You are on page 1of 28

แผนบริหารการสอนประจาบทที่ 3

การดาเนินธุรกิจในกลุม่ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

หัวข้อเนื้อหาประจาบท
1. ความหมายของการดาเนินธุรกิจ
2. ความสาคัญของการดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
3. รูปแบบองค์กรการดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
4. สินค้าส่งออกและนาเข้าที่สาคัญของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
5. บทสรุป

วัตถุประสงค์เชิงพฤติกรรม
1. อธิบายความหมายของการดาเนินธุรกิจได้
2. อธิบายความสาคัญของการดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
3. อธิบายรูปแบบองค์กรการดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้
4. อธิบายสินค้าส่งออกและนาเข้าที่สาคัญของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ได้

วิธีสอนและกิจกรรมการเรียนการสอน
1. วิธีสอน

1.1 การฟังการอภิปรายและวิธีสอนแบบบรรยาย
1.2 วิธีสอนโดยแลกเปลี่ยนความคิดเห็น

2. กิจกรรมการเรียนการสอน

2.1 การอภิปรายเนื้อหาร่วมกันระหว่างอาจารย์และนักศึกษา อาจารย์เสนอหัวข้อประเด็น


ปัญหาให้กับนักศึกษาร่วมกันอภิ ปรายในชั้นเรียนเกี่ยวกับเรื่อง การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้
2.2 การแบ่งกลุ่มศึกษาค้นคว้า แบ่งกลุ่มทากรณีศึกษาและสื บค้นความรู้จากแหล่งข้อมูล
ต่าง ๆ รวมทั้ งฐานข้อมูล ในระบบอิน เทอร์ เน็ตและน าข้อมู ล ที่ค้น คว้าได้มาเรียบเรียงเป็นรายงาน
และนาเสนอในชั้นเรียน
70 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

2.3 การศึกษาค้นคว้าเนื้อหาเรื่อง การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้


เพื่อทาแบบฝึกหัดท้ายบท ใบงานและกรณีศึกษา

สื่อการเรียนการสอน
1. เอกสารประกอบการเรียนการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้
2. Power Point Presentation ประกอบการบรรยายเรื่อง การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การวัดผลและการประเมินผล
1. สังเกตจากพฤติกรรมความตั้งใจเรียน การมีส่วนร่วม
2. ประเมินจากการซักถาม การตอบปัญหา เสนอแนะและการแสดงความคิดเห็น
3. ประเมินจากการอภิปรายและการนาเสนอกรณีศึกษา
4. ประเมินจากการทาแบบฝึกหัดท้ายบท ใบงานและการทากรณีศึกษา
บทที่ 3
การดาเนินธุรกิจในกลุม่ ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

การดาเนินธุรกิจในกลุ่ มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ผู้บริหารจะต้องมีความรู้ความเข้าใจ


ในเรื่องต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องทั้งในประเทศและต่างประเทศ รวมถึงกระบวนการ รูปแบบการดาเนินธุรกิจ
และเงื่อนไขในการดาเนินการต่าง ๆ บุคคลที่มีส่วนเกี่ยวข้องต่อการดาเนินธุรกิจที่ก่อให้เกิดการผลิต
สินค้าและบริ การโดยมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนกัน และมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการประโยชน์หรือ กาไร
จากการท ากิ จ กรรมนั้ น กระบวนการทางธุ ร กิ จ ประกอบด้ ว ย การผลิ ต สิ น ค้ า หรือ การให้ บ ริ ก าร
ตามความต้องการของผู้บริโภค รวมทั้งการจาหน่ายสินค้าโดยได้รับผลกาไรเป็นผลตอบแทน

ความหมายของการดาเนินธุรกิจ
ธุรกิจ หมายถึง กระบวนการของกิจการทางเศรษฐกิจที่สัมพันธ์เป็นระบบและอย่างต่อ เนื่อง
ในด้านการผลิต การซื้อขายแลกเปลี่ยนเกี่ยวกับสินค้าและบริการ โดยมีจุดมุ่งหมายที่จะได้ผลกาไร
หรื อ ผลตอบแทนจากกิ จ กรรมนั้ น อาจกล่ า วได้ ว่ า กิ จ กรรมใดที่ มี จุ ด มุ่ ง หมายเพื่ อ ให้ ไ ด้ ก าไร
ถื อ ว่ า เป็ น ธุ ร กิ จ เช่ น บริ ษั ท ห้ า งร้ า น ตลอดจนรั ฐ วิ ส าหกิ จ ต่ า ง ๆ การด าเนิ น งานของรั ฐ เช่ น
การสร้างถนนหนทาง โรงเรียน โรงพยาบาล และอื่น ๆ ไม่ถือว่าเป็นธุรกิจเพราะมิได้มีจุดมุ่งหมาย
ด้ า นก าไรแต่ เ ป็ น การให้ บ ริ ก ารแก่ ป ระชาชนโดยมี จุ ด มุ่ ง หมายให้ ป ระชาชนมี ค วามเป็ น อยู่ ดี ขึ้ น
ได้มีนักวิชาการหลายท่านให้คานิยาม ความหมายของการดาเนินธุรกิจ ดังนี้

ช านาญ ฉายวิ ชิ ต (2554) ได้ ใ ห้ ค วามหมายของการด าเนิ น ธุ ร กิ จ คื อ กิ จ กรรมต่ า ง ๆ


ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การจัดจาหน่ายและการบริการ โดยภายในหน่วยงานหรือธุรกิจนั้น ๆ มีการนา
ทรัพยากรที่มีอยู่มาผสมผสานกันอย่างมีระบบ มีระเบียบตามกฎเกณฑ์ เพื่อตอบสนองความต้องการ
ของประชาชนหรือผู้บริโภค ในขณะเดียวกันก็ก่อให้เกิดผลประโยชน์หรือบรรลุตามเป้าหมายของธุรกิจ
และไม่ก่อให้เกิดมลภาวะที่ไม่ดีต่อสิ่งแวดล้อม
สุรนาถ ปูชนียพงศกร (2555) ได้ให้ความหมายของการดาเนินธุรกิจ คือ การดาเนินกิจกรรม
ของบุ ค คลหรื อ กลุ่ ม บุ ค คลที่ ร่ ว มกั น ในการด าเนิ น การผลิ ต การจ าหน่ า ยสิ น ค้ า และบริ ก าร โดยมี
จุดมุ่งหมายที่จะได้รับผลตอบแทนหรือผลกาไรจากการดาเนินกิจกรรมนั้น
สตพร ศัก ดิ์อ มรชาติ (2559) ได้ ให้ ความหมายของการดาเนิ นธุ ร กิจ คือ กิจ กรรมต่ าง ๆ
ที่ก่อให้เกิดการผลิตสินค้าและบริการโดยมีการซื้อขายแลกเปลี่ยนกันและมีวัตถุประสงค์เพื่อต้องการ
ประโยชน์หรือกาไรจากการทากิจกรรมนั้น
72 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สรุปได้ว่า การดาเนินธุรกิจ หมายถึง กิจกรรมต่าง ๆ ที่ก่อให้เกิดการผลิตสินค้าและบริการ


โดยมี ก ารซื้ อ ขายแลกเปลี่ ย นกั น โดยภายในหน่ ว ยงานหรื อ ธุ ร กิ จ นั้ น ๆ มี ก ารน าทรั พ ยากร
ที่มีอยู่มาผสมผสานกันอย่างมีระบบระเบียบเพื่อตอบสนองความต้องการของประชาชนหรือผู้บริโภค
ในขณะเดียวกันก็ก่อให้เกิดผลประโยชน์หรือบรรลุตามเป้าหมายของธุรกิจ และไม่ก่อให้เกิดมลภาวะ
ที่ไม่ดีต่อสิ่งแวดล้อม

ความสาคัญของการดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นภูมิภาคที่เต็มไปด้วยโอกาสจากการขยายตัวทางเศรษฐกิจ
ในอัตราที่สูงและเป็นกลุ่มที่มีกาลังบริโภคขนาดใหญ่ เนื่องด้วยมีขนาดประชากรมากกว่า 600 ล้านคน
โดยสภาพแวดล้ อ มทางธุ ร กิ จ หรื อ Business Ecosystem ที่ เ ปลี่ ย นไปจะส่ ง ผลกระทบโดยตรง
กับ ธุ ร กิ จ ทุ ก ธุ ร กิ จ โดย (บริ ษั ท หลั กทรั พ ย์ จั ดการกองทุ น ไทยพาณิ ช ย์ จ ากั ด , 2556) ได้ก ล่ า วถึ ง
ปัจจัยสาคัญของการดาเนินธุรกิจไว้ ดังนี้

1. การเคลื่อนย้า ยสินค้า เมื่อก้าวสู่ เข้าประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนจะมีการลดภาษีสิ นค้า


ระหว่ า งกลุ่ ม ประเทศในอาเซี ย น ซึ่ ง ส่ ง ผลให้ เ กิ ด การเคลื่ อ นย้ า ยสิ น ค้ า มากขึ้ น ทั้ ง สิ น ค้ า วั ต ถุ ดิ บ
และสินค้าที่เป็นปัจจัยการผลิต รวมถึงสินค้าสาเร็จรูป ขณะที่การเชื่อมต่อเส้นทางอาเซียนยังส่งผล
โดยตรงให้ เ กิ ด การเคลื่ อ นย้ า ยสิ น ค้ า เสรี ม ากขึ้ น ทั้ ง สิ น ค้ า จากประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น
ที่จะนาเข้ามาที่ประเทศไทยผ่านเส้นทางอาเซียน ทั้งวัตถุดิบและสินค้าเกษตร รวมถึงการส่งออกสินค้า
อุปโภคบริโภคไปยังประเทศในกลุ่มอาเซียนด้วย

2. การเคลื่ อ นย้ า ยแรงงาน การเปิ ด เสรี ท าให้ เ กิ ด การย้ า ยทรั พ ยากรบุ ค คลในสาขาที่ มี
ความส าคัญ ขณะที่แรงงานทั่ว ไปก็มีแนวโน้มเคลื่ อนย้ายสู่ เมืองเศรษฐกิจมากขึ้น การเคลื่ อนย้า ย
แรงงานจะส่งผลโดยตรงกับธุรกิจที่ต้องใช้แรงงานเข้มข้น

3. การเติบโตของอสังหาริมทรัพย์ในเมือง การเปิดประชาคมเศรษฐกิจอาเซียนเป็นโอกาส
ที่น่าสนใจของนักลงทุนทั่วโลก จึงมีการลงทุนโดยตรงจากธุรกิจต่างประเทศมากขึ้นและมีผลให้เกิด
การดึงดูดบุ คลากรที่มีความสามารถเข้ามาในประเทศ บุคลากรเหล่ านี้มีส่ ว นส าคัญในการผลั กดั น
ให้ราคาที่ดินและธุรกิจอสังหาริมทรัพย์เติบโตอย่างรวดเร็ว

4. การย้ายฐานของธุรกิจที่ใช้แรงงานเข้มข้ น การก้าวสู่ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน ทาให้


การเคลื่ อนย้ ายธุร กิ จ ที่ใ ช้แรงงานเข้มข้ น ไปตั้ง ฐานการผลิ ตในพื้นที่ ที่มี แรงงานราคาถู กในอาเซีย น
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 73

ซึ่งที่ผ่านมามีหลายธุรกิจของไทยที่ใช้ความได้เปรียบจากการย้ายฐานการผลิต และการได้รับสิทธิพิเศษ
ทางภาษีมาเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขัน เช่น อุตสาหกรรมสิ่งทอ

5. การปรับเปลี่ยนนโยบายเศรษฐกิจและการกระตุ้ นเศรษฐกิจ การปรับเปลี่ยนนโยบาย


เศรษฐกิ จ และการกระตุ้ น เศรษฐกิ จ บางประเทศ เช่ น ประเทศอิ น โดนี เ ซี ย และประเทศพม่ า
มีการปรับเปลี่ยนนโยบายสู่เศรษฐกิจเสรี ซึ่งส่งผลกระทบต่อเงินทุนที่ไหลเข้าประเทศ
สรุปได้ว่า ธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีความสาคัญต่อภายนอกภูมิภาคเอเชีย
ตะวัน ออกเฉียงใต้ และภายในกลุ่ มภูมิภ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดยสามารถเคลื่ อนย้ายสินค้า
เคลื่ อ นย้ า ยแรงงาน มี ก ารลงทุ น โดยตรงจากธุ ร กิ จ ต่ า งประเทศมากขึ้ น ส่ ง ผลต่ อ การเติ บ โต
ของอสังหาริมทรัพย์ เกิดการย้ายฐานของธุรกิจที่ใช้แรงงานเข้มข้ นและมีผลต่อการปรับเปลี่ยนนโยบาย
เศรษฐกิจและการกระตุ้นเศรษฐกิจให้มีเงินไหลเข้าประเทศมากยิ่งขึ้น

รูปแบบองค์กรการดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
การประกอบธุรกิจ การค้าอาจดาเนินการได้หลายรูปแบบ ทั้งโดยบุคคลคนเดียวเป็นเจ้าของ
กิจการโดยลาพัง หรืออาจดาเนินการโดยร่วมลงทุ นกับบุคคลอื่นเป็นกลุ่มคณะก็ได้ การที่จะตัดสินใจ
เลื อ กด าเนิ น ธุ ร กิ จ การค้ า ในรู ป แบบใดนั้ น ผู้ ป ระกอบการจะต้ อ งค านึ ง ถึ ง องค์ ป ระกอบที่ ส าคั ญ
หลายประการด้วยกัน เช่น ลักษณะของกิจการการค้า เงินทุน ความรู้ความสามารถในการดาเนิน
ธุรกิจ ซึ่งการประกอบธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ จึงจาเป็นต้องศึกษารูปแบบองค์กร
การดาเนินธุรกิจแต่ละประเทศ โดย (กรมพัฒนาธุรกิจการค้า กระทรวงพาณิชย์ , 2556) ได้อธิบาย
ถึงรูปแบบองค์กรการดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ดังนี้
1. ประเทศพม่า รูปแบบองค์กรการดาเนินธุรกิจในประเทศพม่า มี 4 รูปแบบ โดยสามารถ
จาแนกได้ ดังนี้
1.1 กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietorships) และห้างหุ้นส่ว น (Partnerships)
ธุร กิจ อาจจั ดตั้งในรูป แบบของกิจ การเจ้าของคนเดียวหรือห้างหุ้ นส่ว น โดยกิจการเจ้าของคนเดียว
ไม่จาเป็นที่จะต้องจดทะเบียนจัดตั้งกับสานักงานจดทะเบียนบริษัท (Company Registration Office)
1.2 บริษัทจากัด (Companies Limited by Shares) บริษัทจากัดแบ่งเป็นบริษัทจากัด
( Private Company) แ ล ะ บ ริ ษั ท ม ห า ช น จ า กั ด ( Public Company) โ ด ย บ ริ ษั ท จ า กั ด
(Private Company) จะต้องมีกรรมการและผู้ ถือหุ้ น 2 คนขึ้นไป โดยมีผู้ ถือหุ้ นได้ไม่เกิน 50 คน
74 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

ส่วนบริษัทมหาชนจากัด (Public Company) ต้องมีผู้จัดตั้ง 7 คนขึ้นไป และไม่จากัดจานวนผู้ถือหุ้น


การจดทะเบียนจัดตั้งบริษัทจากัดทาได้ 3 รูปแบบ ดังนี้

1.2.1 บริษัทท้องถิ่น (Myanmar Company) บริษัทที่ถือหุ้นโดยคนพม่า 100%


1.2.2 บริ ษั ท ร่ ว มทุ น (Joint Ventures) นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ ส ามารถร่ ว มกั บ บุ ค คล
ธรรมดา บริษัทหรือรัฐวิสาหกิจของพม่าในการจัดตั้งบริษัทร่วมทุนในลักษณะของห้างหุ้นส่วนและบริษัท
จากัด

1.2.3 บริ ษั ท ต่ า งชาติ (Foreign Company) นั ก ลงทุ น ต่ า งชาติ อ าจจั ด ตั้ ง บริ ษั ท
จากเงินทุนต่างประเทศหรือมีผู้ถือหุ้นเป็นต่างชาติ 100% โดยบริษัทที่มีผู้ถือหุ้นเป็นคนต่างชาติ 1 คน
ขึ้นไปจะถือเป็นบริษัทต่างชาติ

1.3 ส า นั ก ง า น ส า ข า ห รื อ ส า นั ก ง า น ผู้ แ ท น ข อ ง บ ริ ษั ท ต่ า ง ช า ติ ( Branch or


Representative Offices of a Foreign Company) บ ริ ษั ท ต่ า ง ช า ติ อ า จ เ ข้ า ม า จั ด ตั้ ง
สถานประกอบการหรือประกอบธุรกิจในประเทศพม่าในรูปของสาขาของบริษัทต่างชาติ โดยสาขาของ
บริษัทต่างชาติดังกล่าวจะต้องดาเนินการขอใบอนุญาตทาการค้า (Permit to Trade) และจดทะเบียน
ธุรกิจเช่นเดียวกับการจัดตั้งบริษัทต่างชาติ

1.4 ส ม า ค ม ไ ม่ แ ส ว ง ห า ก า ไ ร ( Association Not for Profit) บ ริ ษั ท รู ป แ บ บ นี้


มีวัตถุประสงค์เพื่อสาธารณกุศล โดยไม่มีผลกาไรเป็นที่ตั้ง
2. ประเทศไทย รู ปแบบองค์กรการดาเนิน ธุรกิจ ในประเทศไทย 7 ประเภท โดยสามารถ
จาแนกได้ ดังนี้

2.1 กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole-proprietorship) ธุรกิจที่มีบุคคลคนเดียวเป็นผู้ ลงทุน


และเป็นเจ้าของกิจการโดยลาพังจะจดทะเบียนหรือไม่จดทะเบียนก็ได้เว้นแต่ดาเนินกิจการที่เข้าข่ าย
เป็นกิจการตาม พ.ร.บ. ทะเบียนพาณิชย์ พ.ศ. 2499 กาหนดจะต้องจดทะเบียนโดยเจ้าของกิจการ
ต้องยื่นขอจดทะเบียนพาณิชย์ภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้เริ่มประกอบกิจการ
2.2 ห้ า งหุ้ น ส่ ว นสามั ญ (Ordinary Partnership) ห้ า งหุ้ น ส่ ว นสามั ญ หรื อ ห้ า งหุ้ น ส่ ว น
สามัญไม่จดทะเบีย น คื อ ห้างหุ้ นส่ว นประเภทบุคคล ตั้งแต่ 2 คนขั้นไป ตกลงเพื่อกระทากิจการ
ร่วมกันด้วยประสงค์จะแบ่งปันกาไรอันจะพึงได้ แต่กิจการที่ทานั้นและผู้เป็นหุ้นส่วนทั้งหมดต้องรับผิด
ร่ ว มกั น เพื่อ หนี้ สิ น ทั้ง ปวงของห้ างหุ้ น ส่ ว นโดยไม่มี จากัด ซึ่ง ไม่ มีส ภาพเป็ นนิ ติบุ คคลตามกฎหมาย
ผู้เป็นหุ้นส่วนทุกคนต้ องรับผิดชอบร่วมกันในบรรดาหนี้สิ นทั้งปวงและต้องรับผิดต่อหนี้ สินโดยไม่จากัด
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 75

จ านวน ทั้ ง นี้ ผู้ เ ป็ น หุ้ น ส่ ว นทุ ก คนมี สิ ท ธิ เ ข้ า เป็ น หุ้ น ส่ ว นผู้ จั ด การได้ น อกจากจะมี สั ญ ญาตกลงกั น
เป็นอย่างอื่น

2.3 ห้างหุ้ น ส่ว นสามัญนิ ติบุคคล (Juristic Ordinary Partnership) ห้างหุ้ นส่ว นสามัญ
ที่ได้จดทะเบียนจึงมีสภาพเป็นนิติบุคคลตามกฎหมาย

2.4 ห้ า งหุ้ น ส่ ว นจ ากั ด (Limited Partnership) ห้ า งหุ้ น ส่ ว นประเภทที่ ป ระกอบด้ ว ย


ผู้เป็นหุ้นส่วน 2 ลักษณะ คือ

2.4.1 ผู้ เ ป็ น หุ้ น ส่ ว นคนเดี ย วหรือ หลายคน ซึ่ง จ ากั ด ความรั บ ผิ ด ชอบเพี ย งไม่ เ กิ น
จานวนเงินที่ตนรับจะลงหุ้น (Limited Partner)
2.4.2 ผู้เป็นหุ้นส่วนคนเดียวหรือหลายคน ซึ่งต้องรับผิดชอบร่วมกันในบรรดาหนี้ สิน
ของห้างหุ้นส่วนไม่จากัดจานวน (General Partner) ผู้เป็นหุ้นส่วนจาพวกไม่จากัดจานวน (General
Partner) เท่านั้นที่สามารถเป็นหุ้นส่วนผู้จัดการได้ กรณีที่ห้างหุ้นส่วนจากัดยังมิได้ทาการจดทะเบียน
กฎหมายให้ถือว่าเป็นห้างหุ้นส่วนสามัญ

2.5 บริ ษั ท จ ากั ด (Limited Company) คื อ บริ ษั ท ที่ ตั้ ง ขึ้ น ด้ ว ยการแบ่ ง ทุ น เป็ น หุ้ น
มีมูลค่าเท่า ๆ กัน โดยผู้ถือหุ้นต่างรับผิดจากัดเพียงไม่เกินจานวนเงินที่ตนยังชาระไม่ครบตามมูลค่าหุ้น
ที่ตนได้ถืออยู่ มีผู้ถือหุ้นตั้งแต่ 3 คนขึ้นไป และต้องจดทะเบียนเป็นนิติบุคคล

2.6 บ ริ ษั ท ม ห า ช น จ า กั ด ( Public Limited Company) บ ริ ษั ท ซึ่ ง ตั้ ง ขึ้ น ด้ ว ย


ความประสงค์ที่จะเสนอขายหุ้นต่อประชาชนให้ผู้ถือหุ้นมีความรับผิดจากัดไม่เกินจานวนเงินค่าหุ้นที่ต้อง
ชาระและต้องมีผู้ถือหุ้นไม่น้อยกว่า 15 คน ร่วมกันจัดตั้งบริษัทมหาชนจากัด

2.7 องค์ ก รธุ ร กิ จ ไม่ แ สวงหาก าไรที่ จั ด ตั้ ง โดยกฎหมายเฉพาะ ได้ แ ก่ สมาคมการค้ า
และหอการค้า สมาคมการค้า คือ สถาบันที่บุคคลหลายคนซึ่ งเป็นผู้ ประกอบวิส าหกิจ (หมายถึ ง
บุ ค คลซึ่ ง ประกอบธุ ร กิ จ ทางการค้ า อุ ต สาหกรรมหรื อ การเงิ น และให้ ห มายความรวมถึ ง บุ ค คล
ซึ่ง ประกอบธุร กิจ อื่น ใดในทางเศรษฐกิจที่รัฐ มนตรีได้กาหนดในกฎกระทรวง) จัดตั้งขึ้นเพื่อทาการ
ส่งเสริมการประกอบวิสาหกิจอันมิใช่เป็นการหาผลกาไรหรือรายได้แบ่งปันกัน มีคณะกรรมการเป็นผู้
ดาเนินกิจการ

3. ประเทศกั ม พู ช า รู ป แบบองค์ ก รการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ในประเทศกั ม พู ช า มี 3 รู ป แบบ


โดยสามารถจาแนกได้ ดังนี้
76 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

3.1 กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietor) คือ กิจการที่จัดตั้งในรูปแบบของธุรกิจ


เจ้าของคนเดียว โดยทรัพย์สิน สัญญา บัญชี และลิขสิทธิ์ทั้งหมดอยู่ภายใต้ชื่อของเจ้าของคนเดียว
เท่านั้น และเจ้าของมีอานาจการบริหารควบคุมธุรกิจอย่างอิสระและเป็นผู้รับผิดชอบเงินทุน และหนี้สิน
ทั้งนี้กิจการเจ้าของคนเดียวจะสิ้นสภาพเมื่อเจ้าของได้เสียชีวิตลง

3.2 ห้างหุ้นส่วน (Partnership) คือ รูปแบบธุรกิจที่เกิดจากการร่วมลงทุนเพื่อให้สามารถ


ใช้เงินทุนและทรัพยากรร่วมกัน แบ่งเป็น ห้างหุ้นส่วนสามัญ (General Partnership) คือ กิจการ
ที่จัดตั้งโดยหุ้นส่วนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป ร่วมกันดาเนินธุรกิจโดยเป็นเจ้าของรับผิดชอบบริหารงานร่วมกัน
และแบ่งปันผลกาไร โดยอาจเป็น การตกลงด้วยวาจาหรือทาข้อตกลงที่เป็นเอกสารก็ได้ ซึ่งหุ้นส่ว น
ทุก คนมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ หนี้ สิ น ที่ เ กิ ด ทั้ ง นี้ ห้ า งหุ้ น ส่ ว นสามั ญ จะสิ น สภาพเมื่ อ หุ้ น ส่ ว นเสี ย ชี วิ ต
หรือถอนหุ้นหรือล้มละลาย ห้างหุ้นส่วนจากัด (Limited Partnership) คือ หุ้นส่วนที่ประกอบด้วย
หุ้ น ส่ ว นสามั ญ (General Partner) ตั้ ง แต่ 1 คนขึ้ น ไป และหุ้ น ส่ ว นจ ากั ด ความรั บ ผิ ด ชอบ
(Limited Partner) 1 คนขึ้ น ไป โดยหุ้ น ส่ ว นจ ากั ดความรั บผิ ดมี พัน ธะหนี้ สิ น เพี ยงแค่ สั ด ส่ ว นที่ ไ ด้
ลงเงินทุนให้แก่กิจการ ทั้งนี้ห้างหุ้นส่วนจากัดมีสภาพตั้งแต่ได้รับการจดทะเบียนจัดตั้ งจนถึงเมื่อหุ้นส่วน
สามัญได้ถอนหุ้นออกไป

3.3 บริษัทจากัด (Limited Liability Company) คือ ธุรกิจที่จัดตั้งโดยการระดมเงินทุน


ของผู้ถือหุ้นและมอบอานาจให้กรรมการบริษัทเป็นผู้บริหารงาน โดยต้องแบ่งจานวนหุ้นขั้นต่า จานวน
1,000 หุ้น และมีมูลค่าไม่ต่ากว่า 4,000 KHR1 ต่อหุ้น ดังนั้น ทุนจดทะเบียนเริ่มต้นจึงคิดเป็นมูลค่า
4,000,000 KHR ทั้งนี้ผู้ถือหุ้นหรือเจ้าของต้องรับผิดชอบต่อหนี้ สินที่เกิดตามสัดส่วนของจานวนเงิน
ที่ล งทุน เท่านั้ น บริ ษัทจากัดอาจมีเจ้าของเป็นคนสั ญชาติ กัมพูช าร้อยเปอร์เซ็นต์หรือเป็นบริษัทที่มี
ชาวต่างชาติเป็นเจ้าของร้อยเปอร์เซ็นต์ หรือเป็นการร่วมทุนระหว่างสองฝ่าย บริษัทสัญชาติกัมพู ชา
คือ บริษัทที่มีชาวกัมพูชาถือหุ้นอย่างน้อยร้อยละ 51 และประธานบริษัทจากัดอาจเป็นชาวกัมพูชา
หรือชาวต่างชาติก็ได้ บริษัทจากัดแบ่งเป็น 3 ประเภท ได้แก่

3.3.1 บริ ษั ท จ ากั ด ที่ มี ผู้ ถื อ หุ้ น รายเดี ย ว (Single Member Private Limited
Company) คือ บริ ษัทจ ากัดที่มีกรรมการบริห ารอย่างน้อย 1 คน โดยสามารถเปลี่ยนเป็นบริษัท
จากัดที่มีผู้ถือหุ้นหลายคนได้ ภายหลังหากผู้ถือหุ้นเห็นควรให้มีการเพิ่มจานวนผู้ถือหุ้นมากกว่า 1 คน

3.3.2 บริษัทจากัดที่มีผู้ถือหุ้นหลายคน (Private Limited Company) คือ บริษัท


จากัดที่มีผู้ถือหุ้นระหว่าง 2-30 คน มีกรรมการบริหารอย่างน้อย 1 คน โดยไม่สามารถเสนอขายหุ้น
ต่อสาธารณะได้ แต่สามารถโอนหุ้นให้แก่ผู้ถือหุ้น ครอบครัวและผู้บริหารบริษัทได้ ซึ่งอาจมีข้อจากัด
ด้านการโอนหุ้นแต่ละประเภท
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 77

3.3.3 บริษัทจากัดมหาชน (Public Limited Company) คือ บริษัทจากัดที่ถือหุ้น


โดยสาธารณชน เนื่ อ งจากกฎหมายอนุ ญ าตให้ ส ามารถออกหุ้ น ให้ แ ก่ ค นทั่ ว ไปได้ โดยต้ อ งมี
กรรมการบริ ห ารอย่ า งน้ อ ย 3 คน ทั้ ง นี้ ค วามรั บ ผิ ด ชอบต่ อ หนี้ สิ น ของผู้ ถื อ หุ้ น จ ากั ด ตามสั ด ส่ ว น
ของมูล ค่าหุ้ น ซึ่งข้อบังคั บของบริ ษัทต้องระบุเงื่อนไขการจากัดความรับผิ ดชอบหนี้ สิ น ของผู้ถือหุ้ น
บริ ษั ท กั ม พู ช าที่ ต้ อ งการจะขยายธุ ร กิ จ ไปในท าเลที่ ตั้ ง ใหม่ ใ นประเทศ โดยส่ ว นใหญ่ จ ะจั ด ตั้ ง
เป็นสานักงานสาขา (Branch Operation) โดยสามารถบริหารได้อย่างอิสระจากบริษัทแม่ ทั้งนี้บริษัท
จะต้องจดทะเบียนบริษัทสาขาตามกฎหมายการจดทะเบียนพาณิชย์ (Law on Commercial Rules
and the Commercial Register) แ ล ะ ก ฎ ห ม า ย ธุ ร กิ จ ( Law on Commercial Enterprise)
ทั้งนี้ผู้ประกอบการต่างชาติสามารถจัดตั้งบริษัทจากัดได้เช่นเดียวกับผู้ประกอบการกัมพูชา นอกจากนี้
ผู้ประกอบการต่างชาติสามารถจัดตั้งกิจการหรือสานักงานใน 3 รูปแบบ ดังนี้

ก. สานักงานสาขาของบริษัทต่างชาติ (Branch of a Foreign Company)


คือ รูปแบบการจัดตั้งสานักงานโดยบริษัทแม่ (Parent Company) ที่มีสานักงานใหญ่ในต่างประเทศ
ซึ่ง บริ ษั ทแม่ เป็ น ผู้ รั บ ผิ ด ชอบต่อ ภาระหนี้ สิ น และผลั ก ก าไรขาดทุ น ของสาขา ทั้ งนี้ ส านั ก งานสาขา
ของบริ ษัทต่างชาติต้องจดทะเบี ย นตามกฎหมายการจดทะเบียนพาณิช ย์ (Law on Commercial
Rules and the Commercial Register) แ ล ะ ก ฎ ห ม า ย ธุ ร กิ จ ( Law on Commercial
Enterprise) เช่นเดียวกันกับสานักงานสาขาของบริษัทกัมพูชา
ข. ส านั ก งานผู้ แ ทน (Representative Office of a Foreign Company)
จัดตั้งขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์ เพื่อเป็นตัวแทนจัดหาวัตถุดิบ ตัวแทนทางการตลาดและส่งเสริมการขาย
ของบริษัทแม่ในต่ างประเทศ สานักงานผู้แทนจะไม่ทาการผลิต ดาเนินธุรกิจหรือให้บริการโดยตรง
แต่จะทาหน้าที่ประชาสัมพันธ์สิ นค้า ส่ งเสริมภาพลักษณ์ของบริ ษัทและเจรจาธุรกิจให้กับบริษัทแม่

ค. บริ ษั ท ในเครื อ (Subsidiary Company) คื อ บริ ษั ท ที่ ค วบคุ ม ดู แ ล


โดยบริษัทแม่ ซึ่งบริษัทแม่มีสิทธิ์ส่วนใหญ่ในการออกเสียงในบริษัทในเครือ
4. ประเทศสิงคโปร์ รู ปแบบองค์กรการดาเนิน ธุรกิจในประเทศสิ งคโปร์ มี 5 รูปแบบ
โดยสามารถจาแนกได้ ดังนี้
4.1 กิ จ การเจ้ า ของเดี ย ว (Sole-Proprietorship) คื อ ธุ ร กิ จ ที่ มี บุ ค คลเพี ย งคนเดี ย ว
หรือกลุ่มคณะบุคคลเป็นเจ้าของโดยไม่มีหุ้น ส่วน เจ้าของกิจการประเภทนี้มีอานาจเต็มที่ในการดาเนิน
ธุรกิจ
78 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

4.2 ห้างหุ้น ส่ ว น (Partnership) ห้ างหุ้ นส่ว นไม่จดทะเบีย นหรือที่เรียกว่า ห้ างหุ้นส่ ว น


สามัญ คือ ธุรกิจที่จัดตั้งโดยผู้เป็นหุ้นส่วน (Partner) ตั้งแต่ 2 ถึง 20 คน ทั้งนี้หากมีจานวนผู้เป็น
หุ้นส่วนเกินกว่า 20 คน ต้องจดทะเบียนเป็นบริษัท
4.3 ห้างหุ้นส่วนจากัด (Limited Partnership: LP) คือ ห้างหุ้นส่ วนที่ประกอบไปด้วย
หุ้ น ส่ ว น ไม่ จ า กั ด ค ว า มรั บผิ ด ( Ordinary Partner) อย่ า งน้ อย 1 คน และ หุ้ น ส่ ว นจ ากั ด
ความรับผิดชอบ (Limited Partner) อีกอย่างน้อย 1 คน

4.4 ห้ า ง หุ้ น ส่ ว น จ า กั ด ค ว า ม รั บ ผิ ด ช อ บ ( Limited Liability Partnership: LLP)


มีสถานะเป็นนิติบุคคลแยกออกไปต่างหากจากผู้เป็นหุ้นส่วน สามารถฟ้องร้องหรือถูกฟ้องร้องหรือทา
นิติกรรมอื่นใดในนามของห้างหุนส่วนได้และผู้เป็นหุ้นส่วนไม่ต้องรับผิดชอบต่อภาระหนี้ สินที่เกิดจากตัว
ห้างหุ้นส่วนหรือเกิดจากการกระทาหรือการละเว้นการกระทาที่ผิดพลาดของผู้เป็นหุ้นส่วนรายอื่น ๆ
อย่างไรก็ตาม ผู้เป็นหุ้นส่วนยังต้องรับผิดชอบต่อหนี้สินที่เกิดจากการกระทาหรือการละเว้นการกระทา
ที่ผิดพลาดของตัวเอง

4.5 บริษัท (Company) บริษัทมีสถานะเป็นนิติบุคคลแยกออกจากกรรมการและผู้ถือหุ้น


บริ ษัทจะต้องมีผู้ ถือหุ้ น อย่ างน้ อย 1 คน ถือหุ้ นอย่างน้ อย 1 หุ้ น โดยมูล ค่าของหุ้ นอาจเป็นเพีย ง
1 ดอลลาร์ สิงคโปร์ ก็ได้ นอกจากนี้ ยังต้องมีกรรมการบริษัทซึ่งมีคุณสมบัติตามที่กฎหมายกาหนด
อย่ า งน้ อ ย 1 คน โดยกรรมการอาจจะเป็ น คนเดี ย วกั น กั บ ผู้ ถื อ หุ้ น ก็ ไ ด้ สามารถแบ่ ง บริ ษั ท ออก
เป็นประเภทต่าง ๆ ดังต่อไปนี้
4.5.1 บริษัทเอกชนจากั ดโดยหุ้น (Private Company Limited by Shares) คือ
บริษัทที่ดาเนินธุรกิจภายในสิงคโปร์ที่มีจานวนผู้ถือหุ้นไม่เกิน 50 คน

4.5.2 บริ ษัทมหาชนจากัดโดยหุ้ น (Public Company Limited by Shares) คือ


บริษัทที่ดาเนินธุรกิจภายในสิงคโปร์สามารถมีจานวนผู้ถือหุ้นเกินกว่า 50 คน ได้และสามารถเพิ่มทุน
โดยการเสนอขายหุ้ น สามัญ (Common Stocks) หรือหุ้ นกู้ (Debentures) แก่ประชาชนหรือนิ ติ
บุคคลทั่วไปได้
4.5.3 บริ ษั ท มหาชนจ ากั ด โดยการรั บ ประกั น (Public Company Limited by
Guarantee) หมายถึ ง บริ ษั ท ที่ ด าเนิ น กิ จ กรรมไม่ แ สวงหาก า ไรมี วั ต ถุ ป ระสงค์ เ กี่ ย ว กั บ
สาธารณประโยชน์ ข องประเทศ อาทิ กิ จ การที่ เ กี่ ย วกั บ ศิ ล ปะการแสดงหรื อ เพื่ อ การกุ ศ ลต่ า ง ๆ
ทั้งนี้บริษัทดังกล่าวสามารถจดทะเบียนจัดตั้งโดยไม่ต้องมีคาว่า “Limited” หรือ “Berhad” ต่อท้าย
ชื่อบริษัทโดยมติของรัฐมนตรี
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 79

5. ประเทศอินโดนีเซีย รูปแบบองค์กรการดาเนินธุรกิจในประเทศอินโดนีเซีย มี 6 รูปแบ


โดยสามารถจาแนกได้ ดังนี้

5.1 กิจการเจ้าของคนเดียว (Sole Proprietorship) หรือ (Perusahaan Dagang: PD)


เจ้าของกิจการมีความรับผิดชอบต่อหนี้สินไม่จากัด โดยอาจเรียกว่า Private Trading Company

5.2 ห้ า งหุ้ น ส่ ว น (Partnerships) ห้ า งหุ้ น ส่ ว นเป็ น รู ป แบบองค์ ก รธุ ร กิ จ ที่ เ ป็ น ที่ นิ ย ม


ในประเทศอินโดนีเซีย มีสถานะเป็นนิติบุคคล ทัง้ นี้ห้างหุ้นส่วนสามารถจาแนกเป็น 3 ประเภท ดังนี้

5.2.1 Persekutuan Perdata: PP เป็นห้างหุ้นส่วน ประกอบด้วย ผู้ถือหุ้น 2 คน


ขึ้นไป มีวัตถุประสงค์เพื่อทากาไร
5.2.2 Firma เป็นห้างหุ้นส่วนในลักษณะเปิด เป็นที่นิยมโดยธุรกิจการค้า (Trading
Enterprise) แ ล ะ ธุ ร กิ จ บ ริ ก า ร ( Service Enterprise) หุ้ น ส่ ว น แ ต่ ล ะ ค น มี สิ ท ธิ์ ที่ จ ะ ท า
นิติกรรมแทนห้างหุ้นส่วน Firma ได้

5.2.3 Persekutuan Komanditer (Commandiatire Vennootschap: CV) หรือ


สามารถเรียกได้ว่า หุ้นส่วนจากัดความรับผิดชอบ (Limited Partnership)

5.3 บริ ษัทจ ากัด (Limited Liability Companies) หรือ (Perseroan Terbatas: PT)
บริ ษั ท จ ากั ด สามารถจ าแนกได้ เ ป็ น บริ ษั ท เอกชนและบริ ษั ท มหาชน โดยอยู่ ภ ายใต้ ก ฎหมาย
Corporation Law 1996 บริ ษั ท จ ากั ด มี ก ารบริ ห ารโดยใช้ ค ณะกรรมการ (Board of Directors)
ผู้ประกอบการต่างชาติไม่สามารถเป็นกรรมการผู้จัดการ (Directors) หรือผู้รับมอบอานาจ (Foreign
Investment Commissioners) ของบริ ษั ท จ ากั ด ได้ บริ ษั ท จ ากั ด มี ส ถานะเป็ น นิ ติ บุ ค คล มี ทุ น
จดทะเบี ยนคงที่ โดยแบ่ งเป็ นหุ้ น ผู้ ถือหุ้น มีความรับผิดชอบต่อหนี้ จากัด ผู้ประกอบการสามารถ
ประกอบธุรกิจในประเทศอินโดนีเซียโดยจดทะเบียนจัดตั้งองค์กรธุรกิจภายใต้กฎหมายต่างประเทศ
ได้ 2 รูปแบบ คือ สานักงานสาขาและบริษัทผู้แทน ดังนี้

5.3.1 สานักงานสาขา (Branch Office: BO) โดยปกติส านักงานสาขาจะไม่ได้รับ


อนุมัติจดทะเบียนในประเทศอินโดนี เซียยกเว้นธุรกิจเฉพาะบางประเภท เช่น ธุรกิจธนาคารและธุรกิจ
พลังงาน (แก๊สและน้ามัน)

5.3.2 บริษัทผู้แทน (Representative Offices: RO) บริษัทตัวแทนมีวัตถุประสงค์


เพื่ออานวยความสะดวกในการทาธุรกรรม ทั้งนี้บริษัทผู้แทนไม่ได้รับอนุญาตให้ดาเนินการขายโดยตรง
หรือมีการทาธุรกรรมซื้อขายทางธุรกิจ เช่น การยื่นประมูล/ประกวดราคา การจัดจาหน่ายและการทา
80 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

สัญญาทางธุรกิจใด ๆ เช่นเดียวกับบริษัทจากัด (PT) ดังนั้น กิจกรรมจึงจากัดเพียงเรื่องของการทา


ตลาด การทาวิจัยตลาดและการเป็นตัวแทนในการซื้อและขายเท่านั้น บริษัทต่างประเทศที่เป็นบริษัท
ตัวแทนที่มิใช่ธุรกิจสาขาการเงินจะต้องจัดตั้งขึ้น เมื่อได้รับความเห็นชอบจากประธาน Investment
Coordinating Board (BKPM) โดยการยื่นขออนุญาตหรือขอความเห็นชอบในการจัดตั้งบริษัทตัวแทน
นั้ น ผู้ ยื่ น ค าขอจะต้ อ งยื่ น ส าเนารู ป แบบการจั ด ตั้ ง บริ ษั ท ตั ว แทนจ านวน 2 ชุ ด ให้ แ ก่ ห น่ ว ยงาน
Investment Coordinating Board

5.4 กิจการร่วมค้า (Joint Ventures) การลงทุนโดยตรงจากต่างชาติ (Foreign Direct


Investment) อาจอยู่ในรูปแบบกิจการร่วมค้าระหว่างธุรกิจต่างชาติกับธุรกิจที่มีผู้ประกอบการสัญชาติ
อินโดนีเซียหรือองค์กรสัญชาติอินโดนีเซียเป็นเจ้าของ
5.5 รั ฐ วิส าหกิ จ (Badan Usaha Miliknegara: BUMN) กิจ การที่มี รัฐ บาลอิน โดนีเ ซี ย
เป็ น เจ้ า ของภายใต้ ก ฎหมายการลงทุ น ก าหนดไว้ ว่ า การลงทุ น โดยตรงของบริ ษั ท ต่ า งประเทศ
ในประเทศอินโดนีเซียนั้น รัฐบาลอินโดนีเซียอนุญาตให้สามารถดาเนินการได้ 2 รูปแบบ ได้แก่

5.5.1 การลงทุ น โดยตรงของบริ ษั ท ต่ า งประเทศ (Penanaman Medal Asing:


PMA) เป็ น รู ป แบบทั่ ว ไปของนั ก ลงทุ น ต่ า งประเทศที่ ต้ อ งการจะท าธุ ร กิ จ ในประเทศอิ น โดนี เ ซี ย
สามารถท าได้ 2 ลั ก ษณะ คื อ บริ ษั ท จ ากั ด (Limited Liability Company: PT) โดยนั ก ลงทุ น
ต่างประเทศสามารถือหุ้นได้ร้อยละ 100 และกิจการร่วมค้า (Joint Ventrue)

5.5.2 การตั้งบริษัทผู้แทน (Representative Office: RO)

6. ประเทศสาธารณรั ฐประชาธิ ปไตยประชาชนลาว รูปแบบองค์กรธุรกิจในประเทศลาว


มี 3 รูปแบบ โดยสามารถจาแนกได้ ดังนี้

6.1 วิสาหกิจส่วนบุคคล (Sole-trader Enterprise) คือกิจการที่จัดตั้งในรูปแบบของกิจการ


เจ้าของคนเดียว โดยประกอบการภายใต้ชื่อของเจ้าของกิจการซึ่งเป็นผู้รับผิดชอบต่อหนี้ สินที่เกิดขึ้น
ของวิสาหกิจ

6.2 วิ ส าหกิ จ หุ้ น ส่ ว นหรื อ ห้ า งหุ้ น ส่ ว น (Partnership Enterprise) คื อ กิ จ การที่ จั ด ตั้ ง


โดยการตกลงสั ญ ญากัน ระหว่า งหุ้ น ส่ ว นตั้ ง แต่ 2 คนขึ้ นไป เพื่ อรวมเงิน ทุ น ในการประกอบธุร กิ จ
และแบ่ ง ปั น ผลก าไรร่ ว มกั น โดยแบ่ ง เป็ น วิ ส าหกิ จ หุ้ น ส่ ว นสามั ญ (General Partnership
Enterprise) คือ กิจ การที่จั ดตั้งโดยหุ้ นส่ ว นโดยร่ว มลงเงิ นทุนและดาเนินธุรกิจร่ว มกัน ซึ่งหุ้ นส่ ว น
ทุ ก คนต้ อ งร่ ว มรั บ ผิ ด ชอบหนี้ สิ น ของกิ จ การอย่ า งไม่ จ ากั ด และวิ ส าหกิ จ หุ่ น ส่ ว นจ ากั ด
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 81

(Limited Partnership Enterprise) คือ รูปแบบของวิสาหกิจหุ้นส่วนที่ประกอบด้วยหุ้นส่วนสามัญ


(General Partners) ซึง่ ต้องรับผิดชอบร่วมกันในบรรดาหนี้สินของห้างหุ้นส่วนโดยไม่จากัดจานวน

6.3 บริษัท (Company) คือ รูปแบบของกิจการที่จัดตั้งโดยการแบ่งทุนเป็นหุ้นและแต่ละ


หุ้นมีมูลค่าเท่ากัน โดยผู้ถือหุ้นเป็นผู้มีความรับผิด ชอบต่อหนี้สินที่เกิดขึ้นของบริษัทจากัดเพียงไม่เกิน
จานวนเงินที่ตนยังชาระไม่ครบตามมูลค่าหุ้นที่ตนได้ถืออยู่ โดยบริษัทแบ่งเป็น 4 ประเภท ดังนี้
6.3.1 บริ ษั ท จ ากั ด (Limited Company) จะต้ อ งมี ผู้ ถื อ หุ้ น ตั้ ง แต่ 2 คนขึ้ น ไป
แต่ไม่เกิน 30 คน โดยมีข้อยกเว้นตามมาตรา 85 ของกฎหมายวิสาหกิจ ให้บริษัทจากัดที่มีผู้ถือหุ้น
เพียงรายเดียว สามารถจดทะเบียนบริษัทจากัดผู้เดียว (One-Person Limited Company) ได้
6.3.2 บริ ษั ท มหาชน (Public Company) คื อ บริษั ท ที่ จั ด ตั้ง โดยมี ผู้ ถือ หุ้ น ตั้ ง แต่
9 คนขึน้ ไป โดยหุ้นของบริษัทสามารถถ่ายโอนได้อย่างอิสระและสามารถเสนอขายหุ้นต่อสาธารณะได้

6.3.3 บริษัทรัฐวิสาหกิจ (State Company) คือ บริษัทที่จัดตั้งและบริหารโดยรัฐ


ภายใต้ระเบียบปฏิบัติที่เหมาะสมกับบริษัท โดยไม่สามารถขายหุ้นให้เอกชนได้มากกว่าร้อยละ 49

6.3.4 บริษัทผสม (Joint Company) คือ บริษัทที่จัดตั้งขึ้นระหว่างรัฐกับภาคส่วน


อื่น ซึ่งอาจเป็นสัญชาติลาวหรือต่างชาติก็ได้โดยแต่ละฝ่ายถือหุ้นร้อยละ 50
7. ประเทศเวียดนาม รูปแบบองค์กรธุรกิจในประเทศเวียดนาม มี 5 รูปแบบ โดยสามารถ
จาแนกได้ ดังนี้

7.1 ธุรกิจในครัวเรือน (Household Business) ธุรกิจที่มีการจ้างแรงงานไม่เกิน 10 คน


และประกอบธุร กิจ ได้เพีย งแห่งเดียวในประเทศเวียดนามเท่านั้น บุคคล คณะบุคคลหรือครัวเรือน
ที่มีสัญชาติเวียดนามและมีอายุเกิน 18 ปี สามารถจดทะเบียนเป็นธุรกิจในครัวเรือนได้ เจ้าของธุรกิจ
ในครัวเรือนมีภาระต้องรับผิดชอบต่อหนี้ สินของธุรกิจด้วยทรัพย์สินของตัวเอง ธุรกิจประเภทนี้ไม่ได้ถูก
ระบุไว้ใน Enterprise Law
7.2 กิ จ การเจ้ า ของเดี ย ว (Private Enterprise) ธุ ร กิ จ ที่ เ จ้ า ของกิ จ การมี ภ าระ
ต้องรับผิดชอบต่อหนี้สินของกิจการด้วยทรัพย์สินของตัวเองโดยไม่มีสถานะเป็นนิติบุคคลและไม่สามารถ
ออกหุ้นได้
7.3 ห้างหุ้นส่วน (Partnership) ธุรกิจที่มีผู้เป็นหุ้นส่วนตั้งแต่ 2 คนขึ้นไป เป็นเจ้าของ
และดาเนินกิจการร่วมกันภายใต้ชื่อกิจ การเดียวกัน ห้างหุ้นส่วนไม่สามารถออกหุ้นได้ สาหรับหุ้นส่วน
ไม่จากัดความรับผิดชอบ ผู้เป็นหุ้นส่วนมีภาระต้องรับผิดชอบต่อหนี้ สินของห้างหุ้นส่วนด้วยทรัพย์สิน
82 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

อย่ า งไม่ จ ากั ด จ านวน ห้ า งหุ้ น ส่ ว นสามารถมี หุ้ น ส่ ว นจ ากั ด ความรั บ ผิ ด ได้ ซึ่ ง หุ้ น ส่ ว นจ ากั ด
ความรับผิดชอบมีภาระต้องรับผิดชอบต่อหนี้สินเท่ากับจานวนเงินที่ลงทุนไว้เท่านั้น

7.4 บริษัทจากัด (Limited Liability Company) บริษัทที่ตั้งขึ้นด้วยการแบ่งทุนเป็นหุ้น


มีมูลค่าเท่า ๆ กัน โดยผู้ถือหุ้นต่างรับผิดจากัดเพียงไม่เกินจานวนเงินที่ตนยังชาระไม่ครบตามมูลค่าหุ้น
ที่ตนได้ถืออยู่ มีส ถานะเป็ น นิ ติบุ คคลนับตั้งแต่วันออกหนั งสื อรับรองการจดทะเบียน บริษัทจากัด
ไม่สามารถออกขายหุ้นสาธารณะได้ บริษัทจากัดแบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ

7.4.1 บริษัทจากัดที่มีผู้ถือหุ้นมากกว่าหนึ่งราย (Limited liability company with


more than one member)
7.4.2 บริษัทจากัดที่มีผู้ถือหุ้นรายเดียว (Limited liability company with one
member) โดยผู้ถือหุ้นของบริษัทจากัดต้องรับผิดชอบต่อหนี้สินและภาระอื่น ๆ ของบริษัทไม่เกินกว่า
จานวนเงินลงทุนทีไ่ ด้ให้ไว้กับบริษัท
7.5 บริ ษั ท ถื อหุ้ น (Shareholding Company) บ ริ ษั ท ถื อหุ้ นห รื อบ ริ ษั ท ม หา ช น
เป็นกิจการที่มีส ถานะเป็ นนิติบุคคลนับตั้ งแต่วันออกใบรับรองการจดทะเบียน เงินลงทุนของบริษัท
ถูกแบ่ ง ออกเท่ า ๆ กัน เป็ น หุ้ น บริ ษัท สามารถออกหุ้ น สาธารณะเพื่ อเพิ่ มทุ นได้ ผู้ ถือหุ้ นมี ส ถานะ
เป็นเจ้าของบริ ษัทตามสัดส่วนของหุ้นที่ซื้อไว้ บริษัทต้องมีผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 3 รายขึ้นไป ผู้ถือหุ้ น
ต้องรับผิดชอบต่อหนี้สินและภาระอื่น ๆ ของบริษัทไม่เกินกว่าจานวนเงินลงทุนที่ได้ให้ไว้กับบริษัท

8. ประเทศมาเลเซีย รูปแบบองค์กรธุรกิจในประเทศมาเลเซีย มี 7 รูปแบบ โดยสามารถ


จาแนกได้ ดังนี้

8.1 กิ จ การเจ้ า ของเดี ย ว (Sole Proprietorship) ธุ ร กิ จ ที่ มี เ จ้ า ของคนเดี ย ว โดยมี


ความรับผิดชอบต่อหนี้ สินไม่จากัด กิจการและทรัพย์สินของกิจการสามารถถูกอายัดหรือดาเนินการ
ทางกฎหมายอื่น ๆ ได้

8.2 ห้ า งหุ้ น ส่ ว นสามั ญ (General Partnership) ธุ ร กิ จ ที่ ผู้ เ ป็ น หุ้ น ส่ ว นต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ
ต่อภาระหนี้สินของห้างหุ้นส่วนทั้ งหมดร่วมกัน จานวนหุ้นส่วนของห้างหุ้นส่วนสามัญต้องอยู่ระหว่าง
2 ถึง 20 ราย

8.3 ห้างหุ้นส่วนจากัด (Limited Partnership) รูปแบบของห้างหุ้นส่วนที่ประกอบไปด้วย


หุ้ น ส่ ว นไม่ จ ากั ด ความรั บ ผิ ด อย่ า งน้ อ ย 1 คน และหุ้ น ส่ ว นจ ากั ด ความรั บ ผิ ด อี กอย่ างน้ อย 1 คน
ผู้เป็นหุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด เป็นผู้จัดการกิจการรายวันของห้างหุ้นส่วน รวมทั้งเป็นผู้รับผิดชอบ
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 83

ต่อหนี้สินและการกระทาของผู้เป็นหุ้นส่วนรายอื่น ๆ ในขณะที่ผู้เป็นหุ้นส่วนจากัดความรับผิด ชอบ


ไม่จาเป็นต้องดูแลกิจการรายวันของห้างหุ้นส่วน ผู้เป็นหุ้นส่วนจากัดความรับผิดชอบอยู่เพียงแค่จานวน
เงินที่ลงทุนไว้ รวมทั้งไม่ต้องรับผิดชอบต่อหนี้สินและการกระทาของผู้เป็นหุ้นส่วนรายอื่น ๆ
8.4 ห้ า งหุ้ น ส่ ว นจ ากั ด ความรั บ ผิ ด ชอบ (Limited Liability Partnership) มี ลั ก ษณะ
เหมือนกับห้างหุ้นส่วนจากัด ยกเว้นแต่ว่าผู้เป็นหุ้นส่วนไม่จากัดความรับผิด ไม่ต้องรับผิดชอบต่อการ
กระทาของผู้เป็นหุ้นส่วนรายอื่น ข้อเรียกร้องของลูกจ้างและความรับผิดสาธารณะ

8.5 บริษัทจากัดโดยหุ้น (Company Limited by Share) คือ เป็นบริษัทที่จัดตั้งภายใต้


หลักการว่า ความรับผิดชอบของผู้ถือหุ้นถูกจากัดไว้ตามจานวนหุ้นหากบริษัทล้มละลายหรือต้องชาระ
หนี้สินผู้ถือหุ้นไม่มีภาระผูกพันที่จะต้องชาระหนี้ สินของบริษัท เว้นเสียแต่ว่าผู้ถือหุ้นได้ให้การประกัน
เป็น การส่ วนตัว ไว้ บริ ษัทจ ากัดโดยหุ้นสามารถแบ่ง ออกได้ 2 ประเภท ได้แก่ บริษัทเอกชนจากัด
(Private Limited Company) เป็นบริษัทที่ไม่ได้รับอนุญาตให้ขายหุ้นออกสู่สาธารณะหรือเชิญชวน
ให้สาธารณะฝากเงินกับบริษัทเพื่อการลงทุน จานวนผู้ถือหุ้นอยู่ระหว่าง 2 ถึง 50 ราย และบริษัท
มหาชนจากัด (Public Limited Company) เป็นบริษัทที่สามารถออกหุ้นสู่สาธารณะในรูปแบบใด
ก็ได้ จานวนผู้ถือหุ้นต่าที่สุด คือ 2 ราย และจะมีมากเท่าไรก็ได้ บริษัทสามารถนาหุ้นออกสู่ตลาด
หลักทรัพย์ของมาเลเซียได้โดยให้เป็นไปตามข้อบังคับที่กาหนดไว้

8.6 บริ ษั ท จ ากั ด โดยการรั บ ประกั น (Company Limited by Guarantee) ภาระ


ความรับผิดชอบของผู้ถือหุ้นถูกจากัดไว้ตามจานวนที่ได้ให้การรับประกันไว้ในหนังสือบริคณห์สนธิที่ผู้ถื อ
หุ้นทั้งหมดได้ลงนามไว้กับบริษัทจากัด โดยการรับประกันมักจะเป็นองค์กรไม่แสวงหากาไรหรือสมาคม
ต่าง ๆ

8.7 บริ ษั ท ไม่ จ ากั ด (Unlimited Company) บริ ษั ท ไม่ จ ากั ด ไม่ มี ก ารจ ากั ด ภาระ
ความรับผิดชอบของผู้ถือหุ้น บริษัทไม่จากัดแตกต่างจากกิจการเจ้าของเดียวและห้างหุ้นส่วนตรงที่
มีข้อบังคับของบริษัทโดยเฉพาะอยู่และสามารถคืนเงินทุนให้แก่ผู้ถือหุ้นได้โดยอิสระ

9. ประเทศฟิลิปปินส์ ธุร กิจในประเทศฟิลิปปินส์ โดยสามารถจาแนกได้ 2 ประเภท คือ


ธุร กิจ ที่ จ ดทะเบี ย นภายใต้ กฎหมายของประเทศฟิลิ ปปินส์ และธุร กิจที่จ ดทะเบียนภายใต้ก ฎหมาย
ต่างประเทศ มีรายละเอียด ดังนี้

9.1 ธุ ร กิ จ ที่ จ ดทะเบี ย นภายใต้ ก ฎหมายของประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ มี รู ป แบบองค์ ก รธุ ร กิ จ


4 ประเภท ดังนี้
84 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

9.1.1 กิ จ การเจ้ า ของเดี ย ว (Sole Proprietorship) ธุ ร กิ จ ที่ มี เ จ้ า ของคนเดี ย ว


มี อ านาจควบคุ ม การด าเนิ น ธุ ร กิ จ และเป็ น เจ้ า ของทรั พ ย์ สิ น เพี ย งคนเดี ย ว ซึ่ ง จะต้ อ งรั บ ผิ ด ชอบ
ผลทางกฎหมายหรือผลประกอบการด้วยตนเอง ไม่มีการกาหนดทุ นจดทะเบียนขั้นต่าสาหรับกิจการ
เจ้าของคนเดียว ผู้ประกอบการต่างชาติไม่สามารถจดทะเบียนกิจการเจ้าของคนเดียวได้

9.1.2 ห้ า งหุ้ น ส่ ว น (Partnership) ห้ า งหุ้ น ส่ ว นจดทะเบี ย นภายใต้ ก ฎหมาย


Civil Code of the Philippines (Partnership) ตามกฎหมายห้างหุ้นส่วน มีสถานะเป็นนิติบุคคล
มีตัวตนทางกฎหมายแยกจากตัวบุคคลที่เป็นสมาชิกหุ้นส่วน ความเป็นหุ้นส่วนจะต้องประกอบด้วย
ผู้ ถือ หุ้ น ตั้ งแต่ 2 รายขึ้น ไป หุ้ น ส่ ว นมี 2 ลั ก ษณะ ได้แ ก่ หุ้ น ส่ ว นทั่ว ไป (General Partnership)
ผู้ เ ป็ น หุ้ น ส่ ว นมี หุ้ น ไม่ จ ากั ด โดยผู้ เ ป็ น หุ้ น ส่ ว นคนหนึ่ ง หรื อ มากกว่ า จะมี ค วามรั บ ผิ ด ชอบผู ก พั น
ตามกฎหมายอย่างไม่จากัด และหุ้นส่วนจากัดความรับผิดชอบ (Limited Partnership) ผู้เป็นหุ้นส่วน
จากัดความรับผิดชอบจะมีความรับผิดชอบผูกพันตามกฎหมายตามจานวน

9.1.3 บริ ษั ท ไม่ แ บ่ ง ทุ น เป็ น หุ้ น (Non-Stock Corporation) องค์ ก รรู ป แบบนี้
มีวัตถุประสงค์เพื่อการสาธารณะการกุศล NGOs การศึกษาและวัฒนธรรมโดยไม่มี การจาหน่ายหุ้น
ให้สมาชิก

9.1.4 บริษัทที่แบ่งทุนออกเป็นหุ้น (Stock Corporations) รูปแบบบริษัทที่แบ่งทุน


ออกเป็ น หุ้ น ที่ มี ก ารจ าหน่ า ยหุ้ น ให้ ผู้ ถื อหุ้ น โดยผู้ ถือ หุ้ น จะได้ ก าไรตามสั ด ส่ ว นที่ ไ ด้ มี ก ารถื อ หุ้ น ไว้
มีส ถานะเป็น นิ ติบุ คคลตามกฎหมาย Corporation Code of the Philippines อยู่ในการควบคุม
ของคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์ ความรับผิดชอบผูกพันตามกฎหมายของผู้ถือหุ้นในบริษัทจะจากัด
อยู่ที่จานวนหุ้น ที่ครอบครอง บริษัทจะต้องประกอบด้วยผู้ถือหุ้น 5-15 ราย โดยแต่ละรายจะต้อง
ถือหุ้นอย่างน้อยที่สุด 1 หุ้น บริษัทที่แบ่งทุนออกเป็นหุ้น เป็นรูปแบบองค์กรธุรกิจที่สามารถดาเนิน
ธุรกิจได้หลากหลายโดยประเทศฟิลิปปินส์ ไม่มีองค์กรธุรกิจประเภทบริษัทจากัด (Limited Liability
Corporation: LLC) บริษัทที่แบ่งทุนออกเป็นหุ้ นแบ่งออกเป็น 2 ประเภท ได้แก่ บริษัทฟิลิปปินส์
(Filipino Corporation) ผู้ ป ระกอบการฟิ ลิ ป ปิ น ส์ มี สั ด ส่ ว นการถื อ หุ้ น ตั้ ง แต่ ร้ อ ยละ 60 ขึ้ น ไป
และบริษัทต่างชาติในประเทศฟิลิปปินส์ (Domestic Foreign-Owned Corporation) ผู้ประกอบการ
ต่างชาติมีสัดส่วนการถือหุ้นตั้งแต่ร้อยละ 60 ขึ้นไป สัญชาติของบริษัทที่แบ่งทุนออกเป็นหุ้นมีผลสาคัญ
ต่อการทาธุรกรรม อาทิ การถือครองที่ดินการรับสิทธิประโยชน์ทางภาษีและการประกอบธุรกิจที่จากัด
สัดส่วนการถือหุ้นโดยผู้ประกอบการต่างชาติ ทั้งนี้ผู้ประกอบการต่างชาติสามารถถือหุ้นในบริษัทที่แบ่ง
ทุน ออกเป็ น หุ้ น ได้ ร้ อยละ 100 หากไม่ได้ ดาเนินธุรกิจที่อยู่ ในบัญชีควบคุม (Philippines Foreign
Investment Negative List) ฉบั บ ปั จ จุ บั น คื อ Executive Order No.139 วั น ที่ 22 ตุ ล าคม
พ.ศ. 2545
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 85

9.2 ธุรกิจที่จดทะเบียนภายใต้กฎหมายต่างชาติ มี 4 ประเภท ดังนี้

9.2.1 ส านั กงานสาขา (Branch Office) กิจการที่จดทะเบียนในต่างประเทศแล้ ว


เข้ามาดาเนิ น ธุร กิจ ในประเทศฟิ ลิ ป ปินส์ ภายใต้การบริห ารงานของส านักงานใหญ่ในต่างประเทศ
สานักงานสาขาต้องนาเงินเข้าประเทศฟิลิปปินส์เพื่อชาระทุนจดทะเบียนขั้นต่า (Inward Remittance)
200,000 ดอลลาร์ ส หรั ฐ ฯ ยกเว้นกิจการที่ใช้เทคโนโลยีระดับสู งหรือจ้างแรงงานมากกว่า 50 คน
ต้องมีทุนจดทะเบียนขั้นต่า 100,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ สาหรับกิจการที่ผลิตเพื่อส่งออกไม่ต่ากว่าร้อยละ
60 หรื อ บริ ษัท การค้ าที่ ชื้ อ สิ น ค้า ในประเทศและส่ ง ออกไม่ ต่ ากว่ าร้ อ ยละ 60 ไม่ มี ก ารกาหนดทุ น
จดทะเบียนขั้นต่า
9.2.2 ส า นั ก ง า น ผู้ แ ท น ( Representative Office) กิ จ ก า ร ที่ จ ด ท ะ เ บี ย น
ในต่างประเทศแล้วเข้ามาตั้งสานักงานผู้แทนในประเทศฟิลิปปินส์เพื่อทาหน้าที่รวบรวมข้อมูลเป็นศูนย์
การติดต่อสื่ อสารของบริ ษั ทแม่และการควบคุมคุณภาพสินค้า สานักงานผู้ แทนไม่สามารถมีรายได้
ในประเทศฟิลิปปินส์กิจการประเภทนี้ต้องนาเงินเข้าประเทศฟิลิปปิ นส์เพื่อชาระทุนจดทะเบียนขั้นต่า
30,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ และต้องจดทะเบียนกับคณะกรรมการตลาดหลักทรัพย์

9.2.3 ส านั ก งานภู มิ ภ าค (Regional Head Quarters: RHQ) มี ส ถานะเสมื อ น


เป็ น ผู้ ป ระสานงาน ที่ ป รึ ก ษาและให้ ข้ อ มู ล แก่ ส านั ก งานใหญ่ ใ นต่ า งประเทศ โดยไม่ มี ส่ ว นร่ ว ม
ในการบริหารของบริษัทในเครือหรือสานักงานสาขาของบริษัทต่างชาติ (Multinational Company)
โดยมิไ ด้ มีร ายได้ ใ นฟิ ลิ ป ปิ น ส์ แ ละต้อ งนาเงิน เข้ าประเทศฟิ ลิ ปปิ น ส์ เพื่ อ ช าระทุ น จดทะเบี ย นขั้ น ต่ า
50,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ชาระทุกปี)
9.2.4 ส านั ก งาน ปฏิ บั ติ ก ารภู มิ ภ าค (Regional Operating Head Quarters:
RHOQs) ดาเนิน กิจ กรรมแทนบริษัทแม่ โดยมีรายได้ในฟิลิ ปปินส์ ต้องนาเงินเข้าประเทศฟิลิปปินส์
เพื่อชาระทุนจดทะเบียนขั้นต่า 200,000 ดอลลาร์สหรัฐฯ (ชาระครั้งเดียว) ทั้งนี้กิจกรรมและบริการ
ที่สานักงานปฏิบัติงานภูมิภาคสามารถทาได้ มีรายการ ดังนี้

ก. วางแผน บริหารจัดการด้านธุรกิจและการเงิน
ข. โฆษณาและกิจกรรมการตลาด
ค. บริหารงานส่วนบุคคล
ง. บริการโลจิสติกส์
จ. จัดชื้อวัสดุอุปกรณ์สานักงาน
ฉ. วิจัยและพัฒนาผลิตภัณฑ์
ช. บริการทางเทคนิคและการสื่อสาร
86 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

10. ประเทศบรูไน รูปแบบองค์กรธุรกิจในประเทศบรูไน มี 6 รูปแบบ โดยสามารถจาแนก


ได้เป็น 2 ส่วนหลัก ได้แก่ ธุรกิจ (Business) และบริษัท (Company) ดังนี้

10.1 ธุ ร กิ จ (Business) ธุ ร กิ จ หมายถึ ง กิ จ การที่ จ ดทะเบี ย นภายใต้ ก ฎหมาย


การจดทะเบี ย นธุ รกิ จ (Business Registration Act) บริ ษั ท ต่ า งช าติ (Foreign Company)
ไม่สามารถจดทะเบียนเป็นธุรกิจได้ ยกเว้นแต่ว่าได้จดทะเบียนภายใต้กฎหมายการจดทะเบียนบริษัท
แล้ว (Companies Act) ธุรกิจ มี 2 รูปแบบ คือ

10.1.1 กิ จ การเจ้ า ของคนเดี ย ว (Sole Proprietorship) เจ้ า ของกิ จ การ


มีความรับผิดชอบต่อหนี้ สินไม่จากัด กิจการและทรัพย์สิ นของกิจการสามารถถูกอายัดหรือดาเนินการ
ทางกฎหมายอื่น ๆ ได้ กิจการเจ้าของคนเดียวได้รับการยกเว้นภาษีในปัจจุบัน ทั้งนี้ผู้ประกอบการ
ต่างชาติไม่สามารถจดทะเบียนกิจการเจ้าของคนเดียวได้

10.1.2 ห้ า งหุ้ น ส่ ว น (Partnership) จ านวนหุ้ น ส่ ว นต้อ งอยู่ร ะหว่า ง 2 ถึ ง 20


ราย (หากมีหุ้นส่วนมากกว่า 20 รายต้องจดทะเบียนเป็นบริษัทภายใต้ กฎหมาย Companies Act,
Chapter 39) สามารถเป็นบริษัทท้องถิ่น (Local Company) หรือ บุคคลธรรมดา สานักงานสาขา
ของบริ ษั ท ต่ า งชาติ โดยปกติ หุ้ น ส่ ว นอย่ า งน้ อ ย 1 หุ้ น ส่ ว นต้ อ งเป็ น ผู้ ป ระกอบการสั ญ ชาติ บ รู ไ น
(Bruneian) หรื อ พ านั ก อยู่ ใ นบรู ไ น (Brunei Permanent Resident) ผู้ ป ระกอบการต่ า งชาติ
ที่ต้องการจดทะเบียนเป็นห้างหุ้นส่วนต้องจดทะเบียนภายใต้กฎหมายการจดทะเบีย นบริษัทและได้รับ
การอนุ มั ติ จ ากส านั ก งานตรวจคนเข้ า เมื อ ง (Immigration Department, Economic Planning
Unit) และสานักงานแรงงาน (Labour Department) ก่อนห้างหุ้นส่วนได้รับการยกเว้นภาษีเงินได้
นิติบุคคลในปัจจุบัน (Corporate Tax)

10.2 บริ ษั ท (Company) บริ ษั ท หมายถึ ง กิ จ การที่ จ ดทะเบี ย นภายใต้ ก ฎหมาย


การจดทะเบี ย นบริ ษั ท (Companies Act, Chapter 39) มี ส ถานะเป็ น นิ ติ บุ ค คล มี สิ ท ธิ์ ส ามารถ
เป็ น เจ้ า ของทรั พย์ สิ น และถู กฟ้ องร้ องดาเนินคดีไ ด้ มีข้ อความแสดงนิ ติฐ านะอยู่ท้ ายชื่ อของบริษั ท
(Pte Ltd หรื อ Ltd) บริ ษั ท ที่ จ ดทะเบี ย นในประเทศบรู ไ นมี ข้ อ บั งคั บ หลั ก 2 ข้ อ ได้ แก่ ข้ อ ที่ 1
กรรมการอย่ า งน้ อ ย 2 คน (ไม่ น้ อ ยกว่ า ร้ อ ยละ 50 ของกรรมการทั้ ง หมด) มี สั ญ ชาติ บ รู ไ น
ข้อที่ 2 มีกรรมการอย่างน้อย 2 คน โดยไม่มีการกาหนดสัดส่วนการถือหุ้นโดยผู้ประกอบการต่างชาติ
ทั้งนี้รัฐบาลประเทศบรูไนอาจจะระบุสัดส่วนการถือหุ้นโดยผู้ประกอบการบรูไนในกรณีที่ บริษัทเข้าร่วม
การประมู ล ใบอนุ ญ าต (Government Licenses) หรื อ การประมู ล งาน (Jobs Bidding) รู ป แบบ
ของบริษัท มี 3 รูปแบบ ได้แก่
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 87

10.2.1 บริษัทเอกชน (Private Company) บริษัทที่จดทะเบียนในประเทศบรูไน


อยู่ภายใต้กฎหมายบริษัท (Companies Act, Chapter 39) ภายใต้กฎหมายฉบับนี้บริษัทสามารถ
แ บ่ ง ไ ด้ เ ป็ น 4 ป ร ะ เ ภ ท ไ ด้ แ ก่ บ ริ ษั ท จ า กั ด โ ด ย หุ้ น ( Companies Limited by Shares)
บริษัทจ ากัดโดยการประกัน (Companies Limited by Guarantee) บริษัทจากัดโดยหุ้นและการ
ประกั น (Companies Limited by Shares and Guarantee) และบริ ษั ท ไม่ จ ากั ด (Unlimited
Companies) ตามข้อบังคับที่กาหนดโดยบริษัท (Article of Association) บริษัทเอกชนต้องควบคุม
การเปลี่ยนหุ้นจากัด การจาหน่วยหุ้นสู่สาธารณะ (Prohibit Public to Subscribe for Shares or
Debentures) และจ ากั ด จ านวนผู้ ถื อ หุ้ น ระหว่ า ง 2-50 คน ทั้ ง นี้ ผู้ ถื อ หุ้ น ไม่ จ าเป็ น ต้ อ งเป็ น
ผู้ประกอบการสัญชาติบรู ไนหรือพานักอยู่ในบรูไน (Brunei Permanent Resident) บริษัทในเครือ
สามารถถือหุ้นของบริษัทแม่ได้ ทั้งนี้บริษัทจากัดไม่มีการกาหนดทุนจดทะเบียนขั้นต่า บริษัทเอกชน
และมหาชนต้อ งแต่ง ตั้งผู้ ตรวจสอบบัญ ชีเ พื่อรายงานต่อ ผู้ ถื อหุ้ น บริ ษัท ต้อ งส่ ง รายงานงบการเงิ น
ประจ าปี ต่ อ ส านั ก งานจดทะเบี ย น (Registrar of Companies) และแบบแสดงรายการภาษี
ต่อ ส านั ก งานจั ด เก็บ ภาษี (Collector of Income Tax : CIT, Ministry of Finance) โดยช าระ
ภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ 22% ของกาไรขั้นต้น

10.2.2 บริษัทมหาชน (Public Company) บริษัทมหาชนจดทะเบียนเป็นบริษัท


จากัดหรือบริษัทไม่จากัดก็ได้ สามารถจาหน่ายหุ้นสู่สาธารณะได้โดยเสรี มีผู้ถือหุ้นอย่างน้อย 7 คน
ทั้งนี้กรรมการอย่างน้อยครึ่งหนึ่งต้องเป็นสัญชาติบรู ไนหรือพานักอยู่ในบรูไน (Brunei Permanent
Resident) ไม่มีการกาหนดเงินทุนขั้นต่า
10.2.3 ส านั ก งานสาขา (Branch of Foreign Company) บริ ษั ท ต่ า งชาติ
ที่ไม่ได้จ ดทะเบีย น จั ดตั้งธุรกิจภายใต้ กฎหมายบรูไนต้องจดทะเบียนเป็นสานักงานสาขาโดยต้องมี
สานักงานตั้งอยู่ ในประเทศบรู ไนและแต่งตั้งชาวบรูไนเป็นตัวแทน (Local Agent) สานักงานสาขา
ต้ อ งส่ ง รายงานงบการเงิ น และแบบภาษี ป ระจ าปี ต่ อ ส านั ก งานจดทะเบี ย น ไม่ มี ก ารก าหนด
ทุนจดทะเบียนขั้นต่าโดยชาระภาษีเงินได้นิติบุคคลที่ 22% ของกาไรขั้นต่า

10.3 กิจการร่วมค้า (Joint Venture) กิจการร่วมค้าสามารถจดทะเบียนเป็นบริษัท


หรื อ ห้ า งหุ้ น ส่ ว นก็ ได้ โดยบริ ษั ท ร่ ว มค้า (Corporate Joint Venture) ผู้ ถื อ หุ้ น มี ความรั บ ผิ ด ชอบ
ต่ อ หนี้ สิ น จ ากั ด ในขณะที่ ห้ า งหุ้ น ส่ ว นร่ ว มค้ า (Partnership Joint Venture) ผู้ ถื อ หุ้ น มี ค วาม
รั บ ผิ ด ชอบต่ อ หน้ า ที่ ไ ม่ จ ากั ด ผู้ ป ระกอบการต่ า งชาติ ส ามารถถื อ ครองหุ้ น ได้ ร้ อ ยละ 100
ในบางประเภทธุ ร กิจ อาทิเ ช่น อุต สาหกรรมเทคโนโลยี สู ง (High-Tech) หรืออุ ตสาหกรรมที่เน้ น
การส่งออก (Export-Oriented) โดยหากธุรกิจต้องใช้ทรัพยากรธรรมชาติท้องถิ่นมากหรือเกี่ยวข้องกั บ
ความมั่นคงทางอาหารของประเทศบรูไน ผู้ประกอบการต่างชาติไม่สามารถถือครองหุ้นร้อยละ 100 ได้
88 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

11. ประเทศติ มอร์ -เลสเต ส าหรับการลงทุนในประเทศติมอร์ -เลสเตแบบให้ ผ ลตอบแทน


ในระยะยาว อาทิ เ ช่ น ด้ า นการก่ อ สร้ า ง โทรคมนาคม ธุ ร กิ จ การบิ น และการพั ฒ นา/แปรรู ป
ด้านการเกษตรยังเป็นสิ่งที่น่าสนใจ เพราะประเทศติมอร์-เลสเตยังขาดแคลนสาธารณูปโภคขั้นพื้นฐาน
ต่าง ๆ ทาให้โอกาสเปิดเกือบทุกด้าน ประกอบกับสถานการณ์การเมืองเริ่มมีความมั่นคง และประเทศ
ติ ม อร์ -เลสเตยั ง มี ร ายได้ จ ากน้ ามั น เพิ่ ม ขึ้ น มากจึ ง เป็ น แหล่ ง ลงทุ น ที่ น่ า สนใจส าหรั บ นั ก ลงทุ น จาก
ประเทศไทยแห่งหนึ่ ง แต่สาหรั บนั กลงทุนจากประเทศอื่น ๆ เช่น ประเทศเกาหลีใต้ได้เปิดบริษัท
ก่อสร้างในประเทศติมอร์-เลสเตมานานแล้ว และได้ออกแบบก่อสร้างโรงพยาบาลและก่อสร้างอาคาร
สถานที่ ซึ่งเมื่อรัฐบาลประเทศติมอร์-เลสเตเปิดโครงการสร้างบ้านพักอาศัยในปริมาณมากหรือสร้าง
ถนน สร้างเขื่อน สร้างอ่างเก็บน้า วางระบบประปา ท่อ สายไฟฟ้า ตลอดจนสนามบินและรถไฟแล้ว
คาดว่าบริษัทก่อสร้างประเทศต่าง ๆ ที่ตั้งอยู่ในประเทศติมอร์-เลสเตแล้จะได้รับงาน และมีผลกาไร
เพิ่ ม ขึ้ น ประเทศติ ม อร์ -เลสเตประกาศใช้ ก ฎหมายส่ ง เสริ ม การลงทุ น ฉบั บ ล่ า สุ ด คื อ ฉบั บ ที่ 14
ปี พ.ศ. 2554 (Private Investment Law No. 14/2011) เมื่ อ วั น ที่ 28 กั น ยายน พ.ศ. 2554
โดยมี วั ต ถุ ป ระสงค์ ที่ จ ะส่ ง เสริ ม การลงทุ น จากภาคเอกชนทั้ ง ภายในประเทศและต่ า งประเทศ
และในขณะเดี ย วกัน ให้ ห ลั กประกัน การลงทุ นในประเทศติม อร์ -เลสเต ซึ่ งมี ส าระส าคัญ อาทิ เ ช่ น
ส าหรั บ นั ก ลงทุ น ชาวติ ม อร์ -เลสเตที่ พั ก อาศั ย อยู่ ใ นประเทศ (A National Resident Investor)
ต้องมีเงินลงทุนไม่น้อยกว่า 50,000 เหรียญสหรัฐ ฯ และการลงทุนด้วยเงินสดต้องมีปริมาณคิดเป็น
อย่ า งน้ อ ยร้ อ ยละ 10 ของมู ล ค่ า ลงทุ น ทั้ ง หมด จึ ง จะได้ รั บ สิ ท ธิ ป ระโยชน์ จ ากกฎหมายฉบั บ นี้
ส่วนนักลงทุนชาวต่างประเทศหรือนักลงทุนชาวติมอร์-เลสเตที่พักอาศัยอยู่ต่างประเทศ (A Foreign or
National Non-Resident Investor) ต้ อ งมี เ งิ น ลงทุ น ไม่ น้ อ ยกว่ า 1,500,000 เหรี ย ญสหรั ฐ ฯ
และการลงทุ น ด้ ว ยเงิ น สดต้ อ งมี ป ริ ม าณคิ ด เป็ น อย่ า งน้ อ ยร้ อ ยละ 50 ของมู ล ค่ า ลงทุ น ทั้ ง หมด
จึงจะได้รับสิทธิประโยชน์จากกฎหมายฉบับนี้และรัฐบาลรับประกันสิทธิ์ของผู้ลงทุนในเรื่องต่าง ๆ เช่น
สิ ท ธิ์ ใ นการถื อ ครองทรั พ ย์ สิ น ส่ ว นบุ ค คล ไม่ มี ก ารโอนกิ จ การเป็ น ของรั ฐ การได้ รั บ การปฏิ บั ติ
จากเจ้าหน้าที่ หรือหน่วยงานของรัฐด้วยความเสมอภาค สิทธิ์ในการโอนกาไรและเงินลงทุนออกจาก
ประเทศ สิ ท ธิ์ ใ นการจ้ า งงานชาวต่ า งชาติ สิ ท ธิ์ ใ นการโอนสิ น ทรั พ ย์ ที่ น าเข้ า มาเพื่ อ การลงทุ น
สิทธิ์ในการแลกเปลี่ยนปริวรรตเงินตราต่างประเทศและสิทธิประโยชน์ในการยกเว้นภาษีสาหรับผู้ ที่ได้รับ
ใบรั บ รองนั ก ลงทุ น จาก Specialized Investment Agency ในเดื อ นมิ ถุ น ายน ปี พ.ศ. 2548
รัฐสภาได้อนุมัติการจัดตั้งกองทุนน้ามันปิโตรเลี ยมเพื่อเป็นที่รับฝากรายได้ที่มาจากน้ามันปิโตรเลียม
และเพื่ อสร้ า งความมั่ง คั่ง ให้ แ ก่ป ระเทศในอนาคต ในปี พ.ศ. 2555 มู ล ค่ าสุ ทธิ ของกองทุ นน้ ามั น
ปิโตรเลียมเท่ากับ 11.8 พันล้านเหรียญสหรัฐฯ โดยรายได้จากอุตสาหกรรมน้ามันปิโตรเลียมอยู่ระดับ
ที่สูงในช่วงแรกของปี พ.ศ. 2555 และค่อย ๆ ปรับตัวลดลงในช่วงปลายปี ซึ่งเกิดจากแหล่งน้ามัน
ของประเทศติมอร์-เลสเตที่ล ดลง ทั้งนี้รายได้ทั้งหมดจากอุตสาหกรรมน้ามันปิโ ตรเลี ยมจะนาเข้าสู่
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 89

กองทุนน้ามันปิโตรเลียม จากนั้นจึงนาบางส่วนไปเป็นงบประมาณใช้จ่ายของประเทศ โดยใช้แนวทาง


ต า ม Estimate Sustainable Income: ESI ที่ ถู ก ร ะ บุ อ ยู่ ใ น Petroleum Fund Law 2005
ถึงปริ มาณเงิน สู งสุดที่รั ฐบาลประเทศติมอร์ -เลสเตควรจะนาเงินจากกองทุนน้ามันปิโ ตรเลี ยมมาใช้
ในงบประมาณของประเทศในแต่ ล ะปี โดยปั จ จุ บั น ตั ว เลขดั ง กล่ า วที่ ก าหนดอยู่ ที่ ร้ อ ยละ 3
ของความมั่งคั่งรวมของน้ามันปิโตรเลียม (Total Petroleum Wealth) ทั้งนี้กองทุนน้ามันปิโตรเลียม
จะลงทุนในสิน ทรัพย์ ทางการเงิน ระหว่างประเทศเท่านั้น โดยมีเป้าหมายเพื่อให้ ได้กาไรสุทธิเท่ากับ
ร้อยละ 3 ของมูลค่ากองทุน เพื่อให้เพียงพอต่อการนาไปใช้เป็นงบประมาณประเทศของรัฐบาล
สรุ ป ได้ว่า รู ป แบบองค์กรธุรกิจ ในภูมิภ าคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ มีห ลากหลายรูปแบบ
โดยขึ้นอยู่กับนโยบายและการส่งเสริมการลงทุนของประเทศนั้น ๆ ซึ่งผู้ที่สนใจที่จะเข้าไปทาธุรกิจ
หรื อ เข้ า ไปลงทุ น การค้ า ควรศึ ก ษาเงื่ อ นไขในการประกอบธุ ร กิ จ ในประเทศนั้ น ๆ อย่ า งถี่ ถ้ ว น
ทั้งนี้เพื่อสิทธิประโยชน์ต่อธุรกิจหรือผู้ประกอบการ รวมทั้งการไม่กระทาผิดเงื่อนไขในการประกอบ
ธุรกิจในประเทศนั้น ๆ ซึ่งอาจนามาซึ่งการเสียเปรียบต่อการประกอบธุรกิจได้

สินค้าส่งออกและนาเข้าที่สาคัญของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ประกอบด้วย 11 ประเทศ มีลักษณะภูมิอากาศแบบร้อนชื้น
ประชากรส่ว นใหญ่ป ระกอบอาชีพเกษตรกรรมเป็นหลั ก จึงทาให้ ภูมิภ าคนี้เป็นแหล่ งอาหารส าคัญ
ของโลกและเป็นแหล่งวัตถุดิบสาคัญในการแปรรูปการเกษตรและอุตสาหกรรม โดยสามารถผลิตสินค้า
ส่ ง ออกไปยั ง ประเทศต่ า ง ๆ และในขณะเดี ย วกั น ก็ มี ก ารน าเข้ า สิ น ค้ า จากประเทศอื่ น ๆ
เป็น จานวนมาก โดย (กระทรวงการต่างประเทศ, 2562) ได้ส รุป สถิติก ารนาเข้าและส่งออกสิ นค้า
รายประเทศ ดังนี้
1. ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว

1.1 สินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ เครื่องจักรกลและส่วนประกอบยานพาหนะ น้ามัน


เชื้อเพลิง สินค้าอุปโภคบริโภค
1.2 ตลาดน าเข้ า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศไทย ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น
และประเทศเวียดนาม

1.3 สินค้าส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ ไม้แปรรูป กาแฟ ไฟฟ้า ดีบกุ ทองแดง ทองคา

1.4 ตลาดส่ ง ออกที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศไทย ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น


และประเทศเวียดนาม
90 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

2. ประเทศเวียดนาม

2.1 สินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ น้ามัน อาหารสัตว์ ปุ๋ย รถยนต์ และรถจักรยานยนต์


2.2 ตลาดน าเข้ า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศไทย ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น
ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสิงคโปร์ และประเทศสหรัฐอเมริกา
2.3 สิ น ค้ า ส่ ง ออกที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ สิ่ ง ทอและเครื่ อ งนุ่ ง ห่ ม โทรศั พ ท์ มื อ ถื อ น้ ามั น ดิ บ
รองเท้า เครื่องหนัง เครื่องประดับ อัญมณี คอมพิวเตอร์ สินค้าเกษตร และสินค้าประมง

2.4 ตลาดส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ ประเทศเยอรมนี ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจี น


ประเทศญี่ปุ่น และประเทศสหรัฐอเมริกา

3. ประเทศสิงคโปร์

3.1 สินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ เครื่องจักรกล ชิ้นส่วนอุปกรณ์ไฟฟ้า น้ามันดิบ เคมีภัณฑ์


ผลิตภัณฑ์อาหาร

3.2 ตลาดน าเข้า ที่ส าคัญ ได้แ ก่ ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ประเทศมาเลเซี ย


ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศสหรัฐอาหรับ
เอมิเรตส์ ประเทศซาอุดิอาระเบีย ประเทศอินเดีย และประเทศไทย

3.3 สินค้าส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ อุปกรณ์อิเล็กทรอนิกส์ เครื่องมือคอมพิวเตอร์ เชื้อเพลิง


ต่าง ๆ รวมถึงน้ามัน อัญมณี เคมีภัณฑ์ พลาสติก และชิ้นส่วนพลาสติก

3.4 ตลาดส่ ง ออกที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ประเทศฮ่ อ งกง


ประเทศมาเลเซีย ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศออสเตรเลีย ประเทศเกาหลีใต้
และประเทศอินเดีย
4. ประเทศฟิลิปปินส์

4.1 สิน ค้า น าเข้า ที่ สาคั ญ ได้ แก่ น้ ามัน ดิบ น้ ามันส าเร็ จรูป แผงวงจรไฟฟ้า รถยนต์
เม็ดพลาสติก เหล็ก อาหารสัตว์ ข้าวสาลี ข้าว

4.2 ตลาดน าเข้ า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ประเทศญี่ ปุ่ น
ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศไทย ประเทศอินโดนีเซีย และประเทศสิงคโปร์
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 91

4.3 สิน ค้า ส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ แผงวงจรไฟฟ้า คอมพิว เตอร์ ไม้ เซมิคอนดักเตอร์
สินแร่ อุปกรณ์การแพทย์ ชิ้นส่วนยานยนต์ ผลไม้ น้ามันมะพร้าว

4.4 ตลาดส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศฮ่องกง


ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศสิงคโปร์ และประเทศไทย

5. ประเทศพม่า

5.1 สินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ เครื่องจักรกล สินค้ารถยนต์และชิ้นส่วน น้ามันสาเร็จรูป

5.2 ตลาดน าเข้ า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ประเทศไทย


และประเทศสิงคโปร์

5.3 สินค้าส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ ก๊าซธรรมชาติ สินค้าเกษตรและป่าไม้ สิ่งทอ

5.4 ตลาดส่ ง ออกที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศไทย ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น


และประเทศอินเดียว

6. ประเทศมาเลเซีย

6.1 สินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ด้านการขนส่ง สินค้าบริโภค


สารเคมี และแร่เชื้อเพลิง

6.2 ตลาดน าเข้ า ที่ สาคัญ ได้ แก่ ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจี น ประเทศสิ งคโปร์
ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศไทย

6.3 สินค้าส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ เครื่องจักรกลและอุปกรณ์ด้านการขนส่ ง แร่เชื้อเพลิง


สินค้าบริโภค และสารเคมี

6.4 ตลาดส่ง ออกที่สาคัญ ได้แก่ ประเทศสิ งคโปร์ ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจี น


ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสหรัฐอเมริกา และประเทศไทย
7. ประเทศอินโดนีเซีย
7.1 สินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ น้ามันดิบ ถ่านหิน ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์
เครื่องจักรกล และเคมีภัณฑ์
92 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

7.2 ตลาดน าเข้ า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น ประเทศญี่ ปุ่ น
ประเทศไทย และประเทศสิงคโปร์

7.3 สินค้าส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ รถยนต์ ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ เคมีภัณฑ์


น้าตาลทราย เม็ดพลาสติก และเครื่องจักรกล

7.4 ตลาดส่ ง ออกที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศญี่ ปุ่ น ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น


ประเทศสิงคโปร์ ประเทศอินเดีย ประเทศไทย และประเทศสหรัฐอเมริกา

8. ประเทศกัมพูชา
8.1 สิ น ค้ า น าเข้ า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ผลิ ต ภั ณ ฑ์ ปิ โ ตรเลี ย ม บุ ห รี่ ทองค า วั ส ดุ ก่ อ สร้ า ง
เครื่องจักร ยานพาหนะ และยา

8.2 ตลาดน าเข้ า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศไทย ประเทศสาธารณรั ฐ ประชาชนจี น


ประเทศเวียดนาม ประเทศญี่ปุ่น และประเทศฝรั่งเศส

8.3 สิ น ค้ า ส่ ง ออกที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ เสื้ อ ผ้ า สิ่ ง ทอ ไม้ ยางพารา ข้ า ว ปลา ยาสู บ
และรองเท้า

8.4 ตลาดส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ ประเทศสหรัฐอเมริกา ประเทศญี่ปุ่น ประเทศฮ่องกง


ประเทศแคนาดา ประเทศสิ ง คโปร์ ประเทศออสเตรี ย ประเทศเบลเยี ย ม ประเทศบั ง กลาเทศ
ประเทศโครเอเชี ย ประเทศไซปรั ส ประเทศเดนมาร์ ก ประเทศเอสโตเนี ย ประเทศฟิ น แลนด์
ประเทศฝรั่ งเศส ประเทศเยอรมนี ประเทศกรี ซ ประเทศฮั งการี ประเทศอิต าลี ประเทศลั ตเวี ย
ประเทศลิทัวเนีย ประเทศลักเซมเบิร์ ก ประเทศมอลตา ประเทศไอร์แลนด์ ประเทศเนเธอร์แลนด์
ประเทศโปแลนด์ ประเทศโปรตุ เ กส ประเทศโรมาเนี ย ประเทศสโลวาเกี ย ประเทศสโลวี เ นี ย
ประเทศสเปน และประเทศสวีเดน
9. ประเทศบรูไน ดารุสซาลาม

9.1 สิ น ค้ า น าเข้ า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ เครื่ อ งจั ก รอุ ต สาหกรรม รถยนต์ เครื่ อ งใช้ ไ ฟฟ้ า
สินค้าเกษตร อาทิเช่น ข้าวและผลไม้ เคมีภัณฑ์

9.2 ตลาดน าเข้ า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศสหราชอาณาจั ก ร ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า


ประเทศญี่ปุ่น ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน ประเทศพม่า ประเทศเวียดนาม ประเทศอินโดนีเซีย
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 93

ประเทศสาธารณรัฐประชาธิปไตยประชาชนลาว ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์


ประเทศไทย และประเทศกัมพูชา

9.3 สินค้าส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ น้ามันดิบ ก๊าซธรรมชาติ


9.4 ตลาดส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ ประเทศญี่ปุ่น ประเทศอินเดีย ประเทศออสเตรเลี ย
ประเทศเกาหลี ใ ต้ ประเทศกั ม พู ช า ประเทศพม่ า ประเทศอิ น โดนี เ ซี ย ประเทศสาธารณรั ฐ
ประชาธิปไตยประชาชนลาว ประเทศมาเลเซีย ประเทศฟิลิปปินส์ ประเทศสิงคโปร์ ประเทศเวียดนาม
และประเทศไทย

10. ประเทศติมอร์-เลสเต
10.1 สินค้านาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ น้ามันเชื้อเพลิง รถยนต์และชิ้นส่ว น เครื่องจักรกล
และอุปกรณ์ไฟฟ้า ธัญพืช เครื่องดื่ม สิ่งทอ เหล็กกล้า พลาสติก กระดาษ
10.2 ตลาดนาเข้าที่สาคัญ ได้แก่ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน
ประเทศสิ ง คโปร์ ประเทศฮ่ อ งกง ประเทศเวี ย ดนาม ประเทศมาเลเซี ย ประเทศฟิ น แลนด์
ประเทศออสเตรเลีย ประเทศไทย และประเทศบราซิล

10.3 สินค้าส่งออกที่สาคัญ ได้แก่ กาแฟ แคนเดิลนัท อลูมิเนียม

10.4 ตลาดส่ ง ออกที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ประเทศเยอรมนี


ประเทศเบลเยี ย ม ประเทศออสเตรเลี ย ประเทศญี่ ปุ่ น ประเทศโปรตุ เ กส ประเทศแคนาดา
ประเทศเกาหลีใต้ ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศสาธารณรัฐประชาชนจีน และประเทศไต้หวัน

11. ประเทศไทย

11.1 สิ น ค้ า น าเข้ า ที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ น้ ามั น ดิ บ เครื่ อ งจั ก รกลและส่ ว นประกอบ
ของเครื่ องจั กรกล เครื่ อ งจั กรไฟฟ้า และส่ ว นประกอบ เคมีภั ณฑ์ เหล็ ก เหล็ กกล้ า และผลิ ต ภัณ ฑ์
ส่วนประกอบและอุปกรณ์ยานยนต์ แผงวงจรไฟฟ้า เครื่องเพชรพลอย อัญมณี เงินแท่งและทองคา
สินแร่โลหะอื่น ๆ เศษโลหะและผลิตภัณฑ์ เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ

11.2 ตลาดน าเข้า ที่สาคัญ ได้ แก่ ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจีน ประเทศญี่ปุ่ น


ประเทศสหรั ฐ อเมริ ก า ประเทศมาเลเซี ย ประเทศเกาหลี ใ ต้ ประเทศไต้ ห วั น ประเทศสิ ง คโปร์
ประเทศอินโดนีเซีย ประเทศสหรัฐอาหรับเอมิเรตส์ ประเทศเยอรมนี และประเทศอื่น ๆ
94 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

11.3 สิ น ค้ า ส่ ง ออกที่ ส าคั ญ ได้ แ ก่ รถยนต์ อุ ป กรณ์ แ ละส่ ว นประกอบ เคมี ภั ณ ฑ์


เครื่องคอมพิวเตอร์ อุปกรณ์และส่วนประกอบ อัญมณีและเครื่องประดับ ผลิตภัณฑ์ยาง เม็ดพลาสติก
แผงวงจรไฟฟ้า น้ามันสาเร็จรูป เครื่องจักรกลและส่วนประกอบของเครื่องจักรกล เหล็ก เหล็กกล้า
และผลิตภัณฑ์

11.4 ตลาดส่งออกที่ สาคัญ ได้แก่ ประเทศสาธารณรัฐ ประชาชนจี น ประเทศญี่ปุ่ น


ประเทศสหรั ฐอเมริ กา ประเทศเวียดนาม ประเทศฮ่องกง ประเทศมาเลเซีย ประเทศอินโดนีเซีย
ประเทศกั ม พู ช า ประเทศออสเตรเลี ย ประเทศสิ ง คโปร์ ประเทศฟิ ลิ ป ปิ น ส์ ประเทศอิ น เดี ย
ประเทศเนเธอร์แลนด์ และประเทศพม่า
สรุปได้ว่า เศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้มีแนวโน้มการขยายตัวอย่างต่อเนื่อง
มีการเคลื่อนย้ายสินค้า บริการ การลงทุน เงินทุน และแรงงานเป็นไปอย่างเสรีมากขึ้น มีการลงทุน
จากต่ า งชาติ เ ข้ า มายั ง ประเทศหลายประเทศ ท าให้ เ กิ ด การปรั บ โครงสร้ า งทางเศรษฐกิ จ
จากภาคเกษตรกรรมให้ เป็นอุตสาหกรรมมากขึ้น โดยส่งผลต่อการนาสินค้าเข้ามาในหลายประเทศ
เพื่ อ พั ฒ นาสิ น ค้ า ให้ ส่ ง ออกได้ ม ากขึ้ น เช่ น เดี ย วกั น ซึ่ ง ท าให้ เ กิ ด การเติ บ โตของระบบเศรษฐกิ จ
ในทุกประเทศของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

บทสรุป
การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้เป็นการดาเนินธุรกิจหรือกิจกรรมใดที่มี
จุดมุ่งหมายเพื่อให้ได้กาไร กิจกรรมต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการผลิต การจัดจาหน่ายและการบริการ
โดยภายในหน่วยงานหรือธุรกิจนั้น ๆ โดยสามารถเคลื่อนย้ายสินค้า เคลื่อนย้ายแรงงาน มีการลงทุน
โดยตรงจากธุ ร กิ จ ต่ างประเทศมากขึ้ น ส่ งผลต่ อการเติบ โตของอสั งหาริม ทรั พย์ เกิ ดการย้ ายฐาน
ของธุรกิจที่ใช้แรงงานเข้มข้นและมีผลต่อการปรับเปลี่ยนนโยบายเศรษฐกิจและการกระตุ้นเศรษฐกิจ
ให้ มี เ งิ น ไหลเข้ า ประเทศมากยิ่ ง ขึ้ น การประกอบธุ ร กิ จ การค้ า อาจด าเนิ น การได้ ห ลายรู ป แบบ
ทั้งโดยบุ คคลคนเดีย วเป็ น เจ้ าของกิ จการโดยล าพั ง หรื ออาจด าเนิ นการโดยร่ ว มลงทุ นกับ บุคคลอื่ น
เป็นกลุ่มคณะก็ได้ การที่จะตัดสินใจเลือกดาเนินธุรกิจการค้าในรูปแบบใดนั้น ผู้ประกอบการจะต้อง
คานึงถึงองค์ประกอบที่สาคัญหลายประการด้วยกัน อาทิเช่น ลักษณะของกิจการค้า เงินทุน ความรู้
ความสามารถในการด าเนิ น ธุ ร กิ จ ซึ่ ง การประกอบธุ ร กิ จ ในภู มิ ภ าคเอเชี ย ตะวั น ออกเฉี ย งใต้
จึงจาเป็น ต้องศึกษารูป แบบองค์กรการดาเนินธุรกิจแต่ล ะประเทศ ทั้งนี้เพื่อสิทธิประโยชน์ต่อธุรกิจ
หรือผู้ประกอบการ รวมทั้งการไม่กระทาผิดเงื่อนไขในการประกอบธุรกิจ ของประเทศนั้น ๆ ซึ่งอาจ
นามาซึ่งการเสียเปรียบต่อการประกอบธุรกิจได้
บทที่ 3 การดาเนินธุรกิจในกลุ่มภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ 95

แบบฝึกหัดท้ายบท
คาสั่ง ให้นักศึกษาตอบคาถามต่อไปนี้

1. จงอธิบายความหมายของการดาเนินธุรกิจ
2. จงอธิบายความสาคัญของการดาเนินธุรกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
3. รูปแบบการดาเนินธุรกิจในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่สาคัญมีรูปแบบใดบ้าง
4. จงอธิบายรูปแบบการดาเนินธุรกิจของประเทศสิงคโปร์
5. ธุรกิจที่จดทะเบียนภายใต้กฎหมายต่างชาติของประเทศฟิลิปปินส์สามารถดาเนินการ
ในรูปแบบใดได้บ้าง
6. ในประเทศบรูไน บริษัทต่างชาติ (Foreign Company) สามารถจดทะเบียนธุรกิจ
เพือ่ ประกอบธุรกิจภายในประเทศบรูไนได้ แต่ต้องมีเงื่อนไขประกอบใดเป็นสาคัญ
7. จงศึกษาเงื่อนไขและรูปแบบการประกอบธุรกิจในประเทศติมอร์-เลสเตเพิ่มเติม ทั้งนี้
ภายใต้บริบทของความเป็นปัจจุบันมากที่สุด
8. สินค้าส่งออกและนาเข้าที่สาคัญของภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ในภาพรวม คือ
สินค้าประเภทใดบ้าง
9. จงอธิบายสินค้าส่งออก 10 อันที่สาคัญของประเทศไทย พร้อมตลาดการส่งออก
ที่สาคัญ
10. หากนั กศึ กษาเป็ นผู้ ป ระกอบสิ นค้ าของไทย นั กศึก ษาจะตั ดสิ น ใจผลิ ต สิ นค้ าใด
เพื่อส่งออกไปขายยังตลาดในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้
96 เอกสารประกอบการสอนรายวิชาธุรกิจระหว่างประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้

You might also like