You are on page 1of 350

สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและ

วัฒนธรรม
ในหลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่
49”
พุทธศักราช 2561
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
2

สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสตูล
สำนักงานคณะกรรมการการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
คำนำ

หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49” พุทธศักราช 2561


ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษา ขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ได้จัดทำขึน
้ ตามแนวทางที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560) และเป็ นไปตามมาตรา 27 วรรคสอง แห่งพระราชบัญญัติการ
ศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2542 และที่แก้ไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2545
ซึ่งกำหนดให้สถานศึกษามีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตรสถาน
ศึกษาตามหลักการ จุดหมายของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
กำหนด เพื่อตอบสนองต่อความต้องการในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปั ญหาใน
ชุมชนและสังคม ภูมิปัญญาท้องถิ่น คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เพื่อให้
เยาวชนเป็ นสมาชิกที่ดีของครอบครัว ชุมชน สังคมและประเทศชาติ
สาระการเรียนรู้สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ในหลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49” พุทธศักราช 2561 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ฉบับนี ้ ประกอบด้วย ความสำคัญ คุณภาพผูเ้ รียน
โครงสร้างเวลาเรียน สาระมาตรฐานการเรียนรู้ ตัวชีว้ ัดรายปี คำอธิบาย
รายวิชา การจัดหน่วยการเรียนรู้ แนวทางการจัดการเรียนรู้ การวัดและ
ประเมินผลการเรียนรู้ สื่อการเรียน แหล่งเรียนรู้ ซึง่ ทางโรงเรียนได้
กำหนดไว้ในสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ใน
หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49” พุทธศักราช 2561 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ. 2560) ฉบับนี ้ เพื่อให้ผู้ที่เกี่ยวข้องได้เข้าใจ และสามารถนำ
ไปใช้ได้อย่างถูกต้องและบรรลุผลตามที่ต้องการ
2

สาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ในหลักสูตร


โรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49”พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560)ฉบับนี ้ สำเร็จลุล่วงไปด้วยดีก็ด้วยความร่วมมือจากคณะกรรมการ
สถานศึกษาขัน
้ พื้นฐานของโรงเรียน ผู้ปกครองนักเรียน คณะครูและผู้ที่มี
ส่วนเกี่ยวข้องทุกภาคส่วนที่มีส่วนร่วมดำเนินการ ทางโรงเรียนจึงขอ
ขอบพระคุณท่านมา ณ โอกาสนี ้
3

ประกาศโรงเรียน บ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49”


เรื่อง ให้ใช้หลักสูตรโรงเรียน บ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49”พุทธศักราช
2561
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง พ.ศ.2560)
................................................................................

เพื่อให้การจัดการศึกษาตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 และกรอบหลักสูตรท้องถิ่นของสำนักงานเขตพื้นที่การ
ศึกษาประถมศึกษาสตูล และพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติ
พุทธศักราช 2545 และที่แก้ไขเพิ่มเติม(ฉบับที่ 2) พ.ศ.2545 มาตรา 27
กำหนดให้สถานศึกษาขัน
้ พื้นฐานมีหน้าที่จัดทำสาระของหลักสูตร ตามที่
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 กำหนด ดัง
นัน
้ สถานศึกษาจึงได้จัดทำหลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่
49”พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) ขึน
้ ซึ่งประกอบด้วย กลุ่ม
สาระการเรียนรู้ 8 กลุ่มสาระการเรียนรู้ กิจกรรมพัฒนาผู้เรียน และ
ระเบียบการวัดและประเมินผลการเรียนรู้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย
“มิตรภาพที่ 49”พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน

พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ทัง้ นี ้ หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49”พุทธศักราช
2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช
2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)ได้รับความเห็นชอบให้ใช้หลักสูตร
โรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49” พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตร
4

แกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ.
2560)จากคณะกรรมการสถานศึกษาขัน
้ พื้นฐาน ในคราวประชุมครัง้ ที่
2/2561 เมื่อวันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2561 จึงประกาศให้ใช้
หลักสูตรโรงเรียน บ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49” พุทธศักราช 2561 ตาม
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551 (ฉบับ
ปรับปรุง
พ.ศ. 2560) ดังนี ้
ปี การศึกษา 2561 ให้ใช้ในชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1 และ 4 และชัน

มัธยมศึกษาปี ที่ 1
ปี การศึกษา 2562 ให้ใช้ในชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1, 2, 4 และ 5 และ
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 และ 2 ตัง้ แต่ปีการศึกษา 2563 เป็ นต้นไปให้
ใช้ในทุกชัน
้ เรียน

ประกาศ ณ วันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2561

........................................ ...........
............................
(นายพันธ์ ขาวทอง)
(นายรักชาติ ข้างแก้ว)
ประธานคณะกรรมการสถานศึกษาขัน
้ ฐาน
ผู้อำนวยการโรงเรียน
5

สารบัญ

หน้า
คำนำ ก
ประกาศโรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49” เรื่อง ให้ใช้
หลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย
“มิตรภาพที่ 49” พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการ ข
ศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 (ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
สารบัญ ค
สาระการเรียนรู้ สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
1. ความนำ 1
2. สาระมาตรฐานการเรียนรู้ 2
3. คุณภาพผู้เรียน 3
4. โครงสร้างเวลาเรียน 5
5. สาระมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว
้ ัดชัน
้ ปี 6
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1 6
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2 1
9
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 3
4
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4 5
2
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 5 6
6

9
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6 8
3
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 1
0
2
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 1
2
3
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 1
4
5
6. แนวการจัดการเรียนรู้ 1
6
6
7. การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ 1
6
7
8. สื่อการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ 1
6
8
ภาคผนวก 1
6
9
1. คำอธิบายศัพท์ 1
7

7
0
2. คำสั่งอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ 1
7
3
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม

1. ความนำ

สังคมโลกมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วตลอดเวลา กลุ่มสาระการ
เรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม ช่วยให้ผู้เรียนมีความรู้ ความ
เข้าใจ ว่ามนุษย์ดำรงชีวิตอย่างไร ทัง้ ในฐานะปั จเจกบุคคล และการอยู่
ร่วมกันในสังคม การปรับตัวตามสภาพแวดล้อม การจัดการทรัพยากรที่มี
อยู่อย่างจำกัด นอกจากนี ้ ยังช่วยให้ผู้เรียนเข้าใจถึงการพัฒนา
เปลี่ยนแปลงตามยุคสมัย กาลเวลา ตามเหตุปัจจัยต่างๆ ทำให้เกิดความ
เข้าใจในตนเองและผู้อ่ น
ื มีความอดทน อดกลัน
้ ยอมรับในความแตกต่าง
และมีคณ
ุ ธรรม สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ในการดำเนินชีวต
ิ เป็ นพลเมือง
ดีของประเทศชาติ และสังคมโลก กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรมว่าด้วยการอยู่ร่วมกันในสังคม ที่มีความเชื่อมสัมพันธ์กัน
และมีความแตกต่างกันอย่างหลากหลาย เพื่อช่วยให้สามารถปรับตนเอง
กับบริบทสภาพแวดล้อม เป็ นพลเมืองดี มีความรับผิดชอบ มีความรู้
ทักษะ คุณธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม โดยได้กำหนดสาระต่างๆไว้
ดังนี ้
 ศาสนา ศีลธรรมและจริยธรรม แนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา
ศีลธรรม จริยธรรม หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
การนำหลักธรรมคำสอนไปปฏิบัติในการพัฒนาตนเอง และการอยู่ร่วมกัน
อย่างสันติสุข เป็ นผู้กระทำความดี มีค่านิยมที่ดีงาม พัฒนาตนเองอยู่เสมอ
รวมทัง้ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและส่วนรวม
 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิต ระบบการเมือง
การปกครองในสังคมปั จจุบันการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระ
มหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข ลักษณะและความสำคัญ การเป็ นพลเมืองดี
2

ความแตกต่างและความหลากหลายทางวัฒนธรรม ค่านิยม ความเชื่อ


ปลูกฝั งค่านิยมด้านประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
สิทธิ หน้าที่ เสรีภาพการดำเนินชีวิตอย่างสันติสุข ในสังคมไทย
และสังคมโลก
 เศรษฐศาสตร์ การผลิต การแจกจ่าย และการบริโภคสินค้าและ
บริการ การบริหารจัดการทรัพยากรที่มีอยู่อย่างจำกัดอย่างมี
ประสิทธิภาพ การดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ และการนำหลักเศรษฐกิจ
พอเพียงไปใช้ในชีวิตประจำวัน
 ประวัติศาสตร์ เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ พัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตถึงปั จจุบัน ความ
สัมพันธ์และเปลี่ยนแปลงของเหตุการณ์ต่างๆ ผลกระทบที่เกิดจาก
เหตุการณ์สำคัญในอดีต บุคคลสำคัญที่มีอิทธิพลต่อการเปลี่ยนแปลง
ต่างๆ ในอดีต ความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
แหล่งอารยธรรมที่สำคัญของโลก
 ภูมิศาสตร์ ลักษณะของโลกทางกายภาพ ลักษณะทางกายภาพ
แหล่งทรัพยากร และภูมิอากาศของประเทศไทย และภูมิภาคต่างๆ ของ
โลก การใช้แผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ความสัมพันธ์กันของ สิ่ง
ต่างๆ ในระบบธรรมชาติ ความสัมพันธ์ของมนุษย์กับสภาพแวดล้อมทาง
ธรรมชาติ และสิ่งที่มนุษย์สร้างขึน
้ การนำเสนอข้อมูลภูมิสารสนเทศ การ
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
3

2. สาระและมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน  ส 1.1    รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลัก
ธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือและ
ศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น และปฏิบัติตามหลัก
ธรรม เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส 1.2  เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่
ดี และธำรงรักษาพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ น
พลเมืองดี มีค่านิยมที่ดีงาม และ
ธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย ดำรงชีวิตอยู่ร่วม
กันในสังคมไทย และ
สังคมโลกอย่างสันติสุข
มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน
ยึดมั่น ศรัทธา และธำรงรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็ นประมุข

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส.3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการ
ผลิตและการบริโภคการใช้ทรัพยากรที่มีอยู่จำกัดได้อย่าง
มีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจ
4

หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่าง
มีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส.3.2 เข้าใจระบบ และสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ
ความสัมพันธ์ทางเศรษฐกิจ
และความจำเป็ นของการร่วมมือกันทางเศรษฐกิจใน
สังคมโลก

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลาและยุค
สมัยทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ น
ระบบ
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึง
ปั จจุบัน ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม
ภูมิปัญญาไทย มีความรักความภูมิใจและธำรงความเป็ น
ไทย

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความ
สัมพันธ์ของสรรพสิง่ ซึ่งมีผลต่อกันใช้แผนที่และเครื่องมือ
ทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และสรุปข้อมูล
ตามกระบวนการทางภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิ
สารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ
5

มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อม


ทางกายภาพที่ก่อให้เกิด
การสร้างสรรค์วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและ
มีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากร
และสิง่ แวดล้อมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

3. คุณภาพผู้เรียน

จบชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3

 ได้เรียนรู้เรื่องเกี่ยวกับตนเองและผู้ที่อยู่รอบข้าง ตลอดจนสภาพ
แวดล้อมในท้องถิ่น ที่อยู่อาศัย และเชื่องโยงประสบการณ์ไปสู่โลกกว้าง
 ผู้เรียนได้รับการพัฒนาให้มีทักษะกระบวนการ และมีข้อมูลที่
จำเป็ นต่อการพัฒนาให้เป็ น ผู้มค
ี ุณธรรม จริยธรรม ประพฤติ
ปฏิบัติตามหลักคำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ มีความเป็ นพลเมืองดี
มีความรับผิดชอบ การอยู่ร่วมกันและการทำงานกับผู้อ่ น
ื มีส่วนร่วมใน
กิจกรรมของห้องเรียน และได้ฝึกหัด ในการตัดสินใจ
 ได้ศึกษาเรื่องราวเกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว โรงเรียน และชุมชน
ในลักษณะการบูรณาการ ผู้เรียนได้เข้าใจแนวคิดเกี่ยวกับปั จจุบันและอดีต
มีความรู้พ้น
ื ฐานทางเศรษฐกิจได้ข้อคิดเกี่ยวกับรายรับ-รายจ่ายของ
ครอบครัว เข้าใจถึงการเป็ นผูผ
้ ลิต ผู้บริโภค รู้จักการออมขัน
้ ต้นและวิธี
การเศรษฐกิจพอเพียง
 ได้รับการพัฒนาแนวคิดพื้นฐานเกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม หน้าที่พลเมือง เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิปัญญา
เพื่อเป็ นพื้นฐานในการทำความเข้าใจในขัน
้ ที่สูงต่อไป
6

 มีความรู้เกี่ยวกกับลักษณะทางกายภาพของสิ่งต่างๆที่อยู่รอบตัว
และชุมชน และสามารถปรับตัวเท่าทันการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ และ
มีส่วนร่วมในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใกล้ตัว

จบชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6

 ได้เรียนรู้เรื่องของจังหวัด ภาค และประทศของตนเอง ทัง้ เชิง


ประวัติศาสตร์ ลักษณะทางกายภาพ สังคม ประเพณี และวัฒนธรรม รวม
ทัง้ การเมืองการปกครอง สภาพเศรษฐกิจโดยเน้นความเป็ นประเทศไทย
 ได้รับการพัฒนาความรู้และความเข้าใจ ในเรื่องศาสนา ศีลธรรม
จริยธรรม ปฏิบัติตนตามหลัก คำสอนของศาสนาที่ตนนับถือ รวมทัง้ มี
ส่วนร่วมศาสนพิธี และพิธีกรรมทางศาสนามากยิ่งขึน

 ได้ศึกษาและปฏิบัติตนตามสถานภาพ บทบาท สิทธิหน้าที่ใน
ฐานะพลเมืองดีของท้องถิ่น จังหวัด ภาค และประเทศ รวมทัง้ ได้มีส่วน
ร่วมในกิจกรรมตามขนบธรรมเนียมประเพณี วัฒนธรรม ของท้องถิ่น
ตนเองมากยิ่งขึน

 ได้ศึกษาเปรียบเทียบเรื่องราวของจังหวัดและภาคต่างๆของ
ประเทศไทยกับประเทศเพื่อนบ้าน ได้รับการพัฒนาแนวคิดทาง
สังคมศาสตร์ เกี่ยวกับศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หน้าที่พลเมือง
เศรษฐศาสตร์ ประวัติศาสตร์ และภูมิศาสตร์เพื่อขยายประสบการณ์ไปสู่
การทำความเข้าใจ ในภูมิภาค ซีกโลกตะวันออกและตะวันตกเกี่ยวกับ
ศาสนา คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยมความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี
วัฒนธรรม การดำเนินชีวิต การจัดระเบียบทางสังคม และการ
เปลี่ยนแปลงทางสังคมจากอดีตสู่ปัจจุบัน
 มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจและสังคม ในจังหวัด ภาคและประเทศไทย สามารถ
7

เตรียมรับมือกับการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพกับภัยพิบัติต่างๆ ใน
ประเทศไทยและหาแนวทางในการจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม

จบชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3

 ได้เรียนรู้และศึกษาเกี่ยวกับความเป็ นไปของโลก โดยการศึกษา


ประเทศไทยเปรียบเทียบ กับประเทศในภูมิภาคต่างๆในโลก
เพื่อพัฒนาแนวคิดเรื่องการอยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข
 ได้เรียนรู้และพัฒนาให้มีทักษะที่จำเป็ นต่อการเป็ นนักคิดอย่างมี
วิจารณญาณได้รับการพัฒนาแนวคิด และขยายประสบการณ์ เปรียบ
เทียบระหว่างประเทศไทยกับประเทศในภูมิภาคต่าง ๆ ในโลก ได้แก่
เอเชีย โอเชียเนีย แอฟริกา ยุโรป อเมริกาเหนือ อเมริกาใต้ ในด้านศาสนา
คุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม ความเชื่อ ขนบธรรมเนียม ประเพณี
วัฒนธรรม การเมืองการปกครอง ประวัติศาสตร์และภูมิศาสตร์
ด้วยวิธีการทางประวัติศาสตร์ และสังคมศาสตร์
 ได้รับการพัฒนาแนวคิดและวิเคราะห์เหตุการณ์ในอนาคต
สามารถนำมาใช้เป็ นประโยชน์ ในการดำเนินชีวิตและวางแผน
การดำเนินงานได้อย่างเหมาะสม
 มีความรู้เกี่ยวกับลักษณะทางกายภาพ ภัยพิบัติ ลักษณะกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจและสังคม ในภูมิภาคต่างๆของโลก ความร่วมมือด้าน
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมระหว่างประเทศ เพื่อเตรียมรับมือภัยพิบัติและ
การจัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมอย่างยั่งยิน

4. โครงสร้างเวลาเรียน

กลุ่มสาระการเรียน เวลาเรียน
รู้/กิจกรรม ระดับประถมศึกษา ระดับ
8

มัธยมศึกษา
ตอนต้น
ป.1 ป.2 ป.3 ป.4 ป.5 ป.6 ม.1 ม.2 ม.3
สังคมศึกษา ศาสนา
และวัฒนธรรม 12 12 12 12 12 12 16 16 160
ประวัติศาสตร์ 0 0 0 0 0 0 0 0 40
ศาสนา 40 40 40 40 40 40 40 40
หน้าที่พลเมือง 120
ภูมิศาสตร์ 80 80 80 80 80 80 12 12
เศรษฐศาสตร์ 0 0

ปี ละไม่น้อยกว่า
ปี ละไม่น้อยกว่า 120 ชั่วโมง 200
รายวิชาเพิ่มเติม ชั่วโมง
เพิ่มเติมตามความ -อิสลามศึกษา -อิสลามศึกษา -อิสลามศึกษา
พร้อม และจุด 40 ชั่วโมง 40 ชั่วโมง 40 ชั่วโมง
เน้น -ประวัติศาสตร์
จังหวัดสตูล 40
ชั่วโมง
9

5. สาระมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชีว
้ ัดรายปี

ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1
สาระมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.1 1. บอกพุทธประวัติ หรือ  พุทธประวัติ


ประวัติของศาสดา ที่ตน  ประสูติ
นับถือโดยสังเขป  ตรัสรู้
 ปรินิพพาน
2. ชื่นชมและบอกแบบอย่าง  สามเณรบัณฑิต
การดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก  วัณณุปถชาดก
ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า  สุวัณณสามชาดก
และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่  พระบาทสมเด็จ พระเจ้าอยู่หัว
10

กำหนด ภูมิพลอดุลยเดช
 เจ้าพระยาสุธรรมมนตรี (หนู
พร้อม)
3. บอกความหมาย ความ  พระรัตนตรัย
สำคัญ และเคารพพระรัตนตรัย  ศรัทธา พระพุทธ พระธรรม
ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท 3 พระสงฆ์
ในพระพุทธศาสนา หรือหลัก  โอวาท 3
ธรรมของศาสนา ที่ตนนับถือ  ไม่ทำชั่ว
ตามที่กำหนด o เบญจศีล
 ทำความดี
° เบญจธรรม
° สังคหวัตถุ 4
° กตัญญูกตเวทีต่อพ่อ
แม่ และครอบครัว
° มงคล 38
- ทำตัวดี
- ว่าง่าย- รับใช้พ่อแม่
- ทำจิตให้บริสุทธิ ์
(บริหารจิตและเจริญ
ปั ญญา)

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
11

 พุทธศาสนสุภาษิต

 อตฺตา หิ อตฺตโน นาโถ


ตนแลเป็ นที่พึ่งของตน
 มาตา มิตฺตํ สเก ฆเร
มารดาเป็ นมิตรในเรือนของตน
4. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ แผ่  ฝึ กสวดมนต์และแผ่เมตตา
เมตตา มีสติ ที่เป็ นพื้นฐาน  รู้ความหมายและประโยชน์
ของสมาธิในพระพุทธศาสนา ของสติ
หรือการพัฒนาจิตตามแนวทาง  ฟั งเพลงและร้องเพลงอย่าง
ของศาสนา ที่ตนนับถือ มีสติ
ตามที่กำหนด  เล่นและทำงานอย่างมีสติ
 ฝึ กให้มีสติในการฟั ง การ
อ่าน การคิด การถามและ
การเขียน

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี


และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 1. บำเพ็ญประโยชน์ต่อวัด  การบำเพ็ญประโยชน์
หรือศาสนสถานของศาสนาที่ ต่อวัด หรือศาสนสถาน
ตนนับถือ  การพัฒนาทำความ
12

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สะอาด
 การบริจาค
 การร่วมกิจกรรมทาง
ศาสนา
2. แสดงตนเป็ นพุทธมามกะ  การแสดงตนเป็ น
หรือแสดงตนเป็ นศาสนิกช พุทธมามกะ
นของศาสนาที่ตนนับถือ  ขัน
้ เตรียมการ
 ขัน
้ พิธีการ
3. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี  ประวัติโดยสังเขปของ
พิธีกรรม และวันสำคัญทาง วันสำคัญทางพระพุทธ
ศาสนา ตามที่กำหนดได้ถูก ศาสนา
ต้อง  วันมาฆบูชา
 วันวิสาขบูชา
 วันอาสาฬหบูชา
 วันอัฏฐมีบูชา
 การบูชาพระ
รัตนตรัย

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี
มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดำรงชีวต
ิ อยูร่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสข

13

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 1. บอกประโยชน์และ  การเป็ นสมาชิกที่ดีของ
ปฏิบัติตนเป็ นสมาชิกที่ดี ครอบครัวและโรงเรียน เช่น
ของครอบครัวและโรงเรียน  กตัญญูกตเวทีและ
เคารพรับฟั งคำแนะนำ
ของพ่อแม่ ญาติผู้ใหญ่
และครู
 รู้จักกล่าวคำขอบคุณ
ขอโทษ การไหว้ผู้ใหญ่
 ปฏิบัติตาม ข้อตกลง
กติกา กฎ ระเบียบ
ของครอบครัวและ
โรงเรียน
 มีส่วนร่วมในกิจกรรม
ของครอบครัวและ
โรงเรียน
 มีเหตุผลและยอมรับ
ฟั งความคิดเห็นของผู้
อื่น
 มีระเบียบ วินัย มีน้ำใจ
 ประโยชน์ของการปฏิบัติ
ตนเป็ นสมาชิก
ที่ดีของครอบครัวและ
โรงเรียน
14

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
2. ยกตัวอย่างความสามารถ  ลักษณะความสามารถและ
และความดีของตนเอง ผู้ ลักษณะ ความดีของตนเอง
อื่นและบอกผลจากการกระ และผู้อ่ น
ื เช่น
ทำนัน้ - ความกตัญญูกตเวที
- ความมีระเบียบวินัย
- ความรับผิดชอบ
- ความขยัน
- การเอื้อเฟื้ อเผื่อ
แผ่และช่วยเหลือผู้อ่ น ื
- ความซื่อสัตย์
สุจริต
- ความเมตตากรุณา
 ผลของการกระทำความดี
เช่น
- ภาคภูมิใจ
- มีความสุข
- ได้รบ
ั การชื่นชม
ยกย่อง

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน


ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา
ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
15

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 1. บอกโครงสร้าง บทบาท  โครงสร้างของครอบครัว
และหน้าที่ของสมาชิกใน และความสัมพันธ์ของ
ครอบครัวและโรงเรียน บทบาท หน้าที่ของสมาชิกใน
ครอบครัว
 โครงสร้างของโรงเรียน
ความสัมพันธ์ของบทบาท
หน้าที่ของสมาชิกในโรงเรียน
2. ระบุบทบาท สิทธิ หน้าที่  ความหมายและความ
ของตนเองในครอบครัวและ แตกต่างของอำนาจตาม
โรงเรียน บทบาท สิทธิ หน้าที่ใน
ครอบครัวและโรงเรียน
 การใช้อำนาจใน
ครอบครัวตามบทบาท สิทธิ
หน้าที่
16

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. มีส่วนร่วมในการตัดสิน  กิจกรรมตาม
ใจและทำกิจกรรมใน กระบวนการประชาธิปไตย
ครอบครัวและโรงเรียนตาม ในครอบครัว เช่น การแบ่ง
กระบวนการประชาธิปไตย หน้าทีค
่ วามรับผิดชอบใน
ครอบครัว การรับฟั งและ
แสดงความคิดเห็น
 กิจกรรมตาม
กระบวนการประชาธิปไตย
ในโรงเรียน เช่น เลือก
หัวหน้าห้อง ประธานชุมนุม
ประธานนักเรียน

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต
และการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 1. ระบุสินค้าและบริการที่  สินค้าและบริการที่ใช้อยู่ใน
ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำ ชีวิตประจำวัน เช่น ดินสอ
วัน กระดาษ ยาสีฟัน
 สินค้าและบริการที่ได้มาโดย
ไม่ใช้เงิน เช่น มีผู้ให้หรือการ
ใช้ของแลกของ
 สินค้าและบริการที่ได้มาจาก
17

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การใช้เงินซื้อ
 ใช้ประโยชน์จากสินค้าและ
บริการให้คุ้มค่า
2. ยกตัวอย่างการใช้จ่าย  การใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำ
เงินในชีวิต ประจำวันที่ไม่ วันเพื่อซื้อสินค้าและบริการ
เกินตัวและเห็นประโยชน์  ประโยชน์ของการใช้จ่ายเงิน
ของการออม ที่ไม่เกินตัว
 ประโยชน์ของการออม
 โทษของการใช้จ่ายเงินเกิน
ตัว
 วางแผนการใช้จ่าย
3. ยกตัวอย่างการใช้  ทรัพยากรที่ใช้ในชีวิตประจำ
ทรัพยากรในชีวิตประจำวัน วัน เช่น ดินสอ กระดาษ
อย่างประหยัด เสื้อผ้า อาหาร
 ทรัพยากรส่วนรวม เช่น โต๊ะ
เก้าอี ้ นักเรียน
สาธารณูปโภคต่าง ๆ
 วิธีการใช้ทรัพยากรทัง้ ของ
ส่วนตัวและ
ส่วนรวมอย่างถูกต้อง และ
ประหยัดและคุ้มค่า

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความ


สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกัน
ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 1. อธิบายเหตุผลความ  ความหมาย ประเภทและ
จำเป็ นที่คนต้องทำงานอย่าง ความสำคัญของการทำงาน
18

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สุจริต  เหตุผลของการทำงาน
 ผลของการทำงานประเภท
ต่างๆ ที่มีต่อครอบครัวและ
สังคม
 การทำงานอย่างสุจริตทำให้
สังคมสงบสุข

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัย


ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มา
วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 1.บอกวัน เดือน ปี และการ  ชื่อ วัน เดือน ปี ตามระบบ
นับช่วงเวลาตามปฏิทินที่ใช้ สุริยคติที่ปรากฏในปฏิทิน
ในชีวิตประจำวัน  ชื่อ วัน เดือน ปี ตามระบบ
จันทรคติในปฏิทิน
 ช่วงเวลาที่ใช้ในชีวิตประจำ
วัน เช่น เช้าวันนี ้ ตอนเย็น
2. เรียงลำดับเหตุการณ์ใน  เหตุการณ์ที่เกิดขึน ้ ในชีวิต
ชีวิตประจำวัน ตามวัน ประจำวันของนักเรียน เช่น
เวลาที่เกิดขึน
้ รับประทานอาหาร ตื่นนอน
เข้านอน เรียนหนังสือ เล่น
กีฬา ฯลฯ
 ใช้คำบอกช่วงเวลา แสดง
ลำดับเหตุการณ์ ที่เกิดขึน ้ ได้
3. บอกประวัติความเป็ นมา  วิธีการสืบค้นประวัติความ
ของตนเองและครอบครัวโดย เป็ นมาของตนเองและ
สอบถามผู้เกี่ยวข้อง ครอบครัวอย่างง่ายๆ
19

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 การบอกเล่าประวัติความ
เป็ นมาของตนเองและ
ครอบครัวอย่างสัน้ ๆ

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน
ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 1. บอกความเปลี่ยนแปลง  ความเปลี่ยนแปลงของ
ของสภาพ สภาพแวดล้อม สิ่งของ
แวดล้อม สิ่งของ เครื่องใช้ เครื่องใช้ หรือการดำเนิน
หรือการดำเนินชีวิตของ ชีวิตของอดีตกับปั จจุบันที่
ตนเองกับสมัยของพ่อแม่ เป็ นรู ปธรรมและใกล้ตัว
ปู ่ย่า ตายาย เด็ก เช่นการใช้ควาย ไถนา
รถไถนา เตารีด ถนน
เกวียน - รถอีแต๋น
 สาเหตุและผลของการ
เปลี่ยนแปลงของ สิ่งต่างๆ
ตามกาลเวลา
2. บอกเหตุการณ์ที่เกิดขึน ้  เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึน้ ใน
ในอดีต ที่มี ครอบครัว เช่น การย้าย
ผลกระทบต่อตนเองใน บ้าน การหย่าร้าง
ปั จจุบัน การสูญเสียบุคคลใน
ครอบครัว
20

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา


ไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
ธำรงความเป็ นไทย

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 1. อธิบายความหมายและ  ความหมายและความ
ความสำคัญของสัญลักษณ์ สำคัญของสัญลักษณ์ที่
สำคัญของชาติไทย และ สำคัญของชาติไทย ได้แก่
ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์
(ธงชาติ เพลงชาติ
พระพุทธรูป
พระบรมฉายาลักษณ์)
 การเคารพธงชาติ การ
ร้องเพลงชาติ และ
เพลงสรรเสริญพระบารมี
21

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เคารพ ศาสน
วัตถุ ศาสนสถาน
 เอกลักษณ์อ่ น
ื ๆ เช่น
แผนที่ประเทศไทย
ประเพณีไทย อาหารไทย
(อาหารไทยที่ต่างชาติ
ยกย่อง เช่น ต้มยำกุ้ง ผัด
ไทย) ที่มีความภาคภูมิใจ
และมี ส่วนร่วมที่จะ
อนุรักษ์ไว้
2. บอกสถานที่สำคัญซึ่งเป็ น  ตัวอย่างของแหล่ง
แหล่งวัฒนธรรมในชุมชน วัฒนธรรมในชุมชน
ที่ใกล้ตัวนักเรียน เช่น วัด
ตลาด พิพิธภัณฑ์ มัสยิด
โบสถ์คริสต์ โบราณ
สถาน โบราณวัตถุ
 คุณค่าและความสำคัญ
ของแหล่งวัฒนธรรมใน
ชุมชนในด้านต่างๆ เช่น
เป็ นแหล่งท่องเที่ยว เป็ น
แหล่งเรียนรู้

3. ระบุสงิ่ ที่ตนรัก และภาค  ตัวอย่างสิ่งที่เป็ นความ


ภูมิใจในท้องถิ่น ภาคภูมิใจในท้องถิ่น เช่น
22

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สิ่งของ สถานที่ ภาษาถิ่น
ประเพณี และวัฒนธรรม
ฯลฯ ที่เป็ น สิ่งที่
ใกล้ตัวนักเรียน และเป็ น
รูปธรรมชัดเจน
 คุณค่าและประโยชน์ของ
สิ่งต่างๆเหล่านัน

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์
ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่
และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ
สรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 1. จำแนกสิ่งแวดล้อมรอบ สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึน
้ เอง ตาม
ตัวที่เกิดขึน
้ เองตาม ธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึน
้ ที่
ธรรมชาติและที่มนุษย์ บ้านและที่โรงเรียน
23

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สร้างขึน

2. ระบุความสัมพันธ์ของ ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง
ตำแหน่ง ระยะ ทิศของสิ่ง ระยะ ทิศ ของสิ่งต่างๆรอบตัว
ต่างๆ เช่น ที่อยู่อาศัย บ้านของเพื่อน
บ้าน ถนน ต้นไม้ ทุ่งนา ไร่ สวน
ที่ราบ ภูเขา แหล่งน้ำ
ทิศหลัก (เหนือ ตะวันออก ใต้
ตะวันตก) และที่ตงั ้ ของสิ่งต่างๆ
รอบตัว
3. ใช้แผนผังแสดง แผนผังแสดงตำแหน่งสิ่งต่างๆ
ตำแหน่งของสิ่งต่างๆใน ในห้องเรียน
ห้องเรียน
4. สังเกตและบอกการ การเปลี่ยนแปลงของสภาพ
เปลี่ยนแปลงของสภาพ อากาศในรอบวัน เช่น กลางวัน
อากาศในรอบวัน กลางคืน ความร้อนของอากาศ
ฝน-เมฆ-ลม
24

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.1 1. บอกสิ่งแวดล้อมที่เกิด  สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่มี
ตามธรรมชาติที่ส่งผลต่อ ผลต่อความเป็ นอยู่ของมนุษย์
ความเป็ นอยู่ของมนุษย์ เช่น ภูมิอากาศที่มีผลต่อ
ลักษณะที่อยู่อาศัยและเครื่อง
แต่งกาย
2. สังเกตและเปรียบเทียบ  การเปลี่ยนแปลงของสิ่ง
การเปลี่ยนแปลงของสิ่ง แวดล้อมที่อยู่รอบตัว
แวดล้อมเพื่อการปฏิบัติตน อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่ส่ง
อย่างเหมาะสม ผลต่อการปฏิบัติตนอย่าง
เหมาะสม
3. มีส่วนร่วมในการดูแลสิ่ง การปฏิบัติตนในการรักษาสิ่ง
แวดล้อมที่บ้านและ แวดล้อมในบ้านและห้องเรียน
ห้องเรียน
25

คำอธิบายรายวิชา

ส 11101 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1
เวลา 80 ชั่วโมง
.............................................................................................................
....................................................

ศึกษาความหมาย ความสำคัญ ประวัติศาสนา ศาสดา หลักธรรม


ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตน มีส่วนร่วม หรือ
บำเพ็ญประโยชน์ต่อวัดหรือศาสนสถานของศาสนาที่ตนนับถือ การเป็ น
พุทธมามกะ การเป็ นศาสนิกชนของศาสนา การตัดสินใจและทำกิจกรรม
ในครอบครัวและโรงเรียนตามกระบวนการประชาธิปไตย การจัดระเบียบ
สิ่งแวดล้อมที่บ้านและชัน
้ เรียน ประโยชน์ในการปฏิบัติตนเป็ นสมาชิกที่ดี
ของครอบครัวและโรงเรียน ความสามารถและความดีของตนเองและผู้
อื่น โครงสร้าง บทบาทหน้าที่ของสมาชิกในครอบครัวและโรงเรียน
สินค้าและบริการที่ใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน การใช้จ่ายเงินในชีวิต
ประจำวันที่ไม่เกินตัว การใช้ทรัพยากรในชีวิตประจำวันอย่างประหยัด
เหตุผลความจำเป็ นที่คนต้องทำงานอย่างประหยัด เหตุผลความจำเป็ นที่
คนต้องทำงานอย่างสุจริต สิ่งแวดล้อมที่เกิดขึน
้ เองตามธรรมชาติและที่
มนุษย์สร้างขึน
้ ที่บ้านและที่โรงเรียน ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ระยะ ทิศ
ของสิ่งต่างๆรอบตัว ทิศหลักและที่ตงั ้ ของสิง่ ต่างๆที่เกิดขึน
้ ตามธรรมชาติที่
ส่งผลต่อความเป็ นอยู่ของมนุษย์ การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศใน
รอบวัน แผนผัง ตำแหน่งต่างๆ ในห้องเรียน บอกสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
ที่มีผลต่อความเป็ นอยู่ของมนุษย์ สังเกตและเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลง
26

ของสิ่งแวดล้อมที่อยู่รอบตัว อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมที่ส่งผลต่อการปฏิบัติ
ตนอย่างเหมาะสม การปฏิบัติตนในการรักษาสิ่งแวดล้อมในบ้านและ
ห้องเรียน
โดยใช้กระบวนการสังเกต การสืบเสาะหาความรู้ การเปรียบเทียบ
แยกแยะสิ่งต่างๆรอบๆตัว การอธิบาย ระบุ หรือยกตัวอย่าง การใช้
แผนผังง่ายๆ การอภิปรายเพื่อให้เกิดการเรียนรู้ ความคิด ความเข้าใจ
สามารถนำเสนอ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ ชื่นชม
เห็นคุณค่าของการทำความดี การสวดมนต์แผ่เมตตา เห็นประโยชน์
ของการออมเงิน เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิต
ประจำวัน ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มุ่งมั่นใน
การทำงาน รักความเป็ นไทย มีคณ
ุ ธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่
เหมาะสม

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
ส 1.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 1.2 ป.1/1, ป.1/2 , ป.1/3
ส 2.1 ป.1/1, ป.1/2
ส 2.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
ส 3.1ป.1/1, ป.1/2 , ป.1/3
ส 3.2 ป.1/1
ส 5.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3, ป.1/4
ส 5.2 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3

รวมทัง้ หมด 23 ตัวชีว


้ ัด
27

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1
ส 11101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 80 ชั่วโมง/ปี

หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา( สัดส่วน


การเรียน ชั่วโมง คะแนน
รู้/ ตัวชี ้ ) % รวม
วัด %
หน่วยที่ 1 ศาสนาของเรา ส 1.1 20
-ประวัติความสำคัญ ศาสดาของ ป.1/1-
ศาสนา ป.1/4
-หลักธรรมของพระพุทธศาสนา หรือ
ศาสนาที่ตนนับถือ
หน่วยที่ 2 ศาสนิกชนที่ดี ส 1.2 20
-ประวัติสาวก ป.1/1-
-ชาดก ป.1/3
-ศาสนิกชนตัวอย่าง
หน่วยที่ 3 ครอบครัวของฉัน ส 2.1 7
-ปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ น ป.1/1-
พลเมืองดี ป.1/2
28

-ค่านิยมที่ดีงาม
-ประเพณีและวัฒนธรรมไทย
หน่วยที่ 4 โรงเรียนของฉัน ส 2.2 7
-บทบาทหน้าที่ของสมาชิกใน ป.1/1-
ครอบครัวและโรงเรียน ป.1/3
หน่วยที่ 5 ใช้จ่ายประหยัด ส 3.1 7
-การใช้จ่ายเงิน ป.1/1-
-ประโยชน์ของการออม ป.1/3
-โทษของการจ่ายเงินเกินตัว
-การวางแผนการใช้จ่าย
หน่วยที่ 5 สร้างงานสร้างอาชีพ ส 3.2 8
-ประเภทและความสำคัญของการ ป.1/1
ทำงาน
-เหตุผลของการทำงาน
-การทำงานอย่างสุจริต
29

หน่วยการเรียนรู้ มาตรฐาน เวลา( สัดส่วน


การเรียน ชั่วโมง คะแนน
รู้/ ตัวชี ้ ) % รวม
วัด %
หน่วยที่ 6 เรียนรู้สิ่งแวดล้อม ส 5.1 9
-จำแนกสิ่งแวดล้อมที่เกิดขึน
้ เองตาม ป.1/1-
ธรรมชาติและที่มนุษย์สร้างขึน
้ ที่บ้าน ป.1/5
และที่โรงเรียน ส 5.2
-ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ระยะ ทิศ ป.1/1-
ของสิง่ ต่างๆรอบตัว ป.1/3
-แผนผังแสดงตำแหน่งสิ่งต่างๆใน
ห้องเรียน
-การเปลี่ยนแปลงของสภาพอากาศใน
รอบวัน เช่น กลางวัน กลางคาน ความ
ร้อนของอากาศ ฝน เมฆ ลม
ระหว่างปี 78 30 70
ปลายปี
การทดสอบ 2 30
(สรุปรายวิชา)
รวม 80 100
30
31

คำอธิบายรายวิชา

ส 11102 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1
เวลา 40 ชั่วโมง
.............................................................................................................
.............................................

ศึกษาวัน เดือน ปี และการนับช่วงเวลาตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิต


ประจำวัน เรียงลำดับเหตุการณ์ ในชีวิตประจำวัน ตามวันเวลาที่
เกิดขึน
้ ประวัติความเป็ นมาของตนเองและครอบครัวโดยสอบถามผู้
เกี่ยวข้องความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อม สิ่งของ เครื่องใช้ หรือการ
ดำเนินชีวิตของตนเองกับสมัยของพ่อแม่ ปู ่ย่า ตายาย เหตุการณ์ที่เกิด
ขึน
้ ในอดีต ที่มีผลกระทบต่อตนเองในปั จจุบัน ความหมายและความ
สำคัญของสัญลักษณ์สำคัญของชาติไทย สถานที่สำคัญซึ่งเป็ นแหล่ง
วัฒนธรรมในชุมชน สิง่ ที่ตนรัก และภาคภูมิใจ ในท้องถิ่น
โดยใช้การอธิบาย กระบวนการคิดวิเคราะห์ การสังเกต การเปรียบ
เทียบ กระบวนการกลุ่ม
การสำรวจตรวจสอบข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สาม
รถนำเสนอ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้
มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของวัฒนธรรมไทย มีจิต
สาธารณะ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มี
คุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
ส 4.1 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3
32

ส 4.2 ป.1/1, ป.1/2


ส 4.3 ป.1/1, ป.1/2, ป.1/3

รวมทัง้ สิน
้ 8 ตัวชีว
้ ัด
33

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชาพื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1
รหัส/รายวิชา ส 11102 ประวัติศาสตร์
เวลา 40 ชั่วโมง/ปี

สัดส่วนคะแนน
มาตรฐา
เวลา (%)
นการ
(ชั่วโ ภาร สอบ รว
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้
มง) ะ ย่อย ม
ตัวชีว
้ ัด
งาน
หน่วยที่ 1 การนับช่วงเวลาและ
ประวัติความเป็ นมาของ
ครอบครัว ส 4.1
- ชื่อวัน เดือน ปี ตามระบบ ป.1/1 , 10 10 5
สุริยคติที่ปรากฏในปฏิทิน ป.1/2 ,
- เหตุการณ์ที่เกิดขึน
้ ในชีวิต ป.1/3
ประจำวันของนักเรียน
- วิธีการสืบค้นประวัติความเป็ น
มาของตนเองและครอบครัวอย่าง 70
ง่ายๆ
หน่วยที่ 2 ความเปลี่ยนแปลง
ของสภาพแวดล้อมและผลกระ
ทบต่อตนเองในปั จจุบัน ส 4.2
34

- ความเปลี่ยนแปลงของสภาพ ป.1/1 , 9 10 5
แวดล้อม สิง่ ของ เครื่องใช้ หรือ ป.1/2
การดำเนินชีวิตของอดีตกับ
ปั จจุบัน
- เหตุการณ์สำคัญที่เกิดขึน
้ ใน
ครอบครัว
สอบระหว่างปี 1 10
หน่วยที่ 3 ความสำคัญของ
สัญลักษณ์สำคัญของชาติไทย ส 4.3 9 10 5
- ความหมายและความสำคัญของ ป.1/1
สัญลักษณ์สำคัญของชาติไทยที่
เป็ นความภาคภูมิใจ
หน่วยที่ 4 แหล่งวัฒนธรรมใน ส 4.3
ชุมชน ป.1/2, 10 10 5
- แหล่งวัฒนธรรมในท้องถิ่นสตูล ป.1/3
- สิ่งที่เป็ นความภาคภูมิใจในท้อง
ถิ่น
- คุณค่าและประโยชน์ของ
วัฒนธรรมท้องถิ่น
ระหว่างปี 39 40 30 7
0
ปลายปี
การทดสอบ 1 30
(สรุปรายวิชา)
รวม 40 100
35
36

ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2
สาระมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.2 1. บอกความสำคัญของ  พระพุทธศาสนาเป็ นเอกลักษณ์


พระพุทธศาสนา ของ
หรือศาสนาที่ตนนับถือ ชาติไทย
2. สรุปพุทธประวัติตงั ้ แต่  สรุปพุทธประวัติ
ประสูติจนถึงการออกผนวช  ประสูติ
หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ o เหตุการณ์หลังประสูติ
ตามที่กำหนด o แรกนาขวัญ
o การศึกษา
o การอภิเษก
สมรส
o เทวทูต 4
o การออกผนวช
3. ชื่นชมและบอกแบบอย่าง  สามเณรราหุล
37

การดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก  วรุณชาดก
ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า  วานรินทชาดก
และศาสนิกชนตัวอย่างตามที่  สมเด็จพระญาณสังวร (ศุข
กำหนด ไก่เถื่อน)
 สมเด็จพระญาณสังวร
สมเด็จพระสังฆราช (เจริญ
สุวฑฺฒโน)
4. บอกความหมาย ความ พระรัตนตรัย
สำคัญ และเคารพพระรัตนตรัย  ศรัทธา
ปฏิบัติตามหลักธรรมโอวาท 3 โอวาท 3
ในพระพุทธศาสนา หรือหลัก  ไม่ทำชั่ว
ธรรมของศาสนา ที่ตนนับถือ ° เบญจศีล
ตามที่กำหนด  ทำความดี
° เบญจธรรม
° หิริ-โอตตัปปะ
° สังคหวัตถุ 4
° ฆราวาสธรรม 4

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

° กตัญญูกตเวทีต่อครู
อาจารย์ และโรงเรียน
มงคล 38
- กตัญญู
- สงเคราะห์ญาติพี่น้อง
38

-ทำจิตใจให้บริสุทธิ ์ (บริหารจิต
และเจริญปั ญญา)
- พุทธศาสนาสุภาษิต
- นิ มิตตํ สาธุ รูปปานํ
กตญฺญู กตเวทิตา ความกตัญญู
กตเวทีเป็ นเครื่องหมายของคนดี
- พฺรมฺมาติ มาตามิตโร
มารดาบิดาเป็ นพรหมของบุตร
5.ชื่นชมการทำความดีของ - ตัวอย่างการกระทำความดีของ
ตนเอง บุคคลในครอบครัว ตนเองและบุคคลในครอบครัว
และในโรงเรียนตามหลัก และในโรงเรียน (ตามสาระใน
ศาสนา ข้อ 4)

6. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ - ฝึ กสวดมนต์ ไหว้พระและแผ่


แผ่เมตตา มีสติที่เป็ นพื้นฐาน เมตตา
ของสมาธิในพระพุทธศาสนา - รู้ความหมายและประโยชน์
หรือการพัฒนาจิตตามแนว ของสติและสมาธิ
ศาสนาที่ตนนับถือตามที่ - ฝึ กสมาธิเบื้องต้น
กำหนด - ฝึ กสติเบื้องต้นด้วยกิจกรรม
การเคลื่อนไหวอย่างมีสติ
-ฝึ กให้มีสมาธิในการฟั ง การอ่าน
การคิด การถามและการเรียน
7. บอกชื่อศาสนา ศาสดา -ชื่อศาสนา ศาสดา และคัมภีร์
และความสำคัญของคัมภีร์ ของศาสนาต่าง ๆ
ของศาสนาที่ตนนับถือและ  พระพุทธศาสนา
39

ศาสนาอื่นๆ o ศาสดา : พระพุทธเจ้า


o คัมภีร์ : พระไตรปิ ฎก
 ศาสนาอิสลาม
o ศาสดา : มุฮัมมัด
o คัมภีร์ : อัลกุรอาน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

 คริสต์ศาสนา
o ศาสดา : พระเยซู
o คัมภีร์ : ไบเบิล
 ศาสนาฮินดู
o ศาสดา : ไม่มศ
ี าสดา
คัมภีร์ : พระเวท พราหมณะ
อุปนิษัท อารัณยกะ

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


40

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี


และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 1. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม  การฝึ กปฏิบัติมรรยาท
ต่อสาวกของศาสนาที่ตน ชาวพุทธ
นับถือ ตามที่กำหนดได้ถก
ู  การพนมมือ
ต้อง  การไหว้
 การกราบ
 การนั่ง
 การยืน การเดิน
2. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี  การเข้าร่วมกิจกรรมและ
พิธีกรรม และวันสำคัญทาง พิธีกรรม ที่เกี่ยว
ศาสนา ตามที่กำหนดได้ถูก เนื่องกับวันสำคัญทางพุทธ
ต้อง ศาสนา
 ระเบียบพิธีการบูชาพระ
รัตนตรัย
 การทำบุญตักบาตร

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี
มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดำรงชีวติ อยูร่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสข

41

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 1. ปฏิบัติตนตามข้อตกลง  ข้อตกลง กติกา กฎ
กติกา กฎ ระเบียบและ ระเบียบ หน้าที่ ที่ต้อง
หน้าที่ที่ต้องปฏิบัติในชีวิต ปฏิบัติในครอบครัว
ประจำวัน โรงเรียน สถานที่สาธารณะ
เช่น โรงภาพยนต์ โบราณ
สถาน ฯลฯ
2. ปฏิบัติตนตนตาม  มารยาทไทย เช่น การ
มารยาทไทย แสดงความเคารพ การยืน
การเดิน การนั่ง การนอน
การทักทาย การรับ
ประทาน
3. แสดงพฤติกรรมในการ  การยอมรับความแตกต่าง
ยอมรับความคิด ความเชื่อ ของคนในสังคม ในเรื่อง
และการปฏิบัติของบุคคล ความคิด ความเชื่อ ความ
อื่นที่แตกต่างกันโดย สามารถและการปฏิบัติตน
ปราศจากอคติ ของบุคคลอื่นที่ แตกต่างกัน
เช่น
-บุคคลย่อมมีความคิดที่
มีเหตุผล
-การปฏิบัติตนตาม
พิธีกรรมตาม
ความเชื่อของบุคคล
-บุคคลย่อมมีความ
สามารถแตกต่างกัน
-ไม่พูดหรือแสดงอาการ
ดูถูกรังเกียจผู้อ่ น
ื ในเรื่อง
ของรูปร่างหน้าตา สีผม สี
ผิว ที่แตกต่างกัน
4. เคารพในสิทธิ เสรีภาพ  สิทธิส่วนบุคคล เช่น
ของผู้อ่ น
ื -สิทธิแสดงความคิดเห็น
-สิทธิเสรีภาพในร่างกาย
-สิทธิในทรัพย์สิน
42

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน


ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา
ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 1. อธิบายความสัมพันธ์ของ  ความสัมพันธ์ของตนเอง
ตนเอง และสมาชิกใน และสมาชิกในครอบครัวกับ
ครอบครัวในฐานะเป็ นส่วน ชุมชน เช่น การช่วยเหลือ
หนึง่ ของชุมชน กิจกรรมของชุมชน
2. ระบุผู้มีบทบาท อำนาจ  ผู้มีบทบาท อำนาจใน
ในการตัดสินใจในโรงเรียน การตัดสินใจ
และชุมชน ในโรงเรียน และชุมชน เช่น
ผู้บริหารสถานศึกษา ผู้นำ
ท้องถิ่น กำนัน ผู้ใหญ่บ้าน

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต


และการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมี
43

ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ


พอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 1. ระบุทรัพยากรที่นำมา  ทรัพยากรที่นำมาใช้ในการ
ผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ ผลิตสินค้าและบริการที่ใช้ใน
ในชีวิตประจำวัน ครอบครัวและโรงเรียน เช่น
ดินสอและกระดาษที่ผลิตจาก
ไม้ รวมทัง้ เครื่องจักรและ
แรงงานการผลิต
 ผลของการใช้ทรัพยากรใน
การผลิตที่หลากหลายที่มีต่อ
ราคา คุณค่าและประโยชน์
ของสินค้าและบริการ รวมทัง้
สิ่งแวดล้อม
2. บอกที่มาของรายได้และ  การประกอบอาชีพของ
รายจ่ายของตนเองและ ครอบครัว
ครอบครัว  การแสวงหารายได้ที่สุจริต
และเหมาะสม
 รายได้และรายจ่ายในภาพ
รวมของครอบครัว
 รายได้และรายจ่ายของ
ตนเอง
3. บันทึกรายรับรายจ่าย  วิธีการทำบัญชีรายรับราย
ของตนเอง จ่ายของตนเองอย่างง่ายๆ
 รายการของรายรับที่เป็ นราย
ได้ที่เหมาะสม และไม่เหมาะ
สม
 รายการของรายจ่ายที่เหมาะ
สมและ ไม่เหมาะสม
4. สรุปผลดีของการใช้จ่าย  ที่มาของรายได้ที่สุจริต
ที่เหมาะสมกับรายได้และ  การใช้จ่ายที่เหมาะสม
44

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การออม  ผลดีของการใช้จ่ายที่เหมาะ
สมกับรายได้
 การออมและผลดีของการ
ออม
 การนำเงินที่เหลือมาใช้ให้
เกิดประโยชน์ เช่น การช่วย
เหลือสาธารณกุศล

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความ


สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกัน
ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 1. อธิบายการแลกเปลี่ยน  ความหมายและความสำคัญ
สินค้าและบริการโดยวิธี ของการแลกเปลี่ยนสินค้าและ
ต่างๆ บริการ
 ลักษณะของการแลกเปลี่ยน
สินค้าและบริการโดยไม่ใช้เงิน
รวมทัง้ การแบ่งปั น การ
ช่วยเหลือ
 ลักษณะการแลกเปลี่ยน
สินค้าและบริการโดยการใช้
45

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เงิน
2. บอกความสัมพันธ์  ความหมายและบทบาทของ
ระหว่างผูซ
้ ้อ
ื และผู้ขาย ผู้ซ้อ
ื และผู้ขาย ผูผ
้ ลิตและผู้
บริโภคพอสังเขป
 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซ้อ ื
และผู้ขายในการกำหนดราคา
สินค้าและบริการ
 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซ้อ ื
และผู้ขาย ทำให้สังคม
สงบสุข และประเทศมั่นคง

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัย
ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มา
วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 1. ใช้คำระบุเวลาที่แสดง  คำที่แสดงช่วงเวลาในอดีต
เหตุการณ์ในอดีต ปั จจุบัน ปั จจุบัน และอนาคต เช่น วัน
และอนาคต นี ้ เมื่อวานนี ้ พรุ่งนี ้ เดือน
นี ้ เดือนหน้า เดือนก่อน
 วันสำคัญที่ปรากฏในปฏิทิน
ที่แสดงเหตุการณ์สำคัญใน
อดีตและปั จจุบัน
 ใช้คำบอกช่วงเวลา อดีต
ปั จจุบัน อนาคต แสดง
เหตุการณ์ได้
2. ลำดับเหตุการณ์ที่เกิดขึน
้  วิธีการสืบค้นเหตุการณ์ที่
ในครอบครัวหรือในชีวิตของ ผ่านมาแล้ว ที่เกิดขึน

ตนเองโดยใช้หลักฐาน กับตนเองและครอบครัว
46

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้หลักฐานที่เกี่ยวข้อง
เช่น ภาพถ่าย
 สูติบัตร ทะเบียนบ้าน
 ใช้คำที่บอกช่วงเวลาแสดง
เหตุการณ์ ที่เกิด
ขึน
้ ในครอบครัวหรือในชีวิต
ตนเอง
 ใช้เส้นเวลา (Time Line)
ลำดับเหตุการณ์ ที่เกิดขึน้ ได้

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน


ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 1. สืบค้นถึงการ  วิธีการสืบค้นข้อมูลอย่างง่ายๆ
เปลี่ยนแปลง เช่น การสอบถามพ่อแม่ ผู้รู้
ในวิถีชีวิตประจำวันของ  วิถีชีวิตของคนในชุมชน เช่น
คนในชุมชน ของตนจาก การประกอบอาชีพ
อดีตถึงปั จจุบัน การแต่งกาย การสื่อสาร
ประเพณี ในชุมชนจากอดีต ถึง
ปั จจุบัน
 สาเหตุของการเปลี่ยนแปลงวิถี
ชีวิตของคนในชุมชน
2. อธิบายผลกระทบของ  การเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตของ
การเปลี่ยนแปลง ที่มีต่อ คนในชุมชนทางด้านต่างๆ
47

วิถีชีวิตของคน  ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่
ในชุมชน มีต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา
ไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
ธำรงความเป็ นไทย

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 1. ระบุบค ุ คลที่ทำประโยชน์  บุคคลในท้องถิ่นที่ทำคุณ
ต่อท้องถิ่นหรือประเทศชาติ ประโยชน์ต่อการสร้างสรรค์
วัฒนธรรม และความมั่นคง
ของท้องถิ่น และประเทศ
ชาติ ในอดีตที่ควรนำเป็ น
แบบอย่าง
 ผลงานของบุคคลในท้องถิ่น
ที่น่าภาคภูมิใจ

2. ยกตัวอย่างวัฒนธรรม  ตัวอย่างของวัฒนธรรม
ประเพณี และภูมิปัญญาไทย ประเพณีไทย เช่น การ
ที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ ทำความเคารพ อาหารไทย
ไว้ ภาษาไทย ประเพณี
สงกรานต์ ฯลฯ
 คุณค่าของวัฒนธรรม และ
ประเพณีไทย ที่มีต่อสังคม
ไทย
 ภูมิปัญญาของคนไทยใน
ท้องถิ่นของนักเรียน

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
48

มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์


ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่
และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ
สรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 1. ระบุสิ่งแวดล้อมทาง สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับที่
ธรรมชาติ และที่มนุษย์ มนุษย์สร้างขึน
้ ซึ่งปรากฏ
สร้างขึน
้ ซึง่ ปรากฏ ระหว่างบ้านกับโรงเรียน
ระหว่างบ้านกับโรงเรียน
2. ระบุตำแหน่งและ  ตำแหน่งและลักษณะทาง
ลักษณะทางกายภาพของ กายภาพของสิง่ ต่างๆที่ปรากฏใน
สิ่งต่างๆ ที่ปรากฏใน แผนที่ แผนผัง รูปถ่ายและ
แผนผัง แผนที่ รูปถ่าย ลูกโลก เช่น ภูเขา ที่ราบ แม่น้ำ
และลูกโลก ต้นไม้ ทะเล
3. สังเกตและแสดงความ ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวง
สัมพันธ์ระหว่างโลก ดวง อาทิตย์และ ดวงจันทร์ที่ทำให้
อาทิตย์และดวงจันทร์ที่ เกิดปรากฏการณ์ เช่น ข้างขึน

ทำให้เกิดปรากฏการณ์ ข้างแรม ฤดูกาลต่างๆ
49

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.2 1. อธิบายความสำคัญของ  ความสำคัญของสิง่ แวดล้อม
สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ ทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
และที่มนุษย์สร้างขึน
้ ที่มนุษย์สร้างขึน
้ ในการดำเนิน
ชีวิต
2. จำแนกและใช้  ประเภทของ
ทรัพยากรธรรมชาติ ที่ใช้ ทรัพยากรธรรมชาติ
แล้วไม่หมดไป ที่ใช้แล้ว - ใช้แล้วไม่หมดไป เช่น
หมดไป และสร้างทดแทน อากาศ แสงอาทิตย์
ขึน
้ ใหม่ได้อย่างคุ้มค่า - ใช้แล้วหมดไป เช่น แร่
ถ่านหิน น้ำมัน ก๊าซ
ธรรมชาติ
- สร้างทดแทนขึน
้ ใหม่ได้
เช่น น้ำ ดิน ป่ าไม้ สัตว์
ป่ า
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติ
50

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
อย่างคุ้มค่า
3. อธิบายความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ระหว่างฤดูกาล
ระหว่างฤดูกาลกับการ กับการดำเนินชีวิตของมนุษย์
ดำเนินชีวิตของมนุษย์
4. มีส่วนร่วมในการจัดการ  ผลกระทบของการ
สิ่งแวดล้อมในโรงเรียน เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่มีต่อ
โรงเรียน
การรักษาและฟื้ นฟูสิ่ง
แวดล้อมในโรงเรียน
51

คำอธิบายรายวิชา

ส 12101 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2
เวลา 80 ชั่วโมง
.............................................................................................................
.......................................................

ศึกษาความสำคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติ ชื่อศาสนา


ศาสดา ความหมายและความสำคัญของหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
และศาสนาอื่นๆ ชื่นชมและเห็นคุณค่าของการปฏิบัติตนตามหลักธรรม
และพิธีกรรมของศาสนา ปฏิบัติตนตามกฎ กติกา ของสังคม ยอมรับ
และเคารพในสิทธิของผู้อ่ น
ื ระบุทรัพยากรในท้องถิ่น บอกที่มาของราย
ได้รายจ่าย บันทึกรายรับรายจ่าย สรุปผลดีของการออม อธิบายการ
แลกเปลี่ยนสินค้าและบอกความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซ้อ
ื และผู้ขาย ใช้คำที่
แสดงเหตุการณ์ในอดีต / ปั จจุบัน และอนาคต สืบค้นและอธิบายถึง
ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน ชื่นชม
บุคคลในท้องถิ่นที่ทำคุณประโยชน์ต่อส่วนรวม ปฏิบัติตามวัฒนธรรม
ประเพณีและธำรงรักษาไว้ซึ่งภูมิปัญญาท้องถิ่น ระบุสิ่งแวดล้อมทาง
ธรรมชาติกับที่มนุษย์สร้างขึน
้ ซึ่งปรากฏระหว่างบ้านกับโรงเรียน
ตำแหน่งและลักษณะทางกายภาพ ของสิง่ ต่างๆที่ปรากฏในแผนที่ แผนผัง
รูปถ่าย และลูกโลก สังเกตและแสดงความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวง
52

อาทิตย์และดวงจันทร์ที่ทำให้เกิดปรากฏการณ์ ข้างขึน
้ ข้างแรม ฤดูกาล
ต่างๆ อธิบายความสำคัญของสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติและสิ่งแวดล้อมที่
มนุษย์สร้างขึน
้ ในการดำเนินชีวิต จำแนกประเภทของทรัพยากรธรรมชาติ
การใช้ทรัพยากรธรรมชาติอย่างคุ้มค่า อธิบายความสำคัญระหว่างฤดูกาล
กับการดำเนินชีวิตของมนุษย์ ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
ที่มีต่อโรงเรียน มีส่วนร่วมในการรักษาและฟื้ นฟูสิ่งแวดล้อมในโรงเรียน
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม ทักษะการสำรวจ ทักษะ
การสังเกต ทักษะการสืบค้นข้อมูล ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการเรียง
ลำดับ ทักษะการแสวงหาความรู้ ทักษะการสรุปย่อ เพื่อให้เกิดความรู้
ความเข้าใจ มีคุณธรรม จริยธรรม มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ในด้าน
ความซื่อสัตย์สุจริต มีจิตสาธารณะ รักความเป็ นไทย มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้
อยู่อย่างพอเพียง สามารถนำความรู้ไปประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน และ
สามารถดำเนินชีวิตอยู่ในสังคมได้อย่างมีคุณภาพ
รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
ส 1.1 ป. 2/1, ป. 2/2, ป. 2/3, ป. 2/4,ป. 2/5,ป. 2/6,ป. 2/7
ส 1.2 ป. 2/1 , ป. 2/2
ส 2.1 ป. 2/1,ป. 2/2 ,ป. 2/3,ป. 2/4
ส 2.2 ป. 2/1 , ป. 2/2
ส 3.1 ป. 2/1 , ป. 2/2, ป.2/3
ส 3.2 ป. 2/1 , ป. 2/2
ส 5.1 ป. 2/1 , ป. 2/2,ป.2/3
ส 5.2 ป. 2/1,ป. 2/2, ป. 2/3,ป. 2/4

รวมทัง้ หมด 27 ตัวชีว


้ ัด
53

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2
ส 12101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 80 ชั่วโมง/ปี

มาตรฐาน สัดส่วน
เวลา(
การเรียน คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ ชั่วโมง
รู้/ ตัวชี ้ % รวม
)
วัด %
หน่วยที่ 1 ศาสนาในชุมชน ส 1.1 10
-ความสำคัญของพุทธศาสนาหรือ - ป. 2/1
ศาสนาที่ตนนับถือ - ป. 2/2
-พุทธประวัติ หรือศาสดาที่นับถือ - ป. 2/3
-พุทธสาวก พุทธสาวิกา - ป. 2/5
-ชาดก
-ศาสนิกชนตัวอย่าง
หน่วยที่ 2 หลักธรรมและพิธีกรรม ส 1.1 10
ทางศาสนา - ป. 2/4
-พระรัตนตรัย - ป. 2/6
-พุทธศาสนสุภาษิต - ป. 2/7
-การฝึ กสมาธิ
หน่วยที่ 3 วันสำคัญทางศาสนา ส 1.2 6
-กิจกรรมวันสำคัญทางศาสนา - ป. 2/1
54

หน่วยที่ 4 การปฏิบัติตนตามศาสนพิธี ส 1.2 14


และพิธีกรรมทางศาสนา ฯลฯ - ป. 2/2
-การเข้าร่วมพิธีกรรมในศาสนาที่ตน
นับถือ
หน่วยที่ 5 กฎ กติกา และระเบียบ ส 2.1 3
ปฏิบัติในชุมชน - ป. 2/1
-ข้อตกลง กฎกติกา ระเบียบหน้าที่ - ป. 2/2
-กิริยามารยาทไทย
หน่วยที่ 6 สิทธิ เสรีภาพส่วนบุคคล ส 2.1 3
-ความแตกต่างของคนในสังคม - ป. 2/3
-สิทธิและเสรีภาพของตนเองและผู้อ่ น
ื - ป. 2/4
หน่วยที่ 7 ครอบครัวและชุมชน ส 2.2 2
-ความสัมพันธ์ของตนเองในครอบครัว - ป. 2/1
กับชุมชน
หน่วยที่ 8 บทบาทผู้นำในชุมชน ส 2.2 2
-บทบาทอำนาจของผู้นำในชุมชน - ป. 2/2
หน่วยที่ 9 การผลิตสินค้าและการ ส 3.1 3
บริการในชุมชน - ป. 2/1
-การนำทรัพยากรที่ใช้ในการผลิต
หน่วยที่ 10 รายได้และรายจ่ายของ ส 3.1 - ป. 3
ครอบครัว 2/2
-รายได้และรายจ่ายของตนเองและ - ป. 2/3
ครอบครัว - ป. 2/4
55

มาตรฐาน เวลา( สัดส่วน


การเรียน ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
รู้/ ตัวชี ้ ) % รวม
วัด %
หน่วยที่ 11 การแลกเปลี่ยนสินค้า ส 3.2 3
และบริการในชุมชน - ป. 2/1
-ความหมายและความสำคัญของ
สินค้า
-ลักษณะการแลกเปลี่ยนสินค้าและ
บริการ
หน่วยที่ 12 ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ ส 3.2 4
ซื้อและผู้ขายในชุมชน - ป. 2/2
-ความหมายและบทบาทของผู้ซ้อ
ื และ
ผู้ขาย ผูผ
้ ลิตและผู้บริโภค
หน่วยที่ 13 ธรรมชาติรอบบ้านและ ส 5.1 4
โรงเรียน - ป. 2/1
-สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติกับที่มนุษย์
สร้างขึน
้ ซึ่งปรากฏระหว่างบ้านกับ
โรงเรียน
หน่วยที่ 14 แผนที่ และเครื่องมือทาง ส 5.1 5
ภูมิศาสตร์ - ป. 2/2
อย่างง่าย
-ตำแหน่งและลักษณะทางกายภาพ
ของสิง่ ต่างๆที่ปรากฏในแผนที่ แผนผัง
รูปถ่ายและลูกโลก เช่น ภูเขา ที่ราบ
56

แม่น้ำ ต้นไม้ ทะเล


หน่วยที่ 15 ปรากฏการณ์ระหว่างโลก ส 5.1 6
ดวงอาทิตย์ และดวงจันทร์ - ป. 2/3
-ความสัมพันธ์ระหว่างโลก ดวง
อาทิตย์และดวงจันทร์ที่ทำให้เกิด
ปรากฏการณ์ เช่น ข้างขึน
้ ข้างแรม
ฤดูกาลต่างๆ

ระหว่างปี 78 30 70
ปลายปี
การทดสอบ 2 30
(สรุปรายวิชา)
รวม 80 100
57

คำอธิบายรายวิชา

ส 12102 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2
เวลา 40 ชั่วโมง
.............................................................................................................
.....................................................

ศึกษาเกี่ยวกับการใช้คำระบุเวลาที่แสดงเหตุการณ์ ในอดีต ปั จจุบัน


และอนาคต ลำดับเหตุการณ์ ที่เกิดขึน
้ นครอบครัวหรือในชีวต
ิ ของ
ตนเอง โดยใช้หลักฐานทีเ่ กีย
่ วข้อง สืบค้นถึงการเปลี่ยนแปลงในวิถีชีวิต
ประจำวันของคนในชุมชนของตนจากอดีตถึงปั จจุบัน อธิบายผลกระทบ
ของการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อวิถีชีวิตของคนในชุมชน ระบุบุคคล ที่ทำ
ประโยชน์ต่อท้องถิ่น หรือประเทศชาติยกตัวอย่างวัฒนธรรมประเพณีและ
ภูมิปัญญาไทยที่ภาคภูมิใจและควรอนุรักษ์ไว้
โดยใช้การอธิบาย การสังเกต การเปรียบเทียบ กระบวนการกลุ่ม
การสำรวจตรวจสอบข้อมูล กระบวนการคิดวิเคราะห์ เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอ สื่อสารสิ่งที่เรียนรู้ มี
ความสามารถในการตัดสินใจ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่าง
พอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย เห็นคุณค่าของ
วัฒนธรรมไทย มีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่าของการนำความรู้ไปใช้ในชีวิต
ประจำวัน มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
58

ส 4.1 ป.2/1, ป.2/2


ส 4.2 ป.2/1, ป.2/2
ส 4.3 ป.2/1, ป.2/2

รวมทัง้ สิน
้ 6 ตัวชีว
้ ัด
59

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชาพื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2 รหัส/รายวิชา ส 12102
ประวัติศาสตร์ เวลา 40
ชั่วโมง/ปี

สัดส่วนคะแนน
มาตรฐา (%)
เวลา
นการ ภาระ สอ รว
หน่วยการเรียนรู้ (ชั่วโ
เรียนรู้ งาน บ ม
มง)
ตัวชีว
้ ัด ย่อ

หน่วยที่ 1 คำระบุเวลาที่แสดง
เหตุการณ์ในอดีต ปั จจุบันและ ส 4.1
อนาคต ป.2/1 6
-คำที่แสดงช่วงเวลาในอดีต ปั จจุบัน
และอนาคต
-วันสำคัญที่ปรากฏในปฏิทิน
หน่วยที่ 2 เหตุการณ์ที่เกิดขึน
้ ใน
ครอบครัวหรือชีวิตตนเอง ส 4.1 6
-วิธีการสืบค้นเหตุการณ์ที่ผ่านมาแล้วที่ ป.2/2
เกิดขึน
้ ในครอบครัวหรือชีวิตตนเอง
หน่วยที่ 3 วิถีชีวิตของคนในชุมชน 70
-วิธีการสืบค้นข้อมูลอย่างง่าย ส 4.2
60

-การเปลี่ยนแปลงของวิถีชีวิตของคนใน ป.2/1 7
ชุมชนในด้านต่างๆ ,ป.2/2
-ผลกระทบของการเปลี่ยนแปลงที่มีต่อ
วิถีชีวิตของคนในชุมชน
สอบระหว่างปี 1 10
หน่วยที่ 4 บุคคลสำคัญในท้องถิ่น
-บุคคลที่ทำประโยชน์แก่ท้องถิ่นหรือ ส 4.3 9
ประเทศชาติ ป.2/1
-ผลงานของบุคคลในท้องถิ่นที่น่าภาค
ภูมิใจ
หน่วยที่ 5 วัฒนธรรมประเพณีและ
ภูมิปัญญาไทย ส 4.3
-ตัวอย่างของวัฒนธรรมประเพณีไทย ป.2/2 10
-คุณค่าของวัฒนธรรมและประเพณี
ไทยที่มีต่อสังคมไทย
-ภูมิปัญญาของคนไทยในจังหวัดสตูล
ระหว่างปี 39 30 70
ปลายปี การ
1 30
(สรุปรายวิชา) ทดสอบ
รวม 40 100
61

ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3
สาระมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.3 1. อธิบายความสำคัญของ  ความสัมพันธ์ของพระพุทธ


พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ ศาสนากับการดำเนินชีวิตประจำ
ตนนับถือ ในฐานะที่เป็ น วัน เช่น
รากฐานสำคัญของวัฒนธรรม การสวดมนต์ การทำบุญ ใส่
ไทย บาตร การแสดงความเคารพ การ
ใช้ภาษา

 พระพุทธศาสนามีอิทธิพลต่อ
การสร้างสรรค์ผลงานทาง
วัฒนธรรมไทยอันเกิดจากความ
ศรัทธา เช่น วัด ภาพวาด
พระพุทธรูป วรรณคดี
สถาปั ตยกรรมไทย
62

2. สรุปพุทธประวัติตงั ้ แต่การ  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)


บำเพ็ญเพียรจนถึงปรินิพพาน  การบำเพ็ญเพียร
หรือประวัติของศาสดาที่ตน  ผจญมาร
นับถือตามที่กำหนด  ตรัสรู้
 ปฐมเทศนา
 ปรินิพพาน
3. ชื่นชมและบอกแบบอย่าง  สามเณรสังกิจจะ
การดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก  อารามทูสกชาดก
ประวัติสาวก ชาดก/เรื่องเล่า  มหาวาณิชชาดก
และศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่  สมเด็จพระพุฒาจารย์ (โต
กำหนด พฺรหฺมรํสี)
 สมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช
4. บอกความหมาย ความ  ความสำคัญของพระไตรปิ ฎก
สำคัญของพระไตรปิ ฎก หรือ เช่น เป็ นแหล่งอ้างอิงของหลักธรรม
คัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ คำสอน
63

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้

5. แสดงความเคารพพระ -พระรัตนตรัย
รัตนตรัย และปฏิบัติตามหลัก  ศรัทธา
ธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธ -โอวาท 3
ศาสนา หรือหลักธรรมของ  ไม่ทำชั่ว
ศาสนาที่ตนนับถือตามที่ ° เบญจศีล
กำหนด  ทำความดี
° เบญจธรรม
° สติ-สัมปชัญญะ
° สังคหวัตถุ 4
° ฆราวาสธรรม 4
° อัตถะ 3 (อัตตัตถะ, ปรัต
ถะ, อุภยัตถะ)
กตัญญูกตเวทีต่อชุมชน, สิ่ง
แวดล้อม
มงคล 38
- รู้จักให้
- พูดไพเราะ
- อยู่ในสิ่งแวดล้อมที่ดี
 ทำจิตให้บริสุทธิ ์ (บริหารจิต
และเจริญ ปั ญญา)
พุทธศาสนสุภาษิต
 ททมาโน ปิ โย โหติ

ผู้ให้ย่อมเป็ นที่รัก
64

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้

 โมกฺโข กลฺยาณิยา สาธุ


เปล่งวาจาไพเราะให้สำเร็จ
ประโยชน์
6. เห็นคุณค่าและสวดมนต์ - ฝึ กสวดมนต์ ไหว้พระ สรรเสริญ
แผ่เมตตา คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิ - รู้ความหมายและประโยชน์ของ
ในพระพุทธศาสนา หรือการ สติและสมาธิ
พัฒนาจิต - รู้ประโยชน์ของการฝึ กสติ
ตามแนวทางของศาสนาที่ตน - ฝึ กสมาธิเบื้องต้นด้วยการนับลม
นับถือ หายใจ
ตามที่กำหนด - ฝึ กการยืน การเดิน การนั่ง
และการนอน อย่างมีสติ
- ฝึ กให้มีสมาธิในการฟั ง การอ่าน
การคิด การถาม และการเขียน

7. บอกชื่อ ความสำคัญและ - ชื่อและความสำคัญของศาสน


ปฏิบัติตน ได้อย่าง วัตถุ ศาสนสถานและ
เหมาะสมต่อศาสนวัตถุ ศาสนบุคคล ในพระพุทธศาสนา
ศาสนสถาน และศาสนบุคคล ศาสนาอิสลาม คริสต์ศาสนา
ของศาสนาอื่นๆ ศาสนาฮินดู
- การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อ
ศาสนวัตถุ
ศาสนสถานและศาสนบุคคลใน
65

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้

ศาสนาอื่น ๆ

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี


และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 1. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม  ฝึ กปฏิบัติมรรยาทชาว
ต่อสาวก ศาสนสถาน ศาสน พุทธ
วัตถุของศาสนาที่ตนนับถือ  การลุกขึน
้ ยืนรับ
ตามที่กำหนดได้ถูกต้อง  การต้อนรับ
 การรับ – ส่งสิ่งของแก่
พระภิกษุ
 มรรยาทในการสนทนา
 การสำรวมกิริยา
มารยาท การ
แต่งกายที่เหมาะสมเมื่อ
อยู่ในวัดและ
พุทธสถาน
 การดูแลรักษาศาสน
วัตถุและ ศาสนสถาน
2. เห็นคุณค่า และปฏิบัติตน  การอาราธนาศีล
66

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ในศาสนพิธีพิธีกรรม และวัน  การสมาทานศีล
สำคัญทางศาสนาตามที่  เครื่องประกอบโต๊ะหมู่บูชา
กำหนดได้ถูกต้อง การจัดโต๊ะหมู่บูชา

3. แสดงตนเป็ นพุทธมามกะ  ความเป็ นมาของการ


หรือแสดงตนเป็ นศาสนิกช แสดงตนเป็ น
นของศาสนาที่ตนนับถือ พุทธมามกะ
 การแสดงตนเป็ น
พุทธมามกะ
 ขัน
้ เตรียมการ
 ขัน้ พิธีการ

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี
มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดำรงชีวต
ิ อยูร่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสข

67

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 1. สรุปประโยชน์และปฏิบัติ  ประเพณีและวัฒนธรรม
ตนตามประเพณีและ ในครอบครัว
วัฒนธรรมในครอบครัวและ เช่น การแสดงความเคารพ
ท้องถิ่น และการเชื่อฟั งผู้ใหญ่ การก
ระทำกิจกรรมร่วมกัน
ในครอบครัว
 ประเพณีและวัฒนธรรมใน
ท้องถิ่น เช่น การเข้าร่วม
ประเพณีทางศาสนา
ประเพณีเกี่ยวกับการ
ดำเนินชีวิต ประโยชน์ของ
การปฏิบัติตนตามประเพณี
และวัฒนธรรมในครอบครัว
และท้องถิ่น
2. บอกพฤติกรรมการ  พฤติกรรมของตนเองและ
ดำเนินชีวิตของตนเอง และ เพื่อนๆ ในชีวิต
ผู้อ่ น
ื ที่อยู่ในกระแส ประจำวัน เช่น การทักทาย
วัฒนธรรมที่หลากหลาย การทำความเคารพ การ
ปฏิบัติตาม ศาสน
พิธี การรับประทานอาหาร
การใช้ภาษา (ภาษาถิ่นกับ
ภาษาราชการ และภาษา
อื่นๆ ฯลฯ )
 สาเหตุททำ
ี่ ให้พฤติกรรม
การดำเนินชีวิตในปั จจุบัน
ของนักเรียน และผู้อ่ น
ื แตก
ต่างกัน
68

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. อธิบายความสำคัญขอวัน  วันหยุดราชการที่สำคัญ
หยุดราชการที่สำคัญ เช่น
- วันหยุดเกี่ยวกับชาติและ
พระมหากษัตริย์ เช่น วัน
จักรี วัน
รัฐธรรมนูญ วัน
ฉัตรมงคล
วันเฉลิมพระชนมพรรษา
- วันหยุดราชการเกี่ยว
กับศาสนา เช่น
วันมาฆบูชา วัน
วิสาขบูชา วัน
อาสาฬหบูชา วันเข้า
พรรษา
- วันหยุดราชการเกี่ยวกับ
ประเพณีและวัฒนธรรม
เช่น วันสงกรานต์
วันพืชมงคล
4. ยกตัวอย่างบุคคลซึ่งมีผล  บุคคลที่มีผลงานเป็ น
งานที่เป็ นประโยชน์แก่ชุมชน ประโยชน์แก่ชุมชนและท้อง
และท้องถิ่นของตน ถิ่นของตน
 ลักษณะผลงานที่เป็ น
ประโยชน์แก่ชุมชนและท้อง
ถิ่น
69

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน


ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา
ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 1. ระบุบทบาทหน้าที่ของ  บทบาทหน้าที่ของ
สมาชิกของชุมชนในการมี สมาชิกในชุมชน
ส่วนร่วมในกิจกรรมต่างๆ  การมีส่วนร่วมใน
ตามกระบวนการ กิจกรรมต่างๆ ตาม
ประชาธิปไตย กระบวนการประชาธิปไตย
2. วิเคราะห์ความแตกต่าง  การออกเสียงโดยตรง
ของกระบวนการการตัดสิน และการเลือกตัวแทนออก
ใจในชัน
้ เรียน/โรงเรียนและ เสียง
ชุมชนโดยวิธีการออกเสียง
โดยตรงและการเลือก
ตัวแทนออกเสียง
3. ยกตัวอย่างการ  การตัดสินใจของบุคคล
เปลี่ยนแปลงในชัน
้ เรียน/โรง และกลุ่มที่มีผลต่อการ
เรียนและชุมชนที่เป็ นผล เปลี่ยนแปลงในชัน
้ เรียน
จากการตัดสินใจของบุคคล โรงเรียน และชุมชน
และกลุ่ม - การเปลี่ยนแปลงในชัน

เรียน เช่น
70

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
การเลือกหัวหน้าห้อง
การเลือก
คณะกรรมการห้องเรียน
- การเปลี่ยนแปลงใน
โรงเรียน เช่น เลือก
 ประธานนักเรียน เลือก
คณะกรรมการนักเรียน
 การเปลี่ยนแปลงใน
ชุมชน เช่น การเลือกผู้ใหญ่
บ้าน กำนัน สมาชิก อบต.
อบจ.
71

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต
และการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 1. จำแนกความต้องการ  สินค้าที่จำเป็ นในการดำรง
และความจำเป็ นในการใช้ ชีวิตที่ เรียกว่าปั จจัย 4
สินค้าและบริการในการ  สินค้าที่เป็ นความต้องการ
ดำรง ชีวิต ของมนุษย์อาจ เป็ นสินค้าที่
จำเป็ นหรือไม่จำเป็ นต่อการ
ดำรงชีวิต
 ประโยชน์และคุณค่าของ
สินค้าและบริการ ที่สนอง
ความต้องการของมนุษย์
 หลักการเลือกสินค้าที่จำเป็ น
 ความหมายของผูผ ้ ลิตและผู้
บริโภค
2. วิเคราะห์การใช้จ่ายของ  ใช้บัญชีรับจ่ายวิเคราะห์การ
ตนเอง ใช้จ่ายที่จำเป็ นและเหมาะสม
 วางแผนการใช้จ่ายเงินของ
ตนเอง
 วางแผนการแสวงหารายได้ที่
สุจริตและเหมาะสม
 วางแผนการนำเงินที่เหลือ
จ่ายมาใช้อย่างเหมาะสม
72

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3.อธิบายได้ว่าทรัพยากรที่มี  ความหมายของผูผ
้ ลิตและผู้
อยู่จำกัดมีผลต่อการผลิต บริโภค
และบริโภคสินค้าและ  ความหมายของสินค้าและ
บริการ บริการ
 ปั ญหาพืน
้ ฐานทางเศรษฐกิจที่
เกิดจากความ หายาก
ของทรัพยากรกับความต้องการ
ของมนุษย์ทม
่ี ไี ม่จำกัด

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความ


สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกัน
ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 1. บอกสินค้าและบริการที่  สินค้าและบริการที่ภาครัฐทุก
73

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
รัฐจัดหาและให้บริการแก่ ระดับจัดหาและให้บริการแก่
ประชาชน ประชาชน เช่น ถนน โรงเรียน
สวนสาธารณะ การสาธารณสุข
การบรรเทาสาธารณภัย
2. บอกความสำคัญของ  ความหมายและความสำคัญ
ภาษีและบทบาทของ ของภาษีที่รัฐนำมาสร้างความ
ประชาชนในการเสียภาษี เจริญและให้บริการแก่
ประชาชน
 ตัวอย่างของภาษี เช่นภาษี
รายได้บุคคลธรรมดา ภาษี
มูลค่าเพิ่ม ฯลฯ
 บทบาทหน้าที่ของประชาชน
ในการเสียภาษี
3. อธิบายเหตุผลการ  ความสำคัญและผลกระทบ
แข่งขันทางการค้า ที่มีผล ของการแข่งขันทางการค้าที่มี
ทำให้ราคาสินค้าลดลง ผลทำให้ราคาสินค้าลดลง

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัย


ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มา
วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 1. เทียบศักราชที่สำคัญตาม  ที่มาของศักราชที่ปรากฏใน
ปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ปฏิทิน เช่น พุทธศักราช
คริสต์ศักราชอย่างสังเขป
(ถ้าเป็ นมุสลิมควรเรียนฮิจเราะห์
ศักราชด้วย )
 วิธีการเทียบ พ.ศ. เป็ น ค.ศ.
หรือ ค.ศ. เป็ น พ.ศ.
74

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 ตัวอย่างการเทียบศักราช ใน
เหตุการณ์ ที่เกี่ยวข้อง
กับนักเรียน เช่น ปี เกิดของ
นักเรียน เป็ นต้น

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
2. แสดงลำดับเหตุการณ์  วิธีการสืบค้นเหตุการณ์
สำคัญของโรงเรียนและชุมชน สำคัญของโรงเรียนและ
โดยระบุหลักฐานและแหล่ง ชุมชนโดยใช้หลักฐาน และ
ข้อมูลที่เกี่ยวข้อง แหล่งข้อมูล ที่เกี่ยวข้อง
 ใช้เส้นเวลา (Time Line)
ลำดับเหตุการณ์ ที่เกิดขึน ้ ใน
โรงเรียนและชุมชน

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน


ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 1. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ  ปั จจัยการตัง้ ถิ่นฐานของ
การตัง้ ถิ่นฐานและ ชุมชนซึ่งขึน
้ อยู่กับปั จจัยทาง
75

พัฒนาการของชุมชน ภูมิศาสตร์และปั จจัยทาง


สังคม เช่น ความเจริญทาง
เทคโนโลยี
การคมนาคม ความ
ปลอดภัย
 ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อ
พัฒนาการของชุมชนทัง้
ปั จจัยทางภูมิศาสตร์ และ
ปั จจัยทางสังคม
2. สรุปลักษณะที่สำคัญของ  ขนบธรรมเนียม ประเพณี
ขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมชุมชนของ
และวัฒนธรรมของชุมชน ตนที่เกิดจากปั จจัยทาง
3. เปรียบเทียบความ ภูมิศาสตร์และปั จจัยทาง
เหมือนและความต่างทาง สังคม
วัฒนธรรมของชุมชนตนเอง  ขนบธรรมเนียมประเพณี
และวัฒนธรรมของชุมชน
กับชุมชนอื่นๆ อื่นๆ ที่มีความเหมือนและ
ความต่างกับชุมชนของ
ตนเอง
76

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา
ไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
ธำรงความเป็ นไทย

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 1. ระบุพระนามและพระราช  พระราชประวัติ พระ
กรณียกิจโดยสังเขปของพระ ราชกรณียกิจ โดยสังเขป
มหากษัตริย์ไทยที่เป็ นผู้ ของพ่อขุนศรีอินทราทิตย์
สถาปนาอาณาจักรไทย สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
(พระเจ้า อู่ทอง)
สมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช และพระบาท
สมเด็จพระพุทธยอดฟ้ า
จุฬาโลกมหาราช ผู้
สถาปนาอาณาจักรไทย
สุโขทัย อยุธยา ธนบุรี
และรัตนโกสินทร์ตาม
ลำดับ
2. อธิบายพระราชประวัติและ  พระราชประวัติและพระ
พระราชกรณียกิจของพระ ราชกรณียกิจของ
มหากษัตริย์ ในรัชกาลปั จจุบัน พระบาทสมเด็จ
โดยสังเขป พระเจ้าอยู่หัว
ภูมิพลอดุลยเดช และ
สมเด็จพระบรมราชินีนาถ
โดยสังเขป
3. เล่าวีรกรรมของบรรพบุรุษ  วีรกรรมของบรรพบุรุษ
ไทย ไทยที่มีส่วนปกป้ อง
ที่มีส่วนปกป้ องประเทศชาติ ประเทศชาติ เช่น ท้าว
เทพสตรี ท้าวศรีสุนทร
77

ชาวบ้านบางระจัน
พระยาพิชัยดาบหัก
สมเด็จพระนเรศวร
มหาราช สมเด็จ
พระเจ้าตากสินมหาราช

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์
ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่
และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ
สรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 1. สำรวจข้อมูลทาง  ข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชน
ภูมิศาสตร์ในโรงเรียนและ แผนที่ แผนผัง และรูปถ่าย
ชุมชนโดยใช้แผนผัง ความสัมพันธ์ของตำแหน่ง
แผนที่ และรูปถ่าย เพื่อ ระยะ ทิศทาง
แสดงความสัมพันธ์ของ
ตำแหน่ง ระยะ ทิศทาง
2. วาดแผนผังเพื่อแสดง  ตำแหน่งที่ตงั ้ ของสถานที่
ตำแหน่งที่ตงั ้ ของสถานที่ สำคัญในบริเวณโรงเรียนและ
สำคัญในบริเวณโรงเรียน ชุมชน เช่น สถานที่ราชการ
และชุมชน ตลาด โรงพยาบาล ไปรษณีย์
78

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.3 1. เปรียบเทียบการ  สิ่งแวดล้อมของชุมชนใน
เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม อดีตกับปั จจุบัน
ของชุมชนในอดีตกับ - สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติ
ปั จจุบัน - สิ่งแวดล้อมที่มนุษย์สร้างขึน

2. อธิบายการใช้ประโยชน์  การใช้ประโยชน์จากสิ่ง
จากสิง่ แวดล้อมและ แวดล้อมในการดำเนินชีวิตของ
ทรัพยากรธรรมชาติในการ มนุษย์ เช่น การคมนาคม บ้าน
สนองความต้องการพื้น เรือน และการประกอบอาชีพ
ฐานของมนุษย์ และการ ในชุมชน
ประกอบอาชีพ การประกอบอาชีพที่เป็ นผล
มาจากสิ่งแวดล้อมทาง
ธรรมชาติในชุมชน

3. อธิบายสาเหตุททำ
ี่ ให้ ความหมายและประเภทของ
เกิดมลพิษโดยมนุษย์ มลพิษโดยมนุษย์
สาเหตุของการเกิดมลพิษที่
79

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เกิดจากการกระทำของมนุษย์
4. อธิบายความแตกต่าง  ลักษณะของเมืองและชนบท
ของลักษณะเมืองและ เช่น สิง่ ปลูกสร้าง การ
ชนบท ใช้ที่ดิน การประกอบอาชีพ

5. อธิบายความสัมพันธ์ ภูมิประเทศ และภูมิอากาศที่


ระหว่างลักษณะทาง มีผลต่อ การดำเนินชีวิต
กายภาพกับการดำเนิน ของคนในชุมชน
ชีวิตของคนในชุมชน

6. มีส่วนร่วมในการจัดการ ผลกระทบของการ
สิ่งแวดล้อมในชุมชน เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่มีต่อ
ชุมชน
การจัดการสิ่งแวดล้อมใน
ชุมชน
80

คำอธิบายรายวิชา

ส 13101 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3
เวลา 80 ชั่วโมง
.............................................................................................................
......................................................

ศึกษาความสำคัญของพุทธศาสนา องค์ประกอบของศาสนา
ประโยชน์ ประวัติศาสดาของศาสนา ภาษา ที่ใช้ในคัมภีร์ของศาสนาที่ตน
นับถือ หลักจริยธรรมในการพัฒนาตน การบำเพ็ญประโยชน์ต่อ
ครอบครัว โรงเรียน วิธีปฏิบัติเกี่ยวกับ ศาสนพิธี พิธีกรรมในวันสำคัญของ
ศาสนา และเรียนรู้ในท้องถิ่นนักเรียน วันเข้าสุนัต วันสารทไทยการ
บริหารจิต การเจริญปั ญญา สติ สัมปชัญญะ ความรำลึกได้ ความรู้ตัว
ชื่นชมการทำความดีของบุคคลในครอบครัว และโรงเรียน ศีลธรรม
จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม การเป็ นพลเมืองดีในสังคม ประชาธิปไตย การ
เคารพสิทธิและหน้าที่ของตนเอง บทบาทสิทธิเสรีภาพ หน้าที่ สถานภาพ
สิทธิของบุคคลที่พงึ ได้รับการคุ้มครอง การขัดเกลาของสังคม ค่านิยม
ความเชื่อ ประเพณี การอนุรักษ์วัฒนธรรม และภูมิปัญญา ของท้องถิ่น
การสร้างความดี การแก้ปัญหาความขัดแย้ง กฎ กติกา ระเบียบในชุมชน
ความสำคัญของกฎหมายรัฐธรรมนูญ รายรับ – รายจ่าย ผลประโยชน์ที่ผู้
บริโภคได้รับการตัดสินใจเลือกอย่างเหมาะสม ระบบเศรษฐกิจพอเพียง
อาชีพในชุมชนการแลกเปลี่ยน สินค้าและบริการความสำคัญของธนาคาร
ภาษีที่เกี่ยวข้องในชีวิตประจำวัน สำรวจข้อมูลทางภูมิศาสตร์ในชุมชน ใช้
แผนที่ แผนผังและรูปถ่ายแสดงความสัมพันธ์ของตำแหน่ง ระยะ ทิศทาง
81

วาดแผนผัง ตำแหน่ง ที่ตงั ้ ของสถานที่สำคัญในบริเวณโรงเรียนและชุมชน


เปรียบเทียบการเปลี่ยนสิ่งแวดล้อมในอดีตกับปั จจุบัน อธิบายการใช้
ประโยชน์จากสิ่งแวดล้อมในการดำเนินชีวิตของมนุษย์ การประกอบอาชีพ
ที่เป็ นผลมาจากสิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติในชุมชน อธิบายความหมายและ
ประเภทของมลพิษโดยมนุษย์ และสาเหตุการณ์เกิดมลพิษที่เกิดจากการก
ระทำของมนุษย์ อธิบายลักษณะของเมืองและชนบท ภูมิประเทศและภูมิ
อากาศที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในชุมชน ผลกระทบของการ
เปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมที่มีต่อชุมชน มีส่วนร่วมในการจัดการสิ่งแวดล้อม
ในชุมชน
โดยกระบวนการคิด กระบวนการสืบค้นข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ
กระบวนการทางสังคม กระบวนการกลุ่มและกระบวนการแก้ปัญหา
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติ ในการดำเนินชีวิต มี
คุณธรรมจริยธรรม มีคณ
ุ ลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านการรักชาติ ศาสนา
พระมหากษัตริย์ มีหลักธรรมในการดำเนินชีวิต ซื่อสัตย์สุจริต อยู่
อย่างพอเพียง รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ และสามารถดำเนินชีวิต
ในสังคมได้อย่างสันติสข

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
ส 1.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5, ป.3/6, ป.3/7
ส 1.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 2.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4
ส 2.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 3.1 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 3.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 5.1 ป.3/1, ป.3/2
82

ส 5.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3, ป.3/4, ป.3/5,ป.3/6


รวมทัง้ หมด 31 ตัวชีว
้ ัด
โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3
ส 13101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 80 ชั่วโมง/ปี

มาตรฐานการ เวลา สัดส่วน


เรียนรู้ / (ชั่วโม คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
ตัวชีว
้ ัด ง) % รวม
(%)
หน่วยที่ 1 ความสำคัญของ ส 1.1 ป.3/1 6
พุทธศาสนา ส 1.1 ป.3/2
พระพุทธศาสนา
-พุทธประวัติ
หน่วยที่ 2 หลักธรรมทาง ส 1.2 ป.3/1 6
พระพุทธศาสนา
-หลักธรรม
-มงคลชีวิต
-พระไตรปิ ฏก
-พุทธศาสนาสุภาษิต
หน่วยที่ 3 ประวัติพุทธสาวก ส 1.2 ป.3/1 7
และชาดก ส 1.2 ป.3/2
83

-ประวัติพุทธสาวก
-ชาดก
หน่วยที่ 4 หน้าที่ชาวพุทธ ส 1.2 ป.3/1 7
-หน้าที่ชาวพุทธ ส 1.2 ป.3/2
-มารยาทชาวพุทธ ส 1.2 ป.3/3
-ชาวพุทธตัวอย่าง
หน่วยที่ 5 การบริหารจิตและ ส 1.2 ป.3/1 7
การเจริญปั ญญา ส 1.2 ป.3/2
-การบริหาร
หน่วยที่ 6 วันสำคัญทางพุทธ ส 1.2 ป.3/1 7
ศาสนา ส 1.2 ป.3/2
และศาสนพิธี ส 1.2 ป.3/3
-วันสำคัญทางพุทธและศาสนา
อื่น
ศาสนพิธี
หน่วยที่ 7 ฉันเป็ นเด็กดีของ ส 2.2 ป.3/1 2
ตำบล ส 2.2 ป.3/2
-พลเมืองดีของตำบล ส 2.2 ป.3/3
-สถานภาพ บทบาท สิทธิ
เสรีภาพ หน้าที่ ของตนเองและ
ผู้อ่ น

-ยอมรับความสามารถและเห็น
คุณค่าของตนเองและผู้อ่ น

84

มาตรฐาน เวลา สัดส่วน


หน่วยการเรียนรู้ การเรียนรู้ (ชั่วโม คะแนน
/ ง) % รวม
ตัวชีว
้ ัด (%)
หน่วยที่ 8 การบริหารงานในตำบล ส 2.2 2
-โครงสร้างการบริหารตาม ป.3/1
กระบวนการประชาธิปไตยและสภาพ ส 2.2
บทบาท อำนาจหน้าที่ของบุคคลเกี่ยว ป.3/2
กับการบริหาร ส 2.2
ป.3/3

หน่วยที่ 9 ประชาธิปไตยในตำบล ส 2.2 2


-การมีส่วนร่วมในการแสดงความคิด ป.3/1
เห็นตามกระบวนการประชาธิปไตยใน ส 2.2
ตำบล ป.3/2
ส 2.2
ป.3/3
หน่วยที่ 10 สิทธิเด็ก ส 2.1 2
-สิทธิของเด็กที่ควรรู้ ป.3/1-3
ส 2.2
ป.3/1-3
หน่วยที่ 11 กฎหมายและกติกาของ ส 2.1 2
การอยู่ร่วมกัน ป.3/1-3
-กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับบุคคลและ ส 2.2
85

ครอบครัว ป.3/1-3
-กติกาของการอยู่ร่วมกัน
หน่วยที่ 12 การทำงานที่ก่อให้เกิด ส 3.1 2
รายได้และภาษี ป.3/1-3
-การทำงานที่ก่อให้เกิดรายได้ใน ส 3.2
ครอบครัวและโรงเรียนอย่างมี ป.3/1-3
คุณธรรม
-ภาษีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
หน่วยที่ 13 การกระจายรายได้ การ ส 2.1 2
วางแผน การใช้จ่ายของครอบครัวและ ป.3/1-3
ธนาคาร ส 2.2
-การกระจายรายได้และการวางแผน ป.3/1-3
การใช้จ่ายของครอบครัว
-การกระจายรายได้ของตนเอง
-หน้าที่ของธนาคาร
.หน่วยที่ 14 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้อง ส 2.1 2
ต้นและเศรษฐกิจพอเพียง ป.3/1-3
-ความหมายของหลักเศรษฐศาสตร์ ส 2.2
เบื้องต้น ป.3/1-3
-เศรษฐกิจพอเพียงและการประยุกต์ใช้
ในชีวิตประจำวัน
มาตรฐานการ เวลา สัดส่วน
เรียนรู้ / (ชั่วโ คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ มง)
ตัวชีว
้ ัด % รวม
(%)
86

หน่วยที่ 15 ระบบเศรษฐกิจและ ส 2.1 ป.3/1-3 2


การบริหารจัดการทรัพยากร ส 2.2 ป.3/1-3
-ระบบเศรษฐกิจทุนนิยม
-การผลิต การซื้อขายแลก
เปลี่ยนและการบริโภคอย่างฉลาด
และคุ้มค่า
หน่วยที่ 16 เข้าใจชุมชน ส 5.1 ป. 3/1- 2
-เข้าใจสรรพสิ่งของชุมชน 3
ส 5.2 ป. 3/1
-5
หน่วยที่ 17 ธรรมชาติรอบ ส 5.1 ป. 3/1- 2
ชุมชน 2
-ธรรมชาติและภูมิประเทศมีส่วน ส 5.2 ป. 3/1-
ในการกำหนดชุมชน 2

หน่วยที่ 18 สิ่งแวดล้อมทาง ส 5.1 ป. 3/1- 2


วัฒนธรรมในชุมชน 2
-ชุมชนเมืองกับชุมชนชนบท ส 5.2 ป. 3/1-
-ภาวะประชากรกับสิ่งแวดล้อม 2
-สังคมกับวัฒนธรรมในชุมชน
หน่วยที่ 19 สิ่งแวดล้อมใน ส 5.1 ป. 3/1- 2
ชุมชน กรณีศก
ึ ษาชุมชนชาวนา 2
-สิ่งแวดล้อมทางธรรมชาติใน ส 5.2 ป. 3/1-
ชุมชน 2
87

หน่วยที่ 20 แผนที่ชุมชน ส 5.1 ป. 3/1- 3


-แผนผังและแผนที่ 2
ส 5.2 ป. 3/1-
2
หน่วยที่ 21 สำรวจชุมชน ส 5.1 ป. 3/1 4
-การวัดระยะทิศทางและเครื่อง ส 5.1 ป. 3/2
มือ
หน่วยที่ 22 การเฝ้ าระวัง รักษา ส 5.1 ป. 3/1 5
สิ่งแวดล้อมในชุมชน ส 5.1 ป. 3/2
-การอนุรักษ์สิ่งแวดล้อมในชุมชน ส 5.2 ป. 3/1ส
5.2 ป.3/2
ระหว่างปี 78 30 70
ปลายปี การ
(สรุปรายวิชา) ทดสอ 2 30

รวม 80 100
88

คำอธิบายรายวิชา

ส 13102 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3
เวลา 40 ชั่วโมง
.............................................................................................................
.......................................................

ศึกษาศักราชที่สำคัญตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เหตุการณ์
สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุหลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง
ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการตัง้ ถิ่นฐานและพัฒนาการของชุมชนลักษณะที่
สำคัญของขนบธรรมเนียมประเพณี และวัฒนธรรมของชุมชน ความ
เหมือนและความต่างทางวัฒนธรรมของชุมชนตนเองกับชุมชนอื่นๆ
พระนามและพระราชกรณียกิจโดยสังเขปของพระมหากษัตริย์ไทยที่เป็ นผู้
สถาปนาอาณาจักรไทย พระราชประวัติและพระราชกรณียกิจของพระ
มหากษัตริย์ในรัชกาลปั จจุบันโดยสังเขป วีรกรรมของบรรพบุราไทยที่มี
ส่วนปกป้ อง
โดยใช้การอธิบาย อภิปราย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ยกตัวอย่าง
และสรุปความ เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ เห็นคุณค่าของ
วัฒนธรรมไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่
อย่างพอเพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ มี
คุณธรรมจริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
89

ส 4.1 ป.3/1, ป.3/2


ส 4.2 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3
ส 4.3 ป.3/1, ป.3/2, ป.3/3

รวมทัง้ สิน
้ 8 ตัวชีว
้ ัด
90

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชาพื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3 รหัส/รายวิชา ส 13102
ประวัติศาสตร์ เวลา 40
ชั่วโมง/ปี
สัดส่วนคะแนน
(%)
มาตรฐาน เวลา
ภาระ สอ รวม
หน่วยการเรียนรู้ การเรียนรู้ (ชั่วโ
งาน บ
ตัวชีว
้ ัด มง)
ย่อ

หน่วยที่ 1 เวลาในปฏิทิน
และเรื่องราวในอดีตที่ส่งผล ส 4.1
ถึงปั จจุบัน ป.3/1,ป.3/2 6
-การนับช่วงเวลาและการ
เปรียบเทียบการนับ วัน เดือน
ปี ตามแบบสุริยคติและ
จันทรคติ
-ช่วงเวลาตามแบบสุริยคติและ
จันทรคติที่เกี่ยวข้องกับการ
ดำเนินชีวิต
หน่วยที่ 2 การศึกษา
ประวัติชุมชน ส 4.2
-การสืบค้นประวัติชุมชนของ ป.3/1,ป.3/2 6
91

สัดส่วนคะแนน
(%)
มาตรฐาน เวลา
ภาระ สอ รวม
หน่วยการเรียนรู้ การเรียนรู้ (ชั่วโ
งาน บ
ตัวชีว
้ ัด มง)
ย่อ

เรา ป.3/3
-เรื่องราวในชุมชนที่แสดง
ความสัมพันธ์ของอดีต
ปั จจุบันและอนาคต
หน่วยที่ 3 การตัง้ ถิ่นฐาน
และดำเนินชีวิตและ ส 4.2
วัฒนธรรมชุมชน ป.3/1,ป.3/2 7
-ปั จจัยที่มีผลต่อการตัง้ ถิ่นฐาน ป.3/3
ชุมชน
-การดำเนินชีวิตและ
วัฒนธรรมชุมชนในอดีตและ
ปั จจุบัน
สอบระหว่างปี 1 10
หน่วยที่ 4 ความเป็ นมา
ของชุมชนที่สำคัญของไทย ส 4.3
-ความเป็ นมาของชุมชน ป.3/1,ป.3/2, 6
สุโขทัยและชุมชนอยุธยาที่ ป.3/3
สัมพันธ์ กับชาติไทยสัญลักษณ์
และแสดงถึงความเป็ นชาติ
92

ไทย
หน่วยที่ 5 บุคคลสำคัญ
ของชาติไทย
-พระราชประวัติและพระราช ส 4.3
กรณียกิจในพระบาทสมเด็จ ป.3/1,ป.3/2, 6
พระเจ้าอยู่หัว สมเด็จพระนาง ป.3/3
เจ้าสิริกิต์ พระบรมวงศานุวงศ์
ในรัชกาลปั จจุบัน
-ประวัติและผลงานบุคคล
สำคัญของชาติไทยที่มีความ
สัมพันธ์กับท้องถิ่น
-ประวัติและผลงานบุคคล
สำคัญของท้องถิ่นในอดีตและ
ปั จจุบัน

สัดส่วนคะแนน
มาตรฐาน เวลา
(%)
การเรียนรู้ (ชั่วโ
หน่วยการเรียนรู้ ภาระ สอบ รว
ตัวชีว
้ ัด มง)
งาน ย่อย ม
หน่วยที่ 6 วัฒนธรรมและ ส 4.2
ภูมิปัญญา ป.3/1,ป.3/2
ในชุมชน ,
-วัฒนธรรมในชุมชนของเรา ป.3/3 7
-ภูมิปัญญาในชุมชนของเรา ส 4.3
93

ป.3/1,ป.3/2
,
ป.3/3
ระหว่างปี 39 30 70
ปลายปี
การทดสอบ 1 30
(สรุปรายวิชา)
รวม 40 100
94

ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
สาระมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.4 1. อธิบายความสำคัญของ - พระพุทธศาสนา ในฐานะที่เป็ น


พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ เครื่องยึดเหนี่ยวจิตใจ
ตนนับถือ ในฐานะเป็ นศูนย์รวม - เป็ นศูนย์รวมการทำความดี
จิตใจของศาสนิกชน และพัฒนาจิตใจ เช่น ฝึ กสมาธิ
สวดมนต์ ศึกษาหลักธรรม
- เป็ นที่ประกอบศาสนพิธี (การ
ทอดกฐิน การทอดผ้าป่ า
การเวียนเทียน การทำบุญ)
- เป็ นแหล่งทำกิจกรรมทางสังคม
เช่น การจัดประเพณีท้องถิ่น การ
เผยแพร่ข้อมูลข่าวสารชุมชน
และการส่งเสริมพัฒนาชุมชน
2. สรุปพุทธประวัติตงั ้ แต่บรรลุ  สรุปพุทธประวัติ
95

ธรรมจนถึงประกาศธรรม หรือ (ทบทวน)


ประวัติศาสดาที่ตนนับถือตามที่  ตรัสรู้
กำหนด  ประกาศธรรม ได้แก่
° โปรดชฎิล
° โปรดพระเจ้าพิมพิสาร
° พระอัครสาวก
แสดงโอวาทปาฏิโมกข์
3. เห็นคุณค่า และปฏิบัติตน  พระอุรุเวลกัสสปะ
ตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต  กุฏิทูสกชาดก
และข้อคิดจากประวัติสาวก  มหาอุกกุสชาดก
ชาดก/เรื่องเล่าและ  สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร
อดุลยเดชวิกรมพระบรมราช
ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่ ชนก
กำหนด  สมเด็จพระศรีนครินทราบ
รมราชชนนี
4. แสดงความเคารพ พระ
รัตนตรัย ปฏิบัติตามไตรสิกขา พระรัตนตรัย
และหลักธรรมโอวาท 3 ใน ศรัทธา 4
พระพุทธศาสนา หรือหลัก
ธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ  พระพุทธ
ตามที่กำหนด
พุทธคุณ 3
 พระธรรม
หลักกรรม
 พระสงฆ์
ไตรสิกขา
96

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

 ศีล สมาธิ ปั ญญา


โอวาท 3
 ไม่ทำชั่ว
o เบ
ญจศีล
o ทุจ
ริต 3
 ทำความดี
เบญจธรรม
สุจริต 3
พรหมวิหาร 4
กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ
มงคล 38
- เคารพ
- ถ่อมตน
- ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน
 ทำจิตให้บริสทุ ธิ์ (บริหารจิตและ
เจริญปั ญญา)
 พุทธศาสนสุภาษิต
 สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี
ความพร้อมเพรียงของหมู่
ให้เกิดสุข
 โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา
เมตตาธรรม ค้ำจุนโลก
5. ชื่นชมการทำความดีของ - ตัวอย่างการกระทำความดี
ตนเอง บุคคล ใน ของตนเองและบุคคลใน
97

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ครอบครัว โรงเรียนและชุมชน ครอบครัว ในโรงเรียน และใน


ตามหลักศาสนา พร้อมทัง้ ชุมชน
บอกแนวปฏิบัติในการดำเนิน
ชีวิต
6. เห็นคุณค่าและสวดมนต์  สวดมนต์ไหว้พระสรรเสริญ
แผ่เมตตา คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
มีสติที่เป็ นพื้นฐานของสมาธิใน - รู้ความหมายของ
พระพุทธศาสนา หรือการ สติสัมปชัญญะ สมาธิและ
พัฒนาจิต ปั ญญา
ตามแนวทางของศาสนาที่ตน - รู้วิธีปฏิบัติของการบริหารจิต
นับถือ และเจริญปั ญญา
ตามที่กำหนด ฝึ กการยืน การเดิน การนัง่ และ
การนอน อย่างมีสติ
- ฝึ กการกำหนดรู้ความรู้สึก
เมื่อตาเห็นรูป หูฟังเสียง จมูก
ดมกลิ่น ลิน
้ ลิม
้ รส กายสัมผัส
สิ่งที่มากระทบ ใจรับรู้
ธรรมารมณ์
- ฝึ กให้มีสมาธิในการฟั ง การ
อ่าน การคิด การถาม และ
การเขียน
7. ปฏิบัติตนตามหลักธรรม  หลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกัน
ของศาสนาที่ตนนับถือ เพื่อ อย่างสมานฉันท์
98

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

การอยู่ร่วมกันเป็ นชาติได้อย่าง - เบญจศีล – เบญจธรรม


สมานฉันท์ - ทุจริต 3 – สุจริต 3
- พรหมวิหาร 4
- มงคล 38
- เคารพ
- ถ่อมตน
- ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน
พุทธศาสนสุภาษิต : ความพร้อม
เพรียงของหมู่ให้เกิดสุข เมตตา
ธรรมค้ำจุนโลก
- กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ
8. อธิบายประวัติศาสดาของ  ประวัติศาสดา
ศาสนาอื่นๆ โดยสังเขป o พระพุทธเจ้า
o มุฮัมมัด
o พระเยซู

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี


และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 1. อภิปรายความสำคัญ และ  ความรู้เบื้องต้นและความ
มีส่วนร่วมในการบำรุงรักษา สำคัญของ ศาสนสถาน
99

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ศาสนสถานของศาสนาที่ตน  การแสดงความเคารพต่อ
นับถือ ศาสนสถาน
 การบำรุงรักษาศาสนสถาน
2. มีมรรยาทของความเป็ น  การปฏิบัติตนที่เหมาะสม
ศาสนิกชนที่ดี ตามที่กำหนด ต่อพระภิกษุ
 การยืน การเดิน และการ
นั่งที่เหมาะสมในโอกาส
ต่างๆ
3. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี  การอาราธนาศีล
พิธีกรรมและวันสำคัญทาง  การอาราธนาธรรม
ศาสนา ตามที่กำหนดได้ถูก  การอาราธนาพระปริตร
ต้อง  ระเบียบพิธีและการปฏิบัติ
ตนในวันธรรมสวนะ

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี
มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดำรงชีวติ อยูร่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสข

100

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 1. ปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดี  การเข้าร่วมกิจกรรม
ตามวิถี ประชาธิปไตยของชุมชน
ประชาธิปไตยในฐานะ เช่น การรณรงค์การเลือก
สมาชิกที่ดีของชุมชน ตัง้
 แนวทางการปฏิบัติตน
เป็ นสมาชิกที่ดีของชุมชน
เช่น อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม
สาธารณสมบัติ โบราณวัตถุ
และโบราณสถาน การ
พัฒนาชุมชน
2. ปฏิบัติตนในการเป็ นผู้นำ  การเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี
และผู้ตามที่ดี - บทบาทและความรับ
ผิดชอบของผู้นำ
- บทบาทและความรับผิด
ชอบของผู้ตามหรือ
สมาชิก
- การทำงานกลุ่มให้มี
ประสิทธิผลและ
ประสิทธิภาพ และ
ประโยชน์ของการทำงาน
เป็ นกลุ่ม
101

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. วิเคราะห์สิทธิพ้น
ื ฐานที่  สิทธิพ้น
ื ฐานของเด็ก เช่น
เด็กทุกคน พึงได้รับตาม สิทธิที่จะมีชีวิต สิทธิที่จะได้
กฎหมาย รับการปกป้ อง สิทธิ ที่จะ
ได้รับการพัฒนา สิทธิที่จะมี
ส่วนร่วม
4. อธิบายความแตกต่าง  วัฒนธรรมในภาคต่างๆ
ทางวัฒนธรรมของกลุ่ม ของไทย ที่แตก
คนในท้องถิ่น ต่างกัน เช่น การแต่งกาย
ภาษา อาหาร
5. เสนอวิธีการที่จะอยู่ร่วม  ปั ญหาและสาเหตุของการ
กันอย่าง สันติสุขในชีวิต เกิดความขัดแย้งในชีวิต
ประจำวัน ประจำวัน
 แนวทางการแก้ปัญหา
ความขัดแย้งด้วยสันติวิธี

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน


ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา
102

ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 1. อธิบายอำนาจอธิปไตย  อำนาจอธิปไตย
และความสำคัญของระบอบ  ความสำคัญของการ
ประชาธิปไตย ปกครองตามระบอบ
ประชาธิปไตย
2. อธิบายบทบาทหน้าที่  บทบาทหน้าที่ของ
ของพลเมืองในกระบวนการ พลเมืองในกระบวนการเลือก
เลือกตัง้ ตัง้ ทัง้ ก่อนการเลือกตัง้
ระหว่างการเลือกตัง้ หลัง
การเลือกตัง้
3. อธิบายความสำคัญของ  สถาบันพระมหากษัตริย์
สถาบันพระมหากษัตริย์ ในสังคมไทย
ตามระบอบประชาธิปไตย  ความสำคัญของสถาบัน
อันมีพระมหากษัตริย์ทรง พระมหากษัตริย์ในสังคมไทย
เป็ นประมุข

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต


และการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
103

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 1. ระบุปัจจัยที่มีผลต่อการ  สินค้าและบริการที่มีอยู่หลาก
เลือกซื้อสินค้าและบริการ หลายในตลาดที่มีความแตก
ต่างด้านราคาและคุณภาพ
 ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อ
สินค้าและบริการที่มีมากมาย
ซึ่งขึน
้ อยู่กับผูซ
้ ้อ
ื ผู้ขาย และ
ตัวสินค้า เช่น ความพึงพอใจ
ของผู้ซ้อ
ื ราคาสินค้า การ
โฆษณา คุณภาพของสินค้า
2. บอกสิทธิพ้น
ื ฐานและ  สิทธิพ้น
ื ฐานของผู้บริโภค
รักษาผลประโยชน์ของ  สินค้าและบริการที่มี
ตนเองในฐานะผู้บริโภค เครื่องหมายรับรองคุณภาพ
 หลักการและวิธีการเลือก
บริโภค
3. อธิบายหลักการของ  หลักการของเศรษฐกิจพอ
เศรษฐกิจพอเพียงและนำไป เพียง
ใช้ในชีวิตประจำวันของ  การประยุกต์ใช้เศรษฐกิจพอ
ตนเอง เพียงในการดำรงชีวิต เช่น
การแต่งกาย การกินอาหาร
การใช้จ่าย

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์
104

มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความ


สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกัน
ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 1. อธิบายความสัมพันธ์ทาง  อาชีพ สินค้าและบริการ
เศรษฐกิจของคนในชุมชน ต่างๆ ที่ผลิต ในชุมชน
 การพึง่ พาอาศัยกันภายใน
ชุมชนทาง ด้านเศรษฐกิจ
เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างผู้
ซื้อ ผู้ขาย การกู้หนีย
้ ืมสิน
 การสร้างความเข้มแข็งให้
ชุมชนด้วย การใช้
สิ่งของที่ผลิตในชุมชน

2. อธิบายหน้าที่เบื้องต้น  ความหมายและประเภทของ
ของเงิน เงิน
 หน้าที่เบื้องต้นของเงินใน
ระบบเศรษฐกิจ
 สกุลเงินสำคัญที่ใช้ในการซื้อ
ขายแลกเปลี่ยนระหว่าง
ประเทศ

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัย


ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มา
วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 1. นับช่วง เวลา เป็ น  ความหมายและช่วงเวลา
105

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ทศวรรษ ศตวรรษ และ ของทศวรรษ ศตวรรษ และ
สหัสวรรษ สหัสวรรษ
 การใช้ทศวรรษ ศตวรรษ
และสหัสวรรษเพื่อทำความ
เข้าใจช่วงเวลาในเอกสาร
เช่น หนังสือพิมพ์
2. อธิบายยุคสมัยในการ  เกณฑ์การแบ่งยุคสมัยใน
ศึกษาประวัติของมนุษยชาติ การศึกษาประวัติศาสตร์ที่
โดยสังเขป แบ่งเป็ นยุคก่อน
ประวัติศาสตร์และยุค
ประวัติศาสตร์
 ยุคสมัยที่ใช้ในการศึกษา
ประวัติศาสตร์ไทยเช่นสมัย
ก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย
สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี
และสมัยรัตนโกสินทร์
3. แยกแยะประเภทหลักฐาน  ประเภทของหลักฐานทาง
ที่ใช้ในการศึกษาความเป็ นมา ประวัติศาสตร์ ที่แบ่งเป็ น
ของท้องถิ่น หลักฐานชัน ้ ต้น และหลัก
ฐาน ชัน ้ รอง
 ตัวอย่างหลักฐานที่ใช้ใน
การศึกษา ความเป็ น
มาของท้องถิ่นของตน
 การจำแนกหลักฐานของ
ท้องถิ่นเป็ นหลักฐานชัน้ ต้น
และหลักฐานชัน ้ รอง

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน
ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลง
106

ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

ชั ้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป. 1. อธิบายการตัง้ หลักแหล่ง  พัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อน
4 และพัฒนาการของมนุษย์ยุค ประวัติศาสตร์และยุค
ก่อนประวัติศาสตร์และยุค ประวัติศาสตร์ ในดินแดนไทย
ประวัติศาสตร์โดยสังเขป โดยสังเขป
 หลักฐานการตัง้ หลักแหล่งของ
มนุษย์ ยุคก่อนประวัติศาสตร์ใน
ดินแดนไทยโดยสังเขป
2. ยกตัวอย่างหลักฐานทาง  หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบ
ประวัติศาสตร์ที่ ในท้องถิ่นที่แสดงพัฒนาการของ
พบในท้องถิ่นที่แสดงพัฒนาการ มนุษยชาติในดินแดนไทยโดยสังเขป
ของมนุษยชาติ

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา
ไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
ธำรงความเป็ นไทย

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 1. อธิบายพัฒนาการของ  การสถาปนาอาณาจักร
อาณาจักรสุโขทัยโดยสังเขป สุโขทัยโดยสังเขป
107

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 พัฒนาการของอาณาจักร
สุโขทัยทางด้านการเมือง
การปกครอง และ
เศรษฐกิจโดยสังเขป
 ประวัติ และผลงานของ
บุคคลสำคัญ สมัย
สุโขทัย เช่น พ่อขุนศรีอิน
ทราทิตย์ พ่อขุน
รามคำแหงมหาราช
พระมหาธรรมราชาที่ 1
(พระยาลิไทยโดยสังเขป)
2. บอกประวัติและผลงาน  ภูมิปัญญาไทยในสมัย
ของบุคคลสำคัญสมัย สุโขทัย เช่นภาษาไทย
สุโขทัย ศิลปกรรมสุโขทัยที่ได้รับ
การยกย่องเป็ นมรดก

3. อธิบายภูมิปัญญาไทยที่  คุณค่าของภูมิปัญญาไทย
ที่สืบต่อถึง
สำคัญ สมัยสุโขทัยที่น่าภาค ปั จจุบันที่น่าภาคภูมิใจ
ภูมิใจ และควรค่าแก่การ และควรค่า
แก่การอนุรักษ์
อนุรักษ์

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์
ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่
108

และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ


สรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 1. สืบค้นและอธิบายข้อมูล  ลักษณะทางกายภาพของ
ลักษณะทางกายภาพใน จังหวัดตนเอง
จังหวัดของตนด้วยแผนที่
และรูปถ่าย
2. ระบุแหล่งทรัพยากร แหล่งทรัพยากรและสถานที่
และสถานที่สำคัญใน สำคัญในจังหวัด ของตน
จังหวัดของตนด้วยแผนที่
และรูปถ่าย
3. อธิบายลักษณะทาง ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อ
กายภาพที่ส่งผลต่อแหล่ง แหล่งทรัพยากรและสถานที่
ทรัพยากรและสถานที่ สำคัญในจังหวัด
สำคัญในจังหวัด

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
109

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.4 1. วิเคราะห์สิ่งแวดล้อม  สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่
ทาง กายภาพที่สง่ ผลต่อ ส่งผล ต่อการดำเนินชีวิตของ
การดำเนินชีวิตของคนใน คนในจังหวัด
จังหวัด
2. อธิบายการ การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อม
เปลี่ยนแปลง สิ่งแวดล้อม ใน จังหวัดและผลที่เกิดจาก
ในจังหวัดและผลที่เกิดจาก การเปลี่ยนแปลง เช่น การตัง้
การเปลี่ยนแปลง ถิ่นฐาน การย้ายถิ่น
3. นำเสนอแนวทางการ การจัดการสิ่งแวดล้อมใน
จัดการสิ่งแวดล้อมใน จังหวัด
จังหวัด
110

คำอธิบายรายวิชา

ส 14101 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
เวลา 80 ชั่วโมง
.............................................................................................................
.......................................................

ศึกษาพระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ ในฐานะที่เป็ นเครื่อง


ยึดเหนี่ยวจิตใจ เป็ นศูนย์รวมการทำความดี และพัฒนาจิตใจ เช่น ฝึ ก
สมาธิ สวดมนต์ ศึกษาหลักธรรม เป็ นที่ประกอบศาสนพิธี (การทอด
กฐิน การทอดผ้าป่ า การเวียนเทียน การทำบุญ) เป็ นแหล่งทำกิจกรรม
ทางสังคม เช่น การจัดประเพณีท้องถิ่น การเผยแพร่ข้อมูลข่าวสารชุมชน
และการส่งเสริมพัฒนาชุมชน สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน) ตรัสรู้
ประกาศธรรม ได้แก่ โปรดชฎิล โปรดพระเจ้าพิมพิสาร พระอัครสาวก
แสดงโอวาทปาฏิโมกข์ พระอุรุเวลกัสสปะ กุฏิทูสกชาดก มหาอุกกุส
ชาดก สมเด็จพระมหิตลาธิเบศร อดุลยเดชวิกรม พระบรมราชชนก
สมเด็จพระศรีนครินทราบรมราชชนนี พระรัตนตรัย ศรัทธา 4
พระพุทธ พุทธคุณ 3 พระธรรม หลักกรรม พระสงฆ์ ไตรสิกขา ศีล
สมาธิ ปั ญญา โอวาท 3 ไม่ทำชั่ว เบญจศีล ทุจริต 3 ทำความดี
เบญจธรรม สุจริต 3 พรหมวิหาร 4 กตัญญูกตเวทีต่อประเทศชาติ
ุ ธิ์ (บริ
มงคล 38 เคารพ ถ่อมคน ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน ทำจิตให้บริสท
หารจิตและเจริญปั ญญา) พุทธศาสนสุภาษิต สุขา สงฺฆสฺส สามคฺคี ความ
พร้อมเพรียงของหมู่ให้เกิดสุข โลโกปตฺถมฺภิกา เมตฺตา เมตตาธรรม
111

ค้ำจุนโลก ตัวอย่างการกระทำความดีของตนเองและบุคคลในครอบครัว
ในโรงเรียน และในชุมชน สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญคุณพระรัตนตรัย
และแผ่เมตตา รู้ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิและปั ญญา รู้วิธี
ปฏิบัติของการบริหารจิตและเจริญปั ญญา ฝึ กการยืน การเดิน การนัง่
และการนอน อย่างมีสติ ฝึ กการกำหนดรู้ความรู้สึก เมื่อตาเห็นรูป หูฟัง
เสียง จมูกดมกลิ่น ลิน
้ ลิม
้ รส กายสัมผัสสิ่งที่มากระทบ ใจรับรู้
ธรรมารมณ์ ฝึ กให้มส
ี มาธิในการฟั ง การอ่าน การคิด การถาม และการ
เขียน หลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ (เบญจศีล –
เบญจธรรม ทุจริต 3 – สุจริต 3 พรหมวิหาร 4 มงคล 38 เคารพ
ถ่อมตน ทำความดีให้พร้อมไว้ก่อน พุทธศาสนสุภาษิต : ความพร้อม
เพรียงของหมู่ให้เกิดสุข เมตตาธรรมค้ำจุนโลก กตัญญูกตเวทีต่อ
ประเทศชาติ) ประวัติศาสดา พระพุทธเจ้า มุฮัมมัด พระเยซู ความรู้
เบื้องต้นและความสำคัญของ ศาสนสถาน การแสดงความเคารพต่อ
ศาสนสถาน การบำรุงรักษาศาสนสถาน การปฏิบัติตนที่เหมาะสมต่อ
พระภิกษุ การยืน การเดิน และการนั่งที่เหมาะสมในโอกาสต่าง ๆ การ
อาราธนาศีล การอาราธนาธรรม การอาราธนาพระปริตร ระเบียบพิธี
และการปฏิบัติตนในวันธรรมสวนะ
ศึกษาการเข้าร่วมกิจกรรมประชาธิปไตยของชุมชน เช่น การรณรงค์
การเลือกตัง้ แนวทางการปฏิบัติตนเป็ นสมาชิกที่ดีของชุมชน เช่น
อนุรักษ์สิ่งแวดล้อม สาธารณสมบัติ โบราณวัตถุและโบราณสถาน
การพัฒนาชุมชน การเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี บทบาทและความรับผิด
ชอบของผู้นำ บทบาทและความรับผิดชอบของผู้ตามหรือสมาชิก การ
ทำงานกลุ่มให้มีประสิทธิผลและประสิทธิภาพ และประโยชน์ของการ
ทำงานเป็ นกลุ่ม สิทธิพ้น
ื ฐานของเด็ก เช่น สิทธิที่จะมีชีวิต สิทธิที่จะได้
รับการปกป้ อง สิทธิที่จะได้รับการพัฒนา สิทธิที่จะมีส่วนร่วม วัฒนธรรม
112

ในภาคต่างๆ ของไทยที่แตกต่างกัน เช่น การแต่งกาย ภาษา อาหาร


ปั ญหาและสาเหตุของการเกิดความขัดแย้งในชีวิตประจำวัน แนวทางการ
แก้ปัญหาความขัดแย้งด้วยสันติวิธี อำนาจอธิปไตย ความสำคัญของการ
ปกครองตามระบอบประชาธิปไตย บทบาทหน้าที่ของพลเมืองใน
กระบวนการเลือกตัง้ ทัง้ ก่อนการเลือกตัง้ ระหว่างการเลือกตัง้ หลังการ
เลือกตัง้ สถาบันพระมหากษัตริย์ในสังคมไทย ความสำคัญของสถาบัน
พระมหากษัตริย์ในสังคมไทย
ศึกษาสินค้าและบริการที่มีอยู่หลากหลายในตลาดที่มีความแตกต่าง
ด้านราคาและคุณภาพ ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกซื้อสินค้าและบริการที่มี
มากมาย ซึ่งขึน
้ อยู่กับผู้ซ้อ
ื ผู้ขาย และ ตัวสินค้า เช่น ความพึงพอใจของ
ผู้ซ้อ
ื ราคาสินค้า การโฆษณา คุณภาพของสินค้า สิทธิพ้น
ื ฐานของผู้
บริโภค สินค้าและบริการที่มีเครื่องหมายรับรองคุณภาพ หลักการและ
วิธีการเลือกบริโภค หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง การประยุกต์ใช้
เศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต เช่น การแต่งกาย การกินอาหาร การ
ใช้จ่าย อาชีพ สินค้าและบริการต่างๆ ที่ผลิต ในชุมชน การพึ่งพาอาศัย
กันภายในชุมชนทาง ด้านเศรษฐกิจ เช่น ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ซ้อ
ื ผู้
ขาย การกู้หนีย
้ ืมสิน การสร้างความเข้มแข็งให้ชุมชนด้วยการใช้สิ่งของที่
ผลิตในชุมชน ความหมายและประเภทของเงิน หน้าที่เบื้องต้นของเงินใน
ระบบเศรษฐกิจ สกุลเงินสำคัญที่ใช้ในการซื้อขายแลกเปลี่ยนระหว่าง
ประเทศ
สืบค้นและอธิบายข้อมูลและลักษณะทางกายภาพของจังหวัดสตูล
ระบุแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญ อธิบายลักษณะทางกายภาพที่ส่ง
ผลต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญในจังหวัดสตูล วิเคราะห์สิ่ง
แวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อการดำเนินชีวิตของคนในจังหวัดสตูล
อธิบายการเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมและผลที่เกิดจากการเปลี่ยนแปลง
113

เช่น การตัง้ ถิ่นฐาน การย้ายถิ่น นำเสนอแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมใน


จังหวัดสตูล
โดยใช้กระบวนการคิด กระบวนการกลุ่ม ทักษะการสำรวจ ทักษะ
การสังเกต ทักษะการคิดวิเคราะห์ ทักษะการแสวงหาความรู้ การสรุปย่อ
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ สามารถปฏิบัติตนอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและ
สังคมโลกอย่างสันติสุข เป็ นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา
เห็นคุณค่าของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม รักชาติ ซื่อสัตย์สุจริต อยู่
อย่างพอเพียง และภูมิใจในความเป็ นไทย

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
ส 1.1 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 , ป.4/5 , ป.4/6 , ป.4/7 ,
ป.4/8
ส 1.2 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3
ส 2.1 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3 , ป.4/4 , ป.4/5
ส 2.2 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3
ส 3.1 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3
ส 3.2 ป.4/1, ป.4/2
ส 5.1 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3
ส 5.2 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3

รวมทัง้ หมด 30 ตัวชีว


้ ัด
114

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
ส 14101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 80 ชั่วโมง/ปี

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 1 ศูนย์รวมจิตใจชาวไทย ส 1.1 ป.4/1 2
-ความสำคัญของพุทธศาสนาหรือ
ศาสนาที่ตนนับถือ
หน่วยที่ 2 ตรัสรู้ บรรลุธรรม ส 1.1 ป.4/2 4
ประกาศศาสนา
-พุทธประวัติหรือประวัติศาสดาที่
ตนนับถือ
หน่วยที่ 3 แบบอย่างการดำเนิน ส 1.1 ป.4/3 5
ชีวิต
-พุทธสาวก พุทธสาวิกา ศาสนิกชน
ตัวอย่าง
หน่วยที่ 4 พระรัตนตรัย การ ส 1.1 ป.4/4 5
ปฏิบัติตน หลักธรรมศาสนา ส 1.1 ป.4/7
-พระรัตนตรัย หรือหลักธรรมของ
115

ศาสนาที่ตนนับถือ
หน่วยที่ 5 ชื่นชมกับการทำความดี ส 1.1 ป.4/5 3
-ตัวอย่างการทำความดีของตนเอง
ครอบครัวและชุมชน
หน่วยที่ 6 สวดมนต์ แผ่เมตตา ส 1.1 ป.4/6 5
พัฒนาจิตใจ
-การสวดมนต์ การบริหารจิต
หน่วยที่ 7 ศาสนาอื่น ๆ และการ ส 1.1 ป.4/7 5
อยู่ร่วมกันอย่างสมานฉันท์ ส 1.1 ป.4/8
- หลักธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกันอย่าง
สมานฉันท์
หน่วยที่ 8 ศาสนสถาน ส 1.2 ป.4/1 4
-ความรู้เบื้องต้นและความสำคัญ
ของศาสนสถาน
-การบำรุงรักษาศาสนสถาน
หน่วยที่ 8 การปฏิบัติตน ศาสนิกช ส 1.2 ป.4/2 7
นที่ดี ส 1.2 ป.4/3
-การปฏิบัติในศาสนพิธี
-พิธีกรรมและวันสำคัญทางศาสนา
หน่วยที่ 9 พลเมืองดีตามวิถี ส 2.1 ป.4/1 3
ประชาธิปไตย ส 2.1 ป.4/2
-การเข้าร่วมกิจกรรมประชาธิปไตย
ของชุมชน
-แนวทางการปฏิบัติตนเป็ นสมาชิก
ที่ดีของชุมชน
116

หน่วยที่ 9 สิทธิพ้น
ื ฐานของเด็ก ส 2.1 ป.4/3 2
-สิทธิพ้น
ื ฐานของเด็ก

เวลา สัดส่วน
มาตรฐานการ
(ชั่วโ คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
มง) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 10 วัฒนธรรมและการอยู่ ส 2.1 ป.4/4 3
ร่วมกันอย่างสันติสุข ส 2.1 ป.4/5
-วัฒนธรรมในภาคต่างๆของไทยที่
แตกต่างกัน
-ปั ญหาและสาเหตุของการเกิดความ
ขัดแย้งในชีวิตประจำวัน
-แนวทางการแก้ปัญหาความขัดแย้ง
ด้วยสันติวิธี
หน่วยที่ 11 อำนาจอธิปไตย ความ ส 2.2 ป.4/1 4
สำคัญ บทบาทของชาวไทย ส 2.2 ป.4/2
-อำนาจอธิปไตย
-ความสำคัญของการปกครองตาม
ระบอบประชาธิปไตย
-บทบาทหน้าที่ของพลเมืองใน
กระบวนการเลือกตัง้
117

หน่วยที่ 12 สถาบันพระมหากษัตริย์ ส 2.2 ป.4/3 3


ตามระบบประชาธิปไตย
-ความสำคัญของสถาบันพระมหา
กษัตริย์ในสังคมไทย
หน่วยที่ 13 รู้ไว้ใช่ว่า การเลือก ส 3.1 ป.4/1 3
สินค้าและบริการ ส 3.1 ป.4/2
-สินค้าและบริการที่มีอยู่อย่างหลาก
หลายในตลาด
-ปั จจัยที่มีผลต่อการเลือกสินค้าและ
บริการ
-หลักการและวิธีการเลือกบริโภค
หน่วยที่14 เศรษฐกิจพอเพียง ส 3.1 ป.4/3 3
-หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง
-การประยุกต์ใช้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการดำรงชีวิต
หน่วยที่ 15 ความสัมพันธ์ทาง ส 3.2 ป.4/1 3
เศรษฐกิจของคนในชุมชน
-อาชีพ สินค้าและบริการต่างๆที่ผลิต
ในชุมชน
หน่วยที่ 16 เงิน เงิน เงิน ส 3.2 ป.4/2 4
-ความหมายและประเภทของเงิน
-หน้าที่เบื้องต้นของเงิน
-สกุลเงินสำคัญ
หน่วยที่ 17 แผนที่จังหวัดสตูล ส 5.1 ป.4/1 5
-ลักษณะทางกายภาพของจังหวัด ส 5.1 ป.4/2
118

สตูล ส 5.1 ป.4/3


-แหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญ
ในจังหวัดสตูล
-ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อ
แหล่งทรัพยากรและสถานที่สำคัญใน
จังหวัดสตูล

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโม คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
ง) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 18 สภาพแวดล้อมจังหวัด ส 5.2 ป.4/1 5
สตูล ส 5.2 ป.4/2
-สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่ส่งผลต่อ ส 5.2 ป.4/3
การดำเนินชีวิตของคนในจังหวัด
-การเปลี่ยนแปลงสิ่งแวดล้อมใน
จังหวัดและผลที่เกิดจากการ
เปลี่ยนแปลง
-การจัดการสิ่งแวดล้อมในจังหวัด
ระหว่างปี 78 30 70
ปลายปี การ
2 30
(สรุปรายวิชา) ทดสอบ
119

รวม 80 100
120

คำอธิบายรายวิชา

ส 14102 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
เวลา 40 ชั่วโมง
.......................................................................................................

ศึกษาความหมายและช่วงเวลาของทศวรรษ ศตวรรษ และ


สหัสวรรษ การใช้ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษเพื่อทำความเข้าใจ
ช่วงเวลาในเอกสารเช่น หนังสือพิมพ์ เกณฑ์การแบ่งยุคสมัยในการศึกษา
ประวัติศาสตร์ที่แบ่งเป็ นยุคก่อนประวัติศาสตร์และยุคประวัติศาสตร์ ยุค
สมัยที่ใช้ในการศึกษาประวัติศาสตร์ไทยเช่นสมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย
สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์ ประเภทของหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ ที่แบ่งเป็ นหลักฐานชัน
้ ต้น และหลักฐานชัน
้ รอง ตัวอย่าง
หลักฐานที่ใช้ในการศึกษาความเป็ นมาของท้องถิ่นของตน การจำแนก
หลักฐานของท้องถิ่นเป็ นหลักฐานชัน
้ ต้นและหลักฐานชัน
้ รอง
การสถาปนาอาณาจักรสุโขทัยโดยสังเขป พัฒนาการของอาณาจักร
สุโขทัยทางด้านการเมืองการปกครอง และเศรษฐกิจโดยสังเขป ประวัติ
และผลงานของบุคคลสำคัญสมัยสุโขทัย เช่น พ่อขุนศรีอินทราทิตย์
พ่อขุนรามคำแหงมหาราช พระมหาธรรมราชา ที่ 1 (พระยาลิไทยโดย
สังเขป) ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัย เช่นภาษาไทย ศิลปกรรมสุโขทัยที่
ได้รับการยกย่องเป็ นมรดกโลก เครื่องสังคโลก คุณค่าของภูมิปัญญา
ไทยที่สืบต่อถึงปั จจุบันที่น่าภาคภูมิใจและควรค่าแก่การอนุรักษ์
โดยใช้การอธิบาย อภิปราย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ยกตัวอย่าง สรุป
ความ การสำรวจ ตรวจสอบ สืบค้นข้อมูล เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจ
121

สามารถปฏิบัติตนอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและสังคมไทยและสังคมโลก
อย่างสันติสุข เป็ นพลเมืองดี ศรัทธาในหลักธรรมของศาสนา เห็นคุณค่า
ของทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่าง
พอเพียง รักชาติ และภูมิใจในความเป็ นไทย มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรมและค่า
นิยมที่เหมาะสม

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
ส 4.1 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3
ส 4.2 ป.4/1 , ป.4/2
ส 4.3 ป.4/1 , ป.4/2 , ป.4/3

รวมทัง้ สิน
้ 8 ตัวชีว
้ ัด
122

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชาพื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
รหัส/รายวิชา ส 14102 ประวัติศาสตร์
เวลา 40 ชั่วโมง/ปี

มาตรฐาน เวลา สัดส่วน


การเรียนรู้ (ชั่วโ คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
ตัวชีว
้ ัด มง) % รวม(
%)
หน่วยที่ 1 การนับช่วง ส 4.1 ป.4/1 10 10 40
เวลา...อาศัยหลัก ส 4.1 ป.4/2
-ความหมายและช่วงเวลาของ
ทศวรรษ ศตวรรษ และสหัสวรรษ
และการใช้ทศวรรษ ศตวรรษ
และสหัสวรรษเพื่อทำความเข้าใจ
ช่วงเวลาในเอกสารเช่น
หนังสือพิมพ์
-เกณฑ์การแบ่งยุคสมัยในการ
ศึกษาประวัติศาสตร์ที่แบ่งเป็ นยุค
ก่อนประวัติศาสตร์และยุค
ประวัติศาสตร์
123

มาตรฐาน เวลา สัดส่วน


การเรียนรู้ (ชั่วโ คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
ตัวชีว
้ ัด มง) % รวม(
%)
-ยุคสมัยที่ใช้ในการศึกษา
ประวัติศาสตร์ไทยเช่นสมัยก่อน
สุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา
สมัยธนบุรี และสมัยรัตนโกสินทร์
หน่วยที่ 2 น่าสนใจ...หลักฐาน ส 4.1 ป.4/3 10
การค้นคว้า ความเป็ นมาของ
สตูล
-ประเภทของหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ ที่แบ่งเป็ นหลัก
ฐานชัน
้ ต้น และหลักฐานชัน
้ รอง
-ตัวอย่างหลักฐานที่ใช้ในการศึกษา
ความเป็ นมาของท้องถิ่นของตน
-การจำแนกหลักฐานของท้องถิ่น
เป็ นหลักฐานชัน
้ ต้นและหลักฐาน
ชัน
้ รอง
หน่วยที่ 3 การตัง้ ถิ่นฐาน ส 4.2 ป.4/1 10
พัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อน ส 4.2 ป.4/2
ประวัติศาสตร์และยุคหลัง
124

มาตรฐาน เวลา สัดส่วน


การเรียนรู้ (ชั่วโ คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
ตัวชีว
้ ัด มง) % รวม(
%)
ประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย
-หลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่พบ
ในท้องถิ่นที่แสดงพัฒนาการของ
มนุษยชาติในดินแดนไทยโดย
สังเขป หน้าที่เบื้องต้น
-หลักฐานการตัง้ หลักแหล่งของ
มนุษย์
ยุคก่อนประวัติศาสตร์ในดินแดน
ไทยโดยสังเขป
-พัฒนาการของมนุษย์ยุคก่อน
ประวัติศาสตร์และยุค
ประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย โดย
สังเขป
หน่วยที่ 4 อาณาจักร ส 4.3 ป.4/1 8
รุ่งเรือง...เมืองสุโขทัย ส 4.3 ป.4/2
-อาณาจักรรุ่งเรือง...เมืองสุโขทัย ส 4.3 ป.4/3
-ภูมิปัญญาไทยในสมัยสุโขทัยและ
ภูมิปัญญาไทยที่ควรแก่การอนุรักษ์
125

มาตรฐาน เวลา สัดส่วน


การเรียนรู้ (ชั่วโ คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
ตัวชีว
้ ัด มง) % รวม(
%)
การทดสอบ 1
ปลายปี
ภาระงาน/ชิน
้ 1 70
(สรุปรายวิชา)
งาน
รวม 30 100
126
127

ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 5
สาระมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.5 1. วิเคราะห์ความสำคัญของ มรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับจาก


พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ ระพุทธศาสนา
ตนนับถือ ในฐานะที่เป็ นมรดก - มรดกทางด้านรูปธรรม เช่น
ทางวัฒนธรรมและหลักในการ ศาสนสถาน โบราณวัตถุ
พัฒนาชาติไทย สถาปั ตยกรรม
-มรดกทางด้านจิตใจ เช่น หลัก
ธรรมคำสั่งสอน ความเชื่อ และ
คุณธรรมต่างๆ
 การนำพระพุทธศาสนาไปใช้
เป็ นแนวทางในการพัฒนาชาติ
ไทย
-พัฒนาด้านกายภาพ และสิ่ง
แวดล้อม เช่น ภาวนา 4 (กาย
ศีล จิต ปั ญญา) ไตรสิกขา (ศีล
128

สมาธิ ปั ญญา) และอริยสัจสี่


-พัฒนาจิตใจ เช่น หลักโอวาท 3
(ละความชั่ว ทำดี ทำจิตใจให้
บริสุทธิ)์ และการบริหารจิตและ
เจริญปั ญญา

2. สรุปพุทธประวัติตงั ้ แต่เสด็จ  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)


กรุงกบิลพัสดุ์จนถึงพุทธกิจ  โปรดพระพุทธบิดา (เสด็จกรุง
สำคัญ กบิลพัสดุ์)
หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ  พุทธกิจสำคัญ ได้แก่ โลกัตถ
ตามที่กำหนด จริยา ญาตัตถจริยา และพุทธัตถ
จริยา
3. เห็นคุณค่า และประพฤติตน  พระโสณโกฬิวิสะ
ตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต  จูฬเสฏฐิชาดก
และข้อคิดจากประวัติสาวก  วัณณาโรหชาดก
ชาดก/เรื่องเล่าและศาสนิกชน  สมเด็จพระสังฆราช (สา)
ตัวอย่างตามที่กำหนด  อาจารย์เสถียร โพธินันทะ

4. อธิบายองค์ประกอบ และ  องค์ประกอบของพระ


ความสำคัญของพระไตรปิ ฎก ไตรปิ ฎก
หรือคัมภีร์ของศาสนาที่ตน  พระสุตตันตปิ ฎก
นับถือ  พระวินัยปิ ฎก
 พระอภิธรรมปิ ฎก
 ความสำคัญของพระ
129

ไตรปิ ฎก

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี


และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. จัดพิธีกรรมตามศาสนาที่  การจัดพิธีกรรมที่เรียบง่าย
ตนนับถืออย่างเรียบง่าย มี ประหยัด มี
ประโยชน์ และปฏิบต
ั ต
ิ นถูก ประโยชน์ และถูกต้องตาม
ต้อง หลักทางศาสนาที่ตนนับถือ
2. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี  การมีส่วนร่วมในการจัด
พิธีกรรม และวันสำคัญทาง เตรียมสถานที่ประกอบ
ศาสนา ตามที่กำหนด และ ศาสนพิธี พิธีกรรมทาง
อภิปรายประโยชน์ที่ได้รับ ศาสนา
จากการเข้าร่วมกิจกรรม  พิธีถวายสังฆทาน เครื่อง
สังฆทาน
 ระเบียบพิธีในการทำบุญ
งานมงคล
 ประโยชน์ของ การเข้าร่วม
ศาสนพิธี พิธีกรรมทาง
ศาสนา หรือกิจกรรม
130

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ในวันสำคัญทางศาสนา
3. มีมรรยาทของความเป็ น  การกราบพระรัตนตรัย
ศาสนิกชนที่ดี ตามที่กำหนด  การไหว้บิดา มารดา
ครู/อาจารย์
ผู้ที่เคารพนับถือ
 การกราบศพ

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี
มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดำรงชีวต
ิ อยูร่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. ยกตัวอย่างและปฏิบัติตน  สถานภาพ บทบาท สิทธิ
ตามสถานภาพ บทบาท เสรีภาพ
สิทธิเสรีภาพ และหน้าที่ใน  หน้าที่ของพลเมืองดี เช่น
ฐานะพลเมืองดี เคารพ เทิดทูนสถาบันชาติ
ศาสนา พระมหากษัตริย์
อนุรักษ์ทรัพยากรธรรมชาติ
อนุรักษ์ศิลปวัฒนธรรม
ปฏิบัติตามกฎหมาย
 คุณลักษณะของพลเมืองดี
เช่น เห็นแก่ประโยชน์ส่วน
รวมมากกว่าประโยชน์ส่วน
131

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตน มีความรับผิดชอบ เสีย
สละ
2. เสนอวิธีการปกป้ อง  เหตุการณ์ที่ละเมิดสิทธิ
คุ้มครองตนเองหรือผู้อ่ น
ื เด็กในสังคมไทย
จากการละเมิดสิทธิเด็ก  แนวทางการปกป้ อง
คุ้มครองตนเองหรือผู้อ่ น

จากการละเมิดสิทธิเด็ก
 การปกป้ องคุ้มครองสิทธิ
เด็กในสังคมไทย
3. เห็นคุณค่าวัฒนธรรมไทย  วัฒนธรรมไทย ที่มีผลต่อ
ที่มีผลต่อการดำเนินชีวิตใน การดำเนินชีวิตของคนใน
สังคมไทย สังคมไทย
 คุณค่าของวัฒนธรรมกับ
การดำเนินชีวิต
4. มีส่วนร่วมในการอนุรักษ์  ความสำคัญของภูมิปัญญา
และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้อง ท้องถิ่น
ถิ่นของชุมชน  ตัวอย่างภูมิปัญญาท้องถิ่น
ในชุมชน ของตน
 การอนุรักษ์และเผยแพร่
ภูมิปัญญาท้องถิ่นของ
ชุมชน

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


132

มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน


ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา
ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. อธิบายโครงสร้าง อำนาจ  โครงสร้างการปกครอง
หน้าที่และความสำคัญของ ในท้องถิ่น เช่น อบต. อบจ.
การปกครองส่วนท้องถิ่น เทศบาล และการปกครอง
พิเศษ เช่น พัทยา กทม.
 อำนาจหน้าที่และความ
สำคัญของ การ
ปกครองส่วนท้องถิ่น
2. ระบุบทบาทหน้าที่ และ  บทบาทหน้าที่ และวิธี
วิธีการเข้าดำรงตำแหน่งของ การเข้าดำรงตำแหน่งของผู้
ผู้บริหารท้องถิ่น บริหารท้องถิ่น เช่นนายก
อบต. นายกเทศมนตรี นายก
อบจ. ผู้ว่าราชการ กทม.
3. วิเคราะห์ประโยชน์ที่  องค์กรปกครองส่วนท้อง
ชุมชน จะได้รับจากองค์กร ถิ่นกับบริการ
ปกครองส่วนท้องถิ่น สาธารณประโยชน์ในชุมชน
133

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต


และการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. อธิบายปั จจัยการผลิต  ความหมายและประเภทของ
สินค้าและบริการ ปั จจัยการผลิตประกอบด้วย
ที่ดิน แรงงาน ทุนและผู้
ประกอบการ
 เทคโนโลยีในการผลิตสินค้า
และบริการ
 ปั จจัยอื่นๆ เช่น ราคาน้ำมัน
วัตถุดิบ
 พฤติกรรมของผู้บริโภค
 ตัวอย่างการผลิตสินค้าและ
บริการที่มีอยู่ในท้องถิ่นหรือ
134

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
แหล่งผลิตสินค้าและบริการใน
ชุมชน
2. ประยุกต์ใช้แนวคิดของ  หลักการปรัชญาของ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เศรษฐกิจพอเพียง
เพียงในการทำกิจกรรม  การประยุกต์ใช้ปรัชญาของ
ต่างๆ ในครอบครัว เศรษฐกิจพอเพียงในกิจกรรม
โรงเรียนและชุมชน ต่างๆ ในครอบครัว โรงเรียน
และชุมชน เช่นการประหยัด
พลังงานและค่าใช้จ่ายในบ้าน
โรงเรียน การวางแผนการผลิต
สินค้าและบริการเพื่อลดความ
สูญเสียทุกประเภท การใช้ภิ
ปั ญญาท้องถ่น
 ตัวอย่างการผลิตสินค้าและ
บริการในชุมชน เช่น หนึง่ ตำบล
หนึง่ ผลิตภัณฑ์หรือโอท๊อป
3. อธิบายหลักการสำคัญ  หลักการและประโยชน์ของ
และประโยชน์ของสหกรณ์ สหกรณ์
 ประเภทของสหกรณ์โดย
สังเขป
 สหกรณ์ในโรงเรียน (เน้นฝึ ก
ปฏิบัติจริง)
 การประยุกต์หลักการของ
สหกรณ์มาใช้ในชีวิตประจำวัน
135

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความ


สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกัน
ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. อธิบายบทบาทหน้าที่  บทบาทหน้าที่ของธนาคาร
เบื้องต้นของธนาคาร โดยสังเขป
 ดอกเบีย ้ เงินฝาก และ
ดอกเบีย ้ กู้ยืม
 การฝากเงิน / การถอนเงิน
2. จำแนกผลดีและผลเสีย  ผลดีและผลเสียของการกูย ้ ม

ของการกู้ยืม เงินทัง้ นอกระบบและในระบบ
ทีม่ ต
ี อ
่ ระบบเศรษฐกิจ เช่น การ
เสียดอกเบีย ้ การลงทุน การ
ซื้อของอุปโภคเพิม ่ ขึน้ ทีนำ
่ ไปสู่
ความฟุ ง้ เฟ้ อ ฟุ ม
่ เฟื อย เป็ นต้น
136

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัย


ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มา
วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. สืบค้นความเป็ นมาของ  วิธีการสืบค้นความเป็ น
ท้องถิ่นโดยใช้หลักฐานที่ มาของท้องถิ่น
หลากหลาย  หลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ที่มีอยู่ในท้อง
ถิ่นที่เกิดขึน
้ ตามช่วงเวลา
ต่างๆ เช่น เครื่องมือเครื่องใช้
อาวุธ โบราณสถาน โบราณ
วัตถุ
 การนำเสนอความเป็ น
มาของท้องถิ่นโดยอ้างอิง
หลักฐานที่หลากหลายด้วย
วิธีการ ต่างๆ เช่น การเล่า
เรื่องการเขียนอย่าง ง่ายๆ
การจัดนิทรรศการ
2. รวบรวมข้อมูลจากแหล่ง  การตัง้ คำถามทาง
ต่างๆ เพื่อตอบคำถามทาง ประวัติศาสตร์เกี่ยวกับความ
ประวัติศาสตร์ อย่างมีเหตุผล เป็ นมาของท้องถิ่น เช่น มี
เหตุการณ์ใดเกิดขึน
้ ในช่วง
137

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เวลาใด เพราะสาเหตุใดและ
มีผลกระทบอย่างไร
 แหล่งข้อมูลและหลัก
ฐานทางประวัติศาสตร์ใน
ท้องถิ่นเพื่อตอบคำถามดัง
กล่าว เช่น เอกสาร เรื่องเล่า
ตำนานท้องถิ่น โบราณสถาน
โบราณวัตถุ ฯลฯ
 การใช้ข้อมูลที่พบเพื่อ
ตอบคำถามได้อย่าง มีเหตุผล
3. อธิบายความแตกต่าง  ตัวอย่างเรื่องราวจาก
ระหว่าง เอกสารต่างๆ ที่
ความจริงกับข้อเท็จจริงเกี่ยว สามารถแสดงนัยของความ
กับเรื่องราว คิดเห็นกับข้อมูล เช่น
ในท้องถิ่น หนังสือพิมพ์ บทความจาก
เอกสารต่างๆ เป็ นต้น
 ตัวอย่างข้อมูลจากหลัก
ฐานทางประวัติศาสตร์ ใน
ท้องถิ่นที่แสดงความจริงกับ
ข้อเท็จจริง
 สรุปประเด็นสำคัญเกี่ยว
กับข้อมูลในท้องถิ่น

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
138

มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน


ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. อธิบายอิทธิพลของ  การเข้ามาของอารยธรรม
อารยธรรมอินเดียและจีนที่ อินเดียและจีนในดินแดน
มีต่อไทย และเอเชียตะวัน ไทยและภูมิภาคเอเชียตะวัน
ออกเฉียงใต้ โดยสังเขป ออกเฉียงใต้โดยสังเขป
 อิทธิพลของอารยธรรม
อินเดียและจีน ที่มี
ต่อไทย และคนในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
เช่น ศาสนาและความเชื่อ
ภาษา การแต่งกาย อาหาร
2. อภิปรายอิทธิพลของ  การเข้ามาของวัฒนธรรม
วัฒนธรรมต่างชาติที่มีต่อ ต่างชาติในสังคมไทย เช่น
สังคมไทยปั จจุบันโดย อาหาร ภาษา การแต่งกาย
สังเขป ดนตรี โดยระบุลักษณะ
สาเหตุและผล
 อิทธิพลที่หลากหลายใน
กระแสของวัฒนธรรมต่าง
ชาติต่อสังคมไทยในปั จจุบัน
139

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา


ไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
ธำรงความเป็ นไทย

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. อธิบายพัฒนาการของ  การสถาปนาอาณาจักร
อยุธยา โดยสังเขป
อาณาจักรอยุธยาและธนบุรี  ปั จจัยที่ส่งเสริมความ
โดยสังเขป เจริญรุ่งเรืองทาง
เศรษฐกิจ และการ
2. อธิบายปั จจัยที่ส่งเสริม ปกครองของอาณาจักร
ความเจริญ รุ่งเรืองทาง
อยุธยา
เศรษฐกิจและการปกครอง
ของอาณาจักรอยุธยา  พัฒนาการของ
อาณาจักรอยุธยาการด้าน
การเมือง การปกครอง
3. บอกประวัติและผลงานของ และเศรษฐกิจ โดยสังเขป
บุคคลสำคัญสมัยอยุธยาและ  ผลงานของบุคคลสำคัญ
ในสมัยอยุธยา เช่น
ธนบุรีที่น่าภาคภูมิใจ สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 1
4. อธิบายภูมิปัญญาไทยที่ สมเด็จ พระบรมไตรโลก
นาถ สมเด็จพระนเรศวร
สำคัญ มหาราช สมเด็จพระ
สมัยอยุธยาและธนบุรีที่น่า นารายณ์

ภาคภูมิใจและควรค่าแก่การ
อนุรักษ์ไว้

มหาราช ชาวบ้านบางระจัน
 ภูมิปัญญาไทยสมัย
อยุธยาโดยสังเขป เช่น
ศิลปกรรม การค้า
วรรณกรรม
140

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 การกอบกู้เอกราชและ
การสถาปนาอาณาจักร
ธนบุรีโดยสังเขป
 พระราชประวัติ และผล
งานของ
พระเจ้าตากสินมหาราช
โดยสังเขป
 ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี
โดยสังเขป เช่น
ศิลปกรรม การค้า
วรรณกรรม

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์
ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่
และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ
สรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. สืบค้นและอธิบายข้อมูล  ลักษณะทางกายภาพของ
ลักษณะทางกายภาพใน ภูมิภาคตนเอง
ภูมิภาคของตนด้วยแผนที่
และรูปถ่าย
2. อธิบายลักษณะทาง ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผล
141

กายภาพที่ส่งผลต่อแหล่ง ต่อแหล่งทรัพยากรและสถานที่
ทรัพยากรและสถานที่ สำคัญในภูมิภาคของตน
สำคัญในภูมิภาคของตน

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.5 1. วิเคราะห์สิ่งแวดล้อม  สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่มี
ทาง กายภาพที่มีอิทธิพล อิทธิพลต่อลักษณะการตัง้
ต่อลักษณะการตัง้ ถิ่นฐาน ถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของ
และการย้ายถิ่นของ ประชากรในภูมิภาคของตน
ประชากรในภูมิภาคของ
142

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตน
2. วิเคราะห์อิทธิพลของสิ่ง อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทาง
แวดล้อมทางธรรมชาติที่ ธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีการ
ก่อให้เกิดวิถีการดำเนิน ดำเนินชีวิตในภูมิภาคของตน
ชีวิตในภูมิภาคของตน
3. นำเสนอตัวอย่างที่ ผลจากการรักษาและการ
สะท้อนให้เห็นผลจากการ ทำลายสิง่ แวดล้อมในภูมิภาค
รักษาและทำลายสิ่ง ของตน
แวดล้อม และเสนอ แนวทางการจัดการสิ่ง
แนวทางในการจัดการสิ่ง แวดล้อมในภูมิภาคของตน
แวดล้อมในภูมิภาคของตน
143
144

คำอธิบายรายวิชา

ส 15101 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 5
เวลา 80 ชั่วโมง
.......................................................................................................

ศึกษาความสำคัญของพระพุทธศาสนา พุทธประวัติของพระพุทธเจ้า
พุทธสาวก พุทธสาวิกา พระไตรปิ ฎก พระรัตนตรัย ไตรสิกขา โอวาท 3
หลักธรรมของศาสนาพุทธ หน้าที่ชาวพุทธ มารยาทชาวพุทธศาสนพิธี
พิธีกรรมทางพระพุทธศาสนา วันสำคัญทางพระพุทธศาสนา บทบาท
สถานภาพ สิทธิเสรีภาพของพลเมืองดี วัฒนธรรมที่มีผลต่อการดำเนินชีวิต
ของคนในสังคมไทย การอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญาท้องถิ่น โครงสร้าง
การปกครองส่วนท้องถิ่น บทบาทหน้าที่ขององค์การบริหารส่วนท้องถิ่นใน
ชุมชน อธิบายปั จจัยการผลิตสินค้าและบริการ ความหมายและประเภท
ของปั จจัยการผลิต หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการและ
ประโยชน์ของสหกรณ์และการประยุกต์ใช้ในชีวิตประจำวัน อธิบาย
บทบาทหน้าที่ของธนาคาร ผลดีและผลเสียของการยืมเงิน สืบค้นและ
อธิบายข้อมูลในภูมิภาคของตน ลักษณะทางกายภาพที่สง่ ผลต่อแหล่ง
ทรัพยากรและสถานที่สำคัญในภูมิภาคของตน วิเคราะห์สิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพที่มีอิทธิพลต่อลักษณะการตัง้ ถิ่นฐานและการย้ายถิ่นของ
ประชากรในภูมิภาคของตน วิเคราะห์อิทธิพลของสิง่ แวดล้อมทาง
ธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีการดำเนินชีวิต นำเสนอผลจากการรักษาและการ
ทำลายสิง่ แวดล้อมและแนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมในภูมิภาคของตน
145

โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้น การอภิปราย


คิดหาเหตุและผล การสำรวจตรวจสอบข้อมูล การสังเกต การเปรียบ
เทียบ การยกตัวอย่าง กระบวนการกลุ่ม หรือกระบวนการอื่นๆ ที่
เหมาะสมเพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอสื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้ มาปรับใช้ในชีวิตประจำวัน เพื่อให้ร้แ
ู ละเข้าใจถึงความสำคัญ
ของศาสนา ปฏิบัติตนเป็ นพลเมืองดี ร่วมอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญา
ท้องถิ่น มีคุณธรรมจริยธรรมและค่านิยมที่เหมาะสม รวมทัง้ นำหลัก
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้เป็ นแนวทางในชีวิตประจำวัน

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
ส 1.1 ป.5/1,ป.5/2,ป.5/3,ป.5/4,ป.5/5,ป.5/6,ป.5/7
ส 1.2 ป.5/1,ป.5/2,ป.5/3
ส 2.1 ป.5/1,ป.5/2,ป.5/3,ป.5/4
ส 2.2 ป.5/1,ป.5/2,ป.5/3
ส 3.1 ป.5/1,ป.5/2,ป.5/3
ส 3.2 ป.5/1,ป.5/2
ส 5.1ป.5/1,ป.5/2
ส 5.2ป.5/1,ป.5/2,ป.5/3

รวมทัง้ หมด 27 ตัวชีว


้ ัด
146

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 5
ส 15101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 80 ชั่วโมง/ปี

เวลา สัดส่วน
มาตรฐานการ
(ชั่วโ คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/
มง) % รวม
ตัวชีว
้ ัด
%
หน่วยที่ 1 ความสำคัญของพระพุทธ ส 1.1 10
ศาสนาและพุทธประวัติ ป.5/1
-มรดกทางวัฒนธรรมที่ได้รับจาก ป.5/2
พระพุทธศาสนา ป.5/3
-การนำพระพุทธศาสนาไปใช้เป็ น
แนวทางพัฒนาชาติไทย
-พุทธประวัติ พุทธสาวก
หน่วยที่ 2 หลักธรรมทางศาสนา ส 1.1 10
-พระไตรปิ ฎก หรือหลักธรรมที่ตน ป.5/4
นับถือ ป.5/5
-พระรัตนตรัย ไตรสิกขา
-โอวาท 3
-พุทธศาสนสุภาษิต
หน่วยที่ 3 การพัฒนาจิตตามแนวทาง ส 1.1 10
147

ของศาสนาที่ตนนับถือ ป.5/6
-สวดมนต์ไหว้พระ ป.5/7
-การบริหารจิตและเจริญปั ญญา
หน่วยที่ 4 พิธีกรรม ศาสนพิธีและวัน ส 1.2 10
สำคัญทางศาสนา ป.5/1
-การจัดพิธีกรรมที่เรียบง่าย ป.5/2
-การมีส่วนร่วมในพิธีกรรม ป.5/3
-ประโยชน์ของการเข้าร่วมพิธีกรรม
หรือกิจกรรมวันสำคัญของศาสนา
-มารยาทของศาสนิกชน
หน่วยที่ 5 บทบาทสิทธิหน้าที่ในฐานะ ส 2.1 6
พลเมืองดี ป 5/1
ตามวิถีประชาธิปไตย ป.5/2
-สถานภาพ บทบาท สิทธิ เสรีภาพ ป.5/3
หน้าที่ของพลเมืองดี ป 5/4
-คุณลักษณะของพลเมืองดี
-แนวทางการปกป้ องคุ้มครองสิทธิเด็ก
ในสังคมไทย
-คุณค่าของวัฒนธรรมกับการดำเนิน
ชีวิต
-การอนุรักษ์และเผยแพร่ภูมิปัญญา
ท้องถิ่นของชุมชน
148

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 6 การเมืองการปกครอง ส 2.2 7
ตามรัฐธรรมนูญ ป.5/1
-โครงสร้างการปกครองในท้องถิ่น ป.5/2
-บทบาทหน้าที่ และวิธีการเข้าดำรง ป.5/3
ตำแหน่งของผู้บริหารท้องถิ่น
-องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่นกับการ
บริการสาธารณประโยชน์ในชุมชน
หน่วยที่ 7 หลักเศรษฐศาสตร์เบื้อง ส 3.1 8
ต้น ป.5/1
-ความหมายและประเภทของปั จจัย ป.5/2
การผลิต ป.5/3
-เทคโนโลยีในการผลิตสินค้าและ ส 3.2
บริการ ป.5/1
-หลักการของเศรษฐกิจพอเพียง ป.5/2
-การประยุกต์ใช้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง
-หลักการและประโยชน์ของ
สหกรณ์
-สหกรณ์ในโรงเรียน
149

-บทบาทหน้าที่ของธนาคาร
-ผลดีและผลเสียของการกู้ยืมเงิน
หน่วยที่ 8 ภูมิภาคของเรา ส 5.1 8
-ลักษณะทางกายภาพในภูมิภาค ป.5/1
ของตน ป.5/2
-ลักษณะทางกายภาพที่ส่งผลต่อ
แหล่งทรัพยากรละสถานที่สำคัญใน
ภูมิภาคของตน
หน่วยที่ 9 สิ่งแวดล้อมทาง ส 5.2 9
ธรรมชาติ ป.5/1
-สิ่งแวดล้อมทางกายภาพที่มี ป.5/2
อิทธิพลต่อลักษณะการตัง้ ถิ่นฐาน ป.5/3
และการย้ายถิ่นฐานของประชากร
ในภูมิภาคของตน
-อิทธิพลของสิ่งแวดล้อมทาง
ธรรมชาติที่ก่อให้เกิดวิถีการดำเนิน
ชีวิตในภูมิภาคของตน
-แนวทางการจัดการสิ่งแวดล้อมใน
ภูมิภาคของตน
ระหว่างปี 78 30 70
ปลายปี
การทดสอบ 2 30
(สรุปรายวิชา)
รวม 80 100
150

คำอธิบายรายวิชา

ส 15102 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 5
เวลา 40 ชั่วโมง
.............................................................................................................
.......................................................

ศึกษาการนับช่วงเวลาตามปฏิทินที่ใช้ในชีวิตประจำวัน ลำดับ
เหตุการณ์ในชีวิตประจำวัน ประวัติความเป็ นมาของตนเอง เวลาที่แสดง
เหตุการณ์ในอดีตปั จจุบันและอนาคต เทียบศักราชที่สำคัญตามปฏิทินที่ใช้
ในชีวิตประจำวัน ลำดับเหตุการณ์สำคัญของโรงเรียนและชุมชนโดยระบุ
หลักฐานและแหล่งข้อมูลที่เกี่ยวข้อง นับช่วงเวลาเป็ นทศวรรษ ศตวรรษ
และสหัสวรรษ ยุคสมัยในการศึกษาประวัติของมนุษยชาติโดยสังเขป
ประเภทหลักฐานที่ใช้ศึกษาความเป็ นมาของท้องถิ่น ข้อมูลจากแหล่ง
ต่างๆเพื่อตอบคำถามทางประวัติศาสตร์อย่างมีเหตุผล อิทธิพลของ
อารยธรรมอินเดียและจีนที่มีต่อไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ โดย
สังเขป พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาและธนบุรี ปั จจัยที่ส่งเสริมความ
เจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครองของอาณาจักรอยุธยา ประวัติ
ผลงานและภูมิปัญญาไทยที่สำคัญสมัยธนบุรีและอยุธยาที่น่าภาคภูมิใจ
และควรค่าแก่การอนุรักษ์ไว้
โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ การอภิปราย คิดหาเหตุและผล
สำรวจตรวจสอบข้อมูล กระบวนการสืบค้น การสังเกต การเปรียบเทียบ
การยกตัวอย่าง การบวนการกลุ่ม หรือกระบวนการอื่น ๆที่เหมาะสมเพื่อ
151

ให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ เห็นคุณค่า รักความเป็ นไทย รักชาติ


ศาสน์กษัตริย์ มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง สามารถนำเสนอสื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้ มาปรับใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างเหมาะสม

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
ส 4.1 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3
ส 4.2 ป.5/1, ป.5/2
ส 4.3 ป.5/1, ป.5/2, ป.5/3, ป.5/4

รวมทัง้ สิน
้ 9 ตัวชีว
้ ัด
152

โครงสร้างรายวิชา
รายวิชาพื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 5 รหัส/รายวิชา ส 15102
ประวัติศาสตร์ เวลา 40
ชั่วโมง/ปี

สัดส่วนคะแนน
มาตรฐาน เวลา
(%)
หน่วยการเรียนรู้ การเรียนรู้ (ชั่วโ
ภาระ สอบ รว
ตัวชีว
้ ัด มง)
งาน ย่อย ม
หน่วยที่ 1 การสืบค้นความเป็ น
มาของท้องถิ่น
ตนเองและครอบครัว
-วิธีการสืบค้นความเป็ นมาของท้อง ส 4.1
ถิ่นอย่างง่ายๆ ป 5/1
-แหล่งข้อมูลและหลักฐานทาง ป 5/2 10
ประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น ป 5/3
-การตัง้ คำถามทางแระวัติศาสตร์
เกี่ยวกับความเป็ นมาของท้องถิ่น
-ตัวอย่างข้อมูลหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ในท้องถิ่น
-การนำเสนอความเป็ นมาของท้อง
ถิ่นด้วยวิธีการต่างๆ
หน่วยที่ 2 อิทธิพลของ
อารยธรรมอินเดียและจีนที่มีต่อ
153

ไทยและเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ส 4.2
-การเข้ามาของอารยธรรมอินเดีย ป.5/1 9
และจีนในดินแดนไทยและภูมิภาค ป 5/2
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
-อิทธิพลของอารยธรรมอินเดียและ
จีนที่มีต่อไทยและคนในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
หน่วยที่ 3 อาณาจักรอยุธยาและ
ธนบุรี ส 4.3
-พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา ป.5/1 10
และธนบุรี ป.5/2
-ปั จจัยที่ส่งเสริมความเจริญ
รุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการ
ปกครองของอาณาจักรอยุธยา
หน่วยที่ 4 บุคคลสำคัญและ ส 4.3
ภูมิปัญญาไทย ป.5./3 9
-ประวัติและผลงานของบุคคล ป.5/4
สำคัญด้านต่างๆ สมัยอยุธยาและ
ธนบุรีที่น่าภาคภูมิใจ
-ภูมิปัญญาไทยสมัยธนบุรี
ระหว่างปี 39 30 70
ปลายปี
การทดสอบ 1 30
(สรุปรายวิชา)
รวม 40 100
154

ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6
สาระมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ป.6 1. วิเคราะห์ความสำคัญของ พระพุทธศาสนาในฐานะเป็ น


พระพุทธ- ศาสนาในฐานะเป็ น ศาสนาประจำชาติ เช่น เป็ น
ศาสนาประจำชาติ หรือความ เอกลักษณ์ของชาติไทย เป็ น
สำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ รากฐานทางวัฒนธรรมไทย เป็ น
ศูนย์รวมจิตใจ เป็ นมรดกทาง
วัฒนธรรมไทย และเป็ นหลัก ใน
การพัฒนาชาติไทย

2. สรุปพุทธประวัติตงั ้ แต่ปลง  สรุปพุทธประวัติ (ทบทวน)


อายุสังขารจนถึงสังเวชนีย  ปลงอายุสังขาร
สถาน หรือประวัติศาสดาที่ตน  ปั จฉิมสาวก
นับถือตามที่กำหนด  ปรินิพพาน
 การถวายพระเพลิง

 แจกพระบรมสารีริกธาตุ
 สังเวชนียสถาน 4
155

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

3. เห็นคุณค่าและประพฤติตน  พระราธะ
ตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต  ทีฆีติโกสลชาดก
และข้อคิดจากประวัติสาวก  สัพพทาฐิชาดก
ชาดก/เรื่องเล่า และ  พ่อขุนรามคำแหงมหาราช
ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่  สมเด็จพระมหาสมณเจ้า
กำหนด กรมพระ
ปรมานุชิตชิโนรส
4. วิเคราะห์ความสำคัญและ พระรัตนตรัย
เคารพ พระรัตนตรัย ศรัทธา 4
ปฏิบต
ั ต
ิ ามไตรสิกขาและหลัก  พระพุทธ
ธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธ พุทธกิจ 5
ศาสนา หรือหลักธรรมของ  พระธรรม
ศาสนาที่ตน อริยสัจ 4
นับถือตามที่กำหนด หลักกรรม
 พระสงฆ์
ไตรสิกขา
 ศีล สมาธิ ปั ญญา
โอวาท 3
 ไม่ทำชั่ว
เบญจศีล
อบายมุข 6
อกุศลมูล 3
 ทำความดี
156

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

เบญจธรรม
กุศลมูล 3
พละ 4
คารวะ 6
กตัญญูกตเวทีต่อพระมหา
กษัตริย์
มงคล 38
- มีวินัย
- การงานไม่มีโทษ
- ไม่ประมาทในธรรม
 ทำจิตให้บริสุทธิ ์ (บริหารจิต
และเจริญปั ญญา)
พุทธศาสนสุภาษิต
 สจฺเจน กิตฺตึ ปปฺโปติ
คนจะได้เกียรติด้วยสัจจะ
ยถาวาที ตถาการี
พูดเช่นไร ทำเช่นนัน

5. ชื่นชมการทำความดีของ  ตัวอย่างการกระทำความดี
บุคคลในประเทศตามหลัก ของบุคคลในประเทศ
ศาสนา พร้อมทัง้ บอกแนวปฏิบต
ั ิ
ในการดำเนินชีวต

6. เห็นคุณค่าและสวดมนต์แผ่  สวดมนต์ไหว้พระ สรรเสริญ
เมตตา และบริหารจิตเจริญ คุณพระรัตนตรัยและแผ่เมตตา
157

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ปั ญญา มีสติที่เป็ นพื้นฐานของ  รู้ความหมายของ


สมาธิในพระพุทธศาสนา หรือ สติสัมปชัญญะ สมาธิและปั ญญา
การพัฒนาจิตตามแนวทางของ  รู้วิธีปฏิบัติและประโยชน์
ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่ ของการบริหารจิตและเจริญ
กำหนด ปั ญญา
 ฝึ กการยืน การเดิน การนั่ง
และการนอนอย่างมีสติ
 ฝึ กการกำหนดรู้ความรู้สึก
เมื่อตาเห็นรูป หูฟังเสียง จมูกดม
กลิ่น ลิน
้ ลิม
้ รส กายสัมผัส
สิ่งที่มากระทบใจรับรู้ธรรมารมณ์
 ฝึ กให้มีสมาธิในการฟั ง การ
อ่าน การคิด การถาม และการ
เขียน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
7. ปฏิบัติตนตามหลักธรรม หลักธรรม : อริยสัจ 4 หลักกรรม
ของศาสนา ที่ตน โอวาท 3 : เบญจศีล –
นับถือ เพื่อแก้ปัญหา เบญจธรรม อบายมุข 6 อกุศล
อบายมุขและ สิ่งเสพติด มูล 3 กุศลมูล 3
8. อธิบายหลักธรรมสำคัญ -หลักธรรมสำคัญของศาสนา
ของศาสนาอื่นๆ โดย ต่างๆ
158

สังเขป  พระพุทธศาสนา: อริยสัจ 4


โอวาท 3 ฯลฯ
 ศาสนาอิสลาม : หลัก
ศรัทธา หลัก
ปฏิบัติ หลักจริยธรรม
 คริสต์ศาสนา : บัญญัติ 10
ประการ
-ศาสนพิธีของศาสนาต่างๆ
9. อธิบายลักษณะสำคัญ - พระพุทธศาสนา
ของศาสนพิธีพิธีกรรมของ o ศาสนพิธีที่เป็ นพุทธบัญญัติ
ศาสนาอื่นๆ และปฏิบัติตน เช่น บรรพชา อุปสมบท
ได้อย่างเหมาะสมเมื่อต้อง o ศาสนพิธีที่เกี่ยวเนื่องกับ
เข้าร่วมพิธี พระพุทธศาสนา เช่น ทำบุญ
พิธีเนื่องในวันสำคัญทาง
ศาสนา
o ศาสนาอิสลาม เช่น การ
ละหมาด การถือศีลอด กา
รบำเพ็ญฮัจญ์ ฯลฯ
o คริสต์ศาสนา เช่น ศีลล้าง
บาป ศีลอภัยบาป ศีลกำลัง
ศีลมหาสนิท ฯลฯ
o ศาสนาฮินดู เช่น พิธี
ศราทธ์ พิธีบูชาเทวดา
159

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี


และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรื อศาสนาที่ตนนับถือ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป. 1. อธิบายความรู้เกี่ยวกับ  ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ
6 สถานที่ต่างๆ ในศาสนสถาน สถานที่ต่างๆภายในวัด เช่น
และปฏิบัติตนได้อย่างเหมาะ เขตพุทธาวาส สังฆาวาส
สม  การปฏิบัติตนที่เหมาะสม
ภายในวัด

2. มีมรรยาทของความเป็ น  การถวายของแก่พระภิกษุ
ศาสนิกชนที่ดี ตามที่กำหนด  การปฏิบัติตนในขณะฟั ง
ธรรม
 การปฏิบัติตนตามแนวทาง
ของพุทธศาสนิกชน เพื่อ
ประโยชน์ต่อศาสนา

3. อธิบายประโยชน์ของการ  ทบทวนการอาราธนาศีล
เข้าร่วมใน ศาสนพิธี
อาราธนาธรรม และ
พิธีกรรม และกิจกรรม
ในวันสำคัญทางศาสนา ตาม อาราธนาพระปริตร
ทีกำ
่ หนด และปฏิบัติ  พิธีทอดผ้าป่ า
ตนได้ถูกต้อง
 พิธีทอดกฐิน
 ระเบียบพิธีในการทำบุญ
งานอวมงคล
160

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 การปฏิบัติตนที่ถูกต้องใน
ศาสนพิธีพิธีกรรม และวัน
สำคัญทางศาสนา เช่น วัน
มาฆบูชา วันวิสาขบูชา วัน
อัฐมีบูชา วันอาสาฬหบูชา
วันธรรมสวนะ
 ประโยชน์ของการเข้าร่วม
ในศาสนพิธี/พิธีกรรม และ
วันสำคัญทางศาสนา
4. แสดงตนเป็ นพุทธมามกะ  การแสดงตนเป็ น
หรือแสดงตนเป็ นศาสนิกช
พุทธมามกะ
นของศาสนาที่ตนนับถือ
° ขัน
้ เตรียมการ
° ขัน
้ พิธีการ

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี
มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดำรงชีวติ อยูร่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสข

161

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. ปฏิบัติตามกฎหมายที่  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ชีวิตประจำวันเช่น
ของครอบครัวและชุมชน - กฎหมายจราจร
- กฎหมายทะเบียนราษฎร
- กฎหมายยาเสพติดให้
โทษ
- เทศบัญญัติ ข้อบัญญัติ
อบต. อบจ.
 ประโยชน์ของการปฏิบัติ
ตนตามกฎหมายดังกล่าว
2. วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลง  ความหมายและประเภท
วัฒนธรรมตามกาลเวลาและ ของวัฒนธรรม
ธำรงรักษาวัฒนธรรม อันดี  การเปลี่ยนแปลง
งาม วัฒนธรรมตามกาลเวลาที่มี
ผลต่อตนเองและสังคมไทย
 แนวทางการธำรงรักษา
วัฒนธรรมไทย
162

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
3. แสดงออกถึงมารยาทไทย  ความหมายและสำคัญของ
ได้เหมาะสมถูกกาลเทศะ มารยาทไทย
 มารยาทไทยและมารยาท
สังคม เช่น การแสดง
ความเคารพ การยืน การ
เดิน การนั่ง การนอน การ
รับของส่งของ
การรับประทานอาหาร การ
แสดงกิริยาอาการ การ
ทักทาย การสนทนา การ
ใช้คำพูด
4. อธิบายคุณค่าทาง  ประโยชน์และคุณค่าทาง
วัฒนธรรมที่แตกต่างกัน วัฒนธรรม
ระหว่างกลุ่มคนในสังคม  ความแตกต่างทาง
ไทย วัฒนธรรมระหว่างกลุ่มคน
ภาคต่างๆ ในสังคมไทย
 แนวทางการรักษา
วัฒนธรรม
163

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
5. ติดตามข้อมูล ข่าวสาร  ข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์
เหตุการณ์ตา่ งๆ ในชีวิต ต่างๆ เช่น วิทยุโทรทัศน์
ประจำวัน เลือกรับและใช้ หนังสือพิมพ์
ข้อมูล ข่าวสารในการเรียนรู้ แหล่งข่าวต่างๆ
ได้เหมาะสม สถานการณ์จริง
 ประโยชน์จากการติดตาม
ข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์
ต่างๆ
 หลักการเลือกรับและใช้
ข้อมูล ข่าวสารจากสื่อต่างๆ
รวมทัง้ สื่อที่ไร้พรมแดน

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน


ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา
ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. เปรียบเทียบบทบาท  บทบาท หน้าที่ ของ
หน้าที่ขององค์กรปกครอง องค์กรปกครองส่วนท้องถิ่น
ส่วนท้องถิ่นและรัฐบาล และรัฐบาล
2. มีส่วนร่วมในกิจกรรม  กิจกรรมต่างๆ เพื่อส่ง
ต่างๆ ที่ส่งเสริม เสริม ประชาธิปไตย ในท้อง
164

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ประชาธิปไตยในท้องถิ่น ถิ่นและประเทศ
และประเทศ
3. อภิปรายบทบาท ความ  การมีส่วนในการออก
สำคัญในการใช้สิทธิออก กฎหมาย ระเบียบ กติกา
เสียงเลือกตัง้ ตามระบอบ การเลือกตัง้
ประชาธิปไตย  สอดส่องดูแลผู้มี
พฤติกรรมการกระทำผิดการ
เลือกตัง้ และแจ้งต่อเจ้า
หน้าที่ผู้รับผิดชอบ
 ตรวจสอบคุณสมบัติ
 การใช้สิทธิออกเสียง
เลือกตัง้ ตามระบอบ
ประชาธิปไตย
สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต


และการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. อธิบายบทบาทของผู้  บทบาทของผูผ ้ ลิตทีม
่ ค
ี ณ
ุ ภาพ
ผลิตที่มีความรับผิดชอบ เช่น คำนึงถึงสิง่
แวดล้อม มีจรรยาบรรณ
ความรับผิดชอบต่อสังคม
วางแผนก่อนเริ่มลงมือทำ
165

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
กิจกรรมต่างๆ เพื่อลดความ
ผิดพลาดและการสูญเสีย ฯลฯ
 ทัศนคติในการใช้ทรัพยากร
อย่างมีประสิทธิภาพและ
ประสิทธิผล
 ประโยชน์ของการผลิตสินค้า
ที่มีคุณภาพ
2. อธิบายบทบาทของผู้  คุณสมบัติของผู้บริโภคที่ดี
บริโภค  พฤติกรรมของผู้บริโภคที่
ที่ร้เู ท่าทัน บกพร่อง
 คุณค่าและประโยชน์ของผู้
บริโภคที่ร้เู ท่าทันที่มีต่อตนเอง
ครอบครัวและสังคม
3. บอกวิธีและประโยชน์  ความหมาย และความจำเป็ น
ของการใช้ทรัพยากรอย่าง ของทรัพยากร
ยั่งยืน  หลักการและวิธีใช้ทรัพยากร
ให้เกิดประโยชน์สูงสุด (ลด
การสูญเสียทุกประเภท)
 วิธีการสร้างจิตสำนึกให้คนใน
ชาติร้คู ุณค่าของทรัพยากรที่มี
อยู่จำกัด
 วางแผนการใช้ทรัพยากร โดย
ประยุกต์เทคนิคและวิธก ี าร
ใหม่ๆ ให้เกิดประโยชน์แก่สงั คม
และประเทศชาติ และทันกับ
สภาพทางเศรษฐกิจและสังคม
166

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความ


สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกัน
ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. อธิบายความสัมพันธ์  ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต
ระหว่างผูผ
้ ลิต ผูบ้ ริโภค ผู้บริโภค ธนาคาร และรัฐบาล
ธนาคาร และรัฐบาล ที่มีต่อระบบเศรษฐกิจอย่าง
สังเขป เช่นการแลก
เปลี่ยนสินค้าและบริการราย
ได้และรายจ่าย การออมกับ
ธนาคาร การลงทุน
 แผนผังแสดงความสัมพันธ์
ของหน่วยเศรษฐกิจ
 ภาษีและหน่วยงานที่จัดเก็บ
ภาษี
 สิทธิของผู้บริโภค และสิทธิ
ของผู้ใช้แรงงานใน
ประเทศไทย
 การหารายได้ รายจ่าย การ
ออม
การลงทุน ซึ่งแสดง ความ
สัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้
บริโภค และรัฐบาล
2. ยกตัวอย่างการรวมกลุ่ม  การรวมกลุ่มเชิงเศรษฐกิจ
167

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ทางเศรษฐกิจภายในท้องถิ่น เพื่อประสานประโยชน์ในท้อง
ถิ่น เช่น กลุ่มออมทรัพย์ กลุ่ม
แม่บ้าน กองทุนหมู่บ้าน

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัย


ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มา
วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. อธิบายความสำคัญของวิธี  ความหมายและความ
การทางประวัติศาสตร์ในการ สำคัญของวิธีการทาง
ศึกษาเรื่องราวทาง ประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ ที่
ประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ เหมาะสมกับนักเรียน
 การนำวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ไปใช้ศก
ึ ษา
เรื่องราวในท้องถิ่น เช่น
ความเป็ นมาของภูมินามของ
สถานที่ในท้องถิ่น
2. นำเสนอข้อมูลจากหลัก  ตัวอย่างหลักฐานที่
ฐานที่หลากหลายในการ เหมาะสมกับนักเรียนที่นำมา
ทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญ ใช้ในการศึกษาเหตุการณ์
ในอดีต สำคัญในประวัติศาสตร์ไทย
สมัยรัตนโกสินทร์ เช่น
พระราชหัตถเลขาของ
168

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
รัชกาลที่ 4 หรือ รัชกาลที่ 5
กฎหมายสำคัญ ฯลฯ
( เชื่อมโยงกับ มฐ. ส 4.3 )
 สรุปข้อมูลที่ได้จากหลัก
ฐานทัง้ ความจริงและข้อเท็จ
จริง
 การนำเสนอข้อมูลที่ได้
จากหลักฐาน ทาง
ประวัติศาสตร์ด้วยวิธีการ
ต่างๆ เช่น การเล่าเรื่อง
การจัดนิทรรศการ การ
เขียนรายงาน

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน


ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. อธิบายสภาพสังคม  ใช้แผนที่แสดงที่ตงั ้ และ
เศรษฐกิจและการเมืองของ อาณาเขตของประเทศต่างๆ
ประเทศเพื่อนบ้านใน ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
ปั จจุบัน เฉียงใต้
 สภาพสังคม เศรษฐกิจและ
169

การเมืองของประเทศเพื่อน
บ้านของไทยโดยสังเขป
 ตัวอย่างความเหมือนและ
ความต่างระหว่างไทยกับ
ประเทศเพื่อนบ้าน เช่น
ภาษา ศาสนา การปกครอง
2. บอกความสัมพันธ์ของ  ความเป็ นมาของกลุ่ม
กลุ่มอาเซียนโดยสังเขป อาเซียนโดยสังเขป
 สมาชิกของอาเซียนใน
ปั จจุบัน
 ความสัมพันธ์ของกลุ่ม
อาเซียนทางเศรษฐกิจ และ
สังคมในปั จจุบันโดยสังเขป

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา


ไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
ธำรงความเป็ นไทย

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. อธิบายพัฒนาการ  การสถาปนาอาณาจักร
ของไทยสมัย รัตนโกสินทร์โดยสังเขป
รัตนโกสินทร์ โดย  ปั จจัยที่ส่งเสริมความเจริญ
สังเขป รุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการ
2. อธิบายปั จจัยที่ส่ง ปกครองของไทย ในสมัย
เสริมความเจริญ รัตนโกสินทร์
รุ่งเรืองทางเศรษฐกิจ  พัฒนาการของไทยสมัย
และการปกครองของ รัตนโกสินทร์ โดยสังเขป ตามช่วง
170

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ เวลาต่างๆ เช่น สมัยรัตนโกสินทร์
3. ยกตัวอย่างผลงาน ตอนต้น สมัยปฏิรูปประเทศ และ
ของบุคคลสำคัญด้าน สมัยประชาธิปไตย
ต่างๆสมัย  ผลงานของบุคคลสำคัญทางด้าน
รัตนโกสินทร์ ต่างๆ ในสมัยรัตนโกสินทร์ เช่น
4. อธิบายภูมิปัญญา พระบาทสมเด็จพระพุทธยอดฟ้ าจุฬา
ไทยที่สำคัญสมัย โลกมหาราช สมเด็จพระบวรราชเจ้า
รัตนโกสินทร์ที่น่าภาค มหาสุรสิงหนาท พระบาทสมเด็จ
ภูมิใจ และควรค่าแก่ พระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
การอนุรักษ์ไว้  ภูมิปัญญาไทยสมัยรัตนโกสินทร์
เช่น ศิลปกรรม วรรณกรรม

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์
ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่
และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ
สรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. สืบค้นและอธิบายข้อมูล  เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
ลักษณะทางกายภาพของ (แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ และ
171

ประเทศไทย ด้วยแผนที่ ภาพจากดาวเทียม) ที่แสดง


รูปถ่ายทางอากาศ และ ลักษณะทางกายภาพของ
ภาพจากดาวเทียม ประเทศไทย

2. อธิบายความสัมพันธ์  ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะ
ระหว่าง ลักษณะทาง ทาง กายภาพกับภัยพิบัติใน
กายภาพกับภัยพิบัติ ใน ประเทศไทย
ประเทศไทย เพื่อเตรียม เช่น อุทกภัย แผ่นดินไหว
พร้อม รับมือ ภัยพิบัติ วาตภัย สึนามิ ภัยแล้ง ดินถล่ม
และโคลนถล่ม
การเตรียมพร้อมรับมือภัย
พิบัติ

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
172

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ป.6 1. วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์  สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับ
ระหว่างสิง่ แวดล้อมทาง ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
กายภาพกับลักษณะ และสังคม (ประชากร เศรษฐกิจ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม) ใน
และสังคมในประเทศไทย ประเทศไทย
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับ
สิ่งแวดล้อม
2. วิเคราะห์การ  การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพ
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ของประเทศไทย
ของประเทศไทยในอดีต  ผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง
กับปั จจุบัน และผลที่เกิด กายภาพที่มีต่อกิจกรรมทาง
ขึน
้ จากการเปลี่ยนแปลง เศรษฐกิจและสังคม (ประชากร
เศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม)
ของประเทศไทยในอดีตกับ
ปั จจุบัน
3. นำเสนอตัวอย่างที่ ผลจากการรักษาและการ
สะท้อนให้เห็นผลจากการ ทำลายสิง่ แวดล้อมใน
รักษาและทำลาย ประเทศไทย
ทรัพยากรและสิ่ง แนวทางการจัดการทรัพยากร
แวดล้อม และเสนอ และสิง่ แวดล้อมที่ยั่งยืนโดยมี
แนวทางในการจัดการที่ จิตสำนึกรู้คณ
ุ ค่า
ยั่งยืนในประเทศไทย
173

คำอธิบายรายวิชา

ส 16101 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6
เวลา 80 ชั่วโมง
.......................................................................................................

ศึกษาประวัติ ความสำคัญของพระพุทธศาสนาในฐานะเป็ นศาสนา


ประจำชาติ หรือความสำคัญของศาสนาที่ตนนับถือ พุทธประวัติตงั ้ แต่
ปลงอายุสังขารจนถึงสังเวชนียสถาน หรือประวัติศาสดาที่ตนนับถือ
แบบอย่างการดำเนินชีวิตและข้อคิดจากประวัติสาวก ชาดก เรื่องเล่า และ
ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่กำหนด ความสำคัญของพระรัตนตรัย ไตรสิกขา
และหลักธรรมโอวาท 3 ในพระพุทธศาสนา หรือหลักธรรมของศาสนาที่
ตนนับถือตามที่กำหนด การทำความดีของบุคคลในประเทศตามหลัก
ศาสนา คุณของพระรัตนตรัย ความหมายของสติสัมปชัญญะ สมาธิและ
ปั ญญา วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของการบริหารจิตและเจริญปั ญญา หลัก
ธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ หลักธรรมสำคัญของศาสนาต่างๆ ลักษณะ
สำคัญของศาสนพิธี และพิธีกรรมของศาสนาอื่นๆ ความรู้เกี่ยวกับสถาน
ที่ต่างๆในศาสนสถาน มรรยาทของความเป็ นศาสนิกชนที่ดี ประโยชน์
ของการเข้าร่วมใน ศาสนพิธี พิธีกรรม และกิจกรรมในวันสำคัญทาง
ศาสนาตามที่กำหนด ขัน
้ ตอนการแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ หรือแสดงตน
เป็ นศาสนิกชนของศาสนาที่ตนนับถือ กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำ
วันของครอบครัวและชุมชน การเปลี่ยนแปลงวัฒนธรรมตามกาลเวลา
และการธำรงรักษาวัฒนธรรมอันดีงาม มารยาทไทย คุณค่าทาง
วัฒนธรรมที่แตกต่างกันระหว่างกลุ่มคนในสังคมไทย ข้อมูลข่าวสาร
174

เหตุการณ์ต่างๆ ในชีวิตประจำวัน บทบาท หน้าที่ขององค์กรปกครอง


ส่วนท้องถิ่นและรัฐบาล กิจกรรมต่างๆ ที่ส่งเสริมประชาธิปไตยในท้องถิ่น
และประเทศ บทบาท ความสำคัญในการใช้สิทธิออกเสียงเลือกตัง้ ตาม
ระบอบประชาธิปไตย บทบาทของผู้ผลิตที่มีความรับผิดชอบ บทบาท
ของผู้บริโภคที่ร้เู ท่าทัน วิธีและประโยชน์ของการใช้ทรัพยากรอย่างยั่งยืน
ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค ธนาคารและรัฐบาล การรวมกลุ่ม
ทางเศรษฐกิจภายในท้องถิ่น สืบค้นและอธิบายข้อมูลลักษณะทาง
กายภาพของประเทศไทยด้วยเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ (แผนที่ รูปถ่ายทาง
อากาศ ภาพจากดาวเทียม) อธิบายความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง
กายภาพกับภัยพิบัติของประเทศไทย และการเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ
วิเคราะห์ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับลักษณะกิจกรรม
ทางเศรษฐกิจและสังคม ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมุษย์กับสิ่งแวดล้อมใน
ประเทศไทย วิเคราะห์การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของประเทศไทย ผล
จากการเปลี่ยนแปลงทางกายภาพที่มีต่อกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม
นำเสนอตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็นผลจากการรักษาและทำลายทรัพยากร
และสิง่ แวดล้อมในประเทศไทย แนวทางในการจัดการทรัพยากรและสิ่ง
แวดล้อมที่ยั่งยืนโดยมีจิตสำนึกรู้คุณค่า
โดยใช้การอธิบาย อภิปราย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ยกตัวอย่าง
สรุปความ การสำรวจ ตรวจสอบ การสืบค้นข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้
ความคิด ความเข้าใจ ปฏิบัติตนตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
ได้อย่างเหมาะสม มีมรรยาท แสดงตนเป็ นศาสนิกชนของศาสนาที่ตน
นับถือ แสดงออกถึงมารยาทไทยได้เหมาะสม ถูกกาลเทศะ เห็นคุณค่า
ชื่นชมการทำความดีของบุคคลในประเทศตามหลักศาสนา เห็นคุณค่า
ของวัฒนธรรมไทย สามารถนำความรู้ไปใช้ประโยชน์ในชีวิตประจำวัน
รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอ
175

เพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ มีคุณธรรม


จริยธรรม และค่านิยมที่เหมาะสม

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
ส 1.1 ป.6/1 ,ป.6/2 , ป.6/3 ,ป.6/4 , ป.6/5 , ป.6/6 ,ป.6/7 ,
ป.6/8 ,ป.6/9
ส 1.2 ป.6/1, ป.6/2 , ป.6/3 ,ป.6/4
ส 2.1 ป.6/1, ป.6/2 , ป.6/3 ,ป.6/4 , ป.6/5
ส 2.2 ป.6/1, ป.6/2 , ป.6/3
ส 3.1 ป.6/1, ป.6/2 , ป.6/3
ส 3.2 ป.6/1, ป.6/2
ส 5.1 ป.6/1, ป.6/2
ส 5.2 ป.6/1 ,ป.6/2, ป.6/3

รวมทัง้ หมด 31 ตัวชีว


้ ัด
176
177

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6
ส 16101 สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
เวลา 80 ชั่วโมง/ปี

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโม คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/
ง) % รวม
ตัวชีว
้ ัด
%
หน่วยที่ 1 ประวัติและ ความสำคัญ ส 1.1 25
ของพระพุทธศาสนาและศาสนาอื่น ป.6/1 ,
-ความสำคัญของพุทธศาสนาหรือ ป.6/2
ศาสนาที่ตนนับถือ ป.6/3 ,
-พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธสาวิกา ป.6/4
-หลักธรรมในพุทธศาสนาหรือศาสนา ป.6/5 ,
ที่ตนนับถือ ป.6/6
-ตัวอย่างการทำความดีของบุคคลใน ป.6/7, ป.6/8
ประเทศ ,ป.6/9
-การพัฒนาจิตตามแนวทางของ
ศาสนาที่ตนนับถือ
-การปฏิบัติตนตามหลักศาสนาที่ตน
นับถือ
-หลักธรรมสำคัญของศาสนาที่ตน
178

นับถือ
-ศาสนพิธีและการปฏิบัติตนอย่าง
เหมาะสม
หน่วยที่ 2 การปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกช ส 1.2 15
นที่ดี ป.6/1,
-ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับสถานที่ต่างๆ ป.6/2
ภายในวัด ป.6/3 ,
-มารยาทของศาสนิกชน ป.6/4
-ระเบียบพิธีการในการทำบุญงาน
อวมงคล
-การปฏิบัติตนที่ถูกต้องในศาสนพิธี
-การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ
หน่วยที่ 3 การปฏิบัติตนเป็ นพลเมือง ส 2.1 6
ดี ป.6/1,
-กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน ป.6/2 ,
-ความหมาย ประเภทของวัฒนธรรม
ป.6/3 ,ป.6/4
และแนวทางการธำรงรักษาวัฒนธรรม
,
ไทย
ป.6/5
-มารยาทไทยและมารยาทสังคม
-ความแตกต่างทางวัฒนธรรมระหว่าง
กลุ่มคนภาคต่างๆในสังคมไทย
-หลักการเลือกรับและใช้ข้อมูล
ข่าวสารจากสื่อต่างๆ
หน่วยที่ 4 การเมืองการปกครอง ส 2.2 4
ระดับประเทศ
179

-บทบาทหน้าที่ขององค์กรปกครองส่วน ป.6/1,ป.6/2
ท้องถิ่นและรัฐบาล , ป.6/3
-กิจกรรมส่งเสริมประชาธิปไตย
-การใช้สิทธิออกเสียงเลือกตัง้ ตาม
ระบอบประชาธิปไตย

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 5 การบริหารจัดการ ส 3.1 8
ทรัพยากรในการผลิตและการ ป.6/1 ,
บริโภค ป.6/2 ,
-บทบาทของผู้ผลิตที่มีคณ
ุ ภาพ ป.6/3
-คุณสมบัติของผู้บริโภคที่ดี ส 3.2
-หลักการและวิธีใช้ทรัพยากรให้เกิด ป.6/1 , ป.6/2
ประโยชน์สูงสุด
-การวางแผนการใช้ทรัพยากร
-ความสัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้
บริโภค ธนาคาร และรัฐบาลที่มีต่อ
ระบบเศรษฐกิจ
180

-การรวมกลุ่มเชิงเศรษฐกิจเพื่อ
ประสานประโยชน์ในท้องถิ่น
หน่วยที่ 6 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ส 5.1 4
-เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่แสดง ป.6/1
ลักษณะทางกายภาพของ
ประเทศไทย
หน่วยที่ 7 ภัยพิบัติทางธรรมชาติ ส 5.1 5
-ความสัมพันธ์ระหว่างลักษณะทาง ป.6/2
กายภาพกับภัยพิบัติของ
ประเทศไทย
-การเตรียมพร้อมรับมือภัยพิบัติ
หน่วยที่ 8 ความสัมพันธ์ระหว่าง ส 5.2 4
มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม ป.6/1
-สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับ
ลักษณะกิจกรรมทางเศรษฐกิจและ
สังคมในประเทศไทย
-ปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่ง
แวดล้อม
หน่วยที่ 9 ลักษณะและการ ส 5.2 3
เปลี่ยนแปลงทางกายภาพ ป.6/2
-การเปลี่ยนแปลงทางกายภาพของ
ประเทศไทย
-ผลจากการเปลี่ยนแปลงทาง
กายภาพที่มีต่อกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจและสังคมของ
181

ประเทศไทยในอดีตกับปั จจุบัน
หน่วยที่ 10 การจัดการทรัพยากร ส 5.2 4
และสิ่งแวดล้อม ป.6/3
-ผลจากการรักษาและทำลาย
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใน
ประเทศไทย
-แนวทางในการจัดการทรัพยากร
และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%

ระหว่างปี 78 30 70
ปลายปี การ
2 30
(สรุปรายวิชา) ทดสอบ
รวม 80 100
182
183

คำอธิบายรายวิชา

ส 16102 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6
เวลา 40 ชั่วโมง
.............................................................................................................
.................................................
ศึกษาความสำคัญของวิธีการทางประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่อง
ราวทางประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ ข้อมูลจากหลักฐานที่หลากหลายในการ
ทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญในอดีต สภาพสังคม เศรษฐกิจและ
การเมืองของประเทศเพื่อนบ้านในปั จจุบัน ความสัมพันธ์ของกลุ่ม
อาเซียน พัฒนาการของไทย สมัยรัตนโกสินทร์โดยสังเขป ปั จจัยที่ส่ง
เสริมความเจริญรุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการปกครองของไทยสมัย
รัตนโกสินทร์ ผลงานของบุคคลสำคัญด้านต่างๆสมัยรัตนโกสินทร์
ภูมิปัญญาไทยที่สำคัญสมัยรัตนโกสินทร์ที่น่าภาคภูมิใจ และควรค่าแก่การ
อนุรักษ์ไว้ ประวัติศาสตร์เมืองสตูล มรดกทางวัฒนธรรมและบุคคลสำคัญ
ของจังหวัดสตูล
โดยใช้การอธิบาย อภิปราย วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ยกตัวอย่าง
สรุปความ การสืบเสาะหาความรู้ การสำรวจ ตรวจสอบ การสืบค้น
ข้อมูล เพื่อให้เกิดความรู้ ความคิด ความเข้าใจ สามารถนำเสนอสื่อสาร
สิ่งที่เรียนรู้ มีความสามารถในการตัดสินใจ เห็นคุณค่าของวัฒนธรรม
ไทย รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอ
เพียง มุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ เห็นคุณค่า
184

ของการนำความรู้ไปใช้ในชีวิตประจำวัน มีคณ
ุ ธรรมจริยธรรม และค่านิยม
ที่เหมาะสม

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายปี )
ส 4.1 ป.6/1 , ป.6/2
ส 4.2 ป.6/1 ,ป.6/2
ส 4.3 ป.6/1 ,ป.6/2 , ป.6/3 ,ป.6/4

รวมทัง้ สิน
้ 8 ตัวชีว
้ ัด
185

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชาพื้นฐาน
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6 รหัส/รายวิชา ส 16102
ประวัติศาสตร์ เวลา 40
ชั่วโมง/ปี

สัดส่วนคะแนน
มาตรฐานการ เวลา
(%)
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้ (ชั่วโ
ภาระ สอบ รว
ตัวชีว
้ ัด มง)
งาน ย่อย ม
หน่วยที่ 1
วิธีการทางประวัติศาสตร์
-ความสำคัญของวิธีการทาง ส 4.1
ประวัติศาสตร์ในการศึกษาเรื่อง ป 6/1 , ป 6/2 10
ราวทางประวัติศาสตร์อย่างง่ายๆ
-หลักฐานที่หลากหลายในการ
ทำความเข้าใจเรื่องราวสำคัญใน
อดีต
หน่วยที่ 2
ความสัมพันธ์กับประเทศเพื่อน ส 4.2
บ้าน ป 6/1 ,ป 6/2 9
-สภาพสังคม เศรษฐกิจและ
การเมืองของประเทศเพื่อนบ้าน
186

ในปั จจุบัน
-ความสัมพันธ์ของกลุ่มอาเซียน
โดยสังเขป
หน่วยที่ 3
ประวัติศาสตร์รัตนโกสินทร์
-พัฒนาการของไทยสมัย ส 4.3
รัตนโกสินทร์ ป 6/1 ,ป 6/2 10
- ปั จจัยที่ส่งเสริมความเจริญ
รุ่งเรืองทางเศรษฐกิจและการ
ปกครองของไทยสมัย
รัตนโกสินทร์
หน่วยที่ 4 ส 4.3
ภูมิปัญญาไทย ป 6/3,ป 6/4 9
-ผลงานของบุคคลสำคัญด้าน
ต่างๆสมัยรัตนโกสินทร์
-ภูมิปัญญาไทยที่สำคัญสมัย
รัตนโกสินทร์
ระหว่างปี 39 30 70
ปลายปี
การทดสอบ 1 30
(สรุปรายวิชา)
รวม 40 100
187

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
สาระมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.1 1. อธิบายการเผยแผ่  การสังคายนา


พระพุทธศาสนา หรือ  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้าสู่
ศาสนาที่ตนนับถือสู่ ประเทศไทย
ประเทศไทย
2. วิเคราะห์ความสำคัญ  ความสำคัญของพระพุทธ
ของพระพุทธศาสนา หรือ ศาสนาต่อสังคมไทยในฐานะ
ศาสนาที่ตนนับถือ ที่มี เป็ น
ต่อสภาพแวดล้อมในสังคม  ศาสนาประจำชาติ
ไทย รวมทัง้ การพัฒนาตน  สถาบันหลักของสังคมไทย
และครอบครัว  สภาพแวดล้อมที่กว้างขวาง
และครอบคลุมสังคมไทย
 การพัฒนาตนและครอบครัว
3. วิเคราะห์พุทธประวัติ  สรุปและวิเคราะห์ พุทธประวัติ
- ประสูติเทวทูต 4
ตัง้ แต่ประสูติจนถึงบำเพ็ญ - การแสวงหาความรู้
188

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ทุกรกิริยา หรือประวัติ - การบำเพ็ญทุกรกิริยา


ศาสดาที่ตนนับถือตามที่
กำหนด
4. วิเคราะห์และประพฤติ  พุทธสาวก พุทธสาวิกา
ตนตามแบบอย่างการ  พระมหากัสสปะ
ดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก  พระอุบาลี
ประวัติสาวก ชาดก/เรื่อง  อนาถบิณฑิกะ
เล่า และศาสนิกชนตัวอย่าง  นางวิสาขา
ตามที่กำหนด  ชาดก
 อัมพชาดก
 ติตติรชาดก
 พระรัตนตรัย , พุทธคุณ
5. อธิบายพุทธคุณ และข้อ 9 ,อริยสัจ 4
ธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
4 หรือหลักธรรมของ - ขันธ์ 5
ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่ - ธาตุ 4

กำหนด เห็นคุณค่าและนำ  สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)


- หลักกรรม
ไปพัฒนาแก้ปัญหาของ
- ความหมายและคุณค่า
ตนเองและครอบครัว
- อบายมุข 6

 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
- สุข 2 (กายิก, เจตสิก)
- คิหิสุข
 มงคล 38
189

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

- ไม่คบคนพาล
- คบบัณฑิต
- บูชาผูค
้ วรบูชา
พุทธศาสนสุภาษิต
 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
 ไตรสิกขา
 กรรมฐาน 2
 ปธาน 4
 โกศล 3
 มงคล 38
- ไม่คบคนพาล
- คบบัณฑิต
- บูชาผู้ควรบูชา
 พุทธศาสนสุภาษิต
 ยํ เว เสวติ ตาทิโส
คบคนเช่นใดเป็ นคนเช่นนัน

 อตฺตนา โจทยตฺตานํ
จงเตือนตน ด้วยตน
 นิสมฺม กรณํ เสยฺโย
ใคร่ครวญก่อนทำจึงดี
 ทุราวาสา ฆรา ทุกฺขา
เรือนที่ครองไม่ดีนำทุกข์มาให้
6. เห็นคุณค่าของการ  โยนิโสมนสิการ
190

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

พัฒนาจิต เพื่อการเรียนรู้  วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – คุณค่า


และการดำเนินชีวิต ด้วยวิธี เทียม
คิดแบบโยนิโสมนสิการคือ  วิธีคิดแบบคุณ - โทษและ
วิธีคิดแบบคุณค่าแท้ – ทางออก
คุณค่าเทียม และวิธีคิด
แบบคุณ – โทษ และ
ทางออก หรือการพัฒนาจิต
ตามแนวทางของศาสนาที่
ตนนับถือ
7. สวดมนต์ แผ่เมตตา  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา
บริหารจิตและเจริญปั ญญา  วิธีปฏิบัติและประโยชน์ของ
ด้วยอานาปานสติ หรือ การบริหารจิตและเจริญปั ญญา
ตามแนวทางของศาสนาที่ การฝึ กบริหารจิตและเจริญปั ญญา
ตนับถือตามที่กำหนด ตามหลักสติปัฎฐานเน้นอานาปาน
สติ
 นำวิธีการบริหารจิตและเจริญ
ปั ญญาไปใช้ในชีวิตประจำวัน

8. วิเคราะห์และปฏิบัติตน  หลักธรรม (ตามสาระการ


ตามหลักธรรมทางศาสนาที่ เรียนรู้ข้อ 5)
ตนนับถือ ในการดำรงชีวิต
แบบพอเพียง และดูแล
รักษาสิ่งแวดล้อมเพื่อการ
191

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

อยู่ร่วมกันได้อย่างสันติสุข
9. วิเคราะห์เหตุผลความ  ศาสนิกชนของศาสนาต่างๆ มี
จำเป็ นที่ทุกคนต้องศึกษา การประพฤติปฏิบัติตนและวิถี
เรียนรู้ศาสนาอื่นๆ การดำเนินชีวิตแตกต่างกันตาม
หลักความเชื่อและคำสอน ของ
ศาสนาที่ตน นับถือ
 การปฏิบัติอย่างเหมาะสมต่อ
10. ปฏิบัติตนต่อศาสนิกช ศาสนิกชนอื่นในสถานการณ์
นอื่นในสถานการณ์ต่างๆ ต่างๆ
ได้อย่างเหมาะสม
 ตัวอย่างบุคคลในท้องถิ่นหรือ
11. วิเคราะห์การกระทำ ประเทศที่ปฏิบัติตนเป็ นแบบ
ของบุคคลที่เป็ นแบบอย่าง อย่างด้านศาสนสัมพันธ์หรือมี
ผลงานด้านศาสนสัมพันธ์
ด้านศาสนสัมพันธ์ และนำ
เสนอแนวทางการปฏิบัติ
ของตนเอง

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี


และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. บำเพ็ญประโยชน์ต่อศาสน  การบำเพ็ญประโยชน์ และ
สถานของศาสนาที่ตนนับถือ การบำรุงรักษาวัด
192

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
2. อธิบายจริยาวัตรของสาวก  วิถีชีวิตของพระภิกษุ
เพื่อเป็ นแบบอย่างในการ  บทบาทของพระภิกษุในการ
ประพฤติปฏิบัติ และปฏิบัติ เผยแผ่พระพุทธศาสนา เช่น
ตนอย่างเหมาะสมต่อสาวก การแสดงธรรม ปาฐกถาธรรม
ของศาสนาที่ตนนับถือ การประพฤติตนให้เป็ นแบบ
อย่าง
 การเข้าพบพระภิกษุ
 การแสดงความเคารพ การ
ประนมมือ การไหว้ การก
ราบ การเคารพพระรัตนตรัย
การฟั งเจริญพระพุทธมนต์
การฟั งสวดพระอภิธรรม การ
ฟั งพระธรรมเทศนา
3. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม  ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อ
ต่อบุคคลต่างๆ ตามหลัก เพื่อนตามหลักพระพุทธ
ศาสนาที่ตนนับถือตามที่ ศาสนา หรือศาสนาที่ตน นับถื
กำหนด
4. จัดพิธีกรรม และปฏิบัติ การจัดโต๊ะหมู่บูชา แบบ หมู่4 หมู่
ตนในศาสนพิธี พิธีกรรมได้ 5 หมู่ 7 หมู่9
ถูกต้อง การจุดธูปเทียน การจัดเครื่อง
ประกอบโต๊ะหมู่บูชา คำอาราธนา
ต่างๆ
5. อธิบายประวัติ ความ  ประวัติและความสำคัญของ
สำคัญ และ ปฏิบัติตนในวัน วันธรรมสวนะ วันเข้าพรรษา
193

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
สำคัญทางศาสนาที่ตนนับถือ วันออกพรรษา วันเทโว
ตามที่กำหนด ได้ถก
ู ต้อง โรหณะ
 ระเบียบพิธี พิธีเวียนเทียน
การปฏิบัติตนในวันมาฆบูชา
วันวิสาขบูชา วันอัฏฐมีบูชา
วันอาสาฬหบูชา
วันธรรมสวนะและเทศกาล
สำคัญ

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี
มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดำรงชีวติ อยูร่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. ปฏิบัติตามกฎหมายใน  กฎหมายในการคุ้มครอง
สิทธิของบุคคล
การคุ้มครองสิทธิของบุคคล - กฎหมายการคุ้มครอง
เด็ก
- กฎหมายการศึกษา
- กฎหมายการคุ้มครองผู้
บริโภค
- กฎหมายลิขสิทธิ ์
 ประโยชน์ของการปฏิบัติ
ตนตามกฎหมายการคุ้มครอง
สิทธิของบุคคล
2. ระบุความสามารถของ  บทบาทและหน้าที่ของ
194

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตนเอง ใน เยาวชนที่มีต่อสังคมและ
การทำประโยชน์ต่อสังคม ประเทศชาติ โดยเน้นจิต
และประเทศชาติ สาธารณะ เช่น เคารพกติกา
สังคม
ปฏิบัติตนตามกฎหมาย มีส่วน
ร่วมและรับผิดชอบในกิจกรรม
ทางสังคม อนุรักษ์
ทรัพยากรธรรมชาติ รักษา
สาธารณประโยชน์
3. อภิปรายเกี่ยวกับคุณค่า  ความคล้ายคลึงและความ
ทางวัฒนธรรมที่เป็ นปั จจัย แตกต่างระหว่างวัฒนธรรม
ในการสร้างความสัมพันธ์ที่ ไทยกับวัฒนธรรมของประเทศ
ดีหรืออาจนำไปสูค่ วาม ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
เข้าใจผิดต่อกัน เฉียงใต้
 วัฒนธรรมที่เป็ นปั จจัยใน
การสร้างความสัมพันธ์ที่ดี
หรืออาจนำไปสูค ่ วามเข้าใจผิด
ต่อกัน
4. แสดงออกถึงการเคารพ  วิธีปฏิบัติตนในการเคารพใน
ในสิทธิของตนเองและผู้อ่ น
ื สิทธิของตนเองและผู้อ่ น

 ผลที่ได้จากการเคารพใน
สิทธิของตนเองและผู้อ่ น ื

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน


ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา
ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
195

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. อธิบายหลักการ หลักการ เจตนารมณ์
เจตนารมณ์ โครงสร้าง โครงสร้าง และสาระสำคัญของ
และสาระสำคัญของ รัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
รัฐธรรมนูญแห่งราช ไทย ฉบับปั จจุบัน
อาณาจักรไทย ฉบับ
ปั จจุบันโดยสังเขป
2. วิเคราะห์บทบาทการถ่วง  การแบ่งอำนาจ และการ
ดุลของอำนาจอธิปไตยใน ถ่วงดุลอำนาจอธิปไตยทัง้ 3
รัฐธรรมนูญแห่งราช ฝ่ าย คือนิติบัญญัติ บริหาร
อาณาจักรไทย ฉบับ ตุลาการ ตามที่ระบุใน
ปั จจุบัน รัฐธรรมนูญแห่งราช
อาณาจักรไทยฉบับปั จจุบัน
3. ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติ  การปฏิบัติตนตามบทบัญญัติ
ของรัฐธรรมนูญแห่งราช ของรัฐธรรมนูญแห่งราช
อาณาจักรไทย ฉบับปั จจุบัน อาณาจักรไทยฉบับปั จจุบัน
ที่เกี่ยวข้องกับตนเอง เกี่ยวกับสิทธิ เสรีภาพและ
หน้าที่

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต


และการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ
196

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. อธิบายความหมายและ  ความหมายและความสำคัญ
ความสำคัญของ ของเศรษฐศาสตร์เบื้องต้น
เศรษฐศาสตร์  ความหมายของคำว่า
ทรัพยากรมีจำกัดกับ ความ
ต้องการมีไม่จำกัด ความ
ขาดแคลน การเลือกและ
ค่าเสียโอกาส

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
2. วิเคราะห์ค่านิยมและ  ความหมายและความสำคัญ
พฤติกรรมการบริโภคของ ของการบริโภคอย่างมี
คนในสังคมซึง่ ส่งผลต่อ ประสิทธิภาพ
เศรษฐกิจของชุมชนและ  หลักการในการบริโภคที่ดี
ประเทศ  ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อ
พฤติกรรมการบริโภค
 ค่านิยมและพฤติกรรมของ
การบริโภคของคนในสังคม
ปั จจุบัน รวมทัง้ ผลดีและผลเสีย
ของพฤติกรรมดังกล่าว
3. อธิบายความเป็ นมาหลัก  ความหมายและความเป็ นมา
197

การและความสำคัญของ ของปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ เพียง
เพียงต่อสังคมไทย  ความเป็ นมาของเศรษฐกิจ
พอเพียง และหลักการทรงงาน
ของพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัวรวมทัง้ โครงการ
ตามพระราชดำริ
 หลักการของเศรษฐกิจพอ
เพียง
 การประยุกต์ใช้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง ในการดำรง
ชีวิต
 ความสำคัญ คุณค่าและ
ประโยชน์ของปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงต่อสังคมไทย

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความ


สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกัน
ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. วิเคราะห์บทบาทหน้าที่  ความหมาย ประเภท และ
และความแตกต่างของ ความสำคัญของสถาบันการเงินที่
สถาบันการเงินแต่ละ มีต่อระบบเศรษฐกิจ
198

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ประเภทและธนาคารกลาง  บทบาทหน้าที่และความ
สำคัญของธนาคารกลาง
 การหารายได้ รายจ่าย การ
ออม การลงทุน ซึง่ แสดงความ
สัมพันธ์ระหว่างผู้ผลิต ผู้บริโภค
และสถาบันการเงิน
2. ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้  ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้เห็น
เห็นการพึ่งพาอาศัยกัน และ การพึง่ พาอาศัยกันและกัน การ
การแข่งขันกันทางเศรษฐกิจ แข่งขันกันทางเศรษฐกิจใน
ในประเทศ ประเทศ
 ปั ญหาเศรษฐกิจในชุมชน
ประเทศ และเสนอแนวทางแก้ไข
3. ระบุปัจจัยที่มีอิทธิพลต่อ  ความหมายและกฎอุปสงค์
การกำหนด อุปสงค์และ อุปทาน
อุปทาน  ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการ
กำหนดอุปสงค์และอุปทาน
4. อภิปรายผลของการมี  ความหมายและความสำคัญ
กฎหมายเกี่ยวกับทรัพย์สิน ของทรัพย์สินทางปั ญญา
ทางปั ญญา  กฎหมายที่เกี่ยวกับการ
คุ้มครองทรัพย์สินทางปั ญญาพอ
สังเขป
 ตัวอย่างการละเมิดแห่ง
ทรัพย์สินทางปั ญญาแต่ละ
ประเภท
199

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัย


ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มา
วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. วิเคราะห์ความสำคัญ  ความสำคัญของเวลา และช่วง
ของเวลาในการศึกษา เวลาสำหรับการศึกษาประวัติศาสตร์
ประวัติศาสตร์  ความสัมพันธ์และความสำคัญ
ของอดีตที่มีต่อปั จจุบันและอนาคต
 ตัวอย่างการใช้เวลา ช่วงเวลาและ
ยุคสมัย ที่ปรากฏในเอกสาร
ประวัติศาสตร์ไทย
2. เทียบศักราชตาม  ที่มาของศักราชที่ปรากฏใน
ระบบต่างๆที่ใช้ศึกษา เอกสารประวัติศาสตร์ไทย ได้แก่
ประวัติศาสตร์ จ.ศ. / ม.ศ. /ร.ศ./ พ.ศ. / ค.ศ. และ
ฮ.ศ.
 วิธีการเทียบศักราชต่างๆ และ
ตัวอย่าง
การเทียบ
 ตัวอย่างการใช้ศักราชต่างๆ ที่
ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย
3. นำวิธีการทาง  ความหมายและความสำคัญของ
200

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ประวัติศาสตร์มาใช้ ประวัตศ
ิ าสตร์ และวิธีการทาง
ศึกษาเหตุการณ์ทาง ประวัติศาสตร์ที่มีความสัมพันธ์เชื่อม
ประวัติศาสตร์ โยงกัน
 ตัวอย่างหลักฐานในการศึกษา
ประวัตศ
ิ าสตร์ไทยสมัยสุโขทัย ทัง้
หลักฐานชัน
้ ต้น และหลักฐานชัน
้ รอง
( เชื่อมโยงกับ มฐ.ส 4.3) เช่น
ข้อความ ในศิลาจารึกสมัยสุโขทัย
เป็ นต้น
 นำวิธีการทางประวัติศาสตร์ไป
ใช้ศึกษาเรื่องราวของประวัติศาสตร์
ไทยที่มีอยู่ในท้องถิ่นตนเองในสมัยใด
ก็ได้ (สมัยก่อนประวัติศาสตร์
สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัย
อยุธยา สมัยธนบุรี สมัย
รัตนโกสินทร์ ) และเหตุการณ์สำคัญ
ในสมัยสุโขทัย

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน
ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

201

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. อธิบายพัฒนาการทาง  ที่ตงั ้ และสภาพทาง
สังคม เศรษฐกิจและ ภูมิศาสตร์ของประเทศต่างๆ
การเมืองของประเทศต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก
ในภูมิภาคเอเชียตะวันออก เฉียงใต้ ที่มีผลต่อพัฒนาการ
เฉียงใต้ ทางด้านต่างๆ
 พัฒนาการทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมืองของ
ประเทศต่างๆ ในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้
2. ระบุความสำคัญของ  ที่ตงั ้ และความสำคัญของ
แหล่งอารยธรรมในภูมิภาค แหล่งอารยธรรมในภูมิภาค
เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ เช่น
แหล่งมรดกโลกในประเทศ
ต่างๆ ของเอเชียตะวันออก
เฉียงใต้
 อิทธิพลของอารยธรรม
โบราณในดินแดนไทยที่มีต่อ
พัฒนาการของสังคมไทยใน
ปั จจุบัน

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา


ไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
202

ธำรงความเป็ นไทย

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. อธิบายเรื่องราวทาง สมัยก่อนประวัติศาสตร์ใน
ประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัย ดินแดนไทย โดยสังเขป
ในดินแดนไทยโดยสังเขป  รัฐโบราณในดินแดนไทย
2. วิเคราะห์พัฒนาการของ เช่น ศรีวิชัยตามพรลิงค์
อาณาจักรสุโขทัยในด้านต่างๆ ทวารวดี เป็ นต้น
3. วิเคราะห์อิทธิพลของ  รัฐไทย ในดินแดนไทย
วัฒนธรรม และภูมิปัญญาไทย เช่น ล้านนา
สมัยสุโขทัยและสังคมไทยใน นครศรีธรรมราช สุพรรณภูมิ
ปั จจุบัน เป็ นต้น
 การสถาปนาอาณาจักร
สุโขทัย และ ปั จจัยที่
เกี่ยวข้อง (ปั จจัยภายในและ
ปั จจัยภายนอก)
 พัฒนาการของ
อาณาจักรสุโขทัย ในด้าน
การเมืองการปกครอง
เศรษฐกิจ สังคม และความ
สัมพันธ์ระหว่างประเทศ
 วัฒนธรรมสมัยสุโขทัย
เช่น ภาษาไทย วรรณกรรม
ประเพณีสำคัญ ศิลปกรรม
ไทย
203

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 วัฒนธรรมสมัยสุโขทัย
เช่น ภาษาไทย วรรณกรรม
ประเพณีสำคัญ ศิลปกรรม
ไทย
 ภูมิปัญญาไทยในสมัย
สุโขทัย เช่น
การชลประทาน เครื่อง
สังคมโลก
 ความเสื่อมของ
อาณาจักรสุโขทัย

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์
ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่
และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ
สรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. วิเคราะห์ลักษณะทาง  ที่ตงั ้ ขนาด และอณาเขต
กายภาพของทวีปเอเชีย ทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
ทวีปออสเตรเลีย และโอ และโอเชียเนีย
เชียเนีย โดยใช้เครื่องมือ
ทางภูมิศาสตร์สืบค้นข้อมูล
204

2. อธิบายพิกัด  พิกัดภูมิศาสตร์ (ละติจูด


ภูมิศาสตร์(ละติจูดและ และลองจิจูด)
ลองจิจูด) เส้นแบ่งเวลา  เส้นแบ่งเวลา
และเปรียบเทียบวัน เวลา  การเปรียบเทียบวัน เวลา
ของโลก ของโลก
3. วิเคราะห์สาเหตุการเกิด  สาเหตุการเกิดภัยพิบัติและ
ภัยพิบัติของทวีปเอเชีย ผลกระทบในทวีปเอเชีย ทวีป
ทวีปออสเตรเลีย และโอ ออสเตรเลีย โอเชียเนีย
เชียเนีย

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการ ดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.1 1. สำรวจและระบุทำเลที่ ทำเลที่ตงั ้ ของกิจกรรมทาง
ตัง้ ของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและสังคมเช่น พื้นที่
เศรษฐกิจและสังคมใน เพาะปลูกและเลีย
้ งสัตว์ แหล่ง
ทวีปเอเชีย ทวีป ประมง การกระจายของภาษา
ออสเตรเลีย และโอเชีย และศาสนาในทวีปเอเชีย ทวีป
เนีย ออสเตรเลียและโอเชียเนีย
2. วิเคราะห์ปัจจัยทาง ปั จจัยทางกายภาพและปั จจัย
205

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
กายภาพและปั จจัยทาง ทางสังคมที่ส่งผลต่อการ
สังคมที่ส่งผลต่อทำเลที่ตงั ้ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ประชากร สิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ
และสังคมในทวีปเอเชีย สังคมและวัฒนธรรมในทวีป
ทวีปออสเตรเลีย และโอ เอเชีย ทวีปออสเตรเลียและโอ
เชียเนีย เชียเนีย
3. สืบค้น อภิปราย ประเด็นปั ญหาจากปฏิสัมพันธ์
ประเด็นปั ญหาจาก ระหว่างสิง่ แวดล้อมทางกายภาพ
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่ง กับมนุษย์ที่เกิดขึน
้ ในทวีปเอเชีย
แวดล้อมทางกายภาพกับ ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
มนุษย์ที่เกิดขึน
้ ในทวีป
เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
และโอเชียเนีย
4. วิเคราะห์แนวทางการ แนวทางการจัดการภัยพิบัติ
จัดการภัยพิบัติและการ และการจัดการทรัพยากรและสิ่ง
จัดการทรัพยากรและสิ่ง แวดล้อมในทวีปเอเชีย ทวีป
แวดล้อมในทวีปเอเชีย ออสเตรเลีย และโอเชียเนีย
ทวีปออสเตรเลียและโอ
เชียเนียที่ยั่งยืน
206
207

คำอธิบายรายวิชา

ส 21101 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียน


รู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต
…………….
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………

ศึกษาวิเคราะห์บทบาท หน้าที่ของเยาวชนที่มีต่อสังคมและ
ประเทศชาติ การ เคารพสิทธิ เสรีภาพของตนเองและผู้อ่ น
ื หลักการ
เจตนารมณ์โครงสร้างและสาระสำคัญของรัฐธรรมนูญแห่งราชอาณาจักร
ไทยฉบับปั จจุบันโยสังเขป บทบาทการถ่วงดุลของอำนาจอธิปไตยจาก
รัฐธรรมนูญฉบับปั จจุบัน ความคล้ายคลึงและความแตกต่างระหว่าง
วัฒนธรรมไทยกับวัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียง
ใต้และวัฒนธรรมที่เป็ นปั จจัยในการสร้างความสัมพันธ์ที่ดี หรืออาจนำไป
สู่ความเข้าใจผิดต่อกัน ปฏิบัติตนเป็ นประโยชน์ต่อสังคมและประเทศชาติ
ปฏิบัติตามกฎหมายคุ้มครอง กฎหมายการศึกษา กฎหมายคุ้มครองผู้
บริโภค กฎหมายลิขสิทธิ ์ กฎหมายรัฐธรรมนูญฉบับปั จจุบันที่เกี่ยวข้อง
กับตนเอง
ศึกษาวิเคราะห์ อธิบายเศรษฐศาสตร์เบื้องต้นเกี่ยวกับเป้ าหมาย
ความหมาย ความสำคัญ
การบริโภค เข้าใจเรื่องระบบเศรษฐกิจ เศรษฐกิจพอเพียง รู้จักนำ
ทรัพยากรทางเศรษฐศาสตร์ไปใช้ให้เกิดประโยชน์อย่างคุ้มค่าและมี
208

คุณธรรม รู้ความหมาย ประเภทและความสำคัญของสถาบันการเงิน


การหารายได้ รายจ่าย การออม การลงทุน บทบาทหน้าที่ หลักการ
วิธีการเลือกบริโภค เข้าใจเรื่องอุปสงค์ อุปทาน กระบวนการสืบค้น
ข้อมูล กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการกลุ่ม กระบวนการเผชิญ
สถานการณ์และแก้ปัญหา เพื่อให้เกิดความรู้ความเข้าใจ สามารถนำไป
ปฏิบัติในการดำเนินชีวิตมีคุณธรรม จริยธรรม
มีคณ
ุ ลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ส ุจริต
มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
สามารถดำเนินชีวิตอย่างสันติสุขในสังคมไทยและสังคมโลก

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 2.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4
ส 2.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
ส 3.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
ส 3.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4

รวมทัง้ สิน
้ 14 ตัวชีว
้ ัด
209

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่
1 (ภาคเรียนที่ 1)
รหัสวิชา ส 21101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา 80 ชั่วโมง

เวลา สัดส่วน
มาตรฐานการ
(ชั่วโ คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
มง) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 1 วิถีประชาธิปไตย ส 2.1 13 10
1.1 กฎหมายคุ้มครองเด็ก ม.1/1
1.2 กฎหมายการศึกษา ม.1/2
1.3 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค
ม.1/4
1.4 กฎหมายลิขสิทธิ ์
ส 2.2
1.5 รัฐธรรมนูญและการเมืองการ
ม.1/1
ปกครองของไทย
ม.1/2
1.6 บทบาท สิทธิ หน้าที่ของ
เยาวชนต่อสังคมและประเทศชาติ ม.1/3
หน่วยที่ 2 สังคมและวัฒนธรรม ส 2.1 7 5
2.1 วัฒนธรรมไทยและ ม.1/3
ประเทศ เพื่อนบ้านในเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้
2.2 วัฒนธรรมและภูมิปัญญาท้อง
210

ถิ่น
หน่วยที่ 3 เศรษฐศาสตร์ ส 3.1 8 5
3.1 ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับ ม.1/1
เศรษฐศาสตร์
ม.1/2
3.2 เศรษฐศาสตร์กับชีวิต
ประจำวัน ม.1/3
3.3 ความหมาย หลักการ
ความเป็ นมาของเศรษฐกิจพอ
เพียง
หน่วยที่ 4 การพัฒนาเศรษฐกิจ ส 3.2 12 10
4.1 สถาบันการเงิน ม.1/1
4.2 ปั ญหาเศรษฐกิจในชุมชน ม.1/2
ประเทศ ม.1/3
4.3 กฎของอุปสงค์ อุปทาน ม.1/4
4.4 ความหมาย ความสำคัญ
ของ
ทรัพย์สินทางปั ญญา
4.5 กฎหมายคุ้มครอง
ทรัพย์สิน
ทางปั ญญา
211

คำอธิบายรายวิชา

ส 21102 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียน


รู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่
2 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………….

ศึกษา วิเคราะห์ อธิบายเหตุผลความจำเป็ นที่ทุกคนต้องศึกษา


เรียนรู้ศาสนาอื่นๆ การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสมต่อศาสนาอื่นใน
สถานการณ์ต่างๆ เลือกใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการสืบค้นข้อมูล
เพื่อวิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพและสังคมของประเทศไทยและทวีป
เอเชีย ออสเตรเลีย และโอเซียเนีย วิเคราะห์ ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
และสืบค้นที่ตงั ้ ขนาด และอาณาเขตของทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
และโอเชียเนีย อธิบายพิกัดภมิศาสตร์ (ละติจูดและลองจิจูด) เส้นแบ่ง
เวลา การเปรียบเทียบวัน เวลาของโลก วิเคราะห์สาเหตุการเกิดภัยพิบัติ
และผลกระทบในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอเชียเนีย วิเคราะห์
ปั จจัยทางกายภาพและปั จจัยทางสังคม สำรวจและระบุทำเลที่ตงั ้ ของ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น พื้นที่เพาะปลูกและเลีย
้ งสัตว์ แหล่ง
ประมง การกระจายของภาษาและศาสนาในทวีปเอเชีย ออสเตรเลียและ
โอเชียเนีย สืบค้น อภิปราย วิเคราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบัติและการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม ประเด็นปั ญหาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่าง
สิ่งแวดล้อมทางกายภาพกับมนุษย์ที่เกิดขึน
้ ในทวีปเอเชีย ทวีปออสเตรเลีย
และโอเชียเนีย
212

โดยใช้กระบวนการแสวงหาความรู้ กระบวนการกลุ่ม การสืบค้น


ข้อมูล การอภิปราย กระบวนการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความรู้ความ
เข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนินชีวิต มีคุณธรรม จริยธรรม
มีคณ
ุ ลักษณะอันพึงประสงค์ในด้านรักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ซื่อสัตย์ส ุจริต
มีวินัย ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง รักความเป็ นไทย มีจิตสาธารณะ
และมีการพัฒนาตนเองอยู่เสมอ รวมทัง้ บำเพ็ญประโยชน์ต่อสังคมและ
ส่วนรวม

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 1.1 ม 1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม 1/5 ม.1/6 ม.1/7 ม.1/8
ม.1/9 ม.1/10
ส 1.2 ม 1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4 ม.1/5
ส 5.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
ส 5.2 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3 ม.1/4

รวมทัง้ สิน
้ 22 ตัวชีว
้ ัด
213

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่
1 (ภาคเรียนที่ 2)
รหัสวิชา ส 21101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา 80 ชัว่ โมง

เวลา สัดส่วน
มาตรฐานการ
(ชั่วโ คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
มง) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 5 ศาสนาในประเทศไทย ส 1.1 10
5.1 การเผยแผ่ศาสนาเข้าสู่
ม 1/1
ประเทศไทย
ม.1/2
5.2 ความสำคัญของศาสนาต่อ
ม.1/3
สังคมไทย
ม.1/4
5.3 พุทธสาวก พุทธสาวิกา
ม 1/5
5.4 หลักธรรมคำสอนของศาสนาที่
ม.1/6
ตนนับถือ
ม.1/7
5.5 การปฏิบัติตนต่อศาสนิกช
ม.1/8
นอื่นๆ
ม.1/9
ม.1/10
หน่วยที่ 6 ศาสนพิธีและการปฏิบัติตน ส 1.2 12
6.1 มารยาทในการปฏิบัติตน ม 1/1
ต่อพระสงฆ์
ม.1/2
214

6.2 พิธีกรรมและศาสนพิธี
ม.1/3
6.3 ประวัติและความสำคัญของวัน
สำคัญในศาสนาที่ตนนับถือ ม.1/4

ม.1/5
หน่วยที่ 7 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ส 5.1 15
7.1 ที่ตงั ้ ขนาด และอาณาเขต
ม.1/1
ของทวีป
ม.1/2
เอเชีย ทวีปออสเตรเลีย และโอ
ม.1/3
เชียเนีย
7.2 การใช้เครื่องมือทาง
ภูมิศาสตร์
7.3 พิกัดภูมิศาสตร์ เส้นแบ่ง
เวลา วัน เวลา ของโลก
7.4 ภัยพิบัติและผลกระทบใน
ทวีปออสเตรเลียและโอเชียเนีย
7.5 ทำเลที่ตงั ้ ของกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจ
7.6 ปั จจัยทางกายภาพและทาง
สังคมที่ผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
ประชากรและสิ่งแวดล้อม
7.7 ปั ญหาจากปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งแวดล้อม
ทางกายภาพกับมนุษย์
215

7.8 การจัดการทรัพยากรและ
สิ่งแวดล้อม
ปลายปี การทดสอบ 1 20 40

(สรุปรายวิชา)
ภาระงาน 2 20
รวม 40 10 100
0
216

คำอธิบายรายวิชา

ส 21103 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20
ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………

ศึกษา วิเคราะห์ความสำคัญของเวลาในการศึกษาประวัติศาสตร์
ตัวอย่างการใช้เวลา(ทัง้ สุริยคติและจันทรคติ) ช่วงเวลา (เช่น ทศตวรรษ
ศตวรรษ สหัสวรรษ) และยุคสมัยที่ปรากฏในเอกสารประวัติศาสตร์
ไทย(สมัยก่อนประวัติศาสตร์ สมัยประวัติศาสตร์) ศึกษาที่มาของศักราช
ตัวอย่างการใช้ศักราช และวิธีการเทียบศักราชตามระบบต่างๆที่ปรากฏ
ในเอกสารประวัติศาสตร์ไทย โดยใช้ทักษะของการสังเกต การสำรวจ
การคำนวณ การเปรียบเทียบ ทัง้ นีเ้ พื่อให้เข้าใจเหตุการณ์สำคัญทาง
ประวัติศาสตร์ ความสัมพันธ์และความสำคัญของอดีตที่มีต่อปั จจุบันและ
อนาคต
ศึกษาความหมาย ความสำคัญของประวัติศาสตร์ และวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ นำวิธีการทางประวัติศาสตร์สืบค้นเรื่องราวทาง
ประวัติศาสตร์ไทยที่มีอยู่ในท้องถิ่นตนเอง(สมัยใดก็ได้เช่นสมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ สมัยก่อนสุโขทัย สมัยสุโขทัย สมัยอยุธยา สมัยธนบุรี
สมัยรัตนโกสินทร์) ตัวอย่างการวิเคราะห์หลักฐานทางประวัติศาสตร์ไทย
สมัยสุโขทัย ทัง้ หลักฐานชัน
้ ต้น และหลักฐานชัน
้ รอง โดยใช้ทักษะการ
217

วิเคราะห์ การตีความ การแยกแยะ การวินิจฉัย การสร้างความรู้ใหม่


การให้เหคุผลการสำรวจ
การรวบรวมข้อมูล ทัง้ นีเ้ พื่อให้เข้าใจและเห็นความสำคัญของ
ประวัติศาสตร์ในการดำเนินชีวิต สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์
สืบค้นเรื่องราวในท้องถิ่นของตนเอง(ความรู้ใหม่ที่ตนสืบค้นได้)และข้อเท็จ
จริงเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ไทยในสมัยสุโขทัยจากหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์
อธิบายเรื่องราวทางประวัติศาสตร์สมัยก่อนสุโขทัยโดยสังเขป
ตัง้ แต่สมัยก่อนประวัติศาสตร์ และสมัยประวัติศาสตร์ไทย เกี่ยวกับรัฐ
โบราณในดินแดนประเทศไทย เช่น ฟูนัน ศรีวิชัย ตามพรลิงค์
ทวารวดี รัฐไทยในดินแดนไทยในช่วงก่อนพุทธศตวรรษที่ 18 เช่น ละโว้
หริภุญชัย นครศรีธรรมราช
โดยใช้กระบวนการคิดวิเคราะห์ กระบวนการสืบค้นข้อมูล
กระบวนการทางสังคม กระบวนการปฏิบัติ กระบวนการแสวงหาความรู้
การสืบค้นข้อมูล และวิธีการทางประวัติศาสตร์
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจถึงความสำคัญของเวลา ยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์
ต่างๆอย่างเป็ นระบบ ความใจความเป็ นมาของชาติไทย รัฐโบราณและ
รัฐไทยในดินแดนไทย มีคณ
ุ ลักษณะอันพึงประสงค์ด้านรักชาติ ศาสน์
กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีความมุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ น
ไทย และมีจิตสาธารณะ

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 4.1 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3
218

ส 4.3 ม.1/1

รวมทัง้ สิน
้ 4 ตัวชีว
้ ัด
219

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
(ภาคเรียนที่ 1)
รหัสวิชา ส 21102 ประวัติศาสตร์
เวลา 20 ชั่วโมง

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
เรียนรู้/ ตัวชีว้ ัด ) % รวม
%
หน่วยที่ 1 ยุคสมัยทาง ส 4.1 5
ประวัติศาสตร์ไทย
1.1 การนับเวลาและการแบ่ง ม.1/1
ช่วงเวลา ม.1/2
1.2 การเทียบศักราช ม.1/3
1.3 ที่มาของศักราชที่ปรากฏ 5
ในเอกสาร
ประวัติศาสตร์ไทย
หน่วยที่ 2 วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์
2.1 ความหมาย ความ
สำคัญและขัน
้ ตอนวิธีการ
ทางประวัติศาสตร์
2.2 ตัวอย่างหลักฐานทาง
220

ประวัติศาสตร์
2.3 การศึกษาเรื่องราวใน
ท้องถิ่นที่ตน อาศัยโดยใช้
วิธีการทางประวัติศาสตร์
หน่วยที่ 3 อาณาจักรโบราณสมัย ส 4.3 ม.1/1 8
ก่อนประวัติศาสตร์
3.1 สมัยก่อน
ประวัติศาสตร์ในดินแดนไทย
3.2 รัฐโบราณในดินแดน
ไทย เช่น ศรีวิชัย
ตามพรลิงค์ ทวาร
วดี
3.3 รัฐไทยในดินแดน
ไทย เช่น ล้านนา
นครศรีธรรมราช
สุพรรณภูมิ
221

คำอธิบายรายวิชา

ส 21104 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20
ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………

ศึกษาพัฒนาการของรัฐไทยในสมัยสุโขทัยในด้านต่างๆเกี่ยวกับ
การสถาปนาอาณาจักร ปั จจัยที่ส่งเสริมความเจริญรุ่งเรืองทัง้ ปั จจัย
ภายในและภายนอก พัฒนาการด้านการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ
สังคม ความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ รวมทัง้ ความเสื่อมของอาณาจักร
สุโขทัย ศึกษาวัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทยสมัยสุโขทัย ได้แก่ภาษา
วรรณกรรม ศิลปกรรม การชลประทาน เครื่องสังคโลก ประวัติและผล
งานของบุคคลสำคัญ อิทธิพลของวัฒนธรรมและภูมิปัญญาสมัยสุโขทัยที่
มีต่อสังคมไทยในปั จจุบัน โดยใช้ทักษะการรวบรวมหลักฐาน การตรวจ
สอบข้อเท็จจริง การวิเคราะห์ การวิพากษ์ข้อมูล การตีความ การให้
เหตุผล การสังเคราะห์ การนำเสนอด้วยวิธีการต่างๆ ทัง้ นีเ้ พื่อให้เข้าใจ
ความเป็ นมาของชนชาติไทย
เห็นแบบอย่างการกระทำความดีของบรรพบุรุษไทยที่ได้ปกป้ องชาติด้วย
ความเสียสละ เกิดความรัก
ความภูมิใจในชาติ วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทย
ศึกษาปั จจัยทางภูมิศาสตร์ที่ส่งผลต่อพัฒนาการของประเทศ
ต่างๆ ในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ รวมทัง้ พัฒนาการทางด้าน
222

สังคม เศรษฐกิจ การเมือง การปกครองของประเทศต่างๆ ในภูมิภาค


เอเชียตะวันออกเฉียงใต้ และความร่วมมือของประเทศสมาชิกในการรวม
กลุ่มกันเป็ นสมาคมประชาชาติเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ ศึกษาข้อมูลความ
สำคัญของแหล่งอารยธรรมในภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่ได้รับการ
ยกย่องเป็ นมรดกโลกทางวัฒนธรรม อิทธิพลของอารยธรรมโบราณในดิน
แดนไทยที่มีต่อพัฒนาการของสังคมไทยในปั จจุบัน โดยใช้ทักษะการ
รวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ การสังเคราะห์ข้อมูล กระบวนการ
แสวงหาความรู้ การสืบค้นข้อมูล และวิธีการทางประวัติศาสตร์ ทัง้ นี ้
เพื่อให้เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติที่มีความเปลี่ยนแปลงจาดอดีต
จนถึงปั จจุบัน และผลกระทบที่มีต่อสังคมไทย เข้าใจและอยู่ร่วมกันใน
ภูมิภาคเอเชียตะวันออกเฉียงใต้ที่มีความหลากหลายทางวัฒนธรรมได้
อย่างมีประสิทธิภาพ
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจถึงความสำคัญของเวลา ยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มาวิเคราะห์เหตุการณ์
ต่างๆอย่างเป็ นระบบ เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย รัฐโบราณและรัฐ
ไทยในดินแดนไทย มีคุณลักษณะอันพึงประสงค์ด้านรักชาติ ศาสน์
กษัตริย์ ซื่อสัตย์สุจริต มีวินัย
ใฝ่ เรียนรู้ อยู่อย่างพอเพียง มีความมุ่งมั่นในการทำงาน รักความเป็ น
ไทย และมีจิตสาธารณะ

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 4.2 ม.1/1 ม.1/2
ส 4.3 ม.1/1 ม.1/2 ม.1/3

รวมทัง้ สิน
้ 5 ตัวชีว
้ ัด
223

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่
1 (ภาคเรียนที่ 2)
รหัสวิชา ส 21102 ประวัติศาสตร์
เวลา 20 ชั่วโมง

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 4 อาณาจักรสุโขทัย ส 4.3 ม.1/1 12 20
4.1 การสถาปนา ม.1/2
อาณาจักรสุโขทัย ม.1/3
4.2 การเมืองการ
ปกครองสมัยสุโขทัย
4.3 เศรษฐกิจ สังคม
และวัฒนธรรม
4.4 ความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ
4.5 ภูมิปัญญาสมัย
สุโขทัย
หน่วยที่ 5 พัฒนาการของเอเชีย ส 4.2 ม.1/1 7 10
ตะวันออกเฉียงใต้ ม.1/2
5.1 ที่ตงั ้ และสภาพ
224

ทางภูมิศาสตร์
5.2 อิทธิพลของ
อารยธรรมโบราณในดินแดน
ไทยที่มีต่อพัฒนาการของ
สังคมไทย
ปลายปี การทดสอบ 1 20
(สรุปรายวิชา)
ภาระงาน 2 20
รวม 40 100
225

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
สาระมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.2 1. อธิบายการเผยแผ่  การเผยแผ่พระพุทธศาสนาเข้า


พระพุทธศาสนา หรือ สู่ประเทศเพื่อนบ้านและการ
ศาสนาที่ตนนับถือสู่ประเทศ นับถือพระพุทธศาสนาของ
เพื่อนบ้าน ประเทศเพื่อนบ้านในปั จจุบัน
2. วิเคราะห์ความสำคัญของ  ความสำคัญของพระพุทธ
พระพุทธ ศาสนา หรือ ศาสนาที่ช่วยเสริมสร้างความ
ศาสนาที่ตนนับถือที่ช่วย เข้าใจอันดีกับประเทศเพื่อนบ้าน
เสริมสร้างความเข้าใจอันดี
กับประเทศเพื่อนบ้าน
3. วิเคราะห์ความสำคัญของ  ความสำคัญของพระพุทธศาสนาต่อสังคมไทย
ในฐานะเป็ น
พระพุทธศาสนา หรือ  รากฐานของวัฒนธรรม
ศาสนาที่ตนนับถือในฐานะที่  เอกลักษณ์และ มรดกของชาติ
เป็ นรากฐานของวัฒนธรรม
เอกลักษณ์ของชาติและ
226

มรดกของชาติ
4. อภิปรายความสำคัญของ  ความสำคัญของพระพุทธ
พระพุทธ ศาสนา หรือ ศาสนากับ การพัฒนา
ศาสนาที่ตนนับถือกับ ชุมชนและการจัดระเบียบสังคม
การพัฒนาชุมชนและการ
จัดระเบียบสังคม
5. วิเคราะห์พุทธประวัติ  สรุปและวิเคราะห์ พุทธ
หรือประวัติศาสดาของ ประวัติ
ศาสนาที่ตนนับถือตามที่ การผจญมาร
กำหนด การตรัสรู้
การสั่งสอน
6. วิเคราะห์และประพฤติ  พระสารีบุตร
ตนตามแบบอย่างการ  พระโมคคัลลานะ
ดำเนินชีวิตและข้อคิดจาก  นางขุชชุตตรา
ประวัติสาวก ชาดก/เรื่อง  พระเจ้าพิมพิสาร
เล่าและ  มิตตวินทุกชาดก
ศาสนิกชนตัวอย่างตามที่  ราโชวาทชาดก
กำหนด

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
7. อธิบายโครงสร้าง และสาระ  โครงสร้าง และสาระสังเขป
สังเขปของพระไตรปิ ฎก หรือ ของพระวินัยปิ ฎก พระสุตตันต
227

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
คัมภีร์ของศาสนาที่ตนนับถือ ปิ ฎก และพระอภิธรรมปิ ฎก
8. อธิบายธรรมคุณ และข้อ พระรัตนตรัย

ธรรมสำคัญในกรอบอริยสัจ 4  ธรรมคุณ 6
อริยสัจ 4
หรือหลักธรรมของศาสนาที่ตน
 ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
นับถือ ตามที่กำหนด เห็น
ขันธ์ 5
คุณค่าและนำไปพัฒนา แก้ - อายตนะ
ปั ญหาของชุมชนและสังคม  สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
หลักกรรม
- สมบัติ 4
- วิบัติ 4
อกุศลกรรมบถ 10
อบายมุข 6
 นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
สุข 2 (สามิส, นิรามิส)
 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
o บุพพนิมิตของมัชฌิมา
ปฏิปทา
o ดรุณธรรม 6
o กุลจิรัฏฐิติธรรม 4
o กุศลกรรมบถ 10
o สติปัฏฐาน ,
o มงคล 38
- ประพฤติธรรม
- เว้นจากความชั่ว
- เว้นจากการดื่มน้ำเมา
พุทธศาสนสุภาษิต
228

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 กมฺมุนา วตฺตตี โลโก สัตว์โลก
ย่อมเป็ นไปตามกรรม
 กลฺยาณการี กลฺยาณํ ปาปการี จ
ปาปกํ
ทำดีได้ดี ทำชั่ว ได้ชั่ว
 สุโข ปุญฺญสฺส อุจฺจโย การสั่งสม
บุญนำสุขมาให้
 ปูชโก ลภเต ปูชํ วนฺทโก ปฏิวนฺ
ทนํ
ผู้บูชาเขา ย่อมได้รับการบูชา
ตอบ
ผู้ไหว้เขาย่อมได้รับการไหว้ตอบ
9. เห็นคุณค่าของการพัฒนา พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิด
จิตเพื่อการเรียนรู้และ แบบโยนิโส-มนสิการ 2 วิธี
ดำเนินชีวิต ด้วยวิธีคิดแบบ คือ วิธีคิดแบบอุบายปลุกเร้า
โยนิโสมนสิการคือ วิธีคิด คุณธรรม และวิธีคิดแบบ
แบบอุบายปลุกเร้าคุณธรรม อรรถธรรมสัมพันธ์
และวิธีคิดแบบอรรถธรรม
สัมพันธ์ หรือการพัฒนาจิต
ตามแนวทางของศาสนาที่
ตนนับถือ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
10. สวดมนต์ แผ่เมตตา  สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา
บริหารจิตและเจริญปั ญญา  รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและ
229

ด้วยอานาปานสติ หรือตาม ประโยชน์ของการบริหารจิตและ


แนวทางของศาสนาที่ตน เจริญปั ญญา
นับถือ  ฝึ กการบริหารจิตและเจริญ
ปั ญญาตามหลักสติปัฎฐาน เน้นอา
นาปานสติ
 นำวิธีการบริหารจิตและเจริญ
ปั ญญา ไปใช้ในชีวิตประจำวัน
11.วิเคราะห์การปฏิบัติตน  การปฏิบัติตนตามหลักธรรม
ตามหลักธรรมทางศาสนาที่ (ตามสาระ การเรียนรู้ ข้อ
ตนนับถือ เพื่อการดำรงตน 8.)
อย่างเหมาะสมในกระแส
ความเปลี่ยนแปลงของโลก
และการอยู่ร่วมกันอย่าง
สันติสุข

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม

มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี


และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2 1. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม การเป็ นลูกที่ดี ตามหลักทิศ
ต่อบุคคลต่างๆ ตามหลัก เบื้องหน้า
ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่ ในทิศ 6
230

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
กำหนด
2. มีมรรยาทของความเป็ น มรรยาทของศาสนิกชน
ศาสนิกขนที่ดีตามที่กำหนด -การต้อนรับ(ปฏิสันถาร)
-มรรยาทของผู้เป็ นแขก
-ฝึ กปฏิบัติระเบียบพิธี ปฏิบัติ
ต่อพระภิกษุ การยืน การให้ที่
นั่ง การเดินสวน การสนทนา
การรับสิ่งของ
-การแต่งกายไปวัด การแต่ง
กายไปงานมงคล งานอวมงคล
3. วิเคราะห์คณ
ุ ค่าของศาสน -การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม
พิธีและปฏิบัติตนได้ถูกต้อง -การทำบุญตักบาตร
-การถวายภัตตาหารสิ่งของที่
ควรถวายและสิ่งของต้องห้าม
สำหรับพระภิกษุ
-การถวายสังฆทาน เครื่อง
สังฆทาน
-การถวายผ้าอาบน้ำฝน
-การจัดเครื่องไทยธรรม เครื่อง
ไทยทาน
-การกรวดน้ำ ,การทอด
กฐิน,การทอดผ้าป่ า
4.อธิบายคำสอนที่เกี่ยวน้อง หลักธรรมเบื้องต้นที่เกี่ยวเนื่อง
กับวันสำคัญทางศาสนาและ ในวันมาฆบูชา วิสาขบูชา วันอัฐ
231

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง มีบูชา วันอาสาฬหบูชา วัน
ธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ
ระเบียบพิธีและการปฏิบัติตน
ในวันธรรมสวนะ วันเข้าพรรษา
วันออกพรรษา วันเทโวโรหนะ
5. อธิบายความแตกต่างของ ศาสนพิธี พิธีกรรม แนวปฏิบัติ
ศาสนพิธี พิธีกรรมตามแนว ของศาสนาอื่นๆ
ปฏิบัติของศาสนาอื่นๆ เพื่อ
นำไปสูก
่ ารยอมรับและความ
เข้าใจของกันและกัน

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี
มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดำรงชีวติ อยูร่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสข

232

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2 1. อธิบายและปฏิบัติตน  กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
ตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ ตนเอง ครอบครัว เช่น
ตนเอง ครอบครัว ชุมชน - กฎหมายเกี่ยวกับ
และประเทศ ความสามารถของผูเ้ ยาว์
- กฎหมายบัตรประจำ
ตัวประชาชน
- กฎหมายเพ่งเกี่ยวกับ
ครอบครัวและมรดก เช่น การ
หมัน
้ การสมรส การรับรอง
บุตร การรับบุตรบุญธรรม
และมรดก
 กฎหมายที่เกี่ยวกับชุมชน
และประเทศ
- กฎหมายเกี่ยวกับการ
อนุรักษ์ธรรมชาติและสิ่ง
แวดล้อม
- กฎหมายเกี่ยวกับภาษี
อากร และกรอกแบบแสดง
รายการ ภาษีเงินได้บุคคล
ธรรมดา
- กฎหมายแรงงาน
233

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
2. เห็นคุณค่าในการปฏิบัติ  สถานภาพ บทบาท สิทธิ
ตนตามสถานภาพ บทบาท เสรีภาพ หน้าที่ในฐานะ
สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ใน พลเมืองดีตามวิถี
ฐานะพลเมืองดีตามวิถี ประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย  แนวทางส่งเสริมให้ปฏิบัติ
ตนเป็ นพลเมืองดีตามวิถี
ประชาธิปไตย
3. วิเคราะห์บทบาท ความ  บทบาท ความสำคัญและ
สำคัญ และความสัมพันธ์ ความสัมพันธ์ของสถาบันทาง
ของสถาบันทางสังคม สังคม เช่น สถาบันครอบครัว
สถาบันการศึกษา สถาบัน
ศาสนา สถาบันเศรษฐกิจ
สถาบันทางการเมืองการ
ปกครอง
4.อธิบายความคล้ายคลึง  ความคล้ายคลึงและความ
และความแตกต่างของ แตกต่างของวัฒนธรรมไทย
วัฒนธรรมไทย และ และวัฒนธรรมของประเทศใน
วัฒนธรรมของประเทศใน ภูมิภาคเอเชียวัฒนธรรมเป็ น
ภูมิภาคเอเชีย เพื่อนำไปสู่ ปั จจัยสำคัญในการสร้างความ
ความเข้าใจอันดีระหว่างกัน เข้าใจอันดีระหว่างกัน

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน


ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา
ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข
234

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2 1. อธิบายกระบวนการใน กระบวนการในการตรา
การตรากฎหมาย กฎหมาย
ผู้มีสิทธิเสนอร่างกฎหมาย
ขัน
้ ตอนการตรากฎหมาย
การมีส่วนร่วมของประชาชน
ในกระบวนการตรากฎหมาย
2. วิเคราะห์ข้อมูล ข่าวสาร เหตุการณ์ และการ
ทางการเมืองการปกครองที่ เปลี่ยนแปลงสำคัญของระบอบ
มีผลกระทบต่อสังคมไทย การปกครองของไทย
สมัยปั จจุบัน หลักการเลือกข้อมูล ข่าวสาร

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการ


ผลิตและการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้
อย่างมีประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของ
เศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2 1. วิเคราะห์ปัจจัยที่มีผลต่อ  ความหมายและความสำคัญ
การลงทุนและการออม ของการลงทุนและการออมต่อ
ระบบเศรษฐกิจ
 การบริหารจัดการเงินออม
และการลงทุน ภาคครัวเรือน
 ปั จจัยของการลงทุนและการ
235

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ออมคือ อัตราดอกเบีย
้ รวมทัง้
ปั จจัยอื่นๆ เช่น ค่าของเงิน
เทคโนโลยี การคาดเดาเกี่ยวกับ
อนาคต
 ปั ญหาของการลงทุนและการ
ออมในสังคมไทย
ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
2. อธิบายปั จจัยการผลิต  ความหมาย ความสำคัญ
สินค้าและบริการ และ และหลักการผลิตสินค้าและ
ปั จจัยที่มีอิทธิพลต่อการ บริการอย่างมีประสิทธิภาพ
ผลิตสินค้าและบริการ  สำรวจการผลิตสินค้าในท้อง
ถิ่น ว่ามีการผลิตอะไรบ้าง ใช้
วิธีการผลิตอย่างไร มีปัญหาด้าน
ใดบ้าง
 มีการนำเทคโนโลยีอะไรมา
ใช้ที่มีผลต่อ การผลิตสินค้า
และบริการ
 นำหลักการผลิตมาวิเคราะห์
การผลิตสินค้า
และบริการในท้องถิ่นทัง้ ด้าน
เศรษฐกิจ สังคม และสิ่ง
แวดล้อม
3. เสนอแนวทางการ  หลักการและเป้ าหมาย
พัฒนาการผลิตในท้องถิ่น ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
236

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ  สำรวจและวิเคราะห์ปัญหา
พอเพียง การผลิตสินค้าและบริการในท้อง
ถิ่น
 ประยุกต์ใช้ปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการผลิต
สินค้าและบริการในท้องถิ่น
4. อภิปรายแนวทางการ  การรักษาและคุ้มครองสิทธิ
คุ้มครองสิทธิของตนเองใน ประโยชน์ของ ผู้บริโภค
ฐานะผู้บริโภค  กฎหมายคุ้มครองสิทธิผุ้
บริโภคและหน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
 การดำเนินกิจกรรมพิทักษ์
สิทธิและผลประโยชน์ตาม
กฎหมายในฐานะผู้บริโภค
 แนวทางการปกป้ องสิทธิของ
ผู้บริโภค

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความ


สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกัน
ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2 1. อภิปรายระบบเศรษฐกิจ  ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ
แบบต่างๆ
237

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
2. ยกตัวอย่างที่สะท้อนให้  หลักการและผลกระทบการ
เห็น พึ่งพาอาศัยกัน และการแข่งขัน
การพึง่ พาอาศัยกัน และการ กันทางเศรษฐกิจในภูมิภาคเอเชีย
แข่งขันกันทางเศรษฐกิจใน
ภูมิภาคเอเชีย
3. วิเคราะห์การกระจาย  การกระจายของทรัพยากร
ของทรัพยากร ในโลกที่สง่ ในโลกที่สง่ ผลต่อความสัมพันธ์
ผลต่อความสัมพันธ์ทาง ทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ เช่น น้ำมัน ป่ าไม้ ทองคำ
ถ่านหิน แร่ เป็ นต้น
4. วิเคราะห์การแข่งขัน  การแข่งขันทางการค้าใน
ทางการค้า ใน ประเทศและต่างประเทศ
ประเทศและต่างประเทศส่ง
ผลต่อ คุณภาพสินค้า
ปริมาณการผลิต และ ราคา
สินค้า

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัย


ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มา
วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ
238

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2 1. ประเมินความน่าเชื่อถือ  วิธีการประเมินความน่าเชื่อ
ของหลักฐาน ทาง
ประวัติศาสตร์ในลักษณะ ถือของหลักฐานทาง
ต่างๆ ประวัติศาสตร์ในลักษณะต่างๆ
2. วิเคราะห์ความแตกต่าง อย่างง่ายๆ เช่น การศึกษาภูมิ
ระหว่างความจริงกับข้อเท็จ
จริงของเหตุการณ์ทาง หลังของผู้ทำ หรือผู้เกี่ยวข้อง
ประวัติศาสตร์ สาเหตุ ช่วงระยะเวลา รูป
3. เห็นความสำคัญของการ
ลักษณ์ของหลักฐานทาง
ตีความหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ ประวัติศาสตร์ เป็ นต้น
 ตัวอย่างการประเมินความ
น่าเชื่อถือของหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ไทยที่อยู่ในท้อง
ถิ่นของตนเอง หรือหลักฐาน
สมัยอยุธยา ( เชื่อมโยงกับ มฐ.
ส 4.3 )
 ตัวอย่างการวิเคราะห์ข้อมูล
จากเอกสาร ต่างๆ ในสมัย
อยุธยา และธนบุรี ( เชื่อมโยง
กับ มฐ. ส 4.3 ) เช่น ข้อความ
บางตอน ในพระราชพงศาวดาร
อยุธยา / จดหมายเหตุชาวต่าง
ชาติ
 การแยกแยะระหว่างข้อมูล
กับความคิดเห็น รวมทัง้ ความ
จริงกับข้อเท็จจริงจากหลักฐาน
239

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ทางประวัติศาสตร์
 ตัวอย่างการตีความข้อมูล
จากหลักฐานที่แสดงเหตุการณ์
สำคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรี
 ความสำคัญของการ
วิเคราะห์ข้อมูล และการตีความ
ทางประวัติศาสตร์

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน


ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2 1. อธิบายพัฒนาการทาง  ที่ตงั ้ และสภาพทาง
สังคม เศรษฐกิจ และ ภูมิศาสตร์ของภูมิภาคต่างๆ
240

การเมืองของภูมิภาคเอเชีย ในทวีปเอเชีย (ยกเว้นเอเชีย


ตะวันออกเฉียงใต้) ที่มีผลต่อ
พัฒนาการโดยสังเขป
 พัฒนาการทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมืองของ
ภูมิภาคเอเชีย (ยกเว้นเอเชีย
ตะวันออกเฉียงใต้)
2. ระบุความสำคัญของ  ที่ตงั ้ และความสำคัญของ
แหล่งอารยธรรมโบราณใน แหล่งอารยธรรมโบราณใน
ภูมิภาคเอเชีย ภูมิภาคเอเชีย เช่น แหล่ง
มรดกโลกในประเทศต่างๆ ใน
ภูมิภาคเอเชีย
 อิทธิพลของอารยธรรม
โบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียใน
ปั จจุบัน

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา


ไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
ธำรงความเป็ นไทย

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2 1. วิเคราะห์พัฒนาการของ  การสถาปนาอาณาจักร
อาณาจักรอยุธยา และธนบุรี อยุธยา
ในด้านต่างๆ  ปั จจัยที่ส่งผลต่อความ
241

2. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อ เจริญรุ่งเรืองของอาณาจักร
ความมั่นคงและความเจริญ อยุธยา
รุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา  พัฒนาการของ
3. ระบุภูมิปัญญาและ อาณาจักรอยุธยาในด้าน
วัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและ การเมืองการปกครอง สังคม
ธนบุรี และอิทธิพลของ เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์
ภูมิปัญญาดังกล่าว ต่อการ ระหว่างประเทศ
พัฒนาชาติไทยในยุคต่อมา  การเสียกรุงศรีอยุธยา
ครัง้ ที่ 1 และการ กู้
เอกราช
 ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
ไทยสมัยอยุธยา เช่น การ
ควบคุมกำลังคน และศิลป
วัฒนธรรม
 การเสียกรุงศรีอยุธยา
ครัง้ ที่ 2 การกู้ เอกราช
และการสถาปนาอาณาจักร
ธนบุรี
 ภูมป
ิ ั ญญาและวัฒนธรรม
ไทยสมัยธนบุรี

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
 วีรกรรมของบรรพบุรุษ
ไทย ผลงานของบุคคลสำคัญ
242

ของไทยและต่างชาติที่มีส่วน
สร้างสรรค์ชาติไทย เช่น
-สมเด็จพระรามาธิบดีที่ 2
-พระสุริโยทัย
-พระนเรศวรมหาราช
-พระนารายณ์มหาราช
-สมเด็จพระเจ้าตากสิน
มหาราช
-พระบาทสมเด็จพระพุทธ
ยอดฟ้ าจุฬาโลก
มหาราช(ด้วง)
-สมเด็จพระบวรราชเจ้ามหา
สุรสิงหนาถ
(บุญมา)

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์
ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่
และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ
สรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
243

ม.2 1. วิเคราะห์ลักษณะทาง  ที่ตงั ้ ขนาด และอาณาเขตของ


กายภาพของทวีปยุโรป ทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา
และทวีปแอฟริกา โดยใช้  การใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เช่น แผนที่ รูปถ่ายทางอากาศ
สืบค้นข้อมูล ภาพจากดาวเทียมในการสืบค้น
ลักษณะทางกายภาพของทวีป
ยุโรปและทวีปแอฟริกา
2. อธิบายมาตราส่วน ทิศ การแปลความหมาย
และสัญลักษณ์ มาตราส่วน ทิศและสัญลักษณ์ใน
แผนที่
3. วิเคราะห์สาเหตุการเกิด สาเหตุการเกิดภัยพิบัติและ
ภัยพิบัติ และผลกระทบใน ผลกระทบในทวีปยุโรป และ
ทวีปยุโรป และทวีป ทวีปแอฟริกา
แอฟริกา

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.2 1. สำรวจและระบุทำเลที่ ทำเลที่ตงั ้ ของกิจกรรมทาง
ตัง้ ของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและสังคม เช่น พื้นที่
244

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เศรษฐกิจและสังคมใน เพาะปลูก และเลีย
้ งสัตว์
ทวีปยุโรป และทวีป แหล่งประมง การกระจายของ
แอฟริกา ภาษาและศาสนาในทวีปยุโรป
และทวีปแอฟริกา
2. วิเคราะห์ปัจจัยทาง ปั จจัยทางกายภาพและปั จจัย
กายภาพและปั จจัยทาง ทางสังคมที่ส่งผลต่อการ
สังคมที่ส่งผลต่อทำเลที่ตงั ้ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ประชากร สิง่ แวดล้อม
และสังคมในทวีปยุโรป เศรษฐกิจ สังคม และ
และทวีปแอฟริกา วัฒนธรรมในทวีปยุโรป และ
ทวีปแอฟริกา
3. สืบค้น อภิปราย ประเด็นปั ญหาจาก
ประเด็นปั ญหาจาก ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่ง ทางกายภาพกับมนุษย์ที่เกิด
แวดล้อมทางกายภาพกับ ขึน
้ ในทวีปยุโรป และทวีป
มนุษย์ที่เกิดขึน
้ ในทวีป แอฟริกา
ยุโรป และทวีปแอฟริกา
4. วิเคราะห์แนวทางการ แนวทางการจัดการภัยพิบัติ
จัดการภัยพิบัติและการ และการจัดการทรัพยากรและ
จัดการทรัพยากรและสิ่ง สิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรปและ
แวดล้อมในทวีปยุโรป และ ทวีปแอฟริกาที่ยั่งยืน
ทวีปแอฟริกาที่ยั่งยืน
245
246

คำอธิบายรายวิชา

ส 22101 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียน


รู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต
………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………

ศึกษาวิเคราะห์ อธิบายและปฏิบัติตนตามกฎหมายที่เกี่ยวข้องกับ
ตนเอง ครอบครัว ชุมชนและประเทศชาติ การปฏิบัติตนตามสถานภาพ
บทบาท สิทธิ เสรีภาพ หน้าที่ในฐานะพลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย
ศึกษา วิเคราะห์บทบาท ความสำคัญและความสัมพันธ์ของสถาบันทาง
สังคม อธิบายความคล้ายคลึงและความแตกต่างของวัฒนธรรมไทยและ
วัฒนธรรมของประเทศในภูมิภาคเอเชีย
ศึกษา อธิบายกระบวนการในการตรากฎหมาย วิเคราะห์ข้อมูล
ข่าวสาร เหตุการณ์ที่มีผลกระทบต่อสังคมไทยสมัยปั จจุบัน วิเคราะห์
ความหมาย ความสำคัญและปั จจัยที่มีผลต่อการลงทุนและการออม
ปั จจัยการผลิตสินค้าและบริการ หลักการและเป้ าหมายปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียง การรักษาและคุ้มครองสิทธิประโยชน์ของผู้บริโภค กฎหมาย
คุ้มครองสิทธิของผู้บริโภค อภิปราย ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ หลักการ
และผลกระทบการพึ่งพาอาศัยกันและการแข่งขันกันทางเศรษฐกิจใน
ภูมิภาคเอเชีย วิเคราะห์ การกระจายของทรัพยากรและการแข่งขัน
ทางการค้าในประเทศและต่างประเทศ
247

เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถนำไปปฏิบัติในการดำเนิน


ชีวิตได้ มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม ค่านิยมที่ดีงาม และดำเนินชีวิตในสังคมได้
อย่างมีความสุข

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 2.1 ม 2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
ส 2.2 ม.2/1 ม.2/2
ส 3.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4
ส 3.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4

รวมทัง้ สิน
้ 14 ตัวชีว
้ ัด
248

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่
2 (ภาคเรียนที่ 1)
รหัสวิชา ส 22101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา 80 ชั่วโมง

มาตรฐาน เวลา( สัดส่วน


การเรียน ชั่วโม คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
รู้/ ตัวชี ้ ง) % รวม
วัด %
หน่วยที่ 1 วิถีประชาธิปไตย ส 2.1 10
1.1 กฎหมายความสามารถของผู้ ม.
เยาว์ 2/
1.2 กฎหมายบัตรประจำตัว 1
ประชาชน
1.3 กฎหมายแพ่งเกี่ยวกับ ม.
ครอบครัว 2/
1.4 กฎหมายเกี่ยวกับภาษีอากร 2
1.5 กฎหมายแรงงาน
1.6 บทบาท สิทธิ หน้าที่ของ ม.
พลเมืองดีตามวิถีประชาธิปไตย 2/
1.7 สถาบันทางสังคม 3
1.8 ความคล้ายคลึงและความแตก
ต่างของวัฒนธรรมไทยกับประเทศ ม.
249

ในภูมิภาคเอเชีย 2/
4

หน่วยที่ 2 กฎหมายที่สำคัญของ ส 2.2 7


ประเทศ ม.2/1
2.1 กระบวนการในการตรา
กฎหมาย ม.2/2
2.2 เหตุการณ์และการ
เปลี่ยนแปลงในระบอบการ
ปกครองของไทย
หน่วยที่ 3 เศรษฐศาสตร์ ส 3.1 10
3.1 ความหมาย ความสำคัญ ม.2
ของการลงทุนและการออม /1
3.2 ความหมาย ความสำคัญของ ม.2
การผลิตสินค้าและบริการ /2
3.3 การผลิตสินค้าในท้องถิ่น ม.2
3.4 หลักการและเป้ าหมายของ /3
ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง ม.2
3.5 การรักษาและคุ้มครองสิทธิ /4
ประโยชน์ของผู้บริโภค
3.6 กฎหมายคุ้มครองผู้บริโภค

หน่วยที่ 4 ระบบเศรษฐกิจ ส 3.2 10


4.1 ระบบเศรษฐกิจแบบต่างๆ ม.2/
4.2 หลักการและผลกระทบการ 1
250

พึ่งพาอาศัยกันและการแข่งขันทาง ม.2/
เศรษฐกิจ 2
1.3 การกระจายของทรัพยากรใน ม.2/
โลกที่มีผลต่อความสัมพันธ์ทาง 3
เศรษฐกิจระหว่างประเทศ ม.2/
4
251

คำอธิบายรายวิชา

ส 22102 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียน


รู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต
………………………………………………………………………………………………………
……

ศึกษาความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือใน
ฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรมและความสุขแก่โลกและการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสูป
่ ระเทศต่างๆทั่วโลก ตลอดจน
วิธีการดำเนินชีวิตของศาสนิกชน และศาสนาอื่นๆ
วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ ที่ตงั ้ ขนาดและอาณาเขตของทวีป
ยุโรปและทวีปแอฟริกา ใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ เช่น แผนที่ รูปถ่าย
ทางอากาศ ภาพจากดาวเทียม อธิบาย สืบค้น การแปลความหมาย
มาตราส่วน ทิศ และสัญลักษณ์ในแผนที่ วิเคราะห์สาเหตุการเกิดภัยพิบัติ
และผลกระทบในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา สำรวจและระบุทำเลที่ตงั ้
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น พื้นที่เพาะปลูกและเลีย
้ งสัตว์
แหล่งประมง การกระจายของภาษาและศาสนาในทวีปยุโรปและแอฟริกา
วิเคราะห์ปัจจัยทางกายภาพและปั จจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทางประชากร สิ่งแวดล้อม เศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรม สืบค้น อภิปรายประเด็นปั ญหาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่ง
แวดล้อมที่เกิดขึน
้ วิเคราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบัติและการจัดการ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมในทวีปยุโรปและทวีปแอฟริกา
252

เพื่อให้การเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมีค่านิยมที่ดีงาม
มีจิตศรัทธาและรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์เป็ นประมุข สำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิง่ แวดล้อม
อย่างยั่งยืน ยึดมั่นในหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ ศาสนาอื่นที่ตน
นับถือเป็ นหลักในการดำเนินชีวิต มุ่งมั่นในการทำความดีและนำหลัก
ธรรมมาใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 1.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5 ม.2/6 ม.2/7 ม.2/8
ม.2/9 ม.2/10 ม.2/11
ส 1.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4 ม.2/5
ส 5.1 ม.2/1 ม.2/2 ม 2/3
ส 5.2 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3 ม.2/4

รวมทัง้ สิน
้ 23 ตัวชีว
้ ัด
253

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่
2 (ภาคเรียนที่ 2)
รหัสวิชา ส 22102 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา 80 ชั่วโมง

มาตรฐา เวลา( สัดส่วน


นการ ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
เรียนรู้/ ) % รวม
ตัวชีว
้ ัด %
หน่วยที่ 5 ศาสนาในประเทศไทย ส 1.1 10
5.1 การเผยแผ่พุทธศาสนาเข้าสู่ ม.2/1
ประเทศ ม.2/2
เพื่อนบ้าน ม.2/3
5.2 ความสำคัญของพุทธศาสนา ม.2/4
ต่อสังคมไทย ม.2/5
5.3 พุทธประวัติ พุทธสาวก พุทธ ม.2/6
สาวิกา ม.2/7
5.4 หลักธรรมคำสอน พระ ม.2/8
ไตรปิ ฎก ม.2/9
5.5 การบริหารจิตและเจริญ ม.2/10
ปั ญญา ม.2/11
5.6 การปฏิบัติตนตามหลักธรรมที่
254

มาตรฐา เวลา( สัดส่วน


นการ ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
เรียนรู้/ ) % รวม
ตัวชีว
้ ัด %
ตนนับถือ
หน่วยที่ 6 การปฏิบัติตนและศาสนพิธี ส 1.2 7
6.1 การปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม ม
ตามหลักศาสนาที่ตนนับถือ 2/
6.2 มารยาทชาวพุทธที่ปฏิบัติต่อ 1
พระภิกษุ ม.2/2
การปฏิบัติตนในศาสนพิธีและ ม.
วันสำคัญ 2/
3
ม.2/4
ม.
2/
5

หน่วยที่ 7 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ ส 5.1 10


7.1 ที่ตงั ้ ขนาดและอาณาเขตของ ม.2/1
ทวีปยุโรปและ ม.2/2
แอฟริกา
7.2 การใช้เครื่องมือทางภูมิศาสตร์
7.3 มาตราส่วน ทิศและสัญลักษณ์
ในแผนที่
255

มาตรฐา เวลา( สัดส่วน


นการ ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
เรียนรู้/ ) % รวม
ตัวชีว
้ ัด %
7.4 ภัยพิบัติและผลกระทบในทวีป
ยุโรปและ
แอฟริกา

หน่วยที่ 8 ทวีปยุโรปและแอฟริกา ส 5.2 10


8.1 ทำเลที่ตงั ้ ของกิจกรรมทาง ม.
เศรษฐกิจและ 2/
สังคมในทวีปยุโรปและแอฟริกา 1
8.2 ปั จจัยทางกายภาพและทาง ม.2/2
สังคมที่ส่งผลต่อ ม.2/3
การเปลี่ยนแปลงโครงประชากร ม.
สิ่งแวดล้อม 2/
เศรษฐกิจ สังคมและงัฒนธรรม 4
8.3 ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อม
ทางกายภาพกับมนุษย์ที่เกิดขึน
้ ในทวีป
ยุโรป และแอฟริกา
8.4 แนวทางการจัดการภัยพิบัติ
และการจัดการ
ทรัพยากรสิ่งแวดล้อม
% รวม
%
256

มาตรฐา เวลา( สัดส่วน


นการ ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้
เรียนรู้/ ) % รวม
ตัวชีว
้ ัด %
ปลายปี การ 1 20 40
(สรุปรายวิชา) ทด
สอ

ภาระงาน 2 20
รวม 40 100 100
257
258

คำอธิบายรายวิชา

ส 22103 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20
ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต
…………………………………………………………………………………….
……………………………………………………………

ศึกษา วิธีการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ในลักษณะ ต่าง ๆ อย่างง่าย เช่น การศึกษาภูมิหลังของผู้
ทำ หรือผู้เกี่ยวข้อง สาเหตุ ช่วงระยะเวลา รูปลักษณ์ของหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ ประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐาน ทางประวัติศาสตร์
ในลักษณะต่าง ๆตัวอย่างการประเมินความน่าเชื่อถือของหลักฐานทาง
ประวัติศาสตร์ไทยที่อยู่ ในท้องถิ่นของตนเอง หรือหลักฐานสมัยอยุธยา
ศึกษาวิเคราะห์ข้อมูลจากเอกสาร ต่างๆ ในสมัยอยุธยา และ
ธนบุรี เช่น ข้อความบางตอน ในพระราชพงศาวดารอยุธยา /
จดหมายเหตุชาวต่างชาติ ตัวอย่างการตีความข้อมูลจากหลักฐานที่แสดง
เหตุการณ์สำคัญในสมัยอยุธยาและธนบุรีวิเคราะห์ความแตกต่างระหว่าง
ความจริงกับข้อเท็จจริงของเหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
ศึกษาการแยกแยะระหว่างข้อมูลกับความคิดเห็น รวมทัง้
ความจริงกับข้อเท็จจริงจากหลักฐานทางประวัติศาสตร์ ความสำคัญของ
การวิเคราะห์ข้อมูล และการตีความทางประวัติศาสตร์เห็นความสำคัญ
ของการตีความหลักฐานทางประวัติศาสตร์ที่น่าเชื่อถือ เพื่อให้มีความรู้
ความเข้าใจเกี่ยวกับยุคสมัยทางประวัติศาสตร์ หลักฐานทาง
259

ประวัติศาสตร์ วิธีการทางประวัติศาสตร์และการนำเสนอข้อมูลทาง
ประวัติศาสตร์

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 4.1 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3

รวมทัง้ สิน
้ 3 ตัวชีว
้ ัด
260

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่
2 (ภาคเรียนที่ 1)
รหัสวิชา ส 22102 ประวัติศาสตร์
เวลา 20 ชั่วโมง

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 1 หลักฐานทาง ส 4.1 6
ประวัติศาสตร์ไทย
1.1 วิธีประเมินความน่าเชื่อ ม .2/1
ถือของหลักฐานทาง ม .2/2
ประวัติศาสตร์ ม.2/3
1.2 ตัวอย่างการประเมิน
ความน่าเชื่อถือของหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์ 6
1.3 ความแตกต่างระหว่าง
ความจริงกับข้อเท็จจริงของ
เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์
หน่วยที่ 2 การตีความหลักฐาน
ทางประวัติศาสตร์
2.1 การวิเคราะห์ข้อมูลจาก
261

เอกสารต่างๆในสมัยอยุธยา
และธนบุรี
2.2 การตีความข้อมูลจาก
หลักฐานที่แสดงเหตุกา
รณ์สคัญในสมัยอยุธยาและ
ธนบุรี
2.3 การแยกแยะข้อมูลกับ
ความคิดเห็น 2.4 2.4
ความสำคัญของการวิเคราะห์
ข้อมูล และการตีความทาง
ประวัติศาสตร์
262

คำอธิบายรายวิชา

ส 22104 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20
ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต
………………………………………………………………………………………………………
….………………………………………………

ศึกษาที่ตงั ้ และสภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาคต่างๆ ในทวีปเอเชีย


(ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้)
ที่มีผลต่อพัฒนาการทางประวัติศาสตร์ สังคมเศรษฐกิจและการเมืองของ
ภูมิภาคเอเชีย (ยกเว้นเอเชียตะวันออกเฉียงใต้) อธิบายพัฒนาการทาง
สังคม เศรษฐกิจ และการเมืองของภูมิภาคเอเชีย
ศึกษาที่ตงั ้ และความสำคัญของแหล่งอารยธรรมตะวันออก
และแหล่งมรดกโลกในประเทศในภูมิภาคเอเชีย และอิทธิพลของ
อารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาคเอเชียในปั จจุบัน ระบุความสำคัญของ
แหล่งอารยธรรมโบราณในภูมิภาคเอเชีย
ศึกษา วิเคราะห์พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยา และธนบุรี เกี่ยว
กับการสถาปนาอาณาจักรอยุธยา ปั จจัยที่ส่งผลต่อความเจริญรุ่งเรืองของ
อาณาจักรอยุธยา พัฒนาการของอาณาจักรอยุธยาในด้านการเมืองการ
ปกครอง สังคม เศรษฐกิจและความสัมพันธ์ระหว่างประเทศ วิเคราะห์
ปั จจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงของความเจริญรุ่งเรืองของอาณาจักรอยุธยา
การเสียกรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 1 และการกู้เอกราช
263

ศึกษาภูมิปัญญาและวัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยาและธนบุรี การเสีย
กรุงศรีอยุธยาครัง้ ที่ 2 การกู้ เอกราช และการสถาปนาอาณาจักร
ธนบุรี ศึกษาวีรกรรมของบรรพบุรุษไทย ผลงานของบุคคลสำคัญและ
ต่างชาติที่มีส่วนสร้างสรรค์ชาติไทย เพื่อให้มค
ี วามรู้ ความเข้าใจเกี่ยวกับ
พัฒนาการเกี่ยวกับประวัติศาสตร์ในสมัยธนบุรีและสมัยรัตนโกสินทร์
สามารถวิเคราะห์ปัจจัยพื้นฐานที่มีอิทธิพลต่อการสร้างสรรค์ ภูมิปัญญา
เปรียบเทียบ ผลงานและเห็นคุณค่า นำมาใช้เป็ นแบบอย่างในชีวิตประจำ
วัน

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 4.2 ม.2/1 ม.2/2
ส 4.3 ม.2/1 ม.2/2 ม.2/3

รวมทัง้ สิน
้ 5 ตัวชีว
้ ัด
264

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่
2 (ภาคเรียนที่ 2)
รหัสวิชา ส 22102 ประวัติศาสตร์
เวลา 20 ชั่วโมง

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 3 ภูมิภาคเอเชีย ส 4.2 10
3.1 ที่ตงั ้ และสภาพ ม.2/1
ภูมิศาสตร์ ม.2/2
3.2 พัฒนาการทาง
สังคม เศรษฐกิจและการเมืองของ
ภูมิภาคเอเชีย
3.3 ที่ตงั ้ และความ
สำคัญของแหล่งอารยธรรมโบราณ
ในภูมิภาคเอเชีย
3.4 อิทธิพลของ
อารยธรรมโบราณที่มีต่อภูมิภาค
เอเชียในปั จจุบัน
หน่วยที่ 4 อาณาจักรอยุธยา ส 4.3 15
4.1 การสถาปนา
265

อาณาจักรอยุธยา
4.2 ปั จจัยที่ส่งผลต่อความ ม.2/1
เจริญรุ่งเรื่องของอาณาจักร ม.2/2
อยุธยา ม.2/3
4.3 พัฒนาการของอยุธยา
ด้านการเมือง การปกครอง
สังคม เศรษฐกิจ และความ
สัมพันธ์ระหว่างประเทศ
4.4 การเสียกรุงศรีอยุธยา
ครัง้ ที่ 1, 2 และการกู้เอกราช
4.5 ภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรมไทยสมัยอยุธยา
4.6 ภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรมไทยสมัยธนบุรี
4.7 ผลงานของบุคคล
สำคัญของไทย
ปลายปี การทดสอบ 1 20
(สรุปรายวิชา)
ภาระงาน 2 20
รวม 40 100
266

ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
สาระมาตรฐานการเรียนรู้

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส 1.1 รู้ และเข้าใจประวัติ ความสำคัญ ศาสดา หลักธรรม
ของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา
ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกต้อง ยึดมั่น
และปฏิบัติตามหลักธรรม
เพื่ออยู่ร่วมกันอย่างสันติสุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ม.3 1. อธิบายการเผยแผ่พระพุทธ  การเผยแผ่พระพุทธศาสนา


ศาสนา หรือศาสนาที่ตนนับถือ เข้าสู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก
สู่ประเทศต่างๆ ทั่วโลก และการนับถือพระพุทธศาสนา
ของประเทศเหล่านัน
้ ในปั จจุบน

2. วิเคราะห์ความสำคัญของ  ความสำคัญของพระพุทธ
พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ ศาสนาในฐานะที่ช่วย
ตนนับถือในฐานะที่ช่วย สร้างสรรค์อารยธรรมและ
สร้างสรรค์อารยธรรม และ ความสงบสุขให้แก่โลก
ความสงบสุขแก่โลก
3. อภิปรายความสำคัญของ  สัมมนาพระพุทธศาสนากับ
พระพุทธศาสนา หรือศาสนาที่ ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
ตนนับถือ กับปรัชญาของ และการพัฒนาอย่างยั่งยืน (ที่
เศรษฐกิจพอเพียงและ การ สอดคล้องกับหลักธรรมใน
พัฒนาอย่างยั่งยืน สาระการเรียนรู้ ข้อ 6)
267

 ศึกษาพุทธประวัติจาก
4. วิเคราะห์พุทธประวัติจาก พระพุทธรูปปางต่างๆเช่น
พระพุทธรูปปางต่างๆ หรือ o ปางมารวิชัย
o ปางปฐมเทศนา
ประวัติศาสดาที่ตนนับถือ ตาม o ปางลีลา
ปางประจำวันเกิด
ทีกำ
่ หนด
o
 สรุปและวิเคราะห์พุทธ
ประวัติ
 ปฐมเทศนา

 โอวาทปาฏิโมกข์
5. วิเคราะห์และประพฤติตน  พระอัญญาโกณฑัญญะ
ตามแบบอย่างการดำเนินชีวิต  พระมหาปชาบดีเถรี
และข้อคิดจากประวัติสาวก  พระเขมาเถรี
ชาดก/เรื่องเล่าและ  พระเจ้าปเสนทิโกศล
ศาสนิกชนตัวอย่าง ตามที่  นันทิวิสาลชาดก
กำหนด  สุวัณณหังสชาดก

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

6. อธิบายสังฆคุณ และข้อธรรม พระรัตนตรัย


สำคัญในกรอบอริยสัจ 4 หรือ  สังฆคุณ 9
หลักธรรมของศาสนาที่ตน อริยสัจ 4
นับถือตามที่กำหนด  ทุกข์ (ธรรมที่ควรรู้)
ขันธ์ 5
-ไตรลักษณ์
268

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

 สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
หลักกรรม
-วัฏฏะ 3
-ปปั ญจธรรม 3 (ตัณหา มานะ
ทิฎฐิ)
 นิโรธ (ธรรมที่ควร
บรรลุ)อัตถะ 3
 มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
มรรคมีองค์ 8
ปั ญญา 3
สัปปุริสธรรม 7
บุญกิริยาวัตถุ 10
อุบาสกธรรม 7
มงคล 38
- มีศิลปวิทยา
- พบสมณะ
- ฟั งธรรมตามกาล
- สนทนาธรรมตามกาล
พุทธศาสนสุภาษิต
 อตฺตา หเว ชิตํ เสยฺโย ชนะ
ตนนั่นแลดีกว่า
 ธมฺมจารี สุขํ เสติ
ผู้ประพฤติธรรมย่อมอยู่เป็ นสุข
269

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

 ปมาโท มจฺจุโน ปทํ


ความประมาทเป็ นทางแห่ง
ความตาย
 สุสฺสส
ู ํ ลภเต ปญฺญํ ผู้
ฟั งด้วยดีย่อมได้ปัญญา
 เรื่องน่ารู้จากพระไตรปิ ฎก
: พุทธปณิธาน 4 ในมหา
ปรินิพพานสูตร
7. เห็นคุณค่า และวิเคราะห์ การปฏิบัติตนตามหลักธรรม
การปฏิบัติตนตามหลักธรรมใน (ตามสาระการเรียนรู้ ข้อ 6.)
การพัฒนาตน เพื่อเตรียมพร้อม
สำหรับการทำงานและการมี
ครอบครัว
8. เห็นคุณค่าของการพัฒนาจิต พัฒนาการเรียนรู้ด้วยวิธีคิดแบบ
เพื่อการเรียนรู้และดำเนินชีวิต โยนิโสมนสิการ 2 วิธี คือ วิธีคิด
ด้วยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ แบบอริยสัจ และวิธีคิดแบบสืบ
คือ วิธีคิดแบบอริยสัจ และวิธี สาวเหตุปัจจัย
คิดแบบสืบสาวเหตุปัจจัย หรือ
การพัฒนาจิตตามแนวทางของ
ศาสนาที่ตนนับถือ
9. สวดมนต์ แผ่เมตตา บริหาร สวดมนต์แปล และแผ่เมตตา
จิตและเจริญปั ญญาด้วยอานา รู้และเข้าใจวิธีปฏิบัติและ
ปานสติ หรือตามแนวทางของ ประโยชน์ของการบริหารจิตและ
270

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง

ศาสนาที่ตนนับถือ เจริญปั ญญา


ฝึ กการบริหารจิตและเจริญ
ปั ญญาตามหลัก สติปัฎฐาน
เน้นอานาปานสติ
นำวิธีการบริหารจิตและเจริญ
ปั ญญา ไปใช้ใน
ชีวิตประจำวัน
10. วิเคราะห์ความแตกต่าง วิถีการดำเนินชีวิตของศาสนิกชน
และยอมรับวิถีการดำเนินชีวิต ศาสนาอื่นๆ
ของศาสนิกชนในศาสนาอื่นๆ

สาระที่ 1 ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม


มาตรฐาน ส 1.2 เข้าใจ ตระหนักและปฏิบัติตนเป็ นศาสนิกชนที่ดี
และธำรงรักษาพระพุทธศาสนา
หรือศาสนาที่ตนนับถือ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.3 1. วิเคราะห์หน้าที่และ หน้าที่ของพระภิกษุในการ
บทบาทของสาวก และ ปฏิบัติตามหลักพระธรรมวินัย
ปฏิบัติตนต่อสาวก ตามที่ และจริยวัตรอย่างเหมาะสม
กำหนดได้ถูกต้อง การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุใน
งานศาสนพิธีที่บ้าน
การสนทนา การแต่งกาย
มรรยาทการพูดกับพระภิกษุตาม
271

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ฐานะ
2. ปฏิบัติตนอย่างเหมาะสม การเป็ นศิษย์ที่ดี ตามหลักทิศ
ต่อบุคคลต่างๆ ตามหลัก เบื้องขวา ในทิศ 6 ของพระพุทธ
ศาสนา ตามที่กำหนด ศาสนา
3. ปฏิบัติหน้าที่ของศาสนิ การปฏิบัติหน้าที่ชาวพุทธตาม
กชนที่ดี พุทธปณิธาน 4 ในมหา
ปรินิพพานสูตร
4. ปฏิบัติตนในศาสนพิธี พิธทำ
ี บุญ งานมงคล งาน
พิธีกรรมได้ถูกต้อง อวมงคล
การนิมนต์พระภิกษุ การเตรียม
ที่ตงั ้ พระพุทธรูปและเครื่องบูชา
การวงด้ายสายสิญจน์ การปูลาด
อาสนะ การเตรียมเครื่องรับรอง
การจุดธูปเทียน
ข้อปฏิบัติในวันเลีย
้ งพระ การ
ถวายข้าวพระพุทธ การถวาย
ไทยธรรม การกรวดน้ำ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
5. อธิบายประวัติวันสำคัญ ประวัติวันสำคัญทางพระพุทธ
ทางศาสนาตามที่กำหนดและ ศาสนาในประเทศไทย
272

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ปฏิบัติตนได้ถูกต้อง  วันวิสาขบูชา (วันสำคัญ
สากล)
 วันธรรมสวนะและเทศกาล
สำคัญ
หลักปฏิบัติตน : การฟั งพระ
ธรรมเทศนา การแต่งกายใน
การประกอบ ศาสนพิธีที่วัด
การงดเว้นอบายมุข
การประพฤติปฏิบัติในวัน
ธรรมสวนะและเทศกาลสำคัญ
6. แสดงตนเป็ นพุทธมามกะ การแสดงตนเป็ นพุทธมามกะ
หรือ แสดงตนเป็ น  ขัน
้ เตรียมการ
ศาสนิกชนของศาสนา  ขัน
้ พิธีการ
ที่ตนนับถือ

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส 2.1 เข้าใจและปฏิบัติตนตามหน้าที่ของการเป็ นพลเมืองดี
มีค่านิยมที่ดีงามและธำรงรักษาประเพณีและวัฒนธรรมไทย
ดำรงชีวติ อยูร่ ว่ มกันในสังคมไทยและสังคมโลกอย่างสันติสข

273

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.3 1. อธิบายความแตกต่าง  ลักษณะการกระทำความ
ของการกระทำความผิด
ระหว่างคดีอาญาและคดี ผิดทางอาญา และโทษ
แพ่ง  ลักษณะการกระทำความ
ผิดทางแพ่ง และโทษ
 ตัวอย่างการกระทำความ
ผิดทางอาญา เช่น ความผิด
เกี่ยวกับทรัพย์
 ตัวอย่างการทำความผิด
ทางแพ่ง เช่น การทำผิด
สัญญา การทำละเมิด
2. มีส่วนร่วมในการปกป้ อง  ความหมาย และความ
คุ้มครองผู้อ่ น
ื ตามหลักสิทธิ
มนุษยชน สำคัญของสิทธิมนุษยชน
 การมีส่วนร่วมคุ้มครอง
สิทธิมนุษยชนตามรัฐธรรมนูญ
แห่งราชอาณาจักรไทยตาม
วาระและโอกาสที่เหมาะสม
3. อนุรักษ์วัฒนธรรมไทย  ความสำคัญของวัฒนธรรม
และเลือกรับวัฒนธรรม
สากลที่เหมาะสม ไทย ภูมิปัญญา
ไทยและวัฒนธรรมสากล
การอนุรักษ์วัฒนธรรมไทย
และภูมิปัญญาไทยที่เหมาะสม
 การเลือกรับวัฒนธรรมสากล
ที่เหมาะสม
274

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
4. วิเคราะห์ปัจจัยที่ก่อให้  ปั จจัยที่ก่อให้เกิดความขัด
เกิดปั ญหาความขัดแย้งใน
ประเทศ และเสนอแนวคิด แย้ง เช่น การเมือง การ
ในการลดความขัดแย้ง ปกครอง เศรษฐกิจ สังคม
ความเชื่อ
 สาเหตุปัญหาทางสังคม
เช่น ปั ญหาสิง่ แวดล้อม ปั ญหา
ยาเสพติด ปั ญหา
การทุจริต ปั ญหาอาชญากรรม
ฯลฯ
 แนวทางความร่วมมือใน
การลดความขัดแย้งและการ
สร้างความสมานฉันท์
5. เสนอแนวคิดในการดำรง  ปั จจัยที่ส่งเสริมการดำรง
ชีวิตอย่างมีความสุขใน ชีวิตให้มีความสุข เช่น การอยู่
ประเทศและสังคมโลก ร่วมกันอย่างมีขันติธรรม
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง เห็นคุณค่าในตนเอง รุ้
จักมองโลกในแง่ดี สร้าง
ทักษะทางอารมณ์ รู้จัก
บริโภคด้วยปั ญญา เลือกรับ-
ปฏิเสธข่าวและวัตถุต่างๆ
ปรับปรุงตนเองและสิง่ ต่างๆ
ให้ดีขน
ึ ้ อยู่เสมอ

สาระที่ 2 หน้าที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดำเนินชีวิตในสังคม

มาตรฐาน ส 2.2 เข้าใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปั จจุบัน


ยึดมั่น ศรัทธาและธำรงรักษา
275

ไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์ทรงเป็ นประมุข

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.3 1. อธิบายระบอบการ  ระบอบการปกครอง แบบ
ปกครองแบบต่างๆ ที่ใช้ใน ต่างๆ ที่ใช้ในยุคปั จจุบัน เช่น
ยุคปั จจุบัน การปกครองแบบเผด็จการ การ
ปกครองแบบประชาธิปไตย
เกณฑ์การตัดสินใจ
2. วิเคราะห์ เปรียบเทียบ ความแตกต่าง ความคล้ายคลึง
ระบอบการปกครองของ ของการปกครองของไทย กับ
ไทยกับประเทศอื่นๆ ที่มี ประเทศอื่นๆ ที่มีการปกครอง
การปกครองระบอบ ระบอบประชาธิปไตย
ประชาธิปไตย
3. วิเคราะห์รัฐธรรมนูญ  บทบัญญัติของรัฐธรรมนูญใน
ฉบับปั จจุบันในมาตราต่างๆ มาตราต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
ที่เกี่ยวข้องกับการเลือกตัง้ เลือกตัง้ การมีส่วนร่วม และ
การมีส่วนร่วม และการ การตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ
ตรวจสอบการใช้อำนาจรัฐ  อำนาจหน้าที่ของรัฐบาล
บทบาทสำคัญของรัฐบาลใน
การบริหารราชการแผ่นดิน
ความจำเป็ นในการมีรัฐบาล
ตามระบอบประชาธิปไตย
4. วิเคราะห์ประเด็น ปั ญหา  ประเด็น ปั ญหาและผลก
ที่เป็ นอุปสรรคต่อการ ระทบที่เป็ นอุปสรรคต่อการ
276

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
พัฒนาประชาธิปไตยของ พัฒนาประชาธิปไตยของ
ประเทศไทยและเสนอ ประเทศไทย
แนวทางแก้ไข  แนวทางการแก้ไขปั ญหา

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.1 เข้าใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิต


และการบริโภค การใช้ทรัพยากร ที่มีอยู่จำกัดได้อย่างมี
ประสิทธิภาพและคุ้มค่า รวมทัง้ เข้าใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อการดำรงชีวิตอย่างมีดุลยภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.3 1. อธิบายกลไกราคาใน  ความหมายและประเภทของ
ระบบเศรษฐกิจ ตลาด
 ความหมายและตัวอย่างของ
อุปสงค์และอุปทาน
 ความหมายและความสำคัญ
ของกลไกราคาและการกำหนด
ราคาในระบบเศรษฐกิจ
 หลักการปรับและ
เปลี่ยนแปลงราคาสินค้าและ
บริการ
2. มีส่วนร่วมในการแก้ไข  สำรวจสภาพปั จจุบันปั ญหา
ปั ญหาและพัฒนาท้องถิ่น ท้องถิ่นทัง้ ทางด้านสังคม
277

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ตามปรัชญาของเศรษฐกิจ เศรษฐกิจและสิ่งแวดล้อม
พอเพียง  วิเคราะห์ปัญหาของท้องถิ่น
โดยใช้ปรัชญาของเศรษฐกิจพอ
เพียง
 แนวทางการแก้ไขและพัฒนา
ท้องถิ่นตามปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
3. วิเคราะห์ความสัมพันธ์  แนวคิดของเศรษฐกิจพอ
ระหว่างแนวคิดเศรษฐกิจ เพียงกับการพัฒนาในระดับต่างๆ
พอเพียงกับระบบสหกรณ์  หลักการสำคัญของระบบ
สหกรณ์
 ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิด
เศรษฐกิจพอเพียงกับหลักการ
และระบบของสหกรณ์เพื่อ
ประยุกต์ใช้ในการพัฒนา
เศรษฐกิจชุมชน

สาระที่ 3 เศรษฐศาสตร์

มาตรฐาน ส 3.2 เข้าใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจต่างๆ ความ


สัมพันธ์ทางเศรษฐกิจและความจำเป็ นของการร่วมมือกัน
ทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
278

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.3 1. อธิบายบทบาทหน้าที่  บทบาทหน้าที่ของรัฐบาลใน
ของรัฐบาลในระบบ การพัฒนาประเทศในด้านต่างๆ
เศรษฐกิจ  บทบาทและกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจของรัฐบาล เช่นการ
ผลิตสินค้าและบริการสาธารณะ
ที่เอกชนไม่ดำเนินการ เช่นไฟฟ้ า
ถนน โรงเรียน
-บทบาทการเก็บภาษีเพื่อพัฒนา
ประเทศ ของรัฐในระดับต่างๆ
-บทบาทการแทรกแซงราคาและ
การควบคุมราคาเพื่อการแจก
จ่ายและการจัดสรรในทาง
เศรษฐกิจ
บทบาทอื่นของรัฐบาลในระบบ
เศรษฐกิจในสังคมไทย
2. แสดงความคิดเห็นต่อ  นโยบาย และกิจกรรมทาง
นโยบาย และกิจกรรมทาง เศรษฐกิจของรัฐบาล
เศรษฐกิจของรัฐบาลที่มีต่อ
บุคคล กลุ่มคน และ
ประเทศชาติ
3. อภิปรายบทบาทความ  บทบาทความสำคัญของการ
สำคัญของ การรวม รวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่าง
กลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่าง ประเทศ
ประเทศ  ลักษณะของการรวมกลุ่มทาง
279

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
เศรษฐกิจ
 กลุ่มทางเศรษฐกิจในภูมิภาค
ต่างๆ
4. อภิปรายผลกระทบที่เกิด  ผลกระทบที่เกิดจากภาวะ
จากภาวะ เงินเฟ้ อ เงินฝื ด เงินเฟ้ อ เงินฝื ด ความหมาย
สาเหตุและแนวทางแก้ไขภาวะ
เงินเฟ้ อ เงินฝื ด
5. วิเคราะห์ผลเสียจากการ  สภาพและสาเหตุปัญหาการ
ว่างงาน และแนวทางแก้ ว่างงาน
ปั ญหา  ผลกระทบจากปั ญหาการว่าง
งาน
 แนวทางการแก้ไขปั ญหาการ
ว่างงาน

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์
280

มาตรฐาน ส 4.1 เข้าใจความหมาย ความสำคัญของเวลา และยุคสมัย


ทางประวัติศาสตร์ สามารถใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์มา
วิเคราะห์เหตุการณ์ต่างๆ อย่างเป็ นระบบ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.3 1. วิเคราะห์เรื่องราว  ขัน
้ ตอนของวิธีการทาง
เหตุการณ์สำคัญทาง ประวัติศาสตร์สำหรับการศึกษา
ประวัติศาสตร์ได้อย่างมี เหตุการณ์ทางประวัติศาสตร์ที่
เหตุผลตามวิธีการทาง เกิดขึน
้ ในท้องถิ่นตนเอง
ประวัติศาสตร์  นำวิธีการทางประวัติศาสตร์
2. ใช้วิธีการทาง มาใช้ในการศึกษาเรื่องราวที่
ประวัติศาสตร์ในการศึกษา เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว
เรื่องราวต่างๆ ที่ตนสนใจ และท้องถิ่นของตน
 วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญใน
สมัยรัตนโกสินทร์ โดยใช้วิธีการ
ทางประวัติศาสตร์

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.2 เข้าใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปั จจุบัน


ในด้านความสัมพันธ์และ การเปลี่ยนแปลง
ของเหตุการณ์อย่างต่อเนื่อง ตระหนักถึงความสำคัญและ
สามารถ วิเคราะห์ผลกระทบที่เกิดขึน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
281

ม.3 1. อธิบายพัฒนาการทาง  ที่ตงั ้ และสภาพทางภูมิศาสตร์


สังคม เศรษฐกิจ และ ของภูมิภาคต่างๆของโลก (ยกเว้น
การเมืองของภูมิภาคต่างๆ เอเชีย) ที่มีผลต่อพัฒนาการโดย
ในโลกโดยสังเขป สังเขป
2. วิเคราะห์ผลของการ  พัฒนาการทางสังคม เศรษฐกิจ
เปลี่ยนแปลงที่นำไปสู่ความ และการเมืองของภูมิภาคต่างๆ
ร่วมมือ และความขัดแย้ง ของโลก (ยกเว้นเอเชีย)โดยสังเขป
ในคริสต์ศตวรรษที่ 20  อิทธิพลของอารยธรรมตะวัน
ตลอดจนความพยายามใน ตกที่มีผลต่อพัฒนาการและการ
การขจัดปั ญหาความขัดแย้ง เปลี่ยนแปลงของสังคมโลก
 ความร่วมมือและความขัดแย้ง
ในคริสต์ศตวรรษที่ 20 เช่น
สงครามโลกครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2
สงครามเย็น องค์การความร่วม
มือระหว่างประเทศ

สาระที่ 4 ประวัติศาสตร์

มาตรฐาน ส 4.3 เข้าใจความเป็ นมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปัญญา


ไทย มีความรัก ความภูมิใจและ
282

ธำรงความเป็ นไทย

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.3 1. วิเคราะห์พัฒนาการของ  การสถาปนา
ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ใน กรุงเทพมหานครเป็ นราชธานี
ด้านต่างๆ ของไทย
2. วิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผล  ปั จจัยที่ส่งผลต่อความ
ต่อความมั่นคงและความ มั่นคงและ
เจริญรุ่งเรืองของไทยใน ความเจริญรุ่งเรืองของไทยใน
สมัยรัตนโกสินทร์ สมัยรัตนโกสินทร์
3.วิเคราะห์ภูมิปัญญาและ  บทบาทของพระมหา
วัฒนธรรมไทยสมัย กษัตริย์ไทยในราชวงศ์จักรีใน
รัตนโกสินทร์ และอิทธิพล การสร้างสรรค์ความเจริญและ
ต่อการพัฒนาชาติไทย ความมั่นคงของชาติ
 พัฒนาการของไทยในสมัย
รัตนโกสินทร์ทางด้านการเมือง
การปกครอง สังคม เศรษฐกิจ
และความสัมพันธ์ระหว่าง
ประเทศตามช่วงสมัยต่างๆ
 เหตุการณ์สำคัญสมัย
รัตนโกสินทร์ที่มี
ผลต่อการพัฒนาชาติไทย เช่น
การทำสนธิสัญญาเบาว์ริงใน
สมัยรัชกาลที่ 4 การปฏิรูป
ประเทศในสมัยรัชกาลที่ 5 การ
283

เข้าร่วมสงครามโลกครัง้ ที่ 1
และครัง้ ที่ 2 โดยวิเคราะห์
สาเหตุปัจจัย และผลของ
เหตุการณ์ต่างๆ
 ภูมิปัญญาและวัฒนธรรม
ไทยในสมัยรัตนโกสินทร์
 บทบาทของไทยตัง้ แต่
เปลี่ยนแปลง
การปกครองจนถึงปั จจุบันใน
สังคมโลก

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
284

มาตรฐาน ส 5.1 เข้าใจลักษณะทางกายภาพของโลกและความสัมพันธ์


ของสรรพสิ่งซึ่งมีผลต่อกัน ใช้แผนที่
และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์ในการค้นหา วิเคราะห์ และ
สรุปข้อมูลตามกระบวนการทาง
ภูมิศาสตร์ ตลอดจนใช้ภูมิสารสนเทศอย่างมีประสิทธิภาพ

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.3 1. วิเคราะห์ลักษณะทาง ที่ตงั ้ ขนาด และอาณาเขตของ
กายภาพของทวีป ทวีปอเมริกาเหนือและทวีป
อเมริกาเหนือ และทวีป อเมริกาใต้
อเมริกาใต้ โดยเลือกใช้ การเลือกใช้แผนที่เฉพาะเรื่อง
แผนที่เฉพาะเรื่องและ และเครื่องมือทางภูมิศาสตร์
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ สืบค้นข้อมูลลักษณะทาง
สืบค้นข้อมูล กายภาพของทวีปอเมริกาเหนือ
และทวีปอเมริกาใต้
2. วิเคราะห์สาเหตุการเกิด สาเหตุการเกิดภัยพิบัติและ
ภัยพิบัติและผลกระทบใน ผลกระทบในทวีปอเมริกาเหนือ
ทวีปอเมริกาเหนือ และ และทวีปอเมริกาใต้
ทวีปอเมริกาใต้
285

สาระที่ 5 ภูมิศาสตร์
มาตรฐาน ส 5.2 เข้าใจปฏิสัมพันธ์ระหว่างมนุษย์กับสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพที่ก่อให้เกิดการสร้างสรรค์
วิถีการดำเนินชีวิต มีจิตสำนึกและมีส่วนร่วมในการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
ม.3 1. สำรวจและระบุทำเลที่ ทำเลที่ตงั ้ ของกิจกรรมทาง
ตัง้ ของกิจกรรมทาง เศรษฐกิจและสังคม เช่น พื้นที่
เศรษฐกิจและสังคมใน เพาะปลูกและเลีย
้ งสัตว์ แหล่ง
ทวีปอเมริกาเหนือและ ประมง การกระจายของภาษา
ทวีปอเมริกาใต้ และศาสนาในทวีป
อเมริกาเหนือ และทวีป
อเมริกาใต้
2. วิเคราะห์ปัจจัยทาง ปั จจัยทางกายภาพและปั จจัย
กายภาพและปั จจัยทาง ทางสังคมที่ส่งผลต่อการ
สังคมที่ส่งผลต่อทำเลที่ตงั ้ เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ ประชากร สิง่ แวดล้อม
และสังคมในทวีป เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม
อเมริกาเหนือและทวีป ในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีป
อเมริกาใต้ อเมริกาใต้
3. สืบค้น อภิปราย ประเด็นปั ญหาจากปฏิสัมพันธ์
ประเด็นปั ญหาจาก ระหว่างสิง่ แวดล้อมทาง
ปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่ง กายภาพกับมนุษย์ที่เกิดขึน
้ ใน
286

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
แวดล้อมทางกายภาพกับ ทวีปอเมริกาเหนือ และทวีป
มนุษย์ที่เกิดขึน
้ ในทวีป อเมริกาใต้
อเมริกาเหนือและทวีป
อเมริกาใต้

ชัน
้ ตัวชีว
้ ัด สาระการเรียนรู้แกนกลาง
4. วิเคราะห์แนวทางการ แนวทางการจัดการภัยพิบัติ
จัดการภัยพิบัติและการ และการจัดการทรัพยากรและ
จัดการทรัพยากรและสิ่ง สิ่งแวดล้อมในทวีป
แวดล้อมในทวีป อเมริกาเหนือ และทวีป
อเมริกาเหนือ และทวีป อเมริกาใต้ที่ยั่งยืน
อเมริกาใต้ที่ยั่งยืน
5. ระบุความร่วมมือ เป้ าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน
ระหว่างประเทศที่มีผลต่อ ของโลก
การจัดการทรัพยากรและ ความร่วมมือระหว่างประเทศ
สิ่งแวดล้อม ที่มีผลต่อการจัดการทรัพยากร
และสิง่ แวดล้อม
287
288

คำอธิบายรายวิชา

ส 23101 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียน


รู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 60
ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต
………………………………………………………………………………………………………
……

อธิบายความแตกต่างของการกระทำความผิดระหว่างคดีอาญาและ
คดีแพ่ง มีส่วนร่วมในการปกป้ องคุ้มครองผู้อ่ น
ื ตามหลักสิทธิมนุษยชน
อนุรักษ์วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญาไทย วิเคราะห์ปัจจัยและสาเหตุของ
ปั ญหาทางสังคม และเสนอแนวคิดในการลดความขัดแย้ง และการใช้ชีวิต
อย่างมีความสุขตามหลักปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง
อธิบายระบอบการปกครองแบบต่างๆที่ใช้ในปั จจุบัน วิเคราะห์
เปรียบเทียบระบอบการปกครองของไทยกับประเทศอื่นๆ วิเคราะห์
รัฐธรรมนูญฉบับปั จจุบันในมาตราต่างๆที่เกี่ยวกับการเลือกตัง้ ศึกษา
วิเคราะห์ปัญหาและอุปสรรคต่อการพัฒนาประชาธิปไตยของประเทศไทย
อธิบายความหมาย ประเภทของตลาด กลไกราคาในระบบ
เศรษฐกิจ สำรวจ วิเคราะห์ปัญหาและแนวทางแก้ไขปั ญหาของท้องถิ่น
ทัง้ ด้านสังคม เศรษฐกิจ โดยใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง วิเคราะห์
ความสัมพันธ์ระหว่างแนวคิดของเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบสหกรณ์
ศึกษา อธิบายบทบาทหน้าที่ของรัฐบาลในระบบเศรษฐกิจ แสดงความ
คิดเห็นต่อนโยบายและกิจกรรมทางเศรษฐกิจของรัฐบาล อภิปราย
บทบาทและความสำคัญของการรวมกลุ่มทางเศรษฐกิจระหว่างประเทศ
289

และผลกระทบจากภาวะเงินเฟ้ อ เงินฟื ด ศึกษา วิเคราะห์ผลเสียจาก


การว่างงาน และวิธีการกีดกันทางการค้าในการค้าระหว่างประเทศ
เพื่อให้การเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรมมีค่านิยมที่ดีงาม
มีจิตศรัทธาและรักษาไว้ซึ่งการปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์เป็ นประมุข สำนึกในการอนุรักษ์และพัฒนาสิง่ แวดล้อม
อย่างยั่งยืน ยึดมั่นในหลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตน
นับถือเป็ นหลักในการดำเนินชีวิต มุ่งมั่นในการทำความดีและนำหลัก
ธรรมมาใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมีความสุข

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 2.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5
ส 2.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4
ส 3.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3

รวมทัง้ สิน
้ 12 ตัวชีว
้ ัด
290

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษา
ปี ที่ 3 (ภาคเรียนที่ 1)
รหัสวิชา ส 23101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา 80 ชั่วโมง

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 1 พลเมืองดีตามวิถี ส 2.1 10 10
สังคมประชาธิปไตย ม.2/1
1.1 การกระทำความผิดทางอาญา ม.2/2
และโทษ
1.2 การกระทำความผิดทางแพ่ง ม.2/3
และโทษ ม.2/4
1.3 ความหมายและความสำคัญ
ของสิทธิมนุษยชน
1.4 ความสำคัญและการอนุรักษ์
วัฒนธรรมไทยและภูมิปัญญา
ไทย
1.5 ปั จจัยที่ก่อเกิดความขัดแย้ง
ทางการเมือง เศรษฐกิจ สังคม
ความเชื่อ
291

1.6 สาเหตุของปั ญหาทางสังคม


เช่น การทุจริต ยาเสพติด
หน่วยที่ 2 การเมืองการปกครอง ส 2.2 ม.3/1 8 10
ของไทย ม.3/2
2.1 ระบอบการปกครองแบบ ม.3/3
ต่างๆ ม.3/4
2.2 ความแตกต่างและความ
คล้ายคลึงของการปกครองของ
ไทยกับประเทศอื่นๆ
2.3 การเลือกตัง้
2.4 อำนาจหน้าที่ของรัฐบาล
หน่วยที่ 3 เศรษฐศาสตร์ทั่วไป ส 3.1 ม.3/1 10 10
3.1 ความหมาย และประเภท ม.3/2
ของตลาด ม.3/3
3.2 ความหมาย และตัวอย่าง
ของอุปสงค์ อุปทาน
3.3 ความหมายและความสำคัญ
ของกลไกราคาและการกำหนด
ราคาในระบบเศรษฐกิจ
3.4 ปั ญหาของท้องถิ่นและการ
แก้ไขตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
3.5 หลักการของสหกรณ์
3.6 ความสัมพันธ์ระหว่างหลัก
การเศรษฐกิจพอเพียงกับระบบ
ของสหกรณ์
292
293

คำอธิบายรายวิชา

ส 23102 สังคมศึกษาฯ กลุ่มสาระการเรียน


รู้สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรมชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่
2 เวลา 60 ชั่วโมง จำนวน 1.5 หน่วยกิต
………………………………………………………………………………………………………
……

ศึกษาความสำคัญของพระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือใน
ฐานะที่ช่วยสร้างสรรค์อารยธรรมและความสุขแก่โลกและการเผยแผ่
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือสูป
่ ระเทศต่างๆทั่วโลกตลอดจนวิธี
การดำเนินชีวิตของศาสนิกชนและศาสนาอื่นๆ
วิเคราะห์ลักษณะทางกายภาพ ที่ตงั ้ ขนาดและอาณาเขตของทวีป
อเมริกาเหนือและทวีปอเมริกาใต้ โดยการเลือกใช้แผนที่เฉพาะเรื่องและ
เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ สืบค้นข้อมูล วิเคราะห์สาเหตุการเกิดภัยพิบัติ
และผลกระทบในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต้ สำรวจและระบุ
ทำเลที่ตงั ้ ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจและสังคม เช่น พื้นที่เพาะปลูกและ
เลีย
้ งสัตว์ แหล่งประมง การกระจายของภาษาและศาสนา วิเคราะห์ปัจจัย
ทางกายภาพและปั จจัยทางสังคมที่ส่งผลต่อการเปลี่ยนแปลงโครงสร้าง
ทางประชากร สิง่ แวดล้อม เศรษฐกิจ สังคมและวัฒนธรรม สืบค้น
อภิปรายประเด็นปั ญหาจากปฏิสัมพันธ์ระหว่างสิ่งแวดล้อมทางกายภาพ
กับมนุษย์ที่เกิดขึน
้ ในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต้
วิเคราะห์แนวทางการจัดการภัยพิบัติและระบบความร่วมมือในการ
จัดการทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมและเป้ าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืนของโลก
294

ความร่วมมือระหว่างประเทศที่มีผลต่อการจัดการทัพยากรและสิ่ง
แวดล้อมในทวีปอเมริกาเหนือ และทวีปอเมริกาใต้
เพื่อให้การเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม มีวิจารณญาณรู้
เท่าทันสถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงทางเศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม
การเมือง รู้จักตนเอง ภูมิใจในความเป็ นไทย รักชาติรักท้องถิ่นและ
สามารถนำหลักการของเศรษฐกิจพอเพียงมาใช้ในชีวิตประจำวันได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 1.1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม./37 ม.3/8
ม.3/9 ม.3/10
ส 1.2 ม.3/1 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5 ม.3/6 ม.3/7
ส 5.1 ม.3/1 ม.3/2
ส 5.2 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4 ม.3/5

รวมทัง้ สิน
้ 25 ตัวชีว
้ ัด
295

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษา
ปี ที่ 3 (ภาคเรียนที่ 2)
รหัสวิชา ส 23101 สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
เวลา 80 ชั่วโมง
เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 4 ศาสนาในประเทศไทย ส 1.1 10 5
4.1 การเผยแผ่พุทธศาสนาเข้าสู่
ประเทศต่างๆ ม.3/1
4.2 ความสำคัญของพุทธศาสนา ม.3/2
4.3 พุทธประวัติ ม.3/3
4.4 พุทธสาวก พุทธสาวิกา ม.3/4
4.5 คำศัพท์ทางพุทธศาสนา พุทธ ม.3/5
ศาสนสุภาษิต ม.3/6
4.6 การบริหารจิตและเจริญ ม./37
ปั ญญา ม.3/8 60
ม.3/9

ม.3/10

หน่วยที่ 5 การปฏิบัติตนตามใน ส 1.2 8 5


296

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
ศาสนพิธี ม.3/1
5.1 การปฏิบัติตนต่อพระภิกษุใน
งานศาสนพิธี ม.3/2
5.2 วันสำคัญและการปฏิบัติตน ม.3/3
ในวันสำคัญทางศาสนา ม.3/4
5.3 การแสดงตนเป็ น ม.3/5
พุทธมามกะ ม.3/6
5.4 การปลูกจิตสำนึกในด้านการ ม.3/7
บำรุงรักษาวัด
หน่วยที่ 6 เครื่องมือและ ส 5.1 15 10
เทคโนโลยีทางภูมิศาสตร์ ม.3/1
5.1 เครื่องมือทางภูมิศาสตร์ที่
แสดงลักษณะกายภาพและ ม.3/2
สังคมของทวีปอเมริกาเหนือ
และอเมริกาใต้
5.2 ลักษณะทางกายภาพของ
ทวีปอเมริกาเหนือ และ
อเมริกาใต้
หน่วยที่ 7 ทวีปอเมริกาเหนือและ ส 5.1 ม.3/1 16 10
อเมริการใต้ ม.3/2
7.1 ที่ตงั ้ ขนาดและอาณาเขต ส 5.2 ม.3/1
297

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
ของทวีปอเมริกาเหนือและ ม.3/2
อเมริกาใต้ ม.3/3
7.2 สาเหตุการเกิดภัยพิบัติและ ม.3/4
ผลกระทบใน ทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
7.3 ทำเลที่ตงั ้ ของกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจและสังคมในทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
7.4 ปั จจัยทางกายภาพและ
ทางสังคมที่ส่งผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงโครงสร้างทาง
ประชากร สิ่งแวดล้อม
เศรษฐกิจ สังคมและ
วัฒนธรรมในทวีป
อเมริกาเหนือและอเมริกาใต้
7.5 ปั ญหาจากปฏิสัมพันธ์
ระหว่างสิ่งแวดล้อมทาง
กายภาพกับมนุษย์ที่เกิดขึน
้ ใน
ทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต้
7.6 แนวทางการจัดการภัย
298

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
พิบัติและการจัดการ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อมใน
ทวีปอเมริกาเหนือและ
อเมริกาใต้ที่ยั่งยืน
7.7 เป้ าหมายการพัฒนาที่
ยั่งยืนของโลก
7.8 ความร่วมมือระหว่าง
ประเทศที่มีผลต่อการจัดการ
ทรัพยากรและสิ่งแวดล้อม
เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
ปลายปี การทดสอบ 1 20 40
(สรุปรายวิชา) ภาระงาน 2 20
รวม 80 100 100
299
300

คำอธิบายรายวิชา

ส 23103 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 1 เวลา 20
ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………

ศึกษาขัน
้ ตอนทางวิธีการทางประวัติศาสตร์ เหตุการณ์สำคัญทาง
ประวัติศาสตร์สากลและประวัติศาสตร์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์อย่างมี
เหตุผลตามขัน
้ ตอนทางวิธีการทางประวัติศาสตร์ นำวิธีการทาง
ประวัติศาสตร์มาใช้ในการศึกษาเรื่องราวที่เกี่ยวข้องกับตนเอง ครอบครัว
ท้องถิ่นของตน
ศึกษาที่ตงั ้ สภาพทางภูมิศาสตร์ของภูมิภาคต่างๆของโลก (
ยกเว้นเอเชีย ) ที่มีผลต่อการพัฒนาโดยสังเขปรวมทัง้ วิเคราะห์พัฒนาการ
ทางประวัติศาสตร์ สังคม เศรษฐกิจ การเมือง ของภูมิภาคต่างๆของ
โลก( ยกเว้นเอเชีย ) โดยสังเขป และอิทธิพลของอารยธรรมตะวันตกที่มี
ผลต่อการพัฒนาการและการเปลี่ยนแปลงของสังคมโลก ความร่วมมือ
และความขัดแย้งในคริสต์ศตวรรษที่ 20 สงครามโลกครัง้ ที่ 1 ครัง้ ที่ 2
สงครามเย็น องค์การความร่วมมือระหว่างประเทศ
เพื่อให้มีความรู้ความเข้าใจเชื่อมโยงความสัมพันธ์ของ
ประวัติศาสตร์ด้วยการศึกษาวิธีการทางประวัติศาสตร์พัฒนาการของ
มนุษยชาติและภูมิภาคต่างๆของโลกที่มีความสัมพันธ์อย่างต่อเนื่องกัน
ตัง้ แต่อดีตจนถึงปั จจุบัน
301

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 4.1 ม.3/1 ม.3/2
ส 4.2 ม.3/1 ม.3/2

รวมทัง้ สิน
้ 4 ตัวชีว
้ ัด
302

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษา
ปี ที่ 3 (ภาคเรียนที่ 1)
รหัสวิชา ส 23102 ประวัติศาสตร์
เวลา 20 ชั่วโมง

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 1 วิธีการทาง ส 4.3 ม.1/1 7
ประวัติศาสตร์ ม.1/2
1.1 ขัน
้ ตอนทาง ม.1/3
ประวัติศาสตร์
1.2 วิเคราะห์เหตุการณ์สำคัญ
สมัยรัตนโกสินทร์ 60
1.3 การใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์ศึกษาเรื่องราว
เกี่ยวกับตนเอง ครอบครัว
และท้องถิ่น

หน่วยที่ 2 ภูมิภาคต่างๆ ของโลก ส 4.2 15


2.1 ที่ตงั ้ และสภาพทาง ม.3/1
ภูมิศาสตร์ของภูมิต่างๆของ
303

โลก ม.3/2
2.2 พัฒนาการทางสังคม
เศรษฐกิจ และการเมืองของ
ภูมิภาคต่างๆของโลก
2.3 อิทธิพล
อารยธรรมตะวันตกที่มีผลต่อ
การเปลี่ยนแปลงของสังคม
โลก
2.4 สงครามโลกครัง้ ที่
1 และ 2 สงครามเย็นและ
ความร่วมมือระหว่างประเทศ
304

คำอธิบายรายวิชา

ส 23104 ประวัติศาสตร์ กลุ่มสาระการเรียนรู้


สังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 20
ชั่วโมง จำนวน 0.5 หน่วยกิต
………………………………………………………………………………………………………
…………………………………
.
วิเคราะห์พัฒนาการของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ในด้านการ
สถาปนากรุงรัตนโกสินทร์ ปั จจัยที่ส่งผลต่อความมั่นคงและความเจริญ
รุ่งเรืองของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ศึกษาบทบาทของพระมหากษัตริย์ใน
ราชวงศ์จักรีในการสร้างสรรค์ความเจริญและความมั่นคงของชาติ
ศึกษาพัฒนาการของไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ด้านการเมืองการ
ปกครอง สังคม เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์ระหว่างประเทศตามช่วง
สมัยต่างๆ และเหตุการณ์สำคัญสมัยรัตนโกสินทร์ที่มีผลต่อการพัฒนาชาติ
ไทยเรื่องการทำสนธิสัญญาเบาริงในสมัยรัชกาลที่ 4 การปฏิรูปประเทศใน
สมัยรัชกาลที่ 5 การเข้าร่วมสงครามครัง้ ที่ 1 และ 2 โดยวิเคราะห์สาเหตุ
ปั จจัยและผลของเหตุการณ์ต่างๆ
ศึกษาภูมิปัญญาวัฒนธรรมไทยในสมัยรัตนโกสินทร์ซึ่งมีอิทธิพล
ต่อการพัฒนาชาติไทยจนถึงปั จจุบันโดยเฉพาะสมัยพระบาทสมเด็จ
พระเจ้าอยู่หัว รัชกาลที่ 9 และบทบาทของไทยตัง้ แต่เปลี่ยนแปลงการ
ปกครองจนถึงปั จจุบันในสังคมโลก
เพื่อให้การศึกษาประวัติศาสตร์อย่างเข้าใจและสามารถรู้เท่าทัน
สถานการณ์และการเปลี่ยนแปลงทางสังคม วัฒนธรรม เศรษฐกิจ
305

การเมือง รู้จักตนเอง ภูมิใจในความเป็ นไทย รักชาติ รักท้องถิ่น


ศรัทธาและรักษาไว้ซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหา
กษัตริย์เป็ นประมุข มีค่านิยมที่ดีงามและเป็ นพลเมืองดีของประเทศ

รหัสตัวชีว
้ ัด (รายภาค)
ส 4.3 ม.3/1 ม.3/2 ม.3/3 ม.3/4

รวมทัง้ สิน
้ 4 ตัวชีว
้ ัด
306

โครงสร้างรายวิชา

รายวิชา พื้นฐาน ชัน


้ มัธยมศึกษา
ปี ที่ 3 ( ภาคเรียนที่ 2)
รหัสวิชา ส 23102 ประวัติศาสตร์ เวลา
20 ชั่วโมง

เวลา( สัดส่วน
มาตรฐานการ
ชั่วโมง คะแนน
หน่วยการเรียนรู้ เรียนรู้/ ตัวชี ้
) % รวม
วัด
%
หน่วยที่ 3 รัตนโกสินทร์ ส 4.3 15
3.1 การสถาปนา ม.3/1
กรุงเทพมหานครเป็ นราชธานีของ ม.3/2
ไทย ม.3/3
3.2 ปั จจัยที่ส่งผลต่อ ม.3/4
ความเจริญรุ่งเรืองของไทยสมัย
รัตนโกสินทร์
3.3 พัฒนาการของ
ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ด้าน
การเมืองการปกครอง สังคม
เศรษฐกิจ และความสัมพันธ์
ระหว่างประเทศ
3.4 เหตุการณ์สำคัญ
ของไทยสมัยรัตนโกสินทร์ เช่น การ
307

ทำสนธิสัญญาเบาริง สมัยรัชกาลที่
4 การปฏิรูปประเทศ สมัยรัชกาล
ที่ 5
3.5 ภูมิปัญญาและ
วัฒนธรรมสมัยรัตนโกสินทร์
3.6 บทบาทของไทย
ตัง้ แต่การเปลี่ยนแปลงการปกครอง
จนถึงปั จจุบัน
ปลายปี การทดสอบ 1 20
(สรุปรายวิชา) ภาระงาน 2 20
รวม 40 100
308

คำอธิบายรายวิชา อิสลามศึกษา

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 1
รหัสวิชา ส 11201
เวลา 40 ชั่วโมง

ศึกษา ความหมาย ความสำคัญ ของหลักการอิสลาม และพระนาม


ของอัลเลาะฮฺสุบหานะฮุวะตะอาลา ลำดับที่ 1-10 พร้อมความหมาย
ประเภทของน้ำสะอาด วิธีการอาบน้ำละหมาด ประวัติของท่านนบีมุฮัม
มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ประวัติและข้อควรปฏิบัติในวันสำคัญ
ต่าง ๆ เช่น วันอีดิลฟิ ฏรฺ วันอีดิลอัฎฮา วันศุกร์ ปฏิบัติตนตาม
บทบัญญัติอส
ิ ลาม ในเรื่องการละหมาดฟั รฎุ เป็ นมุสลิมที่ดี มีคุณธรรม
จริยธรรม ตามแบบอย่างของท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม
เช่น การกล่าวสลามและการตอบรับสลาม การรักษาความสะอาด
มารยาทและการอ่านดุอาอฺก่อนและหลังรับประทานอาหาร ดุอาอฺก่อน
นอนและตื่นนอน การอ่าน เขียน สระ พยัญชนะในอัล-กุรฺอาน และ
ท่องจำสูเราะฮฺอัลฟาติหะฮฺ อันนาส การบำเพ็ญประโยชน์โดยการ
พัฒนาและการทำความสะอาดต่อสาธารณสถาน เช่น มัสญิด สถานที่
ละหมาด กุบูรฺ โรงเรียน และการบริจาค
โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นความสำคัญ เห็นคุณค่า สามารถปฏิบัติ
ตามหลักการศาสนา มีคุณธรรม จริยธรรม และนำไปประยุกต์ใช้ในการ
ดำเนินชีวิตในสังคมอย่างสงบสุข
309

คำอธิบายรายวิชา อิสลามศึกษา

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 2
รหัสวิชา ส 12201
เวลา 40 ชั่วโมง
ศึกษา ความหมาย ความสำคัญของหลักการอิสลาม หลักการ
ศรัทธา 6 ประการ หลักปฏิบัติ 5 ประการ หลักคุณธรรม
และพระนามของอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ลำดับที่ 11-24 พร้อม
ความหมาย การชำระล้างนะญิส ความหมาย ความสำคัญ อิริยาบถ
และประโยชน์ของการละหมาด ประวัติของท่านนบีมุฮัมมัด
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ตัง้ แต่เกิดจนถึงสมรสกับท่านหญิงเคาะ
ดิญะฮฺ การปฏิบัติตนตามบทบัญญัติอิสลาม การกล่าวปฏิญาณตน การ
ชำระล้างนะญิส การอาบน้ำละหมาด การละหมาด การเป็ นมุสลิมที่ดี มี
คุณธรรม จริยธรรม ตามแบบอย่างของท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัย
ฮิวะสัลลัม ในเรื่องมารยาทและการอ่านดุอาอฺ เช่น ดุอาอฺเข้าและออก
จากห้องน้ำ ดุอาอฺเข้าและออกจากบ้าน การอ่าน เขียน พยัญชนะที่มี
สระอะลิฟ ยาอฺ และวาว การท่องจำสูเราะฮฺอัล-ฟะลัก อัล-อิคลาส
อัล-มะซัด
โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นความสำคัญ เห็นคุณค่า สามารถปฏิบัติ
310

ตามหลักการศาสนาอิสลาม มีคุณธรรม จริยธรรม และนำไปประยุกต์ใช้


ในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างสงบสุข

คำอธิบายรายวิชา อิสลามศึกษา

กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม


ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 3
รหัสวิชา ส 13201
เวลา 40 ชั่วโมง

ศึกษา พระนามของอัลลอฮฺ สุบหานะฮุวะตะอาลา ลำดับที่ 25-


39 พร้อมความหมาย ชื่อของบรรดารสูล และประวัติของท่านนบีมุฮัม
มัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ตัง้ แต่สมรสจนถึงการรับวะหฺยุ อธิบาย
ความหมาย ความสำคัญของหลักการอิสลาม ชื่นชม เห็นคุณค่า และ
ปฏิบัติตนตามบทบัญญัติอิสลาม ในเรื่อง หลักการศรัทธา 6 ประการ การ
ศรัทธาต่ออัลลอฮฺ การศรัทธาต่อมลาอิกะฮฺ การศรัทธาต่อบรรดาคัมภีร์
การศรัทธาต่อบรรดารสูล การศรัทธาต่อวันอาคิเราะฮฺ การศรัทธาต่อกฎ
เกาะฎอ เกาะดัร หลักปฏิบัติ 5 ประการ การปฏิญาณตน การ
ละหมาด การถือศีลอด การจ่ายซะกาฮฺ การทำหัจญ์ หลักคุณธรรม การ
ปฏิบัติตนเป็ นมุสลิมที่ดี มีคุณธรรม จริยธรรม ตามแบบอย่างของท่านนบี
มุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม เช่น การแต่งกาย การมีระเบียบวินัย
311

การมีสัจจะ การมีความซื่อสัตย์ มารยาทและการกล่าวดุอาอฺ เช่น ดุ


อาอฺสวมใส่เสื้อผ้า ดุอาอฺเพิ่มพูนความรู้ อ่าน เขียน พยัญชนะ สระใน
อัล-กุรฺอาน และท่องจำสูเราะฮฺอัล-นัศรฺ อัล-กาฟิ รูน อัลเกาษัร
โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการ
ปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นความสำคัญ เห็นคุณค่า
สามารถปฏิบัติตามหลักการศาสนา มีคณ
ุ ธรรม จริยธรรม และนำไป
ประยุกต์ใช้ในการดำเนินชีวิตในสังคมอย่างสงบสุข

คำอธิบายรายวิชา อิสลามศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
รหัสวิชา ส 14201
เวลา 40 ชั่วโมง

ศึกษาและค้นคว้าพระนามของอัลลอฮฺสุบหานะฮุวะตะอาลา
ลำดับที่ 40-59 หลักการอีมาน 6 ประการ หลักการอิสลาม
หลักอิหฺสาน ความหมายความสำคัญ และการปฏิบัติตนตามบทบัญญัติ
ของ มุกัลลัฟ การอาบน้ำวาญิบ การถือศีลอด การอาบน้ำสุน
นะฮฺในวันศุกร์ สรุปการเผยแผ่อส
ิ ลาม ณ นคร มักกะฮฺ และแบบอย่าง
ของท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม การปฏิบัติตนเป็ นมุสลิม
ที่ดี ในเรื่องความสามัคคี ความเป็ นผู้นำผู้ตาม มารยาท และการกล่าวดุ
อาอฺในขณะเข้า-ออกมัสญิด ดุอาอฺหลังละหมาด และมีส่วนร่วมในการ
ทำนุบำรุงศาสนสถาน อ่านและเขียนตามหลักการอ่านอัล-กุรฺอาน ฐาน
312

เกิดเสียง การออกเสียง กฎการอ่านอะลิฟ-ลาม การอ่าน และท่องจำสู


เราะฮฺอัล-ฟี ล อัล-อัสรฺ
โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบายสิ่งที่เรียนรู้และเห็นคุณค่า
ในการนำความรู้ไปปฏิบัติตนให้เกิดประโยชน์ในชีวิตประจำวัน มีคุณธรรม
จริยธรรม

คำอธิบายรายวิชา อิสลามศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 5
รหัสวิชา ส 15201
เวลา 40 ชั่วโมง

ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปหลักการอีมาน 6 ประการ พระนามขอ


งอัลลอฮฺสุบหานะฮุวะตะอาลา ลำดับที่ 60-79 การศรัทธาต่อบรรดา
คัมภีร์ต่าง ๆ การศรัทธาต่อนบีและรสูล การปกปิ ดเอาเราะฮฺ การอาบ
น้ำวาญิบ การตะยัมมุม การละหมาดวันศุกร์ และการคุฏบะฮฺ การถือศีล
อด การเผยแผ่อิสลาม ณ นครมักกะฮฺและการอพยพของชาวมุสลิมไปยัง
มะดีนะฮฺ แบบอย่างของเคาะลีฟะอฺ อบูบักร และอุมัร มารยาทต่อบิดา
มารดา ครู และผู้อาวุโส การมีส่วนร่วมในการทำนุบำรุงศาสนสถาน การ
313

อ่านดุอาอฺ หลักการอ่านอัล-กุรฺอานเบื้องต้น การอ่านและการท่องจำสู


เราะฮฺอัล-มาอูน อัล-กุร๊อยชฺ และมารยาทในการอ่านอัล-กุรฺอาน
โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ
เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สงิ่ ที่เรียนรู้ มีทักษะการ
อ่านและเห็นคุณค่าในการปฏิบัติเป็ นมุสลิมที่ดี

คำอธิบายรายวิชา อิสลามศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนา และวัฒนธรรม
ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 6
รหัสวิชา ส 16201
เวลา 40 ชั่วโมง

ศึกษา วิเคราะห์ และสรุป หลักการอีมาน 6 ประการ พระนามขอ


งอัลลอฮฺสุบหานะฮุวะตะอาลา ลำดับที่ 80-99 คุณลักษณะวาญิบมุสตา
ฮีลและญาอิส การศรัทธาต่อวันอาคิเราะฮฺ การศรัทธาต่อเกาะฎอและ
เกาะดัร การตัง้ ภาคีต่ออัลลอฮฺ การสิน
้ สภาพจากการเป็ นมุสลิม การอาบ
น้ำวาญิบ การจัดการญะนาซะฮฺ การถือศีลอด การละหมาดสุนนะฮฺ การ
จ่ายซะกาฮฺ การประกอบพิธีหัจญ์ บทบาทของท่านนบีมุฮัมมัด
ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ในนครมะดีนะฮฺ ชาวมุฮาญีรีนและอันศอรฺ
เคาะลีฟะฮฺอุสมาน อาลี ศาสนสถาน การปฏิบัติตนเป็ นมุสลิมที่ดีในเรื่อง
การแต่งกาย การมีระเบียบวินัย การมีสัจจะ ความซื่อสัตย์ มารยาทและ
การอ่านดุอาอฺในสภาพการณ์ต่าง ๆ หลักการอ่านนูนตายหรือตันวีน
การอ่านและท่องจำสูเราะฮฺอัล-ก็อดรฺ อัต-ตีน
314

โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ เพื่อ


ให้เกิดความรู้ใจ ความเข้าใจ สามารถวิเคราะห์สงิ่ ที่เรียนรู้ มีทักษะการ
อ่านและเห็นคุณค่าในการปฏิบัติตนเป็ นมุสลิมที่ดี

คำอธิบายรายวิชา ส 21201 อิสลามศึกษา 1


รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
ภาคเรียนที่ 1
เวลาเรียน 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคเรียน จำนวน
0.5 หน่วยกิต

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษา การศรัทธาต่ออัลลอฮฺ คุณลักษณะของอัลลออฮฺสุ


บหานะฮุวะตะอาลา ประโยชน์ของเตาฮีดอัร-รูบูบียะฮฺ และบทลงโทษ
ของชิรฺก สิง่ ที่วาญิบ ฟั รดู ชัรฏฺ สุนนะฮฺ และสิ่งที่ทำให้เสียการ
ละหมาด วิธีการละหมาดสุนนะฮฺ ตะรอวีหฺและวิตฺร การปกปิ ดเอา
เราะฮฺ ชีวประวัติก่อนและหลังรับวะหฺยุ คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่ คำ
315

สั่งสอน คุณธรรม จริยธรรมของท่านนบีมุฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะ


สัลลัม และคอลีฟะฮฺทงั ้ สี่ ศาสนสถานที่สำคัญ
โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ
กระบวนการปฏิบัติ เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ สามารถอธิบายสิง่ ที่
เรียนรู้และเห็นคุณค่าในการนำความรู้ไปปฏิบต
ั ต
ิ นให้เกิดประโยชน์ในชีวต

ประจำวัน มีคุณธรรม จริยธรรม

ส 1.1 / 1-4
ส 1.2 / 1-2
รวม 6 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา ส 21202 อิสลามศึกษา 2


รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 1
ภาคเรียนที่ 2
เวลาเรียน 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคเรียน จำนวน
0.5 หน่วยกิต

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษา ประวัติความเป็ นมาของอัล -กุรฺอาน อ่านตามหลักการ


อ่านมีมสากินะฮฺ สูเราะฮฺอัล-ลัยลฺ และอัช- ชัมสฺ หลักคำสอนและท่องจำสู
เราะฮฺอัล -ซิลซาลและอัล -อาดิยาต เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนในการเป็ น
316

ผู้นำ ผู้ตาม การรักษาระเบียบวินัย การตรงต่อเวลา การรู้จักความพอ


เพียงและพอใจในสิ่งที่ตนมีตามทัศนะอิสลาม
โดยใช้ก ระบวนการสร้า งความรู้ ความเข้า ใจ กระบวนการ
ปฏิบ ัต ิแ ละกระบวนการสร้า งนิส ัย เพื่อ ให้เ กิด ความรู้ ความเข้า ใจ เห็น
คุณค่าและสามารถนำความรู้มาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

ส 1.1 / 5-8
ส 1.2 / 3-5
รวม 7 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา ส 22201 อิสลามศึกษา 3


รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
ภาคเรียนที่ 1
เวลาเรียน 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคเรียน จำนวน
0.5 หน่วยกิต

คำอธิบายรายวิชา

ศึกษาการศรัทธาและคุณลักษณะของอัลลอฮฺสุบหานะฮุวะตะอาลา
ตามเตาฮีดอุลูฮียะฮฺ บทลงโทษของชิรฺกอุลูฮียะฮฺ ความสัมพันธ์ของ
317

โครงสร้างอิสลาม จริยวัตร สภาพก่อนและหลังอพยพ การเผยแผ่ศาสนา


อิสลามของท่านนบีมูฮัมมัด ศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม และคอลีฟะฮฺ
ทัง้ สี่ ประวัติความเป็ นมาของมัสญิดอัล-หะรอม มัสญิดอัล-นะบะวีย์ และ
มัสญิดอัล-อักศอ เห็นคุณค่าและปฏิบัติการละหมาดสุนนะฮฺ และ
ญัมฮฺ-ก็อศรฺ
โดยใช้กระบวนการสร้างความรู้ ความเข้าใจ กระบวนการปฏิบัติ
และกระบวนการสร้างนิสัย เพื่อให้เกิดความรู้ ความเข้าใจ เห็นคุณค่าและ
สามารถนำความรู้มาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

ส 1.1 / 1-7
ส 1.2 / 1-4
รวม 11 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา ส 22202 อิสลามศึกษา 4


รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
ภาคเรียนที่ 2
เวลาเรียน 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคเรียน จำนวน
0.5 หน่วยกิต

คำอธิบายรายวิชา
318

ศึกษาการจ่ายซะกาฮฺฟิฏรฺ การถือศีลอดสุนนะฮฺ การจัดการ


ญะนาซะฮฺ การขออภัย โทษ การอดกลัน
้ และการให้อ ภัย ความกล้า
หาญ และการเป็ นผู้ม ีจ ิต อาสา อ่า นตามหลัก การอ่า นหุก ุม มัด สูเ ราะ
ฮฺอัล- บาลัด อัล-ฆอซียะฮฺ หลักคำสอนและท่องจำสูเราะฮฺอัต-ตะ
กาษุร และสูเราะฮฺอัล-กอรีอะฮฺ
โดยใช้ก ระบวนการสร้า งความรู้ ความเข้า ใจ กระบวนการ
ปฏิบ ัต ิแ ละกระบวนการสร้า งนิส ัย เพื่อ ให้เ กิด ความรู้ ความเข้า ใจ เห็น
คุณค่าและสามารถนำความรู้มาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

ส 1.1 / 7-14
ส 1.2 / 5-8
รวม 11 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา ส 23201 อิสลามศึกษา 5


รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
ภาคเรียนที่ 1
เวลาเรียน 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคเรียน จำนวน
0.5 หน่วยกิต

คำอธิบายรายวิชา
ศึกษาการศรัทธาและคุณลักษณะของอัลลอฮฺสุบหานะฮุวะตะ
อาลา ตามเตาฮีดอัสมาอฺวัศศิฟาต ประโยชน์ของเตาฮีดอุลูฮียะฮฺ หลัก
การเตาฮีดตามแนวสะลัฟ เตาฮีดอัร-รูบูบียะฮฺ เตาฮีดอุลูฮียะฮฺ เตาฮีด
319

อัสมาอฺวัศศิฟาต บทลงโทษของชิรฺกอัสมาอฺวัศศิฟาต เห็นคุณค่าและ


ปฏิบัติการประกอบพิธีหัจญ์และอุมเราะฮฺ การทำ กุรฺบานและอากีเกาะฮฺ
การจัดการญะนาซะฮฺ การบริโภคอาหารและเครี่องดื่มที่หะลาล หะ
รอม ชีวประวัติ คุณลักษณะ บทบาทหน้าที่ จริยธรรม
โดยใช้ก ระบวนการสร้า งความรู้ ความเข้า ใจ กระบวนการ
ปฏิบ ัต ิแ ละกระบวนการสร้า งนิส ัย เพื่อ ให้เ กิด ความรู้ ความเข้า ใจ เห็น
คุณค่าและสามารถนำความรู้มาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

ส 1.1 / 1-5
ส 1.2 / 1-2
รวม 7 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา ส 23201 อิสลามศึกษา 6


รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา
ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3
ภาคเรียนที่ 2
เวลาเรียน 1 ชั่วโมง / สัปดาห์ / ภาคเรียน จำนวน
0.5 หน่วยกิต

คำอธิบายรายวิชา
ศึก ษา การเผยแผ่ศ าสนาของบรรดารสูล “อุล ุล อัซ มีย ฺ”
ยุทธศาสตร์ของนบีมุฮัมมัดศ็อลลัลลอฮุอะลัยฮิวะสัลลัม ในการแก้ปัญหา
320

และประวัติความเป็ นมา ความเจริญรุ่งเรืองในสมัย เคาะลีฟะฮฺทงั ้ สี่


ศาสนสถานที่สำคัญในอิสลาม ความยุติธรรม ความใฝ่ รู้ใฝ่ เรียน ความ
สามัคคี อ่านตามหลักการอ่านวักฟฺ วัศลฺ และพยัญชนะมุกอฏเฏาะอะฮฺ
สูเราะฮฺอัล-อะลาอฺ สูเราะฮฺอัต-ตอรีก สูเราะฮฺอัล-บุรุจ หลักคำสอนและ
ท่องจำสูเราะฮฺอัฎ-ฎฮา
ุ และสูเราะฮฺอัล-ตีน
โดยใช้ก ระบวนการสร้า งความรู้ ความเข้า ใจ กระบวนการ
ปฏิบ ัต ิแ ละกระบวนการสร้า งนิส ัย เพื่อ ให้เ กิด ความรู้ ความเข้า ใจ เห็น
คุณค่าและสามารถนำความรู้มาปฏิบัติในชีวิตประจำวัน

ส 1.1 / 6-10
ส 1.2 / 3-4
รวม 7 ผลการเรียนรู้

คำอธิบายรายวิชา ส 20204 ประวัติศาสตร์สตูล


รายวิชาเพิ่มเติม กลุ่มสาระการเรียนรู้
สังคมศึกษา
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง / ปี จำนวน 1.0
หน่วยกิต

คำอธิบายรายวิชา
ศึก ษาความเป็ นมาของจัง หวัด สตูล ในด้า นภูม ิศ าสตร์ วัฒ นธรรม
ขนบธรรมเนียมประเพณี และภูมิ
321

ปั ญญาท้องถิ่น ปั จจัยที่มีผลต่อพัฒนาการของจังหวัดสตูล และโครงการ


อันเนื่องมาจากพระราชดำริใน
จังหวัดสตูล โดยใช้ทักษะการสำรวจรวบรวมหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ตรวจสอบและประเมินข้อเท็จจริง
วิเคราะห์ วิพากษ์ข้อมูล ตีความ การให้เหตุผล และการสังเคราะห์ เพื่อให้
มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
ท้อ งถิ่น จัง หวัด สตูล มีค วามภาคภูม ิใ จหวงแหน และผูก พัน กับ ท้อ งถิ่น
ตลอดจนมีส่วนร่วมในการพัฒนา
รักษา สืบทอดมรดกที่ดีงามของชุมชน และปฏิบัติตนเป็ นสมาชิกที่ดีและ
มีคณ
ุ ค่าของชุมชน
ใช้วิธีการทางประวัติศาสตร์ในการรวบรวมและอนุรักษ์เรื่องราว
เกี่ยวกับหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ในจังหวัดสตูลที่สนใจและนำเสนอผลงานในรูป แบบต่างๆ เพื่อให้เ ข้า ใจ
และสามารถใช้วิธีการทาง
ประวัติศาสตร์เป็ นพื้นฐานในการศึกษาเรื่องราวที่ผ ู้เรียนสนใจ เห็นคุณค่า
และความสำคัญของชุมชนและ
จังหวัดสตูล เกิดความรัก หวงแหนและอนุรักษ์ให้ดำรงอยู่ตลอดไป
ศึกษาบทบาทและผลงานของบุคคลที่มีส่วนส่งเสริมความสัมพันธ์
ของจังหวัดสตูลกับท้องถิ่นหรือ
จ ัง ห ว ัด อ ่ น
ื ๆ โ ด ย ใ ช ้ท ัก ษ ะ ก า ร ส ืบ ค ้น ห ล ก
ั ฐานและเอกสารทาง
ประวัติศาสตร์ ตรวจสอบประเมินข้อเท็จจริง
วิเคราะห์ วิพากษ์ข้อมูล ตีความ การให้เหตุผล และการสังเคราะห์ เพื่อให้
เกิดความรู้ ความเข้าใจในบทบาท
และพัฒนาการของจังหวัดสตูล
322

ผลการเรียนรู้
1. มีความรู้ ความเข้าใจ ในด้าน ภูมิศาสตร์จังหวัดสตูล จังหวัดสตูล
ยุคก่อนประวัติศาสตร์ จังหวัดสตูลยุคประวัติศาสตร์
วัฒนธรรมท้องถิ่นจังหวัดสตูล ภูมิปัญญาชาวบ้านและเทคโนโลยีท้องถิ่น
จังหวัดสตูล เอกลักษณ์ของท้องถิ่นจังหวัดสตูล บุคคลสำคัญของจังหวัด
สตูล และพระมหากรุณาธิคณ
ุ ในการพัฒนาจังหวัดสตูล
2. การเป็ นสมาชิกที่ดีของชุมชน มีความรักความภาคภูมิใจใน
บ้านเกิดเมืองนอนและท้องถิ่นจังหวัดสตูลเห็นคุณค่าและความสำคัญเกี่ยว
กับประวัติศาสตร์จังหวัดสตูล
3. มีทักษะและกระบวนการในการศึกษา ค้นคว้าแสวงหาความ
รู้ ความเข้าใจ และสืบสานประเพณีวัฒนธรรม ความเชื่อ เอกลักษณ์ท้อง
ถิ่น ภูมิปัญญาท้องถิ่นเกี่ยวกับจังหวัดสตูล
รวม 3 ผลการเรียนรู้
323

6. แนวทางการจัดการเรียนรู้

การจัดการเรียนรู้กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรม ให้มค
ี ุณภาพในทุกรายวิชาและทุกชัน
้ ปี ได้นน
ั ้ จะต้องจัดให้
เหมาะสมกับวัยและวุฒิภาวะของผู้เรียนโดยให้ผู้เรียนมีส่วนร่วมในการ
จัดการเรียนรู้ของตนเอง พัฒนาและขยายความคิดของตนเองจากความรู้ที่
ได้เรียน ผูเ้ รียนต้องได้เรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ทัง้ ในส่วน
กว้างและลึก
หลักการเรียนการสอนกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษา ศาสนาและ
วัฒนธรรมให้มีประสิทธิภาพ ได้แก่
1. จัดการเรียนการสอนที่มีความหมาย โดยเน้นแนวคิดที่สำคัญๆ
ที่ผู้เรียนสามารถนำไปใช้ทงั ้ ในและนอกโรงเรียนได้ เป็ นแนวคิด ความรู้ที่
คงทน ยั่งยืนมากกว่าที่จะศึกษาในสิ่งที่เป็ นเนื้อหา ข้อเท็จจริงที่มากมาย
กระจัดกระจาย แต่ไม่เป็ นแก่นสาร
2. จัดการเรียนการสอนที่บูรณาการ โดยบูรณาการตัง้ แต่หลักสูตร
หัวข้อที่จะเรียนเชื่อมโยงเหตุการณ์ พัฒนาการต่างๆ ทัง้ ในอดีตและ
ปั จจุบันที่เกิดขึน
้ ในโลกเข้าด้วยกัน บูรณาการความรู้ ทักษะค่านิยมและ
จริยธรรม ลงสู่การปฏิบัติจริง ด้วยการใช้แหล่งความรู้ สื่อและ
เทคโนโลยีต่างๆและสัมพันธ์กับวิชาต่างๆ
3. จัดการเรียนการสอนที่เน้นการพัฒนา ค่านิยม จริยธรรม จัด
หัวข้อหน่วยการเรียนที่สะท้อนค่านิยม จริยธรรม ปทัสถานในสังคม
การนำไปใช้จริงในการดำเนินชีวิต ช่วยให้ผู้เรียนได้คิดอย่างมี
วิจารณญาณ ตัดสินใจแก้ปัญหาต่างๆ ยอมรับและเข้าใจความคิดเห็นที่
แตกต่างไปจากตน และรับผิดชอบต่อสังคมส่วนรวม
324

4. จัดการเรียนการสอนที่ท้าทาย คาดหวังให้ผู้เรียนได้บรรลุเป้ า
หมายที่วางไว้ ทัง้ ในส่วนตนและการเป็ นสมาชิกกลุ่ม ให้ผู้เรียนใช้วิธีการ
สืบเสาะ จัดการกับการเรียนรู้ของตนเอง ใส่ใจและเคารพในความคิดของ
ผู้เรียน
5. จัดการเรียนการสอนที่เน้นการปฏิบัติ ให้ผู้เรียนได้พัฒนาการคิด
ตัดสินใจสร้างสรรค์ความรู้ด้วยตนเอง จัดการตัวเองได้ มีวินัยในตนเอง
ทัง้ ด้านการเรียนและการดำเนินชีวิต เน้นการจัดกิจกรรมที่เป็ นจริง เพื่อ
ให้ผู้เรียนนำความรู้ ความสามารถไปใช้ในชีวิตจริง
ครูผู้สอนกลุ่มสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ต้องมีความเชื่อว่า
ผู้เรียนทุกคนเรียนรู้ได้ ถึงแม้ว่า ผูเ้ รียนจะมีความแตกต่างกันทางด้าน
ปั จเจกบุคคลแต่ก็สามารถบรรลุเป้ าหมายแห่งความสำเร็จได้ในระดับ
เดียวกันแต่อาจจะต่างกันในเรื่องระยะเวลา
325

7. การวัดและประเมินผล

เนื่องจากการเรียนรู้ในกลุ่มสาระการเรียนรู้สาระเพิ่มเติม ศาสนา
มุ่งพัฒนาให้ผู้เรียนมีความรู้ ทักษะกระบวนการคุณธรรมและค่านิยมที่ดี
งาม มุ่งให้ผู้เรียนเป็ นผู้ลงมือปฏิบัติแสวงหาความรู้ มีการทำโครงงาน
เป็ นผู้ผลิตผลงาน มีการทำงานกลุ่มและจัดทำแฟ้ มสะสมงานด้วย
ในการวัดและประเมินผลเพื่อให้ได้ข้อมูลที่เน้นความสามารถและ
คุณลักษณะที่แท้จริงของผู้เรียน จะต้องใช้วิธีการและเครื่องมือที่หลาก
หลาย เช่น
1. การทดสอบ เป็ นการประเมินเพื่อตรวจสอบการเรียนรู้ ความ
คิด ความก้าวหน้าในสาระการเรียนรู้ มีเครื่องมือวัดหลายแบบ เช่นแบบ
เลือกตอบ แบบเขียนตอบ แบบบรรยาย แบบเติมคำสัน
้ ๆ แบบถูกผิด
แบบจับคู่ เป็ นต้น
2.การสังเกต เป็ นการประเมินพฤติกรรม อารมณ์ การมี
ปฏิสัมพันธ์ของผู้เรียน ความสัมพันธ์ในระหว่างการทำงานกลุ่ม ความ
ร่วมมือในการทำงาน ความอดทน วิธีการแก้ปัญหา การใช้เครื่องมือ
อุปกรณ์ต่างๆในระหว่างการเรียนการสอน ซึ่งผูส
้ อนสามารถสังเกตได้
ตลอดเวลา
3. การสัมภาษณ์ เป็ นการสนทนาซักถามพูดคุยเพื่อค้นหาข้อมูลที่ไม่
อาจพบเห็นอย่างชัดเจน ในสิ่งที่นักเรียนประพฤติปฏิบัติในการทำงาน
โครงงาน การทำงานกลุ่ม กิจวัตรประจำวัน ผู้ให้ข้อมูลอาจเป็ นนักเรียน
เอง เพื่อนร่วมงาน รวมทัง้ ผู้ปกครองนักเรียนด้วย
4. การประเมินภาคปฏิบัติ เป็ นการประเมินการกระทำ การ
ปฏิบัติงาน เพื่อประเมินการสร้างผลงานชิน
้ งานให้สำเร็จ การสาธิต การ
แสดงออกถึงทักษะและความสามารถของผู้เรียนให้ปรากฏในงานที่สร้าง
326

ขึน
้ การประเมินภาคปฏิบัติจะต้องจัดทำเครื่องมือประเมิน โดยผู้สอนจัด
ทำประเด็นการประเมิน และองค์ประกอบการประเมินและเครื่องมือ
ประกอบการประเมินด้วย
5. การประเมินแฟ้ มสะสมงาน เป็ นการประเมินความสามารถใน
การผลิตผลงาน การบูรณาการความรู้ ประสบการณ์ ความพยายาม
ความรู้สึก ความคิดเห็นของนักเรียน การรวบรวมผลงาน
การคัดเลือกผลงาน การสะท้อนความคิดเห็นต่อผลงาน รวมทัง้ การ
ประเมินผลงาน
327

8. สื่อการเรียนรู้ แหล่งการเรียนรู้

การเรียนสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ต้องมีชีวิตชีวา มี


สีสันของการทำกิจกรรมต่างๆ ทัง้ ในและนอกห้องเรียน เครื่องมือ
อุปกรณ์การเรียน อาจมีตงั ้ แต่ของง่ายๆ เช่น กระดาษ ดินสอ ไปจนถึง
อุปกรณ์การสื่อสารเทคโนโลยี คอมพิวเตอร์ บุคคล ภูมิปัญญาท้องถิ่น
ฯลฯ นอกจากนัน
้ การให้ผู้เรียนได้มีประสบการณ์ตรงด้วยการลงมือ
ปฏิบัติจริง ก็ถือเป็ นสื่อและแหล่งการเรียนรู้ทสำ
ี่ คัญด้วย
ห้องเรียน ประกอบด้วยสื่อ อุปกรณ์การเรียนต่างๆ มีลก
ู โลก
แผนที่ให้ผู้เรียนสัมผัสจับต้องได้
มีแหล่งความรู้ เอกสารหลักฐาน ของจริง ของจำลอง มีส่ อ
ื ประกอบ
คอมพิวเตอร์ สื่อการเรียนการสอนที่ทันสมัย ซอฟแวร์ เพื่อการสืบค้น
ข้อมูล และสื่อต่างๆที่ใช้เพื่อการเรียนรู้สิ่งที่เป็ นไปตามสภาพที่เป็ นจริง
เกณฑ์ในการคัดเลือกสื่อและแหล่งการเรียนรู้ ได้แก่
1. สามารถสนองมาตรฐานการเรียนรู้และเป้ าหมายของโรงเรียนได้
2. สาระในสื่อเหล่านัน
้ สะท้อนให้เห็นการให้ผู้เรียนได้เข้าใจ
3. ส่งเสริมให้ผู้เรียนได้พัฒนาทักษะการตัดสินใจ แก้ปัญหา ส่งเสริม
การคิดวิจารณญาณ
4. ส่งเสริมการพัฒนาความเป็ นพลเมืองดี
5. เนื้อหาสาระถูกต้อง ทันสมัยและเป็ นปั จจุบัน
6. ตอบสนองความต้องการของผู้เรียน ครู เหมาะสมกับวัยวุฒิภาวะ
และความสามารถของผู้เรียน
7. ให้สาระทัง้ ในแนวลึกและกว้างขวาง
8. จัดเตรียมให้ครูเห็นแนวทางการนำไปใช้สอน การออกแบบ
กิจกรรมการเรียนการสอน
328

9. เอื้อต่อการให้ครูออกแบบการสอนที่สนองรูปแบบการเรียนที่
หลากหลายของผู้เรียน
10. เอื้อต่อการให้ครูได้ออกแบบการสอนที่บูรณาการกับวิชาอื่นๆ
329

ภาคผนวก
330
331

ภาคผนวก ก
คำอภิธานศัพท์
332

คำอภิธานศัพท์

กตัญญูกตเวที ผู้ร้อ
ู ุปการะที่ท่านทำแล้วและตอบแทน แยกออกเป็ น 2
ข้อ 1 กตัญญูร้ค
ู ุณท่าน 2 กตเวทีตอบสนองหรือสนองคุณท่าน ความ
กตัญญูกตเวทีว่าโดยขอบเขตแยกได้เป็ น 2 ระดับ คือ 2.1 กตัญญูกตเวที
ต่อบุคคลผู้มีคุณความดีหรืออุปการะต่อตนเป็ นส่วนตัว 2.2 กตัญญูกตเวที
ต่อบุคคลผู้ได้บำเพ็ญคุณประโยชน์หรือมีคุณความดี เกื้อกูลแก่ส่วนรวม

กรรมฐาน ที่ตงั ้ แห่งการงาน. อารมณ์เป็ นที่ตงั ้ แห่งการงานของใจ อุบาย


ทางใจ วิธีฝึกอบรมจิต มี 2 ประเภท คือ สมถกรรมฐาน คือ อุบายสงบใจ
วิปัสสนากรรมฐาน อุบายเรืองปั ญญา

ฆราวาสธรรม 4 ธรรมสำหรับฆราวาส ธรรมสำหรับการครองเรือน หลัก


การครองชีวิตของคฤหัสถ์ 4 ประการ ได้แก่ 1.สัจจะ คือ ความจริง
ซื่อตรง ซื่อสัตย์ จริงใจ พูดจริง ทำจริง 2.ทมะ คือการฝึ กฝน การข่มใจ ฝึ ก
นิสัย ปรับตัว รู้จักควบคุมจิตใจ ฝึ กหัดดัดนิสัย แก้ไขข้อบกพร่อง ปรับปรุง
ตนให้เจริญก้าวหน้าด้วยสติปัญญา 3.ขันติ คือความอดทน ตัง้ หน้าทำ
หน้าที่การงานด้วยความขยันหมั่นเพียร เข้มแข็ง ทนทาน ไม่หวั่นไหว มั่น
ในจุดหมาย ไม่ท้อถอย 4.จาคะ คือ เสียสละ สละกิเลส สละความสุข
สบาย และผลประโยชน์ส่วนตนได้ ใจกว้าง พร้อมที่จะรับฟั งความทุกข์
ความคิดเห็น และความต้องการของผู้อ่ น
ื พร้อมที่จะร่วมมือช่วยเหลือ
เอื้อเฟื้ อเผื่อแผ่ ไม่คบ
ั แคบเห็นแก่ตนหรือเอาแต่ใจตัว
333

เบญจธรรม ธรรม 5 ประการ ความดี 5 อย่าง ที่ควรประพฤติคู่กันไปกับ


การรักษาเบญจศีลตามลำดับข้อ ดังนี ้ 1.เมตตากรุณา 2.สัมมาอาชีวะ
3.กามสังวร (สำรวมในกาม) 4.สัจจะ 5.สติสัมปชัญญะ

บรรทัดฐาน ข้อตกลงของสังคมที่กำหนดให้สมาชิกประพฤติปฏิบัติ บางที


เรียกปทัสถาน สามารถใช้บรรทัดฐานของสังคม (social norms) เป็ น
มาตรฐานความประพฤติในทางจริยธรรมได้ ซึ่งแยกออกเป็ น
1. วิถีประชา (folkways) ได่แก่ แบบแผนพฤติกรรมในชีวิตประจำวันที่
สังคมยอมรับ และได้ประพฤติปฏิบัติสืบต่อกันมา มักเกี่ยวข้องกับ
เรื่องการดำเนินชีวิต และในส่วนที่เกี่ยวข้องกับจริยธรรม จะไม่มีกฎ
เกณฑ์เคร่งครัดแน่นอนตายตัว
2. กฎศีลธรรม หรือจารีต (mores) เป็ นมาตรฐานความประพฤติของ
สังคมที่มีการกำหนดเกี่ยวกับจริยธรรมที่เข้มขึน
้ ในกรณีที่มีผู้ฝ่าฝื น
อาจมีการลงโทษ แม้ว่าในบางครัง้ จะไม่มีการเขีนยไว้เป็ นลายลักษณ์
อักษรก็ตาม เช่น การลวนลามสตรีในชนบท ต้องลงโทษด้วยการ
เสียผี
3. กฎหมาย (law) เป็ นมาตรฐานความประพฤติที่รัฐกำหนดให้สมาชิก
ของรัฐพึงปฏิบัติหรือละเว้นการปฏิบัติ และกำหนดวิธีการปฏิบัติการ
ลงโทษสำหรับผู้ฝ่าฝื น

ภัยพิบัติ เหตุการณ์ที่ก่อให้เกิดความเสียหายและสูญเสียอย่างรุนแรง เกิด


ขึน
้ จากภัยธรรมชาติและการกระทำของมนุษย์จนชุมชนหรือสังคมที่เผชิญ
ปั ญหาไม่อาจรับมือ เช่น ดินถล่ม สึนามิ ไฟป่ า ฯลฯ
334

แหล่งภูมิศาสตร์ หมายความว่า พื้นที่ของประเทศ เขต ภูมิภาค และท้อง


ถิ่น และให้หมายความรวมถึงทะเล ทะเลสาบ แม่น้ำ ลำน้ำ เกาะ ภูเขา
หรือพื้นที่อ่ น
ื ทำนองเดียวกันด้วย

ภาคผนวก ข
335

คำสั่ง แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนา


ผู้เรียน ปรับปรุงหลักสูตร
โรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49” พุทธศักราช 2561
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
336

คำสั่ง โรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49”


ที่ 28 / 2561
เรื่อง แต่งตัง้ คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้และกิจกรรมพัฒนา
ผู้เรียนปรับปรุงหลักสูตร
โรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49”พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560)
...........................................................................................................
.

เพื่อให้การบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขัน
้ พื้น
ฐานเป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ
สอดคล้องกับพระราชบัญญัติการศึกษาแห่งชาติพ.ศ. 2542 หมวด 4
มาตรา 27 ทีกำ
่ หนดให้สถานศึกษา
ขัน
้ พื้นฐานมีหน้าที่จัดทำสาระการเรียนรู้ของหลักสูตรเพื่อความเป็ นไทย
ความเป็ นพลเมืองที่ดีของชาติการดำรงชีวิตและการประกอบอาชีพตลอด
จนเพื่อการศึกษาต่อในส่วนที่เกี่ยวกับสภาพปั ญหาของชุมชนและสังคม
ภูมิปัญญาท้องถิ่นคุณลักษณะอันพึงประสงค์เพื่อเป็ นสมาชิกที่ดีของ
ครอบครัวชุมชนสังคมและประเทศชาติอาศัยอำนาจ ตามมาตรา 25 แห่ง
พระราชบัญญัติปรับปรุงกระทรวง ทบวง กรม พ.ศ. 2534
กระทรวงศึกษาธิการจึงออก ระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยคณะ
กรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พ.ศ.
2544
337

อาศัยอำนาจตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยคณะ
กรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขัน
้ พื้นฐาน พ.ศ.
2544 ข้อ 9 กำหนดให้มีคณะอนุกรรมการเรียกว่า “คณะอนุกรรมการ
ระดับกลุ่มวิชา” จานวน 9 คณะเรียกชื่อคณะอนุกรรมการตามชื่อกลุ่ม
วิชาในหลักสูตรการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน อยู่ภายใต้คณะกรรมการบริหาร
หลักสูตรและงานวิชาการสถานศึกษาขัน
้ พื้นฐานแต่งตัง้ โดยผู้บริหารสถาน
ศึกษาเพื่อให้การบริหารหลักสูตรกลุ่มสาระการเรียนรู้ ของสถานศึกษา
เป็ นไปอย่างมีประสิทธิภาพ จึงแต่งตัง้ คณะอนุกรรมการกลุ่มสาระการ
เรียนรู้และกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนในหลักสูตรโรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย
“มิตรภาพที่ 49” พุทธศักราช 2561 ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน

พื้นฐาน พุทธศักราช 2551(ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2560) แต่งตัง้ คณะ
อนุกรรมการรับผิดชอบกลุ่มสาระการเรียนและกิจกรรมพัฒนาผู้เรียนรู้
ดังนี ้

คณะกรรมการที่ปรึกษา
1. นายรักชาติ ข้างแก้ว ผู้อำนวยการโรงเรียน
2. นายพันธ์ ขาวทอง ประธานคณะกรรมการสถานศึกษา
1. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย ประกอบด้วย
1.1 นางนฤมล จันทร์สว่าง หัวหน้ากลุ่มสาระ
1.2 นางจินตนา คงหวังดี กรรมการ
1.3 นางสาวมาเรียม สนละ กรรมการ
1.4 นางเสาวนีย์ ประกอบชัยชนะ กรรมการและ
เลขานุการ
2. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ประกอบด้วย
2.1 นางสาวรออัน เหมสลาหมาด หัวหน้ากลุ่มสาระ
338

2.2 นางอัจฉรา ศรีนคร กรรมการ


2.3 นางสาวกมลทิพย์ คำทอง กรรมการ
2.4 นางสาวซัลมา ตามาต กรรมการและเลขานุการ
3. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์ ประกอบด้วย
3.1 นางจริญญา อุสา หัวหน้ากลุ่มสาระ
3.2 นายสนิท นันทรัตน์ กรรมการ
3.3 นางสาวมาเรียม สนละ กรรมการและ
เลขานุการ
4. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้สังคม ศาสนาและ
วัฒนธรรม ประกอบด้วย
4.1 นายธีรพงศ์ สุขสง หัวหน้ากลุ่มสาระ
4.2 นายอาซีด หมัดอาดัม กรรมการและเลขานุการ
5. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้สุขศึกษาและพลศึกษา
ประกอบด้วย
5.1 นายเหมะศักดิ ์ หวันจิ หัวหน้ากลุ่มสาระ
5.2 นางนิพา หลงแก้ว กรรมการและ
เลขานุการ
6. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ศิลปะ ประกอบด้วย
6.1 นางเสาวณีย์ ประกอบชัยชนะ หัวหน้ากลุ่มสาระ
6.2 นางสาวกมลทิพย์ คำทอง กรรมการ
6.3 นายธีรพงศ์ สุขสง กรรมการและ
เลขานุการ
7. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้การงานอาชีพฯ ประกอบ
ด้วย
7.1 นายสนิท นันทรัตน์ หัวหน้ากลุ่มสาระ
339

7.2 นายธีรพงศ์ สุขสง กรรมการ

7.3 นางนฤมล จันทร์สว่าง กรรมการและ


เลขานุการ
8. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาต่างประเทศ
ประกอบด้วย
8.1 นางนุจรี เส้งขาว หัวหน้ากลุ่มสาระ
8.2 นางอัจฉรา ศรีนคร กรรมการ
8.3 นางสอลีฮะ ตาเดอิน กรรมการและเลขานุการ
9. คณะกรรมการกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน ประกอบด้วย
9.1 นายธีรพงศ์ สุขสง หัวหน้ากลุ่มสาระ
9.2 นายเหมะศักดิ ์ หวันจิ กรรมการและเลขานุการ
10. คณะกรรมการกลุ่มสาระการเรียนรู้ปฐมวัย ประกอบด้วย
10.1 นางฝะริดา ลัสมาน หัวหน้ากลุ่มสาระ
10.2 นางเยาวเร๊าะ สตอหลง กรรมการ
10.3 นางสาวอริสา เมโส กรรมการและ
เลขานุการ
ให้คณะอนุกรรมการมีหน้าที่ ดังต่อไปนี ้
1. กำหนดสัดส่วนสาระการเรียนรู้กลุ่มวิชาและพัฒนาหลักสูตร
รายวิชาของกลุ่มวิชาในสาระการเรียนรู้พ้น
ื ฐาน และสาระการ
เรียนรู้เพิ่มเติมตามหลักสูตรการศึกษาขัน
้ พื้นฐาน
2. ดำเนินการพัฒนาการจัดกระบวนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ น
สำคัญที่สุด การวัดและประเมินผลการเรียนรู้รายวิชาต่างๆ เพื่อ
ให้ได้ข้อมูลที่แสดงความสามารถที่แท้จริงของนักเรียน
340

3. พัฒนาแผนการสอนรายวิชาที่เป็ นมาตรฐานกลาง เพื่อให้ผู้สอน


สามารถปรับปรุงใช้ตามความเหมาะสมและให้การสอนนำไปสู่
การเรียนรู้มากที่สุด
4. พัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะสมและสอดคล้องกับการจัดการ
เรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ
5. กำหนดแนวทางพัฒนาเครื่องมือและกำกับติดตามการดำเนินการ
วัดและประเมินผลการเรียนรู้ของนักเรียนให้เป็ นไปตามมาตรฐาน
การเรียนรู้กลุ่มวิชาที่กำหนด
6. วิเคราะห์พัฒนาการของนักเรียนเป็ นรายบุคคลและรายกลุ่ม
7. ดำเนินการวิจัยการศึกษาในชัน
้ เรียนเพื่อแก้ปัญหาและพัฒนา
กระบวนการเรียนรู้และการวัดและประเมินผล
8. นิเทศภายใน แลกเปลี่ยนประสบการณ์การดำเนินงานเพื่อพัฒนา
คุณภาพการเรียนการสอน และประสิทธิภาพในการปฏิบัติงาน
9. รวบรวมข้อมูลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรรายวิชา และ
การจัดกระบวนการเรียนรู้ ตลอดจนตรวจสอบและประเมินการ
บริหารหลักสูตรรายวิชา และกลุ่มวิชาในภาคเรียนที่ผ่านมา และ
วางแผนพัฒนาการบริหารหลักสูตรในภาคเรียนต่อไป
10. รายงานผลการปฏิบัติงานตามมาตรฐานการปฏิบัติงานของครู
และผลการบริหารหลักสูตรของกลุ่มวิชาโดยเน้นผลที่เกิดกับผู้
เรียนต่อคณะกรรมการบริหารหลักสูตรและงานวิชาการสถาน
ศึกษาขัน
้ พื้นฐานและผู้เกี่ยวข้อง
11. ปฏิบัติหน้าที่อ่ น
ื ๆ ตามที่ได้รับมอบหมาย
341

ให้ผู้ที่ได้รับการแต่งตัง้ ปฏิบัติหน้าที่ให้เต็มความรู้ความสามารถ
เป็ นไปตามบทบาทหน้าที่ที่กำหนดให้และให้เกิดประโยชน์สูงสุดกับสถาน
ศึกษา

สั่ง ณ วันที่ 10 เดือน พฤษภาคม พ.ศ. 2561

(นายรักชาติ ข้างแก้ว)
ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านทุ่งนุ้ย “มิตรภาพที่ 49”

You might also like