You are on page 1of 336

ตัวบ่งชี้พื้นฐาน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~3~

ขอบเขตเนื้อหา
1) ความรูทั่วไปเกี่ยวกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร 4
ประวัติความเปนมา ธกส. 4
วัตถุประสงคของธนาคาร 5
การดําเนินงานของธนาคาร 6
2) ความรูสินเชื่อเบื้องตน 16
บริการของ ธ.ก.ส. 16
วิสัยทัศน พันธกิจ และคานิยม 23
ทิศทางนโยบาย ธกส. 26
โครงการลงทุนที่สําคัญของ ธกส. 27
การกํากับดูแลกิจการที่ดี 33
3) จริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณ 40
ตราสัญลักษณ ธกส. 40
พรบ.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร พ.ศ. 2509 และแกไข 42
นโยบายการเปดเผยขอมูลขาวสารของ ธกส. 62
4)ความรูเกี่ยวกับบัญชีเบื้องตน 68
ขอสมมติฐานทางการบัญชี 68
งบการเงิน 70
สมการบัญชี 73
การวิเคราะหรายการคา 82
ผังบัญชี 86
สมุดรายวันชั้นตน 93
งบทดลอง 98
การปรับปรุงรายการบัญชี 114
กระดาษทําการ 119
สมุดรายวันเฉพาะ 129
5) ความรูเกี่ยวกับการพัฒนาชนบทและชุมชน 144
ความหมายของการพัฒนาชุมชน 144
ความสําคัญของการพัฒนาชุมชน 146
การพัฒนาชุมชนโดยประชาชนมีสวนรวม 195
6) ความรูเกี่ยวกับสังคม เศรษฐกิจ การเมือง 205
แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมฉบับที่ 11 205
ความรูเกี่ยวกับอาเซียน 226
7) ความรูเกี่ยวกับการบริหารงานเบื้องตน 256
8) ความรูเกี่ยวกับเศรษฐศาสตร 284
9) ความรูเกี่ยวกับการตลาด 321
10) ตัวอยางแนวขอสอบ ธกส. 330

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~4~

Banking For Agriculture


ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ( ธ.ก.ส. )

ประวัติความเปนมาธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธกส.)
ความคิด ที่จะจัดตั้งธนาคารของชาวไรชาวนาหรือธนาคารเกษตร ไดเริ่มขึ้นเมื่อปลายสมัยรัชกาลที่
5 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อปลดเปลื้องหนี้สินของชาวนา ทั้งนี้ก็เพราะวาเกษตรกรในระยะนั้นมีฐานะยากจน
มาก ไมมีเงินทุนเพียงพอสําหรับใชสอยระหวางฤดูเพาะปลูก จึงตองกูยืมเงินจากเอกชนซึ่งตองเสีย
ดอกเบี้ยในอัตราที่สูงมาก บางครั้งตองขายผลิตผลใหแกผูใหกูเงินโดยผูใหกูเงินเปนผูกําหนดราคา ซื้อ
ตามใจชอบ เกษตรกรจึงตกอยูในฐานะที่เสียเปรียบเปนอยางมาก และมีหนี้สินพอกพูนตลอดเวลา
วัตถุประสงค อีกประการหนึ่งในการจัดตั้งธนาคารเกษตรขึ้นในสมัยนั้น ก็เพื่อที่จะประคองฐานะ
ของชาวนาไมใหทรุดโทรมลงเมื่อประสบภัยธรรมชาติทั้ง นี้ก็เพราะวาเกษตรกรมักจะประสบภัยทาง
ธรรมชาติติดตอกันจนยากที่จะฟนตัว ดังเชนใน พ.ศ. 2460 เกิดน้ําทวมใหญทั่วประเทศแตใน พ.ศ. 2462
เกษตรกรกลับตองผจญกับภาวะฝนแลง เปนตนแตในที่สุด ธนาคารเกษตรในระยะนั้นก็ไมอาจตั้งขึ้นได
เนื่องจากมีปญหาขัดของเกี่ยวกับหลักประกันเงินกูและปญหาในการควบคุมมิ ใหราษฎรละทิ้งนาและ
หลบหนีหนี้สิน ซึ่งเปนการยากที่จะควบคุม และระมัดระวังมิใหเกิดความเสียหายได ความคิดที่จะจัดตั้ง
ธนาคารเกษตร โดยมุงหมายใหชาวนาไดกูยืมเงินในครั้งนั้นจึงตองเลิกลมไป
ตอมาไดมีการจัดตั้งสหกรณหาทุนขึ้นเปนครั้งแรกในประเทศไทย เมื่อวันที่ 26 กุมภาพันธ 2459
คือ สหกรณวัดจันทรไมจํากัดสินใชจังหวัดพิษณุโลก มีการใหกูเงินแกสมาชิกโดยทั่วไป เกษตรกรซึ่งเปน
สมาชิกก็ไดอาศัยเงินทุนจากสหกรณเพื่อนําไปใชลงทุนประกอบ อาชีพทางการเกษตรของตน แตก็เปนที่พึ่ง
ไดไมมากนัก เพราะตัวสหกรณเองก็มีปญหาในดานการเงินตอง ขอกูจากที่อื่นๆ มาดําเนินงานเชนกัน โดย
ในระยะเริ่มแรกขอกูเงินจากธนาคารสยามกัมมาจล จํากัด ตอมาใน พ.ศ. 2476 ภาวะเศรษฐกิจตกต่ํา มาก
รัฐบาลตองขออนุมัติเงินงบประมาณแผนดินประจําปใหเปนทุนของสหกรณดวย และใน พ.ศ. 2483
รัฐบาลตองใชวิธีอนุมัติใหธนาคารชาติไทยจัดการจําหนายพันธบัตรเงินกู เพื่อหาทุนใหกับสหกรณ
ในที่สุดจึงไดมีการจัดตั้งธนาคารเพื่อการสหกรณขึ้น ตามพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการสหกรณ
พ.ศ. 2486 โดยเริ่มดําเนินงานในพ.ศ. 2490 ทําหนาที่เปนแหลงกลางทางการเงินและอํานวยสินเชื่อแก
สหกรณทั้งหลายที่มี อยูใน ประเทศไทยในขณะนั้น

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~5~

หลังจากที่ไดจัดตั้งธนาคารเพื่อการสหกรณขึ้นแลว ธนาคารแหงนี้ยังมีปญหาอยูมาก ไมอาจทําหนาที่


ไดอยางกวางขวางและมีประสิทธิภาพตอการที่จะเอื้ออํานวยสิน เชื่อใหแกเกษตรกรไดดังนั้นรัฐบาลจึงไดมี
การพิจารณาจัดตั้งธนาคารขึ้น ใหมเพื่อทําหนาที่แทนธนาคารเพื่อการสหกรณ สรุปเหตุผลที่จําเปนจะตอง
กระทําเชนนั้นไดดังนี้
1. ธนาคารเพื่อการสหกรณใหเงินกูแก สมาชิกสหกรณเทานั้น แตยังมีเกษตรกรที่มิใช สมาชิก
สหกรณอีกเปนจํานวนมากที่มีความตองการเงินกู ซึ่งธนาคารเพื่อการสหกรณไมมีอํานาจหรือหนาที่จะใหกู
ได
2. ธนาคารเพื่อการสหกรณใหเงินกูสวนใหญเพื่อระยะยาวและปานกลาง แตเกษตรกรมีความ
ตองการเงินกูเพื่อผลิตผลในระยะสั้นเปนอันมาก
3. ธนาคารเพื่อการสหกรณมิไดทําหนาที่ในการพิจารณาคําขอกูเงิน งานสวนใหญของธนาคารนี้ก็
คือ เก็บรักษาเงิน ใหความสะดวกในการเบิกจายเงิน และเก็บรักษาสมุดบัญชีอันเปนงานประจําเทานั้น
ธนาคารนี้มิไดทําหนาที่เปนผูใหกูยืมเงินอยางแทจริง
4. ธนาคารเพื่อการสหกรณมิไดทําหนาที่ใหคําแนะนําและกํากับดูแลการใหสินเชื่อ (Super-vised
credit) และยังไมมีหนวยงานทําหนาที่นี้ได
5. การดําเนินงานและองคการของธนาคารเพื่อการสหกรณ ยังไมไดรับการรับรองจากตางประเทศ
จึงเปนเหตุใหกําลังเงินของธนาคารไมเพียงพอ
ดวยเหตุผลดังกลาว รัฐบาลจึงไดจัดตั้งธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรขึ้นเมื่อ พ.ศ.
2509 โดยใหเปนสถาบันระดับชาติทําหนาที่อํานวยสินเชื่อใหแกเกษตรกรอยางกวาง ขวางทั้งในดานของ
เกษตรกรโดยตรงและสถาบันเกษตรกร

วัตถุประสงคของธนาคาร
ธกส. มีวัตถุประสงคใหความชวยเหลือทางการเงิน เพื่อสงเสริมอาชีพหรือการดําเนินงานของ
เกษตรกร กลุม เกษตรกร หรือสหกรณการเกษตร
เพื่อใหบรรลุวัตถุประสงคดังกลาว ธกส.ไดดําเนินการใหกูเงินแกเกษตรกรเปน 3 ทางดวยกัน คือ
1. ใหกเู งินแกเกษตรกรซึ่งเปนลูกคาของธนาคารโดยตรง
2. ใหกเู งินแกสหกรณการเกษตร
3. ใหกเู งินแกกลุมเกษตรกร
ตอมามีการแกไขเพิ่มเติมพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการ เกษตรเมื่อ พ.ศ.

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~6~

2525 สงผลให ธกส. สามารถดําเนินงานไดกวางขวางยิ่งขึ้น กลาวคือ สามารถใหกูเงินแกนิติบุคคลที่มี


วัตถุประสงคในการประกอบกิจการทางการ เกษตร ใหกูเงินแกผูฝากเงินภายในวงเงินที่ฝากไวกับธนาคาร
โดยใชเงินฝากเปน ประกัน และใหกูเงินแกผูที่ประกอบอาชีพการเกษตรอื่นๆ ตามที่คณะกรรมการธนาคาร
กําหนดนอกเหนือไปจากเกษตรกรตามความหมายที่พระราช บัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ
การเกษตรกําหนดไว

สถานที่ตั้งของสํานักงานใหญและสาขาหรือตัวแทนของธนาคาร
ธกส. มีสํานักงานใหญตั้งอยูเลขที่ 469 ถนนนครสวรรค แขวงจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพมหานคร
และมีสํานักงานสาขาหรือตัวแทนตั้งอยูในตัวจังหวัดตางๆ หรือบางอําเภอที่สําคัญๆ ภายในราชอาณาจักร
ไทย
นอกจากสํานักงานสาขาแลว ธนาคารไดจัดตั้งหนวยอําเภอประจําอําเภอตางๆ ขึ้น เพื่ออํานวยความ
สะดวกและบริการแกเกษตรกร ผูมีถิ่นที่อยูและประกอบอาชีพการเกษตรในอําเภอนั้นๆ ดวย ซึ่งใน พ.ศ.
2528 ธกส. มีสาขาระดับจังหวัด 68 แหง ระดับอําเภอและกิ่งอําเภอ 580 แหง

ฐานะและคณะกรรมการของธนาคาร
ธกส. จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร พ.ศ. 2509 และ
ไดเริ่มดําเนินงานตั้งแตวันที่ 1 พฤศจิกายน 2509 เปนตนมา โดยรับโอนบรรดาทรัพยสิน สินทรัพย หนี้สิน
ความรับผิดชอบธุรกิจ พนักงานและลูกจางมาจากธนาคารเพื่อการสหกรณ
ธกส. มีฐานะเปนรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง มีคณะกรรมการ ธกส. เปนผูวางนโยบาย
และควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของธนาคาร
คณะกรรมการ ธกส. ดังกลาวประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังเปนประธานกรรมการ
และมีรองประธานกรรมการและกรรมการอื่นไมเกิน 8 คน ซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้ง และใหผูจัดการเปน
กรรมการและเลขานุการ

การดําเนินงานของธนาคาร
ธกส. แบงการดําเนินงานออกเปน 2 ประเภทใหญๆ คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~7~

1. การดําเนินงานสินเชื่อดานเกษตรกร โดยใหกูเงินแกเกษตรกรรายคน สหกรณการเกษตรกลุม


เกษตรกร และอื่นๆ ตามที่ไดกลาวแลวขางตน
2. บริการเงินฝาก โดยรับฝากเงินจากประชาชนทั่วไป

1. การดําเนินงานสินเชื่อดานเกษตรกร
1.1 การใหกูเงินแกเกษตรกรรายคนเกษตรกรรายคน คือเกษตรกรที่ไมไดเปนสมาชิกสหกรณ
การเกษตร หรือสมาชิกกลุมเกษตรกรเกษตรกรรายคนนี้นิยมเรียกวา เกษตรกรลูกคาธกส. วิธีการใหกูยืม
แกเกษตรกรประเภทนี้แบงเปน 2 ลักษณะ คือ
ลักษณะแรก ใหกูแกเกษตรกรรายคน ซึ่งรวมตัวกันเปนกลุมลูกคาของธนาคารเกษตรกรที่กูยืมโดย
วิธีนี้สวนมาก เปนกลุมเกษตรกรขนาดเล็ก และขาดหลักทรัพยเปนประกันเงินกูดังนั้น จึงใชบุคคลในกลุม
รวมค้ําประกันแทนเกษตรกรที่กูเงินจาก ธกส. สวนใหญจะขอกูเงินในลักษณะนี้
ลักษณะที่สอง เปนการใหกู แกเกษตรกรรายคน ซึ่งไมจําเปนตองสังกัดกลุม ลูกคาของ ธกส. ที่กูยืม
โดยวิธีนี้สวนมากเปนผูที่มีฐานะคอนขางดี และมีหลักทรัพยเปนประกันเงินกู
1.2 การสนับสนุนเงินทุนแกสหกรณการเกษตร พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณการเกษตร พ.ศ. 2509 ไดบัญญัติความหมายของคําวาสหกรณการเกษตรไวดังนี้
"สหกรณการเกษตร" หมายความวา สหกรณที่ประกอบดวยสมาชิกทั้งหมดเปนเกษตรกร และได
จดทะเบียนตามกฎหมายวาดวยสหกรณ กับใหหมายความรวมถึงสหกรณดังกลาวที่ไดรวมกันเปนชุมชน
สหกรณตามกฎหมาย วาดวยสหกรณ
ธกส. ใหการสนับสนุนในดานเงินทุนการดําเนินงานแกสหกรณการเกษตร ตลอดจนใหคําปรึกษา
และแนะนําเกี่ยวกับการดําเนินงานสินเชื่อและธุรกิจอื่นๆ ที่เกี่ยวของ เพื่อใหสหกรณการเกษตรมี
ประสิทธิภาพในการบริหารเงินกูและอํานวยผลประโยชน อยางแทจริงแกเกษตรกรสมาชิกซึ่งแบงออกได
ตามลักษณะดังตอไปนี้
1) เงินกูเพื่อใชเปนทุนสําหรับใหสมาชิกกูตอตามขอบังคับของสหกรณการเกษตร
2) เงินกูเพื่อใชเปนทุนหมุนเวียนในการดําเนินงานจัดหาวัสดุอุปกรณการเกษตร ตลอดจน
สิ่งจําเปนอื่นๆ มาจําหนายแกสมาชิกและเกษตรกร
3) เงินกูเพื่อใชเปนทุนหมุนเวียนในการดําเนินการขายผลิตผลการเกษตร
4) เงินกูระยะยาวเพื่อการเกษตร
1.3 บริการเงินกูแกกลุมเกษตรกรพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการ เกษตร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~8~

พ.ศ. 2509 ไดบัญญัติความหมายของคํา กลุมเกษตรกร ไวดังนี้


"กลุมเกษตรกร" หมายความวาเกษตรกรซึ่งรวมเปนกลุมโดยมีกฎหมายรับรองใหเปนนิติบุคคล
และมีวัตถุประสงคดําเนินการทางธุรกิจเพื่อประโยชนในการประกอบอาชีพของ เกษตรกร
กลุมเกษตรกร เปนสถาบันเกษตรกรอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งไดรับบริการสินเชื่อจาก ธกส. บริการนี้
แบงออกเปน 4 ประเภท คือ
1) เงินกูเพื่อใชเปนทุนใหกูแกสมาชิก
2) เงินกูเพื่อใชเปนทุนหมุนเวียนในการดําเนินการเพิ่มผลิตผลการเกษตร
3) เงินกูเพื่อจัดหาวัสดุอุปกรณการเกษตร
4) เงินกูระยะยาวเพื่อการเกษตร
ใน พ.ศ. 2529 ธกส. ไดปลอยสินเชื่อแกภาคเกษตรกรรมทั้งสิ้น 25,126.1 ลานบาทมีอัตราการชําระ
คืนรอยละ 72.5 ของยอดเงินกูที่ถึงกําหนดชําระ

2. บริการเงินฝากของธนาคาร
หนาที่โดยตรงของ ธกส. นอกเหนือไปจากการใหกูเงินแกเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรแลว ธกส.
มีบริการรับฝากเงินเชนเดียวกับธนาคารแหงอื่นๆ อีกดวยบริการเงินฝากของ ธกส. มีอยู 2 ประเภท คือ
1. เงินฝากออมทรัพย
2. เงินฝากประจํา
บริการเงินฝากของ ธกส. ทั้ง 2 ประเภทนี้ ผูที่ฝากเงินไวจะไดดอกเบี้ยตอบแทนในอัตราเดียวกับ
อัตราดอกเบี้ยเงินฝาก จากธนาคารแหงอื่นๆ
และที่สาํ คัญก็คือ ผูที่นําเงินมาฝากไวกับ ธกส. จะเปนผูที่มีสวนใหความชวยเหลือเกษตรกรหรือ
ประชาชนสวนใหญที่ทุกขยาก แสนเข็ญของแผนดิน เพราะเงินทุกบาททุกสตางคที่ฝากไวกับ ธกส. จะ
หลั่งไหลไปสูเกษตรกร เพื่อใชเปนทุนในการประกอบอาชีพ โดยการกํากับและแนะนําอยางใกลชดิ ของ
ธกส. เพื่อใหเงินฝาก ทุกบาททุกสตางคของผูที่มีจิตใจชวยเหลือเกษตรกรสัมฤทธิ์ผลสูงสุด คือความกินดี
อยูดีของเกษตรกร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~9~

ความรูเกี่ยวกับสินเชื่อเบื้องตน
ตั้งแตอดีตที่ประเทศของเรามี กลุมเกษตรกรเปนเสมือนเสนเลือดหลักทางการคา และ
ปากทองของคนไทย แตคนกลุมนี้มักจะประสบปญหาดานฐานะทางการเงิน ไมมีเงินทุน
เพียงพอสําหรับใชสอยระหวางฤดูเพาะปลูก หรืออาจเกิดปญหาภัยธรรมชาติจนไมสามารถ
ทําการเพาะเกี่ยวไดทําใหขาดทุน จึงตองกูยืมเงินและตองเสียดอกเบี้ยในอัตราที่สูงมาก
บางครั้งตองขายผลิตผลใหแกผูปลอยเงินกูซึ่งจะถูกกําหนดราคาซื้อเองตามใจ ชอบ
เกษตรกรจึงตกอยูในฐานะที่เสียเปรียบเปนอยางมาก และมีหนี้สินพอกพูนตลอดเวลา
จากปญหาเหลานี้ รัฐบาลจึงไดกอตั้ง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร
(ธ.ก.ส.) ใหเปนสถาบันระดับชาติทําหนาที่อํานวยสินเชื่อใหแกเกษตรกรอยางกวางขวาง ทั้ง
ในดานของเกษตรกรโดยตรงและสถาบั นเกษตรกร โดย ธ.ก.ส. ไดจัดตั้งขึ้น ตาม
พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ในป พ.ศ. 2509 มี
จุดมุงหมายหลักเพื่อใหความชวยเหลือและพัฒนาเกษตรกรไทย ดวยอุดมการณในการ
ทํางานที่พนักงาน ธ.ก.ส. ถือปฏิบัติมาจนถึงปจจุบัน คือ ไมเบียดเบียนเกษตรกรลูกคา จง
ทํางานหนัก เรงรัด ฉับไว ถูกตอง และแมนยํา ดวยความซื่อสัตยสุจริต
สําหรับที่ตั้งของสํานักงานนั้น ตั้งอยูที่ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร
(ธ.ก.ส.) 469 ถนนนครสวรรค แขวงสวนจิตรลดา เขตดุสิต กรุงเทพ 10300 และในปจจุบัน
ธ.ก.ส. ก็ไดขยายพื้นที่ใหบริการ ไปในหลายพื้นที่ของแตละจังหวัด โดยในป 2555 นี้ มี
สาขารวม 1,169 แหงทั่วประเทศ และมีผูใชบริการที่เปนบุคคลธรรมดาถึง 4,991,220
ราย

วัตถุประสงคในการดําเนินงานของ ธ.ก.ส. ก็คือ


1. ใหความชวยเหลือทางการเงินแกเกษตรกร กลุมเกษตรกร หรือสหกรณ
การเกษตรในดานตาง ๆ คือ
- ประกอบอาชีพเกษตรกรรมหรืออาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรม
- ประกอบอาชีพอยางอื่นเพื่อเพิม่ รายได
- พัฒนาความรูในดานเกษตรกรรมหรืออาชีพอยางอื่นเพือ่ เพิม่ รายไดหรือพัฒนา
คุณภาพชีวติ ของเกษตรกรหรือครอบครัวของเกษตรกร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 10 ~

- ดําเนินกิจการตามโครงการที่เปนการสงเสริมหรือสนับสนุนการประกอบ
เกษตรกรรม ซึ่งเปนการดําเนินการรวมกับผูประกอบการ เพือ่ เพิ่มรายไดหรือ
พัฒนาคุณภาพชีวติ ของเกษตรกรหรือครอบครัวของเกษตรกร
2. ประกอบธุรกิจอื่นอันเปนการสงเสริมหรือสนับสนุนการประกอบ
เกษตรกรรม
3. ดําเนินงานเปนสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนาชนบท โดยใหความ
ชวยเหลือทางการเงินหรือการบริหารจัดการแกบุคคล กลุมบุคคล ผูประกอบการ
กองทุนหมูบา น หรือชุมชน รวมทั้งองคกรที่จัดตัง้ ขึ้นในรูปแบบใด ที่มี
วัตถุประสงคในการสนับสนุนการประกอบอาชีพของเกษตรกรหรือชุมชน ทั้งนี้
เพื่อสงเสริมใหมีการพัฒนาผลผลิต หรือผลิตภัณฑของเกษตรกร หรือชุมชนใหมี
ประสิทธิภาพทั้งในดานการลงทุน การผลิต การแปรรูป และการตลาด หรือเพือ่
สงเสริมใหชุมชนมีความเขมแข็งในดานเศรษฐกิจหรือเพื่อการพัฒนา คุณภาพ
ชีวติ
4. ใหความชวยเหลือทางการเงินแกสหกรณ เพือ่ ใชดําเนินงานภายใต
ขอบเขตวัตถุประสงคในการจัดตั้งสหกรณ
ดวยการดําเนินงานตามวัตถุประสงคเหลานี้ ทําให ธ.ก.ส. ไดกาวเขามา
เปนสถาบันทางการเงินที่มีบทบาทและบริการที่หลากหลายแก เกษตรกรและกลุม
ลูกคาทั่วไป ทั้งในการการใหสินเชื่อเพื่อการกูยืม และบริการที่สงเสริมการ
ออมเงิน พรอมทั้งบริการที่หลากหลายเพื่ออํานวยความสะดวกใหแกผูใชบริการ
ดังนี้
-
1. บริการดานการออม
1.1. เงินฝากกระแสรายวัน "ใชเช็คฝาก-ถอนสะดวก งาย และคลองตัว"
จุดเดนของบริการ
- หมุนเวียนบัญชีไดทุกวัน
- สามารถสั่งจายในวงเงินที่สูงไดไมจํากัด
- สรางเครดิตและความนาเชื่อถือของตนเอง
- สะดวกปลอดภัย ไมตอ งพกพาเงินสดติดตัวเปนจํานวนมาก
คุณสมบัตผิ ูฝาก
บุคคลธรรมดา ที่บรรลุนติ ิภาวะแลว

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 11 ~

นิติบุคคล
จํานวนเงินเปดบัญชีครั้งแรก
ไมต่ํากวา 10,000 บาท
เงื่อนไขการถอน
ถอนเปนเช็ค
1.2. เงินฝากออมทรัพย "เงินฝากออมทรัพย ออมเงินไวคราวละเล็กละนอย เพื่อสะสม
ไวเสริมสรางความมั่นคงทางการเงิน"
จุดเดนของบริการ
ไดรับผลตอบแทนทุก 6 เดือน
เก็บออมเปนเงินกอนไวใชจาย
สะสมเปนเงินเก็บไวในอนาคต
เหมาะสําหรับบุคคลทั่วไป และนิติบคุ คล
คิดดอกเบี้ยเปนรายวัน ไมเสียภาษีดอกเบี้ย
สามารถนําสมุดเงินฝาก ค้ําประกันเงินกู
วัตถุประสงค
เก็บเปนเงินออมไวใชจาย
สะสมไวใชในอนาคต
คุณสมบัตผิ ูฝาก
บุคคลธรรมดา ที่มีอายุตั้งแต 7 ปขึ้นไป
นิติบุคคล
จํานวนเงินเปดบัญชีครั้งแรก
ไมต่ํากวา 50 บาท
การคิดดอกเบี้ย/ผลตอบแทน
คิดดอกเบี้ยเปนรายวัน
บุคคลธรรมเนียมไมเสียภาษีดอกเบีย้
นิติบุคคลเสียภาษีตามประกาศกรมสรรพากร
1.3. เงินฝากออมทรัพยพิเศษ "ออมเงินระยะยาว ไดดอกเบี้ยเงินฝากสูง"
จุดเดนของบริการ
ไดรับดอกเบี้ยในอัตราพิเศษ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 12 ~

เก็บเปนเงินออมไวใชจาย
สะสมไวใชในอนาคตตามที่ตองการ
ดอกเบี้ยสูงกวาเงินฝากออมทรัพยธรรมดา
คิดดอกเบี้ยเปนรายวัน ไมเสียภาษีดอกเบี้ย
สามารถนําสมุดเงินฝาก ไปใชค้ําประกันเงินกูได
วัตถุประสงค
เก็บเปนเงินออมไวใชจาย
สะสมเปนเงินออมไวใชยามฉุกเฉินในอนาคต
คุณสมบัตผิ ูฝาก
บุคคลธรรมดา อายุตั้งแต 7 ปขึ้นไป
นิติบคุ คล
จํานวนเงินเปดบัญชีครั้งแรก
ไมต่ํากวา 10,000 บาท
จํานวนเงินฝาก-ถอนขัน้ ต่ํา
ฝากครั้งละไมต่ํากวา 1,000 บาท
ถอนครัง้ ละไมต่ํากวา 1,000 บาท ยกเวนการถอนดอกเบี้ยและการ
ถอนปดบัญชี
การคิดดอกเบี้ย/ผลตอบแทน
คิดดอกเบี้ยเปนรายวัน ถายอดคงเหลือต่ํากวา 10,000 บาท จะคิดให
ในอัตราดอกเบี้ยเงินฝากออมทรัพย
บุคคลธรรมดาไมเสียภาษีดอกเบี้ย
นิติบุคคลเสียภาษีตามประกาศกรมสรรพากร
เงื่อนไขการถอน
ถอนครัง้ ละไมนอยกวา 1,000 บาท และถอนไดเดือนละ 1 ครั้ง ถา
ถอนเงินฝากครั้งที่ 2 ตองเสียคาธรรมเนียมรอยละ 1 ของจํานวนเงินที่
ถอน แตไมต่ํากวา 500 บาท

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 13 ~

1.4. เงินฝากประจํา "การออมอยางมีจุดหมาย คือวิธีทางในการสรางความมั่นคง"


จุดเดนของบริการ
ดอกเบี้ยสูงกวาเงินฝากออมทรัพย ในอัตราที่แนนอน
เหมาะสําหรับขาราชการ พนักงานและลูกจางขององคกร บริษัท หาง
ราน เกษตรกร และประชาชนทัว่ ไป
สามารถนําสมุดเงินฝาก ไปใชค้ําประกันเงินกู
วัตถุประสงค
เก็บเปนเงินออมไวใชจายทั่วไป เพื่อสะสมไวใชในอนาคต
สะสมเงินไวใชจายในยามจําเปนในอนาคต
คุณสมบัตผิ ูฝาก
บุคคลธรรมดา อายุตั้งแต 7 ปขึ้นไป
นิติบคุ คล
จํานวนเงินเปดบัญชีครั้งแรก
จํานวนเงินเปดบัญชีไมต่ํากวา 1,000 บาท
การคิดดอกเบี้ย/ผลตอบแทน
ธนาคารคิดดอกเบี้ยทบตนใหตามเงื่อนไขของประเภทเงินฝากประจํา
เงื่อนไขการถอน
ถอนไดครั้งละไมต่ํากวา 1,000 บาท เสียภาษีดอกเบีย้ เงินฝาก
ประเภทเงินฝากประจํา
เงินฝากประจํา 3 เดือน, 6 เดือน, 12 เดือน, 24 เดือน, 36 เดือน, 48
เดือน, 60 เดือน

2. บริการดานสินเชื่อ แก ลูกคา 3 ประเภท ดังนี้


2.1 สําหรับลูกคาบุคคล
บัตรสินเชื่อเกษตรกร เพื่อเกษตรกรลูกคา ธ.ก.ส. ผูปลูกขาว
โครงการเพิ่มศักยภาพและลดตนทุนใหกับผูเลี้ยงไกไขและสุกร
สินเชื่อสวัสดิการบุคลากรภาครัฐและพนักงานองคกร
โครงการสินเชื่อขาราชการบํานาญ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 14 ~

โครงการใหขาราชการบํานาญกูเงินโดยใชสิทธิบําเหน็จตกทอดเปนหลักประกัน
โครงการสินเชื่อเพื่อจัดหาเครื่องจักร เครือ่ งยนต
สินเชื่อจัดหาเครือ่ งจักรเครื่องยนตที่ใชในการผลิต การแปรรูป และการขนสงเพื่อลด
ตนทุนและเพิ่มประสิทธิภาพในการผลิต
โครงการ Value Chain (ขาวโพด)
โครงการเพิ่มมูลคาขาวโพดเลี้ยงสัตวครบวงจร ใหแกเกษตรกร
สินเชื่อสวัสดิการ สปสช.
สินเชื่อสานฝนแรงงานคืนถิน่
สินเชื่อเพือ่ พัฒนาคุณภาพชีวติ
โครงการรับซื้อลดเช็คคาบํารุงออย (เช็คเกี๊ยว) ที่โรงงานน้ําตาลเปนผูสั่งจาย
2.2 ลูกคาผูประกอบการ
โครงการเพิ่มศักยภาพและลดตนทุนใหกับผูเลี้ยงไกไขและสุกร
โครงการ Value Chain (ขาวโพด)
โครงการเพิ่มมูลคาขาวโพดเลี้ยงสัตวครบวงจร ใหแกผูประกอบการรายคน
สินเชื่อเพือ่ เพิม่ ประสิทธิภาพการจัดเก็บและการกระจายสินคา (Logistics)
สินเชื่อ ธ.ก.ส. สําหรับผูประกอบการ และบุคคลทั่วไป

2.3 ลูกคาสหกรณ กลุม องคกร


โครงการเพิ่มศักยภาพและลดตนทุนใหกับผูเลี้ยงไกไขและสุกร
สินเชื่อแกองคกรปกครองสวนทองถิ่น
โครงการสินเชื่อเพื่อการขยายธุรกิจและเพิ่มศักยภาพการดําเนินงานของสถาบัน
สินเชื่อสหกรณออมทรัพย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 15 ~

3. บริการดานการเงิน-การธนาคาร ซึ่งมีการใหบริการ 5 ประเภทธุรกรรม ดังนี้


3.1 บริการดานเช็คและตัว๋ เงิน
3.2 บริการดานการโอนเงิน
3.3 บริการดานฝาก-ถอน ผานเครื่องทํารายการ
3.4 บริการดานการชําระคาบริการ
3.5 บริการดานแลกเปลี่ยนเงินตรา

4. บริการดานกองทุนธนาคารอิสลาม
ซึ่งแบงอออกเปน เงินฝากและสินเชื่อเพือ่ ประกอบพิธีฮัจยและอุมเราะฮ ดดยมีหลักเกณฑ
ดังนี้
เงินฝากเพือ่ ประกอบพิธีฮัจยและอุมเราะฮ
1. ผูฝากเปดบัญชีเงินฝากเพื่อประกอบ พิธีฮจั ยและอุมเราะห รหัสโครงการ "8021"
2. เปดบัญชีครั้งแรกตั้งแต 100 บาท ขึ้นไป
3. ธนาคารจะใหตามหลัก "ฮิบะฮ" ดังนี้
3.1) ธนาคารใหสทิ ธิขอสินเชื่อสนับสนุนคาใชจายใหเพียงพอในการเดินทาง
3.2) ธนาคารจัดทําตะกาฟุลอุบตั ิเหตุวงเงิน 100,000 บาท ขณะเดินทาง
3.3) ธนาคารใหชุดตะละกง หรือ ชุดเอี๊ยะราม
3.4) ธนาคารใหเงินสนับสนุนจํานวน 20,000 บาท แกผฝู ากจากทุก 100 บัญชี ที่มี
เงินฝากจํานวน 100,000 บาทขึ้นไป เปนเวลา 4 เดือน คัดเลือกให 3 บัญชีทั่วประเทศ

สินเชื่อเพื่อเตรียมไปประกอบพิธีฮัจย หรืออุมเราะฮ
1. ผูขอใชสินเชือ่ ตองไดรับการขึ้นทะเบียนเปนลูกคาประจําสาขา
2. มีรายไดหลังหักคาใชจายเหลือเพียงพอในการชําระคืนหนี้
3. มีหลักประกันจํานองที่ดนิ หรือเงินฝาก ค้ําประกันในระบบอิสลาม
4. มีหลักฐานขอมูลการเงินจากบริษัทเครดิตแหงชาติ (สําหรับแซะห และผูป ระกอบการ)
5. มีใบอนุญาตเปนผูประกอบกิจการจากกรมการศาสนา (สําหรับผูประกอบการ)

5. บริการดานธุรกรรมทางอิเล็กทรอนิกส
สามารถเบิกถอนเงินสด โอนเงินทั้งภายในธนาคาร หรือระหวางธนาคาร อีกทั้งยัง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 16 ~

สามารถชําระคาสินคา บริการตาง ๆ จากตู ATM ทั่วประเทศ


ลูกคาของ ธ.ก.ส. หรือบุคคลทั่วไป สามารถฝากเงินผานเครื่องฝากเงินอัตโนมัติ
(CDM) ของธนาคารที่เขารวมใหบริการ เพื่อเขาบัญชีเงินฝากของ ธ.ก.ส. ไดทุกสาขาทั่วประเทศ
โดยผูฝากไมจําเปนตองมีบัตร ATM หรือบัญชีเงินฝากกับธนาคารเจาของเครื่องฝากเงิน
อัตโนมัติได 24 ชั่วโมง ทุกวัน

นอกจากจะมีบริการที่หลากหลายแลว ทาง ธ.ก.ส. ก็ไดอํานวยความสะดวกใหแก กลุม


ผูใชบริการที่ตองการติดตอกับธนาคาร โดย สามารถติดตอเพื่อสอบถามขอมูล ไดที่ ธ.ก.ส.
สาขาทุกสาขา หรือ โทรศัพทสอบถามที่ Call Center 0-2555-0555 บริการ 24 ชั่วโมง ทุกวัน
และ ศูนยบริการลูกคา 1593 บริการ ในวันและเวลาทําการ สําหรับผูที่สนใจ สามารถเขาไป
เยี่ยมเยียนหรือหาขอมูลไดที่ www.baac.or.th

บริการของธกส.
• บริการดานสินเชื่อ
1. ดานสินเชื่อเกษตรกรรายคน
เปนการใหเงินกูแกเกษตรกรรายคนโดยตรง ซึ่งเกษตรกรผูจะขอกูเงินจาก ธ.ก.ส.ได จะตองขึ้น
ทะเบียน เปนลูกคาของ ธ.ก.ส. กอน โดยแจงความประสงค ตอพนักงานพัฒนาธุรกิจของ ธ.ก.ส. ประจํา
สาขา หรือหนวยอําเภอ ที่ตั้งอยูในทองที่ ที่เกษตรกรผูนั้น มีถิ่นที่อยู พนักงานของ ธ.ก.ส. จะใหความ
ชวยเหลือ และแนะนํา วิธีการตาง ๆ ในการขึ้นทะเบียนเปนลูกคาของ ธ.ก.ส.
เกษตรกรผูทจี่ ะขอขึ้นทะเบียนเปนลูกคาของ ธ.ก.ส. จะตองมีคุณสมบัติดังนี้
1. เปนเกษตรกรตามขอบังคับของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.)
2. ตองบรรลุนิตภิ าวะ
3 มีสัญชาติไทย
4. มีความชํานาญหรือไดรับการฝกอบรมในการเกษตรมาแลวพอสมควร
5. มีถิ่นที่อยูและประกอบอาชีพการเกษตรสวนใหญ ในทองที่ดําเนินงาน ของสาขา ซึ่งตน
ขอขึ้นทะเบียนเปนลูกคาประจํามาแลว เปนเวลาติดตอกัน ไมนอยกวา 1 ป

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 17 ~

6. เปนผูกอใหเกิดผลิตผลการเกษตร เพื่อขายในปหนึ่ง ๆ เปนมูลคาพอสมควร หรือมี


ลูทาง จะปรับปรุงการเกษตร ใหมีรายไดเพียงพอ ที่จะชําระหนี้ได
7. เปนผูมีความซื่อสัตยสุจริต ขยันขันแข็งในการประกอบอาชีพ มีชื่อเสียงดี และรูจัก
ประหยัด
8. ไมเปนบุคคลวิกลจริต หรือจิตฟนเฟอนไมสมประกอบ
9. ไมเปนบุคคลลมละลาย หรือเปนผูมีหนี้สินลนพนตัว
10. ไมเคยถูกใหออกจากการเปนลูกคาประจําสาขา และปจจุบันไมไดเปนผูกูเงิน ของ
สหกรณการเกษตร กลุมเกษตรกร หรือสถาบันใด ๆ ที่ดําเนินธุรกิจ ทางดานสินเชื่อเพื่อ
การเกษตร
การใหเงินกูตามประเภทดังกลาวขางตนจะตองมีหลักประกันเงินกูอยางใดอยางหนึ่งดังตอไปนี้
1. ลูกคาในกลุมเดียวกัน ผูกพัน ตนรับผิดชอบอยางลูกหนี้ รวมกันค้ําประกัน การชําระหนี้ตอ ธ.ก.ส.
2. มีลูกคาประจําสาขา หรือบุคคลอื่น ซึ่ง ธ.ก.ส. พิจารณาเห็นสมควร เปนผูค้ําประกัน อยางนอย 2 คน
3. มีอสังหาริมทรัพยที่ไมไดจํานองตอเจาหนี้อื่น จํานองเปนประกัน โดยอสังหาริมทรัพย
จะตองมีราคาประเมินไมนอยกวาสองเทาของจํานวนเงินกู
4. มีหลักทรัพยรัฐบาลไทย หรือเงินฝากใน ธ.ก.ส. เปนประกัน
ประเภทเงินกู
เงินกูระยะสั้นเพื่อการผลิต มีวัตถุประสงค เพื่อเปนคาใชจาย ในการผลิตทางการเกษตร
สําหรับฤดูกาลผลิตหนึ่ง ๆ
เงินกูระหวางรอการขายผลิตผล มีวัตถุประสงค เพื่อเปนคาใชจาย ในระหวางรอการขาย ผลผลิต
เพื่อใหเกษตรกร สามารถเก็บผลิตผล ไวรอราคาได โดยไมจําเปนตองขาย ในชวงทีผ่ ลิตผล ออกสู
ตลาด เปนจํานวนมาก และราคาตกต่ํา
เงินกูระยะปานกลางมีวัตถุประสงค เพื่อการลงทุน ในทรัพยสิน การเกษตร ซึ่งมีอายุใชงานไดเกิน
กวา 1 ป

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 18 ~

เงินกูเครดิตเงินสดเปนเงินกูระยะสั้น เพื่อการผลิตอยางหนึ่ง เกษตรกรลูกคา ทําสัญญาเงินกู ใน


เครดิตเงินสด ไวเพียงครั้งเดียว ก็สามารถ เบิกรับเงินกูไดหลายครั้ง ภายในวงเงินกูที่กําหนด และ
ภายในระยะเวลา แหงสัญญากู ซึ่งมีระยะเวลาไมเกิน 5 ป
เงินกูระยะยาวเพื่อชําระหนี้สินเดิมมีวัตถุประสงค เพื่อนําไปชําระหนี้สินเดิม หรือเพื่อนําไปไถถอน
หรือซื้อคืนที่ดินการเกษตร ซึ่งเดิมเคยเปนของตนหรือคูสมรส หรือบุตร หรือเปนของบิดาหรือมารดา
และเปนการสงวนกรรมสิทธิ์ ในที่ดินการเกษตรไว ตลอดจนเพื่อเปนคาใชจาย ดําเนินงาน การเกษตร
ในฤดูแรก การลงทุนในทรัพยสิน การเกษตรที่จําเปน และคาใชจายอันจําเปน เกี่ยวกับการจัดจํานอง
อสังหาริมทรัพยควบคูไปดวย
เงินกูระยะยาวเพื่อการเกษตร เพื่อเปนคาลงทุนในสินทรัพยประจํา ทางการเกษตร หรือเพื่อ
ปรับปรุง หรือเปลี่ยนแปลง หรือวางรูปแบบการผลิตขึ้นใหม ซึ่งมีการลงทุนสูง และตองใชเวลานาน
เงินกูสําหรับการประกอบอาชีพอยางอื่น ที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเปนคาใชจาย และ/หรือ
เปนคาลงทุน สําหรับดําเนินงาน ในการประกอบอาชีพอยางอื่น ที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร ซึ่งเปนการ นําเอา
ผลิตผลการเกษตร ของเกษตรกรเอง หรือจัดหาจากแหลงอื่น มาแปรรูปเปนสินคาสําเร็จรูป หรือกึง่
สําเร็จรูป เพื่อจําหนาย รวมถึงการประกอบอาชีพ ที่เกี่ยวกับการผลิต หรือการบริการ ดานปจจัยการผลิต
ทางการเกษตรดวย เงินกูประเภทนี้จําแนกไดเปน 2 ประเภท คือ
เงินกูเ พื่อการผลิต เปนเงินกูระยะสั้น เพือ่ เปนคาใชจาย สําหรับดําเนินงาน ในการ
ประกอบอาชีพอยางอื่น ที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร มีระยะเวลา ชําระคืน ภายใน 12 เดือน
เงินกูเ พื่อการลงทุน เปนเงินกูระยะยาว เพื่อเปนคาลงทุนในทรัพยสิน สําหรับ ใชใน
การประกอบอาชีพอยางอื่น ที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร มีระยะเวลา ชําระคืน ภายใน 15 ป
หรือในกรณีพเิ ศษ ไมเกิน 20 ป
2.ดานสินเชื่อรายสถาบันการเกษตรการใหบริการสินเชื่อ แกสถาบันเกษตรกร คือ การใหเงินกูแกสหกรณ
การเกษตร และกลุมเกษตรกร เพื่อใหสถาบันดังกลาว นําไปดําเนินธุรกิจ เพื่อประโยชน ของสมาชิก ตาม
วัตถุประสงค ของการจัดตั้งสถาบัน ทั้งนี้ ธ.ก.ส. ขยาย การใหสินเชื่อ แกสถาบัน เกษตรกร เพิ่มมากขึ้นทุก
ป โดยเฉพาะอยางยิ่ง เพื่อใหสถาบันเกษตรกร มีเงินทุน หมุนเวียนมากขึ้น สามารถขยายธุรกิจ ได
กวางขวางกวาเดิม นอกจากนี้ ธ.ก.ส. ยังสนับสนุน และรวมพัฒนา สถาบันเกษตรกร ตามหลักสหกรณ ให
เขมแข็งยิ่งขึ้น

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 19 ~

3.ดานสินเชื่อเพื่อการประกอบอาชีพเกษตรกรรม
เปนการใหกูเงินแกผูเปนเกษตรกรเพื่อนําไปประกอบอาชีพเกษตรกรรม เชน การทํานา การทําไร การเลี้ยง
สัตว การประมง การทํานาเกลือ ฯลฯ เปนตน แบงเปน
1) เพื่อเปนคาใชจายหมุนเวียนในการประกอบอาชีพเกษตรกรรม กําหนดชําระคืน
เงินกูใหเสร็จสิ้นภายใน 18 เดือน
2) เพื่อเปนคาลงทุนในทรัพยสินและวัสดุอุปกรณเพื่อประกอบอาชีพเกษตรกรรม กําหนด
ชําระคืนเงินกูใหเสร็จสิ้นภายใน 20 ป
อัตราดอกเบี้ย ขึ้นอยูกับการจัดชั้นลูกคาในแตละป สําหรับลูกคาปกติอัตรารอยละ7.00 - 10.00 บาท ตอป

4. ดานสินเชื่อนอกภาคการเกษตรเปนการใหกูแกผูประกอบการขนาดกลางและขนาดยอมที่เปนเกษตรกร
หรือบุคคลในครอบครัวในการประกอบธุรกิจอุตสาหกรรมการผลิต ธุรกิจพาณิชยกรรม และธุรกิจบริการ
- เพื่อสงเสริมและสนับสนุนกิจการ หรือธุรกิจของผูประกอบการขนาดกลาง และขนาดยอมในชนบท
- เพื่อใหความชวยเหลือทางวิชาการดานการตลาด การผลิต การจัดการ การเงิน และอื่น ๆ แก
ผูประกอบการอยางเปนระบบและครบวงจร
- เพื่อชวยลดปญหาการวางงาน

5.ดานสินเชื่อวิสาหกิจชุมชนเปนการใหกูเงินเพื่อประกอบอาชีพทั้งในภาคการเกษตร และนอกภาค
การเกษตรในลักษณะรวมกลุมโดยมีวัตถุประสงคคือ
1) เพื่อสงเสริมและสนับสนุนกิจการหรือธุรกิจของกลุมผูประกอบการซึ่งเปนเกษตรกร
2) เพื่อใหความชวยเหลือทางวิชาการดานการตลาด การจัดการ การเงิน และอื่นๆ แกกลุม
ผูประกอบการ อยางเปนระบบและครบวงจร
3) เพื่อชวยลดปญหาการวางงาน

6. ดานสินเชื่ออื่นๆ เชน
- โครงการสินเชื่อเพื่อที่อยูอาศัย
- โครงการสินเชื่อเพื่อไปทํางานตางประเทศ
- โครงการรับซื้อลดเช็คคาบํารุงออย (เช็คเกี๊ยว) ที่โรงงานน้ําตาลเปนผูสั่งจาย
- โครงการสินเชื่อเพื่อการพัฒนาความรูในประเทศ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 20 ~

- โครงการสงเกษตรกรไปฝกอบรมยังประเทศอิสราเอล
- โครงการสินเชื่อเพื่อการรักษาพยาบาล
• บริการดานเงินฝากและบริการตอเนื่อง
- บัญชีเงินฝากกระแสรายวัน
- เงินฝากออมทรัพย
- เงินฝากออมทรัพยพิเศษ
- เงินฝากออมทรัพยทวีโชค
- เงินฝากออมทรัพยทวีสิน
- เงินฝากประจํา
บริการเสริมเงินฝาก
- บริการสงเสริมใหชาวไทยมุสลิมไปแสวงบุญที่นครเมกกะ
- บริการประกันภัยอุบัติเหตุสวนบุคคล
- บริการบัตรประกันสุขภาพ
- บริการฌาปนกิจสงเคราะห

• บริการดานการเงินการธนาคาร
- บริการรับชําระคาสาธารณูปโภค
- การโอนเงิน
- เช็คของขวัญ
- แคชเชียรเช็ค
- การเรียกเก็บตามตั๋วเงิน
NPLs
ธ.ก.ส. ประมาณ 8 %
ธนาคารพาณิชยทั่วไปประมาณเกือบ 50 %

กิจกรรมเพื่อสังคม
• ธนาคารสีเขียว

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 21 ~

ธ.ก.ส. ไดประกาศเจตนารมย ที่จะดําเนินโครงการ ธนาคารสีเขียวขึ้น เมื่อวันที่ 12 มิถุนายน 2541 ธ.


ก.ส.ไดดําเนินการ จัดจางคณะที่ปรึกษา ดานสิ่งแวดลอมขึ้น เพื่อสรางองคความรู ผลักดันให ธ.ก.ส. มีการ
ดําเนินการ เพื่อมุงสูการเปนธนาคารสีเขียว ภายในระยะเวลา 5 ป และไดจัดตั้ง คณะกรรมการ และ
คณะทํางานขึ้น เพื่อทําหนาที่ บริหารโครงการ ดังนี้
- คณะกรรมการบริหารโครงการธนาคารสีเขียว ทําหนาที่ติดตาม กํากับดูแล การดําเนินงาน ตาม
โครงการ ใหมีประสิทธิภาพ
- คณะกรรมการบริหารโครงการสินเชื่อเพื่อรักษาสิ่งแวดลอม ทําหนาที่ดูแลและบริหาร ดานการ
จัดสรรเงินทุนเกี่ยวกับสิ่งแวดลอม ภายใตเงื่อนไขเงินกูของ ADB
- คณะทํางานโครงการธนาคารสีเขียว ทําหนาที่เปนแกนกลาง ในการประสานงาน และผลักดัน การ
ทํางานดานสินเชื่อสีเขียว (Green Credit) และการนํามาตรฐานสากล (ISO) มาถือใช ใหเปน
รูปธรรมมากยิ่งขึ้น
จากการดําเนินงานที่ผานมา ไดสรางผูนําการเปลี่ยนแปลง (Change Agents) ขึ้น ในหมูพนักงานของ
ธนาคาร เพื่อปลุกจิตสํานึกใหพนักงาน ไดตระหนักถึง ความสําคัญของสิ่งแวดลอม กับสินเชื่อการเกษตร
ตามแนวทางการพัฒนาที่ยั่งยืนโดยธนาคารไดคัดเลือก พนักงาน ของธนาคาร เกษตรกรลูกคา และ
เครือขายพันธมิตร ที่เกี่ยวของกวา 300 คน เขารับการฝกอบรม สัมมนาอยางเขมขน เพื่อเตรียมความ
พรอม ที่จะดําเนินการขั้นตอไป
• สมาคมฌาปนกิจสงเคราะห
เปนบริการที่ ธ.ก.ส. มอบใหกับผูใชบริการทั้งที่เปนผูกู และผูฝากเงินเปนกรณีพิเศษ ในการสมัคร เขา
เปนสมาชิก ของสมาคมฌาปนกิจสงเคราะหที่ ธ.ก.ส. สนับสนุนการจัดตั้ง และการดําเนินงาน ซึ่งมี
ความมั่นคงและเชื่อถือได โดยมีวัตถุประสงค เพื่อ
- สงเคราะหซึ่งกันและกันในหมูสมาชิก
- สรางหลักประกันใหแกครอบครัวของสมาชิก
ผูเสียชีวิต
- ทําบุญรวมกันและอุทิศสวนกุศลใหแกสมาชิกผู
ลวงลับ
• สถาบันเพื่อพัฒนาการเกษตรและชนบท จําเนียร สาระนาค (สจส.)
เปนสถาบันที่มูลนิธิอาจารยจําเนียร สาระนาค (ผูที่มีคุณูปการและเปนผูจัดการคนแรกของ ธ.ก.ส.) ไดจัด
ตั้งขึ้น เมื่อป พ.ศ. 2537 โดยอยูภายใต ความชวยเหลือของ ธ.ก.ส. วัตถุประสงค เพื่อ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 22 ~

- ฝกอบรมและพัฒนาบุคลากร ที่เกี่ยวของกับการสงเสริม และพัฒนาสินเชื่อ การเกษตร และชนบท


รวมถึงเกษตรกร และสถาบันเกษตรกร ใหมีความรู ความสามารถ ตามบทบาท และหนาที่ของ
ตนเอง
- จัดดูงานและฝกอบรมใหแกชาวตางประเทศ ที่สนใจสินเชื่อการเกษตรของ ธ.ก.ส.
- ใหคําปรึกษาแนะนําดานวิชาการ สินเชื่อการเกษตร และการพัฒนาชนบท ทั้งภายใน และ
ตางประเทศ
- ศึกษาคนควา และพัฒนาดานทรัพยากรบุคคล เพื่อการพัฒนาสินเชื่อ การเกษตร ชนบท และ
สังคม

โครงการสนับสนุนดานสังคม ( SSP )
โครงการสนับสนุนดานสังคมเปนกลไกการใหความชวยเหลือ แกธกส.เพื่อพัฒนาและดําเนินการ
ปรับปรุงคุณภาพของการบริการทางการเงินตาม รูปแบบที่เหมาะสม และชวยสนับสนุนงานสงเสริมการ
บริการของธ.ก.ส.ในภูมิภาคตางๆ
โครงการสนับสนุนดานสังคมดําเนินงานตามแผนที่วางไวในแผนงานประจําป ซึ่งประกอบดวย
กิจกรรมตางๆและงบประมาณโครงการในแตละป เพื่อบรรลุวัตถุ ประสงคตามที่วางแผนไว โดยเฉพาะ
อยางยิ่งเพื่อผลลัพธสําคัญ 5 ดาน คือ
1. การใหบริการการเงินขนาดเล็กไดรับการปรับปรุงใหดียิ่งขึ้น ดวยการดําเนินการใหบริการ
การเงินขนาดเล็กในรูปแบบที่เหมาะสมโดยสถาบันการเงินขนาดเล็ก
2. ลูกคาไดรับบริการที่ดีขึ้นจากธ.ก.ส.
3. ความสามารถชําระคืนสินเชื่อของลูกคาดีขนึ้ สําหรับหนี้ที่ปรับโครงสราง เมื่อสิ้นสุดปที่ 3 ของ
การดําเนินงานโครงการ
4. สมาชิกครอบครัวภาคการเกษตรและผูประกอบการขนาดเล็กมีความสามารถ มากขึ้นในการ
ชวยหารายไดใหครอบครัวและการออมสําหรับครอบครัว
5. บทเรียนและขอเสนอแนะเกี่ยวกับจุดประสงคของโครงการ ไดรับการบันทึกเปนหลักฐาน และ
ผนวกไวในนโยบายและแนวปฏิบัติของธ.ก.ส.
โครงการสนับสนุนดานสังคมดําเนินงานใน 6 จังหวัดนํารองในประเทศไทย ซึ่งไดแก ขอนแกน
มุกดาหาร พะเยา อุทัยธานี กระบี่ และสุราษฎรธานี

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 23 ~

จุดแข็งของ ธกส.
1.เกษตรกรสามารถขอกูเงินจากธกส.ไดถึงแมวาจะไมมีที่ดินเปนของตัวเอง ทั้งนี้โดยใชบุคคลค้ําประกัน
หรือทําหนังสือรับรองผิดอยางลูกหนี้รวมกันระหวางผูกู
2.มีประสิทธิภาพในการลดปญหา asymetric information เนื่องจากการปลอยเงินกูจะคํานึงถึงแผนการ
ผลิต และความสามารถในการชําระหนี้ของเกษตรกร และจะใหกูเงินเฉพาะเทาที่จําเปนตอการลงทุนและ
คาใชจายในการผลิตทางการเกษตรหรือเกี่ยวเนื่องในการเกษตรเทานั้น
3.เจาหนาที่สินเชื่อ Specialization จากการที่ปลอยสินเชือ่ เฉพาะดานเกษตรอยางเดียว
4.อัตราดอกเบี้ยต่ํากวาธนาคารพาณิชยทั่วไป โดยคิดตามระดับลูกคา
5.การบริการอยางเขาถึงพื้นที่ รวมทั้งมีการตรวจสอบอยางใกลชิด

จุดออนของ ธกส.
เนื่องจากเปนองคกรที่อยูในรูปของรัฐวิสาหกิจ ซึ่งมีความสัมพันธในดานการดําเนินงานที่
เกี่ยวของกับรัฐบาล ดังนั้นสงผลใหการดําเนินงานขององคกรจะคอนขางมีความลาชา เมื่อเทียบกับสถาบัน
การเงินของเอกชนทั่วไป

วิสัยทัศน พันธกิจ และคานิยม

แนวนโยบายของผูถือหุนภาครัฐ (Statement of Directions : SODs)


กระทรวงการคลังในฐานะกระทรวงเจาสังกัดไดกําหนดแนวนโยบายของผูถือหุนภาค รัฐ
(Statement of Directions : SODs) ที่มีตอ ธ.ก.ส. ดังนี้
มุงเนนการใหความชวยเหลือดานเงินทุนแกภาคเกษตรและชนบท ควบคูกับการเสริมสรางองค
ความรูและสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร โดยมีการบริหารจัดการและ
ระบบขอมูลทีม่ ีประสิทธิภาพ

หลักการและแนวทางการดําเนินงานตามแนวนโยบายของผูถือหุนภาครัฐ
1) เปนกลไกขับเคลื่อนยุทธศาสตรทางเศรษฐกิจและสังคมของประเทศ บนพื้นฐานการดําเนินงานที่มี
ประสิทธิภาพตามหลักธรรมาภิบาล

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 24 ~

2) เปนกลไกของภาครัฐ เพื่อสรางโอกาสใหประชาชนเขาถึงแหลงเงินทุนควบคูกับการยกระดับคุณภาพ
ชีวิตภายใตการบริหารจัดการองคกรที่มั่นคง มีมาตรฐาน ตลอดจนใชทรัพยากรรวมกันอยางมี
ประสิทธิภาพ
3) มุงเนนการใหความชวยเหลือดานเงินทุนแกภาคการเกษตรและชนบท ควบคูกับการเสริมสรางองค
ความรูและสนับสนุนการพัฒนาอาชีพ เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร โดยมีการบริหารจัดการและ
ระบบขอมูลทีม่ ีประสิทธิภาพ

วิสัยทัศน (Vision)
"เปนธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่ทันสมัย เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร
รายยอย"

พันธกิจ (Mission)
เพื่อกาวสูการเปนธนาคารพัฒนาชนบทเต็มรูปแบบ ธ.ก.ส. ไดกําหนดพันธกิจสําคัญไว 5 ประการ
คือ
1) บริการสินเชื่อครบวงจร เพื่อเสริมสรางโอกาสในการพัฒนาขีดความสามารถการผลิตและเพิ่ม
มูลคาใหกับสินคาเกษตร
2) พัฒนาการเรียนรูการจัดการทรัพยากร เพื่อเสริมสรางความเข็มแข็งของเกษตรกร ชุมชนและ
สถาบันเกษตรกร
3) บริหารจัดการเงินทุน ใหเพียงพอและมีตนทุนที่เหมาะสมตอลูกคาและการดําเนินงาน
4) พัฒนาบริการใหม ๆ เพื่อตอบสนองความตองการของลูกคาอยางมีคุณภาพและประสิทธิภาพ
5) มุงมั่นหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีและยึดมั่นในความรับผิดชอบตอสังคมและสิง่ แวดลอม
เพื่อความมั่นคงและยั่งยืน

คานิยมองคกร (Core Value)


ธ.ก.ส.ยึดหลัก SPARK ในการบริหารงานเพื่อชวยสะทอนความรับผิดชอบขององคการที่มีตอ
ประชาชน สังคมและ ประกอบดวย
1) ความยั่งยืน (Sustainability: S) ความยั่งยืนทั้งขององคกร ธ.ก.ส. ลูกคา ผูถือหุน สังคม และ
สิ่งแวดลอม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 25 ~

2) การมีสวนรวม (Participation: P) การมีสวนรวมของผูมีสวนไดสวนเสีย (Stakeholders)


3) ความสํานึกในหนาที่ความรับผิดชอบ (Accountability: A) ความสํานึกในหนาที่ความรับผิดชอบ
ของคณะกรรมการและบุคลากร
4) ความเคารพและใหเกียรติ (Respect: R) ความเคารพและใหเกียรติตอตนเองและผูอื่น
5) การสงเสริมและยกระดับความรู (Knowledge: K) การสงเสริมและยกระดับความรูใหเปน
ธนาคารแหงการเรียนรู

ความสามารถพิเศษขององคกร (Core Competency)


1) การใหสินเชื่อรวมกลุม โดยใหลูกคามีสวนรวมในการดูแลชวยเหลือซึ่งกันและกัน และเสริมสราง
ความสัมพันธทางสังคม
2) ความสัมพันธที่ดีกับลูกคามายาวนาน มีกระบวนการทํางานที่เนนการพัฒนาความสัมพันธ และการ
ใหบริการอยางเปนกันเอง
3) การจัดการการเรียนรูใหกับลูกคา ทั้งดานการผลิต การจัดการการตลาด สิ่งแวดลอมและการ
ดํารงชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 26 ~

ทิศทางและนโยบายของ ธกส.
ยุทธศาสตรการดําเนินงาน ปบัญชี 2556-2560
ธ.ก.ส. นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง รวมถึงหลักการบริหารจัดการที่ดี (Good
Governance) ที่มีความรับผิดชอบตอสังคมและสิ่งแวดลอม (Social Responsibility) มาเปนแนวทาง ใน
การขับเคลื่อนภารกิจองคกร ธ.ก.ส. อยางบูรณาการ ภายใตวิสัยทัศนและพันธกิจ เพื่อพัฒนาภาค
การเกษตรและภาคชนบทใหเปนสังคมอุดมปญญา เปนแหลงแลกเปลี่ยนเรียนรูเพื่อการพัฒนาอยางยั่งยืน
โดยใหชุมชนเปนศูนยกลางในการพัฒนาการยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกร โดย ธ.ก.ส. สรางโอกาส
การเขาถึงแหลงเงินทุน พัฒนาเกษตรกรและเครือขาย สรางมูลคาเพิ่มทางการตลาดและหาแนวทางประกัน
ความเสี่ยงใหกับลูกคา? จึงไดกําหนดยุทธศาสตรการดําเนินงานไว? 6? ดาน ดังนี้?

ยุทธศาสตรที่ 1 สนับสนุนสินเชื่อเชิงรุกอยางมีคุณภาพ
เพื่อเปนการเพิ่มโอกาสการเขาถึงแหลงเงินทุนใหเกษตรกรรายยอย ธ.ก.ส. จึงสนับสนุนการใหบริการ
ดานสินเชื่อโดยเฉพาะสินเชื่อเพิ่มมูลคาผลผลิตตลอด Value Chain ทั้งตนน้ํา กลางน้ํา และปลายน้ํา โดย
ใชเครือขายธุรกิจชุมชน และขบวนการสหกรณเปนกลไกในการขับเคลื่อนควบคูกับการพัฒนาองคความรู
แก เกษตรกรและสถาบันเกษตรกร และสนับสนุนใหลูกคามีการประกันความเสี่ยงและความเสียหาย ทั้ง
ดานชีวิต ดานอาชีพ และดานรายได รวมทั้ง การปรับปรุงกระบวนการสินเชื่อทุกขั้นตอนใหมีประสิทธิภาพ
เพื่อรองรับการ เปลี่ยนโครงสรางทางการเงินภาคชนบท

ยุทธศาสตรที่ 2 พัฒนาการเรียนรูและเสริมสรางความเขมแข็งใหกับลูกคา
เสริมสรางความเขมแข็งใหเกษตรกรและสถาบันเกษตรกรใหสามารถพึ่งพาตนเองได อยางยั่งยืน
ตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง โดยการพัฒนาชุมชนเกษตรใหเปนเครือขายเกื้อกูลกันและกันผานศูนยเรียนรู
เศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ธ.ก.ส. และสถาบันพัฒนาเกษตรกรและชนบท? และพัฒนาเกษตรกรรายคนให
มีการจัดการการผลิตที่ทันสมัย มีคุณภาพ และเสริมสรางการรวมกลุมผลิตเพื่อเพิ่มอํานาจการตอรอง
รวมทั้ง พัฒนาทักษะของสถาบันเกษตรกรดานการจัดการทางธุรกิจและการตลาดเพื่อเพิ่ม ศักยภาพการ
จัดการสูสากล

ยุทธศาสตรที่ 3 บริหารเงินทุนใหสมดุลและเพียงพอ
มุงเนนการเติบโตดานเงินฝากดวยการรักษาลูกคาเดิมและขยายฐานลูกคาใหม ทั้งภาครัฐและ
เอกชน โดยการบริหารความสัมพันธและกระตุนการออมอยางตอเนื่อง โดยกําหนดอัตราผลตอบแทนที่
สอดคลองกับอัตราดอกเบี้ยในตลาด ตลอดจนเพิ
คู่มือเตรี ่มชอกงทางและความสะดวกรวดเร็
ยมสอบพนั งานกพัฒนาธุรกิจ วในการใหบริการ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 27 ~

โครงการลงทุนที่สําคัญของธ.ก.ส.
การลงทุนในงานวิจัยและพัฒนา
ธ.ก.ส. มุงวิจัยและพัฒนาดานธนาคารและลูกคา รวมถึงเศรษฐกิจการเกษตร และพัฒนาระบบ
ขอมูลและสารสนเทศการเกษตรและชุมชนเพื่อเปนคลังความรูในการนํา ไปสูการกําหนดนโยบาย ทิศทาง
ของธนาคารเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกร และพัฒนาศักยภาพบุคลากรดานงานวิจัย โดยมีการ
ดําเนินงานที่สําคัญดังนี้

1. การวิจัยและพัฒนาฐานความรู

Website แผนดินทอง เปนแหลงรวมขอมูลดานการเกษตรที่สําคัญ เพื่อเปนคลังความรูแก


สาธารณชน
ฐานขอมูลชุมชน เปนแหลงรวมขอมูลทีส่ ําคัญของเครือขายของ เกษตรกร และเครือขายตาง ๆ

2. การวิจัยและพัฒนาสภาวะธุรกิจการเกษตร

สถานการณและแนวโนมราคาสินคาเกษตร เพื่อเปนขอมูลวิเคราะหเพื่อการตัดสินของผูที่สนใจ
รายงานการวิเคราะหสถานการณและแนวโนมราคาขาว

3. การวิจัยและพัฒนาเพื่อ เกษตรกร สังคม และสิ่งแวดลอม

รายงานการวิจัย (Link ไปที่รายงานการวิจัย “สวนเหลื่อมการตลาดขาวไทยเพื่อความเปนธรรม


สําหรับชาวนา” และ Link ไปที่รายงานวิจัยอื่น ๆ)
BAAC Research Center News
วิชาการปริทัศน
วารสารวิจัยและพัฒนา ธ.ก.ส.
- โลกรอน....มหามหันตภัย
วารสารพัฒนาชนบท

การลงทุนในระบบสารสนเทศ ปบัญชี 2556

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 28 ~

1. การขยายจุดใหบริการเครื่องปรับสมุดเงินฝากอัตโนมัติ (PAM)

2. การขยายจุดใหบริการเครื่องรับฝากเงินอัตโนมัติ

3. การใหบริการ Mobile Phone Banking

4. การสนับสนุนคอมพิวเตอรพรอมอุปกรณและโปรแกรมการใชงาน สําหรับกองทุนหมูบาน/สถาบัน
การเงินชุมชนที่เปนลูกคา

5. การพัฒนาและเพิ่มประสิทธิภาพระบบการใหสินเชื่อ (Loan Origination System)

6. การจัดหาระบบสารสนเทศตามกฎหมายและหนาที่ของสถาบันการเงิน

7. การจัดหาระบบการหักบัญชีดวยภาพเช็คและระบบการจัดเก็บภาพเช็ค (ICAS)

8. การพัฒนาระบบ Call Center

9. การพัฒนาระบบ CRM

10. การพัฒนาระบบประชาสัมพันธและการสื่อสาร

ปบัญชี 2555

1. การจัดหาระบบ Core Banking System (CBS) ใหม

2. การเพิ่มประสิทธิภาพระบบเครือขายสื่อสารใหกับสาขาทั่วประเทศ

3. การขยายการติดตั้ง ระบบ ATM ใหครอบคลุมครบทุกสาขา

4. การใหบริการบัตรสินเชื่อเกษตรกร

5. การจัดตั้งศูนย Data Center รองรับระบบรักษาความปลอดภัยดานเทคโนโลยีสารสนเทศสอดคลอง


ตามแนวทาง ISO 27001

6. การปรับเปลี่ยนระบบ FMIS ใหมีประสิทธิภาพสูงขึ้น

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 29 ~

การลงทุนเพื่อพัฒนาทรัพยากรมนุษย
ธนาคารใหความสําคัญในการบริหารและพัฒนาทรัพยากรมนุษยใหเปน คนดี คนเกงและมี
ความสุข โดยมีนโยบายในการพัฒนาเพื่อเพิ่มขีดความสามารถของบุคลากรใหมีความพรอมเปนกลไก
สําคัญในการขับเคลื่อนภารกิจองคกรใหบรรลุวิสัยทัศน “เปนธนาคารพัฒนาชนบทที่มั่นคง มีการจัดการที่
ทันสมัยเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายยอย” รวมทั้งเสริมสรางพฤติกรรมการเรียนรู การ
สรางนวัตกรรมในการเพิ่มศักยภาพใหมีความพรอมสอดคลองยุทธศาสตรธนาคาร ตลอดจนปลูกฝง
คุณธรรมจริยธรรมในการปฏิบัติงานตามระบบบริหารจัดการองคกรที่ เปนเลิศ นอกจากนี้ธนาคารยังมีการ
สนับสนุนใหประชาชนโดยทั่วไป ไดมีโอกาสในการพัฒนาความรูความสามารถ ธนาคารจึงไดจัดกิจกรรมใน
การสรางเสริมศักยภาพใหกับพนักงานอยางตอเนื่อง โดยมีโครงการที่สําคัญดังนี้
การฝกอบรมบุคลากรของธนาคารทั้งภายในประเทศและตางประเทศ
การใหทุนการศึกษาทั้งแกบุคลากรของธนาคารและบุคคลภายนอก
การพัฒนาตามแนวทางอื่น ๆ

1. การฝกอบรมบุคลากรของธนาคารทั้งภายในประเทศและตางประเทศ

ธ.ก.ส. มีนโยบายในการพัฒนาบุคลากรเพื่อเพิ่มขีดความสามารถพนักงานตามสายอาชีพ ดําเนินการ


อยางทั่วถึงแกพนักงานทุกระดับ อยางตอเนื่อง โดยมีโครงการสําคัญๆ ดังนี้

ป 2555 ป 2556

การฝกอบรมภายในธนาคาร

โครงการเตรียมความพรอม โครงการอบรมพัฒนาเสริมความรู เตรียมความพรอม


ผูนํารองรับอนาคต ผูนํารองรับอนาคต
โครงการพัฒนาระบบธุรกิจ โครงการพัฒนาผูบริหารระดับสูงเตรียมความพรอม
หลัก สําหรับผูจัดการสาขา ทดแทนตําแหนง
โครงการพัฒนานักบริหาร 10 โครงการ MR.PRODUCT
หลักสูตรประกาศนียบัตรธรร การพัฒนาทักษะการวิเคราะหสินเชื่อรายใหญ โครงการ
มาภิบาลของผูบริหารระดับกลาง พัฒนาสูมืออาชีพ (ความเสี่ยง บริหารเงิน ทรัพยากร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 30 ~

โครงการพัฒนาศักยภาพผูนําสู มนุษย ตรวจสอบ กฎหมาย เทคโนโลยี และบัญชี)


ความสําเร็จสําหรับผูบริหารระดับสูง โครงการพัฒนาจิตตปญญาศึกษา
โครงการพัฒนาเครือขายนัก
ทรัพยากรมนุษย

การฝกอบรมภายนอกธนาคาร

โครงการอบรมพัฒนาผูบริหาร โครงการอบรมพัฒนาผูบริหารระดับสูงสถาบัน
ระดับสูงสถาบันพระปกเกลา พระปกเกลา
หลักสูตรพัฒนานักบริหาร หลักสูตรพัฒนานักบริหารระดับสูง (นบส.)
ระดับสูง (นบส.) สํานักงาน ก.พ.
สํานักงาน ก.พ. หลักสูตรพัฒนากรรมการธนาคารและผูบริหาร
หลักสูตรพัฒนากรรมการ ระดับสูง สมาคมสงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย (IOD)
ธนาคารและผูบริหารระดับสูง สมาคม โครงการอบรมหลักสูตรนักบริหารการคลัง
สงเสริมสถาบันกรรมการบริษัทไทย
(IOD)
โครงการอบรมหลักสูตรนัก
บริหารการคลัง

2. การใหทุนการศึกษาทั้งแกบุคลากรของธนาคารและบุคคลภายนอก

ป 2555 ป 2556

บุคลากรของธนาคาร

ระดับปริญญาตรี 1 ทุน ระดับปริญญาตรี 9 ทุน


ระดับปริญญาโท 19 ทุน ระดับปริญญาโท 66 ทุน
ระดับปริญญาเอก 2 ทุน

บุคคลภายนอก

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 31 ~

ทุนการศึกษาบุตรหลาน ทุนการศึกษาบุตรหลานเกษตรกร (ทุนตอเนื่อง) 41


เกษตรกร (ทุนตอเนื่อง) จํานวน 41 ทุน
ทุน ทุนการศึกษาบุตรหลานสมาชิกเงินฝาก “โครงการ
ทุนการศึกษาบุตรหลานสมาชิก กองทุนทวีสุข” (ทุนใหม) จํานวน 200 ทุน (ตอเนื่อง) 222 ทุน
เงินฝาก”โครงการกองทุนทวีสุข” (ทุน ทุนการศึกษารวมกับมูลนิธิขาวไทย (ทุนตอเนื่อง)
ใหม) จํานวน 202 ทุน (ตอเนื่อง) 200 4 ทุน
ทุน ทุนการศึกษารวมกับ สวก. (ทุนตอเนื่อง) 20 ทุน
ทุนการศึกษารวมกับมูลนิธิขาว ทุนการศึกษาบุตรหลานสมาชิกและสมาชิกชุมชนศูนย
ไทย (ทุนตอเนื่อง) จํานวน 4 ทุน เรียนรูเพื่อ พัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ธ.ก.ส.(ทุน
ทุนการศึกษารวมกับ สวก. ตอเนื่อง) 69 ทุน (ทุนใหม) 15 ทุน
(ทุนตอเนื่อง) จํานวน 27 ทุน โครงการผลิใบตนกลาการเกษตร รวมกับจุฬาฯ และ
ทุนการศึกษาบุตรหลานสมาชิก สปก. ทุนใหม 15 ทุน และทุนตอเนื่อง 4 ทุน
และสมาชิกชุมชนศูนยเรียนรูเพื่อพัฒนา
เศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ธ.ก.ส.
จํานวน 69 ทุน
โครงการผลิใบตนกลา
การเกษตร รวมกับจุฬาฯ และ สปก.
(ทุนใหม) จํานวน 4 ทุน

3. การพัฒนาตามแนวทางอื่น ๆ

สรางเสริมวัฒนธรรมการถายโอนความรูจากบุคลากรทรงคุณคาโดยมีการแบงปนความรูจาก
บุคลากรผูมีความรูที่ลาออกและเกษียณ
โครงการ E-learning เพื่อสงเสริมสนับสนุนใหมีการเรียนรูดวยตนเองผานระบบสื่อ
อิเล็กทรอนิคส ไดทุกที่ ทุกเวลา
พัฒนาคุณธรรม จริยธรรมของพนักงาน ดวยการสงเสริมใหพนักงานเขารับการอบรมพัฒนา
จิตใจใหมีสติและจริยธรรมในการทํางาน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 32 ~

โครงการลงทุนเพื่อพัฒนาลูกคา
ธนาคารมุงพัฒนาเกษตรกรลูกคาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงโดยยึดชุมชน เปน
ศูนยกลางเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายยอยโดยมี โครงการที่สําคัญ คือ

1. โครงการเพิ่มมูลคาขาวโพดเลี้ยงสัตวครบวงจร

เพื่อ สนับสนุนใหเกษตรกร สกต. และ บริษัทไทยธุรกิจเกษตร จํากัด พัฒนาคุณภาพ และการ


จัดเก็บขาวโพดเลี้ยงสัตวไวเพื่อรอจําหนายในราคาที่เหมาะสม และเปนธรรม การทําธุรกิจอยางเปน
เครือขาย โดยมีการดําเนินงานในพื้นที่รวม 21 จังหวัด ไดแก นาน เชียงราย
พะเยา แพร เชียงใหม ลําพูน ลําปาง
เพชรบูรณ ตาก กําแพงเพชร อุตรดิตถ สุโขทัย นครสวรรค พิษณุโลก อุทัยธานี เลย
นครราชสีมา ชัยภูมิ ลพบุรี สระบุรี และสระแกว

2. โครงการจัดตั้งศูนยแสดงและจําหนายสินคาเกษตรไทย เมืองอี้อู ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน

เพื่อ สนับสนุนใหเกษตรกรลูกคาและเครือขายมีชองทางการจําหนายสินคาในตลาด ประเทศ


สาธารณรัฐประชาชนจีนเพื่อเพิ่มมูลคาผลผลิตทางการเกษตร

3. โครงการบริหารจัดการหวงโซอุปทาน (ValueChain) โคเนื้อคุณภาพ

เพื่อ สนันสนุนการบริหารจัดการผลิตโคเนื้อใหมีคุณภาพสูง เพิ่มขีดความสามารถในการแขงขันของ


เกษตรกรใหมีประสิทธิภาพตลอดกระบวนการ ผลิตขนสง และจําหนาย โดยไดมีการใหความรูกับ
เกษตรกรเขารวมโครงการ

4. โครงการจัดตั้งศูนยเรียนรูพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงตนแบบ ธ.ก.ส. 84 ศูนย

เพื่อ ขยายผล ศูนยศึกษาการพัฒนาอันเนื่อมาจากพระราชดําริ เพื่อสรางเครือขายในการพัฒนา


คุณภาพชีวิตเกษตรกรใชเปนสถานที่รวมกัน เรียนรูดานการผลิต ดานการตลาด การศึกษา สังคม ศาสนา
ของคนในชุมชน โดยอบรมใหความรู จัดทําแผนพัฒนาศูนยการเรียนรู และสรางศูนยการเรียนรู
ตนแบบ จํานวน 84 ศูนย กระจายทั่วทุกภูมิภาคของประเทศ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 33 ~

การลงทุนในบริษัทตางๆ
ธนาคารมีการลงทุนในบริษัทอื่นๆที่มีธุรกิจเชื่อมโยงสนับสนุนภาคเกษตรกรรม เพื่อสรางความ
เขมแข็งใหเกษตรกรในดานปจจัยการผลิตและดานการตลาด โดยมีตารางแสดงขอมูลบริษัทที่ธนาคารถือ
หุนอยูโดยตรงไมเกินรอยละ 10 ของทุนที่ชําระแลว ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2555 ดังนี้

ลําดับ มูลคาที่ จํานวนหุนที่ถือ รอยละหุน


บริษัท วัตถุประสงค
ที่ ตราไว ครอง ทีถ่ ือครอง
1 บริษัทไทยแอ็กโกร เพื่อสนับสนุนการดําเนินโครงการ 5 10,000,000 5
เอ็กซเชนจ จํากัด ตลาดกลางสินคาเกษตรแหงประเทศ
ไทย (ตลาดไท)
2 บริษัทไทยธุรกิจ เพื่อชวยเหลือเรื่องการตลาดและการ 10 120,000 10
เกษตร จํากัด จัดหาปจจัยการผลิตของเกษตรกร
3 บริษัทปุยเอ็นเอฟซี การผลิตปุยและจําหนายปุย 0.16 15,800 0.08
จํากัด(มหาชน)

การกํากับดูแลกิจการทีด่ ี

นโยบายธรรมาภิบาล
นโยบายดานธรรมาภิบาล ธ.ก.ส. “คณะกรรมการ และผูบริหาร ธ.ก.ส. ไดแสดงเจตนารมณที่จะสงเสริม
และสนับสนุน ใหมีการนําหลักการและแนวทางปฏิบัติดานธรรมาภิบาล มายึดถือและปฏิบัติใน ธ.ก.ส. ให
เกิดเปนวัฒนธรรมองคกร พัฒนาระบบการควบคุมภายใน การตรวจสอบ การปฏิบัติตามกฎเกณฑ และ
การบริหารความเสี่ยงที่เปนมาตรฐาน พรอมทั้งสงเสริมใหมีการปฏิบัติตอผูมีสวนไดสวนเสียอยางเปนธรรม
และมีสวนรวมในเรื่องสําคัญของ ธ.ก.ส.”

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 34 ~

มวลจริยธรรมนี้จัดทําขึ้นตามเจตนารมณของรัฐธรรมนูญแหงราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550


มาตรา 279 โดยมีวัตถุประสงคเพื่อ
1. เปนเครื่องมือกํากับความประพฤติของผูปฏิบัติงานธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณการเกษตร
ที่สรางความโปรงใส มีมาตรฐานในการปฏิบัติงานที่ชัดเจนและเปนสากล
2. ยึดถือเปนหลักการและแนวทางปฏิบัติอยางสม่ําเสมอ และเปนเครื่องมือการตรวจสอบการทํางาน
ดานตางๆ ทั้งในระดับองคกรและระดับบุคคล เพื่อใหการดําเนินงานเปนไปตามหลักคุณธรรมจริยธรรม
อยางมีประสิทธิภาพและ ประสิทธิผล
3. ทําใหเกิดรูปแบบองคกรอันเปนที่ยอมรับ เพิ่มความนาเชื่อถือเกิดความมั่นใจ แกผูรับบริการและ
ประชาชนทั่วไป ตลอดจนผูมีสวนไดเสีย
4. ใหเกิดพันธะผูกพันระหวางองคกรและบุคคลในทุกระดับ ใหใชอํานาจในขอบเขต สรางระบบ
ความรับผิดชอบตอตนเอง ตอผูบังคับบัญชาหรือผูใตบังคับบัญชา ตอองคกร ตอประชาชน และตอสังคม
ตามลําดับ
5. ปองกันการแสวงหาประโยชนโดยมิชอบ และความขัดแยงทางผลประโยชน ที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้ง
เสริมสรางความโปรงใสในการปฏิบัติงาน
ทั้งนี้ รวมถึงเพื่อใชเปนคานิยมรวมสําหรับองคกรและบุคคล พึงยึดถือเปนแนวทางปฏิบัติควบคูไป
กับระเบียบและกฎขอบังคับอื่นๆอยางทั่ว ถึงและมีประสิทธิภาพ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 35 ~

จริยธรรมทางธุรกิจและจรรยาบรรณสําหรับกรรมการ ผูบริหารและพนักงาน
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรไดมีการทบทวนจริยธรรมทางธุรกิจและ
จรรยาบรรณสําหรับกรรมการ ผูบริหารและพนักงาน ตามแนวทางปฏิบัติที่ดี โดยมี 14 หัวขอยอย ดังนี้
1. การเคารพกฎหมายและหลักสิทธิมนุษยชน
2. การสนับสนุนภาคการเมือง
3. การมีสวนไดสวนเสียและผลประโยชนขัดกัน
4. การเก็บรักษาความลับ การเก็บรักษาขอมูล และการใชขอมูลภายใน
5. การปฏิบัติตอลูกคา
6. การปฏิบัติตอคูแขงทางการคา
7. การปฏิบัติตอผูถือหุน
8. การจัดซื้อ จัดหาและการปฏิบัติตอคูคา
9. การรับผิดชอบตอชุมชนและสังคมโดยรวม
10. การปฏิบัติตอกรรมการ ผูบริหารและพนักงาน
11. การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
12. การรับ การใหของขวัญ ทรัพยสนิ หรือประโยชนอื่นใด
13. ความปลอดภัย สุขอนามัยและสิ่งแวดลอม
14. ทรัพยสิน ทรัพยสินทางปญญา และการใชระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารโทรคมนาคม

ธ.ก.ส.ตระหนักดีวาการบริหารความเสี่ยงเปนพื้นฐานที่สําคัญในการประกอบ ธุรกิจธนาคาร จึงจัดใหมี


ระบบการบริหารความเสี่ยงอยางทั่วทั้งองคกร (Enterprise Risk Management :ERM) เพื่อสนับสนุน
การดําเนินงานใหบรรลุเปาหมาย การสรางมูลคาเพิ่มแกองคกร และเสริมสรางการจัดการใหมีความเปน
ธรรมมาภิบาลใหองคกรเติบโตอยาง ยั่งยืน สรางความมั่นใจใหแกลูกคาผูใชบริการและผูมีสวนไดสวนเสีย
โดยนํากรอบของธนาคารแหงประเทศไทย กระทรวงการคลัง และคณะกรรมการตรวจเงินแผนดิน มาเปน
แนวทางในการดําเนินงาน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 36 ~

1. ยุทธศาสตรหลักในการบริหารความเสี่ยงของ ธ.ก.ส.
(1) ใชแนวทางการบริหารความเสี่ยงที่มีมาตรฐาน เปนที่ยอมรับ ใหเหมาะสมกับภารกิจและ
กิจกรรมของ ธ.ก.ส.
(2) ใชประโยชนจากการบริหารความเสี่ยงเพื่อสรางโอกาสทางธุรกิจ สรางมูลคาเพิ่ม กระจายความ
เสี่ยง และลดการสูญเสียขององคกร ดวยการพัฒนาระบบการบริหารความเสี่ยงใหสอดคลองกับ
สภาพแวดลอมที่เปลี่ยน แปลง และพัฒนาระบบการบริหารความตอเนื่องทางธุรกิจ ใหรองรับเหตุการณที่
อาจจะทําใหการปฏิบัติงานตามปกติตองหยุดชะงัก
(3) การบริหารความเสี่ยงเปนความรับผิดชอบของคณะกรรมการ ธ.ก.ส. ฝายจัดการ ผูบริหาร
และพนักงาน ธ.ก.ส. ทุกคน ที่จะตองตระหนัก และปฏิบัติจนเกิดเปนวัฒนธรรมองคกร
(4) พัฒนาบุคลากรและเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงอยางตอเนื่อง ทันตอสถานการณ เพื่อสู
ความเปนมืออาชีพในการจัดการความเสี่ยงใหอยูในระดับที่ยอมรับได และสามารถตอบสนองตอเปาหมาย
ความสําเร็จของธนาคาร รวมถึงการดูแลสังคมและสิ่งแวดลอม
2. โครงสรางและระบบการบริหารความเสี่ยง
(1) การจัดใหมีโครงสรางที่เอื้ออํานวยตอการดําเนินงาน โดยกําหนดใหคณะกรรมการ ธ.ก.ส. มี
บทบาทสําคัญในการกําหนดนโยบายและเพดานความเสี่ยง และกํากับดูแลความเพียงพอของระบบบริหาร
ความเสี่ยง มีคณะกรรมการบริหารความเสี่ยงที่ประกอบดวยตัวแทนกรรมการธนาคารและผูบริหาร
ระดับสูง ทําหนาที่ทบทวนปจจัยเสี่ยง กําหนดกลยุทธและแผนบริหารความเสี่ยงและติดตามกํากับใหความ
เสี่ยงหลงเหลือ อยูในระดับยอมรับได มีการกําหนดใหทุกสวนงานตองรับผิดชอบในการบริหารความเสี่ยง
(2) มีฝายบริหารความเสี่ยงทําหนาที่บูรณาการการบริหารความเสี่ยงและการควบคุม ภายในของ
ทุกสวนงาน ใหขับเคลื่อนไปตามวัตถุประสงคและเปาหมายที่กําหนด
(3) จัดใหมีกระบวนการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในอยางเปนระบบ ตั้งแตการ
ทบทวนเปาหมายและวัตถุประสงค แผนนโยบายของธนาคาร ใหสอดคลองกับสภาพแวดลอมในการ
ดําเนินงาน สอดคลองกับพันธกิจและนโยบายของภาครัฐ มีการระบุความเสี่ยงที่มีนัยสําคัญตอการ
ดําเนินงาน มีการประเมินระดับความเสี่ยง การกําหนดมาตรการและติดตามกํากับใหการบริหารความเสี่ยง
เปนไปตามเปาหมายภายใตระดับเพดานความเสี่ยงที่คณะกรรมการธนาคารกําหนด
(4) มีการรายงานความเสี่ยงประเภทตางๆใหผูเกี่ยวของรับทราบเพื่อใชในการจัดการความเสี่ยงได
ทันตอเหตุการณ อยางตอเนือ่ ง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 37 ~

(5) มีการสื่อสารสรางความเขาใจใหแกพนักงานทุกระดับทั่วทั้งองคกร เพราะเราเชื่อวาปจจัย


ความสําเร็จการบริหารความเสี่ยงตองเกิดจากการตระหนัก และใหความสําคัญของพนักงานทุกระดับ

ผังโครงสรางการบริหารความเสี่ยง

3. เครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง
ธ.ก.ส.จัดระบบและใชเครื่องมือในการประเมินความเสี่ยงและจัดการความ เสี่ยง อยางมี
ประสิทธิภาพ และมีการพัฒนาเครื่องมือดังกลาวอยางตอเนื่อง เชน
ระบบ BRMS และ Balance Score Card (BSC) ในดานกลยุทธ
ระบบประเมินความเสี่ยงดานสินเชื่อ (Credit Scoring) และจัดการพอรตสินเชื่อ (Credit
Portfolio Management)
ระบบเตือนภัยลวงหนา (Early Warning System)
ระบบจัดการความเสี่ยงทางการเงิน ทั้งในดานความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย อัตรา
แลกเปลี่ยน การดูแลสภาพคลอง และความเพียงพอของเงินกองทุนดําเนินงาน
ระบบควบคุมภายใน Control Self Assessment (CSA)
ระบบ Loss Data

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 38 ~

ระบบความมั่นคงปลอดภัยทางดานเทคโนโลยีสารสนเทศ (IT Good Governance &


Security)
ระบบจัดการธุรกิจอยางตอเนื่อง (Business Continuity Management : BCM)

ตัวอยาง ระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารความเสี่ยง(BRMS) ของ ธ.ก.ส.

4. บัญชี 2555 (1 เมษายน 2555 - 31 ธันวาคม 2555) คณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ธ.ก.ส. ได


ปฏิบัติงานตามที่ไดกําหนดไว ในกฎบัตรของคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง ธ.ก.ส. สรุปประเด็นได
ดังนี้
(1) การกําหนด ทบทวนองคประกอบของกฎบัตรคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดมีการทบทวนความเพียงพอในองคประกอบของกฎบัตร คณะกรรมการ
บริหารความเสี่ยงประจําป ใหเหมาะสมกับการบริหารจัดการองคกร
(2) การทบทวนนโยบาย ระบบงาน และเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงกําหนดใหมีการจัดทํา ทบทวน นโยบาย แผนบริหารความเสี่ยง และระบบ
การบริหารความเสี่ยง ใหสอดคลองกับสภาพแวดลอม เนื่องจากธนาคารเปนรัฐวิสาหกิจประเภทสถาบัน
การเงินที่ตองเผชิญกับความ เสี่ยงเชนเดียวกับสถาบันการเงินโดยทั่วไป รวมทั้งกําหนดใหมีการพัฒนา

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 39 ~

ระบบและเครื่องมือในการบริหารความเสี่ยงอยางตอ เนื่อง เพื่อชวยขับเคลื่อนงานบริหารความเสี่ยงและ


ควบคุมภาย ในใหเปนไปตามหลักเกณฑและแนวทางการกํากับดูแลที่ดีของธนาคารแหงประเทศไทย
(ธปท.) กระทรวงการคลัง และมาตรฐานสากล อันจะนําไปสูการเพิ่มขีดความสามารถขององคกรใหมีความ
มั่นคงและยั่งยืนใน ระยะยาว เชน การจัดทําแผนการบริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายใน ปบัญชี
2556 การพัฒนาระบบสารสนเทศสําหรับการบริหารความเสี่ยง การพัฒนาระบบ Loss data การบริหาร
จัดการความเสี่ยงเหตุการณสําคัญ โดยไดจัดทําแผน BCP รองรับเหตุการณที่อาจจะสงผลตอการ
หยุดชะงักของการดําเนินงานของธนาคารครบ ถวนทุกเหตุการณ
(3) การติดตามกํากับดูแลการบริหารความเสี่ยง
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงไดติดตามกํากับปจจัยเสี่ยงสําคัญที่อาจสงผล กระทบตอธนาคาร ให
เปนไปตามแนวทางและกลยุทธ โดยใหอยูใ นระดับความเสี่ยงที่ธนาคารยอมรับได (Risk Appetite) และ
ระดับ ความเสี่ยงที่เบี่ยงเบนจากระดับที่ยอมรับได (Risk Tolerance) ซึ่งกําหนดไวในแผนบริหารความ
เสี่ยงของธนาคาร ตลอดจนการใหคําแนะนําที่สําคัญตอธนาคาร เพื่อนําไปพัฒนางานดานการบริหารความ
เสี่ยงของธนาคารใหมีประสิทธิภาพเพิ่ม ขึ้น
(4) การติดตามดูแลใหผูบริหารและพนักงาน ธ.ก.ส. มีความเขาใจและมีการบริหารจัดการความเสี่ยง
และการควบคุมภายใน
คณะกรรมการบริหารความเสี่ยงกําหนดใหมีแนวทางการพัฒนาบุคลากรของธนาคาร ทุกระดับโดย
สนับสนุนใหมีการเรียนรูอยางตอเนื่อง ซึ่งธนาคารจัดใหมีการอบรมหลักสูตรดานการบริหารความเสี่ยงและ
การควบคุมภาย ในที่ธนาคารจัดขึ้นเองและหลักสูตรจากสถาบันภายนอก การจัดอบรมพัฒนาบุคลากรการ
บริหารความเสี่ยงและการควบคุมภายในใหแกผู บริหารและพนักงาน ทั้งสวนกลางและสวนภูมิภาค
จํานวน 1,000 คน รวมทั้งมีการติดตามดูแล และใหคําแนะนําแกผูบริหารและพนักงานใหมีความเขาใจใน
กระบวนการบริหารความ เสี่ยงทั่วทั้งองคกรอยางตอเนื่อง นอกจากนั้น มีการมอบรางวัลใหแกสวนงานที่มี
การบริหารความเสี่ยงที่ดี (Risk management Award) โดยการนําทีมงานจากสวนงานฯ และผูที่เกี่ยวของ
ศึกษาดูงานสถาบันการเงินชั้นนําในตางประเทศ เพื่อเปนการสงเสริมใหเกิดวัฒนธรรมการบริหารความเสี่ยง
ทั่วทั้งองคกร
รายงานคณะกรรมการบริหารความเสี่ยง
5. กิจกรรมการพัฒนาใหความรูและเพิ่มขีดความสามารถดานการบริหารความเสี่ยงและการ
ควบคุมภายใน แกผูบริหารและพนักงานทั่วทั้งองคกร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 40 ~

ตราสัญลักษณของ ธ.ก.ส.
ตราธนาคารในอดีต (พ.ศ. 2509 – 2528)

เมื่อเริ่มกอตั้งธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.ก.ส.) คณะกรรมการ ธ.ก.ส. มีมติเมื่อการ


ประชุมครั้งที่ 4/2509 วันที่ 17 ตุลาคม 2509 กําหนดตราของธนาคารเปนรูปวงกลม ระหวางขอบวงนอก
และขอบวงในมีชื่อ “ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร” ตอนลางมีอักษรยอชื่อของธนาคาร
“ธ.ก.ส.” ภายในขอบวงในมีรูปถุงเงินและรวงขาว ซึ่งหมายถึง การใหเงินกูเพื่อการผลิตทางเกษตรและการ
ออมเงิน

ตราธนาคารปจจุบัน (พ.ศ. 2528 – ปจจุบัน)

เปลี่ยนแปลงเมื่อคณะกรรมการ ธ.ก.ส. มีมติเมื่อการประชุมครั้งที่ 4/2528 วันที่ 28 มีนาคม 2528 กําหนด


ตราของธนาคารใหม เพื่อใหมีความโดดเดน สวยงาม และงายตอการจดจําเปน โดยมีความหมาย ดังนี้
กรอบรูปสีเ่ หลีย่ มมุมมน หมายถึง ความตอเนื่อง การสื่อสัมพันธอันดี การบริการ ความเขาใจ ความ
รวมมือ การประสานประโยชน ความผูกพัน ความไมมีที่สิ้นสุด ระหวาง รัฐบาล ธ.ก.ส. และ เกษตรกร
ลูกคา ซึ่งจะผูกสัมพันธเปนวัฏจักรตอเนื่องตลอดไป เพื่อชวยเหลือเกือ้ กูลซึ่งกันและกัน จะขาดจากกัน
ไมได

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 41 ~

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 42 ~

พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร พ.ศ. 2509


ภูมิพลอดุลยเดช ป.ร.
ใหไว ณ วันที่ 13 กรกฎาคม พ.ศ. 2509
เปนปที่ 21 ในรัชกาลปจจุบัน
พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช มีพระบรมราชโองการโปรดเกลาฯ ให
ประกาศวา
โดยที่เปนการสมควรจัดตั้งธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรเพื่อใหความ
ชวยเหลือทางการเงินแกเกษตรกร กลุมเกษตรกร หรือสหกรณการเกษตร
จึงทรงพระกรุณาโปรดเกลาฯ ใหตราพระราชบัญญัติขึ้นไวโดยคําแนะนําและยินยอมของ
สภารางรัฐธรรมนูญในฐานะรัฐสภา ดังตอไปนี้
มาตรา 1 พระราชบัญญัตินี้เรียกวา “ พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณการเกษตร พ.ศ. 2509”
มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
มาตรา 3 ในพระราชบัญญัตินี้
“ ธนาคาร” หมายความวา ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร
“ คณะกรรมการ” หมายความว า คณะกรรมการธนาคารเพื่ อ การเกษตรและ
สหกรณการเกษตร
“ กรรมการ” หมายความว า กรรมการธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ
การเกษตร
“ ผูจัดการ” หมายความวา ผูจัดการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร
“ เกษตรกร” หมายความวา ผูประกอบอาชีพในการทํานา การทําไร การทําสวน การ
เลี้ยงสัตว การประมง การเลี้ยงไหมและสาวไหม การทํานาเกลือ การปลูกกลวยไมหรือไมดอก การปลูกไม
สน การปลูกสวนปา การเลี้ยงผึ้ง การเลี้ยงครั่ง การเพาะเห็ด หรืออาชีพการเกษตรอื่นตามที่คณะกรรมการ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 43 ~

กําหนดโดยใหประกาศในราชกิจจานุเบกษา และใหหมายความรวมถึงเกษตรกรตามกฎหมายวาดวยการ
ปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
“ กลุม เกษตรกร” หมายความวา เกษตรกรซึ่งรวมกันเปนกลุมโดยมีกฎหมาย
รับรองใหเปนนิติบุคคลและมีวัตถุ ประสงคดําเนินการทางธุรกิจเพื่อประโยชนในการประกอบอาชีพของ
เกษตรกร
“ สหกรณการเกษตร” หมายความวา สหกรณที่ประกอบดวยสมาชิกทั้งหมดเปน
เกษตรกร และไดจดทะเบียนตามกฎหมายวาดวยสหกรณ กับใหหมายความรวมถึงสหกรณดังกลาวที่ได
รวมกันเปนชุมนุมสหกรณตามกฎหมายวาดวยสหกรณ
“ รัฐมนตรี” หมายความวา รัฐมนตรีผูรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้
มาตรา 4 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้ และใหมี
อํานาจออกกฎกระทรวงเพื่อปฏิบัติการตามพระราชบัญญัตินี้
กฎกระทรวงนั้น เมื่อไดประกาศในราชกิจจานุเบกษาแลวใหใชบังคับได
หมวด 1 การจัดตั้ง
มาตรา 5 ให จั ด ตั้ ง ธนาคารขึ้ น เรี ย กว า “ ธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ
การเกษตร” และใหธนาคารนี้เปนนิติบุคคล
มาตรา 6 ใหธนาคารมีสํานักงานใหญในกรุงเทพมหานครหรือจังหวัดอื่น และจะตั้งสาขา
หรือตัวแทน ณ ที่อื่นใดภายในและภายนอกราชอาณาจักรก็ได แตการจะตั้งสาขาหรือตัวแทนภายนอก
ราชอาณาจักร ตองไดรับอนุมัติจากรัฐมนตรีกอน
มาตรา 7 ใหกําหนดทุนเรือนหุนของธนาคารไวสี่พันลานบาท แบงเปนสี่สิบลานหุน มี
มูล คาหุนละหนึ่งร อ ยบาท โดยใหธนาคารขายหุ น ใหแกกระทรวงการคลั ง เกษตรกร กลุมเกษตรกร
สหกรณการเกษตร สหกรณ สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น และกองทุนดานการเกษตรหรือกองทุนอื่นของ
รัฐตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด ทั้งนี้ ตามที่กําหนดไวในขอบังคับของธนาคาร
ใหกระทรวงการคลังถือหุนของธนาคารไมนอยกวารอยละเจ็ดสิบหาของจํานวนหุนที่
จําหนายไดแลวทั้งหมด

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 44 ~

ใน กรณีที่มีหุนเหลือจากการถือหุนของกระทรวงการคลัง ใหธนาคารขายหุนแกผูอื่นตาม
วรรคหนึ่งได แตถาเปนสถาบันการเงินที่มิใชเปนสถาบันการเงินของรัฐหรือบุคคลอื่นที่มิ ใชเปนหนวยงาน
ของรัฐจะขายหุนในจํานวนที่นับรวมกันแลวเกินกวารอยละหา ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดมิได
ภายใตบังคับวรรคสองและวรรคสาม บุคคลใดจะถือหุนธนาคารเกินรอยละหาของจํานวน
หุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมดมิได
หุนของธนาคารที่บุคคล หางหุนสวน หรือบริษัทดังตอไปนี้ถืออยู ใหนับรวมเปนหุนของ
บุคคลตามวรรคสี่ดวย
(1) คูสมรสของบุคคลตามวรรคสี่
(2) บุตรที่ยังไมบรรลุนิติภาวะของบุคคลตามวรรคสี่
(3) หางหุนสวนสามัญที่บุคคลตามวรรคสี่หรือบุคคลตาม (1) หรือ (2) เปนหุนสวน
(4) หางหุนสวนจํากัดที่บุคคลตามวรรคสี่หรือบุคคลตาม (1) หรือ (2) เปนหุนสวนจําพวก
ไมจํากัดความรับผิด หรือเปนหุนสวนจําพวกจํากัดความรับผิดที่มีหุนรวมกันเกินอัตราที่รัฐมนตรีประกาศ
กําหนด
(5) บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดที่บุคคลตามวรรคสี่หรือบุคคลตาม (1) หรือ (2)
หรือหางหุนสวนตาม (3) หรือ (4) ถือหุนรวมกันเกินอัตราที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
(6) บริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดที่บุคคลตามวรรคสี่หรือบุคคลตาม (1) หรือ (2)
หรือหางหุนสวนตาม (3) หรือ (4) หรือบริษัทจํากัดหรือบริษัทมหาชนจํากัดตาม (5) ถือหุนรวมกันเกิน
อัตราที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
เมื่อ ปรากฏวาการไดมาซึ่งหุนของธนาคารเปนเหตุใหบุคคลหนึ่งบุคคลใดถือหุนเกิน
จํานวนที่จะถือไดตามวรรคสี่ บุคคลนั้นจะยกเอาการถือหุนในสวนที่เกินจํานวนดังกลาวขึ้นยันตอธนาคารมิ
ไดและธนาคารจะจายเงินปนผลหรือเงินตอบแทนอยางอื่นใหแกบุคคลนั้น หรือใหบุคคลนั้นออกเสียง
ลงคะแนนในที่ประชุมของผูถือหุนตามจํานวนในสวนที่ เกินมิได
เพื่อประโยชนในการปฏิบัติตามวรรคสี่และวรรคหก ใหธนาคารตรวจสอบทะเบียนผูถือ
หุ นทุ กคราวก อนการประชุ มผู ถื อหุ นและก อนจ ายเงิ นปนผลหรื อเงิ นตอบแทนอื่ นใด แล วแจ งผลการ
ตรวจสอบตอรัฐมนตรีตามรายการและภายในเวลาที่รัฐมนตรีกําหนด และในกรณีที่พบวาผูถือหุนรายใด
ถือหุนเกินจํานวนที่กําหนดตามวรรคสี่ ใหธนาคารแจงใหผูนั้นทราบ เพื่อดําเนินการจําหนายหุนที่เกินนั้น
เสีย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 45 ~

มาตรา 7 ทวิ ในกรณีที่ธนาคารมีความจําเปนตองเพิ่มทุนเรือนหุนใหธนาคารขอเพิ่มทุน


เรือนหุนไดอีกเปนคราว ๆ โดยขออนุมัติคณะรัฐมนตรี
การกําหนดมูลคาหุนและการขายหุนเพื่อเพิ่มทุนเรือนหุนตามวรรคหนึ่ง ใหนํามาตรา 7
วรรคหนึ่ง มาใชบังคับโดยอนุโลม
มาตรา 8 ความรับผิดของผูถือหุน ใหจํากัดเพียงเทามูลคาของหุนที่ตนถือ
หมวด 2 วัตถุประสงค
มาตรา 9 ธนาคารมีวัตถุประสงคดังตอไปนี้
(1) ใหความชวยเหลือทางการเงินแกเกษตรกร กลุมเกษตรกรหรือสหกรณการเกษตร
สําหรับการ
(ก) ประกอบอาชีพเกษตรกรรมหรืออาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรม
(ข) ประกอบอาชีพอยางอื่นเพื่อเพิ่มรายได
(ค) พัฒนาความรูในดานเกษตรกรรมหรืออาชีพอยางอื่นเพื่อเพิ่มรายไดหรือพัฒนา
คุณภาพชีวิตของเกษตรกรหรือครอบครัวของเกษตรกร
(ง) ดํ า เนิ น กิ จ การตามโครงการที่ เ ป น การส ง เสริ ม หรื อ สนั บ สนุ น การประกอบ
เกษตรกรรมซึ่งเปนการดําเนินการรวมกับผูประกอบการ เพื่อเพิ่มรายไดหรือพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
เกษตรกรหรือครอบครัวของเกษตรกร
(2) ประกอบธุรกิจอื่นอันเปนการสงเสริมหรือสนับสนุนการประกอบเกษตรกรรม
(3) ดําเนินงานเปนสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนาชนบท โดยใหความชวยเหลือทางการเงิน
หรือการบริหารจัดการแกบุคคล กลุมบุคคล ผูประกอบการ กองทุนหมูบานหรือชุมชน รวมทั้งองคกรที่
จัดตั้งขึ้นในรูปแบบใดที่มีวัตถุประสงคในการสนับสนุนการประกอบอาชีพของเกษตรกรหรือชุมชน ทั้งนี้
เพื่อสงเสริมใหมีการพัฒนาผลผลิตหรือผลิตภัณฑของเกษตรกรหรือชุมชนใหมีประสิทธิภาพ ทั้งในดาน
การลงทุน การผลิต การแปรรูป และการตลาด หรือเพื่อสงเสริมใหชุมชนมีความเขมแข็งในดานเศรษฐกิจ
หรือเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
(4) ให ค วามช ว ยเหลื อ ทางการเงิ น แก ส หกรณ เพื่ อ ใช ดํ า เนิ น งานภายใต ข อบเขต
วัตถุประสงคในการจัดตั้งสหกรณ
การใหความชวยเหลือทางการเงินตามความในวรรคหนึ่ง (1) (ข) (ค) และ (ง) รวมทั้งการ
ดําเนินการตามความในวรรคหนึ่ง (2) (3) และ (4) ใหกระทําไดเทาที่กําหนดในกฎกระทรวง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 46 ~

มาตรา 10 ใหธนาคารมีอํานาจกระทํากิจการภายในขอบเขตแหงวัตถุประสงคตามมาตรา
9 อํานาจเชนวานี้ใหรวมถึง
(1) ใหกูเงินเพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคในมาตรา 9
(2) ค้ําประกันตามที่กําหนดไวในขอบังคับของธนาคาร
(3) จัดหาเงินทุนเพื่อใชในการดําเนินงานของธนาคาร
(4) จัดใหไดมา ถือกรรมสิทธิ์หรือทรัพยสิทธิ ครอบครอง เชาหรือใหเชา เชาซื้อหรือใหเชา
ซื้อ โอนหรือรับโอนสิทธิการเชาหรือสิทธิการเชาซื้อ จํานองหรือรับจํานอง จํานําหรือรับจํานํา ขายหรือ
จําหนายดวยวิธีอื่นใด ซึ่งสังหาริมทรัพยหรืออสังหาริมทรัพย
(5) รับฝากเงินที่ตองจายคืนเมื่อทวงถามหรือเมื่อสิ้นระยะเวลาอันมีกําหนด
(6) ใหกูเงินหรือออกหนังสือค้ําประกันใหแกผูฝากเงินหรือบุคคลใดภายในวงเงินที่ฝากไว
กับธนาคารโดยใชเงินฝากเปนประกัน
ความในวรรคหนึ่ง มิใหใชบังคับในกรณีที่ผูฝากเงินเปนธนาคารพาณิชยตามกฎหมายวา
ดวยการธนาคารพาณิชย
(6/1) ใหกูเงินหรือออกหนังสือค้ําประกันใหแกผูถือตราสารทางการเงินซึ่งออกโดยธนาคาร
หรือใหแกบุคคลใดตามที่คณะกรรมการกําหนด โดยใชตราสารทางการเงินซึ่งออกโดยธนาคารเปนประกัน
(7) ออก ซื้อ หรือขายตั๋วเงินหรือตราสารเปลี่ยนมืออื่นใด รวมทั้ง เก็บเงินตามตั๋วเงินหรือ
ตราสารเปลี่ยนมือดังกลาว
(8) มีบัญชีเงินฝากไวกับสถาบันการเงินอื่นเทาที่จําเปนแกการดําเนินธุรกิจของธนาคาร
(9) ซื้ อ หลั ก ทรั พ ย ข องรั ฐ บาล เช น พั น ธบั ต รหรื อ ตั๋ ว เงิ น คลั ง ตามที่ ค ณะกรรมการ
เห็นสมควร
(10) เรียกเก็บดอกเบี้ยเงินกู คาธรรมเนียมเกี่ยวกับการใหกูเงินหรือค้ําประกันเงินกูและ
คาบริการอื่น ๆ
(11) เปนตัวแทนของสวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจเพื่อจาย เรียกเก็บ หรือรับชําระคาที่ดิน
คาชดเชยการลงทุน คาบริการ คาธรรมเนียม หรือเงินประเภทอื่นตามที่สวนราชการหรือรัฐวิสาหกิจได
มอบหมายใหธนาคารจาย เรียกเก็บ หรือรับชําระจากบุคคลหนึ่งบุคคลใด หรือเปนตัวแทนของบุคคลอื่น
เพื่อดําเนินการดังกลาวไดโดยตองเปนไปตามขอบังคับของธนาคาร
(12) รับฝากเงินเพื่อสงเคราะหชีวิตของเกษตรกรและครอบครัวของเกษตรกรตามที่
กําหนดในขอบังคับของธนาคาร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 47 ~

(13) รวมดําเนินการตามโครงการชดเชยความเสียหายแกเกษตรกรจากภัยธรรมชาติใน
การประกอบเกษตรกรรม ตามระเบียบของทางราชการ
(14) จัดตั้งบริษัทจํากัด หรือบริษัทมหาชนจํากัด เพื่อประกอบธุรกิจเกี่ยวกับเกษตรกรรม
หรือธุรกิจที่เปนประโยชนโดยตรงแก กิจการของธนาคารตามที่คณะกรรมการเห็นสมควรโดยไดรับความ
เห็นชอบจากรัฐมนตรี และเสนอคณะรัฐมนตรีเพื่อทราบ
(15) รวมลงทุนกับนิติบุคคลที่มีวัตถุประสงคการดําเนินงานภายใตขอบเขตที่กําหนดไวใน
มาตรา 9 ตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร โดยไดรับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี และเสนอคณะรัฐมนตรี
เพื่อทราบ
(16) จัดใหมีการสงเคราะหตามสมควรแกผูจัดการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูซึ่งพนจากการ
เปนผูจัดการ พนักงาน หรือลูกจางของธนาคาร และครอบครัวของบุคคลดังกลาว
(16/1) ประกอบธุรกิจเงินตราตางประเทศตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
(16/2) ใหสินเชื่อหรือบริการทางการเงินในรูปแบบอื่นที่เปนประเพณีปฏิบัติของธนาคาร
พาณิชยเพื่อใหเปนไปตามวัตถุประสงคในมาตรา 9 ทั้งนี้ ตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด
(17) กระทํากิจการอยางอื่นบรรดาที่เกี่ยวกับหรือเนื่องในการจัดใหสําเร็จตามวัตถุประสงค
ของธนาคารตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร โดยไดรับความเห็นชอบจากรัฐมนตรี
มาตรา 11 หามมิใหธนาคารกระทําการดังตอไปนี้
(1) ใหกรรมการหรือผูจัดการ หรือภริยาหรือสามีของกรรมการหรือผูจัดการ กูยืมเงิน
(2) รับหุนของธนาคารเองเปนประกัน
(3) จายเงินหรือทรัพยสินใหแกกรรมการ ผูจัดการ พนักงานหรือลูกจางของธนาคาร เปน
คานายหนา หรือคาตอบแทนสําหรับหรือเนื่องแตการกระทําหรือการประกอบธุรกิจใด ๆ ของธนาคาร
ทั้งนี้ นอกจากเงินเดือนและเงินอื่น ๆ ซึ่งพึงจายตามมาตรา 20 มาตรา 26 และตามขอบังคับของธนาคารที่
ออกตามมาตรา 18 (6) และ (8)
(4) ซื้อหรือมีไวซึ่งอสังหาริมทรัพย เวนแต
(ก) เพื่อใชเปนสถานที่สําหรับดําเนินธุรกิจ หรือสําหรับผูจัดการ พนักงานและ
ลูกจางของธนาคารใชประโยชนตามสมควร
(ข) เปนการไดมาจากการชําระหนี้หรือจากการประกันตนเงินที่จายใหกูยืมไปหรือ
จากการซื้ออสังหาริมทรัพยที่จํานองไวแกธนาคารจากการขายทอดตลาดโดยคําสั่ง ศาล

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 48 ~

บรรดาอสังหาริมทรัพยที่ตกเปนของธนาคารเนื่องจากการชําระหนี้ การประกันตนเงินที่
จายให กู ยืม ไป หรือเนื่ องจากการที่ ธนาคารได ซื้อ อสังหาริมทรัพยที่จํานองไวแก ธนาคารจากการขาย
ทอดตลาดโดยคําสั่งของศาล จะตองจําหนายภายในเกาปนับแตวันที่อสังหาริมทรัพยนั้นตกเปนของ
ธนาคาร หรือภายในกําหนดเวลากวานั้นตามที่ไดรับอนุญาตจากรัฐมนตรี ทั้งนี้ เวนแตรัฐมนตรีจะอนุญาต
ใหใชเปนสถานที่สําหรับดําเนินธุรกิจ หรือสําหรับผูจัดการ พนักงานหรือลูกจางของธนาคารใชประโยชน
การจําหนายอสังหาริมทรัพยดังกลาวในวรรคกอน ใหกระทําโดยวิธีขายทอดตลาด หรือ
โดยวิธีอื่นใดตามที่คณะกรรมการเห็นสมควรและไดรับความเห็นชอบของรัฐมนตรี
หมวด 3
การกํากับ การควบคุมและการจัดการ
มาตรา 12 รัฐมนตรีมีอํานาจหนาที่กํากับโดยทั่วไปซึ่งกิจการของธนาคาร เพื่อประโยชน
ในการนี้รัฐมนตรีมีอํานาจสั่งใหธนาคารชี้แจงขอเท็จจริง แสดงความคิดเห็นหรือทํารายงานเกี่ยวกับกิจการ
ของธนาคาร และมีอํานาจตั้งบุคคลเพื่อตรวจสอบและรายงานกิจการและทรัพยสินของธนาคาร แตไมวาใน
กรณีใด รัฐมนตรีจะสั่งใหตรวจสอบหรือรายงานเพื่อทราบกิจการหรือทรัพยสินของเอกชนคนหนึ่งคนใด
โดยเฉพาะที่มีหรือปรากฏอยูในธนาคารมิได
เมื่อ รัฐมนตรีไดรับรายงานจากผูตรวจสอบแลว ถาเห็นวาการดําเนินงานของธนาคารขัด
ตอมติคณะรัฐมนตรีหรืออยูในลักษณะอันจะ เปนเหตุใหเกิดความเสียหายอยางรายแรงแกธนาคารหรือแก
ประโยชนของประชาชน รัฐมนตรีมีอํานาจยับยั้งหรือสั่งแกไขการดําเนินงานของธนาคารได
มาตรา 12/1 ใหธนาคารดํารงเงินกองทุนเปนอัตราสวนกับสินทรัพย หนี้สิน หรือภาระ
ผูกพัน และใหธนาคารดํารงเงินสดสํารองและดํารงสินทรัพยสภาพคลองเปนอัตราสวนกับเงินฝากและเงิน
กูยืม ทั้งนี้ ตามหลักเกณฑ วิธีการ และเงื่อนไขที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 13 ในกรณี ที่ ธ นาคารจะต อ งเสนอเรื่ อ งไปยั ง คณะรั ฐ มนตรี ต ามความใน
พระราชบัญญัตินี้ ใหคณะกรรมการนําเรื่องเสนอรัฐมนตรีเพื่อเสนอตอไปยังคณะรัฐมนตรี
มาตรา 14 ให มี ค ณะกรรมการธนาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ ก ารเกษตร
ประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง เปนประธานกรรมการ รองประธานกรรมการหนึ่งคนและ
กรรมการอื่นอีกไมเกินสิบสองคนซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้ง และใหผูจัดการเปนกรรมการและเลขานุการ
กรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งอยางนอยตองมีผูแทนกระทรวงการคลังหนึ่งคน ผูแทน
กระทรวงเกษตรและสหกรณหนึ่งคน ผูแทนกรมสงเสริมสหกรณหนึ่งคน ผูแทนสํานักงานการปฏิรูปที่ดิน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 49 ~

เพื่อเกษตรกรรมหนึ่งคน ผูแทนธนาคารแหงประเทศไทยหนึ่งคน และผูแทนสหกรณการเกษตรผูถือหุน


หนึ่งคน
รองประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้ง อยูในตําแหนงคราวละสามป
ผูที่พนจากตําแหนงตามวาระจะแตงตั้งใหเปนรองประธานกรรมการหรือกรรมการอีกก็ได
มาตรา 15 ผูมีลักษณะอยางหนึ่งอยางใดดังตอไปนี้ ตองหามมิใหเปนประธานกรรมการ
รองประธานกรรมการ หรือกรรมการ
(1) เปนพนักงานหรือลูกจางของธนาคาร
(2) เปนหรือเคยเปนบุคคลลมละลาย
(3) ไดรับโทษจําคุกโดยคําพิพากษาถึงที่สุดใหจําคุก เวนแตความผิดฐานลหุโทษ หรือ
ความผิดอันไดกระทําโดยประมาท
(4) เปนคนไรความสามารถหรือเสมือนไรความสามารถ
มาตรา 16 นอกจากการพนจากตําแหนงตามวาระตามมาตรา 14 รองประธานกรรมการ
และกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตําแหนงเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) มีลักษณะตองหามตามมาตรา 15
(4) คณะรัฐมนตรีใหออกเพราะบกพรองตอหนาที่ มีความประพฤติเสื่อมเสียหรือหยอน
ความสามารถ
เมื่อรองประธานกรรมการหรือกรรมการซึ่งคณะรัฐมนตรีแตงตั้งพนจากตําแหนงกอนวาระ
คณะรัฐมนตรีอาจแตงตั้งผูอื่นเปนรองประธานกรรมการหรือกรรมการแทน ผูซึ่งไดรับแตงตั้งแทนนี้ใหอยู
ในตําแหนงตามวาระของผูซึ่งตนแทน
มาตรา 17 การประชุมคณะกรรมการ ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวากึ่งจํานวน
ของกรรมการทั้งหมดจึงเปนองคประชุม ถาในการประชุมครั้งใดประธานกรรมการไมอยูในที่ประชุม ให
รองประธานกรรมการเปนประธานในที่ประชุม ถาประธานกรรมการและรองประธานกรรมการไมอยูในที่
ประชุม ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปนประธานในที่ประชุม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 50 ~

ภายใตบังคับมาตรา 21 (4) มติของที่ประชุมคณะกรรมการ ใหถือเสียงขางมาก กรรมการ


คนหนึ่งมีเสียงหนึ่งในการลงคะแนน ถาคะแนนเสียงเทากัน ใหประธานในที่ประชุมออกเสียงเพิ่มขึ้นอีก
เสียงหนึ่งเปนเสียงชี้ขาด
มาตรา 18 ใหคณะกรรมการมีอํานาจหนาที่วางนโยบายและควบคุมดูแลทั่วไปซึ่งกิจการ
ของธนาคาร อํานาจหนาที่เชนวานี้ใหรวมถึง
(1) การออกขอบังคับวาดวยหุนของธนาคาร
(2) การออกขอบังคับวาดวยการค้ําประกันเงินกูตามมาตรา 10 (2)
(3) การออกขอบังคับวาดวยการมอบอํานาจของผูจัดการใหแกพนักงานของธนาคารตาม
มาตรา 23
(4) การออกขอบังคับวาดวยการใหกูเงินตามมาตรา 31
(5) การออกขอบังคับวาดวยการขายหรือขายลดชวงตั๋วเงินแกสถาบันการเงินตาง ๆ ตาม
มาตรา 33
(6) การออกขอบังคับกําหนดอัตราตําแหนง เงินเดือน คาจาง คาพาหนะ เบี้ยเลี้ยง คาเชา
ที่พัก คารับรองและเงินเพิ่มอยางอื่นสําหรับพนักงานและลูกจางของธนาคาร
(7) การออกขอบังคับวาดวยการบรรจุ การแตงตั้ง การเรียกประกัน การเลื่อนเงินเดือน
การถอดถอน วินัย การสอบสวนและการลงโทษ สําหรับพนักงานและลูกจางของธนาคาร
(8) การออกขอบังคับวาดวยการสงเคราะหผูจัดการ พนักงาน ลูกจาง หรือผูซึ่งพนจาก
การเปนผูจัดการ พนักงานหรือลูกจางของธนาคาร และครอบครัวของบุคคลดังกลาว
(9) การตั้งสาขาหรือตัวแทนของธนาคาร
(10) การออกขอบังคับเกี่ยวกับธุรกิจอื่น ๆ ของธนาคาร
มาตรา 18/1 (ยกเลิก)
มาตรา 18/2 (ยกเลิก)
มาตรา 19 ใหคณะกรรมการมีอํานาจแตงตั้งคณะอนุกรรมการเพื่อพิจารณาเรื่องตาง ๆ
ตามที่คณะกรรมการมอบหมาย
มาตรา 20 ใหธนาคารมีผูจัดการหนึ่งคน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 51 ~

ผูจัดการตองมีสัญชาติไทย ไมมีลักษณะตองหามตามมาตรา 15 มีความรูหรือความจัด


เจนเพียงพอเกี่ยวกับการธนาคาร การเศรษฐกิจ การเกษตร การสหกรณหรือกฎหมาย และสามารถทํางาน
ใหแกธนาคารไดเต็มเวลา
ใหคณะกรรมการแต งตั้งผู จัดการและกําหนดอัตราเงิ นเดื อนของผูจัดการด วยความ
เห็นชอบของรัฐมนตรี
ผูจัดการไดรับเงินเดือน คาพาหนะ เบี้ยเลี้ยง คาเชาที่พัก คารับรอง หรือเงินเพิ่มอยางอื่น
ตามที่คณะกรรมการกําหนด
มาตรา 21 ผูจัดการยอมพนจากตําแหนงเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) ขาดจากสัญชาติไทยหรือมีลักษณะตองหามตามมาตรา 15 หรือ
(4) คณะกรรมการใหออกเพราะหยอนความสามารถหรือบกพรองตอหนาที่ มีมลทินมัว
หมองหรือทุจริตในการปฏิบัติหนาที่ มติใหผูจัดการออกตองประกอบดวยคะแนนเสียงไมนอยกวาสามในสี่
ของจํานวนกรรมการทั้งหมดนอกจากผูจัดการ
การใหผูจัดการออกตาม (4) ตองไดรับความเห็นชอบของรัฐมนตรี
มาตรา 22 ผู จั ด การมี ห น า ที่ บ ริ ห ารกิ จ การของธนาคารให เ ป น ไปตามนโยบายและ
ขอบังคับของธนาคาร และมีอํานาจบังคับบัญชาพนักงานและลูกจางของธนาคารทุกตําแหนง
ผูจัดการตองรับผิดชอบตอคณะกรรมการในการบริหารกิจการของธนาคาร
มาตรา 23 ในกิจการที่เกี่ยวกับบุคคลภายนอก ผูจัดการเปนผูแทนธนาคาร เพื่อการนี้
ผูจัดการจะมอบอํานาจใหพนักงานของธนาคารผูใดปฏิบัติกิจการใดแทนก็ได แตทั้งนี้ตองเปนไปตาม
ขอบังคับของธนาคาร
มาตรา 24 ผูจัดการมีอํานาจ
(1) บรรจุ แตงตั้ง เลื่อนตําแหนงหรือเงินเดือน ลงโทษทางวินัย หรือถอดถอนพนักงาน
และลูกจางของธนาคาร ทั้งนี้ ตองเปนไปตามขอบังคับของธนาคาร แตถาเปนพนักงานตําแหนงรอง
ผูจัดการ ที่ปรึกษา หัวหนาฝายหรือตําแหนงซึ่งเทียบเทาตองไดรับความเห็นชอบของคณะกรรมการกอน
(2) วางระเบียบเกี่ยวกับวิธีดําเนินการของธนาคารและการปฏิบัติงานของพนักงานและ
ลูกจางของธนาคาร ทั้งนี้ โดยไมขัดหรือแยงกับนโยบายหรือขอบังคับของธนาคาร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 52 ~

มาตรา 25 เมื่อตําแหนงผูจัดการวางลง หรือผูจัดการไมสามารถปฏิบัติหนาที่ไดเปนครั้ง


คราว ใหรองผูจัดการเปนผูรักษาการแทนหรือทําการแทนผูจัดการ แตถาไมมีรองผูจัดการ หรือรอง
ผูจัดการไมสามารถปฏิบัติหนาที่ ใหคณะกรรมการแตงตั้งพนักงานของธนาคารคนหนึ่งเปนผูรักษาการแทน
หรือทําการแทนผูจัดการ แลวแตกรณี
ใหผูรักษาการแทนหรือทําการแทนผูจัดการมีอํานาจหนาที่อยางเดียวกับผูจัดการ
มาตรา 26 ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ และกรรมการ ยอมไดรับประโยชน
ตอบแทนตามที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
ประธานกรรมการ รองประธานกรรมการ กรรมการผูจัดการ พนักงานและลูกจาง อาจ
ไดรับโบนัสตามระเบียบที่คณะรัฐมนตรีกําหนด
หมวด 4
การประชุมใหญ
มาตรา 27 ใหมีการประชุมใหญสามัญของผูถือหุนปละหนึ่งครั้งภายในหนึ่งรอยหาสิบวัน
นับแตวันสิ้นปบัญชีของแตละป เพื่อกิจการดังตอไปนี้
(1) พิจารณาอนุมัติงบดุล บัญชีกําไรและขาดทุน
(2) พิจารณาอนุมัติการจัดสรรกําไรสุทธิในปหนึ่ง ๆ ของธนาคารตามที่คณะกรรมการ
เสนอ
(3) พิจารณารายงานกิจการประจําปของธนาคาร
(4) พิจารณาตั้งผูสอบบัญชีประจําป
(5) พิจารณาเรื่องอื่น ๆ
มาตรา 28 คณะกรรมการจะเรียกประชุมใหญวิสามัญเมื่อใดก็ไดสุดแตจะเห็นสมควร
มาตรา 29 องคประชุมใหญสามัญและวิสามัญ จะตองประกอบดวยผูถือหุนหรือผูแทน
ของผูถือหุนไมนอยกวายี่สิบคนและ มีจํานวนหุนรวมกันไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนหุนที่มีผูถือแลว
มาตรา 30 ในการประชุมใหญของผูถือหุน ใหนําบทบัญญัติแหงประมวลกฎหมายแพง
และพาณิ ช ย ว า ด ว ยการประชุ ม ใหญ ข องผู ถื อ หุ น ในบริ ษั ท จํ า กั ด ที่ เ กี่ ย วกั บ ระเบี ย บการประชุ ม การ
ลงคะแนน และสิทธิในการออกเสียงลงคะแนน มาใชบังคับโดยอนุโลม
หมวด 5
การใหกูเงิน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 53 ~

มาตรา 31 การใหกูเงินหรือการใหสินเชื่อตามมาตรา 10 (1) (6) (6/1) และ (16/2) ให


เปนไปตามขอบังคับของธนาคาร
การ ใหกูเงินเพื่อพัฒนาความรูในดานเกษตรกรรมหรืออาชีพอยางอื่นเพื่อเพิ่ม รายไดและ
เพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรหรือครอบครัวของเกษตรกรตามมาตรา 9 (1) (ค) และเพื่อใชสําหรับ
การดําเนินกิจการตามโครงการที่เปนการสงเสริมหรือสนับสนุน การประกอบเกษตรกรรมตามมาตรา 9 (1)
(ง) รวมกันแลวตองไมเกินรอยละยี่สิบของเงินที่ใหกูในแตละรอบปบัญชี
มาตรา 32 สังหาริมทรัพยหรืออสังหาริมทรัพยที่ผูกูไดกรรมสิทธิ์มาโดยใชเงินกูจาก
ธนาคารและในเอกสารการกูนั้นไดระบุหามการโอน จํานองหรือจํานําไว ผูกูจะโอน จํานองหรือจํานํา
ทรัพยสินนั้นไมได เวนแตจะไดรับอนุญาตเปนหนังสือจากธนาคาร
หมวด 6
การจัดหาเงินทุน
มาตรา 33 ในการจัดหาเงินทุนเพื่อดําเนินงานของธนาคาร ใหธนาคารมีอํานาจ
(1) กูยืมเงินตามที่คณะกรรมการเห็นสมควร
(2) ออกพันธบัตรหรือตราสารอื่นใดเพื่อการลงทุน
(3) ขายหรือขายลดชวงตั๋วเงินแกสถาบันการเงินตาง ๆ ตามขอบังคับของธนาคาร
(4) รับเงินอุดหนุนจากรัฐบาลหรือบุคคลอื่น
(5) ออกสลากออมทรัพยตามหลักเกณฑและวิธีการที่กําหนดในกฎกระทรวง
มาตรา 34 จํานวนหนี้สินทั้งหมดของธนาคารตามมาตรา 33 (1) และ (2) ตองไมเกิน
ยี่สิบเทาของจํานวนเงินมูลคาหุนที่ชําระแลว เงินสํารอง และกําไรสะสม
ใน การคํานวณหนี้สินตามความในวรรคกอน ถาเปนหนี้สินที่เปนเงินตราตางประเทศ ให
คํานวณเปนเงินตราไทยโดยเทียบจากคาเสมอภาคของเงินตราสกุลนั้นในวันใช บังคับสัญญากูยืมเงินที่
กอใหเกิดหนี้สินนั้น

มาตรา 34 ทวิ ใหมีกองทุนขึ้นกองทุนหนึ่งในธนาคาร เรียกวา “ กองทุนที่ดิน”


เพื่อ ให ความช ว ยเหลือ ในด า นการใหกูเ งินแก เ กษตรกรเพื่ อ นํ า ไปจัด หาที่ ดินทํ า กิน พัฒนาที่ ดินและ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรมของตนตามกฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม กองทุนที่ดิน
ประกอบดวย เงินที่ไดรับจากกองทุนรวมเพื่อชวยเหลือเกษตรกรตามระเบียบสํานักนายก รัฐมนตรีวาดวย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 54 ~

กองทุนรวมเพื่อชวยเหลือเกษตรกรที่กระทรวงเกษตรและสหกรณนํา มาฝากไวกับธนาคาร รายไดจากการ


ดําเนินการและเงินจากแหลงอื่น ๆ
เงินจากกองทุนที่ดินใหใชจายเพื่อวัตถุประสงคตามวรรคหนึ่ง และเปนคาใชจายในการ
บริหารงานกองทุนที่ดิน ทั้งนี้ ใหเปนไปตามระเบียบ ขอบังคับ หรือมติที่คณะกรรมการกองทุนที่ดินซึ่ง
รัฐมนตรีวาการกระทรวงเกษตรและสหกรณแตงตั้งกําหนดโดยความเห็นชอบของคณะกรรมการ
ผูจัดการมีอํานาจหนาที่บริหารกองทุนที่ดินใหเปนไปตามวัตถุประสงคตามวรรคหนึ่ง และ
ตามระเบียบ ขอบังคับ หรือมติที่คณะกรรมการกองทุนที่ดินกําหนดตามวรรคสอง และใหนํามาตรา 23
และมาตรา 25 มาใชบังคับโดยอนุโลม
ผูจัดการตองแยกบัญชีและเอกสารเกี่ยวกับการเงินหรือทรัพยสินอื่นของกองทุน ที่ดิน
ออกจากบัญชีและเอกสารเกี่ยวกับการเงินหรือทรัพยสินอื่นของธนาคาร
มาตรา 34 ตรี ในกรณีที่ธนาคารขอใหรัฐบาลค้ําประกันเงินกูที่ธนาคารกูยืมจากแหลง ให
กูยืมในตางประเทศหรือภายในประเทศ ใหรัฐบาลมีอํานาจค้ําประกันเงินกูนั้นไดแตยอดรวมของเงินกูที่จะ
ค้ําประกัน เมื่อรวมกับตนเงินที่การค้ําประกันของรัฐบาลยังคางอยูตองไมเกินสิบสอง เทาของจํานวนมูลคา
หุนที่ชําระแลว เงินสํารองและกําไรสะสมของธนาคารเมื่อคํานวณเปนเงินบาท ทั้งนี้ ไมวาจะเปนการค้ํา
ประกันตามอํานาจที่มีอยูในกฎหมายใด
การคํานวณเงินตราตางประเทศเปนเงินบาทเพื่อทราบยอดรวมของเงินกูตามวรรคหนึ่ง ให
ใชอัตราแลกเปลี่ยนเงินตราตามอัตราอางอิงประจําวันที่ธนาคารแหงประเทศไทยกําหนดไวในวันทําสัญญา
หมวด 7
การจัดสรรกําไร
มาตรา 35 กําไรสุทธิประจําปที่เหลือจากการจัดสรรเพื่อจายโบนัสตามมาตรา 26 ใหโอน
เขาบัญชีกําไรสะสม
มาตรา 36 หามมิใหธนาคารจายเงินปนผลแกผูถือหุนจากเงินประเภทอื่นนอกจากเงิน
กําไรสะสม

มาตรา 37 ทุกคราวที่ธนาคารจายเงินปนผล ใหธนาคารจัดสรรกําไรสะสมไวเปนเงิน


สํารองไมนอยกวากึ่งหนึ่งของเงินปนผลที่จาย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 55 ~

เมื่อเงินสํารองตามวรรคกอนมีจํานวนเทากับจํานวนเงินมูลคาหุนที่ชําระแลว หรือมากกวา
นั้น ธนาคารจะงดการจัดสรรหรือลดจํานวนเงินที่จะตองจัดสรรเปนเงินสํารองก็ได
หมวด 8
การสอบบัญชีและรายงาน
มาตรา 38 ใหคณะกรรมการจัดใหมีการสอบบัญชีของธนาคารอยางนอยปละหนึ่งครั้ง
ภายในหกสิบวันนับแตวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ ใหคณะกรรมการตั้งผูสอบบัญชี
เพื่อสอบบัญชีของธนาคารประจําปปฏิทินแรก
มาตรา 39 ภายในหนึ่งรอยหาสิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชีของแตละป ใหคณะกรรมการ
เสนองบดุล บัญชีกําไรและขาดทุนซึ่งผูสอบบัญชีไดรับรองแลวตอที่ประชุมใหญเพื่อพิจารณา และให
คณะกรรมการเสนอรายงานกิจการประจําปของธนาคารตอที่ประชุมใหญพรอมกันดวย
มาตรา 40 ใหธนาคารรายงานกิจการประจําป งบดุล บัญชีกําไรและขาดทุนที่ไดรับอนุมัติ
จากที่ประชุมใหญแลวตอคณะรัฐมนตรีภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชีของแตละป รายงาน
นั้นใหกลาวถึงผลงานของธนาคารในปที่ลวงมาแลว คําชี้แจงเกี่ยวกับนโยบายของธนาคารและแผนงานที่จะ
จัดทําในปตอไป
หมวด 9
บทเบ็ดเสร็จ
มาตรา 41 ใหธนาคารไดรับยกเวนการเสียภาษีอากรตามประมวลรัษฎากร
ถาธนาคารเกี่ยวของกับกิจการใดที่กฎหมายกําหนดใหมีการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรม
ในการจดทะเบียนสิทธิและนิติกรรมเชนวานั้นใหธนาคารไดรับยกเวนไมตองเสียคาธรรมเนียม เพื่อการ
ดังกลาวตามกฎหมายวาดวยการนั้น
มาตรา42ในการชําระบัญชีธนาคาร ใหจายคืนคาหุนแกผูถือหุนอื่นกอนกระทรวงการคลัง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 56 ~

หมวด 10
บทกําหนดโทษ
มาตรา 43 ผูใดฝาฝนมาตรา 32 ตองระวางโทษจําคุกไมเกินหนึ่งป หรือปรับไมเกินสอง
พันบาท หรือทั้งจําทั้งปรับ
ความผิดตามมาตรานี้เปนความผิดอันยอมความได

ผูรับสนองพระบรมราชโองการ
จอมพล ถนอม กิตติขจร
นายกรัฐมนตรี

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ ในการสงเสริมพัฒนาการเกษตรของ


ประเทศ จําเปนตองจัดใหความชวยเหลือทางการเงินอันเปนปจจัยสําคัญประการหนึ่งเพื่อเกษตรกร
สามารถเพิ่ มผลผลิต และรายไดการเกษตร การให ความช วยเหลื อ เชนนั้น ควรจั ด ขยายออกไปอยา ง
กวางขวางทั้งในดานเกษตรกรโดยตรง และในดานกลุมเกษตรกร กับสหกรณการเกษตร การดําเนินงานให
ความชวยเหลือทางการเงินในดานตาง ๆ เหลานี้ควรอยูภายใตการควบคุมเปนระบบเดียวกันเพื่อใหไดผล
มั่นคงและสะดวกในการจัดหาเงินทุนเพิ่ มเติม ฉะนั้น จึง สมควรจัดตั้งธนาคารเพื่อการเกษตรและ
สหกรณการเกษตรขึ้นเปนสถาบันในระดับชาติเพื่อทําหนาที่ดังกลาวนี้

พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2519


มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
มาตรา 11 ในระหวางที่ยังมิไดแตงตั้งรองประธานกรรมการและกรรมการตามมาตรา 14
แหงพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร พ.ศ. 2509 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบัญญัตินี้ ใหคณะกรรมการซึ่งประกอบดวยรัฐมนตรี รองประธานกรรมการและกรรมการซึ่งไดรับ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 57 ~

แตงตั้งอยูกอนวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับ รวมทั้งผูจัดการปฏิบัติหนาที่คณะกรรมการตอไปจนกวาจะ
มีการแตงตั้งคณะกรรมการชุดใหม

มาตรา 12 ความในมาตรา 7 และมาตรา 9 แหงพระราชบัญญัตินี้ไมกระทบกระเทือนถึง


การเรียกประชุมใหญสามัญ การเสนองบดุล บัญชีกําไรและขาดทุนตอที่ประชุมใหญ และการเสนอรายงาน
กิจการประจําป งบดุล บัญชีกําไรและขาดทุนตอคณะรัฐมนตรีซึ่งตองกระทําภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันหรือ
หนึ่งรอยหาสิบวัน แลวแตกรณี นับแตวันสิ้นปปฏิทิน และเพื่อประโยชนในการปฏิบัติตามมาตรา 27
มาตรา 39 และมาตรา 40 แหงพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร พ.ศ. 2509
ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดยพระราชบัญญัตินี้ ใหมีรอบปบัญชีซึ่งมีระยะเวลาระหวางวันที่ 1 มกราคม ถึงวันที่ 31
มีนาคม 2520 ขึ้นอีกรอบหนึ่ง
มาตรา 13 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อ


การเกษตรและสหกรณการเกษตร พ.ศ. 2509 ไดใชบังคับมาเปนเวลาหลายปแลว สถานการณเศรษฐกิจ
การเกษตรของประเทศไดเปลี่ยนแปลงตลอดมา สมควรปรับปรุงบทบัญญัติแหงกฎหมายดังกลาวให
เหมาะสมยิ่งขึ้น เพื่อสามารถใหความรวมมือกับทางราชการในการพัฒนาการเกษตรของประเทศไดโดย
กวางขวาง ทั้งในดานการสงเสริมอาชีพ การจัดหาที่ดินเพื่อการเกษตร การจําหนายผลิตผล และอื่น ๆ ใน
การนี้สมควรเพิ่มทุนของธนาคารขึ้นเพื่อใหสนองความตองการของเกษตรกรในเรื่องสินเชื่อการเกษตรได
โดยสมบูรณยิ่งขึ้น จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้ขึ้น

พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ฉบับที่ 3) พ.ศ. 2525


มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
มาตรา 11 ในระหวางที่ยังมิไดแตงตั้งรองประธานกรรมการและกรรมการตามมาตรา 14
แหงพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร พ.ศ. 2509 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 58 ~

พระราชบัญญัตินี้ ใหคณะกรรมการซึ่งอยูในตําแหนงในวันที่พระราชบัญญัตินี้ใชบังคับปฏิบัติ หนาที่


คณะกรรมการไปพลางกอน
มาตรา 12 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ไดมีหนวยงานของรัฐบางแหงใน


ขณะนี้ประสงคใหธนาคารเพื่อการเกษตรและ สหกรณการเกษตรดําเนินงานเกี่ยวกับการเรียกเก็บเงินคา
ที่ดิน คาชดเชยการลงทุน คาบริการ คาธรรมเนียม หรือเงินประเภทอื่น แทนหนวยงานของรัฐนั้น ๆ เพราะ
ธนาคารมีสาขาขยายอยูทั่วไปในประเทศอยูแลว และโดยที่บทบัญญัติบางประการในกฎหมายปจจุบันยังไม
เหมาะสม กลาวคือธนาคารจะใหกูเงินแกผูฝากเงินซึ่งมิใชเกษตรกรไมได เปนเหตุใหมีผูฝากเงินกับธนาคาร
นอยกวาที่ควร ซึ่งไมเปนการสนับสนุนใหธนาคารสามารถระดมทุนเพื่อเปนสินเชื่อสําหรับ เกษตรกรได
เต็มที่ บทบัญญัติเกี่ยวกับการมีไวซึ่งอสังหาริมทรัพยตามมาตรา 11 (4) ไมสอดคลองกับบทบัญญัติใน
มาตรา 11 วรรคสอง จนทําใหเปนที่สงสัยวาธนาคารจะรับที่ดินของลูกหนี้ธนาคารมาประเมินราคาใช หนี้
เงินกูไดหรือไม และในขณะนี้ธนาคารมิไดรับยกเวนคาธรรมเนียมตามประมวลกฎหมายที่ดิน ทําใหการ
ดําเนินธุรกิจตองมีภาระสูง ทําใหไมอาจใหความชวยเหลือแกเกษตรกรเกี่ยวกับคาธรรมเนียมในการทํา นิติ
กรรมกับธนาคารได แตกตางกับการทํานิติกรรมกับสหกรณอื่น ๆ ผูทํานิติกรรมจะไดยกเวนคาธรรมเนียม
ในกรณีนี้ดวย นอกจากนั้นกําหนดเวลาในการประชุมใหญของผูถือหุนกําหนดเวลาเสนองบดุล และ
กําหนดเวลารายงานกิจการประจําปตามกฎหมายปจจุบันก็กําหนดไวนอยเกินไปยัง ไมเหมาะสม สมควร
แกไขเพิ่มเติมกฎหมายใหเหมาะสมยิ่งขึ้น จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ฉบับที่ 4) พ.ศ. 2535


มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากปจจุบันพระราชบัญญัติธนาคาร


เพื่ อ การเกษตรและสหกรณ ก ารเกษตร พ.ศ. 2509 กํ า หนดความหมายของคํ า ว า เกษตรกร และ
วัต ถุ ป ระสงค ข องธนาคารไว คอ นข า งจะจํ า กั ด โดยเกษตรกรนั้ น หมายความเฉพาะผู ป ระกอบอาชี พ
การเกษตรโดยตรง และใหเกษตรกรกูเงินไดเฉพาะเพื่อการประกอบอาชีพการเกษตรเทานั้น อีกทั้งเงินทุน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 59 ~

ของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรตามที่กําหนดไวนั้น ในขณะนี้มีจํานวนไมเพียงพอทําให
ความชวยเหลือในการประกอบอาชีพของ เกษตรกรอยูในวงจํากัด สมควรที่จะขยายความหมายของคําวา
เกษตรกร ใหรวมถึงเกษตรกรตามกฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และขยายวัตถุประสงค
ของธนาคารตามพระราชบัญญัตินี้ใหกวางขึ้นใหเกษตรกร สามารถกูเงินไปเพื่อการประกอบอาชีพอยางอื่น
ที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร เพื่อเปนการเพิ่มรายไดกับครอบครัวไวดวย และแกไขในเรื่องการเพิ่มทุนเรือน
หุนของธนาคารเพื่อใหธนาคารสามารถใหความ ชวยเหลือในดานการใหสินเชื่อแกเกษตรกรไดมากขึ้น
นอกจากนี้ เพื่อใหการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรมตามกฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรมมี
ประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น สมควรใหมีกองทุนที่ดินขึ้นในธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร โดยให
ผูจัดการธนาคารเปนผูบริหารกองทุนที่ดินตามระเบียบ ขอบังคับ หรือมติที่คณะกรรมการกองทุนที่ดิน
กําหนด และแยกการดําเนินงานออกตางหากจากการดําเนินงานตามปกติของธนาคาร จึงจําเปนตองตรา
พระราชบัญญัตินี้

พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2542


มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ โดยที่ในปจจุบันการใหความชวยเหลือ


แกเกษตรกร กลุมเกษตรกร และสหกรณการเกษตร แตเฉพาะในการประกอบอาชีพเกษตรกรรมหรือ
อาชีพอื่นที่เกี่ยวเนื่องในการเกษตร นั้นยังไมเพียงพอที่จะทําใหเกษตรกรมีรายไดและความเปนอยูที่ดีขึ้น
สมควรขยายขอบเขตแหงวัตถุประสงคของธนาคารใหสามารถชวยเหลือทางการเงินแก เกษตรกร กลุม
เกษตรกร และสหกรณการเกษตร ในการประกอบอาชีพอื่น การพัฒนาความรูและคุณภาพชีวิตของ
เกษตรกรและครอบครัวของเกษตรกร และสําหรับการดําเนินการตามโครงการที่เปนการสงเสริม หรือ
สนั บ สนุ น การประกอบเกษตรกรรม ซึ่ ง เป น การดํ า เนิ น การร ว มกั บ ผู ป ระกอบการ ซึ่ ง จะส ง ผลทํ า ให
ขบวนการเกษตรกรรมทั้งในดานการผลิตและการตลาดดําเนินไปได อยางมีประสิทธิภาพและทําใหเกิดการ
พัฒนาภาคเกษตรกรรมอยางครบวงจร และสมควรขยายอํานาจในการดําเนินงานใหสอดคลองกับการ
ขยายขอบเขตแหงวัตถุ ประสงค และเพื่อใหธนาคารสามารถรับฝากเงินเพื่อสงเคราะหชีวิตของเกษตรกร
และครอบ ครัว ชดเชยความเสียหายจากภัยธรรมชาติในการประกอบเกษตรกรรมเพื่อใหความชวยเหลือ
แกเกษตรกรไดกวางขวางขึ้น ตลอดจนสมควรเพิ่มจํานวนกรรมการเพื่อมาชวยในการดําเนินงานหรือการ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 60 ~

ประกอบธุรกิจ ของธนาคาร เพิ่มอํานาจในการจัดหาเงินทุนโดยการออกสลากออมทรัพยและกําหนดให


รัฐบาลสามารถ ค้ําประกันเงินกูของธนาคารไดสูงขึ้น เพื่อสนับสนุนใหสามารถหาเงินทุนมาใชจายในการ
ดําเนินงานไดมากขึ้น จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2549


มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป
มาตรา 18 ในระหว า งที่ ยั ง มิ ไ ด แ ต ง ตั้ ง กรรมการตามมาตรา 14 วรรคสอง แห ง
พระราชบั ญ ญั ติ ธ นาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ ก ารเกษตร พ.ศ. 2509 ซึ่ ง แก ไ ขเพิ่ ม เติ ม โดย
พระราชบัญ ญัตินี้ ใหคณะกรรมการซึ่ งอยูใ นตําแหนงในวั นที่พระราชบัญ ญัตินี้ใ ชบัง คับปฏิบัติหนาที่
คณะกรรมการไปพลางกอน
มาตรา 19 ใหรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังรักษาการตามพระราชบัญญัตินี้

หมายเหตุ :- เหตุ ผ ลในการประกาศใช พ ระราชบั ญ ญั ติ ฉ บั บ นี้ คื อ โดยที่ เ ป น การสมควรปรั บ ปรุ ง


วัตถุประสงคและอํานาจหนาที่ รวมทั้งการดําเนินการอื่นที่เกี่ยวของของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ
การเกษตร เพื่อใหการดําเนินกิจการของธนาคารมีความคลองตัวและมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และสามารถทํา
หนาที่เปนสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนาชนบทไมวาจะเปนการสนับสนุนทางการเงิน หรือการบริหารจัดการ
ใหแกบุคคลหรือนิติบุคคลตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการพัฒนาผลิตภัณฑทางการเกษตรและการพัฒนาชนบท
นอกจากนั้นเพื่อใหมีการระดมเงินทุนในการดําเนินกิจการของธนาคาร สมควรเพิ่มสัดสวนการถือหุนของ
สถาบันการเงินและบุคคลอื่นดวย จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550


มาตรา 2 พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
เปนตนไป

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 61 ~

หมายเหตุ :- เหตุผลในการประกาศใชพระราชบัญญัติฉบับนี้ คือ เนื่องจากมาตรา 18/1 และมาตรา 18/2


แหงพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร พ.ศ. 2509 ซึ่งแกไขเพิ่มเติมโดย
พระราชบั ญ ญั ติ ธ นาคารเพื่ อ การเกษตรและสหกรณ ก ารเกษตร (ฉบั บ ที่ 6) พ.ศ. 2549 บั ญ ญั ติ ใ ห
คณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรอาจแตงตั้งคณะ กรรมการบริหารคณะหนึ่ง
และให ค ณะกรรมการบริ ห ารดั ง กล า วมี อํ า นาจหน า ที่ ป ฏิ บั ติ ก ารใด ๆ อั น เป น อํ า นาจหน า ที่ ข อง
คณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรตาม ที่คณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตร
และสหกรณการเกษตรกําหนด นั้น เปนการเพิ่มขั้นตอนการบริหารจัดการโดยไมจําเปนและขาดความ
คลองตัว และมีลักษณะกาวกายอํานาจบริหารจัดการของผูจัดการซึ่งจะแยงกับมาตรา 22 ที่กําหนดให
ผูจัดการมีหนาที่บริหารกิจการของธนาคารใหเปนไปตามนโยบายและ ขอบังคับของธนาคาร และจะตอง
รับผิดชอบตอคณะกรรมการธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตรในการ บริหารกิจการของ
ธนาคารอยูแลวนั้น จึงจําเปนตองตราพระราชบัญญัตินี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 62 ~

นโยบายการเปดเผยขอมูลขาวสารของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ
การเกษตร

ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ใหความสําคัญในการบริหารจัดการและ
การดําเนินงานตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี เพื่อใหการเปดเผยขอมูลขาวสารของธนาคารเปนไปอยาง
ถูกตอง ครบถวน โปรงใส และเทาเทียมกัน สอดคลองกับพระราชบัญญัติขอ มูลขาวสารของราชการ พ.ศ.
2540 และกฎหมายอื่นที่เกี่ยวของ และใหประชาชนมีสวนรวมในการตรวจสอบกระบวนการบริหารการ
ดําเนินการที่กระทบ สิทธิหรือกอใหเกิดความเสียหาย จึงกําหนดนโยบายการเปดเผยขอมูลขาวสารของ
ธนาคารเปนแนวทางปฏิบัติเพื่อถือ ใชเปนมาตรฐานเดียวกัน สําหรับพนักงานทุกระดับทุกสวนงานทั้งใน
สวนกลางและสวนภูมิภาค
1. หลักการสําคัญในการเปดเผยขอมูล
1.1 ขอมูลขาวสารที่เปดเผยจะตองถูกตอง ครบถวน ชัดเจน และทันกาล
1.2 มีการปฏิบัติตามกฎขอบังคับที่เกี่ยวกับการเปดเผยขอมูลขาวสารอยางถูกตอง
1.3 ผูมีสวนไดสวนเสียซึ่งรวมถึงผูถือหุน และผูที่มีความสนใจอื่น ๆ มีสิทธิที่เทาเทียมกันในการ
รับทราบและเขาถึงขอมูลขาวสารที่เผยแพร
2. ผูมีหนาที่รับผิดชอบในการเปดเผยขอมูล
2.1 ประธานกรรมการ ผูจัดการ ผูบริหารสูงสุดที่รับผิดชอบในกลุมงาน ผูบริหารสูงสุด
ที่รับผิดชอบในสายงาน ผูอํานวยการฝาย/สํานัก สามารถพิจารณาและตัดสินใจเกี่ยวกับประเภทเนื้อหา
ของขอมูลที่สําคัญ เพื่อการพิจารณาเปดเผย โดยจะเปดเผย/ชี้แจงขอมูลดวยตนเอง หรืออาจมอบหมาย
ใหผูที่เกี่ยวของเปนผูเปดเผย/ชี้แจง
2.2 สํานักประชาสัมพันธและสื่อสารองคกรเปนสวนงานผูรับผิดชอบในการทําหนาที่เปน
สวนงานหลักในการประสานกับสวนงานเจาของขอมูลในการเผยแพรขอมูลสําคัญของธนาคารผาน
ชองทางการเปดเผยขอมูลตาง ๆ
3. ประเภทขอมูลขาวสารที่จะเผยแพรและชองทางการเปดเผยขอมูล
3.1 ประเภทขอมูลขาวสารที่จะเผยแพร ธนาคารจะเผยแพรขอมูลภายในกําหนดเวลา และความถี่
ตามที่กฎหมายหรือหนวยงานทางการ หรือหนวยงานที่กํากับดูแลธนาคารกําหนด ตามแตประเภทของ
ขอมูล

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 63 ~

3.2 ชองทางการเปดเผยขอมูลขาวสาร ธนาคารจะมีการเปดเผยขอมูลตามชองทางการเปดเผย


ขอมูลตาง ๆ ที่ธนาคารไดจัดเตรียมไว โดยการเลือกชองทางการเปดเผยขอมูลจะขึน้ อยูกับขอกําหนด
ของกฎหมายหรือหนวยงานทางการ หรือหนวยงานที่กํากับดูแลธนาคารกําหนดและประเภทขอมูลขาวสาร
โดยในเบื้องตนธนาคารไดจัดชองทางการเผยแพรขอมูลขาวสารทั้งภายในและภาย นอกองคการไว ดังนี้
· สื่ออิเล็กทรอนิกส เชน อินเทอรเน็ต และ Facebook เปนตน
· สื่อสิ่งพิมพ เชน แผนพับ โปสเตอร หนังสือพิมพ หนังสือ/วารสาร จดหมาย และรายงาน
ประจําป เปนตน
· สื่อสารมวลชน เชน สถานีวิทยุสวนกลางและสถานีวิทยุทองถิ่น โทรทัศน เปนตน
· สื่ออื่น ๆ เชน สื่อบุคลากรโดยการใหสัมภาษณ การประชาพิจารณกับผูมีสวนได สวนเสีย การ
ประชุมวิชาการ ศูนยเรียนรู ศูนยเผยแพรความรู การประชุมกลุมลูกคาและหัวหนา กลุมลูกคา และการจัด
นิทรรศการ เปนตน
4. การทบทวนนโยบายการเปดเผยขอมูลขาวสาร
ธนาคารมีนโยบายที่จะทบทวนนโยบายการเปดเผยขอมูลขาวสารอยาง นอยปละ 1 ครั้ง เพื่อใหนโยบายการ
เปดเผยขอมูลขาวสารมีความสอดคลอง ถูกตองตามขอกําหนดและขอบังคับทางกฎหมาย
และเพื่อใหเกิดผลในทางปฏิบัติที่ดียิ่งขึ้น

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 64 ~

ความรูเกี่ยวกับบัญชีเบือ้ งตน
ความหมายของการบัญชี
การบัญชี(Accounting) คือ “การชวยอํานวยใหการบริหารงานทางเศรษฐกิจ
ของธุรกิจดําเนินไปไดอยางราบรื่น”
นักบัญชีจึงมีหนาที่เก็บรวบรวมขอมูลมาบันทึกรายการ ซึ่งเกิดขึ้นกับธุรกิจ
เฉพาะที่สามารถตีคาเปนตัวเงินได รวมทั้งการจัดระบบการทํางาน การจัดแยกประเภท
รายการคา การวิเคราะหรายการและการรายงานสรุปผลการดําเนินงานตามรายการคาที่
เกิดขึ้น
“AICPA” (The American Institute of Certified Public Accountants) เปน
สมาคมนักบัญชีและสถาบันผูสอบบัญชีรับอนุญาตของอเมริกา ไดใหความหมายของการ
บั ญ ชี ว า “การบั ญ ชี เ ป น ศิ ล ปะของการเก็ บ รวบรวมจดบั น ทึ ก รายการ หรื อ เหตุ ก ารณ ที่
เกี่ยวกับการเงิน ไวในรูปของเงินตราและการจัดหมวดหมูรายการคาที่เกิดขึ้น เพื่อสรุปผล
พรอมทั้งวิเคราะหความหมายของรายงานที่ไดจัดทําไว”
จากคําจํากัดความขางตน อาจสรุปไดวา การบัญชีตองประกอบดวย
กระบวนการดังตอไปนี้
1. การบันทึกรายการที่เกิดขึ้นประจําวัน (Recording Daily
Transactions) ในการดําเนินกิจการทุกวัน การบันทึกบัญชีจะเริ่มตนตอเมื่อกิจการมีรายการ
คาทางธุรกิจเกิดขึ้นเฉพาะในสวนที่เกี่ยวกับจํานวนเงิน และตองเปนรายการคาที่เกิดขึ้นแลว
เทานั้น หรือมีหลักฐานที่เชื่อถือไดวาจะเกิดขึ้นอยางแนนอนเหตุการณบางอยางซึ่งเปนเพียง
การคาดการณวาจะเกิดขึ้น ไมถือวาเปนรายการที่สมบูรณพอที่จะนํามาบันทึกได ตัวอยาง
รายการคาที่ถือวาเปนรายการบัญชี เชน รายการที่เกี่ยวกับการซื้อ–ขาย การรับ-จายเงิน
ซึ่งรายการเหลานี้สามารถตีคาเปนจํานวนเงินได และจะนําไปบันทึกไวในสมุดรายวัน
ขั้นตน (Journatasin thongsean)
2. การจัดหมวดหมูของรายการ (Classifying Recorded Data)
เกิดขึ้นภายหลังจากที่ไดบันทึกรายการลงในสมุดรายวันขั้นตน จากนั้นจึงมาแยกรายการ
ออกเปนหมวดหมู และแยกประเภทรายการชนิดเดียวกันใหรวมอยูในที่เดียวกัน โดยการ
ฝายรายการตาง ๆ จากสมุดรายวันขั้นตน ไปยังบัญชีแยกประเภทที่เกี่ยวของ (LEDGERS)
ตามหมวดหมูนั้น ๆ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 65 ~

3. การสรุปผลของขอมูล (Summarizing Recorded and Classified


Data) เมื่อสิ้นสุดรอบระยะเวลาหนึ่ง อาจเปน 3 เดือน 6 เดือน หรือปกติก็ 1 ป
รายการที่จดบันทึกไวในสมุดรายวันขั้นตน และผานไปยังบัญชีแยกประเภทแลวนั้น ตองมี
การสรุปผลของรายการเหลานั้น แลวตีความหมายเพื่อใหเห็นวามีผลตอธุรกิจอยางไร โดย
แสดงใหเห็นในรูปของงบการเงิน (Financial Statement) ไดแก งบกําไรขาดทุน (Income
Statement) และ งบดุล (Balance Sheet)
งบกําไรขาดทุน เปนงบแสดงผลการดําเนินงานของงวดหนึง่ ๆ
งบดุล เปนงบแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใด วันหนึ่ง
4. การวิเคราะหขอมูล (Interpreting the Summarized Facts) เปน
การนํางบการเงินที่เปนการสรุปผลการดําเนินงานมาวิเคราะหตีความ โดยการเปรียบเทียบ
รายการที่เกิดขึ้นกับผลที่ไดในรอบปที่ผานมา หรือเปรียบเทียบกับธุรกิจอื่นที่ดําเนินกิจการ
คลายกันในรอบระยะเวลาเดียวกัน เพื่อนําไปใชประโยชนในการวางแผนการดําเนินงานใน
อนาคต
กลาวโดยสรุป องคประกอบของการบัญชี (Functions of Accounting)
ประกอบดวย
องคประกอบของการบัญชี งบการเงิน ผูทําการตัดสินใจใช
คือ 1. งบดุล งบการเงิน
1. การบันทึกรายการคา 2. งบกําไรขาดทุน 1. บุคคลภายใน เชน ฝาย
ขอมูล 2. การจัดหมวดหมูแยก 3. งบแสดงการ บริหารภายใน
ประเภทรายการ เปลี่ยนแปลงฐานะ 2. บุคคลภายนอก เชน
3. การสรุปผลเปนงบ การเงิน เจาหนี้ , หนวยงาน
การเงิน ราชการ ฯลฯ
4. 4. การวิเคราะหตีความ

ประโยชนของการบัญชี
การบัญชีมีประโยชนตอ บุคคล 2 ฝาย คือ
1. บุคคลภายใน เชน ผูบ ริหารภายในกิจการ ตองการทราบวากิจการ
มีสินทรัพย และหนี้สินอยูเทาใด และเปนประเภทไหนบาง เชน เงินสด , ลูกหนี้ , สินคา
ฯลฯ หรือ เจาหนี้การคา , เจาหนี้เงินกู ฯลฯ เปนตน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 66 ~

2. บุคคลภายนอก เชน เจาหนี้ ตองการทราบถึงสภาพคลอง และ


ความสามารถในการทํากําไรของกิจการ หรือนักลงทุนตองการทราบวาควรลงทุนในกิจการ
หรือไม และผลตอบแทนจากการลงทุนเปนอยางไร เปนตน
สรุป จากคําถามของบุคคลทั้ง 2 ฝายนี้ สามารถตอบไดโดยใชขอมูลทางการ
บัญชี

ขอแตกตางระหวางการบัญชีและการทําบัญชี
การทําบัญชี (Bookkeeping) เปนสวนหนึ่งของการบัญชี (Accounting)
กลาวคือการทําบัญชีหมายถึง การรวบรวมขอมูลประจําวัน เพื่อนํามาจดบันทึก ทําให
สามารถจั ด ทํ า งบการเงิ น ต า ง ๆ ได บุ ค คลผู ป ฏิ บั ติ ง านดั ง กล า ว เรี ย กว า ผู ทํ า บั ญ ชี
(Bookkeeper) สวนผูปฏิบัติงานเกี่ยวกับการวางระบบบัญชี ตรวจสอบงานบัญชีของผูทํา
บัญชี เรียกวา นักบัญชี (Accountant)

ประเภทของกิจการธุรกิจ
การแบงประเภทของกิจการ สามารถแบงได 2 ลักษณะคือ
1. แบงตามลักษณะการดําเนินงาน จัดไดเปน 3 ประเภทใหญ คือ
1.1 กิจการใหบริการ (Service Firm) รายไดที่เกิดขึ้นเกิดจากการ
ใหบริการ เชน รานซักรีด โรงแรม ภัตตาคาร ฯลฯ
1.2 กิจการพาณิชยกรรม (Merchandising Firm) เปนกิจการซื้อ
สินคามาเพือ่ ขายตอ เชน หางสรรพสินคา ซุปเปอรมารเก็ต รานขายยา เปนตน
1.3 กิจการอุตสาหกรรม (Manufacturing Firm) เปนกิจการผลิต
สินคาสําเร็จรูป โดยเปลี่ยนสภาพของวัตถุดิบมาผลิตเปนสินคาเพื่อขาย เชน บริษทั ผลิต
ผลไมกระปอง บริษัทผลิตเฟอรนิเจอร เปนตน
2. แบงตามรูปแบบของการประกอบกิจการตามกฎหมายแบงได 3
ประเภท คือ
2.1 กิจการเจาของคนเดียว (Individual Proprietorship) เปน
กิจการขนาดเล็ก ใชเงินทุนไมมาก เจาของบริหารงานเอง เชน รานคายอย
ลักษณะเฉพาะของธุรกิจประเภทนี้ คือ เจาของตองรับผิดชอบในหนี้สินของกิจการ โดยไม
จํากัดจํานวนและการเพิม่ ทุน ขยายกิจการทําไดยาก

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 67 ~

2.2 หางหุนสวนจํากัด (Partnership) เปนกิจการที่บคุ คลตั้งแต 2


คนขึ้นไปรวมกันเปนเจาของโดยมีสัญญาเขาเปนหุนสวนกัน แบงปนผลกําไรรวมกัน และ
กําหนดใหผูเปนหุนสวนคนหนึ่งคนใดเปนผูบริหารงาน
หางหุนสวนสามารถแบงเปน หางหุนสวนสามัญ และหางหุนสวน
จํากัด
หางหุนสวนสามัญ คือ หางหุนสวนซึ่งผูเปนหุนสวนทุกคนตอง
รับผิดชอบในหนี้สินของหางหุนสวนโดยไมจํากัด และหางหุนสวนสามัญจะจดทะเบียน
หรือไมก็ได
หางหุนสวนจํากัด คือ หางหุนสวนประเภท ผูเปนหุนสวนอยางนอย
1 คน ตองรับผิดชอบในหนี้สินของหางหุนสวนโดยไมจํากัดจํานวน และตองจดทะเบียน
เปนนิติบคุ คล เพื่อเสียภาษีเงินไดเหมือนบริษทั จํากัด สวนหางหุนสวนสามัญที่มิไดจด
ทะเบียนเสียภาษีเงินไดเหมือนกับบุคคลธรรมดา
2.3 บริษัท จํากัด (Limited company) เปนกิจการทีต่ ั้งขึ้นโดยแบง
เงินทุนออกเปนหุน มูลคาหุนละเทา ๆ กัน ผูถอื หุนรับผิดชอบจํากัดเพียงไมเกินจํานวนเงินที่
ตนยังสงใชไมครบมูลคาของหุนที่ตนถือ และผูถอื หุนสามารถจําหนายหุนใหผูลงทุนคนอื่น
ไดโดยไมตองบอกเลิกบริษัท
การดําเนินการใด ๆ ตามกฎหมายสามารถทําในนามของบริษัทเพราะถือเปน
นิติบุคคลแยกตางหากจากเจาของ ผูเปนเจาของเรียกวา ผูถ ือหุน และผูถือหุนไมมสี ิทธิ
โดยตรงในการดําเนินงานของบริษัท แตมีสิทธิออกเสียงเลือกคณะกรรมการบริหารงานและ
มีสิทธิในการมีสวนรวมในผลกําไรของบริษัท ในรูปของเงินปนผล (Dividends) ทําใหการ
เพิ่มทุนสามารถทําไดงาย เปนลักษณะของกิจการคาขนาดใหญ

บริษัทจํากัด มี 2 ประเภท คือ


1. บริษัท เอกชน จํากัด หมายถึง บริษัทที่ตั้งขึ้นตามประมวลกฎหมาย
แพงและพาณิชยตามมาตรา 1095 ความวา “อันวาบริษัทจํากัดนั้น คือ บริษัทประเภทซึ่ง
จัดตั้งขึ้นดวยการแบงทุนเปนหุนมีมลู คาเทา ๆ กัน โดยมีผูถือหุนไมถึงหนึ่งรอยคน รวมทั้ง
นิติบุคคล (ถามี) ผูถือหุนดังกลาวตางรับผิดชอบจํากัดเพียงไมเกินจํานวนเงินทีต่ นยังสงใช
ไมครบมูลคาของหุนที่ตนถือ”

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 68 ~

2. บริษัท มหาชน จํากัด หมายถึง บริษัทที่จัดตั้งขึ้นตาม


พระราชบัญญัติ บริษัท มหาชน จํากัด พ.ศ. 2535 บัญญัติในมาตรา 15 มีความวา“บริษัท
มหาชนจํากัด คือ บริษทั ประเภททีต่ ั้งขึ้นดวยความประสงคที่จะเสนอขายหุนตอประชาชน
โดยผูถือหุนมีความรับผิดจํากัดไมเกินจํานวนเงินคาหุนที่ตองชําระ และบริษัทดังกลาวได
ระบุวัตถุประสงคเชนนัน้ ไวในหนังสือบริคณหสนธิ”

ขอสมมุติฐานทางการบัญชี
ในการจัดทํางบการเงินเพื่อใหนักบัญชีไดปฏิบตั ิในแนวทางเดียวกัน และผูใช
ขอมูลทางการบัญชีไดรบั ขอมูลที่ถูกตอง ครบถวน ตามความเหมาะสมนั้น สิ่งที่นักบัญชี
ตองทําความเขาใจ ก็คอื การตั้งขอสมมุติฐานทางการบัญชี เพื่อนํามาใชในการปฏิบัติงาน
ของตน ดังนี้
1. การใชหนวยเงินตราเปนเครื่องวัด (Monetary Unit Assumption) การ
ใชหนวยเงินตราเปนหนวยวัดราคา ก็เพื่อจัดทํารายงานขอมูลทางบัญชี คือ งบการเงิน
ขอมูลใดที่ไมสามารถวัดไดเปนหนวยเงินตรา จะไมนํามาใชเปนขอมูลทางบัญชี เพราะการ
แสดงขอมูลที่เปนตัวเลขใหประโยชน ในการตัดสินใจมากกวาการแสดงขอมูลในลักษณะการ
บรรยายและการแสดงหนวยเงินตรามีคาคงที่ในทางบัญชีเสมอ เชน เมื่อ 5 ปที่แลวซื้อ
ที่ดินมา 50,000 บาท ในปจจุบันมูลคาที่ดนิ ทางบัญชีก็ยังแสดงจํานวน 50,000 บาท ในงบ
การเงิน
2. ความเปนหนวยงาน (Business Entity Assumption) หมายความวา
กิจการเปนหนวยงานซึ่งตองแสดง สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ เปนของกิจการ
เอง ทั้งนี้ เพื่อใหสามารถประเมินผลการดําเนินงานของกิจการได ดังนั้น ขอมูลทางบัญชี
ของกิจการ จึงแยกออกจากขอมูลสวนตัวของเจาของกิจการโดยสิ้นเชิงไมเกี่ยวของกัน
3. การใชหลักฐานอันเที่ยงธรรม (Objective Evidence Assumption) การที่
กิจการบันทึกบัญชีและการจัดทํางบการเงินนั้น ขอมูลทางบัญชีที่ไดตอ งถูกตอง เชือ่ ถือได
เปนที่ยอมรับของผูใชงบการเงิน ซึ่งการเชื่อถือไดตองมีหลักฐานที่ชัดเจน เที่ยงธรรม อัน
ไดแก ผลการตรวจนับสต็อก ผลการตรวจนับเงินสดในมือ เช็คที่จายเงินแลว เปนตน
4. หลักรอบเวลา (Periodicity Assumption) การดําเนินกิจการตองกระทํา
อยางตอเนือ่ งตลอดไป ดังนั้น การจัดทํางบการเงินสําหรับแตละรอบระยะเวลาโดยปกติ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 69 ~

คือ 1 ป เพื่อวัดผลการดําเนินงานและแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงินของกิจการ ก็
เพื่อประโยชนในการตัดสินใจของผูใชงบการเงิน เชน เจาของ เจาหนี้ นักลงทุน
5. การดํารงอยูของกิจการ (Going–concern Assumption) กิจการที่ตั้ง
ขึ้นมายอมมีวัตถุประสงคในการดํารงอยูโดยไมมีกําหนด ดังนั้น สินทรัพยตาง ๆ ของ
กิจการ เชน เครือ่ งจักรและอุปกรณจะถูกใชในการดําเนินงานอยางตอเนือ่ งตลอดไป จึง
ตองยึดถือการบันทึกสินทรัพยตามราคาทุน แตถาหากกิจการเกิดเลิกลมไปก็จะใชราคาสุทธิ
ที่ขายไดแทน
6. หลักราคาทุน (Cost Assumption) การบัญชีถือเอาราคาทุนเปนหลักใน
การบันทึกบัญชีสินทรัพย หนี้สิน เพราะการใชราคาทุนใหความแนนอนในการวัดฐานะ
การเงินและผลการดําเนินงานมากกวาการใชราคาตลาด หรือราคาอืน่ ซึ่งอาจทําใหผูใชงบ
เกิดการเขาใจผิดได
7. หลักการเกิดขึ้นของรายได (Revenue Realization Assumption) การ
บันทึกรายไดของกิจการในรอบเวลาใดเวลาหนึ่งจะบันทึกตอเมื่อรายไดนั้นไดเกิดขึ้น ถาเปน
การขายสินคาจะบันทึกเมื่อมีการสงมอบสินคาทีข่ าย ถาเปนธุรกิจบริการจะบันทึกเมื่อได
เสนอบริการใหแกลูกคาแลว
8. หลักการเปรียบเทียบคาใชจายกับรายได (Matching Assumption) การ
บันทึกบัญชีตองยึดหลักการเกิดขึ้นของรายไดในงวดบัญชีใดก็ใหบันทึกในงวดบัญชีนั้น
ดังนั้น การบันทึกคาใชจายที่เกิดขึ้น ก็ตองมีบนั ทึกตามงวดบัญชีที่กอ ใหเกิดรายไดตามงวด
บัญชีนั้นดวย
9. หลักเงินคาง (Accrual Assumption) การบันทึกขอมูลทางการบัญชี
ตองบันทึกในรอบระยะเวลาที่เกิดรายการคานั้น โดยไมสนใจวารายการคานั้นจะไดรบั เงิน
หรือตองจายเงินเมื่อใด ซึ่งอาจจะจายหรือรับเงินขามงวดบัญชีก็ได
10. หลักความระมัดระวัง (Conservatism Assumption) ปกติการบันทึก
บัญชีสามารถทําไดมากกวา 1 วิธี แตละวิธีใหผลลัพธที่แตกตางกัน ดังนั้น ควรเลือกวิธีที่
แสดงผลลัพธในทางต่ํามากกวาวิธีทแี่ สดงทางสูง เพือ่ หลีกเลี่ยงการแสดงสินทรัพยและกําไร
มากกวาความเปนจริง
11. หลักความสม่ําเสมอ (Consistensy Assumption) ในการบันทึกบัญชี
อาจมีหลายวิธีแตถากิจการเลือกวิธีการบันทึกแบบใดแลว ก็ควรใชวิธีนั้นอยางสม่ําเสมอ
เพื่อใหสามารถเปรียบเทียบงบการเงินที่ตางปกันของกิจการได เชน วิธีการตีราคาสินคา

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 70 ~

คงเหลือตามราคาทุน หรือราคาตลาด ถาเลือกบันทึกวิธีใดแลวตองใชวิธีนั้นตลอดไป แต


อยางไรก็ตามในกรณีจําเปนกิจการอาจจะเปลี่ยนแปลงวิธีการบัญชีไดโดยตองเปดเผย ให
ทราบและบอกถึงผลกระทบที่มีตองบการเงินดวย
12. การเปดเผยขอมูลอยางเพียงพอ (Disclosure Assumption) การจัดทํา
งบการเงินตองยึดหลักการเปดเผยขอมูลในงบการเงินอยางเพียงพอ เพือ่ ใหบุคคลภายนอก
ทราบความเปนไปของการดําเนินงานที่แทจริง ซึ่งหมายถึง การแสดงรายการคาทางบัญชี
(คําศัพททางบัญชีเชน สินทรัพย) ที่ชัดเจน การเปดเผยขอมูลในหมายเหตุประกอบงบ
การเงิน เปนตน
13. หลักการมีนัยสําคัญ (Martality) ในการบันทึกบัญชีจะมีเหตุการณที่
เกิดขึ้นและเกี่ยวของกันมากมาย ดังนั้น การบันทึกบัญชีจะตองเลือกเหตุการณที่มี
นัยสําคัญตอการตัดสินใจ เพือ่ มิใหผูใชงบการเงินเขาใจผิด เหตุการณที่มีนัยสําคัญหมายถึง
เหตุการณซึ่งหากผูที่เกี่ยวของไมไดรับทราบแลว อาจทําใหการตัดสินใจผิดไปจากกรณีที่ได
รับทราบแลว

งบการเงิน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของหนวยงานตาง ๆ สามารถดําเนินไปได เพราะใช
ขอมูลทางบัญชีเพือ่ การตัดสินใจของฝายบริหาร ไมวาจะเปนการจัดหาเงินทุนจากผูล งทุน
การใชเงินทุนเพื่อการผลิต หรือซือ้ สินคา และการจําหนายสินคาหรือบริการ ฯลฯ
นอกจากนีบ้ คุ คลภายนอกก็ใชขอมูลทางการบัญชี เพื่อประโยชนในการ
ตัดสินใจตาง ๆ ขอมูลทางการบัญชีของหนวยงานตาง ๆ จึงเปนขอมูลเกี่ยวกับทรัพยากร
และสิทธิเรียกรองซึ่งกิจการมีอยู
การจัดทํารายงานทางบัญชี ซึ่งเกิดจากการประกอบกิจการจะถูกจัดทําในรูป
ของงบการเงิน ซึ่งประกอบดวย งบดุล งบกําไรขาดทุน งบกําไรสะสม และงบแสดงการ
เปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน

งบดุล (Balance Sheet)


คือ รายงานทางการเงินที่จัดทําขึ้นเพื่อแสดงฐานะการเงินของกิจการ ณ วัน
ใด วันหนึ่ง โดยปกติ จะแสดงขอมูลสิ้นสุด ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25xx ของรอบ
ระยะเวลา 1 ป
งบดุลอาจทําได 2 แบบ คือ
1. งบดุล จัดทําในรูปของรายงาน (Report form)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 71 ~

2. งบดุล จัดทําในรูปของบัญชี (Account form)


งบดุลทั้ง 2 แบบจะแสดงใหทราบถึงขอมูล ดังนี้
1. สินทรัพยตาง ๆ ที่กิจการเปนเจาของหรือมีอยู เปนจํานวนเทาใด
ประกอบดวยอะไรบาง
2. หนี้สินตาง ๆ คือ ภาระผูกพันตอบุคคลภายนอกมีเปนจํานวนเทาใด
ประกอบดวยอะไรบาง
3. ทุนหรือสวนของเจาของ ของกิจการมีเปนจํานวนเทาใด
ประกอบดวยอะไรบาง

ตัวอยาง งบดุล แสดงในรูปของบัญชี


บริษัท ABCการคา จํากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25xx
สินทรัพย หนี้สนิ และสวนของเจาของ
บาท บาท
สินทรัพยหมุนเวียน หนี้สนิ หมุนเวียน
เงินสด 20,000 เจาหนี้ 45,000
ลูกหนี้ 30,000 คาใชจายคางจาย 35,000 80,000
สินคา 10,000 60,000 สวนของเจาของ
ที่ดิน อาคาร หุนสามัญ
ที่ดิน 50,000 (100 หุน มูลคาหุน ละ 100 บาท) 10,000
เครื่องใชสํานักงาน 10,000 กําไรสะสม 30,000 40,000
120,000 120,000
ขอสังเกตุ งบดุล ตองแสดง ชือ่ บริษัท………… ชื่องบดุล และวันที่ของงบดุล
โดยแสดงสินทรัพย ไวดานซาย ดวยจํานวนรวม = 120,000บาท และ
แสดงหนี้สินและสวนของเจาของไวดานขวา ดวยจํานวนรวม = 120,000 บาท
ทั้ง 2 ดานตองเทากัน
งบดุลเรียกอีกชื่อหนึ่งวา งบแสดงฐานะการเงิน
การจัดหมวดหมูรายการตาง ๆ ในงบดุล
รายการตาง ๆ ในงบดุล แบงออกเปนหมวดหมู ไดดังนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 72 ~

หมวดสินทรัพย แบงออกเปน 3 ประเภท คือ


1. สินทรัพยหมุนเวียน (Current Assets)
2. สินทรัพยถาวร (Fixed Assets)
3. สินทรัพยอื่น (Other Assets)
หมวดหนี้สิน แบงออกเปน 3 ประเภท คือ
1. หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities)
2. หนี้สินระยะยาว (Long–Term Liabilities)
3. หนี้สินอื่น (Other Liabilities)
หมวดทุนหรือสวนของเจาของ (Owner Equity)
สินทรัพยหมุนเวียน หมายถึง เงินสดหรือสินทรัพยอื่นที่สามารถเปลี่ยนเปน
เงินสดไดภายใน 1 ป หรือหนึ่งรอบระยะเวลาการดําเนินงานตามปกติ คือ หนึ่งรอบบัญชี
ของกิจการ เชน เงินสด เงินฝากธนาคาร ลูกหนี้การคา สินคาคงเหลือ คาใชจายจาย
ลวงหนาสําหรับระยะเวลาไมเกินหนึ่งป ฯลฯ
สินทรัพยถาวร หมายถึง สินทรัพยที่มีตัวตนและมีสภาพคงทนถาวร ทีม่ ีอายุ
การใชงานเกินกวาหนึ่งป และไมสามารถเปลี่ยนเปนเงินสดไดภายในระยะปตอไปในการ
ดําเนินงานตามปกติของกิจการ เชน ที่ดิน อาคาร อุปกรณสํานักงาน เปนตน
สินทรัพยถาวรแบงออกเปน 2 ประเภท คือ
1. สินทรัพยที่มีตัวตน เชน อาคาร เครื่องใชสํานักงาน ยานพาหนะ ฯลฯ
2. สินทรัพยไมมีตัวตน เชน คาความนิยม ลิขสิทธิ์ สิทธิบัตร
เครื่องหมายการคา สินทรัพยเหลานี้ปรากฏในบัญชีเปนจํานวนเงินเพียงเทากับราคาที่จาย
ไปเพื่อใหไดสินทรัพยนนั้ มาเทานั้น ขอมูลทางบัญชีไมแสดงคาที่แทจริงของสินทรัพยเหลานี้
เพราะกิจการอาจมีสินทรัพยที่ไมมตี วั ตนโดยมิไดจายเงินซื้อมาเลยก็ได
สินทรัพยอื่น หมายถึง สินทรัพยที่ไมอาจเปลี่ยนเปนเงินสดไดภายในรอบ
ระยะเวลา 1 ป คือ ไมจัดเปนสินทรัพยหมุนเวียน และก็ไมใชสินทรัพยถาวรที่มอี ายุการใช
งานยาวนาน เชน เงินมัดจํา
หนี้สินหมุนเวียน คือ หนี้สินที่กิจการตองชําระภายใน 1 ป หรือหนึ่งรอบ
ระยะเวลาการดําเนินงานปกติของกิจการ เชน เจาหนี้การคา คาใชจายคางจาย ภาษีเงิน
ไดคางจาย และหนี้สินระยะยาวสวนที่จะถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 73 ~

หนี้สินระยะยาว คือ หนี้สินที่มีกําหนดเวลาชําระเกินกวา 1 ป หรือหนึง่ รอบ


ระยะเวลาการดําเนินงานปกติของกิจการ เชน เงินกูระยะยาว หุนกู
สวนของเจาของหรือสวนของผูถือหุน คือ สวนเกินของสินทรัพยที่สูงกวา
หนี้สิน และตกเปนผลประโยชนของเจาของกิจการ สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน
สวนของเจาของ ถาเปนบริษัทจํากัด เรียกวา สวนของผูถอื หุน

สมการบัญชี
ความสัมพันธระหวางสินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ เขียนเปน
สมการบัญชีไดดังนี้
สินทรัพย = หนี้สิน + สวนของเจาของ

สมการบัญชี ใชเปนหลักในการวิเคราะหรายการบัญชี และการบันทึกขอมูล


ทางการบัญชี ซึ่งการดําเนินงานของธุรกิจจะมีผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงในสินทรัพย
หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรก็ตาม สินทรัพยทั้งสิน้ ตองเทากับ หนี้สินและสวน
ของเจาของรวมกันเสมอ

งบกําไรขาดทุน (Income Statement)


งบกําไรขาดทุนเปนงบ หรือรายงานการเงินที่แสดงใหเห็นถึงผลการ
ดําเนินงานของกิจการในชวงเวลาหนึง่ คือ 1 ป หรืออาจจะสั้นกวา 1 ปก็ได เชน งวด
1 เดือน หรือรายไตรมาส อาจเปน 3 เดือน 6 เดือน 9 เดือน เรียกวางบระหวางกาล ทั้งนี้
เพื่อใหเปนไปตามความตองการฝายบริหารที่จะใชภายในกิจการ
การคํานวณกําไรขาดทุนของกิจการกระทําไดโดย การเปรียบเทียบรายได
และคาใชจายของรอบระยะเวลาบัญชีนั้น สวนเกินที่รายไดสูงกวาคาใชจาย เรียกวา กําไร
สุทธิ หรือรายจายมากกวารายได เรียกวา ขาดทุนสุทธิ ดังตัวอยางตอไปนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 74 ~

บริษัท ABC การคา จํากัด


งบกําไรขาดทุน
สําหรับป สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 25xx
รายได :
ขาย 200,000
รายจาย :
ตนทุนขาย 100,000
เงินเดือน 30,000
คาเชา 5,000
คาน้ํา-คาไฟ 5,000
คาใชจายเบ็ดเตล็ด 10,000 150,000
กําไรสุทธิ 50,000
รายได (Revenues) หมายถึง สินทรัพย ซึ่งกิจการไดรับจากการขายสินคา
หรือบริการใหกับลูกคา รวมถึงผลตอบแทนที่ไดรับจากการลงทุน และการไดรับสินทรัพย
นั้นมีผลทําใหสวนของเจาของเพิ่มขึน้
คาใชจาย (Expenses) หมายถึง ตนทุนของสินคาและบริการที่ใชไปหรือหมด
ไปเพื่อกอใหเกิดรายได และมีผลทําใหสวนของเจาของลดลง
กําไรสุทธิ (ขาดทุนสุทธิ) หมายถึง สวนเกินที่รายไดสูงกวาคาใชจายในรอบ
ระยะเวลาบัญชีหนึ่ง อันเปนผลใหสวนของเจาของเพิ่มขึ้น คือ กําไรสุทธิ ตรงขาม ถา
คาใชจายสูงกวารายได ทําใหสวนของเจาของลดลง คือ ขาดทุนสุทธิ
ความสัมพันธระหวาง สินทรัพย หนี้สิน สวนของเจาของ รายได และ
คาใชจาย อาจเขียนเปนสมการไดดังนี้

สินทรัพย = หนี้สนิ + สวนของเจาของ + รายได - คาใชจาย หรือ


สินทรัพย + คาใชจาย = หนี้สนิ + สวนของเจาของ + รายได

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 75 ~

งบกําไรสะสม (Retained Earnings) เปนงบแสดงการเปลี่ยนแปลงของกําไร


สะสมที่เกิดขึ้นในระหวางรอบบัญชี ทําใหทราบวาในการดําเนินงานมีผลกําไรเกิดขึ้นเทาไร
จายเงินปนผลเทาไร ดังตัวอยาง

บริษัท ABC การคา จํากัด


งบกําไรสะสม
สําหรับป สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 25xx
กําไรสะสมตนป 10,000
บวก กําไรสุทธิ 50,000
60,000
หัก เงินปนผล (20,000)
กําไรสะสมสิน้ ป 40,000
ขอสังเกตุ กําไรสุทธิในงบกําไรสะสมมาจากงบกําไรขาดทุน
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน (Statement of Changes in Financial
Position) เปนงบที่แสดงถึงการบริหารเงินสด เงินทุนหมุนเวียนที่เพิ่มขึ้น หรือลดลงนั้น
ไดมาจากอะไร และใชไปทางไหนบาง ดังตัวอยาง
บริษัท ABCการคา จํากัด
งบแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน
สําหรับป สิน้ สุดวันที่ 31 ธันวาคม 25xx
ที่มาของทุนหมุนเวียน
จากการดําเนินงาน
กําไรสุทธิ 50,000
จากทุนเรือนหุน 10,000 60,000
ที่ใชไปของทุนหมุนเวียน
ซื้อที่ดิน 10,000
เครื่องใชสํานักงาน 5,000
จายเงินปนผล 20,000 35,000
ทุนหมุนเวียนเพิ่มขึ้น 25,000

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 76 ~

แบบของงบการเงินที่กําหนดโดยกระทรวงพาณิชย
บริษทั ABCการคา จํากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25xx
สินทรัพย
บาท
สินทรัพยหมุนเวียน
เงินสดและเงินฝากธนาคาร 165,346
เงินลงทุนระยะสั้น 210,000
ลูกหนี้การคา 947,624
หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 16,400 931,224
ตั๋วเงินรับ 32,500
เงินใหกูยืมแกบริษทั ในเครือและบริษัทรวม 314,765
สินคาคงเหลือ (หมายเหตุ 1) 2,417,826
สินทรัพยหมุนเวียนอื่น 63,520
รวมสินทรัพยหมุนเวียน 4,135,181
ลูกหนี้และเงินใหกูยืมแกกรรมการและลูกจาง 74,579
เงินลงทุน (หมายเหตุ 1 และ 2 ) 290,428
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ (หมายเหตุ 1)
ที่ดิน 175,840
อาคาร 843,241
เครื่องจักรและอุปกรณ 1,645,726
เครื่องตกแตงและเครื่องใชสํานักงาน 154,624
2,819,431
หัก คาเสื่อมสะสมและรายการตัดบัญชี 843,360
ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ-สุทธิ 1,976,071
สินทรัพยอื่น
เงินมัดจํา 64,000
รวมสินทรัพย 6,540,259

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 77 ~

บริษทั ABCการคา จํากัด


งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 25xx
หนี้สินและสวนของผูถือหุน
บาท
หนี้สินหมุนเวียน
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกูย ืมจากธนาคาร 436,472
เจาหนี้การคา 117,354
คาใชจายคางจาย 96,781
สวนของหนี้ระยะยาวที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป (หมายเหตุ 3) 120,000
เงินกูยืมจากบริษัทในเครือและบริษัทรวม 13,400
ภาษีเงินได 81,760
หนี้สินหมุนเวียนอื่น 36,825
รวมหนี้สินหมุนเวียน 902,592
เจาหนี้และเงินกูยืมจากกรรมการและลูกจาง 5,997
เงินกูยืมจากบริษัทในเครือและบริษัทรวม 20,000
เงินกูยืมระยะยาว (หมายเหตุ 3) 1,120,000
รวมหนี้สิน 2,048,589
สวนของผูถือหุน
ทุนเรือนหุน :
ทุนจดทะเบียน 30,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท 3,000,000
ทุนที่ออก 30,000 หุน ชําระเต็มมูลคาแลว 3,000,000
กําไรสะสม
จัดสรรเปนสํารองตามกฎหมาย 46,128
ยังไมไดจัดสรร 1,445,542
รวมสวนของผูถือหุน 1,491,670
รวมหนี้สินและสวนของผูถอื หุน 6,540,259

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 78 ~

บริษทั ABCการคา จํากัด


งบกําไรขาดทุน และกําไรสะสม
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25xx
บาท
รายได
ขายสุทธิ 8,912,657
รายไดอื่น 71,832
รวมรายได 8,984,489
คาใชจาย
ตนทุนขาย (รายละเอียด 1) 5,984,012
คาใชจายในการขายและการบริหาร (รายละเอียด 2) 1,775,850
ดอกเบี้ยจาย 170,121
ภาษีเงินได 301,242
รวมคาใชจาย 8,231,225
กําไรสุทธิ 753,264
กําไรสะสมตนป 1,216,231
1,969,495
จัดสรรกําไรกอนป 25xx
เงินปนผล 500,000
สํารองตามกฎหมาย 23,953
กําไรสะสมสิ้นป 1,445,542
กําไรตอหุน (หมายเหตุ 1) 48.18

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 79 ~

บริษทั ABCการคา จํากัด


ตนทุนขาย
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25xx
บาท
วัตถุดิบคงเหลือตนป 474,823
บวก ซื้อวัตถุดบิ 6,381,126
วัตถุดิบมีเพื่อใชในการผลิต 6,855,949
หัก วัตถุดิบคงเหลือสิ้นป (1,003,812)
วัตถุดิบใชไป 5,852,137
บวก คาแรงงานทางตรง 368,728
คาใชจายในการผลิต 942,471
7,163,336
บวก สินคาระหวางผลิตตนป 104,351
หัก สินคาระหวางผลิตสิน้ ป (216,310)
ตนทุนผลิตสินคาสําเร็จรูป 7,051,377
บวก สินคาสําเร็จรูปตนป 945,102
หัก สินคาสําเร็จรูปสิ้นป (2,012,467)
ตนทุนขาย 5,984,012

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 80 ~

บริษทั ABCการคา จํากัด


คาใชจายในการขายและบริหาร
สําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 25xx
บาท
เงินเดือน 1,021,675
คานายหนา 82,410
คาโฆษณา 101,560
คาใชจายรถยนต 32,416
คารับรอง 21,537
คาซอมแซมบํารุงรักษา 72,459
คาประกันภัย 36,588
คาน้ําและคาไฟฟา 75,772
คาวัสดุสํานักงาน 14,521
คาพาหนะ 96,624
คาเสื่อมราคาและรายการตัดบัญชี 41,217
คาโทรศัพท 85,623
คาใชจายเบ็ดเตล็ด 21,006
ภาษีอื่น ๆ 72,442
รวมคาใชจายในการขายและบริหาร 1,775,850

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 81 ~

บริษทั ABCการคา จํากัด


หมายเหตุประกอบงบการเงิน
31 ธันวาคม 25xx

หมายเหตุ 1 – สรุปนโยบายการบัญชีที่สําคัญ
สินคาคงเหลือ
สินคาคงเหลือ แสดงในราคาทุนตามวิธีเขากอน – ออกกอน
เงินลงทุน
เงินลงทุน ถือหุนในบริษทั อื่นแสดงในราคาทุน และบันทึกเงินปนผลรับเปน
รายไดในปทปี่ ระกาศจาย
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ
ที่ดิน อาคารและอุปกรณ แสดงในราคาทุน คาเสื่อมราคาคํานวณโดยวิธี
เสนตรง ในอัตรารอยละ 5-20 ตอป
กําไรตอหุน
กําไรตอหุน คํานวณโดยการหารกําไรสุทธิดวยจํานวนหุนที่ออกแลว ณ วัน
สิ้นป
หมายเหตุ 2 – เงินลงทุน
เงินลงทุนประกอบดวย
หุนบริษทั เจริญอุตสาหกรรม จํากัด 2,000 หุน 290,428 บาท สวนใน
สินทรัพยสุทธิของบริษทั เจริญอุตสาหกรรม จํากัด ณ วันสิ้นปเปนจํานวน 362,096 บาท
หมายเหตุ 3 – เงินกูยืมระยะยาว
เงินกูยืมระยะยาวประกอบดวย :
เงินกูยืมจากธนาคาร 1,000,000 บาท
ตั๋วเงินจาย 240,000 บาท
1,240,000 บาท
หัก สวนที่ถึงกําหนดชําระภายใน 1 ป 120,000 บาท
รวม 1,120,000 บาท

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 82 ~

การวิเคราะหรายการคา
การดําเนินธุรกิจในแตละวันยอมมีผลทําให สินทรัพย หนี้สิน และสวนของ
เจาของเปลี่ยนแปลงไป เชน กิจการขายสินคาไปเปนเงินสด มีผลทําใหสินทรัพยที่เปนเงิน
สดเพิ่มขึ้น และสินทรัพยที่เปนสินคาลดลง กิจกรรมทางเศรษฐกิจของกิจการที่กอใหเกิด
ผลกระทบเชนนี้ เรียกวา “รายการคา” (Business Transaction)

เดบิต และ เครดิต หมายถึง


ศัพททางบัญชีที่ควรทราบเพื่อประโยชนในการบันทึกบัญชี รายการคาที่
เกิดขึ้นทุกรายการจะมีผลกระทบตอบัญชีสองบัญชี หรือมากกวานั้นเสมอ เชน
เดบิต “Debit” (Dr) หมายถึง ดานซายของบัญชีซึ่งใชบนั ทึกสินทรัพยที่
เพิ่มขึ้น และหนี้สินกับสวนของเจาของที่ลดลง รายการบัญชีที่บันทึกทางดานซาย เรียกวา
รายการเดบิต
เครดิต “Credit” (Cr) หมายถึง ดานขวาของบัญชีซึ่งใชบันทึกสินทรัพยที่
ลดลง และหนี้สินและสวนของเจาของที่เพิ่มขึ้น รายการบัญชีที่บันทึกทางดานขวา เรียกวา
รายการเครดิต
ผลตางระหวางจํานวนเงินทางดานเดบิต (ดานซาย) และจํานวนเงินทางดาน
เครดิต (ดานขวา) เรียกวา ยอดคงเหลือ
ถาจํานวนเงินทางดานเดบิต สูงกวา เครดิต เรียกวา ยอดคงเหลือเดบิต
(Debit Balance)
ถาจํานวนเงินทางดานเครดิต สูงกวา เดบิต เรียกวา ยอดคงเหลือเครดิต
(Credit Balance)

จากสมการบัญชี สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน

กลาวคือ ในการบันทึกบัญชีถือวา สินทรัพย อยูดานซาย คือ เดบิต และ


หนี้สินบวกทุนอยูดานขวา คือ เครดิต ถาผลของรายการทําใหเพิ่มขึ้น ก็จะบันทึกให
เพิ่มขึ้นตามดานที่อยู ถาผลของรายการทําใหลดลง ก็จะบันทึกในดานตรงกันขามทีอ่ ยู
ทั้งนี้ ไมวาจะเปนสินทรัพย หนี้สนิ หรือทุน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 83 ~

เดบิต สินทรัพย เครดิต เดบิต หนี้สนิ เครดิต เดบิต ทุน


เครดิต
เพิ่ม + ลด – ลด – เพิ่ม + ลด – เพิ่ม +

สรุปสมการบัญชีไดดังนี้ :
สินทรัพย = หนี้สิน + ทุน + รายได – คาใชจาย หรือ
สินทรัพย+คาใชจาย = หนี้สิน + ทุน + รายได
เพิ่ม ลด
สินทรัพย ดานที่อยู เดบิต + เดบิต - เครดิต
หนี้สิน “ เครดิต + เครดิต - เดบิต
ทุน “ เครดิต + เครดิต - เดบิต
รายได “ เครดิต + เครดิต - เดบิต
คาใชจาย “ เดบิต + เดบิต - เครดิต

การวิเคราะหรายการคา
เมื่อมีรายการคาเกิดขึ้น จําเปนตองวิเคราะหวารายการดังกลาวมีผลกระทบ
ตอ สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของ อยางไรบาง รวมทั้งผลกระทบตอรายไดทําให
สวนของเจาของเพิ่มขึ้นและคาใชจายทําใหสวนของเจาของลดลง
ตัวอยาง รายการที่เกิดขึ้นในกิจการ รานABCซักรีด ในระยะเวลา 1 เดือน เริ่ม 1
มกราคม 25xx ถึง 31 มกราคม 25xx ดังนี้ :
1. นายตนนําเงินสดมาลงทุน 25,000 บาท
2. ซื้อของใชสนิ้ เปลืองเปนเงินสด 3,000 บาท
3. ซื้ออุปกรณซักรีดจากราน ABC เปนเงิน 14,000 บาท ตกลงชําระเงิน
15 ก.พ. 25xx
4. ระหวางเดือน กิจการมีรายไดจากการใหบริการเปนเงินสด 6,200 บาท
5. ระหวางเดือน จายเงินสดเปนคาใชจา ยดังนี้
เงินเดือน 1,500 บาท
คาเชา 2,000 บาท

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 84 ~

คาน้ํา–คาไฟฟา 280 บาท


6. กิจการตกลงชําระหนี้ใหเจาหนี้บางสวน 3,000 บาท
7. ณ วันสิ้นเดือนตรวจนับของใชสิ้นเปลือง ปรากฏวามีของเหลืออยูคิดเปน
มูลคา 1,400 บาท แสดงวาในระหวางเดือนมีการนําของใชสิ้นเปลืองไปใชในการซักรีด
1,600 บาท (ซื้อมา 3,000 บาท หักจํานวนที่เหลือ 1,400 บาท)
8. นาย ก. ถอนเงินไปใชสวนตัว 5,000 บาท
9. นาย ก. จายคาเชาอาคารลวงหนา 3 เดือน เปนเงิน 6,000 บาท การ
จายคาเชาอาคารทําใหกิจการมีสิทธิในการใชอาคารตลอดระยะเวลา 3 เดือน สิทธิในการใช
อาคารนี้ถอื เปนสินทรัพยของกิจการ

จากรายการคาทัง้ 9 ขอ ทําใหสมการบัญชีเปลี่ยนแปลงไป ดังนี้


Dr. สินทรัพย Cr. หนี้สนิ + ทุน
เงินสด วัสดุ + อุปกรณ + คาเชาจาย เจาหนี้ + ทุน – นาย ก.
สํานักงาน สํานักงาน ลวงหนา
1. นําเงินมาลงทุน + 25,000 + 25,000
2. ซื้อวัสดุสิ้นเปลือง – 3,000 + 3,000
3. ซื้ออุปกรณเปนเงินเชื่อ + 14,000 + 14,000
4. รับเงินคาซักรีด + 6,200 + 6,200 (รายไดทําใหทุนเพิ่มขึ้น)
5. คาใชจายตาง ๆ – 3,780 – 1,500 (เงินเดือน)
– 2,000 (คาเชา) ทุนลด
– 280 (คาน้ํา, คาไฟ)
6. ชําระหนี้ใหผูขาย – 3,000 – 3,000
อุปกรณ
7. โอนวัสดุสิ้นเปลืองใชไป – 1,600 – 1,600 (วัสดุใชไป)
(ซื้อมา 3,000 เหลือ 1,400)
8. นาย ก. เบิกใชสวนตัว – 5,000 – 5,000 (ถอนใชสวนตัวทําให
ทุนลด)
9. จายคาเชาลวงหนา – 6,000 – 6,000
10,420 1,400 14,000 6,000 11,000 20,820
31,820 = 31,820

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 85 ~

เมื่อสิ้นงวดบัญชี อาจเปน 1 เดือน 3 เดือน หรือ 1 ป ตองนําขอมูล


ทั้งหมดมาสรุปผล จัดทํารายการทางการเงิน เชน งบกําไรขาดทุน งบดุล

รานABCซักรีด
งบกําไรขาดทุน
สําหรับรอบระยะเวลา 1 เดือน สิน้ สุด วันที่ 31 มกราคม 25xx
รายไดคาซักรีด 6,200 บาท
หัก คาใชจาย :
เงินเดือน 1,500
คาเชา 2,000
คาน้ํา-คาไฟฟา 280
วัสดุสํานักงานใชไป 1,600 5,380 บาท
กําไรสุทธิ 820 บาท

รานABCซักรีด
งบดุล
ณ วันที่ 31 มกราคม 25xx
สินทรัพย หนี้สนิ และทุน
เงินสด 10,420 หนี้สนิ
คาเชาจายลวงหนา 6,000 เจาหนี้ 11,000
วัสดุสํานักงาน 1,400 สวนของเจาของ
อุปกรณสํานักงาน 14,000 ทุน – นายอวน 25,000
บวก กําไรสุทธิ 820
หัก ถอนใชสวนตัว 5,000 20,820
31,820 31,820

จากงบดุล สามารถอานฐานะการเงินไดวา
สินทรัพยรวม 31,820 บาท นั้น สวนหนึ่งเปนกรรมสิทธิข์ องเจาหนี้
11,000 บาท และอีกสวนหนึ่งเปนกรรมสิทธิ์ของนายอวน ผูเปนเจาของ 20,820 บาท

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 86 ~

ผังบัญชี (Chart of Account)


เพื่อใหการจัดทําบัญชีสะดวกและงายขึ้น จึงมีการแบงหมวดหมูบัญชีออกเปน
5 หมวดใหญ ๆ คือ
1. หมวดสินทรัพย (Assets)
2. หมวดหนี้สิน (Liabilities)
3. หมวดทุน (Capital)
4. หมวดรายได (Revenues)
5. หมวดคาใชจาย (Expenses)
หมวดสินทรัพย เลขที่บัญชีขนึ้ ตนดวย เลข 1
หมวดหนี้สิน “ เลข 2
หมวดทุน “ เลข 3
หมวดรายได “ เลข 4
หมวดคาใชจา ย “ เลข 5
จากการแบงหมวดหมูดังกลาว ยังมีการแบงยอยลงไปอีก ดังนี้
ผังบัญชีและรหัสบัญชี (เลขที่บัญชี)
เลขที่บัญชี ชื่อบัญชี
100 สินทรัพย
110 สินทรัพยหมุนเวียน
111 เงินสด
121 ลูกหนี้
131 สินคา
141 คาใชจายลวงหนา
160 สินทรัพยถาวร
161 ที่ดิน
162 อาคาร
163 อุปกรณ
164 เครื่องจักร
165 รถยนต
170 สินทรัพยอื่น ๆ
171 เงินมัดจํา
200 หนี้สิน
210 หนี้สินหมุนเวียน
211 เจาหนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 87 ~

221 คาใชจายคางจาย
260 หนี้สินระยะยาว
261 เงินกูระยะยาว
300 สวนของเจาของ (ทุน)
301 ทุนเรือนหุน
302 กําไรสะสม
303 เงินปนผล
400 รายได
401 ขาย
402 ดอกเบี้ยรับ
403 รายไดอื่น ๆ
500 คาใชจาย
501 ตนทุนขาย
502 เงินเดือน
503 คาเชา
504 คาน้ําประปา
505 คาไฟฟา

ตัวอยางการบันทึกรายการคาในบัญชีแยกประเภทของรานABCซักรีด
1. นายอวน นําเงินสดมาลงทุน 25,000 บาท
บัญชีที่เกี่ยวของ คือ เงินสด (สินทรัพย) Dr. เพิ่ม
+ 25,000 บาท และ
บัญชีทนุ –นายอวน Cr. เพิ่ม + 25,000 บาท
Dr. บัญชีเงินสด Cr. Dr. บัญชีทุน–นายอวน Cr.
(1) 25,000 (1) 25,000

2. จายเงินสดซื้อของใชสิ้นเปลือง 3,000 บาท


บัญชีที่เกีย่ วของ คือ เงินสด (สินทรัพย) Cr. ลด – 3,000 บาท และ
วัสดุสํานักงาน (สินทรัพย) Dr. เพิ่ม + 3,000 บาท
Dr. บัญชีเงินสด Cr. Dr. บัญชีวัสดุสํานักงาน Cr.
(1) 25,000 (2) 3,000 (2) 3,000

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 88 ~

3. ซื้ออุปกรณซักรีดเปนเงินเชื่อ 14,000 บาท


บัญชีที่เกีย่ วของ คือ อุปกรณสํานักงาน (สินทรัพย) Dr. เพิ่ม + 14,000 บาท และ
เจาหนี้ (หนี้สนิ ) Cr. เพิ่ม + 14,000 บาท
Dr. บัญชีอุปกรณสํานักงาน Cr. Dr. บัญชีเจาหนี้ Cr.
(3) 14,000 (3) 14,000

4. รับเงินสดเปนคาซักรีด 6,200 บาท


บัญชีที่เกีย่ วของ คือ เงินสด (สินทรัพย) Dr. เพิ่ม + 6,200 บาท และ
รายไดคาซักรีด Cr. เพิ่ม + 6,200 บาท
Dr. บัญชีเงินสด Cr. Dr. รายไดคาซักรีด Cr.
(1) 25,000 (2) 3,000 (4) 6,200
(4) 6,200
5. จายเงินเดือน คาเชา คาน้าํ -คาไฟ รวม 3,780 บาท
บัญชีที่เกีย่ วของ คือ เงินสด (สินทรัพย) Cr. ลด – 3,780 บาท
บัญชีเงินเดือน คาเชา คาน้ํา–คาไฟ Dr. เพิ่ม + 3,780
Dr. บัญชีเงินสด Cr. Dr. บัญชีเงินเดือน Cr.
(1) 25,000 (2) 3,000 (5) 1,500
(4) 6,200 (5) 3,780
Dr. คาเชา Cr.
(5) 2,000

Dr. คาน้ํา–คาไฟ Cr.


(5) 280

6. จายชําระหนี้ 3,000 บาท


บัญชีที่เกีย่ วของ คือ เงินสด (สินทรัพย) Cr. ลด – 3,000 บาท และ
เจาหนี้ (หนีส้ นิ ) Dr. ลด – 3,000 บาท
Dr. บัญชีวัสดุสํานักงาน Cr. Dr. เจาหนี้ Cr.
(1) 25,000 (2) 3,000 (3) 14,000
(4) 6,200 (5) 3,780
(6) 3,000 (6) 3,000

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 89 ~

7. ตรวจนับของใชสิ้นเปลือง คงเหลือ 1,400 บาท


บัญชีที่เกีย่ วของ คือ วัสดุสาํ นักงาน (สินทรัพย) Cr. ลด – 1,600 บาท
และ
วัสดุสํานักงานใชไป (คาใชจาย) Dr. เพิ่ม + 1,600 บาท
Dr. บัญชีวัสดุสํานักงาน Cr. Dr. บัญชีวัสดุสํานักงานใชไป Cr.
(2) 3,000 (7) 1,600 (7) 1,600

8. ถอนใชสวนตัว 5,000 บาท


บัญชีที่เกีย่ วของ คือ เงินสด (สินทรัพย) Cr. ลด – 5,000 บาท และ
สวนของเจาของ Dr. ลด – 5,000 บาท
Dr. บัญชีเงินสด Cr. Dr. บัญชีถอนใชสว นตัว Cr.
(1) 25,000 (2) 3,000 (8) 5,000
(4) 6,200 (5) 3,780
(6) 3,000
(8) 5,000
9. จายคาเชาอาคารลวงหนา 3 เดือน เปนเงิน 6,000 บาท
บัญชีที่เกีย่ วของ คือ เงินสด (สินทรัพย) Cr. ลด – 6,000 บาท
และ
คาเชาจายลวงหนา (สินทรัพย) Dr. เพิ่ม + 6,000 บาท
Dr. บัญชีเงินสด Cr. Dr. บัญชีคาเชาจายลวงหนา Cr.
(1) 25,000 (2) 3,000 (9) 6,000
(4) 6,200 (5) 3,780
(6) 3,000
(8) 5,000
(9) 6,000

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 90 ~

จากรายการทัง้ 9 ขอ อาจสรุปบัญชีแยกประเภทตาง ๆ เปน Dr. และ Cr. ไดดังนี้


Dr. บัญชีเงินสด Cr. Dr. บัญชีวัสดุสํานักงาน Cr.
(1) 25,000 (2) 3,000 (2) 3,000 (7) 1,600
(4) 6,200 (5) 3,780
(6) 3,000
(8) 5,000 ยอดยกไป 1,400
(9) 6,000 3,000
ยอดยกไป 10,420 ยอดยกมา 1,400
31,200 31,200
ยอดยกมา 10,420
Dr. บัญชีคาเชาจายลวงหนา Cr. Dr. บัญชีอุปกรณสํานักงาน Cr.
(9) 6,000 ยอดยกไป 6,000 (3) 14,000 ยอดยกไป14,000

6,000 6,000 14,000 14,000


ยอดยกมา 6,000 ยอดยกมา14,000
Dr. บัญชีเจาหนี้ Cr. Dr. ทุนนาย–อวน Cr.
(6) 3,000 (3) 3,000 ยอดยกมา25,000 (1) 25,000
ยอดยกไป11,000

14,000 14,000 25,000 25,000


ยอดยกมา11,000 ยอดยกมา25,000
Dr. บัญชีรายไดคาซักรีด Cr. Dr. บัญชีถอนใชสว นตัว Cr.
(4) 6,200 (8) 5,000

Dr. บัญชีเงินเดือน Cr. Dr. บัญชีคาเชา Cr.


(5) 1,500 (5) 2,000

Dr. บัญชีคาน้ํา–คาไฟ Cr. Dr. บัญชีวัสดุสํานักงานใชไป Cr.


(9) 280 (7) 1,600

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 91 ~

เมื่อสิ้นรอบระยะเวลาหนึ่ง เชน 1 ป , 3 เดือน หรือ 6 เดือน จะมีการ


รวบรวมยอดคงเหลือ เดบิต และเครดิต ในสมุดแยกประเภทตาง ๆ ไปไวในที่เดียวกัน
แลวรวมยอดทั้งดานเดบิต และเครดิตใหไดเทากัน เรียกวา งบทดลอง (Trial Balance) โดย
ระบุวาเปนงบทดลอง ณ วันที่เทาไร

รานABCซักรีด
งบทดลอง
สําหรับป สิน้ สุดวันที่ 31 มกราคม 25xx
ชื่อบัญชี เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต
เงินสด 11 10,420
คาเชาจายลวงหนา 12 6,000
วัสดุสํานักงาน 13 1,400
อุปกรณืสํานักงาน 14 14,000
เจาหนี้ 21 11,000
ทุน–นายอวน 31 25,000
ถอนใชสวนตัว 32 5,000
รายไดคาซักรีด 41 6,200
เงินเดือน 51 1,500
คาเชา 52 2,000
คาน้ํา–คาไฟ 53 280
วัสดุสํานักงานใชไป 54 1,600
42,200 42,200

งบทดลองมีประโยชน ดังนี้
1 เปนที่รวมของยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภททุกบัญชี
2. เปนเครื่องพิสูจนความถูกตองของการบันทึกบัญชีแยกประเภท คือ
การบันทึกรายการคาตาง ๆ ตองบันทึกตามหลักบัญชีคู ดังนั้น ผลรวมทุก ๆ บัญชีที่มียอด
คงเหลือเดบิต ตองเทากับผลรวมทุก ๆ บัญชีทมี่ ียอดคงเหลือเครดิต เรียกวา งบทดลองลง
ตัว

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 92 ~

3. บางครั้งงบทดลองลงตัว โดยที่มีของผิดพลาดในการบันทึกบัญชีก็ได
เชน ควรจะบันทึก เดบิตสินทรัพย แตไปบันทึกเดบิตคาใชจาย หรือบันทึกบัญชีคาใชจาย
ผิดประเภท เปนตน

ขอผิดพลาดที่เกิดจากงบทดลองที่ยอดเทากัน
1. บันทึกรายการคากลับขางกันในบัญชีแยกประเภท เชน
ขายสินคาเปนเงินสด บันทึกโดย Dr. ขาย xx
Cr. เงินสด xx
ทําใหยอดคงเหลือทั้งสองบัญชีต่ําไปเปนจํานวนสองเทาของรายการนั้น
2. บันทึกรายการคาผิดประเภทบัญชี เชน
มีการจายเงินเดือน แตบันทึกเปนคาซอมแซม ทําใหยอดคงเหลือใน
บัญชีเงินเดือนต่ํากวาความเปนจริง และยอดคงเหลือในบัญชีคาซอมแซมสูงกวาความเปน
จริง
3. ลืมบันทึกรายการคา หรือ บันทึกรายการคาซ้ํา
4. บันทึกจํานวนเงินผิดทั้งเดบิต และเครดิต อาจบันทึกจํานวนเงินสูงหรือ
ต่ําไป

การหาขอผิดพลาดเมือ่ งบทดลองไมเทากัน
1. เกิดจากเขียนจํานวนเงินกลับหลักกัน เชน 187 เขียนเปน 178 ใหนํา 9
มาหาร ผลตางกันดานเดบิตและเครดิต
2. คํานวณยอดคงเหลือในบัญชีแยกประเภทใหม
3. คํานวณตัวเลขในงบทดลองใหมทั้งดานเดบิต และเครดิต
4. ตรวจสอบการผานรายการจากสมุดรายวันขั้นตนมายังบัญชีแยกประเภท
วา ไดมีการผานรายการครบถวนทุกรายการเปนจํานวนเงินที่ถูกตอง
5. ตรวจสอบตัวเลขในบัญชีแยกประเภท กับตัวเลขในงบทดลอง เพราะอาจ
ลอกตัวเลขจากบัญชีแยกประเภทมาใสในงบทดลองผิดก็ได

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 93 ~

สมุดรายวันขั้นตน
ในอดีตรายการคาเกิดขึ้นไมมาก ดังนั้น การบันทึกรายการคาจึงบันทึกผาน
สมุดแยกประเภทโดยตรงไดไมยาก แตปจจุบันไมอาจบันทึกรายการคาในบัญชีแยกประเภท
ไดโดยตรง เพราะรายการคามีมาก จึงมีความจําเปนในการจดบันทึกรายการคาที่เกิดขึ้น
ตามลําดับกอนหลัง เพือ่ ใหสามารถอางอิงไดในภายหลัง กิจการจึงตองมีสมุดรายวันขั้นตน

สมุดรายวันทั่วไป (General Journal)


สมุดรายวันขั้นตน หรือสมุดรายวันทั่วไป ประกอบดวย :
สมุดรายวันทั่วไป
วัน เดือน ป เลขที่ ชื่อบัญชีและคําอธิบายรายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต
ใบสําคัญ
25xx Dr. xx
ม.ค. 1 Cr. xx

วิธีการบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปมีดังนี้
1. เขียนวันที่ของรายการไวในชอง วัน เดือน ป โดยเขียน พ.ศ. ไวตอนบน
2. เขียนชื่อบัญชีที่เดบิตไวในชอง รายการชิดดานซายแลวบันทึกจํานวนเงิน
ลงในชองเดบิต
3. เขียนชื่อบัญชีเครดิตไวในชอง รายการบรรทัดตอมายอหนาไปทางขวา
แลวบันทึกจํานวนเงินลงในชองเครดิต
4. เขียนคําอธิบายรายการในบรรทัดตอมาของชองรายการ ใหไดใจความ
โดยยอ
5. รายการคาทุกรายการที่บันทึกในสมุดรายวันทั่วไป ตองมีหลักฐาน
เอกสารประกอบโดยสมบูรณ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 94 ~

ตัวอยาง การบันทึกรายการในสมุดรายวันทั่วไปทั้ง 9 ขอ


สมุดรายวันทั่วไป

วัน เดือน ป เลขที่ ชื่อบัญชีและคําอธิบายรายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต


ใบสําคัญ
25xx
ม.ค. 1 เงินสด 11 25,000
ทุน–นายอวน 31 25,000
นายอวนนําเงินสดมาลงทุน
2 วัสดุสํานักงาน 13 3,000
เงินสด 11 3,000
ซื้อวัสดุสิ้นเปลืองเปนเงินสด
3 อุปกรณสํานักงาน 14 14,000
เจาหนี้ 21 14,000
ซื้ออุปกรณซักรีดเปนเงินเชื่อ
4 เงินสด 11 6,200
รายไดคาซักรีด 11 6,200
รับรายไดเปนเงินสด
5 เงินเดือน 51 1,500
คาเชา 52 2,000
คาน้ํา–คาไฟ 53 280
เงินสด 11 3,780
จายคาใชจายตาง ๆ เปนเงินสด
6 เจาหนี้ 21 3,000
เงินสด 11 3,000
ชําระหนี้ใหเจาหนี้บางสวน
7 วัสดุสํานักงานใชไป 54 1,600
วัสดุสํานักงาน 13 1,600
โอนวัสดุสํานักงานใชไปเปน
คาใชจาย
8 ถอนใชสวนตัว 32 5,000
เงินสด 11 5,000
นายอวนเบิกถอนใชสวนตัว
9 คาใชจายลวงหนา 12 6,000
เงินสด 11 6,000
จายคาเชาอาคารลวงหนา

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 95 ~

การผานรายการ (Posting)
การผานรายการ คื อ การนําผลการบั นทึ กบัญชีในสมุ ดรายวั นทั่วไป ไป
บันทึกในสมุดแยกประเภทเมื่อผานรายการเสร็จแลวใหเขียน เลขที่บัญชีแยกประเภทที่
เกี่ยวของไวในสมุดรายวันทั่วไปที่ชองเลขที่บัญชี สวนในบัญชีแยกประเภทใหอางอิงถึง
แหลงที่มาของรายการในสมุดขั้นตน โดยเขียนหนาของสมุดรายวันทั่วไปไวในชองหนาบัญชี
เพื่ออางอิงการผานรายการและทําใหทราบวาไดผานรายการใดไปบัญชีแยกประเภทเสร็จ
แลว
ตัวอยาง
สมุดรายวันทัว่ ไป
วัน เดือน ป เลขที่ ชื่อบัญชีและคําอธิบายรายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต
ใบสําคัญ
25xx
ม.ค. 1 เงินสด 11 25,000
ทุน–นายอวน 31 25,000
นายอวนนําเงินสดมาลงทุน
บัญชีเงินสด เลขที่
บัญชี 11
วัน เดือน ป รายการ หนา จํานวน วัน เดือน ป รายการ หนา จํานวน
บัญชี เงิน บัญชี เงิน
25xx
ม.ค. 1 ทุน–นาย รว.1 25,000
อวน

บัญชีทุน เลขที่
บัญชี 31
วัน เดือน ป รายการ หนา จํานวน วัน เดือน ป รายการ หนา จํานวน
บัญชี เงิน บัญชี เงิน
25xx
ม.ค. 1 เงินสด รว.1 25,00
0

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 96 ~

ในบัญชีแยกประเภท ชองวันที่ นําวันที่ที่บันทึกในสมุดรายวันทั่วไปมาบันทึกในชอง วัน


เดือน ป ชองรายการ นําชื่อบัญชีที่เกี่ยวของแตอยูดานตรงกันขามาใส เชน
บัญชีเงินสด ใหนําบัญชีทุนมาใสเพื่อจะไดทราบวาเงินสดไดมาจากทุน
บัญชีทนุ ใหนําบัญชีเงินสดมาใสเพื่อจะไดทราบวา ทุนทีน่ าํ มาลงเปนเงินสด
ชองหนาบัญชี นําเลขที่บัญชีมาใสในชองหนาบัญชี เพือ่ ใหทราบวารายการนี้ไดผานไป
บัญชีเลขที่เทาไร
ชองจํานวนเงิน ตัวเลขที่นํามาบันทึกไวในสมุดรายวันทั่วไปดานเดบิต ใหนําไปบันทึกใน
บัญชีดานเดบิต และตัวเลขที่บันทึกไวดานเครดิต ก็นําไปบันทึกในบัญชีนั้น ดานเครดิต

การผานไปบัญชีแยกประเภท จากการบันทึกในสมุดรายวันทั้ง 9 ขอ มีดังนี้


เงินสด 11
ว.ด.ป. รายการ หนา เดบิต ว.ด.ป. รายการ หนา เครดิต
บัญชี บัญชี
25xx 25xx
1 ทุน–นายอวน รว.1 25,000 2 วัสดุสํานักงาน รว.1 3,000
รายไดคาซักรีด รว.1 6,200 5 เงินเดือน รว.1 1,500
5 คาเชา รว.1 2,000
5 คาน้ํา–คาไฟ รว.1 280
6 เจาหนี้ รว.1 3,000
8 ถอนใชสวนตัว รว.2 5,000
9 คาเชาจายลวงหนา รว.2 6,000
คาเชาจายลวงหนา 12
25xx
9 เงินสด รว.2 6,000
วัสดุสํานักงาน 13
25xx 25xx
2 เงินสด รว.1 3,000 7 วัสดุสํานักงานใชไป รว.1 1,600
อุปกรณสํานักงาน 14
25xx
3 เจาหนี้ รว.1 14,000

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 97 ~

เจาหนี้ 21
25xx 25xx
6 เงินสด รว.1 3,000 3 อุปกรณ รว.1 14,000
ทุน–นาย ก. 31
25xx
1 เงินสด รว.1 25,000
ถอนใชสวนตัว 32
25xx
8 เงินสด รว.1 5,000
รายไดคาซักรีด 41
25xx
4 เงินสด รว.1 6,200

เงินเดือน 51
25xx
5 เงินสด รว.1 1,500
คาเชา 52
25xx
5 เงินสด รว.1 1,500
คาน้ํา–คาไฟ 53
25xx
5 เงินสด รว.1 280
วัสดุสํานักงานใชไป 54
25xx
7 วัสดุสํานักงาน รว.1 1,600

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 98 ~

งบทดลอง (Trial Balance)


เมื่อไดบันทึกรายการคาที่เกิดขึ้นประจําวันในสมุดรายวันทั่วไป และผาน
รายการไปยังบัญชีแยกประเภทเรียบรอยแลว ณ วันสิ้นงวดหรือสิ้นเดือน จะตองหายอด
คงเหลือดวยดินสอของบัญชีตาง ๆ เพื่อนํายอดคงเหลือไปจัดทํางบทดลอง
การหายอดคงเหลือ (Balance) สามารถทําไดโดยการรวมยอดจํานวนเงินทั้ง
ดานเดบิต และเครดิตดวยดินสอ แลวนําผลรวมแตละดานมาหักลบกัน
ผลตางดานเดบิต มากกวา เรียกวา ยอดคงเหลือเดบิต (Debit Balance)
ผลตางดานเครดิต มากกวา เรียกวา ยอดคงเหลือเครดิต (Credit Balance)
ABCคลีนิค
งบทดลอง
วันที่ 31 มกราคม 25xx
รายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต

เงินสด 11 40,220
วัสดุสํานักงาน 12 1,200
อุปกรณสํานักงาน 13 50,000
เจาหนี้ 21 1,200
ทุน–นายABC 31 90,000
ถอนใชสวนตัว 32 1,ฅ500
รายไดคารักษาพยาบาล 41 10,300
เงินเดือน 51 5,000
คาเชา 52 2,000
คาน้ํา–คาไฟ 53 1,420
คาใชจายเบ็ดเตล็ด 54 160
101,500 101,500

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 99 ~

ABCคลีนิค
งบกําไรขาดทุน
สําหรับงวด 1 เดือน สิน้ สุดวันที่ 31 มกราคม 25xx
รายได :
รายไดคารักษาพยาบาล 10,300
คาใชจาย :
เงินเดือน 5,000
คาเชา 2,000
คาน้ํา-คาไฟ 1,420
คาใชจายเบ็ดเตล็ด 160 8,500
กําไรสุทธิ 1,720
ABCคลีนิค
งบดุล
ณ วันที่ 31 มกราคม 25xx
สินทรัพย หนี้สนิ และทุน
เงินสด 40,220 เจาหนี้ 11,000
วัสดุสํานักงาน 1,200 ทุน–นายABC 90,000
อุปกรณสํานักงาน 50,000 บวก กําไรสุทธิ 1,720
91,720
หัก ถอนใชสวนตัว 1,500 90,220
91,420 91,420
การปดบัญชี
การปดบัญชี คือ การบันทึกรายการเพื่อหักยอดคงเหลือในบัญชีรายไดและ
คาใชจายตาง ๆ ใหมีคา เทากับศูนย แลวโอนเขาบัญชีกําไรขาดทุน เพื่อที่จะโอนกําไรหรือ
ขาดทุนสุทธิที่เกิดขึ้นในระหวางงวดเขาบัญชีทุน
การปดบัญชีของกิจการขายบริการมีขั้นตอนดังนี้
1. โอนปดยอดคงเหลือของบัญชีรายได เขาบัญชีกาํ ไรขาดทุน
2. โอนปดยอดคงเหลือของบัญชีคาใชจา ยตาง ๆ เขาบัญชีกําไรขาดทุน
3. โอนปดยอดคงเหลือของบัญชีกําไรขาดทุน เขาบัญชีทนุ
4. โอนปดบัญชีถอนใชสวนตัวเขาบัญชีทุน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 100 ~

สมุดรายวันทัว่ ไป

วัน เดือน ป รายการ เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต

25xx
ม.ค. 31 รายไดคารักษาพยาบาล 41 10,300
1 กําไรขาดทุน 33 10,300
โอนปดบัญชีรายไดเขากําไรขาดทุน
2 กําไรขาดทุน 33 8,580
เงินเดือน 51 5,000
คาเชา 52 2,000
คาน้ํา–คาไฟ 53 1,420
คาใชจานเบ็ดเตล็ด 54 160
โอนปดบัญชีคา ใชจายตาง ๆ เขากําไรขาดทุน
3 กําไรขาดทุน 33 1,720
ทุน–นายABC 31 1,720
โอนปดบัญชีกาํ ไรขาดทุนเขาบัญชีทุน
4 ทุน–นายABC 31 1,500
ถอนใชสวนตัว 32 1,500
โอนปดบัญชีถอนใชสวนตัวเขาบัญชีทนุ

กําไรขาดทุน
25xx 25xx
ม.ค. 31 เงินเดือน 5,000 ม.ค. 31 รายไดคารักษาพยาบาล 10,300
คาเชา 2,000
คาน้ํา–คาไฟ 1,420
คาใชจายเบ็ดเตล็ด 160
ทุน–นายABC 1,720
10,3600 10,300

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 101 ~

หลักการบันทึกบัญชีโดยทั่วไปของกิจการขายบริการ มีดังนี้
1. เมื่อเจาของกิจการนําสินทรัพยมาลงทุน เชน เงินสด , อุปกรณสํานักงาน ฯลฯ
Dr. เงินสด (+สินทรัพยเพิ่ม) xx
Dr. อุปกรณสํานักงาน (+สินทรัพยเพิ่ม) xx
Cr. ทุน (+ทุนเพิ่ม) xx
2. ระหวางดําเนินงานเกิดคาใชจายขึ้นในกิจการ ซึ่งมี 2 ประเภท คือ
2.1 คาใชจายที่จา ยชําระเงินทันที เกณฑเงินสด (Cash Basic)
Dr. คาใชจาย (+คาใชจา ยเพิ่ม) xx
Cr. เงินสด / ธนาคาร (-สินทรัพยลด) xx
2.2 คาใชจายคางจาย เรียกวา เกณฑคา งจาย (Accrual Basic) ยังไมชําระเงิน
Dr. คาใชจาย (+คาใชจา ยเพิ่ม) xx
Cr. คาใชจายคางจาย (+หนี้สินเพิ่ม) xx
3. กรณีกิจการซื้อสินทรัพย เพือ่ นํามาใชในกิจการเกิดขึ้น 2 ประเภท คือ
3.1 ซื้อสินทรัพยโดยจายเปนเงินสด
Dr. สินทรัพย (+สินทรัพยเพิ่ม) xx
Cr. เงินสด / (ธนาคาร) (-สินทรัพยลด) xx
3.2 ซื้อสินทรัพยเปนเงินเชื่อ
Dr. สินทรัพย (+สินทรัพยเพิ่ม) xx
Cr. เจาหนี้ (+หนี้สินเพิ่ม) xx
4. ระหวางดําเนินงานเกิดรายได ซึ่งมี 2 ประเภท คือ
4.1 ไดรับชําระเปนเงินสด
Dr. เงินสด / (ธนาคาร) (+สินทรัพยเพิ่ม) xx
Cr. รายไดคาบริการ (+รายไดเพิ่ม) xx
4.2 ยังไมไดรับชําระเปนเงินสด เปนรายไดคางรับใหถือเสมือหนึ่งกิจการมีลูกหนี้
Dr. รายไดคาบริการคางรับ (+สินทรัพยเพิ่ม) xx
Cr. รายไดคาบริการ (+รายไดเพิ่ม) xx
5. กรณีที่กิจการกูยืมเงินมาเพื่อใชในกิจการ
Dr. เงินสด / (ธนาคาร) (+สินทรัพยเพิ่ม) xx
Cr. เงินกูยืมจาก…….. (+หนี้สินเพิ่ม) xx
6. บันทึกการจายชําระหนี้เงินกูยืม
Dr. เงินกูยืมจาก………. (-หนี้สินลด) xx
Cr. เงินสด/ธนาคาร (-สินทรัพยลด) xx

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 102 ~

7. กรณีเจาของถอนเงินสดไปใชสวนตัว
Dr. ถอนใชสวนตัว (-ทุนลด) xx
Cr. เงินสด (-สินทรัพยลด) xx
8. ระหวางปกิจการมีการเพิม่ ทุนโดยนําเงินสดหรือสินทรัพยมาลงทุนเพิ่ม
Dr. เงินสด หรือสินทรัพย (+สินทรัพยเพิ่ม) xx
Cr. ทุน (+ทุนเพิ่ม) xx
9. เมื่อถึงวันสิน้ งวดบัญชี กิจการตองปดบัญชีรายไดและคาใชจาย เขาบัญชีกําไรขาดทุน
แบงเปน 2 ขั้นตอน
9.1 ปดบัญชีรายไดเขาบัญชีกําไรขาดทุน
Dr. รายได xx
Cr. กําไรขาดุทน xx
9.2 ปดบัญชีคาใชจายเขาบัญชีกําไรขาดทุน
Dr. กําไรขาดทุน xx
Cr. คาใชจาย xx
10. บันทึกการปดบัญชีกําไรขาดทุน แบงออกเปน 2 กรณี
10.1 กิจการมีผลกําไรสุทธิ
Dr. กําไรขาดุทน xx
Cr. ทุน (+ทุนเพิ่ม) xx
10.2 กิจการมีผลขาดทุนสุทธิ
Dr. ทุน (-ทุนลด) xx
Cr. กําไรขาดทุน xx
หมายเหตุ จากขอ 9 กิจการมีผลกําไรขาดทุน คือ รายได – คาใชจาย
ถาบัญชีกําไรขาดทุน มียอดคงเหลือทางดาน เครดิต แสดงวามีกําไรสุทธิ
ทุนเพิ่ม
ถาบัญชีกําไรขาดุทน มียอดคงเหลือทางดาน เดบิต แสดงวามีขาดทุนสุทธิ
ทุนลด
11. จากขอ 7 กรณีเจาของถอนเงินไปใชสวนตัว ณ วันสิ้นงวดบัญชี ตองโอนปดบัญชีถอนใช
สวนตัวเขาบัญชีทนุ ดวย
Dr. ทุน-นายอวน (-ทุนลด) xx
Cr. ถอนใชสวนตัว xx

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 103 ~

การบันทึกบัญชีสําหรับกิจการจําหนายสินคา

กิจการจําหนายสินคา คือ กิจการที่ซื้อสินคามาเพื่อขายตอ อาจขายสงหรือ


ขายปลีกก็ได รายไดสวนใหญมาจากการขายสินคา สวนคาใชจายมาจากตนทุนของสินคา
หรือตนทุนขาย และคาใชจายดําเนินงาน
การบันทึกบัญชีซื้อขายสินคา
กอนที่จะบันทึกบัญชีการซื้อ-ขายสินคา ควรทําความเขาใจเกี่ยวกับรายการ
คาใชจายบางประเภทตอไปนี้ ซึ่งมีผลกระทบตอการลงบัญชีดังนี้
คาใชจาย (Expense)
คาใชจาย คือ ตนทุนของสินคาที่กจิ การจายไปเพื่อกอใหเกิดรายได ธุรกิจ
ซื้อ-ขายสินคาแบงคาใชจายได 4 ประเภท คือ
1. ตนทุนขาย (Cost of Sales) ประกอบดวย ซือ้ สินคา , คาขนสงที่จาย
ไปเมื่อซื้อสินคา , คาภาษี , คาประกันภัย ฯลฯ
2. คาใชจายในการขาย (Selling Expense) ประกอบดวย เงินเดือน
พนักงาน , คาโฆษณา , คานายหนา ฯลฯ
3. คาใชจายในการบริหาร (Aduinistration Expense) ประกอบดวย คา
สาธารณูปโภค , เงินเดือนฝายบริหาร , คาใชจายสํานักงาน , คาเชา
อาคารสํานักงาน ฯลฯ
4. คาใชจายอื่น ๆ (Other Expense) เชน ขาดทุนจากการขายสินทรัพย
ฯลฯ
คาขนสงสินคา (Freight)
ในการซื้อ-ขายสินคา เงื่อนไขที่สําคัญที่ผูซื้อและผูขายควรตกลงกัน คือ
เงื่อนไขในการสงมอบสินคา ซึ่งหมายถึง คาขนสงที่กิจการไดจายไป ไดแก คาระวางเรือ
คาระวางทางอากาศ คาระวางรถไฟ คาขนสงรถบรรทุก เปนตน
ดังนั้น ในทางบัญชี จึงไดแยกคาขนสงสินคาออกเปน 2 บัญชี คือ
1. บัญชีคาขนสงเขา
2. บัญชีคาขนสงออก
คาขนสงเขา คือ คาขนสงสินคาซึ่งผูซื้อเปนผูรับภาระออกคาขนสงเอง คา
ขนสงเขานี้จึงรวมเปนตนทุนสินคาดวย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 104 ~

คาขนสงออก คือ คาขนสงสินคาซึ่งผูขายเปนผูรับภาระออกคาขนสงเอง คา


ขนสงออกนี้ถือเปนคาใชจายในการขาย
ถาเปนการคาระหวางประเทศ ราคาซื้อ-ขายสินคา ซึ่งผูซอื้ เปนผูออกคา
ขนสงเอง เรียกวา F.O.B. Shipping Point ซึ่งเทากับ คาขนสงเขา
แตถาราคาซื้อ-ขาย ซึ่งผูขายเปนผูออกคาขนสง เรียกวา F.O.B.Destination
ซึ่งเทากับ คาขนสงออก
สงคืนสินคา (Purchases Returns)
ถาสินคาที่ซื้อมาผิดประเภท หรือชํารุดเสียหาย กิจการยอมมีสิทธิสงคืน
สินคาใหผูขาย หรือขอใหผูขายลดราคาให โดยผูซื้อควรแจงใหผูขายทราบเปนลายลักษณ
อักษร โดยการจัดทําเอกสารในการขอลดหนี้ คือ ผูซอื้ ขอลดหนี้ผูขาย เรียกวา Debit Note
ใบขอลดหนี้
Debit Note เปนเอกสารที่ทําใหผูขายไดทราบวา ผูซื้อเดบิตบัญชีผูขายดวย
เหตุอะไร
ตรงกันขาม ถาผูขายไดรับแจงการสงสินคาคืน หรือการขดลดราคาแลว
และผูขายยินยอมลดราคาให ผูขายจะออกหลักฐานเรียกวา Credit Note
สวนลดเงินสด (Cash Discounts)
ในการซื้อ-ขายสินคา ผูซื้อจะตองตกลงกับผูขายในการชําระคาสินคา ปกติ
ผูขายมักใหเครดิตกับผูซอื้ 30 วัน ซึ่งผูขายอาจจูงใจใหลูกคาชําระหนีค้ าสินคากอน
กําหนดเวลา โดยการยินยอมใหสวนลดแกผูซื้อ เชน เงือ่ นไขการชําระหนี้คาสินคา 30 วัน
ถาชําระภายใน 10 วัน จะไดรับสวนลด 2% เขียนยอวา 2/10,n/30
สวนลด 2% ในกรณีนี้ เรียกวา สวนลดเงินสด
ดานผูซื้อ สวนลดเงินสด ถือเปนรายการหักจากยอดซื้อ เรียกวา สวนลดรับ
(Purchases Discounts)
ดานผูขาย สวนลดเงินสด ถือเปนรายการหักจากยอดขาย เรียกวา สวนลด
จาย (Sales Discounts)
บัญชีขาย
บัญชีขาย คือ บัญชีประเภทรายได ทําใหทุนเพิ่มขึ้น การบันทึกบัญชีจะทํา
เมื่อมีการตกลงซื้อ-ขายกันเรียบรอยแลว เชน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 105 ~

ขายดวยเงินสด บันทึกบัญชีโดย
Dr. เงินสด 10,000
Cr. ขาย 10,000
ขายสินคาเปนเงินสด
การขายเชื่อ บันทึกบัญชีโดย
Dr. ลูกหนี้ 2,000
Cr. ขาย 2,000
ขายสินคาเปนเงินเชื่อ

บัญชีรับคืน
สินคาที่ขายใหลูกคาแลว อาจชํารุดหรือคุณภาพไมถูกตองตามที่สั่ง กิจการ
ตองรับคืนสินคาเหลานั้นจากลูกคา
การรับคืนทําใหยอดขายลดลง แตกิจการไมนยิ มนําไปหักออกจากยอดขาย
ทันทีแตจะเปดบัญชีรบั คืน โดยบันทึกรายการรับคืนสินคาทางดานเดบิต และเมือ่ สิน้ งวดให
นํายอดรับคืนไปหักจากยอดขาย ในงบกําไรขาดทุน เพือ่ หาผลการดําเนินงาน การบันทึก
บัญชีเปนดังนี้
การรับคืนสินคาที่ขายดวยเงินสด
Dr. รับคืน 1,000
Cr. เงินสด 1,000
รับคืนสินคา
การรับคืนสินคาที่ขายดวยเงินเชื่อ
Dr. รับคืน 200
Cr. ลูกหนี้ 200
รับคืนสินคา

บัญชีสวนลดจาย
ในการขายสินคาเปนเงินเชื่อ กิจการอาจกําหนดเงื่อนไขการชําระคาสินคา
เชน 30 วัน หากลูกคาชําระหนี้ใหภายใน 10 วัน จะลดใหอีก 2% สวนลดนี้เรียกวา
สวนลดจาย (Sales Discounts)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 106 ~

วิธีการบันทึกบัญชีเปนดังนี้
Dr. เงินสด 1,764
Dr. สวนลดจาย 36
Cr. ลูกหนี้ 1,800
รับชําระหนี้โดยหักสวนลดจาย
จากขอมูลขางตน ขายสุทธิหาไดจาก
ขาย (10,000+2,000) 12,000
หัก รับคืน (1,000+200) 1,200
สวนลดจาย 36 1,236
ขายสุทธิ 10,764

ตนทุนขาย (Cost of Sales)


ตนทุนขายสินคา เปนคาใชจายรายการสําคัญของกิจการขายสินคา โดย
ตนทุนขายนี้มีความสัมพันธกับวิธีการบันทึกสินคา ซึ่งมีอยู 2 วิธี คือ
1. การบันทึกสินคาแบบตอเนื่อง (Perpetual Inventory)
2. การบันทึกสินคาคงเหลือสิ้นงวด (Periodic Inventory)
1. การบันทึกสินคาแบบตอเนื่อง (Perpetual Inventory)
วิธีนี้กิจการจะบันทึกรายการรับ-จายสินคาไวในบัญชีทกุ ครั้ง ทําใหทราบ
ตนทุนขายและสินคาคงเหลือทุกเวลา
ในทางปฏิบัติกิจการจะมีบัญชีคุมสินคาแตละประเภท เพื่อบันทึกปริมาณและ
ราคาทุนขายสินคาที่รับ-จาย และคงเหลือ
ถากิจการมีสินคาหลาย ๆ ประเภท บัญชีคุมสินคาแตละประเภทเมื่อรวมกัน
จะตองเทากับบัญชีแยกประเภทสินคา ดังนั้น บัญชีคุมสินคา คือ บัญชียอยของบัญชีแยก
ประเภทสินคา
2. การบันทึกสินคาคงเหลือสิ้นงวด (Periodic Inventory)
วิธีนี้กิจการจะไมบันทึกรายการรับ-จายสินคาไวในบัญชีทุกครั้ง ทําใหไม
ทราบตนทุนขายและสินคาคงเหลือทุกเวลา ตองรอถึงวันสิน้ งวดบัญชีจงึ จะตรวจนับและตี
ราคาสินคาคงเหลือ เพือ่ คํานวณตนทุนขายสําหรับป
ดังนั้น วิธีนจี้ ะไดขอมูลเกี่ยวกับปริมาณ และราคาทุนของสินคาไดจากบัญชี
คุมสินคาซึ่งมีความสําคัญมาก

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 107 ~

วิธีการบันทึกเกี่ยวกับสินคา
Perpetual Periodic
1. เมื่อซื้อสินคา
Dr. สินคา xx Dr. ซื้อ xx
Cr. เจาหนี้ xx Cr. เจาหนี้ xx
ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ
2. จายคาขนสงเขา
Dr. สินคา xx Dr. คาขนสงเขา xx
Cr. เงินสด xx Cr. เงินสด xx
จายคาขนสงสินคาเขา จายคาขนสงสินคาเขา
3. สงคืนสินคาใหผูขาย
Dr. เจาหนี้ xx Dr. เจาหนี้ xx
Cr. สินคา xx Cr. สงคืน xx
สงคืนสินคา สงคืนสินคา
4. ชําระหนี้คา ซื้อสินคา
Dr. เจาหนี้ xx Dr. เจาหนี้ xx
Cr. สินคา xx Cr. สวนลดรับ xx
Cr. เงินสด xx Cr. เงินสด xx
จายชําระหนี้คา สินคาไดรับสวนลด จายชําระหนี้คา สินคาไดรับสวนลด

Perpetual Periodic
5. เมื่อขายสินคา
Dr. ลูก หนี้ xx Dr. ลูก หนี้ xx
Cr. ขาย xx Cr. ขาย
xx
บันทึกการขายเชื่อ (ตามราคาที่ขาย) บันทึกการขายเชื่อตามราคาที่ขาย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 108 ~

6. เมื่อรับคืนสินคา
Dr. รับคืน xx Dr. รับคืน xx
Cr. ลูกหนี้ xx Cr. ลูกหนี้
xx
บันทึกลดหนี้สาํ หรับสินคาทีร่ ับคืน บันทึกลดหนี้สาํ หรับสินคาทีร่ ับคืน
บันทึกลดตนทุนขาย
Dr. สินคา xx ไมบันทึก
Cr. ตนทุนขาย xx
บันทึกสินคาทีร่ ับคืน
สรุป 1. การบันทึกสินคาแบบตอเนื่อง (Perpetual) ทําใหสามารถทราบมูลคาสินคา
คงเหลื อไดทุ ก ขณะ โดยไมจํา เปน ตองทํา การตรวจนั บ และตี ร าคาสิ น ค า
คงเหลือ
2. การบันทึกสินคาคงเหลือสิ้นงวด (Periodic) จะแสดงยอดคงเหลือของสินคา
ตนปในบัญชี ระหวางปถาซื้อสินคาเขามาจะแสดงไวในบัญชีซื้อ ทําใหไม
สามารถทราบยอดสินคาคงเหลือขณะใดขณะหนึ่ง ในวันสิ้นปจึงตองทําการ
ตรวจนับและตีราคาสินคาคงเหลือ

ตัวอยาง การบันทึกบัญชีของกิจการขายสินคา
บริษัท ABCการคา จํากัด เริ่มดําเนินการเมื่อ 1 มีนาคม 25xx โดยออกจําหนายหุน
สามัญ 10,000 หุน มูลคาหุนละ 100 บาท รายการคาระหวางเดือนมีดังนี้
25xx
มี.ค. 2 ซื้อที่ดินเปนเงินสด 200,000 บาท
3 ซื้อเครื่องตกแตงสํานักงาน 45,000 บาท
5 ซื้อวัสดุสํานักงานเปนเงินเชือ่ 3,000 บาท
ซื้อสินคาเปนเงินสด 10,000 บาท
6 ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ 15,000 บาท โดยผูซ ื้อเปนผูรับภาระคาขนสงเอง 500 บาท แตใหผูขาย
จายแทนไปกอน
8 ขายสินคาราคาทุน 4,000 บาท ในราคา 5,600 บาท เปนเงินเชื่อ
10 ขายสินคาราคาทุน 6,000 บาท ในราคา 8,000 บาท เปนเงินสด
11 สงสินคาที่ซื้อเมื่อวันที่ 6 คืนผูขาย 1,000 บาท
12 ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ 8,500 บาท
15 ชําระหนี้คาสินคาทีซ่ ื้อเมื่อวันที่ 6 ไดสวนลด 2%

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 109 ~

17 รับคืนสินคาทีข่ ายไปเมื่อวันที่ 8 ตีราคา 700 บาท (ราคาทุน 500 บาท)


19 รับชําระหนี้คาสินคาที่ขายเมือ่ วันที่ 8 ใหสว นลด 2%
20 ขายสินคาเชื่อ 7,000 บาท (ราคาทุน 5,000 บาท)
26 ซื้อสินคาเปนเงินสด 4,000 บาท
28 รับชําระหนี้คาสินคาที่ขาย เมื่อวันที่ 20 ลดให 2%
29 จายคาใชจา ยตาง ๆ เปนเงินสด
คาเชา 1,000 บาท
เงินเดือน 1,500 บาท
คาใชจายเบ็ดเตล็ด 400 บาท
30 ตรวจนับและตีราคาสินคาคงเหลือปลายงวดได 22,220 บาท (เฉพาะ Periodic) จึงจะบอก
มา
การบันทึกบัญชีของทัง้ 2 วิธี คือ Perpetual และ Periodic มีดังนี้
25xx
มี.ค. 1 จําหนายหุน สามัญ 10,000 หุน ๆ ละ 100 บาท
การบันทึกบัญชี Perpetual และ Periodic บันทึกเหมือนกัน
Dr. เงินสด (+สินทรัพยเพิม่ ) 1,000,000
Cr. ทุน (10,000 หุน x 100 บาท) (+ทุนเพิ่ม) 1,000,000
2 ซื้อที่ดินเปนเงินสด 200,000 บาท
การบันทึกบัญชี Perpetual และ Periodic บันทึกเหมือนกัน
Dr. ที่ดิน (+สินทรัพยเพิ่ม) 200,000
Cr. เงินสด (-สินทรัพยลด) 200,000
3 ซื้อเครื่องตกแตงสํานักงาน 45,000 บาท
การบันทึกบัญชี Perpetual และ Periodic บันทึกเหมือนกัน
Dr. เครื่องตกแตงสํานักงาน (+สินทรัพยเพิ่ม) 45,000
Cr. เงินสด (-สินทรัพยลด) 45,000

5 ซื้อวัสดุสํานักงานเปนเงินเชือ่ 3,000 บาท


การบันทึกบัญชี Perpetual และ Periodic บันทึกเหมือนกัน
Dr. วัสดุสํานักงาน (+สินทรัพยเพิม่ ) 3,000
Cr. เจาหนี้ (+หนี้สินเพิ่ม) 3,000

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 110 ~

5 ซื้อสินคาเปนเงินสด 10,000 บาท


การบันทึกบัญชีแตกตางกัน
Perpetual Periodic
Dr. สินคา (+สินทรัพยเพิ่ม) 10,000 Dr. ซื้อ (+คาใชจายเพิ่ม) 10,000
Cr. เงินสด (-สินทรัพยลด) 10,000 Cr. เงินสด (-สินทรัพยลด) 10,000
6 ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ 15,000 บาท ผูขายจายคาขนสงแทนผูซื้อไปกอน 500 บาท
การบันทึกบัญชีแตกตางกัน
Perpetual Periodic
Dr. สินคา (+สินทรัพยเพิ่ม) 15,500 Dr. ซื้อ (+คาใชจายเพิ่ม) 15,000
(15,000 + 500) Dr. คาขนสงเขา (+คาใชจายเพิ่ม) 500
Cr. เจาหนี้ (+เจาหนี้เพิ่ม) 15,500 Cr. เจาหนี้ (+เจาหนี้เพิ่ม) 15,500
ตามวิธี Perpetual คาขนสงเขาถือเปนตนทุน ตามวิธี Periodic คาขนสงเขาถือเปนคาใชจาย
ของสินคาทันที
8 ขายสินคาราคาทุน 4,000 บาท ในราคา 5,600 บาท เปนเงินเชื่อ
การบันทึกบัญชีแตกตางกัน
Perpetual มีบันทึก 2 ขั้นตอน Periodic บันทึกขั้นตอนเดียว
1 Dr. ลูกหนี้ (+สินทรัพยเพิ่ม) 5,600 1 Dr. ลูกหนี้ (+สินทรัพยเพิ่ม) 5,600
Cr. ขาย (+รายไดเพิ่ม) 5,600 Cr. ขาย (+รายไดเพิ่ม) 5,600
ขายสินคาเปนเงินเชื่อ ขายสินคาเปนเงินเชื่อ
2 Dr. ตนทุนขาย(+คาใชจายเพิ่ม) 4,000 2 ตนทุนขายไมตองบันทึก ดังนัน้ กิจการไมทราบ
Cr. สินคา (-สินทรัพยลด) 4,000 ยอดคงเหลือของสินคาคงเหลือ ตองรอจนกวาสิน้
บันทึกตนทุนขายทันทีเมื่อขายสินคาได ทําให งวดบัญชี จึงทําการตรวจนับสินคาจริง ถึงจะทราบ
ทราบวา ณ ปจจุบันกิจการมีสินคาคงเหลือ ยอดสินคาคงเหลือปลายงวดได
เหลืออยูเปนจํานวนเทาไร คือ ทราบยอดสินคา
คงเหลือปลายงวดตลอดเวลาโดยไมตองรอ
ตรวจนับ
10 ขายสินคาราคาทุน 6,000 บาท ในราคา 8,000 บาท เปนเงินสด
การบันทึกบัญชีแตกตางกัน
Perpetual บันทึก 2 ขั้นตอน Periodic บันทึกขั้นตอนเดียว
1 Dr. เงินสด (+สินทรัพยเพิ่ม) 8,000 1 Dr. เงินสด (+สินทรัพยเพิ่ม) 8,000
Cr. ขาย (+รายไดเพิ่ม) 8,000 Cr. ขาย (+รายไดเพิ่ม) 8,000
2 Dr.ตนทุนขาย(+คาใชจายเพิ่ม) 6,000 2 ตนทุนขายไมตองบันทึก
Cr. สินคา (-สินทรัพยลด) 6,000
บันทึกตนทุนขาย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 111 ~

11 สงคืนสินคาทีซ่ ื้อมาเมื่อวันที่ 6 คืนผูขาย 1,000 บาท


การบันทึกบัญชีแตกตางกัน
Perpetual Periodic
Dr. เจาหนี้ (–เจาหนี้ลด) 1,000 Dr. เจาหนี้ (–เจาหนี้ลด) 1,000
Cr. สินคา (–สินทรัพยลด) 1,000 Cr.สงคืน (–คาใชจายลด) 1,000
สงคืนสินคาใหผูขาย สงคืนสินคาใหผูขาย
เครดิตสินคา ทําใหสินคาคงเหลือลดลงทันที เครดิตสงคืน เปนการลดยอดเจาหนี้เทานัน้ สวน
ดังนัน้ ยอดสินคาคงเหลือจึงแสดงยอด สินคาที่สงคืนไปจะทราบยอดคงเหลือไดจากการ
ณ ปจจุบัน ตรวจนับสินคาคงเหลือปลายงวดเทานัน้

12 ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ 8,500 บาท


การบันทึกบัญชีแตกตางกัน
Perpetual Periodic
Dr. สินคา (+สินทรัพยเพิ่ม) 8,500 Dr. ซื้อ (+คาใชจายเพิ่ม) 8,500
Cr. เจาหนี้ (+หนี้สินเพิ่ม) 8,500 Cr. เจาหนี้ (+หนี้สินเพิ่ม) 8,500
ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ

15 ชําระหนี้คาสินคาทีซ่ ื้อเมื่อวันที่ 6 ไดสวนลด 2%


การบันทึกบัญชีแตกตางกัน
Perpetual Periodic
Dr. เจาหนี้ (-เจาหนี้ลด) 14,500 Dr. เจาหนี้ (-เจาหนี้ลด) 14,500
Cr. สินคา (-สินทรัพยลด) 280 Cr.สวนลดรับ (+รายไดเพิ่ม) 280
Cr. เงินสด (-สินทรัพยลด) 14,220 Cr. เงินสด (-สินทรัพยลด) 14,220
ชําระหนี้ไดสวนลด 2% ชําระหนี้ไดสวนลด 2%
วันที่ 6 ซื้อมา = 15,000 เครดิตสวนลดรับถือเปนรายไดโดยนําไปหักออก
วันที่ 1 สงคืน = 1,000 จากยอดซื้อเพือ่ หายอดซื้อสุทธิ
เหลือหนี้ = 14,000
ลด 2% (14,000x2%) = 280
สวนลดนี้ใหเครดิตสินคาทันทีเพิม่ ลดยอด
สินคาคงเหลือปลายงวด

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 112 ~

17 รับคืนสินคาขายไปเมื่อวันที่ 8 ราคา 700 บาท (ราคาทุน 500 บาท)


การบันทึกบัญชีแตกตางกัน
Perpetual Periodic
1 Dr. รับคืน (-รายไดลด) 700 1 Dr. รับคืน (-รายไดลด) 700
Cr. ลูกหนี้ (-สินทรัพยลด) 700 Cr.ลูกหนี้ (-สินทรัพยลด) 700
รับคืนสินคา รับคืนสินคา
Dr. รับคืนทําใหยอดขายปกติอยูเครดิตลดลง
ดังนัน้ จึงนําไปหักกับยอดขายเพื่อคํานวณ
ยอดขายสุทธิ
2 Dr. สินคา (+สินทรัพยเพิ่ม) 500 2 ไมบันทึกตนทุนขาย
Cr. ตนทุนขาย(+คาใชจายลด) 500
บันทึกตนทุนสินคาที่รับคืน

19 รับชําระหนี้คาสินคาที่ขายไปเมื่อวันที่ 8 ใหสวนลด 2%
การบันทึกบัญชีเหมือนกัน
Dr. เงินสด (+สินทรัพยเพิม่ ) 4,802
Dr. สวนลดจาย (+คาใชจา ยเพิม่ ) 98
Cr. ลูกหนี้ (+สินทรัพยลด) 4,900
วันที่ 8 ขายไป 5,600 บาท วันที่ 17 รับคืน 700 บาท วันที่ 19 เหลือหนี้ (5,600-700) =
4,900 ใหสวนลด 2% (4,900x2%) = 98 บาท
เดบิต สวนลดจาย ถือเปนคาใชจายที่ตองนําไปหักกับยอดขายเพื่อคํานวณกําไรสุทธิ

20 ขายสินคาเปนเงินเชื่อ 7,000 (ทุน 5,000)


การบันทึกบัญชีแตกตางกัน
Perpetual บันทึก 2 ขั้นตอน Periodic บันทึกขั้นตอนเดียว
1 Dr. ลูกหนี้ (+สินทรัพยเพิ่ม) 7,000 1 Dr. ลูกหนี้ 7,000
Cr. ขาย (+รายไดเพิ่ม) 7,000 Cr. ขาย 7,000
ขายสินคาเปนเงินเชื่อ ขายสินคาเปนเงินเชื่อ
2 Dr. ตนทุนขาย(+คาใชจายเพิ่ม) 5,000 2 ตนทุนขายไมตองบันทึก
Cr. สินคา (-สินทรัพยลด) 5,000
บันทึกตนทุนขาย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 113 ~

26 ซื้อสินคาเปนเงินสด 4,000 บาท


การบันทึกบัญชีแตกตางกัน
Perpetual Periodic
Dr. สินคา (+สินทรัพยเพิ่ม) 4,000 Dr. ซื้อ (+คาใชจายเพิ่ม) 4,000
Cr. เงินสด (-สินทรัพยลด) 4,000 Cr. เงินสด (-สินทรัพยลด)
4,000
ซื้อสินคาเปนเงินสด ซื้อสินคาเปนเงินสด

28 รับชําระหนี้คาสินคา เมื่อวันที่ 20 ลดให 2%


การบันทึกบัญชีเหมือนกัน
Dr. เงินสด (+สินทรัพยเพิ่ม) 6,860
Dr. สวนลดจาย (7,000x2%) (+คาใชจายเพิ่ม) 140
Cr. ลูกหนี้ (-สินทรัพยลด) 7,000

29 จายคาใชจา ยตาง ๆ เปนเงินสด


การบันทึกบัญชีเหมือนกัน
Dr. เงินเดือน 1,500
Dr. คาเชา (คาใชจายเพิม่ ) 1,000
Dr. คาใชจายเบ็ดเตล็ด) 400
Cr. เงินสด (-สินทรัพยลด) 2,900

บริษัท ABCการคา จํากัด


งบกําไรขาดทุน
สําหรับ 1 เดือน สิน้ สุดวันที่ 31 มีนาคม 25xx
ขาย 20,600
หัก รับคืน 700
สวนลดจาย 238 938
ขายสุทธิ 19,662
ตนทุนขาย
สินคาปลายงวด xxx
ซื้อ 37,500

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 114 ~

บวก คาขนสงเขา 500


38,000
หัก สงคืน 1,000
สวนลดรับ 280 1,280 36,720
สินคาที่มีเพื่อขาย 36,720
หัก สินคาคงเหลือปลายงวด 22,220 14,500
กําไรขั้นตน 5,162
คาใชจายดําเนินงาน
เงินเดือน 1,500
คาเชา 1,000
คาใชจายเบ็ดเตล็ด 400 2,900
กําไรสุทธิ 2,262

การปรับปรุงรายการบัญชี
กิจการคาตาง ๆ ทีต่ ั้งขัน้ ยอมมีวัตถุประสงคเพือ่ แสวงหากําไร การที่จะทราบ
กําไรไดตองมีการปดบัญชีเพื่อจัดทํา งบกําไรขาดทุน และงบดุล เพื่อแสดงผลการ
ดําเนินงานและฐานะการเงิน
กอนที่จะปดบัญชีเมื่อสิ้นงวด ยอดรายไดและคาใชจายที่บันทึกไวอาจยังไม
สมบูรณ เชน รายได หรือคาใชจายของรอบระยะเวลาบัญชีตอ ไป อาจรวมอยูในงวดบัญชี
ปจจุบนั หรือรายไดและคาใชจายในงวดบัญชีปจจุบันยังไมไดบันทึกบัญชี เปนตน
ดังนั้น เพือ่ ใหการคํานวณกําไรขาดทุน ของรอบระยะเวลาบัญชีเปนไปโดย
ถูกตอง จึงจําเปนตองปรับปรุงยอดรายได และคาใชจายดังกลาวใหถูกตอง เรียกวา “การ
ปรับปรุงรายการบัญชี”
รายการปรับปรุง (Adjusting Entries) คือ รายการที่บันทึกเมือ่ สิ้นรอบ
ระยะเวลาบัญชี เพือ่ แกไขปรับปรุงรายได และคาใชจายตามบัญชีใหถูกตองกอนจะที่ปด
บัญชี เพือ่ คํานวณกําไรขาดทุนสําหรับรอบระยะเวลาบัญชี อีกทั้งยังทําใหสินทรัพยและ
หนี้สินถูกตองดวย
รายการปรับปรุงที่ควรตรวจสอบกอนปดบัญชี มีดังนี้ :

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 115 ~

คาใชจายลวงหนา (Prepaid Expenses)


คาใชจายลวงหนา หมายถึง เงินทีจ่ ายไปเปนคาสิ่งของหรือบริการ โดยที่ยัง
ไมไดใชประโยชนจากสิ่งของหรือบริการนั้น ๆ เชน คาเบี้ยประกันจายลวงหนา คาเชาจาย
ลวงหนา
ดังนั้น การปรับปรุงคาใชจายลวงหนาสามารถปรับปรุงได 2 วิธี โดยขึ้นอยู
กับวากิจการบันทึกบัญชีไวอยางไร ดังนี้
วิธีที่ 1 บันทึกไวเปนสินทรัพย
วิธีที่ 2 บันทึกไวเปนคาใชจาย

ตัวอยาง กิจการจายคาเชาอาคารเมื่อวันที่ 1 พฤศจิกายน 25xx สําหรับงวด 1 ป เปนเงิน 36,000 บาท


วิธที ี่ 1 บันทึกไวเปนสินทรัพย
25xx
พ.ย. 1 Dr. คาเชาอาคารจายลวงหนา 36,000
Cr. เงินสด 36,000

จายคาเชาอาคารลวงหนาสําหรับ 1 ป
1 พ.ย. 25xx 31 ธ.ค. 25xx 31 ต.ค. 25xx

2 เดือน 10 เดือน

31 ธ.ค. 25xx สิ้นงวดใหโอนคาเชาของเดือน พฤศจิกายน และธันวาคม 25xx ไปเปน


คาใชจาย 2 เดือน เพราะถือวาไดรับประโยชนจากคาใชจายนี้แลว คือ ไดใชอาคารแลว 2 เดือน เปน
เงิน 6,000 บาท สวนอีก 30,000 บาท จะไดประโยชนในเดือนตอไป จึงถือเปนสินทรัพย
วิธีคํานวณ 36,000 x 2 = 6,000 บาท
12
รายการปรับปรุงมีดังนี้ :
25xx
ธ.ค. 31 Dr. คาเชาอาคาร 6,000
Cr. คาเชาอาคารจายลวงหนา 6,000
ปรับปรุงคาเชาอาคารจายลวงหนาเปนคาใชจายของงวดนี้
คาเชาอาคารจายลวงหนา
25xx 25xx
พ.ย. 1 เงินสด 36,000 ธ.ค. 31 คาเชาอาคาร 6,000

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 116 ~

คาเชาอาคาร
25xx
ธ.ค. 31 คาเชาอาคารจายลวงหนา 6,000

วิธที ี่ 2 บันทึกไวเปนคาใชจายทั้งจํานวน
25xx
พ.ย. 1 Dr. คาเชาอาคาร 36,000
Cr. เงินสด 36,000
บันทึกการจายคาเชาอาคารลวงหนาสําหรับ 1 ป
31 ธ.ค. 25xx สิ้นงวดใหโอนคาเชาสวนของปตอไป ออกจากบัญชีคาเชาในปนี้ไปตั้งปนคา
เชาจายลวงหนาถือเปนทรัพยสินไว 10 เดือน

รายการปรับปรุงเปนดังนี้ :
25xx
ธ.ค. 31 Dr. คาเชาอาคารจายลวงหนา (36,000x 10 ) 30,000
12
Cr. คาเชาอาคาร 30,000
ปรับปรุงคาเชาอาคารจายลวงหนา
คาเชาอาคาร
25xx 25xx
พ.ย.. 31 เงินสด 6,000 ธ.ค. 31 คาเชาอาคารจายลวงหนา 30,000
คาเชาอาคารจายลวงหนา
25xx
ธ.ค. 31 คาเชาอาคาร 30,000

รายไดรับลวงหนา (Deferred Income)


รายไดรับลวงหนา หมายถึง คาตอบแทนที่กิจการไดรับจากลูกคา โดยที่
ลูกคายังไมไดรับบริการ หรือยังไมไดใชประโยชนจากทรัพยากรของกิจการ
ดังนั้น ในขณะที่กิจการไดรับคาตอบแทนจึงไมถือวาเปนรายไดของการ แต
ถือเปนหนี้สนิ ของกิจการ ตอเมือ่ ไดใหบริการแลวจึงถือวามีรายไดเกิดขึ้น เชน รายได
คาบริการรับลวงหนา คาเชารับลวงหนา

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 117 ~

การปรับปรุงรายไดรับลวงหนาสามารถปรับปรุงได 2 วิธี ขึ้นอยูกับวิธกี าร


บันทึกบัญชีในขณะรับเงินวา บันทึกบัญชีไวเปนรายได หรือหนี้สิน

ตัวอยาง กิจการไดรับเงินคาสมัครสมาชิกจากลูกคา 1 ราย งวด 3 เดือน เปนเงิน 900 บาท เมื่อ


วันที่ 1ธันวาคม 25xx
วิธที ี่ 1 บันทึกไวเปนหนี้สิน
25xx
ธ.ค. 1 Dr. เงินสด 900
Cr. รายไดคาสมาชิกรับลวงหนา 900
รับเงินคาสมัครเปนสมาชิกราย 3 เดือน
31 ธ.ค. 25xx ณ วันสิ้นงวด กิจการตองโอนรายไดสวนที่กิจการไดใหประโยชนแกลูกคา
แลวในระหวางปไปเปนรายไดของป

1 ธ.ค. 25xx 31 ธ.ค. 25xx 28 ก.พ. 25xx

1 เดือน 2 เดือน

การปรับปรุงรายการเปนดังนี้ :
25xx
ธ.ค. 31 Dr. รายไดคาสมาชิกรับลวงหนา 300
Cr. รายไดคาสมาชิก (900x ) 1 300
3
ปรับปรุงรายไดคาสมาชิกรับลวงหนาเปนรายได
รายไดคาสมาชิกรับลวงหนา
25xx 25xx
ธ.ค. 31 รายไดคาสมาชิก 300 ธ.ค. 1 เงินสด 900

รายไดคาสมาชิก
25xx
ธ.ค. 31 รายไดคาสมาชิกรับลวงหนา 300

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 118 ~

วิธที ี่ 2 บันทึกไวเปนหนี้สิน
25xx
ธ.ค. 1 Dr. เงินสด 900
Cr. รายไดคาสมาชิก 900
รับเงินคาสมัครเปนสมาชิกราย 3 เดือน
31 ธ.ค. 25xx ณ วันสิ้นงวด กิจการตองโอนรายไดสวนของปตอไป ออกจากบัญชีรายได
เพื่อตั้งเปนบัญชีรายไดรับลวงหนา ถือเปนหนี้สินของกิจการ 2 เดือน
การปรับปรุงรายการเปนดังนี้ :
25xx
ธ.ค. 31 Dr. รายไดคาสมาชิก 600
Cr. รายไดคาสมาชิกรับลวงหนา (900x 2 ) 600
3
ปรับปรุงรายไดคาสมาชิก
รายไดคาสมาชิก
25xx 25xx
ธ.ค. 31 รายไดคาสมาชิกรับลวงหนา 600 ธ.ค. 1 เงินสด 900
รายไดคาสมาชิกรับลวงหนา
25xx
ธ.ค. 31 รายไดคาสมาชิก 600

คาใชจายคางจาย (Accrued Expenses)


คาใชจายคางจาย หมายถึง สินคาหรือบริการที่กิจการไดรับในระหวางงวดบัญชีแลว
แตยังมิไดจายเงิน ณ วันสิ้นงวด จึงไมไดบันทึกบัญชีไวแตอยางใด
ตัวอยาง กิจการยังไมไดจายเงินเดือนของเดือน ธันวาคม 25xx จํานวน 30,000 บาท ณ วันสิ้นงวด
ตองปรับปรุงบัญชีคางจาย
รายการปรับปรุงบัญชีมีดังนี้ :
25xx
ธ.ค. 31 Dr. เงินเดือน 30,000
Cr. เงินเดือนคางจาง 30,000
ปรับปรุงเงินเดือนคางจาย
เงินเดือน
25xx
ธ.ค. 31 เงินเดือนคางจาย 30,000

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 119 ~

เงินเดือนคางจาย
25xx
ธ.ค. 31 เงินเดือน 30,000
หมายเหตุ หลังจากปรับปรุงแลว คาใชจายคางจายถือเปน หนี้สินหมุนเวียนของกิจการ

รายไดคางรับ (Accrued Income)


รายไดคางรับ หมายถึง สินคาหรือบริการที่กิจการไดสงมอบหรือใหบริการแกลกู คา
แลว ในระหวางงวดบัญชี แตยังไมไดรับเงินเมื่อสิ้นงวดบัญชีนนั้ ๆ จึงไมไดบันทึกบัญชีไวแตอยางใด
ตัวอยาง กิจการใหเชาสํานักงาน 1 หอง ราคาคาเชาหองละ 5,000 บาท และคาเชาเดือน
ธันวาคม 25xx ยังไมไดรับเงิน
ณ วันสิ้นงวด ตองปรับปรุงบัญชีคางรับ
รายการปรับปรุงบัญชีมีดังนี้ :
25xx
ธ.ค. 31 Dr. คาเชาคางรับ 5,000
Cr. รายไดคาเชา 5,000
ปรับปรุงคาเชารับเดือนธันวาคมคางรับ
คาเชาคางรับ
25xx
ธ.ค. 31 รายไดคาเชา 5,000
รายไดคาเชา
25xx
ธ.ค. 31 คาเชาคางรับ 5,000
หมายเหตุ หลังปรับปรุงแลว รายไดคางรับ ถือเปนสินทรัพยหมุนเวียน เหมือนลูกหนี้

กระดาษทําการ
กระดาษทําการ (Work Sheet)
กระดาษทําการ คือ กระดาษที่นักบัญชีใชเพื่อชวยในการปรับปรุงรายการ
ตอนสิ้นงวดบัญชี ซึ่งมีขอมูลและรายการคามากอันอาจทําใหเกิดขอผิดพลาดไดงาย
การจัดทํากระดาษทําการ จะทําขึ้นภายหลัง ที่ไดบั นทึกรายการคาต าง ๆ
ของกิจการในบัญชีครบถวนแลว แตยังไมไดบันทึกรายการปรับปรุงและปดบัญชีในสมุด

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 120 ~

รายวันทั่วไป รวมทั้งยังไมไดจัดทํารายงานงบกําไรขาดทุน และงบดุล การจัดทํากระดาษ


ทําการจะชวยใหการบันทึกรายการปรับปรุงและปดบัญชีเปนไปอยางถูกตองและเชื่อถือได
ธุรกิจขนาดเล็กที่มีรายการบัญชีไมมากนักอาจไมตองจัดทํากระดาษทําการ
กระดาษทําการเหมาะสําหรับธุรกิจ ที่มีรายการบัญชีและรายการปรับปรุงเปน
จํานวนมาก อยางไรก็ตามกระดาษทําการมิไดเปนสวนหนึ่งของการบันทึกบัญชี
กระดาษทําการแบงออกเปนชนิด 8 ชอง หรือ 10 ชองก็ได ดังนี้
คูที่ 1 คูที่ 2 คูที่ 3 คูที่ 4 คูที่ 5
ชื่อบัญชี งบทดลอง รายการปรับปรุง งบทดลองที่ปรับปรุงแลว งบกําไรขาดทุน งบดุล
Dr. Cr. Dr. Cr. Dr. Cr. Dr. Cr. Dr. Cr.

1 2 3 4 5 6 7 8 9 10

วิธีการจัดทํากระดาษทําการ
1. เขียนชื่อกิจการ และขอความวา กระดาษทําการ สําหรับรอบระยะเวลา
บัญชีสิ้นสุดเมื่อใด
2. ลอกงบทดลองที่จัดทําแลว ใสในชองจํานวนเงินคูที่ 1 รวมยอดดานเด
บิตและเครดิตใหเทากัน
3. บันทึกรายการปรับปรุงไวในชองจํานวนเงินคูที่ 2 เพื่อเดบิตหรือเครดิต
บัญชีที่เกี่ยวของ ถาบัญชีที่ปรับปรุงยังไมมีในงบทดลอง ใหบันทึก
เพิ่มเติมในตอทายงบทดลอง
4. ออกยอดงบทดลองที่ปรับปรุงแลวในชองจํานวนเงินคูที่ 3 โดยนําจวนเงิน
ที่อยูในชองงบทดลองรวมกับจํานวนเงินในชองรายการปรับปรุงในกรณีที่
อยูดานเดียวกัน และหักลบกันในกรณีที่อยูคนละดาน คือ ชองเดบิตใน
งบทดลอง รวมกับชองเดบิตในรายการปรับปรุง หรือชองเดบิตในงบ
ทดลอง หักกับชองเครดิตในรายการปรับปรุง เพื่อออกยอดในงบทดลอง
ที่ปรับปรุงแลว สวนชองเครดิตก็ปฏิบตั ิเหมือนกัน จากนั้น ใหรวมยอด
ชองเดบิตและเครดิตใหเทากัน
5. รายการในงบทดลองที่ปรับปรุงแลว ถาเปนรายไดและคาใชจายที่จะ
ปรากฏในงบกําไรขาดทุน ใหออกยอดในชองจํานวนเงินคูท ี่ 4 ถาเปน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 121 ~

สินทรัพย หนี้สิน และสวนของเจาของที่จะปรากฏในงบดุล ใหออกยอด


ในชองจํานวนเงินคูที่ 5
6. รวมยอดเดบิตและเครดิตในชองงบกําไรขาดทุน ถายอมรวมชองเครดิต
สูงกวา ยอดรวมชองเดบิต ผลตางคือ กําไรสุทธิ ใหนําผลตางบันทึกไว
ในชองเดบิต งบกําไรขาดทุน และ ชองเครดิต งบดุล แลวรวมยอดชอง
เดบิตและเครดิตในงบกําไรขาดทุนและงบดุล
ถายอดรวมชองเดบิต สูงกวา ยอดรวมชองเครดิต ผลตางคือ ขาดทุน
สุทธิ ใหนําผลตางบันทึกไวในชองเครดิต งบกําไรขาดทุน และ ชองเด
บิต งบดุล แลวรวมยอดชองเดบิตและเครดิตในงบกําไรขาดทุนและงบดุล

ตัวอยางการจัดทํากระดาษทําการ
บริษัท ABCการคา จํากัด งบทดลองสําหรับป สิ้นสุดวันที่ 31 ธันวาคม 2546 ดังนี้
เงินสด 1,700
ลูกหนี้ 70,000
ตั๋วเงินรับ 50,000
คาเบี้ยประกันจายลวงหนา 36,000
สินคาคงเหลือ 42,000
เครื่องใชสํานักงาน 14,000
เครื่องตกแตง 30,000
เจาหนี้ 63,000
คาเชารับลวงหนา 12,000
ทุนเรือนหุน 50,000
กําไรสะสม 20,200
ขาย 720,000
ซื้อ 460,000
เงินเดือน 110,000
คาเชา 40,000
คาใชจายเบ็ดเตล็ด 11,500
865,200 865,200
ขอมูลเพิ่มเติม
1. คาเชาจายเมื่อ 1 มิถุนายน 2546 เปนคาเชาสํานักงานเดือนละ 5,000
บาท

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 122 ~

2. คาเสื่อมราคาสินทรัพยถาวรคิด 20% ตอป


3. ตั้งสํารองหนี้ 5% ของยอดลูกหนี้
4. คาเบี้ยประกันภัยสําหรับงวด 1 ป จายเมื่อ 1 มีนาคม 2546
5. รายไดคาเชาของป 2546 มีจํานวน 8,000 บาท
6. เงินเดือนเดือนธันวาคม ยังไมไดจาย 10,000บาท
7. ดอกเบี้ยคางรับ 3,000 บาท
8. สินคาคงเหลือสิ้นป ตรวจนับและตีราคาได 30,000 บาท

คําอธิบายชองรายการปรับปรุง :
1. คาเชาจายตัง้ แต 1 มิ.ย. – 31 ธ.ค. = 7 เดือน ๆ ละ 5,000 บาท รวม 35,000
บาท แตงบทดลองบันทึกไว 40,000 บาท แสดงวาบันทึกไวเปนคาใชจายทั้ง
จํานวน
ดังนั้น สวนตาง 40,000 – 35,000 บาท = 5,000 บาท ถือเปนสินทรัพย คือ
จายลวงหนา
รายการปรับปรุง :
Dr. คาเชาจายลวงหนา 5,000
Cr. คาเชา 5,000
1. คาเสื่อมราคาสินทรัพยถาวร 20% ตอป
สินทรัพยถาวรมี เครือ่ งใชสํานักงาน และเครือ่ งตกแตง
คาเสื่อมราคาเครื่องใชสาํ นักงาน = 14,000 x 100 20 = 2,800 บาทตอป

คาเสื่อมราคาเครื่องตกแตง = 30,000 x 100 20 = 6,000 บาทตอป

รายการปรับปรุง :
Dr. คาเสื่อมราคา-เครื่องใชสํานักงาน 2,800
Dr. คาเสื่อมราคา-เครื่องตกแตง 6,000
Cr. คาเสื่อมราคาสะสม-เครื่องใชสํานักงาน 2,800
Cr. คาเสื่อมราคาสะสม-เครื่องตกแตง 6,000
2. ตั้งสํารองหนี้ 5% ของยอดลูกหนี้
หนี้สงสัยจะสูญ = 70,000 x 100 5 = 3,500 บาท

รายการปรับปรุง :
Dr. หนี้สงสัยจะสูญ 3,500
Cr. คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 3,500

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 123 ~

3. คาเบี้ยประกัน 1 ป จายเมื่อ 1 มี.ค. – 31 ธ.ค. 2546 รวม 10 เดือน แตงบทดล


องบันทึกไวเปนสินทรัพย
ทั้งจํานวน คือ จายลวงหนา 36,000 บาท
ดังนั้น เกิดคาเบี้ยประกันเปนคาใชจา ยของปที่แลว = 36,000 x 10
12
= 30,000 บาท
รายการปรับปรุง :
Dr. คาเบี้ยประกัน 30,000
Cr. คาเบี้ยประกันจายลวงหนา 30,000
4. รายไดคาเชาป 2546 มีจํานวน 8,000 บาท แตงบทดลองบันทึกไวเปนหนี้สินทั้ง
จํานวน คือ รับลวงหนา12,000 บาท
ดังนั้น ตองปรับปรุงรายไดคาเชารับของป 2546 ทั้งจํานวน 8,000 บาท เพื่อให
รายไดคาเชารับลวงหนาแสดงเปนหนี้สินที่แทจริงของป 2546
รายการปรับปรุง :
Dr. คาเชารับลวงหนา 8,000
Cr. รายไดคาเชา 8,000
ปรับปรุงรายไดคาเชารับของป 2546 ที่กิจการไดรับ
6 เดือน เดือนธันวาคมยังไมไดจายเปนคาใชจายที่เกิดขึ้นแลวในป 2546 แตยังไม
บันทึกบัญชี
รายการปรับปรุง :
Dr. เงินเดือน 10,000
Cr. เงินเดือนคางจาย 10,000
7. ดอกเบี้ยคางรับ 3,000 บาท ถือเปนรายไดในงวดนี้ แตยังไมไดรับเงิน ดังนั้น
ตองบันทึกเปนรายได
รายการปรับปรุง :
Dr. ดอกเบี้ยคางรับ 3,000
Cr. ดอกเบี้ยรับ 3,000
คําอธิบายการออกยอดชองงบทดลองที่ปรับปรุงแลว
หลังจากไดนํารายการปรับปรุงบันทึกในกระดาษทําการชองรายการปรับปรุง
แลว จํานวนเงินที่ปรากฏในชองรายการปรับปรุงจะบวกหรือ หักกับจํานวนเงินในชองงบ
ทดลอง โดยนําบัญชีทปี่ รากฏดานเดียวกัน เดบิต กับ เดบิต หรือ เครดิต กับ เครดิต
บวกกัน และบัญชีที่ปรากฏคนละดานหักกัน แลวนําผลรวมใสชองงบทดลองที่ปรับปรุงแลว

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 124 ~

คําอธิบายการออกยอดชองกําไรขาดทุนและงบดุล
จากงบทดลองที่ปรับปรุงแลว สามารถจัดทํางบการเงินได 2 งบ คือ
1. งบกําไรขาดทุน แสดงถึงผลการดําเนินงานในรอบบัญชีที่ผา นมาวามี
กําไรหรือขาดทุน
2. งบดุล แสดงถึงมูลคาสุทธิของสินทรัพย หนี้สนิ และทุน ณ วันสิ้นสุด
รอบบัญชีวาเพิ่มขึ้น หรือลดลง
งบกําไรขาดทุน
ภายหลังไดงบทดลองที่ปรับปรุงแลว
บัญชีรายได จะออกยอดปรากฏในชองงบกําไรขาดทุน ดานเครดิต
บัญชีคาใชจา ย จะออกยอดปรากฏในชองงบกําไรขาดทุน ดานเดบิต
บัญชีสินคาคงเหลือตนงวด ในชองงบทดลองหลังปรับปรุงจะปรากฏในชองงบ
กําไรขาดทุน ดานเดบิต และจํานวนเงินที่ปรากฏไมมีการเปลี่ยนแปลง เพราะกิจการ
บันทึกบัญชีสินคาแบบ Periodic Inventory System คือ ระบบการตรวจนับสินคาคงเหลือ
ณ วันสิ้นงวด ฉะนั้น สินคาคงเหลือตนงวด จึงตองเปลี่ยนสภาพเปนตนทุนขาย เพราะถือ
วา ณ วันสิน้ ปสินคาคงเหลือตนงวดไดจําหนายไปแลว
บัญชีสินคาคงเหลือปลายงวดที่ทราบจากการตรวจนับและตีราคา ถือเปน
สินคาที่จําหนายไมหมด ขณะเดียวกันสินคาปลายงวดนี้ก็สามารถนําไปจําหนายในงวดบัญชี
หนาได ซึ่งถือเปนสินทรัพยยกไปงวดบัญชีหนา ดังนั้น
จึงตองบันทึกเพิ่มเติมในกระดาษทําการ
ชองงบกําไรขาดทุน ดานเครดิต และ ชองงบดุล ดาน เดบิต
จากงบกําไรขาดทุน เมือ่ ไดยอดรายได รายจาย สินคาคงเหลือตนงวดและ
ปลายงวดแลว ตองรวมตัวเลขดานเดบิต และเครดิต
ถากรณีรายไดดานเครดิต มากกวา รายจายดานเดบิต ผลตาง คือ กําไร
สุทธิ ใสดานเดบิตในทางกลับกัน ถา รายจายดานเดบิต มากกวา รายไดดานเครดิต
ผลตาง คือ ขาดทุนสุทธิ ใหใสดานเครดิต
เมื่อบันทึกผลตาง กําไร หรือ ขาดทุน เสร็จแลว ใหรวมตัวเลขทั้งดานเด
บิตและเครดิต ยอดทั้ง 2 ขางตองเทากัน
งบดุล
ภายหลังไดงบทดลองที่ปรับปรุงแลวใหแยกรายการดังนี้
สินทรัพย ใหออกยอดในงบดุล ดานเดบิต
หนี้สิน ใหออกยอดในงบดุล ดานเครดิต

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 125 ~

ผลตางกําไรหรือขาดทุนในชองงบกําไรขาดทุน ใหออกยอดในชองงบดุลดังนี้
กรณีกําไร ใหออกยอดในงบดุลดานเครดิต ถือวากําไรทําใหทุนเพิ่มขึ้น
กรณีขาดทุน ใหออกยอดในงบดุลดานเดบิต ถือวาขาดทุนทําใหทุนลดลง

การจัดทํางบกําไรขาดทุน และงบดุลจากกระดาษทําการ
เมื่อจัดทํากระดาษทําการเสร็จเรียบรอยแลว สามารถจัดทํางบการเงินได
สะดวกขึ้นโดยอาศัยตัวเลขจาก ชองงบกําไรขาดทุน และชองงบดุล
ดังนั้น อาจกลาวไดวา กระดาษทําการไมไดเปนสวนหนึ่งของการบันทึก
บัญชี แตเปนเครื่องมือชวยใหการปรับปรุงและปดบัญชี เพือ่ ทํางบการเงินสะดวกและ
รวดเร็วขึ้น
ฉะนั้น เมื่อไดจัดทํากระดาษทําการเสร็จเรียบรอยแลว จะตองบันทึกในสมุด
บัญชีของกิจการ ดังตอไปนี้
1. บันทึกรายการปรับปรุงในสมุดรายวันทั่วไป แลวผานไปบัญชีแยก
ประเภท
2. บันทึกรายการปดบัญชีในสมุดรายวันทั่วไป แลวผานไปบัญชีแยก
ประเภท

บริษัท ABCการคา จํากัด


งบกําไรขาดทุนและกําไรสะสม
สําหรับงวด 1 ป สิ้นสุด 31 ธันวาคม 2546
ขาย 720,000
หัก ตนทุนสินคาขาย :
สินคาตนป 42,000
บวก ซื้อ 460,000
สินคาที่มีไวเพื่อขาย 502,000
หัก สินคาปลายป 30,000
ตนทุนสินคาขาย 472,000
กําไรขั้นตน 248,000
คาใชจายดําเนินงาน :–
เงินเดือน 120,000
คาเชา 35,000

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 126 ~

คาใชจายเบ็ดเตล็ด 11,500
คาเสื่อมราคา-เครื่องใชสํานักงาน 2,800
คาเสื่อมราคา-เครื่องตกแตง 6,000
หนี้สงสัยจะสูญ 3,500
คาเบี้ยประกัน 30,000 208,800
กําไรสุทธิจากการดําเนินงาน 39,200
รายไดและคาใชจายอื่น ๆ
รายไดคาเชา 8,000
ดอกเบี้ยรับ 3,000 11,000
กําไรสุทธิ 50,200
กําไรสะสม-ตนป 20,200
กําไรสะสม-สิ้นป 70,400
บริษัท ABCการคา จํากัด
งบดุล
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2546
สินทรัพย
ทรัพยสินหมุนเวียน
เงินสด 1,700
ลูกหนี้ 70,000
หัก คาเผื่อหนี้สงสัยจะสูญ 3,500 66,500
ตั๋วเงินรับ 50,000
สินคาคงเหลือ 30,000
คาเบี้ยประกันจายลวงหนา 6,000
คาเชาจายลวงหนา 5,000
ดอกเบี้ยคางรับ 3,000 162,200
สินทรัพยถาวร
เครื่องใชสํานักงาน 14,000
หัก คาเสื่อมราคาสะสม 2,800 11,200
เครื่องตกแตง 30,000
หัก คาเสื่อมราคาสะสม 6,000 24,000 35,200
197,400

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 127 ~

หนี้สินและสวนของผูถอื หุน
หนี้สินหมุนเวียน
เจาหนี้ 63,000
คาเชารับลวงหนา 4,000
เงินเดือนคางจาย 10,000 77,000
สวนของผูถอื หุน
ทุนเรือนหุน 50,000
กําไรสะสม 70,400
197,400

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 128 ~

รายการปดบัญชี
วัน เดือน ป รายการ เดบิต เครดิต

2546
ธ.ค. 31 ตนทุนขาย 502,000
1 สินคาคงเหลือปลายป 42,000
ซื้อ 460,000
โอนปดบัญชีซอื้ เขาบัญชีตนทุนขาย
2 สินคาคงเหลือปลายป 30,000
ตนทุนขาย 30,000
บันทึกสินคาคงเหลือปลายงวด
3 ขาย 720,000
รายไดคาเชา 8,000
ดอกเบี้ยรับ 3,000
กําไรขาดทุน 731,000
โอนปดบัญชีขายและรายไดอื่น ๆ
4 กําไรขาดทุน 680,800
ตนทุนขาย (502,000–30,000) 472,000
เงินเดือน 120,000
คาเชา 35,000
คาเสื่อมราคา–เครื่องใชสํานักงาน 2,800
คาเสื่อมราคา–คาตกแตง 6,000
หนี้สงสัยจะสูญ 3,500
คาเบี้ยประกัน 30,000
คาใชจาเบ็ดเตล็ด 11,500
โอนปดบัญชีตน ทุนขายและคาใชจายตาง ๆ เขาบัญชี
กําไรขาดทุน
5 กําไรขาดทุน 50,200
กําไรสะสม 50,200
โอนปดบัญชีกาํ ไรขาดทุนเขาบัญชีกําไรสะสม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 129 ~

สมุดรายวันเฉพาะ

สมุดรายวันเฉพาะ (Specialized Jounals)


การบันทึกบัญชีสําหรับธุรกิจที่มีรายการคาไมมาก สามารถทําไดโดยใชสมุด
รายวันทั่วไปเพียงเลมเดียว แลวผานรายการไปบัญชีแยกประเภทที่เกีย่ วของ ซึ่งทําใหตอง
ใชเวลาในการบันทึกบัญชีคอ นขางมาก
และสิ้นเปลืองคาใชจาย
ดังนั้น ธุรกิจขนาดใหญรายการคามีจํานวนมาก จําเปนตองหาวิธีที่จะบันทึก
บัญชีใหรวดเร็วและประหยัดคาใชจาย วิธีการที่นํามาใชประการหนึ่ง คือ การใชสมุด
รายวันเฉพาะควบคูกับสมุดรายวันทั่วไป
สมุดรายวันเฉพาะ ถือเปนสมุดบันทึกรายการเบื้องตนประเภทหนึ่ง ใช
บันทึกรายการคาประเภทหนึ่ง ๆ ซึ่งเกิดขึ้นเปนประจําและมีจํานวนมาก เชน
รายการซื้อสินคาจํานวนมาก ใช สมุดรายวันซือ้
รายการขายสินคาจํานวนมาก ใช สมุดรายวันขาย
กิจการแตละแหงสามารถที่จะเลือกเปดสมุดรายวันเฉพาะมากนอยเทาใด
ขึ้นอยูกับความจําเปนหรือวัตถุประสงคของกิจการ
วิธีการเลือกเปดสมุดรายวันเฉพาะของกิจการ กระทําไดโดยการกําหนด
ประเภทรายการคาที่มีลักษณะเหมือนกัน หรือประเภทเดียวกันไวเปนพวก ๆ รายการคา
ประเภทใดที่มีจํานวนมาก ก็จะเปดสมุดรายวันเฉพาะสําหรับรายการคานั้น ๆ สวนรายการ
คาประเภทที่มีจํานวนนอยก็บันทึกในสมุดรายวันทั่วไปเหมือนเดิม
สมุดรายวันเฉพาะที่นิยมเปดใช มีดังนี้
1. สมุดเงินสด ใชบันทึกรายการ รับและจายเงินสด
2. สมุดรับเงิน ใชบันทึกรายการ รับเงินสด
3. สมุดจายเงิน ใชบันทึกรายการ จายเงินสด
4. สมุดซื้อ ใชบันทึกรายการ ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ
5. สมุดขาย ใชบันทึกรายการ ขายสินคาเปนเงินเชื่อ
สมุดเงินสด (Cash Book)
สมุดเงินสด เปนสมุดที่ใชบันทึกรายการรับและจายเงินสดของกิจการ ทําให
ทราบวากิจการมีการรับ-จายเงินเปนคาอะไรบาง เปนจํานวนเงินเทาใด อีกทั้งยังทราบถึง
เงินสดคงเหลือขณะใดขณะหนึ่ง ซึ่งเทากับวา สมุดเงินสดไดทําหนาที่คลายกับบัญชีแยก
ประเภทเงินสดอีกดวย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 130 ~

แบบของสมุดเงินสด มีความแตกตางกันขึ้นอยูกับวัตถุประสงคในการใชของ
กิจการแตละแหง สมุดเงินสดที่ใชโดยทั่วไปจะใชแบบบัญชีแยกประเภท กลาวคือ เมือ่ มี
การรับเงิน จะบันทึกทางดานเดบิต เมื่อมีการจายเงินจะบันทึกทางดานเครดิต

ตัวอยาง การบันทึกรายการรับ–จายเงินสดในสมุดเงินสด
2546
มิ.ย. 1 เงินสดคงเหลือยกมา 50,000 บาท
3 นายนพนําเงินสดมาลงทุนเพิ่ม 40,000 บาท
5 จายเงินซื้อเครื่องใชสํานักงาน 7,000 บาท
จายคาเชารานประจําเดือน 3,000 บาท
9 รับเงินคาขายสินคา 24,000 บาท
13 จายชําระหนี้ใหนายABC 8,000 บาท
18 รับชําระหนี้จากราน ABC 13,000 บาท
21 จายคาเบี้ยประกัน 8,000 บาท
23 จายคาใชจายเบ็ดเตล็ด 250 บาท
24 รับเงินคาขายสินคา 16,000 บาท
30 จายเงินซื้อสินคา 11,000 บาท
Dr. สมุดเงินสด Cr.
ว.ด.ป. เลขที่ รายการ รหัส จํานวน ว.ด.ป. เลขที่ รายการ รหัส จํานวน
ใบสําคั บัญชี เงิน ใบสําคั บัญชี เงิน
ญ ญ
2546 2546
มิ.ย. 1 ยอดยกมา 11 50,000 มิ.ย. 5 ซื้อเครื่องใชสํานักงาน 14 7,000
3 รับเงินลงทุน 31 40,000 13 จายคาเชาราน 52 3,000
9 รับคาขายสินคา 41 24,000 21 จายชําระหนี้ABC 21 8,000
18 รับชําระหนี้ราน 12 13,000 23 จายคาเบี้ยประกัน 53 8,000
ABC 30 จายคาใชจายเบ็ดเตล็ด 54 250
24 รับเงินคาขายสินคา 41 16,000 ซื้อสินคา 51 11,000
ยอดยกไป 105,750

143,000 143,000

ก.ค.1 ยอดยกมา 105,750

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 131 ~

หมายเหตุ 1. เงินสดเพิ่ม Dr. เงินสดลด Cr.


2. รายไดเพิ่ม Dr. คาใชจา ยเพิ่ม Cr.
3. รหัสบัญชีมี 5 หมวด
รหัส 1 หมวดสินทรัพย
รหัส 2 หมวดหนี้สิน
รหัส 3 หมวดทุน
รหัส 4 หมวดรายได
รหัส 5 หมวดรายจาย
จากตัวอยางจะเห็นไดวา สมุดเงินสดชวยใหการผานบัญชีทาํ ไดเร็วขึ้น
เพราะกิจการจะผานบัญชีเพียงดานเดียว เปรียบเสมือนสมุดเงินสดทําหนาที่เปนสมุดบันทึก
รายการขั้นตน (สมุดรายวันทั่วไป) และสมุดบันทึกรายการขั้นปลาย (บัญชีแยกประเภท)
ในกรณีถากิจการมีรายการรับ-จายเงินเปนจํานวนมาก อาจตองมีการกระจาย
งานใหพนักงานหลายคนชวยกันบันทึกบัญชี ซึง่ สามารถทําไดโดยการแบงสมุดเงินสดเปน
2 เลม คือ
1. สมุดเงินสดรับ (Cash Receipts Journals)
2. สมุดเงินสดจาย (Cash Payments Journals)
กรณีนี้ สมุดเงินสดรับ และสมุดเงินสดจาย จะทําหนาที่เพียงสมุดบันทึก
รายการเบื้องตนเทานั้น จะตองมีบัญชีแยกประเภทเงินสดดวย แมวาจะแยกเปน 2 เลม
แตการผานไปบังบัญชีแยกประเภทก็จะชวยประหยัดเวลาได เพราะดานเงินสดก็สามารถ
ผานไปบัญชีแยกประเภทเงินสดดวยยอดรวม
แบบของสมุ ด เงิ น สดรั บ และสมุ ด เงิ น สดจ า ย ไม มีแ บบที่แ น น อนตายตั ว
ทั้งนี้ขึ้นอยูกับลักษณะความจําเปนของแตละแหง กิจการแตละแหงสามารถพิจารณาเปด
ชองบัญชีเฉพาะไดตามวัตถุประสงค หรือตามปริมาณมากนอยของรายการคานั้น ๆ

สมุดซื้อ
สมุดซื้อ เปนสมุดที่ใชบนั ทึกรายการซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ ลักษณะของสมุด
ซื้อ คือ ชองรายการจะระบุชื่อ ผูทขี่ ายสินคาให (เจาหนี้) เพื่อจะไดบนั ทึกบัญชีเจาหนี้ ใน
บัญชีเจาหนี้รายตัวไดถูกตอง
ตัวอยาง การบันทึกรายการซื้อสินคาในสมุดซื้อ
2546
มิ.ย. 1 ซื้อสินคาจากราน ABC จํานวน 4,000 บาท
5 ซื้อสินคาจากราน นกนอย เปนเงิน 13,000 บาท เงือ่ นไขการชําระเงิน
2/10,n/30

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 132 ~

10 ซื้อสินคาจากราน ABC เปนเงิน 5,200 บาท


13 ซือ้ สินคาจากหาง พรเทพ เปนเงิน 8,400 บาท
17 ซือ้ สินคาจากราน คุณเอ เปนเงิน 21,000 บาท เงื่อนไขการชําระเงิน
2/10,n/30
28 ซื้อสินคาจากหาง พรเทพ เปนเงิน 7,000 บาท
สมุดซื้อ
วัน เดือน ป บัญชีทเี่ ครดิต เงื่อนไข หนาบัญชี จํานวนเงิน

2546
มิ.ย. 1 ราน ABC 3 4,000
5 ราน นกนอย 2/10,n/30 3 13,000
10 รานABC 3 5,200
13 หาง พรเทพ 3 8,400
17 ราน คุณเอ 2/10,n/30 3 21,000
28 หาง พรเทพ 3 7,000
58,600
การผานบัญชี ในวันที่มกี ารซื้อสินคาเปนเงินเชื่อ จะผานจํานวนเงินของแต
ละรายการไปบัญชีแยกประเภทเจาหนี้รายตัว แลวใสเครื่องหมาย (3) ในชอง “หนาบัญชี”
เพื่อใหทราบวามีการผานบัญชีเจาหนี้รายตัวเรียบรอยแลว
ในวันสิ้นเดือน จะผานรายการซื้อทั้งหมดไปบัญชีแยกประเภทซื้อทางดานเด
บิต และผานดานเครดิตไปบัญชีแยกประเภทเจาหนี้ (หรือบัญชีคมุ ยอด)
Dr. ซื้อ (51) xx
Cr. เจาหนี้ (21) xx
Dr. ซื้อ
(51) Cr.
2546
มิ.ย. 30 สมุดซื้อ 58,600
Dr. เจาหนี้
(21) Cr.
2546
มิ.ย. 30 สมุดซื้อ 58,600

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 133 ~

บัญชีแยกประเภทรายตัว ซึ่งเปนบัญชีแยกประเภทยอยจะมีรายการเฉพาะ
บัญชีทมี่ ีชอื่ ในสมุดซื้อเทานั้น เชน
ราน ABC
วัน เดือน ป รายการ หนาบัญชี เดบิต เครดิต คงเหลือ

2546
มิ.ย. 1 สมุดซื้อ 4,000 4,000

สมุดขาย
การบันทึกรายการขายสินคาเปนเงินเชื่อในสมุดขาย และการผานบัญชีแยก
ประเภททั่วไป และแยกประเภทยอย มีลักษณะเหมือนกับการบันทึกรายการในสมุดซื้อ
ตัวอยาง การบันทึกรายการขายสินคาในสมุดขาย
2546
มิ.ย. 3 ขายสินคาใหนายABCเปนเงินเชื่อ 10,000 บาท
6 ขายสินคาใหราน ABC เปนเงินเชื่อ 8,500 บาท
11 ขายสินคาใหราน นกนอย เปนเงินเชื่อ 14,000 บาท
18 ขายสินคาใหราน คุณเอ เปนเงินเชือ่ 7,500 บาท
20 ขายสินคาใหรานคุณ พรเทพ เปนเงินเชื่อ 31,000 บาท
สมุดขาย
สมุดขาย
วัน เดือน ป บัญชีที่เครดิต เงื่อนไข หนาบัญชี จํานวนเงิน

2546
มิ.ย. 3 รานABC 3 10,000
6 ราน ABC 3 8,500
11 ราน นกนอย 3 14,000
18 ราน คุณเอ 3 7,500
20 หาง พรเทพ 3 31,000
71,000

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 134 ~

Dr. ลูกหนี้ (21) xx


Cr. ขาย (41) xx
ลูกหนี้ 12
2546
มิ.ย. 30 สมุดขาย 71,000

นายABC
วัน เดือน ป รายการ หนาบัญชี เดบิต เครดิต คงเหลือ

2546
มิ.ย. 3 สมุดขาย 10,000 10,000

ตัวอยาง การบันทึกรายการในสมุดรายวันเฉพาะ
บริษทั ABCการคา จํากัด มีสินทรัพย หนี้สิน คงเหลือยกมาเมื่อวันที่ 1 มกราคม
2546 ดังนี้
เงินสด 15,000 บาท
เงินฝากธนาคาร 34,500 บาท
ลูกหนี้-นาย พรเทพ 1,700 บาท
ลูกหนี้-นายสมบูรณ 1,340 บาท
ลูกหนี้-นางสาวเอ 2,180 บาท
สินคา 13,000 บาท
เครื่องตกแตง 2,400 บาท
เจาหนี้-นายสมเกียรติ 3,470 บาท
เจาหนี้-นายสมหมาย 2,150 บาท
ตั๋วเงินจาย 13,000 บาท
ทุน 400 หุน @ 100 บาท 40,000 บาท
กําไรสะสม 11,500 บาท
รายการคาในเดือน มกราคม มีดังตอไปนี้
ม.ค. 2 ขายสินคาไดเงินสด 1,500 บาท
5 ขายสินคาเชื่อใหนาย พรเทพ 3,000 บาท ลดให 3% ในราคาสินคาเงื่อนไข
2/10,n/30
6 ซื้อสินคาดวยเช็ค 13,000 บาท

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 135 ~

7 จายคาขนสงสินคาที่ซื้อเมื่อวันที่ 6 ม.ค. 500 บาท


10 ชําระหนี้ใหนายสมหมาย 1,000 บาท นายสมหมายยอมใหสวนลด 2% สําหรับการ
ชําระหนี้บางสวน
11 ซื้อสินคาเชื่อจากนายสมเกียรติ 2,500 บาท เงื่อนไข 2/10,n/30 จายคาขนสงแทน
นายสมเกียรติไปกอน 100 บาท
13 ขายสินคาเชื่อใหนายสมบูรณ 15,000 บาท เงื่อนไข 2/10,n/30
16 รับคืนสินคาทีข่ ายใหนายสมบูรณ 400 บาท พรอมทั้งรับชําระหนีท้ ี่คางอยูทั้งสิน้ เปนเงินสด
17 รับชําระหนี้จากนาย พรเทพ 1,700 บาท
18 จายชําระหนีท้ ั้งหมด ใหนายสมเกียรติ
20 ซื้อสินคาเปนเงินเชื่อจากนายสมหมาย 4,000 บาท เงื่อนไข 2/10,n/30
21 สงคืนสินคาทีซ่ ื้อมาจากนายสมหมาย 500 บาท
24 ขายสินคาเปนเงินสด 2,100 บาท
26 จายเงินสดเปนคาสินคาที่รบั คืนจากการขายเมื่อวันที่ 24 ม.ค. เปนเงิน 100 บาท
27 นําเงินสดฝากธนาคาร 10,000 บาท
30 จายเงินเดือน 3,000 บาท หักภาษีไว 100 บาท คงจายเงินสดใหผูรับเพียง 2,900 บาท
30 จายคาเชา 1,000 บาท

ใหทํา 1. บันทักยอดยกมาจากเดือนกอนในสมุดแยกประเภททั่วไป และสมุดแยกประเภทลูกหนี้


และเจาหนี้
2. บันทึกรายการคาระหวางเดือนมกราคมในสมุดขั้นตนตาง ๆ ที่มีใชอยู คือ สมุดรายวัน
ทั่วไป สมุดรายวันรับเงิน สมุดรายวันจายเงิน สมุดรายวันซื้อและขาย
3. ผานรายการไปบัญชีแยกประเภทตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
4. งบทดลองวันที่ 31 มกราคม 2546
สมุดแยกประเภททั่วไปใชบนั ทึกบัญชีทรัพยสิน หนี้สินและทุน และผลกระทบของเงินสดรับ-จาย (งบดุล)
เงินสด 11
2546 2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 15,000 ม.ค. 31 สมุดรายวันรับเงิน 21,400
31 สมุดรายวันรับเงิน 20,948 15,548
35,948 35,948

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 136 ~

เงินฝากธนาคาร 12
2546 2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 34,500 ม.ค. 31 สมุดรายวันรับเงิน 13,000
31 สมุดรายวันรับเงิน 10,000 31,500
44,500 44,500
ลูกหนี้ 13
2546 2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 5,220 ม.ค. 16 รับคืน 400
31 สมุดขาย 17,910 31 สมุดรายวันรับคืน 17,640
23,130 5,090
23,130
สินคา 14
2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 13,000
เครื่องตกแตง 15
2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 2,400

เจาหนี้ 21
2546 2546
ม.ค. 16 สงคืน 500 ม.ค. 1 ยอดยกมา 5,620
31 สมุดรายวันจายเงิน 6,790 31 สมุดขาย 6,500
4,650 12,120
12,120

ตั๋วเงินจาย
2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 13,000

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 137 ~

ทุน 31
2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 40,000

กําไรสะสม 32
2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 11,500

สมุดแยกประเภทลูกหนี้รายตัว
นาย พรเทพ
วัน เดือน ป รายการ หนาบัญชี เดบิต เครดิต คงเหลือ

2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 1,700 1,700
5 สมุดขาย ข. 1 2,910 4,610
17 สมุดรายวันรับเงิน รง. 1 1,700 2,910

นายสมบูรณ
วัน เดือน ป รายการ หนาบัญชี เดบิต เครดิต คงเหลือ

2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 1,340 1,340
13 สมุดขาย ข. 1 15,000 16,340
16 สมุดรายวันทัว่ ไป รว. 1 400 15,940
สมุดรายวันรับเงิน รง. 1 15,940

นางสาวเอ
วัน เดือน ป รายการ หนาบัญชี เดบิต เครดิต คงเหลือ

2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 2,180 2,180

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 138 ~

นายสมเกียรติ
วัน เดือน ป รายการ หนาบัญชี เดบิต เครดิต คงเหลือ

2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 3,470 3,470
11 สมุดซื้อ ซ. 1 2,500 5,970
สมุดรายวันจายเงิน จง. 1 100 5,870
สมุรายวันจายเงิน จง. 1 5,870

นายสมหมาย
วัน เดือน ป รายการ หนาบัญชี เดบิต เครดิต คงเหลือ

2546
ม.ค. 1 ยอดยกมา 2,150 2,150
10 สมุดรายวันจายเงิน จง. 1 1,000 1,150
20 สมุดซื้อ ซ. 1 4,000 5,150
21 สมุดรายวันทัว่ ไป รว. 1 500 4,650

สมุดรายวันขัน้ ตนที่เกีย่ วของ


สมุดรายวันรับเงิน
เดบิต เครดิต
ว.ด.ป. รายการ เงินฝาก สวนลด บัญชีอื่น ๆ
เงินสด ลูกหนี้ ขาย
ธนาคาร จาย ชื่อบัญชี เลขที่ จํานวนเงิน
2546
ม.ค. 1 ขายสินคาเปนเงินสด 1,500 1,500
16 รับชําระหนีจ้ ากลูกหนี้–นาย 15,648 292 15,940
สมบูรณ
17 รับชําระหนีจ้ ากลูกหนี้–นาย พร 1,700 1,700
เทพ
24 ขายสินคาเปนเงินสด 2,100 2,100

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 139 ~

27 นําเงินสดฝากธนาคาร 10,000 เงินสด C 10,000


20,948 10,000 292 17,640 3,600 10,000
(11) (12) (43) (12) (41)

หมายเหตุ 1. เมื่อวันที่ 16 รับชําระหนี้จากนายสมบูรณไดสวนลด 2% คํานวณจาก


วันที่ 13 ขายสินคาใหนายสมบูรณ 15,000 บาท
วันที่ 16 รับคืนสินคาจากนายสมบูรณ 400 บาท
ยอดหนี้ที่ตองชําระ 14,600 บาท 2/10,n/30
สวนลดจาย = 14,600 x 2% = 292 บาท
2. จากสมุดแยกประเภทลูกหนี้-นายสมบูรณ
ยอดรับชําระหนี้ ณ วันที่ 16 = 15,940–292 บาท
รับชําระเปนเงินสด = 15,648 บาท
สมุดรายวันจายเงิน
เครดิต เดบิต
ว.ด.ป. รายการ เงินฝาก สวนลด บัญชีอื่น ๆ
เงินสด เจาหนี้ ซื้อ
ธนาคาร รับ ชื่อบัญชี เลขที่ จํานวนเงิน
2546
ม.ค. 6 ซื้อสินคาดวยเช็ค 13,000 13,000
7 จายคาขนสง 500 คาขนสงเขา 52 500
10 จายชําระหนี้ไดสวนลด 2% 980 20 1,000
11 จายคาขนสงแทนเจาหนี้ 100 100
18 จายชําระหนี้ใหเจาหนี้นายสมเกียรติ 5,820 50 5,870
26 รับคืนสินคาจายเงินสด 100 รับคืน 42 100
27 นําเงินสดฝากธนาคาร 10,000 เงินฝาก ธ. C 10,000
30 จายเงินเดือน 2,900 เงินเดือน 55 2,900
31 จายคาเชา 1,000 คาเชา 56 1,000
21,400 13,000 70 6,970 13,000 14,500
(11) (12) (54) (21) (51)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 140 ~

หมายเหตุ 1. วันที่ 18 ชําระหนี้นายสมเกียรติคาซื้อสินคามาวันที่ 11 2,500 บาท 2/10,n/30


เพราะฉะนั้น สวนลดรับ = 2,500x2% = 50 บาท
2. จากสมุดแยกประเภทรายตัวเจาหนี้นายสมเกียรติ มียอด = 5,870
เพราะฉะนั้น ชําระหนี้เปนเงินสด = 5,870–50 = 5,820 บาท
3. กิจการจายคาขนสงแทนนายสมเกียรติไปกอน 100 บาท ดังนั้นไมใชคาใชจายของ
กิจการแตเปนของนายสมเกียรติ จึงนําไปลดยอดเจาหนี้
สมุดรายวันขายและสมุดรายวันซื้อ
สมุดขาย ข. 1
วัน เดือน ป บัญชีที่เดบิต เงื่อนไข หนาบัญชี จํานวนเงิน

2546
ม.ค. 5 นาย พรเทพ 2/10,n/30 2,910
13 นายสมบูรณ 2/10,n/30 15,000
17,910

สมุดซื้อ ซ. 1
วัน เดือน ป บัญชีที่เครดิต เงื่อนไข หนาบัญชี จํานวนเงิน

2546
ม.ค. 11 นายสมเกียรติ 2/10,n/30 2,500
20 นายสมหมาย 2/10,n/30 4,000
6,500
สมุดรายวันทัว่ ไปใชบันทึกเฉพาะรายการที่ไมกระทบกับเงินสด และรายการปรับปรุงตาง ๆ
สมุดรายวันทัว่ ไป
วัน เดือน ป รายการ เลขทีบ่ ัญชี เดบิต เครดิต

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 141 ~

2546
ม.ค. 16 รับคืน 42 400
ลูกหนี–้ สมบูรณ 13 400
รับคืนสินคาจากลูกหนี้
21 เจาหนี–้ สมหมาย 21 500
สงคืน 43 500
สงคืนสินคาใหเจาหนี้
30 เงินเดือน 54 100
ภาษีหัก ณ ทีจ่ าย 23 100
จายเงินเดือนหักภาษี ณ ทีจ่ าย

การผานรายการไปบัญชีแยกประเภทตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับการดําเนินงาน (งบกําไรขาดทุน)


ซื้อ 51
2546
ม.ค. 31 สมุดรายวันจายเงิน 13,000
สมุดซื้อ 6,500
19,500
ขาย 41
2546
ม.ค. 31 สมุดรายวันรับเงิน 3,600
สมุดขาย 17,910
21,510
รับคืน 42
2546
ม.ค. 16 ลูกหนี้ 400
สมุดรายวันจายเงิน 100
500
สงคืน 53
2546
ม.ค. 21 เจาหนี้ 500

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 142 ~

สวนลดจาย 43
2546
ม.ค. 31 เจาหนี้ 292
สวนลดรับ 54
2546
ม.ค. 31 สมุดรายวันจายเงิน 70
คาขนสงเขา 52
2546
ม.ค. 7 สมุดรายวันจายเงิน 500
เงินเดือน 55
2546
ม.ค. 31 สมุดรายวันจาย 2,900
ภาษีหัก ณ ที่จาย 100
3,000
คาเชา 56
2546
ม.ค. 7 สมุดรายวันจาย 1,000
ภาษีหัก ณ ทีจ่ าย 23
2546
ม.ค. 31 เงินเดือน 100

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 143 ~

บริษัท ABCการคา จํากัด


งบทดลอง
31 มกราคม 2546
ชื่อบัญชี เลขที่บัญชี เดบิต เครดิต

เงินสด 11 14,548
เงินฝากธนาคาร 12 31,500
ลูกหนี้ 13 5,090
สินคา 14 13,000
เครื่องตกแตง 15 2,400
เจาหนี้ 21 4,650
ตั๋วเงินจาย 22 13,000
ภาษีหัก ณ ทีจ่ าย 23 100
ทุน 31 40,000
กําไรสะสม 32 11,500
ขาย 41 21,510
รับคืน 42 500
สวนลดจาย 43 292
ซื้อ 51 19,500
คาขนสงเขา 52 500
สงคืน 53 500
สวนลดรับ 54 70
เงินเดือน 55 3,000
คาเชา 56 1,000
91,330 91,330

*************************************************************************

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 144 ~

ความรูเกี่ยวกับการพัฒนาชนบท และชุมชน

ความหมายของการพัฒนาชุมชน
สุวิทย ยิ่งวรพันธ (2509) ไดใหความหมายวา การพัฒนาชุมชน คือ กระบวนการที่
มุงสงเสริมความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น ทั้งนี้ โดยประชาชนเขารวมมือและริเริ่ม
ดําเนินงานเอง และสรุปความหมายของการ “พัฒนาชุมชน” ไวดังนี้ คือ
1. การปรับปรุงสงเสริมใหชุมชนหนึ่งดีขึ้นหรือมีวิวัฒนาการดีขึ้น
2. การสงเสริมใหชุมชนนั้น ๆ มีวิวัฒนาการดีขึ้น คือ เจริญทั้งดานเศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม
3. การพัฒนาชุมชนนั้น จะตองพัฒนาทางดานวัตถุและพัฒนาดานจิตใจ
3.1 การพัฒนาดานวัตถุ คือ การสรางความเจริญใหแกชุมชน เพื่อสงเสริมใหเกิดมี
หรือเปลี่ยนแปลงในสิ่งที่เห็นโดยแจงชัด เชน การสงเสริมดานการผลิตผล การสงเสริมระบบ
ขนสง การคมนาคม การชลประทาน และดานอื่น ๆ
3.2 การพัฒนาดานจิตใจ คือ การสรางความเจริญ โดยมุงจะใหการศึกษาอบรม
ประชาชน ซึ่งรวมทั้งการใหการศึกษาตามโรงเรียน มหาวิทยาลัย ตามโครงการของ
กระทรวงศึกษาธิการและการศึกษานอกระบบโรงเรียน
4. การพัฒนาชุมชน คือ กระบวนการที่สงเสริมความเปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น
ทั้งนี้ โดยประชาชนเขารวมมือและริเริ่มดําเนินงานเอง
Arthur Dunham กลาววา การพัฒนาชุมชน คือ การรวมกําลังดําเนินการปรับปรุง
สภาพความเปนอยูของชุมชนใหมีความเปนปกแผนและดําเนินงานไปในแนวทางที่ตนเอง
ตองการ โดยอาศัยความรวมกําลังของประชาชนในชุมชนนั้นในการชวยเหลือตนเองและ
รวมมือกันดําเนินงาน และตองไดรับการสนับสนุนชวยเหลือทางดานวิชาการจากหนวยงาน
ภายนอก
องคการสหประชาชาติ (2505) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนาชุมชน เปนขบวนการ
ซึ่ง ประชาชนทั้งหลายไดพยายามรวบรวมกันทํ าเองและมาร วมกั บเจ าหน าที่ ของรั ฐบาล
เพื่อที่จะทําใหสภาพเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของชุมชนนั้น ๆ เจริญดีขึ้นและผสมผสาน
ชุมชนเหลานั้นเขาเปนชีวิตของชาติและเพื่อที่จะทําใหประชาชนอุทิศกาย ใจ ความคิด
ความรู และทรัพย เพื่อความเจริญเติบโตของชาติอยางเต็มที่

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 145 ~

องคการบริหารวิเทศกิจของสหรัฐอเมริกา (2505) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนา


ชุมชน เปนขบวนการแหงการกระทําทางสังคม ซึ่งประชาชนในชุมชนนั้นรวมกันจัดการ
วางแผนและลงมือกระทําการเอง พิจารณาใหรูชัดวา กลุมหรือเอกชนมีความตองการหรือ
ขาดแคลนอะไร มีปญหาอะไรซึ่งเปนปญหารวมกัน แลวจึงจัดทําแผนเพื่อขจัดความขาด
แคลนหรือบําบัดความตองการ หรือแกปญหาตางๆ โดยที่พยายามใชทรัพยากรที่มีอยูใน
ชุมชนนั้น ๆ ใหมากที่สุดและถาจําเปน อาจจะขอความชวยเหลือจากภายนอก คือ รัฐ หรือ
องคกรอื่น เพียงเทาที่จําเปน
สัญญา สัญญาวิวัฒน (2515) ใหคําจํากัดความวา การพัฒนาชุมชน เปนการ
เปลี่ยนแปลงที่มีการกําหนดทิศทาง (Directed Change) ซึ่งทิศทางที่กําหนดขึ้น ยอมตอง
เปนผลดีสําหรับกลุมชนหรือชุมชน การพัฒนาจึงอาจเรียกไดวา เปนการเปลี่ยนแปลงที่พึง
ปรารถนา (Desired Change) หรือการเปลี่ยนแปลงที่ถูกพอกพูนดวยคานิยม (Value
Loaded Change) ตามระบบคานิยมของชุมชนซึ่งเปนเครื่องกําหนดความมีคุณคาหรือไร
คุณคาของสิ่งตาง ๆ
ไพฑูรย เครือแกว (2518) ใหทัศนะวา การพัฒนาชุมชน เปนกระบวนการพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมที่จะทําใหชีวิตทุกดานของชาวชนบทมีการเจริญกาวหนาขึ้นพรอม ๆ กัน
สาย หุตเจริญ (2512) ใหความหมายวา การพัฒนาชุมชน เปนวิธีการสรางชุมชนให
เจริญโดยอาศัยกําลังความสามารถของประชาชนและความชวยเหลือของรับบาลรวมกัน
พัฒน บุณยรัตพันธ (2515) ใหทัศนะวา การพัฒนาชุมชน เปนขบวนการอยางหนึ่ง
ที่รัฐบาลนํามาใช เพื่อเปนการกระตุนเตือน ยั่วยุ และสงเสริมประชาชนในชนบท ใหเกิด
ความคิดริเริ่มขึ้นและเสริมสรางทองถิ่นใหกาวหนา ทั้งในดานเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
และการดูแลตนเองตามระบอบประชาธิปไตย
ปรีชา กลิ่นรัตน กลาววา การพัฒนาชุมชน เปนกระบวนการที่มุงสงเสริมความ
เปนอยูของประชาชนใหดีขึ้น โดยความรวมมืออยางจริงจังของประชาชน และควรเปน
ความคิดริเริ่มของประชาชนเองดวย แตถาประชาชนไมรูจักริเริ่ม ก็ใหใชเทคนิคกระตุนเตือน
ใหเกิดความคิดริเริ่ม ทั้งนี้ เพื่อใหกระบวนการนี้ไดรับการตอบสนองจากประชาชนดวยการ
กระตือรือรนอยางจริงจัง

ความสําคัญของการพัฒนาชุมชน
ในปจจุบันงานดานการพัฒนาชุมชนมีความสําคัญตอการพัฒนาประเทศมาก เพราะ
สภาพปญหาของการพัฒนาชุมชนนั้นเปนวงจรที่สงผลกระทบตอกันเปนลูกโซ จากความไมรู

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 146 ~

สูความจนและการเจ็บปวย ซึ่งเปนอุปสรรคในการพัฒนา เปนวัฏจักรแหงความชั่วราย ดังนั้น


ทุกหนวยงานทุกองคกร ตองชวยกันขจัดปญหาเหลานี้ใหหมดไป
ความยากจนในชนบท เปนปญหาหลักที่ทุกหนวยงานพยายามหาทางแกไข โดยการ
เพิ่มพูนรายไดของประชาชนใหสูงขึ้น (Increasing Income) แตในการพัฒนาที่ผานมา พบวา
ยิ่งมีการพัฒนายิ่งทําใหประชาชนยากจนลง กลาวคือ จากการมุงพัฒนาประเทศเพื่อให
ทัดเทียมนานาอารยประเทศ โดยเนนการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม ใน
ขณะเดียวกัน ภาคเกษตรกรรมซึ่งเปนประชากรเนนการพัฒนาทางดานเศรษฐกิจและ
อุตสาหกรรม ในขณะเดียวกันภาคเกษตรกรรมซึ่งเปนประชากรสวนใหญของประเทศ ไมได
รับการดูแลอยางทั่วถึง อันเปนเหตุใหเกิดความแตกตางทางฐานะของบุคคลสองกลุม กลุม
หนึ่งมีจํานวนไมมาก มีฐานะร่ํารวย มีอํานาจทางเศรษฐกิจ กับอีกกลุมหนึ่งเปนคนสวนมาก
อาชีพหลัก คือ เกษตรกรรม ซึ่งความไมเปนธรรมในการกระจายรายได กําลังกลายเปน
ปญหาที่สําคัญ ความแตกตางระหวางเมืองกับชนบทมีมากขึ้น ประชาชนในภาคอีสานมีฐานะ
ทางเศรษฐกิจต่ําลงเมื่อเปรียบเทียบกับประชาชนในภาคอื่น ๆ ดัชนีที่นักเศรษฐศาสตรสราง
ขึ้นมาเพื่อวัดการกระจายรายไดของประเทศ วามีความเทาเทียมกันมากนอยเพียงใด คือ
Gini-coefficient (G-C) คาดัชนี G-C 7 จะมีคาระหวาง 0 ถึง 1 ถา G-C มีคาเขาใกล 1 มา
เทาใด แสดงวา การกระจายรายไดจะเลวลง ในทางตรงขามถา G-C จะมีคาเขาใกล 0 แสดง
วา การกระจายรายไดมีความเทาเทียมกันมากขึ้น ในป 2535 คา G-C = 0.536 ซึ่งนับวามี
คาสูงสุดในบรรดาคา G-C ที่ไดมีการวัดขึ้นมาในอดีต คือ ป 2518 คา G-C = 0.451 ป 2524
คา G-C = 0.473 ป 2533 คา G-C = 0.504 จากการกระจายรายไดที่มีลักษณะตกต่ําลงเรื่อย
ๆ เปนสิ่งที่ยืนยันความเชื่อที่วา แมวาประเทสไทยจะประสบความสําเร็จอยางสูงทางดานการ
เจริญเติบโตของระบบเศรษฐกิจและอุตสาหกรรม แตความเจริญดังกลาวไมไดกระจายไปสู
ประชาชนโดยทั่วหนากัน แตหากกระจุกตัวอยูกับกลุมคนบางกลุมเทานั้น
จากการวิเคราะหปญหาความเลื่อมล้ําทางสังคมและความยากจน ความยากจนเกิด
จากปจจัยตาง ๆ ซึ่งมีความเกี่ยวของเชื่อมโยงกัน มีลักษณะเปนลูกโซ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 147 ~

วัฏจักรแหงความยากจน

การมีทุนนอย
(Capital Deficiency)

การลงทุนต่ํา การมีเงินออมต่ํา ผลิตภาพต่ํา


(Low Investment) (Low Savings) (Low Productivity)

การมีอุปสงคต่ํา การมีรายไดที่แทจริงต่ํา
(Low Demand) (Low Real Income)

ดังนั้น การพัฒนาชุมชน จึงมีความจําเปนอยางยิ่งที่จะชวยลดชองวางทางสังคมและ


ขจัดปญหาความยากจนในชุมชนใหลดนอยลง ซึ่งจําเปนตองอาศัยความรวมมือจากทุกฝาย
ทั้งภาครัฐบาล เอกชน องคกรชุมชน นักวิชาการ และองคกรธุรกิจ โดยเฉพาะอยางยิ่ง
ภาครัฐบาล ซึ่งเปนองคกรหลักในการพัฒนา ตองใหความสําคัญตอการพัฒนา โดยเฉพาะ
อยางยิ่ง การพัฒนาโดยการบรรจุไวในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ซึ่งเปน
แนวทางและมีมาตรฐานในการปฏิบัติเปนขั้นตอนและมีความตอเนื่อง ตามโครงการที่กําหนด
เพื่อขจัดปญหาความยากจนใหหมดสิ้นไป

จุดมุงหมายในการพัฒนาชุมชน
จุดมุงหมายในการพัฒนาที่นักพัฒนาจะตองระลึกอยูเสมอ เพื่อชวยใหการดําเนินงาน
ไปสูจุดหมาย ก็คือ
1. เพื่อพัฒนาคนใหมีประสิทธิภาพ
2. สงเสริมใหประชาชนรวมมือกันในการพัฒนาหมูบานของตนเอง
3. สงเสริมใหประชาชนรูสึกภาคภูมิใจที่จะอาศัยและประกอบอาชีพในหมูบานของ
ตนอยางสงบสุข
4. สงเสริมฐานะทางเศรษฐกิจของครอบครัวและชุมชนใหดีขึ้น
5. สงเสริมความสามารถของแตละบุคคล ใหแตละคนนําเอาความสามารถในตัวเอง
ออกมาใชใหเปนประโยชน
6. สงเสริมการรวมกลุมในการดําเนินชีวิตตามระบอบประชาธิปไตย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 148 ~

7. เพื่อพัฒนาสิ่งแวดลอมในสังคมใหดีขึ้น
8. เพื่อสงเสริมใหประชาชนสามารถแกปญหาของตนเองและชุมชนได
9. เพื่อกระตุนใหประชาชนไดมีสวนรวมในการพัฒนาตนเอง ชุมชน ประเทศชาติ
10. เพื่อใหการศึกษาแกประชาชนในทุกรูปแบบเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตของตนเอง
และครอบครัวใหดีขึ้น
จากจุดหมายดังกลาวแลว ถานักพัฒนาไดดําเนินการใหบรรลุตามความมุงหมายที่ได
วางไว นับวาการพัฒนาไดเกิดขึ้นแลวในชุมชน (วรรณี เลาสุวรรณ, 2526)

แนวคิดที่เกี่ยวกับชุมชน
“ชุมชน” มีนัยและความหมายที่เปนไปตามพลวัตหรือกระแสของสังคม แตถา
พิจารณาโดยละเอียด จะพบวา นักวิชาการ นักพัฒนา หรือผูคนที่ใหความหมายของคําวา
“ชุมชน” ลวนตางใหความหมายที่สอดคลองกับความรู ทัศนคติ หรือโดยมีจุดมุงหมายที่หวัง
ชวงชิงอํานาจในการนิยามความหมายของตนเพื่อผลประโยชนประการใดประการหนึ่ง
ความเป น ชุ ม ชนหรื อ ความเป น หมู ค ณะมี ก ารเปลี่ ย นแปลงและเคลื่ อ นไหวอยู
ตลอดเวลา การจํากัดคํานิยามของคําวา “ชุมชน” ไวในแนวใดแนวหนึ่งยอมจะขาดความ
หลากหลายหรือความไมเขาใจในความเปนชุมชนและถาพิจารณาโดยรวมก็จะเห็นวา ความ
เปนชุมชนนั้น เนนเรื่องของความสัมพันธและการเกาะเกี่ยวกันของเพื่อนมนุษยในระดับ
ตางๆ อยางไรก็ตาม การพยายามทําความเขาใจแนวคิดตาง ๆ เหลานี้ยอมจะกอใหเกิด
ประโยชน แ ก ผู ศึ ก ษาในการที่ จ ะเลื อ กความเหมาะสมและสอดคล อ งกั บ ฐานปฏิ บั ติ ก าร
(Practical Base) ของตน
โดยแนวคิดแลว “ชุมชน” มีความหมายที่หลากหลายและสามารถจะจัดกลุมตามนัย
หรือความหมายที่ใกลเคียงกันได 4 แนวคิด คือ
1. แนวคิดทางสังคมวิทยา (Sociological Perspective)
2. แนวคิดทางมานุษยวิทยา (Humanistic Perspective)
3. แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนประชาคม (Civil Society Perspective)
4. แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนในรูปแบบใหม (Virtual Community Perspective)

1. แนวคิดทางสังคมวิทยา (Sociological Perspective)


ตามแนวคิดนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 149 ~

ชุมชนมีฐานะเปนหนวยทางสังคม (Community as unit of Social Organization)


และนิยามความหมายวา “ชุมชน” หมายถึง หนวยทางสังคมและกายภาพ อันไดแก ละแวด
บาน หมูบาน เมือง มหานคร
George Hillary (Poplin, 1979) ไดพยายามหาความหมายรวมจากคําจํากัดความ
ของชุมชนที่มีผูใหความหมายไวมากมาย โดยสรุปหาลักษณะความหมายตาง ๆ ไดวา
ชุมชน ประกอบไปดวย
1. อาณาบริเวณทางภูมิศาสตร (Geographical area-territorial)
2. ปฏิสัมพันธทางสังคม (Social interaction-sociological)
3. มีความผูกพัน (Common ties-psycho cultural)
อยางไรก็ตาม มีผูโตแยงวิธีการสรุปคําจํากัดความในแบบของ Hillary วาไมอาจหาคํา
จํากัดความตายตัวมาอธิบายลักษณะของชุมชนทุกชุมชน เพราะแตละชุมชนจะมีความ
แตกตางกันออกไป หากพยายามจะหาลักษณะรวมแลว ธาตุแทของชุมชนบางชุมชนจะขาด
หายไปจากคําจํากัดความอันเปนคํากลางนั้น (Plant, 1974)
ในขณะที่ Poplin (1979) ไดกลาวถึงชุมชนใน 5 สถานะ คือ
1. กลุมคนที่มาอยูรวมกันในพื้นที่หรือบริเวณหนึ่ง (Geographical area)
2. สมาชิกมีการติดตอระหวางกันทางสังคม (Social Relationship)
3. สมาชิกมีความสัมพันธตอกันทางสังคม (Social Relationship)
4. มีความผูกพันทางดานจิตใจตอระบบนิเวศ (Psycho-Ecological Relationship)
5. มีกิจกรรมสวนรวม เพื่อใชประโยชน (Central Activities for Utilization)

แนวคิดของ Hillary และ Poplin ไดเปนแนวคิดในการวิเคราะหชุมชนของนักสังคม


วิทยาในรุนตอมาและนําเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการมองชุมชนในฐานะทั้ง 3 ประการ คือ
ชุมชนในฐานะหนวยทางภูมิศาสตร (Community as a territorial unit)
การพิจารณาชุมชนในมิตินี้มีความสําคัญ คือ ทําใหชุมชนมีลักษณะเปนรูปธรรม มี
หลักแหลงที่ตั้งแนนอนและสมาชิกสามารถระบุที่อยูของตนได
1. อาณาบริเวณทางภูมิศาสตรมีอิทธิพลตอชุมชน จะเห็นไดวาในหลายกรณี สภาพ
ทางภู มิ ศ าสตร จ ะเป น ตั ว กํ า หนดสถานที่ ตั้ ง และศั ก ยภาพในการเจริ ญ เติ บ โตของชุ ม ชน
กลาวคือ ชุมชนมักจะเกิดขึ้นในบริเวณที่มีทรัพยากรธรรมชาติสมบูรณ หรือที่ซึ่งมีการ
คมนาคมสะดวกเหมาะแกการตั้งถิ่นฐานอยางถาวร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 150 ~

2. ชุมชนมีอิทธิพลตออาณาบริเวณทางภูมิศาสตร แมวาตัวแปรเกี่ยวกับอาณา
บริเวณทางภูมิศาสตร จะมีอิทธิพลตอสถานที่ตั้งและพบวัตการเจริญเติบโตของชุมชน
(Growth and Dynamics of Community) แตการปรับตัวของคนตออาณาบริเวณทาง
ภูมิศาสตรของชุมชนก็ขึ้นอยูกับวัฒนธรรมและภูมิปญญาทองถิ่นดวย ดังนั้น มนุษยเองมีสวน
ในการกระทําตอภาวะแวดลอมของตนไมวาจะโดยทางบวกหรือทางลบ เชน
2.1 การปรับใหสิ่งแวดลอมทางกายภาพใหสอดคลองกับความตองการและความ
จําเปนของมนุษย เชน การทํานาแบบขั้นบันได การสรางเหมืองฝายชลประทาน ปรับปรุง
แกไขสรางที่อยูอาศัยใหสอดคลองกับสภาพภูมิศาสตร
2.2 ทําลายสิ่งแวดลอม เชน การตัดไมทําลายปา
การศึกษาชุมชนตามแนวคิดทางสังคมวิทยาถือวา ตัวแปรทางดานภูมิศาสตรจะเปน
สิ่งที่ละเลยเสียมิได แนวคิดนี้จัดวามีอิทธิพลตอทฤษฎีนิเวศวิทยาของมนุษย
ชุมชนในฐานะหนวยทางสังคม (Community as Unit of Social Organization)
การวิเคราะหแบบ Social system approach จะใหภาพของลําดับขั้น (hierarchy)
เริ่มจากระดับลางที่ประกอบดวยกลุมบุคคลตั้งแต 2 คนขึ้นไปจนถึงระดับชาติหรือระดับโลก
ชุมชนเปนระบบยอยอันแรกที่มีศักยภาพในการจัดใหมีสิ่งตาง ๆ เพื่อตอบสนองความ
ตองการของคนทั้งกายภาพ จิตใจ และสังคม ซึ่งในระบบครอบครัวกลุมเครือญาติมีขนาดเล็ก
เกินไป ไมมีสถาบันทางสังคมที่สมบูรณเพื่อตอบสนองความตองการของมนุษย สวนระบบที่
ใหญกวานี้ เชน กลไกของรัฐก็ใหญโตและซับซอนเกินไป จนเขาไมถึงอารมณความรูสึกของ
คนจึงไมสามารถตอบสนองความตองการ ทั้งทางกายและทางใจได
บางทัศนะวิเคราะหชุมชนที่เปนระบบทางสังคมวาเปน
เครือขายการปฏิสัมพันธของมนุษย (Network of interaction) ซึ่งประกอบดวย
สถานภาพ บทบาท กลุมคน และสถาบัน ชุมชนจึงมีความสัมพันธกันเหมือนลูกโซ ที่ระบบ
ยอยระบบหนึ่งจะไดรับปจจัยนําเขาที่ตองการจากระบบยอยอื่น ๆ ปจจัยนําเขาและผลผลิตที่
รับและใหแกกันในระหวางชุมชนหรือระบบยอยนี้ อาจจะเปนในรูปของเงิน แรงงาน ความ
กดดันทางสังคม ทรัพยากรตาง ๆ
แนวความคิดนี้ นักวิชาการไทยไดเสนอรูปแบบของชุมชนที่คลายคลึงกัน เชน
แนวคิดของ ฑิตยา สุวรรชฏ (2527) กลาววา โดยทั่วไปชุมชนจะตองมีลักษณะ
สําคัญ 3 ประการ คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 151 ~

1. ชุมชนในฐานะเปนอาณาบริเวณ การพิจารณาชุมชนในขอนี้มิใชเฉพาะเปนบริเวณ
ที่เปนแหลงที่อยูอาศัยของกลุมคนเทานั้น ยังตองพิจารณาถึงมิติตาง ๆ เชน ในฐานะที่อยู
อาศัยของการใชพื้นที่ และในฐานะที่เปนบริเวณของชุมชน
2. ชุมชนในฐานะที่เปนที่รวมประชากร โดยจะเนนที่ลักษณะของประชากรที่อยูใน
บริเวณชุมชน ในดานที่สําคัญ คือ การเปลี่ยนแปลงประชากรในชวงระยะเวลาหนึ่ง โครงสราง
ประชากร เชน สัดสวนเพศชาย เพศหญิง อายุประชากร อาชีพ และการศึกษา สุขลักษณะ
เปนตน
3. ชุ ม ชนในฐานะที่ เ ป น ระบบความสั ม พั น ธ ข องสมาชิ ก ที่ มี อ ยู ใ นชุ ม ชนและ
ความสัมพันธกับชุมชน โดยพิจารณาถึงระบบความสัมพันธของชุมชนจะประกอบดวย
ความสัมพันธยอย เชน ความสัมพันธของครอบครัว เครือญาติ มิตรสหาย ระบบ
ความสัมพันธทางเศรษฐกิจ ระบบความสัมพันธของวัฒนธรรมทองถิ่น เปนตน

สวนไพรัตน เตชะรินทร (2524) ไดเสนอรูปแบบขององคประกอบของชุมชนที่มี


ความสัมพันธในระบบตาง ๆ เปน 5 ประการ คือ
1. คน
2. ความสนใจ
3. อาณาบริเวณ
4. การปฏิบัติตอกัน
5. ความสัมพันธระหวางสมาชิก

สนธยา พลศรี (2533) ไดกลาวถึง ชุมชนในฐานะหนวยทางสังคม โดยการแบง


ชุมชนออกเปนลักษณะตาง ๆ ไดแก
1. การแบงตามจํานวนพลเมือง เชน หมูบาน เมือง นคร
2. การแบงตามพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เชน ชุมชนอุตสาหกรรม ชุมชนการปกครอง
3. การแบงตามความสัมพันธกับหนวยงานรัฐ เชน ศูนยผูอพยพ
4. การแบงตามลักษณะพิเศษของประชากร เชน ไชนาทาวน
5. การแบงตามลักษณะทางดานนิเวศวิทยา เชน ยานการคา เหมืองแร
6. การแบงตามลักษณะกิจกรรมทางสังคม เชน ศูนยการขนสง
7. การแบงตามหนวยการปกครอง เชน หมูบาน ตําบล อําเภอ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 152 ~

8. การแบงตามลักษณะความสัมพันธของบุคคลในสังคม เชน ชุมชนชนบท ชุมชน


เมือง

สมศักดิ์ ศรีสันติสุข (2536) แบงชุมชนออกเปน 3 ลักษณะ คือ


1. ลักษณะของชุมชนแบงตามการบริหารการปกครอง ซึ่งแบงโดยการพิจารณาจาก
ลักษณะการปกครองของไทย ไดแก ชุมชนหมูบาน ชุมชนเขต สุขาภิบาล ชุมชนเขตเทศบาล
ตําบล เทศบาลเมือง เทศบาลนคร และกรุงเทพมหานคร
2. ลักษณะของชุมชนแบงตามกิจกรรมทางสังคม ไดแก ชุมชนเกษตรกรรม ชุมชน
ศูนยการคา ศูนยกลางขนสง เขตอุตสาหกรรม ชุมชนศูนยกลางของการบริการ
3. ลักษณะของชุมชนแบงตามความสัมพันธของบุคคลในสังคม เปนการแบงชุมชน
ในแงของความสัมพันธทางสังคม ไดแก ชุมชนชนบท ชุมชนเมือง

นอกจากการศึกษาชุมชนในลักษณะดังกลาว ก็สามารถพิจารณาความสัมพันธ
ระหวางชุมชน ไดทั้งแนวนอน (Horizontal) และแนวตั้ง (Vertical)
ในแนวนอนนั้น รวมถึงความสัมพันธระหวางปจเจกบุคคลหรือระหวางกลุมในระดับ
ทองถิ่น สวนในแนวตั้ง หมายถึง ความสัมพันธระหวางปจเจกบุคคลกับผลประโยชนหรือกับ
กลุมผลประโยชนในระดับตาง ๆ ที่สูงขึ้นไปจนถึงองคกรในระดับชาติหรือระหวางชาติ/
ประเทศ
นอกจากนั้น ยังมีวิธีการอื่นอีกในการวิเคราะหถึงเครือขายปฏิสัมพันธระหวางชุมชน
วา ปฏิสัมพันธของบุคคลและกลุมมีกระบวนการทางสังคมที่ประกอบดวยความรวมมือ การ
แขงขัน และความขัดแยง ซึ่งมิติการวิเคราะหเหลานี้ใหคุณคาที่มีนัยสําคัญในการทําความ
เขาใจเกี่ยวกับชีวิตของชุมชนเปนอยางยิ่ง

ชุมชนในฐานะหนวยทางจิตวิทยาวัฒนธรรม (Community as a psycho


cultural unit)
ในมิตินี้เนนที่วาชุมชนจะตองมีความผูกพันในระหวางสมาชิกดวยกัน ความผูกพันนี้
จะตีความวาเปนทั้งทางดานจิตวิทยาและวัฒนธรรม
ในทางจิตวิทยานั้น คนจะมีความมั่นคง เพราะสามารถระบุไดวา ตนเปนสมาชิกของ
กลุม หมู หรือที่ซึ่งทําใหเกิดความรูสึกวามีสังกัด

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 153 ~

อยางไรก็ตาม การวิเคราะหในมิตินี้ ในแนวคิดทางสังคมวิทยาก็ถือวาเปนเพียงมิติ


หนึ่งของความเปนจริงที่ซับซอนอยูในความหมายของชุมชน มิไดถือวาเปนการวิเคราะหที่
ลึกซึ้ง

2. แนวคิดทางมนุษยนิยม (Humanistic Perspective)


แนวคิดของชุมชนในแนว Humanistic perspective นี้ บางคนเรียกวา เปนแนวคิด
ของกลุม Utopia นักสังคมวิทยาที่มีอิทธิพลสําคัญตอ 2 แนวคิดนี้ 2 คน คือ Robert Nisbet
และ Baker Brownell ซึ่งมีความคิดวา ชุมชนตองกอมิตรภาพ ความเอื้ออาทร ความมั่นคง
และความผูกพันระหวางคนในชุมชน
Nisbet เห็นวาสังคมสมัยใหมทําใหเกิดการสูญเสียความรูสึกผูกพันของชุมชน (sense
of community) ในขอเขียนของ Nisbet เรื่อง The quest for community นั้นเกิดจากเงื่อนไข
ของสังคมสมัยใหมที่ไมสามารถตอบสนองใหปจเจกบุคคลเกิดความมั่นคง เขาไดแสดง
ความเห็นวา ในลักษณะรัฐการเมืองสมัยใหม รัฐไมสามารถตอบสนองความมั่นคงได ไมมี
องคกรขนาดใหญใดที่สามารถตอบสนองความตองการทางดานจิตใจของคนได เพราะโดย
ธรรมชาติแลว องคการเหลานี้มีขนาดใหญ ซับซอน เปนทางการเกินไป รัฐอาจจะกอใหเกิด
ความเคลื่อนไหวในนามของรัฐ เชน การกอสงคราม แตในการตอบสนองอยางปกติธรรมดา
ตอความตองการของคนในเชิงการยอมรับมิตรภาพ ความมั่นคง ความเปนสมาชิก รัฐจะทํา
ไมได
ทางเลือกที่นักคิดในแนวนี้เสนอ ก็คือ การเรียกรองใหชุมชนมีขนาดเล็ก แตมี
โครงสรางที่แนนเหนียว เพราะชุมชนขนาดเล็กเทานั้นที่จะชวยฟนฟูสภาพความสัมพันธทาง
สังคมใหดีขึ้น เพราะจะรับผิดชอบตอหนวยที่เล็กที่สุด และกลาวถึงชุมชนขนาดเล็กที่เนนการ
กระทําที่เต็มไปดวยความรวมมือ รวมใจ ความรูสึกเปนเจาของ เปนสังคมที่ตนรูจักอยาง
ใกลชิดและสนิทสนม
แนวคิดทั้งสองนี้ สะทอนใหเห็นถึงการเรียกรองตอการเปลี่ยนแปลงของสังคม
สมัยใหม การขยายตัวของเมือง ประชากร ที่กอใหเกิดสภาวะความแปลกแยก ความวิตก
กังวล ความโดดเดี่ยว ไมสนใจใยดีหรือรูสึกรับผิดชอบตอเรื่องราวที่เกิดขึ้นกับบุคคลอื่น ๆ ที่
อยูรอบขาง ไมรูสึกวาตนเองมีสวนรวมในความรับผิดชอบตัดสินใจหรือรับผลประโยชนนั้น ๆ
Hirsch (1993) กลาวถึง การสรางชุมชนวา เปนการแสดงออกถึงอํานาจและเปนวาท
กรรมของคนกลุมตาง ๆ ทั้งภายในชุมชนและภายนอกชุมชน ภายใตเงื่อนไขทางสังคมและ
ประวัติศาสตรของทองถิ่น ความหมายเกี่ยวกับชุมชนจึงมีทั้งความหมายที่หลากหลายและ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 154 ~

ความหมายที่ขัดแยง มิไดมีเพียงความหมายเดียวหรือความหมายที่เปนกลาง และไมไดยึด


ติดกับพื้นที่ นัยของการนิยามหมูบานใหติดกับพื้นที่เกิดขึ้นจากการที่รัฐพยายามรวมศูนย
อํานาจดวยการทําใหพื้นที่แตกออกเปนหนวยเล็ก ๆ เพื่องายตอการปกครองสะทอนใหเห็น
กระบวนการที่หมูบานถูกผนวกเขาสูระบบทุนและตลาด
โดยสรุป แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนทางมนุษยนิยมมีลักษณะที่นาสนใจ คือ
1. ไมไดใหความสนใจหรือความสําคัญกับอาณาบริเวณทางภูมิศาสตรหรือพื้นที่
2. เนนความสัมพันธระหวางเพื่อนมนุษย
3. เนนลักษณะความรูสึกเชิงอัตวิสัยของความเปนชุมชนหรือแบบแผนในอุดมคติซึ่ง
เกี่ยวกับนําเสนอลักษณะชุมชนที่ควรจะเปนชุมชนที่ดีหรือชุมชนในอุดมคตินั่นเอง

แมวาจะมีทัศนะอันหลากหลายเกี่ยวกับชุมชน ก็ยังสามารถสรุปจุดรวมกันได 2
ประการ คือ
1. เปนการกลาวถึง วิวัฒนาการของการสมาคมของมนุษย (Human Association)
2. มีการยอมรับอยางกวางขวางวา การเปลี่ยนแปลงในลักษณะของความเกาะเกี่ยว
ในสังคมมนุษยเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทางอุตสาหกรรมทางเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ
เทคโนโลยี ลักษณะหนึ่งของ Human Association จะหายไปและมีลักษณะใหมมาแทนที่

3. แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนประชาคม (Civil Society Perspective)


ประชาสังคม หมายถึง การรวมตัวพบปะของคนหลากหลาย ซึ่งไมใชเฉพาะคนที่
รูจักคุนเคยเพียงกลุมเดียว แตรวมถึงคนแปลกหนาที่สนใจในประเด็นสวนรวม (สาธารณะ)
ประเด็นใดประเด็นหนึ่งรวมกัน เพื่อดําเนินการใหบรรลุเปาหมาย ไมใชการรวมตัวกันเพื่อ
แกไขปญหาเฉพาะของกลุมใดกลุมหนึ่ง สถานที่รวมตัวพบปะเรียกวา เวทีประชาคม ซึ่งมี
ลักษณะพหุภาคีเปนสําคัญชุมชนฐานรากมักเกิดการรวมตัวกันเองเบื้องตนจากปญหาปาก
ทองและเศรษฐกิจเรียกวา กลุมปากทอง (ใหพนอดอยาก) อาจพัฒนาไปสูการออมที่เรียกวา
กลุมออมทรัพย เพื่อแกไขปญหาอดอยากที่อาจเกิดขึ้นเปนครั้งคราวหรืออมเพื่อเปน
สวัสดิการทางสังคม เชน การเจ็บปวย ตาย กลุมปากทองและกลุมออมทรัพยที่เขมแข็ง
สามารถรวมตัวเปนกลุมธุรกิจชุมชน ซึ่งศักยภาพดานการตลาดที่พึ่งพาตนเองทางเศรษฐกิจ
ได กลุมปากทอง กลุมออมทรัพย กลุมธุรกิจ เปนพื้นฐานเบื้องตนที่นําไปสูการเปลี่ยนแปลง
จิ ต สํา นึ ก แบบพึ่ ง พาเป น สํ า นึก การมี ส ว นร ว มพั ฒ นาไปเป น ชุ ม ชนที่ พึ่ ง ตนเองและชุ ม ชน
เขมแข็ง ชุมชนพึ่งตนเองที่เขมแข็งจะเริ่มพัฒนาไปสูการมีจิตสํานึกสาธารณะ (สํานึกสวนรวม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 155 ~

ที่ไมใชเพื่อประโยชนเฉพาะกลุม) การเกิดเครือขายชุมชนพึ่งตนเองที่เขมแข็งและมีเวที
ประชาคมสําหรับชุมชนตาง ๆ ที่หลากหลายและผูคนทั่วไปซึ่งสนใจในประเด็นสาธารณะตาง
ๆ รวมกันจะนําไปสูความเปนประชาคม อันเปนอํานาจประชาชนที่แทจริงในการทําใหเกิด
ดุลยภาพระหวางอํานาจรัฐ อํานาจทุน และอํานาจประชาชน (ประชาสังคม) มีสภาพธรรมรัฐ
เกิดขึ้น (good governance)
ในการบริบทสังคมไทยซึ่งมีภาวะวิกฤตเศรษฐกิจและวิกฤตสังคมในปจจุบัน การกอ
รูปประชาสังคมควรเรงพัฒนาชุมชนใหพึ่งตนเองทางเศรษฐกิจและมีความเขมแข็งพรอมไป
กับการพัฒนาจิตสํานึกสาธารณะและการมีสวนรวมในประเด็นสาธารณะตาง ๆ ในเวที
ประชาคม
แนวคิดเกี่ยวกับชุมชน-ประชาสังคม เกิดขึ้นจากสภาพปญหาของสังคม การที่
ประชาชนสวนใหญในสังคมไมมีสวนรวมในการตัดสินใจเกี่ยวกับนโยบายและทิศทางการ
พัฒนา รวมทั้งกิจกรรมสาธารณะซึ่งในอดีตมักจะถูกครอบงําหรือชี้นําจากภาครัฐ แนวคิดนี้
ปฏิเสธอํานาจรัฐซึ่งมีบทบาทอยางมากมายตอการตัดสินใจในกิจกรรมทางสังคม รวมทั้ง
ปฏิเสธลัทธิปจเจกชนที่มุงแตแสวงหาผลประโยชนสวนตน สาระสําคัญของแนวคิดนี้ ก็คือ
การรวมกลุมของปจเจกชน โดยมองวา ประชาสังคมเปนโครงสรางทางสังคมที่อยูกึ่งกลาง
ระหวางรัฐและปจเจกชนที่เรียกวา Mediating Structure
ทวีศักดิ์ นพเกษร (2542) ยังไดใหคําจํากัดความ ประชาสังคม หมายถึง
การที่คนในสังคม ซึ่งมีจิตสํานึก (Civic Consciousness) รวมกัน มารวมตัวกันใน
ลักษณะที่เปนหุนสวนกัน (Partnership) ในการกระทําบางอยาง ทั้งนี้ ดวยความรักและความ
เอื้ออาทรตอกัน ภายใตระบบการจัดการใหเกิดความรูสึกรวมกันเพื่อประโยชนสาธารณะ
ประชาสังคมจะกอใหเกิด “อํานาจที่สาม” นอกเหนือจากอํานาจรัฐและอํานาจธุรกิจ อํานาจที่
สามนี้อาจไมตองการคนจํานวนมาก แตเปนกลุมเล็กนอยกระจัดกระจายและอาจมีความ
เชื่อมโยงกันเปนเครือขายยอย ๆ (Civic Network) การรวมตัวกันนั้น อาจไมตองอยูใกลชิด
กัน แตสามารถสื่อสารกันได เกิดเปนองคกรขึ้น (Civic Organization) ซึ่งอาจเปนองคกร
ทางการ (นิติบุคคล) หรือไมเปนทางการก็ได
ธีรยุทธ บุญมี และอเนก เหลาธรรมทัศน เชื่อวา
การแกไขปญหาสังคมนั้น ควรใหความสําคัญกับพลังที่สามหรือพลังสังคมที่เกิดจาก
การรวมตัวของประชาชนในทุกภาคสวนของสังคม
ชูชัย ศุภวงศ ใหความหมายของประชาสังคมวา คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 156 ~

การที่ผูคนในทุกภาคสวนของสังคมเห็นวิกฤตการณหรือสภาพปญหาของสังคมที่
สลับซับซอนยากตอการแกไข จึงมารวมตัวกันเปนกลุมประชาคม (Civil Group) และนําไปสู
การกอจิตสํานึกรวมกัน (Civil Consciousness) เพื่อรวมกันแกไขปญหาหรือกระทําการ
บางอยางเพื่อบรรลุวัตถุประสงค ทั้งนี้ การรวมกลุมจะเปนไปดวยความรักความสมานฉันท
การเอื้ออาทรตอกันภายใตระบบการจัดการโดยมีการเชื่อมโยงเปนเครือขาย
อนุชาติ พวงสําลี และวีรบูรณ วิสารทสกุล (2541) ใหความหมายของชุมชน-ประชา
สังคมวา หมายถึง
ชุมชนแหงสํานึก (Conscious Community) ที่สมาชิกตางเปนสวนหนึ่งของระบบ
โดยรวม และมีความสัมพันธเชื่อมโยงกันทุกระดับอยางเหนียวแนน ดวยระบบคุณคาและ
วัตถุประสงครวมกัน
ชุมชน-ประชาสังคมอาจมีขนาดและลักษณะที่แตกตางกันออกไป แตมีลักษณะเปน
พลวัตที่บุคคลหรือกลุมตางมีสวนรวมในการตัดสินใจและกระทํากิจกรรมทางสังคมที่สนใจ
นักวิชาการทั้งสองทานไดใหความหมายของลักษณะของ ประชาสังคม วา
1. มีความหลากหลายทั้งในรูปแบบของการรวมตัว พื้นที่ รูปแบบของกิจกรรม
ประเด็นของความสนใจปญหา
2. มีความเปนชุมชนที่อาจจะมีขนาดใหญหรือเล็กก็ได
3. ประกอบดวยจิตสํานึกสาธารณะ (Public Consciousness)
4. เปนสังคมแหงการเรียนรู
5. มีกิจกรรมบนพื้นฐานของกระบวนการกลุมและพื้นฐานของการเรียนรูรวมกัน
6. มีเครือขายและการติดตอสื่อสาร
และใหขอเสนอแนะเกี่ยวกับการทําความเขาใจตอองคประกอบที่สําคัญของประชาสังคม อัน
ไดแก
- การมีวิสัยทัศนรวมกันของสมาชิกกลุม
- การมีสวนรวมของสมาชิกอยางกวางขวาง
- การมีความรัก ความเอื้ออาทรตอกัน
- การมีองคความรูและความสามารถ รวมทั้งวิธีการใหม ๆ ในการแสวงหาความรู
- มีการเรียนรูและเครือขายการเรียนรู ซึ่งประสานกันอยางเปนระบบภายใตการ
จัดการที่มีประสิทธิภาพ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 157 ~

4. แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนในรูปแบบใหม (Virtual Community Perspective)


แนวคิ ด เกี่ ย วกั บ ชุ ม ชนในรูป แบบใหม เ กิด ขึ้ น พร อ มกั บ การพั ฒ นาเทคโนโลยี แ ละ
ปญหาของสังคมสมัยใหมที่ทวีความซับซอนและรุนแรงขึ้น การพิจารณาปญหาและแนว
ทางแกไขปญหาไมอาจจํากัดอยูในปริมณฑลของชุมชนที่มีอาณาเขตภูมิศาสตรเล็ก ๆ ได
เพียงลําพัง เพราะบางปญหาเกิดจากอิทธิพลภายนอก ซึ่งบางครั้งการแกไขตองการการรวม
กําลัง ความรวมมือ และทรัพยากรจากภายนอกชุมชน
คุณลักษณะที่สําคัญของชุมชนในรูปแบบใหม คือ (Schuler 1996.)
1. จิตสํานึกรวม (Consciousness)
2. หลักการ (Principle)
3. จุดมุงหมาย (Purpose)
ดังนั้น ชุมชนในรูปแบบใหม จึงอาจมีลักษณะเปน “ชุมชนทางอากาศ” หรือผูสนใจจะ
มีสวนรวมในรายการวิทยุ ชุมชนเครือขายบน Internet อาจกลาวไดวา เปนชุมชนไม
จําเปนตองมีพื้นที่ทางกายภาพและไมจําเปนวาสมาชิกตองพบปะหนาตากันโดยตรง แตเปน
ชุมชนที่อาศัยเทคโนโลยีการสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ เปนเครื่องสานความสัมพันธ
และจิตสํานึกรวมของสมาชิก
Schuler ไดกลาววา ชุมชน คือ สายใย (web) ของความสัมพันธทางสังคมมีความเปน
เอกภาพ มีพลังความยืดโยง (Cohesive) การสนับสนุนเกื้อกูลกันและกัน ทํานองเดียวกัน
เทคโนโลยี ก็คือ สายใย (web) ที่เชื่อมโยงความสัมพันธและการสื่อสารของผูคนตาง ๆ
เทคโนโลยีและการสื่อสารผานวิทยุโทรทัศน โทรศัพท มีบทบาทในการสรางชุมชนในรูปแบบ
ใหม โดยสมาชิกไมจํากัดเชื้อชาติเผาพันธุ เพศ วัย ศาสนา และฐานะเศรษฐกิจ เปนตน
ชุมชนในรูปแบบใหม อาจเรียกไดวาเปน “ชุมชนเหมือนจริง” (Virtual Community)
เปนชุมชนที่กลุมคนอาจจะไดพบกันโดยตรงหรือไมก็ตาม แตมีโอกาสสื่อสารกันดวยคําภาษา
และความคิดผานเครือขายคอมพิวเตอร ชุมชนแบบนี้ มีขอดีกวาชุมชนแบบอื่นตรงที่วาไมมี
อคติเกี่ยวกับ เพศ อายุเชื้อชาติ สีผิว เผาพันธุ รูปรางหนาตา เสียงพูด อากัปกิริยาของ
สมาชิกชุมชนเสมือนจริงเปนเครื่องมือที่เชื่อมโยงผูที่มีความสนใจรวมกันเขาดวยกัน ใน
ชุมชนแบบเดิมจะรูจักผูคนตอเมื่อไดพบปะหนาคาตาและตองคบหาสมาคมกับผูคนจํานวนไม
นอยกวาที่จะพบผูที่มีความสนใจในเรื่องบางเรื่องเหมือนกับเรา แตในชุมชนประเภทนี้
สามารถเขาถึงแหลงที่สนใจไดอยางทันที นอกจากนี้ ยังมีขอดี คือ ชวยคัดสรรกลั่นกรอง
ขอมูลที่จําเปนและทันสมัย โดยไมตองเก็บรวบรวมไวมากมายเชนแตกอน (Rheingold,
1998.)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 158 ~

อยางไรก็ตาม มีขอทักทวงวาชุมชนในรูปแบบใหมนี้ ไมนาจะถือวามีลักษณะเปน


“ชุมชน” เนื่องจากผูที่เกี่ยวของไมมีพันธะผูกพันใด ๆ กับชุมชน มีอิสระที่จะเลือกเขารวมมือ
เมื่อใดก็ไดหรือถอยออกไปเมื่อใดก็ได อีกทั้งขอมูลขาวสารที่สื่อถึงกันก็ไมสามารถที่จะเชื่อถือ
ไดทั้งหมด
ชุมชนในรูปแบบใหมนี้ ยังคงตองมีการอาศัยความเปนชุมชนเดิมคือพื้นที่อยูบาง แต
ลักษณะความสัมพันธมีการเปลี่ยนแปลงไป สิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้นในสังคมที่ซับซอน โดยผาน
เทคโนโลยีสารสนเทศ ซึ่งที่มีรูปแบบที่กวางขวางขึ้นทั้งในระดับชาติและในระดับโลก
กลาวคือ สิ่งตาง ๆ ที่เกิดขึ้นถาเปนปญหา ปญหาหรือสิ่งนั้น ๆ ก็จะเชื่อมโยงไปในระดับที่
กวางขึ้นได และในทางตรงกันขามก็จะเปนประโยชนหรือมีผลตอความรับผิดชอบรวมกันใน
ฐานะเปนชุมชนรูปแบบใหมที่มีจิตสํานึกรวม มีหลักการและจุดหมายรวมกัน
Schuler (1996) กลาวถึงปจจัยและทิศทางของชุมชนในรูปแบบใหมวา คือ
ความเปนปจเจกบุคคลของแตละบุคคล ระบบเศรษฐกิจ และการแพรกระจายของ
เทคโนโลยีสารสนเทศ อันไรขอบเขตที่จะสรางวัฒนธรรมมวลชนแบบใหม
Lois Dean กลาววา ชุมชนในป ค.ศ. 2020 วา
ชุมชนจะอยูบนพื้นฐานและหรืออยูในรูปแบบขององคกร รัฐ รัฐบาลทองถิ่น องคกร
เอกชนที่สามารถสรางและสงเสริมโดยการวางแผนรวมกันโดยมีคอมพิวเตอรเปนพื้นฐานและ
การพัฒนาจะอยูในลักษณะของกิจกรรมความรวมมือทางเทคนิคและการมีสวนรวมของรัฐ
เอกชน และกลุมคนในทองถิ่น
แนวคิดเกี่ยวกับชุมชนในมิตินี้ จะชวยใหเปนความเปลี่ยนแปลงและเขาใจสภาพที่
เกิดขึ้นในสังคมสมัยใหมไดและชวยใหเห็นรูปแบบของชุมชนที่มีความหลากหลาย โดยอาศัย
เทคโนโลยีสารสนเทศที่เชื่อมโยงเครือขายของผูคนเขาดวยกัน ดวยความที่มีวัตถุประสงค
และความสนใจรวมกัน หรือเปนศูนยการสื่อสารที่ทําใหผูคนที่ผานเขามาในเครือขายไดมี
โอกาสแลกเปลี่ยนและแบงปนความรู ประสบการณรวมกันโดยความรวมมือทางเทคโนโลยีที่
เชื่อมโยงในระดับตาง ๆ ตั้งแตระดับภูมิภาคจนถึงระดับโลก ในขณะเดียวกัน ความเปนศูนย
การสื่อสารหรือเครือขายชุมชนในรูปแบบนี้ สมาชิกในเครือขายมีจุดออน คือ ไมมีภาระ
ผูกพัน ขอตอรอง หรือมีความพรอมในเรื่องขอเท็จจริงรวมกัน แตถามีวัตถุประสงคและความ
สนใจรวมกันมากขึ้น ความพรอมในเรื่องขอเท็จจริงจะปรากฏเพิ่มขึ้น จากนั้นจะนําไปสูการ
ประสานงานและการทํากิจกรรมรวมกัน
ลักษณะของชุมชนในรูปแบบใหมที่อาศัยเทคโนโลยีสารสนเทศนี้ ถามองในดานของ
พื้นที่แลวจะเห็นวาเปนชุมชนที่ไรพรมแดน จะอาศัยเพียงความสัมพันธอยางงาย ที่ผูเขามา

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 159 ~

หรือผานมาไดมีความรูสึกผูกพันกันอยางมีหลักการและเปาหมาย ซึ่งอาจกลาวไดวาเปน
ชุมชนในรูปแบบใหมไดหรือไม ดังนั้น นักวิชาการและนักพัฒนาผูที่ทํางานรวมกับชุมชนจึง
ควรแสวงหาคําตอบเพื่อรูเทาทันกับสภาพของชุมชนที่ไรพรมแดน ทั้งนี้ เพื่อทราบถึงความ
เปลี่ยนแปลงของสังคม
แตถายอนถึงการสรางความเปนชุมชนของนักพัฒนาเริ่มจากการเนน “ชุมชน” ขนาด
เล็ก ซึ่งมีความสัมพันธทางสังคมแบบสวนตัว รูจักกัน ชวยเหลือกัน ภายในกลุมเล็ก ๆ มาสู
การขยายเปน “เครือขาย” การชวยเหลือที่เปนความสัมพันธที่กวางขึ้น และมาสูชุมชนใน
รูปแบบใหม ซึ่ง Tonises (2542) กลาววาเปนความสัมพันธแบบปจเจก มีการแขงขัน มีการ
คิดคํานวณบนฐานของประโยชนและอยูบนพันธะทางกฎหมาย อาจสูญเสียความเปน
ธรรมชาติสัมผัสของความเปนมนุษยและการเกื้อหนุนของสมาชิก แตการสรางความเปน
ชุมชนใหมจึงไมใชการรื้อฟนวัฒนธรรมชุมชนแบบดั้งเดิม หากเปนการผสมผสานความเชื่อ
แบบเกาที่มีคุณคาและการพัฒนาระบบใหมที่กาวตอไปอยางไมหยุดยั้ง
อริยา เศวตามร (2542) กลาวถึง ชุมชนในรูปแบบใหมวา สําหรับผูนําชุมชนและ
นักพัฒนาแลว
ความเปนชุมชน หมายถึง ความเปนอันหนึ่งอันเดียวกันในชุมชนและเครือขายที่
กวางขวาง กิจกรรมที่สรางขึ้นเปนการสรางความเปนชุมชนในรูปแบบใหม เพื่อสราง
ความสัมพันธทางสังคมที่ยุติธรรมและเครือขายที่กวางขวางมากกวาในอดีตเพื่อสอดคลองกับ
กระแสการพัฒนาในปจจุบันที่สงเสริมความเขมแข็งของชุมชนและเครือขายหรือเพื่อรูเทาทัน
การเชื่อมโยงเครือขายของเทคโนโลยีสมัยใหมที่ไรพรมแดน
กลาวโดยสรุป ความเปนชุมชนไมไดมีความหมายที่ตายตัว แตมีความเคลื่อนไหว
เปลี่ยนแปลง การใหความหมายเกี่ยวกับชุมชนจึงเปนสื่อที่ใชในการอธิบายความสัมพันธทาง
สังคมหรือการจัดระบบความสัมพันธใหมทั้งกับภายในและภายนอกชุมชน ฉะนั้น ความเปน
ชุมชนจึงมิไดมีเพียงหนวยเดียว หากแตเปนสายใยของความสัมพันธที่สานขึ้นจาก
ความสัมพันธตาง ๆ และมีเครือขายของความสัมพันธที่ซอนทับกันอยู การสรางใหมของ
ความเปนชุมชนจึงเปนการแสดงออกถึงความเปนตัวตนอันเปนการโตตอบของคนในชุมชน
หรือสังคม และเปนที่ชวยใหผูคนยกระดับความรู ความสามารถ การรับรูและความเขมแข็ง
หรือพลังที่เกิดขึ้นจากการรวมตัวกันผานการสานสัมพันธตาง ๆ เขาดวยกัน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 160 ~

ความหมายของชุมชน
ปาริชาติ วลัยเสถียรและคณะ (2543) ไดพยายามศึกษาและรวบรวมความหมายของ
“ชุมชน” โดยคนควารวบรวมจากนักวิชาการหลายทานดังตอไปนี้
สัญญา สัญญาวิวัฒน (2525) ใหความหมายวา “ชุมชน” หมายถึง องคการทางสังคม
อยางหนึ่งที่มีอาณาเขตครอบคลุมทองถิ่นหนึ่งและปวงสมาชิกสามารถบรรลุถึงความตองการ
พื้นฐานสวนใหญไดและสามารถแกไขปญหาสวนใหญในชุมชนของตนเองได
ชยันต วรรธนะภูติ (2536) กลาวถึง “ชุมชน” ในความหมายวา หมายถึง การอยู
รวมกันของกลุมคนจํานวนหนึ่งในพื้นที่แหงหนึ่ง เพื่ออาศัยทรัพยากรธรรมชาติในบริเวณนั้น
ในการดํารงชีวิต โดยเหตุที่มีคนกลุมดังกลาวอาศัยอยูรวมกันใชทรัพยากรเพื่อการผลิต จึงมี
การกําหนดรูปแบบความสัมพันธซึ่งกันและกันขึ้น มีองคกรหรือสถาบันของชุมชนกฎเกณฑ
ตาง ๆ ทั้งนี้ ชุมชน หมายถึง สังคมขนาดเล็กในชนบทที่ยังไมพัฒนาหรือสังคมหมูบานที่
สมาชิกของสังคมยังมีความสัมพันธแบบเครือญาติ และยังสามารถรักษาแบบแผนการ
ดํารงชีวิตบางสวนได และไดตีความหมายของคําวา “ชุมชน” ในระดับเดียวกับคําวา “สังคม
หมูบาน” ซึ่งเปนการชวยใหเขาใจความหมายของคําวา “ชุมชน” ในระดับ “สังคมหมูบาน” ซึ่ง
เปนการชวยใหเขาใจในความหมายของคําวา “ชุมชน” ในลักษณะที่จะเปนประโยชนตอ
การศึกษาวิเคราะหชุมชน ทั้งนี้ เพราะคําวา “หมูบาน” สื่อความหมายใหเขาใจถึงการกระจุก
ตัวของบานหลาย ๆ บานหรือหลายครัวเรือนในพื้นที่แหงหนึ่งหรือในระบบนิเวศนแหงหนึ่ง
และเปนหนวยสังคมขนาดเล็กที่สุดที่สมาชิกของสังคมพัฒนาขึ้นตามธรรมชาติและตอมา
ภายหลังทางราชการอาจจะกําหนดใหเปน “หมูบาน” ในความหมายของทางราชการ
กาญจนา แกวเทพ (2538) กลาวถึง “ชุมชน” วา “ชุมชน“ หมายถึง กลุมคนที่อาศัยอยู
ในอาณาเขตบริเวณเดียวกัน มีความสัมพันธใกลชิด มีฐานะและอาชีพที่คลายคลึงกัน มี
ลักษณะของการใชชีวิตรวมกัน มีความเปนอันหนึ่งอันเดียวกัน ตั้งแตระดับครอบครัวไปสู
ระดับเครือญาติ จนถึงระดับหมูบานและระดับเกินหมูบานและผูที่อาศัยในชุมชนมีความรูสึก
วาเปนคนชุมชนเดียวกัน นอกจากนี้ ยังมีการดํารงรักษาคุณคาและมรดกทางวัฒนธรรมและ
ศาสนาถายทอดไปยังลูกหลานอีกดวย
จิตติ มงคลชัยอรัญญา (2540) กลาวถึง “ชุมชน” โดยสรุปวา “ชุมชน” ประกอบไปดวย
ระบบความสัมพันธของคน ความเชื่อ ศาสนา ประเพณี วัฒนธรรม ระบบเศรษฐกิจ อาชีพ
ระบบการเมือง ระบบการปกครอง โครงสรางอํานาจ รวมถึงระบบนิเวศนวิทยา สิ่งแวดลอม
และเทคโนโลยีดานตางๆ ซึ่งระบบเหลานี้มีความสัมพันธระหวางกันหรือเรียกอีกอยางหนึ่งวา
มีความเชื่อมโยงกันชนิดที่ไมสามารถแยกออกจากกันได

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 161 ~

ประเวศ วะสี (2540) ไดใหความหมายของ “ชุมชน” โดยเนน “ความเปนชุมชน” วา


หมายถึง การที่คนจํานวนหนึ่งเทาใดก็ได มีวัตถุประสงครวมกัน มีการติดตอสื่อสารหรือ
รวมกลุมกัน มีความเอื้ออาทรตอกัน มีการเรียนรูรวมกันในการกระทํา มีการจัดการเพื่อให
เกิดความสําเร็จตามวัตถุประสงครวมกัน
สําหรับนักวิชาการตางประเทศ คําวา Community มีความหมายในภาษาไทยวา
“ชุมชน” ถาพิจารณาคําภาษาอังกฤษ “Com” มีความหมาย = together และจะเห็นวามีความ
เกี่ยวของใกลเคียงอีกหลายคํา เชน Communal ของ ชุมชนเพื่อชุมชน Common = รวมเปน
สมาชิกอยูดวย Commune = ความรูสึกผูกพันธใกลชิด
พจนานุกรม Oxford Advanced Learner’s Dictionary English (1994) ไดให
ความหมายของ ชุมชน วาหมายถึง กลุมผูที่อาศัยอยูในพื้นที่แหงหนึ่ง มีความรูสึกวาเปน
พวกเดียวกัน มีศรัทธา ความเชื่อ เชื้อชาติ การงาน หรือมีความรูสึกนึกคิด ความสนใจที่
คลายคลึงกัน มีการเกื้อกูลการเปนอยูรวมกัน
Blaker Brownell (1950) ไดใหความหมายของชุมชนไวหลายประการ ซึ่งสรุปไดวา
“ชุมชน” คือ การกระทําที่เต็มเปยมไปดวยความรวมมือ รวมใจ ความรูสึกเปนเจาของ เปน
สังคมที่คนรูจักกันอยางใกลชิดและสนิทสนม
Lofauist (1983) ใหความหมายในชุมชนวา “ชุมชน” คือ จิตวิญญาณหรือความรูสึก
เกิดขึ้นเมื่อคนตั้งแตสองคนขึ้นไปมาทํางานรวมกัน เพื่อที่จะบรรลุถึงเปาหมายที่ตองการ
รวมกัน
จะเห็นไดวา ความหมายของชุมชนนั้นไมจํากัดแนนอนตายตัว อาจพิจารณาไดหลาย
แงมุม อาทิ ปรัชญา กายภาพ สังคมวิทยา จิตวิทยา และอาจสรุปไดวา “ชุมชน” มี
ความหมายทั้งรูปธรรมและนามธรรม
1. ในความหมายของชุมชนเชิงรูปธรรมจํากัดอยูกับความหมายที่ใหความสําคัญกับ
อาณาบริเวณทางภูมิศาสตรหรือบริเวณบานเล็ก ๆ ที่มักนึกถึงหมูบานเทานั้น
2. ในความหมายเชิงนามธรรม “ชุมชน” เปนคําที่มีการนําไปใชกันอยางกวางขวาง
และใชในลักษณะแตกตางกันออกไป จึงมิอาจกลาวไดวา “ชุมชน” เปนคําที่มีความหมาย
แนนอนตายตัวเพียงประการเดียว การไมยึดติดกับความหมายแคบ ๆ ของสิ่งหนึ่งสิ่งใดจะ
ชวยใหเกิดทรรศนะอันกวางขวางในการพิจารณาสิ่งตาง ๆ ไดหลายแงมุมมากขึ้น แตอยางไร
ก็ตาม การศึกษาแนวคิดและความหมายของชุมชนในทัศนะของการพัฒนาชุมชนก็ควรจะ
ศึกษาถึงความหมายที่เปนรากฐานและเอื้อตอการปฏิบัติงานรวมกันกับสมาชิกของชุมชน
ตอไปดวย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 162 ~

ทฤษฎีการพัฒนา
ทฤษฎีที่เกี่ยวกับการพัฒนาไดเริ่มตนขึ้นเมื่อคริสตศตวรรษที่ 18 เมื่อนักวิชาการตาง
พากันคิดคน เพื่อทําความเขาใจเกี่ยวกับการพัฒนาสังคมมนุษย หลังจากนั้น ก็ไดมีการ
เปลี่ยนแปลงแกไขปรับปรุงใหมีอํานาจในการอธิบายสูงขึ้นมาตามลําดับ การจําแนกทฤษฎี
การพัฒนานั้น สามารถกระทําไดหลายวิธี เชน จําแนกตามยุคสมัย จําแนกตามสาขาที่
เกี่ยวของ จําแนกตามสํานักความคิดของผูสรางทฤษฎี จําแนกตามอุดมการณอํานาจ หรือ
จําแนกตามวิถีทัศนในดานตาง ๆ
จุดมุงหมายของการจําแนกก็เพื่อที่จะใหผูศึกษาทําความเขาใจในเรื่องการพัฒนา
รวมทั้งวิวัฒนาการอยางเปนระบบ การที่ผูศึกษาจะใชระบบการจําแนกแบบใดเพื่อที่จะสงผล
ใหการทําความเขาใจละเอียดออนลึกซึ้งมากยิ่งขึ้น ยอมจะขึ้นอยูกับภูมิหลัง รวมทั้งความ
ถนัดของผูศึกษาแตละคน ในเอกสารวิชาการนี้ ทฤษฎีการพัฒนา สามารถจําแนกออกได 2
กลุมใหญ ๆ ตามเงื่อนไขของเวลา คือ
1. กลุมทฤษฎียุคกอนสมัยใหม (Pre-Modernization Era)
2. กลุมทฤษฎียุคสมัยใหม (Modernization Era)

ทฤษฎีทั้ง 2 กลุม มีวิวัฒนาการตอเนื่องกันมาตามธรรมชาติของสังคม ลักษณะที่


สําคัญประการหนึ่งของทฤษฎีทางดานสังคมศาสตร ก็คือ การที่จะตองไดรับการพิสูจนความ
ถูกตองได (Falsify) ทุกเมื่อ ตามลักษณะที่เปลี่ยนแปลงไปของสังคม นั่นคือ ไมมีทฤษฎีทาง
สังคมศาสตรทฤษฎีใดที่ยิ่งใหญจนสามารถใหคําอธิบายปรากฏการณทางสังคมไดอยางลึกซึ้ง
รอบดาน (Grand Theory) ดังนั้น จึงเปนภารกิจ รวมทั้งความจําเปนที่ผูศึกษาจะตองติดตาม
รื้อสราง (Deconstruct) ทําใหเปนปจจุบัน (Update) แนวคิดรวมทั้งทฤษฎีตาง ๆ เพื่อ
เสริมสรางความเขาใจเกี่ยวกับปรากฎการณทางสังคมใหทันสมัยอยูเสมอ
อยางไรก็ตาม ทฤษฎีบางทฤษฎีก็ยังคงอํานาจในการทําความเขาใจและอํานาจในการ
อธิบายไวไดเปนอยางดี ถึงแมวาจะถูกสรางขึ้นและผานอดีตอันยาวนานมาแลว ดังจะเห็นได
ดังตอไปนี้

1. กลุมทฤษฎียุคกอนสมัยใหม (Pre-Modernization)
1.1 ทฤษฎีแรกของการพัฒนา (The first development theory)
ทฤษฎีแรกของการพัฒนา เกิดขึ้นจากตนแบบเกาดั้งเดิมของการพัฒนาเศรษฐกิจ
สังคม ซึ่งกําหนดขึ้นในชวงปลายศตวรรษที่ 18 โดย อดัม สมิธ (Adam Smith) อดัม เฟอรกู

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 163 ~

สัน (Adam Ferguson) และจอหน มิลลา (John Millar) ซึ่งเปนที่ยอมรับของนักวิชาการรุน


ใหม เชน จอหน โทเอ (John Toye) โกฟเฟอรี ฮอธรอน (Groffery Howthron) ดัดเล เซียรส
(Dudley Seers) และปเตอร เพรสตัน (Peter Preston) วาเปนจุดเริ่มตนของแนวความคิด
เกี่ยวกับความกาวหนาในปจจุบัน
ทฤษฎีแรกของการพัฒนาดังกลาวนี้ ถือวา วิถีของการยังชีพ (Mode of subsistence)
ในสังคมมนุษยเปนสิ่งสําคัญที่จะตองนํามาพิจารณาเพื่อกําหนดเงื่อนไขของการพัฒนาทั้ง
ทางเศรษฐกิจและสังคม โดยอาศัยพื้นฐานของสังคมอังกฤษและสกอตแลนดในศตวรรษที่ 18
นักวิชาการสามคนแรก คือ สมิธ เฟอรกูสันและมิลลา มีความเห็นรวมกันวา การเปลี่ยนแปลง
ในวิถีการยังชีพมีอยู 4 ขั้นตอนที่สําคัญ คือ
1) การลาสัตวและการรวมกลุม (Hunting and gathering)
2) วิ ถี ชี วิ ต เรี ย บง า ยในชนบทและสงบแบบชาวนาหรื อ พวกเลี้ ย งแกะ
(Pastoralism)
3) ตั้งหลักแหลงทําการเกษตรเปนอาชีพ (Settled agriculture)
4) การคาขาย (Commerce)
และทํานายดวยวา อารยธรรมดานการพาณิชย (Commercial civilization) จะเปนที่ยอมรับ
โดยทั่วไปในสังคมที่เจริญกาวหนา
แนวคิดของตนแบบนี้ ก็คือ “การเปลี่ยนแปลงจากยุคปาเถื่อนไปสูความเจริญรุงเรือง
เปนขั้นตอนที่ถือวาเปนการสรางความกาวหนาไปสูจุดหมายปลายทางตามความปรารถนา
ของทุกสังคม”
ตั้งแตตนศตวรรษที่ 19 เปนตนมา ตนแบบเกาดั้งเดิมนี้ ไดแตกแขนงออกเปนทฤษฎี
การพัฒนา 3 ประการ คือ
1) ทฤษฎีวิวัฒนาการ (Evolutionary theory)
2) ทฤษฎีเทคโนแครท (Technocratic theory)
3) ทฤษฎีมารกซิสต (Marxist theory)
พวกเทคโนแครทและมารกซิสตมีความเห็นวา ขอกําหนดเกี่ยวกับวิถียังชีพ
ของต น แบบดั้ ง เดิ ม นั้ น ไม มี ค วามชั ด เจนพอ เพราะถื อ ว า วิ ถี ยั ง ชี พ ระดั บ
รายได ความมั่นคั่ง ตัวบทกฎหมาย รูปแบบการบริหาร และวัฒนธรรมของแต
ละสังคมเปนตัวแปรตาม สวนปจจัยแวดลอม เชน ภูมิอากาศ และความอุดม
สมบูรณของดินเปนตัวแปรอิสระเทานั้น โดยมิไดวิเคราะหวา จะมีลูทางเขา
ไปสูอารยธรรมเชิงพาณิชยไดอยางไร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 164 ~

จากตัวแบบตั้งเดิมดังกลาว พวกเทคโนเครทจึงไดกําหนดตัวแบบขึ้นมาโดยนําเอา
อารยธรรมทางวิทยาศาสตร (Scientific civilization) เขามาแทนอารยธรรมเชิงพาณิชย โดย
อธิบายอารยธรรมทางวิทยาศาสตรวา “องคการทางสังคม” จะตองประกอบดวยตัวแปรสําคัญ
บางอยาง เชน คุณคาเชิงวิทยาศาสตรที่มีเหตุผล ความเปนระเบียบเรียบรอย การไมยึดอยู
กับเรื่องสวนบุคคล การแจกแจงภาระหนาที่
สาระสําคัญของทฤษฎีเทคโนแครท ตามแนวคิดของ เซนต ไซมอน (Saint Simon)
ไดอธิบายวา “การสะสมความรูและวิทยาการอยางแทจริงจะสามารถนํามาใชประโยชนในการ
ปฏิรูปเศรษฐกิจและสรางสรรคระบบสังคมได และสามารถปดเปาความสับสนในระบบสังคม
ไดดวย” ดังนั้น นักวิทยาศาสตรธรรมชาติและนักสังคมศาสตรจึงไดรับการยอมรับวาเปนผูนํา
ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ทั้งระดับชาติและระหวางประเทศ”
แนวคิดดังกลาวของไซมอน เปนที่ยอมรับและมีอิทธิพลมากในหมูนักวางแผน
ผูเชี่ยวชาญขององคการระหวางประเทศที่เกี่ยวของกับการพัฒนาในปจจุบัน
1.2 ทฤษฎีในสมัยอาณานิคม (Colonialism Theory)
ตั้งแตกอนจนถึงระยะหลังสงครามโลกครั้งที่สอง นักสังคมศาสตรใหความสนใจกับ
ปญหาทางสังคมและเศรษฐกิจของประเทศดอยพัฒนานอยมาก ทั้ง ๆ ที่สภาพการณตาง ๆ
ของประเทศเหลานั้นยังดอยพัฒนา ซึ่งแตกตางกับประเทศพัฒนาอยางมากมาย ผูที่สนใจ
และทําการศึกษาการดํารงชีวิตของคนในประเทศดอยพัฒนาลาหลังที่สวนใหญเปนอาณา
นิคมนั้น มักจะเปนพวกนักมานุษยวิทยาและนักชาติวงศวิทยา (Ethnologist) ที่สนใจในกลไก
การทํางานตาง ๆ ของสังคมดั้งเดิมที่อยูเปนปาบนภูเขา
เหตุผลที่ไมคอยจะมีความสนใจในปญหาความยากจนของประเทศดอยพัฒนาใน
ขณะนั้น สวนมากจะมาจากความสัมพันธแหงอํานาจทางการเมืองระดับโลก ประเทศเมืองแม
ถือวาการปกครองอาณานิคมเปนงานอยางหนึ่งของชาวยุโรปที่จะตองทําใหสําเร็จลุลวงไป
ดวยดี โดยเฉพาะอยางยิ่ง คือ การเปดประเทศเหลานั้นในทางเศรษฐกิจเพื่อผลประโยชน
กลับมาสูเมืองแม ดังนั้น จึงไมมีความสนใจในการที่จะศึกษาวิจัยถึงสาเหตุของความไมสมดุล
ทางเศรษฐกิจหรือการที่จะหาวิธีแกไขปญหาดังกลาว หรือหากทําการศึกษาวิจัยไดผลออกมา
ก็ไมแนใจวาจะสามารถทําใหฝายการเมืองยอมรับไปปฏิบัติได ยิ่งกวานั้นการศึกษาดังกลาว
อาจสงผลกระทบในทางลบตอฐานะของประเทศเมืองแมไดดวยเชนกัน และยังไมมีใครจะคิด
วาปญหาตาง ๆ เหลานั้นจะแกไขใหสําเร็จได การเอาชนะความดอยพัฒนาและความยากจน
โดยการเพิ่มรายไดและยกมาตรฐานการดํารงชีวิตใหสูงขึ้นคงจะเปนการเสี่ยงหรือความกลาที่
ขาดประสบการณอยางมาก

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 165 ~

แนวความคิดหนึ่งที่นาสนใจ ก็คือ ความเห็นพื้นฐานอันหนึ่งที่ยอมรับกันแลววาเปน


สาเหตุของความดอยพัฒนา คือ ความดอยพัฒนามีสาเหตุมาจากความเขาใจวาปจจัยทาง
ธรรมชาติจํานวนหนึ่งที่มีอยูตลอดเวลา โดยมิสามารถจะเอาชนะได แมโดยมาตรการทาง
การเมืองก็ตาม ดังนั้น วิธีการทางทฤษฎีที่อธิบายตามแนวความคิดอันนี้ จึงถือวาเปนทฤษฎี
ความดอยพัฒนา ไมใชทฤษฎีการพัฒนา ทั้งนี้ เพราะเปนทฤษฎีที่ไมมีแนวทางหรือกลยุทธที่
จะเอาชนะความดอยพัฒนาได
ลักษณะสําคัญยิ่งของความเห็นพื้นฐานอันนี้ ก็คือ ทัศนคติทางอารมณที่วาเชื้อชาติ
ของตัวดีกวาพวกอื่น (Ethnocentrism) ความสูงเดนทางรางกายและความเฉลียวฉลาดของ
คนผิวขาวในประเทศอุตสาหกรรมทั้งหลายถือวามีสิทธิที่จะปกครองดูแลประเทศของคนผิว
อื่น ๆ เหตุผลอันนี้ดูเหมือนจะเปนเครื่องมือที่สมบูรณมาก เพราะคนผิวอื่นไมอาจจะ
เปลี่ยนแปลงผิวของตัวเองใหขาวได พวกผิวขาวจึงใชเหตุผลนี้เสริมสรางอํานาจเพื่อปกครอง
อาณานิคมไดและยังใชอางอิงไดดวยวาพวกผิวขาวไมจําตองรับผิดชอบทางศีลธรรมและ
ทางการเมืองตอความยากจนและความดอยพัฒนาของคนผิวอื่นในประเทศอาณานิคม ทั้งยัง
อางตอไปดวยวาเปนภาระหนาที่ของคนผิวขาวที่จะตองมาคอยปกครองดูแลคนเหลานั้น ซึ่ง
ไมสามารถปกครองตนเองได

2. ทฤษฎีสมัยใหม (Modernization Theories)


ในยุคสมัยใหม มีทฤษฎีที่เกี่ยวกับการพัฒนาเกิดขึ้นเปนจํานวนมาก กลุมทฤษฎีที่
สําคัญมีดังตอไปนี้ คือ
2.1 ทฤษฎีการทําใหทันสมัย (Modernization Theory)
2.2 ทฤษฎีจักรวรรดินิยม (Imperialism Theory)
2.3 ทฤษฎีการพัฒนาอยางอื่น (Others Development Theories)
ทั้งสองทฤษฎีเกิดจากประเพณีการคิดแบบคนในยุโรปและทั้งสองมีความคิด
เหมือนกัน คือ มีเปาหมายการพัฒนาที่จะใหประเทศกําลังพัฒนาจําเริญรอย
ตามกระบวนการความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจของประเทศพัฒนาแลว โดย
ใชเวลานอยที่สุด เชน ตามประเทศอุตสาหกรรมใหทันสมัยในดานสวัสดิการ
แตทั้งสองทฤษฎีมีลักษณะตรงกันขามเมื่ออธิบายถึงความดอยพัฒนาและตัว
แบบของการเอาชนะความดอยพัฒนา ซึ่งจะไดกลาวตอไปนี้ คือ
2.1 ทฤษฎีการทําใหทันสมัย (Modernization Theories) ประกอบดวย
- ทฤษฎีการทําใหทันสมัย (Modernization theory)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 166 ~

- ทฤษฎีโครงสราง (Structural Theory)


- ทฤษฎีการแปลงรูป (Transformation Theory)
- ทฤษฎีการแพรกระจาย (Diffusion Theory)
- ทฤษฎีการพัฒนาทวิภาค (Dual Development Theory)
- ทฤษฎีโครงสราง-หนาที่นิยม (Structural-Functionalism Theory)
- ทฤษฎีการแกปญหา (Solution Theory)
- ทฤษฎีการสะสมทุน (Capital Accumulation Theory)
- ทฤษฎีแรงผลักดันเพื่อการพัฒนา (Big Push Theory)
- ทฤษฎีการเจริญเติบโตอยางสมดุล (Theory of Balance Growth)
- ทฤษฎีการเจริญเติบโตอยางไมมีดุลยภาพ (Theory of Unbalance Growth)
2.2 ทฤษฎีจักรวรรดินิยม (Imperialism Theories) ประกอบดวย
- ทฤษฎีการพึ่งพา (Dependency Theory)
- ทฤษฎีความดอยพัฒนา (Underdevelopment Theory)
2.3 ทฤษฎีอื่น (Other Development Theories) เชน
- ทฤษฎีความพอใจในความตองการขั้นพื้นฐาน (Theory of Satisfaction of
Basic Needs)
- ทฤษฎีโครงสรางความสัมพันธระหวางประเทศ (Structural Theories of
National Relation)

แนวความคิดกระแสหลักหรือปฏิฐานนิยม (Positivism)
การเกิดขึ้นของทฤษฎีการพัฒนา
เหตุผลในการที่จะใหเกิดแนวความคิดใหมเพื่อใชแทนแนวความคิดหรือทฤษฎีในสมัย
อาณานิคมนั้น คงจะไมสามารถแสดงใหเห็นไดในเชิงวิทยาศาสตรหรือความมีเหตุผลได แต
เปนผลมาจากการเปลี่ยนแปลงทางผลประโยชนและการรวมกลุมกันระหวางประเทศตาง ๆ
ในชวงเวลาที่สงครามโลกครั้งที่สองไดยุติลง โดยการที่ประเทศอาณานิคมไดมีอิสระทาง
การเมือง และความขัดแยงระหวางกลุมประเทศตะวันออกหรือคายสังคมนิยมกับกลุม
ประเทศตะวันตกหรือคายประชาธิปไตยนําไปสูการทบทวนอยางจริงจังถึงปญหาของประเทศ
ดอยพัฒนาในฐานะเปนประเทศคูคาขายและการเปนสัมพันธมิตรเพื่อตอตานทางอุดมการณ
กับฝายตรงขามดวย การพิจารณาถึงเรื่องเหลานี้นําไปสูความคิดของการใหความชวยเหลือ
เพื่อการพัฒนา ซึ่งมีขึ้นเปนครั้งแรกในสมัยประธานาธิบดี แฮรรี่ ทรูแมน (Harry Trueman)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 167 ~

ของประเทศสหรัฐอเมริกา โดยไดประกาศใชแผนงานสี่เปาหมาย (Point Four Programme)


เมื่อวันที่ 10 มกราคม ค.ศ. 1949 ซึ่งมีสาระสําคัญที่จะใหความชวยเหลือทางเทคนิคแกคนที่
อาศัยอยูในพื้นที่ดอยพัฒนาของโลก เพื่อใหคนเหลานั้นสามารถผลิตอาหาร เครื่องนุงหม มี
วัสดุในการสรางที่อยูอาศัย และมีเครื่องจักรกลไวใชมากยิ่งขึ้น ซึ่งเปนนโยบายตางประเทศ
อยางหนึ่งในสี่อยางของรัฐบาลสหรัฐอเมริกา โดยไดอนุมัติจายเงิน 35 ลานเหรียญในป ค.ศ.
1950 เพื่อใชตามแผนปแรกและ 50 ประเทศในองคการสหประชาชาติไดเพิ่มเงินใหอีก 20
ลานเหรียญสําหรับเปนกองทุนพัฒนาระหวางประเทศ
เมื่อคํานึงภาพทางการเมืองที่แปรเปลี่ยนไป พรอมกันกับอิทธิพลของทั้งการตอตาน
ของประเทศที่เคยเปนอาณานิคม ซึ่งไมประสงคจะเปนคนชั้นสองอีกตอไปและการยินยอม
ผอนปรนเพื่อผลทางการเมืองของประเทศอุตสาหกรรมตะวันตกแกประเทศที่ไดรับเอกราช
ใหมทั้งหลายแลว ทฤษฎีที่เชื่อวาไมสามารถเอาชนะความดอยพัฒนาไดในสมัยอาณานิคม
นั้นจึงไมอาจจะปรากฏขึ้นมาไดอีกตอไป ในขณะเดียวกัน ความเห็นในแงดีก็มีมากขึ้น
กลาวคือ ปญหาของการพัฒนามีเชนเดียวกันทั้งในประเทศพัฒนาและดอยพัฒนา และความ
แตกตางทางดานสังคมวัฒนธรรมไมเปนอุปสรรคขัดขวางความสําเร็จของการพัฒนาอีก
ตอไป
จากความคิดดังกลาวนําไปสูความตองการนโยบายการพัฒนาที่สามารถอธิบายถึง
เหตุที่มาของความดอยพัฒนาที่แตกตางไปจากแนวความคิดเดิมที่มีอยูในสมัยอาณานิคม
และนําไปสูแนวทางที่เปนไปไดในการเอาชนะความดอยพัฒนา ดังนั้น เพื่อใหสอดคลองกับ
การแบงโลกออกเปนสองคายทางอุดมการณความคิดเห็นที่มีเหตุผลใหมที่พัฒนาขึ้นมาอยาง
ตรงกันขามและเปนปฏิปกษตอกัน จึงอธิบายในเชิงทฤษฎีได ดังนี้
1. ทฤษฎีการทําใหทันสมัย (Modernization Theory)
นักทฤษฎีการพัฒนาไดคนหาวิธีการตาง ๆ ขึ้นมาใหม ๆ โดยอาศัยกระบวนทัศนยอย
(Sub-paradigm) ที่แตกตางกัน วิธีการตาง ๆ ที่กลาวถึงนี้มักสัมผัสกับปญหาบางสวนเทานั้น
การอธิบายของแตละแนวคิดมักจะไมสอดคลองกัน บางครั้งบางกรณีอาจขัดแยงกันอยาง
พอจะสังเกตเห็นได แมในเรื่องความพยายามที่จะวิเคราะหปญหา การใชกรอบการวิเคราะห
ก็ยังแตกตางกันอยู ฉะนั้น จึงอาจจะกลาวถึงไดในลักษณะของแนวโนมของทฤษฎีเทานั้น
ความชวยเหลือทางเศรษฐกิจ (Economic Aid) ที่ใหมาโดยประเทศพัฒนาแลวสวน
ใหญมุงที่วา ทําอยางไรการพัฒนาเศรษฐกิจจึงจะเปนไปไดในระบบตลาดที่เสรีเหมือนกับ
ประเทศตะวันตกหรือจะทําอยางไรจึงจะทําใหการวางแผนทางเศรษฐกิจของชาติบรรลุผล
สําเร็จไดอยางรวดเร็วเหมือนกับที่เกิดขึ้นในบางประเทศที่พัฒนาแลว แนวคิดและนโยบาย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 168 ~

การพัฒนาอยางเปนระบบโดยอาศัยการควบคุมขององคกรและการวางแผนของรัฐนั้น ไดมา
จากทฤษฎีของ เคนส (Keynes) หรือยุคหลังเคนส (Post-Keynes) ซึ่งไดรับการยอมรับมาก
ขึ้น ดังนั้น ระยะแรกของทฤษฏีการพัฒนาจึงเพียงแตตองการพิสูจนวาตัวแบบความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจมหภาค (Macro-economic Growth Model) ตามแบบฮารรอด โด
มาร (Harrod-Domar Type) เปนเครื่องมือการวางแผนที่เหมาะสมเทานั้น ยังไมมีเครื่องมือ
ใด ๆ ของทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรที่เปนที่ยอมรับ เพื่ออธิบายใหเห็นถึงกระบวนการของ
ความเจริญเติบโตและกระบวนการพัฒนาแตอยางใด นับแตไดกําหนดตัวแบบนี้ขึ้นมาราว ๆ
ปลายทศวรรษ 1940 ไดมีนักเศรษฐศาสตรในประเทศกําลังพัฒนานําเอาไปใชในการวางแผน
พัฒนาประเทศในหลาย ๆ ประเทศ เมื่อเวลาผานไปหลาย ๆ ป ก็ทําใหมองเห็นวา การ
นําเอาทฤษฎีความเจริญเติบโตแบบนี้มาใชเปนความผิดพลาด โดยมีเหตุผลสําคัญประการ
หนึ่งที่สนับสนุนคํากลาวนั้น ก็คือ สูตรที่นํามาใชในตัวแบบความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจนี้
มีลักษณะการกระทําที่ซ้ํา ๆ กันไป โดยมิไดมีแนวทางหรือกระบวนการในการทําใหเกิด
ความเจริญเติบโตแตอยางใด มีเพียงหลักการกวาง ๆ วาจะตองมีดุลยภาพ การที่จะใหมี
ลักษณะการกระทําที่ซ้ํากันเกิดขึ้นไดในสภาพแวดลอมที่แตกตางกันของประเทศตะวันตกกับ
ประเทศกําลังพัฒนานั้นคงเปนไปไดยาก เพราะมีหลายสิ่งหลายอยางที่ไมเหมือนกัน
กลาวคือ โครงสรางทางสังคมองคการหรือสถาบันตาง ๆ รวมทั้งเจตคติของประชาชน
ตลอดจนกลไกการพัฒนาที่สําคัญ คือ ระบบราชการโครงสรางพื้นฐานดานตาง ๆ รวมทั้ง
สภาพของตลาดการคา เปนตน ความไมเพียงพอในสภาพการณตาง ๆ ดังกลาวนี้เปนสาเหตุ
ที่ สํ า คั ญ ที่ ทํ า ให ก ารทํ า ให ทั น สมั ย ล ม เหลวอยู ม ากมายหลายอย า งในสั ง คมกํ า ลั ง พั ฒ นา
ประกอบกับกระบวนการทําใหเกิดการพัฒนาที่นํามาใชทั้งดัดแปลงและไมไดดัดแปลงที่ยังไม
เหมาะสมถูกตองจึงเปนเหตุใหเกิดความลมเหลวไดเชนกัน
1) ทฤษฎีโครงสราง (Structural Theory)
นักวิทยาศาสตรในสมัยกอนมักจะกลาวอางวา วัฒนธรรม สังคมวิทยา และดินฟา
และอากาศเปนเงื่อนไขสําคัญที่ทําใหเกิดความดอยพัฒนา เอลสวอรธ ฮันติงตัน (Ellsworth
Huntington) กลาววา ประชาชนในเขตรอนจะมีวัฒนธรรมและเศรษฐกิจดอยกวาประชาชน
ในเขตอบอุน จูริอุส เอช โบค (Julius H. Boeke) กลาวทํานองเดียวกันวา ประชาชนใน
ประเทศดอยพัฒนาจะไมมีความกระตือรือรนในการทํางานและไมสนองตอบสิ่งจูงใจทางดาน
การเงิน จึงทําใหระบบเศรษฐกิจมีลักษณะเปนทวิภาค กลาวคือ มีภาคเศรษฐกิจสมัยใหมและ
ภาคเศราฐกิจดั้งเดิมอยูควบคูกันไปโดยไมมีความเกี่ยวของกัน การพัฒนาเศรษฐกิจจะไมแผ
กระจายออกไปจากภาคสมัยใหมที่กาวหนาเพราะสภาพของทองถิ่นไมเหมาะสม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 169 ~

โครงสรางทวิภาคดังกลาวนี้มีลักษณะหลาย ๆ ดานประกอบกัน คือ


1. สภาวะที่แตกตางกันระหวางความเดน (superior) กับความดอย (inferior) อยู
ดวยกันในพื้นที่หนึ่งพื้นที่ใดในเวลาเดียวกัน เชน มีวิธีการผลิตที่ทันสมัยในเมืองกับวิธีการ
ผลิตที่เกาแกโบราณในชนบทหรือมีผูนําที่มีการศึกษาสูงและร่ํารวยกับมวลชนที่ไมรูหนังสือที่
ยากจนหรือมีประเทศอุตสาหกรรมที่มั่งคั่งร่ํารวยกับประเทศเกษตรกรรมที่ยากจนและดอย
พัฒนาอยูดวยกัน
2. การมีลักษณะตรงกันขามของสภาพการณดังกลาวในขอแรกอยูดวยกันนั้น
จะตองเปนเรื่องที่ยืดเยื้อยาวนาน ไมใชอยูในชวงของการเปลี่ยนแปลงหรืออยูในขั้นของการ
พั ฒ นาหรื อ เป น ปรากฏการณ ท างประวั ติ ศ าสตร ที่ จ ะสามารถทํ า ให ดี ขึ้ น ได ภ ายในเวลา
ชวงหนึ่ง แตเปนสิ่งที่มีอยูดวยกันอันยาวนานอยางไมเทาเทียมกันหรือไมมีความเสมอภาค
กันอยางยากที่จะทําใหหมดสิ้นไปได
3. องศาแหงความเดนกับความดอยที่มีอยูนั้น นอกจากจะยังไมมีวี่แววที่จะทําให
หมดไปไดอยางงาย ๆ และรวดเร็วไดแลว ยังทําทาวาจะเพิ่มมากยิ่งขึ้นเรื่อย ๆ ดวย เชน คน
รวยก็ดูเหมือนจะยิ่งร่ํารวยขึ้นในขณะที่คนจนก็ยิ่งจนลงทุกวัน
4. ความสัมพันธระหวางปจจัยแหงความเดนกับปจจัยของความดอยมีลักษณะที่
อธิบายไดวาปจจัยแหงความเดนมิไดทําใหปจจัยของความดอยดีขึ้นเลย หากจะมีอยูบางก็มี
เพียงเล็กนอยมาก ในทางตรงกันขามมีแตจะทําใหเลวลงยิ่งขึ้น กลาวอีกนัยหนึ่ง ก็คือ ปจจัย
ทั้งหลายที่ทําใหประเทศพัฒนาแลวหรือคนร่ํารวยแลวยิ่งพัฒนาและร่ํารวยยิ่งขึ้นนี้ มิไดมีสวน
ทําใหประเทศดอยพัฒนาหรือคนจนมีสภาพหรือฐานะดีขึ้นแตประการใดเลย แตกลับทําให
ดอยพัฒนาหรือยากจนลงไปอีก
นอกจากนี้ ไมเคิล พี โทดาโร (Michael P. Todaro) ยังไดแบงแนวคิดทวิภาคนี้
ออกเปนทวิภาคระหวางประเทศ (international dualism) ทวิภาคภายในประเทศ (domestic
dualism) ดังตอไปนี้
1. ประเทศที่แข็งแรงและมีอํานาจยอมสามารถควบคุมและจัดการกับทรัพยากร
และตลาดสินคาตาง ๆ ใหเปนประโยชนกับตัวเองได
2. การแผขยายของการควบคุมครอบครองระบบเศรษฐกิจโดยนายทุนขามชาติ
ทางการลงทุนในกิจกรรมตาง ๆ
3. ประเทศที่มั่งคั่งร่ํารวยมีสิทธิพิเศษที่จะเขาถึงวัตถุดิบที่หายากขาดแคลนได
4. การนําออกซึ่งวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีที่ไมเหมาะสมจากประเทศพัฒนา
แลว

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 170 ~

5. เสรีภาพสําหรับประเทศอุตสาหกรรมในการบังคับขายสินคาขายของตัวเองไป
ยังตลาดที่เปราะบางในประเทศโลกที่สามอยูเบื้องหลังกําแพงภาษีขาเขาสําหรับบริษัทขาม
ชาติที่ผูกขาด
6. การถายทอดระบบการศึกษาที่ลาสมัยและไมเกี่ยวของใหกับประเทศกําลัง
พัฒนาที่ถือวาการศึกษาเปนองคประกอบสําคัญยิ่งของกระบวนการพัฒนา
7. ความสามารถของประเทศร่ํารวยที่สามารถแยกแบงความพยายามที่จะเปน
ประเทศอุตสาหกรรมของประเทศยากจนโดยอาศัยการทุมเทสินคาเขาไปขายในราคาต่ํามาก
(Dumping’s cheap products) เพื่อควบคุมและครอบครองตลาด
8. ทฤษฎีและนโยบายการคาระหวางประเทศที่เปนอันตรายอยางนาสะพรึงกลัว
คือ การทําใหประเทศโลกที่สามติดอยูในกรอบที่มีเพียงสินคาพื้นฐาน (Primary product)
เปนสินคาออกอันจะมีรายไดจากสินคาสงออกเหลานี้ลดลงเรื่อย ๆ
9. นโยบายการให ค วามช ว ยเหลื อ ที่ น า กลั ว ซึ่ ง เป น การช ว ยทํ า ให โ ครงสร า ง
ทวิภาคทางเศรษฐกิจภายในมีอยูตอไป ตลอดไปอยางขมขื่น
10. การสรางผูนําในประเทศดอยพัฒนาใหมีความซื่อสัตยทั้งทางเศรษฐกิจและ
ทางอุดมการณตอโลกภายนอกทั้งดานทุนนิยมและสังคมนิยม
11. การถ า ยทอดวิ ธี ก ารที่ ไ ม เ หมาะสมของการฝ ก อบรมความรู ใ นระดั บ
มหาวิทยาลัยใหมีมาตรฐานความรูวิชาชีพที่ไมเกี่ยวของเหมาะสมกับสภาพแวดลอม
12. ประเทศร่ํารวยมีความสามารถใชเงินเปนเหยื่อลอเอาคนที่มีความรูไปจาก
ประเทศดอยพัฒนา
13. ผลการโฆษณาสินคาฟุมเฟอยใหแกผูมั่งคั่งร่ํารวยไดใชทั้งภายในประเทศของ
ตัวเองและนอกประเทศ ซึ่งก็คือ ประเทศดอยพัฒนาไดรูไดเห็นเปนตัวอยางและเปนการ
ทําลายศีลธรรมดวย เชน ในทางภาพยนตรและแมกกาซีน เปนตน

ทวิภาคภายในประเทศ จะเห็นไดวาจากประชาชนสวนใหญมีอาชีพการเกษตรกร
อาศัยอยูในชนบทที่กระจัดกระจายมีรายไดนอย สวนคนจํานวนนอยที่มีรายไดสูงอาศัยอยูใน
เมืองมีสิทธิหลาย ๆ อยาง มีอํานาจ อยูในยานที่เจริญและสะดวก ในขณะเดียวกัน ก็มีสลัม
จํ า นวนมากล อ มรอบอยู โ ดยมี พ ลเมือ งรายได น อ ยอาศั ยอยู อ ย า งแออั ด ไมถู ก สุข ลั ก ษณะ
อนามัยที่ดี ทวิภาคภายในนี้อาจแบงไดเปน 4 ดาน คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 171 ~

1. ทวิภาคทางเศรษฐกิจ (Economic dualism) ไดแก การมีอยูของสภาพทาง


เศรษฐกิจแบบดั้งเดิมโบราณสามารถอยูไดดวยตัวเองกับภาคเศรษฐกิจแบบสมัยใหมมีตลาด
ซื้อขายสินคา
2. ทวิภาคทางสังคม (Social dualism) มีความแตกตางกันดานเชื้อชาติเผาพันธุ
ของคนแตกตางทางดานโครงสรางทางสังคม (Social Structure) ตลอดจนพฤติกรรมของคน
แตกตางกัน
3. ทวิภาคทางเทคโนโลยี (Technological dualism) มีความแตกตางกันในเรื่อง
ภาคแรงงานของคนแบบดั้งเดิมและไมมีทักษะ (labour-intensive) กับภาคการใชเครื่องยนต
เครื่องจักรที่ทันสมัยกาวหนา
4. ทวิภาคทางภูมิภาค (Regional dualism) มีความแตกตางระหวางเมืองกับ
ชนบทหรือระหวางพื้นที่ ๆ เจริญกาวหนาทันสมัยมีความสะดวกตาง ๆ กับพื้นที่ดอยพัฒนา
ซึ่งขาดแคลนทั้งความสะดวกสบายและบริการตาง ๆ ทวิภาคลักษณะนี้อาจถือเปนสวนหนึ่ง
ของทวิภาคทางเศรษฐกิจได
เจาตํารับทฤษฎีโครงสรางอีกคนหนึ่ง คือ เบริท เอฟ โฮเซลิทซ (Bert F. Hoselitz)
กลาวไวในเชิงตนแบบวา ประเทศดอยพัฒนากับประเทศพัฒนาแลวมีชองวางที่แตกตางกัน
ในดานปทัศถานทางสังคม (social norms) ซึ่งมีผลการกําหนดและแจกจายหรือกระจาย
บทบาทตาง ๆ ของคนในสังคม ดังนั้น การพัฒนาจึงจําเปนตองมีการแผกระจายที่กาวหนา
ของทัศนคติและสถาบันสมัยใหมใหทั่วถึง
2) ทฤษฎีการแปลงรูป (Transformation Theory)
ทฤษฎีเกี่ยวกับการแปลงรูปเหลานี้อางอิงถึงวิธีการอนุมานและการทํานายในเรื่อง
เกี่ยวกับชวงของการเปลี่ยนแปลงซึ่งโครงสรางทางเศรษฐกิจและสังคมที่ดอยพัฒนา โดย
พิจารณาจากการวิเคราะหโครงสรางและสาเหตุตาง ๆ ของความดอยพัฒนาที่กลาวมาแลว
แนวความคิดพื้นฐานเกี่ยวกับวิธีการเหลานี้ ก็คือ ความมีประสิทธิภาพทางเศรษฐกิจและ
สังคมที่พัฒนาขึ้นมาดวยแนวทางของตัวเองเปนโครงสรางแบบหนึ่งโดยเฉพาะ และถือวา
ประเทศดอยพัฒนาไมมีหลักแหลงของตัวเอง จะตองดําเนินรอยตามกระบวนการพัฒนาที่
เคยเกิดขึ้นแลวในสมัยหนึ่งของประเทศอุตสาหกรรม
ทฤษฎีการแปลงรูปก็เชนกันมีปจจัยในลักษณะดังกลาวอยูไมนอย เพราะใน
การกําหนดวัตถุประสงคก็ดีหรือการตัดสินใจเลือกกลยุทธในการพัฒนาก็ดี มักจะมีแบบแผน
หรือมาตรฐานอยูในหัวใจเปนแนวทางหรือเปนหลักอยูแลว

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 172 ~

3) ทฤษฎีการแผกระจาย (Diffusion Theory)


เกี่ยวกับแนวความคิดการแผกระจายนี้ โฮสท บุชเชอร (Horst Buscher) ได
อธิบายไวโดยกําหนดเปนขอสันนิษฐานวา กระบวนการเปลี่ยนแปลงจะดําเนินไปไดโดยการ
ถายเทปจจัยการผลิตที่หายาก เชน ทุน การริเริ่มเปลี่ยนแปลงทางเทคนิคใหม และความรูใน
การทํางาน (know-how) เปนตน จากประเทศอุตสาหกรรมไปยังประเทศกําลังพัฒนาและ
ความกาวหนาที่เกิดขึ้นในภาคทันสมัยจะแผกระจายไปทั่วประเทศ กลาวคือ มีสินคาอุปโภค
บริโภค เทคนิค และแนวนิยมทางพฤติกรรมและสถาบันอยางทั่วถึง
โรนัลด เอช ชิลโคท (Ronald H. Chilcote) กลาววา การบรรลุผลสําเร็จของลัทธิ
ทุนนิยมที่เกิดขึ้นโดยทั่วไปนั้น ถือวาเปนผลของทฤษฎีการแผกระจายความพัฒนาทั้งสิ้น
แฮรี จี จอหนสัน (Harry G. Johnson) ไดกลาวเกี่ยวกับทฤษฎีการแผกระจายการ
พัฒนาไววา กระบวนการพัฒนาการอุตสาหกรรมมีลักษณะสําคัญประการแรก คือ เมื่อมีการ
อุตสาหกรรมเกิดขึ้น ณ ประเทศใดหรือพื้นที่แหงไหนยอมมีแนวโนมที่จะทําใหการ
อุตสาหกรรมมีมากยิ่งขึ้น มีรายไดสูงขึ้น มีความเชี่ยวชาญเฉพาะดาน มีการแบงงานกันทํา
และมีระบบเศรษฐกิจที่แสวงประโยชนอันนําไปสูการดึงเงินทุนและแรงงานเขาไปยังตลาด ทํา
ใหเกิดปจจัยการผลิตและวงจรความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจอันเปนลักษณะสําคัญของ
ระบบการอุตสาหกรรมและทําใหเกิดความไมเทาเทียมกันของรายไดระหวางพื้นที่ ๆ พัฒนา
หรือเรียกวา ศูนยกลาง (center) กับพื้นที่หางไกลออกไปหรือเรียกวา พื้นที่ขอบนอก
(periphery) สําคัญกวาความไมเทาเทียมกันดังกลาว ก็คือ วงจรของความเปนเหตุเปนผล
(cumulative circle of causation) ที่เสริมสรางแรงดันทางเศรษฐกิจหลาย ๆ ประการ และทํา
ใหกระบวนการพัฒนาแผกระจายไปสูพื้นที่ขอบนอก โดยระบบเศรษฐกิจของศูนยกลาง
ตองการทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุดิบ ทรัพยากรแร ทรัพยากรที่หายาก อาหาร และราคาของ
สิ่งตาง ๆ มีแนวโนมสูงขึ้น จึงตองแสวงหาของราคาถูกกวาในพื้นที่ขอบนอก นอกจากนี้ยังมี
ความตองการทุนและแรงงานที่มีลักษณะเพื่อจะทําใหพื้นที่ขอบนอกเปนแหลงผลิตตอไป คน
ที่อยูในพื้นที่ขอบนอกจึงคุนเคยกับความรูเฉพาะดาน การแบงงานกันทํา มีรายไดสูงขึ้น มี
การสั่งสินคามากขึ้น และการมีรายไดสูงขึ้นทําใหสามารถผลิตสินคาไดและสงออกขายกับ
ประเทศเพื่อนบานซึ่งอยูในพื้นที่ขอบนอกดวยกันและสงขายใหประเทศศูนยกลางดวย
กลไกอีกอยางหนึ่งของการแผกระจายการพัฒนา ไดแก การเคลื่อนไหวของ
แรงงานระหวางประเทศ เมื่อเปรียบเทียบกับทุนและเทคโนโลยี รวมทั้งความกาวหนาทาง
เทคนิคทั่ว ๆ ไป เพื่อเพิ่มคาจางแรงงานความกาวหนาทางเทคนิคในประเทศศูนยกลางจะ
คอย ๆ เพิ่มคาจางที่นั่นเมื่อเทียบกับประเทศขอบนอกปรากฏการณดังกลาวจะทําใหมีการ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 173 ~

ผลิ ต เกิด ขึ้ น ในประเทศขอบนอกโดยใช ทุ น และเทคโนโลยี จ ากประเทศศู น ย ก ลางและใช


แรงงานราคาต่ํากวาในประเทศขอบนอก การผลิตก็มักจะทําเพื่อขายในประเทศขอบนอกเอง
ซึ่งกอนหนานั้นซื้อจากประเทศศูนยกลาง และตอมาถาคาขนสงไมแพงเกินไปอาจสงสินคา
นั้นไปขายในประเทศศูนยกลางดวยกลไกสําคัญในเรื่องนี้ ก็คือ คาจางแรงงานและการ
ฝกอบรมแรงงาน สวนประเทศศูนยกลางจะมุงผลิตสินคาที่มีขนาดใหญ ใชความรูเฉพาะดาน
และคนที่มีความรูสูง
การใชกลไกทั้งสองประการเพื่อถายทอดกระบวนการพัฒนาใหกับพื้นที่ขอบนอก
โดยศูนยกลางนั้นตองอาศัยสภาพแวดลอมในพื้นที่ขอบนอกที่เอื้ออํานวยดวย เชน
1. นโยบายของรัฐบาลจะเปนตัวสําคัญ ตอการแผกระจายการพัฒนาดังกลาว
กลไกประการแรกจะเปนไปไดหรือไมขึ้นอยูกับ
2. รายไดจากการสงออกและอาจลมเหลว ถามี
3. ประชากรเพิ่มมากเกินไปจนทําใหรายไดตอหัวต่ํามาก
4. ในกรณีของการทําอุตสาหกรรมที่ใชทุนและเทคโนโลยี (Capital Intensive)
เชน การทําเหมืองแร การจางแรงงานและรายไดในทองถิ่นอาจนอยเกินไปที่จะเปนตลาดที่
พอเพียงสําหรับการพัฒนาตอไปได ยิ่งกวานั้น
5. องคการทางสังคมดั้งเดิมอาจเปนอุปสรรคตอการเปลี่ยนแปลงปรับปรุงดวย
ในทํ า นองเดี ย วกั น กลไกการพั ฒ นาอุ ต สาหกรรมประการที่ ส องนั้ น ถ า
การศึกษาและการฝกอบรมมุงทําใหปญญาชนมีลักษณะสอดคลองกับการดํารงชีวิตแบบ
ดั้งเดิมของพื้นที่ขอบนอกหรือเพื่อตอบสนองอาชีพทางการเมืองและการบริหารเทานั้น โดย
ไมคํานึงถึงการอุตสาหกรรมแลว ปญหาก็จะมีอยูเชนเดียวกัน เพราะลักษณะตาง ๆ ของ
สังคมแบบดั้งเดิมนั้นมิไดสงเสริมความเปนผูประกอบการ อยางไรก็ตาม จอหนสัน กลาวเชิง
สรุปวา ประเทศดอยพัฒนาควรเรงพัฒนาเศรษฐกิจ โดยมีนโยบายที่ชัดเจนเกี่ยวกับการ
กําหนดโครงสรางทางอุตสาหกรรมใหเหมือนกับประเทศที่พัฒนาแลว และมุงไปสูการเลี้ยง
ตัวเองได รวมทั้งการสงออกตามความตองการของประเทศพัฒนาแลวดวย หรือกลาวโดย
สรุปเกี่ยวกับทฤษฎีการแผกระจายความเจริญ ก็คือ กระบวนการถายเทปจจัยหายากของ
การผลิต เชน ทุน เทคนิคใหม ๆ และความรู เปนตน จากประเทศอุตสาหกรรมไปสูประเทศ
กําลังพัฒนา ความเจริญกาวหนาที่เกิดขึ้นในพื้นที่ศูนยกลางจะแผกระจายไปยังพื้นที่ขอบ
นอกในเรื่องสินคา เทคนิค พฤติกรรม และสถาบันตางๆ
อยางไรก็ตาม ชิลโคท ไดจําแนกทฤษฎีการแผกระจายไว 3 แบบดวยกัน คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 174 ~

1. ทฤษฎีการพัฒนาทางดานการเมืองแบบประชาธิปไตยที่เกิดขึ้นในประเทศทุน
นิยมกาวหนาทั้งหลาย เชน ทฤษฎีประชาธิปไตยสมัยใหม (Modern Democracies) จาก
ผลงานของ เจมส ไบรซ (James Bryce) ในป ค.ศ. 1921 และระบบการปกครองแบบ
ประชาธิปไตยที่มีรัฐธรรมนูญของ คารล เจ ฟริดริซ (Carl J. Friedrich) ในป ค.ศ. 1937
ผลงานดังกลาวนี้เนนถึงคุณคาและการปฏิบัติของระบอบประชาธิปไตยตะวันตก (โดยเฉพาะ
อยางยิ่ง ความชอบธรรมของรัฐธรรมนูญ การมีสวนรวมของประชาชนโดยการเลือกตั้ง มี
ระบบพรรคการเมือง พลายพรรค และมีการแขงขันทางการเมือง)
ตอมา เซมัว มารติน ลิปเซท (Seymour Martin Lipset) ไดรวบรวมเนื้อหา
สาระสําคัญเขาดวยกันเมื่อป ค.ศ. 1959 เปนขอกําหนดของประชาธิปไตยตามแนวทางแหง
ความชอบธรรมทางการเมืองและการพัฒนาทางเศรษฐกิจ ในป ค.ศ. 1966 ลูเซียน พาย
(Lucian Pye) ไดรวมเอาสาระสําคัญเหลานี้ไวดวยกันในเรื่องจุดรวมของการเมืองแบบ
ประชาธิปไตย (Focus on Political Democracy) ภายหลังตอมา พัฒนาการทางการเมืองใน
ประเทศตะวันตกไดเพิ่มความสนใจใหกับการแบงงานตามความรูเฉพาะดาน ความเสมอภาค
และความสามารถของระบบการเมือง ทั้งยังผานวิกฤตการณทางเอกลักษณ ความชอบธรรม
การมีสวนรวม การเขาไปไดอยางทั่วถึง (Penetration) ของบริการและอํานาจรัฐและการ
กระจายอํานาจทางการเมือง
2. ทฤษฎีการแผกระจายที่เกี่ยวกับลัทธิชาตินิยมซึ่งเปนแนวความคิดทางยุโรปที่
ใหความสนใจกับสัญลักษณของชาติ เชน เพลงชาติ ธงชาติ ความเปนปกแผนทางสถาบัน
อธิปไตยของชาติ ขอความที่เกี่ยวกับความจงรักภักดีและความรูสึกรวมกันของคนในชาติ
หรือเจตจํานงที่มีอยูในสํานึกของคนทั้งชาติ เปนตน ลัทธิชาตินิยมทําใหเกิดพลังทาง
อุดมการณและแรงจูงใจเพื่อการพัฒนา โดยปกติแลวลัทธิชาตินิยมจะเนนไปสูการพัฒนาตาม
แนวทางทุนนิยม เชน ที่เกิดขึ้นในประเทศฝรั่งเศส เยอรมันนี และอิตาลี ระหวางเวลาใน
ศตวรรษที่ 19 หรือเมื่อไมนานมานี้ในประเทศใหม ๆ ในทวีปอาฟริกา เอเชีย และลาติน
อเมริกา
3. ทฤษฎีการแผกระจายอีกแบหนึ่งมีลักษณะเปนเสนตรงไปสูสภาวะทันสมัย
โดยมีความเชื่อวาประเทศในโลกดานตะวันตกจะแผกระจายคานิยม เงินลงทุน และ
เทคโนโลยีไปสูประเทศพัฒนานอยทั้งหลายใหมีอารยธรรมมากขึ้นตามแนวทางประเทศ
พัฒนาแลวทางตะวันตก การพัฒนาตามแนวทางนี้มีกระบวนการขั้นตอนซึงกําหนดไว
ดังตอไปนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 175 ~

การพัฒนาทางเศรษฐกิจของ วอลท ดับเบิลยู โรสโตว (Walt W. Rostow) ซึ่งถือ


วากระบวนการพัฒนามีขั้นตอนตอเนื่องไปสูความสําเร็จและเปนแบบแผนทางอุดมคติ ซึ่ง
เปนแนวความคิดที่มีอิทธิพลพอสมควรในชวง 1960 โดยมีขั้นตอนดังนี้
1. สังคมโบราณ (Traditional society)
เปนสังคมที่มีโครงสรางที่เปนปญหาตอการพัฒนาอยางมากและอาจกลาวได
วาเปนสังคมที่ไมเปลี่ยนแปลง ไมมีการใชวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีสมัยใหม มีการผลิตที่
จํากัดมาก ทรัพยากรที่ใชเพื่อการเกษตรมีอัตราสวนสูงมาก ในโครงสรางทางสังคม มีการใช
อํ า นาจตามระดั บ ของการบัง คั บ บัญ ชาการเปลี่ ย นแปลงฐานะของคนในสั ง คมโดยอาศั ย
คุณวุฒิและความสามารถแทบจะเปนไปไมไดเลย ครอบครัวและเชื้อสายตนตระกูลของคนมี
บทบาทสําคัญมาก และมีการถายทอดความเชื่อถือตาง ๆ สืบกันไปชั่วลูกชั่วหลาน สังคม
แบบนี้จึงมีลักษณะเปนสังคมเกษตรดั้งเดิมและยึดมั่นอยูกับคานิยมและความเชื่อเกา ๆ ที่
ถายทอดกันมาเปนเวลายาวนาน
2. สมัยหลังสังคมโบราณ (Post-traditional society)
หรือขั้นเตรียมพรอมที่จะออกเดินทาง (Pre-conditions for take-off) หรือเรียกอีก
อยางหนึ่งวา สังคมกําลังเปลี่ยนแปลง (Transitional society) ก็ไดเพราะเปนชวงของสังคม
โบราณเปลี่ยนแปลงเพื่อแสวงประโยชนจากความเจริญทางวิทยาศาสตรสมัยใหม เปนระยะ
ของการเตรียมตัวของสังคมในดานตาง ๆ ซึ่งสวนใหญจะตองมีการเปลี่ยนแปลง ถาสังคมใด
มีลัก ษณะโบราณมากและมีค วามมั่น คงเช น ประเทศส วนใหญ ใ นยุ โรปและประเทศเกือ บ
ทั้งหมดในทวีปเอเชีย อาฟริกา และตะวันออกกลาง เมื่อมีความจําเปนจะตองปรับปรุง
เปลี่ยนแปลงทั้งโครงสรางของสังคม ระบบการเมือง และเทคนิคการผลิต ยอมจะ
เปลี่ยนแปลงไดยากและตองใชเวลาอันยาวนานไมเหมือนกัน บางประเทศที่มีลักษณะอัน
เปลี่ยนแปลงไดงาย เชน ประเทศสหรัฐอเมริกา แคนาดา ออสเตรเลีย นิวซีแลนด และ
ประเทศอื่น ๆ บางประเทศ เพราะไมสูจะมีสิ่งที่ถายทอดกันมาตั้งแตดั้งเดิมมากนัก ประกอบ
กับมีทรัพยากรและลักษณะบางประการที่สงเสริมการเปลี่ยนแปลง จึงสามารถเตรียมตัวนํา
สังคมเปลี่ยนเขาไปสูขั้นที่สามไดโดยใชเวลาไมยาวนานนัก
ลักษณะของการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญในขั้นของการเตรียมตัวเพื่อออกเดินทาง
ของการพั ฒ นาได แ ก ก ารเปลี่ ย นจากสั ง คมโบราณที่ มี ลั ก ษณะเป น สั ง คมเกษตรกรรม
ประชาชนสวนใหญประมาณรอยละ 75 เปนเกษตรกรเขาไปสูการเปนสังคมอุตสาหกรรม มี
การคมนาคมและการสื่อสารที่เจริญกาวหนาขึ้น มีการคาขายสินคาและจัดบริการตาง ๆ การ
จัดการทางดานการเมืองการปกครอง การเศรษฐกิจ และสังคม ไมควรจํากัดขอบเขตอยูใน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 176 ~

อาณาเขตแคบ ๆ เฉพาะทองถิ่นหรือภูมิภาคหนึ่ง ๆ เทานั้น แตควรจะมองใหกวางไกลขึ้นไป


ถึงระดับชาติและระหวางประเทศ
ทัศนคติของการมีลูกควรเปลี่ยนไปในทางที่ทําใหอัตราการเกิดของประชากรลดลง
ประชากรจะไดไมมากเกินไป ซึ่งถือวาเปนปญหาของความเจริญกาวหนา เจาของที่ดินราย
ใหญเปนกลุมชนที่มีรายไดเหลือใช ควรจะหาทางนําเงินสวนนี้มาชวยประเทศในการสราง
ถนน โรงเรียน และสวัสดิการตาง ๆ แทนที่จะปลอยใหแตละคนมีเงินเหลือและใชจายตาม
ความพอใจ เชน ทัศนาจรตางประเทศ สรางโบสถ สรางวัด สรางบานพักตากอากาศ
ชายทะเล และซื้อเครื่องประดับสวนตัว เปนตน
ความรูสึกที่วาคาของคนและฐานะของคนอยูที่การเกิดหรื อตระกูลที่ใหกําเนิด
เปลี่ยนไปเปนการใหความสําคัญกับคุณวุฒิ ความรู ความสามารถ หรือความรูความชํานาญ
ในการทํางานเฉพาะดาน และที่สําคัญที่สุด ก็คือ ความเชื่อที่วาสิ่งแวดลอมทางกายภาพของ
มนุษยเปนสิ่งที่สรางขึ้นมาโดยธรรมชาติและโดยพระผูเปนเจา ควรจะเปลี่ยนไปสูความมีเหตุ
มีผล เพื่อใหคนมีความคิด มีเหตุผลและสามารถทําการผลิตไดมากขึ้น และกอใหเกิดความ
เจริญกาวหนา
3. ขั้นที่สามของการพัฒนาคือการออกเดินทาง (Take-off)
เปนชวงของการเอาชนะการตอตานขัดขวางและอุปสรรคตาง ๆ ของสังคม
โบราณไดแลว เพราะสิ่งเหลานี้ เปนปญหาของความเจริญเติบโต ในขณะเดียวกัน พลังตาง
ๆ ที่ทําใหเกิดความกาวหนาทางเศรษฐกิจ ไดแผขยายไปอยางทั่วถึงในสังคมและสามารถทํา
ใหมีความเจริญเติบโตไดอยางปกติตอไป ในชวงของขั้นการออกเดินทางนี้ อัตราการลงทุน
และการออมทรัพยอาจเพิ่มขึ้นจากรอยละ 5-10 ของรายไดแหงชาติหรือมากกวาก็ได มีการ
ลงทุนทางอุตสาหกรรมใหม ๆ แผขยายอยางรวดเร็ว ผลประโยชนที่ไดจากการผลิตสวนใหญ
จะนํามาใชในการขยายการลงทุนตอไปอีก การอุตสาหกรรมใหม ๆ ที่เพิ่มขึ้นนี้จะชวยใหคนมี
งานทํ า ในขณะเดี ย วกั น จะมี ค วามต อ งการบริ ก ารต า ง ๆ ที่ จํ า เป น เพื่ อ สนั บ สนุ น การ
อุตสาหกรรมเหลานี้ อันสงผลทําใหคนมีรายไดสูงขึ้น มีผูประกอบการเพิ่มมากขึ้น มีผูลงทุน
ในภาคเอกชนมีการปรับปรุงวิธีการผลิตใหทันสมัย และมีการใชทรัพยากรใหเปนประโยชน
ไดมากขึ้น
4. ขั้นขับเคลื่อนไปสูความโตเต็มที่ (Drive to maturity)
เมื่อผานขั้นออกเดินทางมาแลวประมาณ 40 ป จะเปนชวงของความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ มีการใชเทคโนโลยีสมัยใหมอยางกวางขวาง มีการใชทุนประมาณ
รอยละ 10-20 ของรายไดประชาชาติเพื่อการลงทุน ที่สําคัญคือ สามารถทําใหผลผลิตเพิ่มสูง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 177 ~

กวาอัตราการเพิ่มของประชากรอยางมาก มีการเรงการลงทุนทางอุตสาหกรรมใหม ๆ ให


รวดเร็วขึ้น มีการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงเทคนิคการผลิตใหกาวหนา มีความสามารถแขงขัน
ทางเศรษฐกิจระหวางประเทศได สามารถผลิตสินคาที่เคยสั่งซื้อจากตางประเทศมากอนได
เองภายในประเทศและมี สินคาสงออกใหม ๆ ให สอดคลองกัน การปรับปรุงคานิยมหรือ
สถาบันตาง ๆ ที่มีอยูเดิมใหเหมาะสมกับสภาพแวดลอมที่เปลี่ยนแปลงไป โดยเฉพาะอยาง
ยิ่ง ใหมีลักษณะที่สนับสนุนสงเสริมความเจริญเติบโตหรืออยางนอยก็ไมใหเปนปญหาและ
อุปสรรคตอความเจริญดังกลาว กระบวนการทางอุตสาหกรรมและเทคโนโลยีอาจมีความ
สลับซับซอนยิ่งขึ้น โดยเปลี่ยนจากสมัยของการอุตสาหกรรมถานหิน เหล็ก และอุตสาหกรรม
หนักทางดานรถไฟ ไปสูสมัยของเครื่องยนต เครื่องจักรกล เครื่องเคมี และเครื่องไฟฟา
เหมือนอยางประเทศอังกฤษ ฝรั่งเศส และเยอรมันนีเมื่อปลายศตวรรษที่ 19
5. ขั้นของการบริโภคขนาดใหญ (The age of high mass-consumption)
ในขั้ น นี้ ได มี ก ารเปลี่ ย นแปลงทางเศรษฐกิ จ สํ า คั ญ ๆ ที่ ทํ า ให เ กิ ด ความ
เจริ ญ เติ บ โตเข า ไปสู ก ารผลิ ต สิ น ค า เพื่ อ การบริ โ ภคและการบริ ก ารต า ง ๆ เช น มี ก าร
เปลี่ยนแปลงจากอุปทานหรือการผลิตไปสูอุปสงคหรือความตองการ และจากปญหาของการ
ผลิตไปสูปญหาของการบริโภคและสวัสดิการวาทําอยางไรจึงจะทําใหมีอาหารและบริการที่
อํานวยความสะดวกสบายและความพอใจใหกับประชาชนได เพื่อใหประชาชนไดรับความสุข
โดยทั่วกัน ในขณะเดียวกัน ก็คงยังมีความเจริญกาวหนาทางเทคโนโลยี มีการเพิ่มผลผลิต
ทางอุตสาหกรรมอยูตอไป พรอมกับการสรางความมั่นคงของอิทธิพลออกไปนอกอาณาเขต
มีการใชทรัพยากรไปในทางทหารและนโยบายตางประเทศมากขึ้น อันเปนการสรางชื่อเสียง
ของประเทศใหเปนที่เชื่อถือ
4) ทฤษฎีการพัฒนาทวิภาค (Dual Development Theory)
ผูที่มีแนวความคิดคลายคลึงกันในเรื่องการพัฒนาทวิภาคนี้ มี ดับเบิลยู อารเธอร
เลวิส (W. Arthur Lewis) กัสดาฟ เรนิส (Gustav Renis) จอหน ซี เอช ฟ (John C. H. Fei)
และ เดล ดับเบิลยู จอรแกนสัน (Dale W. Jorgenson) ไดกลาวไววา “การโยกยายปจจัยดาน
แรงงานจากภาคการเลี้ยงตัวเอง (Subsistence sector) ไปทํางานในภาคอุตสาหกรรม จะ
ชวยลดความแตกตางระหวางทั้งสองภาคดังกลาวไดและสามารถทําใหมีบูรณาการในระดับที่
สูงขึ้นอยางทั่วถึงของระบบเศรษฐกิจ”
กัสตาฟ เรนิส (Gustav Renis) และจอหน ซี เอช ฟ (John C. H. Fei) ไดกลาวไว
ในเรื่องทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยกลาวถึงแรงงานสวนเกินในภาคการเกษตรซึ่งมีอัตรา
การเกิดสูงมาก ทั้ง เรนิส และฟ อาศัยผลงานของเลนิส โดยเสนอตัวแบบสองภาค (Two-

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 178 ~

sector model) และสังเกตดูการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมหรือการลงทุนซึ่งสนับสนุน


โดยมีแรงงานอยางมากมายและราคาคาจางถูกจากภาคเกษตรกรรม การวิเคราะหของเขา
อาศัยขั้นตอนการออกเดินทาง (Take-off) ของการพัฒนาเศรษฐกิจของ โรสโตว โดยใชเวลา
20-30 ป เปนการสรางทฤษฎีความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจซึ่งมีสองขั้นตอน คือ ตอนแรกมี
ข อ สมมติ เกี่ยวกั บ โครงสรา งเบื้อ งตน ของตั วแบบโดยเนน การวิ เ คราะห บ ทบาทของภาค
เกษตรที่ถูกละเลย ตอนสองลักษณะที่เริ่มจากความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจที่มีแรงผลักดัน
ใหตัวเอง กลาวคือ มีการกระทํากิจกรรมทางดานอุตสาหกรรมซึ่งสวนหนึ่งมาจากแรงกระตุน
ของการมีแรงงานสวนเกินอยางมากมาย
ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจทวิภาค (Development of a dual economy) อธิบาย
โดย เดล ดับเบลยู จอรเกนสัน (Dale W. Jorgenson) ในชั้นแรกไดกลาวถึงทฤษฎีและตัว
แบบที่ใชในระบบเศรษฐกิจที่พัฒนาแลวทั้งหลาย เชน ทฤษฎีความเจริญเติบโต ฮารรอด โด
มาร (Horrod-Domar theory of growth) ตัวแบบวงจรและความเจริญเติบโต ดิวเชนเบอรรี่
สมิธ (Duesenburry-Smithies model of cycles and growth) ตัวแบบความเจริญเติบโต
คลาสสิคใหม โตบินโซโล (Tobin-Solow neo-classical growth model) และตัวแบบความ
เจริญเติบโต แคลดอร (Kaldor model of growth) ซึ่งเปนตัวแบบที่สรางขึ้นมาโดยผูรูและ
เหมาะสมที่จะใชในสังคมที่พัฒนาทั้งหลาย สวนทฤษฎีที่เหมาะสมจะใชในสังคมกําลังพัฒนา
ที่คุนเคยกันมากหนอย ก็คือ ทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจประชากรศาสตร (Economic-
demographic Theory of Development) มีความแตกตางอยางมากระหวางทฤษฎีทั้งสอง
แบบซึ่ ง ควรใช ใ นสภาพแวดล อ มที่ แ ตกต า งกั น ด ว ย ทฤษฎี ก ารพั ฒ นาเศรษฐกิ จ
ประชากรศาสตรมีจุดเนนอยูที่การรักษาดุลยภาพระหวางการสะสมทุนกับความเจริญเติบโต
ของประชากร โดยแตละดานจะปรับตัวเขาหาอีกดานหนึ่ง ภาคสมัยใหม (advanced or
modern sector) กับภาคลาหลังหรือโบราณ (Backward or traditional sector) ในแตละภาค
จะมีกิจกรรมการผลิตที่มีลักษณะของความเกี่ยวของระหวางผลผลิตกับปจจัยการผลิต ซึ่ง
ไดแก ที่ดิน แรงงาน และเงินทุน ลักษณะพิเศษของทฤษฎีนี้ ก็คือ ความไมสมประกอบใน
เรื่องความสัมพันธของการผลิตในภาคอุตสาหกรรมและภาคเกษตรกรรมปจจัยอื่น ๆ ที่เหลือ
ของทฤษฎีนี้ก็มี
- ความเจริญเติบโตของประชากรที่ตองขึ้นอยูกับผลิตผลอาหารตอหัวและการ
ตาย
- อัตราการเกิดที่ตองขึ้นอยูกับผลิตผลอาหารตอหัว

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 179 ~

ถาผลิตอาหารไดเกินความตองการ ผลผลิตการเกษตรก็จะมีเหลือ แรงงานก็


อาจจะละทิ้งที่ดินเขามาหางานทําในภาคอุตสาหกรรม แรงงานที่จะใชในภาคอุตสาหกรรมจะ
เพิ่มขึ้นในอัตราเทากับอัตราการเพิ่มขึ้นของผลผลิตการเกษตรสวนเกิน แนนอนละ ถาไมมี
ทุนการผลิตทางอุตสาหกรรมก็เกิดขึ้นไมได ครั้นมีการลงทุน การสรางสมทุนก็จะมีความ
เป น ไปได โ ดยอาศั ย แรงงานที่ เ พิ่ ม ขึ้ น และการค า ระหว า งภาคเกษตรกรรมและ
ภาคอุตสาหกรรมเปนตัวชวยความแตกตางของคาจางแรงงานของทั้งสองภาคจะมีอยูและ
ความแตกตางนี้จะเปนตัวกําหนดการคาระหวางทั้งสองภาคและเปนตัวกําหนดอัตราการ
ลงทุนในภาคอุตสาหกรรมดวย
5) ทฤษฎีโครงสราง-หนาที่นิยม (Structural-Functionalism Theory)
เปนทฤษฎีทางดานสังคมวิทยาและรัฐศาสตร เฟรด ดับเบิลยู ริกส (Fred W.
Riggs) ไดอธิบายความหมายของโครงสรางวา เปนแบบแผนของพฤติกรรมซึ่งไดกลายเปน
ลักษณะมาตรฐานของระบบสังคม เชน พฤติกรรมของขาราชการในองคการหนึ่ง ดังนั้น
โครงสรางจึงมีความหมายรวมไปถึงตัวบุคคล สิ่งของและการกระทําของคนในองคการ
รวมทั้งของคนที่มาติดตอรับบริการจากองคการนั้นดวย สวนความหมายของหนาที่นั้น
หมายถึง ผลที่ตามมาของโครงสรางซึ่งอาจมีสวนทําใหเกิดผลกระทบตอโครงสรางอื่น ๆ หรือ
ระบบใหญดวย เชน หนาที่ของหนวยงานเกี่ยวกับการศึกษาที่เปนผูกําหนดอัตราคาเลาเรียน
กําหนดหลักสูตร และหลักเกณฑการเรียนการสอน เปนตน สิ่งเหลานี้ยอมมีสวนกระทบไปถึง
รายไดรายจายของผูปกครองนักเรียน รายไดของโรงเรียน และของรัฐบาล รวมทั้งมาตรฐาน
ความรูของผูสําเร็จการศึกษาดวย ดังนั้น หนาที่จึงเปนแบบแผนของการขึ้นตอกัน
(interdependence) ระหวางโครงสรางตั้งแตสองแหงขึ้นไปและเปนความสัมพันธระหวางตัว
แปรผันตางๆ ดวย
การศึกษาในสมัยกอนนั้นมักจะกระทํากันเฉพาะในดานของโครงสราง บางครั้ง
อาจทําใหผูที่ศึกษามองไมเห็นภาพที่แนชัด เชน การศึกษาถึงระบบการปกครอง โดย
พระมหากษัตริยในสมัยกอน ยอมกลาวไดวาตามโครงสรางนั้นไมมีฝายนิติบัญญัติเหมือน
การมีระบบรัฐสภาในระบบการปกครองที่เห็นอยูในปจจุบันนี้ ทั้ง ๆ ที่สมัยนั้น
พระมหากษัตริยก็มีอํานาจหนาที่ทางนิติบัญญัติดวย ดังนั้น เพื่อใหมองเห็นภาพที่ชัดเจนและ
ถูกตองยิ่งขึ้น จึงมีการศึกษาทางหนาที่อีกดานหนึ่งซึ่งจะทําใหทราบถึงความสัมพันธและการ
ขึ้นตอกัน รวมทั้งมีสวนกระทบตอหรือถูกกระทบโดยสิ่งแวดลอมดวย
การศึกษาในเรื่องโครงสรางหนาที่นี้เปนสวนหนึ่งของทฤษฎีการทําใหทันสมัย ซึ่ง
มีกระบวนการของการพัฒนาจากความดอยพัฒนาหรือสังคมดั้งเดิม (Traditional society)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 180 ~

ไปสูสังคมกําลังพัฒนา (Transitional society) โดย ริกส กําหนดชื่อใหเองวา จากสังคม


เกษตรกรรม (Agrarian society) ไปสูสังคมกําลังพัฒนา (Prismatic society) และถึงสังคม
อุตสาหกรรม (Industrial society)
สังคมดั้งเดิมมีลักษณะเปนสังคมเกษตรกรรมที่ไมคอยมีการเปลี่ยนแปลง ไมมีการ
แบงงานกันทําตามความรูเฉพาะดาน ภายหลังจากการเปลี่ยนแปลงพัฒนาแลวจะเปนสังคม
อุตสาหกรรมที่มีการแบงงานกันทําตามความรูเฉพาะดานอยางชัดเจน
6) ทฤษฎีความเปนเหตุเปนผล (Causation Theories)
วิธีการอธิบายแนวนี้ เรียกวา ทฤษฎีตัวแปรที่กอใหเกิดผลเด็ดขาด (Single
Crucial Variable Theories) โดยกัสตับ เอฟ. ปาปาเนค (Guatab F. Fapanek) ทั้งนี้ เพราะ
ทฤษฎีเหลานี้เนนปจจัยอยางเดียวที่เปนสาเหตุความดอยพัฒนา แตก็มิไดเปนทฤษฎีที่ถือวา
มีสาเหตุอันเดียว เพราะทุกทฤษฎีเนนความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ ซึ่งมีกระบวนการที่
สลับซับซอนที่อยูภายใตอิทธิพลของปจจัยมากมายหลายอยาง แตมีอยูเพียงอยางหนึ่งที่
สําคัญมากและเปนตัวที่อธิบายถึงความยากลําบากทั้งหลายทั้งปวงที่ปรากฏอยูในอัตราความ
เจริญเติบโตที่เปนอยูขณะนี้
ปจจัยที่ปาปาเนค เอยชื่อถึง ไดแก
1. สภาพอากาศเปนปจจัยสําคัญยิ่งตามทฤษฎีอาณานิคมและไดรับการสนับสนุน
ตอมาอีกวาเปนปจจัยอยางหนึ่ง แตตามทฤษฎีการทําใหทันสมัยแลว สภาพอากาศมิไดสงผล
ใหเกิดความดอยพัฒนา เพราะยังไมมีเหตุผลที่จะอธิบายไดอยางพอเพียง
2. การสะสมทุนที่ยังไมพอเพียง สาเหตุของการสะสมทุนที่ยังไมพอเพียงนี้มี
ความเห็นแตกตางกันออกไป บางคนก็กลาววา มาจากการขาดความสามารถในการออมอัน
ทําใหมวลชนทั้งชาติตกอยูในวงจรความชั่วรายแหงความยากจน บางคนก็มีความเห็นวา
บรรยากาศการลงทุนไมมีและขาดแรงกระตุน เพราะเหตุวาตลาดในประเทศกําลังพัฒนามี
ขนาดเล็กเกินไป ไมพอเพียงที่จะทําใหไดเงินมาลงทุน นักวิชาการบางคนก็กลาววา ประเทศ
กําลังพัฒนามีภาคการเงินที่ขาดประสิทธิภาพ ไมมีความสามารถที่จะทําหนาที่ในการแปร
สภาพการออมทรัพยใหไปสูการลงทุน เมื่อขาดแคลนความสามารถของภาคการเงินดังกลาว
จึงทําใหทั้งการออมทรัพยและการลงทุนเปนไปไมได
3. ปจจัยสําคัญอีกประการเปนเรื่องของมนุษยโดยตรง คือ การขาดคุณภาพของ
คนเปนปญหาที่มีนักวิชาการกลาวถึงเสมอและเปนปญหาพื้นฐาน เพราะคนมีบทบาทสําคัญ
ตอการพัฒนามาก นอกจากจะไมมีคุณภาพทางดานความรูความสามารถแลว ยังขาด
คุณภาพดานศีลธรรมจรรยาอันเปนความตองการพื้นฐานในการอยูรวมกันของมนุษยดวย ใน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 181 ~

ที่นี้จะกลาวเฉพาะคุณภาพของมนุษยที่มีสวนเกี่ยวของกับการพัฒนาซึ่งมีลักษณะสําคัญ 3
ประการ คือ
(1) การขาดแคลนแรงงานที่มีประสบการณ ความรู และทักษะ ในประเทศ
กําลังพัฒนามีแรงงานจํานวนมากแตไมมีความรู ไมมีประสบการณ และไมมีฝมือ
(2) การขาดแคลนผูประกอบการในภาคเอกชน ไมมีนักธุรกิจและนักลงทุนที่มี
ความรู ความสามารถ และประสบการณเพียงพอ
(3) ความสามารถในการตั ด สิ น ใจและการบริ ห ารหรื อ การจั ด องค ก ารที่ ใ ช
ความรูวิทยาการกาวหนาที่มีระบบและใชหลักวิชายังมีนอย
4. ปจจัยทางดานสังคมวิทยา กลาวคือ โครงสรางทางสังคม (social structure) มี
ลักษณะดั้งเดิมโบราณ เชน มีครอบครัวขนาดใหญ (Extended family) แบบตะวันออก คือ มี
ทั้ง พอ แม ลูก พอตา แมยาย พอของพอ ลูกของลูก ลูกของหลาน บางครั้งมีลูกหลานของพี่
นองของพอหรือแมและญาติพี่นองอื่น ๆ อยูในครอบครัวดวย รวมกันแลวมากกวา 10 คน
ยิ่งกวานั้นยังมีการถายทอดความคิดความเชื่อและวัฒนธรรมจากบรรพบุรุษตาง ๆ กันอีก
ดวย สิ่งดังกลาวเปนอุปสรรคตอการเปลี่ยนแปลงพัฒนาและความมีเหตุมีผลที่ถูกตอง ทั้งยัง
เปนตัวสกัดกั้นพฤติกรรมที่มีเหตุมีผลทางเศรษฐกิจ คนจะมีความเชื่อ มีคานิยม และ
พฤติกรรมที่นําไปสูการเพิ่มขึ้นของประชาชนอยางมากมาย อันเปนผลทางลบตอการพัฒนา
เศรษฐกิจ
5. ปจจัยภายนอกอื่น ๆ ที่เกิดขึ้นกับการมีความสัมพันธกับตางชาติหรือองคการ
ระหวางประเทศไมวาจะทางดานการเมือง เศรษฐกิจ สังคม จิตวิทยา และการบริหาร มีความ
เชื่อกันอยูวาประเทศพัฒนาแลวที่มีอํานาจสามารถที่จะแสวงประโยชนจากประเทศกําลัง
พัฒนาและดอยพัฒนาไดมากกวาในรูปแบบตาง ๆ กัน ในสมัยกอนสงครามโลกครั้งที่สอง
มักจะอาศัยวิธีการแบบเมืองขึ้นหรืออาณานิคม ตอมามีความคิดวาเปนการแสวงประโยชน
โดยวิธีการพึ่งพา เปนตน
7) ทฤษฎีการแกปญหา (Solution Theories)
ตามทฤษฎีทางเศรษฐศาสตรแลวไดมีการคิดคนถึงกลยุทธของการพัฒนาขึ้นมา
หลายๆ อยางโดยเนนในดานการลงทุน การเงิน การคลัง และการคาระหวางประเทศ กลยุทธ
ที่กลาวถึงกันมาก ก็คือ กลยุทธคอขวด (Bottleneck strategies) ซึ่งมีสาระสําคัญอยูที่การ
วิเคราะหถึงปจจัยตาง ๆ ที่เปนอุปสรรคตอการพัฒนาและการเอาชนะปญหาหรือปจจัย
เหลานั้น อยางไรก็ตาม มีความเห็นแตกตางกันอยางมากในเรื่องของการแกปญหาและ
แนวคิดในเรื่องกลยุทธดังกลาว

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 182 ~

ทฤษฎีเกี่ยวกับการลงทุน (Investment Theory) คงยังมีความคิดความเห็นที่


แตกตางกันในเรื่องของการลงทุนวาควรจะทําในลักษณะใด และจะใหความสําคัญกับปจจัย
อะไรกอนหรือระหวางการเกษตรและการอุตสาหกรรม โครงการอุตสาหกรรมขนาดใหญหรือ
จะพัฒนาอุตสาหกรรมขนาดยอม เปนตน จึงมีแนวคิดตาง ๆ กัน คือ
8) ทฤษฎีการสะสมทุน
ทฤษฎีการสะสมทุนหรือทฤษฎีการลงทุนในลักษณะนี้ เปนไปตามตัวแบบความ
เจริญเติบโต ฮารรอด-โดมาร (Harrod-Domar Growth Model) ซึ่งมีแนวความคิดที่สําคัญ
คือ
- การลงทุนจะเพิ่มขึ้น เมื่อประเทศมีการออมสูงขึ้น
- การลงทุนเทากับการออมและเปนเงื่อนไขทําใหเกิดความเจริญเติบโต
- อัตราการออมจะเปนปฏิภาคโดยตรงกับอัตราความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
และเปนปฏิภาคผกผันกับอัตราสวนระหวางทุนกับผลผลิตที่ใชในการผลิตตอหนวย
- การลงทุนจะทําใหเกิดการผลิตสูงขึ้นซึ่งเปนผลทางดานการมีสิ่งของ เครื่องใช
สินคา และบริการมากตามไปดวย
- การลงทุนทําใหคนมีรายได และมีความตองการที่จะบริโภคและอุปโภค
รวมทั้งทําใหมีการลงทุนตอไปอีกดวย
- การลงทุนตามแนวความคิดดังกลาวนี้ ถือวา ระบบเศรษฐกิจมีเพียงสาขาเดียว
มีการจางงานเต็มที่ไมมีการเสื่อมราคาของทุน และไมมีการคาขายระหวางประเทศ อยางไรก็
ตาม ความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจนี้ หมายถึง การเพิ่มขึ้นของผลผลิต ปจจัยการผลิตและ
ประสิทธิภาพของการผลิต
ขอสมมติฐานของ ฮารรอด-โดมาร มีดังนี้
- ระบบเศรษฐกิจมีเพียงสาขาเดียว (single sector)
- ไมมีการเสื่อมราคาของทุน
- ไมมีการคาขายระหวางประเทศ
- มีการจางงานเต็มที่
ทฤษฎีความเจริญเติบโตของ มหาลูโนบิส (Mahalunobis) ซึ่งเชื่อเหมือนกับ ฮาร
รอด-โดมาร คือ “การลงทุนจะเพิ่มขึ้นไดเมื่อประเทศมีอัตราการออมสูงขึ้น และการสงออกที่
เพิ่มขึ้นนี้จะมีผลทําใหระดับรายไดประชาชาติและการบริโภคสูงขึ้นดวย”
ทฤษฎีนี้พิจารณาถึงระบบเศรษฐกิจ 2 สาขาหลัก คือ
- สาขาที่ผลิตปจจัยประเภททุน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 183 ~

- สาขาที่ผลิตสินคาเพื่อการบริโภค
ทฤษฎีนี้เนนการผลิตปจจัยประเภททุนมาก
9) ทฤษฎีแรงผลักดันสําหรับการพัฒนา (Big Push Theory)
เปนทฤษฎีที่เนนการสะสมทุนและการลงทุนเพื่อการพัฒนาเชนเดียวกับของ ฮาร
รอด-โดมาร และ มหาลูโนบิส นอกจากนี้ โรเซนสเตน-โทดัน (Rosenstein-Todan) ยังได
เสนอวาในประเทศเทศดอยพัฒนานั้น จะตองมีการลงทุนขนาดใหญในตอนเริ่มตน เพื่อ
ผลักดันใหเขาสูกระบวนการพัฒนา มิฉะนั้น จะเอาชนะปญหาอุปสรรคตาง ๆ ที่มีอยูใน
ประเทศดอยพัฒนาไมได
ดังนั้น จึงตองลงทุนในกิจการอุตสาหกรรมหลาย ๆ อยางไปพรอมกัน เพราะ
สินคาอุตสาหกรรมตาง ๆ ที่ผลิตขึ้นนั้นตองพึ่งพาอาศัยกัน
10) ทฤษฎีความเจริญเติบโตอยางสมดุล (Balanced Growth Theory)
หมายถึง การลงทุนพรอม ๆ กันหลาย ๆ ดานใหมีความสอดคลองสนับสนุน
กัน ทั้งในดานอุตสาหกรรมและเกษตรกรรม สินคาอุปโภคบริโภคและสิ นคาประเภททุ น
สินคาเขาและสินคาออก อุปสงคและอุปทานของระบบเศรษฐกิจ รวมทั้งโครงสรางพื้นฐาน
ดวย
ผูมีแนวคิดทางดานนี้ ไดแก แรกนา เนอรคเซ (Ragnar) กลาววา “การลงทุน
จะตองกระทําขึ้นในทุกสวนของระบบเศรษฐกิจโดยพรอมเพรียงกันเพื่อขจัดปญหาตลาดที่มี
ขนาดเล็ก
แรกนา เนอรคเซ ไดเสนอแนวคิดเกี่ยวกับการพัฒนาแบบสมดุล ทั้งนี้ เพราะวา
ประเทศดอยพัฒนาที่จะทําใหเกิดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจโดยอาศัยความตองการ
จากภายนอกประเทศในการซื้อสินคาพื้นฐานนั้นเปนสิ่งที่ไมแนนอน ดังนั้น การสงสินคาออก
ไปขายในตลาดระหวางประเทศจึงไมสามารถชวยใหเกิดการพัฒนาได แตตองไมหมายถึง
ประเทศดอยพัฒนาทั้งหมด บางประเทศอาจอยูในขายยกเวน เชน คูเวต และอิรัก เปนตน
อยางไรก็ตาม งานสําคัญที่ตองทํา ก็คือ การเพิ่มผลผลิตเพื่อขายทั้งตลาดภายในประเทศและ
ตลาดที่อื่น ๆ ดวย เพราะตลาดภายในแคบและคนไมมีอํานาจการซื้อ ทั้งยังไมเปนระบบ
ตลาดที่สมบูรณเหมือนประเทศที่พัฒนาแลวดวย ดังนั้น การแกปญหา คือ ตองทําการลงทุน
แบบสมดุล คือ มีการอุตสาหกรรมหลาย ๆ ดาน คนก็จะไดงานทํามากขึ้น สามารถผลิตได
เพิ่มขึ้น มีเงินลงทุนมากขึ้น ปรับปรุงเทคนิคใหกาวหนาได อํานาจการซื้อของคนสูงขึ้น โดย
วิธีการดังกลาว การผลิตและการซื้อสินคาตาง ๆ กันจะสนับสนุนและสงเสริมซึ่งกันและกันอัน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 184 ~

เปนการขยายตลาดใหกวางขึ้น การพัฒนาอุตสาหกรรมก็เปนไปไดและทําใหเกิดความ
เจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
โรเซนสเตน โรดัน นอกจากสนับสนุนการพัฒนาแบบผลักดันแลว ยังเห็นวา การ
ลงทุนหลาย ๆ ดานอยางพรอมเพรียงกันนี้จะทําใหมีรายไดเพิ่มขึ้น แผกระจายไปทุกสาขาใน
ระบบเศรษฐกิจ มีผลผลิตเพิ่มขึ้นและมีความตองการในสินคาตาง ๆ ดวย
โรเซนสเตน โรดัน ไดเสนอทฤษฎีแรงผลักดันสําหรับการพัฒนา โดยอธิบาย
เหตุผลวาประเทศดอยพัฒนานั้นมีปญหาและอุปสรรคตอการพัฒนามากมายหลายอยาง
กลาวคือ การขาดแคลนนักลงทุนที่มีความสามารถ ขาดแคลนทรัพยากรที่จะนํามาใชในการ
ลงทุน รวมทั้งขาดแคลนโครงสรางพื้นฐานที่จําเปน เชน ถนน น้ําประปา ไฟฟา และโทรทัศน
ที่สําคัญยิ่งคือ ความสามารถในการออมทรัพยของประชากร ดังนั้น การที่จะมีโครงการ
พัฒนาและดําเนินการใหโครงการเปนไปไดนั้น จําเปนที่จะตองใชทุนอยางมากมายใน
ตอนตนเพื่อผลักดันเขาสูกระบวนการพัฒนา เปรียบเทียบกับการแลนขึ้นจากพื้นดินของ
เครื่องบินที่ตองใชความเร็วและพลังงานอยางมาก และจะตองทําเปนแผนงานการลงทุนที่มี
ความครอบคลุม (comprehensive investment program) โดยจะตองมีโครงสรางพื้นฐานให
ครบถวนพอเพียงไวรองรับการลงทุนดังกลาวดวย และทุนที่ใชคงตองไดมาจากตางประเทศ
สวนแรงงานนั้นไดจากภายในประเทศ
อยางไรก็ตาม การนําเอาแนวคิดนี้มาประยุกตใชในประเทศกําลังพัฒนาอาจมี
ปญหาบางประการที่สําคัญ คือ ประเทศเหลานี้มีทรัพยากรไมพอเพียงที่จะใชในการพัฒนา
หลาย ๆ ดานหรือทุกดานดังกลาว ทางออกที่หลาย ๆ ประเทศทํากัน ก็คือ การแสวงหา
ทรัพยากรเพื่อใชในการพัฒนาจากตางประเทศ โดยเฉพาะอยางยิ่งจากประเทศที่พัฒนาแลว
และสวนมากจะเปนการกูเงิน เมื่อกูมามาก ความสามารถในการใชหนี้มีนอยก็อาจทําใหเปน
ปญหาระยะยาวได ในดานของการจัดการเปนเรื่องที่ไมงายนักในกาที่จะพัฒนาใหทุกดานไป
ดวยกันไดอยางสอดคลองตองกัน ทั้งนี้ จะตองทําใหสวนประกอบทุกอยางเปลี่ยนแปลงและ
ดําเนินไปใหถูกตองสอดคลองทั้งดานสถานที่ เวลา ปริมาณ และคุณภาพ มีการจัดการและ
การควบคุมที่ดีมีประสิทธิภาพเกี่ยวกับการลงทุน และการดําเนินการตาง ๆ ในเรื่องการ
ลงทุนตามแบบสมดุลนี้
11) ทฤษฎีความเจริญเติบโตอยางไมมีดุลยภาพ (Unbalanced Growth
Theory)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 185 ~

มี ส าระสําคั ญ คือ การพั ฒ นาของประเทศด อ ยพั ฒ นานั้ น ควรเริ่ ม จากการ


ลงทุนขนาดใหญในสาขาเศรษฐกิจที่เปนยุทธศาสตรหรือเปนสาขานําการพัฒนาใหกับสาขา
อื่น ๆ เชน สาขา
โครงสรางพื้นฐาน
การพัฒนาแนวนี้อาจทําใหเกิดการขาดดุลยภาพ (Disequilibrium) ขึ้นในระบบ
เศรษฐกิจ แตสามารถปรับตัวไดถารัฐบาลใชมาตรการที่เหมาะสม
สาขาที่ควรเปนยุทธศาสตรควรเปนอุตสาหกรรมที่ผลิตสินคาสําเร็จรูปหรือเกือบ
สําเร็จรูป เพื่อการบริโภคและอุปโภค อุตสาหกรรมประเภทนี้จะทําใหมีการผลิตสินคาขั้น
กลางและขั้นพื้นฐานเพื่อนํามาใชในอุตสาหกรรมยุทธศาสตรตอไป
ในป ค.ศ. 1958 อัลเบิรต โอ. เฮิลชแมน ไดเสนอทฤษฎีการพัฒนาความ
เจริญเติบโตอยางไมสมดุล โดยมีแนวคิดสําคัญวา “การพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศดอย
พัฒนานั้น ควรเริ่มจากการลงทุนพัฒนาขนาดใหญในสาขาเศรษฐกิจที่เปนยุทธศาสตรหรือ
สาขานําการพัฒนาในสาขาอื่น เชน สาขาการสรางโครงสรางพื้นฐานเพื่อการพัฒนา
และเฮิสชแมน เชื่อวาการลงทุนพัฒนาในสาขาใดสาขาหนึ่งที่จะถือเปนสาขานําไดนั้นจะตอง
สามารถทําใหการอุตสาหกรรมอื่น ๆ ตามมาในภายหลังอันเกิดการมีอุตสาหกรรมสาขาแรก
ดังกลาว และในตอนทายยอมทําใหมีการอุตสาหกรรมตาง ๆ เพิ่มขึ้นและเกิดการพัฒนาใน
ที่สุด
นอกจากนี้ เฮิสชแมน ยังถือวาประเทศกําลังพัฒนามีทรัพยากรไมพอเพียงอันเปน
สาเหตุที่ทําใหดอยพัฒนาและการพัฒนาอยางไมสมดุลนี้เปนกระบวนการที่คอยเปนคอยไป
ดังนั้น จึงเปนไปไดยากที่จะทําใหมีเศรษฐกิจขนาดใหญทันสมัยในระบบเศรษฐกิจที่ลาสมัย
ความขาดแคลนที่สําคัญไดแก การขาดความสามารถที่จะเขาใจและตัดสินใจในการลงทุน แม
จะมีโอกาสอยูก็ทําไมได การแกปญหาจึงควรกระทําโดยการสรางสถานการณเพื่อบีบใหคน
ตัดสินใจลงทุน สถานการณดังกลาวทําไดโดยทําใหภาคทางเศรษฐกิจแตกตางกัน กลาวคือ
ทําบางสวนของเศรษฐกิจใหเจริญเติบโต ความขาดแคลนในภาคที่เปนสวนประกอบจะมีแรง
บังคับใหเกิดความเจริญเติบโตตามไปดวยโดยการลงทุน ดังนั้น ภาคหรือสวนที่จะนํามา
พัฒนาจึงควรไดรับการคัดเลือกใหเปนที่แนใจวาจะเปนสวนที่ทําใหมีการลงทุนตามในดานอื่น
ๆ รัฐบาลยอมจะตองเปนผูจัดหาโครงสรางพื้นฐานใหพอเพียงอันเปนการอํานวยความ
สะดวกใหกับผูลงทุน อยางไรก็ตาม การมีโครงสรางพื้นฐานเปนเพียงเครื่องอํานวยความ
สะดวกเทานั้น มิไดเปนสถานการณที่จะบีบใหมีการลงทุนเกิดขึ้น สิ่งที่ควรทําอาจจะเปนการ
ใชปจจัยอยางอื่น เชน เงินชวยเหลือและมาตรการดานภาษี เปนตน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 186 ~

2. ทฤษฎีจักรวรรดินิยม (Theory of Imperialism)


วิธีการทางทฤษฎีที่จะกลาวตอไปนี้ สรุปมาจากสวนหนึ่งของแนวความคิดเกี่ยวกับ
ลัทธิจักรวรรดินิยม ซึ่งมีพื้นฐานมาจากการสอนของพวกนิยมมารกสและทฤษฎีจักรวรรดิ
นิยมของ โรซา ลักเซมเบอรก (Rosa Luxemburg) และวลาดิมแมร ไอ เลนิน (Wladimir I.
Lenin) โดยมีสาระสําคัญในเชิงขอเสนอวา ระบบทุนนิยมสามารถผอนผันการพังทลายมา
จนถึงขณะนี้ไดก็โดยการทําใหประเทศที่มิไดเปนอุตสาหกรรมทั้งหลายขึ้นตอระบบทุนนิยม
ได โดยอาศัยกระบวนการของการทําใหประเทศอื่นเปนอาณานิคมของตนหรือการใชอํานาจ
รูปแบบอื่น ๆ และบังคับใหประเทศเหลานั้นเปดตลาดสําหรับขาดสินคาและทําการลงทุนหา
ผลประโยชน การตกต่ําลงของระบบนี้เปนสิ่งที่หลีกเลี่ยงไมได เพราะการแผขยายของระบบ
ทุนนิยมเหลานี้ทําใหเกิดความขัดแยงทางสังคม ที่มีแนวโนมไปสูขบวนการปลดปลอย
แหงชาติขึ้นและลัทธิทุนนิยมก็จะสูญเสียอาณาจักรสําคัญยิ่งไปในที่สุด
หลังสงครามโลกครั้งที่สอง ทฤษฎีจักรวรรดินิยมดังกลาวไดขยายตัวออกมาเปน
ทฤษฎีการพัฒนา โดยมีกลยุทธทางความคิดที่แตกตางออกไป แตยังคงมีวิธีการวิเคราะห
เหมือนเดิม สาระสําคัญของทฤษฎีพัฒนาแนวใหมนี้จะเห็นไดจากขอเสนอที่วาความยากจน
ในประเทศกําลังพัฒนาทั้งหลายเกิดจากการแสวงประโยชนของประเทศอุตสาหกรรม ซึ่งเปน
ผูจัดใหมีระบบการขึ้นตอกันระดับโลกขึ้น ซึ่งมีโครงสรางที่ประกอบไปดวยประเทศโลกที่สาม
เปนบริวารทางการเมืองเปนตลาดสินคา และกลายเปนดินแดนที่มีความสําคัญตอการผลิต
ตามรูปแบบของทุนนิยมที่มีพลวัตตอไป
เนื่องจากมีขบวนการและความเคลื่อนไหวในประเทศอาณานิคมตาง ๆ เพื่อใหได
อิสระเสรี ความเคลื่อนไหวเหลานี้ มักจะไดรับการสนับสนุนโดยผูที่ตอตานจักรวรรดินิยมและ
ทุนนิยม จึงเปนเหตุใหระบบทุนนิยมตองปรับเปลี่ยนกลวิธีโดยยกเลิกระบบการปกครองแบบ
อาณานิคมไปใชในการควบคุมที่นุมนวลกวา สวนวัตถุประสงคของการเปนจักรวรรดินิยมคง
ยังมีอยูเหมือนเดิม เพราะพวกศักดินาและคนชั้นสูงของประเทศดอยพัฒนายังคงมีพฤติกรรม
ที่สนับสนุนระบบดังกลาวอยู ดังนั้น ระบบนี้จึงไมมีทางที่จะลมเลิกไปโดยสมัครใจ จึงพอสรุป
สาระสําคัญของทฤษฎีจักรวรรดินิยมไดอีกตอนหนึ่งวาตราบใดที่สภาพการดํารงอยู ของ
ประเทศโลกที่สามเปนเชนนี้จะไมมีความเปนไปไดในการจะเอาชนะความดอยพัฒนา นอก
เสียจากจะมีการปฏิวัติแหงชาติเพื่อลมลางโครงสรางทางสังคมเกาแกดั้งเดิมที่มีอยูเสียและ
กําจัดความสัมพันธแบบพึ่งพาของประเทศกําลังพัฒนากับประเทศทุนนิยมเสียดวย ทั้งนี้
เพื่อเตรียมตัวที่จะเขาสูกระบวนการพัฒนาตามแนวทางของทฤษฎีจักรวรรดินิยมตอไป ซึ่งมี
อยู 2 ยุทธศาสตร คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 187 ~

1. ยุทธศาสตรการแกปญหาตามลัทธิมารกสของสหภาพโซเวียต ซึ่งเปนที่รูจักกันใน
นาม การพัฒนาที่ไมใชทุนนิยมตามกระบวนการพัฒนาดังกลาวนี้ ถือวาโครงสรางตาง ๆ
ของประเทศดอยพัฒนายังไมยอมใหเกิดการเปลี่ยนแปลงไปสูระบบสังคมนิยมได จึง
จําเปนตองทําการปรับปรุงพลังการผลิตเสียกอน นั่นก็คือ จะตองพัฒนาแรงงาน
ทรัพยากรธรรมชาติและความรูทางวิทยาศาสตรและเทคโนโลยีซึ่งเปนสวนประกอบของพลัง
การผลิตดังกลาว เมื่อเปลี่ยนแปลงพลังการผลิตไดแลว จึงทําใหการปฏิวัติแหงชาติเพื่อ
ปลดปลอยใหพนจากลัทธิทุนนิยม ทั้งนี้ การกระทําดังกลาวมาจะตองไดรับคําแนะนํา
ชวยเหลือทั้งทางการเมืองและทางเศรษฐกิจอยางใกลชิดจากประเทศสังคมนิยม จึงจะทําให
การพัฒนาเปนไปได การพัฒนาแบบนี้มุงสูลัทธิสังคมนิยมโดยยึดสหภาพโซเวียตเปน
ตนแบบ
2. ยุทธศาสตรการพัฒนาที่ไมเปนไปตามเจาลัทธินี้เปนผลงานของ พอล เอ. บารัน
(Pual A. Baran) และ พอล เอม. สวีซี (Pual M. Sweezy) ซึ่งปฏิเสธตนแบบของสหภาพโซ
เวียต เพราะไมมีความเหมาะสมกับสภาพที่เปนอยูในประเทศกําลังพัฒนา การที่จะนําเอา
ตนแบบที่เนนเรื่องการเมืองมากเกินไป ในขณะเดียวกัน ก็ละเลยการวิเคราะหทางเศรษฐกิจ
และสังคมไปอยางมาก
1) ทฤษฎีพึ่งพา (Dependency Theory)
เอ. โอ. เฮอรแมน (A. O. Hirschman) ไดศึกษาความเปนมาของแนวคิดใน
ประเทศกําลังพัฒนาพบวามีแนวคิดหลักของพวกลาตินอเมริกา ซึ่งแบงได 2 แนว คือ
แนวแรก เปนการอธิบายภาวะดานปรัชญาและจิตวิทยา โดยมีความเห็นวา
ปรัชญาชีวิตและลักษณะประจําตัวของมนุษยบางประการเปนอุปสรรคตอการพัฒนา ไดแก
ความเกียจคราน ความซึมเศรา ความถือตัว การตอตานวัตถุนิยม และการเชื่อในจิตและ
วิญญาณ เปนตน
แนวที่สอง เปนการกลาวหาประเทศที่พัฒนาแลวทั้งหลายวาแสวงประโยชนและ
ทําใหประเทศลาตินอเมริกาดอยพัฒนา
ที. โดส ซานโตส (T. DosSantos) ไดใหความหมายของการพึ่งพาไวดังนี้ “การ
พึ่งพา หมายถึง สถานการณที่เศรษฐกิจของประเทศตกอยูภายใตเงื่อนไขของการพัฒนา
และขึ้นอยูกับการขยายตัวของเศรษฐกิจเพื่อเลี้ยงตัวเองใหไดของประเทศอื่น” และมีลักษณะ
พึ่งพาทั้งในทางวัฒนธรรม สังคม การเมือง และเศรษฐกิจตอประเทศทุนนิยมตะวันตก
โดยเฉพาะทางเทคโนโลยี ความเชี่ยวชาญ ทุน สินคาประเภททุน และตลาดสินคาสําหรับ
สงออก เปนตน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 188 ~

ผูนิยามแนวคิดการพึ่งพาทั้งหลายมีความเห็นวา ความดอยพัฒนานั้นเกิดขึ้นจาก
การที่ประเทศสวนใหญของโลกที่สามถูกดึงเขารวมในระบบทุนนิยมระหวางประเทศในฐานะ
ประเทศบริวารของประเทศที่พัฒนาแลวทั้งหลายและทําใหโครงสรางทางเศรษฐกิจและสังคม
ของประเทศโลกที่สามเอื้ออํานวยตอการถูกแสวงประโยชนโดยประเทศพัฒนาแลวดังกลาว
ยิ่งกวานั้น โครงสรางทางเศรษฐกิจและสังคมยังไมสงเสริมการพัฒนาแบบทุนนิยมอีกดวย ได
อีเตอร เสงหาส (Dieter Seenghaas) เรียกประเทศเหลานี้วา “ทุนนิยมงอย” ที่เรียกเชนนี้
เพราะไมมีสินคาประเภททุน (capital goods) ที่ผลิตเองได ตองไปอาศัยประเทศพัฒนาแลว
โดยการนําเขา จึงกลายเปนตลาดสําคัญของสินคาจากประเทศพัฒนาแลว ในขณะเดียวกันก็
สงวัตถุดิบไปใหประเทศดังกลาว ลักษณะเชนนี้ยังเกิดขึ้นภายในประเทศดอยพัฒนาระหวาง
ชนบทกับเมืองดวย
การศึกษาทฤษฎีพึ่งพามีอยู 3 แนวทางดวยกัน และทุกแนวทางตางมีทาทีของ
การตอตานจักรวรรดินิยมอยูดวยทั้งนั้น คือ
แนวทางแรก ไดแก การศึกษาแบบทุนนิยม โดยรวมเอาแนวนิยมตาง ๆ เชน
ทัศนะของการพัฒนาแบบพึ่งตนเอง ความเปนชาตินิยม โครงสรางนิยมและพัฒนานิยมเขา
ดวยกัน แมจะมีลักษณะของการตอตานจักรวรรดินิยม แตก็ยังมองเห็นโอกาสที่จะพัฒนาตาม
แนวทางของทุนนิยมตอไปได โดยการปรับปรุงโครงสรางความสัมพันธทางเศรษฐกิจและ
การเมืองกับประเทศพัฒนาแลวเสียใหม เพื่อมิใหถูกเอาเปรียบทางผลประโยชนหรือมูลคา
สวนเกินไปมากนัก ทฤษฎีที่นํามาใชวิเคราะหของแนวทางนี้ คือ ทฤษฎีโครงสรางนิยม ซึ่ง
ออสวัลโด ซังเกล (Osvaldo Sunkel) ไดทําการศึกษาทั้งปญหาเศรษฐกิจภายในประเทศและ
ระบบทุนนิยมโลก เพื่อแสดงใหเห็นวา ความพัฒนาและความดอยพัฒนานั้น คือ แตละดาน
ของเหรียญเดียวกัน ดังนั้น การพัฒนา ความดอยพัฒนา การพึ่งพา ความตกต่ํา และความ
แตกตางทางพื้นที่ ถือไดวาเปนเรื่องที่เกี่ยวของสัมพันธกันและอยูในกระบวนการขยายตัว
ของทุนนิยมโลกเดียวกัน
การแกไขอยูในกระบวนการขยายตัวของทุนนิยมโลกนี้ ทําใหเกิดการแบงขั้วเปน
ศูนยกลางและบริวารทั้งระหวางประเทศและภายในประเทศ มีการไดเปรียบแบบพึ่งพา
เกิดขึ้น
แนวทางที่สอง คือ การศึกษาแบบมารกซิสต โดยเนนความสําคัญของภาวะ
นามธรรม เพราะเชื่อวาการทําความเขาใจสภาพความเปนจริงนั้น จําเปนจะตองกําหนดตัว
แบบหรือสมมติฐานขึ้นมากอน แลวจึงทําการรวบรวมตัวเลข ขอมูล และหลักฐานตาง ๆ ของ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 189 ~

สภาพที่เปนจริงมาอธิบายเปรียบเทียบใหเห็นนักทฤษฎีคนสําคัญที่ไดทําการศึกษาตามแนว
มารกซิสตนี้ ไดแก อังเดร จี. แฟรงค (Andre G. Frank) ซึ่งสรุปความคิดไดดังนี้
(1) การพัฒนาเศรษฐกิจของแตละประเทศจะไมเกิดขึ้นอยางเปนขั้นตอนตอเนื่อง
แบบเดียวกัน ประเทศดอยพัฒนาขณะนี้ไมไดอยูในขั้นตอนที่ประเทศพัฒนาแลวเคยผานมา
กอน และประเทศพัฒนาแลวก็ไมเคยดอยพัฒนาแบบนี้มากอน แมจะเคยเปนประเทศที่ไม
พัฒนามากอนก็ตาม
(2) ความดอยพัฒนามิไดสะทอนถึงโครงสรางของประเทศดอยพัฒนา แตเปนผล
ทางประวัติศาสตรของความสัมพันธระหวางประเทศกับประเทศศูนยกลางอันเปนสวนหนึ่ง
ของโครงสรางการขยายระบบทุนนิยมโลกอันทําใหมีการแสวงประโยชนจากแรงงานของ
ประเทศบริวารผานทางการคาที่ผูกขาด มีการทําลายระบบเศรษฐกิจและสังคมที่เลี้ยงตัวเอง
ได (Self-subsistence) ของประเทศดอยพัฒนาและเปลี่ยนประเทศดอยพัฒนาเปนแหลงการ
สะสมทุนของประเทศศูนยกลางและการพัฒนาของประเทศศูนยกลาง
(3) แฟรงคไดตั้งสมมติฐานของการศึกษาไวดังนี้
ก) สิ่งที่แตกตางกันในการพัฒนาระหวางประเทศที่พัฒนาแลวกับประเทศดอย
พัฒนา ก็คือ ประเทศพัฒนาแลวไมเคยเปนบริวาร แตประเทศดอยพัฒนากําลังเปนบริวาร
และมีขอจํากัดหลายประการ
ข) ประเทศบริวารจะประสบความสําเร็จในการพัฒนาเศรษฐกิจ โดยเฉพาะ
การพัฒนาอุตสาหกรรมแบบทุนนิยมดั้งเดิม ถามีความผูกพันกับประเทศศูนยกลางนอยที่สุด
ค) ภูมิภาคที่ดอยพัฒนาและมีลักษณะของสังคมศักดินามากที่สุดอยูในขณะนี้
ก็เพราะเคยมีความสัมพันธอยางใกลชิดมากกับเมืองหลักหรือประเทศศูนยกลางมากอน
แฟรงค ได เสนอให ประเทศในลาติน อเมริ กาแยกตั ว อยา งเด็ ด ขาดออกจาก
ความสัมพันธแบบศูนยกลางกับบริวาร โดยการปฏิวัติทางสังคมนิยม
แนวทางที่สาม คือ การศึกษาที่ใชทั้งแนวแรกและแนวที่สอง ใชแนวทางโครงสราง
ทุนนิยมสําหรับวิเคราะหและอธิบายสถานการณที่เปนรูปธรรมของการพึ่งพา และใชแนวทาง
มารกซิสตสําหรับกําหนดภาวะหรือตัวแบบนามธรรมของการพึ่งพา แนวคิดหลัก ก็คือ สภาพ
เฉพาะของสิ่งหนึ่งจะถูกกําหนดเงื่อนไขโดยสภาพทั่ว ๆ ไป และใชแนวคิดนี้กําหนดลักษณะ
ที่แตกตางกันของการพึ่งพา ซึ่งเกิดขึ้นจากกระบวนการขยายตัวของระบบทุนนิยมโลก
(ลักษณะการพึ่งพาเปนสภาพเฉพาะ สวนกระบวนการขยายตัวของระบบทุนนิยมโลกเปน
สภาพทั่วไป)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 190 ~

เนื่องจากทฤษฎีพึ่งพานี้มีผูใหความหมายไวแตกตางกันเปนกลุม ๆ ยังไมเปน
ทฤษฎีที่เปนแนวเดียวกันในหลาย ๆ ประเด็น แตก็พอจะกลาวถึงแนวคิดรวมไดวามีลักษณะ
สําคัญอะไรบาง ดังนี้
ประการแรก ไดแก สภาพเศรษฐกิจของประเทศบริวารอยูในภายใตสิ่งแวดลอม
ระหวางประเทศหรือเปนสวนหนึ่งของทุนนิยมโลก การวิเคราะหและทําความเขาใจเศรษฐกิจ
ของประเทศเหลานี้ จึงจําเปนตองพิจารณาถึงความสัมพันธที่มีกับประเทศศูนยกลางดวย ซึ่ง
มักจะเปนความสัมพันธที่เสียเปรียบ
ประการที่สอง ความสัมพันธของชนชั้นนําในประเทศบริวารกับประเทศศูนยกลาง
นอกจากจะมีลักษณะในการกอบโกยผลประโยชนจากประเทศบริวารแลว ชนชั้นนํายังมี
ผลประโยชนรวมกัน และมีการเลียนแบบการดํารงชีวิตจากกันดวย
ประการที่สาม ความไมเทาเทียมกันของประเทศสองกลุมจะมีมากขึ้น ทั้งในระดับ
ประวางประเทศ ชนชั้น ภาค และกลุมชน คนรวยก็ยิ่งรวย คนจนจะจนมากขึ้น มีความ
แตกแยกและขัดแยงกันภายในสังคม

2) ทฤษฎีความดอยพัฒนา (Underdevelopment Theory)


แนวความคิดเกี่ยวกับความดอยพัฒนามีพื้นฐานเริ่มตนคลายคลึงกับแนวความคิด
เกี่ยวกับการพึ่งพา นักวิชาการบางคนถือวา ทั้งสองแนวความคิดมีความหมายเหมือนกัน แต
อีกกลุมหนึ่งถือวา ทั้งสองแนวความคิดควรแยกการอธิบายออกจากกัน สวน โรนัล เอช ชิล
โคท กลาววา ทฤษฎีความดอยพัฒนามีแนวโนมแตกตางกันหลายอยาง เชน ลาอุล พลีบิช
(Raul Prebisch) และนักเศรษฐศาสตรอื่น ๆ ที่ทํางานเกี่ยวของกับคณะกรรมาธิการทาง
เศรษฐกิจสําหรับอเมริกาใตในองคการสหประชาชาติ ครั้งหนึ่งไดอธิบายวา การพัฒนาทุน
นิยมของประเทศอาจทําไดโดยการผลิตสินคาขึ้นมาแทนการสั่งเขาจากตางประเทศ ซึ่งจะทํา
ใหมีชนชั้นกลาง การคา และการอุตสาหกรรมขึ้นมาใหม
อังเดร กุนเดอร แฟรงค (Andre Gunder Frank) กลาวเมื่อป ค.ศ. 1966 วา
ความสัมพันธระหวางศูนยกลางที่มีความเจริญทางเศรษฐกิจกับประเทศลาหลังขอบนอกเปน
ผลสะทอนมาจากการแผขยายของลัทธิการคาและทุนนิยมตั้งแตศตวรรษที่ 16 และเขาเชื่อวา
ความดอยพัฒนาเปนผลกระทบมาจากลัทธิทุนนิยม
สวน ที เซสเตส (T. Szentes) กลาวไวคลายกับ แฟรงค วา ชองวางของการ
พัฒนาระหวางประเทศพัฒนาแลวกับประเทศกําลังพัฒนานั้นเปนผลมาจากลัทธิอาณานิคม
และการแสวงประโยชนของประเทศที่พัฒนาแลวทั้งหลาย (ค.ศ. 1971)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 191 ~

อารกฮิรี เอมมานูเอล (Arghiri Emmanuel) และซาเมอร อามิน (Samir


Amin) กลาวไวเมื่อ ค.ศ. 1972 และ 1976 ตามลําดับวา ปญหาการแลกเปลี่ยนที่ไมเสมอ
ภาคเทาเทียมกัน มีการถายเทของที่มีคุณคาจากประเทศขอบนอกไปยังประเทศศูนยกลาง
ประเทศขอบนอกมีความรูจํากัดจึงประกอบการอุตสาหกรรมขนาดเบาเปนสินคาออกเทานั้น
และการที่ตองเขาไปรวมอยูในตลาดโลกทุนนิยม จึงไมสามารถตอสูกับการผูกขาดของ
ตางชาติได และไมสามารถพัฒนาขึ้นมาไดดวยตัวเอง
แนวความคิดของทฤษฎีพึ่งพาและทฤษฎีความดอยพัฒนา สวนใหญจะเปนปญหา
และอุปสรรคของประเทศโลกที่สามที่จะพัฒนาไปสูการเปนประเทศพัฒนาแบบทุนนิยมโดย
มิไดกลาวถึงแนวทางการแกไขปญหาแตอยางใด คารโดโซ ซังเกล และ ซานโตส เสนอ
แนวทางแกปญหาการพึ่งพาโดยการเปลี่ยนแปลงหรือปฏิรูปโครงสรางภายในของประเทศ
โลกที่สามเสียใหม ซึ่งจะเปนกระบวนการที่นําไปสูการเผชิญหนากับโครงสรางของ
ความสัมพันธที่มีอยูเดิมแบบพึ่งพาระหวางประเทศทั้งสอง คารโดโซ ยังเสนอตอไปอยางมี
เหตุผลวา ควรจะทําการวิเคราะหอยางละเอียดถึงปจจัยหรือเงื่อนไขภายในประเทศโลกที่สาม
วามีอะไรที่เกื้อกูลใหประเทศศูนยกลางเขาไปครอบงําอันนําไปสูการพึ่งพาดังกลาวบาง และ
เขาไดกลาวตอไปวา ความสัมพันธระหวางประเทศดอยพัฒนากับระบบทุนนิยมโลกใน
ปจจุบันนี้ไมไดมีลักษณะเปนฝายหนึ่งไดอีกฝายหนึ่งตองเสีย (Zero Sum Game) เหมือน
อยางที่เลนินเคยวิเคราะหไว แตเปนการพัฒนาอยางพึ่งพาควบคูกับพัฒนาการของประเทศที่
พัฒนาแลว (Associated dependent development) กลาวคือ ประเทศดอยพัฒนาสามารถ
พัฒนาตัวเองไดระดับหนึ่ง คือ ผลิตสินคาที่ประเทศพัฒนาเลิกผลิตแลว เชน ประเทศ
อุตสาหกรรมใหม การพัฒนาลักษณะนี้ เปนผลมาจากทั้งปจจัยภายในและภายนอกประเทศ
ดังนั้น จึงตองมีการศึกษาทั้งสองปจจัย
สําหรับปจจัยภายใน ควรจะศึกษาถึงบทบาทของรัฐและการเคลื่อนไหวทางชนชั้น
โดยเฉพาะอยางยิ่ง การเปลี่ยนแปลงทางอํานาจการปกครองครั้งสําคัญ ๆ ในประวัติศาสตร
จึงตองศึกษาถึงโครงสรางทางสังคมอุดมการณของกลุมทางสังคมตาง ๆ รวมทั้ง
ความสัมพันธและการปะทะสังสรรคระหวางกลุมพลังดังกลาว เพื่อรักษาหรือเปลี่ยนแปลง
ผลประโยชนและสถานภาพของคนในสังคม ผลของการเปลี่ยนแปลงดังกลาวยอมถือไดวา
เปนการพัฒนา
สวนปจจัยภายนอกซึ่งจะตองพิจารณาควบคูกันไปดวย ก็คือ บทบาทของประเทศ
พัฒนาแลวทั้งหลาย ซึ่งไดพัฒนาไปสูระดับการผลิตที่ใชเทคโนโลยีสูงมากจึงเลิกผลิตสินคาที่

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 192 ~

ใชเทคโนโลยีไมสูงมากนัก โดยโอนการผลิตมาใหประเทศกําลังพัฒนาผานทางบรรษัทลงทุน
ขามชาติและสงผลกําไรกลับบริษัทแมตอไป
ปรากฏการณดังกลาวเกิดขึ้นอยางสอดคลองกัน เพราะประเทศกําลังพัฒนา
ตองการพัฒนาขีดความสามารถของตน สวนประเทศพัฒนาแลวก็ตองการโอนการผลิตสินคา
บางอยางให จึงทําใหเกิดการพัฒนาอยางพึ่งพากันและแสดงใหเห็นวาระบบทุนนิยมโลกได
พัฒนาไปสูระดับที่มีการจัดสรรงานแบบใหม (New international division labor)
3. ทฤษฎีอื่น ๆ
1) ทฤษฎีความพอใจในความตองการพื้นฐาน (Theory of Satisfaction of
Basic Needs)
การที่ผูรูไดหันมาใชวิธีการใหม ๆ ในการมองปญหา ประกอบกับแนวคิดในเรื่อง
ทฤษฎี พึ่ ง พาทํ า ให ก รอบการพิ จ ารณาและการอ า งอิ ง ของทฤษฎี ก ารพั ฒ นาแบบเดิ ม ถู ก
วิพากษวิจารณ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ความคิดเกี่ยวกับความเจริญเติบโต แนวความคิด
เกี่ยวกับการทําใหทันสมัยและการพัฒนาแบบเกาที่เริ่มมาตั้งแต ค.ศ. 1960 โดยผูสนใจใน
เรื่ อ งการพั ฒ นาได หั น มาให ค วามสํ า คั ญ กั บ ความพอใจเรื่ อ งความต อ งการพื้ น ฐานตาม
แนวทางของ จาขอบ ไวเนอร (Jacob Viner) เกี่ยวกับวิธีการที่ใหความสําคัญกับมนุษย
(Humanitarian approach) ซึ่งถูกปฏิเสธมาแลวเมื่อ 20 ปกอน เพราะไมมีใครเชื่อวาจะ
เปนไปได
แนวความคิดในเรื่องความตองการพื้นฐานนี้ ถือวาเปนกลยุทธมากกวาที่จะเปน
วิธีการวิเคราะหแนวความคิดนี้จะตีความหมายขอมูลที่หามาไดในแนวทางที่แตกตางไปจาก
วิธีที่เคยทํามากอนและเปนแนวความคิดที่เกิดวิพากษตัวเอง (self-criticism) ขององคการ
สหประชาชาติ โดยเฉพาะอยางยิ่ง องคการแรงงานระหวางประเทศและธนาคารโลก
แนวความคิดนี้เปนรูปรางขึ้นมาไดโดยความพยายามของผูรูกลุมหนึ่ง ซึ่งประชุมกันที่เมืองโค
โคยอค (Cocoyoc) ในประเทศเม็กซิโก ในป ค.ศ. 1974 โดยถือวาเปนโครงการหนึ่งของกล
ยุทธในการพัฒนาแบบดั้งเดิม จากประสบการณหลายปในการทํางานตามโครงการดังกลาว
ทําใหเกิดความแนใจวากระบวนการทางเศรษฐกิจที่ใชอยูนี้นั้น มิอาจทําใหประเทศโลกที่สาม
สามารถพัฒนาใหทันประเทศอุตสาหกรรมทั้งหลายได จากความแนใจดังกลาวขององคการ
ระหวางประเทศไดนําไปสูการยอมรับวา ไมมีทางที่จะอุดชองวางระหวางความร่ํารวยกับ
ความยากจนได จึงควรลดวัตถุประสงคลงมาสูระดับที่ทําใหประชากรสวนใหญที่ยากจนพอมี
ปจจัยทางวัตถุที่จําเปนเพื่อการดํารงชีวิตกอน ดังนั้น กลยุทธใหมจึงมุงสูความพอใจในความ
ตองการพื้นฐาน ทั้งนี้ เพราะกลไกการตลาดที่มีอยูนั้นสนองตอบเฉพาะความตองการที่ไดมา

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 193 ~

จากการมีอํานาจซื้อเทานั้น ไมไดสนองตอบความตองการพื้นฐานของมนุษยซึ่งเปนที่ยอมรับ
โดยทั่ว ๆ ไปวาประกอบดวย อาหาร สุขภาพอนามัย ที่อยูอาศัย การศึกษา สภาพการ
ทํางาน และความมั่นคงทางสังคม
กลยุทธของการพัฒนาดังกลาวชวยใหมีความสํานึกถึงสิทธิพื้นฐานของมนุษยอัน
สอดคลองกับหลักแหงความมีศักดิ์ศรีของมนุษยและชวยทําใหมีผลในแงสรางสรรคอีกหลาย
ๆ อยางที่ถูกมองขามไปบอย ๆ ตามความเห็นของผูสนับสนุนแลว กลยุทธนี้ไมจํากัดตัวเอง
อยูที่การแกไขบางสวนเทานั้น เชน ถามาตรการชวยเหลือเพื่อการพัฒนามุงอยูที่โครงการ
ชวยเหลือประชากรสวนที่ยากจนที่สุด การชวยเหลือควรจะตองคํานึงถึงความตองการของ
ประชากรที่เกี่ยวของดวย โดยใหเขาไดมีสวนรวมในการตัดสินใจดวย ซึ่งเปนกลยุทธที่มุงถึง
ความพอใจในความตองการพื้นฐาน
ผูรูสวนหนึ่งมีความเห็นวา กลยุทธแหงความตองการพื้นฐานนี้จะตองไมเปนที่
เขาใจอยางอิสระแยกจากความสัมพันธระหวางประเทศแบบพึ่งพา หากจะมีการนําเอาไปใช
จริง ๆ หรือกลาวอีกนัยหนึ่ง ก็คือ ถาใชกลยุทธใหมนี้เปนทางเลือกเพื่อใชแทน ระบบ
เศรษฐกิจระหวางประเทศแบบใหม (New International Economic Order) ซึ่งเรียกรองใหมี
โดยประเทศกําลังพัฒนาทั้งหลายนั้น หรืออาจเปลี่ยนเปนศูนยบริการระหวางประเทศของผู
ยากจน (International care service for the poor) การกระทําดังกลาวอาจแกปญหาความ
ยากจนไปได แตจะเปนไปไดมากนอยแคไหนเพียงใดนั้น ยังเปนปญหายากที่จะบอกได
เพราะกลยุทธอันนี้มิไดกลาวถึงปญหาหรือสาเหตุ ตลอดจนแนวทางแกไขในเรื่องเกี่ยวกับ
ความทุกขยาก การแสวงหาประโยชนและความแปลกแยก (Alienation) ตาง ๆ ทั้งหลายทั้ง
มวลที่มีอยู ดังนั้น กลยุทธความตองการพื้นฐานจึงอาจเปนสวนหนึ่งของกลยุทธทั้งหมดที่จะ
นํามาใชในการพัฒนาเพื่อใหเกิดความเทาเทียมกันและความเปนธรรมระหวางมนุษยใน
ประเทศตาง ๆ ในโลกนี้ ในดานตาง ๆ โดยเฉพาะอยางยิ่ง ในแงของการแบงปนทรัพยากร
เทคโนโลยี และผลผลิตทั้งหมด
2) ทฤษฎีโครงสรางความสัมพันธระหวางประเทศ (Structural Theory of
International Relation)
เมื่อไมนานมานี้ มีนักวิชาการทางยุโรปไดใหความสนใจทฤษฎีพึ่งพาและทฤษฎี
ความพอใจในความตองการพื้นฐาน ตอมาไดมีการพัฒนาวิธีการทางทฤษฎีใหม ๆ ขึ้นใน
แนวทางที่สอดคลองกับความคิดของคาล มารกซ เชน ซาเมอร อิน (Samir Ain) และอารกฮิรี
เอมานูเอล ผูที่ไดพัฒนาแนวคิดเกี่ยวกับการแลกเปลี่ยนที่ขาดความเสมอภาค นักวิชาการ
สําคัญยิ่งคนหนึ่ง คือ โจฮาน กัลตุง ไดกลาวถึง มิติใหมสําหรับทฤษฎีความสัมพันธระหวาง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 194 ~

ประเทศ โดยการนําเอาทฤษฎีความขัดแยงกับทฤษฎีการรวมตัวกัน มาพิจารณาหาหลักฐาน


และเหตุผลเพื่อกําหนดเปนวิธีการทางโครงสรางขึ้นมา เรียกวา ทฤษฎีโครงสรางทาง
จักรวรรดินิยม ซึ่งถือไดวาเปนกาวแรกที่จะนําไปสูทฤษฎีทั่ว ๆ ไปเกี่ยวกับอํานาจระหวาง
ประเทศและความสัมพันธแบบพึ่งพา
กัลตุง กลาววา ความสัมพันธระหวางประเทศสองประเทศสามารถแสดงใหเห็นได
ในลักษณะการพึ่งพาซึ่งกันและกัน องศาของความพึ่งพานั้นมีมากนอยตาง ๆ กัน โดยอยู
ระหวางความสมดุลสูงสุดไปจนถึงการพึ่งพาเต็มที่ ในกรณีความสัมพันธระหวางปรเทศ
อุตสาหกรรมกับประเทศกําลังพัฒนา ลักษณะการพึ่งพาแบบไมไดสัดสวนนี้ เกิดจากความไม
เทาเทียมกันในตําแหนงหรือฐานะทางการเมือง เศรษฐกิจ วัฒนธรรม และเทคโนโลยีของ
ประเทศทั้งสอง และความพึ่งพานี้อยูตอไปไดโดยอาศัยกลไกโครงสรางอํานาจ โครงสราง
อํานาจนี้เกิดจากความไมเทาเทียมกันของตําแหนงหรือฐานะแหงอํานาจเชนกัน ตามความ
เกี่ยวของกันดังกลาวนี้ ศูนยกลางของประเทศในศูนยกลาง (Centers of the central nation)
สามารถอาศัยความสนับสนุนจากศูนยกลางของประเทศขอบนอก (Centers of the
peripheral nations) เปรียบเทียบกับขอสะพานที่เชื่อมไวดวยผลประโยชนรวมกัน ผลที่
ตามมาขอความสัมพันธดังกลาว ทําใหเกิดการกระจายผลประโยชนที่ไมเสมอภาค ความ
สูญเสียที่เกิดจากกระบวนการดังกลาวมักจะเปนของประเทศที่ออนแอกวา และทําใหศักยะใน
การพัฒนาของฝายนั้นต่ําลง ทั้งยิ่งทําใหความสัมพันธนั้นตองพึ่งพาอาศัยประเทศศูนยกลาง
มากยิ่งขึ้นตอไป
กัลตุง กลาวตอไปอีกวา การแกปญหาความขัดแยงโดยใชกลยุทธแหงการรวมมือ
กัน (Integration Strategy) นั้นจะเปนไปไดก็แตเฉพาะกรณีที่มีความสัมพันธพึ่งพาซึ่งกันและ
กันในลักษณะสมดุลโดยประมาณเทานั้น ในทางตรงกันขาม เพื่อที่จะแกไขความสัมพันธแบบ
พึ่งพาที่ไมไดสัดสวนนี้ประการหนึ่งที่พอทําไดก็คือ การเปลี่ยนโครงสรางแบบพึ่งพา
ระดับชาติและระดับระหวางประเทศ เมื่อเปนเชนนี้ การแกไขหรือกลยุทธของการพัฒนาก็
ยอมทําไดโดยมีขั้นตอน 2 ระยะ คือ ระยะแรก เปนระยะของการไมคบหาสมาคมระหวาง
ประเทศคูกรณีที่มีความขัดแยงกัน การไมเกี่ยวของกันนี้จะชวยลดองศาของความขัดแยงและ
ยอมใหคูกรณีไดเสริมสรางตัวเอง ทั้งในแงของชื่อเสียงเกียรติภูมิ ความพอเพียงในการชวย
ตัวเอง จนกระทั่งความขัดแยงนั้นกลับเขาสูสภาวะสมดุล กลาวคือ มีอํานาจตอรองเทาเทียม
กัน ระยะที่สอง ควรเริ่มตนไดซึ่งเปนระยะของการคบหาสมาคม มีการติดตอ เจรจา ซื้อขาย
แลกเปลี่ยนกันระหวางประเทศดังกลาว

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 195 ~

เดเตอร สิงหาด และผูรูอื่น ๆ อีกหลายคน ถือวา ขั้นตอนสวนแรกของวิธีการ


ดังกลาวนี้ คือ ระยะที่หนึ่งสามารถรวมกันไดกับทฤษฎีความพอใจในความตองการพื้นฐาน
และเมื่อรวมกันไดแลวสามารถที่จะขยายออกไปเปนทฤษฎีการพัฒนาออโตเซนเตรด ซึ่ง
บางครั้ ง อาจจะเรี ย กร อ งให ป ระเทศกํ า ลั ง พั ฒ นาป ด ตั ว เองโดยไม ยุ ง เกี่ ย วกั บ ตลาดโลก
กลาวคือ ไมสงสินคาไปขายและไมซื้อสินคาใด ๆ จากประเทศอื่นในตลาดระหวางประเทศ
เหมือนบางประเทศกําลังทําอยู อันเปนการเผชิญหนากับความคิดในการดึงดูดทุกประเทศให
เข า ร ว มในตลาดโลกซึ่ ง เป น วิ ธี ก ารสํ า คั ญ อั น หนึ่ ง ในทฤษฎี ส มั ย เก า และทํ า ได อ ย า งมี
ประสิทธิภาพ

การพัฒนาชุมชนโดยใหประชาชนมีสวนรวม
แนวคิดการพัฒนาชุมชน
ความหมายการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชน ประกอบดวย 2 คํา คือ การพัฒนา
และชุมชน
การพัฒนา หมายถึง ทําใหเจริญ การเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนสภาพ ปรับปรุงใหตางจาก
เดิม
ชุมชน หมายถึง การรวมตัวของบุคคล กลุม/องคกรชุมชน เครือขายองคกรชุมชน
และประชาชนที่อาศัยอยูในขอบเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีปฏิสัมพันธซึ่งกันและกัน ระดับพื้นฐาน
ที่สุด คือหมูบาน หรือชุมชนในรูปแบบอื่น ๆ ที่มีมารวมตัวกันเพื่อแกไขปญหาเดียวกัน เชน
ชุมชนลุมน้ํา ชุมชนวัฒนธรรม เปนตน
การพัฒนาชุมชน (Community Development) ตามหลักการพื้นฐานเปน
กระบวนการใหการศึกษา (educational process) แกประชาชนเพื่อใหสามารถพึ่งตนเองได
(self – reliance) หรือชวยตนเองได (self – help) ในการคิด ตัดสินใจ และดําเนินการ
แกปญหา ตลอดจนตอบสนองความตองการของตนเอง และสวนรวม
ปรัชญาการพัฒนาชุมชน
ปรัชญาพื้นฐานเบื้องตนของนักพัฒนาชุมชน คือ ความเชื่อมั่นและศรัทธาใน
มนุษยชาติวามนุษยทุกชีวิต มีคุณคา มีความหมาย มีศักดิ์ศรี มีศักยภาพ และ สามารถ
พัฒนาไดถามีโอกาส
หลักการพัฒนาชุมชน คือ หลักประชาชน กลาวคือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 196 ~

1. เริ่มตนที่ประชาชน ยืนจุดเดียวกับประชาชน มองโลก มองชีวิต มองปญหา จาก


ทัศนะของประชาชน เพื่อใหเขาใจปญหา ความตองการของประชาชน เพื่อใหเขาถึงชีวิต
จิตใจ ของประชาชน
2. ทํางานรวมกับประชาชน (ไมใชทํางานใหแกประชาชน เพราะจะทําใหเกิด
ความคิดมาทวงบุญทวงคุณจากประชาชนในภายหลัง) การที่จะทําใหประชาชนเขาใจปญหา
ของตนเอง และมีกําลังใจลุกขึ้นตอสูกับปญหา ชวยกันคิด ชวยกันแกไขปญหา นั้น ยอมมี
หนทางที่จะกระทําไดโดยไมยากหากเขาใจปญหาและเขาถึงจิตใจประชาชน
3. ยึดประชาชนเปนพระเอก ประชาชนตองเปนผูกระทําการพัฒนาดวยตนเอง
ไมใช เปนผูถูกกระทํา หรือฝายรองรับขางเดียว เพราะผลของการกระทําการพัฒนานั้น ตก
อยูที่ประชาชนโดยตรงประชาชน เปนผูรับโชค หรือ เคราะหจากการพัฒนา นั้น

วิธีการพัฒนาชุมชน เปนวิธีการพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน คือ


1. การรวมกลุม หรือ จัดตั้งองคกรประชาชน เพื่อสงเสริมและสนับสนุนใหประชาชน
ซึ่งเปนสมาชิก มีบทบาท และ มีสวนรวม ในกิจกรรมของกลุม/องคกร ซึ่งจะสงผลกระทบไป
ถึงสวนรวมดวย
2. การสงเสริม/สรางสรรคผูนําและอาสาสมัคร เพื่อเปดโอกาสและสนับสนุนให
ประชาชน มีความพรอมจะ เปนผูนํา และ เปนผูเสียสละ ไดอุทิศตน ไดแสดงบทบาท มีสวน
รวมในกระบวนการพัฒนาชุมชน โดยสวนรวม

กระบวนการพัฒนาชุมชน การปฏิบัติงานพัฒนาชุมชนเปนงานที่ตองทําอยาง
ตอเนื่องเปนกระบวนการ และตองอาศัยหลักการมีสวนรวมในการพัฒนาซึ่งเปนหัวใจสําคัญ
ของการพัฒนาในทุกระดับเปนการเปดโอกาสใหประชาชนรวมคิด วิเคราะห ตัดสินใจ การ
วางแผน การปฏิบัติตามแผน การติดตามประเมินผลในกิจกรรม/โครงการของชุมชน เปนการ
สราง/ปลูกฝงจิตสํานึกในความเปนเจาของกิจกรรม/โครงการ นั้น โดยกระบวนการพัฒนา
ชุมชนที่ประชาชนมีสวนรวมทุกขั้นตอนมีดังนี้
1. การศึกษาชุมชน เปนการเสาะแสวงหาขอมูลตาง ๆ ในชุมชน เชน ขอมูลดาน
เศรษฐกิจ สังคมการเมือง การปกครอง และสภาพความเปนอยูของคนในชุมชน เพื่อทราบ
ปญหาและความตองการของชุมชนที่แทจริง วิธีการในการศึกษาชุมชนอาจตองใชหลายวิธี
ประกอบกันทั้งการสัมภาษณ การสังเกต การสํารวจ และการศึกษาขอมูลจากเอกสารตาง ๆ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 197 ~

ที่มีอยูในชุมชนดวย เพื่อใหไดขอมูลที่ตรงกับความเปนจริงมากที่สุด กลวิธีที่สําคัญที่


นักพัฒนาตองใชในขั้นตอนนี้ คือ การสรางความสัมพันธกับคนในชุมชน เพราะถาหาก
ปราศจากสัมพันธภาพที่ดีระหวางพัฒนากรกับชาวบาน แลวเปนการยากที่จะไดรู และเขาใจ
ปญหาความตองการจริง ๆของชาวบาน ความสัมพันธอันดี จนถึงขั้นความสนิทสนม รักใคร
ศรัทธา จึงเปนสิ่งที่จําเปนที่จะตองปลูกฝงใหเกิดขึ้นกับคนในชุมชน
2. การใหการศึกษาแกชุมชน เปนการสนทนา วิเคราะหปญหารวมกับประชาชน
เปนการนําขอมูลตาง ๆ ที่ไดจากขั้นตอนการศึกษาชุมชน มาวิเคราะหถึงปญหาความ
ตองการและสภาพที่เปนจริงผลกระทบ ความรุนแรง และความเสียหายตอชุมชน กลวิธีที่
สําคัญในขั้นตอนนี้ คือ การกระตุนใหประชาชนไดรูเขาใจ และตระหนักในปญหาของชุมชน
ซึ่งในปจจุบันก็คือ การจัดเวทีประชาคม เพื่อคนหาปญหารวมกันของชุมชน
3. การวางแผน / โครงการ เปนขั้นตอนใหประชาชนรวมตัดสินใจ และกําหนด
โครงการ เปนการนําเอาปญหาที่ประชาชนตระหนัก และยอมรับวาเปนปญหาของชุมชน
มารวมกันหาสาเหตุ แนวทางแกไข และจัดลําดับความสําคัญของปญหา และใหประชาชน
เปนผูตัดสินใจที่จะแกไขภายใตขีดความสามารถของประชาชน และการแสวงหาความ
ชวยเหลือจากภายนอก กลวิธีที่สําคัญในขั้นตอนนี้ คือ การใหความรูเกี่ยวกับกระบวนการ
แกไขปญหา วิธีการวางแผน การเขียนโครงการ โดยใชเทคนิคการวางแผนแบบใหประชาชน
มีสวนรวม
4. การดําเนินงานตามแผนและโครงการ โดยมีผูรับผิดชอบในการดําเนินการตาม
แผนและโครงการที่ไดตกลงกันไว กลวิธีที่สําคัญในขั้นตอนนี้ คือ การเปนผูชวยเหลือ
สนับสนุนใน 2 ลักษณะ คือ
4.1 เปนผูปฏิบัติงานทางวิชาการ เชน แนะนําการปฏิบัติงาน ใหคําปรึกษาหารือใน
การแกไขปญหาที่เกิดขึ้นจากการปฏิบัติงาน
4.2 เปนผูสงเสริมใหชาวบานเขามามีสวนรวมในการปฏิบัติงาน
5. การติดตามประเมินผล เปนการติดตามความกาวหนาของงานที่ดําเนินการตาม
โครงการเพื่อการปรับปรุงแกไขปญหา อุปสรรคที่พบไดอยางทันทวงที กลวิธีที่สําคัญใน
ขั้นตอนนี้ คือ การติดตามดูแลการทํางานที่ประชาชนทํา เพื่อทราบผลความกาวหนาและ
ปญหาอุปสรรค แลวนําผลการปฏิบัติงานตามโครงการ หรือกิจกรรมไปเผยแพรเพื่อให
ผูเกี่ยวของไดทราบ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 198 ~

การพัฒนาแบบมีสวนรวม
กระบวนการมีสวนรวม นับเปนหัวใจสําคัญของการพัฒนาในทุกระดับเปนการเปด
โอกาสใหประชาชนรวมคิด วิเคราะห ตัดสินใจ การวางแผน การปฏิบัติตามแผน การติดตาม
ประเมินผลในกิจกรรม/โครงการของชุมชน เปนการสราง/ปลูกฝงจิตสํานึกในความเปน
เจาของกิจกรรม/โครงการ นั้นปจจุบัน แนวคิดการมีสวนรวมของประชาชนในงานพัฒนา
(People Paticipation for Development) ไดรับการยอมรับและใชเปนแนวทางปฏิบัติในงาน
พัฒนาทุกภาคสวนหรือในลักษณะเบญจภาคี ไดแก หนวยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องคกร
พัฒนาเอกชน นักวิชาการ และประชาชน รวมพลังกันแกไขปญหาที่เกิดขึ้น

ขั้นตอนการมีสวนรวม มี 5 ขั้นตอน ดังนี้


ขั้นตอนที่ 1 การมีสวนรวมในขั้นการริเริ่มการพัฒนา เปนขั้นตอนที่ประชาชนเขา
มามีสวนรวมในการคนหาปญหา/สาเหตุของปญหาภายในชุมชน ตลอดจนมีสวนรวมในการ
ตัดสินใจกําหนดความตองการของชุมชน และจัดลําดับความสําคัญของความตองการของ
ชุมชน
ขั้นตอนที่ 2 การมีสวนรวมในขั้นการวางแผนในการพัฒนาซึ่งเปนขั้นตอนของการ
กําหนดนโยบาย วัตถุประสงคของโครงการ วิธีการตลอดจนแนวทางการดําเนินงานและ
ทรัพยากรที่จะใช
ขั้นตอนที่ 3 การมีสวนรวมในขั้นตอนการดําเนินการพัฒนา เปนสวนที่ประชาชนมี
สวนรวมในการสรางประโยชนใหกับชุมชน โดยไดรับการสนับสนุนดานงบประมาณ
เทคโนโลยี ฯลฯ จากองคกรภาคีพัฒนา
ขั้นตอนที่ 4 การมีสวนรวมในขั้นตอนรับผลประโยชนจากการพัฒนา ซึ่งเปนทั้ง
การไดรับผลประโยชนทางดานวัตถุและทางดานจิตใจ
ขั้นตอนที่ 5 การมีสวนรวมในขั้นประเมินผลการพัฒนา เปนการประเมินวา การที่
ประชาชนเขารวมพัฒนา ไดดําเนินการสําเร็จตามวัตถุประสงคเพียงใด การประเมินอาจ
ประเมินแบบยอย(Formative Evaluation) เปนการประเมินผลความกาวหนาเปนระยะๆ หรือ
อาจประเมินผลรวม (SummativeEvaluation) ซึ่งเปนการประเมินผลสรุปรวมยอด

ปจจัยสงเสริมการมีสวนรวมของประชาชน
การที่จะใหประชาชนมีสวนรวม นอกจากการปลูกฝงจิตสํานึกแลวจะตองมีการ
สงเสริมและกระตุนใหเกิดการมีสวนรวมอยางกวางขวางซึ่งควรพิจารณาถึงปจจัยตางๆ ดังนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 199 ~

1. ปจจัยเกี่ยวกับกลไกของภาครัฐ ทั้งในระดับนโยบายมาตรการ และการปฏิบัติที่


เอื้ออํานวย รวมทั้งการสรางชองทางการมีสวนรวมของประชาชน จําเปนที่จะตองทําใหการ
พัฒนาเปนระบบเปดมีความเปนประชาธิปไตย มีความโปรงใส รับฟงความคิดเห็นของ
ประชาชน และมีการตรวจสอบได
2. ปจจัยดานประชาชน ที่มีสํานึกตอปญหาและประโยชนรวมมีสํานึกตอ
ความสามารถและภูมิปญญาในการจัดการปญหาซึ่งเกิดจากประสบการณและการเรียนรู ซึ่ง
รวมถึงการสรางพลังเชื่อมโยงในรูปกลุมองคกร เครือขายและประชาสังคม
3. ปจจัยดานนักพัฒนาและองคกรพัฒนา ซึ่งเปนผูที่มีบทบาทในการสงเสริม
กระตุน สรางจิตสํานึก เอื้ออํานวยกระบวนการพัฒนาสนับสนุนขอมูลขาวสารและทรัพยากร
และรวมเรียนรูกับสมาชิกชุมชน

ปญหาอุปสรรคที่มีตอการมีสวนรวมของประชาชน
1. อุปสรรคดานการเมือง เกิดจากการไมไดกระจายอํานาจหนาที่ความรับผิดชอบ
ใหแกประชาชน โครงสรางอํานาจทางการเมือง การปกครอง การบริหาร เศรษฐกิจ ถูก
ควบคุมโดยคนกลุมนอยทหาร นายทุน และขาราชการ ขาดกลไกที่มีประสิทธิภาพในการแจก
แจงทรัพยากร
2. อุปสรรคดานเศรษฐกิจ เกิดจากการขาดความสามารถในการพี่งตนเอง อํานาจ
การตอรองมีนอย กระบวนการผลิต ปจจัยการผลิตอยูภายใตระบบอุปถัมภ ความแตกตางใน
สังคม ดานรายได อํานาจ และฐานะทางเศรษฐกิจ
3. อุปสรรคดานวัฒนธรรม ขนบประเพณีในแตละพื้นที่ที่ทําใหประชาชนไมสามารถ
เขามามีสวนรวมไดเนื่องจากขัดตอขนบธรรมเนียมประเพณีของชุมชน/เผา

การดําเนินการโครงการกิจกรรมของกรมการพัฒนาชุมชน
โครงการหรือกิจกรรมการพัฒนาชุมชน หมายถึง การกระทําใดๆ ก็ตามที่เกิดจาก
ความคิดริเริ่มของประชาชน จากปญหา/ความตองการของประชาชน โดยการชวยกันคิด
รวมกันตัดสินใจ ชวยกันวางแผน และรวมกันดําเนินการของประชาชน เพื่อแกปญหาและ
สนองความตองการของประชาชนทั้งชุมชน หรือของประชาชนสวนหนึ่งหรือกลุมหนึ่ง โดยมี
พัฒนากรเปนผูเอื้ออํานวยใหประชาชนเปนผูริเริ่มหรือเปนเจาของโครงการโดยมีตัวอยาง
โครงการกิจกรรมที่กรมการพัฒนาชุมชนดําเนินการ ดังนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 200 ~

1. การพัฒนาผูนําชุมชนและอาสาสมัคร
วัตถุประสงค เพื่อใหประชาชนมีโอกาสเสียสละอุทิศตนเพื่อสวนรวม มีบทบาทและ
สวนรวมในการแกปญหาและการดําเนินกิจกรรมพัฒนาของชุมชน มุงเนนใหเกิดความ
ตอเนื่องในการรวมกลุม การพัฒนาศักยภาพ และการดําเนินกิจกรรมใหเกิดผลงานอยางเปน
รูปธรรม
2. พัฒนากลุม/องคกร/เครือขาย
วัตถุประสงค เพื่อสนับสนุนใหประชาชนรวมตัวกันทํากิจกรรมรวมกันในลักษณะ
กลุม/องคกรชุมชน เชน คณะกรรมการพัฒนาสตรี กลุมออมทรัพยเพื่อการผลิต กลุมอาชีพ
ฯลฯ รวมทั้งสนับสนุนใหกลุม/องคกรชุมชน รวมตัวกันในลักษณะเครือขายตางๆ เชน
สมาพันธองคการพัฒนาชุมชนแหงประเทศไทยสมาคมผูนําอาสาพัฒนาชุมชนไทย สมาคม
ผูนําสตรีพัฒนาชุมชนไทย สมาคมผูนําอาชีพกาวหนา (สิงหทอง) 4 ภาค ศูนยประสานงาน
องคการชุมชน (ศอช.)
3. การพัฒนาแผนชุมชน
วัตถุประสงค เพื่อพัฒนากระบวนการเรียนรูของชุมชน ใหคนในชุมชนชวยกันคิด
รวมกันตัดสินใจ ชวยกันวางแผน รวมกันดําเนินการเพื่อแกปญหาและสนองความตองการ
ของประชาชนทั้งชุมชน ซึ่งจะทําใหชุมชนไดทําความรูจักและประเมินศักยภาพของชุมชน
และกําหนดอนาคตทิศทางของชุมชน ทําใหชุมชนสามารถพึ่งตนเองไดและสรางชุมชนให
เขมแข็งได
4. สงเสริมการออมทรัพยเพื่อการผลิต
วัตถุประสงค เพื่อกระตุนและสงเสริมใหประชาชนรวมตัวกันระดมเงินออมเพื่อเปน
ทุนของชุมชน สนับสนุนการพัฒนาดานการบริหารและจัดการเงินทุนในเชิงธุรกิจ เพื่อพัฒนา
อาชีพและคุณภาพชีวิตโดยยึดหลักคุณธรรมและการพึ่งตนเองเปนฐานไปสูสถาบันนิติบุคคล
5. สงเสริมการจัดตั้งสถาบันจัดการเงินทุนชุมชน โดยการบูรณาการ เชื่อมโยง
กลุมองคกรกองทุนการเงินตาง ๆ รวมกันบริหารจัดการเงินทุนในชุมชน เพื่อใหเกิดการใช
เงินทุนในชุมชนอยางคุมคา เกิดประโยชนสูงสุด
วัตถุประสงค เพื่อใหการจัดการเงินทุนชุมชนเปนระบบมีความเปนเอกภาพสามารถ
แกไขปญหาพัฒนาเศรษฐกิจและพัฒนาสังคมใหชุมชน เพื่อเปนแหลงเงินออม แหลงทุน
สวัสดิการของชุมชน และเพื่อเปนศูนยแลกเปลี่ยนเรียนรูของชุมชน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 201 ~

6. ศูนยเรียนรูชุมชน
วัตถุประสงค เพื่อรวบรวมองคความรูที่กระจัดกระจายอยูในชุมชนใหเปนระบบ
สามารถเปนแหลงเรียนรูของคนในชุมชน และคนภายนอกชุมชน ในการพัฒนาความคิด
พัฒนาอาชีพ และรายได รวมทั้งแกไขปญหาอื่น ๆ ของคนในชุมชน

การพัฒนาของภาครัฐรวมกับองคกรพัฒนาเอกชน และภาคประชาสังคม
ความเปนมา
ความรวมมือระหวางภาครัฐและองคกรภาคเอกชนเห็นไดชัดเจนใน พ.ศ. 2527 เมื่อ
คณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ไดตระหนักถึงศักยภาพและพลัง
ความสามารถขององคกรภาคเอกชนที่จะชวยสงเสริมและสนับสนุนการพัฒนาชนบทของ
ภาครัฐบาล ไดบรรจุนโยบายที่จะสงเสริมบทบาทขององคการภาคเอกชนไวเปนแนวทางใน
การพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 6 และจัดตั้งหนวยงาน
ประสานงานกับองคกรพัฒนาเอกชนขึ้นในศูนยประสานงานพัฒนาชนบทแหงชาติ และตอมา
ไดจัดตั้งคณะกรรมการประสานงานในระดับชาติ เรียกวา คณะกรรมการประสานงานองคกร
เอกชนพัฒนาชนบท (กป.อพช.)
สําหรับปจจุบัน รัฐยิ่งเพิ่มการสนับสนุนการมีสวนรวมขององคกรเอกชนมากขึ้น เห็น
ไดจากการเชิญภาคเอกชนเขามามีสวนรวมในกาดําเนินงานตามนโยบายสําคัญๆ ของ
รัฐบาลหลายดาน และไดอุดหนุนงบประมาณใหกับองคกรพัฒนาเอกชนหลายองคกรในการ
ดําเนินกิจกรรมพัฒนาเพื่อความคลองตัวในการขับเคลื่อนนโยบายของรัฐบาล
"ประชาสังคม" มาจากภาษาอังกฤษวา Civil Society และมีผูใชคําภาษาไทย
เทียบเคียงกันหลายคําอาทิ "สังคมประชาธรรม" (ไพบูลย วัฒนศิริธรรม) "สังคมราษฎร"
(เสนห จามริก) "วีถีประชา"(ชัยอนันต สมุทวณิช ใชคํานี้โดยมีนัยยะของคําวา Civic
movement) "อารยสังคม" (อเนก เหลาธรรมทัศน) และ"สังคมเขมแข็ง"(ธีรยุทธ บุญมี) เปน
ตน ทั้งนี้ นักคิดสําคัญ ๆ ของสังคมไทยไดอธิบายขยายความคําวา "ประชาสังคม"หรือ
Civil Society นี้ในบริบทเงื่อนไขและการใหน้ําหนักที่แตกตางกัน ดังนี้
ศ.ดร.ชัยอนันต สมุทวณิช มองวา "ประชาสังคม" หมายถึง ทุก ๆ สวนของสังคม
โดยรวมถึงภาครัฐ ภาคประชาชนดวย ถือวาทั้งหมด เปน Civil Society ซึ่งแตกตางจาก
ความหมายแบบตะวันตกที่แยกออกมาจากภาครัฐ หรือนอกภาครัฐ แตหมายถึงทุกฝายเขา
มาเปน partnership กัน (ชัยอนันต สมุทวณิช 2539) โดยนัยยะนี้ ศ.ดร.ชัยอนันต สมุทวณิช
ใหความสําคัญกับ Civic movement หรือ "วิถีประชา" ที่เปนการดําเนินกิจกรรมของกลุม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 202 ~

องคกรตาง ๆ โดยเอาตัวกิจกรรมเปนศูนยกลางปราศจากการจัดตั้ง ดังขอเสนอที่สําคัญใน


เชิงยุทธศาสตรการพัฒนา ในชวงของการจัดทําแผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 8 คือ Area-Function-
Participation – AFP กลาวคือจะตองเนนที่กระบวนการมีสวนรวม ในการดําเนินกิจกรรมการ
พัฒนาของ ทุกฝายรวมกันในระดับพื้นที่ (ยอย ๆ) ซึ่งในที่นี้ อาจเปนพื้นที่จังหวัด อําเภอ
ตําบล หมูบาน หรือพื้นที่ในเชิงเศรษฐกิจ เชน เขตพื้นที่ชายฝงทะเล ภาคตะวันออก เปนตน
(ชัยอนันต สมุทวณิช 2539)
ไพบูลย วัฒนศิริธรรม ไดใหความหมายของ "ประชาสังคม" วาหมายถึง "สังคมที่
ประชาชนทั่วไป ตางมีบทบาทสําคัญในการจัดการเรื่องตางๆ ที่เกี่ยวกับวิถีชีวิต ของ
ประชาชน โดยอาศัยองคกร กลไก กระบวนการและกิจกรรมอันหลากหลาย ที่ประชาชนจัด
ขึ้น" โดยนัยยะของความหลากหลาย ขององคกรนี้ไมวา จะเปนกลุม องคกร ชมรม สมาคม
ซึ่งลวนแตมีบทบาทสําคัญตอการผลักดันการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทั้งสิ้น จึงเปนเสมือน
"สังคม" ของ "ประชา" หรือ Society ของ Civil นั่นเอง อยางไรก็ดี คุณไพบูลย วัฒนศิริ
ธรรม ยังเสนอตออีกดวยวา "ประชาสังคม" นั้นเปนสวนของสังคม ที่ไมใชภาครัฐ ซึ่ง
ดําเนินงานโดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายและก็ไมใชภาคธุรกิจ ซึ่งดําเนินงานโดยมุงหวังผล
กําไรเปนสําคัญสําหรับปจจุบัน ไดมีการพัฒนาภาคประชาสังคมใหเขมแข็ง ผานการพัฒนา
ผูนํา กลุม องคกรเครือขาย ตาง ๆ รวมทั้งรูปแบบการประชาคม ที่มุงเนนใหทุกภาคสวนมี
สวนรวมในการตัดสินใจในการแกไขปญหา หรือกําหนดทิศทางการพัฒนาชุมชนของตนเอง

แนวทางสงเสริมบทบาทขององคกรเอกชน และภาคประชาสังคมในการพัฒนา
แมวานโยบายของรัฐที่สงเสริมและเปดโอกาสใหองคกรเอกชน มีบทบาทมากขึ้นในการ
พัฒนาชนบทแกไขปญหาในสังคมและการใหบริการสังคม แตก็ไมมีหลักประกันวาการมีสวน
รวมขององคกรทั้งสองจะมีมากขึ้นหากผูเกี่ยวของ กระบวนการของสังคมในสังคม และ
สภาพแวดลอมตางๆ ไมเอื้ออํานวย เนื่องจากนโยบายของรัฐเปนเพียงกรอบของสังคมใหญ
เทานั้น ดังนั้นเพื่อใหนโยบายของรัฐบังเกิดผลอยางแทจริงดวยความรวมมือกันระหวาง
ภาครัฐและเอกชน ควรมีแนวทางในการดําเนินงานของสวนตางๆ ดังนี้
1. ระดมสื่อทุกดานปรับทัศนคติและคานิยมของคนในสังคมใหเคารพในศักดิ์ศรี และ
สิทธิ์ของกันและกัน ใหมีความเชื่อมั่นในความคิดและความสามารถของบุคคล ไมวัดคุณคา
ของคนที่ฐานะความเปนอยูหรือ ระดับการศึกษา หนาที่การงาน การยอมรับในคุณคาความ
เปนมนุษยของคนรวมสังคม จะทําใหการทํางานรวมกันเปนไปดวยความราบรื่นสมานฉันท

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 203 ~

แมวาจะมีความขัดแยงในความคิดหรือแนวทางการทํางานบาง ก็ไมเปนปญหาตอการวมกัน
ทํางาน
2. ในการสงเสริมบทบาทขององคกรเอกชน ตองสรางระบบใหภาครัฐดําเนินงานอยาง
ตอเนื่องจริงจังและมีความจริงใจ โดยใหเปนการมีบทบาทในฐานะหนวยงานหรือบุคคลที่มี
ศักดิ์ศรีเทาเทียมกัน หรือเรียกวาในฐานะ “หุนสวน” ไมใชใหเขามามีบทบาทเพียงรวมทําใน
สิ่งที่รัฐตัดสินใจไวแลว
3. สงเสริมใหเกิดการผนึกกําลังของสังคมในลักษณะประชาคมในทุกภูมิภาค เพื่อให
คนในสังคมตื่นตัวที่จะรวมกันรับผิดชอบตอการแกไขปญหาและสรางสรรคสิ่งดีงามใหกับ
สังคมของตนมากขึ้น ซึ่งเปนทุนทางสังคมที่สําคัญในการแกไขปญหาในสังคมระยะยาว
4. ใหสรางระบบหรือสภาพแวดลอมที่เอื้อตอการมีบทบาทของทองถิ่นและองคกร
ภาคเอกชน ในการพัฒนาและแกไขปญหาสังคม โดยเฉพาะการเปดโอกาสใหองคกรฯ ไดรับ
และสามารถเขาถึงขอมูลขาวสารความรูแหลงทรัพยากร และบริการของรัฐอยางยุติธรรมและ
เพียงพอที่จะตัดสินใจในการรวมพัฒนาและแกไขปญหาในสังคม ไมวาจะเปนการทํางานใน
หนาที่หรือการทํางานรวมกับภาคี เชน การมีศูนยบริการขอมูลขาวสารความรูที่มีเครือขาย
เชื่อมโยงอยางทั่วถึง และมีกลไกบังคับใหภาครัฐรวมทั้งองคกรปกครองสวนทองถิ่นเปดเผย
ขอมูลขาวสารความรูที่เปนจริงใหสาธารณะไดทราบ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน/
โครงการ/กิจกรรมที่จะดําเนินงานในพื้นที่ตางๆ ทรัพยากร การจัดสรรทรัพยากร ระเบียบ
กฎเกณฑในการจัดสรร สิทธิประโยชนของประชาชน จากการบริการของรัฐและทองถิ่น
5. ตองสงเสริมกระบวนการเรียนรูรวมกันระหวางหนวยราชการ องคกรปกครองสวน
ทองถิ่น องคกรภาคเอกชน และประชาชนอยางตอเนื่องเกี่ยวกับแนวทางในการแกไขปญหา
ของสังคมโดยพลังความรวมมือของทุกฝาย นับตั้งแตการรวมกันวิเคราะหสถานการณของ
ทองถิ่น ตัดสินใจกําหนดวิสัยทัศน วางแผนดําเนินงานติดตามและประเมินผลการดําเนินงาน
โดยใหมีการรวมสรุปบทเรียนเปนระยะๆ กระตุนใหตระหนัก
ในความเจริญงอกงามของประสบการณที่พอกพูนขึ้นจากการมีสวนรวมในการแกไข
ปญหา ใชความลมเหลวและความสําเร็จเปนบทเรียนในการแสวงหาแนวทางแกไขปญหาที่
ยั่งยืนตอไป
6. สงเสริมใหรวมกันแกไขปญหาและพัฒนาสังคมแบบองครวม ที่มุงใหสังคมมีการ
เจริญเติบโตในทุกดานไมเนนการแกปญหาหนึ่ง โดยไมคํานึงถึงปญหาอื่น ที่จะตามมา การ
สงเสริมลักษณะนี้จะบังเกิดผลอยางเปนรูปธรรมไดก็ตอเมื่อ ผูมีสวนรวมในการแกไขปญหามี
ความคิดความชํานาญ หนาที่ความรับผิดชอบและความรูที่หลากหลาย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 204 ~

7. พัฒนาการมีสวนรวมขององคกรตางๆ จนถึงระดับที่มีการจัดระเบียบทางสังคมจน
กลายเปนบรรทั ดฐานของสั ง คมที่ ไดรั บการยอมรับและมีขอตกลงรวมกั น ที่จ ะยึดถื อเปน
แนวทางในการปฏิบัติงานของแตละฝายเพื่อไมใหบทบาทการมีสวนรวมขององคกรตางๆ ใน
การแกไขปญหาในสังคมขึ้นอยูกับความ สัมพันธสวนบุคคล เมื่อเปลี่ยนบุคคลที่เปนตัวแทน
องคกรนั้น ความรวมมือหรือขอตกลงรวมกันตองถูกยกเลิก

************************************************

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 205 ~

ความรูเกี่ยวกับสังคม เศรษฐกิจ การเมือง

 ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงกับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11
ภายใตสถานการณการเปลี่ยนแปลงที่จะมีผลตอทิศทางการพัฒนาประเทศในระยะ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 สะทอนใหเห็นวาประเทศไทยยังตองเผชิญกระแสการเปลี่ยนแปลง
ทั้งภายในและภายนอกประเทศที่ผันผวน ซับซอนและคาดการณผลกระทบไดยาก แมวาใน
ภาพรวมสังคมไทยมีภูมิคุมกันเพิ่มขึ้นและมีภูมิคุมกันที่แข็งแกรงแตกตางกันไปทั้งในระดับ
ปจเจก ครอบครัว ชุมชน และสังคม แตก็ยังไมเพียงพอที่จะรองรับสถานการณการ
เปลี่ยนแปลงในอนาคตไดอยางมีประสิทธิภาพ สงผลใหประเทศตองเผชิญกับความเสี่ยงใน
หลายมิติ โดยเฉพาะความเสี่ยงจากการบริหารภาครัฐที่ออนแอ โครงสรางเศรษฐกิจที่ไม
สามารถรองรับการเติบโตอยางยั่งยืน ทั้งความเสี่ยงจากความเสื่อมถอยของคานิยมที่ดีงาม
ในสังคมไทย ความเสื่อมโทรมของฐานทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และความเสี่ยง
ดานความมั่นคงของประเทศ จึงจําเปนตองนําภูมิคุมกันที่มีอยูพรอมทั้งสรางภูมิคุมกันใน
ประเทศใหเขมแข็งขึ้นภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง โดยเสริมสรางทุนที่มีอยู
ของประเทศใหเขมแข็ง ทั้งทุนทางสังคม ทุนทางเศรษฐกิจ และทุนทางทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดลอม รวมทั้งใชประโยชนอยางมีประสิทธิภาพและเปนธรรม เพื่อเตรียมพรอมให
ประเทศสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงในอนาคตไดอยางยั่งยืนการ
พัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 จึงมีแนวคิดที่มีความตอเนื่องจากแนวคิดของ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-10 โดยยังคงยึดหลัก “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” และ “คนเปน
ศูนยกลางของการพัฒนา” รวมทั้ง “สรางสมดุลการพัฒนา” ในทุกมิติ และขับเคลื่อนใหบัง
เกิดผลในทางปฏิบัติที่ชัดเจนยิ่งขึ้นในทุกระดับ เพื่อใหการพัฒนาและบริหารประเทศเปนไป
บนทางสายกลาง เชื่อมโยงทุกมิติของการพัฒนาอยางบูรณาการ ทั้งคน สังคม เศรษฐกิจ
สิ่งแวดลอมและการเมือง โดยมีการวิเคราะหอยาง “มีเหตุผล” และใชหลัก “ความ
พอประมาณ” ใหเกิดความสมดุลระหวางมิติทางวัตถุกับจิตใจของคนในชาติ ความสมดุล
ระหวางความสามารถในการพึ่งตนเองกับการแขงขันในเวทีโลก ความสมดุลระหวางสังคม
ชนบทกับเมือง
เตรียม “ระบบภูมิคุมกัน” ดวยการบริหารจัดการความเสี่ยงใหเพียงพอพรอมรับ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในประเทศ ทั้งนี้ การขับเคลื่อน
กระบวนการพัฒนาทุกขั้นตอนตองใช “ความรอบรู”ในการพัฒนาดานตางๆ ดวยความ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 206 ~

รอบคอบ เปนไปตามลําดับขั้นตอน และสอดคลองกับวิถีชีวิตของสังคมไทย รวมทั้ง


เสริมสรางศีลธรรมและสํานึกใน “คุณธรรม” จริยธรรมในการปฏิบัติหนาที่และ
ดําเนินชีวิตดวย “ความเพียร” จะเปนภูมิคุมกันที่ดีใหพรอมเผชิญการเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้นทั้งในระดับปจเจก ครอบครัวชุมชน สังคม และประเทศชาติ
การกําหนดทิศทางและยุทธศาสตรการพัฒนาประเทศในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับ
ที่ 11 จึงตองเรงสรางภูมิคุมกันเพิ่มขึ้นในมิติการพัฒนาดานตางๆ เพื่อปองกันปจจัยเสี่ยงที่
สังคมไทยตองเผชิญ และเสริมรากฐานของประเทศดานตางๆ ใหเขมแข็ง ควบคูไปกับการให
ความสําคัญกับการพัฒนาคนและสังคมไทยใหมีคุณภาพ กาวทันตอการเปลี่ยนแปลง มี
โอกาสเขาถึงทรัพยากรและไดรับประโยชนจากการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมอยางเปนธรรม
รวมทั้งสรางโอกาสทางเศรษฐกิจดวยฐานความรู เทคโนโลยีและนวัตกรรม และความคิด
สรางสรรคบนพื้นฐานการผลิตและการบริโภคที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอมนําไปสูการพัฒนา
ประเทศที่มั่นคงและยั่งยืน โดยมีแนวทางการสรางภูมิคุมกันในประเด็นตางๆ ที่สําคัญในระยะ
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 ดังนี้
1.การพัฒนาคนและสังคมไทยสูสังคมคุณภาพ มุงสรางภูมิคุมกันตั้งแตระดับ
ปจเจก ครอบครัวและชุมชนสูสังคมที่มีคุณภาพสามารถจัดการความเสี่ยงและปรับตัวเขากับ
การเปลี่ยนแปลง รวมทั้งมีสวนรวมในการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และการเมืองของประเทศ
ไดอยางมีประสิทธิภาพ ประกอบดวย
1.1 การสรางความเปนธรรมในสังคม ใหความสําคัญกับการสรางความมั่นคงทาง
เศรษฐกิจและสังคมใหทุกคนในสังคมไทยสามารถเขาถึงบริการทางสังคมที่มีคุณภาพ มี
โอกาสเขาถึงทรัพยากรและโครงสรางพื้นฐานในการสรางอาชีพและรายไดที่มั่นคง สามารถ
เขาถึงกระบวนการยุติธรรมอยางเสมอภาคและสามารถดารงชีวิตอยูไดอยางมีศักดิ์ศรี ภายใต
ระบบบริหารจัดการภาครัฐที่โปรงใส ยึดประโยชนสวนรวมและเปดโอกาสการมีสวนรวมของ
ประชาชนทุกภาคสวนในกระบวนการพัฒนาประเทศ
1.2 การพัฒนาคนสูสังคมแหงการเรียนรูตลอดชีวิต ใหความสําคัญกับการพัฒนา
คุณภาพคนไทยทุกชวงวัยใหมีภูมิคุมกันตอการเปลี่ยนแปลง มีความพรอมทั้งดานรางกายที่
สมบูรณแข็งแรง มีสติปญญาที่รอบรู และมีจิตใจที่สานึกในคุณธรรม จริยธรรม มีความเพียร
มีโอกาสและสามารถเรียนรูตลอดชีวิต ควบคูกับการเสริมสรางสภาพแวดลอมในสังคมและ
สถาบันทางสังคมใหเขมแข็งและเอื้อตอการพัฒนาคน
2. การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูทิศทางการเติบโตในรูปแบบใหม ที่มุงพัฒนา
เศรษฐกิจภายในประเทศใหเขมแข็ง เพื่อลดการพึ่งพาปจจัยภายนอก โดยการสรางความ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 207 ~

เขมแข็งใหกับผูประกอบการในภาคการผลิตและบริการ โดยเฉพาะวิสาหกิจขนาดกลาง
และขนาดยอม ผูประกอบการหนึ่งตําบล หนึ่งผลิตภัณฑ และผูประกอบการในภาคเกษตร
ใหใชภูมิปญญา วิทยาศาสตร เทคโนโลยี นวัตกรรม และความคิดสรางสรรค เพื่อยกระดับสู
การผลิตและการใหบริการบนฐานความรู และที่เปนมิตรตอสิ่งแวดลอม ตลอดจนใหมีการ
เชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาคตางๆ บนพื้นฐานการพึ่งพาซึ่งกันและกัน รวมทั้งสราง
ภูมิคุมกันตอกระแสการเปลี่ยนแปลงจากภายนอก ประกอบดวย
2.1 การสรางความเขมแข็งภาคเกษตร ความมั่นคงของอาหารและพลังงาน ให
ความสําคัญ กับ การบริ หารจั ด การทรั พ ยากรธรรมชาติ ที่ เปน ฐานการผลิ ต ภาคเกษตรให
เขมแข็งและสามารถใชประโยชนไดอยางยั่งยืน เพื่อใหภาคเกษตรเปนฐานการผลิตอาหาร
และพลังงานที่มีความมั่นคง โดยการเพิ่มประสิทธิภาพและศักยภาพการผลิตภาคเกษตร การ
สรางความมั่นคงในอาชีพและรายไดใหแกเกษตรกรตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ขณะเดียวกัน ใหความสําคัญกับการสรางความมั่นคงดานอาหารและพลังงานชีวภาพทั้งใน
ระดับครัวเรือน ชุมชน และประเทศ เพื่อสรางภูมิคุมกันใหภาคเกษตรสามารถพึ่งตนเองและ
เผชิญกับปจจัยเสี่ยงตางๆ ไดอยางมั่นคง
2.2 การปรับโครงสรางเศรษฐกิจสูการเติบโตอยางมีคุณภาพและยั่งยืน ให
ความสําคัญกับการปรับโครงสรางเศรษฐกิจบนฐานความรู ความคิดสรางสรรค และภูมิ
ปญญา ภายใตปจจัยสนับสนุนที่เอื้ออานวยและระบบการแขงขันที่เปนธรรม มุงปรับ
โครงสร า งการค า และการลงทุ น ให ส อดคล อ งกั บ ความต อ งการของตลาดทั้ ง ภายในและ
ตางประเทศ สรางมูลคาเพิ่มใหกับสาขาบริการที่มีศักยภาพ พัฒนาภาคอุตสาหกรรมสู
อุตสาหกรรมฐานความรูเชิงสรางสรรคและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม พัฒนาโครงสรางพื้นฐาน
และระบบโลจิสติกส ควบคูไปกับการปฏิรูปกฎหมายและกฎ ระเบียบตางๆ และบริหาร
จัดการเศรษฐกิจสวนรวมอยางมีประสิทธิภาพ เพื่อใหเปนฐานเศรษฐกิจของประเทศที่
เขมแข็งและขยายตัวอยางมีคุณภาพ
2.3 การสรางความเชื่อมโยงกับประเทศในภูมิภาค เพื่อความมั่นคงทางเศรษฐกิจและ
สังคมใหความสําคัญกับการเชื่อมโยงการพัฒนาเศรษฐกิจภายในประเทศกับความรวมมือ
ระหวางประเทศในภูมิภาคตางๆ บนพื้นฐานของการพึ่งพาซึ่งกันและกัน และมีภูมิคุมกันตอ
กระแสการเปลี่ยนแปลงจากภายนอกใหความสําคัญกับการพัฒนาความรวมมือแบบหุนสวน
การพัฒนาที่ยั่งยืนและยึดผลประโยชนรวมกันทั้งในระดับอนุภูมิภาคและภูมิภาค สราง
ปฏิสัมพันธในความรวมมือระหวางประเทศอยางสรางสรรค เตรียมความพรอมของประเทศ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 208 ~

ไทยในการเขาสูประชาคมอาเซียน และเสริมสรางความเขมแข็งของภาคีการพัฒนา
ภายในประเทศตั้งแตระดับชุมชนทองถิ่นใหกาวทันการเปลี่ยนแปลง
3. การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ใหความสําคัญกับ
การบริหารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใหเพียงพอตอการรักษาสมดุลของ
ระบบนิเวศบนพื้นฐานของการมีสวนรวมของชุมชนในการดูแล รักษาและใชประโยชน การ
ปรับกระบวนทัศนการพัฒนาและขับเคลื่อนประเทศไปสูการเปนเศรษฐกิจและสังคมคารบอน
ต่ําและเปนมิตรกับสิ่งแวดลอม ควบคูไปกับการเตรียมความพรอมรองรับการเปลี่ยนแปลง
ภูมิอากาศและภัยพิบัติทางธรรมชาติ สรางภูมิคุมกันดานการคาจากเงื่อนไขดานสิ่งแวดลอม
และเพิ่มบทบาทของไทยในเวทีประชาคมโลกเพื่อใหสังคมมีภูมิคุมกัน สามารถสนับสนุนการ
พัฒนาเศรษฐกิจและยกระดับคุณภาพชีวิตใหคนในสังคมไทย
โดยสรุป การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 จะเปนการสราง
ภูมิคุมกันในมิติตางๆ ใหแก ปจเจก ครอบครัว ชุมชน สังคม และประเทศ โดยใชแนวคิดและ
ทิศทางการพัฒนาประเทศสูความยั่งยืนตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงตอเนื่องจาก
แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 พรอมทั้งขยายการนําทุนของประเทศที่มีศักยภาพจาก 3 ทุน ทั้งทุน
สังคม ทุนเศรษฐกิจ และทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม เปน 6 ทุน ไดแก ทุนมนุษย
ทุนสังคม ทุนกายภาพ ทุนทางการเงิน ทุนทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม และทุนทาง
วัฒนธรรมมาใชประโยชนอยางบูรณาการและเกื้อกูลกัน โดยเฉพาะการสรางฐานทางปญญา
เพื่อเปนภูมิคุมกันใหกับคนและสังคมไทยเปนสังคมที่มีคุณภาพ กาวสูสังคมและเศรษฐกิจสี
เขียวที่มีแบบแผนการผลิตและบริโภคอยางยั่งยืนและเปนมิตรตอสิ่งแวดลอม โดยนําความรู
และจุ ด แข็ ง ของอั ต ลั ก ษณ ไ ทยมาปรั บ โครงสร า งเศรษฐกิ จ บนฐานนวั ต กรรมที่ เ ข ม แข็ ง
เชื่อมโยงกับเศรษฐกิจโลกและเศรษฐกิจในภูมิภาคอยางรูเทาทัน สรางความยั่งยืนของภาค
เกษตรและความมั่งคั่งดานอาหารและพลังงาน รวมทั้งการจัดการทรัพยากร ธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน ควบคูไปกับการเสริมสรางระบบธรรมาภิบาลและความสมานฉันทใน
ทุกภาคสวนและทุกระดับ เปนฐานการพัฒนาประเทศที่มั่นคงและสมดุล มุงสูการอยูรวมกัน
ในสังคมอยางมีความสุขและเปนธรรม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 209 ~

( แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555–2559)

การจัดทําแผนพัฒนาประเทศของไทยนับตั้งแตแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 1 จนถึง


แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 มีพัฒนาการมาอยางตอเนื่องภายใตสถานการณ เงื่อนไข และการ
เปลี่ยนแปลงในมิติตางๆ ทั้งภายในและภายนอกประเทศ แผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8 (พ.ศ.
2540-2544) เปนจุดเปลี่ยนสําคัญของการวางแผนพัฒนาประเทศที่ใหความสําคัญกับการมี
สวนรวมของทุกภาคสวนในสังคม และมุงให “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา”พรอมทั้ง
ปรับเปลี่ยนวิธีการพัฒนาเปนบูรณาการแบบองครวมเพื่อใหเกิดการพัฒนาที่สมดุล ตอมา
แผนพัฒนาฯฉบับที่ 9 (พ.ศ. 2545-2549) ไดอัญเชิญ “ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” เปน
ปรัชญานําทางในการพัฒนาและบริหารประเทศ ควบคูไปกับกระบวนทัศนการพัฒนาแบบ
บูรณาการเปนองครวมที่มี “คนเปนศูนยกลางการพัฒนา” ตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับ
ที่ 8 สําหรับแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 (พ.ศ. 2550-2554) ยังคงนอมนํา “ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง” มาเปนแนวทางปฏิบัติ และใหความสําคัญกับการพัฒนาที่ยึด“คนเปน
ศูนยกลางการพัฒนา” ตอเนื่องจากแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 8-9 และการพัฒนาที่สมดุลทั้งคน
สังคมเศรษฐกิจ และสิ่งแวดลอม โดยมีการเตรียม “ระบบภูมิคุมกัน” ดวยการเสริมสราง
ความเข ม แข็ ง ของทุ น ที่ มี อ ยู ใ นประเทศและการบริ ห ารจั ด การความเสี่ ย งให พ ร อ มรั บ
ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงทั้งภายนอกและภายในประเทศ เพื่อมุงสูการพัฒนาที่ยั่งยืน
และความอยูเย็นเปนสุขของคนไทยทุกคนในระยะของแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 สังคมไทยได
นอมนําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปประยุกตใชอยางกวางขวางทุกภาคสวน สงผล
ใหประเทศไทยเขมแข็ง มีภูมิคุมกันสูงขึ้นในหลายดานและสามารถปรับตัวรับกับภาวะวิกฤต
เศรษฐกิจโลกไดอยางมีประสิทธิภาพ สะทอนไดจากดัชนีความอยูเย็นเปนสุขของคนไทย
โดยรวมที่ไมไดรับผลกระทบและอยูระหวางรอยละ 66-68 มีปจจัยดานเศรษฐกิจที่เขมแข็ง
การมีงานทําความเขมแข็งของชุมชน และความอบอุนของครอบครัวที่สงผลดีตอความอยูเย็น
เปนสุข อยางไรก็ตามปจจัยที่ยังเปนอุปสรรค ไดแก ความสมานฉันทในสังคม
สภาพแวดลอมและระบบนิเวศนขาดความสมดุล ความเสี่ยงจากปญหายาเสพติดที่สูงขึ้น
รวมถึ ง สุ ข ภาวะของคนไทยลดลงจากคุ ณ ภาพการศึ ก ษาที่ เ ป น ป ญ หาสอดคล อ งกั บ การ
ติดตามประเมินผลการพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 10 ที่ประสบความสาเร็จ
นาพอใจ เศรษฐกิจของประเทศไทยเขมแข็งและเริ่มเติบโตอยางมีคุณภาพ การขยายตัว
เพิ่มขึ้นเปนรอยละ 7.8 ในป 2553 หลังจากชะลอตัวอยางตอเนื่องจากรอยละ 5.1 ในป 2549

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 210 ~

และหดตัวลงรอยละ 2.3 ในป 2552 คุณภาพชีวิตของคนไทยดีขึ้น มีหลักประกันความมั่นคง


ทางเศรษฐกิจและสังคมที่หลากหลาย และความยากจนลดลง แตตองใหความสําคัญตอเนื่อง
กับการพัฒนาคุณภาพคนและสังคม การสรางความปลอดภัยในชีวิตและทรัพยสิน และความ
โปรงใสในการบริหารจัดการภาครัฐรวมทั้งการสนับสนุนใหเกิดการแขงขันที่เปนธรรมและ
การกระจายผลประโยชนจากการพัฒนา เพื่อลดความเหลื่อมล้ําในสังคมไทย
การพัฒนาในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ 11 (พ.ศ. 2555-2559) ประเทศไทยจะตอง
เผชิญกับกระแสการเปลี่ยนแปลงที่สําคัญทั้งภายนอกและภายในประเทศที่ปรับเปลี่ยนเร็ว
และซับซอนมากยิ่งขึ้น เปนทั้งโอกาสและความเสี่ยงตอการพัฒนาประเทศ โดยเฉพาะขอ
ผูกพันที่จะเปนประชาคมอาเซียนในป 2558 จึงจําเปนตองนําภูมิคุมกันที่มีอยูพรอมทั้งเรง
สรางภูมิคุมกันในประเทศใหเขมแข็งขึ้นมาใชในการเตรียมความพรอมใหแกคน สังคม และ
ระบบเศรษฐกิจของประเทศใหสามารถปรับตัวรองรับผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงไดอยาง
เหมาะสม สามารถพัฒนาประเทศใหกาวหนาตอไปเพื่อประโยชนสุขที่ยั่งยืนของสังคมไทย
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

$เศรษฐกิจพอเพียง
จากการใชแนวทางการพัฒนาประเทศไปสูความทันสมัย ไดกอใหเกิดการ
เปลี่ยนแปลงแกสังคมไทยอยางมากในทุกดาน ไมวาจะเปนดานเศรษฐกิจ การเมือง
วัฒนธรรม สังคมและสิ่งแวดลอม อีกทั้งกระบวนการของความเปลี่ยนแปลงมีความ
สลับซับซอนจนยากที่จะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธได เพราะการเปลี่ยนแปลงทั้งหมด
ตางเปนปจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน
สําหรับผลของการพัฒนาในดานบวกนั้น ไดแก การเพิ่มขึ้นของอัตราการเจริญเติบโต
ทางเศรษฐกิจ ความเจริญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคตางๆ ระบบสื่อสารที่ทันสมัย หรือการ
ขยายปริมาณและกระจายการศึกษาอยางทั่วถึงมากขึ้น แตผลดานบวกเหลานี้สวนใหญ
กระจายไปถึงคนในชนบท หรือผูดอยโอกาสในสังคมนอย แตวา กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ของสังคมไดเกิดผลลบติดตามมาดวย เชน การขยายตัวของรัฐเขาไปในชนบท ไดสงผลให
ชนบทเกิดความออนแอในหลายดาน ทั้งการตองพึ่งพิงตลาดและพอคาคนกลางในการสั่ง
สินคาทุน ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธแบบเครือญาติ และ
การรวมกลุมกันตามประเพณีเพื่อการจัดการทรัพยากรที่เคยมีอยูแตเดิมแตก สลายลง ภูมิ
ความรูที่เคยใชแกปญหาและสั่งสมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและเริ่ม สูญหายไปสิ่งสําคัญ
ก็คือ ความพอเพียงในการดํารงชีวิต ซึ่งเปนเงื่อนไขพื้นฐานที่ทําใหคนไทยสามารถพึ่งตนเอง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 211 ~

และดําเนินชีวิตไปไดอยางมีศักดิ์ศรีภายใตอํานาจและความมีอิสระในการกําหนด ชะตาชีวิต
ของตนเอง ความสามารถในการควบคุมและจัดการเพื่อใหตนเองไดรับการสนองตอบตอ
ความตอง การตางๆ รวมทั้งความสามารถในการจัดการปญหาตางๆ ไดดวยตนเอง ซึ่ง
ทั้งหมดนี้ถือวาเปนศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยูแต เดิม ตองถูก
กระทบกระเทือน ซึ่งวิกฤตเศรษฐกิจจากปญหาฟองสบูและปญหาความออนแอของชนบท
รวมทั้งปญหาอื่นๆ ที่เกิดขึ้น ลวนแตเปนขอพิสูจนและยืนยันปรากฎการณนี้ไดเปนอยางดี

พระราชดําริวาดวยเศรษฐกิจพอเพียง
“...การพัฒนาประเทศจําเปนตองทําตามลําดับขั้น ตองสรางพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน
พอใชของประชาชนสวนใหญเบื้องตนกอน โดยใชวิธีการและอุปกรณทปี่ ระหยัดแตถูกตอง
ตามหลักวิชาการ เมื่อไดพื้นฐานความมั่นคงพรอมพอสมควร และปฏิบตั ิไดแลว จึงคอยสราง
คอยเสริมความเจริญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่สูงขึ้นโดยลําดับตอไป...” (18 กรกฎาคม
2517)
“เศรษฐกิจพอเพียง” เปนแนวพระราชดําริในพระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัว ที่พระราชทานมา
นานกวา 30 ป เปนแนวคิดทีต่ ั้งอยูบนรากฐานของวัฒนธรรมไทย เปนแนวทางการ
พัฒนาที่ตงั้ บนพื้นฐานของทางสายกลาง และความไมประมาท คํานึงถึงความพอประมาณ
ความมีเหตุผล การสรางภูมิคมุ กันในตัวเอง ตลอดจนใชความรูและคุณธรรม เปนพืน้ ฐานใน
การดํารงชีวติ ที่สําคัญจะตองมี “สติ ปญญา และความเพียร” ซึ่งจะนําไปสู “ความสุข”
ในการดําเนินชีวติ อยางแทจริง
“...คนอื่นจะวาอยางไรก็ชางเขา จะวาเมืองไทยลาสมัย วาเมืองไทยเชย วาเมืองไทยไมมีสิ่งที่
สมัยใหม แตเราอยูพอมีพอกิน และขอใหทุกคนมีความปรารถนาที่จะใหเมืองไทย พออยู
พอกิน มีความสงบ และทํางานตั้งจิตอธิษฐานตัง้ ปณิธาน ในทางนี้ที่จะใหเมืองไทยอยูแบบ
พออยูพอกิน ไมใชวาจะรุงเรืองอยางยอด แตวามีความพออยูพอกิน มีความสงบ
เปรียบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถาเรารักษาความพออยูพอกินนี้ได เราก็จะยอดยิ่งยวดได...” (4
ธันวาคม 2517)
พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็นวาแนวทางการพัฒนาที่เนนการขยายตัวทางเศรษฐกิจของ
ประเทศเปนหลักแต เพียงอยางเดียวอาจจะเกิดปญหาได จึงทรงเนนการมีพอกินพอใช
ของประชาชนสวนใหญในเบื้องตนกอน เมื่อมีพื้นฐานความมั่นคงพรอมพอสมควรแลว
จึงสรางความเจริญและฐานะทางเศรษฐกิจใหสูงขึ้น
ซึ่งหมายถึง แทนที่จะเนนการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนําการพัฒนา

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 212 ~

ประเทศ ควรที่จะสรางความมั่นคงทางเศรษฐกิจพื้นฐานกอน นั่นคือ ทําใหประชาชนใน


ชนบทสวนใหญพอมีพอกินกอน เปนแนวทางการพัฒนาทีเ่ นนการกระจายรายได เพื่อ
สรางพื้นฐานและความมั่นคงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ กอนเนนการพัฒนาใน
ระดับสูงขึ้นไป
ทรงเตือนเรื่องพออยูพอกิน ตั้งแตป 2517 คือ เมื่อ 30 กวาปที่แลว
แตทิศทางการพัฒนามิไดเปลี่ยนแปลง
“...เมื่อป 2517 วันนั้นไดพูดถึงวา เราควรปฏิบัติใหพอมีพอกิน
พอมีพอกินนี้ก็แปลวา เศรษฐกิจพอเพียงนั่น เอง ถาแตละคนมีพอมีพอกิน ก็ใชได ยิ่งถาทั้ง
ประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเปนไมพอมีพอกิน บางคนก็มีมาก
บางคนก็ไมมีเลย...” (4 ธันวาคม 2541)

เศรษฐกิจพอเพียง
“เศรษฐกิจพอเพียง” เปนปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจาอยูหัวพระราชทาน
พระราชดําริชี้แนะแนวทาง การดําเนินชีวติ แกพสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกวา 25 ป
ตั้งแตกอ นเกิดวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ และเมื่อภายหลังไดทรงเนนย้ําแนวทางการแกไข
เพื่อใหรอดพน และสามารถดํารงอยูไดอยางมั่นคงและยั่งยืนภายใตกระแสโลกาภิวัตนและ
ความ เปลี่ยนแปลงตางๆ

ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เปนปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูและปฏิบัติตนของประชาชนในทุกระดับ
ตั้งแตระดับครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริหารประเทศให
ดําเนินไปในทางสายกลาง โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อใหกาวทันตอโลกยุคโลกาภิ
วัตน ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเปนที่จะตอง
มีระบบภูมิคมุ กันในตัวทีด่ ีพอสมควร ตอการกระทบใดๆ อันเกิดจากการเปลี่ยนแปลงทั้ง
ภายในภายนอก ทั้งนี้ จะตองอาศัยความรอบรู ความรอบคอบ และความระมัดระวังอยางยิ่ง
ในการนําวิชาการตางๆ มาใชในการวางแผนและการดําเนินการ ทุกขั้นตอน และ
ขณะเดียวกัน จะตองเสริมสรางพื้นฐานจิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจาหนาที่ของรัฐ นัก
ทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ใหมีสํานึกในคุณธรรม ความซื่อสัตยสุจริต และใหมีความ
รอบรูที่เหมาะสม ดําเนินชีวติ ดวยความอดทน ความเพียร มีสติ ปญญา และความรอบคอบ
เพื่อใหสมดุลและพรอมตอการรองรับการเปลี่ยนแปลงอยางรวดเร็วและกวางขวาง ทั้งดาน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 213 ~

วัตถุ สังคม สิ่งแวดลอม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกไดเปนอยางดี


ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบดวยคุณสมบัติ ดังนี้
1. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไมนอ ยเกินไปและไมมากเกินไป โดยไม
เบียดเบียนตนเองและผูอ ื่น เชน การผลิตและการบริโภคทีอ่ ยูในระดับพอประมาณ
2. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสินใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนัน้ จะตองเปนไปอยาง
มีเหตุผล โดยพิจารณาจากเหตุปจจัยที่เกี่ยวของ ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดวาจะเกิดขึ้นจาก
การกระทํานัน้ ๆ อยางรอบคอบ
3. ภูมิคมุ กัน หมายถึง การเตรียมตัวใหพรอมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงดานตางๆ ที่
จะเกิดขึ้น โดยคํานึงถึงความเปนไปไดของสถานการณตางๆ ที่คาดวาจะเกิดขึ้นในอนาคต
โดยมี เงื่อนไข ของการตัดสินใจและดําเนินกิจกรรมตางๆ ใหอยูในระดับ
พอเพียง 2 ประการ ดังนี้
1. เงื่อนไขความรู ประกอบดวย ความรอบรูเกี่ยวกับวิชาการตางๆ ที่เกี่ยวของรอบดาน
ความรอบคอบที่จะนําความรูเหลานั้นมาพิจารณาใหเชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน
และความระมัดระวังในการปฏิบัติ
2. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะตองเสริมสราง ประกอบดวย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความ
ซื่อสัตยสุจริตและมีความอดทน มีความเพียร ใชสติปญญาในการดําเนินชีวติ
พระราชดํารัสที่เกี่ยวกับเศรษฐกิจพอเพียง
“...เศรษฐศาสตรเปนวิชาของเศรษฐกิจ การที่ตองใชรถไถตองไปซื้อ เราตองใชตอ งหาเงินมา
สําหรับซื้อน้าํ มันสําหรับรถไถ เวลารถไถเกาเราตองยิ่งซอมแซม แตเวลาใชนั้นเราก็ตองปอน
น้ํามันใหเปนอาหาร เสร็จแลวมันคายควัน ควันเราสูดเขาไปแลวก็ปวดหัว สวนควายเวลาเรา
ใชเราก็ตองปอนอาหาร ตองใหหญาใหอาหารมันกิน แตวามันคายออกมา ที่มันคายออกมาก็
เปนปุย แลวก็ใชไดสําหรับใหที่ดินของเราไมเสีย...”
พระราชดํารัส เนื่องในพระราชพิธีพืชมงคลจรดพระนังคัลแรกนาขวัญ
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 9 พฤษภาคม 2529
“...เราไมเปนประเทศร่ํารวย เรามีพอสมควร พออยูได แตไมเปนประเทศ
ที่กาวหนาอยางมาก เราไมอยากจะเปนประเทศกาวหนาอยางมาก เพราะถาเราเปนประเทศ
กาวหนาอยางมากก็จะมีแตถอยกลับ ประเทศเหลานั้นที่เปนประเทศอุตสาหกรรมกาวหนา
จะมีแตถอยหลังและถอยหลังอยางนากลัว แตถาเรามีการบริหารแบบเรียกวาแบบคนจน
แบบที่ไมติดกับตํารามากเกินไป ทําอยางมีสามัคคีนี่แหละคือเมตตากัน จะอยูไดตลอดไป...”

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 214 ~

พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2534
“...ตามปกติคนเราชอบดูสถานการณในทางดี ที่เขาเรียกวาเล็งผลเลิศ ก็
เห็นวาประเทศไทย เรานี่กาวหนาดี การเงินการอุตสาหกรรมการคาดี มีกําไร อีกทางหนึ่งก็
ตองบอกวาเรากําลังเสื่อมลงไปสวนใหญ ทฤษฎีวา ถามีเงินเทานั้นๆ มีการกูเทานั้นๆ
หมายความวาเศรษฐกิจกาวหนา แลวก็ประเทศก็เจริญมีหวังวาจะเปนมหาอํานาจ ขอโทษ
เลยตองเตือนเขาวา จริงตัวเลขดี แตวาถาเราไมระมัดระวังในความตองการพื้นฐานของ
ประชาชนนัน้ ไมมีทาง...”
พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2536
“...เดี๋ยวนี้ประเทศไทยก็ยังอยูดีพอสมควร ใชคําวา พอสมควร เพราะเดี๋ยวมีคนเห็นวามีคน
จน คนเดือดรอน จํานวนมากพอสมควร แตใชคําวา พอสมควรนี้ หมายความวาตามอัตต
ภาพ...”
พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2539
“...ที่เปนหวงนั้น เพราะแมในเวลา 2 ป ที่เปนปกาญจนาภิเษกก็ไดเห็นสิ่ง
ที่ทําใหเห็นไดวา ประชาชนยังมีความเดือดรอนมาก และมีสิ่งที่ควรจะแกไขและดําเนินการ
ตอไปทุกดาน มีภัยจากธรรมชาติกระหน่ํา ภัยธรรมชาตินี้เราคงสามารถที่จะบรรเทาไดหรือ
แกไขได เพียงแตวาตองใชเวลาพอใช มีภัยที่มาจากจิตใจของคน ซึ่งก็แกไขไดเหมือนกัน แต
วายากกวาภัยธรรมชาติ ธรรมชาตินั้นเปนสิ่งนอกกายเรา แตนิสัยใจคอของคนเปนสิ่งที่อยู
ขางใน อันนีก้ ็เปนขอหนึ่งที่อยากใหจัดการใหมีความเรียบรอย แตก็ไมหมดหวัง...”
พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2539
“...การจะเปนเสือนั้นไมสําคัญ สําคัญอยูที่เรามีเศรษฐกิจแบบพอมีพอกิน
แบบพอมีพอกินนั้น หมายความวา อุมชูตัวเองได ใหมีพอเพียงกับตนเอง ความพอเพียงนี้
ไมไดหมายความวาทุกครอบครัวจะตองผลิตอาหารของตัวเอง จะตองทอผาใสเอง อยางนั้น
มันเกินไป แตวาในหมูบา นหรือในอําเภอ จะตองมีความพอเพียงพอสมควร บางสิ่งบางอยาง
ผลิตไดมากกวาความตองการก็ขายได แตขายในที่ไมหางไกลเทาไร ไมตองเสียคาขนสงมาก
นัก...”

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 215 ~

พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2539.
“...เมื่อป 2517 วันนั้นไดพูดถึงวา เราควรปฏิบัติใหพอมีพอกิน
พอมีพอกินนี้ก็แปลวา เศรษฐกิจพอเพียงนั่น เอง ถาแตละคนมีพอมีพอกิน ก็ใชได ยิ่งถาทั้ง
ประเทศพอมีพอกินก็ยิ่งดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่มจะเปนไมพอมีพอกิน บางคนก็มีมาก
บางคนก็ไมมีเลย...”
พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2541
“...พอเพียง มีความหมายกวางขวางยิ่งกวานี้อีก คือคําวาพอ ก็พอเพียงนีก้ ็พอแคนั้นเอง
คนเราถาพอในความตองการก็มีความโลภนอย เมื่อมีความโลภนอยก็เบียดเบียนคนอื่นนอย
ถาประเทศใดมีความคิดอันนี้ มีความคิดวาทําอะไรตองพอเพียง หมายความวาพอประมาณ
ซื่อตรง ไมโลภอยางมาก คนเราก็อยูเปนสุข พอเพียงนี้อาจจะมี มีมากอาจจะมีของหรูหราก็
ได แตวาตองไมไปเบียดเบียนคนอื่น...”
พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 4 ธันวาคม 2541
“...ไฟดับถามีความจําเปน หากมีเศรษฐกิจพอเพียงแบบไมเต็มที่ เรามี
เครื่องปนไฟก็ใชปนไฟ หรือถาขั้นโบราณกวา มืดก็จุดเทียน คือมีทางที่จะแกปญหาเสมอ
ฉะนั้นเศรษฐกิจพอเพียงก็มีเปนขั้นๆ แตจะบอกวาเศรษฐกิจพอเพียงนี้ ใหพอเพียงเฉพาะตัว
เองรอยเปอรเซ็นตนี่เปนสิ่งทําไมได จะตองมีการแลกเปลี่ยน ตองมีการชวยกัน ถามีการ
ชวยกัน แลกเปลี่ยนกัน ก็ไมใชพอเพียงแลว แตวาพอเพียงในทฤษฎีในหลวงนี้ คือให
สามารถที่จะดําเนินงานได...”
พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 23 ธันวาคม 2542
“...โครงการตางๆ หรือเศรษฐกิจที่ใหญ ตองมีความสอดคลองกันดีที่ไมใช
เหมือนทฤษฎีใหม ที่ใชที่ดินเพียง 15 ไร และสามารถที่จะปลูกขาวพอกิน กิจการนี้ใหญกวา
แตก็เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน คนไมเขาใจวากิจการใหญๆ เหมือนสรางเขื่อนปาสักก็
เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน เขานึกวาเปนเศรษฐกิจสมัยใหม เปนเศรษฐกิจที่หางไกล
จากเศรษฐกิจพอเพียง แตที่จริงแลว เปนเศรษฐกิจพอเพียงเหมือนกัน...”
พระราชดํารัส เนื่องในโอกาสวันเฉลิมพระชนมพรรษา
ณ ศาลาดุสิดาลัย วันที่ 23 ธันวาคม 2542

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 216 ~

“...ฉันพูดเศรษฐกิจพอเพียงความหมายคือ ทําอะไรใหเหมาะสมกับฐานะ
ของตัวเอง คือทําจากรายได 200-300 บาท ขึ้นไปเปนสองหมื่น สามหมื่นบาท คนชอบเอา
คําพูดของฉัน เศรษฐกิจพอเพียงไปพูดกันเลอะเทอะ เศรษฐกิจพอเพียง คือทําเปน Self-
Sufficiency มันไมใชความหมายไมใชแบบที่ฉันคิด ที่ฉันคิดคือเปน Self-Sufficiency of
Economy เชน ถาเขาตองการดูทีวี ก็ควรใหเขามีดู ไมใชไปจํากัดเขาไมใหซื้อทีวีดู เขา
ตองการดูเพือ่ ความสนุกสนาน ในหมูบานไกลๆ ที่ฉันไป เขามีทีวีดูแตใชแบตเตอรี่ เขาไมมี
ไฟฟา แตถา Sufficiency นั้น มีทีวีเขาฟุมเฟอย เปรียบเสมือนคนไมมีสตางคไปตัดสูทใส
และยังใสเนคไทเวอรซาเช อันนี้ก็เกินไป...”
พระตําหนักเปยมสุข วังไกลกังวล
17 มกราคม 2544

ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง มุง เนนใหผูผลิต หรือผูบริโภค พยายามเริ่มตนผลิต หรือบริโภค
ภายใตขอบเขต ขอจํากัดของรายได หรือทรัพยากรที่มีอยูไปกอน ซึ่งก็คือ หลักในการลดการ
พึ่งพา เพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมการผลิตไดดวยตนเอง และลดภาวะการเสี่ยงจาก
การไมสามารถควบคุมระบบตลาดไดอยางมีประสิทธิภาพ
เศรษฐกิจพอเพียงมิ ใชหมายความถึง การกระเบียดกระเสียนจนเกินสมควร หากแต
อาจฟุมเฟอยไดเปนครั้งคราวตามอัตภาพ แตคนสวนใหญของประเทศ มักใชจายเกินตัว เกิน
ฐานะที่หามาได
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนําไปสูเปาหมายของการสรางความมั่นคงในทาง
เศรษฐกิจได เชน โดยพื้นฐานแลว ประเทศไทยเปนประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของ
ประเทศจึงควรเนนที่เศรษฐกิจการเกษตร เนนความมั่นคงทางอาหาร เปนการสรางความ
มั่นคงใหเปนระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเปนระบบเศรษฐกิจที่ชวยลดความเสี่ยง หรือ
ความไมมั่นคงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถประยุกตใชไดในทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ
ไมจําเปนจะตองจํากัดเฉพาะแตภาคการเกษตร หรือภาคชนบท แมแตภาคการเงิน ภาค
อสังหาริมทรัพย และการคาการลงทุนระหวางประเทศ
โดยมีหลักการที่คลายคลึงกันคือ เนนการเลือกปฏิบัติอยางพอประมาณ มีเหตุมีผล
และสรางภูมิคุมกันใหแกตนเองและสังคม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 217 ~

การดําเนินชีวิตตามแนวพระราชดําริพอเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจาอยูห ัว ทรงเขาใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนั้น เมือ่ ได
พระราชทานแนวพระราชดําริ หรือพระบรมราโชวาทในดานตางๆ จะทรงคํานึงถึงวิถีชีวติ
สภาพสังคมของประชาชนดวย เพื่อไมใหเกิดความขัดแยงทางความคิด ที่อาจนําไปสูค วาม
ขัดแยงในทางปฏิบัติได

แนวพระราชดําริในการดําเนินชีวติ แบบพอเพียง
1. ยึดความประหยัด ตัดทอนคาใชจายในทุกดาน ลดละความฟุมเฟอยในการใชชีวติ
2. ยึดถือการประกอบอาชีพดวยความถูกตอง ซื่อสัตยสุจริต
3. ละเลิกการแกงแยงผลประโยชนและแขงขันกันในทางการคาแบบตอสูก ันอยาง
รุนแรง
4. ไมหยุดนิ่งที่จะหาทางใหชีวิตหลุดพนจากความทุกขยาก ดวยการขวนขวายใฝหา
ความรูใหมีรายไดเพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเปนเปาหมายสําคัญ
5. ปฏิบัตติ นในแนวทางที่ดี ลดละสิ่งชั่ว ประพฤติตนตามหลักศาสนา

( สังคม
Sorokin ไดใหคําจํากัดความสังคมวิทยาวา "สังคมวิทยาเปนวิทยาศาสตร
ทั่วไปที่วาดวยปรากฏการณทางสังคมและวัฒนธรรม ในสวนที่เกี่ยวของซึ่งกันและ
กันตามรูปแบบและประเภทอันมีลักษณะโดยเฉพาะของปรากฏการณทางธรรมชาติ
นั้นๆ"
สังคมวิทยาเนนการศึกษาเกี่ยวกับ ชีวิตมนุ ษยและผลิต ภัณฑ ของสังคมมนุษ ย
นอกจากนี้ยังสนใจการปฏิสัมพันธของคนในสังคม
สังคมวิทยายังแยกสาขาออกไปมากมาย เชน สังคมวิทยาการทหาร สังคม
วิทยาการเมือง สังคมวิทยาการศึกษา สังคมวิทยาศาสนา สังคมวิทยาอาชีพ สังคมวิทยา
นคร เปนตน
สังคมวิทยาเปนศาสตร
ศาสตร หมายถึง สิ่งที่ประกอบดวยสิ่งตาง ๆ ดังตอไปนี้
1. มีการสังเกต มีการยืนยันขอเท็จจริงอยางชัดเจน มีการอธิบาย การตรวจสอบ
ทดลอง และอธิบายปรากฏการณอยางมีหลักการ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 218 ~

2. มีหลักการ มีวิทยาการ โดยอาศัยพื้นฐานของทฤษฎีที่มีระบบระเบียบ


3. ตองมาจากการศึกษาและคนควา
4. มีความรูสนับสนุน
ศาสตร คือ องคแหงความรูหรือตัววิทยาการที่เปนระบบ การเปลี่ยนแปลง
หมวดหมูที่ใชการรวบรวมขอมูลโดยวิธีทางวิทยาศาสตร หรืออาจกลาวไดวา ศาสตร เปน
เรื่องของการคนควาขอเท็จจริงวามีเหตุและผลอยางไร มีความสัมพันธกันมากนอยเพียงใด
และมีกระบวนการอันเปนที่ยอมรับกันในวงการวิชาการหรือไม
สังคมวิทยาเปนศาสตร เพราะมีความรูสนับสนุน มีทฤษฎีตาง ๆ ทั้งที่เปน
ทฤษฎีทางสังคมศาสตรและพฤติกรรมศาสตรที่เปนฐานสนับสนุนในการสรางหลักการ
สรุป ศาสตรทุกแขนงจะอาศัยการศึกษาคนควาทางวิทยาศาสตรประกอบ
กลาวคือ จะตองอาศัยการสังเกต การทดลอง การตรวจสอบ และการพิสูจนคนควา
โครงสรางทางสังคม (Social Structure)
โครงสรางทางสังคม หมายถึง รูปแบบที่เปนตัวแทนพฤติกรรมของสังคมใด
สังคมหนึ่ง หรือ หมายถึง การจัดระเบียบในสังคมทั้งหมด ทั้งความสัมพันธระหวางบุคคล
และจากกลุมบุคคลในสังคม ซึ่งอาจจะเปนการรวมมือสนับสนุน การแขงขัน การขัดแยง
การเอาเปรียบ การประนีประนอม
กระบวนการทางสังคม (Social Process)
กระบวนการทางสังคมมีองคประกอบ ดังนี้
1. มีการติดตอกันทางสังคม คือ มีบุคคลตั้งแตสองคนขึ้นไป และมีการโตตอบและมีสาย
สัมพันธกัน
2. มีการถายทอดแนวคิดระหวางบุคคลโดยใชสัญลักษณ
3. มีการเราและตอบสนองเพื่อใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางดานพฤติกรรม
การปรับตัวเมื่อมีการขัดแยงกัน แยกเปนประเภทตาง ๆ ไดดังนี้ คือ
1. ปฏิบัติตาม (Conformity) บุคคลประเภทนี้จะยอมรับจุดหมายปลายทาง
ที่สังคมกําหนดมองโลกในแงดี
2. แหวกแนว (Innovation) พวกนี้เปนพวกที่ใฝหาความรูแจง แตไมยอม
ปฏิบัติตามวิถีทางหรือกฎเกณฑที่สังคมกําหนดไวใหปฏิบัติ มักจะประพฤติตนขัดกับ
ระเบียบ ประเพณี ศีลธรรม และกฎหมาย เชน พวกที่มีฐานะดี มีการศึกษาสูง ตําแหนง
ฐานะการงานดี แตรับสินบนหรือยักยอกเพื่อหวังความร่ํารวย หรือเพื่อใหไดมาซึ่งสิ่งที่ตน
ตองการ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 219 ~

3. เจาระเบียบ (Ritualism) บุคคลประเภทนี้มักจะยึดมั่นอยูในระเบียบ


วินัย เปนผูเขมงวด ซื่อสัตยตอหนาที่การงาน ไมเห็นแกอามิสสินจาง ซึ่งพฤติกรรมแบบนี้
กอใหเกิดความลาชาในการทํางานและเปนบุคคลที่ขาดความคิดริเริ่ม
4. หนีโลก (Retreatism) บุคคลประเภทนี้จะมีความรูสึกเบื่อหนายโลกและ
ชีวิต ทํางานก็ไมประสบความสําเร็จ ขาดกําลังใจที่จะทํางาน อาจประสบความผิดหวัง
รายแรงในชีวิต เชน พวกที่ยากจนมากก็อาจจะหันไปสนใจเรื่องอื่น ๆ เชน อาจจะเสพสุรา
ยาเมาเพื่อเปนเครื่องปลอบใจ
5. ทาทาย (Rebellism) บุคคลประเภทนี้เปนพวกที่ไมเห็นดวยกับวิธีการ
ปฏิบัติหรือจุดหมายปลายทางที่สังคมยอมรับ พยายามสรางอุดมการณขึ้นมาใหม และ
ชักชวนใหบุคคลอื่นทําตามดวย โดยมีความมุงหมายที่จะเปลี่ยนแปลงโครงสรางทางสังคม
และวางระเบียบทางสังคมใหม

$ การเมือง
ศัพทเกี่ยวกับการจัดองคการทางการเมืองในปจจุบันที่ใชกันบอย คือ
1. รัฐ เปนศัพทที่เนนสภาวะทางการเมือง คือ ความเปนอธิปไตย
2. ประเทศ เปนศัพทที่เนนสภาวะทางภูมิศาสตร (ภูมิประเทศ
ภูมิอากาศ)
3. ชาติ เปนศัพทที่เนนสภาวะทางเชื้อชาติและวัฒนธรรม
4. รัฐประชาชาติ เปนศัพทที่เนนสภาวะของรัฐซึ่งเปนที่ยอมรับของ
"นานาชาติ" วาเปนรัฐที่มีอธิปไตย คือ มีอิสรภาพเต็มที่ในฐานะเปนประเทศเอกราช
องคประกอบของรัฐ
รัฐมีองคประกอบ 4 ประการ คือ (1) พลเมือง (ประชากร) (2) อาณาเขต (3)
รัฐบาล (4) อธิปไตย (อํานาจสูงสุดในอาณาเขตของตน)
รัฐบาล
คําวารัฐบาล (Government) มีความหมาย 4 ลักษณะดวยกัน คือ
1. รัฐบาล หมายถึง กิจกรรมหรือกระบวนการแหงการปกครอง
2. รัฐบาล หมายถึง ภาวะที่มีระเบียบหรือการมีความสงบเรียบรอย
3. รัฐบาล หมายถึง คณะบุคคลที่มีอํานาจปกครอง
4. รัฐบาล หมายถึง รูปแบบการปกครอง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 220 ~

อธิปไตย จะเนนอํานาจสูงสุดเหนือพลเมืองและบุคคลอื่น ๆ โดยไมมีกฎหมายใด


ๆ ขวางกั้นได
อธิปไตย จะเนนเรื่องภายในประเทศ สวน เอกราชจะเนนเรื่องที่เกี่ยวพันกับ
ตางประเทศ
คําวา เอกราช ในประเทศตาง ๆ มีคําที่ใชแตกตางกัน เชน
1. อินโดนีเซียและมาเลเซีย ใชวา เมอรเดกา (Merdeka)
2. อินเดีย ใชวา สวาราชย (Swaraj)
3. สหรัฐฯ ที่ถือเปนวันชาติดวย (มักไมใชคําวา National Day) แตเรียก
ตรง ๆ วา The Fourth of July ซึ่งหมายถึง วันที่ไดรับเอกราชจากอังกฤษในวันที่ 4
กรกฎาคม ค.ศ. 1776 บางครั้งจึงเรียกวา Independence Day (วันอิสรภาพ)

มโนทัศนเกี่ยวกับอํานาจอธิปไตยในปจจุบัน
ทอคเกอรวิลล (Tocqueville, 1805 - 1859) นักวิชาการเชื้อสายขุนนางชาว
ฝรั่งเศส ไดเดินทางไปเยือนสหรัฐฯ และไดใหขอสังเกตที่มีคุณคายิ่งตอเสถียรภาพของ
ประชาธิปไตยในอเมริกา โดยเขาพบวาสังคมอเมริกันไดพัฒนาไปมากในดานการรวมกลุม
ของเอกชนเปนสมาคมโดยสมัครใจ (กลุมหลากหลาย) ทําใหสามารถตรวจตราและรั้ง
เหนี่ยวอํานาจของรัฐบาลกลางได
กลุมนานาชาตินิยม (Internationalists) มีแนวคิดเหมือนฝายพหุนิยม
(Pluralism) ซึ่งตอตานแนวคิดที่วา รัฐจะตองมีอํานาจอธิปไตยแบบเด็ดขาด โดยอาง
เหตุผลจากขอจํากัด 4 ประการ คือ (1) กฎหมายระหวางประเทศ (2) มติมหาชน
นานาชาติ (3) สิทธิมนุษยชน (4) การที่ตองพึ่งพาเกี่ยวของกันระหวางชาติ
อธิปไตยถูกจํากัดโดยสิทธิมนุษยชน โดยภายหลังสงครามโลกครั้งที่ 2 ได
มีการประกาศปฏิญญาสากลวาดวยสิทธิมนุษยชน (Declaration of Human Rights) โดย
องคการสหประชาชาติ
ชาติหรือประชาชาติ (Nation)
ชาติหรือประชาชาติมีองคประกอบที่สําคัญ 5 ประการ คือ (1) การมีความ
ผูกพันตอถิ่นที่อยู (2) การมีประวัติศาสตรรวมกัน (3) การมีภาษาและวรรณคดีรวมกัน
(4) การมีวัฒนธรรมรวมกัน (5) การมีความตองการอยูอยางอิสระ (แตก็ไมไดหมายความ
วาจะไมยุงเกี่ยวกับชาติอื่นใด)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 221 ~

การแบงประเภทรูปแบบการปกครองนั้น นักวิชาการมีทัศนะที่หลากหลาย แต


มักนิยมคลอยตามหรือปรับปรุงจากการแบงประเภทแบบคลาสิก (Classic) ของมหา
ปราชญอริสโตเติล
รูปแบบการปกครอง 6 ประเภทตามแนวของอริสโตเติล
อริสโตเติล ไดแบงรูปการปกครองออกเปน 6 ประเภทใหญ ๆ โดยใชเกณฑ 2
ประการ คือ
1. เปนเกณฑเกี่ยวกับจํานวนผูมีอํานาจในการปกครอง
2. เปนเกณฑเชิงปทัสถาน (เชิงประเมินคุณคา) คือ พิจารณาวารูปแบบนั้น
ดีหรือไมดี

รูปแบบการปกครอง 6 ประเภทของอริสโตเติล มีดังนี้


จํานวนผูมีอํานาจ ดี ไมดี
1 คน ราชาธิปไตย (Monarchy) ทุชนาธิปไๆตย (Tyranny)
หลายคน อภิชนาธิปไตย (Aristocracy) คุณาธิปไตย (Oligarchy)
จํานวนมาก มัชฌิมวิถีอธิปไตย หรือ ประชาธิปไตยแบบมวลชน หรือ
ประชาธิปไตยแบบสายกลาง (Polity) มวลชนาธิปไตย (Democracy)
ในระบบบอภิชนาธิปไตยนั้น ผูบริหารมักจะมีคุณสมบัติพิเศษหรือมีคุณภาพ
เหนือกวาชนสวนใหญ เชน เปนกลุมขนนางหรือพวกราชวงศ เปนกลุมคนมีความรูหรือ
ปญญาชน หรือเปนกลุมที่ไดรับการยอมรับนับถือจากประชาชน
คณาธิปไตย หมายถึง การปกครองโดยคณะบุคคลที่คํานึงถึงประโยชนสวน
ตนหรือกลุมของตน
สวนเพลโต มีแนวคิดตอตานประชาธิปไตย โดยถือวาเปนการใชอํานาจแกผู
ที่ปราศจากความรู ซึ่งเพลโตตองการสถาปนาสังคมอันเลอเลิศเปน สังคมอุดมธรรม
อยางที่เรียกวา อุตมรัฐ โดยใหผูปกครองสูงสุดเปนราชาปราชญ และบรรดาผูนําระดับ
รองลงไปเปนผูมีสติปญญา และคุณธรรม
ในขณะที่ อริสโตเติล มีแนวคิดคลายเพลโต แตไมตอตานประชาธิปไตย
มากนัก โดยจัดประชาธิปไตยใหอยูในกลุมของการปกครองโดยคนหมูมากที่มีความโนม
เอียงไปนทางที่ไมดี สวนการปกครองโดยคนสวนใหญซึ่งมีแนวโนมไปในทางที่ดี และ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 222 ~

อริสโตเติลเชื่อวาจะเปนไปไดคือ มัชฌิมวิถีอธิปไตย ซึ่งพอจะเทียบเคียงกับประชาธิปไตย


ในยุคปจจุบันที่มหาชนคนสวนใหญอยูในระดับกลาง เชน อังกฤษ สหรัฐฯ ญี่ปุน ฯลฯ
รูปแบบการปกครอง 7 ประเภทตามแนวของ แม็กไคเวอร
แม็กไคเวอร ไดแบงรูปแบบการปกครองโดยพิจารณาเชิงรัฐธรรมนูญออกเปน 7
ประเภท คือ
1. ราชาธิปไตย โดยปกติการสืบตออํานาจเปนไปโดยสายโลหิต แตก็มี
ราชาธิปไตยแบบเลือก เชน มาเลเซีย มีระบบการเลือกพระราชาธิบดี (Yang Agong)
โดยเลือกจากสุลตานของรัฐตาง ๆ
2. ลัทธิเผด็จการ แบงเปน (1) เผด็จการแบบธรรมดา (2) เผด็จการแบบ
ถวนทั่ว
3. เทวาธิปไตย ไดแก การปกครองในอดีตของทิเบตกอนที่จีนจะยึดทิเบต
และเปลี่ยนรูปการปกครอง โดย "องคดาไล ลามะ" (Dalai Lama) จะเปนหัวหนาหรือ
ประมุขและเปนผูนําทางศาสนาดวย
4. ราชาธิปไตยแบบมีอํานาจจํากัด ซึ่งกษัตริยครองราชย แตไมไดปกครอง
เชน อังกฤษ
5. พหุประมุข เชน กัมพูชาเคยมีนายกรัฐมนตรีพรอมกัน 2 คน
6. สาธารณรัฐ หรือ "มหาชนรัฐ" เชน สวิตเซอรแลนด ฝรั่งเศส
สหรัฐอเมริกา ฯลฯ
7. ประชาธิปไตยแบบโดยตรง เคยมีในนครรัฐเอเธนส แตปจจุบันมีในระดับ
ทองถิ่นเทานั้น
( การปกครองระบอบประชาธิปไตย
ปจจุบันอาจแบงรูปแบบการปกครองออกเปน 2 ประเภทใหญ ๆ ไดแก
1. การเปนประชาธิปไตย อันหมายถึง ประชาธิปไตยแบบมีผูแทนราษฎร
2. การมีลักษณะอํานาจนิยม อาจเปนฝายซาย (คอมมิวนิสต) หรือขวา
(ฟาสซิสต)
ศัพท ประชาธิปไตย นั้น ถากําหนดเปนวงกรอบหรือฐานะใหญ ๆ แลว จะ
ใชใน 3 ความ
หมาย ดังนี้คือ (1) เปนปรัชญา (เชิงความคิด) ทฤษฎีหรืออุดมการณทางการเมือง
(2) เปนรูปแบบการปกครอง
(3) เปนวิถีชีวิต

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 223 ~

ประชาธิปไตย ในภาษาอังกฤษใชวา Democracy ซึ่งแปลเทียบเคียงกับภาษา


ฝรั่งเศส วา Democratie โดยมีศัพทเดิมในภาษากรีกวา Demokratia อันเปนการผสม
ระหวางคํา 2 คําคือ
(1) Demos อันหมายถึง ประชาชน (พลเมือง)
(2) Kratos อันหมายถึง การปกครอง (เมื่อรวมกันแลวจึงหมายถึง เปน
การปกครองของประชาชน)
ศัพท ประชาธิปไตย ไดกลายเปน ศัพทเกียรติยศ ที่หลายสํานักและหลาย
ฝายตองการยึดเปนของตน แมแตประเทศเผด็จการก็ยังอางวาระบบของตนเปน
ประชาธิปไตย ตัวอยางเชน
1. "ฮิตเลอร" เรียกระบบเผด็จการนาซีของเขาวา "ประชาธิปไตยที่แทจริง"
2. "มุสโสลินี" เรียกระบบฟาสซิสตของเขาวา "ประชาธิปไตยแบบอํานาจ
นิยม"
3. "เลนิน" อดีตผูนําสหภาพโซเวียตเรียกระบบการปกครองแบบ
คอมมิวนิสตของตนวา "ประชาธิปไตยของชนชั้นกรรมาชีพ" และเรียกระบบการปกครอง
แบบเสรีนิยมในโลกตะวันตกวา "ประชาธิปไตยแบบกฎมพี" หรือ "แบบนายทุน" หรือ
"ประชาธิปไตยแบบทราม"
4. ประเทศซึ่งนิยมคอมมิวนิสตอื่น ๆ เชน ประเทศในยุโรปตะวันออก จีน
เกาหลีเหนือ ลาว อาฟกานิสถาน ฯลฯ เรียกระบบของตนวา ประชาธิปไตยของปวงชน
หรือ มหาชนาธิปไตย
อดีตผูนําของประเทศที่นิยมคอมมิวนิสต มีตัวอยางเชน เลนิน, สตาลิน,
กอรบาชอฟ ฯลฯ ของอดีตสหภาพโซเวียต เหมา เจอตุง, เติ้ง เสี่ยวผิง ฯลฯ ของ
สาธารณรัฐประชาชนจีน เปนตน

การปกครองโดยเสียงขางมาก
หลักเสียงขางมาก (Majority Rule) มักประกอบดวยหลักสิทธิของคนสวน
นอย (Minority Rights) ซึ่งหมายถึง ผูที่มีความเห็นแตกตางออกไป และผูที่มีเชื้อชาติ
ศาสนา ภาษา หรือลักษณะอื่น ๆ ที่แตกตางออกไปจากคนสวนใหญ
การปกครองโดยเสียงขางมากยืนอยูบนพื้นฐานความคิดที่วา คนแตละคนมีสิทธิ
เทาเทียมกัน คือ 1 คน 1 เสียง เมื่อมีความเสมอภาคเชิงการเมืองเชนนี้ยอมตองใช
"จํานวน" เปนเกณฑตัดสิน ซึ่งก็คือ "เสียงขางมาก" นั่นเอง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 224 ~

การคุมครองผูมีเสียงขางนอยมักใชวิธีการเชิงกระบวนการ คือ ตามขั้นตอนที่


เหมาะควร เชน สิทธิในการชุมนุมอยางสันติ สิทธิในการรวมกลุม และสิทธิในการ
รองเรียนตอรัฐบาล เปนตน

หลักนิติธรรม
ประชาธิปไตย ไดแก "การปกครองโดยยึดหลักนิติธรรม" (Rule of Law) คือ
การปฏิบัติตาม
ขอกําหนดและภายในขอบเขตแหงหลักกฎหมาย
ในทางตรงขามการไมเปนประชาธิปไตย คือ การยึด "กฎหมู" เหนือ
"กฎหมาย" ซึ่งอาจเปนไปในรูปของการประชาทัณฑโดยฝูงชน หรือการตั้ง "ศาลเตี้ย"
หรือ "ศาลจิงโจ" (Kangaroo Court) ขึ้นมาพิจารณา โดยไมถูกตองตามกระบวนการ
ยุติธรรม
ในประวัติศาสตรอเมริกันเคยมีการทําทารุณโดยคนบางกลุม เชน พวกขวาจัด
แบบพวก คลู คลัก แคลน (KLU KLUX KLAN) ทํารายและทําทารุณกับคนนิโกร และผู
ตอสูเพื่อสิทธิมนุษยชน
เสียงประชาชนคือเสียงทิพย
ประชาธิปไตย ไดแก "การปกครองที่ถือวาเสียงประชาชนเปนสรรพสําเนียง
เสียงทิพย หรือเสียงสวรรค" ซึ่งเปนการเปรียบเทียบวาเสียงประชาชนเหมือนกับเปน "ฟา
สั่ง" เปนคําบัญชาจากเทพเจาหรือเปน "เทวโองการ" คือ มีอํานาจบังคับรัฐบาลใหปฏิบัติ
ตามได
ที่มาแหงวลี "เสียงประชาชนเปนสรรพสําเนียงเสียงสวรรค" ไดแก Vox
Populi Vox Dei ซึ่งเปนภาษาลาติน วลีนี้เปนที่ทราบกันอยางแพรหลายและเปนที่นิยมมาก
จึงมักใชเปนคําขวัญ (Slogan)
แตวลีนี้ก็มีปญหามากเพราะบางครั้ง "เสียงประชาชนก็ไมใชเสียงสวรรคเสมอ
ไป" ซึ่งมีความหมายดังนี้ (1) ประชาชนมักเรียกรองในบางเรื่องซึ่งทําไมได (2)
ประชาชนอาจใชวิจารณญาณผิดหรือเลือกคนผิดก็ได (3) มีตัวอยาง เชน การที่คน
เยอรมันเลือกฮิตเลอรใหเปนผูนํา หรือการที่คนอิตาลีเลือกมุสโสลินีใหเปนผูนํา เปนตน
หลักพุทธศาสนา
ประชาธิปไตยตามหลักพุทธศาสนา ไดแก การยึดหลัก 2 ประการ คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 225 ~

(1) ปชาสุขัง มหุตตมัง อันหมายถึง ประชาธิปไตยตองเปนการ


ปกครองโดยคํานึงถึงความผาสุกของประชาชนเปนของเลิศที่สุด
(2) มหาชนหิตายะ และ มหาชชนสุขายะ อันหมายถึง การเปน
รัฐบาลที่มุงประโยชนของมหาชน และความสุขของมหาชน
รัฐสภา (Legislature) ไดแก ที่ประชุมอันมีสภาพเปนตัวแทน ซึ่งมี
บทบาทสําคัญในการออกกฎหมาย โดยปกติการมีรัฐสภาจะใหความสําคัญกับหนาที่ในทาง
นิติบัญญัติ
การมีรัฐสภามีลักษณะเชนเดียวกับการมีรัฐธรรมนูญ กลาวคือ ไมไดแสดงวา
ประเทศนั้นๆ เปนประชาธิปไตยเสมอไป เพราะประเทศที่ไมเปนประชาธิปไตยก็มีรัฐสภา
เชนเดียวกัน
สถาบันรัฐสภามีมาตั้งแตสมัยกรีกและโรมัน โดยประเทศที่อาจถือไดวามี
รัฐสภาแบบใหม คือ "แบบสาธารณรัฐ" ที่เกาแกที่สุด ไดแก ประเทศไอซแลนด (Iceland)
ซึ่งมีมาตั้งแตป ค.ศ. 930 จนถึงปจจุบัน
ประเทศที่มีการพัฒนาการทางสถาบันรัฐสภาที่เห็นไดชัดแจง คือ ประเทศ
อังกฤษ ซึ่งถือกันวาเปนแมแบบแหงรัฐสภาอื่น ๆ (Mother of Parliaments)
รูปแบบของสภา
โครงสรางของรัฐสภามี 2 รูปแบบ คือ
1. เอกสภา หรือ สภาเดียว (Unicameral)
2. ทวิสภา หรือ สภาคู (Bicameral)
รูปแบบสภาเดียว
รูปแบบสภาเดียวหรือเอกสภา หมายถึง มีสภาเดียว เปนรูปแบบที่ไดรับความ
นิยมนอย มีเพียงไมกี่ประเทศ
รูปแบบสภาคู
รูปแบบสภาคูหรือทวิสภา หมายถึง มี 2 สภา คือ สภาสูง (วุฒิสภา) และ
สภาลาง (สภาผูแทนราษฎร) เปนรูปแบบที่ไดรับความนิยมมากที่สุด เชน อังกฤษ มี
ระบบ 2 สภามาตั้งแตป ค.ศ. 1815
สภาคูมี 2 รูปแบบใหญ ๆ คือ
1. อํานาจสมดุล หมายถึง อํานาจระหวาง 2 สภามีเทากัน หรือไมมีความ
แตกตางกันมากในเรื่องอํานาจ ตัวอยางเชน สหรัฐอเมริกา ฯลฯ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 226 ~

2. อํานาจขาดดุลยภาพ หมายถึง สภาใดสภาหนึ่งมีอํานาจสูงมากจนเห็นได


ชัดเจน ตัวอยาง เชน อังกฤษ ซึ่งสภาลางมีอํานาจมากที่สุด สวนสภาสูงแทบไมมีอํานาจ
เลย
สภาสูงและสภาลางของแตละประเทศมีชื่อเรียกตาง ๆ กัน เชน
1. อังกฤษ สภาสูงเรียกวา สภาขุนนาง (House of Lords), สภาลาง
เรียกวา สภาสามัญ (House of Commons)
2. สหรัฐอเมริกา สภาสูงเรียกวา เชเนท (Senate), สภาลางเรียกวา สภา
ผูแทนราษฎร (House of Representatives)
3. อินเดีย สภาสูงเรียกวา ราชยสภา (Rajya Sabha), สภาลางเรียกวา
โลกสภา
4. ญี่ปุน สภาสูงเรียกวา สภาแหงมวลสมาชิกสภา (House of Councillors),
สภาลาง เรียกวา "สภาผูแทนราษฎร" (House of Representatives)
5. ไทย สภาสูงเรียกวา วุฒิสภา (Senate), สภาลางเรียกวา สภา
ผูแทนราษฎร (House of Representatives)

ความรูเกี่ยวกับอาเซียน
ASEAN (อาเซียน) ยอมาจาก Association of Southeast Asian Nations หรือ
สมาคมประชาชาติแหงเอเชียตะวันออกเฉียงใต ประกอบดวย 10 ประเทศ คือ
1. กัมพูชา (ราชอาณาจักรกัมพูชา)
2. ไทย (ราชอาณาจักรไทย)
3. บรูไนดารุสซาลาม (เนการาบรูไนดารุสซาลาม)
4. พมา (สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร)
5. ฟลิปปนส (สาธารณรัฐฟลิปปนส)
6. มาเลเซีย
7. ลาว (สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว)
8. สิงคโปร (สาธารณรัฐสิงคโปร)
9. เวียดนาม (สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม)
10. อินโดนีเซีย (สาธารณรัฐอินโดนีเซีย)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 227 ~

เปาหมายและวัตถุประสงคของอาเซียน
1) เพื่อสงเสริมความรวมมือและความชวยเหลือซึ่งกันและกันในทางเศรษฐกิจ สังคม
วัฒนธรรม เทคโนโลยี วิทยาศาสตร และการบริหาร
2) เพื่อสงเสริมสันติภาพและความมั่นคงสวนภูมภิ าค
3) เพื่อเสริมสรางความเจริญรุง เรืองทางเศรษฐกิจและพัฒนาการทางวัฒนธรรมใน
ภูมิภาค
4) เพื่อเสริมสรางใหประชาชนในอาเซียนมีความเปนอยูและคุณภาพชีวติ ที่ดี
5) เพื่อใหความชวยเหลือซึ่งกันและกันในรูปแบบของการฝกอบรมและการวิจัยและ
สงเสริมการศึกษาดานเอเชียตะวันออกเฉียงใต
6) เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพของการเกษตรและอุตสาหกรรม การขยายการคา ตลอดจน
ปรับปรุงการขนสงและการคมนาคม
7) เพื่อสงเสริมความรวมมืออาเซียนกับประเทศภายนอก องคการความรวมมือแหง
ภูมิภาคอื่นๆ และองคการระหวางประเทศ
อาเซียน +3 คือ กลุมประเทศสมาชิกอาเซียน 10 ประเทศ และ 3 ประเทศนอก
อาเซียน ไดแก
1) จีน
2) ญี่ปุน
3) เกาหลีใต
7 วิชาชีพทีส่ ามารถยายแรงงานฝมอื อยางเสรีในประชาคมอาเซียน
1. แพทย
2. ทันตแพทย
3. นักบัญชี
4. วิศวกร
5. พยาบาล
6. สถาปนิก
7. นักสํารวจ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 228 ~

อาหารยอดนิยมในอาเซียน
“อัมบูยัต”(Ambuyat)
อาหารยอดนิยมของประเทศบรูไนดารุสซาลาม
มี ลั ก ษณะเด น คื อ เหนี ย วข น คล า ยข า วต ม หรื อ โจ ก ไม มี ร สชาติ มี แ ป ง สาคู เ ป น
สวนผสมหลัก วิธีทานจะใชแทงไมไผ 2 ขาซึ่งเรียกวา chandas มวนแปงรอบๆ แลวจุมใน
ซอสผลไมเปรี้ยวที่เรียกวา cacah หรือซอสที่เรียกวา cencalu ซึ่งทําจากกะป ทานคูกับ
เครื่องเคียงอีก 2-3 ชนิด เชน เนื้อหอใบตองยาง เนื้อทอด เปนตน การรับประทานอัมบูยัตให
ไดรสชาติ ตองทานรอนๆ และกลืน โดยไมตองเคี้ยว

“อาม็อก”(Amok)
อาหารยอดนิยมของประเทศกัมพูชา
มี ลักษณะคลายหอหมกของไทย นิยมใชเนื้อปลาปรุงดวยน้ําพริก เครื่องแกงและกะทิ
ทําใหสุกโดยการนําไปนึ่ง อาจใชเนื้อไกหรือหอยแทนได แตที่นิยมใชเนื้อปลาเพราะหาไดงาย
“กาโด กาโด”(Gado Gado)
อาหารยอดนิยมของอินโดนีเซีย
อาหาร สําหรับผูที่รักสุขภาพ ประกอบไปดวยผักและธัญพืช เชน มันฝรั่ง กะหล่ําปลี
ถั่วงอก ถั่วเขียว เสริมโปรตีนดวยเตาหูและไขตม รับประทานคูกับซอสถั่วที่คลายกับซอส
สะเตะ ซึ่งใกลเคียงกับสลัดแขก ของประเทศไทย
“ซุปไก”(Chicken Soup)
อาหารยอดนิยมของลาว
แกง รสชาติหวานอรอยกลมกลอม ที่มีสวนผสมสําคัญ ไดแก ตะไคร ใบสะระแหน
กระเทียม หอมแดง รวมถึงรสชาติเปรี้ยว เผ็ด จากมะนาวและพริก รับประทานรอนๆ กับขาว
เหนียว ไดคุณคาทางโภชนาการอาหารและความอรอยไปพรอมๆ กัน

มรดกโลกในอาเซียน
"อาวฮาลอง" (Halong Bay)
อาวฮาลอง (Vịnh Hạ Long) หรือ ฮาลอง เบย (Halong Bay) เปนอาวแหงหนึ่งใน
พื้นที่ของอาวตังเกี๋ยทางตอนเหนือของสาธารณรัฐ สังคมนิยมเวียดนาม ใกลชายแดนติดตอ
กับสาธารณรัฐประชาชนจีน ชื่อในภาษาเวียดนาม หมายถึง "อาวแหงมังกรผูดําดิ่ง"

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 229 ~

อาวฮาลองมีเกาะหินปูนจํานวน 1,969 เกาะ โผลพนขึ้นมาจากผิวทะเล บนยอดของแต


ละเกาะมีตนไมขึ้นอยูอยางหนาแนน หลายเกาะมีถ้ําขนาดใหญอยูภายใน เกาะที่มีขนาดใหญ
ที่สุดในบริเวณอาว 2 เกาะ คือ เกาะกัดบา และเกาะ Tuan Chau ทั้งสองเกาะนี้มีคนตั้งถิ่น
ฐานอยูอยางถาวร มีโรงแรมและชายหาดจํานวนมากคอยใหบริการนักทองเที่ยว บางเกาะ
เปนที่ตั้งของหมูบานชาวประมง และบางเกาะยังเปนถิ่นอาศัยของสัตวหลายชนิด เชน ไกปา
ละมั่ง ลิง และกิ้งกาหลายชนิด เกาะเหลานี้มักจะไดรับการตั้งชื่อจากรูปรางลักษณะที่แปลก
ตา เชน เกาะชาง (Voi Islet) เกาะไกชน (Ga Choi Islet) เกาะหลังคา (Mai Nha Islet) เปน
ตน
อาวฮาลองไดรับการขึ้นทะเบียนเปนมรดกโลก เมื่อวันที่ 17 ธันวาคม พ.ศ. 2537

อุทยานแหงชาติกูนุงมูลู (Gunung Mulu National Park)


อุทยานแหงชาติกุนุงมูลู (Gunung Mulu National Park) เปนอุทยานที่ตั้งอยูในบน
เกาะบอรเนียว รัฐซาราวัก ประเทศมาเลเซีย ติดกับชายแดนของประเทศบรูไน เปนพื้นที่ที่มี
ความหลากหลายในดานชีววิทยาและธรณีวิทยาเปนอยางมาก มีพันธุพืชกวา 3,500 ชนิด
และมีพันธุปาลมกวา 109 ชนิด ในดานธรณีวิทยาเปนภูมิประเทศแบบ Karst หรือภูมิ
ประเทศแบบหินปูน มีพื้นที่สูงๆ ต่ําๆ หนาผาสูงชัน ยอดแหลม มักพบรอยแตกกวางซึ่ง
กลายเปนถ้ําในแนวดิ่งหรือแนวเฉียง สวนใหญจะมีลักษณะเปนโพรงยาว ปากถ้ําแคบ
ภายในถ้ํากวาง ผนังและเพดานถูกปกคลุมดวยหินงอกหินยอย และเกิดถ้ําที่มีขนาดใหญที่สุด
ในโลกอยูในอุทยานแหงนี้ คือ “ถ้ําซาราวัค แซมเบอร” (Sarawak chamber) ซึ่งมีความยาว
700 เมตร กวาง 396 เมตร และสูง 80 เมตร คํานวณพื้นที่แลวสามารถบรรจุเครื่องบิน
Boeing 747 จํานวนหลายลําไดเลยทีเดียว
อุทยานแหงชาติกุนงุ มูลู ไดรับการลงทะเบียนมรดกโลก ในป พ.ศ. 2543

เขตรักษาพันธุสตั วปาทุงใหญนเรศวรและหวยขาแขง
(Thungyai-Huai Kha Khaeng Wildlife Sanctuaries)
เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญ-หวยขาแขง เปน สถานที่ธรรมชาติแหงแรกของ
ประเทศไทย และภูมิภาคเอเชียออกเฉียงใตที่ไดเปนมรดกโลกในป พ.ศ.2534 ประกอบดวย
ผืนปาอนุรักษ 3 แหง ไดแก เขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวรดานตะวันตก เขตรักษา
พันธุสัตวปาดานตะวันออก และเขตรักษาพันธุสัตวปาหวยขาแขง ครอบคลุมพื้นที่กวางใหญ
ถึง 6,222 ตารางกิโลเมตร หรือ 3,888,875 ไร อยู ภายในเขตจังหวัดอุทัยธานี จังหวัดตาก

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 230 ~

จังหวัดกาญจนบุรี เปนปาอนุรักษที่มีพื้นที่กวางใหญที่สุดและมีชื่อเสียงที่สุดของประเทศ ไทย


ซึ่งผูมีสวนสําคัญในการอนุรักษเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวรและ หวยขาแขงแหงนี้
คือ คุณสืบ นาคะเสถียร
มีอาณาเขตทอดยาวอยูบนแนวเทือกเขาถนน ธงชัยเชื่อมตอกับตอนเหนือของ
เทือกเขาตะนาวศรี พื้นที่สวนใหญจึงเปนภูเขา สลับซับซอนและเปนตนธารของแมน้ําแคว
ใหญและแควนอย เปนแหลงรวมความหลากหลายทางชีวภูมิศาสตร ถึง 4 เขต รวมทั้งเปนที่
อยูอาศัยของพันธุพืชและพันธุสัตวที่อุดมสมบูรณ (77% ของสัตวเลี้ยงลูกดวยนมขนาดใหญ
50% ของนก และ 33% ของสัตวมีกระดูกสันหลัง ของภูมิภาคเอเชียอาคเนย) โดยที่ราบฝง
ตะวันออกในเขตรักษาพันธุสัตวปาทุงใหญนเรศวร เปนบริเวณที่โดดเดนที่สุด เปนตัวแทน
ระบบนิเวศปาเขตรอนเอเชียตะวันออกเฉียงใตที่มีความอุดมสมบูรณ และปลอดภัยที่สุดแหง
หนึ่งของโลก

นาขั้นบันไดแหงเทือกเขาฟลิปปนส
(Rice Terraces of the Philipine Cordilleras)
นาขั้นบันไดแหงเทือกเขาฟลิปปนสตั้งอยูที่เกาะลูซอนตอนเหนือของสาธารณรัฐ
ฟลิปปนส โดยชาวพื้นเมืองอิฟูเกา (Ifugao) ที่สรางนาขั้นบันไดแหงนี้มากวา 2,000 ปแลว
ดวยเครื่องมือที่เรียบงายและแรงงานคน ซึ่งลูกหลานชาวนาสืบเชื้อสายมาจากชาว Ifugao ใน
ปจจุบันก็ยังคงยึดอาชีพทํานาเชนเดียวกับบรรพบุรุษของพวกเขา โดยความ รูนี้ไดถูกสงตอ
กันมาจากรุนสูรุน และ การแสดงออกของประเพณีอันศักดิ์สิทธิ์ และความสมดุลของสังคมที่
ละเอียดออน ไดชวยกันสรางสรรคความงามของภูมิทัศน ซึ่งแสดงถึงความกลมกลืนระหวาง
มนุษยกับสิ่งแวดลอม
จุดเดนของที่นี่ คือเปนสุดยอดทั้งในเรื่อง "ความสูง" เนื่องจากอยูสูงกวาระดับน้ําทะเลถึง
1,500 เมตร และ "ความเอียงของพื้นที่" จุดที่ลาดชันมากที่สุดเอียงถึง 70 องศา และ
ครอบคลุมพื้นที่กวา 10,000 ตารางกิโลเมตร นอก จากนี้ยังมีระบบการทําเขื่อนกั้นน้ําและ
การระบายน้ําที่ซับซอน โดยใชเพียงทอที่ทําจากไมไผเปนตัวกั้นน้ําใหผืนนาขั้นบันไดทั้งหมด
มีน้ํา ทวมขังเพียงพอสําหรับการทํานาขาวอันนาทึ่งนี้ไดตลอดมา
นาขั้นบันไดแหงเทือกเขาฟลิปปนส ไดรับการลงทะเบียนมรดกโลก ในป พ.ศ.
2538

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 231 ~

กลุมวัดบรมพุทโธ (Borobuder Temple Compounds)


มหาสถูปบุโรพุทโธ หรือ บรมพุทโธ (ภาษาอินโดนีเซีย: Chandi Borobudur) เปน
สถานที่ทองเที่ยวที่มีชื่อเสียงของประเทศอินโดนีเซีย ตั้งอยูในภาคกลางของเกาะชวา โดยบุ
โรพุทโธเปนศาสนสถานของศาสนาพุทธนิกายมหายาน ถาไมนับนครวัดของกัมพูชาซึ่งเปน
ทั้งศาสนสถานของศาสนาพราหมณ-ฮินดูและ ศาสนาพุทธ บุโรพุทโธจะเปนศาสนสถานของ
ศาสนาพุทธที่ใหญที่สุดในโลก
บุโรพุทโธถูกสรางขึ้นโดยกษัตริยแหงราชวงศไศเลนทร เปนสถูปแบบมหายาน
สันนิษฐานวาสรางในชวงคริสตศตวรรษที่ 7-9 หรือ พุทธศักราช 1393 ตั้งอยูทางภาคกลาง
ของเกาะชวา บนที่ราบเกฑุ ทางฝงขวาใกลกับแมน้ําโปรโก หางจากยอกยาการตา ทาง
ตะวันตกเฉียงเหนือ 40 กิโลเมตร บุโรพุทโธสรางดวยหินภูเขาไฟประมาณ 2 ลานตารางฟุต
บนฐานสี่เหลี่ยม กวางดานละ 121 เมตร สูง 403 ฟุต เปนรูปทรงแบบปรามิด มีลานเปนชั้น
ลดหลั่นกัน 8 ชั้น และใน 8 ชั้นนั้น 5 ชั้นลางเปนลาน 4 เหลี่ยม 3 ชั้น บนเปนลานวงกลม
และบนลานกลมชั้งสูงสุดมีพระสถูปตั้งสูงขึ้นไปอีก 31.5 เมตร เปนมหาสถูปที่ระเบียงซอนกัน
เปนชั้นๆลดหลั่นกันไป
บุโรพุทโธ ไดรับการลงทะเบียนมรดกโลก ในป พ.ศ. 2534

ประเทศในกลุมอาเซียน
เนการาบรูไนดารุสซาลาม (NEGARA BRUNEI DARUSSALAM)
พื้นที:่ 5,765 ตารางกิโลเมตร ตั้งอยูบนเกาะบอรเนียว
เมืองหลวง : บันดาร เสรี เบกาวัน
ประชากร: 395,027 คน
ภาษาราชการ : มาเลย (Malay หรือ Bahasa Melayu)
ศาสนา: อิสลาม (67%) พุทธ (13%) คริสต (10%) และฮินดู (10%)
ระบอบการปกครอง : สมบูรณาญาสิทธิราชย โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีเปนองค
ประมุขผูนํารัฐบาล รัฐมนตรีวาการกระทรวงกลาโหม และรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลัง
วันชาติ 23 กุมภาพันธ
หนวยเงินตรา : บรูไนดอลลาร ( 1 บรูไนดอลลาร ประมาณ 24.07 บาท)
ดอกไมประจําชาติ : ดอก Simpor (Dillenia Suffruticosa) เปนดอกไมที่มีกลีบ
ดอกขนาดใหญสีเหลือง เมื่อบานเต็มที่กลีบดอกจะบานคลายกับรม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 232 ~

ขอมูลทางเศรษฐกิจ
สินคานําเขาสินคา : เครื่องจักรอุตสาหกรรม รถยนต เครือ่ งใชไฟฟา สินคาเกษตร
อาที ขาวและผลไม
สินคาสงออกสําคัญ : น้ํามันดิบ กาซธรรมชาติ
ตลาดสงออกที่สําคัญ : ญี่ปุน อาเซียน เกาหลีใต ออสเตรเลีย
ตลาดนําเขาที่สําคัญ : อาเซียน สหภาพยุโรป สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน
ราชอาณาจักรกัมพูชา (KINGDOM OF CAMBODIA)
พื้นที่ : 181,035 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงพนมเปญ
ประชากร : 14.45 ลานคน
ภาษาราชการ : ภาษาเขมร
ศาสนา : พุทธเถรวาท (มหานิกาย 90% และธรรมยุตินิกาย 10%)
ระบอบการปกครอง : ระบอบประชาธิปไตยแบบรัฐสภา โดยมีพระมหากษัตริยเปน
ประมุขภายใตรัฐธรรมนูญ
ประมุข : พระบาทสมเด็จพระบรมนาถนโรดม สีหมุนี
วันชาติ : 9 พฤศจิกายน
หนวยเงินตรา : เรียล (1 เรียล ประมาณ 0.0083 บาท)
ดอกไมประจําชาติ : ดอก Rumdul หรือดอกลําดวน เปนดอกสีขาวเหลืองอยูบนใบ
เดี่ยว มีกลิ่นหอมชวงเวลาค่ํา
ขอมูลทางเศรษฐกิจ
สินคานําเขาสําคัญ : ผลิตภัณฑปโตรเลียม วัสดุกอสราง เครื่องจักร ยานพาหนะ
เครื่องใชไฟฟา เครือ่ งดื่ม ผาผืน และผลิตภัณฑยาง
สินคาสงออกสําคัญ : เสื้อผา สิ่งทอ รองเทา ปลา ไม ยางพารา บุหรี่ และขาว
ตลาดสงออกที่สําคัญ: สหรัฐอเมริกา เยอรมนี สหราชอาณาจักร แคนาดา และ
เวียดนาม
ตลาดนําเขาที่สําคัญ : จีน ฮองกง เวียดนาม ไทย และไตหวัน

สาธารณรัฐอินโดนีเซีย (REPUBLIC OF INDONESIA)


พื้นที่ : 5,070,606 ตารางกิโลเมตร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 233 ~

เมืองหลวง: กรุงจาการตา
ประชากร : 245.5 ลานคน
ภาษาราชการ : บารฮาซา อินโดนีเซีย
ศาสนา : อิสลาม (88%) คริสต (8%) ฮินดู (2%) พุทธ (1%) อื่นๆ (1%)
ระบอบการปกครอง : ระบอบสาธารณรัฐแบบประชาธิปไตย มีประธานาธิบดีเปน
ประมุข
ประมุข : ดร. ซูซีโล บัมบัง ยูโดโยโน
วันชาติ : 17 สิงหาคม
หนวยเงินตรา: รูเปยห (10,000 รูเปยห ประมาณ 38 บาท)
ดอกไมประจําชาติ : ดอก Moon Orchid หรือกลวยไมราตรี เปนกลวยไมสายพันธ
Phalaenopsis Amabilis
ขอมูลทางเศรษฐกิจ
สินคานําเขาสําคัญ: น้ํามัน เหล็ก ทอเหล็กและผลิตภัณฑเหล็ก สิ่งทอ เคมีภัณฑ
สินคาสงออกที่สําคัญ: กาซธรรมชาติ แรธาตุ ถานหิน ผลิตภัณฑจากไม
ตลาดนําเขาที่สําคัญ: สิงคโปร ญีป่ ุน จีน สหรัฐอเมริกา
ตลาดสงออกสินคาทีส่ ําคัญ : EU ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา จีน สิงคโปร

สาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว
(THE LAO PEOPLE'S DEMOCRATIC REPUBLIC)
พื้นที่ : 236,880 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : นครหลวงเวียงจันทร
ประชากร : ประมาณ 6 ลานคน
ภาษาราชการ : ภาษาลาว
ศาสนา : พุทธ (75%) อื่นๆ (16-17%)
ระบอบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยม
ประมุข: พลโท จูมมาลี ไซยะสอน ประธานประเทศ สปป. ลาว
วันชาติ : 2 ธันวาคม
หนวยเงินตรา : กีบ (1 บาท เทากับประมาณ 250 กีบ)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 234 ~

ดอกไมประจําชาติ : ดอก Champa หรือดอกลีลาวดี มีกลิ่นหอมและมีหลายสี เชน


สีแดง สีเหลือง สีชมพู และโทนสีออนตางๆ เปนตัวแทนของความจริงใจและความสุขในชีวิต
ขอมูลทางเศรษฐกิจ
สินคานําเขาสําคัญ : รถจักรยานยนตและสวนประกอบเครือ่ งใชไฟฟา เครื่อง
อุปโภคบริโภค
สินคาสงออกที่สําคัญ : ไมซุง ไมแปรรูป ผลิตภัณฑไม สินแร เศษโลหะ ถานหิน
เสื้อผาสําเร็จรูป
ตลาดนําเขาที่สําคัญ : ไทย จีน เวียดนาม สิงคโปร ญี่ปุน ออสเตรเลีย เยอรมนี
ตลาดสงออกสินคาทีส่ ําคัญ : ไทย เวียดนาม ฝรั่งเศส ญีป่ ุน เยอรมนี สหรัฐอเมริกา
สหราชอาณาจักรเนเธอรแลนด

มาเลเซีย ( MALAYSIA)
พื้นที:่ 329,758 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง: กรุงกัวลาลัมเปอร
ประชากร : 28.9 ลานคน
ภาษาราชการ : มาเลย
ศาสนา : อิสลาม (60%) พุทธ (19%) คริสต (12%) อื่นๆ (9%)
ระบอบการปกครอง : สหพันธรัฐ โดยมีสมเด็จพระราชาธิบดีเปนประมุข
ประมุข : สมเด็จพระราชาธิบดีสุลตานตวนกู อับดุล ฮาลิม มูอัซซอม ซาห
วันชาติ : 31 สิงหาคม
หนวยเงินตรา : ริงกิต (1 ริงกิตประมาณ 10.22 บาท)
ดอกไมประจําชาติ : ดอก Bunga raya หรือดอกพูระหง โดยทั้ง 5 กลีบดอกเปน
ตัวแทน 5 หลักการแหงความเปนชาติของมาเลเซีย ซึ่งเปนปรัชญาเพือ่ เสริมสรางความเปน
ปกแผนและความอดทนในชาติ
ขอมูลทางเศรษฐกิจ
สินคานําเขาสําคัญ : ชิน้ สวนอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เครื่องจักร
อุตสาหกรรม สินคาแปรรูป สินคาอาหาร
สินคาสงออกที่สําคัญ : อุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส น้ํามันดิบ กาซธรรมชาติ
เหลว ปโตรเลียม เฟอรนเิ จอร ยา น้ํามันปาลม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 235 ~

ตลาดนําเขาที่สําคัญ : ญี่ปุน จีน สิงคโปร สหรัฐอเมริกา ไตหวัน ไทย


ตลาดสงออกสินคาทีส่ ําคัญ : สหรัฐอเมริกา สิงคโปร ญีป่ ุน จีน ไทย ฮองกง

สาธารณรัฐแหงสหภาพเมียนมาร
(REPUBLIC OF THE UNION OF THE MYANMAR)
พื้นที:่ 657,740 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : นครเนปดอร
ประชากร : 57.5 ลานคน
ภาษาราชการ พมา
ศาสนา : พุทธ (90%) คริสต (5%) อิสลาม (3.8%) ฮินดู (0.05%)
ระบอบการปกครอง : ระบบประธานาธิบดี
ประมุข : พลเอก เต็ง เสง
วันชาติ : 4 มกราคม
หนวยเงินตรา : จั๊ต (1 USD ประมาณ 1,200 จั๊ต)
ดอกไมประจําชาติ : ดอก Paduak หรือดอกประดู ผลิดอกสีเหลืองทอง และสงกลิ่น
หอมหลังฤดูฝนแรกของเดือนเมษายน
ขอมูลทางเศรษฐกิจ
สินคานําเขาสําคัญ : ชิ้นสวนอุปกรณไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส เครื่องจักร
อุตสาหกรรม สินคาแปรรูป สินคาอาหาร
สินคาสงออกที่สําคัญ : กาซธรรมชาติ สิ่งทอ ไมซุง
ตลาดนําเขาที่สําคัญ : จีน สิงคโปร ไทย
ตลาดสงออกสินคาทีส่ ําคัญ : ไทย อินเดีย จีน

สาธารณรัฐฟลิปปนส (REPUBLIC OF THE PHILIPPINES)


พื้นที่ : 298,170 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงมะนิลา
ประชากร : 98 ลานคน
ภาษาราชการ : ตากาลอก และภาษาอังกฤษ
ศาสนา : โรมันคาทอลิก (83%) โปรเตสแตนท (9%) อิสลาม (5%) อื่นๆ (3%)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 236 ~

ระบอบการปกครอง : สาธารณรัฐเดี่ยวระบบประธานาธิบดี
ประมุข : เบนิกโน อากีโน ที่ 3
หนวยเงินตรา : เปโซ ( 100 เปโซ ประมาณ 49 บาท)
ดอกไมประจําชาติ : ดอก Sampaguita Jasmine มีกลีบดอกรูปดาวสีขาวที่บาน
ตลอดป แยมดอกตอนกลางคืน และมีกลิ่นหอม
ขอมูลทางเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรมหลัก : เสื้อผา ยา เคมีภัณฑ ผลิตภัณฑไม และอาหารแปรรูป
ตลาดนําเขาที่สําคัญ : สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน สิงคโปร ไตหวัน จีน เกาหลีใต
ตลาดสงออกสินคาทีส่ ําคัญ : สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน จีน เนเธอรแลนด ฮองกง
สิงคโปร

สาธารณรัฐสิงคโปร (REPUBLIC OF SINGAPORE)


พื้นที:่ 694.4 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : สิงคโปร
ประชากร : 4.6 ลานคน
ภาษาราชการ : ภาษาอังกฤษ ภาษาจีนกลาง ภาษามาเลย ภาษาทมิฬ
ศาสนา : พุทธ (42.5%) อิสลาม (14.9%) คริสต (14.6%) ฮินดู (4%) ไมนับถือศาสนา (24%)
ระบอบการปกครอง : ระบบสาธารณรัฐแบบรัฐสภา มีประธานาธิบดีเปนประมุข
ประมุข : นายโทนี่ ตัน เค็ง ยัม
นายกรัฐมนตรี : ลี เซียนลุง
หนวยเงินตรา : ดอลลารสิงคโปร ( 1 ดอลลารสิงคโปร ประมาณ 24.39 บาท)
ดอกไมประจําชาติ : ดอก Vanda Miss Joaquim เปนดอกกลวยไมซึ่งเปนที่รูจัก
มากที่สุดในประเทศสิงคโปร โดยตั้งชื่อตามผูผสมพันธุ มีสมี ว งและรูปลักษณที่สวยงาม
ขอมูลทางเศรษฐกิจ
อุตสาหกรรมหลัก : การผลิต การกอสราง การคมนาคมขนสงและโทรคมนาคม
การเงินและการธนาคาร การบริการอื่นๆ
สินคาสงออกที่สําคัญ : เครื่องจักรกล เครื่องใชไฟฟา เคมีภัณฑ เสือ้ ผา
สินคานําเขาที่สําคัญ : เครื่องจักรกล ชิ้นสวนอุปกรณ ไฟฟา น้ํามันดิบ เคมีภัณฑ
ผลิตภัณฑอาหาร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 237 ~

ตลาดนําเขาที่สําคัญ : มาเลเซีย สหรัฐอเมริกา ฮองกง จีน ญี่ปุน ไตหวัน และไทย

ราชอาณาจักรไทย (KINGDOM OF THAILAND)


พื้นที่ : 513,115.02 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงเทพมหานคร
ประชากร : ประมาณ 64 ลานคน
ภาษาราชการ : ภาษาไทย
ศาสนา : พุทธ (94.6%) อิสลาม (4.6%) คริสต (0.7%) อื่นๆ (0.1%)
ระบอบการปกครอง : ระบอบประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
ประมุข : พระบาทสมเด็จพระปรมินทรมหาภูมิพลอดุลยเดช
หนวยเงินตรา : บาท
ดอกไมประจําชาติ : ดอก Ratchaphruek หรือราชพฤกษ มีชอดอกสีเหลืองที่
สวยงาม ชาวไทยถือวาสีเหลืองของดอกไมชนิดนี้ คือ สีของพระพุทธศาสนา และความ
รุงโรจน
ขอมูลทางเศรษฐกิจ
สินคาสงออกที่สําคัญ : เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณและสวนประกอบรถยนต
อุปกรณและสวนประกอบแผงวงจรไฟฟา ยางพารา เม็ดพลาสติก อัญมณีและเครื่องประดับ
น้ํามันสําเร็จรูป เหล็ก เหล็กกลา ผลิตภัณฑเครื่องรับวิทยุโทรทัศน สวนประกอบเคมีภัณฑ
และขาว
สินคานําเขาที่สําคัญ : น้ํามันดิบ เครื่องจักรกลและสวนประกอบ เครื่องจักรไฟฟา
และสวนประกอบ เคมีภณ ั ฑ สินแรโลหะอื่นๆ อัญมณี เงินแทงและทองคํา
ตลาดนําเขาที่สําคัญ : ญี่ปุน จีน สหรัฐอเมริกา มาเลเซีย สหรัฐอาหรับเอมิเรตส
ตลาดสงออกที่สําคัญ : สหรัฐอเมริกา ญี่ปุน จีน สิงคโปร ฮองกง

สาธารณรัฐสังคมนิยมเวียดนาม (SOCIALIST REPUBLIC OF VIETNAM)


พื้นที่ : 331,690 ตารางกิโลเมตร
เมืองหลวง : กรุงฮานอย
ประชากร : ประมาณ 89.57 ลานคน
ภาษาราชการ : ภาษาเวียดนาม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 238 ~

ศาสนา : พุทธ (มหายาน)


ระบอบการปกครอง : ระบอบสังคมนิยม
ประธานาธิบดี : เจือง เติ๋น ซาง
หนวยเงินตรา : ดอง ( 1,000 ดอง ประมาณ 1.10 บาท)
วันชาติ : 2 กันยายน
ดอกไมประจําชาติ : ดอก Lotus หรือ ดอกบัว สําหรับชาวเวียดนามแลว ดอกบัวคือ
สัญลักษณของความบริสุทธิ์ ความผูกพัน และการมองโลกในแงดี เปน 1 ใน 4 พันธไมที่มี
ความสงางามของชาวเวียดนาม ซึ่งประกอบดวย ตนสน ตนไผ ตนเบญจมาศ และดอกบัว
ขอมูลทางเศรษฐกิจ
สินคาสงออกที่สําคัญ : น้ํามันดิบ เสื้อผาและสิ่งทอ อาหารทะเล ยางพารา ขาว
กาแฟ รองเทา
สินคานําเขาที่สําคัญ : วัตถุดิบ วัสดุสิ่งทอ เครื่องหนัง เครื่องจักร ผลิตภัณฑ
ปโตรเลียม
ตลาดนําเขาที่สําคัญ : สิงคโปร ญี่ปุน ไตหวัน เกาหลีใต จีน
ตลาดสงออกที่สําคัญ : ญี่ปุน สหรัฐอเมริกา จีน สหภาพยุโรป

 วัฒนธรรมไทย และขนบธรรมเนียมประเพณีไทย

วัฒนธรรมและประเพณีไทย
การที่มนุษยมาอยูรวมกันเปนกลุมเปน สังคมขึ้นมายอมตองมีความสัมพันธระหวาง
สมาชิกของกลุมมีระเบียบแบบแผนที่ ควบคุมพฤติกรรมของบุคคลในกลุมใหอยูในขอบเขตที่
จะอยูรวมกันอยางมีความ สงบสุข สิ่งที่เปนเครื่องมือในการควบคุมพฤติกรรมของกลุมคนนี้
เราเรียกวา "วัฒนธรรม" ดังนั้น วัฒนธรรมจึงเปรียบเสมือนอาภรณหอหุมรางกายตกแตงคน
ใหนาดูชม วัฒนธรรมเปนสิ่งที่ตองควบคูกับคนเสมอไป
"วัฒนธรรมมีความหมายครอบคลุมทุกสิ่งทุกอยาง ที่แสดงออกถึงวิถีชีวิตของมนุษย
ในสังคมกลุมใดกลุมหนึ่ง หรือสังคมใดสังคมหนึ่ง มนุษยไดคิดสรางระเบียบกฎเกณฑใชใน
การปฏิบัติ การจัดระเบียบตลอดจนระบบความเชื่อ คานิยม ความรู และเทคโนโลยีตาง ๆ ใน
การควบคุมและใชประโยชนจากธรรมชาติ"

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 239 ~

"วัฒนธรรมคือความเจริญกาวหนาของมนุษย หรือลักษณะประจําชนกลุมใดกลุมหนึ่ง
ที่อยูในสังคม ซึ่งไมเพียงแตจะหมายถึงความสําเร็จในดานศิลปกรรมหรือมารยาททางสังคม
เทานั้น กลาวคือ ชนทุกกลุมตองมีวัฒนธรรม ดังนั้น เมื่อมีความแตกตางระหวางชนแตละ
กลุม ก็ยอมมีความแตกตางทางวัฒนธรรมนั่นเอง เชน ชาวนาจีน กับชาวนาในสหรัฐอเมริกา
ยอมมีความแตกตางกัน
"วัฒนธรรมคือสิ่งที่มนุษยเปลี่ยนแปลงหรือปรับปรุงหรือผลิตสรางขึ้น เพื่อความเจริญ
งอกงามในวิถีชีวิตและสวนรวม วัฒนธรรมคือวิถีแหงชีวิตของมนุษยในสวนรวมที่ถายทอด
กันได เรียนกันได เอาอยางกันได วัฒนธรรมจึงเปนผลผลิตของสวนรวมที่มนุษยไดเรียนรูมา
จากคนสมัยกอน สืบตอกันมาเปนประเพณี วัฒนธรรมจึงเปนทั้งความคิดเห็นหรือการกระทํา
ของมนุษยในสวนรวมที่เปนลักษณะเดียวกัน และสําแดงใหปรากฏเปนภาษา ความเชื่อ
ระเบียบประเพณี
พระราชบัญญัติ วัฒนธรรมแหงชาติพุทธศักราช 2485 แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2)
พุทธศักราช 2486 ไดใหความหมายของวัฒนธรรมไวดังนี้
วัฒนธรรม คือ ลักษณะที่แสดงถึงความเจริญงอกงาม ความเปนระเบียบเรียบรอย
ความกลมเกลียวกาวหนาของชาติ และศีลธรรมอันดีของประชาชน
วัฒนธรรม จึงเปนลักษณะพฤติกรรมตางๆ ของมนุษยซ่ึงเปนวิถีชีวิตของมนุษย ทั้ง
บุคคลและสังคมที่ไดวิวัฒนาการตอเนื่องมาอยางมีแบบแผน แตอยางไรก็ดีมนุษยนั้นไมได
เกาะกลุมอยูเฉพาะในสังคมของตนเอง ไดมีความสัมพันธติดตอกับสังคมตางๆ ซึ่งอาจอยู
ใกลชิดมีพรมแดนติดตอกัน หรือยูปะปนในสถานที่เดียวกันหรือ การที่ชนชาติหนึ่งตกอยูใต
การปกครองของชนชาติหนึ่ง มนุษยเปนผูรูจัก เปลี่ยนแปลงปรับปรุงสิ่งตาง ๆ จึงนําเอา
วัฒนธรรมที่เห็นจากไดสัมพันธติดตอมาใชโดยอาจรับมาเพิ่มเติมเปน วัฒนธรรมของตนเอง
โดยตรงหรือนําเอามาดัดแปลงแกไขใหสอดคลองเหมาะสมกับสภาพ วัฒนธรรมที่มีอยูเดิม
ในปจจุบันนี้จึงไมมีประเทศชาติใดที่มีวัฒนธรรมบริสุทธิ์อยางแทจริง แตจะมี
วัฒนธรรมที่มีพื้นฐานมาจากความรู ประสบการณที่สังคมตกทอดมาโดยเฉพาะของสังคมนั้น
และจากวัฒนธรรมแหลงอื่นที่เขามาผสมปะปนอยู และวัฒนธรรมไทยก็มีแนวทางเชนนี้
การเผยแพรทางวัฒนธรรม (Cultural diffusion) วัฒนธรรมทาง หนึ่ง ยอม
แตกตางไปจากวัฒนธรรมทางสังคมอื่น ๆ ทั้งนี้เพราะวัฒนธรรมมิไดเกิดขึ้นมาใน ภาชนะ ที่
ถูกผนึกตราบเทาที่มนุษย เชน นักทองเที่ยว พอคา ทหาร หมอสอนศาสนา และผูอพยพ
ยังคง ยายถิ่นที่อยูจากแหงหนึ่งไปยังแหงอื่น ๆ เขาเหลานั้นมักนําวัฒนธรรมของพวกเขาติด
ตัว ไปดวย เสมอ ซึ่งถือไดวา เปนการเผยแพรทางวัฒนธรรม เปนไปไดอยางสะดวกรวดเร็ว

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 240 ~

และกวางขวาง ประจักษ พยานในเรื่องนี้จะเห็นไดวาน้ําอัดลมชื่อตาง ๆ มีอยูทั่วทุกมุมโลก


วัฒนธรรมของสังคมอื่น ซึ่งไดเผยแพรเขามาในสังคมไทยก็คือ
ศาสนาพราหมณ
ไดเผยแพรเขามาในสังคมไทย โดยผาน ทางเขมร อินโดนีเซีย และมลายู อันเปนที่มา
ของประเพณีตางๆ ซึ่งไดรับการปฏิบัติกันอยูในสังคมไทย เชน ประเพณีสงกรานต ประเพณี
อาบน้ําในพิธีการตางๆ ไดแก อาบน้ําในพิธีปลงผมไฟ อาบน้ํา ในพิธีโกนจุก การอาบน้ําใน
พิธีการแตงงาน และการอาบน้ําศพ เปนตน
พุทธศาสนา
ไดเผยแพรเขามาในสังคมไทย โดยผานทาง ประเทศ จีน พมา และลังกา พุทธศาสนา
ไดเปนศาสนาประจําชาติไทย ซึ่งกอใหเกิดประเพณีมากมาย หรือ อาจกลาวไดวาพุทธ
ศาสนาผูกพันกับวิถีชีวิตของคนไทยตั้งแตเกิดจนตาย ประเพณีที่สําคัญ ๆ ไดแก การกอ
พระเจดียทราย การทอดกฐิน และการบวชนาค เปนตน
วัฒนธรรมตะวันตก
ที่มาของวัฒนธรรมไทยอีกแหลงหนึ่งก็คือ วัฒนธรรมตะวันตกซึ่งไดหลั่งไหลเขามาใน
สังคมไทย อันเปนผลสืบเนื่องมาจากความสะดวก รวดเร็วของการติดตอสื่อสารคมนาคมและ
สื่อมวลชน วัฒนธรรมตะวันตกที่ไดเผยแพรเขามา ก็ไดแก มรรยาทในการสังคม เชน การ
สัมผัสมือ (shake hand) การกีฬา เชน รักบี้ ฟุตบอล และการแตงกายแบบสากล อันไดแก
ผูกเน็คไท สวมเสื้อนอก เปนตน (อานนท อาภาภิรม, 2519 : 105-107)
เอกลักษณของวัฒนธรรมไทย
ศาสนา
ศาสนาเปนสถาบันที่สําคัญควบคูกับสังคมมนุษยมาตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบันนี้ ไมวา
สังคมของชนชาติใด หรือภาษาใด เพราะศาสนาเปนสิ่งที่มากับชีวิตมนุษยทุกคน และมีความ
สัมพันธ ตอปรากฏการณตาง ๆ ในสังคมมนุษยเปนอยางมาก เนื่องจากศาสนา เปนสื่อ
ระหวาง มนุษยกับปรากฏการณทางธรรมชาติที่มีอํานาจเหนือมนุษย ฉะนั้นศาสนาจึงเปนที่
รวมของความ เคารพนับถือสูงสุดของมนุษยเปนที่พึ่งทางดานจิตใจ และเปนแนวทางในการ
ดําเนินชีวิต เพื่อให เขาถึงสิ่งสูงสุดตามอุดมการณหรือความเชื่อถือนั้น ๆ และศาสนาเปนสิ่ง
ที่มีอิทธิพลตอการสราง สรรควัฒนธรรมดานอื่น ๆ แทบทุกดาน เชน วัฒนธรรมทางการเมือง
การปกครองเศรษฐกิจ ศิลปกรรม วรรณกรรม และขนบธรรมเนียมประเพณีตาง ๆ
พุทธศาสนากับชีวิตประจําวันของคนไทย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 241 ~

คนไทยมีความสัมพันธกับพระพุทธศาสนามาเปนเวลานานนับพันปเศษมาแลว พุทธ
ศาสนิกชนทั้งหลายมีความรูสึกเคารพและศรัทธาในพุทธศาสนาฝงอยูในสายเลือดของคน
ไทยมา ตั้งแตเกิดจนตาย พุทธศาสนาเปนศาสนาที่จําเปนตอสังคมไทยเปนอยางมาก เพราะ
ศาสนาพุทธ ไดผูกมัดจิตใจคนไทยทั้งชาติใหเปนคนรักสันติ รักอิสระเสรี มีนิสัยโอบออม
อารี มีความเมตตา กรุณา เอื้อเฟอเผื่อแผตอเพื่อนมนุษยดวยกัน พุทธศาสนาไดฝงรากลง
ในจิตใจของ คนไทยทั้งใน อดีตและปจจุบัน คนไทยจึงไดแสดงออกทางศิลปกรรมตาง ๆ เชน
จิตรกรรมมักจะเปนเรื่องราว เกี่ยวกับชาดกตาง ๆ ในพุทธประวัติดานสถาปตยกรรมก็มีการ
สรางวัดวาอารามตาง ๆ โบสถ วิหาร เจดีย เปนตน สวนดนตรีไทยก็ใหความเยือกเย็นตาม
แนวทางสันติของพุทธศาสนา ดวยอิทธิพลของ หลักธรรมในพระพุทธศาสนาทําใหจิตใจของ
คนไทยแสดงออกมาในลักษณะที่เยือกเย็นมีความเกื้อกูลปรองดองกัน ใหการพึ่งพาอาศัยซึ่ง
กันและกัน และทําใหคนไทยพอใจในการดํารงชีวิต อยาง สงบสุขมาจนกระทั่งทุกวันนี้
หลักคําสอนของพุทธศาสนา
คําสั่งสอนของพระพุทธเจา คือ "พระธรรม" ซึ่งพระพุทธองคทรง มุงสอน สําหรับ
บุคคลทุกประเภททั้งบรรพชิต และคฤหัสถ การสั่งสอนของพระพุทธเจา มุงผล ในทางปฏิบัติ
มากกวาทฤษฎี หลักคําสอนที่พระพุทธเจาทรงแสดงไวอาจจําแนกออกเปน 2 ระดับ
ดังนี้
โลกุตรธรรม
โลกุตรธรรมเปนธรรมชั้นสูงที่พระพุทธเจา ทรงสอนปญจวัคคียเปนครั้งแรก คือ
"อริยสัจสี่" หรือความจริงอันประเสริฐ 4 ประการ ไดแก ทุกข สมุทัย นิโรธ และมรรค
1) ทุกข คือ ความไมสบายกายไมสบายใจ อันเกิดจาก การเกิด การแก การเจ็บ และ
การตาย เชน การพลัดพรากจากคนรัก ความไมสมหวัง ความคับแคน ใจตาง ๆ การเจ็บไข
ไดปวย เปนตน ที่ทุกชีวิตทุกคนในสังคมตองประสบ
2) สมุทัย คือ เหตุที่ทําใหเกิดทุกข ไดแก ตัณหา 3 ประการคือ กามตัณหา
ภวตัณหา และวิภวตัณหา
- กามตัณหา คือ ความอยากไดในสิ่งที่นารักใคร
- ภวตัณหา คือ ความอยากมีอยากเห็น
- วิภวตัณหา คือ ความไมอยากมี ไมอยากเปน
3) นิโรธ คือ ความดับทุกขหรือการดับตัณหาและ ความ ทะเยอทะยานตาง ๆ
ใหหมดสิ้นไป

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 242 ~

4) มรรค คือ ขอปฏิบัติใหถึงความดับทุกข ไดแก มรรค 8 หรือ


มัชฌิมาปฏิปทา (ทางสายกลาง) ไดแก ปญญาชอบ ดําริชอบ เจรจาชอบ ทําการงานชอบ
เลี้ยงชีพชอบ ทําความเพียรชอบ ระลึกชอบ และตั้งใจชอบ

$ โลกียธรรม
โลกียธรรมเปนธรรมสําหรับปุถุชนชาวโลก ทั่วไป มีดังนี้
เบญจศีลและเบญจธรรม
เบญจศีล
1. เวนจากการฆาสัตว
2. เวนจากการลักทรัพย
3. เวนจากการประพฤติผิดในกาม
4. เวนจากการพูดเท็จ
5. เวนจากการดื่มสุราเมรัย
เบญจธรรม
1. มีเมตตากรุณา
2. เลี้ยงชีพชอบในทางที่ถูกตอง
3. มีความสํารวมระวังในกาม
4. พูดแตคาํ สัตยจริง
5. มีสติระวังรักษาตนไวเสมอ
พรหมวิหาร
คือ ธรรมประจําใจของผูประเสริฐ หรือ ผูมีจิตใจในอันดีงามประดุจดังพระพรหม มี
ดังนี้
- เมตตา ไดแก ความรัก ความปรารถนาดี ใหผูอื่น มีความสุข
- กรุณา ไดแก ความสงสาร อยากชวยเหลือผูอื่น ๆ ใหพนทุกข
- มุทิตา ไดแก พลอยชื่นชมยินดีเมื่อเห็น ผูอื่นมี ความ สุข
- อุเบกขา ไดแก ความวางใจเปนกลาง วางตนและ ปฏิบัติไปตามความเที่ยง
สังคหวัตถุ
คือ การสงเคราะหหรือ ธรรมแหงการ ยึด เหนี่ยวบุคคลใหเกิดความสามัคคีมี 4
ประการ คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 243 ~

- ทาน คือ การให การเสียสละ การเอื้อเฟอเผื่อแผ ชวยเหลือ แบงปนซึ่งกันและ


กันดวยสิ่งของหรือแนะนําใหความรู เปนตน
- ปยวาจา ไดแก วาจาที่ไพเราะออนหวาน ชี้แจง แนะนํา สิ่งที่เปนประโยชน
หรือชักจูงในสิ่งที่ดีงาม
- อัตถจริยา คือ การบําเพ็ญประโยชน ไดแก การ ชวยเหลือดวยแรงกาย
บําเพ็ญประโยชน รวมทั้งชวยแกไขปรับปรุงดานจริยธรรม
- สมานัตตตา ความมีเมตตา คือ การวางตน เสมอตนเสมอปลาย ใหความ
เสมอภาค รวมแกปญหาเพื่อใหเกิดประโยชนสุขแกสวนรวม

ฆราวาสธรรม
คือ หลักธรรมที่ใชปฏิบัติสําหรับ ผูครองเรือน มี 4 ประการ ไดแก
- สัจจะ ความจริงคือ ซื่อตรงตอกันทั้งการกระทํา วาจา และใจ ทั้งตอหนาและ
ลับหลัง
- ทมะ คือ การรูจักควบคุมจิตใจ ฝกหัดดัดนิสัย แกไขขอบกพรอง
ตาง ๆ ปรับตัวปรับใจเขาหากัน
- ขันติ ความอดทน ไดแก การมีจิตใจเขมแข็ง หนักแนน ไมวูวาม อดทนตอ
ความลวงล้ําก้ําเกินกัน ลําบากตรากตรํา ฝาฟนอุปสรรคตาง ๆ ไปดวยกัน
- จาคะ คือ การเสียสละ เอื้อเฟอเผื่อแผ ชวย เหลือ ซึ่งกันและกัน สามารถ
สละความสุขสวนตัวเพื่อคูครองได

$ ประเพณี
ประเพณีเปนการกระทํากิจกรรมทางสังคม ที่ถือปฏิบัติสืบตอกันมา ประเพณีใน
สังคมไทยเรานั้นมีมากมายลวนเปนมรดกมาจากบรรพบุรุษ จากสิ่งแวดลอมทางธรรมชาติ
และสังคม นับวาคนไทยในปจจุบันโชคดีที่มีแนวทางในการดําเนินชีวิตที่ดีงามไวใหปฏิบัติ
เปนแบบอยางใหแกลูกหลานสืบตอมาจนกระทั่งถึงทุกวันนี้
ความหมายของประเพณี
คําวา ประเพณี หมายถึง พฤติกรรมของมนุษยที่เลือกปฏิบัติตามคานิยมในทางที่ดี
งามและเปนที่พึงประสงคของคนสวนใหญ โดยปฏิบัติสืบทอดกันมาเรื่อยจนกลายเปนความ
เชื่อวาเปนสิ่งจําเปนและสําคัญจะตองปฏิบัติตาม ประเพณีแตละสังคมยอมแตกตางกันไป

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 244 ~

หากสังคมใดอยูไกลชิดกัน ประเพณียอมคลายคลึงกันได เพราะมีการไปมาหาสูกันทําให


ประเพณีเลื่อนไหลกันได ซึ่งประเพณีของสังคมยังเปนบอเกิดของวัฒนธรรมอีกดวย
ประเภทของประเพณี
เราอาจแบงประเพณีออกเปน 3 ประเภท ดังนี้
1. จารีตประเพณีหรือกฎศีลธรรม (Mores)
หมายถึงสิ่งที่สังคมใดสังคมหนึ่งยึดถือและปฏิบัติสืบกันมาอยางตอเนื่องและมั่นคง
เปนเรื่องของความถูก ผิด มีเรื่องของศีลธรรมเขามารวมดวย ใครฝาฝนหรือเฉยเมยถือวา
เปนการละเมิด กฎของสังคม ผิดประเพณีของสังคม จารีตประเพณีหรือกฎศีลธรรมของแตละ
สังคมยอมไมเหมือนกันสังคมไทยเห็นวา การมีความสําพันธกอนแตงงานเปนการผิดจารีต
ประเพณี แตชาวสวีเดนเห็นวาเปนเรื่องธรรมดา ดังนั้นจารีตประเพณีเปนเรื่องของแตละ
สังคม จะใชคานิยมของสังคมใดสังคมหนึ่งไปตัดสินสังคมอื่นไมได
2. ขนบธรรมเนียมหรือสถาบัน (Institution)
เปนระเบียบแบบแผนที่สังคมไดกําหนดไวแลวปฏิบัติสืบมา คือรูกันเองไมไดวางเปน
ระเบียบแบบแผนไววาควรปฏิบัติกันอยางไร มักใชคําวาสถานแทนขนบธรรมเนียมประเพณี
ซึ่งคนในสังคมมีความพอใจ เปนเรื่องที่ปฏิบัติสืบตอกันมา ม อกําหนดบังคับเอาไว เชน
สถาบันการศึกษา มีครู ผูเรียน เจาหนาที่ มีระเบียบการรับสมัครเขาเรียน การสอบไล
ประเพณีเกี่ยวกับการเกิดการบวช การแตงงาน การตาย มีกฎเกณฑของประเพณีวางไว แต
อาจเปลี่ยนแปลงไดเมื่อจําเปน
3. ธรรมเนียมประเพณีหรือประเพณีนิยม (Convention)
เปนแนวทางการปฏิบัติในการดําเนินชีวิตประจําวันที่ปฏิบัติกันมาจนเคยชิน แตตอง
ไมขัดแยงกัน เปนเรื่องที่ทุกคนควรทําแมมีผูฝาฝนหรือทําผิดก็ไมถือวาเปนเรื่องสําคัญ แต
อาจถูกตําหนิไววาไมมีมารยาท ไมรูจักกาลเทศะ เชน การแตงกาย การรับประทานอาหาร
การดื่มน้ําจากแกว
ลักษณะของประเพณีไทย
การศึกษารายละเอียดของประเพณี จะแยกเปน 2 ประเภท คือ ประเพณีเกี่ยวกับชีวิต
และประเพณีเกี่ยวกับเทศกาล
1. ประเพณีสวนบุคคล หรือประเพณีเกี่ยวกับชีวิต
เปนประเพณีเกี่ยวกับการสงเสริมความเปนสิริมงคลแกชีวิตตั้งแตเกิดจนตาย ไดแกประเพณี
การเกิด การบวช การแตงงาน การตาย การทําบุญในโอกาสตาง ๆ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 245 ~

1.1 ประเพณีการเกิด เปนเรื่องที่สังคมไทยใหความสําคัญ แลวแตความเชื่อของ


บุคคลหรือสังคมที่ตนอยู ซึ่งแตเดิมคนเชื่อในสิ่งลึกลับ พิธีกรรมจึงมีตั้งแตเริ่มตั้งครรภจน
คลอดเพื่อปองกันอันตรายแกทารก เชน ทําขวัญเดือน โกนผมไฟ พิธีลงอู ตั้งชื่อ ปูเปลเด็ก
โกนจุก (ถาไวจุก) เปนตน
1.2 ประเพณีการบวช ถือเปนสิ่งที่ชวยอบรมสั่งสอนใหเปนคนดี ตลอดจนทดแทน
บุญคุณพอแมผูใหกําเนิด ตัวผูบวชเองก็จะมีโอกาสไดศึกษาพระธรรมวินัย
- การบรรพชา คือ บวชเณร ตองเปนเด็กชายที่มีอายุตั้งแต 7 ขวบขึ้น
- การอุปสมบท คือ บวชพระ ชายที่บวชตองมีอายุครบ 20 ปบริบูรณ
1.3 ประเพณีการแตงงาน เกิดขึ้นภายหลังที่ผูชายบวชเรียนแลว เพราะถือวาไดรับ
การอบรมมาดีแลว เมื่อเลือกหาหญิงตามสมควรแกฐานะ ฝายชายก็ใหผูใหญไปสูขอฝาย
หญิงขั้นตอนตาง ๆ ก็เปนการหาฤกษยาม พิธีหมั่น พิธีแหขันหมาก กากรรดน้ําประสาทพร
การทําบุญ เลี้ยงพระ พิธีสงตัวเจาสาว เปนตน การประกอบพิธีตาง ๆ ก็เพื่อความเปนมงคล
ใหชีวิตสมรสอยูกันอยางมีความสุข
1.4 ประเพณีการเผาศพ ตามคติของพระพุทธศาสนา ถือวารางกายมนุษย
ประกอบดวยธาตุทั้ง 4 คือ
- ดิน (เนื้อ หนัง กระดูก)
- น้ํา (เลือด เหงื่อ น้ําลาย)
- ลม (อากาศหายใจเขา-ออก)
- ไฟ (ความรอนความอบอุนในตัว)
ดังนั้น เมื่อสิ้นชีวิตไปแลว สังขารที่เหลือจึงไมมีประโยชนอันใด การเผาเสียจึงเปนสิ่ง
ที่ดี ผูที่อยูเบื้องหลังไมหวงใย โดยมากมักเก็บศพไวทําบุญใหทานชั่วคราว เพื่อบรรเทาความ
โศกเศรา โดยปกติมักทําการเผาศพหลังทําบุญ 100 วันแลว เพราะไดทําบุญใหทานครบถวน
ตามที่ควรแลว
2. ประเพณีเกี่ยวกับสังคม หรือประเพณีสวนรวม
เปนประเพณีที่ประชาชนสวนใหญในสังคมถือปฏิบัติ ไดแก ประเพณีทําบุญขึ้นบานใหม
ประเพณีสงกรานต ประเพณีวันสําคัญทางพระพุทธศาสนา เปนตน ประเพณีสวนรวมที่คน
ไทยสวนมากยังนิยมถือปฏิบัติกัน เชน
2.1 ประเพณีสงกรานต เปนประเพณีที่กําเนิดจากประเทศอินเดีย เปนประเพณี
เฉลิมฉลองการเริ่มตนปใหม ไทยเราใชกันมาตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยเปนราชธานี วันเริ่มตนป
ใหมคือวันที่ 13 เมษายนของทุกป ถือปฏิบัติจนถึงป พ.ศ. 2483 รัฐบาลาจึงไดกําหนดให

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 246 ~

วันที่ 1 มกราคม เปนวันขึ้นปใหม ในวันสงกรานตจะมีการทําบุญ ตักบาตร ปลอยนก ปลอย


ปลา สรงน้ําพระพุทธรูป พระสงฆ รดน้ําดําหัวผูใหญ การเลนสาดน้ํากัน การเลนกีฬา
พื้นเมือง ปจจุบันยังเปนประเพณีนิยมเพื่อความบันเทิง สนุกสนาน ไดเยี่ยมพอแม ญาติพี่
นอง
2.2 ประเพณีเขาพรรษา สืบเนื่องมาจากอินเดียโบราณ กําหนดใหพระสงฆที่จาริก
ไปยังสถานที่ตาง ๆ กลับมายังสํานักของอาจารยในฤดูฝน เพราะลําบากแกการจาริก ยังได
ทบทวนความรู อุบาสก อุบาสิกาไดทําบุญถวายผาอาบน้ําฝน ถวายตนเทียน เพอให
พระสงฆใชในพรรษาชาวไทยนิยมถือปฏิบัติการเขาพรรษาแรก คือ ปุริพรรษา เริ่มตั้งแตวัน
1 ค เดือน 8 จนถึง วันขึ้น 15 ค่ําเดือน 11
2.3 ประเพณีการทอดกฐิน ทอดผาเมื่อพนพรรษาแลวจะมีประเพณีถวายผาพระ
กฐินแกพระสงฆ เพื่อผลัดเปลี่ยนกับชุดเดิม ซึ่งถือปฏิบัติมาตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัย
การทอดกฐิน เริ่มตั้งแต วันแรม 1 ค่ํา เดือน 11 จนถึงกลางเดือน 12 รวมเวลา 1
เดือน จะทอดกอนหรือหลังนี้ไมได
การทอดผาปา ประเพณีทอดผาปาเริ่มเมื่อรัชกาลที่ 4 ทรงทอดผาปาครั้งแรกที่วัดสระ
ปทุม การทอดผาปาไมมีกําหนดระยะเวลาเหมือนทอดกฐิน สามารถทอดไดทุกฤดูกาล
ประเพณีทองถิ่น
ไดแก ประเพณีที่นิยมปฏิบัติกันในแตละทองถิ่น หรือแตหละภูมิภาคของประเทศไทย
ดังนี้
- ภาคกลาง เชน ประเพณีอุมพระดําน้ํา ประเพณีวิ่งควาย ตักบาตรเทโว ทําขวัญขาว
เปนตน
- ภาคใต เชน ประเพณีบุญเดือนสิบ ประเพณีพระ ประเพณีชิงเปรต ประเพณีแหผา
ขึ้นพระธาตุ เปนตน
- ภาคเหนือ เชน ประเพณีสงกรานต ประเพณีรดน้ําดําหัว ประเพณีปอยสางลอง เปน
ตน
- ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ เชน ประเพณีไหลเรือไฟ ประเพณีบุญบั้งไฟ ประเพณีแห
เทียนพรรษา ประเพณีแหผีตาโขน เปนตน
ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยทุกภาค มีความสําคัญตอคนไทยในแตละภาค แสดงให
เห็นวาสังคมไทยเปนสังคมที่มีวัฒนธรรมเปนของตนเอง ซึ่งเปนเอกลักษณที่โดดเดน ควร
สงเสริมและอนุรักษไวเพื่อเปนมรดกของสังคมสืบไป

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 247 ~

( ความสําคัญของขนบธรรมเนียมประเพณีไทย
วัฒนธรรมประเพณีของชาติ ลวนแสดงใหเห็นถึงแนวความคิด ความเชื่อ ที่สะทอนถึง
วิถีการดําเนินชีวิต ความเปนมา ความสําคัญ ซึ่งลวนเปนสวนหนึ่งของอารยธรรมของไทย
ดังนั้นขนบธรรมเนียมประเพณีไทยจึงมีความสําคัญ พอสรุปไดดังนี้
1. ความเปนสิริมงคล ขนบธรรมเนียมประเพณีไทยนั้น ลวนเกี่ยวของกับ
พระพุทธศาสนาและพราหมณ พิธีกรรมตาง ๆ ที่ปฏิบัติสืบทอดกันมานั้น เปนความเชื่อใน
เรื่องของความเปนมงคลแกชีวิต
2. ความรักความสามัคคี ความเสียสละ ขนบธรรมเนียมประเพณีเปนเครื่องฝก
จิตใจใหรูจักเปนผูเสียสละ จะเห็นไดจากงานบุญตาง ๆ มกเกิดจากการรวมมือ รวมแรง รวม
ใจกัน เชน พิธีขนทรายเขาวัด การกอพระเจดียทราย ทําใหเกิดความรัก สามัคคี
3. การมีสัมมาคารวะ ถือเปนขนบธรรมเนียมประเพณีไทยอยางหนึ่ง แสดงถึงความ
นอบนอม ออนโยน ความมีมารยาทไทย
4. ขนบธรรมเนียมประเพณีไทย ชวยทําใหคนไทยอยูในกรอบที่ดีงาม ถือวาเปน
เครื่องกําหนดพฤติกรรมไดอยางหนึ่ง
5. ขนบธรรมเนียมประเพณีในแตละทองถิ่น ถึงแมวาจะแตกตางกัน แตทุกคนก็มี
ความรูสึกวาทุกคนเปนคนไทย มีความเปนชาติเดียวกัน และสามารถบงบอกถึงความเปนมา
ของชาติได

ประเพณีเกี่ยวกับสังคม
เปนประเพณีที่ประชาชนทั่วไปนิยมปฏิบัติรวมกัน มีดังนี้
1. ประเพณีสงกรานต
วันสงกรานต คือวันขึ้นปใหมตามทางสุริยคติ หมายความวา นับตามทางพระ
อาทิตย กลาวคือโลกที่เราอยูหมุนไป 1 รอบดวงอาทิตยก็เปน 1 ป ซึ่งตรงกับวันที่ 12
เมษายน ตรงกับเวลาฤดูรอนทางประเทศตะวันออก ไทยเราไดประเพณีนี้มาจากมอญ
วันสงกรานตเปนวันขึ้นปใหมตั้งแตสมัยกรุงสุโขทัยเปนราชธานีจนถึง พ.ศ. 2483
ทางราชการจึงไดเปลี่ยนใหม โดยกําหนดเอาวันที่ 1 มกราคม เปนวันขึ้นปใหมเพื่อให เขากับ
หลักสากลที่นานาประเทศนิยมปฏิบัติกัน อยางไรก็ตามแมจะมีการเปลี่ยนวันขึ้นปใหม
ประชาชนก็ยัง ยึดถือวาวันสงกรานตมีความสําคัญ
การรดน้ําสาดน้ําในวันสงกรานตนั้น เนื่องจากเปนเวลาฤดูรอน จึงใหพรกันดวยน้ํา
เพื่อใหรมเย็นเปนสุขกอนถึงวันสงกรานตมักจะมีการเตรียมอาหารคาวหวานสําหรับทําบุญ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 248 ~

อาหารที่เตรียมไว ไดแก อาหารคาว มักมีขนมจีนเปนหลัก สวนอาหารหวาน มักมีกะละแม


เปนหลัก นอกจากนี้จะมีการทําความสะอาดพระพุทธรูป หิ้งบูชา ตลอดจนทําความ สะอาด
บานเรือนทั้งภายในบานและนอกรั้วบาน
ในตอนเชาของวันที่ 13 เมษายน จะมีการทําบุญตักบาตร ฟงเทศน และบังสกุล
กระดูกของบรรพบุรุษ เสร็จแลวจึงกรวดน้ําอุทิศสวนกุศลแกผูที่ลวงลับไปแลว หรือผูมี
พระคุณ สรงน้ําพระ แหพระ ชักพระ รดน้ําผูใหญ รับศีลรับพรจากทาน ในเมืองบางแหง
อาจจะมีมหรสพตาง ๆ เพื่อความรื่นเริง หรือมีการปลอยนก ปลอยปลา เพื่อโปรดสัตวบาง
แหงก็ อาจ จะมีการประกวดเทพีสงกรานตขึ้นดวย เพื่อความสนุกสนาน
2. ประเพณีทําบุญวันสารท
คนไทยถือเอาวันขึ้นสิบหาค่ําเดือนสิบ หรือวันสิ้นเดือนสิบ เปนวัน ทําบุญ
กลางพรรษาและเรียกการทําบุญในวันนี้วา "ทําบุญวันสารท"
"สารท" เปนคํามาจากภาษาอินเดียที่หมายถึง ฤดูสารทหรือฤดู ที่พืชพันธธัญ
ชาติเริ่มสุก ชาวอินเดียถือวาควรมีพิธีรื่นเริงยินดี และทําพิธีบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ของเขา เพื่อให
พืชพันธธัญญาหารเจริญงอกงามอุดมสมบูรณตอไป แตในเทศกาลวันสารทของไทย เปนฤดู
ที่ขาวเพิ่งแตกรวง ชาวบานจึงปลูกขาวเหนียวไวเพื่อใหทันเก็บเกี่ยวแลวนําขาวเหนียวนั้นมา
ตําเปน ขาวเทา นํามากวนกับขาวตอก ถั่ว งา มะพราว และน้ําตาล เรียกวา "กระยา
สารท" (ปจจุบันการ กวนพระสารทเขาใชน้ําออยและนมสดผสมดวย เพื่อใหเกิดความมัน
และหอมหวานอรอยยิ่งขึ้น) เมื่อกวนกระยาสารทเสร็จแลวก็จัดแบงเปนสวน ๆ แลวเอา
ใบตองหอ (ปจจุบันไมใชใบตองแลว ใชถุงพลาสติกแทน) เพื่อนําไปตักบาตรถวายพระในวัน
สารท ทําบุญเสร็จแลวก็กรวดน้ํา อุทิศสวน กุศลใหแกบรรพบุรุษที่ลวงลับไปแลว ถือกันวาถา
ไมไดทําบุญตักบาตร "กระยาสารท" ผีปูยาตายายที่ตายไปจะไดรับความเดือดรอน อด ๆ
อยาก ๆ เทากับลูกหลานที่อยูหลังขาดการกตัญู ตอบุพการี สวนพระสงฆรับบาตรกระยา
สารทในวันนั้นแลวเมื่อฉันเสร็จก็ฉันพระยาสารทเปน ของ หวานในวันสารท ทางวัดจะจัดโตะ
และตั้งบาตรวางเรียงเปนแถวสําหรับใหชาวบานที่มาทําบุญตักบาตรนําหอกระยาสารทใสลง
ในบาตร ประเพณีตักบาตรอยางนี้สมัยกอนเรียกวา "ตักบาตร ธารณะ"
3. ประเพณีลอยกระทง
ประเพณีลอยกระทงตรงกับวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12 เชื่อกันวางาน ประเพณี
ลอยกระทง เผาเทียน เลนไฟ ถือกําเนิดขึ้นเปนครั้งแรกในสมัยกรุงสุโขทัยเปนราชธานี เมื่อ
ประมาณ 700 ปมาแลว โดยมีหลักฐานทางประวัติศาสตรตามศิลาจารึกหลักที่ 1 ที่กลาววา
"เมืองสุโขทัยนี้มีสี่ปากประตูหลวง เทียนยอมวนเสียดกัน เขามาดูทาน เผาเทียน ทานเลนไฟ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 249 ~

เมืองสุโขทัยนี้มีดังจักแตก" นอกจากนี้ยังปรากฏในหนังสือนางนพมาศหรือตํารับทาวศรีจุฬา
ลักษณ พระสนมเอกของสมเด็จพระรวงเจาแหงกรุงสุโขทัย ผูคิดทําโคมลอยเปนรูปดอก
กุมุท (ดอกบัว) ที่งามยิ่งกวาโคมลอยของพระสนมกํานัลทั้งปวง ทําใหเปนที่พอพระราช
หฤทัยของสมเด็จพระรวงเจา เปนอยางมากถึงกับทรงบัญญัติวา พระราชพิธีจองเปรียงในวัน
เพ็ญเดือนสิบสอง(ลอยกระทงใน ปจจุบัน) ในป ตอ ๆ ไปใหทําโคมลอยเปนรูปดอกบัวตาม
แบบอยางของนางนพมาศ ซึ่งพิธีจอง เปรียง นี้รวมไปพิธีลอยกระทงและตามประทีป
ดวย
การตามประทีป เปนการจุดเพื่อบูชาพระพุทธรูป พระเจดียตาม พุทธศาสนา
ตาง ๆ และเปนการบูชาเทพเจาตามเทวสถาน หรือสิ่งที่เคารพนับถือ ในพิธีกรรมสําคัญ หรือ
ในวันนักขัตฤกษตางๆ ตามแบบอยางของชาวชมพูทวีปที่ไดนํามาปรับปรุง ประยุกตใหเขา
กับพุทธศาสนาอยางกลมกลืน
การจุดประทีป หรือการตามประทีป ในสมัยกรุงสุโขทัยจะจุดจากภาชนะที่เรียกวา
"ตะคัน" ซึ่งเปนเครื่องปนดินเผาที่มีรูปรางคลายจานหรือถวยแตเล็กกวา ขางในบรรจุ
เชื้อเพลิงที่เปน ขี้ผึ้งหรือไขสัตวตางๆ และเปนสิ่งที่หาไดงายในสมัยนั้น โดยเรียกการจุด
ประทีปนี้วา "การเผาเทียน"
ประเพณีเกี่ยวกับศาสนา
ประเพณีทําบุญในวันสําคัญทางพุทธศาสนามีรากฐานมาจากความเชื่อในศาสนา
ดังนั้นพุทธศาสนิกชนจึงไดมีการปฏิบัติตามวันสําคัญทางศาสนาดังนี้
1. วันพระ เปนวันสําคัญของทางศาสนาวันหนึ่ง ซึ่งตรงกับวันที่ขึ้น 8 ค่ํา, 15 ค่ํา
และวันแรม 8 ค่ํา, 15 ค่ําของทุกเดือน จะมีการทําบุญฟงเทศนที่วัดจะมี 4 วันใน 1 เดือน
ตามวันขึ้น-แรมของทุกเดือนที่กลาวแลว เปดโอกาสใหพุทธศาสนิกชนไดทําบุญกุศล ชําระ
รางกาย จิตใจใหสะอาดบริสุทธิ์ อุทิศสวนกุศลใหบรรพบุรุษ และเจากรรมนายเวรของตน
จิตใจ จะไดสดชื่น แจมใส ปราศจากความทุกข หรือใหลดความทุกข กิเลส เศราหมองลง
เพราะมีความเชื่อจากเรื่องของกฎแหงกรรมนั่นเอง
2. วันมาฆบูชา ตรงกับวันเพ็ญ เดือน 3 เปนวันสําคัญทางพระพุทธศาสนาวันหนึ่งที่
พุทธศาสนิกชนพรอมใจกันทําบุญเพื่อระลึกถึงสัมมาสัมพุทธเจา ในวันนี้เปนวัน คลายวันที่
พระพุทธเจาทรงแสดงโอวาทปาติโมกข นับวาเปนวันที่พระพุทธศาสนาไดวางรากฐานมั่นคง
เรียกวันดังกลาววา"จาตุรงคสันนิบาต"หรือเปนวันที่พระพุทธเจาปลงสังขาร ซึ่งประกอบดวย
องค 4 คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 250 ~

1) พระภิกษุจํานวน 1,250 รูป มาประชุมกันเขาเฝาพระ พุทธเจาที่เวฬุวัน


กรุงราชคฤห โดยมิไดนัดหมายแตอยางใด
2) พระภิกษุเหลานี้ลวนเปนพระอรหันตทั้งสิ้น
3) พระภิกษุเหลานี้เปนเอหิภิกขุอุปสัมปทา คือ พระพุทธเจาทรง บวชให
ทั้งสิ้น
4) ในวันนั้น เปนวันเพ็ญพระจันทรเต็มดวง หรือเสวยมาฆะฤกษ
ในวันนี้พุทธศาสนิกชนจะทําบุญตักบาตร ไปวัด ฟงเทศน สวด มนต และเลี้ยงพระ
กลางคืนมีการเวียนเทียน
3. วันวิสาขบูชา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 เปนวันที่มีความ สําคัญวันหนึ่ง
ของพระพุทธเจา เพราะมีเหตุการณสําคัญที่เกี่ยวของกับพระพุทธเจา 3 ประการ คือ เปนวัน
คลายวันประสูติ ตรัสรู และปรินิพพาน ในวันนี้ชาวพุทธไดมีการทําบุญถวายอาหารรับศีล ฟง
ธรรม รักษาศีลอุโบสถ ตอนกลางคืนมีการเวียนเทียน
4. วันอาสาฬหบูชา ตรงกับวันเพ็ญขึ้น 15 ค่ํา เดือน 8 วันนี้มี ปรากฏการณที่
สําคัญ 3 ประการ คือ
1) เปนวันที่พระพุทธศาสนาไดอุบัติขึ้นในโลก
2) เปนวันแรกที่พระพุทธเจาทรงแสดงปฐมเทศนา "ธรรม จักรกัปปวัฒน
สูตร" แกปญจวัคคียทั้ง 5
3) เปนวันแรกที่พระอริยสงฆสาวกองคแรก บังเกิดขึ้นในโลก พระอัญญา
โกณทัญญะ ไดรับเปนเอหิภิกขุอุปสัมปทา
ในประเทศไทยเริ่มมีวันอาสาฬหบูชา ตั้งแต พ.ศ. 2501 โดยคณะสังฆมนตรี
ไดกําหนดขึ้น สําหรับวันนี้เรียกอีกอยางวา "วันธรรมจักร" พุทธศาสนิกชน ไดมี การทําบุญ
ตักบาตร รับศีล ฟงเทศน เวียนเทียน เชนเดียวกับวันมาฆบูชา วิสาขบูชา
5. วันเขาพรรษา ตรงกันวันแรม 1 ค่ํา เดือน 8 ซึ่งพระสงฆจะตอง อยูประจํา ณ
วัดใดวัดหนึ่งระหวางฤดูฝน กําหนดตั้งแตวันแรม 1 ค่ํา เดือน 8 ถึงวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 11
รวมเวลา 3 เดือนเต็ม
ในระยะเขาพรรษา พุทธศาสนิกชนที่มีคุณสมบัติครบถวน ตาม พุทธบัญญัติ
นิยมบวชพระสวน ผูที่อายุยังไมครบบวชผุปกครองจะนําไปฝากพระ โดยบวชเณรบาง เปน
ลูกศิษยวัดบาง พุทธศาสนิกชนอื่น ๆ นิยมตักบาตรหรือไปทําบุญที่วัด รับอุโบสถศีล ฟง
ธรรม ปจจุบันนี้ยังเพิ่มกิจกรรมบางประการ เชน งดดื่มเหลา หรือของเสพติดใหโทษ นับวา
เปนประโยชนแกตนเองและสังคมอยางยิ่ง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 251 ~

6. วันออกพรรษา ตรงกับวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 11 หมายถึงการออก จากการอยู


ประจําในฤดูฝน หลังจากที่พระภิกษุอยูจําพรรษาตลอดเวลา 3 เดือนแลว วันรุงขึ้นก็จะ
จารึกไปที่อื่นได สําหรับวันนี้พระสงฆตองแรมคืนอยูในวัดที่จําพรรษาเพื่อใหครบ 3 เดือนเต็ม
และทําปวารณาเสียกอน ฉะนั้นอาจเรียกวันออกพรรษาวา "วันปวารณา" ก็ได
7. ประเพณีทอดกฐิน เปนประเพณีทําบุญอยางหนึ่งของไทย ที่ทํา ในระยะเวลาที่
กําหนดใหในปหนึ่ง ๆ ระหวางวันแรม 1 ค่ํา เดือน 11 ถึงวันขึ้น 15 ค่ํา เดือน 12
ประเพณีการทอดกฐินของไทยมีหลักฐานวามีมาตั้งแตสมัยสุโขทัยและไดถือประเพณีสืบ
ตอกันมาจนถึงปจจุบันนี้ ซึ่งเปนทั้งกฐินที่พระมหากษัตริยทรงบําเพ็ญพระราชกุศล และกฐิน
ของราษฎร
8. ประเพณีทอดผาปา การทอดผาปาเปนประเพณีมีมา ตั้งแตสมัยพุทธกาล และ
เปนมรดกตกทอดมาจนถึงทุกวันนี้ ฤดูกาลของการทอดผาปาไมได กําหนดระยะเวลาลงไป
จะทอดในฤดูไหนเดือนไหนก็ได สวนใหญมักจะทําในระยะเวลาจวนจะออกพรรษา

$ วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น
คําวา "ทองถิ่น" หมายถึง พื้นที่และขอบเขตที่ชุมชน หมูบาน เมือง มีการปะทะสรรค
กันทางดานสังคม เศรษฐกิจ และวัฒนธรรม จนปรากฏรูปแบบทางวัฒนธรรมที่เหมือนกัน
และแตกตางกันไปจากชุมชน หมูบาน และเมือง ในทองถิ่นอื่น ดังนั้นวัฒนธรรมและประเพณี
ของท อ งถิ่ น แต ล ะแห ง อาจมี รู ป แบบแตกต า งกั น ไปตามสภาพทางภู มิ ศ าสตร
ทรัพยากรธรรมชาติและสภาพแวดลอม ซึ่งเราพอจะสรุปลักษณะสําคัญของวัฒนธรรมและ
ประเพณีทองถิ่นของไทยไดดังนี้
วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่นภาคกลาง
ภาคกลางเปนภาคที่มีประชาการสูงสุด โดยรวมพื้นที่อันเปนที่ตั้ง ของจังหวัด
มากกวาภูมิภาคอื่น ๆ ใชภาษากลางในการสื่อความหมายซึ่งกันและกัน วัฒนธรรมไทย
ทองถิ่นภาคกลาง ประชาชนประกอบอาชีพทํานา การตั้งถิ่นฐานจะหนาแนนบริเวณที่ราบลุม
แมน้ํา มีวิถีชีวิตเปนแบบชาวนาไทย คือ การรักพวกพอง พึ่งพาอาศัยกัน มีความเชื่อ และ
เคารพบุคคลสําคัญผูลวงลับไปแลว มีการใชเครื่องปนดินเผาตามชุมชนและหมูบานในชนบท
การละเลนพื้นบานที่เปนลักษณะเดน ไดแก มังคละรําเตน เตนกํารําเคียว เพลงปรบไก
เพลงลําตัด เปนตน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 252 ~

นอกจากนี้ในทองที่จังหวัดเพชรบุรี มีเอกลักษณที่โดดเดน คือมี ความสามารถใน


การปลูกสรางเรือนไทย ความเปนชวงฝมือที่ประณีตในการตกแตงวัด และชาง ประดิษฐ
ตางๆ เชน ชางทอง ชางแกะสลักลายไทย ลวดลายปูนปนประดับพระสถูปเจดีย
ชนกลุมนอยในทองถิ่นภาคกลาง มีหลายเผาพันธุ อาทิ ลาวโขง กระเหรี่ยง ใน
พื้นที่จังหวัดเพชรบุรี ลาวพวน ในอําเภอบานหมี จังหวัดลพบุรี คนลาว ในเขต จังหวัด
เพชรบุรี ปราจีนบุรี และฉะเชิงเทรา มอญ ในอําเภอพระประแดง จังหวัดสมุทรปราการ
ประเพณีรับบัวบางพลี
"ดอกบัว"นับวาเปนพันธไมชนิดหนึ่งที่ประชาชนคนไทยสวนใหญ ใหความนับถือ
โดยทั่วไป ในการนํามาใชสักการะบูชาสิ่งศักดิ์สิทธิ์ทั้งหลายตามความเชื่อถือทางพุทธศาสนา
ในอดีตที่ผานมานั้นพื้นที่บริเวณของอําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการ จะเปน แหลงที่มี
ดอกบัวพันธุ ดอกบัวหลวงเปนจํานวนมาก โดยเฉพาะในชวงของฤดูฝน ดังนั้นจึงมีการจัดหา
ดอกบัวหลวงที่มีมากมายมาใชในการบําเพ็ญกุศลตามพุทธสาสนาของคนไทย ในวันขึ้น 13
ค่ํา เดือน 11 ของทุกป ประชาชนในพื้นที่อําเภอเมืองสมุทรปราการ อําเภอพระประแดง
จังหวัดสมุทรปราการ และในพื้นที่จังหวัดใกลเคียงอื่น ๆ ก็มักจะมีการชักชวนกันพายเรือทั้ง
ขนาดใหญและขนาดเล็ก พรอมเครื่องดนตรีพื้นบานชนิดตาง ๆ พายเรือรองเพลงเดินทาง
มาตามลําคลองสําโรง มายังอําเภอบางพลี เพื่อรับบัว
สําหรับองคประกอบของการจัดงานประเพณีรับบัวของอําเภอบางพลี จังหวัด
สมุทรปราการ ที่มีความสําคัญคือการจัดใหมีการแหพระพุทธรูปของหลวงพอโต ที่ประชาชน
อําเภอบางพลีและประชาชนทั่วไปรูจักและใหความเคารพนับถือกันอยาง มาก โดยทางเรือ
ไปตามคลอง สําโรง อําเภอบางพลี จังหวัดสมุทรปราการไปจนถึงตําบลจรเขใหญ ในวันขึ้น
13 ค่ํา เดือน 11 ซึ่งก็จะมีประชาชนที่มีบานเรือนอยูตามสองฝงคลองสําโรงที่ขนานเรือแหรูป
ของหลวงพอโตจําลองแลนผานไปก็จะมีการประดับธงทิวตกแตงบานเรือนและตั้ง โตะหมู
บูชาสักการะไปตลอดทั้งสองฝงคลอง ดูสวยงามเปนระเบียบเรียบรอย
ประเพณีการตักบาตรดอกไม
ในวันเขาพรรษา คือวันแรม 1 ค่ํา เดือน 8 ชาวบานวัดพระ พุทธบาท จังหวัด
สระบุรี แถบนั้นมีคติเชื่อวาการบูชา พระรัตนตรัยดวยดอกไมธูปเทียน "อามิสบูชา" ในวัน
สําคัญทางพระพุทธศาสนานั้นยอมไดรับผลอานิสงสมากมาย ดังนั้นพอถึงวันเขาพรรษา
ชาวบานจะเก็บดอกไมปาซึ่งสวนใหญจะเปนพืชประเภทที่มีกอหรือเหงาฝงอยูใตดินเชนตน
กระชายหรือตนขมิ้น พืชไดรับความชุมชื่นจากฝนลําตนก็แตกยอดโผลขึ้นมาจากดิน สูง
ประมาณคืบเศษ ๆ ดอกมีขนาดเล็ก ออกเปนชอตรงบริเวณสวนยอดของลําตน หลายสีสัน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 253 ~

งามตามไดแกสีขาว สีเหลือง และสีเหลืองแซมมวง ชาวบานเรียกชื่อตางกันไปวา "ดอกยูง


ทอง" บางหรือ "ดอกหงสทอง" บาง แตที่นิยมเรียกรวมกันก็วา "ดอกเขาพรรษา" เพราะเห็น
วาดอกไมปาเหลานี้จะบานสะพรั่ง ใหเห็น อยางดาษดื่นก็เฉพาะในเทศกาลเขาพรรษานี่เอง
วัฒนธรรมและประเพณีทองถิ่น ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ
ภาคอีสานเปนศูนยรวมวัฒนธรรมอันเกาแก ซึ่งปจจุบันสามารถ แบงคนอีสานตาม
เชื้อสายบรรพบุรุษ ได 3 กลุมคือ
1) ลาว มีถิ่นฐานตั้งแตเขตจังหวัดมหาสารคาม รอยเอ็ด
2) ไทย มีถิ่นฐานต่ําลงมาในเขตจังหวัดนครราชสีมา กลุมนี้มีวัฒน- ธรรม ภาษา และ
ประเพณีแตกตางไปจากพวกลาวอีสาน
3) เขมร มีถิ่นฐานทางดานตะวันออกในเขตบุรีรัมย ศรีสะเกษ
กลุมคนในภาคอีสาน เปนผูรักษาขนบธรรมเนียมประเพณีอยางเครงครัด ยึดมั่นใน
พุทธศาสนา และวัฒนธรรมประจําทองถิ่น นับถือสิ่งศักดิ์สิทธิ์คูบานคูเมือง ซึ่งเปนศูนยรวม
ชาวอีสานตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน ไดแก
1) การเคารพในพระบรมสาริกธาตุ ซึ่งแสดงถึงความสัมพันธทางศาสนาที่มีความ
ผูกพันกับชาวลาวมาอดีต พระบรมธาตุของจังหวัดตาง ๆ ในภาคอีสาน ทั้งในเขต อีสาน
เหนือและอีสานใต จึงเปนศูนยรวมทางจิตใจของชาวอีสาน
2) การเคารพสักการะพระปรางคและปราสาทตาง ๆ กัน เปนศิลปะของขอมที่
ปรากฏในบริเวณอีสานใต แสดงถึงความผูกพันกับดินแดนของกัมพูชาในประวัติศาสตร
ดังเชน ปราสาทหินพิมาย ปราสาทเขาพนมรุง เปนตน
3) การเคารพสักการะอนุสาวรียทาวสุรนารีหรือยาโม ที่หนาประตู เมือง
นครราชสีมา จังหวัดนครราชสีมา
ภาคอีสานเปนที่รูจักแพรหลายทางดานศิลปะแบบเขมร โบราณวัตถุ และ
โบราณสถานที่สําคัญคือศิลาจําหลักทับหลังนารายณบรรทมสินธุ ปราสาทเขาพนมรุง
ปราสาท หินเมืองต่ําซึ่งไดรับการยกยองใหมีคุณคาทางศิลปกรรมและสถาปตยกรรมแบบ
เขมรและไดรับการจดทะเบียนเปนมรดกโลกที่สําคัญ
นอกจากนั้น ชาวอีสานเปนผูมีความสามารถในการ ทอผาไทยมา เปนเวลาชานาน
ภายหลังจากไดรับพระมหากรุณาธิคุณจาสมเด็จพระนางเจาพระบรมราชินีนาถ ในการ
สนับสนุนการทอผาไหมของชาวอีสาน สงผลใหมีการทอผาไทยที่มีคุณภาพสูง อาทิ ผาไหม
มัดหมี่ ผาทอพื้นเมืองลายขิด ผาไหมของชาวพูไทย จังหวัดนครพนม และผาไหมอําเภอมัก
ธงชัย เปนตน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 254 ~

ประเพณีฮีตสิบสอง
คําวา"ฮีต"หรือ"รีต"หรือ"จารีตประเพณี" หมายความวา "ประเพณี อันเนื่อง
ดวยศีลธรรมซึ่งคนสวนรวมถือวามีคาแกสังคม ใครประพฤติฝาฝนหรืองดเวน ไปไมกระทํา
ตามที่กําหนดไว ถือวาผิดเปนชั่ว" ฮีตสิบสองของชาวอีสานเปนฮีตที่บริสุทธิ์ เปนเรื่องของ
ความ เชื่อ ในพระพุทธศาสนาและประเพณีนิยมพื้นบาน เปนประเพณีที่สมาชิกในสังคมจะ
ไดมีโอกาสรวมชุมชนกันทําบุญประจําทุกๆเดือนของรอบป ผลที่ไดรับคือทุกคนจะไดมีเวลา
เขาวัดใกลชิดกับหลักธรรมทางพระพุทธศาสนายิ่งขึ้น ทําใหไดมีโอกาสพบปะและรูจักมักคุน
กัน รวมทั้งเปนจารีตบังคับใหทุก ๆ คนเสียสละทํางานรวมกัน เมื่อวางจากงานอาชําแลว
ดังนั้นประเพณีฮีตสิบสองก็คือ ประเพณีสิบสองเดือนนั่นเอง
ประเพณีแรกของฮีตสิบสองจะเริ่มตนดวย เดือนเจียงหรือเดือนอาย เปนงาน
บุญเขากรรมซึ่งเปนการออกจากอาบัติประจําปตามวิธีการของพระสงฆ ในระยะนี้ชาวบาน ที่
มีจิตศรัทธาเลื่อมใสจะพากันจัดอาหารคาวหวานและขาวของเครื่องใชเล็ก ๆ นอย ๆ ไป
ถวายเพื่อชวยสงเคราะหใหการอยูกรรมของทานดําเนินไปดวยดี นอกจากนั้นยังไดฟงเทศน
ฟงธรรม เปนการไดบุญอีกโสดหนึ่งดวย ประเพณีเขากรรมนี้บางแหงเชื่อวาเปนการทดแทน
และระลึก ถึง คุณมารดาเพราะมารดาเคยอยูกรรมนี้มาแลว ฉะนั้นเมื่อบวชแลวจะแทนคุณ
มารดาไดก็ตอง เขากรรมเสียกอน ประเพณีเขากรรมนี้ไมไดกําหนดวันลงไปแนนอน แตจะ
อยูในระหวางเดือนอาย
เดือนยี่เปนระยะเวลาที่ขางออกรวงแกจัดและรอการเก็บเกี่ยว ในเดือนนี้จึงมี
ประเพณีเกี่ยวของกับการเก็บและการนวดขาว เรียกวา บุญคูนลาน ไมกําหนดวัน แนนอน
เปนแตวาเมื่อนวดขาวเสร็จแลว ชาวนาจะประกอบพิธีทําบุญกันที่ลานนั่นเอง แตถาหากขน
ขาวขึ้นยุงแลว มักทําบุญที่บานหรือทํารวมกันที่หมูบาน เปนลักษณะการทําบุญบูชา แม
โพสพ เมื่อไดขาวมาสูลานแลวนั่นเอง
เดือนสามเปนการทําบุญขาวจี่ ชาวบานจะเอาขาวเหนียวมาปนแลวจี่ คําวาจี่ ก็
คือปงนั่นเอง วิธีทําคือนําขาวเหนียวมาปนเปนกอนขนาดโตเทาไขหาน แลวเสียบปลายไมที่
เหลาเตรียมไว ไมไผนี้ยาวประมาณ 75 เซนติเมตร ใหญขนาดนิ้วมือ จี่หรืออังบนไฟออน ๆ
พลิกไปพลิกมาจนเหลืองทั่วกันดีแลว นํามาทาดวยไขแลวนําไปจี่อีกที ไขที่ใชมานี้ใชทั้งไข
แดงและไขขาวตีใหเขากัน พอไขเหลืองมีกลิ่นหอมก็ดึงไมออก เอาน้ําตาลปกหรือน้ําออยใส
เขาไปเปนไสหวานจะนําไปถวายพระ พรอมดวยอาหารคาวหวานชนิดตาง ๆ จากนั้นก็มีการ
ถือศีล ฟงพระเทศนเสร็จจากเลี้ยงพระก็มีการเซนปูยาเพื่อเปนการแสดงความกตัญูกตเวที
ตอบรรพบุรุษ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 255 ~

เดือนสี่เปนงานทําบุญพระเวส(พระเหวด)หรือบุญคบงันหรือ เทศนมหาชาติ
การทําบุญพระเวสนั้นแบงเปนสามวัน วันแรกเปนวันรวมหรือที่พื้นเมืองเรียกวา มื่อโฮม
วันที่สองมีการแหพระเวสสันดร กัณหา ชาลี และพระนางมัทรี มีการเซิ้งนําหนา วันที่สาม
ฟงเทศนมหาชาติในงานบุญพระเวสนี้ จะมีการตกแตงศาลาใหคลายกับพระเวสสันดรในเขา
วงกต ชาวบานมีหนาที่หาอาหารมาเลี้ยงพระและแขกเหรื่อ งานนี้จะมีผูคนจากที่ตาง ๆ มา
ชุมนุมกัน ทั้งคนหนุมสาว คนเฒาคนแก ตางคนก็รวมแรงรวมใจกันหาเงินเขาวัด เพื่อที่พระ
จะไดนําไปบูรณะ ซอมแซมวัด
เดือนหาเปนงานบุญสรงน้ํา หรือที่รูจักกันทั่วไปวาวันสงกรานต เริ่มตั้งแตขึ้น
15 ค่ํา เดือน 5 ถึงขึ้น 15 ค่ํา เดือน 6 เมื่อถึงงานสงกรานตชาวบานจะหยุดทํางานเพื่อมารวม
สนุกสนานกันเปนเวลาถึงเจ็ดวัน ในระหวางนั้นก็มีการสรงน้ําพระพุทธ พระสงฆ โดย
ชาวบานจะทําผาม (ปะรํา) แลวเชิญพระพุทธรูปขึ้นประดิษฐาน ณ ปะรําพิธี บนปะรํามีรางน้ํา
ทําเปนรูปพญานาคที่ไวสําหรับสรงน้ําพระพุทธที่หนึ่ง พระสงฆที่หนึ่ง
ในตอนเชาของวันงานบุ ญสรงน้ํ า ชาวบานก็พ ากัน ทํ าบุญ ตักบาตรถวาย
จังหันพอถึงกลางวันก็ถวายเพล ราวเที่ยงวันจึงนําดอกไม ธูปเทียน น้ําขมิ้นและของ หอมไป
สรงน้ําพระ แลวรดน้ําขอพรจากผูใหญใหอยูเย็นเปนสุขสืบไป จากนั้นก็มีการสาดน้ํา ตอน
บายหลังจากแลนสาดน้ําแลวก็จะไปเก็บดอกไมตามไรนาปาเขาใกลๆหมูบานมา เตรียมไว

*******************************************************

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 256 ~

หลักการบริหารงานเบื้องตน

ไดมีผูใหความหมายของการบริหารไวตาง ๆ ดังนี้
Samual C. Certo กลาววา "การบริหาร คือ กระบวนการของการ
ออกแบบและบํารุงรักษาไวซึ่งสภาพแวดลอม เพื่อใหแตละบุคคลทํางานรวมกันเปนกลุม
และบรรลุเปาหมายที่ไดวางไวอยางมีประสิทธิภาพ"
Stephen P.Robbins กลาววา"การบริหารคือกระบวนการในการประสานงาน
และรวบรวมกิจกรรมในการทํางาน เพื่อใหเปนไปอยางมีประสิทธิภาพและบรรลุประสิทธิผล
โดยอาศัยคน"
Harold D.Koontz กลาวสรุปสั้น ๆ วา "การบริหาร คือ กระบวนการเพื่อ
นําไปสูเปาหมายที่วางไว โดยอาศัยคนและทรัพยากรตาง ๆ
การบริหารงานเปนเรื่องของการดําเนินงานที่ใชทั้งศาสตรและศิลป กลาวคือ
การบริหารในแนวทางการปฏิบัติถือวาเปน "ศิลป" (Art) สวนองคความรูที่สําคัญเพื่อนํามา
ปฏิบัติคือ "ศาสตร" (Science) ซึ่งไดมีการพัฒนาโดยใชวิธีการทางวิทยาศาสตร และ
พัฒนาการทางดานทฤษฎีการจัดการ อันเปนเรื่องที่สืบเนื่องมาจากการพัฒนาแนวความคิด
(Concept), หลักการ(Principle) และเทคนิค (Technique) ตางๆ
หลักการบริหารหรือแนวความคิดทางการจัดการนั้น ถือเปนหลักสากล
(Universality) คือ สามารถนําไปประยุกตใชไดกับองคการทุกประเภท ทุกรูปแบบ และทุก
ระดับขององคการ ไมวาจะเปนองคการขนาดเล็กหรือขนาดใหญและไมวาจะเปนองคการของ
รัฐหรือเอกชน
ปจจัยนําเขา (Input)หรือปจจัยการผลิตที่จําเปนตองนํามาใชสําหรับกระบวนการ
บริหารงานของกิจการนั้น แตเดิมมี 4 ประการ เรียกวา 4 Ms ซึ่งไดแก บุคลากรหรือคน
(Man), เงิน (Money),วัตถุดิบ (Material) เครื่องจักรและอุปกรณ (Machine) โดยใน
ปจจุบันไดมีการเพิ่มเขามาอีก คือเทคโนโลยี(Technology)และขอมูลขาวสาร (Information)
เปาหมายของผูบริหารทุกคน คือ "ประสิทธิภาพในการทํากําไร" (Profitability)
ของกิจการ ซึ่งหมายถึง ศักยภาพในการทํากําไรชวงเวลาที่กําหนด นั่นคือ การทําให
อัตราสวนระหวางผลผลิต (Output) และปจจัยการผลิต (Input) เปนที่นาพอใจในเวลาที่
กําหนดอยางมีคุณภาพและบรรลุเปาหมายตามที่ตองการ โดยมีเปาประสงคที่จะใหเกิดสิ่ง
ตอไปนี้ คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 257 ~

1. "ประสิทธิภาพ" (Efficiency) หมายถึง ความสามารถในการใชทรัพยากร


หรือปจจัยนําเขา (Input) ใหนอยที่สุด และเกิดประโยชนหรือไดผลผลิต (Output) สูงสุด
นั่นคือ การทํางานที่สามารถลดตนทุนคาใชจายทั้งในดานเงินทุน ทรัพยากรคน และเวลา
ทํางานได
2. "ประสิทธิผล" (Effectiveness) หมายถึง การทํางานที่ไดผลลัพธตามที่
กําหนด หรือการบรรลุถึงวัตถุประสงคหรือเปาหมายตามที่ตองการ กลาวคือ เปนการมอง
ตั้งแตตนทางถึงปลายทาง จึงเปนการประเมินผลงานที่เกี่ยวกับผลลัพธจากการดําเนินงาน
หรือเปนการเขาถึงความสําเร็จที่ตองการไดตามเปาประสงค
3. "ผลิตภาพ (การเพิ่มผลผลิต) หรือประสิทธิภาพการผลิต" (Productivity)
หมายถึง การทํางานหรือการปฏิบัติงานที่มีประสิทธิภาพและประสิทธิผลของแตละบุคคล
รวมตลอดของทั้งองคการ ซึ่งก็คือ ผลรวมของประสิทธิภาพและประสิทธิผลนั่นเอง

หนาที่ของผูบริหาร (Management Functions)


"หนาที่ของผูบริหาร" เปนกิจกรรมที่กอใหเกิดกระบวนการจัดการที่เปนหลัก
สากล อันหมายถึงหนาที่การบริหารจะตองถูกดําเนินการ ไมวาผูบริหารในระดับใดก็ตาม
ตองทําหนาที่บริหารงาน ซึ่งในปจจุบันไดมีการสรุปหนาที่ของผูบริหารไว 4 ประการ
(POLC) ดังนี้คือ
1. การวางแผน (Planning) หมายถึง การกําหนดเปาหมาย กลยุทธ
และจัดทําแผนงานเพื่อประสานกิจกรรมตาง ๆ ที่จะกระทําในอนาคต เปนการเตรียมการ
เพื่อใหประสบความสําเร็จ และลดความเสี่ยงที่อาจเกิดขึ้นในอนาคต
2. การจัดองคการ (Organizing) หมายถึง การพิจารณาถึงงานที่จะตอง
กระทํา ใครเปนผูทํางานนั้น ๆ ตองมีการจัดกลุมงานอยางไร ใครตองรายงานใคร และใคร
เปนผูตัดสินใจ นั่นคือ การมอบหมายหนาที่ ความรับผิดชอบ และการกําหนดสายการ
บังคับบัญชา
3. การชักนํา (Leading) หมายถึง การนําและจูงใจผูใตบังคับบัญชา การ
สั่งการ การเลือกชองทางการสื่อสารที่มีประสิทธิภาพมากที่สุด และการขจัดความขัดแยง
หรื อ เป น การกระตุน ให พ นั ก งานใช ค วามพยายามอย า งเต็ ม ที่ ที่ จ ะทํ า ใหเ กิ ด ความสํ า เร็ จ
รวมทั้งแกไขปญหาตาง ๆ ที่เกิดขึ้น

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 258 ~

4. การควบคุม (Controlling) หมายถึง การตรวจสอบ (ติดตามสอดสอง)


กิจกรรมตาง ๆ ที่ไดกระทําไว เพื่อใหแนใจวาการดําเนินงานไดเปนไปตามที่กําหนดไวใน
แผน รวมทั้งจะไดทําการแกไขขอผิดพลาดที่อาจจะเกิดขึ้นใหถูกตองอีกดวย
ดังนั้น "กระบวนการจัดการ" (Management Process) จึงเปนการตัดสินใจ
และเปนกิจกรรมที่กระทําอยางตอเนื่อง โดยผูบริหารจะตองทําหนาที่ในการวางแผน การ
จัดองคการ การชักนํา และการควบคุม
หลักหรือทฤษฎีขององคการแบบดั้งเดิมที่ไดกําหนดหนาที่ของผูบริหารไว มี
หลายทฤษฎี เชน POCCC ของ Fayol, POSDC ของ Koontz และ Donnell,
POSDCORB ของ Gulick, OSCAR ของ Dale เปนตน
POCCC ซึ่งเปนแนวคิดทางการจัดการของ Fayol นั้น ยังคงนํามาใชเปน
แนวปฏิบัติทางการจัดการรวมสมัยมาจนถึงปจจุบัน ซึ่งไดแก การวางแผน (Planning),
การจัดองคการ (Organizing), การสั่งการ(Commanding),การประสานงาน (Coordinating)
และการควบคุม (Controlling)
POSDCORB ซึ่งเปนแนวคิดของGulick นั้น ไดแก การวางแผน (Planning),
การจัดองคการ (Organizing), การจัดคนเขาทํางาน (Staffing), การอํานวยการ (Directing),
การประสานงาน (Coordinating), การรายงาน (Reporting) และการจัดทํางบประมาณ
(Budgeting)

บทบาททางการบริหาร (Management Roles)


"บทบาททางการบริหาร" คือ กลุมของพฤติกรรมทางการบริหารที่ไดจัด
หมวดหมูไวเปนการเฉพาะ ซึ่งเปนสิ่งที่ผูบริหาร "ควรกระทํา" เพราะเปนความคาดหวังวา
ผูที่อยูในตําแหนงผูบริหารหรือผูจัดการ "พึงปฏิบัติ"
Henry Mintzberg ไดทําการศึกษาวิจัยพบวา บทบาทของผูบริหารที่สําคัญ
มี 10 ประการ ประกอบดวย 3 กลุมหลักซึ่งมีความสัมพันธตอกันอยางมากทุกบทบาท คือ
1. บทบาทที่เกี่ยวของกับบุคคล (Interpersonal Roles) หรือบทบาทดาน
มนุษยสัมพันธ ไดแก
1) ประธาน (Figurehead) เปนบทบาทในการเปนตัวแทนองคการหรือเปน
การสวมหัวโขน โดยการเปนหัวหนาในการปฏิบัติภารกิจประจําวันตามลักษณะทางสังคม
และกฎหมาย เชน เปดประชุม ตอนรับลูกคา ตลอดจนลงนามเอกสารของธุรกิจ ฯลฯ ซึ่ง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 259 ~

หนาที่สําคัญของผูแสดงบทบาทดานนี้ก็คือ การพยายามสรางภาพพจนที่ดีใหกับองคการ
เพราะเปนบทบาทซึ่งเปรียบเสมือนเปนสัญลักษณขององคการ
2) ผูนํา (Leadership) เปนบทบาทที่ตองรับผิดชอบในการจูงใจและชี้นํา
ผูใตบังคับบัญชาใหทํางานอยางเต็มความสามารถ
3) ผูเชื่อมสัมพันธไมตรี (Liaison) เปนบทบาทในการสรางและรักษาความ
สัมพันธกับบุคคลทั้งภายในและภายนอกองคการ การสรางเครือขายตาง ๆ การสรางไมตรี
จิตและผูกมิตรอันดีกับบุคคลหรือกลุมตาง ๆ ที่มีความสําคัญตอองคการ
2. บทบาทดานขอมูลขาวสาร (Information Roles) ไดแก
1) ผูแสวงหาขอมูลขาวสาร (Monitor) เปนบทบาทในการแสวงหาและรับ
ขอมูลขาวสารที่ทันสมัยเขามา และเปนศูนยกลางของขาวสารนั้นภายในและภายนอก
องคการ เพื่อเปนขอมูลในการพัฒนาองคการ
2) ผูกระจายขอมูลขาวสาร (Disseminator) เปนบทบาทในการกระจาย
และเผยแพรขอมูลขาวสารที่ไดมาทั้งจากภายในและภายนอกองคการให แกพนักงานใน
องคการไดรับทราบ
3) โฆษณาประชาสัมพันธ (Spokesperson) เปนบทบาทในการใหขอมูล
ขาวสารกับภายนอกองคการในเรื่องนโยบาย แผนงาน การปฏิบัติงาน และผลการ
ดําเนินงานของกิจการ รวมทั้งการแถลงขาวสารตาง ๆ
3. บทบาทดานการตัดสินใจ (Decision Roles) ไดแก
1) ผูประกอบการ (Entrepreneur) เปนบทบาทในการแสวงหาชองทาง
ศึกษาสภาพแวดลอมและโอกาสในทางธุรกิจ โดยผูประกอบการควรมีคุณสมบัติดังนี้คือ มี
ความตั้งใจและมีแรงจูงใจสูงในการทํางาน กลาเสี่ยงที่จะใชทรัพยากรที่ตัวเองมีอยูทั้งหมด
เชื่อมั่นในสิ่งที่ตนเองมุงมั่นที่จะทําสูง มีความอดทนอดกลั้นตอสถานการณตางๆ มีวิสัยทัศน
(Vision) มีความทะเยอทะยานและมุงมั่นที่จะทํางานใหประสบผลสําเร็จ(Commitment) ฯลฯ
2) ผูขจัดความขัดแยง (Disturbance Handler) เปนบทบาทที่รับผิดชอบใน
การแกไขปญหาตาง ๆ ที่สําคัญ ๆ หรือไมคาดคิดมากอน ซึ่งองคการกําลังเผชิญอยู
3) ผูจัดสรรทรัพยากร (Resource Allocator) เปนบทบาทที่รับผิดชอบใน
การจัดสรรทรัพยากรทุกชนิดขององคการทั้งดานบุคคล วัตถุ และการเงิน ซึ่งมีผลตอการ
ตัดสินใจขององคการ
4) ผูเจรจาตอรอง (Negotiator) เปนบทบาทในการเปนตัวแทนขององคการ
ในการเจรจาตอรองเรื่องสําคัญ ๆ เพื่อผลประโยชนที่องคการควรจะไดรับ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 260 ~

ทักษะทางการบริหาร (Managerial Skills)


"ทักษะหรือความสันทัด" (Skill) คือ ความสามารถในการนําความรูและ
ความสามารถมาปฏิบัติ ซึ่งทักษะทางการบริหารจะมีความสําคัญตอผูบริหารในการ
ดําเนินงานใหบรรลุเปาหมาย โดยจะผันแปรไปตามระดับชั้นขององคการ
Robert Katz เปนผูที่วางรากฐานเกี่ยวกับแนวคิดของทักษะทางการบริหาร
โดยไดเสนอวา ทักษะของผูบริหารที่สําคัญมี 3 ประการ คือ
1. ทักษะดานเทคนิค (Technical Skill) คือ ทักษะทางดานความรู
ความสามารถในกิจกรรมตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับวิธีการ กระบวนการ และกรรมวิธีในการ
ปฏิบัติงาน อันเปนความชํานาญดานวิชาชีพเฉพาะดานใดดานหนึ่ง ซึ่งเปนทักษะที่
ผูบริหารระดับลางใชมากที่สุด และผูบริหารระดับสูงใชนอยที่สุด
2. ทักษะดานมนุษยสัมพันธ (Human Skill) คือ ทักษะทางดาน
ความสามารถในการทํางานรวมกับผูอื่น เปนความพยายามเพื่อใหเกิดความรวมมือ การ
ทํางานเปนทีม และการเสริมสรางบรรยากาศในการทํางาน หรือเปนทักษะทางดานการ
สื่อสารเพื่อการประสานงาน ซึ่งเปนทักษะที่มีความเกี่ยวพันอยางมากตอความสําเร็จหรือ
ความลมเหลวของผูบริหาร
3. ทักษะดานการประสมแนวความคิด (Conceptual Skill) คือ ทักษะ
ทางดานความสามารถในการมองภาพรวม เปนความสามารถในการคิดและวิเคราะห การ
แยกประเด็นปญหา เพื่อที่จะไดทราบถึงองคประกอบของสถานการณและสิ่งแวดลอม และ
เขาใจความสัมพันธขององคประกอบเหลานั้น เพื่อนํามาใชประโยชนกับองคการหรือการ
บริหารงานของตนเอง จึงเปนทักษะในการใชวิจารณญาณและการตัดสินใจที่ถูกตอง โดย
การนําเอาสิ่งที่ตนทราบมาใชประโยชนสูงสุด ซึ่งเปนทักษะที่ผูบริหารระดับสูงใชมากที่สุด
นอกจากนี้ยังมีทักษะที่ทําใหผูบริหารมีประสิทธิภาพในการบริหารงาน ไดแก
การกําหนดเปาหมายที่ชัดเจน, การหาวิธีแกไขปญหา, การบริหารความขัดแยง, การ
บริหารเวลา, การสื่อสารดวยวาจา และการทํางานดวยดีกับกลุม ฯลฯ

ระบบการบริหาร (Management System)


"ระบบ" (System) ในมุมมองเชิงระบบ หมายถึง กลุมหรือกระบวนการของ
ธุรกิจในสวนตาง ๆ ที่มีความสัมพันธกันและขึ้นตอกัน ซึ่งทําหนาที่โดยรวมเพื่อบรรลุ
วัตถุประสงครวมกัน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 261 ~

ระบบแบงออกเปน 2 ประเภท คือ


1. ระบบปด (Closed System) เปนระบบที่เกิดขึ้นกอนป ค.ศ. 1930 เปน
ระบบที่ธุรกิจมุงความสนใจและใหความสําคัญแตเฉพาะการดําเนินงานภายในองคการของ
ตนเอง โดยไมสนใจตอสิ่งแวดลอมภายนอกธุรกิจ และไมยอมรับอิทธิพลใด ๆ มา
เปลี่ยนแปลงตนเอง
2. ระบบเปด (Opened System) เปนระบบซึ่งองคการดําเนินงานภายในที่
มีปฏิสัมพันธ (Interacts) กับสภาวะแวดลอมทั้งภายในและภายนอกองคการ
ระบบมีสวนประกอบ 3 ประการ คือ
1. ปจจัยการผลิต (Input) เชน วัตถุดิบ คน เงิน ฯลฯ
2. กระบวนการแปลงสภาพ (Transformation) เชน กิจกรรมการทํางาน
กรรมวิธีการผลิต ฯลฯ
3. ผลผลิต (Output) เชน สินคาและบริการการ ผลทางการเงิน ฯลฯ

การจัดการในอดีตและในปจจุบัน
พื้นฐานประวัติศาสตรทางการบริหาร (Historical Background)
กําแพงเมืองจีน (The Great Wall) และพีระมิด (Pyramid) ของอียิปต ถือ
เปนสิ่งมหัศจรรยของโลก ซึ่งถือเปนหลักฐานทางประวัติศาสตรที่บงบอกถึงเรื่องราวการ
บริหารจัดการที่เกิดขึ้นในอดีต อันเปนการใชแรงงานคนมากกวาแสนคน และใชเวลา
มากกวา 20 ป ซึ่งจะตองใชหลักการบริหารทั้งดานการจัดการบุคลากร ระบบสินคาคงคลัง
รวมทั้งระบบบัญชีซึ่งเปนวิธีการควบคุมรายรับรายจาย เปนตน

แนวความคิดทางการบริหารในยุคแรก (Early Management Theory)


แนวความคิดทางการบริหารหลายอยางที่นํามาใชในปจจุบันเปนแนวความคิด
ที่มีมานานแลว เชน การประกอบชิ้นสวน (Assembly Line) มาตรฐานของงาน
มาตรฐานการผลิต การคลังสินคา ระบบสินคาคงคลัง ระบบบัญชี การจัดการบุคคล การ
ทํางานเปนทีม รวมทั้งคูมือแนวนโยบายของรัฐบาล นอกจากนี้ยังมีตัวอยางอีกมากมายใน
อดีตที่แสดงใหเห็นวา ไดมีการนําหลักการบริหารไปใชมากกวาพันปมาแลว
Adam Smith เปนนักเศรษฐศาสตรยุคดั้งเดิมชาวอังกฤษที่เขียนเรื่องการ
แบงงานกันทํา (Division of Labor) ตามความถนัดของแตละคน เพื่อเพิ่มประสิทธิภาพใน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 262 ~

การผลิตและเพิ่มทักษะของพนักงาน โดยเขียนเรื่องนี้ไวในหนังสือชื่อ The Wealth of


Nations ซึ่งเริ่มนําออกเผยแพรเมื่อป ค.ศ. 1776
การปฏิวัติอุตสาหกรรม (Industrial Revolution) เริ่มขึ้นในศตวรรษที่ 18
ที่ประเทศอังกฤษและมีอิทธิพลอยางมากตอการบริหารในชวงกอนศตวรรษที่ 20 ซึ่งตรงกับ
ปลายสงครามกลางเมืองของสหรัฐฯ โดยมีการนําเอาเครื่องจักรกลมาใชแทนแรงงานคน จึง
กอใหเกิดผลตอระบบเศรษฐกิจ คือ เกิดระบบโรงงาน (Factory System) เกิดการผลิต
สินคามวลชน(Mass Production)และการขนสงที่มีประสิทธิภาพ (Efficient Transportation)

ทฤษฎีการจัดการแบบวิทยาศาสตร (Scientific Management Theory)


"การจัดการแบบวิทยาศาสตร" คือ การจัดการโดยนําหลักการทาง
วิทยาศาสตรมาใช อันหมายถึงสามารพิสูจนได ทําซ้ําได มีหลักฐานชัดเจน มีหลักการใน
การดําเนินงานอยางเปนระบบและตอเนื่อง (One Best Way for Job to be Done) ซึ่งเปน
การคนควาหาหลักเกณฑในการทํางานใหมีประสิทธิภาพ
Frederick W. Taylor เปนวิศวกรชาวอเมริกันที่ไดรับการยกยองวาเปน "บิดา
ของการบริหารหรือการจัดการแบบวิทยาศาสตร" (The Father of Scientific Management)
โดยเปนผูที่มุงเนนการพัฒนากระบวนการทํางานในระดับทักษะของคนงาน ซึ่งเขาไดเขียน
หนังสือ "The Principles of Scientific Management" และ "Shop Management" อัน
เปนผลงานที่แพรหลายไปทั่วโลก
หลักการบริหารงานแบบวิทยาศาสตรของ Taylor มี 4 ประการ คือ
1. นําองคความรูที่เรียกวา "ศาสตร" (Science) มาใชแทนการทํางานตาม
ยถากรรม (Rule of Thumb) โดยการศึกษาองคประกอบแตละสวนของงาน (Element of
Work) เพื่อหาหนทางที่ดีที่สุดของการปฏิบัติงานในแตละงาน
2. มีระบบการคัดเลือก ฝกอบรม และพัฒนาพนักงานอยางมีหลักเกณฑตาม
แบบวิทยาศาสตร
3. ผูบังคับบัญชาจะตองเต็มใจใหความรวมมือและชวยเหลือพนักงานอยาง
จริงใจ เพื่อใหงานตาง ๆ บรรลุผลสําเร็จและเปนไปตามหลักการทางวิทยาศาสตรที่ได
พัฒนาขึ้น
4. แบงงานและความรับผิดชอบอยางชัดเจนและเทาเทียมกันระหวางผูบริหาร
กับพนักงานโดยแตละฝายตางก็มีหนาที่รับผิดชอบแตกตางกันไปตามความถนัดของแตละ
บุคคล

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 263 ~

Frank and Lillian Gilbreth ไดศึกษาถึงเวลาและการเคลื่อนไหวในการ


ทํางาน (Time and Motion Study) โดยไดศึกษาและเสนอแนวคิดของการเคลื่อนไหวของ
มือ (Therbligs) และรางกาย เพื่อขจัดการเคลื่อนไหวที่ไมเกิดประโยชนออกไป รวมทั้งได
ศึกษาถึงลักษณะการทํางานของคน บุคลิกภาพ และความตองการของคนงาน ซึ่ง Lillian
ไดรับการยกยองวาเปนสุภาพสตรีคนแรกในดานบริหาร (The First Lady of Management)
นอกจากนี้ Gilbreth ยังไดจัดทําแผนภูมิลําดับขั้นการปฏิบัติงาน (Flow
Process Chart) เพื่อใชบันทึกขั้นตอนของวิธีปฏิบัติงานแตละอยางเพื่อหาทางตัดทอน
ขั้นตอนที่ไมจําเปนออกไป ซึ่งอาจกลาวไดวาเปนการหาหนทางการทํางานใหงายขึ้น (Work
Simplification)

ทฤษฎีทางการบริหารโดยทั่วไป (General Administration Theory)


กลุมของผูที่ศึกษาแนวความคิดนี้จะเนนภาพรวมของทั้งองคการ และ
ความสําคัญของทฤษฎีนี้จะมุงพัฒนาแนวความคิดโดยทั่วไปของภาระงานที่ผูบริหารตอง
กระทําและหลักการบริหารที่ดี
Henri Fayol เปนชาวฝรั่งเศสที่ไดรับการยกยองวาเปน "บิดาของทฤษฎี
การจัดการดําเนินงานหรือการบริหารสมัยใหม" (The Father of Modern Operation
Management Theory) โดยแนวความคิดของเขาจะมุงเนนการพัฒนากระบวนการทํางานใน
ระดับทักษะของผูบริหาร
หากเปรียบเทียบผลงานในแนวความคิดของ Taylor กับ Fayol แลว ความ
แตกตางจะอยูตรงที่วา Taylor จะเนนย้ําเรื่องของการบริหารในระดับโรงงาน (Shop Level)
หรือระดับพนักงาน ในขณะที่ Fayol จะเนนย้ําในระดับของผูจัดการ (Management Level)
เพราะเสนอหลั ก การบริ ห ารที่ เ ป น สากลซึ่ ง สามารถนํ า ไปใช กั บ องค ก ารทุ ก ประเภทและ
ครอบคลุมทุกระดับการบริหารขององคการ

Fayol ไดแบงกิจกรรมอุตสาหกรรมออกเปน 6 กลุม ดังนี้คือ


1. ดานเทคนิคการผลิต และการประกอบอุตสาหกรรม
2. ดานการพาณิชย การซื้อ การขาย และการแลกเปลี่ยน
3. ดานการเงิน การแสวงหา และการใชเงินเพื่อใหเกิดประโยชนสูงสุด
4. ดานความปลอดภัยทั้งดานทรัพยสินและบุคคล

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 264 ~

5. ดานการบัญชี การควบคุมสินคา การจัดทํางบการเงิน และการตรวจสอบ


ตนทุน
6. ดานการบริหาร การวางแผน การจัดองคการ การสั่งการ การประสานงาน
และการควบคุม
หลักการบริหารงานของ Fayol มี 14 ประการ คือ
1.การแบงงานกันทํา (Division of Work) โดยยึดหลักความเชี่ยวชาญเฉพาะ
ดานของ ผูปฏิบัติงานในการแบงงาน
2. อํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ (Authority and Responsibility) โดย
ผูบริหารตองมีสิทธิในการสั่งการหรือมอบหมายอํานาจหนาที่ และจะตองมีความรับผิดชอบ
พรอมกันไปดวย
3. ความมีวินัย (Discipline) โดยองคการที่ประสบความสําเร็จนั้น พนักงาน
ควรมีความเคารพในขอตกลงและกฎระเบียบตาง ๆ รวมทั้งการมีวินัยที่ดีของพนักงาน
4.เอกภาพในการบังคับบัญชา(Unity of Command)หมายถึงผูใตบังคับบัญชา
ควรไดรับคําสั่งจากผูบังคับบัญชาโดยตรงเพียงคนเดียวเทานั้น
5. เอกภาพในเปาหมาย (Unity of Direction) หมายถึง กิจกรรมของแตละ
กลุมในองคการควรมีแผนงานหรือเปาหมายที่เปนไปในทิศทางเดียวกัน หากเปนการ
ดําเนินงานโดยผูบริหารคนเดียวกัน และแผนกงานเดียวกัน
6. ผลประโยชนสวนตัวควรเปนรองผลประโยชนขององคการ (Subordination
of Individual General Interest) หมายถึง การยึดผลประโยชนขององคการเปนหลัก
7. คาตอบแทน (Remuneration) โดยการจายคาตอบแทนควรตั้งอยูบน
หลักของความยุติธรรม และกอใหเกิดความพอใจทั้งฝายนายจางและลูกจาง
8. การรวมอํานาจ (Centralization) คือ ขอบเขตของอํานาจหนาที่ถูกจํากัด
อยูเฉพาะสวนกลางหรืออยูในระดับสูง แตอาจมีการกระจายออกไปสูสวนตาง ๆ ของ
องคการ ทั้งนี้ขึ้นอยูกับรูปแบบขององคการนั้น
9. โครงสายการบังคับบัญชา (Scalar Chain) โดยเริ่มตนจากระดับสูงสุดลง
ไปยังระดับต่ําสุดขององคการ มีลักษณะคลายลูกโซ ซึ่งผูบริหารระดับสูงจะมีอํานาจสูงสุด
ในองคการและลดลงมาตามลําดับชั้น
10. ความมีระเบียบ (Order) หมายถึง ตองจัดสรรคนและเครื่องมือ
ตลอดจนวัตถุดิบตาง ๆ ใหอยูในอันควรที่จะนํามาใชไดในเวลาที่ตองการ เพื่อกอใหเกิด
ประโยชนดานประสิทธิภาพและการประสานงาน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 265 ~

11. ความยุติธรรม (Equity) หมายถึง พนักงานทุกคนจะตองไดรับการปฏิบัติ


อยางเสมอภาคและเทาเทียมกัน
12. ความมั่นคงในการวางแผนกําลังคน (Stability of Tenure of Personal)
เพื่อใหเกิดความมั่นใจวาสามารถจัดหาคนมาแทนตําแหนงงานที่วางลง
13. ความคิดริเริ่ม (Initiative) โดยควรสงเสริมและเปดโอกาสใหพนังงานทุก
คนไดใชความคิดริเริ่มและความพยายามอยางเต็มที่
14. ความสามัคคี (Esprit de Corps) คือ สงเสริมใหมีการทํางานรวมกัน
เปนทีม โดยมีความรูสึกที่ดีตอกัน เปนอันหนึ่งอันเดียวกัน และปรองดองกันตาม
ความหมายที่วา "สามัคคีคือพลัง"
Max Weber นักสังคมวิทยาชาวเยอรมัน เปนผูคิดคนและวางรากฐาน
เกี่ยวกับโครงสรางองคการแบบราชการ ซึ่งเรียกวา องคการแบบราชการในอุดมคติ (Ideal
Bureaucracy) โดยยึดหลักความสัมพันธของอํานาจหนาที่ ซึ่งมีหลักการดังนี้
1. การแบงงานกันทํา (Division of Labor) ตามความถนัด เพื่อใหการ
ทํางานงายขึ้น
2. กําหนดอํานาจหนาที่ตามลําดับชั้นของการบังคับบัญชา (Authority
Hierarchy)
3. ใชการคัดเลือกคนงานอยางเปนทางการ (Formal Selection)
4. มีระเบียบกฎเกณฑอยางเปนทางการ (Formal Rules and Regulations)
5. ไมยึดหลักความเปนสวนตัวหรือไมเลือกปฏิบัติ (Impersonality)
6. เนนผูบริหารระดับมืออาชีพ (Career Orientation)
องคการแบบราชการของ Weber นั้น สามารถนําไปประยุกตใชกับองคการ
ขนาดใหญในปจจุบันได โดยมีสวนคลายกับการจัดการแบบวิทยาศาสตรของ Taylor ใน
ดานอุดมการณ คือเนนการใชเหตุผล การคาดการณได การไมเลือกปฏิบัติ ศักยภาพทาง
เทคนิค และอํานาจหนาที่
Ralph C. Davis ไดเสนอแนวความคิดซึ่งเปนหลักการสําคัญของการบริหาร
โดยเนนในเรื่องความจําเปนที่ตองมีผูบริหารมืออาชีพ (Professional Management) ซึ่ง
หมายถึง ผูที่มีภาวะผูนํา มีความรูความเขาใจและความชํานาญในงานเปนอยางดี และมี
ความสัมพันธที่ดีระหวางองคการกับชุมชน หรือที่ปจจุบันเรียกกันวาความรับผิดชอบทาง
สังคม (Social Responsibility)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 266 ~

พฤติกรรมองคการ (Organizational Behavior)


เปนการศึกษาพฤติกรรมในการทํางานของบุคคล เนื่องจากผูบริหารจะ
สามารถทํางานใหสําเร็จลุลวงไดตองอาศัยคน จึงจําเปนตองศึกษาพฤติกรรมของบุคคล
รวมทั้งศึกษาแนวคิดทางดานการจูงใจ ภาวะผูนําการทํางานเปนทีม และการบริหารความ
ขัดแยง ซึ่งปจจุบันเรียกวา "การบริหารทรัพยากรมนุษย"
Robert Owen นักธุรกิจชาวสกอตที่ประสบผลสําเร็จ ไดเสนอแนวคิด
เรื่องสถานที่ทํางานในอุดมคติ ดังนี้
1. กําหนดชั่วโมงทํางานที่เหมาะสมและชัดเจน
2. หลีกเลี่ยงการจางแรงงานเด็กซึ่งผิดกฎหมาย
3. จัดการศึกษาที่เปนของรัฐใหแกคนงาน
4. จัดใหมีอาหารในวันทํางาน
5. องคการธุรกิจตองเขาไปมีสวนรวมในกิจกรรมตาง ๆ ของชุมชน
Hugo Minsterburg เปนนักจิตวิทยาอุตสาหกรรม (Industrial Psychology)
ที่ไดเสนอผลงานเรื่อง "Psychology and Industrial Efficiency, 1912" ซึ่งมีสาระสําคัญ
ดังนี้
1. ใชวิธีการสรรหาบุคคลที่มีคุณสมบัติเหมาะสมที่สุดที่จะทํางานนั้นได
2. ใชวิธีการสงเสริมสภาวะทางจิตวิทยาเพื่อกอใหเกิดผลผลิตสูงสุดและเปนที่นา
พอใจสูงสุด
3. ใชวิธีการที่ทําใหเกิดอิทธิพลตอคนงาน หรือจูงใจเพื่อทําใหเกิดผลลัพธที่ดี
ที่สุด
Elton Mayo เปนนักจิตวิทยาชาวออสเตรเลีย และเปนนักพฤติกรรมศาสตรที่
ศึกษาเนนแตพฤติกรรมของคนเปนประการสําคัญ โดยเปนผูที่มีบทบาทสําคัญในการศึกษา
คนควา The Hawthorne Study ที่สามารถสรุปผลและนําผลที่ไดจากการวิจัยนั้นมาเปน
แนวคิดในดานการจัดการในระยะเวลาตอมา จนทําให Mayo ไดรับการยกยองวาเปน
"บิดาของการแรงงานสัมพันธ" (Father of Employee Human Relations)
The Hawthorne Study เปนการศึกษาแนวคิดทางการบริหารที่เนนพฤติกรรม
องคการ โดยไดขอสรุปที่สําคัญคือ มนุษยมีความแตกตางจากเครื่องจักร ซึ่งเปนการ
กระตุนใหเห็นความสําคัญของพฤติกรรมมนุษยในองคการ และเปลี่ยนแปลงความคิดที่วา
มนุษยกับเครื่องจักรไมมีความแตกตางกันออกไป นอกจากนี้ยังไดผลสรุปที่แสดงวา แสง
สวางไมมีผลโดยตรงตอประสิทธิภาพในการทํางานของกลุม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 267 ~

การศึกษา The Hawthorne Study จึงมีความสําคัญตอการบริหารหรือการ


จัดการ เนื่องจากทําใหทราบวา ปทัสถานหรือมาตรฐานของกลุม แรงกดดันและการ
ยอมรับของกลุม (Social Norms) รวมทั้งความมั่นคง เปนตัวกําหนดพฤติกรรมในการ
ทํางานของแตละคน ซึ่งมีอิทธิพลตอการทํางานและผลผลิต หรือมีผลกระทบตอ
ประสิทธิภาพในการทํางาน ดังนั้นจึงเปนตัวกําหนดผลลัพธที่สําคัญ

ทฤษฎีการจูงใจในยุคแรก (Early Theory of Motivation)


ทฤษฎีการจูงใจในยุคแรกซึ่งเปนที่รูจักกันอยางกวางขวางมี 3 ทฤษฎี คือ
1. ทฤษฎีลําดับขั้นความตองการ (Hierarchy of Needs Theory)
Abraham Maslow เปนผูที่ศึกษาและเสนอแนวคิดทฤษฎีลําดับขั้นความ
ตองการ ซึ่งเปนที่รูจักกันอยางแพรหลายที่สุด และตอมาไดนําไปประยุกตใชในการจูงใจ
พนักงานในองคการอยางกวางขวาง โดยทฤษฎีนี้ไดตั้งสมมติฐานวา มนุษยมีความตองการ
ตามลําดับขั้นอยู 5 ประการ คือ
1) ความตองการทางดานรางกาย (Physiological Needs) เปนความ
ตองการขั้นพื้นฐานของมนุษย ซึ่งไดแก ความตองการอาหาร น้ํา ที่อยูอาศัย ยารักษา
โรค ความตองการทางเพศ และความตองการอื่น ๆ ที่รางกายตองการ
2) ความตองการความปลอดภัย (Safety Needs) เปนความตองการความ
มั่นคง ปลอดภัย และความคุมครองทั้งทางดานรางกายและจิตใจ
3) ความตองการทางสังคม (Social Needs) เปนความตองการความรัก
ความเปนเจาของ การยอมรับ (Recognition) และมิตรภาพ (สัมพันธภาพ)
4) ความตองการไดรับการยกยองนับถือ (Esteem Needs) เปนความ
ตองการที่เกิดจากปจจัยภายในที่เกี่ยวกับความนิยมเชื่อถือ เปนความตองการเพื่อตัวเอง
(Egoistic Needs)
5) ความตองการประสบผลสําเร็จตามที่ใฝฝน (Self - Actualization
Needs) หรือการบรรลุเปาหมายสูงสุดในชีวิต เปนความตองการที่คนเรามีอุดมการณหรือ
วาดฝนไว
ความตองการขั้นต่ํา (Lower - order Needs) เปนความตองการที่กอใหเกิด
ความพอใจภายนอก ไดแก ความตองการทางดานรางกาย และความตองการความ
ปลอดภัย สวนความตองการขั้นสูง (High - order Needs) เปนความตองการที่กอใหเกิด

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 268 ~

ความพอใจภายใน ไดแก ความตองการทางสังคม ความตองการไดรับการยกยองนับถือ


และความตองการประสบผลสําเร็จตามที่ใฝฝน
ความตองการดังกลาวจะตองเปนไปตามลําดับขั้น คือ ตองเริ่มตนจากความ
ตองการขั้นพื้นฐานกอน เมื่อไดรับการตอบสนองแลว มนุษยก็จะเกิดความตองการขั้นตอไป
เรื่อย ๆ ไมมีที่สิ้นสุด
Clayton Alderfer ไดแยงทฤษฎีของ Maslow วา ไมจําเปนที่มนุษยจะ
สนองตอบความตองการของตนเองตามลําดับขั้น แตอาจจะกระโดดขามขั้น หรือมีความ
ตองการพรอมกันทีเดียวหลายขั้นก็ได
2. ทฤษฎี X และทฤษฎี Y
Douglas McGregor ไดเสนอแนวคิดของคนที่แตกตางกันเปน 2 ดาน
คือ ดานลบ เรียกวา ทฤษฎี X และดานบวกเรียกวา ทฤษฎี Y โดยมีขอสมมติฐาน ดังนี้
ขอสมมติฐานของทฤษฎี X ไดแก
1) โดยธรรมชาติของมนุษยนั้นไมชอบทํางาน จึงมักจะพยายามหลีกเลี่ยง
หรือหนีงาน
2) เนื่องจากการที่คนไมชอบทํางาน ดังนั้นจึงตองบังคับ ขูเข็น ควบคุม
สั่งการ และลงโทษ เพื่อใหบรรลุเปาหมายขององคการ
3) คนเราจะพยายามบายเบี่ยงหรือหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ และจะ
พยายามทํางานตามที่ไดรับคําสั่งอยางเปนทางการเทานั้น
4) คนส ว นใหญ จ ะยึ ด ถื อ เรื่ อ งความมั่ น คงในการทํ า งานเหนื อ สิ่ ง อื่ น ใด
รวมทั้งมีความทะเยอทะยานเพียงเล็กนอยหรือไมมีความมักใหญใฝสูง
ขอสมมติฐานของทฤษฎี Y ไดแก
1) คนงานมองวาการทํางานเปนเรื่องปกติ เหมือนกับการพักผอนหรือ
การละเลนตาง ๆ
2) คนงานโดยทั่วไปสามารถควบคุมดูแลตนเองได จึงมักพยายามทํางาน
ดวยตนเอง
3) พนั ก งานโดยทั่ ว ไปสามารถเรี ย นรู ที่ จ ะยอมรั บ และแสวงหาความ
รับผิดชอบ
4) พนักงานโดยทั่วไปมีความสามารถในการตัดสินใจเรื่องตาง ๆ ได โดย
ไมจําเปนจะตองอยูในตําแหนงบริหารเทานั้น

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 269 ~

3. ทฤษฎีปจจัยอนามัยและปจจัยจูงใจ (Motivation Hygiene Theory)


Frederick Herzberg เปนผูเสนอแนวคิดทฤษฎีนี้ โดยแบงการจูงใจออกเปน 2 ปจจัย คือ
1) ปจจัยอนามัย (Hygiene Factor) ซึ่งเปนสิ่งอํานวยความสะดวกภายนอก
หรือปจจัยภายนอก (Extrinsic Factor) อันเปนปจจัยที่เอื้อตอการทํางาน ไดแก ความ
มั่นคงในการทํางาน เงินเดือนที่เพียงพอตอการยังชีพ ความสัมพันธระหวางผูบังคับบัญชา
กับผูใตบังคับบัญชา สัมพันธภาพกับเพื่อนรวมงาน นโยบายทางการบริหาร การ
อํานวยการ สถานภาพ ชีวิตสวนตัว และสภาพแวดลอมในการทํางาน ฯลฯ
2) ปจจัยจูงใจ (Motivator Factor) ซึ่งเปนสิ่งกระตุนภายในหรือปจจัยภายใน
(Intrinsic Factor) ไดแก ความเจริญเติบโตขององคการ ความเจริญกาวหนาในการทํางาน
ความรับผิดชอบตอหนาที่การงาน ลักษณะงานที่ทํา การยอมรับนับถือของคนอื่น และ
ความสําเร็จในการทํางาน ฯลฯ

ประเด็นปจจุบันและแนวโนมทางการบริหาร
William Ouchi เปนผูที่นําเสนอ "ทฤษฎี Z" (Z Theory) ซึ่งเปนการ
ผสมผสานหลักการบริหารงานของญี่ปุนหรือ "ทฤษฎี J" (Japanese Theory) กับหลักการ
บริหารงานของอเมริกันหรือ "ทฤษฎี A" (American Theory) เขาดวยกัน
หลักการบริหารงานตามทฤษฎี Z มีดังนี้
1. การจางงานตลอดชีพ (Life Employment)
2. การตัดสินใจรวมกัน (Collective Decision Marking)
3. ความรับผิดชอบเฉพาะบุคคล (Individual Responsibility)
4. การประเมินผลและการเลื่อนตําแหนงอยางลาชา (Slow Evaluation and
Promotion)
5. การควบคุมดูแลอยางไมเปนทางการ (Informal Control)
6. เสนทางอาชีพแบบเชี่ยวชาญเฉพาะทางในระดับปานกลาง (Moderately
Specialized Career Path)
7. มีความเกี่ยวของกันในลักษณะครอบครัว (Holistic Concern, Including
Family)
หลักการบริหารงานตามทฤษฎี J มีดังนี้
1. การจางงานระยะยาว (Long Term Employment)
2. การตัดสินใจเปนเอกฉันท (Consensual Decision Making)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 270 ~

3. ความรับผิดชอบแบบกลุม (Collective Responsibility)


4. การประเมินผลและการเลื่อนตําแหนงอยางลาชา (Slow Evaluation and
Promotion)
5. การควบคุมดูแลอยางไมเปนทางการ (Informal Control)
6. เสนทางอาชีพแบบไมเชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Nonspecialized Career Path)
7. มีความเกี่ยวของกัน (Holistic Concern)
หลักการบริหารงานตามทฤษฎี A มีดังนี้
1. การจางงานระยะสั้น (Short Term Employment)
2. การตัดสินใจโดยบุคคลใดบุคคลหนึ่ง (Individual Decision Making)
3. ความรับผิดชอบเฉพาะบุคคล (Individual Responsibility)
4. การประเมินผลและการเลื่อนตําแหนงอยางรวดเร็ว (Rapid Evaluation
and Promotion)
5. การควบคุมดูแลอยางเปนทางการ (Formal Control)
6. เสนทางอาชีพแบบเชี่ยวชาญเฉพาะทาง (Specialized Career Path)
7. แยกเปนสวน ๆ (Segmented Concern)
กําลังแรงงานที่หลากหลาย (Workforce Diversity) หมายถึง ในอนาคตเรา
จะพบพนักงานที่ทํางานอยูในองคการตาง ๆ จะมีความแตกตางกันในดานวัฒนธรรมและ
คุณลักษณะทางชีวภาพ เชน เพศ อายุ เชื้อชาติ ฯลฯ ซึ่งสิ่งที่ทาทายผูบริหารก็คือ การ
ที่จะตองบริหารกลุมคนที่มีงานทําดวยกัน แตมีพื้นภูมิ ชีวิตความเปนอยู ความตองการของ
ครอบครัว ฯลฯ ที่แตกตางกัน ใหสามารถทํางานรวมกันได
องคการแหงการเรียนรู (Learning Organization) หมายถึง องคการที่คน
ภายในองคการจะตองมีการพัฒนาศักยภาพ เพื่อปรับเปลี่ยนอยางตอเนื่อง และเพื่อใหทัน
กับการเปลี่ยนแปลงที่มีอยูตลอดเวลา
การใหสิทธิอํานาจเบ็ดเสร็จ (Empowerment) หมายถึง การที่ผูบังคับบัญชา
มอบอํานาจ(Power) และอํานาจหนาที่ (Authority) ใหแกผูใตบังคับบัญชารับไปดําเนินการ
อยางเต็มที่ภายใตกรอบที่กําหนด โดยธุรกิจจะใหทรัพยากรแกผูใตบังคับบัญชาตามความ
จําเปนและเหมาะสม ดังนั้น ผูใตบังคับบัญชาจะตองคิดเองทําเอง และตัดสินใจเอง นั่นคือ
ผู ใ ต บั ง คั บ บั ญ ชาสามารถดํ า เนิ น การตั ด สิ น ใจได เ องโดยไม ต อ งนํ า กลั บ มาขออนุ มั ติ ค รั้ ง
สุดทายอีก

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 271 ~

การบริหารงานเชิงคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ (Total Quality Management :


TQM) เปนปรัชญาทางการบริหารของ Edward Deming ที่มุงเนนประเด็นที่สําคัญเรื่อง
ความพึงพอใจหรือความสําคัญของลูกคา ความคาดหวัง และเนนการพัฒนาระบบการ
ทํางานอยางตอเนื่อง สามารถวัดผลไดโดยใชหลักสถิติ คณิตศาสตร และการกระจาย
อํานาจใหแกผูปฏิบัติงาน
หลักการของการจัดการเชิงคุณภาพแบบเบ็ดเสร็จ (TQM) มีดังนี้
1. มุงเนนที่ความสําคัญของลูกคาอยางจริงจัง
2. มุงเนนการปรับปรุงคุณภาพอยางตอเนื่อง
3. มุงเนนการปรับปรุงคุณภาพในทุกสิ่งทุกอยางที่องคการกระทํา
4. มุงเนนการวัดผลงานที่ถูกตอง เพื่อขจัดมูลเหตุที่จะกอใหเกิดปญหา
5. มุงเนนการใชอํานาจเบ็ดเสร็จ (Empowerment) แกพนักงาน เพื่อปรับปรุง
กระบวนการทํางาน
ตามหลักของ TQM จะมีลูกคาหรือบุคคลที่เกี่ยวของ ดังนี้
1. Internal Customer หมายถึง พนักงาน และหนวยงานฝายตาง ๆ
ในองคการ
2. External Customer หมายถึง ลูกคาขององคการ
การปรับลดขนาดขององคการ (Downsizing) หมายถึง ความพยายามใน
การปรับโครงสรางขององคการดวยการลดขนาดขององคการใหเล็กกะทัดรัด โดยการลด
จํานวนคนงานลงใหเหลือเทาที่จําเปน หรือการลดตําแหนงหนาที่การงานเพื่อลดขั้นตอนใน
การทํางานใหนอยลง ตลอดจนการลดขนาดของหนวยงานใหนอยลง แตมีประสิทธิภาพมาก
ขึ้น จึงเปนวิธีการปรับปรุงประสิทธิภาพในการบริหารงาน
การรื้อปรับระบบ (Reengineering) หมายถึง ความตองการที่จะ
เปลี่ยนแปลงโครงสรางดวยการรื้อปรับระบบการทํางานขององคการ เพื่อพัฒนาผลิตภาพทั้ง
ดานกระบวนการผลิตและผลการปฏิบัติงานดานการเงิน
ปจจัยสําคัญของการรื้อปรับระบบมี 4 ประการ คือ
1. เปนการพิจารณาถึงสิ่งที่เปนพื้นฐาน (Fundamental)
2. เปนการเปลี่ยนแปลงอยางถอนรากถอนโคน (Radical Change)
3. มีผลลัพธตอบสนองกลับมาอยางมหาศาล (Dramatic Resource)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 272 ~

4. เน น กระบวนการทํ า งาน(Process)ที่ ต อ งปรั บ ปรุ ง ทุ ก กระบวนการ


โดยเฉพาะกระบวนการหลั ก(Core Process)ไม ใช ป รั บ ปรุ ง เฉพาะกระบวนการใด
กระบวนการหนึ่ง
อุปสรรคในการรื้อปรับระบบในประเทศไทย มีดังนี้
1. ลักษณะปจเจกชน (Individual) ในสังคมไทย
2. คนไทยยอมรับถึงความแตกตางหรือชองวางระหวางตําแหนง
3. คนไทยชอบเปนผูเชี่ยวชาญเฉพาะดาน (Specialist) มากกวาเชี่ยวชาญ
หลายอยาง (Generalist)
4. การโยกยายสับเปลี่ยนงานมักถูกมองวาเปนการลงโทษ

วัฒนธรรมองคการและสภาวะแวดลอม
แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทของผูบริหารกับวัฒนธรรม
แนวคิดเกี่ยวกับบทบาทผูบริหารกับวัฒนธรรม แบงออกเปน 2 ประการ
คือ
1. แนวคิดตามทัศนะแบบดั้งเดิม (The Omnipotent View of Management)
กลาววา ผูบริหารเปนผูรับผิดชอบโดยตรงตอความสําเร็จหรือความลมเหลวของกิจการ และมี
ความเห็นวา ผูบริหารเปนผูที่มีความสามารถทุกอยาง เพื่อใหองคการประสบความสําเร็จได
หรืออาจกลาวไดวา หากกิจการประสบความลมเหลวก็ถือวา ผูนําเปนผูทําความผิดพลาด
2. แนวคิดแบบสัญลักษณ (The Symbolic View of Management) ให
ความเห็ น ว า การบริ ห ารงานเป น เพี ย งผลกระทบบางอย า งที่ มี ต อ ผลงานขององค ก าร
เนื่องจากมีปจจัยภายนอกองคการมากมายที่อยูนอกเหนือการควบคุมของผูบริหาร ดังนั้น
การกระทําของผูบริหารจึงเปนเพียงสัญลักษณของผลงาน ผูบริหารแทบจะไมไดมีอิทธิพล
ตอการดําเนินงานเลย

วัฒนธรรมองคการ
วัฒนธรรม (Culture) คือ กลุมของคานิยม ความเขาใจ ความเชื่อ และ
มาตรฐานที่สมาชิกในองคการยึดถือรวมกัน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 273 ~

วัฒนธรรมองคการ (Organizational Culture) คือ ระบบของการยึดถือในสิ่งที่


มีความหมายรวมกันของสมาชิกภายในองคการ อันมีอิทธิพลตอการปฏิบัติงาน การ
ตัดสินใจ และพฤติกรรมอื่น ๆ
วัฒนธรรมองคการแบงออกเปน 7 ประเภท คือ
1. นวัตกรรมและชอบเสี่ยง (Innovation and Risk Thing)
2. เนนในรายละเอียด (Attention to Detail)
3. เนนผลงาน (Outcome Orientation)
4. เนนบุคลากร (People Orientation)
5. เนนทีม (Team Orientation)
6. เนนเชิงรุก (Aggressiveness) ดวยการมุงมั่นไมยอมแพงาย ๆ
7. รักษาสถานภาพเดิม (Stability)
วัฒนธรรมที่เขมแข็ง - ออนแอ คือ วัฒนธรรมที่มีความเขมแข็งจะสงผล
กระทบตอพฤติกรรมของพนักงาน และมีความเกี่ยวของโดยตรงตอการลดการหมุนเวียนเขา
ออกของพนักงาน ซึ่งวัฒนธรรมที่เขมแข็งกวาจะมีอิทธิพลตอสมาชิกผูอื่นใหปฏิบัติหรือ
คลอยตาม แตวัฒนธรรมที่เขมแข็งก็เปนอุปสรรคตอการเปลี่ยนแปลงและเปนอุปสรรคตอ
ความหลากหลาย (Diversity)
องคการมีวัฒนธรรมที่เปนเอกภาพ (Uniform Culture) ไดแก วัฒนธรรม
หลักที่ครอบงํา (Dominant Culture) และวัฒนธรรมยอย (Subcultures)
วัฒนธรรมองคการและความมีระเบียบแบบแผน (Formalization) คือ
วัฒนธรรมองคการที่เขมแข็งจะสามารถใชแทนกันไดกับความเปนระเบียบแบบแผน เชน
สามารถทําใหเกิดการทํานายไดลวงหนา (Predictability), ความเปนระเบียบ (Orderliness)
และความสม่ําเสมอ
วัฒนธรรมมีหนาที่ดังนี้ คือ
1. ชวยถายทอดสามัญสํานึกของการเปนหนึ่งเดียว (Identity)
2. ทําใหเกิดการกระทําบางอยางที่มีมากกวาผลประโยชนของตนเอง
3. ทําใหความมั่นคงของระบบสังคมดีขึ้น
4. ใชเปนกลไกในการควบคุมสามัญสํานึกที่จะชวยชี้และกอรูปการรับรูและ
พฤติกรรมของพนักงาน
การกอใหเกิดขึ้นและการค้ําจุนวัฒนธรรม คือ วัฒนธรรมเริ่มตนมาจากผู
กอตั้งองคการ ซึ่งเปนผูมีอิทธิพลอยางมากในการกําหนดวัฒนธรรมในระยะเริ่มแรก โดยผู

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 274 ~

กอตั้งจะตองมีวิสัยทัศน (Vision) หรือ ภารกิจ (Mission) ที่องคการควรจะเปนและไมถูก


จํากัดโดยขนบธรรมเนียมที่แลวมา
พนักงานเรียนรูวัฒนธรรมองคการ (Corporate Culture) จากหลายรูปแบบ
เชน
1. เรื่องบอกเลา (Stories) เชน การบรรยายเรื่องราวตาง ๆ เกี่ยวกับผูกอตั้ง
ฯลฯ ซึ่งจะเปนอุทาหรณ และชวยใหมีแนวปฏิบัติที่ถูกตองในปจจุบัน
2. พิธีการ (Rituals) คือ กิจกรรมซึ่งเปนประเพณีที่ปฏิบัติสืบเนื่องกันมา
3. สัญลักษณทางวัตถุ (Material Symbols) ซึ่งใชในการตอบแทนพนักงาน
4. ภาษา (Language) ที่ใชในองคการ

สภาวะแวดลอม
สภาวะแวดลอม (The Environment) คือ สิ่งที่อยูภายนอกหรืออิทธิพลซึ่งมี
ความเปนไปไดที่จะสงผลกระทบตอการปฏิบัติงานขององคการ
ผลกระทบของสภาพแวดลอมที่มีบทบาทสําคัญตอการปฏิบัติงาน ไดแก
1. สภาพแวดลอมโดยทั่วไป (General Environment) หมายถึง
สภาพแวดลอมทุกอยางที่อยูภายนอกองคการ เชน เศรษฐกิจ สังคม การเมือง และ
เทคโนโลยี
2. สภาพแวดลอมเฉพาะดาน (Specific Environment) หมายถึง
สภาพแวดลอมสวนใดสวนหนึ่งที่มีผลโดยตรงตอการบรรลุเปาหมายขององคการ โดยทั่วไป
สภาพแวดลอมนี้เปนเอกลักษณและเปลี่ยนแปลงไปตามสภาพการณ ไดแก ผูขายวัตถุดิบ
(Suppliers) ลูกคา คูแขงขัน ตัวแทนของรัฐ และกลุมที่มีความสนใจเรื่องใดเรื่องหนึ่งเปน
พิเศษ
เทคโนโลยีขอมูลขาวสาร (Information Technology) เปนสิ่งที่มีผลกระทบ
ตอการดําเนินงานในปจจุบันเปนอยางมาก เนื่องจากความกาวหนาทางเทคโนโลยีจะทําให
ผูบริหารและพนักงานสามารถทํางานไดโดยใชเครื่องมือและการสื่อสารที่ทันสมัย เพื่อ
อํานวยความสะดวกไมวาจะอยูที่ใดก็ตาม
โลกาภิวัฒน (Globalization) หมายถึง การดําเนินงานของทุกองคการใน
ปจจุบันไดขยายอาณาบริเวณออกไปนอกเขตของประเทศนั้น ๆ ดังนั้นผูบริหารของทุก
องคการจึงตองเผชิญกับโอกาสและความทาทายของการดําเนินงานในโลกไรพรมแดน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 275 ~

การบริหารสํานักงานสมัยใหม

การบริหารขาวสารขอมูลและการบริหารงานสํานักงาน
การดําเนินงานโดยทั่วไปแลวมักจะมีความจําเปนตองเกี่ยวของกับงานขาวสาร
ขอมูลอยูเสมอ เชน การซื้อ การขาย การใหบริการ การผลิต บุคลากร การวางแผน การ
ควบคุมงาน เปนตน ดังนั้นจึงอาจถือวางานขาวสารขอมูลนัน้ เปนสากลเพราะจะปรากฏอยูใน
องคการทุกประเภท เชน ในรานคา โรงเรียน ธุรกิจ วัด โรงพยาบาล กองทัพ และสวน
ราชการตาง ๆ เปนตน
งานขาวสารขอมูล (Information) นี้ อาจเรียกวา งานหนังสือหรืองานกระดาษ
(Paper Work) ทั้งนี้เพราะมักจะใชกระดาษเปนสื่อกลาง ซึ่งตามความเปนจริงนั้นอาจใชสิ่ง
อื่นนอกเหนือไปจากกระดาษ เชน บัตร เทป ดิสก ไมโครฟลม เปนตน ดังนั้นจึงควรเรียกวา
งานขาวสารขอมูลหรืองานสารสนเทศมากกวางานหนังสือ
สํานักงาน (Office) หมายถึง สถานที่ที่ใชดําเนินงานหนังสือหรืองานขาวสารขอมูล
ดังนั้นตําราบางเลมจึงใชคําวาการบริหารงานขาวสารขอมูลและการบริหารงานสํานักงานใน
ความหมายเดียวกัน คือ อาจใชสับเปลี่ยนแทนกันได แตในที่นี้เราจะใชคําวาการบริหารงาน
สํานักงานโดยตลอด
ขอสังเกต ในปจจุบันการเก็บรวบรวมและบันทึกขอมูล มักจะเก็บลงในแผนดิสก
ไมโครฟลมและอื่น ๆ แทนการเก็บลงบนกระดาษ ดังนั้นกระดาษจึงมีความสําคัญนอยลง
และสํานักงานในอนาคตก็มีแนวโนมที่จะเปน IT Office (Information Technology Office)
คือ ใชเทคโนโลยีตาง ๆ ในการเก็บขอมูลมากขึ้น ซึ่งก็เปนแนวโนมของสํานักงานแบบ
Paper Less (สํานักงานที่ไรกระดาษ) นั่นเอง

ลักษณะของงานสํานักงาน
งานสํานักงานนั้นเปนงานประเภทใหบริการแกหนวยงานอื่น ๆ ในองคการ (Staff
ประเภท Service) เพื่อชวยใหหนวยงานเหลานั้นไดดําเนินงานอยางมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
เชน ชวยปอนขาวสารขอมูลใหกับผูบริหารสูงสุด ชวยฝายผลิตในดานการเก็บบันทึกขอมูล
ซึ่งจะนําไปใชประโยชนในการพิจารณาลดตนทุนการผลิตและหาวิธีปรับปรุงการผลิต ชวย
ฝายขายในการเก็บบันทึกขอมูลเกี่ยวกับการขาย เปนตน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 276 ~

ลักษณะสําคัญของงานสํานักงาน อาจสรุปไดดังนี้
1. เปนงานประเภทใหบริการแกหนวยงานตางๆ เพราะงานบริการนั้นถือ
วาเปนวัตถุประสงคหลักของการบริหารงานสํานักงาน
2. ขนาดของงานใหบ ริ ก ารในสํ านัก งานนั้ น ขึ้ น อยู กับ ป จจั ย ภายนอก
องคการ ซึ่งไมอาจควบคุมได เชน จํานวนการสงของ จํานวนลูกหนี้ที่จะเรียกเก็บได จํานวน
จดหมายติดตอดานการขาย เปนตน
3. ไมอาจคํานวณหากําไรไดโดยตรง เนื่องจากงานสํานักงานนั้นเปนการ
ใหบริการแกหนวยงานหลัก เชน ฝายผลิต ฝายขาย และฝายการเงิน จึงอาจกลาววา งาน
สํานักงานมีสวนรวมทางออมในการทํากําไร ใหธุรกิจ
4. มีลักษณะแตกตางจากงานอื่น ๆ คือ เปนงานเกี่ยวกับเอกสารตาง ๆ
การบันทึกขีดเขียนหรืองานหนังสือ หรืองานขาวสารขอมูล หรืองานสารสนเทศ
5. เปนงานสวนใหญในองคการบางประเภท เชน ในธนาคาร สวนราชการ
บริษัทประกันภัย บริษัทรับทําการโฆษณาตาง ๆ

วัตถุประสงคของการบริหารงานสํานักงาน
จุดประสงคพื้นฐานของการบริหารงานสํานักงาน ก็เพื่อที่จะจัดใหมีการรวมอํานาจ
ควบคุมงานสํานักงาน ตลอดจนงานดานบริการตาง ๆ ไวในสวนกลาง สวนวัตถุประสงค
โดยทั่วไปมีดังนี้
1. ประสานกิจกรรมอันเปนงานสํานักงานซึ่งปฏิบัติอยูในหนวยงานตาง ๆ
2. รักษามาตรฐานดานปริมาณและคุณภาพของการผลิต
3. จัดระบบและวิธีปฏิบัติงานใหมีประสิทธิภาพ ซึ่งจะชวยใหผลกําไรสูงขึ้น
4. จัดสภาพแวดลอมการทํางานทั้งดานปจจัยทางวัตถุและทางจิตใจใหเปนที่
พอใจของพนักงาน
5. จัดใหมีการควบคุมพนักงานสํานักงานอยางมีประสิทธิภาพ
6. จัดใหมีขอมูลที่จําเปนอยางครบถวนทันทวงทีตามตองการ
7. กําหนดหนาที่ความรับผิดชอบของพนักงาน สํานักงานและจัดสายการ
ติดตอสื่อสารใหเหมาะสม
8. กําหนดตารางเวลาการทํางานเพื่อใหสําเร็จตามเวลา
9. กําหนดวิธีปฏิบัติไวเพื่อจะไดเลือกบุคคลที่เหมาะสมกับงาน
10. ชวยใหพนักงานปฏิบัติงานอยางมีประสิทธิภาพสูง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 277 ~

11. ใหมีการใชเครื่องจักรเครื่องมืออยางถูกวิธีและเหมาะสม
12.เก็ บ รั ก ษาความปลอดภั ย ของข อ มู ล ที่ เ ป น ประโยชน ต อ การตั ด สิ น ใจของ
ผูบริหาร

งานสํานักงานเปนหนาที่อยางหนึ่ง
งานสํานักงานนั้นถือวาเปนหนาที่เฉพาะอยางหนึ่ง ซึ่งประกอบดวยสื่อกลาง
ตางๆ ที่จะใชในการติดตอสื่อสาร (Communication) ทั้งดวยวาจาและเปนลายลักษณอักษร
อันจําเปนสําหรับทุกหนวยงานโดยตลอดทั่วทั้งองคการ
ตามความเขาใจโดยทั่วๆ ไปนั้น มักจะถือกันวางานสํานักงานก็คือการจดบันทึกใน
เอกสาร การพิมพหนังสือ การเขียนจดหมายโตตอบ และการจัดทํารายงานตางๆ ซึ่งอาจ
สรุปวางานสํานักงานนั้นประกอบดวย 1. งานบัญชี 2. งานพิมพดีดและชวเลข 3. ธุรการ
โดยทั่ว ๆ ไปงานเหลานี้จะเนนหนักไปทางดานเทคนิคในการปฏิบัติและเปนงานประจําวัน
ธรรมดาของพนักงานมากกวาที่จะถือวาเปนหนาที่งานอยางหนึ่ง
เพราะฉะนั้น หากเรายอมรับวางานสํานักงานนั้นเปนหนาที่อยางหนึ่งมากกวาที่จะ
เนนในดานเทคนิคการปฏิบัติแลว ก็ไมควรจะตีความหมายของงานสํานักงานไปในทางดาน
โครงสรางทางกายภาพหรือทางวัตถุ อันไดแก ที่ตั้ง (Location) ของสํานักงาน เพราะวาที่ตั้ง
นั้นมีความสําคัญนอยกวาการปฏิบัติงานใหสําเร็จ แตตามปกติแลวสํานักงานจะตั้งอยู ณ ที่
ซึ่งมีการปฏิบัติงานสํานักงานอยางใดอยางหนึ่ง เชน พนักงานที่ตองเดินทางไปขายสินคาใน
ที่ตาง ๆ สํานักงานของเขาก็จะอยูที่ยานพาหนะที่เขานําไป หรือหองพักในโรงแรมที่เขาไป
พักนั่นเอง

กิจกรรมในสํานักงาน
กิจกรรมในสํานักงานเปนหนทางนําไปสูความสําเร็จเทานั้น หาไดเปน
กิจกรรมทีจ่ ะทําใหองคการไดรับผลสําเร็จโดยตรงไม เชน งานบันทึกขอมูลและการ
ติดตอสือ่ สารนั้น แมจะเปนงานที่มีมลู คานอย แตก็เปนสื่อทีจ่ ะทําใหงานผลิตหรืองานขาย
ประสบผลสําเร็จไดดวยดี
กิจกรรมในสํานักงานนั้นมีขอบเขตกวางขวาง แตผูบริหารสํานักงานขององคการใด
จะถือเอากิจกรรมใดเปนหนาที่ของตนบางนั้น ยอมแลวแตนโยบายของธุรกิจนั้น อยางไรก็
ตาม กิจกรรมตาง ๆ ที่อาจถือเปนหนาที่ของผูบริหารงานสํานักงานนั้น พอจะสรุปไดวามี
งานหลัก ๆ อยู 7 ประการ ดังนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 278 ~

1. จัดรูปงานในสํานักงานใหมีประสิทธิภาพ (Organizing) ไดแก


1) กําหนดวามีงานอะไรจะตองทําบาง พรอมทั้งบรรจุบุคคลที่มีคุณสมบัติ
เหมาะสมเขาไปทํางานนั้น ๆ
2) กําหนดความสัมพันธภายในองคการไวใหแนชัด
3) มอบหมายอํานาจหนาที่และความรับผิดชอบ
4) กําหนดความรับผิดชอบของพนักงานแตละตําแหนงไวใหแนนอน
2.จัดใหมีสิ่งอํานวยความสะดวกทางกายภาพในสํานักงานใหพอเพียง ไดแก
1) จัดแผนผังสํานักงาน จัดวางเครื่องใชสํานักงานและเครื่องมือตาง ๆ
2) จัดใหมีแสงสวางอยางพอเพียง
3) ขจัดเสียงรบกวนตาง ๆ
4) จัดใหมีการถายเทอากาศอยางพอเพียง
3. กําหนดรายละเอียดประกอบการจัดหาเครื่องมือเครื่องใชและวัสดุสํานักงาน
4. จัดใหมีเครื่องมือติดตอสื่อสารและการใหบริการอยางเพียงพอ
5. รักษาสัมพันธภาพอันดีระหวางนายจางและลูกนอง
6. วิเคราะหงานและปรับปรุงวิธีปฏิบัติงานในสํานักงาน
7. การควบคุมงานตาง ๆ ในสํานักงาน
กลาวโดยสรุป จํานวนหรือประเภทกิจกรรมสํานักงานของแตละองคการยอม
แตกตางกันไปตามความเหมาะสม ซึ่งขึ้นยูกับนโยบายของผูบริหารระดับสูงในองคการนั้น ๆ
ประกอบกับความรูความสามารถของผูบริหารสํานักงานดวย อยางไรก็ตาม ผูบริหาร
สํานักงานโดยทั่วไปยอมมีสิ่งที่เหมือนกันอยูหลายประการ ดังนี้
1. ตองรับผิดชอบในการดําเนินงานใหสําเร็จ โดยอาศัยบุคคลอื่นอันไดแก
ผูใตบังคับบัญชาของตน
2. ตองมีความรูความเขาใจในงานหลักขององคการ ซึ่งรวมถึงการใหบริการ
ตาง ๆ ดวย
3. ตองรวบรวมทักษะและเทคนิคในการบริหาร โดยคํานึงอยูเสมอวา “There
is always a better way” คือ การทํางานนั้นยอมมีวิธีที่ดีกวาเสมอ
4. อยามองหาสูตรมหัศจรรยสําหรับทุกปญหา เพราะวาการแกปญหาแตละ
เรื่องนั้นยอมตองอาศัยวิธีการที่แตกตางกันออกไป

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 279 ~

ผูบริหารงานสํานักงาน
ผูบริหารงานสํานักงานจะตองรับผิดชอบในการสนับสนุนใหองคการธุรกิจนั้นๆ
สามารถแขงขันกับธุรกิจอื่นๆ ได แตเขาจะมีสวนชวยสนับสนุนไดมากเพียงใดนั้นยอมขึ้นอยู
กับฐานะในองคการ (Status) ความสามารถในการจัดการและการกําหนดนโยบายของเขาเอง
ดวย

ฐานะในองคการของผูบริหารสํานักงาน
โดยทั่วๆ ไปแลว ผูบริหารงานสํานักงานยังไมไดรับยกยองใหอยูในตําแหนงผูบริหาร
ระดับสูงแตมักจะกําหนดฐานะของผูบริหารงานสํานักงานใหอยูภายใตการบังคับบัญชาของ
ผูบริหารระดับสูง เชน รองผูจัดการ (Vice President) ผูอํานวยการบัญชี (Controller)
ผูจัดการใหญ หรือผูบริหารอื่น ๆ โดยในองคการขนาดเล็กนิยมกําหนดใหผูบริหารงาน
สํานักงานขึ้นตรงตอผูจัดการบริษัทเลย แตในองคการขนาดใหญมักจะกําหนดใหผูบริหาร
งานสํานักงานขึ้นตรงตอหัวหนาฝาย ซึ่งอยูภายใตการบังคับ-บัญชาของรองผูจัดการบริษัท
ทั้งนี้แลวแตนโยบายขององคการนั้น ๆ วาจะใหความสําคัญแกงานสํานักงานเพียงใด
เพราะฉะนั้น ผูจัดการงานสํานักงานในฐานะที่เปนผูบริหารคนหนึ่งจึงมีหนาที่ทางการ
บริหารเชนเดียวกับผูบริหารอื่นๆ คือวางแผน จัดองคการ จัดหาบุคคลเขาทํางาน อํานวยการ
และควบคุมงาน

ชื่อตําแหนงของผูบริหารงานสํานักงาน
ผูที่ทําหนาที่บริหารงานสํานักงานนั้นอาจไดรับชื่อตําแหนงตางๆ กัน ซึ่งอาจทําให
ไมทราบวามีหนาที่บริหารงานสํานักงานก็ไดดัง เชน ผูจัดการสํานักงาน (Office Manager)
ผูบริหารงานสํานักงาน หรือผูจัดการฝายธุรการ (Administrative Office Manager) ผูจัดการ
บริการในสํานักงาน (Manager Office Services) รองผูจัดการ (Vice President) ผูจัดการ
ทั่วไป (General Manager) ผูอํานวยการบัญชี (Controller) ผูจัดการงานบุคคล (Personnel
Manager) เปนตน

หนาที่บริหารของผูจัดการงานสํานักงาน
Gulick ไดกําหนดหนาที่พื้นฐานในการบริหารเอาไววาประกอบดวย การวางแผน
การจัดองคการ การจัดบุคคลเขาทํางาน การอํานวยการ การประสานงาน การจัดทํารายงาน
และการจัดทํางบประมาณ สวน Koontz และ O’Donnell เสนอวาหนาที่ทางการบริหาร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 280 ~

ประกอบดวย การวางแผน การจัดองคการ การจัดบุคคลเขาทํางาน การอํานวยการ และการ


ควบคุม
ดังนั้นผูจัดการสํานักงานในฐานะที่เปนผูบริหารคนหนึ่ง จึงมีหนาที่ทางการบริหาร
เชนเดียวกับผูบริหารอื่น ๆ ดังนี้
1. การวางแผน (Planning) ผูบริหารงานสํานักงานตองวางแผนกิจกรรม
สํานักงานในอนาคต โดยมุงเนนในการปรับปรุงกิจกรรมใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น โดย
1) การวางแผนระยะสั้น ซึ่งมีกําหนดไมเกิน 1 ป เชน วางแผนและ
กําหนดเวลาฝกอบรม วางแผนปรับปรุงวิธีปฏิบัติงาน และวางแผนการปฏิบัติงานประจํา เปน
ตน
2) การวางแผนระยะยาว กําหนดระยะ 5 ป หรือมากกวานี้ เชน การ
วางแผนปรับปรุงพื้นที่ทํางาน ปรับปรุงการจัดแผนผังสํานักงาน การนําวิธีการอัตโนมัติเขา
มาใชการเพิ่มอัตรากําลังคนและอื่นๆ เพื่อใหพนักงานไดรับสนองตอบความตองการดาน
ความมั่นคงในอาชีพ
2. การจัดองคการ (Organizing) หมายถึง การจัดหมวดหมูและกําหนด
หนาที่ความรับผิดชอบของแตละตําแหนงแตละกลุมใหชัดเจน
3. การจัดหาบุคคลเขาทํางาน (Staffing) หมายถึง การกําหนดวิธีการจัดหา
การคัดเลือก การฝกอบรมพนักงานสํานักงาน ตลอดจนการกําหนดวิธีการใหประโยชนตอบ
แทน
4. การอํานวยการ (Directing) หมายถึง การเปนผูนําพนักงานซึ่งอยูภายใต
การบังคับบัญชาของตน โดยมุงในดานความเขาใจอันดีตอกันระหวางพนักงานกับพนักงาน
และระหวางพนักงานกับผูบริหาร
5. การควบคุม (Controlling) หมายถึง การติดตามวัดประสิทธิภาพผลงาน
ของกิจกรรมแตละอยาง เชน การรับสงหนังสือ การซอมแซมเครื่องมือเครื่องใช การใชพื้นที่
สํานักงาน เปนตน

คุณสมบัติของผูบริหารงานสํานักงาน
ผูจัดการสํานัก งานจะตองเป น ผู ที่มีค วามรู ทั่ วไปเกี่ย วกับงานหลั ก ทุ กประเภทใน
องคการ กับทั้งตองมีความรูเปนอยางดีในงานบางอยาง ตองสามารถแกปญหาในทาง
ปฏิบัติงานทุกประเภท คือ ตองเปนผูรูรอบทุกดาน การบริหารงานสํานักงานจึงจะดําเนินไป
ไดอยางมีประสิทธิภาพ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 281 ~

Johnson and Savage ไดกําหนดคุณสมบัติโดยทั่วไปของผูจัดการสํานักงานไว


ดังนี้
1. ความเปนผูนํา (Leadership) คือ ตองมีศิลปในการเปนผูนําที่ดี
2. มีไหวพริบ (Intelligence) คือ ตองมีความสามารถแกไขปญหาตาง ๆ
สามารถติดตอสื่อสารกับพนักงานโดยทั่วไป
3. ความมั่นคง (Stability) คือ ตองเปนบุคคลที่มีจิตใจมั่นคง เพื่อที่จะพยายาม
หันเหพฤติกรรมของผูรวมงานใหรวมมือรวมใจปฏิบัติงาน
4. สัมพันธไมตรี (Liaison Capacity) คือ ตองมีความสามารถในการติดตอ
สัมพันธกับบุคคลทุกระดับ
5. ความสามารถในการมอบหมายงานใหผูอื่นทํา (Ability to Delegate) คือ
ผูบริหารควรจะมอบหมายงานใหตรงกับความสามารถของพนักงานแตละคน โดยตนเองเปน
เพียงผูใหคําแนะนําและควบคุมบังคับบัญชาเทานั้น
6. ความเปนผูมองเห็นเหตุการณไกล (Vision) คือ ตองมองวาในอนาคตนาจะ
มีอะไรเกิดขึ้น
7. ตองมีความเขาใจในดานการจัดองคการเปนอยางดี (Understanding
Organization) เพื่อที่จะไดคิด แกไขปรับปรุงองคการและระบบงาน
8. ตองเปนผูมีความสามารถในงานชวยบริหาร (Administrative Ability) ซึ่ง
อาจเรียกวา งานธุรการไดเปนอยางดี
9. การศึกษา (Education) คือ ตองเปนผูที่มีความรู ความสามารถ และมี
ประสบการณ
10.อารมณขัน (Humor) เพื่อชวยผอนคลายความตึงเครียดในสถานการณตาง ๆ
ได
11.ความสามารถในการวิเคราะห (Analitical Ability) เพื่อวิเคราะหรายงานและ
สถานการณตาง ๆ
12.ความสามารถดานการจัดการ (Management Ability) คือ ตองเปนผู
สามารถประสานงานเพื่อใหงานดําเนินไปอยางมีประสิทธิภาพและรวดเร็ว
13.ความสามารถในการขายความคิด (Selling Ability) เพื่อชี้แจงใหผูบริหาร
ระดับสูงเห็นคลอยตามดวยกับเหตุผลตาง ๆ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 282 ~

14.คุณสมบัติอื่นๆ คือ ผูจัดการสํานักงานควรมีความสามารถในการปฏิบัติงาน


ตาง ๆ เชนเดียวกับพนักงาน

การบริหารงานแบบวิทยาศาสตรในสํานักงาน
การบริหารงานแบบวิทยาศาสตร คือ การนําหลักวิทยาศาสตรไปใชในการแกปญหา
ของธุรกิจและรวมถึงการใชเทคนิคตาง ๆ ในการบริหาร หรือหมายถึง การบริหารงานที่เปน
รูปธรรม มีหลักเกณฑ มีเหตุผลและมีขอมูลรองรับ เชน มีสูตรชวยในการคํานวณ มีหลักการ
ทํางานที่เปนขั้นตอน เปนมาตรฐานกับการทํางานลักษณะนั้น ๆ เปนตน
Neuner กลาววา การบริหารงานแบบวิทยาศาสตรนั้นอาจสรุปไดวา หมายถึง
“การกระทําอยางมีเหตุผลโดยใชสามัญสํานึก” แตคําวา “สามัญสํานึก” (Common
Sense) นั้นยากที่จะใชคํานิยาม เพราะวาเราจะไมทราบวาเราไดใชสามัญสํานึกหรือไม
จนกวาเราจะไดรับผลและประเมินผลเสียกอน โดยใชคําถามตอไปนี้
- ทําไมจึงตองทํางานนี้ ? - Why is this job done ?
- จะตัดออกไปเสียไดไหม ? - Can it be eliminated ?
- รวมเขาดวยกันไดไหม ? - Can it be combined ?
- ทําใหงายขึ้นไดไหม ? - Can it be simplified ?
- ใชบุคคลที่เหมาะสมแลวหรือ ? - Are the right personnel used ?
การใชคําถามขางตนนี้ เปนวิธีที่มีเหตุผลและนําไปใชไดกับกิจกรรมทุกประเภท
ซึ่งอาจกลาววา เปนวิธีใชสามัญสํานึกนั่นเอง ดังนั้นผูบริหารงานสํานักงานจึงควรปฏิบัติงาน
ตามหลักวิทยาศาสตรเพื่อลดตนทุนในการปฏิบัติงาน และเพื่อเพิ่มปริมาณงานใหสูงขึ้น

แนวทางการปฏิบัติงานสํานักงานแบบวิทยาศาสตร มีดังนี้
1. ผูบริหารสํานักงานตองมีการวางแผน จัดองคการ และ
ควบคุมงานสํานักงาน รวมทั้งตองนําพนักงานในสํานักงานปฏิบัติงานใหสําเร็จดวย
2. จัดแผนผังสํานักงานตามหลักวิทยาศาสตรเพื่อขจัดการเคลื่อนไหวที่ไมจําเปน
ออกไป
3. นํ า เครื่ อ งจั ก รเครื่ อ งมื อ อั ต โนมั ติ ไ ปใช ใ นการปฏิ บั ติ ง านสํ า นั ก งานเพื่ อ การ
ประหยัด
4. ศึกษาเวลาและการเคลื่อนไหวในการทํางาน หาวิธีทํางานใหงายขึ้น และทําการ
วัดผลงานในสํานักงาน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 283 ~

5. ควรศึกษาหาวิธีจดั ระบบและวิธีปฏิบตั ิงานสํานักงานใหมี


ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น และเสียตนทุน นอยลง
6. ปรับปรุงระบบการจัดเก็บเอกสารใหสอดคลองกับระบบการควบคุมแบบฟอรม
เพื่อขจัดความสิ้นเปลืองในดานการจัดเก็บเอกสาร

สํานักงานอัตโนมัติ (Office Automation หรือ O.A.)


สํานักงานอัตโนมัติ หรือ O.A. มีผูใหความหมายไวตาง ๆ กัน ดังเชน
- ณรงค อิงคธเนศ ไดใหความหมายวา “โอเอ หมายถึง อุปกรณทุกอยางที่
สํานักงานใชอยูและสามารถเชื่อมตอกันได ใชงานรวมกันไดทั้งหมด หมายรวมถึงอุปกรณใน
สํานักงานที่ใชไฟฟาดวย โอเอสวนใหญเปนสินคาที่เกี่ยวกับอิเล็กทรอนิกสซึ่งถือเปนไฮเทค
อยูแลว ถาไมเปนอิเล็กทรอนิกสก็ไมสามารถปรับเปนโอเอได โอเอ … ตองเชื่อมตอกันไดทุก
แบบ”
- สมภพ อมาตยกุล ไดใหความเห็นวา “ความเปนสํานักงานอัตโนมัติมิไดมี
เพียงเครื่องใชที่เปนไฮ-เทคเทานั้น ยังครอบคลุมไปถึงความสะดวกสบายใจ ความปลอดภัย
ในการทํางานของพนักงานดวย นี่คอื การนําไฮ-เทคมาใชในชีวติ ประจําวันของการทํางานที่
สมบูรณแบบ”
- มิตสโอะ จิมปุ มองวา พัฒนาการของ O.A. เปนการเปลี่ยนจากการเขียน
ดวยมือ (ใชมือ) มาเปนเครื่องทุนแรง เชน พิมพดีด เครื่องคอมพิวเตอร เปนตน การนํา
อุปกรณใหม ๆ มาใชไมใชแคชวยงานใหสําเร็จรวดเร็ว แตชวยใหมีประสิทธิภาพยิ่งขึ้นดวย
การที่ O.A. เขามามากขึ้นจะชวยลดภาระของพนักงานใหงานงายยิ่งขึ้น มีเวลาในการคิดคน
สรางสรรคไดมากขึ้น และยังแยกประเภท O.A. ออกได 3 พวก คือ
1) เครื่องใชสํานักงานที่เปนเครื่องทุนแรง เชน เครื่องพิมพดีด เครื่อง
ถายเอกสาร
2) คอมพิวเตอร
3) โทรคมนาคม

*******************************************************************************

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 284 ~

ความเปนมาของเศรษฐศาสตร
สภาพเศรษฐกิจและสังคม
ประเทศในแถบยุโรปในชวงกลางศตวรรษที่ 18 ถึงตนศตวรรษที่ 19 เปน
ชวงเวลาที่มีความเจริญเติบโตทางอุตสาหกรรมมาก ทําใหเกิดการอพยพหลั่งไหลของคนงาน
จากชนบทสูตัวเมือง ซึ่งปญหาที่เกิดขึ้นตามมาก็คือ เกิดการเอาเปรียบทางดานคาจางตาง ๆ
นานา แนวคิดแบบสังคมนิยมจึงถือกําเนิดขึ้น
สาเหตุที่ทําใหเกิดแนวคิดแบบสังคมนิยมก็คือ
1. เกิดการลมสลายของระบบพึ่งพาตนเองหรือระบบเจาขุนมูลนาย
ทั้งนี้เนื่องมาจากมีการรวมตัวกันเปนชาติมากขึ้น และเกิดชนชั้นใหมที่มีอํานาจ นั่นก็คือพวก
พอคาหรือผูที่เปนเจาของทุนตาง ๆ
2. มีการปฏิวัติในฝรั่งเศส ทําใหเกิดการขัดแยงกันระหวางพวกทหาร
กับประชาชน รวมทั้งแนวคิดผลประโยชนของปจเจกชนก็เริ่มถูกโจมตีมากขึ้น และหันมา
สนับสนุนผลประโยชนในเชิงกลุม คือ กลุมชนชั้นเดียวกันแทน
3. มีการปฏิวัติอุตสาหกรรมในอังกฤษ ทําใหเกิดปญหาสังคมตาง ๆ
ตามมา เชน มีการอพยพของ คนจนจากชนบทเขามาหางานทําในเมือง ทําใหแรงงานตอง
ทํางานหนักแตไดคาแรงนอย มีการพัฒนาเทคโนโลยีตาง ๆ มากมาย ทําใหแรงงานถูกไล
ออก และเกิดการขัดแยงระหวางนายจางกับคนงานจนถึงขั้นเผาโรงงาน (1719) เปนตน
4. ความทุกขยากของคนงานจากสภาพการทํางานที่เลวราย คนงาน
ทํางานหนักในระยะเวลาที่ยาวนาน แตไดรับคาจางต่ํา และไมมีความปลอดภัยในการทํางาน
รวมทั้งการนําเครื่องจักรเขามาแทนแรงงานทําใหแรงงานถูกไลออกและไมมีงานทํา
ลั ท ธิ สั ง คมนิ ย มจะเป น ลั ท ธิ ที่ มี แ นวคิ ด ขั ด แย ง กั บ กลุ ม คลาสสิ ก และกลุ ม
ธรรมชาตินิยม (ฝายเสรีนิยม) ในบางประเด็น โดยเฉพาะประเด็นหลักที่สังคมนิยมมุงเนนก็
คือ การสรางสวัสดิการทางสังคมและตอตานผลประโยชนของปจเจกชน ทําใหแนวความคิด
ของนักเศรษฐศาสตรสังคมนิยมมักถูกเรียกวาเปน “ฝายซาย”
ขอแตกตางระหวางลัทธิสังคมนิยมกับลัทธิทุนนิยม มีขอสังเกตดังนี้
1. ใครเปนเจาของปจจัยการผลิต ปจจัยการผลิตในที่นี้หมายถึงสินคา
ที่เปนทุน (Capital Goods) ไดแก โรงงาน เครื่องจักร เครื่องมือ วัตถุดิบ ฯลฯ สําหรับความ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 285 ~

เปนเจาของไดแก สามารถใช จําหนาย ดูแลรักษา ตลอดจนหารายไดจากปจจัยการผลิต


นั้นๆ ได ซึ่งใครจะเปนเจาของปจจัยการผลิตนี้อาจแบงเปนใหญ ๆ ได 3 อยาง คือ
1) เอกชนหรือเอกชนรวมกลุมกันเปนเจาของปจจัยการผลิตและ
ทรัพยสินอื่น ๆ โดยรัฐมี หนาที่เพียงใหการคุมครอง ถือเปนระบบเศรษฐกิจแบบเสรี
(Economic Liberalism) หรือระบบนายทุน (Capitalism) ซึ่ง เอกชนมีกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพยสินได (Private Property)
2) รัฐบาลเปนเจาของปจจัยการผลิตและทรัพยสินตาง ๆ โดยรัฐจะ
ใชอํานาจของตนเขาดําเนินธุรกิจเอง และเอกชนจะไมมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน ทั้งนี้เพื่อทําให
ทุกคนทํางานไดคาจางพอที่จะซื้อหาปจจัย 4 และเปนการตัดการแขงขันที่รุนแรง ซึ่งจะถือ
เปนลัทธิสังคมนิยม (Socialism)
3) เอกชนและรัฐบาลเปนเจาของปจจัยการผลิตได คือ เอกชน
สามารถตั้งโรงงานไดและรัฐบาลก็ตั้งไดเมื่อเห็นสมควร แตตองไมคากําไรเพื่อชวยประชาชน
ใหมีพอใช เชน กิจการสาธารณูปโภคตาง ๆ กิจการคมนาคมขนสง กิจการทางทหาร หรือ
กิ จ การที่ เ ป น อุ ต สาหกรรมขั้ น มู ล ฐาน เป น ต น นอกนั้ น ควรปล อ ยให เ อกชนทํ า เพื่ อ ช ว ย
บรรเทาภาระของ รัฐบาล จึงเรียกลัทธินี้วาลัทธิเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economy)
2. ใครมีอํานาจตัดสินปญหาทางเศรษฐกิจ คือ ใครมีอํานาจบอกวาให
ผลิตอะไร ผลิตจํานวนเทาไร ผลิตอยางไร ซึ่งผูที่จะตัดสินปญหาดังกลาวมี 2 ฝาย คือ
1) เอกชนเปนผูตัดสินเรียกวาระบบทุนนิยม หรือเอกชนตัดสินรวม
กับรัฐเรียกวา ระบบเศรษฐกิจแบบผสม นอกจากนี้ยังมีกลุมผลประโยชนตาง ๆ เชน สหภาพ
แรงงาน สมาคมนายจาง ฯลฯ เขามามีสวนชวยในการตัดสินปญหาดวย
2) ใหรัฐบาลฝายเดียวเปนผูตัดสินปญหาทางเศรษฐกิจ โดยการ
แตงตั้งคณะกรรมการวางแผนเศรษฐกิจ เรียกระบบสังคมนิยม
3. ใชกลไกอะไร (Mechanism) ในการตัดสินปญหาพื้นฐานทาง
เศรษฐกิจ อาจจะแบงได 2 อยาง คือ
1) ใชกลไกตลาด (Market Mechanism) บางทีอาจเรียกวา
เสรีภาพทางเศรษฐกิจ หรือมือที่มองไมเห็นหรือการปลอยใหเปนไปเอง อันเปนการทํางาน
ของ Demand และ Supply ที่เปนตัวกําหนดราคา ถือเปนการดําเนินงานตามระบบทุนนิยม
2) ดําเนินการไปตามการชี้แนะหรือออกคําสั่งใหทํา โดยมี
คณะกรรมการวางแผนสวนกลางเปนผูกําหนดวาจะใหบริษัทใดผลิตอะไร จํานวนเทาไร
ราคาเทาไร เปนตน วิธีนี้เรียกวาสังคมนิยมแบบบังคับ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 286 ~

หากประเทศใดมีทั้งเอกชนดําเนินการโดยอาศัยกลไกตลาด และบาง
ธุรกิจยังใหคณะกรรมการวางแผนสวนกลางกําหนดเปาหมาย ราคา และนโยบายแลวออก
คําสั่งใหทํารวมอยูดวย เรียกวาระบบเศรษฐกิจแบบผสม

แนวคิดที่สําคัญของระบบสังคมนิยม
แนวคิดที่สําคัญของระบบสังคมนิยม ไดแก
1. รัฐเปนเจาของปจจัยการผลิตตาง ๆ และดําเนินการผลิตดานอุตสาหกรรม
ที่สําคัญ
2. ไมมีทรัพยสินสวนตัวและการมีชนชั้น
3. ใชการวางแผนสวนกลาง
4. ไมเห็นดวยกับการมีผลกําไร
5. ไมใช Demand, Supply
แนวคิดสังคมนิยมเกิดขึ้นเนื่องมาจากความแตกตางของชนชั้นที่มีทรัพยสิน
และชนชั้นไมมีทรัพยสิน แนวทางแกไขปญหาความแตกตางของชนชั้นดังกลาวในสังคมมี 2
แนวคิดดวยกัน
1. แนวคิดสังคมนิยมยูโทเปย (Utopia Socialism) หรือสังคมนิยมอุดม
คติหรือสังคมนิยมเพอฝน เปนแนวคิดที่เสนอใหมนุษยในสังคมชวยเหลือกันมากขึ้น โดย
คํานึงผูยากไรในสังคมเปนพิเศษพยายามสรางโลกใบใหมที่มีแตความยุติธรรม ลดความ
โหดรายทารุณ รัฐควรเขามายุงเกี่ยวกับระบบเศรษฐกิจมากขึ้นและขจัดการมีกรรมสิทธิ์ใน
ทรัพยสิน นักคิดที่มีแนวคิดดังกลาวไดแก โรเบิรต โอเวน, ชารลส ฟูริเออร, หลุยส บลังค
และ ปแอร โจเชฟ ปรูดอง
2. แนวคิ ด ของมาร ก ซ ห รื อ แนวคิ ด สั ง คมนิ ย มวิ ท ยาศาสตร
(Scientific Socialism) แนวคิดของมารกซเปนสังคมนิยมวิทยาศาสตร เพราะวิเคราะหสังคม
ตามที่เปนมาและเปนไป และตามวิวัฒนาการของประวัติศาสตรแบบวัตถุนิยมไดอาเล็คติค
โดยมารกซเชื่อวาการตอสูเพื่อใหไดมาซึ่งระบบสังคมนิยมจะตองใชกําลังเพื่อปฏิวัติโดยชน
ชั้นกรรมาชีพ และการตอสูระหวางชนชั้นจะนําไปสูระบบเผด็จการของชนชั้นกรรมาชีพ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 287 ~

แนวความคิดที่สําคัญของนักเศรษฐศาสตรแตละคน
โรเบิรต โอเวน (Robert Owen ค.ศ. 1771 – 1858)
Owen เปนชาวอั งกฤษที่ไดชื่อว าเป นบิ ดาแห งกระบวนการสหกรณ
(Cooperation) โดยเขาไดเสนอใหมีการจัดตั้งชุมชนขึ้นเปนหมูบานสหกรณในกิจการเกษตร
และการผลิตเพื่อแกไขปญหาการวางงานโดยใหผูวางงานเปนสมาชิกของ สหกรณ
นอกจากนี้ Owen ยังพบวา การนําเครื่องจักรเขามาใชในการผลิตอยาง
รวดเร็วเกินไป จะสรางความลําบากใหกับคนงาน เกิดสภาพความเสื่อมโทรมของสิ่งแวดลอม
อั นเกิ ดจากการที่ นายทุ นพยายามสะสมความมั่ งคั่ งจากกํ าไรไม สิ้ นสุ ด คนงานกลายเป น
เครื่องมือเพื่อแสวงหาประโยชนแกนายทุน ทําใหคนงานรวมตัวกันประทวง กอการจลาจล
และเกิดการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจสังคมในที่สุด Owen จึงไดเสนอแนวคิดในการปฏิรูป
สังคมเพื่อแกไขปญหาโดย
1. มุงปรับปรุงสถานภาพของคนงานใหดีขึ้น โดย Owen เห็นวา
“คนงานควรไดรับความเอาใจใสเชนเดียวกับเครื่องจักร” นอกจากนี้ Owen ยังเปนผูริเริ่มให
ลดจํานวนชั่วโมงการทํางานของคนงานลง จากวันละ 17 ชั่วโมงใหเหลือ 10 ชั่วโมง และงด
การจางแรงงานเด็กอายุต่ํากวา 10 ขวบ แตจัดใหเขาเรียนแทน
2. เปลี่ยนแปลงทัศนะในเรื่อง “กําไร” ซึ่ง Owen เห็นวากําไรเปนบอ
เกิดแหงความยุงยากทั้งปวง การแขงขันเสรีไมอาจทําใหกําไรหมดไปได และควรใชบัตร
แรงงานเขาแทนเงินตรา เพราะการเลิกใชเงินโลหะจะทําใหกําไรหมดไป
3. ใชสถานแลกเปลี่ยนแรงงานแหงชาติ (The National Equitable
Labour Exchange) เปนสถานที่แลกเปลี่ยนสินคากับแรงงาน ทั้งนี้ก็เพื่อยกเลิกการมีกําไร
นั่นเอง ดวยวิธีการใหสมาชิกนําสินคาที่ผลิตไดไปแลกกับบัตรแรงงาน ทั้งนี้เพื่อจะไดนําบัตร
แรงงานไปแลกกับสินคาชนิดอื่นที่มีจํานวนชั่วโมงการทํางานเทากัน ยกตัวอยางเชน ผลิต
เสื้อผา 1 ชุดใชเวลาทํา 24 ชั่วโมง จะแลกกับตูเสื้อผาซึ่งใชเวลาทํา 48 ชั่วโมงได ก็จะตองหา
เสื้อผา 2 ชุดมาแลก เปนตน
ความลมเหลวของสถานแลกเปลี่ยนแรงงานแหงชาติก็คือ
1) สมาชิ ก ไม แ จ ง ชั่ ว โมงที่ ใ ช ใ นการผลิ ต สิ น ค า ของตนอย า ง
ตรงไปตรงมา แตกลับพยายามแจงเวลาการผลิตไดมากกวาความเปนจริง
2) สินคาที่สมาชิกนํามาแลกมักเปนสินคาที่ไมมีผูตองการ
3) ผูที่มิไดเปนสมาชิก เชน พวกพอคาภายนอกก็มีสิทธินําสินคามา
แลกบัตรแรงงานได ทําใหมีการเอาสินคาที่คนไมตองการมาแลกบัตรแรงงาน แลวแลกเปน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 288 ~

สินคาที่คนตองการออกไปขายขางนอก ทําใหเขาไดรับกําไรมาก ซึ่งผิดกับความตั้งใจของ


Owen ที่จะตัดกําไร ในที่สุดสถานแลกเปลี่ยนแรงงานก็ลมไป
4. หมูบานแหงความรวมมือ (Village of Cooperation) Owen มี
ความเห็นคลายกับ Fourier ที่ตองการจัดระเบียบสังคมโลกเสียใหม โดยการจัดตั้งหมูบาน
แหงความรวมมือขึ้นมา เพื่อแกไขปญหาความยากจนและภาวะโหดรายของสังคมในชวงที่
เศรษฐกิจเสื่อมโทรม โดย Owen ไดไปตั้งชุมชนอุดมคติในรัฐ Indiana ประเทศสหรัฐอเมริกา
และตั้งชื่อวา “ความผสมผสานใหม” (New Hamony) ซึ่งในครั้งนี้เขาประสบความลมเหลว
อยางยอยยับ ทั้งนี้อาจเปนเพราะเขาไวเนื้อเชื่อใจคนที่เขามาอยูในชุมชนมากเกินไป และการ
วางแผนที่ไมรอบคอบพอ

ชารลส ฟูริเออร (Charles Fourier ค.ศ. 1772 – 1837)


Fourier เปนชาวฝรั่งเศสที่มีแนวคิดสังคมนิยมอุดมคติหรือสังคมนิยมแบบ
Utopia และเปนเจาของแนวคิดที่สําคัญในเรื่อง “เมืองสวน” หรือ “ฟาลังสแตร”
(Phalanstere) ซึ่งแนวคิดดังกลาวไดแก
1. การใหคนอยูรวมกันโดยไมจํากัดเสรีภาพในการทํางาน และมีสิ่งอํานวย
ความสะดวกคอยชวยเหลือหนาที่การงานที่แตละคนพอใจจะทํา
4
2. การแบงรายไดตามสัดสวนที่ทํางานไดกับฟาลังสแตร เชน แบงใหแก
12
5 3
สมาชิกในรูปเงินปนผล , แบงใหแกผูทํางานผลิตในรูปของคาแรง และ แบงใหแกฝาย
12 12
จัดการ
3. การยอมใหมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสินสวนตัว
เหลานี้เปนรูปแบบของสหกรณคลายคลึงกับลักษณะคิดบูท (Kitbuth) ใน
อิสราเอล จึงนับวา Fourier เปนนักสมาคมนิยม (Associationism) ผูหนึ่ง

ปแอร โจเซฟ ปรูดอง (Piere Joseph Proudhon ค.ศ. 1809 – 1865)


Proudhon เปนชาวฝรั่งเศสที่เปนนักคิดพวกอนาคิสม (Anarchism) คือ พวก
ที่ไมเห็นดวยกับการมีรัฐบาล และไมเห็นดวยกับการสะสมทรัพยสิน หรือความมั่งคั่งที่ไดมา
จากค าเช า ดอกเบี้ ย หรือ กํา ไรเพราะความมั่ง คั่ งเช น นี้ ถือ วามี ลัก ษณะที่ค ลายการขโมย
(Property is Thift) คือ ไมไดลงแรงในการที่จะไดสินคามา (Unearned Income) แตถาหาก
ทรัพยสินที่ไดมาเกิดจากการลงแรงทํางานเขาแลก การไดเปนเจาของทรัพยสินหรือความมั่ง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 289 ~

คั่งก็เปนสิ่งที่ถูกตอง นอกจากนั้น Proudhon ยังไมเห็นดวยกับกลไกราคาที่คอยเปนตัว


จัดสรรทรัพยากร
Proudhon ไดตั้ง “ธนาคารเพื่อการแลกเปลี่ยน” ขึ้นมาในป ค.ศ. 1849 โดย
ธนาคารเพื่อการแลกเปลี่นยนี้มีสิทธิออกบัตรแลกเปลี่ยนเพื่อใหกูยืมโดยไมคิดดอกเบี้ย และ
เพื่อใชเปนสื่อกลางในการแลกเปลี่ยนระหวางสมาชิกของธนาคาร โดยเก็บคาธรรมเนียมนิด
หนอยเพื่อใหคุมคาใชจายในการดําเนินงานของธนาคาร นับเปนแนวคิดที่ทําใหเกิดตั๋วแลก
เงินขึ้นมา แต Proudhon ก็ถูกจับเสียกอนที่จะไดดําเนินการนี้

ยีน ชารลส เดอร ซิสมอนดิ (Jean Charles De Sismondi ค.ศ. 1773 – 1842)
Sismondi เกิดที่เจนีวา ประเทศสวิตเซอรแลนด และเปนนักประวัติศาสตรที่
ทําธุรกิจ เขียนหนังสือเลมหนึ่ง คือ “หลักการใหญแหงวิชาเศรษฐศาสตร” ซึ่งแนวคิดของ
Sismondi จะแตกตางจากแนวคิดของพวกคลาสสิกในทุก ๆ ดาน เชน
1. พวกคลาสสิกเห็นวาเศรษฐศาสตรเปนเรื่องเกี่ยวกับการผลิต ดังจะเห็น
ไดจากงานเขียนหนังสือ The Wealth of Nations ของ Adam Smith ที่บอกวาความมั่งคั่ง
เกิดจากการแบงงานกันทํา ซึ่งก็คือการผลิตนั่นเอง แต Sismondi เห็นวาเศรษฐศาสตรเปน
วิชาที่รัฐบาลควรนําไปใชในการบริหารงานใหเหมาะกับภาวะเศรษฐกิจ เพราะจะทําใหบริหาร
งายขึ้น นอกจากนี้ Sismondi ยังเห็นตอไปวา เศรษฐศาสตรเปนวิชาทางศีลธรรมที่สอนให
มนุษยแสวงหาความอยูดีกินดี
2. พวกคลาสสิกเชื่อในเรื่องกลไกตลาดวาเปนตัวตัดสินปญหาพื้นฐานทาง
เศรษฐกิจ และอธิบายวา ถา Supply > Demand ราคาสินคาจะลดลง แลวผูผลิตจะหยุดการ
ผลิตหรือผลิตใหนอยลง แต Sismondi เห็นวาการปรับตัวของกลไกตลาดจะทําใหเกิดการ
วางงาน กลาวคือ ถา Supply > Demand จะทําใหการผลิตสินคามีมากมายลนเหลือ แลว
ผูผลิตก็จะหยุดการผลิต รวมทั้งไลคนงานออกจากงาน แลวความทุกขยากก็จะเกิดขึ้น นั่น
แสดงวา Sismondi จะมองไปที่คนมากกวากลไกการผลิต
3. พวกคลาสสิกเห็นวาการเห็นแกประโยชนสวนตัวจะเปนพลังผลักดันที่
ทําใหการผลิตและการบริโภคมีประสิทธิภาพสูงสุด แต Sismondi กลับมองวาการเห็นแก
ประโยชนสวนตัวหรือผลประโยชนของปจเจกชนจะกอใหเกิดการ ขัดแยงกับผลประโยชน
สวนรวม
4. พวกคลาสสิกเห็นวาทรัพยสินควรเปนของปจเจกชน หรือเอกชนควรมี
กรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน แต Sismondi เห็นวาทรัพยสินควรเปนของรัฐมากกวา

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 290 ~

นอกจากนี้ Sismondi ยังมองวาวิกฤตการณทางเศรษฐกิจ เกิดขึ้นเนื่องจาก


การนําเครื่องจักรเขามาใชทําใหคนงานเกิดการวางงาน ผลที่ตามมาก็คือเกิดการตอสูระหวาง
ชนชั้นขึ้น (Sismondi ถือเปนคนแรกที่พูดถึงการตอสูระหวางชนชั้นกอน Karl Marx)

แซงต ซีมอง (Siant Simon ค.ศ. 1760 – 1825)


Simon เปนชาวฝรั่งเศสเกิดในครอบครัวยากจน แนวคิดที่สําคัญของเขา
ไดแก
1. Simon มีความเชื่อวากฎทางวิทยาศาสตรสามารถอธิบายกฎเกณฑ
ของมนุษยไดดีกวาพลังเหนือธรรมชาติ ซึ่งสังคมของมนุษยจะมีการพัฒนาเปนขั้นตอนใน
ลักษณะที่วา
1) เทววิทยา คือ การอธิบายปรากฏการณตาง ๆ ที่เกิดขึ้นดวย
พลังเหนือธรรมชาติ เชน อํานาจที่มาจากพระเจา ผีสาง เทวดาตาง ๆ
2) อภิปรัชญา คือ ปรากฏการณที่มนุษยอธิบายในลักษณะที่เปน
นามธรรมที่จับตองไมได เพราะเปนปรากฏการณ หรือเปนคําถามที่มนุษยไมเขาใจ หรือไมรู
วาจะอธิบายอยางไร เชน คําถามที่ถามวา “ตายแลวไปไหน” เปนตน
3) กฎวิทยาศาสตร เปนการอธิบายปรากฏการณที่เกิดขึ้นมาแลว
มนุษยไมเขาใจดวยกฎเกณฑทางวิทยาศาสตร ซึ่ง Simon จะเชื่อในกฎเกณฑทาง
วิทยาศาสตรวาสามารถอธิบายปรากฏการณของสรรพสิ่งตาง ๆ ไดดีกวาอะไรทั้งหมด
2. Simon ไมเห็นดวยกับผลประโยชนสวนตัวของพวกคลาสสิก แตเขา
กลับเห็นวาการเห็นแกประโยชนของชนชั้นเดียวกัน (Class Interest) จะทําใหผลิตผลเพิ่มขึ้น
เชน คนงานรวมตัวกันตอรองกับนายจาง ก็จะทําใหผลผลิตเพิ่มขึ้น
3. Simon ไมเห็นดวยกับการมีกรรมสิทธิ์ในทรัพยสิน เพราะจะทําใหคนมี
ทรัพยสินไมเทากัน และการแขงขันไมยุติธรรม
4. พวกคลาสสิกเห็นวาการแข งขันจะกําหนดคาจางให เทากั บกําไร แต
Simon ไมเห็นดวยกับการแขงขัน เพราะการแขงขันทําใหศีลธรรมเสื่อม กลาวคือ คนมีอํานาจ
จะทํ าลายคนที่ อ อ นแอกว า คนชนะก็จ ะทํา ลายคนแพ ทํา ให ศีล ธรรมเสื่ อ ม เพราะฉะนั้ น
Simon จึงเห็นวา การปกครองโดยรัฐ ควรใชวิธีการปกครองในรูปสภาอุตสาหกรรม
(Industrial Parliament)
สภาอุตสาหกรรมสามารถจําแนกเปนกรรมการคณะตาง ๆ ดังนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 291 ~

1) คณะกรรมการคนควา (Chamber of Invention) มีกรรมการ


300 คน ประกอบดวย วิศวกรโยธา 200 คน นักประพันธ 50 คน ศิลปน 25 คน สถาปนิก 15
คน และนักดนตรี 10 คน มีหนาที่คือทําแผนงานสาธารณะเพื่อเพิ่มความมั่งคั่งใหแกฝรั่งเศส
และปรับปรุงสภาพความเปนอยูใหดีขึ้น
2) คณะกรรมการตรวจสอบ (Chamber of Examination) มี
กรรมการ 300 คน สวนใหญควรเปนนักคณิตศาสตรกายภาพ มีหนาที่คือประเมินคา
โครงการที่คณะกรรมการคนควาเสนอมา
3) คณะกรรมการบริหาร (Chamber of Executive) ไมกําหนด
จํานวนคณะกรรมการ โดยใหประกอบดวยผูทํางานในอุตสาหกรรมสาขาตาง ๆ มีหนาที่คือ
พิ จ ารณาแผนส ว นรวมและมี อํ า นาจยั บ ยั้ ง แผนทั้ ง หมดที่ ค ณะกรรมการค น คว า และ
คณะกรรมการตรวจสอบเสนอมา รวมทั้งมีหนาที่ในการเก็บภาษีดวย ถือเปนคณะกรรมการที่
มีความสําคัญมาก
5. Simon เห็นวาระบบสังคมขัดกันอยู 2 ประการ คือ
1) กอนปฏิวัติฝรั่งเศส ทหารมีอํานาจและกําลังครองอํานาจทาง
การเมือง สวนประชาชนก็เลื่อมใสนับถือศาสนาอยางงมงาย ทําใหประเทศพัฒนาชา
2) หลังปฏิวัติฝรั่งเศส ไดตื่นตัวทางอุตสาหกรรม มีการนําเอา
เทคโนโลยีและวิทยาศาสตรเขามาใชในการพัฒนา Simon เห็นวาจะทําใหผลผลิตเพิ่ม และ
ทําใหสวัสดิการของสังคมในอนาคตดีขึ้นดวย
6. Simon เสนอวาควรจะมีการจัดรูปใหมของสังคม (Social
Reorganization) โดยใหมนุษยควบคุมวัตถุมิใชมาคอยควบคุมมนุษยดวยกัน โดยการ
ควบคุมนี้ควรใหเปนอํานาจของผูบริหารอุตสาหกรรม (Industrial Administration) และเขาไม
เห็นดวยกับการที่รัฐจะเขาไปยุงเกี่ยว เพราะจะทําใหเกิดความเสียหายแกอุตสาหกรรมได
7. Simon เห็นตรงขามกับพวกคลาสสิกในเรื่องไมควรชวยคนที่ออนแอ
หรือพิการ โดยเขาสนับสนุนใหรัฐบาลจัดหางานใหผูที่รางกายสมบูรณและชวยเหลือผูพิการ

คารล มารกซ (Karl Marx ค.ศ. 1818 – 1883)


Marx เปนชาวยิว เกิดที่เมืองเทรียร (Trier) ประเทศเยอรมนี แนวความคิด
ของ Marx จะไดรับอิทธิพลมาจากนักปรัชญาชาวเยอรมันเปนสวนใหญ ที่สําคัญไดแก เฮเกล
ในเรื่องวิภาควิธี นอกจากนี้ Marx ยังไดรับแนวคิดมาจากพวกคลาสสิก เชน Adam Smith

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 292 ~

และ Ricardo ในเรื่องทฤษฎีมูลคาแรงงาน รวมถึงแนวคิดที่ไดรับมาจากพวกสังคมนิยมอุดม


คติ จาก Fourier และ Proudhon เปนตน
ตรงนี้ตองทําความเขาใจกอนวา Marx ไมไดเขียนอะไรเกี่ยวกับสังคมนิยม แต
จะเปนเพียงผูวิพากษวิจารณแนวคิดตาง ๆ ที่รับมาเทานั้น ซึ่งแนวคิดของ Marx ทุกเรื่องจะ
เปนแบบวิภาควิธีทั้งหมด กลาวคือ ในความคิดทุกชนิด มันจะมี 2 ดานดวยกัน คือ จุดยืน
(Thesis) กับจุดแยง (Anti-Thesis) ซึ่งจุดยืนกับจุดแยงนี้มันจะขัดกัน ทําใหเกิดจุดใหมขึ้นมา
ที่เรียกวา จุดสังเคราะห (Synthesis)
ผลงานที่สําคัญของ Marx ไดแก ขอประกาศของคอมมิวนิสต (Communist
Manifesto) และ ผลงานที่เขียนรวมกับ ฟรีดริช เองเกลล (Freidrich Engels) คือ ทุน (Das
Capital) 3 เลม ซึ่ง Engels ถือเปนมิตรแทของ Marx และเปนผูพิมพหนังสือ Das Capital
ภายหลังที่ Marx เสียชีวิต
Marx มีความเปนนักเศรษฐศาสตรคลาสสิกมากกวาคนในกลุมคลาสสิก เชน
จอหน สจวต มิลล ซึ่งมีแนวคิดขัดแยงกับกฎธรรมชาติ (Natural Law) อันเปนกฎที่กลุม
คลาสสิกสวนใหญยึดถือ ในขณะที่ Marx กลับทําการวิเคราะหภายในกรอบของกฎธรรมชาติ
โดยเฉพาะคําอธิบายของ Ricardo ที่ Marx ทําความเขาใจอยางแจมแจง แลวเขาก็ไดใช
ความคิดที่ไดรับมาทั้งหมดโจมตีขอสรุปของเศรษฐกิจทุนนิยม โดย Marx ไดชี้ใหเห็นจุดออน
ของระบบตลาดวามันจะทําลายตัวมันเองในที่สุด อันถือเปนความลมเหลวของกลไกตลาด
นอกจากนี้หนังสือ “Das Capital” ของ Marx ยังถือไดวามีความยิ่งใหญ
เทียบเทากับหนังสือ “The Wealth of Nations” ของ Adam Smith ทีเดียว
Marx เกิดที่ประเทศเยอรมนีในป ค.ศ. 1818 และถึงแกกรรมที่ประเทศอังกฤษ
เมื่อป ค.ศ. 1883 รวมอายุได 65 ป

แนวความคิดที่สําคัญของ Marx ไดแก


1. การขัดกันของผลประโยชน (Conflict of Interest)
Adam Smith กลาววา การแบงงานกันทําจะทําใหผลผลิตเพิ่มขึ้น แต
Marx กลับมองวาการแบงงานกันทําจะทําใหเกิดการขัดกันของผลประโยชน และจะกอใหเกิด
การตอสูระหวางชนชั้น (Class Struggle) ตามมา เชน ระหวางนายจางกับลูกจาง ผูปกครอง
กับผูใตปกครอง และคนรวยกับคนจน เปนตน
2. พลังเคลื่อนและพลังนิ่งในสังคมทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงทางสังคม
(Social Change)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 293 ~

การแบงงานกันทําจะทําใหเกิดพลังการผลิต (Productive Force) ที่เปน


พลังเคลื่อน (Dynamic Force) อันประกอบไปดวย ที่ดิน แรงงาน ทุน และเทคโนโลยี สวน
พลังนิ่ง (Static Force) จะประกอบดวย ความสัมพันธระหวางมนุษยกับทรัพยสิน และ
ความสัมพันธระหวางมนุษยกับมนุษยดวยกันเอง
พลังเคลื่อนกับพลังนิ่งจะรวมกันผลักดันใหสังคมมีศาสนา กฎหมาย และ
รัฐบาล แตการปฏิวัติและการตอสูกันระหวางชนชั้น จะทําใหโครงสรางของสังคมพังพินาศลง
นั่นคือ ไมมีกฎหมาย ไมมีรัฐบาล ซึ่งทฤษฎีทางสังคมของ Marx ไดสรุปไวเปนรูปปรามิด
ขางลาง ดังนี้

Social Superstructure
ศาสนา, กฎหมาย, รัฐบาล
พลังนิ่ง Private
Property and Wage System
พลังการผลิต (พลังเคลื่อน)
ที่ดิน แรงงาน ทุน และเทคโนโลยี

3. ลัทธิทุนนิยม (Capitalism) หรือลัทธินายทุน


Marx ไดเขียนหนังสือชื่อ “Capital” โดยใหความหมายของลัทธิทุนนิยมวา
เปนระบบเศรษฐกิจอยางหนึ่งที่ยอมใหประชาชนทํามาหาเลี้ยงชีพดวยการผลิต แตนําสินคา
มาทําการซื้อขาย สินคาในที่นี้จะตองมีคุณสมบัติดังนี้
1. เปนของมีประโยชน ประชาชนใชได
2. มนุษยผลิตขึ้น
3. นํามาขายในตลาด หากผลิตหรือมีขึ้นอยูเฉย ๆ ยังไมเปนสินคาจนกวา
จะนํามาซื้อขาย
4. สามารถแยกจากผูผลิตได เชน คนทําหมวก แยกเอาหมวกไปขาย แต
ถาหากคนปรุงอาหารเพื่อรับประทาน ไมอาจแยกจากผูผลิต ยังไมเปนสินคา
ในการวิจารณระบบทุนนิยม Marx มีแนวความคิดวาการแลกเปลี่ยนของ
ระบบทุนนิยมจะทําใหเกิดการขัดแยงกันในเรื่องของผลประโยชน แลว Marx ยังมองตอไปอีก

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 294 ~

วากลไกการแลกเปลี่ยนมันไมทํางาน เนื่องจากวามันมีการขัดแยงกันภายในกลไกของมันเอง
ซึ่งตามแนวความคิดของ Marx การขัดแยงกันระหวางชนชั้นและการตอสูระหวางชนชั้นจะทํา
ใหเกิดชนชั้นใหมขึ้นมา เชน การขัดแยงกันระหวางขุนนางกับทาสตาง ๆ เหลานี้จะทําใหเกิด
พวกพอคาขึ้นมา ซึ่งระบบทุนนิยมหรือพวกพอคาที่เกิดขึ้นมานี้ Marx ถือวาเปนจุด
สังเคราะหหรือ Synthesis
Marx เห็นวาระบบทุนนิยมจะลมสลายลง เพราะการแขงขันในระบบทุน
นิยมหรือการแขงขันของนายทุนดวยกันเอง ที่จะพยายามเพิ่มการผลิตโดยการแบงงานกัน
ทํ า ซึ่ ง เป น ผลทํ า ให เ กิ ด การแบ ง ชนชั้ น เกิ ด ความแตกต า งระหว า งชนชั้ น และการขั ด
ผลประโยชนระหวางกลุมชนตาง ๆ จนเปนเหตุใหเกิดการตอสูอยางรุนแรงจนถึงขั้นปฏิวัติ
Marx ไดอธิบายถึงการอวสานของทุนนิยมอยางมีเหตุผล โดยการนําเอา
สภาวการณบางอยางที่เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจมาอธิบาย และใชเปนเครื่องมือโจมตีระบบ
ทุนนิยม ซึ่งไดแกเรื่องมูลคาสวนเกิน (Surplus Value) การเอารัดเอาเปรียบ (Exploitation)
และวัฎจักรธุรกิจ (Business Cycle)
4. มูลคาสวนเกิน (Surplus Value) และการเอารัดเอาเปรียบ
Marx เห็นดวยกับ Malthus และ Ricardo ในเรื่องคาจางวา คนงานจะ
ไดรับคาจางเพียง “คาจางพอประทังชีพ” (Subsistence Wage) แต Marx อธิบายเพิ่มเติมวา
คนงานตองทํางานดวยระยะเวลายาวนานและผลิตสิ่งที่มีมูลคาเกินคาแรงที่ไดรับ นั่นก็คือเกิด
มูลคาสวนเกิน หรือ Surplus Value ซึ่งถือเปนกําไรที่นายทุนจะไดรับนั่นเอง
ดังนั้นมูลคาสวนเกิน (Surplus Value : S.V.) จึงหมายถึง ผลตางระหวาง
รายไดทั้งหมดที่นายทุนไดรับ (Total Revenue : T.R.) กับคาจางที่คนงานไดรับ (Wage :
W) หรือ S.V. = T.R. – W นั่นเอง
ในเรื่องทฤษฎีมูลคาสินคากับแรงงาน Adam Smith และ Ricardo (สํานัก
คลาสสิก) เห็นวามูลคาของ สินคาขึ้นอยูกับแรงงานและความเหนื่อยยาก ซึ่ง Marx ก็เห็น
ด ว ยกั บ แนวความคิ ด นี้ แล ว ยั ง เสริ ม ต อ ไปอี ก ว า แรงงานเท า นั้ น ที่ เ ป น ผู ก อ ให เ กิ ด มู ล ค า
สวนเกิน ไมใชเครื่องจักร
ทฤษฎีมูลคาคิดจากแรงงาน (The Labour Theory of Value) ของลัทธิ
คลาสสิกจะขัดแยงกับทฤษฎีการขูดรีด (Exploitation) ของ Marx กลาวคือ ทฤษฎีมูลคา
แรงงานของพวกคลาสสิ ก อธิบ ายวามู ลค า ของสิ น คาทุก ชนิ ด จะขึ้ น อยู กั บ แรงงาน ดั ง นั้ น
แรงงานจึงควรไดรับผลตอบแทนมากที่สุด แตทฤษฎีการขูดรีดของ Marx กลับพบวาแรงงาน
เปนปจจัยที่ไดรับผลตอบแทนนอยที่สุด กลาวคือ ในระบบทุนนิยมจะมีการแบงมูลคาของ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 295 ~

สินคาออกเปน 3 สวน คือ คาเชา คาจาง และกําไร โดยคาเชาและกําไรจะเปนสวนที่นายทุน


ไดรับและเกิดจากการกระทําของนายทุนอันเปนการขูดรีดแรงงาน เชน
1. กดคาจางใหต่ํากวาที่ควรจะเปน
2. ขยายชั่วโมงการทํางานใหมากขึ้น โดยไมเพิ่มคาจางหรือจายเทาเดิม
3. นายทุนจะเอากําไรที่ไดรับไปลงทุนเพิ่มในดานเครื่องมือ เครื่องจักรทําให
ธุรกิจขยายตัว ซึ่งนายทุนจะใชทุนเหลานี้แทนแรงงานกลุมที่มีคาตัวหรือคาจางสูง ๆ อันจะ
ทําใหคนงานลดลง
เหลานี้จะทําใหเกิดมูลคาสวนเกินหรือกําไรของนายทุนนั่นเอง
ตามทฤษฎีมูลคาของ Marx ไดตั้งสูตรไวคือ
มูลคา P = C + V + S เมื่อ C คือตนทุนคงที่ (Constant Capital) ไดแก
คาเสื่อมราคาของเครื่องจักร เครื่องมือ เครื่องใช และวัตถุดิบ ฯลฯ V คือ ตนทุนหมุนเวียน
หรือทุนหมุนเวียน (Variable Capital) คือ ทุนเปลี่ยนแปลง ไดแก คาจาง และ S คือ
สวนเกินในการผลิต (Surplus Value) คือ สวนที่ไมไดจายเปนคาจางแกคนงาน ดังนั้น Marx
จึงสรุปไดวาในสังคมที่กาวหนาหรือสังคมในระบบทุนนิยมที่ดี มูลคาหรือราคา (P) จะขึ้นอยู
กับตนทุนคงที่ (C) ตนทุนผันแปร (V) และ มูลคาสวนเกิน (S) สวนในสังคมที่ยังไมพัฒนา
มูลคาจะขึ้นอยูกับแรงงาน และมูลคาสวนเกินเทานั้น
ทุน (Capital) ตามความหมายของ Marx เชน เครื่องมือ เครื่องจักร จะตรง
กับคําวา Capital Goods หรือสินคาที่เปนทุนนั่นเอง

นอกจากการอธิบายขางตนแลว ยังมีอัตราสวนตาง ๆ ที่ Marx นํามาใช


บอย ๆ เชน
C/V คือ องคประกอบอินทรียของทุน (Organic Composition of
Capital)
S/V คือ อัตราสวนของมูลคาสวนเกินหรืออัตราสวนการขูดรีดนั่นเอง
S/C + V คือ อัตราสวนของกําไร (Rate of Profit)
ตรงนี้ Marx บอกวา ถาองคประกอบอินทรียของทุนหรือทุนเพิ่มมากขึ้น
จะทําใหกําไรลดลง เพราะฉะนั้นถาตองการใหกําไรเพิ่มขึ้นก็จะตองทําการเพิ่มอัตราสวนของ
มูลคาสวนเกินหรืออัตราการขูดรีด (S/V) เขาไปมาก ๆ แตความทุกขยากของแรงงานก็จะ
เกิดขึ้นมากดวย เชน โดนไลออกหรือทํางานในระยะเวลายาวนานขึ้น ทั้งนี้ก็เพื่อเพิ่มมูลคา

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 296 ~

ส ว นเกิ น ให แ ก เ จ า ของทุ น นั่ น เอง แล ว การต อ สู ร ะหว า งชนชั้ น หรื อ การขั ด แย ง ระหว า ง
ผลประโยชนก็จะเกิดขึ้นมาก ทําใหสังคมอยูไมได
การสะสมของกองทัพคนวางงาน (Reserved Army) จะเปนสวนผสมของ
นายทุ น ระดั บ เล็ ก และระดับ กลางที่ อ ยู ไ มไ ด ต อ งออกจากการแข ง ขั น รวมทั้ ง จํ า นวนคน
วางงานที่เพิ่มมากขึ้น อันเนื่องมาจากการนําเอาเครื่องจักรเขามาแทนคนงานนั่นเอง
5. วัฏจักรธุรกิจ (Business Cycle)
ในเรื่องการวางงาน Marx ไดนําเอาความคิดเรื่อง Under Consumption
หรือการบริโภคนอยเกินไปและออมมากเกินไป มาอธิบายลักษณะของวัฏจักรธุรกิจดวย
กลาวคือ ในระบบนายทุนจะเปนกลุมที่มีรายไดมาก แตเงินสวนใหญจะถูกนําไปใชในการ
ออมมากกวาการบริโภค สวนกลุมคนงานหรือกลุมคนที่ยากจนจะมีอยูเปนจํานวนมาก ถือ
เปนกลุมที่มีรายไดนอย มีความตองการบริโภคมาก แตอํานาจซื้อต่ํา ดวยเหตุนี้สินคาที่ผลิต
ออกมาก็จะขายไมได การลงทุนจะหยุดชะงัก การปลดคนงานก็จะดําเนินตอไป และวัฏจักร
เศรษฐกิจก็จะมีความรุนแรงขึ้นทุกที
สมการที่นํามาใชอธิบายคือ Y = C + S เมื่อ Y = รายได C = การบริโภค
และ S = การออม
∴ ตามความคิดของ Marx วัฏจักรธุรกิจเกิดขึ้นมาเนื่องจากสาเหตุ ดังนี้
1. การลงทุนกับการออมที่ไมสมดุลกัน เชน การออมที่มากเกินไป ทําให
อุปสงครวมไมเทากับอุปทานรวม
2. ความยากจนของแรงงาน ทําใหการบริโภคนอยลง
6. กฎการเคลื่อนไหวของลัทธิทุนนิยม (Laws of Capitalist Motion)
Marx ไดกลาวถึงการเปลี่ยนแปลงทางเทคนิค (Technological Change)
เปนพลังขับเคลื่อนสังคม (Social Dynamics) กฎนี้เขาแยกยอยออกมาเปน 5 กฎดวยกัน
1. กฎอัตรากําไรเพิ่มและลด เมื่อมีการสะสมทุนมาก กําไรจะลดลง
2. กฎการรวมอุตสาหกรรมขึ้นตอสํานักงานใหญ ตรงนี้อาจสรุปไดวา
อุตสาหกรรมรวมกันเพราะ
1) การแขงขัน นายทุนมักแขงขันเพื่อขยายกิจการใหมีขนาดใหญ
โดยผลิตใหไดมาก สินคามีคุณภาพ ราคาถูก เพื่อแยงลูกคา นายทุนคนใดชนะมีกําไรหรือ
ไดเปรียบก็จะทําลายนายทุนขนาดเล็กใหเลิกลมกิจการ แลวหาทางรวมเขาเปนกิจการขนาด
ใหญ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 297 ~

2) ใชเทคโนโลยีใหมที่มีประสิทธิภาพ ทําใหผลิตสินคาไดมาก
แลวบริษัทเล็ก ๆ ที่กระจายอยูตามหัวเมืองจํานวนมากก็จะมารวมกันในดานนโยบายการ
ผลิต การขายอยูสวนกลางในสํานักงานใหญหรือบริษัทแม ทุนจึงรวมเพื่อดําเนินการขนาด
ใหญ
3. กฎคนวางงานในอุตสาหกรรมเพิ่มขึ้น Marx ไมเห็นดวยกับ
ลัทธิทุนนิยมที่นําเครื่องจักรเขามาแทนแรงงาน จนทําใหคนวางงาน ซึ่งอาจจําแนกได 2
ประการ คือ
1) การวางงานเกิดจากการนําเครื่องจักรใหมเขามาใชแทนแรงงานคน
2) การวางงานเนื่องจากเศรษฐกิจตกต่ํา
4. กฎการเพิ่มทุกขเข็ญแกคนงาน เชน คนงานถูกไลออก หรือ
ทํางานในระยะเวลาที่ยาวนานขึ้น เพื่อเพิ่มอัตราสวนเกินใหมาก แลวความทุกขยากของ
คนงานก็จะเพิ่มขึ้น
5. กฎเศรษฐกิจจะตกต่ํา การที่นายทุนสะสมความร่ํารวยไมมีที่
สิ้นสุด จะทําใหคนวางงาน อันเนื่องมาจากการนําเครื่องจักรเขามาใชแทนคนงาน อันเปน
สัญญาณแหงเศรษฐกิจตกต่ําและเพิ่มความทุกขเข็ญใหแกคนงาน
สรุป สาเหตุของวิกฤตการณของระบบเศรษฐกิจทุนนิยมจากขอเขียนของ
Marx เกิดจากเหตุ 3 ประการ คือ
1. ความอดอยากยากแคนของคนงาน
2. การผูกขาดการผลิตโดยนายทุนไมกี่รายเทานั้น
3. ปญหาความตกต่ําของเศรษฐกิจ เพราะคนสวนใหญขาดอํานาจซื้อ
สําหรับสังคมนิยมแบบ Marxist ตามแนวความคิดของเขา เพื่อใหเปน
ระบบสังคมที่ปราศจากชนชั้น ไมมีการเอารัดเอาเปรียบกัน และมีอิสรภาพตามปรัชญาของ
Marx จึงไดบัญญัติคําประกาศของลัทธิคอมมิวนิสตดังนี้
1. ยกเลิกการมีกรรมสิทธิ์ในที่ดินใหที่ดินเปนของรัฐ
2. เก็บภาษีเงินไดหรือภาษีกาวหนาในอัตราสูง
3. เลิกสิทธิการรับมรดก
4. ยึดทรัพยสินผูที่ยายออกนอกประเทศและเปนขบถ
5. รัฐเปนผูผูกขาดดําเนินกิจการธนาคารและการใหกูยืมเงิน
6. รวมกิจการขนสงและคมนาคมเปนของรัฐ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 298 ~

7. ใหรัฐเปนเจาของโรงงานและเครื่องจักรการผลิต นําที่ดินวางเปลามา
ทําการเพาะปลูกปรับปรุงที่ดินใหดีขึ้นตามแผน
8. คนงานทุกคนรับผิดชอบเทากัน เพื่อเปนกองกําลังทํางานอุตสาหกรรม
และการเกษตร
9. ใหงานเกษตรกรรมเชื่อมโยงกับอุตสาหกรรม เมือง และชนบท หาทาง
ที่จะไมใหแตกตางกันไปทีละขั้น โดยการจัดสรรประชากรไปแตละทองถิ่นที่ใกลเคียงกัน
10. จั ดการศึก ษาฟรี ให แกเด็ ก ๆ ทุ ก คน ไมให มีแรงงานเด็ ก ในโรงงาน
หาทางเชื่อมโยงกันระหวางการศึกษากับการทํางานในโรงงาน

ปญหาทางเศรษฐกิจ
เนื่องจากทรัพยากรธรรมชาติมีอยูอยางจํากัด แตความตองการของมนุษยมีอยูไม
จํากัด จึงทําใหเกิดความไมสมดุลระหวางทรัพยากรกับความตองการอันเปนสาเหตุใหเกิด
ความขาดแคลน (Scarcity) ในสินคาและบริการ ปญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจจึงเกิดขึ้นกับ
ทุกระบบเศรษฐกิจ นั่นคือ ปญหาวาจะผลิตอะไร (What) , ผลิตอยางไร (How) , และ
ผลิตเพื่อใคร (For Whom) โดยใชปจจัยการผลิตอยางมีประสิทธิภาพสูงสุด

ปจจัยการผลิต
ปจจัยการผลิต คือ ทรัพยากรที่ใชในการผลิตสินคาและบริการ ซึ่งประกอบดวย
ปจจัย 4 อยาง ดังนี้
ปจจัยการผลิต ผลตอบแทนที่ไดรับ
ที่ดิน คาเชา (Rent)
แรงงาน คาจาง (Wage)
ทุน ดอกเบี้ย (Interest)
ผูประกอบการ ผลกําไร (Profit)
ระบบเศรษฐกิจ
หนวยเศรษฐกิจ คือ หนวยงานที่มีอยูในระบบเศรษฐกิจ ทําหนาที่ทางดานติดตาม
เกี่ยวกับการผลิต การบริโภค และการจําแนกแจกจายสินคาหรือบริการ เพื่อใหทุกคนอยูดี
กินดี

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 299 ~

วงจรเศรษฐกิจอยางงาย คือ ระบบเศรษฐกิจแบบปด ซึ่งจะไมมีรัฐบาลหรือ


การคาระหวางประเทศเขามาเกี่ยวของ ซึ่งในระบบหนวยเศรษฐกิจของทุกประเทศจะ
ประกอบดวย 2 หนวยสําคัญ คือ
1. หนวยธุรกิจ จะทําหนาที่เปนผูนําปจจัยการผลิตมาผลิตสินคาและบริการ เพื่อ
จําหนายใหแกหนวยครัวเรือน
2. หนวยครัวเรือน จะทําหนาที่เปนผูบริโภคและเปนเจาของปจจัยการผลิต โดยจะ
ไดรับผลตอบแทนในรูปของคาจาง คาเชา ดอกเบี้ย และกําไร

รูปวงจรเศรษฐกิจอยางงาย
ผลตอบแทนปจจัยการผลิต (คาเชา คาจาง ดอกเบี้ย กําไร)
ปจจัยการผลิต
(ที่ดิน แรงงาน ทุน ผูประกอบการ)

หนวยครัวเรือน หนวยธุรกิจ

สินคาและบริการ
คาตอบแทนสินคาและบริการ
ระบบเศรษฐกิจ
ในปจจุบันประเทศตาง ๆ ในโลกมีระบบเศรษฐกิจและการเมืองที่มคี วามเปนอิสระใน
การประกอบการ 4 ระดับดังนี้
1. ระบบคอมมิวนิสตเปนระบบที่อยูซายสุดหรือประชาชนมีอิสระนอยที่สุดกลาวคือ
ประชาชนจะไมมีสิทธิเปนเจาของปจจัยการผลิตไมมีอิสระในการเลือกผลิตหรือเลือกบริโภค
รัฐบาลจะเปนผูกําหนดวาสังคมจะผลิตอะไร อยางไร และเพื่อใคร ประเทศที่มีระบบ
เศรษฐกิจแบบนี้ ไดแก รัสเซียและจีนแดง
2. ระบบสังคมนิยม เปนระบบที่วางแผนโดยรัฐในกิจการสําคัญที่เปนของรัฐเพื่อ
สวัสดิการของสังคม เชน ธนาคาร ปาไม อุตสาหกรรมเหล็ก ฯลฯ ประเทศที่มีระบบ
เศรษฐกิจแบบนี้ ไดแก พมา และฮังการี

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 300 ~

3. ระบบผสม เปนระบบที่ประชาชนมีอิสระในการตัดสินใจและเปนเจาของปจจัย
การผลิต รัฐจะดําเนินกิจการเพื่อสวนรวมเพื่อปองกันการผูกขาดและเอาเปรียบ เชน
กิจการดานสาธารณูปโภคตางๆ ประเทศที่มีระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ไดแกไทยและฟลิปปนส
4. ระบบเสรีนิยมหรือระบบทุนนิยม เปนระบบที่อยูขวาสุด มีความเปน
ประชาธิปไตยหรือประชาชนมีอิสระสูงสุด กลาวคือ ประชาชนมีสิทธิที่จะผลิตและบริโภค
ไดตราบเทาที่ไมผิดกฎหมาย โดยใชกลไกตลาดหรือกลไกราคาเปนตัวตัดสินวาจะผลิตอะไร
อยางไร และเพื่อใคร อีกทั้งมีสิทธิเปนเจาของทรัพยสินมากเทาที่ตนหามาได สวนรัฐจะเขา
แทรกแซงทางเศรษฐกิจเทาที่จําเปนเพื่อความสงบสุขของประชาชนเทานั้น ประเทศที่มี
ระบบเศรษฐกิจแบบนี้ ไดแก ญี่ปุนและอเมริกา
ดังนั้น จะเห็นไดวาระบบเศรษฐกิจทั้ง 4 ระดับตางก็มีเปาหมายเดียวกันคือ เพื่อให
ประชาชนของตนอยูดีกินดี แตวิธกี ารเพื่อใหบรรลุเปาหมายของแตละระบบเศรษฐกิจนั้นจะ
แตกตางกันตามระดับความมีอิสระของแตละประเทศ และทุกประเทศจะมีปญหาเศรษฐกิจ
เดียวกันคือ ทรัพยากรในการผลิตมีจํากัด

อุปสงค อุปทาน และการกําหนดราคาดุลยภาพ


อุปสงค (Demand)
อุปสงค หมายถึง ความปรารถนาและเต็มใจที่จะซื้อสินคาและบริการ โดยมี
ความสามารถที่จะซื้อหรือมีอํานาจซื้อสนับสนุนดวย
ปจจัยที่กําหนดอุปสงค
ปริมาณการซื้อสินคาของผูบริโภคจะมากหรือนอยเพียงใดนั้น ยอมขึน้ อยูกับปจจัย
ตาง ๆ ซึ่งสามารถเขียนเปนฟงกชนั่ ไดดังนี้
QX = f(PX , Y , T , PY …)
โดยที่ QX = ปริมาณซื้อของสินคา X
PX = ราคาสินคา X
Y = รายไดของผูซื้อ
T = รสนิยมของผูซื้อ
PY = ราคาสินคาอยางอื่นที่เกี่ยวของ

ประเภทของอุปสงค
เราสามารถแบงอุปสงคออกเปน 3 ชนิด ตามปจจัยที่กําหนดอุปสงค ซึ่งไดแก

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 301 ~

1. อุปสงคตอราคา (Price Demand) หมายถึง ปริมาณซื้อที่เปลี่ยนแปลง


ไปตามราคาของสินคาชนิดนั้น (โดยใหปจจัยอื่นๆ คงที่) ซึ่งจะมีความสัมพันธในทิศทาง
ตรงกันขาม คือ

PX QX
PX QX

จากความสัมพันธขางตนจะเห็นวาราคาเปนตัวกําหนดปริมาณซื้อ ดังนั้น PX จึง


เปนตัวแปรอิสระ สวน QX เปนตัวแปรตาม
กฎวาดวยอุปสงค (Law of Demand) จะอธิบายวา เมื่อราคาของสินคา
ชนิดหนึ่งสูงขึ้นปริมาณซื้อของสินคาชนิดนั้นจะลดลง แตถา ราคาลดลงปริมาณซื้อจะเพิ่มขึ้น
เสนอุปสงค จะมีลักษณะทอดลงจากซายไปขวา และมีคา ความชัน (Slope)
เปนลบ ดังรูปตอไปนี้
ราคา D
6 จากรูป จะเห็นวาเมื่อราคาสินคาลดลงจาก
2
6 บาท เปน 2 บาท ปริมาณซื้อจะเพิ่มขึ้น
0 จาก 4 หนวย เปน 8 หนวย
4 8 ปริมาณซื้อ

2. อุปสงคตอรายได (Income Demand) หมายถึง ปริมาณซื้อที่


เปลี่ยนแปลงไปตามรายไดของผูซื้อ (โดยใหปจจัยอื่นๆคงที)่ ซึ่งการพิจารณาความสัมพันธ
ดังกลาวอาจแยกพิจารณาไดเปน 2 กรณี คือ
1. สินคาปกติ (Normal Goods) ความสัมพันธระหวางปริมาณซือ้ กับรายไดจะ
เปนไปในทิศทางเดียวกัน กลาวคือ ถาผูบริโภคมีรายไดสูงขึ้น ปริมาณซื้อก็จะมีมากขึ้น
แตถามีรายไดลดลง ปริมาณซื้อก็จะมีนอ ยลงดวย เสนอุปสงคในกรณีนจี้ ะมีลักษณะทอดขึ้น
จากซายไปขวา และมีความชันเปนบวก ดังรูปตอไปนี้
รายได D
จากรูป จะเห็นวาเมื่อรายไดสูงขึ้นจาก 200 บาท
400
เปน 400 บาท ปริมาณซื้อจะเพิ่มขึ้น
จาก 4 หนวย เปน 8 หนวย
0 4 8 ปริมาณซื้อ
คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 302 ~

2. สินคาดอยคุณภาพ (Inferior Goods) ความสัมพันธระหวางปริมาณซื้อกับ


รายไดจะเปนไปในทิศทางตรงกันขาม กลาวคือ ถาผูบริโภคมีรายไดสูงขึ้น ปริมาณซื้อ
สินคาประเภทนี้จะลดลง เสนอุปสงคในกรณีนี้จะมีลักษณะทอดลงจากซายไปขวา และมีคา
ความชันเปนลบ ดังรูปตอไปนี้
รายได
D
600 จากรูป จะเห็นวาเมื่อรายไดสูงขึ้นจาก 200 บาท
200
เปน 600 บาท ปริมาณซื้อจะลดลง
จาก 12 หนวย เปน 4 หนวย
0 4 ปริมาณซื้อ
3. อุปสงคตอราคาสินคาอื่น (Cross Demand) หรือ “อุปสงคไขว” หมายถึง
ปริมาณซื้อที่เปลี่ยนแปลงไปตามราคาสินคาชนิดอื่นที่เกี่ยวของ (โดยใหปจจัยอื่นๆ คงที่)
สินคาอื่นที่เกี่ยวของนั้นสามารถแยกพิจารณาไดเปน 2 กรณี คือ
1. สินคาที่ใชประกอบกัน (Complementary Goods) เชน ไมตีกอลฟ
กับลูกกอลฟ , กลองถายรูปกับฟลม , รถยนตกับน้ํามัน เปนตน ซึ่งความสัมพันธระหวาง
ราคาสินคาชนิดหนึ่งกับปริมาณซื้อสินคาอีกชนิดหนึ่งที่ตองใชประกอบกันจะเปนไปในทิศ
ทางตรงขาม กลาวคือ ถาราคาสินคาชนิดหนึ่งสูงขึ้นหรือลดลง จะมีผลทําใหปริมาณซื้อ
สินคาอีกชนิดหนึ่งลดลงหรือมากขึ้นตามลําดับ เราสามารถแสดงความสัมพันธระหวางราคา
รถยนตกับปริมาณซื้อน้ํามันไดดังนี้

Pรถยนต Qรถยนต Qน้ํามัน


Pรถยนต Qรถยนต Qน้ํามัน

เสนอุปสงคในกรณีนี้จะมีลักษณะทอดลงจากซายไปขวา และมีคาความชันเปนลบ
ดังรูปตอไปนี้
ราคารถยนต(ลาน) จากรูป จะเห็นวาเมื่อราคารถยนตลดลง
D
3 จาก ลานบาท เปน 1 ลานบาท
1 ปริมาณซื้อน้ํามันจะเพิม่ ขึ้นจาก
3 ลานลิตร เปน 9 ลานลิตร
0 3 9 ปริมาณน้าํ มัน
(ลานลิตร)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 303 ~

2. สินคาที่ใชทดแทนกัน (Substitute Goods) เชน ชากับกาแฟ , โคกกับเปป


ซี่ , น้ํามันหมูกับน้ํามันพืช เปนตน ซึ่งความสัมพันธระหวางราคาสินคาชนิดหนึ่งกับปริมาณ
ซื้อสินคาอีกชนิดหนึ่งที่ทดแทนกันจะเปนไปในทิศทางเดียวกัน กลาวคือถาราคาสินคาชนิด
หนึ่งสูงขึ้นหรือลดลงจะมีผลทําใหปริมาณซื้อสินคาอีกชนิดหนึ่งมากขึ้นหรือลดลงตามลําดับ
เราสามารถแสดงความสัมพันธระหวางราคาน้ํามันหมูกับปริมาณซื้อน้ํามันพืชไดดังนี้

Pน้ํามันหมู Qน้ํามันหมู Qน้ํามันพืช


Pน้ํามันหมู Qน้ํามันหมู Qน้ํามันพืช

เสนอุปสงคในกรณีนี้จะมีลักษณะทอดขึ้นจากซายไปขวา และมีคาความชันเปนบวก
ดังรูปตอไปนี้
จากรูป จะเห็นวาเมื่อราคาน้ํามันหมูสูงขึ้น
ราคาน้าํ มันหมู (บาท)
D จาก 30 บาท เปน 60 บาท
60
ปริมาณซื้อน้ํามันพืชจะเพิ่มขึ้นจาก 5
30 ลิตร เปน 10 ลิตร
0 5 10 ปริมาณน้าํ มันพืช (ลิตร)

การเปลี่ยนแปลงของอุปสงค
เราสามารถพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของอุปสงคไดเปน 2 กรณี คือ
1. การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปสงค (Change in Quantity Demanded)
คือ การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้ออันเนือ่ งมาจากราคาสินคาชนิดนัน้ ซึง่ เปนการ
เปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อบนเสนอุปสงคเสนเดิม (Move along the curve) ดังรูปตอไปนี้
ราคา จากรูป จะเห็นวาเมือ่ ราคาของสินคาชนิดนั้น
D
12 A
ลดลง ปริมาณซื้อจะเพิม่ ขึ้น และเปน
4 B การเปลี่ยนแปลงอยูบนเสนอุปสงคเสน
0
2 10 ปริมาณซื้อ เดิม คือ จากจุด A เคลื่อนมาเปนจุด
B บนเสนอุปสงคเดิม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 304 ~

2. การเปลี่ยนแปลงระดับอุปสงค คือ การเปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อ


อันเนื่องมาจากปจจัยอื่น ๆ (ยกเวนราคาสินคาชนิดนั้น) เชน การเปลี่ยนแปลงรายไดของ
ผูซื้อ รสนิยม ราคาสินคาอยางอื่นที่เกี่ยวของ เปนตน ซึ่งปริมาณซื้อที่เปลี่ยนแปลงไมไดมี
ความสัมพันธกับราคาของสินคาที่ซอื้ แตอยางใด ในกรณีนี้ปริมาณซือ้ ที่เปลี่ยนแปลงไมได
อยูบนเสนอุปสงคเสนเดิม แตจะยายไปอยูบนเสนอุปสงคเสนใหมที่เคลื่อน (Shift) ออกไป
จากเสนเดิม ดังรูปตอไปนี้

ราคา รูปที่ 1 ราคา รูปที่ 2


D1 D
D D
P P 1

0 0
Q Q1 ปริมาณซื้อ Q1 Q ปริมาณซื้อ

รูปที่ 1 จะเห็นวาอุปสงคเปลี่ยนแปลงไปในทางเพิ่มขึ้นทําใหเสนอุปสงคเคลื่อนออกไป
ทางขวาของเสนเดิม
รูปที่ 2 จะเห็นวาอุปสงคเปลี่ยนแปลงไปในทางลดลง ทําใหเสนอุปสงคเคลื่อนออกไป
ทางซายของเสนเดิม

อุปทาน (Supply)
อุปทาน หมายถึงปริมาณการเสนอขายสินคาซึ่งมีความสัมพันธไปในทิศทางเดียวกับ
ราคาขาย คือ

PX QX
PX QX

กฎวาดวยอุปทาน (Law of Supply) จะอธิบายวา ถาสินคาขายไดราคาสูง


ปริมาณขายจะมีมาก แตถาสินคาขายไดราคาต่ํา ปริมาณขายก็จะลดลง
เสนอุปทาน จะมีลักษณะทอดขึ้นจากซายไปขวา และมีคาความชันเปนบวก ดัง
รูปตอไปนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 305 ~

จากรูป จะเห็นวาเมื่อสินคาขายไดราคาต่ําลง
ราคา S จาก 6 บาท เปน 2 บาท ปริมาณ
6
ขายจะลดลง จาก 20 หนวย เปน
2
0 10 หนวย
10 20 ปริมาณขาย
ปจจัยที่กําหนดอุปทาน
ปริมาณการเสนอขายของผูขายจะมากหรือนอยเพียงใดนั้น ยอมขึ้นอยูกับ
ปจจัยตาง ๆ ซึ่งสามารถเขียนเปนสมการไดดังนี้
QX = f(PX , C , W , PY , T ,…..)
โดยที่ QX = ปริมาณขายของสินคา X W = สภาพดินฟา
อากาศ
PX = ราคาสินคา X PY = ราคาสินคาอยาง
C = ตนทุนการผลิต อื่นที่เกีย่ วของ
T = เทคนิคในการผลิต
หมายเหตุ : ปริมาณขายจะเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางตรงกันขามกับ
ตนทุนการผลิตและการคาดคะเนเหตุการณในอนาคต

การเปลี่ยนแปลงของอุปทาน
เราสามารถพิจารณาการเปลี่ยนแปลงของอุปทานไดเปน 2 กรณี คือ
1. การเปลี่ยนแปลงปริมาณอุปทาน (Change in Quantity Supplied)
คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาณขายในทิศทางเดียวกับราคาขาย ซึ่งปริมาณขายที่
เปลี่ยนแปลงจะเคลื่อนตัวอยูบนเสนอุปทานเสนเดิมดังรูปตอไปนี้
ราคา จากรูป จะเห็นวาเมื่อสินคาขายไดในราคาต่ําปริมาณ
M S
15 ขายจะลดนอยลงดวยและเปนการเปลี่ยน
5 N แปลงอยูบนเสนอุปทานเสนเดิมคือจากจุด
0 M เคลื่อนมาเปนจุด N บนเสนอุปทานเดิม
2 5 ปริมาณขาย

2. การเปลี่ยนแปลงระดับอุปทาน คือ การเปลี่ยนแปลงปริมาณขายซึ่ง


เกิดขึ้นจากปจจัยอื่น ๆ (ยกเวนราคาของสินคาชนิดนั้น) เชน ตนทุนการผลิต , สภาพดิน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 306 ~

ฟาอากาศ , เทคนิคการผลิต เปนตน ซึ่งการเปลี่ยนแปลงของอุปทานในกรณีนี้จะมีผลทํา


ใหเสนอุปทานเคลื่อนที่ออกไปจากเสนเดิม ดังรูปตอไปนี้
ราคา รูปที่ 1 ราคา รูปที่ 2
SS S1
P
1
P S
0 0
Q Q1 ปริมาณขาย Q1 Q ปริมาณขาย

รูปที่ 1 จะเห็นวาอุปทานเปลี่ยนแปลงไปในทางเพิ่มขึ้น ทําใหเสนอุป-


ทานเคลื่อนออกไปทางขวาของเสนเดิม
รูปที่ 2 จะเห็นวาอุปทานเปลี่ยนแปลงไปในทางลดลง ทําใหเสนอุป -
ทานเคลื่อนออกไปทางซายของเสนเดิม

การกําหนดราคาดุลยภาพและกลไกราคา
ราคาดุลยภาพ (Equilibrium Price) คือ ระดับราคาที่ปริมาณซื้อและปริมาณขาย
เทากัน
ปริมาณดุลยภาพ (Equilibrium Quantity) คือ ปริมาณซื้อและปริมาณขายที่
เทากันพอดี ณ ราคาดุลยภาพ
ดังนั้นราคาและปริมาณดุลยภาพก็คือ ระดับราคาและปริมาณที่เกิดขึ้นตรงจุดที่เสน
อุปสงคและเสนอุปทานตัดกันนั่นเอง ซึ่งจะไดรูปดังตอไปนี้
ราคา
D A B
P1 S
P E
P2
C D
0 Q ปริมาณ
จากรูปขางตน E คือ จุดดุลยภาพ OP คือ ราคาดุลยภาพ , OQ คือ
ปริมาณดุลยภาพ
นอกจากนี้ยงั แสดงใหเห็นถึงการทํางานของกลไกราคาที่จะสงผลตอปริมาณซื้อและ
ปริมาณขายซึ่งสามารถแยกพิจารณาไดเปน 2 กรณี คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 307 ~

1. ถาการซื้อขายกระทํากัน ณ ราคาที่สูงกวาราคาดุลยภาพ (จาก OP เปน OP1) จะ


เกิดผลดังนี้
- เกิดปริมาณเสนอซื้อ คือ P1A
- เกิดปริมาณเสนอขาย คือ P1B
- เกิดอุปทานสวนเกิน (Excess Supply) คือ ชวง AB
ทํา
ใหมีสินคาเหลือเพราะขายไมหมด
2. ถาการซื้อขายกระทํากัน ณ ราคาที่ต่ํากวาราคาดุลยภาพ (จาก OP เปน OP2) จะ
เกิดผลดังนี้
- เกิดปริมาณเสนอซื้อ คือ P2C
- เกิดปริมาณเสนอขาย คือ P2D
- เกิดอุปสงคสวนเกิน (Excess Demand) คือ ชวง CD
ทําใหสินคามีไมเพียงพอกับความตองการของผูซ ื้อ
เนื่องจากราคาและปริมาณดุลยภาพถูกกําหนดขึ้นโดยอุปสงคและอุปทาน ดังนั้นถา
อุปสงคและ/หรืออุปทานเปลี่ยนแปลงไป จะมีผลทําใหราคาและปริมาณดุลยภาพ
เปลี่ยนแปลงตามไปดวย

ความยืดหยุนของอุปสงคอุปทาน
อุปสงค
ความยืดหยุนของอุปสงค หมายถึง คาที่ใชวัดความมากนอยของปริมาณซื้อซึง่
จะแปรเปลี่ยนไปตามตามตัวแปรอิสระตางๆ ปจจัยที่มีอิทธิพลตอการกําหนดปริมาณซื้อ
เขน ราคา รายได ราคาสินคาอื่นๆ เปนตน
ประเภทของความยืดหยุนของอุปสงค
เราสามารถแบงความยืดหยุนของอุปสงคตามชนิดของอุปสงคไดดังนี้
1. ความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา (Price Elasticity of Demand) หมายถึง คาที่
ใชวัดความมากนอยของปริมาณซื้อซึ่งจะแปรเปลี่ยนไปตามราคาสินคานั้นในทิศทางตรงกัน
ขาม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 308 ~

การคํานวณหาคาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคา มี 2 ลักษณะคือ
1. การคํานวณคาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคาแบบจุด (Point Elasticity
of Demand) คือการหาคาความยืดหยุน ณ จุดใดจุดหนึ่งบนเสนอุปสงค โดยมีสูตรในการ
คํานวณคือ

ΔQ P Q2 − Q1 P1
Ed = x หรือ x
ΔP Q P2 − P1 Q1

2. การคํานวณคาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคาแบบเฉลี่ย (Arc Elasticity


of Demand) คือ การหาคาความยืดหยุน ณ ชวงใดชวงหนึ่งบนเสนอุปสงค หรือระหวา
จุดสองจุดบนเสนอุปสงคเดียวกัน โดยมีสูตรในการคํานวณ คือ

Q2 − Q1 P1 + P2
Ed = x
P2 − P1 Q1 + Q2

ตัวอยาง จากโจทยในขอ 1. สามารถนําตัวเลขมาแทนคาลงในสูตร


เพื่อหาคาความยืดหยุน ของชวง AB ไดดังนี้
แทนคา 15 − 10 x 20 + 18 = 5 x 38 = −3.8
18 − 20 10 + 15 − 2 25
∴ คาความยืดหยุนของชวง AB คือ -3.8 ซึ่งเปนเพียงคาเฉลี่ยของจุด
ตางๆ ที่อยูระหวางจุด A และจุด B เทานั้น
จากการคํานวณทั้ง 2 วิธี จะเห็นวาความยืดหยุนของอุปสงคตอราคาจะมีคา
เปนลบเสมอ ทั้งนี้เพราะราคากับปริมาณซื้อจะเปลี่ยนแปลงไปในทางตรงกันขาม ซึ่งตาม
หลักเศรษฐศาสตรนั้นจะไมนําเครือ่ งหมายลบมาพิจารณา ดังนั้นคาความยืดหยุน -3.8 จึง
ใหถือวามีคา เทากับ 3.8

2. ความยืดหยุนของอุปสงคตอรายได (Income Elasticity of Demand) หมายถึง


คาที่ใชวัดความมากนอยของการเปลี่ยนแปลงปริมาณซื้อตอการเปลี่ยนแปลงของรายได
การคํานวณหาคาความยืดหยุนของอุปสงคตอ รายได มี 2 ลักษณะ คือ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 309 ~

1. สูตรความยืดหยุนของอุปสงคตอรายไดแบบจุด คือ

ΔQ I 1 Q2 − Q1 I 1
Ei = x หรือ x
ΔI Q1 I 2 − I 1 Q1

2. สูตรความยืดหยุนของอุปสงคตอรายไดแบบเฉลี่ย คือ

Q2 − Q1 I 1 + I 2
EI = x
I 2 − I 1 Q1 + Q2

ซึ่งผลลัพธที่ไดจากการคํานวณนั้นจะสามารถบงบอกถึงชนิดของสินคา
และทิศทางของการเปลี่ยนแปลงไดดังนี้

ผลลัพธเปนบวก(+) สินคาปกติ เปลี่ยนแปลงในทางเดียวกัน


ผลลัพธเปนลบ (-) สินคาดอยคุณภาพ เปลี่ยนแปลงในทางตรงขาม

3. ความยืดหยุนของอุปสงคตอ ราคาสินคาชนิดอื่นหรือความยืดหยุนไขว (Cross


Elasticity of Demand)หมายถึง คาที่ใชวัดความมากนอยของการเปลี่ยนแปลงปริมาณ
การเสนอซื้อของสินคาชนิดหนึ่งตอการเปลี่ยนแปลงราคาสินคาอีกชนิดหนึ่ง

การคํานวณหาคาความยืดหยุนไขว มี 2 ลักษณะ คือ


1. สูตรความยืดหยุนไขวแบบจุด คือ

ΔO A PB
C.E.D. = x
ΔPB O A

2. สูตรความยืดหยุนไขวแบบเฉลี่ย คือ

ΔO A PB1 + PB 2
C.E.D. = x
ΔPB O A1 + O A 2

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 310 ~

ซึ่งผลลัพธที่ไดจากการคํานวณนั้น จะสามารถบงบอกถึง
ความสัมพันธของสินคาทั้งสองชนิดและทิศทางของการเปลี่ยนแปลงไดดังนี้
ผลลัพธเปนบวก (+) สินคาที่ใชทดแทนกัน เปลี่ยนแปลงในทางเดียวกัน
ผลลัพธเปนลบ (-) สินคาที่ใชประกอบกัน เปลี่ยนแปลงในทางตรงขาม

คาความยืดหยุนของอุปสงคและลักษณะของเสนอุปสงค
เราสามารถแบงลักษณะความยืดหยุนของเสนอุปสงคไดเปน 5 ลักษณะ ดังนี้
1. อุปสงคที่มคี วามยืดหยุนเทากับหนึ่ง (Unitary Elastic : Ed = 1) ถาราคา
เปลี่ยนแปลงไป 1% จะทําใหปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลง 1% เทา ๆ กัน แสดงวาการ
เปลี่ยนแปลงของปริมาณซื้อเทากับการเปลี่ยนแปลงของราคา
P จากรูป เสนอุปสงคจะมีลักษณะเปนเสนโคง
แบบ
Rectangular Hyperbolaซึ่งทุก ๆ จุด
บนเสนอุปสงคจะมีความยืดหยุนเทากับ
D 1 เทากันตลอดทั้งเสน
O Q

2. อุปสงคที่มีความยืดหยุนมากกวาหนึ่ง (Elastic : Ed >1)ถาราคาเปลี่ยนแปลง


ไป 1% จะทําใหปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลงมากกวา 1%แสดงวาการเปลี่ยนแปลงของปริมาณ
ซื้อมากกวาการเปลี่ยนแปลงของราคา
3. อุปสงคที่มีความยืดหยุนนอยกวาหนึ่ง (Inelastic : Ed < 1) ถาราคา
เปลี่ยนแปลงไป 1%จะทําใหปริมาณซื้อเปลี่ยนแปลงนอยกวา 1% แสดงวาการเปลี่ยนแปลง
ของปริมาณซื้อนอยกวาการเปลี่ยนแปลงของราคา
P

P1 จากรูป เสนอุปสงคจะมีลักษณะเปนเสนชัน
P และจะเห็นวาชวง PP1 > ชวง
D
Q1 Q
Q QQ1

4. อุปสงคที่มีความยืดหยุนเทากับอินฟนิตี้ (Perfect Elastic : Ed = α)


ปริมาณซื้อจะเปลี่ยนแปลงไปอยางมากจนไมมีทสี่ ิ้นสุดตอการเปลี่ยนแปลงของราคา

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 311 ~

P
จากรูป เสนอุปสงคจะมีลักษณะขนานกับแกนนอน
P D
และจะเห็นวา ณ ราคา OP ผูซื้อจะซื้อ
0 สินคาโดยไมจํากัดจํานวน
Q

5. อุปสงคที่มีความยืดหยุนเทากับศูนย (Perfect Inelastic : Ed = 0) ปริมาณซื้อ


จะไมเปลีP ่ยนแปลงเลย แมวาราคาจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไรก็ตาม
D
P1 จากรูป เสนอุปสงคจะมีลักษณะตั้งฉากกับแกน
P นอนและจะเห็นวา
P2 ไมวาราคาจะสูงขึ้น(P1) หรือลดลง (P2)
Q
0 Q ก็ตาม
ปริมาณซื้อก็ยังคงเทากับOQ เหมือนเดิม
ปจจัยที่กําหนดคาความยืดหยุนของอุปสงค
1. ชนิดของสินคา ถาเปนสินคาจําเปนจะมีความยืดหยุนนอย แตถาเปนสินคา
ฟุมเฟอยจะมีความยืดหยุนมาก
2. จํานวนสินคาที่ใชทดแทนกัน โดยสินคาที่มีสิ่งทดแทนไดมาก อุปสงคก็จะมีความ
ยืดหยุนมาก
3. ราคาของสินคาเมื่อเทียบกับรายไดของผูบริโภค ถาเปนสินคาที่มีราคาแพงจะมี
ความยืดหยุนมาก แตถา เปนสินคาที่มีราคาถูกจะมีความยืดหยุนนอย
4. ความเคยชินของผูบ ริโภค ถาผูบริโภคมีความเคยชินในสินคาใดมาก สินคานั้นก็
จะมีความยืดหยุนนอย
5. อายุการใชงาน สินคาใดที่มีอายุการใชงานนานจะมีความยืดหยุนนอย สวนสินคา
ที่บุบสลายงายใชไดไมนานก็จะมีความยืดหยุนมาก
อุปทาน
ความยืดหยุนของอุปทาน หมายถึง คาที่ใชวัดความมากนอยของปริมาณขายที่
แปรเปลี่ยนไปตามราคาในทิศทางเดียวกัน
การคํานวณคาความยืดหยุนของอุปทานจะไดผลลัพธที่มีคาเปนบวกเสมอ ซึ่ง
มีสูตรในการคํานวณดังนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 312 ~

1. สูตรความยืดหยุนของอุปทานแบบจุด คือ

ΔQ S P
ES = x
ΔP Q S

2. สูตรความยืดหยุนของอุปทานแบบเฉลี่ย คือ

ΔQ S P1 + P2
ES = x
ΔP Q 1 + Q 2

คาความยืดหยุนของอุปทานและลักษณะของเสนอุปทาน
เราสามารถแบงลักษณะความยืดหยุนของเสนอุปทานไดเปน 5 ลักษณะ ดังนี้
1. อุปทานที่มีความยืดหยุนเทากับหนึ่ง (Unitary Elastic : ES = 1) ถาราคา
เปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณขายก็จะเปลี่ยนแปลงไป 1% เทา ๆ กัน แสดงวาการ
เปลี่ยนแปลงของปริมาณขายเทากับการเปลี่ยนแปลงของราคา
P
S
จากรูป เสนอุปทานจะเปนเสนตรงที่ออกจาก
จุดกําเนิด โดยไมจําเปนตองทํามุม
0 Q 45 องศากับแกนนอน

2. อุปทานที่มีความยืดหยุนมากกวาหนึ่ง (Elastic : ES > 1)


ถาราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณขายจะเปลี่ยนแปลงมากกวา 1% แสดงวาการ
เปลี่ยนแปลงของปริมาณขายมากกวาการเปลี่ยนแปลงของราคา
P

S จากรูป เสนอุปทานจะเปนเสนตรงที่ตัดแกน
ตั้ง
0 Q
3. อุปทานที่มีความยืดหยุนนอยกวาหนึ่ง (Inelastic : ES < 1)
ถาราคาเปลี่ยนแปลงไป 1% ปริมาณขายจะเปลี่ยนแปลงนอยกวา 1% แสดงวาการ
เปลี่ยนแปลงของปริมาณขายนอยกวาการเปลี่ยนแปลงของราคา

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 313 ~

P
S
จากรูป เสนอุปทานจะเปนเสนตรงที่ตัดแกนนอน
0 Q

4. อุปทานที่มีความยืดหยุนเทากับศูนย (Perfect Inelastic :ES = 0) ปริมาณขาย


จะไมเปลี่ยนแปลงเลย แมวาราคาจะเปลี่ยนแปลงไปอยางไรก็ตาม
P S จากรูป เสนอุปทานจะเปนเสนตั้งฉากกับ
แกนนอน

0 Q

5. อุปทานที่มีความยืดหยุนเทากับอินฟนิตี้ (Perfect Elastic : ES = α)


ปริมาณขายจะเปลี่ยนแปลงไปอยางมากจนไมมที ี่สิ้นสุดตอการเปลี่ยนแปลงของราคา
P
จากรูป เสนอุปทานจะเปนเสนขนานกับแกน
S นอน

0 Q

ปจจัยที่กําหนดคาความยืดหยุนของอุปทาน
1. ระยะเวลาที่ใชในการผลิต สินคาเกษตรซึ่งตองใชระยะเวลาในการปลูกจึงมี
ความยืดหยุนนอย สวนสินคาอุตสาหกรรมซึ่งผลิตไดงายและรวดเร็วกวาจึงมีความยืดหยุน
มาก
2. ปจจัยการผลิต เชน รูปภาพโมนาลิซาซึ่งมีเพียงรูปเดียวในโลก แมราคาจะสูง
ไปอีกเทาใด ก็ไมอาจหาเพิ่มไดอีก ในกรณีนี้ความยืดหยุนของอุปทานจะไมมีเลย
3. การกีดกัน เชน ในกรณีที่มีการออกกฎหมายเพื่อใหความคุม ครองแกผูผลิต จะ
สงผลใหอุปทานของสินคามีความยืดหยุนนอย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 314 ~

ประโยชนของการศึกษาคาความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทาน
การทราบคาความยืดหยุนของอุปสงคและอุปทานจะมีประโยชนตอ รัฐบาล ผูผลิต
และผูใชแรงงาน ดังนี้
1. รัฐบาล จะมีประโยชนในแงของการบริหารดานภาษี ซึ่งสามารถแยกพิจารณา
ไดเปน 2 กรณี คือ
1) การเก็บภาษีจากสินคาที่มีความยืดหยุนของอุปสงคมาก จะทําใหราคา
สินคาสูงขึ้นและสงผลใหปริมาณซื้อลดลงอยางมาก อีกทั้งยังทําใหผูผลิตขายสินคาไดนอยลง
ดวย ดังนั้นรัฐบาลก็จะเก็บภาษีไดนอ ยลง
2) การเก็บภาษีจากสินคาที่มีความยืดหยุนของอุปสงคนอ ย
คือ เมื่อราคาเปลี่ยนแปลงแลวจะทําใหปริมาณซื้อลดลงเพียงเล็กนอย ดังนั้นการเก็บภาษี
ของรัฐบาลจึงเปนการสรางภาระใหแกประชาชน
จากความรูด านภาษีดังกลาวจะชวยใหรัฐบาลสามารถวางนโยบายใหตรงตาม
วัตถุประสงคและเหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจไดมากขึ้น
2. ผูผลิต ความรูเรื่องความสัมพันธของคาความยืดหยุนของอุปสงคและรายรับรวม
ทําใหผูผลิตสามารถกําหนดราคาไดอยางเหมาะสมและทําใหทราบวาควรจะเพิ่มหรือลดราคา
หรือไม อยางไร จึงจะทําใหรายรับรวมของผูผลิตไมลดลง
3. ผูใชแรงงาน หากอุปสงคของแรงงานมีความยืดหยุนนอย คือ เมื่อคนงานขอ
คาจางเพิ่มขึน้ จะทําใหปริมาณจางงานลดลงเพียงนอย ยอมสงผลใหอํานาจตอรองของคนงาน
มีสูงขึ้น

ทฤษฎีอรรถประโยชนแบบเรียงลําดับ
อรรถประโยชนแบบเรียงลําดับ หมายถึง ทฤษฎีทอี่ ธิบายพฤติกรรมผูบริโภคโดย
นําเอาเสนความพอใจเทากันและเสนงบประมาณมาอธิบายดุลยภาพของผูบริโภค
เสนความพอใจเทากัน (Indifference Curve : IC) หมายถึง เสนแสดงการเลือก
บริโภคสินคา 2 ชนิด ในอัตราตางกัน โดยไดรับความพอใจเทากันตลอดเสน
เสนความพอใจเทากันจะมีลักษณะสําคัญ ดังนี้
1. จะตองมีลักษณะทอดลงจากซายไปขวา และมีคาความชันเปนลบ ซึ่ง
แสดงใหเห็นถึงความสามารถในการทดแทนกันของสินคา 2 ชนิด คือ ผูบริโภคจะตองลด
การบริโภคสินคาอยางหนึ่งใหนอยลง เมื่อไดรับสินคาอีกอยางหนึ่งมาบริโภคเพิม่ ขึ้น ทั้งนี้
เพื่อรักษาระดับความพอใจไวเทาเดิม ซึ่งเราจะเรียกความสัมพันธดังกลาววา “อัตราเพิ่ม

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 315 ~

ของการทดแทนกัน (Marginal Rate of Substitution หรือ MRS.) ระหวางสินคาสอง


ชนิด” โดยสามารถอธิบายไดโดยใชรูปตอไปนี้
จากรูป MRSB for A ก็คือ อัตราการบริโภคสิน
สินคา B คา B แทนสินคา A โดยจะได B
เพิ่มขึ้นจาก B2 เปน B1 และตองลด
B1
B2 A จาก A2 เปน A1 จึงจะทําให
ผูบริโภคไดรับความพอใจเทาเดิม
IC
O
A1 A2
สินคา A
2. เสน IC จะไมตัดกัน เพราะความพอใจของผูบริโภคแตละคนตอสินคาแตละ
ชนิดจะแตกตางกัน ดังนั้นเสน IC ของผูบริโภคคนหนึ่งจึงมีอยูหลายเสน โดยเสน IC แต
ละเสนจะแสดงความพอใจของผูบริโภคในแตละระดับ กลาวคือ ยิ่งเสน IC อยูหางจากจุด
กําเนิดมากเทาใด ผูบริโภคก็จะไดรับความพอใจมากเทานั้น
สินคา B
จากรูป เสน IC3 จะแทนความพอใจในระดับ
ที่สูงสุด สวนเสน IC2 ก็จะแทนความ
พอใจในระดับที่สูงกวาเสน IC1 นั่น
IC3
IC2 คือ IC1 < IC2 < IC3
O IC1
สินคา A

3. เสน IC จะตองเวาเขาหาจุดกําเนิด ทั้งนี้เพราะอัตราเพิ่มของการทดแทนกัน


ของสินคาทัง้ 2 ชนิดมีคาลดลง เสน IC จะเวาเขาหาจุดกําเนิดมากนอยเพียงใดขึ้นอยูกับ
อัตราเพิม่ การทดแทนกันตอหนวยระหวางสินคา 2 ชนิด ซึ่งสามารถแยกพิจารณาไดเปน
3 กรณี ดังรูปตอไปนี้
Y Y Y
รูปที่ 1 รูปที่ 2 รูปที่ 3

IC IC
0 X 0 X 0 X

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 316 ~

4. เสน IC จะตองตอเนื่องกันไมขาดตอน เพราะสวนประกอบตาง ๆ ของ


สินคา 2 ชนิด มีอยูอยางมากมายนับไมถว น
เสนงบประมาณ (Budget Line) หมายถึง เสนที่แสดงการเลือกซื้อสินคา 2
ชนิดในสัดสวนตางกัน โดยใชงบประมาณจํานวนเทากัน
จํานวนสินคา A

6
5 F
4 E
D
2 C
0 G จํานวนสินคา B
2 4 6 8 10
จากรูป ถาผูบริโภคมีงบประมาณอยู 100 บาท สินคา A ชิ้นละ 20 บาท
สินคา B ชิ้นละ 10 บาท เงิน 100 บาท นี้จะใชซื้อสินคา A อยางเดียวได 5 ชิ้น
และจะใชซอื้ สินคา B อยางเดียวได 10 ชิ้น
ณ จุด C ซึ่งอยูบนเสนงบประมาณ FG แสดงวาผูบริโภคใช
จายเงิน 100 บาท ซื้อสินคา A ได 2 ชิ้น และสินคา B ได 6 ชิ้น ซึ่งจะได
คาใชจายทั้งหมดเทากับ
Total Expenditure = (QA . PA) + (QB . PB)
= (2 x 20) + (6 x 10)
= 40 + 60 = 100 บาท
ณ จุด E ผูบริโภคจะตองใชเงินมากกวา 100 บาท ในการซื้อ
สินคา เพราะจุด E อยูเหนือเสนงบประมาณ สวนจุด D ซึ่งต่ํากวาเสนงบประมาณ จึงใช
เงินซื้อสินคานอยกวา 100 บาท

การเปลี่ยนแปลงของเสนงบประมาณ มี 2 ลักษณะ คือ


1. เมื่อรายไดหรือเงินงบประมาณของผูบริโภคเปลี่ยนแปลง (ราคาสินคา
คงที่) ถารายไดของผูบริโภคเปลี่ยนแปลง เสนงบประมาณจะ
เคลื่อนที่ไปจากตําแหนงเดิมทั้งเสน และขนานกับเสนเดิม ดังรูป
ตอไปนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 317 ~

จํานวนสินคา Y
A2
A
A1

0
จํานวนสินคา X
B1 B B2
จากรูป ถารายไดของผูบริโภคสูงขึ้น เสนงบประมาณจะเคลื่อนไปทางขวาของเสน
เดิม คือ จาก AB เปน A2B2 แตถารายไดลดลง เสนงบประมาณจะเคลื่อนไปทางซาย
ของเสนเดิมเปน A1B1

2. ราคาสินคาเปลี่ยนแปลง (รายไดคงที)่ ถาราคาสินคาชนิดใดชนิดหนึ่งใน 2


ชนิดเปลี่ยนแปลงไปในขณะที่รายไดยังคงเดิม เสนงบประมาณจะเคลื่อนที่ตามลักษณะที่
ปรากฏในรูปตอไปนี้
จํานวนสินคา Y
B1
B
0
จํานวนสินคา X
G G1
จากรูป - ถาราคาสินคา X ลดลง ในขณะที่ราคาสินคา Y คงเดิม จะทําให
ผูบริโภค ซื้อสินคา X ไดมากขึ้น แตซื้อสินคา Y ได เทาเดิม เสนงบประมาณจะเคลื่อน
จาก BG ไปอยูที่ BG1
- ถาใหราคาสินคา Y ลดลง ในขณะที่ราคาสินคา X คงเดิม จะทําให
ผูบริโภคซื้อสินคา Y ไดมากขึ้น แตซื้อสินคา X ไดเทาเดิม เสนงบประมาณจะเคลื่อนที่
ไปเปน B1G
ดุลยภาพของผูบริโภค หมายถึง สัดสวนของสินคา 2 ชนิดที่ผูบริโภคเลือกเพื่อทํา
ใหไดรับความพอใจสูงสุดจากงบประมาณที่มอี ยู ซึ่งจุดนั้นก็คือ จุดสัมผัสของเสน
งบประมาณกับเสนความพอใจเทากันซึ่งสามารถอธิบายไดโดยใชรูปตอไปนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 318 ~

จํานวนสินคา Y
G
B
QY F
IC3
D IC2
IC1
O
QX L
จํานวนสินคา X
จากรูป - ณ จุด E จะเห็นวาเสนงบประมาณ (BL) สัมผัสกับเสน ความพอใจเทากัน
(IC2) แสดงวาผูบริโภคจะไดรับความพอใจสูงสุดเมื่อซื้อสินคา X เทากับ OQX หนวยและ
ซื้อสินคา Y เทากับ OQY หนวย
- ณ จุด F ผูบริโภคจะไดรับความพอใจมากกวาจุด E แตจะตองใชเงินในการซื้อ
มากกวาที่จดุ E
- ณ จุด G ผูบริโภคจะไดรับความพอใจเทากับจุด E เพราะจุด G และ E อยู
บนเสนความพอใจเสนเดียวกัน แตจุด G จะตองใชเงินมากกวาจุด E
- ณ จุด D ผูบริโภคจะไดรับความพอใจนอยกวาจุด E แตจะใชเงินเทากับจุด E
เพราะจุด D และ E อยูบนเสนงบประมาณเสนเดียวกันดังนั้น จุด E คือ จุดดุลยภาพ
ของผูบริโภคซึ่งจะทําใหผูบริโภคไดรับความพอใจสูงสุดและใชเงินที่มีอยูห มดพอดี

ดุลยภาพของผูบริโภคจะมีการเปลี่ยนแปลงใน 2 ลักษณะ คือ


1. ดุลยภาพของผูบริโภคเมื่อเสนงบประมาณเปลี่ยนแปลง
สามารถแยกพิจารณาไดเปน 2 กรณี ดังรูป
สินคา Y สินคา Y
B1 รูปที่ 1 IC1 รูปที่ 2
N B1
B
E1 IC2
Y1 B E
Y E M
IC2 Y1 E1
M IC1 N
0 0
X X1 A A1 X A X1 A1

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 319 ~
สินคา X สินคา X
รูปที่ 1 จุด E คือ จุดดุลยภาพซึ่งจะทําใหผูบริโภคไดรับความ
พอใจสูงสุดเมื่อซือ้ สินคา X เทากับ OX และซื้อสินคา Y เทากับ OY เมื่อบริโภคมี
รายไดสูงขึ้น ในขณะที่ราคาสินคายังคงเดิม เสนงบประมาณจะเปลีย่ นแปลงไปเปนเสน
B1A1 และเกิดจุดดุลยภาพใหมคือ E1 ปริมาณซื้อจะเพิ่มขึ้นเปน OX1 และ OY1
ตามลําดับ ซึ่งเราอาจกลาวไดวาสินคา X และ Y เปนสินคาปกติ
รูปที่ 2 เมื่อผูบริโภคมีรายไดสูงขึ้น ทําใหเสนงบประมาณเคลื่อนไป
ทางขวาเปนเสน B1A1 ปริมาณซื้อสินคา Y ลดลง แสดงวา Y เปนสินคาดอยคุณภาพ สวน
ปริมาณซื้อสินคา X ยังคงเพิ่มขึ้นแสดงวา X เปนสินคาปกติ
จากรูปทั้งสองเมื่อลากเสนเชื่อมจุดดุลยภาพของผูบริโภคเขาดวยกัน
(เสน MN) เสนที่ลากผานจุด E และ E1 เรียกวา “เสนแนวทางการบริโภคอันเนื่องมาจาก
รายไดเปลี่ยนแปลง” (Income Consumption Curve : ICC)
2. ดุลยภาพของผูบริโภคเมื่อราคาสินคาเปลีย่ นแปลง การเปลี่ยนแปลงของราคา
สินคาชนิดใดชนิดหนึ่งโดยจํานวนเงินงบประมาณและราคาของสินคาอีกชนิดหนึ่งยังคงที่
จะทําใหเสนงบประมาณเคลื่อนออกไปจากตําแหนงเดิม แตจะไมขนานกับเสนเดิม และยัง
สงผลไปใหจุดดุลยภาพเปลี่ยนแปลงไปดวย ดังรูป
สินคา Y
M
B

E E1 N

0 สินคา X
X X1 L L1

จากรูป เมื่อราคาสินคา X ลดลง ในขณะที่ราคาสินคา Y คงเดิม จะทําให


ผูบริโภคซื้อสินคา X ไดมากขึ้น เสนงบประมาณจะเคลื่อนจาก BL ไปเปน BL1 และจุด
ดุลยภาพจะเปลี่ยนแปลงจาก E เปน E1 เมื่อลากเสนเชื่อมจุดดุลยภาพของผูบริโภคเขา
ดวยกัน (เสน MN) เสนที่ลากเชื่อมจุด E และ E1 เรียกวา “เสนแนวทางการบริโภคอัน
เนื่องมาจากราคาสินคาเปลี่ยนแปลง” (Price Consumption Curve : PCC)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 320 ~

การใชทฤษฎีเสนความพอใจเทากันสรางเสนอุปสงค
จากทฤษฎีเสนความพอใจเทากัน เราสามารถนํามาสรางเสน Demand ได
ดังนี้ สินคา B

รูปที่ 1 E1 E3
E2
0 N1 N2 N3 สินคา A
ราคา A
P1
รูปที่ 2 P2
P3
D
0 Q1 Q2 Q3 ปริมาณสินคา A
จากรูป จะเห็นวารูปที่ 2 จะไดเสน Demand ซึ่งจะเปนไปตามกฎของอุปสงค
คือ ปริมาณซื้อจะมากขึน้ เมื่อราคาสินคาลดลง

******************************************************************

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 321 ~

ความรูเบื้องตนเกี่ยวกับการตลาด
การตลาด หมายถึง การเคลื่อนยายสินคาและหรือบริการจากผูผลิตไปยัง
ผูบริโภคคนสุดทายโดยผานคนกลางหรือไมก็ไดเพื่อตอบสนองความพอใจและความตองการ
ของลูกคาหรือผูบริโภคคนสุดทายโดยอาศัยกิจกรรมตางๆ
นอกจากนี้ Phillip Kotler ผูซึ่งเปนบิดาทางการตลาดยังใหความหมายของ
การตลาดวา เปนกิจกรรมของมนุษยที่จะดําเนินเพื่อใหมีการตอบสนองความพอใจและความ
ตองการตาง ๆ โดยอาศัยกระบวนการแลกเปลี่ยน
จากคําจํากัดความขางตน จึงสามารถแยกพิจารณาถึงประเด็นสําคัญของ
ความหมายทางการตลาดไดดังนี้
1.กิจกรรมเปนสวนที่ทําใหสินคาและหรือบริการไปถึงมือผูบริโภคคนสุดทาย
อยางมี ประสิทธิภาพ ซึ่งประกอบดวย สวนประสมทางการตลาด (การวางแผนและการ
พัฒนาผลิตภัณฑ,การกําหนดราคา,ชองทางการตลาด และการสงเสริมการตลาด) การวิจัย
การตลาด และอื่นๆ
2.การตอบสนองความตองการหรือความพอใจของผูบริโภคหรือลูกคา
3.ผูบริโภคคนสุดทายหรือลูกคาในการดําเนินธุรกิจตางๆจะตองมุงเนนไปที่ตัว
ผูบริโภคคนสุดทายหรือลูกคาเปนสําคัญ ซึ่งผูบริโภคนี้เปนไปไดทั้งที่อยูในปจจุบันและที่คาด
วาจะเปนลูกคาของธุรกิจในอนาคต
4.การเคลื่อนยายสินคาและหรือบริการ จากผูบ ริโภคคนสุดทาย จึงจะทําให
เกิดการแลกเปลี่ยนซื้อขายเกิดขึ้นได ระหวางผูซอื้ (ผูบริโภคหรือลูกคา)กับผูขาย (ผูผลิตหรือ
คนกลาง)
ดังนั้นหัวใจในการดําเนินกิจกรรมทางการตลาดที่จะตองคํานึงถึงมี 2 ประการ คือ
-ความตองการของมนุษยมีไมสิ้นสุด
-พฤติกรรมของมนุษยหรือของผูบ ริโภคมีการเปลี่ยนแปลงตลอดเวลา

บทบาทของการตลาด
การตลาดไดเขามามีบทบาทเปนตัวเชื่อมโยงระหวางผูผลิตหรือผูขายกับผูบริโภค
หรือผูซื้อ หรือจะกลาวอีกนัยหนึ่งวา เปนตัวเชือ่ มโยงระหวาง แหลงเสนอขาย (Supply) กับ
ความตองการ(Demand) ซึ่งสามารถแสดงไดดังรูปตอไปนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 322 ~

แหลงเสนอขาย ความตองการของผู
หรือผูผลิตหรือ การตลาด ซื้อ
ผูขาย หรือผูบริโภค

หนาที่ของการตลาด
หนาที่ทางการตลาด หมายถึง หนาที่ในการทําใหสินคาและหรือบริการมีการ
เคลื่อนยายจากผูผลิตไปยังผูบริโภคคนสุดทาย ซึ่งมีหนาที่ที่สําคัญดังนี้
หนาที่ในการวิเคราะหตลาด เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการประเมินลักษณะ
ความตองการและขั้นตอนการซื้อของผูบริโภค
หนาที่ในการแลกเปลี่ยน เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับรายละเอียดของการซื้อการ
ขาย รวมถึงการเชา และการใหเชาดวย
หนาที่ในการอํานวยความสะดวก เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการจัดมาตรฐาน
สินคา ขอมูล ขาวสาร การเสี่ยงภัย และการเงิน
หนาที่เกี่ยวกับสวนประสมทางการตลาด หรือเรียกไดอีกอยางหนึ่งวา
“Marketing Mixs” ซึ่งถือวาเปนหัวใจหลักทางการตลาด
หนาที่ในการวิจัยการตลาด เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหขอมูล
การตลาดและที่เกี่ยวของกับการตลาด
หนาที่ในการสื่อสาร เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการติดตอสื่อสารภายในองคการ
และภายนอกองคการ
หนาที่ในการรับผิดชอบตอสังคม เปนเรื่องที่เกี่ยวของกับการตอบสนองความ
ตองการของสังคม ตัวอยางเชน การนํามาตรฐานการจัดการระบบคุณภาพ หรือที่มีชื่อยอวา
ISO (International Organization for Standardization)มาใชในการผลิต

แนวความคิดการตลาด
แบงออกเปน 4 แนว คือ
1.แนวความคิดการผลิต จะมุงเนนการบริหารโดยสมมุติวาผูบริโภคพอใจกับ
ผลิตภัณฑที่มีอยู และหาซื้อได ดังนั้นภารกิจของธุรกิจก็คือ การปรับปรุงการผลิตและการจัด
จําหนายใหมีประสิทธิภาพและใหมีตนทุนการผลิตต่ําสุด สิ่งที่เห็นไดจากแนวคิดการผลิตก็คือ
-ผูบริโภคจะสนใจการหาซื้อผลิตภัณฑไดและสนใจผลิตภัณฑที่มีราคาต่าํ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 323 ~

-ผูบริโภครูราคาของผลิตภัณฑคูแขงขันของกิจการ
-ผูบริโภคไมเขาใจถึงความสําคัญของราคาผลิตภัณฑ
2.แนวความคิดผลิตภัณฑ จะมุงเนนการบริหารโดยสมมุติวาผูบริโภคพอใจ
ผลิตภัณฑซงึ่ มีคุณภาพเหมาะสมกับราคา ดังนั้นภารกิจของธุรกิจก็คอื การปรับปรุงคุณภาพ
ของผลิตภัณฑ สิ่งที่เห็นไดจากแนวความคิดผลิตภัณฑก็คอื
-ผูบริโภคซื้อผลิตภัณฑโดยไมไดพิจารณาวาจะตอบสนองความตองการของตน
-ผูบริโภคสนใจในคุณภาพของผลิตภัณฑ
-ผูบริโภครูถงึ ความแตกตางของคุณภาพและรูปลักษณ (Feature) ของผลิตภัณฑคู
แขงขัน
-ผูบริโภคเลือกซื้อผลิตภัณฑบนพื้นฐานของคุณภาพ
3.แนวความคิดการขาย จะมุงเนนทีต่ ัวผลิตภัณฑ โดยมีภารกิจที่สําคัญก็คือ
ปรับปรุงหนวยงานขายใหมีความเขมแข็งเพื่อประโยชนในการแขงขันและรักษาลูกคา สิ่งที่
เห็นไดจากแนวความคิดการขายก็คือ
-ผูบริโภคจะมีแนวโนมทีจ่ ะตอตานการซื้อที่ไมจําเปน
-ผูบริโภคจะไดรับการเชื้อเชิญใหซื้อมากขึ้นเมื่อมีการกระตุนจากการขาย
4.แนวความคิดการตลาด จะมุงเนนการปรับปรุงธุรกิจใหมกี ารตอบสนองความ
พอใจของผูบ ริโภคอยางไดผล และมีประสิทธิภาพมากกวาคูแขงขัน ดังนั้นภารกิจของ
ธุรกิจก็คอื การวิจัย การเลือกตลาด เปาหมาย และการพัฒนาโปรแกรมและขอเสนอ
ทางการตลาด สิ่งที่เห็นไดจากแนวความคิดการตลาดก็คือ
-ผูบริโภคจะถูกแบงตามสวนแบงตลาด โดยยึดเอาความตองการและความจําเปน
เปนเกณฑ
- ผูบริโภคจะชื่นชอบกับธุรกิจที่สามารถจะตอบสนองความพอใจตามความ
ตองการและความจําเปนไดมากที่สุด

ระบบการตลาดและสิ่งแวดลอมทางการตลาด
เครื่องมือที่สาํ คัญที่นักการตลาดนําเอามาใชในการวิเคราะหทางดานโครงสราง
และหนาที่ทางการตลาดประกอบดวย
1.การวิเคราะหระบบการตลาด ระบบการตลาดเปนการรวมตัวของระบบยอย
ในตลาดโดยที่ระบบยอยตางๆของการตลาดจะดําเนินและเคลื่อนไหวเปลี่ยนแปลงไปพรอมๆ
กันทั้งระบบ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 324 ~

การวิเคราะหระบบการตลาดประกอบดวยการวิเคราะห 3 ระดับ คือ


1)การวิเคราะหระบบแลกเปลี่ยน จะเกีย่ วของกับการแลกเปลี่ยนของบุคคลตั้งแต
2 คน ขึน้ ไป
2)การวิเคราะหระบบการตลาดเชิงองคการ จะเกี่ยวของกับการวิเคราะหสถาบันที่
สําคัญ ตาง ๆ และกลุมสาธารณชน ซึ่งแวดลอมองคการอยู และมีผลตอการดําเนินกิจกรรม
ทางการตลาด
3)การวิเคราะหสิ่งแวดลอมมหภาค จะเกี่ยวของกับการวิเคราะหความสัมพันธ
ของสถาบันตาง ๆ ในสังคมทั้งหมด ไดแก ระบบเศรษฐกิจ กฎหมาย การเมือง และวัฒนธรรม เปน
ตน
2.การวิเคราะหกระบวนการทางการตลาด ประกอบดวยการวิเคราะห
ขั้นตอนตาง ๆ ในการวางแผนปรับปรุงองคการใหเหมาะสมกับโอกาสทางการตลาด

การวิเคราะหระบบแลกเปลี่ยน
เมือ่ มีการแลกเปลี่ยนเกิดขึ้นเทากับมีการซื้อขายเกิดขึ้น โดยเริ่มตนจากการที่
บุคคล 2 ฝายขึ้นไป เจรจาทําความตกลงกันเพือ่ โอนกรรมสิทธิ์ในการใช และความเปน
เจาของในสินคาหรือบริการนั้น
สถานการณการแลกเปลี่ยนอยางงายจะประกอบดวยกลุม 2 กลุม คือ
-กลุมแรก เปนกลุมที่มีความกระตือรือรนใหมีการแลกเปลี่ยนเรียกวา “นักการ
ตลาด”
-ซึ่ง เปนบุคคลที่คนหาทรัพยากรจากบุคคลอื่น เพื่อเสนอขายในรูปการ
แลกเปลี่ยนกับ
อีกฝายหนึ่งตอไป ดังนัน้ นักการตลาดจึงเปนทั้งผูซื้อและผูขายสินคาในเวลา
เดียวกัน
- กลุมที่สอง เปนกลุมที่มคี วามตองการแลกเปลี่ยนเรียกวา “กลุมผูที่คาดหวัง
วาจะเปนลูกคา”

การวางแผนกลยุทธ และกระบวนการทางการตลาด
การดําเนินกิจกรรมทางการตลาดในปจจุบัน ธุรกิจตองอยูภายใตสภาะแวดลอม
ทั้ ง ที่ ค วบคุ ม ได แ ละควบคุ ม ไม ไ ด สิ่ ง ที่ ธุ ร กิ จ สามารถควบคุ ม ได ก็ คื อ ส ว นประสมทาง
การตลาด (Marketing Mix) ไดแก ผลิตภัณฑ ราคา ชองทางการจัดจําหนาย และการ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 325 ~

สงเสริมการตลาด สวนสิ่งที่ธุรกิจไมสามารถควบคุมได เชน เศรษฐกิจ สังคม เทคโนโลยี


ทรัพยากรธรรมชาติ ฯลฯ ซึ่งสิ่งเหลานี้ถือวาเปนทั้งระบบภายในและภายนอกที่มีความเกี่ยว
โยงกัน ดังนั้นภาระหนาที่หลักของผูบริหารการตลาดก็คือ จะตองผสมผสานสิ่งที่สามารถ
ควบคุมไดใหสอดคลองกับสิ่งที่ไมสามารถควบคุมได โดยการปรับปรุงกลยุทธ แผนการ และ
นโยบายตางๆ เมื่อสภาวะแวดลอมภายนอกเปลี่ยนแปลงไป
การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning) เปนสวนงานทีผ่ ูบริหารระดับสูงของ
องคการกําหนดแนวทางสําคัญๆในการดําเนินงานขององคการนั้น
กระบวนการทางการตลาด (Marketing Process) เปนสวนที่ทําใหกิจกรรม
สามารถดําเนินงานอยางมีระบบ แลวบรรลุผลสําเร็จตามเปาหมายที่กําหนดไว

การวิเคราะหภาวะคุกคามและโอกาสทางการตลาด (Threat and Opportunity)


การถูกคุกคามจากสภาวะแวดลอม เกิดจากภาวะความแปรผันซึ่งไมกอใหเกิด
ผลดีเปนอุปสรรคที่เกิดขึ้นในสถานการณนั้นๆ อันเปนผลกระทบไปถึงการดําเนินกิจกรรม
ทําใหไมประสพความสําเร็จตามเปาหมาย
โอกาสทางการตลาด เปนชองทางเพื่อเอือ้ อํานวยใหกิจการมีโอกาสดําเนิน
กิจกรรมการตลาดโดยใชปจจัยการตลาดที่กิจการมีอยูนั่นเองเปนเครื่องมือนํากิจการฟนฝา
ไปสูความสําเร็จใหไดรับชัยชนะเหนือคูต อสูทั้งมวลในอนาคต จึงเปนชองทางแหงการตอสูชงิ
ชัยที่กิจการใหความสนใจเปนอยางยิ่ง
ในปจจุบันการวิเคราะหทางการตลาด จะใชหลัก “SWOT ” ซึ่งประกอบดวย
S ยอมาจาก Strength แปลวา จุดแข็ง หรือขอไดเปรียบ
W ยอมาจาก Weaknessแปลวา จุดออน หรือขอเสียเปรียบ
O ยอมาจาก Opportunity แปลวา โอกาส
T ยอมาจาก Threat แปลวา ภาวะคุกคาม ขอจํากัด หรืออุปสรรค
S และ W เปนการวิเคราะหปจจัยภายในองคการ สวน O และ T เปนการ
วิเคราะหปจจัยภายนอกองคการ
การประเมินภาวะคุกคามของกิจการ สามารถแยกพิจารณา เปน 2
ประการ คือ
- ประการแรก ความรุนแรงของเหตุการณนั้นมีเพียงใด โดยพิจารณาจาก
การสูญเสียที่กิจการจะไดรบั จากภาวการณดังกลาว คิดเปนตัวเงินเทาใด

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 326 ~

- ประการที่ 2 โอกาสที่เหตุการณนั้นจะเปนจริงมีมากนอยเพียงใด
การประเมินภาวะที่เปนโอกาสอันดีของกิจการ สามารถแยกพิจารณาเปน 2
ประการ คือ
- ประการแรก กิจการไดรับประโยชนจากโอกาสทางการตลาดที่เปดให
นี้มากเพียงใด โดยประเมินออกมาในรูปผลกําไรโดยเฉลี่ยที่กิจการจะแสวงหาไดมาจาก
สภาวการณนั้น ๆ
- ประการที่สอง กิจการจะมีโอกาสทําประโยชนจากสภาวการณนั้นได
ดีกวาคูแขงขันอื่น ๆ ในตลาดหรือไม เมือ่ เปรียบเทียบกันแลวไดผลดีเพียงใด

แมทริกซรวมของสภาวการณทั้งดานดี และไมดี
ระดับการคุกคาม
ต่ํา สูง
ระดับโอกาสทางการตลาด
สูง ธุรกิจอุดมคติ ธุรกิจเสี่ยงภัย
ต่ํา ธุรกิจเติบโตเต็มที่ ธุรกิจสภาวะลําบาก

ธุรกิจเสี่ยงภัย (Speculative Business) หมายถึง ธุรกิจกลุมที่เผชิญภาวะการ


คุกคามจากสภาวะแวดลอมกิจการในระดับสูง แตก็มีโอกาสทางการตลาดในระดับสูงเชนกัน
ธุรกิจเติบโตเต็มที่ (Mature Business) หมายถึง ธุรกิจที่เผชิญภาวะการ
คุกคามจากสภาวะแวดลอมในระดับต่ํา และโอกาสทางการตลาดอยูในระดับต่ําเชนกัน
ธุรกิจสภาวะลําบาก (Troubled Business) หมายถึง ธุรกิจที่เผชิญภาวะการ
คุกคามในระดับสูง และโอกาสทางการตลาดอยูในระดับต่ํา
ธุรกิจอุดมคติ (Indeal Business)หมายถึง ธุรกิจที่มีโอกาสทางการตลาดใน
ระดับสูงและมีภาวะการคุกคามจากสภาวะแวดลอมอยูในระดับต่ํา

การวางแผนกลยุทธ (Strategic Planning)


การวางแผนกลยุทธ เปนกระบวนการทางดานบริหาร เพือ่ พัฒนาการและ
ดํารงไวซึ่งภาวะเฉพาะกาลที่ไดเปรียบทางกลยุทธระหวางกิจการกับโอกาสทางการตลาดของ
กิจการนัน้ เพื่อสรางความเจริญกาวหนา
การวางแผนกลยุทธแบงออกเปนองคประกอบสําคัญ 3 สวนดวยกัน คือ
1.ภาระหนาที่ของกิจการ (Company Mission)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 327 ~

ภาระหนาที่ของกิจการควรกําหนดไวใหผูปฏิบัติไดเขาใจแนวนโยบายที่กิจการมุง
หมายจะฟนฝาไปถึงจุดนั้น ซึ่งจะเปนขอบเขตใหกิจการรูวาจะตองปฏิบตั ิอะไร อยางไรบาง
จึงจะไปถึงจุดนั้นในที่สุด นอกจากนีต้ องคํานึงถึงการนํามาใชไดตอเนือ่ งเปนระยะเวลา
ยาวนาน ไมลาสมัย
2. วัตถุประสงคและเปาหมายของกิจการ (Objectives and Goals)
วัตถุประสงคและเปาหมายของกิจการใดๆจะถูกกําหนดขึ้นลวงหนากอนการ
ดําเนินงานและตองกําหนดใหสอดคลองกับภาระหนาที่ (Mission) ของกิจการ เพือ่ ให
สามารถบริหารกิจการไปตามวัตถุประสงคไดผลตามเปาหมายอยางเต็มที่
3.กลยุทธเพื่อการเจริญเติบโต (Growth Strategy)
การเจริญเติบโตของกิจการจัดเปนสิ่งที่มุงหมายของกิจการทั้งหลายเปนอยางยิ่ง
และแสดงไดหลายอยาง เชน ยอดขายเพิ่มขึ้น ผลกําไรเพิ่มขึ้น ตลาดสวนแบงขยาย
กวางขวางออกไป เปนตน กิจการสามารถจะหาโอกาสทําความเจริญกาวหนาใหกับตนเอง
โดยแบงออกเปน 3 วิธี คือ
1.Intensive Growth หมายถึง กิจการพบวายังไมสามารถแสวงหาชองทางใน
ตลาดไดอยางเต็มที่ โดยใชประโยชนจากสินคาที่มีอยูปจจุบนั ภายในตลาดปจจุบันของกิจการ
จึงไดแสวงหาแนวทางที่จะปรับปรุงใหดีกวาเดิม โดยแบงไดเปน 3 วิธีการ คือ
-การแทรกซึมตลาด (Market Penetration) กิจการพยายามจะเพิ่มยอดขาย
สินคาที่มีอยูแ ลวใหไดปริมาณมากขึ้นในตลาดปจจุบัน (สินคาเดิม ตลาดเดิม) โดยทุมเทความ
พยายามทางการตลาด
-การพัฒนาตลาด (Market Development) กิจการพยายามจะเพิ่มยอดขาย
โดยนําสินคาที่มีอยูในปจจุบันเขาสูต ลาดใหมๆ ซึ่งยังไมเคยยึดครองมากอน (สินคาเดิม
ตลาดใหม)
-การพัฒนาผลิตภัณฑ (Product Development) กิจการพยายามจะเพิ่ม
ยอดขายโดยการพัฒนาผลิตภัณฑใหม โดยยังคงมุงจําหนายอยูเฉพาะในตลาดปจจุบัน
(สินคาเดิม ตลาดใหม)
2.Integrative Growth หมายถึง กิจการแสวงหาความเจริญกาวหนา โดยการ
ขยายฐานของอุตสาหกรรมใหกวางออกไป หรือใหมั่นคงยิ่งขึ้นในทางใดทางหนึ่งจนครบวงจร
ในธุรกิจนั้น ดังนี้

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 328 ~

- การแผขยายกิจการยอนหลัง (Backward Integration ) กิจการจะเขาไป


ควบคุมหรือครอบครองกิจการอื่นๆ ที่ทําหนาที่ปอนซัพพลาย เชน กิจกรรมผลิตวารสาร
สิ่งพิมพขยายตัวลงไปดําเนินกิจการผลิตกระดาษ หรือกิจการโรงพิมพ ฯลฯ
- การแผขยายกิจการไปขางหนา (Forward Integration) กิจการจะเขา
ควบคุมหรือเปนเจาของระบบการจัดการจําหนายสินคาของตนเสียเอง เชน ตัง้ กิจการใหม
เพื่อทําหนาที่จัดจําหนายสินคากิจการคาสง เอเยนต และกิจการคาปลีก เปนตน
-การแผขยายกิจการในแนวราบ (Horizontal Integration) กิจการจะเขา
ครอบครองหรือดําเนินการใหม หรือควบคุมกิจการที่คูแขง เชน ซือ้ กิจการผลิตวารสารที่เปน
คูแขง เปนตน
3.Diversification Growth หมายถึง กิจการไมสามารถกาวหนาหรือเพิ่ม
กําไรมากขึ้น จากการจัดจําหนายและระบบการตลาด กิจการจึงตองดําเนินการดังนี้
- Concentric Diversification เปนการขยายตัวในลักษณะทีก่ ิจการจะเพิม่ สินคา
ชนิดใหม โดยที่สินคาใหมนั้นสามารถใชเทคโนโลยีหรือระบบการตลาดรวมกับสินคาในสาย
ผลิตภัณฑทกี่ ิจการมีอยูเดิม ทําใหกิจการสามารถเจาะเขาถึงลูกคากลุมใหมๆ ได
- Horizontal Diversification เปนการเพิ่มสินคาใหมซึ่งไมมีความสัมพันธกับ
สินคาในสายผลิตภัณฑเดิมเลย โดยมุงจําหนายกับผูบริโภคกลุมปจจุบนั ที่กิจการครอบครอง
อยู
-Conglomerate Diversification เปนการเพิ่มสินคาใหมซึ่งไมมีความสัมพันธกับ
สินคาเดิมเลย โดยสินคาใหมน้นั จะมุง สูตลาดผูบริโภคกลุมอืน่ ที่ตางจากกลุมเดิมดวย

กระบวนการทางการตลาด (Marketing Process)


กระบวนการทางการตลาด หมายถึง กระบวนการทางการบริหารที่ดําเนินงาน
ในการวิเคราะหการคัดเลือก และการคนหาโอกาสทางการตลาด เพื่อใหกิจการดําเนินงาน
บรรลุผลสําเร็จตามเปาหมาย
ขอบเขตของกระบวนการทางการตลาดแบงออกเปน 4 สวน คือ
1. การวิเคราะหโอกาสทางการตลาด (Market Opportunity Analysis)
กระบวนการทางการตลาดเริ่มตนจากการที่กิจการนั้นๆพยายามแสวงหาโอกาส
ทางการตลาดที่นาสนใจ และตองคิดหาโอกาสทางการตลาดใหมๆ อยูเสมอ โดยการประเมิน
คาและคัดเลือกโอกาสทางการตลาดที่เปนประโยชนตอ กิจการ
2. การเลือกตลาดเปาหมาย (Target Market Selection)

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 329 ~

ในขั้นนี้จะปฏิบัติหลังจากกิจการไดกําหนดโอกาสทางการตลาดที่นาสนใจแลว ซึ่ง
จะตองพิจารณาอีกวา ตลาดใดที่สมควรจะเขาดําเนินการไดเหมาะสมที่สุด
การแบงสวนตลาด (Market Segmentation) คือการแบงตลาดออกเปนสวนๆ
ใหมีความแตกตางกันไปตามเกณฑที่ใชกําหนดตามพฤติกรรมการซื้อและอื่น ๆ ซึ่งผลจาก
การแบงสวนตลาดทําใหกิจการสามารถพิจารณาไดชัดแจงวาตลาดใดที่สมควรจะเขาไป
ดําเนินการไดเหมาะสมที่สุด
ตลาดเปาหมาย (Target Market) คือ กลุมผูบ ริโภคที่ไดรับการกําหนดมาแลว
เปนที่แนนอนวากิจการจะมุงตอบสนองความตองการของผูบริโภคกลุมนี้ โดยดําเนินงาน
การตลาดตามแผนที่กําหนดขึ้นโดยเฉพาะ
™กลยุทธการเขาครอบครองตลาดของกิจการมี 5 ลักษณะ ดังนี้
- ลักษณะที่ 1 มุงเฉพาะตลาด เฉพาะผลิตภัณฑ เปนการเขาครอบครองตลาดที่เปน
เปาหมายโดยเจาะเขาไปเพียงตลาดสวนหนึ่งสวนใดเทานั้น
- ลักษณะที่ 2 ผลิตภัณฑเฉพาะอยาง เปนการเลือกผลิตสินคาเพียงชนิดเดียว และเลือกเขาสู
ตลาดที่มีผูใชทุกประเภทรวมกันไป
- ลักษณะที่ 3 มุงเฉพาะตลาด เปนการเขาครอบครองตลาดโดยเลือกสินคาหลายๆชนิด เพือ่
ตอบสนองความตองการหลายๆ วัตถุประสงคของผูบริโภคกลุมหนึ่งกลุมใดโดยเฉพาะ
- ลักษณะที่ 4 แบบเลือกสรร เปนการครอบครองตลาดโดยกิจการเลือกเขาสูตลาดผลิตภัณฑ
หลายๆชนิด โดยที่ตลาดแตละสวนนั้นไมตอ งมีสวนสัมพันธกัน แตกิจการจะพิจารณาเลือก
ตามที่เห็นวาจะเปนชองทางหรือโอกาสทางการตลาดที่ดีกวา
- ลักษณะที่ 5 แบบครอบคลุมทั้งหมด เปนการมุงที่จะครอบคลุมตลาดทุกสวนดวยการผลิต
สินคาทุกชนิดที่กําหนดไว
3. กลยุทธสวนประสมการตลาด (Market Mix Strategy)
ในขั้นตอนที่สามของกระบวนการทางการตลาด หลังจากที่กิจการไดดําเนินการ
แบงสวนตลาดและเลือกตลาดเปาหมายของตนเองไวแลว งานขั้นตอไปจะเปนการวางกล
ยุทธสวนประสมการตลาดที่มีป ระสิท ธิภาพเชิงการแขงขันกั บธุ รกิจอื่ นๆที่เปนคูแข งของ
กิจการ ดังนั้นกลยุทธสวนประสมการตลาดจึงจัดเปนหัวใจสําคัญประการหนึ่งสําหรับการ
ดําเนินกิจกรรมทางการตลาดตามแนวคิดในยุคใหม

*******************************************************

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 330 ~

แนวขอสอบ ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณการเกษตร

1.ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ( ธ.ก.ส. ) ไดเริ่มมีขึ้นในรัชสมัยใด


ก. รัชกาลที่ 4 ข. รัชกาลที่ 5
ค. รัชกาลที่ 6 ง. รัชกาลที่ 7 
ตอบ  ข. รัชกาลที่ 5 
 
2. วัตถุประสงคหลักในการเริ่มตนจัดตั้ง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร (ธ.
ก.ส.) คือขอใด 
ก. เพื่อปลดเปลื้องหนี้สินของชาวนา ข. เพื่อสรางกองทุนสําหรับชาวนา 
ค. เปนแหลงกลางทางการเงินและอํานวยสินเชือ่ แกสหกรณทั้งหลาย 
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ก. เพื่อปลดเปลื้องหนี้สินของชาวนา

3. ในระยะเริ่มตนของการกอตั้ง สหกรณมีปญหาดานการเงินตองทําการกูยืมเงินจากธนาคารใด
ก. ธนาคารออมสิน ข. ธนาคารสยาม
ค. สยามกัมมาจล จํากัด ง. ธนาคารชาติไทย
ตอบ ค. สยามกัมมาจล จํากัด

4. พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการสหกรณ ไดมีการจัดตั้งขึ้นมาครั้งแรกในปพ.ศ.ใด
ก. พ.ศ. 2485 ข. พ.ศ.2486
ค. พ.ศ.2487 ง. พ.ศ.2488
ตอบ ข. พ.ศ.2486

5. ธกส. จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ไดเริ่ม


ดําเนินงานตั้งแตเมื่อใด
ก. 1 พฤศจิกายน 2508 ข. 1 พฤศจิกายน 2509
ค. 1 มกราคม 2508 ง. 1 มกราคม 2509
ตอบ ข. 1 พฤศจิกายน 2509

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 331 ~

ธกส. จัดตั้งขึ้นโดยพระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร พ.ศ.


2509 และไดเริ่มดําเนินงานตั้งแตวนั ที่ 1 พฤศจิกายน 2509 เปนตนมา โดยรับโอนบรรดา
ทรัพยสิน สินทรัพย หนีส้ ิน ความรับผิดชอบธุรกิจ พนักงานและลูกจางมาจากธนาคารเพื่อ
การสหกรณ

6. ธกส. มีฐานะเปนรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงใด


ก. กระทรวงมหาดไทย ข. กระทรวงการคลัง
ค. กระทรวงยุติธรรม ง. กระทรวงกลาโหม
ตอบ ข. กระทรวงการคลัง
ธกส. มีฐานะเปนรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง มีคณะกรรมการ ธกส. เปนผูวาง
นโยบาย และควบคุมดูแลกิจการทั่วไปของธนาคาร

7. คณะกรรมการ ธกส. ประกอบดวยคณะกรรมการอยางไร


ก. ประธานกรรมการ และมีรองประธานกรรมการและกรรมการอื่นไมเกิน 6 คน
ข. ประธานกรรมการ และมีรองประธานกรรมการและกรรมการอื่นไมเกิน 7 คน
ค. ประธานกรรมการ และมีรองประธานกรรมการและกรรมการอื่นไมเกิน 8 คน
ง. ประธานกรรมการ และมีรองประธานกรรมการและกรรมการอื่นไมเกิน 9 คน
ตอบ ค. ประธานกรรมการ และมีรองประธานกรรมการและกรรมการอื่นไม
เกิน 8 คน
คณะกรรมการ ธกส. ดังกลาวประกอบดวยรัฐมนตรีวาการกระทรวงการคลังเปน
ประธานกรรมการ และมีรองประธานกรรมการและกรรมการอืน่ ไมเกิน 8 คน ซึ่ง
คณะรัฐมนตรีแตงตั้ง และใหผูจัดการเปนกรรมการและเลขานุการ

8. ขอใดเปนความหมายของกรอบรูปสี่เหลี่ยมมุมบนสัญลักษณ ธ.ก.ส.
ก. ความตอเนื่อง ข. การสื่อสัมพันธอันดี
ค.การบริการ ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
กรอบรูปสี่เหลี่ยมมุมมน หมายถึง ความตอเนือ่ ง การสื่อสัมพันธอันดี การบริการ
ความเขาใจ ความรวมมือ การประสานประโยชน ความผูกพัน ความไมมีที่สิ้นสุด ระหวาง

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 332 ~

รัฐบาล ธ.ก.ส. และ เกษตรกรลูกคา ซึ่งจะผูกสัมพันธเปนวัฏจักรตอเนื่องตลอดไป เพื่อ


ชวยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน จะขาดจากกันไมได

9. พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร มีขึ้นใน พ.ศ.ใด


ก. พ.ศ. 2505 ข. พ.ศ. 2506
ค. พ.ศ. 2507 ง. พ.ศ.2509
ตอบ ง. พ.ศ.2509

10. พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร มีผลบังคับใชเมื่อใด


ก. ตั้งแตวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ค. 7 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานุเบกษา
ง. 30 วันหลังจากประกาศในราชกิจจานเบกษา
ตอบ ข. ถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษา
พระราชบัญญัตินี้ใหใชบังคับตั้งแตวันถัดจากวันประกาศในราชกิจจานุเบกษาเปนตนไป

11.ทุนเรือนหุนของ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณกําหนดไวที่เทาใด
ก. 1000 ลานบาท ข. 2000 ลานบาท
ค. 3000 ลานบาท ง. 4000 ลานบาท
ตอบ ง. 4000 ลานบาท
ทุนเรือนหุนของธนาคารไวสี่พันลานบาท แบงเปนสี่สิบลานหุน มีมูลคาหุนละหนึ่งรอย
บาท โดยใหธนาคารขายหุนให แ ก ก ระทรวงการคลัง เกษตรกร กลุม เกษตรกร สหกรณ
การเกษตร สหกรณ สถาบันการเงิน หรือบุคคลอื่น และกองทุนดานการเกษตรหรือกองทุน
อื่นของรัฐตามที่รัฐมนตรีประกาศกําหนด ทั้งนี้ ตามที่กําหนดไวในขอบังคับของธนาคาร

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 333 ~

12.กระทรวงการคลังถือหุนของธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณไมนอยกวารอยละเทาใด
ของจํานวนหุนที่จําหนายไดแลวทั้งหมด
ก. รอยละ 51 ข. รอยละ 56
ค. รอยละ 60 ง. รอยละ 75
ตอบ ง. รอยละ 75
ใหกระทรวงการคลังถือหุนของธนาคารไมนอยกวารอยละเจ็ดสิบหาของจํานวนหุนที่
จําหนายไดแลวทั้งหมด

13. วัตถุประสงคในการจัดตั้ง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณคือขอใด


ก.ใหความชวยเหลือทางการเงินแกเกษตรกร กลุมเกษตรกรหรือสหกรณการเกษตร
สําหรับการ
ข. ประกอบธุรกิจอื่นอันเปนการสงเสริมหรือสนับสนุนการประกอบเกษตรกรรม
ค. ดําเนินงานเปนสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนาชนบท
ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ธนาคารมีวัตถุประสงคดังตอไปนี้
(1) ใหความชวยเหลือทางการเงินแกเกษตรกร กลุมเกษตรกรหรือสหกรณ
การเกษตรสําหรับการ
(ก) ประกอบอาชีพเกษตรกรรมหรืออาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรม
(ข) ประกอบอาชีพอยางอื่นเพื่อเพิ่มรายได
(ค) พัฒนาความรูในดานเกษตรกรรมหรืออาชีพอยางอื่นเพื่อเพิ่มรายได
หรือพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรหรือครอบครัวของเกษตรกร
(ง) ดํ า เนิ น กิ จ การตามโครงการที่ เ ป น การส ง เสริ ม หรื อ สนั บ สนุ น การ
ประกอบเกษตรกรรมซึ่งเปนการดําเนินการรวมกับผูประกอบการ เพื่อเพิ่มรายไดหรือพัฒนา
คุณภาพชีวิตของเกษตรกรหรือครอบครัวของเกษตรกร
(2) ประกอบธุ ร กิ จ อื่ น อั น เป น การส ง เสริ ม หรื อ สนั บ สนุ น การประกอบ
เกษตรกรรม
(3) ดํ า เนิ น งานเป น สถาบั น การเงิ น เพื่ อ การพั ฒ นาชนบท โดยให ค วาม
ชวยเหลือทางการเงินหรือการบริหารจัดการแกบุคคล กลุมบุคคล ผูประกอบการ กองทุน
หมูบานหรือชุมชน รวมทั้งองคกรที่จัดตั้งขึ้นในรูปแบบใดที่มีวัตถุประสงคในการสนับสนุน

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 334 ~

การประกอบอาชีพของเกษตรกรหรือชุมชน ทั้งนี้ เพื่อสงเสริมใหมีการพัฒนาผลผลิตหรือ


ผลิตภัณฑของเกษตรกรหรือชุมชนใหมีประสิทธิภาพ ทั้งในดานการลงทุน การผลิต การแปร
รูป และการตลาด หรือเพื่อสงเสริมใหชุมชนมีความเขมแข็งในดานเศรษฐกิจหรือเพื่อการ
พัฒนาคุณภาพชีวิต
(4) ให ค วามช ว ยเหลื อ ทางการเงิ น แก ส หกรณ เพื่ อ ใช ดํ า เนิ น งานภายใต
ขอบเขตวัตถุประสงคในการจัดตั้งสหกรณ

14. การประชุมคณะกรรมการ ธ.ก.ส. ตองมีกรรมการมาประชุมไมนอยกวาเทาใดจึงเปนองค


ประชุม
ก. ไมนอยกวา 1 ใน 2 ข. ไมนอยกวา 2 ใน 3
ค. ไมนอยกวา 1 ใน 3 ง. ไมนอยกวา 3 ใน 4
ตอบ ก. ไมนอยกวา 1 ใน 2
การประชุ ม คณะกรรมการ ต อ งมี ก รรมการมาประชุ ม ไม น อ ยกว า กึ่ ง จํ า นวนของ
กรรมการทั้งหมดจึงเปนองคประชุม ถาในการประชุมครั้งใดประธานกรรมการไมอยูในที่
ประชุม ใหรองประธานกรรมการเปนประธานในที่ ป ระชุ ม ถาประธานกรรมการและรอง
ประธานกรรมการไมอยูในที่ประชุม ใหกรรมการที่มาประชุมเลือกกรรมการคนหนึ่งเปน
ประธานในที่ประชุม

15. ผูจัดการ ธ.ก.ส. จะพนจากตําแหนงเมื่อใด


ก. ตาย ข. ขาดสัญชาติไทย
ค. มติคณะกรรมการไมนอยกวาสามในสี่ ง. ถูกทุกขอ
ตอบ ง. ถูกทุกขอ
ผูจัดการยอมพนจากตําแหนงเมื่อ
(1) ตาย
(2) ลาออก
(3) ขาดจากสัญชาติไทย
(4) คณะกรรมการใหออกเพราะหยอนความสามารถหรือบกพรองตอหนาที่ มี
มลทินมัวหมองหรือทุจริตในการปฏิบัติหนาที่ มติใหผูจัดการออกตองประกอบดวยคะแนน
เสียงไมนอยกวาสามในสี่ของจํานวนกรรมการทั้งหมดนอกจากผูจัดการ

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 335 ~

16. การประชุมใหญสามัญของผูถือหุนจะมีขึ้นปละกี่ครั้ง
ก. ปละ 1 ครั้ง ข. ปละ 2 ครั้ง
ค. ปละ 3 ครั้ง ง. ปละ 4 ครั้ง
ตอบ ก. ปละ 1 ครั้ง
ปละหนึ่งครั้ง

17. กําหนดการประชุมใหญสามัญ มีขึ้นเมื่อใด


ก. ภายในหนึ่งรอยวันนับแตวันสิ้นปบัญชีของแตละป
ข. ภายในหนึ่งรอยยี่สิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชีของแตละป
ค. ภายในหนึ่งรอยหาสิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชีของแตละป
ง. ภายในหนึ่งรอยหกสิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชีของแตละป
ตอบ ค. ภายในหนึ่งรอยหาสิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชีของแตละป
การประชุมใหญสามัญของผูถือหุนปละหนึ่งครั้งภายในหนึ่งรอยหาสิบวันนับแตวันสิ้น
ปบัญชีของแตละป เพื่อกิจการดังตอไปนี้
(1) พิจารณาอนุมัติงบดุล บัญชีกําไรและขาดทุน
(2) พิ จ ารณาอนุ มั ติ ก ารจั ด สรรกํ า ไรสุ ท ธิ ใ นป ห นึ่ ง ๆ ของธนาคารตามที่
คณะกรรมการเสนอ
(3) พิจารณารายงานกิจการประจําปของธนาคาร
(4) พิจารณาตั้งผูสอบบัญชีประจําป
(5) พิจารณาเรื่องอื่น ๆ

18. องคประชุมใหญสามัญและวิสามัญ จะตองประกอบดวยผูถือหุนหรือผูแทนของผูถือหุนไม


นอยกวาเทาใด
ก. ไมนอยกวา 10 คน ข. ไมนอยกวา 15 คน
ค. ไมนอยกวา 20 คน ง. ไมนอยกวากึ่งหนึ่ง
ตอบ ค. ไมนอยกวา 20 คน
องคประชุมใหญสามัญและวิสามัญ จะตองประกอบดวยผูถือหุนหรือผูแทนของผูถือ
หุนไมนอยกวายี่สิบคนและ มีจํานวนหุนรวมกันไมนอยกวาหนึ่งในสี่ของจํานวนหุนที่มีผูถือ
แลว

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 336 ~

19. กองทุนที่จัดตั้งขึ้นเพื่อใหความชวยเหลือในดานการใหกูเงินแกเกษตรกรเพื่อนําไปจัดหา
ที่ดินทํากิน พัฒนาที่ดินและประกอบอาชีพเกษตรกรรม เรียกวา
ก. กองทุนเพื่อที่อยูอาศัย ข. กองทุนที่ดิน
ค. กองทุนรวม ง. กองทุนเกษตรกรรม
ตอบ ข. กองทุนที่ดิน
มี ก องทุ น ขึ้ น กองทุ น หนึ่ ง ในธนาคาร เรี ย กว า “ กองทุ น ที่ ดิ น ” เพื่ อ ให ค วาม
ชว ยเหลื อ ในด า นการให กู เ งิ น แก เ กษตรกรเพื่ อ นํ า ไปจั ด หาที่ ดิ น ทํ า กิ น พั ฒ นาที่ ดิ น และ
ประกอบอาชีพเกษตรกรรมของตนตามกฎหมายวาดวยการปฏิรูปที่ดิน เพื่อเกษตรกรรม
กองทุนที่ดินประกอบดวย เงินที่ไดรับจากกองทุนรวมเพื่อชวยเหลือเกษตรกรตามระเบียบ
สํานั ก นายก รัฐ มนตรีว าดว ยกองทุ น รวมเพื่ อ ช ว ยเหลื อ เกษตรกรที่ก ระทรวงเกษตรและ
สหกรณนํา มาฝากไวกับธนาคาร รายไดจากการดําเนินการและเงินจากแหลงอื่น ๆ

20. คณะกรรมการจัดใหมีการสอบบัญชีของธนาคารอยางนอยปละกี่ครั้ง
ก. หนึ่งครั้ง ข. สองครั้ง
ค. สามครั้ง ง. สี่ครั้ง
ตอบ ก. หนึ่งครั้ง
ใหคณะกรรมการจัดใหมีการสอบบัญชีของธนาคารอยางนอยปละหนึ่งครั้ง

21.ภายในระยะเวลาใดนับแตวันสิ้นปบัญชีของแตละป ใหคณะกรรมการเสนองบดุล บัญชี


กําไรและขาดทุนซึ่งผูสอบบัญชีไดรับรองแลวตอที่ประชุมใหญ
ก. 60 วัน ข. 90 วัน
ค. 120 วัน ง. 150 วัน
ตอบ ง. 150 วัน
ภายในหนึ่งรอยหาสิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชีของแตละป ใหคณะกรรมการเสนองบดุล
บัญชีกําไรและขาดทุนซึ่งผูสอบบัญชีไดรับรองแลวตอที่ประชุมใหญเพื่อพิจารณา และให
คณะกรรมการเสนอรายงานกิจการประจําปของธนาคารตอที่ประชุมใหญพรอมกันดวย

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน
~ 337 ~

22. ธนาคารตองรายงานกิจการประจําป งบดุล บัญชีกําไรและขาดทุนที่ไดรับอนุมัติจากที่


ประชุมใหญแลวตอคณะรัฐมนตรีภายในระยะเวลาใด
ก. 30 วัน ข. 90 วัน
ค. 120 วัน ง. 180 วัน
ตอบ ง. 180 วัน
ใหธนาคารรายงานกิจการประจําป งบดุล บัญชีกําไรและขาดทุนที่ไดรับอนุมัติจากที่
ประชุมใหญแลวตอคณะรัฐมนตรีภายในหนึ่งรอยแปดสิบวันนับแตวันสิ้นปบัญชีของแตละป
รายงานนั้นใหกลาวถึงผลงานของธนาคารในปที่ลวงมาแลว คําชี้แจงเกี่ยวกับนโยบายของ
ธนาคารและแผนงานที่จะจัดทําในปตอไป

23. พระราชบัญญัติธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณการเกษตร ฉบับแกไขปรับปรุง


ลาสุดเปนฉบับใด
ก. (ฉบับที่ 5) พ.ศ. 2548 ข. (ฉบับที่ 6) พ.ศ. 2549
ค. (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550 ง. (ฉบับที่ 8) พ.ศ. 2551
ตอบ ค. (ฉบับที่ 7) พ.ศ. 2550

************************************************************************************

คู่มือเตรียมสอบพนักงานกพัฒนาธุรกิจ
รวบรวมโดย อ.เคน

You might also like