราก็เรียกไปอีกอย่างหนึ่ง ซึง่ ไม่
เหมือนกับตําราทีก่ ล่าวไว้น้ี เพราะด้วยประเทศถิน่ ทีอ่ ยูน่ นั ้ เรียกกันตามทีอ่ ยูข่ องตนไป เมื่อรวมความ
แล้วก็เป็นตัวยา อย่างเดียวกัน มีช่อื จะกล่าวดังต่อไปนี้

๑. ต้นทิง้ ถ่อน เรียกอีกชื่อว่า พระยาฉัตรทัน


๒. ต้นตะโกนา เรียกอีกชื่อว่า พระยาช้างดํา
๓. หนาวเดือนห้า เรียกอีกชื่อว่า พระขรรค์ไชยศรี
๔. ร้อนเดือนห้า เรียกอีกชื่อว่า ต้นมะไฟเดือนห้า
๕. กระพังโหมใหญ่ เรียกอีกชื่อว่า ตูดหมู
๖. กระพังโหมเล็ก เรียกอีกชื่อว่า ตูดหมา
๗. กระพังโหมน้อย เรียกอีกชื่อว่า ขีห้ มาข้างรัว้
๘. ผักบุง้ เรียกอีกชื่อว่า ผักทอดยอด
๙. ผักกระเฉด เรียกอีกชื่อว่า ผักรูน้ อน
๑๐. ต้นชิงชี่ เรียกอีกชื่อว่า ปูเ่ จ้าสมิงกุย
๑๑. เถาหญ้านาง เรียกอีกชื่อว่า ปูเ่ จ้าเขาเขียว หรือ หญ้าภัคคีนี
๑๒. เท้ายายม่อม เรียกอีกชื่อว่า ประทุมราชา
109

๑๓. เจตมูลเพลิง เรียกอีกชื่อว่า ลุกใต้ดนิ


๑๔. ต้นช้าพลู เรียกอีกชื่อว่า ผักอีไร
๑๕. เปรียงพระโค เรียกอีกชื่อว่า นํ้ามันในไขข้อกระดูกโค
๑๖. ผักเป็ด เรียกอีกชื่อว่า กินตีนท่า หรือหากินตีนท่า
๑๗. หยากไย่ไฟ, หญ้ายองไฟ เรียกอีกชื่อว่า อยูห่ ลังคา (นมจาก)
๑๘. ขีย้ าฝิ่ น เรียกอีกชื่อว่า ขีค้ ารู
๑๙. สุรา เรียกอีกชื่อว่า กูอา้ ยบ้า
๒๐. นํ้าครํา เรียกอีกชื่อว่า นํ้าไขเสนียด
๒๑. ต้นปีบ เรียกอีกชื่อว่า ก้องกลางดง
๒๒. ต้นชะเอม เรียกอีกชื่อว่า อ้อยสามสวน
๒๓. เถามะระขีน้ ก เรียกอีกชื่อว่า ผักไห
๒๔. เถาโคกกระสุน เรียกอีกชื่อว่า กาบินหนี
๒๕. ก้างปลา เรียกอีกชื่อว่า ปูเ่ จ้าคาคลอง
๒๖. เกลือกระดังมูตร เรียกอีกชื่อว่า เกลือเยีย่ ว
๒๗. เถากระไดลิง เรียกอีกชื่อว่า กระไดวอก
๒๘. กํามะถันเหลือง เรี ยกอีกชื่อว่๙๘
า สุพรรณถันเหลือง, มาดเหลือง
๒๙. กระบือเจ็ดตัว เรียกอีกชื่อว่า กระทูเ้ จ็ดแบก
๓๐. แก่นขนุ น เรียกอีกชื่อว่า กรัก
๓๑. หญ้าพองลม เรียกอีกชื่อว่า ปูเ่ จ้าลอยท่า
๓๒. กําแพงเจ็ดชัน้ เรียกอีกชื่อว่า ตะลุ่มนก
๓๓. กาสามปีก เรียกอีกชื่อว่า กาจับหลัก, หญ้าสองปล้อง
๓๔. กระเช้าผีมด เรียกอีกชื่อว่า หัวร้อยรู
๓๕. ต้นกําลังช้างเผือก เรียกอีกชื่อว่า พระยาข้างเผือก
๓๖. ต้นกําลังวัวเถลิง เรียกอีกชื่อว่า กําลังทรพี
๓๗. ต้นกําลังเสือโคร่ง เรียกอีกชื่อว่า กําลังพระยาเสือโคร่ง
๓๘. ต้นกําลังหนุ มาน เรียกอีกชื่อว่า กําลังราชสีห์
๓๙. แก่นกําเกรา เรียกอีกชื่อว่า ตําเสา
๔๐. บัวบก เรียกอีกชื่อว่า ผักหนอก
๔๑. ขอบชะนางแดง เรียกอีกชื่อว่า หนอนตายอยากแดง
๔๒. ขอบชะนางขาว เรียกอีกชื่อว่า หนอนตายอยากขาว
110

๔๓. ดอกสลิด เรียกอีกชื่อว่า ดอกขจร


๔๔. ต้นกรรณิกา เรียกอีกชื่อว่า สุพนั นิกา
๔๕. ดอกคําฝอย เรียกอีกชื่อว่า คํายอง
๔๖. ดอกคําไทย เรียกอีกชื่อว่า ดอกชาติ
๔๗. ฆ้องสามย่านตัวผู้ (นิลพัต) เรียกอีกชื่อว่า ต้นควํ่าตายหงายเป็น
๔๘. ต้นเหงือกปลาหมอ เรียกอีกชื่อว่า ต้นแก้มคอ
๔๙. ต้นฆ้องสามย่าน เรียกอีกชื่อว่า ส้มกระเช้า
๕๐. ต้นจามจุร ี เรียกอีกชื่อว่า ก้ามกราม, ก้ามปู
๕๑. ต้นช้างงาเดียว เรียกอีกชื่อว่า หนามคาใบ
๕๒. ต้นตีนเป็ดเครือ เรียกอีกชื่อว่า เถาเอ็นอ่อน
๕๓. ต้นตีนเป็ดต้น เรียกอีกชื่อว่า พระยาสัตบัน
๕๔. ต้นตีนเป็นนํ้า เรียกอีกชื่อว่า พะเนียงนํ้า
๕๕. เม็ดเทียนขาว เรียกอีกชื่อว่า ยีห่ ร่า
๕๖. เทียนตาตั ๊กแตน เรียกอีกชื่อว่า ผักชีลาว
๕๗. ต้นเทียนเยาวพาณี เรียกอีกชื่อว่า ผักชีกระเหรีย่ ง
๕๘. ต้นโทงเทง เรียกอีกชื่อว่า โคมจีน, โคมญี่ปนุ่
๕๙. ต้นทองระอา เรี ยกอีกชื่อว่า ลิ้นงูเห่ า
๖๐. ผักเสี้ ยนผี เรี ยกอีกชื่อว่า ไปนิพพานไม่รู้กลับ
๖๑. หางไหลขาว เรียกอีกชื่อว่า โล่ตนิ๊
๖๒. หางไหลแดง เรียกอีกชื่อว่า กะลําเพาะ
๖๓. สมออัพยา เรียกอีกชื่อว่า ลูกสมอไทย
๖๔. สมอร่องแร่ง คือลูกสมอชนิดหนึ่งก้านยาว ห้อยร่องแร่งอยู่
๖๕. บอระเพ็ดตัวผู้ คือ เถาชิงช้าชาลี แต่บอระเพ็ดตัวเมียคือเถาบอระเพ็ดทีม่ ตี ุ่ม
111

๖. ตัวยาที่มีสรรพคุณใกล้เคียงกัน
ตัวยาทีม่ สี รรพคุณใกล้เคียงกัน หรือมีสรรพคุณเสมอกันนัน้ สามารถนํามาใช้แทนกันได้
เพราะตัวยาบางอย่างทีต่ อ้ งการ หรือมีในตํารายานัน้ ไม่มหี รือขาดไป หรือตัวยาบางอย่างต้องนํามา
จากต่างประเทศ บางครัง้ ตัวยาเกิดขาดตลาด จะรอให้ส่งมาจากต่างประเทศ คนไข้กค็ งจะไม่ได้
รับประทานยาเป็นแน่ ดังนัน้ แพทย์และเภสัชกรแผนโบราณ จึงได้คดิ ค้นหาตัวยาบางอย่างทีพ่ อหาได้
พอจะมีสรรพคุณทัดเทียมกัน เพื่อจะได้นํามาปรุงเป็นยาเพื่อรักษาโรค ตัวยาทีม่ สี รรพคุณใกล้เคียงกัน
และพอจะใช้แทนกันได้นนั ้ มีดงั นี้ คือ

๑. โกฐสอ มีสรรพคุณเสมอกับ ข่าลิง


๒. โกฐเขมา มีสรรพคุณเสมอกับ ทรงบาดาล
๓. โกฐหัวบัว มีสรรพคุณเสมอกับ หัวกระเทียม
๔. โกฐเชียง มีสรรพคุณเสมอกับ ไพล
๕. โกฐจุฬาลัมพา มีสรรพคุณเสมอกับ หญ้าตีนนก
๖. โกฐกระดูก มีสรรพคุณเสมอกับ หัวกะทือ
๗. โกฐก้านพร้าว มีสรรพคุณเสมอกับ ชิงช้าชาลี
๘. โกฐนํ้าเต้า มีสรรพคุณเสมอกับ หัวเปราะปา่
๙. กะเม็ง มีสรรพคุณเสมอกับ ผักคราด
๑๐. กะเพรา มีสรรพคุณเสมอกับ แมงลัก
๑๑. แก่นประดู่ มีสรรพคุณเสมอกับ แก่นมะชาง
๑๒. เกลือสมุทร มีสรรพคุณเสมอกับ เกลือประสะ
๑๓. เกลือสินเธาว์ มีสรรพคุณเสมอกับ สมอทัง้ ๓
๑๔. ดีปลี มีสรรพคุณเสมอกับ ขิง
๑๕. บอระเพ็ด มีสรรพคุณเสมอกับ ชิงช้าชาลี
๑๖. ยางเทพทาโร มีสรรพคุณเสมอกับ ยางสลัดได
๑๗. เปลือกตาเสือ มีสรรพคุณเสมอกับ เปลือกนนทรี
๑๘. กานพลู มีสรรพคุณเสมอกับ ลูกจันทร์
๑๙. เปลือกแคแดง มีสรรพคุณเสมอกับ เปลือกแคขาว
๒๐. หัศคุณเทศ มีสรรพคุณเสมอกับ หัสคุณไทย
๒๑. สารส้ม มีสรรพคุณเสมอกับ เหง้าสับปะรด
๒๒. โคกกระสุน มีสรรพคุณเสมอกับ นมพิจติ ร
112

๒๓. ใบเงิน มีสรรพคุณเสมอกับ ใบทอง


๒๔. นํ้ามะกรูด มีสรรพคุณเสมอกับ นํ้ามะนาว
๒๕. ด่างสลัดได มีสรรพคุณเสมอกับ ด่างโคกกระสุน
๒๖. หนอนตายหยาก มีสรรพคุณเสมอกับ กะเพียด
๒๗. ขมิน้ อ้อย มีสรรพคุณเสมอกับ ขมิน้ ชัน
๒๘. กาหลง มีสรรพคุณเสมอกับ จิก
๒๙. ผักเสีย้ นทัง้ ๒ มีสรรพคุณเสมอกับ หญ้าพันงูทงั ้ ๒
๓๐. มะไฟเดือนห้า มีสรรพคุณเสมอกับ หญ้าปากควาย
๓๑. นํ้าตาลทราย มีสรรพคุณเสมอกับ นํ้าตาลกรวด
๓๒. มะแว้งต้น มีสรรพคุณเสมอกับ มะแว้งเครือ
๓๓. มะกรูด มีสรรพคุณเสมอกับ ส้มซ่า
๓๔. เมล็ดสลอด มีสรรพคุณเสมอกับ พาดไฉน
๓๕. เข็มแดง มีสรรพคุณเสมอกับ เข็มขาว
๓๖. ฝิ่ นต้น มีสรรพคุณเสมอกับ ฝิ่นเครือ
๓๗. ดอกดึง มีสรรพคุณเสมอกับ ผักโหมแดง
๓๘. ลูกกรวย มีสรรพคุณเสมอกับ ลูกบิด

๗. การเก็บยา
การเก็บยาตามวิธกี ารของโบราณ ถ้าหากจะพิจารณาให้ดแี ล้ว เห็นว่ามีความสําคัญมาก
สําคัญทัง้ ทางด้านให้ได้ตวั ยา มีสรรพคุณดีและทัง้ ทางด้านการสงวนพันธุข์ องพืชสมุนไพรของตัวยา
ให้คงไว้อยูต่ ลอดไปเก็บยาต่าง ๆ ต้องปฏิบตั ใิ ห้ถูกต้องตามกาลเวลา วิธกี ารเก็บยาของแพทย์แผน
โบราณมี ๔ วิธ ี คือ การเก็บยาตามฤดู การเก็บยาตามทิศทัง้ ๔ การเก็บยาตามวันและเวลา การเก็บ
ยาตามยาม (กาลเวลา)

๗.๑ การเก็บตัวยาตามฤดู เก็บดังนี้


๑) คิมหันตฤดู (ฤดูรอ้ น) เก็บ เหง้า หัว แก่น ราก จึงจะได้ยามีสรรพคุณดี
๒) วสันตฤดู (ฤดูฝน) เก็บ ใบ ดอก ลูกหรือฝกั จึงจะได้ยามีสรรพคุณดี
๓) เหมันตฤดู(ฤดูหนาว) เก็บ เปลือกไม้ กระพี้ และเนื้อไม้ จึงจะด้ามีสรรพคุณดี
113

๗.๒ การเก็บตัวยาตามทิ ศทางทัง้ ๔


๑) วันอาทิตย์ วันอังคาร เก็บยา ทิศตะวันออก
๒) วันจันทร์ วันเสาร์ เก็บยา ทิศตะวันตก
๓) วันพุธ วันศุกร์ เก็บยา ทิศใต้
๔) วันพฤหัสบดี เก็บยา ทิศเหนือ
ในการเก็บยาตามทิศนี้ ให้ถอื เอาทีอ่ ยูข่ องหมอผูเ้ ก็บยาเป็นศูนย์กลาง

๗.๓ การเก็บตัวยาตามวันและเวลา
๑) วันอาทิตย์ เช้าเก็บต้น สายเก็บใบ เทีย่ งเก็บรากเย็นเก็บเปลือก
๒) วันจันทร์ เช้าเก็บราก สายเก็บแก่น เทีย่ งเก็บใบ เย็นเก็บเปลือก
๓) วันอังคาร เช้าเก็บใบ สายเก็บเปลือกเทีย่ งเก็บต้น เย็นเก็บราก
๔) วันพุธ เช้าเก็บราก สายเก็บเปลือก เทีย่ งเก็บต้น เย็นเก็บแก่น
๕) วันพฤหัสบดี เช้าเก็บแก่น สายเก็บใบ เทีย่ งเก็บราก เย็นเก็บเปลือก
๖) วันศุกร์ เช้าเก็บใบ สายเก็บราก เทีย่ งเก็บเปลือก เย็นเก็บต้น
๗) วันเสาร์ เช้าเก็บราก สายเก็บต้น เทีย่ งเก็บเปลือก เย็นเก็บใบ

๗.๔ การเก็บตัวยาตามยาม(กาลเวลา)
๑) กลางวัน
(๐๖.๐๐-๐๙.๐๐ น.) ยาม ๑ เก็บ ใบ ดอก ลูก
(๐๙.๐๐-๑๒.๐๐ น.) ยาม ๒ เก็บ กิง่ ก้าน
(๑๒.๐๐-๑๕.๐๐ น.) ยาม ๓ เก็บ ต้น เปลือก แก่น
(๑๕.๐๐-๑๘.๐๐ น.) ยาม ๔ เก็บ ราก
๒) กลางคืน
(๑๘.๐๐-๒๑.๐๐ น.) ยาม ๑ เก็บ ราก
(๒๑.๐๐-๒๔.๐๐ น.) ยาม ๒ เก็บ ต้น เปลือก แก่น
(๒๔.๐๐-๐๓.๐๐ น.) ยาม ๓ เก็บ กิง่ ก้าน
(๐๓.๐๐-๐๖.๐๐ น.) ยาม ๔ เก็บ ใบ ดอก ลูก

๘. ตัวยาประจําธาตุ
ในร่างกายของมนุษย์เราประกอบขึน้ จากธาตุทงั ้ ๔ ชนิด คือ ธาตุดนิ ๒๐ ประการ ธาตุน้ํา
๑๒ ประการ ธาตุลม ๖ ประการ ธาตุไฟ ๔ ประการ และอากาศธาตุ คือ ช่องว่างในร่างกาย ๑๐
114

ประการ ธาตุต่างๆเหล่านี้ถอื เป็นทีต่ งั ้ ทีแ่ รกเกิดของโรค ฉะนัน้ เมื่อธาตุใดธาตุหนึ่งเกิดเจ็บปว่ ยหรือ


พิการขึน้ มา ตามคัมภีรไ์ ด้จดั ลักษณะตัวยาประจําธาตุและรสยาแก้ตามธาตุไว้ดงั นี้

๘.๑ ลักษณะตัวยาประจําธาตุ
ก. ดอกดีปลี ประจํา ปถวีธาตุ คือ ธาตุดนิ ๒๐ ประการ
ข. รากช้าพลู ประจํา อาโปธาตุ คือ ธาตุน้ํา ๑๒ ประการ
ค. เถาสะค้าน ประจํา วาโยธาตุ คือ ธาตุลม ๖ ประการ
ง. รากเจตมูลเพลิง ประจํา เตโชธาตุ คือ ธาตุไฟ ๔ ประการ
จ. เหง้าขิงแห้ง ธาตุอากาศ คือ ช่องว่างภายในร่างกาย ๑๐ ประการ

๘.๒ รสยาแก้ตามธาตุ
ก. ปถวีธาตุพกิ าร แก้ดว้ ย ยารสฝาด หวาน มัน เค็ม
ข. อาโปธาตุพกิ าร แก้ดว้ ย ยารสเปรีย้ ว เมาเบื่อ ขม
ค. วาโยธาตุพกิ าร แก้ดว้ ย ยารสสุขมุ เผ็ด ร้อน
ง. เตโชธาตุพกิ าร แก้ดว้ ย ยารสเย็น จืด

๙. สมุนไพรในงานสาธารณสุขมูลฐาน
กระทรวงสาธารณสุขได้ตระหนักถึงความสําคัญของการพัฒนาสมุนไพร โดยมีการร่างเป็น
นโยบายไว้เป็นแผนพัฒนาการสาธารณสุข ฉบับที่ ๖ เพื่อให้บุคลากรสาธารณสุขในระดับต่างๆ
รวมถึงหมอพืน้ บ้านลแพทย์แผนโบราณ ได้มคี วามรูเ้ รื่องสมุนไพรขั ้ นพืน้ ฐานเพื่อให้มหี ลักใน
การศึกษาและเรียนรูอ้ ย่างถูกต้อง ให้เข้าใจถึงประโยชน์และข้อจํากัดของสมุนไพรต่างๆ สมุนไพรใน
งานสาธารณสุขมูลฐานมีดงั นี้
กระเทียม

ชื่ อท้ องถิ่ น หอมเทียม (เหนือ), กระเทียม หัวเทียม (ภาคใต้), กระเทียมขาว (อุดรธานี),
หอมขาว(อุดรธานี), กระเทียม (กลาง), ปะเซวา (กะเหรีย่ ง – แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะของพืช พืชล้มลุก มีลาํ ต้นใต้ดนิ เรียกว่า หัว หัวมีกลีบย่อยหลายกลีบ
ติดกันแน่ น เนื้อสีขาว มีกลิน่ ฉุ นเฉพาะ บางครัง้ ในหนึ่งหัวมีกลีบเดียว เรียก กระเทียมโทน
หัวค่อนข้างกลม ใบยาวแบน ปลายแหลม ภายในกลวง ดอกรวมกันเป็นกระจุกทีป่ ลายช่อ ดอกสี
ขาวอมเขียม หรือชมพูอมม่วง ผลมีขนาดเล็ก
115

ส่วนที่ใช้เป็ นยา หัวใต้ดนิ


ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บในช่วงทีห่ วั แก่ อายุ ๑๐๐ วันขึน้ ไป
รสและสรรพยาคุณยาไทย รสเผ็ดร้อน เป็นยาขับลมในลําไส้ แก้กลากเกลือ้ น แก้ไอ
ขับเสมหะ ช่วยย่อยอาหาร
วิ ธีใช้ กระเทียมใชเป็นยารักษาอาการดังนี้
1. อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และแน่นจุกเสียด ใช้กลีบปอกเปลือก รับประทานดิบๆ
ครัง้ ละประมาณ ๕ – ๗ (หนัก ๕ กรัม) หลังอาหารหรือเวลามีอาการ
2. อาการกลาก เกลือ้ น ฝานกลีบกระเทียมแล้วนํามาถูกบ่อยๆ หรือตําคัน้ เอานํ้าทา
บริเวณทีเ่ ป็นโดยใช้ไม้เล็กๆ ขูดบริเวณทีเ่ ป็น พอให้ผวิ แดงๆ ก่อน แล้วจึงเอากระเทียมทาบ่อยๆ
หรือวันละ ๒ ครัง้ เช้า – เย็น

กระวาน

ชื่ อท้ องถิ่ น กระวานโพธิสตั ว์ , กระวานจันทร์ (กลาง) ,กระวานดํา , กระวานแดง ,


กระวานขาว (กลาง , ตะวันออก)
ลักษณะของพืช
ปลูกโดยการแยกหน่ อ ขึน้ ในดินแทบทุกชนิด เจริญได้ดที ช่ี ุ่มชืน้ และเย็น โดยเฉพาะใต้ร่ม
เงาไม้ใหญ่ ยังพบได้ในปา่ ทีม่ คี วามชืน้ สูงทางภาคใต้ของประเทศไทย เวลาปลูกจะแยกหน่อออกจาก
ต้นแม่ ถ้ามีลาํ ต้นติดมาให้ตดั เหลือประมาณ ๑ คืบ เพื่อลดการสูญเสียนํ้า นําหน่อไปชําในทีช่ ุ่มชืน้
หรือจะนําลงปลูกเลยก็ได้ ดูแลความชืน้ ให้สมํ่าเสมอ
กระวานเป็นพืชเศรษฐกิจชนิดหนึ่งทีร่ ฐั บาลให้ความสนใจเพราะกระวานเป็นได้ทงั ้ เครื่องเทศ
และสมุนไพร ลูกกระวานทํารายได้ให้กบั ประเทศในปี พ.ศ. ๒๕๒๗ ส่งออกประ มาณ ๒๒.๑ ตัน
(มูลค่า ๗ ล้านบาท ) ส่งไปขายประเทศอังกฤษ จีนและญี่ปุน่ แหล่งปลูกอยูจ่ งั หวัดยะลาและ
จันทบุร ี
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ผลแก่
ช่ วงเวลาที่ เก็บยา ตัง้ แต่เริม่ ปลูกจนมีอายุ ๔ – ๕ ปี จึงจะเริม่ เก็บผลได้ ผลแก้เก็บ
ในช่วงเดือนสิงหาคม – เดือนมีนาคม
รสและสรรพคุณยาไทย รสเผ็ดร้อน กลิน่ หอม เป็นยาขับลมและเสมหะ
116

วิ ธีใช้ 1. ผลกระวานแก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และแน่นจุกเสียด โดยเอาผลแก่จดั ตาก


แห้งและบดเป็นผงรับประทานครัง้ ละ ๑ ช้อนครึง่ - ๓ ช้อนชา (หนัก ๑ - ๒ กรัม) ชงกับนํ้าอุ่น
2. ผลกระวานยังใช้ผสมกับยาถ่าย เช่น มะขามแขก เพื่อบรรเทาอาการไซ้ทอ้ ง

กระเจี๊ยบแดง

ชื่ อท้ องถิ่ น กระเจีย๊ บ , กระเจีย๊ บเปรีย้ ว (ภาคกลาง) , ผักเก็งเค้ง , ส้มเก็งเค็ง


(ภาคเหนือ) , ส้มตะเลงเคลง (ตาก) , ส้มปู (เงีย้ ว – แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะของพืช
กระเจีย๊ บเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงราว ๓ – ๖ ศอก ลําต้นและกิง่ ก้านมีสมี ่วงแดง
ใบมีหลายแบบขอบใบเรียบ บางครัง้ มีหยักเว้า ๓ หยัก ดอกสีชมพู ตรงกลางจะมีสเี ข้มกว่าส่วน
นอกของกลีบ เมื่อกลีบดอกร่วงโรยไป กลีบรองดอกและกลีบเลีย้ งจะเจริญขึน้ มีสมี ่วงแดงเข้มหุม้
เมล็ดไว้ภายใน
ส่วนที่ใช้เป็ นยา กลีบเลีย้ งและกลีบรองดอก
ช่ วงเวลาที่ เก็บยา ตัง้ แต่เริม่ ปลูกจนถึงช่วงเก็บเกีย่ วใช้เวลา ๔ – ๔ เดือนครึง่
รสและสรรพคุณยาไทย กลีบรองดอก กลับเลีย้ งและใบ มีรสเปรีย้ ว ใช้เป็นยากัดเสมหะ
วิ ธีใช้ ใช้เป็นยารักษาอาการขัดเบา โดยนําเอากลีบเลีย้ ง หรือก ลีบรองดอกสีม่วงแดง
ตากแห้งและบดเป็นผง ใช้ครัง้ ละ ๑ ช้อนชา (หนัก ๓ กรัม ) ชงกับนํ้าเดือด ๑ ถ้วย (๒๕๐
มิลลิลติ ร) ดื่มเฉพาะนํ้าสีแดงใส ดื่มวันละ ๓ ครัง้ ติดต่อกันทุกวันจนกว่าอาการขัดเบาจะหายไป

กะทือ

ชื่ อท้ องถิ่ น กะทือปา่ , กะแวน , แฮวดํา (ภาคเหนือ) , เฮียวแดง (แม่ฮ่องสอน)


ลักษณะของพืช กะทือเป็นพืชทีพ่ บได้ตามบ้านในชนบท เป็นพืชล้มลุก ฤดูแล้งจะลงหัว
เมื่อถึงฤดูฝน จะงอกใหม่หวั มีขนาดใหญ่ และมีเนื้อในสีเหลืองอ่อน กลิน่ หอม ต้นสูง ๓ – ๖ ศอก
ใบเรียวยาว ออกตรงข้ามกัน ดอกเป็นช่อกลม อัดกันแน่นสีแดง และแทรกด้วยดอกสีเหลืองเล็กๆ
ส่ วนที่ใช้ เป็ นยา หัวหรื อเหง้าแก่สด
ช่ วงเวลาที่ เก็บยา ช่วงฤดูแล้ง
รสและสรรพคุณยาไทย รสขมและขืน่ เล็กน้อย ขับลม แก้ปวดมวนแน่นท้อง แก้บดิ
บํารุงนํ้านม
117

วิ ธีใช้ หัวกะทือเป็นยารักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด และปวดท้อง โดยใช้


หัวหรือเหง้าสดขนาดเท่าหัวแม่มอื ๒ หัว (ประมาณ ๒๐ กรัม) ย่างไฟพอสุก ตํากับนํ้าปูนใสคัน้
เอานํ้าดื่มเวลามีอาการ

กระชาย

ชื่ อท้ องถิ่ น กะแอน , ระแอน (ภาคเหนือ ) , ขิงทราย (มหาสารคาม ) , ว่านพระอาทิตย์


(กรุงเทพฯ) , จีป๊ ู , ชีฟู (ฉาน – แม่ฮ่องสอน) , เป๊าซอเร้าะ , เป๊าะสี่ (กะเหรีย่ ง – แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะของพืช กระชายเป็นไม้ลม้ ลุก สูงราว ๑ – ๒ ศอก มีลาํ ต้นใต้ดนิ เรียกว่า
“ เหง้า ” รูปทรงกระบอกปลายแหลมจํานวนมาก รวมติดอยูเ่ ป็นกระจุก เนื้อในสีเหลือง มีกลิน่ หอม
เฉพาะ เนื้อในละเอี ยดกาบใบสีแดงเรื่อ ใบใหญ่ยาวรีปลายแหลม ดอกเป็นช่อ สีขาวอมชมพู
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เหง้าใต้ดนิ
รสและสรรพคุณยาไทย รสเผ็ดร้อนขม แก้ปวดมวนในท้อง แก้ทอ้ งอืดเฟ้อและบํารุงกําลัง
วิ ธีใช้ เหง้ากระชายรักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ จุกเสียด โดยนําเหง้าและรากประม าณ
ครึง่ กํามือ (สดหนัก ๕ – ๑๐ กรัม แห้งหนัก ๓ – ๕ กรัม ) ต้มเอานํ้าดื่มเวลา มีอาการ หรือปรุง
เป็นอาหารรับประทาน

กะเพรา

ชื่ อท้ องถิ่ น กะเพราขาว , กะเพราแดง (กลาง) , กอมก้อ (เหนือ)


ลักษณะของพืช เป็นไม้ลม้ ลุกขนาดเล็ก โคนต้นทีแ่ ก่เป็นไม้ทเ่ี นื้อแข็ง ลํา ต้นและใบมีขน
อ่อน ใยมีกลิน่ หอมฉุ นรูปร่างรี ปลายใบและโคนใบแหลมหรือมนเล็กน้อย ขอบใบหยัก ดอก
ออกเป็นช่อ ดอกย่อยออกรอบแกนกลางเป็นชัน้ ๆ กะเพราปลูกเป็นพืชสวนครัวมีอยูท่ ั ่วไป มี
กะเพราขาวและกะเพราะแดง กะเพราะขาวมีส่วนต่างๆเป็นสีเขียว ส่วนกะเพราแดงจะมีส่วนต่ างๆ
เป็นสีเขียวอมม่วงแดง
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบสดหรือแห้ง
ช่ วงเวลาที่ เก็บยา เก็บใบสมบูรณ์เต็มที่ ไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไป
รสและสรรพคุณยาไทย รสเผ็ดร้อน เป็นยาตัง้ ธาตุ แก้ปวดท้อง ท้องขึน้ จุกเสียดในท้อง
ใช้แต่งกลิน่ แต่งรสได้
118

วิ ธีใช้ ใบกะเพราแก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียดและปวดท้อง โดยใช้ใบและยอด


กะเพรา ๑ กํามือ (ถ้าสดหนัก ๒๕ กรัม แห้งหนัก ๔ กรัม) ต้มเอานํ้าดื่มเหมาะสําหรับเด็ก
ท้องอืด หรือนํามาปรุงเป็นอาหารรับประทานแก้ทอ้ งอืดก็ได้ จํานวนยาและวิธใี ช้แบบเดียวกันนี้ ใช้
แก้อาการคลื่นไส้อาเจียนทีเ่ กิดจากธาตุไม่ปกติได้

กล้วยนํ้าว้า

ชื่ อท้ องถิ่ น กล้วยใต้ (ภาคเหนือ)


ลักษณะของพืช พืชล้มลุก ลําต้นสูง ลําต้นทีอ่ ยูเ่ หนือดินรูปร่างกลม มีกาบใบหุม้ ซ้อนกัน
ใบสีเขียวขนาดใหญ่ ก้านใบยาวและเห็นได้ชดั เจน ดอกออกทีป่ ลายเป็นช่อ ลักษณะห้อยลงยาว ๑
– ๒ ศอก เรียกว่า ปลี มีดอกย่อยออกเป็นแผง ผลจะติดกันเป็นแผงเรียกว่า หวี ซ้อนกันหลายหวีเรียกว่า เครือ
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ลูกดิบ หรือ ลูกห่าม
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บลูกกล้วยช่วงเปลือกยังเป็นสีเขียว ต้นกล้วยจะให้ผลในช่วงอายุ
๘ – ๑๒ เดือน
รสและสรรพคุณยาไทย ลูกดิบ รสฝาด ฤทธิ ์ฝาดสมาน
วิ ธีใช้ กล้วยดิบรักษาอาการท้องเสียทีไ่ ม่รุนแรง โดยใช้กล้วยนํ้าว้าห่ามรับประทานครัง้ ละ
ครึง่ ผลถึงหนึ่งผล หรือใช้กล้วยนํ้าว้าดิบฝานเป็นแว่นตากแดดให้แห้ง บดเป็นผง ชงนํ้าดื่มครัง้ ละ
ครึง่ ผลถึงหนึ่งผลหรือบดเป็นผง ปนเป็ ั ้ นยาลูกกลอนรับประทานครัง้ ละ ๔ เม็ด วันละ ๔ ครัง้
ก่อนอาหารและก่อนนอนรับประทานแล้วแล้วอาจมีอาการท้องอืดเฟ้อ ป้องกันได้โดยใช้ร่วมกับยาขับ
ลม เช่น นํ้าขิง พริกไทย เป็นต้น

กานพลู

ชื่ อท้ องถิ่ น จันจี่ (ภาคเหนือ)


ลักษณะของพืช กานพลูเป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลาง ใบหนาเป็นมัน ถ้าเอาใบส่องแดดดู
จะเห็นจุดนํ้ามันอยูท่ ั ่วไปออกดอกเป็นช่อขนาดเล็ก ดอกสีแดงอมชมพู
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ดอกกานพลูแห้งทีย่ งั มิได้สกัดเอานํ้ามันออก และมีกลิน่ หอมจัด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บดอกตูมช่วงทีเ่ ปลีย่ นจากสีเขียวเป็นสีแดง ช่วงเดือน มิถุนายน
จนถึงเดือนกุมภาพันธ์
119

รสและสรรพคุณยาไทย รสเผ็ดร้อน กลิน่ หอม ช่วยขับลม


วิ ธีใช้ 1. ดอกแห้งของกานพลูรกั ษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และแน่ นจุกเสียด โดยใช้ดอก
แห้ง ๕ – ๘ ดอก (๐.๑๒ – ๐.๖ กรัม) ต้มนํ้าดื่ม หรือบดเป็นผง ชงเป็นนํ้าชาดื่ม
2. ดอกกานพลูย ั งช่วยป้องกันไม่ให้เด็กอ่อนท้องขึน้ ท้องเฟ้อได้ โดนใช้ดอกแห้ง
๑ – ๓ ดอกแช่ไว้ในกระติกนํ้าร้อนทีใ่ ช้ชงนมให้เด็กอ่อน

ข่า
ชื่ อท้ องถิ่ น ข่าตาแดง ข่าหยวก (ภาคเหนือ)
ลักษณะของพืช ข่ามีลาํ ต้นทีอ่ ยูใ่ ต้ดนิ เรียกว่า “เหง้า” เหง้ามีขอ้ และปล้องชัดเจน เนื้อใน
สีเหลือง และมีกลิน่ หอมเฉพาะลําต้นทีอ่ ยูเ่ หนือดินสูงได้ถงึ ๖ เมตร ใบสีเขียวออกสลับข้างกัน
รูปร่างรียาว ปลายแหลม ดอกออกเป็นช่อทีย่ อดดอกย่อยมีขนาดเล็ก สีขาวนวล ด้านในของกลีบ
ดอกมีประสีแดงอยูด่ า้ นหนึ่ง ผลเปลือกแข็งรูปร่างกลมรี
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เหง้าแก่ สด หรือแห้ง
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา ช่วงเวลาทีเ่ หง้าแก่
รสและสรรพคุณยาไทย เหง้าข่า รสเผ็ดปร่า ขับลมแก้บวมฟกซํ้า
วิ ธีใช้ เหง้าข่าใช้เป็นยารักษาโรคดังนี้
๑. อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และแน่นจุกเสียด ทําได้โดยใช้เหง้าแก่สดหรือแห้ง
ขยาดเท่าหัวแม่มอื (สดหนัก ๕ กรัม แห้งหนัก ๒ กรัม) ต้มนํ้าดื่ม
๒. โรคกลากเกลือ้ น เอาหัวข่าแก่ๆล้างให้สะอาด ฝานเป็นแว่นบางๆ หรือทุบให้
แตกนําไปแช่เหล้าขาวทิง้ ไว้ ๑ คืน ทําความสะอาดบริเวณทีเ่ ป็นและใช้ไม้บางๆ ขูดให้เป็นผิวสี
แดงๆ และใช้น้ํายาทีไ่ ด้มาทาบริเวณที
เป็น ่ ทา๒ ครัง้ เช้า- เย็นทุกวัน จนกว่าจะหายาก

ขิ ง

ชื่ อท้ องถิ่ น ขิงเผือก (เชียงใหม่) , ขิงแคลง , ขิงแดง (จันทบุร)ี , สะเอ (กะเหรีย่ ง –
แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะของพืช ขิงเป็นพืชล้มลุกมีแง่งใต้ดนิ แง่งจะแตกแขนงคล้ายนิ้วมือ เนื้อในสีเหลือง
แกมเขียว ลํา ต้นทีอ่ ยูเ่ หนือต้นงอกจากแง่งตัง้ ตรงยาวราว ๒ – ๓ ศอก ใบสีเขียว เรียวแคบ
ปลายใบแหลม ดอกเป็นช่องขนากเล็กก้านดอกสัน้ ดอกสีเหลืองและจะบานจากโคนไปหาส่วนปลาย
120

ส่วนที่ใช้เป็ นยา เหง้าแก่สด


ช่วงเวลาที่เป็ นยา เก็บเกีย่ วในช่วงอายุ ๑๑ – ๑๒ เดือน
รสและสรรพคุณยาไทย รสหวานเผ็ดร้อน แก้ลมจุกเสียด แก้เสมหะ บํารุงธาตุ
แก้คลื่นเหียนอาเจียน
วิ ธีใช้ เหง้าขิงใช้เป็นยารักษาอาการต่างๆ ดังนี้
๑. อาการท้องอืดท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด และอาการคลื่นไส้อาเจียน เนื่องจากธาตุไม่ปกติ
เมารถ เมาเรือ โดยใช้เหง้าแก่สดขยาดเท่าหัวแม่มดื (ประมาณ ๕ กรัม) ทุบให้แตก ต้มเอานํ้าดื่ม
๒. อาการไอ มีเสมหะ ฝนกับนํ้ามะนาว รหือใช้เหง้าสดตําผสมนํ้าเล็กน้อย คัน้ เอานํ้าและ
แทรกเกลือเล็กน้อย ใช้กวาดคอหรือจิบบ่อยๆ

ขลู่

ชื่ อท้ องถิ่ น หนวดงิว้ , หนาดงัว , หนาดวัว (อุดรธานี) , ขีป้ ้ าน (แม่ฮ่องสอน) , คลู (ใต้)
ลักษณะของพืช ขลู่เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ยอดและใบสีเขียวอ่อน ใยกลมมน ปลายใบหยัก
ดอกออกเป็นช่อประกอบด้วยดิกเล็กๆ สีขาวอมม่วง
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใช้ทงั ้ ห้า ทัง้ สดและแห้ง (นิยมใช้เฉพาะใบ)
รสและสรรพคุณยาไทย สรรพคุณขับปสั สาวะ แก้ปสั สาวะพิการ
วิ ธีใช้ ใช้เป็นยาแก้อาการขัดเบา วันละ ๑ กํามือ (สดหนัก ๔๐ – ๕๐ กรัม แห้งหนัก
๑๕ – ๒๐ กรัม) หั ่นเป็นชิน้ ๆ ต้มกับนํ้าดื่ม วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหารครัง้ ละ ๑ ถ้วยชา (หรือ
๗๕ มิลลิลติ ร)

ขมิ้น

ชื่ อท้ องถิ่ น ขมิน้ (ทั ่วไป) , ขมิน้ แกง , ขมิน้ หยวก , ขมิน้ หัว (เชียงใหม่) ขีม้ น้ิ , หมิน้
(ภาคใต้) , ตายอ (กะเหรีย่ ง – กําแพงเพรช) , ละยอ (กะเหรีย่ ง – แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะของพืช พืชล้มลุกทีม่ เี หง้าอยูใ่ ต้ดนิ เนื้อในของเหง้าขมิน้ สีเหลืองเข้มจน สีแสดจัด
มีกลิน่ หอมเฉพาะตัวใบรูปเรียวยาว ปลายแหลม คล้ายใบพุทธรักษา มีกา้ นช่อแทงจากเหง้า
โดยตรง ดอกมีสขี าวอมเหลือง มีกลีบประดับสีเขียวอมชมพู
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เหง้าสดและแห้ง
121

ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บในช่วงอายุ ๙ – ๑๐ เดือน


รสและสรรพคุณยาไทย รสฝาด กลิน่ หอม แก้โรคผิวหนัง ผื่นคัน ขับลม แก้ท้องร่วง
วิ ธีใช้ เหง้าขมิน้ ใช้เป็นยารักษาอาการดังนี้
๑. อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุกเสียด และอาหารไม่ยอ่ ย โดยล้างขมิน้ ให้
สะอาด (ไม่ตอ้ งปอกเปลือก) หั ่นเป็นชิน้ บางๆ ตากแดดจัดสัก ๑ – ๒ วัน บดให้ละเอียดผสมกับ
ั ้ นเมล็ดขนาดปลายนิ้วก้อย เก็ บในขวดสะอาด กินครัง้ ละ ๒ – ๓ เม็ด วันละ ๓ – ๔
นํ้าผึง้ ปนเป็
ครัง้ หลังอาหารและก่อนนอน บางคนกินขมิน้ แล้วท้องเสีย ให้หยุดยาทันที
๒. ฝี แผลพุพองและแก้อาการแพ้อกั เสบ แมลงสัตว์กดั ต่อย โดยเอาเหง้ายาว
ประมาณ ๒ นิ้ว ฝนกับนํ้าต้มสุกทาบริเวณทีเ่ ป็น วันละ ๓ ครัง้ หรือใช้ผงขมิน้ โรยทาบริเวณทีม่ ี
อาการผื่นคันจากแมลงสัตว์กดั ต่อยได้

ขี้เหล็ก

ชื่ อในท้ องถิ่ น ขีเ้ หล็กบ้าน (ลําปาง) , ขีเ้ หล็กใหญ่ (ภาคกลาง) , ขีเ้ หล็กหลวง (ภาคเหนือ) ,
ผักจีล้ ้ี (เงีย้ ว – แม่ฮ่องสอน) , ยะหา (ปตั ตานี) , ขีเ้ หล็กจิหรี่ (ภาคใต้)
ลักษณะของพืช
ขีเ้ หล็กเป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลางใบเป็ยใบประกอบ ประกอบด้วยใบย่อยประมาณ
๑๐ คู่ใบเรียวปลายใบมนหยักเว้าหาเส้นกลางใบเล็กน้อย โคนใบกลมสีเขียว ใต้ใบซีดกว่าด้านบนใบ
และมีขนเล็กน้อยดอกเป็นช่อสีเหลือง ฝกั แบนหนา มีเมล็ดอยูข่ า้ งใน
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบอ่อนและดอก
รสและสรรพคุณยาไทย ดอกตูมและใบอ่อน รสขม ช่วยระบายท้อง ดอกตูมทําให้
นอนหลับ เจริญอาหาร
วิ ธีใช้ ขีเ้ หล็กใช้เป็นยารักษาอาหารท้องผูก และอาการนอนไม่หลับ ทําได้ดงั นี้
๑. อาการท้องผูก ใช้ใบขีเ้ หล็ก (ทัง้ ใยอ่อนและใบแก่ ) ๔ – ๕ กํามือ ต้มเอานํ้าดื่ม
ก่อนอาหารหรือเวลามีอาการ
๒. อาการนอนไม่หลับ กังวลเบื่ออาหาร ให้ใช้ใบแห้งหนัก ๓๐ กรัม หรือใช้ใบสด
หนัก ๕๐ กรัม ต้มเอานํ้ารับประทานก่อนนอน หรือใช้ใบอ่อนทําเป็นยาดองเหล้า (ใส่เหล้าขาวพอ
ท่วมยา แช่ไว้ ๗ วัน คนทุกวันให้ นํ้ายาสมํ่าเสมอ กรองกากยาออก จะไ ด้ยาดองเหล้าขีเ้ หล็ก )
ดื่มครัง้ ละ ๑ – ๒ ช้อนชาก่อนนอน
122

คูน

ชื่ อท้ องถิ่ น ลมแล้ง (ภาคเหนือ) , ลักเกลือ , ลักเคย (ปตั ตานี ) , ชัยพฤกษ์ , ราชพฤกษ์
(ภาคกลาง) , กุเพยะ (กะเหรีย่ ง)
ลักษณะของพืช คูนเป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใบรูปไข่ปลายแหลม ดอกเป็น
ช่อระย้าสีเหลือง และมีกลิน่ หอมอ่อนๆ ฝกั รูปร่างกลมยาว เวลาอ่อนฝกั มีสเี ขียวแก่จดั เป็นสีน้ําตาล
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เนื้อในฝกั แก่
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บช่วงฝกั แก่ เปลือกเป็นสีน้ําตาลเข้ม
รสและสรรพคุณยาไทย ราหวานเอียนเล็กน้อย สรรพคุณเป็นยาระบาย ทําให้ถ่ายสะดวก
ไม่มวนไม่ไซ้ทอ้ ง
วิ ธีใช้ เนื้อในฝกั คูนแก้อาการท้องผูก ทําได้โดยเอาเนื้อในฝกั แก่กอ้ นเท่าหัวแม่มอื
(ประมาณ ๔ กรัม) ต้มกับนํ้าใส่เกลือเล็กน้อย ดื่มก่อนนอนหรือตอนเช้าก่อนอาหารเหมาะเป็นยา
ระบายสําหรับคนทีท่ อ้ งผูกเป็นประจําและสตรีมคี รรภ์กใ็ ช้ฝกั คูนเป็นยาระบายได้

ชุมเห็ดเทศ

ชื่ อท้ องถิ่ น ชุดเห็ดใหญ่ (ภาคกลาง ) , ขีค้ าก , ลับมึนหลวง , หมากกะลิงเทศ


(ภาคเหนือ) , ส้มเห็ด (เชียงราย) , จุมเห็ด (มหาสารคาม) , ตะลีพอ (กะเหรีย่ ง – แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะของพืช ชุมเห็ดเทศเป็นไม้พุ่ม ใบรูปใข่หรือรูปใข่ขอบขนาน ออกเป็นคู่ตรงข้ามกัน
เรียงตัวเป็นแบบใบประกอบ ดอกเป็นช่อสีเหลือง ฝกั แบนยาว๔ ปีมีกปีกเมล็ดในรูปสามเหลีย่ ม
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ดอกสด , ใบสดหรือแห้ง
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บใบชุมเห็ดเทศขนาดกลาง ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป ต้องเก็บก่อน
ออกดอก , เก็บดอกสดเป็นยา
รสและสรรพคุณยาไทย รสเบื่อเอียน ใบตําทาแก้กลากเกลือ้ น โรคผิวหนัง ดอกและใบ
ต้มรับประทานแก้อาการท้องผูก
วิ ธีใช้ ใบและดอกชุมเห็ดเทศใช้เป็นยารักษาโรคและอาการดังนี้
๑. ท้องผูก ใช้ดอกขุมเห็ดเทศสด ๒ – ๓ ช่อ ต้มรับประทานกับนํ้าพริก หรือนําใบ
สดมาล้างให้สะอาดหั ่นตากแห้ง ใช้ตม้ หรือชงนํ้าดื่ม ครัง้ ละ ๑๒ ใบ หรือใบแห้งบดเป็นผง ปนกั ั้ บ
นํ้าผึง้ เป็นลูกกลอนขนาดเท่าปลายนิ้วก้อยครั๓ง้ ละเม็ด รับประทานก่อนนอน หรือเมื่อมีอาการท้องผูก
123

๒. โรคกลาก ใบชุมเห็ดเทศสด ขยีห้ รือตําในครกให้ละเอียด เติมนํ้าเล็กน้อ ย หรือ


ใช้ใบชุมเห็ดเทศกับหัวกระเทียมเท่าๆกัน ผสมปูนแดงทีก่ นิ กับหมากเล็กน้อย ตําผสมกัน ทาบริเวณ
ทีเ่ ป็นกลาก โดยเอาไม้ไผ่ขดู ผิวให้แดงก่อน ทาบ่อยๆจนหาย หายแล้วทาต่ ๗อวัอีนก
๓. ฝี และแผลพุพอง ใช้ใบชุมเห็ดเทศและก้านสด ๑ กํามือ ต้มกับนํ้าพอท่วมยา
แล้ว เคีย่ วให้เหลือ ๑ ใน ๓ ชะล้างบริเวณทีเ่ ป็นวันละ ๒ ครัง้ เช้า - เย็น ถ้าเป็นมาให้ใช้
ประมาณ ๑๐ กํามือ ต้มอาบ

ชุมเห็ดไทย

ชื่ อท้ องถิ่ น ชุมเห็ดนา , ชุมเห็ดเล็ก , ชุมเห็ดควาย (ภาคกลาง ) , ลับมืนน้อย


(ภาคเหนือ) , ชุมเห็ดเขาควาย , เล็บมื่นน้อย (ภาคอีสาน) , พรมดาน (สุโขทัย)
ลักษณะของพืช ชุมเห็ดไทยเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก แตกแขนงมาก ใบประกอบด้วย ใบย่อย
๓ ใบ มีขนาดเล็กรูปกลมมนดอกสีเหลืองขนาดเล็ก ฝกั เล็กแบนยาว เมล็ดรูปทรงกระบอก
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เมล็ดแห้งทีผ่ ่านการคั ่วแล้ว
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บช่วงทีฝ่ กั แห้งเป็นสีน้ําตาล
รสและสรรพคุณยาไทย กลิน่ หอม เป็นยาระบาย และขับปสั สาวะ
วิ ธีใช้ เมล็ดชุมเห็ดไทยใช้เป็นยารักษา
๑. อาการท้องผูก ใช้เมล็ดแห้งคั ่ว ๒ ช้อนคาว ถึง ๒ ช้อนครึง่ (จํานวน ๑๐ –
๑๓ กรัม)ต้มหรือชงนํ้าร้อนดื่ม ดื่มแล้วอาจมีอาการง่วงนอน
๒. อาการขัดเบา ช่วยปสั สาวะ ใช้เมล็ดแห้งคั ่ว วันละ ๑ – ๓ ช้อนคาว (จํานวน
๕ – ๑๕ กรัม )ใส่น้ํา ๑ ลิตร แล้วตัง้ ไฟต้มให้เหลือ ๖๐๐ มิลลิลติ ร แบ่งดื่มวันละ ๓ ครัง้ ๆละ
๒๐๐ มิลลิลติ ร หลังอาหาร

ดีปลี

ชื่ อท้ องถิ่ น ดีปลีเผือก (ภาคใต้) , ประดงข้อ , ปานนุ (ภาคกลาง)


ลักษณะของพืช ดีปลีไม้เลือ้ ย ใบรูปไข่ โคนนมปลายแหลม เป็นใบเดีย่ ว คล้ายใบย่านาง
แต่ผวิ ใบมันกว่าและบางกว่าเล็กน้อย ดอกไม้เป็นรูปทรงกระลอกปลายมน เมื่อแก่กลายเป็นผลสีแดง
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ผลแก่แห้ง (หมอยารียก ดอกดีปลี)
ช่วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา ช่วงทีผ่ ลแก่จดั แต่ยงั ไม่สุก ตากแดดให้แห้ง
124

รสและสรรพคุณยาไทย รสเผ็ดร้อนขม บํารุงธาตุ ขับลม แก้จุกเสียด


วิ ธีใช้ ผลแก่แห้งของดีปลี ใช้เป็นยารักษาอาการ ดังนี้
๑. อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และปวดท้อง และแก้อาการคลื่นไส้อาเจียน ทีเ่ กิ ดจาก
ธาตุไม่ปกติโดยใช้ผลแก่แห้ง ๑ กํามือ (ประมาณ ๑๐ – ๑๕ ดอก) ต้มเอานํ้าดื่ม ถ้าไม่มดี อกใช้
เถาต้มแทนได้
๒. อาการไอ และขับเสมหะ ใช้ผลแก่แห้ง ประมาณครึง่ ผล ฝนกับนํ้ามะนาวแทรก
เกลือกวาดคอ หรือจิบบ่อยๆ

ตําลึง

ชื่ อท้ องถิ่ น ผักแคบ (ภาคเหนือ) , แคเด๊าะ ( กะเหรีย่ ง – แม่ฮ่องสอน)


ลักษณะของพืช ตําลึงเป็นไม้เถามีอายุอยูไ่ ด้หลายปี เมื่ออายุมากเถาจะใหญ่และแข็ง
เถาสีเขียว ตามข้อมีมอื เกาะใบออกสลับกันเป็นรูปสามเหลีย่ ม ดอกสีขาว ข้างในมีเกสรสีเหลือง ผล
คล้ายลูกแตงกวา แต่ขนาดเล็กกว่าผลดิบสีเขียว และมีลายขาว เมื่อสุกเต็มทีส่ แี ดงสด ปลูกเป็นผัก
ขึน้ ตามริมรัว้ บ้านตามชนบททั ่วไป
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบสด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บใบทีส่ ดและสมบูรณ์
รสและสรรพคุณยาไทย รสเย็น ใบสดตําคัน้ นํ้าแก้พษิ แมลงสัตว์กดั ต่อยทีท่ าํ ให้ปวดแสบ
ร้อนและคัน
วิ ธีใช้ ใช้เป็นยารักษาอากา รแพ้ อักเสบ แมลงสัตว์กดั ต่อย เช่น ยุงกัด ถูกตัวบุง้
ใบตําแย แพ้ละอองข้าว โดยเอาใบสด ๑ กํามือ ล้างให้สะอาด ตําให้ละเอียดผสมนํ้าเล็กน้อยแล้ว
คัน้ นํ้าจากใบเอามาทาบริเวณทีม่ อี าการ พอนํ้าแห้งแล้วทาซํ้าบ่อยๆ จนกว่าจะหาย

ตะไคร้

ชื่ อท้ องถิ่ น จะไคร (ภาคเหนือ) , ไคร (ภาคใต้) , คาหอม (เงีย้ ว – แม่ฮ่องสอน) ,
เชิดเกรบ , เหลอะเกรย (เขมร – สุรนิ ทร์) , ห่อวอตะโป๋ (กะเหรีย่ ง – แม่ฮ่องสอน) , หัวสิงไค (เขมร
– ปราจีนบุร)ี
125

ลักษณะของพืช ตะไคร้เป็นพืชทีม่ อี ายุหลายปี ลําต้นรวมกันเป็นกอ ใบยาวเรียว


ปลายแห ลมสีเขียวออกเทาและมีกลิน่ หอม ดอกออกเป็นช่อยาว มีดอกเล็กฝอยจํานวนมาก
ผลมีขนาดเล็ก ไม่ค่อยติดดอกและผล ตะไคร้ปลูกง่ายเจริญงอกงามในดินแทบทุกชนิด
ส่วนมี่ใช้เป็ นยา ลําต้นและเหง้าแก่ สดหรือแห้ง
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บเหง้าและลําต้นแก่
รสและสรรพคุณยาไทย รสปร่ากลิน่ หอม บํารุงไฟธาตุ แก้โรคทางเดินปสั สาวะ ขับลมใน
ลําไส้ ทําให้เจริญอาหาร แก้คาว

วิ ธีใช้ ตะไคร้เป็นยารักษาอาการต่างๆ ดังนี้


๑. อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ แน่นจุดเสียด ใช้ลาํ ต้นแก่สดๆ ทุบพอแหละ ประมาณ
๑ กํามือ (ราว ๔๐ – ๖๐ กรัม) ต้มเอานํ้าดื่ม หรือประกอบเป็นอาหาร
๒. อาการขัดเบา ผูท้ ป่ี สั สาวะขัด ไม่คล่อง (แต่ตอ้ งไม่มอี าการบวม) ให้ใช้ตน้ แก่สด
วันละ ๑ กํามือ (สดหนัก ๔๐ – ๖๐ กรัม แห้งหนัก ๒๐ – ๓๐ กรัม ) ต้มกับนํ้าดื่มวันละ ๓
ครัง้ ๆละ ๑ ถ้วยชา (๗๕ มิลลิลติ ร) ก่อนอาหาร หรือ ใช้เหง้าแก่ทอ่ี ยูใ่ ต้ดนิ ฝานเป็นแว่นบางๆ
คั ่วไฟอ่อนๆ พอเหลือง ชงเป็นชาดื่มวันละ ๓ ครัง้ ๆละ ๑ ถ้วยชา พอปสั สาวะสะดวกแล้วจึงหยุดยา

เทียนบ้าน

ชื่ อท้ องถิ่ น เทียนดอก , เทียนไทย , เทียนสวน(ภาคกลาง)


ลักษณะของพืช เทียนบ้านเป็นพืชล้มลุก ลําต้นอวบนํ้าและมีขนเล็ กน้อย ใบเรียวแหลม
ขอบใบเป็นหยักละเอียดดอกมีทงั ้ เดีย่ วและเป็นดอกรวม ๒ – ๓ ดอก มีหลายสี ผลรูปรี มีเมล็ดกลม
อยูใ่ น แก่แล้วแตกได้เอง
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบสา ดอกสด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บใบขนาดกลางทีส่ มบูรณ์
รสและสรรพคุณยาไทย ส่วนใหญ่หมอจีนใช้ใบของ เทียนดอกขาว ตําพอกเล็บขบ และ
ปวดตามนิ้วมือ หรือนิ้วเท้าถอนพิษปวดแสบ ปวดร้อน
วิ ธีใช้ ใช้ใบสดและดอกสดประมาณ ๑ กํามือ ตําละเอียดและพอก ทาบริเวณทีเ่ ป็นฝีและ
แผลพุพองวันละ ๓ ครัง้ (สีจากนํ้าคัน้ จะติดอยูน่ าน จึงควรระวังการเปรอะเปื้อนเสือ้ ผ้าและร่างกาย
ส่วนอื่นๆ)
126

ทองพันชัง่

ชื่ อท้ องถิ่ น หญ้ามันไก่ , ทองพันชั ่ง (ภาคกลาง)


ลักษณะของพืช ทองพันชั ่งเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก ลําต้นมักเป็นสีเ่ หลีย่ ม ใบรียาว ปลายแหลม
ท้ายแหลม ดอกออกเป็นช่อสีขาว พบเป็นไม้ประดับทั ่วไป
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบสดหรือราก (สดหรือแห้ง)
ช่ วงเวลาที่เก็บเป็ นยา ใบเก็บช่วงทีส่ มบูรณ์เต็มที่
รสและสรรพคุณยาไทย ใบสดเบื่อเมา เป็นยาเย็นดับพิษไข้ รากปน่ ละเอียดแช่เหล้า ๗ วัน
ทาแก้กลากเกลือ้ น ผื่นคัน
วิ ธีใช้ ใบสดหรือรากสดหรือแห้งของทองพันชั ่ง ใช้รกั ษากลากเกลือ้ น โดยใช้ใบ ๕ – ๘ ใบ
หรือราก ๒ – ๓ ราก (จํานวนทีใ่ ช้อาจเพิม่ หรือลดลงได้ตามอาการ ) ตําให้ละเอียด แช่เหล้าหรือ
แอลกอฮอล์ ๗ วัน นํามาทาบริเวณทีเ่ ป็นบ่อยๆจนกว่าจะหาย

ทับทิ ม

ชื่ อท้ องถิ่ น พิลา (หนองคาย) , พิลาขาว , มะก่องแก้ว (น่าน) , มะเก๊าะ (ภาคเหนือ)
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เปลือกผลแห้ง
ช่ วงเวลาที่เก็บเป็ นยา เก็บในช่วงทีผ่ ลแก่ ใช้เปลือก ผลตากแดดให้แห้ง
รสสรรพคุณยาไทย รสฝาด เป็นยาฝาดสมาน
วิ ธีใช้ เปลือกทับทิมใช้เป็นยาแก้ทอ้ งเดินและบิด มีวธิ ใี ช้ดงั นี้
๑. อาการท้องเดิน ใช้เปลือกผลแห้งประมาณ ๑ ใน ๔ ของผล ฝนกับนํ้าฝน
หรือนํ้าปูนใสให้ขน้ ๆ รับประทานครัง้ ละ ๑ – ๒ ช้อนแกง หรือต้มกับนํ้าปูนใส แล้วดื่มนํ้าต้มก็ได้
๒. บิด (มีอาการปวดเบ่งและมีมกู หรืออาจมีเลือดด้วย) ใช้เปลือกผลแห้งของทับทิม
ครัง้ ละ ๑ กํามือ (๓ – ๕ กรัม) ต้มกับนํ้าดื่มวันละ๒ ครัง้ อาจใช้กานพลู หรืออบเชย แต่งกลิน่ ให้
มก็นไ่าด้ดื่

น้ อยหน่ า

ชื่ อท้ องถิ่ น น้อยแน่ (ภาคใต้ ), มะนอแน่ มะแน่ (ภาคเหนือ ), มะออจ้า มะโอจ่า (เงีย้ ว
ภาคเหนือ), ลาหนัง (ปตั ตานี) , หน่ อเกล๊าแซ(เงีย้ ว-แม่ฮ่องสอน) , หมักเขียบ (ภาคอีสาน)
127

ลักษณะของพืช น้อยหน่ าเป็นพืชยืนต้น ใบเดีย่ วติดกับลําต้นใบรูปรี ปล ายแหลมหรือมน


ดอกเล็ก๔ กลีบ สีเหลืองอมเขียว กลิน่ หอม ลูกกลม มีตุ่มนูนรอบผล เนื้อสีขาว รสหวาน เมล็ดสีดาํ
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบสดและเมล็ด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บใบสดและเมล็ด
รสและสรรพคุณยาไทย ใบแก้กลากเกลือ้ นและฆ่าเหา ชาวชนบทมักเอาลูกตายมาฝนกับ
เหล้ารักษาแผล
วิ ธีใช้ ใบสดและเมล็ดน้อยหน่ าใช้ฆ่าเหา โดยเอาเมล็ดน้อยหน่ าประมาณ ๑๐ เมล็ด หรือ
ใบสดประมาณ ๑ กํามือ (๑๕ กรัม) ตําให้ละเอียด ผสมกับนํ้ามะพร้าว ๑ – ๒ ช้อนโต๊ะ ขยีใ้ ห้
ทั ่วศรีษะแล้วใช้ผา้ คลุมโพกไว้ประมาณครึง่ ชั ่วโมง และสระผมให้สะอาด (ระวังอย่าให้เข้าตาจะทําให้
แสบตา ตาอักแสบได้)

บอระเพ็ด

ชื่ อท้ องถิ่ น เครือเขาฮอ จุ่งจะลิง (ภาคเหนือ ) , เจตมูลพนาม (หนองคาย ) , หางหนู


(อุบลราชธานี) , ตัวเจตมูลยาน เถาหัวด้วย (สระบุร)ี , เจ็ดหมุนย่าน (ภาคใต้)
ลักษณะของพืช บอระเพ็ดเป็นไม้เลือ้ ย มีปุม่ ตามลําต้นกระจายทั ่วไป ใบรูปเหมือนใบโพธิ ์
ดอกออกเป็นช่อขนาดเล็กมาก สีเหลืองอมเขียว
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เถาหรือลําต้นสด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บเถาแก่
รสและสรรพคุณยาไทย รสขมจัด เย็น มีสรรพคุณ ระงับความร้อน แก้ไข้ทุกชนิด ช่วยเจริญอาหาร
วิ ธีใช้ ใช้เป็นยารักษาอาการดังนี้
๑. อาการไข้ ใช้เถาหรือต้นสด ครัง้ ละ ๒ คืบ (๓๐ – ๔๐ กรัม) ตําคัน้ เอานํ้าดื่ม
หรือต้มกับนํ้าโดยใช้น้ํา ๓ ส่วน ต้มเคีย่ วให้เหลือ ๑ ส่วน ดื่มก่อนอาหารวันละ ๒ ครัง้ เช้า –
เย็น หรือเวลามีอาการ
๒. อาการเบื่ออาหาร เป็นยาช่
วยเจริญอาหาร โดยใช้ขนาดและวิธกี ารเช่นเดียวกับแก้ไข้
128

บัวบก

ชื่ อท้ องถิ่ น ผักหนอก (ภาคเหนือ) , ประหนะเอขาเต๊าะ (กะเหรีย่ ง – แม่ฮ่องสอน)


ลักษณะของพืช บัวบกเป็นพืชเลือ้ ย สูงขนาด ๑ ฝา่ มือ มีรากงอกออกมาตามข้อของ
ลําต้น ก้านใบงอกตรงจากดิน ใบสีเขี ยว รูปกลมรีเล็กน้อย ขอบใบเป็นคลื่น ดอกสีม่วงแดงเข้ม
ใช้ขอ้ ทีม่ รี ากงอกมาปลูก
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ต้นสดและใบสด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บใบทีส่ มบูรณ์เต็มที่
รสและสรรพคุณยาไทย กลิน่ หอม รสขมเล็กน้อย แก้อ่อนเพลีย เมื่อยล้า
วิ ธีใช้ บัวบกใช้รกั ษาแผลไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก โดยเอาบักบกทัง้ ต้นสด ๑ กํามือ ล้างให้
สะอาดและตําให้ละเอียดคัน้ นํ้าและเอานํ้าทาบริเวณทีเ่ ป็นแผลบ่อยๆ ใช้กากพอกด้วยก็ได้

ปลาไหลเผือก

ชื่ อท้ องถิ่ น แฮพันชัน้ ตุงสอ (ภาคเหนือ ) , คะนาง ชะนาง (ตราด) , หยิกบ่อถองเอียน
ด่อน (ภาคอีสาน) , ตรึงบาดาล (ปตั ตานี) , กรุงบาดาล (สุราษฎร์ธานี) , เพียก (ภาคใต้)
ลักษณะของพืช ปลาไหลเผือก เป็นไม้พุ่มขนาดกลาง ใบเป็นใบประกอบ ใบย่อยแข็ง
เรียวปลายแหลม ดอกเป็นช่อใหญ่ยาว สีเหลืองนํ้าตาล ผลสีน้ําตาลรูปไข่
ส่วนที่ใช้เป็ นยา รากแห้ง (รากกลมยาว เป็นเนื้อไม้ค่อนข้างแข็งสีขาว)
รสและสรรพคุณยาไทย รสขมจัด เบื่อเมาเล็กน้อย รากเป็นยาแก้ไข้ ตัดไข้ทุกชนิด
วิ ธีใช้ ใช้รากแห้งของปลาไหลเผือกแก้ไข้ได้ โดยใช้ครัง้ ละ ๑ กํามือ (หนัก ๘ – ๑๕
กรัม) ต้มกับนํ้าดื่มก่อนอาหารวันละ ๒ ครัง้ เช้าและเย็น หรือเวลามีอาการ

ฝรัง่

ชื่ อท้ องถิ่ น มะนั ่น, มะก้วยกา (ภาคเหนือ ), บักสีดา (ภาคเหนือ ), ย่าหมู , ยามู (ใต้), มะปุน่
(สุโขทัย, ตาก), มะแกว (แพร่)
ลักษณะของพืช ไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก กิง่ อ่อนเป็นสีเ่ หลีย่ ม ยอดอ่อนมีขนอ่อนสัน้ ๆ
ใบเดีย่ วสีเขียว ออกเป็นคู่ตรงกันข้าม รูปใบ รี ปลายใบมนหรือมีตงิ่ แหลม โคนใบมน ออกดอกเป็น
129

ช่อละ ๒ – ๓ ดอก ดอกย่อยสีขาวมีเกสตัวผูม้ าก เป็นฝอย ผลดิบสีเขียว เมื่อสุกสีเขียวอ่อนปนเหลือง


เนื้อในสีขาว มีกลิน่ เฉพาะ มีเมล็ดมาก
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบแก่สด หรือลูกอ่อน
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บใบในช่วงแก่เต็มที่ หรือลูกขณะยังอ่อน
รสและสรรพคุณยาไทย รสฝาด ฤทธิ ์ฝาดสมาน แก้ทอ้ งเสีย
วิ ธีใช้ ลูกอ่อนและใบแก่ของฝรั ่งแก้ทอ้ งเสีย ท้องเดินได้ผลดีใช้เป็นยาแก้อาหาร ท้องเดิน
แบบไม่รุนแรงทีไ่ ม่ใช้บดิ หรืออหิวาตกโรค โดยใช้ใบแก่ ๑๐ – ๑๕ ใบ ปิ้งไฟแล้วชงนํ้ารับประท าน
หรือใช้ผลอ่อนๆ ๑ ผล ฝนกับนํ้าปูนใส รับประทานเมื่อมีอาการท้องเสีย

ผักบุง้ ทะเล

ชื่ อท้ องถิ่ น ละบูเลาห์ (มลายู – นราธิวาส)


ลักษณะของพืช ผักบุง้ ทะเลไม้เลือ้ ย ลําต้นทอดตามดินได้ยาวมาก ใบรูปหัวใจปลายเว้า
เข้าหากัน เนื้อใบหนาและกรอบนํ้า หักง่าย ดอกเหมือนดอกผักบุง้ ผลเล็กและกลม
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบและเถาสด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บใบขนาดกลางทีส่ มบูรณ์เต็มที่
รสและสรรพคุณยาไทย ถอนพิษลมเพลมพัด (อาการบวมเปลีย่ นทีเ่ ป็นตามอวัยวะ ทั ่วไป)
ทําเป็นยาต้มอาบแก้คนั ตามผิวหนัง มีการบันทึกว่า ยางมีพษิ รับประทานแล้วเมา คลื่นไส้วงิ เวียน
วิ ธีใช้ การใช้ผกั บุง้ ทะเลรักษาอาการแพ้ อักเสบ แมลงสัตว์กดั ต่อย (โดยเฉพาะพิษของ
แมงกะพรุน) ทําได้โดยเอาใบและเถา ๑ กํามือ ล้างให้สะอาด ตําให้ละเอียด คัน้ เอานํ้าทาบริเวณ
ทีบ่ วมแดงบ่อยๆ

เพกา

ชื่ อท้ องถิ่ น มะลิดไม้ ลิดไม้ มะลิน้ ไม้ (ภาคเหนือ) , ลิน้ ฟ้า (เลย)
ลักษณะของพืช เพกาเป็นไม้ยนื ต้นสูง มีใบย่อยจํานวนมาก ใบเป็นรูปไข่ ปลายแหลม
ดอกเป็นช่อสีม่วงแดง ฝกั แบนยาวคล้ายดาบ ภายในมีเมล็ดแบน มีปีกบางใส
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เมล็ด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บช่วงฝกั แห้ง
รสและสรรพคุณยาไทย ไม่มขี อ้ มูล
130

วิ ธีใช้ เมล็ดเพกาเป็นส่วนประกอบอย่างหนึ่งใน “นํ้าจับเลีย้ ง ” ของคนจีนทีด่ ่มื แก้รอ้ นใน


และเมล็ดใช้เป็นยาแก้ไอและขับเสมหะ โดยใช้เมล็ด ครัง้ ละ ๑/๒ – ๑ กํามือ (หนัก ๑ ๑/๒ – ๓
กรัม) ใส่น้ําประมาณ๓๐๐ มิลลิลติ ร ต้มไฟอ่อนพอเดือดนานประมาณ๑ ชั ่วโมง รับประทานวันละ๓ ครัง้

พญายอ

ชื่ อท้ องถิ่ น ผักมันไก่ ผักลิน้ เขียด (เชียงใหม่ ) , พญาปล้องดํา (ลําปาง) , เสลดพังพอนตัว
เมีย พญาปล้องทอง (กลาง) , ลิน้ มังกร โพะโซ่จาง (กะเหรีย่ ง)
ลักษณะของพืช เสลดพังพอนตัวเมีย เป็นไม้พุ่มแกมเลือ้ ย เถาะและใบสีเ ขียว ไม่มหี นาม
ใบยาวเรียว ปลายแหลมออกตรงข้ามกันเป็นคู่ ดอกออกช่ออยูท่ ป่ี ลายกิง่ แต่ละช่อมี ๓ – ๖ ดอก
กลีบดอกเป็นหลอดปลายแยกสีแดงอมส้ม
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบ
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บใบขนาดกลางทีส่ มบูรณ์ ไม่แก่หรืออ่อนจนเกินไป
รสและสรรพคุณยาไทย รสจืด
วิ ธีใช้ ใบพญายอ รักษาอาการอักเสบเฉพาะที่ (ปวด บวม แดง ร้อน แต่ไม่มไี ข้ )
จากแมลงมีพษิ กัดต่อย เช่น ตะขาบ แมงปอ่ ง ผึง้ ต่อย ต่อ แตน เป็นต้น โดยเอาใบสด
๑๐ – ๑๕ ใบ (มากน้อยตามบริเวณทีเ่ ป็น ) ล้างให้สะอาด ใส่ลงในครกตํายา ตําให้ละเอี ยด
เติมเหล้าขาวพอชุ่มยา ใช้น้ําและกากทาพอกบริเวณทีบ่ วมหรือถูกแมลงสัตว์กดั ต่อย

พลู

ชื่ อท้ องถิ่ น เปล้าอ้วน ซีเก๊ะ (มลายู – นราธิวาส) , พลูจนี (ภาคกลาง)


ลักษณะของพืช พลูเป็นไม้เลือ้ ย มีขอ้ และปล้องชัดเจน ใบเดีย่ วติดกับลําต้นแบบสลับ
คล้ายใบโพธิ ์ปลายใบแหลม หน้าใบมัน ดอกออกรวมกันเป็นช่อแน่น
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบสด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บใบช่วงสมบูรณ์เต็มที่
รสและสรรพคุณยาไทย รสเผ็ดเป็นยาฆ่าเชือ้ โรค ขับลม ตามชนบทใช้ตาํ กับเหล้าทา
บริเวณทีเ่ ป็นลมพิษ คนแก่ใช้ทาปูนแดงรับประทานกับหมาก
131

วิ ธีใช้ ใบพลู ใช้เป็นยารักษาอาการแพ้ อักเสบ แมลงสัตว์กดั ต่อย ได้ผลดี กับอาการแพ้


ลักษณะลมพิษโดยเอาใบ ๑ – ๒ ใบ ตําให้ละเอียดผสมกับนํ้าเหล้าขาว ทาบริเวณทีเ่ ป็น ห้ามใช้
กับแผลเปิด จะทําให้แสบมาก

ไพล

ชื่ อท้ องถิ่ นปูลอย, ปูเลย(ภาคเหนือ) , ว่านไฟ(ภาคกลาง) , มิน้ สะล่าง(เงีย้ ว– แม่ฮ่องสอน)


ลักษณะของพืช ไพลเป็นไม้ลงหัว มีเหง้าใหญ่ เนื้อสีเหลือง มีกลิน่ หอม ใบเรียวยาว
ปลายแหลม ดอกออกรวมกันเป็นช่อ อยูบ่ นก้านช่อดอกทีแ่ ทงจากเหง้า
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เหง้าแก่จดั
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บเหง้าแก่จดั หลังจากต้นไพลลงหัวแล้ว
รสและสรรพคุณยาไทย สรรพคุณ แก้ฟกบวม เคล็ดยอก ขับลม ท้องเดินและ ช่วยขับ
ระดู ประจําเดือนสตรี นิยมใช้เป็นยาหลังคลอดบุตร
วิ ธีใช้ เหง้าไพล ใช้เป็นยารักษาอาการเคล็ดขัดยอก ฟกซํ้า โดยใช้เหง้าประมาณ
๑ เหง้า ตําแล้วคัน้ เอานํ้าทาถูน วดบริเวณทีม่ อี าการ หรือตําให้ละเอียดผสมเกลือเล็กน้อย
คลุกเคล้ากัน นํามาห่อเป็นลูกประคบอังไอนํ้าให้ความร้อน ประคบบริเวณปวดเมื่อยและฟกซํ้า
เช้า – เย็น จนกว่าจะหาย หรือทําเป็นนํ้ามันไพลไว้ใช้กไ็ ด้

ฟักทอง

ชื่ อท้ องถิ่ น นํ้าเต้า (ภาคใต้) , มะฟกั แก้ว (ภาคเหนือ) , มะนํ้าแก้ว (เลย) , หมักอือ้ (เลย –
ปราจีนบุร)ี , หมากอี (ภาคอีสาน)

ลักษณะของพืช พืชล้มลุกทีม่ เี ถายาวเลือ้ ยไปตามดิน มีหนาวยาวทีข่ อ้ ใบสีเขียวมี หยัก ๕


หยัก ผิวใบจับดูจะรูส้ กึ สาก ดอกสีเหลือง รูปกระดิง่ ผลมีขนาดใหญ่ ลักษณะกลมแบน ขระเป็นผิพูวขรุเนื้อในสี
เหลืองจนถึงเหลืองอมส้มและเหลืองอมเขียว เมล็ดรูปไข่แบบจํานวนมาก
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เมล็ดฟกั ทองแก่
รสและสรรพคุณยาไทย รสมัน ไม่มรี ะบุในสรรพคุณยาไทย แต่ยาจีนใช้เป็นยาถ่ายพยาธิ
วิ ธีใช้ ใช้เมล็ดฟกั ทองถ่ายพยาธิลาํ ไส้ เหมาะกับการถ่ายพยาธิต ั วตืดโดยใช้เมล็ดฟงั ทอง
ประมาณ ๖๐ กรัม ทุบให้แตกผสมกับนํ้าตาลและนม หรือนํ้าตาลทีเ่ ติมลงไปจนได้ปริมาณ ๕๐๐
132

มิลลิลติ ร แบ่งรับประทาน ๓ ครัง้ ห่างกันทุกๆ ๒ ชั ่วโมง หลังจากให้ยาแล้วประมาณ ๒


ชั ่วโมง ก็ให้รบั ประทานนํ้ามันละหุ่งระบายตาม

ฟ้ าทลายโจร

ชื่ อท้ องถิ่ นฟ้าทลายโจร นํ้าลายพังพอน


(กรุงเทพฯ) , หญ้ากันงู(สงขลา) ,ฟ้าสาง(พนัสนิคม) , เขยตาย
ยายคลุม(โพธาราม) , สามสิบดี(ร้อยเอ็ด) , เมฆทลาย(ยะลา) , ฟ้าสะท้าน(พัทลุง)
ลักษณะของพืช ฟ้าทลายโจรเป็นพืชล้มลุก สูง ๑ – ๒ ศอก ลําต้นสีเ่ หลีย่ ม แตกกิง่ เล็ก
ด้านข้างจํานวนมากใบสีเขียว ตัวใบรียาว ปลายแหลม ดอกขนาดเล็ก สีขาว มีขอบกระสีม่วงแดง
ฝกั คล้ายฝกั ต้อยติง่ เมล็ดในสีน้ําตาลอ่อน
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบ
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บในช่วงเริม่ ออกดอก ใช้เวลาปลูกประมาณ ๓ เดือน
รสและสรรพคุณยาไทย รสขม
วิ ธีใช้ ใบฟ้าทลายโจรใช้รกั ษาอาการท้องเสียและอาการเจ็บคอ ๓มีววิธิ ใี ดช้งั นี้คอื
๑. ยาต้ม ใช้ใบฟ้าทลายโจรสด ๑ – ๓ กํามือ (แก้อาการเจ็บคอ ใช้เพียง ๑ กํามือ)
ต้มกับนํ้านาน๑๐ – ๑๕ นาที ดื่มก่อนอาหารวันละ ๓ ครัง้ หรือเวลามีอาการ ยาต้มฟ้าทลายโจรมี รสขมมาก
๒. ยาลูกกลอน นําใบฟ้าทลายโจรสด ล้างให้สะอาด ผึง่ ลมให้แห้ง (ควรผึง่ ในร่มที่
มีอากาศโปร่งห้ามตากแดด ) บดเป็นผงให้ละเอียด ปนกั ั ้ บนํ้าผึง้ เป็นเมล็ดยาลูกกลอน ขนาดเท่า
ปลายนิ้วก้อย หรือขนาดเส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๐.๘ เซนติเมตร ผึง่ ลมให้แห้ง เก็บ ไว้ในขวด
แห้งและมิดชิด รับประทานครัง้ ละ ๓ – ๖ เมล็ด วันละ ๓ – ๔ ครัง้ ก่อนอาหารและก่อนนอน
๓. ยาดองเหล้า นําใบฟ้าทลายโจรแห้ง ขยําให้เป็นชิน้ เล็กๆ ใส่ในขวดแก้วใช้
เหล้าโรง ๔๐ ดีกรี แช่พอให้ท่วมยาเล็กน้อย ปิดฝาให้แน่น เขย่าขวด หรือคนยาวันละ ๑ ครัง้
พอครบ ๗ วัน กรองเอาแต่น้ําเก็บไว้ในขวดทีม่ ดิ ชิดและสะอาด รับประทานครัง้ ละ ๑ – ๒ ช้อน
โต๊ะ (รสขมมาก) วันละ ๓ – ๔ ครัง้ ก่อนอาหาร
133

มะเกลือ

ชื่ อท้ องถิ่ น มะเกือ มะเกีย (ภาคเหนือ) , เกลือ (ภาคใต้) , หมักเกลือ (ตราด)
ลักษณะของพืช มะเกลือ เป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงขนาดใหญ่ ใบรูปไข่ร ี ปลายแหลม
ดอกเป็นช่อใหญ่ประกอบด้วยดอกเล็ก สีเหลืองอมเขียว ผลกลมสีเขียว แก่กลายเป็นสีดาํ ยางลูก
มะเกลือ ใช้ยอ้ มผ้าให้เป็นสีดาํ
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ผลดิบสด (ผลแก่ทม่ี สี เี ขียว ผลสุกสีเหลือง หรือผลสีดาํ ห้ามใช้)
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา ผลดิบสด
รสและสรรพคุณยาไทย รสเบื่อเมา สรรพคุณ ถ่ายพยาธิตวั ตืด และพยาธิไส้เดือนตัวกลม
วิ ธีใช้ ชาวบ้านรูจ้ กั ใช้ลกู มะเกลือพยาธิมานานแล้ว ผลดิบสดของมะเกลือ (ผลแก่ทม่ี สี ขี าว
ผลสุกสีเหลือง หรือผลสีดาํ ห้ามใช้ ) ได้ผลดีสาํ หรับพยาธิปากขอ และพยาธิเส้นด้าย (พยาธิเข็ม
หมุด) โดยใช้ผลสดสีเขียวไม่ช้าํ ไม่ดาํ จํานวนเท่ากับอายุคนใช้ (๑ ปีต่อ ๑ ผล) แต่ไม่เกิน ๒๕ ผล
(คนไข้ทม่ี อี ายุเกินกว่า ๒๕ ปี ก็ใช้เพียง ๒๕ ผล) นํามาตําโขลกพอแหละแล้วผสมกับหัวกะทิ
คัน้ เอาแต่น้ําดื่มให้หมดก่อนรับประทานอาหารเ ช้า ถ้า ๓ ชั ่วโมง แล้วยังไม่ถ่ายให้ใช้ยาระบาย
เช่น ดีเกลือ ๒ ช้อนโต๊ะ ละลายนํ้าดื่มตามลงไป

มะขาม

ชื่ อท้ องถิ่ น มะขามไทย (กลาง) , ขาม (ใต้) , คะลูบ (นครราชสีมา ) , ม่วงโคล้ง
(กะเหรีย่ ง – กาญจนบุร)ี , อําเปียล (เขมร – สุรนิ ทร์)
ลักษณะของพืช ไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่ เปลือกต้นหนาขรุขระ ใบประกอบด้วยใบย่อยเรียง
กัน ๑๐ – ๑๕ คู่ บนก้านกลางใบ ดอกสีเหลืองส้ม มีจุดประสีแดง ออกเป็นช่อ ฝกั มี เปลือก
ค่อนข้างแข็งแต่บางและเปราะเนื้อในมีทงั ้ ชนิดเปรีย้ วปและชนิดหวาน เมล็ดแก่สนี ้ําตาลไหม้
ส่วนที่เป็ นยา เนื้อฝกั แก่ , เนื้อเมล็ดตาขามแก่
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บช่วงฝกั แก่ เปลือกเป็นสีน้ําตาล
รสและสรรพคุณยาไทย เนื้อฝกั แก่ รสเปรีย้ ว เป็นยาระบาย ขับเสมหะ , เนื้อเมล็ด
มะขามรสมัน ใช้ขบั พยาธิ
วิ ธีใช้ ส่วนต่างๆ ของมะขามเป็นยารักษา
๑. อาการท้องผูก ใช้มะขามเปียกเปรีย้ ว ๑๐ – ๒๐ ฝกั (หนัก ๗๐ – ๑๕๐ กรัม)
จิม้ เกลือรับประทานแล้วดื่มนํ้าตามมากๆ หรือเติมนํ้าคัน้ ใส่เกลือเล็กน้อยดื่มเป็นนํ้ามะขาม
134

๒. พยาธิไส้เดือนนําเอาเมล็ดแก่มาคั ่วแล้วกะเทาะเปลือกออกเอาเนื้อในเมล็ดแช่
นํ้าเกลือจนนุ่ มรับประทานครัง้ ละ ๒๐ – ๓๐ เมล็ด
๓. อาการไอ มีเสมหะ ใช้เนื้อในฝกั แก่หรือมะขามเปียกจิม้ เกลือรับประทานพอสมควร

มะขามแขก

ลักษณะของพืช มะขามเป็นไม้ยนื ต้นขนาดเล็กเป็นพุ่มใบคล้ายมะขามไท แต่ยาวกว่าและ


ปลายใบแหลมกว่าดอกเป็นช่อสีเหลือง คล้ายถั ่วลันเตา แต่ป้อมและแบนกว่า
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบแห้งและฝกั แห้ง
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เริม่ เก็บใบได้ในช่วงอายุ ๑ เดือนครึง่ (หรือก่อนออกดอก)
รสและสรรพคุณยาไทย ใบและฝกั ใช้เป็นยาถ่าย ใบไซ้ทอ้ งมากกว่าฝกั
วิ ธีใช้ มะขามแขกเป็นยาถ่ายทีด่ ใี ช้รกั ษาอาการท้องผูก โดยใช้ใบแห้ง ๑ – ๒ กํามือ
(หนัก ๕ – ๑๐ กรัม) ต้มกับนํ้าดื่ม หรือใช้วธิ บี ดเป็นผงชงนํ้าดื่ม หรือใช้ฝกั ๔ – ๕ ฝกั ต้มกับ
นํ้าดื่ม บางคนดื่มแล้วเกิดอาการไซ้ทอ้ ง แก้ไขได้โดยใช้ร่วมกับยาขับลมจํานวนเล็กน้อย (เช่น
กระวาน กานพลู เป็นต้น) มะขามแขกเหมาะกับคนทีท่ อ้ งผูกเป็นประจํา แต่ควรใช้เป็นครัง้ คราวง

มะคําดีควาย

ชื่ อท้ องถิ่ น ชะแช ซะเหบ่เด (กะเหรีย่ ง – แม่ฮ่องสอน ) , ประคําดีควาย (ภาคกลาง


ภาคใต้) , มะชัก ส้มปอ่ ยแถม (ภาคเหนือ)
ลักษณะของพืช มะคําดีควายเป็นไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่ ใบใหญ่ตดิ กับลําต้นแบบสลับ
ประกอบด้วยใบย่อยรูปใบเรียวยาว หรือขอบใบค่อนข้างขนาดกั น ปลายและโคนใบแหลม เนื้อใบ
๒ ข้างไม่เท่ากัน ดอกเล็กสีขาวอมเหลือหรืออมเขียว ดอกเป็นช่อยาว ผลค่อนข้างกลมสีสม้
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ผลแก่
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บช่วงผลแก่ และตากแดดจนแห้ง
รสและสรรพคุณยาไทย รสขม แก้กาฬภายใน แก้พษิ ไข้ ดับพิษร้อน ลูกต้มแล้วเกิดฟอง
สุมหัวเด็ก แก้หวัด แก้รงั แค ใช้ซกั ผ้าและสระผมได้
วิ ธีใช้ ผลมะคําดีควาย ใช้รกั ษาชันตุทห่ี วั เด็กได้ โดยเอาผลมาประมาณ ๕ ผล แล้วทุบ
พอแตก ต้มกับนํ้าประมาณ ๑ ถ้วย ทาทีห่ นังศีรษะ บริเวณทีเ่ ป็นวันละ ๒ ครัง้ เช้า – เย็น
จนกว่าจะหาย (ระวังอย่าให้เข้าตาจะทําให้แสบตา)
135

มะนาว

ชื่ อท้ องถิ่ น ส้มมะนาว , มะลิว (เชียงใหม่)


ลักษณะของพืช เป็นไม้พุ่ม หรือไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก มีหนามตามต้น ก้านใบสัน้ ตัวใบ
รูปร่างกลมรี สีเขียว ขอบใบหยักเล็กน้อย ปลายและโคนใบมน ขยีใ้ บดมดู มีกลิน่ หอม ดอกเล็กสี
ขาวอมเหลือง มีกลิน่ หอมอ่อนๆ ผลกลมเปลือกบางเรียบ นํ้ามาก รสเปรีย้ วจัด เปลือกผลมีน้ํา
กลิน่ หอม รสขม
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เปลือกและนํ้าของลูกมานาว
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา ช่วงผลสุก
รสและสรรพคุณยาไทย เปลือกผล รสขม ช่วยขับลม นํ้ามะยาวรสเปรีย้ วจัดเป็นย าขับ
เสมหะ เมื่อก่อนตามชนบทเมื่อเด็กหกล้มหัวโน จะใช้น้ํามะนาวผสมกับดินสอพอง โปะบริเวณที่
หัวโน จะทําให้เย็นและยุบลง
วิ ธีใช้ เปลือกมะนาวและนํ้ามะนาวใช้เป็นยาได้ โดยมีรายละเอียดการใช้ดงั นี้
๑. เปลือกมะนาว รักษาอาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และแน่นจุกให้เสีนยําดเอาเปลือกของผลสด
ประมาณครึง่ ผล คลึง หรือทุบเล็กน้อยพอให้น้ํามันออก ชงนํ้าร้อนดื่มเวลามีอาการ
๒. นํ้ามะนาว รักษาอาการไอ และขับเสมหะ ใช้ผลสดคัน้ นํ้าจะได้น้ํามะนาว
เข้มข้น และใส่เกลือเล็กน้อย จิบบ่อยๆ หรือจะทําเป็นนํ้ามะนาว ใส่เกลือและนํ้าตาล ปรุงใ ห้รสจัด
สักหน่อยดื่มบ่อยๆ ก็ได้

มะพร้าว

ชื่ อท้ องถิ่ น ดุง (จันทบุร ี) , โพล(กาญจนบุร) ,ี คอล่า(แม่ฮ่องสอน) หมากอุ๋น หมากอู(ทัน ่วไป)
ลักษณะของพืช มะพร้าว เป็นไม้ยนื ต้นสูงถึง ๒๐ – ๓๐ เมตร ใบออกเรียงซ้อนกันเป็น
กระจุกอยูท่ ย่ี อดใบ เป็นใบประกอบรูปขน นก ก้านใบยาว ใบยาวแคบ หนา เนื้อเหนียว สีเขียว
ใบประกอบย่อยแตกจากแกนใหญ่เป็นคู่จาํ นวนมาก ดอกออกช่อ มีสเี หลืออยูใ่ นระหว่างซอกใบ ผล
มีรปู ร่างทรงกลมหรือกลมรี ผลอ่อนสีเขียว (หรือเหลือง) ค่อยๆ เปลีย่ นเป็นสีน้ําตาลเมื่อแก่ เปลือก
นอกเรียบ ชัน้ กลางเป็นเส้นใยเนื้อนุ่ม ถัดไปเนื้อแข็งเรียกว่า กะลา จากนัน้ จึงถึงเนื้อนุ่ม สีขาว รสมัน
ข้างในมีน้ําใสรสหวาน ชอบทีด่ นิ ปนทราย ปลูกได้ท ั ่วไปปลูกมากทางภาคใต้
ส่วนที่ใช้เป็ นยา นํ้ามันมะพร้าว
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บในช่วงผลแก่ และนํามาเคีย่ วเป็นนํ้ามัน
136

รสและสรรพคุณยาไทย รสมัน ทาแก้ปวดเมื่อยและขัดตามเส้นเอ็น เจือกับยาทีม่ รี สฝาด


รักษาบาดแผลได้
วิ ธีใช้ ใช้น้ํามะพร้าว มาปรุงเป็นยารักษาแผลไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก วิธใี ช้ทาํ ได้โดยการ
นําเอานํ้ามันมะพร้าว ๑ ส่วน ใส่ในภาชนะคนพร้อมๆ กับเติมปูนใส ๑ ส่วน โดยเติมทีละส่วน
พร้อมกับคนไปด้วยคนจนเข้ากันดี แล้วใช้ทาทีแ่ ผลบ่อยๆ

มะแว้งเครือ

ชื่ อท้ องถิ่ น มะแว้งเถา (กรุงเทพฯ) แคว้งเคีย (ตาก)


ลักษณะของพืช มะแว้งเครือ เป็นไม้เลือ้ ยหรือไม่พุ่ม มีหนาตามส่วนต่างๆ ใบรูปกลมรี
ขอบใบหยักเว้า ๒ – ๕ หยัก ผิวใบอาจเรียบหรือมีหนามเล็กๆ ตามเส้นกลางใบ ดอกออกเป็นช่อ
คล้ายดอกมะเขือ มีสมี ่วง เกสรสีเหลือง ผลกลม ตอนดิบสีเขียวมีลายเล็กน้อย สุกเปลีย่ นเป็นสีแดงสด
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ผลแก่สด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา ผลสุก
รสและสรรพคุณยาไทย รสขม เป็นยากัดเสมหะ
วิ ธีใช้ ใช้รกั ษาอาการไอและขับเสมหะ นําเอาผลแก่สด ๕ – ๑๐ ผล โขลกพอแหลก คัน้ เอา
แต่น้ํา ใส่เกลือรับประทานบ่อยๆ หรือใช้ผลสดเคีย้ วแล้วกลืนทัง้ นํ้าและเนื้อจนกว่าอาการจะดีขน้ึ

มะแว้งต้น

ชื่ อท้ องถิ่ น มะแว้งขม มะแว้งดํา (เหนือ ) , มะแว้งคม (สุราษฎร์ธานี – สงขลา) , มะแว้ง
แว้งชม (สงขลา สุราษฎร์ธานี)
ลักษณะของพืช มะแว้งต้น เป็นไม้พุ่ม มีขน และหนามแหลม กระจายอยูท่ ั ่วไป
ใบคล้ายใบมะเขือพวง ดอกออกเป็นช่อสีม่วงซีด ผลกลม เมื่อสุกสีสม้
ช่วงเวลาที่ใช้เป็ นยา ผลแก่สด
รสและสรรพคุณยาไทย รสขม เป็นยาสกัดเสมหะ
วิ ธีใช้ ใช้รกั ษาอาการไอและขับเสมหะ นําเอาผลแก่สด ๕ – ๑๐ ผล โขลกพอแหลก คัน้ เอา
แต่น้ําใส่เกลือจิบบ่อยๆ หรือใช้ผลสดเคีย้ วแล้วกลืนทัง้ นํ้าและเนื้อ กินบ่อยๆ จนกว่าอาการจะดีขน้ึ
137

มะหาด

ชื่ อท้ องถิ่ น หาด (กลาง) , หาดใบใหญ่ (ตรัง) , หาดขนุน (เหนือ) , กาแย ตาแป ตาแปง
(นราธิวาส) , ปวกหาด (เชียงใหม่)
ลักษณะของพืช มะหาด เป็นไม้ยนื ต้นขนาดใหญ่ ใบแก่ มีรปู ใบเป็นรูปไข่ หรือขอบ
ขนานรี ริมใบเรียบ ดอกเป็นช่อสีเหลือง ลูกกลม
ส่วนที่ใช้เป็ นยา แก่นต้นมะหาด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา ช่วงอายุตน้ มะหาด ๕ ปีขน้ึ ไป
รสและสรรพคุณยาไทย ปวกหาดใช้เป็นยาขับพยาธิตวั ตืด ละลายกับนํ้าทาแก้ผ่นื คัน
วิ ธีใช้ ผงปวกหาด เตรียมได้โดยการเอาแก่นมะหาดมาต้มเคีย่ วด้วยนํ้า จะมีฟอง เกิดขึน้
และช้อนฟองขึน้ มาตากแห้ง จะได้ผงสีเหลือง วิธใี ช้ นําผงปวกหาดมาบดให้ละเอียด รับประทาน
กับนํ้าสุกเย็น ครัง้ ละ ๑ – ๒ ช้อนชา (ประมาณ ๓ – ๕ กรัม ) ก่อนอาหารเช้า หลัวจาก
รับประทานผงปวกหาดแล้วประมาณ ๒ ชั ่วโมง ให้รบั ประทานดีเกลือหรือยาถ่ายตาม ใช้ถ่ายพยาธิ
ตัวตืดและพยาธิไส้เดือน
ข้อควรระวัง ห้ามรับประทานผงปากหาดกับนํ้าร้อน จะทําให้คลื่นไส้ อาเจียนได้

มังคุด

ชื่ อท้ องถิ่ น แมงคุด (ไทย)


ลักษณะของพืช มังคุดเป็นไม้ยนื ต้นขนาดกลางถึงใหญ่ ใบใหญ่หนาและแข็ง ดอกเป็นช่อ
แบ่งได้เป็นดอกตัวผูก้ บั ดอกตัวเมีย ดอกตัวผุเ้ ป็นสีเหลืองอมแดง หรือสีม่วง ส่วนดอกตัวเมียสีชมพูเข้ม
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เปลือกผลแห้ง
รสและสรรพคุณยาไทย รสฝาด แก้ทอ้ งเสีย บิด มูกเลือด ในชนบททักใช้น้ําต้มเปลือก
มังคุดล้างแผล ช่วยให้แผลหายเร็วๆ
วิ ธีใช้ มังคุดใช้เป็นยารักษา
๑. อาการท้องเสีย ใช้เปลือกผลตากแห้ง ต้มกับนํ้าปูนใส หรือฝนนํ้าดื่ม
๒. บิด (ปวดเบ่ง มีมกู และอาจมีเลือดด้วย) ใช้เปลือกผลแห้งประมาณ ๑/๒ ผล
(๔ กรัม)ย่างไฟให้เกรียม ฝนกับนํ้าปูนใสประมาณครึง่ แก้ว หรือบดเป็นผงละลายนํ้าข้าว (นํ้าข้าว
เช็ด) หรือนํ้าสุกดื่มทุก ๒ ชั ่วโมง
138

ยอ

ชื่ อท้ องถิ่ น ยอบ้าน(ภาคกลาง) , มะตาเสือ (ภาคเหนือ)


ลักษณะของพืช ยอ เป็นไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก ใบใหญ่หนาสีเขียว ดอกเล็กสีขาวเป็นกระจุก
ผลกลมยาวรีมตี าเป็นปุม่ รอบผล ลูกอ่อนสีเขียวสด เปลีย่ นเป็นสีขาวนวลเมื่อสุก กลิน่ ฉุน
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ผลดิบ หรือผลห่ามสด
รสและสรรพคุณยาไทย รสขมเล็กน้อย ผลยอแก้อาเจียน ขับลม บํารุงธาตุ
วิ ธีใช้ ตําราแพทย์แผนโบราณกล่าวว่า ใช้ผลยอหั ่นปิ้งไฟพอเหลืองกรอบ ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยาใช้
ร่วมกับยาอื่น แก้คลื่นไส้อาเจียนได้ผล ในการทดลองพบว่า ผลยอไม่มพี ษิ เฉียบพลันและใช้เป็นอาหารจึงใช้เป็นย
แก้อาการคลื่นไส้ อาเจียน ทีไ่ ม่รุนแรงได้ เลือกเอาผลดิบหรือผลห่ ฝานเป็
ามสดนชิน้ บางๆ ย่างหรือคั ่วไฟอ่อนๆ
ให้เหลืองกรอบ มหรืต้ อชงนํ้าดื่ม ใช้ครัง้ ละ๒ กํามือ (๑๑ – ๑๕ กรัม) เอานํ้าทีไ่ ด่จบิ ทีละน้อยและบ่อยๆ ครัง้
จะได้ผลดีกว่าดื่มทีเดียว

ย่านาง

ชื่ อท้ องถิ่ น จอยนาง (เชียงใหม่) , เถาวัลย์เขียว (ภาคกลาง) , เถาหญ้านางหญ้าภคินี


(กลาง) ,จ้อยนาง (เชียงใหม่) , วันยอ (สุราษฎร์ธานี)
ลักษณะของพืช ย่านางเป็นไม้เลือ้ ย รูปใบคล้ายรูปไข่ หรือรูปไข่ขอบขนาน ปลายใบเรียว
แหลม โคนมน ดอกเป็นช่อขนาดเล็ก ผลสีเหลืองแดง
ส่วนที่ใช้เป็ นยา รากแห้ง
รสและสรรพคุณยาไทย รากย่านางแก้ไข้ทุกชนิด
วิ ธีใช้ รากแห้งใช้แก้ไข้ โดนใช้ครัง้ ๑ละกํามือ (หนัก ๑๕ กรัม) ต้มดื่ม ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร

เร่ว

ชื่ อท้ องถิ่ น มะอี้ หมากอี(้ เชียงใหม่) , หมากเน็ง (อีสาน) , มะหมากอีผ้ าลา (ฉาน –
เชียงใหม่) ,หมากแน่ง (สระบุร)ี
ลักษณะของพืช เร่วเป็นไม้ลม้ ลุกมีเหง้าใต้ดนิ ใบเรียวปลายแหลม ดอกออกเป็นช่อสีชมพู
ลูกเป็นสีน้ําตาลค่าอนข้างกลมหรือรูปไข่
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เมล็ดใน
139

ส่วนเวลาที่เก็บเป็ นยา เก็บช่วงผลแก่


รสและสรรพคุณยาไทย รสเผ็ดปร่า แก้คลื่นเหียนอาเจียน และขับผายลม
วิ ธีใช้ เมล็ดในของผลแก่ แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ และแน่นจุกเสียด บดเป็นผง
กินครัง้ ละ ๓ – ๙ ผล (หนัก ๑ – ๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้

เล็บมือนาง

ชื่ อท้ องถิ่ น จะมั ่ง , จ๊ามั ่ง , มะจีม ั ่ง (ภาคเหนือ) , ไท้หม่อง (กะเหรีย่ งแม่ฮ่องสอน)
ลักษณะของพืชเล็บมือนางเป็นไม้เลือ้ ย เถาแก่เป็นไม้เนื้อแข็ง ใบรูปรีหรือรูปไข่ ปลายแหลม โคนใบ
มนดอกเป็บช่อสีขาว แล้วค่อยๆเปลีย่ นเป็นสีชมพู มีกลิน่ หอม ผลสีน้ําตาลแดงเป็๕นมัพูน มี
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เมล็ด
ส่วนเวลาที่เก็บเป็ นยา เก็บเมล็ดแก่ช่วงทีเ่ ป็นสีน้ําตาล
รสและสรรพคุณยาไทย รสเอียน เบื่อเล็กน้อย ใช้พยาธิและตานทราง
วิ ธีใช้ เมล็ดเล็บมือนาง ใช้ถ่ายพยาธิไส้เดือน สําหรับเด็กใช้๒ – ๓ เมล็ด (หนัก ๕ – ๖ กรัม)
ผูใ้ หญ่ใช้ ๕ – ๗ เมล็ด (หนัก ๑๐ - ๑๕) ทุบพอแตก ต้มเอานํ้าดื่มหรือหั ่นทอดกับไข่รบั ปราทาน

ว่านหางจระเข้

ชื่ อท้ องถิ่ น ว่านไฟไหม้ (ภาคเหนือ) , ทางตะเจ้ (ภาคกลาง)


ลักษณะของพืช ว่านหางจระเข้เป็นพืชพืน้ เมืองของทวีปอัฟริกา เป็นพืชล้มลุก ลําต้นสัน้
ใบจะงอกขึน้ มาจากดินใบหนารูปร่างยาว ปลายแหลม ริมใบหยักและมีหนาม ใบสีเขียวใส และ
มีรอยกระสีขาว ภายในใยมีวนุ้ และเมือกมาก ดอกออกจากกลางตัดก็ช่อๆ ก้านดอกยาวมาก ดอก
เป็นหลอด ปลายแยก สีสม้ แดงออกสีเหลืองเล็กน้อย
ส่วนที่ใช้เป็ นยา วุน้ จากใบ
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บในช่วงอายุ ๑ ปี
รสและสรรพคุณยาไทย รสจืดเย็น โบราณใช้ทาปูนแดงปิดขมับ แก้ปวดศีรษะ
วิ ธีใช้ วุน้ จากใบรักษาแผลไฟไหม้ นํ้าร้อนลวก โดยเลือกใบทีอ่ ยูส่ ่วนในล่างของต้น
เพราะใบใหญ่ได้วนุ้ มากกว่าใบเล็กปอกเปลือกสีเขียวออกด้วยมีดทีส่ ะอาดล้างยากให้สะอาดด้วยนํ้า
ต้มสุกหรือนํ้าด่างทับทิมขูดเอาวุน้ ใสมาพอกบริเวณแผล ทา ๒ ครัง้ เช้า – เย็น จนกว่าแผลจะ
140

หาย ช่วยระงับความเจ็บปวดช่วยให้แผลหายเร็วและไม่เกิดแผลเป็น วุน้ ว่านหางจระเข้ยงั ใช้ทา


รักษาผิวไหม้ทเ่ี กิดจากแดดเผาได้
ข้อควรระวัง ก่อนใช้วา่ น ทอสอบดูวา่ แพ้หรือไม่ โดยเอาวุน้ ทาบริเวณท้องแขน
ด้านใน ถ้าผิวไม่คนั หรือแดงก็ใช้ได้

สะแก

ชื่ อท้ องถิ่ นสะแกนา(ภาคกลาง) , แก(ภาคอีสาน) , ขอยแข้ จองแข้(แพร่) , แพ่ง (ภาคเหนือ)


ลักษณะของพืช สะแกเป็นไม้ยนื ต้นใบรูปไข่หรือรูปรีปลายใบมนหรือแหลม โคนใยเรียนอื
มเข้าหากัน ดอกเป็นช่อขนาดเล็ก ผลเล็กมีปีกยืน่ 4 พู
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เมล็ดแก่
ช่วงเวลาที่เก็บยา เก็บในช่วงทีผ่ ลแก่
รสและสรรพคุณยาไทย ตามชนบทใช้เมล็ดสะแก ทอดกับไข่ให้เด็กรับประทาน ช่วยขับ
พยาธิไส้เดือนและเส้นด้าย
วิ ธีใช้ เมล็ดแก่แห้งของสะแก ใช้ถ่ายพยาธิไส้เดือน โดยใช้เมล็ดแก่ ๑ ช้อนคาว
(ประมาณ ๓ กรัม) ตําให้ละเอียดทอดกับไข่ให้เด็กรับประทานตอนท้องว่าง
ข้อควรระวัง ห้ามรับปรานเกินขนาดทีก่ าํ หนด

สับปะรด

ชื่ อท้ องถิ่ น มะขะนัด มะนัด (ภาคเหนือ) , บ่อนัด (เชียงใหม่) , ขนุนทอง ย่านัด ยานัด
(ภาคใต้) , หมากนัด (ภาคอีสาน)
ลักษณะของพืชสับปะรดเป็นพืชล้มลุกหลายปี ลําต้นสัน้ และแข็ง ใบออกสลับโดยรอบต้น ใบเรียวยาว
ปลายแหลม ดอกออกเป็นช่อ ช่อดอกมีกา้ นยาว ผลรูปร่างเป็นไข่กลมหรือทรงกระบอก
ส่วนที่ใช้เป็ นยา เหง้าทัง้ สดและแห้ง
รสและสรรพคุณยาไทย รสหวานเย็น ช่วยขับปสั สาวะ
วิ ธีใช้ ใช้เหง้าสดหรือแห้ง แก้อาการขัดเบา ช่วยขับปสั สาวะ โดยใช้เหง้าวันละ ๑ กอบมือ
(สดหนัก ๒๐๐ – ๒๕๐ กรัม แห้งหนัก ๙๐ – ๑๐๐ กรัม) ต้มกับนํ้าดื่มวันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
ครัง้ ละ ๑ ถ้วยชา (ประมาณ ๗๕ มิลลิลติ ร)
141

เสลดพังพอน

ชื่ อท้ องถิ่ น ชองระอา, พิมเสนต้น (กลาง), พิมเสนต้น (ภาคกลาง), เซ็กเซเกีย่ ม (จีน)
ลักษณะของพืชเสลดพังพอน เป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก แตกกิง่ ก้านสาขามาก ลําต้นมีสนี ้ําตาลแดง
มีหนามตามข้อใบยา วเรียว ปลายแหลม มีเส้นกลางใบสีแดง ดอกสีเหลืองจําปา ออกเป็นช่อ
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบสด
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บใบขนาดกลาง ไม่แก่หรืออ่อนเกินไป
รสและสรรพคุณยาไทย รสขม ถอนพิษ แมลงสัตว์กดั ต่อย โรคผิวหนัง
วิ ธีใช้ ใบสดของเสลดพังพอน รักษาอาการแพ้ อักเสบ แมลงสัตว์กดั ต่อย โดยเอาใบสด
๑ กํามือ ตําละเอียดคัน้ เอานํ้าทาบริเวณทีเ่ ป็น หรือตําผสมเหล้าเล็กน้อยก็ได้

สีเสียดเหนื อ

ชื่ อท้ องถิ่ น สีเสียดเหนือ (ภาคเหนือ) สีเสียนแก่น (ราชบุร)ี


ลักษณะของพืช สีเสียดเหนือ เป็นไม้ยนื ต้น ใบเป็นใบประกอบ มีใบย่อยจํานวนมาก
ดอกเป็นช่อขนาดเล็ก มีสขี าวอมเหลือง ฝกั สีน้ําตาลเข้ม
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ก้อนสีเสียด (ก้อนสีเสียดเป็นสิง่ ทีส่ กัดทีไ่ ด้จากการนําเนื้อไม้มาตัดให้เป็น
ชิน้ เล็กๆ ต้มกับนํ้ากรองและเคีย่ วให้งวด จะเหลือก้อนแข็งๆสีดาํ และเป็นเงา)
รสและสรรพคุณยาไทย มีฤทธิ ์ฝาดสมาน
วิ ธีใช้ ก้อนสีเสียดช่วยฝาดสมานแก้อาการท้องเดินใช้ผงประมาณ ๑/๓ – ๑/๒ ช้อนชา
(หนัก ๐.๓ – ๑ กรัม) ต้มเอานํ้าดื่ม

หญ้าคา

ลักษณะของพืชหญ้าคา เป็นพืชล้มลุก ดอกมีกา้ นยาวสีขาวเป็นมัน ขึน้ เป็นวัชพืชพบเห็นทั ่วไป


ส่วนที่ใช้เป็ นยา รากสดหรือแห้ง
รสและสรรพคุณยาไทย รสจืด แก้รอ้ นใน กระหายนํ้า เป็นยาขับปสั สาวะ
วิ ธีใช้ ใช้รากสดหรือแห้ง แก้อาการขัดเบา ใช้วนั ละ ๑ กํามือ (สดหนัก ๔๐ – ๕๐ กรัม
แห้ง ๑๐ – ๑๕ กรัม ) หั ่นเป็นชิน้ ๆ ต้มกับนํ้ารับประทานวันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหารครัง้ ละ ๑
ถ้วยชา (๗๕ มิลลิลติ ร)
142

หญ้าหนวดแมว
ชื่ อท้ องถิ่ น พยับเมฆ (กรุงเทพฯ)
ลักษณะของพืชหญ้าหนวดแมว เป็นไม้ลม้ ลุกขนาดเล็ก ลําต้นเป็นสีเ่ หลีย่ ม ดอกออกเป็นช่อสวยงาม
ลักษณะคล้ายฉัตรเป็นชัน้ ๆ สีขาวหรือสีม่วง มีเกสรตัวผูย้ าวคล้ายหนวดแมว
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ใบหญ้าหนวดแมว
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บใบทีส่ มบูรณ์ ขนาดกลางไม่แก่หรือไม่อ่อนจนเกินไป ล้างให้
สะอาดและนํามาตากในทีร่ ่มให้แห้ง
รสและสรรพคุณยาไทย ขับปสั สาวะ
วิ ธีใช้ หญ้าหนวดแมวแก้ขดั เบาทําได้โดยเอาใบแห้ง ๔ กรัม หรือ ๔ หยิบมือ ชงกับ
นํ้าร้อน ๑ ขวด นํ้าปลา เหมือนกับชงชา ดื่มวันละ ๑ ขวด ๓ ครัง้ หลังอาหาร
ข้อควรระวัง คือ คนทีเ่ ป็นโรคหัวใจ ห้ามรับประทาน (เพราะมีสารโปแตสเซียมมาก)

แห้วหมู
ชื่ อท้ องถิ่ น หญ้าขนหมู (แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะของพืชแห้วหมู เป็นไม้ลม้ ลุกขนาดเล็ก มีหวั อยูใ่ ต้ดนิ มีกา้ นดอกยาว สีดอกเป็
น้ําตาลน
ส่วนที่ใช้เป็ นยา หัว
ช่ วงเวลาที่ เก็บเป็ นยา เก็บหัวแก่
รสและสรรพคุณยาไทย รสเผ็ดขมเล็กน้อย ขับลม
วิ ธีใช้ หญ้าแห้วหมูใช้เป็นยาแก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อและแน่นจุกเสียด โดยใช้หวั หญ้า
แห้วหมู ๑ กํามือ (๖๐ – ๗๐ หัวหรือหนัก ๑๕ กรัม) ทุบให้แตก ต้มเอานํ้าดื่มหรือใช้หวั สดครัง้
ละ ๕ หัวโขลกให้ละเอียดผสมกับนํ้าผึง้ รับประทาน

อ้อยแดง
ชื่ อท้ องถิ่ น อ้อยดํา , อ้อยขม
ลักษณะของพืช อ้อยแดงเป็นไม้ลม้ ลุก รูปร่างคล้ายต้นอ้อนแต่มลี าํ ต้นสีแดงคลํ้า
ส่วนที่ใช้เป็ นยา ลําต้นทัง้ สดหรือแห้ง
ช่วงเวลาที่เก็บเป็ นยา เก็บลําต้นทีส่ มบูรณ์เต็มที่
รสและสรรพคุณยาไทย รสหวานและขม แก้ปสั สาวะพิการ แก้ขดั เบา
143

วิ ธีใช้ ลําต้นอ้อยแดงทัง้ สดหรือแห้งใช้เป็นยาแก้อาการขัดเบา โดยใช้ลาํ ต้นสดวันละ ๑


กํามือ (สดหนัก ๗๐ – ๙๐ กรัม , แห้งหนัก ๓๐ – ๔๐ กรัม ) หั ่นเป็นชิน้ ๆ ต้มกับนํ้ารับปร ะทาน
วันละ ๒ ครัง้ ก่อนอาหาร ครัง้ ละ ๑ ถ้วยชา (๗๕ มิลลิลติ ร)

๑๐. สมุนไพรที่เป็ นพืชเศรษฐกิ จ


สมุนทีเ่ ป็นพืชเศรษฐกิจในประเทศไทยนัน้ มีอยูเ่ ป็นจํานวนมาก ทัง้ ทีใ่ ช้เป็นอาหารและ
นํามาใช้ปรุงเป็นยารักษาโรค ในหัวข้อนี้จงึ ขอยกรายชื่อมาให้ทราบพอสังเขป ดังนี้
กระเจีย๊ บแดง จันทนา บอระเพ็ด
กระชาย เจตมูลเพลิงขาว ลิน้ งูเห่า
กระไดลิง เจตมูลเพลิงแดง เถาปล้อง
กระดอม เจตมูลเพลิงแดง บัวบกหัว
กระแตไต่ไม้ ชะพลู บัวนํ้า บัวสาย
กระเบียน หญ้าชันกาด ปะดู่สม้
กระพังโหม หญ้าไซ เปราะปา่
กระเม็งตัวเมีย หญ้าตีนกา เปราะหอมขาว
กําแพงเจ็ดชัน้ หญ้านํ้านมราชสีห์ ไผ่เหลือง
กํายาน หญ้านาง ผักกาดนา
กําลังเสือโคร่ง หญ้านางแดง ผักโขมหนาม
กัลปงั หา ดองดึง ผักคราดหัวแหวน
กัลป์พฤกษ์ ตะโกนา ผักหนาม
ชัยพฤกษ์ ตะไคร้บก ผักบุง้ จีน
คูน ตะไคร้หางสิง ผักเป็ดแดง
กระดูกดํา ตานขโมย ผักเสีย้ นผี
กรุงเขมา ตานดํา ฝีหมอบ
แก่นขนุน ตีนเป็ด แฝกหอม
กระชัน เถาลิน้ เสือ พระขรรค์ไชยศรี
ขมิน้ เกลือ เถาวัลย์เปรียง พระจันทร์ครึง่ ซีก
ข้าวเย็น เท้ายายม่อมดอกแดง มะเดื่อชุมพร
ขอนดอก เทียนดํา ยาดํา
ครอบจักรวาฬ ทองพันช่าง เลือดแรด
144

สีผสมอาการจากธรรมชาติ
การปรุงรสและตบแต่งอาหารอย่างเหมาะสม ทําให้อาหารทีไ่ ด้มลี กั ษณะและรสชาติทช่ี วน
รับประทานอาหารของไทยทัง้ คาวและหวาน นิยมปรุงแต่งสีให้ดสู วยงาม แต่เดิมสีทใ่ี ช้ในการปรุง
แต่งอาหารส่วนใหญ่ได้จากธรรมชาติ คือได้จาก ส่วนดอก ผล แก่น ใบ เหง้า และบางครัง้ ก็ได้
จากสัตว์ ในระยะหลังมีสสี งั เคราะห์เกิดขึน้ จึงได้มกี ารนําสีสงั เคราะห์มาใช้ในการปรุงอาหารกันมาก
ขึน้ สีสงั เคราะห์ทใ่ี ช้ผสมอาหารได้จากการสังเคราะห์สานเคมีทางวิทยาศาสตร์ผ่า นการค้นคว้า
ทดลองปรากฏว่า หลายชนิดเป็นอันตรายต่อคนในระยะยาว เรื่องนี้ในหลายประเทศ เช่น
สหรัฐอเมริกา ญี่ปนุ่ และประเทศในยุโรปได้มกี ารค้นคว้าเรื่องนี้อย่างกว้างขวาง พร้อมทั ่งสั ่งระงับ
การใช้สสี งั เคราะห์หลายชนิดทีต่ รวจพบว่าเป็นอันตรายต่อคนทัง้ ระยะสัน้ และระยะยาว
ในเมืองไทย จากการสุ่มตัวอย่างอาหารหลายชนิด เช่น ไส้กรอก นํ้าปลา ข้าวเกรียบกุง้
กุง้ แห้ง หรือขนมสําหรับเด็กตรวจแล้วพบว่าอาหารบางอย่างใส่สผี สมอาหารทีไ่ ม่ถูกต้องตามประกาศ
ของกระทรวงสาธารณสุข เช่น ใส่สยี อ้ มผ้าอยูบ่ ่อยครัง้ เพราะสียอ้ มผ้าราคาถูก ใส่เพียงเล็กน้อยสีก็
จะเด่นชัดขึน้ มา สีสงั เคราะห์จะเป็นอันตายต่อผูบ้ ริโภค ยางคนรับประทานเข้าไปอาจะเกิดแพ้ส ี
อาการคล้ายแพ้ยาแอสไพริน คือ คลื่นไส้ อาเจียน มีรมิ ผีปากดํา ถ้าเป็นสีผสมสารหนูคนไข้จะมี
อาการนํ้าลายฟูมปาก หายใจไม่ออก สีทม่ี ตี ะกั ่ว คนไข้ทแ่ี พ้หรือรับประทานเข้าไปมากจะทําให้
โลหิตจาง ร่างกายอ่อนเพลีย กล้ามเนื้อหมดกําลัง อาจพิการสมองอาจถูกกระทบกระเทือนไปด้วย
สีผสมอาหารทีเ่ ป็นสีสงั เคราะห์ไม่ควรใช้เลย เพราะบางตัวถ้าใช้บ่อยและปริมาณมาก อาจ
ทําให้เกิดพิษได้ เนื่องจากสีนนั ้ อาจจะไปเกาะหรือเคลือบตามเยื่ อบุกระเพราะลําไส้ ทําการดูดซึม
ของกระเพาะลําไส้ไม่มปี ระสิทธิภาพ เกิดอาการท้องเดิน อ่อนเพลีย ปวดเมื่อยตามกล้ามเนื้อ
นํ้าหนักลด ชีพจร และการหายใจอ่อน ถ้าเป็นมากประสาทและสมองเป็นอัมพาต อาจเป็นมะเร็งใน
ต่อมนํ้าเหลือง และในทีอ่ ่นื ๆ
การควบคุมยังทําไม่ทงั ้ ถึ ง จึงทําให้ในท้องตลาดมีอาหารทีผ่ สมด้วยสีทเ่ี ป็นอันตรายหลาย
อย่างในฐานะทีเ่ ราเป็นผูบ้ ริโภคจึงควรเลือกอาหารทีส่ าสีผสมอาหารจากธรรมชาติเป็นอันดับรกหรือ
เลือกอาหารทีไ่ ม่ใส่ส ี หากทําอาหารรับประทานเอง ควรใช้สจี ากธรรมชาติ เพราะจะได้อาหารทีม่ ี
ความปลอดภัย ความสะอาด และประหยัดอีกด้วย สีผสมอาหารจากธรรมชาติทจ่ี ะแนะนําในทีน่ ้นี นั ้
เป็นเพียงส่วนหนึ่งของสีจากธรรมชาติและมีการใช้กนั มามาก สามารถลือกสามารถเลือกใช้ได้ตามชนิ
ของอาหารและความชอบ
145

กระเจี๊ยบแดง
ชื่ อท้ องถิ่ น กระเจีย๊ บ , กระเจีย๊ บเปรีย้ ว (กลาง) , ผักเก็งเค็ง , ส้มเก็งเค็ง (เหนือ) , ส้ม
ตะแลงเครง (ตาก) , ส้มปู (เงีย้ ว – แม่อฮ่องสอน)
ลักษณะของพืช กระเจีย๊ บเป็นไม้พุ่มขนาดเล็ก สูงราว ๓ - ๖ ศอก กิง่ ก้านมีสมี ่วงแดง
ใบมีหลายแบบ ขอบใบเรียบดอกร่วงโรยไป กลีบรองดอกและกลีบเลีย้ งจะเจริญขึน้ มีสมี ่วงแดงเข้ม
หุม้ เมล็ดไว้ภายใน ใช้เมล็ดปลูก ปลูกได้ท ั ่วทุกภาคของประเทศไทย
ส่วนที่ใช้ กลีบเลีย้ ง
วิ ธีใช้ ใช้กลีบเลีย้ งแห้งหรือสด ต้มกับนํ้าเคีย่ วให้สแี ดงออกมามากทีส่ ุด กรองเอา
กากทีเ่ หลือออกโดยผ้าขาวบางบีบนํ้าออกจากกลีบให้หมด นํ้ากระเจีย๊ บทีไ่ ด้สแี ดงเข้ม (สาร
Anthocyanin) นําไปแต่งสีอาหารตามต้องการ หรือนําไปเติมนํ้าตาล เกลือเล็กน้อยปรุงเป็น
เครื่องดื่มก็ได้

ขมิ้น
ชื่ อท้ องถิ่ น ขมิน้ (ทั ่วไป) , ขมิน้ แกง , ขมิน้ หยวก , ขมิน้ หัว (เชียงใหม่) , ขีม้ น้ิ หมิน้
(ภาคใต้) , ตายอ (กะเหรีย่ ง – กําแพงเพรช) , สะยอ (กะเหรีย่ ง – แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะของพืช ขมิน้ เป็นพืชล้มลุกทีม่ เี หง้าอยูใ่ ต้ดนิ ลงหัวในฤดูแล้ง เนื้อในของเหง้า
ขมิน้ สีเหลืองเข้มจนถึงสีแสด มีกลิน่ หอมเฉพาะตัว ในรูปเรียวยาว ปลายแหลมคล้ายใบพุทธรักษา
ดอกออกเป็นช่อ มีกา้ นช่อแทงจากดเหง้าโดยตรง ดอกสีขาวอมเหลือง มีกลีบประดับสีเขียวอมชมพู
ใช้เหง้าปลูก ปลูกได้ท ั ่วไป
ส่วนที่ใช้ เหง้าดิน
วิ ธีใช้ ใช้เหง้าสด ล้างนํ้า ปอกเปลือก บดหรือตําให้ละเอียด เติมนํ้าเล็กน้อย คัน้ กรองจะ
ได้น้ําสีเหลืองเข้ม (สาร Curcumin) นําไปแต่งสีอาหารคาวเช่น แกงกะหรี่ ข้าวหมกไก่ แกงเหลือง
อาหารหวาน เช่น ข้าวเหนียวเหลือง ทําให้มสี เี หลืองน่ ากิน

คําฝอย
ชื่ อท้ องถิ่ น ดอกคํา (เหนือ) คํายอง คํา (ทั ่วไป)
ลักษณะของพืช คําฝอยเป็นพืชล้มลุกสูงราว ๑ เมตร ลําต้นเป็นเหลีย่ ม กานใบสัน้
ใบรูปร่างรียาว ริมใบหยักแหลม เนื้อใบเรียบ ดอกออกรวมกันเป็นช่อ อัดกันแน่นบนฐ านดอก
146

รูปร่างกลมเหมือนกับดอกดาวเรืองดอกย่อยสีเหลืองค่อยๆ เปลีย่ นเป็นสีสม้ เมื่อแก่สสี ม้ แดง


ใช้เมล็ดปลูก ปลูกได้ทางเหนือของประเทศไทย
ส่วนที่ใช้ ดอกแก่
วิ ธีใช้ เอาดอกแก่มาชงนํ้าร้อน กรอง จะได้น้ําสีเหลืองส้ม (สาร saffower yellow)
ใช้แต่งสีอาหารทีต่ อ้ งการให้เป็นสีเหลือง

คําแสด
ชื่ อท้ องถิ่ น คําเงาะ คําแงะ คําแฝด คํายง ชาตี (เขมร) , จําปู้ ส้มปู้ (เขมร – สุรนิ ทร์)
, มะกายหยุม แสด (เหนือ) , หมากมอง (แม่ฮ่องสอน)
ลักษณะของพืช เป็นไม้พมุ้ หรือไม้ยนื ต้นขนาดเล็ก กิง่ อ่อนๆ มีเกล็ดสีน้ําตาล คลุมอยูม่ าก
ใบติดกับลําต้นแบบเวียนสลับตัวใบรูปร่างคล้ายโพธิ ์ ขอบใบเรียบ ปลายแหลม ก้านใบยาว ดอก
ออกเป็นช่อมี ๘ -- ๕๐ ดอก ดอกสีชมพูอมม่วงหรือแดง ผลรูปไข่ปลายแหลม ขณะยังอ่อนสีเขียว
เมื่อสุกเป็นสีแดงจนแห้งกลายเป็นสีน้ําตาล มีเมล็ดขนาดเล็กจํานวนมาก ใช้เมล็ดปลูก
ส่วนที่ใช้ เมล็ด
วิ ธีใช้ นําเมล็ดมาแช่น้ําแล้วคนแรงๆ หรือนําเมล็ดคําแสดมาบดแล้วแช่น้ํา กรองเอาเมล็ด
ออกด้วยผ้าขาวบางตัง้ ไว้ให้สตี กตะกอน รินนํ้าใสทิง้ นําตะกอนสีแสด (สาร BIXIN) ทีไ่ ด้ไปแต่งสี
อาหารประเภทไขมัน เช่น ฝอยทอง เนย ไอศกรีม และยังใช้ย้ อมผ้าฝ้ายหรือผ้าไหมได้ดว้ ย
องค์การอนามัยโลก กําหนดให้รบั ประทานสีทส่ี กัดจากเมล็ดคําแสดได้ไม่เกิน ๐.๐๖๕ มิลลิกรัม ต่อ
นํ้าหนักตัว ๑ กิโลกรัม ต่อ ๑ วัน
เตย
ชื่ อท้ องถิ่ น ปานะวองิง (มาเลย์ – นราธิวาส) , หวานข้าวใหม่ (ภาคเหนือ)
ลักษณะของพืช เป็นพืชล้มลุก ออกเป็นกอ มีรากอากาศบนข้อข้างลําต้น ใบเดีย่ ว ขยีด้ ม
กลิน่ หอม ใบติดกับลําต้นแบบเวียนสลับแน่นอยูโ่ ดยรอบ ใบรูปร่างเรียวยาว ปลายแหลม ริมใบ
เรียม ส่วนปลายใบ และตามเส้นกลางใบด้านหลัง มีหนามเล็กๆ ไม่เคยพบดอก ปลูกโดยวิธแี ยก
หน่ออ่อน
ส่วนที่ใช้ ใบสด
วิ ธีใช้ นําใบเตยสดทีส่ ะอาดหั ่นตามขวางโขลก เติมนํ้าเล็กน้อย คัน้ กรอง ผ่านผ้าขาว
บาง จะได้น้ําสีเขียว (santophyll และ chlorophyll) มีกลิน่ หอม ใช้แต่งสีอาหารคาวและหวานได้
147

นิยมใช้แต่สอี าหารหวาน เช่น ลอดช่อง ขนมเปียกปูน วุน้ กะทิ นํ้าเก๊กฮวย เค้ก เป็นต้น บางทีก็
เอาใบมาโขลกพอแหลก ต้มกับนํ้าใส่น้ําตาลเล็กน้อย ทําเป็นชาใบเตย มีสเี ขียว กลิน่ หอมชื่นใจ

ฝาง
ชื่ อท้ องถิ่ น ฝางส้ม (กาญจนบุร)ี
ลักษณะของพืช ไม้ยนื ต้นสูงได้ถงึ ๑๐ เมตร ตามลําดับต้นและกิง่ มีหนามอยูท่ ั ่วไป ใบติด
กับลําต้นแบบสลับ ลักษณะประกอบ ด้วยใบย่อยเล็กๆ มากมาย ดอกติดกับก้านใบย่อย ซึง่ งอก
ก้านใบรวมเป็นคู่ตรงข้ามกันรูปร่างของใบย่อยกลมมนปลายใบมน ใต้ใบมีขน ดอก เป็นช่อสีเหลือง
มีเส้นสีแเดงบนกลีบดอก ฝกั แบนยาวและใหญ่ภายในเมล็๒ด - ๔ เมล็ด ใช้เมล็ดปลูก
ส่วนที่ใช้ แก่น
วิ ธีใช้ นําแก่นมาแช่น้ํา จะได้น้ําสีชมพูเข้ม (sappan red) ใช้สแี ต่งอาหารได้

อัญชัน
ชื่ อท้ องถิ่ น แดงชัน (เชียงใหม่) , เอือ้ งชัน (หนือ)
ลักษณะของพืช อัญชันเป็นไม้เลือ้ ยขึน้ เองตามธรรมชาติ ใบติดกับลําต้นแบบสลับ
ประกอบด้วยใบย่อย ๕ - ๗ ใบ ใบย่อยรูปร่างรีหรือขอบขนาน ปลายใ บมน เนื้อใบด้านบน
ค่อนข้างเรียบ หรือมีขนอ่อนทัง้ ด้านบนและด้านล่าง ดอกสีน้ําเงินอมม่วง ตอนกลางดอกมีสเี หลือง
ฝกั ค่อนข้างแบบยาว ๕ - ๑๒ เซนติเมตร มีขนอยูท่ ั ่วไปใช้เมล็ดปลูกและควรทําหลักหรือค้างให้
อัญชันเลือ้ ย
ส่วนที่ใช้ ดอกสด
วิ ธีใช้ ใช้กลีบดอกสด ตํา เติมนํ้าเล็กน้อย กรองด้วยผ้าขาวบาง คัน้ นํ้าออก จะได้น้ําสีน้ํา
เงิน (Anthocyanin) ถ้าเติมนํ้ามะนาวลงไปเล็กน้อย จะกลายเป็นสีม่วง ใช้แต่งสีอาหารตามต้องการ
มักนิยมใช้แต่งสีน้ําเงินของขนมเรไร ขนมนํ้าดอกไม้ ขนมขีห้ นู
148

แผนภูมิที่ ๒ สรุปความสัมพันธ์ของหัวข้อเนื้อหาในบทที่ ๒

เภสัชวัตถุ

พืช สัตว์ ธาตุ

๑. จําพวกต้น ๑. สัตว์บก ๑. ธาตุที่สลายตัวง่าย


๒. จําพวกเถา - เครื อ ๒. สัตว์น้ าํ ๒. ธาตุที่สลายตัวยาก
๓. จําพวกหัว – เหง้า ๓. สัตว์อากาศ
๔. พวกผัก
๕. จําพวกหญ้า

รู ้จกั ตัวยา ๕ ประการ


รู ป, รส, กลิ่น, สี , ชื่อ

การเก็บตัวยา ตัวยาที่มีหลายชื่อ ตัวยาที่มีสรรพคุณ สมุนไพรที่ใช้ใน สมุนไพรที่เป็ นพืช


- ตามทิศ ใกล้เคียงกัน สาธารณสุ ขมูลฐาน เศรษฐกิจ
- ตามกาลเวลา
- ตามวัน
- ตามฤดกาล
149

บทที่ ๓

สรรพคุณเภสัช

สรรพคุณเภสัช คือ การรูจ้ กั สรรพคุณของวัตถุทจ่ี ะนํามาใช้เป็นยารักษาโรคหลักสรรพคุณ


เภสัชนี้เป็นหมวดทีส่ าํ คัญยิง่ ท่านต้องให้ความสนใจเป็นพิเศษ เพราะตัวยาแต่ละอย่าง ถ้าไม่ รู้
สรรพคุณแล้วก็ไม่เกิดประโยชน์ อะไรเลย ท่านอาจคิดว่าตัวยานัน้ มีอยูม่ อี ยูม่ ากมายจะจําได้อย่างไร
นี่เป็นปญั หาของทุกท่าน มักจะคิดว่าตัวยามีสรรพคุณแก้อะไร ยากทีจ่ ะจําให้ได้ จึงขอแนะสิง่ ทีท่ ่าน
ต้องจดจําให้ได้ก่อนคือ “รสยา” ซึง่ รสของตัวยานี้จะแสดงถึงสรรพคุณของตัวนาใช้รกั ษาโรคการรูจ้ กั
ว่ายานัน้ มีสรรพคุณรักษาโรคอย่างไรสรรพคุณของยาสมุนไพรแต่ละชนิดขึน้ อยูก่ บั รสของสมุนไพร
นัน้ ๆ เพราะรสแต่ละรสจะมีสรรพคุณใยการรักษาโรคต่างกัน ซึง่ เภสัชกรต้องศึกษาให้รจู้ กั รของยาให้
ถ่องแท้ แล้วรสยานัน้ เองจะแสดงสรรพคุณทันที การจํ กรสยาสามารถแบ่
าแน งออกเป็๒น ลักษณะ คือ
๑. ยารสประธาน แบ่งออกเป็น ๓ รส
๒. รสของตัวยา แบ่งออกเป็นยา ๔ รส , ยา ๖ รส , ยา ๘ รส และยา ๙ รส

๑. ยารสประธาน
ยารสประธาน หมายถึง รสของยาทีป่ รุงหรือผสมเป็นตํารับแล้ว สิง่ ทีจ่ ะนํามาประกอบขึน้
เป็นยานัน้ ประกอบด้วยวัตถุธาตุ ๓ ประเภท คือ พืชวัตถุ สัตว์วตั ถุ ธาตุวตั ถุ เมื่อนํามาประกอ
ปรุงเป็นยาสําเร็จรูปแล้วจนเหลือรสของตัวยาสําเร็จรูปอยูเ่ พียง ๓ รสเท่านัน้ คือ
๑.๑ ยาขนาดใดทีป่ รุงขึน้ มาแล้ว รสเย็น ได้แก่ ยาทีเ่ ข้าพืช สัตว์ ธาตุทไ่ี ม่รอ้ น เช่น เขา
สัตว์ เขีย้ วสัตว์ มาปรุงยารสเย็น เช่น ยามหานิล ยามหากาฬ ขาเขียว เป็นต้น ซึง่ มีสรรพคุณ
แก้ทางเตโชธาตุ (ธาตุไฟ) แก้ไข้ ระงับความร้อน ใช้สาํ หรับแก้ไข้ในกองฤดูรอ้ น
๑.๒ ยาขนาดใดทีป่ รุงขึน้ มาแล้ว รสร้อน ได้แก่ ยาทีเ่ ข้าพืช สัตว์ ธาตุทร่ี สร้อน เ ช่น
เบญจกูล ตรีกฏกุ เหง้าขิง กะเพรา มาปรุงเป็นยารสร้อน เช่น ยาไฟประลัยกัลป์ ยาสัณฑฆาต
ยาประสากานพลู ยาประจุวาโย เป็นต้น ซึง่ มีสรรพคุณแก้ในกองวาโยธาตุ (ธาตุลม) แก้ลมกอง
หยาบ ลมจุกเสียดแน่ น ลมพรรรดึก บํารุงธาตุ ใช้สาํ หรับแก้ไข้ในกองฤดูฝน
๑.๓ ยาขนาดใดทีป่ รุงขึน้ มาแล้ว รสสุขมุ ได้แก่ ยาทีเ่ ข้าพืช สัตว์ ธาตุทไ่ี ม่รอ้ น เช่น
โกฐเทียน กฤษณา กระลําพัก จันทร์เทศ เครื่องเทศทีไ่ ม่รอ้ น มาปรุงเป็นยารสสุขมุ เช่น ยาหอม
อินทจักร ยาหอมเนาวโกฐ ยาสังข์วชิ ยั เป็นต้น ซึง่ มีสรรพคุณแก้ในกองอาโปธาตุ (ธาตุน้ํา) แก้ไข้
ทีใ่ ช้ยารวเย็นไม่ได้แก้ลมกอลละอียด ลมวิงเวียน ใจสั ่นหวั ่นไหว บํารุงกําลัง ใช้สาํ หรับแก้ไข้ในกองฤดูหนาว
150

รสยาทัง้ สามทีไ่ ด้กล่าวมานัน้ คือ รสของยาทีป่ รุงสําเร็จแล้ว นําไปใช้รกั ษาโรคและไข้เป็น


หลักใหญ่หรือเป็นแม่บท เรียกว่ารสประธาน แต่ในส่วนของวัตถุธาตุแต่ละชนิดก็จะมีรสยาแยกย่อย
แตกต่างกันไป แล้วแต่วา่ วัตถุธาตุชนิดใด จะดูดซับเอารสยาจากแผ่นดินเข้าไว้กบั ตัวซึง่ สามารถแบ่ง
รสยาทั ่วไปออกเป็น ๙ รส

๒. รสของตัวยา ๔ , ๖ , ๘ , ๙ รส
๒.๑ รสยา ๔ รส
ในคัมภีรธ์ าตุวภิ งั ค์ ได้กล่าวถึงรสยา ๔ รส แก้โรคดังนี้
๑) รสยาฝาด ชาบไปในผิวเนื้อ และเส้นเอ็น
๒) รสยาเผ็ด ชาบไปในผิวหนังทุกเส้นขน
๓) รสยาเค็ม ชาบไปในทีเ่ ส้นเอ็นและกระดูกทั ่วสรรพางค์กาย
๔) รสยาเปรีย้ ว ชาบไปในเนเอ็นทั ่วรรพางค์กาย
๒.๒ รสยา ๖ รส
ในคัมภีรว์ รโยคสาร ได้กล่าวถึงรสยา ๖ รส แก้โรคดังนี้
๑) มธุระ คือ รสหวาน ชอบกับยาให้เจริญรสธาตุ
๒) อัมพิระ คือ รสเปรีย้ ว ทําให้ดี ลม เสลดอนุโลมตามซึง่ ตนและเจริญรสอาหาร
บํารุงไฟธาตุกระทําสารพัดทีด่ บิ ให้สุก ถ้าใช้เป็นเกิดคุณ ใช้ไม่เป็นเกิดโทษ
๓) ลวณะ คือ รสเค็ม เผาโทษเผาเขฬะ ให้เจริญไฟธาตุ
๔) กฏกุ ะ คือ รสเผ็ด กระทําให้กาํ ลังน้อย ระงับความเกียจคร้าน ระงับพิษ
ไม่ให้เจริญบํารุงไฟธาตุและให้อาหารสุก
๕) ติตติกะ คือ รสขม เจริญไฟธาตุ แก้รอ้ น แก้ระหายนํ้า กระทําให้มตู รและ
คูถบริสุทธิ ์เจริญรสอาหาร
๖) กะสาวะ คือ รสฝาด เจริญไฟธาตุ แก้กระหายนํ้า ให้เจริญผิวกายและเนื้อ
คุณสมบัตขิ องยาแต่ละรส ให้แสลงกับโรคต่างๆ มีรายละเอียดดังนี้ คือ
รสเผ็ด รสขม และรสฝาด ทัง้ ๓ รสนี้ ทําให้ ลมกําเริบ
รสเผ็ด รสเปรีย้ ว และรสเค็ม ทัง้ ๓ รสนี้ ทําให้ ดีกาํ เริบ
รสหวาน รสเปรีย้ ว และรสเค็ม ทัง้ ๓ รสนี้ ทําให้เสลดกําเริบ
151

๒.๓ รสยา ๘ รส
ในคัมภีรธ์ าตุววิ รณ์ กล่าวถึงยา ๘ รส แก้โรคดังนี้คอื
๑) รสขม ย่อมซาบไปตามผิวหนัง
๒) รสฝาด ย่อยซาบมังสา (ชาบเนื้อ)
๓) รสเค็ม ซาบเส้นเอ็น
๔) รสเผ็ดและรสร้อน ซาบกระดูกมิได้เว้น
๕) รสหวาน ย่อมซึมซาบลําไส้ใหย่
๖) รสเปรีย้ ว ซาบลําไส้น้อย
๗) รสเย็นหอม ซาบหัวใจ
๘) รสมัน ซาบทีข่ อ้ ต่อทัง้ ปวง

๒.๔ รสยา ๙ รส
ในการศึกษาเรื่องสรรพคุณเภสัช ได้สรุปรสชองวัตถุธาตุได้ ๙ รส จําแนกให้
ละเอียดออกไปดังนี้
๑) รสฝาด สรรพคุณ มีฤทธิ ์ทางสมาน เช่น สมานบาดแผลทัง้ ภายในและภายนอก
แผลสด แผลเปื่อย กัดเนื้อร้าย แก้โรคบิด ท้องร่วง แก้อุจจาระธาตุพกิ าร คุมธาตุ แสลงกับโรคไอ
ท้องผูก โรคลม โรคพรรดึก ท้องผูก เตโชธาตุพกิ าร (ธาตุไฟ)
๒) รสหวาน สรรพคุณ มีฤทธิ ์ซึมซาบไปตามเนื้อ เช่น ทําให้เนื้อในร่างกายชุ่มชืน้
บํารุงกล้ามเนื้อ บํารุงหัวใจ เจริญอาหาร แก้อ่อนเพลีย บํารุงกําลัง แก้ไอ แก้เสมหะแห้ง แก้หอบ
แสลงกับโรค ฟนั ผุ เสมหะเฟื่อง อาเจียน โรคเบาหวาน นํ้าเหลืองเสีย บาดแผล
๓) รสเมาเบื่อ สรรพคุณ แก้พษิ เช่น พิษดี พิษเสมหะ พิษโลหิต พิษไข้ พิษสัตว์กดั
ต่อย แก้โรคทางอาโปธาตุ (ธาตุน้ํา) แก้พยาธิ ผื่นคัน แสลงกับโรค หัวใจพิการ ไอ
๔) รสขม สรรพคุณ แก้ในทางโลหิตและดี แก้กาํ เดา แก้ไข้ต่างๆ เช่น ไข้ตวั ร้อน
ไข้จบั สั ่น บํารุงนํ้าดี เจริญอาหาร ช่วยย่อยอาหาร แสลงกับโรค หัวใจพิการ โรคลม จุกเสียด แน่นเฟ้อ
๕) รสเผ็ดร้อน สรรพคุณ แก้โรคลมจุกเสียด ขับลมให้ผายหรือเรอ บํารุงเตโชธาตุ
(ธาตุไฟ) ขับเหงื่อ ช่วยย่อยอาหาร แสลงกับโรค ไข้ตวั ร้อน เพ้อคลั ่ง
๖) รสมัน สรรพคุณ มีฤทธิ ์ซึบซาบไปตามเส้นเอ็น แก้เส้นเอ็นพิการ บํารุงเส้นเอ็น
แก้ปวดเมื่อย บํารุงไขข้อ บํารุงเยือ่ กระดูก เป็นยาอายุวฒั นะ ให้ความอบอุ่นแก่ ร่างกาย แสลง
กับโรค เสมหะพิการ เช่น ไอ หอบ บิด และไข้ต่างๆ ร้อนในกระหายนํ้า
152

๗) รสหอมเย็น สรรพคุณ บํารุงหัวใจ ตับ ปอด บํารุงครรภ์ แก้อ่อนเพลีย


ชูกาํ ลัง แก้กระหายนํ้าดับพิษร้อน แสลงกับโรค ลมจุกเสียดแน่น ลมปว่ ง
๘) รสเค็ม สรรพคุณ มีฤทธิ ์ซึมซาบไปตามผิวหนัง แก้โรคผิวหนัง โรคพรรดึก
ถ่ายชําระนํ้าเหลือง ชําระเมือกมันในลําไส้ ฟอกโลหิต แก้เสมหะเหนียว แสลงกับโรค อุจจาระธาตุ
พิการ โรคบิดมูกเลือด กระเพาะอาหารเป็นแผล
๙) รสเปรีย้ ว สรรพคุณ แก้เสมหะพิการ แก้เสมหะเหนียว แก้ไอ แก้ทอ้ งผูก ระบาย
อุจจาระ ฟอกโลหิต แก้กระหายนํ้า แสลงกับโรค นํ้าเหลืองเสีย ท้องเสีย และไข้ต่างๆ
นอกจากนี้ในตําราเวชศึกษายังเพิม่ รสจืด อีกหนึ่งรส สรรพคุณ แก้เสมหะ ขับปสั สาวะ
ดับพิษไข้ ดับพิษปวดร้อน แก้ทางเตโชธาตุ ไม่แสลงกับโรคใด
ตัวอย่างของตัวยารสต่างๆ

ตัวยารสฝาด สําหรับสมาน ตัวยาและสรรพคุณ เช่น


๑. ลูกเบญกานี รสฝาด แก้บดิ ปวดเบ่ง ปิดธาตุ แก้ทอ้ งร่วง แก้ปวดมดลูก สมานบาดแผล
๒. ทับทิมทัง้ ๕ รสฝาด แก้ทอ้ งร่วง แก้บดิ มูกเลือด ปิดธาตุ สมานบาดแผล
๓. ลูกสมอพิเภกแก่ รสฝาด แก้ไข้ แก้รดิ สีดวง แก้บดิ และแก้โรคตา
๔. สีเสียดทัง้ ๒ รสฝาด สมานบาดแผลและคุมธาตุ แก้ทอ้ งร่วง บิด แก้ลงแดง
แก้อติสาร แก้บาดแผล ล้างบาดแผลทีถ่ ูกไฟ และโรคผิวหนัง
๕. ฝรั ่งทัง้ ๕ รสฝาดเย็น ถอนพิษบาดแผล แก้งร่
ทอ้ วง แก้บดิ มูกเลือดและปวดเบ่ง
๖. เปลือกนนทรี หรือเปลือกต้นตาเสือ รสฝาด กล่อมเสมหะและโลหิต แก้บดิ มูก
เลือด ปิดธาตุ สมานบาดแผล ขับประจําเดือน รัดมดลูก ขับลมผาย แก้ทอ้ งร่วง
๗. เปลือกขีอ้ าย รสฝาด แก้อุจจาระเป็นฟอง แก้ทอ้ งร่วง แก้บดิ เรือ้ รัง แก้ปวดแบ่ง
คุมธาตุ ชะล้างบาดแผล
๘. เปลือกเพกา รสฝา ดับพิษโลหิต แก้น้ําเหลืองเสีย สมานบาดแผล ขับเลือดเน่าในเรือนไฟ
๙. เปลือกลูกมังคุด รสฝาด สมานบาดแผล แก้บดิ แก้ลงท้อง ท้องเดิน ล้างแผล
๑๐. ลูกกราย รสฝาด แก้บดิ ปวดเบ่ง แก้เสมหะเป็นพิษ คุมานบาดแผล มธาตุ ส แก้ทอ้ งร่วง

ตัวยารสหวาน ซึมซาบไปตามเนื้อ ตัวยาและ สรรพคุณ เช่น


๑. ดอกคําไทย รสหวาน บํารุงโลหิต แก้แสบร้อนคันตามผิวหนัง แก้บดิ แก้ไตพิการ
๒. ดอกคําฝอย รสหวาน บํารุงโลหิตและนํ้าเหลืองให้เป็นปกติ แก้แสบร้อน
ตามผิวหนัง บํารุงหัวใจ บํารุงประสาท ขับระดู
153

๓. งวงตาลโตนด รสหวานเย็น แก้พษิ ตานซาง ขับพยาธิ บํารุงดวงจิตให้ช่นื บาน


๔. ตานหม่อน รสหวานเย็น แก้พษิ ตานซาง ขับไส้เดือน บํารุงเนื้อหนังให้ชุ่มชื่น คุมธาตุ
๕. นํ้าอ้อย กลิน่ หอมรสหวานเย็น นํ้าอ้อยแดงรสหวานขมเล็กน้อย แก้เสมหะและ
หืดไอ กระจายเสมหะ ขับปสั สาวะ
๖. รากชะเอมจีน(ชะเอมเทศ
) ขับเลือดเน่า บํารุงหัวใจให้ชุ่มชื่น แก้กาํ เดา แก้น้ําลายเหนียว
๗. รากชะเอมไทย รสหวาน แก้โรคในคอ แก้ลม แก้รตั ตะปิตตะโรค
๘. เหง้าสับปะรด รสหวาน ขับปสั สาวะ แก้ปสั สาวะพิการ แก้นิ่วงในแก้หขับนอระดูขาว
๙. รากและดอกมะพร้าว รสหวาน แก้ลงท้อง แก้อ่อนเพลีย แก้ปากเปื่อย แก้ไข้
ตานซาง แก้ไข้กาํ เดา
๑๐. ดอกอังกาบ รสหวาน แก้สตรีระดูขดั บํารุงไฟธาตุ แก้ไข้

ตัวยารสเมาเบื่อ แก้พษิ ตัวยาและสรรพคุณ เช่น


๑. ใบกระท่อม เมาเบื่อขมฝาด แก้บดิ ปวดมวน แก้ปวดท้อง แก้ทอ้ งร่วง แก้ปวด
เมื่อยตามร่างกาย
๒. กัญชา รสเมา เจริญอาหาร ชูกาํ ลัง ทําให้ใจขลาดกลัว
๓. ใบลําโพง รสเมา แก้พษิ ฝี แก้ปวด แก้บวม แก้อกั เสบ แก้หอบหืด ดอกลําโพง
รสเมาหวาน แก้หอบหืด เมล็ดลําโพง รสเมามัน แก้ไข้พษิ ไข้ทท่ี าํ ให้กระสับกระส่าย (เวลาใช้ตอ้ งทํา
ให้น้ํามันในเมล็ดหมดไป) นํ้ามันจากเมล็ด รสเมาเบื่อ แก้กลากเกลือ้ น หิด เหา รากลําโพง รสเมาหวาน
แก้พษิ กาฬทัง้ ปวง ดับพิษร้อน แก้พษิ ร้อน แก้ปวด แก้บวม แก้อกั เสบ แก้ไข้พษิ เซื่องซึม แก้พยาธิ
๔. สะแกทัง้ ๕ รสเบื่อเมา ขับพยาธิและไส้นเดือแก้โรคตานขโมย แก้ฝีตานซาง
๕. ลูกกระเบียน – ลูกกระเบา รสเมาเบื่อ ฆ่าพยาธิกลางเกลือ้ น แก้มะเร็ง
คุดทะราด โรคเรือ้ น กุฏฐัง
๖. ลูกสะบ้าต่างๆ รสเมาเบื่อ (เผา) แก้พษิ ไข้ ทาแก้พยาธิทงั ้ ปวง
๗. รากขันทองพยาบาท รสเมาเบื่อ แก้พษิ ลม แก้ประดง แก้พยาธิต่างๆ
๘. รากทองพันชั ่ง รสเมาเบื่อ แก้กลากเกลือ้ นผื่นคัน ดับพิษไข้ แก้โรคผิวหนังและมะเร็ง
๙. ชุมเห็ดเทศทัง้ ๕ รสเบื่อเอียน ขับพยาธิในลําไส้ รูถ้ ่ายเองปิดเอง โรคผิวหนังทุกชนิด
๑๐. เถากระไดลิง รสเมาเบื่อ แก้พษิ ทั ่งปวง แก้ไข้เซื่องซึม ขับเหงื่อ
154

ตัวยารสขม แก้ทางโรหิตและดี ตัวยาและสรรพคุณ เช่น


๑. เถาบอระเพ็ด รสขมเย็น แก้ไข้ แก้เสมหะ แก้โลหิต บํารุงนํ้าดี เจริญอาหาร
เป็นยาอายุวฒั นะ
๒. เถามะระ รสขมเย็น บํารุงนํ้าดี แก้ไข้ แก้กระหายนํ้า
๓. ลูกกระดอม รสขม แก้ไข้ บํารุงนํ้าดี ให้เจริญอาหาร
๔. เถาชิงช้าชาลี รสขม แก้ไข้เหนืออันเกิดเพื่อโลหิต แก้ไข้ บํารุงกําลัง บํารุงไฟธาตุ
เจริญอาหาร ทําให้เลือดในกายเย็น แก้สะอึก แก้รอ้ นในกระหายนํ้า ขับนํ้าย่อยอาหาร
๕. เถาขีก้ าแดง รสขม บํารุงนํ้าดี ถ่ายล้างเสมหะให้ตก ดับพิละโลหิ
ษเสมหะแต
๖. เปลือกต้นสะเดา รสขมฝากเย็น แก้บดิ มูกเลือด
๗. มะกาเครือหรือสะไอเครือ รสขม แก้เสมหะเป็นพิษ แก้บดิ แก้พยาธิ แก้ปวดเบ่ง
ขับเสมหะ ขับฟอกโลหิตระดู
๘. ใบและลูกมะแว้งเครือ รสขม บํารุงธาตุ แก้ไอ แก้น้ําลายเหนียว แก้เสมหะ
๙. ลูกประคําดีควาย รสขม แก้กาฬภายใน ดับพิษตานซาง
๑๐. ดีสตั ว์ต่างๆ รสขม ขับยาให้เล่นเร็ว บํารุงนํ้าดี และโลหิต

ตัวยารสเผ็ดร้อน แก้ลม ตัวยาและสรรพคุณ เช่น


๑. ลูกจันทน์เทศ รสเผ็ดร้อน แก้ปวดท้อง ชูไฟธาตุ แก้ธาตุพกิ าร เจริญอาหาร รัดมดลูก
๒. ดอกจันทน์ รสเผ็ดร้อน แก้ลมจุกเสียด แก้ปวดท้อง ชูไฟธาตุ
๓. ลูกกระวาน รสเผ็ดร้อน กระจายเสมหะ โลหิต แก้ปวดท้อง แก้จุกเสียด ขับลมในท้อง
๔. กานพลู รสเผ็ดร้อน กระจายลมเมหะอันข้น แก้เสมหะอันเกิดในกองโลหิต และ
แก้รตั ตะปิตตะโรค และกระทําให้อาหารงวด แก้ปวดท้อง แก้ราํ มะนาด
๕. รากพาดไฉน รสเผ็ดร้อน แก้เสมหะ ขับลมผาย
๖. หัวเตาเกียด รสเผ็ดร้อน แก้โรคตับปอดพิการ แก้ตบั ทรุด ฟอกเสมหะ
๗. พริกหอม รสเผ็ดร้อน ขับลมในกระเพาะอาหารและลําไส้
๘. พริกหาง รสเผ็ดร้อน บํารุงธาตุ แก้ปวดท้อง ขับลม ขับปสั สาวะ ขับหนอง
๙. ขิงแห้ง รสเผ็ดร้อนหวาน แก้พรรดึก กระจายลม แก้จุกเสียด ขับเหงื่อ แก้ไข้ตรีโทษ
๑๐. หัวกระชาย รสเผ็ดร้อน แก้มุตกิด แก้โรคในปาก แก้ลมอันเกิดแต่กองหทัยวาตะ
155

ตัวยารสมัน แก้เส้นเอ็น ตัวยาและสรรพคุณ เช่น


๑. เมล็ดงา รสมัน บํารุงไขมัน และแก้เส้นเอ็น แก้เมื่อย บํารุงกําลัง
๒. เมล็ดถั ่วเขียว รสมัน แก้รอ้ นภายใน แก้ขดั ข้อ บํารุงเนื้อและกระดูก บํารุงกําลัง
๓. เมล็ดถั ่วลันเตา รสมัน แก้ตบั พิการ และม้ามย้อย บํารุงกําลัง
๔. เมล็ดถั ่วลิสง รสมัน บํารุงไขมัน บํารุงเส้นเอ็น ขับผายลม บํารุงกําลัง
๕. เมล็ดมะม่วงหิมพานต์ รสมัน แก้โรคผิวหนัง ทําลายตุ่มตาปลา
๖. แก่นกันเกรา รสมัน บํารุงไขข้อ แก้ปวดเมื่อย เป็นยาอายุวฒั นะ
๗. หัวแห้ว รสมัน บํารุงกําลัง บํารุงครรภ์ บํารุงธาตุ เป็นยาอายุวฒั นะ
๘. หัวถั ่วพู รสมัน บํารุงกําลัง แก้น้ําดีพกิ าร แก้ไข้
๙. นํ้านมแพะ รสมัน บํารุงธาตุไฟ แก้จุกเสียด แก้หดื ไอ บํารุงกําลัง
๑๐. เลือดแรด รสมันคาว บํารุงโลหิต แก้ช้าํ ใน กระจายโลหิต

ตัวยารสหอมเย็น บํารุงหัวใจ ตัวยาและสรรพคุณ เช่น


๑. เกสรทัง้ ๕ รสหอมเย็น แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้ไข้จบั ไข้เพื่อลม ให้เจริญ
อาหาร แก้โรคตา และบํารุงหัวใจ
๒. หญ้าฝรั ่น รสหอมเย็น ชูกาํ ลัง บํารุงหัวใจ ทําให้ช่นื ใจ
๓. รากแฝกหอม รสหอมเย็น บํารุงหัวใจ แก้ไข้เพื่อดี
๔. นํ้าดอกไม้เทศ รสหอมเย็น บํารุงหัวใจให้ผ่องใส
๕. ต้นเตยหอม รสหอมเย็น บํารุงหัวใจ ขับปสั สาวะ
๖. รากชะลูด รสหอมเย็น แก้ไข้อ่อนเพลีย แก้ลม้ บาดทะจิต
๗. กฤษณา รสหอมเย็น บํารุงหัวใจ บํารุงตับ ปอด แก้ไข้
๘. กระลําพัก รสหอมเย็น แก้พษิ เสมหะ โลหิต บํารุงตับ ปอด หัวใจ แก้ธาตุพกิ าร
๙. ขอนดอก รสหอมเย็น แก้ไข้เพื่อตรีโทษ บํารุงครรภ์รกรุั งษา ตับ บํปอด
า และหัวใจ
๑๐. พิมเสนในปล้องไม้ไผ่ รสหอมเย็น แก้เสมหะ แก้ลม แก้หอบ หืด แก้โรคตา

ตัวยารสเค็ม ซึบซาบไปตามผิวหนัง ตัวยาและสรรพคุณ เช่น


๑. แก่นแสมทะเล รสเค็ม แก้กระษัย ขับโลหิต ขํานํ้าคาวปลา ขับลม
๒. เปลือกตําลําพู รสเค็ม แก้โรคผิวหนัง แผลเปื่อย
๓. เปลือกต้นตะบูน รสเค็ม แก้บดิ แก้ทอ้ งร่วง สมาน แก้ไอ
๔. เปลือกต้นมะเกลือ รสเค็ม แก้กระษัย แก้พยาธิ แก้ตานซาง
156

๕. โคกกระสุน รสเค็ม ขับปสั สาวะ ขับมุตกิด แก้ไตพิการ


๖. ดินประสิว รสเค็ม ขับปสั สาวะ ถอนพิษ ขับลมในเส้น
๗. ใบกระชาย รสเค็ม แก้โรคในปาก ลําคอ แก้โลหิต
๘. ใบหอมแดง รสเค็ม แก้ไข้หวัด แก้โรคตา แก้ฟกบวมซํ้า
๙. เกลือทัง้ ๕ รสเค็ม แก้ไข้พรรดึก แก้ทอ้ งมาน แก้เสมหะ แก้บดิ มูกเลือด บํารุงนํ้าเหลือง
๑๐. เนาวหอยจืด เผารสเค็มกร่อย ขับลมในลําไส้ ชะล้างลําไส้ แก้โรคกระษัย
แก้ไตพิการ ขับนิ่ว ขับปสั สาวะ บํารุงกระดูก

ตัวยารสเปรีย้ ว กัดเสมหะ ตัวยาและสรรพคุณ เช่น


๑. ใบส้มปอ่ ย รสเปรีย้ ว ชําระล้างเสมหะในลําไส้ ฟอกโลหิต
๒. ใบโทงเทง รสเปรีย้ ว แก้เจ็บคอ แก้ฝีในคอ แก้น้ําลายพิการ
๓. ใบมะขาม รสเปรีย้ ว แก้คถู เสมหะ ฟอกโลหิต
๔. ใบส้มเปรีย้ ว รสเปรีย้ ว แก้เสมหะ ฟอกโลหิตสตรี
๕. ใบมะยม รสเปรีย้ ว แก้เสมหะ ถอนพิษ แก้ไข้เพื่อเสมหะ
๖. ลูกมะดัน รสเปรีย้ ว ล้างเสมหะ ฟอกโลหิต
๗. ลูกมะเขือชื่น รสเปรีย้ ว ขับเสมหะ แก้น้ําลายเหนียว
๘. ลูกมะอึก รสเปรีย้ ว แก้ไอ ขับเสมหะ แก้น้ําลายเหนียว
๙. นํ้ามะนาว นํ้ามะกรูด , นํ้าส้มซ่า รสเปรีย้ ว กัดเสมหะ แก้ลม ฟอกโลหิต
๑๐. รากมะกลํ่าทัง้ ๒ รสเปรีย้ ว บํารุงเสียง แก้ศอเสมหะ แก้ลมในลําไส้

ตัวยารสจืด แก้เสมหะและปสั สาวะ ตัวยาและสรรพคุณ เช่น


๑. ต้นผักกาดนํ้า รสจืด ขับปสั สาวะ แก้ช้าํ รั ่ว
๒. หญ้าถอดปล้อง รสจืด ขับปสั สาวะ แก้มุตกิด
๓. ราก และตาไม้ไผ่ปา่ รสจืด ขับปสั สาวะ และแก้ไตพิการ
๔. รากต่อไส้ รสจืด แก้ปสั สาวะ และแก้ไตพิการ
๕. ตะไคร้น้ํา ตะไคร้หางนาค รสจืด ขับปสั สาวะ แก้ช้าํ รั ่ว แก้กระษัยกล่อน
๖. รากไทรย้อย รสจืด ขับปสั สาวะ แก้กระษัยไตพิการ
๗. รากแตงหนู รสจืด แก้ปสั สาวะพิการ แก้เสมหะ
๘. แก่นปรู แส้มา้ ทลาย รสจืด แก้น้ําเหลือเสีย แก้พษิ ประดง แก้เสมหะพิการ
๙. ต้นขลู่ รสจืด แก้กระษัยกล่อน แก้ปสั สาวะพิการ
๑๐. เถาตําลึง รสจืดเย็น แก้ไข้ทม่ี พี ษิ แก้โรคตา ดับพิษร้อน ถอนพิษไข้
157

๓. รสยาประจําธาตุ (รสยาแก้ตามธาตุ)
เป็นทีท่ ราบกันดีแล้วว่าในร่างกายของมนุษย์เรานัน้ ประกอบขึน้ จากธาตุทงั ้ ๔ คือ ธาตุดนิ
๒๐ ธาตุน้ํา ๑๒ ธาตุลม ๖ และธาตุไฟ ๔ เมื่อธาตุใดธาตุหนึ่งเกิดพิการหรือเจ็บปว่ ยขึน้ คัมภีร์
แพทย์แผนโบราณได้จดั รสยาไว้แก้ดงั นี้

๑) ปถวีธาตุ (ธาตุดนิ ๒๐) เมื่อพิการ แก้ดว้ ยยา รสฝาด รสหวาน รสมันและรสเค็ม


๒) อาโปธาตุ (ธาตุน้ํา ๑๒) เมื่อพิการ แก้ดว้ ยยา รสเปรีย้ ว รสขมและรสเมาเบื่อ
๓) วาโยธาตุ (ธาตุลม ๖) เมื่อพิการ แก้ดว้ ยยา รสขุม และรสเผ็ดร้อน
๔) เตโชธาตุ (ธาตุไฟ ๔) เมื่อพิการ แก้ดว้ ยยา รสเย็น รสจืด
การจัดรสยาแก้ให้ถูกต้องตามธาตุดงั ทีก่ ล่าวมาแล้ว จึงจะทําให้โรคหรืออาการเจ็บปว่ ยไข้
หายหรือบรรเทาลงได้

๔. รสยาแก้ตามวัย (แก้ตามอายุ)
ในทีน่ ้ีแบ่งช่วงอายุออกเป็๓น วัย แต่ละวัยเกิดโรคแตกต่างกัน และใช้รสยาแก้ต่างกัน ดังนี้ คือ
๑) ปฐมวัย (วัยเด็ก) ตัง้ แต่แรกเกิดจนถึงอายุ ๑๖ ปี วัยเด็กเป็นโรคเพื่อเสมหะ
(สมุฏฐานอาโป) ควรใช้ยารสหวาน รสเปรีย้ ว รสขม
๒) มัชฌิมวัย (วัยกลาง หรือวัยหนุ่มสาว) ตัง้ แต่อายุ ๑๖ ปี จนถึงอายุ ๓๒ ปี เป็นโรค
เพื่อโลหิตและดี (คือสมุฏฐานอาโป) ควรใช้ยารสเปรีย้ วฝาด รสเปรีย้ วเค็ม และรสขม
๓) ปจั ฉิมวัย (วัยผูเ้ ฒ่าหรือวัยคนแก่) ตัง้ แต่อายุ ๓๒ ปี จนถึงอายุ ๖๔ ปี หรือจนสิน้
อายุขยั เป็นโรคเพื่อลมกําเลิบ (คือสมุฏฐานวาโย) มีอาโปแทรก คือเสมหะกับเหงื่อแทรก ใช้ยารส
ขม รสร้อน รสเค็ม รสฝาด รสหอม

๕. รสยาแก้ตามฤดู
ฤดูในทีน่ ้ีจะขอกล่าวเฉพาะ ๓ นัน้ คือ ใน ๑ ปี มี ๓ ฤดู ๆ ละ ๔ เดือน และถือว่า
เป็นฤดูแห่งกองโรค คือเกิดเป็นโรคปิตตะ โรควาตะ และเสมหะ ตามลําดับ จึงจัดรสยาแก้ไว้ดงั นี้
๑) คิมหันตฤดู (ฤดูรอ้ น) เกิดโรคเพื่อเตโชธาตุพกิ าร โรคปิตตะพิการคือดีพกิ าร ควรใช้ยารสเย็นและจืด
๒) วสันตฤดู (ฤดูฝน) เกิดโรคเพื่อวาโยธาตุพกิ าร คือ โรควาตะ โรคลม ควนใช้ยารสร้อนและรสสุขมุ
๓) เหมันตฤดู (ฤดูหนาว) เกิดโรคเพื่ออาโปธาตุพกิ าร คือ สมุฏฐานเสมหะ ควรใช้ยารสสุขมุ หรือรสเปรีย้ ว
158

๖. รสยาแก้ตามกาล
รสยาแก้ตามกาลเวลา หรือตามยามนี้ จัดไว้โดยมุ่งหมายเพื่อให้คนไข้ได้รบั ประทานยา
(กินยา) ให้ทนั หรือตรงกับสมุฏฐานของโรคซึง่ เกิดขึน้ ในเวลาหรือกาลนันๆ
้ ในคัมภีรก์ ล่าวไว้ทงั ้ หมด
กาล ๓ และกาล ๔ จะได้ยกตัวอย่างให้นกั ศึกษาได้ทราบทัง้ ๒ กาล คือ
๖.๑ กาล ๓ คือ กลางวัน แบ่งออกเป็น ๓ ยาม กลางคืนแบ่งออกเป็น ๓ ยาม คือ
ยามที่ ๑ นับแต่ ๐๖.๐๐ น. ถึง ๑๐.๐๐ น. หรือนับแต่ ๑๘.๐๐ น. ถึง ๒๒.๐๐ น.
เกิดโรคเพื่อเสมหะ ใช้น้ํากระสายยารสเปรีย้ ว
ยามที่ ๒ นับแต่ ๑๐.๐๐ น. ถึง ๑๔.๐๐ น. หรือนับแต่ ๒๒.๐๐ น. ถึง ๐๒.๐๐ น.
เกิดโรคเพื่อโลหิตและดี ใช้น้ํายากระสายยารสขม
ยามที่ ๓ นับแต่ ๑๔.๐๐ น. ถึง ๑๘.๐๐ น. หรือนับแต่ ๐๒.๐๐ น. ถึง ๐๖.๐๐ น.
เกิดโรคเพื่อลม ใช้น้ํากระสายยารสร้อน
๖.๒ กาล ๔ คือ ท่านแบ่งไว้เป็นกลางวัน ๔ กลางคืน ๔ ตอน ดังนี้
ยามที่ ๑ นับแต่ (ยํ่ารุ่ง) ๖.๐๐ น. ถึง ๙.๐๐ น. หรือนับแต่ ๑๘.๐๐ ถึง ๒๑.๐๐ น.
เป็นสมุฏฐานอาโป พิกดั เสมหะ
ยามที่ ๒ นับแต่ ๙.๐๐ น. ถึง ๑๒.๐๐ น. หรือนับแต่ ๒๑.๐๐ น. ถึง ๒๔.๐๐ น.
เป็นสมุฏฐานอาโป พิกดั โลหิต
ยามที่ ๓ นับแต่ ๑๒.๐๐ น. ถึง ๑๕.๐๐ น. หรือนับแต่ ๐๐.๐๐ น. ถึง ๐๓.๐๐ น.
เป็นสมุฏฐานอาโป พิกดั ดี
ยามที่ ๔ นับแต่ ๑๕.๐๐ น. ถึง ๑๘.๐๐ น. หรือนับแต่ ๐๓.๐๐ น. ถึง ๐๖.๐๐ น.
เป็นสมุฏฐานอาโป พิกดั วาตะ (ลม)
159

แผนภูมิที่ ๓ สรุปความสัมพันธ์ของหัวข้อเนื้ อหาในบทที่ ๓

สรรพคุณเภสัช

ยารสประธาน ๓ รส รสตัวยา

ร้อน เย็น สุขมุ รสยา ๔ รส รสยา ๖ รส รสยา ๘ รส รสยา ๙ รส


คัมภีรธ์ าตุวภิ งั ค์ คัมภีรว์ รโยคสาร คัมภีรธ์ าตุววิ รณ์

๑.รสฝาด ๑. มธุระ คือ รสหวาน ๑. รสขม ๑. รสขม


แก้ทางวาโยธาตุ แก้ทางเตโชธาตุ แก้ทางอาโปธาตุ ๒.รสเผ็ด ๒.อัมพิระ คือ รส ๒. รสฝาด ๒. รสหวาน
๓.รสเค็ม เปรีย้ ว ๓. รสเค็ม ๓. รสเมาเบือ่
๔. รสเปรีย้ ว ๓.ลวณะ คือ รสเค็ม ๔. รสเผ็ดและร้อน ๔. รสขม
๔.กฏกุ ะ คือ รสเผ็ด ๕. รสหวาน ๕. รสเผ็ดร้อน
๕.ติตติกะ คือ รสขม ๖. รสเปรีย้ ว ๖. รสมัน
๖. กะสาวะ คือ รสฝาด ๗. รสเย็นหอม ๗. รสหอมเย็น
๘. รสมัน ๘. รสเค็ม
๙. รสเปรีย้ ว
(รสจืด)
160

บทที่ ๔

คณาเภสัช

คณาเภสัช คือ การจัดหมวดหมู่ตวั ยาหลายสิง่ หลายอย่าง เป็นการศึกษาให้รจู้ กั พิกดั ยา


เพราะตัวยาตัง้ แต่ ๒ สิง่ ขึน้ ไปนํามารวมกัน สามารถเรียกเป็ นชื่อเดียว เรียกเป็นคําตรงตัวยา และ
เรียกเป็นคําศัพท์ได้ การจัดคณาเภสัชนี้ หากได้รบั การรับรองให้เป็นตํารา เพื่อการศึกษาองคนรุ่นหลัง
จะต้องมีการประชุมเพื่อตัง้ ชื่อใหม่ ใช้เรียกชื่อหมู่ยานัน้ ๆ เป็นอย่างเดียวกัน ตามคําศัพท์หรือคําตรงต่อไป
การจัดหมวดหมู่ตวั ยา เป็นกลุ่ม เป็นพวก ก็เพื่อความสะดวกแก่การจดจํา หรือ เขียนตํารา
ทีเ่ รียกว่า “พิกดั ยา” คือ การจํากัด หมายถึง “จํากัดจํานวน ” ซึง่ จะเป็นจํานวนของ สิง่ ใดก็ตาม ทีไ่ ด้
จํากัดจํานวนไว้แล้วจะเพิม่ หรือจะลดจํานวนทีจ่ าํ กัดของสิง่ ของนัน้ ไม่ได้ ในจํานวนทีจ่ าํ กัด ไว้ดงั นี้ จึง
สมมุตนิ ามเรียกว่า พิกดั ถ้าจะนําไปใช้จาํ กัดสิง่ ใด ก็เติมนามของสิง่ นัน้ เข้าข้างท้ายคําว่าพิกดั เช่น
พิกดั ยา พิกดั อายุ พิกดั เดือน และพิกดั สมุฏฐาน เป็นต้น
สําหรับในพิกดั ยาต่างๆ นัน้ ตัวยาแต่ละสิง่ ในพิกดั เดียวกัน ยังได้จาํ กัดส่วนหรือนํ้าหนักของ
ตัวยาไว้เท่า ๆ กัน เว้นแต่ในหมวดมหาพิกดั ซึง่ จํากัดส่วนของตัวยาไว้ไม่เท่ากัน แต่กอ็ ยูใ่ นขอบเขต
ของจํานวนทีไ่ ด้จาํ กัดไว้ และในการทีจ่ ะใช้น้ําหนักของยาทีค่ ดิ เป็นส่วนนี้ ถ้า จะทําเป็ นยาต้มใช้
นํ้าหนักส่วนละ ๑ บาท ถ้าจะทําเป็นผงใช้น้ําหนักส่วนละ ๑ สลึง ถ้าจะทําเป็นยาดองใช้น้ําหนัก ส่วน
ละ ๑ เฟื้อง และถ้าจะทําเป็นยาแทรกก็ให้แทรกกึง่ ส่วน
การจัดตัง้ พิกดั ยาขึน้ มานัน้ ก็เพื่อสะดวกในการจดจําและเขียนตํารา ตลอดถึงความสะดวกใน
การปรุงยาและการทีจ่ ดั ตัง้ เป็นพิกดั แต่ละอย่างนัน้ ก็มไิ ด้ตงั ้ ขึน้ ตามความพอใจ แต่ผทู้ จ่ี ดั ตัง้ ยาแต่แรก
นัน้ จะต้องมีหลักในการพิจารณา โดยอาศัยหลักดังนี้
๑) รสยาจะต้องไม่ขดั กัน
๒) สรรพคุณจะต้องเสมอหรือคล้ายคลึงกัน
ด้วยสาเหตุสองประการดังกล่าวมานี้ จึงจะรวมตัวยาเข้าเป็นพิกดั เดียวกันได้ พิก ั ดยาต่างๆ
ทีจ่ ดั ตัง้ ขึน้ มานัน้ มีเป็นจํานวนมาก เพื่อทีจ่ ะให้สะดวก จึงได้ตงั ้ นามขึน้ มาใช้เรียกพิกดั ยาแต่ละอย่าง
เป็นชื่อตรงบ้าง เรียกชื่อเป็นศัพท์บาลีบา้ ง ในคําศัพท์บาลีนนั ้ ถ้าแปลออกเป็นภาษาไทยแล้ว ก็จะได้
ใจความไปตามจํานวนและสรรพคุณของพิกดั ยานัน้
161

พิ กดั ยา ได้กาํ หนดแบ่งออกเป็น ๓ หมวด คือ


๑. จุลพิ กดั หมายถึง การจํากัดจํานวนตัวยาน้อยชนิด โดยมากเป็นตัวยาทีม่ ชี ่อื เรียก
อย่างเดียวกัน แต่จะมีขอ้ แตกต่างจากถิน่ ทีเ่ กิด ต่างกันทีส่ ี ต่างกันทีช่ นิด ต่างกันทีข่ นาด ต่างกันทีร่ ส เป็นต้น
๒. พิ กดั หมายถึง การจํากัดจํานวนตัวยาตัง้ แต่สองสิง่ ขึน้ ไป รวมเรียกเป็นชื่อเดียวกันจะ
เป็นคําตรงหรือคําศัพท์ โดยทีต่ วั ยาทีน่ ํามารวมกัน ต้องใช้น้ําหนักเสมอภาค คือ ขนาดนํ้าหนักเท่ากัน
๓. มหาพิ กดั หมายถึง การจํากัดจํานวนตัวยาหลายสิง่ รวมเรียกเป็นชื่อเดียวกัน
แต่ตวั ยาแต่ละอย่างในมหาพิกดั มีน้ําหนักไม่เท่ากันเพราะเหตุวา่ มหาพิกดั นี้ ท่านสงเคราะห์เอาไปแก้
ตามสมุฏฐานต่างๆ คือ ใช้แก้ในกองฤดู กองธาตุกาํ เริบ หย่อน และพิการ โรคแทรกโรคตาม

๑. จุลพิ กดั
จุลพิกดั คือ จํากัดตัวยาน้อยอย่าง หรือพิกดั ทีเ่ รียกชื่อตรงตามตัวยา มักจะเป็นตัวยา
อย่างเดียวกัน หรือส่วนมากมีตวั ยาเพียง ๒ อย่างเท่านัน้ แต่เป็นตัวยาชนิดเดียวกัน ต่างกันที่
ขนาด ต่างกันทีส่ ี ต่างกันทีร่ ส ต่างกันทีช่ นิด (เพศผู้ – เพศเมีย) ต่างกันจากถิน่ ทีเ่ กิด
ตัวอย่างเช่น

๑.๑ พวกที่ต่างกันที่ขนาด
๑) กระพังโหมทัง้ ๒ คือ กระพังโหมน้อย กระพังโหมใหญ่
๒) ข่าทัง้ ๒ คือ ข่าเล็ก ข่าใหญ่
๓) ตับเต่าทัง้ ๒ คือ ตับเต่าน้อย ตับเต่าใหญ่
๔) เปล้าทัง้ ๒ คือ เปล้าน้อย เปล้าใหญ่
๕) เร่วทัง้ ๒ คือ เร่วน้อย เร่วใหญ่
๖) ส้มกุง้ ทัง้ ๒ คือ ส้มกุง้ น้อย ส้มต้มกุง้ ใหญ่

๑.๒ พวกที่ต่างกันที่สี
๑) การบูรทัง้ ๒ คือ การบูรดํา การบูรขาว
๒) กะเพราทัง้ ๒ คือ กะเพราแดง กะเพราขาว
๓) กระดูกไก่ทงั ้ ๒ คือ กระดูกไก่ดาํ กระดูกไก่ขาว
๔) กระวานทัง้ ๒ คือ กระวานดํา กระวานขาว
๕) หัวกระดาดทัง้ ๒ คือ หัวกระดาดแดง หัวกระดาดขาว
162

๖) ต้นก้างปลาทัง้ ๒ คือ ต้นก้างปลาแดง ต้นก้างปลาขาว


๗) กํามะถันทัง้ ๒ คือ กํามะถันแดง กํามะถันเหลือง
๘) ขีก้ าทัง้ ๒ คือ ขีก้ าแดง ขีก้ าขาว
๙) ขอบชะนางทัง้ ๒ คือ ขอบชะนางแดง ขอบชะนางขาว
๑๐) แคทัง้ ๒ คือ แคแดง แคขาว
๑๑) จันทน์ทงั ้ ๒ คือ จันทน์แดง จันทน์ขาว
๑๒) เจตมูลเพลิงทัง้ ๒ คือ เจตมูลเพลิงแดง เจตมูลเพลิงขาว
๑๓) เทียนทัง้ ๒ คือ เทียนแดง เทียนขาว
๑๔) บัวหลวงทัง้ ๒ คือ บัวหลวงแดง บัวหลวงขาว
๑๕) ผักเป็ดทัง้ ๒ คือ ผักเป็ดแดง ผักเป็นขาว
๑๖) ผักแพวทัง้ ๒ คือ ผักแพวแดง ผักแพวขาว
๑๗) ฝ้ายทัง้ ๒ คือ ฝ้ายแดง ฝ้ายขาว
๑๘) พริกไทยทัง้ ๒ คือ พริกไทยดํา พริกไทยาว (ล่อน)
๑๙) เถามวกทัง้ ๒ คือ เถามวกแดง เถามวกขาว
๒๐) ละหุ่งทัง้ ๒ คือ ละหุ่งแดง ละหุ่งขาว
๒๑) สัตตบงกชทัง้ ๒ คือ สัตตบงกชแดง สัตตบงกชขาว
๒๒) หางไหลทัง้ ๒ คือ หางไหลแดง หางไหลขาว

๑.๓ พวกที่ต่างกันที่รส
๑) มะขามทัง้ ๒ คือ มะขามเปรีย้ ว มะขามหวาน
๒) มะขามเทศ ๒ คือ มะขามเทศฝาด มะขามเทศมัน
๓) มะปรางทัง้ ๒ คือ มะปรางเปรีย้ ว มะปรางหวาน
๔) มะเฟืองทัง้ ๒ คือ มะเฟืองเปรีย้ ว มะเฟืองหวาน

๑.๔ พวกที่ต่างชนิ ดกัน (เพศผู้ – เพศเมีย)


๑) กระพังโหมทัง้ ๒ คือ กระพังโหมตัวผู้ กระพังโหมตัวเมีย
๒) เกลือทัง้ ๒ คือ เกลือตัวผู้ เกลือตัวเมีย
๓) ตําแยทัง้ ๒ คือ ตําแยตัวผู้ ตําแยตัวเมีย
๔) เบีย้ ทัง้ ๒ คือ เบีย้ ตัวผู้ เบีย้ ตัวเมีย
๕) ผักปอดทัง้ ๒ คือ ผักปอดตัวผู้ ผักปอดตัวเมีย
163

๖) มะยมทัง้ ๒ คือ มะยมตัวผู้ มะยมตัวเมีย


๗) หมากทัง้ ๒ คือ หมากผู้ หมากเมีย
๘) ศิลายอนทัง้ ๒ คือ ศิลายอนตัวผู้ ศิลายินตัวเมีย

๑.๕ พวกที่ ต่างกันที่ ถิ่นที่เกิ ด


๑) กระท้อนทัง้ ๒ คือ กระท้อนบ้าน กระท้อนปา่
๒) กะทือทัง้ ๒ คือ กะทือบ้าน กะทือปา่
๓) หัวข้าวเย็นทัง้ ๒ คือ หัวข้าวเย็นเหนือ หัวข้าวเย็นใต้
๔) ขีเ้ หล็กทัง้ ๒ คือ ขีเ้ หล็กบ้าน ขีเ้ หล็กปา่
๕) เขาวัวทัง้ ๒ คือ เขาวัวบ้าน เขาวัวปา่
๖) ชะมดทัง้ ๒ คือ ชะมดเช็ด ชะมดเชียง
๗) ชะเอมทัง้ ๒ คือ ชะเอมเทศ ชะเอมไทย
๘) ชํามะเรียงทัง้ ๒ คือ ชํามะเรียงบ้าน ชํามะเรียงปา่
๙) ชุมเห็ดทัง้ ๒ คือ ชุมเห็ดเทศ ชุมเห็ดไทย
๑๐) หญ้าเกล็ดหอยทัง้ ๒ คือ หญ้าเกล็ดหอยเล็ก หญ้าเกล็ดหอยใหญ่
๑๑) ดีเกลือทัง้ ๒ คือ ดีเกลือไทย ดีเกลือฝรั ่ง
๑๒) ปรงทัง้ ๒ คือ ปรงบ้าน ปรงปา่
๑๓) ประยงค์ทงั ้ ๒ คือ ประยงค์บา้ น ประยงค์ปา่
๑๔) ผักหวานทัง้ ๒ คือ ผักหวานบ้าน ผักหวานปา่
๑๕) มะระทัง้ ๒ คือ มะระขีน้ ก มะระจีน
๑๖) ยอทัง้ ๒ คือ ยอบ้าน ยอปา่
๑๗) สลอดทัง้ ๒ คือ สลอดบก สลอดนํ้า
๑๘) แสมทัง้ ๒ คือ แสมสาร แสมทะเล
๑๙) สะเดาทัง้ ๒ คือ สะเดาบ้าน สะเดาปา่
๒๐) สีเสียดทัง้ ๒ คือ สีเสียดแขก สีเสียดไทย
๒๑) หัศคุณทัง้ ๒ คือ ทัศคุณเทศ หัศคุณไทย
๒๒) อบเชยทัง้ ๒ คือ อบเชยเทศ อบเชยไทย
164

๒. พิ กดั
พิ กดั ยา หมายถึง การจํากัดจํานวนตัวยาตัง้ แต่สองสิง่ ขึน้ ไป รวมเรียกเป็นชื่อเดียวกัน จะเป็น
คําตรงหรือคําศัพท์ โดยทีต่ วั ยาทีน่ ํามารวมกัน ต้องใช้น้ําหนักเสมอภาค คือ ขนาดนํ้าหนักเท่ากัน
จําแนกพิกดั ยาได้ ดังนี้

๑) พิกดั ยา ๒ สิง่ มี ๒ พิกดั


๒) พิกดั ยา ๓ สิง่ มี ๓๐ พิกดั
๓) พิกดั ยา ๔ สิง่ มี ๔ พิกดั
๔) พิกดั ยา ๕ สิง่ มี ๑๘ พิกดั
๕) พิกดั ยา ๗ สิง่ มี ๖ พิกดั
๖) พิกดั ยา ๙ สิง่ มี ๖ พิกดั
๗) พิกดั ยา ๑๐ สิง่ มี ๒ พิกดั
๘) พิกดั ยาพิเศษ มี ๔ พิกดั

๒.๑ พิ กดั ยา ๒ สิ่ ง


๑) พิ กดั ทเวคันธา (ทเวสุคนธ์) คือ จํากัดจํานวนตัวยาทีม่ กี ลิน่ หอม ๒ อย่างคือ
รากบุนนาค ขับลมในลําไส้
รากมะซาง แก้โลหิต แก้กาํ เดา

๒) พิ กดั ทเวติ คนั ธา คือ จํากัดจํานวนตัวยาทีม่ กี ลิน่ หอม ๓ อย่างในยา ๒ สิง่ คือ
ดอกบุนนาค บํารุงโลหิตแก้กลิน่ เหม็นสาบสางในร่างกาย
แก่นบุนนาค แก้รตั ตะปิตตะโรค
รากบุนนาค ขับลมในลําไส้
ดอกมะซาง ทําใจให้ชุ่มชื่นชูกาํ ลัง
แก่นมะซาง แก้คุดทะราด แก้เสมหะ แก้ไข้สมั ประชวร
รากมะซาง แก้โลหิต แก้กาํ เดา
165

๒.๒ พิ กดั ยา ๓ สิ่ ง


๑) พิ กดั ตรีผลา คือ จํากัดจํานวนผลไม้ ๓ อย่าง คือ
ลูกสมอพิเภก
ลูกสมอไทย
ลูกมะขามป้อม
สรรพคุณ แก้ปิตตะวาตะ สมหะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน

๒) พิ กดั ตรีกฏุก คือ จํากัดจํานวนตัวยาทีม่ รี สเผ็ดร้อน ๓ อย่าง คือ


เหง้าขิงแห้ง
เมล็ดพริกไทย
ดอกดีปลี
สรรพคุณ แก้วาตะเสมหะ ปิดตะวาตะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน

๓) พิ กดั ตรีสาร คือ จํานวนตัวยาทีใ่ ห้คุณในฤดูหนาว ๓ อย่าง คือ


รากเจตมูลเพลิง
เถาสะค้าน
รากช้าพลู
สรรพคุณ แก้วาตะเสมหะ ปิดตะวาตะในกองธาตุ ฤดู อายุ และกองสมุฏฐาน

๔) พิ กดั ตรีสคุ นธ์ คือ จํานวนตัวยามีกลิน่ หอม ๓ อย่าง คือ


ใบกระวาน
รากอบเชยเทศ
รากพิมเสนต้น
สรรพคุณ แก้ไข้สนั นิบาต แก้ไข้เซื่องซึม แก้ไข้จุกเสียด แก้รดิ สีดวง

๕) พิ กดั ตรีทิพรส คือ จํานวนตัวยารสดี หรือรสเลิศ ๓ อย่าง คือ


โกฐกระดูก
กระลําพัก
ขอนดอก
สรรพคุณ บํารุงธาตุ บํารุงตับ ปอดและหัวใจ บํารุงกระดูก บํารุงครรภ์รกั ษา ทําให้ชุ่มชื่น
166

๖) พิ กดั ตรีสมอ คือ จํานวนสมอ ๓ อย่าง คือ


ลูกสมอไทย
ลูกสมอเทศ
ลูกสมอพิเภก
สรรพคุณ แก้เสมหะ แก้ไข้ บํารุงธาตุ ผายธาตุ รูถ้ ่ายรูป้ ิดเอง

๗) พิ กดั ตรีมธุรส คือ จํานวนตัวยารสหวาน ๓ อย่าง คือ


นํ้าตาล
นํ้าผึง้
นํ้ามันเนย
สรรพคุณ บํารุงธาตุ แก้สะอึก และแก้ไข้ตรีโทษ ผายธาตุ เจริญอาหาร

๘) พิ กดั ตรีสินธุรส คือ จํานวนตัวยารสนํ้า ๓ อย่าง คือ


รากมะตูม
เทียนขาว
นํ้าตาลกรวด
สรรพคุณแก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้พษิ ไข้พษิ ฝี แก้ดพี กิ าร แก้นิ่ว ขับปสั สาวะ

๙) พิ กดั ตรีญาณรส คือ จํานวนตัวยาทีม่ รี สสําหรับรู้ ๓ อย่าง คือ


ไส้หมาก
รากสะเดา
เถาบอระเพ็ด
สรรพคุณ แก้ไข้ดบั พิษร้อน ขับปสั สาวะ ขับเสมหะ บํารุงไปธาตุ เจริญอาหาร

๑๐) พิ กดั ตรีเพชรสมคุณ คือ จํานวนองตัวยาทีม่ คี ุณเสมอเพชร ๓ อย่างคือ


รากว่านหางจระเข้
ฝกั ราชพฤกษ์
รงทอง
สรรพคุณแก้ปวดหัว แก้กาํ เดา ยเสมหะ
ถ่า ถ่ายอุจจาระ แก้โลหิตและนํ้าเหลืองเสีย
167

๑๑) พิ กดั ตรีฉินทลมกา คือ จํานวนตัวยาแก้ธาตุลามกให้ตกไป ๓ อย่าง คือ


โกฐนํ้าเต้า
ลูกสมอไทย
รงทอง
สรรพคุณถ่ายท้องบํารุงธาตุ ขับลม ถ่ายไข้เพื่อเสมหะ ถ่ายโลหิตและนํ้าเหลืองเสีย

๑๒) พิ กดั ตรีเกสรเพศ คือ จํานวนของตัวยามีรสแห่งเกสร ๓ อย่าง คือ


เปลือกฝิ่ นต้น
เกสรบัวหลวงแดง
เกสรบัวหลวงขาว
สรรพคุณคุมธาตุ แก้ไขเพื่อปถวีธาตุกาํ เริบ ทําตัวให้เย็น แก้คลื่นเหียนอาเจียน

๑๓) พิ กดั ตรีเกสรมาศ คือ จํานวนตัวยาเกสรทอง ๓ อย่าง


เปลือกฝิ่ นต้น
เกสรบัวหลวงแดง
เกสรบัวหลวงขาว
สรรพคุณ เจริญอาหาร บํารุงธาตุ คุมธาตุ บํารุงกําลัง แก้ทอ้ งเดิน

๑๔) พิ กดั ตรีอมฤต คือ จํานวนตัวยาทีไ่ ม่ตาย ๓ อย่าง คือ


รากมะกอก
รากกล้วยตีบ
รากกระดอม
สรรพคุณแก้ไข้ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า ขับปสั สาวะ บํารุงธาตุ บํารุงกําลังเดิแก้
น ทอ้ ง

๑๕) พิ กดั ตรีสตั กุลา (รัตตกุลา) คือ จํานวนตัวยาทีม่ ตี ระกูลสามารถ ๓ อย่าง


เทียนดํา
ลูกผักชีลา
เหง้าขิงสด
สรรพคุณบํารุงไฟธาตุ ขับลมในลําไส้ แก้อาการธาตุ
๑๐ ประการ แก้อาเจียน
168

๑๖) พิ กดั ตรีทุรนสา คือ จํานวนตัวยาแก้มนั เหลวพิการ ๓ อย่าง


เมล็ดโหระพา
ลูกกระวาน
ลูกราชดัด
สรรพคุณ แก้บดิ บํารุงนํ้าดี แก้ลม แก้พษิ ตาซาง

๑๗) พิ กดั ตรีสคุ ติ สมุฏฐาน คือ จํานวนตัวยาทําให้มคี วามสุขเป็นทีต่ งั ้ ๓ อย่าง คือ


รากมะเดื่อชุมพร
รากเพกา
รากแคแดง
สรรพคุณ แก้ไข้พษิ ต่างๆ บํารุงไฟธาตุ คุมธาตุ

๑๘) พิ กดั ตรีผลสมุฏฐานคือ จํานวนผลไม้เป็นทีต่ ๓งั ้ อย่าง(ทีเ่ กิดแห่งผล๓ อย่าง) คือ


ลูกมะตูม
ลูกยอ
ลูกผักชา
สรรพคุณ แก้สมุฏฐานแห่งตรีโทษ ขับลมต่างๆ แก้อาเจียน แก้โรคไตพิการ

๑๙) พิ กดั เสมหะผล คือ จํานวนตัวยาทีม่ คี ุณแก้เสมหะ ๓ อย่าง คือ


ลูกช้าพลู
รากดีปลี
รากมะกลํ่าเครือ
สรรพคุณ แก้เสมหะ แก้สะอึก แก้เส้นอัมพฤกษ์อมั พาต แก้ลม

๒๐) พิ กดั ปิ ตตะผล คือ จํานวนผลแก้ลม ๓ อย่าง คือ


รากเจตมูลเพลิง
รากกะเพรา
ผักแพวแดง (บอระเพ็ด)
สรรพคุณ แก้จตุกาลเตโช บํารุงธาตุ แก้ลม แก้เส้นประสาทพิการ ปวดเมื่อยตามข้อ
169

๒๑) พิ กดั ตรีวาตะผล คือ จํานวนผลแก้ลม ๓ อย่าง คือ


ลูกสะค้าน
รากพริกไทย
เหง้าข่า
สรรพคุณ แก้กองลม แก้เสมหะ แก้แน่นในทรวงอก แก้เลือด บํารุงไปธาตุ

๒๒) พิ กดั ตรีอากาศผล คือ จํานวนผลแก้อากาศธาตุ ๓ อย่าง คือ


เหง้าขิง
กระลําพัก
อบเชยเทศ
สรรพคุณ แก้อาการธาตุ ๑๐ ประการ แก้ตรีสมุฏฐาน แก้แน่นในอก
แก้โลหิตเป็นพิษ แก้ไข้จบั ขับลม ปลูกธาตุไฟ

๒๓) พิ กดั ตรีธารทิ พย์ คือ จํานวนตัวยาทีม่ รี สดังนํ้าทิพย์ ๓ อย่าง คือ


รากไทรย้อย
รากราชพฤกษ์
รากมะขามเทศ
สรรพคุณ บํารุงนํ้านม แก้กระษัย ฆ่าเชือ้ คุดทะราด แก้ทอ้ งร่วง

๒๔) พิ กดั ตรีพิษจักร คือ จํานวนจักรพิษ ๓ อย่าง คือ


ลูกผักชีลอ้ ม
ลูกจันทน์
กระวาน
สรรพคุณ บํารุงนํ้านม แก้กระษัย ฆ่าเชือ้ คุดทะราด แก้ทอ้ งร่วง

๒๕) พิ กดั ตรีชาติ (ธาตุ) คือจํานวนวัตถุ ๓ อย่าง คือ


ดอกจันทร์
กระวาน
อบเชย
สรรพคุณ แก้ธาตุพกิ ารแก้ลมเสมหะ แก้วงิ เวียน บํารุงดวงจิต
170

๒๖) พิ กดั ตรีกาฬพิ ษ คือ จํานวนตัวยาแก้พษิ ตามกาล ๓ อย่าง


รากกระเพราแดง
หัวกระชาย
เหง้าข่า
สรรพคุณ บํารุงธาตุ บํารุงกําหนัด ขับลม แก้ไขสันนิบาต แก้เลือดเสีย

๒๗) พิ กดั ตรีคนั ธวาตะ (กันธวาต) คือ จําตัวยาแก้พษิ ตามกาล ๓ อย่าง คือ
ลูกเร่วใหญ่
ลูกจันทน์
ดอกกานพลู
สรรพคุณ แก้ธาตุพกิ าร แก้คลื่นเหียนอาเจียนแก้รดิ สีดวงทัง้ ๙ แก้ไอหืด

๒๘) พิ กดั ตรีผลธาตุ คือ จํานวนผลแก้ธาตุ ๓ อย่าง คือ


เหง้ากะทือ
หัวตะไคร้หอม
เหง้าไพล
สรรพคุณ บํารุงธาตุไฟ แก้ไข้ตวั ร้อน แก้กาํ เดา แก้ฟกบวมปวดเมื่อย

๒๙) พิ กดั ตรีสนั นิ บาตผล (ตรีโลหิ ตะพละ) คือ จํานวนผลแก้สนั นิบาต ๓ อย่างคือ
ผลดีปรี
รากกะเพรา
รากพริกไทย
สรรพคุณ แก้ไขสันนิบาต แก้ในกองลม บํารุงธาตุ แก้ปถวี ๒๐ ประการ

๓๐) พิ กดั ตรีสรุ ผล คือ จํานวนยามีรสกล้า ๓ อย่าง คือ


สมุลแว้ง
เนื้อไม้
เทพทาโร
สรรพคุณ แก้ลมสัมประชวร บํารุงธาตุ โลหิต แก้ลมสลบ แก้ลมในท้อง
ทําให้ปวดท้องจุกเสียดแน่ น
171

๒.๓ พิ กดั ยา ๔ สิ่ ง


๑) พิ กดั จตุกาลธาตุ คือ จํานวนตัวยาแก้ธาตุตามเวลา ๔ อย่าง คือ
หัวว่านนํ้า
รากเจตมูลเพลิง
รากแคแตร
รากนมสวรรค์
สรรพคุณ แก้ธาตุพกิ าร บํารุงธาตุ แก้จุกเสียด แก้เสมหะ แก้โลหิตในท้อง
ขับลมในท้อง แก้ไข้

๒) พิ กดั จตุทิพคันธา คือ จํานวนยาทีม่ กี ลิน่ หอมดังกลิน่ ทิพย์ ๔ อย่าง คือ


รากมะกลํ่าเครือ
รากชะเอมเทศ
ดอกพิกุล
เหง้าขิงแครง
สรรพคุณ บํารุงธาตุ บํารุงหัวใจ แก้เสมหะ แก้ลมปนป ั ่ ว่ น แก้พรรดึก

๓) พิ กดั จตุผลาธิ ตะ คือ จํานวนผลไม้ให้คุณ ๔ อย่าง คือ


ลูกสมอไทย
ลูกสมอภิเภก
ลูกมะขามป้อม
ลูกสมอเทศ
สรรพคุณ ถ่ายไข้ ถ่ายลมแก้โรคตา บํารุงธาตุ ผายธาตุ ถ่ายรูปิดธาตุ

๔) วาตะผล คือ จํานวนตัวยาแก้ลมได้ผล ๔ อย่าง คือ


เหง้าขิง
กระลําพัก
เปลือกอบเชย
โกฐหัวบัว
สรรพคุณแก้ไข้พรรดึก แก้ตรีสมุฏฐาน ขับผายลม บํารุงธาตุ แก้ลมในกองริดสีดวง
172

๒.๔ พิ กดั ยา ๕ สิ่ ง


๑) พิ กดั เบญจกูล คือ จํากัดจํานวนตระกูลยา (เครื่องยา) ทีม่ รี สร้อน ๕ อย่าง คือ
ดอกดีปลี
รากช้าพลู
เถาสะค้าน
รากเจตมูลเพลิง
เหง้าขิงแห้ง
สรรพคุณกระจายกองลมและโลหิต แก้คถู เสมหะ แก้ลมพานไส้ บํารุงกองธาตุ ๔ ทงั ้

๒) พิ กดั เบญจอมฤต คือ จํากัดตัวยาดังนํ้าทิพย์ ๕ อย่าง คือ


นํ้านมสด
นํ้านมส้ม
นํ้าอ้อย
นํ้าผึง้
นํ้ามันเนย
สรรพคุณ บํารุงกําลัง บํารุงธาตุไฟ ขับลมให้แล่น ทั ่วกาย แก้ไข้ตรีโทษ
ผายธาตุ แก้กาํ เดาและลม กระจายเสมหะ

๓) พิ กดั เบญจผลธาตุ คือ จํากักจํานวนตัวยาทีแ่ ก้ผลธาตุได้ ๕ อย่าง คือ


หัวกกลังกา
หัวเต่าเกียด
หัวแห้วหมู
หัวหญ้าชันกาด
หัวเปราะ
สรรพคุณ แก้ธาตุพกิ าร บํารุงธาตุ บํารุงกําลัง เจริญไปธาตุ แก้ทางเดิน
ปสั สาวะ แก้ตบั ทรุด
173

๔) พิ กดั เบญจมูลน้ อยคือ จํากัดจํานวนตัวยารากน้อย แก้สมุฏฐานทั๕ง้ สาม


อย่าง คือ
หญ้าเกล็ดหอยใหญ่
หญ้าเกล็ดหอยน้อย
รากละหุ่งแดง
รากมะเขือขืน่
รากมะอึก
สรรพคุณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า ขับนํ้านม ขับเลือดลม กระทุง้ พิษไข้ แก้น้ําลาย

๕) พิ กดั เบญจมูลใหญ่คือ จํากัดจํานวนยารากใหญ่ แก้สมุฏฐานทัง้ ๕สามมี


อย่าง คือ
รากมะตูม
รากลําไย
รากเพกา
รากแคแตร
รากคัดลิน้
สรรพคุณ แก้ดี แก้ลม แก้เสมหะ บํารุงไฟธาตุ แก้ไข้สนั นิบาต แก้เส้น
เอ็นพิการ เบญจมูลน้อย รวมกับเบญจมูลใหญ่ เป็นทศมูลใหญ่

๖) พิ กดั เบญจโลกวิ เชียร คือ จํากัดจํานวนตัวยาเสมอด้วยแก้วเิ ชียร ๕ อย่าง คือ


( แก้ว ๕ ดวง, ยา ๕ ราก หรือ เพชรสว่างก็เรียก)
รากชิงชี่
รากหญ้านาง
รากท้าวยายม่อม
รากคนทา
รากมะเดื่อชุมพร
สรรพคุณ ใช้กระทุง้ พิษต่างๆ หรือถอนพิษต่างๆ แก้ไข้ตน้ มือ แก้ไข้พษิ
ไข้กาฬ ไข้หวั แก้ไข้เพื่อดีและโลหิต

๗) พิ กดั เบญจโลธิ กะ คือ จํากัดจํานวนตัวยาทีม่ คี ุณทําให้ช่นื ใจมี ๕ อย่าง คือ


แก่นจันทน์แดง
แก่นจันทน์ขาว
174

แก่นจันทน์ชะมด
ต้นเนระภูส ี
ต้นมหาสดํา
สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อดี แก้ไข้รตั ตะปิตตะโรค แก้ลมวิงเวียน แก้พษิ ทัง้ ปวง

๘) พิ กดั จันทน์ ทงั ้ ๕ คือ จํากัดจํานวนแก่นไม้จนั ทน์ ๕ อย่าง คือ


แก่นจันทน์แดง
แก่นจันทน์ขาว
แก่นจันทน์เทศ
แก่นจันทนา
แก่นจันทน์ชะมด
สรรพคุณแก้ไข้เพ่อื ดีและโลหิต แก้รอ้ นในกระหายนํ้า บํารุงตับ ปอด แก้พยาธิ บาดแผล

๙) พิ กดั เกสรทัง้ ๕ คือ จํากัดจํานวนเกสรดอกไม้ ๕ อย่าง คือ


ดอกมะลิ
ดอกพิกุล
ดอกบุนนาค
ดอกสารภี
เกสรบัวหลวง
สรรพคุณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า ชูกาํ ลังบํารุงหัวใจ แก้ไข้จบั แก้ลมวิงเวียน
แก้น้ําดี ให้เจริญอาหารและแก้โรคตา

๑๐) พิ กดั ตานทัง้ ๕ คือ จัดจํานวนของรากตาล ๕ อย่าง คือ


รากตาลโตนด
รากตาลดํา
รากตานหม่อน
รากตานเสีย้ น
รากตานขโมย
สรรพคุณดับพิษตานซาง ขับพยาธิทุกชนิด แก้อุจจาระธาตุพกิ าร บํารุงเนื้อหนัง กระดูก
175

๑๑) พิ กดั ดีทงั ้ ๕ คือ จํากัดจํานวนดีสตั ว์ทงั ้ ๕ อย่าง คือ


ดีงเู หลือม
ดีหมูปา่
ดีววั ปา่
ดีจระเข้
ดีตะพาบนํ้า
สรรพคุณ ดีต่างๆ มีรสขมหวาน ขับรสยาให้แล่นเร็ว มักใช้เป็นนํ้ากระสายแก้โรคทัง้
๓ สมุฏฐาน คือ ดี โลหิต และธาตุลมทีพ่ กิ าร

๑๒) พิ กดั เหล็กทัง้ ๕ คือ จํากัดจํานวนตัวยาทีม่ ชี ่อื ว่าเหล็ก ๕ อย่าง คือ


ต้นหญ้ามือเหล็ก
แก่นขีเ้ หล็ก
เถาวัลย์เหล็ก
ว่านสากเหล็ก
สนิมเหล็ก
สรพพคุณ แก้พษิ โลหิตทัง้ บุรุษและสตรี บํารุงกําลังให้แข็งแรง แก้กระษัย

๑๓) พิ กดั เกลือทัง้ ๕ คือ จํากัดจํานวนของเลือ ๕ อย่าง คือ


เกลือสมุทร
เกลือสินเธาว์
เกลือพิก
เกลือวิก
เกลือฟอง (ฝอ่ )
สรรพคุณ แก้ไข้พรรดึก แก้ทอ้ งมาน แก้เสมหะ แก้บดิ มูกเลือด บํารุง
นํ้าเหลือง ชําระเมือกมันในลําไส้

๑๔) พิ กดั บัวทัง้ ๕ (บัวนํ้าทัง้ ๕ ) คือ จํากัดจํานวนดอกบัว ๕ อย่าง คือ


บัวสัตตบุษย์
บัวสัตตบรรณ
บัวลินจง
176

บัวจงกลนี
บัวนิลอุบล
สรรพคุณ ชูกาํ ลัง บํารุงหัวใจ แก้อุจจาระธาตุ แก้ไข้เพื่อลมและโลหิต แก้ไข้
รากสาด บํารุงครรภ์รกั ษา

๑๕) พิ กดั โหราทัง้ ๕ คือ จํากัดจํานวนตัวยา ชื่อว่าโหรา ๕ อย่าง คือ


โหราอมฤต
โหรามิคสิงคลี
โหราเท้าสุนขั
โหราบอน
โหราเดือยไก่
สรรพคุณ แก้พษิ สัตว์ ทําให้อาเจียน ขับลม ขับระดูสตรี และขับโลหิตช้าๆ

๑๖) พิ กดั เบญจโลหะ คือ จํากัดจํานวนตัวยาทีม่ ชี ่อื คล้ายโลหะทอง ๕ อย่าง คือ


รากทองกวาว
รากทองหลางหนาม
รากทองหลางใบมน
รากทองโหลง
รากทองพันชั ่ง
สรรพคุณ แก้โรคดี เสมหะ และลมทีเ่ ป็นพิษ แก้รดิ สีดวง ทําลายพยาธิ

๑๗) พิ กดั เบญจเทียน คือ จํากัดจํานวนตัวยาทีม่ ชี ่อื ว่าเทียน ๕ อย่าง คือ


เทียนดํา
เทียนแดง
เทียนขาว
เทียนข้าวเปลือก
เทียนตาตั ๊กแตน
สรรพคุณ แก้ลม เสมหะ และดีระคนกัน แก้พษิ โลหิต แก้ทางปสั สาวะ แก้นิ่ว
แก้มุตกิด บํารุงธาตุ บํารุงกําลัง
177

๑๘) พิ กดั เบญจโกฐ คือ จํากัดจํานวนตัวยาทีม่ ชี ่อื ว่าโกฐ ๕ อย่าง คือ


โกฐสอ
โกฐเขมา
โกฐหัวบัว
โกฐเชียง
โกฐจุฬาลัมพา
สรรพคุณ แก้ไข้จบั แก้ไข้เพื่อเสมหะ หีดไอ แก้โรคปอด แก้โรคในปาก ชู
กําลัง บํารุงโลหิด แก้ลมในกองธาตุ

๒.๕ พิ กดั ยา ๗ สิ่ ง


๑) พิ กดั สัตตะเขา คือ กําหนดจํานวนเขาสัตว์ ๗ อย่าง คือ
เขาวัว
เขาควาย
เขากระทิง
เขากวาง
เขาแพะ
เขาแกะ
เขาเลียงผา
สรรพคุณ ดับพิษ ถอนพิษ ถอนพิษผิดสําแดง แก้พษิ ไข้รอ้ น ไข้พษิ ไข้กาฬ

๒) พิ กดั สัตตะปะระเหมะ คือ จํากัดจํานวนตัวยาแก้เมือกมัน เสมหะมี


ลิน่ ๗ก อย่าง คือ
ต้นตําแยตัวผู้
ต้นตําแยตัวเมีย
ต้นก้นปิด
ลูกกระวาน
โกฐกระดูก
ลูกรักเทศ
ตรีผลาวะสัง
178

สรรพคุณ ชําระมลทินโทษให้ตก แก้อุจจาระธาตุลามก ชําระเมือกมันใน


ลําไส้ แก้ปะระเมหะ ๒๐ ประการ

๓) พิ กดั สัตตะโลหะ คือ จํากัดจํานวนตัวยาทีม่ ชี ่อื เป็นทอง ๗ อย่าง คือ


รากทองกวาว
รากทองหลางหนาม
รากทองหลางใบมน
รากทองโหลง
รากทองพันชั ่ง
รากฟกั ทอง
รากต้นใบทอง
สรรพคุณ แก้โรคดี เสมหะ และลมทีเ่ ป็นพิษ แก้รดิ สีดวง ทําลายพยาธิ

๔) พิ กดั สัตตะโกฐ คือ จํากัดจํานวนตัวยาทีม่ ชี ่อื ว่าโกฐ ๗ อย่าง คือ


โกฐสอ
โกฐเขมา
โกฐหัวบัว
โกฐเชียง
โกฐจุฬาลัมพา
โกฐก้านพร้าว
โกฐกระดูก
สรรพคุณ แก้ไข้จบั แก้ไข้เพื่อเสมะ หืดไอ แก้โรคปอด แก้โรคในปาก ชูกาํ ลัง
บํารุงโลหิต แก้ลมในกองธาตุ แก้ไข้เรือ้ รัง แก้หอบสะอึก

๕) พิ กดั สัตตะเทียน คือ จํากัดจํานวนตัวทีช่ ่อื ว่าเทียน ๗ อย่าง


เทียนดํา
เทียนแดง
เทียนขาว
เทียนข้าวเปลือก
179

เทียนตาตั ๊กแตน
เทียนสัตตบุษย์
เทียนเยาวพาณี
สรรพคุณ แก้ลม เสมหะและดีระคนกัน แก้พษิ โลหิต แก้ทางปสั สาวะ แก้นิ่ว
แก้มุตกิด บํารุงธาตุ บํารุงกําลัง แก้ลมในท้อง แก้พรรดึก แก้ลมครรภ์รกั ษา

๖) พิ กดั เกสรทัง้ ๗ คือ จํากัดจํานวนเกสรดอกไม้ ๗ อย่าง คือ


ดอกมะลิ
ดอกพิกุล
ดอกบุนนาค
ดอกสารภี
ดอกบัวหลวง
ดอกจําปา
ดอกกระดังงา
สรรพคุณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า ชูกาํ ลัง บํารุงหัวใจ แก้ไข้จบั แก้ลม
วิงเวียน ให้เจริญอาหารแก้โรคตา แก้ไข้เพื่อเสมหะและโลหิต แก้ไข้เพื่อปถวีธาตุ แก้น้ําดี

๒.๖ พิ กดั ยา ๙ สิ่ ง


๑) พิ กดั เนาวหอย คือ จํากัดจํานวนหอย ๙ อย่าง คือ
เปลือกหอยกาบ
เปลือกหอยขม
เปลือกหอยแครง
เปลือกหอยนางรม
เปลือกหอยพิมพการัง
เปลือกหอยตาวัว
เปลือกหอยจุ๊บแจง
เปลือกหอยมุก
เลือกหอยสังข์
สรรพคุณ ขับลมในลําไส้ และล้างลําไส้ แก้โรคกระษัย แก้ไตพิการ ขับนิ่ว
ขับปสั สาวะ บํารุงกระดูก
180

๒) พิ กดั เนาวเขี้ยว คือ จํากัดจํานวนเขีย้ วสัตว์ ๙ อย่าง คือ


เขีย้ วหมูปา่
เขีย้ วหมาปา่
เขีย้ วหมี
เขีย้ วเสือ
เขีย้ วช้าง (งาช้าง)
เขีย้ วแรด
เขีย้ วเลียงผา
เขีย้ วจระเข้ไข้กาฬ
เขีย้ วปลาพะยูน
สรรพคุณ รสจืด คาวเย็น ใช้ดบั พิษในกระดูก ในข้อในเส้นเอ็น รวมถึง
การบวมภายนอก แก้พษิ ร้อน ถอนพิษไข้ ดับพิษ แก้ไข้พษิ ไข้กาฬตักศิลา

๓) พิ กดั เกสรทัง้ ๙ คือ จํากัดจํานวนของเกสรดอกไม้ ๙ อย่าง คือ


ดอกมะลิ
ดอกพิกุล
ดอกบุนนาค
ดอกสารภี
เกสรบัวหลวง
ดอกจําปา
ดอกกระดังงา
ดอกลําเจียก
ดอกลําดวน
สรรพคุณ แก้รอ้ นในกระหายนํ้า แก้ไข้จบั แก้ไข้เพื่อลม แก้ไข้เพื่อปถวีธาตุ
ให้เจริญอาหาร แก้โรคตา
181

๔) พิ กดั เนาวโกฐ คือ จํากัดจํานวนตัวยาทีม่ ชี ่อื ว่าโกฐ ๙ อย่าง


โกฐสอ
โกฐเขมา
โกฐหัวบัว
โกฐเชียง
โกฐจุฬาลัมพา
โกฐก้านพร้าว
โกฐกระดูก
โกฐพุงปลา
โกฐชฎามังสี
สรรพคุณ แก้ไข้จบั แก้ไข้เพื่อเสมหะ หืดไอ แก้โรคปอด แก้โรคในปาก
ชูกาํ ลังบํารุง โลหิต แก้ลมในกองธาตุ แก้ไข้เรือ้ รัง แก้หอบสะอึก

๕) พิ กดั เนาวเทียน คือ จํากัดจํานวนตัวทีช่ ่อื ว่าเทียน ๙ อย่าง คือ


เทียนดํา
เทียนแดง
เทียนขาว
เทียนข้าวเปลือก
เทียนตาตั ๊กแตน
เทียนสัตตบุษย์
เทียนเยาวพาณี
เทียนตากบ
เทียนเกล็ดหอย
สรรพคุณ แก้ลม เสมหะแบะดีระคนกัน แก้พษิ โลหิต แก้ทางปสั สาวะ
แก้นิ่ว แก้มุตกิด บํารุงธาตุ บํารุงกําลัง แก้ลมในท้อง แก้พรรดึก แก้ลมครรภ์รกั ษา

๖) พิ กดั เนาวโลหะ คือ จํากัดจํานวนตัวยามีช่อื เป็นทอง ๙ อย่าง คือ


รากทองกวาว
รากทองหลางหนาม
รากทองหลางใบมน
182

รากทองโหลง
รากทองพันชั ่ง
เนื้อไม้ขนั ทองพยาบาท
รากต้นใบทอง
รากต้นทองเครือ
รากจําปาทอง
สรรพคุณ แก้โรคดี เสมหะและลมทีเ่ ป็นพิษ แก้รดิ สีดวง ทําลายพยาธิ

๒.๗ พิ กดั ยา ๑๐ สิ่ ง


๑) พิ กดั ทศกุลาผล คือ กําหนดจํานวนยาเป็นตระกูล ๑๐ อย่าง คือ
ลูกผักชีทงั ้ ๒ (ผักชีลอ้ ม – ผักชีลา)
ลูกเร่วทัง้ ๒ (เร่วน้อย – เร่วใหญ่)
ชะเอมทัง้ ๒ (ชะเอมไทย – ชะเอมเทศ)
ลําพันทัง้ ๒ (ลําพันแดง – ลําพันขาว)
อบเชยทัง้ ๒ (อบเชยไทย – อบเชยเทศ)
สรรพคุณ แก้ไข้เพื่อดีและเสหะ ขับลมในลําไส้ บํารุงธาตุ บํารุงปอด แก้รตั ตะ
ปิตตะโรค แก้ลมอัมพฤกษ์อมั พาต บํารุงกําลัง แก้ไข้ บํารุงดวงจิตให้ชุ่มชื่น

๒) พิ กดั ทศมูลใหญ่ คือ กําหนดจํานวนรากไม้ ๑๐ อย่าง คือ


(รวมเบญจมูลน้อย และเบญจมูลใหญ่เข้าด้วยกัน)
หญ้าเกล็ดหอยน้อย
หญ้าเกล็ดหอยใหญ่
รากละหุ่งแดง
รากมะเขือขืน่
รากมะอึก
รากมะตูม
รากลําไย
รากเพกา
รากแคแตร
รากคัดลิน้
183

สรรพคุณ แก้ทุราวสา แก้ไข้หวัดน้อย บํารุงนํ้านม แก้ช้าํ รั ่ว แก้สะอึก แก้ผอม


เหลือง แก้รดิ สีดวง แก้นิ่ว แก้กองสันนิบาต แก้ไข้อนั มีพษิ

๒.๘ พิ กดั พิ เศษ


๑) พิ กดั โกฐพิ เศษ คือ กําหนดจํานวนโกฐพิเศษ ๓ อย่าง คือ
โกฐกะกลิง้
โกฐกักกรา
โกฐนํ้าเต้า
สรรพคุณ แก้โรคในปากในคอ ขับพยาธิ แก้พษิ สัตว์กดั ต่อย แก้ไข้ในกอง
อติสาร ขับลมในลําไส้ แก้หนองใน ขับระดูรา้ ย แก้รดิ สีดวงทวาร

๒) พิ กดั เที ยนพิ เศษ คือ กําหนดจํานวนเทียนพิเศษ ๓ อย่าง คือ


เทียนลวด หรือ เทียนหลอด
เทียนขม
เทียนแกลบ
สรรพคุณ แก้ลม เสมกะดีละคนกัน แก้พษิ โลหิต แก้ดพี กิ าร แก้ลมขึน้
เบือ้ งสูง ทําให้หอู อ้ื ตาลาย แก้ไข้ แก้ครั ่นเนื้อครั ่นตัว แก้ลม

๓) พิ กดั บัวพิ เศษ คือ จํากัดจํานวนดอกบัวพิเศษ ๖ อย่าง คือ


บัวหลวงแดง
บัวหลวงขาว
บัวสัตตบงกชแดง
บัวสัตตบงกชขาว
บัวเผื่อน
บัวขม
สรรพคุณ แก้ไข้อนั เกิดแก่ธาตุทงั ้ ๔ แก้ลม เสมหะ โลหิต และบํารุงกําลัง
๔) พิ กดั เกลือพิ เศษ คือ จํากัดจํานวนเกลือพิเศษ ๗ อย่าง คือ
เกลือสมุทร
เกลือสุนจะละ
184

เกลือสุวสา
เกลือเยาวกาษา
เกลือวิธู
เกลือด่างคลี
เกลือกะตังมูตร
สรรพคุณ ล้างลําไส้ แก้เสมหะ แก้ปสั สาวะ แก้โรคท้องมาน กัดเมือกมันใน
ลําไส้ แก้น้ําเหลืองเสีย บํารุงธาตุทงั ้ ๔ และแก้ธาตุทงั ้ ๔

๓. มหาพิ กดั
มหาพิกดั หรือมหาพิกดั ยา คือ พิกดั ใหญ่กว่าพิกดั ธรรมดา โดยเอาตัวยาหลายสิง่ หลายอย่าง
มารวมกันเข้าเรียกชื่อเดียวกัน แต่น้ําหนักของตัวยาในมหาพิกดั หนักสิง่ ละไม่เท่ากันหนักมากบ้าง
หนักน้อยบ้าง ซึง่ สงเคราะห์ไว้แก้ในกองธาตุ กําเริบ หย่อน พิการ รือแก้ในลักษณะโรคแทรก
โรคตาม แต่กอ็ ยูใ่ นขอบเขตทีก่ าํ หนดไว้ แบ่งมหาพิกดั ได้ดงั นี้

๓.๑ มหาพิ กดั ตรี (ยา ๓ สิ่ ง)


๓.๑.๑ มหทพิ กดั ตรีผลา ตรีผลาเป็นพิกดั ยาในคิมหันตฤดู (ฤดูรอ้ น) ถ้าจะใช้แก้ใน
สมุฏฐานต่างๆ จะใช้ส่วนของตัวยาในพิกดั แตกต่างกัน ดังนี้

๑) มหาพิ กดั ตรีผลา ถ้าจะแก้เสมหะสมุฏฐาน มีส่วนและตัวยาดังนี้


ลูกสมอภิเภก ๘ ส่วน (ปิตตะ)
ลูกสมอไทย ๔ ส่วน (วาตะ)
ลูกมะขามป้อม ๑๒ ส่วน (เสมหะ)

๒) มหาพิ กดั ตรีผลา ถ้าจะแก้ปิตตะสมุฏฐาน มีส่วนและตัวยาดังนี้


ลูกสมอภิเภก ๑๒ ส่วน (ปิตต)
ลูกสมอไทย ๘ ส่วน (วาตะ)
ลูกมะขามป้อม ๔ ส่วน (เสมหะ)
185

๓) มหาพิ กดั ตรีผลา ถ้าจะแก้วาตะสมุฏฐาน มีส่วและตัวยาดังนี้


ลูกสมอภิเภก ๔ ส่วน (ปิตต)
ลูกสมอไทย ๑๒ ส่วน (วาตะ)
ลูกมะขามป้อม ๘ ส่วน (เสมหะ)

๓.๑.๒ มหาพิ กดั ตรีกฏุก ตรีกฏุกเป็นพิกดั ยาในวสันตฤดู (ฤดูฝน) ถ้าจะใช้


แก้สมุฏฐานต่างๆ จะใช้ส่วนของตัวยาในพิกดั แตกต่างกัน ดังนี้
๑) มหาพิ กดั ตรีกฏูก ถ้าจะแก้เสมะหะสมุฏฐาน มีส่วนและตัวยาดังนี้
เหง้าขิงแห้ง ๘ ส่วน (ปิตตะ)
เมล็ดพริกไทย ๔ ส่วน (วาตะ)
ดอกดีปลี ๑๒ ส่วน (เสมหะ)

๒) มหาพิ กดั ตรีกฏุก ถ้าจะแก้ปิตตะสมุฏฐาน มีส่วนและตัวยาดังนี้


เหง้าขิงแห้ง ๑๒ ส่วน (ปิตตะ)
เมล็ดพริกไทย ๘ ส่วน (วาตะ)
ดอกดีปลี ๔ ส่วน (เสมหะ)

๓) มหาพิ กดั ตรกฏุก ถ้าจะแก้วาตะสมุฏฐาน มีส่วนและตัวยาดังนี้


เหงิง้ แห้ง ๔ ส่วน (ปิตตะ)
เมล็ดพริกไทย ๑๒ ส่วน (วาตะ)
ดอกดีปลี ๘ ส่วน (เสมหะ)

๓.๑.๓ มหาพิ กดั ตรีสาร ตรีสารเป็นพิกดั ยาในเหมันตฤดู (ฤดูหนาว) ถ้าจะใช้แก้


ในสมุฏฐานต่างๆ จะใช้ส่วนของตัวยาในพิกดั แตกต่างกัน ดังนี้

๑) มหาพิ กดั ตรีสาร ถ้าจะแก้เสมหะสมุฎฐาน มีส่วนและตัวยาดังนี้


รากเจตมูลเพลิง ๘ ส่วน (ปิตตะ)
เถาสะค้าน ๔ ส่วน (วาตะ)
รากช้าพลู ๑๒ ส่วน (เสมหะ)
186

๒) มหาพกัดตรีสาร ถ้าจะแก้ปิตตะสมุฏฐาน มีส่วนและตัวยาดังนี้


รากเจตมูลเพลิง ๑๒ ส่วน (ปิตตะ)
เถาสะค้าน ๘ ส่วน (วาตะ)
รากช้าพลู ๔ ส่วน (เสมหะ)

๓) มหาพิ กดั ตรีสาร ถ้าจะแก้วาตะสมุฏฐาน มีส่วนและตัวยาดังนี้


รากเจตมูลเพลิง ๔ ส่วน (ปิตตะ)
เถาสะค้าน ๑๒ ส่วน (วาตะ)
รากช้าพลู ๘ ส่วน (เสมหะ)

๓.๒ มหาพิ กดั เบญจ (ยา ๕ สิ่ ง)


๑) มหาพิกดั เบญจกูล
๒) อภิญญาณเบญจกูล
๓) ทศเบญจกูล
๔) โสฬสเบญจกูล
๕) ทศเบญขันธ์

๓.๒.๑ มหาพิ กดั เบญจกูล มีส่วนตัวยาดังนี้


รากเจตมูลเพลิง ๔ ส่วน
เถาสะค้าน ๖ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง ๑๐ ส่วน
รากช้าพลู ๑๒ ส่วน
ดอกดีปลี ๒๐ ส่วน
สรรพคุณ แก่ธาตุทงั ้ ปวงให้บริบรู ณ์
187

๓.๒.๒ อภิ ญญาณเบญจกูล มีส่วนตัวยาดังนี้


ใบ ดอก ราก เจตมูลเพลิง สิง่ ละ ๔ ส่วน
ใบ ดอก ราก สะค้าน สิง่ ละ ๖ ส่วน
ใบ ดอก ราก ขิงแห้ง สิง่ ละ ๑๐ ส่วน
ใบ ดอก ราก ช้าพลู สิง่ ละ ๑๒ ส่วน
ใบ ดอก ราก ดีปลี สิง่ ละ ๒๐ ส่วน
สรรพคุณ แก้ในกองอภิญญาณธาตุ คือ ธาตุสาํ แดงให้รดู้ ุจผีสงิ

๓.๒.๓ ทศเบญจกูล มีส่วนตัวยาดังนี้


ดอกดีปลี ๑๐ ส่วน
เถาสะค้าน ๑๐ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง ๑๐ ส่วน
รากช้าพลู ๑๐ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง ๑๐ ส่วน
สรรพคุณ แก้ในกองธาตุทงั ้ ปวงและสงเคราะห์ไปแก้ในโรคสตรี

๓.๒.๔ โสฬสเบญจกูล สรรพคุณ แก้ในกองธาตุทงั ้ ๔ และอากาศธาตุ


๑) โสฬสเบญจกูล ถ้าจะแก้ในกองปถวีธาตุ มีส่วนและตัวยาดังนี้
ดอกดีปลี ๑๖ ส่วน
รากช้าพลู ๘ ส่วน
เถาสะค้าน ๖ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง ๔ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง ๒ ส่วน

๒) โสฬสเบญจกูล ถ้าจะแก้กองอาโปธาตุ มีส่วนและตัวยาดังนี้


ดอกดีปลี ๑๖ ส่วน
รากช้าพลู ๘ ส่วน
เถาสะค้าน ๖ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง ๔ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง ๒ ส่วน
188

๓) โสฬสเบญจกูล ถ้าจะแก้ในกองวาโยธาตุ มีส่วนและตัวยาดังนี้


ดอกดีปลี ๑๖ ส่วน
รากช้าพลู ๘ ส่วน
เถาสะค้าน ๖ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง ๔ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง ๒ ส่วน

๔) โสฬสเบญจกูล ถ้าจะแก้ในกองเตโชธาตุ มีส่วนและตัวยาดังนี้


ดอกดีปลี ๑๖ ส่วน
รากช้าพลู ๘ ส่วน
เถาสะค้าน ๖ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง ๔ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง ๒ ส่วน

๕) โสฬสเบญจกูล ถ้าจะแก้ในกองอากาศธาตุ มีส่วนและตัวยาดังนี้


ดอกดีปลี ๑๖ ส่วน
รากช้าพลู ๘ ส่วน
เถาสะค้าน ๖ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง ๔ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง ๒ ส่วน

รวมกันได้ ๓๖ ส่วนโดยพิกดั แก้ในกองธาตุสมุฏฐาน ขอให้พจิ ารณาดูวา่ โรค


จะอยูใ่ นสมุฏฐานใด แก้ดว้ ยโสฬสเบญจกูลพิกดั ใด จึงจะเหมาะแก่การบําบัดโรคนัน้
189

๓.๒.๕ ทศเบจขันธ์ แก้ในกองอสุรนิ ธัญญาณธาตุ คือ ธาตุสาํ แดงให้รดู้ ุจผีสงิ


ให้ระสํ่าระสายอยูใ่ นสมุฏฐานใด แก้ดว้ ยโสฬสเบญจกูลพิกดั ใด จึงจะเหมาะแก่การบําบัดโรคนัน้

๑) ทศเบญจขันธ์ ถ้าจะแก้ในกองปถวีธาตุ มีส่วนและตัวยาดังนี้


ดอกดีปลี ๕ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง ๔ ส่วน
เถาสะค้าน ๓ ส่วน
รากช้าพลู ๒ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง ๑ ส่วน

๒) ทศเบญจขันธ์ ถ้าจะแก้ในกองเตโชธาตุ มีส่วนและตัวยาดังนี้


รากเจตมูลเพลิง ๕ ส่วน
เถาสะค้าน ๔ ส่วน
รากช้าพลู ๓ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง ๒ ส่วน
ดอกดีปลี ๑ ส่วน

๓) ทศเบญจขันธ์ ถ้าจะแก้ในกองวาโยธาตุ มีส่วนและตัวยาดังนี้


เถาสะค้าน ๕ ส่วน
รากช้าพลู ๔ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง ๓ ส่วน
ดอกดีปลี ๒ ส่วน
เจตมูลเพลิง ๑ ส่วน

๔) ทศเบญจขันธ์ ถ้าจะแก้ในกองอาโปธาตุ มีส่วนและตัวยาดังนี้


รากช้าพลู ๕ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง ๔ ส่วน
ดอกดีปลี ๓ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง ๒ ส่วน
เถาสะค้าน ๑ ส่วน
190

๕) ทศเบญจขันธ์ ถ้าจะแก้ในกองอากาศธาตุ มีส่วนและตัวยาดังนี้


เหง้าขิงแห้ง ๕ ส่วน
ดอกดีปลี ๔ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง ๓ ส่วน
เถาสะค้าน ๒ ส่วน
รากช้าพลู ๑ ส่วน
รวมกันได้ ๑๕ ส่วน โดยพิกดั แก้ในกองอสุรนิ ธัญญาณธาตุ

่ (ยา ๖ สิ่ ง)
๓.๓ มหาพิ กดั ทัวไป
มหาพิกดั ทั ่วไป คือ พิกดั ทีก่ าํ หนดเอาตัวยา ๖ สิง่ ใช้สาํ หรับแก้ธาตุกาํ เริบหย่อนพิการโดย
กําหนดตัวยาเป็น ๑๖, ๘, ๔, ๓, ๒ และ ๑ ตามลําดับ ในทางธาตุจะมีตวั ยาระคน (เจือปน) โดย
กําหนดนํ้าหนักตัวยานี้ใช้ท ั ่วไปในธาตุทงั ้ ๔ กอง โดยนําตัวยาในพิกดั ตรีผลา ตรีสาร ตรีกฏุกรวม
กับตัวยาประจําธาตุจะเป็น ๖ ตัวยา มหาพิกดั ทั ่วไปจึงใช้แก้กองธาตุทงั ้ ๔ แบ่งออกได้เป็น ๔ กอง
ได้แก่
๑) แก้เตโชธาตุกาํ เริบ หย่อนพิการ
๒) แก้วาโยธาตุกาํ เริบ หย่อนพิการ
๓) แก้อาโปธาตุกาํ เริบ หย่อนพิการ
๔) แก้ปถวีธาตุกาํ เริบ หย่อนพิการ

๓.๓.๑ พิ กดั กองเตโชธาตุกาํ เริบ ประจําสมุฏฐานอัคคี (ธาตุไฟ ๔ กอง)


๑) แก้เตโชธาตุกาํ เริบ มีส่วนตัวยาดังนี้
ลูกสมอพิเภก หนัก ๑๖ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง หนัก ๘ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง หนัก ๔ ส่วน
รากช้าพลู หนัก ๓ ส่วน
ดอกดีปลี หนัก ๒ ส่วน
เถาสะค้าน หนัก ๑ ส่วน
191

๒) แก้เตโชธาตุหย่อน มีตวั ยาดังนี้


รากเจตมูลเพลิง หนัก ๑๖ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง หนัก ๘ ส่วน
ลูกสมอพิเภก หนัก ๔ ส่วน
เถาสะค้าน หนัก ๓ ส่วน
รากช้าพลู หนัก ๒ ส่วน
ดอกดีปลี หนัก ๑ ส่วน

๓) แก้เตโชธาตุพิการ มีตวั ยาดังนี้


เหง้าขิงแห้ง หนัก ๑๖ ส่วน
ลูกสมอพิเภก หนัก ๘ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง หนัก ๔ ส่วน
ดอกดีปลี หนัก ๓ ส่วน
เถาสะค้าน หนัก ๒ ส่วน
รากช้าพลู หนัก ๑ ส่วน

๓.๓.๒ พิ กดั กองวาโยธาตุ ประจําสมุฏฐานวาตะ (ธาตุลม ๖ กอง)


๑) แก้วาโยธาตุกาํ เริบ มีตวั ยาดังนี้
ลูกสมอไทย หนัก ๑๖ ส่วน
เถาสะค้าน หนัก ๘ ส่วน
เมล็ดพริกไทย หนัก ๔ ส่วน
ดอกดีปลี หนัก ๓ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง หนัก ๒ ส่วน
รากช้าพลู หนัก ๑ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง หนัก ๑/๒ ส่วน (ใช้ระคนกัน)
192

๒) แก้วาโยธาตุหย่อน มีตวั ยาดังนี้


เถาสะค้าน หนัก ๑๖ ส่วน
เมล็ดพริกไทย หนัก ๘ ส่วน
ลูกสมอไทย หนัก ๔ ส่วน
รากช้าพลู หนัก ๓ ส่วน
ดอกดีปลี หนัก ๒ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง หนัก ๑ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง หนัก ๑/๒ ส่วน

๓) แก้วาโยธาตุพิการ มีตวั ยาดังนี้


เมล็ดพริกไทย หนัก ๑๖ ส่วน
ลูกสมอไทย หนัก ๘ ส่วน
เถาสะค้าน หนัก ๔ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง หนัก ๓ ส่วน
รากช้าพลู หนัก ๒ ส่วน
ดอกดีปลี หนัก ๑ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง หนัก ๑/๒ ส่วน (ใช้ระคนกัน)

๓.๓.๓ พิ กดั กองอาโปธาตุ ประจําสมุฏฐานอาโป (ธาตุน้ํา ๑๒ กอง)


๑) แก้อาโปธาตุกาํ เริ บ มีตวั ยาดังนี้
ลูกมะขามป้อม หนัก ๑๖ ส่วน
รากช้าพลู หนัก ๘ ส่วน
ดอกดีปลี หนัก ๔ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง หนัก ๓ ส่วน
เถาสะค้าน หนัก ๒ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง หนัก ๑ ส่วน
เมล็ดพริกไทย หนัก ๑/๒ ส่วน (ใช้ระคนกัน)
193

๒) แก้อาธาตุหย่อน มีตวั ยาดังนี้


รากช้าพลู หนัก ๑๖ ส่วน
ดอกดีปลี หนัก ๘ ส่วน
ลูกมะขามป้อม หนัก ๔ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง หนัก ๓ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง หนัก ๒ ส่วน
เถาสะค้าน หนัก ๑ ส่วน
เมล็ดพริกไทย หนัก ๑/๒ ส่วน (ใช้ระคนกัน)

๓) แก้อาโปธาตุพิการ มีตวั ยามีดงั นี้


ดอกดีปลี หนัก ๑๖ ส่วน
ลูกมะขามป้อม หนัก ๘ ส่วน
รากช้าพลู หนัก ๔ ส่วน
เถาสะค้าน หนัก ๓ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง หนัก ๒ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง หนัก ๑ ส่วน
เมล็ดพริกไทย หนัก ๑/๒ ส่วน (ใช้ระคนกัน)

๓.๓.๔ พิ กดั กองปถวีธาตุ ประจําสมุฏฐานปถวี (ธาตุ ๒๐ กอง)


๑) แก้ปถวีธาตุกาํ เริบ มีตวั ยาดังนี้
รากช้าพลู หนัก ๑๖ ส่วน
ดอกดีปลี หนัก ๘ ส่วน
เถาสะค้าน หนัก ๔ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง หนัก ๓ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง หนัก ๒ ส่วน
เมล็ดพริกไทย หนัก ๑ ส่วน
ลูกสมอพิเภก หนัก ๑/๒ ส่วน
ลูกสมอไทย หนัก ๑/๒ ส่วน มหาพิกดั ตรีผลา
ลูกมะขามป้อม หนัก ๑/๒ ส่วน (ใช้ระคนกัน)
194

๒) แก้ปถวีธาตุหย่อน มีตวั ยาดังนี้


ดอกดีปลี หนัก ๑๖ ส่วน
เถาสะค้าน หนัก ๘ ส่วน
รากช้าพลู หนัก ๔ ส่วน
เมล็ดพริกไทย หนัก ๓ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง หนัก ๒ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง หนัก ๑ ส่วน
ลูกสมอพิเภก หนัก ๑/๒ ส่วน
ลูกสมอไทย หนัก ๑/๒ ส่วน มหาพิกดั ตรีผลา
ลูกมะขามป้อม หนัก ๑/๒ ส่วน (ใช้ระคนกัน)

๓) แก้ปถีธาตุพิการ มีตวั ยาดังนี้


เถาสะค้าน หนัก ๑๖ ส่วน
รากช้าพลู หนัก ๘ ส่วน
ดอกดีปลี หนัก ๔ ส่วน
เหง้าขิงแห้ง หนัก ๓ ส่วน
เมล็ดพริกไทย หนัก ๒ ส่วน
รากเจตมูลเพลิง หนัก ๑ ส่วน
ลูกสมอพิเภก หนัก ๑/๒ ส่วน
ลูกสมอไทย หนัก ๑/๒ ส่วน มหาพิกดั ตรีผลา
ลูกมะขามป้อม หนัก ๑/๒ ส่วน (ใช้ระคนกัน)
195

แผนภูมิที่ ๔ สรุปความสัมพันธ์ของหัวข้อเนื้ อหาในบทที่ ๔


คณาเภสัช
รู้จกั พิ กดั ยา

จุลพิกดั พิกดั มหาพิกดั

คือตัวยาน้อยต่าง ๆ กันที่ ๑. พิกดั ยา ๒ สิง่ ๑. มหาพิกดั ตรี


๑. ขนาดของตัวยา ๒. พิกดั ยา ๓ สิง่ ๒. มหาพิกดั เบญจ
๒. สีของตัวยา ๓. พิกดั ยา ๔ สิง่ ๓. มหาพิกดั ทั ่วไป
๓. รสของตัวยา ๔. พิกดั ยา ๕ สิง่
๔. ชนิดของตัวยา (เพศผู้ – เพศเมีย) ๕. พิกดั ยา ๗ สิง่
๕. ถิน่ ทีเ่ กิด ๖. พิกดั ยา ๙ สิง่
๗. พิกดั ยา ๑๐ สิง่
๘. พิกดั ยาพิเศษ
196

บทที่ ๕
เภสัชกรรม

เภสัชกรรม คือ รูจ้ กั การปรุ


งยา ผสมเครื่องยาหรือตัวยาตามทีก่ าํ หนดในตํารับยา หรือตามใบสั ่งยา

๑. วิ ธีปรุงยา
การปรุงยาตามตําราแพทย์แผนโบราณ คงจะเข้าใจดีวา่ การปรุงยาก็หมายถึงกราผสม
การผสมนี้กต็ อ้ งใช้วตั ถุต่างๆตามความต้องการของแพทย์และเภสัชกรเพื่อนําเอามาแปรสภาพให้เป็น
ยารักษาและป้องกันโรคทีเ่ กิดขึน้ ให้มสี รรพคุณแรงพอทีจ่ ะบําบัดโรคได้ เภสัชกรก็คอื เป็นผูท้ ร่ี อบรู้
มนวิชาเภสัชกรรมได้ดี รูซ้ ง้ึ ถึงวัตถุต่างๆว่ามีรปู ร่างลักษณะมีฤทธิ ์ทีจ่ ะแก้โรคได้อย่างไรและเป็น
ผูแ้ ปรสภาพวัตถุต่างๆ ให้กลายเป็นยารักษาโรคได้
การปรุงยา เภสัชกรต้องมึวา มเข้าใจต่อตัวยา การประสมประสานตัวยานัน้ มีความหมาย
อย่าไร หรือตัวยาจะมีความสัมพันธ์กนั หรือมีฤทธิ ์ต่อต้านกัน หรือจะเสริมฤทธิ ์ ทําให้มอี าการ
ข้างเคียงเกิดขึน้ ในเมื่อใช้ต่อผูป้ ว่ ย หรือไม่มฤี ทธิ ์พอจะทําลายโรคได้
ตัวยาหรือวัตถุต่างๆ ย่อมมีสรพคุณปรากฏอยูใ่ นตัวแล้วก็ตาม แต่หากจะนํามาใช้ทาํ ยา
ตัวยาสิง่ เดียวย่อมไม่มสี รรพคุณแรงพอทีจ่ ะใช้รกั ษาโรคได้ เพราะมีกากเจือปนมาก ทัง้ ยังไม่เรียกว่า
เป็นยา คงเป็นวัตถุสงิ่ หนึ่ง เป็นเครื่องประกอบยา เรียกว่าเครื่องยา หรือตัวยาเท่านัน้ ท่าคณาจารย์
แพทย์ทงั ้ หลายเป็นผูช้ าํ นาญการ จึงได้รวบรวมตัวยาหลายสิง่ หลายอย่างนับตุง้ แต่สองสิง่ ขึน้ ไป ผสม
รวมกันเข้าจึงเรียกว่า ปรุง ผลผลิตจาการปรุง จึงได้ช่อื ว่ายาสําหรับบําบัดและรักษาโรคทีเ่ กิดขึน้ ได้
สมมุตวิ า่ ท่านจะเอากระเพราะ (ตัวยา) แต่อย่างเดียวมาต้มกับนํ้าหรือละลายนํ้า ก็ไม่เรียกว่ายา ถ้าจะ
ให้เรียกใกล้เคียงก็แค่น้ํากระสายยาเท่านัน้ หรือมิฉะนัน้ ก็กลายเป็นอาหารไป ยาไทยนัน้ ปรุงขึน้ จาก
พืช สัตว์ และธาตุ ทีเ่ กิดขึน้ จากพืน้ ภูมปิ ระเทศอันเกิดขึน้ อยูต่ ามธรรมชาติของมัน เมื่อยังมิได้ทาํ การ
สกัดกลั ่น เอาแต่ตวั ยาจริงๆ มาปรุงผสมเป็นยา ก็ยอ่ มมีกากและสิง่ ที่ ไม่ใช่ตวั ยาปะปนอยูม่ าก
จํากําหนดให้ใช้ตวั ยารวมกันหลายสิง่ ผสมกันเข้าเป็นยา

๑.๑ หลักการปรุงยา ยาไทยปรุงขึน้ จากพืช สัตว์ แร่ธาตุ จากวัตถุทเ่ี กิดขึน้ เองตาม


ธรรมชาติมไิ ด้สกัดกลั ่นเอาเฉพาะเนื้อยาทีแ่ ท้ จึงมีส่วนทีเ่ ป็นกากเจือปนอยูม่ าก ดังนัน้ ยาไทย จึง
กําหนดให้ใช้ตวั ยาทีม่ ปี ริมาณมาก และตัวยาหลายสิง่ รวมกัน อย่างไรก็ตามโครงสร้างของยาไทย
สามารถแบ่งออกสรรพคุณของตัวยาออกเป็นส่วนๆได้ดงั นี้ คือ

ตัวยาตรง คือ ยาทีม่ สี รรพคุณบําบัดโรคและไข้ โดยเฉพาะเรื่องอาจจะมีรสขมมาก


รสเปรีย้ วมากมีรสเค็มมากๆ ไม่อาจจะรั บประทานได้มาก เพราะรสไม่อร่อย และโรคแทรกก็ม ี
แพทย์จงึ ได้หาตัวยาช่วยอีกแรงหนึ่งจะได้รกั ษาโรคและไข้หายเร็วขึน้
197

ตัวยาช่ วย คือ เมื่อมีโรคแทรก โรคตาม หรือโรคหลายโรครวมกัน แพทย์กใ็ ช้ตวั


ยาช่วยในการรักษาไอก็มตี วั ยากัดเสมหะช่วยด้วย

ตัวยาประกอบ เพื่อป้องกันโรคตามและช่วยบํารุงแก้ส่วนทีห่ มอเห็นควร หรือาจจะ


ใช้เป็นยาคุมฤทธิ ์ยาอื่น เช่น ลูกผักชีลอ้ ม ใส่เพื่อแก้อาการไข้ในท้องในยาต่างๆ

ตัวยาชูกลิ่ น ชูรส และแต่งสีของยา ตัวยาชูกลิน่ นี้ หากบางครัง้ การปรุงยารักษา


โรคอาจจะมีกลิน่ ไม่น่ารับประทาน ก็ตอ้ งอาศัยตั วยาชูกลิน่ ให้น่ารับประทานหรือบางคราวยามีรสขม
มากเกินไป ก็ควรใช้ยาชูรสให้รบั ประทานได้ง่าย เช่น ควรเติมรสหวานเข้าไปบ้างก็ควรเติม ใช่แต่
เท่านัน้ สีของยาถ้ามีสสี ดก็น่ารับประทาน หรือสีแดงอ่อนๆ ก็น่ารับประทาน
ทัง้ ๔ ประการนี้ ซึง่ ได้กล่าวมาพอสังเขป เป็นหลักของการปรุงยา ซึง่ ตามหลักของ
การปรุงยาสากลก็ยงั นิยมใช้กนั อยูจ่ าํ นวนหลายสิง่ หลายอย่างเหล่านี้ ต่างรวมและแบ่งสรรพคุณกันไป
ทําการุณบําบัดรักษาโรคและรวมพลังสรรพคุณรุนแรงขึน้ เพื่อต่อสูก้ บั สมุฏฐานของโรคได้ ซึง่ อาจมี
โรคแทรกโรคตามผสมกันอยูด่ งั ได้บรรยายมาแล้ว

๑. ๒ ขัน้ ตอนการปรุงยา เภสัชกรผูท้ าํ การปรุงยา จึงจําเป็นยึดตํารับยาทีจ่ ะปรุงหรือตาม


ใบสั ่งแพทย์เป็นหลักสําคัญ การปรุงยาต้องอาศัยตํารับยาทีจ่ ะทําการปรุงยาทุกครัง้ ตํารับนัน้ ๆ
จะบอกชื่อตัวยาส่วนขาด วิธใี ช้ และวิธปี รุงไว้ทุกขนาน เมื่อได้ใช้ตาํ รับยาเป็นหลักแล้ว ก็ ควรพึง
ระลึกอยูเ่ สมอว่า การปรุงยาทีจ่ ะให้มสี รรพคุณดีนนั ้ ควรปฏิบตั อิ ย่างไร จึงจะได้ยามีสรรพคุณดี
การปรุงยาให้มสี รรพคุณดี อาศัยหลักดังต่อไปนี้คอื
พิ จารณาตัวยา ก็คอื หลักเภสัชวัตถุนั ่นเอง การปรุงยานัน้ ตําราบอกไว้ให้ใช้ส่วนของพืช
สัตว์ และธาตุ ก็ควรใช้อย่างนัน้ เป็นต้นว่า พืชวัตถุให้ใช้เปลือก ราก หรือ ดอก ฯลฯ สัตว์วตั ถุ
ให้ใช่ส่วนใด เช่น กระดูก หนัง เขา ดี เลือด นอ งา ฯลฯ ธาตุวตั ถุให้ใช้ดบิ ๆ หรือทําการสะตุ
เสียก่อน เช่น สารหนู สารส้ม จุนสี กํามะถัน ฯลฯ ดังนี้ ธาตุบางชนิด ควรทําการสะตุ หรือผสม
ใด้เลย นอกจากทัง้ พืช สัตว์ และธาตุควรใช้ขงิ สด ขิงแห้ง ลูกสมอไทยอ่อน ลูกสมอไทยแก่ ดังนี้เป็น
ต้น ตัวยาบางอย่างแปรสภาพ สรรพคุณก็เป็นอีกอย่างหนึ่ง ตัวยาบางอย่างมีฤทธิ ์แรงจะเป็น
อันตราย ต้องฆ่าเสียก่อน เช่น เมล็ดสลอด ยางสลัดได ฯลฯ ซึง่ วิธฆี ่า แล ะแปรสภาพทีม่ ฤี ทธิ ์จะ
ได้กล่าวในตอนต่อไป ฯลฯ ดังนี้เป็นต้น
พิ จารณาสรรพคุณตัวยาแต่ละอย่าง ก็คอื หลักสรรพคุณเภสัช คือ ให้รจู้ กั รสของตัวยา
เสียก่อนเมื่อทราบรสของตัวยาแล้ว รสจะแสดงให้รสู้ รรพคุณได้ ถึงแม้วา่ ตัวยาในโลกนี้จะมีมาก
เสียจริง แต่รสของยานัน้ กํา หนดไว้เพียงจํานวนน้อย ดังได้บรรยายมาแล้วในตอนสรรพคุณเภสัช
จึงจะไม่กล่าวให้ยดื ยาวต่อไปรสหรือสรรพคุณของตัวยานัน้ ถ้าจะทําการปรุงก็อย่าให้รสยาขัดกัน
หรือตัวยารักษาโรคดีอยูแ่ ล้วแต่เพิม่ ตัวยาทีฆ่ ่าสรรพคุณยาขนานนี้เข้าไปทําให้ยาเสื่อมคุณภาพได้
เช่น หญ้ารางแดง รางจืด ตัวยาพวกนี้ถ้าเพิม่ เข้าไปทําให้รสและสรรพคุณสียไป ตัวยารสเค็ม ควร
198

ใช้ยารสอะไรผสมจึงจะมีสรรพคุณดี หรือตัวยาบางอย่างมีอนั ตรายควนใส่แต่น้อย หรือสะตุเสียก่อน


เหล่านี้ แล้วแต่ความฉลาดของเภสัชกรผูท้ าํ การปรุงยานัน้
พิจารณาดูขนาดและปริมาณของตัวยา ขนาดของตัวยานัน้ ๆ ให้เอาปริมาณมากน้อยเท่าใด
สิง่ ละหนักเท่าไร โดยตํารับได้กาํ หนดลงไว้หนักสิง่ ละ ๑ สลึง หรือ ๑ บาท ก็ควรพิจารณาว่า
เหมาะสมหรือไม่ควรทีผ่ เู้ ป็นเภสัชกรพิจารณาดูให้รอบคอบก่อนจึงทําการปรุงยาเป็นต้นว่ายาขนานนี้
มีตวั ยาทีร่ สเผ็ดร้อนมากอยูแ่ ล้ว ก็ยงั เพิม่ เมล็ดพริกไทยเท่ายาทัง้ หลาย จะสมควรหรือไม่ประการใด
แล้วแต่เภสัชกรพิจารณาดูให้ดที งั ้ นํ้าหนัก ตัวยา ก็ช ั ่ง ตวง ให้ถูกต้อง
ความสะอาดและความละเอียดรอบคอบเภสัชกร การปรุงยาทีจ่ ะให้มสี รรพคุณดีนนั ้
จะปราศจากความสะอาดหาได้ไม่เป็นสิง่ สําคัญมาก การปรุ งยา ตัวยาบางชนิดมีดนิ ติดอยูห่ รือพืช
บางชนิดมีตวั หนอนติดอยูห่ รือมดติดอยูใ่ นโพรงของรากยาก็เอามาบดโดยล้างไม่สะอาดใช่แต่เท่านัน้
ภาชนะในการปรงยา หั ่นยา ครกตํายา ฯลฯ ก็ควรสะอาดด้วย แม้แต่ตวั เภสัชกรเองก็ลา้ งมือให้
สะอาดเมื่อจะทําการปรุงยา นอกจากนี้เภสัชกรควรเป็ นคนทีม่ นี ิสยั ละเอียด รอบคอบ ไม่เผลอเรอ
มักง่าย เช่นตําราบอกให้ปรุงมีตวั ยา ๒๐ สิง่ แต่ใส่เพียง ๑๕ หรือ ๑๖ สิง่ โดยลืมตัวยาทีเ่ หลือ
เหล่านัน้ เสีย ซึง่ จัดว่าเป็นการเผอเรอ และตําราบอกให้บดละเอียดเป็นอณูสาํ หรับเป็นยานัตถ์ แก้
ริดสีดวง เภสัชกรมักง่าย ขีเ้ กียจก็บดหยาบๆเวลาใช้ยา รักษาโรคก็ไม่เกิดผลและ มิหนําซํ้าเกิดโทษ
แก่คนไข้ ดังนี้เป็นต้น
ปรุงยาให้ถูกต้อง ถูกหลักวิชาตามหลักของเภสัชกรรมวิธปี รุงยาตามตํารับแผนโบราณนัน้
กําหนดไว้ม ี ๒๘ วิธ ี การปรุงยานี้ควรทีจ่ ะค้นคว้าและพยายามศึกษาการปรงยาให้ได้มาตรฐาน ทัน
ความเจริญของโลกเสมอ เป็นต้นว่าน่ารับประทาน สะดวกในการใช้รกั ษาโรค รูปแบบของภาชนะ
บรรจุเหล่านี้ เป็นต้น หรือได้ปรุงเสร็จเรียบร้อย ก็ควรเขียนชื่อยาไว้ บอกขนาดและวิธใี ช้ ตลอดทัง้
สรรพคุณว่ารักษาโรคอะไรปรุงเมื่อไร

๑.๓ การปรุงยาตามแบบแผนโบราณ
เภสัชกรรม คือ การปรุงยาที
ผสมใช้
่ ตามวิธตี ่างๆ ตามแผนโบราณ ๒๘ ซึง่ มีวิธ ี ดังต่อไปนี้
๑) ยาสับเป็นชิน้ เป็นท่อนใส่ลงในหม้อ เติมนํ้าต้มแล้วรินแต่น้ํากิน
๒) ยาดองแช่ดว้ ยนํ้าท่าหรือนํ้าสุรา แล้วรินแต่น้ํากิน
๓) ยากัดด้วยเหล้าหรือแอลกอฮอล์ และหยดลงในนํ้า เติมนํ้ากิน
๔) ยาเผาเป็นด่าง เอาด่างมาแช่น้ําไว้ แล้วรินแต่น้ํากิน
๕) ยากลั ่นเอานํ้าเหงื่อ เอาด่างมาแช่น้ําไว้ แล้วรินแต่น้ํากิน
๖) ยาหุงด้วยมัน เอานํ้ามันใส่กล่อง เปา่ บาดแผล และฐานฝี
๗) ยาผสมแล้ว ต้มเอานํ้าบ้วนปาก
๘) ยาผสมแล้ว ต้มเอานํ้าอาบ
๙) ยาผสมแล้ว ต้มเอานํ้าแช่
๑๐) ยาผสมแล้ว ต้มเอานํ้าสระ
199

๑๑) ยาผสมแล้ว ต้มเอานํ้าสวน


๑๒) ยาต้มเป็นผงแล้ว บดให้ละเอียดละลายนํ้ากระสายกิน
๑๓) ยาเผาหรือคั ่วให้ไหม้ ตําเป็นยาผงบดให้ละเอียด ละลายนํ้ากิน
๑๔) ยาผสมแล้ว ทําเป็นผง กวนให้ละเอียดใส่กล่องเปา่ ทางจมูกและคอ
๑๕) ยาผสมแล้วม้วนเป็นบุหรี่ หรือยัดกล้องสูบ
๑๖) ยาผสมแล้ว มาเป็นยาธาตุ
๑๗) ยาผสมแล้ว ทําเป็นลูกประคบ
๑๘) ยาผสมแล้วใช้เป็นยาพอก
๑๙) ยาผสมแล้ว บดละเอียดเป็นผงแล้วปนเป็ ั ่ นเม็ดหรือเม็ดลูกกลอน กลืนกิน
๒๐) ยาผสมแล้ว บดผงปนั ่ เป็นแผ่นหรือปนเป็ ั ่ นแท่ง แล้วใช้เหน็บ
๒๑) ยาผสมแล้ว บดผงผสมตอกอัดเม็ด
๒๒) ยาผสมแล้ว บดผงทําเม็ดแล้วเคลือบ
๒๓) ยาผสมแล้ว ทําเป็นเม็ดแคปซู (ต้ลองมีคาํ ว่า“แผนโบราณ ” อยูบ่ นแคปซู)ล
๒๔) ยาผสมแล้ว ห่อผ้าบรรจุลงในกลักแล้วเอาไว้ใช้ดม
๒๕) ยาผสมแล้ว ใส่กล่องติดไฟใช้ควันเปา่ บาดแผลและฐานฝี
๒๖) ยาผสมแล้ว เผาไฟหรือโรยบนถ่านไฟ ใช้ควันรม
๒๗) ยาผสมแล้ว ต้มเอาไอลมหรืออบ
๒๘) ยาผสมแล้ว กวนเป็นยาขีผ้ ง้ึ ปิดแผล ซึง่ เรียกว่ายากวน

๒. การชังตั
่ วยา
ผูเ้ ป็นเภสัชกรจะต้องรูจ้ กั การชั ่งตัวยา โดยใช้มาตราต่างๆ เพื่อให้การปรุงยาเป็นไปตามตํารับ
ยา หรือใบสั ่งยา และการชั ่งแบบโบราณ หมอนิยมใช้เครื่อ“ตีงหมาย
นกา” บอกนํ้าหนัก วางไว้ทา้ ยชื่อตัวยานัน้
๒.๑ เครื่องหมายตีนกา
เป็นเครื่องหมายทีห่ มอโบราณนิยมใช้บอกขนาดของตัวยาในใบสั ่งยา มีลกั ษณะ
คล้ายเครื่องหมาย กากบาท ตําแหน่ งต่างๆในเครื่องหมายจะบอกถึงมาตรา

เครื่องหมายตีนกาเที ยบนํ้าหนักที่ ใช้ ในตํารายาไทย


ชั ่ง ๑

ตําลึง บาท ๒ ๓
ตัวอย่าง
เฟื้อง สลึง ๔ ๕

ไพ ๖
200

ตัวอย่างการอ่านค่าเครื่องหมายตีนกา อ่านได้ดงั นี้ คือ๑ ชั ่ง ๒ ตําลึง ๓ บาท ๕ สตางค์ ๔ เฟื้อง ๖ ไพ


๒.๒ มาตราชั ่ง แบบโบราณ
๔ ไพ = ๑ เฟื้อง
๒ เฟื้อง = ๑ สลึง
๔ สลึง = ๑ บาท
๔ บาท = ๑ ตําลึง
๒๐ ตําลึง = ๑ ชั ่ง
๕๐ ชั ่ง = ๑ หาบ
๑ ชั ่ง = ๘๐ บาท
๑ บาท = ๑๕ กรัม (เมตริก)
๑ หาบ = ๕๐ ชั ่ง = ๖๐,๐๐๐ กรัม (๖๐ ก.ก.)
๒.๓ มาตราชั ่งเปรียบเทียบ ไทย – สากล (เมตริ ก)
๑ หุน เท่ากับ ๐.๓๗๕ กรัม
๑ ฬส ” ๐.๑๑๗๑๘๗๕ ”
๑ อัฐ ” ๐.๒๓๔๓๗๕ ”
๑ ไพ ” ๐.๔๖๘๗๕ ”
๑ เฟื้อง ” ๐.๘๗๕ ”
๑ สลึง ” ๓.๗๕๐ ”
๑ บาท ” ๑๕ ”
๑ ตําลึง ” ๖๐ ”
๑ ชั ่ง ” ๑,๒๐๐ ”
๑ หาบ ” ๖๐,๐๐๐ กรัม หรือเท่ากับ ๖๐ กิโลกรัม

๒.๔ มาตรา สําหรับตวงของเหลว


๑ ทะนาน จุ เท่ากับ ๑ ลิตร เท่ากับ ๑,๐๐๐ ซี.ซี.
หรือเท่ากับ ๑ กิโลกรัม
๑/๒ ทะนาน จุ ๑/๒ ลิตร ๕๐๐ ซี.ซี.
๑๕ หยด จุ ประมาณ ๑ ซี.ซี.
๑ ช้อนกาแฟ จุ ประมาณ ๔ ซี.ซี.
๑ ช้อนหวาน จุ ประมาณ ๘ ซี.ซี.
๑ ช้อนคาว จุ ประมาณ ๑๕ ซี.ซี.
๑ ถ้วยชา จุ ประมาณ ๓๐ ซี.ซี.
201

๒.๕. มาตราวัด แบบโบราณ


คําว่า องคุล ี ท่านหมายเอา ๑ ข้อของนิ้วกลาง ตามมาตรา ดังนี้ คือ
๒ เมล็ดงา เป็น ๑ เมล็ดข้าวเปลือก
๔ เมล็ดข้าวเปลือก เป็น ๑ องคุล ี (วัดตามยาว)
๑๕ องคุล ี เป็น ๑ ชัน้ ฉาย
คําว่า กลํ่า ท่านเทียบมาจาก เมล็ดมะกลํ่าตาช้าง ตามมาตราดังนี้ คือ
๒ เมล็ดงา เป็น ๑ เมล็ดข้าวเปลือก
๔ เมล็ดข้าวเปลือก ” ๑ กล่อม
๒ กล่อม ” ๑ กลํ่า เท่ากับ ครึง่ ไพ
๒ กลํ่า ” ๑ ไพ
๔ ไพ ” ๑ เฟื้อง
๒ เฟื้อง ” ๑ สลึง
๔ สลึง ” ๑ บาท
๔ บาท ” ๑ ตําลึง
๒๐ ตําลึง ” ๑ ชั ่ง
๒๐ ชั ่ง ” ๑ ดุล
๒๐ ดุล ” ๑ ภารา
คําว่า หยิบมือ กํามือ กอบมือ เทียบไว้ดงั นี้ คือ
๑๕๐ เมล็ดข้าวเปลือก เป็น ๑ หยิบมือ
๔ หยิบมือ ” ๑ กํามือ
๔ กํามือ ” ๑ ฟายมือ
๒ ฟายมือ ” ๑ กอบมือ
๓ กอบมือ ” ๑ ทะนาน
๒๐ ทะนาน ” ๑ สัด
๔๐ สัด ” ๑ บัน้
๒ บัน้ ” ๑ เกวียน

๓. การคัดเลือก, การเก็บตัวยา
ในการปรุงยาแผนโบราณ ผูเ้ ป็นเภสัชกรแผนโบราณ จะปรุงยาให้ได้คุณภาพดีและยามี
สรรพคุณดีนนั ้ จะต้องมีความรูค้ วามสามารถทีจ่ ะพิจารณาคัดเลือกตัวยาสมุนไพรได้อย่างถูกต้อง และ
มีสรรพคุณดี โดยมีหลักเกณฑ์ และวิธกี ารดังต่อไปนี้
202

๑) ชนิ ดของตัวยา
การเก็บตัวยานัน้ ต้องแน่ ใจเสียก่อนว่า ตัวยานัน้ ถูกต้องถูกชนิดกับชื่อกับชื่อของตัว
ยาในตํารับยาแผนโบราณ ตัวยาบางชนิดมีหลายๆ ชื่อ ซึง่ ต้องอาศัยประสบการณ์และภูมคิ วามรูข้ อง
เภสัชกรเอง ทีจ่ ะต้องรูว้ า่ ชื่อนี้ ชนิดนี้ มีลกั ษณะต้น ใบ ลูก ดอก ราก เป็นอย่างไร
๒) คุณภาพ
ตัวยาบางชนิด ถูกเก็บไว้นาน คุณภาพของตัวยาก็เสื่อมไปตามกาลเวลา หรือไม่ม ี
สรรพคุณตามทีร่ ะบุไว้ ซึง่ เภสัชกรจะต้องศึกษาถึงระยะเวลาการเก็บรักษาตัวยาต่างๆ ต้องพิถพี ถิ นั
คัดเลือก ดูตวั ยาว่าเก่าหรือใหม่
๓) ความสะอาด
ตัวยาทีน่ ํามาปรุงยา ต้องมีความสะอาดไม่วา่ จะเป็นตัวยาสดหรือแห้งก็ตาม ต้องทํา
ความสะอาดให้ปราศจากสิง่ ปนเปื้อนต่างๆ เช่น ดิน ฝุน่ ละออง เชือ้ รา มูลสัตว์ รวมถึงการเก็บยา
เพื่อสําหรับใช้ในโอกาสต่อไป ขึน้ อยูก่ บั วิธกี ารเก็บรักษานัน้ เป็นประการสําคัญ ถ้าเก็บยาไว้ถูกวิธี
โดยไม่ถูกแสงแดดหรือของร้อนจัด อากาศชืน้ ถูกนํ้าค้าง นํ้าฝน เก็บรักษาไว้ในทีอ่ ากาศถ่ายเทดี
ปลอดโปร่ง ก็อาจจะเก็บไว้ได้นานสรรพคุณไม่เสื่อม ใช้ได้นานขึน้ กว่ากําหนด

๔. การใช้ตวั ยาอันตราย
พระอาจารย์กล่าวไว้วา่ “วัตถุธาตุนานาชนิดในโลกล้วนแต่เป็นยาทัง้ สิน้ ” คํากล่าวนี้ได้รบั
การยอมรับว่าเป็นจริงหากใช้วตั ถุนนั ้ ได้อย่างถูกต้องตัวยาบางอย่างทีม่ ฤี ทธิ ์แรง หากใช้เกินขนาดหรือ
ใช้ ไม่ถูกวิธ ี ก็อาจทําอันตรายถึงแก่ชวี ติ ได้เป็นพิเศษ ตัวยาหลายอย่างมีฤทธิ ์แรง หากใช้เกินขนาด
หรือใช้ไม่ถูกวิธ ี ก็อาจทําอันตรายถึงแก่ชวี ติ ได้
๔.๑ ยาที่มีฤทธิ์ แรง
๑) เมล็ดสลอด มีฤทธิ ์แรงในทางถ่าย กินมากจะถ่ายมากเป็นอันตราย อ่อนเพลีย
เสียนํ้าในร่างกายอาจถึงตายได้ สรพคุณ ถ่ายเสมหะ และโลหิตถ่ายนํ้าเหลืองเสียและถ่ายพยาธิ
๒) ยางตาตุ่ม มีฤทธิ ์แรงในทางถ่าย รับประทานมากถ่ายมาก ทําให้หมดกําลังอาจ
ถึงตายได้ สรรพคุณ ถ่ายพยาธิ ถ่ายโลหิต และเสมหะ ถ่ายอุจจาระธาตุ
๓) ยางสลัดได มีฤทธิ ์แรงในทางถ่าย กินมากถ่ายมากทําให้หมดกําลังอ่อนเพลีย
อาจตายได้ ประโยชน์ ถ่ายพยาธิน้ําเหลืองสีย ถ่ายอุจจาระธาตุ ถ่ายพิษตาซาง
๔) ลูกแสลงใจ มีฤทธิ ์แรงในทางเมาเบื่อ รับประทาน ชักกระตุก ถึงตายได้
สรรพคุณ บํารุงหัวใจ บํารุงประสาท แก้พยาธิผวิ หนัง แก้ลมอันกระเพื่อมในอุทร
๕) ยางฝิ่ น มีฤทธิ ์แรงในทางเมาเบื่อ ระงับประสาท รับประทานมาก ระงับประสาท
ทําให้หมดสติ อาจตายได้ สรพคุณทางยา แก้ปวดเมื่อยตามร่างกาย (เป็ แก้นโรคบิ
ยาเสพติ
ด )ด
203

๖) กัญชา มีฤทธิ ์แรงในทางเมา ทําให้ประสาทหลอน รับประทานมากทําให้เสีย


จริต เป็นบ้า สรรพคุณทางยา แก้ประสาทพิการ และเจริญอาหาร
๗) พระขรรค์ไชยศรี (หนาวเดือนห้า) มีฤทธิ ์แรงในทางขับเหงื่อทําให้กายเย็นมาก
รับประทานมากอาจเป็นอันตรายถึงชีวติ สรรพคุณทางยา แก้ไข้ ดับพิษร้อน ลดความร้อนในร่างกาย ขับเหงื่อ
๘) ยางรักดํา มีฤทธิ ์แรงในทางเมาเบื่อ และทางถ่าย รับประทานมากทําให้ถ่าย
มากหมดกําลัง อาจถึงตายได้ สรรพคุณทางยา ถ่ายนํ้าเหลืองเสีย ถ่ายอุจจาระธาตุ ถ่ายพยาธิและถ่ายเสมหะ
๙) ปรอท มีฤทธิ ์แรงในทางเมาเบื่อ รับประทานมาก ทําให้เปื่อยพุพองและเบื่อเมา
อาจตายได้ สรรพคุณทางยา แก้มะเร็ง คุดทะราด โรคเรือ้ น รักษาโรคผิ
ง และรัวกหนั
ษานํ้าเหลืองเสีย
๑๐) สารหนู มีฤทธิ ์แรงในทางเมาเบื่อ รับประทานมาก ชักกระตุกทําให้ตายได้
สรรพคุณทางยา แก้มะเร็ง คุดทะราด โรคเรือ้ น แก้ประดง รักษานํ้าเหลืองเสีย ก้โรคผิวหนัง และบํารุงโลหิต
๑๑) จุนสี มีฤทธิ ์แรงทางกัดทําลาย รับประทานมาก กั ดทําลายกระเพาะอาหาร
และลําไส้ ทําให้ฟนั โยกหลุด สรรพคุณทางยา กัดหัวฝี หัวหูด รักษาคุดทะราด รักษาฟนั
๑๒) เมล็ดสบู่แดง มีฤทธิ ์แรงในทางถ่าย รับประทานมาก ท้องร่วงอย่างแรง
คลื่นไส้อาเจียน ท้องร่วงอย่างแรง กดหัวใจ กดการหายใจ ถึงตายได้ สรรพคุณทางยา เผาให้สุก
รับประทานถ่ายอุจจาระธาตุ ทําให้อาเจียน ตําพอกบาดผล แก้โรคผิวหนัง
๑๓) ยางหัวเข้าค่า มีฤทธิ ์แรง รับประทานมาก ท้องร่วงอย่างแรง อ่อนเพลีย
หมดนํ้าถึงตายได้ สรรพคุณทางยา ฆ่าพยาธิภายนอก แก้ฟกบวม แก้คุดทะราด
๑๔) เมล็ดลําโพง มีฤทธิ ์แรงในทา งเมาเบื่อ หลอนประสาท รับประทานมาก
ทําให้เสียสติตาแข็ง หายใจขัด สรรพคุณทางยา บํารุงประสาท แก้กระสับกระส่าย นอนไม่หลับ
๑๕) ยางเทพทาโร มีฤทธิ ์แรงในทางถ่าย รับประทานมากถ่ายแรง หมดนํ้า
อ่อนเพลียถึงตายได้ สรรพคุณทางยา ถ่ายพยาธิ ถ่ายนํ้าเหลืองเสีย

๔.๒ การสะตุ การประสะ การฆ่ าฤทธิ์ ยา


ในการทีจ่ ะนําเอาตัวยาทีม่ ฤี ทธิ ์แรง มาใช้ประกอบตัวยาเพื่อให้เกิดสรรพคุณทางยานัน้ มีวธิ กี าร
ทําให้ฤทธิ ์ของยาอ่อนลง จนสามารถนํามาใช้ ไม่เกิดอันตรายต่อร่างกาย ดังจะได้อธิบายต่อไปนี้
๔.๒.๑ การสะตุ
การสะตุ คือ การทําให้ตวั ยามีฤทธิ ์อ่อนลง หรือทําให้พษิ ของตัวยาน้อยลง หรือ
ทําให้ตวั ยานัน้ สะอาดขึน้
๑) การสะตุเหล็ก เอาเหล็กมาครางด้วยตะไบ และนําผงเหล็กทีไ่ ด้มาใส่ในฝาละมี
หรือหม้อดิน บีบมะนาวลงไปให้ท่วมผงเหล็ก เอาขึน้ ตัง้ ไฟให้แห้ง ทําให้ได้ ๗ – ๘ ครัง้ จงผงเ หล็ก
กรอบดีจงึ นําไปใช้ปรุงยาได้
๒) การสะตุสารส้ม เอาสารส้มมาบดให้ละเอียด นํามาใส่หม้อดิน เอาตัง้ ไฟจนสารส้ม
ละลายฟู ขาวดีแล้ว ยกลงจากไฟ จึงนําไปใช้ปรุงยาได้
204

๓) การสะตุรงทอง เอารงทองมาบดให้ระเอียด แล้วห่อด้วยใบบัวหรือใบข่า ๗ ชัน้


นําไปปิ้งไฟจนสุขกรอบดี จึงนําไปใช้ปรุงยาได้
๔) การสตุมหาหิงคุ์ นํามหาหิงคุม์ าใส่ภาชนะไว้ใช้ใบกระเพราะแดงใส่น้ําต้มจนเดือด
เทนํ้ากระเพราแดงต้มลงละลายมหาหิงคุ์ แล้วนํามากรองให้สะอาด จึงนําไปใช้ปรุงยาได้
๕) การสะตุดนิ สอพอง นําดินสอพองใส่หม้อดิน ปิดฝายกขึน้ ตัง้ ไฟให้นานพอสมควร
จนเห็นว่าดินสอพองสุขดีแล้ว จึงนําไปใช้ปรุงยาได้
๖) การสะตุน้ําประสานทอง เอานํ้าประสานทองใส่หม้อดิน ตัง้ ไฟจนละลายฟูขาวทั ่ว
กันดีแล้ว จึงนําไปใช้ปรุงยาได้
๗) การสะตุยาดํา นําเอายาดําใส่ลงในหม้อดิน เติมนํ้าเล็กน้อย ยกขึน้ ตัง้ ไฟ จนยา
ดํานํ้า กรอบดีแล้ว จึงนําไปใช้ปรุงยาได้

๔.๒.๒ การประสะ
มีความหมาย คือ การทําให้พษิ ของตัวยาอ่อนลง เช่น การประสะยางสลัดได หรือ
หมายถึงในยาขนานนัน้ มีตวั ยาตัวหนึ่ง ขนาดเท่าตัวยาตัวอื่น หนักรวมกัน เช่น ยาประสะไพล มี
ไพล จํานวนเท่าตัวยาอื่นทัง้ หมดหนักรวมกัน
การประสะยางสลัดได ยางตาตุ่ม ยางหัวเข้าค่า
มีวธิ กี ารทําเหมือนกันทัง้ ๓ อย่าง คือ นําตัวยาทีจ่ ะประสะใส่ลงในถ้วย ใส่น้ําต้ม
เดือดๆ เทลงไปในถ้วยยานัน้ กวนให้ท ั ่วจนเย็น รินนํ้าทิง้ ไป แล้วเทนํ้าเดือดลงในยา กวนให้ท ั ่วอีก
ทําอย่างนี้ประมาณ๗ ครัง้ จนตัวยาสุกนี้แล้ว จึงนําไปใช้ปรุงยาได้

๔.๒.๓ การฆ่าฤทธิ์ ตวั ยา


คือ การทําให้พษิ ของยาอ่อนลง เช่น การฆ่าสารหนู จะทําให้สารหนูทม่ี พี ษิ มาก
มีพษิ อ่อนลงสามารถนํามาใช้ทาํ ยาได้
๑) การฆ่าสารหนู เอาสารหนูมาบดให้ละเอียด ใส่ฝาละมีหรือหม้อดินบีบนํ้า
มะนาวหรือนํ้ามะกรูดใส่ไปให้ท่วมตัวยา ตัง้ ไฟจนแห้ง ทําให้ได้ ๗ - ๘ ครัง้ จนกว่าสารหนูกรอบดี
แล้ว จึงนําไปใช้ปรุงยา
๒) การฆ่าปรอท นําเอาทองแดง ทองเหลือง หรือเงิน ใส่ไว้ในปรอท ให้ปรอทกิน
จนอิม่ จึงจึงนําไปใช้ปรุงยาได้
๓) การฆ่าลูกสลอด มีหลายวิธเี ช่น
วิธที ่ี ๑ เอาลูกสลอดห่อรวมกับข้าวเปลือก ใส่เกลือพอควร นําไปใส่หม้อดิน
ใส่น้ําลงตัง้ ไฟ จนข้าวเปลือกบานทั ่วกัน จึงเอาลูกสลอดมาล้างให้สะอาด ตากให้ให้แห้ง จึงนําไปใช้ปรุงยาได้
วิธที ่ี ๒ เอาลูกสลอด ต้มกับใบมะขาม ๑ กํามือ ใบส้มปอ่ ย ๑ กํามือ เมื่อสุก
ดีแล้วจึงเอาเนื้อในลูกสลอด นําไปใช้ปรุงยาได้
205

๔) การฆ่าชะมดเช็ด โดยหั ่นหัวหอม หรือผิวมะกรูด ให้เป็นฝอยละเอียด ผสมกับ


ชะมดเช็ด .ใส่ลงไปในใบพลูหรือช้อนเงิน นําไปลนไฟเทียน จนชะมดเช็ดละลาย จนหอมดีแล้ว
จึงกรองเอานํ้าชะมดเช็ด นําไปใช้ปรุงยาได้

๔.๓ กระสายยา
กระสายยา คือ นํ้าหรือของเหลวทีใ่ ช่สาํ หรับละลายยา โดยมีวตั ถุประสงค์ดงั นี้
๑) เพื่อให้ กลืนยาง่าย ไม่ฝืดหรือติดคอ และช่วยแต่งให้มรี ส สี กลิน่ น่ารับประทาน
๒) เพื่อช่วยให้ยามีฤทธิ ์ตรงต่อโรค นําฤทธิ ์ยาให้แล่นเร็ว ทันต่ออากาศของโรค
๓) เพื่อเพิม่ สรรพคุณของยา ให้มฤี ทธิ ์แรงขึน้ หรือให้มฤี ทธิ ์ช่วยตัวยาหลัก ในการ
รักษาอาการข้างเคียง

นํ้ากระสายยาแก้โรคต่างๆ
๑) แก้อาเจียน ใช้ลกู ยอหมกไฟ ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา หรือเอาลูกผักชีและ
เทียนดํา ต้มเอาเป็นกระสายยา
๒) แก้อาเจียนเป็นเลือด เอาว่านหอยแครง หรือเปลือกลูกมะรุม รากส้มซ่า ต้ม
เอานํ้าเป็นกระสายยา
๓) แก้ทอ้ งเดิน เอาเปลือกต้นมะเดื่อชุมพร ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๔) แก้บดิ เอากะทือ หรือไพล หมกไฟ ฝนกับนํ้าเป็นกระสายยา
๕) แก้กนิ ผิดสําแดง (อาหารเป็นพิษ) เอาเปลือกแคแดง ต้มนํ้าเป็นกระสายยา
หรือเอาทับทิมทัง้ ๕ ต้มกับนํ้าปูนใส เอานํ้าเป็นหระสายยา
๖) แก้หอบ เอาใบทองหลางใบมน ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๗) แก้สะอึก เอารากมะกลํ่าเครือ ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๘) แก้ไข้เชื่อมมึน เอานํ้าดอกไม้ เป็นกระสายยา
๙) แก้ไข้มวั เอานํ้าจันทน์เทศ เป็นกระสายยา
๑๐) แก้ไข้เพ้อคลั ่ง เอาใบมะนาว ๑๐๘ ใบ ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๑๑) แก้ไข้ระสํ่าระส่าย เอารากบัว ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๑๒) แก้สวิงสวาย เอานํ้าซาวข้าว เป็นกระสายยา
๑๓) แก้สะบัดร้อนสะบัดหนาว เอานํ้ามูตร เป็นนํ้ากระสายยา
๑๔) แก้เบื่ออาหาร เอาลูกผักชีลา ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๑๕) แก้น้ําลายเหนียว เอาเทียนดําห่อผ้า ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๑๖) แก้ขดั เบา เอากาฝากมะม่วง ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๑๗) แก้นอนไม่หลับ เอารากชุมเห็ดไทย ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๑๘) แก้กนิ อาหารไม่รรู้ ส เอาโกฐหัวบัว ชะเอมเทศ ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
206

๑๙) แก้ทรางขึน้ ทรวงอก เอาผักเสีย้ นผี ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา


๒๐) แก้เด็กเป็นลมชัก เอาตะไคร้ ใบสะระแหน่ บดละลายนํ้าดอกมะลิ เป็นกระสายยา
๒๑) แก้กระหายนํ้า เอาเมล็ดมะกอกเผาไฟ แช่น้ําเป็นกระสายยา
๒๒) แก้อกแห้งชูกาํ ลัง เอานํ้าผึง้ เป็นกระสายยา
๒๓) แก้อ่อนเพลียบํารุงกํลัาง เอานํ้าข้าวเช็ด รังนกนางแอ่น ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๒๔) ทําให้มกี าํ ลัง เอานํ้านมสัตว์ เป็นกระสายยา
๒๕) ขับลมให้แล่นทั ่วกาย เอานํ้าส้มสายชู เป็นกระสายยา
๒๖) ชูกาํ ลังชื่นใจ เอานํ้าตาล ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๒๗) แก้ไข้หวัดไอ เอาลูกมะแว้ง คัน้ เอานํ้าผสมเกลือ เป็นกระสายยา
๒๘) แก้เสมหะแห้ง เอานํ้ามะนาว ผสมเกลือ เป็นกระสายยา
๒๙) แก้ลมจุกเสียด เอาข่า ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๓๐) แก้ทอ้ งขึน้ เอากะเพรา ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๓๑) กระทุง้ พิษไข้ เอารากผักชี ต้มเอานํ้าเป็นกระสายยา
๓๒) แก้ชพี จร เอารากกะเพรา ฝนกับนํ้าดอกมะลิ เป็นกระสายยา
ถ้าหากยาขนานใดไม่ได้แจ้งกระสายยาไว้ ให้ใช้น้ําสุกสะอาดเป็นกระสายยา
207

๕. ยาสามัญประจําบ้านแผนโบราณ ๒๘ ขนาน

ประกาศกระทรวงสาธารณะสุข
เรื่อง ยาสามัญประจําบ้าน
ฉบับที่ ๒
-----------------------
อาศัยอํานาจตามความในมาตรา ๗๖(๕) แห่งพระราชบัญญัตยิ า พ .ศ. ๒๕๑๐ ซึง่ แก้ไข
เพิม่ เติม โดยพระราชบัญญัตยิ า (ฉบับที่ ๓) พ.ศ. ๒๕๒๒ รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณะสุข
โดยคําแนะนําของคณะกรรมการยาจึงออกประกาศไว้ดงั ต่อไปนี้
ข้อ ๑ ให้ยกเลิกประกาศยาแผนโบราณที่ เป็นยาสามัญประจําบ้าน ตามประกาศกระทรวง
สาธารณะสุข ระบุยาสามัญประจําบ้านตามความในพระราชบัญญัตยิ า พ .ศ. ๒๕๑๐ ลงวันที่ ๒๐
สิงหาคม ๒๕๑๑
ข้อ ๒ ให้ยาแผนโบราณซึง่ มีช่อื ปริมาณของวัตถุส่วนประกอบ วิธี สรรพคุณ ขนาด
รับประทาน คําเตือน และขนาดบรรจุต่อไปนี้ เป็นยาสามัญประจําบ้าน

๑. ยาหอมเทพวิ จิตร
วัตถุส่วนประกอบ ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู จันทน์แดง จันทน์ขาว
กฤษณา กระลําพัก ขอนดอก ชะลูด อบเชย เปราะหอม แฝกหอม หนักสิง่ ละ ๒ ส่วน ผิวมะกรูด
ผิวมะงั ่ว ผิวมะนาว ผิวส้มตะรังกะนู ผิวส้มจีน ผิวส้มโอ ผิวส้มเขียวหวาน หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน ผิวส้ม
ซ่าหนัก ๒๘ ส่วน ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารภี เกสรบัวหลวง ดอกบัวขม ดอกบัวเผื่อน
หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน ชะมดเช็ด การบูร หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐ
จุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว โกฐพุ งปลา โกฐชฎามังสี หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน เทียบดํา เทียน
แดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั ๊กแตน เทียนเยาวพาณี เทียนสัตตบัษย์ เทียนเกล็ดหอย
เทียนตากบ หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน พิมเสนหนัก ๔ ส่วน ดอกมะลิหนัก ๑๘๔ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง ผสมนํ้าดอกไม้เทศ ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๒ กรัม
208

สรรพคุณ แก้ลม บํารุงหัวใจ


ขนาดรับประทาน ครัง้ ละ ๕ – ๗ เม็ด
ขนาดบรรจุ ๓๐ เม็ด

๒. ยาหอมทิ พโอสถ
วัตถุส่วนประกอบ ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกสารถี ดอกมะลิ เกสรบัวหลวง ดอกกระดังงา
ดอกจําปา ดอกบัวจงกลณี หัวแห้วไทย กระจับ ฝาง จันทน์แดง จันทน์ขาว จันทน์เทศกฤษณา ชะลูด
อบเชย สมุลแว้ง สนเทศ ว่านนํ้า กระชาย เปราะหอม ดอกคําไทย ชะเอมเทศ สุรามฤต ข่าต้น
ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ หนักสิง่ ละ ๔ ส่วนโกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพาโกฐ
กระดูก โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐชฎามังสี หนักสิง่ ละ ๒ ส่วน เที ยนดํา เทียนแดง เทียนขาว
เทียนข้าวเปลือก เทียนนํ้าตาตั ๊กแตน เทียนเยาวพาณี เทียนสัตตบุษย์ เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ
การบูร หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน ชะมดเช็ด พิมเสน หนักสิง่ ละ ๒ ส่วน
วิ ธีทาํ ชนิดผง บดเป็นผง
ชนิดเม็ด บดเป็นผง ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๒ กรัม
สรรพคุณ แก้ลมวิงเวียน ละลายนํ้าดอกไม้หรือนํ้าสุก
ขนาดรับประทาน ชนิดผง ครัง้ ละ ๑/๒ – ๑ ช้อนกาแฟ
ชนิดเม็ด ครัง้ ละ ๕ – ๗ เม็ด
ขนาดบรรจุ ชนิดผง ๑๕ กรัม
ชนิดเม็ด ๓๐ เม็ด

๓. ยามหานิ ลแท่งทอง
วัตถุส่วนประกอบ เนื้อเม็ดสะบ้ามอญสุม กระดูกกาสุม กระดูกงูเหลือมสุม หวายตะค้าสุม
เม็ดมะละกอสุม ลูกมะคําควายดีสุม ถ่านไม้สกั จันทน์แดง จันทน์เทศ ใบพิมเสน ใบหญ้านาง หมึก
หอม หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน เบีย้ จั ่นคั ่วให้เหลือง ๓ เบีย้
วิ ธีทาํ บดเป็นผง ทําเป็นเม็ด ปิดทองคําเปลว หนักเม็ดละ ๐.๕ กรัม
สรรพคุณ แก้ไข้ แก้กระหายนํ้า แก้หดั อีสุก อีใส
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ ๒ ครัง้
ผูใ้ หญ่ ครัง้ ละ ๓ – ๔ เม็ด
เด็ก ครัง้ ละ ๑ – ๒ เม็ด
ขนาดบรรจุ ๓๐ เม็ด
209

๔. ยาเขียวหอม
วัตถุส่วนประกอบ ใบพิมเสน ใบผักกระโฉม ใบหมากผู้ ใบหมากเมีย ใบสันพร้าหอม
รากแฝกหอม เปราะหอม จันทน์เทศ จันทน์แดง ว่านกีบแรด ว่านร่อนทอง เนระพูส ี พิษนาศน์
มหาสดํา รากไคร้เครือ ดอกพิกุล เกสรบุนนาค เกสรสารภี เกสรบัวหลวง หนักสิง่ ละ ๑ ส่วนระย่อม
หนัก ๑/๔ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ แก้ตวั ร้อน ร้อนใน กระหายนํ้า ละลายนํ้าสุก หรือนํ้าดอกมะลิ
แก้พษิ หัด พิษสุกใส ละลายนํ้ารากผักชีตม้ ทัง้ รับประทานและชโลม
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ ๔ – ๕ ครัง้
ผูใ้ หญ่ ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ
เด็ก ครัง้ ละ ๑ – ๒ ช้อนกาแฟ
ขนาดบรรจุ ๓๐ กรัม

๕. ยาประสะกะเพรา
วัตถุส่วนประกอบ พริกไทย ขิง ดีปลี กระเทียม นํ้าประสานทองสะตุ หนักสิง่ ละ ๒ กรัม
ชะเอมเทศ หมาหิงคุ์ หนักสิง่ ละ ๘ ส่วน เกลือสินเธาว์ หนัก ๑ ส่วน ผิวมะกรูด หนัก ๒๐ ส่วน
ใบกะเพรา หนัก ๔๗ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๑ กรัม
สรรพคุณ แก้ทอ้ งขึน้ ท้องเฟ้อ ละลายนํ้าสุก หรือนํ้าใบกะเพราต้ม แก้ทอ้ งแน่น
จุกเสียด ใช้ไพลเผาไฟพอสุก ฝนแทรก
ขนาดรับประทาน รับประทาน เช้า – เย็น
เด็กอายุ ๑ – ๓ เดือน ครัง้ ละ ๑ – ๒ เม็ด
เด็กอายุ ๔ – ๖ เดือน ครัง้ ละ ๒ – ๓ เม็ด
เด็กอายุ ๗ – ๑๒ เดือน ครัง้ ละ ๔ – ๕ เม็ด
ขนาดบรรจุ ๓๐ เม็ด
210

๖. ยาเหลืองปิ ดสมุทร
วัตถุส่วนประกอบ แห้วหมู ขมิน้ อ้อย เปลือกเพกา รากกล้วยตีบ กระเทียมคั ่ว ดีปลี
ชันอ้อย ชันย้อย ครั ่ง สีเสียดเทศ ใบเทียน ใบทับทิม หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน ขมิน้ ชัน หนัก ๖ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๑ กรัม
สรรพคุณ แก้ทอ้ งเสีย ใช้น้ําเปลือกลูกทับทิม หรือเปลือกแคต้มกับนํ้าปูนใส
เป็นกระสาย ถ้าหานํ้ากระสายไม่ได้ให้ใช้น้ําสุกแทน
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ ๓ เวลา ก่อนอาหาร
เด็กอายุ ๓ – ๕ เดือน ครัง้ ละ ๒ เม็ด
เด็กอายุ ๔ – ๖ เดือน ครัง้ ละ ๓ – ๔ เม็ด
เด็กโต ครัง้ ละ ๕ – ๗ เม็ด
ขนาดบรรจุ ๓๐ เม็ด

๗. ยาอัมฤควาที
วัตถุส่วนประกอบ รากไคร้เครือ โกฐพุงปลา เทียนขาว ลูกผักชีลา เนื้อมะขามป้อม
เนื้อลูกสมอ พิเภก หนักสิง่ ละ ๗ ส่วน นํ้าประสานทองสะตุ หนัก ๑ ส่วน ชะเอมเทศ ๖ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ แก้ไอ ขับเสมหะ ละลายนํ้ามะนาวแทรกเกลือ ใช้จบิ หรือกวาดคอ
ขนาดที่ใช้ ผูใ้ หญ่ ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ
เด็ก ลดลงตามส่วน
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๘. ยาประสะมะแว้ง
วัตถุส่วนประกอบ สารส้ม หนัก ๑ ส่วน ขมิน้ อ้อย หนัก ๓ ส่วน ใบสวาด
ใบตานหม่อน ใบกะเพรา หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน ลูกมะแว้งต้น ลูกมะแว้งเครือ หนักสิง่ ละ ๘ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง ผสมนํ้าสุกแทรกพิมเสนพอควร ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๒ กรัม
สรรพคุณ แก้ไอ แก้เสมหะ ละลายนํ้ามะนาวแทรกเกลือรับประทานหรือใช้อม
ขนาดรับประทาน ผูใ้ หญ่ ครัง้ ละ ๑ – ๒ เม็ด
เด็ก ครัง้ ละ ๕ – ๗ เม็ด
ขนาดบรรจุ ๓๐ เม็ด
211

๙. ยาจันทลีลา
วัคถุส่วนประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐจุฬาลัมพา จันทน์เทศ จันทน์แดง
ลูกกระดอม บอระเพ็ด รากปลาไหลเผือก หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน พิมเสน หนัก ๑ ส่วน
วิ ธีทาํ ชนิดผง บดเป็นผง
ชนิดเม็ด บดเป็นผง ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๕ กรัม
สรรพคุณ แก้ไข้ ตัวร้อน
ขนาดรับประทาน รับประทาน ทุก ๔ ชั ่วโมง
ชนิดผง เด็ก ครัง้ ละ ๑/๒ – ๑ ช้อนกาแฟ
ผูใ้ หญ่ ครัง้ ละ ๑ – ๒ ช้อนกาแฟ
ชนิดเม็ด เด็ก ครัง้ ละ ๑ – ๒ เม็ด
ผูใ้ หญ่ ครัง้ ละ ๓ – ๔ เม็ด
ขนาดบรรจุ ชนิดผง ๑๕ กรัม
ชนิดเม็ด ๓๐ กรัม

๑๐. ยาตรีหอม
วัตถุส่วนประกอบ เนื้อลูกสมอเทศ เนื้อลูกสมอพิเภก เนื้อลูกมะขามป้อม ลูกผักชีลา
หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน รากไคร้เครือ โกฐสอ ชะเอมเทศ นํ้าประสานทองสะตุ ลูกซัดคั ่ว หนักสิง่ ละ
๑ ส่วน เนื้อลูกสมอไทย โกฐนํ้าเต้าใหญ่น่งึ สุก หนักสิง่ ละ ๒๒ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๒ กรัม
สรรพคุณ แก้เด็กท้องผูก ระบายพิษไข้
ขนาดรับประทาน รับประทานก่อนอาหารเช้า
เด็กอายุ ๑ – ๒ เดือน ครัง้ ละ ๒ – ๓ เม็ด
เด็กอายุ ๓ – ๕ เดือน ครัง้ ละ ๔ – ๕ เม็ด
เด็กอายุ ๖ – ๑๒ เดือน ครัง้ ละ ๖ – ๘ เม็ด
ขนาดบรรจุ ๓๐ เม็ด
212

๑๑. ยาประสะจันทน์ แดง


วัตถุส่วนประกอบ รากเหมือนคน รากมะปรางหวาน รากมะนาว เปราะหอม โกฐหัวบัว
จันทน์เทศ ฝางเสน หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน เกสรบัวหลวง ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกมะลิ หนักสิง่ ละ
๑ ส่วน จันทน์แดง ๓๒ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ แก้ไข้ตวั ร้อน กระหายนํ้า ละลายนํ้าสุก หรือนํ้าดอกมะลิ
ขนาดรับประทาน รับประทานทุก ๓ ชั ่วโมง
ผูใ้ หญ่ ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ
เด็ก ครัง้ ละ ๑ – ๒ ช้อนกาแฟ
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๑๒. ยาหอมอิ นทจักร์


วัตถุส่วนประก อบ สะค้าน รากช้าพลู ขิง ดีปลี รากเจตมูลเพลิง ลูกผักชีลา โกฐสอ
โกฐเขมา โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐจุฬาลัมพา โกฐเชียง โกฐกักกรา โกฐนํ้าเต้า โกฐกระดูก
เทียนดํา เทียนขาว เทียนแดง เทียนข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี จันทน์แดง จันทน์เทศ เถามวกแดง
เถามวกขาว รากหญ้านาง เปลือกชะลูด อบเชย เปลือกสมุลแว้ง กฤษณา กระลําพัก บอระเพ็ด ลูก
กระดอม กํายาน ขอนดอก ชะมดเช็ด ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู รากไคร้เครือ ลําพัน
แดง ดอกสารภี ดอกพิกุล ดอกบุนนาค ดอกจําปา ดกกระดังงา ดอกมะลิ ดอกคําไทย ฝางเสน ดีงเู ห่า
ดีหมูปา่ ดีววั พิมเสน สิง่ ละ ๑ ส่วน

วิ ธีทาํ ชนิดผง บดเป็นผง


ชนิดเม็ด บดเป็นผง ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๒ กรัม
สรรพคุณ แก้ลมบาดทะจิต ใช้น้ําดอกมะลิ
แก้คลื่นเหียนอาเจียน ใช้น้ําลูกผักชี เทียนดําต้ม ถ้าไม่มใี ช้น้ําสุก
แก้ลมจุกเสียด ใช้น้ําขิงต้ม
ขนาดรับประทาน รับประทานทุก ๓ ชั ่วโมง
ชนิดผง ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ
ชนิดเม็ด ครัง้ ละ ๕ – ๑๐ เม็ด
ขนาดบรรจุ ชนิดผง ๑๕ กรัม
ชนิดเม็ด ๓๐ เม็ด
213

๑๓. ยาประสะไพล
วัตถุส่วนประกอบ ผิวมะกรูด ว่านนํ้า กระเทียม หัวหอม พริกไทย ดีปลี ขิง ขมิน้ อ้อย
เทียนดํา เกลือสินเธาว์ หนักสิง่ ละ ๘ ส่วน การบูร หนัก ๑ ส่วน ไพล หนัก ๘๑ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ แก้จุกเสียด แก้ระดูไม่ปกติ ขับนํ้าคาวปลา
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ ละลายนํ้าสุก หรือนํ้าสุรา
ขนาดบรรจุ ๓๐ กรัม

๑๔. ยาหอมเนาวโกฐ
วัตถุส่วนประกอบ ขิงแห้ง ดีปลี เจตมูลเพลิง สะค้าน ช้าพลู หนักสิง่ ละ ๓ ส่วน แห้ว
หมู โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา โกฐกระดูก โกฐก้านพร้าว โกฐพุงปลา โกฐ
ชฎามังสี เทียนดํา เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตา ตั ๊กแตน เทียนเยาวพาณี
เทียนสัตตบุษย์ เทียนเกล็ดหอย เทียนตากบ สักขี ลูกราชดัด ลูกสารพัดพิษ ลูกกระวาน กานพลู
ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ จันทน์เทศ จันทน์แดง อบเชยญวน เปลือกสมุลแว้ง หญ้าตีนนก แฝกหอม
เปลือกชะลูด เปราะหอม รากไคร้เครือ เนื้อไม้ ขอนดอก กระลํา พัก เนื้อลูกมะขามป้อม เนื้อลูก
สมอพิเภก ชะเอมเทศ ลูกผักชีลา ลูกกระดอม บอระเพ็ด เกสรบัวหลวง เกสรบุนนาค ดอกพิกุล
ดอกสารภี ดอกมะลิ แก่นสน หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน นํ้าประสานทองสะตุ หนัก ๒ ส่วน ชะมดเช็ด
พิมเสน หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน

วิ ธีทาํ ชนิดผง บดเป็นผง


ชนิดเม็ด บดเป็นผง ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๒ กรัม
สรรพคุณ แก้ลมคลื่นเหียน อาเจียน ใช้น้ําลูกผักชี เทียนดําต้ม
แก้ลมปลายไข้ ใช้กา้ นสะเดา ลูกกระดอม และบอระเพ็ด ต้มเอานํ้า
ถ้าหานํ้ากระสายไม่ได้ใช้น้ําสุกแทน
ขนาดรับประทาน รับประทานทุก ๓ ชั ่วโมง
ชนิดผง ครัง้ ละ ๑/๒ – ๑ ช้อนกาแฟ
ชนิดเม็ด ครัง้ ละ ๕ – ๑๐ เม็ด
ขนาดบรรจุ ชนิดผง ๑๕ กรัม
ชนิดเม็ด ๓๐ เม็ด
214

๑๕. ยาวิ สมั พยาใหญ่


วัตถุส่วนประกอบ ลูกผักชีลา ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ หนักสิง่ ละ ๘ ส่วน กระวาน กานพลู
โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชีย ง โกฐจุฬาลัมพา อบเชย สมุลแว้ง สมอเทศ สมอไทย
รากไคร้เครือ ว่านนํ้า บอระเพ็ด ขิงแห้ง พญารากขาว หนักสิง่ ละ ๒ ส่วน ดีปลี หนัก ๕๖ ส่วน
นํ้าระสานทองสะตุ หนัก ๑ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ จุกเสียด
ขนาดรับประทาน รับประทานทุก ๔ ชั ่วโมง
ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ ใช้น้ําสุกเป็นกระสาย
ั ้ นลูกกลอน
หรือผสมนํ้าผึง้ ปนเป็
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๑๖. ยาธาตุบรรจบ
วัตถุส่วนประกอบ ขิง โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐเชียง โกฐสอ เทียนดํา เทียนขาว
เทียนสัตตบุษย์ เทียนเยาวพาณี เทียนแดง ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ กานพลู การบูร เปลือกสมุลแว้ง
ลูกกระวาน ลูกผักชีลา ใบพิมเสน รากไคร้เครือ ดีปลี เปราะหอม หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน โกฐก้านพร้าว
หนัก ๘ ส่วน เนื้อลูกสมอไทย หนัก ๑๖ ส่วน นํ้าประสานทองสะตุ หนัก ๑ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ แก้ธาตุไม่ปกติ ท้องเสีย ใช้เปลือกแคหรือเปลือกสะเดา หรือ
เปลือกลูก ทับทิม ต้มกับนํ้าปูนใส แก้ทอ้ งขึน้ ท้องเฟ้อ ใช้กระเทียม
๓ กลีบ ทุบชงนํ้าร้อน หรือ ใช้ใบกระเพรา ต้มเป็นกระสาย ถ้าหาก
นํ้ากระสายไม่ได้ ให้ใช้น้ําสุกแทน
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ ๓ เวลา ก่อนอาหาร
ผูใ้ หญ่ ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ
เด็ก ครัง้ ละ ๑ – ๒ ช้อนกาแฟ
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม
215

๑๗. ยาประสะกานพลู
วัตถุส่วนประกอบ เทียนดํา เทียนขาว โกฐสอ โกฐกระดูก กํามะถันเหลือง การบูร
รากไคร้เครือ เปลือกเพกา เปลือกขีอ้ าย ใบกระวาน ลูกกระวาน ลูกผักชีลา แฝกห อม ว่านนํ้า
หัวกระชาย เปราะหอม รากแจง กรุงเขมา หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน รากข้าวสาร เนื้อไม้ ลูกจันทน์
ขมิน้ ชัน หนักสิง่ ละ ๘ ส่วน ขิงแห้ง ดีปลี หนักสิง่ ละ ๓ ส่วน นํ้าประสานทองสะตุ ไพล เจตมูลเพลิง
แดง สะค้าน ช้าพลู หนักสิง่ ละ ๒ ส่วน เปลือกซิก หนัก ๑๐ ส่วน พริ กไทยหนัก ๑ ส่วน กานพลู
หนัก ๑๓๑ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ แก้ปวดท้อง เนื่องจากธาตุไม่ปกติ ใช้ไพลเผาไฟฝนกับนํ้าปูนใส
ถ้าหานํ้ากระสาย ไม่ได้ ให้ใช้น้ําสุกแทน
ขนาดรับประทาน รับประทานทุก ๓ ชั ่วโมง
ผูใ้ หญ่ ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๑๘. ยากวาดแสงหมึก
วัตถุส่วนประกอบ หมึกหอม จันทน์ชะมด ลูกกระวาน จันทน์เทศ ใบพิมเสน ลูกจันทน์
ดอกจันทน์ กานพลู ใบสันพร้าหอม หัวหอม ใบกระเพรา ดีงเู หลือม หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน ชะมด พิมเสน
หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๒ กรัม
สรรพคุณ แก้ตวั ร้อน ละลายนํ้าดอกไม้เทศ
แก้ทอ้ งขึน้ ปวดท้อง ละลายนํ้าใบกระเพราต้ม
แก้ไอ ขับเสมหะ ละลายนํ้าลูกมะแว้งเครือ หรือลูกมะแว้งต้นกวาดคอ
แก้ปากเป็นแผล แก้ละออง ละลายนํ้าลูกเบญกานีฝนทาปาก
ขนาดรับประทาน ใช้กวาดคอวันละ ๑ ครัง้ หลังจากนัน้ รับประทานทุก ๑ ชั ่วโมง
เด็กอายุ ๑ – ๖ เดือน ครัง้ ละ ๒ เม็ด
เด็กอายุ ๗ – ๑๒ เดือน ครัง้ ละ ๓ เม็ด
ขนาดบรรจุ ๑๒ เม็ด
216

๑๙. ยามันทธาตุ
วัตถุส่วนประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา เทียนดํา
เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั ๊กแตน รากไคร้เครือ ลูกผักชีลอ้ ม ลูกผักชีลา การบูร
กระเทียม เปลือกสมุลแว้ง เปลือกโมกมัน จันทน์แดง จันทน์เทศ กานพลู ดีปลี รากช้าพลู เถาสะค้าน
รากเจตมูลเพลิง พริกไทยล่อน ลูกจันทน์ หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน ขิง ลูกเบญกานี หนักสิง่ ละ ๓ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ แก้ธาตุไม่ปกติ แก้ทอ้ งขึน้ ท้องเฟ้อ
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
ผูใ้ หญ่ ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ ละลายนํ้าสุก
เด็ก ครัง้ ละ ๑/๒ ช้อนกาแฟ ละลายนํ้าสุก
ขนาดบรรจุ ชนิดผง ๑๕ กรัม

๒๐. ยาไฟประลัยกัลป์
วัตถุส่วนประกอบ พริกไทยล่อน ขิง ดีปลี กระเทียม หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน ขมิน้ อ้อย กะทือ
ข่า ไพล เปลือกมะรุม หนักสิง่ ละ ๕ ส่วน รากเจตมูลเพลิงแดง สารส้มแก่นขนสนทะเล ก ารบูร
ผิวมะกรูด หนักสิง่ ละ ๕ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ ขับนํ้าคาวปลา ในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ ละลายนํ้าสุก หรือนํ้าสุรา
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๒๑. ยาไฟห้ากอง
วัตถุส่วนประกอบ รากเจตมูลเพลิง ขิง พริกไทยล่อน สารส้ม ฝกั ส้มปอ่ ย หนักสิ๑ง่ ละ
ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ ขับนํ้าคาวปลา ในเรือนไฟ ช่วยให้มดลูกเข้าอู่
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ ละลายนํ้าสุก หรือนํ้าสุรา
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม
217

๒๒. ยาประสะเจตพังคี
วัตถุส่วนประกอบ ดอกจันทน์ ลูกจันทน์ ลูกกระวาน ใบกระวาน กานพลู กรุงเขมา
รากไคร้เครือ การบูร ลูกสมอทะเล พญารากขาว เปลือกหว้า เกลือสินเธาว์ หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน
พริกไทยอ่อน บอระเพ็ด หนักสิง่ ละ ๒ ส่วน ข่า หนัก ๑๕ ส่วน ระย่อม หนัก ๒ ส่วน เจตพังคี
หนัก ๓๔ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ แก้กระษัยจุกเสียด
ขนาดรับประทาน รับประทานทุกเช้าและเย็น ก่อนอาหาร
ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ ละลายนํ้าสุก
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๒๓. ยาธรณี สณ
ั ฑะฆาต
วัตถุส่วนประกอบ ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู เทียนดํา เทียนขาว
หัวดองดึง หัวบุก หัวกลอย หัวกระดาดขาว หัวกระดาดแดง ลูกเร่ว ขิง ชะเอมเทศ รากเจตมูลเพลิง
โกฐกระดูก โกฐเขมา โกฐนํ้าเต้า หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน ผักแพวแดง เนื้อลูกมะขามป้อม หนักสิง่ ละ ๒
ส่วน เนื้อลูกสมอไทย มหาหิงคุ์ การบูร หนักสิง่ ละ ๕ ส่วน รงทอง (ประสะแล้ว ) หนัก ๔ ส่วน ยาดํา
หนัก ๒๐ ส่วน พริกไทยล่อน หนัก ๙๖ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ แก้กระษัยเส้น เถาดาน ท้องผูก
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ๑ ครัง้ ก่อนอาหารเช้าหรือก่อนนอน ครั
งละ้ ๑/๒ – ๑
ั ้ นลูกกลอน
ช้อนกาแฟ ละลายนํ้าสุก หรือนํ้าผึง้ ปนเป็
คนเป็นไข้ หรือสตรีมคี รรภ์ ห้ามรับประทาน
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม
218

๒๔. ยาบํารุงโลหิ ต
วัตถุส่วนประกอบ โกฐจุฬาลัมพา เนื้อลูกสมอไทย เนื้อลูกสมอดีงู เนื้อลูกสมอพิเภก
เปลือกชะลูด เปลือกอบเชยเทศ จันทน์แดง แก่นแสมสาร แก่นแสมทะเล กฤษณา หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน
ครั ่ง หนัก ๘ ส่วน ฝาง ดอกคําไทย หนักสิง่ ละ ๑๐ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ บํารุงโลหิต
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ ๒ ครัง้ เช้า – เย็น ก่อนอาหาร
ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ ละลายนํ้าสุก
ขนาดบรรจุ ๓๐ กรัม

๒๕. ยาประสะเปราะใหญ่
วัตถุส่วนประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐหัวบัว โกฐเชียง โกฐจุฬาลัมพา เทียนดํา
เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนตาตั ๊กแตน ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู
จันทน์เทศ จันทน์แดง ดอกบุนนาค ดอกสารภี ดอกพิกุล เกสรบัวหลวง หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน เปราะหอม
หนัก ๒๐ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ ถอนพิษไข้ตานทราง สําหรับเด็ก ละลายนํ้าดอกไม้เทศหรือนํ้าสุก
รับประทาน หรือผสมนํ้าสุราสุมกระหม่อม
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ ๓ ครัง้
ครัง้ ละ ๑/๒ – ๑ ช้อนชา
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๒๖. ยามหาจักรใหญ่
วัตถุส่วนประกอบ โกฐสอ โกฐเขมา โกฐพุงปลา โกฐก้านพร้าว โกฐกระดูก เทียนดํา
เทียนแดง เทียนขาว เทียนข้าวเปลือก เทียนเยาวพาณี สมอไทย (เอาแต่เนื้อ ) สมอพิเภก (เอาแต่
เนื้อ) มะขามป้อม (เอาแต่เนื้อ) ลูกจันทน์ ดอกจันทน์ ลูกกระวาน กานพลู ชะเอม เทศ เมล็ดโหระพา
ลูกผักชีลา สารส้ม ดินประสิว ขมิน้ อ้อย หัวกระเทียม หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน ยาดําสะตุ หนัก ๔ ส่วน
ใบกระพังโหม หนัก ๓๐ ส่วน
219

วิ ธีทาํ บดเป็นผง ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๕ กรัม


สรรพคุณ แก้ลมทราง แก้อาการท้องอืด ท้องเฟ้อ
ขนาดรับประทาน เด็กอายุต่าํ กว่า ๕ ขวบ รับประทานครัง้ ละ ๑–๓ เม็ด เพิม่ และ
ลดได้ตามส่วน
ขนาดบรรจุ ๑๐ เม็ด

๒๗. ยาเนาวหอย
วัตถุส่วนประกอบ กระดูกเสือเผา กระดูกโคเผา กระดูกแพะเผา กระดูกงูเหลือมเผาหนัก
สิง่ ละ ๑ ส่วน เปลือกหอยขมเผา เปลือกหอยแครงเผา เปลือกหอยตาวัวเผา เปลือกหอยพิมพการั ง
เผา เปลือกหอยนางรมเผา เปลือกหอยกาบเผา เปลือกหอยจุ๊บแจงเผา เปลือกหอยมุกเผา เปลือก
หอยสังข์เผา หนักสิง่ ละ ๒ ส่วน รากทนดี (ตองแตก) หนัก ๓ ส่วน รากเจตมูลเพลิงแดง หัสคุณเทศ
หนักสิง่ ละ ๔ ส่วน พริกไทยล่อนหนัก ๓๒ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง
สรรพคุณ แก้กระษัยจุกเสียด
ขนาดรับประทาน รับประทานวันละ ๒ ครัง้ ก่อนอาหาร เช้า - เย็น
ั ้ นลูกกลอน
ครัง้ ละ ๑ ช้อนกาแฟ ผสมนํ้าผึง้ ปนเป็
ขนาดบรรจุ ๑๕ กรัม

๒๘. ยาถ่าย
วัตถุส่วนประกอบ ใบมะกา ใบมะขาม ใบส้มปอ่ ย หญ้าไทร ใบไผ่ปา่ ฝกั คูณ รากขีก้ าแดง
รากขีก้ าขาว รากตองแตก เถาวัลย์ เปรียง หัวหอม ฝกั ส้มปอ่ ย สมอไทย สมอดีงู หนักสิง่ ละ ๑ ส่วน
ขีเ้ หล็กทัง้ ๕ หนัก ๑ ส่วน ยาดํา หนัก ๔ ส่วน ดีเกลือฝรั ่ง หนัก ๒๐ ส่วน
วิ ธีทาํ บดเป็นผง ทําเป็นเม็ด หนักเม็ดละ ๐.๕ กรัม
สรรพคุณ แก้ทอ้ งผูก
ขนาดรับประทาน รับประทาน วันละ ๑ ครัง้ ก่อนนอน
ครัง้ ละ ๒ – ๕ เม็ด ตามธาตุหนักธาตุเบา
ขนาดบรรจุ ๑๐ เม็ด
220

ข้อ ๓ ยาสามัญประจําบ้าน ทีไ่ ด้ขน้ึ ทะเบียนตํารายาไว้ก่อนประกาศฉบับนี้ใช้บงั คับ


ยังคงเป็นยาสามัญประจําบ้านต่อไปได้ ภายในกําหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแต่ประกาศฉบับนี้
มีผลใช้บงั คับ
ข้อ ๔ ให้ผรู้ บั อนุญาตผลิต นําหรือสั ่งยาเข้ามาในราชอาณาจักร ซึง่ ยาแผนโบราณทีม่ ี
ตํารับยาตามประกาศฉบับนี้และได้ขน้ึ ทะเบียนตํารับยาไว้ก่อนทีป่ ระกาศฉบับนี้มผี ลใช้บงั คับที่
ประสงค์จะให้ตาํ รับยานัน้ เป็นยาสามัญประจําบ้านโดยไม่ตอ้ งขอขึน้ ทะเบียนตํารายาใหม่ ขอแก้ไข
รายการทะเบียนตํารับยาภายในกําหนดหนึ่งร้อยแปดสิบวัน นับแต่ประกาศฉบับนี้ มีผลใช้บงั คับ
ข้อ ๕ ประกาศฉบับนี้ให้ใช้บงั คับตัง้ แต่วนั ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา เป็นต้นไป

ประกาศ ณ วันที่ ๒๙ สิงหาคม พ.ศ.๒๕๓๗

ลงนาม อาทิตย์ อุไรรัตน์


(นายอาทิตย์ อุไรรัตน์)
รัฐมนตรีวา่ การกระทรวงสาธารณสุข

(คัดจากราชกิ จจานุเบกษา ฉบับประกาศทั ่วไป เล่


๑๑๑ม ตอนพิ เศษ๔๒ ง วันที่ ๓ ตุลาคม ๒๕๓๗)
221

แผนภูมิ ๕ ยาสามัญประจําบ้าน ๒๘ ขนาน (แบ่งตามกลุ่มอาการ)

ยาสามัญประจําบ้าน ๒๘ ขนาน

แก้ลม,บํารุงหัวใจ ระบายพิษไข้, ขับลม,บํารุงธาตุ แก้ไอ,ขับเสมหะ ถ่าย, บํารุงเลือด ท้องเสีย


แก้ไข้ กระษัยปวดเมือ่ ย ขับนํ้าคาวปลา
โลหิ ตระดูสตรี

๑. ยาหอมเทพวิจติ ร ๑. ยามหานิลแท่งทอง ๑. ยาประสะกระเพรา ๑. ยาอัมฤควาที ๑. ยาธรณีสณ


ั ทะฆาต ๑. ยาประสะไพล ๑. ยาเหลืองปิดสมุทร
๒. ยาหอมทิพโอสถ ๒. ยาเขียวหอม ๒. ยาหอมอินทจักร์ ๒. ยาประสะมะแว้ง ๒. ยาถ่าย ๒. ยาไฟประลัยกัลป์
๓. ยาหอมเนาวโกฐ ๓. ยาจันทลีลา ๓. ยาวิสมั พยาใหญ่ ๓. ยาไฟห้ากอง
๔. ยาตรีหอม ๔. ยาธาตุบรรจบ ๔. ยาบํารุงโลหิต
๕. ยาประสะจันทน์แดง ๕. ยาประสะกานพลู
๖. ยากวาดแสงหมึก ๖. ยามันทธาตุ
๗. ยาประสะเปราะใหญ่ ๗. ยาประสะเจตพังคี
๘. ยามหาจักรใหญ่
๙. ยาเนาวหอม
222

แผนภูมิที่ ๖ แผนภูมิสรุปความสัมพันธ์ของเนื้ อหาวิ ชาเภสัชกรรมแผนโบราณ

สรุปหลักวิชาเภสัช *
รูจ้ กั ยาสําหรับแก้โรคแก้ไข้

แบ่งออกเป็นหลักใหญ่ ๔ ประการ

เภสัชวัตถุ สรรพคุณเภสัช คณาเภสัช เภสัชกรรม


รูจ้ กั ตัวยาสําหรับแก้โรคแก้ไข้ รูจ้ กั สรรพคุณยาแก้โรคแก้ไข รูจ้ กั พิกดั ยา รูจ้ กั การปรุงยาทีผ่ มใช้

แบ่งได้ ๓ ประเภท ต้องทราบรสยาก่อนจึงจะทราบ แบ่งได้ ๓ ประเภท มี ๒๘ วิธี


สรรพคุณยา รสยาแบ่งได้เป็น

๑. พืชวัตถุ ๒. สัตว์วตั ถุ ๓. ธาตุวตั ถุ ๑.ยารสประธาน ๓ รส ๒. รสของตัวยา ๙ รส ๑. จุลพิกดั ๒. พิกดั ยา ๓. มหาพิกดั ปรุงตามวิธที างโบราณ ประกาศกระทรวง
มี ๕ จํานวน มี ๓ จําพวก มี ๒ จําพวก รสยาสําเร็จรูป รสของตัวยา มี ๒๓ – ๒๔ วิธี สาธารณสุข
เพิม่ เติม ๔ วิธี
๑. พืชจําพวกต้น ๑.สัตว์บก ๑. ธาตุสลายตัวได้ง่าย ๑. รสร้อนแก้ทางวาโยธาตุ ๑. รสฝาด ๑. ต่างกันที่รส ๑. พิกดั ยา ๒ สิง่ ๑. มหาพิกดั ๓ สิง่
๒. พืชจําพวกเถา-เครือ ๒.สัตว์นํ้า ๒. ธาตุสลายตัวได้ยาก ๒. รสเย็นแก้ทางเตโชธาตุ ๒. รสหวาน ซึมซาบผิวเนื้อ ๒. ต่างกันที่ถนิ่ เกิด ๒. พิกดั ยา ๓ สิง่ ๒. มหาพิกดั ๕ สิง่ (เพื่อสะดวกในการศึกษา แบ่งออกเป็ น ๔ ประเภท)
๓. พืชจําพวกหัว-เหง้า ๓.สัตว์อากาศ ๓. รสสุขุมแก้ทางอาโปธาตุ ๓. รสเมา เบื่อแก้พษิ ๓. ต่างกันที่ขนาด ๓. พิกดั ยา ๔ สิง่ ๓. มหาพิกดั ทัวไป
่ ๑. ประเภทที่เป็ นยานํ้ า มี ๑๑ วิธี
๔. พืชจําพวกผัก ๔. รสขม บํารุงโลหิตและดี ๔. ต่างกันที่ส ี ๔. พิกดั ยา ๕ สิง่ ๒. ประเภทที่เป็ นยาผง มี ๗ วิธี
๕. พืชจําพวกหญ้า ๕. รสเผ็ดร้อน แก้ลม ๕. ต่างกันที่ชนิด ๕. พิกดั ยา ๗ สิง่ ๓. ประเภที่เป็ นยาเม็ด มี ๖ วิธี
๖. รสมัน ชอบเส้นเอ็น ๖. พิกดั ยา ๙ สิง่ ๔. ประเภทที่เป็ นยาสูดดมและไอรม มี ๔ วิธี
๗. รสหอมเย็น บํารุงหัวใจ ๗. พิกดั ยา ๑๐ สิง่
๘. รสเค็ม ซาบตามผิวหนัง ๘. พิกดั พิเศษ
๙. รสเปรี้ยว กัดเสมหะฟอก
โลหิต
* ควรเพิม่ รสจืดอีก ๑ รส
แก้ทางเตโชธาตุ ขับปสั สาวะ
223

บรรณานุกรม

โรงเรียนแพทย์แผนโบราณ วัดพระเชตุพนวิมลมังคลาราม ราชวรมหาวิหาร. ตําราประมวล


หลักเภสัช. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์ศรีไทย , ๒๕๒๘.

ประเสริฐ พราหมณี และคณะ, สมาคมแพทย์แผนโบราณวัดมหาธาตุ กรุงเทพฯ. ตําราเภสัช


กรรมไทยแผนโบราณ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์มหาจุฬาลงกรณ์ราชวิทยาลัย, ๒๕๓๑.

ฝา่ ยธรรมชาติบาํ บัด สํานักงานสาธารณสุขจังหวัดปราจีนบุร ี , ศูนย์ประสานงานการแพทย์แผนไทย


ภาคกลาง และสถาบันการแพทย์แผนไทย กรมการแพทย์ กระทรวงสาธารณสุข.
คู่มือเภสัชกรรมแผนโบราณ. กรุงเทพฯ: โรงพิมพ์องค์การสงเคราะห์ทหารผ่านศึก, ๒๕๓๗.

แผนกเภสัชกรรม มูลนิธฟิ ้ืนฟูส่งเสริมการแพทย์ไทยเดินฯ อายุรเวทวิทยาลัย , คู่มือการฝึ กปฏิ บตั ิ


การเภสัชกรรมแผนเดิ ม หลักสูตรแพทย์แผนโบราณแบบประยุกต์. ม.ป.ท. , ม.ป.ป., (อัดสําเนา)

พิษณุ ประสาทเวช, พระยา. เวชศึกษาแพทย์ศาสตร์สงั เขป เล่ม ๑. พระนคร: โรงพิมพ์ไทย, ๒๔๕๑.

พิษณุ ประสาทเวช, พระยา. เวชศึกษาแพทย์ศาสตร์ส ังเขป เล่ม ๒. พระนคร: โรงพิมพ์พฤฒิมา,๒๔๕๖.

พิษณุ ประสาทเวช, พระยา. เวชศึกษาแพทย์ศาสตร์สงั เขป เล่ม ๓. พระนคร: โรงพิมพ์สามัคคี , ม.ป.ท.

พิษณุ ประสาทเวช, พระเยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๑. พระนคร: โรงพิมพ์ไทย, ๒๔๕๐.

พิษณุ ประสาทเวช, พระเยา. แพทย์ศาสตร์สงเคราะห์ เล่ม ๒. พระนคร: โรงพิมพ์ศภุ การจําเริญ ,๒๔๕๐.


224

ภาคผนวก ก.
225

การสับยา
การสับยา คือ การนําสมุนไพรสดหรือแห้งในส่วนต่างๆ เช่น แก่น ,เปลือก,ราก,ลูก.ใบ,ดอก
มาทําให้มขี นานเล็กลงโดยการใช้มดี ลัลบั ให้เป็นชิน้ เล็กๆ ตามทีต่ อ้ งการใช้ในการปรุงยา

อุปกรณ์การสับยา
- มีด
- เขียง
- ถาด (ใบใหญ่)
- กระสอบปา่ น
- ผ้าขนหนู
- ยาสมุนไพร

ขัน้ ตอนในการสับยา
๑. ปูกระสอบปา่ นบนโต๊ะยา
๒. วางถาด (ใบใหญ่) บนกระสอบปา่ น
๓. วางเขียงในถาด (ใบใหญ่) โดยใช้ผา้ นหนูพบั รองเขียงกับถาด (ใบใหญ่) เพื่อป้องกันมิให้
เกิดเสียงมากเวลาสับยา
๔. วางยาสมุนไพรบนเขียง ใช้มดี สับยาออกเป็นชิน้ แล็กๆ ตามขนาดทีต่ อ้ งการและ
ความเหมาะสม (ในขณะสับยาไม่ควรให้ยากระเด็นออกนอกถาด)

ขัน้ ตอนการเก็บยาที่สบั เสร็จแล้ว


๑. ให้นํายาทีไ่ ด้ใส่ในลิน้ ชักยาตามชื่อยานัน้ ๆ
๒. ให้นํายาทีไ่ ด้ใส่ในปี๊บยาสํารอง เขียนชื่อยาติดไว้แล้วเก็บให้เรียบร้อยเป็นหมวดหมู่

การเก็บรักษาอุปกรณ์การสับยา
๑. ล้างทําความสะอาดอุปกรณ์การสับยา
๒. เก็บอุปกรณ์ของใช้เช้าที่
226

การอบยา
ขัน้ ตอนการอบยาที่ปรุงเป็ นตํารับ
๑. นํายาทีป่ รุงเป็นตัวตํารับไว้แล้วใส่ในถาดสแตนเลสใบใหญ่ในปริมาณทีเ่ หมาะสมกับถาดทีจ่ ะอบ
๒. เขียนชื่อยา ,นํ้าหนักยา ,วัน /เดือน/ปี “ทีเ่ ตรียมปรุงยา ”, จํานวนถาดยา (ถาดที่ ๑, ถาดที่
๒......) ของตํารับยานัน้ ติดไว้ขา้ งถาดยาด้วยเทปใส
๓. นํายาแต่ละถาด เรียงจํานวนถาดยา (ถาดที่ ๑, ถาดที่ ๒......) ของยาแต่ ละตํารับเข้าตูอ้ บ
(ยกเว้น) พวกสารทีร่ ะเหยได้ เช่น เมนทอล พิมเสน และพวกยางไม้)
๔. อบยาทีอ่ ุณหภูม ิ ๕๐ – ๕๕ องศาเซลเซียส เป็นเวลาประมาณ ๔ – ๖ ชั ่วโมง (เพื่อให้ยาก
รอบเปราะและบดได้ง่ายขึน้ )
๕. บันทึก “รายชื่อยาขนานต่าง ๆ ทีเ่ ข้าอบในตูย้ า” ติดไว้ทต่ี อู้ บยาด้วยเทปใส ดังนี้

รายชื่อยาขนานต่าง ๆ ที่ เข้าอบในตู้อบ

วันเดือนปี จํานวน ชือ่ ยา นํ้าหนักยา นํ้าหนักยา ชือ่ ผูน้ ํายา วันเดือนปี ชือ่ ผูน้ ํายา วันเดือนปีที่
(ทีป่ รุงยา) (ถาด) ก่อนอบ หลังอบ เข้าตูอ้ บ ทีอ่ บยา ไปบด นํายาไปบด
227

การบดยา

ขัน้ ตอนการบดยา (ด้วยเครื่องบดยา เครื่องที่ ๑)


๑. นํายาทีอ่ บแล้ว ใส่เครื่องบดยาเครื่องที่ ๑ จํานวน ๒ ถาด
๒. บดยาครัง้ ที่ ๑ เริม่ เปิดเครื่องบดยา นาน ๑/๒ ชั ่วโมง
๓. นํายาทีเ่ หลือถาดที่ ๓,๔ ....... ทยอยใส่เครื่องบดยา จนครบตามตํารับยานัน้
๔. บดยานาน ครัง้ ละ ๓ ชั ่วโมง
๕. เขียนชื่อยา, นํ้าหนักยา, เวลาทีเ่ ริม่ บดยา, เวลาทีบ่ ดยาเสร็จ, วัน/เดือน/ปี, ชื่อผูบ้ ดยาปิด
ไว้บนฝาเครื่องบดยาเครื่องที่ ๑
๖. เมื่อบดยาเสร็จแล้ว ตักยาออกจากเครื่องบดยาใส่ไว้ในกะละมัง เพื่อเตรียมร่อน

ขัน้ ตอนการบดยา (ด้วยเครื่องบดยา เครื่องที่ ๒)


๑. นํายาทีอ่ บแล้ว ใส่เครื่องบดยาเครื่องที่ ๒ จํานวน ๒ ถาด
๒. บดยาครัง้ ที่ ๒ เริม่ เปิดฝาเครื่องบดยาใช้เกียร์ ๒ นาน ๑ ชั ่วโมง
๓. นํายาทีเ่ หลือถาดที่ ๓,๔ ..... ทยอยใส่เครื่องบดยาจนครบตํารับนัน้ บดต่อไปอีก ๑/๒
ชั ่วโมง แล้วเปลีย่ นเป็นเกียร์ ๓
๔. บดยานาครัง้ ละ ๓ ชั ่วโมง
๕. เขียนชื่อยา, นํ้าหนักยา, เวลาทีเ่ ริม่ บดยา, เวลาทีบ่ ดยาเสร็จ, วัน/เดือน/ปี, ชื่อผูบ้ ดยาปิด
ไว้บนฝาเครื่องบดยาเครื่องที่ ๒
๖. การบดครัง้ ที่ ๒ (กากยา) เริม่ เปิดเครื่องบดยาใช้เกียร์ ๓)

ติ ดบนเครื่องบดยา

ชื่อยา............................................................
นํ้าหนัก..................กรัม
เริม่ บดเวลา...................................................น.
วันที.่ ..............................................................
ลงชื่อ......................................................ผูบ้ ดยา
228

แบบฟอร์มบัญชีบด – ร่อนยาประจําวัน
ชื่อยา............................................................นํ้าหนัก.........................กรัม

นํ้าหนักยา
บด นํ้าหนักเนื้อยา นํ้าหนักกากยา หมาย
วันเดือนปี ทีบ่ ด ผูบ้ ด ผูค้ วบคุม
ครังที
้ ่ (กรัม) (กรัม) เหตุ
(กรัม)

นํ้าหนักสุทธิ กรัม

บดเสร็จวันที.่ ..............เดือน...................................พ.ศ..................

ขัน้ ตอนการดูแลรักษาเครื่องบดยา
๑. ใช้ผา้ ชุบนํ้าเช็ดทําความสะอาดเครื่องบดยา และใช้ผา้ แห้งเช็ดอีกครัง้ ให้เครื่องบดยาแห้ง
สนิท (อาจจะใช้พดั ลมเปา่ ให้แห้ง)
๒. ปิดฝาเครื่องบดยา

การร่อนยา
การร่อนยา คือ การนํายาทีบ่ ดละเอียดแล้ว มาร่อนผ่านตะแกรง (หรือ แร่ง) ให้ได้ผงยาที่
ละเอียดมากขึน้ ตามความต้องการ
ตระแกรงหรือแร่ง ทีใ่ ช้ร่อนยา มี ๓ ขนาด คือ
๑. ขนาดเบอร์ ๑๐๐ ละเอียดมาก
๒. ขนาดเบอร์ ๘๐ ละเอียดปานกลาง
๓. ขนาดเบอร์ ๖๐ ละเอียดน้อย
(ขนาดทีใ่ ช้ประจําในการร่อนยา คือ เบอร์ ๑๐๐ และเบอร์ ๘๐)
229

ขัน้ ตอนการร่อนยา
๑. นํายาทีบ่ ดเสร็จแล้ว ร่อนผ่านตะแกรงตามขนาดเบอร์ทต่ี อ้ งการ (เบอร์ ๑๐๐ หรือ เบอร์๘๐)
๒. ชั ่งเนื้อยาทีร่ ่อนเสร็จแล้ว ใส่กะละมัง เขียนชื่อยา นํ้าหนัก เนื้อยา วัน/เดือน/ปี ชื่อผูร้ ่อนยา
ใส่กะละมัง ปิดฝามิดชิด
๓. ชั ่งกากยาใส่ ถุงพลาสติก (ซ้อน ๒ ถุง) เขียนชื่อยา, นํ้าหนักกากยา, วัน/เดือน/ปี, ชื่อ
ผูร้ ่อนยาใส่ไว้ในถุงกากยา ผูไ้ ว้ให้แน่น
๔. เมื่อร่อนยาครัง้ ต่อๆ ไป (ครัง้ ที่ ๒, ๓, ๔......) ให้เอานํ้าหนักเนื้อยาทีร่ ่อนได้ในแต่ละครัง้
ของยาขนานนัน้ ๆ มาใส่รวมในภาชนะเดียวกัน โดยเขียนชื่อยา, นํ้าหนักเชือ้ ยา, วัย/เดือน/ปี, ชื่อ
ผูร้ ่อนยาในแต่ละครัง้ ใส่ไว้ในภาชนะเนื้อยาขนานนัน้ ปิดฝาให้มดิ ชิด
๕. ยาร่อนเสร็จแล้วในขนานหนึ่งๆ คลุกเคล้าให้เข้ากันดี ก่อนนําใส่ภาชนะทีส่ ะอาดเขียนชื่อ
ยา (เบอร์ยา) วัน/เดือน/ปี ทีผ่ ลิตยาเสร็จ ปิดไว้ขา้ งๆภาชนะ นัน้ ๆ
๖. บันทึกบันชีการบดร่อนยา ในแต่ละขนานทุกครัง้ ลงในแบบฟอร์มบัญชีการบดร่อนยาประจําวัน
การดูแลรักษาเครื่องบดยา
๑. ใช้ผา้ ชุบนํ้าเช็ดทําความสะอาดเครื่องร่อนยา และใช้ผา้ แห้งเช็ดอีกครัง้ ให้เครื่องร่อนยา
แหก (อาจจะใช้พดั ลมเปา่ แห้ง)
๒. ปิดผาเครื่องร่อนยา
การเก็บรักษาตระแกรงหรือแร่ง
๑. ใช้แปรงปดั ทําความสะอาดผงยา ทีต่ ดิ อยูท่ ต่ี ะแกรง และขอบตระแกรงร่อนยา
๒. ใช้ผา้ ชุบนํ้าเช็ดทีต่ ะแกรง และขอบตะแกรงร่อนยา และใช้ผา้ แห้งเช็ดอีกครัง้ ให้ตะแกรง
ร่อนยาแห้ง (อาจจะใช้พดั ลมเปา่ ให้แห้ง)
๓. ใช้ชอ้ นสแตนเลส (หน้าตัดรูปสีเ่ หลีย่ ม) ขูดตะแกรงร่อนยาเบาๆ เพื่อให้เสีย้ นยาทีต่ ดิ
ตะแกรงหลุดออก หรือใช้แหนมถอดเสีย้ นยาทีต่ ดิ ตะแกรงร่อนยาออกให้หมด
๔. เก็บตะแกรงร่อนยาไว้ในตู้
ข้อควรระวัง : ห้ามนําตะแกรงร่อนยาล้างนํ้า เพราะทําให้ตะแกรงชํารุดและอายุการใช้งานสัน้ ลง
230

วิธีการปรุงยาตามหลักการปรุงยาแผนโบราณ มี ๒๘ วิธี คือ


๑. ยาตากแห้ง ปรุงแล้ว บดเป็นผงละเอียด ปนเป็ ั ้ นลูกกลอน
๒. ยาตากแห้ง ปรุงแล้ว บดเป็นผงละเอียด ปนเม็ ั ้ ด หรือใช้ยาผง
๓. ยาสด, แห้ง ปรุงแล้ว ต้มพอเดือด หรือเคีย่ วรินนํ้ากิน
๔. ยาตากแห้ง ปรุงแล้ว บดเป็นผงหยาบ แช่น้ํา หรือดองสุรากินแต่น้ํา
๕. ยาสอ,แห้ง ปรุงแล้ว บดเป็นผงหยาบ กัดด้วยหัวเหล้าและหยดลงในนํ้าเติมนํ้ากิน
๖. ยาตากแห้ง ปรุงแล้ว เผาเป็นถ่าน ทํานํ้าด่าง รินแต่น้ํากิน
๗. ยาตากแห้ง ปรุงแล้ว สุม เผาหรือคั ่วไฟ บดเป็นผงละเอียด ปนเม็ ั ้ ดหรือใช้ยาผง
๘. ยาสด,แห้ง ปรุงแล้ว บดเป็นผงหยาบ บรรจุภาชนะเอาไว้ดม
๙. ยาสด,แห้ง ปรุงแล้ว กลั ่นเอาไอ (นํ้าเหงื่อ) เช่น กลั ่นสุรา เอานํ้าเหงื่อกิน
๑๐.ยาสด, แห้ง ปรุงแล้ว บดเป็นผงละเอียดมาก ใช้เปา่ จมูก และคอ เช่น ยานัตถุ์
๑๑.ยาตากแห้ง ปรุงแล้ว มวนเป็นบุหรีส่ บู หรือสูดเอาควัน
๑๒.ยาตากแห้ง ปรุงแล้ว บดเป็นผงหยาบ เผาไฟหรือโยนบนถ่านไฟ ใช้ควันรม
๑๓.ยาสด,แห้ง ปรุงแล้ว บดเป็นหงหยาบ หุงด้วยนํ้ามัน เป็นยานํ้ามัน
๑๔.ยาสด,แห้ง ปรุงแล้ว ต้ม ใช้น้ํายาอมบ้วนปาก
๑๕.ยาสด, แห้ง ปรุงแล้ว ต้ม ใช้น้ําอาบ
๑๖.ยาสด, แห้ง ปรุงแล้ว ต้ม ใช้น้ําแช่
๑๗.ยาสด, แห้ง ปรุงแล้ว ตัม ใช้น้ําชะ
๑๘.ยาสด, แห้ง ปรุงแล้ว ต้ม ใช้ไอรม
๑๙.ยาสด,แห้ง ปรุงแล้ว ตํา ใช้เป็นยาสุมหรือพอก
๒๐.ยาสด, แห้ง ปรุงแล้ว ใช้เป็นยาทา
๒๑.ยาสด, แห้ง ปรุงแล้ว ทําเป็นลูกประคบ
๒๒.ยาสด,แห้ง ปรุงแล้ว ใช้เหน็บทวารหนัก
๒๓.ยาสด, แห้ง ปรุงแล้ว ใช้สวนทวารหนัก
๒๔.ยาผสมแล้ว ใช้เป็นยาพอก
๒๕.ยาผสมแล้ว ทําเป็นยากวน หรือยาขีผ้ ง้ึ ปิดแผล
๒๖.ยาผสมแล้ว ทําเป็นยาแคปซูล
๒๗.ยาผสมแล้ว ทําเป็นยาตอกเม็ด
๒๘.ยาผสมแล้ว ทําเป็นยาเคลือบเม็ด
231

ยาลูกกลอน
ยาลูกกลอนเป็นรูปแบบหนึ่งของยาสมุนไพร มีรปู ร่างกลม ทําจากผงยาชนิดเดียวหรือ
หลายชนิด ผสมสารทีท่ าํ ให้ผงเกาะตัว เช่น นํ้า นํ้าแป้ง นํ้าผึง้ เป็นต้น
ยาลูกกลอนอบนํ้าผึง้ เป็นยาลูกกลอนทีท่ าํ จากผงยาและนํ้าผึง้ ผสมกัน มีลกั ษณะกลม
มีน้ําอยูน่ ้อยการแตกตัวช้า ออกฤทธิ ์ได้นานนํ้าผึง้ ใช้ผสมช่วยปรับรสและช่วยบํารุงร่างกาย มักใช้เป็น
ยารักษาโรคเรือ้ รังและโรคทีต่ อ้ งทําการบํารุงด้วย แต่มขี อ้ เสียทีย่ าลูกกลอนนํ้าผึง้ ใช้น้ําผึง้ จํานวนมาก
ทําให้ตน้ ทุนสูง

วิ ธีการเตรียมยาลูกกลอนนํ้าผึง้
มีกรรมวิธแี ละเทคนิคทีทํจ่ าะให้ยาลูกกลอนเป็นเม็ดสวยได้ แบ่งออกเป็นขันตอน
๓้ ขันตอน
้ ดังนี้
๑. ขัน้ ตอนการเคี่ยวนํ้าผึง้ ขันตอนนี
้ ้นบั เป็นขันตอนที
้ ส่ าํ คัญมาก การเคีย่ วนํ้าผึง้ มี
ประโยชน์ทช่ี ่วยฆ่าเชือ้ โรค และไล่น้ําทีอ่ ยูใ่ นนํ้าผึง้ ทําให้ลกู กลอนไม่ขน้ึ ยา ยาทีป่ นเม็ ั ้ ดจะเก็บได้นาน
หรือเก็บได้ไม่นานขึน้ อยูก่ บั ขันตอนนี
้ ้ ในการเคีย่ วนํ้าผึง้ ต้องใช้ภาชนะทีแ่ ห้งสนิท มีวธิ ที าํ มาแล้ว มีวธิ ที าํ ดังนี้
๑.๑ เทนํ้าผึง้ ใส่หม้อขนาดใหญ่ทเ่ี ตรียมไว้โดยทั ่วไปอัตราส่วนระหว่างผึง้ ตอยาผงที่
ใช้ผสมเป็น ๑ ต่อ หนึ่ง (โดยนํ้าหนัก ) แต่อตั ราส่วนนี้มอี ตั ราการใช้น้ํา ผึง้ มากหรือน้อยขึน้ อยูก่ บั
ลักษณะ ของผงยา เช่น ยางผมทีม่ สี ่วนผสมของยาดํา มหาหิงคุ์ ยาพวกนี้ ต้องใช้น้ําผึง้ ในการ ผสม
น้อย มีพวกแก่นไม้ รากไม้ พวกเกสรดอกไม้ พวกนี้ตอ้ งใช้น้ําผึง้ มาก
๑.๒ นําหม้อทีใ่ ส่น้ําผึง้ ขึน้ ตัง้ ไฟ ช่วงแรกใช้ไฟแรง คนให้เข้ากัน และเคีย่ วจนนํ้า ผึง้
เหนียวได้ทโ่ี ดยดูจากลักษณะดังนี้ คือ
๑.๑.๒ ตอนแรกทีน่ ้ําผึง้ เดือดฟองจะใหญ่และผุดสูง เมื่อเคีย่ วได้ทฟ่ี องจะ
ยุบ และมีขนาดเล็กละเอียด ช่วงเคีย่ วตัง้ แต่น้ําผึง้ ฟองใหญ่จนฟองเล็ก ใช้เวลา ๑๐ – ๑๕ นาที
๑.๑.๒ การทดสอบได้อกี วิธหี นึ่ง คือ หยดนํ้าผึง้ ทีเ่ คี่ ยวได้ทแ่ี ล้ว ลงในนํ้าที่
อุณหภูมหิ อ้ งปกติสงั เกตุดวู า่ นํ้าผึง้ มีลกั ษณะอย่างไร ลักษณะนํ้าผึง้ ทีเ่ คีย่ วได้ทแ่ี ล้ว จะมีลกั ษณะ คือ
นํ้าผึง้ จะมีสนี ้ําตาลเข้มขึน้ กว่าเดิม เป็นก้อนแข็งและรวมตัวกัน แต่ถ้าหยดลงไปในนํ้าแล้วนํ้าผึง้ ยัง
เหนียว ไม่แข็ง ไม่จบั เป็นก้อน ต้องเคีย่ ว ต่อไปอีก และทดสอบดูอกี ครัง้ หนึ่ง เมื่อเคีย่ วนํ้าผึง้ จนได้ท่ี
แล้ว เติมนํ้าเดือดลงไป ๒ กาใหญ่ ขณะทีห่ ม้อตัง้ อยูบ่ นเตา แล้วเคีย่ วต่อไปจนนํ้าผึง้ ได้ท่ี ซึง่ ลักษณะ
ความเหนียมจะไม่เหมือนกัน ต้องอาศัยระสบการณ์ และสังเกตุจากลักษณะฟองตามทีก่ ล่าวไว้ใ๑.๑ นข้อ
๑.๓ เมือ่ เคีย่ วนํ้าผึง้ ได้ทแ่ี ล้ว ให้ยกลงจากเตา กรองด้วยผ้าขาวบางและกวนต่อไป
เรื่อยๆ จนกว่านํ้าผึง้ เริม่ เย็น เมื่อนํ้าผึง้ เย็นแล้ว จึงนําไปผสมกับยาผงในขันต่ ้ อไป
๒. ขัน้ ตอนการผสมนํ้าผึง้ กับยาผง ขันตอนนี ้ ้เป็นขันตอนที
้ ส่ าํ คัญมาก เพราะยาจะเป็น
เม็ดได้หรือไม่เป็นก็ขน้ึ อยูก่ บั การผสมนํ้าผึง้ กับยาผง มีรายละเอียดดังนี้
232

๒.๑ นํายาทีช่ ั ่งเตรียมไว้ เทใส่กะละมังทีแ่ ห้งสะอาด


๒.๒ ตวงนํ้าผึง้ ทีเ่ คีย่ วได้ทแ่ี ล้ว ค่อยๆเทราดบนยาผงทีละทัพพี พร้อมกับใช้มอื
คลุกเคล้าให้เข้ากับนํ้าผึง้ และเทราดนํ้าผึง้ พร้อมกับคลุกเคล้าจนยาได้ทซ่ี ง้ึ สังเกตได้โดยหยิบยาทีเ่ คล้า
ทดลองปนด้ั ้ วยมือดูวา่ เม็ดดี หรือยาติดนิ้วหรือไม่ ถ้ายาได้ทแ่ี ล้วจะไม่ตดิ นิ้วมือ แล้วบีบเม็ดยาทีป่ นดู
ั้
ว่า ยานัน้ แตกร่วนหรือไม่ ถ้ายาไม่แตกร่วนยังเป็นเม็ดเกาะกันดีแสดงว่ายาได้ทแ่ี ล้ว ถ้าบีบแล้วยา
แตกร่วนอยู่ แสดงว่ายังเคล้ายาไม่เข้ากับนํ้าผึง้
หมายเหตุ : ขันตอนที
้ ต่ อ้ งใช้มอื ในการคลุกยา ต้องล้างมือให้สะอาด และต้องให้มอื แห้ง
เพราะถ้ามือไม่แห้งสนิท จะทําให้ยาขึน้ ราได้ หรืออาจจะใส่มอื ยางทีส่ ะอาดก็ได้
๓. การทํายาเม็ดลูกกลอน
๓.๑ โดยใช้เครื่องทํายาเม็ดลูกกลอน ซึง่ จะมีขนตอนและกรรมวิ
ั้ ธที าํ ดังนี้
เครื่องมือและอุปกรณ์ที่ใช้
๓.๑.๑ เครื่องทํายาเม็ดลูกกลอน
๓.๑.๒ เครื่องรีดเส้นยา
๓.๑.๓ ยาทีค่ ลุกนํ้าผึง้ ไว้เรียบร้อยแล้ว
๓.๑.๔ ถาดสีเ่ หลีย่ มขนาดใหญ่, ขนาดกลาง
๓.๑.๕ ผ้าสะอาดผืนเล็ก
๓.๑.๖ กาต้มนํ้าขนาดใหญ่
๓.๑.๗ แปรงทองเหลือง (สําหรับแปรงยาทีต่ ดิ เครื่องรีดเส้นยา)
๓.๑.๘ โต๊ะเก้าอี้ (สําหรับวางถาดยาทีอ่ อกมาจากเครื่อง)
๓.๑.๙ ทัพพี
๓.๑.๑๐ มีด

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์
๑. การทําความสะอาดเครื่องทํายาเม็ดลูกกลอน และเครื่องรีดเส้นยา โดยใช้น้ําเดือดเทราด
เครื่องให้น้ําไหลลงกะละมังใหญ่ เช็ดให้แห้งสนิทด้วยผ้าสะอาด และใช้สาํ ลีชุบแอลกอฮอล์อกี ครัง้
๒. นําถาดขนาดกลางทีแ่ ห้งสะอาด มารองรับยาจากเครื่องรีดเส้นยาและเครื่องทํายาเม็ด
ลูกกลอน
233

วิ ธีการผลิ ต
๑. นํายาซึง่ ได้คลุกนํ้าผึง้ (หรือสารยึดเกาะอื่นๆ) ไว้เรียบร้อยแล้ว ใส่เครื่องรีดเส้นยา ๑ – ๒
ครัง้ เพื่อให้ได้เส้นยากลม แน่ น และเรียบ โดยใช้มดี ตัดเส้นยาทีผ่ ่านเครื่องรีดแล้ว ให้มขี นาดเท่ากับ
ความยาวของเครื่องตัดยาเม็ดลูกกลอน
๒. เปิดเครื่องทํายาเม็ดลูกกลอน ทีไ่ ด้วางตามขวางบนเครื่องทํายานําเส้นยาเม็ดลูกกลอน
แล้วยาก็จะถูกตัดออกเป็นเม็ดกลมๆ ลงบนถาดรองรับ
๓. คัดเลือกเม็ดยาทีไ่ ม่ได้ขนาดออก นําเม็ดยาทีไ่ ด้คดั เลือกแล้วใส่ใน ถังเคลือบเม็ดยา
ในปริมาณทีเ่ หมาะสมกับถังเคลือบเม็ดยาเปิด
๔ .เปิดเครื่องหมุนถังเคลือบยาเม็ด จนได้เม็ดยากลม เรียบ ดีแล้ว จึงนํายาอบทีอ่ ุณหภูม ิ
๕๐ – ๕๕ องศาเซสเซียส ประมาณ ๔ - ๖ ชั ่วโมง จ นยาแห้งดี ทิง้ ไว้ให้เย็น แล้วนํายเก็บไว้ในขวด
โหลแก้วปิดฝาให้แน่ น ป้องกันความชืน้
๓.๒ โดยใช้รางกลิง้ ยา ซึง่ จะมีขนตอนและกรรมวิ
ั้ ธกี ารทํา ดังนี้
เครื่องมือและอุปกรณ์ทใ่ี ช้
๓.๒.๑ รางกลิง้ ยา พร้อมฝาประกบ
๓.๒.๑ กะละมังขนาดใหญ่
๓.๒.๑ ถาดสีเ่ หลีย่ มขนาดใหญ่, ขนาดกลาง
๓.๒.๑ ชามขนาดกลาง
๓.๒.๑ ผ้าสะอาดผืนเล็ก
๓.๒.๑ กาต้มนํ้าขนาดใหญ่
๓.๒.๑ โต๊ะทีใ่ ช้วางยางกลิง้ ยา
๓.๒.๑ นํ้ามันพืช หรือนํ้ามันทีไ่ ม่มกี ลิน่

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์
๑. ทําความสะอาดรางกลิง้ ยา และฝาประกบ โดยใช้น้ําเดือดเทรารางกลิง้ พร้อมฝาประกบ
ในกะละมังเช็ดให้แห้งสนิทด้วยผ้าสะอาด และใช้สาํ ลีชุบแอลกอฮอล์อกี ครัง้ ทิง้ ให้ระเหยแห้งก่อนนํา
ยามากลิง้ บนรางกลิง้ ยา
๒. นํารางกลิง้ ยาวางบนโต๊ะสํารับกลิง้ ยา
๓. นําชามขนาดกลางใส่น้ําสุกประมาณครึง่ ชาม และเทนํ้ามันพืช หรือนํ้ามันทีไ่ ม่มกี ลิน่ ลง
ในชามใบเดียวกันประมาณ ๑ ใน ๔ ของนํ้าในชาม และนําผ้าสะอาดผืนเล็กชุบนํ้าสุกในกะละมังบิดให้
แห้ง และนํามาแช่ในชามทีม่ นี ้ํามันกับนํ้าผสมกัน ใช้สาํ หรับเช็ดรางยาในกรณีทย่ี าเริม่ จะติดราง
๔. นําถาดขนาดกลางทีแ่ ห้งและสะอาด มารองรับยาด้านหน้ารางกลิง้ ดังรูปภาพทีแ่ สดงไว้
234

ฝาประกบรางกลิ้งยา
รางกลิง้ ยา

ถาดรองรับยาเม็ด

โต๊ะสําหรับกลิ้งยาเม็ด

ภาพแสดงลักษณะการจัดวางเครื่องมือสําหรับกลิง้ ยาเม็ดลูกกลอน

วิ ธีการกลิ้ งยาเม็ดลูกกลอน
๑. หยิบยาเส้นทีร่ ดี ไว้แล้วในถาด รีดเส้นยาด้วยเครื่องรีดเส้นยา ซึง่ มีขนาดเส้นกลมโตเท่ากับ
ขนาดรางกลิง้ ยา หรืออาจจะใช้มอื กลิง้ เส้นยาให้ได้ขนาดเส้นกลมโต เท่ากับขนาดรางกลิง้ ยา

ขนาดความยาวในการวางเส้นยา

รางกลิ้งยา
๒. วางไม้ประกบรางกลิง้ ลงบนเส้นยา ค่อนๆกลิง้ ยาไปมา พร้อมกับลงนํ้าหนักกดลงบนรางทีละ
น้อยจนกว่าขอบฝาประกบจะชิดกับขอบรางกลิง้ จึงลงนํ้าหนักให้มากขึน้ และกลิง้ ไปมาอีก ๔–๕ ครัง้
จนยาเป็นเม็ดดีแล้วจึงดันฝาประกบไปทางด้านหน้า ด้วยความแรงทีพ่ อจะให้ยาเม็ดตกลงในถาดได้
235

๓. ถ้ากลิง้ ยาไปหลายครัง้ รูส้ กึ ว่ายาจะเริม่ ติดราง หรือยาไม่มเี หงา ผิวยาเริม่ จะ


หยาบ ให้เอาผ้าชุบนํ้ามันทีไ่ ม่มกี ลิน่ ผสมนํ้าทีเ่ ตรียมไว้ แล้วทราบรางกลิง้ และฝาประกบ ซึง่ การทํา
นํ้ามันต้องระวังไม่ทาจนโช กรางกลิง้ ยา ก่อนทาควรบีบเอานํ้ามันและนํ้าออกก่อนเล็กน้อยแล้วจึง
นํามาทา การทาหรือเช็ดรางกลิง้ ยาควรจะทาหรือเช็ดไปทางเดียวกัน ไม่ควรเช็ดกลับไปกลับมา
เพราะจะทําให้เหลีย่ มของร่องฉีดเป็นเสีย้ นติดผ้าได้
๔. เมื่อกลิง้ ยาได้จาํ นวนมากแล้ว ให้นํายาเทรวมกันไว้ถาดใหญ่เพื่อนําเข้าตูอ้ บ ตูอ้ บ
จะเป็นตูอ้ บทีใ่ ช้ไฟฟ้า หรือใช้เตาก็ได้ อบด้วยอุณหภูม ิ ๕-๕๕ องศาเซลเซียส ประมาณ ๔-๖ ชั ่วโมง
จนยาแห้งดีแล้วจึงนําออกจากตูอ้ บปล่อยทิง่ ไว้ให้เย็น และนํายาเก็บไว้ในภาชนะทีป่ ้ องกันความชืน้ ได้
เช่น โหลแก้วปิดฝาให้แน่ น

สาเหตุที่ทาํ ให้ยาไม่เป็ น เม็ด และยาเม็ดลักษณะผิดปกติ


๑. การผสมยาผงกับนํ้าผึง้ น้อยเกินไป ทําให้ยาแห้งเกินไปเส้นยาจะแข็งมาก
๒. การผสมยาผงกับนํ้าผึง้ มากเกินไป ทําให้ยานิ่มเกินไป กลิง้ เม็ดยาไม่ได้
๓. เส้นยาทีร่ ดี เส้นเล็กว่าขนาดมาตรฐาน ทําให้ยาไม่เต็มเม็ด บางครัง้ จะทําให้ยามี
ลักษเป็นร่องตรงกลาง
๔. การกลิง้ ยาครัง้ แรกใช้แรงมากเกินไป ทําให้ยาแบนติดราง และยาไม่เป็นเม็ด
๕. การเช็ดรางกลิง้ ยาเช็ดนํ้ามันโชกเกินไป ทําให้ผวิ ของเม็ดยาเปียก และลอกหลุด
ติดบนรางยาเมื่อกลิง้ เม็ดต่อไปจะทําให้ผวิ ยาเม็ดอื่นไม่เรียบ
๓.๓ โดยใช้มอื ปนที ั ้ ละเม็ด
การปนเม็ ั ้ ดเป็นขันตอนที
้ ส่ าํ คัญเช่นกัน ต้องปนให้ ั ้ กลมและขนาดสมํ่าเสมอ
การปนเม็ ั ้ ดทําได้โดยค่อยๆ แบ่งยาทีผ่ สมไว้แล้วมาปนเป็ ั ้ นลูกกลอนขนาดเท่าปลายนิ้วก้อย
(เส้นผ่าศูนย์กลางประมาณ ๐.๘ เซนติเมตร) การปนด้ ั ้ วยมือทําได้ชา้ ในขณะทีป่ นนํ ั ้ ้าผึง้ ทีผ่ สมในผง
ยาจะแห้งลงเรื่อยๆ จึงต้องคอยทดสอบดูวา่ ยาลูกกลอนทีป่ นได้ ั ้ นนั ้ บีบแล้วแตกร่วนหรือไม่ ถ้าแตก
แสดงว่านํ้าผึง้ น้อยไป ให้เติมนํ้าผึง้ ลงไปและผสมให้เข้าที่ จากนัน้ จึงนํามาปนเป็ ั ้ นลูกกลอนต่อไป
นํ้าผึง้ ทีใ่ ส่ในผงยาจะต้องพอเหมาะ ถ้ามากไปจะเหลาลูกกลอนไม่เกาะตัว ถ้าน้อยไปลูกกลอนจะร่วน
และแตกง่าย
นําลูกกลอนหรือเม็ดยาทีไ่ ด้วางไว้ในถาด และไม่ให้เม็ดยาซ้อนกัน นําไปอบ
ในตูอ้ บอุณหภูม ิ ๕๐-๕๕ องศาเซลเซียสให้แห้งสมํ่าเสมอ อย่าอบนานเกินไปจะทําให้เมล็ดยาแข็ง
แตกตัวยาก เม็ดยาแห้งดีแล้วเก็บใส่ขวดโหลทีส่ ะอาดและมิดชิด
236

การทํายาเม็ดแบบปัม๊ มือ หรือแบบพิ มพ์มอื (พิ มพ์ทองเหลือง)


เครื่องมือและอุปกรณ์ ที่ใช้
ั ๊ วยมือ (แบบพิมพ์มอื เป็นพิมพ์ทองเหลือง)
๑. เครื่องปมยาด้
๒. แผ่นกระจกใส ๑ แผ่น
๓. กาต้มนํ้าขนาดใหญ่
๔. กะละมังขนาดใหญ่, ขนาดกลาง
๕. ผ้าสะอาดผืนเล็ก
๖. ถาดใส่ยาเม็ม
๗. ยาผง
๘. แป้งมัน

การเตรียมเครื่องมือและอุปกรณ์
๑. นํานํ้าเดือดเทราดพิมพ์มอื ทองเหลือง และกระจกแผ่นใส เช็ดให้แห้งสนิทด้วยผ้าสะอาด และ
ใช้สาํ ลีชุบแอลกอฮอล์เช็ดอีกครัง้ หนึ่ง ทิง้ ให้ระเหยแห้งก่อนนํายามาพิมพ์มอื
๒. วางกระจกแผ่นใสบนโต๊ะ และวางพิมพ์มอื ทองเหลืองบนกระจกแผ่นใส

วิ ธีทาํ ยาเม็ด
๑. กวนแป้งมันกับนํ้าให้ใส (เป็นแป้งเปียกใส) ในปริมาณทีพ่ อเหมาะกับยาผง
๒. นํายาผงมาผสมกับแป้งเปียก คลุกเคล้าจนเข้ากันดี
๓. นํายาทีผ่ สมแล้วมาพอประมาณ แผ่เป็นแผ่นกระจก แล้วนําพิมพ์มอื ทองเหลืองกดลงบนยา
๔. กดยาทีพ่ มิ พ์แล้วออกจากพิมพ์ทองเหลือง ใส่ลงในถาดทีเ่ ตรียมไว้
๕. นํายาทีพ่ มิ พ์เสร็จ เข้าตูอ้ บอุณหภูม ิ ๕๐ – ๕๕ องสาเซลเซียส ประมาณ ๔ – ๖ ชั ่วโมง
๖. เก็บยาเม็ดใส่ขวดโหลแก้วสะอาด ปิดฝาให้มดิ ชิด
หมายเหตุ : ยาพิมพ์เม็ด (พิมพ์มอื ทองเหลือง) ถ้ายาเป็นผงมีความเหนียวมากอยูแ่ ล้วอาจจะไม่ตอ้ งใช้
แป้งมันในการผสมยานัน้ เพียงแต่ผสมกับนํ้าต้มสุก ก็นํามาพิมพ์เม็ดได้
ผงยาทีต่ อ้ งผสมแป้งมัน ในการทําเม็ดแบบพิมพ์มอื ได้แก่
๑. ยาเม็ดฟ้าทลายโจร
๒. ยามหานิล ฯลฯ
237

ยาตอกเม็ดฟ้ าทลายโจร
วัตถุส่วนประกอบ
๑. ฟ้าทลายโจร (ผง) ๒,๐๐๐ กรัม
๒. แป้งมัน ๑๐๐ กรัม
๓. แป้งมัน (ทําแป้งเปียก ๑๐%) ๑๕๐ กรัม
๔. ผงทัลคัม ๗๐ กรัม
๕. แมกนีเซียม สเตียเรต ๖๐ กรัม
ขัน้ ตอนการผลิ ต
๑. นําฟ้าทลายโจร(ผง) และแป้งมัน(ในข้อ๑ และ ข้อ๒) ซึง่ ผ่านแร่ง แล้วมาผสมให้เข้ากัน
๒. ใส่น้ําเย็น ๑,๕๐๐ กรัม ลงในแป้งมัน ๑๕๐ กรัม (ทําเป็นแป้งเปียก ๑๐%) โดยการ
กวนจนเป็นสีขาวข้นเหนียว ผ่านนํ้าเดือด
๓. นําแป้งเปียกและผงฟ้าทลายโจร ซึง่ ผสมแป้งมันแล้วมาผสมให้เข้ากัน แล้วนําไป
ผ่านแร่งเบอร์ ๑๔ นําแกรนูลทีไ่ ด้ไปอบแห้ง ทีอ่ ุณหภูมไิ ม่เกิน ๕๕ องศา จากนัน้ นําแกรนูลทีอ่ บแห้ง
แล้วมาผ่านแร่งเบอร์ ๑๘
๔. ผสมผงฟ้าทลายโจรทีเ่ ป็นแกรนูลให้เข้ากันกับทัลคัม และแมกนีเซียม สเตียเรต
๕. นําผงยาทีผ่ สมแล้วไปตอกเม็ด และควบคุมนํ้าหนักเม็ดยาให้ได้มาตรฐาน
๖.นํายาเม็ดทีต่ อกได้เข้าตูอ้ บ ทีอ่ ุณหภู๕๐
ม ิ – ๕๕ องศาเซลเซียส ประมาณ
๔ – ๖ ชั ่วโมง
๗. ทดสอบการแตกตัวของเม็ดยา ไม่ควรเกิน ๓๐ นาที

การเคลือบยาเม็ดด้วยนํ้าตาล (Sugar coating)


วัตถุประสงค์ของการเคลือบยาเม็ด เพื่อ
๑. กลบรส สี หรือกลิน่ ทีไ่ ม่น่ารับประทานของยาเม็ด
๒. ป้องกันตัวยาหรือสารสําคัญไม่ให้เสื่อมสลายเร็ว
๓. ให้เม็ดยามีรปู กลมมนสะดวกในการกลืน
๔. ความสวยงามของเม็ดยา ทําให้น่ารับประทาน
๕. แยกตัวยาสองชนิดทีไ่ ม่เข้ากัน โดยชนิดหนึ่งเป็นยาเม็ดแกน ส่วนอีกชนิดหนึ่งเป็นส่วนที่
เคลือบข้างนอก
๖. ควบคุมการออกฤทธิ ์ของยาเม็ด อันเนื่องมาจากการระคายเคือง เช่น ยาสหัศธารา ระคาย
เคืองต่อหลอดอาหาร และกระเพาะอาหาร หรืออาจเนื่องจากต้องการให้ออกฤทธิ ์ทีล่ าํ ไส้ เช่น ยา
ริดสีดวงทวาร
238

วัตถุส่วนประกอบ
๑. ยาเม็ดลูกกลอน
๒. แป้งทัลคัม
๓. นํ้าตาลทราย
๔. นํ้า
๕. กัมอาคาเซีย
๖. เชคแลค
๗. แอลกอฮอล์
๘. ขีผ้ ง้ึ คานูบา
๙. ขีผ้ ง้ึ ขาว
๑๐. คาร์บอนเตทตระคลอไรด์
๑๑. สี

เครื่องมือ
๑. เครื่องเคลือบยาเม็ด (ถังเคลือบยาเม็ด)
๒. เครื่อขัดเงายาเม็ด

วิ ธีการเคลือบยาเม็ด
๑. นํายาลูกกลอนทีแ่ ห้งดีแล้ว ใส่ในเครื่องเคลือบยาเม็ด แล้วเทเชคแลค ซึง่ ละลาย
ด้วยแอลกอฮอล์ในอัตราส่วน เชคแลค ๔๐ ส่วน แอลกอฮอล์ ๖๐ ส่วน ในขณะทีถ่ งั หมุนไปเรื่อยๆ
เชคแลคจะเคลือบเม็ดยาลูกกลอน เมื่อใช้ลมเย็นเปา่ เชคแลคจะแห้งติดผิว และป้องกันไม่ให้เม็ดยา
แตก เมื่อเชคแลคแห้งดี ให้ร่อนเอาเม็ดทีเ่ กาะติดกันออก ทําซํ้าอีก ๑ หรือ ๒ ครัง้
๒. ลบมุม อุดรู และปิดร่องของเม็ดลูกกลอนด้วยนํ้าแป้งทัลคัม ซึง่ ผสมด้วย
กัมอาคาเซีย และนํ้าตาลตามอัตราส่วนแป้งทัลคัม ๒๐ – ๓๕% กัมอาคาเชีย ๕ – ๑๐% นํ้าตาล
๔๐ – ๕๐% และนํ้า ๒๐ –๓๐% โดยต้มให้ละลายเป็นเนื้อเดียวกัน
๓. ใช้น้ําแป้งในข้อ ๒ เทลงบนเม็ดยาขณะทีถ่ งั กําลังหมุน พร้อมโปรยผงทัลคัมลงไป
เป็นระยะๆ ดูให้พอเหมาะ ขณะเดียวกันใช้ลมร้อนอุณหภูม ิ ๖๐ – ๗๐ องศาเซลเซียส เปา่ บนเม็ดยา
ตลอด เพื่อให้น้ําแป้งแห้งติดเม็ดยา เมื่อแห้งดีแล้วให้ร่อนเอาเม็ดทีต่ ดิ กันออก ทําซํ้าประมาณ ๘ – ๑๐
ครัง้ เม็ดลูกกลอนในขันสุ ้ ดท้ายจะเป็นสีขาวเหมือนแป้งทัลคัม
239

๔. เคลือบสีรองพืน้ ด้วยการเติมสีในปริมาณเพียงเล็กน้อยในนํ้าแห้งทัลคัม
เคลือบโดยการเทนํ้าสีลงในขณะทีเ่ ครื่องเคลือบหมุนไปเรื่อยๆ แล้วปล่อยให้เม็ดยาแห้งสนิท แล้วจึง
เคลือบครัง้ ต่อไป เคลือบซํ้า ๓ – ๔ ครัง้
๕. เคลือบสีทต่ี อ้ งการ โดยใช้น้ําเชื่อมทําจากนํ้าตาล ๒ ส่วน นํ้า ๑ ส่วน แล้วเติมสีให้
ได้ความเข้มข้นตามต้องการ เคลือบซํ้าตามวิธเี ดิม จนได้สสี วยงาม
๖. เคลือบเงาเพื่อให้ดสี ดใสขึน้ โดยใช้ขผ้ี ง้ึ คานูบาผสมขีผ้ ง้ึ ขาว ผสมในอัตราส่วน
๔%, ๐.๔% ตามลําดับ ละลายในคาร์บอนเตทตระคลอไรด์ ๙๕% แล้วนํามาใส่ในเครื่องขัดเงายาเม็ด
ให้หมุนไปเรื่อยๆ จนเม็ดยาเงา

การสุมยา
การสุมยา คือ การนํายาทีไ่ ด้ปรุงเป็นตํารับแล้ว มาใส่รวมกันในหม้อดินปิดฝาหม้อให้มดิ ชิด
นําไปสุมไฟร้อนจัด (สุมไฟด้วยฟืน) จนยากลายเป็นสีดาํ (เป็นถ่ายสีดาํ )

ขัน้ ตอนการสุมยา
๑. นํายามหานิลทีไ่ ด้ปรุงเป็นตํารับแล้ว แยกตัวยาทีเ่ ป็นแก่น ลูก ราก ใบ ออกเป็นประเภทๆ
สับยาเป็นชิน้ เล็กๆ
๒. เอาใบทองหลางใบมน คั ่วในกระทะจนเกรียม เก็บใส่ภาชนะไว้ (ไม่ตอ้ งสุม)
๓. นํายาทีส่ บั แล้วพวกแก่นไม้ รากไม้ และลูกมะกอก ใส่ ลงในหม้อดินก่อน และใส่ยาอื่นๆ
ตามลงไป (เพื่อให้ยาสุกทั ่วกันทัง้ หม้อ)
๔. ใช้กระดาษฟางสีขาว ชุบนํ้าพอหมาดๆ ปิดบนฝาหม้อดินให้มดิ ชิด (เพื่อป้องกันไม่ให้เกิด
ไฟลุกไหม้ตวั ยาในหม้อดิน) นําไปสุมไฟร้อนจัด (สุมไฟด้วยฟืน)
๕. เมื่อสุมยาจนเป็นสีดาํ (ถ่านสีดาํ ) ทั ่วทัง้ หม้อแล้ว ทิง้ ไว้ให้เย็น
๖. เทยาออกจากหม้อดิน นําไปบดรวมกับใบทองหลางใบมน (ทีค่ ั ่วแล้ว)
๗. ร่อนยาให้ได้ผงละเอียด
240

ยาเข้านํ้ามัน (นํ้ามันไพล)
วัตถุส่วนประกอบ
๑. ไพลสด ๓๐ กิโลกรัม
๒. นํ้ามันมะพร้าว ๒ ลิตร (หรือใช้น้ํามันพืชอื่นๆ)
๓. เมนทอล ๕๐ กรัม
๔. นํ้ามันระกํา ๖๐๐ ซีซ ี
๕. นํ้ามันเขียว ๑๐๐ ซีซ ี
๖. นํ้ามันยูคาลิปตัส ๑๐๐ ซีซ ี
๗. ชินนามอน ๒๐ ซีซ ี
๘. นํ้ามันกานพลู ๒๐ ซีซ ี
๙. นํ้ามันแก้ว ๔๕๐ กรัม
๑๐. การบูร ๓๕๐ กรัม

ขัน้ ตอนการทํา
๑. นําไพลสดมาปอกเปลือก หั ่นเป็นแผ่นบางๆ
๒. เอานํ้ามันใส่กระทะตัง้ ไฟให้รอ้ น ค่อยๆ ใส่ไพลลงทอด ทีละน้อย เมื่อไพลกรอบเกรียมดี
แล้วจึงตักออกทิง้ ไป ทอดไพลจนหมดทิง้ ไว้ให้เย็น (นํ้ามันมะพร้าว ๒ ลิตร ทอดแล้วได้ความเข้มข้น
ของนํ้ามันไพลประมาณ ๑ ลิตร)
๓. กรองนํ้ามันไพลทีเ่ คีย่ วได้ใส่ภาชนะไว้
๔. ละลายเมนทอลและการบูร ในนํ้ามันระกํา แล้วจึงใส่น้ํามันไพลลงไป
๕. ใส่ขอ้ ๕, ๖, ๘, ๙ ผสมลงไป คนให้เข้ากันดี
๖. บรรจุขวดทีเ่ ตรียมไว้

ยานํ้า (ยาธาตุอบเชย)
วัตถุส่วนประกอบ
๑. กระวาน ๕๐ กรัม
๒. กานพลู ๕๐ กรัม
๓. สมุลแว้ง ๕๐ กรัม
๔. อบเชยเทศ ๕๐ กรัม
๕. ชะเอมเทศ ๕๐ กรัม
241

๖. การบูร ๑๐ กรัม
๗. เมนทอล ๕ กรัม
๘. นํ้า ๗ ลิตร

ขัน้ ตอนการทํา
๑. ตําหรือบดด้วยยาข้อ ๑ – ๕ พอแหลก
๒. ใส่น้ําลงในหม้อต้มให้เดือด ใส่ตวั ยาทีเ่ ตรียมไว้ลงไปต้มเคีย่ วให้เหลือประมาณ ๕ ลิตร
๓. ยกหม้อลง ใช้ผา้ ขาวบางกรองเอากากยาออก
๔. ใส่เมนทอลและการบูรลงไป คนจนละลายปิดฝาทิง้ ไว้ให้เย็น และให้ตกตะกอน
๕. บรรจุภาชนะทีเ่ ตรียมไว้

ยาดมส้มโอมือ
วัตถุส่วนประกอบ
๑. ยาหอมบํารุงหัวใจ ๒ ส่วน
๒. ยาหอมห้าเจดีย์ ๒ ส่วน
๓. ผิวมะกรูดแห้ง (บดหยาบ)
๔. เปลือกสมุลแว้ง (บดหยาบ)
๕. เปลือกอบเชยเทศ (บดหยาบ)
๖. ส้มมือแห้ง (บดหยาบ)
๗. ชะมดเช็ด
๘. พิมเสน
๙. เมนทอล

ขัน้ ตอนการทํา
๑. ผสมข้อ ๑ และ ๒ เข้าด้วยกัน แล้วนําข้อ๓, ๔, ๕ และ ๖ อย่างละพอประมาณมาผสมรวมกัน
๒. นําชะมดเช็ดปริมาณเล็กน้อยใส่ในใบพลูซอ้ นหลายๆ ชัน้ ลนไฟเทียนให้ไหลในตัวยาผสมให้เข้ากันดี
๓. ดมกลิน่ ให้ได้กลิน่ หอมตามต้องการ
๔. นําผ้าสําลีมาตัดเป็นสีเ่ หลีย่ มขนาดกว้าง ๘ ซม. ยาว ๘ ซม.
๕. ตักเนื้อยา ๑ ช้อนยา ห่อด้วยผ้าสาลู เป็นก้อนกลม ผูกด้ายให้แน่น
242

๖. นําพิมเสนกับเมนทอลมาผสมกัน ในอัตราส่วน ๑ ต่อ ๓ เขย่าให้เข้ากันจนละลายหมด


(ละลายเป็นนํ้ามัน)
๗. เอายาทีห่ ่อไว้แล้ว จุ่มลงในข้อ ๖ ให้เปียกชุ่มพอประมาณ จึงใส่ในถํ้ายาดม ปิดฝาให้สนิท

ยาประคบ (ลูกประคบ)
วัตถุส่วนประกอบ
๑. ไพลสด ๒ ส่วน
๒. ผิวมะกรูดสด ๑ ส่วน
๓. ตะไคร้สด ๑ ส่วน
๔. ใบมะขามสด ๑ ส่วน
๕. ขมิน้ อ้อยสด ๑ ส่วน
๖. พิมเสน ๑๐ ส่วน
๗. การบูร ๑๐ ส่วน

ขัน้ ตอนการทํา
๑. นําสมุนไพรข้อ ๑, ๒, ๓, ๔ และ ๕ หั ่นบางๆ ตําพอหยาบๆ
๒. ใส่พมิ เสน การบูร ผสมรวมกัน
๓. นํามาห่อเป็นลูกประคบ

ยาขี้ผงึ้
วัตถุส่วนประกอบ
๑. วาสลิน (Vasalin) ๔๒๐ กรัม
๒. Wool Fat ๑๒ กรัม
๓. ขีผ้ ง้ึ (Bee Wax) ๕๐ กรัม
๔. พาราฟินชนิดแข็ง (Hard Paraffin) ๑๓ กรัม
๕. เมนทอล (Menthol) ๗๕ กรัม
๖. นํ้ามันยูคาลิปตัส (Eucalyptus Oil) ๓๐ ซีซ ี
๗. เมทิล ซาลิซเิ ลต (Methyl Salicylate) ๔๕ ซีซ ี
๘. เสลดพังพอน (สกัดด้วย Alcohol) ๓๐ ซีซ ี
243

ขัน้ ตอนการทํา
๑. นําสมุนไพรข้อ ๑, ๒, ๓, ๔ ใส่ภาชนะรวมกัน ไปกวนในนํ้าร้อนซึง่ ตัง้ ไฟเดือดจนละลาย
หมด ตัง้ ทิง้ ไว้ให้อุ่น
๒. นําข้อ ๕, ๖, ๗, ๘ ใส่ลงไป คนให้เข้ากันดี
๓. บรรจุขวดทีเ่ ตรียมไว้ ในขณะทีย่ ายังอุ่นๆ อยู่ (ควรเก็บในทีม่ ดื เพื่อป้องกันการเปลีย่ นสี)

แชมพูว่านหางจระเข้
วัตถุส่วนประกอบ
๑. หัวแชมพู ๑๐๐๐ กรัม
๒. ว่านหางจระเข้ ๑๐๐๐ กรัม
๓. ผงฟอง ๑๐๐ กรัม
๔. ผงข้น ๑๐๐ กรัม
๕. ลาโนลิน ๑๐๐ กรัม
๖. หัวนํ้าหอม ๑๕ ซีซ ี
๗. นํ้า ๑๐๐๐ กรัม
๘. สี

ขัน้ ตอนการทํา
๑. นําว่านหางจระเข้มาปอกเปลือก เอาไปล้างนํ้า แล้วปนละเอี ั่ ยดให้ได้ ๑ กก.
๒. ใส่น้ํา ๑๐๐๐ กรัม ผสมกับว่านหา งจระเข้ ๑๐๐๐ กรัม นําไปต้ม
๓. เทผงฟองทีละน้อย คนให้ละลาย ใส่ลาโนลินลงผสม
๔. นําแชมพูทต่ี ม้ แล้วกรอง ใส่ส ี ทิง้ ให้เย็น ใส่ผงข้นลงผสม ใส่หวั นํ้าหอม
๕. บรรจุขวด

การฆ่าฤทธิ์ (การฆ่า), การสะตุ


การฆ่าฤทธิ ์ (การฆ่าป หรือ การสะตุ หมายถึง การทําให้ยาตัวนัน้ ๆ มีฤทธิ ์ อ่อนลง หรือฆ่า
พิษซึง่ เราไม่ตอ้ งการให้อ่อนลง หรือให้เสื่อมฤทธิ ์ไป เช่น
๑. การฆ่าฤทธิ ์ชาดก้อน (การฆ่าชาดก้อน)
๒. การฆ่าฤทธิ ์รงค์ทอง (การฆ่ารงค์ทอง)
๓. การฆ่าฤทธิ ์ชะมดเช็ด (การฆ่าชะมดเช็ด)
๔. การสะตุน้ําประสานทอง
244

๕. การสะตุสารส้ม
๖. การสะตุเกลือ
(การฆ่าฤทธิ ์ มักเป็นตัวยาทีม่ ฤี ทธิ ์แรงมาก หรือมีพษิ มาก)

การฆ่าฤทธิ์ ชาดก้อน (การฆ่าชาดก้อน)


วัตถุส่วนประกอบ และอุปกรณ์
๑. ชาดก้อนนํามาบดให้ละเอียด (ชาดผง)
๒. นํ้ามะกรูด (ถ้าหานํ้ามะกรูดไม่ได้ ใช้น้ํามะนาวแทน)
๓. ฝาหม้อดิน
๔. ไม้พาย (ขนาดเล็ก)
๕. เตาถ่าน
๖. ขวดโหลแก้ว

ขัน้ ตอนการทํา
๑. นําฝาหม้อดินตัง้ บนเตาไฟ ให้รอ้ นจัด เอาชาดผงใส่ในหม้อดินพอสมควร
๒. บีบนํ้ามะกรูดครัง้ ที่ ๑ ให้ชุ่มชาดผง ตัง้ ไฟ คนไปเรื่อยๆ จนแห้ง ทําครบ ๓ ครัง้ ชาดผงจะ
เปลีย่ นเป็นสีน้ําตาลแดงอมดํา (สีเข้มกว่าเดิม)
๓. ตัง้ ทิง้ ไว้ให้เย็น ขูดออกจากฝาหม้อดิน เก็บใส่ไว้ในขวดโหลแก้วปิดฝา

การฆ่าฤทธิ์ รงค์ทอง (การฆ่ารงค์ทอง)


วัตถุส่วนประกอบ และอุปกรณ์
๑. รงค์ทอง
๒. นํ้ามะนาว
๓. ใบตอง (หรืออาจใช้ใบพลู ใบบัวหลวง ใบข่า อย่างใดอย่างหนึ่งก็ได้)
๔. เตาถ่าน
๕. ตะแกรง
๖. ขวดโหลแก้ว
245

ขัน้ ตอนการทํา
ั ้ นก้อน แล้วห่อด้วยใบตอง ๗ ชัน้
๑. นํารงค์ทองมาบดให้ละเอียด บดกับนํ้ามะนาวปนเป็
๒. นําไปปิ้งไฟให้กรอบ
๓. ตัง้ ทิง้ ไว้ให้เย็น เก็บใส่ไว้ในขวดปิดฝา
หมายเหตุ นํารงค์ทองมาบดให้ละเอียด ใส่ลงในกระทะคั ่วไฟจนกรอบ อย่าให้ไหม้กใ็ ช้ได้เช่นกัน

การฆ่าฤทธิ์ ชะมดเช็ด (การฆ่าชะมดเช็ด)


วัตถุส่วนประกอบและอุปกรณ์
๑. ชะมดเช็ด
๒. ใบพลูสด
๓. เทียนไข
๔. ถ้วยแก้ว

ขัน้ ตอนการทํา
๑. นําชะมดเช็ดใส่ลงไปในใบพลูสด (ซ้อนหลายๆ ใบ)
๒. เอาไปลนเทียนไขจนเหลว เอียงใบพลูให้ชะมดไหลลงไปในถ้วยแก้ว
๓. นํามาผสมปรุงยา

การสะตุนํ้าประสานทอง
วัตถุส่วนประกอบ และอุปกรณ์
๑. นํ้าประสานทอง
๒. กระทะเหล็ก
๓. ตะหลิว
๔. เตาถ่าน
๕. ขวดโหลแก้ว

ขัน้ ตอนการทํา
๑. เอากระทะเหล็กตัง้ ไฟให้รอ้ นจัด
๒. นํานํ้าประสานทองมาตําให้ละเอียด แล้วโรยลงในกระทะบางๆ ให้ท ั ่วกระทะ จนนํ้า
ประสานทองฟูเป็นแผ่นขาว มีลกั ษณะคล้ายแผ่นข้าวเกรียบ
๓. ตักออกมาใส่ขวดโหลแก้ว ทิง้ ไว้ให้เย็นก่อนปิดฝาขวดโหล
246

การสะตุสารส้ม
วัตถุส่วนประกอบ และอุปกรณ์
๑. สารส้ม
๒. กระทะเหล็ก
๓. ตะหลิว
๔. เตาถ่าน
๕. ขวดโหลแก้ว

ขัน้ ตอนการทํา
๑. เอากระทะเหล็กตัง้ ไฟให้รอ้ นจัด
๒. นําสารส้มมาตําให้ละเอียด แล้วโรยลงในกระทะบางๆ ให้ท ั ่วกระท ะ เมื่อสารส้มถูกความ
ร้อนจนละลายเป็นนํ้าเล็กน้อย และเมื่อแห้งได้ทแ่ี ล้วก็จะฟูเป็นแผ่นขาวขึน้ มา
๓. ตักออกมาใส่ขวดโหลแก้ว ทิง้ ไว้ให้เย็นก่อนปิดฝาขวดโหล

การสะตุเกลือ
วัตถุส่วนประกอบ และอุปกรณ์
๑. เกลือ
๒. หม้อดิน
๓. ทัพพี
๔. เตาถ่าน
๕. ขวดโหลแก้ว

ขัน้ ตอนการทํา
๑. เอาหม้อดินตัง้ บนเตาไฟให้รอ้ นจัด
๒. นําเกลือมาตําให้แหลกละเอียด แล้วเทใส่หม้อดิน ปิดฝาไว้
๓. เมื่อเกลือสุกและแห้งดีแล้ว ยกลงจากเตา
๓. ตัง้ ทิง้ ไว้ให้เย็น ตักใส่ขวดโหลแก้วปิดฝา
247

ยาต้ม
ยาต้มเป็นรูปแบบการปรุงยาสมุนไพรทีใ่ ช้มานาน เป็นการใช้น้ําเป็นตั วทําละลายยาสมุนไพร
ข้อดีของยาต้ม คือ ดูดซึมง่าย ออกฤทธิ ์เร็ว วิธกี ารเตรียมง่ายและสะดวก มีขอ้ เสีย คือ รสชาติและ
กลิน่ อาจรับประทานยากสําหรับบางคน และยาต้มเก็บไว้ไม่ได้นานขึน้ ราง่าย ถ้าต้องการเก็บไว้จะต้อง
ใช้สารกันบูด

วิ ธีการเตรียมยาต้ม
๑. นํ้าและภาชนะ
นํ้าทีใ่ ช้ตม้ ยาควรเป็นนํ้าสะอาด ใส ไม่มกี ลิน่ รส ปริมาณยาโดยปกติจะใส่น้ําพอท่วม
ยา ภาชนะทีใ่ ช้ตม้ ยาควรเป็นหม้อดินเผา หรือหม้อเคลือบ ไม่ควรใช้ภาชนะทีเ่ ป็นโลหะ เช่น เหล็ก
เพราะจะทําให้สารแทนนินซึง่ จะมีผลต่อฤทธิ ์ของยาได้
๒. การเตรียมยาสมุนไพร
ยาสมุนไพรทีใ่ ช้ตม้ ควรหั ่นเป็นชิน้ ขนาดพอดี ถ้าเป็นแก่นก็ห ั ่นเป็นชิน้ ขนาดเท่าๆ กัน
ถ้าเป็นใบใหญ่ เช่น ชุมเห็ดเทศ ให้ห ั ่นเป็นชิน้ เล็กๆ แต่ถ้าใบเล็ก เช่น ฟ้าทลายโจร กระเพรา ก็ใช้ทงั ้
ใบขนาดไม่ควรเล็กเกินไป เพราะทําให้กรองยาต้มยากและเวลาต้มอาจจะไหม้ได้
๓. การต้ม
เติมนํ้าสะอาดลงในตัวยา ให้น้ําท่วมตัวยา ใช้ไฟขนาดกลางต้มให้เดือดหลังจากเดือด
แล้วไฟอ่อนลง ใช้เวลาต้ม ๑๐ – ๑๕ นาที ต้องคอยดูแลและคนสมํ่าเสมอ อย่าให้ยาไหม้ (การต้มยา
ไทย ส่วนใหญ่จะต้ม ๓ เอา ๑ คือ ใส่น้ํา ๓ ส่วน ของปริมาณทีต่ อ้ งการใช้ และต้มให้เหลือ ๑ ส่วน
หรือต้มรับประทานจนยาจืด ไม่เ กิน ๗ – ๑๐ วัน ควรอุ่น เช้า – เย็น ทุกวัน ) ยาต้มควรรับประทาน
เวลาท้องว่าง (ก่อนอาหาร) จํานวนครัง้ ละปริมาณทีก่ าํ หนดในวิธใี ช้ยา

ยาชง
ยาชงเป็นรูปแบบหนึ่งทีเ่ ตรียมง่าย ส่วนใหญ่เป็นการใช้ยาสมุนไพรแห้ง และเติมนํ้าร้อนเป็น
ตัวทําละลาย ข้ออีของยาชง คือ ดูดซึมง่าย มักมีกลิน่ หอม และรสชาติดี
วิ ธีการเตรียมยา
ยาชงส่วนใหญ่เป็นการนําส่วนของสมุนไพร เช่น ใบหญ้าหนวดแมว, ใบชุมเห็ดเทศ, กลีบรอง
ดอกของกระเจีย๊ บมาล้างให้สะอาดและผึง่ ลมให้แห้ง (บางอย่างนําไปคั ่วหรือย่างไฟ) เติมนํ้าเดือดลงใน
สมุนไพรแห้งนัน้ ทิง้ ไว้ประมาณ ๓ – ๕ นาทีกใ็ ช้ได้ อย่าทิง้ ยาชงไว้นานเกินไป จะทําให้สรรพคุณ
กลิน่ และรสของยาเปลีย่ นแปลงไป
248

เภสั ชตํารับ

ลําดับ มาตรฐานการใช้ ยา
ชื่อยา รูปแบบยา สรรพคุณ หมายเหตุ
ที่ (ขนาดรับประทาน)
๑ ยาจันทลีลา ตอกเม็ด เด็ก ครังละ
้ ๑-๒ เม็ด แก้ไข้ แก้ตวั ร้อน รับประทาน
(เม็ดละ ๑.๕ กรัม) ผูใ้ หญ่ ครังละ
้ ๓-๕ เม็ด ทุก ๔ ชั ่วโมง
วันละ ๓ ครัง้
ก่อนอาหาร
ยาผง เด็ก ครังละ ้ ๑/๒ – ๑ ช้อนชา
ผูใ้ หญ่ ครังละ ้ ๑-๒ ช้อนชา
วันละ ๓ ครัง้
ก่อนอาหาร
๒ ยาอัมฤตวาที ตอกเม็ด ผูใ้ หญ่ อมครังละ ้ ๑-๒ เม็ด แก้ไอ ขับเสมหะ
(เม็ดละ ๐.๕ กรัม) เด็ก ลดลงตามส่วน
วันละ ๓ ครัง้
ก่อนอาหาร หรือ
ทุกเวลาทีม่ อี าการ
ยาผง ผูใ้ หญ่ ครังละ ้ ๑ ช้อนชา
เด็ก ลดลงตามส่วน
(ละลายนํ้ามะนาว
แทรกเกลือใช้จบิ
หรือกวาดคอ)
๓ ยาเม็ดข่อย ยาเม็ด ครังละ
้ ๑ เม็ด เป็นยาอายุวฒั นะ , หญิงมีครรภ์
(พิมพ์เบอร์ ๒) วันละ ๑ ครัง้ ก่อนนอน แก้ลม, บํารุงธาตุ, และ คนไข้
ยาผง ครังละ้ ๑ เม็ด เจริญอาหาร ,บํารุงกําลัง, ห้าม
ั ้ กกลอน
(ปนลู (ละลายนํ้าหรือนํ้าผึง้ ปนั ้ แก้จุกเสียดแน่นเฟ,้ อ รับประทาน
ลูกกลอน ขนาดเท่าเม็ดพุทรา) ช่วยย่อยอาหาร
๔ ยาเขียว ยาเม็ด เด็กเล็ก ครังละ ้ ๒-๓ เม็ด แก้ไข้ ตัวร้อน
เบญจขันธ์ เด็กโต ครังละ ้ ๔-๕ เม็ด ร้อนใน กระหายนํ้า
ผูใ้ หญ่ ครังละ ้ ๗-๘ เม็ด (ละลายนํ้าสุก,
วันละ ๓ ครัง้ นํ้าดอกมะลิ หรือ
ก่อนอาหาร นํ้าดอกไม้เทศ)
ยาผง ผูใ้ หญ่ ครังละ ้ ๑-๒ ช้อนชา แก้พษิ หัด ห้ามรับประทาน
วันละ ๓ ครัง้ พิษอีสกุ อีใส ปลาทะเล, กุง้ ,
ก่อนอาหาร (ละลายนํ้าผักชีตม้ นํ้าปลา, ตับหมู,
เด็ก ลดลงตามส่วน หรือนํ้าหัวแห้วจีน แตงกวา
กับรากผักชีต้ม)
249

ลําดับ มาตรฐานการใช้ ยา
ชื่อยา รูปแบบยา สรรพคุณ หมายเหตุ
ที่ (ขนาดรับประทาน)
๕ ยาไฟประลัย ยาผง ครังละ
้ ๒ ช้อนโต๊ะ ขับนํ้าคาวปลา (หลัง หญิงมีครรภ์
กัลป์ วันละ ๒ ครัง้ การคลอดบุตร ห้ามรับประทาน
เช้า – เย็น ก่อนอาหาร ใช้สุราเป็ นกระสาย)
๖ ยาเหลือง ตอกเม็ด เด็กอายุ ๑-๒ เดือน ครังละ ้ ๑ เม็ด แก้ทอ้ งเสี ย(ใช้น้ าํ
ปิดสมุทร (เม็ดละ ๐.๑ กรัม) เด็กอายุ ๓-๕ เดือน ครังละ ้ ๒ เม็ด เปลือก ลูกทับทิมหรื อ
เด็กอายุ๖-๑๒เดือน ครังละ
้ ๓-๕ เม็ด เปลือกแคต้ม กับนํ้า
เด็กโต ครังละ ้ ๕-๗ เม็ด ปูนใสเป็ นกระสาย
ผูใ้ หญ่ ครังละ้ ๕-๗ เม็ด ถ้าหานํ้ากระสายไม่ได้
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ให้ใช้น้ําสุกแทน
แก้ทอ้ งเสีย อุจจาระเป็
มูกเลือด, แก้บดิ ไม่มตี วั
(ใช้กะทือหรือกระชาย
หมกไฟผสมกับนํ้าปูนใ
เป็นกระสาย )
๗ ยา ตอกเม็ด ครังละ
้ ๓ – ๕ เม็ด ๑. แก้จุกเสียด
ประสะไพล (เม็ดละ ๐.๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๒. แก้ระดูไม่ปกติ
๓. ขับนํ้าคาวปลา
(หลังการคลอดบุตร)
ยาผง ครังละ้ ๑ เม็ด ละลายนํ้าสุก
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร หรือนํ้าสุรา
๘ ยาประสะ ตอกเม็ด ผูใ้ หญ่ อมครังละ้ ๑-๒ เม็ด แก้ไอ ขับเสมหะ
มะแว้ง (เม็ดละ ๐.๒ กรัม) เด็ก ลดลงตามส่วน
วันละ ๓ ครัง้
ก่อนอาหาร
ยาผง ผูใ้ หญ่ ครังละ
้ ๑ ช้อนชา
เด็ก ลดลงตามส่วน
(ละลายนํ้ามะนาว
แทรกเกลือ ใช้จบิ
หรือ กวาดคอ)
๙ ยาตรีหอม พิมพ์เม็ด เด็กอายุ ๑-๒ เดือนครังละ้ ๑ เม็ด แก้ทอ้ งผูก, ๑.เด็กอ่อนละลาย
(เม็ดละ ๐.๒ กรัม) เด็กอายุ๓-๕ เดือนครังละ
้ ๒-๓ เม็ด ระบายพิษไข้ นํ้าสุกแทรกเกลือ
เด็กอายุ ๖-๑๒เดือน ครังละ้ ๕-๗ เม็ด ๒.เด็กโต ละลาย
วันละ ๑ ครัง้ ก่อนอาหารเช้า นํ้าลูกสมอไทย
ต้มแทรกเกลือ
หรือดีเกลือ
(ตามธาตุหนัก
เบา)
250

ลําดับ มาตรฐานการใช้ ยา
ชื่อยา รูปแบบยา สรรพคุณ หมายเหตุ
ที่ (ขนาดรับประทาน)
๑๐ ยามหานิล พิมพ์เม็ด เด็ก ครังละ ้ ๑-๒ เม็ด ๑.แก้ไข้, แก้กระหายนํ้า เกลื่อนฝี
(แท่งทอง) (เม็ดละ ๐.๕ กรัม) ผูใ้ หญ่ ครังละ ้ ๓-๔ เม็ด (ละลายนํ้าสุกหรือนํ้าดอกมะลิ
) (ละลายนํ้าสุก
๒.แก้พษิ หัด, พิษอีสกุ อีใส แทรก
(ละลายนํ้ารากผักชีตม้ ) พิมเสน)
๓.ทาสมานปากเปื่อย
(ใช้ลูกเบญจกานีฝนแทรก)
๔.ทาแก้เหงือกเป็นเม็ดซาง
เป็นซุมขาว
๕.ทาแก้ล้นิ เป็นฝ้าเป็นหละ
ละออง
๑๑ ยาประสะ พิมพ์เม็ด เด็กอายุ ๑-๓ เดือน ๑.แก้ทอ้ งอืดท้องเฟ้อ
กระเพรา (เม็ดละ ๐.๑ กรัม) ครังละ
้ ๑-๒ เม็ด (ละลายนํ้าสุก หรือ
(ยาเด็ก) เด็กอายุ ๔-๖ เดือน นํ้าใบกระเพราแดงต้ม)
ครังละ
้ ๒-๓ เม็ด ๒.แก้ปวดท้องแน่นท้อง,
เด็กอายุ ๗-๑๒ เดือน จุกเสียด(ใช้ไพลเผาไฟพอ
ครังละ
้ ๔-๖ เม็ด สุกฝนแทรก ละลายนํ้า
วันละ ๒ ครัง้ เช้า – เย็น สุรา หรือนํ้าต้มสุก)
๑๒ ยาธาตุ ตอกเม็ด เด็ก ครังละ ้ ๒-๓ เม็ด ๑.แก้ธาตุไม่ปกติ,ท้องเสีย ถ้าหากนํ้า
บรรจบ (เม็ดละ ๐.๒ กรัม) ผูใ้ หญ่ ครังละ ้ ๓-๕ เม็ด (ใช้เปลือกแคหรือเปลือก กระสาย
วันละ ๓ ครัง้ สะเดาหรือเปลือกลูกทับทิม ไม่ได้ให้ใช้น้ํา
ก่อนอาหาร ต้มกับนํ้าปูนใสเป็น สุกแทน
กระสาย)
๒.แก้ทอ้ งขึ้นท้องเฟ้ อ
(ใช้กระเทียม ๓ กลีบ ทุบ
ชงนํ้าร้อน หรื อใช้ใบกะเพรา
ต้มเป็ นกระสาย)
๑๓ ยาวิมาน ยาผง เด็กเล็กครังละ ้ ๑/๒ ช้อนชา แก้ไข้ตวั ร้อน, รับประทาน
ฉิมพลี เด็กโต ครังละ ้ ๑ ช้อนชา แก้ขดั เบา ทุก ๓ ชั ่วโมง
วันละ ๒ ครัง้ (ใช้ นํ้าดอกไม้เทศ
เช้า – เย็น ก่อนอาหาร หรือ นํ้าร้อน
เป็นกระสาย)
251

ลําดับ มาตรฐานการใช้ ยา
ชื่อยา รูปแบบยา สรรพคุณ หมายเหตุ
ที่ (ขนาดรับประทาน)
๑๔ ยาเขียวหอม พิมพ์เม็ด เด็กเล็ก ครังละ
้ ๒-๓ เม็ด ๑.แก้ตวั ร้อน,ร้อนใน กระหายนํ้า ๑.ทัง้
เด็กโต ครังละ้ ๔-๕ เม็ด (ละลายนํ้าสุกหรือนํ้าดอกมะลิ) รับประทาน
ผูใ้ หญ่ ครังละ
้ ๗-๘ เม็ด ๒.แก้พิษหัด,เหือด,พิษอีสุกอีใส และชโลม
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร (ละลายนํรากผั
้ า กชีตม้ ) ๒.รับประทาน
ยาผง ผูใ้ หญ่ ครังละ
้ ๑-๒ ช้อนชา วันละ๔-๖ ครัง้
วันละ ๓ ครัง้ หรือทุกเวลา
ก่อนอาหาร ทีม่ อี าการ
เด็ก ลดลงตามส่วน
๑๕ ยาประสะ ยาผง เด็ก ครังละ ้ ๑/๒ ช้อนชา ๑.แก้ไข้ตวั ร้อน, แก้รอ้ นใน, รับประทาน
จันทน์แดง ผูใ้ หญ่ ครังละ้ ๑ ช้อนชา กระหายนํ้า (ละลายนํ้าสุ ก ทุก ๓ ชั ่วโมง
วันละ ๔ ครัง้ หรือนํ้าดอกมะลิ)
ก่อนอาหาร ๒.แก้ไข้เซื่องซึม (ใช้
จันทน์เทศฝนเป็นนํ้า
กระสาย)
๑๖ ยาวิสมั พยา ยาผง ครังละ
้ ๑ ช้อนชา แก้ทอ้ งขึน้ อืดเฟ้อ จุกเสียด รับประทาน
ใหญ่ วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร (ใช้น้ําสุกเป็นกระสาย หรือ ทุก ๔ ชั ่วโมง
ั ้ นลูกกลอน)
ผสมนํ้าผึง้ ปนเป็
๑๗ ยาวาตาธิจร ยาผง ผูใ้ หญ่ ครังละ ้ ๑ ช้อนชา ๑.แก้วงิ เวียน(ใช้นําร้อน
เด็ก ลดลงตามส่วน นํ้าดอกไม้เทศหรือนํ้าขิง
วันละ ๔ ครัง้ แทรกพิมเสนเป็นกระสาย)
ก่อนอาหาร และก่อนนอน ๒.แก้คลื่นเหียนแก้อาเจียน
หรื อทุกเวลาที่มีอาหาร แก้ลมในกองอากาศธาตุ
๑๘ ยากระษัย ๑ พิมพ์เม็ด ครังละ้ ๓-๕ เม็ด ั
๑.แก้กระษัย,ปสสาวะแดง
วันละ ๒ ครัง้ ขุน่ ข้น, แก้อ่อนเพลีย
เช้า และ ก่อนนอน ทําให้เจริญอาหารบํารุงธาตุ
๒.แก้เส้นเอ็นตึง
๓. แก้ปวดเมื่อยหลังเอว
ยาผง ครังละ ้ ๑-๒ ช้อนชา
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
๑๙ ยากระษัย ๒ พิมพ์เม็ด ครังละ ้ ๓-๕ เม็ด ใช้รถุ ่ายกระษัย (แก้โรค
ก่อนนอนคืนเว้นคืน กระษัยทัง้ ปวง)
ยาผง ครังละ ้ ๑-๒ ช้อนชา
ก่อนนอนคืนเว้นคืน
252

ลําดับ มาตรฐานการใช้ ยา
ชื่อยา รูปแบบยา สรรพคุณ หมายเหตุ
ที่ (ขนาดรับประทาน)
๒๐ ยาหอม พิมพ์เม็ด ครังละ
้ ๓-๕ เม็ด แก้ลมวิงเวียน หน้ามือ,
บํารุงหัวใจ (อมใต้ล้นิ ) เวลาทีม่ อี าการ อ่อนเพลีย, บํารุงหัวใจ
ยาผง ครังละ
้ ๑-๑ ๑/๒ ช้อนชา
เวลาทีม่ อี าการ
๒๑ ยากลาธิจร ยาผง ครังละ
้ ๑/๒ – ๑ ช้อนชา แก้ทางเตโชธาตุพกิ าร แก้ลมใน
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ทําให้ลมกําเริบ คนสูงอายุ
๑. แก้ลมพัด ตัง้ แต่สะดือถึง (ละลาย
ลําคอ นํ้าร้อนหรือ
๒.แก้ลมพัดให้ขดั แต่อกถึง นํ้าผึง้ )
ลําคอ
๓.แก้ลมพัดให้นาสิกตึง
๔.แก้ลมหายจัด
๕.แก้ลมหายใจขัด หายใจ
ไม่สะดวก
๖.แก้ลมมหาสดมภ์ และ
ชิวหาสดมภ์
๒๒ ยาห้าราก พิมพ์เม็ด เด็ก ครังละ ้ ๒-๓ เม็ด แก้ไข้ ถอนพิษ ดับพิษไข้
(เม็ดละ ๐.๓ กรัม) ผูใ้ หญ่ ครังละ
้ ๓-๕ เม็ด
วันละ ๓ ครัง้
ก่อนอาหาร
๒๓ ยาสหัสธารา พิมพ์เม็ด ครังละ
้ ๓-๕ เม็ด ๑.แก้ปวดเมือ่ ยกล้ามเนื้อ
(เม็ดละ ๐.๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๒.แก้ลมแล่นตามเส้น
ตามเนื้อ
๓. แก้ล้นิ กระด้าง คางแข็ง
มือชา เท้าชา
๒๔ ยาหอม พิมพ์เม็ด ครังละ
้ ๓-๕ เม็ด ๑.แก้ลมวิงเวียน หน้ามืด
อินทจักร์ (เม็ดละ ๐.๒ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร อ่อนเพลีย
หรือเวลาทีม่ อี าการ ๒.แก้นอนไม่หลับ
ยาผง ครังละ
้ ๑ – ๑ ๑/๒ ช้อนชา
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
หรือเวลาทีม่ อี าการ
253

ลําดับ มาตรฐานการใช้ ยา
ชื่อยา รูปแบบยา สรรพคุณ หมายเหตุ
ที่ (ขนาดรับประทาน)
๒๕ ยาเขียวใหญ่ พิมพ์เม็ด เด็กเล็ก ครังละ
้ ๒-๓ เม็ด ๑.แก้ปวดศีรษะ ตัวร้อน กระทุง้ ถ้าจะใช้ทงั ้ กิน
เด็กโต ครังละ ้ ๔-๕ เม็ด ไข้ (ใช้นํ้ามูตร หรือนํ้าซาวข้าวเป็ ทัง้ ชโลม ใช้
ผูใ้ หญ่ ครังละ
้ ๗-๘ เม็ด กระสาย) นํ้าซาวข้าว
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๒.แก้ปวดศีรษะ(ใช้ดนิ สอพองทา ) นํ้าจันทร์
ยาผง ผูใ้ หญ่ ครังละ
้ ๑-๒ ช้อนชา นํ้าดอกไม้
เป็นกระสาย
๒๖ ยาแก้ไอ ยาผง ผูใ้ หญ่ ครังละ
้ ๑ ช้อนชา แก้ไอ ขับเสมหะ (ละลายนํ้า
ขับเสมหะ จิบได้ทุกเวลาทีม่ ี มะนาวแทรกเกลือ)
อาการ
เด็ก ลดลงตามส่วน
๒๗ ยาเลือดสตรี พิมพ์เม็ด ครังละ
้ ๓-๕ เม็ด ๑.แก้ระดูไม่ปกติ แก้มตุ กิด
(เม็ดละ ๐.๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร มุตฆาต แก้ระดูขาวแก้ปวด
ยาผง ครังละ้ ๑ ช้อนชา เมือ่ ยเอว (ใช้น้ําร้อน,
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร นํ้าส้มสายชู, นํ้ามะกรูด,
นํ้ามะงั ่ว, นํ้าส้มซ่าเหล้า
เป็นกระสาย)
๒. แก้ลมทุกชนิด (ใช้น้ําขิง
หรือนํ้าสุรา เป็นกระสาย)
๒๘ ยาฤทธิจร ยาผง ้ ๑ – ๑ ๑/๒ ช้อนชา ๑. แก้ทอ้ งขึน้ ท้องเฟ้อ
ครังละ เป็นยา
วันละ ๓ ครัง้ หรือเมือ่ มี (มีลมเป็นก้อนในท้อง) สําหรับแก้
อาการ ๒. แก้ปวดท้อง โรคลม
๓. แก้ปวดขัดเจ็บตาม
กล้ามเนื้อ
๒๙ ยาปะโตละธิ ยาผง วันละ ๑-๒ ช้อนชา ๑. แก้ไข้จบั เพื่อเส้น เพื่อลม ๑.แก้ไข้แทรก
คุณ วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร เพื่อกําเดา เพื่อเสมหะ ดีเกลือตามธาตุ
๒. แก้เส้นกล่อน หนักเบา

ปตคาด (ยานี้ใช้เฉพาะ
ไข้สนั นิบาต)
๓๐ ยา ยาผง ครังละ
้ ๑-๒ ช้อนชา แก้นอนไม่หลับ
ประสะนํ้านม วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
(พิเศษ๑)
๓๑ ยาอบ ยาผง ๑. ใช้ห่อทําลูกประคบ ๑.แก้ปวดเมือ่ ย เส้นเอ็น ช่วยขับเหงือ่
สมุนไพร (บดหยาบ) ประคบตามร่างกายหลัง ทําให้ผวิ พรรณเต่งตึง ลดนํ้าหนัก
คลอดบุตร ๒. ทําให้น้ําคาวปลาเดิน
๒. ใช้ประคบหน้าท้อง สะดวกมดลูกเข้าอู่
๓. ใช้ตม้ เอาไอนํ้ารม ๓. แก้ปวดเมือ่ ย เส้นตึง
เข้ากระโจม หลังคลอดบุตร ขัดยอก
254

ลําดับ มาตรฐานการใช้ ยา
ชื่อยา รูปแบบยา สรรพคุณ หมายเหตุ
ที่ (ขนาดรับประทาน)
๓๒ ยาประสะ ยาผง ครังละ
้ ๑ ช้อนชา ๑. แก้ปวดท้อง จุกเสียดแน่น
กานพลู วันละ ๓ ครังก่้ อนอาหาร ๒. แก้ธาตุพกิ าร ขับลมในลําไส
๓๓ ยาชักมดลูก ยาผง ครังละ
้ ๑-๒ช้อนชา ๑. ช่วยรัดมดลูให้เข้าอู่ ใช้หลังคลอด
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๒. แก้ปวดมดลูก
๓๔ ยาถอนพิษ ยาผง วันละ ๑-๒ ช้อนชา ๑. ถอนพิษประดงแรด
ประดง วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๒. แก้พษิ ประดง (ผืน่ คัน
ลมพิษ)
๓๕ ยาไฟอาวุธ ยาผง ครังละ ้ ๑ ช้อนชา ๑. แก้ซาง ตานโจร
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร หืดนํ้านม ไอผอม เหลือง
๒. แก้ไส้พอง ท้องใหญ่
๓. แก้ลม จุกเสียด
๔. แก้ป้าง
๕. แก้มา้ ม
๖. แก้ตานเสมหะให้ปวด
มวนเสียดแทง
๗. แก้อุจจาระเป็นเสมหะ
โลหิตละคนกัน
๘. แก้ไข้เพื่อเสมหะ
เพื่อลม
๓๖ ยาหอม พิมพ์เม็ด ครังละ
้ ๓ – ๕ เม็ด ๑. แก้ลมกองงละเอียด
เนาวโกฐ (เม็ดละ ๐.๒ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ชูชพี จร บํารุงหัวใจ
หรือเวลาทีม่ อี าการ
ยาผง ครังละ
้ ๑- ๑ ๑/๒ ช้อนชา ๑. แก้คลื่นเหียนอาเจียน
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๒. บํารุงประสาท
๓๗ ยาทัพยาธิ พิมพ์เม็ด ครังละ
้ ๓-๕ เม็ด ๑. แก้ลมจุกเสียด ขับลม
คุณ ๑ (เม็ดละ ๐.๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ขับผายลม
ยาผง ครังละ้ ๑ – ๑ ๑/๒ ช้อนชา ๒. แก้มา้ ม แก้ตบั แก้ดซี ่าน
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๓. แก้อาเจียน
๔. บํารุงเลือด
๓๘ ยาทัพยาธิ พิมพ์เม็ด ครังละ ้ ๓ – ๕ เม็ด ๑. แก้ลมอัมพาต ปากเบีย้ ว
คุณ ๒ (เม็ดละ ๐.๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๒. แก้พยาธิไส้เดือน
ยาผง ครังละ ้ ๑ – ๑ ๑/๒ ช้อนชา ๓. แก้อุปทม
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๔. แก้เถาดานเป็นก้อน
เป็นลูกกลิ้งในท้อง
255

ลําดับ มาตรฐานการใช้ ยา
ชื่อยา รูปแบบยา สรรพคุณ หมายเหตุ
ที่ (ขนาดรับประทาน)
๓๙ ยาธรณี พิมพ์เม็ด ครังละ
้ ๓ – ๕ เม็ด ๑. ขับนํ้าคาวปลา
สัณฑะฆาต (เม็ดละ ๐.๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร หลังการคลอดบุตร
หรือ ก่อนนอน ๒. ถ่ายเส้น ถ่ายกระษัย
แก้น้ําเหลืองเสีย
๓. เป็นยาระบาย
๔๐ ยาเบญจกูล พิมพ์เม็ด ครังละ
้ ๓ – ๕ เม็ด ๑. ขับลมในลําไส้
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๒. แก้โรคกระเพาะอาหาร
๓. บํารุงธาตุทงั ้ ๔
(ธาตุดนิ , นํ้า, ลม, ไฟ)
๔๑ ยาแก้ไข้ ยาผง ครังละ
้ ๒ ช้อนชา - แก้ไข้ทบั ระดู แก้ระดู
ทับระดู วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ทับไข้ (ปวดหัวตัวร้อน
จัดก่อน และขณะมีระดู)
๔๒ ยานั ่งถ่าน ยาผง ใช้โรยลงในเตาถ่านเล็กแล้ว แก้กระบังลมเคลื่อนมดลูก ใช้หลังคลอด
(บดหยาบ) ให้เอาควันรมปากช่องคลอด ลงตํ่า ทําให้มดลูกเข้าอู่ หรือหลัง
ทุกเช้า– เย็น (หลังจากอาบนํ้า คลอดบุตร
แล้ว) หรือเวลาพลบคํ่า มีลมดังทาง
ช่องคลอด
(ผายลมทาง
ช่องคลอด)
๔๓ ยาแก้ปวด ยาดองเหล้า ทาบ่อยๆ หรือวันละ ๓ ครัง้ แก้ปวดเมือ่ ย เป็นยาใช้ทา
เมือ่ ย (ถูทาบริเวณเจ็บปวด) ภายนอก(หรือ
ใช้ผสมสุราทา
)
๔๔ ยาริดสีดวง ยาเคลือบเม็ด ครังละ ้ ๕ เม็ด แก้โรคริดสีดวงทวาร
ทวาร (เม็ดละ ๐.๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ทําให้หวั ยุบโลหิตไม่ออก
ถ่ายอุจจาระสะดวก
๔๕ ยาถ่าย ยาผง ครังละ
้ ๑/๒ – ๑ ช้อนชา ๑. เป็นยาถ่ายอย่างแรง (ต้องใช้อย่าง
อย่างแรง ก่อนนอน หรือก่อนอาหาร ถ่ายพรรดึก ระมัดระวัง)
เช้า ๒. ถ่ายนํ้าเหลืองแก้โรคผืน่
คันตามผิวหนัง
๓. ถ่ายพยาธิ
๔๖ ยาเทพมงคล พิมพ์เม็ด เด็ก อายุ ๑ – ๓ เดือน ๑. แก้หละละอองซาง
(เม็ดละ ๐.๑ กรัม) ครังละ
้ ๑ เม็ด ๒. แก้ตวั ร้อน
เด็ก อายุ ๔ – ๖ เดือน ถอนพิษไข้ ไข้กาฬ
ครังละ้ ๒ เม็ด
เด็ก อายุ ๗ – ๑๒ เดือน
ครังละ
้ ๓ เม็ด
รับประทานได้ทุกเวลา
256

ลําดับ มาตรฐานการใช้ ยา
ชื่อยา รูปแบบยา สรรพคุณ หมายเหตุ
ที่ (ขนาดรับประทาน)
๔๗ ยาทอง ยาผง ใช้กวาดคอเด็ก แก้เด็กตัวร้อน แก้หละ
แนบเนื้อ ละอองซาง ดับพิษตานซาง
(ยากวาด
คอเด็ก)
๔๘ ยานัตถุ์ ยาผง ใช้ยาขนาดเท่าหัวไม้ขดี ไฟ แก้หวัด คัดจมูก เป็นยานัตถุ์
(นัตถุ์สดู ดม) นํ้ามูกไหล ใช้สดู ดม
ทุกเวลาทีม่ อี าการ
๔๙ ยาแก้ลมขัด ยาผง ครังละ
้ ๑ – ๒ ช้อนชา แก้ลมขัดในข้อ (ทําให้ปวด
ในข้อ วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร เมือ่ ยเดินไม่สะดวก)
๕๐ ยาอัมพาต ยาผง ครังละ
้ ๑ – ๒ช้อนชา แก้อมั พาต อัมพฤกษ์ ใช้รว่ มกับยา
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร (มือเท้าตาย หยิบจับ ลําดับที่ ๕๑
ไม่สะดวก เดินไม่ได้)
๕๑ ยาแก้ลม ยาผง ครังละ
้ ๑ – ๒ ช้อนชา แก้ลมอัมพฤกษ์ อัมพาต ใช้รว่ มกันยา
อัมพฤกษ์ วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร มือเท้าตาย คางแข็ง (ใช้น้ํา ลําดับที่ ๕๒
อัมพาต มะงั ่ว, นํ้ามะขามเปียก,
นํ้ามะกรูด นํ้าส้มซ่า เป็น
กระสาย)
๕๒ แก้ลม ยาผง ครังละ ้ ๑ – ๒ ช้อนชา แก้มอื เท้าตาย ยกไม่ขน้ึ
อโธคมาวาตา วันละ ๓ ครังก่
้ อนอาหาร เดินไม่สะดวก ให้ยกมือยก
เท้าไม่ได้ ให้เจ็บปวด
เมือ่ ยขบทุกข้อทุกกระดูก
๕๓ ยาประคบ ยาผง ใช้ห่อผ้าทําลูกประคบ นึ่ง ๑.แก้ปวดเมื่อย ตาม ทําลูกประคบ
เส้น (บดหยาบ) นํ้าร้อนประคบตามร่างกาย ร่างกาย
วันละ ๒ ครัง้ เช้า – เย็น ๒.แก้หนักมือ หนักเท้า
ปลายนิ้วกระดิกไม่ได้
๕๔ ยาอายุวฒ ั นะ ยาผง ครังละ
้ ๑ ช้อนชา แก้กระษัย อ่อนเพลีย
๑ วันละ ๑ ครัง้ ก่อนนอน ไม่มแี รง บํารุงเส้นเอ็น
๕๕ ยาแก้ ยาผง ทาวันละ ๒ ครัง้ แก้หลังแข็ง ปวดหลัง ใช้ทา
หลังแข็ง เช้า – เย็น หรือก่อนนอน (ละลายกับเหล้าขาว หรือ ภายนอก
(ทาเวลาปวด) นํ้าส้มสายชู)
๕๖ ยาบํารุง พิมพ์เม็ด ครังละ้ ๓ – ๕ เม็ด ๑. แก้ระดูมาไม่ปกติ
โลหิต (เม็ดละ ๐.๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๒. ช่วยบํารุงโลหิต
สตรี ๓. เจริญอาหาร
(ยากําลัง
ราชสีห)์
257

ลําดับ มาตรฐานการใช้ ยา
ชื่อยา รูปแบบยา สรรพคุณ หมายเหตุ
ที่ (ขนาดรับประทาน)
๕๗ ยาแก้เลือด ยาดองเหล้า ครังละ
้ ๒ ช้อนโต๊ะ ๑.แก้เลือดลมสตรี นํามาทุบพอ
ลม วันละ ๒ ครัง้ แก้สวิ ฝ้า แหลกห่อผ้า
สตรี เช้า – เย็น ก่อนอาหาร ๒.แก้ปวดประจําเดือน ขาวบางแช่
(แก้สวิ ฝ้า) สุรา ๒๘ ดีกรี
เป็นเวลา
๑ อาทิตย์
๕๘ ยาอายุวฒ
ั นะ พิมพ์เม็ด ครังละ
้ ๑ – ๒ เม็ด บํารุงกําลัง
๒ (พิมพ์เบอร์ ๒) ก่อนนอน เสริมสุขภาพ
ยาผง ครังละ ้ ๑ ช้อนชา
ก่อนนอน
๕๙ ยาเบาหวาน พิมพ์เม็ด ครังละ ้ ๓ – ๕ เม็ด แก้เบาหวาน ลดนํ้าตาล
(เม็ดละ ๐.๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ในเลือด
ยาผง ครังละ
้ ๑ – ๒ ช้อนชา
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
๖๐ ยาแก้ขดั เบา ยาผง ครังละ ้ ๑ – ๒ ช้อนชา ั
แก้ปสสาวะขั
ด (แก้นิ่ว)
(หริอ ๒ – ๓ ช้อนชา)
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
๖๑ ยาแก้หวัด ยาผง ครังละ
้ ๑ – ๒ ช้อนชา แก้หวัด แก้แพ้อากาศ
แก้แพ้อากาศ วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
๖๒ ยาลูกจันทน์ ยาผง ครังละ้ ๑ – ๑ ๑/๒ ช้อนชา แก้ปวดท้อง จุกเสียด หรือใช้ผสม
วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ธาตุพกิ าร กับยาอื่น
๖๓ ยาแก้หอบ ยาผง ครังละ ้ ๑ – ๑ ๑/๒ ช้อนชา แก้หอบหืด
หืด วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร
๖๔ ยาขมิน้ ชัน พิมพ์เม็ด ครังละ ้ ๓ – ๕ เม็ด ๑. แก้ทอ้ งอืด ท้องเฟ้อ
(เม็ดละ ๐.๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๒. รักษาโรคกระเพาะ
อาหาร
๖๕ ยาฟ้าทลาย พิมพ์เม็ด ครังละ
้ ๓ – ๕ เม็ด ๑. แก้ไข้
โจร (เม็ดละ ๐.๓ กรัม) วันละ ๓ ครัง้ ก่อนอาหาร ๒. แก้เจ็บคอ
๓. แก้ทอ้ งเสีย
๖๖ นํ้ามันไพล นํ้ามัน ทา ถู นวด ๑. แก้ปวดเมือ่ ยกล้ามเนื้อ
๒. แก้เคล็ดขัดยอก
กล้ามเนื้อ
๖๗ ยาหม่องนํ้า นํ้ามัน สูดดม แก้วงิ เวียนศีรษะ
258

ภาคผนวก ข.
259

แบบปฏิบตั ิ การ
เภสัชวัตถุ จํานวน ๑๕ ชัวโมง

ปฏิบตั ิ การที่ ๑ เรื่อง พืชวัตถุ จํานวน ๙ ชัวโมง

วัตถุประสงค์
๑. รูจ้ กั พืชวัตถุได้อย่างน้อย ๕๐ ชนิด
๒. สามารถจําแนกพืชวัตถุได้
๓. สามารถอธิบายลักษณะของพืชวัตถุตามหลักการรูจ้ กั ตัวยา ๕ ประการ ได้
๔. สามารถเก็บตัวอย่างของพืชวัตถุได้
สาระสําคัญ
พืชวัตถุทเ่ี รานํามาใช้ทาํ ยานัน้ สามารถจําแนกออกได้เป็น ๓ จําพวก ได้แก่ จําพวก
ต้น , เถา – เครือ , หัว – เหง้า , ผัก , หญ้า , โดยใช้ส่วนต่าง ๆ ของพืชมาทําเป็นยา เช่น ราก ,
ต้น , กิง่ , ใบ , ดอก , ลูก หรือ ตะคะเปลือก เนื้อไม้ กระพี้ แก่น เป็นต้น การทีจ่ ะรูจ้ กั พืชชนิด
ใดนัน้ ต้องมีหลักในการพิจารณา คือ รูปลักษณะ สี กลิน่ รส และ ชื่อ ซึง่ เภสัชกรทุกคนทีจ่ ะ
นําพืชวัตถุมาทํายานัน้ จําเป็นต้องรูห้ ลักตามทีก่ ล่าวมาแล้ว จึงจะปรุงยาได้อย่างถูกต้อง

ขัน้ ตอนการปฏิ บตั ิ


๑. ให้ผเู้ รียนเก็บพืชสมุนไพรมา ๕ จําพวก
๒. จําแนกพืชสมุนไพรออกเป็นหมวดหมู่
๓. บอกลักษณะของพืชสมุนไพรตามหลักการรูจ้ กั ตัวยา
๔. บอกแหล่งทีม่ าของพืชสมุนไพรทีเ่ ก็บมา
วิ ธีการ
๑. วางระเรียบในการฝึ กปฏิบตั งิ าน
๒. เวลาทีป่ ฏิบตั งิ าน ( เริม่ เวลา……………………น. ถึง……………………….. น.)
๓. ลงนามปฏิบตั งิ าน
๔. ปฏิบตั งิ านตามทีม่ อบหมาย
การประเมินผล
๑. สังเกตุการปฏิบตั กิ าร
๒. ตรวจแบบปฏิบตั กิ าร
สรุป
ผูเ้ รียนปฏิบตั ไิ ด้ในการจัดหมวดหมู่ของพืชวัตถุ , การจําแนกและการพิจารณาพืชวัตถุ
ตลอดจนบอกแหล่งทีม่ าของพืชวัตถุต่าง ๆ
260

แบบประเมิ นการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง พืชวัตถุ

ชื่อ…………………………………… วันที… ่ …… เดือน…………….. พ.ศ. …….........


เวลา …………………………น.
ส่วนที่ ๑ ใส่เครื่องหมาย / ลงในตารางจําแนกพืชวัตถุ

การจําแนกพืชวัตถุ
ที่ ชื่อพืชวัตถุ หมายเหตุ
ต้น เถา-เครือ เหง้า-หัว ผัก หญ้า

ส่วนที่ ๒ ให้ใช้หลักการรูจ้ กั ตัวยา ๕ ประการ พิจารณาพืชวัตถุในส่วนที่ ๑


๑. ลักษณ(รูป)………………………………………………………………………………………
........................................................................................................................................
๒. สี
......................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
๓. กลิน่ .................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
๔. รส....................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
๕. ชื่อ (รวมชื่อท้องถิน่ ทีเ่ กิดด้วย) …………………………………………...........................
…………………………………………………………………………………………………
261

แบบสังเกตุการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง พืชวัตถุ

วันที…
่ ……เดือน………………………พ.ศ……….เวลา………………น.

เจตคติ
ที่ ชื่อผูเ้ รียน หมายเหตุ
ความสนใจ การตรงต่อเวลา ผลงาน









๑๐
๑๑
๑๒
ฯลฯ

ครูผปู้ ระเมิน…………………………………………………………………..
เกณฑ์การประเมิน
๑. คือ ต้องปรับปรุง
๒. คือ พอใช้
๓. คือ ดี
262

แบบปฏิบัตกิ าร

ปฏิบัตกิ ารที่ ๒ เรื่ อง สัตว์วตั ถุ จํานวน ๓ ชัว่ โมง


วัตถุประสงค์
๑. รู้จกั สัตว์วตั ถุได้ ๓ จําพวก
๒. สามารถจําแนกสัตว์วตั ถุได้
๓. อธิบายลักษณะของสัตว์วตั ถุตามหลักการรู้จกั ตัวยา ๕ ประการ ได้
๔. สามารถเก็บตัวอย่างของสัตว์วตั ถุได้
สาระสํ าคัญ
สัตว์วตั ถุที่เรานํามาใช้ทาํ ยานั้น สามารถจําแนกออกได้เป็ น ๓ จําพวก ได้แก่ สัตว์บก
สัตว์น้ าํ สัตว์อากาศ โดยใช้ส่วนต่าง ๆ ของสัตว์มาทําเป็ นยา เช่น ขน หนัง เขา นอ เขี้ยว งา ฟัน
กรวด กราม ดี หัว หาง เล็บ กีบ กระดูก เนื้ อ เอ็น เลือด นํ้ามัน มูล ฯลฯ การที่จะรู้จกั สัตว์ชนิดใด
นั้น ต้องมีหลักการในการพิจารณา คือ รู ปลักษณะ สี กลิ่น รส และชื่อ ซึ่งเภสัชกรทุกคนที่จะนํา
สัตว์วตั ถุมาทํายานั้น จําเป็ นต้องรู ้จกั หลักตามที่กล่าวมาแล้ว จึงจะปรุ งยาได้ถกู ต้อง
ขั้นตอนการปฏิบัติ
๑. ให้ผเู ้ รี ยนหาสัตว์สมุนไพรมา ๓ จําพวก
๒. จําแนกสัตว์สมุนไพรออกเป็ นหมวดหมู่
๓. บอกลักษณะของสัตว์สมุนไพรตามหลักการรู้จกั ตัวยา
๔. บอกแหล่งที่มาของสัตว์สมุนไพรที่เก็บมา
วิธีการ
๑. วางระเบียบในการฝึ กปฏิบตั ิงาน
๒. เวลาที่ปฏิบตั ิงาน ( เริ่ มเวลา……………………น. ถึง ……………………….. น. )
๓. ลงนามปฏิบตั ิงาน
๔. ปฏิบตั ิงานตามที่มอบหมาย
การประเมินผล
๑. สังเกตุการปฏิบตั ิงาน
๒. ตรวจแบบปฏิบตั ิการ
สรุป
ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิได้ในการจัดหมวดหมู่ของสัตว์วตั ถุ , การจําแนกและการพิจารณาสัตว์วตั ถุ
ตลอดจนบอกแหล่งที่มาของสัตว์วตั ถุต่าง ๆ
263

แบบประเมิ นการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง สัตว์วตั ถุ

ชือ่ …………………………………… วันที… ่ …… เดือน…………….. พ.ศ. …….........


เวลา …………………………น.
ส่วนที่ ๑ ใส่เครือ่ งหมาย / ลงในตารางจําแนกสัตว์วตั ถุ

การจําแนกสัตว์วตั ถุ
ที่ ชื่อสัตว์วตั ถุ หมายเหตุ
สตว์บก สัตว์นํ้า สัตว์อากาศ

ส่วนที่ ๒ ให้ใช้หลักการรูจ้ กั ตัวยา ๕ ประการ พิจารณาสัตว์วตั ถุในส่วนที่ ๑


๑. ลักษณะ (รูป)....................................................................................................................
.......................................................................................................................................
๒. สี ..................................................................................................................................
......................................................................................................................................
๓. กลิน่ ..............................................................................................................................
.......................................................................................................................................
๔. รส....................................................................................................................................
..........................................................................................................................................
๕. ชื่อ (รวมชื่อท้องถิน่ ทีเ่ กิดด้วย) .................................................................................................
...................................................................................................................................................
264

แบบสังเกตุการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง สัตว์วตั ถุ

วันที…
่ ……เดือน………………………พ.ศ……….เวลา………………น.

เจตคติ
ที่ ชื่อผูเ้ รียน หมายเหตุ
ความสนใจ การตรงต่อเวลา ผลงาน









๑๐
๑๑
๑๒
ฯลฯ

ครูผปู้ ระเมิน…………………………………………………………………..
เกณฑ์การประเมิน
๑. คือ ต้องปรับปรุง
๒. คือ พอใช้
๓. คือ ดี
265

แบบปฏิบัตกิ าร

ปฏิบัตกิ ารที่ ๓ เรื่ อง ธาตุวตั ถุ จํานวน ๓ ชัว่ โมง


วัตถุประสงค์
๑. รู ้จกั ธาตุวตั ถุได้ ๓ จําพวก
๒. สามารถจําแนกธาตุวตั ถุได้
๓. อธิบายลักษณะของธาตุวตั ถุตามหลักการรูจ้ กั ตัวยา ๕ ประการ ได้
๔. สามารถเก็บตัวอย่างของธาตุวตั ถุได้
สาระสํ าคัญ
ธาตุวตั ถุที่เรานํามาใช้ทาํ ยานั้น สามารถจําแนกออกได้เป็ น ๒ จําพวก ได้แก่ ธาตุวตั ถุที่
สลายตัวง่าย และธาตุวตั ถุที่สลายตัวยาก โดยใช้ส่วนต่าง ๆ ของธาตุมาทําเป็ นยา แต่บางอย่างต้อง
สะตุเสียก่อนจึงจะนํามาใช้ทาํ ยาได้ การที่จะรู้จกั ธาตุวตั ถุชนิดใดนั้น ต้องมีหลักการในการพิจารณา
คือ รู ปลักษณะ สี กลิ่น รส และชื่อ ซึ่งเภสัชกรทุกคนที่จะนําธาตุวตั ถุมาทํายานั้น จําเป็ นต้องรู้จกั
หลักตามที่กล่าวมาแล้ว จึงจะปรุ งยาได้ถกู ต้อง
ขั้นตอนการปฏิบัติ
๑. ให้ผเู้ รี ยนหาธาตุวตั ถุมา ๒ จําพวก
๒. จําแนกธาตุวตั ถุออกเป็ นหมวดหมู่
๓. บอกลักษณะของธาตุวตั ถุตามหลักการรู้จกั ตัวยา
๔. บอกแหล่งที่มาของธาตุวตั ถุที่เก็บมา
วิธีการ
๕. วางระเบียบในการฝึ กปฏิบตั ิงาน
๖. เวลาที่ปฏิบตั ิงาน ( เริ่ มเวลา……………………น. ถึง ……………………….. น. )
๗. ลงนามปฏิบตั ิงาน
๘. ปฏิบตั ิงานตามที่มอบหมาย
การประเมินผล
๖. สังเกตุการปฏิบตั ิงาน
๗. ตรวจแบบปฏิบตั ิการ
สรุป
ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิได้ในการจัดหมวดหมู่ของธาตุวตั ถุ, การจําแนกและการพิจารณาธาตุวตั ถุ
ตลอดจนบอกแหล่งที่มาของธาตุวตั ถุต่าง ๆ
266

แบบประเมิ นการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง ธาตุวตั ถุ

ชือ่ …………………………………… วันที… ่ …… เดือน…………….. พ.ศ. …….........


เวลา …………………………น.
ส่วนที่ ๑ ใส่เครือ่ งหมาย / ลงในตารางจําแนกธาตุวตั ถุ

การจําแนกธาตุวตั ถุ
ที่ ชื่อธาตุวตั ถุ หมายเหตุ
ธาตุสลายตัวง่าย ธาตุสลายตัวยาก

ส่วนที่ ๒ ให้ใช้หลักการรูจ้ กั ตัวยา ๕ ประการ พิจารณาพืชวัตถุในส่วนที่ ๑


๑. ลักษณะ (รูป)...........................................................................................................
...............................................................................................................................
๒. สี .............................................................................................................................
............................................................................................................................. ...
๓. กลิน่ .....................................................................................................................
................................................................................................................................
๔. รส ............................................................................................................................
..................................................................................................................................
๕. ชื่อ (รวมชื่อท้องถิน่ ทีเ่ กิดด้วย) ..............................................................................................
...............................................................................................................................................
267

แบบสังเกตุการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง ธาตุวตั ถุ

วันที…
่ ……เดือน………………………พ.ศ……….เวลา………………น.

เจตคติ
ที่ ชื่อผูเ้ รียน หมายเหตุ
ความสนใจ การตรงต่อเวลา ผลงาน









๑๐
๑๑
๑๒
ฯลฯ

ครูผปู้ ระเมิน…………………………………………………………………..
เกณฑ์การประเมิน
๑. คือ ต้องปรับปรุง
๒. คือ พอใช้
๓. คือ ดี
268

แบบปฏิบัตกิ าร
สรรพคุณเภสั ช จํานวน ๑๑ ชัว่ โมง

ปฏิบัตกิ ารที่ ๔ เรื่ อง รสของยา ๔ , ๖ , ๘ , ๙ รส


วัตถุประสงค์
๑. สามารถทําแผนภูมิเรื่ องรสบาได้
๒. จําแนกสมุนไพรได้ตามรสยา

สาระสํ าคัญ
การที่จะรู ้จกั สรรพคุณยาได้น้ นั เภสัชกรจะต้องรู้จกั รสของตัวยา ซึ่งมีอยูด่ ว้ ยกันหลายรส เช่น
รสยา ๔ รส รสยา ๖ รส รสยา ๘ รส และรสยา ๙ รส ซึ่งรสยาเหล่านี้ เภสัชกรจะต้องศึกษาให้
เข้าใจอย่างชัดเจน จึงจะทําการปรุ งยาได้ถกู ต้อง
ขั้นตอนการปฏิบัติ
๑. ให้ผเู ้ รี ยนเตรี ยมอุปกรณ์การทําแผนภูมิ เช่น กระดาษแข็ง สี ปากกาเคมี เทปกาว ดินสอ
ปากกา ยางลบ ฯลฯ
๒. เตรี ยมเภสัชวัตถุตามรสยา
๓. จัดหมวดหมู่เภสัชวัตถุให้เป็ นกลุ่มตามรสยา
วิธีการ
๑. วางระเบียบในการฝึ กปฏิบตั ิงาน
๒. เวลาที่ปฏิบตั ิงาน ( เริ่ มเวลา……………………น. ถึง ……………………….. น. )
๓. ลงนามปฏิบตั ิงาน
๔. ปฏิบตั ิงานตามที่มอบหมาย
การประเมินผล
๑. สังเกตุการปฏิบตั ิงาน
๒. ตรวจแบบปฏิบตั ิการ
สรุป
ผูเ้ รี ยนปฏิบตั ิได้ในการทําแผนภูมิ และแบ่งกลุ่มเภสัชวัตถุตามรสยาได้
269

แบบประเมิ นการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง ยา ๔ รส ๖ รส ๘ รส ๙ รส

ชือ่ …………………………………… วันที… ่ …… เดือน…………….. พ.ศ. …….........


เวลา …………………………น.
ส่วนที่ ๑ ใส่เครือ่ งหมาย / ลงในตารางจําแนกรสยาของเภสัชวัตถุ

การจําแนกรสยา หมาย
ที่ ชื่อผูเ้ รียน ฝาด หวาน เมาเบื่อ ขม เผ็ด มัน หอม เค็ม เปรีย้ ว เหตุ
ร้อน เย็น

ส่วนที่ ๒ ให้ใช้หลักการรูจ้ กั ตัวยา ๕ ประการ พิจารณาเภสัชวัตถุในส่วนที่ ๑


๑. ลักษณะ (รูป)...........................................................................................................
...............................................................................................................................
๒. สี .............................................................................................................................
............................................................................................................................. ...
๓. กลิน่ .....................................................................................................................
................................................................................................................................
๔. รส ............................................................................................................................
..................................................................................................................................
๕. ชื่อ (รวมชื่อท้องถิน่ ทีเ่ กิดด้วย) ..............................................................................................
...............................................................................................................................................
270

แบบสังเกตุการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง รสของยา ๔ , ๖ , ๘ , ๙ รส
วันที…
่ ……เดือน………………………พ.ศ……….เวลา………………น.

เจตคติ
ที่ ชื่อผูเ้ รียน หมายเหตุ
ความสนใจ การตรงต่อเวลา ผลงาน









๑๐
๑๑
๑๒
ฯลฯ

ครูผปู้ ระเมิน…………………………………………………………………..
เกณฑ์การประเมิน
๑. คือ ต้องปรับปรุง
๒. คือ พอใช้
๓. คือ ดี
271

แบบปฏิบัตกิ าร
คณาเภสั ช จํานวน ๑๓ ชัว่ โมง

ปฏิบัตกิ ารที่ ๕ เรื่ อง จุลพิกดั จํานวน ๓ ชัว่ โมง

วัตถุประสงค์
จัดกลุ่มตัวยาตามขนาด , สี , รส ม ชนิด ( เพศ) , ถิ่นที่เกิด ได้อย่างถูกต้อง

สาระสํ าคัญ
การจํากัดตัวยาจํานวนน้อยอย่าง หรื อพิกดั ที่เรี ยกชื่อตรงตามตัวอย่างเดียวกัน ส่วนมากมีตวั ยา
เพียง ๒ อย่างเท่านั้น จะเป็ นตัวยาชนิดเยวกันแต่แตกต่างกันทีล่ กั ษณะขนาด , สี , รส ม ชนิด ( เพศ) ,
ถิ่นที่เกิด

ขั้นตอนการปฏิบัติ
๑. เตรี ยมเภสัชวัตถุที่ป็นตัวยาเดียวกันแต่เรี ยก ๒ ชื่อ
๒. จัดหมวดหมู่เภสัชวัตถุให้เป็ นไปตามจุลพิกดั
๓.
วิธีการ
๑. วางระเบียบในการฝึ กปฏิบตั ิงาน
๒. เวลาที่ปฏิบตั ิงาน ( เริ่ มเวลา……………………น. ถึง ……………………….. น. )
๓. ลงนามปฏิบตั ิงาน
๔. ปฏิบตั ิงานตามที่มอบหมาย
๕.
สรุป
ผูเ้ รี ยนจัดหมวดหมู่เภสัชวัตถุ ตามจุลพิกดั ได้
272

แบบประเมิ นการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง จุลพิกดั

ชือ่ …………………………………… วันที… ่ …… เดือน…………….. พ.ศ. …….........


เวลา …………………………น.
ส่วนที่ ๑ ใส่เครือ่ งหมาย / ลงในตารางจําแนกความแตกต่างของพืชวัตถุและธาตุวตั ถุ

แตกต่างกันที่
ที่ ชื่อพืชวัตถุและธาตุวตั ถุ หมายเหตุ
ขนาด สี รส ชนิด ถิน่ ทีเ่ กิด

๑ กะเพราทัง้ ๒ - / - - - ตัวอย่าง
๒ ผักหวานทัง้ ๒ - - - - /







๑๐
๑๑
๑๒
273

แบบสังเกตุการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง จุลพิกดั
วันที…
่ ……เดือน………………………พ.ศ……….เวลา………………น.

ที่ ชื่อผูเ้ รียน ความสนใจ การตรงต่อเวลา ผลงาน หมายเหตุ











๑๐
๑๑
๑๒
ฯลฯ

ครูผปู้ ระเมิน…………………………………………………………………..
เกณฑ์การประเมิน
๑. คือ ต้องปรับปรุง
๒. คือ พอใช้
๓. คือ ดี
274

แบบปฏิบัตกิ าร

ปฏิบัตกิ ารที่ ๖ เรื่ อง พิกดั ยา จํานวน ๗ ชัว่ โมง

วัตถุประสงค์
จัดกลุ่มตัวยาตามพิกดั ๓, ๔ , ๕ , ๗ , ๙, ๑๐ และพิกดั พิเศษ

สาระสํ าคัญ
การจํากัดจํานวนตัวยาตั้งแต่ ๒ อย่างขึ้นไป นํามารวมกันเข้า มีน้ าํ หนักและขนาดตัวยา
เท่ากันแล้วเรี ยกชื่อเป็ นชื่อเดียวกัน

ขั้นตอนการปฏิบัติ
๑. เตรี ยมเภสัชวัตถุที่ป็นตัวยาประกอบของพิกดั ยา
๒. จัดหมวดหมู่เภสัชวัตถุให้เป็ นไปตามพิกดั ยา

วิธีการ
๑. วางระเบียบในการฝึ กปฏิบตั ิงาน
๒. เวลาที่ปฏิบตั ิงาน ( เริ่ มเวลา……………………น. ถึง ……………………….. น. )
๓. ลงนามปฏิบตั ิงาน
๔. ปฏิบตั ิงานตามที่มอบหมาย

การประเมินผล
๑. สังเกตุการปฏิบตั ิงาน
๒. ตรวจแบบปฏิบตั ิการ

สรุป
ผูเ้ รี ยนจัดหมวดหมู่เภสัชวัตถุ ตามพิกดั ยาได้
275

แบบประเมิ นการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง พิกดั ยา

ชือ่ …………………………………… วันที… ่ …… เดือน…………….. พ.ศ. …….........


เวลา …………………………น.
ส่วนที่ ๑ ใส่เครือ่ งหมาย / ลงในตารางจําแนกพืชวัตถุและสัตว์วตั ถุตามพิกดั ยา

ชื่อพิ กดั ยา
ที่ ชื่อพืชวัตถุและสัตว์วตั ถุ หมายเหตุ
๓ ๔ ๕ ๗ ๙ ๑๐ พิ เศษ

๑ เหง้าขิงแห้ง / - / - - - - ตัวอย่าง
๒ รากช้าพลู - - / - - - -







๑๐
๑๑
๑๒
ฯลฯ
276

แบบสังเกตุการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง พิกดั ยา
วันที…
่ ……เดือน………………………พ.ศ……….เวลา………………น.

ที่ ชื่อผูเ้ รียน ความสนใจ การตรงต่อเวลา ผลงาน หมายเหตุ











๑๐
๑๑
๑๒
ฯลฯ

ครูผปู้ ระเมิน…………………………………………………………………..
เกณฑ์การประเมิน
๑. คือ ต้องปรับปรุง
๒. คือ พอใช้
๓. คือ ดี
277

แบบปฏิบัตกิ าร

ปฏิบัตกิ ารที่ ๗ เรื่ อง มหาพิกดั จํานวน ๓ ชัว่ โมง

วัตถุประสงค์
จัดกลุ่มตัวยา

สาระสํ าคัญ
การจํากัดจํานวนตัวยาหลายสิ่งหลายอย่าง มารวมกันเข้าเรี ยกชื่อเดียวกัน แต่น้ าํ หนักของตัวยา
ในมหาพิกดั หนักสิ่งละไม่เท่ากัน หนักมากบ้าง หนักน้อยบ้าง แต่ก็อยูใ่ นขอบเขตที่กาํ หนดไว้

ขั้นตอนการปฏิบัติ
๑. เตรี ยมเภสัชวัตถุที่ป็นตัวยาประกอบของมหาพิกดั ยา
๒. จัดหมวดหมู่เภสัชวัตถุให้เป็ นไปตามมหาพิกดั

วิธีการ
๑. วางระเบียบในการฝึ กปฏิบตั ิงาน
๒. เวลาที่ปฏิบตั ิงาน ( เริ่ มเวลา……………………น. ถึง ……………………….. น. )
๓. ลงนามปฏิบตั ิงาน
๔. ปฏิบตั ิงานตามที่มอบหมาย

การประเมินผล
๑. สังเกตุการปฏิบตั ิงาน
๒. ตรวจแบบปฏิบตั ิการ

สรุป
ผูเ้ รี ยนจัดหมวดหมู่เภสัชวัตถุ ตามมหาพิกดั ได้
278

แบบประเมิ นการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง มหาพิกดั

ชือ่ …………………………………… วันที… ่ …… เดือน…………….. พ.ศ. …….........


เวลา …………………………น.
ส่วนที่ ๑ ใส่เครือ่ งหมาย / ลงในตารางจําแนกพืชวัตถุตามมหาพิกดั

ที่ ชื่อพืชวัตถุ มหาพิ กดั ตรี มหาพิ กดั เบญจ มหาพิ กดั ทัวไป
่ หมายเหตุ

๑ ดอกดีปลี / / ตัวอย่าง
๒ มะขามป้อม / -







๑๐
๑๑
๑๒
ฯลฯ
279

แบบสังเกตุการปฏิ บตั ิ การ


เรือ่ ง มหาพิกดั
วันที…
่ ……เดือน………………………พ.ศ……….เวลา………………น.

ที่ ชื่อผูเ้ รียน ความสนใจ การตรงต่อเวลา ผลงาน หมายเหตุ










๑๐
๑๑
๑๒
ฯลฯ

ครูผปู้ ระเมิน…………………………………………………………………..
เกณฑ์การประเมิน
๑. คือ ต้องปรับปรุง
๒. คือ พอใช้
๓. คือ ดี
280

09 / 07 / 2557

You might also like