You are on page 1of 62

องค์ประกอบในการจัดทำแผนการจัดการเรียนรู้

โรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร จังหวัดนครสวรรค์
ปี การศึกษา 2559

องค์ประกอบขัน
้ ต่ำของแผนการจัดการเรียนรู้
 1. ปกหน้า
 2. หน้าอนุมัติ
 3. Flow Chart : ระบบการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนห้วย
น้ำหอมวิทยาคาร
 4. แบบวิเคราะห์ตัวชีว้ ัด เพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
 5. คำอธิบายรายวิชา
 6. โครงสร้างรายวิชา
 7. การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อการประเมินการเรียนรู้
 8. อัตราส่วนการวัดผลประเมินผล
 9. สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียน
 10. ตารางวิเคราะห์จุดเน้นการออกแบบกิจกรรม
 11. หน่วยเรียนรู้
 12. แบบประเมินท้ายหน่วยการเรียนรู้
 13. แผนการจัดการเรียนรู้ (ของแต่ละหน่วย)
 14. บันทึกผลหลังสอน
 15. เครื่องมือวัดและประเมินผล / เกณฑ์ประกอบการ
ประเมินที่ครูออกแบบเอง
 16. แบบประเมินตนเองแผนการจัดการเรียนรู้ รายวิชา...

เกณฑ์การนิเทศ
องค์ประกอบครบถ้วน 16 รายการ = ดีมาก
องค์ประกอบ 13 รายการ = ดี
องค์ประกอบ ต่ำกว่า 13 รายการ = ควร
พัฒนา
แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา สุขศึกษา
รหัสวิชา พ 31101 จำนวน 0.5
หน่วยกิต
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4
ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2559

สอนโดย
นายสยมภู พิลก

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
โรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร จังหวัด
นครสวรรค์
สังกัดสำนักงานเขตพื้นที่การศึกษา
มัธยมศึกษา เขต 42
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน
้ พื้น
ฐาน

แผนการจัดการเรียนรู้
รายวิชา...........สุขศึกษา............รหัสวิชา...........พ
31101..............จำนวน.....0.5......หน่วยกิต
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่.......4......ปี การศึกษา.......2559.........
ผู้สอน............นายสยมภู พิลึก............กลุ่มสาระการเรียน
รู้...........สุขศึกษาและพลศึกษา...............
จำนวน …………1……… ชั่วโมง/สัปดาห์
รายชื่อแบบเรียนที่ใช้ สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์
รายชื่อแบบฝึ กหัด..................................-............................................สำนัก
พิมพ์........................-............................
รายชื่อคู่มือการสอน.......................สุขศึกษา......................................สำนัก
พิมพ์.......สำนักพิมพ์อักษรเจริญทัศน์........
อัตราส่วนน้ำหนักคะแนนการวัดประเมินผล
คะแนนระหว่างภาค คะแนนกลางภาค คะแนนปลายภาค รวม
60 20 20 100

ความเห็นหัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้
เห็นสมควรใช้เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ได้
เห็นสมควรปรับปรุง
เนื่องจาก...........................................................................................................
.............
ลงชื่อ……………………..…………………….
(นายสุวรรณชัย เพชรมั่น)
หัวหน้ากลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและ
พลศึกษา
ความเห็นรองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
เห็นสมควรใช้เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ได้
เห็นสมควรปรับปรุง
เนื่องจาก..................................................................................................
......................
ลงชื่อ…………………………………….…….
(นางสาวอรรจน์ชญาน์ พิมพาภรณ์)
รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
ความเห็นผู้อำนวยการ
เห็นสมควรใช้เป็ นแผนการจัดการเรียนรู้ได้
เห็นสมควรปรับปรุง
เนื่องจาก..................................................................................................
.....................
ลงชื่อ……………………..………………….
(นายวิเชียร นินเกษม)
ผู้อำนวยการโรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร
Flow Chart ระบบการจัดการเรียนรู้ของโรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร

1. การวิเคราะห์หลักสูตร : วิเคราะห์ตัวชีว
้ ัดตามมาตรฐานการเรียนรู้

2. วิเคราะห์วิสัยทัศน์ นโยบาย

3. การวิเคราะห์ผู้เรียน : สภาพที่มีผลต่อการเรียนรู้

ไม่ผ่าน
ต้องการให้ความช่วยเหลือ
การสอนปรับพื้นฐาน/
หรือไม่ ก่อนเรียน

4. การออกแบบการเรียนรู้
5. การจัดการเรียนรู้

6. การนิเทศการสอน / แลกเปลี่ยนเรียนรู้
สังเกตการสอน

7. การประเมินผลการเรียนรู้

ไม่ผ่าน
สอนเสริม ผ่าน นักเรียนผ่านเกณฑ์การประเมิน
8. สอนซ่อมเสริมการวิจย

หรือไม่ เพื่อพัฒนาการเรียนรู้

9. การพัฒนาอย่างต่อเนื่อง

ผ่าน

10. การรายงานผลการจัดการเรียนรู้ที่เป็ นระบบ

รายงานผล รายงานการ
์ ักเรียนที่
สัมฤทธิน พัฒนาคุณภาพ
สอนตามการ ผู้เรียนระยะที่ 2
แบบวิเคราะห์ตัวชีว
้ ัดเพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา

กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 วิชาสุขศึกษา

สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถิ่น
สาระ / มฐ. /ตัวชีว
้ ัด ความรู้ (K) ทักษะ / คุณลักษณะที่
(รายวิชาพื้นฐาน) กระบวนการ พึงประสงค์ (A)
(P)
- ซื่อสัตย์
มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจธรรมชาติ -การทำงานของระบบผิวหนัง - สืบค้น สุจริต
ของการเจริญเติบโตและพัฒนาการ - การทำงานของระบบกระดูก - ผัง - มีวินัย
ของมนุษย์ - การทำงานของระบบกล้ามเนื้อ ความ - ใฝ่ เรียนรู้
- การวางแผนสุขภาพตนเองและ คิด - มุ่งมั่นใน
ครอบครัว - อธิบาย การ
ความรู้ ทำงาน
- สรุป - มีจิต
วิเครา สาธารณะ
ะห์
- พฤติกรรมการเพศและการ
มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจและเห็น ดำเนินชีวิต - สืบค้น - ซื่อสัตย์
คุณค่าของตนเอง ครอบครัว เพศ - ค่านิยมทางเพศกับวัฒนธรรม - ผัง สุจริต
ศึกษา และมีทักษะในการดำเนินชีวิต - ความสัมพันธภาพระหว่าง ความ - มีวินัย
นักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน คิด - ใฝ่ เรียนรู้
- อธิบาย - มุ่งมั่นใน
ความรู้ การ
- สรุป ทำงาน
วิเครา - มีจิต
ะห์ สาธารณะ
- การวางแผนดูแลสุขภาพของ
มาตรฐาน 4.1 เห็นคุณค่าและมี ตนเองและครอบครัว - สืบค้น - ซื่อสัตย์
ทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การ - ผัง สุจริต
ดำรงสุขภาพ การป้ องกันโรค และ ความ - มีวินัย
การสร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อ คิด - ใฝ่ เรียนรู้
สุขภาพ - อธิบาย - มุ่งมั่นใน
ความรู้ การ
- สรุป ทำงาน
วิเครา - มีจิต
ะห์ สาธารณะ

แบบวิเคราะห์ตัวชีว
้ ัดเพื่อจัดทำคำอธิบายรายวิชา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา ระดับชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 วิชาสุขศึกษา
สาระการเรียนรู้แกนกลาง / ท้องถิ่น
สาระ / มฐ. /ตัวชีว
้ ัด
ความรู้ (K) ทักษะ / คุณลักษณะที่พึง
(รายวิชาพื้นฐาน)
กระบวนการ (P) ประสงค์ (A)
- ซื่อสัตย์สุจริต
มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณค่าและมี - การวางแผนการพัฒนาสุขภาพ - สืบค้น - มีวินัย
ทักษะในการสร้างเสริมสุขภาพ การ ของตนเอง - ผังความคิด - ใฝ่ เรียนรู้
ดำรงสุขภาพ การป้ องกันโรค และการ - อธิบาย - มุ่งมั่นในการ
สร้างเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ความรู้ ทำงาน
- สรุป - มีจิตสาธารณะ
วิเคราะห์

มาตรฐาน 5.1 ป้ องกันและหลีกเลี่ยง - การใช้ยาแสะสารเสพติด - สืบค้น - ซื่อสัตย์สุจริต


ปั จจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสียงต่อสุขภาพ - ความรุนแรงในสังคม - ผังความคิด - มีวินัย
อุบัติเหตุ การใช้ยา สารเสพติด และ - การช่วยฟื้ นชีพ - อธิบาย - ใฝ่ เรียนรู้
ความรุนแรง ความรู้ - มุ่งมั่นในการ
- สรุป ทำงาน
วิเคราะห์ - มีจิตสาธารณะ
คำอธิบายรายวิชา

รายวิชา สุขศึกษา รหัสวิชา พ 31101 กลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษา


และพลศึกษา
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 เวลา 1 ชั่วโมง จำนวน
0.5 หน่วยกิต ภาคเรียนที่ 1

ศึก ษา วิเคราะห์ก ารสร้างเสริมประสิทธิภาพการทำงานของร่า งกาย


ผิวหนัง กล้ามเนื้อ กระดูกการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัวอิทธิพ ล
ของครอบครัว เพื่อน สังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อพฤติกรรมทางเพศ และการ
ดำเนิน ชีว ิต ค่า นิย มในเรื่อ งเพศตามวัฒ นธรรมไทย แนวทางในการเลือ กใช้
ทัก ษะต่า งๆ ในการป้ องกัน ลดความขัด แย้ง และแก้ปั ญหาเรื่อ งเพศและ
ครอบครัวผลกระทบและแนวทางที่เกิดจากความขัดแย้งระหว่างนักเรียนหรือ
เยาวชนในชุมชนการฝึ กทัก ษะการเคลื่อ นไหวรูป แบบต่า งๆ ในการเล่น กีฬ า
การวางแผนกำหนดกิจ กรรมการออกกำลัง กายและการเล่น กีฬ า สิท ธิ กฎ
กติกาและมารยาทในการดู การเล่น การแข่งขันความมีน้ำใจนักกีฬา
โดยใช้กระบวนการสร้างองค์ความรู้ กระบวนการเรียนรู้แบบบูรณาการ
การวิเ คราะห์ อธิบ าย วางแผน มีส ่ว นร่ว ม ฝึ ก ปฏิบ ัต ิ การประยุก ต์ต าม
สถานการณ์และการออกกำลังกายเพื่อให้ผ ู้เรียนเกิดความรู้ ความเข้าใจและ
ปฏิบัติตนในการดูแลรักษาสุขภาพของตนเองและแนะนำผู้อ่ น
ื ได้
รหัสตัวชีว
้ ัด
พ 1.1 ม 4-6/1 พ 1.1 ม 4-6/2
พ 2.1 ม 4-6/1 พ 2.1 ม 4-6/2
พ 3.1 ม 4-6/1 พ 3.1 ม 4-6/2
พ 3.1 ม 4-6/3 พ 3.1 ม 4-6/4
พ 3.1 ม 4-6/5
รวมทัง้ หมด 9 ตัวชีว
้ ัด
โครงสร้างรายวิชาสุขศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 เวลา
1 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

เ ภาระ
ว น งาน/
ล ้ำ ชิน


า ห งาน/

( นั กิจก
ด มาตรฐานการเรียนรู้ /
ชื่อหน่วย ช ก รรม
ั ตัวชีว
้ ัด/ สาระสำคัญ
การเรียนรู้ ั่ ค
บ ผลการเรียนรู้
ว ะ

โ แ
ี่
ม น
ง น
)
1 การทำงาน พ 1.1 ม.4- ระบบผิวหนัง ระบบ 4 1 -ใบ
ของระบบ 6/1 อธิบาย กระดูก และระบบกล้าม 0 งาน
ผิวหนัง กระบวนการสร้างเสริม เนื้อเป็ นระบบที่มีความ -ผัง
ระบบ และดำรงประสิทธิภาพ สำคัญต่อการดำรงชีวิต ความ
กระดูกและ การทำงานของระบบ ของมนุษย์ คิด
ระบบ อวัยวะต่างๆ จึงควรสร้างเสริมและ -ถาม
กล้ามเนื้อ ดำรงประสิทธิภาพการ ตอบ
ทำงานของทัง้ สามระบบ -รูป
ให้ทำงานอย่างมี วาด
ประสิทธิภาพ -แบบ
ฝึ กหั

การ พ 1.1 ม.4-6/2 การวางแผนดูแลและ -ใบ
วางแผน วางแผนดูแลสุขภาพ พัฒนาสุขภาพของตนเอง งาน
ดูแล ตามภาวะการเจริญ และครอบครัวให้มี -ผัง
สุขภาพ เติบโตและพัฒนาการ สภาวะการเจริญเติบโต ความ
ของตนเอง ของตนเองและบุคคล และพัฒนาการ ตามวัย คิด
1
2 และ ในครอบครัว เป็ นเรื่องสำคัญ และส่ง 2 -ถาม
0
ครอบครัว พ 4.1 ม.4- ผลให้มีสุขภาพสมบูรณ์ ตอบ
6/5 วางแผนและ แข็งแรง และมีคณ
ุ ภาพ -แบบ
ปฏิบัติตามแผนการ ชีวิตที่ดี ฝึ กหั
พัฒนาสุขภาพของ ด
ตนเองและครอบครัว
พฤติกรรม พ 2.1 ม.4-6/1 พฤติกรรมทางเพศและ -ใบ
ทางเพศ วิเคราะห์อิทธิพลของ การดำเนินชีวิตในสังคม งาน
และการ ครอบครัว เพื่อน สังคม ของวัยรุ่นได้รับอิทธิพล -ผัง
ดำเนินชีวิต และวัฒนธรรมที่มีผล มาจากครอบครัว เพื่อน ความ
ต่อพฤติกรรมทางเพศ สังคม และวัฒนธรรม 1 คิด
3 2
และการดำเนินชีวิต 0 -ถาม
ตอบ
-แบบ
ฝึ กหั

4 ค่านิยมทาง พ 2.1 ม.4- ความแตกต่างทาง 2 1 -ใบ
เพศกับ 6/2 วิเคราะห์ค่านิยม วัฒนธรรมทำให้แต่ละคน 0 งาน
วัฒนธรรม ในเรื่องเพศตาม มีค่านิยมทางเพศที่แตก -ผัง
วัฒนธรรมไทยและ ต่างกัน การศึกษาค่านิยม ความ
วัฒนธรรมอื่นๆ ในเรื่องเพศตาม คิด
-ถาม
ตอบ
-แบบ
ฝึ กหั

โครงสร้างรายวิชาสุขศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ สุขศึกษาและพลศึกษา ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4 เวลา
1 ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต

มาตรฐาน ภาระ
น้ำ
การเรียนรู้ / เวลา งาน/ชิน

ลำดั ชื่อหน่วย หนัก
ตัวชีว
้ ัด/ สาระสำคัญ (ชั่วโ งาน/
บที่ การเรียนรู้ คะแน
ผลการเรียน มง) กิจกรร

รู้ ม
4 ค่านิยมทาง พ 2.1 ม.4- วัฒนธรรมเป็ น 2 -ใบงาน
เพศกับ 6/2 วิเคราะ ประโยชน์ต่อการ -ผัง
วัฒนธรรม ห์ค่านิยมใน ปรับตัวและ ความ
เรื่องเพศตาม เปลี่ยนแปลง คิด
วัฒนธรรม พฤติกรรมให้ -ถาม
ไทยและ สอดคล้องกับ ตอบ
วัฒนธรรม สังคมและ -แบบ
อื่นๆ วัฒนธรรมของ ฝึ กหัด
ตนเอง
ความ พ 2.1 ม.4- ความขัดแย้งที่ -ใบงาน
สัมพันธภาพ 6/4 อาจเกิดขึน
้ -ผัง
ระหว่าง วิเคราะห์ ระหว่างนักเรียน ความ
นักเรียนใน สาเหตุและ หรือเยาวชนใน คิด
ชุมชน ผลของความ ชุมชนส่งผลกระ -ถาม
ขัดแย้งที่อาจ ทบต่อนักเรียน ตอบ
เกิดขึน
้ หรือเยาวชน -แบบ
5 2 10
ระหว่าง และสังคม จึงควร ฝึ กหัด
นักเรียนหรือ วิเคราะห์ถงึ
เยาวชนใน สาเหตุและผลก
ชุมชนและ ระทบที่เกิดขึน

เสนอ เพื่อหาแนวทาง
แนวทางการ ในการแก้ปัญหา
แก้ไขปั ญหา ที่เหมาะสม
6 การใช้ยา พ 5.1 ม.4- การครอบครอง 2 15 -ใบงาน
และสารเสพ 6/1 มีส่วน การใช้ และการ -ผัง
ติด ร่วมในการ จำหน่ายสารเสพ ความ
ป้ องกันความ ติดเป็ นการ คิด
เสี่ยงต่อการ กระทำผิด -ถาม
ใช้ยา การใช้ กฎหมายที่ต้อง ตอบ
สารเสพติด รับโทษ และยังมี -แบบ
และความ ผลกระทบและ ฝึ กหัด
รุนแรง เพื่อ โทษที่เกิดขึน
้ กับ
สุขภาพของ ตนเอง ครอบครัว
ตนเอง เศรษฐกิจ และ
ครอบครัว สังคม ดังนัน
้ ทุก
และสังคม คนจึงควรมีส่วน
ร่วมในการ
จัดกิจกรรม
ป้ องกันความ
เสี่ยงต่อการใช้ยา
และสารเสพติด
ความรุนแรง พ 5.1 ม.4- การใช้ทักษะการ -ใบงาน
ในสังคม 6/6 ใช้ ตัดสินใจอย่างถูก -ผัง
ทักษะการ วิธี สามารถแก้ ความ
ตัดสินใจแก้ ปั ญหาใน คิด
ปั ญหาใน สถานการณ์ที่ -ถาม
7 สถานการณ์ เสี่ยงต่อสุขภาพ 2 10 ตอบ
ที่เสี่ยงต่อ และความรุนแรง -แบบ
สุขภาพและ ได้อย่างเหมาะสม ฝึ กหัด
ความรุนแรง และปลอดภัย

มาตรฐาน ภาระ
น้ำ
การเรียนรู้ / เวลา งาน/ชิน

ลำดั ชื่อหน่วย หนัก
ตัวชีว
้ ัด/ สาระสำคัญ (ชั่วโ งาน/
บที่ การเรียนรู้ คะแน
ผลการเรียน มง) กิจกรร

รู้ ม
8 การช่วยฟื้ น พ 5.1 ม.4- การช่วยฟื้ น 2 15 -ใบงาน
คืนชีพ 6/7 แสดงวิธี คืนชีพ การ -ผัง
การช่วยฟื้ น ปฐมพยาบาล ความ
คืนชีพอย่าง และการเคลื่อน คิด
ถูกวิธี ย้ายผู้ป่วย -ถาม
เป็ นการปฏิบัติ ตอบ
การช่วยชีวิตผู้ -แบบ
ป่ วยอย่างถูกวิธี ฝึ กหัด
และสามารถช่วย
ให้ผู้ป่วย
ปลอดภัยก่อนได้
รับการรักษาจาก
บุคลากรทางการ
แพทย์
รวมตลอดปี /ภาค 20 100
การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อการประเมินการเรียนรู้
ตัวชีว
้ ัด/ผลการ กิจกรรมการ ลักษณะที่มุ่ง เครื่องมือ
มาตรฐานการเรียนรู้ วิธีประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ ประเมิน ประเมิน
มาตรฐาน พ 1.1 เข้าใจ 1.อธิบาย ความสามารถ 1.ประเมินผล 1.แบบ
ธรรมชาติของการเจริญ กระบวนการ ในการวิเคราะห์ งาน/ชิน
้ งาน ประเมิน(รู
เติบโตและพัฒนาการ สร้างเสริมและ 2.การซักถาม บริกส์)
ของมนุษย์ ดำรง 3.การทดสอบ 2.คำถาม
ประสิทธิภาพการ 4.แบบฝึ กหัด 3.แบบทดสอบ
ทำงานของระบบ
อวัยวะต่าง
2.วางแผนดูแล
สุขภาพตามภาวะ
เจริญเติบโตและ
พัฒนาการของ
ตนเองและบุคคล
ในครอบครัว
มาตรฐาน พ 2.1 เข้าใจ 1.วิเคราะห์ ความสามารถ
และเห็นคุณค่าของ อิทธิพลของ ในการสรุปเรื่อง
ตนเอง ครอบครัว เพศ ครอบครัว เพื่อน
ศึกษา และมีทักษะใน สังคม และ
การดำเนินชีวิต วัฒนธรรม ที่มีผล
ต่อพฤติกรรมทาง
การวิเคราะห์หลักสูตรเพื่อการประเมินการเรียนรู้
ตัวชีว
้ ัด/ผลการ กิจกรรมการ ลักษณะที่มุ่ง เครื่องมือ
มาตรฐานการเรียนรู้ วิธีประเมิน
เรียนรู้ เรียนรู้ ประเมิน ประเมิน
มาตรฐาน พ 4.1 เห็น 1.วางแผนและ ความสามารถ 1.ประเมินชิน
้ 1.แบบ
คุณค่าและมีทักษะในการ ปฏิบัติตาม ในการวิเคราะห์ งาน ประเมิน(รู
สร้างเสริมสุขภาพ การ แผนการพัฒนา 2.การซักถาม บริกส์)
ดำรงสุขภาพ การป้ องกัน สุขภาพของ 3.การทดสอบ 2.คำถาม
โรค และการสร้างเสริม ตนเองและ 4.แบบฝึ กหัด 3.แบบทดสอบ
สมรรถภาพเพื่อสุขภาพ ครอบครัว
มาตรฐาน 5.1 ป้ องกัน 1.มีส่วนร่วมใน
และหลีกเลี่ยงปั จจัยเสี่ยง การป้ องกันความ
พฤติกรรมเสียงต่อ เสี่ยงต่อการใช้ยา
สุขภาพ อุบัติเหตุ การใช้ การใช้สารเสพติด
ยา สารเสพติด และความ และความรุนแรง
รุนแรว เพื่อสุขภาพของ
ตนเอง ครอบครัว
และสังคม
2.วิเคราะห์ผลก
ระทบที่เกิดจาก
การครอบครอง
การใช้และการ
จำหน่ายสารเสพ
อัตราส่วนการวัดผลประเมินผล
คะแนนรวมทัง้ สิน
้ 100 คะแนน
อัตราคะแนนระหว่างภาค : คะแนนสอบปลายภาค
80 : 20

คะแนน 80 : 20

สรุปผลการวิเคราะห์ผู้เรียนเป็ นรายบุคคล
รายวิชา.............สุขศึกษา................รหัสวิชา......พ 31101........
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่....4/1....เวลา......1.....ชม./สัปดาห์.......................
รวม......20........ชม./ภาคเรียน
เลขที่ ชื่อ-สกุล เก่ง ปานกลาง อ่อน หมายเหตุ

1 นายกฤษฎา สุขประชา

2 นายคมสัน สอาด

3 นายซัน อ่อนพุทรา

4 นายไตรวิช ศรีชามก

5 นายธนวัฒน์ แสงพา

6 นายนพดนัย ภิรมจิตร

7 นายพงศกร กังขอนนอก

8 นายเมธัส นาคเสน

9 นายยศกร แสนสมบัติ

10 นายโยธิน ลิม
้ วงษ์พัฒนา

11 นายอภิชาติ คำทอง

12 นายโอลิเวอร์ สุภาษี

13 นางสาวกมลรัตน์ ศรีสิริ
สุขเจริญ

14 นางสาวกันต์กนิษฐ์
กลางสุวรรณ

15 นางสาวกิตติมา อินตะ

16 นางสาวจินดารัตน์ ภูมิภู

17 นางสาวดลยากร ลือ
อ้าย

18 นางสาวธาริณี วงศาไทย

19 นางสาวนภัสสร สุขแก่น

20 นางสาวนลินทิพย์ บูชา
บุญ

21 นางสาวนัจนันท์ จัดเขต
รกรณ์

22 นางสาวนัทชา แก้วโท
นางสาวนุชธิดา คงโพธิ ์

23
น้อย

24 นางสาวเบญจรัตน์
เปี่ ยมสุข

25 นางสาวปนัดดา รัตน์
น้อย

26 นางสาวปนัสยา สีไสลา

27 นางสาวพิมพ์อัปสร จบ
ศรี

28 นางสาวมัชฌิมา วงษ์
เศวตมนตรี

29 นางสาววรรณกานต์
วิชาผา

30 นางสาววารี โรมพันธ์

31 นางสาวสุดารัตน์ สม
น้อย

32 นางสาวสุมาลี นพคุณ

33 นางสาวสุวิมล คงเพชร
ศักดิ ์

34 นางสาวอรนุช ทวนเงิน

35 นางสาวอัฐภิญญา รักษ์
มณี
ตารางวิเคราะห์จุดเน้นการออกแบบการจัดกิจกรรมการเรียนการสอน
กลุ่มสาระการเรียนรู้......................สุขศึกษาแลพลศึกษา.......................
.......................................................................
รหัสวิชา .......พ 31101....... ชื่อวิชา .................สุขศึกษา.................. ชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ ......4...... โรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร

แผนที่ จุดเน้นการออกแบบกิจกรรม หน้า


.......... - จัดการเรี ยนรู ้ เพื่อฝึ กทักษะชีวิต เช่น เรื่ องสิ่ งแวดล้อม / ..........
ภัยภิบตั ิตามธรรมชาติ ฯลฯ
.
.......... .........
- น้อมนำหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง มาใช้ในการจัดการเรี ยน
การสอน (บูรณาการหน่วยการเรี ยนรู้แต่ละระดับ โดยใช้แหล่ง
เรี ยนรู้ภายนอก, ภูมิปัญญาท้องถิ่น)
......... .........
- การพัฒนาทักษะการคิด
......... .........
- การพัฒนาคุณลักษณะอันพึงประสงค์/คุณธรรม/จริ ยธรรม/
ค่านิยมหลักของคนไทย 12 ประการ
......... .........
- การพัฒนาผูเ้ รี ยนตามความแตกต่าง/ความสามารถรายบุคคล
......... .........

......... - เน้นการใช้แหล่งเรี ยนรู ้ภายนอกโรงเรี ยน 30 % ของแผนทั้งหมด .........

......... - ส่ งเสริ มให้ผเู ้ รี ยนค้นคว้าหาความรู ้จากการอ่านและใช้เทคโนโลยี .........

.......... - บูรณาการความรู ้สู่ประชาคมอาเซี ยน ..........

- บูรณาการความรู ้สู่โรงเรี ยนสุ จริ ต

ฯลฯ
11
แผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชา ...........สุขศึกษา...........รหัสวิชา ........พ 31101........ กลุ่มสาระการ


เรียนรู้....สุขศึกษาและพลศึกษา....
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่........4....... โรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร ภาคเรียนที่
.....1.... จำนวน .......1...... ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ....5..... เรื่อง การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและ
ครอบครัว (1)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ......2.....ชื่อหน่วยการเรียนรู้ การวางแผนดูแลสุขภาพของ
ตนเองและครอบครัว

1. ตัวชีว
้ ัด/ผลการเรียนรู้
พ 1.1 ม.4-6/2 วางแผนดูแลสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต
และพัฒนาการของตนเองและบุคคลใน
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
- อธิบายความแตกต่างของการดูแลสุขภาพของบุคคลในแต่ละวัยได้
- วิเคราะห์และประเมินสภาวะสุขภาพของตนเองและบุคคลใน
ครอบครัวได้
3. สาระสำคัญ
สุขภาพของสมาชิกในครอบครัวแต่ละวัยมีความแตกต่างกัน จึงต้อง
อาศัยการวิเคราะห์และประเมินสภาวะสุขภาพ เพื่อให้สามารถวางแผนดูแล
สุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัวอย่างเหมาะสม
4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- การวางแผนการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
-
5. สมรรถนะสำคัญที่เกิดกับผู้เรียน
5.1 [ ] ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 [] ความสามารถในการคิด
5.3 [] ความสามารถในการแก้ปัญหา
5.4 [] ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.5 [ ] ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 [ ] รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6.2 [ ] ซื่อสัตย์สุจริต
6.3 [] มีวินัย
6.4 [] ใฝ่ เรียนรู้ 6.5 [ ] อยู่อย่างพอเพียง
6.6 [] มุ่งมั่นในการทำงาน
6.7 [ ] รักความเป็ นไทย 6.8 [] มีจิตสาธารณะ
7. บูรณาการค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- นักเรียนสามารถเชื่อมโยงได้ว่าสถาบันชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์นัน
้ มีความสัมพันธ์กับชีวิตของนักเรียนอย่างไร การกระทำตนให้เป็ น
ประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติอย่างไร และนำความรู้ที่ได้มาเรียนมาใช้ใน
เรื่องนีไ้ ปช่วยเหลือผู้อ่ น
ื ได้อย่างไร

2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม


- ครูเน้นย้ำให้นักเรียนได้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ของ
นักเรียนภายในกลุ่มในขณะที่ทำกิจกรรม การ
เรียนรู้ภายในกลุ่ม ให้มีความซื่อสัตย์ ต่อตนเอง ต่อสมาชิกในกลุ่ม
ซื่อสัตย์ต่อบทบาทหน้าที่ที่ตนเองได้รับ มี
ความเสียสละให้ผู้อ่ น
ื และยึดมั่นในสิ่งที่ดีงามและถูกต้อง
3. กตัญญูพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
- ครูปลูกฝั งให้นก
ั เรียนรู้คุณค่าของสิง่ ต่างๆ รู้คุณค่าถึงสิ่งที่พ่อ
แม่ และครูบาอาจารย์ได้สั่งสอน ให้ความรู้ เพื่อให้นักเรียนเป็ นครนดีของ
สังคมต่อไป
4. ใฝ่ หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทัง้ ทางตรงทางอ้อม
- นักเรียนจะต้องใฝ่ หาความรู้ด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอ ตอบ
คำถามท้ายบทที่ครูมอบให้ได้อย่าครบถ้วน สมบูรณ์ เมื่อมีสงิ่ ใดที่นักเรียน
ไม่เข้าใจ จะต้องแสวงหาวิธีการแก้ไขด้วยตนเองหรือสอบถามคุณครู
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
- ครูสอดแทรกวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทยให้นักเรียน
ได้ร้แ
ู ละสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามให้คงอยู่ต่อไป
6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อ่ ืน เผื่อแผ่และแบ่งปั น
- ในการทำงาน นักเรียนจะต้องเผื่อแผ่แบ่งปั นสิ่งของส่วนตัว
ของนักเรียนเองให้เพื่อน เพื่อเป็ นการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน นัน
้ หมายถึง
การมีน้ำใจต่อผู้อ่ น
ื ด้วย
7. เข้าใจการเรียนรู้การเป็ นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรง
เป็ นพระประมุขที่ถูกต้อง
- ในการทำกิจกรรม นักเรียนจะต้องลงมือปฏิบัติตนตามหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายอย่างเคร่งครัด ยึดมั่นในสิทธิหน้าที่ของตนเองเพื่อ
ให้การทำกิจกรรม และการแสดงออกถึงประชาธิปไตยในการแสดงความ
คิดเห็น ตลอดจนยอมรับความคิดเห็นของผู้อ่ น

8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยควรรู้จักการเคารพผูใ้ หญ่
- นักเรียนทำความเคารพคุณครู หรือรุ่นน้องจะต้องเคารพรุ่น
พี่ ด้วยความเต็มใจและจริงใจ
9. ปฏิบัติตนตามพระราชดำรัช
- มีสติ รู้ตัว รู้คิด รู้ทำ ตามพระราชดำรัชของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว
10. ไม่ขาดพอเพียงเลีย
้ งชีพได้
- นักเรียนรู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียงตามพระราชดำรัชของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักการ
อดออมไว้ใช้ในยามจำเป็ น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจำหน่าย
และพร้อมขยายกิจการ เมื่อมีความพร้อม หรือมีภูมิคุ้มกันที่ดี
11. มีเข้มแข็งทัง้ กายและใจไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ ายต่ำกิเลส มีความ
ละอายเกรงกลัวต่อบาป ตามหลักศาสนา
- มีความรู้จักหักห้ามใจ รู้จักผิดชอบชั่วดี และไม่หลงอยู่ใน
อบายมุขต่างๆ
12. คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่า
ประโยชน์ส่วนตน
- การทำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของกลุ่มมากกว่า
ประโยชน์ส่วนตน ปฏิบัติตามหน้าที่ของตนในฐานะสมาชิกของกลุ่ม ของ
ห้องเรียน และสมาชิกของโรงเรียน

8. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พอประมาณ
- ในการทำกิจกรรม นักเรียนต้องรู้จักการวางแผนการทำงาน รู้จัก
ความพอดี ไม่มากเกินไป
และไม่น้อยเกินไปแบ่งเวลาให้ถูกและเหมาะกับงาน ไม่ใช้เวลาอย่างสิน
้ เปลือง
ไปกับกิจกรรมที่ไม่มีประโยชน์ เช่น การเล่นโทรศัพท์ ออกไปเที่ยวเตร่ ควร
นำเวลาที่ว่างไปใช้ประโยชน์ให้คุณค่าที่สุด

มีเหตุผล
- นักเรียนจะต้องให้เหตุผลกับวิธีการคิดและการแสดงวิธีการหามา
คำตอบของนักเรียนได้เพื่อฝึ กการตัดสินใจโดยใช้เหตุผลประกอบได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม
มีภูมิคุ้มกันที่ดี
- ในการทำงาน นักเรียนควรหาความรู้ในเรื่องนัน
้ อย่างครอบคลุม
ใช้แหล่งอ้างอิงที่แตกต่างกันเพื่อยืนยันขอมูลที่ได้มาเป็ นข้อมูลที่ถูกต้อง
และเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด ตัดสินใจโดยมีเหตุผลประกอบการตัดสิน
ใจเสมอ
เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนจะต้องหาความรู้เพื่อประกอบการตัดสินใจ อย่างมี
เหตุผลเสมอ
เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนต้องมีคุณธรรมยึดเหนี่ยวจิตใจ ไม่คิดคดโกงเอารัดเอา
เปรียบผู้อ่ น
ื เพื่อประโยชน์ส่วนตน
9. บูรณาการความรู้สู่โรงเรียนสุจริต
ด้านความคิด
- มีการฝึ กกระบวนการคิดให้เกิดขึน
้ กับนักเรียนโดยการเปิ ดให้
นักเรียนแสดงออกทางความคิดเกี่ยวกับการแก้ปัญหา การหาคำตอบจาก
สถานการณ์ที่ครูกำหนดขึน

ด้านการมีวินัย
- ส่งเสริมให้นักเรียนมินัยในตนเอง ในการฝึ กฝนและทบทวนความ
รู้อย่างต่อเนื่อง มีวินัยต่อส่วนรวมในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม หรือกิจกรรมใดๆ
ด้านซื่อสัตย์ สุจริต
- ไม่ส่งเสริมให้นักเรียนทุจริตทัง้ ในการทำการบ้าน และการทำ
ข้อสอบ ไม่ขโมยผลงานของเพื่อนมาเป็ นของตนเอง
ด้านอยู่อย่างพอเพียง
- นักเรียนต้องรู้และตระหนักในการใช้ของให้คุ้มค่า ไม่ทิง้ สิง
ของของตนเอง ต้องตระหนักว่าสิ่งของแต่ละอย่างมีคุณค่าและเสียเงินซื้อมา
เช่น ดินสอ ปากกา ฯลฯ
ด้านมีจิตสาธารณะ
- ส่งเสริมให้นักเรียนช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างนักเรียนภายใน
กลุ่มและระหว่างกลุ่มในการคิดแก้ไขปั ญหาอย่างถูกวิธี
10. บูรณาการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
-
11. ชิน
้ งาน/ภาระงาน
ใบงาน 2.1
12. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
นักเรียนำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
ขัน
้ ที่ 1 สังเกต

1. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาเกี่ยวกับแนวทางในการดูแลสุขภาพของ
นักเรียนแต่ละคน แล้วให้นักเรียนร่วมกันบอกถึงความจำเป็ นหรือความ
สำคัญในการดูแลสุขภาพ
3. นักเรียนช่วยกันบอกวิธีการดูแลสุขภาพของบุคคลในแต่ละช่วงวัยตามที่
ครูกำหนดให้มีความถูกต้องและเหมาะสม เช่น วัยทารก วัยรุ่น และวัยสูง
อายุ

4. ครูอธิบายให้นักเรียนตระหนักและเห็นความสำคัญของการดูแลสุขภาพ
ในช่วงวัยต่างๆ เพราะสมาชิกในครอบครัวของนักเรียนย่อมมีวัยแตกต่าง
กัน

ขัน
้ ที่ 2 วิเคราะห์วิจารณ์
1. นักเรียนรวมกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ตามความสมัครใจ จากนัน
้ ให้นักเรียน
แต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาความรู้เกี่ยวกับการวางแผนดูแลสุขภาพของ
ตนเองและครอบครัวจากหนังสือเรียนและแหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตาม
ประเด็นความรู้ที่ครูกำหนด ดังนี ้
1) การดูแลสุขภาพของบุคคลแต่ละวัย
2) การดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว
3) กระบวนการในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มสรุปความรู้ตามประเด็นที่ครูกำหนด แล้วจำแนกวิธี
การดูแลสุขภาพของบุคคลแต่ละวัย
3. ครูแจกบัตรภาพให้นักเรียนกลุ่มละ 2 บัตรภาพ แล้วให้ สมาชิกแต่ละ
กลุ่มร่วมกันวิเคราะห์เกี่ยวกับวิธีการดูแลสุขภาพ ของบุคคลในบัตรภาพที่
กลุ่มได้รับ
4. สมาชิกกลุ่มร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง จากนัน
้ ส่งตัวแทนกลุ่มออก
นำเสนอผลงานที่หน้าชัน
้ เรียน
5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันทำใบงานที่ 2.1 เรื่อง การดูแลสุขภาพของ
ตนเองและครอบครัว เมื่อทำเสร็จแล้วให้ช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
แล้วนำส่งครูตรวจ

ขัน
้ ที่ 3 สรุป
1. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด
2. นักเรียนร่วมกันสรุปประเด็นความรู้ที่ได้จากการศึกษาและปฏิบัติ
กิจกรรม ดังนี ้
1) การดูแลสุขภาพของบุคคลแต่ละวัย
2) การดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว
3) กระบวนการในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว

3.ครูมอบหมายให้นักเรียนแต่ละคนสำรวจข้อมูลเกี่ยวกับสุขภาพของตนเอง
และสมาชิกในครอบครัวโดยการสังเกตและสอบถาม จากนัน
้ บันทึกผลลง
ในแบบประเมินสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว เพื่อเตรียม
ข้อมูลไปใช้ในกิจกรรมการเรียนครัง้ ต่อไป
13. การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์


ตรวจแบบทดสอบ แบบทดสอบก่อนเรียน ตรวจแบบทดสอบ
ก่อนเรียน หน่วยการ หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ก่อนเรียน หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 2 เรียนรู้ที่ 2
ตรวจใบงานที่ 2.1 ใบงานที่ 2.1 ตรวจใบงานที่ 2.1
ประเมินการนำเสนอ แบบประเมินการนำเสนอ ประเมินการนำเสนอ
ผลงาน ผลงาน ผลงาน
สังเกตพฤติกรรมการ แบบสังเกตพฤติกรรมการ สังเกตพฤติกรรมการ
ทำงานกลุ่ม ทำงานกลุ่ม ทำงานกลุ่ม
สังเกตความมีวินัย แบบประเมินคุณลักษณะ ระดับคุณภาพ 2 ผ่าน
ตรงต่อเวลา และมี อันพึงประสงค์ เกณฑ์
ความรับผิดชอบ

14. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
14.1 สื่อการเรียนรู้
- หนังสือเรียน สุขศึกษา ม.4
- แบบประเมินสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว
- บัตรภาพ
- ใบงานที่ 2.1 เรื่อง การดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว
14.2 แหล่งเรียนรู้ (สถานที่, บุคคล, เว็บไซด์ ฯลฯ)
- ห้องสมุด
- แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www2.swu.ac.th/royal/book6/b6c3t2.html
-
http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/infectiou
s/pig/mask.html
1

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการสอนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
..........................................................................
 .............................................................................................................
..........................................
2. ผลที่เกิดกับผูเ้ รียน
1.) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน โดย
ใช้………………………..................................พบว่านักเรียนผ่านการประเมินคิด
เป็ นร้อยละ......................……. ไม่ผ่านเกณฑ์ขัน
้ ต่ำทีกำ
่ หนดไว้คิดเป็ นร้อย
ละ.......................
2.) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน โดย
ใช้……………………….........................พบว่านักเรียนผ่านการประเมินคิดเป็ นร้อย
ละ......................……. ไม่ผ่านเกณฑ์ขัน
้ ต่ำทีกำ
่ หนดไว้คิดเป็ นร้อย
ละ.......................
3.) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เรียน โดย
ใช้………………………..................................พบว่านักเรียนผ่านการประเมินคิด
เป็ นร้อยละ......................……. ไม่ผ่านเกณฑ์ขัน
้ ต่ำทีกำ
่ หนดไว้คิดเป็ นร้อย
ละ.......................
3. ปั ญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกำหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ
..................................................................................................................
...........................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรุง เรื่อง
......................................................................................................
 .............................................................................................................
..........................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน
..................................................................................
 .............................................................................................................
..........................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ ผู้
สอน
(นายสยมภู พิลึก)
วันที่
_________________________________________________________
_____________________
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
............................................................................................................................
.............................................................
............................................................................................................................
..............................................................
ลงชื่อ......................................................... ผู้
ตรวจ
(นางสาวอรรจน์ชญาน์ พิมพาภรณ์)
รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
ว ัน
ที่......../............/.................

แบบประเมินสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว

ข้อมูลส่วนตัว
ชื่อ-นามสกุล เพศ อายุ ส่วนสูง โรคประจำตัว ข้อมูลสุขภาพ
น้ำหนัก
บัตรภาพเอกสารประกอบการสอน


ภาพที่ 1 ภาพที่ 2

ภาพที่ 3 ภาพที่ 4
แผนการจัดการเรียนรู้

รายวิชา ...........สุขศึกษา...........รหัสวิชา ........พ 31101........ กลุ่มสาระการ


เรียนรู้....สุขศึกษาและพลศึกษา....
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่........4....... โรงเรียนห้วยน้ำหอมวิทยาคาร ภาคเรียนที่
.....1.... จำนวน .......1...... ชั่วโมง
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ....6..... เรื่อง การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและ
ครอบครัว (2)
หน่วยการเรียนรู้ที่ ......2.....ชื่อหน่วยการเรียนรู้ การวางแผนดูแลสุขภาพของ
ตนเองและครอบครัว

1. ตัวชีว
้ ัด/ผลการเรียนรู้
พ 1.1 ม.4-6/2 วางแผนดูแลสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต
และพัฒนาการของตนเองและบุคคลใน
พ 4.1 ม.4-6/5 วางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพของ
ตนเองและครอบครัว
2. จุดประสงค์การเรียนรู้
- วิเคราะห์และประเมินพฤติกรรมสุขภาพของตนเองและบุคคลใน
ครอบครัวได้
- อธิบายแนวทางในการวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลใน
ครอบครัวได้
- วางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัวได้ถูกต้อง
และเหมาะสม
3. สาระสำคัญ
การวิเคราะห์และประเมินพฤติกรรมสุขภาพของตนเองและบุคคลใน
ครอบครัว จะทำให้สามารถวางแผนและปฏิบัติตามแผนการพัฒนาสุขภาพของ
ตนเองและครอบครัวได้อย่างถูกต้องและเหมาะสม
4. สาระการเรียนรู้
4.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
- การวางแผนการดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคลในครอบครัว
- การวางแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและครอบครัว
4.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
-
5. สมรรถนะสำคัญที่เกิดกับผู้เรียน
5.1 [ ] ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 [] ความสามารถในการคิด
5.3 [] ความสามารถในการแก้ปัญหา
5.4 [] ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.5 [ ] ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
6.1 [ ] รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ 6.2 [ ] ซื่อสัตย์สุจริต
6.3 [] มีวินัย
6.4 [] ใฝ่ เรียนรู้ 6.5 [ ] อยู่อย่างพอเพียง
6.6 [] มุ่งมั่นในการทำงาน
6.7 [ ] รักความเป็ นไทย 6.8 [] มีจิตสาธารณะ
7. บูรณาการค่านิยมหลักของคนไทย ๑๒ ประการ
1. มีความรักชาติ ศาสนา พระมหากษัตริย์
- นักเรียนสามารถเชื่อมโยงได้ว่าสถาบันชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์นัน
้ มีความสัมพันธ์กับชีวิตของนักเรียนอย่างไร การกระทำตนให้เป็ น
ประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติอย่างไร และนำความรู้ที่ได้มาเรียนมาใช้ใน
เรื่องนีไ้ ปช่วยเหลือผู้อ่ น
ื ได้อย่างไร
2. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วนรวม
- ครูเน้นย้ำให้นักเรียนได้ตระหนักถึงความสัมพันธ์ของนักเรียน
ภายในกลุ่มในขณะที่ทำกิจกรรม การเรียนรู้ ภายในกลุ่ม ให้มีความ
ซื่อสัตย์ ต่อตนเอง ต่อสมาชิกในกลุ่ม ซื่อสัตย์ต่อบทบาทหน้าที่ที่ตนเอง
ได้รับ มีความเสียสละให้ผู้อ่ น
ื และยึดมั่นในสิ่งที่ดีงามและถูกต้อง
3. กตัญญูพ่อแม่ ผู้ปกครอง ครูบาอาจารย์
- ครูปลูกฝั งให้นก
ั เรียนรู้คุณค่าของสิง่ ต่างๆ รู้คุณค่าถึงสิ่งที่พ่อ
แม่ และครูบาอาจารย์ได้สั่งสอน ให้ความรู้ เพื่อให้นักเรียนเป็ นครนดีของ
สังคมต่อไป
4. ใฝ่ หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทัง้ ทางตรงทางอ้อม
- นักเรียนจะต้องใฝ่ หาความรู้ด้วยตนเองอย่างสม่ำเสมอ ตอบ
คำถามท้ายบทที่ครูมอบให้ได้อย่าครบถ้วน สมบูรณ์ เมื่อมีสงิ่ ใดที่นักเรียน
ไม่เข้าใจ จะต้องแสวงหาวิธีการแก้ไขด้วยตนเองหรือสอบถามคุณครู
5. รักษาวัฒนธรรมประเพณีไทยอันงดงาม
- ครูสอดแทรกวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามของไทยให้นักเรียน
ได้ร้แ
ู ละสืบทอดวัฒนธรรมประเพณีอันดีงามให้คงอยู่ต่อไป
6. มีศีลธรรม รักษาความสัตย์ หวังดีต่อผู้อ่ ืน เผื่อแผ่และแบ่งปั น
- ในการทำงาน นักเรียนจะต้องเผื่อแผ่แบ่งปั นสิ่งของส่วนตัว
ของนักเรียนเองให้เพื่อน เพื่อเป็ นการช่วยเหลือเกื้อกูลกัน นัน
้ หมายถึง
การมีน้ำใจต่อผู้อ่ น
ื ด้วย
7. เข้าใจการเรียนรู้การเป็ นประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริย์ ทรง
เป็ นพระประมุขที่ถูกต้อง
- ในการทำกิจกรรม นักเรียนจะต้องลงมือปฏิบัติตนตามหน้าที่
ที่ได้รับมอบหมายอย่างเคร่งครัด ยึดมั่นในสิทธิหน้าที่ของตนเองเพื่อ
ให้การทำกิจกรรม และการแสดงออกถึงประชาธิปไตยในการแสดงความ
คิดเห็น ตลอดจนยอมรับความคิดเห็นของผู้อ่ น

8. มีระเบียบวินัย เคารพกฎหมาย ผู้น้อยควรรู้จักการเคารพผูใ้ หญ่
- นักเรียนทำความเคารพคุณครู หรือรุ่นน้องจะต้องเคารพรุ่น
พี่ ด้วยความเต็มใจและจริงใจ
9. ปฏิบัติตนตามพระราชดำรัช
- มีสติ รู้ตัว รู้คิด รู้ทำ ตามพระราชดำรัชของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว
10. ไม่ขาดพอเพียงเลีย
้ งชีพได้
- นักเรียนรู้จักดำรงตนอยู่โดยใช้หลักปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียงตามพระราชดำรัชของพระบาทสมเด็จพระเจ้าอยู่หัว รู้จักการ
อดออมไว้ใช้ในยามจำเป็ น มีไว้พอกินพอใช้ ถ้าเหลือก็แจกจ่ายจำหน่าย
และพร้อมขยายกิจการ เมื่อมีความพร้อม หรือมีภูมิคุ้มกันที่ดี
11. มีเข้มแข็งทัง้ กายและใจไม่ยอมแพ้ต่ออำนาจฝ่ ายต่ำกิเลส มีความ
ละอายเกรงกลัวต่อบาป ตามหลักศาสนา
- มีความรู้จักหักห้ามใจ รู้จักผิดชอบชั่วดี และไม่หลงอยู่ใน
อบายมุขต่างๆ
12. คำนึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวม และของชาติมากกว่า
ประโยชน์ส่วนตน
- การทำงานเพื่อประโยชน์ส่วนรวมของกลุ่มมากกว่า
ประโยชน์ส่วนตน ปฏิบัติตามหน้าที่ของตนในฐานะสมาชิกของกลุ่ม ของ
ห้องเรียน และสมาชิกของโรงเรียน
8. บูรณาการตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
พอประมาณ
- ในการทำกิจกรรม นักเรียนต้องรู้จักการวางแผนการทำงาน
รู้จักความพอดี ไม่มากเกินไป
และไม่น้อยเกินไปแบ่งเวลาให้ถูกและเหมาะกับงาน ไม่ใช้เวลาอย่าง
สิน
้ เปลืองไปกับกิจกรรมที่ไม่มีประโยชน์
เช่น การเล่นโทรศัพท์ ออกไปเที่ยวเตร่ ควรนำเวลาที่ว่างไปใช้
ประโยชน์ให้คณ
ุ ค่าที่สุด
มีเหตุผล
- นักเรียนจะต้องให้เหตุผลกับวิธีการคิดและการแสดงวิธีการหามา
คำตอบของนักเรียนได้เพื่อฝึ กการตัดสินใจโดยใช้เหตุผลประกอบได้อย่าง
ถูกต้องเหมาะสม
มีภูมิคุ้มกันที่ดี
- ในการทำงาน นักเรียนควรหาความรู้ในเรื่องนัน
้ อย่างครอบคลุม
ใช้แหล่งอ้างอิงที่แตกต่างกันเพื่อยืนยันขอมูลที่ได้มาเป็ นข้อมูลที่ถูกต้อง
และเชื่อถือได้มากน้อยเพียงใด ตัดสินใจโดยมีเหตุผลประกอบการตัดสิน
ใจเสมอ
เงื่อนไขความรู้
- นักเรียนจะต้องหาความรู้เพื่อประกอบการตัดสินใจ อย่างมี
เหตุผลเสมอ
เงื่อนไขคุณธรรม
- นักเรียนต้องมีคุณธรรมยึดเหนี่ยวจิตใจ ไม่คิดคดโกงเอารัดเอา
เปรียบผู้อ่ น
ื เพื่อประโยชน์ส่วนตน
9. บูรณาการความรู้สู่โรงเรียนสุจริต
ด้านความคิด
- มีการฝึ กกระบวนการคิดให้เกิดขึน
้ กับนักเรียนโดยการเปิ ดให้
นักเรียนแสดงออกทางความคิด
เกี่ยวกับการแก้ปัญหา การหาคำตอบจากสถานการณ์ที่ครูกำหนดขึน

ด้านการมีวินัย
- ส่งเสริมให้นักเรียนมินัยในตนเอง ในการฝึ กฝนและทบทวนความ
รู้อย่างต่อเนื่อง มีวินัยต่อส่วนรวม
ในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม หรือกิจกรรมใดๆ
ด้านซื่อสัตย์ สุจริต
- ไม่ส่งเสริมให้นักเรียนทุจริตทัง้ ในการทำการบ้าน และการทำ
ข้อสอบ ไม่ขโมยผลงานของเพื่อนมา
เป็ นของตนเอง
ด้านอยู่อย่างพอเพียง
- นักเรียนต้องรู้และตระหนักในการใช้ของให้คุ้มค่า ไม่ทิง้ สิง
ของของตนเอง ต้องตระหนักว่าสิ่งของ
แต่ละอย่างมีคณ
ุ ค่าและเสียเงินซื้อมา เช่น ดินสอ ปากกา ฯลฯ
ด้านมีจิตสาธารณะ
- ส่งเสริมให้นักเรียนช่วยเหลือเกื้อกูลกันระหว่างนักเรียนภายใน
กลุ่มและระหว่างกลุ่มในการคิดแก้ไข
ปั ญหาอย่างถูกวิธี
10. บูรณาการความรู้สู่ประชาคมอาเซียน
-
11. ชิน
้ งาน/ภาระงาน
ใบงาน 2.2
ใบงาน 2.3
12. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
นักเรียนำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
ขัน
้ ที่ 1 กระตุ้นความสนใจ

1. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด
2. ครูให้นักเรียนร่วมกันทบทวนความรู้เกี่ยวกับการดูแลสุขภาพของบุคคล
แต่ละวัย การดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว และกระบวนการใน
การดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว

3. นักเรียนร่วมกันหาคำตอบว่า นักเรียนจะวางแผนการดูแลสุขภาพของ
ตนเองและบุคคลในครอบครัวอย่างไร จึงจะเหมาะสมและเกิดประโยชน์
มากที่สุด

ขัน
้ ที่ 2 สำรวจค้นหา
1. นักเรียนรวมกลุ่มเดิม (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1) จากนัน
้ ครูให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันศึกษาและสืบค้นความรู้เกี่ยวกับการวางแผนการ
ดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคล ในครอบครัว จากหนังสือเรียนและ
แหล่งข้อมูลสารสนเทศ ตามประเด็นที่ครูกำหนด ดังนี ้
1) การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว
2) งานสาธารณสุขมูลฐานกับการดูแลสุขภาพของตนเองและ
ครอบครัว
3) ข้อมูลข่าวสารและแหล่งการเรียนรู้ทางสุขภาพ

2. สมาชิกแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผนการศึกษาและสืบค้นความรู้และแบ่ง
หน้าที่ความรับผิดชอบให้สมาชิกแต่ละคนตามความสนใจ หรือตามความ
เหมาะสม
ขัน
้ ที่ 3 อธิบายความรู้
1. นักเรียนตอบคำถามกระตุ้นความคิด
2. สมาชิกกลุ่มนำข้อมูลต่างๆ มาอธิบาย และผลัดกันถาม-ตอบ ในประเด็น
ความรู้ต่างๆ จนเกิดความเข้าใจ แล้วสรุปผลลงในแบบบันทึกการอ่าน
3. ครูให้นักเรียนแต่ละคนทำใบงานที่ 2.2 เรื่อง การวางแผนการดูแล
สุขภาพของตนเองและครอบครัว เมื่อทำเสร็จแล้วให้ตรวจสอบความ
เรียบร้อยก่อนนำส่งครู
ขัน
้ ที่ 4 ขยายความเข้าใจ
1.นักเรียนแต่ละคนนำแบบประเมินสุขภาพของตนเองและสมาชิกใน
ครอบครัว (จากแผนการจัดการเรียนรู้ที่
1) มาวิเคราะห์และประเมินสภาวะสุขภาพ เพื่อวางแผนการ
ดูแลสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัวให้เหมาะสม
2. นักเรียนนำผลการวิเคราะห์และประเมินสภาวะสุขภาพของตนเองและ
สมาชิกในครอบครัว พร้อมเสนอแนวทางการดูแลสุขภาพลงในใบงานที่
2.3 เรื่อง กระบวนการในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว
3. สมาชิกแต่ละคนในกลุ่มผลัดกันนำเสนอใบงานที่ 2.3 เพื่อร่วมกัน
อภิปรายและแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับแนวทางในการดูแลสุขภาพของ
ตนเองและครอบครัวของสมาชิกในกลุ่ม หากมีข้อบกพร่องให้เสนอแนะ
และแก้ไขให้ถก ู ต้องเหมาะสมกับสภาวะสุขภาพ
ขัน
้ ที่ 5 ตรวจสอบผล
1. นักเรียนแต่ละคนนำเสนอแนวทางในการดูแลสุขภาพของตนเองและ
ครอบครัวในใบงานที่ 2.3 โดยครูตรวจสอบความถูกต้องและเหมาะสม
จากนัน ้ เสนอแนะเพิ่มเติมเป็ นรายบุคคล
2. นักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เกี่ยวกับการวางแผนการดูแลสุขภาพของ
ตนเองและครอบครัว และประโยชน์ที่ได้รับ

นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 2
13. การวัดและประเมินผล

วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์


ตรวจใบงานที่ 2.2 ใบงานที่ 2.2 ร้อยละ 60
ผ่านเกณฑ์
ตรวจใบงานที่ 2.3 ใบงานที่ 2.3 ร้อยละ 60
ผ่านเกณฑ์
สังเกตความมีวินัย ตรง แบบประเมินคุณลักษณะอันพึง ระดับ
ต่อเวลา และมีความรับ ประสงค์ คุณภาพ 2
ผิดชอบ ผ่านเกณฑ์
ตรวจแบบทดสอบหลัง แบบทดสอบหลังเรียน หน่วยการ ร้อยละ 60
เรียน หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ที่ 2 ผ่านเกณฑ์
ที่ 2
14. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
14.1 สื่อการเรียนรู้
- หนังสือเรียน สุขศึกษา ม.4
- แบบประเมินสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว
- ใบงานที่ 2.2 เรื่อง การวางแผนการดูแลสุขภาพของตนเองและ
ครอบครัว
- ใบงานที่ 2.3 เรื่อง กระบวนการในการดูแลสุขภาพของตนเองและ
ครอบครัว
14.2 แหล่งเรียนรู้ (สถานที่, บุคคล, เว็บไซด์ ฯลฯ)
- ห้องสมุด
- แหล่งข้อมูลสารสนเทศ
- http://www2.swu.ac.th/royal/book6/b6c3t2.html
-

http://www.siamhealth.net/public_html/Disease/infectiou
s/pig/mask.html
1

บันทึกผลหลังการสอน

1. ผลการสอนชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 4
 สอนได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้
 สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรียนรู้ เนื่องจาก
..........................................................................
 .............................................................................................................
..........................................
3. ผลที่เกิดกับผูเ้ รียน
1.) การประเมินผลความรู้หลังการเรียน โดย
ใช้………………………..................................พบว่านักเรียนผ่านการประเมินคิด
เป็ นร้อยละ......................……. ไม่ผ่านเกณฑ์ขัน
้ ต่ำทีกำ
่ หนดไว้คิดเป็ นร้อย
ละ.......................
2.) การประเมินด้านทักษะกระบวนการเรียน โดย
ใช้……………………….........................พบว่านักเรียนผ่านการประเมินคิดเป็ นร้อย
ละ......................……. ไม่ผ่านเกณฑ์ขัน
้ ต่ำทีกำ
่ หนดไว้คิดเป็ นร้อย
ละ.......................
3.) การประเมินด้านคุณลักษณะที่พึงประสงค์ เรียน โดย
ใช้………………………..................................พบว่านักเรียนผ่านการประเมินคิด
เป็ นร้อยละ......................……. ไม่ผ่านเกณฑ์ขัน
้ ต่ำทีกำ
่ หนดไว้คิดเป็ นร้อย
ละ.......................
3. ปั ญหาและอุปสรรค
 กิจกรรมการจัดการเรียนรู้ ไม่เหมาะสมกับเวลา
 มีนักเรียนทำใบงาน/ใบกิจกรรมไม่ทันตามกำหนดเวลา
 มีนักเรียนที่ไม่สนใจเรียน
 อื่น ๆ
..................................................................................................................
...........................
 .............................................................................................................
..........................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
 ควรนำแผนไปปรับปรุง เรื่อง
......................................................................................................
 .............................................................................................................
..........................................
 แนวทางแก้ไขนักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมิน
..................................................................................
 .............................................................................................................
..........................................
 ไม่มีข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ ผู้
สอน
(นายสยมภู พิลึก)
วันที่
_________________________________________________________
_____________________
ความคิดเห็นของผู้บริหาร
............................................................................................................................
.............................................................
............................................................................................................................
..............................................................

ลงชื่อ......................................................... ผู้
ตรวจ
(นางสาวอรรจน์ชญาน์ พิมพาภรณ์)
รองผู้อำนวยการกลุ่มบริหารวิชาการ
ว ัน
ที่......../............/.................

ใบงานที่ 2.2 การวางแผนการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนตอบคำถามที่กำหนดให้ถูกต้อง

1. การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว มีขัน
้ ตอนอย่างไร

2. การประเมินสภาวะสุขภาพด้วยตนเองแตกต่างจากการประเมินโดยบุคลากร
ทางการแพทย์อย่างไร
3. ข้อมูลข่าวสารทางสุขภาพมีประโยชน์อย่างไรต่อการวางแผนดูแลสุขภาพ

4. ข้อมูลข่าวสารที่ดีและมีคุณภาพ มีลักษณะอย่างไร

5. การใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดูแลสุขภาพ มีความเหมาะ
สมกับนักเรียนและครอบครัว
หรือไม่ จงอธิบาย
เฉลย ใบงานที่ 2.2 การวางแผนการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนตอบคำถามที่กำหนดให้ถูกต้อง

1. การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว มีขัน ้ ตอนอย่างไร


1) ประเมินสภาวะสุขภาพของตนเองและสมาชิกในครอบครัว
2) วิเคราะห์ข้อมูลที่ได้จากการประเมินสภาวะสุขภาพของตนเองและ
สมาชิกในครอบครัว
3) วางแผน หรือกำหนดวิธีการเพื่อแก้ปัญหาสุขภาพของตนเองและ
สมาชิกในครอบครัว

2. การประเมินสภาวะสุขภาพด้วยตนเองแตกต่างจากการประเมินโดยบุคลากร
ทางการแพทย์อย่างไร
การประเมินด้วยตนเองอาจจะไม่ละเอียดในบางด้าน หรือไม่ครอบคลุม
เกี่ยวกับปั ญหาสุขภาพมากนัก แต่การ
ประเมินโดยบุคลากรทางการแพทย์จะมีความละเอียดและแม่นยำ
มากกว่า เพราะมีเครื่องมือทางการแพทย์มาใช้
ประกอบในการประเมินสภาวะสุขภาพ เช่น การตรวจเลือด การตรวจ
คลื่นหัวใจ การตรวจปั สสาวะ

3. ข้อมูลข่าวสารทางสุขภาพมีประโยชน์อย่างไรต่อการวางแผนดูแลสุขภาพ
สามารถนำมาใช้เป็ นข้อมูลประกอบการพิจารณาเพื่อเลือกแนวทาง
ในการดูแลสุขภาพที่เหมาะสม เช่น
ผักพื้นบ้านเป็ นผักหาได้ง่ายและมีประโยชน์ต่อสุขภาพ การกำหนดและ
วางแผนในการรับประทานอาหารจึงต้องกำหน
ผักพื้นบ้านชนิดนัน ้ ๆ ลงไปในแผนการดูแลสุขภาพด้วย

4. ข้อมูลข่าวสารที่ดีและมีคุณภาพ มีลักษณะอย่างไร
มีความถูกต้อง ทันเวลา มีความเกี่ยวพัน (มีความเกี่ยวข้องสัมพันธ์กับ
ข้อมูล) และมีคุณภาพ

5. การใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในการดูแลสุขภาพ มีความเหมาะ
สมกับนักเรียนและครอบครัว
หรือไม่ จงอธิบาย
(พิจารณาตามคำตอบของนักเรียน โดยให้อยู่
ในดุลยพินิจของครูผู้สอน)

ใบงานที่ 2.3 กระบวนการในการดูแลสุขภาพของตนเองและครอบครัว


คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวิเคราะห์และประเมินสภาวะสุขภาพจากแบบประเมิน
สุขภาพของตนเองและสมาชิก ในครอบครัว พร้อมเสนอแนวทาง
การดูแลสุขภาพ ลงในแบบบันทึกให้ถูกต้องและเหมาะสม

ชื่อ-
ผลวิเคราะห์และประเมินสภาวะ แนวทางในการดูแล
นามสกุ
สุขภาพ สุขภาพ

เฉลย ใบงานที่ 2.3 กระบวนการในการดูแลสุขภาพของตนเองและ
ครอบครัว
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนวิเคราะห์และประเมินสภาวะสุขภาพจากแบบประเมิน
สุขภาพของตนเองและสมาชิก ในครอบครัว พร้อมเสนอแนวทาง
การดูแลสุขภาพ ลงในแบบบันทึกให้ถูกต้องและเหมาะสม

ชื่อ-
ผลวิเคราะห์และประเมินสภาวะ แนวทางในการดูแล
นามสกุ
สุขภาพ สุขภาพ

ด้านความคิด
- มีการฝึ กกระบวนการคิดให้เกิดขึน
้ กับนักเรียนโดยการเปิ ดให้
นักเรียนแสดงออกทางความคิด
เกี่ยวกับการแก้ปัญหา การหาคำตอบจากสถานการณ์ที่ครูกำหนดขึน

ด้านการมีวินัย
- ส่งเสริมให้นักเรียนมินัยในตนเอง ในการฝึ กฝนและทบทวนความ
รู้อย่างต่อเนื่อง มีวินัยต่อส่วนรวม
ในการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม หรือกิจกรรมใดๆ
ด้านซื่อสัตย์ สุจริต
- ไม่ส่งเสริมให้นักเรียนทุจริตทัง้ ในการทำการบ้าน และการทำ
ข้อสอบ ไม่ขโมยผลงานของเพื่อนมา
เป็ นของตนเอง
ด้านอยู่อย่างพอเพียง
- นักเรียนต้องรู้และตระหนักในการใช้ของให้คุ้มค่า ไม่ทิง้ สิง
ของของตนเอง ต้องตระหนักว่าสิ่งของ แผนการจัดการเรียนรู้

You might also like