You are on page 1of 292

คู่มือเตรียมสอบพนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4

ธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธกส.

รวบรวมและเรียบเรียงโดย.....
ฝ่ ายวิชาการ สถาบัน THE BEST CENTER

ห้ามตัดต่อหรือคัดลอกส่วนใดส่วนหนึง่ ของเนื้ อหา


สงวนลิขสิทธิ์ตาม พ.ร.บ.ลิขสิทธิ์ พ.ศ. 2537

ราคา 280 บาท

จัดพิมพ์และจาหน่ายโดย

The Best Center InterGroup Co., Ltd.


บริษทั เดอะเบสท์ เซ็นเตอร์ อินเตอร์กรุป๊ จากัด
บริหารงานโดย ดร.สิ งห์ ทอง บัวชุ มและอาจารย์ จันทนี บัวชุ ม (ติวเตอร์ ก้งุ ย่ าน ม. ราม)
-----------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------

เลขที่ 2145/7 ซอยรามคาแหง 43/1 ถนนรามคาแหง แขวงหัวหมาก เขตบางกะปิ กรุงเทพฯ 10240


โทรศัพท์.081-496-9907,0-2314-1492, 0-2318-6868 โทรสาร. 0-2718-6274 line id: 0627030008
www.thebestcenter.com หรือ www.facebook.com/bestcentergroup
คู่มือเตรียมสอบ
พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ธกส.

ราคา 280.-
คำนำ
ชุดคู่มือเตรี ยมสอบสาหรับตาแหน่งพนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธนาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ธกส.เล่มนี้ ทางสถาบัน THE BEST CENTER และฝ่ ายวิชาการ
ของสถาบันได้เรี ยบเรี ยงขึ้น เพื่อให้ผสู ้ มัครสอบใช้สาหรับเตรี ยมสอบในการสอบแข่งขันฯในครั้งนี้

ทางสถาบัน THE BEST CENTER ได้เล็งเห็นความสาคัญจึงได้จดั ทาหนังสื อ


เล่มนี้ข้ ึนมา ภายในเล่มประกอบด้วยทุกส่ วนที่กาหนดในการสอบ เจาะข้อสอบทุกส่ วน พร้อม
คาเฉลยอธิ บาย มาจัดทาเป็ นหนังสื อชุดนี้ข้ ึน เพื่อให้ผสู ้ อบได้เตรี ยมตัวอ่านล่วงหน้า มีความ
พร้อมในการทาข้อสอบ

ท้ายนี้ คณะผูจ้ ดั ทาขอขอบคุณทางสถาบัน THE BEST CENTER ที่ได้ให้การ


สนับสนุนและมีส่วนร่ วมในการจัดทาต้นฉบับ ทาให้หนังสื อเล่มนี้สามารถสาเร็ จขึ้นมาเป็ น
เล่มได้ พร้อมกันนี้คณะผูจ้ ดั ทาขอน้อมรับข้อบกพร่ องใดๆ อันเกิดขึ้นและยินดีรับบฟังความ
คิดเห็นจากทุกๆท่าน เพื่อที่จะนามาปรับปรุ งแก้ไขให้ดียงิ่ ขึ้น

ขอให้โชคดีในการสอบทุกท่าน
ฝ่ ายวิชาการ
สถาบัน The Best Center
www.thebestcenter.com
สารบัญ
ความรูเ้ กีย่ วกับธนาคารเพือ่ การเกษตรและสหกรณ์ 1
ความรูเ้ กีย่ วกับสินเชื่อเบื้ องต้น 7
แนวข้อสอบ ความรูเ้ กีย่ วกับสินเชื่อเบื้ องต้น 19
ความรูเ้ กีย่ วกับบัญชี การเงิน 32
แนวข้อสอบ ความรูเ้ กีย่ วกับบัญชีและการเงิน 48
แนวข้อสอบความรูเ้ กีย่ วกับ ธ.ก.ส. 69
ความรูเ้ กีย่ วกับเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และนวัตกรรมเทคโนโลยี 78
แนวข้อสอบ ความรูเ้ กีย่ วกับเศรษฐกิจ สังคม การเมือง และนวัตกรรมเทคโนโลยี 86
ความรูด้ า้ นเศรษฐศาสตร์เบื้ องต้น 89
แนวข้อสอบความรูด้ า้ นเศรษฐศาสตร์เบื้ องต้น 112
ความรูเ้ กีย่ วกับการพัฒนาชนบทและชุมชน 134
แนวข้อสอบความรูเ้ กีย่ วกับการพัฒนาชนบท เศรษฐกิจพอเพียง และงานกองทุน 182
ความรูเ้ กีย่ วกับการตลาด 190
แนวข้อสอบ ความรูเ้ กีย่ วกับการตลาด 216
ความรูเ้ กีย่ วกับการบริหารเบื้ องต้น 237
แนวข้อสอบ ความรูเ้ กีย่ วกับการบริหารเบื้ องต้น 250
ความรูเ้ กีย่ วกับจริยธรรม จรรยาบรรณ ธรรมาภิบาล 267
แนวข้อสอบ ความรูเ้ กีย่ วกับจริยธรรม จรรยาบรรณ ธรรมาภิบาล 282
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 1
-------------------------------------------------------------------------------
ความรู้ เกีย่ วกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
ประวัติการก่ อตั้ง
จุดเริ่มต้ น ธ.ก.ส.
พ.ศ. 2509 ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้จดั ตั้งขึ้นตามพระราชบัญญัติ
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร มีวตั ถุประสงค์ให้ความช่วยเหลือทางด้านการเงินแก่เกษตรกร กลุ่ม
เกษตรกร และสหกรณ์การเกษตร สําหรับการประกอบอาชีพเกษตรกรรมหรื ออาชีพที่เกี่ยวเนื่องกับเกษตรกรรม
เพื่อเพิ่มรายได้หรื อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรหรื อครอบครัวของเกษตรกร
นายจําเนียร สาระนาค ผูจ้ ดั การ ธ.ก.ส. คนแรกได้วางรากฐานการดําเนินงานพร้อมทั้งอุดมการณ์การ
ทํางานให้พนักงาน ธ.ก.ส. ทุกคนละเว้นการอันควรต่าง ๆ โดยได้อบรมสัง่ สอนให้ปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความรวดเร็ ว
ซื่อสัตย์ สุ จริ ต และไม่เบียดเบียนลูกค้า เพราะงานสิ นเชื่อเพื่อการเกษตร เป็ นงานที่กว้างขวางและซับซ้อน ต้อง
ศึกษาและค้นคว้าเพิ่มเติมอยูเ่ สมอ เพื่อให้มีความรู ้ ความชํานาญยิง่ ขึ้น ขอให้ท่านละเว้นการอันควรละเว้น ไม่
เบียดเบียนเกษตรกรลูกค้า จงทํางานหนัก เร่ งรัด ฉับไว ถูกต้อง และแม่นยํา กอร์ปด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต ซึ่ง
พนักงาน ธ.ก.ส. ถือปฏิบตั ิมาจนถึงปัจจุบนั
ปรับบทบาท สู่ ธนาคารพัฒนาชนบท
ทศวรรษที่ 1 (พ.ศ.2509-2519) มุ่งลดบทบาทเงินกูน้ อกระบบ
ในทศวรรษแรก ธ.ก.ส. ให้ความสําคัญกับการให้สินเชื่อเพื่อการผลิตระยะสั้น และระยะปานกลาง แก่เกษตรกรให้
ทัว่ ถึงอย่างรวดเร็ ว เพื่อลดบทบาทของเงินกูน้ อกระบบ โดยสร้างนวัตกรรมทางการเงินใหม่ที่ให้สินเชื่อแก่
เกษตรกรรายคน โดยใช้บุคคลในกลุ่มคํ้าประกันรับรองรับผิดอย่างลูกหนี้ร่วมกัน สร้างรากฐานความพร้อมของ
เกษตรกรเพื่อสร้างรายได้ และฐานะทางการเงินที่มนั่ คงให้แก่เกษตรกร
ทศวรรษที่ 2 (พ.ศ.2520-2529) พัฒนาการให้สินเชื่อและบริ การครบวงจร
ช่วงทศวรรษที่ 2 ธ.ก.ส.ได้พฒั นาแนวทางปฏิบตั ิงานให้รวดเร็วยิง่ ขึ้นโดยการให้บริ การสิ นเชื่อแก่เกษตรกรรายคน
ในรู ปแบบของสัญญาเครดิตเงินสด เพื่อให้เกษตรกรเบิกรับเงินกูโ้ ดยสะดวก และเริ่ มดําเนินงานบนพื้นฐานความ
ร่ วมมือกับส่ วนราชการและเอกชน ในการช่วยหาปัจจัยพื้นฐานต่างๆ ที่อาํ นวยต่อการพัฒนาการเกษตรอย่างครบ
วงจร ในรู ปของวัสดุอุปกรณ์การเกษตร และเชื่อมโยงการตลาด โดยการจัดตลาดกลางพืชผลการเกษตรตลอดจน
การรับจํานําข้าวเปลือก
ทศวรรษที่ 3 (พ.ศ.2530-2539) ช่วยเหลือเกษตรกรชั้นเล็กและยากจน-จัดตั้งสถาบันเกษตรกร
ช่วงทศวรรษที่ 3 ได้พยายามขยายการให้บริ การเกษตรกรให้ทวั่ ถึงและครอบคลุมยิง่ ขึ้นโดยเฉพาะเกษตรกรชั้น
เล็กและยากจน ซึ่งปกติจะไม่สามารถขอใช้บริ การสิ นเชื่อจากสถาบันการเงินได้ ธ.ก.ส. จึงกําหนดหลักเกณฑ์เป็ น
การเฉพาะเพื่อให้บริ การสิ นเชื่อแก่เกษตรกรดังกล่าว อาทิ การแปรรู ปผลผลิตช่วยสร้างงานและรายได้ให้แก่
เกษตรกร ขณะเดียวกันยังสนับสนุนให้เกษตรกรลูกค้ารวมตัวกันจัดตั้งสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.
ก.ส. (สกต.) เพื่อเป็ นองค์กรของเกษตรกรลูกค้าในการสร้างอํานาจต่อรองทางการตลาด และได้ริเริ่ มโครงการ
วัฒนธรรมบริ การ เพื่อพัฒนาพนักงานให้มีทกั ษะความรู ้ และตระหนักถึงความสําคัญในการให้บริ การที่ดีแก่ลูกค้า
ทศวรรษที่ 4 (พ.ศ.2540-2549) น้อมนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่ การพัฒนาชนบท
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 2
-------------------------------------------------------------------------------
ช่วงทศวรรษที่ 4 ธ.ก.ส. ได้ปรับบทบาทและกลยุทธ์การดําเนินงานครั้งสําคัญเพื่อให้สอดคล้องกับสถานการณ์
ทางด้านเศรษฐกิจ และสังคมที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็ ว โดยขอแก้ไข พ.ร.บ. ธ.ก.ส. ให้ครอบคลุมการให้
สิ นเชื่อเพื่อประกอบอาชีพอื่นเพื่อเสริ มรายได้ รวมทั้งการพัฒนาความรู ้และคุณภาพชีวิต ตลอดจนได้นอ้ มนํา
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาเป็ นแนวทางปฏิบตั ิสาํ หรับเกษตรกรลูกค้า เพื่อให้สามารถดํารงชีวิตได้อย่าง
พอเพียงและมัน่ คง สร้างความเข้มแข็งสู่ ชุมชนควบคู่ไปกับการส่ งเสริ มและสนับสนุนการรักษาสิ่ งแวดล้อม อีกทั้ง
ยังปลูกฝังให้พนักงานดูแล และให้บริ การลูกค้าอย่างใกล้ชิดและทัว่ ถึง นอกจากนี้ ในปี 2542 ธ.ก.ส. ได้จดั ตั้ง
กองทุนขึ้นโดยใช้ชื่อว่า กองทุนธนาคารอิสลาม (Islamic Banking Fund) เพื่อทําหน้าที่ให้บริ การทางการเงิน
ตามหลักศาสนาอิสลาม และสามารถดําเนินการได้ภายใต้กรอบ พ.ร.บ. ธ.ก.ส
ทศวรรษที่ 5 (พ.ศ.2550-ปัจจุบนั ) ส่ งเสริ มคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อยและให้บริ การสิ นเชื่อที่
หลากหลายเข้าสู่ ทศวรรษที่ 5 ธ.ก.ส. ยังคงมุ่งมัน่ กับภารกิจพัฒนาชนบทภายใต้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
โดยเฉพาะการส่ งเสริ มคุณภาพชีวิตของเกษตรกรรายย่อย อีกทั้งขยายการให้บริ การสิ นเชื่อไปสู่ บุคคล กลุ่มบุคคล
ผูป้ ระกอบการ กองทุนหมู่บา้ นหรื อชุมชน องค์กรที่เกี่ยวข้อง และสหกรณ์ทุกประเภท ให้สามารถเข้าถึงแหล่งทุน
ในระบบ พร้อมทั้งสนับสนุนสิ นเชื่อเพื่อสร้างรายได้เพิ่ม เพื่อให้เกษตรกรลูกค้ามีฐานะและความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน อีก
ทั้งสร้างวัฒนธรรมองค์กรให้พนักงานทํางานเป็ นทีม มีความซื่อสัตย์ มีสาํ นึกรับผิดชอบ และใช้ชีวิตพอเพียงบน
มาตรฐานเดียวกัน ทุกช่วงเวลาที่ผา่ นมา ธ.ก.ส. มุ่งมัน่ ต่อพันธกิจที่มีต่อเกษตรกรอย่างต่อเนื่อง เพื่อช่วยเหลือและ
สนับสนุนเกษตรกร และเศรษฐกิจภาคเกษตรในชนบทให้เติบโตได้อย่างมัน่ คงยัง่ ยืน
วัตถุประสงค์ ธ.ก.ส.
1) ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่เกษตรกร กลุ่มเกษตรกร หรื อสหกรณ์การเกษตรสําหรับการ
(1) ประกอบอาชีพเกษตรกรรมหรื ออาชีพที่เกี่ยวเนื่ องกับเกษตรกรรม
(2) ประกอบอาชีพอย่างอื่นเพื่อเพิ่มรายได้
(3) พัฒนาความรู ้ในด้านเกษตรกรรมหรื ออาชีพอย่างอื่นเพื่อเพิ่มรายได้หรื อพัฒนาคุณภาพชีวิตของ
เกษตรกรหรื อครอบครัวของเกษตรกร
(4) ดําเนิ นกิจการตามโครงการที่เป็ นการส่ งเสริ มหรื อสนับสนุ นการประกอบ เกษตรกรรม ซึ่ งเป็ นการ
ดําเนินการร่ วมกับผูป้ ระกอบการ เพื่อเพิ่มรายได้หรื อพัฒนาคุณภาพชีวิตของเกษตรกรหรื อครอบครัวของ
เกษตรกร
2) ประกอบธุรกิจอื่นอันเป็ นการส่ งเสริ มหรื อสนับสนุ นการประกอบเกษตรกรรม
3) ดําเนินงานเป็ นสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนาชนบท โดยให้ความช่วยเหลือทางการเงินหรื อการบริ หาร
จัดการแก่บุคคล กลุ่มบุคคล ผูป้ ระกอบการ กองทุนหมู่บา้ น หรื อชุมชน รวมทั้งองค์กรที่จดั ตั้งขึ้นในรู ปแบบใด ที่
มีวตั ถุประสงค์ในการสนับสนุนการประกอบอาชีพของเกษตรกรหรื อชุมชน ทั้งนี้เพื่อส่ งเสริ มให้มีการพัฒนา
ผลผลิต หรื อผลิตภัณฑ์ของเกษตรกร หรื อชุมชนให้มีประสิ ทธิภาพทั้งในด้านการลงทุน การผลิต การแปรรู ป และ
การตลาด หรื อเพื่อส่ งเสริ มให้ชุมชนมีความเข้มแข็งในด้านเศรษฐกิจหรื อเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต
4) ให้ความช่วยเหลือทางการเงินแก่สหกรณ์ เพื่อใช้ดาํ เนิ นงานภายใต้ขอบเขตวัตถุประสงค์ในการจัดตั้ง
สหกรณ์
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 3
-------------------------------------------------------------------------------
แนวนโยบายผู้ถือหุ้นภาครัฐ (Statement of Directions : SODs)
กระทรวงการคลังโดยสํานักงานคณะกรรมการนโยบายรัฐวิสาหกิจ (สคร.) ได้กาํ หนดให้รัฐวิสาหกิจ
จัดทําแผนงานรายปี และแผนวิสาหกิจระยะ 5 ปี ให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์รัฐวิสาหกิจภาพรวมและราย
สาขา เพื่อให้เกิดการพัฒนารัฐวิสาหกิจอย่างเป็ นระบบและสอดคล้องกับยุทธศาสตร์ชาติที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนให้
นําไปปฏิบตั ิและประเมินผลการดําเนินงาน ดังนี้
1.ยุทธศาสตร์ รัฐวิสาหกิจภาพรวม
“รัฐวิสาหกิจมีบทบาทในการขับเคลื่อนยุทธศาสตร์ ชาติ โดยสามารถเร่ งการลงทุนที่สอดคล้องกับ
ยุทธศาสตร์และมีความแข็งแกร่ งทางการเงิน โดยเน้นการนํานวัตกรรมและเทคโนโลยีมาพัฒนางานและเพิ่ม
ประสิ ทธิภาพ ภายใต้ระบบธรรมาภิบาลที่โปร่ งใสและมีคุณธรรม และการน้อมนําหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
มาใช้”
2.ยุทธศาสตร์ รัฐวิสาหกิจสาขาสถาบันการเงิน
“เป็ นสถาบันการเงินเพื่อการพัฒนา ในการสร้างโอกาสให้ประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุนอย่างทัว่ ถึงควบคู่
กับการให้ความรู ้ทางการเงินเพื่อสนับสนุนความเข้มแข็งเศรษฐกิจฐานราก พัฒนาขีดความสามารถในการแข่งขัน
ของประเทศ และลดความเหลื่อมลํ้าในสังคมภายใต้การบริ หารจัดการองค์กรที่มนั่ คง โปร่ งใส และยัง่ ยืน โดย
การนําเทคโนโลยีและนวัตกรรมมาประยุกต์ใช้ในการบริ หารจัดการและให้บริ การทางการเงิน”
วิสัยทัศน์ (Vision)
เป็ นธนาคารพัฒนาชนบทที่ยงั่ ยืน มุ่งสนับสนุนการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เพื่อยกระดับคุณภาพชีวติ
ของคนในชนบท
พันธกิจ(Mission)
1) เป็ นศูนย์กลางทางการเงินที่ให้บริ การทางการเงินครบวงจรและทันสมัยในภาคชนบท
2) พัฒนาการบริ หารและจัดการทรัพยากร เพื่อมุ่งสู่ การเป็ นองค์กรประสิ ทธิ ภาพสู งอย่างมีธรรมาภิบาล
3) ส่ งเสริ มการใช้เทคโนโลยีและนวัตกรรมในการเพิม ่ ขีดความสามารถในการแข่งขัน เพื่อแก้ไขปัญหา
ความยากจนและเพิ่มรายได้ของคนในชนบท
4) สนับสนุนให้เกิดกิจกรรมทางเศรษฐกิจในชุมชน โดยให้ความรู ้และเงินทุนที่คาํ นึ งถึงคุณค่าร่ วมที่
สมดุลด้านเศรษฐกิจ สังคม และสิ่ งแวดล้อม
ค่ านิยม (Value)
Sustainability (S) ความยัง่ ยืนทั้งองค์กร พนักงาน ลูกค้า ชุมชน เครื อข่าย ผูถ้ ือหุ น
้ สังคม และ
สิ่ งแวดล้อม
Participation (P) การมีส่วนร่ วมของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย
Accountability (A) ความสํานึ กในหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการและพนักงาน
Respect (R) ความเคารพและให้เกียรติต่อตนเองและผูอ้ ื่น
Knowledge (K) การส่ งเสริ ม และยกระดับการนําความรู ้สู่นวัตกรรมให้เป็ นธนาคารแห่ งการเรี ยนรู ้
และนํานวัตกรรมไปช่วยยกระดับรายได้ของเกษตรกร
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 4
-------------------------------------------------------------------------------
ตราสั ญลักษณ์ ของ ธ.ก.ส.
ตราธนาคารในอดีต (พ.ศ. ๒๕๐๙ - ๒๕๒๘)

เมื่อเริ่ มก่อตั้งธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) คณะกรรมการ ธ.ก.ส. มีมติเมื่อการ


ประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๐๙ วันที่ ๑๗ ตุลาคม ๒๕๐๙ กําหนดตราของธนาคารเป็ นรู ปวงกลม ระหว่างขอบวงนอก
และขอบวงในมีชื่อ ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ตอนล่างมีอกั ษรย่อชื่อของธนาคาร ธ.ก.ส.
ภายในขอบวงในมีรูปถุงเงินและรวงข้าว ซึ่งหมายถึง การให้เงินกูเ้ พื่อการผลิตทางเกษตรและการออมเงิน
ตราธนาคารปัจจุบัน (พ.ศ. ๒๕๒๘ - ปัจจุบัน)

เปลี่ยนแปลงเมื่อคณะกรรมการ ธ.ก.ส. มีมติเมื่อการประชุมครั้งที่ ๔/๒๕๒๘ วันที่ ๒๘ มีนาคม ๒๕๒๘


กําหนดตราของธนาคารใหม่ เพื่อให้มีความโดดเด่น สวยงาม และง่ายต่อการจดจําเป็ น โดยมีความหมาย ดังนี้
กรอบรู ปสี่ เหลี่ยมมุมมน หมายถึง ความต่อเนื่อง การสื่ อสัมพันธ์อนั ดี การบริ การ ความเข้าใจ ความ
ร่ วมมือ การประสานประโยชน์ ความผูกพัน ความไม่มีที่สิ้นสุ ด ระหว่าง รัฐบาล ธ.ก.ส. และ เกษตรกรลูกค้า ซึ่ง
จะผูกสัมพันธ์เป็ นวัฏจักรต่อเนื่องตลอดไป เพื่อช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน จะขาดจากกันไม่ได้
ธ.ก.ส. สี ขาว หมายถึง ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ซึ่งเป็ นรัฐวิสาหกิจ ประเภทสถาบัน
การเงิน ที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อดําเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐ มีการบริ หารจัดการด้วยความโปร่ งใส ยึดหลักธรร
มาภิบาล
รวงข้าวสี ทอง หมายถึง อาชีพหรื อการดําเนินงานของเกษตรกร คือการเกษตรและอาชีพที่มีลกั ษณะ
ต่อเนื่องจากอาชีพการเกษตร ความอุดมสมบูรณ์ของภาคเกษตรกรรม สัญลักษณ์แทนเกษตรกรลูกค้า ซึ่งเป็ น
กลุ่มเป้าหมายของธนาคาร
พื้นสี น้ าํ เงิน หมายถึง สี ของกระทรวงการคลัง ซึ่ง ธ.ก.ส. เป็ นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 5
-------------------------------------------------------------------------------

นายอาคม เติมพิทยาไพสิ ฐ
รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
ตําแหน่ง ประธานกรรมการ ธ.ก.ส.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 6
-------------------------------------------------------------------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 7
-------------------------------------------------------------------------------
 ความรู้ เกีย่ วกับสิ นเชื่ อเบื้องต้ น
หลักการวิเคราะห์ สินเชื่ อ
การวิเคราะห์ สินเชื่ อ
แหล่งที่มาของรายได้ของธนาคารพาณิ ชย์ คือ ส่ วนต่างของอัตราดอกเบี้ยระหว่างเงินฝากกับเงินให้สินเชื่อ
โดยเมื่อธนาคารรับฝากเงินมาแล้วก็จะนําเงินฝากที่ได้ไปปล่อยกู้ เงินฝากที่ธนาคารรับฝากมาไม่วา่ จะจํานวนเท่าใด
เมื่อครบกําหนดเวลา ธนาคารก็ตอ้ งจ่ายดอกเบี้ยอย่างครบถ้วนให้กบั ลูกค้าผูฝ้ ากเงิน แต่ทางด้านเงินกู้ เมื่อครบ
กําหนดธนาคารอาจจะไม่ได้รับชําระหนี้จากลูกค้าเงินกูก้ ไ็ ด้ ซึ่งจุดนี้ทาํ ให้ธนาคารเกิดความเสี่ ยงขึ้น ความเสี่ ยงใน
การปล่อยสิ นเชื่อของธนาคารเป็ นสําคัญ เนื่องจากเกี่ยวกับความอยูร่ อดของธนาคารเลยทีเดียว หากเกิดปัญหาหนี้
สู ญเพียงร้อยละ 10 ของเงินเครดิตที่ปล่อยก็เกินกว่าเงินของธนาคารทั้งระบบ นอกจากนี้ธนาคารแห่งประเทศไทย
ยังมีบทบาทในเรื่ องเงินสดสํารองตามกฎหมาย การปล่อยเงินกูแ้ ก่ภาคเอกชนที่รัฐบาลเป็ นผูก้ าํ หนด อาทิสินเชื่อสู่
ชนบท และการที่ทางธนาคารต้องพิจารณาการให้เครดิตอย่างรอบคอบก็เนื่องจากว่าหากเกิดปัญหาหนี้สูญกับ
ธนาคาร 1 ราย ธนาคารจะต้องหาหนี้ดีๆ จํานวนนับร้อยมาชดเชยผลตอบแทนที่ได้รับ จึงจะคุม้ กับความสู ญเสี ยที่
เกิดขึ้น
การพิจารณาให้ เครดิต
คําว่า เครดิต นั้นรวมถึงการให้กยู้ มื (LENDING) และการคํ้าประกัน (GUARANTEE)ดังนั้นการให้เครดิต
จึงมีความหมายกว้างกว่าการให้กยู้ มื เพราะการให้กยู้ มื นั้นผูใ้ ห้กยู้ มื ให้เงินของตนแก่ผกู ้ ทู้ าํ การกูโ้ ดยตรง แต่กต็ อ้ ง
เข้ารับความเสี่ ยงในกรณี ที่ธนาคารให้การคํ้าประกันนั้นไม่สามารถชําระหนี้ หรื อปฏิบตั ิตามสัญญาที่ตกลงไว้กบั อีก
บุคคลหนึ่งได้ ก่อนที่ธนาคารพาณิ ชย์จะตัดสิ นใจให้เครดิตแก่ลูกค้า ธนาคารจะพิจารณาถึงหลักที่เรี ยกว่า 3P ดังนี้
1. วัตถุประสงค์ การขอกู้ (Purpose)
วัตถุประสงค์การขอกูเ้ ป็ นสิ่ งจําเป็ นที่ธนาคารจะต้องพิจารณา ทั้งนี้เพราะกิจการบางอย่างธนาคารไม่
สนับสนุน กล่าวคือ ธนาคารจะสนับสนุนเครดิตที่ก่อให้เกิดผล(Production) ไม่ใช่นาํ ไปเก็งกําไร (Speculative)
นอกจากนี้วตั ถุประสงค์ของลูกค้าจะทําให้ทางธนาคารรู ้วา่ ลูกค้ามีวิธีชาํ ระเงินได้อย่างไร
2. การชาระหนี้ (Payment)
การชําระหนี้ เมื่อทราบวัตถุประสงค์แล้วทางธนาคารก็จะทราบว่าลูกค้าต้องการเงินกูป้ ระเภทใด ระยะสั้น
หรื อระยะยาว และจะมีวิธีการชําระหนี้ได้อย่างไร เช่น ถ้าเป็ นเงินกูร้ ะยะสั้นสําหรับหมุนเวียน ปกติลูกค้าสามารถ
ชําระหนี้ภายในระยะเวลาอันสั้น เพราะมีลกั ษณะเป็ น Self Liquidisting Schedule แต่ถา้ เป็ นเงินกูร้ ะยะยาวก็
ต้องใช้เวลาที่ยาวนานเป็ นปี ในการชําระหนี้เรี ยกว่า Payment Schedule การทําความเข้าใจในเรื่ องนี้ จะทําให้ผกู ้ ู้
สามารถสร้างความเชื่อถือให้กบั ธนาคารได้ เพราะธนาคารจะถือเรื่ องความตั้งใจจริ ง และความสามารถในการชําระ
หนี้ได้ ในจํานวน และเวลาที่กาํ หนด
3. การป้ องกันความเสี่ ยง (Protection)
การป้องกันความเสี่ ยง หลังจากที่ธนาคารพิจารณาถึงจุดประสงค์ และวิธีการชําระหนี้แล้วขั้นตอนต่อไปก็
ต้องพิจารณาถึงความเสี่ ยงที่จะเกิดขึ้น ความเสี่ ยงที่วา่ คือความเสี่ ยงที่เกิดจากการที่ธนาคารจะไม่ได้รับชําระหนี้หรื อ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 8
-------------------------------------------------------------------------------
ได้รับชําระหนี้ไม่เต็มจํานวนภายในระยะเวลาที่กาํ หนด อย่างไรก็ตามการป้องกันความเสี่ ยงในแง่น้ ี มิได้หมายถึง
หลักประกันเพียงอย่างเดียวแต่จะพิจารณาถึงความเป็ นไปได้ และความสามารถในการคุม้ ครองผลประโยชน์ของ
ธนาคารเอง ในกรณี ที่เกิดความเสี่ ยงจากการที่ลูกค้าไม่อาจชําระหนี้ได้ เช่น ถ้าลูกค้าประสบปัญหาขาดทุนลูกค้าจะ
หาเงินมาชําระได้เพียงใด มีกาํ ลังความสามารถในการเพิม่ ทุนเพียงใด ถ้าธนาคารมัน่ ใจในความสามารถของตัว
ลูกค้าแล้ว เรื่ องหลักประกันอาจจะไม่สาํ คัญ แต่ถา้ ลูกค้ามีความเสี่ ยงสูงธนาคารก็ตอ้ งให้ความสําคัญกับหลักประกัน
มาก แต่ถา้ เห็นว่าความเสี่ ยงมีสูงมากก็อาจปฏิเสธการให้เครดิตไป
เงินกู้ทม
ี่ ีวตั ถุประสงค์ อย่ างไรทีธ่ นาคารไม่ สนับสนุน
แม้วา่ ในระยะหลังๆ ธนาคารพาณิ ชย์จะแข่งขันเสนอบริ การตลอดจนสิ นเชื่อชนิดใหม่ๆเพิ่มขึ้นจากเดิมเป็ น
จํานวนมาก แต่กย็ งั คงมีเครดิตบางประเภทที่ธนาคารไม่สนับสนุน ซึ่งมีดงั นี้
1. การนาเงินกู้ของธนาคารไปลงทุน
การที่ธนาคารไม่สนับสนุนเรื่ องนี้ เนื่องจากเล็งเห็นว่าการลงทุนนั้นผูก้ จู้ าํ เป็ นต้องมีเงินทุน(Capital) ของ
ตัวเองด้วยจํานวนหนึ่ง ถ้าไม่พอจึงค่อยมาขอกูเ้ พิ่มเติมจากธนาคาร เพราะถ้าหากธนาคารปล่อยให้กเู้ พื่อการลงทุน
จนหมด เท่ากับว่าผูก้ ไู้ ม่ตอ้ งลงทุนอะไรเลยเพียงแต่พ่ งึ เงินจากธนาคารอย่างเดียวก็สามารถดําเนินการได้ แต่อย่างไร
ก็ตามธนาคารอาจพิจารณาให้เป็ นกรณี พิเศษในบางกรณี เท่านั้น
2. การกู้เพื่อชาระหนี้
ธนาคารไม่สนับสนุน เนื่องจากการชําระหนี้ข้ ึนอยูก่ บั ความสามารถในการจัดหาเงินทุนของผูก้ ู้ ซึ่งสามารถ
ทําได้โดยการทํากําไร หรื อเพิ่มทุน แต่ไม่ควรจะกระทําการชําระหนี้โดยการกูย้ มื อีก เพราะเท่ากับว่า เป็ นการก่อหนี้
ใหม่เพื่อนําไปชําระหนี้เก่า แต่ถา้ ธนาคารเห็นว่าผูก้ จู้ ะเป็ นลูกค้าที่ดีของธนาคารในอนาคตก็อาจจะอนุโลมให้เป็ น
กรณี พิเศษ
3. การกู้ยืมเงินไปจ่ ายเป็ นเงินปันผล
โดยหลักการแล้วไม่ควรสนับสนุน เพราะเมื่อบริ ษทั มีกาํ ไรแล้วก็ควรจะจ่ายเงินปันผล แต่กอ็ าจจะมีการ
ยกเว้นให้ลูกค้าบางรายการที่แม้มีกาํ ไร แต่กอ็ ยูใ่ นรู ปทรัพย์สินอื่นที่ไม่ใช่เงินสด ซึ่งสามารถเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้ใน
ภายหลัง
4. การนาเงินกู้ของธนาคารไปปล่ อยให้ ผ้ ูอื่นกู้ต่อ
ลูกค้าประเภทนี้จะอาศัยช่องโหว่ของความแตกต่างระหว่างอัตราดอกเบี้ยเงินกูใ้ นระบบธนาคารพาณิ ชย์กบั
อัตราดอกเบี้ยเงินกูย้ มื นอกระบบมาใช้ให้เป็ นประโยชน์ ซึ่งเป็ นสิ่ งที่ธนาคารไม่สนับสนุนอีกทั้งยังมีความเสี่ ยงสู ง
ด้วย
ประเด็นในการพิจารณาการปล่ อยสิ นเชื่ อของธนาคาร
ก่อนที่ธนาคารจะตัดสิ นใจให้เครดิตแก่ผขู ้ อกูน้ ้ นั ธนาคารจะพิจารณาปัจจัยเครดิตต่อไปนี้
1. ความสามารถในการชาระหนี้ (Capacity)
ความสามารถในการชําระหนี้เป็ นปัจจัยที่สาํ คัญที่สุดในการพิจารณาให้สินเชื่อ ลูกหนี้ที่แม้อยากจะชําระหนี้
สักเพียงใด หากปราศจากซึ่งความสามารถในการชําระหนี้แล้ว ย่อมไม่เกิดการชําระหนี้ ดังนั้นการให้กยู้ มื และการ
ให้เครดิตของธนาคารจะต้องประเมินความสามารถในการชําระหนี้ของลูกหนี้เป็ นประเภทต่างๆ ดังนี้
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 9
-------------------------------------------------------------------------------
1.1 ความสามารถในการชําระหนี้ ของบุคคลธรรมดา การประเมินความสามารถในการชําระหนี้ ของบุคคล
ธรรมดา พิจารณาได้จากข้อมูลต่อไปนี้
รายได้ประจํา หมายถึง เงินเดือน และรายได้อื่น ความสามารถในการชําระหนี้ในระยะเวลาที่ต่อเนื่องขึ้นอยู่
กับเงินเดือน และรายได้ที่ได้รับอย่างสมํ่าเสมอ และความสามารถนํารายได้น้ นั มาใช้ส่วนหนึ่งเพื่อการชําระหน
ความสามารถในการหารายได้จะชี้ให้เห็นความแน่นอนของรายได้อนั นํามาสู่ การชําระหนี้ในอนาคต
พิจารณาได้จากลักษณะของงานที่ทาํ พื้นความรู ้ความสามารถในการทํางาน สุ ขภาพความมัน่ คงในการทํางาน และ
ความก้าวหน้าในการทํางาน
หนี้สินที่มีอยู่ หมายถึง ภาระผูกพันที่มีอยูเ่ ดิม
รู ปแบบของการใช้จ่าย หมายถึง ภาวะที่ผมู ้ ีรายได้จะต้องรับผิดชอบก่อนที่จะเหลือรายได้เพื่อการชําระหนี้
พิจารณาได้จากฐานะการสมรส ขนาดครอบครัว และระดับการครองชีพเมื่อทราบรายได้ ความแน่นอนของรายได้
หนี้สินเดิม และรู ปแบบของการใช้จ่ายแล้ว ส่ วนที่เหลือจะเป็ นเครื่ องคุม้ ครองรายจ่ายชําระหนี้แก่ธนาคาร
1.2 ความสามารถในการชําระหนี้ ของธุ รกิจ พิจารณาได้จาก อัตราส่ วนทางการเงิน ดังนี้
- อัตราสภาพคล่อง (Liquidity Ratio)
- อัตราส่ วนหนี้ สิน และความคุม ้ ครองรายจ่ายประจํา
- อัตราส่ วนความสามารถในการหากําไร (Profitability Ratio)
- อัตราส่ วนความเจริ ญเติบโต และอื่นๆ (Growth and Others)
2. ความเต็มใจชาระหนี้ และอุปนิสัย (Character)
ข้อนี้ถือว่าสําคัญเป็ นอันดับแรก เพราะแม้วา่ ปัจจัยที่เหลือจะดี แต่ถา้ ลูกค้าหรื อลูกหนี้ขาดความซื่อสัตย์ ความ
จริ งใจแล้ว ก็ยอ่ มมีโอกาสเกิดหนี้สูญแก่ทางธนาคารมาก ปกติแล้วถ้าเป็ นลูกค้ารายใหม่ธนาคารจะดูถึงชื่อเสี ยง
ฐานะการศึกษา อุปนิสยั ครอบครัว ความซื่อสัตย์ การที่จะทราบอุปนิสยั ที่แท้จริ งของผูก้ ไู้ ด้โดยความสําคัญอย่าง
ใกล้ชิด ซึ่งความซื่อสัตย์เป็ นหลักสําคัญของอุปนิสยั แต่กไ็ ม่มีวิธีใดที่จะประกันได้วา่ ความซื่อสัตย์จะคงอยูต่ ลอดไป
ดังนั้นธนาคารจึงต้องให้ความสําคัญทั้งในกรณี ที่ธุรกิจที่ขอสิ นเชื่อนั้นมีการบริ หารงานแบบเจ้าของคนเดียว หรื อใน
กรณี การขอสิ นเชื่อเพื่อการบริ โภค
3. ทุนทีจ ่ ะนามาลง (Capital)
ทุน หมายถึง สิ่ งของทรัพย์สินเงินทองที่ผปู ้ ระกอบการนํามาลงทุนไว้ในธุรกิจ ธุรกิจอาจดําเนินการได้โดยไม่
มีการกูย้ มื ทําให้มีเงินทุนหมุนเวียนน้อย เป็ นผลให้กาํ ไรของกิจการน้อยตามไปด้วย ดังนั้นผูป้ ระกอบการจึงทําการ
กูย้ มื ตามกําลังความสามารถของตน แต่ขณะเดียวกันถ้ามีการใช้เงินกูย้ มื สู ง (Leverage) ธุรกิจอาจประสบปัญหา
เนื่องจากกําไรที่ธุรกิจได้รับส่ วนใหญ่จะต้องนําไปใช้ชาํ ระคืนเงินกูแ้ ก่ธนาคาร และถ้ากําไรของธุรกิจนั้นน้อยธุรกิจ
นั้นอาจขาดทุน
ปกติแล้วเงินทุน เท่ากับ มูลค่าของทรัพย์สินทั้งหมดของกิจการหักด้วยหนี้สินทั้งหมด ถ้ากิจการใดมีหนี้สิน
มากกว่าเงินทุนที่ลงไว้ หมายความว่า เจ้าหนี้มีอตั ราเสี่ ยงสู งเพราะเจ้าหนี้ได้ลงทุนมากกว่าเจ้าของกิจการ ดังนั้น
เงินทุนของผูข้ อกูจ้ ึงเปรี ยบเสมือนเกราะให้ความปลอดภัย (Margin of safety) กับธนาคาร ซึ่งโดยปกติแล้ว
ธนาคารจะยอมให้กิจการกูท้ ี่อตั ราส่ วนของหนี้ต่อเงินทุนไม่เกิน3 เท่า
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 10
-------------------------------------------------------------------------------
4. หลักประกัน (Collateral)
โดยปกติก่อนที่ธนาคารจะอนุมตั ิเงินให้กบั ลูกค้า ธนาคารมักจะให้ลูกค้าผูข้ อกูเ้ งินวางหลักทรัพย์เป็ นประกัน
ไว้กบั ธนาคาร ทั้งนี้เพื่อชดเชยกับจุดอ่อนที่เห็นได้ชดั เจนในด้านความเสี่ ยงเช่น ความสามารถของผูก้ ทู้ ี่ยงั ไม่ได้
พิสูจน์ หรื อเพือ่ ป้องกันความเสี่ ยงต่อหนี้สูญที่อาจเกิดขึ้น แต่อย่างไรก็ตามหลักประกันไม่อาจที่จะมาชดเชยกับ
จุดอ่อนทางด้านความซื่อสัตย์ เพราะถ้าหากผูข้ อกูข้ าดความซื่อสัตย์แล้ว ย่อมหมายถึงความเสี่ ยงอยูใ่ นระดับสู งมาก
โดยทัว่ ไปแล้วเรามักจะเข้าใจว่าการกูเ้ งินจากธนาคารต้องมีที่ดิน หรื อสิ่ งปลูกสร้างมาคํ้าประกันแต่ความจริ ง
แล้วยังมีสิ่งอื่นๆ ที่ใช้ค้ าํ ประกันได้ ดังนี้
4.1 การใช้บุคคลคํ้าประกัน (Personal Guarantee) บุคคลที่ค้ าํ ประกันต้องเป็ นบุคคลที่มีชื่อเสี ยง ฐานะดี
หรื อคนที่ธนาคารรู ้จกั หรื อคนที่ธนาคารยอมรับให้เครดิต
4.2 การใช้เงินฝากประจําคํ้าประกัน (Fixed deposit) โดยการมอบอํานาจให้กบ ั ธนาคารมีสิทธิ์หกั เงินฝาก
ประจําชําระหนี้ การขอให้กใู้ นลักษณะนี้มกั เสี ยดอกเบี้ยในอัตราตํ่ากว่าอัตราปกติโดยธนาคารมักจะใช้วิธีบวกอัตรา
ดอกเบี้ยเหนืออัตราดอกเบี้ยเงินฝากประจําในขณะนั้นขึ้นอีกร้อยละ 3-4 จุดประสงค์ในการขอกูโ้ ดยใช้เงินฝากคํ้า
ประกันนี้ผขู ้ อกูม้ กั จะมาขอกูเ้ พื่อใช้เป็ นเงินทุนหมุนเวียนระยะสั้นในรู ปของการเบิกเงินเกินบัญชี
4.3 การกูโ้ ดยการโอนสิ ทธิ การเช่า ในบางกรณี ผก ู ้ ไู้ ม่มีหลักทรัพย์ของตนเอง แต่ได้ทาํ สัญญาเช่าสถานที่เพื่อ
เป็ นที่ประกอบการเป็ นสัญญาระยะยาว ธนาคารก็อาจนับเป็ นหลักทรัพย์ได้
4.4 การให้กโู ้ ดยมีสินค้าเป็ นหลักประกัน (Stock Financing) โดยธนาคารจะพิจารณาเลือกเอาสิ นค้าที่มี
คุณภาพแบบเดียวกัน (Homogeneous) เพื่อความสะดวกในการตรวจสอบ และควบคุมผูข้ อก็จะต้องทําประกันภัย
สิ นค้าที่จาํ นําไว้กบั ธนาคาร ตลอดจนสลักหลังกรมธรรม์มอบให้กบั ธนาคารเป็ นผูไ้ ด้รับผลประโยชน์เมื่อเกิดความ
เสี ยหาย
5 ภาวการณ์ (Condition)
เนื่องจากภาวะเศรษฐกิจที่เปลี่ยนแปลง อาจมีผลกระทบกระเทือนต่อการบริ โภคสิ นค้าวิธีการจําหน่าย
ตลอดจนการเปลี่ยนแปลงนโยบายของรัฐบาลในการควบคุม ยกเลิก การส่ งเสริ มการเพิ่มภาษี เพิ่มกฎข้อบังคับ ซึ่ง
อาจจะส่ งผลกระทบถึงความสามารถในการชําระหนี้ของลูกค้าหลักการวิเคราะห์สินเชื่อ
หลัก 5C
1. Character คือ อุปนิ สยั ของลูกค้า เป็ นการวิเคราะห์ถึงอุปนิ สยั ของลูกค้าว่ามีความซื่ อสัตย์ มีความ
รับผิดชอบหรื อไม่ ความตรงต่อเวลาในการชําระหนี้ และความสมํ่าเสมอในการชําระหนี้ นโยบาย และวิธีการชําระ
หนี้ของธุรกิจนั้น ซึ่งผูอ้ นุมตั ิสินเชื่อสามารถอาศัยประสบการณ์ที่บอกให้ทราบถึงปัจจัยด้านคุณธรรมนี้ และเป็ น
ปัจจัยที่สาํ คัญที่สุดในการวิเคราะห์การขายสิ นเชื่อ
2. Capacity คือ ความสามารถในการชําระหนี้ เป็ นการใช้วิจารณญาณในการประเมินความสามารถในการ
ชําระหนี้ โดยอาศัยข้อมูลจากการติดต่อกับลูกค้าในอดีต ประกอบกับสภาพทัว่ ๆ ไปของโรงงาน เครื่ องมืออุปกรณ์
ทําเลที่ต้ งั ของธุรกิจ หรื อโรงงานว่าอยูใ่ นทําเลที่เหมาะสมหรื อไม่ มีการกระจายคลังสิ นค้าไปได้ทวั่ ถึงแค่ไหน
นอกจากนั้นก็พิจารณาถึงรายได้ของธุรกิจว่าได้มาจากที่ใด รวมทั้งดูถึงค่าใช้จ่ายที่ใช้ในกิจการ
3. Capital คือ ทุนของลูกค้า เป็ นการวิเคราะห์ฐานะทางการเงินทัว่ ๆ ไป โดยวิเคราะห์อตั ราส่ วนทางการเงิน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 11
-------------------------------------------------------------------------------
โดยเฉพาะส่ วนทุนที่สามารถสัมผัสได้ ได้แก่
3.1 ทรัพย์ที่มีตวั ตน และไม่มีตวั ตน เช่น ที่ดิน อาคาร เครื่ องใช้สาํ นักงาน เครื่ องจักร เป็ นต้น
3.2 การตอบแทนของเงินทุน
3.3 สิ นทรัพย์ใดๆ ที่สามารถนําไปคํ้าประกันหนี้ สินได้
4. Collateral คือ หลักทรัพย์ค้ าํ ประกัน ซึ่ งหมายถึง ทรัพย์สิน หรื อตัวบุคคลที่ลูกค้านํามาเป็ นหลักทรัพย์ค้ าํ
ประกันในการซื้อสิ นเชื่อ ซึ่งช่วยลดความเสี่ ยงภัยทางการเงินในกรณี ที่ลูกหนี้มีผลการดําเนินงาน และฐานะการเงิน
ในอนาคตเปลี่ยนแปลงในทางที่ไม่ดี ซึ่งบุคคลที่นาํ มาคํ้าประกันนั้นต้องเป็ นบุคคลที่บรรลุนิติภาวะ เป็ นบุคคลที่มี
ชื่อเสี ยงเป็ นที่น่าเชื่อถือ และมีทรัพย์สินส่ วนตัวในปริ มาณเพียงพอที่สามารถชําระหนี้ได้ ส่ วนทรัพย์สินที่นาํ มาคํ้า
ประกันมักจะเป็ นทรัพย์สินถาวรเช่น ที่ดิน เครื่ องจักร อาคาร ยานพาหนะ และจะต้องเป็ นทรัพย์สินที่ซ้ือได้ง่าย ขาย
คล่อง ราคาไม่เปลี่ยนแปลงง่าย
5. Condition คือ สภาพทัว่ ๆ ไป หมายถึง ผลกระทบจากเศรษฐกิจโดยทัว่ ๆ ไป ได้แก่นโยบายของรัฐบาล
สภาพทางการเมือง สภาพดินฟ้าอากาศ สภาวะทางด้านแรงงาน สภาวะทางด้านการเงิน และการคลังที่มีผลต่อการ
ชําระหนี้ของลูกค้า
หลัก 5P
1. Policy คือ นโยบายของกิจการ เป็ นการดูวา่ กิจการนี้ มีนโยบายทําการผลิตเพื่อการส่ งออกไปจําหน่ ายใน
ต่างประเทศ หรื อจําหน่ายภายในประเทศ นโยบายการขาย นโยบายการบริ หารดีหรื อไม่ นโยบายการผลิตสิ นค้าที่มี
คุณภาพ มีมาตรฐานหรื อไม่เพียงใด นโยบายทางด้านราคา ดูวา่ จําหน่ายในราคาที่ยตุ ิธรรมหรื อไม่
2. Price คือ ราคา เป็ นการพิจารณาราคาจําหน่ ายของผลิตภัณฑ์ ของกิจการว่ามีราคาสู งหรื อตํ่าเพียงใด โดย
จะทําการเปรี ยบเทียบกับคูแ่ ข่ง และเป็ นการพิจารณาว่าต้นทุนในการผลิตสิ นค้าของกิจการว่าสู งหรื อตํ่ากว่าหรื อไม่
ซึ่งจะเป็ นตัวกําหนดราคาจําหน่ายสิ นค้าของกิจการ
3. Place คือ สถานที่ หรื อช่องทางการจัดจําหน่ าย เป็ นการพิจารณาถึงเขตพื้นที่ที่เป็ นตัวแทนในการจัด
จําหน่ายของกิจการ เช่น จําหน่ายเฉพาะภาคใดภาคหนึ่ง หรื อจําหน่ายทัว่ ประเทศเป็ นต้น มีการจัดจําหน่ายโดยวิธี
ใดบ้าง เช่น จําหน่ายโดยตรง หรื อผ่านตัวแทน สถานที่ต้ งั ของกิจการ หรื อโรงงานจะต้องคํานึงถึงความได้เปรี ยบ
ทางภูมิศาสตร์เศรษฐกิจ เช่น ความใกล้ไกลแหล่งวัตถุดิบ ความใกล้ไกลตลาด เป็ นต้น สถานที่ต้ งั มีสาธารณูปโภคที่
ดีหรื อไม่ เช่น ไฟฟ้าประปา โทรศัพท์ การคมนาคมสะดวกหรื อไม่
4. Production คือ การผลิต เป็ นการพิจารณาถึงผลิตภัณฑ์ที่ผลิต ว่ามีลกั ษณะอย่างไร มีคุณภาพ และ
มาตรฐานที่ดีหรื อไม่ ตรงกับความต้องการของตลาดหรื อไม่ กระบวนการผลิตเป็ นอย่างไร ใช้เทคนิคการผลิต
อย่างไร กําลังการผลิตของเครื่ องจักรที่ใช้ในการผลิตเต็มประสิ ทธิภาพหรื อไม่ และผลิตได้เท่าไร ผลิตตามฤดูกาล
หรื อผลิตได้ตลอดทั้งปี ผลิตได้สมํ่าเสมอหรื อไม่ ถ้าต้องการผลิตเพิ่มขึ้นสามารถขยายกําลังการผลิตได้หรื อไม่
5. Promotion คือ การส่ งเสริ มการตลาด เป็ นการพิจารณาว่ากิจกรรมใดบ้างที่เป็ นการส่ งเสริ มการตลาด เช่น
การโฆษณา การแจกของแถม การแจกสิ นค้าตัวอย่าง เป็ นต้น ซึ่งจะสามารถทําให้สินค้าเป็ นที่รู้จกั ของตลาด
การบริหารงานสิ นเชื่ อ
สิ นเชื่อ (credit) มีที่มาจากคําภาษาลาตินว่า Credere แปลว่า to trust หรื อ to believe และนักวิชาการบาง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 12
-------------------------------------------------------------------------------
ท่านกล่าวว่ามาจากคําภาษาลาติน Credo ซึ่งเป็ นคําผสมระหว่างคําภาษาสันสกฤต Crad แปลว่า ความเชื่อถือ
ไว้วางใจ กับคําภาษาลาติน do แปลว่า ทําให้เกิดหรื อมอบ จะเห็นได้วา่ ที่มาของคําว่าสิ นเชื่อนั้นมาจากรากฐาน
เดียวกัน คือ ความเชื่อถือและไว้วางใจ (ดารณี พุทธวิบูลย์,2543 หน้า2)
การค้า สิ นเชื่อ หมายถึง ความเชื่อถือที่ผขู ้ ายมีต่อผูซ้ ้ือ และยอมมอบสิ นค้าหรื อบริ การให้แก่ผซู ้ ้ือไปก่อนโดย
ไม่ตอ้ งชําระเงินสด แต่มีสญ ั ญาการชําระเงินค่าสิ นค้าหรื อบริ การนั้นในวันข้างหน้าตามการตกลงกันระหว่างผูซ้ ้ือ
และผูข้ าย ซึ่งก่อให้เกิดภาวะความเป็ นลูกหนี้และเจ้าหนี้ตามมา
ผูบ้ ริ โภค สิ นเชื่อ หมายถึง ความสามารถที่จะได้สินค้าหรื อบริ การไปใช้ก่อนโดยตกลงว่าจะนําเงินมาชําระ
สิ นค้าหรื อบริ การในภายหน้า
สถาบันการเงิน สิ นเชื่อ หมายถึง บริ การชนิดหนึ่งของสถาบันการเงินที่ก่อให้เกิดรายได้หลักแก่สถาบัน
การเงิน
สรุป ความหมายของสิ นเชื่อ คือ ความเชื่อถือไว้วางใจระหว่างบุคคล 2 ฝ่ าย ในการที่จะให้สินค้าหรื อบริ การ
ไปใช้ก่อน โดยมีสญ ั ญากําหนดเงื่อนไขและเงื่อนเวลาการชําระคืนในอนาคต ซึ่งการยินยอมหรื อไม่ จะขึ้นอยูก่ บั
คุณลักษณะของผูก้ หู้ รื อลูกหนี้เป็ นสําคัญว่า จะสามารถทําให้เจ้าหนี้เชื่อถือได้มากหรื อน้อยเพียงใด และมี
ความสามารถจะกูย้ มื หรื อเป็ นหนี้ได้อย่างไร ตลอดจนประเภทของสิ นเชื่อต่างๆ
ปัจจัยการพิจารณา 4 ประการคือ
1.เชื่อว่าลูกหนี้ จะชําระเงินค่าสิ นค้าหรื อเงินที่กยู ้ ม
ื นั้น
2.เชื่อว่าลูกหนี้ มีความสามารถที่จะชําระหนี้ ได้
3.เชื่อว่าลูกหนี้ คงไม่โกง
4.เชื่อว่าลูกหนี้ คงไม่มีเหตุการณ์ร้ายแรงเกิดขึ้นจนมาเป็ นอุปสรรคในการชําระหนี้
องค์ประกอบที่สาํ คัญในการพิจารณาการใช้สินเชื่อ
1.การบริ การสิ นเชื่อประเภทต่างๆ
2.คุณค่าทางเครดิตของผูใ้ ช้สินเชื่อ
3.อํานาจซื้ อ
4.การชําระหนี้
5.ปริ มาณของสิ นเชื่อ
กระบวนการสิ นเชื่อ 9 ขั้นตอน (ชนินทร์ พิทยาวิธิช, 2549)
1.การศึกษาธุรกิจที่น่าสนใจ (Business Opportunity)
2.การคัดเลือกกลุ่มลูกค้าเป้ าหมาย
3.การรวบรวมข้อมูล
- วัตถุประสงค์ในการขอสิ นเชื่อ
- ข้อมูลในอดีต, ปั จจุบน ั , อนาคต
4.การเข้าพบลูกค้าเพื่อสัมภาษณ์
5.การพิจารณาหลักประกัน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 13
-------------------------------------------------------------------------------
6.การวิเคราะห์เพื่อประเมินความเสี่ ยง
7.การนําเสนอเครดิตโดยการจําแนกแยกแยะความเสี่ ยง
8.เอกสารประกอบสิ นเชื่อ (Documentation)
9.การดูแลและทบทวนความเสี่ ยงของสิ นเชื่อ
กระบวนการสิ นเชื่อ 3 ขั้นตอน (ดารณี พุทธวิบูลย์, 2543)
ประกอบด้วย
1.รายการสิ นเชื่อ (Credit Transaction)
2.สถานะทางสิ นเชื่อ (Credit Standing)
3.ตราสารสิ นเชื่อ (Credit Instruments)
บทบาทของสิ นเชื่อในระบบเศรษฐกิจ
ผลดี
1.ช่วยบําบัดความต้องการของมนุ ษย์
2.ช่วยส่ งเสริ มให้เศรษฐกิจดีข้ ึนได้โดยการก่อให้เกิดเงินออม
3.ช่วยส่ งเสริ มศีลธรรมของสังคม
ผลเสี ย
1.เกิดหนี้ สินล้นพ้นตัว ล้มละลาย
2.ภาวะเงินเฟ้อ
3.ลงทุนในการเพิ่มผลผลิตที่ไม่ได้ก่อให้เกิดผลดีแก่ผล ู ้ งทุน
สถาบันทางสังคมต่างๆ ที่มีผลต่อลักษณะการใช้สินเชื่อ
1.ครอบครัว
2.การศึกษา
3.เศรษฐกิจ
4.ทางด้านศาสนา
5.การปกครอง
ส่ วนประกอบของผูใ้ ช้สินเชื่อในระบบเศรษฐกิจ
1.ผูบ ้ ริ โภค
2.ผูค้ า้ ปลีกและผูใ้ ห้บริ การ
3.ผูผ้ ลิตและผูค้ า้ ส่ ง
4. สถาบันการเงิน
บทบาทของสิ นเชื่ อสาหรั บผู้บริโภค
เหตุผลที่ผบู ้ ริ โภคจําเป็ นต้องใช้สินเชื่อ
1. เพื่อสนองความต้องการและมีความพอใจในอันที่จะบรรลุวตั ถุประสงค์ที่จะทําให้การดํารงชีวิตดีข้ ึน
2. เพราะความสะดวกสบายในการใช้สินเชื่อ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 14
-------------------------------------------------------------------------------
3. เพราะความจําเป็ นบังคับ
บทบาทของสิ นเชื่อต่อผูค้ า้ ปลีกและผูใ้ ห้บริ การ
1.การให้สินเชื่อแก่ผบ ู ้ ริ โภค เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ในการจูงใจให้มีการซื้อสิ นค้าหรื อใช้บริ การมากขึ้น ทํา
ให้เพิ่มยอดขายได้
2.การได้สินเชื่อจากพ่อค้าส่ ง หรื อสถาบันการเงิน ทําให้พอ ่ ค้าสามารถนําสิ นค้ามาขายได้เงินสดก่อน จนกว่า
จะถึงกําหนดชําระเงินแก่เจ้าหนี้ มีประโยชน์ต่อเงินทุนหมุนเวียนทําให้การค้าคล่องตัวขึ้น
บทบาทของสิ นเชื่อต่อผูผ้ ลิตและผูค้ า้ ส่ ง
การขายสิ นค้าของผูผ้ ลิตและผูค้ า้ ส่ งโดยทัว่ ไปจะขายเป็ นเงินเชื่อ แต่ระยะเวลาการให้สินเชื่อแตกต่างกัน
ไปแล้วแต่ลกั ษณะของ
- สิ นค้า
- ความเสี่ ยงภัย
- ชนิ ดของลูกค้า
- การแข่งขัน
- ฐานะการเงินของผูผ้ ลิต และผูค้ า้ ส่ ง ภาวะเศรษฐกิจและอื่นๆ
บทบาทของสินเชื่ อต่ อสถาบันการเงิน
ตัวกลางจัดหาเงินทุนให้แก่ธุรกิจและเอกชน
อํานวยความสะดวกในการให้สินเชื่อ
นโยบายหลีกเลี่ยงความเสี่ ยงภัยอันเกิดจากการจากการเรี ยกเก็บหนี้ไม่ได้
ผลเสี ยทีอ่ าจเกิดขึน้ จากการใช้ สินเชื่ อโดยไม่ ถูกต้ อง
1.การให้สินเชื่อไปโดยไม่ก่อให้เกิดผลผลิต
2.การใช้สินเชื่อเป็ นเครื่ องมือการแลกเปลี่ยนมากเกินไป
3.ผลเสี ยที่อาจจะเกิดขึ้นได้กบ ั แต่ละบุคคล
การกาหนดหน้ าทีข่ องการบริหารสิ นเชื่ อ
ขอบเขตและหน้าที่ของฝ่ ายบริ หารที่จะสามารถบริ หารงานให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่วางไว้ และประสบ
ความสําเร็ จ มีดงั นี้
1.การกําหนดเป้าหมาย
2.การดําเนินงานเพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่วางไว้
3.การประเมินผลและการควบคุม
หน้ าทีท่ ี่สาคัญของฝ่ ายบริหาร
1.การวางแผน (Planning)
2.การจัดองค์การ (Organizing)
3.การจัดคนเพือ ่ ให้เหมาะกับงาน (Staffing
4.การบังคับบัญชาและการชี้แนวทาง (Directing)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 15
-------------------------------------------------------------------------------
5.การควบคุม (Controlling)
ส่ วนประกอบของการบริหารงานทีม่ ปี ระสิ ทธิภาพ
1.การรวบรวมข้อมูลเพื่อประกอบการวางแผนและตัดสิ นใจ
2.การกลัน ่ กรองข้อมูลเพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่ดีและเชื่อถือได้
3.การวางแผนทั้งระยะสั้นและระยะยาว ไม่วา่ จะเป็ นแผนการตลาด แผนการบริ หาร การเงิน การบริ หาร
สิ นเชื่อ แผนการบริ หารบุคคล
4.การตัดสิ นใจที่จะต้องมีหลักเกณฑ์ที่ดี มีเหตุผล การใช้วิจารณญาณ และประสบการณ์เพื่อตัดสิ นใจ
5.การจัดองค์การ และการวางตัวบุคคลตามตําแหน่งต่างๆ
6.การสื่ อข้อความระหว่างผูบ ้ งั คับบัญชาและผูอ้ ยูใ่ ต้บงั คับบัญชาให้เข้าใจซึ่งกันและกัน จะได้ร่วมกันทํางาน
ให้ตรงตามเป้าหมายได้
7.การกระตุน ้ ให้เกิดมีกาํ ลังใจหรื อมีไฟในการทํางานไม่เกิดความเบื่อหน่าย
8. การช่วยเป็ นพี่เลี้ยงชี้แนะแนวทางเมื่อเกิดปั ญหาในการปฏิบตั ิงาน ให้คาํ ปรึ กษา ในฐานะที่มีประสบการณ์
มามากกว่า
9. การประเมินผลการปฏิบตั ิงานรวมทั้งการควบคุมให้ได้ผลมากที่สุด
10. การส่ งเสริ มให้ผรู ้ ่ วมทํางานมีความคิดริ เริ่ มจะได้กระตือรื อร้นในการทํางานและพัฒนาวิธีการต่างๆ มา
ทํางานให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
11. การส่ งเสริ มให้พนักงานมีความรู ้มากขึ้น การให้มีการอบรมให้มีความรู ้ใหม่ๆ และมีความพอใจในการ
ทํางานร่ วมกัน
12. การประสานงานให้หน้าที่ต่างๆ ให้สอดคล้องและเป็ นไปในทิศทางเดียวกัน
การบริหารจัดการหนี้
การบริ หารจัดการหนี้คือ กระบวนการบริ หารและจัดการหนี้ ไม่ให้เกิดเป็ นหนี้คา้ งชําระและแก้ไขหนี้คา้ ง
ชําระอย่างเป็ นระบบ ทําให้ลูกหนี้ชาํ ระหนี้คืนได้
การบริหารหนีค้ ้ างชาระ
การวิเคราะห์ ลูกหนีแ้ ละศักยภาพของลูกหนี้
การวิเคราะห์ลูกหนี้และศักยภาพของลูกหนี้ ข้อมูลที่สาํ นักงานสหกรณ์จงั หวัดควรนํามาใช้ในการวิเคราะห์
ลูกหนี้คา้ งชําระแต่ละรายนั้น จะต้องรู ้สภาพที่แท้จริ งของสหกรณ์ สาเหตุที่ผดิ ปกติที่เกิดขึ้นที่ท่าให้สหกรณ์ไม่
สามารถส่ งชําระหนี้ได้ ดังนั้น กระบวนการวิเคราะห์สภาพปัญหาลูกหนี้ ควรดําเนินการ ดังนี้
1) กําหนดตัวผูร้ ับผิดชอบ
2) กําหนดเป้าหมาย
3) วิเคราะห์ลูกหนี้ และศักยภาพ
4) กําหนดแนวทางในการแก้ไข
5) ปฏิบตั ิตามแนวทางที่กาํ หนด
6) ประเมินผล
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 16
-------------------------------------------------------------------------------
การวิเคราะห์ลูกหนี้และศักยภาพ มีองค์ประกอบในการวิเคราะห์ ดังนี้
1) วิเคราะห์ ศักยภาพของลูกหนี้ เป็ นการวัดความสามารถและความตั้งใจในการชําระหนี้ ของสหกรณ์โดย
การวิเคราะห์ฐานะทางการเงินของสหกรณ์ ได้แก่ วิเคราะห์ รายได้ รายจ่าย ภาระหนี้สิน ประวัติการชําระหนี้
2) วิเคราะห์ถึงความผิดปกติที่เป็ นเหตุในตัวลูกหนี้ ได้แก่ ภัยธรรมชาติ สมาชิกไม่ส่งชําระหนี้ เกิดการทุจริ ต
ในองค์กร
3) วิเคราะห์หลักประกันและทรัพย์สินของลูกหนี้ โดยวิเคราะห์วา่ หลักประกันคุม ้ กับมูลหนี้หรื อไม่
กําหนดกลยุทธ์ในการแก้ไขปัญหาหนี้คา้ งชําระ
1) ให้ชาํ ระหนี้ เก่าและให้สินเชื่อใหม่
2) การขยายกรอบเวลาชําระหนี้
3) การปรับปรุ งโครงสร้างหนี้
4) การขอลดหนี้
5) การดําเนิ นคดีและบังคับคดี
6) การไกล่เกลี่ยคดี การประนี ประนอมหนี้ (ก่อนศาลมีคาํ พิพากษา)
7) การขอเจรจาประนี ประนอมหนี้ กองทุนพัฒนาสหกรณ์ ภายหลังศาลมีคาํ พิพากษา และออกหมายบังคับ
คดีแล้ว
8) การตัดหนี้ สูญ
การบริหารความเสี่ ยงด้ านสิ นเชื่ อ
ธุรกิจธนาคารพาณิ ชย์คือธุรกิจที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการบริ หารความเสี่ ยง
ความเสี่ ยงเกิดขึ้นได้จาก การให้สินเชื่อ จากปัจจัยด้านการตลาด หรื อจากกระบวนการในการดําเนินธุรกิจ
เป้าหมายในการทําธุรกิจ คือ การสร้างความมัง่ คัง่ ให้แก่ผถู ้ ือหุน้ ดังนั้นธนาคารจะต้องทําธุรกิจเพื่อให้เกิด
ผลตอบแทนที่เหมาะสมกับความเสี่ ยง
ธนาคารจะต้องยอมรับความเสี่ ยงในระดับหนึ่ง ทั้งนี้จะต้องมีนโยบายการบริ หารความเสี่ ยงอย่างครอบคลุม
ความเสี่ ยงของสถาบันการเงิน
1. ความเสี่ ยงด้ านกลยุทธ์ (Strategic Risk)
คือความเสี่ ยงที่เกิดจากการกําหนดแผนกลยุทธ์ แผนดําเนินงาน และการนําไปปฏิบตั ิที่ไม่เหมาะสม หรื อไม่
สอดคล้องกับปัจจัยภายในและสภาพแวดล้อมภายนอก อันส่ งผลกระทบต่อรายได้ เงินกองทุน หรื อการดํารงอยูข่ อง
กิจการ กําหนดกลยุทธ์แล้วไม่ได้นาํ ไปปฎิบตั ิ
Ex. วิกฤติ Sub-prime ในสหรัฐ, วิกฤติหนี้ ในยุโรป, ความขัดแย้งทางการเมืองในประเทศ การระบาดของ
ไข้หวัดนก วิกฤติน้ าํ ท่วม ฟองสบู่อสังหาริ มทรัพย์ลว้ นแล้วแต่ส่งผลให้อุปสงค์ในประเทศทั้งการบริ โภคและการ
ลงทุนซบเซาลง ธนาคารต้องปรับกลยุทธ์ให้สอดคล้องกับภาวการณ์ที่เปลี่ยนแปลงอยูเ่ สมอ
2. ความเสี่ ยงด้ านเครดิต (Credit Risk)
ความเสี่ ยงที่เกิดจากการที่คู่สญ
ั ญา ของธนาคาร ไม่สามารถปฏิบตั ิตามเงื่อนไขและข้อตกลงในสัญญา ทําให้
ไม่สามารถชําระหนี้ได้ตามกําหนด ส่ งผลเสี ยหายต่อธนาคาร
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 17
-------------------------------------------------------------------------------
คู่สญ
ั ญา ที่สาํ คัญที่สุดได้แก่.........
เป้าหมายของการปล่อยสิ นเชื่อคือไม่เป็ น NPLs เราจะมัน่ ใจได้อย่างไรว่าผูก้ จู้ ะสามารถชําระคืนหนี้ได้
ซึ่งอาจมีสาเหตุหลายประการ ได้แก่
2.1 ความเสี่ ยงจากการกระจุกตัวของการให้ สินเชื่ อ
-ธนาคารอาจกําหนดวงเงินสิ นเชื่อสู งสุ ดสําหรับอุตสาหกรรมแต่ละประเภท (Sector limit) เพื่อไม่ให้
สิ นเชื่อกระจุกตัวทั้งในกลุ่มลูกค้ารายใหญ่ หรื อกลุ่มอุตสาหกรรมใดมากเกินไป
-Single lending limit ไม่เกิน 25% ของเงินกองทุน
2.2 ความเสี่ ยงจากคุณภาพสิ นเชื่ อ
-ธนาคารต้องปรับปรุ งกระบวนการ นโยบายสิ นเชื่อให้มีประสิ ทธิภาพ
-มีการติดตามดูแลสิ นเชื่อหลังการอนุมตั ิอย่างใกล้ชิด ควบคุมให้ใช้สินเชื่อตรงตามวัตถุประสงค์
-มีกระบวนการตรวจสอบคุณภาพสิ นเชื่อของลูกค้าอย่างสมํ่าเสมอ
-การเร่ งปรับปรุ งโครงสร้างหนี้สาํ หรับลูกหนี้ NPL
-การเร่ งจําหน่าย NPA (สิ นทรัพย์ที่ได้จากการตกลงแลกเปลี่ยนเพื่อชําระหนี้ หรื อจากการที่ธนาคารไปซื้อ
จากการขายทอดตลาดจากกรมบังคับคดี)
2.3 ความเสี่ ยงจากมูลค่ าหลักประกัน
-(ตย.ที่เห็นได้ชดั คือ subprime crisis)
-ธนาคารต้องดูแลควบคุมการประเมินราคาหลักประกันอย่างเข้มงวด และติดตามการเปลี่ยนแปลงของมูลค่า
หลักประกันอย่างใกล้ชิด
-ปัจจัยอะไรทําให้มูลค่าที่ดิน เพิ่ม / ลด (ทําเล โซนผังเมือง รู ปร่ าง ขนาด)
-ต้องให้ลูกค้าทําประกันอัคคีภยั
2.4 ความเสี่ ยงจากการเกินวงเงินของคู่สัญญา
-ธนาคารต้องเข้มงวด ไม่ให้สินเชื่อเกินกว่าวงเงินที่กาํ หนดไว้
3. ความเสี่ ยงด้ านตลาด (Market risk)
-not a marketing risk
-ความเสี่ ยงที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลงมูลค่าของตราสารทางการเงินที่ธนาคารถือครอง เนื่องจากการ
เปลี่ยนแปลงปัจจัยตลาด เช่น อัตราดอกเบี้ย อัตราแลกเปลี่ยน ความเสี่ ยงจากราคา (price risk)
-ธนาคารต้องกําหนดนโยบายบริ หารความเสี่ ยงด้านตลาดให้สอดคล้องกับกลยุทธ์ของธนาคาร
-กําหนดเพดานความเสี่ ยงด้านตลาด สู งสุ ดที่ยอมรับได้
-มีการประเมินมูลค่าตามราคาตลาดทุกสิ้ นวัน (Mark to the market)
4. ความเสี่ ยงด้ านสภาพคล่ อง (Liquidity Risk)
-ความเสี่ ยงที่เกิดจากการที่ธนาคารไม่สามารถชําระหนี้สินหรื อภาระผูกพันเมื่อถึงกําหนด เนื่องจาก
-ไม่สามารถเปลี่ยนสิ นทรัพย์ให้เป็ นเงินสดได้ ทันที ในราคาที่ปกติ
-ไม่สามารถจัดหาเงินทุนได้เพียงพอ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 18
-------------------------------------------------------------------------------
-ธนาคารควรแสวงหาแหล่งเงินทุนเพื่อสภาพคล่องที่หลากหลาย ทั้งจากตลาดเงินและตลาดทุน ทั้งใน
ประเทศและต่างประเทศ
-สิ นทรัพย์สภาพคล่องได้แก่ เงินสด เงินฝากและหลักทรัพย์ที่สภาพคล่องสู ง
5. ความเสี่ ยงด้ านปฏิบต ั ิการ (Operational Risk)
-ความเสี่ ยงที่จะเกิดความเสี ยหายเนื่องจากขาดระบบการกํากับดูแลและควบคุมที่ดี หรื อขาดธรรมาภิบาลใน
องค์กร เช่น การทุจริ ต ความล่าช้าในการปฏิบตั ิงาน (ไม่มีประสิ ทธิภาพ=> ต้นทุนสู ง)
-อาจมีสาเหตุมาจาก กระบวนการปฏิบตั ิงาน บุคลากร หรื อปัจจัยภายนอก เช่นนํ้าท่วม ธนาคารถูกปล้น
หรื อ ระบบคอมพิวเตอร์เสี ยหาย ธนาคารจะกําหนดมาตรฐานการจัดการปัญหาอย่างไร (เช่น กรณี ตย. การคํานวณ
ดอกเบี้ยผิด ศาลยกฟ้อง ธพ.เสี ยหาย)
กระบวนการบริหารความเสี่ ยงของธนาคาร
1. การระบุความเสี่ ยง
มีความเสี่ ยงเรื่ องใดบ้าง ที่ทาํ ให้เราไม่สามารถบรรลุเป้าหมายที่ต้ งั ไว้ได้
2. การประเมินความเสี่ ยง
ร้ายแรงมาก-น้อย / ควบคุมได้-ไม่ได้ /จัดการภายใน-ภายนอก
3. การติดตามและควบคุมความเสี่ ยง
สาเหตุจากอะไร จะแก้ไขอย่างไร
4. การรายงานความเสี่ ยง
สรุ ปว่าความเสี่ ยงลดลงได้หรื อไม่ อย่างไร

-----------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 19
-------------------------------------------------------------------------------
 แนวข้ อสอบ ความรู้ เกีย่ วกับสิ นเชื่ อเบื้องต้ น
1. ปัจจุบนั นี้ธนาคารต่างๆมีนโยบายที่จะลดความเสี่ ยงเพื่อให้ได้รับชําระหนี้จากลูกค้ามากที่สุด และ มีหนี้คา้ ง
ชําระน้อยที่สุด หากท่านได้รับมอบหมายให้วางแผนงานบริ หารหนี้เงินกู้ จะใช้แนวทางใดเป็ นแนวปฏิบตั ิจึงจะตรง
ตามหลักการ มากที่สุด
ก. จ่ายสิ นเชื่อโดยมีอตั ราเงินกูต้ ่อรายตํ่าลงเพื่อป้องกันหนี้คา้ งชําระ
ข. จ่ายสิ นเชื่อรายกลุ่มให้มากขึ้น
ค. จ่ายสิ นเชื่อเป็ นเงินค่าใช้จ่ายให้มากขึ้น
ง. ใช้การตลาดนําสิ นเชื่อเพือ่ ช่วยลูกค้าขายผลิตผล เพิม่ ช่องทางการตลาดมากขึ้น เพือ่ ลดความเสี่ ยง
ตอบ ง.
2. ข้อใดเป็ นการลดความเสี่ ยงทางด้านการเงินของธนาคาร
ก.กูเ้ งินจากต่างประเทศโดยทําสัญญากูเ้ งินระยะยาว
ข.หาเงินฝากจากลูกค้ารายย่อย
ค.ออกหุน้ กูใ้ นอัตราดอกเบี้ยที่สูงและระยะยาว
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ข.
3. ข้อใดไม่ใช่การประเมินระดับความเสี่ ยงด้านสิ นเชื่อ
ก.ระดับความเสี่ ยงที่ไม่คาดหวัง (Unexpected Loss)
ข.ระดับความเสี่ ยงที่คาดหวัง (Expected Loss)
ค.ค่าโอกาสผิดนัดชําระ (Probability of Default : PD)
ง.ผลตอบแทนเฉลี่ย (Yield) ของพอร์ตสิ นเชื่อ
ตอบ ง.
4. การนํา Capital Risk Requirement มาคํานวณค่าเสี ยโอกาสการลงทุน (Opportunity Cost) เป็ นการ
ประเมินด้านใด
ก.การประเมินระดับความสามารถในการทํากําไร
ข.การประเมินระดับความเสี่ ยงด้านสิ นเชื่อ
ค.ถูกทั้ง 2 ข้อ
ง.ผิดทั้ง 2 ข้อ
ตอบ ก.
5. ความเสี่ ยงของการดําเนินกิจการธุรกิจ ข้อใดเสี่ ยงที่สุด
ก.ความเสี่ ยงที่จะขาดทุน
ข.ความเสี่ ยงที่จะขาดสภาพคล่อง
ค.ความเสี่ ยงที่เกิดจากกความต้องการของลูกค้าที่ไม่แน่นอน
ง.ความเสี่ ยงจากสภาวะแวดล้อม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 20
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ข.
6. ข้อใดต่อไปนี้คือ Financial Risk
ก.Letter of Credit ข.การออกหนังสื อคํ้าประกัน
ค.Funding Risk ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ค.
7. หน่วยงานใดมีหน้าที่กาํ กับดูแลการบริ หารความเสี่ ยงของ ธ.ก.ส.
ก.ธนาคารแห่งประเทศไทย (ธปท.)
ข.คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดิน (คตง.)
ค.บริ ษทั ไทยเรทติ้ง แอนด์ อินฟอร์เมชัน่ เซอร์วิส จํากัด (TRIS)
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
8. ขณะนี้หลาย สนจ.ได้เร่ งอบรมพนักงานในสังกัด ทั้งในด้านการเงิน และสิ นเชื่อ เพื่อให้สามารถนําความรู ้ไป
ใช้ในการปฎิบตั ิงานได้ จนบางครั้งทําให้หวั หน้างานบางคนบ่นว่า จะอบรมอะไรกันนักหนาที่สาขายิง่ ขาด
คนทํางานอยู่ การที่ สนจ.จัดอบรมเป็ นการจัดการความเสี่ ยงประเภทใด
ก. การยอมรับความเสี่ ยง (Take, Accept)
ข. การลดความเสี่ ยง (Reduce, Treat)
ค. การแบ่งปันหรื อโอนความเสี่ ยง (Share, Transfer)
ง. การเลิกหรื อหลีกเลี่ยงความเสี่ ยง (Terminate, Avoid)
ตอบ ข.
9. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของการบริ หารความเสี่ ยง
ก. Risk Management Committee ข. การจัดการความเสี่ ยง
ค. ระบบสารสนเทศเพื่อการบริ หารความเสี่ ยง ง. Undesirable Impact
ตอบ ง.
10. ข้อใดคือความหมายของความเสี่ ยงที่ถูกต้องที่สุด
ก. เหตุการณ์หรื อการกระทําใด ๆ ที่ตอ้ งเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน และส่ งผลกระทบและ
ลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมาย
ข. เหตุการณ์หรื อการกระทําใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน และส่ งผลกระทบ
และลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมาย
ค. เหตุการณ์หรื อการกระทําใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่ไม่แน่นอน แต่ไม่ส่งผลกระทบ
และไม่ลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมาย
ง. เหตุการณ์หรื อการกระทําใด ๆ ที่ตอ้ งเกิดขึ้นภายใต้สถานการณ์ที่แน่นอน แต่ไม่ส่งผลกระทบและ
ไม่ลดโอกาสที่จะบรรลุเป้าหมาย
ตอบ ข.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 21
-------------------------------------------------------------------------------
11. การจัดการความเสี่ ยงโดยใช้วธ ิ ีการโอนหรื อการกระจายความเสี่ ยงได้แก่ขอ้ ใด
ก. การสอบทาน/การอนุมตั ิ ข. การแบ่งแยกหน้าที่
ค. การจ้างเหมาบริ การ/การประกัน ง. การให้ความรู ้ความเข้าใจ
ตอบ ค.
12. องค์ประกอบของการควบคุมภายในในข้อใดที่ประกอบด้วยการระบุปัจจัยเสี่ ยง วิเคราะห์ความเสี่ ยง
และการจัดการความเสี่ ยง
ก. สภาพแวดล้อมของการควบคุม ข. การประเมินความเสี่ ยง
ค. กิจกรรมการควบคุม ง. ข้อมูลสารสนเทศและการสื่ อสาร
ตอบ ข.
13. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้องตามคําจํากัดความ "การบริ หารความเสี่ ยง" ของ ERM COSO
ก. การบริ หารความเสี่ ยงเชิงสัมพันธ์ระดับองค์กร
ข. เป็ นกระบวนการที่เป็ นผลมาจากคณะกรรมการบริ ษทั และฝ่ ายบริ หารสร้างและร่ วมกันปฏิบตั ิ ในการ
กําหนดกลยุทธ์และในการปฏิบตั ิงานทัว่ ทั้งองค์กร
ค. กระบวนการบริ หารความเสี่ ยงสร้างขึ้นเพื่อระบุเหตุการณ์ที่อาจเกิดขึ้นที่มีผลกระทบสําคัญต่อองค์กร
ง. เป็ นการสร้างความมัน่ ใจอย่างสมเหตุผลเกี่ยวกับการบรรลุวตั ถุประสงค์องค์กร
ตอบ ข.
14. ข้อใดเป็ นวัตถุประสงค์ของการบริ หารความเสี่ ยงองค์กร
ก. วัตถุประสงค์ดา้ นกลยุทธ์ (Strategic Objective)
ข. วัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั ิงาน (Operation Objective)
ค. วัตถุประสงค์ดา้ นการปฏิบตั ิตามกฎ ระเบียบ (Compliance Objective)
ง. วัตถุประสงค์ดา้ นการรายงาน (Reporting Objective)
จ. ถูกทุกข้อ
ตอบ จ.
15. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์หรื อเป้าหมายหลักของการบริ หารความเสี่ ยงองค์กร
ก. ส่ งเสริ มให้เกิดกระบวนการกํากับดูแลกิจการที่ดี
ข. สร้างความมัน่ ใจในความสําเร็ จของกลยุทธ์ที่กาํ หนด
ค. เป็ นการบริ หารเชิงรุ กและมีการป้องกันล่วงหน้า (Proactive management)
ง. เพื่อให้องค์กรมีผลประกอบการที่ดีข้ ึน
จ. เกิดระบบสารสนเทศและการสื่ อสารจากทุกระดับในองค์กร
ตอบ ง.
16. แนวทางการบริ หารความเสี่ ยง คือข้อใด
ก.ต้องค้นหาให้ได้วา่ ความเสี่ ยงคืออะไร ข.สร้างทางเลือกในการป้องกันความเสี่ ยง
ค.เลือกทางเลือกในการบริ หารความเสี่ ยง ง.ถูกทุกข้อ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 22
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ก.
17. การป้ องกันความเสี่ ยงในการลงทุน คือ
ก.จัดพอร์ตการลงทุนให้กระจาย
ข.การลงทุนในอุตสาหกรรมเดียวกันหลาย ๆ บริ ษทั
ค.ลงทุนในอุตสาหกรรมที่มีผลกระทบต่อเศรษฐกิจในภาพรวม
ง.ลงทุนในรู ปการให้ผลกําไรจากการซื้อขายหุน้ สู งสุ ด
ตอบ ก.
18. ข้อใดต่อไปนี้ตอ้ งเกิดขึ้นก่อน เพื่อที่จะระบุเหตุการณ์สาํ คัญที่อาจจะเกิดขึ้นและปั จจัยที่มีผลกระทบต่อ
ความสําเร็ จได้
ก. การสร้างสภาพแวดล้อมภายในองค์กร
ข. การสื่ อสารและเทคโนโลยี
ค. การกําหนดวัตถุประสงค์
ง. การประเมินความเสี่ ยง
จ. การมอบอํานาจหน้าที่และความรับผิดชอบในตําแหน่งต่างๆ
ตอบ ค.
19. ข้อใดไม่ใช่ความเสี่ ยงจากการดําเนิ นงาน
ก. ความเพียงพอของปริ มาณนํ้าสํารอง กรณี เกิดเหตุฉุกเฉิน
ข. ท่อส่ งนํ้าหลักไม่สามารถส่ งจ่ายนํ้าได้ ตามความต้องการใช้น้ าํ ลูกค้า
ค. ปริ มาณนํ้าดิบจําหน่ายไม่เพิ่มขึ้นตามแผนงาน (ลูกค้าใช้น้ าํ ตํ่ากว่าแผนเนื่องจากมีแหล่งนํ้าของตนเอง)
ง. การประเมินการลงทุน ไม่ถูกต้องหรื อไม่เพียงพอ
จ. ทรัพยากรนํ้าที่ได้รับการจัดสรรไม่เพียงพอต่อความต้องการของลูกค้าเนื่องจากไม่ได้รับการจัดสรร
เพิ่มเติม
ตอบ ง.
20. ข้อใดเป็ นองค์ประกอบด้านการประเมินความเสี่ ยง
ก. คุณมารุ ตให้ความสําคัญในการประเมินความเสี่ ยง
ข. คุณพิมานพิจารณาการกําหนดโอกาสที่น่าจะเกิดและระดับผลกระทบ
ค. คุณมานพได้รับสารสนเทศที่ทนั การในการปฎิบตั ิงาน
ง. คุณเกียรติศกั ดิ์พิจารณาการกระจายอํานาจและระบบติดตามผล
ตอบ ข.
21. ความเสี่ ยงที่ได้รับการพิจารณาหลังการจัดการหรื อการควบคุมภายในแล้วเรี ยกว่าอะไร
ก. ความเสี่ ยงขั้นต้น ข. ความเสี่ ยงคงเหลือ
ค. ความเสี่ ยงสุ ทธิ ง. ความเสี่ ยงขั้นปลาย
จ. ความเสี่ ยงทางธุรกิจ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 23
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ข.
22. ข้อใดไม่ใช่วตั ถุประสงค์ของการจัดการความเสี่ ยง
ก. ลดโอกาสในการเกิดและผลกระทบของความเสี่ ยงให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้โดยการจัดการสาเหตุของ
ความเสี่ ยงอย่างมีประสิ ทธิภาพ
ข. ลดโอกาสในการเกิดและผลกระทบของความเสี่ ยงให้อยูใ่ นระดับที่ยอมรับได้โดยการจัดการผลกระทบที่
อาจจะเกิดขึ้นของความเสี่ ยง
ค. ลดโอกาสในการเกิดและผลกระทบของความเสี่ ยงโดยคํานึงถึงเพียงต้นทุนที่คาดว่าจะเกิดขึ้น
ง. การลดผลกระทบของความเสี่ ยง ซึ่งโดยระบบการเตือนภัย หรื อระบบการบริ หาร พร้อมด้วยการจัดทํา
แผนฉุกเฉิน หรื อแผนฟื้ นฟู
จ. เพิ่มโอกาสในการเกิด หรื อผลกระทบจากความเสี่ ยงที่เป็ นโอกาสให้มากที่สุดโดยการปฏิบตั ิเพื่อสร้างหรื อ
หาโอกาส หรื อการจัดการเพือ่ ให้ได้ผลลัพธ์ที่ดีข้ ึน
ตอบ ค.
23. เครื่ องมือในการบริ หารความเสี่ ยงด้านเครดิตของธนาคาร คือข้อได
ก.การจัดชั้นลูกค้า ข.การวิเคราะห์สินเชื่อ
ค.การส่ งหนังสื อเตือน ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
24. ข้อใดทําให้ Bussiness Risk เพิ่มขึ้น
ก. สัดส่ วนของการกูย้ มื ต่อสิ นทรัพย์รวมเพิม่ ขึ้น ข. บริ ษทั มีคู่แข่งเพิม่ ขึ้น
ค. ราคานํ้ามันสู งขึ้น ง. ข้อ 2 และ 3 ถูก
ตอบ ก.
25. ธนาคารมีวตั ถุประสงค์ใดในการพัฒนาโมเดลในการบริ หารความเสี่ ยงด้านสิ นเชื่อบุคคล
ก.เพื่อทราบระดับความเสี่ ยง (Expected loss)
ข.เพื่อทราบระดับความสามารถในการทํากําไร (Profitability)
ค.เพื่อเป็ นตัวแบบ (Prototypes) ในการสร้างเป็ น Model ให้ส่วนงานที่เกี่ยวข้องสามารถนําไปใช้ในการ
บริ หารความเสี่ ยงด้านสิ นเชื่อ
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
26. ไม่ใช่การประเมินระดับความเสี่ ยงด้านสิ นเชื่อ
ก.ค่าโอกาสผิดนัดชําระ (Probability of Default : PD)
ข.ระดับความเสี่ ยงที่คาดหวัง (Expected Loss)
ค.ระดับความเสี่ ยงที่ไม่คาดหวัง (Unexpected Loss)
ง.ผลตอบแทนเฉลี่ย (Yield) ของพอร์ตสิ นเชื่อ
ตอบ ง.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 24
-------------------------------------------------------------------------------
27. ตัววัดเส้นการลงทุนที่มีประสิ ทธิ ภาพ (Efficient Line) ด้านสิ นเชื่อบุคคลคือ
ก.จุดคุม้ ทุน (Breakeven Point) ในการดําเนินงานสิ นเชื่อ
ข.ผลตอบแทนต่อส่ วนทุนหลังปรับความเสี่ ยง
ค.ค่าตอบแทนเฉลี่ย (Yield) ของพอร์ตสิ นเชื่อ
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ข.
28. ข้อใดคือความสําคัญของการวิเคราะห์สินเชื่อ
ก.เป็ นเครื่ องมือให้ผอู ้ นุมตั ิใช้ในการตัดสิ นใจและลดความเสี่ ยงของผูใ้ ห้กู้
ข.เป็ นเครื่ องมือให้ผอู ้ นุมตั ิใช้ในการตัดสิ นใจและลดความเสี่ ยงของผูก้ ู้
ค.เกิดความเสมอภาคแก่ผขู ้ อรับสิ นเชื่อ
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
29. ธ.ก.ส. ควรบริ หารจัดการความเสี่ ยงเพิ่มเติมจากปั จจุบน ั อย่างไร
ก. กําหนดแรงจูงใจให้ลูกค้าเข้าร่ วมกิจกรรมที่ลดความเสี่ ยงในการให้สินเชื่อ เช่น การเข้าร่ วมโครงการลด
ต้นทุนการผลิต
ข. บริ หารสิ นเชื่อรายผลผลิต
ค. พิจารณาจ่ายเงินกูเ้ พื่อเหตุฉุกเฉินให้ลูกค้าเพิ่มขึ้นเพื่อลดการก่อหนี้นอกระบบ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
30. ข้อใดไม่ใช่การบริ หารจัดการความเสี่ ยงของ ธ.ก.ส.
ก.การจัดตั้งสมาคมฌาปนกิจลูกค้า
ข.การจัดตั้งบริ ษทั บริ หารสิ นทรัพย์
ค.การจัดตั้งสหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาดลูกค้า ธ.ก.ส. (ส.ก.ต.)
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ข.
31. ทําไมในการจ่ายเงินกูข้ องสถาบันการเงินต้องทําการวิเคราะห์สินเชื่อ
ก.เพื่อการตัดสิ นใจอย่างมีประสิ ทธิภาพ ข.เพื่อลดความเสี่ ยงด้านสิ นเชื่อ
ค.เพื่อลดภาระในการเรี ยกเก็บหนี้ ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
32. สิ นเชื่อที่มีอายุ 3 ปี คือ
ก. สิ นเชื่อระยะสั้น ข. สิ นเชื่อระยะกลาง
ค. สิ นเชื่อระยะยาว ง. สิ นเชื่อที่กาํ หนดระยะเวลา
ตอบ ข.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 25
-------------------------------------------------------------------------------
33. สิ นเชื่อบัตรเครดิต เป็ นสิ นเชื่อประเภทใด
ก. สิ นเชื่อระยะสั้น ข. สิ นเชื่อระยะกลาง
ค. สิ นเชื่อระยะยาว ง. สิ นเชื่อที่กาํ หนดระยะเวลา
ตอบ ก.
34. ข้อใด มิใช่ องค์ประกอบของสิ นเชื่อ
ก. ความเชื่อใจ ข. ความเที่ยง
ค. เวลาในอนาคต ง. การเปลี่ยนแปลงทางการเมือง
ตอบ ง.
35. สิ นทรัพย์ที่สามารถเปลี่ยนเป็ นเงินสดได้อย่างรวดเร็ ว มีเงินหมุนเวียนในกิจการอย่างไม่ขาดมือ เพียงพอที่จะ
จับจ่ายใช้สอยประจําวัน และมีเงินพอที่จะจ่ายให้กบั เจ้าหนี้ทนั ทีทนั ใดเรี ยกว่า
ก. สิ นเชื่อ ข. สภาพคล่อง
ค. เครดิต ง. การพาณิ ชย์
ตอบ ข.
36. กระบวนการทางด้านสิ นเชื่อมีกี่ข้ น ั ตอน
ก. 2 ขั้นตอน ข. 3 ขั้นตอน
ค. 4 ขั้นตอน ง. 5 ขั้นตอน
ตอบ ค.
37. การเปิ ดบัญชีไว้กบ ั ร้านอาหาร เมื่อถึงสิ้ นเดือนจึงชําระครั้งเดียว การผ่อนส่ งจากการซื้อสิ นค้า เช่น ตูเ้ ย็น
โทรทัศน์ รถยนต์ เป็ นต้น จัดเป็ นสิ นเชื่อประเภทใด
ก. สิ นเชื่อเพื่อการบริ โภค ข. สิ นเชื่อเพื่อการอุปโภค
ค. สิ นเชื่อเพื่อการอยูอ่ าศัย ง. สิ นเชื่อเพื่อการลงทุน
ตอบ ก.
38. การซื้ อเครื่ องเย็บผ้า ซื้ อผ้า เพื่อผลิตเสื้ อผ้าออกขายหรื อจ้างลูกจ้างมาเย็บผ้าจํานวนมากขึ้น จัดเป็ นสิ นเชื่อ
ประเภท
ก. สิ นเชื่อเพื่อการบริ โภค ข. สิ นเชื่อเพื่อการอุปโภค
ค. สิ นเชื่อเพื่อการอยูอ่ าศัย ง. สิ นเชื่อเพื่อการลงทุน
ตอบ ง.
39. การซื้ อสิ นค้ามาจําหน่ายต่อ จัดเป็ นสิ นเชื่อประเภทใด
ก. สิ นเชื่อเพื่อการพาณิ ชย์หรื อสิ นเชื่อการค้า ข. สิ นเชื่อเพื่อการบริ โภค
ค. สิ นเชื่อเพื่อการอุปโภค ง. สิ นเชื่อเพื่อการลงทุน
ตอบ ก.
40. สิ นเชื่อระยะสั้น คือ สิ นเชื่อที่มีอายุไม่เกินกี่
ก. 1 ปี ข. 2 ปี
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 26
-------------------------------------------------------------------------------
ค. 3 ปี ง. 4. ปี
ตอบ ก.
41. สิ นเชื่อระยะกลาง คือ สิ นเชื่อที่มีอายุ เท่าใด
ก. 1-2 ปี ข. 1-3 ปี
ค. 1-4 ปี ง. 1-5 ปี
ตอบ ง.
42. สิ นเชื่อระยะยาว คือ สิ นเชื่อที่มีอายุเท่าใด
ก. 4 ปี ขึ้นไป ข. 5 ปี ขึ้นไป
ค. ไม่เกิน 10 ปี ง. ไม่เกิน 12 ปี
ตอบ ข.
43. เอกสารเครดิตที่นิยมใช้กน ั ในวงการธุรกิจปัจจุบนั ได้แก่
ก. เช็ค ข. ตัว๋ แลกเงิน
ค. ตัว๋ สัญญาใช้เงิน ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
44. อาวัลเครดิต หมายถึงข้อใด
ก. เครดิตที่ธนาคารรับซื้อตัว๋ เงินที่ลูกค้านํามาขายให้
ข. เครดิตที่ธนาคารรับรองตัว๋ เงินเกี่ยวกับการค้าต่างประเทศ
ค. เป็ นเครดิตที่ธนาคารเข้ารับประกันหนี้สินของลูกค้าตามที่ลูกค้าให้ค้ าํ ประกัน
ง. เป็ นเครดิตที่จะให้ลูกค้าสัง่ จ่ายหรื อโอนเงินโดยธนาคารยินยอมให้ลูกค้าใช้ “เครดิต” ได้ในปริ มาณวงเงิน
จํานวนหนึ่ง
ตอบ ค.
45. ข้อใดไม่ใช่หน้าที่ของธนาคารกลางโดยทัว่ ไป
ก. เป็ นตัวแทนทางการเงินของรัฐ
ข. สร้างเงินฝาก หรื อขยายเครดิต
ค. ควบคุมการเงินและเครดิตในระบบเศรษฐกิจของประเทศ
ง. รักษาเงินสํารองระหว่างประเทศ
ตอบ ข.
46. ข้อใดเป็ นหน้าที่ที่ธนาคารแห่ งประเทศไทย มีต่อธนาคารพาณิ ชย์
ก. กําหนดเงื่อนไข และรักษาเงินสดสํารองที่ธนาคารพาณิ ชย์ตอ้ งดํารงตามกฎหมาย
ข. เป็ นสํานักงานกลางในการหักบัญชี
ค. ควบคุมตรวจสอบการดําเนินกิจการของธนาคารพาณิ ชย์โดยสมํ่าเสมอ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 27
-------------------------------------------------------------------------------
48. ดอกเบี้ยชนิ ดใดที่ไม่ตอ้ งเสี ยภาษีเงินได้
ก. ดอกเบี้ยจากพันธบัตรรัฐบาล ข. ดอกเบี้ยเงินฝากกับธนาคารออมสิ น
ค. ดอกเบี้ยเงินฝากประจํากับธนาคารพาณิ ชย์ ง. ดอกเบี้ยเงินฝากประจํากับธนาคารกรุ งไทย
ตอบ ค.
49. บริ ษท ั เครดิตฟองซิเอร์ส่วนใหญ่ดดั แปลงมาจาก
ก. บริ ษทั จัดสรรบ้านและที่ดิน ข. บริ ษทั เงินทุน
ค. บริ ษทั หลักทรัพย์ ง. สหกรณ์ออมทรัพย์
ตอบ ก.
50. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
ก. เป็ นรัฐวิสาหกิจ
ข. อยูภ่ ายใต้การควบคุมของกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
ค. รับฝากเงินจากประชาชน ชนิดที่ตอ้ งจ่ายคืนเมื่อทวงถาม หรื อเมื่อสิ้ นระยะเวลาอันมีกาํ หนด ยกเว้น
ประเภทที่ใช้เช็คในการทวงถาม
ง. มีอาํ นาจในการออก ซื้อ หรื อขายตัว๋ เงิน
ตอบ ข.
51. กิจการที่บริ ษท ั หลักทรัพย์จะดําเนินการได้มีอะไรบ้าง
ก. กิจการจัดจําหน่ายหลักทรัพย์ และกิจการจัดการลงทุน
ข. รับฝากเงินกระแสรายวัน การถอนเงินทําโดยใช้เช็ค
ค. ออกพันธบัตรหลักทรัพย์และสลากหลักทรัพย์
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
52. ในประเทศไทยสถาบันการเงินประเภทใดที่มีความสําคัญในการขายสิ นเชื่อแก่เอกชนเป็ นปริ มาณมากที่สุด
และรองลงมาตามลําดับ
ก. ธนาคารออมสิ น-ธนาคารพาณิ ชย์ ข. ธนาคารพาณิ ชย์-ธนาคารออมสิ น
ค. ธนาคารพาณิ ชย์-บริ ษทั เงินทุนหลักทรัพย์ ง. บริ ษทั เงินทุนและหลักทรัพย์-ธนาคารพาณิ ชย์
ตอบ ข.
53. ข้อใดสอดคล้องกับภาวะเงินฝื ด
ก. ระดับราคาสิ นค้าและบริ การโดยทัว่ ไปสู งขึ้นรวดเร็ วผิดปกติ
ข. ระดับราคาสิ นค้าและบริ การโดยทัว่ ไปลดลงรวดเร็ วผิดปกติ
ค. ระดับราคาสิ นค้าและบริ การโดยทัว่ ไปลดลงอย่างสมํ่าเสมอ
ง. อุปสงค์รวมมากกว่าอุปทานรวม
ตอบ ค.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 28
-------------------------------------------------------------------------------
54. ภาวะเงินเฟ้อเกิดจากสาเหตุขอ้ ใด
ก. ธนาคารกลางซื้อพันธบัตรคืนมากผิดปกติ
ข. อุปสงค์ต่อสิ นค้าและบริ การรวมทั้งระบบเศรษฐกิจสูงขึ้น
ค. การสัง่ สิ นค้าเข้าจากต่างประเทศมีมากเกินกว่าปกติ
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
55. สถาบันที่ทาํ หน้าที่เป็ นตัวกลางระหว่างผูอ้ อมกับผูต้ อ้ งการใช้เงิน เรี ยกว่าอะไร
ก. ธนาคารพาณิ ชย์ ข. ธนาคารชาติ
ค. ธนาคารกลาง ง. สถาบันการเงิน
ตอบ ง.
56. ธนาคารกลางควรใช้มาตรการใดในการควบคุมการให้สินเชื่อของธนาคารพาณิ ชย์เพื่อให้มีปริ มาณที่
เหมาะสมกับภาวะเศรษฐกิจของประเทศ
ก. การกําหนดอัตราดอกเบี้ย เงินกูย้ มื
ข. การกําหนดอัตราเงินสํารองตามกฏหมาย
ค. การกําหนดอัตรารับซื้อลดตัว๋ เงิน
ง. การกําหนดวงเงินให้กยู้ มื สู งสุ ดเป็ นอัตราเท่ากันทุกธนาคาร
ตอบ ข.
57. เหตุผลสําคัญที่รัฐบาลจัดตั้งธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร คือข้อใด
ก. เพื่อระดมเงินออมจากชาวนา ชาวไร่
ข. เพื่อระดมเงินออมจากประชาชนทัว่ ไป
ค. เพื่อช่วยเหลือเกษตรกรด้านสิ นเชื่อเพื่อการเกษตร
ง. เพื่อเป็ นแหล่งเงินทุนสําหรับการปฏิรูปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม
ตอบ ค.
58. ในกรณี ที่รัฐบาลกําหนดงบประมาณรายจ่ายของแผ่นดินในปี หนึ่ งเอาไว้ 120,000 ล้านบาท แต่สามารถหา
รายได้จากประชาชนในประเทศได้เพียง 100,000 ล้านบาท เราเรี ยกลักษณะของงบประมาณชนิดนี้วา่ อย่างไร
ก. งบประมาณขาดดุล ข. งบประมาณเกินดุล
ค. งบประมาณสมดุล ง. งบประมาณคล่องตัว
ตอบ ก.
59. ที่เรี ยกว่า “ภาษีทางอ้อม” มีความสําคัญอย่างไร
ก. เป็ นภาษีที่รัฐบาลเรี ยกเก็บย้อนหลังจากบริ ษทั ห้างร้านที่หลีกเลี่ยงภาษี
ข. เป็ นภาษีที่ผเู ้ สี ยสามารถผลักภาระให้แก่ผอู ้ ื่นได้ เช่น ภาษีมูลค่าเพิ่ม
ค. เป็ นภาษีที่ผรู ้ ับสัมปทานจะต้องเสี ยให้รัฐบาล
ง. เป็ นภาษีที่เรี ยกเก็บจากดอกเบี้ยเงินฝากในธนาคารและสถาบันการเงินต่างๆ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 29
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ข.
60. เงินที่เหลือจากการใช้จ่ายของงบประมาณปี ที่แล้ว ตามหลักเศรษฐศาสตร์ เรี ยกว่าอย่างไร
ก. งบประมาณค้างปี ข. เงินออม
ค. งบประมาณเกินดุล ง. เงินคงคลัง
ตอบ ง.
61. สาเหตุที่เกิด “ภาวะเงินเฟ้อ” และส่ งผลกระทบการเทือนต่อเศรษฐกิจของประเทศคือในข้อใด
ก. อํานาจซื้อของประชาชนมีสูงแต่ปริ มาณสิ นค้ามีนอ้ ย
ข. ต้นทุกการผลิตสิ นค้าสู งขึ้นทําให้นายทุนต้องเพิ่มราคาสิ นค้า
ค. ประชาชนขาดอํานาจในการซื้อและสิ นค้ามีปริ มาณมากเกินไป
ง. ถูกเฉพาะ ข้อ ก.และ ข.
ตอบ ข.
62. การใช้เงินอย่างไรที่มีความสําคัญน้อยในระบบเศรษฐกิจ
ก. เป็ นสื่ อกลางของการแลกเปลี่ยน ข. เป็ นมาตรฐานการชําระหนี้ภายหน้า
ค. เป็ นปัจจัยในการเก็บรักษาค่า ง. เป็ นรางวัล
ตอบ ค.
63. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของหนี้ สิน
ก.หนี้สินหมุนเวียน (Current Liabilities) ข.หนี้สินไม่หมุนเวียน (Non Current Liabilities)
ค.หนี้สินอื่นๆ ง.หนี้ค่าไถ่
ตอบ ง. องค์ประกอบของหนี้สิน
• หนี้ สินหมุนเวียน (Current Liabilities) ได้แก่
1) เจ้าหนี้ การค้าซื้ อสิ นค้ามายังไม่จ่ายเงิน (Account Payable)
2) ตัว๋ เงินจ่าย (Notes Payable) – การให้คาํ สัญญาว่าจะชําระตามกําหนดระยะเวลา
• หนี้ สินไม่หมุนเวียน (Non Current Liabilities) / หนี้ สินระยะยาวคือหนี้ สินที่ไม่สามารถแปรสภาพหรื อ
term การชําระเงินเกิน 12 เดือนเช่น
- ฐานเงินกู้
- ฐานพันธบัตรเงินกู ้ มีการกําหนดผลตอบแทนในระยะเวลาที่แน่ นอน
- ฐานหุ น ้ กู้ (Mort gate Payable) คือการกูโ้ ดยเอาทรัพย์สินเป็ นประกันส่วนการกูต้ ิดจํานองส่ วนใหญ่มี
ดอกเบี้ยถือเป็ นค่าใช้จ่ายทางการเงินหนี้สินอื่นๆคือหนี้สินอื่นๆที่ไม่จดั อยูใ่ นทั้ง 2 ประเภท
64. ได้เสี ยคงเหลือในสิ นทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนี้ สินทั้งสิ้ นออกแล้วหมายถึง
ก.Owner‟s Equities ข.Shareholders Equities
ค.Capital Stocks ง. ก และ ข ถูกต้อง
ตอบ ง. ส่ วนของเจ้าของ (Owner‟s Equities) หรื อส่ วนของผูถ้ ือหุน้ (Shareholders Equities) หมายถึงส่ วนได้
เสี ยคงเหลือในสิ นทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนี้สินทั้งสิ้ นออกแล้ว
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 30
-------------------------------------------------------------------------------
65. ข้อใดคือองค์ประกอบของส่ วนของเจ้าของ
ก.ทุนเรื อนหุน้ (Capital Stocks) ข.ส่ วนเกินมูลค่าหุน้
ค.กําไรสะสม ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ทุนเรื อนหุน้ (Capital Stocks) แบ่งเป็ น
• ทุนหุน้ สามัญ (Common Stocks) เป็ นหุน้ ทัว่ ไปที่ขายอยูใ่ นตลาดหลักทรัพย์
• หุน้ ปุริมสิ ทธิ์ (Prefer Stocks) เป็ นหุน้ ที่ออกให้แก่คนบางกลุ่มซึ่งมีสิทธิ์มากกว่าหุน้ สามัญเช่น
ได้รับเงินปันผลการได้รับสิ ทธิ์ก่อน
66. ข้อใดคือ หนี้ สินหมุนเวียน
ก.เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร ข.เจ้าหนี้การค้า
ค.เงินกูย้ มื ระยะสั้น ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. หนี้สินหมุนเวียนระยะเวลาชําระไม่เกิน 1 ปี
• เงินเบิกเกินบัญชีธนาคาร
• เจ้าหนี้การค้า
• เงินกูย้ มื ระยะสั้น
• ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย
67. ข้อใดคือหนี้ สินไม่หมุนเวียน
ก.เงินกูย้ มื ระยะยาว ข.เจ้าหนี้การค้า
ค.เงินกูย้ มื ระยะสั้น ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ก หนี้สินไม่หมุนเวียนระยะเวลาชําระเงินเกิน 1 ปี
• เงินกูย้ มื ระยะยาว
• พันธบัตรเงินกู้
• หุน้ กู้
68. แนวคิดหลักในการบริ หารความเสี่ ยงคือข้อใด
ก. การระบุความเสี่ ยง(Risk Identification)
ข. การวัดความเสี่ ยง (Risk Measurement)
ค. การบริ หารความเสี่ ยง (Risk Management)
ง. การตรวจสอบและควบคุมความเสี่ ยง (Risk Monitoring and control)
จ.ถูกทุกข้อ
ตอบ จ.
69. ความเสี่ ยงหลัก ของสถาบันการเงิน คือข้อใด
ก. ความเสี่ ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk) ข. ความเสี่ ยงด้านเครดิต (Credit Risk)
ค. ความเสี่ ยงด้านตลาด (Market Risk) ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. ความเสี่ ยงหลัก 5 ประเภทของสถาบันการเงิน 1. ความเสี่ ยงด้านกลยุทธ์ (Strategic Risk)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 31
-------------------------------------------------------------------------------
2. ความเสี่ ยงด้านเครดิต (Credit Risk) 3.ความเสี่ ยงด้านตลาด (Market Risk)
4.ความเสี่ ยงด้านสภาพคล่อง (Liquidity Risk) 5.ความเสี่ ยงด้านปฏิบตั ิการ (Operational Risk)
70. เงินกูจ้ ดั อยูใ่ นหมวดใด
ก. รายได้ ข. ทุน
ค. สิ นทรัพย์ ง. หนี้สิน
ตอบ ง.
71. ข้อใดเป็ นลักษณะของการสรุ ปข้อมูล
ก. การวางระบบบัญชี ข. ใบกํากับสิ นค้า
ค. งบกําไรขาดทุน ง. สมุดรายวันขั้นต้น
ตอบ ค.
72. รับบิลค่าไฟฟ้าจากการไฟฟ้านครหลวง สามารถบันทึกบัญชีโดย
ก. เดบิตลูกหนี้ เครดิตรายได้ ข. เดบิตเจ้าหนี้ เครดิตเงินสด
ค. เดบิตค่าไฟฟ้า เครดิตเจ้าหนี้ ง. เดบิตค่าไฟฟ้า เครดิตเงินสด
ตอบ ค.
73. ข้อใดคือหนี้ สินหมุนเวียน
ก. เงินลงทุน ข. เงินกูร้ ะยะยาว
ค. เงินกูร้ ะยะเวลา 2 ปี ง. เจ้าหนี้
ตอบ ง.
74. ข้อมูลทางการเงินมีประโยชน์ต่อบุคคลตามข้อใดบ้าง
ก. รัฐบาล ข. เจ้าหนี้ ค. ผูล้ งทุน ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
75. บัญชีค่าเช่าสํานักงาน แสดงยอดในกระดาษทําการตามข้อใด
ก. ด้านเดบิตของงบดุล ข. ด้านเครดิตของงบกําไรขาดทุน
ค. ด้านเดบิตของงบกําไรขาดทุน ง. ด้านเครดิตของงบดุล
ตอบ ค.
76. ข้อใดไม่มีในแบบฟอร์ มงบทดลอง
ก. เดบิต ข. หน้าบัญชี ค. เลขที่บญั ชี ง. ชื่อบัญชี
ตอบ ข.
77. กําไรสุ ทธิ จะแสดงยอดด้านใดของกระดาษทําการ
ก. งบกําไรขาดทุนด้านเดบิต งบดุลด้านเครดิต ข. งบดุล ด้านเดบิต
ค. งบดุล ด้านเครดิต ง. งบกําไรขาดทุนด้านเดบิต งบดุลด้านเดบิต
ตอบ ก.
---------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 32
-------------------------------------------------------------------------------
 ความรู้ เกีย่ วกับบัญชี การเงิน
“การบัญชี เป็ นศิลปะของการจดบันทึกรายการหรื อเหตุการณ์ที่เกี่ยวกับการเงินไว้ในรู ปของเงินตรา จัด
หมวดหมู่รายการเหล่านั้น สรุ ปผลพร้อมทั้งตีความหมายของผลอันนั้น”
จากความหมาย การจดบันทึกรายการหรื อเหตุการณ์ต่างๆ ทางเศรษฐกิจซึ่งเป็ นผลทําให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงในสิ นทรัพย์ หนี้สิน และส่ วนของเจ้าของกิจการ รวมถึง รายการที่เกี่ยวข้องกับบุคคลภายนอก เช่น การ
ซื้อวัตถุดิบ การขายสิ นค้า การให้บริ การ เป็ นต้น ซึ่งในธุรกิจปัจจุบนั มีเป็ นจํานวนมาก นักบัญชีจะต้องนํารายการ
หรื อเหตุการณ์ที่เกี่ยวข้องกับการเงินที่เกิดขึ้นแล้วและมีหลักฐานถูกต้องเชื่อถือได้ รวมถึงต้องมีหน่วยเงินตรา
กําหนดไว้เพื่อนํามาจดบันทึกรายการทางบัญชีได้ ซึ่งรายการดังกล่าว เรี ยกว่า รายการค้า (Business transaction)
รายการค้าแต่ละรายการที่นาํ มาลงบัญชีคือ เอกสารประกอบการลงบัญชี หมายถึง เอกสารใด ๆ ที่ใช้เป็ นหลักฐานใน
การลงรายการในบัญชี แล้วนํามาจัดหมวดหมู่ตามลักษณะและประเภทของรายการนั้นด้วย จากนั้น ให้นาํ รายการค้า
ที่ได้มีการจัดหมวดหมู่แล้วมาทําการสรุ ปผลในรู ปของรายงานงบการเงิน (Financial statement)ตามระยะเวลาที่
ได้กาํ หนด ระยะเวลาดังกล่าวปกติจะต้องจัดทําปี ละ 1 ครั้ง การสรุ ปผลในรู ปของงบการเงินดังกล่าว ได้แก่ งบกําไร
ขาดทุน (Income statement หรื อ Profit and loss statement) เป็ นงบที่แสดงถึงผลการดําเนินงานของกิจการใน
ระยะเวลาตามงวดบัญชี และ งบดุล (Balance sheet) เป็ นงบที่แสดงถึงฐานะการเงินของกิจการในวันสิ้ นงวดบัญชี
หรื อ ณ วันใดวันหนึ่ง จากนั้นนํางบการเงินที่ได้จดั ทํามาตีความหมายและสรุ ปผลของงบการเงินเหล่านั้น และ
รายงานต่อฝ่ ายบริ หารเพื่อนําไปใช้ในการตัดสิ นใจและวางแผนการดําเนินงานของธุรกิจในอนาคตต่อไป
 ลักษณะอันเป็ นมูลฐานทางการบัญชี การเงิน
(Basic Features of Financial Accounting)
ในการจดบันทึกข้อมูลทางการบัญชีเพื่อใช้ในการจัดทําและนําเสนองบการเงินได้แก่ งบกําไรขาดทุน และ
งบดุล ต้องอาศัยหลักการบัญชีซ่ ึงเป็ นที่รับรองทัว่ ไป เพื่อให้ขอ้ มูลที่จดั ทําถูกต้องและเชื่อถือได้และเป็ นมาตรฐาน
เดียวกัน เพราะข้อมูลดังกล่าวเป็ นประโยชน์ต่อบุคคลหลายฝ่ าย
ลักษณะอันเป็ นมูลฐานทางการบัญชีการเงิน มีดงั ต่ อไปนี้
1. สมมติฐานของการบัญชี (Basic as Assumptions) หมายถึง ข้อสมมติพ้น ื ฐานต่าง ๆ ที่จาํ เป็ นในการ
กําหนดหลักการบัญชี
2. หลักการบัญชี (Accounting Principles) หมายถึง หลักการทัว่ ไปซึ่ งใช้เป็ นแนวทางปฏิบตั ิ และเป็ น
หลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป ในหมู่วิชาชีพบัญชี
 สมมติฐานของการบัญชี (Basic as Assumptions) ได้ กาหนดไว้ บางประการดังนี้
1. ความเป็ นหน่ วยงานทางบัญชี (Accounting Entity) หมายถึง ธุรกิจเป็ นหน่วยงานที่ดาํ เนิ นกิจกรรม
ในทางเศรษฐกิจเป็ นอิสระแยกต่างหากจากผูเ้ ป็ นเจ้าของและผูม้ ีส่วนได้เสี ยในธุรกิจนั้น
2. ความดารงอยู่ของกิจการ (Going-concern) กิจการจะดําเนิ นต่อไปโดยไม่มีกาํ หนดเวลาเลิก ภายใต้ขอ้
สมมติน้ ี สิ นทรัพย์ของกิจการจะบันทึกในราคาทุนเริ่ มแรกที่ได้สินทรัพย์น้ นั มา (Historical Cost)
3. การใช้ เงินตราเป็ นเครื่ องวัด (Measurement in Terms of Money) การจดบันทึกรายการทางบัญชี
จําเป็ นต้องแสงมูลค่าเป็ นเงินเพื่อการวัดผล การแสดงฐานะ การวิเคราะห์เพื่อตัดสิ นใจ ในรู ปของตัวเงิน เพื่อเป็ น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 33
-------------------------------------------------------------------------------
ประโยชน์ต่อผูใ้ ช้ ซึ่งข้อจํากัดของการใช้เงินตราเป็ นเครื่ องวัดมูลค่าของรายการค้า คือ ตัวเงินตรามีการเปลี่ยนแปลง
ตลอดเวลา ดังนั้นต้องสมมติวา่ ค่าของเงินตรานั้นคงที่
4. งวดบัญชี (Periodicity หรื อ Time Period) โดยปกติการวัดผลการดําเนิ นงานของธุ รกิจ ผูบ ้ ริ หารหรื อ
เจ้าของธุรกิจย่อมต้องการทราบข้อมูลเป็ นระยะเพื่อการตัดสิ นใจและวางแผนการดําเนินงานของธุรกิจ ดังนั้น การ
ทํางบการเงินเพื่อแสดงผลการดําเนินงานและฐานะการเงินต้องกําหนดเป็ นช่วงระยะเวลาที่อาจแตกต่างกันไป เช่น
ทุกเดือน ทุก 3 เดือน ทุก 6 เดือน หรื อ ทุกปี ซึ่งการกําหนดงวดบัญชีข้ ึนอยูก่ บั ความสะดวกในการจัดทํารวมถึง
ประโยชน์ที่ได้รับกับรายจ่ายที่ได้สูญเสี ยไป แต่อย่างน้อยในทางปฏิบตั ิ มักใช้รอบระยะเวลา 1 ปี เป็ นเกณฑ์ ทั้งนี้
เพื่อให้ทราบกําไรเพื่อเสี ยภาษีทุกปี
 หลักการบัญชี (Accounting Principles)
หลักการบัญชีเป็ นแนวทางปฏิบตั ิในการจดบันทึก การวัดผลการดําเนินงาน และการจัดทํางบการเงิน
เพื่อให้การบัญชีของธุรกิจต่าง ๆ อยูใ่ นมาตรฐานหรื อหลักเกณฑ์ที่ถูกต้อง อันเป็ นที่ยอมรับในวิชาชีพการบัญชี
1. บุคคลทั่วไป เช่ น พนักงานบริ ษท ั ลูกค้าของบริ ษทั เป็ นต้น พนักงานย่อมต้องการทราบถึง
เจ้ าของ หรื อผู้ถือหุ้น เจ้าของกิจการหรื อผูถ้ ือหุ น้ จะสนใจถึงฐานะทางการเงินของกิจการที่ความมัน่ คงของกิจการที่
ตนสังกัดอยู่ ซึ่ งจะสะท้อนให้เห็นถึงความมัน่ คงในหน้าที่การงานตลอดจนรายได้ที่จะได้รับ ส่ วนลูกค้าของบริ ษทั
ย่อมต้องการทําธุ รกิจกับบริ ษทั คู่คา้ ที่มีความมัน่ คงเจริ ญก้าวหน้า เป็ นการเพิ่มความมัน่ ใจให้แก่บริ ษทั ที่ซ้ื อสิ นค้า
ของตนว่า ผูข้ ายสามารถรับประกันสิ นค้าที่ขายได้ตลอดอายุของบริ ษทั
2. บุคคลภายในองค์ การ ได้แก่ ผูบ ้ ริ หารระดับสู ง ผูจ้ ดั การฝ่ ายต่าง ๆ เช่น ฝ่ ายผลิต ฝ่ ายขาย ฝ่ ายจัดการ
ฯลฯ ซึ่งจะนําข้อมูลทางการบัญชีไปใช้ในการบริ หารได้หลายกรณี คือ
(1) เพื่อการตัดสิ นใจทางการเงิน ในการพิจารณาจัดหาแหล่งเงินทุนเข้ามาสนับสนุนการดําเนิ นงานของ
กิจการให้คล่องตัวยิง่ ขึ้น ซึ่งจําเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องพิจารณาความสามารถของกิจการในการบริ หารสิ นทรัพย์ให้เกิด
ประโยชน์อย่างสู งสุ ดเพื่อให้คุม้ กับเงินลงทุนในกิจการ โดยอาศัยข้อมูลทางบัญชีเป็ นพื้นฐานในการวิเคราะห์เพื่อ
ตัดสิ นใจ
(2) เพื่อประโยชน์ในการจัดสรรทรัพยากรขององค์กร การจัดสรรเงินทุนที่ได้รับจากเจ้าหนี้และผูถ้ ือหุน้
ในการลงทุนซื้อสิ นทรัพย์ผบู ้ ริ หารจะต้องพิจารณาเงินดังกล่าวให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
(3) เพื่อประโยชน์ในการตัดสิ นใจผลิตสิ นค้า ผูบ้ ริ หารจะนําข้อมูลการขาย ต้นทุนขายและกําไรขั้นต้น
ของแต่ละผลิตภัณฑ์ไปวิเคราะห์ว่าสิ นค้าชนิ ดใดควรผลิตต่อ หรื อสามารถลดต้นทุนการผลิตได้หรื อไม่ เพื่อให้การ
ดําเนินงานมีประสิ ทธิภาพ
(4) เพื่อประโยชน์ในการตัดสิ นใจด้านการตลาด ข้อมูลทางการบัญชีสามารถนําไปใช้ในการวิเคราะห์เพื่อ
ตั้งราคาขายของสิ นค้าและส่ งผลกระทบถึงนโยบายการส่ งเสริ มการขาย ซึ่ งจะกระทบต่อตัวเลขทางการบัญชี ว่า
คุม้ ค่าหรื อไม่กบั การโฆษณาสิ นค้าแต่ละประเภท เป็ นต้น
 แม่ บทบัญชี
งบการเงินที่กิจการต่าง ๆ ได้จดั ทําขึ้น มีวตั ถุประสงค์เพื่อไปใช้ประโยชน์ในการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจของ
ผูใ้ ช้ ดังนั้น การจัดทํางบการเงินจําเป็ นต้องมีหลักเกณฑ์และข้อสมมติทางการบัญชีในการจัดทํา เพื่อให้งบการเงิน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 34
-------------------------------------------------------------------------------
แสดงข้อมูลที่ถูกต้องยุติธรรมต่อผูใ้ ช้เป็ นไปตามมาตรฐานเดียวกัน
แม่บทบัญชี (Accounting Framework) เป็ นเกณฑ์ในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน ในเรื่ องเกี่ยวกับ
วัตถุประสงค์ กลุ่มผูใ้ ช้งบการเงิน ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน องค์ประกอบของงบการเงิน และคํานิยามของ
องค์ประกอบนั้น รวมถึงเกณฑ์ในการรับรู ้รายการในงบดุล งบกําไรขาดทุน การวัดมูลค่ารายการ และแนวคิด
เกี่ยวกับทุนและการรักษาระดับทุนที่ใช้วดั ผลกําไรในงบการเงิน โดยมีสมาคมนักบัญชีและผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต
แห่งประเทศไทยเป็ นผูอ้ อกใช้ เมื่อวันที่ 25 กุมภาพันธ์ 2542 สําหรับแม่บทบัญชีที่ออกนี้มีวตั ถุประสงค์ใช้เป็ น
เกณฑ์ในการปรับปรุ งมาตรฐานการบัญชีที่ใช้อยูใ่ นปัจจุบนั และพัฒนามาตรฐานการบัญชีที่จะใช้ในอนาคตให้
สอดคล้องกับมาตรฐานการบัญชีระหว่างประเทศ (International Accounting Standard หรื อ IAS)
 รายงานการเงินหรื องบการเงิน ของธุรกิจประกอบด้ วย
1. งบดุล (Balance Sheet) เป็ นงบการเงินที่จดั ทําขึ้นเพื่อแสดงฐานะการเงิน
2. งบกําไรขาดทุน (Income statement หรื อ Profit and Loss Statement)
3. งบแสดงการเปลี่ยนแปลงส่ วนของเจ้าของ
4. งบกระแสเงินสด (Cash flow Statement)
5. หมายเหตุประกอบงบการเงิน
ธุรกิจบางประเภท อาจไม่ตอ้ งแสดงงบการเงินทั้งหมดก็ได้ แต่งบดุลและงบกําไรขาดทุน เป็ นงบการเงินที่
ทุกกิจการต้องจัดทํา ซึ่งกิจการเจ้าของคนเดียวส่วนใหญ่มกั จะทําเพียงงบดุลและงบกําไรขาดทุน ส่ วนกิจการในรู ป
อื่น เช่น ห้างหุน้ ส่ วน บริ ษทั สหกรณ์ ฯลฯ อาจจัดทํางบการเงินครบทั้งหมดก็ได้ อย่างไรก็ตาม งบกระแสเงินสด
เป็ นงบการเงินที่ได้รับการยกเว้นบังคับให้บริ ษทั มหาชนจํากัดเท่านั้นเป็ นผูจ้ ดั ทํา
 ส่ วนประกอบของงบการเงิน
งบดุลหรื องบแสดงฐานะการเงิน(Balance Sheet หรื อ Statement of Financial Position) เป็ นงบที่แสดง
ข้อมูลเกี่ยวกับฐานะการเงินของกิจการ ณ วันใดวันหนึ่ ง รายการในงบดุลจึงเป็ นรายการที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการ
วัดฐานะการเงินของกิจการซึ่ งได้แก่ สิ นทรัพย์ (Asset) หนี้ สิน (Liability) และส่ วนของเจ้าของ (Owner‟s
Equity)
สิ นทรัพย์ หมายถึง ทรัพยากรที่มีอยูใ่ นความควบคุมของกิจการ ทรัพยากรดังกล่าวเป็ นผลของเหตุการณ์
ในอดีต ซึ่งกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจจากทรัพยากรนั้นในอนาคต
ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตของสิ นทรัพย์ หมายถึง ศักยภาพของสิ นทรัพย์ในการก่อให้เกิดกระแส
เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสดแก่กิจการทั้งหมดทั้งทางตรงและทางอ้อม โดยปกติกิจการจะได้รับประโยชน์เชิง
เศรษฐกิจในอนาคตจากสิ นทรัพย์ในลักษณะต่างๆ เช่น นําสิ นทรัพย์มาใช้ในการผลิตสิ นค้าหรื อการให้บริ การ นํา
สิ นทรัพย์ไปแลกกับสิ นทรัพย์อื่น นําสิ นทรัพย์ไปชําระหนี้ นําสิ นทรัพย์ไปแบ่งปั นส่ วนทุนให้กบั เจ้าของ
โดยปกติการจัดเรี ยงสิ นทรัพย์มกั เริ่ มจากสิ่ งที่มีสภาพคล่องสู ง ได้แก่ เงินสด ตัว๋ เงินรับ ลูกหนี้การค้า สิ นค้า
คงเหลือ วัสดุสิ้นเปลือง ไปหาสิ่ งที่มีสภาพคล่องตํ่า ได้แก่ ที่ดิน อาคาร อุปกรณ์และเครื่ องใช้สาํ นักงาน และสิ้ นสุ ด
ด้วยสิ นทรัพย์อื่นหรื อสิ นทรัพย์ที่ไม่มีตวั ตน เช่น ค่าใช้จ่ายในการจัดตั้งกิจการ สิ ทธิ บตั ร ค่านิ ยม ลิขสิ ทธิ์ เป็ นต้น
โดยทัว่ ไปสิ นทรัพย์ของกิจการจะถูกบันทึกด้วยราคาทุน ซึ่งเป็ นราคาที่เกิดจากการแลกเปลี่ยนและเป็ นราคาที่มี
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 35
-------------------------------------------------------------------------------
หลักฐานที่แน่นอน สามารถคํานวณได้อย่างถูกต้องโดยไม่ข้ ึนอยูก่ บั ความคิดเห็นส่ วนบุคคล
หนี้สิน หมายถึง ภาระผูกพันในปั จจุบนั ของกิจการ ภาระผูกพันดังกล่าวเป็ นผลของเหตุการณ์ในอดีต ซึ่ ง
การชําระภาระผูกพันนั้นคาดว่าจะส่ งผลให้กิจการสู ญเสี ยทรัพยากรที่มีประโยชน์เชิงเศรษฐกิจ
ภาระผูกพันในปัจจุบัน หมายถึง หน้าที่หรื อความรับผิดชอบที่ตอ้ งปฏิบตั ิตามข้อตกลง ภาระผูกพันอาจเกิด
จากการดําเนิ นงานตามปกติของกิจการตามประเพณี การค้า ภาระผูกพันอาจมีผลบังคับตามกฎหมายเนื่ องจากเป็ น
สัญญาผูกมัดหรื อเป็ นข้อบังคับตามกฎหมาย ภาระผูกพันในปั จจุ บนั อาจหมดไป โดยการจ่ ายเงิ นสด การโอน
สิ นทรัพย์อื่น การให้บริ การ การเปลี่ยนภาระผูกพันเดิมเป็ นภาระผูกพันใหม่
ภาระผูกพันที่บุคคลภายนอกคือเจ้าหนี้มีต่อกิจการอันเกิดจากการซื้อขาย การกูย้ มื หรื อกรณี อื่น ๆ ที่ตอ้ ง
ชําระคืนในภายหน้าได้แก่ เจ้าหนี้การค้า ตัว๋ เงินจ่าย ค่าใช้จ่ายค้างจ่าย ฯลฯ โดยปกติหนี้สินจะปรากฏในงบดุล
เรี ยงลําดับตามระยะเวลาที่ครบกําหนดชําระหนี้
ส่ วนของเจ้ าของ หมายถึง ส่ วนได้เสี ยคงเหลือในสิ นทรัพย์ของกิจการหลังจากหักหนี้สินทั้งสิ้ นออกแล้ว
หรื อความหมายคือ ส่ วนของเจ้าของกิจการที่มีสิทธิหรื อส่ วนได้ส่วนเสี ยเหนือสิ นทรัพย์ของกิจการหลังจากหักสิ ทธิ
เรี ยกร้องของเจ้าหนี้ หรื อหนี้สิน หรื อเรี ยกได้วา่ เป็ นส่วนเกิน
ของสิ นทรัพย์กบั หนี้สิน
งบกาไรขาดทุน (Income Statement) เป็ นรายงานที่แสดงข้อมูลเกี่ยวกับผลการดําเนินงานของกิจการ
ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง งบกําไรขาดทุนจะรายงานส่ วนที่เกี่ยวข้องโดยตรงกับการวัดผลการดําเนินงาน ซึ่งได้แก่
รายได้ (Revenue) และ ค่าใช้จ่าย (Expense)
รายได้ หมายถึง การเพิ่มขึ้นของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีในรู ปกระแสเข้าหรื อการ
เพิ่มค่าของสิ นทรัพย์หรื อการลดลงของหนี้สินอันส่ งผลให้ส่วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ไม่รวมถึงเงินทุนที่ได้รับ
จากผูม้ ีส่วนร่ วมในส่ วนของเจ้าของ
ค่ าใช้ จ่าย หมายถึง การลดลงของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีในรู ปกระแสออกหรื อการ
ลดค่าของสิ นทรัพย์อนั ส่ งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลง ทั้งนี้ไม่รวมถึงการแบ่งปันส่วนทุนให้กบั ผูม้ ีส่วนร่ วมในส่ วน
ของเจ้าของ
 งบดุล Balance Sheet
รายการที่แสดงในงบดุลประกอบด้วย สิ นทรัพย์ หนี้สินและส่ วนของเจ้าของ
สิ นทรัพย์ แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. สิ นทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets)
2. สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน (Non-Current Assets)
หรื อแบ่ งสิ นทรัพย์ เป็ น 4 ประเภทย่ อย ๆ คือ
1. สิ นทรัพย์หมุนเวียน (Current Assets)
2. เงินลงทุนระยะยาว (Long-term Investment)
3. ที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ (Property, Plant and Equipment or Fixed Asset)
4. สิ นทรัพย์อื่น ๆ (Other Asset)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 36
-------------------------------------------------------------------------------
สิ นทรัพย์ หมุนเวียน
หมายถึง เงินสด และสิ นทรัพย์ที่อาจขายหรื อสามารถแปลงสภาพเป็ นเงินสด หรื อใช้ให้หมดไปภายใน
ระยะเวลา 12 เดือนนับจากวันที่ในงบดุล หรื อกิจการคาดว่าจะได้รับประโยชน์จากสิ นทรัพย์น้ นั ภายในรอบ
ระยะเวลาการดําเนินงานตามปกติ (Operating Cycle) แล้วแต่ระยะเวลาใดจะยาวกว่ากัน รายการที่เป็ นสิ นทรัพย์
หมุนเวียนจะเรี ยงลําดับในงบดุลตามสภาพคล่อง กล่าวคือ รายการใดมีสภาพใกล้เคียงกับเงินสด หรื อ สามารถ
เปลี่ยนสภาพเป็ นเงินสดได้เร็ วจะแสดงไว้ก่อน
ระยะเวลาการดาเนินงานปกติ หมายถึง ขั้นตอนการดําเนินงานของกิจการ เริ่ มจากการซื้อสิ่ งของ นําไปผลิต
ขาย จนกระทัง่ เก็บเงินจากลูกค้ามาเป็ นเงินสด
โดยทัว่ ไปสิ นทรัพย์ หมุนเวียนประกอบด้ วย
 เงินสด (Cash on hand and at banks)
หมายถึง เงินสดในมือและเงินฝากธนาคารทุกประเภท แต่ไม่รวมเงินฝากประเภทที่ตอ้ งจ่ายคืนเมื่อสิ้ น
ระยะเวลาที่กาํ หนด เช่น ธนบัตรและเหรี ยญกษาปณ์ที่มีอยู่ ธนาณัติ ตัว๋ แลกเงินไปรษณี ยเ์ งินลงทุนชัว่ คราว (Short-
term Investment หรื อ Current Investments)
หมายถึง หลักทรัพย์ในความต้องการของตลาด เป็ นหลักทรัพย์ที่ซ้ือมาเพื่อหาดอกผลจากเงินลงทุนนั้น
และฝ่ ายจัดการจะขายเมื่อต้องการใช้เงินสด
ลูกหนีก้ ารค้ า (Accounts Receivable)
หมายถึง จํานวนเงินที่ลูกค้าค้างชําระค่าสิ นค้าหรื อค่าบริ การที่กิจการได้ขายไปตามปกติหรื อให้บริ การไป
ตามปกติธุระของกิจการ
การแสดงลูกหนี้การค้าให้แสดงมูลค่าสุ ทธิหลังจากหักค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ
ตั๋วเงินรับ (Notes Receivable)
หมายถึง สัญญาเป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยปราศจากเงื่อนไขที่บุคคลอื่นรับจะชําระเงินจํานวนหนึ่งให้แก่
กิจการภายในเวลาที่กาํ หนด
 เงินให้ ก้ ยู ืมระยะสั้ น (Short-term Loans)
หมายถึง เงินที่กิจการให้ผอู ้ ื่นกูย้ มื โดยมีขอ้ ตกลงที่จะเรี ยกชําระคืนได้ภายใน 12 เดือน นับจากวันที่ในงบ
ดุล
 สิ นค้ าคงเหลือ (Inventory)
หมายถึง สิ นค้าสําเร็ จรู ป สิ นค้าที่อยูใ่ นระหว่างกระบวนการผลิต และวัสดุหรื อชิ้นส่วนที่ใช้
ในการผลิตเพือ่ ขายตามปกติของกิจการ
วัสดุสิ้นเปลือง (Supplies)
หมายถึง วัสดุที่ใช้ในสํานักงานหรื อในร้านค้า ซึ่งจะใช้หมดไปในระยะเวลาสั้น และเมื่อใช้หมดไปจะถือ
เป็ นค่าใช้จ่ายในงบกําไรขาดทุน เช่น เครื่ องเขียนแบบพิมพ์ต่าง ๆ กระดาษ
รายได้ ค้างรับ (Accrued Revenue)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 37
-------------------------------------------------------------------------------
หมายถึง รายได้อื่น ๆ ของกิจการที่เกิดขึ้นแล้ว แต่กิจการยังไม่ได้รับชําระเงิน ในวันสิ้ นงวดกิจการต้อง
บันทึกรายได้คา้ งรับที่เกิดขึ้นนี้ เช่น ดอกเบี้ยค้างรับ รายได้ค่าเช่าค้างรับ
ค่ าใช้ จ่ายล่วงหน้ า (Prepaid Expenses)
หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่กิจการจ่ายไปก่อนสําหรับสิ นทรัพย์หรื อบริ การที่กิจการจะได้รับประโยชน์ในอนาคต
อันสั้น มักจะเกิดขึ้นในการดําเนินงานตามปกติของกิจการ เช่น ค่าเช่าจ่ายล่วงหน้า ค่าเบี้ยประกันภัยจ่ายล่วงหน้า
เป็ นต้น
 สิ นทรัพย์ ไม่ หมุนเวียน
หมายถึง สิ นทรัพย์ที่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน สิ นทรัพย์ทางการเงิน และสิ นทรัพย์
ดําเนินงานที่มีระยะยาว ซึ่งกิจการมีวตั ถุประสงค์ที่จะถือไว้ในระยะยาวเกินกว่า 12 เดือนนับจากวันที่ในงบดุล และ
เนื่องจากการมีสินทรัพย์เหล่านี้ไว้ในกิจการ อาจเกิดจากวัตถุประสงค์ที่แตกต่างกัน การแสดงสิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน
จึงแบ่งประเภทย่อยได้ ดังนี้
1. เงินลงทุนระยะยาว (Long-term Investments)
2. ที่ดิน อาคารและอุปกรณ์ (Property Plant and Equipment)
3. สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน (Intangible Assets)
 เงินลงทุนระยะยาว
หมายถึง การลงทุนซื้อหุน้ ทุนหรื อหลักทรัพย์ประเภทหนี้หรื อพันธบัตรของกิจการอื่น โดยกิจการต้องการ
ลงทุนในเวลาที่นานเกินกว่า 1 ปี โดยมิได้มีวตั ถุประสงค์จะจําหน่ายไปในระยะเวลาอันใกล้ ตัวอย่างเงินลงทุนระยะ
ยาวได้แก่ เงินลงทุนในบริ ษทั ย่อย เป็ นการลงทุนโดยการซื้อหุน้ สามัญของบริ ษทั อื่น โดยมีวตั ถุประสงค์ที่จะ
ควบคุมบริ ษทั นั้นในระยะยาว ที่ดินที่กิจการซื้อไว้เพื่อประโยชน์ในการขายในอนาคต
 ทีด ่ ิน อาคาร และอุปกรณ์ (Property, Plant and Equipment or Fixed Asset)
สิ นทรัพย์ประเภทนี้เป็ นสิ นทรัพย์ถาวรที่มีตวั ตน (Tangible Fixed Assets) ซึ่งกิจการมีไว้เพื่อใช้
ประโยชน์ในการดําเนินงาน การผลิตสิ นค้า การจําหน่ายสิ นค้า การให้บริ การ การบริ หารงาน รวมถึงเป็ นสิ นทรัพย์
ที่มีไว้เพื่อใช้ในการบํารุ งรักษา หรื อซ่อมแซมทรัพย์สินดังกล่าวด้วย สิ นทรัพย์ประเภทนี้เป็ นสิ่ งที่กิจการได้มาหรื อ
สร้างขึ้นเอง โดยตั้งใจว่าจะใช้ประโยชน์จากสิ นทรัพย์น้ นั ต่อเนื่องตลอดไป ไม่ต้ งั ใจจะขายในการดําเนินงาน
ตามปกติ
การแสดงในงบดุลจะแสดงด้วยราคาทุนหักด้วยค่าเสื่ อมราคาสะสม หรื ออาจเลือกแสดงด้วยราคาที่ตีใหม่
หักด้วยค่าเสื่ อมราคาสะสม ยกเว้น ที่ดิน จะแสดงด้วยราคาทุนหรื อราคาที่ตีใหม่โดยที่ดินจะไม่มีการคิดค่าเสื่ อม
ราคา
ที่ดิน (Land)
หมายถึง ที่ดินที่กิจการใช้ประโยชน์จากการดําเนินงานตามปกติ อาจเป็ นที่ต้ งั สํานักงาน โรงงาน คลังเก็บ
สิ นค้า และสิ่ งปลูกสร้างอื่นๆ ของกิจการ เป็ นต้น
อาคาร (Building)
หมายถึง สิ่ งก่อสร้าง อาคารสํานักงาน โรงงาน คลังเก็บสิ นค้า รวมถึงสิ่ งปลูกสร้างอื่น ๆ ที่กิจการมีไว้ใช้
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 38
-------------------------------------------------------------------------------
ประโยชน์ในการดําเนินงานตามปกติของกิจการ
อุปกรณ์ (Equipment)
หมายถึง เครื่ องมือเครื่ องใช้ สิ นทรัพย์ถาวรที่ใช้ประดับร้านหรื อตกแต่งสํานักงาน อุปกรณ์ที่ใช้ในการ
ดําเนินงาน ซึ่งสามารถแยกได้เป็ น อุปกรณ์สาํ นักงาน (Office Equipment) อุปกรณ์ร้านค้า (Store Equipment)
อุปกรณ์ในการขนส่ ง (Delivery Equipment) เครื่ องจักร (Machines) เครื่ องตกแต่ง (Furniture and Fixtures)
สิ นทรัพย์ ไม่ มีตัวตน
หมายถึง สิ นทรัพย์ที่ไม่มีรูปร่ างหรื อตัวตน แต่กิจการมีอยูแ่ ละวัดมูลค่าเป็ นเงินได้โดยมีหลักฐานชัดเจน
และสิ นทรัพย์น้ ีจะให้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจแก่กิจการในอนาคต ตัวอย่างได้แก่
ลิขสิ ทธิ์ (Copyrights)
หมายถึง สิ ทธิตามกฎหมายที่รัฐมอบให้แก่ผทู ้ าํ วรรณกรรมหรื อศิลปกรรม รวมทั้งสิ ทธิในการเผยแพร่ ต่อ
สาธารณชนด้วย
สิ ทธิบัตร (Patents)
หมายถึง สิ ทธิตามกฎหมายที่รัฐมอบให้แก่บุคคลที่ประดิษฐ์คิดค้นสิ่ งหนึ่งสิ่ งใดขึ้นใหม่ อันนับได้วา่ มี
ประโยชน์
สั มปทาน (Franchises)
หมายถึง สิ ทธิที่รัฐหรื อบริ ษทั ใดให้แก่บุคคลหรื อกิจการเพื่อประกอบกิจการเฉพาะอย่าง หรื อเป็ นตัวแทน
ขายผลิตภัณฑ์หรื อบริ การในพื้นที่ใดพื้นที่หนึ่ง
เครื่ องหมายการค้ า (Trademarks)
หมายถึง เครื่ องหมายหรื อตราชื่อที่กิจการใช้กบั สิ นค้าของตนเพื่อผูบ้ ริ โภคสามารถตัดสิ นใจเลือกซื้อสิ นค้า
ได้ตามประสงค์ของลูกค้า
หนีส้ ิ น (Liabilities) แบ่ งเป็ น 2 ประเภทใหญ่ คือ
1. หนี้ สินหมุนเวียน (Current Liabilities)
2. หนี้ สินไม่หมุนเวียน (Non-current Liabilities)
หนีส ้ ิ นหมุนเวียน
หมายถึง หนี้สินที่มีระยะเวลาการชําระคืนภายในหนึ่งปี หรื อภายในรอบระยะเวลาการดําเนินงานตามปกติ
ของกิจการ หนี้สินหมุนเวียนจะชําระด้วยสิ นทรัพย์หมุนเวียน การให้บริ การหรื อการก่อหนี้สินหมุนเวียนอื่นขึ้นใหม่
นอกจากนี้ยงั รวมถึงส่ วนของภาระผูกพันระยะยาวที่คาดว่าจะต้องชําระภายในหนึ่งปี นับจากวันที่ในงบดุล รายการ
หนี้สินหมุนเวียนได้แก่
เงินเบิกเกินบัญชีและเงินกู้ยืมจากธนาคาร (Bank Overdrafts and Loans from Banks)
หมายถึง เงินที่กิจการเบิกเกินบัญชีธนาคาร และเงินที่กิจการกูย้ มื จากธนาคาร เงินกูย้ มื ที่มีกาํ หนดชําระหนี้
ที่แน่นอนให้จดั ประเภทหมุนเวียนและระยะยาวที่กาํ หนดชําระหนี้ แม้วา่ เจ้าหนี้จะมีสิทธิทวงถามให้ชาํ ระหนี้ก่อน
กําหนดได้กต็ าม
เจ้ าหนีก ้ ารค้ า (Accounts Payable)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 39
-------------------------------------------------------------------------------
หมายถึง จํานวนเงินที่คา้ งชําระค่าสิ นค้าหรื อค่าบริ การที่กิจการมีต่อบุคคลอื่นตามปกติธุระของกิจการ
ตั๋วเงินจ่ าย (Notes Payable)
หมายถึง สัญญาที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร โดยปราศจากเงื่อนไขที่กิจการได้รับรองให้ไว้ต่อบุคคลอื่นว่า
กิจการจะชําระเงินจํานวนหนึ่งให้แก่บุคคลนั้นภายในเวลาที่กาํ หนด ซึ่งอาจเป็ นตัว๋ แลกเงิน หรื อตัว๋ สัญญาใช้เงิน
เจ้ าหนีอ้ ื่น (Other Payables)
หมายถึง สิ ทธิเรี ยกร้องของบุคคลอื่นที่มีต่อกิจการไม่วา่ เป็ นสิ นทรัพย์หรื อบริ การ ซึ่งมิได้เกิดจากการค้า
โดยปกติ เช่น เจ้าหนี้จากการซื้อสิ นทรัพย์ถาวร เช่นซื้ออุปกรณ์สาํ นักงานเป็ นเงินเชื่อ
รายได้ รับล่วงหน้ า (Unearned Revenue)
หมายถึง หนี้สินที่เกิดจากกิจการรับเงินไว้ล่วงหน้าสําหรับค่าสิ นค้าหรื อบริ การที่ยงั มิได้ให้ลูกค้า จึงเกิด
เป็ นพันธะที่กิจการจะต้องส่ งมอบสิ นค้าหรื อบริ การให้แก่ลูกค้าต่อไป
ค่ าใช้ จ่ายค้ างจ่ าย (Accrued Expenses)
หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่ให้ประโยชน์แก่กิจการแล้ว แต่กิจการยังไม่ได้ชาํ ระเงินในวันทํางบดุล เช่น ค่า
สาธารณูปโภคค้างจ่าย ค่าแรงค้างจ่าย ค่าเช่าค้างจ่าย ดอกเบี้ยค้างจ่าย ฯลฯ
เงินปันผลค้ างจ่ าย (Accrued Dividends)
หมายถึง เงินปันผลที่กิจการประกาศจ่ายแล้ว แต่ยงั มิได้จ่ายเงินสดให้แก่ผถู ้ ือหุน้ เงินกูย้ มื หนี้สินระยะยาวที่
ถึงกําหนดชําระภายในหนึ่งปี (Current portion of Long-term Debt)
หมายถึง จํานวนของหนี้ระยะยาวบางรายที่สญ ั ญาระบุให้ชาํ ระเงินเป็ นช่วงเวลา ถ้าจํานวนใดจะต้องชําระ
ภายในหนึ่งปี ให้แสดงเป็ นหนี้สินหมุนเวียนเฉพาะจํานวนนั้น
เงินกู้ยืมระยะสั้ น (Short-term Debt)
หมายถึง จํานวนเงินที่กิจการกูย้ มื จากผูอ้ ื่น และกําหนดชําระภายในหนึ่งปี
หนีส ้ ิ นไม่ หมุนเวียน
หมายถึง หนี้สินที่มีระยะเวลาการชําระเงินนานเกินกว่า 1 ปี หรื อเกินกว่ารอบระยะเวลาการดําเนินงาน
ตามปกติของกิจการ หนี้สินไม่หมุนเวียนอาจเกิดจากการกูย้ มื เงินมาใช้ในกิจการเพื่อซื้อสิ นทรัพย์ที่มีราคาสู ง การ
แสดงหนี้สินไม่หมุนเวียนในงบดุล จะเปิ ดเผยข้อมูลเกี่ยวกับภาระผูกพันและข้อตกลงต่าง ๆ เช่น อัตราดอกเบี้ย วัน
ครบกําหนดชําระ ลักษณะของภาระผูกพัน ตัวอย่างหนี้สินไม่หมุนเวียนได้แก่
เงินกู้ยืมระยะยาว (Long-term Debt)
หมายถึง การกูเ้ งินจากธนาคารหรื อสถาบันการเงินโดยมีสญ ั ญาการชําระเงินนานกว่า 1 ปี การกูย้ มื ระยะ
ยาวนี้อาจมีหลักทรัพย์ค้ าํ ประกันหรื อไม่มีกไ็ ด้ ในกรณี ที่มีการนําสิ นทรัพย์บางอย่างของกิจการไปจํานองเพื่อเป็ น
หลักประกันแก่ผใู ้ ห้กู้ ถ้ากิจการไม่จ่ายเงินตามกําหนด ผูใ้ ห้กมู้ ีสิทธิบงั คับเอาสิ นทรัพย์ที่จาํ นองไปขายเอาเงินมา
ชําระหนี้ หรื อยึดสิ นทรัพย์ที่จาํ นองได้
หุ้นกู้ (Bonds Payable)
หมายถึง การจัดหาเงินทุนอย่างหนึ่งของกิจการ โดยการแบ่งจํานวนเงินที่ตอ้ งการกูอ้ อกเป็ นหุน้ ราคาแต่ละ
หุน้ เท่ากัน ราคาหุน้ แต่ละหุน้ กิจการเป็ นผูก้ าํ หนดขึ้นเอง การออกหุน้ กูจ้ ะต้องกําหนดอัตราดอกเบี้ย กําหนด
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 40
-------------------------------------------------------------------------------
ระยะเวลาการจ่ายดอกเบี้ย กําหนดเวลาแน่นอนในการไถ่ถอนหุน้ คืน ซึ่งจะนานกว่า 1 ปี หุน้ กูจ้ ะจําหน่ายให้แก่
บุคคลที่สนใจจะลงทุน โดยอาจจําหน่ายในราคาสู งกว่าหรื อตํ่ากว่าราคาที่กาํ หนดไว้ในใบหุน้ (Par Value) ก็ได้ ใน
ระหว่างที่หุน้ ก็ยงั ไม่ครบกําหนดไถ่ถอน ผูถ้ ือหุน้ กูม้ ีฐานะเป็ นเจ้าหนี้ของกิจการ และกิจการจะต้องจ่ายดอกเบี้ยให้
ตามที่กาํ หนดไว้
ส่ วนของเจ้ าของ
หมายถึง ส่ วนของเจ้าของกิจการที่มีสิทธิหรื อส่ วนได้เสี ยเหนือสิ นทรัพย์ของกิจการภายหลังหักสิ ทธิ
เรี ยกร้องของเจ้าหนี้ หรื อหนี้สินที่มีต่อกิจการหมดแล้ว นัน่ คือส่ วนของสิ นทรัพย์เกินกว่าหนี้สิน
ลักษณะส่ วนของเจ้าของกิจการสามารถแยกอธิบายตามลักษณะของกิจการค้าที่ได้แบ่งเป็ น 3 ประเภทใหญ่ ๆ
คือ กิจการเจ้าของคนเดียว ห้างหุน้ ส่วน และบริ ษทั จํากัด การแสดงรายการต่างๆ ในงบดุลส่ วนใหญ่ของกิจการค้า
ประเภทต่าง ๆ แทบจะไม่แตกต่างกันนอกจากรายการส่ วนของเจ้าของที่แตกต่างกัน เนื่องจากกฎหมายไทย
กําหนดให้บริ ษทั จํากัด แสดงเงินลงทุนจากผูถ้ ือหุน้ และกําไรสะสมแยกกัน สําหรับกิจการประเภทอื่นอาจรวมเงิน
ลงทุนจากเจ้าของและกําไรสุ ทธิเข้าไว้เป็ นจํานวนเดียวกันก็ได้ เพื่อให้เห็นความแตกต่างดังกล่าว
งบกาไรขาดทุน (Income Statement)
งบกําไรขาดทุน หมายถึง งบการเงินที่แสดงผลการดําเนินงานของกิจการสําหรับงวดเวลาหนึ่งเพื่อสรุ ปให้เห็นว่า
เมื่อเปรี ยบเทียบรายได้กบั ค่าใช้จ่ายของรอบระยะเวลาบัญชีน้ นั แล้ว กิจการมีผลกําไรหรื อขาดทุนสุ ทธิเท่าใด
รายการที่ปรากฏในงบกําไรขาดทุน แยกเป็ นประเภทใหญ่ ๆ คือ
1. รายได้ (Revenues)
2. ค่าใช้จ่าย (Expenses)
3. กําไร (Profit) หรื อ ขาดทุน (Loss)
1. รายได้ หมายถึง จํานวนเงินสด ลูกหนี้ หรื อผลตอบแทนที่กิจการได้รับมาจากการประกอบการโดย
ปกติของกิจการก่อนหักค่าใช้จ่ายใด ๆ จากการขายสิ นค้าหรื อบริ การให้แก่ลูกค้า ซึ่งคํานวณได้เป็ นจํานวนเงินที่
แน่นอนจากลูกค้า ผลตอบแทนที่เกิดจากการให้ใช้สินทรัพย์ และรวมถึงกําไรที่ได้รับจากการขาย หรื อแลกเปลี่ยน
สิ นทรัพย์ ดอกเบี้ยรับที่ได้รับจากการให้กยู้ มื เงินปันผลรับที่ได้จากการลงทุนซื้อหุน้ ในกิจการอื่น
รายได้แบ่งเป็ น 2 ชนิด คือ
รายได้ โดยตรง (Direct Revenue) หมายถึง รายที่เกิดขึ้นตามวิถีทางการค้าโดยปกติของกิจการ ถ้าเป็ น
กิจการขายสิ นค้า รายได้โดยตรง คือ รายได้จากการขาย (Sales) ซึ่งเป็ นรายได้ที่เกิดจากการส่ งมอบสิ นค้า สิ ทธิหรื อ
บริ การเพื่อแลกเปลี่ยนกับเงินสด สิ ทธิเรี ยกร้องให้ชาํ ระเงิน หรื อสิ่ งอื่นที่มีมูลค่าคิดเป็ นเงินได้ ถ้าเป็ นกิจการธนาคาร
รายได้โดยตรง คือ รายได้ดอกเบี้ยรับ ถ้าเป็ นกิจการให้บริ การ รายได้โดยตรง คือ รายได้จากการให้บริ การ
รายได้ อื่น (Other Revenue) หมายถึง รายได้ที่มิได้เกิดขึ้นตามวิถีทางการค้าโดยปกติของกิจการ เช่น ถ้า
เป็ นกิจการซื้อขายสิ นค้า รายได้อื่นอาจหมายถึง กําไรจากการขายสิ นทรัพย์ถาวร ดอกเบี้ยรับจากเงินให้กหู้ รื อเงิน
ฝากธนาคาร เงินปันผลรับจากการลงทุนในหุน้ ของกิจการอื่น ฯลฯ
2. ค่ าใช้ จ่าย หมายถึง ต้นทุนของสิ นค้าหรื อบริ การที่กิจการต้องจ่ายไปเพื่อก่อให้เกิดรายได้ ค่าใช้จ่าย
แบ่งเป็ นประเภทใหญ่ ๆ ได้ดงั นี้
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 41
-------------------------------------------------------------------------------
ต้ นทุนขาย (Cost of Sales) หมายถึง ต้นทุนของสิ นค้าหรื อบริ การที่ขาย ต้นทุนขายนี้รวมราคาซื้อ
ต้นทุนการผลิตสิ นค้าและค่าใช้จ่ายอื่น ๆ ที่จาํ เป็ นต้องใช้เพื่อให้สินค้าอยูใ่ นสภาพพร้อมที่จะขายได้ ถ้าเป็ นกิจการ
ให้บริ การ เรี ยกว่า ต้นทุนการให้บริ การ
ค่ าใช้ จ่ายการขายและบริหาร (Selling and Administrative Expenses) หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่กิจการใช้
ในการดําเนินงานตามปกติการค้าของกิจการ บางครั้งอาจเรี ยกว่า ค่าใช้จ่ายในการดําเนินงาน (Operating
Expenses)
ค่ าใช้ จ่ายการขาย หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นอันเนื่องมาจากการขายสิ นค้าของกิจการ เช่น ค่าโฆษณา
เงินเดือนพนักงานขาย ค่านายหน้า ค่าขนส่ งเมื่อขายหรื อค่าขนส่ งออก ฯลฯ
ค่ าใช้ จ่ายการบริหาร หมายถึง ค่าใช้จ่ายทัว่ ไปที่เกิดขึ้นในการบริ หารกิจการเป็ นส่ วนรวม เช่น เงินเดือน
พนักงาน ค่าเช่าอาคารที่ทาํ การ ค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์สาํ นักงาน ค่านํ้า ค่าไฟฟ้า ฯลฯ
ดอกเบีย้ จ่ าย (Interest Expense) หมายถึง ดอกเบี้ย หรื อค่าตอบแทนที่คิดให้เนื่องจากการใช้ประโยชน์
จากเงินหรื อเงินทุน ถือเป็ นค่าใช้จ่ายอื่น
ค่ าใช้ จ่ายอื่น หมายถึง ค่าใช้จ่ายที่มิได้เกิดขึ้นตามวิถีทางการค้าโดยปกติของกิจการ แต่เกิดขึ้นจากกิจกรรม
ประกอบการกิจการ ค่าใช้จ่ายอื่นนี้อาจจะไม่ได้เกิดขึ้นทุกงวดบัญชี ค่าใช้จ่ายบางชนิดมิได้เกิดขึ้นบ่อยครั้ง ตัวอย่าง
ของค่าใช้จ่ายอื่น เช่น ขาดทุนจากการขายสิ นทรัพย์ถาวร ขาดทุนจากราคาตลาดของหลักทรัพย์ลดลง
ภาษีเงินได้ (Income Tax) หมายถึง ภาษีเงินได้นิติบุคคลตามประมวลรัษฎากร ในกรณี ที่กิจการ
ดําเนินงานใหญ่นิติบุคคล เช่น บริ ษทั จํากัด
3. กาไร หมายถึง ผลต่างระหว่างรายได้ท้ งั หมดและค่าใช้จ่ายทั้งหมดของกิจการ ในกรณี ที่รายได้สูงกว่า
ค่าใช้จ่าย กําไรแสดงถึงการเพิ่มขึ้นในสิ นทรัพย์สุทธิของกิจการในระหว่างรอบระยะเวลาบัญชีหนึ่ง กําไรทําให้ส่วน
ทุนของกิจการเพิ่มขึ้น
4. ขาดทุน หมายถึง ผลต่างระหว่างรายได้ท้ งั หมดและค่าใช้จ่ายทั้งหมดของกิจการ ในกรณี ที่รายได้ต่าํ
กว่าค่าใช้จ่าย ขาดทุนแสดงถึงการลดลงในสิ นทรัพย์สุทธิของกิจการในระหว่างรอบระยะเวลาบัญชีหนึ่ง ขาดทุนทํา
ให้ส่วนทุนของกิจการลดลง
นอกจากนี้ การจัดทํางบกําไรขาดทุน อาจมีรายการที่ตอ้ งแสดงในงบกําไรขาดทุนเพิม่ เติมจากที่กล่าว
ข้างต้นอีก คือ
รายการพิเศษ (Extraordinary Item) หมายถึง รายได้หรื อค่าใช้จ่ายที่เกิดจากรายการหรื อเหตุการณ์ทาง
บัญชี โดยรายการที่จะถือเป็ นรายการพิเศษจะต้องมีดงั นี้
ก. มีความแตกต่างอย่างชัดเจนจากการดําเนินงานตามปกติของกิจการ
ข. ไม่คาดว่าจะเกิดขึ้นเป็ นประจําหรื อเกิดขึ้นไม่บ่อย
การดาเนินงานตามปกติ หมายถึง กิจกรรมของการประกอบธุรกิจของกิจการ หรื อ เกิดขึ้นจากการดําเนินงาน
ตามปกติของกิจการ รวมทั้งกิจกรรมอื่น ซึ่งเกี่ยวเนื่องกับการประกอบธุรกิจหรื อการดําเนินงานดังกล่าว
กาไรต่ อหุ้น (Earnings per Share) หมายถึง ส่ วนเฉลี่ยของกําไรสุ ทธิต่อหุน้ สามัญหนึ่งหุน้ ข้อมูลกําไร
ต่อหุน้ จะช่วยให้ผใู ้ ช้งบการเงินนํามาใช้พจิ ารณาประกอบการตัดสิ นใจลงทุน และให้ทราบแนวโน้มการดําเนินงาน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 42
-------------------------------------------------------------------------------
ของกิจการ เพราะตัวเลขกําไรต่อหุน้ แสดงให้เห็นถึงการเปลี่ยนแปลงในกําไรสุ ทธิในงวดบัญชีต่าง ๆ โดยพิจารณา
สัมพันธ์กบั จํานวนหุน้ สามัญของกิจการที่ได้ทาํ การออกจําหน่ายแล้ว
ประเภทของเครื่ องมือทางการเงิน
เครื่ องมือทางการเงิน (Financial Instruments) หมายถึง หนังสื อสําคัญซึ่งเป็ นเอกสารแสดงสิ ทธิต่าง ๆ
เช่น สิ ทธิในการเป็ นเจ้าของ สิ ทธิในการเป็ นเจ้าหนี้ สิ ทธิที่จะซื้อหรื อขายหลักทรัพย์ ฯลฯ ทั้งนี้ จะยกตัวอย่างตรา
สารทางการเงินชนิดต่าง ๆ ตามตาราง แสดงตัวอย่างของเครื่ องมือทางการเงินชนิดต่าง ๆ ดังนี้
ตารางแสดงตัวอย่างของเครื่ องมือทางการเงินชนิดต่าง ๆ
เครื่ องมือทางการเงิน ผลตอบแทน / สิ ทธิของผู้ถือ สถานะของผู้ถือ
ตราสารหนี้ เช่น 1. ดอกเบี้ย เจ้าหนี้กิจการ
พันธบัตร หุน้ กู้ ตัว๋ สัญญาใช้เงิน 2. กําไรจากการขายเปลี่ยนมือ
ตราสารหุน้ เช่น 1. เงินปั นผล เจ้าของกิจการ
หุน้ สามัญ หุน้ บุริมสิ ทธิ 2. สิ ทธิ ในการบริ หาร
3. กําไรจากการขายเปลี่ยนมือ
4. สิ ทธิ จองหุ น
้ ออกใหม่
ตราสารอนุพนั ธ์ เช่น ใบสําคัญ กรณี (Warrant) กรณี (Warrant)
แสดงสิ ทธิการซื้อหุน้ (Warrant) 1. ผลต่างระหว่างราคาใช้สิทธิ ใน ผูถ้ ือมีสิทธิในการจองซื้อหุน้
การซื้อหุน้ กับราคาตลาด สามัญของบริ ษทั
2. กําไรจากการขายเปลี่ยนมือ
หน่วยลงทุน (Unit trust) 1. เงินปั นผล เจ้าของกองทุนรวม
2. กําไรจากการขายเปลี่ยนมือหรื อ
ขายคืน
สําหรับตราสารทางการเงินประเภทตราสารหนี้น้ นั จะได้กล่าวถึงโดยละเอียดโดยแยกหัวข้อนําไปอธิบาย
ในเรื่ องถัด ๆ ไป เนื่องจากตราสารหนี้เป็ นตราสารทางการเงินที่มีความสําคัญเกี่ยวข้องกับเรื่ องของอัตราดอกเบี้ย
และการดําเนินนโยบายการเงิน ซึ่งเป็ นส่ วนสําคัญในการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์การเงิน ส่ วนตราสารอีก 3 ประเภท
จะได้อธิบายโดยสังเขปเพิ่มเติมจากตารางสรุ ปข้างต้น ดังนี้
1. ตราสารทุนหรื อหุ น ้ ทุน (Share) คือ ส่ วนของทุนของกิจการที่ถูกแบ่งออกเป็ นหุน้ ซึ่งแต่ละหุน้ จะให้
อํานาจผูถ้ ือหุน้ ในการเป็ นเจ้าของของกิจการตามสัดส่ วนของหุน้ ที่ถือ ซึ่งหมายความรวมถึงการได้สิทธิในการได้รับ
ส่ วนแบ่งกําไรและสิ ทธิในการบริ หาร ในที่น้ ีจะยกตัวอย่างหุน้ ทุน 2 ประเภท คือ
1.1 หุ น
้ สามัญ (Common Stock) คือ หลักทรัพย์ที่บริ ษทั ออกจําหน่าย เพื่อให้สิทธิแก่ผถู ้ ือในการ
ร่ วมเป็ นเจ้าของบริ ษทั ผูถ้ ือหุน้ สามัญมีสิทธิออกเสี ยงในที่ประชุมผูถ้ ือหุน้ เพื่อร่ วมตัดสิ นใจในการบริ หาร การวาง
นโยบายการดําเนินการของบริ ษทั การเลือกตั้งกรรมการของบริ ษทั และเพื่อร่ วมตัดสิ นใจในปัญหาสําคัญของ
บริ ษทั ผูถ้ ือหุน้ มีโอกาสที่จะได้รับผลตอบแทนในรู ปของเงินปันผล เมื่อบริ ษทั มีกาํ ไรและอนุมตั ิให้มีการจ่ายเงินปัน
ผล หรื อเมื่อราคาหุน้ ในตลาดรองสู งขึ้นก็สามารถนําไปขาย เพื่อรับส่ วนต่างจากราคาหุน้ ที่ซ้ือมา (Capital Gain)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 43
-------------------------------------------------------------------------------
นอกจากนี้ ผูถ้ ือหุน้ จะได้รับสิ ทธิจองหุน้ ใหม่ (Right) เมื่อบริ ษทั ต้องการจะเพิ่มทุนด้วย
1.2 หุ น้ บุริมสิ ทธิ (Preferred Stock) เป็ นหุน้ ที่มีลกั ษณะกึ่งหนี้สินและกึ่งหุน้ สามัญ (Hybrid) มี
ราคาหน้าตัว๋ (Par Value) และมีอตั ราเงินปันผลกําหนดไว้ตายตัว ผูถ้ ือหุน้ บุริมสิ ทธิจะได้รับสิ ทธิพิเศษเหนือกว่าผู ้
ถือหุน้ สามัญ เช่น ได้รับเงินปันผลก่อนหรื อมากกว่าผูถ้ ือหุน้ สามัญ และมีสิทธิในทรัพย์สินของบริ ษทั ก่อนผูถ้ ือหุน้
สามัญ (แต่หลังจากผูเ้ ป็ นเจ้าหนี้ของบริ ษทั ) ในกรณี ที่บริ ษทั จะต้องเลิกกิจการ อย่างไรก็ตาม ผูถ้ ือหุน้ บุริมสิ ทธิส่วน
ใหญ่มกั จะไม่ได้รับสิ ทธิในการออกเสี ยง และการบริ หารงานของบริ ษทั
2. ตราสารอนุพน ั ธุ์ (Derivatives) หมายถึง ตราสารทางการเงินประเภทที่มูลค่า หรื อราคาของตราสาร
นั้นเกี่ยวเนื่องอยูก่ บั มูลค่าของสิ นทรัพย์ที่ตราสารนั้นอิงอยู่ เช่น ตราสารสิ ทธิที่จะซื้อหรื อขายหุน้ (Stock Options)
เป็ นตราสารอนุพนั ธุ์ เพราะราคาของตราสาร ดังกล่าวจะเกี่ยวโยงกับราคา ของหุน้ ที่จะใช้ตราสารสิ ทธิน้ นั ไปซื้อ
หรื อขายได้ สัญญาซื้อขายดัชนีราคาหุน้ ล่วงหน้า (Stock Index Futures) เป็ นตราสารอนุพนั ธ์ เพราะราคาของตรา
สารนี้สืบเนื่องมาจากดัชนีราคาหุน้ ที่ตราสารอิงอยู่ การจัดให้มีการซื้อขายตราสารอนุพนั ธ์จะช่วยให้ผเู ้ กี่ยวข้องกับ
ตลาดการเงินมีเครื่ องมือไว้ปกป้อง และบริ หารความเสี่ ยงที่มีอยู่ และเป็ นการเพิ่มช่องทางลงทุนซื้อขายที่หลากหลาย
ยิง่ ขึ้น
3. หน่วยลงทุน (Unit trust) หมายถึง หลักทรัพย์ที่ออกขายโดยบริ ษท ั จัดการลงทุน เพื่อระดมเงินเข้า
กองทุนรวมที่จดั ตั้งขึ้น แล้วจัดสรรเงินในกองทุนนั้น ลงทุนในตลาดการเงินตามเกณฑ์ที่กาํ หนดไว้ในหนังสื อชี้ชวน
เช่น ลงทุนซื้อหลักทรัพย์ในตลาดหลักทรัพย์ ลงทุนในตราสารการเงิน ต่าง ๆ และฝากไว้กบั สถาบันการเงิน เป็ นต้น
ผูถ้ ือหน่วยลงทุนมีฐานะร่ วมเป็ นเจ้าของกองทุนนั้น ๆ และมีสิทธิได้รับเงินปันผลตอบแทนจากผลกําไรที่เกิดขึ้น
หากถือไว้จนถึงกําหนดไถ่ถอนก็จะได้รับส่ วนแบ่งคืนจากเงินกองทุนตามสัดส่ วนของหน่วยลงทุนที่ถืออยู่
อย่างไรก็ตาม มีกองทุนรวมอีกประเภทหนึ่ง ซึ่งมิได้นาํ เงินไปลงทุนในหลักทรัพย์ต่าง ๆ เหมือนกองทุน
รวมทัว่ ไป เช่น กองทุนรวมอสังหาริ มทรัพย์ซ่ ึงบริ ษทั จัดการกองทุนรวมจัดตั้งขึ้น เพื่อนําเงินที่ได้จากการขายหน่วย
ลงทุนไปซื้อ หรื อเช่าอสังหาริ มทรัพย์และจัดหาผลประโยชน์จากอสังหาริ มทรัพย์ดงั กล่าว เป็ นต้น
โครงสร้ างเงินทุน (Capital Structure)และต้ นทุนของเงินทุน (Cost of Capital)
โครงสร้างทางการเงิน (Financial Structure)
เป็ นภาพรวมโครงสร้างการจัดหาเงินทุนของธุรกิจ แสดงถึงส่ วนประกอบของแหล่งเงินทุน ทั้งระยะสั้น
และระยะยาวสามารถดูได้จากด้านขวามือทั้ง หมดของงบดุล บอกได้วา่ ธุรกิจจัดหาเงินทุนจากหนี้สินเป็ นสัดส่ วน
เท่าใดของเงินลงทุนทั้ง หมด และในจํานวนนั้นเป็ นหนี้สินระยะสั้น ระยะยาวเท่าใด เป็ นต้น
ตัวอย่าง ถ้า Debt to Total Assets Ratio = 0.75 แสดงว่า 75% ของเงินลงทุนในสิ นทรัพย์ท้ งั หมด มา
จากการกูเ้ ป็ นต้น
ตัวอย่างงบแสดงฐานะการเงินแสดงโครงสร้างทางการเงินประกอบด้วย
Debt to Total Assets Ratio = 0.40 หรื อ 40%
สิ นทรัพย์ หนีส้ ิ นและทุน
สิ นทรัพย์หมุนเวียน 1,500 หนี้สินหมุนเวียน 2,000
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียน 6,500 หนี้สินระยะยาว 1,200
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 44
-------------------------------------------------------------------------------
สิ นทรัพย์รวม 8,000 ส่ วนของเจ้าของ 4,800
หนี้สินและทุนรวม 8,000

โครงสร้ างเงินทุน (Capital Structure)


เป็ นโครงสร้างการจัดหาเงินทุนระยะยาวของธุรกิจ แสดงถึงส่ วนประกอบของแหล่งเงินทุนระยะยาว ว่ามา
จากการกูย้ มื และจากส่ วนของเจ้าของในสัดส่ วนเท่าใด เงินทุนส่ วนนี้เป็ นส่ วนที่จะนําไปใช้ในการลงทุนใน
สิ นทรัพย์ไม่หมุนเวียนเป็ นหลักธุรกิจจะต้องตัดสิ นใจจัดหาเงินทุนระยะยาวให้ได้โครงสร้างที่ดีที่สุด เพื่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุ ดตามเป้าหมายการสร้างมูลค่าเพิม่ ให้แก่ผเู ้ ป็ นเจ้าของโครงสร้างเงินทุนที่ดีที่สุด หรื อโครงสร้าง
เป้าหมาย (Optimal Capital Structure หรื อ Target Capital Structure) คืออะไร? และกําหนดได้อย่างไร
จากตัวอย่างงบแสดงฐานะการเงินข้างต้น พบว่าเงินทุนระยะยาว
มีแหล่งที่มาดังนี้:
หนี้สินระยะยาว 1,200 20%
ส่ วนของเจ้าของ 4,800 80%
เงินทุนระยะยาวรวม 6,000 100%
จึงกล่าวได้วา่ โครงสร้างเงินทุนประกอบด้วยสัดส่ วนของหนี้สินระยะยาว 20% และส่ วนของเจ้าของ 80%
โครงสร้างเงินทุนที่กล่าวข้างต้น เป็ นตัวอย่างหนึ่งของทางเลือกในการจัดหาเงินทุน
โครงสร้างเงินทุนที่ดีที่สุดหรื อโครงสร้างเป้าหมายเป็ นสัดส่ วนการจัดหาเงินทุนระยะยาวที่ดีที่สุดโดยก่อให้เกิด
ประโยชน์สูงสุ ด 2 ประการแก่ธุรกิจได้แก่:
1. ทําให้ธุรกิจมีตน้ ทุนถัวเฉลี่ยของเงินทุนที่ต่าํ ที่สุด
Minimizing Weighted Average Cost of Capital (WACC)
2. ทําให้ธุรกิจมีมูลค่าตามราคาตลาดของหุ น ้ สามัญสู งที่สุด
Maximizing Market Value of Common Stock
ซึ่งประโยชน์ท้ งั 2 ประการข้างต้น ทําให้ธุรกิจบรรลุเป้าหมายการสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั ผูถ้ ือหุน้ ได้ในที่สุด
กําหนดได้อย่างไร
ทางเลือกของโครงสร้างเงินทุนมีหลายทาง แต่ละทางก่อให้เกิดต้นทุนทางการเงินของแต่ละแหล่งเงินทุน
ต่างกัน และต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักต่างกันด้วย ในที่สุดจะมีเพียงโครงสร้างเดียวเท่านั้นที่จะทําให้ได้ตน้ ทุนถัว
เฉลี่ยถ่วงนํ้าหนักที่มีค่าตํ่าที่สุด
การใช้แหล่งเงินทุนจากเจ้าของเพียงแหล่งเดียว (All Equity Financing) จะมีตน ้ ทุนเฉลี่ยของเงินทุน
สู งสุ ด เท่ากับอัตราผลตอบแทนที่เจ้าของต้องการจากการลงทุน เนื่องจากเจ้าของมีความเสี่ ยงสู งสุ ด ย่อมต้องการ
อัตราผลตอบแทนสู งด้วย ทําให้ตน้ ทุนเฉลี่ยสู งกว่าแหล่งอื่นๆด้วย
เมื่อเริ่ มมีการใช้แหล่งเงินกู้ ความต้องการใช้เงินทุนจากเจ้าของก็จะน้อยลง ต้นทุนเงินกูท
้ ี่ต่าํ กว่า ประกอบ
กับผลประโยชน์ทางภาษีที่ได้จากการที่ดอกเบี้ยเป็ นค่าใช้จ่ายที่หกั ภาษีได้ จะเข้ามาเฉลี่ย ทําให้ตน้ ทุนเฉลี่ยลดตํ่าลง
การใช้แหล่งเงินกูเ้ พิ่มมากขึ้น จะทําให้ตน้ ทุนเฉลี่ยลดลงจนถึงระดับหนึ่ง ในขณะเดียวกันความเสี่ ยงทาง
การเงินที่เพิ่มสู งขึ้นจะทําให้ตน้ ทุนของเงินกู้ และต้นทุนของเงินทุนจากเจ้าของเพิ่มสูงขึ้น จนทําให้ตน้ ทุนเฉลี่ยเริ่ ม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 45
-------------------------------------------------------------------------------
เพิ่มสู งขึ้นอีกครั้งหนึ่ง
ได้วา่ จะมีสด
ั ส่ วนหนี้สินต่อสิ นทรัพย์รวมเพียงจุดเดียวที่จะทําให้ตน้ ทุนเฉลี่ยมีค่าตํ่าสุ ด และจุดนั้นคือ
โครงสร้างที่ดีที่สุดนัน่ เอง

ภาพแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโครงสร้างเงินทุน และต้นทุนของเงินทุน

ปัจจัยทีม
่ ีผลต่ อการตัดสินใจเรื่ องโครงสร้ างเงินทุน
้ อ้ ยลงเพื่อไม่ให้ความเสี่ ยงโดยรวมสู ง
1. ความเสี่ ยงในการดําเนิ นงาน (Business Risk) ถ้ามีมากจะต้องกูน
เกินไป
2. สถานะทางภาษี (Tax Position) ธุ รกิจที่เสี ยภาษีเงินได้ในอัตราสู งย่อมได้ประโยชน์ทางภาษีจากดอกเบี้ย
จ่าย การกูก้ เ็ ป็ นผลดี
3. ความคล่องตัวในการจัดหาเงินทุน (Financing Flexibility)โดยทัว่ ไปภายใต้เหตุการณ์ปกติ ธุ รกิจจะกูใ้ ห้
น้อย เพื่อแสดงความมัน่ คงทางการเงิน เมื่อต้องการจัดหาเงินทุนในอนาคต จะได้มีทางเลือกมากกว่า
4. ทัศนคติของผูบ ้ ริ หารที่หลีกเลี่ยงความเสี่ ยง (Management Conservatism) จะระมัดระวังปัญหาจากการ
กูม้ าก ทําให้ใช้เงินกูไ้ ม่มากนัก
5. ทัศนคติของผูใ้ ห้กู้ และผูจ้ ดั อันดับเครดิต (Lender and Rating Agency Attitude) หลายครั้งที่ผบ ู ้ ริ หาร
พร้อมที่จะเสี่ ยง โดยการกูเ้ พิม่ ขึ้น แต่อาจกูไ้ ม่ได้มากตามที่คาดหวัง เพราผูใ้ ห้กอู้ าจมี มุมมองที่ต่างไป และไม่พร้อม
ที่จะให้กกู้ ไ็ ด้
6. อํานาจในการควบคุม (Control) ฝ่ ายบริ หารที่ไม่มีส่วนได้เสี ยในเรื่ องการควบคุม อาจชอบที่จะเพิ่มทุน
มากกว่าการกูเ้ พราะลดปัญหาทางการเงินที่อาจต้องเผชิญ แต่กต็ อ้ งคํานึงถึงผลตอบแทนที่เหมาะสมที่เจ้าของพึงจะ
ได้รับด้วย
7. โครงสร้างสิ นทรัพย์ลงทุน (Assets Structure) ธุ รกิจที่มีสินทรัพย์ลงทุนที่สามารถนําไปเป็ นหลักทรัพย์
คํ้าประกันเงินกูไ้ ด้ เช่นธุรกิจอสังหาริ มทรัพย์ มีแนวโน้มที่จะกูม้ ากกว่าธุรกิจโฆษณา ซึ่งสิ นทรัพย์ลงทุนส่ วนใหญ่
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 46
-------------------------------------------------------------------------------
ได้แก่บุคลากร เป็ นต้น
8. อัตราการเติบโต (Growth Rate) ธุ รกิจที่มีอตั ราการเติบโตสู ง มักต้องพึ่งพาเงินทุนจากแหล่งภายนอก
มาก ค่าใช้จ่ายในการจัดจําหน่ายหุน้ สามัญ มักจะแพงกว่าหุน้ กู้ จึงมักจัดหาเงินโดยการออกหุน้ กูม้ ากกว่า ในขณะ
ธุรกิจที่มีอตั ราการเติบโตไม่สูงมาก จะสามารถนํากําไรที่ทาํ ได้มาลงทุนต่อได้ไม่ยากนัก
9. ความสามารถในการทํากําไร (Profitability) ธุ รกิจที่มี ROEสู งมักใช้เงินกูน ้ อ้ ย เพราะสามารถนําผล
กําไรมาลงทุนต่อได้
10. สภาพตลาดทุน (Capital Market Condition) ที่ผน ั ผวน อาจทําให้ความตั้งใจที่จะกู้ หรื อเพิม่ ทุน ต้องมี
การทบทวน
ต้ นทุนของเงินทุน (Cost of Capital)
ศึกษาความหมายจากมุมมองที่สาํ คัญ 2 ด้าน ได้แก่:
1. ผูล้ งทุน (Investors) เป็ นเจ้าของเงินทุน ไม่วา่ จะในรู ปของการให้กห ู้ รื อ การนําเงินมาลงทุน ย่อมต้องการ
ผลตอบแทนจากการลงทุนนั้น
2. ผูบ ้ ริ หาร (Managers) เป็ นผูใ้ ช้เงินทุน ซึ่งเงินทุนไม่วา่ จะมาจากแหล่งใด ย่อมต้องมีตน้ ทุนทั้งสิ้ น ต้นทุน
เงินทุนของธุรกิจก็คืออัตราผลตอบแทนที่เจ้าของเงินทุนต้องการนัน่ เอง ต้นทุนของเงินกูจ้ ากสถาบันการเงินก็คือ
อัตราดอกเบี้ย ในขณะที่ตน้ ทุนของการระดมเงินด้วยการออกจําหน่ายตราสารทางการเงิน ไม่วา่ จะเป็ นหุน้ กู้ หุน้
บุริมสิ ทธิ หรื อหุน้ สามัญ จะพิจารณาจาก อัตราผลตอบแทนที่ผลู ้ งทุนต้องการ จากการลงทุนในตราสารเหล่านั้น
และสะท้อนออกมาที่ราคาหุน้ นัน่ เอง
ต้ นทุนของแต่ ละแหล่งเงินทุน (Component Costs)
Cost of Debt  kd
Cost of Preferred Stock  kp
Cost of Equity ประกอบด้วย
Cost of Retained Earnings  ks
Cost of Newly Issued Common Stock  ke

ต้ นทุนถัวเฉลีย่ ถ่ วงนา้ หนัก (Weighted Average Cost of Capital)


WACC หรื อ k
MCC (Marginal Cost of Capital) หรื อต้นทุนส่ วนเพิม
่ เป็ นต้นทุนถัวเฉลี่ยถ่วงนํ้าหนัก (WACC) ของ
เงินทุนส่ วนเพิม่ ที่จดั หามาใหม่เพื่อนํามาใช้ในการลงทุนการจัดหาเงินทุนจํานวนมากขึ้นต้นทุนส่วนเพิ่มจะยิง่ สู งขึ้น
ต้ นทุนของหนีส้ ิ น (kd)
แยกพิจารณาออกได้เป็ นการกูย้ มื สองลักษณะ คือ
การกูย้ ม
ื เงินจากสถาบันการเงิน
การกูย้ มื เงินจากผูล้ งทุนในตลาดการเงินโดยการออกจําหน่ายตราสารหนี้
การกู้ยืมเงินจากสถาบันการเงิน
กรณี การกูย้ มื เงินจากสถาบันการเงิน เช่นธนาคาร พาณิ ชย์ จะได้วา่ อัตราดอกเบี้ยที่ธนาคารเสนอให้ ไม่วา่ จะ
เป็ นอัตราดอกเบี้ยคงที่ หรื อลอยตัวก็ตาม จะเป็ นต้นทุนของเงินกูน้ ้ นั
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 47
-------------------------------------------------------------------------------
หากมีเงื่อนไขอื่นในการจ่ายดอกเบี้ย เช่นจ่ายดอกเบี้ยเมื่อครบกําหนดชําระคืนเงินกู้ หรื อจ่ายดอกเบี้ยทันที
เป็ นต้น เงื่อนไขเหล่านี้ยอ่ มมีผลต่อต้นทุนเงินกูน้ ้ นั จําเป็ นต้องนํามาพิจารณาด้วย
การกู้ยืมเงินโดยการออกจาหน่ ายตราสารหนี้
หุน้ กูเ้ ป็ นตราสารหนี้ โดยทัว่ ไปจะมีการกําหนดราคาตามมูลค่า (Par) หรื อราคาไถ่ถอน (Maturity Value)
กําหนดอัตราดอกเบี้ยหน้าตัว๋ (Coupon Rate) และอายุของหุน้ กูห้ ุน้ กูน้ ้ ีออกจําหน่ายเพื่อการระดมทุน
ผูล้ งทุนตัดสิ นใจลงทุนในหุน้ กู้ ณ ราคาใด สะท้อนถึงอัตราผลตอบแทนที่ผลู ้ งทุนต้องการจากการลงทุนนั้น
โดยผูล้ งทุนจะใช้อตั ราผลตอบแทนที่ตอ้ งการ เป็ น discount rate ในการหามูลค่าปัจจุบนั ของกระแสเงินสดที่จะ
ได้รับในอนาคต จากการลงทุนในหุน้ กูน้ ้ นั และกําหนดมูลค่าปัจจุบนั ที่ได้เป็ นราคาสู งสุ ดที่จะลงทุนในหุน้ กู้
การกู้ยืมเงินโดยการออกจาหน่ ายหุ้นกู้
ในกรณี ที่ไม่มีค่าใช้จ่ายในการจัดจําหน่าย (Flotation Cost = f% = 0%) ธุรกิจที่ออกจําหน่ายหุน้ กู้ จะ
ได้รับเงินจากการขายเต็มจํานวน ตามที่ผลู ้ งทุนจ่ายซื้อหุน้ กูน้ ้ นั ในกรณี น้ ีตน้ ทุนของหุน้ กู้ จะเท่ากับอัตรา
ผลตอบแทนที่ผลู ้ งทุนต้องการพอดี

---------------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 48
-------------------------------------------------------------------------------
 แนวข้ อสอบ ความรู้ เกีย่ วกับบัญชีและการเงิน
1. ข้อใดหมายถึง การลดลงของประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในรอบระยะเวลาบัญชีในรู ปกระแสเงินสดออกหรื อการ
ลดค่าของสิ นทรัพย์หรื อการเพิม่ ของหนี้สินอันส่ งผลให้ส่วนของเจ้าของลดลง
ก. สิ นทรัพย์ ข. หนี้สิน ค. รายได้ ง. ค่าใช้จ่าย
ตอบ ง.
2. ข้อใดไม่ใช่ขอ้ จํากัดของงบการเงินตามแม่บทการบัญชี
ก. ทันต่อเวลา ข. ความสมดุลของลักษณะเชิงคุณภาพ
ค. เกี่ยวข้องต่อการตัดสิ นใจ ง. ความสมดุลระหว่างประโยชน์กบั ต้นทุน
ตอบ ค.
3. ข้อใดไม่ใช่องค์ประกอบของงบการเงิน
ก. สิ นทรัพย์ ข. ส่ วนของเจ้าของ ค. งบประมาณเงินสด ง. ค่าใช้จ่าย
ตอบ ค.
4. ข้อมูลจะเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจได้เมื่อข้อมูลนั้นช่วยผูใ้ ช้งบการเงินในเรื่ องใด
ก. สามารถประเมินเหตุการณ์และยืนยันผลการประเมินๆได้
ข. การเข้าใจในการอ่านผลการดําเนินงานและฐานะทางการเงิน
ค. เข้าใจกิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและวิเคราะห์ผลของงบการเงิน
ง. ความเป็ นอิสระและเที่ยงธรรม ทําให้ได้ขอ้ มูลที่ถูกต้อง
ตอบ ก.
5. ข้อใดเป็ นสาระสําคัญของการทําบัญชี
ก. การจดบันทึกเหตุการณ์ทางการเงินตามแผน ที่ได้จดั วางไว้
ข. การจัดประเภท เป็ นหมวดหมู่ ตามลักษณะของรายการค้า
ค. สรุ ปผลในการดําเนินงานของกิจการออกมาในรู ปของงบแสดงฐานะทางการเงินและกําไรขาดทุน
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
6. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน
ก. ความเข้าใจได้ ข. ความเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ
ค. การเปรี ยบเทียบกันได้ ง. ทันต่อเวลา
ตอบ ง. ลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน ประกอบด้วย
1.ความเข้าใจได้ (UNDERSTANDABILITY)
2.ความเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ (RELEVANCE)
3.ความเชื่อถือได้ (RELIABILITY)
4.การเปรี ยบเทียบกันได้ (COMPARABILITY)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 49
-------------------------------------------------------------------------------
7. การวิเคราะห์ จัดประเภทและบันทึกรายการ โดยมีแผน ที่ได้จดั วางไว้เพื่อความเป็ นระเบียบในการ
ดําเนินงานและสามารถแสดงฐานะการเงินและผลการดําเนินงานของการประกอบการได้ หมายถึงข้อใด
ก. การบัญชี ข. การจัดทําบัญชี
ค. นโยบายบัญชี ง. หลักการจัดทําบัญชีที่ได้รับการรับรอง
ตอบ ข.
8. ผูม้ ีหน้าที่รับผิดชอบในการจัดทํา และนําเสนองบการเงินของกิจการ คือใคร
ก. ผูต้ รวจสอบบัญชีภายใน ข. ผูส้ อบบัญชีรับอนุญาต
ค. ผูจ้ ดั ทําบัญชีขององค์กร ง. ผูบ้ ริ หารของกิจการ
ตอบ ง.
9. กรอบหรื อแนวคิดขั้นพื้นฐานในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน ตลอดจนการกําหนด และนํามาตรฐานการ
บัญชี มาปฏิบตั ิ หมายถึงข้อใด
ก. หลักการบัญชีที่รับรองโดยทัว่ ไป ข. การจัดทําบัญชี
ค. แม่บทการบัญชี ง. มาตรฐานการบัญชี
ตอบ ค.
10. ในระหว่างงวดปี บัญชีกิจการต้องลงรายการในบัญชีเงินสด บัญชีเงินฝากธนาคาร ให้เสร็ จภายในกี่วน ั นับแต่
วันที่รายการนั้นเกิดขึ้น
ก. ภายในวันที่เกิดรายการ ข. ภายใน 7 วัน
ค. ภายใน 15 วัน ง. ภายใน 30 วัน
ตอบ ค.
11. ณ วันสิ้ นงวดบัญชี บัญชีรายวันซื้ อ บัญชีรายวันขาย บัญชีรายวันทัว่ ไป ให้ลงรายการยอดคงเหลือในบัญชีเงิน
สด บัญชีเงินฝากธนาคารให้เสร็ จภายในกี่วนั นับแต่วนั ปิ ดบัญชี
ก. ภายในวันที่เกิดรายการ ข. ภายใน 15 วัน
ค. ภายใน 30 วัน ง. ภายใน 60 วัน
ตอบ ง.
12. ผูม้ ีหน้าที่จดั ทําบัญชีตอ้ งจัดทํางบการเงินและยืน ่ งบการเงินต่อสํานักงานกลางบัญชีหรื อสํานักงานบัญชีประจํา
ท้องที่ภายในกี่วนั นับแต่วนั ปิ ดบัญชี
ก. 1 เดือน ข. 2 เดือน ค. 3 เดือน ง. 5 เดือน
ตอบ ง.
13. ผูม้ ีหน้าที่จดั ทําบัญชีตอ้ งเก็บรักษาบัญชีและเอกสารที่ตอ้ งใช้ประกอบการลงบัญชีไว้ ณ ที่ ใด
ก. สถานที่ทาํ การประจําของกิจการ
ข. สถานที่ที่ใช้เป็ นที่ทาํ การผลิตหรื อเก็บสิ นค้าเป็ นประจํา
ค. สถานที่อื่นกรณี ได้รับอนุญาตจากสารวัตรใหญ่บญั ชี
ง. ถูกทุกข้อ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 50
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ง.
14. หลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป หมายถึงข้อใด
ก. การจดบันทึก การจําแนก การสรุ ปผล และการรายงานเกี่ยวกับการเงิน โดยใช้หน่วยเงินตรารวมทั้ง การ
แปลความหมายของผลการปฏิบตั ิ
ข. การวิเคราะห์ จัดประเภท และบันทึกรายการโดยมีแผน ที่ได้จดั วางไว้เพื่อความเป็ นระเบียบในการดําเนิน
กิจการและสามารถแสดงฐานะทางการเงินและผลการดําเนินงานของการประกอบการได้
ค. แนวทางในการจัดทําบัญชีที่ได้รับการรับรองและยอมรับจากผูม้ ีอาํ นาจหน้าที่ในวิชาชีพการบัญชีเป็ น
ส่ วนใหญ่
ง. กรอบหรื อแนวความคิดขั้นพื้นฐานในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน ตลอดจนการกําหนดและนํา
มาตรฐานการบัญชีมาเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิให้เป็ นไปในแนวทางเดียวกัน
ตอบ ค.
15. ข้อใดหมายถึง รายการ และเหตุการณ์ทางการบัญชี จะรับรู ้เมื่อเกิดขึ้น มิใช่เมื่อมีการรับหรื อจ่ายเงินสด หรื อ
รายการเทียบเท่าเงินสด โดยรายการต่าง ๆจะบันทึกบัญชีและแสดงในงบการเงินตามงวดบัญชีที่เกี่ยวข้อง
ก. ข้อสมมุติฐานทางการบัญชีเกี่ยวกับเกณฑ์คงค้าง
ข. ข้อสมมุติฐานทางการบัญชีเกี่ยวกับเกณฑ์เงินสดและเกณฑ์สิทธิ
ค. ข้อสมมุติฐานทางการบัญชีเกี่ยวกับเกณฑ์ดาํ เนินงานอย่างต่อเนื่อง
ง. หลักการบันทึกบัญชีตามหลักเกณฑ์ที่รับรองโดยทัว่ ไป
ตอบ ก.
16. ความสัมพันธ์ระหว่างสิ นทรัพย์ หนี้ สินและส่ วนของเจ้าของ ซึ่ งมีลกั ษณะสมดุลกันตามหลักการจัดหา
เงินทุนและการใช้เงินทุน
ก. การจัดทํางบกําไรขาดทุน ข. การจัดทํางบแสดงฐานะการเงิน
ค. การแสดงการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน ง. สมการบัญชี
ตอบ ง. สมการบัญชีสามารถเขียนในรู ป สิ นทรัพย์ = หนี้สิน + ส่ วนของเจ้าของ
17. กิจการซื้ อสิ นค้าเป็ นเงินเชื่อจากร้านพร จํานวน 20,000 บาท มีผลกระทบต่องบดุลอย่างไร
ก. สิ นทรัพย์เพิม่ ขึ้น หนี้สินเพิม่ ขึ้น ข. สิ นทรัพย์เพิม่ ขึ้น ส่ วนของเข้าของลดลง
ค. หนี้สินเพิ่มขึ้น ส่ วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น ง. สิ นทรัพย์ลด หนี้สินเพิ่มขึ้น
ตอบ ก. เดบิต สิ นค้า 20,000 สิ นค้าเป็ นสิ นทรัพย์ เมื่อสิ นค้าเพิ่ม บันทึกด้าน เดบิต
เครดิต เจ้าหนี้การค้า 20,000 เจ้าหนี้ เป็ นหนี้ สิน เมื่อเจ้าหนี้ เพิม
่ บันทึกด้านเครดิต
18. ส่ งบิลเรี ยกเก็บเงินจากลูกค้าเป็ นค่าบริ การ จํานวน 5,000 บาท ยังไม่ได้รับเงิน
ก. สิ นทรัพย์เพิ่มขึ้น หนี้สินเพิ่มขึ้น ข. สิ นทรัพย์เพิ่มขึ้น ส่ วนของเข้าของเพิ่มขึ้น
ค. หนี้สินเพิ่มขึ้น ส่ วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น ง. สิ นทรัพย์ลด หนี้สินเพิ่มขึ้น
ตอบ ข. เดบิต ลูกหนี้การค้า 5,000 ลูกหนี้เป็ นสิ นทรัพย์ เมื่อลูกหนี้เพิม่ บันทึก ด้านเดบิต
เครดิต รายได้ค่าบริ การ 5,000 รายได้ทาํ ให้ส่วนของเจ้าของเพิ่ม บันทึก ด้านเครดิต
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 51
-------------------------------------------------------------------------------
19. จ่ายเงินเดือนพนักงาน 15,000 บาท มีผลกระทบต่องบดุลอย่างไร
ก. สิ นทรัพย์เพิ่มขึ้น หนี้สินเพิ่มขึ้น ข. สิ นทรัพย์ลดลง ส่ วนของเข้าของลดลง
ค. หนี้สินเพิ่มขึ้น ส่ วนของเจ้าของเพิ่มขึ้น ง. สิ นทรัพย์ลด หนี้สินเพิ่มขึ้น
ตอบ ข. เดบิต เงินเดือน 15,000 เงินเดือนทําให้ส่วนของเจ้าของลด บันทึก ด้านเดบิต
เครดิตเงินสด 15,000 เงินสดเป็ นสิ นทรัพย์ เมื่อเงินสดลด บันทึก ด้านเครดิต
20. กิจการจ่ายเช็คซื้ อสิ นค้า 21,400 บาทให้กิจการที่ประกอบการจดทะเบียนภาษีมูลค่าเพิ่ม 7% กิจการถูกคิด
ภาษีมูลค่าเพิ่มกี่บาท
ก. ไม่เสี ยภาษีมูลค่าเพิ่ม ข. 1,400 บาท
ค. 1,498 บาท ง. ผิดทุกข้อ
ตอบ ข. ( )
21. กิจการจดทะเบียนภาษีมูลค่า 7% เมื่อกิจการจ่ายค่าสาธารณู ปโภค 1,605 บาทเป็ นเช็ค บันทึกบัญชีอย่างไร
ก. เดบิต ค่าสาธารณูปโภค 1,500 ข. เดบิต ค่าสาธารณูปโภค 1,500
เครดิต เงินสด 1,500 เครดิต ธนาคาร 1,500
ค. เดบิต ค่าสาธารณูปโภค 1,500 ง. เดบิต ค่าสาธารณูปโภค 1,500
ภาษีซ้ือ 105 ภาษีซ้ือ 105
เครดิต เงินสด 1,605 เครดิต ธนาคาร 1,605
ตอบ ง. ( )
22. สิ้ นเดือนกิจการมีภาษีซ้ื อ 5,120 บาท ภาษีขาย 6,200 บาท กิจการต้องนําส่ งหรื อขอคืนภาษี เท่าไร
ก. ขอคืน 6,200 บาท ข. นําส่ ง 1,080 บาท
ค. ขอคืน 5,120 บาท ง. นําส่ ง 5,120 บาท
ตอบ ข. ภาษีขายมากกว่าภาษีซ้ือกิจการต้องนําภาษีมูลค่าเพิ่มส่ งกรมสรรพากร(6,200 – 5,120) =1,080 บาท
23. บริ ษท ั สมเจต จํากัด จ่ายค่าขนส่ งสิ นค้าที่ซ้ือสิ นค้ามาเมื่อวันที่ 1 มี.ค. 54 จํานวน 500 บาท ตามเงื่อนไข
F.O.B. Shipping Point
ก. ค่าขนส่ งเข้า 500
เงินสด 500
ข. ค่าขนส่ งเข้า 500
เจ้าหนี้การค้า 500
ค. สิ นค้าคงเหลือ 500
เงินสด 500
ง. สิ นค้าคงเหลือ 500
เจ้าหนี้การค้า 500
ตอบ ก.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 52
-------------------------------------------------------------------------------
24. ต้นทุนขั้นต้น (Prime Cost) ประกอบด้วย
ก. วัตถุดิบทางตรง ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายในการผลิต
ข. วัตถุดิบทางตรง และ ค่าแรงงานทางตรง
ค. ค่าแรงงานทางอ้อม และ ค่าใช้จ่ายในการผลิต
ง. ค่าใช้จ่ายการผลิต และ วัตถุดิบทางอ้อม
ตอบ ข. ต้นทุนขั้นต้น (Prime costs) หมายถึง ต้นทุนขั้นต้นที่ใช้ในการผลิตสิ นค้าโดยตรง ซึ่งประกอบด้วย
ต้นทุนวัตถุดิบทางตรง และต้นทุนค่าแรงงานทางตรง
25. ต้นทุนแปรสภาพ (Conversion costs) ประกอบด้วย
ก. วัตถุดิบทางอ้อม ค่าแรงงานทางตรง ค่าใช้จ่ายในการผลิต
ข. วัตถุดิบทางตรง และ ค่าแรงงานทางตรง
ค. ค่าแรงงานทางตรง และ ค่าใช้จ่ายในการผลิต
ง. ค่าใช้จ่ายการผลิต และ วัตถุดิบทางอ้อม
ตอบ ค. ต้นทุนแปรสภาพ (Conversion costs) หมายถึง ต้นทุนที่นาํ มาใช้ในการแปรสภาพวัตถุดิบหลักให้
กลายเป็ นสิ นค้าสําเร็ จรู ป ประกอบด้วย ต้นทุนค่าแรงงานทางตรง และ ค่าใช้จ่ายการผลิต
26. ต้นทุนที่มีการเปลี่ยนแปลงไปตามระดับกิจกรรมหรื อปริ มาณการผลิต ถ้าปริ มาณการผลิตเพิ่มขึ้น ต้นทุนก็
จะเพิม่ ขึ้น ถ้าปริ มาณการผลิตลดลง ต้นทุนก็จะลดลง ในขณะที่ตน้ ทุนต่อหน่วยจะเท่าเดิมไม่วา่ ปริ มาณการผลิตจะ
อยูใ่ นระดับใด
ก. ต้นทุนผันแปร ข. ต้นทุนคงที่ ค. ต้นทุนกึ่งผันแปร ง. ต้นทุนกึ่งคงที่
ตอบ ก.
27. ลูกหนี้ ที่กิจการได้ติดตามทวงถามจนถึงที่สุดแล้ว แต่ไม่ได้รับชําระหนี้และกิจการตัดจําหน่ ายออกจากบัญชี
เป็ นค่าใช้จ่ายเนื่องจากลูกหนี้ถูกศาลตัดสิ นให้เป็ นบุคคลล้มละลาย หมายถึงข้อใด
ก. หนี้สงสัยจะสู ญ ข. หนี้สูญ
ค. ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ง. การด้อยค่าของลูกหนี้
ตอบ ข.
28. การรับรู ้รายได้เมื่อมีการส่ งมอบสิ นค้าให้กบ ั ลูกค้า ถือเป็ นลักษณะของข้อใด
ก. เนื้อหาสําคัญกว่ารู ปแบบ ข. เป็ นตัวแทนอันเที่ยงธรรม
ค. มีความโปร่ งใส น่าเชื่อถือได้ ง. ความระมัดระวัง
ตอบ ข.
29. กิจการขายสิ นค้า และเป็ นผูป ้ ระกอบการอยูใ่ นระบบภาษีมูลค่าเพิ่ม7 % หากจุดความรับผิดชอบในการเสี ย
ภาษีเกิดขึ้น หน้าที่ของผูป้ ระกอบการจะต้องปฏิบตั ิอย่างไร
ก. บันทึกการได้รับเงินจากลูกค้า ข. ออกใบส่ งของพร้อมกับใบแจ้งหนี้
ค. จัดทํารายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม ง. กรอกแบบ ภ.พ. 30
ตอบ ค. รายงานภาษีมูลค่าเพิ่ม ประกอบด้วย รายงานภาษีขาย รายงานภาษีขาย และรายงานสิ นค้าและวัตถุดิบ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 53
-------------------------------------------------------------------------------
30. หากกิจการขายสิ นค้าเป็ นเงิน 120,000 บาท โดยขายเป็ นเงินเชื่อให้เครดิตลูกค้า 45 วัน จึงจะชําระเงิน ต่อมา
ลูกค้านําเงินมาชําระค่าสิ นค้า ภายในกําหนดกิจการจึง ลดให้ 2% ถือว่าเป็ นส่ วนลดประเภทใด
ก. ส่ วนลดเงินสด ข. ส่ วนลดการค้า
ค. ส่ วนลดพิเศษ ง. ส่ วนลดเฉพาะ
ตอบ ก. ส่ วนลดเงินสด หมายถึง ส่ วนลดที่เจ้าหนี้จะยอมลดหนี้ให้แก่ลูกหนี้เมื่อลูกหนี้ได้นาํ เงินสดมาชําระหนี้
ภายในเวลาที่กาํ หนด เป็ นส่วนลดที่เกิดขึ้นเมื่อผูผ้ ลิตหรื อผูข้ ายต้องการจูงใจให้ลูกหนี้ชาํ ระเงินโดยเร็ วหรื อก่อน
หมดกําหนดระยะเวลาที่ผอ่ นผันการชําระหนี้ การให้ส่วนลดนี้ผขู ้ ายจะกําหนดอัตราร้อยละที่จะลดให้และกําหนด
ระยะเวลาอย่างช้าที่จะต้องนําเงินมาชําระด้วย โดยผูข้ ายจะแจ้งเงื่อนไขส่ วนลดเงินสดไว้ในกํากับสิ นค้า เช่น
2/10 , n/30 หมายถึง ถ้าผูซ้ ้ือชําระหนี้ค่าสิ นค้าภายในกําหนด 10 วัน นับแต่วนั ที่ในใบกํากับสิ นค้า
แล้ว จะได้ส่วนลดเงินสดจากผูข้ าย 2% ของราคาสิ นค้าที่ซ้ือ แต่ถา้ ไม่สามารถชําระหนี้ภายในระยะเวลาที่ได้
ส่ วนลดก็จะต้องกระทําการชําระหนี้ให้เสร็ จสิ้ นภายในกําหนดเวลา 30 วัน และต้องชําระหนี้เต็มจํานวน
2/10 , 1/30 , n/60 หมายถึง ถ้าผูซ ้ ้ือชําระหนี้ค่าสิ นค้าภายในกําหนด 10 วันนับแต่วนั ที่ในใบกํากับ
สิ นค้าจะได้รับส่ วนลด 2 เปอร์เซ็นต์ ถ้าชําระหนี้ค่าสิ นค้าภายในกําหนด 30 วันนับแต่วนั ที่ในใบกํากับสิ นค้าจะ
ได้รับส่ วนลด 1% แต่ถา้ ไม่สามารถชําระหนี้ภายในระยะเวลาที่ได้ส่วนลด ก็จะต้องชําระหนี้ให้เสร็จสิ้ นเต็มจํานวน
ภายในกําหนดเวลา 60 วัน
2/EOM , n/30 หมายถึง ถ้าผูซ ้ ้ือชําระหนี้ค่าสิ นค้าภายในสิ้ นเดือนที่มีการซื้อสิ นค้านั้นก็จะได้รับ
ส่ วนลด 2% แต่ถา้ ไม่สามารถชําระหนี้ภายในระยะเวลาที่ได้ส่วนลด ก็จะต้องชําระหนี้ให้เสร็ จสิ้ นเต็มจํานวน
ภายในกําหนด 30 วัน
31. กิจการซื้ อเครื่ องจักรมาเครื่ องหนึ่ ง เมื่อวันที่ 1 มกราคม 2554 มีราคา 160,000 บาท มีราคาซาก 10,000
บาท คาดว่าจะมีอายุการใช้งาน 5 ปี กิจการคิดค่าเสื่ อมราคาโดยวิธีผลรวมจํานวนปี ค่าเสื่ อมราคาเครื่ องจักรเมื่อสิ้ นปี
ที่ 1 ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2554 เป็ นเงินเท่าไร
ก. 20,000 บาท ข. 30,000 บาท
ค. 40,000 บาท ง. 50,000 บาท
ตอบ ง. (160,000 – 10,000 = 150,000 x 5/15 = 50,000)
เดบิต ค่าเสื่ อมราคา-เครื่ องจักร 50,000
เครดิต ค่าเสื่ อมราคาสะสม-เครื่ องจักร 50,000
32. กระบวนการทํางานบัญชีแต่ละขั้นตอนตั้งแต่เริ่ มวิเคราะห์รายการค้าจนถึงการจัดทํางบการเงินในแต่ละรอบ
ระยะเวลาบัญชี หมายถึงข้อใด
ก. การกําหนดผังบัญชี ข. การกําหนดรหัสบัญชี
ค. การจัดทําบัญชี ง. วงจรการบันทึกบัญชี
ตอบ ง. วงจรบัญชีเริ่ มจาก การวิเคราะห์รายการค้า บันทึกรายการในสมุดรายวันทัว่ ไป ผ่านรายการไปบัญชีแยก
ประเภท เก็บยอดทํางบทดลอง ปรับปรุ งบัญชี ณ วันสิ้ นงวด ออกงบการเงิน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 54
-------------------------------------------------------------------------------
33. สมุดรายวันทัว่ ไป ถือเป็ นสมุดบัญชีประเภทใด
ก. บัญชีแยกประเภท ข. สมุดรายวันขั้นต้น
ค. สมุดรายวันขั้นปลาย ง. สมุดรายวันเฉพาะ
ตอบ ข.
34. งบทดลองจัดทําขึ้นเพื่อประโยชน์อะไร
ก. เพื่อหาข้อผิดพลาดและพิสูจน์ความถูกต้องในการบันทึกบัญชีและการผ่านบัญชี
ข. รวบรวมรายการบัญชีให้เป็ นหมวดหมู่ เป็ นประเภทของบัญชีให้ครบถ้วนถูกต้อง
ค. ตรวจสอบกระบวนการบันทึกบัญชีเป็ นไปตามหลักการบัญชีที่รับรองโดยทัว่ ไป
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
35. กิจการที่ได้มีการจัดทํางบวิเคราะห์อายุของลูกหนี้ (Aging) จะได้รับประโยชน์ในเรื่ องของ
ก. ประสิ ทธิภาพของการควบคุมลูกหนี้ ข. การตั้งค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ
ค. วัดประสิ ทธิภาพในการจัดเก็บหนี้ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
36 การทุจริ ตโดยการยักยอกเงินที่ได้รับชําระหนี้ จากลูกหนี้ นาํ ไปใช้ แล้วคืนให้กบ ั กิจการภายหลังเมื่อได้มีการ
รับเงินจากลูกหนี้รายใหม่แล้ว เป็ นการทุจริ ตโดยวิธี
ก. Lapping ข. Kiting ค. Losing ง. Kipping
ตอบ ก.
37. กิจการได้ตรวจสอบงบกําไรขาดทุนของกิจการเมื่อสิ้ นรอบระยะเวลาบัญชี 2554 พบว่า
1) สิ นค้าคงเหลือปลายงวด สู งเกินไป 20,000 บาท
2) ค่าโทรศัพท์ ตํ่าไป 5,000 บาท
ผลจากความผิดพลาดดังกล่าว ทําให้กาํ ไรสุทธิสาํ หรับปี 2554
ก. สู งไป 25,000 บาท ข. สู งไป 15,000 บาท
ค. ตํ่าไป 25,000 บาท ง. ตํ่าไป 15,000 บาท
ตอบ ก. สิ นค้าคงเหลือปลายปี สู งไป ทําให้กาํ ไรสู งไป 20,000 แต่บนั ทึกค่าใช้จ่ายตํ่าไป ทําให้กาํ ไรสู งไป 5,000
ดังนั้นสรุ ปได้วา่ กิจการมีขอ้ ผิดพลาดคือทําให้กาํ ไรสู งไป 25,000 บาท
38. พนักงานของกิจการนําเช็คของกิจการไปเข้าบัญชีของตนเองเนื่ องจากเป็ นเช็คเงินสด แล้วนําเช็คของตนเอง
ไปเข้าบัญชีของกิจการแทนเช็คดังกล่าวแต่ให้เข้าไม่ทนั เคลียร์ริ่ง เพื่อเงินในบัญชีของตนเองมีเพียงพอต่อการ
หมุนเวียน แล้วรี บนําเงินสดไปเข้าบัญชีของตนเพื่อให้เช็คของตนเองที่นาํ ไปเข้าบัญชีกิจการผ่านได้ เป็ นวิธีการ
ทุจริ ตที่เรี ยกว่า
ก. Check kiting (การโอนลอย) ข. Lapping (การยักยอกเงินลูกค้า)
ค. Loading ง. Checking
ตอบ ก.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 55
-------------------------------------------------------------------------------
39. เช็คที่กิจการได้จ่ายไปเพื่อชําระหนี้ ให้เจ้าหนี้ แต่ผรู ้ ับยังไม่ได้นาํ ไปขึ้นเงินที่ธนาคาร หมายถึง
ก. Deposit in Transit ข. Current Check
ค. Check Register ง. Outstanding Check
ตอบ ง. ถือเป็ นเช็คค้างจ่าย
40. ข้อใดไม่ถือเป็ นต้นทุนของสิ นค้าคงเหลือ
ก. ค่าใช้จ่ายออกแบบผลิตภัณฑ์ ข. ค่าใช้จ่ายในการออกของ
ค. ค่านายหน้าในการจัดซื้อวัตถุดิบ ง. ค่าขนส่ งสิ นค้าให้ลูกค้า
ตอบ ง. เนื่องจากค่าขนส่ งสิ นค้าให้ลูกค้าเป็ นค่าขนส่ งออก ซึ่งเป็ นค่าใช้จ่ายในการขาย
41. สมุดเงินสดย่อยให้ประโยชน์ต่อการบันทึกรายการค้าอย่างไร
ก. ช่วยแบ่งแยกหน้าที่ระหว่างการจ่ายเงินที่เป็ นจํานวนเล็กๆน้อยๆที่เป็ นเงินสดกับการจ่ายเงินจํานวน
เงินมากๆด้วยเช็ค
ข. ช่วยให้พนักงานบัญชีไม่ตอ้ งผ่านรายการจากสมุดบัญชีไปยังสมุดบัญชีแยกประเภทบ่อยครั้ง
ค. ช่วยในการพิจารณารายจ่ายได้รัดกุมถูกต้องยิง่ ขึ้นเนื่องจากจํานวนเงินไม่มากนักและสามารถ
ตรวจสอบได้ง่ายและรวดเร็ว
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
42. วัตถุประสงค์ของการกําหนดแม่บทการบัญชี คือ
ก.อธิบายเกี่ยวกับลักษณะเชิงคุณภาพของงบการเงิน
ข.อธิบาย คํานิยาม การรับรู ้ และการวัดมูลค่าขององค์ประกอบของงบการเงิน
ค.เป็ นแนวทางในการจัดทําและนําเสนองบการเงิน ตลอดจนเป็ นแนวทางในการจัดทํา ทบทวน และพัฒนา
มาตรฐานการบัญชีในเรื่ องต่างๆให้สอดคล้องกับการจัดทําและนําเสนองบการเงิน รวมทั้งเป็ นแนวทางในการ
ปฏิบตั ิสาํ หรับเรื่ องที่ยงั ไม่มีมาตรฐานการบัญชีรองรับ
ง.เป็ นแนวทางในการเขียนนโยบายการบัญชีและหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ตอบ ค.

43. ความเข้าใจได้ของงบการเงินที่เป็ นลักษณะเชิงคุณภาพ หมายถึง


ก.การสมมติวา่ ผูใ้ ช้งบการเงินมีความรู ้ตามควรเกี่ยวกับธุรกิจ กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและการบัญชี รวมทั้งมี
ความตั้งใจตามควรที่จะศึกษาข้อมูลดังกล่าว
ข.ไม่ควรแสดงข้อมูลที่มีความยุง่ ยากซับซ้อนไว้ในงบการเงิน แม้วา่ ข้อมูลนั้นจะเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจเชิง
เศรษฐกิจ
ค.ควรแสดงข้อมูลในงบการเงินอย่างง่ายๆ ไม่วา่ ข้อมูลนั้นจะเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจหรื อไม่
ง.การสมมติวา่ ผูใ้ ช้งบการเงินไม่มีความรู ้เพียงพอเกี่ยวกับธุรกิจ กิจกรรมเชิงเศรษฐกิจและการบัญชี และไม่มี
ความตั้งใจที่จะศึกษาข้อมูลดังกล่าวเพิ่มเติม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 56
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ก.
44. ข้อความข้อใดต่อไปนี้ แสดงถึงการเปรี ยบเทียบกันได้
ก.กิจการควรใช้นโยบายการบัญชีที่ใช้ปฏิบตั ิกบั รายการและเหตุการณ์ทางบัญชีน้ นั อย่างสมํ่าเสมอ หากเนื้อ
หาทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีน้ นั มิได้เปลี่ยนแปลงไป
ข.กิจการควรใช้นโยบายการบัญชีที่ใช้ปฏิบตั ิกบั รายการและเหตุการณ์ทางบัญชีน้ นั ๆ ตลอดไป แม้วา่ เนื้อ
หาทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีน้ นั เปลี่ยนแปลงไป
ค.กิจการควรใช้นโยบายการบัญชีที่ใช้ปฏิบตั ิกบั รายการและเหตุการณ์ทางบัญชีน้ นั ๆ ตามดุลยพินิจของ
ผูบ้ ริ หาร โดยไม่คาํ นึงถึงการเปลี่ยนแปลงเนื้อหาทางเศรษฐกิจที่เกี่ยวข้องกับรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีน้ นั
ง.กิจการควรใช้นโยบายการบัญชีที่ใช้ปฏิบตั ิกบั รายการและเหตุการณ์ทางบัญชีน้ นั ๆ เปลี่ยนแปลงไปตามการ
เปลี่ยนแปลงนโยบายการบัญชีของคู่แข่งขันที่ใช้ปฏิบตั ิกบั รายการและเหตุการณ์ทางบัญชีน้ นั
ตอบ ก.
45. การจัดทํางบการเงินแบบสมบูรณ์ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 35 ต้องประกอบด้วย งบดุล, งบกําไร
ขาดทุน, งบกระแสเงินสด และงบแสดงการเปลี่ยนแปลงของผูถ้ ือหุน้ ท่านมีความเห็นว่า
ก.ถูกต้อง ข.ไม่ถูกต้อง
ค.ต้องเปิ ดเผยนโยบายการบัญชี และข้อมูลเพิ่มเติมในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ง.ไม่มีขอ้ ใดถูกต้อง
ตอบ ค.
46. ข้อใดไม่จดั เป็ นการเปิ ดเผยนโยบายการบัญชี
ก.การตีราคาสิ นค้าคงเหลือ ข.การรับรู ้รายได้และค่าใช้จ่าย
ค.ภาระผูกพันตามสัญญา ง.ประมาณการหนี้สิน
ตอบ ค.
47. ข้อใดคือรายการสิ นทรัพย์และหนี้ สินที่นาํ มาหักกลบกันไม่ได้
ก.ขายหักด้วยส่ วนลดจากการขาย
ข.ค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญหักกับยอดลูกหนี้ที่เกี่ยวข้อง
ค.ยอดสิ นทรัพย์ที่เช่าตามสัญญาเช่าการเงินหักกับยอดหนี้สินที่เกี่ยวข้อง
ง.รายการกําไรขาดทุนจากอัตราแลกเปลี่ยนของบริ ษทั ขายสิ นค้าทัว่ ไป
ตอบ ค.
48. ข้อใดคือข้อที่ควรพิจารณาในการนําเสนองบการเงิน
ก.ให้แสดงงบการเงินโดยถูกต้องตามหลักการบัญชีที่รับรองทัว่ ไป
ข.การดําเนินงานต่อเนื่อง
ค.ความมีนยั สําคัญและการรวมยอด
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 57
-------------------------------------------------------------------------------
49. ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 30 การแปลงค่างบการเงินของหน่วยงานต่างประเทศเพื่อจัดทํางบการเงิน
รวม คือข้อใด
ก.สิ นทรัพย์และหนี้สินแปลงค่าด้วยอัตราปิ ด
ข.รายการรายได้และรายจ่ายแปลงค่าด้วยอัตรา ณ วันที่เกิดรายการ
ค.ผลต่างของอัตราแลกเปลี่ยนแสดงเป็ นรายการภายใต้ส่วนของทุนจนกว่าจะจําหน่ายเงินลงทุน
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
50. ข้อใดไม่ถูกต้องตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 33 ในเรื่ องการคิดดอกเบี้ยเป็ นราคาทุนของทรัพย์สิน
ก.บริ ษทั บันทึกดอกเบี้ยเงินทุน ซึ่งเกิดขึ้นในระหว่างดําเนินการโครงการพัฒนาอสังหาริ มทรัพย์และระหว่าง
การก่อสร้างอาคารโรงแรมเป็ นค่าใช้จ่ายโครงการรอตัดบัญชี
ข.ดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดจากเงินกูย้ มื นําไปใช้ในโครงการก่อสร้างอาคาร ได้นาํ ไปรวมเป็ นราคาทุนของอาคาร
จนกว่าอาคารนั้นจะอยูใ่ นสภาพพร้อมที่จะใช้ได้ตามวัตถุประสงค์
ค.ดอกเบี้ยจ่ายสําหรับเงินที่กมู้ าเพื่อวัตถุประสงค์ทวั่ ไป บริ ษทั มีนโยบายที่จะบันทึกต้นทุนเป็ นค่าใช้จ่ายใน
ระหว่างงวด สําหรับการจัดหาสิ นทรัพย์ประเภทอื่น
ง.บริ ษทั บันทึกดอกเบี้ยจ่ายที่เกิดขึ้น เนื่องจากการกูย้ มื มาเพื่อใช้เป็ นการซื้อที่ดิน ก่อสร้างอาคาร และจ่ายซื้อ
สิ ทธิการเช่าเข้าเป็ นต้นทุนส่วนหนึ่งของสิ นทรัพย์ และจะหยุดบันทึกดอกเบี้ยจ่ายเข้าเป็ นต้นทุนเมื่อก่อสร้างแล้ว
เสร็ จ และพร้อมสําหรับใช้ดาํ เนินงานได้ตามสัดส่ วนของเงินกูย้ มื มาเพื่อทรัพย์สินนั้นๆ
ตอบ ก.
51. วิธีเปลี่ยนทันทีใช้กบ ั การเปลี่ยนแปลงทางบัญชีประเภทใด
ก.การเปลี่ยนแปลงหลักการบัญชี
ข.การนํามาตรฐานการบัญชีที่ประกาศใหม่มาถือปฏิบตั ิ
ค.การเปลี่ยนแปลงประมาณการบัญชี
ง.การแก้ไขข้อผิดพลาดที่สาํ คัญ
ตอบ ข.
52. ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2548 ห้างหุ น ้ ส่วน รักแท้ จํากัด ซื้อเครื่ องจักรซึ่งมีราคาทุน 660,000 บาท คิดค่าเสื่ อม
ราคาโดยวิธีเส้นตรงไม่มีมูลค่าซาก มีอายุการใช้งาน 8 ปี เนื่องจากเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงทําให้อายุการใช้
งานและมูลค่าซากเปลี่ยนแปลงไป ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 กิจการประมาณว่าเครื่ องจักรมีอายุการใช้งานนับจาก
วันที่ซ้ือเท่ากับ 6 ปี มีมูลค่าซาก 55,000 บาท ราคาตามบัญชี ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2551 เท่ากับเท่าใด
ก.365,000 บาท ข.385,000 บาท ค.400,000 บาท ง.440,000 บาท
ตอบ ก.
53. อัตราแลกเปลี่ยนที่ใช้ในการแปลงค่ารายการที่เป็ นลูกหนี้ การค้า ณ วันสิ้ นงวดบัญชี คือ
ก.อัตราแลกเปลี่ยน ณ วันที่เกิดรายการ ข.อัตราปิ ด ณ วันที่ในงบดุล
ค.อัตราล่วงหน้า ณ วันที่มีการชําระเงิน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 58
-------------------------------------------------------------------------------
ง.ไม่ตอ้ งมีการแปลงค่า เนื่องจากเป็ นรายการที่เป็ นตัวเงิน
ตอบ ข.
54. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก.บัญชีเงินฝากธนาคารของลูกค้าในนามของหลักทรัพย์ไม่ควรบันทึกในบัญชีเงินสดและเงินฝากธนาคาร
ข.เงินเบิกเกินบัญชีธนาคารควรแสดงเป็ นหนี้สินหมุนเวียน
ค.บัญชีค่าใช้จ่ายล่วงหน้าเป็ นสิ นทรัพย์หมุนเวียนเนื่องจากเป็ นสิ นทรัพย์ที่คาดว่าจะแปลงสภาพเงินสดใน
ระยะเวลาการดําเนินงานปกติ
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ค.
55. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก.รายการแต่ละบรรทัดในงบดุลควรมีการแสดงไว้อย่างกว้างๆ ตามลักษณะของแต่ละประเภท
ข.คําอธิบายและการจัดเรี ยงลําดับของรายการอาจมีการเปลี่ยนแปลงให้เป็ นไปตามระบบบัญชีหรื อลักษณะ
ของกิจการเพือ่ ให้ผใู ้ ช้งบการเงินเข้าใจฐานะของกิจการ
ค.บริ ษทั ควรพิจารณาจํานวน ลักษณะ และวันครบกําหนดของหนี้สินเป็ นปัจจัยในการแยกหนี้สินหมุนเวียน
และไม่หมุนเวียนรวมทั้งหนี้สินที่ระบุอตั ราดอกเบี้ยและไม่ระบุอตั ราดอกเบี้ยจากประมาณการหนี้สิน
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
56. สิ นทรัพย์หมุนเวียน คือข้อใด
ก.ค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า ข.เงินมัดจําอาคารชัว่ คราว
ค.เงินสดและรายการเทียบเท่าเงินสด ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
57. ข้อใดต่อไปนี้ไม่ถูกต้อง
ก.เจ้าหนี้การค้าที่มีระยะเวลาดําเนินงานปกติเกินกว่า 12 เดือน ควรบันทึกเป็ นหนี้สินไม่หมุนเวียน
ข.ในกรณี ที่กิจการชําระบัญชีซ่ ึงกิจการคาดว่าจะไม่แล้วเสร็ จภายในรอบระยะเวลาบัญชีน้ นั กิจการควรบันทึก
หนี้สินจากเรื่ องดังกล่าวเป็ นหนี้สินระยะยาว
ค.เงินปันผลค้างจ่ายส่ วนที่มิได้ชาํ ระในระหว่างรอบการดําเนินงาน แต่ถึงกําหนดชําระภายใน 12 เดือน
กิจการควรบันทึกเป็ นหนี้สินหมุนเวียน
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
58. การบันทึกบัญชีลูกหนี้ ที่เก็บเงินไม่ได้โดยวิธีต้ งั ค่าเผือ
่ คือข้อใด
ก.วิธีการประมาณการค่าเผือ่ มี 4 วิธี
ข.เป็ นวิธีสอดคล้องกับหลักการเปรี ยบเทียบรายได้กบั ค่าใช้จ่าย
ค.เป็ นวิธีที่ง่ายและสะดวก ง.ถูกทุกข้อ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 59
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ข.
59. ถ้ากิจการมีค่าเผือ ่ หนี้สงสัยจะสู ญเกินความต้องการควรทําอย่างไร
ก.ปรับปรุ งลดยอดลงโดยให้ถือเป็ นรายได้ของกิจการ
ข.คงยอดที่เกินไว้เพื่อนําไปใช้ในปี ต่อไป
ค.ปรับปรุ งลดยอดลงโดยให้นาํ ไปลดค่าใช้จ่ายของกิจการ
ง.นําส่ วนที่เกินไปแยกแสดงไว้ทางด้านหนี้สิน
ตอบ ค.
60. กิจการจะต้องพิจารณาความเพียงพอของค่าเผือ ่ หนี้สงสัยจะสู ญในบัญชีใด
ก.ลูกหนี้การค้า ข.ลูกหนี้อื่น ค.เงินให้กยู้ มื ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.

ห้ างหุ้นส่ วน โชคดี จากัด


รายละเอียดสิ นค้ าคงเหลือ
ณ วันที่ 31 ธันวาคม 2558
ราคาทุน มูลค่ าสุ ทธิทคี่ าดว่ าจะได้ รับ ผลต่ าง
เครื่ องถ่ายเอกสาร รุ่ น AF 27,500 37,800 10,300
เครื่ องคอมพิวเตอร์ รุ่ น STAR 32,600 28,000 (4,600)
เครื่ องโทรสาร รุ่ น CT 4,800 3,500 (1,300)
64,900 69,300 44,000

61. บริ ษทั ควรบันทึกค่าเผือ่ การลดมูลค่าสิ นค้าคงเหลือ เป็ นจํานวนเท่าใด


ก.10,300 บาท ข. 4,400 บาท
ค. 5,900 บาท ง.ไม่ตอ้ งบันทึกค่าเผือ่ การลดมูลค่า
ตอบ ค.
62. มูลค่าของเครื่ องถ่ายเอกสารที่ควรแสดงอยูใ่ นงบการเงิน ควรเป็ นจํานวนเท่าใด
ก.27,500 บาท ข.37,800 บาท ค.69,300 บาท ง.64,900 บาท
ตอบ ก.
63. ข้อใดถูกต้อง
ก.กิจการควรเปิ ดเผยราคาตามบัญชีของสิ นค้าคงเหลือที่ใช้เป็ นหลักประกันหนี้สิน
ข.ผลขาดทุนจากการที่สินค้าคงเหลือมีมูลค่าลดลงจากการปรับราคาให้เป็ นมูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับ ควรบันทึก
เป็ นค่าใช้จ่ายในงวดบัญชีน้ นั
ค.ในกรณี ที่กิจการใช้วิธีการกําหนดต้นทุนของสิ นค้าคงเหลือตามวิธีเข้าหลังออกก่อน กิจการควรเปิ ดเผย
มูลค่าตามราคาต้นทุนปัจจุบนั ณ วันที่ในงบดุล หรื อมูลค่าสุ ทธิที่จะได้รับแล้วแต่มูลค่าใดจะตํ่ากว่า
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 60
-------------------------------------------------------------------------------
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
64. ข้อใดไม่ใช่ตน ้ ทุนทางตรงในการจัดหาสิ นทรัพย์ซ่ ึงถือเป็ นส่ วนหนึ่งในการคํานวณหาต้นทุนสิ นทรัพย์
ก.ต้นทุนในการเตรี ยมสถานที่ ข.รายจ่ายในการติดตั้งเครื่ องจักร
ค.ค่าธรรมเนียมวิชาชีพในการจัดหาสิ นทรัพย์ ง.ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
ตอบ ง.
65. ถ้ากิจการใช้วธ ิ ีการคิดค่าเสื่ อมราคาวิธีเส้นตรง อุปกรณ์ราคาทุน 20,000 บาท ราคาซาก 2,000 บาท
ประมาณอายุการใช้งาน 9 ปี ซึ่งกิจการซื้อมาเมื่อต้นปี จะมีราคาตามบัญชีเมื่อสิ้ นปี ที่ 1 เท่ากับเท่าใด
ก.20,000 บาท ข.18,000 บาท ค.16,000 บาท ง.14,000 บาท
ตอบ ข.
66. จากโจทย์ขอ้ 24 ค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์ปลายปี ที่ 2 เท่ากับเท่าใด ถ้ากิจการใช้วิธีคิดค่าเสื่ อมราคาแบบผลรวม
จํานวนปี
ก.2,000 บาท ข.2,200 บาท ค.2,400 บาท ง.3,200 บาท
ตอบ ง.
67. ข้อใดไม่จดั เป็ นรายการสิ นทรัพย์อื่น
ก.ที่ดิน-รอการจําหน่าย ข.สิ ทธิการเช่า
ค.รายจ่ายรอการตัดบัญชี ง.เงินสดที่ไม่สามารถใช้จ่ายได้
ตอบ ข.
68. ข้อใดเป็ นต้นทุนทางตรงในการจัดหาสิ นทรัพย์และเป็ นส่ วนหนึ่ งในการคํานวณหาต้นทุนสิ นทรัพย์
ก.ค่าธรรมเนียมวิชาชีพในการจัดหาสิ นทรัพย์ ข.ค่าจ้างในงานสํานักงาน
ค.รายจ่ายในการซ่อมแซมเครื่ องจักรประจําปี ง.ค่าใช้จ่ายในการบริ หาร
ตอบ ก.
69. กิจการจะเครดิตบัญชีใดต่อไปนี้ เมื่อบันทึกค่าสู ญสิ้ น
ก.สิ นทรัพย์ ข.ค่าสู ญสิ้ นสะสม ค.ค่าสู ญสิ้ น ง.กําไรขาดทุน
ตอบ ข.
70. กิจการจะบันทึกบัญชีโดยเครดิตบัญชีใดเมื่อเกิดการด้อยค่าในสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน
ก.สิ นทรัพย์ ข.กําไรขาดทุน
ค.ขาดทุนจากการด้อยค่า ง.ขาดทุนจากการด้อยค่า-สิ นทรัพย์
ตอบ ก.
71. สมมติวา่ งานก่อสร้างแบ่งเป็ น 3 ขั้นตอนและอัตรากําไรในแต่ละขั้นตอนแตกต่างกัน
ขั้นที่ ราคาขาย ต้ นทุน กาไร ปี ที่เสร็จ
1 1,000 500 500 2556
2 1,000 700 300 2557
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 61
-------------------------------------------------------------------------------
3 1,000 800 200 2558
3,000 2,000 1,000

บริ ษทั จะรับรู ้กาํ ไรในปี 2556 เท่ากับเท่าใด


ก.1,000 ข.0 ค.500 ง.250
ตอบ ค.
72. ข้อใดไม่ใช่ขอ้ แตกต่างระหว่างการเช่าซื้ อและสัญญาเช่าระยะยาว
ก.วัตถุประสงค์การเช่า ข.ชนิดของทรัพย์สินที่เช่า
ค.กรรมสิ ทธิ์ในทรัพย์สิน ง. การใช้ประโยชน์ในทรัพย์สิน
ตอบ ง.
73. การเปิ ดเผยข้อมูลในงบการเงินเกี่ยวกับการให้เช่าซื้ อในข้อใดถูกต้อง
ก.แสดงยอดลูกหนี้ตามสัญญาเช่าซื้อในงบดุลด้วยยอดสุ ทธิของลูกหนี้หากดอกผลเช่าซื้อรอการตัดบัญชี
ข.สิ นทรัพย์ที่ให้เช่าแสดงด้วยราคาเต็มโดยไม่ตอ้ งหักค่าเสื่ อมราคา
ค.แสดงสิ นทรัพย์รอการขายด้วยราคาตามบัญชี หรื อราคาที่คาดว่าจะได้รับคืนแล้วแต่อย่างใดจะสูงกว่า
ง.เปิ ดเผยนโยบายการบัญชีเกี่ยวกับการรับรู ้ดอกผลเช่าซื้อเป็ นรายได้เพียงอย่างเดียว
ตอบ ก.

74. สถานการณ์ใดที่ไม่บ่งชี้ให้มีการจัดประเภทเป็ นสัญญาเช่าการเงิน


ก.ผูเ้ ช่ารับผิดชอบในรายการกําไรหรื อขาดทุนจากการผันผวนของมูลค่ายุติธรรมของราคาซาก
ข.สิ นทรัพย์ที่ให้เช่ามีลกั ษณะเฉพาะจนกระทัง่ มีผเู ้ ช่าเพียงผูเ้ ดียวที่สามารถใช้สินทรัพย์น้ นั
ค.ผูเ้ ช่ารับผิดชอบต่อความเสี ยหายของผูใ้ ห้เช่า ในกรณี ที่ผเู ้ ช่าบอกเลิกสัญญา
ง.ผูเ้ ช่าสามารถต่อสัญญาเช่าครั้งที่ 2 ด้วยการจ่ายเงินค่าเช่าตํ่ากว่าค่าเช่าในตลาดอย่างมีสาระสําคัญ
ตอบ ข.
75. จํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญา หมายถึง
ก.ค่าเช่าขั้นตํ่าตลอดอายุสญ ั ญา
ข.ค่าเช่าขั้นตํ่าตลอดอายุสญ ั ญา รวมกับราคาสิ นทรัพย์ที่ผเู ้ ช่าต้องจ่ายเมื่อเลือกจะซื้อ
ค.ค่าเช่าขั้นตํ่าตลอดอายุสญ ั ญา ราคาสิ นทรัพย์ที่ผเู ้ ช่าต้องจ่ายเมื่อเลือกจะซื้อ และเงินประกันภัย
ง.ค่าเช่าขั้นตํ่าตลอดอายุสญ ั ญา ราคาสิ นทรัพย์ที่ผเู ้ ช่าต้องจ่ายเมื่อเลือกจะซื้อ เงินประกันภัย และค่าบํารุ งรักษา
ตอบ ข.
76. ข้อใดต่อไปนี้ถือเป็ นกิจการร่ วมค้า
ก.บุคคล 3 คน นําเงินคนละเท่าๆ กันมาลงทุนร่ วมกัน เพือ่ ทําธุรกิจรับจ้างสร้างอาคาร
ข.นายเอกและนายโทนําเงินมาลงทุน เพื่อทําธุรกิจอย่างหนึ่งร่ วมกัน โดยนายเอกมีอาํ นาจควบคุมกิจการแต่
เพียงผูเ้ ดียว
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 62
-------------------------------------------------------------------------------
ค.เอก โท ตรี นําเงินคนละ 100,000 บาท มาลงทุนเพื่อทําธุรกิจร่ วมกัน โดยทําสัญญาเพื่อแบ่งปันส่ วนได้เสี ย
จากผลการดําเนินงานของธุรกิจดังกล่าว ด้วยอัตรา 30:30:40 ตามลําดับ
ง.เอกโท ตรี นําเงินมาลงทุนคนละเท่าๆ กัน บุคคลทั้งสามทําสัญญาร่ วมกันฉบับหนึ่ง โดยให้โท และ ตรี มี
อํานาจในการควบคุมการดําเนินธุรกิจร่ วมกัน โดยที่เอกคอยรับส่ วนแบ่งจากผลกําไรเท่านั้น
ตอบ ง.
77. ตามมาตรฐานการบัญชีฉบับที่ 46 ข้อความใดต่อไปนี้ ถูกต้องที่สุด
ก.วิธีรวมตามสัดส่ วน คือ การรวมรายได้และค่าใช้จ่ายของกิจการร่ วมค้าเฉพาะส่ วนที่เป็ นของผูร้ ่ วมค้าในงบ
กําไรขาดทุนรวม
ข.ผูร้ ่ วมค้าต้องนําเสนองบการเงินเฉพาะกิจการควบคู่ไปกับงบการเงินรวมตามสัดส่ วน
ค.วิธีรวมตามสัดส่ วนไม่วา่ จะรวมตามแบบที่ 1 หรื อ แบบที่ 2 ย่อมให้ผลที่มีจาํ นวนเท่ากันไม่วา่ จะเป็ นกําไร
สุ ทธิ สิ นทรัพย์ หนี้สิน รายได้หรื อค่าใช้จ่าย
ง.ถ้าผูร้ ่ วมค้าเลือกวิธีรวมตามสัดส่ วนแบบที่นาํ สิ นทรัพย์ หนี้สิน รายได้และค่าใช้จ่าย แต่ละรายการที่
คล้ายคลึงกันมารวมกันตามเกณฑ์แต่ละบรรทัดกับงบการเงินเฉพาะกิจการแล้ว ผูร้ ่ วมค้าอาจเลือกรายการสิ นทรัพย์
บางรายการมาหักกลบกับหนี้สินได้
ตอบ ค.
78. กิจการที่มีสินทรัพย์อยูใ่ นความควบคุมของกิจการเอง ก่อให้เกิดหนี้ สิน รายได้และค่าใช้จ่ายเป็ นของกิจการ
ร่ วมค้า ทําสัญญาจัดหาเงินทุน เพื่อการดําเนินงาน และควบคุมร่ วมกันเอง โดยผูร้ ่ วมค้าแต่ละรายมีสิทธิในส่ วนแบ่ง
จากผลการดําเนินงานของกิจการร่ วมค้า กิจการร่ วมค้าลักษณะนี้เรี ยกว่า
ก.สิ นทรัพย์ที่ควบคุมร่ วมกัน ข.การดําเนินงานที่ควบคุมร่ วมกัน
ค.กิจการที่ควบคุมร่ วมกัน ง.บริ ษทั จํากัดร่ วมค้า
ตอบ ค.
79. การรับรู ้เงินลงทุนเป็ นสิ นทรัพย์จะไม่รวมรายจ่ายในข้อใดเป็ นต้นทุนของเงินลงทุน
ก.ค่านายหน้า ข.รายจ่ายซื้อเงินลงทุน
ค.อากรแสตมป์ ง.ผิดทุกข้อ
ตอบ ง.
80. กิจการลงทุนต้องวัดมูลค่าสิ นทรัพย์สุทธิ เมื่อใด
ก. ณ วันที่ในงบการเงิน ข. ณ วันที่มีการขายหน่วยลงทุน
ค. ณ วันที่มีการรับซื้อคืนหน่วยลงทุน ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
81. งบการเงินใดของกิจการอื่นๆ ที่เปรี ยบได้กบ ั งบแสดงการเปลี่ยนแปลงสิ นทรัพย์สุทธิของกิจการลงทุน
ก.งบกําไรสะสม ข.งบกระแสเงินสด
ค.งบแสดงฐานะการเงิน ง.งบแสดงการเปลี่ยนแปลงในส่ วนของเจ้าของ
ตอบ ง.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 63
-------------------------------------------------------------------------------
82. การตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจเกี่ยวข้องกับงบการเงินอย่างไร
ก.งบการเงินจะให้ขอ้ มูลที่ทาํ ให้ผลู ้ งทุนตัดสิ นใจเชิงเศรษฐกิจไปในทิศทางเดียวกันเสมอ
ข.งบการเงินจะให้ขอ้ มูลเกี่ยวกับฐานะการเงิน ผลการดําเนินงาน และการเปลี่ยนแปลงฐานะการเงิน ซึ่งใช้วดั
ความเสี่ ยง และผลตอบแทนทั้งในอดีต ปัจจุบนั และแนวโน้มในอนาคต
ค.งบการเงินสามารถให้ขอ้ มูลที่ตอบสนองความต้องการของผูใ้ ช้งบการเงินได้ทุกกลุ่มและทุกเรื่ อง
ง.เป็ นแนวทางให้ผบู ้ ริ หารกิจการวางแผนการดําเนินธุรกิจในอนาคต
ตอบ ข.
83. ข้อความใดตรงกับความเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจ
ก.งบการเงินควรแสดงข้อมูลเกี่ยวกับรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีให้ครบถ้วนเสมอโดยไม่คาํ นึงว่าจะ
ทันเวลาต่อการนําไปใช้ประโยชน์หรื อไม่
ข.งบการเงินควรแยกแสดงข้อมูลเกี่ยวกับรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีที่มีลกั ษณะไม่ปกติ หรื อรายการ
พิเศษออกจากรายการปกติ
ค.งบการเงินควรแสดงข้อมูลเกี่ยวกับรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีที่มีนยั สําคัญเท่านั้น
ง.งบการเงินควรแสดงข้อมูลเกี่ยวกับรายการและเหตุการณ์ทางบัญชีสาํ หรับรอบระยะเวลาบัญชีปัจจุบนั
เท่านั้น
ตอบ ข.
84. การรับรู ้องค์ประกอบของงบการเงินคือข้อใด
ก.ต้องเป็ นไปตามความประสงค์ของผูบ้ ริ หารกิจการ
ข.ต้องเป็ นไปตามความประสงค์ของผูใ้ ช้งบการเงิน
ค.ต้องเป็ นไปตามคํานิยามขององค์ประกอบของงบการเงิน
ง.ต้องเป็ นไปตามคํานิยามขององค์ประกอบของงบการเงิน และเข้าเงื่อนไขทุกข้อ คือ มีความเป็ นไปได้
ค่อนข้างแน่ที่ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคตของรายการนั้นจะเข้าหรื อออกจากกิจการและรายการนั้นมีราคาทุน
หรื อมูลค่าที่สามารถวัดได้อย่างน่าเชื่อถือ
ตอบ ง.
85. ข้อใดควรพิจารณาถึงในการจัดทํางบการเงินให้ถูกต้อง
ก.การดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง ข.การดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง กับเกณฑ์คงค้าง
ค.การดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง เกณฑ์คงค้าง ความสมํ่าเสมอ และข้อมูลเปรี ยบเทียบ
ง.การดําเนินงานอย่างต่อเนื่อง นโยบายการบัญชีต่างๆกับการเปิ ดเผย
ตอบ ค.
86. กิจการต้องแยกรายการบัญชีสินทรัพย์ที่แสดงในงบดุล ออกเป็ นอย่างไร
ก.รายการหมุนเวียนและไม่หมุนในเวียน ข.รายการหมุนเวียน ไม่หมุนในเวียน และสิ นทรัพย์อื่น
ค.รายการระยะสั้น และระยะยาว ง.รายการระยะสั้น ระยะปานกลางและระยะยาว
ตอบ ก.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 64
-------------------------------------------------------------------------------
87. ค่าใช้จ่ายประเภทใดที่ตอ้ งเปิ ดเผยข้อมูลเพิม ่ เติมหากมีการจัดประเภทค่าใช้จ่ายตามหน้าที่
ก.ค่าเสื่ อมราคาและค่าใช้จ่ายพนักงาน ข.ค่าใช้จ่ายประเภทพลังงาน
ค.ค่าใช้จ่ายในการขายและบริ หาร ง.ต้นทุนขาย
ตอบ ก.
88. นโยบายการบัญชีไม่เกี่ยวข้องกับเรื่ องใด
ก.การบัญชีที่ใช้ในการกําหนดมูลค่าตามบัญชีของที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์
ข.จํานวนต้นทุนของการกูย้ มื ที่รวมเป็ นราคาทุนของสิ นทรัพย์ในระหว่างงวด
ค.อายุการใช้งานของอาคารและอุปกรณ์
ง.การรับรู ้ขาดทุนจากการด้อยค่า หากมูลค่าที่คาดว่าจะได้รับคืนตํ่ากว่าราคาตามบัญชี
ตอบ ข.
89. การรับรู ้รายได้ในข้อใดไม่ถูกต้อง
ก.บริ ษทั รับรู ้รายได้ค่าบริ การตามเกณฑ์สิทธิ ข.ดอกเบี้ยรับรู ้ตามเกณฑ์สดั ส่ วนของเวลา
ค.บริ ษทั รับรู ้รายได้ค่าขายที่ดินทันทีที่ได้รับชําระเงินจากลูกค้าร้อยละ 10 ของราคาที่ดิน
ง.เงินปันผลรับรู ้เมื่อผูถ้ ือหุน้ มีสิทธิได้รับเงินปันผล
ตอบ ค.
90. เหตุการณ์ในข้อใดที่หากเกิดขึ้นภายหลังวันที่ในงบการเงินแล้ว กิจการจะต้องปรับปรุ งบัญชีก่อนออกงบ
การเงิน
ก.การเปลี่ยนแปลงราคาตลาดของหลักทรัพย์ที่กิจการถือไว้
ข.ค่าเสี ยหายจากคดีความที่ยงั ไม่ทราบผลที่แน่นอน เมื่อตอนสิ้ นปี แต่ทราบผลแน่นอนภายหลัง
ค.การขายหุน้ ทุนหรื อหุน้ กู้ การแบ่งแยกหุน้ หรื อจ่ายหุน้ ปันผล
ง.ลูกหนี้ประสบภัยพิบตั ิทาํ ให้ไม่สามารถจ่ายชําระหนี้แก่กิจการได้
ตอบ ข.
91. รายการใดเป็ นข้อผิดพลาดที่ไม่ได้รับการชดเชย
ก.กิจการไม่ได้บนั ทึกรายการปรับปรุ งสําหรับค่าแรงงานค้างจ่าย
ข.กิจการไม่ได้บนั ทึกรายการปรับปรุ งค่าใช้จ่ายจ่ายล่วงหน้า
ค.กิจการบันทึกยอดซื้อตํ่าไป
ง.กิจการไม่ได้บนั ทึกสิ นค้าระหว่างทางตามเงื่อนไข FOB Shipping Point แต่บนั ทึกซื้อถูกต้องแล้ว
ตอบ ข.
92. ณ วันที่ 1 มกราคม 2557 ห้างหุ น ้ ส่ วนทองดีจาํ กัด ซื้อเครื่ องจักรราคาทุน 200,000 บาท ไม่มีมูลค่าซาก
เครื่ องจักรมีอายุการใช้งาน 5 ปี ในปี 2557 พนักงานบัญชีลืมบันทึกค่าเสื่ อมราคา ข้อผิดพลาดดังกล่าวพบในปี
2558 สมมติวา่ ข้อผิดพลาดดังกล่าว เป็ นข้อผิดพลาดที่ไม่มีผลกระทบอย่างมีสาระสําคัญ ข้อความใดถูกต้องที่สุด
ก.รายการดังกล่าวเป็ นการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี
ข.กิจการต้องใช้วิธีการปรับย้อนหลัง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 65
-------------------------------------------------------------------------------
ค.กิจการต้องปรับปรุ งรายการโดยลดยอดกําไรสะสม 40,000 บาท
ง.ข้อผิดพลาดดังกล่าวให้นาํ มาแก้ไขในงบกําไรขาดทันในปี 2558
ตอบ ข.
93. หลักการในการแปลงค่างบการเงินของหน่วยงานต่างประเทศคือ
ก.แปลงค่ารายการที่เป็ นตัวเงินด้วยอัตราปิ ด ข.แปลงค่ารายการที่ไม่เป็ นตัวเงินด้วยอัตราปิ ด
ค.แปลงค่าสิ นทรัพย์และหนี้สินทุกรายการด้วยอัตราปิ ด
ง.แปลงค่ารายได้และค่าใช้จ่ายทุกรายการด้วยอัตราปิ ด
ตอบ ค.
94. การหักกลบลบหนี้ ในข้อใดถูกต้อง
ก.การหักกลบลบหนี้บริ ษทั ก เป็ นไปตามที่กฎหมายระบุ
ข.กิจการมีลูกหนี้และเจ้าหนี้บริ ษทั ก ที่ระบุจาํ นวนที่แน่นอนได้
ค.โดยปกติลูกหนี้และเจ้าหนี้บริ ษทั ก ตั้งใจจะชําระโดยหักกลบลบหนี้
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
95. ระยะเวลาดําเนิ นงานปกติ หมายถึงข้อใด
ก.ระยะเวลาที่เริ่ มตั้งแต่ได้วตั ถุดิบมาเพื่อผ่านกระบวนการต่างๆ จนกระทัง่ ได้รับเงินสด
ข.ระยะเวลาตั้งแต่เริ่ มรอบระยะเวลาบัญชี ถึงวันสิ้ นสุ ดรอบระยะเวลาบัญชี
ค.ระยะเวลาตั้งแต่เริ่ มสัง่ ซื้อสิ นค้า จนกระทัง่ ขายสิ นค้าดังกล่าวให้แก่ผซู ้ ้ือ
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
96. ข้อใดต่อไปนี้ถูกต้อง
ก.งบดุลต้องแสดงรายการตามลักษณะและหน้าที่ และมียอดรวมเพิ่มเติมเพื่อให้งบการเงินแสดงฐานะการเงิน
โดยถูกต้องตามที่ควร
ข.ในกรณี ที่กิจการมีค่าใช้จ่ายในการขายสิ นค้าโดยมีการประกันการซ่อมแซม 5 ปี กิจการควรบันทึกหนี้สิน
ดังกล่าวในหนี้สินหมุนเวียน
ค.กรณี หนี้สินที่ครบกําหนดชําระภายใน 12 เดือน แต่หากทําสัญญาใหม่และปรับเงื่อนไขการชําระหนี้ให้มี
กําหนดเกิน 1 ปี ควรบันทึกเป็ นหนี้สินหมุนเวียน
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
97. การบันทึกบัญชีลูกหนี้ ตามมาตรฐานการบัญชี คือข้อใด
ก.บันทึกบัญชีเมื่อได้ออกใบกํากับภาษี
ข.บันทึกบัญชีเมื่อสามารถประมาณตัวเลขได้อย่างสมเหตุสมผล
ค.บันทึกบัญชีเมื่อคาดว่าจะได้รับประโยชน์เชิงเศรษฐกิจในอนาคต
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 66
-------------------------------------------------------------------------------
ง.ข้อ ข. และ ข้อ ค. ถูกต้อง
ตอบ ง.
98. วิธีประมาณหนี้ สงสัยจะสู ญโดยคํานวณจากยอดขายเกี่ยวข้องกับข้อใด
ก.วิเคราะห์จากประสบการณ์ที่ผา่ นมาโดยดูจากจํานวนลูกหนี้ที่เก็บเงินไม่ได้
ข.อาจคํานวณเป็ นร้อยละของยอดขายโดยรวมยอดขายสดด้วยก็ได้
ค.อาจคํานวณเป็ นร้อยละของยอดขายเชื่อ
ง.ข้อ ก. และ ข้อ ค. ถูกต้อง
ตอบ ง.
99. กิจการต้องปฏิบตั ิอย่างไร หากได้รับเงินคืนจากลูกหนี้ ที่ตดั เป็ นหนี้ สูญไปแล้ว
ก.บันทึกรายการหนี้สูญได้รับคืนเป็ นรายได้อื่น
ข.ตั้งลูกหนี้ข้ นึ มาใหม่และเครดิตบัญชีหนี้สงสัยจะสู ญ
ค.ตั้งลูกหนี้ข้ นึ มาใหม่และเครดิตบัญชีค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ
ง.ข้อ ก. และ ข้อ ค. ถูกต้อง
ตอบ ง.
100. บัญชีลูกหนี้ และค่าเผือ ่ หนี้สงสัยจะสู ญ กิจการควรจะต้องเปิ ดเผยข้อมูลใดบ้าง
ก.จํานวนเงินของลูกหนี้ที่ติดภาระคํ้าประกันกับสถาบันการเงิน
ข.เกณฑ์ในการตั้งค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ
ค.จํานวนค่าเผือ่ หนี้สงสัยจะสู ญ ถ้าลูกหนี้แสดงในงบดุลด้วยยอดสุ ทธิ
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
101. ต้นทุนสิ นค้าคงเหลือไม่ควรรวมค่าใช้จ่ายประเภทใด
ก.เงินเดือนของพนักงานที่เป็ นตัวแทนจําหน่าย ข.ค่าบรรจุภณั ฑ์เพื่อส่ งออก
ค.อากรขาเข้า ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
102. ห้างหุ น ้ ส่วนอวยพรจํากัดมีสินค้าคงเหลือเป็ นเครื่ องจักร 4 เครื่ อง โดยราคา ณ วันสิ้นงวดมีมูลค่า
5 ล้านบาท แต่มูลค่าสุ ทธิ ที่คาดว่าจะได้รับเพียง 3 ล้านบาท ในปี ต่อมาสิ นค้าคงเหลือดังกล่าวเหลืออยู่ 2 เครื่ อง และ
มีมูลค่าสุ ทธิ 2 ล้านบาท ราคาที่คาดว่าจะขายได้ 1.5 ล้านบาท ห้างฯควรตีราคาสิ นค้าคงเหลืออย่างไร
ก.เปรี ยบเทียบมูลค่าที่คาดว่าจะขายได้ ณ วันสิ้ นงวด กับราคาทุนเดิม
ข.เปรี ยบเทียบมูลค่าสุ ทธิที่คาดว่าจะได้รับ ณ วันสิ้ นงวด กับราคาทุนเดิม
ค.เปรี ยบเทียบมูลค่าที่คาดว่าจะขายได้ ณ วันสิ้ นงวด กับราคาทุนใหม่
ง.ถูกทุกข้อ
ตอบ ข.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 67
-------------------------------------------------------------------------------
103. กิจการควรคํานวณต้นทุนโดยใช้วิธีราคาเจาะจงหากมีสินค้าคงเหลือประเภทใด
ก.สิ นค้าคงเหลือเป็ นชนิดเดียว
ข.สิ นค้าคงเหลือไม่อาจสับเปลี่ยนกันได้
ค.สิ นค้าคงเหลือมีลกั ษณะสับเปลี่ยนกันได้โดยปกติ
ง.สิ นค้าคงเหลือมีการเปลี่ยนแปลงจํานวนอย่างรวดเร็วและให้ผลกําไรที่ใกล้เคียงกัน
ตอบ ค.
104. รายการใดต่อไปนี้ ไม่ใช่ขอ้ มูลที่ตอ้ งเปิ ดเผยจากการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี
ก.อายุการใช้งานของสิ นทรัพย์ ข.ราคาซากของสิ นทรัพย์
ค.ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสม ง.วิธีการคิดค่าเสื่ อมราคา
ตอบ ค.
105. หลักการคิดค่าเสื่ อมราคาแบบใดที่กิจการใช้วิธีการคิดค่าสู ญสิ้ น
ก.วิธีจาํ นวนผลผลิต ข.วิธีจาํ นวนผลผลิต – คิดตามจํานวนผลผลิตที่ได้
ค.วิธีจาํ นวนผลผลิต – คิดตามเวลาการผลิต ง.วิธีเส้นตรง
ตอบ ค.
106. ข้อใดไม่ใช่สินทรัพย์ไม่มีตวั ตน
ก.ลิขสิ ทธิ์ ข.สิ ทธิบตั ร ค.สัมปทาน ง.ค่าใช้จ่ายรอการตัดบัญชี
ตอบ ง.
107. กิจการต้องเปิ ดเผยข้อมูลใดหากมีการเปลี่ยนแปลงประมาณการทางบัญชี
ก.ส่ วนเกินทุนจากการตีราคาสิ นทรัพย์ ข.เกณฑ์ในการตีราคาของสิ นทรัพย์
ค.ราคาตามบัญชีก่อนหักค่าเสื่ อมราคาสะสม ง.วิธีการคิดค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์
ตอบ ง.
108. กิจการจะเดบิตบัญชีใดต่อไปนี้ เมื่อกิจการขายสิ นทรัพย์ต่าํ กว่าราคาตามบัญชี
ก.กําไรขาดทุน ข.ค่าเสื่ อมราคาสิ นทรัพย์
ค.กําไรสะสม ง.ขาดทุนจากการจําหน่ายสิ นทรัพย์
ตอบ ง.
109. สิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตนนิ ยมแสดงรายการไว้อย่างไรในงบการเงิน
ก.แสดงไว้ภายใต้หวั ข้อสิ นทรัพย์อื่น ข.แสดงไว้ภายใต้หวั ข้อสิ นทรัพย์ไม่มีตวั ตน
ค.แสดงไว้ภายใต้หวั ข้อที่ดิน อาคาร และอุปกรณ์ ง.แสดงไว้ในหมายเหตุประกอบงบการเงิน
ตอบ ก.
110. ในงบการเงินสิ นทรัพย์อื่นต้องแสดงด้วยราคาใด
ก.ราคาปัจจุบนั ข.ราคาตามบัญชี ค.ราคาทุน ง.ราคาทุนทดแทน
ตอบ ค.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 68
-------------------------------------------------------------------------------
111. ห้างหุ น ้ ส่วนประกอบธุรกิจรับส่ งสิ นค้าโดยใช้พาหนะขนส่ งของกิจการอื่น (สายการบิน เรื อ รถบรรทุก)
ห้างฯควรรับรู ้รายได้เมื่อใด
ก.เครื่ องบิน เรื อ รถบรรทุก ออกเดินทาง
ข.เมื่อนําสิ นค้าของลูกค้าไปส่ งให้บริ ษทั สายการบิน เรื อ รถบรรทุก
ค.หาลูกค้าได้ (ลูกค้าตกลงใช้บริ การ) ง.ส่ งมอบสิ นค้า ณ จุดหมายปลายทาง
ตอบ ง.
112. ข้อใดไม่ใช่การรับรู ้รายได้ สําหรับการให้เช่าซื้ อ
ก.รับรู ้ดอกผลเช่าซื้อเป็ นรายได้
ข.รับรู ้กาํ ไรขั้นต้นจากการขายเป็ นรายได้ในแต่ละรอบระยะเวลาบัญชี
ค.รับรู ้รายได้จากการขายลดสิ นค้าให้เช่า
ง.รับรู ้รายได้จากการขายเป็ นรายได้ท้ งั จํานวนในรอบระยะเวลาบัญชีตามเกณฑ์คงค้าง
ตอบ ค.
113. ข้อใดไม่ใช่เงื่อนไขในการจําแนกประเภทของสัญญาเช่าระยะยาว
ก.ผูเ้ ช่ามีสิทธิเลือกซื้อสิ นทรัพย์ดว้ ยราคาที่คาดว่าจะตํ่ากว่ามูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ ณ วันที่มาเลือกซื้อ
ข.มีการโอนกรรมสิ ทธิ์ของสิ นทรัพย์ให้แก่ผเู ้ ช่า ณ วันสิ้นสุ ดสัญญา
ค.มูลค่าปัจจุบนั ของจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่ายตามสัญญาต้องไม่นอ้ ยกว่า 90% ของมูลค่ายุติธรรมของ
สิ นทรัพย์ ณ วันที่ทาํ สัญญา
ง.ระยะเวลาของสัญญาเช่าครอบคลุมอายุการใช้ประโยชน์เชิงเศรษฐกิจส่ วนใหญ่ของสิ นทรัพย์
ตอบ ค.
114. ข้อใดไม่ใช่วิธีการบัญชีดา้ นผูเ้ ช่าหากเป็ นสัญญาเช่าการเงิน
ก.รายจ่ายที่เกี่ยวข้องกับกิจกรรมที่ทาํ ให้ได้สญ ั ญาเช่าถือเป็ นรายจ่ายดําเนินงาน
ข.ผูเ้ ช่าต้องรับรู ้ค่าเสื่ อมราคาสําหรับสิ นทรัพย์ที่เช่าซึ่งมีการเสื่ อมสภาพได้
ค.ผูเ้ ช่าอาจรับรู ้รายการเกี่ยวกับสัญญาเช่าด้วยมูลค่าปัจจุบนั ด้วยจํานวนเงินขั้นตํ่าที่ตอ้ งจ่าย
ง.ผูเ้ ช่าอาจรับรู ้รายการเกี่ยวกับสัญญาเช่าด้วยมูลค่ายุติธรรมของสิ นทรัพย์ ณ วันเริ่ มต้นสัญญาเช่า โดยใช้
อัตราดอกเบี้ยของสัญญา
ตอบ ก.
115. มูลค่าคงเหลือที่ไม่ได้รับประกันหมายถึงข้อใด
ก.มูลค่าคงเหลือของสิ นทรัพย์ที่ให้เช่า ณ วันสิ้ นสุ ดอายุสญ ั ญา
ข.ส่ วนต่างของราคาตามบัญชีกบั ราคายุติธรรมของสิ นทรัพย์ที่ให้เช่า
ค.ส่ วนต่างของราคาสิ นทรัพย์ที่ให้เช่า ณ วันทําสัญญา กับมูลค่าที่จะได้รับคืนตามกรมธรรม์ประกันภัย
ง.ส่ วนมูลค่าสิ นทรัพย์ที่ให้เช่าซึ่งผูเ้ ช่าอาจไม่ได้รับคืน
ตอบ ง.
-------------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 69
-------------------------------------------------------------------------------
 แนวข้ อสอบความรู้ เกีย่ วกับ ธ.ก.ส.
1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร (ธ.ก.ส.) ได้จดั ตั้งขึ้นปี พ.ศ. ใด
1. 2507 2. 2508
2. 2509 3. 2510
ตอบ 2.
2. ผูจ้ ดั การ ธ.ก.ส. คนแรกคือ
1. นายจําเนี ยร สาระนาค 2. นายลักษณ์ วจนานวัช
3. นายธี รพงษ์ ตั้งธี ระสุ นน
ั ท์ 4. นายทํานอง สิ งคาลวานิ ช
ตอบ 1.
3. ผูจ้ ดั การ ธกส. .คนปัจจุบนั คือ (ข้อมูล ล่าสุ ด ณ วันที่ 19 พ.ย. 63)
1. นายจําเนี ยร สาระนาค 2. นายสุ รชัย รัศมี
3. นายธี รพงษ์ ตั้งธี ระสุ นนั ท์ 4. นายสมเกียรติ กิมาวหา
ตอบ 2. นายสุ รชัย รัศมี รองผูจ้ ดั การ รักษาการแทนผูจ้ ดั การ ธ.ก.ส.
4. ปรับบทบาท สู่ ธนาคารพัฒนาชนบทได้พฒั นาการให้สินเชื่อและบริ การครบวงจร ในทศวรรษที่เท่าใด
1. ทศวรรษที่ 1. 2. ทศวรรษที่ 2.
3. ทศวรรษที่ 3. 4. ทศวรรษที่ 4.
ตอบ 2.
5. วิสยั ทัศน์ (Vision) ของ ธกส. ข้อใดถูกต้อง
1. บริ การทางการเงินครบวงจร เพื่อเพิ่มประสิ ทธิ ภาพของห่ วงโซ่ คุณค่าสิ นค้าเกษตร และตอบสนองความ
ต้องการของลูกค้าอย่างมีคุณภาพและประสิ ทธิภาพ
2. เป็ นธนาคารพัฒนาชนบทที่ยงั่ ยืน มุ่งสนับสนุ นการพัฒนาเศรษฐกิจฐานราก เพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของ
คนในชนบท
3. เป็ นธนาคารพัฒนาชนบทที่มน ั่ คง มีการจัดการที่ทนั สมัย ให้บริ การทางการเงินครบวงจร เพื่อยกระดับ
คุณภาพชีวิตของเกษตรกรอย่างยัง่ ยืน
4. มุ่งมัน่ หลักการกํากับดูแลกิจการที่ดี และยึดมัน่ ในความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม เพือ่ ความ
มัน่ คง และยัง่ ยืน
ตอบ 2.
6. ค่านิยม (Core Values) ธ.ก.ส. ยึดหลัก SPARK ในการบริ หารงานเพือ่ ช่วยสะท้อนความรับผิดชอบของ
องค์การที่มีต่อประชาชน สังคมและสิ่ งแวดล้อม รวมถึงการขับเคลื่อนการดําเนินงานตามพันธกิจให้บรรลุวิสยั ทัศน์
ตัว A หมายถึงข้อใด
1. ความเคารพและให้เกียรติต่อตนเองและผูอ้ ื่น
2. ความยัง่ ยืนทั้งองค์การ พนักงาน เกษตรกร ผูถ้ ือหุ น ้ สังคม และสิ่ งแวดล้อม
3. การส่ งเสริ มและยกระดับการนําความรู ้สู่นวัตกรรมให้เป็ นธนาคารแห่ งการเรี ยนรู ้
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 70
-------------------------------------------------------------------------------
4. ความสํานึ กในหน้าที่ความรับผิดชอบของคณะกรรมการและพนักงาน
ตอบ 4.
7. ประธานกรรมการ ธกส .คนปัจจุบนั คือ (ข้อมูล ล่าสุ ด ณ วันที่ 19 พ.ย. 63)
1. นายธี รภัทร ประยูรสิ ทธิ (ปลัดกระทรวงเกษตรและสหกรณ์)
2. นายอาคม เติมพิทยาไพสิ ฐ(รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง)
3. นายสมชาย ชาญณรงค์กล ุ (ผูแ้ ทนกระทรวงเกษตรและสหกรณ์
4. นายสุ วิชญ โรจนวานิ ช (ผูแ้ ทนกระทรวงการคลัง)
ตอบ 2.
8. ธกส. มีบริ การเงินฝากตามข้อใด
1. เงินฝากออมทรัพย์ทวีโชค 2. เงินฝากสงเคราะห์
3. เงินฝากออมทรัพย์พิเศษ 4. เงินฝากออมทรัพย์โครงการ
5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 5.
9. ตราธนาคารปัจจุบนั คําว่า ธกส. สี ขาว หมายถึง
1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ซึ่ งเป็ นรัฐวิสาหกิจ ประเภทสถาบันการเงิน ที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อ
ดําเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐ มีการบริ หารจัดการด้วยความโปร่ งใส ยึดหลักธรรมาภิบาล
2. สี ของกระทรวงการคลัง ซึ่ ง ธ.ก.ส. เป็ นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง
3. อาชีพหรื อการดําเนินงานของเกษตรกร คือการเกษตรและอาชีพที่มีลกั ษณะต่อเนื่ องจากอาชีพการเกษตร
ความอุดมสมบูรณ์ของภาคเกษตรกรรม สัญลักษณ์แทนเกษตรกรลูกค้า ซึ่งเป็ นกลุ่มเป้าหมายของธนาคาร
4.ความต่อเนื่ อง การสื่ อสัมพันธ์อน ั ดี การบริ การ ความเข้าใจ ความร่ วมมือ การประสานประโยชน์ ความ
ผูกพัน ความไม่มีที่สิ้นสุ ด ระหว่าง รัฐบาล ธ.ก.ส. และ เกษตรกรลูกค้า ซึ่งจะผูกสัมพันธ์เป็ นวัฏจักรต่อเนื่อง
ตลอดไป เพื่อช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน จะขาดจากกันไม่ได้
ตอบ 1.
10. กรอบรู ปสี่ เหลี่ยมมุมมน หมายถึง
1. ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ซึ่ งเป็ นรัฐวิสาหกิจ ประเภทสถาบันการเงิน ที่จดั ตั้งขึ้นเพื่อ
ดําเนินการตามนโยบายพิเศษของรัฐ มีการบริ หารจัดการด้วยความโปร่ งใส ยึดหลักธรรมาภิบาล
2. สี ของกระทรวงการคลัง ซึ่ ง ธ.ก.ส. เป็ นรัฐวิสาหกิจสังกัดกระทรวงการคลัง
3. อาชีพหรื อการดําเนินงานของเกษตรกร คือการเกษตรและอาชีพที่มีลกั ษณะต่อเนื่ องจากอาชีพการเกษตร
ความอุดมสมบูรณ์ของภาคเกษตรกรรม สัญลักษณ์แทนเกษตรกรลูกค้า ซึ่งเป็ นกลุ่มเป้าหมายของธนาคาร
4.ความต่อเนื่ อง การสื่ อสัมพันธ์อน ั ดี การบริ การ ความเข้าใจ ความร่ วมมือ การประสานประโยชน์ ความ
ผูกพัน ความไม่มีที่สิ้นสุ ด ระหว่าง รัฐบาล ธ.ก.ส. และ เกษตรกรลูกค้า ซึ่งจะผูกสัมพันธ์เป็ นวัฏจักรต่อเนื่อง
ตลอดไป เพื่อช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน จะขาดจากกันไม่ได้
ตอบ 4.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 71
-------------------------------------------------------------------------------
11. ธ.ก.ส.จับมือกระทรวงอุตสาหกรรมเพิ่มขีดความสามารถ SMEs ชื่อโครงการว่าอะไร
1. โครงการปรับเปลี่ยนการผลิตสู ว้ ิกฤติภยั แล้ง
2. โครงการ 1 สิ นเชื่อ 1 ตําบล SME เกษตร
3. โครงการเพิ่มความเข้มแข็งของเศรษฐกิจฐานรากตามแนวทางประชารัฐ
4. โครงการชะลอการเก็บเกี่ยวมันสําปะหลัง
ตอบ 2.
12. ข้อใดไม่ใช่เว็บไซต์ โดย ธกส.
1. ท่องเที่ยววิถีไทย 2. แผ่นดินธรรม
3. แผ่นดินทอง 4. การจัดการความรู ้ ธกส.
ตอบ 2.
13. Call center ของ ธกส. คือหมายเลขใด
1. 02-555-0555 2. 02-556-0666
3. 02-655-6565 4. 02-566-6666
ตอบ 1.
14. ในกรณี ที่การปรับบทบาทของธนาคารสู่ ชนบทมีท้ งั หมดกี่ทศวรรษ
1. ทศวรรษที่ 1 (พ.ศ. 2509 – 2519)
2. ทศวรรษที่ 3 (พ.ศ. 2530 – 2539)
3. ทศวรรษที่ 4 (พ.ศ. 2540 – 2549)
4. ทศวรรษที่ 5 (พ.ศ. 2550 – ปั จจุบน ั )
ตอบ 4.
15. ใครเป็ นประธานคณะกรรมการ ธ.ก.ส.
1. ผูบ
้ ริ หารสู งสุ ดของ ธ.ก.ส. 2. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงการคลัง
3. รัฐมนตรี วา่ การกระทรวงพาณิ ชย์ 4. นายกรัฐมนตรี
ตอบ 2.
16 ข้อใดต่อไปนี้คือ พันธกิจ ธ.ก.ส.
1. การบริ หารความเสี่ ยงให้แก่ลูกค้า
2. บริ หารจัดการเงินทุนให้เพียงพอ และมีตน ้ ทุนที่เหมาะสมต่อลูกค้าและการดําเนินงาน
3. การส่ งเสริ มสภาพคล่องให้ระบบเศรษฐกิจฐานราก
4. เป็ นศูนย์กลางทางการเงินที่ให้บริ การทางการเงินครบวงจรและทันสมัยในภาคชนบท
ตอบ 4.
17. สถานะทางกฎหมายของ ธ.ก.ส. เป็ นอย่างไร
1. เป็ นสถาบันธนาคารระดับชาติมีฐานะเป็ นรัฐวิสาหกิจ สังกัดกระทรวงการคลัง
2. เป็ นสถาบันทางการเงิน สังกัดกระทรวงพาณิ ชย์
3. เป็ นธนาคารพัฒนาชนบท สังกัดกระทรวงพาณิ ชย์
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 72
-------------------------------------------------------------------------------
4. เป็ นธนาคารพัฒนาชนบท สังกัดกระทรวงการคลัง
ตอบ 1.
18 ธ.ก.ส. ส่ งเสริ ม การร่ วมกลุ่มเป็ น สกต, คําว่า สกต. หมายถึง
1. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการเกษตร 2. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการตลาด
3. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการผลิต 4. สหกรณ์การเกษตรเพื่อการพัฒนา
ตอบ 2.
19. ระบบบริ หารที่เรี ยกว่า SEPA คืออะไร
1. ระบบการบริ หารกิจการที่ดี
2. ระบบบริ หารคุณภาพรัฐวิสาหกิจ
3. ระบบบริ หารคุณภาพของสถาบันธนาคาร
4. ระบบบริ หารคุณภาพของสถาบันการเงิน
ตอบ 2.
20. ข้อใดต่อไปนี้คือ หลักการเกี่ยวกับการกํากับดูแลกิจการที่ดี
1. หลักซื่ อสัตย์สุจริ ต หมายถึง การดําเนิ นงานด้วยความซื่ อสัตย์ สุ จริ ตไม่แสวงหาผลประโยชน์อน
ั มิชอบ
เพื่อตนเอง
2. หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อเชื่อมโยงเป็ นเครื อข่ายเศรษฐกิจชุมชน
3. หลักเสมอภาคเป็ นธรรม คือ การดําเนิ นงานเป็ นธรรม เป็ นที่ยอมรับและมีความเท่าเทียมกันในการยึดถือ
ปฏิบตั ิ
4. ถูกเฉพาะข้อ 1.และ ข้อ 3
ตอบ 4.
21. เว็บไซต์ ธกส. คือข้อใด
1. www.baad.or.th 2. www.baab.ox
3. www.baac.or.th 4. www.bank.or.om
ตอบ 3.
22. ถ้าประชาชนขอตรวจดูขอ้ มูลข่าวสารในความครอบครองของ ธ.ก.ส. ได้ตามกฎหมายใด
1. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ. 2540
2. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของราชการ พ.ศ. 2540
3. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสาร พ.ศ. 2545
4. พ.ร.บ. ข้อมูลข่าวสารของรัฐวิสาหกิจ พ.ศ. 2540
ตอบ 2.
23. ธ.ก.ส. ให้ความสําคัญในการบริ หารจัดการและดําเนิ นงานตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีในการเปิ ดเผย
ข้อมูลข่าวสารอย่างไร
1. เพื่อให้ความถูกต้อง ครบถ้วน โปร่ งใส 2. เพื่อให้ความถูกต้องและเป็ นธรรม
3. เพื่อให้ความถูกต้อง ตรวจสอบได้ 4. ถูกทุกข้อ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 73
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 1.
24. ในการเปิ ดเผยข้อมูลมีหลักการสําคัญอย่างไร
1. ข้อมูลข่าวสารที่เปิ ดเผยจะต้องถูกต้อง ครบถ้วน ชัดเจน และทันกาล
2. มีการปฏิบตั ิตามกฎข้อบังคับที่เกี่ยวกับการเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสารอย่างถูกต้อง
3. ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยซึ่ งรวมถึงผูถ้ ือหุ น
้ และผูท้ ี่มีความสนใจอื่น ๆ มีสิทธิที่เท่าเทียมกันในการรับทราบและ
เข้าถึงข้อมูลข่าวสารที่เผยแพร่
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.
25 บุคคลใดมีหน้าที่รับผิดชอบในการเปิ ดเผยข้อมูล
1. ประธานกรรมการ 2. ผูจ้ ดั การ
3. ผูอ้ าํ นวยการฝาย 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.
26. สํานักประชาสัมพันธ์และสื่ อสารองค์กรเป็ นผูร้ ับผิดชอบในการทําหน้าที่เป็ นส่ วนงานหลักในการประสาน
กับส่ วนงานใด
1. ผูอ้ าํ นวยการฝ่ าย
2. ผูจ้ ดั การ
3. เจ้าของข้อมูลในการเผยแพร่ ขอ้ มูลสําคัญของธนาคารผ่านช่องทางการเปิ ดเผยข้อมูลต่าง ๆ
4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 3.
27. ธนาคารจะมีการเปิ ดเผยข้อมูลอย่างไร
1. เปิ ดเผยข้อมูลต่าง ๆ ที่ธนาคารได้จดั เตรี ยมไว้โดยการเลือกช่องทางการเปิ ดเผยข้อมูลจะขึ้นอยูก ่ บั
ข้อกําหนดของกฎหมายหรื อหน่วยงานทางการ
2. เปิ ดเผยข้อมูลโดยใช้ช่องทางของกฎหมาย
3. เปิ ดเผยข้อมูลโดยใช้ช่องทางสื่ อมวลชน
4. เปิ ดเผยข้อมูลโดยใช้ช่องทางวิทยุโทรทัศน์
ตอบ 1.
28. ประเภทข้อมูลข่าวสารที่ธนาคารจะเผยแพร่ ธนาคารมีหลักในการเผยแพร่ อย่างไร
1. ธนาคารจะเผยแพร่ ขอ้ มูลภายในกําหนดเวลา
2. ธนาคารจะเผยแพร่ ตามที่กฎหมายหรื อหน่ วยงานทางการกําหนด
3. ธนาคารจะเผยแพร่ ทางหน่ วยงานที่กาํ กับดูแลธนาคารกําหนด
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 74
-------------------------------------------------------------------------------
29. ธนาคารได้จดั ช่องทางการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารภายในองค์กรไว้อย่างไร
1. สื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ เช่น อินเทอร์ เน็ต 2. สื่ อสิ่ งพิมพ์ เช่น แผ่นพับ
3. สื่ อมวลชน 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.
30. ธนาคารได้จดั ช่องทางการเผยแพร่ ขอ้ มูลข่าวสารภายนอกองค์กรไว้อย่างไร
1. สื่ อมวลชน สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ ออิเล็กทรอนิ กส์ 2. สื่ อมวลชน วิทยุ โทรทัศน์
3. สื่ อมวลชน วิทยุ ศูนย์เรี ยนรู ้ การประชุมวิชาการ 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.
31. ธ.ก.ส. มีหลักการดําเนิ นงานด้านความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อมอย่างไร
1. ตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. ตามหลักข้อบังคับของธนาคาร
3. ตามหลักข้อกําหนดและข้อบังคับทางกฎหมาย
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1.
32 ธ.ก.ส. มีหลักการดําเนินงานด้านความรับผิดต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อมกี่ประการ
1. 3 ประการ 2. 4 ประการ
3. 5 ประการ 4. 7 ประการ
ตอบ 4.
33. ธ.ก.ส. ดําเนิ นการตามหลักการกํากับดูแลกิจการที่ดีและหลักจรรยาบรรณทางธุ รกิจ มีการเปิ ดเผยข้อมูลให้ผู ้
มีส่วนได้ส่วนเสี ยรับทราบหลายช่องทาง โดยมีช่องทางใดบ้าง
1. รายงานกิจการประจําปี ทางเว็บไซค์ ธ.ก.ส. วิทยุทอ้ งถิ่น
2. วิทยุทอ้ งถิ่น หนังสื อพิมพ์รายวัน
3. วิทยุทอ้ งถิ่น หนังสื อพิมพ์รายเดือน
4. วิทยุทอ้ งถิ่น โทรทัศน์
ตอบ 1.
34. ผูบ ้ ริ หาร ธ.ก.ส. บุคคลใดที่ตอ้ งแสดงบัญชีทรัพย์สินและหนี้สินตามกฎหมายกําหนด
1. คณะกรรมการ ธ.ก.ส. และผูบ ้ ริ หาร ธ.ก.ส.
2. ผูบ ้ ริ หาร ธ.ก.ส. และผูจ้ ดั การ ธ.ก.ส.
3. ผูบ ้ ริ หาร ธ.ก.ส. และกรรมการ ธ.ก.ส.
4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 1
35. ธ.ก.ส. มีหลักการในการปฏิบตั ิต่อลูกค้าของธนาคารอย่างไร
1. ใช้หลักสิ ทธิ มนุษยชนโดยทุกคนเท่าเทียมกัน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 75
-------------------------------------------------------------------------------
2. ใช้หลักแยกลูกค้าออกเป็ นกลุ่ม ๆ
3. ใช้หลักแบ่งแยกลูกค้าจากยอดเงินฝาก
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1.
36. ธ.ก.ส. มีหลักการในการปฏิบตั ิดา้ นแรงงานอย่างไร
1. ส่ งเสริ มให้พนักงานมีความสุ ขในการทํางาน
2. พัฒนาและฝึ กอบรมพนักงานอย่างต่อเนื่ อง
3. จัดระบบสวัสดิการและผลตอบแทนที่เหมาะสม
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.
37. ธ.ก.ส. มีหลักการดูแลสิ่ งแวดล้อมอย่างไร
1. เน้นการช่วยลดปั ญหาภาวะโลกร้อนและพื้นฟูสีเขียนคืนธรรมชาติ
2. เน้นรู ปแบบอาคารประหยัดพลังงาน
3. นํานํ้าทิ้งที่ผา่ นการบําบัดกลับมาใช้รดสนามหญ้าและต้นไม้
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.
38 ธ.ก.ส. มีหลักการใส่ ใจต่อผูบ ้ ริ โภค อย่างไร
1. กําหนดให้พนักงานให้ความรู ้แก่ลูกค้าที่มาใช้บริ การ
2. กําหนดให้มีระบบเทคโนโลยีที่ทน ั สมัย
3. กําหนดให้การรักษาความลับของข้อมูลของลูกค้าโดยจัดให้มีระบบการรับข้อร้องเรี ยนผ่านช่องทางต่าง ๆ
4. กําหนดให้ลูกค้าได้เข้าถึงข้อมูลได้อย่างรวดเร็ ว
ตอบ 3.
39 ธ.ก.ส. มีส่วนร่ วมของชุมชนรวมทั้งมีการสนับสนุ นส่ งเสริ มด้านใดบ้าง
1. ด้านการศึกษา วัฒนธรรม 2. ด้านการศึกษา วัฒนธรรมและกีฬา
3. ด้านการศึกษา วัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อม 4. ด้านการศึกษา และสิ่ งแวดล้อม
ตอบ 2.
40. โครงสร้างการบริ หารคณะกรรมการด้านสังคมและสิ่ งแวดล้อมประกอบด้วยคณะใดบ้าง
1. คณะกรรมการ ธ.ก.ส. คณะอนุกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี คณะอนุ กรรมกํากับดูแลความรับผิดชอบ
ต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม
2. คณะกรรมการ ธ.ก.ส. กรรมการ ธ.ก.ส.
3. คณะกรรมการ ธ.ก.ส. ผูจ้ ดั การ ธ.ก.ส.
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 76
-------------------------------------------------------------------------------
41 คณะกรรมการบริ หารกองทุนเพื่อสังคมและสิ่ งแวดล้อมอยูภ ่ ายใต้การกํากับดูแลของคณะใดในธ.ก.ส.
1. คณะอนุกรรมการกํากับดูแลกิจการที่ดี
2. คณะอนุกรรมการกํากับดูแลความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม
3. คณะอนุกรรมการความเป็ นธรรมต่อสังคม
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 2.
42. คณะทํางานเพือ ่ สังคมและสิ่ งแวดล้อมอยูภ่ ายใต้การกํากับดูแลของคณะใดในโครงสร้างการบริ หาร
คณะกรรมการด้านสังคมและสิ่ งแวดล้อม
1. คณะกรรมการบริ หารกองทุนเพื่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม
2. คณะกรรมการความเดือดร้อนผูป ้ ระสบภัย
3. คณะอนุกรรมการกํากับดูแลความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม
4. คณะกรรมการบริ หารการศึกษาสิ่ งแวดล้อม
ตอบ 3.
43 คณะกรรมการบริ หารกองทุนบรรเทาความเดือดร้อนผูป ้ ระสบภัยอยูภ่ ายใต้การกํากับดูแลของคณะใดใน
โครงสร้างการบริ หารคณะกรรมการด้านสังคมและสิ่ งแวดล้อม
1. คณะอนุกรรมการกํากับดูแลความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม
2. คณะกรรมการบริ หารกองทุนเพื่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม
3. คณะทํางานเพื่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม
4. ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 1.
44 คณะทํางานบรรเทาความเดือดร้อนผูป ้ ระสบภัยอยูภ่ ายใต้การกํากับดูแลของคณะใดในโครงสร้างการบริ หาร
คณะกรรมการด้านสังคมและสิ่ งแวดล้อม
1. คณะอนุกรรมการกํากับดูแลความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม
2. คณะกรรมการบริ หารกองทุนเพื่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม
3. คณะทํางานเพื่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม
4. คณะกรรมการบริ หารด้านการเงินการคลัง
ตอบ 1.
45. ธ.ก.ส. เป็ นรัฐวิสาหกิจประเภทใด
1. เป็ นสถาบันการเงินที่มีบทบาทในการเป็ นธนาคารพัฒนาชนบท สนับสนุ นเรื่ องความรับผิดชอบต่อสังคม
และสิ่ งแวดล้อม
2. เป็ นสถาบันการเงินที่มีบทบาทในการให้ความช่วยเหลือเกษตร
3. เป็ นสถาบันการเงินที่ส่งเสริ มด้านการเกษตรกรรม
4. ถูกทุกข้อ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 77
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 1.
46. บุคคลใดแต่งตั้งประธานอนุ กรรมการและอนุ กรรมการกํากับดูแลความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อม
1. กรรมการ ธ.ก.ส. 2. คณะกรรมการ ธ.ก.ส.
3. ผูจ้ ดั การ ธ.ก.ส. 4. ผูบ้ ริ หาร ธ.ก..ส.
ตอบ 2.
47. คณะอนุกรรมการกํากับดูแลความรับผิดชอบต่อสังคมและสิ่ งแวดล้อมประกอบด้วยใคร
1. ประธานอนุกรรมการและอนุกรรมการ
2. รองผูจ้ ดั การที่ได้รับมอบหมายเป็ นอนุกรรมการและเลขานุการ
3. ผูช้ ่วยผูจ้ ดั การที่ได้รับมอบหมายเป็ นอนุ กรรมการและผูช้ ่วยเลขานุการ
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.
48. ธ.ก.ส. มีสินเชื่อประเภทใดบ้าง
1. สิ นเชื่อเพื่อการเกษตร 2. สิ นเชื่อเพื่อพัฒนาความรู ้
3. สิ นเชื่อเพื่อการรักษาพยาบาล 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.

----------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 78
-------------------------------------------------------------------------------
 แนวข้ อสอบ ความรู้ เกีย่ วกับเศรษฐกิจ สั งคม การเมือง และนวัตกรรมเทคโนโลยี
ปัจจุบนั ประเทศไทยได้มีการขับเคลื่อนพัฒนาประเทศให้มีความก้าวหน้าสู งขึ้นในด้านต่างๆ อย่างไรก็ดี
จากรายงานการจัดอันดับความสามารถในการแข่งขัน (The Global Competitiveness Report) ของ World
Economic Forum (WEF) พบว่าประเทศไทยยังคงถูกจัดให้อยูใ่ นกลุ่มประเทศที่ขบ ั เคลื่อน โดยการพัฒนา
ประสิ ทธิภาพการผลิต (Efficiency-driven Country) เป็ นหลัก เป็ นกลุ่มประเทศที่มีรายได้เฉลี่ยต่อหัวของ
ประชากร (GDP per capita) อยูท่ ี่ 3,000-8,999 เหรี ยญดอลลาร์สหรัฐต่อปี ดังนั้น การพัฒนาประเทศให้มีการ
เติบโตเพื่อหลุดพ้นกับดักรายได้ปานกลาง จําเป็ นต้องเร่ งพัฒนาขีดความสามารถในด้านต่าง ๆ ที่จะช่วยยกระดับ
การพัฒนาประเทศแบบก้าวกระโดด โดยเฉพาะการวิจยั และพัฒนาเทคโนโลยีและนวัตกรรม การพัฒนาทุนมนุษย์
สร้างสภาพแวดล้อมที่เหมาะสมต่อการลงทุนและการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐาน เพื่อก้าวไปสู่ กลุ่มประเทศที่
ขับเคลื่อนโดยนวัตกรรมการผลิต (Innovation-driven Country) หรื อ Thailand 4.0 และประเด็นอื่นๆ ที่จะต้อง
ได้รับการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง ทั้งในเรื่ องของความเท่าเทียม โอกาส คุณภาพชีวิต ความมัน่ คง และความพร้อมที่จะ
รองรับการเปลี่ยนแปลงในอนาคต ตลอดจนการวางรากฐานการพัฒนาในระยะต่อไปให้มีความสมดุล ยัง่ ยืน
เมื่อพิจารณาภาพรวมการพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศไทยในช่วงที่ผา่ นมาจะเห็นว่าเศรษฐกิจไทยปรับตัวดี
ขึ้นอย่างชัดเจน จากการขยายตัวร้อยละ 1.0 ในปี 2557 เป็ นร้อยละ 4.3 ในช่วง 9 เดือนแรกของปี 2561 และคาดว่า
ทั้งปี 2561 จะขยายตัวร้อยละ 4.2 สําหรับในปี 2562 คาดว่าเศรษฐกิจจะขยายตัวลดลงเหลือร้อยละ 4.0 ตาม
แนวโน้มการชะลอตัวของเศรษฐกิจโลก สถานการณ์การออกจากสมาชิกสหภาพยุโรปของสหราชอาณาจักร
(Brexit) สงครามการค้า และดอกเบี้ยโลก แต่ท้ งั นี้ยงั คงมีอตั ราการขยายตัวสู งกว่าการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก
อันเนื่องมาจากองค์ประกอบหลักทางเศรษฐกิจของประเทศไทยมีการขยายตัวและกระจายตัวมากขึ้นในทุกด้าน ทั้ง
มูลค่าการส่ งออก การลงทุนภาคเอกชน การอุปโภคบริ โภคภาคเอกชน รวมทั้งผลผลิตภาคอุตสาหกรรมและการจ้าง
งานปรับตัวดีข้ ึนตามลําดับ โดยมีผวู ้ า่ งงานคิดเป็ นเพียงร้อยละ 1 ของกําลังแรงงานรวม ซึ่งเป็ นอัตราที่นอ้ ยที่สุดเป็ น
อันดับ 4 ของโลก ตลอดจนสัดส่ วนหนี้ภาครัฐทรงตัวจากอัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจแม้วา่ รัฐบาลจะมี
โครงการลงทุนขนาดใหญ่อย่างต่อเนื่อง
สําหรับผลการพัฒนาประเทศไทยในช่วงที่ผา่ นมา (พ.ศ.2557-2561) ภาครัฐมีความมุ่งมัน่ ที่จะพัฒนา
ประเทศให้มีการเจริ ญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพในมิติต่าง ๆ ประกอบด้วย (1) การปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจ
ของประเทศ โดยการพัฒนาความสามารถในการแข่งขันพร้อมกับให้ความสําคัญในการกํากับดูแลเศรษฐกิจฐานราก
(2) การปฏิรูปโครงสร้างทางสังคมของประเทศเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิตและสร้างโอกาสของประชาชน (3) การลด
ความเสี่ ยงของประเทศในด้านต่างๆ (4) การสร้างความภาคภูมิใจและการได้รับการยอมรับจากนานาชาติ และ (5)
การแก้ไขกฎหมายและปรับระบบการบริ หารราชการแผ่นดิน ดังมีรายละเอียดที่สาํ คัญ ได้แก่
1. การปฏิรูปโครงสร้างทางเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อเพิ่มขีดความสามารถในแข่งขันควบคู่กบ ั การดูแล
เศรษฐกิจฐานรากของประเทศไทย ประกอบด้วย
1.1 ความสามารถในการแข่งขัน
1.1.1 การปรับโครงสร้างอุตสาหกรรมแห่ งอนาคต เพื่อขับเคลื่อนประเทศไทยไปสู่ ประเทศที่พฒ ั นาแล้วด้วย
นวัตกรรมและเทคโนโลยีแห่งอนาคต (Innovation driven) ในช่วงปี 2558-2561 ประเทศไทยมีการลงทุนกว่า
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 79
-------------------------------------------------------------------------------
539,463 ล้านบาทในอุตสาหกรรม New S-Curve ประกอบด้วย (1) อุตสาหกรรมเชื้อเพลิงชีวภาพและเคมีชีวภาพ
(2) อุตสาหกรรมการแพทย์ครบวงจร (3) อุตสาหกรรมดิจิทลั (4) อุตสาหกรรมอากาศยานและโลจิสติกส์ (5)
อุตสาหกรรมเครื่ องจักรอัตโนมัติและหุ่นยนต์ และได้กาํ หนดอุตสาหกรรมแห่งอนาคตเพิ่มเติม ได้แก่ อุตสาหกรรม
ป้องกันประเทศ ทั้งนี้การดําเนินการได้มีการพัฒนาเชิงพื้นที่เพื่อรองรับอุตสาหกรรมแห่งอนาคตโดยการพัฒนาเขต
พัฒนาพิเศษภาคตะวันออก (EEC) ที่จะยกระดับประเทศไทยสู่ การเป็ นศูนย์กลางทางเศรษฐกิจระดับโลก โดยมีการ
อนุมตั ิโครงการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ งที่สาํ คัญเพื่อพัฒนาระบบการจัดการขนส่ งแบบไร้
รอยต่อ (Seamless Operation) ได้แก่ ระบบรางเพื่อเชื่อมโยง 3 สนามบิน ได้แก่ สุวรรณภูมิ ดอนเมือง อู่ตะเภา
การพัฒนาท่าเรื อนํ้าลึกหลัก 3 แห่ง ได้แก่ ท่าเรื อแหลมฉบังระยะที่ 3 ท่าเรื อมาบตาพุดระยะที่ 3 และท่าเรื อพาณิ ชย์
สัตหี บ การพัฒนาโครงข่ายรถไฟเชื่อมโยง 3 ท่าเรื อ ซึ่งกระตุน้ ให้เกิดการลงทุนในพื้นที่ EEC มากขึ้น
1.1.2 การสร้างความได้เปรี ยบในเชิงแข่งขัน โดยการขับเคลื่อนเศรษฐกิจที่ใช้นวัตกรรม ความคิดสร้างสรรค์
และการประยุกต์ใช้เทคโนโลยีที่สามารถสร้างมูลค่าเพิ่มให้กบั เศรษฐกิจเพื่อให้สอดรับกับบริ บทของเศรษฐกิจและ
สังคมโลกสมัยใหม่ตามนโยบาย Thailand 4.0 การเพิ่มการลงทุนเพื่อการพัฒนาการวิจยั และนวัตกรรม (R&D)
เพื่อสร้างนวัตกรรมและต่อยอดเชิงพาณิ ชย์ ลดการนําเข้า และให้ประเทศไทยสามารถพึ่งพาตนเองได้ทาํ ให้การ
ลงทุนด้านการวิจยั และนวัตกรรมมีสดั ส่ วนต่อ GDP เพิม่ ขึ้นจากร้อยละ 0.5 ในปี 2556 เป็ นร้อยละ 1 ในปี 2560
การจัดตั้งกระทรวงการอุดมศึกษาวิจยั และนวัตกรรม เพือ่ บูรณาการ การเรี ยนการสอนโดยให้ความสําคัญกับการ
วิจยั และพัฒนาเพื่อสร้างองค์ความรู ้ใหม่ทางวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีควบคู่กบั การพัฒนาคนที่มีคุณภาพ การ
สร้างนักรบเศรษฐกิจยุคใหม่ โดยการสร้างและพัฒนาผูป้ ระกอบการยุคใหม่ที่มีทกั ษะ ความสามารถในการแข่งขัน
และอัตลักษณ์ที่ชดั เจน อาทิ พัฒนาศักยภาพและการเข้าถึงแหล่งเงินทุนของผูป้ ระกอบการ SMEs การสร้างและ
พัฒนา Tech Start up หรื อ Start up ที่มีศกั ยภาพเชิงธุรกิจ การพัฒนา Smart Farmer และ Young Farmer
นอกจากนี้ได้มีการแก้ไขปัญหาการค้าระหว่างประเทศและที่กระทบกับความสามารถในการแข่งขันและกําหนด
แนวทางการพัฒนาที่สาํ คัญ เช่น การแก้ไขปัญหาทรัพย์สินทางปัญญาที่สหรัฐฯ เลื่อนสถานะการคุม้ ครองทรัพย์สิน
ทางปัญหาจาก Priority Watch List (PWL) เป็ น Watch List (WL) การจัดทําข้อตกลงทางการค้าเสรี (FTA)
กับชิลี อินเดีย และฮ่องกง เป็ นต้น
1.1.3 การสร้างความเข้มแข็งด้านการท่องเที่ยว โดยรักษาฐานทรัพยากรการท่องเที่ยวให้มีคุณภาพและ
พัฒนาการเพิ่มรายได้จากการท่องเที่ยวภายในประเทศโดยเฉพาะเมืองรอง รวมทั้งรักษาการเป็ นจุดหมายปลายทางที่
สําคัญของการท่องเที่ยวระดับโลกเพิ่มสัดส่ วนของนักท่องเที่ยวที่มีคุณภาพสู ง โดยประเทศไทยถือว่าเป็ นจุดหมาย
ปลายทางอันดับหนึ่งของประเทศในเอเชีย - แปซิฟิก มีจาํ นวนนักท่องเที่ยวสู งสุ ดเป็ นอันดับ 10 ของโลก และ
สามารถสร้างรายได้จากการท่องเที่ยวกว่า 57,000 ล้านเหรี ยญดอลลาร์สหรัฐ สู งสุ ดเป็ นอันดับ 4 ของโลก โดย
รายได้จากการท่องเที่ยวทั้งภายในประเทศและระหว่างประเทศมีสดั ส่ วนเพิม่ ขึ้นอย่างต่อเนื่องจากร้อยละ 14.2 ต่อ
GDP เป็ นร้อยละ 18.4 ต่อ GDP ในปี 2561
1.1.4 การเร่ งลงทุนพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานของประเทศ หลังจากหยุดนิ่ งมา 10 ปี โดยดําเนิ นการพัฒนา
โครงข่ายคมนาคมและขนส่งไร้รอยต่อ เชื่อมไทยเชื่อมโลก และปรับสภาพแวดล้อมให้เอื้อต่อการพัฒนา
อุตสาหกรรมและบริ การอนาคต ด้วยการพัฒนาที่ครอบคลุม การพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานด้านคมนาคมขนส่ ง อาทิ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 80
-------------------------------------------------------------------------------
การลงทุนระบบรถไฟทางคู่ทวั่ ประเทศ ทางหลวงพิเศษระหว่างเมือง และระบบรถไฟฟ้าขนส่ งมวลชนในเขต
กรุ งเทพและปริ มณฑล วงเงินรวมกว่า 2.4 ล้านล้านบาท การพัฒนาโครงข่ายโทรคมนาคม อาทิ การขยายโครงข่าย
อินเทอร์เน็ตความเร็ วสู งครอบคลุม 59,255 หมู่บา้ น การลงทุนโครงข่ายเคเบิลใต้น้ าํ ระหว่างประเทศและการพัฒนา
ระบบดาวเทียมสํารวจเพื่อการพัฒนา วงเงินรวม 13,779 ล้านบาท และ การปรับโครงสร้างพื้นฐานให้รองรับ
รู ปแบบการค้า การขนส่ ง การเงิน และการบริ หารจัดการภาครัฐแบบดิจิทลั ยุคใหม่ (Digital Transformation)
อาทิ การพัฒนาระบบ E-payment ระบบ National Single Window เพื่ออํานวยความสะดวกทางการค้า การ
จัดทําฐานข้อมูลขนาดใหญ่ที่สาํ คัญ เช่น Doing Business Portal, TPMAP เพื่อใช้เป็ นข้อมูลประกอบในการ
วางแผนพัฒนาประเทศในระยะต่อไป เป็ นต้น
1.1.5 การดูแลการจัดการทรัพยากรของประเทศ เพื่อสร้างความมัน ่ คงของการใช้ทรัพยากรอย่างมีเสถียรภาพ
อย่างยัง่ ยืน เช่น การพัฒนาทรัพยากรนํ้าในภาคการผลิตที่สามารถเพิ่มพื้นที่ชลประทานได้ 2.83 ล้านไร่ และมีแหล่ง
นํ้าสําหรับไร่ นา 180,278 แห่ง รวมทั้งการจัดการอุทกภัยชุมชนเมือง 14 แห่ง เนื้อที่ 0.4 ล้านไร่ สําหรับด้าน
พลังงานมีการบริ หารจัดการก๊าซธรรมชาติโดยสามารถเปิ ดประมูลสัมปทานที่จะหมดอายุของแหล่งปิ โตรเลียม
บงกช-เอราวัณ ทําให้มีก๊าซธรรมชาติใช้อย่างต่อเนื่องลดการนําเข้าประมาณ 22 ล้านตัน หรื อประมาณ 4.6 แสน
ล้านบาท สร้างรายได้ภาครัฐเพิม่ ขึ้น 100,000 ล้านบาท เป็ นต้น
1.2 การดูแลเศรษฐกิจฐานราก การดําเนิ นการในระยะที่ผา่ นมาภาครัฐมุ่งเน้นการสร้างโอกาสทางเศรษฐกิจ
ให้ชุมชน อาทิ การจัดสรรที่ดินทํากินและส่ งเสริ มการพัฒนาอาชีพ ใน 61 จังหวัด จํานวน 46,674 ราย พื้นที่
399,481 ไร่ การพัฒนา Smart Farmer มากกว่า 1 ล้านราย การช่วยเหลือเกษตรกรที่มีปัญหา เช่น ช่วยเหลือ
ชาวนา 3.63 ล้านครัวเรื อน วงเงิน 39,506 ล้านบาท และชาวสวนยาง 1.54 ล้านครัวเรื อน วงเงิน 18,882 ล้านบาท
เป็ นต้น รวมทั้งได้มีการระบายข้าวจากโครงการรับจํานําข้าว กว่า 17 ล้านตัน การส่ งเสริ มให้มีการผลิตสิ นค้าเกษตร
ให้สอดคล้องกับความต้องการของตลาด ผ่านการพัฒนาเกษตรแปลงใหญ่ 4,663 แปลง พื้นที่ 5.41 ล้านไร่ การใช้
Agri-Map เพือ ่ ปรับเปลี่ยนการผลิตสิ นค้าเกษตรให้เหมาะสมกับศักยภาพของพื้นที่ การวางแผนการผลิตและ
การตลาด การเพิ่มมูลค่าสิ นค้าของชุมชนผ่านการดําเนินโครงการสิ นค้า OTOP และส่ งเสริ มสิ นค้า GI สามารถ
ขยายตลาดให้เป็ นที่รู้จกั ในระดับนานาชาติดว้ ยการสร้างโอกาสในการจับคู่ธุรกิจและนําผลิตภัณฑ์ OTOP จําหน่าย
บนเครื่ องบิน และสามารถเพิม่ มูลค่าของผลิตภัณฑ์ได้มากขึ้นโดยเฉพาะสิ นค้า OTOP ที่มีแนวโน้มการสร้างรายได้
เพิ่มมากขึ้นอย่างต่อเนื่องจาก 98,000 ล้านบาท ในปี 2557 เป็ น 190,000 ล้านบาทในปี 2561
นอกจากนี้ ภาครัฐได้ตระหนักถึงการพัฒนาคุณภาพชีวติ ของประชาชนให้สามารถดําเนินชีวิตได้อย่างมีความสุ ข
โดยการสร้างงาน สร้างรายได้ให้แก่ชุมชน เช่น สิ นเชื่อเพือ่ การซื้อบ้านและซ่อมแซมบ้านและสิ นเชื่อเพื่อที่อยูอ่ าศัย
การให้สวัสดิการต่างๆ ผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ การเปิ ดโครงการร้านธงฟ้า การแก้ไขปัญหาหนี้นอกระบบ
ตลอดจนการดําเนินการจัดตั้งกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองรวมทั้งสิ้ น จํานวน 79,598 กองทุน เพื่อเป็ นการสร้าง
รายได้ ส่ งเสริ มการออม รวมทั้งการพัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตให้เกิดความมัน่ คง กินดีอยูด่ ีและมีความสุ ขมาก
ยิง่ ขึ้น โดยสัดส่ วนหนี้ครัวเรื อนต่อ GDP มีการปรับตัวลดลง และยอดคงค้างสิ นเชื่อเพื่ออุปโภคบริ โภคส่ วนบุคคล
มีสดั ส่ วนของสิ นเชื่อเพื่อที่อยูอ่ าศัยคิดเป็ นร้อยละ 50.4 ของสิ นเชื่อรวมจากธนาคารพาณิ ชย์ท้ งั หมด
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 81
-------------------------------------------------------------------------------
สําหรับการพัฒนาให้เกิดการกระจายความเจริ ญออกสู่ ภูมิภาคเพื่อให้ประชาชนในพื้นที่มีรายได้และ
คุณภาพชชีวิตที่ดีข้ ึน ได้ดาํ เนินการพัฒนาเขตเศรษฐกิจพิเศษ 10 พื้นที่ มีผปู ้ ระกอบการ SMEsสนใจจัดตั้งธุรกิจ
จํานวน 3,017 ราย และมีการขอรับการส่ งเสริ มการลงทุนจาก BOI วงเงินรวม 8,818.5 ล้านบาทรวมทั้งได้
ดําเนินการจัดทํากรอบแนวคิดการพัฒนาพื้นที่ระเบียงเศรษฐกิจภาคใต้อย่างยัง่ ยืน (SEC) เพื่อพัฒนาพื้นที่ภาคใต้
และมุ่งเน้นให้เกิดการใช้ประโยชน์จากศักยภาพของพื้นที่ให้เกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ด
2. การปฏิรูปโครงสร้างทางสังคมของประเทศ เป้ าหมายการปฏิรูปโครงสร้างทางสังคมมุ่งเน้นการพัฒนาคนในทุก
ช่วงวัย ทุกกลุ่มเป้าหมาย และไม่ทิ้งใครไว้ขา้ งหลัง ประกอบด้วย 3 แนวทางหลัก ดังนี้
2.1 การพัฒนาคุณภาพชีวิต และการดูแลทุกข์สุขของประชาชน มุ่งเน้นการพัฒนาทรัพยากรมนุษย์ซ่ ึ งเป็ น
ทรัพยากรที่มีค่าและสําคัญของประเทศและเป็ นรากฐานสําคัญของการพัฒนาอย่างยัง่ ยืนโดยกําหนดนโยบายและ
การดําเนินการที่สาํ คัญ ดังนี้
2.1.1 การศึกษา ได้แก่ การพัฒนาเด็กปฐมวัย เพือ่ วางรากฐานสู่ การเติบโตในช่วงถัดไปอย่างมีคุณภาพและ
พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของโรงเรี ยนให้เด็กทุกคนได้มีโอกาสได้รับการศึกษาที่มีคุณภาพเท่าเทียมกัน โดย
จัดทํามาตรฐานสถานพัฒนาเด็กปฐมวัยแห่งชาติ จัดทํา School Mapping และร่ างพระราชบัญญัติการพัฒนาเด็ก
ปฐมวัย การลดความเหลือมลํ้าด้านการศึกษา โดยจัดตั้งกองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษาสามารถสนับสนุน
ผูข้ าดแคลนทุนทรัพย์และด้อยโอกาสไปแล้วกว่า 4.3 ล้านคน และ การยกระดับคุณภาพการศึกษาในทุกระดับ ทั้ง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน อาชีวศึกษา และอุดมศึกษา เพื่อตอบโจทย์ดา้ นการพัฒนาอุตสาหกรรมในอนาคตของประเทศ
2.1.2 การพัฒนาและยกระดับบริ การสุ ขภาพขั้นปฐมภูมิ ให้ความสําคัญกับการดูแลสุ ขภาพของประชาชน
ในระดับพื้นที่ โดยกําหนดกลไกต่าง ๆ เพือ่ ดูแลสุ ขภาพของประชาชนในลักษณะเชิงรุ ก โดยบุคลากรทางด้าน
สาธารณสุ ขร่ วมกับภาคส่ วนที่เกี่ยวข้อง อาทิ คลินิกหมอครอบครัว ซึ่งปี 2561 มีมากกว่า 800 ทีม มีแพทย์พร้อมให้
คําปรึ กษาและดูแลสุ ขภาพถึงที่บา้ น การส่ งเสริ มอาสาสมัครสาธารณสุ ขประจําหมู่บา้ น สนับสนุนการดําเนินงาน
ของ อสม. โดยเพิ่มค่าป่ วยการเป็ น 1,000 บาท การพัฒนาคุณภาพชีวิตระดับอําเภอ เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตที่ดี
ขึ้นในระดับพื้นที่ผา่ นการขับเคลื่อนโดยคณะกรรมการพัฒนาคุณภาพชีวิต (พชอ.) ทั้ง 878 อําเภอ นโยบาย
"เจ็บป่ วยฉุกเฉินวิกฤต มีสิทธิทุกที่” (UCEP) โดยจัดตั้งศูนย์ประสานคุม้ ครองสิ ทธิผปู ้ ่ วยฉุกเฉินวิกฤต (UCEP
Coordination Center) อํานวยความสะดวกให้กบ ั ประชาชนเข้ารับการใช้สิทธิเจ็บป่ วยฉุกเฉินโดยไม่ตอ้ งสํารอง
ค่ารักษาพยาบาล 72 ชัว่ โมงแรก
2.1.3 การดูแลทุกข์สุขของประชาชน ดําเนินการเปิ ดศูนย์ดาํ รงธรรมเพื่อทําหน้าที่รับเรื่ องร้องเรี ยนร้องทุกข์
และอํานวยความยุติธรรมแก่ประชาชน ให้คาํ ปรึ กษาด้านปัญหาความต้องการ ความช่วยเหลือในเรื่ องต่าง ๆ ได้ทุก
เรื่ องตลอดเวลา สําหรับข้อมูลข่าวสารและข้อมูลเกี่ยวกับบริ การจากหน่วยงานภาครัฐต่าง ๆ ประชาชานสามารถ
ติดต่อสอบถามได้ที่สายด่วน 1111 ซึ่งจะช่วยให้ประชาชนได้รับความสะดวกและรวดเร็ วมากขึ้น นอกจากนี้ ด้าน
การบรรเทาสาธารณภัยได้ช่วยเหลือเกษตรกรผูป้ ระสบภัยพิบตั ิในระหว่างปี 2557-2561 รวม 49,880.64 ล้านบาท
และได้เร่ งรัดการเยียวยาผูป้ ระสบอุทกภัยในพื้นที่ภาคใต้อย่างเร่ งด่วน รวมทั้งการวางแผนแก้ปัญหาอุทกภัยและภัย
แล้งในระยะยาวโดยการบริ หารจัดการทรัพยากรนํ้าและการจัดการแหล่งนํ้าอย่างเป็ นระบบ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 82
-------------------------------------------------------------------------------
2.2 การป้ องกันและรักษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อม ได้ดาํ เนิ นการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
และรักษาสิ่ งแวดล้อม ด้วยการจัดทําแผนปฏิบตั ิการเพื่อให้มีการดําเนินงานที่ชดั เจนทั้งเจ้าหน้าที่รัฐและผูม้ ีส่วน
เกี่ยวข้อง การปรับแก้ไขกฎหมายและการบังคับใช้ และกําหนดมาตรการและแนวทางส่ งเสริ มสนับสนุน โดยมีการ
ดําเนินงานที่สาํ คัญ อาทิ การลักลอบค้าและครอบครองงาช้าง การบุกรุ กที่ดินของรัฐเพื่ออยูอ่ าศัยและทํากิน การตัด
ไม้มีค่าในที่ดินกรรมสิ ทธิ์ การแก้ไขปัญหาหมอกควันไฟป่ า การแก้ไขปัญหาขยะพลาสติกและโฟม การยกเลิกการ
นําเข้าขยะอิเล็กทรอนิกส์ผดิ กฎหมาย
่ ส่ งเสริ มการสร้างชุมชนให้น่าอยูแ่ ละสร้างสังคมให้อยูร่ ่ วมกันอย่างเป็ นสุ ข
2.3 การจัดระเบียบสังคม เพือ
โดยดําเนินมาตรการต่าง ๆ เช่น การจัดระเบียบทางเท้าและหาบเร่ แผงลอย การปรับปรุ งภูมิทศั น์ การพัฒนาพื้นที่
สาธารณะและลําคลองเพื่อการดูแลรักษาความสะอาดและความเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย กวดขันและปราบปรามการ
การแข่งรถยนต์และรถจักรยานยนต์ในทางสาธารณะ กําหนดนโยบายลดอบายมุขในทุกกลุ่มวัย
3. การลดความเสี่ ยงของประเทศ การดําเนิ นการในระยะที่ผา่ นมาได้มีการติดตามและแก้ไขปั ญหาระหว่าง
ประเทศที่สะสมมานานและส่ งผลกระทบกับการพัฒนาประเทศอย่างมีนยั สําคัญเพือ่ ลดความเสี่ ยงและช่วยลดความ
รุ นแรงของผลกระทบทางเศรษฐกิจในอดีต รวมทั้ง สร้างโอกาสและความยัง่ ยืนให้เศรษฐกิจไทยในระยะยาว โดย
ดําเนินการปรับปรุ งแก้ไขกฎระเบียบและบังคับใช้กฏหมาย รวมทั้งจัดทําแผนการบริ หารจัดการต่างๆ ติดตามและ
เฝ้าระวัง รวมทั้งจัดทําข้อตกลงระหว่างประเทศ ทําให้สามารถลดความเสี่ ยงของประเทศได้เป็ นผลสําเร็ จ อาทิ การ
ปลดธงแดงขององค์การการบินพลเรื อนระหว่างประเทศ หรื อ ICAO (วันที่ 5 ตุลาคม 2560) จากประเด็น
มาตรฐานความปลอดภัยด้านการบิน การปลดใบเหลืองของสหภาพยุโรป (วันที่ 8 มกราคม 2562) จากประเด็น
ปัญหาด้านประมง หรื อ IUU และการทําให้ประเทศไทยขึ้นมาอยู่ Tier 2 ในประเด็นการค้ามนุษย์
4. การสร้างความภาคภูมิใจและการได้รับการยอมรับจากนานาชาติ โดยมีผลสําเร็ จของการดําเนินการที่
สําคัญ ได้แก่ ประเทศไทยเป็ นประธาน G77 ปี 2559 สามารถบรรจุหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง (SEP) เป็ น
แนวทางการบรรลุเป้าหมายการพัฒนาที่ยงั่ ยืน (SDGs) ภายใต้นโยบาย SEP for SDGs Partnership ซึ่งได้รับ
ความร่ วมมือจากประเทศกําลังพัฒนา 24 ประเทศ และภาคีอื่นๆ ในการนําไปประยุกต์ใช้ การดํารงตําแหน่ง
ประธานอาเซียน ในปี 2562 ที่ประเทศไทยมีบทบาทเชิงรุ กอย่างสร้างสรรค์ผา่ นภายใต้แนวคิด "ร่ วมมือ ร่ วมใจ ก้าว
ไกลและยัง่ ยืน” โดยผลักดันประเด็นต่างๆ อาทิ การรักษาความเป็ นแกนกลางของอาเซียนในภูมิภาคเพื่อสันติภาพ
การสร้างความเชื่อมโยงระหว่างกันในอาเซียนกับภูมิภาคอื่นเพื่ออาเซียนที่ไร้รอยต่อ และการแก้ไขปัญหา
อาชญากรรมข้ามชาติ การเสนอแผนแม่บท ACMECS ระยะ 5 ปี ของประเทศไทยที่ส่งเสริ มการพัฒนาภูมิภาค
อย่างยัง่ ยืน นอกจากนี้ ประเทศไทยยังได้รับการยอมรับให้เป็ นสมาชิกประเภท Participant ของ OECD ด้าน
ดิจิทลั และด้านวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม นอกจากนี้ประเทศไทยได้รับการจัดอันดับที่ดีข้ ึนในระดับ
นานาชาติจากการสร้างบรรยากาศที่เอื้อต่อการเพิม่ ขีดความสามารถทางแข่งขันให้กบั ภาคธุรกิจ
สําหรับการจัดอันดับขององค์กรระหว่างประเทศที่เป็ นที่ยอมรับมีลาํ ดับที่ดีข้ ึน อาทิ อันดับความยากง่ายใน
การประกอบธุรกิจ (Ease of Doing Business) ประเทศไทยอยูใ่ นอันดับที่ 26 ในปี 2561 มีอนั ดับที่ดีข้ ึน 20
อันดับ การจัดอันดับความสามารถทางการแข่งขันระดับโลก 4.0 (Global Competitiveness Index: GCI 4.0)
ประเทศไทยอยูใ่ นอันดับที่ 38 ในปี 2561 มีอนั ดับที่ดีข้ ึน 2 อันดับ และการวัดประสิ ทธิภาพระบบโลจิสติกส์
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 83
-------------------------------------------------------------------------------
ระหว่างประเทศ (International Logistics Performance Index) ประเทศไทยอยูใ่ นอันดับที่ 32 ในปี 2561 มี
อันดับที่ดีข้ ึน 13 อันดับ การประเมินผลดัชนีนวัตกรรมโลก (Global Innovation Index : GII) ประเทศไทยอยูใ่ น
อันดับที่ 44 ในปี 2561 มีอนั ดับที่ดีข้ ึน 7 อันดับ
5. การแก้ไขกฎหมายและปรับระบบการบริ หารราชการแผ่นดิน ประกอบด้วย
5.1 การแก้ไขและปรับปรุ งกฎหมาย เพื่อให้ประเทศไทยมีกฎหมายที่ทน ั สมัยสอดคล้องกับสถานการณ์
ปัจจุบนั ลดความเหลื่อมลํ้าและสร้างเป็ นธรรมในสังคม โดยมีพระราชบัญญัติที่ผา่ นพิจารณาของสภานิติบญั ญัติ
แห่งชาติ (สนช.) แล้วทั้งหมดจํานวน 346 ฉบับ และอยูร่ ะหว่างการพิจารณาอีก 103 ฉบับ โดยมีกฎหมายที่สาํ คัญ
เช่น 1) ด้านเศรษฐกิจ อาทิ พ.ร.บ. ส่ งเสริ มวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม และ พ.ร.บ. ว่าด้วยธุรกรรมทาง
อิเล็กทรอนิกส์ 2) ด้านความเหลื่อมลํ้า อาทิ พ.ร.บ. จัดรู ปที่ดินเพื่อเกษตรกรรม และ พ.ร.บ. คุม้ ครองประชาชนใน
การทําสัญญาขายฝากที่ดินเพื่อเกษตรกรรมหรื อที่อยูอ่ าศัย 3) ด้านความมัน่ คง อาทิ พ.ร.บ.ว่าด้วยการกระทํา
ความผิดเกี่ยวกับคอมพิวเตอร์ พ.ร.บ. ป้องกันและปราบปรามการค้ามนุษย์ และ พ.ร.บ. การรักษาความมัน่ คง
ปลอดภัยไซเบอร์ 4) ด้านสังคมและวัฒนธรรม อาทิ พ.ร.บ. กองทุนเพื่อความเสมอภาคทางการศึกษา พ.ร.บ.
คุม้ ครองข้อมูลส่ วนบุคคล และ พ.ร.บ. การพัฒนาเด็กปฐมวัย 5) ด้านสวัสดิการ อาทิ พ.ร.บ. คุม้ ครองแรงงาน และ
พ.ร.บ. การจัดประชารัฐสวัสดิการเพื่อเศรษฐกิจฐานรากและสังคม 6) ด้านสิ่ งแวดล้อม อาทิ พ.ร.บ. สงวนและ
คุม้ ครองสัตว์ป่า และ พ.ร.บ. ป่ าชุมชน และ 7) ด้านกระบวนการยุติธรรม/ภาครัฐ อาทิ พ.ร.บ. กองทุนยุติธรรม
พ.ร.บ. การอํานวยความสะดวกในการพิจารณาอนุญาตของทางราชการ และ พ.ร.บ. การไกล่เกลี่ยข้อพิพาท
5.2 การปรับระบบการบริ หารราชการแผ่นดิน ประเทศไทยมีการจัดทํายุทธศาสตร์ ชาติ (พ.ศ. 2561 –
2580) ฉบับแรกของประเทศไทย เพื่อเป็ นกรอบแนวทางการพัฒนาประเทศในระยะยาว โดยมีวิสยั ทัศน์ "ประเทศ
ไทยมีความมัน่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน เป็ นประเทศที่พฒั นาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
โดยประกอบด้วย 6 ประเด็นยุทธศาสตร์ ได้แก่ 1) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นความมัน่ คง 2) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้าง
ความสามารถในการแข่งขัน 3) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการพัฒนาและเสริ มสร้างศักยภาพทรัพยากรมนุษย์ 4)
ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างโอกาสและความเสมอภาคทางสังคม 5) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการสร้างการเติบโตบน
คุณภาพชีวิตที่เป็ นมิตรต่อสิ่ งแวดล้อม และ 6) ยุทธศาสตร์ชาติดา้ นการปรับสมดุลและพัฒนาระบบการบริ หาร
จัดการภาครัฐ ซึ่งภายใต้ยทุ ธศาสตร์ชาติจะประกอบด้วย 23 แผนแม่บทการพัฒนาที่จะครอบคลุมการดําเนินการใน
ประเด็นต่างๆ และมีแผนการปฏิรูปประเทศ 11 ด้าน เพื่อเป็ นกรอบแนวทางในการพัฒนาประเทศในระยะยาวที่จะ
นําไปสู่ การลดความเหลื่อมลํ้าและความไม่เป็ นธรรมในสังคม พัฒนาเศรษฐกิจของประเทศให้เติบโตอย่างมี
เสถียรภาพ สร้างรากฐานและพัฒนาชุมชนและสังคมให้มีความเข้มแข็งในทุกระดับ แก้ไขปัญหาและพัฒนาการ
บริ หารจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่างยัง่ ยืน สร้างความโปร่ งใสและเพิ่มประสิ ทธิภาพ
กระบวนการทํางานของภาครัฐ รวมทั้งพัฒนากระบวนการยุติธรรมและปรับปรุ งกฎหมาย
สรุ ปผลการพัฒนาที่ผา่ นมา ในระยะ 5 ปี (พ.ศ.2557-2561) ที่ผา่ นมาได้มีการวางรากฐานการขยายตัวทาง
เศรษฐกิจให้มีเสถียรภาพ สร้างโอกาสให้ชุมชนในการมีรายได้ที่มนั่ คงในระยะยาว พัฒนาคุณภาพชีวิต ดูแลทุกข์สุข
และความเป็ นอยูข่ องประชาชนในทุกช่วงวัยภายใต้การบริ หารจัดการทรัพยากรอย่างเป็ นระบบ มีประสิ ทธิภาพ
ส่ งผลกระทบกับประชาชนในทุกกลุ่ม อาทิ ประชาชนตลอดช่วงชีวิต ภาคครัวเรื อน กลุ่มผูป้ ระกอบการ กลุ่ม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 84
-------------------------------------------------------------------------------
เกษตรกร และกลุ่มผูด้ อ้ ยโอกาส แต่กย็ งั คงมีปัญหาที่จะต้องแก้ไขต่อไป อาทิ ความเหลื่อมลํ้า ทรัพยากรธรรมชาติ
การเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน
6. การวางแผนอนาคตของประเทศไทยในระยะต่อไป การพัฒนาประเทศไทยในระยะต่อไปควรมุ่งเน้น
การแก้ไขปัญหาพื้นฐานในสังคมที่มีอยูใ่ นปัจจุบนั ให้มีความต่อเนื่อง ยกระดับประสิ ทธิภาพในการดูแลคนทุกช่วง
วัย ตลอดจนพัฒนาเศรษฐกิจของประเทศอาศัยอุตสาหกรรมศักยภาพและการพัฒนาพื้นที่เศรษฐกิจใหม่ที่จะเข้ามา
รองรับการขยายตัวของเศรษฐกิจโลก โดยสามารถสรุ ปได้เป็ น 3 ส่ วน ครอบคลุม 15 ประเด็นเร่ งด่วน ดังนี้
6.1 การแก้ไขปั ญหาพื้นฐาน ประกอบด้วย 1) ตําบลมัน ่ คง มัง่ คัง่ ยัง่ ยืน เน้นสร้างความสามัคคีปรองดอง
และการบริ หารพื้นที่อย่างยัง่ ยืน 2) แก้ปัญหาความมัน่ คงเร่ งด่วน โดยเฉพาะปัญหาด้านยาเสพติดและความปลอดภัย
ด้านไซเบอร์ 3) พัฒนาประสิ ทธิภาพการทํางานภาครัฐในด้านการประเมินผลและการใช้งบประมาณ 4) แก้ปัญหา
ทุจริ ตของการดําเนินการทุกภาคส่ วน และ 5) บริ หารจัดการนํ้าและมลพิษจากภาคเกษตรกรรมและอุตสาหกรรม
6.2 การดูแลยกระดับ ประกอบด้วย 1) สภาพแวดล้อมภาครัฐที่สนับสนุ นการดําเนิ นธุรกิจและการบริ การ
ภาครัฐ 2) สังคมสู งวัยที่มีคุณภาพชีวิตที่ดีและสามารถดูแลตัวเองได้ 3) คนและการศึกษา พัฒนาศักยภาพคนทุกช่วง
วัยให้มีทกั ษะความรู ้ ทักษะอาชีพและทักษะชีวิต 4) เศรษฐกิจฐานราก เน้นการพัฒนาผูป้ ระกอบการระดับตําบลทั้ง
ในด้านเกษตรกรรมและนวัตกรรม 5) บริ การสาธารณสุ ขที่มีคุณภาพและเข้าถึงง่าย และ 6) กระจายศูนย์กลางความ
เจริ ญไปสู่ ภูมิภาคต่างๆ ผ่านการพัฒนาเมืองอัจฉริ ยะและสิ่ งอํานวยความสะดวกในพื้นที่เมือง
6.3 สร้างรายได้และรองรับการเติบโตในระบบอย่างยัง่ ยืน ประกอบ 1) การท่องเที่ยวที่ยงั่ ยืน ครบวงจร
และได้รับการยอมรับในระดับโลก 2) อุตสาหกรรมที่มีศกั ยภาพ เน้นอุตสาหกรรมมูลค่าสู ง และอุตสาหกรรม
เป้าหมาย อาทิ อุตสาหกรรมยานยนต์สมัยใหม่ 3) การพัฒนาพื้นที่เขตเศรษฐกิจ EEC และ SEC รวมทั้งการเปิ ด
พื้นที่ใหม่ เพื่อส่ งเสริ มการลงทุนและการพัฒนาแบบก้าวกระโดด และ 4) การพัฒนาระบบโลจิสติกส์และ
โครงสร้างพื้นฐานดิจิทลั สร้างความเชื่อมโยงทัว่ ประเทศและระหว่างประเทศ
อ้างอิงจาก สํานักงานสภาพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
มองข้ามช็อต "เศรษฐกิจไทย" ปี 2564 ปี ที่ยากจะเห็นการฟื้ นตัวดีข้ นึ ในระดับ 4-5% ดังนั้นภาพที่ออกมา
จึงจะเป็ นลักษณะปี แห่ง 4-3-2-1 การคลังเป็ นกองหน้านําการฟื้ นตัวของเศรษฐกิจ การเงินเป็ นกองหลัง ต่อสู ก้ บั โค
วิดที่จะฉุดรั้งเศรษฐกิจโลกและความเชื่อมัน่ ภาคเอกชน
2563 เป็ นปี อาถรรพณ์ที่หกั ปากกาเซียนเศรษฐกิจทุกราย ในส่ วนของผูเ้ ขียนนั้นเคยคาดการณ์ในปลายปี
2562 ไว้วา่ เศรษฐกิจโลกปี 2563 จะไม่แตก ไม่ตาย แต่ไม่โต แต่ความเสี่ ยงวิกฤติจะมากขึ้นตามดัชนี ช้ ีวดั หนึ่ งที่ไม่
เคยผิดพลาด อันได้แก่ Inverted Yield Curve หรื อผลตอบแทนพันธบัตรรัฐบาลสหรัฐกลับทิศ ขณะที่เศรษฐกิจ
ไทยในปี 2563 นั้น ผูเ้ ขียนเคยมองว่าจะเป็ นปี แห่ง 0-1-2 กล่าวคือการส่ งออกไม่โตเลย เงินเฟ้อและดอกเบี้ยที่ 1%
และจีดีพีโตที่ 2%
แต่โควิดก็หกั ปากกาทุกคน เพราะไวรัสที่นาํ ไปสู่ การปิ ดเมืองทําให้เศรษฐกิจโลกหดตัวในระดับ 4% ตกตํ่า
ที่สุดตั้งแต่ยคุ the great depression ในช่วง 80 ปี ก่อน ขณะที่เศรษฐกิจไทยกลายเป็ นปี แห่ง (-8)-(-1)-(-8)
กล่าวคือเศรษฐกิจและการส่งออกติดลบประมาณ 8% ตํ่าสุ ดตั้งแต่วกิ ฤติตม้ ยํากุง้ และเงินเฟ้อติดลบประมาณ 1%
(แต่ดอกเบี้ยอยูท ่ ี่ +0.5%)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 85
-------------------------------------------------------------------------------
ยิง่ ไปกว่านั้น โควิดยังนําไปสู่ แผลเป็ นลากยาว เพราะสงครามระหว่างไวรัสกับมนุษยชาติยงั ไม่เห็นแสง
สว่าง ผูน้ าํ ประเทศชั้นนําทัว่ โลกติดเชื้อไวรัส หลายประเทศกําลังเผชิญกับการติดเชื้อครั้งใหม่ (Second wave)
ขณะที่ประเทศที่ยงั ไม่ติดก็ไม่กล้าเปิ ดประเทศให้กบั นักเดินทาง ส่ งผลกระทบต่อภาคท่องเที่ยวและบริ การโดยรวม
จะเกิดอะไรขึ้นในปี 2564 เศรษฐกิจจะกลับมาโตเป็ นปกติได้ไหม คําตอบของคําถามเหล่านี้ข้ ึนอยูก่ บั การ
มาของวัคซีน ซึ่งจะได้กต็ ่อเมื่อวัคซีนได้รับการคิดค้น พิสูจน์ ยอมรับ และแจกจ่ายให้กบั พลโลกทั้งหมด หรื อ
มิฉะนั้นทุกคนก็ตอ้ งยอมรับที่จะอยูก่ บั ไวรัสตลอดไป ในกรณี แรกนั้นหลายฝ่ ายคาดว่าวัคซีนอาจสําเร็ จได้ในไตร
มาสที่ 1 ของปี 2564 และได้รับการแจกจ่ายทัว่ โลกภายในไตรมาสที่ 3 เป็ นอย่างเร็วที่สุด กระนั้นก็ตาม แม้ผคู ้ นจะ
ได้วคั ซีนแล้วแต่ความเชื่อมัน่ การเดินทาง การสันทนาการ ยากที่จะกลับสู่ ระดับเดิม
เมื่อเป็ นเช่นนั้น ภูมิลกั ษณ์เศรษฐกิจโลกในปี 2564 จะมีภาพ 3 ประการ คือ 1.การขยายตัวจะตํ่าลง โอกาส
ที่จะฟื้ นในระดับ 4-5% เป็ นไปได้ยาก โดยรู ปแบบการฟื้ นตัวจะคล้ายเครื่ องหมายไนกี้ แต่อ่อนแอและขรุ ขระกว่า
2.นโยบายเศรษฐกิจเชิงกระตุน ้ จะลดลง โดยนโยบายการคลังจะเริ่ มกังวลเรื่ องหนี้สาธารณะและการขาดดุล
งบประมาณมากขึ้น ขณะที่การเงินจะกังวลเรื่ องภาวะฟองสบู่และพฤติกรรมสุ่ มเสี่ ยงในการลงทุน (Moral Hazard)
อันเป็ นผลจากนโยบายดอกเบี้ยตํ่ามากขึ้น
และ 3.ความเสี่ ยงมีมากขึ้น ทั้งการเมืองในสหรัฐ (ไม่วา่ ใครจะขึ้นมาเป็ นประธานาธิบดีกต็ าม) ยุโรป
รวมถึงประเด็นภูมิรัฐศาสตร์ระหว่างจีนกับสหรัฐ (โดยเฉพาะในประเด็นไต้หวัน) และภาวะภูมิอากาศผันผวนอัน
เป็ นผลจากภาวะโลกร้อน
เมื่อภูมิลกั ษณ์เศรษฐกิจโลกเป็ นเช่นนั้น ยากที่จะเห็นเศรษฐกิจไทยฟื้ นตัวดีข้ ึนในระดับ 4-5% อันเป็ น
ระดับที่สาํ นักวิจยั หลายแห่งคาดในปี หน้า โดยในส่วนของผูเ้ ขียนมองว่าภูมิลกั ษณ์เศรษฐกิจไทยในปี 2564 นั้นจะ
ประกอบด้วยภาวะความแตกต่าง 3 ประการ คือ
1.เศรษฐกิจระหว่างประเทศกับในประเทศ โดยภาวะโควิดที่ลากยาวนั้น จะทําให้เศรษฐกิจที่พ่ งึ พิง
ต่างประเทศ เช่น การท่องเที่ยวและการส่ งออกนั้นยังถูกกดดัน ขณะที่เศรษฐกิจในประเทศ เช่น การบริ โภคเอกชน
และการลงทุนภาครัฐจะฟื้ นตัวได้บา้ งตามมาตรการการคลัง
2.ภาคการผลิตกับภาคบริ การ โดยภาคบริ การจะยังถูกกดดันจากการท่องเที่ยวและความกังวลของผูบ ้ ริ โภค
(Consumer risk-averse) ทําให้จะยังหดตัวหรื อเติบโตตํ่า ขณะที่ภาคการผลิต โดยเฉพาะภาคเกษตรจะเริ่ มฟื้ นตัวดี
ขึ้น ตามความต้องการซื้อสิ นค้าไม่คงทน (Non-durable) ที่จะเริ่ มกลับมาบ้างตามการบริ โภค รวมถึงภาวะ La
Nina ที่ทาํ ให้ผลิตผลทางการเกษตรออกมาดี
3.นโยบายการเงินและการคลัง โดยการคลังจะเห็นการอัดฉี ดที่เพิ่มขึ้น ทั้งจากโครงการ “ช้อปดีมีคืน” “คน
ละครึ่ ง” และบัตรสวัสดิการแห่งรัฐที่จะกระตุน้ อารมณ์การบริ โภคต่อเนื่องได้บา้ ง อย่างน้อยในครึ่ งปี แรก และจาก
โครงการลงทุนโครงสร้างพื้นฐานต่างๆ ที่ (หวังว่า) จะเพิม่ ขึ้น ขณะที่นโยบายการเงินจะหันมาเป็ นกองหลัง
เนื่องจากคณะกรรมการนโยบายการเงิน (กนง.) กังวลผลข้างเคียงจากนโยบายดอกเบี้ยตํ่า
----------------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 86
-------------------------------------------------------------------------------
แนวข้ อสอบ ความรู้ เกีย่ วกับเศรษฐกิจ สั งคม การเมือง และนวัตกรรมเทคโนโลยี
1. ระบบลงทะเบียนของ ศบค. ซึ่ งเป็ นแคมเปญของกระทรวงสาธารณสุ ข ที่ออกแบบมาเก็บข้อมูลการเข้าใช้งาน
พื้นที่ชุมชน เพื่อควบคุมป้องกันโรคโควิด-19 มีชื่อเรี ยกว่าอะไร
ก. ไทยชนะ ข.ทัยชนะ ค.ไทยสู โ้ ควิด ง.ไทชนะ
ตอบ ก. ศูนย์บริ หารสถานการณ์การแพระบาดของโรคติดเชื้อไวรัสโคโรนา 2019 (โควิด-19) หรื อ ศบค. เปิ ดตัว
แอปพลิเคชัน “ไทยชนะ” จัดทําโดยธนาคารกรุ งไทย เพือ่ ควบคุมป้องกันโรคโควิด-19 ส่ าหรับสถานประกอบการ
ที่ได้รับการผ่อนปรนในเบื้องต้น เพื่อใช้ทดแทนการลงทะเบียน การเข้าใช้บริ การ โดยใช้วิธีการ Check-in และ
Check-out
2. การแพร่ ระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 เกิดขึ้นที่เมืองใด
ก. เมืองหางโจว ข. เมืองอู่ฮนั่ ค. หลานโจว ง. ต้าเหลียน
ตอบ ข. การแพร่ ระบาดของไวรัสโคโรน่าสายพันธุ์ใหม่ 2019 (novel coronavirus 2019, 2019-nCoV) ที่ ก่อ
โรคปอดอักเสบ (pneumonia) ในเมืองอู่ฮนั่ (Wuhan) มณฑลหูเป่ ย (Hubei) ประเทศจีน เริ่ มจากช่วงปลายปี ค.ศ.
2019 จนถึงปั จจุบน ั
3. วิธีลงทะเบียนรับเงินเยียวยา 5,000 บาท โดยให้เข้าไปที่เว็บไซต์ใด
ก. เราไม่ทิ้งกัน.com ข. คนไทยไม่ทิ้งกัน.com
ค. เราไม่ทิ้งกัน.co.th ง. คนไทยไม่ทิ้งกัน.co.th
ตอบ ก. สําหรับผูท้ ี่มีความประสงค์จะลงทะเบียนรับเงินเยียวยานั้นสามารถเข้าไปลงทะเบียนได้ที่เว็บไซต์ www.
เราไม่ทิ้งกัน.com
4. เงินเยียวยาเกษตร โอนรอบแรก วันที่เท่าไร
ก. 10 พ.ค. 63 ข. 18 พ.ค. 63
ค. 20 พ.ค. 63 ง. 28 พ.ค. 63
ตอบ ข. ธ.ก.ส.จะดําเนินการจ่ายเงินเยียวยาเกษตรกร โอนรอบแรกในวันที่ 15 พ.ค.63นี้ ครัวเรื อนละ 5,000 บาท
และทยอยโอนเงินให้เกษตรกรทุกวันๆ ละ 1 ล้านราย
5. มาตรการกระตุน้ การท่องเที่ยว ไทยเที่ยวไทย 3 แพ็คเกจ คือ
ก. เที่ยวปันสุ ข - เราไปเที่ยวกัน – กําลังใจ ข. เที่ยวสุ ขใจ - เราไปเที่ยวกัน – กําลังใจ
ค. เที่ยวปันสุ ข - เราไปเที่ยวด้วยกัน – กําลังใจ ง. เที่ยวสุ ขใจ - เราไปเที่ยวด้วยกัน – กําลังใจ
ตอบ ก. การประชุมคณะรัฐมนตรี (ครม.) วันนี้ 16 มิถุนายน 2563 มีวาระสําคัญที่ตอ้ งติดตามคือ มาตรการกระตุน้
การท่องเที่ยว ไทยเที่ยวไทย 3 แพ็คเกจ ประกอบด้วย “เที่ยวปันสุ ข - เราไปเที่ยวกัน - กําลังใจ” วงเงิน 2.2 หมื่น
ล้านบาท เพื่อกระตุน้ ให้คนไทยเดินทางท่องเที่ยวภายในประเทศ ช่วง 4 เดือนนี้ ตั้งแต่ ก.ค.-ต.ค.2563
6. พระพยอม กัลยาโณ เจ้าอาวาส ต้องย้ายของออกภายในสิ้นเดือนมิ.ย.63 หลังแพ้คดีศาลสัง่ วัดคืนที่ดินให้กบั
ทายาทเจ้าของที่ดิน วัดที่วา่ นี้ มีชื่อว่าอะไร
ก. วัดสวนดอก ข. วัดสวนแก้ว ค. วัดสวนขวัญ ง. วัดธรรมนิมิต
ตอบ ข. (12 มิ.ย.63) ที่วดั สวนแก้ว ต.บางเลน อ.บางใหญ่ จ.นนทบุรี พระราชธรรมนิเทศ หรื อพระพยอม กัลยาโณ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 87
-------------------------------------------------------------------------------
เจ้าอาวาสวัดสวนแก้ว เผยถึง กรณี เรื่ องที่ดินแปลงที่ทางมูลนิธิวดั สวนแก้วได้ซ้ือมาจากโยมคนหนึ่งที่ขายให้ในราคา
10 ล้านบาท ตั้งแต่ปี 2547 ทางมูลนิ ธิวดั สวนแก้ว ได้ทาํ ตามขั้นตอนกฎหมายอย่างถูกต้อง แต่ภายหลัง ลูกๆ เจ้าของ
ที่ดินทราบเรื่ องได้ไปฟ้องต่อศาลเพื่อขอที่ดินคืน และทางศาลมีคาํ สัง่ ให้ทางมูลนิธิวดั สวนแก้ว คืนที่ดินแปลง
ดังกล่าวให้กบั ทายาทเจ้าของที่ดิน ขณะนี้ทางเจ้าของที่ดินได้ทาํ รั้วสังกะสี ปิดกั้นไม่ให้เข้าออกในที่ดินแล้ว
7. ตั้ว ศรัณยู วงษ์กระจ่าง เสี ยชีวิต เมื่อวันที่ใด
ก. 10 มิถุนายน 2563 ข. 11 มิถุนายน 2563 ค. 12 มิถุนายน 2563 ง. 13 มิถุนายน 2563
ตอบ ก. การจากไปของ ตั้ว ศรัณยู วงษ์กระจ่าง ดาราและผูก้ าํ กับละครมากฝี มือ ในวัย 59 ปี ด้วยโรคมะเร็ งตับ เมื่อ
วันที่ 10 มิ.ย. ที่มาผ่านมา
8. พายุโซนร้อนที่ส่งผลกระทบต่อประเทศไทยระหว่างวันที่ 13-16 มิ.ย. 63 มีชื่อว่า
ก. โนรา ข. โนรี ค. นูรี ง. นูรา
ตอบ ค. กรมอุตุนิยมวิทยา ได้ออกประกาศเตือน เกี่ยวกับ พายุโซนร้อน “นูรี” (Nuri) ที่คาดว่าจะกระทบทุกภาค
ของประเทศไทยในระหว่างวันที่ 13-16 มิ.ย. นี้ ดังนั้น เรามาทําความรู ้จกั พายุโซนร้อนลูกนี้กนั
พายุโซนร้อน หรื อ Tropical Storm คือพายุที่ก่อตัวขึ้นเหนือน่านนํ้าทะเลในมหาสมุทรแถบเส้นศูนย์สูตร มี
ความเร็ วลมสูงสุ ดอยูใ่ นช่วง 64 ถึง 118 กิโลเมตรต่อชัว่ โมง มีขนาดเส้นผ่านศูนย์กลางมากกว่า 100 กิโลเมตร เป็ น
พายุหมุนเขตร้อน (Tropical Cyclone) ระยะกลางที่มีกาํ ลังมากกว่าพายุดีเปรสชัน (Tropical Depression) แต่ยงั
ไม่พฒั นาจนมีระดับความรุ นแรงเทียบเท่าพายุไต้ฝนุ่ ไซโคลน หรื อเฮอร์ริเคน
9. ค่าขวัญวันเด็ก ปี 2563 คือ
ก. เด็กไทยยุคใหม่ รู ้รักสามัคคี รู ้หน้าที่พลเมืองไทย
ข. รู ้คิด รู ้เท่าทัน สร้างสรรค์เทคโนโลยี
ค. เด็กไทยใส่ใจศึกษา พาชาติมนั่ คง
ง. เด็กดี หมัน่ เพียร เรี ยนรู ้ สู่อนาคต
ตอบ ก.
10. บุคคลในข้อใดได้รับสถิติใหม่ในการปี นยอดเขาเอเวอเรสต์มากครั้งที่สุดในโลก
ก. ซันมิต เทร็กส์ ข. หมิงมา เซอร์ปา ค. คามิ ริ ตา เซอร์ ง. เนนตรา เชรษฐา
ตอบ ค.
11. โครงการการพัฒนาระบบรถไฟความเร็ วสู งช่วงกรุ งเทพมหานคร-หนองคาย ระยะที่ 1 ในช่วงใด
ก. ช่วงกรุ งเทพมหานคร-อุบลราชธานี ข. ช่วงกรุ งเทพมหานคร-ขอนแก่น
ค. ช่วงกรุ งเทพมหานคร-นครราชสี มา ง. ช่วงกรุ งเทพมหานคร-นครศรี ธรรมราช
ตอบ ค.
12. โครงการรถไฟทางคู่ขนาดมาตรฐานเส้นทางกรุ งเทพมหานคร-นครราชสี มา-หนองคาย และเส้นทาง แก่ง
คอย-ท่าเรื อมาบตาพุด เป็ นการร่ วมมือระหว่างรัฐบาลไทยและรัฐบาลใด
ก. รัฐบาลญี่ปุ่น ข. รัฐบาลเกาหลีเหนือ
ค. รัฐบาลอินโดนีเซีย ง. รัฐบาลแห่งสาธารณรัฐประชาชนจีน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 88
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ง.
13. คณะรัฐมนตรี เห็นชอบมาตรการจ่ายเงินเยียวยาโควิด-19 ให้กบ ั ผูถ้ ือ บัตรคนจน หรื อ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
คนละเท่าใด
ก. 500 บาท ข. 700 บาท ค. 1,000 บาท ง. 1,500 บาท
ตอบ ค. คณะรัฐมนตรี เห็นชอบมาตรการจ่ายเงินเยียวยาโควิด-19 ให้กบั ผูถ้ ือ บัตรคนจน หรื อ บัตรสวัสดิการแห่งรัฐ
คนละ 1,000 บาท ที่ไม่ได้รับความช่วยเหลือเยียวยาจากมาตรการใดๆ ของรัฐบาลในช่วงการแพร่ ระบาดของโควิด
ทั้งนี้ ส่ าหรับผูม้ ีบตั รสวัสดิการแห่งรัฐ ที่ไม่ได้รับความช่วยเหลือเยียวยาจากโครงการของภาครัฐในช่วงที่มีการแพร่
ระบาดของโรคโควิด-19 จํานวน 1,164,222 คน จะได้รับเงินช่วยเหลือ เดือนละ 1,000 บาท เป็ นเวลา 3 เดือน
(พ.ค. – ก.ค. 63) ผ่านบัตรสวัสดิการแห่งรัฐ โดยไม่ตอ้ งลงทะเบียนใดๆ วงเงินงบประมาณ 3.49 พันล้านบาท
14. องค์กร Global COVID-19 หรื อ (GCI) จัดคะแนนดัชนี และอันดับให้ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ฟ้ื นตัว
จาก COVID-19 เป็ นอันดับที่เท่าไรของโลก
ก. อันดับ 2 ข. อันดับ 3 ค. อันดับ 4 ง. อันดับ 5
ตอบ ก. องค์กร Global COVID-19 หรื อ (GCI) จัดคะแนนดัชนีและอันดับให้ประเทศไทยเป็ นประเทศที่ฟ้ื นตัว
จาก COVID-19 เป็ นอันดับ 2 ของโลก จาก 184 ประเทศทัว่ โลก โดย 20 อันดับแรกเป็ นประเทศในเอเชีย 6
ประเทศ ซึ่งไทยได้คะแนนเป็ นอันดับ 1 ของเอเชีย
15. ประธานาธิ บดีสหรัฐคนที่ 46 คือ
ก. โจ ไบเดน ข. โดนัลด์ ทรัมป์ ค. จอร์ส คูลส์ ง. โจแดน เบล
ตอบ ก.
16. โครงการ “คนละครึ่ ง” เพื่อรับสิ ทธิ์ เงินซื้ อของในวงเงินกี่บาท
ก. 1,000 บาท ข. 2,000 บาท ค. 3,000 บาท ง. 4,000 บาท
ตอบ ค. โครงการ “คนละครึ่ ง” โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อฟื้ นฟูเศรษฐกิจระดับฐานราก สําหรับผูป้ ระกอบการรายย่อย
โดยเฉพาะกลุ่มหาบเร่ แผงลอย เพื่อให้มีรายได้จากการขายสิ นค้าเพิ่มขึ้น โดยภาครัฐร่ วมจ่ายค่าอาหาร เครื่ องดื่ม
และสิ นค้าทัว่ ไปผ่านฝ่ ายของผูซ้ ้ือ 50% โดยไม่เกิน 150 บาทต่อคนต่อวัน หรื อไม่เกิน 3,000 บาทต่อคนตลอด
ระยะเวลาโครงการ
-----------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 89
-------------------------------------------------------------------------------
 ความรู้ ด้านเศรษฐศาสตร์ เบื้องต้ น
แนวคิดทางด้านเศรษฐศาสตร์มีมาตั้งแต่สมัยโบราณแล้ว นักปราชญ์สมัยโบราณพยายามสอดแทรก
แนวความคิดและกฎเกณฑ์ทางเศรษฐศาสตร์ปะปนอยูใ่ นหลักปรัชญา ศาสนา ศีลธรรมและหลักปกครอง แต่
ความคิดเหล่านี้ยงั ไม่ถือเป็ นทฤษฎีทางเศรษฐศาสตร์ เช่น แนวคิดเรื่ องการแบ่งงานกันทาของเพลโต (Plato)
แนวคิดเรื่ องความมัง่ คัง่ ของอริ สโตเติล (Aristotle) เป็ นต้น
ศาสตร์หรื อวิชาที่เก่าแก่ที่สุด เช่น วิชาทางด้านแพทยศาสตร์ ฟิ สิ กส์ เคมี หรื อแม้กระทัง่ ศาสตร์ทางทหาร
ซึ่งแม้วา่ เศรษฐศาสตร์ (Economics) จะไม่ใช่ศาสตร์ที่เก่าแก่ แต่หากโดยหลักคิดของวิชาเศรษฐศาสตร์น้ นั ได้ถือ
กําเนิดขึ้นกับพฤติกรรมการใช้ชีวิตของมนุษย์มาอย่างยาวนาน เช่น การที่มนุษย์เลือกที่จะตัดสิ นใจหรื อกระทําการ
ใดๆล้วนแล้วแต่มีหลักคิดและเหตุผลทางเศรษฐศาสตร์เข้ามาเกี่ยวข้องหรื อรับรองเสมอ เพื่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
(Maximize Utilities) กับสิ่ งที่ทาํ ไปของผูต้ ดั สิ นใจนั้นๆ (สถานการจัดการพลังงาน มหาวิทยาลัยเชียงใหม่,
2550)
ในแง่ของประวัติศาสตร์การศึกษาทางเศรษฐศาสตร์ค่อนข้างเป็ นเรื่ องใหม่ของโลก โดยได้ถูกเรี ยบเรี ยงขึ้น
เพื่อรับรองการค้นหาแนวคิดที่มนุษย์จะสามารถจัดการทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างจํากัดให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด เพื่อ
ตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่มีอยูอ่ ย่างไม่จาํ กัด ทั้งต่อสิ่ งที่จาํ เป็ นได้แก่ปัจจัย 4 คือ
- ยารักษาโรค - เครื่ องนุ่งห่ ม - ที่อยูอ ่ าศัย - อาหาร
และสิ่ งไม่จาํ เป็ น เช่น รถยนต์ แหวน นาฬิกา โทรศัพท์ คอมพิวเตอร์ และสิ นค้าฟุ่ มเฟื อยต่างๆ เป็ นต้น
จากแนวคิดนี้จึงได้มีการเรี ยบเรี ยงอย่างเป็ นระบบครั้งแรก ในปี ค.ศ. 1776 (พ.ศ. 2319) เมื่อ Adam
Smith นักเศรษฐศาสตร์ ชาวอังกฤษ ได้จดั พิมพ์หนังสื อที่ชื่อ “An Inquiry into the Nature and Causes of the
Wealth of Nations” และได้มีการเผยแพร่ จนกลายเป็ นที่นิยมในการศึกษามากที่สุดอีกสาขาในโลกปั จจุบน ั
1. ความหมายของเศรษฐศาสตร์
“เศรษฐศาสตร์ ” ภาษาอังกฤษใช้คาว่า “Economics” เป็ นคาศัพท์ที่มีรากฐานมาจากภาษากรี ก คือ
“Oikonomikos” ซึ่ งหมายความว่า ศาสตร์ แห่ งการจัดการครอบครัว (สุ ดารัตน์, 2557) ทั้งนี้ เนื่ องจากในสมัย
โบราณนั้น มนุษย์จะอยูใ่ นสังคมเล็กๆ ที่แคบ ไม่มีการติดต่อข้ามชนเผ่า มีระบบผลิตและบริ โภคในเชิงผลผลิตทาง
เกษตรกรรมเพื่อเลี้ยงคนภายในสังคมเล็กๆ ของตนเองเท่านั้น (รัตนา และ ชลลดา, 2544) เนื่องจากสมัยก่อนเป็ นยุค
แห่งการล่าอาณานิคม และมีทรัพยากรอย่างเหลือเฟื อ จึงไม่ได้กล่าวถึงการจํากัดของทรัพยากร (เนื่องจากส่ วนหนึ่ง
มาจากเมืองขึ้น) Alfred Marshall ได้ให้นิยาม เศรษฐศาสตร์ ว่า (เอกฉัตร, 2547)
“เศรษฐศาสตร์ เป็ นวิชาที่ศึกษาถึงการดําเนินชีวิต (Business of Life) ตามปกติของมนุษย์”
เมื่อประชากรในยุโรปเพิ่มมากขึ้นพร้อมกับการอยูด่ ีกินดี ทําให้ทรัพยากรที่เคยมีเหลือเฟื อในยุคล่าอาณา
นิคมเริ่ มมีปัญหาขาดแคลน (Scarcity of Resources) ทําให้นิยามของเศรษฐศาสตร์เปลี่ยนไปจากเดิม และถูกใช้
มาจนถึงปัจจุบนั ความหมายที่นิยมคือ นิ ยามของ Prof. Paul A. Samuelson (Samuelson and Nordhaus,
2001) คือ
“เศรษฐศาสตร์ คือ วิชาที่ศึกษาถึงวิธีที่มนุษย์และสังคมเลือกใช้ในการตัดสิ นใจเพื่อเลือกใช้ทรัพยากรที่มีอยู่
อย่างจํากัด และสามารถนําไปใช้ประโยชน์ได้ในหลายๆ ทาง เพื่อผลิตสิ นค้าและบริ การแบบต่างๆ และมีการจา
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 90
-------------------------------------------------------------------------------
หน่ายจ่ายแจกสิ นค้าและบริ การดังกล่าวไปยังบุคคลหรื อกลุ่มบุคคลต่างๆ ในสังคมเพื่อใช้บริ โภค ทั้งในปัจจุบนั และ
อนาคต”
นอกจากนี้ยงั มีนิยามของ Lionel Robbins ได้รับการยอมรับมากอีกคน ซึ่งกล่าวว่า “เศรษฐศาสตร์คือ วิชา
ที่ศึกษาถึงการจัดการทรัพยากรที่มีจาํ นวนจากัด เพื่อสนองตอบต่อความต้องการของมนุษย์ที่มีอยูอ่ ย่างไม่จาํ กัดให้
เกิดประโยชน์สูงสุ ด”
เศรษฐศาสตร์ถือเป็ นศาสตร์ที่พิเศษ เนื่องจากเป็ นศาสตร์ที่มีความเกี่ยวข้องกับการตัดสิ นใจของมนุษย์ซ่ ึง
ถือเป็ นปักเจก ดังนั้นการตัดสิ นใจของมนุษย์ในการเลือกบริ โภคสิ นค้าชนิดเดียวกันนั้น จึงมีความแตกต่างกันได้ท้ งั
ในด้าน ยีห่ อ้ ราคา คุณภาพ หรื ออาจพูดได้วา่ แม้นกั เศรษฐศาสตร์ได้ศึกษามาเหมือนกัน อาจจะคิดและเลือกใช้
แนวทางเพื่อแก้ปัญหาที่ต่างกัน และมีมุมมองในการแก้ไขปัญหาที่ต่างกันโดยสิ้ นเชิง ดังแสดงในตารางที่ 1
ตารางที่ 1. เศรษฐศาสตร์กบั การแก้ปัญหาทัว่ ไปของสังคม
ปัญหา การแก้ไข ข้อแย้ง
กรณี ญี่ปุ่น รัฐบาลตั้งกําแพงภาษีขา้ วที่ - ราคาข้าวในญี่ปุ่นจะสู งขึ้น ทําให้
ข้าวจากไทยจะเข้ามาขาย จะนําเข้า อุตสาหกรรมขนบกระทบกระเทือน
ในญี่ปุ่น ด้วยราคาขายที่ต่าํ ราคาขนมสู งขึ้นตาม
กว่า - ไทยขายข้าวญี่ปุ่นได้นอ ้ ยลง ทําให้
ชาวนาไทยขาดกําลังซื้อและซื้อสิ นค้า
อื่นๆ ของญี่ปุ่นน้อยลง
กรณี สหรัฐ ออกแบบระบบตาข่ายจับ - ต้นทุนการจับทูน่าสู งขึ้น ทําให้ราคา
อุตสาหกรรมจับปลาทูน่า ปลาทูน่าใหม่ เพื่อให้ ขายทูน่าในสหรัฐสู งขึ้น
ส่ งผลให้จาํ นวนปลาโลมา ปลาโลมารอดออกมาได้ - ตาข่ายชนิดใหม่อาจทําให้จบั ทูน่าได้
ลดน้อยลง ยากขึ้น ทําให้ต่างประเทศสามารถส่ ง
ปลาทูน่าเข้ามาขายในสหรัฐมากขึ้น
กรณี ไทย สงครามต่อต้านยาเสพติด - รัฐบาลปราบปรามอย่างหนัก ทําให้
คนไทยติดยาบ้ามากขึ้น และการบัญญัติโทษผูท้ ี่ ยาบ้าหายาก ราคาจึงสู งขึ้นมาก ส่ งผล
เกี่ยวข้องรุ นแรงขึ้น ให้ผเู ้ สพที่มีรายได้นอ้ ยก่ออาชญากรรม
เพื่อหาเงินมาซื้อ
- ผลประโยชน์ของยาบ้ามีมาก อาจ
ก่อให้เกิดการคอรัปชัน่ ในผูท้ ี่เกี่ยวข้อง
- ผลการปราบปราม อาจส่ งผลให้ผู ้
บริ สุทธิ์มีการสู ญเสี ย

ประเภทของเศรษฐศาสตร์
ก่อนที่จะทราบว่าเศรษฐศาสตร์มีกี่ประเภท สิ่ งที่จาํ เป็ นต้องทําความเข้าใจก่อนคือ ต้องทราบว่า การศึกษา
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 91
-------------------------------------------------------------------------------
เศรษฐศาสตร์มีขอ้ สมมุติฐานอย่างไรก่อน เพื่อกําหนดแนวทางในการศึกษาให้ชดั เจน โดยทัว่ ไป สมมุติฐานทาง
เศรษฐศาสตร์ (Economics Assumption) โดยแบ่งเป็ น 2 ประเภท คือ
-มนุษย์ดาํ เนินกิจกรรมอย่างมีเหตุผลทางเศรษฐกิจ (Economics Rationality)มนุษย์ไม่วา่ อยูใ่ นเพศ ฐานะ
การศึกษา หรื อตําแหน่งใดๆ จะมีการตัดสิ นใจที่จะทําให้ตนเองได้รับประโยชน์สูงสุ ดเสมอ (Maximization
Hypothesis) เช่น หากมีร้านหลายร้านให้เลือกซื้ อ VDO มนุ ษย์จะตัดสิ นใจเลือกซื้ อ VDO จากร้านที่ขายราคา
ตํ่าสุ ด หรื อบางกรณี อาจตัดสิ นตามความนิ ยมหรื อความเคยชินของตัวเอง หรื อเพราะความมีระดับ แม้ราคาสิ นค้า
อาจจะแพงกว่าร้านอื่นก็ตาม
-สิ่ งอื่นนอกเหนือจากการพิจารณา ให้มีค่าคงที่ (All other things being equal)เนื่องจากในทาง
เศรษฐศาสตร์การตัดสิ นใจมีความหลากหลายและมีผลกระทบในวงกว้างมาก จึงเป็ นไปไม่ได้ที่ผศู ้ ึกษาจะมีขอ้ มูล
ครบทุกด้าน ดังนั้นจะสมมุติฐานให้ ปัจจัยรอบด้านที่ไม่เกี่ยวข้องหรื อมีความเกี่ยวข้อกับปัญหาน้อยมากนั้นมีค่าไม่
เปลี่ยนแปลงตลอดช่วงเวลาที่ทาํ การศึกษา เช่น รสนิยมของผูบ้ ริ โภคมีค่าคงที่
ตัวอย่าง เช่น กรณี ในจังหวัดเชียงใหม่มีขา่ วลงหนังสื อพิมพ์ “แห่กินลาบต้นยาง น้องแนนสาวเสิ ร์ฟสวย
ระดับนางแบบ” สื่ อให้เห็นว่าผูท้ ี่ไปรับประทานอาหารมีวตั ถุประสงค์ในการตัดสิ นใจต่างกัน บางคนไปเนื่องจาก
อาหารอร่ อย แต่บางคนไปเนื่องจากมีข่าวจึงต้องการเจอกับผูท้ ี่เป็ นข่าว ดังนั้นจึงเข้ากับประเด็นสมติฐาน มนุษย์
ดําเนินกิจกรรมอย่างมีเหตุผลทางเศรษฐกิจ (Economics Rationality) สิ่ งอื่นนอกเหนือจากการพิจารณา ให้มี
ค่าคงที่ (All other things being equal)
ในการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์จะแบ่งการวิเคราะห์ออกเป็ น 2 รู ปแบบด้วยกัน คือ
การวิเคราะห์ ตามความเป็ นจริง (Positive Economics)
เป็ นการวิเคราะห์เพื่ออธิบายพฤติกรรมทางเศรษฐศาสตร์อย่างมีเหตุมีผลโดยปราศจากการใช้ดุลยพินิจ ทั้ง
การวิเคราะห์สิ่งที่เคยเกิดขึ้นในอดีต (What was?) ที่กาลังเกิดขึ้นอยู่ (What is?) หรื อที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
(What will be) เช่น การวิเคราะห์ผลของราคานํ้ามันที่สูงขึ้น(หรื อลดตํ่าลง) ที่มีต่อราคาสิ นค้าและบริ การอื่นๆ หาก
รัฐบาลเก็บภาษีจากผูป้ ล่อยมลพิษ จะส่ งผลต่อราคาสิ นค้าและปริ มาณการบริ โภคในสิ นค้านั้นๆหรื อไม่
การวิเคราะห์ จากทีค ่ วรเป็ น (Normative Economics)
เป็ นการวิเคราะห์โดยคาตอบที่ได้จากวิเคราะห์แบบนี้จะไม่แน่นอนตายตัวเหมือนแบบแรก เนื่องจากจะ
ขึ้นกับวิจารณญาณของผูว้ ิเคราะห์น้ นั ๆ เป็ นหลัก เช่น การวิเคราะห์วา่ รัฐบาลไทยมีนโยบายแทรกแซงราคานํ้ามันใน
ช่วงเวลาที่ราคานํ้ามันในตลาดโลกมีราคาสู งขึ้นหรื อไม่ หรื อรัฐบาลมีนโยบายลอยตัวราคาก๊าซหุงต้มให้สะท้อน
ราคาที่แท้จริ งหรื อไม่ ซึ่งแต่ละคนก็จะมีแนวคิดไม่เหมือนกัน
นับตั้งแต่ผลงาน The Wealth of the Nation ของ Adam Smith ถือกําเนิดขึ้นในปี ค.ศ.1776 เนื่องจาก
เป็ นยุคอุตสาหกรรมดังนั้นการศึกษาเศรษฐศาสตร์หลังจากนั้นจะเน้นการแก้ปัญหาเศรษฐกิจของคนในสังคม เช่น
การแก้ปัญหาครัวเรื อน โรงงานอุตสาหกรรม โดยเชื่อตามกฎของชายส์ (Say‟s Law) ว่า อุปทานจะสร้างอุปสงค์
ด้วยตัวมันเองเสมอ (Supply always creates its own demand) เช่น เมื่อโรงงานสามารถผลิตสิ นค้ามาขายก็ไม่
ต้องกลัวจะไม่มีคนซื้อ เนื่องจาก คนงานหรื อลูกจ้างของโรงงานก็สามารถเป็ นผูซ้ ้ือได้ ดังนั้นการศึกษาในช่วงแรก
จึงมุ่งเน้นไปในสิ่ งที่ในปัจจุบนั เข้าใจกันในชื่อ เศรษฐศาสตร์จุลภาค เป็ นหลัก
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 92
-------------------------------------------------------------------------------
แต่หลังจากเมื่อโลกประสบปัญหาเศรษฐกิจตกตํ่าครั้งใหญ่ (The Great Depression) ในทศวรรษที่ 1930
ส่ งผลให้อตั ราคนว่างงานในอังกฤษและสหรัฐพุง่ สู งถึง 25 % ของคนงานทั้งหมด ดังนั้นจึงพบว่าแนวคิดเดิมตาม
หลักของ Adam Smith นั้นไม่สามารถแก้ปัญหาได้เสมอไปโดยเฉพาะหากไม่สนใจสภาพเศรษฐกิจโดยรวม จึงมี
การปรับปรุ งแนวคิดและการพิจารณาให้ความสําคัญต่อเศรษฐกิจในภาพรวมมากขึ้นไม่ใช่ไปมองเฉพาะภาพเล็ก
โดยในทางสากลยึดถือแนวคิดของ John Maynard Keynes นักเศรษฐศาสตร์ชาวอังกฤษที่บุกเบิกแนวคิดที่เน้น
เศรษฐศาสตร์ในภาพรวม และหลังจากนั้นได้มีการศึกษาแนวคิดดังกล่าวและมีการแตกแขนงสื บต่อกันมามากมาย
โดยรู ้จกั กันในนาม เศรษฐศาสตร์มหภาค ซึ่งรายละเอียดของการศึกษาเศรษฐศาสตร์ท้ งั 2 ประเภท มีดงั ต่อไปนี้
เศรษฐศาสตร์ จุลภาค (Microeconomics)
เป็ นการศึกษาถึงพฤติกรรมของเศรษฐกิจในระดับหน่วย หรื อระดับบุคคล เช่น ศึกษาเกี่ยวกับการ
ดําเนินการเกี่ยวกับการผลิต การบริ โภคของบุคคลใดบุคคลหนึ่งซึ่งเกี่ยวกับส่ วนย่อยๆ ของระบบเศรษฐกิจ โดยเน้น
ถึงปัจจัยการผลิตต่างๆ โดยมีตน้ ทุนการผลิตที่ต่าํ ที่สุดเพื่อก่อให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด (Minimization of Cost for
Maximization of Utilities) ซึ่ งทําให้เศรษฐศาสตร์ จุลภาคเน้นไปที่การกําหนดราคาสิ นค้าจากต้นทุนการผลิต
และความต้องการใช้สินค้าและบริ การนั้นของผูบ้ ริ โภค กล่าวโดยสรุ ปคือ เป็ นเรื่ องของธุรกิจเดียว ตลาดเดียว ซึ่ง
สามารถใช้หลักอุปสงค์ (Demand) คือ การมองทางด้านผูซ้ ้ือ และอุปทาน (Supply) ซึ่งเป็ นการมองทางด้านผูข้ าย
โดยในการวิเคราะห์สามารถใช้กลไกลราคาทําหน้าที่ในตลาด เช่น
- การศึกษาพฤติกรรมของผูบ ้ ริ โภคที่มีต่อการบริ โภคสิ นค้าชนิดใดชนิดหนึ่ง
- การศึกษาว่าการโฆษณามีอิทธิ พลต่อพฤติกรรมการบริ โภคของประชาชนมากน้อยเพียงใด
เศรษฐศาสตร์ มหภาค (Macroeconomics)
เป็ นการศึกษาถึงพฤติกรรมของเศรษฐกิจในระดับนโยบาย หรื อมองภาพเศรษฐกิจโดยรวม เช่น ศึกษาถึง
ผลผลิตรวมของประเทศ อัตราการจ้างงาน การเงินการธนาคาร รายได้ประชาชาติ การส่ งออก/นําเข้า เป็ นต้น โดยมี
แนวคิดในการวิเคราะห์มากมาย แต่หลักการเบื้องต้นง่ายๆ คือ อุปสงค์ (Demand) และอุปทาน (Supply) เช่นกัน
ซึ่งการศึกษาเศรษฐศาสตร์มหภาคทําให้เราสามารถทําความเข้าใจถึงปรากฏการณ์ทางเศรษฐกิจได้ดีข้ ึน สามารถ
นําเอาแนวคิดและทฤษฎีไปใช้เป็ นเครื่ องมือประกอบการวิเคราะห์ตดั สิ นใจบริ หารงานด้านต่างๆ ทั้งภาครัฐและ
เอกชนในการการสร้างความเจริ ญเติบโตทางด้านเศรษฐกิจ (Economic Growth) การรักษาเสถียรภาพทาง
เศรษฐกิจ (Economic Stabilization) และการกระจายความเป็ นธรรม (Distribution Function) เช่น
- รัฐบาลออกแถลงการณ์วา่ เศรษฐกิจในปี พ.ศ. 2551 ขยายตัวร้อยละ 5 ต่อปี
- การศึกษาถึงผลกระทบของการก่อหนี้ สาธารณะที่มีต่อภาระภาษีของประชาชน
เศรษฐศาสตร์มหภาค เป็ นศาสตร์ที่วา่ ด้วยเรื่ องราวหรื อพฤติกรรมทางเศรษฐกิจในระดับกว้าง ซึ่งเป็ น
เรื่ องราวของเศรษฐกิจในระดับส่ วนรวมของประเทศ ของภูมิภาค จนถึงระดับโลก เช่น การศึกษาเกี่ยวกับผลผลิต
โดยรวมของประเทศ หรื อรายได้ประชาชาติ การจ้างงาน ระดับราคา พฤติกรรมการใช้จ่ายอุปโภคบริ โภคของ
ครัวเรื อน การนําเข้า ส่ งออก ดุลการค้า โครงสร้างและปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจระดับชาติ และนโยบายของ
ภาครัฐที่ถูกใช้เพื่อให้เกิดผลกระทบต่อปรากฎการณ์ทางเศรษฐกิจ เป็ นต้น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 93
-------------------------------------------------------------------------------
2.ระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจ (Economic System) หมายถึง กลุ่มบุคคลของสังคมที่รวมตัวกันเป็ นกลุ่มของสถาบัน
ทางเศรษฐกิจต่างๆ ซึ่งยึดถือแนวปฏิบตั ิแนวทางเดียวกันในการประกอบกิจกรรมทางเศรษฐกิจ โดยมีวตั ถุประสงค์
ร่ วมกัน คือ อํานวยความสะดวกในการที่จะแก้ไขปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ เพื่อให้สามารถบําบัดความต้องการ
ให้แก่บุคคลต่างๆ ที่อยูร่ ่ วมกันในสังคมนั้นให้ได้รับประโยชน์มากที่สุด เกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ด
1. องค์ ประกอบของระบบเศรษฐกิจ
โดยในระบบเศรษฐกิจจะประกอบไปด้วย หน่วยเศรษฐกิจ (Economics Unit) 3 หน่วยที่สาํ คัญ คือ
1. หน่ วยครัวเรื อน (Household) หมายถึง หน่วยเศรษฐกิจที่ประกอบด้วยบุคคลเพียงหนึ่ งคนหรื อมากกว่า
หนึ่งคนอาศัยอยูใ่ ต้หลังคาเดียวกัน มีการตัดสิ นใจร่ วมกันในการใช้ทรัพยากรหรื อปัจจัยทางด้านการเงิน เพื่อให้เกิด
ผลประโยชน์และสวัสดิภาพแก่กลุ่มตนมากที่สุด ซึ่งหน่วยครัวเรื อนจะมีหน้าที่สาํ คัญ คือ มีหน้าที่เป็ นผูผ้ ลิตหรื อหา
ปัจจัยการผลิต ได้แก่ ที่ดิน ทุน แรงงาน และการประกอบการ ให้ฝ่ายผลิตนําไปผลิตเป็ นสิ นค้าและบริ การ และ
หน่วยครัวเรื อนอาจเป็ นผูบ้ ริ โภคเอง ดังนั้น หน่วยครัวเรื อนจึงมีหน้าที่สาํ คัญในระบบเศรษฐกิจ 2 ประการ คือ เป็ น
ผูใ้ ห้ปัจจัยการผลิตหรื อผูผ้ ลิตและเป็ นผูบ้ ริ โภคสิ นค้าและบริ การ โดยโดยปัจจัยการผลิตในทางเศรษฐศาสตร์
พลังงาน จะประกอบด้วยหลัก 4 ปัจจัยหลัก คือ KLEM ดังนี้
- ทุน (Capital: K) คือ ทุนทุกประเภทที่ใช้ในการผลิต เช่น สิ นทรัพย์ประเภททุนอย่าง ที่ดิน เครื่ องจักรใน
โรงงาน ตัวอาคาร รวมไปถึงผลตอบแทนของการใช้ทุนในการผลิต นัน่ คือ ดอกเบี้ย (Interest) หรื อ ค่าเช่า (Rent)
- แรงงาน (Labour: L) คือ บุคคลที่เข้ามามีส่วนร่ วมในการผลิตสิ นค้าและบริ การ จะเป็ นแรงงานมี
ฝี มือหรื อไม่มีฝีมือก็ได้ โดยมีผลตอบแทนเป็ นค่าแรงหรื อค่าจ้าง (Wages)
- พลังงาน (Energy: E) คือ พลังงานที่ตอ้ งใช้ในการผลิตสิ นค้าและบริ การ เช่น ไฟฟ้า นํ้ามัน เป็ นต้น
ผลตอบแทนของผูผ้ ลิตพลังงานคือ กําไร (Profit) หรื อรายได้นนั่ เอง
- วัตถุดิบ (Raw Materials: M) คือ วัตถุดิบที่ตอ้ งเข้าสู่ การผลิตสิ นค้าและบริ การ เช่น แกลบในโรงไฟฟ้า
ชีวมวล เป็ นต้น ผลตอบแทนของผูผ้ ลิตพลังงานคือ กําไร (Profit) หรื อรายได้เช่นกัน
2. หน่ วยธุรกิจ (Business Unit)
หมายถึง กลุ่มคนหรื อกลุ่มบุคคลที่ทาํ หน้าที่ในการนําปัจจัยการผลิตมาทําการผลิตสิ นค้าหรื อบริ การแล้ว
จําหน่ายไปให้ผบู ้ ริ โภค ดังนั้น หน่วยธุรกิจเป็ นทั้งผูผ้ ลิตที่ผลิตสิ นค้าและบริ การเอง หรื อเป็ นผูจ้ าํ หน่ายสิ นค้าและ
บริ การ หรื อบางรายอาจอาจเป็ นทั้งผูผ้ ลิตและผูจ้ าํ หน่ายก็ได้ หน่วยเศรษฐกิจที่สาํ คัญจะประกอบไปด้วยสมาชิก
ใหญ่ๆ 2 กลุ่ม คือ
ก. ผูผ้ ลิต (Producers)
ข. ผูข้ าย (Sellers)
บุคคลทั้ง 2 กลุ่มนี้อาจทําหน้าที่ท้ งั ผูผ้ ลิตและผูข้ ายในขณะเดียวกันก็ได้ เป้าหมายหลักของหน่วยธุรกิจ
ได้แก่ การแสวงหากําไรสู งสุ ดจากการประกอบการของตน โดยอาจทําได้หลายวิธี เช่น พยายามขายให้ได้มากที่สุด
การขยายส่ วนแบ่งของตลาด (Market Share) ให้มากขึ้น หรื อ การกระทําที่จะช่วยให้สินค้าของตนเป็ นที่ตอ้ งการ
ของผูบ้ ริ โภคมากกว่าสิ นค้าของผูข้ ายรายอื่นๆ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 94
-------------------------------------------------------------------------------
หน่วยเศรษฐกิจทั้ง 2 หน่วย คือ หน่วยครัวเรื อนและหน่วยธุรกิจ จะทําหน้าที่สมั พันธ์กนั จนเกิดเป็ นวงจร
ในระบบเศรษฐกิจดังรู ปที่ 1.

รู ปที่ 1. วงจรเศรษฐกิจพื้นฐาน (Circular flow of Macroeconomics Diagram)


3. หน่ วยรัฐบาล (Government )
หมายถึง หน่วยงานหรื อส่ วนราชการที่จดั ตั้งขึ้นโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อการดําเนินการสาธารณประโยชน์
ซึ่งหน่วยรัฐบาลจะเป็ นทั้งผูผ้ ลิต ผูบ้ ริ โภค เจ้าของปัจจัยการผลิต และมีความสัมพันธ์กบั หน่วยอื่นๆ ในระบบ
เศรษฐกิจ โดยให้ความช่วยเหลือ ส่ งเสริ ม สนับสนุน และควบคุมดูแลการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจให้เป็ นไป
ตามแนวทางที่ประเทศต้องการ
โดยสรุ ปบุคคลต่างๆ ที่อยูใ่ นแต่ละหน่วยของระบบเศรษฐกิจจะมีหน้าที่แตกต่างกันซึ่งอาจจะแบ่งเป็ น 3
ประเภท คือ
- ผูผ้ ลิต (Producer): เป็ นผูท ้ ี่ดาํ เนินกิจกรรมในการผลิตสิ นค้าหรื อบริ การเพื่อจําหน่ายให้แก่ผบู ้ ริ โภค โดย
มีจุดมุ่งหมายคือต้องการผลกําไรสู งสุ ด (Maximize Profit) จากการผลิตสิ นค้าและบริ การนั้นๆ
- ผูบ ้ ริ โภค (Consumer): เป็ นผูท้ ี่ดาํ เนินกิจกรรมในการบริ โภคสิ นค้าและบริ การ โดยมีจุดมุ่งหมายคือ
ต้องการความพึงพอใจสู งสุด (Maximize Satisfaction) จากการผลิตสิ นค้าและบริ การนั้นๆ
- ปั จจัยการผลิต (Factor Owners): เป็ นผูท ้ ี่เป็ นเจ้าของหรื อครอบครองปัจจัยการผลิต (Factor Inputs) ที่
เสนอขายปัจจัยการผลิตที่ตนมีหรื อครอบครองให้แก่ผผู ้ ลิต โดยมีจุดมุ่งหมายคือต้องการผลตอบแทนสู งสุ ด ทั้งที่
เป็ นตัวเงินหรื อไม่เป็ นตัวเงิน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 95
-------------------------------------------------------------------------------

รู ปที่ 2. วงจรเศรษฐกิจพื้นฐาน โดยใช้กลไกลหน่วยรัฐบาลในการควบคุม

ทั้งผูผ้ ลิต ผูบ้ ริ โภค และเจ้าของปัจจัยการผลิต ต่างมีความสัมพันธ์เชิงเศรษฐกิจต่อกัน โดยที่เจ้าของปัจจัย


การผลิตจะจําหน่ายปัจจัยการผลิต (KLEM) ผ่าน “ตลาดสําหรับปัจจัยการผลิต” เพือ่ ป้อนสู่ ผผู ้ ลิต(หรื อจะเรี ยกว่า
ผูใ้ ช้ปัจจัยการผลิตก็ได้) โดยเจ้าของปัจจัยการผลิตจะได้รับรายได้ (Incomes) จากผูผ้ ลิต ในขณะผูผ้ ลิตจะต้องจ่าย
รายได้น้ นั ในรู ปของแรงงาน (Wages) เพื่อจ้างแรงงาน ค่าเช่า (Rent) ในที่ดิน เครื่ องจักร หรื อค่าเช่าโรงงาน หรื อ
ผลกําไรจากรายได้อื่นๆ (Profit) จากการขายวัตถุดิบ ค่านํ้า ค่าไฟฟ้า และค่าดอกเบี้ยธนาคาร เป็ นต้น ในขณะด้าน
หนึ่งเมื่อผูผ้ ลิตสามารถผลิตสิ นค้าและบริ การของตนได้แล้ว ก็จะนําสิ นค้าและบริ การนั้นเข้าสู่ “ตลาดสิ นค้าและ
บริ การ” เพื่อจําหน่ายให้แก่ผบู ้ ริ โภค อันจะนํามาซึ่งรายรับ (Revenues) ของผูผ้ ลิตที่เกิดจากค่าใช้จ่ายของการ
บริ โภค (Consumption Expenditures) ของฝั่งผูผ้ ลิตนัน่ เอง ดังแสดงในวงจรเศรษฐกิจพื้นฐาน ดังรู ปที่ 2.
2.ประเภทระบบเศรษฐกิจ
ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ ในโลกนั้น แบ่งตามหน้าที่การตัดสิ นใจทางเศรษฐกิจ ว่าอํานาจการตัดสิ นใจ
ขึ้นอยูก่ บั กลุ่มใด ระหว่างเอกชนกับรัฐ หรื อผสมผสานระหว่างเอกชนและรัฐ ปัจจุบนั ระบบเศรษฐกิจของโลกแบ่ง
ตามลักษณะลัทธินิยม ซึ่งสอดคล้องกับการเมืองการปกครองของประเทศนั้นๆสามารถแบ่งได้ 4 ระบบ ดังนี้
1. ระบบทุนนิยมหรื อเสรี นิยม (Capitalist Economic System) เป็ นระบบเศรษฐกิจที่ถือว่ากิจกรรมทาง
เศรษฐกิจโดยเฉพาะอย่างยิง่ การเป็ นเจ้าของปัจจัยและการลงทุนในการผลิตเป็ นกรรมสิ ทธิ์ของเอกชน และยอมให้
ผูป้ ระกอบการมีโอกาสแข่งขันในทางเศรษฐกิจ เพื่อให้ได้มาซึ่งผลกําไร หรื อผลประโยชน์ตามความสามารถและ
ความปรารถนาของแต่ละบุคคล ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยมมีชื่อเรี ยกต่างๆ กัน เช่น ระบบเศรษฐกิจแบบเสรี
(Free Economy) ระบบธุรกิจเอกชน (Private Enterprise) ระบบตลาดแท้ (Market System) ระบบเศรษฐกิจ
แบบทุนนิยมนี้เราจัดอยูใ่ นระบบเศรษฐกิจแบบไม่มีการวางแผน เพราะการตัดสิ นใจที่จะผลิตอะไร ผลิตอย่างไร
และผลิตเพื่อใคร ตกอยูใ่ ต้อิทธิพลของกลไกราคาทั้งสิ้ น โดยเชื่อว่า การแข่งขันทางเศรษฐกิจโดยเสรี เป็ นวิธีที่ดี
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 96
-------------------------------------------------------------------------------
ที่สุดในการเพิม่ ประสิ ทธิภาพการผลิต รวมถึงในการกําหนดปริ มาณและคุณภาพของผลผลิตให้สอดคล้องกับความ
ต้องการของผูบ้ ริ โภค
2. ระบบสังคมนิ ยม (Socialist Economic System) หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่รัฐเข้าไปเป็ นเจ้าของ
ปัจจัยการผลิตในภาคอุตสาหกรรมขั้นพื้นฐาน เสรี ภาพในการผลิตของเอกชนถูกจากัดลงไป รัฐจะเป็ นผูว้ างแผน
และควบคุมการผลิต โดยเป็ นผูก้ าํ หนดว่าจะผลิตอะไร จํานวนมากน้อยเท่าไร และจะแบ่งสรรให้แก่ผใู ้ ด มิใช่เพือ่ มุ่ง
ผลทางด้านกําไร ประเทศเหล่านี้จะโอนกิจการธนาคาร และกิจการที่ใช้ทรัพยากรเป็ นวัตถุดิบ เช่น ป่ าไม้ นํ้ามัน
เหมืองแร่ เป็ นต้น รัฐที่ใช้ระบบเศรษฐกิจแบบนี้ส่วนมากจึงต้องเป็ นรัฐสวัสดิการ (Welfare State) เพื่อเป็ น
หลักประกันการกินดีอยูด่ ีของประชาชน
3. ระบบคอมมิวนิ สต์ (Communist Economic System) เป็ นระบบเศรษฐกิจที่ทรัพย์สินทุกอย่างเป็ น
ของรัฐ เอกชนไม่มีสิทธิ์เป็ นเจ้าของทรัพย์สินใดๆ รัฐเข้าควบคุมการผลิตเองโดยสมบูรณ์ การที่จะผลิตอะไร ผลิต
อย่างไร และผลิตเพื่อใครบ้างนั้น รัฐเป็ นผูว้ างแผนและดําเนินการทั้งสิ้น
4. ระบบเศรษฐกิจแบบผสม (Mixed Economic System) หมายถึง ระบบเศรษฐกิจที่รัฐมีส่วนใน
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศหลายประการ เช่น เข้าแทรกแซงหรื อควบคุมกิจกรรมเศรษฐกิจบางอย่าง
ตลอดจนดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจเสี ยเอง แต่กิจกรรมส่ วนใหญ่ยงั เป็ นของเอกชนอยู่ ในระบบนี้รัฐบาลและ
เอกชนต้องรับผิดชอบร่ วมกัน ในการตัดสิ นปัญหาว่าจะผลิตอะไร ผลิตอย่างไร และผลิตเพื่อใคร โดยพยายาม
กําหนดขอบเขตของรัฐบาลในการควบคุม ส่ งเสริ ม ช่วยเหลือในด้านต่างๆ เช่น การไฟฟ้า การประปา การขนส่ ง
การศึกษา การป้องกันประเทศ เป็ นต้น
3. ระบบเศรษฐกิจของประเทศไทย
ตามที่ได้พิจารณาจะเห็นว่า ประเทศประชาธิปไตยที่กาลังพัฒนาส่ วนมากใช้ระบบเศรษฐกิจแบบผสม
(Mixed Economic System) ค่อนไปทางทุนนิยม รวมถึงประเทศไทยด้วย โดยที่ท้งั รัฐบาลและเอกชนมีสิทธิเป็ น
เจ้าของทั้งทรัพยากร และปัจจัยการผลิตต่างๆ เอกชนยังคงมีแรงจูงใจในการผลิต โดยอาศัยกลไกราคา และโดยการ
ควบคุมจากรัฐบาล เพื่อแก้ปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ และคุม้ ครองผลประโยชน์ของสังคมส่ วนรวม ในส่ วนที่รัฐ
เข้าไปดําการบางอย่าง เช่น
1. ดําเนิ นการเกี่ยวกับการป้องกันประเทศและความมัน ่ คงของประเทศ เช่น กิจกรรมด้านทหาร ตํารวจ ศาล
เป็ นต้น
2. ดําเนิ นการด้านเศรษฐกิจพื้นฐาน เช่น สร้างสนามบิน ถนน รถไฟ เป็ นต้น
3. ควบคุมการดําเนิ นการด้านการศึกษาและการสาธารณสุ ข เช่น จัดการศึกษาขั้นพื้นฐานจัดการด้าน
การแพทย์ เป็ นต้น
4. ดําเนิ นกิจการสาธารณู ปโภค เช่น การรถไฟ การไฟฟ้า การประปา เป็ นต้น
อุปสงค์ และอุปทาน
1. อุปสงค์
อุปสงค์ (Demand) หมายถึง ปริ มาณสิ นค้าและบริ การชนิดใดชนิดหนึ่งที่มีผตู ้ อ้ งการซื้อ ณ ระดับราคา
ต่างๆ ของสิ นค้าชนิดนั้นภายในระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยสมมติให้ปัจจัยอื่นๆ ที่กาํ หนดอุปสงค์คงที่ ความต้องการ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 97
-------------------------------------------------------------------------------
ในที่น้ ีตอ้ งมีอาํ นาจซื้อ (Purchasing Power หรื อ Ability to Pay) ด้วย ถ้าบุคคลใดบุคคลหนึ่ง มีแต่ความต้องการ
ในตัวสิ นค้าโดยไม่มีเงินที่จะจ่ายซื้อ เราเรี ยกความต้องการลักษณะนั้นว่า “ความต้องการ (Want)” ไม่ใช่ “อุปสงค์
(Demand)” ดังนั้น องค์ประกอบของอุปสงค์ จะประกอบด้วย ความต้องการและอํานาจซื้อ
2. อุปทาน
อุปทาน (Supply) หมายถึง ปริ มาณสิ นค้าและบริ การชนิดใดชนิดหนึ่งที่ผผู ้ ลิตเต็มใจนําออกเสนอขาย ใน
ตลาดภายในระยะเวลาหนึ่ง ณ ระดับราคาต่างๆ กันของสิ นค้าและบริ การนั้น โดยสมมติให้ปัจจัยอื่นๆ ที่กาํ หนด
อุปทานคงที่ อุปทานประกอบด้วย 2 ส่ วนสําคัญ คือ
1. ความเต็มใจที่จะเสนอขายหรื อให้บริ การ (Willingness to Sell) กล่าวคือ ณ ระดับราคาต่างๆ ที่ตลาด
กําหนดมาให้ ผูผ้ ลิตหรื อผูป้ ระกอบการมีความยินดีหรื อเต็มใจที่จะเสนอขายสิ นค้าหรื อให้บริ การตามความต้องการ
ซื้อของผูบ้ ริ โภค
2. ความสามารถในการจัดหามาเสนอขายหรื อให้บริ การ(Ability to Sell) กล่าวคือ ผูผ้ ลิต หรื อ
ผูป้ ระกอบการ จะต้องจัดหาให้มีสินค้า หรื อบริ การ อย่างเพียงพอที่จะตอบสนองความต้องการซื้อของผูบ้ ริ โภค ณ
ระดับราคาของตลาดในขณะนั้นๆ (สามารถเสนอขาย หรื อให้บริ การได้)
เมื่อกล่าวถึงคําว่า “อุปทาน” จะเป็ นการมองทางด้านของผูผ้ ลิต ซึ่งตรงข้ามกับอุปสงค์ที่เป็ นการมอง
ทางด้านของผูบ้ ริ โภค ในทางเศรษฐศาสตร์แล้วความสัมพันธ์ของราคาสิ นค้าที่มีต่ออุปทานและอุปสงค์มีดงั นี้
กฎของชายส์ (Say‟s Law)
พิจารณารู ปที่ 4. เส้นอุปสงค์ AD และเส้นอุปทาน AS พบว่า ที่จุด A ซึ่งเป็ นจุดดุลยภาพเริ่ มต้นที่เส้นอุป
สงค์ตดั เส้นอุปทาน คือ ผูผ้ ลิตสามารถจําหน่ายสิ นค้าในปริ มาณ Q ให้กบั ผูบ้ ริ โภคในราคา P เมื่อสมมุติวา่ ระบบ
เศรษฐกิจมีปัญหาทําให้ขาดกําลังซื้อจากผูบ้ ริ โภค ทําให้เส้นอุปสงค์ AD ลดลงเลื่อนมาทางซ้ายมือมาเป็ นเส้น AD‟
หากยังจําหน่ายสิ นค้าในราคาเดิมจะทําให้บางคนไม่มีกาํ ลังซื้อทําให้ยอดจําหน่ายลดตํ่าลง ซึ่งจะทําให้การผลิตลดลง
ในช่วงแรก (จุด B) หลังจากนั้นจะมีการปรับตัวของผูผ้ ลิตและผูบ้ ริ โภค ซึ่งจะทําให้ราคาขายสิ นค้าลดลงจาก P เป็ น
P‟ และเมื่อราคาลดลงระบบการผลิตจะเข้าสู่ สภาวะดุลยภาพ การบริ โภคจะกลับมาที่จุด Q‟ ซึ่ งก็คือปริ มาณเดียวกับ
จุด Q อีกครั้งเข้าสู่ ดุลยภาพทางเศรษฐศาสตร์ (Economic Equilibrium) ที่จุด C

รู ปที่ 4. ความสัมพันธ์ของอุปสงค์และอุปทานตามทฤษฎีของชายส์ (ภราดร ปรี ดาศักดิ์, 2556)


คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 98
-------------------------------------------------------------------------------
แนวคิดของเคนส์ Kynesian Economics
เมื่อโลกเจอวิกฤตเศรษฐกิจ ผูบ้ ริ โภคขาดกําลังซื้ออย่างมาก มีการว่างงานมากมายพบว่า อุปทานไม่สามารถ
กําหนดอุปสงค์ได้จริ งตาม Say‟s Law ต่อมาจึงได้เกิดแนวคิดใหม่โดย Keyne และรู ้จกั กันต่อมาว่าเป็ นของสํานัก
เคนส์เซี่ยน (Kynesian Economics) โดยสามารถสรุ ปได้วา่ แนวคิดเดิมที่เส้นอุปทานรวมเป็ นเส้นแนวดิ่งนั้นไม่
เป็ นจริ งเสมอไป โดยเส้นอุปทานรวมจะเป็ นเส้นที่ค่อนข้างลาดขึ้นบนจากซ้ายไปขวาในลักษณะความชันของเส้น
เป็ นบวกเสมอ อีกทั้งอุปทานจะไม่สามารถสร้างอุปสงค์ได้เอง ผลผลิตจะเบี่ยงเบนไปหาดุลยภาพใหม่ได้ใน
ระยะเวลาที่ยาวนาน

รู ปที่ 5. ความสัมพันธ์ของอุปสงค์และอุปทานตามสํานักเคนส์เซี่ยน (ภราดร ปรี ดาศักดิ์, 2556)


ยกตัวอย่าง การผลิตปาล์มนํ้ามันจะมีปริ มาณตามศักยภาพตามแนวเส้น QP แต่ในความเป็ นจริ งสังคมนี้
ขาดแคลนอุปสงค์รวม (คนในสังคมขาดกําลังซื้อปาล์มนํ้ามัน) ทําให้มีการผลิตแค่ปริ มาณ Q ซึ่งเป็ นจุดที่เส้นอุป
สงค์รวมไปตัดกับเส้นอุปทานรวมที่จุด X ซึ่งเมื่อผลิตปริ มาณน้อยลงอัตราการว่างงานก็เพิ่มขึ้นถ้ารัฐบาลแทรก
แทรงโดยการช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจ เพื่อให้มีการจับจ่ายใช้สอยมากขึ้นในสิ นค้าปาล์มนํ้ามัน จะส่งผลให้เส้นอุปสงค์
รวมขยับไปทางขวา ทําให้เส้นอุปสงค์รวมใหม่น้ ีไปตัดกับเส้นอุปทานที่จุด Y จึงมีการผลิตนํ้ามันปาล์มมากขึ้นเป็ น
ที่จุด Q‟ ซึ่งแม้จะยังตํ่ากว่าปริ มาณศักยภาพที่จุด QP แต่กถ็ ือได้วา่ การกระตุน้ จากรัฐบาลช่วยสร้างงานให้แก่คนใน
สังคมเพิม่ ขึ้น อีกทั้งยังจะช่วยเพิม่ ผลผลิตของสังคมให้สูงขึ้นด้วย
แนวคิดของ Keynesc หรื อที่เข้าใจในชื่อสํานักเคนส์เซี่ยนนั้นขัดแย้งกับแนวคิดของ Say อย่างสิ้ นเชิง จาก
แนวคิดของทั้งสองสํานักนี้ ในเวลาต่อมาได้มีการขยายแนวคิดทางเศรษฐศาสตร์อีกมากมาย เช่น แนวคิดสํานัก
การเงินนิยม สํานักคลาสสิ คแบบใหม่ หรื อ สํานักเสรี นิยมใหม่ เป็ นต้น อย่างไรก็ตามที่ไม่สามารถปฏิเสธได้กค็ ือ
แนวคิดของ Keynes ของสํานักเคนส์เซี่ยนนั้นได้ก่อให้เกิดแนวคิดใหม่ในแง่เศรษฐศาสตร์ที่ใช้ในการมองภาพรวม
ของทั้งระบบเศรษฐกิจ และสานต่อไปยังการจัดทํารายได้ประชาชาติผา่ นบัญชีประชาชาติ ตารางปัจจัยผลผลิต –
ผลผลิต และเมตริ กซ์บญั ชีสังคม เป็ นต้น
รายได้ ประชาชาติ
ในการศึกษาเศรษฐศาสตร์ระดับมหภาคนั้น เป็ นการศึกษาในภาพรวม เช่นในระดับประเทศจะมีรายได้ การ
ออม การลงทุน เป็ นเท่าไหร่ น้ นั จําเป็ นต้องมีเครื่ องมือในการวัดผลการดําเนินเศรษฐกิจของประเทศ เพื่อใช้เป็ น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 99
-------------------------------------------------------------------------------
ข้อมูลในการวางแผนระดับประเทศในอนาคต ซึ่งเครื่ องมือที่ใช้น้ ีมีชื่อเรี ยกว่า “รายได้ประชาชาติ”
รายได้ประชาชาติ (National Income) หมายถึง มูลค่าหรื อผลรวมของรายได้ประเภทต่างๆที่บุคคลใน
ระบบเศรษฐกิจ (มักหมายถึงประเทศ) ได้รับ ที่เกิดจากการผลิตในระบบเศรษฐกิจปัจจัยในรอบระยะเวลาที่กาํ หนด
(เช่น รอบไตรมาส Quarter หรื อที่นิยมใช้คือรอบ 1 ปี )
ประโยชน์ ของรายได้ ประชาชาติ
ตัวเลขรายได้ประชาชาติเป็ นดัชนีแสดงถึงความสามารถของระบบเศรษฐกิจว่ามีกาํ ลังและความสามารถ
ผลิตสิ นค้าและบริ การที่คิดเป็ นมูลค่าได้มากน้อยเพียงใดในระยะหนึ่งๆ ส่ วนมากมีระยะเวลา 1 ปี ดังนั้นตัวเลข
รายได้ประชาชาติจึงเป็ นดัชนีสาํ คัญอย่างหนึ่งในการที่จะชี้ให้เห็นถึงระดับการพัฒนา รวมทั้งความมัง่ คัง่ หรื อยากจน
ของระบบเศรษฐกิจในประเทศหนึ่งๆ การเปลี่ยนแปลงในระดับรายได้ประชาชาติจะเป็ นเครื่ องแสดงถึงการ
เปลี่ยนแปลงของภาวะเศรษฐกิจของแต่ละประเทศว่าดีข้ นึ หรื อเลวลงได้โดยใช้ตวั เลขรายได้ประชาชาติเปรี ยบเทียบ
ภาวะเศรษฐกิจของประเทศในปี นั้นๆ กับปี ที่ผา่ นๆ มา นอกจากนี้ตวั เลขรายได้ประชาชาติยงั ใช้เป็ นตัวเปรี ยบเทียบ
ฐานะทางเศรษฐกิจของประเทศกับประเทศต่างๆ รวมทั้งใช้เป็ นเครื่ องมือกําหนดนโยบายทางเศรษฐกิจของประเทศ
และแสดงให้เห็นถึงความสําเร็ จของนโยบายต่างๆ ที่ได้ดาํ เนินการไปแล้ว จากที่กล่าวนี้ อาจสรุ ปได้วา่ ตัวเลขรายได้
ประชาชาติมีประโยชน์ดงั นี้
1. ในด้านการวิเคราะห์ภาวะเศรษฐกิจของประเทศ ตัวเลขรายได้ประชาชาติทาํ ให้รู้วา่ เศรษฐกิจของ
ประเทศกําลังรุ่ งเรื องหรื อตกตํ่า และสามารถเปรี ยบเทียบเศรษฐกิจของประเทศว่าในระยะเวลาเดียวกันเศรษฐกิจ
รุ่ งเรื องกว่าหรื อตกตํ่ากว่าประเทศอื่นๆ นอกจากนี้ยงั ชี้ให้เห็นการกระจายรายได้ตลอดจนมาตรฐานการครองชีพ
และความเป็ นอยูข่ องประชากร
2. ในการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจของประเทศ ตัวเลขรายได้ประชาชาตินอกจากจะชี้ให้เห็นถึงภาวะ
เศรษฐกิจของประเทศแล้ว ยังเป็ นเครื่ องมือสําคัญในการกําหนดนโยบายเศรษฐกิจของประเทศในอนาคต โดยทําให้
ทราบว่ารัฐควรจะแทรกแซง ส่ งเสริ ม หรื อตัดทอนกิจการประเภทใด และภายในขอบเขตใดจึงจะเหมาะสม
3. เป็ นเครื่ องมือวางนโยบายจัดเก็บภาษีอากรตัวเลขรายได้ประชาชาติทาํ ให้ทราบขีดความสามารถในการ
เสี ยภาษีของประชาชน รวมทั้งเป็ นเครื่ องมือที่รัฐใช้ประกอบในการจัดเก็บภาษีท้ งั ทางตรงและทางอ้อมเพื่อให้ภาระ
ภาษีตกแก่บุคคลที่ควรต้องเสี ยภาษี
4. ใช้เป็ นดัชนีเกี่ยวกับฐานะทางเศรษฐกิจ
การคานวณรายได้ ประชาชาติ
จากการที่ระบบเศรษฐกิจมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนสิ นค้าและบริ การและปัจจัยการผลิตต่างๆ โดยใช้เงินเป็ น
สื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน ดังนั้นการทําความเข้าใจวิธีการคํานวณรายได้ประชาชาติสามารถทําได้โดยการพิจารณา
จากกระแสการหมุนเวียนของธุรกรรมทางเศรษฐกิจหรื อวงจรเศรษฐกิจ โดยถ้าเราพิจารณาระบบเศรษฐกิจอย่าง
ง่ายๆ ซึ่งประกอบด้วยหน่วยครัวเรื อนและหน่วยธุรกิจ และสมมติวา่ ระบบเศรษฐกิจเป็ นระบบเศรษฐกิจแบบปิ ด ไม่
มีการติดต่อทางเศรษฐกิจกับต่างประเทศและไม่มีรัฐบาล ครัวเรื อนจะใช้รายได้ท้ งั หมดจ่ายไปในการซื้อสิ นค้าและ
บริ การ (ไม่มีการออม) และหน่วยธุรกิจนําเงินที่ได้จากการขายสิ นค้าและบริ การจ่ายเป็ นค่าปัจจัยการผลิตทั้งหมด
จากรู ป 1. ครัวเรื อนผูเ้ ป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิต ซึ่งได้แก่ ที่ดิน แรงงาน ทุน และการประกอบการ จะนําปัจจัยการ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 100
-------------------------------------------------------------------------------
ผลิตเหล่านี้ไปขายให้กบั หน่วยธุรกิจ โดยครัวเรื อนจะได้รับผลตอบแทนในรู ปของค่าเช่า ค่าจ้าง ดอกเบี้ย และกําไร
ตามลําดับ หน่วยธุรกิจเมื่อได้ปัจจัยมาแล้วก็นาํ ไปผลิตเป็ นสิ นค้าและบริ การแล้วขายต่อให้กบั ครัวเรื อน ครัวเรื อน
จะต้องจ่ายเงินค่าซื้อสิ นค้าและบริ การให้แก่หน่วยธุรกิจหมุนเวียนเช่นนี้เรื่ อยไป
กล่าวได้วา่ รายได้ของครัวเรื อนก็คือ รายจ่ายของหน่วยธุรกิจ และรายจ่ายของครัวเรื อนก็คือ รายได้ของ
หน่วยธุรกิจ ซึ่งทั้งรายได้และรายจ่ายจะมีค่าเท่ากับมูลค่าของสิ นค้าและบริ การทั้งหมดที่ระบบเศรษฐกิจนั้นผลิต
ขึ้นมาได้ ดังนั้นการคํานวณรายได้ประชาชาติไม่วา่ จะคํานวณทางด้านรายได้หรื อรายจ่าย หรื อมูลค่าของสิ นค้าและ
บริ การ จะได้ผลลัพธ์ออกมาเท่ากัน เพราะฉะนั้นเราสามารถคํานวณรายได้ประชาชาติได้ 3 วิธีดว้ ยกัน คือ
1. Product Approach เป็ นการคานวณด้ านผลผลิต
คือ มูลค่าที่แท้จริ งของสิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้ายทั้งหมดที่พลเมืองของประเทศผลิตขึ้นในระบบ
เศรษฐกิจภายในรอบระยะเวลาหนึ่ง
2. Income Approach เป็ นการคานวณด้ านรายได้
คือ รายได้ท้ งั หมดที่เจ้าของปัจจัยการผลิตได้รับในรอบระยะเวลาหนึ่ง
3. Expenditure Approach เป็ นการคานวณด้ านรายจ่ าย
คือ รายจ่ายรวมที่หน่วยเศรษฐกิจใช้จ่ายในการซื้อสิ นค้าและบริ การ
ในทางเศรษฐศาสตร์ได้มีการจําแนกประเภทของรายได้ประชาชาติออกเป็ น 6 ประเภทดังนี้
1.ผลิตภัณฑ์ มวลรวมในประเทศเบื้องต้ น
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic Product : GDP) คือ มูลค่ารวมของสิ นค้า
และบริ การขั้นสุ ดท้าย (Final Goods and Services) ที่ผลิตขึ้นในประเทศหนึ่งๆในรอบระยะเวลาหนึ่งที่กาํ หนด
โดยวัดเฉพาะสิ นค้าและบริ การที่ถูกผลิตขึ้นในรอบระยะเวลาที่พิจารณาเท่านั้น ไม่นบั รวมมูลค่าสิ นค้าที่ผลิตไว้ก่อน
เช่น GDP ของไทย คือ มูลค่าผลผลิตที่ชาวไทยและชาวต่างประเทศผลิตขึ้นได้ในประเทศ แต่ถา้ มูลค่าผลผลิตที่คน
ไทยผลิตขึ้นในต่างประเทศจะไม่ใช่ GDP
GDP ถือเป็ นข้อมูลที่สาํ คัญในเศรษฐศาสตร์ มหภาคของประเทศซึ่ งใช้ในการวิเคราะห์ วางแผนและ
กําหนดทิศทางเศรษฐกิจของประเทศและเป็ นดัชนีช้ ีวดั ความเจริ ญของประเทศ GDP มักจะหมายถึงรายได้
ประชาชาติในภาพรวมด้วย โดย GDP เป็ นมูลค่าของสิ นค้าแต่ละชนิดรวมกัน ดังนั้นเราสามารถหามูลค่าสิ นค้าใน
แต่ละชนิดได้จากปริ มาณสิ นค้าและบริ การแต่ละชนิดคูณกับราคาสิ นค้าและบริ การนั้นๆดังนั้นจึงสามารถหา GDP
ได้จาก
GDP = ∑ (1.)

Pi = ราคาสิ นค้าและบริ การแต่ละชนิ ด


Qi = ปริ มาณสิ นค้าและบริ การแต่ละชนิด
i = สิ นค้าและบริ การตั้งแต่ชนิ ดที่ i ถึง ชนิ ดที่ n
GDP = ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื้องต้น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 101
-------------------------------------------------------------------------------
ตัวอย่ างที1่ . จากการสํารวจค่าใช้จ่ายในภาคเกษตรกรรมของนักศึกษามหาวิทยาลัยแม่โจ้ (ประเทศแม่โจ้) ประจําปี
2556 พบว่า
1. ปุ๋ ยตราขี้คา้ งคาวแม่ไก่จากคณะผลิตกรรมการเกษตร กิโลกรัมละ 50 บาท จํานวน 500 kg ซื้ อเมื่อ 1
มกราคม 2556
2. รถไถนาเดินตามจากวิทยาลัยพลังงานทดแทน 5 คันๆ ละ 1,500,000 บาท ซื้ อเมื่อ 30พฤษภาคม 2556
3. ซื้ อควายจากวิทยาลัยพลังงานทดแทน 4 ตัวๆ ละ 30,000 บาท ซื้ อเมื่อ 12 สิ งหาคม 2554
4. ซื้ อที่นาเพิ่มจากคณะการท่องเที่ยวและโรงแรม 10 ไร่ ๆ ละ 100,000 บาท เมื่อ 10 มีนาคม 2556
อยากทราบว่า GDP ด้านค่าใช้จ่ายของประเทศแม่โจ้ประจําปี 2556 เป็ นเท่าใด
วิธีทา
การหาค่า GDP จะพิจารณาเฉพาะค่าใช้จ่ายที่เกิดขึ้นในปี 2556 ดังนั้น จากข้อมูลข้างต้น ในส่วนข้อ 3
ซื้อควายจากวิทยาลัยพลังงานทดแทน 4 ตัวๆ ละ 30,000 บาท ค่าใช้จ่ายนี้เกิดขึ้นเมื่อ 12 สิ งหาคม2554 ซึ่งจะ
ไม่นาํ มาคํานวณ ดังนั้นเราสามารถหาค่า GDP ประจําปี 2556 ได้จากสมการที่ (1.)
GDP = ∑
GDP = [(50 บาท/kg) x (500 kg)] + [(1,500,000 บาท/คัน) x (5 คัน)] + [(100,000 บาท/ไร่ ) x (10ไร่ )]
= [25,000] + [7,500,000] + [1,000,000]
= 8,525,000 บาท/ปี
คาตอบ
GDP ด้านค่าใช้จ่ายของประเทศแม่โจ้ประจํา 2556 มีมูลค่า 8,525,000 บาท/ปี Ans.
ตัวอย่ างที่ 2. บ้านหลังหนึ่งจากการสํารวจมีการใช้พลังงานไฟฟ้าเฉลี่ย 30 kWh/วัน เจ้าของบ้านจึงทําการติดตั้ง
Solar PV Rooftop เพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าใช้ในบ้านและส่ วนที่เหลือจะขายคืนให้กบ ั การไฟฟ้าโดย Solar PV
Rooftop สามารถผลิตพลังงานไฟฟ้าได้ 50 kWh/วัน อยากทราบว่า GDP ด้านรายได้ของการผลิตไฟฟ้าบ้านหลัง
นี้มีค่าเท่าไรต่อปี
กําหนดให้ ค่าไฟฟ้าเฉลี่ย (ซื้อไฟฟ้าจาก กฟภ.) 3.50 บาท/kWh
ราคารับซื้อไฟฟ้าเฉลี่ย 3.00 บาท/kWh
ราคา Adder Cost 6.50 บาท/kWh
วิธีทา
พิจารณาพลังงานไฟฟ้าที่ผลิตได้จาก Solar PV Rooftop พลังงานไฟฟ้าที่ใช้เองในบ้าน และพลังงาน
ไฟฟ้าที่ขายให้การไฟฟ้า แล้วนํามาแทนค่าในสมการที่ (1.) โดยมีรายละเอียดดังต่อไปนี้
พลังงานไฟฟ้าที่ Solar PV Rooftop ผลิตได้ = 50 kWh/วัน x 365 วัน/ปี = 18,250 kWh/ปี
พลังงานไฟฟ้าใช้ในเองในบ้าน = 30 kWh/วัน x 365 วัน/ปี = 10,950 kWh/ปี
คิดเป็ นเงิน = 10,950 kWh/ปี x 3.50 บาท/kWh = 38,325 บาท/ปี
พลังงานไฟฟ้าที่ขายให้การไฟฟ้า = 18,250 – 10,950 = 7,300 kWh/ปี
คิดเป็ นเงิน = 7,300 kWh/ปี x 9.50 บาท/kWh = 69,350 บาท/ปี
ดังนั้นจากสมการที่ (1.)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 102
-------------------------------------------------------------------------------
GDP = 38,325 + 69,350 = 107,675 บาท/ปี
คาตอบ
GDP ด้านรายได้ของการผลิตไฟฟ้าบ้านหลังนี้ มีค่า 107,675 บาท/ปี Ans.
สรุป
หากการซื้อขายสิ นค้าและบริ การตามสมการข้างต้น มีการซื้อขายตามราคาทัว่ ไป จะเรี ยกว่า GDP at
current market prices หรื อ ตาม “ราคาตลาด” โดยคําว่าราคาตลาดเป็ นราคาที่รวมไปถึงภาษีทางอ้อม (Indirect
Tax) เช่น ภาษีสรรพสามิต ภาษีศุลกากร และภาษีทางการค้า ไว้ดว้ ย ดังนั้นราคาที่ใช้ซ้ื อขายสิ นค้าดังกล่าวนี้ จึงเป็ น
ราคาที่ผซู ้ ้ือได้รับ แต่ไม่ใช่ราคาที่ผขู ้ ายได้รับ ส่ วนรายได้สุทธิที่ผขู ้ ายได้รับนั้นคือ ราคาที่ตอ้ งหักภาษีทางอ้อม
ออกไปก่อน โดยเรี ยก ราคา ณ ต้นทุนปัจจัยการผลิต (Price at Factor Cost)
ข้อด้อยของการใช้ราคาตลาดในการคํานวณหา GDP คือ จะไม่สามารถทราบว่าตัวเลข GDP ดังกล่าวมี
มูลค่าสู งขึ้นหรื อตํ่าลงจากปี ก่อนๆ ดังนั้นนักเศรษฐศาสตร์ที่ตอ้ งการจะเปรี ยบเทียบในสิ นค้าชนิดเดิม จําเป็ นต้องทํา
การแปลงราคาตลาดของแต่ละปี ให้เป็ นราคาคงที่ (Constant Price) เสี ยก่อน โดยเลือกเอาปี ใดปี หนึ่งมาเป็ นปี
ฐาน
ประเทศไทยโดย สศช. ได้เลือกใช้ปีฐานของระบบราคาคงที่เป็ นปี พ.ศ.2531 (ค.ศ.1988) ตัวอย่าง
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื้องต้น (Gross Domestic Product : GDP) แสดงดังรู ปที่ 6. และรู ปที่ 7.

รู ปที่ 6.ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื้องต้นตามราคาตลาด (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2557)


คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 103
-------------------------------------------------------------------------------

รู ปที่ 7. ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื้องต้น ณ ราคาคงที่ (สํานักงานคณะกรรมการพัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ, 2557


ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติเบื้องต้ น
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติเบื้องต้น (Gross National Product : GNP) คือ มูลค่ารวมของสิ นค้าและ
บริ การขั้นสุ ดท้ายทั้งหมดที่ประชาชนของประเทศทําการผลิตขึ้นในระยะเวลาหนึ่ง โดยนับรวมทั้งที่ผลิตขึ้น
ภายในประเทศ และต่างประเทศด้วย แต่ไม่นบั รวมผลผลิตของต่างชาติที่ผลิตขึ้นในประเทศนั้นๆ เช่น ผลิตภัณฑ์
ประชาชาติเบื้องต้นของไทย หมายถึง รายได้ของประชาชนในประเทศทั้งหมด รวมทั้งรายได้ที่คนไทยไปทํางาน
หรื อลงทุนในต่างประเทศด้วย นัน่ คือ GNP จะเท่ากับ GDP บวกด้วยผลต่างของรายได้ที่ก่อให้เกิดขึ้นโดยพลเมือง
ของประเทศนั้นในต่างประเทศ กับรายได้ที่พลเมืองของประเทศอื่นหาได้ในประเทศนั้น ดังสมการ
GNPe = GDP + F (2.)
F = รายได้สุทธิ จากต่างประเทศ (Net Income from Abroad)
ถ้ารายได้ที่ก่อให้เกิดขึ้นโดยพลเมืองของประเทศนั้นในต่างประเทศมากกว่ารายได้ของพลเมืองของ
ประเทศอื่นที่หาได้ในประเทศนั้น รายได้สุทธิจากต่างประเทศจะมีค่าเป็ นบวกซึ่งทําให้ค่า GNP มากกว่า GDP
แต่ถา้ รายได้สุทธิของปัจจัยจากต่างประเทศเป็ นลบ จะทําให้ GNP น้อยกว่า GDP และถ้าไม่มีการ
เคลื่อนย้ายทรัพยากร GDP = GNP
ตัวอย่ างที่ 3. ข้อมูลจากสํานักงานสถิติแห่งชาติ ปี พ.ศ.2555 พบว่า
1. รายได้ในภาคเกษตรกรรมมีมูลค่า 35 พันล้านบาท
2. รายได้ในการก่อสร้างมีมูลค่า 65 พันล้านบาท
3. รายได้ในการขายสิ นค้าและบริ การในส่ วนภาครัฐ มีมูลค่า 25 พันล้านบาท
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 104
-------------------------------------------------------------------------------
4. รายได้ที่เกิดจากต่างประเทศโดยคนไทยมีมูลค่า 1.5 พันล้านบาท
5. รายได้ของคนต่างประเทศในประเทศไทย มีมูลค่า 0.5 พันล้านบาท
จงหาผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศเบื้องต้นและผลิตภัณฑ์มวลรวมนานาชาติเบื้องต้น และถ้า GDP ปี
2554 = 120 พันล้านบาท และ GNP ปี 2554 = 122 พันล้านบาท ให้หาอัตราการเจริ ญเติบโตของ GDP
(Growth Rate of Gross Domestic Product) และอัตราการเจริ ญเติบโตของ GNP (Growth Rate of Gross
National Product)
วิธีทา
พิจารณาว่าโจทย์ตอ้ งการหาอะไร
GDP / GNP
โจทย์กาํ หนดอะไร
รายได้จากคนไทยในต่างประเทศ 1.5 พันล้านบาท
รายได้คนต่างชาติในประเทศไทย 0.5 พันล้านบาท
ดังนั้น สามารถหารายได้สุทธิจากต่างประเทศ (Net Income from Abroad)
F = 1.5 พันล้านบาท – 0.5 พันล้านบาท
= + 1 พันล้านบาท
ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศทางด้านรายได้ GDP เกิดจากรายละเอียดดังนี้
1. รายได้ในภาคเกษตรกรรมมีมูลค่า 35 พันล้านบาท
2. รายได้ในการก่อสร้างมีมูลค่า 65 พันล้านบาท
3. รายได้จาการขายสิ นค้าและบริ การในส่ วนภาครัฐ มีมูลค่า 25 พันล้านบาท
ดังนั้น
GDP ปี 2555 = 35 พันล้านบาท + 65 พันล้านบาท + 25 พันล้านบาท
= 125 พันล้านบาท #
GNP ปี 2555 = GDP + F
= 125 + 1 = 126 พันล้านบาท #
หาอัตราการเจริ ญเติบโตของ GDP (Growth Rate of Gross Domestic Product) และ อัตราการ
เจริ ญเติบโตของ GNP (Growth Rate of Gross National Product) โจทย์กาํ หนดให้ และจากผลการคํานวณ
GNP, GDP สรุ ปได้ดงั ตาราง
ตารางที่ 2. รายได้ประชาชาติ ปี 2554 และ ปี 2555
ปี . พ.ศ. GDP (พันล้านบาท) GNP(พันล้านบาท)
2554 120 122
1444 125 126

Growth rate of GDP = (125-120) x 100/120 = 4.17 %


Growth rate of GNP = (126-122) x 100/122 = 3.28 %
คาตอบ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 105
-------------------------------------------------------------------------------
GDP ปี 2555 = 125 พันล้านบาท
GNP ปี 2555 = 126 พันล้านบาท
Growth rate of GDP = 4.17 %
Growth rate of GNP = 3.28 % #
สรุ ปได้วา่ เศรษฐกิจมีการขยายตัว Ans.
ตัวอย่ างที่ 4
จากตัวอย่างที่ 1. หากมีการใช้จ่ายดังรายการข้อ 5 และ 6 เพิ่มเติมจากการสํารวจค่าใช้จ่ายในภาค
เกษตรกรรมของนักศึกษาประเทศแม่โจ้ ประจําปี 2556 พบว่า
1. ปุ๋ ยตราขี้คา้ งคาวแม่ไก่จากคณะผลิต กิโลกรัมละ 50 บาท จํานวน 500 kg ซื้ อเมื่อ 1 มกราคม 2556
2. รถไถนาเดินตามควายจากวิทยาลัยพลังงานทดแทน 5 คันๆ ละ 1,500,000 บาท ซื้ อเมื่อ 30 พฤษภาคม
2556
3. ควายจากวิทยาลัยพลังงานทดแทน 4 ตัวๆ ละ 30,000 บาท ซื้ อเมื่อ 12 สิ งหาคม 2554
4. ซื้ อที่นาเพิ่มจากคณะพัฒนาการท่องเที่ยว 10 ไร่ ๆ ละ 100,000 บาท เมื่อ 10 มีนาคม 2556
5. นักศึกษาแม่โจ้ไปซื้ อหมูจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 10 ตัวๆ ละ 5,000 บาท เมื่อ 10 กันยายน 2556
6. ซื้ อข้าวเหนียวจาก มหาวิทยาลัยราชภัฏเชียงใหม่ 5 กระสอบๆ ละ 2,000 บาท เมื่อ 5 มีนาคม 2557
อยากทราบ GNP ด้านรายได้ของประเทศแม่โจ้ประจําปี 2556
วิธีทา
รายการที่ 6 เกิดขึ้นในปี 2557 ดังนั้นไม่นาํ มาคํานวณ
รายการที่ 5 เกิดขึ้นในปี 2556 ดังนั้นนํามาคํานวณ โดย
นักศึกษาแม่โจ้ไปซื้อหมูจากมหาวิทยาลัยเชียงใหม่ 10 ตัวๆ ละ 5,000 บาท เมื่อ 10 กันยายน 2556
คิดเป็ นเงิน = 10 ตัว x 5,000 บาท/ตัว = 50,000 บาท
F = รายได้สุทธิจากต่างประเทศ (Net Factor Income from Abroad)
= - 50,000 บาท/ปี
จากสมการ (2.)
GNP = GDP + F
จากตัวอย่างที่ 1. คํานวณหาค่า GDP ในปี 2556 มีมูลค่า = 8,525,000 บาท/ปี
แทนค่าในสมการ
GNP = 8,525,000 บาท/ปี - 50,000 บาท/ปี
= 8,475,000 บาท/ปี
คาตอบ
GNP ด้านรายได้ของประเทศแม่โจ้ประจําปี 2556 มีมูลค่า 8,475,000 บาท Ans.
ข้ อมูล
ในปี 2548 รายได้ประชาชาติมีมูลค่า 500,000 ดอลลาร์สหรัฐ โดยเกิดจากผลผลิต 50,000 ชิ้น ณ ระดับ
ราคาเฉลี่ย 10 ดอลลาร์สหรัฐ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 106
-------------------------------------------------------------------------------
ในปี 2549 รายได้ประชาชาติมีมูลค่า 600,000 ดอลลาร์สหรัฐ
คาถาม รายประชาชาติเพิ่ม แต่ประเทศมีการเจริ ญเติบโตจริ งหรื อ
คาตอบ ประเทศจะเจริ ญเติบโตอย่างมีเสถียรภาพต้องมีการผลิตการลงทุน ดังนั้นการวัดปริ มาณผลผลิตที่แท้จริ ง
ต้องเทียบจากรายได้ที่แท้จริ งที่ขจัดการเปลี่ยนแปลงของราคาออกไป
รายได้ประชาชาติที่เป็ นตัวเงินและรายได้ประชาชาติที่แท้จริ ง (Money GDP and Real GDP)จากที่ผา่ น
มาเรารู ้อยูแ่ ล้วว่ารายได้ประชาชาติน้ นั สามารถคํานวณได้จากมูลค่าของผลผลิตที่เกิดขึ้น ดังนั้นรายได้ประชาชาติจึง
มีความสัมพันธ์กบั ตัวแปรอยู่ 2 ตัวแปรคือ 1.ราคา 2.ปริ มาณ นอกจากนี้ยงั อาจจะมีเรื่ องของระยะเวลาเข้ามา
เกี่ยวข้องด้วย
ซึ่งรายได้ประชาชาติที่คาํ นวณในแต่ละปี โดยใช้ระดับราคาสิ นค้าของปี นั้นๆ เราเรี ยกว่า รายได้ประชาชาติ
ที่เป็ นตัวเงิน (Money GDP หรื อบางครั้งเรี ยกว่า Nominal GDP) เมื่อนํามาเปรี ยบเทียบกันอาจจะทําการขจัด
อิทธิพลของราคาได้ดว้ ยการปรับแต่ง โดยการใช้ระดับราคาของปี ใดปี หนึ่งเป็ นหลัก ซึ่งเราเรี ยกว่า ปี ฐาน (Base
Year) ดังที่กล่าวมาข้างต้น ซึ่ งโดยทัว่ ไปแล้วนั้นเราจะมีการใช้ดช
ั นีราคา (Price Index) ซึ่งจะเป็ นตัวปรับมูลค่า
ของรายได้ประชาชาติให้อยูใ่ นมาตรฐานของราคาเดียวกัน ซึ่งรายได้ที่เราได้มีการปรับแต่งค่าของระดับราคานั้นเรา
เรี ยกกันว่า รายได้ประชาชาติที่แท้จริ ง (Real GDP) ซึ่งเราสามารถคํานวณหาค่ารายได้ประชาชาติที่แท้จริ งได้ดงั นี้
GDP ที่แท้จริ ง (Real GDP) หรื อ GDP ตามราคาคงที่ (GDP in Constant Prices)
รายได้ประชาชาติที่แท้จริ ง (Real GDP) เป็ นการคํานวณผลรวมของมูลค่าสิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้ายที่
ระบบเศรษฐกิจผลิตได้ ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง โดยใช้ราคา ณ ปี ฐาน ในการคํานวณ ทั้งนี้ เพือ่ ขจัดปัญหา
ความผันผวนของราคาตลาดในแต่ละปี นิยมเรี ยกกันว่า GDP ตามราคาคงที่ (GDP in constant prices) โดยจะมี
การปรับราคาปัจจุบนั ของปี ที่พิจารณาให้อิงราคาตามราคาตลาดปี ฐานที่ใช้อา้ งอิง (ประเทศไทยใช้ ปี พ.ศ.2531
หรื อ ค.ศ.1988 เป็ นปี ฐาน)
GDP ที่เป็ นตัวเงิน (Money GDP) หรื อ GDP ตามราคาตลาด (GDP at Current Market)
รายได้ประชาชาติที่เป็ นตัวเงิน (Money GDP หรื อ Nominal GDP) นิยมเรี ยกกันว่า GDP ตามราคา
ตลาด (GDP at Current Market) เป็ นการคํานวณผลรวมของมูลค่าสิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้ายที่ระบบเศรษฐกิจ
ผลิตได้ ในช่วงระยะเวลาใดเวลาหนึ่ง ณ ราคาตลาด โดยรวมมูลค่าของเงินตามกาลหรื อเงินเฟ้อเข้าไปด้วย ดังนั้น
Money GDP จึงมีค่าสู งกว่า GDP at Current Prices
ตัวปรับลดผลิตภัณฑ์ (Deflator) หรื อ ดัชนีราคา
ตัวปรับลดผลิตภัณฑ์ หรื อ ตัวหักลดผลิตภัณฑ์ (GDP Deflator) หมายถึง ค่าคงที่ที่ได้จากการหารมูลค่า
ผลิตภัณฑ์ในราคาประจําปี ด้วยผลิตภัณฑ์ที่แท้จริ งของปี นั้นแล้วคูณด้วยหนึ่งร้อย ดังนี้
ในปี ที่
Real GDP x 100 (3.)

ตัวอย่ างที่ 5. รายได้ประชาชาติตามราคาปี 2549 (Money GDP) = 30,000 ล้านบาท ถ้าดัชนีราคาปี 2549 = 120
จงหา Real GDP
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 107
-------------------------------------------------------------------------------
วิธีทา
จากสมการ (3.) แทนค่าในสมการ
ในปี ที่
Real GDP x 100 = x 100 = 25,000 ล้านบาท
คาตอบ
Real GDP ปี 2549 มีมูลค่า 25,000 ล้านบาท Ans.
สรุป
GDP มีประโยชน์ในการแสดงกําลังความสามารถในการผลิตของประเทศและทําให้ทราบรายจ่ายทั้งหมด
ของผูบ้ ริ โภค นอกจากนี้ในระยะสั้น GDP จะทําให้ทราบสาเหตุของภาวะเงินเฟ้อและอื่นๆในวัฏจักรธุรกิจได้ และ
GDP ยังใช้วดั ความสําคัญของอุตสาหกรรมในแต่ละสาขาด้วย
ในระยะสั้น GNP ใช้วดั มูลค่าและความสําคัญของอุตสาหกรรมในแต่ละสาขา และช่วยให้ทราบถึงภาวะ
เศรษฐกิจของประเทศ
ผลิตภัณฑ์ ประชาชาติสุทธิ
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ (Net National Product: NNP) หมายถึง มูลค่าสิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้าย
ทั้งหมดที่คิดตามราคาตลาดในรอบระยะเวลาหนึ่ง ซึ่งหักค่าเสื่ อมราคาของการใช้ทุนออกแล้ว สามารถคํานวณได้
จากสมการ
NNP = GNP – CCA (4.)
Capital Consumption Allowance (CCA) คือ ค่าเสื่ อมราคาการใช้ทุน หรื อเรี ยกว่า ค่าใช้จ่ายกินทุน
โดยประกอบไปด้วย
- ค่าเสื่ อมราคา (Depreciation)
- ค่าเครื่ องมือเครื่ องใช้ในการผลิต (Equipment) ที่ชาํ รุ ด
- ค่าทรัพย์สินสู ญหาย (Accidental Damage)
NNP จะใช้ในการวัดความสามารถในการผลิตของประเทศในระยะยาว เพราะเมื่อหักค่าใช้จ่ายกินทุน
ออกไปแล้ว จะแสดงให้เห็นถึงความสามารถในการผลิตสิ นค้าและบริ การที่เพิ่มขึ้นสุทธิของประเทศ แต่ทวั่ ไปนิยม
ใช้ GNP มากกว่าเพราะการคํานวณค่าเสื่ อมราคาการใช้ทุนทําได้ยากและซับซ้อ
รายได้ ประชาชาติ
รายได้ประชาชาติ (National Income: NI) คือ มูลค่าสุ ทธิของสิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้ายที่ผลิตได้
ของประเทศในรอบระยะเวลาที่กาํ หนด โดยคิดในส่ วนราคาต้นทุนการผลิตที่แท้จริ ง โดยตัดค่าภาษีทางอ้อมที่
ภาครัฐดําเนินการเก็บไป และนับรวมมูลค่าการอุดหนุนราคาสิ นค้าจากรัฐที่เพิ่มเข้ามา
ค่า NI จะคํานึงถึงเฉพาะค่าใช้จ่ายที่ตอ้ งใช้เพื่อซื้อปัจจัยการผลิตเท่านั้น เช่น ค่าจ้างแรงงาน ค่าเช่าที่ดิน ค่า
ดอกเบี้ย เป็ นต้น ต่างจากค่า NNP ที่ราคาตลาดเพราะต้องรวมภาษีทางอ้อม (Indirect Tax) เช่น ภาษีสรรพสามิต
ภาษีการค้า ภาษีศุลกากร และเงินที่รัฐบาลใช้อุดหนุนในการผลิตในธุ รกิจต่างๆ มาคํานวณด้วย
ดังนั้นสามารถคํานวณหา NI ได้ดงั สมการต่อไปนี้
NI = NNP at Market Price - Indirect Tax (5.)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 108
-------------------------------------------------------------------------------
NI จะชี้ให้เห็นถึงระดับรายได้และความสําคัญของอาชีพต่างๆ และชี้ให้เห็นกับการกระจายรายได้ไปยัง
ประชาชนกลุ่มต่างๆ
ตัวอย่ างที่ 6. ถ้าตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติเบื้องต้น 1,000 ล้านบาท ในขณะที่ค่าเสื่ อมราคาของอุปกรณ์
ต่างมีค่า 15 ล้านบาท ค่าเครื่ องมือและทรัพย์สินที่สูญหายมีค่า 8 ล้านบาท อยากทราบ ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ
NNP และ รายได้ประชาชาติ NI เมื่อมีมูลค่าภาษีทางอ้อม 22 ล้านบาท
วิธีทา โจทย์ตอ้ งการทราบค่า
NNP และ NI
โจทย์กาํ หนดอะไร
GNP = 1,000 ล้านบาท
CCA คือ ค่าเสื่ อมราคาการใช้ทุน จากโจทย์ประกอบไปด้วย
ค่าเสื่ อมราคาอุปกรณ์ 15 ล้านบาท
ค่าเครื่ องมือและทรัพย์สินที่สูญหายมีค่า 8 ล้านบาท
ดังนั้น CCA = 15 + 8 = 23 ล้านบาท
แทนค่าในสมการ (3.4) NNP = GNP – CCA
= 1,000 ล้านบาท – 23 ล้านบาท
= 977 ล้านบาท
มูลค่าภาษีทางอ้อม 22 ล้านบาท (Indirect Tax)
รายได้ประชาชาติ NI = NNP at Market Price - Indirect Tax
= 977 – 22
= 955 ล้านบาท
คาตอบ
ผลิตภัณฑ์ประชาชาติสุทธิ NNP มีมูลค่า 977 ล้านบาท
รายได้ประชาชาติ NI มีมูลค่า 955 ล้านบาท Ans.
รายได้ ส่วนบุคคล
รายได้ส่วนบุคคล (Personal Income: PI) คือ รายได้ส่วนบุคคลทั้งหมดก่อนหักภาษีเงินได้ส่วน
บุคคลแตกต่างจากรายได้ประชาชาติ คือ รายได้ประชาชาติเป็ นรายได้ที่เกิดขึ้นจริ งจากการผลิต ซึ่งไม่จาํ เป็ นต้อง
กลายเป็ นรายได้ส่วนบุคคลทั้งหมดแม้รายได้จะเกิดขึ้นแล้วก็ตาม แต่ถา้ หน่วยผลิตไม่จ่ายให้แก่ครัวเรื อนแล้วก็ไม่ถือ
เป็ นรายได้ส่วนบุคคล ได้แก่ ภาษีประกันสังคม ภาษีเงินได้บริ ษทั (Corporate Income Tax) เงินกําไรที่ยงั ไม่ได้
นํามาจัดสรร (Distributed Profit) เหล่านี้ ไม่ถือเป็ นรายได้ส่วนบุคคล นอกจากนี้รายได้ส่วนบุคคลยัง
ประกอบด้วยรายได้ที่ไม่ได้เกิดจากการผลิตโดยตรงอีกด้วย เช่น เงินโอนต่างๆ ดอกเบี้ยที่เอกชนได้รับจากรัฐบาล
เป็ นต้น ดังนั้นการคํานวณรายได้ส่วนบุคคลจากรายได้ประชาชาติจึงเป็ นดังนี้
PI = NI - (ภาษีประกันสังคม + ภาษีรายได้บริ ษทั + กําไรที่ยงั ไม่ได้จดั สรร) + เงินโอน
+ ดอกเบี้ยที่เอกชนได้รับจากรัฐบาล (6)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 109
-------------------------------------------------------------------------------
เมื่อเงินโอนเป็ นรายได้ที่ไม่ได้เกิดจากการผลิตแต่เป็ นการโอนอํานาจซื้อจากบุคคลหนึ่งไปยังอีกบุคคลหนึ่ง
เช่น เงินที่รัฐจ่ายให้ผไู ้ ด้รับความช่วยเหลือ เงินสงเคราะห์คนชรา เงินชดเชยการว่างงาน เงินทําบุญ เงินมรดก
เนื่องจากรายได้ประชาชาติ เป็ นรายได้ที่เกิดจากการผลิตโดยตรงและบางส่ วน มิได้เป็ นของบุคคล เช่น เงิน
ออมหรื อองค์การนิติบุคคล จึงต้องหักเงินจํานวนนี้ออกจาก NI รายได้ที่เหลือจะเป็ นรายได้ของบุคคล
รายได้ ส่วนบุคคลสุ ทธิ
รายได้ส่วนบุคคลสุ ทธิ (Disposable Income: DI) คือ รายได้ส่วนบุคคลที่ได้รับมาหลังหักภาษีเงินได้
บุคคลธรรมดา (PI) ซึ่งหมายถึง รายได้สุทธิที่บุคคลในสังคมสามารถนําไปใช้สอยในกิจกรรมต่างๆได้อย่างแท้จริ ง
โดยสามารถเขียนความสัมพันธ์ของค่า PI และ DPI ได้ดงั นี้
DI = PI – ภาษีเงินได้บุคคลธรรมดา (7.)
การบริ โภคและการออม (Consumption and Saving)
การออม (Saving: S) คือ รายได้ที่เหลือจากการบริ โภค (Consumption: C) และนําไปสะสมสิ นทรัพย์
ของภาครัฐและเอกชน แต่เนื่องจากรายได้สุทธิของครัวเรื อนในทางเศรษฐศาสตร์แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วนใหญ่ๆ คือ
การบริ โภคและการออม ซึ่งมีความสัมพันธ์กนั โดยหากมีการบริ โภคที่เพิ่มขึ้นจะส่ งผลให้การออมลดลง
การออม (Saving: S) = รายได้ส่วนบุคคลสุ ทธิ (DI) – การบริ โภค (C) (8.)
รายได้ เฉลีย่
เพื่อที่จะวัดฐานะแท้จริ งของประเทศ และใช้เทียบฐานะทางเศรษฐกิจกับประเทศอื่นๆ จึงจาเป็ นต้องหา
รายได้เฉลี่ย โดยมีรายละเอียดรายได้เฉลี่ยดังนี้
1. ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติต่อหัว
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อหัว (GNP per Capital) หาได้จาก GNP หารด้วยจํานวนประชากรใช้
เป็ นเครื่ องชี้วดั ความสามารถในการผลิตของประชากรโดยเฉลี่ยแต่ละคนของแต่ละประเทศสามารถคํานวณได้จาก
สมการ
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อหัว = (9.)
2. ผลิตภัณฑ์ มวลรวมประชาชาติต่อกาลังแรงงาน
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อกําลังแรงงาน (GNP per Labour Force) เป็ นตัวชี้วดั ประสิ ทธิภาพ
ในการทํางาน คํานวนได้จากผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อกําลังแรงงานหาได้จาก GNP หารด้วยกําลังแรงงาน
ตัวเลขผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อกําลังแรงงานมีประโยชน์ในการใช้เปรี ยบเทียบประสิ ทธิภาพในการทํางาน
ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติต่อกําลังแรงงาน = (10.)
3. รายได้ ประชาชาติเฉลีย่ ต่ อคน
รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อคน (NI per Capital) ใช้เป็ นเครื่ องชี้วดั ฐานะ และ แสดงมาตรฐานการครองชีพ
ของแต่ละประเทศ คํานวณได้จากสมการ
รายได้ประชาชาติเฉลี่ยต่อหัว = (11.)
4. รายได้ สุทธิส่วนบุคคลเฉลีย่ ต่ อคน
รายได้สุทธิส่วนบุคคลเฉลี่ยต่อคน (DI per Capital) เป็ นตัวแสดงอํานาจซื้อของแต่ละบุคคลของแต่ละ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 110
-------------------------------------------------------------------------------
ประเทศ คํานวณได้จากสมการ
รายได้สุทธิส่วนบุคคลเฉลี่ยต่อหัว = (12.)

ข้ อสั งเกตบางประการเกีย่ วกับรายได้ ประชาชาติ


1. สิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้ายบางอย่างได้มีการผลิตจริ ง แต่ไม่ได้ซ้ื อขายผ่านตลาด จึงไม่มีการบันทึกไว้
ในรายได้ประชาชาติ
2. สิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้ายที่มีการซื้ อขายกันจริ งแต่ไม่ได้มีการบันทึกรวมไว้ในรายได้ประชาชาติ
เนื่องจากเป็ นสิ่ งผิดกฎหมาย
3. รายได้ที่เกิดจากอาชีพอิสระต่างๆที่ไม่มีการบันทึกหรื อบันทึกตํ่ากว่าความเป็ นจริ งทําให้รายได้
ประชาชาติน้ นั ตํ่ากว่าความเป็ นจริ ง
4. รายได้ประชาชาติ ไม่ได้ให้ความสําคัญต่อเวลาว่างหรื อเวลาพักผ่อน (Leisure) ของบุคคล
5. รายได้ประชาชาติไม่ได้แสดงให้เห็นถึง การกระจายสิ นค้าและบริ การว่าถูกแบ่งสรรอย่างไร
6. รายได้ประชาชาติไม่คาํ นึงถึงความเสี ยหายที่การผลิตก่อให้เกิดขึ้นแก่สงั คม
โดยสามารถสรุ ปภาพรวมรายได้ประชาชาติดงั รู ปที่ 9.

รู ปที่ 8. ความสัมพันธ์ของรายได้ประชาชาติ

เศรษฐศาสตร์ พลังงานและความสาคัญ
จากความสําคัญของพลังงานในฐานะที่ถือเป็ นหนึ่งในปัจจัยการผลิตที่สาํ คัญของภาคอุตสาหกรรม ภาค
เกษตรกรรม และภาคบริ การ อีกทั้งราคาพลังงานได้มีแนวโน้มเพิ่มสู งขึ้น ดังนั้นการศึกษาด้านเศรษฐศาสตร์ที่
มุ่งเน้นไปสู่ การแก้ปัญหาพลังงานทั้งด้านจุลภาคและมหาภาค ล้วนมีความจําเป็ นและสําคัญยิง่ ต่อการวางแผนพัฒนา
ในระดับประเทศทั้งปัจจุบนั และอนาคต
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 111
-------------------------------------------------------------------------------
ปัจจุบนั การศึกษาเศรษฐศาสตร์พลังงานเป็ นไปอย่างกว้างขวางมากขึ้น ครอบคลุมทั้งด้านผูผ้ ลิตและ
ผูบ้ ริ โภคตั้งแต่การสํารวจและการผลิตในแหล่งพลังงานต่างๆ ไปจนถึงการบริ โภคพลังงานของผูใ้ ช้พลังงานขั้น
สุ ดท้าย หรื อ End users เช่น การเลือกซื้อเครื่ องปรับอากาศ เบอร์ 5 แทนที่จะเลือกซื้อเครื่ องปรับอากาศเบอร์ต่าํ
กว่าเพื่อลดค่าใช้จ่ายด้านพลังงานไฟฟ้า หรื อในกรณี การวิเคราะห์ผลกระทบของนโยบายด้านพลังงานของภาครัฐ
ต่อระบบเศรษฐกิจ เช่น การศึกษาผลกระทบของการแทรกแซงราคาก๊าซหุงต้มของรัฐบาล เป็ นต้น
กล่าวได้วา่ การศึกษาเศรษฐศาสตร์พลังงานได้มีการทาการศึกษาทั้งระดับจุลภาค และระดับมหภาค โดย
เศรษฐศาสตร์ดา้ นจุลภาค เช่น การพิจารณานาพลังงานแยกออกเป็ นอีกหนึ่งปัจจัยการผลิตหลัก ในการผลิตสิ นค้า
และบริ การในอุตสาหกรรมประเภทต่างๆ และหาแนวทางทําให้ตน้ ทุนในด้านพลังงานมีค่าตํ่าที่สุดเพื่อเพิ่มผลกําไร
ของอุตสาหกรรมนั้นๆ ส่ วนเศรษฐศาสตร์มหภาค นั้นคือการวิเคราะห์ผลกระทบของนโยบายหรื อราคาพลังงานที่
กระทบต่อวงกว้างของสังคม เช่น การศึกษาผลกระทบต่อการสนับสนุนเงินอุดหนุนโครงการตรึ งราคา LPG ว่ามี
ผลกระทบต่อทุกภาคเศรษฐกิจอย่างไร เป็ นต้น

------------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 112
-------------------------------------------------------------------------------
 แนวข้ อสอบความรู้ ด้านเศรษฐศาสตร์ เบื้องต้ น
1. ข้อใดเป็ นความหมายที่ถูกต้องที่สุดของคําว่าการผลิตที่มีประสิ ทธิภาพในทางเศรษฐศาสตร์
1) การใช้ปัจจัยที่ดินและแรงงานจํานวนมากเพื่อให้ได้ผลผลิตมากที่สุด
2) การใช้เครื่ องจักรและเงินทุนจํานวนมากเพื่อให้ได้ผลผลิตมากที่สุด
3) การใช้ทรัพยากรให้มากที่สุดเพื่อให้ได้ผลผลิตมากที่สุด
4) การใช้ทรัพยากรเท่ากับผลผลิตที่ออกมามากที่สุด
5) การใช้ทรัพยากรให้นอ้ ยที่สุดเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มากที่สุด
ตอบ 5 การผลิตที่มีประสิ ทธิภาพในทางเศรษฐศาสตร์ หมายถึง การใช้ทรัพยากรหรื อปัจจัยการผลิตให้
น้อยที่สุดเพื่อให้ได้ผลผลิตที่มากที่สุด (ทั้งนี้เศรษฐศาสตร์ เป็ นวิชาที่ศึกษาถึงการตัดสิ นใจเลือกใช้
ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างจํากัด เพื่อผลิตสิ นค้าและบริ การ เพือ่ ตอบนองความต้องการที่อยูอ่ ย่างไม่จาํ กัดของ
มนุษย์ให้เกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ดทางเศรษฐกิจ)
2. การแก้ปัญญาพื้นฐานทางเศรษฐกิจโดยใช้กลไกของตลาด เกิดขึ้นในระบบเศรษฐกิจแบบใด
1) ทุนนิยม 2) สังคมนิยม 3) วางแผนจากรัฐ 4) แบบผสม 5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 1 ระบบเศรษฐกิจแบบทุนนิยม (Capitalism) หรื อแบบที่ไม่มีการวางแผน เป็ นระบบเศรษฐกิจที่
เอกชนเป็ นเจ้าของปัจจัยการผลิต มีอิสระในการดําเนินการผลิตและการบริ โภค การแก้ไขปัญหาพื้นฐานทาง
เศรษฐกิจจะใช้กลไกของตลาดหรื อกลไกราคาเป็ นตัวกําหนด กล่าวคือ ราคาสิ นค้าจะถูกกําหนดโดยอุปสงค์และ
อุปทานของตลาด
3. ข้อใดไม่ใช่ปัจจัยกําหนดอุปสงค์
1) ราคาสิ นค้าชนิดนั้น 2) รสนิยมการบริ โภค 3) รายได้
4) รสนิยม 5) เทคโนโลยี
ตอบ 5 ปัจจัยที่กาํ หนดอุปสงค์ได้แก่ ราคาสิ นค้าชนิดนั้น, ราคาสิ นค้าชนิดอื่นที่เกี่ยวข้องกันกับสิ นค้า
ชนิดนั้น, รายได้หรื ออํานาจซื้อ, รสนิยม, จํานวนประชากร, ค่าใช้จ่ายโฆษณาประชาสัมพันธ์ เป็ นต้น
4. ปริ มาณการซื้อทุเรี ยนหมอนทองเปลี่ยนแปลงอยูบ่ นเส้นอุปสงค์เส้นเดิม (Move along the curve)
เกิดจากการเปลี่ยนแปลงของปัจจัยใด
1) ราคาเงาะ 2) ราคาของทุเรี ยนก้านยาว 3) ราคาทุเรี ยนหมอนทอง
4) รสนิยมของผูซ้ ้ือ 5) ฤดูกาลผลผลิตของทุเรี ยน
ตอบ 3 การเปลี่ยนแปลงปริ มาณอุปสงค์ หมายถึง การเปลี่ยนแปลงความต้องการซื้อสิ นค้า อัน เนื่องมาจาก
การเปลี่ยนแปลงราคาของสิ นค้าชนิดนั้น โดยให้ปัจจัยอื่นๆ ที่กาํ หนดอุปสงค์คงที่ กรณี น้ ีจะ ทําให้ปริ มาณอุป
สงค์ของสิ นค้าเคลื่อนย้ายบนเส้นอุปสงค์เดิม
5. ข้อใดส่ งผลที่ทาํ ให้เส้นอุปสงค์เคลื่อน (Shift) ไปทางซ้ายของเส้นเดิม
1) ราคาของสิ นค้าชนิดนั้นเพิ่มขึ้น 2) รายได้ของผูบ้ ริ โภคเพิ่มขึ้น
3) ราคาของสิ นค้าที่ใช้ประกอบกันลดลง 4)ราคาของสิ นค้าที่ใช้ทดแทนกันลดลง
5) ต้นทุนการผลิตสิ นค้านั้นเพิ่มขึ้น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 113
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 4 ถ้าราคาสิ นค้าที่ใช้ทดแทนกันได้เปลี่ยนแปลง จะมีผลต่อความต้องการของสิ นค้าชนิดที่กาํ ลัง
พิจารณาเปลี่ยนแปลงไปในทิศทางเดียวกัน เช่น โค้กกับเป๊ ปซี่ เมื่อราคาโค้กลดลง อุปสงค์ของเป๊ ปซี่จะ
ลดลงด้วยทั้งๆ ที่ราคาของเป๊ ปซี่กย็ งั คงที่ ทําให้เส้นอุปสงค์ของเป๊ ปซี่ลดลงโดยเคลื่อนย้ายไปทางซ้ายของ
เส้นเดิม
6. ข้อใดเป็ นไปตามกฎของอุปทาน
1) ราคาขายเท่าเดิม ปริ มาณขายลดลง 2) ราคาขายเท่าเดิม ปริ มาณขายเพิ่มขึ้น
3)ราคาขายเพิม่ ขึ้น ปริ มาณขายลดลง 4) ราคาขายลดลง ปริ มาณขายลดลง
5) รายได้ลดลง ปริ มาณขายลดลง
ตอบ 4 กฎของอุปทาน (Law of Supply) เป็ นกฎที่วา่ ด้วยความสัมพันธ์ระหว่างราคาสิ นค้าชนิด
หนึ่งกับปริ มาณเสนอขายราคาสิ นค้าชนิดนั้นที่เป็ นไปในทิศทางเดียวกัน กล่าวคือ
- เมื่อราคาสิ นค้าชนิดหนึ่งเพิม่ ขึ้น ปริ มาณเสนอขายสิ นค้าชนิดนั้นจะเพิม่ ขึ้น
- เมื่อราคาสิ นค้าชนิดหนึ่งลดลง ปริ มาณเสนอขายสิ นค้าชนิดนั้นจะลดลง
7. สิ นค้าใดที่มีความยืดหยุน่ ของอุปทานมากที่สุด
1) โลงศพ 2)วัตถุโบราณ 3) หนังสื อ 4) ข้าว 5) นํ้าหอม
ตอบ 4 อุปทานที่มีความยืดหยุน่ มากกว่า 1 ( ) กล่าวคือ เมื่อราคาสิ นค้าชนิ ดหนึ่งเปลี่ยนแปลงไป
1% จะทําให้ปริ มาณเสนอขายของสิ นค้านั้นเปลี่ยนแปลงไปน้อยกว่า 1% ในทิศทางเดียวกัน เส้นอุปทานจะมี
ลักษณะที่มีจุดเริ่ มต้นจากจุดตัดทางแกนปริ มาณ ได้แก่ สิ นค้าที่ผลิตยาก เช่น สิ นค้าเกษตร
8. รัฐบาลจะใช้นโยบายการกําหนดราขั้นสู ง เมื่อเกิดกรณี ใด
1) ราคาสิ นค้าสู งกว่าราคาตลาดโลก 2) สิ นค้ามีมากเกินความต้องการ
3) ราคาสิ นค้าถูกเกินไปจนผูผ้ ลิตเดือดร้อน 4) สิ นค้าราคาแพงเกินไปจนทําให้ผบู ้ ริ โภคเดือดร้อน
5) สิ นค้าไม่เพียงพอต่อความต้องการ
ตอบ 4 การกําหนดราคาขั้นสู ง เป็ นมาตรการที่รัฐบาลต้องการช่วยเหลือผูบ้ ริ โภคที่เดือดร้อนจากการที่
ราคาสิ นค้าในตลาดสู งเกินไป โดยจะกําหนดราคาขั้นสู งไว้ให้ต่าํ กว่าราคาดุลยภาพหรื อราคาตลาดใน
ขณะนั้น ทําให้เกิดอุปสงค์ส่วนเกินหรื อสิ นค้าขาดแคลน
9. การใช้นโยบายการแทรกแซงราคา ส่ งผลอย่างไรต่อตลาด
1) ผูผ้ ลิตได้รับประโยชน์ 2) ผูบ้ ริ โภคได้รับประโยชน์ 3) กลไกราคาล้มเหลว
4) เกิดดุลยภาพในตลาดสิ นค้า 5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3 การแทรกแซงทางด้านราคา อาจจะใช้วิธีการกําหนดราคาขั้นตํ่า ราคาขั้นสู ง การเก็บภาษี
ทางด้านผูข้ ายหรื อด้านผูซ้ ้ือของรัฐบาลล้วนแล้วแต่จะทําให้เสี ยระบบการทํางานของกลไกราคา หรื อทําให้
กลไกราคาล้มเหลว
10. การเก็บภาษีตามสภาพ (Specific Tax) มีลกั ษณะการจัดเก็บภาษีอย่างไร
1) เก็บภาษีจากการผลิตต่อหน่วยของผูผ้ ลิต 2) เก็บภาษีต่อหน่วยของสิ นค้า
3) เก็บภาษีจากการผลิตรวมทั้งหมดของผูผ้ ลิต 4) เก็บภาษีต่อราคาสิ นค้าชนิดนั้น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 114
-------------------------------------------------------------------------------
5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 2 รัฐบาลนิยมเก็บภาษี 2 ประเภทคือ
1. ภาษีเก็บตามสภาพ (Specific Tax) หรื อภาษีแบบต่อหน่วย (Per Unit Tax) ซึ่งเป็ นภาษีที่เก็บเป็ น
อัตราคงที่ต่อหน่วยหนึ่งหน่วยของสิ นค้า
2. ภาษีเก็บตามมูลค่าของสิ นค้า (Ad-valorem Tax) คือ ภาษีที่เก็บโดยคิดเป็ นเปอร์เซ็นต์ (ร้อยละ)ของ
ราคาสิ นค้า
11. เมื่อรัฐบาลเก็บภาษีจากผูผ้ ลิตทําให้ราคาสิ นค้าเพิ่มขึ้น ใครจะเป็ นผูร้ ับผิดชอบภาระภาษีดงั กล่าวมากที่สุด
1) ผูผ้ ลิตรับภาระทางภาษีมากกว่า 2) ผูบ้ ริ โภครับภาระภาษีมากกว่า
3) ผูผ้ ลิตรับภาระภาษีท้ งั หมด 4) ผูบ้ ริ โภครับภาระภาษีท้ งั หมด
5) ยังไม่สามารถสรุ ปได้วา่ ใครจะรับภาระมากกว่ากัน
ตอบ 5 ในการเก็บภาษีจากผูผ้ ลิต ภาระภาษีจะตกแก่ใครมากน้อยเพียงใดขึ้นอยูก่ บั ความยืดหยุน่ ของ
อุปสงค์และอุปทาน
12. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับการผลิตมากที่สุด
1) เป็ นการใช้ปัจจัยแรงงานกับเครื่ องจักร ให้เป็ นผลผลิต
2) เป็ นการใช้ปัจจัยแรงงานกับทุน
3) เป็ นกระบวนการเปลี่ยนปัจจัยการผลิต ให้เป็ นผลผลิต
4) เป็ นการใช้ปัจจัยแรงงานกับผูป้ ระกอบการ ให้เป็ นผลผลิต
5) เป็ นกระบวนการเปลี่ยนวัตถุดิบ ให้เป็ นผลผลิต
ตอบ 3 การผลิต หมายถึง กระบวนการเปลี่ยนปัจจัยการผลิต (Input) ให้เป็ นผลผลิต (Output) โดย
การนําปัจจัยการผลิตหลายๆ อย่างมาเข้าสู่ กระบวนการผลิตเพื่อเปลี่ยนให้เป็ นผลผลิต
13. ข้อใดเป็ นลักษณะของปัจจัยแปรผัน
1) มีการเปลี่ยนแปลงไปตามการจ้างงาน 2) มีการแปรเปลี่ยนไปตามการผลิต
3) มีการเปลี่ยนแปลงไปตามวัตถุดิบ 4) มีเฉพาะการผลิตในระยะสั้น
5) ยิง่ ผลิตมากค่าเฉลี่ยต่อหน่วยของปัจจัยจะยิง่ น้อยลง
ตอบ 2 ปัจจัยแปรผัน เป็ นปัจจัยการผลิตที่สามารถแปรผันได้ตามปริ มาณการผลิตที่ตอ้ งการ เช่น
แรงงาน นํ้ามันเชื้อเพลิง วัตถุดิบที่ใช้ในการผลิต เป็ นต้น
14. ปริ มาณผลผลิตเฉลี่ยที่เกิดขึ้นจากการใช้ปัจจัยการผลิตในปริ มาณต่างๆ หมายถึงข้อใด
1) TP 2) MP 3) AP 4) TC 5) VC
ตอบ 3 ผลผลิตเฉลี่ย (Average Product : AP) หมายถึง ผลผลิตรวมทั้งหมดที่คิดเฉลี่ย
ต่อปัจจัยแปรผันจํานวนหนึ่ง นัน่ คือ AP = ปัผลผลิ ตทั้งหมด
จจัยแปรผัน
หรื อ AP =
15. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับกฎว่าด้วยผลตอบแทนที่ลดน้อยถอยลง
1) เป็ นกฎที่กล่าวถึงการใช้ปัจจัยแปรผันรวมกับปัจจัยคงที่
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 115
-------------------------------------------------------------------------------
2) ในช่วงแรกของการผลิต ผลผลิตจะเพิ่มขึ้น
3) เมื่อใช้ปัจจัยแปรผันเพิ่มขึ้นเรื่ อยๆ ผลผลิตจะเริ่ มลดลง
4) เกิดขึ้นกับการผลิตในระยะสั้น
5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 5 กฎที่วา่ ด้วยผลตอบแทนที่ลดน้อยถอยลง (Law of Diminishing Returns) จะเกิดขึ้นใน
ระยะเวลาสั้น ซึ่งกฎดังกล่าวนี้มีใจความสําคัญว่า เมื่อเพิ่มปัจจัยแปรผันเข้าทํางานร่ วมกับปัจจัยคงที่เกิน
ระดับหนึ่ง ในระยะแรกผลผลิตหน่วยสุ ดท้าย (MP) จะเพิ่มขึ้น แต่หลังจากนั้นก็จะลดลงในที่สุดจะเป็ น 0
และติดลบ
16. ในระยะเวลา 15 วัน เบสขายหมวกกันน็อคได้ 50 ใบ มีรายรับรวมจากการขาย 18,900 บาท เบสจะมี
รายรับเฉลี่ย AR เท่าใด
1) 300 บาท/ตัว 2) 325 บาท/ตัว 3) 378 บาท/ตัว 4) 388 บาท/ตัว 5) 370 บาท/ตัว
ตอบ 3 รายรับเฉลี่ย (AR) = โดย TR = 18,900, Q = 50 ใบ
แทนค่า AR = = 378 บาท/ตัว
17. ข้อใดไม่ใช่เกณฑ์ในการแบ่งประเภทตลาดตามแนวความคิดของนักเศรษฐศาสตร์
1) จํานวนผูซ้ ้ือและผูข้ าย 2) ลักษณะของสิ นค้า 3) ราคาของสิ นค้า
4) ข้อมูลข่าวสารของตลาด 5) การเข้าออกตลาดของผูผ้ ลิต
ตอบ 3 การแบ่งประเภทต่างตามแนวความคิดของนักเศรษฐศาสตร์ มีเกณฑ์ดงั นี้
1. จํานวนผูซ้ ้ือและผูข้ าย 2. ลักษณะของสิ นค้า
3. ข้อมูลข่าวสารทางการตลาด 4. การเข้าออกตลาดของผูผ้ ลิต

18. ข้อใดคือเงื่อนไขที่ผผู ้ ลิตในตลาดแข่งขันสมบูรณ์จะได้รับกําไรสู งสุ ด


1) รายรับเฉลี่ย (AR) = รายรับหน่วยสุ ดท้าย (MR)
2) รายรับเฉลี่ย (AR) = ต้นทุนหน่วยสุ ดท้าย (MC)
3) รายรับหน่วยสุ ดท้าย (MR) = ต้นทุนเฉลี่ย (AC)
4) รายรับหน่วยสุ ดท้าย (MR) = ต้นทุนหน่วยสุ ดท้าย (MC)
5) รายรับหน่วยสุ ดท้าย (MR) มีค่าสู งสุ ด
ตอบ 2 ตลาดแข่งขันสมบูรณ์ P = AR = MR และเป็ นเส้นเดียวกัน ดังนั้นเงื่อนไขที่จะทําให้ผผู ้ ลิต
ได้รับกําไรสู งสุ ดอยูท่ ี่ P = MC
เฉพาะตลาดแข็งขันสมบูรณ์เท่านั้น
AR = MC
19. การผูกขาดโดยธรรมชาติ เกิดขึ้นในตลาดใด
1) ตลาดการแข่งขันสมบูรณ์ 2) ตลาดผูกขาด
3) ตลาดซื้อขายเงินตราต่างประเทศ
4) ตลาดผูข้ ายน้อยราย 5) ตลาดกึ่งแข่งขันกึ่งผูกขาด
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 116
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 2 การผลิตบางอย่างต้องใช้ตน้ ทุนการผลิตสู งจึงจะเกิดการประหยัดจากขนาด เป็ นปัจจัยที่ทาํ ให้
เกิดการผูกขาดขึ้น
20. ข้อใดหมายถึงรายได้ประชาชาติ
1) มูลค่าของสิ นค้าและบริ การที่ผลิตขึ้นภายในเศรษฐกิจ
2) ราคาของสิ นค้าที่รวมบริ การภายในระบบเศรษฐกิจ
3) กําไรของสิ นค้าและผลผลิตในระบบเศรษฐกิจ
4) ต้นทุนการผลิตของสิ นค้าภายในระบบเศรษฐกิจ
5) มูลค่าเพิ่มของผลผลิตภายในระบบเศรษฐกิจ
ตอบ 1 รายได้ประชาชาติ หรื อผลิตภัณฑ์ประชาชาติเบื้องต้น คือ มูลค่าของสิ นค้าและบริ การขั้น
สุ ดท้ายตามราคาตลาดที่ประชาชนประเทศหนึ่งๆ สามารถผลิตได้ตามในระยะเวลาหนึ่ง โดยปกติคิดเป็ น 1
ปี มีการคํานวณได้ 3 วิธี คือ
1. ด้านผลผลิต (Product Approach)
2. ด้านรายจ่าย (Expenditure Approach)
3. ด้านรายได้ (Income Approach)
21. การคํานวณรายได้ประชาชาติสามารถคํานวณได้กี่วิธี
1) 5 วิธี 2) 4 วิธี 3) 3 วิธี 4) 2 วิธี 5) 1 วิธี
ตอบ 3 ดูคาํ อธิบายข้อ 20. ประกอบ
22. ข้อใดไม่ใช่การคํานวณรายได้ประชาชาติ
1) การคํานวณด้านมูลค่าและเพิม่ ผลผลิต 2) การคํานวณด้านรายได้และผลผลิต
3) การคํานวณด้านผลผลิตและรายจ่าย 4) การคํานวณด้านรายได้และรายจ่าย
5) การคํานวณด้านการใช้จ่าย
ตอบ 1 ดูคาํ อธิบายข้อ 20. ประกอบ
23. ข้อใดเป็ นผลิตภัณฑ์มวลรวมภายในประเทศ
1) GDP 2) GNP 3) NNT 4) PI 5) DI
ตอบ 1 ผลิตภัณฑ์มวลรวมในประเทศ (Gross Domestic Product : GDP) หมายถึงมูลค่ารวมใน
ราคาตลาดของสิ นค้าและบริ การที่เป็ นสิ นค้าขั้นสุ ดท้ายทุกประเภทที่ผลิตได้เฉพาะภายในประเทศเท่านั้น ใน
ระยะเวลาที่กาํ หนด (โดยทัว่ ไปจะมีระยะเวลา 1 ปี ) ก่อนที่จะหักค่าเสื่ อมราคาทรัพย์สินอันเนื่องมาจาก การผลิต
สิ นค้าและบริ การเหล่านั้นขึ้นมา
24. รายการต่อไปนี้ไม่สามารถนํามาคํานวณรายได้ประชาชาติดา้ นรายได้
1) ค่าตอบแทนแรงงาน 2) รายได้ของแม่คา้ ในตลาด
3) ดอกเบี้ยเงินกูข้ องพิมพ์ 4) เงินลงทุนของกบ
5) รายได้ของรัฐจากการให้เช่าที่ดิน
ตอบ 4 การคํานวณรายได้ประชาชาติทางด้านรายได้เป็ นผลรวมจากรายได้ที่เป็ นผลตอบแทนของปัจจัย
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 117
-------------------------------------------------------------------------------
การผลิตได้แก่
1. ค่าจ้างที่เป็ นผลตอบแทนของแรงงาน 2. ค่าเช่าที่เป็ นผลตอบแทนจากการใช้ที่ดิน
3. ดอกเบี้ยที่เป็ นผลตอบแทนของทุน 4. กําไรที่เป็ นผลตอบแทนของผูป้ ระกอบการ
(ส่ วนเงินทุนของกบ จัดว่าเป็ นการคํานวณทางด้านรายจ่าย)
25. ข้อใดไม่จดั อยูใ่ นสาขาการผลิต
1) เกษตรกรรม 2) อุตสาหกรรม 3) การค้า 4) บริ การ 5) การลงทุน
ตอบ 5 การลงทุน (Investment : I) จัดว่าเป็ นการคํานวณรายได้ประชาชาติทางด้านรายจ่ายรวม
(Expenditure Approach)
26. การผลิตที่ไม่ผา่ นตลาด (Non-market Production) หมายถึงข้อใด
1) การปลูกผักขาย 2) การทําอาหารกินเอง 3) การเปิ ดร้านถ่ายเอกสาร
4) บริ การทัวร์นาํ เที่ยว 5) กลุ่มแม่บา้ นทําขนมขาย
ตอบ 2 สิ นค้าและบริ การที่ไม่ผา่ นตลาด คือ ไม่ได้ทาํ การซื้อขายกันในท้องตลาด เช่น การทําอาหารกินเอง
พืชผลส่ วนหนึ่งที่เกษตรกรเก็บไว้บริ โภคเอง เสื้ อผ้าที่แม่บา้ นเย็บใส่ เอง การซ่อมรถของตนเอง เป็ นต้น
27. GNP หมายถึงข้อใด
1) ผลิตภัณฑ์ภายในประเทศเบื้องต้น 2) รายได้ที่จ่ายได้ 3) รายได้ที่เป็ นตัวเงิน
4) ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ 5) รายได้ประชาชาติ
ตอบ 4 ผลิตภัณฑ์มวลรวมประชาชาติ (Gross National Product : GNP) หมายถึงมูลค่ารวมใน
ราคาตลาดของสิ นค้าและบริ การขั้นสุ ดท้ายที่ประชาชาติผลิตขึ้นได้ในระยะเวลา 1 ปี ภายหลังหัก ค่าใช้จ่าย
กินทุน (CCA) ออกไปแล้ว
28. ข้อใดไม่ใช่อุปสงค์มวลรวม (Aggregate Demand)
1) การออม 2) การส่ งออก 3) การนําเข้า 4) การบริ โภค 5) การลงทุน
ตอบ 1 อุปสงค์รวม (Aggregate Demand : AD) หมายถึง ผลรวมของค่าใช้จ่ายทั้งหมด ซึ่ง
ประกอบด้วย ค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคและบริ โภคของประชาชน (C), การใช้จ่ายเพือ่ การลงทุน (I), การ ใช้
จ่ายของรัฐบาล(G)และผลสุ ทธิจากการค้าต่างประเทศ (X - M) นัน่ คือ AD = C + I + G +(X-M)
29. ข้อใดเป็ นการคํานวณด้านรายจ่าย
1) AD = C + I + G +(X-M)
2) AD = ค่าใช้จ่าย + ค่าเช่า + ดอกเบี้ย + กําไร
3) AD = รายได้ + รายจ่าย + การลงทุน
4) AD = ที่ดิน + ทุน + แรงงาน + ผูป้ ระกอบการ
5) AD = รายได้ – ค่าใช้จ่าย
ตอบ 1 ดูคาํ อธิบายข้อ 28. ประกอบ
30. ข้อใดหมายถึงแนวโน้มส่ วนเพิ่มแห่งการบริ โภค
1) APC 2) APS 3) MPC 4) MPS 5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 118
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 3 ความโน้มเอียงในการบริ โภคหน่วยที่เพิ่ม (Marginal Propensity to Consume : MPC)
หมายถึง ค่าใช้จ่ายเพื่อการอุปโภคบริ โภคทั้งหมดที่เพิ่มขึ้นเมื่อรายได้เพิ่มขึ้น 1 หน่วย หรื อ MPC จะ
แสดงให้เห็นว่าเมื่อรายได้เปลี่ยนแปลงเพิ่มขึ้น 1 หน่วย จะมีผลทําให้รายจ่ายในการบริ โภคเปลี่ยนแปลง
เพิม่ ขึ้นเท่าใด หรื อ MPC =
31. ข้อใดหมายถึงแนวโน้มเฉลี่ยแห่งการออม
1) APC 2) APS 3) MPC 4) MPS 5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 2 ความโน้มเฉลี่ยที่จะออมทรัพย์ (Average Propensity to Save : APS) หมายถึง จํานวน
เงินออมที่คิดเฉลี่ยต่อหนึ่งหน่วยของรายได้ โดยหาจากอัตราส่ วนของจํานวนเงินที่จะออม (S) กับรายได้
(Y) หรื อ APS =
32. ข้อใดเรี ยงลําดับการวิวฒั นาการของระบบอัตราแลกเปลี่ยนได้ถูกต้อง
1) ใช้สินค้าแลกเปลี่ยน, ใช้เครดิตแลกเปลี่ยน, ใช้เงินแลกเปลี่ยน
2) ใช้สินค้าแลกเปลี่ยน, ใช้เงินแลกเปลี่ยน, ใช้เครดิตแลกเปลี่ยน
3) ใช้เครดิตแลกเปลี่ยน, ใช้สินค้าแลกเปลี่ยน, ใช้เงินแลกเปลี่ยน
4)ใช้เครดิตแลกเปลี่ยน, ใช้เงินแลกเปลี่ยน, ใช้สินค้าแลกเปลี่ยน
5) ใช้เงินแลกเปลี่ยน, ใช้สินค้าแลกเปลี่ยน, ใช้เครดิตแลกเปลี่ยน
ตอบ 2 วิวฒั นาการของระบบอัตราแลกเปลี่ยนแบ่งออกเป็ น
1. สังคมที่ใช้สินค้าในการแลกเปลี่ยนกัน 2. สังคมที่ใช้สิ่งของในการแลกเปลี่ยน
3. สังคมที่ใช้เงินในการแลกเปลี่ยน 4. สังคมที่ใช้เครดิตในการแลกเปลี่ยน

ห33. โรสนําเงินไปฝากไว้ที่ธนาคาร เงินของโรสทําหน้าที่ดา้ นใด


1) สื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน 2) เป็ นเครื่ องชําระหนี้ 3) มาตรฐานในการวัดมูลค่า
4) เป็ นเครื่ องสะสมค่า 5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 4 หน้าที่ของเงินอันมีสภาพนิ่ง 4 ประการ คือ
1. เป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน
2. เป็ นมาตรฐานที่ใช้วดั มูลค่า
3. เป็ นมาตรฐานชําระหนี้ภายหน้า
4. เปลี่ยนเครื่ องสะสมมูลค่า เช่น นําเงินไปฝากธนาคาร ซื้อที่ดิน ทองคํา ฯลฯ
34. ข้อใดคือความหมายของปริ มาณเงินตามความหมายแคบ
1) ธนบัตร + เหรี ยญกษาปณ์
2) ธนบัตร + เหรี ยญกษาปณ์ + เงินฝากกระแสรายวัน
3) ธนบัตร + เหรี ยญกษาปณ์ + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจํา
4) เงินฝากกระแสรายวัน + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจํา
5) ธนบัตร + เงินฝากกระแสรายวัน + เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจํา
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 119
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 2 ปริ มาณเงินตามความหมายอย่างแคบ (Narrow Money) หมายถึง เหรี ยญกษาปณ์, ธนบัตร
และเงินฝากกระแสรายวันที่นาํ ออกมาใช้หมุนเวียนอยูใ่ นระบบเศรษฐกิจ และเป็ นปริ มาณเงินที่ใช้วดั
อํานาจซื้อของประชาชน
35. ข้อใดเป็ นลักษณะของการเกิดเงินเฟ้อ
1) GDP ขยายตัวในระดับสู ง 2) เกิดการส่ งออกขยายตัวมาก
3) ราคามีการปรับตัวสู งขึ้นอย่างต่อเนื่อง 4) เงินทุนไหลเข้าติดลบ
5) รัฐบาลใช้เก็บภาษีได้นอ้ ยกว่ารายจ่าย
ตอบ 3 ภาวะเงินเฟ้อหมายถึง การที่ระดับราคาสิ นค้าโดยทัว่ ไปสู งขึ้นอย่างรวดเร็ วและต่อเนื่อง
พิจารณาได้จากอัตราเพิม่ ของดัชนีราคาผูบ้ ริ โภคซึ่งอัตราเพิม่ นี้เรี ยกว่า อัตราเงินเฟ้อ
36. หากเกิดเงินเฟ้อ จะดําเนินนโยบายการเงินเพื่อแก้ไขปัญหาเงินเฟ้ออย่างไร
1) ดําเนินนโยบายแบบเข้มงวด
2) ดําเนินนโยบายแบบเข้มงวด โดยเพิ่มปริ มาณเงิน
3) ดําเนินนโยบายแบบผ่อนคลาย
4) ดําเนินนโยบายแบบผ่อนคลาย โดยเพิม่ ปริ มาณเงิน
5) ไม่สามารถใช้นโยบายการเงินแก้ไขปัญหาได้
ตอบ 1 นโยบายการเงินแบบเข้มงวด คือลดปริ มาณเงินลง โดยวิธีดงั นี้
1. ธนาคารกลางจะขายหลักทรัพย์ให้แก่ประชาชน
2. ธนาคารกลางจะเพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลดตัว๋ เงิน
3. ธนาคารกลางจะเพิม่ อัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย
37. ตามทฤษฎีของเคนส์ ความต้องการถือเงินประเภทใดที่ข้ นึ อยูก่ บั รายได้
1) ถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอย
2) ถือเงินเพื่อเหตุฉุกเฉินจําเป็ น
3) ถือเงินเพื่อเก็งกําไร
4) ถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอยและถือเงินเพื่อเก็งกําไร
5) ถือเงินเพื่อจับจ่ายใช้สอยและถือเงินเพื่อเหตุฉุกเฉินจําเป็ น
ตอบ 5 เคนส์ได้แบ่งความต้องการถือเงินออกเป็ น 3 แบบ คือ
1. เพื่อใช้จ่ายประจําวัน
จะขึ้นอยูก่ บั รายได้ในทิศทางเดียวกัน
2. เพื่อใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน
3. เพื่อเก็งกําไร จะขึ้นอยูอ่ ยูก่ บั อัตราดอกเบี้ยในทิศทางตรงกันข้าม
38. การที่ท่านฝากเงินไว้กบั ธนาคาร เป็ นการดําเนินงานผ่านตลาดใด
1) ตลาดเงิน 2) ตลาดบริ การ 3) ตลาดสิ นค้า 4) ตลาดทุน 5) ตลาดปัจจัยการผลิต
ตอบ 1 ตลาดเงิน เป็ นตลาดที่มีการรับฝากและกูย้ มื เงินในระยะสั้น ปกติไม่เกิน 1 ปี แบ่งออกเป็ น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 120
-------------------------------------------------------------------------------
1. ตลาดเงินในระบบ จัดตั้งขึ้นอย่างถูกกฎหมาย เช่น ธนาคารพาณิ ชย์ ธนาคารกลาง บริ ษทั เงินทุน
หลักทรัพย์ ฯลฯ
2. ตลาดเงินนอกระบบ มิได้จดั ตั้งตามกฎหมาย เช่น การกูย้ มื กันเองระหว่างประชาชน การเล่นแชร์ และ
การขายฝาก ฯลฯ
39. ข้อใดไม่ใช่ตราสารทางการเงินที่อยูใ่ นตลาดตราสารหนี้
1) หุน้ กู้ 2) ตัว๋ สัญญาใช้เงิน 3) พันธบัตร 4) หุน้ กู้ 5) หุน้ บุริมสิ ทธิ
ตอบ 1 ตราสารหนี้แบ่งออกเป็ น 2 ประเภทได้แก่
1. ตราสารหนี้ภาคเอกชน เช่น ตัว๋ แลกเงิน ตัว๋ สัญญาใช้เงิน หุน้ กู้ ฯลฯ
2. ตราสารหนี้ภาครัฐบาล เช่น ตัว๋ เงินคลัง พันธบัตรรัฐบาล พันธบัตรออมทรัพย์ ฯลฯ
40. ถ้ากําหนดให้เงินสดสํารองตามกฎหมาย 5% หากมีเงินฝากก้อนแรกเข้าสู่ ระบบธนาคาร 2 ล้านบาท และ
ธนาคารจ่ายดอกเบี้ย 2% ระบบธนาคารจะสามารถสร้างเงินฝากได้เท่าใด
1) 10 ล้านบาท 2) 20 ล้านบาท 3) 30 ล้านบาท 4) 40 ล้านบาท 5) 45 ล้านบาท
ตอบ 4 จากโจทย์ เงินฝากขั้นต้น (P) = 2 ล้านบาท
เงินสดสํารองตามกฎหมาย (R) = 5%
สู ตร
แทนค่า ล้านบาท
ธนาคารจะสร้างเงินฝาก = 40 ล้านบาท
41. ข้อใดไม่ใช่เป้าหมายของการคลัง
1) จัดสรรทรัพยากร 2) รักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ 3) รักษาความมัน่ คง
4) การกระจายรายได้ 5) การจ้างงานเต็มที่
ตอบ 3 เป้าหมายของนโยบายการคลังมีดงั นี้
1. เพื่อให้เกิดความเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ
2. เพื่อรักษาเสถียรภาพภายในและภายนอกเศรษฐกิจ
3. เพื่อกระจายรายได้ที่เป็ นธรรม
4. เพื่อส่ งเสริ มการผลิตที่เป็ นผลดีต่อส่ วนรวม
5. เพื่อควบคุมและจํากัดการผลิตที่เป็ นผลเสี ยต่อส่ วนรวม
42. โครงการลงทะเบียนคนจนเพื่อสวัสดิการแห่งรัฐ จัดเป็ นข้อใดต่อไปนี้
1) งบประมาณเกินดุล 2) งบประมาณสมดุล
3) งบประมาณขาดดุล
4) นโยบายการคลังขยายตัว 5) นโยบายการคลังหดตัว
ตอบ 4 นโยบายการคลังแบบขยายตัว เป็ นนโยบายการคลังที่จะถูกนําไปใช้เมื่อเกิดเหตุการณ์เศรษฐกิจ
ถดถอยหรื อตกตํ่า โดยใช้วิธีการเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาลเป็ นงบประมาณขาดดุลหรื อลดการจัดเก็บภาษี
จากประชาชน เพื่อเพิ่มระดับอุปสงค์มวลรวมและจะทําให้รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 121
-------------------------------------------------------------------------------
43. เมื่อประเทศเกิดภาวะเงินเฟ้อ รัฐบาลควรใช้นโยบายการคลังในด้านใด
1) งบประมาณเกินดุล 2) งบประมาณสมดุล 3) งบประมาณขาดดุล
4) นโยบายการคลังขยายตัว 5) นโยบายการคลังหดตัว
ตอบ 5 นโยบายการคลังแบบหดตัว เป็ นนโยบายการคลังที่จะถูกนํามาใช้เมื่อเกิดเศรษฐกิจรุ่ งเรื องจน
เกิดภาวะเงินเฟ้อ โดยลดการใช้จ่ายของรัฐบาล เป็ นงบประมาณแบบเกินดุลหรอเพิม่ ภาษีที่จดั เก็บ ประชาชน
เพื่อลดระดับอุปสงค์รวมและจะทําให้รายได้ประชาชาติลดลง
44. ข้อใดเป็ นภาษีทางตรง
1) ภาษีการค้า 2) ภาษีมูลค่าเพิ่ม 3) ภาษีสรรพสามิต 4) ภาษีเงินได้ 5) ภาษีการขาย
ตอบ 4 ภาษีทางตรง (Direct Tax) คือ ภาษีที่เก็บจากบุคคลหรื อหน่วยผลิต ได้แก่ ภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดา ภาษีเงินได้นิติบุคคล ภาษีทรัพย์สิน และ ภาษีมรดก (ส่ วนภาษีทางอ้อม (Indirect Tax) คือ
ภาษีที่เก็บจากสิ นค้าและบริ การ ได้แก่ ภาษีการค้า ภาษีการขาย ภาษีมูลค่าเพิ่ม ภาษีสรรพสามิต และภาษี
ศุลกากร)
45. ในบัญชีดุลการชําระเงินประกอบด้วยบัญชีหลัก บัญชีใดบ้าง
1) บัญชีเดินสะพัด, บัญชีเงินทุน 2) บัญชีเดินสะพัด, บัญชีบริ การ
3) บัญชีการค้า, บัญชีบริ การ 4) บัญชีการค้า, บัญชีเงินทุน
5) บัญชีการค้า, บัญชีบริ การ, บัญชีเงินทุน
ตอบ 1 ดุลการชําระเงิน แบบบันทึก รายรับและรายจ่ายของการทําธุรกรรมทางเศรษฐกิจระหว่าง
ประเทศหนึ่งกับประเทศอื่นๆ ในโลก ในระยะเวลา 1 ปี โดยจะบันทึกในรู ปของเงินสกุลในประเทศ ซึ่ง
องค์ประกอบสําคัญของดุลการชําระเงิน คือ บัญชีเดินสะพัด และบัญชีทุน
46. ถ้าบัญชีดุลการ ชําระเงินเกินดุล จะทําให้เกิดสิ่ งใด
1) อัตราแลกเปลี่ยนสู งขึ้น และเป็ นผลดีต่อการส่ งออก
2) อัตราแลกเปลี่ยนสู งขึ้น และเป็ นผลดีต่อการนําเข้า
3) อัตราแลกเปลี่ยนลดลง และเป็ นผลดีต่อการส่ งออก
4) อัตราแลกเปลี่ยนลดลง และเป็ นผลดีต่อการนําเข้า
5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 4 ถ้าบัญชีดุลการชําระเงินเกินดุล จะทําให้ทุนสํารองทางการเงินเพิ่มขึ้น เป็ นผลในอัตราการ
แลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศลดลง หรื อค่าเงินบาทแข็งค่า ในสายตาชาวต่างชาติ เห็นว่าสิ นค้าของไทย มี
ราคาแพงขึ้น ส่ วนคนไทยจะเห็นว่าสิ นค้าจากต่างประเทศมีราคาถูกลง จึงเป็ นผลดีต่อผูน้ าํ เข้า แต่จะเป็ น ผลเสี ยต่อผู ้
ส่ งออก
47. รู ปแบบของการค้าระหว่างประเทศในยุคแรกสุ ด เป็ นรู ปแบบการค้าแบบใด
1) การค้าเสรี 2) การค้าแบบกีดกัน
3) การรวมกลุ่มแบบพหุภาคี
4) การค้าตามแนวคิดของคลาสสิ ก 5) การค้าตามแนวคิดพาณิ ชย์นิยม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 122
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 2 นโยบายกีดกันทางการค้าเริ่ มมาจากกลุ่มพาณิ ชย์นิยม (Mercantilism) ในช่วงศตวรรษที่ 18 ให้
มีการส่ งออกสิ นค้าออกไปขายมากกว่าการสัง่ สิ นค้าเข้า หรื อให้มีดุลการค้าแบบได้เปรี ยบ
48. สาเหตุใดที่ทาํ ให้เกิดการค้าภายใต้ทฤษฎีความได้เปรี ยบโดยเปรี ยบเทียบ
1) ความแตกต่างทางด้านประชากร 2) ความแตกต่างด้านทรัพยากร
3) ความแตกต่างทางด้านต้นทุน 4) ความแตกต่างด้านพฤติกรรม
5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3 ภายใต้แนวคิดทฤษฎีความได้เปรี ยบเสี ยเปรี ยบโดยเปรี ยบเทียบของเดวิด ริ คาร์โด สาเหตุที่มี
การค้าเกิดจากความแตกต่างด้านต้นทุนการผลิต โดยแต่ละประเทศจะเลือกผลิตเฉพาะสิ นค้าที่เมื่อ
เปรี ยบเทียบกับสิ นค้าอื่นแล้ว ประเทศตนสามารถผลิตได้ดว้ ยต้นทุนที่ต่าํ ที่สุด โดยมีการเปรี ยบเทียบ
ต้นทุนแรงงานที่ใช้ในการผลิตสิ นค้าในสองประเทศนั้น
49. ข้อใดไม่ใช่วตั ถุประสงค์ของประชาคมอาเซียน
1) เป็ นตลาดพื้นฐานการผลิตสิ นค้าร่ วมกัน 2) สร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน
3) การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค 4)การบรู ณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก
5) ร่ วมกันส่ งออกสิ นค้าในนามอาเซียน
ตอบ 5 ประเทศประชาคมอาเซียน (AEC) จัดตั้งขึ้นเพื่อให้ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีเศรษฐกิจ
มัน่ คง และสามารถแข่งขันกับภูมิภาคอื่นได้ โดยมีวตั ถุประสงค์ 4 ด้าน คือ
1. มีการตลาดและฐานการผลิตเดียว โดยจะมีการเคลื่อนย้ายสิ นค้า บริ การ การลงทุน และแรงงานฝี มือ
อย่างเสรี
2. การสร้างขีดความสามารถในการแข่งขัน โดยให้ความสําคัญกับประเด็นนโยบายที่จะช่วยส่ งเสริ มการ
รวบรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจ
3. การพัฒนาเศรษฐกิจอย่างเสมอภาค ส่ งเสริ มการพัฒนาวิสาหกิจขนาดกลางและขนาดย่อม (SME) เพื่อ ลด
ช่องว่างการพัฒนาทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศสมาชิก
4. การบูรณาการเข้ากับเศรษฐกิจโลก ประสานนโยบายเศรษฐกิจของอาเซียนกับภูมิภาคอื่น
50. ข้อใดไม่ถูกต้องเกี่ยวกับการพัฒนาเศรษฐกิจ
1) รายได้เพิ่ม 2) ประชากรเพิ่ม 3) อํานาจการซื้อเพิ่ม
4) การลงทุนเพิ่ม 5) ผลผลิตเพิ่ม
ตอบ 2 การพัฒนาเศรษฐกิจ หมายถึง การทําให้รายได้ที่แท้จริ งต่อคนเพิ่มขึ้นติดต่อกันเป็ นเวลานาน
เพื่อทําให้ประชาชนส่ วนใหญ่มีความเป็ นอยูท่ ี่ดีข้ ึน ดังนั้นการพัฒนาเศรษฐกิจจะทําให้เกิดการ
เปลี่ยนแปลงทั้งทางด้านเศรษฐกิจและสังคม
51. การที่เราฝากเงินประเภทเงินฝากประจําไว้กบั ธนาคารพาณิ ชย์ ถือเป็ นหน้าที่ของเงินข้อใด
1) เป็ นมาตรฐานวัดมูลค่า 2) เป็ นสื่ อจูงใจในการทํางาน
3) เป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน 4) เป็ นเครื่ องมือสะสมมูลค่า
5) ไม่มีขอ้ ถูก
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 123
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 4 การฝากเงินประเภทเงินฝากประจําไว้กบั ธนาคารพาณิ ชย์เป็ นการพักอํานาจซื้อในปัจจุบนั ไปสู่
อนาคต หรื อในเวลาอื่นที่ตอ้ งการ เงินจึงทําหน้าที่เป็ นเครื่ องสะสมมูลค่า (Store of Value)
52. ข้อใดไม่ตรงกับหน้าที่ของเงิน
1) เป็ นสิ่ งจูงใจในการทํางาน 2) เป็ นมาตรฐานวัดมูลค่า
3) เป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน 4) เป็ นเครื่ องมือสะสมมูลค่า
5) ไม่มีขอ้ ถูก
ตอบ 1 หน้าที่ของเงินอันมีสภาพนิ่ง 4 ประการ คือ
1. เป็ นสื่ อกลางในการแลกเปลี่ยน
2. เป็ นมาตรฐานที่ใช้วดั มูลค่า
3. เป็ นมาตรฐานชําระหนี้ภายหน้า
4. เปลี่ยนเครื่ องสะสมมูลค่า เช่น นําเงินไปฝากธนาคาร ซื้อที่ดิน ทองคํา ฯลฯ
53. ข้อใดไม่ใช่ความหมายของ ค่าของเงินภายในลดลง
1) ต้นทุนการผลิตสิ นค้าลดลง 2) อํานาจซื้อที่แท้จริ งเพิ่มขึ้น
3) ราคาสิ นค้าจากต่างประเทศถูกลง 4) ระดับราคาสิ นค้าในประเทศถูกลง
5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 1 ค่าภายในของเงิน หมายถึง อํานาจซื้อของเงินจํานวนหนึ่ง ซึ่งอํานาจซื้อนี้จะเปลี่ยนแปลง
ตรงกันข้ามกับราคาสิ นค้า
- ถ้าราคาสิ นค้าสู งขึ้น เงินจํานวนเท่าเดิม ซื้อสิ นค้าได้นอ้ ยลง ค่าของเงินลดลง
- ถ้าสิ นค้าราคาลดลง เงินจํานวนเท่าเดิม ซื้อสิ นค้าได้มากขึ้น ค่าของเงินเพิ่มขึ้น
54. การที่อตั ราแลกเปลี่ยน เปลี่ยนจาก 31 บาท เป็ น 33 บาท ต่อ 1 ดอลลาร์สหรัฐ จะกระทบกับค่าเงิน
อย่างไร
1) ค่าเงินบาทแข็งค่า 2) ค่าเงินบาทเสื่ อมค่า
3) ค่าเงินดอลลาร์ลดค่า 4) ค่าเงินบาทและค่าเงินดอลลาร์อ่อนค่า
5) ค่าเงินบาทและค่าเงินดอลลาร์แข็งค่า
ตอบ 2 อัตราการแลกเปลี่ยนจาก 31 บาท มาเป็ น 33 บาท ต่อดอลลาร์สหรัฐ แสดงว่าราคาเงิน ดอลลาร์
แพงขึ้น อัตราการแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศสู งขึ้น หรื อเงินดอลลาร์แข็งค่าในขณะที่เงินบาทอ่อนค่าหรื อเงิน
บาทเสื่ อมค่า ส่ งผลให้มีการส่ งออกเพิ่มขึ้น แต่การนําเข้าจะลดลง กรณี น้ ีผสู ้ ่ งออกจะได้รับประโยชน์ ส่ วนผูน้ าํ เข้า
จะเสี ยประโยชน์
55. ข้อใดไม่อยูใ่ นความหมายของปริ มาณเงินตามความหมายแคบ (M1)
1) ปริ มาณเงินฝากประแสรายวัน 2) ปริ มาณเหรี ยญกษาปณ์
3) ปริ มาณเงินฝากออมทรัพย์ 4) ปริ มาณธนบัตร 5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 3 ปริ มาณเงินตามความหมายแคบ (M1) ประกอบด้วย ปริ มาณธนบัตร เหรี ยญกษาปณ์ และเงิน
ฝากกระแสรายวันที่นาํ ออกมาหมุนเวียนในมือของประชาชน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 124
-------------------------------------------------------------------------------
56. ข้อใดไม่ถูกนับรวมเป็ นปริ มาณการเงินตามความหมายอย่างกว้าง (M2)
1) ธนบัตร 2) เหรี ยญกษาปณ์ 3) ทองคํา
4) เงินฝากกระแสรายวัน 5)เงินฝากออมทรัพย์และเงินฝากประจํา
ตอบ 3 ปริ มาณเงินตามความหมายอย่างกว้าง ประกอบด้วย เหรี ยญกษาปณ์ ธนบุตร เงินฝาก กระแส
รายวัน เงินฝากประจํา เงินฝากออมทรัพย์
57. การสร้างเงินฝากของธนาคารพาณิ ชย์เกิดขึ้นได้อย่างไร
1) การขยายสาขา 2) การขายประกัน 3) การซื้อสิ นทรัพย์ 4) การ
ปล่อยกู้ 5) การแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศ
ตอบ 4 เมื่อมีผนู ้ าํ เงินมาฝากไว้ที่ธนาคารแห่งใดแห่งหนึ่ง ธนาคารนั้นสามารถนําเงินดังกล่าวไปให้ผอู ้ ื่นกู้
ได้ (เพื่อหารายได้ของธนาคาร และนําผลตอบแทนจากเงินกูน้ ้ นั มาจ่ายดอกเบี้ยแก่ผฝู ้ ากเงิน) การนําเงินไปฝากไป
ปล่อยกูเ้ ท่ากับเป็ นการสร้างเงินเพิม่ ขึ้นในระบบ
จงใช้ ข้อมูลต่ อไปนีต้ อบคาถามข้ อ 58 – 60
นายตั้งใจนําเงินสดมาฝากที่ธนาคารพาณิ ชย์แห่งหนึ่ง จํานวน 500,000 บาท และขณะนั้นธนาคาร กลาง
กําหนดให้อตั ราเงินสดสํารองทางกฎหมายเท่ากับ ร้อยละ 10 อยากทราบว่า
58. ธนาคารพาณิ ชย์จะมีเงินฝากขั้นต้นเพิ่มขึ้นเป็ นเงินกี่บาท
1) 50,000 บาท 2) 450,000 บาท 3) 500,000 บาท 4) 2,500,000 บาท 5) 5,000,000 บาท
ตอบ 3 เงิน 500,000 นี้ถือว่าเป็ นเงินฝากขั้นต้น ธนาคารเก็บเงินสดสํารองตามกฎหมายไว้ 10%
- เงินสดสํารองตามกฎหมาย บาท
- เงินสดสํารองส่ วนเกิน บาท
59. ธนาคารพาณิ ชย์จะมีเงินสดสํารองตามกฎหมายเพิม่ ขึ้นเป็ นเงินกี่บาท
1) 50,000 บาท 2) 450,000 บาท 3) 500,000 บาท 4) 2,500,000 บาท 5) 5,000,000 บาท
ตอบ 2 ดูคาํ อธิบายข้อ 58. ประกอบ
60. ธนาคารพาณิ ชย์จะมีเงินสดสํารองตามกฎหมายเพิ่มขึ้นเป็ นกี่บาท
1) 50,000 บาท 2) 450,000 บาท 3) 500,000 บาท 4) 2,500,000 บาท 5) 5,000,000 บาท
ตอบ 1 ดูคาํ อธิบายข้อ 58. ประกอบ
61. ถ้าเงินฝากเริ่ มแรก = 5,000 ล้านบาท และอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย = 10% จํานวนเงิน
ฝากทั้งสิ้ นที่ระบบธนาคารสร้างได้จะเท่ากับกี่ลา้ นบาท (ใช้สูตร )
1) 500 2) 50,000 3) 55,000 4) 5,000 ล้านบาท 5) ไม่มีขอ้ ถูก
ตอบ 2 เงินฝากเริ่ มแรก (P) = 5,000 ล้านบาท, R = 10%
สู ตร แทนค่า ล้านบาท
62. ถ้าเงินฝากเริ่ มแรก = 1,200 ล้านบาท และอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย = 5% จํานวนเงิน ฝากทั้งสิ้ น
ที่ระบบธนาคารสร้างได้จะเท่ากับกี่ลา้ นบาท (ใช้สูตร )
1) 240 2) 1,200 3) 6,000 4) 12,000 5) 24,000
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 125
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 5 เงินฝากเริ่ มแรก (P) = 1,200 ล้านบาท, R = 5%
สู ตร แทนค่า ล้านบาท
63. องค์กรใดทําหน้าที่ในการกําหนดนโยบายทางการเงิน
1) ธนาคารพาณิ ชย์ 2) กระทรวงการคลัง 3) มหาวิทยาลัย
4) องค์การบริ หารส่ วนจังหวัด 5) ธนาคารกลาง
ตอบ 5 นโยบายการเงิน คือ การควบคุมปริ มาณเงินและสิ นเชื่อให้อยูใ่ นระดับที่เหมาะสม เพื่อให้บรรลุ
เป้าหมายทางเศรษฐกิจ ผูม้ ีอาํ นาจหน้าที่ในการดําเนินนโยบายทางการเงิน คือ ธนาคารกลาง
64. หากต้องการกระตุน้ เศรษฐกิจ ควรดําเนินนโยบายการเงินประเภทใด
1) นโยบายการเงินแบบสมดุล 2) นโยบายการเงินแบบเข้มงวด
3) นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย 4) นโยบายการเงินแบบขาดดุล
5) ไม่มีขอ้ ถูก
ตอบ 3 นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย จะใช้ในกรณี เกิดภาวะเศรษฐกิจซบเซาหรื อถดถอย การ
ผลิต – การลงทุน การใช้จ่ายอยูใ่ นระดับตํ่า และเป็ นการดําเนินการเพื่อช่วยกระตุน้ เศรษฐกิจฟื้ นตัว
65. ข้อใดจัดเป็ นเครื่ องมือของนโยบายการเงินด้านการควบคุมปริ มาณ
1) การกําหนดหลักทรัพย์ค้ าํ ประกันหรื อการขอสิ นเชื่อ
2) การซื้อขายในหลักทรัพย์รัฐบาล
3) การกําหนดเงินดาวน์ในการซื้อบ้าน
4) กําหนด Margin Requirement สิ นเชื่อ
5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 2 วิธีการควบคุมทางปริ มาณมี 3 วิธีสาํ คัญคือ คือ
1. การซื้อขายหลักทรัพย์รัฐบาล
2. การกําหนดอัตรารับช่วงซื้อลดเงิน หรื ออัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน
3. การเปลี่ยนแปลงอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย
66. นโยบายการเงินข้อใดจัดเป็ นนโยบายด้านการควบคุมเชิงคุณภาพที่ส่งผลให้ปริ มาณเงินลดลง
1) เพิ่มอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย 2) เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลด
3) ขายพันธบัตรรัฐบาล 4) เพิ่มเงินดาวน์ในการซื้อสิ นค้า
5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 4 นโยบายด้านการควบคุมคุณภาพ มีดงั นี้
1. สิ นเชื่อเพื่อการซื้อหลักทรัพย์ (Margin Requirement)
- ถ้ากําหนด Margin สู ง แสดงว่า ให้กนู้ อ้ ยลง เป็ นการลดปริ มาณเงิน
- ถ้ากําหนด Margin ตํ่า แสดงว่าให้กไู้ ปซื้อได้มากขึ้น เป็ นการเพิ่มปริ มาณเงิน
2. สิ นเชื่อเพื่ออสังหาริ มทรัพย์และสิ นเชื่อเพื่อการบริ โภค
- ถ้ากําหนดเงินดาวนสู ง ระยะเวลาผ่อนชําระสั้น ทําให้กยู้ าก เป็ นการลดปริ มาณเงิน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 126
-------------------------------------------------------------------------------
- ถ้ากําหนดเงินดาวน์ต่าํ ระยะเวลาผ่อนชําระยาว ทําให้กงู้ ่าย เป็ นการเพิ่มปริ มาณเงิน
67. การใช้เครื่ องมือนโยบายการเงินข้อใดส่ งผลในการแก้ปัญหาการเกิดเงินเฟ้อ
1) ขายธนบัตร, ลด Margin Requirement 2) ซื้อคืนพันธบัตร, เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลด
3) ขายพันธบัตร, ลดการให้สินเชื่อ 4) ซื้อคืนพันธบัตร, เพิ่มเวลาการผ่อนชําระ
5) ซื้อคืนพันธบัตร, เพิ่มอัตราเงินสดสํารองทางกฎหมาย
ตอบ 3 นโยบายการเงินแบบเข้มงวด เป็ นการลดปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจลง มักถูกนํามาใช้เมื่อเกิด
ภาวะเงินเฟ้อ ประชาชนใช้จ่ายเกินตัว ขาดดุลการค้าและดุลการชําระเงิน รวมทั้งช่วยลดความร้อนแรงของระบบ
เศรษฐกิจ ทําได้ดงั นี้
1. ขายหลักทรัพย์ให้ประชาชน
2. เพิ่มอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย
3. เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลดตัว๋ เงิน หรื อเพิ่มอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน
68. การใช้เครื่ องมือนโยบายการเงินข้อใดส่ งผลในการแก้ปัญหาภาวะเศรษฐกิจตกตํ่า
1) ขายธนบัตร, ลด Margin Requirement 2) ซื้อคืนพันธบัตร, เพิ่มอัตรารับช่วงซื้อลด
3) ขายพันธบัตร, ลดการให้สินเชื่อ 4) ซื้อคืนพันธบัตร, เพิ่มเวลาการผ่อนชําระ
5) ซื้อคืนพันธบัตร, เพิ่มอัตราเงินสดสํารองทางกฎหมาย
ตอบ 4 นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย เป็ นการเพิม่ ปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจ จะถูกนํามาใช้เมื่อภาวะ
เศรษฐกิจซบเซาหรื อถดถอย เกิดภาวะเงินฝื ด เป็ นการกระตุน้ เศรษฐกิจให้ฟ้ื นตัว ทําได้ดงั นี้
1. ซื้อหลักทรัพย์จากประชาชน
2. ลดอัตราเงินสดสํารองตามกฎหมาย
3. ลดอัตรารับช่วงซื้อลดตัว๋ เงิน หรื อลดอัตราดอกเบี้ยมาตรฐาน (ดูคาํ อธิบายข้อ 66. ประกอบ)
69. ข้อใดไม่ใช่ความต้องการถือเงินตามทฤษฎีของเคนส์
1) จิ๋วเก็บเงินไว้เพื่ออยากมีเงินมากๆ 2) พรเก็บเงินไว้เพื่อซื้อพันธบัตร
3) พีเก็บเงินไว้เพื่อรักษาตัวเมื่อเจ็บป่ วย 4) พายเก็บเงินไว้เพื่อซื้อข้าว
5) พรรณเก็บเงินไว้เพื่อไปเที่ยว
ตอบ 1 เคนส์ได้แบ่งความต้องการถือเงินออกเป็ น 3 แบบ คือ
1. เพื่อใช้จ่ายประจําวัน
จะขึ้นอยูก่ บั รายได้ในทิศทางเดียวกัน
2. เพื่อใช้จ่ายในยามฉุกเฉิน
3. เพื่อเก็งกําไร จะขึ้นอยูอ่ ยูก่ บั อัตราดอกเบี้ยในทิศทางตรงกันข้าม
70. ข้อใดมีผลต่ออุปสงค์ต่อเงิน/ความต้องการถือเงินเพื่อเก็งกําไร
1) รายได้ 2) อัตราเงินเฟ้อ 3) อัตราว่างงาน 4) ดอกเบี้ย 5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 4 ดูคาํ อธิบายข้อ 69. ประกอบ
71. การใช้นโยบายการเงินแบบเข้มงวด จะส่ งผลต่อรายได้ประชาชาติอย่างไร
1) เพิ่มขึ้น 2) คงที่ 3) ลดลง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 127
-------------------------------------------------------------------------------
4) เพิ่มขึ้นแล้วลดลง 5) ลดลงแล้วเพิ่มขึ้น
ตอบ 3 นโยบายการเงินแบบเข้มงวด คือ การจํากัดหรื อลดปริ มาณเงินลง ทําให้เศรษฐกิจ
ชะลอตัว ส่ งผลให้รายได้ประชาชาติลดลง
72. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับทฤษฎีความได้เปรี ยบโดยสมบูรณ์
1) คิดค้นโดย David Ricardo
2) แต่ละประเภทจะผลิตเฉพาะสิ นค้าที่ตน้ ทุนตํ่าสุ ดเท่านั้น
3) เป็ นทฤษฎีที่อาศัยหลักการคุม้ ครองการค้า
4) แต่ละประเทศจะผลิตสิ นค้าทุกชนิดที่จาํ เป็ น
5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 2 อดัม สมิธ ได้เสนอทฤษฎีความได้เปรี ยบโดยสมบูรณ์ โดยการค้าระหว่างประเทศ จะ เป็ นไปได้
เสรี ทุกประเทศที่ทาํ การค้าต่างก็ได้ประโยชน์ร่วมกัน เพราะแต่ละประเทศจะผลิตสิ นค้าที่ผลิตได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพที่สุดเท่านั้น โดยแต่ละประเทศจะเลือกผลิตสิ นค้าที่มีตน้ ทุนตํ่ากว่า
73. ตามทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศของ Hechscher – Ohlin หากประเทศใดประเทศหนึ่งมีปัจจัยแรงงาน
จํานวนมาก กระบวนการผลิตของประเทศนั้นควรจะเป็ นแบบใด
1) เน้นการพัฒนางานวิจยั 2) เน้นการใช้เทคโนโลยี
3) เน้นการใช้แรงงาน 4) เน้นการใช้สินค้าทุน 5) ไม่มีขอ้ ถูก
ตอบ 3 ทฤษฎีการค้าระหว่างประเทศของเฮกเชอร์ – โอห์ลิน เนื่องจากแต่ละประเทศมีทรัพยากร
การผลิตในปริ มาณที่แตกต่างกัน การผลิตสิ นค้าชนิดใดจะขึ้นอยูก่ บั ปริ มาณและชนิดของทรัพยากรการผลิต
ที่แต่ละประเทศมีอยู่ ดังนั้นถ้าประเทศใดมีแรงงานจํานวนมากก็ควรเลือกผลิต สิ นค้าที่ใช้แรงงานเป็ นหลัก
(Labor Intensive) แต่ถา้ ประเทศใดมีแรงงานจํานวนมากก็ควร เลือกผลิตสิ นค้าที่ใช้ทุนเป็ น
หลัก (Capital Intensive)
74. ข้อใดเป็ นปัจจัยหลักที่ทาํ ให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ
1) ภาษา 2) ทรัพยากร 3) วัฒนธรรม
4) รู ปแบบการปกครอง 5) ลักษณะนิสยั
ตอบ 2 สาเหตุสาํ คัญที่ทาํ ให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ มีดงั นี้
1. ความแตกต่างกันในทรัพยากรการผลิต
2. ความแตกต่างกันในต้นทุนการผลิต
75. ข้อใดไม่ใช่ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศ
1) สิ นค้ามีคุณภาพดี 2) สิ นค้าออกแบบสวย 3) สิ นค้าต้นทุนตํ่า
4) สิ นค้าหลากหลาย 5) สิ นค้าราคาตํ่า
ตอบ 2 ประโยชน์ของการค้าระหว่างประเทศที่สาํ คัญมีดงั นี้
1. ทําให้ผบู ้ ริ โภคมีสินค้าให้บริ โภคหลากหลาย
2. ทําให้ผบู ้ ริ โภคซื้อสิ นค้าในราคาที่ต่าํ ลง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 128
-------------------------------------------------------------------------------
3. ทําให้มีการจัดสรรทรัพยากรในประเทศอย่างมีประสิ ทธิภาพ
4. ทําให้เกิดการเรี ยนรู ้และถ่ายทอดเทคโนโลยีระหว่างประเทศนําไปสู่การพัฒนาและปรับปรุ ง
ประสิ ทธิภาพการผลิตได้รวมเร็ วยิง่ ขึ้น
76. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับหลักการค้าเสรี (Free Trade)
1) รัฐบาลจะไม่แทรกแซงการค้า
2) ไม่มีการให้สิทธิพิเศษทางการค้าแก่ชาติใดเป็ นพิเศษ
3) ไม่มีการกีดกันการค้าของชาติใดเป็ นพิเศษ
4) ไม่มีการอุดหนุนหรื อช่วยเหลือผูผ้ ลิตภายในประเทศ
5) สิ นค้าจากประเทศกําลังพัฒนาทุกชนิดจะได้รับการยกเว้นภาษีขาเข้า
ตอบ 5 หลักการค้าเสรี รัฐบาลจะไม่เข้าแทรกแซง ไม่มีการให้สิทธิพิเศษ และไม่มีการกีดกัน การค้าของ
ชาติใดเป็ นพิเศษ สิ นค้าจากทุกประเทศจะเสี ยภาษีในอัตราที่ต่าํ และในอัตราเดียวกันหมด ไม่มีการกําหนดโควตา
สิ นค้านําเข้าและไม่มีการควบคุมหรื อห้ามนําเข้าสิ นค้าใดๆ และไม่มีการอุดหนุนหรื อช่วยเหลือใดๆ ต่อผูผ้ ลิตใน
ประเทศเป็ นพิเศษ
77. การที่ไทยกําหนดปริ มาณข้าวโพดที่จะอนุญาตให้นาํ เข้าจากกัมพูชา จัดเป็ นมาตรการคุม้ ครองการค้าแบบใด
1) การทุ่มตลาด 2) การตั้งกําแพงภาษีขาเข้า
3) การอุดหนุนการผลิต 4) การกําหนดโควตา
5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 4 การกําหนดโควตา หรื อปริ มาณข้าวโพดที่นาํ เข้าจากกัมพูชา เพื่อเป็ นการช่วยเหลือเกษตรกรที่ปลูก
ข้าวโพดในประเทศไทย
78. องค์การการค้าโลก หรื อ WTO พัฒนามาจากข้อตกลงทางการค้าที่มีชื่อว่าอะไร
1) APEC 2) EU 3) GATT 4) AFTA 5) NAFTA
ตอบ 3 องค์การการค้าโลก ( World Trade Organization : WTO) เป็ นองค์กรระหว่าง ประเทศที่
พัฒนามาจากความตกลงว่าด้วยภาษีศุลกากรและการค้า (General Agreement on Tariff and Trade :
GATT) ไทยเป็ นสมาชิกของ WTO เมื่อวันที่ 28 ธันวาคม 2527 ลําดับที่ 59 ซึ่ งปั จจุบน ั มีสมาชิก 164 ประเทศ
79. บัญชียอ่ ยของดุลการชําระเงินประกอบด้วยบัญชีอะไรบ้าง
1) บัญชีเดินสะพัด และบัญชีทุน 2) บัญชีสินค้าและบัญชีบริ การ
3) บัญชีสินค้า และบัญชีทุน 4) บัญชีสินค้า บัญชีบริ การ บัญชีเงินโอน
5) บัญชีบริ การ และบัญชีทุน
ตอบ 1 การไหลเข้าและไหลออกของเงินตราต่างประเทศ จะถูกบันทึกผ่านบัญชีเดินสะพัดและ
บัญชีทุน ซึ่งเป็ นบัญชียอ่ ยของดุลการชําระเงิน
80. รายการค่าใช้จ่ายที่คนไทยเดินทางไปท่องเที่ยวยังต่างประเทศ จะถูกบันทึกในบัญชียอ่ ยใดของ
ดุลการชําระเงิน
1) บัญชีเงินโอน 2) บัญชีสินค้า 3) บัญชีเงินทุน 4) บัญชีบริ การ 5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 129
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 4 บัญชีบริ การ แสดงรายรับและรายจ่ายที่เป็ นค่าบริ การระหว่างประเทศที่สาํ คัญ ได้แก่ บริ การ
ธนาคารและประกันภัยระหว่างประเทศ การท่องเที่ยว การจ่ายชําระ ดอกเบี้ยเงินกูร้ ะหว่างประเทศ และการขนส่ ง
ระหว่างประเทศ
81. รายการที่นกั ธุรกิจชาวไทยนําเงินไปลงทุนตั้งโรงงานเฟอร์นิเจอร์ในประเทศพม่า จะถูกบันทึกในบัญชียอ่ ย
ใด ของดุลการชําระเงิน
1) บัญชีเงินโอน 2) บัญชีสินค้า 3) บัญชีเงินทุน 4) บัญชีบริ การ 5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 3 บัญชีเงินทุนจะแสดงการไหลเข้าออกของเงินทุนระหว่างประเทศในรู ปแบบของการลงทุน
โดยตรง และการลงทุนในตลาดหลักทรัพย์ นอกจากนี้ยงั รวมไปถึงเงินกูย้ มื ระหว่างประเทศ และการซื้อขาย
ทรัพย์สินทางปัญญา (ลิขสิ ทธิ์และสิ ทธิบตั ร) ต่างๆ นี้ดว้ ย
82. รายการที่ชาวอเมริ กนั ส่ งเงินมาช่วยเหลือผูป้ ระสบภัยนํ้าท่วมภาคใต้ของไทย จะถูกบันทึกในบัญชี
ย่อยใดของดุลการชําระเงิน
1) บัญชีเงินโอน 2) บัญชีสินค้า 3) บัญชีเงินทุน 4) บัญชีบริ การ 5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 1 บัญชีเงินโอน แสดงการโอนเงินระหว่างประเทศ ซึ่งหมายถึง การส่ งเงินโดยไม่เกี่ยวกับ
การซื้อขายสิ นค้าและบริ การ การให้กู้ หรื อการลงทุนระหว่างประเทศ การโอนเงินที่สาํ คัญ ได้แก่
รายได้ส่งกลับของผูไ้ ปทํางานต่างประเทศ เงินบริ จาค และเงินช่วยเหลือ(แบบให้เปล่า) ระหว่าง ประเทศ
83. ปัจจุบนั ประเทศไทยอยูภ่ ายใต้อตั ราแลกเปลี่ยนแบบใด
1) คงที่ 2) ผูกค่ากับตะกร้าเงิน
3) ผูกค่ากับดอลลาร์
4) ลอยตัวแบบจัดการ 5) ค่าเงินบาทและค่าเงินดอลลาร์แข็งค่า
ตอบ 4 ประเทศไทยได้มีการเปลี่ยนแปลงอัตราแลกเปลี่ยนจากระบบตะกร้าเงินมาเป็ นระบบอัตราแลก
เปลี่ยนแบบลอยตัวที่มีการจัดการ (Managed Float) เมื่อวันที่ 2 กรกฎาคม พ.ศ. 2540 มาจนถึงทุกวันนี้
โดยปล่อยให้อตั ราแลกเปลี่ยนเงินตราต่างประเทศเปลี่ยนแปลงไปตามอุปสงค์และอุปทานของเงินตราต่างประเทศ
84. ถ้าอัตราแลกเปลี่ยนลดลงจาก 28 บาท เป็ น 32 บาทต่อดอลลาร์ จะมีผลต่ออุปสงค์ต่อเงินตรา
ต่างประเทศและอุปทานเงินตราต่างประเทศอย่างไรบ้าง
1) อุปสงค์และอุปทานลดลง 2) อุปสงค์และอุปทานเพิม่ ขึ้น
3) อุปสงค์และอุปทานคงที่ 4) อุปสงค์เพิ่มขึ้น อุปทานลดลง
5) อุปสงค์ลดลง อุปทานเพิ่มขึ้น
ตอบ 4 อัตราแลกเปลี่ยนลดลงจาก 38 บาท เป็ น 32 บาทต่อดอลลาร์ นัน่ คือ ราคาดอลลาร์ถูกลง ทําให้มี
การนําเข้าเพิ่มขึ้น อุปสงค์ต่อดอลลาร์จะเพิม่ ขึ้น แต่การส่งออกจะลดลง ส่ งผลให้อุปทานของดอลลาร์ลดลง
85. ข้อใดเป็ นสาเหตุที่ทาํ ให้เส้นอุปสงค์ต่อเงินตราต่างประเทศเลื่อน (Shift) ไปทางซ้าย
1) คนไทยหันไปซื้อของต่างประเทศ 2) มีการรณรงค์ให้ใช้สินค้าไทย
3) รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น 4) มีการลงทุนจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น
5) อัตราดอกเบี้ยในต่างประเทศสู ง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 130
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 2 เส้นอุปสงค์ต่อเงินตราต่างประเทศเลื่อนไปทางซ้าย หมายถึง ความต้องการเงินตรา
ต่างประเทศลดลง ขณะที่อตั ราแลกเปลี่ยนคงเดิม มีสาเหตุต่าง
- รายได้ประชาชาติลดลง ทําให้สินค้านําเข้าลดลง
- การรณรงค์ให้นิยมสิ นค้าไทย ทําให้นาํ เข้าลดลง
86. ข้อใดเป็ นสาเหตุที่ทาํ ให้เส้นอุปทานเงินตราต่างประเทศเลื่อน (Shift) ไปทางขวา
1) คนไทยหันไปซื้อของต่างประเทศ 2) มีการรณรงค์ให้ใช้สินค้าไทย
3) รายได้ประชาชาติเพิ่มขึ้น 4) มีการลงทุนจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น
5) อัตราดอกเบี้ยในต่างประเทศสู ง
ตอบ 4 เส้นอุปทานเงินตราต่างประเทศเลื่อนไปทางขวา หมายถึง อุปทานเงินตราต่างประเทศ เพิ่มขึ้น
ขณะที่อตั ราแลกเปลี่ยนคงเดิม มีสาเหตุจาก
- ประสิ ทธิภาพการแข่งขันสู งขึ้น ทําให้ส่งออกได้มากขึ้น
- มีการลงทุนจากต่างประเทศเพิ่มขึ้น
- อัตราดอกเบี้ยในต่างประเทศตํ่า
87. ข้อใดกล่าวถึงวัฎจักรธุรกิจ (Business Cycle) ได้ถูกต้อง
1) ความผันผวนของการประกอบธุรกิจในบางประเทศ
2) ความผันผวนของกิจกรรมทางเศรษฐกิจของประเทศ
3) ความผันผวนของรัฐบาลในการบริ หารรัฐวิสาหกิจของประเทศ
4) ความผันผวนของการประกอบธุรกิจบางธุรกิจของต่างประเทศ
5) ความผันผวนของผูบ้ ริ โภคในบางประเทศ
ตอบ 2 วัฎจักรธุรกิจ หมายถึง ภาวะผันผวน ขึ้นๆ ลงๆ ของกิจกรรมเศรษฐกิจ (Real GDP) ซึ่งจะ
เปลี่ยนแปลงเป็ นช่วงๆ 4 ช่วง แต่ละช่วงจะมีระยะเวลาไม่แน่นอน แบ่งออกเป็ น รุ่ งเรื อง ถดถอย ตกตํ่า และฟื้ นตัว
88. ข้อใดจัดว่าเป็ นสาเหตุภายนอกของการเกิดวัฎจักรธุรกิจ
1) การบริ โภคน้อยเกินไป 2) ความผันผวนของอัตราดอกเบี้ย
3) เกิดภัยพิบตั ิทางธรรมชาติและสงคราม 4) ความผันผวนของปริ มาณเงิน
5) ไม่มีขอ้ ถูก
ตอบ 3 สาเหตุภายนอกของการเกิดวัฎจักรธุรกิจ เกิดจากปัจจัยภายนอกที่อาจอยูน่ อกเหนือความ
คาดหมาย เช่น
1. ภัยพิบตั ิทางธรรมชาติประเภทต่างๆ ทําให้ผลผลิตเสี ยหาย
2. ภาวะสงคราม หรื อความไม่สงบทางการเมือง
89. วัฎจักรธุรกิจประกอบไปด้วยเศรษฐกิจแบบใดบ้าง
1) รุ่ งเรื อง 2) ถดถอย3) ตกตํ่า 4) ฟื้ นตัว 5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 5 ดูคาํ อธิบายข้อ 87. ประกอบ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 131
-------------------------------------------------------------------------------
90. ข้อใดถือว่าเป็ นปัญหาเสถียรภาพภายนอก
1) ปัญหาขาดดุลการค้า 2) ปัญหาเงินเฟ้อ
3) ปัญหาเงินฝื ด 4) ข้อ 1, 2 ถูก 5) ข้อ 1, 2, 3 ถูก
ตอบ 1 การขาดเสถียรภาพภายนอก หมายถึง การที่ระบบเศรษฐกิจหนึ่งมีปัญหาขาด ดุลการชําระเงินมาก
จนไม่มีเงินตราต่างประเทศเพียงพอที่จะชดใช้ภาระค่าใช้จ่าย และหนี้สิน ระหว่างประเทศได้
91. ข้อใดถือว่าเป็ นสาเหตุที่ทาํ ให้เกิดเงินเฟ้อทางด้านอุปทาน
1) อัตราแลกเปลี่ยนแข็งค่า 2) การใช้จ่ายรัฐบาลสู งขึ้น
3) อัตราดอกเบี้ยลดลง 4) ราคานํ้ามันในตลาดโลกสู งขึ้น
5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 4 สาเหตุที่ทาํ ให้เกิดเงินเฟ้อทางด้านอุปทาน หรื อด้านต้นทุน (Cost Push Infkation) การที่ระดับ
ราคาสิ นค้าโดยทัว่ ไปสู งขึ้นอาจมีสาเหตุมาจากต้นทุนการผลิตที่สูงขึ้นอย่างต่อเนื่อง เช่น ค่าจ้างแรงงาน ราคานํ้ามัน
เชื้อเพลิง ราคาวัตถุดิบที่เพิ่มสู งขึ้นเรื่ อยๆ ทําให้ผผู ้ ลิตต้องขึ้นราคาสิ นค้าตามทุนที่สูงขึ้น
92. หากเกิดปัญหาการว่างงานที่มีผลมากจากเศรษฐกิจตกตํ่า ควรดําเนินนโยบายการเงินและนโยบาย การคลัง
อย่างไร ในการแก้ปัญหา
1) นโยบายการเงินแบบเข้มงวด, นโยบายการคลังแบบขาดดุล
2) นโยบายการเงินแบบเข้มงวด, นโยบายการคลังแบบเกินดุล
3) นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย, นโยบายการคลังแบบเกินดุล
4) นโยบายการเงินแบบเข้มงวด, นโยบายการคลังแบบสมดุล
5) นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย, นโยบายการคลังแบบขาดดุล
ตอบ 5 เมื่อเกิดปัญหาการว่างงานเนื่องจากเศรษฐกิจตกตํ่า จะแก้ไขโดย
- นโยบายการเงินแบบผ่อนคลาย เพื่อเพิ่มปริ มาณเงินในระบบเศรษฐกิจ
- นโยบายการคลังแบบเกินดุลโดยรัฐบาลจะลดภาษีลง และเพิ่มการใช้จ่ายของรัฐบาล ให้มากขึ้น เพื่อกระตุน้
เศรษฐกิจ
93. ข้อใดคือการแก้ปัญหาการขาดดุลการชําระเงิน
1) เพิ่มการนําเข้า 2) เพิ่มการเก็บภาษีการลงทุนจากต่างชาติ
3) เพิ่มการใช้จ่ายของรัฐ 4) เพิ่มการส่ งออก
5) เพิ่มการท่องเที่ยวต่างประเทศ
ตอบ 4 ดุลการชําระเงินขาดดุล แสดงว่าเงินตราต่างประเทศไหลออกไปมากกว่าที่จะไหลเข้าจะ
แก้ไขโดยเพิ่มการส่ งออกให้มากขึ้น เพื่อให้มีเงินตราต่างประเทศไหลเข้ามามากขึ้น
94. ตัวแปรใดสําคัญตามทฤษฎีการพัฒนาเศรษฐกิจตามแบบจําลองของ Harrod และ Domer
1) การส่ งออกและการลงทุน 2) การลงทุนและการออม
3) การบริ โภคและการลงทุน 4) การบริ โภคและการส่ งออก
5) การบริ โภคและการออม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 132
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 2 แบบจําลองของ Harrod และ Domer ได้ให้ความสําคัญกับการออม (S) และการ ลงทุน (I)
มาก
อัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ (G) = อัตราการออมต่ อรายได้ประชาชาติ
อัตราส่ วนของทุนต่อผลผลิต
95. การพัฒนาการผลิตการเกษตรให้มีประสิ ทธิภาพมากขึ้นด้วยการลงทุนและนําเข้าเทคโนโลยีใหม่ๆ มาใช้เพื่อ
ขยายการปลูกพืชเชิงพาณิ ชย์เพื่อการขายให้กบั เขตอื่น จะพบในขั้นตอนใดของทฤษฎีลาํ ดับขั้นการเจริ ญเติบโตของ
Rostow
1) ขั้นเตรี ยมการทะยานขึ้น 2) ชั้นสังคมดั้งเดิม
3) ขั้นทะยานขึ้น 4) ขั้นขยายตัวไปสู่ ความก้าวหน้าระดับสู ง 5) ขั้นการ
บริ โภคระดับสู ง
ตอบ 1 ลําดับขั้นการเจริ ญเติบโตของ Rostow มี 5 ขั้นตอนคือ
1. ขั้นสังคมดั้งเดิม 2. ขั้นการเตรี ยมการเพื่อการทะยานขึ้น
3. ขั้นทะยานขึ้น 4. ขั้นเร่ งเติบโตไปสู่ ความก้าวหน้าระดับสูง
5. ขั้นการบริ โภคระดับสู ง
96. แนวความคิดที่วา่ รัฐบาลควรลงทุนในอุตสาหกรรมหลายๆ ประเภทพร้อมกัน เพื่อให้เป็ นส่วนเสริ มการ
เจริ ญเติบโตซึ่งกันและกัน เป็ นไปตามแนวคิดและทฤษฎีใด
1) แบบจําลองของฮาร์รอดและโดมาร์ 2) ทฤษฎีลาํ ดับขั้นตอนการเจริ ญเติบโต
3) ทฤษฎีการเจริ ญเติบโตอย่างสมดุล 4) ทฤษฎีการเติบโตอย่างไม่สมดุล
5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 3 ทฤษฎีการเติบโตอย่างสมดุล (Balance Growth Theory) : Ragnar Nurkse ผู ้ ริ เริ่ ม เห็น
ว่า รัฐบาลของประเทศกําลังพัฒนาควรลงทุน (และส่ งเสริ มการลงทุน) ขนาดใหญ่ในอุตสาหกรรมหลายๆ ประเภท
พร้อมกัน ส่ งเสริ มทั้งภาคอุตสาหกรรม และเกษตรกรรมเติบโตไปด้วยกันอย่างสมดุล เพราะการเติบโตแต่ในละภาค
การผลิต จะช่วยส่ งเสริ มการเติบโตของภาคอื่น การดําเนินการเช่นนี้ไม่เห็นความจําเป็ นที่จะต้องพึ่งพาการส่ งออก
97. ข้อใดคือเหตุผลสําคัญของทฤษฎีการเติบโตอย่างไม่สมดุล
1) การกระจายรายได้ควรเป็ นธรรม 2) ประเทศมีทรัพยากรที่แตกต่าง
3) การค้าขายเป็ นไปอย่างเสรี 4) รัฐมีทรัพยากรอย่างจํากัด
5) ไม่มีขอ้ ใดถูก
ตอบ 4 ทฤษฎีการเติบโตอย่างไม่สมดุล (Unbalanced Growth Theory) เห็นว่า กลยุทธการพัฒนา
ควรเน้นการลงทุนเฉพาะสาขาสําคัญของเศรษฐกิจแทนที่จะลงทุนในหลายสาขาพร้อมกัน เพราะทรัพยากรใน
ประเทศกําลังพัฒนามีไม่มากพอ
98. ข้อใดกล่าวถึงการศึกษาวิชาเศรษฐศาสตร์ได้ถูกต้องที่สุด
1) ศึกษาการกําหนดราคาและปริ มาณของสิ นค้าและบริ การ
2) ศึกษาการแสวงหาทรัพยากรหรื อปัจจัยการผลิตใหม่เพื่อผลิตสิ นค้าและบริ การ
3) ศึกษาการจัดสรรทรัพยากรให้เกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ด
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 133
-------------------------------------------------------------------------------
4) ศึกษาบทบาททางเศรษฐกิจของรัฐบาล
5) ศึกษาการจัดสรรสิ นค้าและบริ การในการซื้อขายระหว่างประเทศ
ตอบ 3 เศรษฐศาสตร์ เป็ นวิชาหนึ่งในสาขาสังคมศาสตร์ที่ศึกษาถึงการเลือกหาหนทางใช้ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่าง
จํากัดในการผลิตสิ นค้าและบริ การให้เกิดประสิ ทธิภาพทางเศรษฐกิจสู งสุ ดเพื่อตอบสนองความต้องการของมนุษย์ที่
มีอยูอ่ ย่างไม่จาํ กัด
99. ข้อใดไม่ใช่ทรัพยากรหรื อปัจจัยการผลิตตามความหมายทางเศรษฐศาสตร์
1) เงินทุน 2) จักรเย็บผ้า 3) ข้าราชการ 4) ต้นไม้ที่ข้ ึนในป่ า 5) เจ้าของบริ ษทั
ตอบ 1 ทรัพยากรหรื อปัจจัยการผลิตแบ่งออกเป็ น 4 ประเภท คือ
1. ที่ดิน รวมถึงทรัพยากรที่มีอยูต่ ามธรรมชาติท้ งั หมด ได้รับผลตอบแทนในรู ปแบบของค่าเช่า
2. แรงงาน หรื อทรัพยากรมนุษย์ เช่น แรงกาย สติปัญญา ได้รับผลตอบแทนในรู ปแบบของค่าจ้าง
3. ทุน เป็ นสิ่ งที่มนุษย์สร้างขึ้นเพื่อใช้ร่วมกับปัจจัยอื่นๆ เช่น โรงงาน อาคาร เครื่ องจักร เครื่ องมือ อุปกรณ์
ได้รับผลตอบแทนในรู ปแบบของดอกเบี้ย
4. ผูป้ ระกอบการ มีความเสี่ ยงภัย ได้รับผลตอบแทนเป็ นกําไร
หมายเหตุ นักเศรษฐศาสตร์เชื่อว่า เงินทุน เป็ นเพียงสื่ อกลางที่ใช้ในการแลกเปลี่ยน แต่สินค้าทุนบางชี้ถึงกําลังการ
ผลิตที่เป็ นจริ งได้ดีกว่าเงินทุน ดังนั้นเงินทุนจึงไม่นบั เป็ นเงินทุนในทางเศรษฐศาสตร์
100. ปัญหาการขาดแคลนในทางเศรษฐกิจเกิดจากอะไร
1) ความไม่สมดุลของที่ดินและแรงงาน 2) ความไม่สมดุลของทรัพยากรกับความต้องการ
3) การกระจายรายได้ที่ไม่เป็ นธรรม 4) ความยากจน
5) ความไม่สมดุลระหว่างเศรษฐศาสตร์จุลภาคกับเศรษฐศาสตร์มหภาค
ตอบ 2 เนื่องจากมนุษย์มีจาํ นวนมาก ความหายากหรื อความขาดแคลนจึงเกิดขึ้น ทําให้เกิดความไม่สมดุลกัน
ระหว่างความต้องการกับทรัพยากรที่มีอยู่ ทําให้ทุกๆ ประเทศประสบปัญหาพื้นฐานทางเศรษฐกิจ นัน่ คือ ปัญหาว่า
จะผลิตอะไร (What), ผลิตอย่างไร(How) และผลิตเพื่อใคร (For Whom)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 134
-------------------------------------------------------------------------------
 ความรู้ เกีย่ วกับการพัฒนาชนบทและชุมชน
1. การพัฒนาชุ มชนโดยให้ ประชาชนมีส่วนร่ วม
1.1 แนวคิดการพัฒนาชุมชน
1.1.1 ความหมายการพัฒนาชุมชน การพัฒนาชุมชน ประกอบด้วย 2 คํา คือ การพัฒนา และชุมชน
การพัฒนา หมายถึง ทําให้เจริ ญ การเปลี่ยนแปลง เปลี่ยนสภาพ ปรับปรุ งให้ต่างจากเดิม
ชุมชน หมายถึง การรวมตัวของบุคคล กลุ่ม/องค์กรชุมชน เครื อข่ายองค์กรชุมชน และ
ประชาชนที่อาศัยอยูใ่ นขอบเขตพื้นที่หนึ่ง ๆ ซึ่งมีปฏิสมั พันธ์ซ่ ึงกันและกัน ระดับพื้นฐานที่สุด คือหมู่บา้ น หรื อ
ชุมชนในรู ปแบบอื่น ๆ ที่มีมารวมตัวกันเพือ่ แก้ไขปัญหาเดียวกัน เช่น ชุมชนลุ่มนํ้า ชุมชนวัฒนธรรม เป็ นต้นการ
พัฒนาชุมชน (Community Development) ตามหลักการพื้นฐานเป็ นกระบวนการให้
การศึกษา (educational process) แก่ประชาชนเพื่อให้สามารถพึ่งตนเองได้ (self – reliance) หรื อช่วยตนเองได้
(self – help) ในการคิด ตัดสิ นใจ และดําเนินการแก้ปัญหา ตลอดจนตอบสนองความต้องการของตนเอง และ
ส่ วนรวม
1.1.2 ปรัชญาการพัฒนาชุมชน
ปรัชญาพื้นฐานเบื้องต้นของนักพัฒนาชุมชน คือ ความเชื่อมัน่ และศรัทธาในมนุษยชาติวา่ มนุษย์ทุกชีวิต มี
คุณค่า มีความหมาย มีศกั ดิ์ศรี มีศกั ยภาพ และ สามารถพัฒนาได้ถา้ มีโอกาส
1.1.3 หลักการพัฒนาชุมชน คือ หลักประชาชน กล่าวคือ
1. เริ่ มต้นที่ประชาชน ยืนจุดเดียวกับประชาชน มองโลก มองชีวิต มองปั ญหา จากทัศนะของประชาชน
เพื่อให้เข้าใจปัญหา ความต้องการของประชาชน เพื่อให้เข้าถึงชีวิต จิตใจ ของประชาชน
2. ทํางานร่ วมกับประชาชน (ไม่ใช่ทาํ งานให้แก่ประชาชน เพราะจะทําให้เกิดความคิดมาทวงบุญทวงคุณ
จากประชาชนในภายหลัง) การที่จะทําให้ประชาชนเข้าใจปัญหาของตนเอง และมีกาํ ลังใจลุกขึ้นต่อสู ก้ บั ปัญหา
ช่วยกันคิด ช่วยกันแก้ไขปัญหา นั้น ย่อมมีหนทางที่จะกระทําได้โดยไม่ยากหากเข้าใจปัญหาและเข้าถึงจิตใจ
ประชาชน
3. ยึดประชาชนเป็ นพระเอก ประชาชนต้องเป็ นผูก้ ระทําการพัฒนาด้วยตนเอง ไม่ใช่ เป็ นผูถ้ ูกกระทํา หรื อ
ฝ่ ายรองรับข้างเดียว เพราะผลของการกระทําการพัฒนานั้น ตกอยูท่ ี่ประชาชนโดยตรงประชาชน เป็ นผูร้ ับโชค หรื อ
เคราะห์จากการพัฒนา นั้น
1.1.4 วิธีการพัฒนาชุมชน เป็ นวิธีการพื้นฐานของการพัฒนาชุมชน คือ
1. การรวมกลุ่ม หรื อ จัดตั้งองค์กรประชาชน เพื่อส่ งเสริ มและสนับสนุนให้ประชาชน ซึ่ งเป็ นสมาชิก มี
บทบาท และ มีส่วนร่ วม ในกิจกรรมของกลุ่ม/องค์กร ซึ่งจะส่ งผลกระทบไปถึงส่ วนรวมด้วย
2. การส่ งเสริ ม/สร้างสรรค์ผน ู ้ าํ และอาสาสมัคร เพื่อเปิ ดโอกาสและสนับสนุนให้ประชาชน มีความพร้อม
จะ เป็ นผูน้ าํ และ เป็ นผูเ้ สี ยสละ ได้อุทิศตน ได้แสดงบทบาท มีส่วนร่ วมในกระบวนการพัฒนาชุมชนโดยส่ วนรวม
1.1.5 กระบวนการพัฒนาชุมชน การปฏิบตั ิงานพัฒนาชุมชนเป็ นงานที่ตอ้ งทําอย่างต่อเนื่ องเป็ น
กระบวนการ และต้องอาศัยหลักการมีส่วนร่ วมในการพัฒนาซึ่งเป็ นหัวใจสําคัญของการพัฒนาในทุกระดับเป็ นการ
เปิ ดโอกาสให้ประชาชนร่ วมคิด วิเคราะห์ ตัดสิ นใจ การวางแผน การปฏิบตั ิตามแผน การติดตามประเมินผลใน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 135
-------------------------------------------------------------------------------
กิจกรรม/โครงการของชุมชน เป็ นการสร้าง/ปลูกฝังจิตสํานึกในความเป็ นเจ้าของกิจกรรม/โครงการ นั้น โดย
กระบวนการพัฒนาชุมชนที่ประชาชนมีส่วนร่ วมทุกขั้นตอนมีดงั นี้
1. การศึกษาชุมชน เป็ นการเสาะแสวงหาข้อมูลต่าง ๆ ในชุมชน เช่น ข้อมูลด้านเศรษฐกิจ สังคมการเมือง
การปกครอง และสภาพความเป็ นอยูข่ องคนในชุมชน เพือ่ ทราบปัญหาและความต้องการของชุมชนที่แท้จริ ง วิธีการ
ในการศึกษาชุมชนอาจต้องใช้หลายวิธีประกอบกันทั้งการสัมภาษณ์ การสังเกต การสํารวจ และการศึกษาข้อมูลจาก
เอกสารต่าง ๆ ที่มีอยูใ่ นชุมชนด้วย เพื่อให้ได้ขอ้ มูลที่ตรงกับความเป็ นจริ งมากที่สุด กลวิธีที่สาํ คัญที่นกั พัฒนาต้อง
ใช้ในขั้นตอนนี้ คือ การสร้างความสัมพันธ์กบั คนในชุมชน เพราะถ้าหากปราศจากสัมพันธภาพที่ดีระหว่างพัฒนา
กรกับชาวบ้าน แล้วเป็ นการยากที่จะได้รู้ และเข้าใจปัญหาความต้องการจริ ง ๆของชาวบ้าน ความสัมพันธ์อนั ดี
จนถึงขั้นความสนิทสนม รักใคร่ ศรัทธา จึงเป็ นสิ่ งที่จาํ เป็ นที่จะต้องปลูกฝังให้เกิดขึ้นกับคนในชุมชน
2. การให้การศึกษาแก่ชุมชน เป็ นการสนทนา วิเคราะห์ปัญหาร่ วมกับประชาชนเป็ นการนําข้อมูลต่าง ๆ ที่
ได้จากขั้นตอนการศึกษาชุมชน มาวิเคราะห์ถึงปัญหาความต้องการและสภาพที่เป็ นจริ งผลกระทบ ความรุ นแรง
และความเสี ยหายต่อชุมชน กลวิธีที่สาํ คัญในขั้นตอนนี้ คือ การกระตุน้ ให้ประชาชนได้รู้เข้าใจ และตระหนักใน
ปัญหาของชุมชน ซึ่งในปัจจุบนั ก็คือ การจัดเวทีประชาคม เพื่อค้นหาปัญหาร่ วมกันของชุมชน
3. การวางแผน / โครงการ เป็ นขั้นตอนให้ประชาชนร่ วมตัดสิ นใจ และกําหนดโครงการ เป็ นการนําเอา
ปัญหาที่ประชาชนตระหนัก และยอมรับว่าเป็ นปัญหาของชุมชนมาร่ วมกันหาสาเหตุ แนวทางแก้ไข และจัดลําดับ
ความสําคัญของปัญหา และให้ประชาชนเป็ นผูต้ ดั สิ นใจที่จะแก้ไขภายใต้ขีดความสามารถของประชาชน และการ
แสวงหาความช่วยเหลือจากภายนอก กลวิธีที่สาํ คัญในขั้นตอนนี้ คือ การให้ความรู ้เกี่ยวกับกระบวนการแก้ไขปัญหา
วิธีการวางแผน การเขียนโครงการ โดยใช้เทคนิคการวางแผนแบบให้ประชาชนมีส่วนร่ วม
4. การดําเนินงานตามแผนและโครงการ โดยมีผรู ้ ับผิดชอบในการดําเนิ นการตามแผนและโครงการที่ได้ตก
ลงกันไว้ กลวิธีที่สาํ คัญในขั้นตอนนี้ คือ การเป็ นผูช้ ่วยเหลือสนับสนุนใน 2 ลักษณะ คือ
4.1 เป็ นผูป้ ฏิบตั ิงานทางวิชาการ เช่น แนะนําการปฏิบตั ิงาน ให้คาํ ปรึ กษาหารื อในการแก้ไขปัญหาที่
เกิดขึ้นจากการปฏิบตั ิงาน
4.2 เป็ นผูส ้ ่ งเสริ มให้ชาวบ้านเข้ามามีส่วนร่ วมในการปฏิบตั ิงาน
5. การติดตามประเมินผล เป็ นการติดตามความก้าวหน้าของงานที่ดาํ เนิ นการตามโครงการเพื่อการ
ปรับปรุ งแก้ไขปัญหา อุปสรรคที่พบได้อย่างทันท่วงที กลวิธีที่สาํ คัญในขั้นตอนนี้ คือ การติดตามดูแลการทํางานที่
ประชาชนทํา เพื่อทราบผลความก้าวหน้าและปัญหาอุปสรรค แล้วนําผลการปฏิบตั ิงานตาม
โครงการ หรื อกิจกรรมไปเผยแพร่ เพื่อให้ผเู ้ กี่ยวข้องได้ทราบ
1.2 การพัฒนาแบบมีส่วนร่ วม
กระบวนการมีส่วนร่ วม นับเป็ นหัวใจสําคัญของการพัฒนาในทุกระดับเป็ นการเปิ ดโอกาสให้ประชาชน
ร่ วมคิด วิเคราะห์ ตัดสิ นใจ การวางแผน การปฏิบตั ิตามแผน การติดตามประเมินผลในกิจกรรม/โครงการของชุมชน
เป็ นการสร้าง/ปลูกฝังจิตสํานึกในความเป็ นเจ้าของกิจกรรม/โครงการ นั้นปัจจุบนั แนวคิดการมีส่วนร่ วมของ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 136
-------------------------------------------------------------------------------
ประชาชนในงานพัฒนา (People Paticipation for Development) ได้รับการยอมรับและใช้เป็ นแนวทางปฏิบตั ิ
ในงานพัฒนาทุกภาคส่ วนหรื อในลักษณะเบญจภาคี ได้แก่ หน่วยงานภาครัฐ ภาคเอกชน องค์กรพัฒนาเอกชน
นักวิชาการ และประชาชน รวมพลังกันแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น
ขั้นตอนการมีส่วนร่ วม มี 5 ขั้นตอน ดังนี้
ขั้นตอนที่ 1 การมีส่วนร่ วมในขั้นการริ เริ่ มการพัฒนา เป็ นขั้นตอนที่ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการ
ค้นหาปัญหา/สาเหตุของปัญหาภายในชุมชน ตลอดจนมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจกําหนดความต้องการของชุมชน
และจัดลําดับความสําคัญของความต้องการของชุมชน
ขั้นตอนที่ 2 การมีส่วนร่ วมในขั้นการวางแผนในการพัฒนาซึ่งเป็ นขั้นตอนของการกําหนดนโยบาย
วัตถุประสงค์ของโครงการ วิธีการตลอดจนแนวทางการดําเนินงานและทรัพยากรที่จะใช้
ขั้นตอนที่ 3 การมีส่วนร่ วมในขั้นตอนการดําเนินการพัฒนา เป็ นส่ วนที่ประชาชนมีส่วนร่ วมในการสร้าง
ประโยชน์ให้กบั ชุมชน โดยได้รับการสนับสนุนด้านงบประมาณ เทคโนโลยี ฯลฯ จากองค์กรภาคีพฒั นา
ขั้นตอนที่ 4 การมีส่วนร่ วมในขั้นตอนรับผลประโยชน์จากการพัฒนา ซึ่งเป็ นทั้งการได้รับผลประโยชน์
ทางด้านวัตถุและทางด้านจิตใจ
ขั้นตอนที่ 5 การมีส่วนร่ วมในขั้นประเมินผลการพัฒนา เป็ นการประเมินว่า การที่ประชาชนเข้าร่ วมพัฒนา
ได้ดาํ เนินการสําเร็ จตามวัตถุประสงค์เพียงใด การประเมินอาจประเมินแบบย่อย (Formative Evaluation) เป็ น
การประเมินผลความก้าวหน้าเป็ นระยะๆ หรื ออาจประเมินผลรวม (SummativeEvaluation) ซึ่งเป็ นการ
ประเมินผลสรุ ปรวมยอด
1.2.1 ปั จจัยส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของประชาชน
การที่จะให้ประชาชนมีส่วนร่ วม นอกจากการปลูกฝังจิตสํานึกแล้วจะต้องมีการส่ งเสริ มและกระตุน้ ให้เกิด
การมีส่วนร่ วมอย่างกว้างขวางซึ่งควรพิจารณาถึงปัจจัยต่างๆ ดังนี้
1. ปั จจัยเกี่ยวกับกลไกของภาครัฐ ทั้งในระดับนโยบายมาตรการ และการปฏิบตั ิที่เอื้ออํานวย รวมทั้งการ
สร้างช่องทางการมีส่วนร่ วมของประชาชน จําเป็ นที่จะต้องทําให้การพัฒนาเป็ นระบบเปิ ดมีความเป็ นประชาธิปไตย
มีความโปร่ งใส รับฟังความคิดเห็นของประชาชน และมีการตรวจสอบได้
2. ปั จจัยด้านประชาชน ที่มีสาํ นึ กต่อปั ญหาและประโยชน์ร่วมมีสาํ นึ กต่อความสามารถและภูมิปัญญาใน
การจัดการปัญหาซึ่งเกิดจากประสบการณ์และการเรี ยนรู ้ ซึ่งรวมถึงการสร้างพลังเชื่อมโยงในรู ปกลุ่มองค์กร
เครื อข่ายและประชาสังคม
3. ปั จจัยด้านนักพัฒนาและองค์กรพัฒนา ซึ่ งเป็ นผูท ้ ี่มีบทบาทในการส่ งเสริ มกระตุน้ สร้างจิตสํานึก
เอื้ออํานวยกระบวนการพัฒนาสนับสนุนข้อมูลข่าวสารและทรัพยากรและร่ วมเรี ยนรู ้กบั สมาชิกชุมชน
1.2.2 ปั ญหาอุปสรรคที่มีต่อการมีส่วนร่ วมของประชาชน
1. อุปสรรคด้านการเมือง เกิดจากการไม่ได้กระจายอํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบให้แก่ประชาชน
โครงสร้างอํานาจทางการเมือง การปกครอง การบริ หาร เศรษฐกิจ ถูกควบคุมโดยคนกลุ่มน้อยทหาร นายทุน และ
ข้าราชการ ขาดกลไกที่มีประสิ ทธิภาพในการแจกแจงทรัพยากร
2. อุปสรรคด้านเศรษฐกิจ เกิดจากการขาดความสามารถในการพึ่งตนเอง อํานาจการต่อรองมีนอ ้ย
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 137
-------------------------------------------------------------------------------
กระบวนการผลิต ปัจจัยการผลิตอยูภ่ ายใต้ระบบอุปถัมภ์ ความแตกต่างในสังคม ด้านรายได้ อํานาจ และฐานะทาง
เศรษฐกิจ
3. อุปสรรคด้านวัฒนธรรม ขนบประเพณี ในแต่ละพื้นที่ที่ทาํ ให้ประชาชนไม่สามารถเข้ามามีส่วนร่ วมได้
เนื่องจากขัดต่อขนบธรรมเนียงประเพณี ของชุมชน/เผ่า
1.3 การดําเนินการโครงการกิจกรรมของกรมการพัฒนาชุมชน
โครงการหรื อกิจกรรมการพัฒนาชุมชน หมายถึง การกระทําใดๆ ก็ตามที่เกิดจากความคิดริ เริ่ มของ
ประชาชน จากปัญหา/ความต้องการของประชาชน โดยการช่วยกันคิด ร่ วมกันตัดสิ นใจ ช่วยกันวางแผน และ
ร่ วมกันดําเนินการของประชาชน เพื่อแก้ปัญหาและสนองความต้องการของประชาชนทั้งชุมชน หรื อของประชาชน
ส่ วนหนึ่งหรื อกลุ่มหนึ่ง โดยมีพฒั นากรเป็ นผูเ้ อื้ออํานวยให้ประชาชนเป็ นผูร้ ิ เริ่ มหรื อเป็ นเจ้าของโครงการโดยมี
ตัวอย่างโครงการกิจกรรมที่กรมการพัฒนาชุมชนดําเนินการ ดังนี้
1.3.1 การพัฒนาผูน ้ าํ ชุมชนและอาสาสมัคร
วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนมีโอกาสเสี ยสละอุทิศตนเพื่อส่ วนรวม มีบทบาทและส่ วนร่ วมในการ
แก้ปัญหาและการดําเนินกิจกรรมพัฒนาของชุมชน มุ่งเน้นให้เกิดความต่อเนื่องในการรวมกลุ่ม การพัฒนาศักยภาพ
และการดําเนินกิจกรรมให้เกิดผลงานอย่างเป็ นรู ปธรรม
1.3.2 พัฒนากลุ่ม/องค์กร/เครื อข่าย
วัตถุประสงค์ เพื่อสนับสนุนให้ประชาชนรวมตัวกันทํากิจกรรมร่ วมกันในลักษณะกลุ่ม/องค์กรชุมชน เช่น
คณะกรรมการพัฒนาสตรี กลุ่มออมทรัพย์เพื่อการผลิต กลุ่มอาชีพ ฯลฯ รวมทั้งสนับสนุนให้กลุ่ม/องค์กรชุมชน
รวมตัวกันในลักษณะเครื อข่ายต่างๆ เช่น สมาพันธ์องค์การพัฒนาชุมชนแห่งประเทศไทยสมาคมผูน้ าํ อาสาพัฒนา
ชุมชนไทย สมาคมผูน้ าํ สตรี พฒั นาชุมชนไทย สมาคมผูน้ าํ อาชีพก้าวหน้า (สิ งห์ทอง)4 ภาค ศูนย์ประสานงาน
องค์การชุมชน (ศอช.)
1.3.3 การพัฒนาแผนชุมชน
วัตถุประสงค์ เพื่อพัฒนากระบวนการเรี ยนรู ้ของชุมชน ให้คนในชุมชนช่วยกันคิด ร่ วมกันตัดสิ นใจ ช่วยกัน
วางแผน ร่ วมกันดําเนินการเพื่อแก้ปัญหาและสนองความต้องการของประชาชนทั้งชุมชน ซึ่งจะทําให้ชุมชนได้ทาํ
ความรู ้จกั และประเมินศักยภาพของชุมชน และกําหนดอนาคตทิศทางของชุมชน ทําให้ชุมชนสามารถพึ่งตนเองได้
และสร้างชุมชนให้เข้มแข็งได้
1.3.4 ส่ งเสริ มการออมทรัพย์เพื่อการผลิต
วัตถุประสงค์ เพื่อกระตุน้ และส่ งเสริ มให้ประชาชนรวมตัวกันระดมเงินออมเพื่อเป็ นทุนของชุมชน
สนับสนุนการพัฒนาด้านการบริ หารและจัดการเงินทุนในเชิงธุรกิจ เพือ่ พัฒนาอาชีพและคุณภาพชีวิตโดยยึดหลัก
คุณธรรมและการพึ่งตนเองเป็ นฐานไปสู่ สถาบันนิติบุคคล
1.3.5 ส่ งเสริ มการจัดตั้งสถาบันจัดการเงินทุนชุมชน โดยการบูรณาการ เชื่อมโยงกลุ่มองค์กรกองทุน
การเงินต่าง ๆ รวมกันบริ หารจัดการเงินทุนในชุมชน เพือ่ ให้เกิดการใช้เงินทุนในชุมชนอย่างคุม้ ค่า เกิดประโยชน์
สู งสุ ดวัตถุประสงค์ เพื่อให้การจัดการเงินทุนชุมชนเป็ นระบบมีความเป็ นเอกภาพสามารถแก้ไขปัญหาพัฒนา
เศรษฐกิจและพัฒนาสังคมให้ชุมชน เพื่อเป็ นแหล่งเงินออม แหล่งทุน สวัสดิการของชุมชน และเพือ่ เป็ นศูนย์
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 138
-------------------------------------------------------------------------------
แลกเปลี่ยนเรี ยนรู ้ของชุมชน
1.3.6 ศูนย์เรี ยนรู ้ชุมชน
วัตถุประสงค์ เพื่อรวบรวมองค์ความรู ้ที่กระจัดกระจายอยูใ่ นชุมชนให้เป็ นระบบสามารถเป็ นแหล่งเรี ยนรู ้
ของคนในชุมชน และคนภายนอกชุมชน ในการพัฒนาความคิด พัฒนาอาชีพ และรายได้ รวมทั้งแก้ไขปัญหาอื่น ๆ
ของคนในชุมชน
2. การพัฒนาของภาครัฐร่ วมกับองค์ กรพัฒนาเอกชน และภาคประชาสั งคม
2.1 ความเป็ นมา
ความร่ วมมือระหว่างภาครัฐและองค์กรภาคเอกชนเห็นได้ชดั เจนใน พ.ศ. 2527 เมื่อคณะกรรมการ
พัฒนาการเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ได้ตระหนักถึงศักยภาพและพลังความสามารถขององค์กรภาคเอกชนที่จะ
ช่วยส่ งเสริ มและสนับสนุนการพัฒนาชนบทของภาครัฐบาล ได้บรรจุนโยบายที่จะส่งเสริ มบทบาทขององค์การ
ภาคเอกชนไว้เป็ นแนวทางในการพัฒนาตามแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 6 และจัดตั้งหน่วยงาน
ประสานงานกับองค์กรพัฒนาเอกชนขึ้นในศูนย์ประสานงานพัฒนาชนบทแห่งชาติ และต่อมาได้จดั ตั้ง
คณะกรรมการประสานงานในระดับชาติ เรี ยกว่า คณะกรรมการประสานงานองค์กรเอกชนพัฒนาชนบท
(กป.อพช.)
สําหรับปัจจุบนั รัฐยิง่ เพิ่มการสนับสนุนการมีส่วนร่ วมขององค์กรเอกชนมากขึ้น เห็นได้จากการเชิญ
ภาคเอกชนเข้ามามีส่วนร่ วมในกาดําเนินงานตามนโยบายสําคัญๆ ของรัฐบาลหลายด้าน และได้อุดหนุนงบประมาณ
ให้กบั องค์กรพัฒนาเอกชนหลายองค์กรในการดําเนินกิจกรรมพัฒนาเพื่อความคล่องตัวในการขับเคลื่อนนโนบาย
ของรัฐบาล
"ประชาสังคม" มาจากภาษาอังกฤษว่า Civil Society และมีผใู ้ ช้คาํ ภาษาไทยเทียบเคียงกันหลายคําอาทิ
"สังคมประชาธรรม" (ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม) "สังคมราษฎร์" (เสน่ห์ จามริ ก) "วีถีประชา"(ชัยอนันต์ สมุทวณิ ช ใช้
คํานี้โดยมีนยั ยะของคําว่า Civic movement) "อารยสังคม" (อเนก เหล่าธรรมทัศน์) และ"สังคมเข้มแข็ง"(ธีรยุทธ
บุญมี) เป็ นต้น ทั้งนี้ นักคิดสําคัญ ๆ ของสังคมไทยได้อธิบายขยายความคําว่า "ประชาสังคม"หรื อ Civil Society นี้
ในบริ บทเงื่อนไขและการให้น้ าํ หนักที่แตกต่างกัน ดังนี้
ศ.ดร.ชัยอนันต์ สมุทวณิ ช มองว่า "ประชาสังคม" หมายถึง ทุก ๆ ส่ วนของสังคมโดยรวมถึงภาครัฐ ภาค
ประชาชนด้วย ถือว่าทั้งหมด เป็ น Civil Society ซึ่งแตกต่างจากความหมายแบบตะวันตกที่แยกออกมาจากภาครัฐ
หรื อนอกภาครัฐ แต่หมายถึงทุกฝ่ ายเข้ามาเป็ น partnership กัน (ชัยอนันต์ สมุทวณิ ช 2539) โดยนัยยะนี้ ศ.ดร.ชัย
อนันต์ สมุทวณิ ช ให้ความสําคัญกับ Civic movement หรื อ "วิถีประชา" ที่เป็ นการดําเนินกิจกรรมของกลุ่มองค์กร
ต่าง ๆ โดยเอาตัวกิจกรรมเป็ นศูนย์กลางปราศจากการจัดตั้ง ดังข้อเสนอที่สาํ คัญในเชิงยุทธศาสต์การพัฒนา ในช่วง
ของการจัดทําแผน พัฒนาฯ ฉบับที่ 8 คือ Area-Function-Participation - AFPกล่าวคือจะต้องเน้นที่
กระบวนการมีส่วนร่ วม ในการดําเนินกิจกรรมการพัฒนาของ ทุกฝ่ ายร่ วมกันในระดับพื้นที่ (ย่อย ๆ) ซึ่งในที่น้ ี อาจ
เป็ นพื้นที่จงั หวัด อําเภอ ตําบล หมู่บา้ น หรื อพื้นที่ในเชิงเศรษฐกิจ เช่น เขตพื้นที่ชายฝั่งทะเล ภาคตะวันออก เป็ นต้น
(ชัยอนันต์ สมุทวณิ ช 2539)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 139
-------------------------------------------------------------------------------
ไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม ได้ให้ความหมายของ "ประชาสังคม" ว่าหมายถึง "สังคมที่ประชาชนทัว่ ไป ต่างมี
บทบาทสําคัญในการจัดการเรื่ องต่าง ๆ ที่เกี่ยวกับวิถีชีวติ ของประชาชน โดยอาศัยองค์กร กลไก กระบวนการและ
กิจกรรมอันหลากหลาย ที่ประชาชนจัดขึ้น" โดยนัยยะของความหลากหลาย ขององค์กรนี้ไม่วา่ จะเป็ นกลุ่ม องค์กร
ชมรม สมาคม ซึ่งล้วนแต่มีบทบาทสําคัญต่อการผลักดันการเปลี่ยนแปลงทางสังคมทั้งสิ้ น จึงเป็ นเสมือน "สังคม"
ของ "ประชา" หรื อ Society ของ Civil นัน่ เอง อย่างไรก็ดี คุณไพบูลย์ วัฒนศิริธรรม ยังเสนอต่ออีกด้วยว่า "ประชา
สังคม" นั้นเป็ นส่ วนของสังคม ที่ไม่ใช่ภาครัฐ ซึ่ง ดําเนินงานโดยอาศัยอํานาจตามกฎหมายและก็ไม่ใช่ภาคธุรกิจ ซึ่ง
ดําเนินงานโดยมุ่งหวังผลกําไรเป็ นสําคัญ
สําหรับปัจจุบนั ได้มีการพัฒนาภาคประชาสังคมให้เข้มแข็ง ผ่านการพัฒนา ผูน้ าํ กลุ่ม องค์กรเครื อข่าย ต่าง
ๆ รวมทั้งรู ปแบบการประชาคม ที่มุ่งเน้นให้ทุกภาคส่วนมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจในการแก้ไขปัญหา หรื อกําหนด
ทิศทางการพัฒนาชุมชนของตนเอง
2.2 แนวทางส่ งเสริ มบทบาทขององค์กรเอกชน และภาคประชาสังคมในการพัฒนาแม้วา่ นโยบายของรัฐที่
ส่ งเสริ มและเปิ ดโอกาสให้องค์กรเอกชน มีบทบาทมากขึ้นในการพัฒนาชนบทแก้ไขปัญหาในสังคมและการ
ให้บริ การสังคม แต่กไ็ ม่มีหลักประกันว่าการมีส่วนร่ วมขององค์กรทั้งสองจะมีมากขึ้นหากผูเ้ กี่ยวข้อง กระบวนการ
ของสังคมในสังคม และสภาพแวดล้อมต่าง ๆ ไม่เอื้ออํานวย เนื่องจากนโยบายของรัฐเป็ นเพียงกรอบของสังคมใหญ่
เท่านั้น ดังนั้นเพื่อให้นโยบายของรัฐบังเกิดผลอย่างแท้จริ งด้วยความร่ วมมือกันระหว่างภาครัฐและเอกชน ควรมี
แนวทางในการดําเนินงานของส่ วนต่างๆ ดังนี้
1. ระดมสื่ อทุกด้านปรับทัศนคติและค่านิ ยมของคนในสังคมให้เคารพในศักดิ์ศรี และสิ ทธิ์ ของกันและกัน
ให้มีความเชื่อมัน่ ในความคิดและความสามารถของบุคคล ไม่วดั คุณค่าของคนที่ฐานะความเป็ นอยูห่ รื อ ระดับ
การศึกษา หน้าที่การงาน การยอมรับในคุณค่าความเป็ นมนุษย์ของคนร่ วมสังคม จะทําให้การทํางานร่ วมกันเป็ นไป
ด้วยความราบรื่ นสมานฉันท์ แม้วา่ จะมีความขัดแย้งในความคิดหรื อแนวทางการทํางานบ้าง ก็ไม่เป็ นปัญหาต่อกา
ร่ วมกันทํางาน
2. ในการส่ งเสริ มบทบาทขององค์กรเอกชน ต้องสร้างระบบให้ภาครัฐดําเนิ นงานอย่างต่อเนื่ องจริ งจังและ
มีความจริ งใจ โดยให้เป็ นการมีบทบาทในฐานะหน่วยงานหรื อบุคคลที่มีศกั ดิ์ศรี เท่าเทียมกัน หรื อเรี ยกว่าในฐานะ
“หุ น
้ ส่ วน” ไม่ใช่ให้เข้ามามีบทบาทเพียงร่ วมทําในสิ่ งที่รัฐตัดสิ นใจไว้แล้ว
3. ส่ งเสริ มให้เกิดการผนึ กกําลังของสังคมในลักษณะประชาคมในทุกภูมิภาค เพื่อให้คนในสังคมตื่นตัวที่
จะร่ วมกันรับผิดชอบต่อการแก้ไขปัญหาและสร้างสรรค์สิ่งดีงามให้กบั สังคมของตนมากขึ้น ซึ่งเป็ นทุนทางสังคมที่
สําคัญในการแก้ไขปัญหาในสังคมระยะยาว
4. ให้สร้างระบบหรื อสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการมีบทบาทของท้องถิ่นและองค์กร ภาคเอกชน ในการ
พัฒนาและแก้ไขปัญหาสังคม โดยเฉพาะการเปิ ดโอกาสให้องค์กรฯ ได้รับและสามารถเข้าถึงข้อมูลข่าวสารความรู ้
แหล่งทรัพยากร และบริ การของรัฐอย่างยุติธรรมและเพียงพอที่จะตัดสิ นใจในการร่ วมพัฒนาและแก้ไขปัญหาใน
สังคม ไม่วา่ จะเป็ นการทํางานในหน้าที่หรื อการทํางานร่ วมกับภาคี เช่น การมีศูนย์บริ การข้อมูลข่าวสารความรู ้ที่มี
เครื อข่ายเชื่อมโยงอย่างทัว่ ถึง และมีกลไกบังคับให้ภาครัฐรวมทั้งองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเปิ ดเผยข้อมูลข่าวสาร
ความรู ้ที่เป็ นจริ งให้สาธารณะได้ทราบ โดยเฉพาะที่เกี่ยวกับนโยบาย แผนงาน/โครงการ/กิจกรรมที่จะดําเนินงานใน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 140
-------------------------------------------------------------------------------
พื้นที่ต่าง ๆ ทรัพยากร การจัดสรรทรัพยากร ระเบียบ กฎเกณฑ์ในการจัดสรร สิ ทธิประโยชน์ของประชาชน จาก
การบริ การของรัฐและท้องถิ่น
5. ต้องส่ งเสริ มกระบวนการเรี ยนรู ้ร่วมกันระหว่างหน่วยราชการ องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น องค์กร
ภาคเอกชน และประชาชนอย่างต่อเนื่องเกี่ยวกับแนวทางในการแก้ไขปัญหาของสังคมโดยพลังความร่ วมมือของทุก
ฝ่ าย นับตั้งแต่การร่ วมกันวิเคราะห์สถานการณ์ของท้องถิ่น ตัดสิ นใจกําหนดวิสยั ทัศน์ วางแผนดําเนินงานติดตาม
และประเมินผลการดําเนินงาน โดยให้มีการร่ วมสรุ ปบทเรี ยนเป็ นระยะๆ กระตุน้ ให้ตระหนักในความเจริ ญงอกงาม
ของประสบการณ์ที่พอกพูนขึ้นจากการมีส่วนร่ วมในการแก้ไขปัญหา ใช้ความล้มเหลวและความสําเร็ จเป็ นบทเรี ยน
ในการแสวงหาแนวทางแก้ไขปัญหาที่ยงั่ ยืนต่อไป
6. ส่ งเสริ มให้ร่วมกันแก้ไขปั ญหาและพัฒนาสังคมแบบองค์รวม ที่มุ่งให้สงั คมมีการเจริ ญเติบโตในทุกด้าน
ไม่เน้นการแก้ปัญหาหนึ่ง โดยไม่คาํ นึงถึงปัญหาอื่น ที่จะตามมา การส่งเสริ มลักษณะนี้จะบังเกิดผลอย่างเป็ น
รู ปธรรมได้กต็ ่อเมื่อ ผูม้ ีส่วนร่ วมในการแก้ไขปัญหามีความคิดความชํานาญ หน้าที่ความรับผิดชอบและความรู ้ที่
หลากหลาย
7. พัฒนาการมีส่วนร่ วมขององค์กรต่างๆ จนถึงระดับที่มีการจัดระเบียบทางสังคมจนกลายเป็ นบรรทัดฐาน
ของสังคมที่ได้รับการยอมรับและมีขอ้ ตกลงร่ วมกันที่จะยึดถือเป็ นแนวทางในการปฏิบตั ิงานของแต่ละฝ่ ายเพื่อ
ไม่ให้บทบาทการมีส่วนร่ วมขององค์กรต่างๆ ในการแก้ไขปัญหาในสังคมขึ้นอยูก่ บั ความ สัมพันธ์ส่วนบุคคล เมื่อ
เปลี่ยนบุคคลที่เป็ นตัวแทนองค์กรนั้น ความร่ วมมือหรื อข้อตกลงร่ วมกันต้องถูกยกเลิก
3 การสร้ างมาตรฐานของการชี้วด ั ผลการพัฒนา
3.1 แนวคิดตัวชี้วดั การพัฒนาชุมชน
การกําหนดตัวชี้วดั การพัฒนาประเทศเริ่ มใช้ต้ งั แต่แผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคม ฉบับที่ 1 พ.ศ.2504
เป็ นต้นมา โดยใช้เป็ นเครื่ องมือติดตามผลการพัฒนา และได้มีการพัฒนาต่อมาเรื่ อย ๆ โดยหน่วยงานที่มีหน้าที่ดูแล
รับผิดชอบผลของการพัฒนาแต่ละด้านมักเป็ นผูส้ ร้างเครื่ องมือเอง โดยมีตวั อย่างเครื่ องชี้วดั การพัฒนาประเทศ ดังนี้
1. เครื่ องชี้วดั ทางเศรษฐกิจ เช่น การวัดอัตราการเจริ ญหรื อการขยายตัวทางเศรษฐกิจ การวัดขีด
ความสามารถในการแข่งขันของประเทศ การกระจายรายได้ เส้นความยากจน (proverty line) การวัดรายได้
ค่าใช้จ่ายและหนี้สินของครัวเรื อน เป็ นต้น
2. เครื่ องชี้วดั ทางสังคม เช่น เครื่ องชี้วดั ความจําเป็ นพื้นฐาน (จปฐ) เครื่ องชี้ภาวะสังคม ดัชนี ทางการศึกษา
ตัวชี้วดั สุ ขภาพดีถว้ นหน้า ดัชนีความอยูด่ ีมีสุขของคนไทย เป็ นต้น
3. เครื่ องชี้วดั ทางสิ่ งแวดล้อม เช่น ดัชนี ช้ ีวดั คุณภาพสิ่ งแวดล้อม เป็ นต้น
3.2 เครื่ องชี้วดั ความจําเป็ นพื้นฐาน (จปฐ)
เครื่ องชี้วดั ความจําเป็ นพื้นฐาน (จปฐ) ของครัวเรื อน ถือได้วา่ เป็ นเครื่ องชี้วดั ที่มีการพัฒนาอย่างต่อเนื่อง
และนําไปใช้ประโยชน์เป็ นอย่างมาก โดยเริ่ มใช้ต้ งั แต่ พ.ศ. 2528 ในช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ
ฉบับที่ 5 มีการปรับปรุ งมาเป็ นระยะจนปัจจุบนั เป็ นการจัดเก็บข้อมูลความจําเป็ นพื้นฐาน ช่วงแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (ปี 2550-2554)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 141
-------------------------------------------------------------------------------
1. ความสําคัญของเครื่ องชี้ วดั พระราชกระแสของสมเด็จพระเทพรัตนราชสุ ดาฯ สยามบรมราชกุมารี ใน
วโรกาสที่ทรงพระกรุ ณาโปรดเกล้าฯ ให้คณะกรรมการอํานวยการงานพัฒนาคุณภาพชีวิตของประชาชนในชนบท
(พชช.) และเจ้าหน้าที่เข้าเฝ้าถวายรายงานคุณภาพชีวิตของคนไทย ปี 2533 (เมื่อวันที่ 16กรกฎาคม 2534) “การ
ดําเนินงานพัฒนา แต่ก่อนใช้วดั ด้วยสายตาบ้าง เฉลี่ยไปตามความคิดเห็นที่ไม่เป็ นเชิงสถิติบา้ ง ทําไปเรื่ อย ๆ บ้าง แต่
ตอนนี้ทางราชการมีการสํารวจข้อมูล จปฐ. เป็ นข้อมูลที่คิดว่าในขณะนี้ดีที่สุดแล้ว ดีในการเป็ นฐานให้เริ่ มต้นแก้ไข
ปัญหา เป็ นข้อมูลที่ง่าย ดูง่าย และเห็นด้วยที่มีการสํารวจข้อมูล จปฐ. มีการวัดเพื่อให้พบปัญหา ซึ่งเมื่อรู ้ปัญหาแล้ว
จะได้มีการแก้ไข สําหรับการวัดนั้นจะตรงหรื อไม่ตรง แน่นอนต้องมีการผิดพลาดบ้าง ก็ไม่น่าจะเป็ นปัญหาใหญ่
ขอให้มีสิ่งที่จะช่วยชี้ให้ฝ่ายรัฐเข้าไปหาชาวบ้าน ได้ทราบปัญหาของชาวบ้านบ้าง เมื่อเราทําจริ ง สํารวจจริ งแล้ว จะ
ทําให้พบกับบุคคลที่ควรสงเคราะห์ หรื อทําให้พบปัญหาและเมื่อพบปัญหาแล้วจะแก้ไขอย่างไรเป็ นสิ่ งซึ่งจะตามมา
หลักการพัฒนาที่ควรจะคํานึงถึง คือ ช่วยเขาเพื่อให้เขาช่วยตัวเองได้ การให้คาํ แนะนําเพื่อให้ชาวบ้านได้เรี ยนรู ้
วิธีการแก้ไขปัญหาด้วยตัวเอง จึงเป็ นสิ่ งสําคัญ”
2. ความหมายของข้อมูลความจําเป็ นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็ นข้อมูลที่แสดงถึงลักษณะของสังคมไทยที่พึง
ประสงค์ ตามเกณฑ์มาตรฐานขั้นตํ่าของเครื่ องชี้วดั ว่า อย่างน้อยคนไทยควรจะมีระดับความเป็ นอยูไ่ ม่ต่าํ กว่าระดับ
ไหน ในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ และทําให้ประชาชนสามารถทราบได้ดว้ ยตนเองว่า ในขณะนี้คุณภาพชีวิตของตนเอง
ครอบครัว รวมไปถึงหมู่บา้ นอยูใ่ นระดับใด มีปัญหาที่จะต้องแก้ไขในเรื่ องใดบ้าง เป็ นการส่ งเสริ มให้ประชาชนเข้า
มามีส่วนร่ วมในการพัฒนาตนเอง ครอบครัว และสังคม อันเป็ นนโยบายสําคัญในการพัฒนาชนบทของประเทศ
ข้อมูลความจําเป็ นพื้นฐาน (จปฐ.) คือ ข้อมูลในระดับครัวเรื อนที่แสดงถึงสภาพความจําเป็ นพื้นฐานของคนใน
ครัวเรื อนในด้านต่าง ๆ เกี่ยวกับคุณภาพชีวติ ที่ได้กาํ หนดมาตรฐานขั้นตํ่าเอาไว้วา่ คนควรจะมีคุณภาพชีวิตในแต่ละ
เรื่ องอย่างไรในช่วงระยะเวลาหนึ่ง ๆ
3. หลักการของข้อมูลความจําเป็ นพื้นฐาน (จปฐ.) ได้แก่
3.1 ใช้เครื่ องชี้วดั ความจําเป็ นพื้นฐาน (จปฐ.) เป็ นเครื่ องมือของกระบวนการเรี ยนรู ้ของประชาชนใน
หมู่บา้ น/ชุมชน เพื่อให้ประชาชนในหมู่บา้ น/ชุมชน ทราบถึงสภาพความเป็ นอยูข่ องตนเองและชุมชนว่า บรรลุตาม
เกณฑ์ความจําเป็ นพื้นฐานแล้วหรื อไม่
3.2 ส่ งเสริ มให้ประชาชนมีส่วนร่ วมในการพัฒนาโดยผ่านกระบวนการ จปฐ. นับตั้งแต่การกําหนด
ปัญหาความต้องการที่แท้จริ งของชุมชน ตลอดจนค้นหาและหาแนวทางแก้ไขปัญหา โดยใช้ขอ้ มูล จปฐ. ที่มีอยู่
ตลอดจนการประเมินผลการดําเนินงานที่ผา่ นมา
3.3 ใช้ขอ้ มูล จปฐ. เป็ นแนวทางในการคัดเลือกโครงการต่าง ๆ ของรัฐให้สอดคล้องกับสภาพปั ญหา
ที่แท้จริ งของชุมชน สามารถใช้ทรัพยากรที่มีอยูอ่ ย่างจํากัดได้อย่างทัว่ ถึงและมีประสิ ทธิภาพ รวมทั้งมีการ
ประสานระหว่างสาขาในด้านการปฏิบตั ิมากขึ้น
4. วัตถุประสงค์ เพื่อให้ประชาชนสามารถพัฒนาชีวิตความเป็ นอยูข ่ องตนเอง และครอบครัวให้มี
คุณภาพชีวิตที่ดีอย่างน้อยผ่านเกณฑ์ความจําเป็ นพื้นฐาน โดยมีเครื่ องชี้วดั จปฐ. เป็ นเครื่ องมือ
5. ตัวชี้วดั ความจําเป็ นพื้นฐาน (จปฐ.) ได้แก่ ข้อมูลความจําเป็ นพื้นฐาน (จปฐ.) ช่วงแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 10 (ปี 2550-2554) มีจาํ นวน 6 หมวด 42 ตัวชี้วดั
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 142
-------------------------------------------------------------------------------
3.3 เครื่ องชี้วดั การพัฒนาแบบบูรณาการที่มีชุมชนเป็ นศูนย์กลาง (ระบบมาตรฐานงานชุมชน)ระบบการ
พัฒนาประเทศที่ผา่ นมาได้มีความพยายามของหน่วยงานภาครัฐในการวัด ประเมินผลของการพัฒนา ซึ่งส่ วนใหญ่
เป็ นการวัดผลเพื่อบอกถึงผลสัมฤทธิ์ของหน่วยงาน หรื อเป็ นการวัดประเมินผลในภาพรวมของประเทศ โดย
หน่วยงานเป็ นผูก้ าํ หนดตัวชี้วดั แต่ยงั ไม่มีการจัดทําระบบการวัดและประเมินที่ชุมชนเป็ นผูก้ าํ หนดและนําไปสู่
กระบวนการเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองโดยชุมชนได้อย่างแท้จริ ง กรมการพัฒนาชุมชนจึงได้จดั ทํา “เครื่ องชี้วดั การ
พัฒนาแบบบูรณาการที่มีชุมชนเป็ นศูนย์กลาง” คือ “ระบบมาตรฐานงานชุมชน หรื อเรี ยกชื่อย่อว่า “มชช.”
3.3.1 ความหมาย
ระบบมาตรฐานงานชุมชน หมายถึง เครื่ องมือในการสร้างกระบวนการเรี ยนรู ้และพัฒนาตนเองของผูน้ าํ
ชุมชน, กลุ่ม/องค์กรชุมชน,เครื อข่ายองค์กรชุมชน และชุมชน ไปสู่ ขอ้ กําหนดและตัวชี้วดั ที่ก่อให้เกิดการพัฒนาอัน
พึงปรารถนาร่ วมกันกับภาคีที่เกี่ยวข้อง บนพื้นฐานของความสมัครใจ
3.3.2 หลักการของระบบมาตรฐานงานชุมชน
1. การประสานความร่ วมมือจากภาคีการพัฒนา ทั้งภาครัฐ เอกชน และภาคประชาชน
2. การมีส่วนร่ วมของชุมชน ชุมชนเป็ นเจ้าของ ประชาชนเป็ นผูไ้ ด้รับประโยชน์
3. ยืดหยุน ่ สอดคล้องเหมาะสมกับชุมชน
4. เป็ นที่ยอมรับของทุกภาคส่ วน
5. ความสมัครใจของชุมชน ในการเข้าสู่ ระบบมาตรฐานชุมชน
6. กระบวนการเรี ยนรู ้ในการพัฒนาตนเอง
3.3.3 วัตถุประสงค์ของระบบมาตรฐานงานชุมชน
1. เพื่อให้ผน ู ้ าํ ชุมชน กลุ่ม/องค์กร เครื อข่าย และชุมชน ใช้เป็ นเครื่ องมือและแนวทางสร้างกระบวนการ
เรี ยนรู ้ ในการประเมินและพัฒนาตนเองไปสู่ ความเข้มแข็งที่ได้รับการยอมรับ
2. เพื่อส่ งเสริ มสนับสนุ นให้กลุ่มเป้ าหมาย เกิดกระบวนการเรี ยนรู ้ในการพัฒนาตนเองไปสู่ คุณภาพ และ
ความสําเร็ จที่ได้รับการยอมรับร่ วมกันระหว่างชุมชนและภาคีที่เกี่ยวข้อง
3. เพื่อ บูรณาการการทํางานระหว่างภาคีการพัฒนาและชุมชนให้มีเป้ าหมายและทิศทางการทํางานที่ชด ั เจน
ร่ วมกัน ลดความซํ้าซ้อน เพิม่ ประสิ ทธิภาพ และความคุม้ ค่าในการพัฒนาไป สู่ ความเข้มเข็งของชุมชน
3.3.4 ขั้นตอนการดําเนินงาน มชช.
1. ขั้นการเตรี ยมการ ประกอบด้วย การเตรี ยมข้อมูล/เนื้อหา เตรี ยมตนเอง เตรี ยมทีมงานเตรี ยมงาน
2. ขั้นดําเนิ นการ ประกอบด้วย การสมัคร การสร้างความเข้าใจ การวิเคราะห์ตนเอง การสร้างการมีส่วน
ร่ วม การสร้างตัวชี้วดั การจัดทําแผนพัฒนาตนเอง และการดําเนินการตามแผน
3. ขั้นประเมินผล ประกอบด้วย การประเมินผลด้วยตนเอง การประเมินผลโดยชุมชน/สมาชิก/คนรอบข้าง
และการประเมินผลโดยคณะกรรมการ
4. ขั้นยกย่อง เชิดชูเกียรติ เช่น มอบเข็ม ใบประกาศเกียรติคุณ
5. ขั้นขยายผล เช่น จัดตั้งเครื อข่ายการเรี ยนรู ้ ศูนย์เรี ยนรู ้ มชช.ต้นแบบ
3.3.5 ประเภทมาตรฐานงานชุมชน มี 4 ประเภท
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 143
-------------------------------------------------------------------------------
กล่าวโดยสรุ ป ตัวชี้วดั เป็ นเครื่ องมือในการบ่งบอกถึงคุณค่าหรื อระดับการพัฒนา ซึ่งสะท้อนให้เห็นถึง
สภาพความเป็ นจริ งของสังคมที่เป็ นอยูใ่ นขณะนั้น ดังนั้นตัวชี้วดั จะต้องมีมาตรฐาน และเป็ นที่ยอมรับของคนใน
สังคม ซึ่งหมายถึงจะต้องรวมมิติดา้ นต่างๆของสังคมทั้ง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมและสิ่ งแวดล้อมในมุมกว้าง
และลึก ตลอดจนการมีส่วนร่ วมของคนในชุมชนทุกระดับ จึงจะสามารถบรรลุวตั ถุประสงค์ของการพัฒนาที่ยงั่ ยืน
4. การกระจายอานาจในการพัฒนาและงบประมาณสู่ ท้องถิ่น
4.1 ความสําคัญ กฎหมายที่เกี่ยวข้อง
4.1.1 รัฐธรรมนู ญแห่ งราชอาณาจักรไทย พุทธศักราช 2550
การกระจายอํานาจสู่ ทอ้ งถิ่นถือว่าเป็ นวัตถุประสงค์หลักประการหนึ่งของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทย พุทธศักราช 2550 ดังปรากฏตาม มาตรา 78 , 80 และ 281-290 โดยมีแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ ดังนี้
1. รัฐต้องกระจายอํานาจให้ อปท. พึ่งตนเองและตัดสิ นใจในกิจการของท้องถิ่นได้เอง ส่ งเสริ มให้ อปท. มี
ส่ วนร่ วมในการดําเนินการตามแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
2. ส่ งเสริ มและสนับสนุนการกระจายอํานาจเพื่อให้ อปท. ฯลฯ จัดและมีส่วนร่ วมในการจัดการศึกษาเพื่อ
พัฒนามาตรฐานคุณภาพการศึกษาให้เท่าเทียมและสอดคล้องกับแนวนโยบายพื้นฐานแห่งรัฐ
4.1.2 พระราชบัญญัติกาํ หนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.
2542 มีผลบังคับใช้ เมื่อวันที่ 18 พฤศจิกายน 2542 โดยประกาศในราชกิจจานุเบกษา ฉบับกฤษฎีกา เล่มที่ 116
ตอนที่ 114 ก หน้า 48 ถึง 66 วันที่ 17 พฤศจิกายน 2542สาระสําคัญ ได้แก่
1. การกําหนดอํานาจและหน้าที่ในการจัดระบบการบริ การสาธารณะระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น และระหว่างองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นด้วยกันเอง
2. การจัดสรรสัดส่ วนภาษีและอากรระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น โดยคํานึ งถึงภาระหน้าที่
ของรัฐกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นและระหว่างองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นด้วยกันเองเป็ นสําคัญ
3. การจัดให้มีคณะกรรมการขึ้นคณะหนึ่ งประกอบด้วย ผูแ้ ทนของหน่วยงานราชการที่เกี่ยวข้อง ผูแ้ ทนของ
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น และผูท้ รงคุณวุฒิซ่ ึงมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายบัญญัติโดยมีจาํ นวนเท่ากัน ทําหน้าที่
ตามข้อ 1 และข้อ 2 ข้างต้นการถ่ายโอนภารกิจ กําหนดไว้เป็ น 3 ระยะ คือ
ระยะที่ 1 เป็ นระยะเวลาการถ่ายโอน ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2544 – 2547
ระยะที่ 2 เป็ นระยะเวลาการถ่ายโอน ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2545 – 2549
ระยะที่ 3 เป็ นระยะเวลาการถ่ายโอน ตั้งแต่ปีงบประมาณ 2547 – 2553 ซึ่งเป็ นเรื่ องไม่เร่ งด่วน และ
จําเป็ นต้องสร้างกลไก และระบบควบคุมมาตรฐานมารองรับ
ภารกิจที่ตอ้ งถ่ายโอนแผนการกระจายอํานาจฯ ได้กาํ หนดไว้ 6 ด้าน คือ
1. ด้านโครงสร้างพื้นฐาน
2. ด้านส่ งเสริ มคุณภาพชีวิต
3. ด้านการจัดระเบียบชุมชน สังคม และการรักษาความสงบเรี ยบร้อย
4. ด้านกวางแผนการส่ งเสริ มการลงทุน พาณิ ชยกรรมและการท่องเที่ยว
5. ด้านการบริ หารจัดการและการอนุ รักษ์ทรัพยากรธรรมชาติสิ่งแวดล้อม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 144
-------------------------------------------------------------------------------
6. ด้านศิลปวัฒนธรรม จารี ต ประเพณี และด้านภูมิปัญญาท้องถิ่น
4.1.3 แผนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ. 2543
แผนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเป็ นแผนที่กาํ หนดกรอบแนวคิดเป้าหมาย และ
แนวทางการกระจายอํานาจ มีสาระสําคัญ ดังนี้
วิสยั ทัศน์การกระจายอํานาจสู่ ทอ้ งถิ่น
ในช่วง 4 ปี แรก (พ.ศ. 2544-2547) ของการถ่ายโอนภารกิจตามกรอบของกฎหมายว่าด้วยการกําหนดแผน
และขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น จะเป็ นช่วงของการปรับปรุ งระบบการ
บริ หารงานภายในขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ราชการบริ หารส่ วนการ และราชการบริ หารส่ วนภูมิภาค รวมทั้ง
การพัฒนายุทธศาสตร์ การสร้างความพร้อมในการรองรับการถ่ายโอนภารกิจ บุคลากรงบประมาณ และทรัพย์สิน
รวมทั้งการแก้ไขกฎหมายที่เกี่ยวข้อง ในส่วนของภารกิจที่ถ่ายโอนจะมีท้ งั การถ่ายโอนให้องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่นอย่างสมบูรณ์และการดําเนินงานร่ วมกันระหว่างองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นด้วยกันเอง และระหว่างองค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิ่นกับหน่วยงานของรัฐ และจะมีบุคลากรจํานวนหนึ่งถ่ายโอนไปปฏิบตั ิงานภายใต้การกํากับดูแล
ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
หลังจากการถ่ายโอนในช่วง 4 ปี แรกสิ้ นสุ ดลงจนถึงระยะเวลาการถ่ายโอนในปี ที่ 10 (พ.ศ. 2548-2553)
ตามกรอบของกฎหมายว่าด้วยการกําหนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นจะ
เป็ นช่วงเปลี่ยนผ่านมีการปรับบทบาทของราชการส่ วนกลาง ราชการบริ หารส่ วนภูมิภาค องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น และภาคประชาชนที่จะเรี ยนรู ้ร่วมกันในการถ่ายโอนภารกิจ มีการปรับกลไกความสัมพันธ์ระหว่างองค์กร
ปกครองส่ วนท้องถิ่นกับราชการบริ หารส่ วนภูมิภาคอย่างกลมกลืน รวมทั้งปรับปรุ งกฎหมายที่เกี่ยวข้อง อันจะทําให้
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นสามารถดําเนินกิจการสาธารณะที่ตอบสนองความต้องการของประชาชนในท้องถิ่นดี
ขึ้น และจะทําให้ประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการบริ หารงานขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น และองค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ่นจะสามารถพัฒนาขีดความสามารถในการดําเนินกิจกรรมได้อย่างมีประสิ ทธิภาพและมีความโปร่ งใส
ในช่วงเวลาหลังจากปี ที่ 10 (พ.ศ.2554 เป็ นต้นไป) ประชาชนในท้องถิ่นจะมีคุณภาพชีวิตที่
ดีข้ ึน สามารถเข้าถึงบริ การสาธารณะได้อย่างทัว่ ถึงและเป็ นธรรม ประชาชนจะมีบทบาทในการตัดสิ นใจ การกํากับ
ดูแลและการตรวจสอบ ตลอดจนการสนับสนุนการดําเนินกิจกรรมขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นอย่างเต็มที่ ใน
ส่ วนองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นจะมีการพัฒนาศักยภาพทางด้านการบริ หารจัดการและการคลังท้องถิ่นที่พ่ งึ ตนเอง
และเป็ นอิสระมากขึ้น ผูบ้ ริ หารและสภาท้องถิ่นจะเป็ นผูม้ ีความรู ้ ความสามารถและมีวิสยั ทัศน์ในการบริ หาร
ราชการบริ หารส่ วนภูมิภาคจะเปลี่ยนบทบาทจากฐานะผูจ้ ดั ทําบริ การสาธารณะเป็ นผูใ้ ห้ความช่วยเหลือทางวิชาการ
และกํากับดูแลการดําเนินงานขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเท่าที่จาํ เป็ นภายใต้ขอบเขตที่ชดั เจน และการปกครอง
ส่ วนท้องถิ่นจะเป็ นการปกครองตนเองของประชาชนในท้องถิ่นอย่างแท้จริ ง
เป้าหมาย
1. ให้มีการถ่ายโอนภารกิจในการจัดบริ การสาธารณะของรัฐให้แก่ องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นตามมาตรา
30 แห่ งพระราชบัญญัติกาํ หนดแผนและขั้นตอนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น พ.ศ.2542
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 145
-------------------------------------------------------------------------------
โดยกําหนดขอบเขตความรับผิดชอบในการให้บริ การสาธารณะของรัฐและขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น และ
ระหว่างองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นด้วยกันเองให้ชดั เจน
2. กําหนดการจัดสรรภาษี และอากร เงินอุดหนุนและรายได้อื่นให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นเพื่อให้
สอดคล้องกับการดําเนินการตามอํานาจและหน้าที่ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นแต่ละประเภทอย่างเหมาะสม

3. การจัดตั้งงบประมาณรายจ่ายประจําปี ในส่ วนที่เกี่ยวข้องกับการจัดบริ การสาธารณะในเขตองค์กร


ปกครองส่ วนท้องถิ่น ให้รัฐจัดสรรเงินอุดหนุนให้เป็ นไปตามความจําเป็ น และความต้องการขององค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ่นนั้น
4. จัดระบบของการถ่ายโอนบุคลากรจากหน่ วยงานของรัฐ เพื่อให้สอดคล้องกับการถ่ายโอนภารกิจ
5. ปรับปรุ งกฎหมายและระเบียบให้สอดคล้องกับการถ่ายโอนอํานาจและหน้าที่
ขอบเขตของการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ให้ดาํ เนินการ ดังนี้
1. รัฐจะกระจายอํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ อํานาจการตัดสิ นใจ อํานาจการบริ หารจัดการทรัพยากร
การเงินการคลัง และบุคลากรให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นประเภทต่างๆ สร้างความพร้อมขององค์กรปกครอง
ส่ วนท้องถิ่น ส่ งเสริ มให้ประชาชนและภาคประชาสังคมมีส่วนร่ วมในการดําเนินงานขององค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่น
2. รัฐจะดําเนิ นการปรับบทบาทของราชการบริ หารส่ วนกลางและราชการบริ หารส่ วนภูมิภาค ปรับ
โครงสร้างภายในขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น ปรับปรุ งกฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้อง
พัฒนาโครงสร้างและกลไกเพื่อสนับสนุนการกระจายอํานาจ รวมทั้งสร้างระบบการติดตามตรวจสอบ
กํากับดูแล และประเมินผลที่มีประสิ ทธิภาพ
3. การถ่ายโอนภารกิจและการจัดแบ่งอํานาจหน้าที่ระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นและระหว่าง
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นด้วยกันเอง
ลักษณะภารกิจการให้บริ การสาธารณที่จะต้องถ่ายโอนใน 4 ปี ได้แก่
1. ภารกิจที่ซ้ าํ ซ้อน เป็ นภารกิจให้บริ การสาธารณะที่กฎหมายกําหนดให้รัฐหรื อองค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่นมีอาํ นาจหน้าที่ในเรื่ องเดียวกัน และองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นได้มีการดําเนินการตามภารกิจนั้นแล้ว
2. ภารกิจที่รัฐจัดทําในเขตองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น เป็ นภารกิจการให้บริ การสาธารณะที่กฎหมาย
กําหนดให้รัฐและองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นมีอาํ นาจหน้าที่แต่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นยังไม่ได้ดาํ เนินการ
หรื อไม่เคยดําเนินการตามภารกิจนั้น
3. ภารกิจที่รัฐจัดทําในเขตองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นและกระทบองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นอื่น เป็ น
ภารกิจการให้บริ การสาธารณะที่รัฐดําเนินการในเขตพื้นที่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นหนึ่งและมีผลกระทบเกิด
ขึ้นกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นอื่น
4. ภารกิจตามนโยบาลรัฐบาล ถ้าองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นใดยังไม่พร้อมให้ขยายเวลาเตรี ยมความพร้อม
ได้ภายใน 10 ปี โดยองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นต้องทําแผนเตรี ยมความพร้อม และราชการบริ หารส่ วนการและ
ราชการบริ หารส่ วนภูมิภาคให้การสนับสนุนแนะนําด้านการบริ หารจัดการและเทคนิควิชาการ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 146
-------------------------------------------------------------------------------
4.1.4 แผนการกระจายอํานาจให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2551 มีสาระสําคัญ
ดังนี้เป้าหมาย
1. ถ่ายโอนภารกิจของหน่วยงานของรัฐเป็ นหลัก โดยถ่ายโอนให้กบ ั อปท. ที่มีความพร้อมให้แล้วเสร็ จ
ภายในปี พ.ศ. 2553
2. ให้ อปท. มีรายได้ที่เพียงพอกับรายจ่ายตามอํานาจหน้าที่ที่มีอยูเ่ ดิมและที่รับการถ่ายโอน
3. การจัดสรรเงินอุดหนุนให้ อปท. สอดคล้องกับการจัดบริ การสาธารณะของ อปท.
4. การถ่ายโอนบุคลากรมีรูปแบบที่หลากหลายและสอดคล้องกับการถ่ายโอนภารกิจ
5. มีการแก้ไขกฎหมายที่สอดคล้องกับการถ่ายโอนภารกิจ
ขอบเขตของการกระจายอํานาจ
1.กระจายอํานาจหน้าที่ความรับผิดชอบ อํานาจการตัดสิ นใจ อํานาจการบริ หารจัดการทรัพยากรการเงิน
การคลัง และบุคลากร ให้แก่ อปท. ประเภทต่างๆ
2. สร้างความพร้อมและส่ ง เสริ มให้ประชาชนและภาคประชาสังคมมีส่วนร่ วมใน การดําเนิ นงานของ
อปท.
แนวทางการกระจายอํานาจให้แก่ อปท.
1. ถ่ายโอนภารกิจและการจัดแบ่งอํานาจหน้าที่ระหว่างรัฐกับองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น และระหว่าง
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นด้วยกันเองให้เป็ นไปตามมาตรา ๓๐ แห่ง พ.ร.บ. กําหนดแผนฯ
2. หลักการทัว่ ไปในการถ่ายโอนภารกิจ ยึดภารกิจของรัฐเป็ นหลัก
รู ปแบบการถ่ายโอนภารกิจ
1. ภารกิจที่ อปท. ดําเนิ นการเอง
2. ภารกิจที่ อปท. ซื้ อบริ การจากภาคเอกชน ส่ วนราชการ หน่ วยงานของรัฐ หรื อ อปท. อื่น
3. ภารกิจที่ อปท. ร่ วมดําเนินการกับ อปท. อื่น หรื อสหการ
4. ภารกิจที่ อปท. ดําเนิ นการร่ วมกับรัฐ (Share Function)
5. ภารกิจที่รัฐยังคงดําเนิ นการอยูแ่ ต่ อปท. สามารถดําเนิ นการ
6. ภารกิจสัมปทาน คือ ภารกิจที่มีการมอบอํานาจให้เอกชนดําเนิ นการ โดย อปท. เป็ นผูค้ วบคุม
4.1.5 ผลการดําเนิ นงาน
ในปัจจุบนั หน่วยงานส่ วนกลางและส่ วนภูมิภาค ได้ดาํ เนินการถ่ายโอนภารกิจ ให้แก่องค์กรปกครองส่ วน
ท้องถิ่นแล้ว จํานวน 180 ภารกิจ ภารกิจที่ยงั ไม่ถ่ายโอน จํานวน 65 ภารกิจ การถ่ายโอนภารกิจหลาย ๆ กิจกรรมมี
ความล่าช้า บางกิจกรรมประสบปัญหาอุปสรรคมากมาย บางกิจกรรมไม่สามารถกระทําได้ตามเวลาที่กาํ หนด
ก่อให้เกิดผลกระทบในการจัดบริ การสาธารณะให้แก่ประชาชนในท้องถิ่น
4.2 บทบาทขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นในการพัฒนาชุมชน
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น เป็ นองค์กรที่จดั ตั้งขึ้นตามกฎหมายการปกครองท้องถิ่นให้มีอาํ นาจอิสระ
บริ หารในเขตพื้นที่ที่กาํ หนดและมีหน้าที่ดาํ เนินกิจกรรมภายในกรอบที่กฎหมายบัญญัติไว้ เพื่อผลประโยชน์ของรัฐ
และของท้องถิ่นโดยตรง ทั้งนี้ คําว่าองค์กร หมายความถึง คณะบุคคลหรื อบุคคลผูก้ ระทําการในฐานะผูแ้ ทนหรื อใน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 147
-------------------------------------------------------------------------------
นามหน่วยการปกครองท้องถิ่น ซึ่งคณะบุคคลที่มีฐานะเป็ นองค์กร หมายถึง คณะผูบ้ ริ หารหน่วยการปกครอง
ท้องถิ่น และสภาท้องถิ่น ส่ วนบุคคลที่มีฐานะเป็ นองค์กร หมายถึง ผูบ้ ริ หารหน่วยการปกครองท้องถิ่น
4.2.1 ลักษณะสําคัญปกครองส่ วนท้องถิ่น โดยทัว่ ไปมี 5 ประการ คือ
1. เป็ นองค์กรปกครองในชุมชนที่มีขอบเขตพื้นที่การปกครองที่กาํ หนดไว้แน่นอน
2. มีสถานภาพเป็ นนิ ติบุคคลจัดตั้งขึ้นโดยกฎหมาย
3. มีอิสระในการดําเนินกิจกรรมและสามารถใช้ดุลพินิจของตนเองในการวินิจฉัยและการกําหนดนโยบาย
ภายใต้การควบคุมของรัฐ
4. มีการจัดองค์กรเป็ น 2 ฝ่ าย คือ ฝ่ ายบริ หารและฝ่ ายสภา
5. ประชาชนมีส่วนร่ วมในการปกครองโดยการเลือกตั้งคณะผูบ ้ ริ หารและสภาท้องถิ่น การมีส่วนร่ วมใน
การดําเนินกิจกรรม และ การติดตามตรวจสอบการทํางานขององค์กรท้องถิ่น
4.2.2 บทบาทขององค์กรปกรองส่ วนท้องถิ่นในการพัฒนาชุมชน มีดงั นี้
1. ผูด้ าํ เนิ นการพัฒนา เนื่ องจากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นมีความเป็ นอิสระ มีทรัพยากรและมีอาํ นาจที่จะ
ดําเนินการอย่างใดอย่างหนึ่งในการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในเขตความรับผิดชอบ ดังนั้น จึงมีขีดความสามารถที่จะ
แสดงบทบาทของผูด้ าํ เนินการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมภายในพื้นที่ความรับผิดชอบซึ่งหมายถึงการเป็ นหน่วยงาน
ดําเนินการพัฒนาเอง ส่ วนใหญ่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นมักจะให้ความสําคัญกับการแก้ไขปัญหาด้านโครงสร้าง
พื้นฐานทางเศรษฐกิจหรื อด้านการพัฒนาทางกายภาพมากกว่าทางสังคมหรื อการเมือง โครงการกิจกรรมขององค์กร
จึงอยูใ่ นรู ปการก่อสร้างถนน ทางระบายนํ้า อาคารสิ่ งก่อสร้างเป็ นส่ วนใหญ่ มีอยูบ่ า้ งที่เป็ นโครงการประเภทการ
ฝึ กอบรมหรื อการพัฒนาอาชีพ แต่ไม่มากนัก
2. ผูร้ ่ วมมือกับหน่วยงานอื่น ในกรณี ที่มีหน่ วยงานรับผิดชอบเพื่อดําเนิ นกิจกรรมพัฒนานั้นอยูแ่ ล้ว หากแต่
ต้องการความร่ วมมือในบางเรื่ องเพื่อให้สามารถดําเนินการได้โดยรวดเร็ วและถูกต้อง รวมทั้งกรณี ที่การพัฒนา
ดังกล่าวไม่อยูใ่ นอํานาจหน้าที่ขององค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น องค์กรฯ ก็สามารถเข้ามีส่วนร่ วมในการพัฒนาใน
บทบาทของผูร้ ่ วมมือกับหน่วยงานอื่น หมายถึงการให้ความร่ วมมือในลักษณะต่าง ๆ แก่หน่วยงานที่มีหน้าที่
รับผิดชอบ เพื่อให้หน่วยงานดังกล่าวสามารถดําเนินการได้ โดยองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นนั้น ๆ ไม่ตอ้ งเป็ น
หน่วยงานร่ วมดําเนินงานด้วย เช่น ให้ขอ้ มูลที่หน่วยงานรับผิดชอบต้องการทราบเพือ่ ประกอบการวางแผนหรื อ
ดําเนินการ ชี้เบาะแสให้ขอ้ คิดเห็นข้อแนะนํา จัดให้พบกับกลุ่มเป้าหมาย ประสานงานหรื อติดตามผลการดําเนินงาน
ในพื้นที่ที่เกี่ยวข้อง เป็ นต้น อย่างไรก็ตาม หน่วยงานรับผิดชอบ มักจะพยายามสร้างความสัมพันธ์กบั องค์กรที่ให้
ความร่ วมมือในลักษณะ “หุน้ สวนการพัฒนา” โดยยกย่องให้เกียรติในฐานะที่เท่าเทียม รวมทั้งมีการเชิญเข้าร่ วม
รับรู ้ขอ้ มูลข่าวสารการดําเนินงานของหน่วยงานรับผิดชอบ ไม่ใช่ขอความร่ วมมือในลักษณะเป็ นการสัง่ การ
3. ผูส ้ ่ งเสริ มการพัฒนา ในกรณี ที่ภูมิภาคมีประเด็นที่ควรพัฒนา แต่ยงั ไม่มีหน่วยงานใดแสดง
ความรับผิดชอบที่จะดําเนินการ โดยที่ประเด็นการพัฒนาดังกล่าวก็เกินขีดความสามารถขององค์กรท้องถิ่นจะ
ดําเนินการได้ องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นสามารถเข้ามามีส่วนร่ วมในการพัฒนาในบทบาทของการส่ งเสริ มให้มี
การดําเนินการ หมายถึงการให้ขอ้ มูลข่าวสารด้วยวิธีการต่าง ๆ เพื่อชักจูง โน้มน้าวให้ผมู ้ ีอาํ นาจหน้าที่หรื อสังคม
โดยส่ วนรวม เกิดแรงบันดาลใจที่จะดําเนินการกับประเด็นการพัฒนานั้นด้วยวิธีการใดวิธีการหนึ่ง โดยการกระตุน้
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 148
-------------------------------------------------------------------------------
ให้ประเด็นการพัฒนาดังกล่าวเป็ นที่สนใจของสาธารณะ ในลักษณะผลักดันให้กลายเป็ นกระแสของสังคมหรื อ
ชี้ให้เห็นว่าเรื่ องนั้น ๆ เป็ นประเด็นของสังคมที่หน่วยงานต่าง ๆ หรื อผูบ้ ริ หารที่มีอาํ นาจสัง่ การต้องหันมาให้ความ
สนใจ หรื อคนในสังคมต้องร่ วมกันดําเนินการ
4. ผูส ้ นับสนุนการพัฒนา เป็ นบทบาทที่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นมีส่วนร่ วมในการพัฒนาที่มีหน่วยงาน
รับผิดชอบดําเนินการอยู่ แต่องค์กรฯ เห็นว่าแนวทางการทํางานของหน่วยงานดังกล่าวเป็ นประโยชน์ จึงเข้าร่ วมโดย
การสนับสนุนแนวทางการพัฒนานั้น ด้วยการช่วยเผยแพร่ กระจายข่าวให้ผทู ้ ี่อยูใ่ นพื้นที่เขตรับผิดชอบทราบและให้
ความร่ วมมือหรื อสนับสนุนงบประมาณให้หน่วยงานนั้นสามารถดําเนินกิจกรรมดังกล่าวได้มีประสิ ทธิภาพยิง่ ขึ้น
หรื อสนับสนุนบุคลากรเจ้าหน้าที่เข้าร่ วมดําเนินงานด้วย เช่น การสนับสนุนงบประมาณขององค์การเอกชนให้
หน่วยงานของรัฐจัดทําเอกสารเผยแพร่ ความรู ้ที่เป็ นประโยชน์ต่อประชาชน หรื อการสนับสนุนงบประมาณของ
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นให้หน่วยงานของรัฐจัดฝึ กอบรมเป็ นต้น
5. การดาเนินการพัฒนาชุ มชนทีผ ่ ่านมา ปัญหาอุปสรรค แนวโน้ มในอนาคต
5.1 กลไกการบริ หารการพัฒนาชนบทในอดีต
การประสานงานของส่ วนราชการของรัฐในการพัฒนาชนบท เป็ นไปตามระบบการบริ หารการพัฒนา
ชนบท ซึ่งเริ่ มเมื่อ พ.ศ. 2524 โดยรัฐบาลได้ออกระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยการบริ หารการพัฒนาชนบท
(กชช.) เพื่อรองรับการดําเนินงานพัฒนาที่เน้นการยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชนบทเป็ นสําคัญ ซึ่งได
ดําเนินการเรื่ อยมาจนถึง พ.ศ. 2535 จึงได้มีการเพิ่มเติมแนวทางการกระจายความเจริ ญไปสู่ ภูมิภาคควบคู่กบั แนว
ทางการพัฒนาที่ได้ดาํ เนินการอยูแ่ ล้ว ต่อมาพบว่าการกระจายความเจริ ญไปสู่ ภูมิภาคในช่วงที่ผา่ นมายังมีปัญหา
หลักๆ เกิดขึ้นหลายประการได้แก่ ช่องว่างของรายได้ระหว่างเมืองกับชนบท แรงงานชนบทยังคงหลัง่ ไหลเข้า
กรุ งเทพมหานคร อุตสาหกรรมที่ใช้แรงงานสู ง ที่ต้ งั อยูใ่ นเขตกรุ งเทพมหานคร ประสบปัญหาด้านการแข่งขัน ควร
จะโยกย้ายไปอยูใ่ นภูมิภาคที่มีแรงงานพอเพียง
รัฐบาลได้มีนโยบายหลักที่เกี่ยวข้องกับการกระจายความเจริ ญไปสู่ ภูมิภาคและท้องถิ่น และดําเนินการมา
อย่างต่อเนื่องโดยตลอดจนถึงปี พ.ศ. 2539 จึงได้มีการปรับปรุ งระเบียบกชช.ภ.เดิมเป็ นระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี
ว่าด้วยการบริ หารการพัฒนาเพื่อกระจายความเจริ ญไปสู่ภูมิภาคและท้องถิ่น (กนภ.) เพื่อให้การพัฒนาที่ดาํ เนินการ
อยูค่ รอบคลุมถึงองค์กรท้องถิ่นที่ได้มีการจัดตั้งขึ้นตามกฎหมายต่างๆ และให้นโยบายของรัฐบาลทุกเรื่ องที่เกี่ยวข้อง
กับการกระจายความเจริ ญไปสู่ ภูมิภาคและท้องถิ่นได้ดาํ เนินการอย่างเป็ นระบบสอดคล้องกันและเป็ นเอกภาพ
กนภ. ได้มีความพยายามในการกระจายความเจริ ญไปสู่ ภูมิภาคและท้องถิ่นอย่างต่อเนื่องมาโดยตลอด ซึ่งมุ่งเน้นการ
เสริ มสร้างความเข้มแข็งให้แก่ชุมชนและประชาชนในระยะยาวภายใต้ภาวะวิกฤตเศรษฐกิจที่เผชิญอยู่ โดยเน้นการ
พัฒนาคนและสังคมเพื่อลดผลกระทบจากวิกฤตเศรษฐกิจและการปรับระบบบริ หารจัดการเพื่อการพัฒนาประเทศ
5.2 กลไกการบริ หารการพัฒนาชนบทในปั จจุบน ั
เพื่อให้การพัฒนาชนบทเกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ด รัฐบาลจึงได้ปรับระบบการบริ หารงานโดยเฉพาะอย่างยิง่
การบริ หารงานในระดับพื้นที่ ได้แก่ จังหวัด ซึ่งเป็ นหน่วยงานเชิงยุทธศาสตร์ภาครัฐในระดับพื้นที่ ให้มีศกั ยภาพ
และสมรรถภาพสู ง สามารถประสานและกํากับดูแลการปฏิบตั ิราชการของทุกส่ วนราชการรัฐวิสาหกิจและ
หน่วยงานอื่นของรัฐ และส่ งเสริ มสนับสนุนองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่นและชุมชนในพื้นที่ให้สามารถริ เริ่ ม แก้ไข
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 149
-------------------------------------------------------------------------------
ปัญหาและพัฒนาพื้นที่ของตนเอง รวมทั้งส่ งเสริ มให้เกิดระบบงานที่มีกระบวนการสร้างความเห็นพ้องต้องกันของ
ทุกภาคส่ วนในสังคม เพื่อให้ประชาชนได้รับบริ การด้วยความรวดเร็ ว มีประสิ ทธิภาพมีประชาชนเป็ นศูนย์กลาง
และมีผรู ้ ับผิดชอบที่ชดั เจนในการบริ หารราชการในระดับพื้นที่จึงมี ระเบียบสํานักนายกรัฐมนตรี ว่าด้วยระบบการ
บริ หารงานจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ. 2546 ขึ้น และได้มีการปรับปรุ งให้เป็ นไปตามเจตนารมยณ์ของรัฐธรรมนูญ
พ.ศ.2550 ซึ่งมีส่วนสําคัญทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงต่อระบบการจัดทํางบประมาณของประเทศ ที่แต่เดิมเป็ นการ
ตั้งงบประมาณที่เกิดจากฐานของหน่วยงานระดับกรมเป็ นหลักมาสู่ การกระจายอํานาจไปยังจังหวัดและกลุ่มจังหวัด
จึงได้กาํ หนดพระราชกฤษฎีกาว่าด้วยการบริ หารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ พ.ศ.2551 โดยมี
สาระสําคัญ ดังนี้
5.2.1 แนวคิดเกี่ยวกับระบบการบริ หารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
- ยึดพื้นที่เป็ นหลักในการพัฒนาเพื่อกระจายการพัฒนาและ ลดความเหลื่อมลํ้าของความเจริ ญเติบโต
ระหว่าง พื้น ที่ต่าง ๆ ในประเทศแบ่งเป็ น 18 กลุ่มจังหวัดและ 75 จังหวัด(กลุ่มจังหวัดเน้นยุทธศาสตร์เรื่ องการสร้าง
ขีดความสามารถ (competitiveness) จังหวัดเน้นยุทธศาสตร์เรื่ องพัฒนาสงคม รวมถึงการสร้างโอกาสและอาชีพ)
- ต้องการให้แต่ละพื้นที่มีตาํ แหน่ ง(position) ในการพัฒนาที่ชด ั เจน และผ่านการเห็นชอบร่ วมกันทุกฝ่ าย
เพื่อให้เกิดความยัง่ ยืนและร่ วมมือร่ วมใจกัน
- การจัดการความสัมพันธ์แนวดิ่งระหว่างส่ วนกลาง ส่ วนภูมิภาค ส่ วนท้องถิ่น
- การจัดการความสัมพันธ์แนวนอนระหว่างภาครัฐและภาคส่ วนอื่นในสังคม (ภาคเอกชน และภาคประชา
สังคม)
- กําหนดให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัด เป็ นตัวเชื่อมโยง (linkage) ฝ่ ายต่างๆ เข้าด้วยกัน
5.2.2 องค์กรกํากับและดําเนิ นการการบริ หารงานจังหวัดแบบบูรณาการ
1. ระดับชาติ กําหนดให้มีคณะกรรมการนโยบายการบริ หารงานจังหวัดและกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ
(กนจ.) โดยมีนายกรัฐมนตรี เป็ นประธาน และเลขาธิการคณะกรรมการพัฒนาระบบราชการ(ก.พ.ร.) เป็ นกรรมการ
และเลขานุการ มีอาํ นาจหน้าที่ที่สาํ คัญ คือ กําหนดกรอบนโยบาย วางระบบ แนวทางมาตรการในการบริ หารงาน
จังหวัดแบบบูรณาการ พิจารณา กลัน่ กรอง และให้ความเห็นชอบแผนพัฒนา
2. ระดับกลุ่มจังหวัด มีคณะกรรมการบริ หารกลุ่มจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.ก.) โดยมีหวั หน้ากลุ่มจังหวัด
เป็ นประธาน ข้าราชการในสังกัดกระทรวงมหาดไทยที่ปลัดกระทรวงมหาดไทยแต่งตั้ง เป็ นกรรมการและ
เลขานุการ มีอาํ นาจหน้าที่สาํ คัญ คือ จัดทําแผนพัฒนากลุ่มจังหวัด ส่ งเสริ มประสานความร่ วมมือการพัฒนาระหว่าง
ภาครัฐ ภาคประชาสังคม และภาคธุรกิจเอกชน และแก้ไขปัญหาภายในกลุ่มจังหวัดและระหว่างกลุ่มจังหวัดเพื่อให้
การพัฒนาเป็ นไปตามแผนพัฒนาจังหวัดอย่างยัง่ ยืน
3. ระดับจังหวัด กําหนดให้มีคณะกรรมการบริ หารงานจังหวัดแบบบูรณาการ (ก.บ.จ.)โดยมีผวู ้ า่ ราชการ
จังหวัด เป็ นประธาน หัวหน้าสํานักงานจังหวัด เป็ นกรรมการและเลขานุการ มีอาํ นาจหน้าที่สาํ คัญ คือ จัดทํา
แผนพัฒนาจังหวัด ส่ งเสริ มประสานความร่ วมมือการพัฒนาระหว่างภาครัฐ ภาคประชาสังคมและภาคธุรกิจเอกชน
เพื่อสร้างบรรยากาศให้เอื้ออํานวยต่อการลงทุน และชักชวนภาคธุรกิจเอกชนมาลงทุนในจังหวัด
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 150
-------------------------------------------------------------------------------
5.3 ผลกระทบการพัฒนาประเทศที่ผา่ นมาและปั ญหาอุปสรรคผลการสัมมนาทางวิชาการเหลียวหลังแล
หน้ายีส่ ิ บปี เศรษฐกิจสังคมไทยซึ่งจัดโดยสถาบันวิจยั เพื่อการพัฒนาประเทศไทย (TDRI) สรุ ปได้ ดังนี้
5.3.1 ผลจากนโนบายทางเศรษฐกิจที่ผา่ นมา นโยบายการส่ งออก ในระยะแรกเน้นการควบคุมการส่ งออก
อย่างเคร่ งครัดโดยใช้กาํ แพงภาษี และส่ งเสริ มอุตสาหกรรมแทนการนําเข้า แต่ระยะต่อมาการควบคุมผ่อนคลายลงมี
การส่ งเสริ มการส่ งออกมากขึ้น
นโยบายด้านการเงิน การลดค่าเงินบาท ราคาสิ นค้าการเกษตรตกตํ่า แรงงานภาคเกษตรเคลื่อนย้ายไปสู่
ภาคอุตสาหกรรม ประกอบกับค่าเงินดอลลาร์ตกตํ่าค่าเงินเย็นสู งทําให้ภาคอุตสาหกรรมเคลื่อนย้ายฐานการผลิตมาสู่
ประเทศไทยนโยบายการส่ งเสริ มการลงทุน ส่ งเสริ มการแข่งขันและการลงทุนที่มีผลต่อการฟื้ นตัวทางเศรษฐกิจ
1. ผลการพัฒนาที่ผา่ นมา ความสําคัญภาคเกษตรลดลง อุตสาหกรรมส่ งออกขยายตัวทําให้ค่าแรงสู งขึ้น
กฎหมายแรงงานถูกบังคับใช้ ความเป็ นชนบทลดลง ชีวติ คนในชนบทดีข้ ึน ในด้านบริ การต่าง ๆ ดีข้ ึน เช่น บริ การ
การแพทย์ ไฟฟ้า ชลประทาน การคมนาคม ความแตกต่างทางด้านรายได้ของคนในเมืองและชนบทเพิ่มสู งขึ้น แต่
ความแตกต่างด้านการบริ โภคและบริ การน้อยลง
2. การเปลี่ยนแปลงของคนไทยและสภาพแวดล้อม
5.3.2 การเปลี่ยนแปลงของคนไทย
1. ด้านโครงสร้างประชากร อัตราการเกิดการตายของทารกลดลง อายุขยั เฉลี่ยของประชากรเพิ่มขึ้น
ประชากรวัยทํางานอายุ 23 – 45 ปี มากขั้น อีก 6 ปี ข้างหน้าสัดส่ วนประชากรวัยทํางานเพิ่มขึ้นหลังจากนั้นจะ
ลดลงประเทศไทยจะเข้าสู่ สงั คมผูส้ ู งอายุ ปัญหาแรงงานต่างด้าวจะส่ งผลต่อสภาพความเป็ นอยูข่ องคนไทย
2. ด้านสุ ขภาพ ประชาชนเข้าถึงบริ การมากขึ้นแต่ยงั มีความเหลื่อมลํ้าระหว่างคนในเมืองกับชนบทแต่
ปัญหาสุ ขภาพจิตและพฤติกรรมเสี่ ยงต่อสุ ขภาพมีมากขึ้น มีความพยายามในการปฏิรูประบบสุ ขภาพเน้นการ
ป้องกันมากกว่ารักษา แนวโน้มในอนาคตสุ ขภาวะคนไทยจะดีข้ ึน ประเทศไทยจะเป็ นศูนย์กลางทางด้านสุ ขภาพแต่
ก็ตอ้ งเผชิญกับปัญหาการป้องกันโรคที่มาจากการท่องเที่ยว เช่น โรค SARS ไข้หวัดนก
3. ด้านศีลธรรมและจิตใจ สังคมไทยเข้าสู่ ลท ั ธิบริ โภคนิยมเต็มขั้น วัตถุนิยม ละเลยด้านศีลธรรม ขาด
จิตสํานึกสาธารณะ บทบาทสถาบันสงฆ์อ่อนแอ และมีขอ้ จํากัดในการพัฒนา ศีลธรรม แนวโน้มในอนาคต ระบบ
คุณค่าจริ ยธรรม ศีลธรรมจะไม่ดีข้ ึน คุณค่าด้านวัตถุนิยม บริ โภคนิยมยังไมชัดเจนว่าจะเปลี่ยนไปในทางที่ดีข้ ึน
4. ด้านการศึกษา จํานวนปี การศึกษาของคนไทย เฉลี่ยเพิม ่ ขึ้นเป็ น 7 – 8 ปี จํานวนนักเรี ยนสายอาชีวะ
ลดลงจะทําให้ขาดแคลนแรงงานระดับกลางคุณภาพการศึกษาด้อยลงความรู ้ทางคณิ ต-วิทย์ และภาษาอังกฤษและ
IT อยูใ่ นระดับตํ่า คนไทยเลือกเรี ยนสายสังคมมากกว่าสายวิทยาศาสตร์ และเทคโนโลยีแนวโน้มในอนาคต จํานวน
ปี การศึกษาจะเพิ่มขึ้นคุณภาพการศึกษาจะดีข้ ึน การศึกษาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีมีแนวโน้มสู งขึ้นโอกาส
การเรี ยนรู ้ดีข้ นึ แต่จะมีความเหลื่อมลํ้าจากการใช้เทคโนโลยีเพื่อการเรี ยนรู ้
5.3.3 การเปลี่ยนแปลงทางสังคมและแนวโน้มสังคมไทยใน 20 ปี ข้างหน้า
- โลภาภิวตั น์ และการขยายตัวทางเศรษฐกิจจะกระทบต่อชุมชน
- ประชากรส่ วนใหญ่อยูใ่ นสังคมเมือง
- ชนชั้นกลางกลายเป็ นประชาชนกลุ่มใหญ่ของประเทศ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 151
-------------------------------------------------------------------------------
- ประชาชนใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (ICT) อย่างกว้างขวาง
- สิ่ งแวดล้อมถูกทําลาย เปลี่ยนบริ บทของภูมิปัญญาชุมชน
- คนมีแนวโน้มเป็ นปั จเจกเพิ่มขึ้น กิจกรรม/พื้นที่ส่วนรวม (Public Space) น้อยลง
- ต้องมีนวัตกรรมทางสังคมเพิ่มขึ้นเพื่อการติดต่อสัมพันธ์ เช่น นวัตกรรมการมีส่วนร่ วม(ประชาพิจารณ์
ประชามติ) นวัตกรรมระบบยุติธรรมชุมชน และยุติธรรมเชิงสมานฉันท์
5.3.4 การเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
- บทเรี ยนจากอดีต ผลกระทบจากภายนอก เช่น วิกฤตการณ์น้ าํ มัน วิกฤตเศรษฐกิจ ทําให้ตอ้ งหันมาให้
ความสนใจในการบริ หารจัดการความเสี่ ยงที่มีปัจจัยมาจากภายนอก มีการปรับโครงสร้างทางเศรษฐกิจ แรงงานภาค
เกษตรเคลื่อนยายไปสู่ภาคอุตสาหกรรม
- แนวโน้มในอนาคต ระบบเศรษฐกิจจะขยายตัวในระดับปานกลางร้อยละ 5 – 7 แต่จะมีความเสี่ ยงจาก
ต่างประเทศ ได้แก่ ความไม่สมดุลของระบบการเงินโลกและอัตราแลกเปลี่ยน การเชื่อมโยงและการแข่งขันทาง
การค้าอย่างรุ นแรงทั้งในระบบทวิภาคี ภูมิภาคและพหุภาคี และจะส่ งผลต่อราคานํ้ามันและเศรษฐกิจไทย ภาค
เกษตรจะมีแรงงานน้อยลงอายุมากขึ้น ความเหลื่อมลํ้าทางสังคมลดลง ความขัดแย้งในสังคมที่บานปลายจะมี
ผลกระทบต่อระบบเศรษฐกิจ เทคโนโลยีจะช่วยสาขาเศรษฐกิจไทยให้มีศกั ยภาพ เช่นอาหาร ยา การท่องเที่ยว
5.4 แนวโน้มการพัฒนาชุมชนในอนาคต
ทิศทางการพัฒนาชนบทในอนาคต ซึ่งต้องมุ่งเน้นการพัฒนาเพื่อให้เกิดความสมดุลและยัง่ ยืนโดยการ
กระจายอํานาจ การส่ งเสริ มให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วม จัดทําระบบฐานข้อมูล มีการประสานงานระหว่างรัฐ
และท้องถิ่น สร้างองค์ความรู ้ดา้ นการพัฒนาพื้นที่ให้แก่ประชาชน เพิม่ ศักยภาพให้แก่องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
พัฒนาพื้นที่ตามศักยภาพที่ไม่เหมือนกัน โครงการพัฒนาขนาดใหญ่ที่ประชาชนได้รับผลกระทบประชาชนต้องมี
ส่ วนร่ วมในการตัดสิ นใจ โดยมีทิศทางการพัฒนาชนบทในอนาคต ในมิติต่างๆ ดังนี้
5.4.1 การพัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง เศรษฐกิจพอเพียง คือ การวางรากฐานอัน
มัน่ คงและยัง่ ยืนของชีวิตเมื่อวันเฉลิมพระชนมพรรษา ปี 2541 ได้ทรงมีพระมหากรุ ณาธิคุณอธิบายเพิ่มเติมถึงคําว่า
“พอเพียง” หมายถึง “พอมีพอกิน” “...พอมีพอกินก็แปลว่า เศรษฐกิจพอเพียงนัน ่ เองถ้าแต่ละคนมีพอกินก็ใช้ได้ ยิง่
ถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยงิ่ ดี...” “...ฉะนั้นความพอเพียงนี้กแ็ ปลว่า ความพอประมาณและความมีเหตุผล...”
เศรษฐกิจพอเพียง หมายถึง เศรษฐกิจที่สามารถอุม้ ชูตวั เอง(Relative Lilf - Sufficiency) อยูไ่ ด้โดยมีตอ้ ง
เดือดร้อน โดยต้องสร้างพื้นฐานทางเศรษฐกิจของตนเองให้ดีเสี ยก่อน คือตั้งตัวให้มีความพอกินพอใช้ไม่มุ่งหวังแต่
จะทุ่มสร้างความเจริ ญยกเศรษฐกิจให้รวดเร็ วแต่เพียงอย่างเดียว เพราะผูท้ ี่มีอาชีพและฐานะเพียงพอที่จะพึ่งตนเอง
การพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียง สําหรับเกษตรกรนั้นมีการปฏิบตั ิตามขั้นตอน “ทฤษฎีใหม่” ของ
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั รัชกาลที่ 9. ซึ่งประกอบด้วย 3 ขั้น คือ
ขั้นที่ 1 ผลิตเพื่อใช้บริ โภคในครัวเรื อน ในระดับชีวิตที่ประหยัด ทั้งนี้ตอ้ งมีความสามัคคีในท้องถิ่น
ขั้นที่ 2 รวมกลุ่ม เพื่อการผลิต การตลาด ความเป็ นอยู่ สร้างสวัสดิการ การศึกษา สังคมและศาสนา
ขั้นที่ 3 ร่ วมมือกับองค์กรภายนอกในการทําธุรกิจและพัฒนาคุณภาพชีวิต ทั้งนี้ทุกฝ่ ายต้อง
ได้รับประโยชน์
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 152
-------------------------------------------------------------------------------
การพัฒนาชนบทในลักษณะเศรษฐกิจพอเพียง จึงเป็ นการใช้ “คน” เป็ นเป้าหมายและเน้น“การพัฒนาแบบ
องค์รวม” หรื อ “การพัฒนาแบบบูรณาการ” ทั้งด้านเศรษฐกิจ จิตใจ สังคม วัฒนธรรมสิ่ งแวดล้อม การเมือง ฯลฯ
โดยใช้ “พลังทางสังคม” ขับเคลื่อนกระบวนการพัฒนาในรู ปของกลุ่ม เครื อข่ายหรื อประชาสังคม กล่าวคือเป็ นการ
ผนึกกําลังทุกฝ่ ายในลักษณะ “พหุภาคี” ประกอบด้วยภาครัฐ ภาคเอกชน และภาคประชาชน
5.4.2 การพัฒนาการเมืองไปสู่ ประชาธิ ปไตยพหุ นิยม ในอนาคตทิศทางการเมืองไทยจะปรับเปลี่ยนจาก
ระบบอํามาตยาธิปไตย (Bureaucrative Polity) ไปสู่ ประชาธิปไตยพหุนิยม (PluralisticDemocracy) อัน
หมายถึง ระบบประชาธิปไตยที่เปิ ดโอกาสให้กลุ่มต่างๆ ในสังคมแข่งขันและสับเปลี่ยนขึ้นมามีอาํ นาจโดยไม่เปิ ด
โอกาสให้กลุ่มหนึ่งมีการผูกขาดในเชิงอํานาจ
ระบบอํามาตยาธิปไตยเป็ นระบบการเมืองไทยที่มีการฝังรากลึกมาเป็ นเวลาหลายทศวรรษระบบดังกล่าว
เป็ นระบบที่แสดงถึงความยิง่ ใหญ่ของข้าราชการอันเป็ นผลมาจากการผูกขาดอํานาจของข้าราชการไทยในสังคม
เพราะกลุ่มข้าราชการในอดีตเป็ นกลุ่มที่มีการจัดตั้งอย่างเป็ นระบบมาก่อนกลุ่มอื่นๆ
การขยายตัวของกลุ่มต่าง ๆ ทางสังคมซึ่งมีอาํ นาจต่อรองมากขึ้น โดยจะลดบทบาทการครอบงําของ
ข้าราชการจะส่ งผลให้ความพยายามในการที่จะก่อรัฐประหารลดความถี่ลง และหมดสิ้ นไปในที่สุดเมื่อโครงสร้าง
อํานาจระหว่างกลุ่มต่าง ๆ มีการถ่วงดุลพอดี จะส่ งผลให้ความพยายามที่จะให้มีการปกครองเป็ นระบบเผด็จการดัง
ในอดีต เป็ นไปได้ยากและหมดสิ้ นไปในระยะยาว ในการเปลี่ยนแปลงดังกล่าวของการเมืองไทยในอนาคต ย่อม
หมายถึง การสิ้ นสุ ดของแนวคิดที่วา่ ด้วยอํามาตยาธิปไตยอันเป็ นลักษณะของการระบบประชาธิไตยพหุนิยม
(Pluralistic Democracy) ในอนาคตระยะยาว ทิศทางการเมืองไทยขณะนี้จึงเป็ นช่วงแห่งรอยต่อ (Transition)
ระหว่างระบบอํามาตยาธิปไตยและระบบประชาธิปไตยพหุนิยม
บทสรุป
การพัฒนาชุมชนของประเทศไทย ตั้งแต่อดีต – ปัจจุบนั แนวคิด รู ปแบบ วิธีการในแต่ละช่วง สัมพันธ์
สอดคล้องและอยูภ่ ายใต้แนวคิดหลักของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับต่าง ๆ ผล กระทบที่เกิดกับ
ชนบท จึงไม่เป็ นผลเฉพาะกิจกรรมการพัฒนาชนบทเท่านั้น แต่ชนบทได้รับผลกระทบโดยตรงจากผลรวมของการ
พัฒนาประเทศ ทั้งจากนโยบายทั้งด้านเศรษฐกิจไม่วา่ จะเป็ นนโยบายการส่ งออก การเงิน การลงทุนนโยบายด้าน
สังคมและอื่น ๆ ซึ่งล้วนก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงของ “คน” และ “สิ่ งแวดล้อม” ชนบทในหลาย ๆมิติ ซึ่งทําให้
ชนบทกับการเมืองมีวิถีชีวิตที่ใกล้เคียงกันทั้ง ๆ ที่ดา้ นเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรมแตกต่างกัน
ทิศทางการพัฒนาชนบทไทยในอนาคต ต้องหันมามุ่งเน้นการพัฒนาเพื่อให้เกิดความสมดุลและยัง่ ยืนมีการ
พัฒนาเศรษฐกิจบนพื้นฐานแนวคิด เศรษฐกิจพอเพียง คือ ความพอประมาณ (Moderation) ความมีเหตุผล
(Reasonableness) และการมีภูมิคุม้ กันที่ดี (Self – immunity) มีการกระจายอํานาจทั้งการกระจายอํานาจให้แก่
องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น และกระจายอํานาจให้กบั ประชาชน ส่ งเสริ มให้ภาคประชาชนเข้ามามีส่วนร่ วมในการ
บริ หารการพัฒนาชนบททุกขั้นตอน มีการประสานงานระหว่างภาครัฐและท้องถิ่นอย่างเป็ นระบบ รวมทั้งมีการ
ประสานงานที่ดีระหว่างหน่วยงานภาครัฐ โดยพัฒนาปัจจัยสําคัญของความสําเร็ จในการประสานงาน คือ ภาวะผูน้ าํ
(Leadership) และการปรับเปลี่ยนวัฒนธรรมการทํางานที่ยดึ Agenda basedและ Area based เพื่อให้ภารกิจ
สําเร็ จภายใต้วฒั นธรรมการบริ หารงานแนวใหม่ที่ยดึ ประชาชนเป็ นศูนย์กลาง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 153
-------------------------------------------------------------------------------
หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง ประกอบไปด้วย 5 ส่ วน ดังนี้
ส่ วนที่ 1. กรอบแนวคิด
เป็ นปรัชญาที่ช้ ีแนะแนวทางการดํารงอยู่ และปฏิบตั ิตนในทางที่ควรจะเป็ น โดยมีพ้นื ฐานมาจากวิถีชีวิต
ดั้งเดิมของสังคมไทย สามารถนํามาประยุกต์ใช้ได้ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยู่
ตลอดเวลา และเป็ นการมองโลกเชิงระบบที่มีการเปลี่ยนแปลงอยูต่ ลอดเวลา มุ่งเน้นการรอดพ้นจากภัย และวิกฤต
เพื่อความมัน่ คง และความยัง่ ยืนของการพัฒนา
ส่ วนที่ 2. คุณลักษณะ
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนํามาประยุกต์ใช้กบั การปฏิบตั ิตนได้ในทุกระดับ โดยเน้นการปฏิบตั ิบนทางสาย
กลาง และการพัฒนาอย่างเป็ นขั้นตอน
ส่ วนที่ 3. คานิยาม
ความพอเพียงจะต้องประกอบด้วย 3 คุณลักษณะ ดังนี้
ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไป และไม่มากเกินไปโดยไม่เบียดเบียนตนเอง และผูอ้ ื่น
เช่นการผลิต และการบริ โภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ
ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับของความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่างมีเหตุผล โดย
พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้องตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้น ๆ อย่างรอบคอบ
การมีภูมิคุม้ กันที่ดีในตัว หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบ และการเปลี่ยนแปลงด้านต่าง ๆ ที่จะ
เกิดขึ้นโดยคํานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ ต่าง ๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคตทั้งใกล้ และไกล
ส่ วนที่ 4. เงื่อนไข
การตัดสิ นใจและการดําเนินกิจกรรมต่าง ๆ ให้อยูใ่ นระดับพอเพียงนั้น ต้องอาศัยทั้งความรู ้ และคุณธรรม
เป็ นพื้นฐาน 2 เงื่อนไข ดังนี้
เงื่อนไขความรู ้ ประกอบด้วย ความรอบรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องอย่างรอบด้าน ความรอบคอบที่
จะนําความรู ้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผน และความระมัดระวังในขั้นปฏิบตั ิ
เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้างประกอบด้วย มีความตระหนักในคุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริ ต และมี
ความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดําเนินชีวิต
ส่ วนที่ 5. แนวทางปฏิบัติ / ผลที่คาดว่ าจะได้ รับ
จากการนําปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงมาประยุกต์ใช้ คือ การพัฒนาที่สมดุล และยัง่ ยืน พร้อมรับต่อการ
เปลี่ยนแปลงในทุกด้าน ทั้งด้านเศรษฐกิจ สังคม สิ่ งแวดล้อม ความรู ้ และเทคโนโลยี
จุดเริ่มต้ นแนวคิดเศรษฐกิจพอเพียง
ผลจากการใช้แนวทางการพัฒนาประเทศไปสู่ ความทันสมัย ได้ก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงแก่สงั คมไทย
อย่างมากในทุกด้าน ไม่วา่ จะเป็ นด้านเศรษฐกิจ การเมือง วัฒนธรรม สังคมและสิ่ งแวดล้อม อีกทั้งกระบวนการ
ของความเปลี่ยนแปลงมีความสลับซับซ้อนจนยากที่จะอธิบายใน เชิงสาเหตุและผลลัพธ์ได้ เพราะการเปลี่ยนแปลง
ทั้งหมดต่างเป็ นปัจจัยเชื่อมโยงซึ่งกันและกัน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 154
-------------------------------------------------------------------------------
สําหรับผลของการพัฒนาในด้านบวกนั้น ได้แก่ การเพิ่มขึ้นของอัตราการเจริ ญเติบโตทางเศรษฐกิจ ความ
เจริ ญทางวัตถุ และสาธารณูปโภคต่างๆ ระบบสื่ อสารที่ทนั สมัย หรื อการขยายปริ มาณและกระจายการศึกษาอย่าง
ทัว่ ถึงมากขึ้น แต่ผลด้านบวกเหล่านี้ส่วนใหญ่กระจายไปถึงคนในชนบท หรื อผูด้ อ้ ยโอกาสในสังคมน้อย แต่วา่
กระบวนการเปลี่ยนแปลงของสังคมได้เกิดผลลบติดตามมาด้วย เช่น การขยายตัวของรัฐเข้าไปในชนบท ได้ส่งผล
ให้ชนบทเกิดความอ่อนแอในหลายด้าน ทั้งการต้องพึ่งพิงตลาดและพ่อค้าคนกลางในการสัง่ สิ นค้าทุน ความเสื่ อม
โทรมของทรัพยากรธรรมชาติ ระบบความสัมพันธ์แบบเครื อญาติ และการรวมกลุ่มกันตามประเพณี เพื่อการจัดการ
ทรัพยากรที่เคยมีอยูแ่ ต่เดิมแตก สลายลง ภูมิความรู ้ที่เคยใช้แก้ปัญหาและสัง่ สมปรับเปลี่ยนกันมาถูกลืมเลือนและ
เริ่ ม สู ญหายไป
สิ่ งสําคัญ ก็คือ ความพอเพียงในการดํารงชีวิต ซึ่งเป็ นเงื่อนไขพื้นฐานที่ทาํ ให้คนไทยสามารถพึ่งตนเอง และ
ดําเนินชีวิตไปได้อย่างมีศกั ดิ์ศรี ภายใต้อาํ นาจและความมีอิสระในการกําหนด ชะตาชีวิตของตนเอง ความสามารถ
ในการควบคุมและจัดการเพือ่ ให้ตนเองได้รับการสนองตอบต่อความต้อง การต่างๆ รวมทั้งความสามารถในการ
จัดการปัญหาต่างๆ ได้ดว้ ยตนเอง ซึ่งทั้งหมดนี้ถือว่าเป็ นศักยภาพพื้นฐานที่คนไทยและสังคมไทยเคยมีอยูแ่ ต่ เดิม
ต้องถูกกระทบกระเทือน ซึ่งวิกฤตเศรษฐกิจจากปัญหาฟองสบู่และปัญหาความอ่อนแอของชนบท รวมทั้งปัญหา
อื่นๆ ที่เกิดขึ้น ล้วนแต่เป็ นข้อพิสูจน์และยืนยันปรากฎการณ์น้ ีได้เป็ นอย่างดี\
พระราชดาริว่าด้ วยเศรษฐกิจพอเพียง
“...การพัฒนาประเทศจําเป็ นต้องทําตามลําดับขั้น ต้องสร้างพื้นฐานคือ ความพอมี พอกิน พอใช้ของ
ประชาชนส่ วนใหญ่เบื้องต้นก่อน โดยใช้วิธีการและอุปกรณ์ที่ประหยัดแต่ถูกต้องตามหลักวิชาการ เมื่อได้พ้นื ฐาน
ความมัน่ คงพร้อมพอสมควร และปฏิบตั ิได้แล้ว จึงค่อยสร้างค่อยเสริ มความเจริ ญ และฐานะทางเศรษฐกิจขั้นที่
สู งขึ้นโดยลําดับต่อไป...” (๑๘ กรกฎาคม ๒๕๑๗)
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นแนวพระราชดําริ ในพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั ที่พระราชทานมานานกว่า ๓๐
ปี เป็ นแนวคิดที่ต้ งั อยูบ่ นรากฐานของวัฒนธรรมไทย เป็ นแนวทางการพัฒนาที่ต้ งั บนพื้นฐานของทางสายกลาง และ
ความไม่ประมาท คํานึงถึงความพอประมาณ ความมีเหตุผล การสร้างภูมิคุม้ กันในตัวเอง ตลอดจนใช้ความรู ้และ
คุณธรรม เป็ นพื้นฐานในการดํารงชีวิต ที่สาํ คัญจะต้องมี “สติ ปัญญา และความเพียร” ซึ่งจะนําไปสู่ “ความสุ ข” ใน
การดําเนินชีวติ อย่างแท้จริ ง
“...คนอื่นจะว่าอย่างไรก็ช่างเขา จะว่าเมืองไทยล้าสมัย ว่าเมืองไทยเชย ว่าเมืองไทยไม่มีสิ่งที่สมัยใหม่ แต่
เราอยูพ่ อมีพอกิน และขอให้ทุกคนมีความปรารถนาที่จะให้เมืองไทย พออยูพ่ อกิน มีความสงบ และทํางานตั้งจิต
อธิษฐานตั้งปณิ ธาน ในทางนี้ที่จะให้เมืองไทยอยูแ่ บบพออยูพ่ อกิน ไม่ใช่วา่ จะรุ่ งเรื องอย่างยอด แต่วา่ มีความพออยู่
พอกิน มีความสงบ เปรี ยบเทียบกับประเทศอื่นๆ ถ้าเรารักษาความพออยูพ่ อกินนี้ได้ เราก็จะยอดยิง่ ยวดได้...” (๔
ธันวาคม ๒๕๑๗)
พระบรมราโชวาทนี้ ทรงเห็นว่าแนวทางการพัฒนาที่เน้นการขยายตัวทางเศรษฐกิจของประเทศเป็ นหลัก
แต่ เพียงอย่างเดียวอาจจะเกิดปัญหาได้ จึงทรงเน้นการมีพอกินพอใช้ของประชาชนส่ วนใหญ่ในเบื้องต้นก่อน เมื่อมี
พื้นฐานความมัน่ คงพร้อมพอสมควรแล้ว จึงสร้างความเจริ ญและฐานะทางเศรษฐกิจให้สูงขึ้น ซึ่งหมายถึง แทนที่จะ
เน้นการขยายตัวของภาคอุตสาหกรรมนําการพัฒนาประเทศ ควรที่จะสร้างความมัน่ คงทางเศรษฐกิจพื้นฐานก่อน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 155
-------------------------------------------------------------------------------
นัน่ คือ ทําให้ประชาชนในชนบทส่ วนใหญ่พอมีพอกินก่อน เป็ นแนวทางการพัฒนาที่เน้นการกระจายรายได้ เพื่อ
สร้างพื้นฐานและความมัน่ คงทางเศรษฐกิจโดยรวมของประเทศ ก่อนเน้นการพัฒนาในระดับสู งขึ้นไป ทรงเตือน
เรื่ องพออยูพ่ อกิน ตั้งแต่ปี ๒๕๑๗ คือ เมื่อ ๓๐ กว่าปี ที่แล้ว แต่ทิศทางการพัฒนามิได้เปลี่ยนแปลง
ู ถึงว่า เราควรปฏิบตั ิให้พอมีพอกิน พอมีพอกินนี้กแ็ ปลว่า เศรษฐกิจพอเพียง
“...เมื่อปี ๒๕๑๗ วันนั้นได้พด
นัน่ เอง ถ้าแต่ละคนมีพอมีพอกิน ก็ใช้ได้ ยิง่ ถ้าทั้งประเทศพอมีพอกินก็ยงิ่ ดี และประเทศไทยเวลานั้นก็เริ่ มจะเป็ นไม่
พอมีพอกิน บางคนก็มีมาก บางคนก็ไม่มีเลย...” (๔ ธันวาคม ๒๕๔๑)
เศรษฐกิจพอเพียง
“เศรษฐกิจพอเพียง” เป็ นปรัชญาที่พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห ่ วั พระราชทานพระราชดําริ ช้ ีแนะแนวทาง
การดําเนินชีวติ แก่พสกนิกรชาวไทยมาโดยตลอดนานกว่า ๒๕ ปี ตั้งแต่ก่อนเกิดวิกฤตการณ์ทางเศรษฐกิจ และเมื่อ
ภายหลังได้ทรงเน้นยํ้าแนวทางการแก้ไขเพือ่ ให้รอดพ้น และสามารถดํารงอยูไ่ ด้อย่างมัน่ คงและยัง่ ยืนภายใต้กระแส
โลกาภิวตั น์และความ เปลี่ยนแปลงต่างๆ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง เป็ นปรัชญาชี้ถึงแนวการดํารงอยูแ่ ละปฏิบตั ิตนของประชาชนในทุกระดับ ตั้งแต่ระดับ
ครอบครัว ระดับชุมชน จนถึงระดับรัฐ ทั้งในการพัฒนาและบริ หารประเทศให้ดาํ เนินไปในทางสายกลาง
โดยเฉพาะการพัฒนาเศรษฐกิจ เพื่อให้กา้ วทันต่อโลกยุคโลกาภิวตั น์ ความพอเพียง หมายถึง ความพอประมาณ
ความมีเหตุผล รวมถึงความจําเป็ นที่จะต้องมีระบบภูมิคุม้ กันในตัวที่ดีพอสมควร ต่อการกระทบใดๆ อันเกิดจากการ
เปลี่ยนแปลงทั้งภายในภายนอก ทั้งนี้ จะต้องอาศัยความรอบรู ้ ความรอบคอบ และความระมัดระวังอย่างยิง่ ในการ
นําวิชาการต่างๆ มาใช้ในการวางแผนและการดําเนินการ ทุกขั้นตอน และขณะเดียวกัน จะต้องเสริ มสร้างพื้นฐาน
จิตใจของคนในชาติ โดยเฉพาะเจ้าหน้าที่ของรัฐ นักทฤษฎี และนักธุรกิจในทุกระดับ ให้มีสาํ นึกในคุณธรรม ความ
ซื่อสัตย์สุจริ ต และให้มีความรอบรู ้ที่เหมาะสม ดําเนินชีวิตด้วยความอดทน ความเพียร มีสติ ปัญญา และความ
รอบคอบ เพื่อให้สมดุลและพร้อมต่อการรองรับการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ วและกว้างขวาง ทั้งด้านวัตถุ สังคม
สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรมจากโลกภายนอกได้เป็ นอย่างดี
ความหมายของเศรษฐกิจพอเพียง จึงประกอบด้ วยคุณสมบัติ ดังนี้
๑. ความพอประมาณ หมายถึง ความพอดีที่ไม่นอ้ ยเกินไปและไม่มากเกินไป โดยไม่เบียดเบียนตนเองและ
ผูอ้ ื่น เช่น การผลิตและการบริ โภคที่อยูใ่ นระดับพอประมาณ
๒. ความมีเหตุผล หมายถึง การตัดสิ นใจเกี่ยวกับระดับความพอเพียงนั้น จะต้องเป็ นไปอย่างมีเหตุผล โดย
พิจารณาจากเหตุปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ตลอดจนคํานึงถึงผลที่คาดว่าจะเกิดขึ้นจากการกระทํานั้นๆ อย่างรอบคอบ
๓. ภูมิคุ้มกัน หมายถึง การเตรี ยมตัวให้พร้อมรับผลกระทบและการเปลี่ยนแปลงด้านต่างๆ ที่จะเกิดขึ้น
โดยคํานึงถึงความเป็ นไปได้ของสถานการณ์ต่างๆ ที่คาดว่าจะเกิดขึ้นในอนาคต
โดยมี เงื่อนไข ของการตัดสิ นใจและดําเนินกิจกรรมต่างๆ ให้อยูใ่ นระดับพอเพียง ๒ ประการ ดังนี้
๑. เงื่อนไขความรู้ ประกอบด้วย ความรอบรู ้เกี่ยวกับวิชาการต่างๆ ที่เกี่ยวข้องรอบด้าน ความรอบคอบที่จะ
นําความรู ้เหล่านั้นมาพิจารณาให้เชื่อมโยงกัน เพื่อประกอบการวางแผนและความระมัดระวังในการปฏิบตั ิ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 156
-------------------------------------------------------------------------------
๒. เงื่อนไขคุณธรรม ที่จะต้องเสริ มสร้าง ประกอบด้วย มีความตระหนักใน คุณธรรม มีความซื่อสัตย์สุจริ ต
และมีความอดทน มีความเพียร ใช้สติปัญญาในการดําเนินชีวิต
ประเทศไทยกับเศรษฐกิจพอเพียง
เศรษฐกิจพอเพียง มุ่งเน้นให้ผผู ้ ลิต หรื อผูบ้ ริ โภค พยายามเริ่ มต้นผลิต หรื อบริ โภคภายใต้ขอบเขต ข้อจํากัด
ของรายได้ หรื อทรัพยากรที่มีอยูไ่ ปก่อน ซึ่งก็คือ หลักในการลดการพึ่งพา เพิ่มขีดความสามารถในการควบคุมการ
ผลิตได้ดว้ ยตนเอง และลดภาวะการเสี่ ยงจากการไม่สามารถควบคุมระบบตลาดได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ
เศรษฐกิจพอเพียงมิใช่หมายความถึง การกระเบียดกระเสี ยนจนเกินสมควร หากแต่อาจฟุ่ มเฟื อยได้เป็ นครั้งคราวตาม
อัตภาพ แต่คนส่ วนใหญ่ของประเทศ มักใช้จ่ายเกินตัว เกินฐานะที่หามาได้
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถนําไปสู่ เป้าหมายของการสร้างความมัน่ คงในทางเศรษฐกิจได้ เช่น โดยพื้นฐาน
แล้ว ประเทศไทยเป็ นประเทศเกษตรกรรม เศรษฐกิจของประเทศจึงควรเน้นที่เศรษฐกิจการเกษตร เน้นความมัน่ คง
ทางอาหาร เป็ นการสร้างความมัน่ คงให้เป็ นระบบเศรษฐกิจในระดับหนึ่ง จึงเป็ นระบบเศรษฐกิจที่ช่วยลดความเสี่ ยง
หรื อความไม่มนั่ คงทางเศรษฐกิจในระยะยาวได้
เศรษฐกิจพอเพียง สามารถประยุกต์ใช้ได้ในทุกระดับ ทุกสาขา ทุกภาคของเศรษฐกิจ ไม่จาํ เป็ นจะต้องจํากัด
เฉพาะแต่ภาคการเกษตร หรื อภาคชนบท แม้แต่ภาคการเงิน ภาคอสังหาริ มทรัพย์ และการค้าการลงทุนระหว่าง
ประเทศ โดยมีหลักการที่คล้ายคลึงกันคือ เน้นการเลือกปฏิบตั ิอย่างพอประมาณ มีเหตุมีผล และสร้างภูมิคุม้ กัน
ให้แก่ตนเองและสังคม
การดาเนินชีวต ิ ตามแนวพระราชดาริพอเพียง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงเข้าใจถึงสภาพสังคมไทย ดังนั้น เมื่อได้พระราชทานแนวพระราชดําริ
หรื อพระบรมราโชวาทในด้านต่างๆ จะทรงคํานึงถึงวิถีชีวิต สภาพสังคมของประชาชนด้วย เพื่อไม่ให้เกิดความ
ขัดแย้งทางความคิด ที่อาจนําไปสู่ ความขัดแย้งในทางปฏิบตั ิได้
แนวพระราชดาริในการดาเนินชีวติ แบบพอเพียง
๑. ยึดความประหยัด ตัดทอนค่าใช้จ่ายในทุกด้าน ลดละความฟุ่ มเฟื อยในการใช้ชีวิต
๒. ยึดถือการประกอบอาชีพด้วยความถูกต้อง ซื่อสัตย์สุจริ ต
๓. ละเลิกการแก่งแย่งผลประโยชน์และแข่งขันกันในทางการค้าแบบต่อสู ก้ นั อย่างรุ นแรง
๔. ไม่หยุดนิ่งที่จะหาทางให้ชีวิตหลุดพ้นจากความทุกข์ยาก ด้วยการขวนขวายใฝ่ หาความรู ้ให้มีรายได้
เพิ่มพูนขึ้น จนถึงขั้นพอเพียงเป็ นเป้าหมายสําคัญ
๕. ปฏิบตั ิตนในแนวทางที่ดี ลดละสิ่ งชัว่ ประพฤติตนตามหลักศาสนา
ทฤษฎีใหม่
ทฤษฎีใหม่ คือ ตัวอย่างที่เป็ นรู ปธรรมของ การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอเพียงที่เด่นชัดที่สุด ซึ่ง
พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ได้พระราชทานพระราชดําริ น้ ี เพื่อเป็ นการช่วยเหลือเกษตรกรที่มกั ประสบปัญหาทั้ง
ภัยธรรมชาติและปัจจัยภาย นอกที่มีผลกระทบต่อการทําการเกษตร ให้สามารถผ่านพ้นช่วงเวลาวิกฤต โดยเฉพาะ
การขาดแคลนนํ้าได้โดยไม่เดือดร้อนและยากลําบากนัก
ความเสี่ ยงทีเ่ กษตรกร มักพบเป็ นประจา ประกอบด้ วย
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 157
-------------------------------------------------------------------------------
๑. ความเสี่ ยงด้านราคาสิ นค้าเกษตร
๒. ความเสี่ ยงในราคาและการพึ่งพาปัจจัยการผลิตสมัยใหม่จากต่างประเทศ
๓. ความเสี่ ยงด้านนํ้า ฝนทิ้งช่วง ฝนแล้ง
๔. ภัยธรรมชาติอื่นๆ และโรคระบาด
๕. ความเสี่ ยงด้านแบบแผนการผลิต
- ความเสี่ ยงด้านโรคและศัตรู พืช
- ความเสี่ ยงด้านการขาดแคลนแรงงาน
- ความเสี่ ยงด้านหนี้ สินและการสู ญเสี ยที่ดิน
ทฤษฎีใหม่ จึงเป็ นแนวทางหรื อหลักการในการบริ หารการจัดการที่ดินและนํ้า เพื่อการเกษตรในที่ดินขนาด
เล็กให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
ความสาคัญของทฤษฎีใหม่
๑. มีการบริ หารและจัดแบ่งที่ดินแปลงเล็กออกเป็ นสัดส่ วนที่ชดั เจน เพือ่ ประโยชน์สูงสุ ดของเกษตรกร ซึ่ง
ไม่เคยมีใครคิดมาก่อน
๒. มีการคํานวณโดยใช้หลักวิชาการเกี่ยวกับปริ มาณนํ้าที่จะกักเก็บให้พอเพียงต่อการเพาะปลูกได้อย่าง
เหมาะสมตลอดปี
๓. มีการวางแผนที่สมบูรณ์แบบสําหรับเกษตรกรรายย่อย โดยมีถึง ๓ ขั้นตอน
ทฤษฎีใหม่ ข้ น ั ต้ น
ให้แบ่งพื้นที่ออกเป็ น ๔ ส่วน ตามอัตราส่ วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ ซึ่งหมายถึง
พื้นที่ส่วนที่หนึ่ง ประมาณ ๓๐% ให้ขดุ สระเก็บกักนํ้าเพื่อใช้เก็บกักนํ้าฝนในฤดูฝน และใช้เสริ มการปลูก
พืชในฤดูแล้ง ตลอดจนการเลี้ยงสัตว์และพืชนํ้าต่างๆ
พื้นที่ส่วนที่สอง ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกข้าวในฤดูฝนเพื่อใช้เป็ นอาหารประจําวันสําหรับครอบครัวให้
เพียงพอตลอด ปี เพื่อตัดค่าใช้จ่ายและสามารถพึ่งตนเองได้
พื้นที่ส่วนที่สาม ประมาณ ๓๐% ให้ปลูกไม้ผล ไม้ยนื ต้น พืชผัก พืชไร่ พืชสมุนไพร ฯลฯ เพื่อใช้เป็ น
อาหารประจําวัน หากเหลือบริ โภคก็นาํ ไปจําหน่าย
พื้นที่ส่วนที่สี่ ประมาณ ๑๐% เป็ นที่อยูอ่ าศัย เลี้ยงสัตว์ ถนนหนทาง และโรงเรื อนอื่นๆ
ทฤษฎีใหม่ข้ นั ที่สอง
เมื่อเกษตรกรเข้าใจในหลักการและได้ปฏิบตั ิในที่ดินของตนจนได้ผลแล้ว ก็ตอ้ งเริ่ มขั้นที่สอง คือให้
เกษตรกรรวมพลังกันในรู ป กลุ่ม หรื อ สหกรณ์ ร่ วมแรงร่ วมใจกันดําเนินการในด้าน
(๑) การผลิต (พันธุ์พืช เตรี ยมดิน ชลประทาน ฯลฯ)
- เกษตรกรจะต้องร่ วมมือในการผลิต โดยเริ่ ม ตั้งแต่ข้ นั เตรี ยมดิน การหาพันธุ์พืช ปุ๋ ย การจัดหานํ้า
และอื่นๆ เพื่อการเพาะปลูก
(๒) การตลาด (ลานตากข้าว ยุง้ เครื่ องสี ขา้ ว การจําหน่ ายผลผลิต)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 158
-------------------------------------------------------------------------------
- เมื่อมีผลผลิตแล้ว จะต้องเตรี ยมการต่างๆ เพื่อการขายผลผลิตให้ได้ประโยชน์สูงสุ ด เช่น การ
เตรี ยมลานตากข้าวร่ วมกัน การจัดหายุง้ รวบรวมข้าว เตรี ยมหาเครื่ องสี ขา้ ว ตลอดจนการรวมกันขายผลผลิตให้ได้
ราคาดีและลดค่าใช้จ่ายลงด้วย
(๓) การเป็ นอยู่ (กะปิ นํ้าปลา อาหาร เครื่ องนุ่ งห่ ม ฯลฯ)
- ในขณะเดียวกันเกษตรกรต้องมีความเป็ นอยูท ่ ี่ดีพอสมควร โดยมีปัจจัยพื้นฐานในการดํารงชีวิต
เช่น อาหารการกินต่างๆ กะปิ นํ้าปลา เสื้ อผ้า ที่พอเพียง
(๔) สวัสดิการ (สาธารณสุ ข เงินกู)้
- แต่ละชุมชนควรมีสวัสดิภาพและบริ การที่จาํ เป็ น เช่น มีสถานี อนามัยเมื่อยามป่ วยไข้ หรื อมี
กองทุนไว้กยู้ มื เพื่อประโยชน์ในกิจกรรมต่างๆ ของชุมชน
(๕) การศึกษา (โรงเรี ยน ทุนการศึกษา)
- ชุมชนควรมีบทบาทในการส่ งเสริ มการศึกษา เช่น มีกองทุนเพื่อการศึกษาเล่าเรี ยนให้แก่เยาวชน
ของชมชนเอง
(๖) สังคมและศาสนา
- ชุมชนควรเป็ นที่รวมในการพัฒนาสังคมและจิตใจ โดยมีศาสนาเป็ นที่ยด ึ เหนี่ยว
โดยกิจกรรมทั้งหมดดังกล่าวข้างต้น จะต้องได้รับความร่ วมมือจากทุกฝ่ ายที่เกี่ยวข้อง ไม่วา่ ส่ วนราชการ องค์กร
เอกชน ตลอดจนสมาชิกในชุมชนนั้นเป็ นสําคัญ
ทฤษฎีใหม่ ข้ น ั ทีส่ าม
เมื่อดําเนินการผ่านพ้นขั้นที่สองแล้ว เกษตรกร หรื อกลุ่มเกษตรกรก็ควรพัฒนาก้าวหน้าไปสู่ ข้นั ที่สาม
ต่อไป คือติดต่อประสานงาน เพื่อจัดหาทุน หรื อแหล่งเงิน เช่น ธนาคาร หรื อบริ ษทั ห้างร้านเอกชน มาช่วยในการ
ลงทุนและพัฒนาคุณภาพชีวิต
ทั้งนี้ ทั้งฝ่ ายเกษตรกรและฝ่ ายธนาคาร หรื อบริ ษทั เอกชนจะได้รับประโยชน์ร่วมกัน กล่าวคือ
- เกษตรกรขายข้าวได้ราคาสู ง (ไม่ถูกกดราคา)
- ธนาคารหรื อบริ ษท ั เอกชนสามารถซื้อข้าวบริ โภคในราคาตํ่า (ซื้อข้าวเปลือกตรงจากเกษตรกร
และมาสี เอง)
- เกษตรกรซื้ อเครื่ องอุปโภคบริ โภคได้ในราคาตํ่า เพราะรวมกันซื้ อเป็ นจํานวนมาก (เป็ นร้าน
สหกรณ์ราคาขายส่ ง)
- ธนาคารหรื อบริ ษท ั เอกชน จะสามารถกระจายบุคลากร เพื่อไปดําเนินการในกิจกรรมต่างๆ ให้
เกิดผลดียงิ่ ขึ้น
หลักการและแนวทางสาคัญ
๑. เป็ นระบบการผลิตแบบเศรษฐกิจพอเพียงที่เกษตรกรสามารถเลี้ยงตัวเองได้ในระดับ ที่ประหยัดก่อน
ทั้งนี้ ชุมชนต้องมีความสามัคคี ร่ วมมือร่ วมใจในการช่วยเหลือซึ่งกันและกันทํานองเดียวกับการ “ลงแขก” แบบ
ดั้งเดิมเพื่อลดค่าใช้จ่ายในการจ้างแรงงานด้วย
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 159
-------------------------------------------------------------------------------
๒. เนื่องจากข้าวเป็ นปัจจัยหลักที่ทุกครัวเรื อนจะต้องบริ โภค ดังนั้น จึงประมาณว่าครอบครัวหนึ่งทํานา
ประมาณ ๕ ไร่ จะทําให้มีขา้ วพอกินตลอดปี โดยไม่ตอ้ งซื้อหาในราคาแพง เพื่อยึดหลักพึ่งตนเองได้อย่างมีอิสรภาพ
๓. ต้องมีน้ าํ เพือ่ การเพาะปลูกสํารองไว้ใช้ในฤดูแล้ง หรื อระยะฝนทิ้งช่วงได้อย่างพอเพียง ดังนั้น จึง
จําเป็ นต้องกันที่ดินส่ วนหนึ่งไว้ขดุ สระนํ้า โดยมีหลักว่าต้องมีน้ าํ เพียงพอที่จะเพาะปลูกได้ตลอดปี ทั้งนี้ ได้
พระราชทานพระราชดําริ เป็ นแนวทางว่า ต้องมีน้ าํ ๑,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ต่อการเพาะปลูก ๑ ไร่ โดยประมาณ
ฉะนั้น เมื่อทํานา ๕ ไร่ ทําพืชไร่ หรื อไม้ผลอีก ๕ ไร่ (รวมเป็ น ๑๐ ไร่ ) จะต้องมีน้ าํ ๑๐,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตรต่อปี
ดังนั้น หากตั้งสมมติฐานว่ า มีพนื้ ที่ ๕ ไร่ ก็จะสามารถกาหนดสู ตรคร่ าวๆ ว่ า แต่ ละแปลง ประกอบด้ วย
- นาข้าว ๕ ไร่
- พืชไร่ พืชสวน ๕ ไร่
- สระนํ้า ๓ ไร่ ขุดลึก ๔ เมตร จุน้ าํ ได้ประมาณ ๑๙,๐๐๐ ลูกบาศก์เมตร ซึ่ งเป็ นปริ มาณนํ้าที่เพียง
พอที่จะสํารองไว้ใช้ยามฤดูแล้ง
- ที่อยูอ ่ าศัยและอื่นๆ ๒ ไร่
- รวมทั้งหมด ๑๕ ไร่
แต่ ทงั้ นี้ ขนาดของสระเก็บน้าขึ้นอยู่กบั สภาพภูมปิ ระเทศและสภาพแวดล้ อม ดังนี้
- ถ้าเป็ นพื้นที่ทาํ การเกษตรอาศัยนํ้าฝน สระนํ้าควรมีลกั ษณะลึก เพื่อป้องกันไม่ให้น้ าํ ระเหยได้มาก
เกินไป ซึ่งจะทําให้มีน้ าํ ใช้ตลอดทั้งปี
- ถ้าเป็ นพื้นที่ทาํ การเกษตรในเขตชลประทาน สระนํ้าอาจมีลกั ษณะลึก หรื อตื้น และแคบ หรื อ
กว้างก็ได้ โดยพิจารณาตามความเหมาะสม เพราะสามารถมีน้ าํ มาเติมอยูเ่ รื่ อยๆ
การมีสระเก็บนํ้าก็เพื่อให้เกษตรกรมีน้ าํ ใช้อย่างสมํ่าเสมอทั้งปี (ทรงเรี ยกว่า Regulator หมายถึงการ
ควบคุมให้ดี มีระบบนํ้าหมุนเวียนใช้เพื่อการเกษตรได้โดยตลอดเวลาอย่างต่อเนื่อง) โดยเฉพาะอย่างยิง่ ในหน้าแล้ง
และระยะฝนทิ้งช่วง แต่มิได้หมายความว่า เกษตรกรจะสามารถปลูกข้าวนาปรังได้ เพราะหากนํ้าในสระเก็บนํ้าไม่
พอ ในกรณี มีเขื่อนอยูบ่ ริ เวณใกล้เคียงก็อาจจะต้องสู บนํ้ามาจากเขื่อน ซึ่งจะทําให้น้ าํ ในเขื่อนหมดได้ แต่เกษตรกร
ควรทํานาในหน้าฝน และเมื่อถึงฤดูแล้ง หรื อฝนทิ้งช่วงให้เกษตรกรใช้น้ าํ ที่เก็บตุนนั้น ให้เกิดประโยชน์ทาง
การเกษตรอย่างสู งสุ ด โดยพิจารณาปลูกพืชให้เหมาะสมกับฤดูกาล เพือ่ จะได้มีผลผลิตอื่นๆ ไว้บริ โภคและสามารถ
นําไปขายได้ตลอดทั้งปี
๔. การจัดแบ่งแปลงที่ดินเพือ่ ให้เกิดประโยชน์สูงสุ ดนี้ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั ทรงคํานวณและคํานึง
จากอัตราการถือครองที่ดินถัว เฉลี่ยครัวเรื อนละ ๑๕ ไร่ อย่างไรก็ตาม หากเกษตรกรมีพ้นื ที่ถือครองน้อยกว่านี้ หรื อ
มากกว่านี้ ก็สามารถใช้อตั ราส่ วน ๓๐:๓๐:๓๐:๑๐ เป็ นเกณฑ์ปรับใช้ได้ กล่าวคือ
ร้ อยละ ๓๐ ส่ วนแรก ขุดสระนํ้า (สามารถเลี้ยงปลา ปลูกพืชนํ้า เช่น ผักบุง้ ผักกะเฉด ฯลฯ ได้ดว้ ย) บนสระ
อาจสร้างเล้าไก่และบนขอบสระนํ้าอาจปลูกไม้ยนื ต้นที่ไม่ใช้น้ าํ มากโดยรอบ ได้
ร้ อยละ ๓๐ ส่ วนทีส่ อง ทํานา
ร้ อยละ ๓๐ ส่ วนทีส่ าม ปลูกพืชไร่ พืชสวน (ไม้ผล ไม้ยนื ต้น ไม้ใช้สอย ไม้เพื่อเป็ นเชื้อฟื น ไม้สร้างบ้าน
พืชไร่ พืชผัก สมุนไพร เป็ นต้น)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 160
-------------------------------------------------------------------------------
ร้ อยละ ๑๐ สุ ดท้ าย เป็ นที่อยูอ่ าศัยและอื่นๆ (ทางเดิน คันดิน กองฟาง ลานตาก กองปุ๋ ยหมัก โรงเรื อน โรง
เพาะเห็ด คอกสัตว์ ไม้ดอกไม้ประดับ พืชสวนครัวหลังบ้าน เป็ นต้น)
อย่างไรก็ตาม อัตราส่ วนดังกล่าวเป็ นสู ตร หรื อหลักการโดยประมาณเท่านั้น สามารถปรับปรุ งเปลี่ยนแปลง
ได้ตามความเหมาะสม โดยขึ้นอยูก่ บั สภาพของพื้นที่ดิน ปริ มาณนํ้าฝน และสภาพแวดล้อม เช่น ในกรณี ภาคใต้ที่มี
ฝนตกชุก หรื อพื้นที่ที่มีแหล่งนํ้ามาเติมสระได้ต่อเนื่อง ก็อาจลดขนาดของบ่อ หรื อสระเก็บนํ้าให้เล็กลง เพื่อเก็บ
พื้นที่ไว้ใช้ประโยชน์อื่นต่อไปได้
๕. การดําเนินการตามทฤษฎีใหม่ มีปัจจัยประกอบหลายประการ ขึ้นอยูก่ บั สภาพภูมิประเทศ
สภาพแวดล้อมของแต่ละท้องถิ่น ดังนั้น เกษตรกรควรขอรับคําแนะนําจากเจ้าหน้าที่ดว้ ย และที่สาํ คัญ คือ ราคาการ
ลงทุนค่อนข้างสู ง โดยเฉพาะอย่างยิง่ การขุดสระนํ้า เกษตรกรจะต้องได้รับความช่วยเหลือจากส่ วนราชการ มูลนิธิ
และเอกชน
๖. ในระหว่างการขุดสระนํ้า จะมีดินที่ถูกขุดขึ้นมาจํานวนมาก หน้าดินซึ่งเป็ นดินดี ควรนําไปกองไว้
ต่างหากเพื่อนํามาใช้ประโยชน์ในการปลูกพืชต่างๆ ในภายหลัง โดยนํามาเกลี่ยคลุมดินชั้นล่างที่เป็ นดินไม่ดี
หรื ออาจนํามาถมทําขอบสระนํ้า หรื อยกร่ องสําหรับปลูกไม้ผลก็จะได้ประโยชน์อีกทางหนึ่ง
ตัวอย่ างพืชทีค่ วรปลูกและสั ตว์ ที่ควรเลีย้ ง
ไม้ผลและผักยืนต้น : มะม่วง มะพร้าว มะขาม ขนุ น ละมุด ส้ม กล้วย น้อยหน่ า มะละกอ กะท้อน แคบ้าน
มะรุ ม สะเดา ขี้เหล็ก กระถิน ฯลฯ
ผักล้มลุกและดอกไม้ : มันเทศ เผือก ถัว่ ฝักยาว มะเขือ มะลิ ดาวเรื อง บานไม่รู้โรย กุหลาบ รัก และ
ซ่อนกลิ่น เป็ นต้น
เห็ด : เห็ดนางฟ้า เห็ดฟาง เห็ดเป๋ าฮื้อ เป็ นต้น
สมุนไพรและเครื่ องเทศ : หมาก พลู พริ กไท บุก บัวบก มะเกลือ ชุมเห็ด หญ้าแฝก และพืชผักบางชนิ ด
เช่น กะเพรา โหระพา สะระแหน่ แมงลัก และตะไคร้ เป็ นต้น
ไม้ใช้สอยและเชื้อเพลิง : ไผ่ มะพร้าว ตาล กระถินณรงค์ มะขามเทศ สะแก ทองหลาง จามจุรี กระถิน
สะเดา ขี้เหล็ก ประดู่ ชิงชัน และยางนา เป็ นต้น
่ ถัว่ มะแฮะ อ้อย มันสําปะหลัง ละหุ่ง นุ่น เป็ นต้น พืชไร่ หลาย
พืชไร่ : ข้าวโพด ถัว่ เหลือง ถัว่ ลิสง ถัว่ พุม
ชนิดอาจเก็บเกี่ยวเมื่อผลผลิตยังสดอยู่ และจําหน่ายเป็ นพืชประเภทผักได้ และมีราคาดีกว่าเก็บเมื่อแก่ ได้แก่
ข้าวโพด ถัวเหลือง ถัว่ ลิสง ถัว่ พุม่ ถัว่ มะแฮะ อ้อย และมันสําปะหลัง
พืชบํารุ งดินและพืชคลุมดิน : ถัว่ มะแฮะ ถัว่ ฮามาต้า โสนแอฟริ กนั โสนพื้นเมือง ปอเทือง ถัว่ พร้า ขี้เหล็ก
กระถิน รวมทั้งถัว่ เขียวและถัว่ พุม่ เป็ นต้น และเมื่อเก็บเกี่ยวแล้วไถกลบลงไปเพื่อบํารุ งดินได้
หมายเหตุ : พืชหลายชนิดใช้ทาํ ประโยชน์ได้มากกว่าหนึ่งชนิด และการเลือกปลูกพืชควรเน้นพืชยืนต้นด้วย เพราะ
การดูแลรักษาในระยะหลังจะลดน้อยลง มีผลผลิตทยอยออกตลอดปี ควรเลือกพืชยืนต้นชนิดต่างๆ กัน ให้ความ
ร่ มเย็นและชุ่มชื้นกับที่อยูอ่ าศัยและสิ่ งแวดล้อม และควรเลือกต้นไม้ให้สอดคล้องกับสภาพของพื้นที่ เช่น ไม่ควร
ปลูกยูคาลิปตัสบริ เวณขอบสระ ควรเป็ นไม้ผลแทน เป็ นต้น
สั ตว์ เลีย้ งอื่นๆ ได้ แก่
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 161
-------------------------------------------------------------------------------
สัตว์น้ าํ : ปลาไน ปลานิ ล ปลาตะเพียนขาว ปลาดุก เพือ ่ เป็ นอาหารเสริ มประเภทโปรตีน และยังสามารถ
นําไปจําหน่ายเป็ นรายได้เสริ มได้อีกด้วย ในบางพื้นที่สามารถเลี้ยงกบได้
สุ กร หรื อ ไก่ เลี้ยงบนขอบสระนํ้า ทั้งนี้ มูลสุ กรและไก่สามารถนํามาเป็ นอาหารปลา บางแห่งอาจเลี้ยงเป็ ดได้
ประโยชน์ ของทฤษฎีใหม่
๑. ให้ประชาชนพออยูพ่ อกินสมควรแก่อตั ภาพในระดับที่ประหยัด ไม่อดอยาก และเลี้ยงตนเองได้ตามหลัก
ปรัชญา “เศรษฐกิจพอเพียง”
๒. ในหน้าแล้งมีน้ าํ น้อย ก็สามารถเอานํ้าที่เก็บไว้ในสระมาปลูกพืชผักต่างๆ ที่ใช้น้ าํ น้อยได้ โดยไม่ตอ้ ง
เบียดเบียนชลประทาน
๓. ในปี ที่ฝนตกตามฤดูกาลโดยมีน้ าํ ดีตลอดปี ทฤษฎีใหม่น้ ีสามารถสร้างรายได้ให้แก่เกษตรกรได้โดยไม่
เดือดร้อนในเรื่ องค่า ใช้จ่ายต่างๆ
๔. ในกรณี ที่เกิดอุทกภัย เกษตรกรสามารถที่จะฟื้ นตัวและช่วยตัวเองได้ในระดับหนึ่ง โดยทางราชการไม่
ต้องช่วยเหลือมากนัก ซึ่งเป็ นการประหยัดงบประมาณด้วย
ทฤษฎีใหม่ ทส ี่ มบูรณ์
ทฤษฎีใหม่ที่ดาํ เนินการโดยอาศัยแหล่งนํ้า ธรรมชาติ นํ้าฝน จะอยูใ่ นลักษณะ “หมิ่นเหม่” เพราะหากปี ใด
ฝนน้อย นํ้าอาจจะไม่เพียงพอ ฉะนั้น การที่จะทําให้ทฤษฎีใหม่สมบูรณ์ได้น้ นั จําเป็ นต้องมีสระเก็บกักนํ้าที่มี
ประสิ ทธิภาพและเต็มความสามารถ โดยการมีแหล่งนํ้าขนาดใหญ่ที่สามารถเพิม่ เติมนํ้าในสระเก็บกักนํ้าให้เต็มอยู่
เสมอ ดังเช่น กรณี ของการทดลองที่โครงการพัฒนาพื้นที่บริ เวณวัดมงคลชัยพัฒนาอันเนื่องมาจาก พระราชดําริ
จังหวัดสระบุรี
ระบบทฤษฎีใหม่ ทสี่ มบูรณ์
อ่างใหญ่ เติมอ่างเล็ก อ่างเล็ก เติมสระนา้

จากภาพ วงกลมเล็ก คือสระนํ้าที่เกษตรกรขุดขึ้นตามทฤษฎีใหม่ เมื่อเกิดช่วงขาดแคลนนํ้าในฤดูแล้ง เกษตรกร


สามารถสู บนํ้ามาใช้ประโยชน์ได้ และหากนํ้าในสระนํ้าไม่เพียงพอก็ขอรับนํ้าจากอ่างห้วยหิ นขาว (อ่างเล็ก) ซึ่งได้
ทําระบบส่ งนํ้าเชื่อมต่อทางท่อลงมายังสระนํ้าที่ได้ขดุ ไว้ในแต่ละแปลง ซึ่งจะช่วยให้สามารถมีน้ าํ ใช้ตลอดปี
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 162
-------------------------------------------------------------------------------
กรณี ที่เกษตรกรใช้น้ าํ กันมาก อ่างห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ก็อาจมีปริ มาณนํ้าไม่เพียงพอ ก็สามารถใช้วิธีการ
ผันนํ้าจากเขื่อนป่ าสักชลสิ ทธิ์ (อ่างใหญ่) ต่อลงมายังอ่างเก็บนํ้าห้วยหินขาว (อ่างเล็ก) ก็จะช่วยให้มีปริ มาณนํ้ามาเติม
ในสระของเกษตรกรพอตลอดทั้งปี โดยไม่ตอ้ งเสี่ ยง
ระบบการจัดการทรัพยากรนํ้าตามแนวพระราชดําริ พระบาทสมเด็จพระเจ้าอยูห่ วั สามารถทําให้การใช้น้ าํ มี
ประสิ ทธิภาพอย่างสู งสุ ด จากระบบส่ งท่อเปิ ดผ่านไปตามแปลงไร่ นาต่างๆ ถึง ๓-๕ เท่า เพราะยามหน้าฝน นอกจาก
จะมีน้ าํ ในอ่างเก็บนํ้าแล้ว ยังมีน้ าํ ในสระของราษฎรเก็บไว้พร้อมกันด้วย ทําให้มีปริ มาณนํ้าเพิ่มอย่างมหาศาล นํ้าใน
อ่างที่ต่อมาสู่ สระจะทําหน้าที่เป็ นแหล่งนํ้าสํารอง คอยเติมเท่านั้นเอง
กองทุนหมู่บ้าน
พัฒนาการของกองทุนหมู่บา้ น และชุมชนเมืองนั้นเป็ นฐานเริ่ มต้นมาจากฐานการดําเนินงานนโยบายของ
รัฐบาลที่นาํ เม็ดเงินลงไปในหมู่บา้ น ชุมชนละ 1,000,000 บาท ภายใต้แนวทาง “กองทุนหมู่บา้ น หมู่บา้ นละหนึ่ง
ล้านบาท” ในช่วงปี พ.ศ.2544 โดยงบประมาณดังกล่าวนี้ เป็ นการเพิ่มเงินลงไปในระบบประชาชนในหมู่บา้ นเพื่อ
เพิ่มเม็ดเงินให้เกิดการหมุนเวียนในระบบเศรษฐกิจของประเทศ โดยช่วงระยะเวลาดังกล่าวนั้นเป็ นช่วงที่ประเทศ
ไทยเริ่ มผ่านพ้นวิกฤตเศรษฐกิจที่เรี ยกว่า “วิกฤตต้มยํากุง้ ” ซึ่งสัมพันธ์กบั ข้อมูลวัตถุประสงค์ของการจัดตั้งกองทุน
ดังกล่าว ปรากฏในระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ น และชุมชนเมืองแห่งชาติ ว่าด้วยการจัดตั้งและบริ หาร
กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ. 2544 ว่าด้วยรัฐบาลมีนโยบายเร่ งด่วนในการจัดตั้งกองทุนหมู่บา้ น
และชุมชนเมืองแห่งชาติสาํ หรับเป็ นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในหมู่บา้ นและชุมชนเมืองใช้ในการพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคม อีกทั้งเพื่อให้ทอ้ งถิ่นมีขีดความสามารถในการจัดระบบและบริ หารจัดการเงินกองทุนของตนเอง เพื่อ
สร้างศักยภาพในการสร้างเสริ มความเข้มแข็งด้านสังคมและด้านเศรษฐกิจของประชาชนในหมู่บา้ นและชุมชนเมือง
สู่ การพึ่งพาตนเองอย่างยัง่ ยืน อันเป็ นการกระตุน้ เศรษฐกิจฐานรากของประเทศ รวมทั้งเสริ มสร้างภูมิคุม้ กันทาง
เศรษฐกิจและสังคมของประเทศในอนาคต (คณะกรรมการพัฒนากฎหมาย สํานักงานคณะกรรมการกฤษฎีกา,
2544)
อย่างไรก็ตาม สําหรับการบริ หารกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองตามพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บา้ นและ
ชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ.2547 กําหนดให้กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองจดทะเบียนเป็ นนิติบุคคล และ
คณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ (กทบ.) โดยมอบอํานาจให้ผวู ้ า่ ราชการจังหวัด ทําหน้าที่เป็ น
นายทะเบียนกองทุนหมู่บา้ น พัฒนาการจังหวัดในฐานะเลขานุการคณะอนุกรรมการสนับสนุนและติดตามการ
ดําเนินงานกองทุนหมู่บา้ นระดับจังหวัดเป็ นผูร้ ับการจดทะเบียนและสนับสนุนให้กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง
เตรี ยมความพร้อมและยืน่ จดทะเบียน จากการรายงานของ สํานักงานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ ข้อมูล
ณ วันที่ 1 มกราคม 2551 พบว่า มีกองทุนทั้งสิ้ นจํานวน 78,000 กองทุน มีการยืน่ จดทะเบียนแล้ว จํานวน 63,381
กองทุน ซึ่งยังคงรอการอนุมตั ิของนายทะเบียน (สุ ริชาติ สายทอง, 2552) แต่อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการดําเนินงาน
โครงการดังกล่าวมา ก็จะมีรายงานปัญหาเรื่ องของกองทุนดังกล่าวอย่างต่อเนื่อง อาทิ ในรายงานข่าวของ
หนังสื อพิมพ์บา้ นเมือง (2554) ได้ยกตัวอย่างกรณี ฟ้องร้องเรื่ องกองทุนหมู่บา้ น เช่นการฟ้องร้องคณะกรรมการ
กองทุนหมู่บา้ น (ระดับหมู่บา้ น) เกี่ยวกับการให้กยู้ มื เงินแก่สมาชิกไม่ถูกต้องบ้าง ไม่สามารถติดตามเงินยืมได้ และ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 163
-------------------------------------------------------------------------------
ปัญหาอื่นๆ อย่างต่อเนื่อง เช่นเดียวกันกับรายงานของ กมลชัย บัวสาย และคณะ (2557) ได้รายงานว่าปัญหาของ
กองทุนดังกล่าวพบว่ามี 3 ปัญหาหลัก คือ
1) สมาชิกไม่สามารถชาระเงินคืนตามระยะเวลาที่กาํ หนด
2) สมาชิกบางรายได้มีการกูเ้ งินนอกระบบมาหมุนเวียนทําให้เกิดสภาพหนี้ ผก ู พัน และ
3) การเข้าไม่ถึงโอกาสการกูย้ ม ื เงิน ซึ่งจากข้อมูลดังกล่าวนี้ คือ สภาพปัญหาพื้นฐานของกองทุนหมู่บา้ น
และชุมชนเมือง
อย่างไรก็ตาม เมื่อมีกองทุนหมู่บา้ นเกิดขึ้นแล้วและมีการบริ หารจัดการมากว่า 14 ปี อย่างต่อเนื่อง แสดงให้
เห็นว่าบทเรี ยนจากการดําเนินงานด้านการบริ หารจัดการกองทุนดังกล่าว และแนวทางการบริ หารจัดการกองทุน
ดังกล่าวนั้น มีส่วนที่ประสบผลสําเร็ จและล้มเหลวด้วยเช่นกัน ดังนั้น จากสถานการณ์ดงั กล่าวนี้ จึงเกิดคําถามวิจยั ว่า
มีแนวทางใดบ้างที่จะทําให้การบริ หารงานกองทุนหมู่บา้ นและชนชนเมืองนั้นยัง่ ยืน หากพิจารณาถึงความยัง่ ยืนใน
มิติตามแนวคิดของ Munck, et al., (2012) ที่กล่าวว่าความยัง่ ยืนขององค์กรนั้นมีความซํ้าซ้อนและลึกซึ้งเป็ นอย่าง
มาก อย่างไรก็ตาม มิติดา้ นพลวัตร (dynamic) ขององค์การนั้นเป็ นสิ่ งสําคัญอย่างยิง่ ที่จะส่ งผลให้องค์การสามารถ
ปรับตัวให้อยูไ่ ด้ทนั ยุคทันสมัยและมีประสิ ทธิภาพสู งสุ ด ซึ่งผลการศึกษาดังกล่าวนี้ จะเป็ นการแสวงหาแนวทาง
ทางเลือกการบริ หารจัดการกองทุนอย่างยัง่ ยืนต่อไปในอนาคต
จากการดําเนินการศึกษาพบว่า การแยกออกมาเป็ นยุคแห่งการเตรี ยมตัว คือ เริ่ มจากนโยบายของพรรค
การเมืองใช้หาเสี ยงในช่วงปี พ.ศ. 2541 ได้ชูแนวคิดนโยบายประชานิยมขึ้นมา (ณัฐนพิน ขันนาแล, 2549)
จนกระทัง่ พรรคการเมืองที่ได้หาเสี ยงชนะการเลือกตั้งในปี พ.ศ.2544 ทั้งนี้ โครงการ “หมู่บา้ นเงินล้าน” เป็ นการใช้
แนวคิดการเติมเม็ดเงินลงไปในชุมชนเพือ่ เกิดการหมุนเงินในระบบเศรษฐกิจ ทั้งนี้ ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวนั้น
สภาพเศรษฐกิจในประเทศไทยก็ยงั ไม่ฟ้ื นตัวสื บเนื่องจากสถานการณ์ตม้ ยํากุง้ ในช่วงปี พ.ศ.2540 เมื่อมีเงินเติมเข้า
มาในระบบเศรษฐกิจฐานราก ก็จะเกิดการหมุนเวียนเงินในระบบเศรษฐกิจในประเทศ ซึ่งจะเป็ นการกระตุน้
เศรษฐกิจภาพใหญ่ของประเทศและเกิดการลงทุนขนาดย่อม อย่างไรก็ตาม ในการเตรี ยมความพร้อมเพื่อรองรับ
เงินกองทุนหมู่บา้ นนั้น ก็ได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการในหลายระดับ ไม่วา่ จะเป็ นระดับจังหวัด ระดับอําเภอ ระดับ
ตําบล และระดับหมู่บา้ น
อย่างไรก็ตาม เมื่อมีการดําเนินงานกันมาอย่างต่อเนื่องก็เริ่ มประสบกับปัญหาต่างๆ ในการดําเนินการ ไม่วา่
จะเป็ นระเบียบ วิธีการ ดําเนินงานของกลุ่มผูก้ ู้ หรื อคณะกรรมการเอง แต่ท้ งั นี้กองทุนดังกล่าวไม่ใช่วา่ จะลงมาเพียง
โครงการเดียวเท่านั้น ก็ยงั มีอีกหลายโครงการ หลายรัฐบาล ได้กระหนํ่าเม็ดเงินลงมาเพื่อกระตุน้ ระบบเศรษฐกิจฐาน
ราก (มิติการศึกษานี้จะพิจารณาโครงสร้างการจัดการ มิได้วิพากษ์ถึงแนวคิดของกระบวนการพัฒนานโยบาย และ
แนวทางปฏิบตั ิ) แต่สภาพการดําเนินงานก็ยงั มีประสบปัญหามาอย่างต่อเนื่อง และมีการแก้ไขปัญหากันเรื่ อยมา
ในช่วงระยะเวลาดังกล่าวนี้เอง ได้เกิดกองทุนหลายๆกองทุน กิจกรรมหลายๆ กิจกรรมเกิดขึ้นในหมู่บา้ นและชุมชน
เอง อย่างไรก็ตาม โครงการดังกล่าวนี้โดยโครงสร้างการดําเนินงานได้การติดตามการดําเนินงานอีกด้วย
รู ปแบบกลไกการบริ หาร และจัดการกองทุนหมู่บา้ น และชุมชนเมือง
จากการศึกษาพบว่าคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นมีรูปแบบ การดําเนินงานบริ หารงานเป็ นกลุ่ม
คณะกรรมการจัดการในระดับหมู่บา้ นหรื อชุมชน โดยมีหน้าที่หลัก คือ การบริ หารจัดการเงินกองทุนที่ได้รับมาจาก
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 164
-------------------------------------------------------------------------------
หน่วยงานของรัฐ และมีคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นเป็ นผูด้ ูแล ซึ่งคณะกรรมการจะมีประธานกองทุน ส่ วนใหญ่
จะเป็ นผูน้ าํ ชุมชนหรื อผูใ้ หญ่บา้ น และมีคณะกรรมการแต่ละฝ่ ายต่างๆ ตามโครงสร้างที่พฒั นาชุมชนได้กาํ หนดไว้
ชุมชนละประมาณ12 – 15 คน เป็ นกลไกหลักในการบริ หารงาน และจัดการกองทุนหมู่บา้ น จากรายงานของ
สุ รชาติ สายทอง (2552) ได้อธิบายว่า การบริ หารกองทุนได้แบ่งออกเป็ น 4 ระดับคือ
1) ระดับชาติ ที่มีนายกรัฐมนตรี หรื อรัฐมนตรี ที่ได้รับมอบหมายเป็ นประธาน โดยบทบาทหลัก คือ กําหนด
แผนการจัดหา และจัดสรรเงินแก่กองทุน และจัดทําร่ างกฎหมาย การออกระเบียบ ข้อบังคับ คําสัง่ เกี่ยวกับการ
บริ หารจัดการกองทุน
2) สํานักงานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่ งชาติ (สทบ.) มีบทบาทเป็ นเลขานุการของคณะกรรมการ
กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ (กทบ.) ซึ่งจะติดตามตรวจสอบการดําเนินงานกองทุนในจังหวัดให้เป็ นไป
ตามระเบียบ เกิดความโปร่ งใส ตลอดจนสนับสนุนข้อมูลด้านวิชาการเพื่อการบริ หารกองทุน
3) ระดับอําเภอมีคณะอนุกรรมการสนับสนุนและติดตามการดําเนินงานกองทุนหมู่บา้ นระดับอําเภอโดยมี
นายอําเภอเป็ นประธาน มีหน้าที่หลัก คือ ประเมินความพร้อมกองทุน และ
4) ระดับหมู่บา้ นหรื อชุมชนเมือง มีคณะกรรมการกองทุน 9-15 คน มาจากการคัดเลือกกันเองโดยเวที
ชาวบ้าน (สมาชิก) โดยควรคํานึงถึงจํานวนกรรมการชายและหญิงในสัดส่ วนที่ใกล้เคียงกัน บริ หารจัดการ
ตรวจสอบ กํากับ ดูแล จัดสรรผลประโยชน์ และจัดการกองทุน
อย่างไรก็ตาม สําหรับการบริ หารจัดการกองทุนว่าด้วยระเบียบคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชน
เมืองแห่งชาติ ว่าด้วยการจัดตั้งและบริ หารกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ.2551 ได้อธิบายถึง
โครงสร้างการบริ หารงาน และการจัดการโครงสร้างอย่างชัดเจน นับได้วา่ การจัดตั้งกองทุนดังกล่าวนี้มีกลไกอย่าง
ชัดเจนในการบริ หารจัดการ โดยมุ่งเป้าหลักในการนําผลประโยชน์ที่งอกเงยจากกองทุนนั้นมาพัฒนาท้องถิ่นเป็ น
หลักสําคัญ แม้วา่ จะมีการเปลี่ยนแปลงโครงสร้างและบทบาทของหน่วยงานการทํางานนั้น กระทรวงการคลังได้
ร่ วมมือกับธนาคารออมสิ น ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ และสํานักงานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง
แห่งชาติในการจัดการโครงสร้างการบริ หารในระดับชาติ (สํานักงานเศรษฐกิจการคลัง, 2558) โดยรู ปแบบ และ
กลไกดังกล่าวนี้ เป็ นพื้นฐานการบริ หารองค์กรในลักษณะที่เป็ นกองทุนที่หน่วยงานที่รัฐได้เข้ามาส่ งเสริ มนั้นได้
สร้างไว้เป็ นหลักตั้งต้นในการบริ หารจัดการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง
ความคาดหวังของการดาเนินงานกองทุนหมู่บ้านและชุมชนเมือง
จากการสัมภาษณ์ผนู ้ าํ ชุมชน คณะกรรมการกองทุน และผูน้ าํ องค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น จํานวน 31 คน
โดยสัมภาษณ์ถึงประเด็นความคาดหวังการดําเนินงานกองทุนดังกล่าว สามารถจําแนกได้ 10 ประเด็น ดังนี้
1. เพิ่มทุนให้กบั ชาวบ้านเพือ่ การประกอบอาชีพ (ร้อยละ 97 ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล)
2. เป็ นแหล่งพึ่งพาเงินทุนของชาวบ้านในยามฉุ กเฉิ น (ร้อยละ 91 ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล)
3. สวัสดิการชุมชน (ร้อยละ 91 ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล)
4. เป็ นการพัฒนาเศรษฐกิจขนาดย่อมภายในชุมชน (ร้อยละ 80 ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล)
่ โอกาสให้กบั คนในชุมชนในการเข้าถึงแหล่งเงินทุน (ร้อยละ 71 ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล)
5. เป็ นการเพิม
6. พัฒนาอาชีพ และกิจกรรมภายในท้องถิ่น (ร้อยละ 66 ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 165
-------------------------------------------------------------------------------
7. ท้องถิ่นมีทุนในการพัฒนาชุมชนของตนเอง (ร้อยละ 66 ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล)
8. เป็ นการสร้างฐานการมีส่วนร่ วมของคนในชุมชน (ร้อยละ 57 ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล)
9. เป็ นการฝึ กการออมให้กบ ั คนในชุมชน (ร้อยละ 54 ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล)
10. เป็ นทุนตั้งต้นสําหรับกลุ่มสมาชิกในการเริ่ มดําเนิ นกิจกรรม (ร้อยละ 54 ของผูใ้ ห้ขอ้ มูล)
อย่างไรก็ตาม จากข้อมูลความคาดหวังของการดําเนินงานกองทุนนี้ หากพิจารณาว่าความคาดหวังที่สาํ คัญ
ก็คือการเพิ่มทุนให้กบั ชาวบ้านเพื่อประกอบอาชีพซึ่งนับว่าเป็ นหนึ่งในวัตถุประสงค์หลักของกองทุนนี้ ความ
คาดหวังอย่างอื่นนั้นก็สมั พันธ์กบั สภาพเศรษฐกิจของชาวบ้านเป็ นสําคัญ ดังนั้น จึงสามารถกล่าวได้วา่ ความ
คาดหวังของการดําเนินงานกองทุนนั้นมุ่งเป้าไปที่การเพิม่ ทุนให้กบั ชาวบ้านเพื่อพัฒนาอาชีพ และยกระดับคุณภาพ
ชีวิต ตลอดจนผลพลอยได้ (outcome) จะเป็ นเรื่ องของสวัสดิการที่เกิดขึ้นจากการเจริ ญงอกเงยของกองทุน
อย่างไรก็ตาม ในความคาดหวังดังกล่าวพบว่า สอดคล้องกับเป้าหมายของสถาบันการดําเนินงานของ
กองทุนที่จดั ตั้งขึ้น ที่มุ่งพัฒนาให้เป็ นสถาบันการเงินในชุมชนเพื่อเป็ นฟันเฟื องขับเคลื่อนธุรกิจในกลุ่มฐานราก เพื่อ
นําไปสู่ การขับเคลื่อนเศรษฐกิจในระดับประเทศต่อไป (Lancaster, 2013) เช่นเดียวกันกับรายงานของ
Chandoevwit and Ashakul (2008) รายงานว่าการดําเนิ นงานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนมีผลต่อการเพิ่มขึ้นของ
รายได้เกษตรกรใน ซึ่งเป็ นการเพิม่ ขึ้นในหน่วยการผลิต อันได้แก่ รายได้จากการขายผลผลิต และผลผลิตที่เพิม่ ขึ้น
เป็ นต้น
แนวทางการบริ หารชุ มชนเมืองในมิตผ ิ ้นู าชุ มชน และกรรมการกองทุน
สําหรับผูน้ าํ ชุมชนส่ วนมากจะเป็ นประธานกองทุนในชุมชน และมีคณะกรรมการหมู่บา้ นเป็ น
คณะกรรมการกองทุนร่ วมด้วย ซึ่งส่ วนใหญ่จะมีการแบ่งเป็ นฝ่ ายต่างๆ ตามโครงสร้างของหน่วยงานรัฐบาล ผ่าน
หน่วยงานพัฒนาชุมชน จัดตั้งขึ้น โดยข้อคิดเห็นของผูใ้ ห้ขอ้ มูลจํานวน 31 คนในเรื่ องการบริ หารจัดการกองทุน
หมู่บา้ นและกองทุนเมือง แบ่งได้เป็ น 7 ประเด็นหลักดังนี้
1. ทุกครอบครัวจะต้องมีโอกาสเข้าถึงกองทุนไม่วา่ ด้วยเงื่อนไขใด แต่จะต้องพิจารณาถึงศักยภาพรวมถึง
ความสามารถในการการจ่ายคืนกองทุน (คิดเป็ นร้อยละ 85)
2. สําหรับการอนุมตั ิการยืม และการนําเงินจากกองทุนดังกล่าวนี้ จะต้องผ่านความเห็นชอบของ
คณะกรรมการกองทุน ทุกระดับของคณะกรรมการ แต่อย่างไรก็ตาม จะต้องเป็ นไปตามกฎระเบียบของกองทุนที่มี
การกําหนดไว้ ทั้งระดับของคุณสมบัติสมาชิกจากส่ วนกลาง และระเบียบของชุมชนที่มีการวางกฎระเบียบเพื่อให้
เหมาะสมกับสภาพของบริ บทของกองทุน (คิดเป็ นร้อยละ 85)
3. สมาชิกกองทุนจําเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องเป็ นคนในชุมชน และอาศัยอยูใ่ นชุมชนไม่นอ ้ ยกว่า 6 เดือน
เพราะเคยมีหลายกรณี คนมาเช่าบ้านในชุมชนแล้วทําเรื่ องยืมเงินกองทุน เมื่อมีการย้ายออกไปจากที่พกั ก็ไม่ได้
จ่ายเงินเข้ากองทุนหมู่บา้ น ส่ งผลให้กองทุนหมู่บา้ นสูญเสี ยเงินกองทุน และทําให้ผคู ้ ้ าํ ประกันขัดแย้งกับ
คณะกรรมการผูด้ ูแลเงินกองทุน (คิดเป็ นร้อยละ 80)
4. สําหรับการใช้เงินกองทุนเพื่อไปทําประโยชน์สาธารณะ จะต้องมีคณะกรรมการตรวจสอบการใช้เงิน
และประเมินผลการดําเนินงานตามวัตถุประสงค์ของการใช้เงินกองทุน (คิดเป็ นร้อยละ 80)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 166
-------------------------------------------------------------------------------
5. การเพิ่มหลักทรัพย์ในการค้าประกัน อย่างเช่นการเปิ ดบัญชีออมทรัพย์สจั จะ หรื อการลงทะเบียนผลผลิต
เป็ นต้น (คิดเป็ นร้อยละ 80)
6. การใช้เงินที่เป็ นผลกําไรจากเงินกองทุนหมู่บา้ น และชุมชนเมืองนั้นจําเป็ นจะต้องนํามาใช้พฒ
ั นาอาชีพ
ของคนในชุมชน เพื่อเพิ่มประสิ ทธิภาพในการใช้กองทุนหมู่บา้ นเพื่อยกระดับคุณภาพชีวิตของคนในชุมชน
ตลอดจนการลดความเสี่ ยงในการที่สมาชิกกูไ้ ปแล้วไม่มีศกั ยภาพในการใช้หนี้กองทุน (คิดเป็ นร้อยละ 71)
7. สําหรับการจัดทําบัญชีการเงินของกองทุน และรายงานการใช้เงินกองทุนอย่างละเอียดและเป็ นระบบ
สามารถตรวจสอบได้ท้ งั ระดับภายใน และภายนอก ทั้งนี้จาํ เป็ นอย่างยิง่ ที่อาจจะต้องพัฒนาเครื อข่ายกองทุนเพื่อการ
ตรวจสอบและเรี ยนรู ้ในเรื่ องการบริ หารจัดการร่ วมกันระหว่างชุมชน และชุมชน ที่อยูใ่ กล้เคียงกัน (คิดเป็ นร้อยละ
71)
อย่างไรก็ตาม การดําเนินการดังกล่าวนี้เป็ นการเพิ่มโอกาสให้คนในชุมชนเข้าถึงแหล่งกองทุนเพิ่มมากขึ้น
รวมถึงควบคุมการดําเนินงานของคณะกรรมการให้โปร่ งใสและปลอดจากการทุจริ ต จําเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องอาศัย
ฐานความรู ้ในด้านการบริ หารจัดการกองทุนเข้ามาจัดการ ซึ่งสอดคล้องกับงานวิจยั ของ วัชรพงศ์ เพชรรัตน์ และ
จรัสดาว คงเมือง (2553) ได้แสดงให้เห็นว่าโดยการดําเนินงานของกองทุนนั้นมีความเหมาะสมเป็ นอย่างยิง่ แต่การ
ดําเนินงาน ของคณะกรรมการดําเนินงานส่วนมากยังขาดความรู ้เรื่ องการบริ หารจัดการกองทุนอยู่ และจําเป็ นอย่าง
ยิง่ ที่จะต้องเพิม่ เติมความรู ้ในด้านดังกล่าวนี้เพื่อลดปัญหาและข้อผิดพลาดในการบริ หารกองทุน ซึ่งข้อคิดเห็นด้าน
ความรู ้ในการจัดการดังกล่าวนี้สอดคล้องกับการศึกษาของ และ คะนึงนิจ ศิริสมบูรณ์ และคณะ (2553) ที่มุ่งเน้นถึง
ว่าการให้ความรู ้ความเข้าใจด้านการบริ หารจัดการนั้น คือ หนึ่งกลยุทธ์ที่ขบั เคลื่อนการดําเนินงานกองทุนได้อย่างมี
ประสิ ทธิภาพ นอกจากนี้ สิ่ งที่น่าสนใจเพิ่มเติมจากแนวคิดของ ไพรริ นทร์ พฤตินอก (2555) ในมุมมองที่วา่
กระบวนการใช้ทุนทางสังคมในการบริ หารจัดการกองทุนหมู่บา้ น คือ การใช้ความสัมพันธ์กนั ในชุมชนไม่วา่ จะ
เป็ นเครื อญาติหรื อความอาวุโส ซึ่งเป็ นฐานที่สาํ คัญในสังคมไทยเข้ามาร่ วมในการจัดการกองทุนดังกล่าวนี้เพื่อให้
สําฤทธิ์ผล แต่อย่างไรก็ตาม แม้วา่ แนวคิดดังกล่าวนี้แสดงให้เห็นถึงจุดแข็งของทุนทางสังคมในชนบท หากแต่
ระบบดังกล่าวจําเป็ นจะต้องอยูภ่ ายใต้ระบบการตรวจสอบและติดตามอย่างมีประสิ ทธิผลเพื่อให้กองทุนนั้นสามารถ
ดํารงอยูไ่ ด้อย่างยัง่ ยืน โดยรู ปแบบดังกล่าวเป็ นการผสมผสานกันระหว่างการจัดการกองทุน โดยใช้ระบบทุนทาง
สังคม ซึ่ง Pakdeewut (2012) ได้รายงานว่า การบริ หารจัดการกองทุนที่ดีที่สุดนั้นต้องมีการจัดการแบบผสมผสาน
(integrated) โดยการมีสถาบันกองทุน และมีเป้าหมายร่ วมกัน นอกจากนี้กองทุนนั้นไม่ใช่มีเฉพาะการกูย้ มื หากแต่
จะต้องมีการบริ หารจัดการที่หลากหลายและเหมาะสม ตลอดจนตอบสนองต่อสมาชิก และชุมชนมากที่สุด
แนวทางการบริหารจัดการกองทุนหมู่บ้านและชุ มชนเมืองในมุมมองของผู้เชี่ยวชาญ
จากการสนทนากับผูเ้ ชี่ยวชาญพบว่า การบริ หารกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนนั้น จําเป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องมี
การองค์ประกอบหลัก 5 ประการ คือ
1. ผูน
้ าํ (Leader) ได้แก่ ผูท้ ี่มีอาํ นาจในการบริ หารจัดการกองทุนสู งสุ ด ซึ่งได้แก่ ประธาน รวมถึง
คณะกรรมการต้องมีภาวะผูน้ าํ (leaderships) และจําเป็ นต้องสร้างความศรัทธาเชื่อมัน่ ให้กบั คนในองค์กร หรื อ
สมาชิกกองทุนให้เป็ นที่ยอมรับในเรื่ องความซื่อสัตย์ (honest) และการเสี ยสละ (sacrifice) เพื่อให้สมาชิกได้
เชื่อถือและเคารพ อย่างไรก็ตาม ประเด็นผูน้ าํ ยังสัมพันธ์กบั คณะกรรมการกองทุนอีกด้วย ดังรายงานของ จริ ยา วงศ์
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 167
-------------------------------------------------------------------------------
กําแหง (2550) ได้กล่าวว่า การบริ หารจัดการกองทุนหมู่บา้ นนั้นปัจจัยด้านความเป็ นผูน้ าํ ตลอดจนคณะกรรมการมี
ความสําคัญถึงร้อยละ 47.6 ที่ส่งผลต่อประสิ ทธิภาพการดําเนินงานของกองทุน แต่อย่างไรก็ตาม ในประเด็น
ดังกล่าวนี้จะรวมไปถึงความสามารถในการบริ หารจัดการองค์การของผูน้ าํ ร่ วมด้วย
2. การมีส่วนร่ วม (Participation) จากการดําเนิ นงานที่ผา่ นมาด้านกองทุน การมีส่วนร่ วมนับว่าเป็ นจุด
หนึ่งที่จะต้องพัฒนาร่ วมกันกับการเจริ ญเติบโตของกองทุน เนื่องจากบทเรี ยนที่ผา่ นมาแม้วา่ กองทุนจะช่วยให้
ชุมชนเกิดการพัฒนาความสัมพันธ์ในด้านเครื อข่ายด้านเศรษฐกิจ แต่การมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจในการบริ หาร
จัดการกองทุนของสมาชิกนั้นยังนับได้วา่ มีส่วนที่พฒั นาการน้อยมาก (พีระพงษ์ สุ ดประเสริ ฐ, 2552) อย่างไรก็ตาม
การดําเนินงานจากรายงานของ นิรัช อินนุพฒั น์ (2545) ได้แสดงให้เห็นว่า การมีส่วนร่ วมของสมาชิกในกองทุน
นั้น นอกจากเป็ นเพียงผูก้ แู้ ล้วยังมีส่วนร่ วมในการดําเนินงานของกองทุนน้อยมาก ซึ่งสาเหตุหนึ่งอาจจะมาจากเรื่ อง
การสื่ อสาร และ/หรื อการประชาสัมพันธ์ให้กบั สมาชิกเหล่านั้นรับทราบถึงบทบาทของสมาชิกของกองทุน
3. การบริ หารทรัพยากรมนุษย์ (Human resource management) ในประเด็นนี้ จะครอบคลุมไปถึงเรื่ อง
การพัฒนาความรู ้ของคน อันได้แก่ ความรู ้ดา้ นการบริ หารจัดการของทุนของผูน้ าํ คณะกรรมการกองทุน และ
สมาชิกในกลุ่มกองทุน สําหรับการบริ หารจัดการทรัพยากรมนุษย์น้ นั จําเป็ นต้องมุ่งในการพัฒนายกระดับความรู ้
ความสามารถของคน เช่น บทบาทของผูน้ าํ หรื อองค์ความรู ้ดา้ นการบริ หารกองทุนของคณะกรรมการ อาจจะต้องมี
การเข้ารับการอบรม การจัดให้มีผเู ้ ชียวชาญเข้ามาให้ความรู ้ให้กบั กลุ่มคณะกรรมการ เป็ นต้น ส่ วนทางด้านสมาชิก
ของกลุ่มกองทุนนั้น อาจอยูใ่ นรู ปการพัฒนาฐานอาชีพและยกระดับคุณภาพชีวิตของกลุ่มสมาชิก เช่น การพัฒนา
กลุ่มอาชีพเสริ ม หรื อการรวมกลุ่มการพัฒนาผลิตภัณฑ์ข้ นึ มาในชุมชน เพื่อเพิ่มขีดความสามารถให้แก่สมาชิกใน
ชุมชน และลดโอกาส การผิดชําระหนี้กบั กองทุนอีกด้วย
4. การเข้าถึงข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูล สําหรับประเด็นนี้ คือ การที่สมาชิกสามารถรับรู ้ขอ้ มูลของ
สถานภาพของกองทุน รวมถึงทิศทางการดําเนินงานของกองทุน ซึ่งสัมพันธ์กบั การศึกษาของ พนม สิ งห์สาย และ
คณะ (2548) ที่พบว่า การที่การตรวจสอบข้อมูลของคณะกรรมการนั้นมีผลต่อความเชื่อมัน่ และความสําเร็ จของ
กองทุน ทั้งนี้ จากการสัมภาษณ์ผรู ้ ู ้สามารถจําแนกการตรวจสอบออกเป็ น 2 ระดับ คือ
1) การตรวจสอบโดยสมาชิก กล่าวคือ การดําเนิ นงานของคณะกรรมการนั้น สมาชิกกองทุนสามารถ
ตรวจสอบได้ ซึ่งอาจเป็ นการนําเสนอข้อมูลความเคลื่อนไหวของกองทุนในวาระการประชุมประจําไตรมาส หรื อ
ประจําปี และ/หรื อประจําเดือน ซึ่งขึ้นอยูก่ บั สภาพบริ บทของกองทุนแต่ละหมู่บา้ น แต่ละชุมชน ซึ่งการจัดทําข้อมูล
ดังกล่าวจําเป็ นอย่างยิง่ ที่ตอ้ งมีการจําแนกชัดเจน เนื่องจากในสภาพปัจจุบนั แต่ละหมู่บา้ นนั้นมีกองทุนที่หลากหลาย
นอกเหนือจากกองทุนหมู่บา้ น เช่น กองทุนสตรี กองทุนออมทรัพย์ กองทุนสัจจะออมทรัพย์ เป็ นต้น ซึ่งส่ วนใหญ่
จะใช้คณะกรรมการชุดเดียวกันบริ หาร ดังนั้น การจัดทาข้อมูล การจัดเก็บข้อมูล และการนําเสนอข้อมูล จึงเป็ นสิ่ งที่
สําคัญอย่างยิง่ ตลอดจนการตรวจสอบจากสมาชิกก็มีความสําคัญเป็ นอย่างมาก เนื่องจากเป็ นกลุ่มคนที่ใกล้ชิด และ
ได้รับผลกระทบโดยตรงหากการดําเนินงานกองทุนนั้นมีปัญหา
2) การตรวจสอบโดยหน่วยงานของรัฐ และคณะกรรมการกองทุนระดับอําเภอ ทั้งนี้ การตรวจสอบระดับ
อําเภอจะเป็ นอีกช่องทางหนึ่งในการเฝ้าระวัง และชี้แนะ รวมถึงการให้ความรู ้ดา้ นการบริ หารงานกองทุนให้กบั
ชุมชนได้อย่างใกล้ชิด นอกจากนี้ การตรวจสอบโดยหน่วยงานของรัฐจะเป็ นกลไกการป้องปรามการดําเนินงานที่
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 168
-------------------------------------------------------------------------------
ไม่เหมาะสมของคณะกรรมการดําเนินงานกองทุน เนื่องจากหน่วยงานของรัฐนั้นจะมีช่องทางการรับเรื่ องร้องเรี ยน
จากสมาชิก ซึ่งช่องทางนี้อาจเข้าถึงสํานักงานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติโดยตรง เพื่อให้เกิดความ
ระมัดระวังการดําเนินงานของคณะกรรมการกองทุนระดับหมู่บา้ นและชุมชนอีกด้วย
5. การแบ่งปั นผลประโยชน์ที่เหมาะสม ในประเด็นดังกล่าวนี้ จะพบว่าเป้ าหมายของกองทุนนั้นจะมี
เป้าหมายหลัก และเป้าหมายรอง โดยเป้าหมายหลักก็จะเป็ นสองส่ วนใหญ่ คือ เป็ นการเสริ มทุนหมุนเวียนให้กบั
ชาวบ้านและคนในชุมชน ซึ่งนัน่ อยูใ่ นส่ วนของเศรษฐกิจระดับย่อย แต่เศรษฐกิจระดับประเทศ ก็คือ การกระตุน้ ให้
เกิดการใช้จ่ายในระบบเศรษฐกิจ นัน่ อาจเป็ นเป้าหมายหลัก แต่อย่างไรก็ตาม ผลกําไรที่เกิดขึ้นจากกองทุนนั้นย่อม
สะท้อนกลับมาสู่ ตน้ ทุนพัฒนาชุมชน ทั้งนี้ จําเป็ นอย่างมากที่คณะกรรมการกองทุนต้องจัดสรรแบ่งปัน
ผลประโยชน์ให้เหมาะสม ไม่วา่ จะอยูใ่ นรู ปของการปันผล การลงทุน และ/หรื อนําไปสร้างกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์
ต่อชุมชน สําหรับการแบ่งปันผลประโยชน์ดงั กล่าวนี้จาํ เป็ นอย่างยิง่ ที่จะต้องผ่านมติสมาชิก และสมาชิกจะต้องมี
ส่ วนร่ วมตั้งแต่ระดับเริ่ มต้นคิดโครงการหรื อกิจกรรม ตลอดจนการทํากิจกรรม เนื่องจากการแบ่งปันผลประโยชน์
ดังกล่าวนั้นต้องสัมพันธ์กบั การมีส่วนร่ วม และการตรวจสอบของสมาชิกร่ วมด้วย
สําหรับแนวทางการบริ หารจัดการกองทุน ที่สมาชิกกองทุนที่กเู้ พื่อไปลงทุนเพื่อการผลิตเป็ นหลัก
สอดคล้องกับ Boonperm และคณะ (2007) ได้รายงานว่าส่ วนใหญ่ยงั คงอยูใ่ นมิติที่เกษตรกร ได้กยู้ มื เงินลงไปเพื่อ
ลงทุนการผลิต เพื่อเพิ่มผลผลิตทางการเกษตร แต่อย่างไรก็ตาม พัฒนาการของกองทุนดังกล่าวนี้ได้มีมาอย่าง
ต่อเนื่องจนกระทัง่ บางส่ วนได้มีการพัฒนาไปสู่ การดําเนินการจัดตั้งเป็ น “วิสาหกิจชุมชน” ซึ่งเป็ นส่ วนที่
งอกเงยจากเงินในกองทุนหมู่บา้ นและชุมชน
จากการดําเนินการศึกษาครั้งนี้พบว่า การเกิดกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองเริ่ มมาจากนโยบายทาง
การเมือง และได้มีรูปแบบการบริ หารจัดการโดยแบ่งโครงสร้างออกเป็ น 4 ระดับ ได้แก่ ระดับประเทศ หน่วยงาน
รับผิดชอบ ระดับอําเภอ และกองทุน อย่างไร
ก็ตาม การเริ่ มต้นของกองทุนเป็ นการจัดตั้งโดยหน่วยงานรัฐเข้ามาดําเนินการ แต่เมื่อระยะเวลาผ่านไปสัก
ระยะหนึ่ง พบว่า ชุมชนเกิดการเรี ยนรู ้ และมีการจัดการที่แตกต่างกันออกไป เป็ นไปตามความคาดหวังของแต่ละ
กองทุน ทั้งนี้ ความคาดหวังของกองทุนส่ วนใหญ่น้ นั คือ การเพิ่มทุนให้กบั ชาวบ้านเพื่อการประกอบอาชีพ (ร้อยละ
97) รองลงมา คือ เป็ นแหล่งพึ่งพาเงินทุนของชาวบ้านในยามฉุ กเฉิ น (ร้อยละ 91) และสวัสดิการชุมชน (ร้อยละ
91) ตามลําดับ นอกจากนี้ ตามทัศนะของคณะกรรมการกองทุน และผูน ้ าํ ชุมชนยังพบว่าความเป็ นธรรม และความ
เท่าเทียมในโอกาสเข้าถึงกองทุนนั้นเป็ นสิ่ งที่สาํ คัญ นอกจากนั้น กระบวนการติดตามและตรวจสอบก็มีความสําคัญ
อย่างยิง่ ในการบริ หารจัดการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง อย่างไรก็ตาม ในมุมมองของผูเ้ ชี่ยวชาญสําหรับแนว
ทางการบริ หารจัดการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง ได้ตระหนักถึงผูน้ าํ และคณะกรรมการว่ายังเป็ นกลไกหลักใน
การบริ หารจัดการกองทุนให้ประสบผลสําเร็ จ ตลอดจนทรัพยากรมนุษย์ที่ตอ้ งพัฒนาโดยเฉพาะด้านองค์ความรู ้ใน
ด้านการบริ หารจัดการกองทุนดังกล่าวนั้นเพื่อให้มีความเป็ นธรรมและเกิดประสิ ทธิภาพสู งสุ ด กระบวนการ
ตรวจสอบจําเป็ นต้องมีท้ งั ระดับภายในและภายนอก เพือ่ ให้เกิดการดําเนินงานที่โปร่ งใส อย่างไรก็ตาม การ
ดําเนินงานโดยการมีส่วนร่ วมของสมาชิกในหมู่บา้ น และชุมชนเมือง นับว่าเป็ นฟันเฟื องในการบริ หารจัดการ
กองทุนเพื่อให้มีประสิ ทธิภาพสู งสุ ดและเกิดความยัง่ ยืนของกองทุนหมู่บา้ นและชุมชน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 169
-------------------------------------------------------------------------------
หลักการพัฒนากองทุนเป็ นสถาบันการเงินชุ มชน
สถาบันการเงินชุมชน
นโยบาย : สถาบันการเงินชุมชน
รัฐบาลได้แถลงนโยบายต่อรัฐสภา เมื่อวันที่ ๒๓ มีนาคม ๒๕๔๘ ว่าจะพัฒนาระบบการเงินที่สนับสนุน
เศรษฐกิจฐานราก จากกองทุนหมู่บา้ นที่มีความพร้อมสู่ ธนาคารหมู่บา้ น ที่ให้โอกาสประชาชนเข้าถึงแหล่งเงินทุน
อย่างยัง่ ยืน
ความหมาย : สถาบันการเงินชุมชน
สถาบันการเงินชุมชน หมายถึง สถาบันการเงินของชุมชนที่จดั ตั้งขึ้นโดยกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง
เพื่อให้บริ การทางการเงินที่สามารถตอบสนองความต้องการแก่ประชาชนในชุมชนซึ่งขาดโอกาสในการเข้าถึง และ
ใช้บริ การทางการเงินของสถาบันการเงินทัว่ ไป ตามวัตถุประสงค์หลักเกณฑ์ มาตรฐาน และรู ปแบบ ซึ่ง
คณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติกาํ หนด
กรอบแนวคิด : สถาบันการเงินชุมชนเป็ นองค์กรทางการเงินของชุมชน
สถาบันการเงินชุมชน : องค์กรกลางทางการเงินของชุมชน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 170
-------------------------------------------------------------------------------

วัตถุประสงค์ : สถาบันการเงินชุมชน
๑. แหล่งเก็บออมเงินที่มีความมัน่ คง ปลอดภัย และมีผลตอบแทนที่เหมาะสม
๒. แหล่งเงินทุน เพื่อการพัฒนาเศรษฐกิจและบรรเทาความเดือดร้อนทั้งในระดับบุคคลครัวเรื อน และ
ชุมชน
๓. เสริ มสร้างสวัสดิการ และสวัสดิภาพของชุมชน
๔. เสริ มสร้างวินยั ทางการเงิน และให้คาํ ปรึ กษาทางการเงินแก่ชุมชน
๕. เป็ นศูนย์กลางการเรี ยนรู ้ร่วมกันในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของชุมชน

รู ปแบบ : สถาบันการเงินชุมชน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 171
-------------------------------------------------------------------------------
เป็ นกิจกรรมส่ วนหนึ่งของกองทุนหมู่บา้ นหรื อกองทุนชุมชนเมือง

กองทุนหมู่บา้ นหรื อกองทุนชุมชนเมืองหลายกองทุนร่ วมกันจัดตั้งขึ้น

เกิดจากการยุบรวมกองทุนหมู่บา้ นหรื อกองทุนชุมชนเมืองเข้าด้วยกัน


คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 172
-------------------------------------------------------------------------------

หมู่บา้ นร่ วมกับกลุ่มการเงินในชุมชนและกองทุนหมู่บา้ นร่ วมกันจัดตั้ง

กิจกรรม : สถาบันการเงินชุมชน
► ส่ งเสริ ม การออมเงินของชุมชน ทั้งสมาชิกและประชาชน
► รับฝากเงินจากสมาชิก และประชาชน
► ให้สินเชื่อแก่สมาชิกและประชาชน หรื อองค์กรการเงินอื่น
► กูย้ ม
ื เงินจากแหล่งเงินทุนอื่น ตามที่คณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองกําหนด
► ให้บริ การธุรกรรมทางการเงินและธุรกรรมอื่นๆ ที่อาํ นวยความสะดวกและตอบสนองความต้องการ
ให้แก่สมาชิกและประชาชน
► จัดสวัสดิการและสวัสดิภาพแก่สมาชิกและชุมชน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 173
-------------------------------------------------------------------------------
► จัดสรรรายได้เพื่อดําเนิ นการให้บริ การและพัฒนาศักยภาพ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 174
-------------------------------------------------------------------------------
กระบวนการและขั้นตอนการพัฒนา : กองทุนเป็ นสถาบันการเงินชุมชน

ขั้นตอนที่ ๑
๑. เครื อข่ายระดับอําเภอและระดับตําบล จะร่ วมกันค้นหา (Scan) กองทุนที่มีความประสงค์จะยกระดับ
เป็ นสถาบันการเงินชุมชนเข้าสู่ กระบวนการคัดเลือก
๒. จากนั้นเครื อข่ายระดับอําเภอดําเนินการคัดเลือก (Screen) กองทุนที่มีความประสงค์โดยใช้กาํ หนด
มาตรฐานและคุณสมบัติ เป็ นเครื่ องมือในการคัดเลือก และกําหนดว่ากองทุนใดผ่านการคัดเลือกกองทุนใดไม่ผา่ น
การคัดเลือก (กองทุนที่ไม่ผา่ นการคัดเลือก ครื อข่ายระดับอําเภอจะดําเนินการพัฒนาเบื้องต้นต่อไป)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 175
-------------------------------------------------------------------------------

ขั้นตอนที่ ๒
๑. กองทุนฯ ที่ผา่ นในการคัดเลือกจะเข้าสู่ กระบวนการพัฒนา โดยการฝึ กอบรมให้มีความรู ้ความสามารถ
ในการดําเนินกิจกรรมสถาบันการเงินชุมชน
๒. เมื่อผ่านการฝึ กอบรม จะทําการฝึ กปฏิบตั ิ โดยให้ทดลองใช้โปรแกรมธนาคาร ผูฝ้ ึ กอบรมจะเป็ นผู ้
ประเมินว่าผ่านการฝึ กอบรม หากยังไม่สามารถใช้โปรแกรมได้จะทําการพัฒนาโดยการฝึ กอบรมซํ้า

ขั้นตอนที่ ๓
๑. ผูท้ ี่ผา่ นการฝึ กอบรมและการทดลองปฏิบตั ิใช้แล้ว จะต้องไปปฏิบตั ิจริ ง และเรี ยนรู ้เพิ่มเติม จนได้
ระยะเวลาหนึ่ง
๒. สํานักงานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่งชาติ และหรื ออนุกรรมการสนับสนุนระดับจังหวัดจะทํา
การประเมินโดยใช้เกณฑ์มาตรฐานสถาบันการเงินชุมชน เป็ นเครื่ องมือการประเมินและออกหนังสื อรับรอง
มาตรฐานสถาบันการเงินชุมชน กรณี ที่ไม่ผา่ นการประเมินจะส่ งให้เครื อข่ายระดับจังหวัดและอําเภอวางแผนการ
พัฒนาเพื่อแก้ไขข้อบกพร่ องและส่ งให้ สทบ. และหรื ออนุกรรมการสนับสนุนฯ ระดับจังหวัดประเมิน ถ้ายังไม่ผา่ น
จะส่ งกลับไปให้เครื อข่ายระดับตําบลอําเภอดําเนินการพัฒนาและคัดเลือกเข้าสู่ ระบบการพัฒนาต่อไป
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 176
-------------------------------------------------------------------------------

มาตรฐานและคุณสมบัติของกองทุนทีจ
่ ะพัฒนาเข้ าสู่ มาตรฐานสถาบันการเงินชุ มชน
๑. สถานภาพของสถาบันการเงินชุ มชน
เป็ นกองทุนหมู่บา้ น หรื อกองทุนชุมชนเมืองซึ่งจดทะเบียนนิติบุคคล ตามพระราชบัญญัติกองทุนหมู่บา้ น
และชุมชนเมืองแห่งชาติ พ.ศ.๒๕๔๗
๒. ปัจจัย ความสั มพันธ์ ภายใน
สมาชิก
• สมาชิก มีส่วนร่ วมในการถือหุ น ้ และการออม อย่างสมํ่าเสมอ
• สมาชิกเข้าร่ วมเวทีการเรี ยนรู ้ การประชุมหรื อประชาคม มีความเข้าใจและให้การสนับสนุ นกองทุน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 177
-------------------------------------------------------------------------------

กรรมการ
• คณะกรรมการ สามารถบริ หารจัดการกองทุนได้ดี โปร่ งใส เป็ นไปตามวัตถุประสงค์และมติของที่ประชุม
สมาชิกกองทุน
• คณะกรรมการมีความรู ้ ความเข้าใจที่ถูกต้อง เกี่ยวกับบทบาท ภารกิจของสถาบันการเงินชุมชน และการ
บริ หารจัดการสถาบันการเงินชุมชน
• มีโครงสร้าง การบริ หารและกําหนดหน้าที่ ความรับผิดชอบเป็ นลายลักษณ์อกั ษรและปฏิบตั ิ หรื อ
ดําเนินการตามที่กาํ หนดไว้
• กรรมการและหรื อคณะกรรมการไม่เคยถูกฟ้องร้อง ดําเนิ นคดีและถูกศาลพิพากษาว่ามีความผิด
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 178
-------------------------------------------------------------------------------
ระเบียบ
• มีระเบียบ ข้อบังคับ เป็ นลายลักษณ์อกั ษรชัดเจนในการดําเนิ นงานกองทุนฯ
• มีระบบการตรวจสอบและการควบคุม การดําเนินงานและการบริ หารงานกองทุน
กิจการ
• มีกิจกรรมระดมเงินออม และการให้กู ้
• มีความสมํ่าเสมอในการให้บริ การ
• มีการจัดสวัสดิการและสวัสดิภาพ แก่สมาชิกและชุมชน
• มีการจัดการเรี ยนรู ้ เพื่อพัฒนาอาชีพ และการตลาดให้สมาชิก
การบริ หารงาน
• มีการจัดทํางบการเงิน ได้ถูกต้องและเป็ นปั จจุบน ั
• มีความสามารถในการหารายได้และทํากําไร
• มีหนี้ คา้ งชําระเกิน ๓ เดือน ตํากว่าร้อยละ ๒ ของเงินให้กยู้ ม

• มีเงินสํารองไม่ต่าํ กว่าร้อยละ ๕ ของวงเงินกูย้ ม
ื แก่สมาชิกและเงินกูจ้ ากแหล่งเงินทุนภายนอก
๓. ปัจจัยและความสั มพันธ์ ภายนอก
• ได้รับการยอมรับจากภาคีพฒ ั นา อาทิ พัฒนาชุมชน การศึกษานอกโรงเรี ยนธนาคารกรุ งไทย / ออมสิ น /
ธ.ก.ส. และจากกองทุนหมู่บา้ นอื่น ๆ
• เคยหรื อได้รับการสนับสนุนงบประมาณ การดําเนิ นกิจกรรมต่าง ๆ จากหน่วยงานราชการ องค์กรเอกชน
และอื่น ๆ
• ได้รับการสนับสนุ นจากองค์กรปกครองส่ วนท้องถิ่น
๔. โครงสร้ างพืน้ ฐาน
• มีสถานที่เป็ นสํานักงานที่สะดวกแก่การใช้บริ การ
• มีคู่สายโทรศัพท์ เพื่อการสื่ อสารและเชื่อมโยงระบบฐานข้อมูลสารสนเทศ
• มีคอมพิวเตอร์ และอุปกรณ์ใช้ในการปฏิบตั ิงาน
หลักการ : พัฒนากองทุนเป็ นสถาบันการเงินชุมชน
ค้นหาตนเอง และมองความคาดหวังการเป็ นสถาบันการเงินชุมชน
ศึกษา
► ความรู ้สถาบันการเงินชุมชนที่จาํ เป็ น
► ประมวลองค์ความรู ้ที่มีอยู่
► วิเคราะห์ปัญหา และจุดอ่อนของกองทุน
► ความคาดหวังการเป็ นสถาบันการเงินชุมชน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 179
-------------------------------------------------------------------------------

พัฒนา
► สร้างตามรู ปแบบสถาบันการเงินชุมชนที่เหมาะสมกับกองทุน
► เรี ยนรู ้ กิจกรรม การบริ หารจัดการ และการปฏิบตั ิดว้ ยระบบสารสนเทศ
► มีระบบการควบคุม ตรวจสอบ และประเมินผลการบริ หารจัดการ

พัฒนากองทุน : สู่ มาตรฐานสถาบันการเงินชุมชน


การบริหารจัดการการเงินชุ มชน
► การวางแผนด้านการเงินและระบบการดําเนิ นการ
► การบริ หารการเงินและบัญชี และระบบการเงินฐานราก
► การบริ หารจัดการเพื่อลดความเสี่ ยง
► การควบคุม และการตรวจสอบ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 180
-------------------------------------------------------------------------------
จัดระบบสารสนเทศเพื่อการบริหารสถาบันการเงิน
การบริ หารกองทุนแบบอัตโนมัติ
► การบันทึกรายการสมาชิก หรื อลูกค้า
► บริ หารระบบบัญชี
► บริ หารระบบเงินกู ้ สัญญา คํานวนดอกเบี้ย
► บริ หารระบบเงินฝาก คํานวนดอกเบี้ย
► บริ หารระบบเงินหุ น้ คํานวนการปันผล
► ระบบรายงาน

พัฒนาสู่ ผลลัพธ์ ของสถาบันการเงินชุ มชน


► ความสามารถในการพึ่งพาตนเองอย่างยัง่ ยืน
► ความหลากหลายของบริ การทางการเงินแก่ชุมชน
► การขยายโอกาสการเข้าถึงและให้บริ การทางการเงินแก่คนจน
► ความพึงพอใจของสมาชิกและผูใ้ ช้บริ การ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 181
-------------------------------------------------------------------------------
มาตรฐาน : สถาบันการเงินชุ มชน

------------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 182
-------------------------------------------------------------------------------
 แนวข้ อสอบความรู้ เกีย่ วกับการพัฒนาชนบท เศรษฐกิจพอเพียง และงานกองทุน
1. การพัฒนาชุมชนตั้งอยูบ่ นพื้นฐาน ปรัชญา แนวคิด และหลักการที่ปรารถนาให้มีการเปลี่ยนแปลงทางด้าน
ใด
ก. ด้านเศรษฐกิจ ข. ด้านสังคม ค. ด้านการเมือง ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
2. หลักการพัฒนาชุมชนต่อไปนี้ หลักการข้อใดควรใช้ก่อนหลักการข้ออื่นๆ?
ก. การให้ความสําคัญกับคนในชุมชนเป็ นหลัก (Man – Center Development)
ข. การทํางานต้องค่อยเป็ นค่อยไป (Gradualness)
ค. การดึงประชาชนเข้ามาเกี่ยวข้องหรื อมีส่วนร่ วม (Participation)
ง. การใช้วิธีดาํ เนินงานแบบประชาธิปไตย (Democracy)
จ.สอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชน (Culture)
ตอบ ค.
3. ข้อใด ไม่ใช่ หลักการพัฒนาชุมชน
ก. สอดคล้องกับวัฒนธรรมชุมชน ข.ทํางานกับผูน้ าํ ท้องถิ่น
ค. รี บเร่ งเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย ง.พยายามใช้ทรัพยากรในชุมชนให้มากที่สุด
จ.พยายามใช้ทรัพยากรในชุมชนให้มากที่สุด
ตอบ ค.
4. ข้อใดเป็ นผูน้ าํ ที่เป็ นทางการ
ก. พระสงฆ์ ข.ครู ค. คนเฒ่าคนแก่ ง.เถ้าแก่โรงสี
ตอบ ข.
5. หลักการดําเนินงานพัฒนา (หลัก 4 ประการ) ของกรมการพัฒนาชุมชน ได้แก่?
ก. ประชาชน ประสานงาน ประหยัด ประเมิน ข.ประชาชน ประสานงาน ประโยชน์ ประหยัดหยัด
ค. ประชาชน ประสานงาน ประหยัด ประโยชน์ ง.ประชาชน ประชาธิปไตย ประสานงาน ประหยัด
จ. ประชาชน ประชาธิปไตย ประสานงาน ประเมิน
ตอบ ง.
6. วิธีการพัฒนาชุมชนมีวิธีการใหญ่ๆ อยู่ 2 วิธี คือ
ก. วิธีการให้การศึกษาแก่ชุมชน วิธีการจัดระเบียบชุมชน
ข. วิธีการเปลี่ยนแปลงในด้านความรู ้ วิธีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
ค. วิธีการให้การศึกษาแก่ชุมชน วิธีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
ง. วิธีการเปลี่ยนแปลงในด้านความรู ้ วิธีการจัดระเบียบชุมชน
จ. วิธีการเพิม่ พูนทักษะ วิธีการเปลี่ยนแปลงทัศนคติ
ตอบ ก.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 183
-------------------------------------------------------------------------------
7. วิธีการสอนซึ่งนักพัฒนาเลือกใช้โดยมุ่งให้ได้ผลถึงคนจํานวนมาก คือ
ก.การประชุม ข.การจัดนิทรรศการ
ค. การไปเยีย่ มไร่ นา ง.การสอนผ่านสื่ อสารมวลชน
จ.การทัศนศึกษา
ตอบ ง.
8. การให้การศึกษาเป็ นรายบุคคลซึ่งนักพัฒนาเลือกใช้ คือ
ก. การไปเยีย่ มไร่ นา ข.การสาธิต
ค. การอภิปราย ง.การทัศนศึกษา
จ.การสอนผ่านสื่ อสารมวลชน
ตอบ ก.
9. วิธีให้การศึกษางานพัฒนาชุมชนที่สามารถเข้าถึงชาวบ้านดีกว่าวิธีอื่นคือ
ก. การไปเยีย่ มบ้านและไร่ นา (Visiting) ข.การอภิปราย (Discussion)
ค. การสาธิต (Demonstration) ง.การจัดนิทรรศการ (Exhibition)
จ.ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
10. การไปเยีย่ มไร่ นา (Visiting) ไม่ควร ปฏิบตั ิเช่นไร
ก. มีของฝากที่เป็ นประโยชน์แก่ชาวบ้าน ข.หากจะมาเยีย่ มเยียนอีกควรแจ้งให้ทราบล่วงหน้า
ค. อยูน่ านเท่าใดก็ได้เพื่อให้ได้ขอ้ มูลมากที่สุด
ง.พยายามใช้ภาษาง่ายๆ หลีกเลี่ยงการใช้ศพั ท์เทคนิค
จ.ปล่อยให้ชาวบ้านพูดมากที่สุดและอย่าพยายามขัดจังหวะ
ตอบ ค.
11. วิธีให้การศึกษาในงานพัฒนาชุมชนวิธีใดช่วยให้คน้ พบผูน้ าํ ท้องถิ่น
ก. การไปเยีย่ มบ้านและไร่ นา (Visiting) ข.การอภิปราย (Discussion)
ค. การสาธิต (Demonstration) ง.งานจัดนิทรรศการ (Exbibition)
จ.ข้อ ก. และ ข.
ตอบ ข.
12. ข้อใด ไม่ควร ปฏิบตั ิในการจัดอภิปราย (Discussion)
ก. กลุ่มอภิปรายยิง่ ใหญ่ยงิ่ ดี ข.ให้ทุกคนได้พดู และแสดงออก
ค. ไม่ควรตําหนิเมื่อสมาชิกแสดงความคิดเห็น ง.ให้ประชาชนในท้องถิ่นทําการอภิปรายเอง
จ.ไม่ควรอภิปรายหลายๆ หัวข้อเรื่ องพร้อมกัน
ตอบ ก.
13. หลักการดําเนินงานพัฒนาชุมชนที่สาํ คัญ คือ
ก. การช่วยตัวเอง ข.การให้ประชาชนมีส่วนร่ วม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 184
-------------------------------------------------------------------------------
ค. การทําความเข้าใจวัฒนธรรมท้องถิ่น ง.การใช้ประชาธิปไตยเป็ นแนวทางดําเนินงาน
จ.ถูกทุกข้อ
ตอบ จ.
14. “การพัฒนาชนบทที่สามารถดําเนิ นการเปลี่ยนแปลงตามแนวทางที่ชุมชนนั้นพึงปรารถนา และมีการรักษา
สมดุลของสิ่ งแวดล้อมเพื่อการเปลี่ยนแปลงนั้นไปได้ยาวนาน”เป็ นความหมายของการพัฒนาชนบทตามทฤษฎีใด
ก.การพัฒนาชนบทโดยการพัฒนาชุมชน ข.การพัฒนาชนบทแบบผสมผสานหรื อบูรณาการ
ค. การพัฒนาชนบทโดยใช้ความจําเป็ นพื้นฐาน ง.การพัฒนาชนบทแนววัฒนธรรมชุมชน
จ.การพัฒนาชนบทที่ยงั่ ยืน
ตอบ จ.
15. การพัฒนาแบบยัง่ ยืน ประกอบด้วยปัจจัยในด้านใดบ้าง?
ก. เศรษฐกิจยัง่ ยืน สังคมยัง่ ยืน การเมืองยัง่ ยืน
ข.เศรษฐกิจยัง่ ยืน สังคมยัง่ ยืน การเมืองยัง่ ยืน วัฒนธรรมยัง่ ยืน
ค. เศรษฐกิจยัง่ ยืน สังคมยัง่ ยืน การเมืองยัง่ ยืน สิ่ งแวดล้อมยัง่ ยืน
ง. สิ่ งแวดล้อมยัง่ ยืน เศรษฐกิจยัง่ ยืน วัฒนธรรมยัง่ ยืน สังคมยัง่ ยืน การเมืองยัง่ ยืน
ตอบ ง.
16. ข้อใด มิใช่ ลักษณะโดยทัว่ ไปของสังคมชนบทไทย
ก. เชื่อโชคลาง ไสยศาสตร์ ข.ใช้เงินส่ วนใหญ่ไปในงานพิธีต่างๆ
ค. เป็ นคนกระเหม็ดกระแหม่ชอบเก็บเงินไว้เฉยๆ ง.มีโลกทัศน์เป็ นคนหัวโบราณ
จ.กระตือรื อร้น ตื่นตัว
ตอบ จ.
17. ประเทศไทย จัดอยูใ่ นข้อใดตามการแบ่งระดับการพัฒนา
ก. ประเทศด้อยพัฒนา ข.ประเทศกําลังพัฒนา
ค. ประเทศที่พฒั นาแล้ว ง.โลกที่หนึ่ง (The First World)
จ.โลกที่สอง (The Second World)
ตอบ ข.
18. “การพัฒนา” หมายถึง
ก. การเปลี่ยนแปลงที่กาํ หนดทิศทาง หรื อการเปลี่ยนแปลงที่ได้วางแผนไว้ล่วงหน้า
ข.การประดิษฐ์คิดค้นหรื อริ เริ่ มทําสิ่ งใหม่ๆ ขึ้นมา และนํามาใช้เป็ นครั้งแรก
ค. การเปลี่ยนแปลงไปในทางที่ดีข้ ึนของระบบต่างๆ ในสังคมที่ได้รับการยอมรับจากคนในสังคมนั้น
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
19. ข้อใด มิใช่ ลักษณะของการพัฒนา
ก. มีลกั ษณะเป็ นพลวัตร เกิดขึ้นอย่างต่อเนื่องแต่ไม่มีลาํ ดับขั้นตอน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 185
-------------------------------------------------------------------------------
ข.เป็ นการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นจากมนุษย์หรื ออาจจะเกิดขึ้นเอง
ค. มีลกั ษณะเป็ นวิชาการ
ง.เป็ นการเปลี่ยนแปลงทุกด้านให้ดีข้ ึนกว่าสภาพที่เป็ นอยูเ่ ดิม
จ.มีลกั ษณะเป็ นแผลและโครงการ
ตอบ ก.
20. “การพัฒนาชุมชน” มุ่งเน้นไปที่การเปลี่ยนแปลงในข้อใด
ก. มนุษย์ ข.ชุมชน ค. สังคม ง.วัฒนธรรม
จ.สิ่ งแวดล้อม
ตอบ ก.
21. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ตรงกับข้อใด
ก. Sufficiency Economy ข. Economy Sufficiency
ค. New Theory Agriculture ง. Theory New Agriculture
ตอบ ก.
22. ข้อใดกล่าวถูกต้องเกี่ยวกับหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ก. 2 ห่วง 3 เงื่อนไข สมดุล 4 มิติ ข. 3 ห่วง 2 เงื่อนไข สมดุล 3 มิติ
ค. 2 ห่วง 3 เงื่อนไข สมดุล 4 มิติ ง. 3 ห่วง 2 เงื่อนไข สมดุล 4 มิติ
ตอบ ง.
23. เศรษฐกิจพอเพียง มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด
ก. กินอยูพ่ อประมาณไม่ฟ้งุ เฟ้อ ข. อยูด่ ีกินดีตามมาตรฐานสากล
ค. ใช้จ่ายตามกําลังฐานะของตนเอง ง. มีคุณภาพชีวิตที่ดี
ตอบ ก.
24. การดําเนิ นชีวิตประจําวันตามหลักเศรษฐกิจพอเพียงที่เรี ยกว่า พออยู่ พอกิน หมายถึง ข้อใด
ก. กินอยูต่ ามกําลังฐานะ ไม่เป็ นหนี้เป็ นสิ น ข. กินอยูจ่ ากสิ่ งที่หาได้ภายในบ้านเท่านั้น
ค. กินอยูต่ ามมีตามเกิดไม่พึงใคร ง. กินอยูจ่ ากทรัพย์สินที่บรรพบุรุษหาไว้ให้
ตอบ ก.
25. ข้อใดกล่าวไม่ถูกต้องเกี่ยวกับ หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
ก. 3 ห่วง ได้แก่ ความพอประมาณ มีเหตุผล สร้างภูมิคุม้ กัน
ข. 2 เงื่อนไข คือ ความรู ้ นําคุณธรรม
ค. สมดุล 4 มิติ ได้แก่ ด้านวัตถุ สังคม สิ่ งแวดล้อม และวัฒนธรรม
ง. 3 ร คือ รอบรู ้ รอบคอบ ระมัดระวัง
ตอบ ข.
26. ข้อใดเรี ยงลําดับขั้นตอนการพัฒนาเศรษฐกิจพอเพียงได้ถูกต้อง
ก. ตัวเอง ครอบครัว ชุมชน องค์กร สังคม ประเทศชาติ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 186
-------------------------------------------------------------------------------
ข. ตัวเอง ครอบครัว ชุมชน สังคม องค์กร ประเทศชาติ
ค. ตัวเอง ครอบครัว องค์กร ชุมชน สังคม ประเทศชาติ
ง. ประเทศชาติ องค์กร ชุมชน สังคม ครอบครัว ตัวเอง
ตอบ ค.
27. การแก้ปัญหาวิกฤติของไทยตามแนวเศรษฐกิจพอเพียงส่ งเสริ มให้ประชาชนหันมาประกอบอาชีพใด
ก. รับจ้าง ข. การทําการเกษตร
ค. การทําธุรกิจส่ วนตัว ง. ลูกจ้างบริ ษทั เอกชน
ตอบ ข.
28. หลักการของทฤษฎีใหม่มีท้ งั หมดจํานวนกี่ข้ น

ก. 1 ขั้น ข. 2 ขั้น
ค. 3 ขั้น ง. 4 ขั้น
ตอบ ค.
29. ทฤษฎีใหม่และการดําเนิ นชีวิตตามหลักเศรษฐกิจ พอเพียงมุ่งแก้ไขปั ญหาในด้านใดในสังคมเป็ นสําคัญ
ก. ความยากจน ข. ปัญหาการก่อการร้าย
ค. ปัญหาความขัดแย้งทางสังคม ง. ปัญหาความแตกแยกของประชาชน
ตอบ ก.
30. เนื้ อที่ในการทําการเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่จะต้องมีเนื้ อที่ประมาณกี่ไร่
ก. ประมาณ 5 ไร่ ข. ประมาณ 10 ไร่
ค. ประมาณ 20 ไร่ ง. ประมาณ 30 ไร่
ตอบ ข
31. จุดมุ่งหมายในการดําเนิ นชีวิตตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียงคือข้อใด
ก. ให้ประชาชนรํ่ารวยขึ้น ข. ให้มีความรู ้ความสามารถมากขึ้น
ค. ให้มีความสุ ขในชีวิตเพิ่มมากขึ้น ง. ให้มีบารมีมากขึ้น
ตอบ ค.
32. หลักการเศรษฐกิจพอเพียงเน้นคุณธรรมด้านใดมากที่สุด
ก. มีความรับผิดชอบ ข. เป็ นผูท้ ี่มีความเอื้อเฟื้ อเผือ่ แผ่ โอบอ้อมอารี
ค. เป็ นผูท้ ี่มีความละอายต่อบาป ง. มีความซื่อสัตย์ ขยันหมัน่ เพียร
ตอบ ง.
33. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง คือ
ก. มีเหตุผล มัน่ คง ยืนได้ดว้ ยตนเอง ข. มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน พอไปวัดไปวา
ค. พอประมาณ มีเหตุผล มีภูมิคุม้ กัน ง.พอประมาณ สมดุล มีเหตุผล
ตอบ ค.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 187
-------------------------------------------------------------------------------
34. ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นแนวพระราชดําริ ของรัชกาลใด
ก. รัชกาลที่ 7 ข. รัชกาลที่ 8
ค. รัชกาลที่ 9 ง. รัชกาลที่ 10
ตอบ ค.
35. การทดลองเกษตรตามแนวทฤษฎีใหม่ครั้งแรกที่จงั หวัดใด
ก. จังหวัดกาฬสิ นธุ์ ข. จังหวัดฉะเชิงเซา
ค. จังหวัดสระบุรี ง. จังหวัดสุ ราษฎ์ธานี
ตอบ ค.
36. กองทุนหมู่บา้ นมีวตั ถุประสงค์อะไร
ก. เป็ นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนในหมู่บา้ นและชุมชนเมือง
ข. เป็ นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนเพื่อบรรเทาความเดือดร้อนเร่ งด่วนสําหรับประชาชน
ค. เป็ นแหล่งเงินทุนหมุนเวียนเพื่อการพัฒนาอาชีพ สร้างงาน สร้างรายได้หรื อเพิ่มรายได้
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
37. กองทุนหมู่บา้ น เรี ยกได้อีกอย่างว่าอย่างไร
ก. กองทุนฟื้ นฟูชุมชน ข. กองทุนชุมชนเมือง
ค. กองทุนพัฒนาแห่งชาติ ง. กองทุนพัฒนาท้องถิ่น
ตอบ 2. กองทุนหมู่บา้ นหรื อกองทุนชุมชนเมือง
38. คณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นมีอาํ นาจหน้าที่อะไร
ก. บริ หารกองทุนหมู่บา้ น และจัดตั้งสํานักงานกองทุนหมู่บา้ น
ข. ออกประกาศ ระเบียบ หรื อข้อบังคับ
ค. พิจารณาเงินกูย้ มื ให้แก่สมาชิกหรื อกองทุนหมู่บา้ นอื่น
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
39 ในกรณี ที่ผอ ู ้ าํ นวยการเห็นว่ากองทุนหมู่บา้ นดําเนินการจัดการกองทุนหมู่บา้ นในลักษณะที่อาจเป็ นเหตุให้
เกิดความเสี ยหายแก่กองทุนหมู่บา้ น ผูอ้ าํ นวยการเป็ นผูพ้ ิจารณาสัง่ ระงับการจ่ายเงิน โดยให้แจ้งคําสัง่ เป็ นหนังสื อไป
ยังกองทุนหมู่บา้ น หากกองทุนหมู่บา้ นไม่เห็นด้วยให้มีสิทธิอุทธรณ์ต่อคณะกรรมการภายในกี่วนั
ก. 30 วันนับแต่ที่วนั ที่ได้รับคําสัง่ ของผูอ้ าํ นวยการ ข. 50 วันนับแต่ที่วนั ที่ได้รับคําสัง่ ของผูอ้ าํ นวยการ
ค. 60 วันนับแต่ที่วนั ที่ได้รับคําสัง่ ของผูอ้ าํ นวยการ ง. 90 วันวันนับแต่ที่วนั ที่ได้รับคําสัง่ ของผูอ้ าํ นวยการ
ตอบ ค.
40. คณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่ งชาติ มีชื่อย่อว่า
ก. กกช. ข. กทบ.
ค. กบช. ง. กชช.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 188
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ข.
41. สํานักงานกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองแห่ งชาติ มีชื่อย่อว่า
ก. สกช. ข. สบช.
ค. สทบ. ง. สกม.
ตอบ ค.
42. การจัดสรรงบประมาณตามโครงการให้จดั สรรโดยยึดหลักความเป็ นจริ ง โดยคํานึ งถึงหลักการประชารัฐ
และตามวัตถุประสงค์ที่กาํ หนด โดยกองทุนหมู่บา้ นที่โครงการได้รับการอนุมตั ิจะได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณ
กองทุนหมู่บา้ นละเท่าใด
ก. กองทุนหมู่บา้ นละไม่เกิน 1 แสนบาท ข. กองทุนหมู่บา้ นละไม่เกิน 2 แสนบาท
ค. กองทุนหมู่บา้ นละไม่เกิน 3 แสนบาท ง. กองทุนหมู่บา้ นละไม่เกิน 4 แสนบาท
ตอบ ค.
43. กองทุนหมู่บา้ นจะเริ่ มดําเนินโครงการได้ต่อเมื่อ
ก. ได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณเข้าบัญชีประชารัฐของกองทุนหมู่บา้ นแล้ว
ข. ได้รับอนุมตั ิให้จดั สรรโครงการจากคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ น
ค. เมื่อคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นได้รับการจัดสรรเงินงบประมาณแล้ว
ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ก.
44. ธนาคารใด ได้สนับสนุ นสิ นเชื่อให้กบ ั กองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมืองตามโครงการเพิ่มศักยภาพกองทุน
หมู่บา้ นและชุมชนเมือง
ก. ธนาคารออมสิ นและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ข. ธนาคารกรุ งไทยและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ค. ธนาคารกรุ งเทพและธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ง. ธนาคารไทยพาณิ ชย์และธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร
ตอบ ก.
45. โครงการเพิ่มศักยภาพกองทุนหมู่บา้ นและชุมชนเมือง มีวงเงินจํานวนกี่บาท
ก. วงเงินแห่งละ 1 หมื่นล้านบาท ข. วงเงินแห่งละ 2 หมื่นล้านบาท
ค. วงเงินแห่งละ 3 หมื่นล้านบาท ง. วงเงินแห่งละ 4 หมื่นล้านบาท
ตอบ ข.
46. คุณสมบัติของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นหรื อชุมชนเมือง ต้องเป็ นผูท ้ ี่อาศัยในหมู่บา้ นหรื อชุมชนมาไม่
น้อยกว่าระยะเวลาใด
ก. ไม่นอ้ ยกว่า 6 เดือน ข. ไม่นอ้ ยกว่า 1 ปี
ค. ไม่นอ้ ยกว่า 2 ปี ง. ไม่นอ้ ยกว่า 3 ปี
ตอบ ค.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 189
-------------------------------------------------------------------------------
47. คุณสมบัติของคณะกรรมการกองทุนหมู่บา้ นหรื อชุมชนเมือง ต้องเป็ นผูท ้ ี่มีอายุตามข้อใด
ก. เป็ นผูม้ ีอายุ 18 ปี บริ บูรณ์ข้ ึนไป ข. เป็ นผูม้ ีอายุ 20 ปี บริ บูรณ์
ค. เป็ นผูม้ ีอายุไม่ต่าํ กว่า 25 ปี บริ บูรณ์ ง. เป็ นผูม้ ีอายุไม่ต่าํ กว่า 30 ปี บริ บูรณ์
ตอบ ข.
48. วงเงินกูย้ ม ื กองทุนหมู่บา้ นต่อหนึ่งราย มีวงเงินจํานวนกี่บาท
ก. วงเงินกูย้ มื รายหนึ่งไม่เกินหนึ่งหมื่นบาท ข. วงเงินกูย้ มื รายหนึ่งไม่เกินสองหมื่นบาท
ค. วงเงินกูย้ มื รายหนึ่งไม่เกินสามหมื่นบาท ง. วงเงินกูย้ มื รายหนึ่งไม่เกินสี่ หมื่นบาท
ตอบ ข.
49. หากต้องการกูย้ ม ื เกินกว่าจํานวนตามข้อ 48. ให้สมาชิกพิจารณาวินิจฉัยชี้ขาดกําหนดแต่รายหนึ่งต้องไม่เกินกี่
บาท
ก. ต้องไม่เกินสองหมื่นบาท ข. ต้องไม่เกินสามหมื่นบาท
ค. ต้องไม่เกินสี่ หมื่นบาท ง. ต้องไม่เกินห้าหมื่นบาท
ตอบ ง.

--------------------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 190
-------------------------------------------------------------------------------
 ความรู้ เกีย่ วกับการตลาด
ความหมายของการตลาด
ความหมายของการตลาด สมาคมการตลาดแห่งสหรัฐอเมริ กา ได้ให้คาํ จํากัดของคําว่า"Marketing"ไว้ดงั นี้
การตลาด คือ การกระทํากิจกรรมต่างๆ ในทางธุรกิจที่มีผลให้เกิดการนําสิ นค้าหรื อบริ การจากผูผ้ ลิตไปสู่
ผูบ้ ริ โภคหรื อผูใ้ ช้บริ การนั้นๆ ให้ได้รับความพึงพอใจ ขณะเดียวกัน ก็บรรลุวตั ถุประสงค์ของกิจการ
องค์ ประกอบของการตลาด
1.มีสิ่งที่จะโอนเปลี่ยนกรรมสิ ทธิ์ คือ สิ นค้าหรื อบริ การ
2.มีตลาด คือ ผูช้ ้ือที่ตอ้ งการซื้ อสิ นค้าหรื อบริ การ
3.มีผขู ้ ายสิ นค้าหรื อบริ การ
4.มีการแลกเปลี่ยน
ตลาดตามความหมายของบุคคลทัว่ ไป
ตลาด หมายถึง สถานที่ ที่เป็ นศูนย์กลางในการแลกเปลี่ยน สถานที่ผซู ้ ้ือผูข้ ายจะไปตกลงซื้อขายสิ นค้ากัน
ตลาดตามความหมายของนักธุรกิจหรื อนักการตลาด
ตลาด คือ บุคคล หน่วยงาน องค์กรที่มีความคิดที่จะซื้อสิ นค้า มีอาํ นาจซื้อ และมีความเต็มใจที่จะซื้อสิ นค้า
หรื อบริ การ
ความสาคัญของการตลาด
การตลาดมีบทบาทสําคัญต่อการพัฒนาคุณภาพชีวติ และยกระดับความเป็ นอยูข่ องมนุษย์ ในสังคม ทําให้เกิด
การพึ่งพาอาศัยกันอย่างเป็ นระบบในสังคมมนุษย์แต่ละคน สามารถประกอบ อาชีพที่ ตนเองถนัดและได้ใช้ความรู ้
ความสามารถของแต่ละบุคคลได้ อย่างเต็มกําลังความสามารถ และการตลาดมีบทบาทอย่างใหญ่หลวงต่อความ
เจริ ญเติบโต และพัฒนาการทางเศรษฐกิจของ ประเทศ เนื่องจากการตลาดเป็ นตัวกระตุน้ ให้เกิดการวิจยั และพัฒนา
หาสิ่ งแปลกใหม่ มาสนองความ ต้องการของตลาดและสังคม ทําให้ผบู ้ ริ โภคมีโอกาส เลือกใช้ผลิตภัณฑ์ที่ตอ้ งการ
ได้หลายทางและ ผลิตภัณฑ์ที่สามารถตอบสนองความต้องการ สร้างความพึงพอใจให้แก่ผบู ้ ริ โภค จึงมีผลทําให้
เกิด การจ้างงาน เกิดรายได้กบั แรงงาน และธุรกิจ ทําให้ประชาชน มีกาํ ลังการซื้อ และสามารถสนอง ความต้องการ
ในการบริ โภค ซึ่งทําให้ มาตรฐาน การครองชีพของบุคคล ในสังคมมีระดับสู งขึ้น และมีคุณภาพชีวติ ที่ดีข้ ึน
ความสําคัญ ของการตลาดอาจกล่าวได้ดงั นี้
1. การตลาดเป็ นเครื่ องมือที่ทาํ ให้เกิดการแลกเปลี่ยน การดําเนิ นการตลาดของธุ รกิจจะทําให้ผผ ู ้ ลิตกับ
ผูบ้ ริ โภคเข้ามาใกล้กนั และสร้างความพึงพอใจ ให้กบั ผูบ้ ริ โภคด้วยการเสนอผลิตภัณฑ์ ที่ตรงต่อความต้องการ
ของผูบ้ ริ โภค จนทําให้เกิดการ แลกเปลี่ยนในระดับผูซ้ ้ือและผูข้ ายเกิดความพึงพอใจ การตลาดยังไม่ได้เป็ นเพียง
เครื่ องมือทําให้ เกิดการแลกเปลี่ยนเท่านั้นแต่ยงั เป็ นเครื่ องมือที่สร้างความพึงพอใจให้กบั ผูบ้ ริ โภคอย่างต่อเนื่อง ทํา
ให้ผบู ้ ริ โภคเกิดความซื่อสัตย์ภกั ดีต่อผลิตภัณฑ์ ทําให้ผบู ้ ริ โภคกลับมาใช้ หรื อซื่อซํ้าเมื่อมี ความต้องการ
2. การตลาดเป็ นตัวเชื่อมโยงความสัมพันธ์ระหว่างเจ้าของผลิตภัณฑ์กบ ั ผูบ้ ริ โภค การดําเนินการทาง
การตลาดทําให้ผเู ้ ป็ นเจ้าของผลิตภัณฑ์สามารถตอบสนองและสร้างความ พึงพอใจให้กบั ผูบ้ ริ โภคได้ ด้วยการ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 191
-------------------------------------------------------------------------------
เชื่อมโยงความสัมพันธ์ให้สอดคล้องกับภาวการณ์ สถานภาพ ของผูบ้ ริ โภคด้วยการจัดจําหน่ายผลิตภัณฑ์ในปริ มาณ
ในเวลา ในสถานที่ที่ผบู ้ ริ โภคต้องการ ในราคา ที่ผบู ้ ริ โภคมีกาํ ลังการซื้อ และโอนความเป็ นเจ้าของได้ การเชื่อมโยง
ความสัมพันธ์ระหว่าง ผูเ้ ป็ นเจ้าของผลิตภัณฑ์กบั ผูบ้ ริ โภค นอกจากจะดําเนินการในหน้าทางการตลาด ให้เกิดการ
เชื่อมโยงสัมพันธ์กนั ในเรื่ องดังกล่าว สิ่ งที่สาํ คัญจะต้องกระทําอีกประการหนึ่งก็คือ การสร้างการรับรู ้ให้กบั
ผูบ้ ริ โภคในกิจกรรมดังกล่าว
3. การตลาดเป็ นตัวผลักดันให้มีการพัฒนาปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ ด้วยแนวคิด ของการตลาด ในการมุ่ง
สนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจให้กบั ผูบ้ ริ โภค และรับผิดชอบต่อสังคม ผลักดันให้ผลิตต้องพัฒนา
ปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ ให้ตรงต่อความต้องการ และสร้างความพึงพอใจให้กบั ผูบ้ ริ โภค ตลอดจนจูงใจผูบ้ ริ โภคด้วย
การเสนอผลิตภัณฑ์ใหม่ ๆ อยูเ่ สมอ และการตลาดระบบการตลาดเสรี ซึ่งมีการแข่งขันกันมากในการสร้าง ความพึง
พอใจ และจูงใจผูบ้ ริ โภค จึงยิง่ เป็ นแรงผลักดันให้มีการพัฒนาปรับปรุ ง ผลิตภัณฑ์เพือ่ การแข่งขัน ในตลาดเสรี
4. การตลาดเป็ นกลไกในการเสริ มสร้างระบบเศรษฐกิจ ด้วยการก่อให้เกิดการบริ โภคและการพึ่งพากัน
อย่างเป็ นระบบมีความเชื่อมโยงสัมพันธ์กบั
ระบบเศรษฐกิจทั้งระบบ การสร้างความต้องการและการสนองความต้องการในการบริ โภค ผลิตภัณฑ์ทาํ ให้เกิดการ
ไหลเวียนในระบบเศรษฐกิจ คือเกิดการจ้างงาน เกิดรายได้ เกิดการบริ โภค และเกิดการใช้แรงงาน ซึ่งจะมีการพึ่งพา
กันและเชื่อมโยงไหลเวียนตามลําดับอย่างเป็ นระบบ ผลจะทําให้การดํารงชีวิต ของมนุษยชาติในสังคมอยูใ่ นระดับที่
มีการกินดีอยูด่ ี มีความเป็ นอยู่ อย่างเป็ นสุ ขโดยทัว่ กัน
ความสําคัญของการตลาดอาจจําแนกให้เห็นชัดเจนยิง่ ขึ้นโดยพิจารณาจากการตลาดมีความสําคัญ ต่อสังคม
และบุคคลดังนี้
1.ยกระดับมาตรฐานความเป็ นอยูข ่ องบุคคลในสังคมให้สูงขึ้น
2.ทําให้พฤติกรรม อุปนิ สยั ความเชื่อ ค่านิ ยมและลักษณะการดํารงชีพของบุคคล ในสังคมเปลี่ยนไป
3.เกิดอาชีพต่าง ๆ แก่บุคคลในสังคมเพิ่มมากขึ้น
นอกจากความสําคัญต่อบุคคลและสังคมแล้ว การตลาดยังมีความสําคัญต่อระบบ เศรษฐกิจโดยตรงดังนี้
1.ช่วยให้รายได้ประชากรสู งขึ้น
2.ทําให้เกิดการหมุนเวียนของปั จจัยการผลิต
3.ช่วยสร้างความต้องการในสิ นค้าและบริ การ
4.ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาของเศรษฐกิจ
5.ให้เกิดการค้าระหว่างประเทศ
 ประโยชน์ ของกิจกรรมทางการตลาด
(1) อรรถประโยชน์ดา้ นรู ปแบบ (Form Utility) จะเกิดขึ้นจากการผลิตโดยตรง และการ เข้ามาช่วย
เสริ มโดยการค้นหาถึงความต้องการของลูกค้าที่มีต่อผลิตภัณฑ์โดยให้ขอ้ มูลแก่ผลฝ่ ายผลิต
(2) อรรถประโยชน์ดา้ นสถานที่ (Place Utility) การตลาดช่วยอํานวย ความสะดวก ด้านสถานที่ เพราะเป็ น
กิจกรรมที่นาํ ผลิตภัณฑ์ไปสู่ สถานที่ที่ลูกค้าเป้าหมายอยู่
(3) อรรถประโยชน์ดา้ นเวลา (Time Utility) การตลาดช่วยสร้างอรรถประโยชน์ ด้านเวลาให้กบ ั ลูกค้าโดย
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 192
-------------------------------------------------------------------------------
มีสินค้าพร้อมในเวลาที่ลูกค้าต้องการ
(4) อรรถประโยชน์ดา้ นความเป็ นเจ้าของ (Possession Utility) การตลาดช่วยสร้างความพึงพอใจจากการ
ได้เป็ นเจ้าของสิ นค้าต่าง ๆ โดยทําให้ผบู ้ ริ โภคมีโอกาส ได้ซ้ือสิ นค้าและมี กรรมสิ ทธ์ในสิ นค้านั้น
(5) อรรถประโยชน์ในด้านภาพลักษณ์ (Image Utility) ตลาดช่วยสร้างคุณค่าหรื อ ภาพลักษณ์ ของ
ผลิตภัณฑ์ในความรู ้สึกนึกคิดของบุคคล โดยอาศัยการส่ งเสริ มการตลาด ได้แก่ การใช้การโฆษณาและการ
ประชาสัมพันธ์
ส่ วนประสมการตลาด
ส่ วนประสมการตลาด (Marketing Mix) คือ เครื่ องมือหรื อปัจจัยทางการตลาดที่ควบคุมได้ที่ธุรกิจต้องใช้
ร่ วมกัน เพื่อตอบสนองความต้องการและสร้างความพึงพอใจแก่กลุ่มลูกค้า เป้าหมาย หรื อเพื่อกระตุน้ ให้กลุ่มลูกค้า
เป้าหมายเกิดความต้องการสิ นค้าและบริ การของตน ประกอบด้วยส่ วนประกอบ 4 ประการ หรื อ 4P‟s คือ
1. ผลิตภัณฑ์(Product)
2. ราคา (Price)
3. สถานที่จาํ หน่ าย (Place)
4. การส่ งเสริ มการตลาด (Promotion)
กลยุทธ์ ส่วนประกอบการตลาด” (Marketing mix strategv)
ส่ วนประสมการตลาด หมายถึง กลุ่มเครื่ องมือการตลาดซึ่งธุรกิจใช้ร่วมกันเพื่อให้บรรณลุวตั ถุประสงค์
ทางการตลาดในตลาดเป้าหมายเครื่ องมือการตลาด 4 ประการ ได่แก่
1. กลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ (Product) ผลิตภัณฑ์หมายถึง สิ่ งที่นาํ เสนอกับการตลาดเพื่อความสนใจ (attcntion)
ความอยากได้ (Acquistion) การใช้ (Using) หรื อการบริ โภค (Consumtion)
ที่สามารถตอบสนองความต้องการ นักการตลาดจึงกําหนดกลยุทธ์ผลิตภัณฑ์ดา้ นต่างๆคือ
- ขนาดรู ปร่ างลักษณะ และคุณสมบัติอะไรบ้างที่ผลิตภัณฑ์ควรมี
- ลักษณะการบริ การที่สาํ คัญของผูบ้ ริ โภคคืออะไร
- การรับประกันและโปรแกรมการให้บริ การอะไรบ้างที่ควรจัดให้
- ลักษณะของผลิตภัณฑ์ประกอบที่เกี่ยวข้องคืออะไร
2. กลยุทธ์ดา้ นราคา (Price strategy) ราคาหมายถึง สิ่ งที่บุคคลจ่ายสําหลับสิ่ งที่ได้มา ซึ่ งแสดงถึงในรู ปของ
เงิน นักการตลาดต้องตัดสิ นใจในราคา ลักษณะความแตกต่างของผลิตภัณฑ์ การตอบสนองความพึงพอใจของ
ผูบ้ ริ โภค มูลค่าที่ส่งมอบให้ลูกค้าต้องมากกว่าต้นทุน (Cost) หรื อราคา (Price)ผูบ้ ริ โภคจะตัดสิ นใจซื้อก็ต่อเมื่อ
มูลค่ามากกว่าราคาสิ นค้า
3. กลยุทธ์การจัดจําหน่ าย (Place or distribution strategy) การจัดจําหน่ าย หมายถึงการเลือกและการใช้
ผูเ้ ชี่ยวชาญทางการตลาด ประกอบด้วย คนกลาง บริ ษทั ขนส่ ง และบริ ษทั เก็บรักษาสิ นค้า ดังนี้โดยสร้าง
อรรถประโยชน์ทางด้านเวลา สถานที่ ความเป็ นเจ้าของ ที่เพื่อให้เคลื่อนย้ายผลิตภัณฑ์ หรื อจากองค์กรไปยังตลาด
กาจัดจําหน่ายได้รับ อิทธิพลจากพฤติกรรมผูบ้ ริ โภคดังนี้
- ความจําเป็ นของบริ ษทั ที่จะทําการควบคุมกิจกรรมต่าง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 193
-------------------------------------------------------------------------------
- ลักษณะโครงสร้างการจัดจําหน่าย เพือ่ การค้าปลีก อะไรบ้างที่ควรใช้ในการเสนอขาย ผลิตภัณฑ์
4. กลยุทธ์การส่ งเสริ มการตลาด (Promotion strategy) การส่ งเสริ มการตลาดหมายถึง การติดต่อสื่ อสาร
ระหว่างผูข้ ายและผูซ้ ้ือ เพื่อสร้างทัศนคติ และพฤติกรรมการซื้อ ได้แก่
- การโฆษณา
- การประชาสัมพันธ์
- การขายโดยพนักงานขาย
- การส่ งเสริ มการขาย
- การตลาดทางตรง
การโฆษณา (Advertising)
คือ การเสนอขายสิ นค้า บริ การ หรื อความคิดโดยการใช้สื่อ เพือ่ ให้ เข้าถึงลูกค้าจํานวนมากได้ ในเวลา
อันรวดเร็ว สื่ อโฆษณาที่สาํ คัญประกอบด้วย โทรทัศน์ วิทยุหนังสื อพิมพ์ นิตยสารป้ายโฆษณา
ประเภทของการโฆษณา
1. จัดตามประเภทกลุ่มเป้ าหมาย (By Target Audience) แบ่งออกได้ดงั นี้
1.1 การโฆษณาที่มุ่งสู่ ผบ ู ้ ริ โภค (Consumer Advertising)
1.2 การโฆษณาที่มุ่งสู่ หน่วยธุรกิจ (Business Advertising)
2. จัดตามประเภทอาณาบริ เวณทางภูมิศาสตร์ (By Geographic)
2.1 การโฆษณาที่มุ่งต่างประเทศ (International Advertising)
2.2 การโฆษณาระดับชาติ (National Advertising)
2.3 การโฆษณาในเขตใดเขตหนึ่ ง (Regional Advertising)
2.4 การโฆษณาระดับท้องถิ่น (Local Advertising)
3. จัดตามประเภทสื่ อ (By Medium)
3.1 ทางโทรทัศน์
3.2 ทางวิทยุ
3.3 ทางนิ ตยสาร
3.4 โดยใช้จดหมายตรง
3.5 นอกสถานที่
4. จัดตามประเภทเนื้ อหา หรื อ จุดมุ่งหมาย (By Content or Purpose)
4.1 การโฆษณาผลิตภัณฑ์กบ ั การโฆษณาสถาบัน
4.2 การโฆษณาเพื่อหวังผลทางการค้ากับการโฆษณาที่ไม่หวังผลทางการค้า
4.3 การโฆษณาให้เกิดกระทํากับการโฆษณาให้เกิดการรับรู ้
 การประชาสั มพันธ์
หมายถึง ความพยายามที่มีการวางแผน โดยกิจการหนึ่งเพื่อสร้างทัศนคติที่ดีต่อองค์การ ให้เกิดกับกลุ่มใด
กลุ่มหนึ่ง วิธีการประชาสัมพันธ์ที่นิยมใช้มีดงั นี้
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 194
-------------------------------------------------------------------------------
1. การใช้สิ่งพิมพ์ (Publication)
2. การใช้เหตุการณ์พิเศษ (Events)
3. การให้ข่าว (News)
4. การกล่าวสุ นทรพจน์ (Speeches)
การส่ งเสริมการขาย (Sales Promotion)
หมายถึง การจูงใจโดยเสนอคุณค่าพิเศษแก่ผบู ้ ริ โภค คนกลาง หรื อ หน่วยการขาย เพื่อเพิ่มยอดขายผลิตภัณฑ์
ในทันที นอกเหนือจากกิจกรรมที่ทาํ อยูเ่ ป็ นประจํา
1. การส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่ ผบ
ู ้ ริ โภค (Consumer Promotion)
1.1 การแจกคูปอง (Coupons)
1.2 การลดราคา (Price Off)
1.3 การรับประกันให้เงินคืน (Refund)
1.4 การคืนเงิน (Rabates)
1.5 การให้ของแถม (Premiums)
1.6 การแจกตัวอย่างสิ นค้า (Sampling)
1.7 การจัดแสดงสิ นค้า ณ จุดซื้ อ (Point of Purchase Display)
2. การส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่ คนกลาง (Trade or Dealer Promotion)
2.1 ข้อตกลงการค้า (Trade deals)
2.2 ส่ วนลด (Discount)
2.3 ส่ วนยอมให้ (Allowances)
2.4 การโฆษณาร่ วมกัน (Cooperative Advertising)
2.5 การแถมตัวอย่างแก่คนกลาง (Dealer Free Goods)
2.6 การแข่งขันทางการขาย (Sales Contest
3. การส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่ พนักงานขาย (Sales Forces Promotion)
3.1 การแข่งขันทางการขาย (Sales Contest)
3.2 การฝึ กอบรมการขาย (Sales Training)
3.3 การมอบอุปกรณ์ช่วยขาย (Selling Aids)
3.4 การกําหนดโควต้าการขาย (Sales Quota)
3.5 การให้สิ่งจูงใจจากการหาลูกค้าใหม่ (New Customer Incentives)
การขายโดยใช้ พนักงานขาย (Personal Selling)
เป็ นการติดต่อสื่ อสารทางตรงแบบเผชิญหน้าระหว่างผูข้ ายและลูกค้าที่คาดหวัง" การขายโดยใช้พนักงาน
ขาย ถือเป็ นการติดต่อสื่ อสารแบบสองทาง (Two Way Communication) โดยเน้นในการใช้ความสามารถ
เฉพาะตัวของพนักงานขายทําให้ลูกค้าตัดสิ นใจซื้อสิ นค้าหรื อบริ การของกิจการได้เป็ นการตลาดที่เน้นการสื่ อสาร
ทางตรงระหว่างผูข้ ายกับลูกค้า เป็ นการสร้างความสัมพันธ์อนั ดีต่อลูกค้าและกระตุน้ ให้เกิดความต้องการและ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 195
-------------------------------------------------------------------------------
ตัดสิ นใจซื้อ โดยปัจจุบนั พนักงานขายจะต้องมีความสามารถรอบด้าน ทั้งในการจูงใจให้ลูกค้าสัง่ ซื้อสิ นค้าหรื อ
บริ การ และสามารถแก้ไขปัญหาต่างๆที่เกิดขึ้นให้กบั ลูกค้าได้
การตลาดทางตรง (Direct Marketing)
เป็ นการติดต่อสื่ อสารส่ วนตัว ระหว่าง นักการตลาด และกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้การส่ งจดหมายตรง
โทรศัพท์ หรื อวิธีการอื่นๆ ผ่านสื่ ออย่างใดอย่างหนึ่งหรื อหลายอย่างร่ วมกัน โดยนักการตลาดสามารถวัดผลการ
ตอบสนองจากผูบ้ ริ โภคได้
รู ปแบบของสื่ อทีใ่ ช้ ในการตลาดทางตรง แบ่ งได้ เป็ น 2 กลุ่ม คือ
การใช้สื่อโดยตรง เพื่อติดต่อกับกลุ่มเป้าหมายที่คดั เลือกแล้ว และคาดว่ามีแนวโน้มที่จะต้องการสิ นค้าและ
บริ การ โดยมากจะได้รับการตอบกลับสู งเช่น ไปรษณี ย ์ โทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์
การใช้สื่อมวลชน เพื่อสื่ อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายจํานวนมาก สร้างฐานข้อมูลลูกค้าให้มากขึ้น เช่น
วิทยุกระจายเสี ยง สื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์
การส่ งเสริมการตลาด
การส่ งเสริ มการขาย หมายถึง กิจกรรมการส่ งเสริ มการตลาดที่นอกเหนือไปจากการโฆษณา การตลาด
ทางตรง การขายโดยใช้พนักงานขาย และการประชาสัมพันธ์ ที่จดั ขึ้นเป็ นครั้งคราวเพือ่ กระตุน้ ความสนใจ การ
ทดลองใช้ หรื อการซื้อของลูกค้าขั้นสุ ดท้าย บุคคลในช่องทางการตลาด หรื อพนักงานขายของกิจการ การส่ งเสริ ม
การขายไม่สามารถใช้เพียงเครื่ องมือเดียวได้ โดยทัว่ ไปมักจะใช้ร่วมกับการโฆษณา การตลาดทางตรง หรื อการขาย
โดยใช้พนักงานขาย เช่นโฆษณาให้รู้วา่ มีการลด แลก แจก แถม หรื อ ส่ งพนักงานขายไปแจกสิ นค้าตัวอย่างตามบ้าน
เป็ นต้น
ดังนั้นการส่ งเสริ มการขายเป็ นกิจกรรมต่างๆ ทางการตลาดที่นอกเหนือจากการโฆษณา การประชาสัมพันธ์
และการขายโดยพนักงานขาย โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อให้ผบู ้ ริ โภคเกิดการซื้อหรื อเพิ่มยอดขายของกิจการรวมถึงเพือ่
เพิ่มประสิ ทธิภาพของคนกลางในการจัดจําหน่าย โดยการจัดและตกแต่งร้าน การแสดงสิ นค้า การสาธิตการใช้งาน
และความพยายามทางการตลาดอื่นๆ ที่ไม่ใช่งานด้านการขายที่ปฏิบตั ิอยูเ่ ป็ นประจํา
ส่ วนประสมการส่ งเสริมการตลาด (promotion mix)
ส่ วนประสมการส่ งเสริ มการตลาด เป็ นเครื่ องมือพื้นฐานที่ใช้เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ในการติดต่อสื่ อสาร
ทางการตลาดขององค์การ ประกอบด้วย
1. การโฆษณา (advertising)
2. การส่ งเสริ มการขาย (sales promotion)
3. การขายโดยพนักงานขาย (personal selling)
4. การให้ข่าวและประชาสัมพันธ์ (publicity and public relations)
5. การตลาดทางตรง (direct marketing)
1. การโฆษณา (advertising) เป็ นรู ปแบบค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่ อสารเกี่ยวกับองค์การ ผลิตภัณฑ์ บริ การ หรื อ
ความคิด โดยไม่ใช้บุคคล และมีการระบุผอู ้ ุปถัมภ์
ลักษณะของการโฆษณา
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 196
-------------------------------------------------------------------------------
1.1 เป็ นการติดต่อสื่ อสารโดยไม่ใช้บุคคล (เป็ นการติดต่อสื่ อสารโดยใช้สื่อ)
1.2 ต้องเสี ยค่าใช้จ่าย
1.3 สามารถระบุผอ ู ้ ุปถัมภ์ได้
2. การส่ งเสริมการขาย (sales promotion) หมายถึง การจูงใจที่เสนอคุณค่าพิเศษ หรื อการจูงใจผลิตภัณฑ์แก่
ผูบ้ ริ โภค คนกลาง (ผูจ้ ดั จําหน่าย) หรื อหน่วยงานขาย โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อการสร้างยอดขายในทันที จาก
ความหมายนี้สามารถสรุ ปได้วา่
2.1. การส่ งเสริ มการขายเป็ นการให้สิ่งจูงใจพิเศษเพื่อกระตุน ้ ให้เกิดการซื้อ (extra incentive to buy) เช่น
คูปอง ของแถม การชิงโชค การแลกซื้อ เป็ นต้น
2.2. การส่ งเสริ มการขายเป็ นเครื่ องมือกระตุน ้ (acceleration tool) กิจกรรมการส่ งเสริ มการขายมี
วัตถุประสงค์เพื่อกระตุน้ ให้เกิดการซื้อจํานวนมากขึ้น และสามารถตัดสิ นใจซื้อได้ในเวลาทันทีทนั ใด
2.3. การส่ งเสริ มการขายใช้ในการจูงใจกลุ่มต่าง ๆ 3 กลุ่ม คือ
2.3.1 การส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่ ผบู ้ ริ โภค (consumer pomotion) เป็ นการส่ งเสริ มการ ขายที่มุ่ง
สู่ ผบู ้ ริ โภค คนสุ ดท้าย (ultimate consumer) เพื่อจูงใจให้เกิดการซื้อจํานวนมากขึ้น ตัดสิ นใจซื้อได้รวดเร็ วขึ้น เกิด
การทดลองใช้ถือว่าเป็ นการใช้กลยุทธ์ดึง (pull strategy)
2.3.2 การส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่ คนกลาง (trade promotion) เป็ นการส่ งเสริ มการขายที่ มุ่งสู่
พ่อค้าคนกลาง (middleman) ผูจ้ ดั จําหน่าย (distributor) หรื อผูข้ าย (dealer) ถือว่าเป็ นการใช้กลยุทธ์ผลัก (push
strategy)
2.3.3 การส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่ พนักงานขาย (sales-force promotion) เป็ นการส่ ง
เสริ มการขายที่มุ่งสู่ พนักงานขาย (salesman) หรื อหน่วยงานขาย (sales-force) เพื่อให้ใช้ความพยายาม
ในการขายมากขึ้น ถือว่าเป็ นการใช้กลยุทธ์ผลัก (push strategy)
วัตถุประสงค์ ของการส่ งเสริ มการขาย
1. การดึงลูกค้าใหม่ (attract new users)
2. การรักษาลูกค้าเก่าไว้ (hold current customer)
3. การส่ งเสริ มลูกค้าในปั จจุบน
ั ให้ซ้ือสิ นค้าในปริ มาณมาก (load present user)
4. การเพิ่มอัตราการใช้ผลิตภัณฑ์ (increase product usage)
5. การส่ งเสริ มการขายทําให้ผบ ู ้ ริ โภคเกิดการยกระดับ (trade up)
6. การเสริ มแรงการโฆษณาในตราสิ นค้า (reinforce brand advertising)
3. การขายโดยพนักงานขาย (personal selling)
พนักงานขาย หมายถึง ผูแ้ ทนของบริ ษทั ที่ไปพบผูท้ ี่คาดหวัง โดยมีวตั ถุประสงค์วา่ จะเปลี่ยนแปลง
สถานภาพของผูท้ ี่คาดหวังให้เป็ นลูกค้า
การบริ หารการขาย หมายถึง การวางแผน การปฏิบตั ิตามแผน และการควบคุมโปรแกรมการขายโดยบุคคล
ที่ถูกออกแบบมา เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ทางการขายของบริ ษทั
กระบวนการขาย (selling process) แบ่ งเป็ น 7 ขั้นตอนต่ อเนื่องกันดังต่ อไปนี้
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 197
-------------------------------------------------------------------------------
1. การเสาะแสวงหาผูท ้ ี่คาดว่าจะเป็ นลูกค้า (The prospecting) หมายถึง วิธีการดําเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่ง
บัญชีรายชื่อของบุคคลหรื อสถาบันที่มีโอกาสจะเป็ นผูท้ ี่คาดว่าจะเป็ นลูกค้า
2. การเตรี ยมการก่อนเข้าพบลูกค้า (The preapproach) หมายถึง ขั้นตอนในการเก็บรวบรวม ข้อมูลเกี่ยวกับ
ลูกค้าที่ผา่ นการกลัน่ กรองแล้ว
3. การเข้าพบลูกค้า (The approach) หมายถึง การใช้ความพยายามเพือ ่ ให้มีโอกาสพบปะสนทนากับลูกค้า
โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
- เรี ยกความเอาใจใส่ จากลูกค้า
- ทําให้ลูกค้าสนใจ
- นําไปสู่ การเสนอขายอย่างแนบเนี ยน
4. การเสนอขายและสาธิ ตการขาย (The presentation and demonstration) การเสนอขาย คือ การที่
พนักงานทําการเสนอสิ นค้าหรื อบริ การให้แก่ลูกค้า โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะโน้มน้าวจิตใจของลูกค้าให้มาใช้สินค้า
หรื อใช้สินค้าที่เคยใช้อยูแ่ ล้วต่อไปและตลอดไป แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ
1. การเสนอ และ 2. การขาย
5. การจัดการกับข้อโต้แย้ง (The objection) ข้อโต้แย้งทางการขาย คือ พฤติกรรมต่าง ๆ ที่ ผูม้ ุ่งหวังได้
แสดงออกมาในทางต่อต้านหรื อไม่เห็นด้วย ในขณะที่พนักงานกําลังดําเนินการ สาธิตสิ นค้า
การปิ ดการขาย (The closing) เป็ นเทคนิคที่นาํ ออกมาใช้เพื่อให้ได้ใบสัง่ ซื้อจากลูกค้า โดยเทคนิคนี้
จะต้องนําออกมาใช้ในจังหวะเวลาที่เหมาะสม นัน่ ก็คือจังหวะที่มีสญ ั ญาณว่าลูกค้าพร้อมจะซื้อแล้ว ซึ่งอาจจะ
เกิดขึ้นด้วยความสมัครใจของลูกค้า หรื อพนักงานขายกระตุน้ ให้เกิดขึ้นก็ได้
7. การติดตามผลและดูแลลูกค้า (The follow-up) เป็ นการรับประกันความพอใจของลูกค้าเพื่อให้มีการ
ติดต่อทางธุรกิจกันเรื่ อยไป รวมถึงการแวะเยีย่ มลูกค้าที่ซ้ือผลิตภัณฑ์ไปแล้วเป็ นครั้งเป็ นคราว เพื่อตรวจสอบดู
ระดับความพึงพอใจของลูกค้าในการบริ โภคผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั
ค่ าตอบแทนพนักงานขาย (compensating salespeople)
1. การจ่ายค่าตอบแทนในรู ปของเงินเดือน
2. การจ่ายค่าตอบแทนในรู ปของค่านายหน้าหรื อค่าคอมมิชชัน ่
3. การจ่ายค่าตอบแทนแบบผสม
4. การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์ (publicity and public relations)
การให้ข่าวถือเป็ นเครื่ องมือหนึ่งของการประชาสัมพันธ์ แต่มีความหมายที่แตกต่างดังนี้
การให้ ข่าว (publicity)
- เป็ นการให้ขา่ วโดยสื่ อมวลชน
- เป็ นเครื่ องมือที่ตอ้ งจ่ายเงินหรื อไม่ตอ้ งจ่ายเงินก็ได้
- เป็ นเครื่ องมือในการส่ งเสริ มการตลาดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และองค์กรในรู ปของสุ นทรพจน์ หรื อการให้
สัมภาษณ์ หรื อการให้ข่าวผ่านสื่ อต่าง ๆ
- สามารถสร้างความน่าเชื่อถือได้สูง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 198
-------------------------------------------------------------------------------
- เป็ นกลยุทธ์ในระยะสั้น
- มีท้ งั ข้อมูลที่เป็ นด้านบวกและด้านลบ
การประชาสั มพันธ์ (public relations)
- เป็ นการติดต่อสื่ อสารเพื่อสร้างทัศนคติ ความน่าเชื่อถือ และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้เกิดแก่องค์กรกับกลุ่ม
ต่าง ๆ
- เป็ นการสร้างความสัมพันธ์อน ั ดีกบั กลุ่มต่าง ๆ
- เป็ นกลยุทธ์ในระยะยาว
- ให้ขอ้ มูลด้านบวกเกี่ยวกับธุ รกิจ
ข้ อดีของการประชาสั มพันธ์
1. สามารถสร้างความเชื่อถือได้สูง
2. ช่วยสร้างภาพลักษณ์แก่องค์การ
3. ต้นทุนตํ่ากว่าการโฆษณา
4. สามารถหลีกเลี่ยงการสับสน
5. มีการเผยแพร่ ข่าวสารอย่างรวดเร็ ว
ข้ อเสี ยของการประชาสั มพันธ์
1. อํานาจในการสร้างยอดขายตํ่า
2. ผูร้ ับข่าวสารไม่สามารถโยงความสัมพันธ์ระหว่างการประชาสัมพันธ์ไปยังผลิตภัณฑ์ของบริ ษท ั ได้
สื่ อที่ใช้ ในการประชาสั มพันธ์ เช่ น
- การให้สม ั ภาษณ์/ให้ข่าว
- การจัดนิ ทรรศการ
- การจัดเหตุการณ์พิเศษ
- การบริ จาคเพื่อการกุศล
- การเป็ นสปอนเซอร์
- การตีพิมพ์เอกสาร
- การสร้างความสัมพันธ์อน ั ดีกบั ชุมชน
5. การตลาดทางตรง (direct marketing) หมายถึง การทําการตลาดไปสู่ กลุ่มผูบ ้ ริ โภคโดยตรง โดยอาศัยสื่ อ
ใดสื่ อหนึ่งที่สามารถเข้าถึงผูบ้ ริ โภค หรื อกลุ่มเป้าหมายให้โอกาสในการตอบกลับ อีกทั้งจะต้องมีการพัฒนา
ฐานข้อมูลของลูกค้า (customer database) ขึ้นมาด้วย
ลักษณะของการตลาดทางตรง
1. เป็ นระบบการกระทําร่ วมกัน (interactive system) หมายถึง เป็ นกิจกรรมทางตรงที่ได้ผลทั้ง สองทาง
(two-way communication) ระหว่างนักการตลาดกับกลุ่มลูกค้าเป้าหมาย
2. ให้โอกาสในการตอบกลับ (opportunity to respond)
3. สามารถทําที่ไหนก็ได้ (take place at any location) ผูซ ้ ้ือไม่จาํ เป็ นต้องไปที่ร้านค้าเมื่อซื้อสิ นค้า
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 199
-------------------------------------------------------------------------------
4. สามารถวัดได้ (measurable) โดยวัดจากการตอบกลับของลูกค้า
้ ้ือกับผูข้ ายโดยตรงไม่ผา่ นบุคคลอื่น เป็ นการทําการตลาดแบบ one-to-one
5. เป็ นการติดต่อระหว่างผูซ
marketing
6. มีการวางกลุ่มลูกค้าเป้ าหมายที่แน่นอน (precision targeting)
7. เป็ นกลยุทธ์ที่ไม่สามารถมองเห็นได้ (invisible strategies)ทําให้คูแ่ ข่งไม่ทราบว่าเรากําลังทําอะไรกับ
ใคร
องค์ ประกอบในการทาการตลาดโดยตรง
1. ฐานข้อมูลของลูกค้า (database) การตลาดทางตรงถือเป็ นการทําการตลาดโดยใช้ฐานข้อมูล (database
marketing) ซึ่ งหมายถึง กระบวนการสร้างการเก็บรักษาและการใช้ฐานข้อมูลของลูกค้าและฐานข้อมูลอื่นโดยมี
จุดมุ่งหมายเพือ่ สื่ อสารและซื้อขาย
ฐานข้อมูลเกี่ยวกับลูกค้าเป็ นการเก็บรวบรวมข้อมูลอย่างมีระบบเกี่ยวกับลูกค้าหรื อกลุ่มเป้าหมายให้เป็ น
ปัจจุบนั สามารถเข้าถึงและนําไปใช้เพื่อจุดมุ่งหมายทางการตลาดได้หรื อเพื่อสร้างความสัมพันธ์อนั ดีกบั ลูกค้า
ข้อมูลของลูกค้าจึงควรจะประกอบด้วย
- รายละเอียดเกี่ยวกับลูกค้า
- ชนิ ดของสิ นค้าและบริ การที่ลูกค้าซื้ อทั้งในด้านปริ มาณและราคา
- สัญญาการซื้ อขายในปั จจุบน ั
2. สื่ อ (media) สื่ อที่ใช้ในการทําการตลาดโดยตรงจะต้องเป็ นสื่ อประเภท direct response คือ จะต้องให้ลูกค้า
สามารถติดต่อกลับมายังบริ ษทั ได้โดยง่าย ได้แก่
- จดหมายตรง (direct mail)
- เครื่ องโทรสาร (fax mail)
- ไปรษณี ยอ์ ิเล็กทรอนิ กส์ (e-mail)
- โทรศัพท์ (telephone direct response marketing)
- โทรทัศน์ (television direct response marketing)
- วิทยุ (radio direct response marketing)
- หนังสื อพิมพ์ (newspaper direct response marketing)
- นิ ตยสาร (magazine direct response marketing)
- แคตตาล็อค (catalog marketing)
- คอมพิวเตอร์ และอินเตอร์ เน็ต (online and internet marketing)
- ป้ายโฆษณา (billboard)
กระบวนการสื่ อสาร
การสื่ อสารเป็ นกิจกรรมของมนุษย์ที่ใช้เพือ่ ถ่ายทอดความคิด แลกเปลี่ยนข่าวสาร ความรู ้ ประสบการณ์
ค่านิยม ทัศนคติ และอื่น ๆ ร่ วมกัน เพื่อทําให้มีความเข้าใจและมีอิทธิพลต่อมนุษย์ดว้ ยกัน ดังนั้น การสื่ อสารจึง
จัดเป็ นกระบวนการที่จะถ่ายทอดความคิดและข้อมูลต่าง ๆ จากที่หนึ่งไปยังอีกที่หนึ่งโดยมีวตั ถุประสงค์ต่าง ๆ กัน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 200
-------------------------------------------------------------------------------
ได้แก่ การให้ความรู ้ การเปลี่ยนแปลงทัศนคติ การให้ความบันเทิงการบอกเล่าเหตุการณ์ ฯ เป็ นต้น ซึ่งการสื่ อสารจะ
เกิดขึ้นได้เป็ นกระบวนการอย่างต่อเนื่องนั้นต้องอาศัยองค์ประกอบของกระบวนการสื่ อสาร (Communication
Process Components) และแบบจําลองกระบวนการสื่ อสาร (Model of Communication Process)
แนวความคิดการสื่ อสารทางการตลาดแบบผสมผสาน
การสื่ อสารให้เกิดประสิ ทธิผล ควรจะวางแผนเป็ น โครงการรณรงค์ทางการตลาด (Campaign) ซึ่งเป็ นการ
ใช้เครื่ องมือทางการตลาดทุกอย่างร่ วมกัน เพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ในการสื่ อสาร แนวความคิดนี้ เรี ยกว่าการสื่ อสาร
ทางการตลาดแบบผสมผสาน (Integrated Marketing Communication - IMC) หมายความว่า
การผสม หมายถึง การนําเครื่ องมือทางการตลาด เช่น ผลิตภัณฑ์ ช่องทางจัดจําหน่าย การโฆษณา การใช้
พนักงานขาย การประชาสัมพันธ์ การส่ งเสริ มการขาย การจัดกิจกรรมมาใช้ในการสื่ อสารโครงการรณรงค์ทาง
การตลาด เช่น Prelaunch Campaign ตัวผลิตภัณฑ์ ฉลาก กล่อง ขนาดบรรจุ อาจต้องปรับเปลี่ยน พร้อมทั้งเพิ่ม
ช่องทางจัดจําหน่าย มีการโฆษณา การใช้พนักงานขาย การประชาสัมพันธ์ การส่ งเสริ มการขาย การจัดกิจกรรม
โปสเตอร์ ใบปลิวBrochure การสนับสนุนกิจกรรม (Sponsorship) การจัดตั้งชมรม (Club) การจัดรายการเยีย่ ม
ชมโรงงาน (Plant Tour / Company visit) การออกงานแสดงสิ นค้า (Trade shows) การสร้างเว็บ (Web Site)
การสร้างช่องทางจัดจําหน่าย การส่ งเสริ มสังคม เครื่ องเขียน แบบพิมพ์ต่างๆ ตลอดจนการใช้ช่องทางและสื่ อต่างๆ
ที่สามารถเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่างเหมาะสม ซึ่งไม่ได้หมายความว่า จะต้องใช้สื่อทุกอย่างที่มี
แบรนด์ที่ชอบใช้รายการส่ งเสริ มการขายแรงๆ เท่านั้น จะพบว่าเมื่อทําให้ ลูกค้า “ติด” รายการส่ งเสริ มการ
ขายแล้ว เมื่อไรก็ตามที่ไม่มีรายการส่ งเสริ มการขาย ก็จะขายไม่ได้ หรื อขายได้นอ้ ยกว่าปกติมาก ก็เป็ นเพราะแบรนด์
ไม่ได้สร้างคุณค่า และไม่ได้ทาํ ให้ลูกค้ารักใน “คุณค่า” ที่ทุ่มเททั้งเวลา ความพยายาม รวมถึงงบประมาณในการวิจยั
และพัฒนาผลิตภัณฑ์อย่างต่อเนื่อง เช่น ห้างแว่นตายีห่ อ้ หนึ่ง ไม่ทราบว่ามีบริ ษทั ในเครื อขาย ปากกา / นาฬิกา /
กระเป๋ า ได้มากกว่า แว่นตาหรื อไม่ จึงหยุด
การผสาน หมายถึง การนํากิจกรรม ช่องทางการสื่ อสารที่ใช้ผสมกันนั้น มาจัดกระบวนการให้มีความ
สอดคล้อง ต่อเนื่อง สนับสนุนซึ่งกันและกัน (Interactive) ทําให้เกิดประสิ ทธิผล และประสิ ทธิภาพเพิ่มขึ้น
การใช้ขอ้ ความในแต่ละสื่ อจึงอาจจะไม่เหมือนกัน ขึ้นกับกลุ่มผูร้ ับสื่ อ (Target Audience) ในแต่ละช่องทาง
บางท่านจึงถามว่า ถ้าอย่างนั้นที่เขียนไว้วา่ การสื่ อสารควรจะ มีแนวความคิดหลักเพียงอย่างเดียว (Single
Massage) ก็ไม่จาํ เป็ น ใช่หรื อไม่ คําตอบ คือ ไม่ใช่
เพราะแนวความคิดหลักเพียงอย่างเดียว (Single Massage) คือ การวางตําแหน่ง ประโยชน์ที่ผบู ้ ริ โภค
กลุ่มเป้าหมายจะได้รับจากแบรนด์ ที่ดีกว่าคู่แข่ง (Slogan) แต่การสื่ อสาร ขึ้นกับว่า จะสื่ อสารกับ กลุ่มเป้าหมาย
(Target Market) หรื อ ผูซ้ ้ือ (Shopper) ต้องปรับให้เหมาะสมกับกลุ่มผูร้ ับ (Target Audience) ว่าเป็ นใคร จึงไม่
ใช้ขอ้ ความเดียวกัน (Single Copy) แต่ยงั สื่ อสารแนวความคิดหลักเพียงอย่างเดียว (Slogan) เหมือนกัน
การจะบรรลุวตั ถุประสงค์ในสื่ อสารปัจจัยที่สาํ คัญอีกอย่างหนึ่งก็คือ งบประมาณ เนื่องจากแบรนด์และ
องค์กรมีงบประมาณที่จาํ กัด จึงไม่สามารถจะลงทุนในการสื่ อสารได้ทุกวัน และทุกสื่ อแต่หากสามารถกําหนด กลุ่ม
ผูร้ ับสื่ อ (Target Audience)ที่ชดั เจน จุดเด่นที่เหมาะสม มีแนวความคิดในการสื่ อโดนใจกลุ่มเป้าหมาย และมี
การสื่ อที่มีความถี่ (Weight) รวมถึงระยะเวลาที่นาน (Length) เพียงพอ ก็จะสามารถจูงใจให้กลุ่มเป้าหมายได้ตาม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 201
-------------------------------------------------------------------------------
วัตถุประสงค์
ส่ วนประสมการส่ งเสริมการตลาด
ส่ วนประสมการส่ งเสริ มการตลาด เป็ นเครื่ องมือพื้นฐานที่ใช้เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ในการติดต่อสื่ อสาร
ทางการตลาดขององค์การ ประกอบด้วย
1. การโฆษณา (advertising)
2. การส่ งเสริ มการขาย (sales promotion)
3. การขายโดยพนักงานขาย (personal selling)
4. การให้ข่าวและประชาสัมพันธ์ (publicity and public relations)
5. การตลาดทางตรง (direct marketing)
1. การโฆษณา (advertising) เป็ นรู ปแบบค่าใช้จ่ายในการติดต่อสื่ อสารเกี่ยวกับองค์การ ผลิตภัณฑ์ บริ การ หรื อ
ความคิด โดยไม่ใช้บุคคล และมีการระบุผอู ้ ุปถัมภ์
ลักษณะของการโฆษณา
1.1 เป็ นการติดต่อสื่ อสารโดยไม่ใช้บุคคล (เป็ นการติดต่อสื่ อสารโดยใช้สื่อ)
1.2 ต้องเสี ยค่าใช้จ่าย
1.3 สามารถระบุผอ ู ้ ุปถัมภ์ได้
2. การส่ งเสริมการขาย (sales promotion) หมายถึง การจูงใจที่เสนอคุณค่าพิเศษ หรื อการจูงใจผลิตภัณฑ์
แก่ผบู ้ ริ โภค คนกลาง (ผูจ้ ดั จําหน่าย) หรื อหน่วยงานขาย โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อการสร้างยอดขายในทันที จาก
ความหมายนี้สามารถสรุ ปได้วา่
2.1. การส่ งเสริ มการขายเป็ นการให้สิ่งจูงใจพิเศษเพื่อกระตุน ้ ให้เกิดการซื้อ (extra incentive to buy) เช่น
คูปอง ของแถม การชิงโชค การแลกซื้อ เป็ นต้น
2.2. การส่ งเสริ มการขายเป็ นเครื่ องมือกระตุน ้ (acceleration tool) กิจกรรมการส่ งเสริ มการขายมี
วัตถุประสงค์เพื่อกระตุน้ ให้เกิดการซื้อจํานวนมากขึ้น และสามารถตัดสิ นใจซื้อได้ในเวลาทันทีทนั ใด
2.3. การส่ งเสริ มการขายใช้ในการจูงใจกลุ่มต่าง ๆ 3 กลุ่ม คือ
2.3.1 การส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่ ผบ
ู ้ ริ โภค (consumer promotion) เป็ นการส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่
ผูบ้ ริ โภค คนสุ ดท้าย (ultimate consumer) เพื่อจูงใจให้เกิดการซื้อจํานวนมากขึ้น ตัดสิ นใจซื้อได้รวดเร็ วขึ้น เกิด
การทดลองใช้ถือว่าเป็ นการใช้กลยุทธ์ดึง (pull strategy)
2.3.2 การส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่ คนกลาง (trade promotion) เป็ นการส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่ พอ ่ ค้าคน
กลาง (middleman) ผูจ้ ดั จําหน่าย (distributor) หรื อผูข้ าย (dealer) ถือว่าเป็ นการใช้กลยุทธ์ผลัก (push
strategy)
2.3.3 การส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่ พนักงานขาย (sales-force promotion) เป็ นการส่ งเสริ มการขายที่มุ่งสู่
พนักงานขาย (salesman) หรื อหน่วยงานขาย (sales-force) เพื่อให้ใช้ความพยายามในการขายมากขึ้น ถือว่าเป็ น
การใช้กลยุทธ์ผลัก (push strategy)
วัตถุประสงค์ของการส่ งเสริมการขาย
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 202
-------------------------------------------------------------------------------
1. การดึงลูกค้าใหม่ (attract new users)
2. การรักษาลูกค้าเก่าไว้ (hold current customer)
3. การส่ งเสริ มลูกค้าในปั จจุบน ั ให้ซ้ือสิ นค้าในปริ มาณมาก (load present user)
4. การเพิ่มอัตราการใช้ผลิตภัณฑ์ (increase product usage)
5. การส่ งเสริ มการขายทําให้ผบ ู ้ ริ โภคเกิดการยกระดับ (trade up)
6. การเสริ มแรงการโฆษณาในตราสิ นค้า (reinforce brand advertising)
3. การขายโดยพนักงานขาย (personal selling)
พนักงานขาย หมายถึง ผูแ้ ทนของบริ ษทั ที่ไปพบผูท้ ี่คาดหวัง โดยมีวตั ถุประสงค์วา่ จะเปลี่ยนแปลงสถานภาพ
ของผูท้ ี่คาดหวังให้เป็ นลูกค้า
การบริ หารการขาย หมายถึง การวางแผน การปฏิบตั ิตามแผน และการควบคุมโปรแกรมการขายโดยบุคคลที่
ถูกออกแบบมา เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ทางการขายของบริ ษทั
กระบวนการขาย (selling process) แบ่งเป็ น 7 ขั้นตอนต่อเนื่องกันดังต่อไปนี้
1. การเสาะแสวงหาผูท ้ ี่คาดว่าจะเป็ นลูกค้า (The prospecting) หมายถึง วิธีการดําเนินการเพื่อให้ได้มาซึ่ง
บัญชีรายชื่อของบุคคลหรื อสถาบันที่มีโอกาสจะเป็ นผูท้ ี่คาดว่าจะเป็ นลูกค้า
2. การเตรี ยมการก่อนเข้าพบลูกค้า (The preapproach) หมายถึง ขั้นตอนในการเก็บรวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับ
ลูกค้าที่ผา่ นการกลัน่ กรองแล้ว
3. การเข้าพบลูกค้า (The approach) หมายถึง การใช้ความพยายามเพือ ่ ให้มีโอกาสพบปะสนทนากับลูกค้า
โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
- เรี ยกความเอาใจใส่ จากลูกค้า
- ทําให้ลูกค้าสนใจ
- นําไปสู่ การเสนอขายอย่างแนบเนี ยน
4. การเสนอขายและสาธิ ตการขาย (The presentation and demonstration) การเสนอขาย คือ การที่
พนักงานทําการเสนอสิ นค้าหรื อบริ การให้แก่ลูกค้า โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะโน้มน้าวจิตใจของลูกค้าให้มาใช้สินค้า
หรื อใช้สินค้าที่เคยใช้อยูแ่ ล้วต่อไปและตลอดไป แบ่งออกเป็ น 2 ส่ วน คือ 1. การเสนอ และ 2. การขาย
5. การจัดการกับข้อโต้แย้ง (The objection) ข้อโต้แย้งทางการขาย คือ พฤติกรรมต่าง ๆ ที่ผม ู ้ ุ่งหวังได้แสดง
ออกมาในทางต่อต้านหรื อไม่เห็นด้วย ในขณะที่พนักงานกําลังดําเนินการสาธิตสิ นค้า
6. การปิ ดการขาย (The closing) เป็ นเทคนิ คที่นาํ ออกมาใช้เพื่อให้ได้ใบสัง่ ซื้ อจากลูกค้า โดยเทคนิ คนี้
จะต้องนําออกมาใช้ในจังหวะเวลาที่เหมาะสม นัน่ ก็คือจังหวะที่มีสญ ั ญาณว่าลูกค้าพร้อมจะซื้อแล้ว ซึ่งอาจจะ
เกิดขึ้นด้วยความสมัครใจของลูกค้า หรื อพนักงานขายกระตุน้ ให้เกิดขึ้นก็ได้
7. การติดตามผลและดูแลลูกค้า (The follow-up) เป็ นการรับประกันความพอใจของลูกค้าเพื่อให้มีการ
ติดต่อทางธุรกิจกันเรื่ อยไป รวมถึงการแวะเยีย่ มลูกค้าที่ซ้ือผลิตภัณฑ์ไปแล้วเป็ นครั้งเป็ นคราว เพื่อตรวจสอบดู
ระดับความพึงพอใจของลูกค้าในการบริ โภคผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั
ค่ าตอบแทนพนักงานขาย (compensating salespeople)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 203
-------------------------------------------------------------------------------
1. การจ่ายค่าตอบแทนในรู ปของเงินเดือน
2. การจ่ายค่าตอบแทนในรู ปของค่านายหน้าหรื อค่าคอมมิชชัน ่
3. การจ่ายค่าตอบแทนแบบผสม
4. การให้ข่าวและการประชาสัมพันธ์ (publicity and public relations)
การให้ข่าวถือเป็ นเครื่ องมือหนึ่งของการประชาสัมพันธ์ แต่มีความหมายที่แตกต่างดังนี้
การให้ ข่าว (publicity)
- เป็ นการให้ข่าวโดยสื่ อมวลชน
- เป็ นเครื่ องมือที่ตอ้ งจ่ายเงินหรื อไม่ตอ้ งจ่ายเงินก็ได้
- เป็ นเครื่ องมือในการส่ งเสริ มการตลาดเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์และองค์กรในรู ปของสุ นทรพจน์ หรื อการ
ให้สัมภาษณ์ หรื อการให้ข่าวผ่านสื่ อต่าง ๆ
- สามารถสร้างความน่าเชื่อถือได้สูง
- เป็ นกลยุทธ์ในระยะสั้น
- มีท้ งั ข้อมูลที่เป็ นด้านบวกและด้านลบ
การประชาสั มพันธ์ (public relations)
- เป็ นการติดต่อสื่ อสารเพื่อสร้างทัศนคติ ความน่ าเชื่อถือ และสร้างภาพลักษณ์ที่ดีให้เกิดแก่องค์กรกับ
กลุ่มต่าง ๆ
- เป็ นการสร้างความสัมพันธ์อน ั ดีกบั กลุ่มต่าง ๆ
- เป็ นกลยุทธ์ในระยะยาว
- ให้ขอ้ มูลด้านบวกเกี่ยวกับธุ รกิจ
ข้ อดีของการประชาสั มพันธ์
1. สามารถสร้างความเชื่อถือได้สูง
2. ช่วยสร้างภาพลักษณ์แก่องค์การ
3. ต้นทุนตํ่ากว่าการโฆษณา
4. สามารถหลีกเลี่ยงการสับสน
5. มีการเผยแพร่ ข่าวสารอย่างรวดเร็ ว
การโฆษณา
เป็ นการประกาศสิ นค้าหรื อบริ การให้ประชาชนโดยทัว่ ไปทราบ เป็ นเครื่ องมือสื่ อสารทางการตลาดเพื่อบอก
กล่าวให้ผบู ้ ริ โภครู ้สึกถึงคุณค่าและความแตกต่าง รู ้จกั และก่อให้เกิดพฤติกรรมการซื้อสิ นค้าหรื อใช้บริ การนั้น ใน
อดีตการเริ่ มต้นของการโฆษณาจะเป็ นลักษณะของการร้องป่ าวประกาศเชิญชวน ปัจจุบนั ทําโดยเผยแพร่ งาน
โฆษณา (advertisement) ผ่านสื่ อต่าง ๆ เช่น สื่ อสิ่ งพิมพ์ สื่ อโทรทัศน์ สื่ อวิทยุ เป็ นต้น โดยเจ้าของกิจการจะว่าจ้าง
บริ ษทั รับทําโฆษณา เพื่อทําการโฆษณาสิ นค้าและบริ การในสื่ อต่าง ๆ เช่น ป้ายโฆษณากลางแจ้งตามถนนสายหลัก
ซึ่งเป็ นสื่ อที่ช่วยประหยัดงบประมาณได้และสามารถตอกยํ้าตราสิ นค้าได้อีกทางหนึ่ง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 204
-------------------------------------------------------------------------------
การประชาสั มพันธ์
การประชาสัมพันธ์ หมายถึง การสื่ อสารความคิดเห็น ข่าวสาร ข้อเท็จจริ งต่าง ๆ ไปสู่ กลุ่มประชาชน เป็ น
การเสริ มสร้างความสัมพันธ์และความเข้าใจอันดีระหว่างหน่วยงาน องค์การ สถาบันกับกลุ่ม ประชาชนเป้าหมาย
และประชาชนที่เกี่ยวข้อง เพือ่ หวังผลในความร่ วมมือ สนับสนุนจากประชาชน รวมทั้งมีส่วนช่วยเสริ มสร้าง
ภาพลักษณ์ ที่ดีให้แก่หน่วยงาน องค์การ สถาบันด้วย ทําให้ประชาชน เกิดความนิยม เลื่อมใส ศรัทธาต่อ
หน่วยงาน ตลอดจนค้นหาและกําจัดแหล่งเข้าใจผิด ช่วยลบล้างปัญหา เพื่อสร้างความสําเร็ จในการดําเนินงานของ
หน่วยงานนั้น
การส่ งเสริมการขาย
วัตถุประสงค์สาํ คัญในการจัดทําการส่ งเสริ มการขายนั้นก็เพื่อ เป็ นการกระตุน้ ยอดขายของกิจการ และ การ
แนะนําสิ นค้าสู่ ลูกค้า ทั้งนี้ยงั สื บเนื่องกับ ความพึงพอใจที่ดีของลูกค้า ในการบริ โภคหรื ออุปโภคสิ นค้า เพื่อการ
สร้างเครื อข่ายความเป็ นไปได้ ในการเลือกบริ โภคหรื ออุปโภคสิ นค้านั้นๆ อย่างต่อเนื่อง ประกอบกับการแนะนํา
สิ นค้าโดยอาศัยช่องทางแบบปากต่อปากหรื อเพื่อนสู่ เพื่อนต่อไป และถ้าจะให้ผมสรุ ป "การส่ งเสริ มการขายคือการ
สนับสนุนการสร้างราคาสิ นค้าเฉพาะเจาะจง/การสร้างมูลค่าตราสิ นค้า การสร้างกลุ่มลูกค้าถาวร และการสร้าง
ภาพพจน์ของกิจการ" นัน่ เอง
ในทางปฏิบตั ิ การส่ งเสริ มการขาย หมายถึง การติดต่อสื่ อสาร (Communication between Company
and Customer)
ระหว่างลูกค้าและกิจการ โดยอาศัยเครื่ องมือในการสื่ อสาร (Marketing Tools) ได้แก่:
1. การโฆษณา (Advertising)
ในการโฆษณาสิ นค้าและการบริ การ กิจการจะต้องศึกษาและกําหนดตลาดเป้าหมายและกลุ่มลูกค้าเสี ยก่อน
ครับ และหลังจากนั้นกิจการจึงจะสามารถที่จะเริ่ มดําเนินการและตัดสิ นใจเกี่ยวกับโครงการในการโฆษณาสิ นค้า
และการบริ การโดยอาศัยหลักเกณฑ์ต่อไปนี้ครับ
วัตถุประสงค์ของการโฆษณาคืออะไร -What are the advertising objectives
งบประมาณที่จะจัดสรรให้โครงการมีเท่าไร - How must to spend
สิ่ งที่จะสื่ อสารให้กลุ่มเป้าหมายทราบคืออะไร - What message should be sent
สื่ อชนิดใดที่สมควรจะนํามาใช้ - What media should be used
และกิจการจะทําการประเมินผลอย่างไร - How should the results be evaluated
ขั้นตอนแรกในการจัดทํากิจกรรมการโฆษณาคือ การกําหนดวัตถุประสงค์ในการจัดทําโครงการโฆษณา
และวัตถุประสงค์เหล่านั้นจะต้องสอดคล้องกับตลาดเป้าหมาย (Target Market) ตําแหน่งสิ นค้าในตลาด (Market
Positioning) และส่ วนประสมทางการตลาด (Marketing Mix) โดยตําแหน่ งสิ นค้าในตลาดและส่ วนประสมทาง
การตลาดจะเป็ นปัจจัยที่ใช้ในการกําหนดการโฆษณาว่าจะควรเป็ นในทิศทางใด
หลังจากการกําหนดวัตถุประสงค์ในการโฆษณา กิจการสามารถที่จะประเมินค่าใช้จ่ายของโครงการและ
จัดทํางบประมาณการจัดทําโฆษณานั้นเป็ นกระบวนการในการผลักดันความต้องการของลูกค้าในตัวสิ นค้าให้สูงขึ้น
หรื อกิจการยอมที่จะสู ญเสี ยค่าใช้จ่ายในการโฆษณาเพื่อให้บรรลุยอดขายที่ได้กาํ หนดไว้ในการจัดทํางบประมาณ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 205
-------------------------------------------------------------------------------
เพื่อการโฆษณา กิจการจะต้องพิจารณาปัจจัยต่างๆดังต่อไปนี้ :
· ช่วงวงจรชีวิตของสิ นค้า - Stage in the product life cycle.
· ส่ วนแบ่งทางการตลาด - Market share.
· การแข่งขัน - Competition.
· ระยะเวลา/ความถี่ของโครงการในการโฆษณา - Advertising frequency.
· ความสามารถของสิ นค้าทดแทน - Product substitute-ability.
· ลักษณะของตลาด - Market characteristics.
กระบวนการต่อไปคือการเลือกรู ปแบบของสื่ อในการโฆษณาเพื่อการสื่ อสารต่อลูกค้า กิจการจะเลือกสื่ อชนิด
ใดนั้นมักจะขึ้นอยูก่ บั ความต้องการที่จะไปถึงกลุ่มลูกค้า ความถี่ในการโฆษณา และผลกระทบทั้งทางตรงและ
ทางอ้อม - การกําหนดระยะเวลาในการโฆษณา ฤดู และพื้นที่กเ็ ป็ นปัจจัยในการเลือกใช้สื่อเช่นกัน
2. การตลาดทางตรง (Direct Marketing)
การตลาดทางตรง คือ ระบบหนึ่งของการตลาดที่ใช้สื่อในการโฆษณาอย่างใดอย่างหนึ่งหรื อมากกว่าเพื่อการ
เข้าถึงกลุ่มลูกค้าซึ่งสามารถวัดผลได้และสามารถกระทําได้ในทุกสถานที่ ในอีกนัยหนึ่งการตลาดทางตรงเป็ นความ
พยายามของการโฆษณาในการสร้างความสนใจของลูกค้าให้มีต่อสิ นค้าหรื อการบริ การ การส่ งเสริ มการขายก็ถือได้
ว่าเป็ นการตลาดทางตรงที่กิจการใช้ในการกระตุน้ ยอดขายโดยการจูงใจลูกค้าครับ
3. การทาการขายด้ วยการใช้ พนักงาน (Personal Selling)
การทําการขายด้วยการใช้พนักงานเป็ นเรื่ องที่ตอ้ งอาศัยเครื่ องมือการพยากรณ์ความคุม้ ค่าของค่าใช้จ่าย ผลที่
จะได้รับจากกระบวนการในการทําการขาย การใช้จิตวิทยาเฉพาะบุคคลในการจูงใจลูกค้าเพื่อการตัดสิ นใจซื้อสิ นค้า
หรื อการบริ การ และคุณภาพในการทําการขายที่ประกอบไปด้วย 3 เรื่ องหลักๆ คือ:
· การสร้างบรรยากาศระหว่างการขาย
· การสร้างความเข้าใจเกี่ยวกับพฤติกรรมการตัดสิ นใจของผูบ้ ริ โภคและอุปโภค
· การสร้างแรงจูงใจและการสร้างความสัมพันธ์ระยะยาว
การขายโดยใช้ พนักงานขาย
การขาย (Selling) ถือว่าเป็ นงานทางการตลาดที่มีความสําคัญ ดังคําโบราณกล่าวไว้วา่ “สิ่ งต่างๆ จะไม่
สามารถเกิดขึ้นได้เลย จนกว่าการขายจะเกิดขึ้น” ในอดีตคนทัว่ ไปมักจะคิดว่าพนักงานขายต้องพูดเก่ง ชอบตีสนิท
พูดจาเชื่อถือไม่ได้ แต่ปัจจุบนั พนักงานเป็ นมากกว่าผูร้ ับคําสัง่ ซื้อ (Order Taker) โดยพนักงานขายต้องค้นหาความ
ต้องการของลูกค้า และมีความสามารถในการตอบสนองความต้องการนั้นๆได้คนที่ทาํ หน้าที่ในด้านการขายอาจมี
ชื่อเรี ยกได้หลายๆอย่างเช่นพนักงานขาย(Salespeople) ตัวแทนขาย (Sales representatives) ผูจ้ ดั การฝ่ ายลูกค้า
(Account executives) ที่ปรึ กษาการขาย (Sales consultants) วิศวกรการขาย (Sales engineers) ตัวแทนขาย
ภาคสนาม (Field representatives) ตัวแทน (Agent) ผูจ้ ดั การเขต (District managers) และตัวแทนการตลาด
(Marketing representatives) เป็ นต้น
การขายโดยพนักงานขายจึงเป็ นสิ่ งสําคัญในการติดต่อสื่ อสารทางการตลาดอย่างมีประสิ ทธิภาพ การขายโดย
พนักงานขายเป็ นสิ่ งจําเป็ นที่ช่วยผลักดันให้ลูกค้าใช้สินค้าใหม่ เพิม่ ยอดขาย และให้ลูกค้าได้รู้ถึงตราสิ นค้าของ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 206
-------------------------------------------------------------------------------
บริ ษทั ดังนั้นจึงอาจกล่าวได้วา่ การขายโดยพนักงานขาย (Personal Selling) คือ รู ปแบบของการติดต่อสื่ อสาร
ระหว่างบุคคลต่อบุคคล (Person-to-person communication) ที่พนักงานขาย (Salesperson) ใช้ความพยายาม
ในการกระตุน้ ให้ผซู ้ ้ือทําการซื้อสิ นค้าหรื อบริ การของบริ ษทั จะเห็นได้วา่ การขายโดยพนักงานขายเป็ นกระบวนการ
ติดต่อสื่ อสารสองทาง (Two-way communication process) ที่ท้ งั พนักงานขายและลูกค้าคาดหวังสามารถ
ตอบสนองซึ่งกันและกันอย่างทันทีทนั ใด
ดังนั้น พนักงานขาย (Salesperson) คือ บุคคลที่รับผิดชอบในการติดต่อ แสวงหาลูกค้า เสนอขาย กระตุน้ ให้
ลูกค้าเกิดความตั้งใจและตัดสิ นใจซื้อ ให้บริ การก่อนและหลังการขาย รวมถึงการให้คาํ แนะนําลูกค้า ในองค์การซึ่ง
ประกอบด้วยพนักงานขายมากกว่าหนึ่งคนจึงจัดตั้ง หน่วยงานขาย (Sales force) ซึ่งหมายถึง กลุ่มของพนักงาน
ขายตั้งแต่หนึ่งคนขึ้นไปที่รับผิดชอบในการติดต่อ แสวงหาลูกค้า เสนอขาย ตลอดจนให้บริ การก่อนและหลังการ
ขายแก่ลูกค้า
ปรัชญาการขายสมัยใหม่
ตามความหมายของสมาคมการตลาดแห่งสหรัฐอเมริ กาได้ให้คาํ นิยามความหมายของการขายไว้วา่ การขาย
คือ กระบวนทั้งทางตรงหรื อทางอ้อม เพื่อจูงใจให้ผคู ้ าดหวังว่าจะเป็ นลูกค้าในอนาคตซื้อสิ นค้าหรื อบริ การ หรื อ
ยินยอมกระทําตามสิ่ งใดสิ่ งหนึ่งซึ่งจะทําให้เกิดผลประโยชน์ทางการค้าแก่ผขู ้ าย นอกจากนี้ยงั มีผใู ้ ห้ความหมายของ
การขายอื่นอีก เช่น “การขาย คือ การจูงใจคนให้เกิดความต้องการในผลิตภัณฑ์ที่ผขู ้ ายมีอยู่ ไม่วา่ จะเป็ นสิ นค้าหรื อ
บริ การ หรื อแนวคิด” จะเห็นว่าแนวคิดด้านการขายแบบเก่ามักจะมองในแง่ของผูข้ ายเป็ นหลัก หรื อเรี ยกว่า การขาย
ที่มุ่งผูข้ าย (Seller-oriented) ดังนั้นการขายตามแนวคิดแบบเก่านี้จึงมุ่งที่จะทุ่มเทความพยายามในการขายโดยใช้
ยุทธวิธีทางการขายต่างๆ โดยใช้ความพยายามเพียงน้อยนิดที่จะทําความเข้าใจในธุรกิจของลูกค้าและการติดตาม
หลังการขายที่เป็ นการให้ความสนใจในความพึงพอใจของลูกค้าดังนั้นลักษณะการขายพื้นฐานที่ดี คือ การให้ความ
ช่วยเหลือลูกค้า (Providing Service) การชักจูงใจลูกค้า (Persuasion) การติดต่อสื่ อสาร (Communicating) การ
แก้ปัญหาให้กบั ลูกค้า (Problem solving) การให้ความรู ้แก่ลูกค้า (Educating) จึงเกิดปรัชญาการขายสมัยใหม่ข้ ึน
ที่เรี ยกว่า การขายที่มุ่งการเป็ นหุน้ ส่ วน (Partner-oriented) แนวคิดนี้ได้ตระหนักว่าความสําเร็ จของผูข้ ายจะขึ้นอยู่
กับความสําเร็จของลูกค้า ดังนั้นแนวคิดการขายที่มุ่งการเป็ นหุน้ ส่ วนจึงคํานึงถึงความพึงพอใจของลูกค้าเป็ นสิ่ ง
สําคัญในลําดับสู งที่สุด โดยแนวคิดการขายที่มุ่งการเป็ นหุน้ ส่ วนจะอยูบ่ นพื้นฐานของหลักการ 6 ประการ ได้แก่
1. กระบวนการขายอยูบ ่ นพื้นฐานของความไว้วางใจและข้อตกลงทั้งสองฝ่ าย นัน่ คือ การขายเป็ นสิ่ งที่
ทั้งสองฝ่ ายตกลงกันเพื่อประโยชน์ร่วมกัน
2. บรรยากาศการขายที่มุ่งลูกค้าเป็ นสิ่ งจําเป็ นต่อการเจริ ญเติบโตในระยะยาว โดยพยายามหลีกเลี่ยงการใช้
ยุทธวิธี (tactic) การขาย แต่มุ่งสู่ ความพึงพอใจของลูกค้าเป็ นหลัก ดังนั้นพนักงานขายต้องรู ้จกั ลูกค้าและสื่ อสาร
ในภาษาที่ลูกค้าสามารถเข้าใจได้
3. พนักงานขายควรทํางานเสมือนหนึ่ งรับเงินเดือนจากลูกค้า การที่พนักงานขายยิง่ ใกล้ชิดกับลูกค้ามากขึ้น
เท่าใดจะสามารถแก้ไขปัญหาให้ลูกค้าได้ดียงิ่ ขึ้นเท่านั้น อย่างไรก็ตามก็มิอาจปฏิเสธความรับผิดชอบที่มีต่อนายจ้าง
จึงอาจกล่าวได้วา่ การแก้ไขปัญหาให้ลูกค้าและการสร้างความสัมพันธ์เป็ นเครื่ องมือสู่ เป้าหมาย ซึ่งเป้าหมาย คือ
การทํากําไรระยะยาวแก่นายจ้างสู งสุ ดนัน่ เอง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 207
-------------------------------------------------------------------------------
4. การได้มาซึ่งคําสัง่ ซื้ อเป็ นเพียงขั้นตอนแรก บริ การหลังการขายเป็ นสิ่ งที่สาํ คัญ ปรัชญาการขายสมัยใหม่
คือการบริ การลูกค้าเพื่อได้มาซึ่งความสัมพันธ์ที่น่าพึงพอใจในระยะยาว
5.ไม่มีคาํ ตอบใดเพียงคําตอบเดียวที่จะเหมาะสมสําหรับลูกค้าทุกคน ดังนั้นปั ญหาของลูกค้าต้องได้รับการ
วิเคราะห์โดยพนักงานขายสมัยใหม่ และทําการแก้ไขอย่างเหมาะสมกับสถานการณ์ของแต่ละปัญหา พนักงานขาย
ควรทําเสมือนลูกค้าเป็ นหุน้ ส่ วนในการแก้ไขปัญหา
6. พนักงานขายมืออาชีพและซื่ อสัตย์เป็ นสิ่ งจําเป็ น ลูกค้ามักจะคาดหวังพนักงานขายที่มีมาตรฐาน และไม่
ชอบพฤติกรรมที่ไม่น่าไว้วางใจและไม่จริ งใจ
การตลาดทางตรง
เป็ นการติดต่อสื่ อสารส่ วนตัว ระหว่าง นักการตลาด และกลุ่มเป้าหมาย โดยใช้ การส่ งจดหมายตรง
โทรศัพท์ หรื อวิธีการอื่นๆ ผ่านสื่ ออย่างใดอย่างหนึ่งหรื อหลายอย่างร่ วมกัน โดยนักการตลาดสามารถวัดผลการ
ตอบสนองจาก ผูบ้ ริ โภคได้
การตลาดทางตรง มีความสาคัญ คือ
ด้ านของเจ้ าของสินค้ าหรื อบริ การ
1. ช่วยให้กาํ หนดกลุ่มเป้าหมายได้ชดั เจน
2. ส่ งข่าวสารข้อมูลเกี่ยวกับสิ นค้าหรื อบริ การไปยังกลุ่มเป้ าหมายได้โดยตรง
3. ให้ความสะดวกสบายแก่พนักงานขาย ไม่วา่ จะเป็ นการขายโดยพนักงานหรื อการขายทางโทรศัพท์
4. สามารถประเมินผลได้ รู ้จาํ นวนผูส ้ นใจสิ นค้าอย่างชัดเจน
5. รวบรวมข้อมูลของกลุ่มเป้ าหมายได้
ด้ านผู้บริโภค
1. มีขอ้ มูลประกอบการตัดสิ นใจ
2. มีความสะดวกสบายมากขึ้นในการซื้ อสิ นค้า
3. สร้างความพึงพอใจแก่ให้กลุ่มเป้ าหมายได้ เนื่ องจากสิ ทธิ พิเศษที่เหนื อผูอ้ ื่น
แนวคิดหลักของการตลาดทางตรง
สมาคมการตลาดทางตรงของสหรัฐอเมริ กา ได้ให้ความหมายการตลาดทางตรงว่า หมายถึง ระบบตลาดที่
ติดต่อซึ่งกันและกันโดยใช้สื่อโฆษณาเพียงหนึ่งหรื อมากกว่านั้น เพื่อเป็ นการถ่ายทอดข่าวสารในที่ต่างๆ โดย
สามารถวัดผลการตอบสนองได้ ในปัจจุบนั มีคาํ ที่นกั สื่ อสารการตลาดใช้เรี ยกกิจกรรมการติดต่อกับกลุ่มเป้าหมาย
โดยตรงหลายคํา เช่น การตลาดทางตรง (Direct Marketing) การขายตรง (Direct selling, Direct Sales) การ
โฆษณาตอบกลับโดยตรง(Direct-response Advertising) และการส่ งจดหมายโดยตรง (Direct Mail) การตลาด
ทางตรงได้รับความนิยมจากนักการตลาดอย่างมาก เพราะมีลกั ษณะเด่น คือ สามารถเลือกเข้าถึงกลุ่มเป้าหมายได้
เพราะข้อมูลชัดเจนเกี่ยวกับผูบ้ ริ โภค ทําให้ลดการ สู ญเปล่าในการใช้สื่อ และสื่ อสารได้อย่างมีประสิ ทธิภาพสู ง
ตัวอย่างเช่น การทําการตลาดเปิ ดตัวรถยนต์โฟก์สวากอน New Battle ในไทยทีการใช้การประมูลรถผ่าน website
www.thailifestyle.com ซึ่ งประสบความสําเร็ จในการเข้าถึงกลุ่มเป้ าหมายอย่างมาก สามารถส่ งข้อมูลไปยัง
กลุ่มเป้าหมายย่อยๆได้ โดยพิจารณาจากข้อมูลขั้นต้นที่มีการจัด รวบรวมไว้ เช่น อายุ เพศ อาชีพ การศึกษา
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 208
-------------------------------------------------------------------------------
ประวัติการซื้อสิ นค้าในอดีต ตัวอย่างเช่น การจัด กิจกรรมส่ งเสริ มการขายของบัตรเครดิตจะใช้ฐานข้อมูลลูกค้าและ
ประวัติการซื้อสิ นค้าเพื่อกําหนดรู ปแบบกิจกรรมการตลาดตรงที่จะเสนอให้ สามารถเพิ่มหรื อลดความถี่ได้ตาม
ความเหมาะสม ลักษณะเช่นนี้อาจจะดูไม่ต่างจากสื่ อวิทยุ โทรทัศน์ หรื อสื่ อสิ่ งพิมพ์ เพราะสื่ อดังกล่าวก็สามารถ
เลือกความถี่ได้ แต่การตลาดทางตรงจะมีลกั ษณะเด่นกว่าตรงที่นกั การตลาดสามารถตรวจสอบได้วา่ มีกลุ่มเป้าหมาย
ตอบรับหรื อปฏิเสธ และที่สาํ คัญการสื่ อสารการตลาดลักษณะเช่นนี้เราสามารถมัน่ ใจว่าถึงกลุ่มเป้าหมายได้อย่าง
แน่นอน สามารถปรับเปลี่ยน ให้เหมาะสมกับกลุ่มเป้าหมายแต่ละประเภทได้โดยไม่จาํ เป็ นต้องใช้ ข้อมูลหรื อเนื้อหา
เดียวกับกลุ่มเป้าหมายทุกคนเหมือนการดูโฆษณา เช่น ถ้าต้องการจําหน่าย สิ นค้าชนิดหนึ่งแต่มีกลุ่มเป้าหมาย 2
กลุ่มใหญ่ ก็ใช้รูปแบบและเนื้อหาของจดหมายที่ต่างกันให้เหมาะสมกับแต่ละกลุ่มที่ตอ้ งการสื่ อสาร ประหยัดเวลา
หมายถึง สามารถใช้เวลาไม่มากนักในการผลิตสื่ อต่างๆ และจัดส่ งให้กลุ่ม เป้าหมาย เช่น การโทรศัพท์ มีลกั ษณะ
ส่ วนบุคคล ทําให้ผรู ้ ับสารรู ้สึกดีที่มีข่าวสารส่ งถึงเฉพาะ เนื่องจากมีการระบุชื่อ นามสกุลที่ซองจดหมาย
ตัวอย่างเช่น การส่ งเสริ มการตลาดตรงของบัตรเครดิตในโปรแกรมวันเกิดของเจ้าของบัตร ต้นทุนกิจกรรม ค่าเฉลี่ย
ของการตลาดโดยตรงจะตํ่า เพราะส่ งข้อมูลไปยังกลุ่มเป้าหมายได้ ชัดเจน และสามารถทราบถึงการตอบรับด้วยว่า
จะมีการซื้อสิ นค้าหรื อไม่ สามารถวัดผลได้ ถือเป็ นข้อได้เปรี ยบเหนือกิจกรรมอื่นๆ ทั้งนี้เพราะการโฆษณาโทรทัศน์
แม้วา่ จะครอบคลุมได้กว้างกว่า แต่ไม่สามารถทราบได้วา่ มีการตัดสิ นใจซื้อภายใต้การโฆษณานั้นหรื อไม่ ขณะที่
การตลาดโดยกลุ่มเป้าหมายจะมีการส่ งใบสัง่ สิ นค้ากลับเข้ามาที่บริ ษทั ทําให้สามารถคิดเป็ นสัดส่ วนได้วา่ เป็ น
จํานวนเท่าใดเมื่อเทียบกับจดหมายที่ออกไปยังกลุ่ม เป้าหมายรู ปแบบของสื่ อที่ใช้ในการตลาดทางตรง แบ่งได้เป็ น
2 กลุ่ม คือ
การใช้สื่อโดยตรง เพื่อติดต่อกับกลุ่มเป้าหมายที่คดั เลือกแล้ว และคาดว่ามีแนวโน้มที่จะต้องการสิ นค้าและ
บริ การ โดยมากจะได้รับการตอบกลับสู งเช่น ไปรษณี ย ์ โทรศัพท์ และคอมพิวเตอร์
การใช้สื่อมวลชน เพื่อสื่ อสารไปยังกลุ่มเป้าหมายจํานวนมาก สร้างฐานข้อมูลลูกค้าให้มากขึ้น เช่น
วิทยุกระจายเสี ยง สื่ อสิ่ งพิมพ์ วิทยุโทรทัศน์
แนวความคิดทางการตลาด
นักการตลาดสมัยใหม่หลายท่านได้ให้ความหมายของการตลาดไว้ดงั นี้
สมาคมการตลาดแห่งสหรัฐอเมริ กา (The American Marketing Association-AMA.) ได้ให้ความหมาย
"การตลาด" ใหม่ ดังนี้
"การตลาดเป็ นกิจกรรมทางธุรกิจที่ทาํ ให้สินค้าและบริ การผ่านจากผูผ้ ลิตไปยังผูบ ้ ริ โภค เพื่อสนองตอบความ
ต้องการและทําให้ผบู ้ ริ โภคเกิดความพึงพอใจ และในขณะเดียวกันก็บรรลุวตั ถุประสงค์ของกิจการด้วย"
Phillip Kotler กล่ าวว่ า
การตลาด หมายถึง "การทํากิจกรรมกับตลาดเพื่อให้เกิดการแลกเปลี่ยนโดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อบําบัดความ
ต้องการ และสนองต่อความจําเป็ นของมนุษย์ทาํ ให้เกิดความพึงพอใจ"
Harry L. Hansan กล่ าวว่ า
"การตลาดเป็ นขบวนการค้นหาความจําเป็ นและความต้องการของมนุษย์ และวิเคราะห์ออกมาเพื่อที่จะหา
สิ นค้าหรื อบริ การที่มาสนองตอบความต้องการนั้น ๆ"
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 209
-------------------------------------------------------------------------------
McCarthy กล่ าวว่ า
"การตลาดเป็ นกิจกรรมทางธุรกิจที่ทาํ ให้สินค้าหรื อบริ การผ่านจากผูผ้ ลิตไปสู่ ผบ ู ้ ริ โภค เพื่อสนองความ
ต้องการและทําความพอใจให้กบั ผูบ้ ริ โภคตลอดจนเพื่อบรรลุวตั ถุประสงค์ของบริ ษทั ด้วย"
จากคําจํากัดความดังกล่าวข้างต้น พอที่จะแยกพิจารณาถึงประเด็นสําคัญของความหมายการตลาดดังนี้
1. กิจกรรม กิจกรรมที่จะทําให้สินค้าหรื อบริ การไปถึงมือผูบ ้ ริ โภคคนสุ ดท้ายอย่างมีประสิ ทธิภาพ ซึ่ง
กิจกรรมเหล่านี้ประกอบไปด้วยส่วนประสมทางการตลาด ได้แก่ การวางแผนและพัฒนาผลิตภัณฑ์ การกําหนด
ราคา ช่องทางการตลาด และการส่ งเสริ มการตลาด รวมถึงการวิจยั การตลาดอื่น ๆ
2. การตอบสนองความต้องการหรื อความพอใจของผูบ ้ ริ โภคหรื อลูกค้า นักการตลาดจะต้องพยายาม
ตอบสนองความต้องการของผูบ้ ริ โภคอยูต่ ลอดเวลา จึงจะสามารถอยูใ่ นตลาดได้ไม่ใช่เป็ นการไปสร้างความ
ต้องการของผูบ้ ริ โภคให้เกิดขึ้น เพราะว่าอาจจะสร้างความต้องการให้เกิดขึ้นไม่ได้ นักการตลาดควรที่จะทราบใน
ความต้องการของผูบ้ ริ โภคที่มีอยูแ่ ล้วให้เกิดขึ้นจะดีกว่าไปสร้างความต้องการ
้ ริ โภคคนสุ ดท้ายหรื อลูกค้า ในการดําเนินธุรกิจต่าง ๆ จะต้องมุ่งเน้นไปที่ตวั ผูบ้ ริ โภคคนสุ ดท้าย หรื อ
3. ผูบ
ลูกค้าเป็ นสําคัญ แล้วจึงใช้กิจกรรมการตลาดเข้าไปรองรับผูบ้ ริ โภคเหล่านั้น ซึ่งผูบ้ ริ โภคหรื อลูกค้านี้เป็ นไปได้ท้งั ที่
อยูใ่ นปัจจุบนั และที่คาดว่าจะเป็ นลูกค้าของธุรกิจ
4. การเคลื่อนย้ายสิ นค้าหรื อบริ การ การตลาดจะต้องมีการเคลื่อนย้ายสิ นค้าหรื อบริ การจากผูผ้ ลิตไปยัง
ผูบ้ ริ โภคคนสุ ดท้าย จึงจะทําให้เกอดการแลกเปลี่ยนซื้อขายเกิดขึ้นได้ระหว่างผูซ้ ้ือ (ผูบ้ ริ โภคหรื อลูกค้า) กับผูข้ าย
(ผูผ้ ลิตหรื อคนกลาง)
ความหมายของการตลาดที่เป็ นที่ยอมรับกันทัว่ ไปและถือเป็ นความหมายมาตรฐานคือความหมายการตลาดที่
กําหนดโดยคณะกรรมการสมาคมการตลาดแห่งสหรัฐอเมริ กาดังนี้
การตลาด หมายถึง การกระทําทางธุรกิจที่ทาํ ให้สินค้าหรื อบริ การผ่านจากผูผ้ ลิตไปยังผูบ้ ริ โภคหรื อผูใ้ ช้ซ่ ึง
ประกอบด้วยกิจกรรมต่าง ๆ เช่น กิจกรรมที่ทาํ ให้รถยนต์ผา่ นจากผูผ้ ลิตไปยังผูบ้ ริ โภคดังนี้
• การวิจยั รู ปร่ างลักษณะ รู ปแบบ และความต้องการผลิตภัณฑ์รถยนต์ ทั้งนี้ หมายความว่า การตลาดจะเริ่ มก่อ
กระบวนในการผลิต
• การกําหนอราคาในระดับผูผ้ ลิต และระดับผูค้ า้ ปลีก
• การขนส่ งและการเก็บรักษารถยนต์ที่ผลิตแล้ว คือ ในชั้นแรกเป็ นเรื่ องของผูผ้ ลิตและผูค้ า้ ปลีกในขั้นต่อมา
• การโฆษณา ควรใช้สื่อตรง ได้แก่ วารสาร วิทยุกระจายเสี ยง วิทยุโทรทัศน์ หนังสื อพิมพ์ แผ่นป้ ายโฆษณา และ
สื่ ออื่น ๆ
• การจัดเตรี ยมเครื่ องมือที่ใช้สาํ หรับการขาย และสิ่ งช่วยในการส่ งเสริ มการขายให้กบ ั ตัวแทนจําหน่าย
• การบริ หารกิจการของตัวแทนจําหน่ ายในการทําให้ผบ ู ้ ริ โภคได้รับการบริ การที่ประทับใจ ตลอดทั้งการให้
โควตาในการขาย นโยบายการขาย แผนการขาย และการควบคุมการขาย
• การขายโดยใช้พนักงานขายที่เป็ นบุคลากรของตัวแทนจําหน่ ายและการเปลี่ยนทะเบียนเจ้าของรถ
• การช่วยเหลือทางการเงินให้แก่ตวั แทนจําหน่ ายในด้านสิ นค้าคงเหลือและการขายผ่อนชําระให้กบ ั ผูซ้ ้ือ
• การเตรี ยมให้บริ การการจองรถยนต์ เพื่อความสะดวก ความพอใจของลูกค้า
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 210
-------------------------------------------------------------------------------
คําจํากัดความของการตลาดตามที่สมาคมการตลาดแห่งประเทศสหรัฐอเมริ กาได้กาํ หนดไว้ได้รวมถึง
การตลาดบริ การ คือ การตลาดสิ นค้าที่ไม่มีตวั ตน ซึ่งโดยปกติแล้วสิ นค้าประเภทนี้ จะถูกบริ โภคโดยทันที เช่น การ
แสดง ที่พกั หรื อยานพาหนะโดยสาร เป็ นต้น การตลาดบริ การนับวันจะมีความจําเป็ นมากขึ้น ไม่วา่ จะเป็ นการขาย
บริ การท่องเที่ยว โรงละคร หรื อบริ การลดความอ้วนก็ตาม ซึ่งเราจะเห็นว่าแต่ละประเภทมีจาํ นวนเพิ่มสู งขึ้นกว่าเดิม
มาก เมื่อคิดออกมาเป็ นตัวเงินแล้วจะเห็นว่า ผูบ้ ริ โภคได้ใช้เงินไปกับสิ นค้าที่ไม่มีตวั ตนนี้เป็ นจํานวนมาก
แนวความคิดด้ านการตลาด (marketing concept)
แนวความคิดด้านการตลาด (marketing concept) หมายถึง "การที่องค์การใช้ความพยายามทั้งสิ้ นเพื่อสร้าง
ความพึงพอใจให้กบั ลูกค้า เพื่อมุ่งให้เกิดยอดขายและกําไรในที่สุด"
ในอดีต แนวความคิดด้านการตลาดเป็ นแบบเก่าที่เน้นเรื่ องการผลิต ผูผ้ ลิตสิ นค้ามีนอ้ ยราย ความต้องการ
สิ นค้ามีมากกว่าสิ นค้าที่ผลิตออกมาหรื ออุปสงค์ (demand) มีมากกว่าอุปทาน (supply) ต่อมาเมื่อมีการผลิตจํานวน
มาก (mass production) ต้นทุนสิ นค้าตํ่าลง ตลาดก็ขยายตัวขึ้น ความเจริ ญทางเศรษฐกิจขยายตัวเพิ่มมากขึ้น
กิจการต่าง ๆ เริ่ มหันมาสนใจและเน้นการตลาดมากขึ้น ทําให้แนวความคิดด้านการตลาดเปลี่ยนไปเป็ น
แนวความคิดด้านการตลาดมุ่งเน้นการตลาดเพื่อสังคม (societal marketing concept)
แนวความคิดด้านการตลาดที่ธุรกิจและองค์การได้ยดึ ถือและปฏิบตั ิกนั มาซึ่งมีการใช้กนั อยูท่ ้ งั ในอดีตและปัจจุบนั
เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ทางการตลาด ซึ่งต่อไปนี้จะอธิบายถึงแต่ละแนวความคิดโดยจัดเรี ยงลําดับจาก
แนวความคิดที่เกิดขึ้นก่อนหลัง
แนวความคิดด้ านการผลิต (production concept)
เป็ นแนวความคิดที่เก่าแก่ที่สุดของฝ่ ายขาย โดยคิดว่าผูบ้ ริ โภคจะพอใจที่จะหาซื้อเฉพาะผลิตภัณฑ์ที่ตน
ชอบ หาซื้อง่าย และต้นทุนตํ่าเท่านั้น ดังนั้นงานด้านการตลาดก็คือ พยายามปรับปรุ งประสิ ทธิภาพการผลิตให้ดี
ขึ้น และจัดจําหน่ายอย่างทัว่ ถึงแนวความคิดด้านการผลิต มีลกั ษณะดังนี้
1. ผูบ้ ริ โภคมีความสนใจในสิ นค้า และราคาของสิ นค้าที่เสนอขายที่เป็ นธรรมและถูกเป็ นพิเศษ
2. ผูบ ้ ริ โภคไม่เห็นความสําคัญของราคาที่แตกต่างกันสําหรับผลิตภัณฑ์แต่ละระดับของบริ ษทั ต่างๆ
3. พยายามลดต้นทุนให้ต่าํ เพื่อดึงดูดและจูงใจผูบ ้ ริ โภคในด้านราคา
4. รักษาคุณภาพและปรับปรุ งการผลิตให้ดีข้ ึนเรื่ อย ๆ รวมทั้งการจัดจําหน่ ายอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
แนวความคิดด้ านผลิตภัณฑ์ (product concept)
เป็ นการสมมติวา่ ผูบ้ ริ โภคจะสนใจในคุณภาพที่ดีที่สุดของผลิตภัณฑ์และราคาที่เหมาะสม โดยกิจการใช้
ความพยายามในการปรับปรุ งผลิตภัณฑ์อยูเ่ สมอ ไม่วา่ จะเป็ นเรื่ องของคุณภาพ รู ปแบบส่ วนผสม หีบห่อ สี กลิ่น
รสชาติ ก็สามารถประสบผลสําเร็ จในการขายสิ นค้าและมีผลกําไรได้แนวความคิดด้านผลิตภัณฑ์ มีลกั ษณะดังนี้
1. ผูบ ้ ริ โภคให้ความสนใจในคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็ นอันดับแรก
2. ผูบ ้ ริ โภครู ้คุณภาพและลักษณะที่แตกต่างกันของสิ นค้ายีห่ อ้ ต่าง ๆ ที่แข่งขันกันในตลาด
3. ผูบ ้ ริ โภคเลือกสิ นค้ายีห่ อ้ ใดยีห่ อ้ หนึ่งจากสิ นค้าที่แข่งขันกัน โดยยึดหลักว่า ได้รับผลตอบแทนในด้าน
คุณภาพสู งสุ ดจากเงินที่จ่ายไป
4. งานขององค์การก็คือ ความพยายามรักษาและปรับปรุ งคุณภาพของผลิตภัณฑ์ให้ดีข้ ึนเรื่ อย ๆ เพือ ่ ดึงดูด
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 211
-------------------------------------------------------------------------------
และจูงใจผูบ้ ริ โภค
แนวความคิดด้ านการขาย (selling concept)
เป็ นการศึกษาด้านการจัดการตลาด โดยเน้นถึงความพยายามของผูข้ ายมากกว่าผูซ้ ้ือ ยึดหลักว่าผูบ้ ริ โภค
โดยทัว่ ไปมักจะไม่ซ้ือผลิตภัณฑ์ของบริ ษทั ถ้าไม่ถูกกระตุน้ ด้วยความพยายามทางการขายและการส่ งเสริ ม
การตลาดอย่างเพียงพอ ตัวอย่างเช่น การขายบริ การประกันภัย ประกันชีวิต การขายเอนไซโคพิเดีย การขายผลผลิต
ทางการเกษตรล่วงหน้า ผูบ้ ริ โภคไม่คิดซื้อสิ นค้าหรื อบริ การเหล่านั้น จนกว่าจะได้รับการกระตุน้ การขายจาก
พนักงานขายของบริ ษทั แนวความคิดด้านการขาย มีลกั ษณะดังนี้
1. ผูบ ้ ริ โภคโดยทัว่ ไปจะไม่ซ้ือสิ นค้าเต็มที่ ผูข้ ายจึงสามารถกระตุน้ ให้ซ้ือเพิ่มขึ้นได้เรื่ อยๆ
2. ผูบ้ ริ โภคจะถูกชักจูงให้ซ้ือสิ นค้าโดยผ่านเครื่ องมือกระตุน้ การขายวิธีต่าง ๆ เช่น การโฆษณา การ
ประชาสัมพันธ์ การใช้พนักงานขายที่มีความสามารถ ตลอดจนการจัดรายการส่ งเสริ มการขาย ลด แลก แจก แถม
ชิงโชค เป็ นต้น
3. งานหลักของบริ ษท ั คือ การจัดให้มีแผนกขายที่มีความสามารถดีเด่นเพื่อดึงดูดและชักจูงผูบ้ ริ โภค
4. ผูบ ้ ริ โภคอาจซื้อซํ้าอีก เพราะมีความต้องการอยูเ่ รื่ อย ๆ หรื อถ้าไม่ซ้ือซํ้าอีก ก็ยงั มีผบู ้ ริ โภครายอื่นที่
ต้องการซื้อสิ นค้า
แนวความคิดด้ านการตลาด (marketing concept)
เป็ นการศึกษาจัดการ โดยยึดหลักว่า งานขององค์การ คือ การพิจารณาความจําเป็ นและความต้องการของ
บริ ษทั เป้าหมาย และการปรับปรุ งการจัดการให้สามารถสนองความพอใจของผูบ้ ริ โภคได้อย่างมีประสิ ทธิภาพ และ
ประสิ ทธิผลที่เหนือคู่แข่งขันอื่น หรื ออาจกล่าวได้วา่ แนวความคิดด้านการตลาดหมายถึง การค้นหาและการสนอง
ความต้องการของผูบ้ ริ โภค
แนวความคิดด้ านการตลาด มีลก ั ษณะดังนี้
1. องค์การที่ต้ งั ขึ้นเพื่อทําหน้าที่ให้ความพึงพอใจแก่กลุ่มลูกค้าที่ต้ งั ใจไว้
2. องค์การจะต้องศึกษาความต้องการของผูบ ้ ริ โภค เพื่อสร้างความพึงพอใจให้ได้
3. องค์การต้องตะหนักถึงผูบ ้ ริ โภคทุกคน ที่จะมีผลกระทบต่อการดําเนินงาน
4. องค์การเชื่อว่า การทํางานที่จะทําให้เกิดความพอใจแก่ผบ ู ้ ริ โภคจะเป็ นสาเหตุให้ได้มาซึ่งชัยชนะ ด้วย
ความซื่อสัตย์ของบริ ษทั จะทําธุรกิจดําเนินต่อไปได้ และเป็ นที่นิยมในระยะยาว อันเป็ นเป้าหมายขององค์การ
แนวความคิดด้ านการตลาดเพื่อสั งคม (social marketing concept)
เป็ นการศึกษาเรื่ องความต้องการและการสร้างความพึงพอใจให้กบั ผูบ้ ริ โภค โดยคํานึงถึงสวัสดิภาพของ
สังคมส่ วนรวม โดยหวังผลการตอบสนองเป็ นเป้าหมายขององค์การที่ตอ้ งการในระยะยาวเพื่อให้องค์การบรรลุเปา
หมาย กิจการต้องคํานึงถึงความรับผิดชอบต่อปัญหาต่าง ๆ ของสังคมที่เกิดขึ้นอันเนื่องจาการดําเนินงานทางธุรกิจ
ได้แก่ ความเสื่ อมโทรมของสภาพสิ่ งแวดล้อม การเกิดภาวะเงินเฟ้ออันเนื่องมาจากราคาสิ นค้าเพิม่ ขึ้น การขาดแคลน
ทรัพยากรบางประเภท ปัญหาที่เกิดขึ้นองค์การควรจะมีความรับผิดชอบต่อสังคม และผูบ้ ริ โภคทางด้านต่าง ๆ
ได้แก่ ไม่ผลิตสิ นค้าที่ดอ้ ยคุณภาพไม่ผลิตสิ นค้าที่เป็ นพิษเป็ นภัยต่อประชาชน ไม่คา้ กําไรเกินควร ไม่โฆษณาชวน
เชื่อมากเกินไป
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 212
-------------------------------------------------------------------------------
แนวความคิดด้ านการตลาดเพื่อสั งคม มีลก ั ษณะดังนี้
1. มีลกั ษณะเหมือนแนวความคิดที่มุ่งการตลาด คือ ต้องพิจารณาถึงความต้องการของกลุ่มเป้ าหมาย และ
พยายามสร้างความพึงพอใจสู งสุ ดให้ผบู ้ ริ โภค
2. ให้ความสําคัญกับผลกระทบในทางที่ดีต่อสังคมส่ วนรวม และสภาพแวดล้อม ซึ่ งมีผลไปถึงตัวผูบ ้ ริ โภค
ด้วย
ข้ อแตกต่ างระหว่ างแนวความคิดด้ านการขายและแนวความคิดด้ านการตลาด
แนวความคิดด้านการขาย (selling concept) หมายถึง "การเสนอผลิตภัณฑ์ แล้วใช้วิธีการขายแบบ
ต่าง ๆ เพื่อจูงใจให้ลูกค้าซื้อผลิตภัณฑ์" แนวความคิดนี้ บริ ษทั เสนอผลิตภัณฑ์แล้วจึงหาทางจูงใจลูกค้าด้วยวิธีการ
ขายให้เกิดความต้องการผลิตภัณฑ์ ส่ วนแนวความคิดทางการตลาดนั้น บริ ษทั จะต้องศึกษาความต้องการของลูกค้า
ก่อนแล้วจึงค้นหาผลิตภัณฑ์ที่สามารถสนองความต้องการของลูกค้าต่อไป
การบริหารการตลาด
ในขั้นตอนของการบริ หารการตลาดนั้นใช้หลักเกณฑ์เหมือนกับการบริ หารทัว่ ไป ซึ่งประกอบด้วยการ
วางแผนการตลาด (Marketing Planing) การปฏิบตั ิการทางการตลาด (Marketing Implementation) และการ
ประเมินผล การดําเนินงานทางการตลาด (Performance Evaluation)
โครงสร้ างการตลาดและบทบาทการตลาดในองค์ กร
โครงสร้างการตลาดในองค์กร โดยทัว่ ไปองค์กรประกอบด้วยหน้าที่ที่สาํ คัญคือ การผลิต การเงิน การตลาด
และการบุคลากร และการตลาดก็เป็ นหน้าที่หนึ่งในองค์กรนั้น ในองค์กรจะมีตาํ แหน่งที่สูงสุ ด คือ ประธาน
ตําแหน่งรองลงมาคือ รองประธานฝ่ ายต่างๆ ประกอบด้วย รองประธานฝ่ ายการผลิต รองประธานฝ่ ายการเงิน รอง
ประธานฝ่ ายการตลาด และรองประธานฝ่ ายบุคลากร หน้าที่การตลาดที่สาํ คัญ ประกอบด้วยฝ่ ายต่างๆ ได้แก่ ฝ่ าย
โฆษณา ฝ่ ายส่งเสริ มการขาย ฝ่ ายวิจยั การตลาด ฝ่ ายการขาย ฝ่ ายการจัดจําหน่าย ฝ่ ายกิจกรรมการตลาดอื่นๆโดยแต่
ละฝ่ ายมีผจู ้ ดั การเป็ นผูบ้ ริ หาร
บทบาทการตลาดในองค์กร บทบาทของการตลาด มีจุดเริ่ มต้นที่ถือว่าการตลาดเป็ นหน้าที่หนึ่งที่มี
ความสําคัญ เท่ากับหน้าที่อื่นๆ ในองค์กร แล้วเปลี่ยนเป็ นการตลาดมีความสําคัญมากกว่าหน้าที่อื่นๆ การตลาดเป็ น
หน้าที่หลัก ลูกค้าเป็ นตัวกําหนดหน้าที่ของฝ่ ายต่างๆ และการตลาดเป็ นตัวประสานงานหน้าที่ต่างๆ เข้าด้วยกัน
ขั้นตอนในการบริหารการตลาด
ขั้นตอนการบริ หารการตลาด จะเกี่ยวข้องกับคํา 2 คํา คือ การตลาด (Marketing) กับการจัดการหรื อการ
บริ หาร (Management หรื อ Administration) การตลาดได้ให้ความหมายไว้แล้วในบทที่ 1 ส่ วนคําว่า การจัดการ
หรื อ การบริ หาร ตรงกับภาษาอังกฤษว่า Management มีความหมายคล้ายกับคําว่า Administration ซึ่งหมายถึง
"กระบวนการวางแผน (Planning) การปฏิบตั ิตามแผน (Implementing) และการประเมินผล (Controlling)
ตามลําดับ ซึ่งขั้นตอนในการบริ หารการตลาดสามารถอธิบายได้ดงั นี้
การวางแผน (Planning) ประกอบด้วยการกําหนดจุดมุ่งหมาย (Goals) หรื อวัตถุประสงค์ (Objectives)
การเลือกกลยุทธ์ (Strategies) และยุทธ์วธิ ี (Tactics) เพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย โดยมีรายละเอียดดังนี้
วัตถุประสงค์และจุดมุ่งหมาย (Objectives and Goals) วัตถุประสงค์ (Objectives) คือความมุ่งหมายที่ได้
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 213
-------------------------------------------------------------------------------
จําแนก รายละเอียดในการปฏิบตั ิงานไว้ เช่นต้องการส่ วนครองตลาด 25% จุดมุ่งหมาย (Goals) เป็ นการกําหนด
เป้าหมายการทํางานที่กระชับกว่าวัตถุประสงค์ หรื ออาจกล่าวได้วา่ จุดมุ่งหมายเป็ นการกําหนดวัตถุประสงค์รอง
เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์หลัก แต่อย่างไรก็ตามทั้งสองคํานี้มีความคล้ายคลึงกันกล่าวคือ "เป็ นสิ่ งที่ตอ้ งการได้รับ
หรื อคาดหมายเอาไว้ในอนาคต" และสองคํานี้สามารถใช้แทนกันได้
กลยุทธ์ (Strategies) หมายถึง "แผนการปฏิบตั ิงานที่องค์กรกําหนดเพื่อให้บรรลุจุดมุ่งหมาย" ถ้า
วัตถุประสงค์ กําหนดไว้วา่ ปี หน้าต้องการยอดขายเพิ่มเป็ น 10% จากปี ที่ผา่ นมา กลยุทธ์น้ ีอาจเป็ นการเพิ่มความ
พยายามทางการ ตลาดโดยการส่ งเสริ มการตลาดในรู ปโฆษณาและส่ งเสริ มการขาย
ยุทธวิธี (Tactics) "เป็ นวิธีการนําเอารายละเอียดของกลยุทธ์มาปฏิบตั ิ" ยุทธวิธีจะแสดงรายละเอียดและมี
ลักษณะเฉพาะเจาะจงยิง่ กว่ากลยุทธ์ และใช้ยทุ ธวิธีภายในช่วงเวลาสั้นกว่ากลยุทธ์
โปรแกรม (Program) หมายถึงแผนงานที่มีความสมบูรณ์ เป็ นแผนที่รวมนโยบายกลยุทธ์ วิธีการปฏิบตั ิ
มาตรฐาน งบประมาณและส่ วนประกอบอื่นๆ เข้าด้วยกัน เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์กร ในแต่ละ
วัตถุประสงค์จะต้องกําหนดว่า จะทําอะไร จะทําเมื่อใด จะทําโดยใคร จะทําอย่างไร และสิ้ นเปลืองค่าใช้จ่ายเท่าใด
นโยบาย (Policy) หมายถึง "หลักการที่กาํ หนดขอบเขตอย่างกว้างๆ เพื่อเป็ นแนวในการปฏิบตั ิงานให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ขององค์กร" นโยบายจึงเสมือนเป็ นแนวทางในการกระทําหรื อการดําเนินงาน นโยบายจะเป็ นที่
ยอมรับสําหรับทุกระดับในองค์กรหนึ่ง ตั้งแต่ประธานจนถึงพนักงาน นโยบายจะเป็ นที่ยอมรับจากทุกฝ่ าย ไม่วา่ จะ
เป็ นฝ่ ายการผลิต การเงิน การตลาดและการบุคลากร ซึ่งฝ่ ายต่างๆ จะใช้เป็ นแนวทางอย่างกว้างๆ ในการดําเนินงาน
ให้สอดคล้องกับนโยบายนี้
การปฏิบตั ิการ (Implementing) ประกอบด้วยการกําหนดรู ปแบบโครงสร้างองค์กร (Organizing)
การจัด บุคคลเข้าทํางาน (Staffing) และการปฏิบตั ิการตามแผน (Operating)
การประเมินผลการทํางาน (Performance Evaluation) เป็ นขั้นตอนที่ประสานงานในกระบวนการบริ หาร
กล่าวคือ เปรี ยบเทียบผลการปฏิบตั ิงานกับจุดมุ่งหมาย การประเมินผลจึงเป็ นตัวเชื่อมระหว่างการทํางานในอดีตและ
การวางแผนการทํางานในอนาคต
การบริ หารการตลาด (Marketing Management) หมายถึงกระบวนการวางแผนการตลาด (Marketing
Planning) การปฏิบตั ิการตามแผนการตลาด (Marketing Implementation) และการประเมินผลการทํางานทาง
การตลาด (Performance Evaluation) ให้บรรลุจุดมุ่งหมาย จะเห็นว่าความหมายของการบริ หารการตลาด เป็ น
การนํากระบวนการบริ หาร 3 ขั้นตอนมาใช้กบั การตลาดนัน่ เอง
ขั้นตอนในการบริ หารการตลาดก็จะใช้หลักเกณฑ์เดียวกับขั้นตอนในการบริ หารทัว่ ไป ซึ่งประกอบด้วย ขั้น
ที่ 1 การวางแผนการตลาด ขั้นที่ 2 การปฏิบตั ิการทางการตลาด และขั้นที่ 3 การประเมินผลการทํางานทางการ
ตลาด
การวางแผนการตลาด
กระบวนการวางแผนการตลาด (Marketing Planning Process) "ประกอบด้วยขั้นตอน คือ
วิเคราะห์ สถานการณ์ การพิจารณาวัตถุประสงค์ทางการตลาด การเลือกตลาดเป้าหมายและวัดขนาดความต้องการ
ซื้อของตลาด การออกแบบส่ วนประสมทางการตลาด และ การจัดเตรี ยมแผนการตลาดสําหรับปี "
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 214
-------------------------------------------------------------------------------
การวิเคราะห์สถานการณ์ (Situation Analysis) หมายถึง การสํารวจโปรแกรมการตลาดในปัจจุบนั ของ
บริ ษทั เพื่อพิจารณาว่าโปรแกรมการตลาดในอนาคตควรจะเป็ นอย่างไร รวมทั้งต้องวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมภายใน
(ส่ วนประสมทางการตลาด หรื อปัจจัยทางการตลาด และสิ่ งแวดล้อมภายในอื่นนอกเหนือจากปัจจัยทางการตลาด)
และสิ่ งแวดล้อมภายนอก ( สิ่ งแวดล้อมจุลภาคและสิ่ งแวดล้อมมหภาค ) ที่มีอิทธิพลต่อโปรแกรมการตลาด
การพิจารณาวัตถุประสงค์ทางการตลาด ( Determine the Marketing Objective ) เป็ นการกําหนด
เป้าหมายทางการตลาดซึ่งต้องเป็ นจริ ง มีลกั ษณะเฉพาะเจาะจงและวัดได้ ตัวอย่างวัตถุประสงค์ทางการตลาดของ
บริ ษทั ขายนํ้ายาปรับผ้านุ่ม ประกอบด้วย ต้องการรายได้จากการขาย 9 ล้านบาท ยอดขายเพิ่มขึ้นจากปี ที่ผา่ นมา
10% ปริ มาณการขาย 70,000 หน่วย คิดเป็ นส่ วนคลองตลาด 5% สามารถขยายการรับรู ้ของผูบ ้ ริ โภคในตรายีห่ อ้
จาก 15% เพิม่ เป็ น 30% สามารถขยายจํานวนร้านค้าปลีกเป็ น 10% ฯลฯ
การเลือกตลาดเป้าหมายและวัดความต้องการซื้อของตลาด ( Select and Measure Target Market ) เป็ น
การ วิเคราะห์ตลาดในปัจจุบนั เพื่อหาโอกาสในตลาดที่คาดหวัง ( Potential Market ) แล้วเลือกตลาดที่ธุรกิจมี
ความสามารถที่จะตอบสนองความพอใจในตลาดนั้นได้
การออกแบบส่ วนประสมทางการตลาดและยุทธวิธีการตลาด (Marketing Mix Strategies and Tactics
Design) เป็ นงานที่เกี่ยวข้องกับส่ วนประสมการตลาด (4'Ps) เพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ที่กาํ หนดไว้ กล่าวคือ
สามารถสนองความต้องการของตลาดเป้าหมายให้พึงพอใจและสามารถบรรลุจุดมุ่งหมายของตลาด โดยมีจุดเริ่ มต้น
ที่การกําหนดและวิเคราะห์ตลาดเป้าหมาย ( Target Market ) แล้วจึงพัฒนาโปรแกรมทางการตลาดและส่ วน
ประสมการตลาดเพื่อสนองความต้องการของตลาดเป้าหมายนั้น โดยมีวตั ถุประสงค์ทางการตลาดคือความพึงพอใจ
ของลูกค้า
การวางแผนการตลาดสําหรับปี ( Annual Marketing Plan ) เป็ นแผนรวมกิจกรรมการตลาดของ
ทั้งปี สําหรับ ธุรกิจ หรื อผลิตภัณฑ์หนึ่งอย่าง ในแผนประกอบด้วย การกําหนดวัตถุประสงค์ การกําหนดตลาด
เป้าหมายกลยุทธ์และยุทธวิธีการตลาด ข้อมูลเกี่ยวกับงบประมาณที่ใช้สาํ หรับกิจกรรมการตลาด
การปฏิบัติการทางการตลาด
การปฏิบตั ิการทางการตลาด ( Marketing Implementation ) เป็ นขั้นตอนที่สองในการบริ หารการตลาดมี
กิจกรรมที่สาํ คัญ 3 ประการคือ การจัดองค์กรทางการตลาด การจัดบุคคลเข้าทํางานในองค์กรนั้น และ การ
ปฏิบตั ิการทางการตลาด โดยมีรายละเอียดดังนี้
การจัดองค์ กรทางการตลาด
การจัดองค์กรทางการตลาด ( Marketing Organization ) หมายถึง การกําหนดภาระหน้าที่และโครงสร้าง
ทางการตลาดขององค์กร โดยถือเกณฑ์การตลาด เป็ นวิธีการการจัดองค์กรตลาดที่ใช้กนั แพร่ หลายมาก ตําแหน่งที่
สู งสุ ดด้านการตลาด คือรองประธานด้านการตลาด และกําหนดหน้าที่ให้กบั ผูจ้ ดั การฝ่ ายต่างๆ ตามหน้าที่
ประกอบด้วย ผูจ้ ดั การฝ่ ายโฆษณา ผูจ้ ดั การฝ่ ายส่ งเสริ มการขาย ผูจ้ ดั การฝ่ ายวิจยั การตลาด ผูจ้ ดั การฝ่ ายการขาย
ผูจ้ ดั การฝ่ ายกระจายตัวสิ นค้า ผูจ้ ดั การฝ่ ายกิจกรรมการตลาดอื่นๆ ผูจ้ ดั การแต่ละฝ่ ายจะควบคุมงานแต่ละฝ่ าย เช่น
ผูจ้ ดั การฝ่ ายการขายจะควบคุมแต่ละหน่วยงานการขายภาคสนาม เป็ นต้น
การจัดองค์กรตลาดตามภูมิศาสตร์ ( Geographical Organization ) เป็ นการกําหนดภาระหน้าที่และ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 215
-------------------------------------------------------------------------------
โครงสร้างขององค์กรการตลาดตามอาณาเขตทางภูมิศาสตร์ ตําแหน่งสู งสุ ดคือ ผูบ้ ริ หารการตลาดระดับสู ง จะ
ควบคุมผูจ้ ดั การฝ่ ายต่างๆ ซึ่งมีการแบ่งองค์กรการตลาดตามหน้าที่ก่อน ในส่ วนที่เป็ นฝ่ ายการขายทัว่ ไป จะแยกงาน
ความรับผิดชอบตามเขตภูมิศาสตร์ ตัวอย่างเช่น ผูจ้ ดั การภาคเหนือ ผูจ้ ดั การภาคใต้ ผูจ้ ดั การภาคตะวันออก ผูจ้ ดั การ
ภาคตะวันตก ผูจ้ ดั การภาคตะวันออกเฉียงเหนือ ผูจ้ ดั การภาคก็จะควบคุมดูแลพนักงานขายประจําภาคของตน
การจัดองค์กรการตลาดตามผลิตภัณฑ์หรื อตรายีห่ อ้ (Product or Brand Organization ) เป็ นการกําหนด
ภาระหน้าที่และโครงสร้างขององค์กรการตลาด โดยแยกประเภทตามลักษณะผลิตภัณฑ์หรื อตรายีห่ อ้ ถือว่ามีการจัด
โครงสร้างองค์กรตามผลิตภัณฑ์ กล่าวคือ ผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิตภัณฑ์ ก ข ค อยูภ่ ายใต้ผจู ้ ดั การฝ่ ายขายทัว่ ไปหรื อแยก
เป็ นผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิตภัณฑ์ข้ ึนตรงต่อผูบ้ ริ หารการตลาดระดับสู งก็ได้
การจัดองค์กรการตลาดตามประเภทลูกค้า ( Customer Organization ) เป็ นการกําหนดภาระหน้าที่และ
โครงสร้างขององค์กรการตลาด โดยแยกตามกลุ่มลูกค้าที่แตกต่างกัน ตัวอย่างผูจ้ ดั การฝ่ ายขายทัว่ ไปสําหรับรถ
กระบะจะแยกภาระความรับผิดชอบตามประเภทลูกค้า เช่น ผูจ้ ดั การขายสําหรับผูบ้ ริ โภค ผูจ้ ดั การขายสําหรับกลุ่ม
เกษตรกร ผูจ้ ดั การขายสําหรับกลุ่มธุรกิจ ผูจ้ ดั การขายสําหรับกลุ่มข้าราชการ เป็ นต้น
การจัดโครงสร้างการตลาดโดยอาศัยหลักเกณฑ์หลายวิธีร่วมกัน ( Combination Organization
Bases ) มักจะใช้ในธุ รกิจขนาดกลางและใหญ่ โครงสร้างขององค์กรการตลาดซึ่ งแยกตามหน้าที่ร่วมกับ
ผลิตภัณฑ์ เป็ นต้น

-----------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 216
-------------------------------------------------------------------------------
 แนวข้ อสอบ ความรู้ เกีย่ วกับการตลาด
1. ปัจจุบนั มีแนวโน้มการเปิ ดศูนย์การค้าที่เรี ยกว่า Community Mall มากขึ้น ซึ่งลักษณะของร้านค้าดังกล่าว
จะประกอบด้วย ร้านอาหาร ร้านสรรพาหาร ธนาคาร เป็ นต้น ศูนย์การค้า Community Mall จัดอยูใ่ นตลาด
ประเภทใด
(1) ตลาดผูบ ้ ริ โภค (2) ตลาดสิ นค้าอุตสาหกรรม-
(3) ตลาดผูข้ ายตอ (4) ตลาดรัฐบาล
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3. อธิบาย ศูนย์การค้าชุมชน (Community Mall) จัดอยูใ่ นตลาดผูข้ ายต่อ ที่มีลกั ษณะเป็ นพื้นที่ร้านค้าปลีก
แบบเปิ ดขนาดใหญ่ใกล้แหล่งชุมชน ซึ่งออกแบบมาเพื่อให้ ความสะดวกแก่ผบู ้ ริ โภคในการซื้อสิ นค้าอุปโภค
บริ โภคหรื อสิ่ งของที่ใช้ในชีวิตประจําวัน ทั้งนี้จะมีร้านค้าปลีกต่าง ๆ อยูภ่ ายในศูนย์การค้า เช่น ร้านอาหาร ร้านขาย
ยา ร้านสรรพาหาร ธนาคาร เป็ นต้น ส่ วนใหญ่จะมีพ้นื ที่ประมาณ 3 – 5 ไร่ และสามารถรองรับผูบ้ ริ โภคได้
ประมาณ 2,500 – 40,000 คนต่อวัน
2. ในกระบวนการตัดสิ นใจซื้อ ข้อใดถือเป็ นข้อพิจารณาที่ควรเกิดขึ้นเป็ นลําดับแรก
(1) การรับรู ้ปัญหา (2) การค้นหาผูข้ าย
(3) การทบทวนแนวทางปฏิบตั ิการ (4) การอธิ บายความต้องการ
(5) การเลือกผูข้ าย
ตอบ 1. อธิบาย กระบวนการซื้อในตลาดผูผ้ ลิต มี 8 ขั้นตอน ดังนี้
1. การรับรู ้ปัญหา 2. การอธิ บายลักษณะความต้องการ 3. การกําหนดลักษณะเฉพาะของผลิตภัณฑ์
4. การค้นหาผูข้ าย 5. การพัฒนาข้อเสนอของผูข้ าย 6. การเลือกผูข้ าย 7. การเลือกลักษณะเฉพาะของคําสัง่ ซื้ อ
ประจํา 8. การทบทวนแนวทางปฏิบตั ิการ
3. หากโรงงานอุตสาหกรรมมีความต้องการซื้อเครื่ องจักร ซึ่งจะมีบุคคลหลายฝ่ ายเข้ามาเกี่ยวข้องกับการซื้อ
บุคคลที่ควรเข้ามาร่ วมพิจารณาคือใคร
(1) ผูจ้ ดั การฝ่ ายการเงิน (2) ผูจ้ ดั การฝ่ ายบัญชี
(3) ผูจ้ ดั การฝ่ ายการตลาด (4) ผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิต
(5) ผูจ้ ดั การฝ่ ายบุคคล
ตอบ 4. อธิบาย การซื้อสิ นค้าอุตสาหกรรมจะใช้เหตุผลในการซื้อมากกว่าใช้อารมณ์ และ จะมีผบู ้ ริ หารจากหลาย ๆ
ฝ่ าย เช่น ประธาน ผูจ้ ดั การฝ่ ายผลิต วิศวกร ผูใ้ ช้ ฯลฯ เข้ามาช่วย ในการตัดสิ นใจซื้อ โดยเฉพาะสิ นค้าประเภท
เครื่ องจักรหลักที่มีราคาสู ง เพราะจะมีผลต่อกําไร จากการดําเนินงานของธุรกิจ
4. ข้อใดผิด
(1) ผูข้ ายต่อพิจารณาราคาและส่ วนลดเป็ นสําคัญ
(2) ผูข้ ายต่อพิจารณาคุณภาพและนโยบายผลิตภัณฑ์ตรายีห ่ อ้ มากกว่าจํานวนสิ นค้าที่คาดว่าจะขายได้
(3) ตลาดผูผ้ ลิตมีความต้องการต่อเนื่ อง (Derived Demand)
ื หยุน่ (Elastic Demand)
(4) ตลาดผูผ้ ลิตมีอุปสงค์ที่ยด
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 217
-------------------------------------------------------------------------------
(5) กระบวนการจัดซื้ อของตลาดรัฐบาลคือ การประกวดราคาและการทําสัญญาต่อรอง
ตอบ 4.อธิบาย ตลาดผูผ้ ลิตมีลกั ษณะสําคัญ เช่น เป็ นความต้องการต่อเนื่อง (Derived Demand) เป็ นอุปสงค์ที่ไม่
ยืดหยุน่ (Inelastic Demand) ฯลฯ ส่ วนผูข้ ายต่อจะพิจารณาราคา และส่ วนลดเป็ นสําคัญ พิจารณาคุณภาพและ
นโยบายผลิตภัณฑ์/ตรายีห่ อ้ มากกว่าจํานวนสิ นค้า ที่คาดว่าจะขายได้ ในขณะที่กระบวนการจัดซื้อของตลาดรัฐบาล
มี2วิธีคือการประกวดราคา และการทําสัญญาต่อรอง
5. คุณสมบัติเด่นส่ วนบุคคลที่จะเป็ นประโยชน์ต่อธุรกิจในการตัดสิ นใจซื้อคือข้อใด
(1) ความขยัน (2) ความกล้าเลี่ยง
(3) ความขี้เกียจ (4) ความต้องการฉวยโอกาส
(5) ความกล้าต่อสู ก้ บั ศัตรู
ตอบ 2.อธิบาย ปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจซื้อของผูผ้ ลิต มี 4 ประการ คือ
1. ปั จจัยจากสภาวะแวดล้อม เช่น ระดับความต้องการเบื้องต้น สภาวะทางเศรษฐกิจ การเปลี่ยนแปลงทาง
เทคโนโลยี การเมืองและกฎหมาย คู่แข่งขัน ฯลฯ
2. ปั จจัยทางด้านองค์กร เช่น จุดประสงค์ นโยบาย โครงสร้างการจัดองค์การ ฯลฯ
3. ปั จจัยของความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล เช่น อํานาจหน้าที่ สถานภาพ ความเห็นใจ ฯลฯ
4. ปั จจัยส่ วนบุคคล เช่น รายได้ อายุ การศึกษา ตําแหน่งงาน ความกล้าเสี่ ยง ฯลฯ โดยความ กล้าเสี่ ยงถือเป็ น
คุณสมบัติเด่นส่ วนบุคคลที่จะเป็ นประโยชน์ต่อธุรกิจในการตัดสิ นใจซื้อ
6. สิ นค้าประเภทสมัยนิ ยม ควรเลือกใช้ช่องทางการจัดจําหน่ ายแบบใด
(1) ผูผ้ ลิต –> ผูบ
้ ริ โภค (2) Selective Distribution
(3) Intensive Distribution (4) Physical Distribution
(5) Exclusive Distribution
ตอบ 3.อธิบาย การจัดจําหน่ายผ่านคนกลางจํานวนมากราย (Intensive Distribution) หมายถึง ผูผ้ ลิตจะใช้คน
กลางซึ่งส่ วนใหญ่เป็ นผูค้ า้ ปลีกจํานวนมากรายเพื่อจัดจําหน่ายสิ นค้า ของกิจการให้ทวั่ ถึง ทั้งนี้เพราะสิ นค้านั้นมีการ
เลือกหาซื้อบ่อย หากผูบ้ ริ โภคมีความต้องการ ก็อาจจะหาซื้อได้ทนั ที ซึ่งส่ วนใหญ่ได้แก่ สิ นค้าที่ใช้ใน
ชีวิตประจําวัน หรื อสิ นค้าสะดวกซื้อ (Convenience Goods) เช่น ผงซักฟอก สบู่ แชมพูสระผม ยาสี ฟัน ฯลฯ
รวมทั้งสิ นค้า ประเภทสมัยนิยมซึ่งล้าสมัยเร็ วทําให้จาํ เป็ นต้องขายสิ นค้าให้ถึงมือผูบ้ ริ โภคโดยรี บด่วน
7. ผูผ้ ลิตยาคูลท์เลือกช่องทางการจัดจําหน่ายลักษณะใด
(1) ผูผ้ ลิต –> ผูบ
้ ริ โภค (2) Selective Distribution
(3) Intensive Distribution (4) Physical Distribution
(5) Exclusive Distribution
ตอบ 1.อธิบาย ทางการจัดจําหน่ายจากผูผ้ ลิตถึงผูบ้ ริ โภคโดยตรง (Direct Distribution หรื อ Door to Door
Selling) ซึ่ งไม่มีคนกลางเข้ามาเกี่ยวข้องแต่อย่างใด เป็ นช่องทางที่ใช้ จัดจําหน่ ายสิ นค้าไม่มากชนิ ดนัก เพราะเป็ น
การยากที่จะจําหน่ายให้ถึงผูบ้ ริ โภคที่กระจายอยูท่ วั่ ไป ซึ่งต้องเสี ยค่าใช้จ่ายสู งในการจัดจําหน่ายสิ นค้าให้แก่
ผูบ้ ริ โภคจํานวนมาก เช่น การขายเครื่ องสําอาง AVON การขายยาคูลท์ เป็ นต้น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 218
-------------------------------------------------------------------------------
8. ยาสี ฟันซอลท์ ควรเลือกช่องทางการจัดจําหน่ายแบบใด
(1) ผูผ้ ลิต –> ผูบ
้ ริ โภค (2) Selective Distribution
(3) Intensive Distribution (4) Physical Distribution
(5) Exclusive Distribution
ตอบ 3 ดูคาํ อธิบายข้อ 6. ประกอบ
9. ข้อใดมีบทบาทสําคัญในกระบวนการเสริ มสร้างประสิ ทธิภาพในการแจกจ่ายตัวสิ นค้า
(1) ผูผ้ ลิต –> ผูบ
้ ริ โภค (2) Selective Distribution
(3) Intensive Distribution (4) Physical Distribution
(5) Exclusive Distribution
ตอบ 4.อธิบาย การแจกจ่ายตัวสิ นค้า (Physical Distribution) ได้เข้ามามีบทบาทอย่างสําคัญ ใบกระบวนการ
เสริ มสร้างความต้องการของธุรกิจตาง ๆ โดยกิจการจะพยายามจัดการตัวสิ นค้า เพื่อให้ทนั กับความต้องการของ
ผูบ้ ริ โภคตามสถานที่ซ่ ึงมีความต้องการ และใช้วิธีการแจกจ่าย ตัวสิ นค้าเพื่อเข้ามาช่วยให้การจัดจําหน่ายสิ นค้าไปยัง
ผูบ้ ริ โภคมีประสิ ทธิภาพ โดยเสี ยคาใช้จ่าย น้อยที่สุด
10. สิ นค้าที่มีมูลค่าต่อหน่วยสู ง เช่น เครื่ องจักร ผูผ้ ลิตควรเลือกใช้ช่องทางจําหน่ ายแบบใด
(1) ผูผ้ ลิต –> ผูบ
้ ริ โภค (2) Selective Distribution
(3) Intensive Distribution (4) Physical Distribution
(5) Exclusive Distribution
ตอบ 1.อธิบาย สิ นค้าที่มีมูลค่าต่อหน่วยสู ง เช่น เครื่ องจักรขนาดใหญ่ ผูผ้ ลิตมักเลือกใช้ ช่องทางการจัดจําหน่ายที
สั้น นัน่ คือ จากผูผ้ ลิตถึงผูใ้ ช้สินค้าโดยตรง (Direct Distribution) แม้วา่ จะต้องเสี ยค่าใช้จ่ายทางการตลาดสู งก็ตาม
ทั้งนี้เพราะสิ นค้าดังกล่าวจะมีผผู ้ ลิตน้อยราย และผูซ้ ้ือต้องการรับบริ การพิเศษจากผูผ้ ลิต เช่น การติดตั้ง การแนะนํา
การใช้ การบํารุ งรักษา เป็ นต้น
11. ข้อใดคือขั้นตอนแรกในการเข้าตลาดต่างประเทศ
(1) การตัดสิ นใจว่าจะเข้าตลาดต่างประเทศหรื อไม่ (2) การตัดสิ นใจว่าจะเข้าตลาดแห่ งใด
(3) การตัดสิ นใจในการวางแผนการทางการตลาด
(4) การประเมินสภาวะแวดล้อมของตลาดระหว่างประเทศ
(5) การตัดสิ นใจการจัดองค์การทางการตลาด
ตอบ 4.อธิบาย ขั้นตอนในการพิจารณาตัดสิ นใจเข้าตลาดต่างประเทศ มี 6 ประการ ดังนี้
1. การประเมินสภาวะแวดล้อมของตลาดระหว่างประเทศ 2. การตัดสิ นใจว่าจะเข้าตลาดต่างประเทศหรื อไม่
3. การตัดสิ นใจว่าจะเข้าตลาดต่างประเทศแห่ งใด 4. การตัดสิ นใจว่าจะเข้าตลาดต่างประเทศอย่างไร
5. การตัดสิ นใจในการวางแผนการทางการตลาด 6. การตัดสิ นใจการจัดองค์การทางการตลาด
12. การร่ วมลงทุนกับกิจการในตลาดต่างประเทศ (Joint Venture) เป็ นการเข้าตลาดต่างประเทศ ยกเว้นข้อใด
(1) Licensing (2) Export
(3)Contract Manufacturing (4) Management Contracting
(5) Joint-Ownership Venture
ตอบ 2.อธิบาย การร่ วมลงทุนกับกิจการในต่างประเทศ (Joint Venture) มี 4 วิธี ได้แก่
1. การให้สิทธิการผลิตและจัดจําหน่ ายแก่ผผ
ู ้ ลิตในตลาดต่างประเทศ (Licensing)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 219
-------------------------------------------------------------------------------
2. การจ้างโรงงานผลิตสิ นค้าให้ในตลาดต่างประเทศ (Contract Manufacturing)
3. การทําสัญญาร่ วมลงทุนทางด้านการบริ หาร (Management Contracting) เพื่อให้ส่งพนักงานระดับ
บริ หารเข้ามาร่ วมบริ หารงานของกิจการ
4. การเป็ นเจ้าของร่ วมลงทุนกับกิจการในตลาดต่างประเทศ (Joint-Ownership Venture)
13. สิ นค้าที่จะส่ งไปขายในตลาดต่างประเทศ อาจ„ได้รับผลกระทบจากวัฒนธรรมของตลาดต่างประเทศ
ข้อพิจารณาทางวัฒนธรรมคือข้อใด
(1) อํานาจซื้ อส่ วนบุคคล (2) อัตราการว่างงาน
(3) ลักษณะอาหารที่บริ โภค (4)ความมัน ่ คงของรัฐบาล
(5) นโยบายการส่ งออกของประเทศ
ตอบ 3.อธิบาย ข้อพิจารณาทางด้านวัฒนธรรมมีความสําคัญต่อการค้าระหว่างประเทศ คือ มีผลต่อความพอใจของ
ผูบ้ ริ โภคในการเลือกซื้อสิ นค้า และมีผลต่อการเสนอขายสิ นค้าของ นักการตลาดระหว่างประเทศ ซึ่งปัจจัยทางด้าน
วัฒนธรรม เช่น ลักษณะอาหารที่บริ โภค สภาพความเป็ นอยู่ รสนิยมการแต่งกาย ขนบธรรมเนียมประเพณี เป็ นต้น
14. ข้อใดกล่าวถึงการตลาดระหว่างประเทศไม่ถูกต้อง
(1) ทําให้รัฐบาลขาดรายได้จากภาษีส่งออกและนําเข้า
(2) ทําให้การผลิตขยายตัว
(3) ทําให้สามารถเลือกซื้ อสิ นค้าที่ผลิตไม่ได้ในประเทศ
(4) ทําให้ประเทศคู่คา้ มีความสัมพันธ์กน ั ซึ่งส่ งผลดีต่อเศรษฐกิจและการเมือง
(5) ทําให้คนมีงานทํา มีรายได้เพิ่มขึ้น
ตอบ 1.อธิบาย การค้าระหว่างประเทศมีความสําคัญต่อประเทศ ดังนี้
1. ทําให้การผลิตขยายตัว คนมีงานทํา มีรายได้เพิ่มขึ้น และทําให้เกิดการอยูด ่ ีกินดี
2. สามารถเลือกซื้ อสิ นค้าต่างประเทศที่ผลิตไม่ได้ในประเทศ
3. ทําให้รัฐบาลมีรายได้จากภาษีการส่ งออกและนําเข้ามากขึ้น
4. ถ้าส่ งสิ นค้าออกมากจะทําให้ได้เปรี ยบดุลการค้า
5. ทําให้ประเทศคู่คา้ มีความสัมพันธ์ที่ดีต่อกัน
15. ข้อใดมีใช่เหตุผลที่กิจการเข้าสู่ ตลาดต่างประเทศ
(1) เพื่อปรับขนาดตลาดให้แคบลง (2) เพื่อหวังผลกําไร
(3) เพื่อเพิ่มกําลังการผลิต จะทําให้ตน
้ ทุนต่อหน่วยตํ่าลง
(4) เพื่อสนองนโยบายของประเทศพัฒนาที่ลดอัตราภาษี
(5) เพื่อต้องการลดต้นทุนการผลิต ทําให้ต่อสู ก ้ ารแข่งขัน
ตอบ 1.อธิบาย เหตุผลที่กิจการเข้าสู่ ตลาดต่างประเทศ ได้แก่ 1. ต้องการแสวงหาผลกําไร
2. เพิ่มกําลังการผลิตให้เต็มที่
3. ช่วยขยายตลาดให้มีมากแห่ งยิง่ ขึ้น
4. สนองนโยบายของประเทศที่ตอ้ งการลดอัตราภาษี
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 220
-------------------------------------------------------------------------------
5. ต้องการลดต้นทุบการผลิตเพื่อเพิ่มศักยภาพในการแข่งขัน
16. หน้าที่สาํ คัญของการตลาดสิ นค้าเกษตรกรรม คือ
(1) การซื้ อ (2) การเก็บรักษาสิ นค้า
(3) การกําหนดมาตรฐานสิ นค้า (4) การขาย
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 5.อธิบาย หน้าที่สาํ คัญของการตลาดสิ นค้าเกษตรกรรม มีดงั นี้
1. การซื้ อและการขาย โดยพิจารณาจากการหาความต้องการของการซื้ อ แหล่งที่มาของสิ นค้าเกษตร เพราะ
แหล่งผลิต ที่ต่างกันคุณภาพสิ นค้าอาจไม่เหมือนกัน ความเหมาะสมของสิ นค้าเกษตร และเงื่อนไขในการซื้อ 2. การ
ขนส่ ง 3. การเก็บรักษาสิ นค้า 4. การเสี่ ยงภัย 5. การกําหนดมาตรฐานสิ นค้าและการจัดขนาดของสิ นค้า 6. การเงิน
7. ข่าวสารทางการตลาด
17. ข้อใดไม่ใช่ลกั ษณะของสิ นค้าเกษตร
(1) ปริ มาณและคุณภาพต่างกันตามฤดูกาล (2) ความต้องการสู ญเสี ยได้ง่าย
(3) เน่าเปื่ อยเสี ยหายง่าย (4) มีน้ าํ หนัก กินเนื้ อที่
(5) ต้องอาศัยสถานที่เก็บสิ นค้า
ตอบ 2 .อธิบาย ลักษณะสําคัญของสิ นค้าเกษตร มีดงั นี้
1. เป็ นการผลิตขนาดย่อม
2. แหล่งผลิตกระจายกันอยูท ่ วั่ ไป
3. ผลิตได้ตามฤดูกาล แต่การบริ โภคมีต่อเนื่ องตลอดปี ทําให้ตอ้ งมีการจัดเก็บผลผลิตไว้ เพื่อบริ โภคใน
อนาคต ส่ งผลให้เกิดกิจกรรมการเก็บรักษาและการคลังสิ นค้าเข้ามาเกี่ยวข้อง
4.ปริ มาณและคุณภาพแตกต่างกันตามฤดูกาลและสภาพของดินฟ้าอากาศ
5.เน่าเปื่ อยเสี ยหายได้ง่าย เกษตรกรจึงไม่สามารถเก็บสิ นค้าเกษตรเอาไว้ได้นาน ทําให้ตอ้ ง อาศัยสถานที่เก็บ
สิ นค้าที่เหมาะสม
6.มีน้ าํ หนัก กินเนื้ อที่ ทําให้กิจกรรมที่เกี่ยวข้องกับการขนส่ ง การเคลื่อนย้าย การรวบรวม และการเก็บรักษา
ต้องเสี ยค่าใช้จ่ายสู
18. สิ นค้าเกษตรชนิ ดใดของไทยที่ส่งออกขายยังตลาดต่างประเทศมากที่สุด
(1) ส่ วนประกอบคอมพิวเตอร์ (2) ข้าว
(3) ชิ้นส่ วนรถยนต์ (4) ยางพารา
(5) กุง้ แช่แข็ง
ตอบ 4.อธิบาย มูลค่าสิ นค้าเกษตรส่ งออกที่สาํ คัญของไทยในปัจจุบนั (พ.ศ. 2556 – 2557) 5 อันดับแรก ได้แก่
ยางพารา ข้าวและผลิตภัณฑ์ ปลาและ ผลิตภัณฑ์ มันสําปะหลังและผลิตภัณฑ์ที่ได้จากมันสําปะหลัง ผลไม้และ
ผลิตภัณฑ์
19. หากจะทําการส่ งเสริ มทางการตลาดกับสิ นค้าเกษตร ควรทําในช่วงใด
(1) ผูผ้ ลิต (2) ผูบ้ ริ โภคคนสุ ดท้าย
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 221
-------------------------------------------------------------------------------
(3) ร้านขายปลีก (4) การขนส่ ง
(5) เกษตรกร
ตอบ 3.อธิบาย ปกติการส่ งเสริ มทางการตลาดจะไม่สามารถนํามาใช้กบั ตลาดสิ นค้าเกษตรได้โดยเฉพาะในระดับ
ผูผ้ ลิตหรื อระดับเกษตรกรแทบจะไม่มีเลย เพราะสิ นค้าของเกษตรกรทุกราย มีลกั ษณะเหมือนกัน แต่จะพบการ
ส่ งเสริ มการตลาดบ้างในระดับของอุตสาหกรรมการเกษตร หรื อคนกลางที่เป็ นร้านค้าปลีกบางราย
20. จากข้อความ “สิ นค้าเกษตรต้องพิจารณาที่มาของสิ นค้า” มีความหมายตรงกับข้อใดมากที่สุด
(1) แหล่งผลิตที่ต่างกันคุณภาพสิ นค้าอาจไม่เหมือนกัน
(2) แหล่งผลิตที่ต่างกัน ราคาสิ นค้าอาจไม่เหมือนกัน
(3) สภาพภูมิอากาศที่ต่างกัน ราคาสิ นค้าอาจไม่เหมือนกัน
(4) สภาพภูมิอากาศที่ต่างกัน ค่าขนส่ งอาจไม่เหมือนกัน
(5) สภาพภูมิอากาศที่ต่างกัน ต้องเผชิญกับการเสี่ ยงภัยด้านการขนส่ งที่ไม่เหมือนกัน
ตอบ 1.ดูคาํ อธิบายข้อ 16. ประกอบ
21. การวางแผนผลิตภัณฑ์หมายถึงอะไร
(1) การกําหนดราคา (2) การพัฒนาผลิตภัณฑ์
(3) การโฆษณาผลิตภัณฑ์ (4) การส่ งเสริ มการขายผลิตภัณฑ์
(5) การประชาสัมพันธ์ผลิตภัณฑ์
ตอบ 2.อธิบาย การวางแผนผลิตภัณฑ์ หมายถึง การตัดสิ นใจอย่างเป็ นระบบที่เกี่ยวข้องกับภาพรวมทั้งหมดในการ
พัฒนาและการบริ หารผลิตภัณฑ์ของธุรกิจ ซึ่งการที่ธุรกิจมีกระบวนการวางแผน ผลิตภัณฑ์ที่ดี ย่อมทําให้ธุรกิจมี
โอกาสประสบความสําเร็ จได้มาก กล่าวคือ ทําให้มีการพัฒนา แผนงานทางการตลาดได้อย่างเหมาะสม มีการประ
สาบงานเกี่ยวกับผลิตภัณฑ์ สามารถ ประเมินตัวผลิตภัณฑ์ใหม่ได้ และทําให้มีการลดผลิตภัณฑ์ที่ไม่พึงปรารถนาได้
ดีข้ ึน
22. สิ นค้าประเภทใดต่อไปนี้ ที่ผบ ู ้ ริ โภคไม่ตอ้ งมีการวางแผนซื้อ
(1) ข้าวสาร (2) ยารักษาโรค
(3) สิ นค้าทีซ้ื อเมื่อพบเห็น (4) สิ นค้าทีซ้ื อเมื่อจําเป็ น
(5) ที่กล่าวมาทั้งหมด
ตอบ 3.อธิบาย สิ นค้าซื้อฉับพลัน เป็ นการซื้อที่ไม่ได้มีการวางแผนล่วงหน้า แต่เป็ นสิ นค้าที่ ผูบ้ ริ โภคตัดสิ นใจซื้อ
เมื่อได้มองเห็นสิ นค้าและเกิดความต้องการ เช่น ขณะที่เดินไปตามท้องถนน และได้เห็นไอศกรี มแท่งก็ซ้ือทันที
เป็ นต้น
23. ลักษณะสําคัญของสิ นค้าอุตสาหกรรมได้แก่อะไร
(1) ตลาดจะมีผซ ู ้ ้ือเป็ นจํานวนมาก (2) ความต้องการจะผันแปรตามราคา
(3) จะซื้อด้วยความมีเหตุผลเป็ นหลัก (4) จะตัดสิ นใจซื้ อโดยคน ๆ เดียว
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3.อธิบาย ลักษณะสําคัญของสิ นค้าอุตสาหกรรม มีดงั นี้
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 222
-------------------------------------------------------------------------------
1. มีผซู ้ ้ือจํานวนน้อยราย แต่ซ้ือสิ นค้าครั้งละจํานวนมาก
2. มีความต้องการสิ นค้าหรื ออุปสงค์ที่ไม่ยด ื หยุน่
3. ความต้องการมีลกั ษณะผกผัน และเป็ นความต้องการที่ต่อเนื องมาจากความต้องการ ในตลาดสิ นค้า
อุปโภคบริ โภค
4. เป็ นสิ นค้าทีใช้เหตุผลในการซื้ อมากกว่าใช้อารมณ์ ซึ่ งจะมีผบ ู ้ ริ หารจากหลาย ๆ ฝ่ าย เข้ามาช่วยพิจารณาใน
การตัดสิ นใจซื้อ
5. คุณสมบัติอื่น ๆ ได้แก่ ซื้ อโดยตรงจกผูผ้ ลิต ซื้ อแบบถ้อยทีถอ้ ยอาศัย และขอเช่าแทนการซื้ อ
24. สิ นค้าในข้อใดที่จดั ว่าเป็ นกลุ่มสายผลิตภัณฑ์
(1) ดินสอ เสื้ อผ้า แชมพู (2) โทรทัศน์ กระดาษ เสื้ อผ้า
(3) แชมพู สบู่ กรรไกร (4) เสื้ อผ้า เข็มขัด รองเท้า
(5) ขนมหวาน กระดาษ ปากกา
ตอบ 4.อธิบาย ส่ วนประสมผลิตภัณฑ์ (Product Mix) มีองค์ประกอบที่สาํ คัญ 2 ส่ วน คือ
1.สายผลิตภัณฑ์ (Product Line) คือ กลุ่มของรายการผลิตภัณฑ์ที่เกี่ยวข้องหรื อสัมพันธ์กบ ั เช่น สาย
ผลิตภัณฑ์เครื่ องแต่งกาย ประกอบด้วยเสื้ อผ้า เข็มขัด รองเท้า กระเป๋ า เป็ นต้น
2.รายการผลิตภัณฑ์ (Product Item) คือ ตัวแบบ ตราสิ นค้า หรื อขนาดของผลิตภัณฑ์ ที่ธุรกิจขายอยู่
25. สิ นค้าประเภทใดต่อไปนี้ ที่อยูใ่ นช่วงเจริ ญเติบโต
(1) กล้องถ่ายรู ปดิจิตอล (2) สบู่
(3) ปากกา (4) เสื้ อผ้า
(5) โทรทัศน์
ตอบ 1.อธิบาย ขั้นตอนในช่วงชีวิตผลิตภัณฑ์ แบ่งออกเป็ น 4 ช่วงดังนี้
1. ขั้นแนะนําผลิตภัณฑ์ (Introduction) เป็ นขั้นที่นก ั การตลาดต้องการเข้าหาผูบ้ ริ โภคที่ยอมรับผลิตภัณฑ์
ใหม่ ในขั้นนี้ยอดขายจะเพิ่มขึ้นและยังไม่มีคู่แข่งขัน
2. ขั้นเจริ ญเติบโต (Growth) เป็ นขั้นที่ยอดขายเพิ่มขึ้นอย่างรวดเร็ ว ตลาดเริ่ มมีลกั ษณะเป็ น มวลชน
และเริ่ มมีคู่แข่งขันเข้ามาในตลาดบ้างแล้ว เช่น สิ นค้าประเภทกล้องถ่ายรู ปดิจิตอล โทรศัพท์ประเภท Smart
Phone เป็ นต้น
3.ขั้นตลาดอิ่มตัว (Maturity) เป็ นขั้นที่ยอดขายคงที่หรื อเพิ่มขึ้นใบอัตราที่ลดลง คู่แข่งขัน มีจาํ นวนมาก และ
กําไรเริ่ มลดลง
4.ขั้นยอดขายลดลง (Decline) เป็ นขั้นที่ยอดขายลดลง คู่แข่งขันลดลง และกําไรลดลงอย่างมาก
26. เหตุใดนักการตลาดจึงต้องออกผลิตภัณฑ์ใหม่
(1) เพื่อเพิ่มยอดขาย (2) เพื่อลดความเสี ยง
(3) เพื่อสร้างจินตภาพ (4) เพื่อเป็ นการใช้วส ั ดุให้คุม้ ค่า
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 5.อธิบาย ความสําคัญของผลิตภัณฑ์ใหม่ มีดงั นี้ 1. ช่วยเพิม่ ยอดขาย 2. ช่วยเพิม่ กําไร 3. ช่วยกระจายความ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 223
-------------------------------------------------------------------------------
เสี่ ยงให้กบั ธุรกิจ 4. ช่วยเพิม่ ประสิ ทธิภาพให้กบั ช่องทางการจัดจําหน่ายเดิม 5. ช่วยให้ใช้ทรัพยากรที่มีอยูใ่ ห้เกิด
ประสิ ทธิภาพ โดยการ นําวัสดุที่เหลือใช้จากการผลิตมาผลิตเป็ นผลิตภัณฑ์ใหม่ 6. ช่วยสร้างจินตภาพให้กบั ธุรกิจ
27. เหตุผลสําคัญที่ทาํ ให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ไม่ประสบความสําเร็ จได้แก่ขอ้ ใด
(1) ขนาดค่อนข้างใหญ่ (2) อายุการใช้งานนานเกินไป
(3) มีขอ้ บกพร่ องในตัวผลิตภัณฑ์ (4) กําหนดราคาหลายระดับ
(5) ต้นทุนในการผลิตตํ่าเกินไป
ตอบ 3.อธิบาย สาเหตุที่ทาํ ให้ผลิตภัณฑ์ใหม่ลม้ เหลว มีดงั นี้ 1. การวิเคราะห์ตลาดไม่เพียงพอ 2. ผลิตภัณฑ์มี
ข้อบกพร่ อง 3. มุ่งเน้นทางการผลิตมากเกินไป 4. ไม่มีการพัฒนาผลิตภัณฑ์ใหม่ที่ดีพอ 5. ต้นทุนในการพัฒนา
การผลิต และการตลาดสู งเกินไป 6. ขาดการติดต่อสื่ อสารภายในและภายนอกกิจการ 7. ผลิตภัณฑ์มีช่วงชีวิต
ค่อนข้างสั้น 8. คู่แข่งขัน 9. ขาดความร่ วมมือในช่องทางการจัดจําหน่าย เป็ นต้น
28. ทําไมนักการตลาดจึงต้องใช้การทดสอบตลาด
(1) เพื่อความสมบูรณ์ของขั้นตอน (2) เพื่อศึกษาความเป็ นไปในตลาด
(3) เพื่อเอาใจลูกค้า (4) เพือ ่ ให้พนักงานขายปรับตัว
(5) เพื่อลดความเสี่ ยงในการพัฒนาผลิตภัณฑ์
ตอบ 2.อธิบาย เมื่อผลิตภัณฑ์ได้พฒั นาและผ่านการทดสอบจากผูบ้ ริ โภคแล้ว ก็มาถึงขั้นตอนของการทดสอบตลาด
ซึ่งเป็ นเรื่ องของการนําผลิตภัณฑ์ออกสู่ ตลาดที่คดั เลือกไว้ เพื่อต้องการทราบความเป็ นไปของยอดขายและกิจกรรม
ทางการตลาด โดยเฉพาะทางด้าน กลยุทธ์ทางการตลาดก่อนที่จะนําผลิตภัณฑ์เข้าสู่ ตลาดรวมทั้งหมด
29. กรณี ใดที่ทาํ ให้ผลิตภัณฑ์ไม่อิ่มตัว
(1) มีการปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ต่อไปได้ (2) ขนาดของตลาดค่อนข้างเล็ก
(3) คู่แข่งขันมีความเข้มแข็ง (4) ผลิตภัณฑ์ไม่มีความจําเป็ น
(5) กําไรค่อนข้างน้อย
ตอบ 1.อธิบาย ปัจจัยที่ทาํ ให้นกั การตลาดตัดสิ นใจว่าควรมีการขยายช่วงชีวิตผลิตภัณฑ์ ในขั้นอิ่มตัว มีดงั นี้
1. ตลาดต้องมีขนาดใหญ่พอ 2. ผลิตภัณฑ์มีความจําเป็ นต่อผูบ ้ ริ โภค 3. มีส่วนแบ่งตลาดที่ยงั เข้าไม่ถึง
4. คู่แข่งขันมีความเข้มแข็งน้อย5. มีโอกาสที่จะปรับปรุ งผลิตภัณฑ์ต่อไปได้ 6. ผลิตภัณฑ์มีกาํ ไรขั้นต้นสู ง
7. คนกลางให้ความร่ วมมือในการช่วยกระจายผลิตภัณฑ์ 8 ผลิตภัณฑ์มีจินตภาพดี 9. ธุ รกิจมีความสามารถในการ
จัดการ
30. ทําไมผลิตภัณฑ์ต่าง ๆ ที่อยูใ่ นท้องตลาดจึงมีขนาดของบรรจุภณ ั ฑ์เฉพาะของตัวเอง
(1) เป็ นความพอใจของนักการตลาด (2) ขึ้นอยูก่ บั ขนาดของหน่วยการบริ โภค
่ บั จํานวนประชากร
(3) ขึ้นอยูก (4) ขึ้นอยูก่ บั อัตราการขาย
(5) ขึ้นอยูก่ บั ประเภทของสิ นค้า
ตอบ 2.อธิบาย การกําหนดขนาดของการหีบห่อ (บรรจุภณ ั ฑ์) มีปัจจัยที่ตอ้ งคํานึงถึงอยู่ 2 ประการ คือ
1. ขนาดของหน่ วยที่ใช้บริ โภค 2. อัตราการบริ โภค
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 224
-------------------------------------------------------------------------------
31. ข้อใดที่เกี่ยวข้องกับการตลาดมากที่สุด
(1) การผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพ (2) การลงทุนอย่างประหยัด
(3) การขายสิ นค้าตามที่ลูกค้าพอใจ (4) การจัดการบุคลากรอย่างเหมาะสม
(5) การบันทึกข้อมูลอย่างมีระบบ
ตอบ 3.อธิบาย การตลาด หมายถึง การเคลื่อนย้ายสิ นค้าและหรื อบริ การจากผูผ้ ลิตไปยัง ผูบ้ ริ โภคคนสุ ดท้ายโดย
ผ่านคนกลางหรื อไม่กไ็ ด้ เพื่อมุ่งตอบสนองความพอใจและความ ต้องการของลูกค้า โดยอาศัยกิจกรรมต่าง ๆ ทาง
การตลาด ในกรณี ที่เป็ นการผลิตสิ นค้านั้น จะเกี่ยวข้องกับการเปลี่ยนแปลงรู ปร่ างหรื อลักษณะของสิ นค้า ซึ่งไม่
เกี่ยวข้องกับกิจกรรม ทางการตลาดแต่ประการใด แต่เมื่อใดก็ตามที่ตอ้ งการนําสิ นค้าออกสู่ ตลาดโดยผ่านขั้นตอน
ของกิจกรรมการตลาด ก็ถือว่าเป็ นเรื่ องของการตลาด
32. บทบาทสําคัญของการตลาดที่มีต่อระบบธุ รกิจได้แก่ขอ้ ใด
(1) ช่วยให้ฝ่ายการตลาดเจริ ญเติบโต (2) ช่วยให้ระบบการผลิตมีประสิ ทธิ ภาพ
(3) ช่วยลดต้นทุนทางธุ รกิจ (4) ช่วยให้สินค้าถึงมือผูบ
้ ริ โภคอย่างมีประสิ ทธิภาพ
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.อธิบาย (ดูคาํ อธิบายข้อ 31. ประกอบ) ในปัจจุบนั การตลาดจะทําให้เกิดการซื้อขาย แลกเปลี่ยนระหว่าง
ผูผ้ ลิตหรื อผูข้ ายกับผูบ้ ริ โภคหรื อผูซ้ ้ือ หรื ออาจกล่าวได้อีกนัยหนึ่งว่า เป็ นตัวเชื่อมโยงระหว่างแหล่งเสนอขายกับ
ความต้องการ โดยจะผ่านคนกลางหรื อไม่กไ็ ด้ ดังนั้นการตลาดจึงช่วยให้สินค้าไปถึงมือผูบ้ ริ โภคอย่างมี
ประสิ ทธิภาพ โดยอาศัยกิจกรรม ทางการตลาดซึ่งประกอบด้วยส่ วนประสมทางการตลาด (การวางแผนและพัฒนา
ผลิตภัณฑ์ การกําหนดราคา ช่องทางการตลาด แสะการส่ งเสริ มการตลาด) การวิจยั ตลาด และอื่น ๆ
33. ข้อใดที่เป็ นเรื่ องของการตลาดที่มุ่งหรื อให้ความสําคัญแก่สงั คม
(1) การใช้ทรัพยากรในการผลิตอย่างประหยัด (2) การให้เงินช่วยเหลือแก่สงั คม
(3) การผลิตสิ นค้าที่มีคุณภาพในการใช้ (4) การละเว้นการทําลายสภาพแวดล้อม
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 5. อธิบาย แนวความคิดการตลาดมุ่งสังคมมีสาระสําคัญ ดังนี้
1. เพื่อตอบสนองความพอใจของผูบ ้ ริ โภค 2. เพื่อสร้างสรรค์คุณภาพของชีวิต 3. เพื่อสร้างสรรค์
สภาพแวดล้อมที่ถูกสุ ขอนามัย 4. เพื่อใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด 5. เพื่อตอบสนองความพอใจของสังคม
34. การตลาดทําหน้าที่ในการอํานวยความสะดวกได้แก่ขอ้ ใด
(1) การจัดมาตรฐานของสิ นค้า (2) การกําหนดอัตราแลกเปลี่ยน
(3) การลดขั้นตอนการทํางาน (4) การเพิม่ คนกลางในอนาคต
(5) การวิจยั หาข้อมูลในตลาด
ตอบ 1.อธิบาย หน้าที่ทางการตลาดในด้านการอํานวยความสะดวกประกอบด้วย หน้าที่ในการจัดมาตรฐานของ
สิ นค้า ข้อมูลข่าวสาร การเสี่ ยงภัย และการเงิน
35. แนวความคิดทางผลิตภัณฑ์จะมุ่งเน้นในประเด็นใด
(1) ความพอใจของผูบ ้ ริ โภค (2) ความต้องการของผูบ ้ ริ โภค
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 225
-------------------------------------------------------------------------------
(3) การปรับปรุ งคุณภาพผลิตภัณฑ์ (4) การขยายตัวของกิจการ
(5) การเก็บข้อมูลทางการผลิต
ตอบ 3.อธิบาย แนวความคิดทางผลิตภัณฑ์จะมุ่งเน้นที่การบริ หาร โดยสมมุติวา่ ผูบ้ ริ โภคพอใจผลิตภัณฑ์ซ่ ึงมี
คุณภาพเหมาะสมกับราคา ดังนั้นธุรกิจจึงสนใจที่จะปรับปรุ งคุณภาพของผลิตภัณฑ์เป็ นหลัก
36. ลักษณะทางประชากรที่สาํ คัญของผูบ ้ ริ โภคได้แก่ขอ้ ใด
(1) สถานะการแต่งงาน (2) อาชีพของผูบ้ ริ โภค
(3) แหล่งที่อยูอ่ าศัย (4) การศึกษาของผูบ ้ ริ โภค
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 5.อธิบาย ลักษณะทางประชากรของตลาดผูบ้ ริ โภคที่สาํ คัญ ได้แก่ จํานวนประชากร แหล่งที่พกั อาลัย การ
เคลื่อนย้ายประชากร รายได้และรายจ่ายของผูบ้ ริ โภค อาชีพ การศึกษา และสถานการณ์แต่งงาน
37. นักการตลาดมองการตัดสิ นใจซื้ อของผูบ ้ ริ โภคออกมาในลักษณะใด
(1) ความประหยัด (2) ความพอใจ
(3) ความสวยงาม (4) ราคาถูก
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 2.อธิบาย นักการตลาดได้ต้ งั ข้อสมมุติฐานว่าผูบ้ ริ โภคเป็ นบุคคลที่คาํ นึงถึงความพอใจ โดยเลือกที่จะซื้อสิ นค้า
ในรู ปของต้นทุนที่เสี ยไปและผลได้ที่ได้รับ เพื่อต้องการอรรถประโยชน์ หรื อความพึงพอใจให้มากที่สุด ในขณะที่
ได้ใช้จ่ายเงินและเวลาที่มีอย่างจํากัด ดังนั้นนักการตลาด จะเก็บข้อมูลและวิเคราะห์ประชากรเมื่อต้องการคาดคะเน
พฤติกรรมผูบ้ ริ โภค
38. ปั ญหาของผูบ ้ ริ โภคที่จะต้องแก้ไขนั้นเกี่ยวข้องกับอะไร
(1) การเรี ยนรู ้ (2) การยอมรับ
(3) ความเสี่ ยง (4) การตอบสนองความต้องการ
(5) สภาพแวดล้อม
ตอบ 4.อธิบาย ผูบ้ ริ โภค คือ ผูท้ ี่แก้ปัญหาซึ่งได้รับการกระตุน้ จากความต้องการหรื อ แรงขับ ซึ่งความต้องการที่ไม่
สามารถตอบสนองความพอใจได้จะนําไปสู่ ความตึงเครี ยด และปรารถนาที่จะแก้ปัญหาต่อไป ทั้งนี้ผบู ้ ริ โภคจะใช้
กระบวนการแก้ปัญหาขั้นพื้นฐาน เพื่อหาทางที่จะตอบสนองความต้องการของตน
39. แรงจูงใจทางด้านอารมณ์ในการซื้ อรถยนต์ได้แก่ขอ้ ใด
(1) การให้บริ การหลังการขาย (2) การลดราคาสิ นค้า
(3) การประหยัดนํ้ามัน (4) รู ปแบบสวยงาม
(5) อายุการใช้งานนาน
ตอบ 4.อธิบาย แรงจูงใจทางด้านอารมณ์ มีลกั ษณะดังนี้1. การสร้างความพอใจให้กบั ความรู ้สึกของประสาทสัมผัส
ทั้ง 5 เช่น การซื้อรถยนต์โดยพิจารณา จากรู ปแบบ สี สไตล์ ฯลฯ 2. การรักษาสถานภาพ 3. ความกลัว4. ความ
เพลิดเพลินหรื อการพักผ่อน 5. ความภูมิใจ 6. การเลียนแบบผูม้ ีชื่อเสี ยง 7. การเข้าสังคม 8. การดิ้นรน 9. ความ
อยากรู ้อยากเห็น(ส่ วนการให้บริ การหลังการขาย อายุการใช้งาน การประหยัดนํ้ามัน และราคา ถือว่าเป็ นแรงจูงใจ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 226
-------------------------------------------------------------------------------
ทางด้านเหตุผล)
40. ข้อใดที่เป็ นเรื่ องของอิทธิ พลทางด้านวัฒนธรรม
(1) การซื้ อสิ นค้าราคาถูก (2) การซื้ อสิ นค้าตามเพื่อน
(3) การซื้อสิ นค้าตามค่านิยม (4) การซื้ อสิ นค้าตามความพอใจ
(5) การซื้อสิ นค้าตามความสะดวก
ตอบ 3.อธิบาย ปัจจัยทางสังคมที่มิอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจซื้อของผูบ้ ริ โภค ได้แก่
้ ริ โภคมากที่สุด 2. กลุ่มอ้างอิง 3. ผูน้ าํ ทาง
1. ครอบครัว ซึ่ งมีอิทธิ พลต่อการตัดสิ นใจซื้ อสิ นค้าของผูบ
ความคิด 4. ชั้นสังคม 5.วัฒนธรรม ประกอบด้วย ความเชื่อ ค่านิยม และขนบธรรมเนียมประเพณี ซึ่งวัฒนธรรมที่
เป็ นรู ปธรรม เช่น อาคารบ้านเรื อน รู ปแบบของสิ นค้า ฯลๆ ส่ วนวัฒนธรรมที่เป็ นนามธรรม เช่น คาสนา ลัทธิต่าง ๆ
ฯลฯ
41. ข้อใดหมายถึงพ่อค้าคนกลาง
(1) Reseller Middlemen (2) Merchant Middlemen
(3) Agent Middlemen (4) Direct Middlemen
(5) Facilitators
ตอบ 2.อธิบาย พ่อค้าคนกลาง (Merchant Middlemen) คือ ผูท้ ี่ดาํ เนินกิจการทางการค้าปลีก และการค้าส่ ง ซึ่ง
พ่อค้าคนกลางจะทําหน้าที่ต่าง ๆ ทางการตลาดเพื่อให้สินค้าเคลื่อนย้ายจาก ผูผ้ ลิตไปยังผูบ้ ริ โภคหรื อสถาบัน
ทางการผลิต
42. Action-Oriented Framework หรื อทีเรี ยกว่า AIDA Model เป็ นโมเดลที่แสดงการตอบสนองของผูท ้ ี่รับ
ข่าวสาร มีลาํ ดับขั้นตอนอย่างไร
(1) การรับรู ้ (Awareness), ความสนใจ (Interest), การตัดสิ นใจ (Decision), ความตั้งใจ (Attention)
(2) การรับรู ้ (Awareness), ความสนใจ (Interest), การตัดสิ นใจ (Decision), การรับรู ้ (Awareness)
(3) ความตั้งใจ (Attention), ความสนใจ (Interest), การตัดสิ นใจ (Decision), การปฏิบตั ิ (Action)
(4) ความตั้งใจ (Attention), ความสนใจ (Interest), ความต้องการ (Desire), การรับรู ้ (Awareness)
(5) ความตั้งใจ (Attention), ความสนใจ (Interest), ความต้องการ (Desire), การปฏิบตั ิ
(Action)
ตอบ 5.อธิบาย โครงสร้างของการกระทํา (Action-Oriented Framework) หรื อที่เรี ยกวา “AIDA Model” เป็ น
โมเดลที่แสดงการตอบสนองของผูร้ ับข่าวสารซึ่งมีลาํ ดับขั้นตอน อันได้แก่ ความตั้งใจ (Attention), ความสนใจ
(Interest), ความต้องการ (Desire) และการปฏิบตั ิ (Action)
43. รถยนต์ขบั เคลื่อนล้อหน้ากับขับเคลื่อนล้อหลัง จัดว่าเป็ นการแข่งขันแบบใด
(1) การแข่งขันในตราสิ นค้า (2) การแข่งขันแบบทัว่ ไป
(3) การแข่งขันทางด้านคุณภาพ (4) การแข่งขันในรู ปแบบของสิ นค้า
(5) การแข่งขันในรู ปแบบกิจการ
ตอบ 4.อธิบาย ลักษณะของการแข่งขัน แบ่งออกเป็ น 3 รู ปแบบ คือ
1. การแข่งขันแบบทัว่ ไป (Generic Competition) เป็ นการแข่งขันระหว่างผลิตภัณฑ์คนละชนิ ด ที่มี
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 227
-------------------------------------------------------------------------------
ลักษณะแตกต่างกันอย่างสิ้ นเชิง แต่สามารถใช้ทดแทนกันได้ เช่น กางเกงกับกระโปรง แก๊สกับนํ้ามัน ฯลฯ
2. การแข่งขันในรู ปแบบของสิ นค้า (Product Form Competition) เป็ นการแข่งขันระหว่าง สิ นค้าชนิ ด
เดียวกัน แต่มีรูปแบบของสิ นค้าที่แตกต่างกัน เช่น รถยนต์ขบั เคลื่อนล้อหน้ากับ ขับเคลื่อนล้อหลัง รถยนต์ 4 เกียร์
กับรถยนต์ 5 เกียร์ ฯลฯ
3. การแช่งขันในรู ปแบบของกิจการ (Enterprise Competition) เป็ นการแข่งขันในตราสิ นค้า ของ
ผลิตภัณฑ์ประเภทเดียวกับ เช่น นํ้าอัดลมยีห่ อ้ โค้กกับเป็ ปซี่ บะหมี่ก่ ึงสําเร็ จรู ปมาม่า กับไวไว ฯลฯ
44. ขั้นตอนของวงจรชีวต ิ ทีผลิตภัณฑ์น้ นั กําลังเผชิญอยูใ่ นขั้นเจริ ญเติบโตเต็มที่ (เจ็บ) จะเลือกใช้กลยุทธ์ การ
ส่ งเสริ มการตลาดเน้นที่จุดใด
(1) ความคิดใหม่เป็ นสิ่ งที่ดีที่สุด (2) ตราสิ นค้าของเราดีที่สุด
(3) ตราสิ นค้าของเราดีกว่าจริ ง ๆ (4) ค้นหาบุคคลที่ตอ้ งการสิ นค้าของเรา
(5) เร่ งเร้าให้เกิดความต้องการเลือกสรร
ตอบ 3.อธิบาย การเลือกใช้กลยุทธ์การส่ งเสริ มการตลาดที่แตกต่างกันในแต่ละขั้นตอน ของวงจรชีวิตผลิตภัณฑ์ มี
ดังนี้1. ขั้นแนะนํา (เกิด) จะเลือกใช้กลยุทธ์ “ความคิดใหม่เป็ นสิ่ งที่ดี”
2. ขั้นเจริ ญเติบโต (แก) จะเลือกใช้กลยุทธ์ “ตราสิ นค้าของเราดีที่สุด”
3. ขั้นเจริ ญเติบโตเต็มที่ (เจ็บ) จะเลือกใช้กลยุทธ์ “ตราสิ นค้าของเราดีกว่าจริ ง ๆ”
4. ขั้นยอดขายลดลง (ตาย) จะเลือกใช้กลยุทธ์ “ค้นหาบุคคลที่ตอ้ งการสิ นค้าของเรา”
45. ระยะแรกที่ผลิตภัณฑ์ออกสู่ ตลาด เรี ยกว่าอะไร
(1) First Campaign (2) Zone Campaign
(3) Lunching Period (4) Product Period
(5) First Product
ตอบ 3.อธิบาย Launching Period หมายถึง ระยะแรกที่ผลิตภัณฑ์ออกสู่ ตลาด
46. วิจยั เพือ่ การวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด ในการกําหนดวัตถุประสงค์ เป้าหมาย และตัดสิ นใจโฆษณา
อีกทั้งทําการประมาณค่าใช้จ่ายและงบประมาณที่ตอ้ งใช้ในการโฆษณา คือวิธีใดดังต่อไปนี้
(1) The Task-Method Approach (2) Competitive-Parity Approach
(3) Fixed-Sum-Per-Unit Approach (4) Percentage of Sales Approach
(5) Available-Funds Approach
ตอบ 1.อธิบาย วิธีจดั ทํางบประมาณการโฆษณาที่กาํ หนดจากงาน (The Task-Method Approach) มี 4 ขั้นตอน
ดังนี้
1. วิจยั เพื่อวิเคราะห์สถานการณ์ทางการตลาด
2. กําหนดวัตถุประสงค์หรื อเป้าหมายของการโฆษณาให้ชด ั แจ้ง
3. ตัดสิ นใจกําหนดงานการโฆษณาเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์
4. ประมาณค่าใช้จ่ายและงบประมาณที่ตอ้ งใช้ในการโฆษณา
47. เกณฑ์การพิจารณาความสามารถเข้าถึงของผูช้ มเป้ าหมายที่ไม่ซ้ าํ ซ้อนกันและโอกาสในการรับชม หมายถึง
ข้อใด
(1) The Cost-Per-Thousand Criterion (CPT) = RP – Reach X Frequency
(2) The Cash-Per-Thousand Criterion (CPT) = RP = Reach X Frequency
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 228
-------------------------------------------------------------------------------
(3) The Cost-Per-Thousand (CPT) = RP = Reach X Frequency
(4) Gross Rating Points Per-Thousand (GRF) = RP = Reach X Frequency
(5) Gross Rating Points (GRP) – RP = Reach X Frequency
ตอบ 5 .อธิบาย Gross Rating Points (GRP) หมายถึง เกณฑ์พิจารณาความสามารถเข้าถึงของ ผูช้ มเป้าหมายที่ไม่
ซํ้าช้อนกันและโอกาส (จํานวนครั้ง) ในการรับชม ซึ่งมีสูตรในการคํานวณ คือ Rating Points (RP) = Reach X
Frequency
48. วิธีการส่ งเสริ มการขายวิธีใดเหมาะสมสําหรับสิ นค้าที่มีการแข่งขันกันอย่างรุ นแรง และสิ นค้าถูกควบคุม
ราคา
(1) การคืนเงิน (2) แจกของแถม
(3) ลดราคาพิเศษ (4) การให้ตวั อย่างสิ นค้า
(5) การให้บตั รส่ งเสริ มการขาย
ตอบ 2.อธิบาย การแจกของแถม (Premium) คือ การให้สินค้าอีกอย่างหนึ่งเป็ นของแถมแก่ผซู ้ ้ือ ผลิตภัณฑ์ชนิดใด
ชนิดหนึ่ง เพื่อจูงใจให้ลูกค้าหันมาซื้อสิ นค้าของบริ ษทั เพิม่ ขึ้น การส่ งเสริ มการขาย ด้วยวิธีน้ ีจะเหมาะกับสิ นค้าที่มี
การแข่งขันกันอย่างรุ นแรง เป็ นสิ นค้าที่ถูกควบคุมราคา และ เป็ นสิ นค้าที่มีชื่อเรี ยกติดปากผูบ้ ริ โภคดีอยูแ่ ล้ว แต่ไม่
ควรนํามาใช้กบั สิ นค้าออกใหม่ที่เพิ่งวางขายในตลาด เพราะจะทําให้ผบู ้ ริ โภคมองข้ามคุณภาพที่แท้จริ งของสิ นค้าได้
49. วิธีการขายสิ นค้าควบคู่อย่างเช่น ยาสระผมและครี มนวดผมแพคเป็ นหี บห่อเดียวกัน และทําการลดราคา
เมื่อคิดราคาต่อชิ้นราคาจะลดลง หมายถึงการส่ งเสริ มการขายแบบใด
(1) Buying Allowance (2) Coupons
(3) Price Packs (4) Trading Stamp
(5) Premium
ตอบ 3.อธิบาย การลดราคาพิเศษด้วยการขายสิ นค้าควบคูก่ นั มีอยู่ 3 ลักษณะ คือ สิ นค้า หลายชนิดบรรจุในหี บห่อ
เดียวกัน, สิ นค้าชนิดเดียวกันบรรจุในจํานวนมากขึ้น เพื่อการขายครั้งละ มาก ๆ หรื อลดราคาพิเศษสําหรับสิ นค้า
เดียวซึ่งเป็ นการขายตํ่ากว่าราคาจริ ง (Price Packs) เช่น ขายยาสี พนั ควบคู่กบั แปรงสี ฟัน ซึ่งวิธีน้ ีจะใช้ได้ผลถ้า
นําไปใช้กบั สิ นค้าออกใหม่ที่เพิ่งเริ่ ม วางตลาด แต่มีขอ้ ควรระวังคือ ไม่ควรลดราคาบ่อยและนานเกินไป เพราะอาจ
ทําให้ภาพพจน์ ของตราสิ นค้าเสี ยไปได้
50. จุดประสงค์ของการส่ งเสริ มการขาย คืออะไร
(1) Communication / Incentive / Invitation (2) Communication / Incentive / Selling
(3) Incentive / Invitation / Selling (4) Distribution / Selling / Communication
(5) Distribution / Incentive / Invitation
ตอบ 1.อธิบาย จุดประสงค์ของการส่ งเสริ มการขาย มี 3 ประเด็น คือ
1.ใช้ติดต่อสื่ อสาร (Communication)
2.ใช้เป็ นสิ่ งจูงใจ (Incentive)
3. ใช้เป็ นสิ่ งเชื้อเชิญ (Invitation) ให้มีการแลกเปลี่ยนหรื อทําให้ผบ
ู ้ ริ โภครี บตัดสิ นใจซื้อ รวดเร็ วขึ้น
51. ส่ วนประสมของการส่ งเสริ มการตลาด (Promotion Mix) ได้แก่ขอ้ ใด
(1) การแจกของแถม ชิงโชค แจกคูปอง
(2) การแสดงสิ นค้า หี บห่ อ ช่องทางการจัดจําหน่ าย การส่ งเสริ มการขาย
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 229
-------------------------------------------------------------------------------
(3) การส่ งเสริ มการขายไปยังผูบ ้ ริ โภค พ่อค้าคนกลาง และพนักงานขาย
(4) การโฆษณา การใช้พนักงานขาย การส่ งเสริ มการขาย การเผยแพร่ ข่าวสาร
(5) การแสดงสิ นค้า ณ จุดขาย การส่ งชิงโชค ช่องทางการจัดจําหน่ าย การส่ งเสริ มการขาย
ตอบ 4.อธิบาย ส่ วนประสมการส่ งเสริ มการตลาด (Promotion Mix) หมายถึง การนํารู ปแบบ ของการส่ งเสริ ม
การตลาด อันได้แก่ การโฆษณา การใช้พนักงานขาย การส่ งเสริ มการขาย และการเผยแพร่ ข่าวสาร มาใช้ร่วมกัน
โดยมีวตั ถุประสงค์อนั เดียวกัน
52. บริ ษท ั มีปฏิกิริยาตอบสนองต่อกฎ ระเบียบ ข้อบังคบของรัฐบาลอย่างไรบ้าง
(1) เพิ่มนักลงทุนของบริ ษท ั (2) เพิ่มนักกฎหมายของบริ ษท ั
(3) เพิ่มอัตราพนักงานภายในบริ ษท ั (4) ต้องคํานึ งถึงข้อเรี ยกร้องของรัฐบาล
(5) ให้ความสําคัญกับกฎระเบียบมากขึ้น
ตอบ 2.อธิบาย ในปัจจุบนั รัฐบาลได้ออกกฎ ระเบียบ และข้อบังคับเพื่อเข้ามาแทรกแซงนโยบาย ทางการตลาดของ
บริ ษทั ต่าง ๆ เพิ่มขึ้น ซึงบริ ษทั จะมีปฏิกิริยาตอบสนองต่อมาตรการดังกล่าว ใน 3 ลักษณะ คือ
1. เพิ่มนักกฎหมายของบริ ษท ั เพื่อให้คาํ แนะนําแก่ผจู ้ ดั การฝ่ ายการตลาด
2. จัดตั้งแผนกรัฐบาลสัมพันธ์เพื่อติดต่อกับรัฐบาล
3. ร่ วมมือกับบริ ษท ั อื่นในสมาคมการค้าเพื่อผลประโยชน์ร่วมกัน
53. ข้อใดคือสาเหตุภายในที่ทาํ ให้การสงเสริ มการขายเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ ว
(1) ภาวะที่เศรษฐกิจมีเงินเฟ้อและเงินฝื ด
(2) คู่แข่งขันหันมาสนใจการส่ งเสริ มการขายมากขึ้น
(3) แรงกดดันทางการค้าทําให้ผผ ู ้ ลิตพยายามเพิ่มคนกลางมากขึ้น
(4) ผลิตภัณฑ์แต่ละชนิดมีตราสิ นค้าเพิ่มขึ้นอย่างมากมาย ทําให้ผบ ู ้ ริ โภคมีโอกาสเลือกสรรมากขึ้น
(5) ผูบ ้ ริ หารระดับสู งยอมรับว่าการส่ งเสริ มการขายช่วยเร่ งเร้าให้ยอดขายเพิม่ ขึ้นอย่างมีประสิ ทธิผล
ตอบ 5.อธิบาย สาเหตุภายในที่ทาํ ให้การส่ งเสริ มการขายเจริ ญเติบโตอย่างรวดเร็ ว มีดงั นี้
1. ผูบ ้ ริ หารระดับสู งยอมรับว่าการส่ งเสริ มการขายช่วยเร่ งเร้าให้ยอดขายเพิม่ ขึ้นอย่างมีประสิ ทธิผล
2. ผูจ้ ดั การผลิตภัณฑ์ตอ้ งการใช้เครื่ องมือการส่ งเสริ มการขายมากขึ้น
3. ผูจ้ ดั การผลิตภัณฑ์ได้รับแรงกดดันให้ขายสิ นค้าให้ได้ในเวลาอันรวดเร็ ว
54. สิ นค้าอุปโภคบริ โภคควรมีการส่ งเสริ มการตลาดแบบใด
(1) การใช้พนักงานขาย การติดต่อทางไปรษณี ย ์ (2) การโฆษณา การใช้แค็ตตาล็อก
(3) การใช้หีบห่ อ การโฆษณา การติดต่อทางไปรษณี ย ์
(4) การลดราคา การใช้ของแถม การแจกแสตมป์ ทางการค้า
(5) การโฆษณา การส่ งเสริ มการขาย การใช้พนักงานขาย
ตอบ 5.อธิบาย สิ นค้าอุปโภคบริ โภคควรใช้การส่ งเสริ มการตลาดใน 3 รู ปแบบร่ วมกัน คือ การโฆษณา การส่ งเสริ ม
การขาย และการใช้พนักงานขาย โดยการโฆษณาจะช่วยเผยแพร่ ข้อมูลข่าวสารเกี่ยวกับสิ นค้าและกิจกรรมการ
ส่ งเสริ มการขายของผูผ้ ลิตแต่ละรายไปยังมวลชน เป็ นจํานวนมากได้อย่างทัว่ ถึงและเท่าเทียมกัน และหากสิ นค้าบาง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 230
-------------------------------------------------------------------------------
ชนิด เช่น เครื่ องสําอาง ยา ฯลฯ ที่ตอ้ งมีผแู ้ นะนําวิธีการใช้ ก็จาํ เป็ นต้องอาศัยพนักงานขายที่มีความรู ้ความเชี่ยวชาญ
ทางด้านนั้น โดยเฉพาะเป็ นผูใ้ ห้ขอ้ มูล
55. บริ ษทั ผูผ้ ลิตนมกล่องออกผลิตภัณฑ์หลายชนิดและหลายชื่อ เพื่อขายให้แก่ตลาดกลุ่มเด็ก ผูใ้ หญ่ คน
สู งอายุ และสําหรบคนท้อง โดยใช้ส่วนประสมการตลาดและการส่ งเสริ มการขายแตกต่างกัน การคํานึงถึง
“ตลาด” เป็ นสิ่ งแวดล้อมใด
(1) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับงาน (2) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับการแข่งขัน
(3) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับกลุ่มสาธารณชน (4) สิ่ งแวดล้อมทางประชากรศาสตร์
(5) สิ่ งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
ตอบ 1. อธิบาย สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับงาน ประกอบด้วยสถาบันตาง ๆ ที่สมั พันธ์กนั เพือ่ เพิม่ มูลค่า ทางการตลาด อัน
ได้แก่ ผูข้ ายวัตถุดิบ คนกลางทางการตลาด และตลาด
56. ครั้งแรกของบัญชีเงินฝากออมทรัพย์ รับสิ ทธิประโยชน์เมื่อสมัครบัตรเดบิตฟรี …ค่าธรรมเนียมจ่ายบิล 5
บิล/เดือน ฟรี …ถอนเงินสดจากเครื่ อง ATM ทุกตูท้ วั่ ไทย ไม่จาํ กัดจํานวนครั้ง ฟรี …สอบถามยอดจาก เครื่ อง
ATM ทุกตูท ้ วั่ ไทย ไม่จาํ กัดจํานวนครั้ง เป็ นการโฆษณาผลิตภัณฑ์โดยคํานึงถึงสิ่ งแวดล้อมใด
(1) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับงาน (2) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับการแข่งขัน
(3) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับกลุ่มสาธารณชน (4) สิ่ งแวดล้อมทางประชากรศาสตร์
(5) สิ่ งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
ตอบ 2.อธิบาย สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับการแข่งขัน ประกอบด้วยสถาบันต่าง ๆที่แข่งขันกับบริ ษทั เพื่อแย่งชิงลูกค้าและ
ทรัพยากรที่หายาก ซึ่งหนทางที่ดีที่สุดที่จะเอาชนะ คู่แข่งขันได้ตอ้ งมุ่งไปที่ความต้องการของลูกค้าเป็ นหลัก
นอกจากนี้ธุรกิจยังต้องสร้าง ลักษณะพิเศษเฉพาะของตนให้ต่างจากคูแ่ ข่งขัน และชี้ให้ผบู ้ ริ โภครู ้สึกถึงความ
แตกต่างนั้น ในใจของผูบ้ ริ โภคเช่นความแตกต่างในเรื่ องของคุณภาพราคาการให้บริ การต่างๆ ฯลฯ
57.ธุรกิจได้ดาํ เนิ นกิจกรรมเพื่อสร้างชื่อเสี ยงและภาพพจน์ของธุ รกิจในรู ปแบบการแจกทุนการศึกษาการสร้าง
ภาพยนตร์โฆษณาเพื่อรณรงค์การรักษาสิ่ งแวดล้อม การบริ จาคสมทบทุนมูลนิธิต่าง ๆเพื่อให้ประชาชนทัว่ ไปมี
ทัศนคติที่ดีต่อสิ นค้าและบริ การของบริ ษทั การที่ธุรกิจดําเนินกิจกรรมดังกล่าวเพราะคํานึงถึงสิ่ งแวดล้อมใด
(1) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับงาน (2) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับการแข่งขัน
(3) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับกลุ่มสาธารณชน (4) สิ่ งแวดล้อมทางประชากรศาสตร์
(5) สิ่ งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
ตอบ 3.อธิบาย ในปัจจุบนั ธุรกิจต่าง ๆ ได้ให้ความสําคัญต่อสิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับกลุ่มสาธารณชนมากขึ้น และ
พยายามสร้างความสัมพันธ์ที่ดีกบั กลุ่มเหล่านี้โดยได้ดาํ เนินกิจกรรมเพือ่ สร้างภาพพจน์และค่านิยมที่ดีของธุรกิจใน
สายตาของสาธารณชน เช่น การแจกทุนการศึกษาการสร้างภาพยนตร์โฆษณาเพื่อรณรงค์การรักษาความสะอาด การ
ประหยัดพลังงานการบริ จาคสมทบทุนมูลนิธิต่าง ๆ เป็ นต้น
58. กลุ่มสถาบันการเงิน สื่ อมวลชน รัฐบาล กลุ่มทีมีปฏิกิริยา กลุ่มชนในท้องถิ่น และประชาชนทัว่ ไปจัดอยูใ่ น
สิ่ งแวดล้อมใด
(1) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับงาน (2) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับการแข่งขัน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 231
-------------------------------------------------------------------------------
(3) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับกลุ่มสาธารณชน (4) สิ่ งแวดล้อมทางประชากรศาสตร์
(5) สิ่ งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
ตอบ 3.อธิบาย สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับกลุ่มสาธารณชน หมายถึง กลุ่มที่มีความสนใจเฝ้ามองและพยายามสร้างกฎ
ข้อบังคับกิจกรรมขององค์การ กลุ่มนี้จึงมีอิทธิพลต่อความสําเร็ จขององค์การเป็ นอย่างยิง่ โดยกลุ่มสาธารณชน
ประกอบด้วย กลุ่มสถาบันการเงิน สื่ อมวลชนรัฐบาล กลุ่มทีมีปฏิกิริยา กลุ่มชนในท้องถิ่น และประชาชนทัว่ ไป
59. บริ ษท ั จอห์นสัน แอนด์ จอห์นสัน เดิมผลิตและจําหน่ายผลิตภัณฑ์สาํ หรับเด็ก แต่ในปัจจุบนั เนื่องด้วยอัตรา
การเกิดลดลง เนื่องจากผลของการวางแผนครอบครัว ภาวะเศรษฐกิจทําให้ครอบครัวต่าง ๆนิยมมีบุตรน้อยลง จึงได้
เปลี่ยนนโยบายที่จะมุ่งเฉพาะตลาดเด็กหันมาสนใจกลุ่มลูกค้าอื่นๆมากขึ้นเหตุการณ์ที่เกิดขึ้นเป็ นสิ่ งแวดล้อมแบบ
ใด
(1) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับงาน (2) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับการแข่งขัน
(3) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับกลุ่มสาธารณชน (4) สิ่ งแวดล้อมทางประชากรศาสตร์
(5) สิ่ งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
ตอบ 4.อธิบาย สิ่ งแวดล้อมทางประชากรศาสตร์ เป็ นสิ่ งแวดล้อมมหภาคที่นกั การตลาดให้ความสนใจมาก เพราะ
ประชากรจะก่อให้เกิดการซื้อขายแลกเปลี่ยน โดยสิ่ งที่นกั การตลาดสนใจ เช่น ขนาดของประชากร การกระจายของ
ประชากรตามเขตภูมิศาสตร์ ความหนาแน่นของประชากร การเคลื่อนย้ายถิ่นที่อยู่ อัตราการเกิดและการตาย ฯลฯ
ซึ่งล้วนแต่เป็ นสิ่ งที่มี ผลต่อการวางแผนการตลาด
60. นักการตลาดจะต้องคํานึงถึงอัตราการเจริ ญเติบโตของระดับรายได้ที่แท้จริ งลดลง แม้วา่ รายได้ที่เป็ นตัวเงิน
จะเพิ่มขึ้น แรงผลักดันของภาวะเงินเฟ้อรุ นแรงขึ้น รู ปแบบการออมและการก่อหนี้เปลี่ยนแปลงไป มีการ
เปลี่ยนแปลงรู ปแบบของการบริ โภคและการใช้จ่ายของผูบ้ ริ โภคเมื่อประชากรมีรายได้เปลี่ยนแปลงไป เป็ นการ
คํานึงถึงสิ่ งแวดล้อมใด
(1) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับงาน (2) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับการแข่งขัน
(3) สิ่ งแวดล้อมเกี่ยวกับกลุ่มสาธารณชน (4) สิ่ งแวดล้อมทางประชากรศาสตร์
(5) สิ่ งแวดล้อมทางเศรษฐกิจ
ตอบ 5.อธิบาย สิ่ งแวดล้อมทางเศรษฐกิจที่นกั การตลาดจะต้องสนใจ มีดงั นี้
1. อัตราการเจริ ญเติบโตของระดับรายได้ที่แท้จริ งลดลง แม้วา่ รายได้ที่เป็ นตัวเงินจะเพิ่มขึ้น ทั้งนี้ เนื่ องจาก
เกิดภาวะเงินเฟ้อ คนว่างงาน อัตราภาษีสูงขึ้น เป็ นต้น
2. แรงผลักดันของภาวะเงินเฟ้อรุ นแรงขึ้น
3. รู ปแบบของการออมและการก่อหนี้ เปลี่ยนแปลงไป
4. มีการเปลี่ยนแปลงรู ปแบบของการบริ โภคและการใช้จ่ายของผูบ ้ ริ โภค
61. หน่วยทั้งหมดที่ผวู ้ จิ ยั สนใจศึกษา หมายถึงข้อใด
(1)ประชากรการวิจยั (2)ข้อมูลสําเร็ จ
(3)ตัวอย่าง (4) ตัวแปรการวิจยั
(5) กรอบตัวอย่าง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 232
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 1.อธิบาย ประชากรการวิจยั (Research Population) หมายถึง หน่วยทั้งหมดซึ่งเป็ นแหล่งข้อมูลที่ผวู ้ ิจยั
สนใจจะศึกษาวิจยั ซึ่งอาจจะเป็ นอะไรก็ได้ที่ผวู ้ ิจยั ต้องเก็บข้อมูลมาใช้ในการทําวิจยั
62. รายชื่อ ตําบลที่อยู่ และแผนที่แสดงอาณาเขตของกลุ่มตัวอย่างที่ตอ้ งการค้นคว้า หมายถึงข้อใด
(1)ประชากรการวิจยั (2)ข้อมูลสําเร็ จ
(3)ตัวอย่าง (4) ตัวแปรการวิจยั
(5) กรอบตัวอย่าง
ตอบ 5.อธิบาย กรอบตัวอย่าง (Sampling Frame) หมายถึง รายชื่อหน่วยตัวอย่าง พร้อมตําบลที่อยู่ และแผนที่
แสดงอาณาเขตของกลุ่มตัวอย่างในขอบข่ายที่ผวู ้ ิจยั ต้องการที่จะ ทําการศึกษาค้นคว้า ดังนั้นประโยชน์หลักของการ
กําหนดกรอบตัวอย่างก็คือ การป้องกัน ความคลาดเคลื่อนจากการสุ่ มตัวอย่าง
63. ข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว้อย่างเป็ นระเบียบเรี ยบร้อย หมายถึงข้อใด
(1)ประชากรการวิจยั (2)ข้อมูลสําเร็ จ
(3)ตัวอย่าง (4) ตัวแปรการวิจยั
(5) กรอบตัวอย่าง
ตอบ 2.อธิบาย ข้อมูลที่ใช้สาํ หรับการวิจยั ตลาด มี 2 ประเภท คือ
1. ข้อมูลเบื้องต้นหรื อข้อมูลปฐมภูมิ (Primary Data) เป็ นข้อมูลที่เก็บรวบรวมมาจาก แหล่งกําเนิ ดของ
ข้อมูลโดยตรง และเป็ นข้อมูลที่ไม่เคยมีใครเคยเก็บรวบรวมมาก่อน ได้แก่ การใช้แบบสอบถาม การสัมภาษณ์ การ
สังเกตการณ์ การทดสอบ การทดลอง การสํามะโนและการสํารวจ
2. ข้อมูลสําเร็ จหรื อข้อมูลทุติยภูมิ (Secondary Data) เป็ นข้อมูลที่มีการเก็บรวบรวมไว้ อย่างเป็ นระเบียบ
เรี ยบร้อย ซึ่งผูว้ ิจยั สามารถค้นคว้าได้จากเอกสารและตําราต่าง ๆ
64. ลักษณะหรื อคุณสมบัติ อาการกิริยาต่าง ๆ ที่มีความแตกต่างกัน หมายถึงข้อใด
(1)ประชากรการวิจยั (2)ข้อมูลสําเร็ จ
(3)ตัวอย่าง (4) ตัวแปรการวิจยั
(5) กรอบตัวอย่าง
ตอบ 4.อธิบาย ตัวแปรการวิจยั (Variable) หมายถึง ลักษณะ คุณสมบัติ หรื ออาการกิริยา ของหน่วยตัวแปรต่าง ๆ
ซึ่งมีความแตกต่างกัน
65. หน่วยของประชากรการวิจยั ที่ผวู ้ จิ ยั เลือกเป็ นตัวแทนของหน่วยประชากรทั้งหมด หมายถึงข้อใด
(1)ประชากรการวิจยั (2)ข้อมูลสําเร็ จ
(3)ตัวอย่าง (4) ตัวแปรการวิจยั
(5) กรอบตัวอย่าง
ตอบ 3.อธิบาย ตัวอย่าง (Sampling) หมายถึง หน่วยของประชากรการวิจยั ที่ผวู ้ ิจยั เลือก มาเป็ นตัวแทนของหน่วย
ประชากรทั้งหมด
66. ข้อใดให้ความหมายของการค้าส่ งที่ถูกต้องที่สุด
(1) การขายสิ บค้าหรื อบริ การในปริ มาณมาก ๆ และราคาตํ่า
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 233
-------------------------------------------------------------------------------
(2) การขายสิ นค้าและบริ การให้กบ ั ผูซ้ ้ือสิ นค้าเพื่อไว้ขายต่อ
(3) การขายสิ นค้าและบริ การให้กบ ั คนกลางในการจัดจําหน่าย
(4) องค์การที่มีการขายสิ นค้าและบริ การที่มีความหลากหลายและจํานวนมาก
(5) การรับซื้ อสิ นค้าและบริ การปริ มาณมาก ๆ จากผูผ้ ลิตโดยตรง
ตอบ 2
อธิบาย การค้าส่ ง หมายถึง กิจกรรมการขายสิ นค้าและบริ การทุกชนิดให้กบั ผูท้ ี่ซ้ือ สิ นค้าไปเพื่อวัตถุประสงค์
ในการขายต่อ หรื อซื้อไปใช้ในการประกอบธุรกิจ ดังนั้นผูค้ า้ ส่ งอาจจะ เป็ นผูท้ ี่ขายสิ นค้าให้กบั พ่อค้าปลีก ซึ่งพอค้า
ปลีกจะซื้อไปเพื่อขายให้กบั ผูบ้ ริ โภคคนสุ ดท้าย อีกต่อหนึ่ง หรื ออาจจะเป็ นผูท้ ี่ขายสิ นค้าให้กบั โรงงาน
อุตสาหกรรมต่าง ๆ ที่ซ้ือไปเพื่อใช้ ในการประกอบกิจการการผลิต
67. ข้อใดคือลักษณะของผูค้ า้ ส่ งที่ทาํ หน้าที่เป็ นพ่อค้าขายส่ ง
(1) เป็ นผูค้ า้ ส่ งกลุ่มใหญ่ที่สุดในระบบค้าส่ งและมีกรรมสิ ทธิ์ ในสิ นค้า
(2) เป็ นผูค้ า้ ส่ งที่ทาํ หน้าที่ให้บริ การต่าง ๆ ให้กบ ั ลูกค้า เช่น ขนส่ งสิ นค้า ให้เครดิตลูกค้า
(3) เป็ นผูค้ า้ ส่ งที่ทาํ การขายสิ นค้าโดยไม่ได้เข้าไปครอบครองสิ นค้าที่ขาย เพียงซื้ อมาขายไปเท่านั้น
(4) เป็ นผูค้ า้ ส่ งที่ทาํ หน้าที่ในด้านบริ การเกี่ยวกับการขายส่ ง เข้าไปเจรจาต่อรองเกี่ยวกับการซื้ อและขาย
(5) เป็ นผูค้ า้ ส่ งที่ได้รับค่านายหน้าเป็ นค่าตอบแทบในการขายสิ นค้าให้แก่ผผ ู ้ ลิต
ตอบ 2.อธิบาย ผูค้ า้ ส่ งที่ทาํ หน้าที่เป็ นพ่อค้าขายส่ ง แบ่งออกเป็ น 2 ลักษณะ คือ
1. ผูค้ า้ ส่ งที่ไม่จาํ กัดการให้บริ การลูกค้า (Full-service Wholesalers) จะทําหน้าที่ให้บริ การ ด้านต่าง ๆ แก่
ลูกค้าอย่างมากมาย/เต็มที่ เช่น เก็บรักษาสิ นค้า ขนส่ งสิ นค้า ส่ งมอบสิ นค้า ให้เครดิตลูกค้า ให้ความช่วยเหลือด้าน
ข้อมูล เป็ นต้น
2. ผูค้ า้ ส่ งที่จาํ กัดการให้บริ การแก่ลูกค้า (Limited-service Wholesalers) จะทําหน้าที่ ให้บริ การแก่ลูกค้า
ของตนเพียง 1-2 อย่างตามที่ตนถนัดหรื อสะดวกที่สุดเท่านั้น ซึ่ง ค่อนข้างจะจํากัดมาก
68. ข้อใดคือประเภทของผูค้ า้ ปลีกโดยจําแนกตามลักษณะการประกอบธุ รกิจ
(1) ร้านค้าในศูนย์กลางย่านธุ รกิจ (2) การขายปลีกทางไปรษณี ย ์
(3) ร้านค้าปลีกคลังสิ นค้า (4) ร้านสรรพสิ นค้า
(5) ร้านสิ นค้าขายตามแค็ตตาล็อก
ตอบ 2.อธิบาย การจําแนกประเภทของผูค้ า้ ปลีกโดยพิจารณาจากลักษณะ การประกอบธุรกิจ เป็ นการค้าปลีกที่ไม่
จําเป็ นต้องมีร้านค้า (Non-store Retailing)ซึ่งถือว่าเป็ นการขายปลีกทางตรง (Direct Retailing) ประกอบด้วย
1. การค้าปลีกทางไปรษณี ยแ์ ละโทรศัพท์ (Telephone and Mail-order Retailing)
2. การค้าปลีกสิ นค้าโดยเครื่ อง (Automatic Vending)
3. การค้าปลีกประเภทบริ การผูซ ้ ้ือ (Buying Service)
4. การขายปลีกตามบ้าน (Door to Door Retailing)
69. ข้อใดคือความสําคัญของการค้าปลีกที่มีต่อผูผ้ ลิต
(1)การค้าปลีกช่วยทําหน้าที่แสวงหาสิ นค้าให้เป็ นที่ตอ้ งการของผูผ้ ลิตและขายให้ผบ ู ้ ริ โภค
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 234
-------------------------------------------------------------------------------
(2) การค้าปลีกช่วยทําหน้าที่ในการจัดแสดงสิ นค้า
(3) การค้าปลีกทําหน้าที่เชื่อมโยงระหว่างกิจการค้าส่ งกับผูบ ้ ริ โภค
(4) การค้าปลีกทําหน้าที่แบ่งภาระการเก็บรักษาสิ นค้าให้แก่ผผ ู ้ ลิต
(5) การค้าปลีกทําหน้าที่เปรี ยบเสมือนแหล่งรวมสิ นค้าให้แก่ผผ ู ้ ลิต
ตอบ 4.อธิบาย ความสําคัญของการค้าปลีกต่อผูผ้ ลิต มีดงั นี้
1.ทําหน้าที่ขายสิ นค้าให้กบ ั ผูผ้ ลิต 2. ทําหน้าที่รวบรวมข้อมูลเกี่ยวกับผูบ้ ริ โภคให้กบั ผูผ้ ลิต
3. ทําหน้าที่แบ่งภาระการเก็บรักษาสิ นค้าแก่ผผ ู ้ ลิต
70. ข้อใดคือผลกระทบของการตลาดต่อสังคมส่ วนรวม
(1) ทําให้มีการแข่งขันกันซื้อสิ นค้าเพื่อเป็ นเครื่ องแสดงฐานะทางสังคม
(2) การตลาดทําให้ราคาสิ นค้าสู งขึ้น
(3) ทําให้เกิดการกีดกันการแข่งขันจากผูผ้ ลิตหรื อธุ รกิจรายอื่น ๆ
(4) ทําให้ผบ ู ้ ริ โภคมีโอกาสได้เลือกซื้อสิ นค้าได้หลากหลายตามความต้องการ
(5) การตลาดมีผลทําให้สภาพเศรษฐกิจโดยรวมดีข้ ึน
ตอบ 1.อธิบาย คําวิพากษ์วจิ ารณ์ถึงผลกระทบของการตลาดต่อสังคมส่ วนรวม มีดงั นี้
1. ทําให้สงั คมกลายเป็ นสังคมวัตถุนิยมมากขึ้น นัน ่ คือ ทําให้มีการแข่งขันกันซื้อสิ นค้าเพื่อเป็ น เครื่ องแสดง
ฐานะทางสังคม
2. ทําให้เกิดความต้องการที่ไม่ถูกต้อง
3. ทําให้ผลิตภัณฑ์ที่เป็ นสิ นค้าเพื่อสังคมยังมีไม่เพียงพอ
4. ทําให้เกิดความเสื่ อมเสี ยทางวัฒนธรรม
71. คุณสมบัติที่สาํ คัญของผลิตภัณฑ์บริ การ คือ
(1) จับต้องไม่ไต้ (2) แบ่งแยกไม่ได้
(3) สู ญหายได้ง่าย (4) ถูกเฉพาะข้อ 1 และ 2
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.อธิบาย ลักษณะของบริ การ มี 4 ประการ ดังนี้
1.ไม่สามารถจับต้องได้ 2.ไม่สามารถแบ่งแยกได้ 3. มีลกั ษณะแตกต่างกันไปไม่คงที่ 4. มีลกั ษณะความ
ต้องการที่สูญเสี ยได้ง่าย
72. กิจการร้านค้าปลีกที่มีศูนย์กลางบริ หารเพียงแห่งเดียว คือ
(1) Independent Store (2) Voluntary Chain Store
(3) Corporate Chain (4) Buying Service
(5) Franchise Store
ตอบ 3.อธิบาย ร้านค้าปลีกแบบลูกโซ่ (Chain Store หรื อ Corporate Chain) เป็ นร้านค้าปลีก ที่มีลกั ษณะดังนี้คือ
1. มีร้านค้ามากกว่า 2 ร้านขึ้นไป 2. ร้านค้าทุกร้านจะมีสินค้าไว้ขายในสายผลิตภัณฑ์เดียวกัน 3. มีศูนย์กลางการ
บริ หารงานเพียงแห่งเดียว 4. มีการจัดตกแต่งร้านเหมือนกันทั้งหมดเพือ่ สร้างจุดเด่น 5. การซื้อสิ นค้ามาเพื่อขาย การ
กําหนดราคาและนโยบายอื่น ๆ สํานักงานใหญ่จะเป็ นผูด้ าํ เนินการ6. เจ้าของและผูค้ วบคุมกิจการเป็ นคน ๆ เดียวกัน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 235
-------------------------------------------------------------------------------
73. ในการทําวิจยั ตลาด ถ้าแหล่งข้อมูลที่ท่านต้องเก็บมาเพื่อทําการศึกษาวิเคราะห์คือร้านค้าปลีก สิ่ งที่ท่านควร
จะกําหนดเป็ นประชากรการวิจยั ของท่าน คืออะไร
(1) ลูกค้า (2) สิ นค้า
(3) ร้านค้า (4) ผูผ้ ลิต
(5) พนักงาน
ตอบ 3. ดูคาํ อธิบายข้อ 11. ประกอบ
74. ร้าน “เซเว่นอีเลเว่น” เป็ นร้านค้าปลีกขายสิ นค้าประเภทใด
(1) สิ นค้าเปรี ยบเทียบซื้ อ (2) สิ นค้าซื้อสะดวก
(3) สิ นค้าซื้อพิเศษ (4) สิ นค้าซื้ อแบบไม่คาดคิด
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 2.อธิบาย ร้านค้าสะดวกซื้อ (Convenience Store) ส่ วนใหญ่เป็ นร้านค้าค่อนข้างเล็ก มีทาํ เลที่ต้ งั ใกล้ที่อยู่
อาศัยของลูกค้า สิ นค้าที่ขายจะมีเฉพาะอย่างที่ขายได้ง่ายซื้อสะดวก แต่จะตั้งราคาขายไว้ค่อนข้างสู ง เช่น สิ นค้า
ประเภทบุหรี่ เครื่ องดื่ม กาแฟ ยาสี ฟัน ฯลฯ ตัวอย่างของร้านค้าสะดวกซื้อ เช่น 7-Eleven, Family Mart ฯลฯ
75. ถ้าท่านทําธุ รกิจประเภทโรงแรมและการท่องเที่ยว ท่านควรจะต้องบริ หารจัดการโดยมุ่งเน้นในเรื่ องใดให้
มากที่สุด
(1) สิ นค้า (2) บริ การ
(3) ความเชื่อถือ (4) ความไว้วางใจ
(5) ข้อ 3 และ 4 ถูก
ตอบ 5.อธิบาย ผูป้ ระกอบธุรกิจประเภทโรงแรมและการท่องเที่ยวควรดําเนินธุรกิจโดยมุ่งเน้น ในเรื่ องของความ
เชื่อถือและความไว้วางใจในบริ การที่ลูกค้ามีต่อธุรกิจ โดยอาจจัดสิ่ งบริ การ ที่สามารถมองเห็นได้ เช่น มีหอ้ งพักที่
สะดวกสบาย ไม่มีเสี ยงรบกวน มีการจัดอาหารและ เครื่ องดื่มที่ดี มีพนักงานต้อนรับสวย ๆ และมีอธั ยาศัยดีไว้คอย
ให้บริ การ เป็ นต้น
76. ผูค้ า้ ส่ งที่ขายสิ นค้ามากประเภทในสายผลิตภัณฑ์เดียวกัน คือ
(1) Limited Function Wholesalers (2) General Merchandise Wholesalers
(3) General Line Wholesalers (4) Service Wholesalers
(5) Specialty Wholesalers
ตอบ 2.อธิบาย ผูค้ า้ ส่ งสิ นค้าทัว่ ไป (General Merchandise Wholesalers) จะขายสิ นค้า ให้กบั ผูค้ า้ ปลีก โดยมี
สิ นค้าไว้ขายหลายประเภทภายในสายผลิตภัณฑ์เดียวกัน
77. ประชากรการวิจยั (Research Population) คือ
(1) แหล่งข้อมูล (2) หน่วยแปร
(3) ตัวแปร (4) ข้อ 1 และ 2 ถูก
(5) ข้อ 2 และ 3 ถูก
ตอบ 1.
78. ประโยชน์หลักของการกําหนดกรอบตัวอย่าง (Sampling Frame) คือ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 236
-------------------------------------------------------------------------------
(1) กําหนดจํานวนตัวอย่าง (2) กําหนดวิธีการเลือกตัวอย่าง
(3) ป้องกันความคลาดเคลื่อน (4) กําหนดประชากรการวิจยั
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 3.อธิบาย กรอบตัวอย่าง (Sampling Frame) หมายถึง รายชื่อหน่วยตัวอย่าง พร้อมตําบลที่อยู่ และแผนที่
แสดงอาณาเขตของกลุ่มตัวอย่างในขอบข่ายที่ผวู ้ ิจยั ต้องการที่จะ ทําการศึกษาค้นคว้า ดังนั้นประโยชน์หลักของการ
กําหนดกรอบตัวอย่างก็คือ การป้องกัน ความคลาดเคลื่อนจากการสุ่ มตัวอย่าง
79. สิ่ งต่อไปนี้ที่เป็ นกิจการค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) คือ
(1) เทสโก้โลตัส (2) บิ๊กซี
(3) คาร์ฟูร์ (4) เซเว่นอีเลเว่น
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 5.อธิบาย กิจการค้าปลีกสมัยใหม่ (Modern Trade) เป็ นรู ปแบบของร้านค้าปลีกที่นิยมกันทัว่ โลกในปัจจุบนั
โดยมีหลักการค้าที่สาํ คัญ เช่น คิดกําไรขั้นต้นตํ่า สิ นค้ามีการหมุนเวียนสู ง ติดป้ายบอกราคาสิ นค้าทุกชิ้น จัดระบบ
ร้านให้ลูกค้าเดินชมสิ นค้าได้โดยไม่มีการบังคับว่า จะต้องซื้อสิ นค้า ใช้ระบบให้ลูกค้าบริ การตนเองและชําระเงินที่
ทางออก เป็ นต้น ตัวอย่าง ของร้านค้าประเภทนี้ เช่น เทสโก้โลตัส, บิ๊กซี, คาร์ฟูร์, 7-Eleven เป็ นต้น
80. แหล่งรวมข้อมูลภายในองค์กรธุรกิจ เช่น รายงานการปฏิบตั ิงานของฝ่ ายต่าง ๆ จัดเป็ นระบบอะไร ใน
ระบบข่าวสารทางการตลาด
(1) Internal Reports System (2) Marketing Research System
(3) Analytical Marketing System (4) Marketing Intelligence System
(5) ถูกทุกข้อ
ตอบ 1.อธิบาย ระบบข่าวสารทางการตลาด ประกอบด้วย 4 ระบบย่อย ได้แก่
1. ระบบรายงานภายใน (Internal Reports System) เป็ นรายงานผลการปฏิบตั ิงานของ ฝ่ ายต่าง
ๆ ภายในองค์กร ซึ่งเป็ นไปตามขั้นตอนและเป็ นประจํา เช่น รายงานเกี่ยวกับ ยอดขาย รายงานการเยีย่ มลูกค้า
ฯลฯ
2. ระบบความชาญฉลาดทางการตลาด (Marketing Intelligence System)
3. ระบบการวิจยั ตลาด (Marketing Research System)
4. ระบบการวิเคราะห์การตลาด (Analytical Marketing System)
-----------------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 237
-------------------------------------------------------------------------------
 ความรู้ เกีย่ วกับการบริหารเบื้องต้ น
หลักและกระบวนการบริหาร
คาจากัดความ
การบริหาร หมายถึง ศิลปะในการทําให้สิ่งต่าง ๆ ได้รับการกระทําจนเป็ น ผลสําเร็ จ กล่าวคือ ผูบ้ ริ หารไม่
ใช้เป็ นผูป้ ฏิบตั ิ แต่เป็ นผูใ้ ช้ศิลปะทําให้ผปู ้ ฏิบตั ิทาํ งานจนสําเร็ จตามจุดมุ่งหมายที่ผบู ้ ริ หารตัดสิ นใจเลือกแล้ว
(Simon)
การบริหาร คือ กระบวนการทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่นเพื่อให้เกิดผลสัมฤทธิ์ตามเป้าหมายอย่างมีประสิ ทธิภาพ
(Sergiovanni)
การบริหาร คือ การทํางานของคณะบุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ที่รวมปฏิบตั ิการให้บรรลุเป้าหมายร่ วมกัน
(Barnard)
การบริ หารเป็ นกระบวนการทางสังคมที่สามารถมองเห็นได้ 3 ทางคือ
1.ทางโครงสร้าง เป็ นความสัมพันธ์ระหว่างผูบ ้ งั คับบัญชาและผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ตามลําดับขั้นตอนของสาย
การบังคับบัญชา
2.ทางหน้าที่ เป็ นขั้นตอนของหน่ วยงานที่ระบุหน้าที่ บทบาท ความรับผิดชอบและสิ่ งอํานวยความสะดวก
ต่าง ๆ เพื่อให้สาํ เร็ จเป้าหมาย
3. ทางปฏิบตั ิ เป็ นกระบวนการที่บุคคลและบุคคลต้องการร่ วมทําปฏิกิริยาซึ่ งกันและกัน (Getzals &
Guba)
ลักษณะเด่ นทีเ่ ป็ นสากลของการบริหาร คือ
1. การบริ หารต้องมีวตั ถุประสงค์หรื อเป้าหมาย
2. ต้องอาศัยปั จจัยบุคคลเป็ นองค์ประกอบสําคัญ
3. ต้องใช้ทรัพยากรบริ หารเป็ นองค์ประกอบพื้นฐาน
4. ต้องมีลกั ษณะการดําเนินการเป็ นกระบวนการทางสังคม
5. ต้องเป็ นการดําเนิ นการร่ วมกันระหว่างกลุ่มบุคคล 2 คนขึ้นไป
6. ต้องอาศัยร่ วมมือร่ วมใจเพื่อให้ภารกิจบรรลุวตั ถุประสงค์
7. เป็ นการร่ วมมือดําเนิ นการอย่างมีเหตุผล
8. มีลกั ษณะเป็ นการตรวจสอบผลการปฏิบตั ิงานกับวัตถุประสงค์ที่กาํ หนดไว้
9. การบริ หารไม่มีตวั ตน แต่มีอิทธิ พลต่อความเป็ นอยูข ่ องมนุษย์
การบริ หารเป็ นทั้งศาสตร์และศิลป์
การบริ หารเป็ นสาขาวิชาที่มีการจัดการระเบียบอย่างเป็ นระบบ คือมีหลักเกณฑ์และทฤษฎีที่พึงเชื่อถือได้
อันเกิดจาการค้นคว้าเชิงวิทยาศาสตร์ เพื่อประโยชน์ในการบริ หาร โดยลักษณะนี้ การบริ หารจึงเป็ นศาสตร์
่ ลุ่มเดียวกับวิชาจิตวิทยา สังคมวิทยา และรัฐศาสตร์ แต่ถา้ พิจารณาการบริ หาร
(Science) เป็ นศาสตร์ สงั คม ซึ่ งอยูก
ในลักษณะของการปฏิบตั ิที่ตอ้ งอาศัยความรู ้ ความสามารถ ประสบการณ์และทักษะของผูบ้ ริ หารแต่ละคน ที่จะ
ทํางานให้บรรลุเป้าหมาย ซึ่งเป็ นการประยุกต์เอาความรู ้ หลักการและทฤษฎีไปรับใช้ในการปฏิบตั ิงานเพื่อให้
เหมาะสมกับสถานการณ์ และสิ่ งแวดล้อม การบริ หารก็จะมีลกั ษณะเป็ นศิลป์ (Arts)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 238
-------------------------------------------------------------------------------
ปัจจัยการบริ หาร
ปัจจัยพื้นฐานทางการบริ หารมี 4 อย่าง ที่เรี ยกว่า 4Ms ได้แก่
1. คน (Man)
2. เงิน (Money)
3. วัสดุสิ่งของ(Materials)
4. การจัดการ (Management)
ข้อจํากัดทางการบริ หาร
1. สถานภาพทางภูมิศาสตร์
2. ประชากร
3. ทรัพยากร
4. ลักษณะนิ สยั และความสามารถของคนในชาติ
5. ความเชื่อถือและความศรัทธา
6. ขนมธรรมเนี ยมและประเพณี
7. ค่านิ ยมและอุดมการณ์ทางสังคม
ความหมายของทฤษฎีและทฤษฎีทางการบริหาร
ทฤษฎี หมายถึง แนวความคิดหรื อความเชื่อที่เกิดขึ้นอย่างมีหลักเกณฑ์ มีการทดสอบและการสังเกตจนเป็ นที่
แน่ใจ ทฤษฎีเป็ น เซทของมโนทัศน์ที่เชื่อมโยงซึ่งกันและกัน เป็ นข้อสรุ ปอย่างกว้างที่พรรณาและอธิบายพฤติ
กรรมการบริ หารองค์กรการทางศึกษา อย่างเป็ นระบบ ถ้าทฤษฎีได้รับการพิสูจน์บ่อย ๆ ก็จะกลายเป็ นกฎเกณฑ์
ทฤษฎีเป็ นแนวความคิดที่มีเหตุผลและสามารถนําไปประยุกต์ และปฏิบตั ิได้ ทฤษฎีมีบทบาทในการให้คาํ อธิบาย
เกี่ยวกับปรากฎทัว่ ไปและชี้แนะการวิจยั
ประโยชน์ของทฤษฎี
1. ทําให้เกิดความรู ้ ความคิดใหม่ ๆ เกิดความก้าวหน้าทางวิทยาการ คือถ้ามีทฤษฎีกม ็ ีการพิสูจน์คน้ คว้า
เพื่อทดสอบหรื อพิสูจน์ทฤษฎีอื่น
2. สามารถใช้ประกอบการทํานายเหตุการณ์ พฤติกรรม และใช้แก้ไขปั ญหาได้
3. ทฤษฎีจะช่วยขยายประสิ ทธิ ภาพของการทํางาน กล่าวคือ ผูบ ้ ริ หารที่รู้ทฤษฎีจะมีทางเลือก และเลือกทาง
ที่เหมาะสมได้
4. ทฤษฎีเป็ นหลักยึดในการปฏิบตั ิ ดังนั้น ผูท้ ี่ทาํ งานแนวคิดหรื อทฤษฎีกจ็ ะเกิดความมัน่ ใจในการทํางาน
มากกว่าทําไป อย่างเลื่อนลอย ทฤษฎีจะช่วยชี้แนะนําการปฏิบตั ิ
ความสั มพันธ์ ระหว่ างทฤษฎีกบั การปฏิบตั ิ
ในการบริ หารการศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างทฤษฎีและปฏิบตั ิ ยังไม่เป็ นที่ยอมรับกันเท่าใดนัก
ถึงแม้วา่ ทฤษฎีจะเป็ นตัวกําหนดกรอบ สําหรับผูป้ ฏิบตั ิ และเป็ นตัวกําหนดความรู ้เพือ่ ช่วยให้การตัดสิ นใจกระทํา
ไปอย่างมีเหตุผลและสามารถปฏิบตั ิได้จริ งก็ตาม การปฏิบตั ิที่อยูบ่ นพื้นฐานของวิธีการได้ไตร่ ตรองแล้วเท่านั้นจึง
จะเป็ นการปฏิบตั ิที่คล้ายคลึงกับทฤษฎีและวิจยั ไม่ใช่เป็ นการปฏิบตั ิที่เกิด จากการหยัง่ รู ้อคติ ความศรัทธาหรื อ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 239
-------------------------------------------------------------------------------
อํานาจหน้าที่ นักทฤษฎีและนักวิจยั จะใช้วิธีการเชิงวิจยั จะใช้วิธีการเชิงวิทยาศาสตร์ที่เข้มงวดกว่า นักปฏิบตั ิ เพือ่
ความมีเหตุผล ส่ วนนักปฏิบตั ิจะถูกบังคับโดยตําแหน่ง ความรับผิดชอบและอํานาจหน้าที่ถึงแม้จะไม่ใช่วิธีการเชิง
วิทยาศาสตร์ ครบทุกขั้นตอน แต่กย็ งั ถูกบังคับให้ปรับรับวิธีการให้เหมาะสม โดยมีการยืดหยุน่ ได้มากขึ้น
ทฤษฎีจะเป็ นตัวกําหนดทิศทางสําหรับการวิจยั และการชี้แนะที่มีเหตุผลต่อการปฏิบตั ิ ทฤษฎีจะถูกทดสอบ
ขัดเกลาโดยการวิจยั เมื่อทฤษฎีผา่ นการวิจยั แล้ว จึงนํามาประยุกต์ใช้กบั การปฏิบตั ิ ไม่มีการปฎิบตั ิใด ๆ ที่ไม่ได้อยู่
บนพื้นฐานของทฤษฎี ในเมื่อทฤษฎี อยูบ่ นพื้นฐานของตรรกวิทยามีเหตุผลแม่นยําถูกต้องแล้ว การปฏิบตั ิกจ็ ะมี
เหตุผลและถูกต้องเช่นเดียวกัน การปฏิบตั ิจึงสร้างมาให้เห็น ทฤษฎีเป็ นเหตุผลที่วา่ ทําไมต้องศึกษาทฤษฎี การศึกษา
ทฤษฎีกเ็ พราะจะให้การปฏิบตั ิได้ผลจริ ง
การบริ หารเชิงสถานการณ์ (Situational Management Theory) หรื อทฤษฎีอุบตั ิการณ์ (Contingency theory)
การบริ หารในยุคนี้ค่อนข้างเป็ นปัจจุบนั ปรัชญาของการบริ หารเริ่ มเปลี่ยนแปลงไปจากการมองการ
บริ หารในเชิงปรัชญา ไปสู่ การมอง การบริ หารในเชิงสภาพข้อเท็จจริ ง เนื่องจากในปัจจุบนั มนุษย์ตอ้ งประสบกับ
ปัญหาอยูเ่ สมอ
แนวความคิด
เนื่องจากปัจจุบนั มนุษย์ตอ้ งประสบกับปัญหาอยูเ่ สมอ การเลือกทางออกที่จะไปสู่ การแก้ปัญหาทางการ
บริ หารถือว่าไม่มีวิธีใดที่ดีที่สุด There is one best way สถานการณ์ต่างหากที่จะเป็ นตัวกําหนดว่าควรจะใช้การ
บริ การบริ หารแบบใด การบริ หารในยุคนี้มุ่งเน้น ความสัมพันธ์ระหว่าง องค์การกับสภาพแวดล้อมขององค์การ และ
เป็ นส่ วนขยายของทฤษฎีระบบว่า ทุก ๆ ส่ วนจะต้องสัมพันธ์กนั สถานการณ์บางครั้งจะต้องใช้การตัดสิ นใจอย่าง
เฉียบขาด บางสถานการณ์ตอ้ งอาศัยการมีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจ บางครั้งก็ตอ้ งคํานึงถึง หลักมนุษย์และแรงจูงใจ
บางครั้งก็ตอ้ งคํานึงถึงเป้าหมายหรื อผลผลิตขององค์กรเป็ นหลัก การบริ หารจึงต้องอาศัยสถานการณ์เป็ นตัวกําหนด
ในการตัดสิ นใจ
หลักการของการบริหารโดยสถานการณ์
1. ถือว่าการบริ หารจะดีหรื อไม่ข้ ึนอยูก ่ บั สถานการณ์
2. ผูบ
้ ริ หารจะต้องพยายามวิเคราะห์สถานการณ์ให้ดีที่สุด
3. เป็ นการผสมผสานแนวคิดระหว่างระบบปิ ดและระบบเปิ ด และยอมรับหลักการของทฤษฎีระหว่างทุก
ส่ วนของระบบจะต้อง สัมพันธ์ และมีผลกระทบซึ่งกันและกัน
4. สถานการณ์จะเป็ นตัวกําหนดการตัดสิ นใจ และรู ปแบบการบริ หารที่เหมาะสม
5. คํานึ งถึงสิ่ งแวดล้อมและความต้องการของบุคคลในหน่ วยงานเป็ นหลักมากกว่าที่จะแสวงหาวิธีการ
อันดีเลิศมาใช้ในการทํางาน โดยใช้ปัจจัยทางด้านจิตวิทยาในการพิจารณาด้วย
6. เน้นให้ผบ ู ้ ริ หารรู ้จกั ใช้การพิจารณาความแตกต่างที่มีอยูใ่ นหน่วยงาน เช่น
7. ความแตกต่างระหว่างบุคคล
8. ความแตกต่างระหว่างระเบียบกฎเกณฑ์ วิธีการ กระบวนการ และการควบคุมงาน เป็ นต้น
9. ความแตกต่างระหว่างความสัมพันธ์ของบุคคลในองค์กร
10. ความแตกต่างระหว่างเป้าหมายการดําเนิ นงานขององค์การ เป็ นต้น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 240
-------------------------------------------------------------------------------
นักบริ หารที่เป็ นผูเ้ สนอแนวความคิดทางการบริ หารนี้ คือ Fred E.Fiedler (1967)
ทฤษฎีระบบ
การเอาแนวความคิดเชิงระบบเข้ามาใช้ในการบริ หา ก็ดว้ ยเหตุผลที่วา่ ในปัจจุบนั องค์กรการขยายตัว
สลับซับซ้อนมากขึ้น จึงเป็ นการยากที่พิจารณาถึงพฤติกรรมขององค์กรได้หมดทุกแง่ทุกมุม นักทฤษฎีบริ หาร
สมัยใหม่ จึงหันมาสนใจการศึกษาพฤติกรรมขององค์การ เพราะคนเป็ นส่ วนหนึ่งของระบบองค์การ องค์การเป็ น
ส่ วนหนึ่งของระบบสังคม
ความหมาย
ระบบในเชิงบริ หารหมายถึงองค์กรประกอบหรื อปัจจัยต่าง ๆ ที่มีความสัมพันธ์กนั และมีส่วนกระทบต่อ
ปัจจัยระหว่างกันในการดําเนินงานเพื่อให้บรรลุวตั ถุประสงค์ขององค์การ องค์ประกอบพื้นฐานของทฤษฎีระบบ
ได้แก่
1. ปั จจัยการนําเข้า Input
2. กระบวนการ Process
3. ผลผลิต Output
4. ผลกระทบ Impact
วิธีการระบบเป็ นวิธีการที่ใช้หลักตรรกศาสตร์วิทยาศาสตร์อย่างมีเหตุผล และมีความสัมพันธ์กนั ไปตาม
ขั้นตอนช่วยให้กระบวนการทั้งหลายดําเนินไปอย่างต่อเนื่องและสามารถช่วยให้การบริ หารบรรลุวตั ถุประสงค์ไป
ด้วยวิธีทางวิทยาศาสตร์อย่างถูกต้องและไม่ลาํ เอียง
ทฤษฎีบริหารของ Mc Greger
ทฤษฎี X(The Traditioal View of Direction and Control) ทฤษฎีน้ ีเกิดข้อสมติฐานที่วา่
1. คนไม่อยากทํางาน และหลีกเลี่ยงความรับผิดชอบ
2. คนไม่ทะเยอทะยาน และไม่คิดริ เริ่ ม ชอบให้การสัง่
3. คนเห็นแก่ตนเองมากว่าองค์การ
4. คนมักต่อต้านการเปลี่ยนแปลง
5. คนมักโง่ และหลอกง่าย
ทฤษฎีThe integration of Individual and Organization Goal)
ทฤษฎีขอ้ นี้เกิดจากข้อสมติฐานที่วา่
1. คนจะไม่ให้ความร่ วมมือ สนับสนุ น รับผิดชอบ ขยัน
2. คนไม่เกียจคร้านและไว้วางใจได้
3. คนมีความคิดริ เริ่ มทํางานถ้าได้รับการจูงใจอย่างถูกต้อง
4. คนมักจะพัฒนาวิธีการทํางาน และพัฒนาตนเองอยูเ่ สมอ
ผูบ้ งั คับบัญชาจะไม่ควบคุมผูใ้ ต้บงั คับบัญชาอย่างเข้มงวด แต่จะส่ งเสริ มให้รู้จกั ควบคุมตนเองมากขึ้น วิธีการ
บริ หารตามแนวนี้ จะเป็ นการรวบรวมบุคคลและเป้าหมายโครงการเข้าไว้ดว้ ยกัน การจูงใจต้องใช้วิธีการจูงใจใน
ระดับสู ง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 241
-------------------------------------------------------------------------------
ทฤษฎี Z (Z Theory) (William G. Ouchl) ศาสตราจารย์แห่งมหาวิทยาลัย UXLA (Iof California t
Los Angeles)
ทฤษฎีน้ ีรวมเอาหลักการของทฤษฎี X , Y เข้าด้วยกัน แนวความคิดก็คือ องค์การต้องมีหลักเกณฑ์ที่
ควบคุมมนุษย์ แต่มนุษย์กร็ ักความเป็ นอิสระ และมีความต้องการหน้าที่ของผูบ้ ริ หารจึงต้องปรับเป้าหมายของ
องค์การให้สอดคล้องกับเป้าหมายของบุคคลในองค์การ ทฤษฎี มีองค์ประกอบที่สาํ คัญ 4 ประการคือ
1. การทําให้ปรัชญาที่กาํ หนดไว้บรรลุ
2. การพัฒนาผูใ้ ต้บงั คับบัญชาให้ทาํ งานอย่างมีประสิ ทธิ ภาพ
3. การให้ความไว้วางใจแก่ผใู ้ ต้บงั คับบัญชา
4. การให้ผใู ้ ต้บงั คับบัญชามีส่วนร่ วมในการตัดสิ นใจ
ทฤษฎีน้ ีใช้หลักการ 3 ประการ คือ
1. คนในองค์กรต้องซื่ อสัตย์ต่อกัน
2. คนในองค์การต้องมีความเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกัน
3. คนในองค์การต้องมีความใกล้ชิดเป็ นกันเอง
หลักการบริ หารที่มีประสิ ทธิภาพ (Edgar L Morphet )
1. การบริ หารที่มีผบ ู ้ ริ หารเพียงคนเดียวในองค์การ (Division Of Labor)
2. มีการกําหนดมาตรฐานทํางานที่ชด ั เจน (Standardization)
3. มีเอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of command)
4. มีการกระจายอํานาจและความรับผิดชอบให้แก่ผรู ้ ่ วมงาน (Delegation of Authority and
Responsibility)
5. มีการแบ่งฝ่ ายงานและบุคลากรผูร้ ับผิดชอบให้แก่ผรู ้ ่ วมงานให้เฉพาะเจาะจงขึ้น (Division of Labor)
6. มีการกําหนดมาตรฐานการทํางาน ที่ชด
ั เจน (Span of control)
7. มีการมอบหมายการควบคุมดูแลที่เหมาะสม (Stability)
8. เปิ ดโอกาสให้มีการเปลี่ยนแปลงใหม่ ๆ ในองค์การได้ (Flexibility)
9. สามารถทําให้คนในองค์การเกิดความรู ้สึกอบอุ่นและปลอดภัย (Security)
10. มีการยอมรับนโยบายส่ วนบุคคลที่มีความสามารถ (Personnel Policy)
11. มีการประเมินผลการปฏิบตั ิงานทั้งส่ วนบุคคลและองค์การ (Evaluation)
บทบาทและสมรรถภาพของผูบ้ ริ หาร (Spepgen J . Knezevich แห่ง USC. 1984 )
1. เป็ นผูก้ าํ หนดทิศทางการบริ หาร (Direction Setter ) เช่น รู ้เทคนิ คต่าง ๆ ของการบริ หาร PPBS
.MBO QCC เป็ นต้น
2. มีความสามารถกระตุน ้ คน (Leader Catalyst)
3. ต้องเป็ นนักวางแผน (Planner)
4. ต้องเป็ นผูม้ ีความสามารถในการตัดสิ นใจ (Decision Maker)
5. ต้องมีความสามารถในการจัดองค์การ (Oraganizer)
6. ต้องเป็ นผูก้ ่อให้เกิดความเปลี่ยนแปลง (Change Manager)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 242
-------------------------------------------------------------------------------
7. ต้องเป็ นผูใ้ ห้ความร่ วมมือ (Coordinator)
8. ต้องเป็ นผูต้ ิดต่อสื่ อสารที่ดี(Communication)
9. ต้องเป็ นผูแ้ ก้ปัญหาขัดแย้งในองค์การได้ (Conflict Manager)
10. ต้องสามารถบริ หารปั ญหาต่าง ๆ ได้(Problem Manager)
11. ต้องรู ้จกั วิเคราะห์และจัดระบบงาน (System Manager)
12. ต้องมีความสามารถในด้านวิชาการทั้งการเรี ยนและการสอน (Instructional Manager)
13. ต้องมีความสามรถในการบริ หารบุคคล (Personnel Manager)
14. ต้องมีความสามารถในการบริ หารทรัพยากร (Resource Manager)
15. ต้องมีความสามารถในการประเมินผลงาน (Appraiser)
16. ต้องมีความสามารถในการประชาสัมพันธ์ (Public Relator)
17. ต้องสามารถเป็ นผูน ้ าํ ในสังคมได้ (Ceremonial Head)
การบริ หารแบบมีส่วนร่ วม
ความหมาย การบริ หารแบบมีส่วนร่ วมเป็ นการจูงใจให้ผรู ้ ่ วมปฏิบตั ิงานในองค์การได้มีส่วนร่ วมในการ
ตัดสิ นใจ ความรับผิดชอบ และร่ วมมือใน องค์พฒั นาปฏิบตั ิดว้ ยความเต็มใจ
แนวความคิดพื้นฐาน(Basic Assumption) จากทฤษฎี การจูงใจของ Motivation Theory เชื่อว่า
1. มนุ ษย์ยอ ่ มมีความต้องการเหมือน ๆ กันตราบใดที่ไม่สามารถตอบสนองความต้องการได้แล้ว ก็จะเกิด
ปัญหาความต้องการอยูเ่ รื่ อยไป แต่ถา้ ความต้องการได้รับความตอบสนอง ก็จะเลิกสนใจ
2. มนุ ษย์ตอบความสนองความต้องการแตกต่างกันทางด้านปริ มาณ ความต้องการระดับตํ่าค่อนข้างมี
ขอบเขตจํากัด แต่ความต้องการระดับสู งมักจะไม่มีขอบขีดจํากัด
จากทฤษฎีการจูงใจของ Herzberg (Mptovatopm Hygiene Theory) เชื่อว่าปัจจัยที่จูงใจให้คนทํางาน คือ
1. ความสําเร็ จ
2. การยกย่อง
3. ความก้าวหน้า
4. ลักษณะงาน
5. ความรับผิดชอบ
6. ความเจริ ญเติบโต
จากการศึกษาจากพฤติกรรมของมนุษย์ ของ Aravris ได้เผยว่า บุคคลที่มีวฒ ุ ิภาวะ จะมีบุคลิกภาพที่
ต้องการเป็ นของตนเอง การบริ หารแบบมีส่วนร่ วมช่วยให้บุคคลได้พฒั นาบุคลิกภาพของตนในด้านการตัดสิ นใจ
และการควบคุมการทํางาน การแสดงออก ทัศนคติ และการใช้ความสามารถที่จะประสบความสําเร็ จได้ องค์การ
ต้องใช้ความสามารถของพนักงานอย่างเต็มที่ เพื่อกระจายอํานาจในการตัดสิ นใจ และเพื่อตอบสนองต่อ
สภาพแวดล้อมที่มีความไม่แน่นอน และแตกต่างกันอย่างรวดเร็ ว
เทคนิคการใช้บริ หารแบบมีส่วนร่ วม
1. การใช้กลุ่มงานเฉพาะกิจและคณะกรรมการ (Special Task Forces and Committee)
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 243
-------------------------------------------------------------------------------
2. กรรมการให้คาํ แนะนํา
3. การใช้แนวความของหมุดเชื่อมโยง (Linkeng Pin)
4. การติดต่อสื่ อสารแบบประตู
5. การระดมความคิด
6. การฝึ กอบรมแบบต่าง ๆ
7. การบริ หารโดยมีวตั ถุประสงค์ (MBO)
วิธีการใช้การบริ หารแบบมีส่วนร่ วมสมัยใหม่ 1. ระดับบุคคล เป็ นวิธีการพิจารณาและปรับปรุ งบุคคลให้ได้
ดีข้ ึน 3 แบบ คือ
1.1 การฝึ กอบรมให้มีความรู ้สึกไว (Sensitivity Training ) เพื่อ
1. ให้เข้าใจ และยอมรับธรรมชาติของมนุษย์
2. ให้รู้จกั ยอมรับ และพัฒนาตนเอง
3. ได้เข้าใจและยอมรับผูอ้ ื่นให้มากขึ้น
4. ให้มีมนุษย์สม ั พันธ์ดีข้ ึน
5. เพื่อให้มีความสุ ข มีขวัญ และกําลังใจดีข้ ึน
6. เพื่อให้มีการงานดีข้ ึน
1.2 การวิเคราะห์การติดต่อ (Transactional Analysis )เป็ นวิธีการติดต่อที่แลกเปลี่ยนด้วยภาษาและไม่ใช่ภาษา
ระหว่างบุคคล Erio Berne ชี้ให้เห็นว่า การติดต่อระหว่างบุคคลมี3 แบบ คือ แบบพ่อแม่ (Parent ) ผูป้ กครอง
ผูใ้ หญ่ (Adult) เด็ก (Child)
1.3 การนัง่ สมาธิ แบบควบคุมจิต (Transcendental Meditation) คือ การนัง่ สมาธิ เพื่อลดความเครี ยด และเพื่อ
ความคิดสร้างสรรค์
2. ระดับกลุ่ม
การรวมกลุ่มแบบครอบครัว (Family Grouping)
การฝึ กอบรมเพียงในนาม (Nominal Group Training ) หมายถึง บุคคลถูกรวมเข้าเป็ นกลุ่ม แต่ไม่ได้
สื่ อสารด้วยวาจา จะเป็ นการประชุมพร้อมกันที่โต๊ะเพื่อแก้ปัญหา ต้องการใช้คาํ ถามที่เป็ นลายลักษณ์อกั ษร สมาชิก
จะใช้เวลาเขียนเพื่อแสดงความคิดเห็นโดยไม่พดู จากัน
เทคนิ ค เดลไพ (Delphi Technique)เป็ นกระบวนการที่ผต ู ้ ดั สิ นใจกําหนดกลุ่มที่ปรึ กษาและกลุ่มผูต้ อบ
แล้วสร้างแบบสอบถามส่ งไปรษณี ย ์ ผูต้ อบมายังทีมที่ปรึ กษา แล้วเอามาสรุ ปการตอบสอบถาม
ประโยชน์ของการบริ หารแบบมีส่วนร่ วม
1. ช่วยสร้างความสามัคคี และการต่อต้านจากพนักงานระดับตํ่า
2. ช่วยให้ทราบถึงความต้องการขององค์การทั้งหมด
3. ช่วยเพิม ่ พูนประสิ ทธิภาพการทํางานให้สูงขึ้น ลดความเฉื่อยชาในการทํางาน การย้ายงานและการหยุด
งาน
4. ช่วยลดความขัดแย้ง และการต่อต้านจากพนักงานระดับตํ่า
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 244
-------------------------------------------------------------------------------
5. ช่วยสร้างบรรยากาศในการทํางาน และทําให้สุขภาพจิตในองค์การดีข้ ึน
6. ช่วยเพิ่มผลผลิตในองค์กร
7. สร้างหลักประชาธิ ปไตยให้เกิดขึ้นในองค์การ
8. ช่วยลดค่าใช้จ่ายในการบริ หารงาน ใช้ทรัพยากรอย่างประหยัดและทะนุ ถนอม
9. ทําให้พนักงานรู ้สึกว่าเขาเป็ นส่ วนหนึ่ งขององค์การ
10. เป็ นการแบ่งเบาภาระหน้าที่ของผูบ ้ งั คับบัญชาในด้านการควบคุมงานให้ลดน้อยลงและทําให้ผลงานดี
ขึ้น
สาเหตุที่ทาํ ให้บริ หารล้มเหลว
ผูบ้ ริ หารบางคนประสบความล้มเหลวในการบริ หาร ในการบริ หาร หรื อ หากไมล้มเหลวก็ไม่ประสบ
ความสําเร็ จเท่าที่ควร ความล้มเหลวย่อมต้องมีสาเหตุ ซึ่งอาจแยกได้ดงั นี้
1. ความเลวเหลวทางด้านความรู ้(Knowledge Failures) ความล้มเหลวในเรื่ องต่าง ๆทั้งทางด้านนโยบาย
และวิธีการปฏิบตั ิ ความรู ้ทางเนื้อหาวิชาที่จาํ เป็ นต้องศึกษาไม่เข้าใจวัตถุประสงค์ของการศึกษาตลอดจนขาดความรู ้
ทางด้านกฏหมาย ระเบียบกฎเกณฑ์ต่าง ๆ
2.ความล้มเหลวทางด้านส่ วนบุคคล (Personality Failures) ความล้มเหลวทางด้านบุคลิกภาพส่ วนบุคคล
มีความสําคัญพอ ๆ กับความล้มเหลวทางด้านความรู ้ ความล้มเหลวทางด้านบุคลิกภาพมีสาเหตุมาจากขาดความ
เชื่อมัน่ ในตนเอง ทําให้ไม่มีความสามารถในการตัดสิ นใจ เพราะเกิดความกลัวว่าจะเกิดความผิดพลาด ผูบ้ ริ หารบาง
คนขาดความสามารถในการทํางานร่ วมกับผูอ้ ื่น ไม่กระจายความรับผิดชอบให้กบั ผูร้ ่ วมงานและไม่สามารถ
วิเคราะห์และประเมินผูร้ ่ วมงานได้
ปัญหาของผู้บริหาร
ปัญหาต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นกับบุคคลในองค์การไม่เพียงแต่จะเป็ นผลต่อบุคคลข้างเคียงแล้ว และชุมชนด้วย
ปัญหาเหล่านี้ได้แก่
1. ปั ญหาเกี่ยวกับการปฏิบตั ิที่เป็ นแบบอย่างของบุคลในองค์การ (Typical Problem)
2. ปั ญหาเกี่ยวกับความสัมพันธ์ระหว่างผูร้ ่ วมงานในองค์การ (The Problem of interrelationship)
3. ปั ญหาเกี่ยวกับการติดต่อสื่ อสาร ทั้งด้านเอกสารและคําพูดของบุคคลในองค์การ (The Problem of
communication)
4. ปั ญหาด้านการเปลี่ยนแปลงต่าง ๆ (The Problem of Change)
การสร้ างทีมงาน (Team - Building
ความนํา (Introduction)
การนํางานเป็ นทีมมักจะพบเห็นกันอยูท่ วั่ ไปที่เริ่ มตั้งแต่ในครอบครัวหรื อหน่วยงานของเอกชน รัฐบาล
รัฐวิสาหกิจ ทีมงานที่มีประสิ ทธิภาพจะช่วยให้การดําเนินงานบรรลุเป้าหมายที่วางไว้ ดังนั้นการสร้างทีม จึงจําเป็ น
สิ่ งที่สมาชิกในทีมจะต้องเรี ยนรู ้ถึงว่า ทําอย่างไรจะทํางานร่ วมกันได้อย่างดีน้ นั รวมทั้งนักบริ การสามารถสร้าง
ความพร้อมของการทํางานเป็ นทีให้เกิดขึ้นหน่วยงานได้อย่างไร ซึ่งย่อมจะทําให้เพิม่ ประสิ ทธิภาพในการทํางาน
มากขึ้น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 245
-------------------------------------------------------------------------------
ความหมายและความสําคัญในการสร้างทีม ทีมงาน หมายถึง กลุ่มคนที่ช่วยเหลือซึ่งกันและกันเพื่อให้บรรลุ
วัตถุประสงค์ร่วมกัน
A team may be simply defender as any group of people who mast significant by relte with
each other the order to accomplish shared objectives ในเรื่ องทีม Hall ให้ขอ้ คิดเกี่ยวกับเรื่ องกลุ่มว่า กลุ่ม
นั้นมีส่วนประกอบ 2 ทาง
1. กลุ่มได้ช่วยเหลือสมาชิกกันเองในการแก้ปัญหาต่าง ๆ
2. สมาชิกเองก็ช่วยเหลือกันและกัน ในการสร้างและรักษาไว้ซ่ ึ งโครงสร้างขององค์การ Edgar Schein ให้
ความหมายของกลุ่มหรื อกลุ่มไว้วา่ จํานวนใด ๆ ของคนที่
เกี่ยวข้องกับบุคคลอื่น
มีความตระหนักทางด้านจิตใจถึงบุคคลอื่น
รับรู ้เกี่ยวกับพวกเขาว่าเป็ นกลุ่ม ๆ หนึ่ ง
อาจกล่าวโดยสรุ ป ทีม คือ กลุ่มของบุคคลทีมีการเกี่ยวข้องซึ่งกันและกัน เพื่อให้บรรลุเป้าหมายที่แน่นอน
การสร้างทีมงานในหน่วยงาน หมายถึง การปรับความสัมพันธ์ต่าง ๆ ในการทํางานให้ดีข้ ึน ซึ่ง
ความสัมพันธ์เหล่านี้จะมีผลโดยตรงต่อการทํางานให้สาํ เร็ จตามเป้าหมาย ความสําคัญในการสร้างทีมมีดงั นี้
1. มีวตั ถุประสงค์เพื่อสร้างความไว้วางใจในหมู่สมาชิกของทีม
2. คนเราจะทํางานร่ วมกันได้ดีข้ ึนเมื่อมีการเปิ ดเผยและจริ งใจต่อการกันโดยเฉพาะอย่างยิง่ เมื่อมีปัญหา
หรื ออุปสรรคที่จะต้อง แก้ไขร่ วมกัน
3. การทํางานเป็ นทีมมีประสิ ทธิ ภาพมากขึ้นเมื่อสมาชิกได้ช่วยกันเสริ มสร้างทักษะความเชี่ยวชาญให้
เพิม่ พูนมากขึ้น ซึ่งเป็ นการใช้ทรัพยากรบุคคลใช้ทรัพยากรบุคคลที่มีอยูใ่ นทีมอย่างเต็มที่
4. ประสิ ทธิ ภาพของการทํางานจะลดตํ่าลง และความตึงเครี ยดจะเพิ่มสู งขึ้น หากหลีกเลี่ยงการป้ อน
ข้อมูลย้อนกลับ และวิพากษ์วิจารณ์ซ่ ึงกันและกันอย่างสร้างสรรค์ ดังนั้นการแสดงความคิดเห็นในลักษณะข้อมูล
ป้อนกลับจึงเป็ นสิ่ งจําเป็ นและเป็ นประโยชน์อย่างยิง่ ในการพัฒนาทีมงาน
5. สนับสนุนการเรี ยนรู ้ ที่จะรับฟั งความคิดเห็นและข้อมูลข่าวสารของผูอ้ ื่นอย่างตั้งใจและให้เกียรติซ่ ึ งกัน
และกัน
6. เป็ นการพัฒนาทักษะในการแก้ปัญหาร่ วมกัน
7. เป็ นการลดความขัดแย้งระหว่างบุคคล เนื่ องจากสมาชิกทีมได้เรี ยนรู ้ถึงทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลมากขึ้นมีความพร้อมที่จะปฏิบตั ิงานร่ วมกันมากขึ้น
8. ส่ งเสริ มความคิดริ เริ่ มสร้างสรรค์ในหมู่สมาชิกทีม
แนวความคิดและทักษะในการสร้างทีม (Skills and approach of the competent teambuilding)
ทีมงานที่มีประสิ ทธิภาพนั้นขึ้นอยูก่ บั ความสามารถของบุคคลในหน่วยงานดังนั้นการเตรี ยมบุคคล จึงเป็ น
สิ่ งที่จะช่วยให้เกิดความพร้อมในการสร้างทีม ซึ่งประกอบด้วยความรู ้ ทักษะและแสดงออกถึงความสามารถของทีม
1. ความรู ้ทกั ษะในการสร้างทีม (The Knowledge and skills of the team building)
ความรู ้เกี่ยวกับทฤษฎีการสร้างทีม จึงมีประโยชน์ในเรื่ องเทคนิ คการสร้างทีม การเรี ยนรู ้เกี่ยวกับทฤษฎีจะ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 246
-------------------------------------------------------------------------------
ทําให้เกิดความเชื่อมัน่ และเข้าใจถึงกระบวนการสร้างทีมมากขึ้น
ความรู ้เกี่ยวกับการเจริ ญเติบโต (Theory of team )จะเป็ นขั้นการพัฒนาทีมงาน ให้สามารถเตรี ยมการ
และการวางแผนการสร้างทีมได้ดีข้ ึน
การอธิ บายหรื อสรุ ปสั้น ๆ เป็ นวิถีทางหนึ่ งที่จะช่วยในการสร้างทีมได้ดว้ ยการพูดคุยหรื ออธิ บายจุดที่
สําคัญในการสร้างทีมจะช่วยแก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้ดว้ ยการพูดคุยหรื ออธิบายจุดที่สาํ คัญในการสร้างทีมจะช่วย
ทําให้แก้ปัญหาที่เกิดขึ้นได้
ประสบการณ์ที่มีความหมาย (Availability of structured experiences) การทําให้ฝึกฝนทําโครงการ
กิจกรรมอยูบ่ ่อย ๆ ทําให้เกิดการเรี ยนรู ้ สมาชิกในทีมที่ผา่ นประสบการณ์มาแล้วจะมีบทบาทมาก ในการช่วยเหลือ
กลุ่มเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้น
ทักษะการป้อนข้อมูลย้อนกลับ (Skill in process feedback) เปรี ยบเสมือนกับกระจกที่คอยสะท้อนถึง
พฤติกรรมที่เกิดขึ้น การสังเกตและเก็บข้อมูลอย่างระมัดระวังจะช่วยทําให้การเสนอข้อมูลต่อเมื่อมีปัญหาเกิดขึ้นมา
การยอมรับสภาพของบุคคล (Personal acceptability ) จะช่วยทําให้การสร้างทีมสําเร็ จ เป็ นการนับถือ
ความสามารถและยอมรับซึ่งกันและกันจะก่อให้เกิดการไว้วางใจในกลุ่มทํางานขึ้น
การให้ความช่วยเหลือ (Co - facilitating experience) ทักษะที่เกิดขึ้นได้เมื่อมีการฝึ กฝน ทํางานร่ วมกับ
ผูอ้ ื่นอยูเ่ สมอ ทีมที่มีความสามารถจะนําเอาสิ่ งที่แปลกใหม่เข้าไปแนะนําในทีม จะทําให้เกิดทักษะการทํางาน เพือ่
เป็ นการพัฒนาบุคคลให้มีคุณภาพมากขึ้น
ยอมรับข้อมูลย้อนกลับที่ ทําให้เกิดการเปลี่ยนแปลงพฤติกรรมต้องมีการเผชิญหน้ากันระหว่างกันใน
สมาชิกทีมงาน เพื่อเป็ นการพัฒนากลุ่มให้มีคุณภาพมากขึ้น
2. การแสดงออกถึงความสามารถของทีม (The Approach of the Competent teambuilding) ลักษณะ
ของทีมจะดูได้จาก
การยอมรับของหน่วยงาน (Organizational acceptance)ซึ่ งจะดูจากหน่ วยงานให้การสนับสนุ น
ทรัพยากรต่าง ๆ ในการทํางานของทีม
การยืดหยุน ่ และการยอมรับอย่างเปิ ดเผย (Adopt a flexible and open approach ) ยอมรับข่าวสารต่าง
ๆ ที่เกี่ยวกับทีม
 เป้าหมายชัดเจน (Clarify goals carefully )
มีเหตุผลความเป็ นจริ ง (Be realistic) ยอมรับความช่วยเหลือจากภายนอก
ได้รับอนุญาตให้ทาํ งาน (Get permission to work )ในการทํางานของผูผ้ ก ู พันมาจากความเข้าใจ
สมาชิกไม่ถูกบังคับให้เปลี่ยนแปลงทัศนคติ ไม่ถูกบังคับให้ตอ้ งซื่อสัตย์สมาชิกยินดีทาํ ด้วยความเต็มใจ
มองเห็นความสําคัญของงานประจําวัน ตรวจสอบการแบ่งงานและการตัดสิ นใจ
การสร้างความสัมพันธ์ที่ดีให้กบ ั กลุ่มอื่น (Build good conduct with other teams)
ทบทวนความสามารถของกลุ่ม ด้วยวิธีการต่าง ๆ เช่น ยอมรับเมื่อทําผิด
ทักษะความสามารถของการสร้างทีมจะถูกนํามาเชื่อมโยงกันในแผนภูมิสรุ ปได้ดงั นี้
ลักษณะของทีมทีม่ ีประสิ ทธิภาพ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 247
-------------------------------------------------------------------------------
ลักษณะของการทํางานเป็ นทีมที่มีประสิ ทธิภาพตามทัศนะของ เสนอแนวความคิดว่า การทํางานเป็ นทีมที่มี
ประสิ ทธิภาพนั้น จะต้องประกอบคุณลักษณะดังต่อไปนี้
1. ความกระจ่างชัดในวัตถุประสงค์ และเห็นด้วยกับเป้าหมาย (Clear Objectives and agreed goals)
สมาชิกทุกคนของทีมจะต้องมีความเข้าใจในเป้าหมายอย่างเด่นชัด และเต็มใจที่จะผูกพัน เพื่อให้เกิดความสําเร็ จใน
เป้าหมายที่ต้ งั ไว้
2. การเปิ ดเผยและการเผชิญหน้ากัน (openness and confrontation) สมาชิกในทีมงานมีความสัมพันธ์
กันอย่างเปิ ดเผย ซื่อสัตย์ ตรงไปตรงมา กล้าเผชิญหน้าเพื่อแก้ปัญหาการทํางานร่ วมกัน
3. การสนับสนุนและการจริ งใจต่อกัน (Support and trust) สมาชิกในทีมช่วยเหลือซึ่ งกันและกัน
เข้าใจความสัมพันธ์ระหว่างงานของตนกับเองของผูอ้ ื่นและพร้อมที่จะรับและให้ความช่วยเหลือด้วยความจริ งใจ
4. ความร่ วมมือและความขัดแย้ง (Co-operation and conflict) สมาชิกในทีมงานอุทิศตนในการ
ปฏิบตั ิงานให้เสร็ จไปด้วยดี จะมีการประสานประโยชน์ในเรื่ องของความรู ้ความสามารถ ตลอดจนความแตกต่าง
ของแต่ละบุคคลให้ได้ผลร่ วมกันอย่างสู งสุด และเป็ นลักษณะที่เปิ ดโอกาสให้สมาชิกได้มีส่วนร่ วมอย่างเต็มที่ใน
การทํางาน ซึ่งอาจมีการขัดแย้งเกิดขึ้นภายในทีม ก็จะเป็ นในทางสร้างสรรค์
5. การปฏิบตั ิงานที่ชดั เจน (Sound procedure) สมาชิกในทีมจะอาศัยข้อเท็จจริ งเป็ นหลักและการ
ตัดสิ นใจจากข้อมูลที่สมบูรณ์ที่สุด ซึ่งมาจาการติดต่อสื่ อสารที่ชดั เจน มีการพูด การเขียน และการทํางานในสิ่ งที่
ถูกต้องในการแก้ปัญหาจะทําให้ทีมงานมีประสิ ทธิภาพได้
6. ภาวะที่เหมาะสม (Appropriate leadership) หัวหน้าทีมจะต้องมีบทบาทผูน ้ าํ ที่ดี เป็ นมาตรฐานในการ
ปฏิบตั ิทุกอย่าง ไม่ผกู ขาดเป็ นผูน้ าํ คนเดียวของกลุ่มแต่ภาวะผูน้ าํ จะกระจายไปทัว่ กลุ่ม ตามสถานการณ์ที่เหมาะสม
7. ทบทวนการทํางานอย่างสมํ่าเสมอ (Regular review) ทีมงานจะต้องใช้เวลาในการประเมินพฤติกรรม
และเรี ยนรู ้ถึงการผิดพลาดในการทํางานของกลุ่มซึ่งจะทบทวนอย่างสมํ่าเสมอเพื่อจะได้แก้ไขข้อบกพร่ องในการ
ทํางาน อาจทบทวนระหว่างการทํางานหรื อหลังจากทํางานเสร็ จแล้ว
8. การพัฒนาบุคคล (Individual development) สมาชิกในกลุ่มจะได้รับการพัฒนาอย่างที่แผนตามความ
ชํานาญของแต่ละบุคคล ซึ่งจะให้การทํางานเป็ นทีมมีประสิ ทธิภาพมากขึ้น
9. สัมพันธ์ระหว่างกลุ่มที่ดี (Sound intergroup relations) นอกเหนื อจากความสัมพันธ์อน ั ดีระหว่าง
กลุ่มแล้วจะต้องให้กลุ่มอื่นเข้าใจและยอมรับตลอดจนยืน่ มือเข้าช่วยเหลือเมื่อจําเป็ นด้วยความเข้าใจ และปราศจา
การแข่งขัน
ลักษณะทีมงานที่มีประสิ ทธิภาพยังอาจจะมองเห็นได้จากลักษณะดังต่อไปนี้
ได้ผลงานสําเร็ จตามเป้าหมาย
 สามารถบริ หารและจัดการเองได้ภายในทีม
 มีการพัฒนาประสิ ทธิ ภาพของกลุ่มอยูเ่ สมอ
 ทุกคนในกลุ่มมีส่วนร่ วม
5. ขั้นตอนการพัฒนาทีม (Stages of team development)
การพัฒนาทีม คือ ความพยายามอย่างมีแผน เพื่อเปลี่ยนแปลงทีมงานให้เป็ นทีมที่มีประสิ ทธิภาพ ซึ่งจะต้อง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 248
-------------------------------------------------------------------------------
ดําเนินการอย่างมีระบบ แบ่งออกเป็ น 5 ระยะ ดังนี้
ระยะปรับตัว (Ritual sniffing)
สมาชิกไม่ไว้วางใจตัวใครตัวมัน
การสื่ อสารไม่ทวั่ ถึง
จุดประสงค์ในการทํางานไม่เด่นชัด
การบริ หารอยูท ่ ี่ส่วนกลาง
การปฏิบตั ิงานมีข้ น ั ตอนมากมายยุง่ ยาก
สมาชิกไม่มีโอกาสเรี ยนรู ้ความผิดพลาดและปรับปรุ งให้ดีข้ ึน
ปฏิเสธหรื อไม่สนใจความช่วยเหลือและวิทยาการใหม่ ๆ จากภายนอก
ระยะประลองกําลัง (Infighting)
หัวหน้าทีมรู ้จกั ประเมินและหาทางพัฒนา
ทบทวนการทํางานของทีมและปรับปรุ งพัฒนา
สนใจบรรยากาศในการทํางาน
เห็นความสําคัญซึ่ งกันและกัน
มีการประชุมมากขึ้น คิดมากขึ้น พูดน้อยลง
ระยะนี้ เกิดความไม่สบายขึ้นในหมู่สมาชิก
ระยะทดลอง
กฏเกณฑ์ต่าง ๆ จะถูกทบทวน
เข้าใจวัตถุประสงค์ของงานอย่างกระจ่าง
ภาคภูมิใจในความเป็ นทีม
ห่ วงใยความเป็ นอยูข ่ องสมาชิก
การทํางานคํานึ งถึงทรัพยากรที่มีอยู่
ระยะแสดงผลงาน
กฏเกณฑ์ต่าง ๆ จะถูกทบทวน
เข้าใจวัตถุประสงค์ของงานอย่างกระจ่าง
ภาคภูมิใจในความเป็ นทีม
ห่ วงใยความเป็ นอยูข ่ องสมาชิก
การทํางานคํานึ งถึงทรัพยากรที่มีอยู่
ระยะสมบูรณ์ (Maturity)
ความสัมพันธ์ในหมู่สมาชิกดีเยีย่ ม
เปิ ดเผยจริ งใจซึ่ งกันและกัน
รู ปแบบของกลุ่มเป็ นรู ปแบบไม่เป็ นทางการ
แต่สมาชิกนับถือความสามารถของกลุ่ม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 249
-------------------------------------------------------------------------------
ให้ขวัญและกําลังใจ
มีความสัมพันธ์ที่ในกลุ่ม และระหว่างกลุ่ม
มีความยืดหยุน ่ เป็ นกันเอง
ภาวะผูน้ าํ เป็ นไปตามสถานการณ์
ภูมิใจและพึงพอใจในการทํางาน
6. สรุ ป
กระบวนการที่จาํ เป็ นของการทํางานเป็ นทีม คือ การเปิ ดโอกาสให้สมาชิกทุกคนมีส่วนร่ วมในการ
แก้ปัญหาการป้อนข้อมูลย้อนกลับตลอดจนสื่ อสารที่ชดั เจนเพื่อให้ได้ขอ้ มูลในการตัดสิ นใจร่ วมกันเป็ นผลดีในการ
สร้างความสามัคคี และการทํางานเป็ นกลุ่ม ทําให้ผปู ้ ฏิบตั ิงานเกิดความผูกพันและอนาคตของหน่วยงาน ซึ่งผลที่
ได้รับจะเป็ นผลสําเร็ จและความภูมิใจของแต่ละคนซึ่งจะนําไปถึงการบรรลุผลสําเร็ จตามเป้าหมายที่ต้ งั ไว้ ซึ่งก็
หมายถึง ความเจริ ญของหน่วยงานนัน่ เอง
------------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 250
-------------------------------------------------------------------------------
 แนวข้ อสอบ ความรู้ เกีย่ วกับการบริหารเบื้องต้ น
1. “POSDCORB” เป็ นอักษรย่อของกระบวนการบริ หารเป็ นผลงานของใคร
ก. Henri Fayol ข. Luther Gulick และ Lyndall Urwick
ค. Henry L. Gantt ง. Frederick W Taylor
ตอบ ข. อธิบาย กระบวนการบริ หาร POSDCoRB เป็ นแนวคิดของลูเทอร์ กูลิก และลินดอลล์ เออร์วิก
(Luther Gulick and Lyndall Urwick) โดยได้ขยายส่ วนสําคัญพื้นฐานที่เรี ยกว่า The Elements of
Management 5 ประการของฟาโยลมาปรับปรุ งประยุกต์กบ ั การบริ หารราชการ เขาได้เสนอแนะการจัดหน่วยงาน
ในทําเนียบแก่ประธานาธิบดี รัฐบาลสมัยประธานาธิบดีแฟรงคลิน ดี รู สเวลท์ของสหรัฐอเมริ กา เพือ่ ให้ตอบคําถาม
ที่วา่ อะไรคืองานของประธานาธิบดีสหรัฐอเมริ กา ในที่สุดได้คาํ ตอบสั้น ๆ คือ POSDCoRB ซึ่งหมายถึง
กระบวนการบริ หาร 7 ประการ โดยได้รวบรวมแนวคิดทางด้านการบริ หารต่าง ๆ เอาไว้ในหนังสื อชื่อ “Paper on
the Science of Administration : Notes on the Theory of Organization” ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1937
2. กระบวนการบริ หาร POSDCoRB ตัว S หมายถึงข้อใด
ก. การจัดองค์การ ข. การอํานวยการ
ค. การจัดหาบุคลากรมาปฏิบตั ิงาน ง. การประสานงาน
ตอบ ค. อธิบาย S-Staffing : การจัดหาบุคลากรมาปฏิบตั ิงาน Staffing หมายถึง การจัดตัวบุคลากร เป็ นการ
บริ หารด้านบุคลากร อันได้แก่การจัดอัตรากําลัง การสรรหา การพัฒนาบุคลากร การสร้างบรรยากาศการทํางานที่ดี
การประเมินผลการทํางาน และการให้พน้ จากงาน ดังนั้น Staffing เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวกับการบริ หารทรัพยากรมนุษย์
ในองค์การนัน่ เอง ซึ่งเป็ นทรัพยากรที่สาํ คัญที่สุด ที่ส่งผลให้งานสําเร็ จหรื อล้มเหลว ทั้งนี้เพื่อให้ได้บุคลากรมา
ปฏิบตั ิงานอย่างมีประสิ ทธิภาพ และสอดคล้องกับการจัดแบ่งหน่วยงาน ที่กาํ หนดเอาไว้
3. TQM หมายถึงการบริ หารแบบใด
ก. การบริ หารร่ วมสมัย ข. การบริ หารแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การ
ค. การบริ หารแบบเน้นคุณภาพ ง. การบริ หารแบบการจัดองค์การ
ตอบ ข. อธิบาย TQM การบริ หารแบบมุ่งคุณภาพทั้งองค์การ มาจากภาษาอังกฤษคําว่า Total Quality
Management : TQM) เป็ นระบบการบริ หารงานที่เน้นคุณภาพในทุก ๆ ด้าน และทุก ๆ กิจกรรม
ขององค์การ โดยที่ทุกคนจะต้องให้ความร่ วมมือและร่ วมกันรับผิดชอบ เป็ นระบบการปรับปรุ งการทํางานให้เกิด
ประสิ ทธิภาพอย่างต่อเนื่อง โดยเริ่ มตั้งแต่การทําให้ถูกต้องตั้งแต่ครั้งแรก (Right the First Time) เพื่อลดความ
จําเป็ นในการตรวจสอบป้องกันข้อผิดพลาดไม่ให้เกิดขึ้น เป็ นระบบการทํางานเพื่อสนองความต้องการและความ
คาดหวังของลูกค้าหรื อผูใ้ ช้บริ การ (Customers)
4. วัตถุประสงค์ที่สาํ คัญของ TQM คือ
ก. การมุ่งความสําคัญของลูกค้า ข. การปรับปรุ งกระบวนการทํางาน
ค. การให้ทุกคนได้มีส่วนร่ วม ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. อธิบาย วัตถุประสงค์ที่สาํ คัญของ TQM คือ การปรับปรุ งการทํางานอย่างต่อเนื่องเพื่อให้การดําเนินงาน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 251
-------------------------------------------------------------------------------
ในทุก ๆ ด้านมีคุณภาพ ผลจากการทํางานที่มีคุณภาพจะได้ผลิตภัณฑ์หรื อบริ การที่มีคุณภาพตามความต้องการและ
ความคาดหวังของลูกค้า หลักการสําคัญของ TQM โดยสรุ ปมี 3 ประการ คือ
1. การมุ่งความสําคัญของลูกค้า (Customer Focus) โดยผูป ้ ฏิบตั ิงานจะต้องระบุให้ชดั เจนว่างานแต่ละเรื่ อง
ใครเป็ นลูกค้าหรื อเป็ นผูท้ ี่ตอ้ งนําผลที่ได้จากการทํางานของเราไปใช้ และมุ่งทําให้บุคคลเหล่านั้นมีความพึงพอใจ
ในผลงานที่ได้รับ
2. การปรับปรุ งกระบวนการทํางาน (Process Improvement) เพื่อให้การทํางานมีประสิ ทธิ ภาพมากยิง่ ขึ้น
จะต้องมีการปรับปรุ งกระบวนการทํางานอยูเ่ สมอ มีวิธีการแก้ปัญหาที่เกิดจากการปฏิบตั ิงานโดยมีการวางแผน
ดําเนินการแก้ปัญหา ตรวจสอบผลการแก้ปัญหาและนําวิธีการแก้ปัญหาที่ได้ผลไปกําหนดเป็ นแนวปฏิบตั ิ
3. การให้ทุกคนได้มีส่วนร่ วม (Total Involvement) ในงานที่เป็ นภาระหน้าที่ของหน่ วยงาน โดยทุกคน
ชอบในผลการปฏิบตั ิงานโดยรวมของทั้งหน่วยงานและขององค์การร่ วมกัน
5. องค์ประกอบหลักของ TQM คือ
ก. ภาวะผูน้ าํ ข. โครงสร้างองค์กรที่เกื้อหนุน
ค. การทํางานเป็ นทีม ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. อธิบาย องค์ประกอบหลักของ TQM ที่สาํ คัญ ๆ ที่จะทําให้การนํา TQM ไปใช้ให้บรรลุผล ได้แก่
1. ภาวะผูน ้ าํ (Leadership)
2. การศึกษาและการอบรม (Education and Training)
3. โครงสร้างองค์กรที่เกื้อหนุน (Supportive Structure)
4. การติดต่อสื่ อสาร (Communication)
5. การพิจารณาความดีความชอบ (Reward and Recognition)
6. การใช้กระบวนการทางสถิติ (Statistical Process Control) หรื อการวัดผลการปฏิบตั ิงาน
(Measurement)
7. การทํางานเป็ นทีม (Teamwork)
6. รากฐานความรู ้ของการบริ หารการพัฒนา ได้แก่อะไร
ก. การบริ หารธุรกิจเปรี ยบเทียบ ข. การบริ หารรัฐกิจเปรี ยบเทียบ
ค. เศรษฐศาสตร์การพัฒนา ง. การศึกษาด้านพฤติกรรมศาสตร์
ตอบ ข. อธิบาย การบริ หารการพัฒนาได้ก่อกําเนิดขึ้นมาจนเป็ นที่ยอมรับเมื่อประมาณต้นทศวรรษ 1960 โดยมี
รากฐานมาจากวิชาการบริ หารรัฐกิจเปรี ยบเทียบ มุ่งหาระบบงานของประเทศกําลังพัฒนาที่มีส่วนช่วยให้การพัฒนา
ประเทศบรรลุจุดมุ่งหมายตามที่ได้ต้ งั ไว้
7. หากเปรี ยบเทียบการบริ หาร ตัวแบบใดที่จดั ว่าข้าราชการมีบทบาทในการกําหนดนโยบายมากที่สุด
ก. แบบพลเรื อน ข. แบบดั้งเดิม
ค. แบบสมัยใหม่ ง. แบบคอมมิวนิสต์
ตอบ ข. อธิบาย จากการเปรี ยบเทียบตัวแบบการบริ หารทั้ง 4 แบบ พบว่า การบริ หารแบบดั้งเดิม (Classical
Administration หรื อ Classic Model ) ซึ่ งเป็ นรู ปแบบการบริ หารที่ได้รับอิทธิ พลมาจากแนวคิดระบบราชการ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 252
-------------------------------------------------------------------------------
ของ แมกซ์ เวเบอร์ (Max Weber) ซึ่งมีลกั ษณะสําคัญดังนี้
1. ข้าราชการมีบทบาทในการกําหนดนโยบายมากที่สุด
2. การบริ หารมีการคํานึ งถึงกฎระเบียบแบบแผนมากที่สุด
3. การเข้ารับราชการต้องผ่านการฝึ กอบรมจากสถาบันการบริ หารแห่ งชาติ (Nation School of
Administration )
4. ตัวอย่างประเทศที่มีการบริ หารแบบนี้ ได้แก่ ฝรั่งเศส และเยอรมนี
8. หากเปรี ยบเทียบตัวแบบการบริ หาร ตัวแบบใดจัดว่าข้าราชการมีบทบาทในการกําหนดนโยบายน้อยที่สุด
ก. แบบพลเรื อน ข. แบบดั้งเดิม ค. แบบสมัยใหม่ ง. แบบคอมมิวนิสต์
ตอบ ง. อธิบาย จากการเปรี ยบเทียบตัวแบบการบริ หารทั้ง 4 แบบ พบว่า การบริ หารแบบสังคมนิยมหรื อ
คอมมิวนิสต์ (Communism Administration หรื อ Soviet System Model ) ซึ่งเป็ นการบริ หารงานภายใต้การ
ตรวจสอบ มีลกั ษณะสําคัญดังนี้
1. ข้าราชการมีบทบาทในการกําหนดนโยบายน้อยที่สุด
2. มีความเข้มงวดในการตรวจสอบการทํางานของข้าราชการมากที่สุด
3. การบริ หารมีลกั ษณะรวมศูนย์อาํ นาจมากที่สุด
4. ให้ความสําคัญกับการมีส่วนร่ วมของภาคประชาชนในการบริ หารราชการน้อยที่สุด
5. มีหน่วยงานตรวจสอบที่เรี ยกว่า “สถาบันแห่ งความสงสัยซึ่ งกันและกัน”
6. ตัวอย่างประเทศที่มีรูปแบบการบริ หารแบบนี้ ได้แก่ สหภาพโซเวียต (รัสเซี ยช่วงปี คศ. 1922-1991)
9. การบริ หารการพัฒนาควรให้ความสําคัญกับการบริ หารการเปลี่ยนแปลง เป็ นแนวคิดของ
ก. Woodrow Wilson ข. Hahn-Been Lee
ค. Saul M.katz ง. Donald C. Stone
ตอบ ข. อธิบาย Hahn-Been Lee เห็นว่า นักบริ หารการพัฒนามีลกั ษณะแตกต่างจากนักบริ หารโดยทัว่ ไป คือ
1. นักบริ หารการพัฒนามีหน้าที่สาํ คัญลําดับแรกต่อการบริ หารการเปลี่ยนแปลง (Management of
Change) ในขณะที่นก ั บริ หารโดยทัว่ ๆไป มักจะคอยให้ปัญหาเกิดขึ้นแล้วจึงดําเนินการแก้ไข นอกจากนั้นนัก
บริ หารการพัฒนายังมีบทบาทในการก่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลงขึ้นในองค์การ
2. นักบริ หารการพัฒนาจะต้องมีความรู ้สึกเป็ นอันหนึ่ งอันเดียวกับวัตถุประสงค์ขององค์การในลักษณะที่
เกี่ยวกับค่านิยมทางการพัฒนาที่มีอยูใ่ นสังคมโดยส่ วนรวม
10. การบริ หารงานแบบมีส่วนร่ วม (Participative Management) มีลกั ษณะอย่างไร
ก. ใช้ได้ในทุกองค์การ ข. ใช้ได้กบั คนทุกประเภท
ค. ป้องกันหน่วยงานที่ผบู ้ ริ หารเผด็จการ ง. การใช้ตอ้ งคํานึงถึงคนและองค์การ
จ. ผูบ้ ริ หารมอบหมายงานทั้งหมด
ตอบ ง.
11. การบริ หารสมัยใหม่มุ่งเน้นเรื่ องใด
ก. ประสิ ทธิภาพ ข. ประสิ ทธิผล
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 253
-------------------------------------------------------------------------------
ค. ความเป็ นเลิศ ง. ทรัพยากรมนุษย์
ตอบ ค.
12. ประสิ ทธิภาพในการดําเนินงานขององค์การขึ้นอยูก่ บั ประสิ ทธิภาพของอะไร
ก. กําไรสู ง ข. ต้นทุนตํ่า
ค. ผลการปฏิบตั ิของบุคคล ง. ความพึงพอใจของลูกค้า หรื อผูใ้ ช้บริ การ
ตอบ ค.
13. คุณนายการระเกดป็ นผูบ้ ริ หารที่แสดงพฤติกรรมความก้าวร้าวทั้งทางวาจา หรื อท่าทางต่อบุคคลอื่น เพื่อ
ต้องการจะขจัดความคับข้องใจ หรื อความโกรธต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นไปยังผูอ้ ื่น พฤติกรรมของกลุ่มนี้จะพบว่าเป็ นคนเกเร
โกรธง่าย ฉุนเฉียวง่าย และชอบเอะอะโวยวายเมื่อไม่ได้อย่างใจที่ตอ้ งการ พฤติกรรมดังกล่าวเป็ นรู ปแบบแรงจูงใจ
ประเภทใด
ก. แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ข. แรงจูงใจใฝ่ ก้าวร้าว
ค. แรงจูงใจใฝ่ อํานาจ ง. แรงจูงใจใฝ่ พ่ งึ พา
ตอบ ข. อธิบาย แรงจูงใจใฝ่ ก้าวร้าว (Aggression Motive) เป็ นแรงจูงใจที่มกั จะเกิดขึ้นจากการได้รับการเลี้ยงดู
แบบเข้มงวดเกินไป จึงหาทางระบายออกกับผูอ้ ื่น หรื ออาจเนื่องมาจากการเลียนแบบบุคคลหรื อจากสื่ อต่าง ๆ
โดยผูท้ ี่มีแรงจูงใจใฝ่ ก้าวร้าวจะมีลกั ษณะที่สาํ คัญดังนี้
1. ถือความคิดเห็นหรื อความสําคัญของตนเป็ นใหญ่
2. มีพฤติกรรมก้าวร้าวทั้งวาจา หรื อท่าทางต่อบุคคลอื่น เพื่อต้องการขจัดความคับข้องใจหรื อความโกรธ
ต่าง ๆ ที่เกิดขึ้นไปยังผูอ้ ื่น
3. เป็ นคนเกเร โกรธง่าย ฉุ นเฉี ยวง่าย และชอบเอะอะโวยวายเมื่อไม่ได้อย่างใจที่ตอ้ งการ
14. นานมานพมีความพยายามที่จะประกอบพฤติกรรมการทํางานให้ได้ตามมาตรฐานที่มุ่งสู่ ความเป็ นเลิศที่
ตนเองได้ต้ งั ไว้ คือจะไม่ทาํ งานเพื่อหวังรางวัลแต่จะทํางานเพื่อให้ประสบความสําเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้
ดังนั้นพฤติกรรมดังกล่าวเป็ นรู ปแบบของแรงจูงใจประเภทใด
ก. แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ ข. แรงจูงใจใฝ่ สัมพันธ์
ค. แรงจูงใจใฝ่ อํานาจ ง. แรงจูงใจใฝ่ พ่ งึ พา
ตอบ ก. อธิบาย แรงจูงใจใฝ่ สัมฤทธิ์ (Achievement Motive) หมายถึง แรงจูงใจที่เป็ นแรงขับให้บุคคลพยายามที่
จะประกอบพฤติกรรมที่จะประสบสัมฤทธิ์ผลตามมาตรฐานความเป็ นเลิศที่ตนตั้งไว้ คือจะไม่ทาํ งานเพื่อหวังรางวัล
แต่จะทํางานเพื่อให้ประสบความสําเร็ จตามวัตถุประสงค์ที่ต้ งั ไว้
15. การศึกษาของ The Hawthorne Studies มีความสําคัญต่อการบริ หาร/จัดการเพราะ
ก. ทําให้ทราบว่าแสงสว่างนั้นมีผลต่อการทํางานเป็ นอย่างยิง่
ข. ทําให้ทราบว่ากลุ่มนั้นมีอิทธิพลต่อการทํางานและผลผลิตที่ออกมา รวมทั้งมาตรฐานของกลุ่มเป็ น
ตัวกําหนดผลลัพธ์ที่สาํ คัญ
ค. ทําให้ทราบว่าแสงสว่างมากหรื อน้อยเกินไปทําให้ประสิ ทธิภาพการทํางานลดลง
ง. ทําให้ทราบว่าการหยุดพักขณะทํางานมีผลโดยตรงต่อประสิ ทธิภาพการทํางานเท่าเทียมกับการ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 254
-------------------------------------------------------------------------------
ปรับลดกระแสไฟฟ้า
ตอบ ข. ข. อธิบาย การศึกษา The Hawthorne Experiments หรื อ The Hawthorne Studies ของ Elton
Mayo มีความสําคัญต่อการบริ หารหรื อการจัดการ เพราะทําให้ทราบว่ากลุ่มมีอิทธิ พลต่อการทํางานและผลผลิตที่
ออกมา รวมทั้งปทัสถานหรื อมาตรฐานของกลุ่มก็เป็ นตัวกําหนดผลลัพธ์ที่สาํ คัญ ส่ วนแสงสว่างที่มากหรื อน้อย
จนเกินไปนั้นไม่ได้มีผลต่อประสิ ทธิภาพในการทํางาน และการหยุดพักขณะทํางานมีผลต่อประสิ ทธิผลในการ
ทํางาน แต่ไม่มากนัก
16. หลักการบริ หาร (Management Principle) Fayol ได้วางหลักพื้นฐานทางการบริ หารไว้กี่ ประการ
ก. 10 ประการ ข. 12 ประการ ค. 14 ประการ ง. 16 ประการ
ตอบ ค. อธิบาย หลักการบริ หาร (Management Principle) Fayol ได้วางหลักพื้นฐานทางการบริ หารไว้ 14
ประการ ดังนี้
1. การแบ่งงานกันทํา (Division of work) การแบ่งงานกันทําจะทําให้คนเกิดความชํานาญเฉพาะอย่าง
(Specialization) อันเป็ นหลักการใช้ประโยชน์ของคนและกลุ่มคน ให้ทาํ งานเกิดประโยชน์สูงสุ ด
2. อํานาจหน้าที่ (Authority) เป็ นเครื่ องมือที่จะทําให้ผบู ้ ริ หารมีสิทธิที่จะสัง่ ให้ผอู ้ ื่นปฏิบตั ิงานที่ตอ้ งการ
ได้ โดยจะมีความรับผิดชอบ (Responsibility) เกิดขึ้นตามมาด้วย ซึ่งจะมีความสมดุลย์ซ่ ึงกันและกัน
3. ความมีระเบียบวินยั (Discipline) บุคคลในองค์การจะต้องเคารพเชื่อฟั ง และปฏิบตั ิตามกฎเกณฑ์ กติกา
และข้อบังคับต่าง ๆ ที่องค์การกําหนดไว้ ความมีระเบียบวินยั จะมาจากความเป็ นผูน้ าํ ที่ดี
4. เอกภาพในการบังคับบัญชา (Unity of Command) ในการทํางานใต้บงั คับบัญชาควรได้รับคําสัง่ จาก
ผูบ้ งั คับบัญชาเพียงคนเดียวเท่านั้น ไม่เช่นนั้นจะเกิดการโต้แย้งสับสน
5. เอกภาพในการสัง่ การ (Unity of Direction) ควรอยูภ ่ ายใต้การจัดการหรื อการสัง่ การโดย
ผูบ้ งั คับบัญชาคนหนึ่งคนใด
6. ผลประโยชน์ขององค์การมาก่อนผลประโยชน์ส่วนบุคคล(Subordinatation of individual interest
to the general interest) คํานึ งถึงผลประโยชน์ขององค์การเป็ นอันดับแรก
7. ผลตอบแทนที่ได้รับ (Remuneration of Personnel) ต้องยุติธรรมและเกิดความพึงพอใจทั้งสองฝ่ าย
8. การรวมอํานาจ (Centralization) ควรรวมอํานาจไว้ที่ศูนย์กลางเพือ ่ ให้สามารถควบคุมได้
9. สายการบังคับบัญชา (Scalar Chain) การติดต่อสื่ อสารควรเป็ นไปตามสายงาน
10. ความมีระเบียบเรี ยบร้อย (Order) ผูบ ้ ริ หารต้องกําหนดลักษณะและขอบเขตของงาน เพื่อประสิ ทธิภาพ
ในการจัดระเบียบการทํางาน
11. ความเสมอภาค (Equity) ยุติธรรม และความเป็ นกันเอง เพื่อให้เกิดความจงรักภักดี
12. ความมัน่ คงในการทํางาน (Stability of Tenture of Personnel)การหมุนเวียนคนงาน ตลอดจนการ
เรี ยนรู ้ และความมัน่ คงในการจ้างงาน
13. ความคิดริ เริ่ ม(Initiative) เปิ ดโอกาสให้แสดงความคิดเห็น ให้แสดงออกถึงความคิดริ เริ่ ม
14. ความสามัคคี (Esprit de Corps) หลีกเลี่ยงการแบ่งพรรคแบ่งพวกในองค์การ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 255
-------------------------------------------------------------------------------
17. แนวคิดการจัดการยุคการบริ หารสมัยใหม่ ( Modern Management ) เริ่ มขึ้นในปี ใด
ก. ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1850-ปัจจุบนั ข. ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1950-ปัจจุบนั
ค. ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1870-ปัจจุบนั ง. ตั้งแต่ปี ค.ศ. 1970-ปัจจุบนั
ตอบ ข. อธิบาย แนวคิดในยุคนี้เริ่ มตั้งแต่ปี ค.ศ 1950 – ปัจจุบนั ซึ่งในขณะนี้เศรษฐกิจ และธุรกิจขยายตัวอย่าง
รวดเร็ ว ความสลับซับซ้อนในการบริ หารการจัดการก็มากขึ้น เพราะฉะนั้นการจัดการสมัยใหม่ จึงต้องใช้หลักทาง
คณิ ตศาสตร์มาช่วยในการตัดสิ นใจ ตลอดจนการจัดการเชิงระบบมาช่วย แต่อย่างไรก็ตาม การบริ หารการจัดการ
สมัยใหม่กย็ งั มิได้ทิ้งหลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์และแนวคิดในด้านมนุษย์สมั พันธ์เสี ยทีเดียว
18. บุคคลใดเป็ นผูพ้ ฒั นาทฤษฏี Z
ก. William G. Ouchi ข. Greorge Elton Mayo
ค. Henri J. Fayol ง. Frederich W. Taylor
ตอบ ก. อธิบาย William G. Ouchi ได้พฒั นาทฤษฏี Z หลังจากศึกษาการจัดการของธุรกิจญี่ปุ่นและ
สหรัฐอเมริ กา โดยกล่าวว่า ทฤษฏี Z (Theory Z) แทนทัศนะการจัดการประสบประสานระหว่างญี่ปุ่นและอเมริ กา
และมีผบู ้ ริ หารระดับโลกนําไปใช้และได้รับการตอบรับ/ความคิดเห็นที่ดีจากผูบ้ ริ หารในส่ วนต่างๆของโลก
19. การบริ หารจัดการตามแนวทฤษฎี J คือการบริ การจัดการแบบใด
ก. แบบญี่ปุ่น ที่เน้นความยึดมัน่ ผูกพันต่อองค์การ
ข. แบบสหรัฐอเมริ กา ที่เน้น การจ้างงานระยะยาว เน้นระบบอาวุโส
ค. แบบญี่ปุ่น ที่เน้นแบบญี่ปนุ่ ที่เน้นการจ้างงานระยะยาว เน้นระบบอาวุโส
ง. ข้อ ก. และ ค. ถูก
ตอบ ง. อธิบาย การบริ หารจัดการตามแนวทฤษฎี J (Theory J – Japanese) คือ การบริ หารจัดการแบบญี่ปุ่น ที่
เน้นความยึดมัน่ ผูกพันต่อองค์การ การจ้างงานระยะยาว เน้นระบบอาวุโส และการให้ความสัมพันธ์กบั บุคคลใน
องค์การทุกๆ ด้าน รวมทั้งชีวิตส่ วนตัว ซึ่งมีลกั ษณะหลัก ๆ7 ด้าน ดังนี้
1. การจ้างงานตลอดชีพ (Lifetime Employment) หมายถึง การจ้างงานจนกระทัง่ พนักงานเกษียณ
เพื่อให้พนักงานมีความผูกพันกับองค์กร และมีความรู ้สึกว่าตนเองเป็ นส่ วนหนึ่งขององค์กร คนที่อยูใ่ นบริ ษทั
(องค์กร) นานๆ อาจได้รางวัล (reward) เป็ นหุน้ ของบริ ษทั ด้วย
2. การตัดสิ นใจแบบเป็ นเอกฉันท์ (Collective decision making) หมายถึง การตัดสิ นใจร่ วมกันระหว่าง
ผูบ้ ริ หารและพนักงาน ไม่ได้ข้ ึนอยูก่ บั บุคคลใดบุคคลหนึ่ง
3. ความรับผิดชอบแบบเป็ นกลุ่ม (Collective responsibility for the outcomes of decisions)
หมายถึง ความรับผิดชอบร่ วมกันสําหรับผลลัพธ์ของการตัดสิ นใจ
4.การประเมินผลและการเลื่อนตําแหน่ งแบบค่อยเป็ นค่อยไป (Slow Evaluation and Promotion)
หมายถึง การประเมินผลและการเลื่อนตําแหน่งจะทําตามขั้นตอน ไม่ขา้ มขั้น ซึ่งขึ้นอยูก่ บั ระยะเวลาการปฏิบตั ิงาน
และผลการปฏิบตั ิงานซึ่งมีความเกี่ยวข้องกับระบบอาวุโส (Seniority System) และการจ้างงานตลอดชีพ
(Lifetime Employment)
5. ควบคุมตนเองไม่เป็ นทางการ (Implicit Control Mechanism) หมายถึง การควบคุมงานนั้น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 256
-------------------------------------------------------------------------------
จะทําทั้งโดยวิธีเปิ ดเผย หรื อทางลับ หรื อจะทางไหนก็แล้วแต่ แต่จะกระทําอย่างสมดุล เหมาะสม ซึ่งพนักงาน
ต่างยอมรับซึ่งกัน
6. เส้นทางอาชีพไม่เชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (Nonspecialized career paths) หมายถึงพนักงานสามารถ
ปฏิบตั ิงานได้หลายหน้าที่ แต่ไม่มีความเชี่ยวชาญพิเศษด้านใดด้านหนึ่ง
7. มีความเกี่ยวข้องกันในลักษณะครอบครัว (Holistic concern for employees as people) หมายถึง พนักงาน
ภายในองค์กรมีความผูกพันกันเหมือนครอบครัว
20. Hawthorne Study เป็ นการศึกษาของเอลตัน เมโยล์ ได้ทาํ การ ศึกษาทดลองทัศนคติและจิตวิทยาของ
คนงานในการทํางานในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน โดยได้เน้น ความสนใจในเรื่ องบรรยากาศการจัดการและภาวะ
ผูน้ าํ ทําให้พบว่า
ก. ความสามัคคีส่งเสริ มให้เกิดการทํางานเป็ นทีม
ข. การบํารุ งรักษาพนักงานที่มีคุณภาพเป็ นเรื่ องสําคัญ
ค. ความคิดริ เริ่ มของพนักงานควรได้รับการส่ งเสริ ม
ง. การให้รางวัลทางใจ เช่น การยกย่องชมเชย การให้เกียรติ มีผลต่อการทํางานไม่นอ้ ยไปกว่าการจูงใจด้วย
เงิน
ตอบ ง. อธิบาย การศึกษาที่ฮอว์ธอร์น (Hawthorne Studies) เป็ นการศึกษาของเอลตัน เมโยล์ ได้ทาํ การ
ศึกษาทดลองทัศนคติและจิตวิทยาของคนงานในการทํางานในสถานการณ์ที่แตกต่างกัน โดยได้เน้น ความสนใจใน
เรื่ องบรรยากาศการจัดการและภาวะผูน้ าํ ทําให้พบว่า
1. คนเป็ นสิ่ งมีชีวิตมีจิตใจ การสร้างขวัญและกําลังใจเป็ นสิ่ งสําคัญของการทํางาน
2. การให้รางวัลทางใจ เช่น การยกย่องชมเชย การให้เกียรติ มีผลต่อการทํางานไม่นอ ้ ยไปกว่าการจูงใจด้วย
เงิน
3. ความสามารถในการทํางานของคนไม่ได้ข้ ึนอยูก ่ บั สภาพแวดล้อมทางกายภาพเพียงอย่างเดียว แต่ยงั
ขึ้นอยูก่ บั สภาพแวดล้อมทางสังคมของหน่วยงานด้วย เช่น ปฏิสมั พันธ์ระหว่างคนงาน เป็ นต้น
4. อิทธิ พลของกลุ่มมีความสําคัญอย่างยิง่ ต่อการดําเนิ นงานของหน่วยงาน จึงมุ่งเน้นที่จะให้มีการทํางาน
เป็ นทีม เพื่อช่วยเหลือซึ่งกันและกัน
21. บิดาการบริ หารงานแบบมนุษย์สัมพันธ์ หมายถึงใคร
ก. Elton Mayo ข. Greorge Elton Mayo
ค. Henri J. Fayol ง. Frederich W. Taylor
ตอบ ก. อธิบาย Elton Mayo เป็ นนักสังคมวิทยาทํางานอยูฝ่ ่ ายการวิจยั อุตสาหกรรมของฮาร์วาร์ด (The
Department of Industrial Research at Harvard) เขาได้ชื่อว่าเป็ น “บิดาของการจัดการแบบมนุษยสัมพันธ์
หรื อ การจัดการแบบเน้นพฤติกรรมศาสตร์ ” เขาและเพื่อนร่ วมคณะวิจยั ได้แก่ John Dewey, Kurt Lewin, F.J.
Roethlisber และ W.J. Dickson ได้ทาํ การศึกษาทัศนคติและปฏิกิริยาทางจิตวิทยาของคนงานการทํางานตาม
สถานการณ์ที่ต่างกันตามที่ผวู ้ ิจยั กําหนดขึ้นที่ Western Electric‟s Hawthorne Plant (1927 - 1932) ในการ
ทดลองของเขาและคณะได้แบ่งการทดลองเป็ นระยะต่อเนื่องกัน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 257
-------------------------------------------------------------------------------
22. แนวความคิดทฤษฎีความสัมพันธ์ของ Elton Mayo ด้านการสร้างความสัมพันธ์ระหว่างผูบ้ งั คับบัญชา
คือข้อใด
ก. การทํางานมีลกั ษณะเป็ นประชาธิปไตย ข. การปฏิสมั พันธ์ระหว่างบุคคล
ค. ให้ความเป็ นกันเองและเป็ นมิตร ง. มีความร่ วมมือในการทํางาน
ตอบ ก. อธิบาย แนวความคิดทฤษฎีความสัมพันธ์ของ Elton Mayo ด้านการสร้างความสัมพันธ์ระหว่าง
ผูบ้ งั คับบัญชา ได้แก่
1) การทํางานมีลกั ษณะเป็ นประชาธิ ปไตย
2) ให้อิสระในการคิดแกไขปั ญหาแก่ผรู ้ ่ วมงาน
3) ให้ผรู ้ ่ วมงานเกิดศรัทธา
4) ให้รู้จุดมุ่งหมายของงาน
5) ความสําเร็ จของงานเป็ นของทุกคน
6) สร้างความสัมพันธ์ให้ผเู ้ ข้าร่ วมงานเกิดความรักผูกพัน
7) มอบหมายงานที่เขาพอใจสนใจและอยากทํา
8) ให้มีการแบ่งปั นผลประโยชน์ร่วมกัน
9.ให้ความรู ้สึกว่าเป็ นส่ วนหนึ่ งของกลุ่ม
10) การทํางานควรมีการประชุมปรึ กษาหารื อกัน
11) ให้เขามีความรู ้สึกรับผิดชอบและรักษาผลประโยชน์
12) ส่ งเสริ มให้พนักงานมีความก้าวหน้า
23. ตามแนวความคิดทฤษฎีความสัมพันธ์ของ Elton Mayo ได้ให้สาระสําคัญด้าน .แรงจูงใจในการทํางาน
ไว้ตามข้อใด
ก. แรงจูงใจในการทํางานและบริ หารงานบุคคล ข. ปัจจัยของแรงจูงใจในการทํางาน
ค. แรงจูงใจกับความต้องการของบุคคล ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. อธิบาย แรงจูงใจในการทํางาน ได้แก่
1) แรงจูงใจในการทํางานและบริ หารงานบุคคล2) ปั จจัยของแรงจูงใจในการทํางาน 3) แรงจูงใจกับความ
ต้องการของบุคคล 4) ทฤษฎีแรงจูงใจต่าง ๆ ที่นาํ มาประยุกต์ใช้
24. การบริ หารงานแบบเน้นวัตถุประสงค์ (MBO) ตรงกับข้อใด
ก. ทํางานและรับผิดชอบอย่างเต็มที่ ข.มีทิศทางร่ วมกันที่ชดั เจน
ค. เน้นการมีส่วนร่ วม และทํางานกันเป็ นทีม ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. อธิบาย การบริ หารงานแบบเน้นวัตถุประสงค์ (MBO) พัฒนาโดย Peter Drucker 1983
1. ทํางานและรับผิดชอบอย่างเต็มที่2. มีทิศทางร่ วมกันที่ชด ั เจน3. เน้นการมีส่วนร่ วม และทํางานกันเป็ น
ทีม4. วัตถุประสงค์ส่วนบุคคลประสานกับส่ วนองค์การ5. เน้นการมีขอ้ มูลย้อนกลับ และการปรับปรุ ง
6. มีการกําหนดระยะเวลาที่ชด ั เจน
25. ทฤษฎี Z คือผลรวมของการผสมผสานระหว่าง ทฤษฎีใด
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 258
-------------------------------------------------------------------------------
ก. ทฤษฎี X และ Y ข. ทฤษฎี A และ J
ค. ทฤษฎี X และ J ง. ทฤษฎี Y และ A
ตอบ ข. อธิบาย ทฤษฎี Z คือผลรวมของการผสมผสานระหว่าง ทฤษฎี A กับทฤษฎี J เป็ นการรวมทั้งความผูกพัน
ต่อการจ้างงานระยะยาว การตัดสิ นใจที่เห็นพ้องต้องกัน การประเมินผลที่เป็ นทางการ มีดชั นีช้ ีวดั ผลงานที่ชดั เจน
การทํางานเป็ นทีม และการให้ความสําคัญกับบุคคลทุกด้าน
26. เป็ นทัศนะการบริ หารงานแบบอเมริ กนั ที่มุ่งเน้นความรับผิดชอบ และการตัดสิ นใจของบุคคล มีระบบ
ประเมินผลชัดเจน เลื่อนตําแหน่งรวดเร็ วตามความสามารถไม่ผกู พันกับการจ้างงานระยะยาว หมายถึงทฤษฎีใด
ก. ทฤษฎี A ข. ทฤษฎี J
ค. ทฤษฎี X ง. ทฤษฎี Y
ตอบ ก.
27. ทฤษฎี Z สไตล์ญี่ปุ่น ตรงกันข้าม (Contrast) กับทฤษฎี X และ Y โดยนําแนวคิดมาจากใคร
ก. William Ouch ข. W. Edwards Choid Deming
ค. Greorge Elton Mayo ง. Henri J. Fayol
ตอบ ข. อธิบาย ทฤษฎี Z สไตล์ญี่ปุ่น ตรงกันข้าม (Contrast) กับทฤษฎี X และ Y โดยนําแนวคิดมาจาก Dr.
W. Edwards Choid Deming ส่ วนทฤษฎี Z สไตล์อเมริ กน ั (Dr.William Ouchi) มาจากการผสมผสาน
ระหว่าง Theory A – American กับ Theory J – Japanese ทฤษฎี Z จึงมิใช่การรวมเอา
หลักการของทฤษฎี X และทฤษฎี Y เข้าด้วยกัน
28. ผูท้ ี่ได้รับการยกย่องว่าเป็ นบิดาของการบริ หารเชิงวิทยาศาสตร์ คือ
ก. Elton Mayo ข. Greorge Elton Mayo
ค. Henri J. Fayol ง. Frederich W. Taylor
ตอบ ง. Frederich W. Taylor
อธิบาย ผูท้ ี่ได้รับการยกย่องว่าเป็ นบิดาของการบริ หารเชิงวิทยาศาสตร์ คือ เฟรเดอริ ค เทเลอร์ (Frederick
Taylor,1852-1915) ซึ่ งเริ่ มต้นทํางานตั้งแต่เสมียนจนได้เป็ นหัวหน้าวิศวกร ทั้งนี้ ดว้ ยความเฉลียวฉลาดและการ
ใฝ่ หาความรู ้ตลอดเวลา
จุดมุ่งหมายของเทเลอร์ คือ การทําให้การทํางานของคนงานลดลงเหลือส่ วนย่อยที่สุด และหน่วยทํางานที่
มีลกั ษณะพิเศษเฉพาะทางเท่าที่จะทําได้ การศึกษาเกี่ยวกับเวลาและความเคลื่อนไหวเป็ นพื้นฐานของทฤษฎีน้ ี
กระบวนการทํางานตามแนวคิดของเขามุ่งเชื่อมผลประโยชน์ของคนงาน และฝ่ ายบริ หารเข้าด้วยกันเป็ น
ผลประโยชน์ของส่ วนรวม
29. เทเลอร์ได้เสนอหลักการบริ หารเชิงวิทยาศาสตร์ (The Principles of Scientific Management) ซึ่งมี
สาระสําคัญคือ
ก. การทํางานด้วยปริ มาณมาก ข. การทํางานมีรายได้สูง
ค. การทํางานบกพร่ องที่ก่อให้เกิดสู ญเสี ย ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง. อธิบาย ในปี ค.ศ.1911 เทเลอร์ได้เสนอหลักการบริ หารเชิงวิทยาศาสตร์ (The Principles of Scientific
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 259
-------------------------------------------------------------------------------
Management) ซึ่ งมีสาระสําคัญ ดังนี้
1. การทํางานด้วยปริ มาณมาก (a large daily task)
2. การทํางานมีเงื่อนไขที่เป็ นมาตรฐาน (standard and conditions)
3. การทํางานมีรายได้สูง (high for success)
4. การทํางานบกพร่ องที่ก่อให้เกิดสู ญเสี ย (loss in case of farilure)
5. การทํางานในองค์การขนาดใหญ่ตอ้ งการผูเ้ ชี่ยวชาญ(expertise in large organization)
30. การบริ หาร คือ กิจกรรมที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่ วมมือกันดําเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์อย่างใด
อย่างหนึ่ง หรื อหลายอย่างร่ วมกัน ผูท้ ี่ให้คาํ จํากัดความหมายนี้ คือ
ก. Peter F. Drucker ข. Harold koontz
ค. Herbert A. simon ง. William S. Siffin
ตอบ ค.
31. การบริ หารงานทีให้ความสําคัญต่อหลัก “Efficiency” เป็ นแนวคิดที่ริเริ่ มโดยนักวิชาการกลุ่มใด
ก. Administrative Theorists ข. Scientific Management
ค. Quantitative Science ง. A Systems Approach
ตอบ ข. อธิบาย Frederick W.Taylor เป็ นผูส้ ร้างทฤษฎีการจัดการโดยอาศัยหลักเกณฑ์ทางวิทยาศาสตร์
(Scientific Management) ซึ่งมีแนวคิดและผลงานที่สาํ คัญดังนี้
1. ริ เริ่ มแนวคิดการบริ หารที่คาํ นึ งถึงผลิตภาพหรื อประสิ ทธิ ภาพ (Efficiency)ในการปฏิบตั ิงานขององค์การ
เป็ นหลัก 2. เสนอให้ใช้ระบบค่าจ้างต่อชิ้น (Piece Rate System) ซึ่งเป็ นสิ่ งจูงใจภายนอกที่จะทําให้มนุษย์ทาํ งาน
มากขึ้น 3. เสนอให้มีผเู ้ ชี่ยวชาญงานพิเศษ (Functional Foremen) เพือ่ ทําหน้าที่ตรวจสอบงานและเร่ งรัด
ประสิ ทธิภาพของงานในขั้นตอนต่างๆ เช่น ผูค้ ุมงาน ผูเ้ ร่ งรัดงาน ผูต้ รวจสอบงาน ผูซ้ ่อมแซมงาน ผูป้ ระสานงาน ผู ้
ควบคุมคู่มือการทํางาน ผูค้ วบคุมเวลาและการใช้จ่าย ผูค้ ุมกฎและวินยั ฯลฯ
32. ถ้าเชื่อในธรรมชาติของมนุษย์ตามทฤษฎี X จะต้องใช้การบริ หารแบบใด
ก. Management by Procedure ข. Management by Rules
ค. Management by Objective ง. ข้อ ก. และ ข. ถูก
ตอบ ง. อธิบาย ถ้าเชื่อในธรรมชาติของมนุษย์ตามทฤษฎี X (มนุษย์ไม่ชอบการทํางานและพยายามหลีกเลี่ยงงานเมื่อ
มีโอกาส) จะต้องใช้รูปแบบการบริ หารดังต่อไปนี้เพื่อแก้ไขพฤติกรรมที่บกพร่ อง
1. การบริ หารแบบเผด็จการ 2. การบริ หารโดยยึดกฎระเบียบ คือการใช้ระเบียบวินยั และบทลงโทษที่เข้มงวด
หรื อใช้กฎระเบียบที่ได้มาตรฐาน 3. การบริ หารงานโดยยึดกระบวนการ 4. การบริ หารงานในลักษณะของพวก
คลาสสิ ก เช่น ตัวแบบระบบราชการ การจัดการแบบวิทยาศาสตร์ เป็ นต้น
33. “ ถ้าผูบ ้ ริ หารมีสมมุติฐานว่ามนุษย์มีความดีมาโดยกําเนิด” ความบกพร่ องในการทํางานของมนุษย์เป็ นเพราะ
ก. มนุษย์ขาดเสรี ภาพ ข. ความต้องการภายในของมนุษย์ไม่ได้รับการบําบัด
ค. ระเบียบในการทํางานไม่รัดกุมเพียงพอ ง. ข้อ ก.และ ข. ถูก
ตอบ ง.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 260
-------------------------------------------------------------------------------
34. การจัดการเป็ นกระบวนการที่เกี่ยวกับ
ก. การบริ หารงานอย่างราบรื่ นโดยเกิดประโยชน์สูงสุ ด
ข. การประสานงานและการผสมผสานกิจกรรมต่างๆให้เกิดประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
ค. การวางแผนและการจัดการองค์การเพื่อบรรลุเป้าหมายหลักขององค์การ
ง. การใช้คนอย่างถูกต้องกับตําแหน่งงานและจัดสรรทรัพยากรอย่างเหมาะสม
ตอบ ข. อธิบาย การจัดการหรื อการบริ หาร (Management) เป้นกระบวนการของการประสานงานและรวบรวม
กิจกรรมต่าง ในการทํางานของบุคลากรเข้าด้วยกัน ให้เป็ นไปอย่างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
35. Frank Gilbreth ได้สร้างผลงานทางการบริ หารไว้หลายประการ ยกเว้นข้อใด
ก. หาหนทางทํางานที่ดีที่สุดเพื่อลดการเคลื่อนไหวที่ไม่จาํ เป็ น
ข. เป็ นวิศวกรชาวฝรั่งเศสทํางานอยูใ่ นบริ ษทั ถ่านหิ นและเหล็กกล้ามาเป็ นเวลานานพอสมควร
ค. ทําการศึกษาวิธีการเคลื่อนไหวส่ วนต่างๆ ของร่ างกายในขณะทํางาน (Motion Study)
ง. กําหนดชื่อของวิธีการเคลื่อนไหวซึ่งมีอยู่ 17 แบบ ภายใต้ชื่อ Therbligs
ตอบ ข. อธิบาย Frank และ Lillian Gilbreth ได้ทาํ การศึกษาวิธีการเคลื่อนไหวส่วนต่างๆของร่ างกายในขณะ
ทํางาน (Motion Study)เพื่อหาหนทางที่ดีที่สุดในการทํางาน ด้วยการคิดหลักความประหยัดในการเคลื่อนไหวซึ่ง
มีอยู่ 17 แบบ ภายใต้ชื่อ “Therbligs” โดยจะช่วยลดการเคลื่อนไหวของร่ างกายให้นอ้ ยลงแต่ให้มีประสิ ทธิภาพใน
การทํางานมากขึ้น รวมทั้งยังช่วยให้เกิดการทํางานง่ายขึ้น นอกจากนี้ยงั เขียนหนังสื อ ชื่อ “เหมาโหลถูกกว่า”
(Cheaper by the Dozen) เพื่อนําเอาหลักการด้านวิทยาศาสตร์ไปใช้ในการบริ หารงานในครอบครัวของตน (ส่วน
วิศวกรชาวฝรั่งเศสที่ทาํ งานอยูบ่ ริ ษทั ถ่านหิ นและเหล็กกล้าคือ fayol)
36. เหตุที่นก ั วิชาการกล่าวว่า “การบริ หารนั้นถือเป็ นหลักสากลนิยมและอาจจะโยกย้ายสับเปลี่ยนกันได้”
หมายถึงการบริ หารตามข้อใด
ก. อาจมอบหมายให้คนอื่นไปทําแทนตน
ข. เป็ นศาสตร์แห่งความเป็ นจริ งอันเป็ นที่ยอมรับกันโดยทัว่ ไป
ค. สามารถนําไปใช้ได้ในองค์การทุกประเภท
ง. ผูบ้ ริ หารไม่จาํ เป็ นต้องเรี ยนรู ้อะไรใหม่ๆก็ได้ เพราะเป็ นหลักเดิมที่นาํ มาใช้ได้กบั ทุกปัญหา
ตอบ ค. อธิบาย ทักษะในการบริ หารนั้นสามารถนําไปใช้ได้ในองค์การทุกประเภท ทุกระดับ และทุกรู ปแบบ เพราะ
ถือว่าเป็ นการบริ หารหลักสากลนิยมและอาจจะโยกย้ายสับเปลี่ยนกันได้ แต่ท้ งั นี้ผบู ้ ริ หารก็ยงั จําเป็ นต้องเรี ยนรู ้อะไร
ใหม่ๆเมื่อมีการโยกย้ายเกิดขึ้น เนื่องจากเขาอาจจะต้องเผชิญกับปัญหาใหม่ๆซึ่งไม่เคยพบมาก่อน
37. เหตุผลที่สาํ คัญอย่างหนึ่ งที่ทาํ ให้ผบ ู ้ ริ หารต้องมีการจัดการเชิงกลยุทธ์น้ นั ได้แก่
ก. ต้องการขายกิจการ ข. ต้องการความเจริ ญก้าวหน้า
ค. ต้องการสร้างความได้เปรี ยบเชิงการแข่งขัน ง. ต้องการสร้างความแตกต่าง
ตอบ ค.อธิบาย ปัจจุบนั ได้เกิดความเปลี่ยนแปลงทางด้านสังคม เศรษฐกิจ การเมือง วิกฤติการณ์พลังงาน
เทคโนโลยี การแข่งขันแบบไร้พรมแดนที่เพิ่มสู งขึ้น ฯลฯ จึงส่ งผลให้ผบู ้ ริ หารขององค์การหรื อธุรกิจต่างๆ
จําเป็ นต้องมีการจัดการเชิงกลยุทธ์ ซึ่งจะช่วยให้การบริ หารเป็ นอย่างมีประสิ ทธิภาพ และประสิ ทธิผล โดยการ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 261
-------------------------------------------------------------------------------
จัดการเชิงกลยุทธ์มีวตั ถุประสงค์หลัก คือ ทําให้ธุรกิจสามารถเอาชนะคู่แข่งได้ภายใต้เงื่อนไขของทรัพยากรที่มีอยู่
และเพื่อสร้างหรื อทําให้เกิดความได้เปรี ยบทางการแข่งขัน
38. Henry Minzberg ได้กาํ หนดบทบาทของผูบ ้ ริ หารไว้ 3 กลุ่มด้วยกัน คือข้อใด
ก. การแนะนํา,การใช้อาํ นาจหน้าที่,การตัดสิ นใจ ข. มนุษยสัมพันธ์,ข้อมูลข่าวสาร,การตัดสิ นใจ
ค. มนุษยสัมพันธ์,วางกลยุทธ์,การตัดสิ นใจ ง. วางกลยุทธ์,ข้อมูลข่าวสาร,การใช้อาํ นาจหน้าที่
ตอบ ข.อธิบาย Henry Minzberg ได้ทาํ การศึกษาวิจยั แล้วพบว่า บทบาททางการบริ หาร (Management
Roles) ของผูบ ้ ริ หารที่สาํ คัญมี 10 ประการ โดยสามารถแยกออกได้เป็ น 3 กลุ่มหลัก ซึ่งมีความสัมพันธ์ต่อกันมาก
ทุกบทบาท คือ 1. บทบาทด้านมนุษยสัมพันธ์ 2. บทบาทด้านข้อมูลข่าวารสาร 3. บทบาทด้านการตัดสิ นใจ
39. การตัดสิ นใจของผูบ ้ ริ หารภายใต้ความเสี่ ยง คือ
ก. การตัดสิ นใจโดยมีโอกาสเป็ นไปได้ที่จะประสบความสําเร็ จหรื อล้มเหลว
ข. การตัดสิ นใจที่มีความสู ญเสี ยมากกว่า
ค. การตัดสิ นใจที่มองผลในระยะสั้น ง. การตัดสิ นใจอย่างบ้าบิ่น
ตอบ ก. อธิบาย การตัดสิ นใจของผูบ้ ริ หารภายใต้ความเสี่ ยง (Risk) เป็ นสภาวการณ์ที่ผตู ้ ดั สิ นใจมีขอ้ มูลไม่ครบถ้วน
แต่มีความรอบรู ้และสามารถที่จะคาดคะเนผลลัพธ์ที่น่าจะเป็ นไปได้ซ่ ึงมาจากประสบการณ์ส่วนตัวหรื อข้อมูล
เหล่านี้ทาํ ให้ผตู ้ ดั สิ นใจสามารถตัดสิ นใจเลือกในแนวทางที่ดีที่สุด โดยมีโอกาสเป็ นไปได้ที่จะประสบความสําเร็ จ
หรื อล้มเหลว
40. การบริ หารซึ่ งเน้นการปรับปรุ งการทํางานอย่างต่อเนื่ องและสร้างความพึงพอใจให้กบ ั ลุกค้า คือ
ก. การรื้ อระบบ (Reengineering) ข. องค์การแห่งการเรี ยนรู ้
ค. การบริ หารงานเชิงคุณภาพโดยรวม ง. การบริ หารงานโดยใช้เครื่ องมือ
ตอบ ค. อธิบาย การบริ หารงานเชิงคุณภาพโดยรวม (Total Quality Management : TQM) หรื อการบริ หารงาน
เชิงคุณภาพแบบเบ็ดเสร็ จ มีลกั ษณะที่สาํ คัญ ดังนี้
1. เน้นการปรับปรุ งการทํางานอย่างต่อเนื่ อง
2. มุ่งตอบสนองความต้องการหรื อความพึงพอใจของลูกค้า
3. เน้นการมีส่วนร่ วมของพนักงาน โดยให้ผบ ู ้ ริ หารส่ งเสริ มให้พนักงานเสนอแนวคิดในการปรับปรุ ง
เปลี่ยนแปลงและกระทําในสิ่ งที่ได้รับคําแนะนํา
4. มีการประยุกต์ใช้ Quality Circles ซึ่ งเป็ นกลุ่มทํางานที่ประกอบด้วยพนักงาน 8-10 คนและหัวหน้างาน
ที่มาพบปะกันเพื่อปรึ กษาหรื อสื บเสาะและแก้ไขปัญหาด้านคุณภาพต่างๆ
5. ผูป ้ ฏิบตั ิการและผูบ้ ริ หารงานจะมีการตัดสิ นใจร่ วมกันในการวางแผนเพื่อพัฒนาคุณภาพขององค์การ 6. มี
การทํางานเป็ นทีม
41. ผูเ้ สนอทฤษฎีการบริ หารโดยวัตถุประสงค์ (Management by Objectives )คือ
ก. Abraham Maslow ข. Milton Friedman
ค. Peter F. Drucker ง. Henri Fayol
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 262
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ค. อธิบาย การบริ หารโดยวัตถุประสงค์(Management by Objectives : MBO)เป็ นแนวคิดของ Peter F.
Drucker ซึ่ งจะเน้นในเรื่ องการให้ทุกคนในองค์การมีส่วนร่ วมในการกําหนดเป้ าหมาย รวมมีตวั ตน สามารถพิสูจน์
ได้ และวัดได้ โดยเป็ นวิธีการที่ใช้เป้าหมายเพื่อจูงใจบุคคลในองค์การมากกว่าวิธีการบังคับ
42. ทักษะการบริ หาร (Management Skills )ที่ทาํ ให้ผบ ู ้ ริ หารส่ วนใหญ่ประสบความล้มเหลว คือ
ก. ทักษะด้านกลยุทธ์ (Strategic Skills)
ข. ทักษะด้านการแก้ปัญหา (Problem-solving Skills)
ค. ทักษะด้านมนุษยสัมพันธ์ (Human Relations Skills )
ง. ทักษะด้านความคิดรวบยอด (Conceptual Skills)
ตอบ ค.
43. หน้าที่สาํ คัญ 7 ประการของนักบริ หาร ซึ่ งอักษรข้างหน้าคํานํามาผูกเป็ น POSDCORD นั้น ใครเป็ นผู ้
กําหนด
ก. Frederrick W. Taylor ข. Henri Fayol
ค. Gerbert A. Simon ง. Elton Mayo
ตอบ ค.
44. ผูบ ้ ริ หารระดับกลางจักต้องบริ หารงานโดยถือข้อใดเป็ นหลักสําคัญ
ก. เป้าหมายขององค์การ ข. เป้าหมายส่วนตัวของสมาชิกในองค์การ
ค. เป้าหมายส่วนตัวของผูบ้ ริ หารสู งสุ ด ง. เป้าหมายส่วนตัวของตนเอง
ตอบ ก.
45. MBO การบริ หารงานโดย
ก. ยึดตัวบุคคล ข. ยึดวิธีการ
ค. ยึดวัตถุระสงค์ ง. ยึดผลงาน
จ. ยึดการประหยัด
ตอบ ค.
46. สําหรับภารกิจของการบริ หารประการแรก คือ การวางแผนนั้นมีกิจกรรมต่อไปนี้ ยกเว้นข้อใด
ก. กําหนดวัตถุประสงค์ ข. กําหนดเป้าหมาย
ค. กําหนดวิธีการ ง. กําหนดระเบียบปฏิบตั ิ
จ. กําหนดข้อปรับปรุ งแก้ไขผลที่จะได้
ตอบ จ.
47. การบริ หารงานโดยยึดหลักวัตถุประสงค์ (MBO) เริ่ มจากข้อใดก่อน
ก. การประเมินผลงานที่เคยทําไว้ ข. การจัดกําลังคนลงงานให้เรี ยบร้อย
ค. การกําหนดวัตถุประสงค์และการวางแผน ง. มอบหมายงานตามถนัด
ตอบ ค.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 263
-------------------------------------------------------------------------------
48. การบริ หารงานแบบมีส่วนร่ วม (Participative Management) มีลกั ษณะอย่างไร
ก. ใช้ได้ในทุกองค์การ ข. ใช้ได้กบั คนทุกประเภท
ค. ป้องกันหน่วยงานที่ผบู ้ ริ หารเผด็จการ ง. การใช้ตอ้ งคํานึงถึงคนและองค์การ
จ. ผูบ้ ริ หารมอบหมายงานทั้งหมด
ตอบ ง.
49. การพัฒนาการบริ หาร ควรเริ่ มที่การพัฒนาในเรื่ องใดจึงจะทําให้องค์การประสบความสําเร็ จ
ก. พัฒนาคน ข. พัฒนาโครงสร้าง
ค. พัฒนาสภาพแวดล้อม ง. พัฒนาวิชาการและเทคโนโลยี
ตอบ ก.
50. ข้อใดไม่ใช่บทบาทของผูบ ้ ริ หารในการตัดสิ นใจ (decisional roles)
ก. ผูป้ ระกอบการ ข. ผูต้ ิดตามงาน ค. ผูเ้ จรจา ง. ผูจ้ ดั การความขัดแย้ง
ตอบ ข.
51. ข้อใดเป็ นลักษณะของหลักการบริ หารสมัยใหม่
ก. การบริ หารแบบมีส่วนร่ วม ข. การสร้างทีมงาน
ค. องค์การแห่งการเรี ยนรู ้ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง
52. หลักการบริ หารที่เน้นคนและขวัญกําลังใจในการทํางานคือทฤษฎีใด
ก. คลาสสิ ก ข. นีโอคลาสสิ ก ค. สมัยใหม่ ง. สังคมวิทยา
ตอบ ข.
53. ข้อใดกล่าวถูกต้องตามแนวคิดการบริ หารสมัยใหม่
ก. มุ่งกําไรสู งสุ ด ข. เพิ่มผลผลิตโดยใช้เครื่ องจักร
ค. มุ่งความสามารถในเรื่ องทัว่ ไป ง. จัดหน่วยงานอิสระคล่องตัว
ตอบ ง.
54. ทรัพยากรพื้นฐานของการบริ หารคือ
ก. วัสดุสิ่งของ ข. คน เงิน ค. วิธีการจัดการ ง. ถูกทุกข้อ
ตอบ ง.
55. ในการบริ หารงานคําว่า Bottle Neck หมายถึงข้อใด
ก. เอกสารลับ ข. ความล่าช้าจากโครงสร้าง
ค. การคัง่ ค้างของงาน ง. ประสิ ทธิภาพของงาน
ตอบ ค. อธิบาย (Bottle Neck) หมายถึง การคัง่ ค้างของงานในระบบราชการ ซึ่งเกิดจากการมีกฎระเบียบที่
เคร่ งครัดที่กาํ หนดไว้วา่ ต้องรอให้ผบู ้ งั คับบัญชาอนุมตั ิเพียงคนเดียวเท่านั้น
การบริ หาร คือ กิจกรรมที่บุคคลตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่ วมมือกันดําเนินการให้บรรลุวตั ถุประสงค์อย่างใดอย่างหนึ่ง
หรื อหลายอย่างร่ วมกัน
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 264
-------------------------------------------------------------------------------
56. ปั จจัยพื้นฐานทางการบริ หารมี 4 อย่าง ที่เรี ยกว่า อะไร
ก. 4. MM ข. 4 MS ค. 4 MR ง. 4 MN
ตอบ ข. คน (Man) เงิน (Money) วัสดุสิ่งของ(Materials) การจัดการ (Management)
57. ข้อใดเป็ นการบริ หารบุคคลในแนวคิดของ “Theory X”
ก. ใช้ระบบคุณธรรม ข. ว่าจ้างระยะสั้น (เป็ นชั้นบันได)
ค. ใช้ Discipline เป็ นกรอบ ง. เน้น Seniority
จ. หัวหน้ามีอาํ นาจตัดสิ นใจแต่เพียงผูเ้ ดียว
ตอบ ค. การบริ หารงานบุคคลตามแนวคิดของ “Theory X” มองว่าคนไม่ค่อยจะมีระเบียบวินยั ชอบสบาย
ทํางานน้อย ชอบอูง้ าน ไม่ค่อยมีความทะเยอทะยานที่จะไต่เต้าชอบทํางานตามคําสัง่ อย่างเดียวและไม่ตอ้ งการ
ตัดสิ นใจหรื อรับผิดชอบงานใดๆ ดังนั้นการบริ หารบุคคลประเภทนี้ตอ้ งควบคุมดูแลอย่างใกล้ชิดและมีกฎหรื อใช้
ระเบียบวินยั เป็ นกรอบ ถ้าบุคคลใดไม่ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบที่วางไว้กจ็ ะถูกลงโทษ
58. ลักษณะสําคัญของการบริ หารตามทฤษฎี A (American)
ก. เน้น Job Rotation ข. เน้น Specialization
ค. เน้น Informal ง. เน้นระบบอุปถัมภ์
จ. เน้น Team Work
ตอบ ข “Theory A” คือ ตัวแทนทัศนะการจัดการของสหรัฐอเมริ กา ซึ่งมีลกั ษณะสําคัญดังนี้
1. เส้นทางอาชีพจะเป็ นแบบเชี่ยวชาญเฉพาะด้าน (Specialization)
2. เน้นการจ้างงานระยะสั้น
3. มีการควบคุมอย่างเป็ นทางการ (Formalized)
4. เน้นความรับผิดชอบและการตัดสิ นใจเฉพาะบุคคลใดบุคคลหนึ่ ง โดยไม่มีส่วนร่ วมจากพนักงาน
5. การประเมินผลงานและการเลื่อนตําแหน่ งเป็ นไปอย่างรวดเร็ ว ฯลฯ
59. “การบริ หารงานแบบญี่ปุ่น” ใช้ระบบใดในการเลื่อนชั้นเลื่อนตําแหน่ ง
ก ระบบคุณธรรม ข. ระบบอุปถัมภ์
ค. ระบบอาวุโส ง. ระบบญาติพี่นอ้ ง
ตอบ ค. การบริ หารงานแบบญี่ปุ่นจะใช้ระบบอาวุโส (Seniority) เป็ นหลักในการ
พิจารณาความดีความชอบและการเลื่อนชั้นเลื่อนตําแหน่ง
60. การเสาะแสวงหาบุคคลมาทํางานในตําแหน่งระดับต้นเท่านั้นแสดงให้เห็นว่า บริ ษท ั มีนโยบายอย่างไรในการ
เสาะหาพนักงาน
ก. เสาะหาจากแหล่งภายใน ข. เสาะหาจากแหล่งภายนอก
ค. มีนโยบายผสมผสานทั้งจากแหล่งภายในและเสาะหาจากภายนอก
ง. ไม่ได้แสดงถึงนโยบายที่แน่นอนของการเสาะหาพนักงานว่าจะเสาะหาจากแหล่งใด
จ. ไม่มีขอ้ ใดถูก
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 265
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ ก. องค์การที่มีนโยบายในการเสาะหาพนักงานจากแหล่งภายในนั้น มักจะเสาะหาคนงานจากภายนอก
องค์การเฉพาะในระดับตําแหน่งการว่าจ้างชั้นต้น (Initial Hiring Level) หรื อระดับล่างเท่านั้น ส่ วนพนักงานใน
ระดับสู งขึ้นไปก็จะส่ งเสริ มพัฒนาและยกระดับจากคนงานภายในองค์การ
61. ผูร้ ับผิดชอบและเป็ นผูป ้ ระเมินผลการทํางานของพนักงาน
ก. หัวหน้างานโดยตรง ข. ผูจ้ ดั การฝ่ ายบุคคล
ค. เจ้าหน้าที่แผนกบุคคล ง. คณะกรรมการผูถ้ ือหุน้
จ. ผูบ้ ริ หารสู งสุ ดขององค์การ
ตอบ ก. ผูท้ ี่มีหน้าที่ในการประเมินผลการปฏิบตั ิงานจะเป็ นใครก็ได้ เช่น ผูบ้ งั คับบัญชาหรื อหัวหน้าโดยตรง
62. การตัดสิ นใจในการคัดเลือกขั้นสุ ดท้ายโดยทัว่ ไปแล้วจะอยูใ่ นความรับผิดชอบของใคร
ก. ผูบ้ ริ หารระดับสู งขององค์การ ข. ผูจ้ ดั การฝ่ ายบุคคล
ค. หัวหน้างานโดยตรง ง. ที่ปรึ กษาของหน่วยงาน
จ. ที่ประชุมคณะกรรมการบริ หาร
ตอบ ค. การตัดสิ นใจการคัดเลือกขั้นสุ ดท้ายว่าจะรับหรื อไม่จะต้องให้หน่วยงานฝ่ ายที่ตอ้ งการพนักงานเป็ นผู ้
ตัดสิ นใจ นัน่ คือ จะอยูใ่ นความรับผิดชอบหัวหน้างานโดยตรง
63. สภาพแวดล้อมภายในที่มีผลกระทบต่อ HRM ในองค์การ ได้แก่ขอ้ ใด
ก. เงื่อนไขทางการค้า ข. เทคโนโลยี
ค. กฎหมาย ง. สหภาพแรงงาน
จ. โครงสร้างองค์การ
ตอบ จ. ปัจจัยสภาพแวดล้อมที่มีผลกระทบต่อการบริ หารทรัพยากรมนุษย์(HRM) ในองค์การ แบ่งออกเป็ น
2 ประเภท คือ
1. ปั จจัยภายในองค์การ เช่น โครงสร้างองค์การกลยุทธ์ทางธุ รกิจขององค์กร ปรัชญาการบริ หาร การจูงใจ
ในรู ปตัวเงิน ปทัสถานและค่านิยม ฯลฯ
2. ปั จจัยภายนอกองค์การ เช่น สภาวะเศรษฐกิจ เงื่อนไขทางการค้า ความก้าวหน้าทางเทคโนโลยี กฎหมาย
ภาษี ฯลฯ
64. ข้อใดแสดงถึง HRIS
ก. ใช้ Computer ในการจัดทําระบบบัญชี
ข. การรายงานงบดุลและงบการเงินขององค์การ
ค. การเก็บประวัติส่วนตัวของบุคลากรในองค์การโดยคอมพิวเตอร์
ง. การประชาสัมพันธ์องค์การโดยผ่าน Internet
จ. การส่ งกลับคืนประเทศของแรงงานต่างด้าว
ตอบ ค. ระบบข้อมูลการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ (Human Resource Information System: HRIS)
หมายถึง ระบบข้อมูลที่ได้มีการจัดทําขึ้นอย่างเป็ นระบบ โดยมีการแยกแยะและเก็บบันทึกข้อมูลไว้เพื่อใช้ในการ
พิจารณาหรื อวินิจฉัยปัญหา และสนับสนุนให้มีการตัดสิ นใจเกี่ยวกับการบริ หารทรัพยากรมนุษย์ได้อย่างถูกต้อง
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 266
-------------------------------------------------------------------------------
65. ข้อใดเป็ นภารกิจที่ HR Manager พึงปฏิบตั ิ
ก. ศึกษาให้รู้ถึงการปฏิบตั ิงานและปัญหาต่าง ๆที่เกิดขึ้นในหน่วยปฏิบตั ิงานธุรกิจทุกหน่วยในองค์กร
ข. รู ้ถึงปัญหาของฝ่ าย Line ค. มีส่วนร่ วมในกิจกรรมทัว่ ทั้งองค์กร
ง. ร่ วมกับผูบ้ ริ หารในการจัดทํา Job Ladders ง. ทุกข้อเป็ นภารกิจ
ตอบ ง.
66. บุคคลในข้อใดที่จาํ เป็ นต้องมี Conceptual Skill มากที่สุด
ก. Top Management ข. Middle Management
ค. First Line Management ง. Operation
จ. Office Staff
ตอบ ก
67. ข้อใดแสดงถึงการใช้หลัก Seniority ในการจัดการ
ก. เลื่อนตําแหน่งพนักงานที่มีอายุงานมากที่สุดเป็ น Supervisor
ข. คนที่ผลงานที่ดีที่สุดจะได้รับการคัดเลือกเป็ นหัวหน้างาน
ค. สอบชิงทุนไปฝึ กอบรม
ง รับพนักงานโดยการสอบคัดเลือก
จ. ใช้การเปรี ยบเทียบผลงานของรุ่ นพี่กบั รุ่ นน้อง
ตอบ ก
------------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 267
-------------------------------------------------------------------------------
 ความรู้ เกีย่ วกับจริยธรรม จรรยาบรรณ ธรรมาภิบาล
จริยธรรมทางธุรกิจ จรรยาบรรณของกรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์
การเกษตร
จริยธรรมทางธุรกิจ
คณะกรรมการธนาคารกําหนดให้มีจริ ยธรรมทางธุรกิจของธนาคาร โดยให้ท้ งั กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และ
พนักงานทุกระดับ ยึดถือปฏิบตั ิ เพื่อให้ธนาคารมีการดําเนินงานอย่างถูกต้องตามหลักจริ ยธรรม เคารพสิ ทธิและ
ปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยอย่างเสมอภาค เป็ นธรรม และตรวจสอบได้ ซึ่งครอบคลุมเรื่ องต่าง ๆ ที่ธนาคารให้
ความสําคัญ ประกอบด้วย
1. การเคารพกฎหมายและหลักสิ ทธิมนุษยชน
ธนาคารเคารพกฎหมาย วัฒนธรรม ขนบธรรมเนียมประเพณี และหลักสิ ทธิมนุษยชนสากล ในทุกพื้นที่ที่
เข้าไปดําเนินธุรกิจ โดยไม่ฝ่าฝื นและปฏิบตั ิตาม
2. การสนับสนุนภาคการเมือง
ธนาคารเป็ นองค์กรที่เป็ นกลางทางการเมือง ธนาคารสนับสนุนการดําเนินการใด ๆ ที่เป็ นไปตามระบอบ
การปกครองในประเทศนั้น และธนาคารสนับสนุนให้กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานของธนาคารใช้สิทธิทาง
การเมืองของตนตามครรลองของกฎหมาย เพื่อให้ธนาคารดําเนินธุรกิจโดยจากปราศจากความกดดันทางการเมือง
และภาคประชาชน
3. การมีส่วนได้ ส่วนเสี ยและผลประโยชน์ ขัดกัน
ธนาคารกําหนดให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน กระทําการใดๆ โดยยึดถือผลประโยชน์ของ ธนาคาร
เป็ นสําคัญ และไม่เกี่ยวข้องในกิจกรรมที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์
4. การเก็บรักษาความลับ การเก็บรั กษาข้ อมูล และการใช้ ข้อมูลภายใน
ธนาคารจะรักษาข้อมูลที่เป็ นความลับมิให้รั่วไหลไปยังบุคคลที่ไม่เกี่ยวข้อง โดยเฉพาะอย่างยิง่ ข้อมูลที่อาจ
มีผลกระทบต่อธนาคาร หรื อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย
ธนาคารไม่ให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน ใช้ขอ้ มูลภายในหาประโยชน์ให้แก่ตนเองหรื อผูอ้ ื่น เพื่อให้
เกิดความยุติธรรมและเสมอภาคต่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย
5. การปฏิบต ั ติ ่ อลูกค้ า
ธนาคารคํานึงถึงความพึงพอใจสู งสุ ดของลูกค้าและมุ่งเน้นให้ลูกค้าได้รับผลิตภัณฑ์และบริ การที่ดี มี
คุณภาพ ด้วยราคาที่เป็ นธรรม และมีความรับผิดชอบต่อลูกค้า
6. การปฏิบต ั ติ ่ อคู่แข่ งทางการค้ า
ธนาคารมีนโยบายในการดําเนินธุรกิจอย่างเป็ นธรรม ไม่บิดเบือนข้อมูล หลอกลวงหรื อใช้วิธีอื่นใดที่ไม่
ถูกต้องตามครรลองของการแข่งขัน โดยในบางครั้งธนาคารมีความจําเป็ นต้องร่ วมมือกับ คู่แข่งทางการค้า ซึ่งความ
ร่ วมมือดังกล่าวต้องเป็ นไปอย่างโปร่ งใส ไม่มีการปกปิ ดข้อตกลงที่ไม่ชอบด้วยกฎหมาย
7. การปฏิบต ั ติ ่ อผู้ถือหุ้น
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 268
-------------------------------------------------------------------------------
ธนาคารมุ่งมัน่ ที่จะดาเนินงานโดยยึดมัน่ ในคุณธรรมและจริ ยธรรม ตลอดจนตัดสิ นใจดาเนินการใดๆ ด้วย
ความเป็ นธรรม มุ่งมัน่ ที่จะสร้างความเจริ ญเติบโตบนศักยภาพที่แท้จริ ง เคารพสิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ ในการได้รับข้อมูล
ที่จาเป็ น และปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน
8. การจัดซื้อ จัดหาและการปฏิบต ั ิต่อคู่ค้า
ธนาคารถือว่าผูร้ ับเหมา คู่คา้ /ผูข้ ายและผูร้ ่ วมทุน เป็ นส่ วนสําคัญที่เอื้ออํานวยให้ธุรกิจของธนาคารดํารงอยู่
ได้ ธนาคารจึงมีนโยบายปฏิบตั ิต่อกันในฐานะที่เป็ นคู่คา้ ในทางธุรกิจที่เสมอภาคกัน ดังนั้นการจัดซื้อจัดหาของ
ธนาคารจึงตั้งอยูบ่ นพื้นฐานของการแข่งขันอย่างเสมอภาคและเป็ นธรรม เพื่อประโยชน์สูงสุ ดของธนาคาร มีการ
จัดทําข้อตกลงเป็ นลายลักษณ์อกั ษรและเคารพในข้อตกลงนั้น โดยกรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานยึดมัน่ หลักการที่
ไม่รับผลประโยชน์จากกิจกรรมการจัดซื้อ จัดหา
9. การรับผิดชอบต่ อชุ มชนและสั งคมโดยรวม
ธนาคารมีจิตสานึกถึงบทบาทหน้าที่การเป็ นสมาชิกที่ดีต่อสังคม โดยให้ความสําคัญในการมี ส่ วนร่ วมและ
สร้างความสัมพันธ์อนั ดีให้เกิดขึ้นระหว่างธนาคารและสังคม บนพื้นฐานของความถูกต้อง โปร่ งใส เป็ นธรรม เพื่อ
ร่ วมสร้างองค์ความรู ้ และนําไปสู่ การพัฒนาสังคมอย่างยัง่ ยืน ภายใต้แนวคิด ความรับผิดชอบต่อสังคมของธนาคาร
ที่ “ยึดมัน่ หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง เป็ นแนวทาง การบริ หารจัดการเพื่อให้เกษตรกรมีคุณภาพชีวิตที่ดีข้ นึ ”
ซึ่งเป็ นรากฐานสําคัญที่จะนําไปสู่ การพัฒนา ที่เป็ นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคม ตลอดจนการอนุรักษ์วฒั นธรรม
และสิ่ งแวดล้อม ให้คงอยูอ่ ย่างยัง่ ยืน
10. การปฏิบต ั ิต่อกรรมการ ผู้บริหารและพนักงาน
ธนาคารปฏิบตั ิต่อกรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานบนพื้นฐานของศักดิ์ศรี ความเป็ นมนุษย์และ ให้ความ
เคารพต่อสิ ทธิหน้าที่ส่วนบุคคล
ธนาคารให้ความสําคัญกับคุณค่าพนักงานของธนาคาร โดยส่ งเสริ มให้กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน
พัฒนาความรู ้ความสามารถ มีคุณธรรม มีพฤติกรรมที่เหมาะสม เพื่อประโยชน์ของธนาคารเป็ นหลัก รวมทั้งเปิ ด
โอกาสให้ผบู ้ ริ หารและพนักงานเข้าร่ วมกิจกรรมภายนอก ภายใต้ขอบเขตนโยบายของธนาคาร
ธนาคาร จัดให้มีสภาพแวดล้อมการทํางานที่ปลอดภัย และปฏิบตั ิต่อพนักงานทุกคนโดยเสมอภาค ไม่
แบ่งแยกถิ่นกําเนิด เชื้อชาติ เพศ อายุ สี ผวิ ศาสนา ความพิการ หรื อสถานะอื่นใดที่ไม่เกี่ยวข้องกับ การปฏิบตั ิงาน
ธนาคารจัดให้มีสภาพการจ้างงานที่ยตุ ิธรรม ให้ผลตอบแทนที่เหมาะสม ตามความรู ้ ความสามารถ ความ
รับผิดชอบและผลการปฏิบตั ิงานของพนักงานแต่ละคน มีโอกาสก้าวหน้าในธนาคารอย่างเป็ นธรรม และดูแลไม่ให้
เกิดการคุกคามหรื อข่มขู่ ระหว่างพนักงาน หรื อผูท้ ี่เกี่ยวข้องกับธนาคาร
ธนาคารส่ งเสริ มการมีส่วนร่ วมของพนักงานในการกําหนดทิศทางการทํางานและการแก้ไขปัญหาของ
ธนาคาร โดยมีการรับฟังข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะจากพนักงานทุกระดับอย่างเท่าเทียมและ เสมอภาค
ธนาคารจะรักษาข้อมูลส่ วนบุคคลของ กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงาน เช่น ชีวประวัติ ประวัติสุขภาพ
ประวัติการทํางานหรื อข้อมูลส่ วนตัวอื่นๆ การเปิ ดเผยหรื อการถ่ายโอนข้อมูลส่ วนตัวของ กรรมการ ผูบ้ ริ หารและ
พนักงานสู่ สาธารณะจะทําได้ต่อเมื่อได้รับความเห็นชอบจาก กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานผูน้ ้ นั เว้นแต่ได้
กระทําไปตามระเบียบธนาคารหรื อตามกฎหมาย
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 269
-------------------------------------------------------------------------------
11. การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
ธนาคารตระหนักถึงความสําคัญของการควบคุมภายใน และการตรวจสอบภายในที่มีประสิ ทธิภาพ ถูกต้อง
และเชื่อถือได้ ธนาคารกําหนดนโยบายกํากับดูแลให้มีระบบการควบคุมภายในที่ดี มีการบริ หารความเสี่ ยงให้อยูใ่ น
ระดับที่เหมาะสม และมีการติดตามประเมินผลอย่างสมํ่าเสมอ โดยสอดคล้องกับมาตรฐานสากล และตามที่
คณะกรรมการการตรวจเงินแผ่นดินกําหนด โดยยึดหลักการดําเนินงานและติดตามผลอย่างมีประสิ ทธิภาพ การ
บริ หารความเสี่ ยงอย่างเหมาะสม มีการรายงานทางการบัญชีและการเงินอย่างถูกต้อง ครบถ้วน และการปฏิบตั ิตาม
กฎระเบียบอย่างถูกต้อง และมุ่งมัน่ เป็ นธนาคารที่มีการตรวจสอบที่มีประสิ ทธิภาพโดยมีฝ่ายตรวจสอบภายในสอบ
ทานการปฏิบตั ิงาน และ มีคณะกรรมการการตรวจสอบกํากับดูแล รวมถึงกรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานให้
ความสําคัญในการควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
12. การรับ การให้ ของขวัญ ทรัพย์ สินหรื อประโยชน์ อื่นใด
ธนาคารกําหนดให้การให้ หรื อการรับของขวัญ หรื อของกํานัล หรื อประโยชน์อื่นใด การเลี้ยง หรื อการรับ
เลี้ยง กระทําได้ในวิสยั ที่สมควร แต่ตอ้ งไม่มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจของธนาคาร
13. ความปลอดภัย สุ ขอนามัยและสิ่ งแวดล้ อม
ธนาคารมุ่งมัน่ ที่จะดําเนินธุรกิจ โดยไม่ก่อให้เกิดผลกระทบด้านความปลอดภัย มัน่ คง อาชีวอนามัย และ
สิ่ งแวดล้อม และกําหนดให้มีระบบการจัดการในระดับสากล กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานให้ความสําคัญและ
ปฏิบตั ิตามกฎหมาย นโยบาย มาตรฐาน และข้อกําหนดทางด้าน ความปลอดภัย มัน่ คง อาชีวอนามัย และ
สิ่ งแวดล้อมของธนาคาร ในแต่ละพื้นที่ที่ธนาคารเข้าไปดําเนินธุรกิจอย่างเคร่ งครัด
ธนาคารสนับสนุน การเปิ ดโอกาสให้ชุมชนและผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้อง มีส่วนร่ วมในการให้ขอ้ คิดเห็นสําหรับ
โครงการต่างๆ ที่อาจส่ งผลกระทบต่อชุมชน รวมทั้งธนาคารสนับสนุนการใช้ทรัพยากรธรรมชาติ วัสดุหรื ออุปกรณ์
ต่างๆ อย่างมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
14. ทรัพย์ สิน ทรัพย์ สินทางปัญญา และการใช้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารโทรคมนาคม
ธนาคารมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการใช้ทรัพย์สินของธนาคารให้เกิดประโยชน์อย่างเต็มที่ และดูแล
มิให้เสื่ อมสู ญหายหรื อนําไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวหรื อเพื่อบุคคลอื่น
ธนาคารสนับสนุนให้กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานของธนาคารทําการศึกษาและวิจยั ผลิตภัณฑ์ บริ การ
รวมทั้งความรู ้ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับภารกิจของธนาคาร เพื่อให้การปฏิบตั ิงานของธนาคารเป็ นไปอย่างราบรื่ นและ
บรรลุวิสยั ทัศน์ของธนาคาร
ธนาคารจัดให้มีเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร เพื่อใช้ในการดําเนินธุรกิจ โดยกรรมการ ผูบ้ ริ หาร
และพนักงาน ต้องใช้อย่างถูกต้อง มีประสิ ทธิภาพ ปฏิบตั ิตามกฎหมาย และนโยบายด้านเทคโนโลยีสารสนเทศและ
การสื่ อสาร เพื่อประโยชน์สูงสุ ดของธนาคาร
นอกจากนี้ธนาคารยังมีความระมัดระวังในการใช้งานทรัพย์สินทางปัญญาของผูอ้ ื่น โดยต้องเคารพลิขสิ ทธิ์
ของเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา
จรรยาบรรณของกรรมการ ผู้บริ หารและพนักงาน
คณะกรรมการธนาคารกําหนดให้มีจรรยาบรรณของ กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงาน โดยให้ท้ งั กรรมการ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 270
-------------------------------------------------------------------------------
ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกระดับ ยึดถือปฏิบตั ิ เพื่อให้บุคลากรของธนาคารมีการดําเนินงานอย่างถูกต้องตามหลัก
จริ ยธรรม เคารพสิ ทธิและปฏิบตั ิต่อผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยอย่างเสมอภาค เป็ นธรรม และตรวจสอบได้ ซึ่งครอบคลุม
เรื่ องต่าง ๆ ที่ธนาคารให้ความสําคัญ ประกอบด้วย
1. การเคารพกฎหมายและหลักสิ ทธิมนุษยชน
กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานปฏิบตั ิตามข้อบังคับ ระเบียบคาสัง่ ต่างๆ ของธนาคาร อย่างเคร่ งครัด
รวมทั้งปฏิบตั ิตามกฎหมายและหลักสิ ทธิมนุษยชนสากลที่เกี่ยวข้องกับกิจการของธนาคาร
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานต้องอ่านและทําความเข้าใจในข้อบังคับ ระเบียบ คําสัง่ และกฎหมายที่
เกี่ยวข้องกับการดําเนินกิจการของธนาคาร
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ต้องเคารพในสิ ทธิของผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ยอย่างเท่าเทียมกัน โดยไม่
ละเมิดสิ ทธิส่วนบุคคลรวมทั้งเคารพในเกียรติและศักดิ์ศรี ไม่แบ่งแยกการศึกษา ยศ เชื้อชาติ สัญชาติ ศาสนา และ
เพศ
(3) กรรมการ ผูบ ้ ริ หาร พนักงานจะต้องปฏิบตั ิหน้าที่ของตนด้วยความซื่อสัตย์สุจริ ต โดยคํานึงถึง
ประโยชน์อนั ชอบธรรมของธนาคาร ถึงแม้จะมีช่องว่างของกฎหมายหรื อช่องว่างของข้อบังคับ ระเบียบ และคําสัง่
ของธนาคารก็ตาม
2. การสนับสนุนภาคการเมือง
กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานทุกระดับมีสิทธิเสรี ภาพในการใช้สิทธิทางการเมืองและสามารถ มีส่วน
ร่ วมในกิจกรรมทางการเมืองภายใต้บทบัญญัติแห่งรัฐธรรมนูญ
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานพึงหลีกเลี่ยงการเข้าไปรับหน้าที่เป็ นกรรมการพรรคการเมือง เป็ น
ตัวแทนพรรคการเมืองในกิจกรรมสาธารณะต่าง ๆ หรื อเป็ นสมาชิกขององค์กรปกครอง ส่ วนท้องถิ่นหรื อไม่แสดง
ด้วยวิธีใด ๆ ที่ทาํ ให้ผอู ้ ื่นเข้าใจว่าธนาคารเกี่ยวข้อง สนับสนุน หรื อฝักใฝ่ ทางการเมืองหรื อพรรคการเมือง
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานต้องไม่แอบอ้างความเป็ นพนักงานหรื อนําทรัพย์สิน อุปกรณ์ เครื่ องมือ
ใด ๆ ของธนาคารไปใช้เพื่อประโยชน์ในการดําเนินการใด ๆ ในทางการเมือง
(3) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานพึงหลีกเลี่ยงการแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการเมืองในสถานที่ทาํ งาน
หรื อในเวลางานอันอาจทาให้เกิดความขัดแย้งทางความคิด
3. การมีส่วนได้ ส่วนเสี ยและความขัดแย้ งทางผลประโยชน์
การตัดสิ นใจและการดําเนินการใด ๆ เกี่ยวกับกิจการธนาคารของกรรมการ ผูบ้ ริ หาร พนักงานจะต้องทํา
เพื่อผลประโยชน์สูงสุ ดของธนาคาร โดยปราศจากอิทธิพลของความต้องการส่ วนตัว ครอบครัว หรื อบุคคลผูใ้ กล้ชิด
ใด ๆ
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน พึงรักษาผลประโยชน์ของธนาคาร โดยไม่กระทําการใด ๆ ที่จะทําให้
ธนาคารสู ญเสี ยประโยชน์ ไม่เบียดบังประโยชน์ของธนาคารไปเป็ นประโยชน์ส่วนตนหรื อลูกค้า
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 271
-------------------------------------------------------------------------------
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานต้องไม่รับเงินหรื อประโยชน์ตอบแทนใด ๆ เป็ นการส่ วนตัวจากลูกค้า
คู่คา้ ของธนาคาร หรื อจากบุคคลใดอันเนื่องจากการทํางานในนามธนาคาร
(3) การทําธุ รกิจใดๆ ของกรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานต้องไม่กระทบต่อการปฏิบตั ิหน้าที่และ เวลา
ทํางานของธนาคาร
(4) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานต้องไม่เข้าเป็ นหุน้ ส่ วนหรื อผูถ้ ือหุน้ ที่มีอาํ นาจตัดสิ นใจ หรื อ เป็ น
กรรมการ หรื อผูบ้ ริ หาร ในกิจการที่เป็ นการแข่งขัน หรื อมีลกั ษณะเดียวกับธนาคาร แต่ในกรณี ที่ไม่อาจหลีกเลี่ยงได้
ให้รายงานผูบ้ งั คับบัญชาทราบโดยทันที และในกรณี ที่กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานเข้าไปเกี่ยวข้องกับธุรกิจ
หรื อเหตุการณ์ใด ๆ ที่อาจทาให้เกิดความขัดแย้งทางผลประโยชน์ให้รายงานผูบ้ งั คับบัญชาทราบโดยทันที
(5) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ไม่พงึ แสวงหาผลประโยชน์ให้ตนเองและผูท้ ี่เกี่ยวข้องโดยใช้ขอ้ มูล
ใด ๆ ของธนาคารซึ่งยังไม่ได้เปิ ดเผยต่อสาธารณะ และไม่ดาํ เนินการใด ๆ ในลักษณะที่อาจก่อให้เกิดความขัดแย้ง
ทางผลประโยชน์ของธนาคาร
(6) การทําธุ รกิจใด ๆ กับธนาคารทั้งในนามส่ วนตัว ครอบครัวหรื อในนามนิ ติบุคคลใด ๆ ที่กรรมการ
ผูบ้ ริ หารและพนักงานนั้นมีส่วนได้ส่วนเสี ยจะต้องเปิ ดเผยส่ วนได้ส่วนเสี ยต่อธนาคารก่อนเข้าทํารายการ
(7) ห้ามกรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ที่มีส่วนได้ส่วนเสี ยเป็ นผูอ้ นุมตั ิในการตกลงเข้าทํารายการหรื อ
กระทําการใด ๆ ในนามธนาคาร
(8) ผูท ้ าํ รายการในนามธนาคารมีหน้าที่ตอ้ งตรวจสอบความสัมพันธ์ของคู่คา้ ว่าเกี่ยวข้องกับ กรรมการ
ผูบ้ ริ หารและพนักงานหรื อไม่ ก่อนทํารายการเพื่อป้องกันความขัดแย้งทางผลประโยชน์ใด ๆ ที่อาจเกิดขึ้น
4. การเก็บรักษาความลับ การเก็บรั กษาข้ อมูล และการใช้ ข้อมูลภายใน
กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานต้องรักษาข้อมูลของธนาคารและของลูกค้าไว้เป็ นความลับ โดยไม่เปิ ดเผย
ข้อมูลหรื อข่าวสารของธนาคารที่ยงั ไม่ควรเปิ ดเผย และไม่ให้ข่าวสารหรื อข้อมูลใด ๆ ที่ผมู ้ ีอาํ นาจสัง่ การยังไม่
อนุญาต
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานไม่พงึ เปิ ดเผยข้อมูลของธนาคารและข้อมูลของลูกค้า โดยไม่ได้รับ
อนุญาตจากคณะกรรมการธนาคาร หรื อผูจ้ ดั การ หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย เว้นแต่เป็ นข้อมูลที่ตอ้ งเปิ ดเผยต่อ
บุคคลภายนอกที่เกี่ยวกับบทบังคับของกฎหมาย
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานทาการจัดทําสําเนา ส่ งโทรสาร หรื อจัดเก็บข้อมูลอย่างเหมาะสม
ปลอดภัย เพื่อป้องกันมิให้ผทู ้ ี่ไม่เกี่ยวข้องเข้าถึงข้อมูลหรื อความลับเหล่านั้น
(3) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานต้องหลีกเลี่ยงที่จะพูดถึงความลับในที่สาธารณะ
5. การปฏิบต ั ติ ่ อลูกค้ า
กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงาน ต้องให้ความสําคัญและเอาใจใส่ ต่อลูกค้า โดยมุ่งมัน่ และ สร้างความมัน่ ใจ
ให้กบั ลูกค้าที่จะได้รับผลิตภัณฑ์และบริ การที่ดี มีคุณภาพ ราคาที่เป็ นธรรม อันจะส่ งผลให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจ
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานต้องส่ งมอบผลิตภัณฑ์ และการบริ การที่ดีมีคุณภาพแก่ลูกค้า
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 272
-------------------------------------------------------------------------------
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานต้องติดตามประเมินผลผลิตภัณฑ์และการบริ การต่อลูกค้า แล้วนําผลที่
ได้มาปรับปรุ งแก้ไขและพัฒนาการบริ การให้ดียงิ่ ขึ้น
(3) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน พึงมีความจริ งใจต่อลูกค้าและรักษาคามัน่ สัญญาที่ให้ไว้กบั ลูกค้า ไม่
สร้างความหวังให้แก่ลูกค้าในสิ่ งที่ธนาคารไม่สามารถทําให้ได้
(4) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน พึงปฏิบตั ิตามเงื่อนไขต่างๆ ที่มีต่อลูกค้าอย่างเคร่ งครัด หากไม่
สามารถปฏิบตั ิตามเงื่อนไขข้อใดได้ ควรรี บแจ้งให้ลูกค้าเกิดความพึงพอใจสู งสุ ด
(5) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน พึงสนใจให้บริ การลูกค้าด้วยความเต็มใจและสุภาพ โดยการแนะนํา
ให้ขอ้ มูลที่เป็ นประโยชน์ต่อลูกค้า เมื่อลูกค้าต้องการหรื อเมื่อลูกค้ามีปัญหา
6. การปฏิบต ั ติ ่ อคู่แข่ งทางการค้ า
กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงาน ต้องตั้งมัน่ ที่จะแข่งขันทางการค้าอย่างยุติธรรม โดยคํานึงถึงจริ ยธรรมใน
การประกอบการค้า
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หาร และพนักงาน ต้องไม่แข่งขันด้วยการใส่ ร้ายป้ายสี กลัน่ แกล้ง หรื อบิดเบือน
ข้อเท็จจริ งของคู่แข่ง ขณะเดียวกันต้องหลีกเลี่ยงการตกลงหรื อการพูดคุยถกเถียงกับพนักงานของหน่วยงานหรื อ
สถาบันการเงินอื่น ๆ เกี่ยวกับตําแหน่งที่ต้งั ภูมิประเทศ การตลาด การจัดสรรลูกค้าอัตราดอกเบี้ย ค่าธรรมเนียมต่าง
ๆ รวมถึงผลิตภัณฑ์บริ การ หรื อแผนธุรกิจ ต่าง ๆ ซึ่งอาจส่ งผลกระทบต่อการแข่งขันทางธุรกิจของธนาคาร
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ต้องปฏิบตั ิภายใต้กรอบกติกาของการแข่งขันที่ดี ไม่แสวงหาข้อมูลที่
เป็ นความลับของคู่แข่งทางการค้าด้วยวิธีการที่ไม่สุจริ ตหรื อไม่เหมาะสม เช่น การจ่ายเงินสิ นจ้างให้แก่พนักงานของ
คู่แข่ง เป็ นต้น
(3) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ต้องไม่ทาํ การตกลงใดๆ กับคู่แข่งขันหรื อบุคคลใด ที่มีลกั ษณะเป็ น
การลดหรื อจํากัดการแข่งขันทางการค้า
7. การปฏิบต ั ติ ่ อผู้ถือหุ้น
กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงาน พึงปฏิบตั ิต่อผูถ้ ือหุน้ ตามสิ ทธิที่มีตามที่กฎหมายกําหนด
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน พึงมุ่งมัน่ ในการดําเนินงานเพื่อสร้างความพึงพอใจสู งสุ ดให้กบั ผูถ้ ือ
หุน้ โดยยึดมัน่ ในคุณธรรมและจริ ยธรรม ตลอดจนตัดสิ นใจดําเนินการใดๆ ด้วยความ เป็ นธรรม มุ่งมัน่ ที่จะสร้าง
ความเจริ ญเติบโตบนศักยภาพที่แท้จริ ง
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน พึงเคารพสิ ทธิของผูถ้ ือหุน้ ในการได้รับข้อมูลที่จาํ เป็ น และปฏิบตั ิต่อ
ผูถ้ ือหุน้ ทุกรายอย่างเท่าเทียมกัน
8. การจัดซื้ อ จัดหาและการปฏิบต ั ิต่อคู่ค้า
กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงาน ต้องยึดหลักผลประโยชน์สูงสุ ดของธนาคารโดยไม่คาํ นึงถึงผลประโยชน์
ส่ วนตนหรื อของพวกพ้อง
แนวทางปฏิบตั ิ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 273
-------------------------------------------------------------------------------
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานพึงให้ขอ้ มูลที่เป็ นจริ งอย่างครบถ้วนแก่ผรู ้ ับเหมา คู่คา้ /ผูข้ ายและ
ผูร้ ่ วมงาน
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานพึงหลีกเลี่ยงการรับของกํานัล สิ นนํ้าใจ การรับเชิญไปใน งานเลี้ยง
ประเภทสังสรรค์ งานเลี้ยงรับรอง การรับเชิญไปดูงานที่จดั ขึ้นให้เป็ นการส่ วนตัว หรื อ หมู่คณะอย่างเฉพาะเจาะจง
ซึ่งลูกค้าเป็ นผูอ้ อกค่าใช้จ่ายที่เกี่ยวข้องให้ เพื่อปูองกันข้อครหาและการมีใจโน้มเอียงที่จะช่วยเหลือตอบแทนฝ่ ายใด
ฝ่ ายหนึ่งเป็ นพิเศษในโอกาสหลัง
(3) กรรมการ ผูบ ้ ริ หาร และพนักงานที่ตอ้ งการจัดซื้อ จัดหา สิ นค้าและบริ การ ต้องคํานึงถึง ความต้องการ
ความคุม้ ค่า ราคา และคุณภาพ การจัดซื้อ จัดหาต้องดําเนินการอย่างโปร่ งใส ให้ขอ้ มูลแก่คู่คา้ อย่างเท่าเทียม ถูกต้อง
ไม่มีอคติ ไม่เลือกปฏิบตั ิต่อคู่คา้ สร้างการแข่งขัน ที่เป็ นธรรมระหว่างคู่คา้ วิธีการจัดซื้อ จัดหามีหลักวิชาการรองรับ
มีความรัดกุม สอดคล้องกับสถานการณ์ ในการติดต่อคูค่ า้ ให้ผตู ้ ิดต่อเก็บเอกสารหลักฐาน การเจรจา การร่ างสัญญา
การทําสัญญา และการปฏิบตั ิตามสัญญาไว้เป็ นหลักฐานเผือ่ ใช้ตามระยะเวลาที่กาํ หนด
(4) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานของธนาคาร ที่ตอ้ งการจัดซื้อจัดหาสิ นค้าและบริ การ ไม่ควรทําการ
จัดซื้อจัดจ้างโดยให้ระยะเวลากระชั้นจนเกินไป ควรให้เวลาคู่คา้ อย่างพอเพียงในการเตรี ยมตัว ข้อสัญญาไม่ควรเป็ น
การเอารัดเอาเปรี ยบจนเกินไป และควรมีนกั กฎหมายเป็ นที่ปรึ กษาในการทําสัญญา
(5) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานจะต้องไม่เรี ยกรับประโยชน์จากการจัดซื้อจัดหา ต้องวางตัวเป็ นกลาง
ไม่ใกล้ชิดกับคู่คา้ จนทําให้คูค่ า้ มีอิทธิพลต่อการตัดสิ นใจมากเกินไป และปฏิบตั ิตามข้อปฏิบตั ิในจรรยาบรรณว่าด้วย
การมีส่วนได้ส่วนเสี ยและความขัดแย้งทางผลประโยชน์อย่างเคร่ งครัด
(6) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ต้องปฏิบตั ิตามกระบวนการจัดซื้อจัดจ้างของธนาคาร อย่างเคร่ งครัด
ให้เกิดความเป็ นธรรมต่อทุกฝ่ าย
9. การรับผิดชอบต่ อชุ มชนและสั งคมโดยรวม
กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงาน ตระหนักในความรับผิดชอบต่อสังคมและชุมชน โดยถือเป็ นภารกิจหลัก
อย่างหนึ่งของธนาคาร
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ต้องอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและรักษาสิ่ งแวดล้อม รวมทั้ง มีการ
ปฏิบตั ิตามกฎหมายด้านสิ่ งแวดล้อมอย่างเคร่ งครัด และต้องไม่กระทําการใด ๆ ที่มีผลเสี ยหายต่ทรัพยากรธรรมชาติ
สภาพแวดล้อม และระบบนิเวศที่เกี่ยวข้อง
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน พึงจัดกิจกรรมหรื อสนับสนุนการจัดกิจกรรมของ ผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย
อันเป็ นกิจกรรมเพื่อสาธารณประโยชน์และการบริ การสังคมอย่างต่อเนื่อง
10. การปฏิบต ั ิต่อผู้บังคับบัญชา ผู้ใต้ บงั คับบัญชา และเพื่อนร่ วมงานระดับเดียวกัน
กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงาน ต้องเคารพสิ ทธิส่วนบุคคลของผูอ้ ื่นอย่างเท่าเทียมกัน และ ไม่ละเมิดสิ ทธิ
รวมทั้งเคารพในเกียรติและศักดิ์ศรี ตลอดจนให้ความช่วยเหลือและร่ วมมือกันในการทํางาน
แนวทางปฏิบตั ิ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 274
-------------------------------------------------------------------------------
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานพึงประพฤติตนเหมาะสมกับการเป็ นพนักงานธนาคาร ทั้งด้าน
กิริยามารยาท การวางตัว และการแต่งกายเพื่อสร้างความเชื่อถือให้แก่ตนเองและธนาคาร
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานต้องไม่ยยุ ง ใส่ ร้ายป้ายสี หรื อเป็ นต้นเหตุแห่งการทะเลาะวิวาท อัน
เป็ นการก่อให้เกิดการแตกแยกสามัคคี และต้องมีส่วนร่ วมในการสร้างสรรค์สามัคคี และ รักษาไว้ให้เป็ นนํ้าหนึ่งใจ
เดียวกันในหมู่พนักงาน
(3) ผูบ ้ งั คับบัญชาพึงปฏิบตั ิตนให้เป็ นที่เคารพนับถือของผูใ้ ต้บงั คับบัญชา และผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ไม่พึง
กระทําการใด ๆ อันเป็ นการไม่เคารพนับถือผูบ้ งั คับบัญชา
(4) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ทุกคนต้องไม่กระทําการใด ๆ ที่เป็ นการละเมิดหรื อคุกคาม ไม่วา่ จะ
เป็ นทางวาจา หรื อการกระทาต่อผูอ้ ื่นบนพื้นฐานของเชื้อชาติ เพศ ศาสนา อายุ ความพิการทั้งทางร่ างกายและจิตใจ
(5) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน พึงปฏิบตั ิหน้าที่ดว้ ยความซื่อสัตย์ สุ จริ ต เอาใจใส่ เพื่อสร้างคุณภาพ
ประสิ ทธิภาพและการพัฒนาองค์กรไปสู่ ความเป็ นเลิศ
11. การควบคุมภายในและการตรวจสอบภายใน
กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงาน จะต้องมีความรู ้ความเข้าใจ ให้ความร่ วมมือและสนับสนุน ในระบบการ
ควบคุมภายในและการตรวจสอบภายในของธนาคาร
จัดให้มีและดารงรักษาไว้ซ่ ึงระบบของการตรวจสอบภายในที่ดี ตามมาตรฐานที่กาํ หนดไว้ในระเบียบ
คณะกรรมการตรวจเงินแผ่นดินว่าด้วยการปฏิบตั ิหน้าที่ของการตรวจสอบภายใน พ.ศ. 2546 รวมทั้ง มีการพิจารณา
วินิจฉัย และให้ขอ้ เสนอแนะตามรายงานการตรวจสอบของสานักตรวจสอบภายใน โดยคณะกรรมการบริ หารหรื อ
ผูบ้ ริ หารระดับสู ง เพื่อสัง่ การให้ผรู ้ ับผิดชอบดําเนินการตามความเหมาะสมและทันเวลา
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หาร และพนักงานทุกคนต้องมีความรู ้ความเข้าใจ และให้ความร่ วมมือในระบบ การ
ควบคุมภายใน การตรวจสอบภายใน รวมถึงกฎหมาย กฎ ระเบียบ และข้อกําหนด ที่เกี่ยวข้องและมีผลต่อการปฏิบตั ิ
หน้าที่ และมีการรายงานการรับ การเบิกอย่างแม่นยา ถูกต้อง สมํ่าเสมอ รวดเร็ ว เป็ นนิสัย มีการสอบทานและปฏิบตั ิ
ตามระบบที่กาํ หนดอย่างเคร่ งครัด
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ปฏิบตั ิงานตามกฎหมาย กฎ ระเบียบ ข้อกําหนดในสัญญา ที่เกี่ยวข้อง
กับธนาคาร กระบวนการดําเนินงานและหน้าที่ความรับผิดชอบ ภายในขอบเขตอํานาจที่ได้รับมอบหมาย อย่าง
เคร่ งครัด สมํ่าเสมอและต่อเนื่อง
(3) กรรมการ ผูบ ้ ริ หาร และพนักงานทุกคนมีหน้าที่สนับสนุนการทํางาน และให้ขอ้ มูลที่ถูกต้อง ตามความ
เป็ นจริ งต่อหน่วยงานตรวจสอบภายใน และผูส้ อบบัญชีภายนอก
(4) กรรมการ ผูบ ้ ริ หาร และพนักงานมีหน้าที่ตรวจสอบความถูกต้องทางการเงิน และรายงานในทันทีเมื่อ
พบข้อผิดพลาดหรื อความไม่ชอบมาพากล
12. การรับ การให้ ของขวัญ ทรัพย์ สินหรื อประโยชน์ อื่นใด
กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงานพึงการระมัดระวังในการรับหรื อมอบประโยชน์อนั เป็ นสิ่ งจูงใจ หรื อสัง่
การให้ผอู ้ ื่นซึ่งรวมทั้งคู่สมรสและญาติของพนักงาน รับและมอบประโยชน์แทนตน ซึ่งอาจมีผลต่อ การตัดสิ นใจ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 275
-------------------------------------------------------------------------------
ทางธุรกิจในนามธนาคาร หรื อเพื่อหวังผลความก้าวหน้าในหน้าที่การงาน หรื อการพิจารณาความดีความชอบ
ประจําปี ได้แก่ ของขวัญ ของที่ระลึก เงิน ทรัพย์สินใด หรื อประโยชน์อื่นใดที่อาจคํานวณเป็ นเงินได้ เช่น การลด
หนี้หรื อการลดหนี้ให้เปล่า การให้ยมื โดยไม่คิดดอกเบี้ย การให้ใช้บริ การโดยไม่คิดค่าบริ การหรื อคิดดอกเบี้ยหรื อ
ค่าบริ การน้อยกว่าที่คิดกับบุคคลอื่นโดยปกติทางการค้า และการอื่นซึ่งเป็ นการกระทําที่ทาํ ให้ผนู ้ ้ นั ได้รับประโยชน์
อันอาจคํานวณเป็ นเงินได้ หรื อไม่ตอ้ งออกค่าใช้จ่าย เป็ นต้น ทั้งนี้ตามที่คณะกรรมการป้องกันและปราบปรามการ
ทุจริ ตแห่งชาติ (ป.ป.ช.) กําหนด
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ต้องไม่เรี ยกร้อง ไม่รับเงิน ผลประโยชน์ หรื อสิ่ งของที่ไม่สมควร ไม่
สุ จริ ต หรื อเกินปกติวิสยั จากผูเ้ กี่ยวข้องในกิจการของธนาคาร
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ต้องไม่เรี ยกร้อง ไม่รับเงิน ผลประโยชน์ หรื อสิ่ งของจากบุคคลหรื อ
นิติบุคคลที่ร่วมทําธุรกิจด้วย ไม่วา่ จะเป็ นการเรี ยกร้อง หรื อรับเพื่อตนเองหรื อผูอ้ ื่น
(3) กรณี ที่นิติบุคคลหรื อบุคคลภายนอกที่เกี่ยวข้องทางธุ รกิจกับธนาคาร ให้สิ่งของหรื อผลประโยชน์แก่
ผูบ้ ริ หารหรื อพนักงานเพื่อเป็ นสิ นนํ้าใจ ผูบ้ ริ หารหรื อพนักงานต้องใช้ดุลยพินิจ พิจารณาถึงความเหมาะสม สมควร
หรื อ/และถูกต้องด้วย โดยคํานึงถึงกฎระเบียบของทางราชการ หากผูบ้ ริ หารหรื อพนักงานไม่รับแล้วจะเป็ นการเสี ย
นํ้าใจ และกระทบต่อความสัมพันธ์ที่ดี ทางธุรกิจก็ให้รับได้ แต่ตอ้ งมีมูลค่าไม่เกินข้อห้ามที่เจ้าหน้าที่ของรัฐพึงรับ
ได้
(4) ไม่พึงกระทําการให้และรับของขวัญซึ่ งมีมูลค่าเกินกว่าปกติที่วิญํูชนพึงให้กน ั ระหว่างผูบ้ งั คับบัญชา
และผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ไม่วา่ โอกาสใดๆ ก็ตาม
(5) กรรมการ ผูบ ้ ริ หาร และพนักงาน ตลอดจนครอบครัว ต้องหลีกเลี่ยงการให้หรื อรับสิ่ งของ หรื อ
ประโยชน์อื่นใดจากคู่คา้ หรื อผูม้ ีส่วนเกี่ยวข้องกับธุรกิจของธนาคาร ยกเว้นแต่เพื่อประโยชน์ ในการดําเนินธุรกิจ
ตามปกติ หรื อในเทศกาลหรื อประเพณี นิยม
13. ความปลอดภัย สุ ขอนามัยและสิ่ งแวดล้ อม
กรรมการ ผูบ้ ริ หาร และพนักงานทุกคน ตระหนักถึงความสําคัญของระบบบริ หารและ ประกันคุณภาพ
ความปลอดภัย สุ ขอนามัย และสิ่ งแวดล้อม ต้องคํานึงและถือปฏิบตั ิตามข้อกําหนดและมาตรฐานทางด้านคุณภาพ
ความปลอดภัย สุ ขอนามัย และสิ่ งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องอย่างเคร่ งครัด
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน พึงตรวจสอบความพร้อมของสุ ขภาพและร่ างกายของตนเองก่อน
ปฏิบตั ิงาน และไม่ปฏิบตั ิงานหากร่ างกายไม่พร้อมเพื่อลดความเสี่ ยงในการเกิดอันตรายจากการทํางาน
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ที่ตอ้ งทํางานที่มีความเสี่ ยงต่อชีวติ หรื อสุ ขภาพต้องศึกษาข้อมูลต่าง ๆ
เกี่ยวกับสภาพการทํางานที่ไม่ปลอดภัยหรื ออาจเป็ นอันตราย โดยในการปฏิบตั ิงานในขั้นตอนใดที่มีความเสี่ ยงหาก
ไม่มีความไม่แน่ใจในผลลัพธ์ที่จะเกิดขึ้น ให้หยุดหรื อชะลอการดําเนินงานนั้นและให้ปรึ กษากับผูเ้ ชี่ยวชาญโดย
ทันที รวมทั้งควรรายงานให้ผบู ้ งั คับบัญชาทราบโดยด่วนเมื่อพบเห็นสิ่ งผิดปกติบริ เวณสถานที่ทางานที่อาจะมี
ผลกระทบต่อความปลอดภัย สุ ขอนามัย และสิ่ งแวดล้อม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 276
-------------------------------------------------------------------------------
(3) ผูบ้ งั คับบัญชาในสายงานต่าง ๆ มีหน้าที่กาํ หนดหรื อเผยแพร่ แนวทางในการป้องกันและควบคุมไม่ให้
เกิดอุบตั ิเหตุจากการทํางานให้กบั พนักงานและบุคคลที่เกี่ยวข้อง
(4) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน พึงมีจิตสํานึกในการอนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่ งแวดล้อมอย่าง
จริ งจังและต่อเนื่อง ตลอดจนส่ งเสริ มให้เกิดการใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างประหยัดให้เกิดประโยชน์สูงสุ ด
(5) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน พึงให้ความร่ วมมือในการดําเนินงานตามมาตรฐาน หรื อข้อตกลงใน
เรื่ องต่าง ๆ ที่จดั ทําขึ้นเพื่อช่วยปูองกันหรื อลดผลกระทบต่อสิ่ งแวดล้อม
14. ทรัพย์ สินทางปัญญา และการใช้ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสาร
กรรมการ ผูบ้ ริ หารและพนักงาน มีหน้าที่และความรับผิดชอบในการปกปูองและดูแลรักษาทรัพย์สิน
ทรัพย์สินทางปัญญาของธนาคาร มีความเคารพลิขสิ ทธิ์ของเจ้าของทรัพย์สินทางปัญญา รวมทั้งมีการใช้ระบบ
เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่ อสารโดยใช้สื่อโทรคมนาคมที่ก่อให้เกิดประโยชน์ต่อธนาคาร และถูกต้องตาม
หลักกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
แนวทางปฏิบตั ิ
(1) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงานมีหน้าที่และความรับผิดชอบในการใช้ทรัพย์สินของธนาคารให้เกิด
ประโยชน์อย่างเต็มที่ และดูแลมิให้เสื่ อมสู ญหายหรื อนําไปใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตัวหรื อ เพื่อบุคคลอื่น
(2) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ต้องเปิ ดเผยและมอบผลประโยชน์ในการคิดค้นและพัฒนา ที่จดั ทํา
ขึ้นในระหว่างการปฏิบตั ิงานให้แก่ธนาคาร ไม่วา่ ทั้งหมดหรื อบางส่ วนและไม่วา่ ทรัพย์สินทางปัญญานั้นได้รับ
ความคุม้ ครองตามกฎหมายแล้วหรื อไม่กต็ าม
(3) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ใช้อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ ข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ หรื อเทคโนโลยี
สารสนเทศต่าง ๆ เพื่อประโยชน์ของธนาคารเท่านั้น ห้ามใช้เพื่อประโยชน์ส่วนตน
(4) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ต้องปฏิบตั ิงานโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่มีลิขสิ ทธิ์ถูกต้อง หาก
ปฏิบตั ิหน้าที่บนเครื่ องคอมพิวเตอร์ภายนอกสํานักงานให้ตรวจสอบลิขสิ ทธิ์ก่อนปฏิบตั ิงาน และห้ามติดตั้งและใช้
งานโปรแกรมคอมพิวเตอร์ที่ลิขสิ ทธิ์ไม่ถูกต้องในธนาคารโดยเด็ดขาด
(5) กรรมการ ผูบ ้ ริ หารและพนักงาน ต้องเก็บรักษารหัสผ่านของตนให้เป็ นความลับ ไม่บอกบุคคลอื่นเพื่อ
ปูองกันไม่ให้บุคคลอื่นเข้าถึงรหัสผ่านของตน รวมทั้งไม่ใช้อินเทอร์เน็ตเข้าไปยังเวปไซต์ ที่ไม่คุน้ เคยและอาจจะ
เป็ นอันตรายกับระบบคอมพิวเตอร์ของธนาคาร
(6) อุปกรณ์เทคโนโลยีสารสนเทศ และสื่ อโทรคมนาคม ถือเป็ นทรัพย์สินของธนาคาร กรรมการ ผูบ ้ ริ หาร
และพนักงานจะต้องร่ วมกันบํารุ งรักษาอุปกรณ์ฯ ในหน่วยงานของตน ให้มีความพร้อมแก่การใช้งานอยูเ่ สมอและ
จะต้องระมัดระวังมิให้เกิดการชารุ ดเสี ยหาย หรื อสู ญหาย หากพบเห็นความชารุ ดเสี ยหาย หรื อสู ญหายเกิดขึ้นกับ
อุปกรณ์ฯ จะต้องรายงานต่อผูบ้ งั คับบัญชา หรื อหน่วยงานที่ทาํ หน้าที่ควบคุมดูแลอุปกรณ์ให้ทราบเพื่อดําเนินการ
แก้ไขโดยเร็ ว

ประกาศ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 277
-------------------------------------------------------------------------------
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร
เรื่ องประมวลจริยธรรมธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์ การเกษตร
ประมวลจริ ยธรรมนี้จดั ทาขึ้นตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักรไทยพุทธศักราช ๒๕๕๐
มาตรา ๒๗๙ โดยมีวตั ถุประสงค์เพื่อ
๑. เป็ นเครื่ องมือกากับความประพฤติของผูป้ ฏิบตั ิงานธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร ที่
สร้างความโปร่ งใส มีมาตรฐานในการปฏิบตั ิงานที่ชดั เจนและเป็ นสากล
๒. ยึดถือเป็ นหลักการและแนวทางปฏิบตั ิอย่างสมํ่าเสมอ และเป็ นเครื่ องมือการตรวจสอบการทํางานด้าน
ต่างๆ ทั้งในระดับองค์กรและระดับบุคคล เพื่อให้การดําเนินงานเป็ นไปตามหลักคุณธรรมจริ ยธรรมอย่างมี
ประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผล
๓. ทําให้เกิดรู ปแบบองค์กรอันเป็ นที่ยอมรับ เพิ่มความน่าเชื่อถือเกิดความมัน่ ใจแก่ผรู ้ ับบริ การและ
ประชาชนทัว่ ไป ตลอดจนผูม้ ีส่วนได้ส่วนเสี ย
๔. ให้เกิดพันธะผูกพันระหว่างองค์กรและบุคคลในทุกระดับ ให้ใช้อาํ นาจในขอบเขต สร้างระบบความ
รับผิดชอบต่อตนเอง ต่อผูบ้ งั คับบัญชาหรื อผูใ้ ต้บงั คับบัญชา ต่อองค์กร ต่อประชาชน และต่อสังคม ตามลําดับ
๕. ป้องกันการแสวงหาประโยชน์โดยมิชอบ และความขัดแย้งทางผลประโยชน์ที่อาจเกิดขึ้น รวมทั้ง
เสริ มสร้างความโปร่ งใสในการปฏิบตั ิงาน
ทั้งนี้ รวมถึงเพื่อใช้เป็ นค่านิยมร่ วมสําหรับองค์กรและบุคคล พึงยึดถือเป็ นแนวทางปฏิบตั ิควบคู่ไปกับ
ระเบียบและกฎข้อบังคับอื่นๆอย่างทัว่ ถึงและมีประสิ ทธิภาพ
ผูจ้ ดั การธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร จึงออกประกาศเรื่ องประมวลจริ ยธรรมธนาคารเพื่อ
การเกษตรและสหกรณ์การเกษตรไว้ ดังต่อไปนี้
มาตรฐานจริยธรรมอันเป็ นค่ านิยมหลัก
ข้อ ๑ ผูป้ ฏิบตั ิงาน มีหน้าที่ดาํ เนินการให้เป็ นไปตามกฎหมาย ข้อบังคับ ระเบียบ วิธีปฏิบตั ิของธนาคาร เพื่อ
รักษาประโยชน์ส่วนรวม เป็ นกลางทางการเมือง อํานวยความสะดวกและให้บริ การแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิ
บาล โดยจะต้องยึดมัน่ ในมาตรฐานทางจริ ยธรรมอันเป็ นค่านิยมหลัก ๙ ประการ ดังนี้
๑) การยึดมัน่ ในคุณธรรมและจริ ยธรรม
๒) การมีจิตสํานึกที่ดี มีความซื่อสัตย์ สุ จริ ต และรับผิดชอบ
๓) การยึดถือประโยชน์ของประเทศชาติเหนือกว่าประโยชน์ส่วนตน และไม่มีผลประโยชน์ทบั ซ้อน
๔) การยืนหยัดทําในสิ่ งที่ถูกต้อง เป็ นธรรม และถูกกฏหมาย
๕) การให้บริ การแก่ประชาชนด้วยความรวดเร็ว มีอธั ยาศัย และไม่เลือกปฏิบตั ิ
๖) การให้ขอ้ มูลข่าวสารแก่ประชาชนอย่างครบถ้วน ถูกต้อง และไม่บิดเบือนข้อเท็จจริ ง
๗) การมุ่งผลสัมฤทธิ์ของงาน รักษามาตรฐาน มีคุณภาพ โปร่ งใส และตรวจสอบได้
๘) การยึดมัน่ ในระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริ ยเ์ ป็ นประมุข
๙) การยึดมัน่ ในหลักจรรยาวิชาชีพขององค์กร
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 278
-------------------------------------------------------------------------------
มาตรฐานทางจริยธรรมของผู้ปฏิบัตงิ าน
ข้อ ๒ ผูป้ ฏิบตั ิงานต้องยึดถือและปฏิบตั ิหน้าที่ให้เป็ นไปตาม ข้อบังคับ ระเบียบ วิธีปฏิบตั ิของธนาคาร เพื่อ
รักษาประโยชน์ส่วนรวม อานวยความสะดวกและให้บริ การแก่ประชาชนตามหลักธรรมาภิบาล โดยจะต้องยึดมัน่
ในมาตรฐานทางจริ ยธรรมของผูป้ ฏิบตั ิงาน ๖ ประการ ดังนี้
๑. รักษาความลับของลูกค้าและของธนาคาร รวมถึงไม่นาํ ความลับไปใช้เพื่อประโยชน์ของตนเองหรื อผูอ้ ื่น
ให้บริ การที่ประทับใจและละเว้นการรับทรัพย์สิน หรื อประโยชน์อื่นใดซึ่งมีมูลค่าเกินปกติวิสยั
๒. ตั้งตนไว้ชอบ ดํารงตนตามฐานานุรูปและไม่ประพฤติตนให้เสื่ อมเสี ยเกียรติศกั ดิ์ต่อตําแหน่งหน้าที่ มี
ทัศนคติที่ดีและพัฒนาตนเองให้มีคุณธรรม จริ ยธรรม เพิ่มพูนความรู ้ ความสามารถและทักษะในการทํางาน เพื่อให้
การปฏิบตั ิงานมีประสิ ทธิภาพและประสิ ทธิผลยิง่ ขึ้น
๓. ร่ วมมือช่วยเหลือกันในกิจการของธนาคาร รักษาความสามัคคีในบรรดาผูอ้ ยูใ่ นวงงานของธนาคารและ
ไม่กระทําการใด ๆ อันอาจเป็ นเหตุก่อให้เกิดความแตกแยกสามัคคีหรื อก่อให้เกิดความกระด้างกระเดื่องในบรรดาผู ้
อยูใ่ นวงงานของธนาคาร เคารพและให้เกียรติซ่ ึงกันและกัน ละเว้นการกระทําใด ๆ อันเป็ นเหตุให้ผอู ้ ื่นเดือดร้อน
ให้การสนับสนุนเพื่อนร่ วมงานอย่างจริ งใจ ไม่รายงานเท็จหรื อเสนอความเห็นที่ไม่สุจริ ตต่อผูบ้ งั คับบัญชา สุ ภาพ
เรี ยบร้อย เชื่อฟัง และไม่แสดงความกระด้างกระเดื่องต่อผูบ้ งั คับบัญชา ผูอ้ ยูใ่ ต้บงั คับบัญชาต้องปฏิบตั ิตามคําสัง่ ของ
ผูบ้ งั คับบัญชา ซึ่งสัง่ ในกิจการของธนาคารโดยชอบในการปฏิบตั ิกิจการของธนาคาร ไม่กระทําการข้าม
ผูบ้ งั คับบัญชาเหนือตน เว้นแต่ผบู ้ งั คับบัญชาเหนือขึ้นไปสัง่ ให้กระทําหรื อได้รับอนุญาตเป็ นพิเศษเป็ นครั้งคราว
๔. มีความภักดีต่อธนาคาร รักษาและเสริ มสร้างภาพลักษณ์ของธนาคารดูแลและใช้ทรัพย์สินของธนาคาร
เยีย่ งวิญํูชนจะพึงสงวนรักษาทรัพย์สินของตน ปฏิบตั ิตามข้อบังคับ ระเบียบ คําสัง่ แบบแผน และวิธีปฏิบตั ิของ
ธนาคาร และสนใจในระเบียบปฏิบตั ิงานของส่ วนราชการ หรื อสถาบันอื่นที่เกี่ยวข้องกับกิจการในหน้าที่ของตน
อุทิศเวลาของตนให้แก่กิจการของธนาคาร ไม่ละทิ้งหรื อทอดทิ้งหน้าที่ ไม่เป็ นตัวกระทําการในห้างหุน้ ส่ วนหรื อ
ธนาคารใด ๆ
๕. ร่ วมมือประสานงานด้วยดีกบั ส่ วนราชการ หรื อสถาบันอื่นที่เกี่ยวข้องกับกิจการของธนาคารและให้
ความช่วยเหลือและสนับสนุนกิจกรรมที่เป็ นประโยชน์ต่อชุมชนและสังคมช่วยเหลือชุมชน อุทิศตนเพื่อสังคม
๖. ปฏิบตั ิหน้าที่เพื่อผลประโยชน์สูงสุ ดของธนาคาร ไม่แสวงหาผลประโยชน์ส่วนตัว ไม่อาศัยหรื อยอมให้
ผูอ้ ื่นอาศัยงานในตําแหน่งหน้าที่ของตนเอง ไม่วา่ ทางตรงหรื อทางอ้อม หาผลประโยชน์จากธนาคารเพื่อตนเองหรื อ
ผูอ้ ื่นและไม่ยอมให้ประโยชน์ส่วนตัว หรื อประโยชน์ของบุคคลที่มีความสัมพันธ์กบั ตนเองขัดแย้งกับผลประโยชน์
ของธนาคาร
ระบบบังคับใช้ ประมวลจริยธรรม
ข้อ ๓ เมื่อมีกรณี ที่ถูกร้องเรี ยนหรื อปรากฏเหตุวา่ มีการปฏิบตั ิฝ่าฝื นประมวลจริ ยธรรม ให้ผบู ้ งั คับบัญชาดา
เนินการตามควรแก่กรณี เพื่อให้มีการแก้ไขหรื อดําเนินที่ถูกต้องหรื อตักเตือนหรื อการสัง่ ให้ผฝู ้ ่ าฝื นนั้นปรับปรุ ง
ตนเองหรื อให้รับการพัฒนาแล้วแต่กรณี
ข้อ ๔ ให้ผบู ้ งั คับบัญชา ปลูกฝังจริ ยธรรมอย่างสมํ่าเสมอ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 279
-------------------------------------------------------------------------------
ข้อ ๕ เมื่อมีปัญหาการปฏิบตั ิตามประมวลจริ ยธรรมนี้ ให้ผบู ้ งั คับบัญชาเสนอเพื่อขอคําวินิจฉัยจากผูจ้ ดั การ
หรื อผูท้ ี่ได้รับมอบหมาย
ให้ไว้ ณ วันที่ ๔ กรกฎาคม พ.ศ. ๒๕๕๔
(ลงชื่อ) ลักษณ์ วจนานวัช
(นายลักษณ์ วจนานวัช)
ผูจ้ ดั การ
ธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตร

ความรู้เบื้องต้ นเกีย่ วกับงานธนาคารตามกฎหมายการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงิน


การฟอกเงินคืออะไร?
วิธีการฟอกเงินทีน ่ ิยมในปัจจุบัน
ผ่านธนาคารหรื อสถาบันการเงิน
- เปลี่ยนเงินสดจากเงินปลีกเป็ นธนบัตรใหญ่ เรี ยกว่า “เงินสกปรก”
-การแบ่งกันนําเงินสดไปฝากในจํานวนเงินที่ต่าํ กว่าที่กฎหมายกําหนดให้ธนาคารต้องรายงาน
-การสมคบกับธนาคาร หรื อพนักงานของธนาคาร
-การลักลอบขนเงินไปฝากในประเทศที่ไม่ตรวจสอบเข้มงวด
-การโอนเงินทางอิเล็กทรอนิ กส์ เพื่อปกปิ ดร่ องรอย
ผ่านธุรกิจที่ไม่ใช่สถาบันการเงิน
การใช้บริ ษทั ทําธุรกิจบังหน้า เพื่อตอบสนองขั้นตอนการฟอกเงิน
การฟอกเงินในสถานพนัน ซึ่งหลายประเทศถูกกฎหมาย
การซื้อทองคําแท่ง แล้วค่อยๆ นําออกไปขาย
การลงทุนทางตรงในต่างประเทศ หรื ออาจกูเ้ งินจากธนาคารในต่างประเทศแล้วชําระคืน
การนําเงินไปแลกเปลี่ยนอีกสกุลผ่านร้านค้า/บริ ษทั แลกเปลี่ยนเงินตรา
การซื้อกรมธรรม์แบบจ่ายเบี้ยประกันครั้งเดียว
การลงทุนในหุน้ หรื อพันธบัตรผ่านบริ ษทั นายหน้าซื้อขายหลักทรัพย์
การใช้บริ การธนาคารนอกระบบ เช่น ประเทศไทยใช้วธิ ี “โพยก๊วน” โดยไม่ทิ้งร่ องรอยทําให้ตรวจสอบ
ได้ยาก
สรุ ป: การฟอกเงิน คือ...
การนําเงินหรื อทรัพย์สินที่ได้มาจากการกระทําความผิด หรื อได้มาโดยไม่ชอบด้วยกฎหมาย มาเปลี่ยน
สภาพให้เป็ นเงินหรื อทรัพย์สินที่ได้มาอย่างถูกต้อง หรื อเรี ยกได้วา่ กระบวนการทํา “เงินสกปรก”ให้เปลี่ยนสภาพ
เป็ น “เงินสะอาด”หรื อ
การเปลี่ยนสภาพเงิน หรื อทรัพย์สินที่ได้มาโดยผิดกฎหมาย ให้ดูเสมือนว่า ได้มาโดยชอบด้วยกฎหมาย
การตรวจสอบเพื่อทราบข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับลูกค้า
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 280
-------------------------------------------------------------------------------
หมายถึง กระบวนการที่กาํ หนดขึ้นเพื่อประเมินและบริ หารความเสี่ ยงก่อนอนุมตั ิรับลูกค้าและติดตามความ
เคลื่อนไหวทางการเงินจากการทําธุรกรรมของลูกค้า ว่ามีพฤติการณ์ผดิ ปกติ/มีเหตุอนั ควรสงสัยหรื อไม่ ทั้งนี้เพื่อ
ป้องกันมิให้สถาบันการเงินและผูป้ ระกอบอาชีพบางประเภทถูกใช้เป็ นช่องทางในการฟอกเงิน/สนับสนุนทางการ
เงินแก่การก่อการร้าย
•นอกจากนี้ กระบวนการตรวจสอบเพื่อทราบข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับลูกค้ายังช่วยให้การรายงานธุ รกรรมที่มีเหตุ
อันควรสงสัยเป็ นไปอย่างมีคุณภาพมากยิง่ ขึ้น
•ข้อมูลการรายงานธุรกรรมที่มีเหตุอนั ควรสงสัย –ถูกนํามาใช้เป็ นข้อมูลตั้งต้นในการสื บสวนเส้นทาง
การเงินของผูก้ ระทําความผิด
ขั้นตอนในการตรวจสอบเพื่อทราบข้อเท็จจริ งเกี่ยวกับลูกค้า
1. การกําหนดนโยบายภายในองค์กรเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการสนับสนุ น
ทางการเงินแก่การก่อการร้าย

นโยบายภายในองค์กรเกี่ยวกับการป้องกันและปราบปรามการฟอกเงินและการสนับสนุนทางการเงินแก่
การก่อการร้าย
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 281
-------------------------------------------------------------------------------

------------------------------
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 282
-------------------------------------------------------------------------------
 แนวข้ อสอบ ความรู้ เกีย่ วกับจริยธรรม จรรยาบรรณ ธรรมาภิบาล
1. ข้อใดเป็ นการบริ หารกิจการและสังคมที่ดี ซึ่งเป็ นหลักปฏิบตั ิสาํ หรับพนักงานรัฐวิสาหกิจ
1. หลักนิ ติธรรม 2. หลักความโปร่ งใส
3. หลักการปกครอง 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4. มีท้ งั หมด 7 ประการ คือ หลักนิติธรรม หลักคุณธรรม หลักความโปร่ งใส หลักความมีส่วนร่ วม หลักความ
รับผิดชอบ หลักความคุม้ ค่า หลักการปกครอง
2. ข้อใดเป็ นความสําคัญของจริ ยธรรม และจรรยาบรรณต่อธนาคาร
1. เป็ นเครื่ องมือที่จะช่วยให้บริ หารและพนักงานทุกคนซึ่ งมีหน้าที่รับผิดชอบในการพัฒนาธนาคารและ
ให้บริ การแก่ลูกค้า
2. มีความเจริ ญก้าวหน้าของธนาคาร
3. การยึดมัน ่ ในความถูกต้อง ดีงาม โดยรณรงค์ให้พนักงานประพฤติปฏิบตั ิ
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1.
3. จรรยาบรรณของพนักงานธนาคารที่ใช้บงั คับในปัจจุบนั แบ่งเป็ นกี่ดา้ น อะไรบ้าง
1. 2 ด้าน คือจรรยาบรรณต่อลูกค้า จรรยาบรรณต่อตนเอง
2 3 ด้าน คือจรรยาบรรณต่อลูกค้า จรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อสังคม
3. 4 ด้าน คือจรรยาบรรณต่อลูกค้า จรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อสังคม และจรรยาบรรณต่อ
ผูร้ ่ วมงาน
4. 5 ด้าน คือ คือจรรยาบรรณต่อลูกค้า จรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อสังคม จรรยาบรรณต่อ
ผูร้ ่ วมงาน และจรรยาบรรณต่อองค์กร
ตอบ 4.
4. วัตถุประสงค์ของการให้พนักงาน ธ.ก.ส. มีจรรยาบรรณคือข้อใด
1. พนักงานต้องมีจรรยาบรรณต่อลูกค้า
2. เพื่อสร้างประสิ ทธิ ภาพในการดําเนิ นงานและความยัง่ ยืนของธนาคาร
3. เพื่อสนับสนุนอย่างจริ งใจดูแลเอาใจใส่ ในทุกข์สุข
4. เพื่อเสริ มสร้างความสามัคคี
ตอบ 2.
3. ข้อใดเป็ นลักษณะเฉพาะของงานบริ การ
1. การให้วามช่วยเหลือหรื อการดําเนิ นการเพื่อประโยชน์ของผูอ้ ื่น
2. สร้างทัศนคติต่อบุคคลองค์กรได้มาก การบริ การสามารถจะสร้างความรู ้สึกชอบหรื อไม่ชอบ
3. การปฏิบตั ิทางวาจา ต้องใช้ถอ้ ยคําชวนฟั ง นํ้าเสี ยงไพเราะชัดเจน
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 2.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 283
-------------------------------------------------------------------------------
4. มีหวั ใจบริ การ หมายถึง
1. ใช้กริ ยา วาจา สุ ภาพ เหมาะสม
2. การปฏิบตั ิทางใจ ต้องทําจิตใจให้เบิกบานแจ่มใส
3. การอํานวยความสะดวก การช่วยเหลือ การให้ความกระจ่าง การสนับสนุ น การเร่ งรัดการทํางานตาม
สายงาน
4. การให้บริ การในทุกกรณี จะต้องแสดงว่าผูร้ ับบริ การมีความสําคัญ
ตอบ 3.
5 ข้อใดเป็ นสิ่ งที่ไม่ควรปฏิบตั ิในการให้บริ การ
1. ดําเนิ นการล่าช้าเพราะความล่าช้าไม่ตรงเวลาทําความเสี ยหายให้ผรู ้ ับบริ การได้
2. รู ้สึกขุ่นเคืองที่จะต้องรับหน้า
3. ไม่ปล่อยให้จิตใจหม่นหมอง ใจลอย ขาดสมาธิ ในการทํางาน
4. การเอาใจเขามาใส่ ใจเรา
ตอบ 1.
6. เป้าหมายของการบริ การคือข้อใด
1. ยิม ้ แย้มแจ่มใส ทักท้าย ช่วยเหลือ ด้วยความเต็มใจโดยเร็ วและมีคุณภาพ
2. การอํานวยความสะดวก การช่วยเหลือประชาชน
3. ช่วยให้ความสะดวกในด้านข้อมูลข่าวสาร
4. ผิดทุกข้อที่กล่าวมา
ตอบ 1.
7. การมีคุณธรรมและจริ ยธรรมในการทํางานเป็ นอย่างมีจิตสํานึกถูกวิธี เป็ นขั้นต้องมีประสิ ทธิภาพและเป็ นที่
ยอมรับของผูอ้ ื่นในสังคม ซึ่งมีองค์ประกอบสําคัญอะไรบ้าง
1. มีความซื่ อสัตย์ 2. มีความเสี ยสละ
3. มีความยุติธรรม 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.
8. จริ ยธรรม ในความหมายแคบ หมายถึง
1. ความประพฤติเพื่อให้เกิดความงดงามแก่ผป ู ้ ฏิบตั ิและหมู่คณะของผูป้ ฏิบตั ิ
2. ความประพฤติในคุณงามความดี
3. ความประพฤติในกรอบของความดี
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1.
9. คุณธรรม หมายถึง
1. ความซื่ อสัตย์ สุ จริ ต 2. สภาพคุณงานความดี
3. ความสุ ภาพ อ่อนโยน 4. ความมีระเบียบวินยั
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 284
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 2.
10. ความซื่อสัตย์ หมายถึง
1. ความสุ จริ ต จริ งใจ 2. ความสุ จริ ต ซื่ อตรง
3. ความสุ จริ ต จริ งใจและเปิ ดเผยอย่างแท้จริ งในการสื่ อสารที่เกี่ยวข้องกับองค์กรและทุกระดับของการ
บริ หารและการปฏิบตั ิงาน
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 3.
11. ประมวลจริ ยธรรมขององค์กรยึดถือกลุ่มผูม้ ีผลประโยชน์ร่วมให้ได้รับการปฏิบตั ิที่เท่าเทียมกัน โดยยึดถือ
ข้อใดเป็ นวัตถุประสงค์สูงสุ ด
1. ประโยชน์สุขของประชาชน 2. ประโยชน์สุขของประเทศชาติ
3. ประโยชน์สุขมวลรวมของประเทศชาติ 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1.
12 จรรยาบรรณของคณะผูบ้ ริ หาร กรรมการ อนุกรรมการและคณะทํางานที่จะต้องถือปฏิบตั ิอย่างไร
1. ต้องบริ หารความเสี่ ยงอย่างมีประสิ ทธิ ภาพเพื่อให้องค์กรบรรลุวตั ถุประสงค์ตามที่กาํ หนด
2. ต้องพร้อมที่จะแสดงความเห็นของตนอย่างเป็ นอิสระ
3. ต้องปฏิบตั ิหน้าที่ให้เป็ นไปตามกฎหมาย วัตถุประสงค์ แลข้อบังคับขององค์กร
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.
13. ประมวลจริ ยธรรมธนาคารเพื่อการเกษตรและสหกรณ์การเกษตรจัดทําขึ้นตามเจตนารมณ์ของรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทย ปี พ.ศ. ใด มาตราใด
1. ปี พ.ศ. 2540 มาตรา 270 2. ปี พ.ศ. 2540 มาตรา 279
3. ปี พ.ศ. 2550 มาตรา 279 4. ปี พ.ศ. 2550 มาตรา 280
ตอบ 3.
14. หลักธรรมาภิบาล หมายถึง
1. การปกครองที่เป็ นธรรม 2. การปกครองที่มีกฎระเบียบ กฎเกณฑ์
3. การปกครองที่ไม่กดขี่ขม ่ เหงผูน้ อ้ ย 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1.
15. หลักธรรมาภิบาล มีองค์ประกอบที่สาํ คัญกี่ประการ
1. 3 ประการ 2. 4 ประการ
3. 5 ประการ 4. 6 ประการ
ตอบ 4.
16. ค่านิยมที่เกี่ยวข้องกับความสมบรู ณ์ของชีวิตและความศรัทธา
1. ค่านิ ยมทางจริ ยธรรม 2. ค่านิ ยมทางสังคม
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 285
-------------------------------------------------------------------------------
3. ค่านิ ยมทางศาสนา 4. ค่านิ ยมทางวัตถุ
ตอบ 3.
17 ความรู ้จริ ยธรรม หมายถึงข้อใด
1. การมีความรู ้สึกต่อพฤติกรรมต่างๆ
2. การแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ต่อสังคม
3. ความรู ้เกี่ยวกับสังคมสามารถบอกได้วา่ การกระทําใดดี การกระทําใดไม่ดีเหมาะสมมากน้อยเพียงใด
4. เหตุผลที่ใช้เป็ นเกณฑ์ในการเลือกหรื อไม่เลือกกระทํา
ตอบ 3.
18. พฤติกรรมเชิงจริ ยธรรม หมายถึงข้อใด
1. การแสดงพฤติกรรมที่พึงประสงค์ของสังคมและปฏิเสธการแสดงพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ของสังคม
2. เบื้องหลังการกระทําของบุคคลใช้เป็ นเกณฑ์ในการเลือกกระทํา
3. ความรู ้สึกต่อพฤติกรรมต่างๆ ในทางที่ชอบหรื อไม่ชอบ
4. ไม่มีขอ้ ถูก
ตอบ 1.
19. ความสัมพันธ์ของคุณธรรมและจริ ยธรรมหมายถึงข้อใด
1. เป็ นเรื่ องเดียวกัน 2. เป็ นเรื่ องที่เกี่ยวข้องกัน
3. เป็ นเรื่ องการกระทําของบุคคล 4. เป็ นเรื่ องที่อยูใ่ นจิตใจของบุคคล
ตอบ 2.
20. ค่านิยมทางจริ ยธรรม หมายถึงข้อใด
1. ทําให้เกิดความรับผิดชอบชัว่ ดี 2. ทําให้เกิดความซาบซึ้ ง
3. ทําให้เกิดความรักความเข้าใจ 4. ทําให้ชีวิตและร่ างกายอยูร่ อด
ตอบ 1.
21. ธรรมที่เป็ นข้อประพฤติปฏิบตั ิ เป็ นความหมายของข้อใด
1 คุณธรรม 2. จริ ยธรรม
3. วัฒนธรรม 4. ศีลธรรม
ตอบ 2.
22. หลักธรรมาภิบาล มีชื่อเรี ยกว่าอย่างไร
1.การบริ หารกิจการบ้านเมืองที่ดี 2. บรรษัทภิบาล
3. หลักธรรมรัฐ 4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 4.
23. องค์ประกอบของหลักธรรมมาภิบาลมีกี่ขอ้
1. 4 ข้อ 2. 6 ข้อ
3.5 ข้อ 4. 7 ข้อ
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 286
-------------------------------------------------------------------------------
ตอบ 2.
24. การบริ หารจัดการที่ดีตามหลักธรรมาภิบาล มีความหมายตรงกับข้อใด
1. TQM 2. RBM
3. Good Governance 4. School Based Management
ตอบ 3.
25. หลักธรรมาภิบาลข้อใดสําคัญที่สุด
1.นิ ติธรรม 2. คุณธรรม
3. ความโปร่ งใส 4. ความคุม
้ ค่า
ตอบ 1.
26 หลักธรรมาภิบาลข้อใดสําคัญน้อยที่สุด
1. นิ ติธรรม 2. คุณธรรม
3. ความรับผิดชอบ 4. ความคุม
้ ค่า
ตอบ 4.
27 จริ ยธรรมในการทํางาน หมายถึง
1. กฎเกณฑ์ที่เป็ นแนวทางปฏิบตั ิตนในการประกอบอาชี พที่ถือว่าเป็ นสิ่ งที่ดีงานเหมาะสม และยอมรับ
2. การประพฤติปฏิบตั ิอย่างตรงไปตรงมาทั้งกาย วาจา และใจ ไม่คิดคดทรยศ ไม่คดโกง และไม่
หลอกลวงใคร
3. ความเอาใจใส่ มุ่งมัน่ ตั้งใจต่องาน หน้าที่ ด้วยความผูกพันความพากเพียรเพื่อให้งานสําเร็ จตาม
จุดมุ่งหมายที่กาํ หนดไว้
4. แบบแผนที่วางไว้เพื่อเป็ นแนวทางปฏิบตั ิและดําเนิ นการให้ถูกลําดับถูกที่ มีความเรี ยบร้อย ถูกต้อง
เหมาะสมกับจรรยาบรรณ ข้อบังคับ ข้อตกลง กฎหมาย และศีลธรรม
ตอบ 1.
28. จริ ยธรรมที่นาํ มาซึ่งความสุ ขความเจริ ญในการทํางานและการดํารงชีวติ เรี ยกว่า มงคล 38 ประการข้อใด
กล่าวถูกต้อง
1. ชํานาญในวิชาชีพของตน ( มงคลชีวิตข้อที่ 8 ) เป็ นการนําความรู ้ที่เล่าเรี ยน ฝึ กฝน อบรม มาปฏิบตั ิให้
เกิดความชํานาญจนสามารถยึดเป็ นอาชีพได้
2. ระเบียบวินยั ( มงคลชีวิตข้อที่ 9 ) การฝึ กกาย วาจาให้อยูใ่ นระเบียบวินยั ที่สงั คมหรื อสถาบันวางไว้
เป็ นแบบแผน
3. กล่าววาจาดี( มงคลชีวิตข้อที่ 10 ) คือ วจีสุจริ ต 4 ประการ ได้แก่ ความจริ ง คําประสานสามัคคี คํา
สุ ภาพ คํามีประโยชน์
4. ทํางานไม่คงั่ ค้างสับสน ( มงคลชีวิตข้อที่ 14 ) ลักษณะการทํางานของคนโดยทัว่ ไปมี 2 แบบ
5. ถูกทุกข้อ
ตอบ 5.
คู่มือเตรียมสอบ พนักงานพัฒนาธุรกิจ ระดับ 4 ธกส. 287
-------------------------------------------------------------------------------
29 ความสําคัญของจรรยาบรรณ หมายถึงข้อใด
1. เพื่อมุ่งให้คนในวิชาชีพมีประสิ ทธิ ภาพ ให้เป็ นคนดีในการบริ การวิชาชีพ ให้คนในวิชาชีพมีเกียรติ
ศักดิ์ศรี ที่มีกฎเกณฑ์มาตรฐานจรรยาบรรณ
2. เพื่อให้มนุษย์สามารถอาศัยอยูร่ ่ วมกันได้อย่างสงบสุ ข จึงต้องมีกฎ กติกา มารยาท ของการอยูร่ ่ วมกัน
ในสังคมที่เจริ ญแล้วไม่มองแต่ความเจริ ญทางวัตถุ
3. มีความสําคัญและจําเป็ นต่อทุกอาชีพ ทุกสถาบัน และหน่ วยงาน เพราะเป็ นที่ยด ึ เหนี่ยวควบคุมการ
ประพฤติ ปฏิบตั ิดว้ ยความดีงาม
4. ถูกทุกข้อ
ตอบ 1.

-----------------------------

ขอให้ โชคดีในการสอบทุกท่ าน

You might also like