You are on page 1of 32

คู่มือการปฏิบัติงานส่วนบุคคล

ปีการศึกษา 2560

นายสันติ พันธุ์ชัย
ครูชานาญการพิเศษ
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์

โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม
อาเภอกระนวน จังหวัดขอนแก่น
สานักงานเขตพื้นที่การศึกษามัธยมศึกษา เขต 25
คานา
ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ใ น โ ร ง เ รี ย น
เป็ น มาตรฐานการบริ ห ารจั ด การศึ ก ษาตามพระราชบั ญ ญั ติ การศึ กษาแห่ งชาติ พุ ท ธศั กราช 2542
เ พื่ อ มุ่ ง ห วั ง ใ ห้ เ กิ ด คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า
มาตรฐานคุ ณ ภาพการศึ ก ษาจึ งเป็ น เครื่ องมื อ ส าคั ญ ในการวางแผนด าเนิ น งานจั ด การเรี ย นการสอน
เพื่ อพั ฒ นาผู้ เ รี ย นให้ เป็ นมนุ ษย์ ที่ สมบู รณ์ ทั้ งร่ า งกาย จิ ต ใจ สติ ปั ญ ญ าความรู้ แ ละคุ ณ ภาพ
มีคุณธรรมจริยธรรมและวัฒนธรรมในการดารงชีวิต สามารถอยู่ร่วมกันกับผู้อื่นได้อย่างมีความสุข
ก า ร จั ด ท า ม า ต ร ฐ า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง บุ ค ค ล
โด ยก ารวิ เค ราะห์ งาน ใน ห น้ าที่ ที่ รั บ ผิ ด ช อบ กั บ ม า ต ร ฐ า น คุ ณ ภ า พ ทั้ งใน ด้ า น ผ ล ผ ลิ ต
ด้ า น ก ร ะ บ ว น ก า ร แ ล ะ ด้ า น ปั จ จั ย แ ล ะ ก า ห น ด ม า ต ร ฐ า น ก า ร ป ฏิ บั ติ ง า น
รวม ทั้ งก ารจั ด ท าป ฏิ ทิ น งาน ส าห รั บ บุ ค ค ล จะส าม ารถใช้ เป็ น แน วท างใน การพั ฒ น า
การเรี ยนการสอนที่ ชั ด เจนและมี แนวทางในการควบคุ มคุ ณ ภาพมี กระบวนการท างานที่ เป็ นมาตรฐาน
เป็ น แนวทางในการจั ด ปั จ จั ยความพร้ อมด้ านต่ า งๆ ของโรงเรี ย นเป็ น แนวทางในการก ากั บ ติ ดตาม
ตรวจสอบและประเมินผลภายในโรงเรียนซึ่งจะส่งผลกระทบถึงระบบการประกันคุณภาพการศึกษาของโรงเรีย
นที่มีประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
ก า ร จั ด ท า คู่ มื อ ป ฏิ บั ติ ง า น ข อ ง บุ ค ค ล ฉ บั บ นี้
เป็ น ผลที่ เ กิ ด ขึ้ น จากความร่ ว มมื อ ร่ ว มใจอย่ า งเป็ น รู ป ธรรมของฝ่ า ย /งาน/กลุ่ ม สาระการเรี ย นรู้
โ ร ง เ รี ย น ศ รี ก ร ะ น ว น วิ ท ย า ค ม
หวังว่าคู่มือฉบับนี้จะเป็นประโยชน์สาหรับการปฏิบัติงานในโรงเรียนและแนวทางการดาเนินงานต่อไป

นายสันติ พันธุ์ชัย
3 พฤษภาคม 2560

สารบัญ
เรื่อง
คานา ........................................................................................................................................................ ก
สารบัญ ..................................................................................................................................................... ข
บทที่ 1 บทนา .......................................................................................................................................... 1
1.1 ความเป็นมา................................................................................................................................. 1
1.2 วัตถุประสงค์ในการจัดทาคู่มือ ...................................................................................................... 3
1.3 ขอบเขตของการจัดทาคู่มือ ......................................................................................................... 3
1.4 คานิยามศัพท์ ที่เกี่ยวข้อง ............................................................................................................. 3
1.5 ประโยชน์ที่ได้รับ .......................................................................................................................... 4
บทที่ 2 นโยบายและมาตรฐานการปฏิบัติงาน ........................................................................................... 5
นโยบายโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม .................................................................................................. 5
วิสัยทัศน์ (Vision) ......................................................................................................................... 5
พันธกิจ (Mission) ......................................................................................................................... 5
เป้าประสงค์ (Goals) ...................................................................................................................... 5
กลยุทธ์ (Strategy) ........................................................................................................................ 6
สมรรถนะครู ........................................................................................................................................ 6
สมรรถนะหลัก (Core Competency)................................................................................................ 6
สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) ................................................................. 11
สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน ............................................................................................................... 19
มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม ..................................................... 20
บทที่ 3 การกาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของบุคคล ......................................................................... 21
การวิเคราะห์งานในหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบ .......................................................................................... 21
กระบวนการปฏิบัติงานสอน .............................................................................................................. 23
กระบวนการปฏิบัติงานในหน้าที่ที่ได้รับหมอบหมาย ......................................................................... 25
กระบวนการทางานของโรงเรียน ....................................................................................................... 26
ภาคผนวก.............................................................................................................................................. 28

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 1

บทที่ 1
บทนา

1.1 ความเป็นมา

แ ผ น พั ฒ น า เศ ร ษ ฐ กิ จ แ ล ะ สั งค ม แ ห่ งช า ติ ฉ บั บ ที่ ๑ ๒ (พ .ศ . ๒ ๕ ๖ ๐ - ๒ ๕ ๖ ๔ )
ถื อ เป็ น แ ผ น แ ม่ บ ท ห ลั ก ใ น ก า ร พั ฒ น า ป ร ะ เท ศ ที่ ไ ด้ ป ร ะ ก า ศ ใ น ร า ช กิ จ จ า นุ เบ ก ษ า
เป็นกฎหมายบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕59 ถึงวันที่ ๓๐ กันยายน ๒๕๖๔ นั้น มีหลักการสาคัญคือ
“ยึ ด ค น เป็ น ศู น ย์ ก ล า ง ข อ ง ก า ร พั ฒ น า ” มุ่ ง ส ร้ า ง คุ ณ ภ า พ ชี วิ ต ที่ ดี ส า ห รั บ ค น ไ ท ย
พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่สมบูรณ์ มีวินัย ใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดี
รั บ ผิ ด ช อ บ ต่ อ สั ง ค ม มี คุ ณ ธ ร ร ม แ ล ะ จ ริ ย ธ ร ร ม
ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการในฐานะหน่วยงานหลักในภาคการจัดการศึกษาเพื่อพัฒนาคุณภาพคนของประเทศ
ได้ ต ระหนั กถึ งความส าคัญ ดั งกล่า ว ดั งนั้ น ภายใต้วิ สัย ทั ศ น์ “มุ่ งพั ฒ นาผู้เรี ยนให้ มี ค วามรู้ คู่คุ ณ ธรรม
มีคุณ ภาพชีวิตที่ดี มีความสุขในสังคม” ของแผนพัฒนาการศึกษาของกระทรวงศึกษาธิการ ฉบับที่ ๑๒
(พ.ศ. ๒๕๖๐ – ๒๕๖๔)
แผนพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั งคมแห่ งชาติ ฉบั บ ที่ ๑๒ (พ.ศ. ๒๕๖๐–๒๕๖๔) ได้ น้ อ มน าหลั ก
“ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง” มาเป็นปรัชญานาทางในการพัฒนาประเทศต่อเนื่องจาก แผนพัฒนาฯ
ฉบับที่ ๙–๑๑ เพื่อเสริมสร้างภูมิคุ้มกันและช่วยให้สังคมไทยสามารถยืนหยัดอยู่ได้อย่างมั่นคง เกิดภูมิคุ้มกัน
และมีการบริหารจัดการความเสี่ยงอย่างเหมาะสม ส่งผลให้การพัฒนาประเทศสู่ความสมดุลและยั่งยืน
ตามแผนนี้เพื่อมุ่งสู่ “ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืน ” การพัฒนาประเทศในระยะแผนพัฒนาฯ ฉบับที่ ๑๒
จึ ง เ ป็ น จุ ด เ ป ลี่ ย น ที่ ส า คั ญ ใ น ก า ร เ ชื่ อ ม ต่ อ กั บ ยุ ท ธ ศ า ส ต ร์ ช า ติ ๒ ๐ ปี
ในลักษณะการแปลงยุทธศาสตร์ระยะยาวสู่การปฏิบัติ
ก า ร พั ฒ น า ศั ก ย ภ า พ ข อ ง “ ค น ” จ า เ ป็ น ต้ อ ง อ า ศั ย ร ะ บ บ ก า ร ศึ ก ษ า
แ ต่ คุ ณ ภ า พ ข อ ง ก า ร ศึ ก ษ า ข อ ง ป ร ะ เท ศ ไ ท ย ยั ง มี ค ว า ม แ ต ก ต่ า ง กั น ใ น แ ต่ ล ะ พื้ น ที่
พระราชบัญ ญั ติ การศึกษาแห่งชาติ พุทธศักราช 2542 กาหนดไว้อย่างชัดเจนในหมวดที่ 6 ว่าด้วย
ม า ต ร ฐ า น แ ล ะ ก า ร ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า ป ร ะ ก อ บ ด้ ว ย
ร ะ บ บ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย ใ น แ ล ะ ร ะ บ บ ป ร ะ กั น คุ ณ ภ า พ ภ า ย น อ ก
โดยหน่วยงานต้นสังกัดจัดให้มีการประกันคุณภาพภายในสถานศึกษาและให้ถือว่าการประกันคุณภาพภายใ
นเป็นส่วนหนึ่งของการบริหารการศึกษาที่ต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องโดย มีการจัดทารายงานประจาปี
เส น อ ต่ อ ห น่ ว ย ง า น ต้ น สั ง กั ด ห น่ ว ย ง า น ที่ เกี่ ย ว ข้ อ ง แ ล ะ เ ปิ ด เผ ย ต่ อ ส า ธ า ร ณ ช น
เพื่ อ น าไปสู่ ก ารพั ฒ นาคุ ณ ภาพและมาตรฐานการศึ ก ษาและเพื่ อ รองรับ การประกั น คุ ณ ภาพภายนอก
และให้ มี ส านั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประเมิ น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา มี ฐ านะเป็ น องค์ ก รมหาชน
ท าหน้ า ที่ พั ฒ นาเกณฑ์ วิ ธี ก ารประเมิ น คุ ณ ภาพภายนอกและท าการประเมิ น ผลการจั ด การศึ กษา
เ พื่ อ ใ ห้ มี ก า ร ต ร ว จ ส อ บ คุ ณ ภ า พ ก า ร ศึ ก ษ า โ ด ย ค า นึ ง ถึ ง ค ว า ม มุ่ ง ห ม า ย
หลักการและแนวทางการจั ดการศึกษาในแต่ละระดับตามที่กาหนดไว้อย่างน้อยหนึ่งครั้งในทุก ๆ ห้าปี
โ ด ย ส ถ า น ศึ ก ษ า แ ล ะ บุ ค ล า ก ร ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร ส ถ า น ศึ ก ษ า ร ว ม ทั้ ง
ผู้ปกครองและผู้เกี่ยวข้องให้ข้อมูลเพิ่มเติมและในกรณีที่ผลการดาเนินงานของสถานศึกษาใดไม่ได้มาตรฐา

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 2

นตามที่ ก าหนด ให้ ส านั ก งานรั บ รองมาตรฐานและประกั น คุ ณ ภาพการศึ ก ษา ให้ ข้ อ เสนอแนะ


ปรับปรุงแก้ไข ต่อหน่วยงานต้นสังกัด เพื่อให้สถานศึกษาปรับปรุงแก้ไขต่อไป
การประกันคุณภาพการศึกษาเป็นกระบวนการพัฒนาการศึกษาซึ่งครอบคลุมการดาเนินการต่างๆ
ในกระบวนการจั ด การศึ ก ษา ตั้ งแต่ ก ารวางแผนไว้ ตั้ งแต่ ต้ น เพื่ อ ให้ เกิ ด การปฏิ บั ติ อ ย่ า งเป็ น ระบบ
เพื่ อ ส ร้ างค ว า ม มั่ น ใจ แ ล ะเป็ น ห ลั ก ป ระกั น ต่ อ ผู้ เรี ย น ผู้ ป ก ค ร อ ง ชุ ม ช น แ ล ะสั งค ม ว่ า
ส ถ า น ศึ ก ษ า ส า ม า ร ถ จั ด ก า ร ศึ ก ษ า ไ ด้ อ ย่ า ง มี ป ร ะ สิ ท ธิ ภ า พ
ผู้เรียนที่จบการศึกษามีคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษาและเป็นที่ยอมรับของสังคม
ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อการพัฒนาคุณภาพการศึกษาและพัฒนามาตรฐานการศึกษาทุ
กระดับ ตองประกอบด้วย
(1) การประเมินคุณภาพภายใน
(2) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
(3) การพัฒนาคุณภาพการศึกษา
ระบบการประกันคุณภาพภายนอกเพื่อรับรองมาตรฐานและมุ่งพัฒนาคุณภาพการศึกษาทุกระดับ
ตองประกอบด้วย
(1) การประเมินคุณภาพภายนอก
(2) การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมจัดให้มีระบบการประกันคุณภาพภายในตามหลักเกณฑ์และแนวปฏิบั
ติเกี่ยวกับการประกันคุณภาพภายในระดับการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยดาเนินการดังต่อไปนี้
(1) กาหนดมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(2) จัดทาแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษาที่มุ่งคุณภาพตามมาตรฐานการศึกษา
ของสถานศึกษา
(3) จัดระบบบริหารและสารสนเทศ
(4) ดาเนินงานตามแผนพัฒนาการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
(5) จัดให้มีการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
(6) จัดให้มีการประเมินคุณภาพภายในตามมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
(7) จัดทารายงานประจาปีที่เป็นรายงานประเมินคุณภาพภายใน
(8) จัดให้มีการพัฒนาคุณภาพการศึกษาอย่างต่อเนื่อง

กระบวนการประกันคุณภาพภายในตามแนวคิดของหลักการบริหารที่เป็นกระบวนการครบวงจร
(PDCA) ประกอบด้วย 4 ขั้นตอนคือ
1 การร่วมกันวางแผน (Planning)
2 การร่วมกันปฏิบัติตามแผน (Doing)
3 การร่วมกันตรวจสอบ (Checking)
4 การร่วมกันปรับปรุง (Action)

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 3

จ า ก แ ผ น ภ า พ
การควบคุมคุณภาพและการตรวจสอบคุณภาพก็คือกระบวนการบริหารเพื่อพัฒนาคุณภาพตามหลักการบริ
หารนั่นเอง โดยการควบคุมคุณ ภาพ คือ การที่สถานศึกษาต้องร่วมกันวางแผนและดาเนินการตามแผน
เพื่อพัฒนาสถานศึกษาให้มีคุณภาพตามเป้าหมายและมาตรฐานการศึกษา ส่วนการตรวจสอบคุณภาพ คือ
การที่สถานศึกษาต้องร่วมกันตรวจสอบเพื่อพัฒนาปรับปรุงคุณภาพให้เป็นไปตามเป้าหมายและมาตรฐานก
ารศึกษาเมื่อสถานศึกษามีการตรวจสอบตนเองแล้วหน่วยงานในเขตพื้นที่การศึกษาและต้นสังกัดก็เข้ามาช่
วยติ ด ตามและประเมิ น คุ ณ ภ าพ เพื่ อให้ ค วามช่ ว ยเห ลื อ ใน การพั ฒ น าปรั บ ปรุ ง สถาน ศึ ก ษ า
ซึ่งจะทาให้สถานศึกษามีความอุ่นใจ และเกิดความตื่นตัวในการพัฒนาคุณภาพอยู่เสมอ

1.2 วัตถุประสงค์ในการจัดทาคู่มือ
เพื่อใช้เป็นแนวปฏิบัติงานของบุคลากรในโรงเรียนให้สามารถบริหารจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรี
ยนเป็นสาคัญ ให้ได้มาตรฐานการศึกษาของโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม ทุกด้าน

1.3 ขอบเขตของการจัดทาคู่มือ
เอกสารคู่มือการปฏิบัติงานบุคคลฉบับนี้ จัดทาขึ้นตามบทบาทหน้าที่ที่โรงเรียนศรีกระนวน
วิทยาคม มอบหมายให้ดาเนินการตามขอบข่ายดังนี้
1) งานในหน้าที่หลัก
2) งานในหน้าที่พิเศษ
3) งานอื่น ๆที่ได้รับมอบหมาย

1.4 คานิยามศัพท์ ที่เกี่ยวข้อง


คู่มือปฏิบัติงาน หมายถึง เอกสารที่มีข้อเสนอแนะในการปฏิบัติงานตามบทบาท หน้าที่
คุณภาพการศึกษา หมายถึง การพัฒนาการศึกษาที่มีประสิทธิภาพ
ผู้เรียนที่จบการศึกษาตามมาตรฐานการศึกษาเป็นที่ยอมรับของสังคม
การบริหารจัดการตามระบบคุณภาพ หมายถึง การบรรลุผลสาเร็จของภาระหน้าที่
และจุดหมายของการศึกษา
มาตรฐานการศึกษา หมายถึง ข้อกาหนดคุณลักษณะ
คุณภาพที่พึงประสงค์และมาตรฐานที่ต้องการให้เกิดขึ้นในสถานศึกษาทุกแห่งและเพื่อใช้เป็นหลักในการเที
ยบเคียงสาหรับส่งเสริม กากับดูแล การตรวจสอบ ประเมินผลและการประกันคุณภาพ

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 4

การจัดการเรียนการสอนที่เน้นนักเรียนเป็นสาคัญ หมายถึง การจัดการเรียนรู้ทั้งปวง


เพื่อประโยชน์ที่จะเกิดขึ้นกับผู้เรียนเป็นสาคัญ โดยมีความเชื่อว่า
มนุษย์มีศักยภาพที่จะเรียนรู้และพัฒนาตนเองได้ตลอดชีวิต
การประเมินคุณภาพภายใน หมายความ วาการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม
และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษาที่กระทรวงศึกษาธิการประกาศกาหนด
สาหรับการประกันคุณภาพภายใน
ซึ่งกระทาโดยบุคลากรของสถานศึกษานั้นหรือโดยหน่วยงานต้นสังกัดที่มีหน้าที่กากับดูแลสถานศึกษา
การประเมินคุณภาพภายนอก หมายความ วาการประเมินคุณภาพการจัดการศึกษา การติดตาม
และการตรวจสอบคุณภาพและมาตรฐานการศึกษาของสถานศึกษา
ซึ่งกระทาโดยสานักงานรับรองมาตรฐานและประเมินคุณภาพการศึกษา(องค์การมหาชน)
หรือผูป้ ระเมินภายนอก
การติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา หมายความ
วากระบวนการติดตามตรวจสอบความก้าวหนาของการปฏิบัติตามแผนการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
และจัดทารายงานการติดตามตรวจสอบคุณภาพการศึกษา
พรอมทั้งเสนอแนะมาตรการเร่งรัดการพัฒนาคุณภาพการศึกษา
การพัฒนาคุณภาพการศึกษา หมายความ
วากระบวนการพัฒนาการศึกษาเข้าสู่คุณภาพที่สอดคลองกับมาตรฐานการศึกษาของชาติ
โดยมีการกาหนดมาตรฐานการศึกษา การจัดระบบและโครงสร้าง การวางแผน
และการดาเนินงานตามแผน
รวมทั้งการสร้างจิตสานึกให้เห็นว่าการพัฒนาคุณภาพการศึกษาจะต้องดาเนินการอย่างต่อเนื่องและเป็นคว
ามรับผิดชอบร่วมกันของทุกคน

1.5 ประโยชน์ที่ได้รับ
1. สามารถบริหารจัดการเรียนการสอน
ได้บรรลุผลสาเร็จตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของตนครอบคลุมทุกภาระงาน
2. นักเรียนมีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ตามมาตรฐานการศึกษา ด้านคุณภาพผู้เรียน
3. นักเรียนมีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พ.ศ.2551
4. สถานศึกษาจัดการศึกษาที่สร้างความมั่นใจ
และความพึงพอใจในคุณภาพการศึกษาแก่ชุมชนบุคลากรที่เกี่ยวข้องและสังคม

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 5

บทที่ 2
นโยบายและมาตรฐานการปฏิบัติงาน
เพื่อให้การดาเนินงานนโยบายของโรงเรียนสอดคล้องกับมาตรฐานการปฏิบัติงานตามนโยบาย
โรงเรียนได้กาหนดนโยบายการบริหารงานดังนี้

นโยบายโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม
วิสัยทัศน์ (Vision)
โรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคมบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพสู่มาตรฐานสากลตามหลักปรัชญาของเศ
รษฐกิจพอเพียง

พันธกิจ (Mission)
1. พั ฒ น า ก า ร บ ริ ห า ร จั ด ก า ร ด้ ว ย ร ะ บ บ คุ ณ ภ า พ มุ่ ง เน้ น ก า ร ก ร ะ จ า ย อ า น า จ
การมีส่วนร่วมในการสร้างเสริมความเข้มแข็งและประกันคุณภาพการศึกษา
2. พัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาและหลักสูตรสถานศึกษาเน้นการปฏิรูปการเรียนรู้เป็นสาคัญต
ามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงสู่มาตรฐานสากล
3. ปลูกฝังให้ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่พึงประสงค์ บนพื้นฐานความเป็นไทย
4. พั ฒ น า บุ ค ล า ก ร ใ ห้ มี ค ว า ม เ ชี่ ย ว ช า ญ
เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีและเป็นครูผู้นาการเปลี่ยนแปลงการจัดการเรียนรู้สู่มาตรฐานสากล
5. ประสานความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา ผู้ปกครอง องค์กร ชุมชน และเครือข่ายนานาชาติ

เป้าประสงค์ (Goals)
1. โรงเรียนบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
2. โรงเรียนมีหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ได้มาตรฐานสากล
คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560
ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 6

3. นักเรียนมีความรู้ คุณธรรมจริยธรรมบนพื้นฐานความเป็นไทย ไปสู่มาตรฐานสากล


4. ครูและบุคลากรทางการศึกษามีความเป็นผู้นา มีความเชี่ยวชาญ
5. โรงเรียนมีการประสานความร่วมมือระหว่างสถานศึกษา ผู้ปกครอง องค์กร ชุมชน
และเครือข่ายนานาชาติ

กลยุทธ์ (Strategy)
1. สร้างพลังขับเคลื่อนให้มีการบริหารจัดการด้วยระบบคุณภาพ
2. ส่งเสริมและพัฒนาการจัดการเรียนรู้มุ่งสู่มาตรฐานสากล
3. พัฒนาคุณภาพการศึกษาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงอย่างยั่งยืน

ค่านิยมองค์กร (Value) : “การทางานเป็น TEAM”


อัตลักษณ์ (Identity) : “ดนตรียอด มารยาทเยี่ยม”
เอกลักษณ์ (Uniqueness) : “ความมีสุนทรียภาพของผู้เรียน”
วัฒนธรรมองค์กร : “ให้เกียรติผู้น้อย เคารพผู้อาวุโส”
สมรรถนะครู
บุคลากร เป็นหลักประกันคุณภาพศึกษา ในการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ซึ่งบุคลากรทุกคนต้องมี
สมรรถนะหลัก และสมรรถนะประจาสายงาน ดังนี้
1. สมรรถนะหลัก (Core Competency) ประกอบด้วย 5 สมรรถนะ คือ
1.1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน
1.2 การบริการที่ดี
1.3 การพัฒนาตนเอง
1.4 การทางานเป็นทีม
1.5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู
2. สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency) ประกอบด้วย 6 สมรรถนะ คือ
2.1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้
2.2 การพัฒนาผู้เรียน
2.3 การบริหารจัดการชั้นเรียน
2.4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
2.5 ภาวะผู้นาครู
2.6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้
3. รายละเอียดและคาอธิบายสมรรถนะครู
สมรรถนะครู สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่ใช้ในการประเมินครั้งนี้
ประกอบด้วย สมรรถนะหลัก 5 สมรรถนะและสมรรถนะประจาสายงาน 6 สมรรถนะ
ดังรายละเอียดต่อไปนี้

สมรรถนะหลัก (Core Competency)


สมรรถนะที่ 1 การมุ่งผลสัมฤทธิ์ในการปฏิบัติงาน (Working Achievement Motivation) หมายถึง
ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติงานในหน้าที่ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ มีความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560
ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 7

โดยมีการวางแผน กาหนดเป้าหมาย ติดตามประเมินผลการปฏิบัติงาน


และปรับปรุงพัฒนาประสิทธิภาพและผลงานอย่างต่อเนื่อง

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


การมุ่งผลสัม 1.1 ความสามารถในการวางแผน 1.
ฤทธิ์ การกาหนดเป้าหมาย การวิเคราะห์ วิเคราะห์ภารกิจงานเพื่อวางแผน
ในการปฏิบั สังเคราะห์ภารกิจงาน การแก้ปัญหาอย่างเป็นระบบ
ติงาน 2.
(Working กาหนดเป้าหมายในการปฏิบัติง
Achievem านทุกภาคเรียน
ent 3.
Motivation กาหนดแผนการปฏิบัติงานและ
) การจัดการเรียนรู้อย่างเป็นขั้นต
อน
1.2 ความมุ่งมั่นในการปฏิบัติหน้าที่ 1.
ให้มีคุณภาพ ถูกต้อง ครบถ้วนสมบูรณ์ ใฝ่เรียนรู้เกี่ยวกับการจัดการเรีย
นรู้
2.
ริเริ่มสร้างสรรค์ในการพัฒนากา
รจัดการเรียนรู้
3.
แสวงหาความรู้ที่เกี่ยวกับวิชาชี
พใหม่ ๆ เพื่อการพัฒนาตนเอง
1.3 1.
ความสามารถในการติดตามประเมินผลการปฏิบัติง ประเมินผลการปฏิบัติงานของต
าน นเอง
1.4 1.
ความสามารถในการพัฒนาการปฏิบัติงานให้มีประ ใช้ผลการประเมินการปฏิบัติงา
สิทธิภาพอย่างต่อเนื่องเพื่อให้งานประสบความสาเ นมาปรับปรุง/พัฒนาการทางา
ร็จ นให้ดียิ่งขึน้
2.
พัฒนาการปฏิบัติงานเพื่อตอบส
นองความต้องการของผู้เรียน
ผู้ปกครอง และ
ชุมชน

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 8

สมรรถนะที่ 2 การบริการที่ดี (Service Mind) หมายถึง ความตั้งใจและความเต็มใจในการให้บริการ


และการปรับปรุงระบบบริการให้มีประสิทธิภาพอย่างต่อเนื่อง เพื่อตอบสนองความต้องการของผู้รับบริการ

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


การบริการที่ดี 2.1 1. ทากิจกรรมต่างๆ
(Service Mind) ความตั้งใจและเต็มใจในการให้บริ เพื่อประโยชน์ส่วนรวมเมื่อมีโอกาส
การ 2. เต็มใจ ภาคภูมิใจ
และมีความสุขในการให้บริการแก่ผู้รับบริก
าร
2.2 1. ศึกษาความต้องการของผู้รับบริการ
การปรับปรุงระบบบริการให้มีประ และนาข้อมูลไปใช้ในการปรับปรุง
สิทธิภาพ 2.
ปรับปรุงและพัฒนาระบบการให้บริการให้มี
ประสิทธิภาพ

สมรรถนะที่ 3 การพัฒนาตนเอง (Self- Development) หมายถึง การศึกษาค้นคว้า หาความรู้


ติดตามและแลกเปลี่ยนเรียนรู้องค์ความรู้ใหม่ๆ ทางวิชาการและวิชาชีพ
มีการสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรม เพื่อพัฒนาตนเอง และพัฒนางาน

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


การพัฒนา 3.1 การศึกษาค้นคว้าหาความรู้ 1. ศึกษาค้นคว้าหาความรู้
ตนเอง ติดตามองค์ความรู้ใหม่ๆ มุ่งมั่นและแสวงหาโอกาสพัฒนาตนเองด้
(Self- ทางวิชาการและวิชาชีพ วยวิธีการ
Develop ที่หลากหลาย เช่น
ment) การเข้าร่วมประชุม/สัมมนา
การศึกษาดูงาน การค้นคว้าด้วยตนเอง
3.2 1. รวบรวม สังเคราะห์ข้อมูล ความรู้
การสร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมในการพัฒน จัดเป็นหมวดหมู่ และปรับปรุงให้ทันสมัย
าองค์กรและวิชาชีพ 2.
สร้างองค์ความรู้และนวัตกรรมเพื่อพัฒน
าการจัดการเรียนรู้ องค์กรและวิชาชีพ
3.2 การแลกเปลี่ยนความคิดเห็น 1.
และสร้างเครือข่าย แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับผู้อื่นเพื่อพัฒนาตนเ
อง และพัฒนางาน
2.ให้คาปรึกษา แนะนา นิเทศ
และถ่ายทอดความรู้
ประสบการณ์ทางวิชาชีพแก่ผู้อื่น

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 9

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


3.
มีการขยายผลโดยสร้างเครือข่ายการเรีย
นรู้

สมรรถนะที่ 4 การทางานเป็นทีม (Team Work) หมายถึง การให้ความร่วมมือ ช่วยเหลือ


สนับสนุนเสริมแรงให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงาน การปรับตัวเข้ากับผู้อื่นหรือทีมงาน
แสดงบทบาทการเป็นผู้นาหรือผู้ตามได้อย่างเหมาะสมในการทางานร่วมกับผู้อื่น
เพื่อสร้างและดารงสัมพันธภาพของสมาชิก ตลอดจนเพื่อพัฒนา
การจัดการศึกษาให้บรรลุผลสาเร็จตามเป้าหมาย

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


การทางานเป็ 4.1 การให้ความร่วมมือ 1. สร้างสัมพันธภาพที่ดีในการทางานร่วมกับผู้อื่น
นทีม ช่วยเหลือและสนับสนุนเพื่อน 2.
(Team ร่วมงาน ทางานร่วมกับผู้อื่นตามบทบาทหน้าที่ที่ได้รับมอบหมา
Work) ย
3. ช่วยเหลือ สนับสนุน
เพื่อนร่วมงานเพื่อสู่เป้าหมายความสาเร็จร่วมกัน
4.2 1. ให้เกียรติ ยกย่องชมเชย
การเสริมแรงให้กาลังใจเพื่อน ให้กาลังใจแก่เพื่อนร่วมงานในโอกาสที่เหมาะสม
ร่วมงาน
4.3 1.
การปรับตัวเข้ากับกลุ่มคนหรื มีทักษะในการทางานร่วมกับบุคคล/กลุ่มบุคคลได้อย่าง
อสถานการณ์ที่หลากหลาย มีประสิทธิภาพทั้งภายในและภายนอกสถานศึกษา
และในสถานการณ์ต่างๆ
4.4 1.
การแสดงบทบาทผู้นาหรือผู้ต แสดงบทบาทผู้นาหรือผู้ตามในการทางานร่วมกับผู้อื่น
าม ได้อย่างเหมาะสมตามโอกาส
4.5 1.
การเข้าไปมีส่วนร่วมกับผู้อื่นใ แลกเปลี่ยน/รับฟังความคิดเห็นและประสบการณ์ภายใ
น นทีมงาน
การพัฒนาการจัดการศึกษาใ 2.
ห้บรรลุ แลกเปลี่ยนเรียนรู้/รับฟังความคิดเห็นและประสบการ
ผลสาเร็จตามเป้าหมาย ณ์ระหว่างเครือข่ายและทีมงาน
3.
ร่วมกับเพื่อนร่วมงานในการสร้างวัฒนธรรมการทางา
นเป็นทีมให้เกิดขึ้นในสถานศึกษา
คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560
ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 10

สมรรถนะที่ 5 จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพครู (Teacher’s Ethics and Integrity) หมายถึง


การประพฤติปฏิบัติตนถูกต้องตามหลักคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู
เป็นแบบอย่างที่ดีแก่ผู้เรียน และสังคม เพื่อสร้างความศรัทธาในวิชาชีพครู
สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม
จริยธรรม 1. 1. สนับสนุน
และจรรยาบรรณ ความรักและศรัทธา และเข้าร่วมกิจกรรมการพัฒนาจรรยาบรรณวิชาชีพ
วิชาชีพครู ในวิชาชีพ 2. เสียสละ อุทิศตนเพื่อประโยชน์ต่อวิชาชีพ
(Teacher’s และเป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
Ethics and 3. ยกย่อง ชื่นชมบุคคลที่ประสบความสาเร็จในวิชาชีพ
Integrity) 4. ยึดมั่นในอุดมการณ์ของวิชาชีพ
ปกป้องเกียรติและศักดิ์ศรีของวิชาชีพ
2. มีวินัย 1. ซื่อสัตย์ต่อตนเอง ตรงต่อเวลา วางแผนการใช้จ่าย
และความรับผิดชอบ และใช้ทรัพยากรอย่างประหยัด
ในวิชาชีพ 2. ปฏิบัติตนตามกฎ ระเบียบ ข้อบังคับ
และวัฒนธรรมที่ดีขององค์กร
3. ปฏิบัติตนตามบทบาทหน้าที่
และมุ่งมั่นพัฒนาการประกอบวิชาชีพให้ก้าวหน้า
4. ยอมรับผลอันเกิดจากการปฏิบัติหน้าที่ของตนเอง
และหาแนวทางแก้ไขปัญหา อุปสรรค
3. 1.
การดารงชีวิตอย่างเ ปฏิบัติตน/ดาเนินชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพีย
หมาะสม งได้เหมาะสมกับสถานะของตน
2. รักษาสิทธิประโยชน์ของตนเอง
และไม่ละเมิดสิทธิของผู้อื่น
3. เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ ช่วยเหลือ และไม่เบียดเบียนผู้อื่น
4. 1. ปฏิบัติตนได้เหมาะสมกับบทบาทหน้าที่ และสถานการณ์
การประพฤติปฏิบัติ 2. มีความเป็นกัลยาณมิตรต่อผู้เรียน เพื่อนร่วมงาน
ตน และผู้รับบริการ
เป็นแบบอย่างที่ดี 3. ปฏิบัติตนตามหลักการครองตน ครองคน
ครองงานเพื่อให้การปฏิบัติงานบรรลุผลสาเร็จ
4.
เป็นแบบอย่างที่ดีในการส่งเสริมผู้อื่นให้ปฏิบัติตนตามหลักจริ
ยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพครู และพัฒนาจนเป็นที่ยอมรับ

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 11

สมรรถนะประจาสายงาน (Functional Competency)


สมรรถนะที่ 1 การบริหารหลักสูตรและการจัดการเรียนรู้ (Curriculum and Learning Management)
หมายถึง ความสามารถในการสร้างและพัฒนาหลักสูตร
การออกแบบการเรียนรู้อย่างสอดคล้องและเป็นระบบ จัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
ใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทคโนโลยี และการวัด ประเมินผล การเรียนรู้
เพื่อพัฒนาผู้เรียนอย่างมีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลสูงสุด

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


การบริหารหลั 1. การสร้างและพัฒนาหลักสูตร
1.
กสูตร สร้าง/พัฒนาหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ที่สอดค
และการจัดกา ล้องกับหลักสูตรแกนกลางและท้องถิ่น
รเรียนรู้ 2.
(Curriculum ประเมินการใช้หลักสูตรและนาผลการประเมินไปใ
and ช้ในการพัฒนาหลักสูตร
Learning 2. ความรู้ 1.
Managemen ความสามารถในการออกแบบการ กาหนดผลการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เน้นการวิเครา
t) เรียนรู้ ะห์ สังเคราะห์ ประยุกต์
ริเริ่มเหมาะสมกับสาระการเรียนรู้
ความแตกต่างและธรรมชาติของผู้เรียนเป็นราย
บุคคล
2.
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้อย่างหลากหลายเ
หมาะสมสอดคล้องกับวัย
และความต้องการของผู้เรียน และชุมชน
3.
เปิดโอกาสให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการออกแบบ
การเรียนรู้
การจัดกิจกรรมและการประเมินผลการเรียนรู้
4.
จัดทาแผนการจัดการเรียนรู้อย่างเป็นระบบโด
ยบูรณาการอย่างสอดคล้องเชื่อมโยงกัน
5.
มีการนาผลการออกแบบการเรียนรู้ไปใช้ในกา
รจัดการเรียนรู้ และปรับใช้ตามสถานการณ์
อย่างเหมาะสมและเกิดผลกับผู้เรียนตามที่คาด
หวัง
6.

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 12

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


ประเมินผลการออกแบบการเรียนรู้เพื่อนาไปใ
ช้ปรับปรุง/พัฒนา

3. 1.
การจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็น จัดทาฐานข้อมูลเพื่ออกแบบการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรี
สาคัญ ยนเป็นสาคัญ
2.
ใช้รูปแบบ/เทคนิควิธีการสอนอย่างหลากหลายเ
พื่อให้ผู้เรียนพัฒนาเต็มตามศักยภาพ
3.
จัดกิจกรรมการเรียนรู้ที่ปลูกฝัง/ส่งเสริมคุณลักษ
ณะอันพึงประสงค์และสมรรถนะของผู้เรียน
4.
ใช้หลักจิตวิทยาในการจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิ
ดการเรียนรู้อย่างมีความสุข
และพัฒนาอย่างเต็มศักยภาพ
5.ใช้แหล่งเรียนรู้และภูมิปัญญาท้องถิ่นในชุมชนใ
นการจัดการเรียนรู้
6.
พัฒนาเครือข่ายการเรียนรู้ระหว่างโรงเรียนกับผู้
ปกครอง และชุมชน
4. 1. ใช้สื่อ
การใช้และพัฒนาสื่อนวัตกรรมเทค นวัตกรรมและเทคโนโลยีในการจัดการเรียนรู้อย่
โนโลยีเพื่อการจัดการเรียนรู้ างหลากหลาย
เหมาะสมกับเนื้อหาและกิจกรรมการเรียนรู้
2.
สืบค้นข้อมูลผ่านเครือข่ายอินเตอร์เน็ตเพื่อพัฒน
าการจัดการเรียนรู้
3.
ใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์ในการผลิตสื่อ/นวัตกร
รมที่ใช้ในการจัดการเรียนรู้
5. การวัดและประเมินผล 1.
การเรียนรู้ ออกแบบวิธีการวัดและประเมินผลอย่างหลากหลา
ย เหมาะสมกับเนื้อหา กิจกรรม
การเรียนรู้ และผู้เรียน
2.
สร้างและนาเครื่องมือวัดและประเมินผลไปใช้อย่า
คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560
ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 13

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


งถูกต้องเหมาะสม
3. วัดและประเมินผลผู้เรียนตามสภาพจริง
4.
นาผลการประเมินการเรียนรู้มาใช้ในการพัฒนา
การจัดการเรียนรู้

สมรรถนะที่ 2 การพัฒนาผู้เรียน (Student Development) หมายถึง


ความสามารถในการปลูกฝังคุณธรรมจริยธรรม การพัฒนาทักษะชีวิต สุขภาพกาย และสุขภาพจิต
ความเป็นประชาธิปไตย ความภูมิใจในความเป็นไทย
การจัดระบบดูแลช่วยเหลือผู้เรียนเพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณภาพ

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


การพัฒนาผู้เรียน 2.1 การปลูกฝังคุณธรรม 1. สอดแทรกคุณธรรม
(Student จริยธรรมให้แก่ผู้เรียน จริยธรรมแก่ผู้เรียนในการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
Development) 2. จัดกิจกรรมส่งเสริมคุณธรรม
จริยธรรมโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการวางแผนกิจกรร

3.
จัดทาโครงการ/กิจกรรมที่ส่งเสริมคุณธรรมจริยธรรมให้
แก่ผู้เรียน
2.2 การพัฒนาทักษะชีวิต 1. จัดกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนด้านการดูแลตนเอง
และสุขภาพกาย มีทักษะในการเรียนรู้ การทางาน
และสุขภาพจิตผู้เรียน การอยู่ร่วมกันในสังคมอย่างมีความสุข
และรู้เท่าทันการเปลี่ยนแปลง
2.3 1. สอดแทรกความเป็นประชาธิปไตย
การปลูกฝังความเป็นประ ความภูมิใจในความเป็นไทย ให้แก่ผู้เรียน
ชาธิปไตย 2.
ความภูมิใจในความเป็นไท จัดทาโครงการ/กิจกรรมส่งเสริมความเป็นประชาธิปไต
ยให้กับผู้เรียน ย ความภูมิใจในความเป็นไทย
2.4 1. ให้ผู้เรียน คณะครูผู้สอน
การจัดระบบดูแลช่วยเหลื และผู้ปกครองมีส่วนร่วมในดูแลช่วยเหลือนักเรียนรา
อนักเรียน ยบุคคล
2.
นาข้อมูลนักเรียนไปใช้ช่วยเหลือ/พัฒนาผู้เรียนทั้งด้านก
ารเรียนรู้และปรับพฤติกรรม
เป็นรายบุคคล
คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560
ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 14

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


3. จัดกิจกรรมเพื่อป้องกันแก้ไขปัญหา
และส่งเสริมพัฒนาผู้เรียนให้แก่นักเรียนอย่างทั่วถึง
4.
ส่งเสริมให้ผู้เรียนปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมกับค่านิยมที่
ดีงาม
5. ดูแล ช่วยเหลือ ผู้เรียนทุกคนอย่างทั่วถึง ทันการณ์

สมรรถนะที่ 3 การบริหารจัดการชั้นเรียน (Classroom Management) หมายถึง


การจัดบรรยากาศการเรียนรู้ การจัดทาข้อมูลสารสนเทศและเอกสารประจาชั้นเรียน/ประจาวิชา
การกากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น/รายวิชา เพื่อส่งเสริมการเรียนรู้อย่างมีความสุข
และความปลอดภัยของผู้เรียน

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


การบริหารจัด 1. 1. จัดสภาพแวดล้อมภายในห้องเรียน
การชั้นเรียน จัดบรรยากาศที่ส่งเสริมการเรียนรู้ และภายนอกห้องเรียนที่เอื้อต่อการเรียนรู้
(Classroom ความสุขและความปลอดภัยของผู้เ 2.
Managemen รียน ส่งเสริมการมีปฏิสัมพันธ์ที่ดีระหว่างครูกับผู้เรียน
t) และผู้เรียนกับผู้เรียน
3.
ตรวจสอบสิ่งอานวยความสะดวกในห้องเรียน
ให้พร้อมใช้และปลอดภัยอยู่เสมอ
2. 1.
จัดทาข้อมูลสารสนเทศและเอกสา จัดทาข้อมูลสารสนเทศของนักเรียนเป็นรายบุค
รประจาชั้นเรียน/ประจาวิชา คลและเอกสารประจาชั้นเรียนอย่างถูกต้อง
ครบถ้วน เป็นปัจจุบัน
2.
นาข้อมูลสารสนเทศไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียนได้เต็
มตามศักยภาพ
3. 1. ให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการกาหนดกฎ กติกา
กากับดูแลชั้นเรียนรายชั้น/รายวิช ข้อตกลงในชั้นเรียน
า 2.
แก้ปัญหา/พัฒนานักเรียนด้านระเบียบวินัยโดยกา
รสร้างวินัยเชิงบวกในชั้นเรียน
3. ประเมินการกากับดูแลชั้นเรียน
และนาผลการประเมินไปใช้ในการปรับปรุง
และพัฒนา
คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560
ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 15

สมรรถนะที่ 4 การวิเคราะห์ สังเคราะห์ และการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน (Analysis & Synthesis &


Classroom Research) หมายถึง ความสามารถในการทาความเข้าใจ แยกประเด็นเป็นส่วนย่อย รวบรวม
ประมวลหาข้อสรุปอย่างมีระบบและนาไปใช้ในการวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
รวมทั้งสามารถวิเคราะห์องค์กรหรืองานในภาพรวมและดาเนินการแก้ปัญหา
เพื่อพัฒนางานอย่างเป็นระบบ

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


การวิเคราะห์ 1. 1.
สังเคราะห์ และ การวิเคราะห์ สารวจปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเพื่อวางแผนการ
การวิจัยเพื่อพั วิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
ฒนาผู้เรียน 2.
(Analysis & วิเคราะห์สาเหตุของปัญหาเกี่ยวกับนักเรียนที่เกิดขึ้นในชั้นเรียนเพื่
Synthesis & อกาหนดทางเลือกในการแก้ไขปัญหาระบุสภาพปัจจุบัน
Classroom 3. มีการวิเคราะห์จุดเด่น จุดด้อย
Research) อุปสรรคและโอกาสความสาเร็จของการวิจัยเพื่อแก้ไขปัญหาที่เกิด
ขึ้นในชั้นเรียน
2. 1. รวบรวม จาแนกและจัดกลุ่มของสภาพปัญหาของผู้เรียน
การสังเคราะห์ แนวคิดทฤษฎีและวิธีการแก้ไขปัญหาเพื่อสะดวกต่อการนาไปใช้
2.
มีการประมวลผลหรือสรุปข้อมูลสารสนเทศที่เป็นประโยชน์ต่อการ
แก้ไขปัญหาในชั้นเรียนโดยใช้ข้อมูลรอบด้าน
3. 1. จัดทาแผนการวิจัย และดาเนินกระบวนการวิจัย
การวิจัยเพื่อพั อย่างเป็นระบบตามแผนดาเนินการวิจัยที่กาหนดไว้
ฒนาผู้เรียน 2.
ตรวจสอบความถูกต้องและความน่าเชื่อถือของผลการวิจัยอย่างเป็
นระบบ
3. มีการนาผลการวิจัยไปประยุกต์ใช้ในกรณีศึกษาอื่น ๆ
ที่มีบริบทของปัญหาที่คล้ายคลึงกัน
สมรรถนะที่ 5 ภาวะผู้นาครู (Teacher Leadership) หมายถึง
คุณลักษณะและพฤติกรรมของครูที่แสดงถึงความเกี่ยวข้องสัมพันธ์ส่วนบุคคล
และการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ซึ่งกันและกันทั้งภายในและภายนอกห้องเรียนโดยปราศจากการใช้อิทธิพลของผู้
บริหารสถานศึกษา ก่อให้เกิดพลังแห่งการเรียนรู้เพื่อพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีคุณภาพ

สมรรถน ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม



ภาวะผู้ 1. 1. พิจารณาทบทวน

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 16

สมรรถน ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม



นาครู วุฒิภาวะความเป็นผู้ใหญ่ที่เหมาะประเมินตนเองเกี่ยวกับพฤติกรรมที่แสดงออกต่อผู้เรียนแ
(Teach สมกับความเป็นครู ละผู้อื่น และ
er (Adult Development) มีความรับผิดชอบต่อตนเองและส่วนรวม
Leader 2. เห็นคุณค่า ให้ความสาคัญในความคิดเห็นหรือผลงาน
ship) และให้เกียรติแก่ผู้อื่น
3. กระตุ้นจูงใจ
ปรับเปลี่ยนความคิดและการกระทาของผู้อื่นให้มีความผูก
พันและมุ่งมั่นต่อ
เป้าหมายในการทางานร่วมกัน
2. 1. มีปฏิสัมพันธ์ในการสนทนา มีบทบาท
การสนทนาอย่างสร้างสรรค์(Dial และมีส่วนร่วมในการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่น
ogue)
โดยมุ่งเน้นไปที่การเรียนรู้ของผู้เรียนและการพัฒนาวิชาชี

2. มีทักษะการฟัง การพูด และการตั้งคาถาม เปิดใจกว้าง
ยืดหยุ่น ยอมรับทัศนะที่หลากหลายของผู้อื่น
เพื่อเป็นแนวทางใหม่ๆ ในการปฏิบัติงาน
3. สืบเสาะข้อมูล ความรู้ทางวิชาชีพใหม่ๆ
ที่สร้างความท้าทายในการสนทนาอย่างสร้างสรรค์กับผู้อื่

3. การเป็นบุคคลแห่ง 1. ให้ความสนใจต่อสถานการณ์ต่างๆ ที่เป็นปัจจุบัน
การเปลี่ยนแปลง (Change โดยมีการวางแผนอย่างมีวิสัยทัศน์ซึ่ง
Agency) เชื่อมโยงกับวิสัยทัศน์ เป้าหมาย
และพันธกิจของโรงเรียนร่วมกับผู้อื่น
2.
ริเริ่มการปฏิบัติที่นาไปสู่การเปลี่ยนแปลงและการพัฒนาน
วัตกรรม
3.
กระตุ้นผู้อื่นให้มีการเรียนรู้และความร่วมมือในวงกว้างเพื่
อพัฒนาผู้เรียน สถานศึกษา
และวิชาชีพ
4.
ปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นภายใต้ระบบ/ขั้นตอนที่เปลี่ยนแปล
งไปจากเดิมได้

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 17

สมรรถน ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม



4. การปฏิบัติงานอย่างไตร่ตรอง 1.
(Reflective Practice) พิจารณาไตร่ตรองความสอดคล้องระหว่างการเรียนรู้ของ
นักเรียน และการจัดการเรียนรู้
2.
สนับสนุนความคิดริเริ่มซึ่งเกิดจากการพิจารณาไตร่ตรอง
ของเพื่อนร่วมงาน
และมีส่วนร่วมในการพัฒนานวัตกรรมต่างๆ
3. ใช้เทคนิควิธีการหลากหลายในการตรวจสอบ
ประเมินการปฏิบัติงานของตนเอง และ
ผลการดาเนินงานสถานศึกษา
5. 1.
การมุ่งพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน กาหนดเป้าหมายและมาตรฐานการเรียนรู้ที่ท้าทายความ
(Concern for improving สามารถของตนเองตามสภาพจริง
pupil achievement) และปฏิบัติให้บรรลุผลสาเร็จได้
2.
ให้ข้อมูลและข้อคิดเห็นรอบด้านของผู้เรียนต่อผู้ปกครองแ
ละผู้เรียนอย่างเป็นระบบ
3.
ยอมรับข้อมูลป้อนกลับเกี่ยวกับความคาดหวังด้านการเรีย
นรู้ของผู้เรียนจากผู้ปกครอง
4.
ปรับเปลี่ยนบทบาทและการปฏิบัติงานของตนเองให้เอื้อต่
อการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียน
5. ตรวจสอบข้อมูลการประเมินผู้เรียนอย่างรอบด้าน
รวมไปถึงผลการวิจัย หรือองค์ความรู้
ต่างๆ
และนาไปใช้ในการพัฒนาผลสัมฤทธิ์ผู้เรียนอย่างเป็นระบ

สมรรถนะที่ 6 การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมือกับชุมชนเพื่อการจัดการเรียนรู้ (Relationship &


Collaborative – Building for Learning Management) หมายถึง การประสานความร่วมมือ
สร้างความสัมพันธ์ที่ดี และเครือข่ายกับผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ ทั้งภาครัฐและเอกชน
เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


การสร้างความสัมพั 1. 1.
คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560
ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 18

สมรรถนะ ตัวบ่งชี้ รายการพฤติกรรม


นธ์ การสร้างความสัมพันธ์และความร่วมมื กาหนดแนวทางในการสร้างความสัมพั
และความร่วมมือกับ อกับชุมชน นธ์ที่ดี และความร่วมมือกับชุมชน
ชุมชน เพื่อการจัดการเรียนรู้ 2.
เพื่อการจัดการเรียน ประสานให้ชุมชนเข้ามามีส่วนร่วมในกิจ
รู้ กรรมต่างๆ ของสถานศึกษา
(Relationship & 3. ให้ความร่วมมือในกิจกรรมต่างๆ
Collaborative for ของชุมชน
Learning) 4. จัดกิจกรรมที่เสริมสร้าง
ความสัมพันธ์และความร่วมมือกับผู้ปก
ครอง ชุมชน และ
องค์กรอื่นๆ
ทั้งภาครัฐและเอกชนเพื่อการจัดการเรีย
นรู้
2. การสร้างเครือข่าย 1.
ความร่วมมือเพื่อการจัด สร้างเครือข่ายความร่วมมือระหว่างครู
การเรียนรู้ ผู้ปกครอง ชุมชน และองค์กรอื่นๆ
ทั้งภาครัฐและ เอกชน
เพื่อสนับสนุนส่งเสริมการจัดการเรียนรู้

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 19

สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
หลักสูตรโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม มุ่งให้ผู้เรียนเกิดสมรรถนะสาคัญ 5 ประการ ดังนี้
1. ความสามารถในการสื่อสาร เป็นความสามารถในการรับและส่งสาร
มีวัฒนธรรมในการใช้ภาษาถ่ายทอดความคิด ความรู้ความเข้าใจ ความรู้สึก
และทัศนะของตนเองเพื่อแลกเปลี่ยนข้อมูลข่าวสารและประสบการณ์อันจะเป็นประโยชน์ต่อการพัฒนาตนเ
องและสังคม รวมทั้งการเจรจาต่อรองเพื่อขจัดและลดปัญหาความขัดแย้งต่าง ๆ
การเลือกรับหรือไม่รับข้อมูลข่าวสารด้วยหลักเหตุผลและความถูกต้อง ตลอดจนการเลือกใช้วิธีการสื่อสาร
ที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่มีต่อตนเองและสังคม
2. ความสามารถในการคิ ด เป็ น ความสามารถในการคิ ดวิ เคราะห์ การคิด สังเคราะห์ การคิ ด
อ ย่ า ง ส ร้ า ง ส ร ร ค์ ก า ร คิ ด อ ย่ า ง มี วิ จ า ร ณ ญ า ณ แ ล ะ ก า ร คิ ด เ ป็ น ร ะ บ บ
เพื่อนาไปสู่การสร้างองค์ความรู้หรือสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจเกี่ยวกับตนเองและสังคมได้อย่างเหมาะสม
3. ความสามารถในการแก้ ปั ญ หา เป็ น ความสามารถในการแก้ ปั ญ หาและอุ ป สรรคต่ า ง ๆ
ที่ เ ผชิ ญ ได้ อ ย่ า งถู ก ต้ อ งเหมาะสมบนพื้ น ฐานของหลั ก เหตุ ผ ล คุ ณ ธรรมและข้ อ มู ล สารสนเทศ
เข้ า ใจความสั ม พั น ธ์ แ ละการเปลี่ ย น แปลงของเห ตุ ก ารณ์ ต่ า ง ๆ ใน สั ง คม แสวงห าความรู้
ป ร ะ ยุ ก ต์ ค ว า ม รู้ ม า ใ ช้ ใ น ก า ร ป้ อ ง กั น แ ล ะ แ ก้ ไ ข ปั ญ ห า
และมีการตัดสินใจที่มีประสิทธิภาพโดยคานึงถึงผลกระทบที่เกิดขึ้นต่อตนเอง สังคมและสิ่งแวดล้อม
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต เป็นความสามารถในการนากระบวนการต่าง ๆ
ไปใช้ในการดาเนินชีวิตประจาวัน การเรียนรู้ด้วยตนเอง การเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง การทางาน
และการอยู่ร่วมกันในสังคมด้วยการสร้างเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างบุคคล
การจัดการปัญหาและความขัดแย้งต่าง ๆ อย่างเหมาะสม
การปรับตัวให้ทันกับการเปลี่ยนแปลงของสังคมและสภาพแวดล้อม
และการรู้จักหลีกเลี่ยงพฤติกรรมไม่พึงประสงค์ที่ส่งผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น
5. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี เป็นความสามารถในการเลือก และใช้ เทคโนโลยีด้านต่าง ๆ
และมีทักษะกระบวนการทางเทคโนโลยี เพื่อการพัฒนาตนเองและสังคม ในด้านการเรียนรู้ การสื่อสาร
การทางาน การแก้ปัญหาอย่างสร้างสรรค์ ถูกต้อง เหมาะสม และมีคุณธรรม

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 20

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
หลักสูตรโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม มุ่งพัฒนาผู้เรียนให้มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์
เพื่อให้สามารถอยู่ร่วมกับผู้อื่นในสังคมได้อย่างมีความสุข ในฐานะเป็นพลเมืองไทยและพลโลก ดังนี้
1. รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์
2. ซื่อสัตย์สุจริต
3. มีวินัย
4. ใฝ่เรียนรู้
5. อยู่อย่างพอเพียง
6. มุ่งมั่นในการทางาน
7. รักความเป็นไทย
8. มีจิตสาธารณะ

มาตรฐานการศึกษาขั้นพื้นฐาน ของโรงเรียนศรีกระนวนวิทยาคม
ตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ สานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ ณ วันที่ 13 ตุลาคม 2559
มาตรฐานการศึก ษาขั้ น พื้ น ฐานเพื่ อการประกัน คุ ณ ภาพภายในของสถานศึก ษา พ.ศ. ๒๕๕๙
มีจานวน ๔ มาตรฐาน ดังนี้
มาตรฐานที่ ๑ คุณภาพของผู้เรียน
๑.๑ ผลสัมฤทธิ์ทางวิชาการของผู้เรียน
๑) ความสามารถในการอ่าน เขียน การสื่อสาร และการคิดคานวณตามเกณฑ์ของแต่ละระดับชั้น
๒) ค ว า ม ส า ม า ร ถ ใ น ก า ร คิ ด วิ เ ค ร า ะ ห์ คิ ด วิ จ า ร ณ ญ า ณ อ ภิ ป ร า ย
แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและแก้ปัญหา
๓) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
๔) ความก้าวหน้าทางการเรียนตามหลักสูตรสถานศึกษา
๕) ผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและพัฒนาการจากผลการสอบวัดระดับชาติ
๖) ความพร้อมในการศึกษาต่อ การฝึกงาน หรือการทางาน
๑.๒ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของผู้เรียน
๑) ก า ร มี คุ ณ ลั ก ษ ณ ะ แ ล ะ ค่ า นิ ย ม ที่ ดี ต า ม ที่ ส ถ า น ศึ ก ษ า ก า ห น ด
โดยไม่ขัดกับกฎหมายและวัฒนธรรมอันดีของสังคม
๒) ความภูมิใจในท้องถิ่นและความเป็นไทย
๓) การยอมรับที่จะอยู่ร่วมกันบนความแตกต่างและหลากหลาย
๔) สุขภาวะทางร่างกาย และลักษณะจิตสังคม
มาตรฐานที่ ๒ กระบวนการบริหารและการจัดการของผู้บริหารสถานศึกษา
๑. การมีเป้าหมาย วิสัยทัศน์ และพันธกิจที่สถานศึกษากาหนดชัดเจน
๒. การวางแผนพัฒนาคุณภาพการจัดการศึกษาของสถานศึกษา

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 21

๒.๑ การวางแผนและด าเนิ น งานพั ฒ นาวิ ช าการที่ เ น้ น คุ ณ ภาพของผู้ เ รี ย นรอบด้ า น


ทุกกลุ่มเป้าหมาย และดาเนินการอย่างเป็นรูปธรรม
๒.๒ การวางแผนและดาเนินงานพัฒนาครูและบุคลากรให้มีความเชี่ยวชาญทางวิชาชีพ
๒.๓ การวางแผนการบริหารและการจัดการข้อมูลสารสนเทศอย่างเป็นระบบ
๒ . ๔
การวางแผนและจัดสภาพแวดล้อมทางกายภาพและสังคมที่เอื้อต่อการจัดการเรียนรู้อย่างมีคุณภ
าพ
๓. ก า ร มี ส่ ว น ร่ ว ม ข อ ง ผู้ เ กี่ ย ว ข้ อ ง ทุ ก ฝ่ า ย
และการร่วมรับผิดชอบต่อผลการจัดการศึกษาให้มีคุณภาพและได้มาตรฐาน
๔. การกากับ ติดตาม ประเมินผลการบริหารและการจัดการศึกษา
มาตรฐานที่ ๓ กระบวนการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
๑. การมีกระบวนการเรียนการสอนที่สร้างโอกาสให้ผู้เรียนทุกคนมีส่วนร่วม
๒. การจัดการเรียนการสอนที่ยึดโยงกับบริบทของชุมชนและท้องถิ่น
๓. การตรวจสอบและประเมินความรู้ความเข้าใจของผู้เรียนอย่างเป็นระบบ และมีประสิทธิภาพ
มาตรฐานที่ ๔ ระบบการประกันคุณภาพภายในที่มีประสิทธิผล
การใช้ระบบการประกันคุณภาพภายในเพื่อยกระดับคุณภาพการจัดการศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
บทที่ 3
การกาหนดมาตรฐานการปฏิบัติงานของบุคคล

ข้อมูลเบื้องต้น ชื่อ นายสันติ พันธุ์ชัย ตาแหน่ง ครู วิทยฐานะ ครูชานาญการพิเศษ


กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์

การวิเคราะห์งานในหน้าที่ที่ได้รับผิดชอบ
1. งานด้านการจัดการเรียนการสอน

ชื่องาน และกรอบงาน มาตรฐานด้าน / ข้อที่


1. งานการสอน มาตรฐานที่ 1
1.1 หลักสูตร ด้านคุณภาพผู้เรียน
1.2 หน่วยการเรียนรู้รายวิชา
1.3 แผนการจัดการเรียนรู้ มาตรฐานที่ ๓
1.4 สื่อการสอน กระบวนการจัดการเรียนการ
1.5 เครื่องมือวัดผล สอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
1.6 สอน / วัดผล / ประเมินผล
1.7 สอนซ่อมเสริม/กิจกรรมเสริมรายวิชา
1.8 งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย

2. งานที่ได้รับมอบหมายพิเศษ

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 22

ชื่องาน และกรอบงาน มาตรฐานด้าน / ข้อที่


1. งานประกันคุณภาพภายในสถานศึกษา มาตรฐานที่ ๔
1.1 พัฒนาระบบประกันคุณภาพภายในโรงเรียน ระบบการประกันคุณภาพภา
1.2 พัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการศึกษาภายในโรงเรียน ยในที่มีประสิทธิผล
1.3 ประเมินคุณภาพภายใน(SAR)
1.4 เตรียมรับการประเมินคุณภาพภายนอก (สมศ.)
1.5 งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย
2. งานพัฒนาระบบเครือข่ายข้อมูลสารสนเทศ มาตรฐานที่ ๒
2.1 บริหารจัดการด้านระบบข้อมูลสารสนเทศ กระบวนการบริหารและการ
2.2 จัดระบบข้อมูลสารสนเทศโนโรงเรียน จัดการของผู้บริหารสถานศึก
2.3 พัฒนาระบบสารสนเทศในโรงเรียน ษา
2.4 จัดเก็บและเผยแพร่ข้อมูลของนักเรียนและบุคลากรทางการศึกษ

2.5 สรุปรายงานผลการปฏิบัติงาน
2.6 งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย

3. งานบริหารทั่วไปฝ่ายแผนงาน มาตรฐานที่ ๒
3.1 งานธุรการ และสารบรรณฝ่าย รับส่ง กระบวนการบริหารและการ
3.2 ประสานงานโครงการ ตรวจสอบติดตาม รายงานผล จัดการของผู้บริหารสถานศึก
3.3 ควบคุมคุณภาพการศึกษา จัดทารายงาน ษา
เอกสารของฝ่ายเพื่อรับการประเมิน
3.4 งานอื่นๆที่ได้รับมอบหมาย
4. งานครูที่ปรึกษา
4.1 รับนโยบายจากผู้บริหาร
4.2 กากับ ติดตาม แก้ไข พฤติกรรมนักเรียน
4.3 อบรมให้คาแนะนาปรึกษา
4.4 ปฏิบัติตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
4.5 รายงานผล
5. งานที่ปรึกษาคณะสี
5.1 ร่วมปฐมนิเทศ
5.2 ให้คาปรึกษาการวางแผน
5.3 ให้คาปรึกษาการปฏิบัติงาน
5.4 ร่วมกิจกรรม ( แห่เทียนพรรษา กีฬาภายใน พัฒนาโรงเรียน
วันสาคัญ กิจกรรมตามนโยบาย)
5.5 งานอื่นที่ได้รับมอบหมาย

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 23

ชื่องาน และกรอบงาน มาตรฐานด้าน / ข้อที่


6. งานเวรประจาวัน
6.1 รับนโยบายจากผู้บริหาร
6.2 ปฏิบัติหน้าทีเ่ วรประจาวันในโรงเรียน
6.3 สรุปผลการปฏิบัติงาน
6.4 รายงานผล
7. งานวิจัยและพัฒนาคุณภาพการศึกษา
7.1 ประชุมวางแผน
7.2 ปฏิบัติหน้าที่วิจัยในโรงเรียนอย่างต่อเนื่อง
7.3 ปฏิบัติการสอนโดยใช้กระบวนการวิจัย
7.4 สรุปผลการปฏิบัติงาน
7.5 รายงานผล
8. งานวิชาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
8.1 รับนโยบายหัวหน้ากลุ่ม
8.2 ปฏิบัติหน้าทีบ่ ริหารวิชาการ กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์
8.3 สรุปผลการปฏิบัติงาน
8.4 รายงานผล

กระบวนการปฏิบัติงานสอน

การวางแผนหรือการเตรียมการ โดย
ขั้นตอนที่ 1 1.1 ศึกษาและวิเคราะห์เรื่องที่จะสอนให้เข้าใจ
1.2 ศึกษาแหล่งความรู้ที่หลากหลาย

วางแผนการสอน
2.1 กาหนดผลการเรียนรู้ให้ชัดเจน
2.2 วิเคราะห์เนื้อหาและความคิดรวบยอด และกาหนดเนื้อหาให้
ขั้นตอนที่ 2 ละเอียด
2.3
ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้แบบผู้เรียนเป็นสาคัญตามรูปแบบต่างๆ
2.4 กาหนดวิธีการประเมินผลการเรียนรู้อย่างหลากหลาย

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 24

การจัดเตรียม
3.1 สือ่ วัสดุการเรียนการสอน ให้เพียงพอสาหรับนักเรียน
3.2 เอกสาร หนังสือหรือข้อมูลต่างๆ ที่จาเป็นสาหรับผู้เรียน
3.3 ติดต่อแหล่งความรู้ต่างๆ ซึ่งอาจจะเป็นบุคคล สถานที่
ขั้นตอนที่ 3 หรือโสตทัศน์วัสดุต่างๆ และศึกษาหาความรู้เพิ่มเติม
3.4 เครื่องมือการประเมินผลการเรียนรู้
3.5 ห้องเรียน หรือสถานที่เพื่อการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เช่น
อาจเป็นต้องจัดโต๊ะ เก้าอี้ ในลักษณะใหม่

การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
4.1 สร้างบรรยากาศการเรียนรู้ที่ดี
4.2 กระตุ้นผู้เรียนให้สนใจเข้าร่วมกิจกรรม
4.3 จัดกิจกรรมการเรียนรู้ตามแผนที่เตรียมไว้
โดยอาจมีการปรับแผนให้
เหมาะสมกับการเรียนและสถานการณ์ที่เป็นจริง
4.4 ดูแลให้ผู้เรียนดาเนินกิจกรรมต่างๆ แก้ปัญหาที่อาจเกิดขึ้นได้
ขั้นตอนที่ 4 4.5 อานวยความสะดวกแก่ผู้เรียนในการดาเนินกิจกรรมการเรียนรู้
4.6 กระตุ้นผู้เรียนให้มีส่วนร่วมในกิจกรรมอย่างเต็มที่
4.7 สังเกตและบันทึกพฤติกรรมและกระบวนการเรียนรู้ของผู้เรียน รวม
ทั้งเหตุการณ์ที่จะส่งผลต่อการเรียนรู้ของผู้เรียนที่เกิดขึ้นขณะทากิจกรร

4.8 ให้คาแนะนา และข้อมูลต่างๆ แก่ผู้เรียนตามความจาเป็น
4.9 บันทึกปัญหาและข้อขัดข้องต่างๆ
ในการดาเนินกิจกรรมเพื่อการปรับ
ปรุงกิจกรรมให้ดีขึ้น
4.10 ให้การส่งเสริมแรงผู้เรียนตามความเหมาะสม
4.11
ให้ข้อมูลป้อนกลับแก่ผู้เรียนเกี่ยวกับพฤติกรรมและกระบวนการเรียนรู้ข
คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560
ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 25

องผู้เรียน และให้ข้อเสนอแนะตามความเหมาะสม

การประเมินผล
ขั้นตอนที่ 5 5.1 เก็บรวบรวมผลงาน และประเมินผลงานของผู้เรียน
5.2 ประเมินผลการเรียนรู้ของผู้เรียนตามที่กาหนดไว้ในแผนการสอน

การตรวจสอบ และทบทวนการจัดการเรียนรู้
6.1 เตรียมการ
ขั้นตอนที่ 6 6.2 ตรวจสอบ / ทบทวน / ประเมิน
6.3 สรุป
6.4 รายงาน

การพัฒนาและปรับปรุงคุณภาพการจัดการเรียนรู้
7.1 การพัฒนาและปรับปรุงแผนการสอน
ขั้นตอนที่ 7 7.2 การพัฒนาและปรับปรุงแหล่งการเรียนรู้
7.3 การพัฒนาและปรับปรุงสื่อการเรียนการสอน
7.4 การพัฒนาและปรับปรุงเครื่องมือประเมินผล

กระบวนการปฏิบัติงานในหน้าที่ที่ได้รับหมอบหมาย

ขั้นการวางแผน

(P) 1.1 ศึกษาและวิเคราะห์งานให้เข้าใจ


1.2 ประชุมวางแผนการดาเนินงาน

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 26

ขั้นดาเนินการ

(D) 2.1 ดาเนินงานตามแผนที่วางไว้


2.2 ออกแบบการดาเนินงานที่หลากหลาย
2.4 กาหนดวิธีการประเมินผลการปฏิบัติงานที่กาหนดไว้

ขั้นการตรวจสอบ

(C) 3.1 ดาเนินการตรวจสอบงานที่ปฏิบัติ


3.2 พัฒนางานการทางานอยู่สม่าเสมอ
3.3 ติดตาม ประเมิน

ขั้นปรับปรุงแก้ไข

(A) 4.1 ติดตาม แก้ไขงานที่ปฏิบัติ


4.2 พัฒนางานระบบงาน ปรับปรุง แก้ไข
4.3 ดาเนินแก้ไข วางแผน พัฒนาต่อไป

กระบวนการทางานของโรงเรียน

บริ หารจั ด การ ด้ วยวงจรคุ ณ ภาพเดมมิ่ ง(PDCA) โดยครอบคลุมทุ กงาน โครงการ กิจกรรม
มีมาตรการควบคุมภายในที่ชัดเจนและครอบคลุมในทุกภาระงานกาหนดให้มีการประเมินผลและรายงานกา
รดาเนินโครงการ / กิจกรรม อย่างสม่าเสมอจนเกิดเป็น SKW Model

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 27

หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง วิชาการ
บริหารงานด้วยวงจรคุณภาพ

อานวยการ
SKW
Mode
กิจการนักเรียน l
บริหารทั่วไป

กระบวนการทางานโดย SKW Model


S – Strategy การวางแผนกลยุทธ์สู่ความเป็นเลิศ
K – Knowledge Management การจัดการองค์ความรู้อย่างหลากหลาย
W – World Citizen ผู้เรียนมีศักยภาพเป็นพลโลก

Strategy Knowledge
Management

World
Citizen

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย
ห น้ า | 28

ภาคผนวก

คู่มือการปฏิบัติงาน ปีการศึกษา 2560


ครูสันติ พันธุ์ชัย

You might also like