You are on page 1of 253

1

คำนำ
สำนักงำนคณะกรรมกำรกำรอำชีวศึกษำ กระทรวงศึกษำธิกำร

เอกสารประกอบการปฏิบั ติ งานการจั ดการศึกษาร่ วมหลั กสู ตรอาชี วศึกษาและมัธยมศึ กษา


ตอนปลาย (ทวิ ศึ กษา) มี วั ตถุ ประสงค์ เพื่ อ ให้ สถานศึ กษาในสั งกั ดส านั กงานคณะกรรมการการอาชี วศึ กษา
ใช้เป็นแนวทางในการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ควบคู่ไปกับ หลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
เนื้อหาประกอบด้วย ความเป็นมาของการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษา
ตอนปลาย วัตถุประสงค์ ขอบเขตการจัดการศึกษาเรียนร่วม ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ ขั้นตอนการจัดการศึกษา
เรียนร่วมหลักสูตรอาชี วศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย การเทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่หลักสูตรอาชีวศึกษา
แนวทางการเทียบรายวิชาพื้นฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลายเข้าสู่รายวิชาหมวดทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรีหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
ข้ อมู ลการวิ เคราะห์ ความตรงและความสอดคล้ องรายวิ ชาหรื อกลุ่ มวิ ชาพื้ นฐานเพื่ อเที ยบโอนผลการเรี ยน
เข้าสู่รายวิชาหมวดทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลื อกเสรี บทบาทภาระหน้าที่ของผู้เกี่ยวข้อง และในภาคผนวกได้
รวบรวมประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่ อง การจัดการศึกษาเรียนร่วมหลั กสู ตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษา
ตอนปลาย (ทวิศึกษา) หนังสือ สานักงาน ก.พ. เรื่อง การรับรองคุณวุฒิ และสรุปสาขาวิชาและสาขางานหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาขอขอบคุณคณะผู้จัดทา ผู้ทรงคุณวุฒิ ผู้แทนจาก
สถานศึกษาในสั งกัด ส านั ก งานคณะกรรมการการอาชีว ศึ กษา ผู้ แทนส านักงานคณะกรรมการการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน ตลอดจนผู้ให้ข้อมูล ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์ในการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ทาให้การจัดทาเอกสารเล่มนี้สาเร็จลุล่วงด้วยดี และหวังเป็นอย่างยิ่งว่าเอกสาร
เล่มนี้จะเป็นประโยชน์ต่อสถานศึกษาสังกัดสานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและผู้เกี่ยวข้องทุกฝ่าย นาไปใช้
เป็ นแนวทางในการจั ดการศึ กษาร่ วมหลั กสู ตรอาชี วศึ กษาและมั ธยมศึ กษาตอนปลาย (ทวิ ศึ กษา) ให้ เป็ นไป
อย่างมีประสิทธิภาพและคุณภาพต่อไป

สานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กระทรวงศึกษาธิการ
1

สารบัญ
สำนักมำตรฐำนกำรอำชีวศึกษำและวิชำชีพ กระทรวงศึกษำธิกำร

บทที่ 1 บทนำ 1
 ความเป็นมา 1
 วัตถุประสงค์ 1
 ขอบเขตการจัดการศึกษาเรียนร่วม 2
 การสมัครเข้าเรียนเป็นนักเรียน 2
 การเป็นนักเรียน 2
 ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ 3
บทที่ 2 กำรจัดกำรศึกษำเรียนร่วมหลักสูตรอำชีวศึกษำและมัธยมศึกษำตอนปลำย (ทวิศึกษำ) 4
 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 5
 การฝึกประสบการณ์ทักษะวิชาชีพ 7
 การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ 7
 การประกันคุณภาพหลักสูตร 7
 หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 7
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
 การจัดการศึกษาเรียนร่วมโครงสร้างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 8
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
 ขั้นตอนการจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 9

บทที่ 3 กำรเทียบโอนผลกำรเรียนเข้ำสู่หลักสูตรอำชีวศึกษำ 12
 การเทียบโอนผลการเรียน 12
 การให้ระดับผลการเรียนรายวิชา 13
 แนวทางการเทียบรายวิชาพื้นฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน 14
พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าสู่รายวิชาหมวดวิชาทักษะชีวิต
และหมวดวิชาเลือกเสรีหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
 ผลการวิเคราะห์ความตรงและความสอดคล้องรายวิชาหรือกลุ่มวิชาของรายวิชาพื้นฐาน 15
เพื่อเทียบโอนผลการเรียนเข้าสู่รายวิชาหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี
 ตัวอย่างการจัดแผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 16
 ตัวอย่างการจัดแผนการเรียนแบบบูรณาการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษา 20
และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
 ข้อมูลการวิเคราะห์ความตรงและความสอดคล้องหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน
เพื่อเทียบโอนผลการเรียนสู่รายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี
- กลุ่มวิชาภาษาไทย 24
- กลุ่มวิชาภาษาต่างประเทศ 40
- กลุ่มวิชาวิทยาศาสตร์ 59
- กลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ 94
- กลุ่มวิชาสังคมศึกษา 119
- กลุ่มวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 149
2

บทที่ 4 บทบำทภำระหน้ำที่ของผู้เกี่ยวข้อง 165


ภำคผนวก
 ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง การจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษา 169
และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ลงวันที่ 27 ตุลาคม 2558
 หนังสือ สานักงาน ก.พ. ที่ นร 1004.3/160 เรื่อง การรับรองคุณวุฒิ ลงวันที่ 8 เมษายน 2552 171
 สรุปสาขาวิชาและสาขางาน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 172
 ตัวอย่าง ใบสมัครเข้าเรียนการจัดการศึกษาเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ 175
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
 แนวทางการเทียบมาตรฐานการเรียนรู้หลักสุตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 177
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชาพื้นฐาน กับรายวิชาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
พุทธศักราช 2556 หวมดทักษะชีวิต และหมวดวิชาเลือกเสรี
คำสั่งคณะทำงำน 224
-ราง-
บทที่ ๑
บทนํา

x ความเปนมา
สื บ เนื่ อ งจากกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารกํ า หนดนโยบายในการผลิ ต ผู เ รี ย นด า นอาชี ว ศึ ก ษาให ม ากขึ้ น
เพื่อรองรับการจางงาน ทั้งภาคธุรกิจบริการ ภาคอุตสาหกรรมและภาคการเกษตร โดยเฉพาะอยางยิ่งกลุมอาชีพ
ที่เปน ความตองการของตลาดแรงงานที่กําลั งขยายตัว ในทุกภาคสว น กระทรวงศึกษาธิการซึ่งเป นหนว ยงาน
ทีผ่ ลิตกําลังคนจําเปนอยางยิ่งตองเรงประชาสัมพันธ สรางความเขาใจ ใหนักเรียนเกิดความสนใจเรียนทางดานอาชีพ
เนื่องจากสภาพปจจุบันคานิยมของผูปกครองและผูเรียนมุงที่จะเรียนประเภทสามัญศึกษาเพื่อเขาสู
ระดั บ อุ ด มศึ ก ษา ส ง ผลให ผ ลผลิ ต ทางการศึ ก ษาไม ต อบสนองความต อ งการกํ า ลั ง คนในระดั บ ฝ มื อ ของ
สถานประกอบการ รัฐบาลจึงกําหนดนโยบายการจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษา
ตอนปลาย (ทวิศึกษา) ควบคูกันไปเพื่อใหผูสําเร็จการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีความรูพื้นฐานดานอาชีพ
และสามารถเขาสูตลาดแรงงาน
สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึก ษาเป น หน ว ยงานหลั ก ที่ จั ด การศึ กษาด า นอาชีว ศึ ก ษาและ
ฝกอบรมวิช าชีพ ที่สอดคลองและสั มพัน ธกับ ความตองการของตลาดแรงงาน เพื่อผลิ ตกําลั งคนในระดับ ฝ มือ
ที่ไดมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพ จากความสําคัญดังกลาวจึงจัดใหมี การศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) โดยจัดทําขอตกลงความรวมมือระหวางสถานศึกษาที่เปดสอนระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย กับสถานศึกษาที่เปดสอนระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) เพื่อเปนการเพิ่มโอกาสทางการศึกษา
ดานวิ ช าชีพ ให แก ผู เรี ย นระดั บ มัธ ยมศึกษาตอนปลายตามความถนั ด ความสนใจ โดยการขยายวิช าชี พและ
กลุมเปาหมายเขาสูระบบการจัดการอาชีวศึกษาใหชัดเจน ทั่วถึงและรวดเร็วขึ้น สําหรับเปนทางเลือกของผูเรียน
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายที่มีความประสงคจะเรียนควบคูกันไปทั้งประเภทสามัญศึกษาและประเภทอาชีวศึกษา
เมื่อสําเร็จการศึกษาผูเรียนจะไดรับวุฒิการศึกษาทั้งหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
และหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

x วัตถุประสงค
1. เพื่อเพิ่มโอกาสทางการศึกษาดานอาชีวศึกษาสําหรับผูเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายตามความถนัด
และความสนใจ
2. เพื่อเพิ่มและพัฒนากําลังคนดานอาชีวศึกษาที่ตอบสนองความตองการของตลาดแรงงาน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 1 1
x ขอบเขตการจัดการศึกษาเรียนรวม
1. สถานศึกษาทั้ง 2 แหง จะตองวางแผนการจัดการศึกษารวมกัน ทั้งในเรื่องของการบริหารหลักสูตร
การจัดการเรียนการสอน การจัดเวลาเรียน การวัดและประเมินผลการเรียน การโอนผลการเรียน ตลอดทั้งการใช
ทรัพยากรรวมกัน
2. ใหผูเรียนไดศึกษาทั้งหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 และหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ควบคูกันทุกภาคเรียน
3. ผูเรียนจะสําเร็ จการศึกษาเรียนรว มหลักสู ตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
จะตองมีผลการประเมินผานตามเกณฑการสําเร็จการศึกษาทั้งระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย และตามหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ

x การสมัครเขาเรียนเปนนักเรียน
ผู เ ข า เรี ย นตามการจั ด การศึ ก ษาเรี ย นร ว มหลั ก สู ต รอาชี ว ศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) ของสถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ตองศึกษาในระดับมัธยมศึกษา
ปที่ 4 และตองมีคุณสมบัติตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียน
ตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ กําหนด ดังตอไปนี้
๑. มีความประพฤติเรียบรอย
๒. มีสุขภาพรางกายแข็งแรงไมเปนอุปสรรคตอการเรียน
๓. มี ภู มิ ลํ า เนาเป น หลั ก แหล ง โดยมี ท ะเบี ย นบ า นฉบั บ เจ า บ า น หรื อ มี ห ลั ก ฐานของทางราชการ
ในลักษณะเดียวกันมาแสดง
๔. มีความเคารพ เลื่อมใส ศรัทธาตอสถาบันชาติ ศาสนา และพระมหากษัตริย ดวยความบริสุทธิ์ใจ
๕. มีเจตคติที่ดีตอการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยเปนประมุข
๖. เปนนักเรียนในสังกัดสถานศึกษาที่เปดสอนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐาน
๗. ผู เ ข า เรี ย นตามการจั ด การศึ ก ษาเรี ย นร ว มหลั ก สู ต รอาชี ว ศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) ตองมีความรู ความเขาใจ รูปแบบ วิธีการเรียนเป นอยางดี และยอมรับการจัดการ
อาชีวศึกษาตามแบบทวิศึกษาเปนอยางดี
ทั้ง นี้ สถานศึ ก ษาสามารถกํา หนดคุ ณ สมบั ติเ พิ่ ม เติ ม ไดต ามความเหมาะสมของการจั ด การศึ ก ษา
เรียนรวม โดยผูสมัครเขาเรียน ตองแจงความประสงค ในการสมัครเรียนตามแบบที่กําหนดแนบทายภาคผนวกนี้

x การเปนนักเรียน
๑. ผูเขาเรียนตองขึ้นทะเบียนเปนนักเรียนในสถานศึกษาที่เปดสอนหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานและ
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พรอมทั้งแสดงหลักฐานการสําเร็จการศึกษาตามวันและเวลาที่สถานศึกษา
กําหนด โดยชําระเงินคาธรรมเนียมตาง ๆ ตามที่หนวยงานตนสังกัดหรือสถานศึกษากําหนด แลวแตกรณี ทั้งนี้ ใหเสร็จ
สิ้นกอนวันเปดภาคเรียน โดยมีผปู กครองซึ่งสถานศึกษาเชื่อถือมาใหคํารับรองและทําหนังสือมอบตัว
๒. สถานศึกษาจัดประชุมชี้แจงผูปกครอง และปฐมนิเทศนักเรียน เพื่อใหทราบแนวทางการเรียนและ
กฎ ระเบียบ ขอบังคับตาง ๆ ที่เกี่ยวของ
๓. สถานศึกษาออกบัตรประจําตัวใหแกนักเรียน โดยบัตรประจําตัวตองระบุเลขที่ ชื่อสถานศึกษา
รหัสสถานศึกษา ชื่อ ชื่อสกุลนักเรียน รหัสประจําตัวนักเรียน เลขประจําตัวประชาชน วันออกบัตร วันหมดอายุ
ลายมือชื่อหัวหนาสถานศึกษาหรือผูไดรับมอบหมายใหทําการแทน และใหมีรูปถายครึ่งตัวของนักเรียน หนาตรง

2 2 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ไมสวมหมวกไมสวมแวนตาสีดํา แตงเครื่องแบบนักเรียน ถายไวไมเกิน ๖ เดือน ติดลงในบัตร กับใหมีลายมือชื่อ
ของนักเรียนและประทับตราของสถานศึกษาที่มุมใดมุมหนึ่งของรูปถายนักเรียน โดยใหติดที่รูปถายบางสวน
บัตรประจําตัวนี้ใหมีอายุเทากับระยะเวลาที่มีสภาพนักเรียนในสถานศึกษาแหงนั้น แตตองไมเกิน ๓ ป
นั บแตวันออกบั ตร ถา บั ตรประจําตัว หมดอายุ ในระหวางที่ยั งมี ส ภาพนั กเรี ย น ก็ให ส ถานศึกษาตออายุ บั ต ร
เป น ป ๆ ไป โดยให ร ะบุ รู ปแบบการจั ด การศึ กษาทวิ ศึก ษา และให เ ป น ไปตามขอ ตกลงของสถานศึ กษาที่ จั ด
การศึกษารวมกัน

x ประโยชนที่คาดวาจะไดรบั
1. ประเทศชาติไดกําลังคนระดับฝมือที่มีทักษะดานวิชาชีพที่ตอบสนองความตองการของตลาดแรงงาน
2. ผูเรียนระดับมัธยมศึกษาตอนปลายมีโอกาสไดรับการศึกษาทั้งประเภทสามัญศึกษาและประเภท
อาชีวศึกษา ควบคูกันไป เมื่อสําเร็จการศึกษาสามารถเขาสูตลาดแรงงานได

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 3 3
บทที่ 2
การจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษา
และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)

พระราชบัญญัติการศึกษาแหงชาติ พุทธศักราช 2542 และที่แกไขเพิ่มเติม (ฉบับที่ 2) พุทธศักราช 2545


ซึ่งดําเนินการปฏิรูปการศึกษาทั้งดานการบริหารจัดการและการจัดการเรียนการสอนโดยเนนใหผูเรียนมีโอกาส
เรียนรูตลอดชีวิตตามความถนัด ความสนใจ โดยคํานึงถึงความแตกตางระหวางบุคคล ฝกทักษะกระบวนการคิด
การจัดการ การเผชิญสถานการณ และการประยุกตความรูเพื่อนํามาใชปองกันและแกปญหา จัดกิจกรรมใหผูเรียน
ไดเรียนรูจากประสบการณจริง ฝกการปฏิบัติใหทําได คิดเปน ทําเปน รักการอาน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง
จั ดการเรี ย นการสอนโดยสั ดส ว นสมดุล กั น รวมทั้ง ปลู ก ฝ งค า นิ ย มที่ดีง าม และคุ ณลั กษณะอั น พึ งประสงคไ ว
ในทุกวิชา ซึ่งกระทรวงศึกษาธิการไดออกกฎกระทรวงวาดวยการแบงระดับและประเภทการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เปน 3 ระดับคือ
1. การศึกษาระดับกอนประถมศึกษา
2. การศึกษาระดับประถมศึกษา
3. การศึกษาระดับมัธยมศึกษา แบงเปน 2 ระดับ คือ
3.1 การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนตน
3.2 การศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย แบงระดับเปน 2 ประเภท คือ
3.2.1 ประเภทสามัญศึกษา
3.2.2 ประเภทอาชีวศึกษา
สําหรับการจัดการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เป น หน ว ยงานหลั ก ที่ รั บ ผิ ด ชอบการจั ด การศึ ก ษาประเภทสามั ญ ศึ ก ษา และสํ า นั ก งานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษาเปนหนวยงานหลักที่รับผิดชอบการจัดการศึกษาประเภทอาชีวศึกษา

4 4 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
กระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารได ป ระกาศให ใ ช ห ลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ พุ ท ธศั ก ราช 2556
และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 เพื่อใหสถานศึก ษาไดดําเนินการจัดการเรียน
การสอนตามโครงสรางหลักสูตร ดังนี้

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช


พุทธศักราช 2556 2551
รายวิชา หนวยกิต รายวิชา นก.
1.หมวดวิชาทักษะชีวิต ไมนอยกวา 22 นก. 1.รายวิชาพื้นฐาน 41 นก.
1.1 กลุมวิชาภาษาไทย ไมนอยกวา 3 นก. 1.1 ภาษาไทย 6 นก.
1.2 กลุมวิชาภาษาตางประเทศ ไมนอยกวา 6 นก. 1.2 ภาษาตางประเทศ (ภาษาอังกฤษ) 6 นก.
1.3 กลุมวิชาวิทยาศาสตร ไมนอยกวา 4 นก. 1.3 วิทยาศาสตร 6 นก.
1.4 กลุมวิชาคณิตศาสตร ไมนอยกวา 4 นก. 1.4 คณิตศาสตร 6 นก.
1.5 กลุมวิชาสังคมศึกษา ไมนอยกวา 3 นก. 1.5 สังคมศึกษา 8 นก.
1.6 กลุม วิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ไมนอยกวา 2 นก. 1.6 สุขศึกษาและพลศึกษา 3 นก.
1.7 ศิลปะ 3 นก.
1.8 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 นก.
2. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ไมนอยกวา 71 นก. 2. รายวิชาเพิ่มเติม ไมนอยกวา 40 นก.
2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน ไมนอยกวา 18 นก. 2.1 รายวิชาเพิ่มเติมที่สอดคลอง 2 นก.
2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ 24 นก. กับนโยบายของ ศธ.
2.3 กลุมทักษะวิชาเลือก ไมนอยกวา 21 นก. - หนาที่พลเมือง
2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 4 นก. 2.2 รายวิชาตามจุดเนนของ ไมนอยกวา 38 นก.
2.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ 4 นก. สถานศึกษา
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ไมนอยกวา 10 นก.
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 2 ชั่วโมง/สัปดาห 3. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 360 ชั่วโมง
รวม ไมนอยกวา 103 นก. รวม ไมนอยกวา 81 นก.
ภาพแสดงโครงสรางหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กับโครงสรางหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551

x หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 255๖


หลักสูตรระดับประกาศนียบั ตรวิชาชีพ (ปวช.) มุงให มีความสัมพันธ และสอดคลองกับแผนพัฒนา
เศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ แผนการศึกษาแหงชาติ ปรัชญาการอาชีวศึกษา และมาตรฐานการศึกษาวิชาชีพหรือ
มาตรฐานสมรรถนะของสาขาวิชานั้น ๆ ในการจัดการศึกษา โดยมุงเนนผลิต กําลังคนระดับฝมือ ใหมีความรูความ
เขาใจและทักษะวิชาชีพ มีสมรรถนะที่สามารถปฏิบัติงานอาชีพไดจริง มีคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณวิชาชีพ
และกิจนิสัยที่เหมาะสมในการทํางาน สอดคลองกับความตองการของเศรษฐกิจและสังคม สามารถปฏิบัติงานได
อย างมีความสุ ข และพัฒนาตนเองให มีความก า วหน าทางวิช าการและวิช าชี พ พร อมกัน นี้ ยั งเป น หลั ก สู ตรที่
สํ า นั ก งาน ก.พ. ได พิ จ ารณาแล ว มี ม ติ รั บ รองคุ ณ วุ ฒิ ต ามหลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ ของสํ า นั ก งาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา วา อาจบรรจุ เขารับราชการเป นขาราชการพลเรือนสามัญในตําแหน งที่ ก.พ.
กําหนดวาคุณวุฒิดังกลาวเปนคุณสมบัติเฉพาะสําหรับตําแหนงไดในอัตราเงินเดื อนตาง ๆ โดยโครงสรางหลักสูตร
อาชีวศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) ประกอบดวย 9 ประเภทวิชา ดังนี้

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 5 5
1. ประเภทวิชาอุตสาหกรรม
2. ประเภทวิชาพาณิชยกรรม
3. ประเภทวิชาศิลปกรรม
4. ประเภทวิชาคหกรรม
5. ประเภทวิชาเกษตรกรรม
6. ประเภทวิชาประมง
7. ประเภทวิชาอุตสาหกรรมทองเที่ยว
๘. ประเภทวิชาอุตสาหกรรมสิ่งทอ
๙. ประเภทวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
นอกจากนี้ในแตละประเภทวิชาแบงเปนสาขาวิชาและสาขางาน รายละเอียดตามภาคผนวก
โครงสรางหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 แบงเปน 3 หมวดวิชา และกิจกรรม
เสริมหลักสูตร ดังนี้
1. หมวดวิชาทักษะชีวิต ประกอบดวยกลุมวิชาเพื่อพัฒนาผูเรียนใหมีทักษะในการปรับตัวและดําเนิน
ชี วิ ต ในสั ง คมสมั ย ใหม เห็ น คุ ณ ค า ของตนและการพั ฒ นาตนมี ค วามใฝ รู แสวงหาและพั ฒ นาความรู ใ หม
มีความสามารถในการใชเหตุผล การคิดวิเคราะห การแกปญหา และการจั ดการ มีทักษะในการสื่อสาร การใช
เทคโนโลยีสารสนเทศ และการทํางานรวมกับผูอื่น มีคุณธรรม จริยธรรม มนุษยสัมพันธ รวมถึงความรับผิดชอบ
ตอตนเองและสังคม รวมไมนอยกวา 22 หนวยกิต ประกอบดวย 6 กลุมวิชา ดังนี้
๑.๑ กลุมวิชาภาษาไทย ไมนอยกวา 3 หนวยกิต
๑.๒ กลุมวิชาภาษาตางประเทศ ไมนอยกวา 6 หนวยกิต
๑.๓ กลุมวิชาวิทยาศาสตร ไมนอยกวา 4 หนวยกิต
๑.๔ กลุมวิชาคณิตศาสตร ไมนอยกวา 4 หนวยกิต
๑.๕ กลุมวิชาสังคมศึกษา ไมนอยกวา 3 หนวยกิต
๑.๖ กลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ไมนอยกวา 2 หนวยกิต
2. หมวดวิ ช าทั ก ษะวิ ช าชี พ ประกอบด ว ยกลุ ม วิ ช าที่ พั ฒ นาผู เ รี ย นให เ กิ ด สมรรถนะวิ ช าชี พ
มีความสามารถในการคิด วิเคราะห วางแผน ดําเนินการ ตรวจสอบ แกปญหา บูรณาการความรู และทักษะในการ
ปฏิบัติงาน รวมไมนอยกวา 71 หนวยกิต ประกอบดวย 5 กลุม ดังนี้
๒.๑ กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 18 หนวยกิต
๒.๒ กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ 24 หนวยกิต
๒.๓ กลุมทักษะวิชาชีพเลือก ไมนอยกวา 21 หนวยกิต
๒.๔ ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 4 หนวยกิต
๒.๕ โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ 4 หนวยกิต
3. หมวดวิชาเลือกเสรี ประกอบดวยวิชาที่เกี่ยวกับทักษะชีวิตและหรือทักษะวิชาชีพ เพื่อเปดโอกาส
ใหผูเรียนเลือกเรียนตามความถนัดและความสนใจ เพื่อการประกอบอาชีพหรือการศึกษาตอ รวมไมนอยกวา
10 หนวยกิต
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร เปนสวนที่สงเสริมการพัฒนาทักษะชีวิตและหรือทักษะวิชาชีพ ผูเรียนทุก
คนตองเขารวมกิจกรรมอยางนอยสัปดาหละ 2 ชั่วโมงทุกภาคเรียน โดยไมนับหนวยกิต

6 6 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
x การฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ
เปนการจัดกระบวนการเรียนรู โดยความรวมมือระหวางสถานศึกษากับภาคการผลิต และหรือภาคบริการ
หลังจากที่ผูเรียนไดเรียนรูในภาคทฤษฏี และการฝกหั ดหรือฝกปฏิบัติเบื้องตนในสถานศึกษาแลวระยะเวลาหนึ่ง
ทั้งนี้ เพื่อเปดโอกาสใหผูเรียน ไดเรียนรูจากประสบการณจริง ไดสัมผัสการปฏิบัติงานอาชีพ เครื่องมือเครื่องจักร
อุปกรณที่ทันสมัย และบรรยากาศการทํางานรวมกัน สงเสริมการฝกทักษะ กระบวนการคิดการจัดการ การเผชิญ
สถานการณซึ่งจะชวยใหผูเรียนทําได คิดเปน ทําเปน และเกิดการใฝรูอยางตอเนื่อง เกิดความมั่นใจและเจตคติที่ดี
ในการทํางาน ตลอดจนการประกอบอาชีพอิสระ
x การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ
การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ เปนการยืนยันวาผูสําเร็จการศึกษามี สมรรถนะวิชาชีพ ตามมาตรฐาน
การศึกษาวิชาชีพที่กําหนดไวในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ แตละประเภทวิชา สาขาวิชา
และสาขางาน
x การประกันคุณภาพหลักสูตร
การประกันคุณภาพหลักสูตรใหทุกหลักสูตรการอาชีวศึกษา กําหนดใหมีระบบประกันคุณภาพไวให
ชัดเจน อยางนอยใหครอบคลุมใน 4 ประเด็น คือ
1. คุณภาพของผูสําเร็จการศึกษา โดยดําเนินการประเมินมาตรฐานวิชาชีพ ตามประเภทวิชา
สาขาวิชา และสาขางาน
2. การบริหารหลักสูตร เปนการบริหารจัดการเรียนการสอนของประเภทวิชา สาขาวิชาและ สาขา
งานที่ เ ป ด สอน ทั้ ง นี้ สํ า นั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษาและสถานศึ ก ษา ต อ งจั ด ให มี ก ารประเมิ น
เพื่อพัฒนาหลักสูตรที่อยูในความรับผิดชอบอยางตอเนื่อง อยางนอยทุก 5 ป
3. ทรัพยากรการจัดการอาชีวศึกษา ใหสถานศึกษาจัดเตรียมทรัพยากรสนับสนุนการจัดการ
อาชีวศึกษา ประกอบดวย ความพรอมทางดานบุคลากร วัสดุ ครุภัณฑ อุปกรณการเรียนการสอนที่หลากหลาย
งบประมาณ อาคารสถานที่ หองสมุดและสิ่งอํานวยความสะดวกอื่นๆ ทั้งนี้ ใหเปนไปตามมาตรฐานที่กําหนดของ
สาขาวิชา สาขางาน
4. ความตองการกําลังคนของตลาดแรงงาน ใหสถานศึกษาที่รวมจัดการศึกษา ดําเนินการสํารวจ
ความต อ งการกํา ลั งคนของตลาดแรงงาน รวมทั้ง สํ า รวจความพึ ง พอใจของตลาดแรงงาน สั ง คมและชุ ม ชน
อย า งต อ เนื่ อ ง ทุ ก ป ก ารศึ ก ษา ทั้ ง นี้ เพื่ อ นํ า ข อมู ล ไปใช ในการพั ฒ นา/ปรั บ ปรุง หลั ก สู ตร ให มี ค วามทั น สมั ย
สอดคลองกับความตองการกําลังคนของตลาดแรงงาน และมาตรฐานอาชีพ
x หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน จัดโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษา
ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ดังนี้
2.1 รายวิชาพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานพุทธศักราช 2551 สถานศึกษา
จัดรายวิชาพื้นฐาน 8 กลุมสาระการเรียนรู รวมจํานวน 41 หนวยกิต
2.2 รายวิ ช าเพิ่ ม เติ ม ตามหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐานพุ ท ธศั ก ราช 2551
สถานศึกษาตองจัดรายวิชาเพิ่มเติม รวมไมนอยกวา 40 หนวยกิต
2.3 กิจกรรมพัฒนาผูเรียนสถานศึกษาจัดกิจกรรมพัฒนาผูเรียนตามโครงสรางเวลาเรียน ในระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย คือ 360 ชั่วโมง/ 3 ป โดยจัดใหเรียนทุกภาคเรียนปกติ ภาคเรียนละ 3 ชั่วโมง/สัปดาห

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 7 7
x การจัดการศึกษาเรียนรวมโครงสรางหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย กับหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
การจัด การศึก ษาเรีย นรว มหลัก สูต รอาชีว ศึก ษาและมัธ ยมศึก ษาตอนปลาย (ทวิศึก ษา) เปน อีก
รูป แบบหนึ่ ง ของการจั ด การศึ ก ษาด า นอาชี ว ศึ ก ษา ซึ่ ง เป น ความร ว มมื อ ระหว า งสํ า นั ก งานคณะกรรมการ
การอาชีวศึกษากับสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน โดยสถานศึกษาที่ จัดการเรียนการสอนดังกลาว
วางแผนการจั ด การศึ ก ษาร ว มกั น ตามโครงสร า งหลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ พุ ท ธศั ก ราช 2556
และหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้งในเรื่องของการบริหารหลักสูตร การจัดการ
เรียนการสอน การจัดเวลาเรียน การฝกประสบการณทักษะวิชาชีพหรือฝกงานในสถานประกอบการ การวัดและ
ประเมินผลการเรียน การโอนผลการเรียนของผูเรียน ตลอดทั้งการใชทรัพยากรรวมกัน โดยใชเวลาเรียนควบคูกัน
ไมนอ ยกวา 3 ปการศึกษา ซึ่งสามารถจัดการเรียนการสอนแบบบูรณาการตามโครงสรางหลักสูตร ดังนี้

หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช


พุทธศักราช 2556 2551
นก. นก.
2. หมวดวิชาทักษะชีวิต (>22 นก.) 1.รายวิชาพื้นฐาน (41 นก.)
1.1 กลุมวิชาภาษาไทย 3 1.1 ภาษาไทย 6
1.2 กลุมวิชาภาษาตางประเทศ 6 1.2 ภาษาอังกฤษ 6
1.3 กลุมวิชาวิทยาศาสตร 4 1.3 วิทยาศาสตร 6
1.4 กลุมวิชาคณิตศาสตร 4 1.4 คณิตศาสตร 6
1.5 กลุมวิชาสังคมศึกษา 3 1.5 สังคมศึกษา 8
1.6 กลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 2 1.6 สุขศึกษาและพลศึกษา 3
1.7 ศิลปะ 3
1.8 การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3
2. หมวดวิชาเลือกเสรี >10 นก. 2. รายวิชาเพิ่มเติม >40 นก.
3.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ >71 นก.
3.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 18
3.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ 24
3.3 กลุมทักษะวิชาเลือก >21
3.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 4
3.5 โครงการพัฒนาทักษะวิชาชีพ 4
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 3. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
ไมนอยกวา 2 ชั่วโมง/สัปดาห ไมนอยกวา 3 ชั่วโมง/สัปดาห
รวม 103 112 รวม 81
วุฒิ ปวช. วุฒิ ม.6
ภาพแสดงโครงสรางหลักสูตรการจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)

8 8 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
จากนโยบาย แนวคิด หลักสู ตรในการจัดการศึกษาเรีย นร วมหลักสูตรอาชีว ศึกษาและมัธยมศึกษา
ตอนปลาย (ทวิศึกษา) รวมทั้งกฎระเบียบที่เกี่ยวของกับการจัดการศึกษา จึงกําหนดรูปแบบการจัดการศึกษา
เปน 2 รูปแบบ ดังนี้
รู ป แบบที่ 1 สถานศึ ก ษาให ผู เ ข า ศึ ก ษาลงทะเบี ย นเรี ย นเป น นั ก เรี ย น ในสองสถานศึ ก ษา
โดยสถานศึกษา ตองระบุชื่อสถานศึกษาที่รวมจัดการศึกษาอยางชัดเจน เรียนหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
และหลักสูตรการศึกษาขั้นพื้นฐานควบคูกันทั้งสองหลักสูตร จบแลวไดวุฒิประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) และวุฒิ
มัธยมศึกษาตอนปลาย
รู ป แบบที่ 2 ผู เ ขา ศึ กษาขึ้ น ทะเบี ย นเป น นั กเรี ย นของสถานศึก ษาสั งกั ดสํ า นั ก งานคณะกรรมการ
การศึกษาขั้นพื้นฐาน เรียนหลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย แตในกลุมวิชาเพิ่มเติมใหเรียนรายวิชาชีพจากหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ จบแลวไดวุฒิมัธยมศึกษาตอนปลาย และขึ้นทะเบียนเปนนักเรียนระดับประกาศนี ยบัตร
วิชาชีพของสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา โดยนําผลการเรียนรายวิชาในหลักสูตร
มั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลายมาขอเที ย บโอนผลการเรี ย นสู ร ายวิ ช าในหลั ก สู ต รประกาศนี ย บั ต รวิ ช าชี พ
และตองลงทะเบี ยนเรี ยนรายวิช าตามหลั กสู ตรประกาศนี ย บัตรวิชาชีพ อย างนอย ๑ ภาคเรี ย น จึงจะไดวุฒิ
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
สํ า หรั บ การจั ด การศึ ก ษาเรี ย นร ว มหลั ก สู ต รอาชี ว ศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย (ทวิ ศึ ก ษา)
ตามรูปแบบที่ 1 ใหดําเนินการตามขั้นตอน ดังนี้























เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 9 9
x ขั้นตอนการจัดการศึกษาเรียนรวมหลักอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
1. การจัดทําความรวมมือ
สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสถานศึกษาสังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษา จัดทําขอตกลงความรวมมือเพื่อจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) เพื่อใหบรรลุเปาหมายของการจัดการศึกษารวมกันไดอยางมีประสิทธิภาพ

2. วิเคราะหประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางาน
สถานศึกษาในสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน รวมกับสถานศึกษาสังกัด
สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา แตงตั้งคณะกรรมการศึกษาและวิเคราะหขอมูลพื้นฐาน ความจํา เปน
และความตองการของชุมชน จังหวัดและภูมิภาค เพื่อกําหนดประเภทวิชา สาขาวิชาและสาขางาน ใหเหมาะสม
กับความตองการของทองถิ่น ที่สัมพันธและสอดคลองกับโครงสรางหลักสูตร ดังนี้

3. การจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
จากการวิเคราะห ประเภทวิช า สาขาวิชาและสาขางานได เหมาะสมแล ว จึงดําเนิ นการให มี
คณะกรรมการจัดทําหลักสูตรการศึกษาเรียนรว มหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
ซึ่งเป น บุคคลากรของสองสถานศึกษา โดยนําโครงสรางหลักสูตรระดับมัธ ยมศึกษาตอนปลาย และหลั กสู ตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ มาวิเคราะหมาตรฐานการเรียนรูตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 และสมรรถนะหลักตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 เพื่อ จัดทําแผนการเรียน
หลักสูตรสถานศึกษา แผนการเรียนหลักสูตรอาชีวศึกษา และบูรณาการเปนแผนการเรียนสําหรับจัดการเรียนการ
สอนรวมกันทั้ง 2 สถานศึกษา ซึ่งมีขั้นตอนการดําเนินการ ดังนี้
3.1 วิเคราะหหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน จํานวน 41 หนวยกิต ตามโครงสรางหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน และวิเคราะหลักสูตรรายวิชาหมวดวิชาทักษะชีวิต จํานวน 22 หนวยกิต ตามโครงสราง
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
3.1.1 รายวิช าพื้นฐานให วิเคราะห มาตรฐานการเรีย นรู ตัว ชี้วัด และสาระการเรี ยนรู
แกนกลาง จําแนกตามรายวิชา
3.1.2 รายวิชาหมวดทักษะชีวิต ใหวิเคราะหสมรรถนะหลัก สมรรถนะยอย และตัวบงชี้
จําแนกตามรายวิชา
3.1.3 วิ เ คราะห ค วามสอดคล อ งของสมรรถนะหลั ก สมรรถย อ ย ของหลั ก สู ต ร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ กับมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลางของหลักสูตรแกนกลาง
การศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน เพื่ อ เที ย บโอนรายวิ ช าพื้ น ฐานเข า สู ร ายวิ ช าหมวดวิ ช าทั ก ษ ะชี วิ ต ตามระเบี ย บ
กระทรวงศึกษาธิการวาดวยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ
พุทธศักราช 2556
3.2 วิเคราะหหลักสูตรรายวิชาหมวดวิชาทักษะวิชาชีพ ตามโครงสรางหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิช าชีพ จํา นวน 71 หนว ยกิต เพื่อจั ดทําแผนการเรีย นในรายวิชาเพิ่มเติม ตามโครงสรา งหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน ไมนอยกวา 38 หนวยกิต

10 10 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
3.3 หมวดวิ ช าเลื อ กเสรี จํ า นวนไม น อ ยกว า 10 หน ว ยกิ ต สามารถนํ า รายวิ ช าพื้ น ฐาน
ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน ที่มีเนื้อหาสาระความตรง และความสอดคลองไมนอยกวารอยละ 60
ของรายวิ ช า มาเที ย บโอนผลการเรี ย นตามระเบี ย บกระทรวงศึ ก ษาธิ ก ารว า ด ว ยการจั ด การศึ ก ษาและ
การประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
3.4 วิ เ คราะห ค วามสั ม พั น ธ ความสอดคล อ งของเนื้ อ หาสาระของกิ จ กรรมเสริ ม หลั ก สู ต ร
ตามโครงสรางหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ และกิจกรรมพัฒนาผูเ รียนตามโครงสรางหลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐานรวมกันใหมีความตรงและความสอดคลอง ไมนอยกวารอยละ 60 เพื่อใหสามารถดําเนินการ
เทียบโอนผลการเรียนได

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 11 11
บทที่ 3
การเทียบโอนผลการเรียนเขาสูหลักสูตรอาชีวศึกษา

สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาที่จัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษา
และมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) สามารถรับโอนผลการเรียนรายวิชาจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ระดับมัธยมศึกษาตอนปลายเขาสู หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศั กราช
2556 เพื่อขอรับการยกเวนการเรียนรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิต และหมวดวิชาเลือกเสรี โดยการเทียบโอน
ผลการเรียนเขาสูหนวยกิตตามหลักสูตร ตามหลักเกณฑและแนวปฏิบัติที่ สํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
กําหนด หรือการโอนผลการเรียนรายวิชาหมวดวิชาทักษะวิชาชีพหลักสูต รประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช
2556 เขาสูรายวิชาเพิ่มเติมหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ตามหลักเกณฑและแนว
ปฏิบัติที่สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด

x การเทียบโอนผลการเรียน
การโอนผลการเรียนรายวิชาพื้นฐานจากหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เขาสู รายวิชาหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี หลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ไดระบุแนวทางการเทียบโอนผลการเรียน ไวดังนี้
1. วิเคราะห มาตรฐานการเรี ยนรู ตัว ชี้วัด และสาระการเรี ย นรู ของหลั กสู ตรแกนกลางการศึกษา
ขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ เปรียบเทียบกับจุดประสงครายวิชา สมรรถนะรายวิชาและคําอธิบายรายวิชา
หมวดวิชาทักษะชีวิตชีวิต ในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
2. พิจารณาแนวทางการเทียบโอนผลการเรี ยนตามระเบี ยบกระทรวงศึกษาธิการ วาดว ยการจั ด
การศึกษาและประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 คือ ตองเปนรายวิชา
หรือกลุมวิชาที่มีจุดประสงคและเนื้อหาใกลเคียงกัน ไมต่ํากวารอยละ 60 และมีจํานวนหนวยกิตไมนอยกวาหนวยกิต
ของรายวิชาที่ระบุไวในหลักสูตร โดยมีแนวทางในการพิจารณาไดหลายกรณี ดังนี้

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)


รายวิชา รายวิชา

รายวิชา กลุมวิชา

กลุมวิชา รายวิชา

กลุมวิชา กลุมวิชา

ภาพแสดงการเทียบโอนผลการเรียนหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
เขาสูหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ

12 12 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
3. รายวิช าที่ได ระดับ ผลการเรียนตั้งแต 2.0 ขึ้นไป สถานศึกษาจะรั บโอนผลการเรี ยนหรื อทําการ
ประเมินใหมแลวจึงรับโอนผลการเรียนนั้นก็ได โดยระดับผลการเรียนใหเปนไปตามที่ไดจากการประเมินใหม แตตอง
ไมสูงไปกวาเดิม
4. กรณีการรับโอนผลการเรียนเปนกลุมวิชาของรายวิชาพื้นฐานเขาสูหนวยกิตหมวดวิชาทักษะชี วิต
และหมวดวิชาเลือกเสรี ใหสถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน ประเมินผลการเรียน
เมื่อสิ้ น สุ ดภาคเรี ยน และนํ า ส ง ผลการเรีย นของรายวิช านั้ น พร อมคะแนนดิ บ ให สถานศึกษาสั งกั ดสํ านั กงาน
คณะกรรมการการอาชีวศึกษาเก็บขอมูลนั้นไว เมื่อไดรับผลการเรียนซึ่งเปนคะแนนดิบของกลุมวิชานั้นครบถวน
พรอมที่จะทําการประเมินผลได สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาแตงตั้งคณะกรรมการ
ตัดสินผลการเรียน ใหเปนไปตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการวาดวยการจัดการศึกษาและการประเมินผลการ
เรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
5. การบัน ทึกผลการเรียนลงในระเบียนแสดงผลการเรีย น ใหใชร หัสวิชา และชื่อรายวิชาของแตล ะ
หลักสูตร โดยระบุวารับโอนผลการเรียน

x การใหระดับผลการเรียนรายวิชา
ใหใชตัวเลขแสดงระดับผลการเรียนตามระเบียบกระทรวงศึกษาธิการ วาดวยการจัดการศึกษาและ
ประเมินผลการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 ดังนี้
4.0 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑดีเยี่ยม
3.5 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑดีมาก
3.0 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑดี
2.5 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑดีพอใช
2.0 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑพอใช
1.5 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑออน
1.0 หมายถึง ผลการเรียนอยูในเกณฑออนมาก
0 หมายถึง ผลการเรียนต่ํากวาเกณฑ (ตก)

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 13 13
แนวทางการเทียบรายวิชาพื้นฐานหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย เข้าสูร่ ายวิชาหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

สถานศึ ก ษาสั ง กั ด ส านั ก งานคณะกรรมการการอาชี ว ศึ ก ษาประสานสถานศึ ก ษาสั ง กั ด ส านั ก งาน


คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน แต่งตั้งคณะกรรมการจั ดทาหลักสูตรการจัดการศึกษาเรี ยนร่วมหลักสูตร
อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ซึ่งเป็นบุคคลากรของสองสถานศึกษา เพื่อร่วมกันวางแผนการ
บริหารจัดการศึกษาสู่การปฏิบัติให้เห็นได้ชัดเจน โดยจัดเป็นตารางเทียบโอนรายวิชาพื้นฐานกับรายวิชาหมวดวิชา
ทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี พร้อมทั้งจัดเป็นแผนการเรียน ๓ แผนการเรียน คือ
๑) แผนการเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย เพื่อให้ผู้เรียนได้รับวุฒิการศึกษาระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
๒) แผนการเรียนตามหลักสู ตรประกาศนีย บัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ เพื่อให้ผู้ เรี ยนได้รั บวุฒิ
การศึกษาระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ
๓) แผนการเรียนแบบบูรณาการเรียนร่วมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
เพื่อให้สถานศึกษาทั้งสองแห่งนาไปใช้ในการจัดการเรียนการสอน จึงกาหนดแนวทางการดาเนินการไว้ดังนี้
บุคลากรสังกัดสถานศึกษา สพฐ. บุคลากรสังกัดสถานศึกษา สอศ.
๑. วิเคราะห์โครงสร้างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ระดับมัธยมศึกษาตอน
ปลายกับโครงสร้างหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖ เพื่อกาหนดกรอบของแผนการ
เรียนให้มีจานวนหน่วยกิตที่สอดคล้องกับโครงสร้างหลักสูตร (ตัวอย่างดังเอกสารหน้าที่ 8 )
๒. วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชาพื้นฐานตามกลุ่มสาระ ๒. วิเคราะห์หลักสูตรรายวิชาหมวดวิชาทักษะชีวิต
การเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้น ตามหน่วยสมรรถนะ สมรรถนะย่อย และตัวบ่งชี้
พื้นฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ ระดับมัธยมศึกษา ข อ ง ห ลั ก สู ต ร ป ร ะ ก า ศ นี ย บั ต ร วิ ช า ชี พ
ตอนปลาย จาแนกเป็นรายวิชาตามมาตรฐานการ พุ ท ธศั ก ราช ๒๕๕๖ จ าแนกเป็ น รายวิ ช าตาม
เรี ย นรู้ ตัว ชี้ วัด และสาระการเรีย นรู้แกนกลาง จุ ด ประสงค์ ร ายวิ ช า สมรรถนะรายวิ ช า และ
(ตัวอย่างดังเอกสารหน้าที่ 25 – 29 ) คาอธิบายรายวิชา
(ตัวอย่างดังเอกสารหน้าที3่ 0 – 33 )
๓. วิเคราะห์ความสอดคล้องรายวิชาหรือกลุ่มวิชาของรายวิชาพื้นฐานที่มีเนื้อหาสาระการเรียนรู้ ใกล้เคียงกับ
จุดประสงค์รายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคาอธิบายรายวิชาของหมวดวิชาทักษะชีวิต ไม่ต่ากว่าร้อยละ
60 และมีจานวนหน่วยกิตไม่น้อยกว่าหน่วยกิตของรายวิชาที่ระบุไว้ในหลักสูตร
(ตัวอย่างดังเอกสารหน้าที่ 37 - 39 )
๔. จัดทาตารางเทียบโอนผลการเรียนตามผลการวิเคราะห์ความสอดคล้องที่ได้จากข้อ ๓
๕. จัดทาแผนการเรียน ๓ แผนการเรียน (ตัวอย่างดังเอกสารหน้าทื่ 16 – 23 )

14 เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


ผลการวิเคราะหความตรงและความสอดคลองรายวิชาหรือกลุมวิชาของรายวิชาพื้นฐาน
เพื่อเทียบโอนผลการเรียนเขาสูรายวิชาหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี
ผลการวิเคราะห จุดประสงครายวิชา สมรรถนะรายวิชา และคําอธิบายรายวิชา หมวดวิชาทักษะชีวิต
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 เทียบกับมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู
แกนกลาง รายวิชาพื้นฐานตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย สรุปไดดังนี้
ตารางที่ 1 ผลการวิเคราะหความตรงและความสอดคลองรายวิชาหรือกลุมวิชาของรายวิชาพื้นฐานเพื่อเทียบโอน
ผลการเรียนเขาสูหนวยกิตรายวิชาหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี
การเทียบโอนผลการเรียนของการเรียนรวม (ทวิศึกษา) จํานวนสมรรถนะยอย/ตัวบงชี้
ที่
รายวิชาหมวดทักษะชีวิต (ปวช.) เทียบไดกับรายวิชาพื้นฐาน (สพฐ.) ทั้งหมด สอดคลอง รอยละ
๑. กลุมวิชาภาษาไทย 3 นก.
1 ภาษาไทย 1 จํานวน 1 นก.
ภาษาไทยพื้นฐาน จํานวน 2 นก. 13 13 100
ภาษาไทย 3 จํานวน 1 นก.
2 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ จํานวน 1 นก. ภาษาไทย 2 จํานวน 1 นก. 8 8 100
3 ภาษาไทยธุรกิจ (หมวดวิชาเลือกเสรี) จํานวน 1 นก. ภาษาไทย 4 จํานวน 1 นก. 3 3 100
4 การพูดในงานอาชีพ (หมวดวิชาเลือกเสรี) จํานวน 1 นก. ภาษาไทย 6 จํานวน 1 นก. 2 2 100
5 ภาษาไทยเชิงสรางสรรค จํานวน 1 นก. ภาษาไทย 5 จํานวน 1 นก. 3 3 100
(หมวดวิชาเลือกเสรี)
๒. กลุมวิชาภาษาตางประเทศ 6 นก.
ภาษาอังกฤษ ๑ จํานวน 1 นก.
6 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1 จํานวน 2 นก. 8 8 100
ภาษาอังกฤษ 2 จํานวน 1 นก.
ภาษาอังกฤษ 3 จํานวน 1 นก.
7 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 2 จํานวน 2 นก. 10 10 100
ภาษาอังกฤษ 4 จํานวน 1 นก.
8 ภาษาอังกฤษฟงพูด 1 จํานวน 1 นก. ภาษาอังกฤษ 5 จํานวน 1 นก. 9 9 100
9 อังกฤษฟงพูด 2 จํานวน 1 นก. ภาษาอังกฤษ 6 จํานวน 1 นก. 9 9 100
๓. กลุมวิชาวิทยาศาสตร 4 นก.
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม จํานวน 1 นก.
10 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต จํานวน 2 นก. 10 6 60
การเคลือ่ นทีแ่ ละแรงในธรรมชาติ จํานวน 1 นก.
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพ ดุลยภาพของสิง่ มีชีวิต จํานวน 1 นก.
11 จํานวน 2 นก. 10 8 80
ธุรกิจและบริการ สารและสมบัติของสาร จํานวน 1 นก.
๔. กลุมวิชาคณิตศาสตร 4 นก.
คณิตศาสตร ๔ จํานวน 1 นก.
12 คณิตศาสตรพื้นฐาน จํานวน 2 นก. 15 9 60
คณิตศาสตร ๕ จํานวน 1 นก.
คณิตศาสตร 1 จํานวน 1 นก.
13 คณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ จํานวน 2 นก. 11 7 63.64
คณิตศาสตร 2 จํานวน 1 นก.
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1 จํานวน 2 นก. คณิตศาสตร 3 จํานวน 1 นก.
14 9 6 66.67
(หมวดวิชาเลือกเสรี) คณิตศาสตร 6 จํานวน 1 นก.
๕. กลุมวิชาสังคมศาสตร 3 นก.
15 หนาที่พลเมืองและศีลธรรม จํานวน 2 นก. หนาที่พลเมือง จํานวน 2 นก. 14 10 71.42
ทักษะชีวิตและสังคม สังคมศึกษา 1 จํานวน 1.5 นก.
16 จํานวน 2 นก. 12 12 100
(หมวดวิชาเลือกเสรี) สังคมศึกษา 2 จํานวน 1.5 นก.
ภูมิศาสตรประวัติศาสตรไทย สังคมศึกษา 3 จํานวน 1.5 นก.
17 (หมวดวิชาเลือกเสรี) จํานวน 2 นก. 8 7 87.50
สังคมศึกษา 4 จํานวน 1.5 นก.
18 ประวัติศาสตรชาติไทย จํานวน 1 นก. ประวัติศาสตร 1 จํานวน 1 นก. 4 4 100
๖. กลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา 2 นก.
19 พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ จํานวน 1 นก. สุขศึกษาพลศึกษา 3 จํานวน 1 นก. 7 7 100
สุขศึกษาพลศึกษา 1 จํานวน 0.5 นก.
20 ทักษะชีวิตในการพัฒนาสุขภาพ จํานวน 1 นก. 3 3 100
สุขศึกษาพลศึกษา 2 จํานวน 0.5 นก.
การออกกําลังกายเพือ่ เสริมสราง สุขศึกษาพลศึกษา 5 จํานวน 0.5 นก.
21 สมรรถนะภาพในการทํางาน จํานวน 1 นก. 7 7 100
(หมวดวิชาเลือกเสรี) สุขศึกษาพลศึกษา 6 จํานวน 0.5 นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 15 15
ตัวอยาง
การจัดแผนการเรียนตามหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖

16 เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


วิทยาลัย......................................
แผนการเรียนมุงเนนสมรรถนะอาชีพ ประจําปการศึกษา 2560 - 2562 โครงการเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ปวช.1
ประเภทวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ (แผนการเรียน......................................)

เอกสารประกอบการปฏิ
ชั้นปที่ 1 / 2560
โครงสรางหลักสูตร / ฝกงาน ภาคเรียนที่ 1 / 2560 ภาคเรียนที่ 2 / 2560 อาชีพ
รหัสวิชา รายวิชา ท ป น รหัสวิชา รายวิชา ท ป น

เอกสารประกอบการปฏิ
1.หมวดวิชาทักษะชีวิต 9 หนวยกิต 1.นักเขียนโปรแกรม

บัติงานการจัดการศึ
1.1 กลุมวิชาภาษาไทย 3 หนวยกิต 2000-1101 *ภาษาไทยพื้นฐาน 2 0 2 2000-1102 *ภาษาไทยเพื่ออาชีพ 1 0 1 2.ผูดแู ลระบบคอมพิวเตอร
3.ครูสอนคอมพิวเตอร

บัติงกานการจั
1.2 กลุมวิชาภาษาตางประเทศ 3 หนวยกิต 2000-1201 *ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1 2 0 2 2000-1203 *ภาษาอังกฤษ ฟง - พูด 1 0 2 1 4.ผูแนะนําและจําหนายซอฟตแวร
5.นักออกแบบกราฟก

ษาร่วมหลัดกการศึ
1.3 กลุมวิชาวิทยาศาสตร 0 หนวยกิต 6.รับแกปญหาทางดานคอมพิวเตอร

สูตร อาชี
กษาร่
1.4 กลุมวิชาคณิตศาสตร 2 หนวยกิต 2000-1401 *คณิตศาสตรพื้นฐาน 2 0 2

วศึกวษาและมั
1.5 กลุมวิชาสังคมศึกษา 0 หนวยกิต หมายเหตุ

มหลักสูธตยมศึ
รายวิชากลุมทักษะชีวิต

ร อาชี
1.6 กลุมวิชาสุขศึกษาฯ 1 หนวยกิต 2000-1601 *พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ 0 2 1 และรายวิชากิจกรรมองคการ
วิชาชีพ ใชการเทียบโอนจาก

กษาตอนปลาย
2.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ 18 หนวยกิต หลักสูตร สพฐ

วศึกษาและมั
2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 8 หนวยกิต 2001-1001 ความรูเกี่ยวกับงานอาชีพ 2 0 2 2901-2001 โปรแกรมประมวลผลคํา 1 2 2
2901-1001 ระบบปฏิบัติการเบื้องตน 1 2 2 2901-1007 เครือขายคอมพิวเตอรเบื้องตน
1 2 2 * หมายถึง เทียบโอนการเรียน

(ทวิธศยมศึ
รายวิชาพื้นฐานจากหลักสูตร
2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ 8 หนวยกิต 2001-2001 คอมพิวเตอรและสารสนเทศเพื่องานอาชีพ 1 2 2 2901-2002 โปรแกรมตารางคํานวณ 1 2 2 สถานศึกษา สังกัด สพฐ ปรับเปน
2901-2004 การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเบื้องตน 1 2 2 2901-2006 การพัฒนาเว็บดวยภาษาเอชทีเอ็มแอล 1 2 2 ผลการเรียนหมวดวิฃาทักษะชีวิต
ภายใตเงื่อนไขหลักสูตร ปวช.
2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก 2 หนวยกิต 2901-2102 หลักการระบบคอมพิวเตอร 2 0 2

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 0 หนวยกิต
2.5 โครงการพัฒนาทักษะชีวิต 0 หนวยกิต
3.หมวดวิชาเลือกเสรี 2 หนวยกิต 2000-1104 *การพูดในงานอาชีพ 1 0 1 2000-1103 *ภาษาไทยธุรกิจ 1 0 1

17
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 72 ชั่วโมง 2000-2001 กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 1 0 2 0 2000-2002 กิจกรรมลูกเสือวิสามัญ 2 0 2 0
รวม 29 หนวยกิต 10 10 14 10 12 15

17
รวมจํานวนชั่วโมงแตละภาคเรียน 20 ชม. 22 ชม.
18
วิทยาลัย......................................
แผนการเรียนมุงเนนสมรรถนะอาชีพ ประจําปการศึกษา 2560 - 2562 โครงการเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)

18
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ปวช.2
ประเภทวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ (แผนการเรียน......................................)
ชั้นปที่ 2 / 2561
โครงสรางหลักสูตร / ฝกงาน ภาคเรียนที่ 1 / 2561 ภาคเรียนที่ 2 / 2561 อาชีพ
รหัสวิชา รายวิชา ท ป น รหัสวิชา รายวิชา ท ป น
1.หมวดวิชาทักษะชีวิต 9 หนวยกิต
1.1 กลุมวิชาภาษาไทย 0 หนวยกิต

1.2 กลุมวิชาภาษาตางประเทศ 3 หนวยกิต 2000-1202 *ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1 2 0 2 2000-1204 *ภาษาอังกฤษ ฟง - พูด 2 0 2 1

1.3 กลุมวิชาวิทยาศาสตร 4 หนวยกิต 2000-1301 *วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 1 2 2 2000-1303 * วิทยาศาสตรเพือ่ พัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ 1 2 2

1.4 กลุมวิชาคณิตศาสตร 2 หนวยกิต 2000-1402 *คณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ 2 0 2

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
1.5 กลุมวิชาสังคมศึกษา 0 หนวยกิต

ิงานการจัดการศึกษาร่
1.6 กลุมวิชาสุขศึกษาฯ 0 หนวยกิต

บัติงวานการจั
2.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ 26 หนวยกิต

มหลักสูดตการศึ
2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 8 หนวยกิต 2901-1002 การใชโปรแกรมอรรถประโยชน 1 2
2 2901-1006 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร 1 2 2

ร อาชี
2901-1005 คอมพิวเตอรกราฟกเบื้องตน 1 2
2

กษาร่
2901-1004 การสรางเว็บเบื้องตน 1 2
2

วศึวกมหลั
2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ 10 หนวยกิต 2901-2003 โปรแกรมนําเสนองาน 1 2
2 2901-2008 โปรแกรมเชิงวัตถุเบื้องตน 1 2 2

ษาและมั
2901-2009 ภาษาสอบถามขอมูลเชิงโครงสรางเบือ้ งตน 1 2 2

กสูตร อาชี
2901-2005 การจัดการฐานขอมูลเบื้องตน 1 2 2

ธยมศึ
2901-2007 การโปรแกรมเว็บเบื้องตน 1 2 2
2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก 4 หนวยกิต 2901-2113 เทคโนโลยีเครือขายไรสาย 2 0 2 2901-2108 การเขียนโปรแกรมติดตอผูใชแบบกราฟก 1 2 2

วศึกกษาและมั
2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 4 หนวยกิต 2901-8001 ฝกงาน * * 4 หมายเหตุ ฝกงานภาคฤดูรอน
2.5 โครงการพัฒนาทักษะชีวิต 0 หนวยกิต (มี.ค.-พ.ค.) จํานวน 320 ชม

ษาตอนปลาย
3.หมวดวิชาเลือกเสรี 5 หนวยกิต 2000-1503 *ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรไทย 2 0 2 2000-1106 *ภาษาไทยเชิงสรางสรรค 1 0 1
2000-1403 *คณิตศาสตรอตุ สาหกรรม 1 2 0 2
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 72 ชั่วโมง 2000-2003 กิจกรรมองคการวิชาชีพ 1 0 2 0 2000-2004 กิจกรรมองคการวิชาชีพ 2 0 2 0

ธยมศึกษาตอนปลาย
5. ภาคฤดูรอน หนวยกิต
รวม 40 หนวยกิต 13 12 18 10 18 22

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
รวมจํานวนชั่วโมงแตละภาคเรียน 25 ชม. 28 ชม.
วิทยาลัย......................................
แผนการเรียนมุงเนนสมรรถนะอาชีพ ประจําปการศึกษา 2560 - 2562 โครงการเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.) พุทธศักราช 2556 ปวช.3
ประเภทวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร สาขาวิชา เทคโนโลยีสารสนเทศ (แผนการเรียน......................................)

เอกสารประกอบการปฏิ
ชั้นปที่ 3 / 2562
โครงสรางหลักสูตร / ฝกงาน ภาคเรียนที่ 1 / 2562 ภาคเรียนที่ 2 / 2562 อาชีพ
รหัสวิชา รายวิชา ท ป น รหัสวิชา รายวิชา ท ป น

เอกสารประกอบการปฏิ
1.หมวดวิชาทักษะชีวิต 4 หนวยกิต

บัติงานการจัดการศึ
1.1 กลุมวิชาภาษาไทย 0 หนวยกิต

บัติงกานการจั
1.2 กลุมวิชาภาษาตางประเทศ 0 หนวยกิต

ษาร่วมหลัดกการศึ
1.3 กลุมวิชาวิทยาศาสตร 0 หนวยกิต

สูตร อาชี
กษาร่
1.4 กลุมวิชาคณิตศาสตร 0 หนวยกิต

วศึกวษาและมั
1.5 กลุมวิชาสังคมศึกษา 3 หนวยกิต 2000-1501 *หนาที่พลเมืองและศีลธรรม 2 0 2

มหลักสูธตยมศึ
2000-1507 *ประวัติศาสตรชาติไทย 1 0 1

ร อาชี
1.6 กลุมวิชาสุขศึกษาฯ 1 หนวยกิต 2000-1602 *ทักษะชีวิตในการพัฒนาสุขภาพ 0 2 1
2.หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ 28 หนวยกิต
2.1 กลุมทักษะวิชาชีพพื้นฐาน 2 หนวยกิต 2901-1003 คณิตศาสตรคอมพิวเตอร 2 0 2

กษาตอนปลาย
วศึกษาและมั
2.2 กลุมทักษะวิชาชีพเฉพาะ 6 หนวยกิต 2901-2011 การสรางภาพเคลื่อนไหวเบื้องตน 1 2 2 2901-2012 การสรางเกมคอมพิวเตอรเบื้องตน 1 2 2

(ทวิธศยมศึ
2901-2010 ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอรเบือ้ งตน 1 2 2
2.3 กลุมทักษะวิชาชีพเลือก 16 หนวยกิต 2901-2101 กฏหมายคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 0 2 2901-2103 โปรแกรมระบบจําลองการทํางานคอมพิวเตอร 1 2 2
2901-2140 พื้นฐานการตัดตอภาพเคลื่อนไหวและวีดีโอดิจิตอล 1 3 2 2901-2135 การสรางงานกราฟกและแอนิเมชัน 1 2 2
2901-2104 ปญหาพิเศษเทคโนโลยีสารสนเทศ 2 2 2 2901-2137 งานกราฟกสามมิติ 1 2 2
2901-2132 เทคโนโลยีมัลติมีเดีย 2 0 2 2901-2107 การใชโปแกรมประยุกตบนอุปกรณคอมพิวเตอรพกพา 1 2 2
2.4 ฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ 0 หนวยกิต
2.5 โครงการพัฒนาทักษะชีวิต 4 หนวยกิต 2901-8502 โครงการ 1 2 2 2 2901-8503 โครงการ 2 2 2 2

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
3.หมวดวิชาเลือกเสรี 3 หนวยกิต 2000-1502 *ทักษะชีวิตและสังคม 2 0 2 2000-1603 *การออกกําลังกายเพื่อเสริมสราง 0 2 1
สมรรถนะภาพในการทํางาน
4. กิจกรรมเสริมหลักสูตร 72 ชั่วโมง 2000-2007 กิจกรรมสถานประกอบการ 0 2 0 2000-2005 กิจกรรมองคการวิชาชีพ 3 0 2 0

19
รวม 35 หนวยกิต 17 11 19 8 20 16
รวมจํานวนชั่วโมงแตละภาคเรียน 28 ชม. 28 ชม.

19
รวมจํานวนหนวยกิตตลอดหลักสูตร 88 104
ตัวอยาง

การจัดแผนการเรียนแบบบูรณาการเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษา
ตอนปลาย (ทวิศึกษา)

20 เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


โรงเรียน.................................รวมกับวิทยาลัย...............................................
จัดแผนการเรียนแบบบูรณาการจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ประจําปการศึกษา 2560 - 2562
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุม การเรียน.....................................................................................สาขาวิชา..........................................................
มัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 1/2560 มัธยมศึกษาปที่ 4 ภาคเรียนที่ 2/2560
รหัสวิชา รายวิชา / รายวิชา นก. ชม. ชม./สป. ผูส อน รหัสวิชา รายวิชา / รายวิชา นก. ชม. ชม./สป.
รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาพื้นฐาน
ท3xxxx ภาษาไทย 1 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. ท3xxxx ภาษาไทย 2 1 40 2
อ3xxxx ภาษาอังกฤษ 1 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. อ3xxxx ภาษาอังกฤษ 2 1 40 2
ว3xxxx ดุลยภาพของสิง่ มีชีวิต 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. ว3xxxx พันธุกรรมและสิง่ แวดลอม 1 40 2
ค3xxxx คณิตศาสตร 1 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. ค3xxxx คณิตศาสตร 2 1 40 2
ส3xxxx สังคมศึกษา 1 1.5 60 3 สถานศึกษา สพฐ. ส3xxxx สังคมศึกษา 2 1.5 60 3
ส3xxxx ประวัติศาสตร 1 0.5 20 1 สถานศึกษา สพฐ. ส3xxxx ประวัติศาสตร 2 0.5 20 1
พ3xxxx สุขศึกษา 1 0.5 20 1 สถานศึกษา สพฐ. พ3xxxx สุขศึกษา 2 0.5 20 1
ศ3xxxx ศิลปะ 1 0.5 20 1 สถานศึกษา สพฐ. ศ3xxxx ศิลปะ 2 0.5 20 1
ง3xxxx การงานอาชีพและเทคโนโลยี 1 0.5 20 1 สถานศึกษา สพฐ. ง3xxxx การงานอาชีพและเทคโนโลยี 2 0.5 20 1
รวม 7.5 300 15 รวม 7.5 300 15
รายวิชาเพิ่มเติม (หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ) รายวิชาเพิ่มเติม (หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ)
xxxxxx ความรูเกีย่ วกับงานอาชีพ 2-0-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx โปรแกรมประมวลผลคํา 1-2-2 80 4
xxxxxx ระบบปฏิบัตกิ ารเบือ้ งตน 1-2-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx เครือขายคอมพิวเตอรเบือ้ งตน 1-2-2 80 4
xxxxxx คอมพิวเตอรและสารสนเทศเพือ่ งานอาชีพ 1-2-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx โปรแกรมตารางคํานวณ 1-2-2 80 4
xxxxxx การเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอรเบือ้ งตน 1-2-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx การพัฒนาเว็บดวยภาษาเอชทีเอ็มแอล 1-2-2 80 4
สถานศึกษา สอศ. xxxxxx หลักการระบบคอมพิวเตอร 2-0-2 80 4

รวม 8 320 16 รวม 10 400 20


กิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
แนะแนว - 20 1 แนะแนว - 20 1
กิจกรรมเพือ่ สังคม - 20 1 กิจกรรมเพือ่ สังคม - 20 1
ชุมนุม - 20 1 ชุมนุม - 20 1
รวมทั้งสิน้ 15.5 620 33 รวมทั้งสิน้ 17.5 700 37
ภาคเรียนฤดูรอน 1/2560 ภาคเรียนฤดูรอน 2/2560

รวม 0 0 0 รวม 0 0 0

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 21 21
โรงเรียน.................................รวมกับวิทยาลัย...............................................
จัดแผนการเรียนแบบบูรณาการจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ประจําปการศึกษา 2560 - 2562
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุม การเรียน.....................................................................................สาขาวิชา..........................................................
มัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 1/2561 มัธยมศึกษาปที่ 5 ภาคเรียนที่ 2/2561
รหัสวิชา รายวิชา / รายวิชา นก. ชม. ชม./สป. ผูส อน รหัสวิชา รายวิชา / รายวิชา นก. ชม. ชม./สป.
รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาพื้นฐาน
ท3xxxx ภาษาไทย 3 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. ท3xxxx ภาษาไทย 4 1 40 2
อ3xxxx ภาษาอังกฤษ 3 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. อ3xxxx ภาษาอังกฤษ 4 1 40 2
ว3xxxx ดุลยภาพของสิง่ มีชีวิต 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. ว3xxxx พันธุกรรมและสิง่ แวดลอม 1 40 2
ค3xxxx คณิตศาสตร 3 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. ค3xxxx คณิตศาสตร 4 1 40 2
ส3xxxx สังคมศึกษา 3 1.5 60 3 สถานศึกษา สพฐ. ส3xxxx สังคมศึกษา 4 1.5 60 3
ส3xxxx ประวัติศาสตร 3 0.5 20 1 สถานศึกษา สพฐ. ส3xxxx ประวัติศาสตร 4 0.5 20 1
พ3xxxx สุขศึกษา 3 0.5 20 1 สถานศึกษา สพฐ. พ3xxxx สุขศึกษา 4 0.5 20 1
ศ3xxxx ศิลปะ 3 0.5 20 1 สถานศึกษา สพฐ. ศ3xxxx ศิลปะ 4 0.5 20 1
ง3xxxx การงานอาชีพและเทคโนโลยี 3 0.5 20 1 สถานศึกษา สพฐ. ง3xxxx การงานอาชีพและเทคโนโลยี 4 0.5 20 1
รวม 7.5 300 15 รวม 7.5 300 15
รายวิชาเพิ่มเติม (หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ) รายวิชาเพิ่มเติม (หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ)
xxxxxx การใชโปรแกรมอรรถประโยชน 1-2-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx เทคโนโลยีสารสนเทศเพือ่ การสือ่ สาร 1-2-2 80 4
xxxxxx คอมพิวเตอรกราฟกเบือ้ งตน 1-2-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx โปรแกรมเชิงวัตถุเบือ้ งตน 1-2-2 80 4
xxxxxx การสรางเว็บเบือ้ งตน 1-2-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx ภาษาสอบถามขอมูลเชิงโครงสรางเบือ้ งตน 1-2-2 80 4
xxxxxx โปรแกรมนําเสนองาน 1-2-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx การจัดการฐานขอมูลเบือ้ งตน 1-2-2 80 4
xxxxxx เทคโนโลยีเครือขายไรสาย 2-0-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx การโปรแกรมเว็บเบือ้ งตน 1-2-2 80 4
สถานศึกษา สอศ. xxxxxx การเขียนโปรแกรมติดตอผูใชแบบกราฟก 1-2-2 80 4

รวม 10 400 20 รวม 12 480 24


กิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
แนะแนว - 20 1 แนะแนว - 20 1
กิจกรรมเพือ่ สังคม - 20 1 กิจกรรมเพือ่ สังคม - 20 1
ชุมนุม - 20 1 ชุมนุม - 20 1
รวมทั้งสิน้ 7.5 700 37 รวมทั้งสิน้ 19.5 780 41
ภาคเรียนฤดูรอน 1/2561 ภาคเรียนฤดูรอน 2/2561
ฝกงาน 4 4

รวม 0 0 0 รวม 4 0 4

22 22 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
โรงเรียน.................................รวมกับวิทยาลัย...............................................
จัดแผนการเรียนแบบบูรณาการจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ประจําปการศึกษา 2560 - 2562
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
กลุม การเรียน.....................................................................................สาขาวิชา..........................................................
มัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 1/2562 มัธยมศึกษาปที่ 6 ภาคเรียนที่ 2/2562
รหัสวิชา รายวิชา / รายวิชา นก. ชม. ชม./สป. ผูส อน รหัสวิชา รายวิชา / รายวิชา นก. ชม. ชม./สป.
รายวิชาพื้นฐาน รายวิชาพื้นฐาน
ท3xxxx ภาษาไทย 5 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. ท3xxxx ภาษาไทย 6 1 40 2
อ3xxxx ภาษาอังกฤษ 5 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. อ3xxxx ภาษาอังกฤษ 6 1 40 2
ว3xxxx ดุลยภาพของสิง่ มีชีวิต 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. ว3xxxx พันธุกรรมและสิง่ แวดลอม 1 40 2
ค3xxxx คณิตศาสตร 5 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. ค3xxxx คณิตศาสตร 6 1 40 2
พ3xxxx สุขศึกษา 5 0.5 20 1 สถานศึกษา สพฐ. พ3xxxx สุขศึกษา 6 0.5 20 1
ศ3xxxx ศิลปะ 5 0.5 20 1 สถานศึกษา สพฐ. ศ3xxxx ศิลปะ 6 0.5 20 1
ง3xxxx การงานอาชีพและเทคโนโลยี 5 0.5 20 1 สถานศึกษา สพฐ. ง3xxxx การงานอาชีพและเทคโนโลยี 6 0.5 20 1
รวม 5.5 220 11 รวม 5.5 220 11
รายวิชาเพิ่มเติม (หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ) ท-ป-น รายวิชาเพิ่มเติม (หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ)
ส3xxxx หนาทีพ่ ลเมือง 1 1 40 2 สถานศึกษา สพฐ. ส3xxxx หนาทีพ่ ลเมือง 2 1 40 2
xxxxxx คณิตศาสตรคอมพิวเตอร 2-0-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx การสรางเกมคอมพิวเตอรเบือ้ งตน 1-2-2 80 4
xxxxxx การสรางภาพเคลือ่ นไหวเบือ้ งตน 1-2-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx ระบบรักษาความปลอดภัยคอมพิวเตอรเบื้องตน 1-2-2 80 4
xxxxxx กฏหมายคอมพิวเตอรและเทคโนโลยีสารสนเทศ 2-0-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx โปรแกรมระบบจําลองการทํางานคอมพิวเตอร 1-2-2 80 4
xxxxxx พื้นฐานการตัดตอภาพเคลื่อนไหวและวีดีโอดิจิตอล 1-3-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx การสรางงานกราฟกและแอนิเมชัน 1-2-2 80 4
xxxxxx ปญหาพิเศษเทคโนโลยีสารสนเทศ 2-2-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx งานกราฟกสามมิติ 1-2-2 80 4
xxxxxx เทคโนโลยีมัลติมีเดีย 2-0-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx การใชโปแกรมประยุกตบนอุปกรณคอมพิวเตอรพกพา 1-2-2 80 4
xxxxxx โครงการ 1 2-2-2 80 4 สถานศึกษา สอศ. xxxxxx โครงการ 2 2-2-2 80 4

รวม 15 600 30 รวม 15 600 30


กิจกรรมพัฒนาผูเรียน กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
แนะแนว - 20 1 แนะแนว - 20 1
กิจกรรมเพือ่ สังคม - 20 1 กิจกรรมเพือ่ สังคม - 20 1
ชุมนุม - 20 1 ชุมนุม - 20 1
รวมทั้งสิน้ 20.5 820 43 รวมทั้งสิน้ 20.5 820 43
ภาคเรียนฤดูรอน 1/2562 ภาคเรียนฤดูรอน 2/2562

รวม 0 0 0 รวม 0 0 0

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 23 23
ขอมูลการวิเคราะหความตรงและความสอดคลองหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน
เพื่อเทียบโอนผลการเรียนสูรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี

1.๑ กลุมวิชาภาษาไทย

24 24 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
สาระและมาตรฐานการเรียนรูภาษาไทย

องคความรู ประกอบดวย 5 สาระ คือ


สาระที่ 1 การอาน
มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจแกปญหาในการ
ดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน
สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราวใน
รูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมี
ประสิทธิภาพ
สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และ
ความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค
สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและพลัง
ของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา
และนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 25 25
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ตารางที่ 1-1 ผลการวิเคราะหสาระการเรียนรูภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช


2551 จําแนกเปนรายวิชาตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลาง
กษาปที่ 4
รายวิชาภาษาไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
สาระที่ 1 การอาน
มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพือ่ นําไปใชตัดสินใจ
แกปญหาในการดําเนินชีวิตและมีนิสัยรักการอาน
1. อานออกเสียงบทรอยแกว x การอานออกเสียง ประกอบดวย 3 3 3 3 3 3
และบทรอยกรองไดอยางถูกตอง ไพเราะ - บทรอยแกวประเภทตาง ๆ เชน บทความ
และเหมาะสมกับเรื่องที่อาน นวนิยาย และความเรียง
- บทรอยกรอง เชน โคลง ฉันท กาพย
กลอน ราย และลิลิต
๒. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่อง x การอานจับใจความจากสื่อตาง ๆ เชน 3 3 3
ที่อาน - ขาวสารจากสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส
และแหลงเรียนรู
3. วิเคราะหและวิจารณเรื่องที่อานในทุกๆ ตาง ๆ ในชุมชน 3 3 3
ดานอยางมีเหตุผล - บทความ
- นิทาน 3 3 3
๔. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน และ
- เรื่องสั้น
ประเมินคาเพื่อนําความรู ความคิดไปใช
- นวนิยาย
ตัดสินใจแกปญ  หาในการดําเนินชีวติ
- วรรณกรรมพื้นบาน
๕. วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็น 3 3
- วรรณคดีในบทเรียน
โตแยงกับเรื่องที่อาน และเสนอความคิด
- บทโฆษณา
ใหมอยางมีเหตุผล
- สารคดี
๖. ตอบคําถามจากการอานประเภทตางๆ 3
- บันเทิงคดี
ภายในเวลาที่กําหนด
- ปาฐกถา
๗. อานเรื่องตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิดผัง - พระบรมราโชวาท 3 3
ความคิด บันทึก ยอความ และรายงาน - เทศนา
- คําบรรยาย
๘. สังเคราะหความรูจากการอาน สื่อ - คําสอน 3 3 3
สิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกสและแหลงเรียนรู - บทรอยกรองรวมสมัย
ตาง ๆ มาพัฒนาตน พัฒนาการเรียน และ - บทเพลง
พัฒนาความรูทางอาชีพ - บทอาเศียรวาท
- คําขวัญ
๙. มีมารยาทในการอาน x มารยาทในการอาน 3 3 3 3 3 3

26 26 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาภาษาไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
สาระที่ 2 การเขียน
มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียน
เรื่องราวในรูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมี
ประสิทธิภาพ
๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ ไดตรงตาม x การเขียนสื่อสารในรูปแบบตาง ๆ เชน
วัตถุประสงค โดยใชภาษาเรียบเรียง - อธิบาย 3 3
ถูกตอง มีขอมูล และสาระสําคัญชัดเจน - บรรยาย 3
- พรรณนา 3 3
- แสดงทรรศนะ 3 3 3
- โตแยง 3 3 3
- โนมนาว 3
- เชิญชวน
- ประกาศ 3 3
- จดหมายกิจธุระ 3
- โครงการและรายงานการดําเนินโครงการ
3 3 3
- รายงานการประชุม 3
- การกรอกแบบรายการตาง ๆ 3
๒. เขียนเรียงความ การเขียนเรียงความ
x 3 3 3
๓. เขียนยอความจากสื่อที่มรี ูปแบบและ x การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน 3 3
เนื้อหาหลากหลาย - กวีนิพนธ และวรรณคดี
- เรื่องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทาง
วิชาการ และวรรณกรรมพื้นบาน
๔. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตาง ๆ x การเขียนในรูปแบบตาง ๆ เชน
- สารคดี 3 3 3
- บันเทิงคดี 3 3
๕. ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามา x การประเมินคุณคางานเขียนในดานตาง ๆ 3 3 3
พัฒนางานเขียนของตนเอง เชน
- แนวคิดของผูเขียน
- การใชถอยคํา
- การเรียบเรียง
- สํานวนโวหาร
- กลวิธีในการเขียน
๖. เขียนรายงานการศึกษาคนควาเรื่องที่ x การเขียนรายงานเชิงวิชาการ 3 3 3
สนใจ ตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และ x การเขียนอางอิงขอมูลสารสนเทศ 3 3 3
ใชขอมูลสารสนเทศอางอิงอยางถูกตอง
๗. บันทึกการศึกษาคนควาเพื่อนํา ไปพัฒนา x การเขียนบันทึกความรูจากแหลงเรียนรูที่ 3 3 3
ตนเองอยางสม่ําเสมอ หลากหลาย
๘. มีมารยาทในการเขียน x มารยาทในการเขียน 3 3 3 3 3 3

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 27 27
รายวิชาภาษาไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู
ความคิด และความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค
๑. สรุปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจาก x การพูดสรุปแนวคิด และการแสดงความ 3 3 3 3 3 3
เรื่องที่ฟงและดู คิดเห็นจากเรื่องที่ฟงและดู
๒. วิเคราะห แนวคิด การใชภาษา และ x การวิเคราะหแนวคิด การใชภาษา และ 3 3 3
ความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดูอยาง ความนาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู
มีเหตุผล
๓. ประเมินเรื่องที่ฟงและดู แลวกําหนด x การเลือกเรื่องที่ฟงและดูอยางมี 3 3 3
แนวทางนําไปประยุกต ใชในการดําเนิน วิจารณญาณ
ชีวิต x การประเมินเรื่องที่ฟงและดูเพื่อกําหนด
แนวทางนําไปประยุกตใช
๔. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟงและดู 3 3 3
๕. พูดในโอกาสตาง ๆ พูดแสดงทรรศนะ x การพูดในโอกาสตางๆ เชน 3 3 3 3 3 3
โตแยง โนมนาวใจ และเสนอแนวคิด -การพูดตอที่ประชุมชน
ใหมดวยภาษาถูกตองเหมาะสม -การพูดอภิปราย
-การพูดแสดงทรรศนะ
x การพูดโนมนาวใจ
๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด x มารยาทในการฟง การดูและการพูด 3 3 3 3 3 3

สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของ
ภาษาและพลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัตขิ องชาติ
๑. อธิบายธรรมชาติของภาษาพลังของภาษา x ธรรมชาติของภาษา 3 3
และลักษณะของภาษา x พลังของภาษา
x ลักษณะของภาษา
-เสียงในภาษา
-สวนประกอบของภาษา
x องคประกอบของพยางคและคํา
2. ใชคําและกลุมคําสรางประโยคตรงตาม x การใชคําและกลุมคําสรางประโยค 3 3 3 3
วัตถุประสงค - คําและสํานวน
- การรอยเรียงประโยค
- การเพิ่มคํา
- การใชคํา
- การเขียนสะกดคํา
๓. ใชภาษาเหมาะสมแกโอกาส กาลเทศะ x ระดับของภาษา 3 3 3
และบุคคล รวมทั้งคําราชาศัพทอยาง x คําราชาศัพท 3 3 3
เหมาะสม
๔. แตงบทรอยกรอง x กาพย โคลง ราย และฉันท 3 3 3 3 3 3

28 28 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาภาษาไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๕. วิเคราะหอิทธิพลของภาษา ตางประเทศ x อิทธิพลของภาษาตางประเทศและ 3 3
และภาษาถิ่น ภาษาถิ่น
๖. อธิบายและวิเคราะหหลักการสรางคําใน x หลักการสรางคําในภาษาไทย 3
ภาษาไทย
๗. วิเคราะหและประเมินการใชภาษาจาก x การประเมินการใชภาษาจากสื่อ 3 3 3
สื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส สิ่งพิมพและ สื่ออิเล็กทรอนิกส
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและ
วรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง
๑. วิเคราะหและวิจารณวรรณคดีและ x หลักการวิเคราะหและวิจารณ 3 3 3
วรรณกรรมตามหลักการวิจารณ วรรณคดีและวรรณกรรมเบื้องตน
เบื้องตน - จุดมุงหมายการแตงวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- การพิจารณารูปแบบของวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธีใน
วรรณคดีและวรรณกรรม
๒. วิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดี x การวิเคราะหลักษณะเดนของ 3 3
เชื่อมโยงกับการเรียนรูทาง วรรณคดีและวรรณกรรมเกี่ยวกับ
ประวัติศาสตรและวิถีชีวิตของสังคม เหตุการณประวัติศาสตรและวิถี
ในอดีต ชีวิตของสังคมในอดีต
๓. วิเคราะหและประเมินคุณคาดาน x การวิเคราะหและประเมินคุณคา 3 3 3
วรรณศิลปของวรรณคดีและ วรรณคดีและวรรณกรรม
วรรณกรรมในฐานะที่เปนมรดกทาง - ดานวรรณศิลป
วัฒนธรรมของชาติ - ดานสังคมและวัฒนธรรม
๔. สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดีและ x การสังเคราะหวรรณคดีและ 3 3
วรรณกรรมเพื่อนําไปประยุกตใชใน วรรณกรรม
ชีวิตจริง
๕. รวบรวมวรรณกรรมพื้นบานและ x วรรณกรรมพื้นบานที่แสดงถึง 3
อธิบายภูมิปญญาทางภาษา - ภาษากับวัฒนธรรม
- ภาษาถิ่น
๖. ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยาน x บทอาขยานและบทรอยกรองที่มี 3 3 3 3 3 3
ตามที่กําหนดและบทรอยกรองที่มี คุณคา
คุณคาตามความสนใจและนําไปใช - บทอาขยานตามที่กําหนด
อางอิงบอกคุณคาบทอาขยานตามที่ - บทรอยกรองตามความสนใจ
กําหนดและบทรอยกรองที่มีคุณคา
ตามความสนใจและนําไปใชอางอิง

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 29 29
หนวยสมรรถนะหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

หนวยสมรรถนะยอยของกลุมวิชาภาษาไทย ประกอบดวย 9 หนวยสมรรถนะ ดังนี้


11 ฟงและดูสารในชีวิตประจําวัน และในงานอาชีพ
12 พูดในชีวิตประจําวัน และในงานอาชีพ
13 อานสารในชีวิตประจําวันและในงานอาชีพ
14 เขียนเชิงวิชาการ
15 เขียนเชิงกิจธุระ
16 เขียนเชิงธุรกิจ

30 30 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรฐานสมรรถนะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
หลักสูตรฐานสมรรถนะกลุมวิชาภาษาไทย ไดวิเคราะหกรอบมาตรฐานตามจุดประสงครายวิชา สมรรถนะรายวิชา
และคําอธิบายรายวิชา สรุปเปนหนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย และตัวบงชี้ และจําแนกตามกลุมวิชาภาษาไทย ดังนี้
ตารางที่ 1-2 ผลการวิเคราะหหนวยสมรรถนะยอย สมรรถนะยอย และตัวบงชี้ กลุมวิชาภาษาไทบหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพ พุทศักราช 2556 จําแนวเปนรายวิชา

รายวิชาภาษาไทย

ภาษาไทยเชิงสรางสรรค
การเขียนในงานอาชีพ
การพูดในงานอาชีพ
ภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ภาษาไทยพื้นฐาน

ภาษาไทยธุรกิจ
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

๑๑ ฟงและดูสาร ๑๑.๑ ฟงและดูขาวสาร ๑๑.๑๐๑ ฟงและดูขาว 9


ในชีวิตประจําวัน สารคดีหรือบันเทิงคดี บทความ สารคดี
และในงานอาชีพ ฟงคําสั่งหรือคําแนะนํา บันเทิงคดี
การปฏิบัติงานและดูสาร
ในงานอาชีพจากสื่อ 11.102 ฟงคําสั่งหรือ 9
บุคคล สื่อสิ่งพิมพ สื่อ ขอแนะนําการ
อิเล็กทรอนิกส และแหลง ปฏิบัติงาน
เรียนรูในชุมชน 11.103 ฟงและดูสารในงาน 9
อาชีพจากสื่อบุคคล
สื่อสิ่งพิมพ สื่อ
อิเล็กทรอนิกสและ
แหลงเรียนรูในชุมชน
12 พูดในชีวิต 12.1 พูดสื่อสารใน ๑๒.๑๐๑ พูดในโอกาสตางๆ ตา 9
ประจําวัน และ สถานการณตาง ๆ ที่ มารยาทของสังคม
ในงานอาชีพ กําหนด นําเสนอผลงาน ๑๒.๑๐2 กลาวทักทาย แนะนํา 9
หรือบรรยายสรุป พูด ตนเองและผูอื่น
แนะนําการใชเครื่องมือ
๑๒.๑๐3 กลาวตอบและปฏิเสธ 9
อุปกรณ ผลงานหรือ
แสดงความยินดี
ผลิตภัณฑ พูดสาธิต
แสดงความเสียใจ
ขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
การใชผลิตภัณฑ หรือ ๑๒.๑๐4 พูดติดตอกิจธุระ 9
กระบวนการผลิตชิ้นงาน สนทนาทางโทรศัพท
พูดเสนอขายสินคา และ สัมภาษณงาน
บริการ พูดติดตอกิจธุระ ๑๒.๑๐5 พูดนําเสนอผลงาน 9 9
ขอความอนุเคราะห บรรยายสรุป สาธิต
สนทนาทางโทรศัพท ขั้นตอนการฏิบตั ิงาน
สัมภาษณงาน ๑๒.๑๐6 พูดเสนอขายสินคา 9
และบริการ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 31 31
รายวิชาภาษาไทย

ภาษาไทยเชิงสรางสรรค
การเขียนในงานอาชีพ
การพูดในงานอาชีพ
ภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ภาษาไทยพื้นฐาน

ภาษาไทยธุรกิจ
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

๑๓ อานสารใน 13.1 อานขาว บทความ 13.101 การอานขาว 9


ชีวิตประจําวันและ หรือสารคดีจากสื่อ บทความ สารคดี จาก
ในงานอาชีพ สิ่งพิมพหรือสื่อ สื่อสิ่งพิมพและสื่อ
อิเล็กทรอนิกส อาน อิเล็กทรอนิกส
วรรณกรรมหรือภูมิ
13.102 การอานวรรณกรรม 9
ปญญาทองถิ่นดานภาษา
หรือภูมิปญ  ญาทองถิ่น
ที่สงเสริมคุณธรรม
ดานภาษา
จริยธรรม และคานิยม
ที่สงเสริมคุณธรรม
จริยธรรม และ
คานิยม
13.2 อานคูมือ 13.201 อานคูมือการ 9 9
ปฏิบัติงาน คูมือการใช ปฏิบัติงาน คูมือ
อุปกรณ หรือ การใชอุปกรณหรือ
รายละเอียดของ รายละเอียดของ
ผลิตภัณฑ อานประกาศ ผลิตภัณฑ
รับสมัครงาน ขอความ
โฆษณาจากสื่อสิ่งพิมพ 13.202 อานประกาศรับสมัคร 9
หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส งานจากสื่อสิ่งพิมพ
สื่ออิเล็กทรอนิกสหรือ
ปายประกาศตางๆ
13.203 อานขอความโฆษณา 9
จากสื่อสิ่งพิมพหรือ
สื่ออิเล็กทรอนิกส

32 32 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาภาษาไทย

ภาษาไทยเชิงสรางสรรค
การเขียนในงานอาชีพ
การพูดในงานอาชีพ
ภาษาไทยเพื่ออาชีพ
ภาษาไทยพื้นฐาน

ภาษาไทยธุรกิจ
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

14 เขียนเชิงวิชาการ 14.1 เขียนยอความ เขียน 14.101 เขียนสรุปความ เขียน 9 9 9


เรียงความ เขียนโครงการ ยอความ และเขียน
เขียนรายงานวิชาการ เรียงความ
14.102 การเขียนโครงกา 9
14.103 การเขียนรายงานเชิง 9
วิชาการ
15 เขียนเชิงกิจธุระ 15.1 เขียนจดหมายสมัครงาน 15.101 เขียนจดหมายสมัคร 9 9
เขียนบันทึกขอความใน งานและเขียนประวัตยิ อ
หนวยงาน เขียนรายงาน 15.102 เขียนบันทึกขอความใน 9 9
การประชุม กรอกแบบฟอรม การติดตอกัหนวยงาน
เอกสารประเภทตาง ๆ เขียน
15.103 เขียนรายงาน 9
แสดงความรูสึกในโอกาสตาง ๆ
การประชุม
15.104 การกรอกแบบฟอรม 9
ของเอกสารประเภท
ตางๆ
15.105 เขียนแสดงความรูส ึก 9 9
ในโอกาสตางๆ
16 เขียนเชิงธุรกิจ 16.1 เขียนประชาสัมพันธ 16.101 เขียนประชาสัมพันธ 9 9 9
ในงานอาชีพ ในลักษณะตางๆ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 33 33
ตารางที่ 1-3 ผลการวิเคราะหสมรรถนะยอยรายวิชาภาษาไทยหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
เพื่ อ รั บ การเที ย บโอนผลการเรี ย นรู ข องวิ ช าภาษาไทยหลั ก สู ต รแกนกลางการศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน พุ ท ศั ก ราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

ภาษาไทยเชิงสรางสรรค
การเขียนในงานอาชีพ
การพูดในงานอาชีพ
ภาษาไทยเพื่ออาชีพ
รหัส

ภาษาไทยพื้นฐาน
สมรรถนะยอย

ภาษาไทยธุรกิจ
Code

ท 31101
ท 31102
ท 32101
ท 32102
ท 33101
ท 33102
๑๑.๑ ฟงและดูขาวสาร สารคดีหรือบันเทิงคดี
ฟงคําสั่งหรือคําแนะนําการปฏิบตั งิ านและดู
สารในงานอาชีพจากสื่อบุคคล สื่อสิ่งพิมพ
สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรูในชุมชน
๑๑.๑๐๑ ฟงและดูขาว บทความ สารคดี 9 9 9 9 9 9 9
บันเทิงคดี
11.102 ฟงคําสั่งหรือขอแนะนําการ 9 9 9 9 9 9 9
ปฏิบัติงาน
11.103 ฟงและดูสารในงานอาชีพจากสื่อ 9 9 9 9 9 9 9
บุคคล สื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกสและ
แหลงเรียนรูในชุมชน
๑๒.๑ พูดสื่อสารในสถานการณตาง ๆ ที่กําหนด
นําเสนอผลงานหรือบรรยายสรุป พูดแนะนํา
การใชเครื่องมือ อุปกรณ ผลงานหรือ
ผลิตภัณฑ พูดสาธิตขั้นตอนการปฏิบัติงาน
การใชผลิตภัณฑ หรือกระบวนการผลิต
ชิ้นงานพูดเสนอขายสินคา และบริการ พูด
ติดตอกิจธุระ ขอความอนุเคราะห สนทนา
ทางโทรศัพทสัมภาษณงาน
๑๒.๑๐๑ พูดในโอกาสตางๆ ตามมารยาท 9 9 9
ของสังคม
๑๒.๑๐2 กลาวทักทาย แนะนําตนเองและผูอื่น 9 9 9
๑๒.๑๐3 กลาวตอบและปฏิเสธ แสดงความ 9 9 9 9 9 9
ยินดีแสดงความเสียใจ
๑๒.๑๐4 พูดติดตอกิจธุระ สนทนาทาง 9 9 9 9 9 9 9
โทรศัพท สัมภาษณงาน
๑๒.๑๐5 พูดนําเสนอผลงาน บรรยายสรุป 9 9 9 9 9 9 9
สาธิตขั้นตอนการปฏิบตั ิงาน
๑๒.๑๐6 พูดเสนอขายสินคาและบริการ 9 9 9 9 9 9 9

34 34 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

ภาษาไทยเชิงสรางสรรค
การเขียนในงานอาชีพ
การพูดในงานอาชีพ
ภาษาไทยเพื่ออาชีพ
รหัส
สมรรถนะยอย

ภาษาไทยพื้นฐาน
Code

ภาษาไทยธุรกิจ

ท 31101
ท 31102
ท 32101
ท 32102
ท 33101
ท 33102
๑๓.๑ อานขาว บทความ หรือสารคดีจากสื่อ
สิ่งพิมพหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส อาน
วรรณกรรมหรือภูมิปญญาทองถิ่นดานภาษา
ที่สงเสริมคุณธรรมจริยธรรม
และคานิยม
13.101 การอานขาว บทความ สารคดี 9 9 9 9 9 9 9
จากสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส
13.102 การอานวรรณกรรมหรือภูมิ 9 9 9 9 9 9
ปญญาทองถิ่น ดานภาษา 9
ที่สงเสริมคุณธรรม จริยธรรม และคานิยม
๑๓.๒ อานคูมือปฏิบัติงาน คูมือการใชอุปกรณ
หรือรายละเอียดของผลิตภัณฑ อานประกาศ
รับสมัครงาน ขอความโฆษณาจากสื่อ
สิ่งพิมพ หรือสื่ออิเล็กทรอนิกส
13.201 อานคูมือการปฏิบตั ิงาน คูมือการ 9 9 9 9 9 9 9 9
ใชอุปกรณหรือรายละเอียดของผลิตภัณฑ
13.202 อานประกาศรับสมัครงานจากสื่อ 9 9 9 9 9 9
สิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส 9
หรือปายประกาศตางๆ
-13.203 อานขอความโฆษณาจากสื่อ 9 9 9 9 9 9 9
สิ่งพิมพหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส
14.1 เขียนยอความ เขียนเรียงความ เขียน
โครงการ เขียนรายงานวิชาการ
14.101 เขียนสรุปความ เขียนยอความ 9 9 9 9 9 9 9 9 9
และเขียนเรียงความ
14.102 การเขียนโครงการ 9 9 9 9 9

14.103 การเขียนรายงานเชิงวิชาการ 9 9 9 9 9 9 9

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 35 35
หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

ภาษาไทยเชิงสรางสรรค
รหัส

การเขียนในงานอาชีพ
การพูดในงานอาชีพ
สมรรถนะยอย

ภาษาไทยเพื่ออาชีพ
Code

ภาษาไทยพื้นฐาน

ภาษาไทยธุรกิจ

ท 31101
ท 31102
ท 32101
ท 32102
ท 33101
ท 33102
15.1 เขียนจดหมายสมัครงานเขียนบันทึกขอความ
ในหนวยงาน เขียนรายงานการประชุม กรอก
แบบฟอรมเอกสารประเภทตางๆ เขียนแสดง
ความรูสึกในโอกาสตางๆ
15.101 เขียนจดหมายสมัครงานและเขียน 9 9 9 9 9 9 9
ประวัติยอ 9
15.102 เขียนบันทึกขอความในการติดตอ 9 9 9 9 9 9 9 9
กับหนวยงาน
15.103 เขียนรายงานการประชุม 9 9 9 9 9

15.104 การกรอกแบบฟอรมของเอกสาร 9 9 9 9 9 9 9
ประเภทตางๆ
15.105 เขียนแสดงความรูสกึ ในโอกาสตางๆ 9 9
16.1 เขียนประชาสัมพันธในงานอาชีพ
16.101 เขียนประชาสัมพันธในลักษณะตางๆ 9 9 9 9 9 9 9 9

36 36 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ตารางที่ 1-4 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชารายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน จํานวน 2 หนวยกิต
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูภ าษาไทย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ รายวิชาภาษาไทยพื้นฐาน จําแนกตามรายวิชาภาษาไทย
2000 - 1101 1 2 3 4 5 6
1 11.101 3 3 3 3 3 3
2 12.101 - - 3 3 - -
3 12.102 3 3 - - - -
4 12.103 3 3 3 3 - -
5 13.101 3 3 3 3 3 3
6 13.102 3 3 3 3 3 3
7 13.203 3 3 3 3 3 3
8 14.101 3 3 3 3 3 3
9 14.102 - - 3 3 3 3
10 14.103 3 3 3 3 3 3
11 15.101 3 3 3 3 3 3
12 15.102 3 3 3 3 3 3
13 15.104 3 3 3 3 3 3
รวม 5/11 5/11 5/12 5/12 4/10 4/10
ภาษาไทยพื้นฐาน เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 1 และ 3 จํานวน 5 สมรรถนะ 13 ตัวชี้วัด
เรียน 5 สมรรถนะยอย 13 ตัวบงชี้
คิดเปนรอยละ 100.00
หมายเหตุ 1. หมายเลขที่กําหนดในชองจํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จําแนกเปนรายวิชาภาษาไทยตามหลักสูตร สพฐ.
หมายเลข 1 หมายถึง วิชาภาษาไทย 1 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 60 ชัว่ โมง/ภาคเรียน
หมายเลข 2 หมายถึง วิชาภาษาไทย 2 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 60 ชัว่ โมง/ภาคเรียน
หมายเลข 3 หมายถึง วิชาภาษาไทย 3 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 60 ชัว่ โมง/ภาคเรียน
หมายเลข 4 หมายถึง วิชาภาษาไทย 4 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 60 ชัว่ โมง/ภาคเรียน
หมายเลข 5 หมายถึง วิชาภาษาไทย 5 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 60 ชัว่ โมง/ภาคเรียน หมายเลข 6 หมายถึง
วิชาภาษาไทย 6 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน
2. รายวิชาภาษาไทยของหลักสูตร สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนผลการเรียนรูเ ขาสูหนวยกิต
รายวิชาภาษาไทยของหลักสูตร ปวช. จะตองมีจํานวนหนวยกิตเทากันหรือมากกวา
3. รายวิชาของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนตั้งแต 2 รายวิชาขึ้นไป ถามีตัวชี้วัดซ้ําซอนกัน
ใหนับเปน 1 ตัวชี้วัด
4. รายวิชาหลักสูตรของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนเปนรายวิชาบังคับที่ทุกประเภทวิชาตองเรียน
ตามโครงสรางหลักสูตร สอศ. แลว ไมสามารถนํามาเทียบโอนซ้าํ ไดอีก

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 37 37
ตารางที่ 1-5 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาภาษาไทยเพื่ออาชีพ จํานวน 1 หนวยกิต
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูภ าษาไทยหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ ภาษาไทยเพื่ออาชีพ จําแนกตามรายวิชาภาษาไทย
2000 - 1102 1 2 3 4 5 6
1 11.102 3 3 3 3 3 3
2 11.103 3 3 3 3 3 3
3 12.103 3 3 3 3 - -
4 12.104 3 3 3 3 3 3
5 13.201 3 3 3 3 3 3
6 14.101 3 3 3 3 3 3
7 15.101 3 3 3 3 3 3
8 15.105 3 3 3 3 3 3
รวม 5/8 5/8 5/8 5/8 5/7 5/7
ภาษาไทยเพื่ออาชีพ เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 2 จํานวน 5 สมรรถนะยอย 8 ตัวชี้วัด
เรียน 5 สมรรถนะยอย 8 ตัวบงชี้
คิดเปนรอยละ 100.00

ตารางที่ 1-6 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาภาษาไทยธุรกิจ จํานวน 1 หนวยกิต


หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูภ าษาไทย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ ภาษาไทยธุรกิจ จําแนกตามรายวิชาภาษาไทย
2000 - 1103 1 2 3 4 5 6
1 13.201 3 3 3 3 3 3
2 13.202 3 3 3 3 3 3
3 16.101 3 3 3 3 3 -
รวม 2/3 2/3 2/3 2/3 2/3 1/3
ภาษาไทยธุรกิจ เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 4 จํานวน 5สมรรถนะยอย 3 ตัวชีว้ ัด
เรียน 2 สมรรถนะยอย 3 ตัวบงชี้
คิดเปนรอยละ 100.00

38 38 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ตารางที่ 1-7 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาการพูดในงานอาชีพ จํานวน 1 หนวยกิต
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูภาษาไทยหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ รายวิชาการพูดในงานอาชีพ จําแนกตามรายวิชาภาษาไทย
2000 - 1104 1 2 3 4 5 6
1 12.105 3 3 3 3 3 3
2 12.106 3 3 3 3 3 3
รวม 1/2 1/2 1/2 1/2 1/2 1/2
รายวิชาการพูดในงานอาชีพ เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 6 จํานวน 1 สมรรถนะยอย 2 ตัวชี้วัด
เรียน 1 สมรรถนะยอย 2 ตัวบงชี้ คิดเปนรอยละ 100.00

ตารางที่ 1-8 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาการเขียนในงานอาชีพ จํานวน 1 หนวยกิต


หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูภ าษาไทย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ รายวิชาการเขียนในงานอาชีพ จําแนกตามรายวิชาภาษาไทย
2000 - 1105 1 2 3 4 5 6
1 15.102 3 3 3 3 3 3
2 15.103 - 3 3 3 3
3 16.101 3 3 3 3 3 -

รวม 2/2 2/2 2/3 2/3 2/3 1/2


การเขียนในงานอาชีพ เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 5 จํานวน 2 สมรรถนะยอย 3 ตัวชี้วัด
เรียน 2 สมรรถนะยอย 3 ตัวบงชี้
คิดเปนรอยละ 100.00

ตารางที่ 1-9 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาภาษาไทยเชิงสรางสรรค จํานวน 1 หนวยกิต


หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูภาษาไทยหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ ภาษาไทยเชิงสรางสรรค จําแนกตามรายวิชาภาษาไทย
2000 - 1106 1 2 3 4 5 6
1 14.101 3 3 3 3 3 3
2 15.105 3 3 3 3 3 3
3 16.101 3 3 3 3 3 -
รวม 2/3 2/3 2/3 2/3 2/3 1/2
ภาษาไทยเชิงสรางสรรค เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 5 จํานวน 2 สมรรนถยอย 3 ตัวชี้วัด
เรียน 2 สมรรถนะยอย 3 ตัวบงชี้
คิดเปนรอยละ 100.00

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 39 39
ขอมูลการวิเคราะหความตรงและความสอดคลองหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน
เพื่อเทียบโอนผลการเรียนสูรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี

๑.๒ กลุมวิชาภาษาตางประเทศ

40 40 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมวิชาภาษาอังกฤษ
สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เขาใจและตีความเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึกและความคิดเห็นอยางมี
ประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นําเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตางๆ โดยการพูดและการเขียน
สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ต ๒.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนําไปใชไดอยางเหมาะสมกับ
กาลเทศะ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจาของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย
และนํามาใชอยางถูกตองและเหมาะสม
สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และเปนพืน้ ฐานในการพัฒนา
แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน
สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภาษาตางประเทศในสถานการณตางๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภาษาตางประเทศเปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลีย่ นเรียนรู
กับสังคมโลก

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 41 41
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตารางที่ 2-1 ผลการวิเคราะหสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 จําแนกเปนรายวิชาตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลาง

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู รายวิชาภาษาอังกฤษ


๑ ๒ 3 4 5 6
สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร
มาตรฐาน ต ๑.๑ เขาใจและตีความเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดงความคิดเห็นอยางมีเหตุผล
๑. ปฏิบัติตามคําแนะนําในคูมือ คําแนะนํา คําชี้แจง คําอธิบาย คําบรรยาย เชน 3 3 3 3 3 3
การใชงานตางๆ คําชี้แจง ประกาศเตือนภัยตางๆ ยาและการใชยา การใชอุปกรณ
คําอธิบาย และคําบรรยายที่ฟง และสิ่งของ การสืบคนขอมูลทางอินเทอรเน็ต
และอาน - Model verb : should/ought to/need/have
to/must + verb ที่เปน infinitive without to เชน
You should have it after meal. (Active Voice)
/The doses must be divided. (Passive Voice)
- Direct/Indirect Speech
- คําสันธาน (conjunction) and/but/or/so/not
only…but also/both…and/as well as
/after/because etc.
- ตัวเชื่อม (connective word) เชน First,…
Second,…Third,…Fourth,…Next,…Then,…Finally,…
etc.
๒. อานออกเสียงขอความ ขาว ขอความ ขาว ประกาศ โฆษณา บทรอยกรอง 3 3 3 3 3 3
ประกาศ โฆษณา บทรอยกรอง และบทละครสั้น
และบทละครสั้น (skit) ถูกตอง การใชพจนานุกรม
ตามหลักการอาน หลักการอานออกเสียง เชน
- การออกเสียงพยัญชนะตนคําและพยัญชนะทายคํา
สระเสียงสั้น สระเสียงยาว สระประสม
- การออกเสียงเนนหนัก-เบา ในคําและกลุมคํา
- การออกเสียงตามระดับเสียงสูง-ต่ํา ในประโยค
- การออกเสียงเชื่อมโยงในขอความ
- การแบงวรรคตอนในการอาน
- การอานบทรอยกรองตามจังหวะ
๓. อธิบายและเขียนประโยค ประโยคและขอความ 3 3 3 3 3 3
และขอความใหสัมพันธกับสื่อ การตีความ/ถายโอนขอมูลสื่อที่ไมใชความเรียง เชน
ที่ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆ ภาพ แผนผัง กราฟ แผนภูมิ ตาราง อักษรยอ จากกลุม
ที่อาน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อ สาระการเรียนรูอื่น ดวยการพูดและการเขียนอธิบาย
ที่ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆ โดยใช
ใหสัมพันธกับประโยค และ Comparison of adjectives/adverbs/
ขอความที่ฟงหรืออาน Contrast : but, although, however, in spite of…/
Logical connectives เชน caused
by/followed/consist of etc.

42 42 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาภาษาอังกฤษ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
๑ ๒ 3 4 5 6
๔. จับใจความสําคัญ เรื่องที่เปนสารคดีและบันเทิงคดี การจับใจความสําคัญ 3 3 3 3 3 3
วิเคราะหความสรุปความ การสรุปความ การวิเคราะหความ การตีความ การใช
ตีความ และแสดงความ
คิดเห็นจากการฟงและอาน skimming/ scanning/ guessing/ context clue
เรื่องที่เปนสารคดีและบันเทิงคดี ประโยคที่ใชในการแสดงความคิดเห็น การใหเหตุผลและ
พรอมทั้งใหเหตุผลและ การยกตัวอยาง เชน I believe…/I agree
ยกตัวอยางประกอบ with…but…/Well, I must say…/ What do you
think of/ about…?/ I think/ don’t think…?
What’s your opinion about…?/ In my opinion…/
- if clauses
- so…that/such…that
- too to…/enough to…
- on the other hand,…
- other (s) another/ the other (s)
- คําสันธาน (conjuctions) because of/due to
/owing to etc.
- Infinitive pronoun :
some,any,someone,anyone,everyone,one,ones
etc.
- Tenses : present simple/present
continuous/present perfect/past simple/future
tense etc.
-Simple sentence/Compound
sentence/Complex sentence
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูสึก และความคิดเห็นอยางมี
ประสิทธิภาพ
๑. สนทนาและเขียนโตตอบขอมูล ภาษาที่ใชในการสื่อสารระหวางบุคคล เชน 3 3 3 3 3 3
เกี่ยวกับตนเองและเรื่องตาง ๆ การทักทาย กลาวลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย
ใกลตัว ประสบการณ การพูดแทรกอยางสุภาพ การชักชวน
สถานการณ ขาว / เหตุการณ การแลกเปลี่ยนขอมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องใกลตัว
ประเด็นที่อยูในความสนใจของ สถานการณตางๆ ในชีวิตประจําวัน การสนทนา/
สังคม และสื่อสาร อยางตอเนื่อง เขียนขอมูลเกีย่ วกับตนเองและบุคคลใกลตัว
และเหมาะสม ประสบการณ สถานการณตางๆ ขาวเหตุการณ
ประเด็นที่อยูในความสนใจของสังคม
๒. เลือกและใชคําขอรอง ให คําขอรอง คําแนะนํา คําชี้แจง คําอธิบายที่มี 3 3 3 3 3 3
คําแนะนํา คําชี้แจง คําอธิบาย ขั้นตอนซับซอน
อยางคลองแคลว

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 43 43
รายวิชาภาษาอังกฤษ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
๑ ๒ 3 4 5 6
๓.พูดและเขียนแสดงความ ภาษาที่ใชในการแสดงความตองการ เสนอและให 3 3
ตองการ เสนอ ตอบรับและ ความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความ
ปฏิเสธการใหความชวยเหลือใน ชวยเหลือในสถานการณตางๆ เชน
สถานการณจําลองหรือ Please…/…,please./ I’d like…/ I need…/
สถานการณจริงอยางเหมาะสม May/ Can/ Could…?/ Would you please…?
Yes,…/Please do./ Certainly./ Yes, of
course./ Sure./ Need some help?/ What
can I do to help?/ Would you like any
help?/ If you like I could…/ What can I do
to help?/ Would you like any help?/ Would
you like me to help you?/ If you need
anything, please…/Is there anything I can
do?/ I’ll do it for you./I’m afraid…/I’m sorry,
but…/ Sorry, but… etc.
๔. พูดและเขียนเพื่อขอและให คําศัพท สํานวน ประโยคและขอความที่ใชในการขอ 3 3 3 3 3 3
ขอมูล บรรยาย อธิบาย และใหขอมูลบรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ
เปรียบเทียบ และแสดงความ แสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับประเด็น/ขาว/เหตุการณ
คิดเห็นเกีย่ วกับเรื่อง/ประเด็น/ ที่ฟงและอาน
ขาว/เหตุการณที่ฟงและอานอยาง
เหมาะสม
๕. พูดและเขียนบรรยายความรูสกึ ภาษาที่ใชในการการแสดงความรูส ึก ความคิดเห็น 3 3 3 3 3 3
และแสดงความคิดเห็นของตนเอง และใหเหตุผลประกอบ เชน ชอบ ไมชอบ ดีใจ
เกี่ยวกับเรื่องตางๆ กิจกรรม เสียใจ มีความสุข เศรา หิว รสชาติ สวย นา
ประสบการณ และขาว/เหตุการณ เกลียด เสียงดัง ดี ไมดี จากขาว เหตุการณ
อยางมีเหตุผล สถานการณ ในชีวิตประจําวัน เชน
Nice./Very nice./Well done!/Congratulations
on… I like…because…/I love…because…/ I
feel…because…/ I think…/ I believe…/I
agree/ disagree…/ I’m afraid I don’t like…/I
don’t believe…/I have no idea…/Oh no! etc.
มาตรฐาน ต ๑.๓ นําเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตางๆ โดยการพูดและการเขียน
๑. พูดและเขียนนําเสนอขอมูล การนําเสนอขอมูลเกีย่ วกับตนเอง ประสบการณ 3 3 3 3 3 3
เกี่ยวกับตนเอง ประสบการณ ขาว/เหตุการณ เรื่องและประเด็นที่อยูในความ
ขาว/เหตุการณ เรื่องและประเด็น สนใจของสังคม เชน การเดินทาง การรับประทาน
ตางๆ ตามความสนใจของสังคม อาหาร การเลนกีฬา/ดนตรี การดูภาพยนตร การ
ฟงเพลง การเลี้ยงสัตวการอานหนังสือ การ
ทองเที่ยว การศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกิจ

44 44 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาภาษาอังกฤษ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
๑ ๒ 3 4 5 6
๒. พูดและเขียนสรุปใจความ การจับใจความสําคัญ/แกนสาระการวิเคราะห 3 3 3 3 3
สําคัญ/แกนสาระทีไ่ ดจาก เรื่อง กิจกรรม ขาว เหตุการณ และสถานการณ
การวิเคราะหเรื่อง กิจกรรม ขาว ตามความสนใจ
เหตุการณ และสถานการณ
ตามความสนใจ
๓. พูดและเขียนแสดงความ การแสดงความคิดเห็น การใหเหตุผลประกอบและ 3 3 3 3 3
คิดเห็นเกีย่ วกับกิจกรรม ยกตัวอยางเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ
ประสบการณ และเหตุการณ และเหตุการณในทองถิ่น สังคมและโลก
ทั้งในทองถิ่น สังคมและโลก
พรอมทั้งใหเหตุผลและ
ยกตัวอยางประกอบ
สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม
มาตรฐาน ๒.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนําไปใชไดอยางเหมาะสมกับกาลเทศะ
๑. เลือกใชภาษา น้ําเสียง และ การเลือกใชภาษา น้ําเสียง และกิริยาทาทางในการ 3 3 3 3 3 3
กิริยาทาทางเหมาะกับระดับของ สนทนา ระดับของภาษา มารยาทสังคมและ
บุคคล โอกาส และสถานที่ วัฒนธรรมของเจาของภาษา เชน การขอบคุณ
ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรม ขอโทษ การชมเชย การใชสีหนาทาทางประกอบ
ของเจาของภาษา การพูดขณะแนะนําตนเอง การสัมผัสมือ การโบก
มือ การแสดงความ รูสึกชอบ/ไมชอบ การกลาว
อวยพร การแสดงอาการตอบรับหรือปฏิเสธ
๒. อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต วิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และที่มาของ 3 3 3 3 3
ความคิด ความเชื่อ และที่มาของ ขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจาของภาษา
ขนบธรรมเนียม และประเพณีของ
เจาของภาษา
๓. เขารวม แนะนํา และจัด กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เชน การเลนเกม 3 3 3 3 3 3
กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม การองเพลง การเลานิทาน/เรื่องจากภาพยนตร
อยางเหมาะสม บทบาทสมมุติ ละครสั้น วัยขอบคุณพระเจา วัน
คริสตมาส วันขึ้นปใหม วันวาเลนไทน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 45 45
รายวิชาภาษาอังกฤษ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
๑ ๒ 3 4 5 6
มาตรฐาน ต ๒.๒ เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจาของภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และ
นํามาใชอยางถูกตองและเหมาะสม
๑. อธิบาย/เปรียบเทียบความ การอธิบาย/การเปรียบเทียบความแตกตางระหวาง 3 3 3 3 3
แตกตางระหวางโครงสราง โครงสรางประโยค ขอความ สํานวน คําพังเพย
ประโยค ขอความ สํานวน คํา สุภาษิต และบทกลอนของภาษาตางประเทศและ
พังเพย สุภาษิต และบทกลอน ภาษาไทย
ของภาษาตางประเทศและ
ภาษาไทย
๒. วิเคราะห/อภิปราย ความ การวิเคราะห/การอภิปรายความเหมือนและความ 3 3 3 3
เหมือนและความแตกตางระหวาง แตกตางระหวางวิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม
วิถีชีวิต ความเชื่อและวัฒนธรรม ของเจาของภาษากับของไทย การนําวัฒนธรรม
ของเจาของภาษากับของไทยและ ของเจาของภาษาไปใช
นําไปใชอยางมีเหตุผล
สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธกับกลุม สาระการเรียนรูอื่น
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และเปนพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู
และเปดโลกทัศนของตน
๑. คนควา/สืบคน บันทึก สรุป การคนควา/การสืบคน การบันทึก การสรุป 3 3 3 3 3 3
และแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับ การแสดงความคิดเห็น และนําเสนอขอมูลที่
ขอมูลที่เกี่ยวของกับกลุมสาระ เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอนื่ จากแหลง
การเรียนรูอื่น จากแหลงเรียนรู เรียนรูต างๆ
ตางๆ และนําเสนอดวยการพูด
และการเขียน
สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภาษาตางประเทศในสถานการณตางๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม
๑. ใชภาษาสื่อสารในสถานการณ การใชภาษาสื่อสารในสถานการณจริง/สถานการณ 3 3 3 3 3 3
จริง/สถานการณจําลองที่เกิดขึ้น จําลองเสมือนจริงที่เกิดขึ้นในหองเรียน สถานศึกษา
ในหองเรียน สถานศึกษา ชุมชน ชุมชน และสังคม
และสังคม

46 46 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาภาษาอังกฤษ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
๑ ๒ 3 4 5 6
มาตรฐาน ๔.๒ ใชภาษาตางประเทศเปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชีพ และการแลกเปลี่ยนเรียนรูกับสังคมโลก
๑. ใชภาษาตางประเทศในการ การใชภาษาตางประเทศในการสืบคน/การคนควา 3 3 3 3 3 3
สืบคน/คนควา รวบรวม วิเคราะห ความรู/ขอมูลตางๆ จากสื่อและแหลงการเรียนรู
และสรุปความรู/ขอมูลตางๆ จาก ตางๆ ในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ
สื่อและแหลงการเรียนรูตางๆ ใน
การศึกษาตอและประกอบอาชีพ
๒. เผยแพร/ประชาสัมพันธ ขอมูล การใชภาษาอังกฤษในการเผยแพร/ประชาสัมพันธ 3 3 3 3 3 3
ขาวสารของโรงเรียน ชุมชน ขอมูล ขาวสารของโรงเรียน ชุมชน และทองถิ่น/
และทองถิ่น/ประเทศชาติ เปน ประเทศชาติ เชน การทําหนังสือเลมเล็กแนะนํา
ภาษาตางประเทศ โรงเรียน ชุมชน ทองถิ่น/ประเทศชาติ การทําแผน
ปลิว ปายคําขวัญ คําเชิญชวนแนะนําโรงเรียน
สถานที่สําคัญในชุมชนและทองถิ่น/ประเทศชาติ
การนําเสนอขอมูลขาวสารในโรงเรียน ชุมชน
ทองถิ่น/ประเทศชาติเปนภาษาอังกฤษ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 47 47
หนวยสมรรถนะหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 (ปวช.)

หนวยสมรรถนะยอยของกลุมวิชาภาษาตางประเทศ ประกอบดวย 7 หนวยสมรรถนะ ดังนี้


21 ฟง–ดู ขอความ/เรื่องในชีวิตประจําวัน และในงานอาชีพ
22 พูด สื่อสารในสถานการณตางๆ ในชีวิตประจําวันและงานอาชีพ
23 อานเรื่องทั่ว ไปในชีวิตประจําวันและในงานอาชีพ
24 เขียนใหขอมูลในชีวิตประจําวันและในงานอาชีพ
25 ใชภาษาสื่อสารระหวางวัฒนธรรม ของไทยและของเจาของภาษา
26 ใชเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาทักษะทางภาษา
27 ใชทักษะกระบวนการเรียนรูและการแสวงหาความรู เพื่อการเรียนรูตลอดชีวิต

48 48 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรฐานสมรรถนะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
หลักสูตรฐานสมรรถนะกลุมวิชาภาษาตางประเทศ ไดวิเคราะหกรอบมาตรฐานตามจุดประสงครายวิชา สมรรถนะ
รายวิ ช า และคํ า อธิ บ ายรายวิ ช า สรุ ป เป น หน ว ยสมรรถนะ สมรรถนะย อ ย และตั ว บ ง ชี้ และจํ า แนกตามกลุ ม วิ ช า
ภาษาตางประเทศ ดังนี้
ตารางที่ 6-2 ผลการวิเคราะหหนวยสมรรถนะยอย สมรรถนะยอย และตัวบงชี้ กลุมวิชาภาษาตางประเทศหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทศักราช 2556 จําแนวเปนรายวิชา

รายวิชา

2000 - 1201

2000 - 1202

2000 - 1203

2000 - 1204

2000 - 1205

2000 - 1206

2000 - 1208
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

21. ฟง–ดู 21.1 ฟงบทสนทนาใน 21.101 -ฟง ดู บทสนทนา 3 3 3 3 3


ขอความ/เรื่องใน สถานการณตางๆ ฟงขาว โตตอบตามสถานการณ
ชีวิตประจําวัน สั้นๆ ฟงเพลง ดูภาพยนตร ตางๆ ในชีวิตประจําวัน
และในงานอาชีพ สารคดีสั้นๆจากสื่อโสตทัศน 21.102 -ฟงบทสนทนาเกี่ยวกับ 3 3 3 3
ครอบครัว การศึกษา
งานอดิเรก และสุขภาพ
21.103 -ฟงบทสนทนาเกี่ยวกับ 3 3 3
ขาวสั้นๆบันเทิงคดี
21.104 -ฟงบทสนทนาทาง 3 3 3 3
โทรศัพท
21.2 ฟงคําสั่ง คําขอรอง 21.201 -ฟงการบอกตําแหนง 3 3 3 3
คําแนะนํา คําบอกตําแหนง/ ที่ตั้ง ทิศทาง และ
ที่ตั้งบอกทิศทาง คําอธิบาย แนะนําการเดินทาง
ในสถานการณที่ใชใน 21.202 -ฟงและปฏิบัติตาม 3 3 3 3
ชีวิตประจําวัน คําสั่งและคําแนะนํา
21.3 ฟง–ดูการอธิบาย การ 21.203 -พูดสื่อสารสถานการณ 3 3 3
ใหขอมูลเกี่ยวกับงานธุรกิจ ตางๆ ในชีวิตประจําวัน
บริการ การนําเสนอ สาธิต และสถานประกอบการ
ขั้นตอนการปฏิบัติงานของ
สถานการณในงานอาชีพ
22. พูด สื่อสาร 22.1 สนทนาโตตอบ 22.101 -พูดโตตอบสถานการณ 3 3 3 3
ในสถานการณตาง แลกเปลี่ยนขอมูลไดตาม ตางๆ ในชีวิตประจําวัน
ๆในชีวิตประจําวัน วัตถุประสงคของ การ
และงานอาชีพ สื่อสารในสถานการณที่
กําหนด ใชภาษาในการ ให
คําสั่ง/คําแนะนํา
22.102 -พูดเรื่องในอดีต 3 3 3 3
ปจจุบัน และอนาคต

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 49 49
รายวิชา

2000 - 1201

2000 - 1202

2000 - 1203

2000 - 1204

2000 - 1205

2000 - 1206

2000 - 1208
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

22. พูด สื่อสาร 22.1 สนทนาโตตอบ 22.103 -พูดเกี่ยวกับครอบครัว 3 3 3


ในสถานการณตาง แลกเปลี่ยนขอมูลไดตาม การศึกษา งานอดิเรก
ๆในชีวิตประจําวัน วัตถุประสงคของ การ และสุขภาพ
และงานอาชีพ สื่อสารในสถานการณที่ 22.104 -บอกกําหนดการ 3 3 3 3
กําหนด ใชภาษาในการ ให เดินทาง ทิศทาง
คําสั่ง/คําแนะนํา ตําแหนงที่ตั้ง
22.105 -พูดสนทนาทาง 3 3 3 3
โทรศัพท
22.013 -สนทนาเกี่ยวกับสิ่ง 3 3 3
บันเทิง
22.104 -สนทนาการซื้อขาย 3 3 3 3
22.2 สาธิตเกีย่ วกับ 22.201 สาธิตเกี่ยวกับ 3 3 3
ผลิตภัณฑสิ่งประดิษฐ การ ผลิตภัณฑสิ่งประดิษฐ
บริการในงานอาชีพ นําเสนอ การบริการในงาน
(Presentation) ผลงาน อาชีพ นําเสนอ
โครงงาน สิ่งประดิษฐ (Presentation)
รายงานเรื่องที่กําหนด สินคา ผลงาน โครงงาน
บริการในงานอาชีพ /ใน สิ่งประดิษฐรายงาน
ชุมชน เรื่องที่กําหนด สินคา
บริการในงานอาชีพ /
ในชุมชน
23. อานเรื่องทั่ว 23.1 อานคําสั่ง ประโยค 23.101 -อานเรื่องทั่วๆไป 3
ไปในชีวติ ประจําวัน ขอความเรื่องตาง ๆ ทีพ่ บใน ขอความสั้นที่พบใน
และในงานอาชีพ ชีวิตประจําวัน ชีวิตประจําวัน
23.102 -อานขอความเรื่องราว 3 3
ตางๆ ที่พบใน
ชีวิตประจําวัน
23.103 -อานปายตางๆใน 3 3
ชีวิตประจําวัน
23.104 -อาน หนังสือพิมพ 3 3
แผนพับ แผนปลิว
โฆษณา โปสการดจาก
สื่อสิ่งพิมพใน
ชีวิตประจําวัน
23.105 -อานกําหนดการ 3 3
บันทึกสั้นๆ
23.106 -อานประกาศ ฉลาก 3 3
ปายประกาศ ปาย
เตือน เครื่องหมาย
สัญลักษณจากสถานที่
ตางๆ

50 50 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา

หนวย

2000 - 1201

2000 - 1202

2000 - 1203

2000 - 1204

2000 - 1205
2000 - 1206

2000 - 1208
สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้
สมรรถนะ

23.2 อานขอมูล ขาวสาร 23.201 -อานขอความ 3 3


บทความในงานอาชีพตางๆ กําหนดการ และปาย
อานคูมือการปฏิบัติงาน ประกาศ
กฎระเบียบ แบบฟอรมตางๆ 23.202 -อานประกาศ รับสมัคร 3 3
ตาราง แผนภาพ แผนภูมิ งาน ระเบียบการ
กําหนดการ และบันทึก
สั้น
23.203 -อานตาราง แผนภาพ 3 3
แผนภูมิ

24. เขียนให 24.1 เขียนโตตอบทาง 24.101 -เขียนใหขอมูลเกีย่ วกับ 3 3


ขอมูลใน สังคม เขียนใหขอมูลบุคคล ตนเองในชีวิตประจําวัน
ชีวิตประจําวัน เขียนจดหมายสวนตัว เขียน
และในงานอาชีพ จดหมายอิเล็กทรอนิกส
เขียนบันทึกยอ/ ขอความ
สั้นๆ ในโอกาสตาง ๆ
24.102 -เขียนขอมูลบุคคล 3 3

24.103 -เขียนจดหมายสวนตัว 3

24.104 -เขียนอวยพรใน 3 3
เทศกาลตางๆ

24.105 -เขียนจดหมาย 3 3
อีเล็กทรอนิกส

24.106 -เขียนบันทึกยอ และ 3 3


ขอความสั้นๆ

24.2 กรอกใหขอมูลใน 24.201 -เขียนใหขอมูล กรอก 3 3


แบบฟอรมตางๆ ใบสมัคร แบบฟอรมตางๆใน
งาน ใบสมัครสมาชิกตางๆ ชีวิตประจําวัน
ใบขอรับทุน ใบสมัครเขา 24.202 -กรอกแบบฟอรมชนิด 3 3
ศึกษา ใบสมัครสอบฯลฯ ตางๆ
24.3 เขียนใหขอมูลใน 24.301 -เขียนบันทึกยอ และ 3 3
เอกสารการปฏิบัติงานใน ขอความสั้นๆ
งานอาชีพตางๆ
24.4เขียนบันทึกยอ 24.401
รายงานสั้นๆ เขียนจดหมาย
ธุรกิจประเภทตางๆ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 51 51
รายวิชา

หนวย

2000 - 1201

2000 - 1202

2000 - 1203

2000 - 1204

2000 - 1205
2000 - 1206

2000 - 1208
สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้
สมรรถนะ

24.3 เขียนใหขอมูลใน 24.301 -เขียนบันทึกยอ และ 3 3


เอกสารการปฏิบัติงานใน ขอความสั้นๆ
งานอาชีพตางๆ
24.4เขียนบันทึกยอ 24.401
รายงานสั้นๆ เขียน
จดหมายธุรกิจประเภท
ตางๆ
25. ใชภาษา 25.1 ใชภาษาไดเหมาะสม 25.101 -ใชภาษาตามมารยาท 3 3 3 3
สื่อสารระหวาง ตามมารยาททางสังคมและ สังคมและวัฒนธรรม
วัฒนธรรม วัฒนธรรมของเจาของ ของเจาของภาษา
ของไทยและ ภาษา
ของเจาของ
ภาษา
26. ใช 26.1 ใช ICT เปนแหลง 26.101 -ใชเทคโนโลยี 3 3 3 3 3 3 3
เทคโนโลยี การเรียนรูดวยตนเองหรือ สารสนเทศเปนแหลง
สารสนเทศ ฝกฝนกับเพื่อน การเรียนรูหรือฝกฝนกับ
พัฒนาทักษะ เพื่อนเพื่อพัฒนาทักษะ
ทางภาษา ทางภาษาดวยตนเอง
26.2 ใช ICT พัฒนา 26.201 -ใชเทคโนโลยี 3 3 3 3 3 3 3
ทักษะ สารสนเทศเปนแหลง
การฟง-ดู พูดอาน การ การเรียนรูหรือฝกฝนกับ
เขียน เพื่อนเพื่อพัฒนาทักษะ
ทางภาษาดวยตนเอง
27. ใชทักษะ 27.1 ใชกลยุทธการเรียนรู 27.101 สืบคนขอมูลจากแหลง 3 3 3 3 3 3 3
กระบวนการ สืบคนขอมูลจากแหลงการ การเรียนรูที่หลากหลาย
เรียนรูและการ เรียนรูที่หลากหลายเพื่อ
แสวงหา พัฒนาทักษะ 27.102 เลือกใชสื่อเทคโนโลยี 3 3 3 3 3
ความรู เพื่อ การสื่อสารและการ เปนแหลงเรียนรูดวย
การเรียนรู ประกอบอาชีพ ตนเอง สืบคนขอมูลจาก
ตลอดชีวิต แหลงการเรียนรูที่
หลากหลาย

52 52 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ตารางที่ 2-3 ผลการวิเคราะหสมรรถนะยอยรายวิชาภาษาตางประเทศหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
เพื่อรับการเทียบโอนผลการเรียนรูข องวิชาภาษาตางประเทศหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทศักราช 2551 ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย

หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

การอานสื่อสิ่งพิมพในชีวิตประจําวัน

ภาษาอังกฤษสําหรับงานพาณิชย

ภาษาอังกฤษ ๒ (อ ๓๑๑๐๒)

ภาษาอังกฤษ ๔ (อ ๓๒๑๐๒)
ภาษาอังกฤษ ๕ (อ ๓๓๑๐๑)
ภาษาอังกฤษ ๖ (อ ๓๓๑๐๒)
ภาษาอังกฤษ ๑ (อ ๓๑๑๐๑)

ภาษาอังกฤษ ๓ (อ ๓๒๑๐๑)
ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1

การเขียนในชีวิตประจําวัน
รหัส

ภาษาอังกฤษชีวิตจริง 2
สมรรถนะยอย

ภาษาอังกฤษฟง-พูด 1
ภาษาอังกฤษฟงพูด 2
Code

21.1 ฟงบทสนทนาในสถานการณตางๆ ฟง 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3


ขาวสั้นๆ ฟงเพลง ดูภาพยนตร สารคดี
สั้นๆ จากสื่อโสตทัศน
21.2 ฟงคําสั่ง คําขอรอง คําแนะนํา คําบอก 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
ตําแหนง/ ที่ตั้งบอกทิศทาง คําอธิบายใน
สถานการณที่ใชในชีวิตประจําวัน
21.3 ฟง–ดูการอธิบาย การใหขอมูลเกีย่ วกับ 3 3 3
งานธุรกิจบริการ การนําเสนอ สาธิต
ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานของสถานการณ
ในงานอาชีพ
22.1 สนทนาโตตอบ แลกเปลี่ยนขอมูลไดตาม 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
วัตถุประสงคของ การสื่อสารใน
สถานการณที่กําหนดใชภาษาในการ ให
คําสั่ง/คําแนะนํา
22.2 สาธิตเกีย่ วกับผลิตภัณฑสิ่งประดิษฐการ 3 3 3
บริการในงานอาชีพ นําเสนอ
(Presentation) ผลงาน โครงงาน
สิ่งประดิษฐรายงานเรื่องที่กําหนด สินคา
บริการในงานอาชีพ/ในชุมชน
23.1 อานคําสั่งประโยคขอความ เรื่องตางๆ ที่ 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
พบในชีวิตประจําวัน
23.2 อานขอมูล ขาวสาร บทความในงานอาชีพ 3 3 3 3 3 3 3 3 3
ตางๆ อานคูมือการปฏิบัติงาน
กฎระเบียบ แบบฟอรมตางๆ ตาราง
แผนภาพ แผนภูมิ
23.3 อานคูมือ ขั้นตอนการปฏิบตั ิงานขั้นตอน 3 3 3 3 3 3 3
การทํางาน อานขอมูลคุณสมบัตเิ ฉพาะ
ทางเทคนิคของสินคา เครื่องมืออุปกรณใน
งานอาชีพ ใชคําศัพทเทคนิคในงานอาชีพ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 53 53
หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

ภาษาอังกฤษ ๒ (อ ๓๑๑๐๒)

ภาษาอังกฤษ ๔ (อ ๓๒๑๐๒)
ภาษาอังกฤษ ๕ (อ ๓๓๑๐๑)
ภาษาอังกฤษ ๖ (อ ๓๓๑๐๒)
ภาษาอังกฤษ ๑ (อ ๓๑๑๐๑)

ภาษาอังกฤษ ๓ (อ ๓๒๑๐๑)
ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1

การเขียนในชีวิตประจําวัน
ภาษาอังกฤษสําหรับงาน
ภาษาอังกฤษชีวิตจริง 2
ภาษาอังกฤษฟง-พูด 1
ภาษาอังกฤษฟงพูด 2
รหัส

การอานสื่อสิ่งพิมพใน
สมรรถนะยอย
Code

ิ 
24.1 เขียนโตตอบทางสังคม เขียนใหขอมูล 3 3 3 3 3 3 3 3 3
บุคคล เขียนจดหมายสวนตัว เขียน
จดหมายอิเล็กทรอนิกส เขียนบันทึกยอ/
ขอความสั้นๆ ในโอกาสตาง ๆ
24.2 กรอกใหขอมูลในแบบฟอรมตาง ๆ ใบ 3 3 3 3 3 3 3 3 3
สมัครงาน ใบสมัครสมาชิกตางๆ ใบขอรับ
ทุน ใบสมัครเขาศึกษา ใบสมัครสอบ
24.3 เขียนใหขอมูลในเอกสารการปฏิบตั ิงานใน 3 3
งานอาชีพตางๆ
24.4 เขียนบันทึกยอรายงานสั้นๆ เขียน 3 3
จดหมายธุรกิจประเภทตาง ๆ
25.1 ใชภาษาไดเหมาะสมตามมารยาททาง 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
สังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา
26.1 ใช ICT เปนแหลงการเรียนรูดวยตนเอง 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
หรือฝกฝนกับเพื่อน
26.2 ใช ICT พัฒนาทักษะการฟง-ดู พูดอาน 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
การเขียน
27.1 ใชกลยุทธการเรียนรู สืบคนขอมูลจาก 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
แหลงการเรียนรูที่หลากหลายเพื่อพัฒนา
ทักษะการสื่อสารและการประกอบอาชีพ

54 54 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ตารางที่ 2-4 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1 จํานวน 2 หนวยกิต
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูภ าษาตางประเทศ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จําแนกตามรายวิชาภาษาตางประเทศ
ที่
ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1
1 2 3 4 5 6
1 21.1 3 3 3 3 3 3
2 22.1 3 3 3 3 3 3
3 23.1 3 3 3 3 3 3
4 24.1 3 3 3 3 3 3
5 25.1 3 3 3 3 3 3
6 26.1 3 3 3 3 3 3
7 26.2 3 3 3 3 3 3
8 27.1 3 3 3 3 3 3
รวม 8 8 8 8 8 8
ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1 เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 1 และ 2 จํานวน 8 ตัวชี้วัด
เรียน 8 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100

หมายเหตุ 1. หมายเลขที่กําหนดในชองจํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


จําแนกเปนรายวิชาสุขศึกษาแลพลศึกษาตามหลักสูตร สพฐ.
หมายเลข 1 หมายถึง วิชาภาษาอังกฤษ ๑ จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 2 หมายถึง วิชาภาษาอังกฤษ 2 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 3 หมายถึง วิชาภาษาอังกฤษ 3 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 4 หมายถึง วิชาภาษาอังกฤษ 4 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 5 หมายถึง วิชาภาษาอังกฤษ 5 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 6 หมายถึง วิชาภาษาอังกฤษ 6 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
2. รายวิชาภาษาตางประเทศของหลักสูตร สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนผลการเรียนรูเขาสูหนวยกิต
รายวิชาภาษาตางประเทศของหลักสูตร ปวช. จะตองมีจํานวนหนวยกิตเทากันหรือมากกวา
3. รายวิชาของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนตั้งแต 2 รายวิชาขึ้นไป ถามีตัวชี้วัดซ้ําซอนกัน
ใหนับเปน 1 ตัวชี้วัด
4. รายวิชาหลักสูตรของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนเปนรายวิชาบังคับที่ทุกประเภทวิชาตองเรียน
ตามโครงสรางหลักสูตร สอศ. แลว ไมสามารถนํามาเทียบโอนซ้าํ ไดอีก

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 55 55
ตารางที่ 2-5 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชารายวิชาภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 2
จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู
ภาษาตางประเทศหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพืน้ ฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู
ที่ จําแนกตามรายวิชาภาษาตางประเทศ
รายวิชาภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 2
1 2 3 4 5 6
1 21.1 3 3 3 3 3 3
2 21.2 3 3 3 3 3 3
3 22.1 3 3 3 3 3 3
4 23.1 3 3 3 3 3 3
5 23.2 3 3 3 3 3 3
6 24.2 3 3 3 3 3 3
7 25.1 3 3 3 3 3 3
8 26.1 3 3 3 3 3 3
9 26.2 3 3 3 3 3 3
10 27.1 3 3 3 3 3 3
รวม 10 10 10 10 10 10
ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 2 เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 3 และ 4 จํานวน 10 ตัวชี้วัด
เรียน 10 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100

ตารางที่ 2-6 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชารายวิชาภาษาอังกฤษฟงพูด 1 จํานวน 1 หนวยกิต


หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูภ าษาตางประเทศ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรูรายวิชา
ที่ จําแนกตามรายวิชาภาษาตางประเทศ
ภาษาอังกฤษฟงพูด 1
1 2 3 4 5 6
1 21.1 3 3 3 3 3 3
2 21.2 3 3 3 3 3 3
3 21.3 3 3 3 3 3 3
4 22.1 3 3 3 3 3 3
5 22.2 3 3 3 3 3 3
6 25.1 3 3 3 3 3 3
7 26.1 3 3 3 3 3 3
8 26.2 3 3 3 3 3 3
9 27.1 3 3 3 3 3 3
รวม 9 9 9 9 9 9
ภาษาอังกฤษฟงพูด 1 เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 5 จํานวน 9 ตัวชี้วัด
เรียน 9 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100

56 56 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ตารางที่ 2-7 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชารายวิชาภาษาอังกฤษฟงพูด 2 จํานวน 1 หนวยกิต
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูภ าษาตางประเทศ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรูรายวิชา จําแนกตามรายวิชาภาษาตางประเทศ
ที่
ภาษาอังกฤษฟงพูด 2
1 2 3 4 5 6
1 21.1 3 3 3 3 3 3
2 21.2 3 3 3 3 3 3
3 21.3 3 3 3 3 3 3
4 22.1 3 3 3 3 3 3
5 22.2 3 3 3 3 3 3
6 25.1 3 3 3 3 3 3
7 26.1 3 3 3 3 3 3
8 26.2 3 3 3 3 3 3
9 27.1 3 3 3 3 3 3
รวม 9 9 9 9 9 9
ภาษาอังกฤษฟงพูด 2 เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 6 จํานวน 9 ตัวชี้วัด
เรียน 9 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100

ตารางที่ 2-8 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชารายวิชาการอานสื่อสิ่งพิมพในชีวิตประจําวัน


จํานวน 1 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู
ภาษาตางประเทศ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรูรายวิชา จําแนกตามรายวิชาภาษาตางประเทศ
ที่
การอานสื่อสิ่งพิมพในชีวิตประจําวัน
1 2 3 4 5 6
1 23.1 3 3 3 3 3 3
2 23.2 3 3 3 3 3 3
3 23.3 3 3 3 3 3 3
4 26.1 3 3 3 3 3 3
5 26.2 3 3 3 3 3 3
6 27.1 3 3 3 3 3 3
รวม 6 6 6 6 6 6
การอานสื่อสิ่งพิมพในชีวิตประจําวัน เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 5 จํานวน 9 ตัวชี้วัด
เรียน 6 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 57 57
ตารางที่ 2-9 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชารายวิชาการเขียนในชีวิตประจําวัน
จํานวน 1 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู
ภาษาตางประเทศ หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรูรายวิชา
ที่ จําแนกตามรายวิชาภาษาตางประเทศ
การเขียนในชีวิตประจําวัน
1 2 3 4 5 6
1 24.1 3 3 3 3 3 3
2 24.2 3 3 3 3 3 3
3 24.3 3 3 3 3 3 3
4 24.4 3 3 3 3 3 3
5 26.1 3 3 3 3 3 3
6 26.2 3 3 3 3 3 3
7 27.1 3 3 3 3 3 3
รวม 7 7 7 7 7 7
การเขียนในชีวิตประจําวัน เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 5 จํานวน 9 ตัวชี้วัด
เรียน 7 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100

58 58 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ขอมูลการวิเคราะหความตรงและความสอดคลองหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน
เพื่อเทียบโอนผลการเรียนสูรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี

๑.๓ กลุมวิชาวิทยาศาสตร

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 59 59
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมวิชาวิทยาศาสตร
สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต
มาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของระบบตางๆ ของ
สิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรู
ไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต
มาตรฐาน ว ๑.๒ เข าใจกระบวนการและความสํ าคั ญของการถ ายทอดลั กษณะทางพั นธุ กรรม วิ วั ฒนาการของสิ่ งมี ชี วิ ต
ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มี ผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอ ม
มีก ระบวนการเสาะหาความรู และจิ ตวิท ยาศาสตร สื่ อสาร สิ่ งที่ เรี ย นรู และนํ า ความรู ไ ปใช
ประโยชน

สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
มาตรฐาน ว ๒.๑ เขา ใจสิ่ งแวดล อมในทองถิ่น ความสั มพั น ธร ะหว างสิ่ งแวดล อ มกับ สิ่ งมี ชีวิต ความสั มพัน ธ
ระหวางสิ่ งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู และจิตวิทยาศาสตร
สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับทองถิ่น ประเทศ และโลก
นําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขาใจสมบั ติของสาร ความสั มพัน ธระหวางสมบัติของสารกับโครงสร างและแรงยึดเหนี่ ย ว
ระหว า งอนุ ภ าคมี ก ระบวนการสื บ เสาะ หาความรู แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร สื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู
นําความรูไปใชประโยชน
มาตรฐาน ว ๓.๒
เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิดสารละลาย การเกิดปฏิกิริยา มี
กระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว ๔๑ เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหา
ความรูสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม
มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา
ศาสตรสื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช ประโยชน

สาระที่ ๕ พลังงาน
มาตรฐาน ว ๕.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน ปฏิสัมพันธระหวางสารและ
พลั งงาน ผลของการใชพลั งงานตอชีวิตและสิ่ งแวดลอม มีกระบวนการสื บเสาะหาความรู
สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

60 60 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว ๖.๑ เขาใจกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของกระบวนการตาง
ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศ
มาตรฐาน ว ๗.๑ เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะและผล
ตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร การสื่อสารสิ่งที่เรียนรู
และนําความรูไปใชประโยชน
มาตรฐาน ว ๗.๒ เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและทรัพยากรธรรมชาติ
ดานการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่
เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม

สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘. ๑ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู การแกปญหา รูวา
ปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได
ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวาวิทยาศาสตร เทคโนโลยี สังคม และ
สิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 61 61
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

ตารางที่ 3-1 ผลการวิเคราะหสาระการเรียนกลุมวิชาวิทยาศาสตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน


พุทธศักราช 2551 จําแนกเปนรายวิชาตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู
แกนกลาง

รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต
มาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง
และหนาที่ของระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเอง
และดูแลสิ่งมีชีวิต
๑. ทดลองและ - สารตาง ๆ เคลื่อนที่ผานเขาและออกจากเซลล ตลอดเวลา 3
อธิบายการรักษา เซลลจึงตองมีการรักษาดุลยภาพ เพื่อใหรางกายของสิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพของเซลล ดํารงชีวิตไดตามปกติ
ของสิ่งมีชีวิต - เซลลมีการลําเลียงสารผานเซลลโดยวิธีการแพร การออสโมซิส
การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต การลําเลียงแบบใชพลังงาน และการ
ลําเลียงสารขนาดใหญ
- สิ่งมีชีวิตเซลลเดียวมีการลําเลียงสารเกิดขึ้นภายในเซลล
เพียงหนึ่งเซลล แตสิ่งมีชีวิตหลายเซลลตองอาศัยการทํางาน
ประสานกันของเซลลจํานวนมาก
๒. ทดลองและ - พืชมีกลไกในการรักษาดุลยภาพของน้ํา โดยมี การควบคุม 3
อธิบายกลไกการ สมดุลระหวางการคายน้ําผานปากใบ และการดูดน้ําที่ราก
รักษาดุลยภาพ - การเปดปดของปากใบเปนการควบคุมอัตราการคายน้ํา
ของน้ําในพืช ของพืช ซึ่งชวยในการรักษาดุลยภาพของน้ําภายในพืชใหมี
ความชุมชื้นในระดับที่พอเหมาะ

62 62 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
๓. สืบคนขอมูลและ - ไตเปนอวัยวะสําคัญในการรักษาดุลยภาพของน้ําและ 3
อธิบายกลไกการควบคุม สารต าง ๆ ในร างกาย ซึ่งมีโครงสรา งและการทํ างาน
ดุลยภาพของน้ํา แร รวมกับอวัยวะอื่น
ธาตุ และอุณหภูมิของ - ภายในไตมีหนวยไต ของเหลวที่ผานเขาสูหนวยไตสวน
มนุษยและสัตวอื่น ๆ หนึ่งจะถูกดูดซึมกลับสูหลอดเลือด สวนที่ไมถูกดูดซึม
และนําความรูไ ปใช กลับจะผานไปยังทอปสสาวะ
ประโยชน - ยูเรีย โซเดียมไอออน และคลอไรดไอออน เปนของเสีย
จากกระบวนการเมแทบอลิ ซึ ม จะถู ก ขั บ ออกจากไต
ไปพรอมกับปสสาวะ
- อะมีบาและพารามีเซี ยมเปน สิ่งมี ชีวิ ตเซลล เดีย วที่ มี
โครงสร างภายในเซลล ที่ เรี ยกว าคอนแทร็ กไทล แวคิ ว-โอล
ในการกําจัดน้ําและของเสียออกจากเซลล
- ปลาน้ําจืดมีเซลลบริเวณเหงือกที่น้ําเขาสูรางกายไดโดย
การออสโมซิ ส ส วนปลาน้ําเค็มป องกันการสู ญเสี ยน้ํ า
ออกจากรางกายโดยมีผิวหนังและเกล็ดที่ปองกันไมใหแร
ธาตุจากน้ําทะเลซึมเขาสูรางกายและที่บริเวณเหงือกมี
กลุมเซลลซึ่งขับ แรธาตุสวนเกินออกโดยวิธีการลําเลียง
แบบใชพลังงาน
- มนุษยมีกลไกในการควบคุมอุณหภูมิของรางกายใหอยู
ในสภาวะที่เหมาะสม โดยศูนยควบคุมอุณหภูมิจะอยูที่
สมองสวนไฮโพทาลามัส
- สั ต ว เ ลื อ ดอุ น สามารถรั ก ษาอุ ณ หภู มิ ข องร า งกาย
ให เ กื อ บคงที่ ไ ด ใ นสภาวะแวดล อ มต า ง ๆ ส ว นสั ต ว
เลือดเย็น อุณหภูมิรางกายจะแปรผันตามอุณหภูมิของ
สิ่งแวดลอม

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 63 63
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
๔. อธิ บายเกี่ ยวกั บระบบ - รางกายมนุษย มีภูมิคุมกันซึ่งเปนกลไก ในการปองกัน 3
ภู มิ คุ ม กั น ของร า งกาย เชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเขาสูรางกาย
และนํ า ความรู ไ ปใช ใ น - ผิ ว หนั ง เซลล เ ม็ ด เลื อ ดขาวและระบบน้ํ า เหลื อ ง
การดูแลรักษาสุขภาพ เป น ส ว นสํ า คั ญ ของร า งกายที่ ทํ า หน า ที่ ป อ งกั น และ
ทําลายเชื้อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เขาสูรางกาย
- ระบบภูมิคุมกันมีความสําคัญยิ่งตอรางกายมนุษย
การรับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การออกกําลังกาย
การดูแลสุขอนามัย ตลอดจนการหลีกเลี่ยงสารเสพติด
และพฤติกรรมที่เสี่ยงทางเพศ และการไดรับวัคซีน
ในการป อ งกัน โรคต า ง ๆ ครบตามกํ าหนด จะช ว ย
เสริมสรางภูมิคุมกันและรักษาภูมิคุมกันของรางกายได
สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะ
ทางพันธุกรรม วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใช
เทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอมนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบ
เสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่ อสาร สิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใช
ประโยชน
๑. อธิบายกระบวน - สิ่งมีชีวิตมีการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม จากพอแม 3
การถายทอดสาร มาสูรุนลูกหลานได ซึ่งสังเกตไดจากลักษณะที่ปรากฏ
พันธุกรรมการแปร - ดี เ อ็ น เอเป น นิ ว คลี โ อไทด ส ายยาวสองสายพั น กั น
ผันทางพันธุกรรม เปนเกลียวคูวนขวา แตละสายประกอบดวย นิวคลีโอไทด
มิวเทชัน และการ นับลานหนวย ซึ่งมีโครงสรางประกอบดวยน้ําตาลเพนโทส
เกิดความหลากหลาย ไนโตรเจนเบส สี่ชนิดและหมูฟอสเฟต โดยที่ลําดับเบสของ
ทางชีวภาพ นิวคลีโอไทดจะมีขอมูลทางพันธุกรรมบันทึกอยู
- มิวเทชันเปนการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมในระดับยีน
หรื อ โครโมโซม ซึ่ งเป น ผลมาจากการเปลี่ ยนแปลงที่ เ กิ ด
ขึ้นกับดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่เกิดในเซลลสืบพันธุสามารถ
ถายทอดไปสูรุนลูกและหลานได
- การแปรผั น ทางพั น ธุ ก รรมทํ า ให สิ่ ง มี ชี วิ ต ที่ เ กิ ด ใหม
มีลักษณะที่แตกตางกันหลากหลายชนิดกอใหเกิดเปนความ
หลากหลายทางชีวภาพ

64 64 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
๒. สืบคนขอมูล - มนุษยนําความรูทางเทคโนโลยีชีวภาพดานพันธุวิศวกรรม 3
และอภิปรายผล การโคลนและการเพาะเลี้ยงเนื้อเยือ่ มาใชในการพัฒนาให
ของเทคโนโลยี เกิดความกาวหนาในดานตาง ๆ มากขึ้นและแพรหลาย
ชีวภาพที่มีตอ - การใชเทคโนโลยีชีวภาพทีส่ รางสิ่งมีชีวิตใหมเกิดขึ้น หรือ
มนุษยและสิ่ง- สิ่งมีชีวิตที่มีการดัดแปลงพันธุกรรมสงผลกระทบทั้งทางดาน
แวดลอมและนํา ที่เปนประโยชนและโทษตอสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจ และ
ความรูไปใช สังคม
ประโยชน
๓. สืบคนขอมูล- โลกมีความหลากหลายของระบบนิเวศซึ่งมีสิ่งมีชีวิตอาศัย 3
และอภิปรายผล อยูมากมายหลายสปชีสส ิ่งมีชีวิตสปชีสเดียวกันก็ยังมีความ
ของความหลากหลายหลากหลายทางพันธุกรรม
ทางชีวภาพที่มีตอ
- ความหลากหลายทางชี ว ภาพส ง ผลทํ า ให ม นุ ษ ย และ
มนุษยและ สิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ไดใชประโยชนในแงของการเปนอาหาร
สิ่งแวดลอม ที่อยูอาศัย แหลงสืบพันธุและขยายพันธุ ทําใหสิ่งมีชีวิต
สามารถดํารงพันธุอยูได
- สิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ มีความตองการ
ปจจั ยตา งๆ ในการดํ ารงชีวิต แตกตางกันซึ่ งจะชวยรักษา
สมดุลของระบบนิเวศบนโลกได
๔. อธิบาย - สิ่งมีชีวิตแตละสปชีสจะมีความหลากหลายที่แตกตางกัน 3
กระบวนการ สิ่ ง มี ชี วิ ต ในสป ชีส เ ดี ย วกั น จะผสมพั น ธุ แ ละสื บ ลู ก หลาน
คัดเลือกตาม ตอไปได
ธรรมชาติ และผล - การคั ด เลื อ กตามธรรมชาติ จ ะส ง ผลทํ า ให ลั ก ษณะ
ของการคัดเลือก พันธุกรรมของประชากรในกลุมยอยแตละกลุ มแตกตางกัน
ตามธรรมชาติตอ ไปจนกลายเปน สปชีสใหมทําใหเกิดเปนความหลากหลาย
ความหลากหลาย ของสิ่งมีชีวิต
ของสิ่งมีชีวิต

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 65 65
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
มาตรฐาน ว ๒.๑ เขาใจสิ่ งแวดล อมในท องถิ่ น ความสั มพันธระหว างสิ่งแวดลอม
กั บสิ่ งมี ชี วิ ต ความสั มพั นธ ระหว างสิ่ งมี ชี วิ ตต าง ๆ ในระบบนิ เวศ มี กระบวนการ
สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใช
ประโยชน
๑. อธิบายดุลย - ระบบนิ เ วศในธรรมชาติ จ ะมี ค วามสมดุ ล ได ก็ ต อ เมื่ อ มี 3
ภาพของระบบ สภาพแวดลอมตาง ๆ ที่เอื้ออํานวยตอ การดํารงชีวิตของ
นิเวศ สิ่ ง มี ชี วิ ต ชนิ ด ต า ง ๆ ในระบบนิ เ วศ จนทํ า ให เ กิ ด ความ
หลากหลายของระบบนิเวศบนโลก
๒. อธิบาย - ระบบนิเวศในโลกที่มีความหลากหลาย มีการเปลี่ยนแปลง 3
กระบวนการ ตางๆเกิดขึ้นอยูตลอดเวลา ไมวาจะเปนการเปลี่ยนแปลง
เปลี่ยนแปลง ที่ เ กิ ด ขึ้ น ตามธรรมชาติ ห รื อ การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด จาก
แทนที่ของ มนุษยเปนผูกระทํา การเปลี่ยนแปลงเหลานี้อาจสงผลทําให
สิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศเสียสมดุลได
- เมื่อระบบนิเวศเสียสมดุลจะเกิดการเปลี่ยนแปลง แทนที่
เกิ ดขึ้ นในระบบนิ เวศนั้ นการเปลี่ ยนแปลงสภาพทางธรรมชาติ
ของระบบนิเวศยอมสงผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่
ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้นดวย
๓. อธิบาย - ความหลากหลายทางชีวภาพมีความสํา คัญตอสิ่งมีชีวิ ต 3
ความสําคัญของ สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีความสําคัญตอระบบนิเวศ ถาสิ่งมีชีวิต
ความหลากหลาย ชนิดใดชนิดหนึ่งถูกทําลายหรือสูญหายไปก็จะสงผลกระทบ
ทางชีวภาพ และ ตอความหลากหลายของสิ่งมีชีวิตอื่นๆ ในระบบนิเวศดวย
เสนอแนะแนวทาง - ความหลากหลายทางชีวภาพของระบบนิเวศหนึ่งยังอาจ
ในการดูแลและ เกื้อกูลตอระบบนิเวศอื่น ๆ ไดดวย
รักษา - ความหลากหลายทางชี ว ภาพมี ค วามสํ า คั ญ ต อ มนุ ษ ย
มนุ ษ ย ใ ช ป ระโยชน จ ากความหลากหลาย ทางชี ว ภาพ
มากมาย การใชที่ขาดความระมัดระวังอาจสงผลกระทบ
ตอความหลากหลายทางชีวภาพได ซึ่งทุกคนควรมีสวนรวม
ในการดูแลและรักษา

66 66 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม
มาตรฐาน ว ๒.๒ เข า ใจความสํ า คั ญ ของทรั พ ยากรธรรมชาติ การใช
ทรั พ ยากรธรรมชาติ ใ นระดั บ ท อ งถิ่ น ประเทศ และโลกนํ า ความรู ไ ปใช
ในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมในทองถิ่นอยางยั่งยืน

๑. วิเคราะหสภาพปญหา - ความสัม พันธซึ่งกั นและกันระหวางสิ่ งมีชีวิตกั บ 3


สาเหตุของปญหา สิ่งแวดลอมหรือระหวางสิ่งมีชีวิตกับสิ่งมีชีวิตดวยกัน
สิ่งแวดลอมและ มีความสัมพันธกันหลายระดับ ตั้งแตระดับ
ทรัพยากรธรรมชาติ ทองถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก
ในระดับทองถิ่น - การเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษยสงผลใหมีการใช
ระดับประเทศ และระดับโลกทรัพยากรธรรมชาติเพิ่มขึน้ ทําใหทรัพยากรธรรมชาติ
ลดจํานวนลง และเกิดปญหามลพิษทางดานตาง ๆ
ตามมา
- ปญหามลพิษที่เกิดขึ้นมีดวยกันหลายสาเหตุบาง
ป ญหามี ผลกระทบเกิ ดขึ้ นในระดั บท องถิ่ น บางป ญหา
สงผลกระทบระดับประเทศ และบางปญหามีความ
รุนแรงจนเปนปญหาระดับโลก
๒. อภิปรายแนวทางใน - การใชทรัพยากรธรรมชาติตาง ๆ ที่มีอยูอยางจํากัดจํา 3
การปองกัน แกไข ปญหา เปนตองใชดวยความระมัดระวังและไมใ หเกิดผล
สิ่งแวดลอมและ กระทบตอสิ่งแวดลอม
ทรัพยากร ธรรมชาติ - สิ่งแวดลอมที่อยูในสภาพเสื่อมโทรม หรือเกิดเปน
มลพิษที่เปนผลเนื่องมาจากการใช ทรัพยากรธรรมชาติ
ตองหาแนวทางในการปองกัน แกไข ฟนฟูใหกลับ
มีสภาพที่สามารถใชการได
๓. วางแผนและ -สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติควรตองมีการ 3
ดําเนินการเฝาระวัง เฝาระวัง อนุรักษ และพัฒนา ซึ่งทุกคนควรรวมกัน
อนุรักษ และพัฒนา ปฏิบัติ เพื่อใหเกิดการใชประโยชนอยางยั่งยืน
สิ่งแวดลอมและ
ทรัพยากรธรรมชาติ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 67 67
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
สาระที่ ๓ สารและสมบัตขิ องสาร
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขาใจสมบัติของสารความสัมพันธระหวางสมบัติของสาร
กับโครงสรางและแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาคมีกระบวนการสืบเสาะหา
ความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูนําความรูไปใชประโยชน
๑. สืบคนขอมูลและ - นักวิทยาศาสตรใชขอมูลจากการศึกษาโครงสราง 3
อธิบายโครงสราง อะตอม สรางแบบจําลองอะตอมแบบตาง ๆ ที่มี
อะตอม และสัญลักษณ พัฒนาการอยางตอเนื่อง
นิวเคลียรของธาตุ - อะตอมประกอบดวยอนุภาคมูลฐานสําคัญ ๓ ชนิด
คื อ โปรตอน นิ ว ตรอน และอิ เ ล็ ก ตรอน จํ า นวน
โปรตอนในนิวเคลียสเรียกวา เลขอะตอม ผลรวม
ของจํานวนโปรตอนกับนิวตรอนเรียกวา เลขมวล
ตัวเลขทั้งสองนี้จะปรากฏอยูในสัญลักษณ
นิวเคลียรของไอโซโทปตาง ๆ ของธาตุ
๒. วิเคราะหและอธิบาย - อิ เ ล็ ก ตรอนในอะตอมของธาตุ จ ะจัด เรี ย งอยู ใ น 3
การจั ดเรี ยงอิ เล็ กตรอน ระดับพลังงานตาง ๆ และในแตละระดับพลังงาน
ในอะตอมความสั มพั น ธ จะมีจํานวนอิเล็กตรอนเปนคาเฉพาะ
ระหวางอิเล็กตรอนในระดับ - อิ เ ล็ ก ตรอนในระดั บ พลั ง งานนอกสุ ด จะแสดง
พลั งงานนอกสุ ดกั บสมบั ติ สมบั ติบางประการของธาตุ เชน ความเปนโลหะ
ของธาตุ แ ละการ เกิ ด อโลหะ และเกี่ยวของกับการเกิดปฏิกิริยาของธาตุ
ปฏิกิริยา นั้น

๓. อธิ บ ายการจั ด เรี ย ง - ตารางธาตุปจจุบัน จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอม 3


ธาตุและทํานายแนวโนม และอาศัยสมบัติที่คลายกัน ทําใหสามารถทํานาย
สมบัติของธาตุในตารางธาตุ แนวโนมสมบัติของธาตุในตารางธาตุได
๔. วิเคราะหและอธิบาย - แรงยึดเหนี่ยวระหวางไอออนหรืออะตอมของธาตุ 3
การเกิดพันธะเคมีในโครง ใหอยูรวมกันเปนโครงผลึ ก หรือโมเลกุล เรียกว า
ผลึกและในโมเลกุลของสาร พันธะเคมี
- พันธะเคมีแบงออกเปน พันธะไอออนิก
พันธะโคเวเลนต และพันธะโลหะ

68 68 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
๕. สืบคนขอมูลและ - จุ ด เดื อ ด จุ ด หลอมเหลวและสถานะของสาร 3
อธิบายความสัมพันธ มีความเกี่ยวข องกับแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค
ระหวางจุดเดือด จุด ของสารนั้น สารที่อนุภาคยึดเหนี่ยวกันดวยแรงยึด
หลอมเหลว และสถานะ เหนี่ยวหรือพันธะเคมีที่แข็งแรง จะมีจุดเดือดและจุด
ของสารกับแรงยึดเหนี่ยว หลอมเหลวสูง สารในสถานะของแข็ ง อนุ ภ าคยึ ด
ระหวางอนุภาคของสาร เหนี่ ย วกั น ด ว ยแรงที่ แ ข็ ง แรงกว า สารในสถานะ
ของเหลวและแกสตามลําดับ
สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร
มาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร
การเกิ ดสารละลาย การเกิ ดปฏิกิริ ยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยา
ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน
๑. ทดลอง อธิบายและ - ในชี วิ ตประจํ าวั นจะพบเห็ นปฏิ กิ ริ ยาเคมี จํ านวนมาก 3
เขียนสมการของปฏิกิริยา ทั้ ง ที่ เ กิ ด ในธรรมชาติ แ ละมนุ ษ ย เ ป น ผู ก ระทํ า
เคมีทั่วไปที่พบใช ปฏิกิริยาเคมีเขียนแทนไดดวยสมการเคมี
ชีวิตประจําวัน รวมทั้ง - มนุษยนําสารเคมีมาใชประโยชนทั้งในบานในทาง
อธิบายผลของสารเคมีที่มี การเกษตรและอุตสาหกรรม แตสารเคมีบางชนิด
ตอสิ่งมีชีวติ และสิ่งแวดลอม เปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
๒. ทดลองและอธิบาย - ปริ มาณของสารตั้ งต นหรื อผลิ ตภั ณฑ ที่ เปลี่ ยนแปลง 3
อัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี ไปตอหนวยเวลาเรียกวาอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
ปจจัยที่มีผลตออัตราการ และปริมาณของสารที่เปลี่ยนแปลงไปนั้น อาจวัดจากคา
เกิดปฏิกริ ิยาเคมี และนํา ความเขมขน ปริมาตร หรือมวลของสาร ซึ่งขึ้นอยูกับ
ความรูไปใชประโยชน ลักษณะของสาร
- ความเขมข น พื้ นที่ผิ ว อุ ณหภู มิ ตั วเร งปฏิ กิริย า
เปนปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมีการ
ควบคุ ม ป จ จั ย เหล า นี้ เ พื่ อ ทํ า ให ป ฏิ กิ ริ ย าเกิ ด ขึ้ น
ในอั ต ราที่ เ หมาะสมสามารถนํ า มาใช ใ ห เ ป น
ประโยชนได

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 69 69
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
๓. สืบคนขอมูลและ - การสลายตั วของซากพื ชและซากสั ตว ที่ ทั บถม 3
อธิบายการเกิดปโตรเลียม อยูใตทะเลอยางตอเนื่องภายใตอุณหภูมิและความ
กระบวนการแยกแกส ดันสูงนานนับลานป จะเกิดเปนปโตรเลียม โดยมีได
ธรรมชาติ และการกลั่น ทั้ งสถานะของแข็ งของเหลวหรื อแก ส ซึ่ งมี สารประกอบ
ลําดับสวนน้ํามันดิบ ไฮโดรคาร บอนหลายชนิดรวมกัน และอาจมี สารประกอบ
อื่นๆ ปะปนอยูดวย
- การนําแกสธรรมชาติมาใชประโยชนจะตองผาน
กระบวนการแยกแกส สวนของเหลวหรือน้ํามันดิบ
จะแยกโดยการกลั่นลําดับสวน
๔. สืบคนขอมูลและ - มีเทน อีเทน โพรเพนและบิวเทน เปนผลิตภัณฑ 3
อภิปรายการนําผลิตภัณฑ ที่ไดจากการแยกแกสธรรมชาติและกลั่นลําดับสวน
ที่ไดจากการแยกแกส น้ํามันดิบ นํามาใชเปนเชื้อเพลิงและสารตั้งตน สวน
ธรรมชาติและการกลั่น ผลิตภัณฑอื่นๆ ซึ่งมีจํานวนอะตอมคารบอนเพิ่มขึ้น
ลําดับ สวนน้าํ มันดิบไป นํา ไปใชประโยชนแตกตางกัน
ใชประโยชนรวมทั้ง ผล - การสัมผัสตัวทําละลายแลไฮโดรคารบอนบางชนิด
ของผลิตภัณฑตอสิ่งมีชีวิต ในรูปของไอ และของที่ใชแลว อาจเปนอันตรายตอ
และสิ่งแวดลอม สุขภาพได รวมถึงการกําจัดอยางไมถูกวิธีก็จะมีผล
ตอสิ่งแวดลอมดวย
๕. ทดลองและอธิบาย - พอลิเมอรเปนสารประกอบที่โมเลกุลมีขนาดใหญ 3
การเกิดพอลิเมอร สมบัติ เกิ ด จากมอนอเมอร จํ า นวนมากเชื่ อ มต อ กั น ด ว ย
ของพอลิเมอร พั น ธะโคเวเลนต มี ทั้ ง ที่ เ กิ ด ในธรรมชาติ แ ละ
สังเคราะหขึ้น
- ปฏิ กิ ริ ย าที่ ม อนอเมอร ร วมกั น เป น พอลิ เ มอร
เรียกวา ปฏิกิริยาพอลิเมอไรเซชัน ซึ่งอาจเปนแบบ
ควบแนน หรือแบบตอเติม
- พอลิเมอรมีหลายชนิด แตละชนิดอาจมีสมบัติบาง
ประการเหมือนกันและบางประการแตกตางกัน

70 70 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

สารและสมบัตขิ ิงสาร

พลังงาน
๖. อภิปรายการนําพอลิ - พอลิเมอรนํ าไปใชประโยชนไดแตกตางกัน ตาม 3
เมอรไปใชประโยชน สมบั ติ ข องพอลิ เ มอร ช นิ ด นั้ น ๆ เช น ใช พ ลาสติ ก
รวมทั้งผลที่เกิดจากการ ทําภาชนะ ใชเสนใยสังเคราะหทําเครื่องนุงหม
ผลิตและใชพอลิเมอรตอ - พอลิเมอรสังเคราะหที่นําไปใชประโยชนในชีวิตประจําวัน
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม บางชนิ ดสลายตั วยาก การใช อย างฟุ มเฟ อยและไม
ระมั ด ระวั ง อาจก อ ให เ กิ ด ป ญ หาต อ สิ่ ง มี ชี วิ ต และ
สิ่งแวดลอมได
๗. ทดลองและอธิบาย - คารโบไฮเดรตจัดเปนแหลงพลังงานของสิ่งมีชีวิต 3
องคประกอบ ประโยชน พบได ทั่ ว ไปในชี วิ ต ประจํ า วั น เช น น้ํ า ตาล แป ง
และปฏิกริ ิยาบางชนิด เซลลูโลสและไกลโคเจน โดยมีน้ําตาลเปนหนวยยอย
ของคารโบไฮเดรต สําคัญ ซึ่งประกอบดวย ธาตุ C H และ O
การตรวจสอบชนิ ด ของ น้ํ า ตาลทํ า ได โ ดยใช
สารละลายเบเนดิกต
๘. ทดลองและอธิบาย - ไขมันและน้ํามัน เปนสารประกอบไตรกลีเซอไรด 3
องคประกอบ ประโยชน เกิ ด จากการรวมตั ว ของกรดไขมั น กั บ กลี เ ซอรอล
และปฏิกริ ิยาบางชนิด กรดไขมันมีทั้งชนิดอิ่มตัวและไมอิ่มตัว ซึ่งสามารถ
ของไขมันและน้ํามัน ตรวจสอบไดโดยใชสารละลายไอโอดีน
- ไขมันและน้ํามันนํามาใชประโยชนไดทั้งการบริโภค
แ ล ะ ใ ช ใ น อุ ต ส า ห ก ร ร ม ก า ร บ ริ โ ภ ค ไ ข มั น
ที่ขาดความระมัดระวังจะเปนอันตรายตอสุขภาพได
๙. ทดลองและอธิบาย - โปรตี นเป นสารที่ ช วยในการเจริ ญเติ บโตเสริ มสร าง 3
องคประกอบ ประโยชน และซ อ มแซมเนื้ อ เยื่ อ หน ว ยย อ ยของโปรตี น
และปฏิกริ ิยาบางชนิด คื อ กรดอะมิ โ นซึ่ ง มี ทั้ ง กรดอะมิ โ นจํ า เป น และไม
ของโปรตีน และกรด จําเปน มีธาตุองคประกอบสําคัญคือ C H O N
นิวคลีอิก การทดสอบโปรตีนในอาหารใชสารละลาย CuSO4
กับ NaOH
- กรดนิ วคลี อิกเป นสารโมเลกุล ใหญค ลายโปรตี น
ประกอบดวย ธาตุ C H O N ที่พบในเซลลของ
สิ่งมีชีวิต มี 2 ชนิด คือDNA และ RNA ซึ่งเกี่ยวของ
กับกระบวนการถายทอดทางพันธุกรรม

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 71 71
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว ๔.๑ เขาใจธรรมชาติ ของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถว ง
และแรงนิวเคลียร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและ
นําความรูไปใชประโยชนอยางถูกตองและมีคุณธรรม
๑. ทดลองและอธิบาย - ในสนามโนมถวงจะมีแรงกระทําตอวัตถุ ทําให 3
ความสัมพันธ วัตถุมีน้ําหนัก เมื่อปลอยวัตถุ วัตถุจะตกแบบเสรี
ระหวางแรงกับการ สนามโนมถวงทําให วัตถุตา งๆ ไมหลุดจากโลก
เคลื่อนที่ของวัตถุใน เชน การโคจรของดาวเทียมรอบโลก และอาจใช
สนามโนมถวง และนํา แรงโนมถวงไปใชประโยชนเพื่อหาแนวดิ่งของชาง
ความรูไปใชประโยชน กอสราง
๒. ทดลองและอธิบาย - เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟาอยูในสนามไฟฟา จะมี 3
ความสัมพันธระหวางแรง แรงกระทําตออนุภาคนั้น ซึ่งอาจทําใหสภาพการ
กับการเคลื่อนที่ของ เคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป สามารถนําสมบัตินี้
อนุภาคในสนามไฟฟา ไปประยุ ก ต ส ร า งเครื่ อ งมื อ บางชนิ ด เช น เครื่ อ ง
และนําความรูไ ปใช กําจัดฝุน ออสซิลโลสโคป
ประโยชน
๓. ทดลองและอธิบาย - เมื่ ออนุ ภาคที่ มี ประจุ ไฟฟ าเคลื่ อนที่ ในสนามแม เหล็ ก 3
ความสัมพันธระหวางแรง จะมีแรงกระทําตออนุภาคนั้น ซึ่งอาจทําใหสภาพ
กับการเคลื่อนที่ของ การเคลื่ อ นที่ ข องอนุ ภ าคเปลี่ ย นไป สามารถนํ า
อนุภาคในสนามแมเหล็ก สมบัตินี้ไปประยุกตสรางหลอดภาพโทรทัศน
และนําความรูไ ปใช
ประโยชน
๔. วิเคราะหและอธิบาย - อนุภาคในนิวเคลียส เรียกวา นิวคลีออน 3
แรงนิวเคลียรและแรง นิวคลีออนประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน
ไฟฟาระหวางอนุภาคใน นิ ว คลี อ อนในนิ ว เคลี ย สยึ ด เหนี่ ย วกั น ด ว ยแรง
นิวเคลียส นิวเคลียรซึ่งมีคามากกวาแรงผลักทางไฟฟาระหวาง
นิวคลีออน นิวคลีออนจึงอยูรวมกันในนิวเคลียสได

72 72 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว ๔.๒ เข าใจลักษณะการเคลื่อนที่ แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและ
นําความรูไปใชประโยชน
๑. อธิบายและทดลอง - การเคลื่อนที่แนวตรงเปนการเคลื่อนที่ในแนวใด 3
ความสัมพันธระหวาง แนวหนึ่ง เชน แนวราบหรือแนวดิ่งที่มีการกระจัด
การกระจัด เวลา ความเร็ว ความเร็ ว ความเร ง อยู ใ นแนวเส น ตรงเดี ย วกั น
ความเรงของการ โดยความเรงของวัตถุหาไดจากความเร็วที่เปลี่ยนไป
เคลื่อนที่ในแนวตรง ในหนึ่งหนวยเวลา
๒. สังเกตและอธิบายการ - การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปนการเคลื่อนที่ วิถี 3
เคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล โค ง ที่ มี ค วามเร็ ว ในแนวราบคงตั ว และความเร ง
แบบวงกลม และแบบ ในแนวดิ่งคงตัว
ฮารมอนิกอยางงาย - การเคลื่ อ นที่ แ บบวงกลมเป น การเคลื่ อ นที่ ที่ มี
ความเร็ ว ในแนวเส น สั ม ผั ส วงกลมและมี แ รง
ในทิศทางเขาสูศูนยกลาง
- การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายเปน
การเคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ําทางเดิม เชน การ
แกวงของลูกตุมอยางงาย โดยที่มมุ สูงสุดที่เบนจาก
แนวดิ่งมีคาคงตัวตลอด
๓. อภิปรายผลการ - การเคลื่ อ นที่ แ บบโพรเจกไทล ส ามารถนํ า ไปใช 3
สืบคนและประโยชน ประโยชน เชน การเลนเทนนิสบาสเกตบอล
เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ - การเคลื่ อ นที่ แ บบวงกลมสามารถนํ า ไปใช
แบบโพรเจกไทล แบบ ประโยชน เชน การวิ่งทางโคงของรถยนต
วงกลมและแบบฮารมอนิก ใหปลอดภัย
อยางงาย - การเคลื่ อ นที่ แ บบฮาร ม อนิ ก อย า งง า ยสามารถ
นําไปใชประโยชนในการสรางนาฬิกาแบบลูกตุม

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 73 73
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
สาระที่ ๕ พลังงาน
มาตรฐาน ว ๕.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต
การเปลี่ ยนรู ปพลัง งานปฏิ สัม พันธ ระหวางสารและพลั งงาน ผลของการใช
พลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่
เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
๑. ทดลองและอธิบาย - คลื่นกลมีสมบัติ การสะทอน การหักเห การแทรก 3
สมบัติของคลื่นกล สอด และการเลี้ยวเบน
และอธิบายความสัมพันธ - อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลื่น
ระหวาง อัตราเร็ว ความถี่ มีความสัมพันธกันดังนี้
และความยาวคลื่น อัตราเร็ว = ความถี่ x ความยาวคลื่น
๒. อธิบายการเกิดคลื่น - คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียง 3
เสียงบีตสของเสียง - บีตสของเสียงเกิดจากคลื่นเสียงจาก
ความเขมเสียงระดับ แหลงกําเนิดสองแหลงที่มีความถี่ตางกันเล็กนอย มา
ความเขมเสียง การไดยิน รวมกัน ทําใหไดยินเสียงดังคอยเปนจังหวะ
เสียง คุณภาพเสียง และ - ความเขมเสียง คือ พลังงานเสียงที่ตกตั้ง
นําความรูไ ปใชประโยชน ฉากบนหนึ่งหนวยพื้นที่ในหนึ่งหนวยเวลา
- ระดับความเขมเสียงจะบอกความดังคอย
ของเสียงที่ไดยิน
- เครื่องดนตรีแตละชนิดที่ใชตัวโนตเดียวกัน จะให
รูปคลื่นที่แตกตางกัน เรียกวามีคณ ุ ภาพเสียงตางกัน
๓. อภิปรายผลการ - มลพิษทางเสียงมีผลตอสุขภาพของมนุษยถาฟงเสียงที่ 3
สืบคนขอมูลเกี่ยวกับ มี ระดั บความเข มเสี ยงสู งกว ามาตรฐานเป น เวลานาน
มลพิษทางเสียงที่มตี อ อาจกอใหเกิดอันตรายตอการไดยินและสภาพจิตใจได
สุขภาพของมนุษย การปองกันโดยการหลีกเลี่ยงหรือใชเครื่องครอบหูหรือลด
และการเสนอวิธีปองกัน การสั่นของแหลงกําเนิดเสียงเชน เครื่องจักร

74 74 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
๔. อธิบายคลื่น - คลื่นแมเหล็กไฟฟาประกอบดวยสนามแมเหล็กและ 3
แมเหล็กไฟฟา สเปกตรัม สนามไฟฟาที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลาสเปกตรัมคลื่น
คลื่นแมเหล็กไฟฟา และ แม เ หล็ ก ไฟฟ า มี ค วามถี่ ต อ เนื่ อ งกั น โดยคลื่ น
นําเสนอผลการสืบคน แมเหล็กไฟฟาชวงความถี่ตางๆ มีลักษณะเฉพาะตัว
ขอมูลเกี่ยวกับประโยชน ซึ่งสามารถนําไปใชประโยชนไดแตกตางกัน เชน การ
และการปองกันอันตราย รับ ส ง วิ ท ยุ โทรทัศ น การป อ งกั นอั น ตรายจากคลื่ น
จากคลื่นแมเหล็กไฟฟา แมเหล็กไฟฟา เชน ไมอยูใกลเตาไมโครเวฟขณะเตาทํางาน
๕. อธิบายปฏิกริ ิยา - ปฏิกิริยานิวเคลียรเปนปฏิกิริยาที่ทําใหนิวเคลียสเกิด 3
นิวเคลียร ฟชชัน ฟวชัน การเปลี่ ย นแปลง ปฏิ กิ ริ ย าที่ นิ ว เคลี ย สของธาตุ
และความสัมพันธ ที่มีเลขมวลมากแตกตัว เรียกวา ฟชชัน ปฏิกิริยา
ระหวางมวลกับพลังงาน ที่เกิ ดจากการหลอมรวมนิ วเคลียสของธาตุที่มี เลขมวลนอย
เรี ย กว า ฟ ว ชั น ความสั ม พั น ธ ร ะหว า งมวลและ
พลังงานเปนไปตามสมการE = mc๒
๖. สืบคนขอมูลเกี่ยวกับ - ปฏิกิริยานิวเคลียรทําใหเกิดผลกระทบตอ 3
พลังงานที่ไดจาก สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
ปฏิกิริยานิวเคลียรและ
ผลตอสิ่ง มีชีวิต
และสิ่งแวดลอม
๗. อภิปรายผลการ - โรงไฟฟ านิ วเคลี ยร เป นโรงไฟฟ าพลั งงานความร อน 3
สืบคนขอมูลเกี่ยวกับ ประเภทหนึ่ง ซึ่งไดพ ลังงานความรอนจากพลัง งาน
โรงไฟฟานิวเคลียร และ นิวเคลียร
นําไปใชประโยชน
๘. อธิบายชนิดและ - รังสีจากธาตุกัมมันตรังสีมี 3 ชนิด คือ แอลฟา บีตา 3
สมบัติของรังสีจากธาตุ และแกมมา ซึ่งมีอํานาจทะลุผานตางกัน
กัมมันตรังสี
๙. อธิบายการเกิด - กัมมันตภาพรังสีเกิดจากการสลายของไอโซโทปของ 3
กัมมันตภาพรังสีและ ธาตุที่ไมเสถียร สามารถตรวจจับไดโดยเครื่องตรวจวัด
บอกวิธีการตรวจสอบ รังสี ในธรรมชาติมีรังสีแตสวนใหญอยูในระดับต่ํามาก
รังสีในสิ่งแวดลอมการใช - รั ง สี มี ป ระโยชน ใ นด า นอุ ต สาหกรรมการเกษตร
ประโยชนผลกระทบตอ การแพทย โบราณคดี รั ง สี ใ นระดั บ สู ง มี อั น ตราย
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ตอสิ่งมีชีวิต

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 75 75
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
สาระการเรียนรูแกนกลาง

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว ๖.๑ เข าใจกระบวนการต าง ๆ ที่ เกิ ดขึ้ นบนผิ วโลกและภายในโลก
ความสัมพันธของกระบวนการตาง ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ
ภู มิ ป ระเทศ และสั ณ ฐานของโลก มี ก ระบวนการสื บ เสาะหาความรู แ ละ
จิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
๑. สืบคนและอธิบาย - โลกเปน ดาวเคราะหหิ นดวงหนึ่ งในระบบสุ ริย ะ 3
หลักการในการแบง ภายในโลกยังคงมีอุณหภูมิสูงมาก และมีการเปลี่ยนแปลง
โครงสรางโลก ตลอดเวลานับตั้งแตโลกเริ่มเกิดจนถึงปจจุบัน
- นักวิทยาศาสตรแบงโครงสรางโลกโดยใชขอมูล
และหลักฐานตางๆ ทางธรณีวิทยาและทางฟสิกส
๒. ทดลองเลียนแบบและ - การเปลี่ยนแปลงของโลกสามารถอธิบายไดดวย 3
อธิบายกระบวนการ ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผนธรณีภาค
เปลี่ยนแปลงทางธรณี - การเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคของโลกสวนใหญ
ภาคของโลก จะเกิดในชั้นธรณีภาค และชั้นฐานธรณีภาค
- ชั้นธรณีภาคแตกออกเปนแผนใหญๆ หลายแผน
เรี ยกว า แผ นธรณี ภาค ซึ่ งมีการเคลื่ อนที่ อยูตลอดเวลา
ทําใหเกิดปรากฎการณตางๆ ทางธรณีวิทยาบนผิว
โลกที่ ส ามารถศึ ก ษาได จ ากร อ งรอยหลั ก ฐาน
ที่ปรากฏอยูในปจจุบัน เชน รอยตอ รอยแยกของ
แผนธรณีภาค เทือกเขา ใตมหาสมุทร และซากดึก
ดําบรรพ เปนตน
๓. ทดลองเลี ย นแบบ - จากการศึก ษาทฤษฎีก ารแปรสัณ ฐานแผน ธรณี 3
และอธิบายกระบวนการ ภาคและปรากฏการณ ท างธรณี วิ ท ยาตั้ ง แต อ ดี ต
เกิดภูเขา รอยเลื่อน รอย จนถึง ปจจุบัน ทําใหพบวาแผนดินไหวและภูเขาไฟ
คดโคง แผนดินไหว ภูเขา สว นใหญ จ ะเกิ ด อยู ต ามแนวรอยตะเข็ บ ของขอบ
ไฟระเบิด แผนธรณีภาค ที่เรียกวาวงแหวนแหงไฟ
- รอยเลื่ อ น เป น แนวรอยแตกของหิ น ที่ เ คลื่ อ นที่
สัมพันธกันและขนานไปกับรอยแตก ซึ่งอาจสัมพันธ
กับการเกิดแผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิด
- รอยคดโคง เปนรอยที่ปรากฏในหิน เกิดจากการ
แปรสัณฐานแผนธรณีภาค
- กระบวนการเกิดรอยเลื่อน รอยคดโคง การแปร
สัณ ฐานแผน ธรณี ภ าค เป น ส วนหนึ่ ง ของการเกิ ด
เทือกเขาบนโลก

76 76 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม
สาระการเรียนรูแกนกลาง

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
๔. สืบคนและอธิบาย - ปรากฏการณ ท างธรณี วิ ท ยาที่ สํ า คั ญ และมี ผ ลต อ 3
ความสําคัญของ สิ่งมีชีวิตที่เห็นไดชัดเจน ไดแก แผนดินไหว ภูเขาไฟ
ปรากฏการณทาง ระเบิด
ธรณีวิทยาแผนดินไหว - แผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิดเปนปรากฏการณทาง
ภูเขาไฟระเบิดที่สงผลตอธรณีวิทยาที่ทําใหเกิดธรณีพิบัติภัย รูปแบบอื่นตามมา
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
ทําใหสูญ เสี ยชีวิ ตและทรัพย สิน ของมนุษ ย เกิด การ
เปลี่ ย นแปลงลั ก ษณะธรณี สั ณ ฐาน ชนิ ด หิ น และ
สภาพแวดลอม
๕. สํารวจ วิเคราะหและ - สภาพเหตุการณที่เ กิดขึ้ นในอดีตของโลกสามารถ 3
อธิบายการลําดับชั้นหิน อธิบายไดจากรองรอยตางๆที่ปรากฏเปนหลักฐานอยู
จากการวางตัวของชั้นหิน บนหิน
ซากดึกดําบรรพ และ - ขอมูลทางธรณีวิทยาที่ใชอธิบายความเปนมาของ
โครงสรางทางธรณีวิทยา โลก ไดแก ซากดึกดําบรรพ ชนิดของหิน โครงสราง
เพื่ออธิบายประวัติความ ทางธรณีวิทยา และการลําดับชั้นหิน
เปนมาของพื้นที่ - ประวัติความเปนมาของพื้นที่ ไดจากการลําดับชั้น
หินตามอายุการเกิดของหินจากอายุมากขึ้นไปสูหินที่มี
อายุนอย ตามมาตราธรณีกาล
๖. สืบคน วิเคราะห และ - การเปลี่ยนแปลงตางๆที่เกิดขึ้นตั้งแตในอดีตจนถึง 3
อธิบายประโยชนของ ปจจุบันจะบอกถึงวิวัฒนาการของการเปลี่ยนแปลง
ขอมูลทางธรณีวิทยา ของเปลื อ กโลกซึ่ ง จะให ป ระโยชน ทั้ ง ทางด า น
วิวัฒนาการ และการสํารวจคนหาทรัพยากรธรณี

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 77 77
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศ
มาตรฐาน ว ๗.๑ เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การ
ปฏิสัมพันธภายในระบบสุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ
หาความรู แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร การสื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู แ ละนํ า ความรู ไ ปใช
ประโยชน
๑. สืบคนและอธิบายการ - เอกภพกํ า เนิ ด ณ จุด ที่ เ รีย กวา บิ กแบง เปน จุ ด ที่ 3
เกิดและวิวัฒนาการของ พลังงานเริ่มเปลี่ยนเปนสสาร เกิดเปนอนุภาค ควารก
ระบบสุรยิ ะ กาแล็กซี อิเล็กตรอน นิวทริโน พรอมปฏิอนุภาค เมื่ออุณหภูมิ
และ เอกภพ ของเอกภพ ลดต่ําลง ควารกจะรวมตัวกันเปนอนุภาค
พื้นฐาน คือโปรตอนและนิวตอน ตอมา โปรตอนและ
นิวตรอนรวมตัวกันเปนนิวเคลียสของฮีเลียม และเกิด
เปนอะตอมของไฮโดรเจน และ ฮีเลียม อะตอมของไฮโดรเจนและ
ฮีเลียม ซึ่งเปนองคประกอบสวนใหญของเนบิวลาดั่งเดิม
เนบิวลาดั่งเดิมกระจายอยูเปนหยอม ๆ กลายเปนกา
แล็กซี่ ภายในกาแล็กซี่เกิดเปนดาวฤกษ ระบบดาวฤกษ
๒. สืบคนและอธิบาย - ดาวฤกษ เปน กอ นแกส ร อนขนาดใหญ กํ าเนิด มา 3
ธรรมชาติและวัฒนาการ จากเนบิ ว ลา ที่ มี อ งค ป ระกอบส ว นใหญ เ ป น ธาตุ
ของดาวฤกษ ไฮโดรเจน ที่แกนกลางของดาวฤกษจะเกิดปฏิกิริยา
เทอรโมนิวเคลียร หลอมนิวเคลียสของไฮโดรเจนเปน
นิวเคลียสของฮีเลียม ไดพลังงานออกมา
- อันดับความสวางของดาวฤกษที่สังเกตเห็นไดมาจาก
ความสว า งปรากฏที่ ขึ้ น อยู กั บ ความสว า งจริ ง และ
ระยะหางจากโลก
- สีของดาวฤกษมีความสัมพันธกับอุณหภูมิผิวของดาว
ฤกษและอายุของดาวฤกษ
- ดาวฤกษมีอายุยาวหรือสั้น มีจุดจบเปนหลุมดําหรือ
ดาวนิวตรอน หรือดาวแคระขาว ขึ้นอยูกับมวลของ
ดาวฤกษ

78 78 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศ
มาตรฐาน ว ๗.๒ เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการ
สํ า รวจอวกาศและทรั พ ยากรธรรมชาติ ด า นการเกษตรและการสื่ อ สาร
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนํา
ความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม
๑. สืบคนและอธิบายการ - การสงดาวเทียมไปโคจรรอบโลก ณ ระดับ 3
สงและคํ านวณความเร็ วใน ความสูงจากผิวโลกตาง ๆ กัน จรวดตองมี
การโคจรของดาวเทียมรอบโลก ความเร็วที่แตกตางกัน
๒. สืบคนและอธิบาย - ดาวเทียมถูกนํามาใชประโยชนในดาน 3
ประโยชนของดาวเทียมใน อุตุนิยมวิทยา สํารวจทรัพยากรโลก การสื่อสารและ
ดานตาง ๆ บอกตําแหนงของวัตถุบนโลก
๓. สืบคนและอธิบายการสง - ระบบยานขนส ง อวกาศถู ก พั ฒ นาขึ้ น มาใช 3
และสํารวจอวกาศโดยใช สงดาวเทียมและยานอวกาศ แทนการใชจรวดอยาง
ยานอวกาศและสถานี เดียวเนื่องจากสามารถนํากลับมาใชใหมได
อวกาศ - ในการสงยานอวกาศไปสํารวจอวกาศ จรวดที่พา
ยานอวกาศ ตองมีความเร็วมากกวาความเร็วหลุดพน
จึงจะสามารถออกจากวงโคจรของโลกได
- ยาน อวก าศแ ละส ถานี อวกาศมี ภาร กิ จ ใน
การสํารวจโลกและวัตถุทองฟาอื่น ๆ
สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘.๑ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบ
เสาะหาความรู การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญ
มีรูปแบบที่แนนอน สามารถอธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือ
ที่ มี อ ยู ใ นช ว งเวลานั้ น ๆ เข า ใจว า วิ ท ยาศาสตร เทคโนโลยี สั ง คม และ
สิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน
๑. ตั้ ง คํ า ถามที่ อ ยู บ นพื้ น ฐาน - 3 3 3 3 3 3
ของความรูและความเขาใจทาง
วิ ท ยาศาสตร หรื อ ความสนใจ
หรื อ จากประเด็ น ที่ เ กิ ด ขึ้ น ใน
ขณะนั้นที่สามารถทําการสํารวจ
ตรวจสอบหรือศึกษาคนควาได
อยางครอบคลุมและเชื่อถือได

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 79 79
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

สารและสมบัตขิ ิงสาร

พลังงาน
๒. สร า งสมมติ ฐ านที่ มี ท ฤษฎี - 3 3 3 3 3 3
รองรั บ หรื อ คาดการณ สิ่ ง ที่ จ ะ
พบ หรือสรางแบบจําลองหรื อ
สร า งรู ป แบบ เพื่ อ นํ า ไปสู ก าร
สํารวจตรวจสอบ
๓. คนควารวบรวมขอมูลที่ตอง - 3 3 3 3 3 3
พิ จ ารณาป จ จั ย หรื อ ตั ว แปร
สําคัญ ปจจัยที่มีผลตอปจจัยอื่น
ป จ จั ย ที่ ค วบคุ ม ไ ม ไ ด แล ะ
จํ า นวนครั้ ง ของการสํ า รวจ
ตรวจสอบ เพื่อใหไดผลที่มีความ
เชื่อมั่นอยางเพียงพอ
๔ . เ ลื อ ก วั ส ดุ เ ท ค นิ ค วิ ธี - 3 3 3 3 3 3
อุปกรณที่ใชในการสังเกต การ
วั ด การสํ ารวจตรวจสอบอย า ง
ถู ก ต อ งทั้ ง ทางกว า งและลึ ก ใน
เชิงปริมาณและคุณภาพ
๕.รวบรวมขอมูลและบันทึกผล - 3 3 3 3 3 3
การสํ า รวจตรวจสอบอย างเป น
ระบบถูกตองครอบคลุมทั้งในเชิง
ปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบ
ความเปนไปได ความเหมาะสมหรือ
ความผิดพลาดของขอมูล
๖ . จั ด ก ร ะ ทํ า ข อ มู ล โ ด ย - 3 3 3 3 3 3
คํา นึ งถึ ง การรายงานผลเชิง ตั ว
เลขที่ มี ระดั บ ความถู กตอง และ
นํ าเสนอข อ มู ล ด ว ยเทคนิ ค วิ ธี ที่
เหมาะสม
๗. วิเคราะหขอมูล - 3 3 3 3 3 3
แปลความหมาย ขอมูล และ
ประเมินความสอดคลอง
ของขอสรุป หรือสาระสําคัญ
เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว

80 80 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาวิทยาศาสตร

การเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

สารและสมบัติขิงสาร

พลังงาน
๘. พิ จารณาความน าเชื่ อถื อของ 3 3 3 3 3 3
วิ ธี ก า ร แ ล ะ ผ ล ก า ร สํ า ร ว จ
ตรวจสอบ โดยใช หลั กความ
คลาดเคลื่ อนของการวัด และการ
สังเกต เสนอแนะ การปรับปรุง วิธีการ
สํารวจ ตรวจสอบ
๙ . นํ า ผ ล ข อ ง ก า ร สํ า ร ว จ 3 3 3 3 3 3
ตรวจสอบที่ ไ ด ทั้ ง วิ ธี ก ารและ
องคความรูที่ไดไปสรางคําถาม
ใ ห ม นํ า ไ ป ใ ช แ ก ป ญ ห า ใ น
สถานการณใหมและในชีวิตจริง
๑๐. ตระหนักถึงความสําคัญในการ 3 3 3 3 3 3
ที่ จ ะต อ งมี ส ว นร วมรั บผิ ดชอบ
การอธิ บาย การลงความเห็ น
และการสรุ ป ผลการเรี ย นรู
วิ ท ยาศาสตร ที่ นํ า เสนอต อ
สาธารณชนดวยความถูกตอง
๑๑. บันทึกและอธิบายผลการ 3 3 3 3 3 3
สํารวจตรวจสอบอยางมีเหตุผล
ใช พ ยาน หลั ก ฐานอ า งอิ ง หรื อ
คนควาเพื่อเติมเพื่อหาหลักฐาน
อางอิงที่เชื่อถือได และ ยอมรับ
วาความรูเดิมอาจมีการเปลี่ยนแปลง
ได เมื่ อ มี ข อ มู ล และประจั ก ษ
พยานใหมเพิ่ มเติ มหรื อโต แยงจาก
เดิ ม ซึ่ งท าทายให มี การตรวจสอบ
อยางระมัดระวั งอั นจะนํามาสู การ
ยอมรับเปนความรูใหม
๑๒.จัดแสดงผลงาน เขีย น 3 3 3 3 3 3
รายงาน และ/หรืออธิบาย
เกี่ยวกับแนวคิดกระบวนการและผล
ของโครงงาน หรือชิ้นงานให
ผูอื่นเขาใจ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 81 81
หนวยสมรรถนะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
หนวยสมรรถนะยอยของกลุมวิชาวิทยาศาสตร ประกอบดวย ๕ หนวยสมรรถนะ ดังนี้
๓๑ บูรณาการกระบวนการทางวิทยาศาสตรเพื่อใชในชีวิตประจําวัน การศึกษาและงานอาชีพ
๓๒ บูรณาการความรูทางฟสิกสเพื่อใชในชีวิตประจําวัน การศึกษาและงานอาชีพ
๓๓ บูรณาการความรูทางเคมีเพื่อใชในชีวิตประจําวัน การศึกษาและงานอาชีพ
๓๔ บูรณาการความรูทางชีววิทยาเพื่อใชในชีวิตประจําวัน การศึกษาและงานอาชีพ
๓๕ บูรณาการความรูทางสิ่งแวดลอมและพลังงานเพื่อใชในชีวิตประจําวัน การศึกษาและงานอาชีพ

82 82 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรฐานสมรรถนะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
หลักสูตรฐานสมรรถนะกลุมวิชาวิทยาศาสตร ไดวิเคราะหกรอบมาตรฐานตามจุดประสงครายวิชา สมรรถนะรายวิชา
และคําอธิบายรายวิชา สรุปเปนหนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย และตัวบงชี้ และจําแนกตามกลุมวิชาวิทยาศาสตร ดังนี้
ตารางที่ 3-2 ผลการวิเคราะหหนวยสมรรถนะยอย สมรรถนะยอย และตัวบงชี้ กลุมวิชาวิทยาศาสตรหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพ พุทศักราช 2556 จําแนวเปนรายวิชา
รายวิชา

2000-1301

2000-1302
2000-1303
2000-1304
2000-1305
2000-1306
2000-1307
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

3๑. บูรณาการ ๓๑.๑ แสดงความรูและ สํารวจ ๓๑.๑๐๑ - ใชทักษะกระบวนการ


กระบวนการทาง ตรวจสอบกระบวนการทาง ทางวิทยาศาสตรในการ
วิทยาศาสตรเพื่อใชใน วิทยาศาสตรในการแสวงหา แสวงหาความรูและ 3 3 3 3 3 3 3
ชีวิต ประจําวัน ความรู/แกปญหา แกปญหา
การศึกษาและงานอาชีพ
3๑.๒ แสดงความรูและสํารวจ ๓๑.๒๐๑ - ใชทักษะกระบวนการ
ตรวจสอบกระบวนการทาง ทางวิทยาศาสตรในการ
วิทยาศาสตรในการทําโครงงาน ทําโครงงานวิทยาศาสตร 3 3 3
วิทยาศาสตร
๓๒.บูรณาการความรูทาง ๓๒.๑ แสดงความรูและปฏิบัติ ๓๒.๑๐๑ - อธิบายและคํานวณการ
ฟสิกสเพื่อใชใน เกี่ยวกับการวัดปริมาณทางฟสิกส วัดปริมาณทางฟสิกส 3 3
ชีวิตประจําวันการศึกษา
และงานอาชีพ ๓๒.๒ แสดงความรูและ สํารวจ ๓๒.๒๐๑ - อธิบาย คํานวณ และ
ตรวจสอบเรื่องเวกเตอร ทดลองเรื่องเวกเตอร
๓๒.๓ แสดงความรูและ ๓๒.๓๐๑ - อธิบาย คํานวณ และ
3 3
สํารวจตรวจสอบเรื่องแรง ทดลองเรื่องแรง
๓๒.๔ แสดงความรูและสํารวจ ๓๒.๔๐๑ - อธิบาย คํานวณ และ
ตรวจสอบเรื่อง ทดลองเรื่องแรงและการ 3 3
การเคลื่อนที่ เคลื่อนที่
๓๒.๕ แสดงความรูและสํารวจ ๓๒.๕๐๑ - อธิบาย คํานวณ และ
ตรวจสอบเรื่องงาน พลังงานและ ทดลองเรื่องงานพลังงาน 3
กําลัง และกําลัง
๓๒.๖ แสดงความรูและสํารวจ ๓๒.๖๐๑ - อธิบาย คํานวณ และ
ตรวจสอบเรื่องคลื่น ทดลองเรื่องคลื่นและคลื่น 3 3 3 3
แมเหล็กไฟฟา
๓๒.๖๐๒ -สืบคนและอธิบายเรื่อง
3 3 3
แสงและการมองเห็น
๓๒.๗ แสดงความรูและสํารวจ ๓๒.๗๐๑ - อธิบาย คํานวณ และ
ตรวจสอบเรื่องไฟฟา ทดลองเรื่องวงจรไฟฟา
3
และไฟฟาใน
ชีวิตประจําวัน
๓๒.๘ แสดงความรูและสํารวจ ๓๒.๘๐๑ - อธิบาย คํานวณ และ
ตรวจสอบเรื่องความรอน ทดลองเรื่องความรอน 3

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 83 83
รายวิชา

2000-1301

2000-1302
2000-1303
2000-1304
2000-1305
2000-1306
2000-1307
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

๓๒.๙ แสดงความรูเรื่อง นาโน ๓๒.๙๐๑ -สืบคนและอธิบายเรื่อง


3
เทคโนโลยี นาโนเทคโนโลยี
๓๒.๑๐ แสดงความรูเรื่อง ๓๒.๑๐๐๑ -สืบคนขอมูลเกี่ยวกับ
พลังงานนิวเคลียร พลังงานนิวเคลียรและ
3
ผลกระทบตอสิ่งมีชีวิต
และสิ่งแวดลอม
๓๓.บูรณาการ ความรู ๓๓.๑ แสดงความรูและ สํารวจ ๓๓.๑๐๑ - อธิบายโครงสราง
ทางเคมีเพื่อใชใน ตรวจสอบ เรื่องสารและสมบัติ อะตอมตารางธาตุและ 3 3
ชีวิตประจําวัน การศึกษา ของสาร พันธะเคมี
และงานอาชีพ ๓๓.๑๐๒ - ทดลองและอธิบายเรื่อง
สารและสมบัติของสาร
๓๓.๒ แสดงความรูและสํารวจ ๓๓.๒๐๑ - ทดลอง อธิบาย สมบัติ
ตรวจสอบกรด เบสและเกลือ ของ กรด เบสและเกลือ 3

๓๓.๓ แสดงความรูและสํารวจ ๓๓.๓๐๑ - ทดลอง อธิบาย และ


ตรวจสอบสารประกอบ เขียนสูตรของ
ไฮโดรคารบอน สารประกอบ 3 3
ไฮโดรคารบอน
๓๓.๔ แสดงความรูและสํารวจ ๓๓.๔๐๑ - ทดลอง อธิบาย
ตรวจสอบพอลิเมอร เกี่ยวกับพอลิเมอรและ 3 3
การนําไปใชประโยชน
๓๓.๕ แสดงความรูและสํารวจ ๓๓.๕๐๑ - ทดลอง อธิบายและ
ตรวจสอบสารเคมี เขียนสมการปฏิกิริยาเคมี 3 3 3
๓๓.๖ แสดงความรูและ ๓๓.๖๐๑ - ทดลองและอธิบาย
สํารวจตรวจสอบสารชีวโมเลกุล องคประกอบของสารชีว 3
โมเลกุล
๓๔.บูรณาการความรูทาง ๓๔.๑ แสดงความรูและ ๓๔.๑๐๑ -ทดลองและอธิบาย
ชีววิทยาเพื่อใชในชีวิต สํารวจตรวจสอบ เรื่องหนวย หนาที่สวนประกอบ ของ 3
ประจําวัน การศึกษา และ พื้นฐานของสิ่งมีชีวิต เซลลพืชและเซลลสัตว
งานอาชีพ ๓๔.๑๐๒ -ทดลองและอธิบายการ
รักษาดุลยภาพของ 3
สิ่งมีชีวิต
๓๔.๒ แสดงความรูและ ๓๔.๒๐๑ - ทดลองและอธิบาย
สํารวจตรวจสอบเรื่องระบบตาง โครงสรางและการทํางาน
3
ๆ ของสิ่งมีชีวิต ของระบบตางๆใน
สิ่งมีชีวิต
๓๔.๓ แสดงความรูและสํารวจ ๓๔.๓๐๑ - สืบคนขอมูลและอธิบาย
ตรวจสอบเรื่องการจําแนก การจําแนกสิ่งมีชีวิต 3 3 3
สิ่งมีชีวิต ระบบนิเวศ

84 84 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา

2000-1301

2000-1302
2000-1303
2000-1304
2000-1305
2000-1306
2000-1307
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

๓๔.๔ แสดงความรูและสํารวจ ๓๔.๔๐๑ - ทดลอง อธิบาย 3 3


ตรวจสอบเรื่องพันธุกรรม กระบวนการถายทอดสาร
พันธุกรรม
๓๔.๔๐๒ -อธิบายโรคทาง 3 3
พันธุกรรมที่เกิดจากการ
ผิดปกติของยีนและ
โครโมโซม
๓๔.๕ ประยุกตใชความรูเรื่อง ๓๔.๕๐๑ - สํารวจและอธิบายผล 3 3
เทคโนโลยี ของการใช
ชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพตอ
สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
๓๕.บูรณาการ ความรู ๓๕.๑ แสดงความรูและ สํารวจ ๓๕.๑๐๑ - สํารวจ ทดลองและ
ทางสิ่งแวดลอมและ ตรวจสอบเรื่องสิ่งแวดลอม อธิบายความ สัมพันธ
พลังงาน เพื่อใชใน ระหวางสิ่งมีชีวิตกับ
ชีวิตประจําวัน การศึกษา สิ่งแวดลอม
และงานอาชีพ ๓๕.๒ แสดงความรูและ ๓๕.๒๐๑ - สํารวจตรวจสอบ
สํารวจตรวจสอบ วิเคราะหสภาพปญหา
เรื่องการอนุรักษพลังงาน สิ่งแวดลอมตลอดจน
แนวทางอนุรักษพลังงาน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 85 85
ตารางที่ 3-3 ผลการวิเคราะหสมรรถนะยอยรายวิชาวิทยาศาตรหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
เพื่อรับการเทียบโอนผลการเรียนรูของวิชาวิทยาศาสตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

ดวงดาวและโลกของเรา
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

สารและสมบัติของสาร
พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

การเคลื่อนที่และแรงใน
รหัส
สมรรถนะยอย

ธรรมชาติธรรมชาติ
Code ๒๐๐๐-๑๓๐๑
๒๐๐๐-๑๓๐๒
๒๐๐๐-๑๓๐๓
๒๐๐๐-๑๓๐๔
๒๐๐๐-๑๓๐๕
๒๐๐๐-๑๓๐๖
2000-1307

พลังงาน
๓๑.๑ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบ
กระบวนการทางวิทยาศาสตรในการ / / / / / / / / / / / / /
แสวงหาความรู/ แกปญหา
๓๑.๒ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบ
กระบวนการทางวิทยาศาสตรในการทํา / /
โครงงานวิทยาศาสตร
๓๒.๑ แสดงความรูและปฏิบัตเิ กี่ยวกับการวัด /
/ /
ปริมาณทางฟสิกส
๓๒.๒ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง /
/
เวกเตอร
๓๒.๓ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง /
/ /
แรง
๓๒.๔ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง /
/ /
การเคลื่อนที่
๓๒.๕ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง /
/
งาน พลังงานและกําลัง
๓๒.๖ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง / /
/ / / /
คลื่น
๓๒.๗ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง / / /
ไฟฟา
๓๒.๘ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบ เรื่อง /
/
ความรอน
๓๒.๙ แสดงความรูเรื่องนาโนเทคโนโลยี /

86 86 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

พันธุกรรมและสิ่งแวดลอม

ดวงดาวและโลกของเรา
การเคลื่อนที่และแรงใน
ดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต

สารและสมบัติของสาร
รหัส
สมรรถนะยอย
Code

๒๐๐๐-๑๓๐๓

๒๐๐๐-๑๓๐๖
๒๐๐๐-๑๓๐๑
๒๐๐๐-๑๓๐๒

๒๐๐๐-๑๓๐๔
๒๐๐๐-๑๓๐๕

2000-1307

ธรรมชาติ
พลังงาน
๓๒.๑๐ แสดงความรูเรื่องพลังงานนิวเคลียร / /
๓๓.๑ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง / /
/ / /
สารและสมบัติของสาร
๓๓.๒ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบกรด /
/
เบสและเกลือ
๓๓.๓ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบ /
/
สารประกอบไฮโดรคารบอน
๓๓.๔ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบพอลิ /
/ /
เมอร
๓๓.๕ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบ /
/ / /
สารเคมี
๓๓.๖ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบสาร /
/
ชีวโมเลกุล
๓๔.๑ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง /
/
หนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต
๓๔.๒ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง /
/
ระบบตาง ๆ ของสิ่งมีชีวิต
๓๔.๓ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง / /
/ / /
การจําแนกสิ่งมีชีวิต
๓๔.๔ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง /
/ /
พันธุกรรม
๓๔.๕ ประยุกตใชความรูเรื่อง /
/ /
เทคโนโลยีชีวภาพ
๓๕.๑ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง / /
สิ่งแวดลอม
๓๕.๒ แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่อง /
/
การอนุรักษพลังงาน
รวม 10 2 2 3 5 2 3
หมายเหตุ รายวิชาวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต (๒๐๐๐-๑๓๐๑) เรียนตามจํานวนสมรรถนะยอย
จํานวน ๑๐ สมรรถนะ ซึ่งตรงกับรายวิชา ที่ ๓ เรื่องสารและสมบัติของสาร และ รายวิชาที่ ๔ เรื่องการเคลื่อนที่
และแรงในธรรมชาติ จํานวน ๗ สมรรถนะ คิดเปน รอยละ ๗๐

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 87 87
ตารางที่ 3-4 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต จํานวน 2 หนวยกิต
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


ที่ สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรูรายวิชา จําแนกตามรายวิชาวิทยาศาสตร
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 1 2 3 4 5 6
1 31.1 3 3 3 3 3 3
2 31.2 - - - - - -
3 32.1  3
4 32.3  3
5 32.4  3
6 32.7  3 3
7 32.9 - - - - - -
8 33.1 3 3
9 33.5 3
10 34.3 3 3
รวม 2 2 3 5 2 2
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต เนื้อหาสาระสอดคลองกับรายวิชาที่ 2 และ 4 จํานวน 6 ตัวชี้วัด
เรียน 10 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 60

หมายเหตุ 1. หมายเลขที่กําหนดในชองจํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


จําแนกเปนรายวิชาวิทยาศาสตรตามหลักสูตร สพฐ.
หมายเลข 1 หมายถึง วิชาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิต จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 2 หมายถึง วิชาพันธุกรรมและสิ่งแวดลอม จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 3 หมายถึง วิชาสารและสมบัติของสาร จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 4 หมายถึง วิชาการเคลื่อนที่และแรงในธรรมชาติ จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 5 หมายถึง วิชาพลังงาน จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 6 หมายถึง วิชาดวงดาวและโลกของเรา จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
2. รายวิชาวิทยาศาสตรของหลักสูตร สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนผลการเรียนรูเขาสูหนวยกิต
รายวิชาวิทยาศาตรของหลักสูตร ปวช. จะตองมีจํานวนหนวยกิตเทากันหรือมากกวา
3. รายวิชาของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนตั้งแต 2 รายวิชาขึ้นไป ถามีตัวชี้วัดซ้ําซอนกัน ใหนับเปน 1 ตัวชี้วัด
4. รายวิชาหลักสูตรของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนเปนรายวิชาบังคับที่ทุกประเภทวิชาตองเรียน
ตามโครงสรางหลักสูตร สอศ. แลว ไมสามารถนํามาเทียบโอนซ้าํ ไดอีก

88 88 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ตารางที่ 3-5 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพชางอุตสาหกรรม
จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรูรายวิชา จําแนกตามรายวิชาวิทยาศาสตร
ที่
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพชางอุตสาหกรรม
1 2 3 4 5 6
1 31.1 3 3 3 3 3 3
2 32.1 3
3 32.2  3
4 32.3  3
5 32.4  3
6 32.5   3
7 32.6 3 3
รวม 1 1 1 5 3 2
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพชางอุตสาหกรรม เนื้อหาสาระสอดคลองกับรายวิชาที่ 1 และ 5 จํานวน 7 ตัวชี้วัด
เรียน 7 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 42.86

สรุป วิชาวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพชางอุตสาหกรรม 2 หนวยกิต เรียน 7 สมรรถนะยอย ไมสามารถ


เทียบไดกับรายวิชาของสพฐ.เนื่องจากเนื้อหาวิชาวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพชางอุตสาหกรรมซ้ําซอนกับวิชา
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐาน
ขอเสนอแนะ 1. ปรับเนื้อหารายวิชาวิทยาศาสตร 2000-1301 โดยตัดเนื้อหาฟสิกสบางสวนออกแลวเพิ่ม
เนื้อหาเรื่องโลกและดวงดาว หรือเนื้อหาอื่นที่เกี่ยวกับเคมีลงไปาวิชาวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพ
ชางอุตสาหกรรมซ้ําซอนกับวิชาวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะพื้นฐาน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 89 89
ตารางที่ 3-6 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ
จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรูรายวิชา จําแนกตามรายวิชาวิทยาศาสตร
ที่
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ
1 2 3 4 5 6
1 31.1 3 3 3 3 3 3
2 32.6 3 3
3 32.10 3
4 33.3 3 
5 33.4 3 
6 33.5 3  
7 33.6 3 
8 34.3 3 3 
9 34.4 3 
10 34.5 3
รวม 4 2 5 2 2 2
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ เนื้อหาสาระสอดคลองกับรายวิชาที่ 1 และ 3 จํานวน 8 ตัวชี้วัด
เรียน 10 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 80

ตารางที่ 3-7 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพศิลปกรรม จํานวน 2 หนวยกิต


หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร หลักสูตรแกนกลาง
การศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรูรายวิชา จําแนกตามรายวิชาวิทยาศาสตร
ที่
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพศิลปกรรม
1 2 3 4 5 6
1 31.1 3 3 3 3 3 3
2 32.6 3 3
3 32.8 3
4 33.1 3 3
5 33.4 3
6 33.5 3
รวม 1 1 4 1 3 3
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพศิลปกรรม เนื้อหาสาระสอดคลองกับรายวิชาที่ 3 และ 5 จํานวน 6 ตัวชี้วัด
เรียน 6 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100

90 90 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ตารางที่ 3-8 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาวิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู
วิทยาศาสตร หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรูรายวิชา จําแนกตามรายวิชาวิทยาศาสตร
ที่
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
1 2 3 4 5 6
1 31.1 3 3 3 3 3 3
2 34.1 3  
3 34.2 3   
4 34.3 3 3  
5 34.4 3  
6 34.5 3   
รวม 6 2 1 1 1 1
วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม เนื้อหาสาระสอดคลองกับรายวิชาที่ 1 และ 3 จํานวน 6 ตัวชี้วัด
เรียน 6 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100

ตารางที่ 3-9 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาโครงงานวิทยาศาสตร จํานวน 1 หนวยกิต


หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูว ิทยาศาสตร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรูรายวิชา จําแนกตามรายวิชาวิทยาศาสตร
ที่
โครงงานวิทยาศาสตร
1 2 3 4 5 6
1 31.1 3 3 3 3 3 3
2 31.2   
รวม 1 1 1 1 1 1
โครงงานวิทยาศาสตร ไมสอดคลองกับทุกรายวิชาของหลักสูตร สพฐ.
เรียน 2 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 50

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 91 91
ตารางที่ 3-10 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาโลกและอวกาศ จํานวน 1 หนวยกิต
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรูรายวิชา จําแนกตามรายวิชาวิทยาศาสตร
ที่
โลกและอวกาศ
1 2 3 4 5 6
1 31.1 3 3 3 3 3 3
2 32.6 3 3
3 33.1 3  3
4 33.2   3
5 35.1 3   3
รวม 1 2 2 1 2 5
โลกและอวกาศ เนื้อหาสาระสอดคลองกับรายวิชาที่ 6 จํานวน 5 ตัวชี้วัด
เรียน 5 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100

92 92 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
เพิ่มรายวิชาวิทยาศาสตร
2000-๑๓๐๗ โลกและอวกาศ
จุดประสงครายวิชา เพื่อให
๑. มีความรูความเขาใจกระบวนการเปลี่ยนแปลงบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของกระบวนการ
ตาง ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศและสัณฐานของโลก ความสําคัญของเทคโนโลยี
อวกาศที่ใชในการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุบนทองฟาและการสื่อสาร
๒. อธิบายเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงบนผิวโลกจากการกระทําของมนุษยและธรรมชาติ การใชกลองโทรทัศน
ในการสํารวจวัตถุบนทองฟา
๓. มีเจตคติที่ดีตอวิชาวิทยาศาสตรและกิจนิสัยที่ดีในการทํางาน

สมรรถนะรายวิชา
๑. แสดงความรูเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงบนผิวโลกและภายในโลก
๒. แสดงความรูเกี่ยวกับความสัมพันธของกระบวนการตาง ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิ
ประเทศและสัณฐานของโลก
๓. แสดงความรูเกี่ยวกับเทคโนโลยีอวกาศที่ใชในการสํารวจทรัพยากรธรรมชาติ วัตถุบนทองฟาและการ
สื่อสาร

คําอธิบายรายวิชา
ศึกษา ทดลองและอธิบายเกี่ยวกับกระบวนการเปลี่ยนแปลงบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของ
กระบวนการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศและสัณฐานของโลก เทคโนโลยีอวกาศ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 93 93
ขอมูลการวิเคราะหความตรงและความสอดคลองหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน
เพื่อเทียบโอนผลการเรียนสูรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี

๑.4 กลุมวิชาคณิตศาสตร

94 94 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมวิชาคณิตศาสตร
สาระที่ ๑ จํานวนและการดําเนินการ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง
มาตรฐาน ค ๑.๒ เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวาง
การดําเนินการตาง ๆ และใชการดําเนินการในการแกปญหา
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชการประมาณคาในการคํานวณและแกปญหา
มาตรฐาน ค ๑.๔ เขาใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด
มาตรฐาน ค ๒.๒ แกปญหาเกี่ยวกับการวัด
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใชการนึกภาพ (visualization) ใชเหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial reasoning)
และใชแบบจําลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแกปญหา
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๑ เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชัน
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร
(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณตาง ๆ ตลอดจนแปลความหมาย
และนําไปใชแกปญหา
สาระที่ ๕ การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน
มาตรฐาน ค ๕.๑ เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล
มาตรฐาน ค ๕.๒ ใชวิธีการทางสถิติและความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณได
อยางสมเหตุสมผล
มาตรฐาน ค ๕.๓ ใชความรูเกี่ยวกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและแกปญหา
สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและ
เชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริ่มสรางสรรค

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 95 95
2

หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


ตารางที่ 4-1 ผลการวิเคราะหสาระการเรียนรูคณิตศาสตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 จําแนกเปนรายวิชาตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู
แกนกลาง
รายวิชาคณิตศาสตร
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
สาระที่ ๑ จํานวนและการดําเนินการ
มาตรฐาน ค ๑.๑ เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง
1. แสดงความสัมพันธของจํานวนตางๆใน x จํานวนจริง 3
ระบบจํานนวนจริง
2.มีความคิดรวบยอดเกีย่ วกับคาสัมบูรณ x คาสัมบูรณของจํานวนจริง 3
ของจํานวนจริง
3.มีความคิดรวบยอดเกีย่ วกับจํานวนที่อยูใน x จํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้ 3
รูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวน กําลังเปนจํานวนตรรกยะ และจํานวนจริงที่
ตรรกยะและจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ อยูในรูปกรณฑ
มาตรฐาน ค ๑.๒ เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธ
ระหวางการดําเนินการตาง ๆ และใชการดําเนินการในการแกปญหา
๑. เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิด x การบวก การลบ การคูณ และการหาร 3 3
จาก การบวก การลบ การคูณ การหาร จํานวนจริง
จํานวนจริง จํานวนจริงที่อยูในรูป x การบวก การลบ การคูณ และการหาร
เลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปน จํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้
จํานวนตรรกยะ และจํานวนจริงที่อยู กําลังเปนจํานวนตรรกยะและจํานวนจริงที่
ในรูปกรณฑ อยูในรูปกรณฑ
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชการประมาณคาในการคํานวณและแกปญหา
๑. หาคาประมาณของจํานวนจริงที่อยูใน x คาประมาณของจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ 3
รูปกรณฑ และจํานวนจริงที่อยูในรูป และจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลัง
เลขยกกําลังโดยใชวิธีการคํานวณ
ที่เหมาะสม
มาตรฐาน ค ๑.๔ เขาใจระบบจํานวนและนําสมบัตเิ กี่ยวกับจํานวนไปใช
๑. เขาใจสมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการ x สมบัติของจํานวนจริง และการนําไปใช 3
บวก การคูณ การเทากัน การไมเทากัน
และนําไปใชได
สาระที่ ๒ การวัด
มาตรฐาน ค ๒.๑ เขาใจพื้นฐานเกีย่ วกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด
๑. ใชความรูเรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติของ x อัตราสวนตรีโกณมิติและการนําไปใช 3
มุม ในการคาดคะเนระยะทางและ
ความสูง

96 96 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
3

ตารางที่ 4-1 (ตอ)


รายวิชาคณิตศาสตร
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
มาตรฐาน ค ๒.๒ แกปญหาเกี่ยวกับการวัด
๑. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับระยะทางและ x โจทยปญหาเกี่ยวกับระยะทางและความสูง 3
ความสูงโดยใชอัตราสวนตรีโกณมิติ
สาระที่ ๓ เรขาคณิต
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิตแิ ละสามมิติ
- -
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใชการนึกภาพ (visualization) ใชเหตุผลเกี่ยวกับปริภูมิ (spatial
reasoning) และใชแบบจําลองทางเรขาคณิต (geometric model)
ในการแกปญหา
- -
สาระที่ ๔ พีชคณิต
มาตรฐาน ค ๔.๑ เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชัน
๑. มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซตและการ x เซตและการดําเนินการของเซต 3
ดําเนินการของเซต
๒. เขาใจและสามารถใชการใหเหตุผล x การใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย 3
แบบอุปนัยและนิรนัย
๓. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ x ความสัมพันธและฟงกชัน
ความสัมพันธและฟงกชัน เขียนแสดง x กราฟของความสัมพันธและฟงกชัน
ความสัมพันธและฟงกชนั ในรูปตาง ๆ
เชน ตาราง กราฟ และสมการ
๔. เขาใจความหมายของลําดับและหา x ลําดับและการหาพจนทั่วไปของลําดับจํากัด 3
พจนทั่วไปของลําดับจํากัด
๕. เขาใจความหมายของลําดับเลขคณิต x ลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต 3
และลําดับเรขาคณิต หาพจนตาง ๆ
ของลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต
และนําไปใช
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และตัวแบบเชิงคณิตศาสตร
(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณตาง ๆ ตลอดจน
แปลความหมายและนําไปใชแกปญหา
๑. เขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอรแสดง x แผนภาพเวนน-ออยเลอร 3
เซตและนําไปใชแกปญหา
๒. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการ x การใหเหตุผล 3
ใหเหตุผลโดยใชแผนภาพเวนน-ออย
เลอร
๓. แกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไม x สมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกิน 3
เกินสอง สอง
๔. สรางความสัมพันธหรือฟงกชันจาก x ความสัมพันธหรือฟงกชัน 3
สถานการณ หรือปญหาและนําไปใชใน
การแกปญหา

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 97 97
4

ตารางที่ 4-1 (ตอ)


รายวิชาคณิตศาสตร
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๕. ใชกราฟของสมการ อสมการ ฟงกชันใน x กราฟของสมการ อสมการ ฟงกชัน และ 3
การแกปญหา การนําไปใช
๖. เขาใจความหมายของผลบวก n พจน x อนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต 3
แรกของอนุกรมเลขคณิตและอนุกรม
เรขาคณิต หาผลบวก n พจนแรกของ
อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต
โดยใชสูตรและนําไปใช
สาระที่ ๕ การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน
มาตรฐาน ค ๕.๑ เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอมูล
๑. เขาใจวิธีการสํารวจความคิดเห็นอยาง x การสํารวจความคิดเห็น 3
๒. หาคาเฉลีย่ เลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม x คากลางของขอมูล 3
สวน- เบี่ยงเบนมาตรฐานและเปอรเซ็น x การวัดการกระจายของขอมูล
ไทลของขอมูล x การหาตําแหนงที่ของขอมูล
๓. เลือกใชคากลางที่เหมาะสมกับขอมูล x คากลางของขอมูล 3
และวัตถุประสงค x การวัดการกระจายของขอมูล
x การหาตําแหนงที่ของขอมูล

มาตรฐาน ค ๕.๒ ใชวิธีการทางสถิติและความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนใน


การคาดการณไดอยางสมเหตุสมผล
๑. นําผลทีไ่ ดจากการสํารวจความคิดเห็น x การสํารวจความคิดเห็น 3
ไปใชคาดการณในสถานการณที่
กําหนดให
๒. อธิบายการทดลองสุม เหตุการณ ความ x กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ 3
นาจะเปนของเหตุการณ และนําผลที่ x การทดลองสุม

ไดไปใชคาดการณในสถานการณที่ x แซมเปลสเปซ
กําหนดให x เหตุการณ
x ความนาจะเปนของเหตุการณ

มาตรฐาน ค ๕.๓ ใชความรูเกี่ยวกับสถิติและความนาจะเปนชวย


ในการตัดสินใจและแกปญหา
๑. ใชขอมูลขาวสารและคาสถิติชวยในการ x สถิติและขอมูล 3
ตัดสินใจ
๒. ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนชวยใน x ความนาจะเปนของเหตุการณ 3
การตัดสินใจและแกปญหา

98 98 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
5

ตารางที่ 4-1 (ตอ)


รายวิชาคณิตศาสตร
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร
มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร
การสื่อความหมาย ทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรู
ตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมี
ความคิดริเริ่มสรางสรรค
๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญหา - 3 3 3 3 3 3
๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทาง - 3 3 3 3 3 3
คณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการ
แกปญหาในสถานการณตาง ๆ ไดอยาง
เหมาะสม
๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และ - 3 3 3 3 3 3
สรุปผลไดอยางเหมาะสม
๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตร - 3 3 3 3 3 3
ในการสื่อสาร การสื่อความหมาย และ
การนําเสนอ ไดอยางถูกตอง และชัดเจน
๕. เชื่อมโยงความรูต าง ๆ ในคณิตศาสตร - 3 3 3 3 3 3
และนําความรู หลักการ กระบวนการ
ทางคณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตร
อื่น ๆ
๖. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค - 3 3 3 3 3 3

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 99 99
6

หนวยสมรรถนะหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 (ปวช.)


หนวยสมรรถนะยอยของกลุมวิชาคณิตศาสตร ประกอบดวย 9 หนวยสมรรถนะ ดังนี้
41 แสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง
42 วิเคราะหผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวางการดําเนินการตางๆ
และใชการดําเนินการในการแกปญหา
43 วัด หนวยของการวัด และคาดคะเนสิ่งที่ตองการวัด
44 แกปญหาเกี่ยวกับการวัด
45 วิเคราะหรูปแบบเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ และใชแบบจําลองทางเรขาคณิต
(Geometric Model) ในการแกปญหา
46 วิเคราะหแบบรูป (Pattern) ความสัมพันธ และฟงกชันตางๆ
47 ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ และแบบจําลองทางคณิตศาสตรอื่นๆ แทนสถานการณ
ตางๆ แปลความหมายและนําไปใชแกปญหา
48 ใชวิธีการทางสถิติและความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการวิเคราะหขอมูล การคาดการณ
ไดอยางสมเหตุสมผล และการตัดสินใจแกปญหา
49 สื่อความหมาย แกปญหา ใหเหตุผลทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ เชื่อมโยงความรูตางๆ
ทางคณิตศาสตร และเชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตรอื่นๆ มีความคิดริเริ่มสรางสรรค

100 100 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
7

หลักสูตรฐานสมรรถนะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

หลักสูตรฐานสมรรถนะกลุมวิชาคณิตศาสตร ไดวิเคราะหกรอบมาตรฐานตามจุดประสงครายวิชา
สมรรถนะรายวิชา และคําอธิบายรายวิชา สรุปเปน หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย และตัวบงชี้ และจําแนก
ตามกลุมวิชาคณิตศาสตร ดังนี้

ตารางที่ 4-2 ผลการวิเคราะหหนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย และตัวบงชี้ กลุมวิชาคณิตศาสตรหลักสูตร


ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 จําแนกเปนรายวิชา
รายวิชา

เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส

คณิตศาสตรเพือ่ การออกแบบ
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม ๒
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1
คณิตศาสตรพนื้ ฐานอาชีพ

คณิตศาสตรพาณิยกรรม
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

คณิตศาสตรพนื้ ฐาน

สถิติการทดลอง
41 แสดงจํานวน 41.1 ดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนจริง 41.101 - หาผลลัพธจากการบวก ลบ
และการใช ที่เปนจํานวนตรรกยะ คูณและหารจํานวนจริงที่ 3
จํานวนในชีวิต เปนจํานวนตรรกยะ
จริง 41.2 ดําเนินการเกีย่ วกับอัตราสวน 41.201 - หาผลลัพธจากการ
สัดสวน และรอยละ ดําเนินการอัตราสวน
สัดสวน 3
41.202 - หาผลลัพธจากการ
ดําเนินการรอยละ
41.3 ดําเนินการเกีย่ วกับจํานวนจริง 41.301 - หาผลลัพธจากการ
ที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มี ดําเนินการของจํานวนจริง
3
เลขชี้กาํ ลังเปนจํานวนตรรกยะ ที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มี
เลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ
41.4 ดําเนินการเกีย่ วกับจํานวนจริง 41.401 - หาผลลัพธจากการดําเนินการ
ที่อยูในรูปลอการิทึม ของจํานวนจริงที่อยูในรูป 3
ลอการิทึม
41.5 ดําเนินการเกีย่ วกับจํานวน 41.501 - หาผลลัพธจากการดําเนินการ
เชิงซอนในรูปพิกัดฉากและ จํานวนเชิงซอนในรูปพิกัดฉาก
3
พิกัดเชิงขั้ว 41.502 - หาผลลัพธจากการดําเนินการ
จํานวนเชิงซอนในพิกัดเชิงขั้ว
41.6 ดําเนินการเกีย่ วกับการแปรผัน 41.601 - หาผลลัพธจากการดําเนินการ
3
ของการแปรผัน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 101 101
8

ตารางที่ 4-2 (ตอ)


รายวิชา

เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส

คณิตศาสตรเพือ่ การออกแบบ
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม ๒
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1
คณิตศาสตรพนื้ ฐานอาชีพ

คณิตศาสตรพาณิยกรรม
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

คณิตศาสตรพนื้ ฐาน

สถิติการทดลอง
42 วิเคราะหผลที่ 42.1 ประยุกตใชอัตราสวน สัดสวน 42.101 - ใชอัตราสวน สัดสวนในงาน
เกิดขึ้นจากการ และรอยละในงานอาชีพ อาชีพ 3
ดําเนินการ 42.102 - ใชรอยละในงานอาชีพ
ของจํานวนและ 42.2 ประยุกตการดําเนินการ - ดําเนินการจํานวนเชิงซอน
ความสัมพันธ จํานวนเชิงซอนในรูปพิกัดฉาก 42.201 ในรูปพิกัดฉากในงานอาชีพ
ระหวางการ และพิกัดเชิงขั้วในงานอาชีพ - ดําเนินการจํานวนเชิงซอน 3
ดําเนินการ 42.202 ในรูปพิกัดเชิงขั้ว ในงาน
ตางๆ และใช อาชีพ
การเนินการ 42.3 ประยุกตใชจํานวนเชิงซอนที่อยู 42.301 - ใชจํานวนเชิงซอนที่อยูในรูป
ในการแกปญหา ในรูปเลขยกกําลังและรูปกรณฑ เลขยกกําลังและรูปกรณฑ 3
ในงานอาชีพ ในงานอาชีพ
42.4 ประยุกตใชการแปรผันในงาน 42.401 - ใชการแปรผันในงานอาชีพ
อาชีพ 3

43 วัด หนวยของ 43.1 ประมาณคา ความยาว พื้นที่ 43.101 - หาคาและเปรียบเทียบ


การวัด และ พื้นที่ผวิ และปริมาตร ในหนวย ความยาวพื้นที่ พื้นที่ผวิ
3 3
คาดคะเนสิ่งที่ มาตราวัดตางๆ และปริมาตร รูปทรง
ตองการวัด เรขาคณิต โดยการประมาณ
43.2 วัดและเปรียบเทียบความยาว 43.201 - หาคาและเปรียบเทียบ
พื้นที่ พื้นที่ผิวและปริมาตร ความยาว พื้นที่ พื้นที่ผวิ 3 3
ในหนวยมาตราวัดตางๆ และปริมาตรของชิ้นงาน
43.3 คาดคะเนระยะทางและ 43.301 - หาคาประมาณของ
ความสูงโดยใชความรูเรื่อง ระยะทางและความสูง
3 3
อัตราสวนตรีโกณมิติของมุม โดยใชอัตราสวนตรีโกณมิติ
ที่กําหนด ของมุมที่กําหนด
43.4 คาดคะเนการหาพื้นที่ พื้นที่ผิว 43.401 - หาคาประมาณของพื้นที่
และปริมาตรของสิ่งที่ตองการวัด พื้นที่ผิวและปริมาตรที่ไมใช
ที่ไมใชรูปทรงเรขาคณิตโดยใช รูปทรงเรขาคณิต 3
ความรูเรื่อง พื้นที่ พื้นที่ผวิ และ
ปริมาตร
44 แกปญ หา 44.1 ประยุกตการวัด โดยใชความรู 44.101 - หาคาเกีย่ วกับการวัด
3 3
เกี่ยวกับการวัด เรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติ โดยใชอัตราสวนตรีโกณมิติ
44.2 ใชความรูเกี่ยวกับความยาว 44.201 - หาความยาว พื้นที่ พื้นที่ผวิ
พื้นที่ พื้นที่ผวิ และปริมาตร และปริมาตรในสถานการณ
แกปญหาในสถานการณตางๆ ตางๆ
3 3
44.202 - แกปญหาเกี่ยวกับสามเหลี่ยม
บนพื้นผิวทรงกลมโดยใช
ตรีโกณมิติทรงกลม

102 102 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
9

ตารางที่ 4-2 (ตอ)


รายวิชา

เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส

คณิตศาสตรเพือ่ การออกแบบ
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม ๒
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1
คณิตศาสตรพนื้ ฐานอาชีพ

คณิตศาสตรพาณิยกรรม
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

คณิตศาสตรพนื้ ฐาน

สถิติการทดลอง
45 วิเคราะห 45.1 แกปญหาเกีย่ วกับรูปเรขาคณิต 45.101 - ใชความรูและทักษะเกี่ยวกับ
รูปแบบ และรูปทรงเรขาคณิต ความยาว พื้นที่ พื้นที่ผิว
เรขาคณิต และปริมาตรแกปญหา
3
สองมิติ รูปเรขาคณิต และรูปทรง
และสามมิติ เรขาคณิตจากเงื่อนไขที่
และใช กําหนด
แบบจําลอง 45.2 ประยุกตความรูเกีย่ วกับ 45.201 - ออกแบบลวดลายดวย
ทางเรขาคณิต เสนตรง ระนาบ รูปเรขาคณิต เสนตรง ระนาบรูปเรขาคณิต
3
(Geometric และรูปทรงเรขาคณิต และรูปทรงเรขาคณิต
Model) ในการออกแบบลวดลาย
ในการแกปญหา 45.3 ดําเนินการเกีย่ วกับเสนตรง 45.301 - หาระยะหางระหวางจุด
ระยะหางและสมการเสนตรง สองจุด จุดกึ่งกลาง พื้นที่
รูปหลายเหลีย่ ม ความชัน
ของเสนตรง ระยะหาง 3
ระหวางเสนตรงกับจุดและ
เขียนสมการเสนตรง
จากเงื่อนไขที่กําหนด
45.4 ดําเนินการเกี่ยวกับภาคตัดกรวย 45.401 - เขียนสมการและกราฟของ
ภาคตัดกรวย เมื่อกําหนด
สวนประกอบตางๆ
3
45.402 - หาสวนประกอบตางๆ ของ
ภาคตัดกรวย เมื่อกําหนด
สมการ
45.5 ดําเนินการเกีย่ วกับเวคเตอร 45.501 - คํานวณเกี่ยวกับเวคเตอร
และนําความรูเกี่ยวกับ
เวคเตอรไปใช
45.6 ขยายสวนและยอสวนของภาพ 45.601 - ขยายสวนและยอสวนของ
ภาพโดยยึดจุดศูนยกลาง
3
45.602 - ขยายสวนและยอสวนของ
ภาพโดยใชตาราง
46 วิเคราะหแบบรูป 46.1 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซต 46.101 - หาความสัมพันธและ
(Pattern) การดําเนินการของเซต และ การดําเนินการของเซต 3
ความสัมพันธ นําไปประยุกตใช ในรูปแบบตางๆ
และฟงกชัน 46.2 มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ 46.102 - นําการดําเนินการของเซต
ตางๆ การดําเนินการของเมทริกซ ไปประยุกตใช
และนําไปประยุกตใช 46.201 - หาผลลัพธของการดําเนินการ 3 3
ของเมทริกซและนําไป
ประยุกตใช

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 103 103
10

ตารางที่ 4-2 (ตอ)


รายวิชา

เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส

คณิตศาสตรเพือ่ การออกแบบ
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม ๒
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1
คณิตศาสตรพนื้ ฐานอาชีพ

คณิตศาสตรพาณิยกรรม
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

คณิตศาสตรพนื้ ฐาน

สถิติการทดลอง
46.3 ประยุกตใชความรูเกี่ยวกับ 46.301 - หาคาดีเทอรมิแนนตของ
เมทริกซ และการคํานวณคา เมทริกซขนาดไมเกิน 3×3 3 3
ดีเทอรมิแนนตของเมทริกซ และนําไปประยุกตใช
46.4 ดําเนินการเกี่ยวกับ 46.401 - หาความสัมพันธและฟงกชันใน
ความสัมพันธ และฟงกชัน รูปตางๆ เชน สมการ กราฟ
3
ในรูปตางๆ และตาราง จากเงื่อนไขที่
กําหนด
46.5 ดําเนินการเกีย่ วกับลําดับ 46.501 - หาพจนทวั่ ไปของลําดับจํากัด
เลขคณิตและลําดับเรขาคณิต ทีก่ ําหนด
46.502 - หาพจนตา งๆ ของลําดับ
3
เลขคณิต
46.503 - หาพจนตา งๆ ของลําดับ
เรขาคณิต
46.6 ดําเนินการเกีย่ วกับลิมิตของฟงกชัน 46.601 - หาคาลิมิตของฟงกชัน
อนุพันธของฟงกชันพีชคณิตและ อนุพันธของฟงกชันพีชคณิต
3
อินทิกรัลฟงกชันพีชคณิต และอินทิกรัลฟงกชัน
พีชคณิต
46.7 ดําเนินการเกีย่ วกับการแยก 46.701 - แยกเศษสวนยอยจาก
3
เศษสวนยอ รูปแบบที่กาํ หนด
46.8 ดําเนินการและคํานวณ 46.801 - หาคาฟงกชันตรีโกณมิติ
3 3
เกีย่ วกับฟงกชันตรีโกณมิติ จากเงื่อนไขที่กําหนด
47 ใชนิพจน 47.1 นําความรูเกีย่ วกับแผนภาพ 47.101 - หาจํานวนสมาชิกของเซต
สมการ เวนน-ออยเลอร (Venn-Euler จํากัดโดยใชแผนภาพเวนน-
อสมการ Diagram) ไปใชแกปญ  หา ออยเลอร (Venn-Euler
กราฟ และ เกีย่ วกับการหาจํานวนสมาชิก Diagram)
แบบจําลองทาง ของเซตจํากัด
คณิตศาสตร 47.2 นําความรูเกีย่ วกับสมการเชิงเสน 47.201 - หาคําตอบของสมการเชิงเสน
อื่นๆ แทน ตัวแปรเดียว ระบบสมการ ตัวแปรเดียวจากสถานการณ
สถานการณ เชิงเสนสองตัวแปรไปใชใน หรือปญหาที่กําหนด
ตางๆ แปล สถานการณหรือปญหาทีก่ ําหนด 47.202 - หาคําตอบของระบบสมการ 3
ความหมาย เชิงเสนสองตัวแปรจาก
และนําไปใช สถานการณหรือปญหาที่
แกปญหา กําหนด
47.3 นําความรูเกีย่ วกับอสมการ 47.301 - หาคําตอบของอสมการเชิงเสน
เชิงเสนไมเกินสองตัวแปรไปใช ไมเกินสองตัวแปรจาก
3
ในสถานการณหรือปญหาที่ สถานการณหรือปญหาที่
กําหนด กําหนด

104 104 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
11

ตารางที่ 4-2 (ตอ)


รายวิชา

เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส

คณิตศาสตรเพือ่ การออกแบบ
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม ๒
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1
คณิตศาสตรพนื้ ฐานอาชีพ

คณิตศาสตรพาณิยกรรม
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

คณิตศาสตรพนื้ ฐาน

สถิติการทดลอง
47.4 ประยุกตใชความสัมพันธหรือ 47.401 - เขียนความสัมพันธหรือ
ฟงกชันในสถานการณหรือ ฟงกชันจากสถานการณหรือ
3
ปญหาทีก่ ําหนด ปญหาทีก่ าํ หนดและนําไป
ประยุกตใช
47.5 ใชความรูเกี่ยวกับการหา 47.501 - หาคาผลบวก n พจนแรกของ
ผลบวก n พจนแรกของอนุกรม อนุกรมเลขคณิต โดยใชสูตร
เลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต และนําไปประยุกตใช
3
โดยใชสูตรและการประยุกต 47.502 - หาคาผลบวก n พจนแรกของ
อนุกรมเรขาคณิต โดยใชสูตร
และนําไปประยุกตใช
47.6 ประยุกตใชกราฟของอสมการ 47.601 - สรางกราฟของอสมการและ
ในสถานการณหรือปญหาที่ กําหนดการเชิงเสนแกปญหา
3
กําหนด ใชในสถานการณหรือปญหา
ทีก่ ําหนด
47.7 ประยุกตใชฟงกชันตรีโกณมิติ 47.701 - แกปญหาสถานการณตางๆ
ในสถานการณหรือปญหาที่ ในงานอาชีพโดยใชฟงกชัน 3 3
กําหนด ตรีโกณมิติ
47.8 นําความรูเกีย่ วกับสมการ 47.801 - หาคําตอบของสมการกําลัง
กําลังสองตัวแปรเดียวไปใชใน สองตัวแปรเดียวใน
3
สถานการณหรือปญหาที่ สถานการณหรือปญหาที่
กําหนด กําหนด
48 ใชวิธีการทาง 48.1 สํารวจและจัดหมวดหมูขอ มูล 48.101 - จัดหมวดหมูข อมูลตาม
3
สถิติและความรู อยางงาย ประเภทของขอมูล
เกี่ยวกับ 48.2 ใชความรูเกี่ยวกับคากลางกับ 48.201 - เลือกใชคาเฉลี่ยเลขคณิต
ความนาจะเปน ขอมูลที่กําหนด มัธยฐานและฐานนิยมที่ 3
ในการวิเคราะห เหมาะสมกับขอมูลที่กําหนด
ขอมูลการ 48.3 วิเคราะหขอ มูลเบื้องตน 48.301 - หาตําแหนงเปอรเซ็นตไทล
คาดการณ หาตําแหนงของขอมูล ของขอมูล และคาการ
ไดอยาง และการวัดการกระจายของขอมูล กระจายขอมูลโดยใชพิสัย 3
สมเหตุสมผล และสวนเบี่ยงเบนมาตรฐาน
และการ กับขอมูลทีก่ ําหนด
ตัดสินใจ 48.4 ใชความรูเกี่ยวกับแบบแผน 48.401 - เลือกใชแบบแผนการทดลอง
แกปญ  หา การทดลองที่เหมาะสมกับ ที่เหมาะสมกับสถานการณ
3 3
สถานการณหรือปญหาที่ หรือปญหาที่กาํ หนด
กําหนด
48.5 วิเคราะหขอ มูลตามขั้นตอน 48.501 - ใชสถิติไดเหมาะสมกับแบบ
และใชสถิติไดเหมาะสมกับแบบ แผนการทดลอง 3 3
แผนการทดลอง

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 105 105
12

ตารางที่ 4-2 (ตอ)


รายวิชา

เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส

คณิตศาสตรเพือ่ การออกแบบ
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม ๒
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1
คณิตศาสตรพนื้ ฐานอาชีพ

คณิตศาสตรพาณิยกรรม
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

คณิตศาสตรพนื้ ฐาน

สถิติการทดลอง
48.6 นําความรูเกีย่ วกับกระบวนการ 48.601 - ใชกระบวนการทางสถิติ
ทางสถิติไปใชในการวิจัยเบื้องตน ในการวิจัย
3 3
48.602 - ใชกระบวนการวิจัยในการ
สรางองคความรูในงานอาชีพ
48.7 ดําเนินการความนาจะเปน 48.701 - หาผลจากการทดลองสุม
เบื้องตนและนําผลไปใชในการ เหตุการณและความนาจะเปน
คาดการณ ของเหตุการณ
48.702 - คาดการณในสถานการณที่
3
กําหนดจากผลของการ
ทดลองสุม เหตุการณ
และความนาจะเปนของ
เหตุการณ
48.8 ใชขอมูลขาวสาร คาสถิติ และ 48.801 - สรุปแปลความหมายจาก
คาสถิติที่ไดจากการวิเคราะห ขอมูล ขาวสาร และคาสถิติ
ขอมูลในการตัดสินใจ 48.802 - แปลความหมายจากคาสถิติ 3 3
ที่ไดจากการวิเคราะหเพื่อ
การตัดสินใจ
48.9 นําความรูเกีย่ วกับความนาจะเปน 48.901 - หาคาความนาจะเปนจาก
ไปใชในการตัดสินใจและ สถานการณหรือปญหา
แกปญหา ที่กาํ หนด
3
48.902 - แกปญหาและตัดสินใจใน
สถานการณหรือปญหาที่
กําหนดจากคาความนาจะเปน
49 สื่อความหมาย 49.1 ใชความรูทางคณิตศาสตร 49.101 - แกปญหาในสถานการณจริง
แกปญ  หาให เกี่ยวกับการแกปญหาและ และสรุปผลโดยใชความรู 3 3 3 3 3 3 3 3
เหตุผลทาง การใหเหตุผลในสถานการณจริง ทางคณิตศาสตร
คณิตศาสตร 49.2 สือ่ ความหมาย แปลความ และ 49.201 - แปลความหมายจาก
และการนําเสนอ นําเสนอขอมูลทางคณิตศาสตร ประโยคภาษาเปนประโยค
เชื่อมโยง สัญลักษณ
ความรูตางๆ 49.202 - แปลความหมายจาก
ทางคณิตศาสตร 3 3 3 3 3 3 3 3
ประโยคสัญลักษณเปน
และเชื่อมโยง ประโยคภาษา
คณิตศาสตร 49.203 - แปลความและนําเสนอขอมูล
กับศาสตรอื่นๆ ในรูปแบบตางๆ
มีความคิดริเริ่ม 49.3 ประยุกตความรูและทักษะ 49.301 - นําความรูและทักษะเกีย่ วกับ
สรางสรรค เกี่ยวกับเซต และฟงกชันตางๆ เซตและฟงกชันตางๆ
3
ในงานอาชีพ ไปประยุกตในการเรียนรู
งานอาชีพ

106 106 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
13

ตารางที่ 4-2 (ตอ)


รายวิชา

เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส

คณิตศาสตรเพือ่ การออกแบบ
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม ๒
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1
คณิตศาสตรพนื้ ฐานอาชีพ

คณิตศาสตรพาณิยกรรม
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

คณิตศาสตรพนื้ ฐาน

สถิติการทดลอง
49.4 ประยุกตความรูและทักษะ 49.401 - นําความรูและทักษะ
เกีย่ วกับจํานวนเชิงซอนในงาน เกี่ยวกับจํานวนเชิงซอน
3
อาชีพ ไปประยุกตในการเรียนรู
งานอาชีพ
49.5 ประยุกตความรูและทักษะ 49.501 - นําความรูและทักษะ
เกี่ยวกับภาคตัดกรวยในงาน เกี่ยวกับภาคตัดกรวยไป
3
อาชีพ ประยุกตในการเรียนรู
งานอาชีพ
49.6 ประยุกตความรูและทักษะ 49.601 - นําความรูและทักษะ
เกีย่ วกับแคลคูลัสในงานอาชีพ เกี่ยวกับแคลคูลัสไปประยุกต 3
ในการเรียนรูงานอาชีพ
49.7 ใชความรูและทักษะเกีย่ วกับ 49.701 - หาคําตอบของระบบสมการ
ดีเทอรมิแนนตหาคําตอบของ เชิงเสนโดยใชความรูและ 3 3
ระบบสมการเชิงเสน ทักษะเกี่ยวกับดีเทอรมิแนนต
49.8 ใชความรูเกี่ยวกับการออกแบบ 49.801 - นําความรูเกี่ยวกับการ
คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน ออกแบบคณิตศาสตรใน
คณิตศาสตรกับการประกอบ ชีวิตประจําวัน คณิตศาสตร 3
อาชีพไปเชื่อมโยงกับวิชาชีพ กับการประกอบอาชีพไป
เชื่อมโยงกับวิชาชีพ
49.9 ประยุกตกระบวนการทาง 49.901 - วางแผน ออกแบบ ประดิษฐ
คณิตศาสตรในการวางแผน คิดคนสิ่งใหมๆ ในงานอาชีพ
การออกแบบ ประดิษฐคิดคน 3
สิ่งใหมๆ ในงานอาชีพ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 107 107
14

ตารางที่ 4-3 ผลการวิเคราะหสมรรถนะยอยรายวิชาคณิตศาสตรหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ


พุทธศักราช 2556 เพื่อรับการเทียบโอนผลการเรียนรูของรายวิชาคณิตศาสตร
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส

คณิตศาสตรกบั การออกแบบ
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 2
คณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ

คณิตศาสตรพาณิชยกรรม
รหัส
สมรรถนะยอย
Code
คณิตศาสตรพื้นฐาน

สถิติการทดลอง
คณิตศาสตร 1
คณิตศาสตร 2
คณิตศาสตร 3
คณิตศาสตร 4

คณิตศาสตร 5
คณิตศาสตร 6
41.1 ดําเนินการเกีย่ วกับจํานวนจริงที่เปน
3 3
จํานวนตรรกยะ
41.2 ดําเนินการเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน
3
และรอยละ
41.3 ดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูใน
รูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กาํ ลังเปน 3 3 3 3
จํานวนตรรกยะ
41.4 ดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูใน
3 3
รูปลอการิทึม
41.5 ดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนเชิงซอนใน
3 3
รูปพิกัดฉาก และพิกัดเชิงขั้ว
41.6 ดําเนินการเกี่ยวกับการแปรผัน 3
42.1 ประยุกตใชอัตราสวน สัดสวน
3
และรอยละในงานอาชีพ
42.2 ประยุกตการดําเนินการจํานวน
เชิงซอนในรูปพิกัดฉากและพิกัด 3
เชิงขั้วในงานอาชีพ
42.3 ประยุกตใชจํานวนเชิงซอนที่อยูในรูป
เลขยกกําลังและรูปกรณฑในงาน 3
อาชีพ
42.4 ประยุกตใชการแปรผันในงานอาชีพ 3
43.1 ประมาณคา ความยาว พื้นที่
3 3
และปริมาตรในหนวยมาตราวัดตางๆ
43.2 วัดและเปรียบเทียบความยาว
พื้นที่ ปริมาตร ในหนวยมาตราวัด 3 3
ตางๆ
43.3 คาดคะเนระยะทางและความสูง
โดยใชความรูเรื่องอัตราสวน 3 3 3
ตรีโกณมิติของมุมที่กําหนด
43.4 คาดคะเนการหาพื้นที่ พื้นที่ผิวและ
ปริมาตรของสิ่งที่ตองการวัดที่ไมใช
3
รูปทรงเรขาคณิต โดยใชความรูเรื่อง
พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร

108 108 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
15

ตารางที่ 4-3 (ตอ)


หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส

คณิตศาสตรกบั การออกแบบ
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 2
คณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ

คณิตศาสตรพาณิชยกรรม
รหัส
สมรรถนะยอย

คณิตศาสตรพื้นฐาน
Code

สถิติการทดลอง
คณิตศาสตร 1
คณิตศาสตร 2
คณิตศาสตร 3
คณิตศาสตร 4
คณิตศาสตร 5
คณิตศาสตร 6
44.1 ประยุกตการวัด โดยใชความรูเรื่อง
3 3 3
อัตราสวนตรีโกณมิติ
44.2 ใชความรูเกี่ยวกับความยาว พื้นที่
พื้นที่ผิวและปริมาตร แกปญหาใน 3 3
สถานการณตางๆ
45.1 แกปญหาเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตและ
3
รูปทรงเรขาคณิต
45.2 ประยุกตความรูเกี่ยวกับ เสนตรง
ระนาบ รูปทรงเรขาคณิตในการ 3
ออกแบบลวดลาย
45.3 ดําเนินการเกี่ยวกับเสนตรง ระยะหาง
3
และสมการเสนตรง
45.4 ดําเนินการเกี่ยวกับภาคตัดกรวย 3
45.5 ดําเนินการเกี่ยวกับเวกเตอร
45.6 ขยายสวนและยอสวนของภาพ 3
46.1 มีความคิดรวบยอดเกีย่ วกับเซต
การดําเนินการของเซต และนําไป 3 3
ประยุกตใช
46.2 มีความคิดรวบยอดเกีย่ วกับการ
ดําเนินการของเมทริกซ และนําไป 3 3
ประยุกตใช
46.3 ประยุกตใชความรูเกีย่ วกับเมทริกซ
และการคํานวณคาดีเทอรมิแนนต 3 3
ของเมทริกซ
46.4 ดําเนินการเกี่ยวกับความสัมพันธและ
ฟงกชัน 3 3
ในรูปตางๆ
46.5 ดําเนินการเกี่ยวกับลําดับเลขคณิต
3 3
และลําดับเรขาคณิต
46.6 ดําเนินการเกี่ยวกับลิมิตของฟงกชัน
อนุพันธของฟงกชันพีชคณิต และ 3
อินทิกรัลฟงกชันพีชคณิต
46.7 ดําเนินการเกี่ยวกับการแยกเศษสวน
3
ยอย
46.8 ดําเนินการและคํานวณเกี่ยวกับฟงกชัน
3 3 3
ตรีโกณมิติ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 109 109
16

ตารางที่ 4-3 (ตอ)


หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส

คณิตศาสตรกบั การออกแบบ
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 2
คณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ

คณิตศาสตรพาณิชยกรรม
รหัส
สมรรถนะยอย

คณิตศาสตรพื้นฐาน
Code

สถิติการทดลอง
คณิตศาสตร 1
คณิตศาสตร 2
คณิตศาสตร 3
คณิตศาสตร 4
คณิตศาสตร 5
คณิตศาสตร 6
47.1 นําความรูเกี่ยวกับแผนภาพเวนน-ออย
เลอร (Venn -Euler Diagram) ไปใช
3
แกปญหาเกี่ยวกับการหาจํานวนสมาชิก
ของเซตจํากัด
47.2 นําความรูเกี่ยวกับสมการเชิงเสน
ตัวแปรเดียว ระบบสมการเชิงเสนสอง
3 3
ตัวแปร ไปใชในสถานการณหรือ
ปญหาที่กาํ หนด
47.3 นําความรูเกี่ยวกับอสมการเชิงเสนไมเกิน
สองตัวแปรไปใชในสถานการณหรือ 3 3
ปญหาที่กาํ หนด
47.4 ประยุกตใชความสัมพันธหรือฟงกชัน
3 3
ในสถานการณหรือปญหาที่กาํ หนด
47.5 ใชความรูเกี่ยวกับการหาผลบวก n
พจนแรกของอนุกรมเลขคณิต และ
3
อนุกรมเรขาคณิต โดยใชสตู รและการ
ประยุกต
47.6 ประยุกตใชกราฟของอสมการใน
3 3
สถานการณหรือปญหาทีก่ ําหนด
47.7 ประยุกตใชฟงกชันตรีโกณมิติใน
3 3 3
สถานการณหรือปญหาทีก่ ําหนด
47.8 นําความรูเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัว
แปรเดียวไปใชในสถานการณหรือ 3 3
ปญหาที่กาํ หนด
48.1 สํารวจ และจัดหมวดหมูขอมูลอยาง
3 3
งาย
48.2 ใชความรูเกี่ยวกับคากลางกับขอมูลที่
3 3
กําหนด
48.3 วิเคราะหขอมูลเบื้องตนหาตําแหนง
ของขอมูล และการวัดการกระจาย 3 3
ของขอมูล
48.4 ใชความรูเกีย่ วกับแบบแผนการทดลองที่
เหมาะสมกับสถานการณหรือปญหาที่ 3 3 3
กําหนด
48.5 วิเคราะหขอมูลตามขั้นตอน และใช
สถิติไดเหมาะสมกับแบบแผนการ 3 3 3
ทดลอง

110 110 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
17

ตารางที่ 4-3 (ตอ)


หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส

คณิตศาสตรกบั การออกแบบ
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 2
คณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ

คณิตศาสตรพาณิชยกรรม
รหัส
สมรรถนะยอย

คณิตศาสตรพื้นฐาน
Code

สถิติการทดลอง
คณิตศาสตร 1
คณิตศาสตร 2
คณิตศาสตร 3
คณิตศาสตร 4
คณิตศาสตร 5
คณิตศาสตร 6
48.6 นําความรูเกี่ยวกับกระบวนการทาง
3 3 3
สถิติไปใชในการวิจัยเบื้องตน
48.7 ดําเนินการความนาจะเปนเบื้องตน
และนําผลไปใช 3 3
ในการคาดการณ
48.8 ใชขอมูลขาวสาร คาสถิติ และคาสถิติ
ที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลในการ 3 3 3
ตัดสินใจ
48.9 นําความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนไป
3 3
ใชในการตัดสินใจและแกปญหา
49.1 ใชความรูทางคณิตศาสตรเกี่ยวกับการ
แกปญหา และการใหเหตุผลใน 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
สถานการณจริง
49.2 สื่อความหมาย แปลความ และ
3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
นําเสนอขอมูลทางคณิตศาสตร
49.3 ประยุกตความรูและทักษะเกี่ยวกับ
3 3 3
เซต และฟงกชันตางๆ ในงานอาชีพ
49.4 ประยุกตความรูและทักษะเกี่ยวกับ
3
จํานวนเชิงซอนในงานอาชีพ
49.5 ประยุกตความรูและทักษะเกี่ยวกับ
3
ภาคตัดกรวยในงานอาชีพ
49.6 ประยุกตความรูและทักษะเกี่ยวกับ
3
แคลคูลัสในงานอาชีพ
49.7 ใชความรูและทักษะเกี่ยวกับ
ดีเทอรมิแนนตหาคําตอบของ 3 3
ระบบสมการเชิงเสน
49.8 ใชความรูเกี่ยวกับการออกแบบ
คณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน
3
คณิตศาสตรกับการประกอบอาชีพ
ไปเชื่อมโยงกับวิชาชีพ
49.9 ประยุกตกระบวนการทางคณิตศาสตร
ในการวางแผน การออกแบบประดิษฐ 3
คิดคนสิ่งใหมๆ ในงานอาชีพ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 111 111
18

ตารางที่ 4-4 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน


จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูคณิตศาสตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู
ที่ จําแนกตามรายวิชาคณิตศาสตร
รายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐาน
1 2 3 4 5 6
1 41.1 3 - - - - -
2 41.2 - - - - - -
3 41.6 - - - - - -
4 42.1 - - - - - -
5 42.4 - - - - - -
6 47.6 3 - - - - -
7 48.1 - - - - 3 -
8 48.2 - - - - 3 -
9 48.3 - - - - 3 -
10 48.4 - - - - 3 -
11 48.5 - - - - 3 -
12 48.6 - - - - 3 -
13 48.8 - - - - 3 -
14 49.1 3 3 3 3 3 3
15 49.2 3 3 3 3 3 3
รวม 4 2 2 2 9 2
คณิตศาสตรพื้นฐาน เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 4 และ 5 จํานวน 9 ตัวชี้วัด
เรียน 15 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 60.00
หมายเหตุ 1. หมายเลขที่กําหนดในชองจํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จําแนกเปนรายวิชาคณิตศาสตรตามหลักสูตร สพฐ.
หมายเลข 1 หมายถึง วิชาคณิตศาสตร 1 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 2 หมายถึง วิชาคณิตศาสตร 2 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 3 หมายถึง วิชาคณิตศาสตร 3 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 4 หมายถึง วิชาคณิตศาสตร 4 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 5 หมายถึง วิชาคณิตศาสตร 5 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 6 หมายถึง วิชาคณิตศาสตร 6 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
2. รายวิชาคณิตศาสตรของหลักสูตร สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนผลการเรียนรูเขาสูหนวยกิต
รายวิชาคณิตศาสตรของหลักสูตร ปวช. จะตองมีจํานวนหนวยกิตเทากันหรือมากกวา
3. รายวิชาของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนตั้งแต 2 รายวิชาขึ้นไป ถามีตัวชี้วัดซ้ําซอนกัน
ใหนับเปน 1 ตัวชี้วัด
4. รายวิชาหลักสูตรของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนเปนรายวิชาบังคับที่ทุกประเภทวิชาตองเรียน
ตามโครงสรางหลักสูตร สอศ. แลว ไมสามารถนํามาเทียบโอนซ้ําไดอีก

112 112 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
19

ตารางที่ 4-5 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ


จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูคณิตศาสตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู
ที่ จําแนกตามรายวิชาคณิตศาสตร
รายวิชาคณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ
1 2 3 4 5 6
1 41.3 3 3 3 - - -
2 41.4 - 3 - - - -
3 43.1 - - - - - -
4 43.2 - - - - - -
5 43.4 - - - - - -
6 44.2 - - - - - -
7 47.2 - 3 - - - -
8 47.3 3 - - - - -
9 47.8 3 - - - - -
10 49.1 3 3 3 3 3 3
11 49.2 3 3 3 3 3 3
รวม 5 4 4 2 2 2
คณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพอาชีพ เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 1 และ 2 จํานวน 7 ตัวชี้วัด
เรียน 11 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 63.64

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 113 113
20

ตารางที่ 4-6 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาคณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1


จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูคณิตศาสตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู
ที่ จําแนกตามรายวิชาคณิตศาสตร
รายวิชาคณิตศาสตรอตุ สาหกรรม 1
1 2 3 4 5 6
1 43.3 - - 3 - - -
2 44.1 - - 3 - - -
3 46.2 - - - - - -
4 46.3 - - - - - -
5 46.8 - - 3 - - -
6 47.7 - - 3 - - -
7 49.1 3 3 3 3 3 3
8 49.2 3 3 3 3 3 3
9 49.7 - - - - - -
รวม 2 2 6 2 2 2
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 1 เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 3 และ 6 จํานวน 6 ตัวชี้วัด
เรียน 9 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 66.67

114 114 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
21

ตารางที่ 4-7 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาคณิตศาสตรอุตสาหกรรม 2


จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูคณิตศาสตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู
ที่ จําแนกตามรายวิชาคณิตศาสตร
รายวิชาคณิตศาสตรอตุ สาหกรรม 2
1 2 3 4 5 6
1 41.5 - - - 3 - -
2 42.2 - - - - - -
3 42.3 - - - - - -
4 43.3 - - 3 - - -
5 44.1 - - 3 - - -
6 46.2 - - - - - -
7 46.3 - - - - - -
8 46.8 - - 3 - - -
9 47.7 - - 3 - - -
10 49.1 3 3 3 3 3 3
11 49.2 3 3 3 3 3 3
12 49.4 - - - - - -
13 49.7 - - - - - -
รวม 2 2 6 3 2 2
คณิตศาสตรอุตสาหกรรม 2 เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 3 และ 6 จํานวน 6 ตัวชี้วัด
เรียน 13 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 46.15

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 115 115
22

ตารางที่ 4-8 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาเรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส


จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูคณิตศาสตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ รายวิชาเรขาคณิตวิเคราะห จําแนกตามรายวิชาคณิตศาสตร
และแคลคูลสั 1 2 3 4 5 6
1 45.3 - - - - - -
2 45.4 - - - - - -
3 46.4 - 3 - - - -
4 46.6 - - - - - -
5 46.7 - - - - - -
6 47.4 - 3 - - - -
7 49.1 3 3 3 3 3 3
8 49.2 3 3 3 3 3 3
9 49.5 - - - - - -
10 49.6 - - - - - -
รวม 2 4 2 2 2 2
เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัส เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 1 และ 2 จํานวน 4 ตัวชี้วัด
เรียน 10 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 40.00

116 116 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
23

ตารางที่ 4-9 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาคณิตศาสตรพาณิยกรรม


จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูคณิตศาสตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู
ที่ จําแนกตามรายวิชาคณิตศาสตร
รายวิชาคณิตศาสตรพาณิยกรรม
1 2 3 4 5 6
1 46.1 3 - - - - -
2 46.5 - - - - - 3
3 47.5 - - - - - -
4 48.7 - - - 3 - -
5 48.9 - - - 3 - -
6 49.1 3 3 3 3 3 3
7 49.2 3 3 3 3 3 3
8 49.3 3 3 3 - - -
9 49.8 - - - - - -
10 49.9 - - - - - -
รวม 4 3 3 4 2 3
คณิตศาสตรพาณิยกรรม เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 1 และ 6 จํานวน 5 ตัวชี้วัด
เรียน 10 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 50.00

ตารางที่ 4-7 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาคณิตศาสตรเพื่อการออกแบบ


จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูคณิตศาสตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู
ที่ จําแนกตามรายวิชาคณิตศาสตร
รายวิชาคณิตศาสตรเพื่อการออกแบบ
1 2 3 4 5 6
1 43.1 - - - - - -
2 43.2 - - - - - -
3 44.2 - - - - - -
4 45.1 - - - - - -
5 45.2 - - - - - -
6 49.1 3 3 3 3 3 3
7 49.2 3 3 3 3 3 3
8 49.8 - - - - - -
9 49.9 - - - - - -
รวม 2 2 2 2 2 2
คณิตศาสตรเพื่อการออกแบบ เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 1 และ 2 จํานวน 2 ตัวชี้วัด
เรียน 9 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 22.22

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 117 117
24

ตารางที่ 4-10 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาสถิติการทดลอง จํานวน 2 หนวยกิต


หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรู
คณิตศาสตรหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู
ที่ จําแนกตามรายวิชาคณิตศาสตร
รายวิชาสถิติการทดลอง
1 2 3 4 5 6
1 48.4 - - - - 3 -
2 48.5 - - - - 3 -
3 48.6 - - - - 3 -
4 48.8 - - - - 3 -
5 49.1 3 3 3 3 3 3
6 49.2 3 3 3 3 3 3
รวม 2 2 2 2 6 2
สถิติการทดลอง เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 1 และ 2 จํานวน 2 ตัวชี้วัด
เรียน 6 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 33.33

118 118 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ขอมูลการวิเคราะหความตรงและความสอดคลองหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน
เพื่อเทียบโอนผลการเรียนสูรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี

๑.๕ กลุมวิชาสังคมศึกษา

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 119 119
ตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูแกนกลางกลุมวิชาสังคมศึกษา
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู และเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือ
ศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยูรวมกันอยางสันติ
สุขรูและเขาใจ
มาตรฐาน ส ๑.๒ เขาใจและ ตระหนักและปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดี และธํารงรักษา
พระพุทธศาสนาหรือศาสนาที่ตนนับถือ
สาระที่ ๒ หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส. ๒.๑ เขาใจและปฏิบัติตนตามหนาที่ของการเปนพลเมืองดี มีคานิยม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธํารง
รักษาไวซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร
มาตรฐาน ส ๓.๑ เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช
ทรัพยากร ที่มีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการ
ดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจและ
ความจําเปนของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร
มาตรฐาน ส ๔.๑ เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัติศาสตร
สามารถใชวิธีการทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตาง ๆ อยางเปนระบบ
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดานความสัมพันธและ
การเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถวิเคราะหผลกระทบที่เกิดขึ้น
มาตรฐาน ส ๔.๓ เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจและธํารงความเปนไทย
สาระที่ ๕ ภูมศิ าสตร
มาตรฐาน ส ๕.๑ เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ตอ
กันและกันในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห สรุป และใช
ขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ
มาตรฐาน ส.๕.๒ เขาใจปฏิสมั พันธระหวามนุษยกับสภาพแวดลอมทางกายภาพที่กอใหเกิดการ
สรางสรรควัฒนธรรม มีจิตสํานึกและมีสวนรวมในการอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

120 120 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตารางที่ 5-1 ผลการวิเคราะหสาระการเรียนรูวิชาสังคมศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 จําแนกเปนรายวิชาตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรูแกนกลาง
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ 7 8 9
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม มาตรฐาน ส ๑.๑ รู และเขาใจประวัติ
ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนาหรือศาสนา ที่ตนนับถือ
และศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรมเพื่ออยู
รวมกันอยางสันติสุข
๑. วิเคราะหสงั คมชมพูทวีป และคติความ x ลักษณะของสังคมชมพูทวีป และคติความ 3 3
เชือ่ ทางศาสนาสมัยกอนพระพุทธเจา เชื่อทางศาสนาสมัยกอนพระพุทธเจา
หรือสังคมสมัยของศาสดาที่ตนนับถือ
๒. วิเคราะหพระพุทธเจาในฐานะเปน x พระพุทธเจาในฐานะเปนมนุษย ผูฝ กตนได 3 3
มนุษยผฝู กตนไดอยางสูงสุดในการตรัสรู อยางสูงสุด (การตรัสรู)
การกอตั้ง วิธีการสอนและการเผยแผ x การกอตั้งพระพุทธศาสนา วิธีการสอน และ
พระพุทธศาสนา หรือวิเคราะหประวัติ การเผยแผพระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยา
ศาสดาทีต่ นนับถือ ตามที่กําหนด)
๓.พระพุทธเจาในฐานะเปนมนุษย ผูฝก x พุทธประวัติดานการบริหารและการธํารง 3 3
ตนไดอยางสูงสุด (การตรัสรู) การกอตั้ง รักษาพระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา วิธีการสอน และการเผย
แผพระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยา
๔. วิเคราะหขอปฏิบตั ิทางสายกลางใน x พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เปน 3 3 3 3
พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ สากลและมีขอปฏิบัติที่ยดึ ทางสายกลาง
ตนนับถือตามที่กําหนด
๕. วิเคราะหการพัฒนาศรัทธา และปญญา x พระพุทธศาสนาเนนการพัฒนาศรัทธาและ 3 3 3 3
ที่ถูกตองในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิด ปญญาที่ถูกตอง
ของศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด
๖.วิเคราะหลักษณะประชาธิปไตยในพระ x ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา 3 3 3 3
พุทธ-ศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่ตน
นับถือตามที่กําหนด
๗. วิเคราะหหลักการของพระพุทธศาสนา หลักการของพระพุทธศาสนากับหลัก
x 3 3 3 3
กั บ หลั ก วิ ท ยาศาสตร หรื อ แนวคิ ด ของ
วิทยาศาสตร
ศาสนาที่ตน นับถือ ตามที่กําหนด x การคิดตามนัยแหงพระพุทธศาสนาและ
การคิดแบบวิทยาศาสตร
๘. วิเคราะหการฝกฝนและพัฒนาตนเอง x พระพุทธศาสนาเนนการฝกหัดอบรมตน 3 3 3 3
การพึ่ ง ตนเอง และการมุ ง อิ ส รภาพใน การพึ่งตนเอง และการมุงอิสรภาพ
พระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาที่
ตนนับถือตามที่กําหนด
๙. วิเคราะหพระพุทธศาสนาวาเปนศาสตร x พระพุทธศาสนาเปนศาสตรแหงการศึกษา 3 3 3 3
แหงการศึกษาซึ่งเนนความสัมพันธของ x พระพุทธศาสนาเนนความสัมพันธของเหตุ
เหตุปจจัยกับวิธีการแกปญหา หรือแนวคิด ปจจัยและวิธีการแกปญหา
ของศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 121 121
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ 6 7 8 9
๑๐. วิเคราะหพระพุทธศาสนาในการฝก x พระพุทธศาสนาฝกตนไมใหประมาท 3 3
ตนไมใหประมาท มุงประโยชนและ x พระพุทธศาสนามุงประโยชนสุขและ
สันติภาพบุคคล สังคมและโลก หรือ สันติภาพแกบคุ คล สังคมและโลก
แนวคิดของศาสนา
ที่ตนนับถือตามที่กําหนด
๑๑. วิเคราะหพระพุทธศาสนากับปรัชญา x พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจ 3 3
ของเศรษฐกิ จ พอเพี ย งและการพั ฒ นา พอเพียงและการพัฒนาแบบยั่งยืน
ประเทศแบบยั่ ง ยื น หรื อ แนวคิ ด ของ
ศาสนาที่ตนนับถือตามที่กําหนด
๑๒. วิเคราะหความสําคัญของ x ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับ 3 3
พระพุทธศาสนาเกีย่ วกับการศึกษาที่ การศึกษาที่สมบูรณ
สมบูรณ การเมืองและสันติภาพ หรือ x ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับ
แนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือตามที่ การเมือง
กําหนด x ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับ
สันติภาพ

1๓. วิเคราะหหลักธรรมในกรอบอริยสัจ x พระรัตนตรัย 3 3


๔ หรือหลักคําสอนของศาสนาที่ตนนับถือ x วิเคราะหความหมายและคุณคาของ
พุทธะ ธรรมะ สังฆะ
x อริยสัจ ๔
- ทุกข (ธรรมที่ควรรู)
- ขันธ ๕
- นามรูป
- โลกธรรม ๘
- จิต, เจตสิก
- สมุทัย (ธรรมที่ควรละ)
- หลักกรรม
- นิยาม ๕
- กรรมนิยาม (กรรม ๑๒)
- ธรรมนิยาม (ปฏิจจสมุปบาท)
- วิตก ๓
- มิจฉาวณิชชา ๕
- นิวรณ ๕
- อุปาทาน ๔
- นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ)
- ภาวนา ๔
- วิมุตติ ๕
- นิพพาน

122 122 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ 6 7 8 9
- มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
- พระสัทธรรม ๓
- ปญญาวุฒธิ รรม ๔
- พละ ๕
- อุบาสกธรรม ๕
- อปริหานิยธรรม ๗
- ปาปณิกธรรม ๓
- ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม ๔
- โภคอาทิยะ ๕
- อริยวัฑฒิ ๕
- อธิปไตย ๓
- สาราณียธรรม ๖
- ทศพิธราชธรรม ๑๐
- วิปสสนาญาณ ๙
- มงคล ๓๘
- สงเคราะหบุตร
- สงเคราะหภรรยา
- สันโดษฃถูกโลกธรรมจิต
ไมหวั่นไหว
- จิตไมเศราโศก
- จิตไมมัวหมอง
- จิตเกษม
- ความเพียรเผากิเลส
- ประพฤติพรหมจรรย
- เห็นอริยสัจ
- บรรลุนิพพาน
x พุทธศาสนสุภาษิต
- จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ
จิตที่ฝกดีแลวนําสุขมาให
- นอุจฺจาวจํ ปณฺฑิตา ทสฺสยนฺติ
บัณฑิตยอมไมแสดงอาการ ขึ้น ๆ ลง ๆ
- นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต
คนที่ไมถูกนินทา ไมมีในโลก
- โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ
ฆาความโกรธไดยอมอยูเปนสุข
- ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฐาตา
วินฺทเต ธนํ
คนขยันเอาการเอางาน กระทํา
เหมาะสม ยอมหาทรัพยได

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 123 123
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ 6 7 8 9
- วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปฺปทา
เกิดเปนคนควรจะพยายามจนกวาจะ
ประสบความสําเร็จ
- สนฺตฎฐี ปรมํ ธนํ
ความสันโดษเปนทรัพยอยางยิ่ง
- อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก
การเปนหนี้เปนทุกขในโลก
- ราชา มุขํ มนุสฺสานํ
พระราชาเปนประมุขของประชาชน
- สติ โลกสฺมิ ชาคโร
สติเปนเครื่องตื่นในโลก
- นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ
สุขอื่นยิ่งกวาความสงบไมมี
- นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ
นิพพานเปนสุข อยางยิ่ง
๑๔. วิเคราะหขอคิดและแบบอยางการ x พุทธสาวก พุทธสาวิก 3 3
ดําเนินชีวิตจากประวัตสิ าวก ชาดก เรื่อง - พระอัสสชิ
เลา และ ศาสนิกชนตัวอยาง ตามที่ - พระกีสาโคตมีเถรี
กําหนด - พระนางมัลลิกา
- หมอชีวก โกมารภัจ
- พระอนุรุทธะ
- พระองคุลิมาล
- พระธัมมทินนาเถรี
- จิตตคหบดี
- พระอานนท
- พระปฏาจาราเถรี
- จูฬสุภัททา
- สุมนมาลาการ
x ชาดก
- เวสสันดรชาดก
- มโหสธชาดก
- มหาชนกชาดก
x ชาวพุทธตัวอยาง
- พระนาคเสน - พระยามิลินท
- สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)
- พระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต
- สุชีพ ปุญญานุภาพ
- สมเด็จพระนารายณมหาราช
- พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ)

124 124 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ 6 7 8 9
- พระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ)
- ดร.เอ็มเบดการ
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลา
เจาอยูหัว
- พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)
- พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต)
- อนาคาริก ธรรมปาละ
๑๕. วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของ x วิธีการศึกษาและคนควาพระไตรปฏก 3 3
การสั ง คายนา พระไตรป ฎ ก หรื อ คั ม ภี ร และคัมภีรของศาสนาอื่น ๆ
ของศาสนาที่ตนนับถือ และการเผยแผ การสังคายนาและการเผยแผพระไตรปฏก
x ความสําคัญและคุณคาของพระไตรปฏก
๑๖. เชื่ อ มั่ น ต อ ผลของการทํ า ความดี x ตัวอยางผลที่เกิดจากการทําความดี 3 3 3 3
ความชั่ว สามารถวิเคราะหสถานการณที่ ความชั่ว
ตองเผชิญ และตัดสินใจเลือกดําเนินการ x โยนิโสมนสิการดวยวิธีคด
ิ แบบอริยสัจ
หรือปฏิบัติตนไดอยางมีเหตุผลถูกตองตาม x หลักธรรมตามสาระการเรียนรูขอ ๑๓
หลั กธรรม จ ริ ย ธร ร ม แ ล ะ กํ า ห น ด
เป า หม าย บทบาทการดํ าเ นิ น ชี วิ ต
เพื่อการอยูร วมกันอยางสั นติสุข และอยู
รวมกันเปนชาติอยางสมานฉันท
๑๗. อธิบายประวัตศิ าสดาของศาสนาอื่น x ประวัติพระพุทธเจา มุฮัมมัด พระเยซู 3 3
ๆ โดยสังเขป
๑๘.ตระหนักในคุณคาและความสําคัญ x คุณคาและความสําคัญของคานิยมและ 3 3 3 3
ของคานิยม จริยธรรมที่เปนตัวกําหนด จริยธรรม
ความเชื่อและพฤติกรรมที่แตกตางกัน x การขจัดความขัดแยงเพื่ออยูรวมกันอยาง
ของศาสนิกชนศาสนาตางๆ เพื่อขจัดความ สันติสุข
ขัดแยงและอยูรวมกันในสังคมอยางสันติสุข
๑๙. เห็นคุณคา เชื่อมั่น และมุงมั่นพัฒนา x พั ฒ นาการเรี ย นรู ด ว ยวิ ธี คิ ด แบบโยนิ โ ส 3 3 3 3
ชี วิ ต ด ว ยการพั ฒ นาจิ ต และพั ฒ นาการ มนสิ ก าร ๑๐ วิ ธี (เน น วิ ธี คิ ด แบบแยกแยะ
เรียนรูดวยวิธีคิดแบบโยนิโสมนสิการ หรือ ส ว น ป ร ะ ก อ บ แ บ บ ส า มั ญ ญ ลั ก ษ ณ ะ
การพัฒ นาจิต ตามแนวทางของศาสนาที่ แบบเป นอยู ใ นขณะป จ จุ บั น แ ละแบ บ
ตนนับถือ วิภัชชวาท)
๑) วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย
๒) วิธีคิดแบบแยกแยะสวนประกอบ
๓) วิธีคิดแบบสามัญลักษณะ
๔) วิธีคิดแบบอริยสัจ
๕) วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ
๖) วิธีคิดแบบคุณคาแท- คุณคาเทียม
๗) วิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออก
๘) วิธีคิดแบบอุบาย ปลุกเราคุณธรรม
๙) วิธีคิดแบบเปนอยูในขณะปจจุบัน
๑๐) วิธีคิดแบบวิภัชชวาท

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 125 125
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ 6 7 8 9
๒๐. สวดมนต แผเมตตา และบริหารจิต x สวดมนตแปล และแผเมตตา รูและเขาใจ 3 3 3 3
และเจริญปญญาตามหลักสติปฏฐาน หรือ วิธีปฏิบัติและประโยชนของการบริหารจิตและ
ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ เจริญปญญา
x ฝกการบริหารจิตและเจริญปญญาตาม
หลักสติปฎ ฐาน
x นําวิธีการบริหารจิตและเจริญปญญาไปใช
ในการพัฒนาการเรียนรู คุณภาพชีวิตและ
สังคม

๒๑. วิเคราะหหลักธรรมสําคัญในการอยู x หลักธรรมสําคัญในการอยูร วมกันอยาง 3 3


รวมกันอยางสันติสุขของศาสนาอืน่ ๆ และ สันติสุข
ชักชวน สงเสริม สนับสนุนใหบุคคลอื่น - หลักธรรมในพระพุทธศาสนา เชน สา
เห็นความสําคัญของการทําความดีตอกัน ราณียธรรม ๖ อธิปไตย ๓ มิจฉาวณิชชา ๕
อริยวัฑฆิ ๕ โภคอาทิยะ ๕
x คริสตศาสนา ไดแก
- บัญญัติ ๑๐ ประการ (เฉพาะทีเ่ กี่ยวของ)
- ศาสนาอิสลาม ไดแก หลักจริยธรรม
(เฉพาะที่เกี่ยวของ)

๒๒. เสนอแนวทางการจัดกิจกรรม ความ x สภาพปญหาในชุมชน และสังคม 3 3


รวมมือของทุกศาสนาในการแกปญ
 หาและ
พัฒนาสังคม

สาระที่ 2 หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม


มาตรฐาน ส ๒.2 เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและ
ธํารงรักษาไวซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
๑. วิเคราะหปญหาการเมืองที่สําคัญในประเทศ x ปญหาการเมืองสําคัญที่เกิดขึน้ 3 3
จากแหลงขอมูลตาง ๆ พรอมทั้งเสนอแนว ภายในประเทศ
ทางแกไข x สถานการณการเมืองการปกครองของ
สังคมไทย และสังคมโลก และการ
ประสานประโยชนรวมกัน
x อิทธิพลของระบบการเมืองการปกครอง
ที่มีผลตอการดําเนินชีวิตและ
ความสัมพันธระหวางประเทศ
๒. เสนอแนวทาง ทางการเมืองการปกครอง x การประสานประโยชนรวมกันระหวาง 3 3
ที่ นํ า ไปสู ค วามเข า ใจ และการประสาน ประเทศ เชน การสรางความสัมพันธ
ประโยชนรวมกันระหวางประเทศ ระหวางไทยกับประเทศตาง ๆ
x การแลกเปลี่ยนเพื่อชวยเหลือ และ
สงเสริมดานวัฒนธรรม การศึกษา
เศรษฐกิจ สังคม

126 126 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ 7 8 9
๓. วิเคราะหความสําคัญและ ความจําเปนที่ x การปกครองตามระบอบประชาธิปไตย 3 3
ตองธํารงรักษาไวซึ่งการปกครองตามระบอบ อันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปน - รูปแบบของรัฐ
ประมุข - ฐานะและพระราชอํานาจของ
พระมหากษัตริย

๔. เสนอแนวทางและมีสวนรวมในการ x ก า ร ต ร ว จ ส อ บ ก า ร ใ ช อํ า น า จ รั ฐ 3 3
ตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ ตามรั ฐ ธรรมนู ญ แห ง ราชอาณาจั ก รไทย
ฉบับปจจุบัน ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงทาง
สังคม เชน การตรวจสอบโดยองคกรอิสระ
การตรวจสอบโดยประชาชน

สาระที่ ๓ เศรษฐกิจ
มาตรฐาน ส ๓.๑ เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค
การใชทรัพยากร ที่มีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุมคา รวมทั้งเขาใจหลักการ
ของเศรษฐกิจพอเพียง เพื่อการดํารงชีวิตอยางมีดลุ ยภาพ
๑. อภิปรายการกําหนดราคาและคาจางใน x ระบบเศรษฐกิจของโลกในปจจุบัน ผลดี 3 3
ระบบเศรษฐกิจ และผลเสียของระบบเศรษฐกิจแบบตางๆ
x ตลาดและประเภทของตลาด ขอดีและ
ขอเสียของตลาดประเภทตาง ๆ
x การกําหนดราคาตามอุปสงค และอุปทาน
การกําหนดราคาในเชิงกลยุทธที่มใี น
สังคมไทย
x การกําหนดคาจาง กฎหมายที่เกีย ่ วของ
และอัตราคาจางแรงงานในสังคมไทย
x บทบาทของรัฐในการแทรกแซงราคา และ
การควบคุมราคาเพื่อการแจกจาย และ
จัดสรรในทางเศรษฐกิจ

๒. ตระหนักถึงความสําคัญของปรัชญาของ x การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงในการ 3 3
เศรษฐกิจพอเพียงที่มีตอเศรษฐกิจสังคมของ ดําเนินชีวิตของตนเอง และครอบครัว
ประเทศ x การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงในภาค
เกษตร อุตสาหกรรม การคาและบริการ
x ปญหาการพัฒนาประเทศทีผ ่ านมา โดย
การศึกษาวิเคราะหแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมฉบับที่ผานมา
x การพัฒนาประเทศที่นําปรัชญาพอเพียง
มาใช ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจและ
สังคมฉบับปจจุบัน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 127 127
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ 7 8 9
๓. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบสหกรณ x วิวัฒนาการของสหกรณในประเทศไทย 3 3
ในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชนและ x ความหมายความสําคัญ และหลักการของ
ประเทศ ระบบสหกรณ
x ตัวอยางและประเภทของสหกรณใน
ประเทศไทย
x ความสําคัญของระบบสหกรณใน
การพัฒนาเศรษฐกิจในชุมชนและประเทศ

๔. วิเคราะหปญหาทางเศรษฐกิจในชุมชนและ x ปญหาทางเศรษฐกิจในชุมชน 3 3
เสนอแนวทางแกไข x แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน
x ตัวอยางของการรวมกลุม
 ที่ประสบ
ความสําเร็จในการแกปญ
 หาทางเศรษฐกิจ
ของชุมชน

มาตรฐาน ส ๓.๒ เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทาง


เศรษฐกิจและความจําเปนของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก
๑. อธิ บ ายบทบาทของรั ฐ บาลด า นนโยบาย x บทบาทของนโยบายการเงินและการ 3 3
การเงิน การคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจของ คลังของรัฐบาลในดาน
ประเทศ - การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
- การสรางการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
- การรักษาดุลการคาระหวางประเทศ
- การแทรกแซงราคาและการควบคุม
ราคา

x รายรับและรายจายของรัฐที่มีผลตอ
งบประมาณ หนี้สาธารณะ การพัฒนาทาง
เศรษฐกิจและคุณภาพชีวิตของประชาชน
- นโยบายการเก็บภาษีประเภทตาง ๆ
และการใชจายของรัฐ
- แนวทางการแกปญหาการวางงาน

x ความหมาย สาเหตุ และผลกระทบที่


เกิดจากภาวะทางเศรษฐกิจ เชน เงินเฟอ
เงินฝด
x ตัวชี้วัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ
เชน GDP, GNP รายไดเฉลี่ยตอบุคคล
x แนวทางการแกปญหาของนโยบาย
การเงินการคลัง

128 128 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ 7 8 9
๒. วิเคราะหผลกระทบของการเปดเสรีทาง x วิวัฒนาการของการเปดเสรีทางเศรษฐกิจ 3 3
เศรษฐกิจในยุคโลกาภิวตั นที่มีผลตอสังคมไทย ในยุคโลกาภิวตั นของไทย
x ปจจัยทางเศรษฐกิจที่มผี ลตอการเปดเสรี
ทางเศรษฐกิจของประเทศ
x ผลกระทบของการเปดเสรีทางเศรษฐกิจ
ของประเทศที่มีตอภาคการเกษตร
ภาคอุตสาหกรรม ภาคการคาและบริการ
x การคาและการลงทุนระหวางประเทศ
x บทบาทขององคกรระหวางประเทศในเวที
การเงินโลกที่มผี ลกับประเทศไทย
๓. วิเคราะหผลดี ผลเสียของความรวมมือทาง x แนวคิดพื้นฐานที่เกี่ยวของกับการคา 3 3
เศรษฐกิจระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ ระหวางประเทศ
x บทบาทขององคการความรวมมือทาง
เศรษฐกิจที่สําคัญในภูมิภาคตาง ๆ ของโลก
เชน WTO, NAFTA, EU, IMF, ADB,
OPEC, FTA, APEC ในระดับตาง ๆ เขต
สี่เหลี่ยมเศรษฐกิจ
x ปจจัยตาง ๆ ที่นําไปสูการพึ่งพา การ
แขงขัน การขัดแยง และการประสาน
ประโยชนทางเศรษฐกิจ
x ตัวอยางเหตุการณที่นําไปสูการพึงพา
ทางเศรษฐกิจ
x ผลกระทบจากการดําเนินกิจกรรมทาง
เศรษฐกิจระหวางประเทศ
x ปจจัยตาง ๆ ที่นําไปสูการพึ่งพาการ
แขงขัน การขัดแยง และการประสาน
ประโยชนทางเศรษฐกิจวิธีการกีดกันทาง
การคาในการคาระหวางประเทศ
สาระที่ ๔ ประวิตศิ าสตร
มาตรฐาน ส ๔.๑ เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลา และยุคสมัยทาง
ประวัตศิ าสตร สามารถใชวิธกี ารทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตาง ๆ อยาง
เปนระบบ
๑. ตระหนั กถึ งความสํ าคั ญ ของเวลาและยุ ค x เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรที่ 3 3
ส มั ย ท า ง ป ร ะ วั ติ ศ า ส ต ร ที่ แ ส ด ง ถึ ง ปรากฏ ในหลักฐานทางประวัติศาสตรไทย
การเปลี่ยนแปลงของมนุษยชาติ และประวัติศาสตรสากล
x ตัวอยางเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตรของสังคมมนุษยทมี่ ปี รากฏ
ในหลักฐานทางประวัตศิ าสตร (เชือ่ มโยงกับ
มฐ. ส ๔.๓)
x ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 129 129
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ 7 8 9
๒. สรางองคความรูใหมทางประวัติศาสตรโดย x ขั้นตอนของวิธีการทาง 3 3
ใชวิธีการทางประวัติศาสตรอยางเปนระบบ ประวัติศาสตร โดยนําเสนอตัวอยางทีละ
ขั้นตอนอยางชัดเจน
- คุณคาและประโยชนของวิธีการทาง
ประวัติศาสตรที่มีตอการศึกษาทาง
ประวัติศาสตร
- ผลการศึกษาหรือโครงงานทาง
ประวัติศาสตร
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดาน
ความสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและ
สามารถวิเคราะหผลกระทบที่เกิดขึ้น
๑. วิเคราะหอิทธิพลของอารยธรรรมโบราณ - อารยธรรมของโลกยุคโบราณ ไดแก อารย 3 3
และการติดตอระหวางโลกตะวันออกกับ ธรรมลุมแมน้ําไทกรีส-ยูเฟรตีส ไนล ฮวงโห
โลกตะวันตกที่มผี ลตอพัฒนาการและการ สินธุ และอารยธรรมกรีก-โรมัน
เปลี่ยนแปลงของโลก - การติดตอระหวางโลกตะวันออกกับโลก
ตะวันตก และอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่มีตอ
กันและกัน
๒. วิเคราะหเหตุการณสําคัญตางๆที่สงผลตอ - เหตุการณสําคัญตางๆที่สงผลตอการ 3 3
การเปลีย่ นแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและ เปลี่ยนแปลงของโลกในปจจุบัน เชนระบอบ
การเมือง เขาสูโ ลกสมัยปจจุบัน ฟวดัส การฟนฟู ศิลปวิทยาการสงครามครู
เสด การสํารวจทางทะเล การปฏิรูปศาสนา
การปฏิวัติทางการเมือง
๓. วิเคราะหผลกระทบของการขยายอิทธิพล - วิทยาศาสตร การปฏิวัติอตุ สาหกรรม 3 3
ของประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา จักรวรรดินิยม ลัทธิชาตินิยม เปนตน
แอฟริกาและเอเชีย - ความรวมมือ และความขัดแยงของ
มนุษยชาติ ในโลก
๔. วิเคราะหสถานการณของโลกใน - สถานการณสําคัญของโลกใน 3 3
คริสตศตวรรษที่ ๒๑ คริสตศตวรรษที่ ๒๑ เชน
- เหตุการณ ๑๑ กันยายน ๒๐๐๑ (Nine
Eleven )
- การขาดแคลนทรัพยากร
- การกอการราย
- ความขัดแยงทางศาสนา ฯลฯ
มาตรฐาน ส ๔.๓ เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก
ความภูมิใจและธํารงความเปนไทย
๑. วิเคราะหประเด็นสําคัญของประวัติศาสตร -ประเด็นสําคัญของประวัติศาสตรไทย เชน 3 3
ไทย แนวคิดเกี่ยวกับความเปนมาของชาติไทย
อาณาจักรโบราณในดินแดนไทย และ
อิทธิพลที่มีตอสังคมไทย ปจจัยทีม่ ีผลตอ
การสถาปนาอาณาจักรไทยในชวงเวลาตาง
ๆ สาเหตุและ
ผลของการปฏิรูป ฯลฯ

130 130 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ 7 8 9
๒. วิเคราะหความสําคัญของสถาบัน -บทบาทของสถาบันพระมหากษัตริยในการ 3 3
พระมหากษัตริยต อชาติไทย พัฒนาชาติไทยในดานตางๆ เชน การ
ปองกันและรักษาเอกราชของชาติ การ
สรางสรรควัฒนธรรมไทย
๓. วิเคราะหปจจัยที่สงเสริมความสรางสรรค -อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตก และ 3 3 3 3
ภูมิปญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผล ตะวันออกที่มีตอสังคมไทย
ตอสังคมไทยในยุคปจจุบัน
๔. วิเคราะหผลงานของบุคคลสําคัญทั้งชาว -ผลงานของบุคคลสําคัญทั้งชาวไทยและ 3 3
ไทยและตางประเทศ ที่มีสวนสรางสรรค ตางประเทศ ที่มสี วนสรางสรรค วัฒนธรรม
วัฒนธรรมไทย และประวัตศิ าสตรไทย ไทย และประวัตศิ าสตรไทย
-ปจจัยที่สงเสริมความสรางสรรคภมู ิปญญา
ไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลตอ
สังคมไทยในยุคปจจุบัน
๕. วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวม -สภาพแวดลอมที่มีผลตอการสรางสรรค 3 3
การอนุรักษภูมิปญ
 ญาไทยและวัฒนธรรม ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทย
ไทย -วิถีชีวิตของคนไทยในสมัยตาง ๆ
-การสืบทอดและเปลี่ยนแปลงของ
วัฒนธรรมไทย
-แนวทางการอนุรักษภูมิปญญาและ
วัฒนธรรมไทยและการมีสวนรวมในการ
อนุรักษ
-วิธีการมีสวนรวมอนุรักษภมู ิปญญาและ
วัฒนธรรมไทย
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร มาตรฐาน ส ๕.๑ เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และ
ความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผล ตอกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่และ
เครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห สรุป และใชขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมี
ประสิทธิภาพ
๑. วิเคราะหสถานการณและวิกฤตการณดา น - การเปลี่ยนแปลงลักษณะทางกายภาพใน 3 3
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ สวนตาง ๆ ของโลก
ประเทศไทยและโลก - การเกิดภูมิสังคมใหม ๆ ในโลก
- วิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมของประเทศไทยและโลก
๒. ระบุมาตรการปองกันและแกไขปญหา - มาตรการปองกันและแกไขปญหา 3 3
บทบาทขององคการและการประสานความ บทบาทขององคการและการประสานความ
รวมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศ รวมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศ
เกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดลอม การจัดการ กฎหมายสิ่งแวดลอม การจัดการ
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
๓. ระบุแนวทางการอนุรักษ - การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและ 3 3
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมใน สิ่งแวดลอมในภูมิภาคตาง ๆ ของโลก
ภูมิภาคตาง ๆ ของโลก

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 131 131
รายวิชาสังคมศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ 7 8 9
๔. อธิบายการใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมใน - การใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมในการ 3 3 3 3
การสรางสรรควัฒนธรรม อันเปน สรางสรรควัฒนธรรม อันเปนเอกลักษณของ
เอกลักษณของทองถิ่นทั้งในประเทศไทย ทองถิ่นทั้งในประเทศไทยและโลก
และโลก
๕. มีสวนรวมในการแกปญ หาและการดําเนิน - การแกปญหาและการดําเนินชีวติ ตาม 3 3 3 3
ชีวิตตามแนวทางการอนุรักษทรัพยากรและ แนวทาง การอนุรักษทรัพยากรและ
สิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน สิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

132 132 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
หนวยสมรรถนะหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 (ปวช.)

หนวยสมรรถนะยอยของกลุมวิชาสังคมศึกษา ประกอบดวย 5 หนวยสมรรถนะ ดังนี้


๕๑ ดํารงตนตามหลักธรรม ศีลธรรม จริยธรรม ศาสนพิธีของศาสนา
๕๒ ดํารงตนเปนพลเมืองดี
๕๓ ประยุกตใชขอมูลทางประวัติศาสตร การเมืองการปกครอง การธํารงความเปนไทย การอยูรวมกัน
ในสังคมไทยและประชาคมอาเซียน
๕๔ ใชหรือประยุกตใชขอมูลทางภูมิศาสตรและเศรษฐกิจของไทยและกลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
๕๕ นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงไปใชในชีวิตประจําวัน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 133 133
หลักสูตรฐานสมรรถนะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

หลักสูตรฐานสมรรถนะกลุมวิชาสังคมศึกษากําหนดกรอบมาตรฐานสมรรถนะและตัวบงชี้ ดังนี้
ตารางที่ 5-2 ผลการวิเคราะหหนวยสมรรถนะยอย สมรรถนะยอย และตัวบงชี้ กลุมวิชาสังคมศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตร
วิชาชีพ พุทศักราช 2556 จําแนวเปนรายวิชา
รายวิชา

ภูมิศาสตรและประวัติศาสตร
หนาที่พลเมืองและศีลธรรม

ประวัติศาสตรชาติไทย
ทักษะชีวิตและสังคม

อาเซียนซึกษา
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

ชาติไทย
๕๑ ดํารงตนตาม ๕๑.๑ประยุกตใชแบบอยาง ๕๑.๑๐๑ - ประยุกตใชหลักธรรมใน 3 3
หลักธรรม ศีลธรรม การดํารงตนของศาสดาใน ศาสนาที่ตนนับถือใน
จริยธรรม ศาสนพิธี การพัฒนาตนและสังคม ชีวิตประจําวันได
ของศาสนา ปฏิบัติตามหลักธรรม
ศีลธรรมและจริยธรรมของ 51.102 - ปฏิบัติตนตามศาสนพิธีที่ตน 3 3
ศาสนา ศาสนพิธี พิธีกรรม นับถือไดถูกตองตามวีธี
ทางศาสนาที่ตนนับถือ
บริหารจิตและเจริญปญญา
ตามหลักปฏิบัติทางศาสนา

51.103 - เขารวมพิธีกรรมทางศาสนา 3 3
ที่ตนนับถือ ฝกสมาธิและ
บริหารจิตตามแนวศาสนาที่
ตนนับถือ
๕๒.ดํารงตนเปน ๕๒.๑ ประยุกตใชหลัก ๕๒.๑๐๑ - ประยุกตใชหลัก 3 3
พลเมืองดี ขนบธรรมเนียมประเพณีและ ขนบธรรมเนียมประเพณีและ
คานิยมที่ดีของสังคมไทยมา คานิยมที่ดีของสังคมไทยมาใช
ใชในชีวิตประจําวัน ในชีวิตประจําวัน
๕๒.๒ ปฏิบัตติ นเปนพลเมืองดี 52.102 -ปฎิบัติตนเรื่องมารยาทไทย 3 3
ภายใตการปกครองระบอบ ตามที่กําหนด
ประชาธิปไตยอันมี 52.103 -เขารวมประเพณี วัฒนธรรม 3 3
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข ไทย วันสําคัญทางศาสนา
และปฏิบัตติ นตามกฎหมาย 52.201 - ปฏิบัติตนเปนผลเมืองดี 3 3
ภายใตการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย
52.202 แสดงออกทางการเมืองการ 3 3
ปกครอง

134 134 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา

ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรชาติไทย
หนาที่พลเมืองและศีลธรรม
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

ประวัติศาสตรชาติไทย
ทักษะชีวิตและสังคม

อาเซียนซึกษา
52.203 เขารวมพิธีสําคัญและ 3 3
แสดงออกถึงความจงรักษ
ภักดีตอสถาบัน
พระมหากษัตริย
๕๓ ประยุกตใชขอมูล ๕๓.๑ แสดงความรูและใชวิธี 53.101 ประยุกตวิธีการทาง 3 3
ทางประวัติศาสตร ทางประวัติศาสตรใน ประวัติศาสตรมาใชศึกษา
การเมืองการปกครอง การศึกษาการเมืองการ ความเปนมาของประชาชน
การธํารงความเปน ปกครอง และความเปนมา ชาติไทยดานการเมือง การ
ไทย การอยูรวมกัน ของชาติไทย ปกครอง
ในสังคมไทยและ 53.102 แสดงความรูเรื่องความเปนมา 3
ประชาคมอาเซียน ของชาติไทย และระบบ
การเมืองการปกครองของชาติ
ไทย ในยุคสมัยตาง ๆ
๕๓.๒ ธํารงไวซึ่งความเปน 53.201 แสดงความรูเรื่องเอกลักษณ 3 3
เอกลักษณของชาติไทย ของชาติไทย
53.202 ปฏิบัติตนในดาน 3 3
ขนบธรรมเนียมประเพณี และ
เอกลักษณความเปนไทย
๕๓.๓ แสดงความรูและ 53.301 แสดงความรูเรื่องขอมูลของ 3
ปฏิบัติตนพรอมรับการเปน ประเทศตางๆ ในกลุม
ประชากรของประชาคม ประชาคมอาเซียน
อาเซียน 53.302 ปฏิบัติในเรื่องการปรับตัวเขา 3
สูประชาคมอาเซียนในดาน
ภาษา และขอใลเบื้องตน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 135 135
รายวิชา

ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรชาติไทย
หนาที่พลเมืองและศีลธรรม
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

ประวัติศาสตรชาติไทย
ทักษะชีวิตและสังคม

อาเซียนซึกษา
๕๔ ใชหรือ ๕๔.๑ แสดงความรูและใช 54.101 แสดงความรูและนําวิธีการ 3
ประยุกตใชขอมูล วิธีการทางภูมิศาสตรเพื่อ ทางภูมิศาสตรมาศึกษาพัฒนา
ทางภูมิศาสตรและ การศึกษาและพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม และ
เศรษฐกิจของไทย เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอม สิ่งแวดลอม
และกลุม ประชาคม ของไทย 54.102 ประยุกตใชเครื่องมือทาง 3
เศรษฐกิจอาเซียน ภูมิศาสตรมาใชศึกษาหา
ความรูทางดานเศรษฐกิจ
๕๔.๒ วิเคราะห 54.201 เปรียบเทียบความแตกตาง 3 3
เปรียบเทียบความแตกตาง ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจใน
ของกิจกรรมทางเศรษฐกิจ แตละภูมิภาคกับเศรษฐกิจ
ของไทยในแตละภูมิภาคกับ กลุมประชาคมอาเซียน
กลุมประชาคมอาเซียน
๕๔.๓ แสดงความรูและใช 54.301 แสดงความรูและใชหลัก 3 3
หลักการและกระบวนการ วิธีการทางภูมิศาสตรมา
สารสนเทศทางภูมศิ าสตรเพื่อ ประยุกตใชในการพัฒนาที่
การพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศ ยั่งยืน ในประเทศไทยและ
ไทยและกลุมประชาคม กลุมประชาคมอาเซียน
อาเซียน

๕๔.๔ แสดงความรูและ 54.401 แสดงความรู ขอมูลพื้นฐาน 3


วิเคราะหบทบาทและ ของประเทศสมาชิกในกลุม
ความสําคัญของความรวมมือ อาเซียน
ทางเศรษฐกิจในกลุม 54.402 เปรียบเทียบขอมูลทาง 3
ประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน เศรษฐกิจของประเทศสมาชิค
ในกลุมอาเซียนกับเศรษฐกิจ
ประเทศไทย

136 136 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา

ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรชาติไทย
หนาที่พลเมืองและศีลธรรม
หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้

ประวัติศาสตรชาติไทย
ทักษะชีวิตและสังคม

อาเซียนซึกษา
๕๕ นําหลักปรัชญา ๕๕.๑ แสดงความรูและ 55.101 แสดงความรูเรื่องหลักปรัชญา 3 3 3
ของเศรษฐกิจ ประยุกตใชหลักปรัชญาของ ของเศรษฐกิจพอเพียง
พอเพียงไปใชใน เศรษฐกิจพอเพียงในการ
ชีวิตประจําวัน ดําเนินชีวิต วิเคราะหหลัก
ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียงเพื่อการเปนพลเมือง
ดีตามกฎหมาย
55.102 ประยุกตหลักปรัชญาของ 3 3 3
เศรษฐกิจพอเพียงไปใชใน
ชีวิตประจําวัน
55.103 ยกตัวอยางการใชหลักปรัชญา 3 3 3
ของเศรษฐกิจพอเพียง
กับพฤติกรรมการใช
ชีวติ ประจําวัน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 137 137
หลักสูตรฐานสมรรถนะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)

หลักสูตรฐานสมรรถนะกลุมวิชาสังคมศึกษากําหนดกรอบมาตรฐานสมรรถนะและตัวบงชี้ ดังนี้

ตารางที่ 5-3 ผลการวิเคราะหสาระการเรียนรูสังคมศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน


พุทธศักราช 2551 จําแนกเปนรายวิชาตามหนวยสมรรถนะ
รายวิชา

ประวัติศาสตร 1

ประวัติศาสตร 2

ประวัติศาสตร 3

ประวัติศาสตร 4

หนาที่พลเมือง
สังคมศึกษา 1

สังคมศึกษา 2

สังคมศึกษา 3

สังคมศึกษา 4
หนวย
สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้
สมรรถนะ

๕๑ ดํารงตน ๕๑.๑ประยุกตใช ๕๑.๑๐๑ - ประยุกตใชหลักธรรมใน 3 3 3 3


ตามหลักธรรม แบบอยางการดํารงตน ศาสนาที่ตนนับถือใน
ศีลธรรม ของศาสดาในการพัฒนา ชีวิตประจําวันได
จริยธรรม ตนและสังคม ปฏิบัติตาม
ศาสนพิธีของ หลักธรรม ศีลธรรมและ 51.102 - ปฏิบัติตนตามศาสนพิธี 3 3 3 3
ศาสนา จริยธรรมของศาสนา ที่ตนนับถือไดถูกตองตาม
ศาสนพิธี พิธีกรรมทาง วีธี
ศาสนาที่ตนนับถือ บริหาร
จิตและเจริญปญญาตาม
หลักปฏิบัติทางศาสนา

51.103 - เขารวมพิธกี รรมทาง 3 3 3 3


ศาสนาที่ตนนับถือ ฝก
สมาธิและบริหารจิตตาม
แนวศาสนาที่ตนนับถือ
๕๒.ดํารงตน ๕๒.๑ ประยุกตใชหลัก ๕๒.๑๐๑ - ประยุกตใชหลัก 3 3 3 3
เปน ขนบธรรมเนียมประเพณี ขนบธรรมเนียมประเพณี
พลเมืองดี และคานิยมที่ดีของ และคานิยมที่ดีของ
สังคมไทยมาใชใน สังคมไทยมาใชใน
ชีวิตประจําวัน ชีวิตประจําวัน
๕๒.๒ ปฏิบัติตนเปน 52.102 -ปฎิบัติตนเรื่องมารยาท 3 3 3 3
พลเมืองดีภายใตการ ไทยตามที่กําหนด
ปกครองระบอบ 52.103 -เขารวมประเพณี 3 3 3 3
ประชาธิปไตยอันมี วัฒนธรรมไทย วันสําคัญ
พระมหากษัตริยท รงเปน ทางศาสนา
ประมุขและปฏิบัติตนตาม 52.201 - ปฏิบัติตนเปนผลเมืองดี 3 3 3 3
กฎหมาย ภายใตการปกครอง
ระบอบประชาธิปไตย
52.202 แสดงออกทางการเมือง 3 3 3 3
การปกครอง

138 138 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา

ประวัติศาสตร 1

ประวัติศาสตร 2

ประวัติศาสตร 3

ประวัติศาสตร 4

หนาที่พลเมือง
สังคมศึกษา 1

สังคมศึกษา 2

สังคมศึกษา 3

สังคมศึกษา 4
หนวย
สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้
สมรรถนะ

52.203 เขารวมพิธีสาํ คัญและ 3 3 3 3


แสดงออกถึงความจงรักษ
ภักดีตอสถาบัน
พระมหากษัตริย
๕๓ ประยุกตใช ๕๓.๑ แสดงความรูและ 53.101 ประยุกตวิธีการทาง 3 3
ขอมูลทาง ใชวิธีทางประวัติศาสตร ประวัติศาสตรมาใชศกึ ษา
ประวัติศาสตร ในการศึกษาการเมือง ความเปนมาของ
การเมืองการ การปกครอง และความ ประชาชนชาติไทยดาน
ปกครอง การ เปนมาของชาติไทย การเมือง การปกครอง
ธํารงความเปน 53.102 แสดงความรูเรื่องความ 3 3
ไทย การอยู เปนมาของชาติไทย และ
รวมกันใน ระบบการเมืองการ
สังคมไทยและ ปกครองของชาติไทย ใน
ประชาคม ยุคสมัยตาง ๆ
อาเซียน ๕๓.๒ ธํารงไวซึ่งความ 53.201 แสดงความรูเรื่อง 3 3
เปนเอกลักษณของชาติ เอกลักษณของชาติไทย
ไทย 53.202 ปฏิบัติตนในดาน 3 3
ขนบธรรมเนียมประเพณี
และเอกลักษณความเปน
ไทย
๕๓.๓ แสดงความรูและ 53.301 แสดงความรูเรื่องขอมูล 3 3
ปฏิบัติตนพรอมรับการ ของประเทศตางๆ ในกลุม
เปนประชากรของ ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน 53.302 ปฏิบัติในเรื่องการปรับตัว 3 3
เขาสูประชาคมอาเซียนใน
ดาน ภาษา และขอใล
เบื้องตน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 139 139
รายวิชา

ประวัติศาสตร 1

ประวัติศาสตร 2

ประวัติศาสตร 3

ประวัติศาสตร 4

หนาที่พลเมือง
สังคมศึกษา 1

สังคมศึกษา 2

สังคมศึกษา 3

สังคมศึกษา 4
หนวย
สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้
สมรรถนะ

๕๔ ใชหรือ ๕๔.๑ แสดงความรูและใช 54.101 แสดงความรูและนํา 3 3 3


ประยุกตใช วิธีการทางภูมิศาสตรเพื่อ วิธีการทางภูมิศาสตรมา
ขอมูลทาง การศึกษาและพัฒนา ศึกษาพัฒนาเศรษฐกิจ
ภูมิศาสตรและ เศรษฐกิจ สังคม สังคม และสิ่งแวดลอม
เศรษฐกิจของ สิ่งแวดลอมของไทย 54.102 ประยุกตใชเครื่องมือทาง 3 3 3
ไทยและกลุม ภูมิศาสตรมาใชศกึ ษาหา
ประชาคม ความรูทางดานเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ ๕๔.๒ วิเคราะห 54.201 เปรียบเทียบความ 3 3
อาเซียน เปรียบเทียบความ แตกตางของกิจกรรมทาง
แตกตางของกิจกรรม เศรษฐกิจในแตละภูมิภาค
ทางเศรษฐกิจของไทยใน กับเศรษฐกิจกลุม
แตละภูมิภาคกับกลุม ประชาคมอาเซียน
ประชาคมอาเซียน
๕๔.๓ แสดงความรูและใช 54.301 แสดงความรูและใชหลัก 3 3
หลักการและกระบวนการ วิธีการทางภูมิศาสตรมา
สารสนเทศทางภูมิศาสตร ประยุกตใชในการพัฒนา
เพื่อการพัฒนาทีย่ ั่งยืนใน ที่ยั่งยืน ในประเทศไทย
ประเทศไทยและกลุม และกลุมประชาคม
ประชาคมอาเซียน อาเซียน

๕๔.๔ แสดงความรูและ 54.401 แสดงความรู ขอมูล 3


วิเคราะหบทบาทและ พื้นฐานของประเทศ
ความสําคัญของความ สมาชิกในกลุมอาเซียน
รวมมือทางเศรษฐกิจใน 54.402 เปรียบเทียบขอมูลทาง 3
กลุมประชาคมเศรษฐกิจ เศรษฐกิจของประเทศ
อาเซียน สมาชิคในกลุมอาเซียนกับ
เศรษฐกิจประเทศไทย

140 140 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
รายวิชา

ประวัติศาสตร 1

ประวัติศาสตร 2

ประวัติศาสตร 3

ประวัติศาสตร 4

หนาที่พลเมือง
สังคมศึกษา 1

สังคมศึกษา 2

สังคมศึกษา 3

สังคมศึกษา 4
หนวย
สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้
สมรรถนะ

๕๕ นําหลัก ๕๕.๑ แสดงความรูและ 55.101 แสดงความรูเรื่องหลัก 3 3 3


ปรัชญาของ ประยุกตใชหลักปรัชญา ปรัชญาของเศรษฐกิจ
เศรษฐกิจ ของเศรษฐกิจพอเพียง พอเพียง
พอเพียงไปใช ในการดําเนินชีวิต
ใน วิเคราะหหลักปรัชญา
ชีวิตประจําวัน ของเศรษฐกิจพอเพียง
เพื่อการเปนพลเมืองดี
ตามกฎหมาย
55.102 ประยุกตหลักปรัชญาของ 3 3 3
เศรษฐกิจพอเพียงไปใชใน
ชีวิตประจําวัน
55.103 ยกตัวอยางการใชหลัก 3 3 3
ปรัชญาของเศรษฐกิจ
พอเพียง
กับพฤติกรรมการใช
ชีวิตประจําวัน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 141 141
ตารางที่ 5-4 ผลการวิเคราะหสาระการเรียนรูสังคมศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 จําแนกเปนรายวิชาตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู
แกนกลาง
หลักสูตรปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรไทย
หนาที่พลเมืองและศีลธรรม
รหัส

ประวัติศาสตรชาติไทย
สมรรถนะยอย

ทักษะชีวิตและสังคม
Code

ประวัติศาสตร ๑
ประวัติศาสตร ๒
ประวัติศาสตร 3
ประวัติศาสตร 4
สังคมศึกษา ๑
อาเซียนศึกษา

หนาที่พลเมือง
สังคมศึกษา ๒
สังคมศึกษา ๓
สังคมศึกษา ๔
๕๑.๑ ประยุกตใชแบบอยางการดํารงตนของศาสดา
ในการพัฒนาตนและสังคม ปฏิบัติตาม
หลักธรรม ศีลธรรมและจริยธรรมของศาสนา
ศาสนพิธี พิธีกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ
บริหารจิตและเจริญปญญาตามหลักปฏิบัติ
ทางศาสนา
51.101 ประยุกตใชหลักธรรมใน
3 3 3 3 3 3 3
ศาสนาที่ตนนับถือในชีวิตประจําวันได
51.102 - ปฏิบัติตนตามศาสนพิธที ี่ตน
3 3 3 3 3 3 3
นับถือไดถูกตองตามวีธี
51.103 เขารวมพิธีกรรมทาง
ศาสนาที่ตนนับถือ ฝกสมาธิและ 3 3 3 3 3 3 3
บริหารจิตตามแนวศาสนาที่ตนนับถือ
๕๒.๑ ประยุกตใชหลักขนบธรรมเนียมประเพณีและ
คานิยมที่ดีของสังคมไทยมาใชใน
ชีวิตประจําวัน
52.101ประยุกตใชหลัก
ขนบธรรมเนียมประเพณีและคานิยมที่ 3 3 3 3 3 3 3
ดีของสังคมไทยมาใชในชีวิตประจําวัน
52.102ปฎิบตั ิตนเรื่องมารยาทไทย
3 3 3 3 3 3 3
ตามที่กําหนด
52.103เขารวมประเพณี วัฒนธรรม
3 3 3 3 3 3 3
ไทย วันสําคัญทางศาสนา
๕๒.๒ ปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีภายใตการ
ปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริยทรงเปนประมุขและ
ปฏิบัติตนตามกฎหมาย
52.201ปฏิบัติตนเปนผลเมืองดี
ภายใตการปกครองระบอบ 3 3 3 3 3 3 3
ประชาธิปไตย

142 142 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตรปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรไทย
หนาที่พลเมืองและศีลธรรม

ประวัติศาสตรชาติไทย
ทักษะชีวิตและสังคม

อาเซียนศึกษา
รหัส
สมรรถนะยอย
Code

ประวัติศาสตร ๑
ประวัติศาสตร ๒
ประวัติศาสตร 3
ประวัติศาสตร 4
สังคมศึกษา ๑

หนาที่พลเมือง
สังคมศึกษา ๒
สังคมศึกษา ๓
สังคมศึกษา ๔
52.202 แสดงออกทางการเมืองการ 3
3 3 3 3 3 3
ปกครอง
52.203 เขารวมพิธีสําคัญและแสดงออกถึง
3 3 3 3 3 3
ความจงรักษภกั ดีตอสถาบันพระมหากษัตริย
๕๓.๑ แสดงความรูและใชวิธีทางประวัติศาสตรใน 3
การศึกษาการเมืองการปกครอง และความ
เปนมาของชาติไทย
53.101 ประยุกตวธิ ีการทางประวัติศาสตร
มาใชศกึ ษาความเปนมาของประชาชนชาติ 3 3 3 3
ไทยดานการเมือง การปกครอง
53.102 แสดงความรูเรื่องความเปนมาของ 3
ชาติไทย และระบบการเมืองการปกครอง 3 3 3
ของชาติไทย ในยุคสมัยตาง ๆ
๕๓.๒ ธํารงไวซึ่งความเปนเอกลักษณของชาติไทย
53.201แสดงความรูเรื่องเอกลักษณของ 3
3 3 3 3
ชาติไทย
53.202ปฏิบัติตนในดานขนบธรรมเนียม 3
3 3 3 3
ประเพณี และเอกลักษณความเปนไทย
๕๓.๓ แสดงความรูและปฏิบัติตนพรอมรับการเปน
ประชากรของประชาคมอาเซียน
53.301 แสดงความรูเรื่องขอมูลของ 3
3 3 3
ประเทศตางๆ ในกลุมประชาคมอาเซียน
53.302 ปฏิบัติในเรื่องการปรับตัวเขาสู
ประชาคมอาเซียนในดาน ภาษา และขอใล 3 3 3
เบื้องตน
๕๔.๑ แสดงความรูแ ละใชวิธีการทางภูมิศาสตรเพื่อ
การศึกษาและพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม
สิ่งแวดลอมของไทย
54.101 แสดงความรูและนําวิธกี ารทาง 3 3 3 3
ภูมิศาสตรมาศึกษาพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม 3
และสิ่งแวดลอม
54.102 ประยุกตใชเครื่องมือทางภูมิศาสตร
3
3 3 3 3
มาใชศกึ ษาหาความรูทางดานเศรษฐกิจ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 143 143
หลักสูตรปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

ภูมิศาสตรและประวัติศาสตรไทย
หนาที่พลเมืองและศีลธรรม
รหัส
สมรรถนะยอย

ประวัติศาสตรชาติไทย
Code

ทักษะชีวิตและสังคม

ประวัติศาสตร ๑
ประวัติศาสตร ๒
ประวัติศาสตร 3
ประวัติศาสตร 4
สังคมศึกษา ๑

หนาที่พลเมือง
สังคมศึกษา ๒
สังคมศึกษา ๓
สังคมศึกษา ๔
อาเซียนศึกษา
๕๔.๒ วิเคราะห เปรียบเทียบความแตกตางของ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจของไทยในแตละภูมิภาค
กับกลุมประชาคมอาเซียน
54.201 เปรียบเทียบความแตกตางของ
กิจกรรมทางเศรษฐกิจในแตละภูมภิ าคกับ 3 3 3 3
เศรษฐกิจกลุมประชาคมอาเซียน
๕๔.๓ แสดงความรูและใชหลักการและกระบวนการ
สารสนเทศทางภูมิศาสตรเพื่อการพัฒนาที่
ยั่งยืนในประเทศไทยและกลุมประชาคม
อาเซียน
54.301 แสดงความรูและใชหลักวิธกี ารทาง
ภูมิศาสตรมาประยุกตใชในการพัฒนาที่
3 3 3 3
ยั่งยืน ในประเทศไทยและกลุมประชาคม
อาเซียน
๕๔.๔ แสดงความรูแ ละวิเคราะหบทบาทและ
ความสําคัญของความรวมมือทางเศรษฐกิจใน
กลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
54.401 แสดงความรู ขอมูลพื้นฐานของ
3 3
ประเทศสมาชิกในกลุมอาเซียน
54.402 เปรียบเทียบขอมูลทางเศรษฐกิจ
ของประเทศสมาชิคในกลุมอาเซียนกับ 3 3
เศรษฐกิจประเทศไทย
๕๕.๑ แสดงความรูและประยุกตใชหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนินชีวิต วิเคราะห
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการ
เปนพลเมืองดีตามกฎหมาย
55.101 แสดงความรูเรื่องหลักปรัชญาของ
3 3 3 3 3 3 3
เศรษฐกิจพอเพียง
55.102 ประยุกตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ
3 3 3 3 3 3 3
พอเพียงไปใชในชีวิตประจําวัน
55.103 ยกตัวอยางการใชหลักปรัชญาของ
เศรษฐกิจพอเพียง 3 3 3 3 3 3 3
กับพฤติกรรมการใชชีวิตประจําวัน

144 144 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ตารางที่ 5-5 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาหนาที่พลเมืองและศีลธรรม
จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระ
การเรียนรูสังคมศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การ จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เรียนรูร ายวิชา จําแนกตามรายวิชาสังคมศึกษา
ที่
หนาที่พลเมืองและศีลธรรม
1 2 3 4 5 6 7 8 9
2000 - 1101
1 51.101 3 3 3 3 - - - - 3
2 51.102 3 3 3 3 - - - - 3
3 51.103 3 3 3 3 - - - - 3
4 52.101 3 3 3 3 - - - - 3
5 52.102 3 3 3 3 - - - - 3
6 52.103 3 3 3 3 - - - - 3
7 52.201 3 3 3 3 - - - - 3
8 52.202 3 3 3 3 - - - - 3
9 52.203 3 3 3 3 - - - - -
10 53.201 - - - - 3 3 - - 3
11 53.202 - - - - 3 3 - - 3
12 55.101 3 3 3 3 - - - - -
13 55.102 3 3 3 3 - - - - -
14 55.103 3 3 3 3 - - - - -
รวม 3/12 3/12 3/12 3/12 1/2 1/2 3/10
หนาที่พลเมืองและศีลธรรม เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 9 จํานวน 3 สมรรถนะ 10 ตัวชี้วัด
เรียน 4 สมรรถนะยอย 14 ตัวบงชี้ คิดเปนรอยละ
71.42

หมายเหตุ 1. หมายเลขที่กําหนดในชองจํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


จําแนกเปนรายวิชาสังคมศึกษาตามหลักสูตร สพฐ.
หมายเลข 1 หมายถึง วิชาสังคมศึกษา 1 จํานวน 1.5 หนวยกิต เวลาเรียน 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 2 หมายถึง วิชาสังคมศึกษา 2 จํานวน 1.5 หนวยกิต เวลาเรียน 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 3 หมายถึง วิชาสังคมศึกษา 3 จํานวน 1.5 หนวยกิต เวลาเรียน 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 4 หมายถึง วิชาสังคมศึกษา 4 จํานวน 1.5 หนวยกิต เวลาเรียน 60 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 5 หมายถึง วิชาประวัติศาสตร 1 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 6 หมายถึง วิชาประวัติศาสตร 2 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 145 145
2

หมายเลข 7 หมายถึง วิชาประวัติศาสตร 3 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน


หมายเลข 8 หมายถึง วิชาประวัติศาสตร 4 จํานวน 1 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 9 หมายถึง วิชาหนาที่พลเมือง จํานวน 2 หนวยกิต เวลาเรียน 80 ชั่วโมง/ภาคเรียน

2. รายวิชาสังคมศึกษาของหลักสูตร สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนผลการเรียนรูเขาสูหนวยกิต


รายวิชาสังคมศึกษาของหลักสูตร ปวช. จะตองมีจํานวนหนวยกิตเทากันหรือมากกวา
3. รายวิชาของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนตั้งแต 2 รายวิชาขึ้นไป ถามีตัวชี้วัดซ้ําซอนกัน
ใหนับเปน 1 ตัวชี้วัด
4. รายวิชาหลักสูตรของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนเปนรายวิชาบังคับที่ทุกประเภทวิชาตองเรียน
ตามโครงสรางหลักสูตร สอศ. แลว ไมสามารถนํามาเทียบโอนซ้ําไดอีก

ตารางที่ 5-6 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาทักษะชีวิตและสังคม


จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูสังคมศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย

สมรรถนะยอยที่จดั การ จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


เรียนรู จําแนกตามรายวิชาสังคมศึกษา
ที่
รายวิชาทักษะชีวิตและสังคม
1 2 3 4 5 6 7 8 9
2000 - 1102
1 51.101 3 3 3 3 - - - - 3
2 51.102 3 3 3 3 - - - - 3
3 51.103 3 3 3 3 - - - - 3
4 52.101 3 3 3 3 - - - - 3
5 52.102 3 3 3 3 - - - - 3
6 52.103 3 3 3 3 - - - - 3
7 52.201 3 3 3 3 - - - - 3
8 52.202 3 3 3 3 - - - - 3
9 52.203 3 3 3 3 - - - - -
10 55.101 3 3 3 3 - - - - -
11 55.102 3 3 3 3 - - - - -
12 55.103 3 3 3 3 - - - - -
รวม 3/12 3/12 3/12 3/12 - - - - 2/8
รายวิชาทักษะชีวิตและสังคม เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 1 และ 2 จํานวน 3 สมรรถนะ 12 ตัวชี้วัด
เรียน 3 สมรรถนะยอย 12 ตัวบงชี้ คิดเปนรอยละ 100.00

146 146 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
3

ตารางที่ 5-7 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาภูมิศาสตรประวัติศาสตรไทย


จํานวน 2 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูสังคมศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การ จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
เรียนรู จําแนกตามรายวิชาสังคมศึกษา
ที่
ภูมิศาสตรประวัติศาสตรไทย
1 2 3 4 5 6 7 8 9
2000 - 1102
1 53.101 - - - - 3 3 - - 3
2 54.101 - 3 3 3 - - - - 3
3 54.102 - 3 3 3 - - - - 3
4 54.201 - - 3 3 - - - - -
5 54.301 - - 3 3 - - - - -
6 55.101 3 3 3 3 - - - - -
7 55.102 3 3 3 3 - - - - -
8 55.103 3 3 3 3 - - - - -
รวม 1/3 2/5 2/7 2/7 1/1 1/1 - - 2/2
ภูมิศาสตรประวัติศาสตรไทย เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 3 และ 4 จํานวน 2 สมรรถนะ 7 ตัวชี้วัด
เรียน 3 สมรรถนะยอย 8 ตัวบงชี้ คิดเปนรอยละ 87.50

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 147 147
4

ตารางที่ 5-8 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาอาเชียนศึกษา


จํานวน 1 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูสังคมศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การ จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ เรียนรูอาเชียนศึกษา จําแนกตามรายวิชาสังคมศึกษา
2000 - 1102 1 2 3 4 5 6 7 8 9
1 53.301 - - - - - - 3 3 3
2 53.302 - - - - - - 3 3 -
3 54.201 - - 3 3 - - - - 3
4 54.301 - - 3 3 - - - - -
5 54.401 - - - 3 - - - - -
6 54.402 - - - 3 - - - - -
รวม - - 1/2 1/4 - - 1/2 1/2 2/2
ภูมิศาสตรประวัติศาสตรไทย ไมสอดคลองกับทุกรายวิชาของหลักสูตร สพฐ.
เรียน 2 สมรรถนะยอย 6 ตัวบงชี้

ตารางที่ 5-9 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาประวัติศาสตรชาติไทย


จํานวน 1 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูภาษาไทยหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การ จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ ประวัติศาสตรชาติไทย จําแนกตามรายวิชาสังคมศึกษา
2000 - 1102 1 2 3 4 5 6 7 8 9
1 53.101 - - - - 3 3 - - -
2 53.102 - - - - 3 3 - - 3
3 53.201 - - - - 3 3 - - 3
4 53.202 - - - - 3 3 - - 3
รวม - - - - 1/4 1/4 - - 1/3
ประวัติศาสตรชาติไทย เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 5 จํานวน 1 สมรรถนะ 4 ตัวชี้วัด
เรียน 1 สมรรถนะยอย 4 ตัวบงชี้ คิดเปนรอยละ 100.00

148 148 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ขอมูลการวิเคราะหความตรงและความสอดคลองหลักสูตรรายวิชาพื้นฐาน
เพื่อเทียบโอนผลการเรียนสูรายวิชาในหมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี

๑.๖ กลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 149 149
สาระและมาตรฐานการเรียนรูแกนกลางวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา

องคความรู ประกอบดวย ๕ สาระ คือ

สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย
มาตรฐาน พ ๑.๑ เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย

สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เขาใจและเห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชีวิต

สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล


มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจมีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา
มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการกีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยางสม่ําเสมอ มีวินัย
เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน และชื่นชม ในสุนทรียภาพ
ของการกีฬา

สาระที่ ๔ การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค


มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกันโรค แลการสราง
เสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ

สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ. 5.1 ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา สารเสพติด
และความรุนแรง

150 เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ตารางที่ 6-1 ผลการวิเคราะหสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 จําแนกเปนรายวิชาตามมาตรฐานการเรียนรู ตัวชี้วัด และสาระการเรียนรู
แกนกลาง
รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
สาระที่ ๑ การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย
มาตรฐาน พ ๑.๑ เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย
๑. อธิบายกระบวนการสรางเสริมและดํารง x กระบวนการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ 3 3 3
ประสิทธิภาพการทํางาน ของระบบอวัยวะ การทํางานของระบบอวัยวะตาง ๆ
ตาง ๆ x การทํางานของระบบอวัยวะตาง ๆ
x การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพของ
อวัยวะตางๆ
(อาหาร การออกกํ า ลั ง กาย นั น ทนาการ
การตรวจสุขภาพ ฯลฯ)
๒. วางแผนดู แ ลสุ ข ภาพตามภาวะการ x การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและ 3 3 3
เจริญเติบโตและพัฒนาการของตนเองและ บุคคลในครอบครัว
บุคคลในครอบครัว
สาระที่ ๒ ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ ๒.๑ เขาใจและเห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการดําเนินชีวิต
๑. วิเคราะหอิทธิพลของครอบครัว x อิ ท ธิ พ ลของครอบครั ว เพื่ อ น สั ง คม และ 3 3 3
เพื่ อ น สั ง คม และวั ฒ นธรรมที่ มี ผ ลต อ วั ฒ นธรรมที่ มี ต อ พฤติ ก รรมทางเพศและ
พฤติกรรมทางเพศและการดําเนินชีวิต การดําเนินชีวิต
๒. วิเคราะหคานิยมในเรื่องเพศ x คานิยมในเรื่องเพศตามวัฒนธรรมไทย และ 3 3 3
ตามวัฒนธรรมไทยและวัฒนธรรมอื่น ๆ วัฒนธรรมอื่นๆ
๓. เลือกใชทักษะที่เหมาะสมในการปองกัน x แนวทางในการเลือกใชทักษะตาง ๆ ในการ 3
ลดความขัดแยงและแกปญหาเรื่องเพศ ปองกัน ลดความขัดแยง และแกปญ  หาเรื่อง
และครอบครัว เพศและครอบครัว
x ทักษะการสื่อสารและสรางสัมพันธภาพ
x ทักษะการตอรอง
x ทักษะการปฏิเสธ
x ทักษะการคิดวิเคราะห
x ทักษะการตัดสินใจและแกปญหา ฯลฯ
๔. วิเคราะหสาเหตุและผลของความขัดแยง x ความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นระหวางนักเรียน 3
ที่อาจเกิดขึ้นระหวางนักเรียนหรือเยาวชนใน หรือเยาวชนในชุมชน
ชุมชน และเสนอแนวทางแกไขปญหา x สาเหตุของความขัดแยง
x ผลกระทบที่เกิดจากความขัดแยงระหวาง
นักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน
x แนวทางในการแกปญหาที่อาจเกิดจากความ
ขัดแยงของนักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน

เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 151


รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
สาระที่ ๓ การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล
มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจมีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกมและกีฬา
๑. วิเคราะหความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการ x ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลือ่ นไหว 3 3 3 3
เคลื่ อ นไหวรู ป แบบต า งๆ ในการเล น รูปแบบตาง ๆ ในการเลนกีฬา
กีฬา x การวิเคราะหความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ
การเคลื่อนไหวรูปแบบตาง ๆ ในการเลน
กีฬา
๒. ใชความสามารถของตน เพื่อเพิ่ม x การใชความสามารถของตนในการเลน 3
ศักยภาพของทีม คํานึงถึงผล ที่เกิดตอ กีฬา เพื่อเพิ่มศักยภาพของทีมโดย
ผูอื่นและสังคม คํานึงถึงผลที่เกิดตอผูอื่นและสังคม
๓. เลนกีฬาไทย กีฬาสากลประเภทบุคคล/คู x กีฬาประเภทบุคคล/คู ประเภททีม เชน ฟุต 3 3 3
กีฬาประเภททีมไดอยางนอย ๑ ชนิด ซอล รั ก บี้ ฟุ ต บอล ยิ ม นาสติ ก ลี ล าศ
ซอฟทบอล เทนนิส เซปกตะกรอ มวยไทย
กระบี่กระบอง พลอง งาว
๔. แสดงการเคลื่ อ นไหวได อ ย า ง x การเคลื่อนไหวที่สรางสรรค เชน 3 3
สร า งสรรค กิจกรรมเขาจังหวะ เชียรลีดเดอร
๕. เขารวมกิจกรรมนันทนาการภายนอก x การนําหลักการและแนวคิดของกิจกรรม 3 3 3 3
โรงเรียน และนําหลักการ แนวคิดไป นั น ทนาการไปปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา
ปรับปรุง และพัฒนาคุณภาพชีวิตของ คุณภาพชีวิตของตนและสังคม
ตนและสังคม
มาตรฐาน พ ๓.๒ รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการเลนกีฬา
ปฏิบัติเปนประจําอยางสม่ําเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา
มีจิตวิญญาณ ในการแขงขัน และชื่นชม ในสุนทรียภาพของการกีฬา
๑. ออกกําลังกายและเลนกีฬาที่เหมาะสม x การออกกําลังกายดวยวิธีที่ชอบ เชน ฝก 3 3 3 3 3
กั บ ตนเองอย า งสม่ํ า เสมอ และใช กายบริหารแบบตางๆ ขี่จักรยาน การ
ความสามารถของตนเองเพิ่มศักยภาพ ออกกําลังกายจากการทํางานใน
ของทีม ลดความเปนตัวตน คํานึงถึงผล ชีวิตประจําวัน การรํากระบอง รํามวยจีน
ที่เกิดตอสังคม x การเลนกีฬาประเภทบุคคลและทีม
x การใชความสามารถของตนในการเพิ่ม
ศักยภาพของทีมในการเลนกีฬาและการ
เลนโดยคํานึงถึงผลประโยชนตอสังคม
x การวางแผนกํ า หนดกิ จ กรรมการออก
กําลังกายและเลนกีฬา

152 เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
๒. อธิ บ ายและปฏิ บั ติ เ กี่ ย วกั บ สิ ท ธิ กฎ x สิทธิ กฎ กติกาการเลนกีฬา 3 3 3
กติกา กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน x กลวิธี หลักการรุก การปองกันอยาง
การแขงขันกีฬากับผูอื่นและนําไปสรุป สรางสรรคในการเลนและแขงขันกีฬา
เปนแนวปฏิบัติและใชในชีวิตประจําวัน x การนําประสบการณจากการเลนกีฬาไป
อยางตอเนื่อง ใชในชีวิตประจําวัน
๓. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การ x การปฏิบัตติ นในเรื่องมารยาทในการดู 3 3
เล นและการแขงขัน กีฬ า ด วยความมี การเลน การแขงขัน ความมีน้ําใจ
น้ํ า ใจนั ก กี ฬ า และนํ า ไปใช ป ฏิ บั ติ ทุ ก นักกีฬา
โอกาส จนเปนบุคลิกภาพที่ดี x บุคลิกภาพที่ดี
๔. รวมกิจกรรมทางกายและเลนกีฬาอยางมี x ความสุขที่ไดจากการเขารวมกิจกรรม 3 3 3
ความสุข ชื่นชมในคุณคาและความงาม ทางกายและเลนกีฬา
ของการกีฬา x คุณคาและความงามของการกีฬา
สาระที่ ๔ การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค
มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารง
สุขภาพ การปองกันโรค แลการสรางเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ
๑. วิเ คราะหบ ทบาทและความรับ ผิด ชอบ x บทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลที่ 3 3 3
ของบุคคลที่มีตอการสรางเสริมสุขภาพและ มี ต อ การสร า งเสริ ม สุ ข ภาพและการ
การปองกันโรคในชุมชน ปองกันโรคในชุมชน
๒. วิเคราะห อิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับ x อิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ 3
สุขภาพเพื่อการเลือกบริโภค x แนวทางการเลือกบริโภคอยางฉลาดและ
ปลอดภัย
๓. ปฏิบัติตนตามสิทธิของผูบริโภค x สิทธิพื้นฐานของผูบริโภคและกฎหมายที่
เกี่ยวของกับการคุมครองผูบริโภค
๔. วิ เ คราะห สาเหตุ และเสนอแนวทางการ x สาเหตุของการเจ็บปวยและการตายของ 3 3
ปองกันการเจ็บปวยและการตายของคนไทย คนไทย เชน โรคจากการประกอบอาชีพ
โรคทางพันธุกรรม
x แนวทางการปองกันการเจ็บปวย
๕. วางแผนและปฏิบัติตามแผน การพัฒนา x การวางแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเอง 3 3 3
สุขภาพของตนเองและครอบครัว และครอบครัว
๖. มี ส ว นร ว มในการส ง เสริ ม และพั ฒ นา x การมีสวนรวมในการสงเสริมและพัฒนา 3 3
สุขภาพของบุคคลในชุมชน สุขภาพของบุคคลในชุมชน
๗. วางแผนและปฏิ บั ติ ตามแผน การพั ฒนา x การวางแผนพัฒนาสมรรถภาพทางกาย 3 3 3
สมรรถภาพกายและสมรรถภาพกลไก และสมรรถภาพกลไก

เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 153


รายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖
สาระที่ ๕ ความปลอดภัยในชีวิต
มาตรฐาน พ. 5.1 ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงตอสุขภาพ
อุบัติเหตุ การใชยา สารเสพติด และความรุนแรง
๑. มีสวนรวมในการปองกันความเสี่ยงตอการ x การจัดกิจกรรมปองกันความเสี่ยงตอการ 3 3 3
ใช ยา การใช สารเสพติ ด และความรุ นแรง ใชยา สารเสพติด และความรุนแรง
เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสังคม
๒. วิ เ คราะห ผ ลกระทบที่ เ กิ ด จากการ x การวิเคราะหผลกระทบที่เกิดจากการ 3 3
ครอบครอง การใชและการจําหนายสาร ครอบครอง การใชและการจําหนายสาร
เสพติด เสพติด (ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจสังคม)
x โ ท ษ ท า ง ก ฎ ห ม า ย ที่ เ กิ ด จ า ก ก า ร
ครอบครอง การใชและการจําหนายสาร
เสพติด
๓. วิเคราะหปจจัยที่มีผลตอสุขภาพ หรือ x ปจ จั ย ที่ มีผ ลต อ สุข ภาพของคนไทยและ 3
ความรุ น แรงของคนไทยและเสนอ เสนอแนวทางปองกัน
แนวทางปองกัน
๔. วางแผน กํ า หนดแนวทางลดอุ บั ติ เ หตุ x การวางแผน กําหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ 3 3
และสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน และสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน
๕. มี ส ว นร ว มในการสร า งเสริ ม ความ x กิจกรรมการสรางเสริมความปลอดภัยใน 3 3
ปลอดภัยในชุมชน ชุมชน
๖. ใช ทั ก ษะการตั ด สิ น ใจแก ป ญ หาใน x ทั ก ษ ะ ก า ร ตั ด สิ น ใ จ แ ก ป ญ ห า ใ น 3 3 3
สถานการณที่เสี่ยงตอสุขภาพและความ สถานการณที่เสี่ยงตอสุขภาพ
รุนแรง
๗. แสดงวิธีการชวยฟนคืนชีพอยางถูกวิธี x วิธีการชวยฟนคืนชีพอยางถูกวิธี 3 3

154 เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


หนวยสมรรถนะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2560 (ปวช.)
หนวยสมรรถนะยอยของกลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ประกอบดวย 3 หนวยสมรรถนะ ดังนี้
๖๑. ดูแลสุขภาพ (Health Skills)
๖๒. เสริมสรางสมรรถภาพทางกาย(Physical Skills)
๖๓. พัฒนาทักษะชีวิต (Life Skills)

เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 155


หลักสูตรฐานสมรรถนะระดับประกาศนียบัตรวิชาชีพ (ปวช.)
หลักสูตรฐานสมรรถนะกลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ไดวิเคราะหกรอบมาตรฐานตามจุดประสงครายวิชา สมรรถนะ
รายวิชา และคําอธิบายรายวิชา สรุปเปนหนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย และตัวบงชี้ และจําแนกตามกลุมวิชาสุขศึกษาและ
พลศึกษา ดังนี้
ตารางที่ 6-2 ผลการวิเคราะหหนวยสมรรถนะยอย สมรรถนะยอย และตัวบงชี้ กลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตร
ประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทศักราช 2556 จําแนวเปนรายวิชา
รายวิชา

พลศึกษาเพื่อพัฒนากายภาพเฉพาะทาง
การจัดระเบียบชีวิตเพื่อความสุข
ทักษะชีวิตในการพัฒนาสุขภาพ
การออกกําลังการเพื่อเสริมสรา

การปงกันตนเองจากภัยสังคม

การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
หนวย
พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ

สมรรถภาพในการทํางาน
สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้
สมรรถนะ

การพัฒนาคุณภพชีวิต

สิ่งเสพติดศึกษา
เพศวิถีศึกษา
๖๑. ดูแลสุขภาพ ๖๑.๑ แสดงความรู ๖๑.๑๐๑ - สามารถหลีกเลี่ยงปจจัย 3 3
(Health Skills) เกี่ยวกับปองกันและ เสี่ยงพฤติกรรมเสี่ยงที่สงผล
หลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง ตอสุขภาพและสุขภาวะ
พฤติกรรมเสี่ยงที่สงผล
ตอสุขภาพและสุข
ภาวะ

๖๑.๒ แสดงความรู ๖๑.๒๐๑ - วิเคราะหกฎหมายที่เกี่ยวของ 3 3


เกี่ ย วกั บ การปกป อ ง กับสุขภาพในการทํางาน
สิ ท ธิ ข องตนเองตาม
กฎหมายที่ เ กี่ ย วข อ ง
กั บ สุ ข ภ า พ ใ น ก า ร
ทํางาน
๖๑.๓ แสดงความรู ๖๑.๓๐๑ - สามารถแสดงความเปน 3 3
เกี่ยวกับการเปนผูนํา ผูนําและผูตามใน
สถานะการที่เหมาะสม
๖๑.๔ แสดงความรู ๖๑.๔๐๑ - สามารถจั ด กิ จ กรรมการ 3 3 3
เกี่ยวกับการบริหาร เสริมสรางสุขภาพ
จัดการเรื่องการ
เสริมสรางสุขภาพและ
ปกปองสิทธิของตนเอง
ตามกฎหมายที่
เกี่ยวของกับสุขภาพใน
การทํางาน

156 เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


รายวิชา

การออกกําลังการเพื่อเสริมสราสมรรถภาพ

พลศึกษาเพื่อพัฒนากายภาพเฉพาะทาง
การจัดระเบียบชีวิตเพื่อความสุข
ทักษะชีวิตในการพัฒนาสุขภาพ
หนวย

การปงกันตนเองจากภัยสังคม

การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ
สมรรถนะยอย รหัส ตัวบงชี้
สมรรถนะ

การพัฒนาคุณภพชีวิต

สิ่งเสพติดศึกษา
ในการทํางาน

เพศวิถีศึกษา
๖๒. เสริมสราง ๖๒.๑ ออกกําลังกาย ๖๒.๑๐๑ - สามารถออกกํ า ลั ง กาย 3 3 3
สมรรถภาพทาง เพื่อการเสริมสราง เพื่อ พั ฒนาบุ คลิก ภาพและ
กาย (Physical สุขภาพ สมรรถภาพ
Skills) ๖๒.๒ แสดงออกถึงการ ๖๒.๒๐๑ - เปนผูมีวินัยและเคารพกฎ 3
มีน้ําใจนักกีฬา กติ ก ามี ม ารยาทในการดู
แลนเลนกีฬา
๖๒.๓ มีสมรรถภาพ ๖๒.๓๐๑ - ผานเกณฑการทดสอบ 3 3 3
ทางกายตามเกณฑ สมรรถภาพทางกายของ
มาตรฐานของกระทรวง กระทรวงสาธารณสุข
สาธารณสุข
๖๒.๔ บริหารจัดการ ๖๒.๔๐๑ - ปฏิบัติโครงการเกี่ยวกับ 3 3 3 3 3
โครงการเสริมสราง การเสริมเสริมสราง
สมรรถภาพทางกายเพื่อ สมรรถภาพทางกาย
เพิ่มประสิทธิภาพในการ
ทํางานได
๖๓. พัฒนา ๖๓.๑ แสดงความรู ๖๓.๑๐๑ - มีทักษะดานการจัดการ 3 3 3 3
ทักษะชีวิต และสรางและรักษา เรื่องสัมพันธภาพระหวาง
(Life Skills) สัมพันธภาพกับผูอ ื่นได บุคคล
๖๓.๒ คิดไตรตรองใน ๖๓.๒๐๑ - ใชทักษะการตัดสินใจ 3 3 3 3
สถานการณที่ตอง แกปญหาในในสถานการณที่
ตัดสินใจ ตองตัดสินใจ
๖๓.๓ ใชชีวิตรวมกับ ๖๓.๓๐๑ - ตระหนักถึงแนวทางใน 3 3 3
ผูอื่นไดอยางมีความสุข การดํารงชีวิตที่เหมาะสม
และปลอดภัย
๖๓.๔ คนหาคุณคาของ ๖๓.๔๐๑ - ตระหนักรูในคุณคาของ 3 3 3 3
ตนเองและเลือกดําเนิน ตนเองสรางแรงจูงใจในการ
ชีวิตใหสอดคลองอยางมี ตัดสินใจเลือกแนวทางใน
ความสุข การดําเนินชีวิตอยางมี
ความสุข
๖๓.๕ มีกิจนิสยั ที่ ๖๓.๕๐๑ - วางแผนปองกันถึงความ 3 3 3 3 3 3 3 3 3 3
คํานึงถึงความปลอดภัย ปลอดภัยในการดําเนิน
(Safety First) ชีวิตประจําวัน

เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 157


ตารางที่ 6-3 ผลการวิเคราะหสมรรถนะยอยรายวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
เพื่อรับการเทียบโอนผลการเรียนรูข องวิชาสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทศักราช 2551 ระดับ
มัธยมศึกษาตอนปลาย
หลักสูตร ปวช. หลักสูตรมัธยมศึกษาตอนปลาย

การออกกําลังกายเพื่อเสริมสราง สมรรถภาพใน

พลศึกษาเพื่อพัฒนากายภาพเฉพาะทาง
รหัส

การจัดระเบียบชีวิตเพื่อความสุข
สมรรถนะยอย
ทักษะชีวิตในการพัฒนาสุขภาพ

การปองกันตนเองจากภัยสังคม

การพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ
Code
พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ

สุขศึกษาและพลศึกษา ๑
สุขศึกษาและพลศึกษา ๒
สุขศึกษาและพลศึกษา ๓
สุขศึกษาและพลศึกษา ๔
สุขศึกษาและพลศึกษา ๕
สุขศึกษาและพลศึกษา ๖
การพัฒนาคุณภาพชีวิต

สิ่งเสพติดศึกษา
เพศวิถีศึกษา
การทํางาน

๖๑.๑ แสดงความรูเกี่ยวกับปองกันและ
หลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสี่ยงที่ 3 3 3
สงผลตอสุขภาพและสุขภาวะ 3 3
๖๑.๒ แสดงความรูเกี่ยวกับการปกปองสิทธิ
ของตนเองตามกฎหมายที่เกีย่ วของกับ 3
3 3
สุขภาพในการทํางาน
๖๑.๓ แสดงความรูเกี่ยวกับการเปนผูนํา 3 3 3 3
๖๑.๔ แสดงความรูเกี่ยวกับการบริหาร
จัดการเรื่องการเสริมสรางสุขภาพและ 3 3 3 3 3 3
ปกปองสิทธิของตนเองตามกฎหมายที่ 3 3 3
เกี่ยวของกับสุขภาพในการทํางาน
๖๒.๑ ออกกําลังกายเพื่อการเสริมสราง 3 3 3 3 3 3
3 3 3
สุขภาพ
๖๒.๒ แสดงออกถึงการมีน้ําใจนักกีฬา 3 3 3 3 3 3 3
๖๒.๓ สมรรถภาพทางกายตามเกณฑ 3 3 3 3 3 3
3 3 3
มาตรฐานของกระทรวงสาธารณสุข
๖๒.๔ บริหารจัดการโครงการเสริมสราง
สมรรถภาพทางกายเพื่อเพิ่ม 3 3 3
3 3 3 3
ประสิทธิภาพในการทํางานได
๖๓.๑ แสดงความรูและสรางและรักษา 3
3 3 3 3
สัมพันธภาพกับผูอ ื่นได
๖๓.๒ คิดไตรตรองในสถานการณที่ตอง 3 3
3 3 3
ตัดสินใจ
๖๓.๓ ใชชีวิตรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข 3 3 3 3
๖๓.๔ คนหาคุณคาของตนเองและเลือกดําเนิน
ชีวิตใหสอดคลองอยางมีความสุข 3 3 3 3 3 3 3
๖๓.๕ มีกิจนิสัยที่คาํ นึงถึงความปลอดภัย 3 3 3 3 3 3 3 3
(Safety First) 3 3 3 3 3 3 3

158 เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


ตารางที่ 6-4 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาพลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ จํานวน 1 หนวยกิต
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูส ุขศึกษาและพลศึกษา
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ รายวิชาพลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ จําแนกตามรายวิชาสุขศึกษาพลศึกษา
2000 - 1601 1 2 3 4 5 6
1 61.3 - - 3 - 3 -
2 61.4 3 3 3 3 3 3
3 62.1 3 3 3 3 3 3
4 62.2 3 3 3 3 3 3
5 62.3 3 3 3 3 3 3
6 62.4 - - 3 - - 3
7 63.5 - 3 3 3 3 3
รวม 5 5 7 5 6 6
พลศึกษาเพื่อพัฒนาสุขภาพ เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 3 และ 7 จํานวน 7 ตัวชี้วัด
เรียน 7 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100.00

หมายเหตุ 1. หมายเลขที่กําหนดในชองจํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


จําแนกเปนรายวิชาสุขศึกษาแลพลศึกษาตามหลักสูตร สพฐ.
หมายเลข 1 หมายถึง วิชาสุขศึกษาพลศึกษา 1 จํานวน 0.5 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 2 หมายถึง วิชาสุขศึกษาพลศึกษา 2 จํานวน 0.5 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 3 หมายถึง วิชาสุขศึกษาพลศึกษา 3 จํานวน 0.5 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 4 หมายถึง วิชาสุขศึกษาพลศึกษา 4 จํานวน 0.5 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 5 หมายถึง วิชาสุขศึกษาพลศึกษา 5 จํานวน 0.5 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
หมายเลข 6 หมายถึง วิชาสุขศึกษาพลศึกษา 6 จํานวน 0.5 หนวยกิต เวลาเรียน 40 ชั่วโมง/ภาคเรียน
2. รายวิชาสุขศึกษาพลศึกษาของหลักสูตร สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนผลการเรียนรูเขาสูหนวยกิต
รายวิชาสุขศึกษาพลศึกษาของหลักสูตร ปวช. จะตองมีจํานวนหนวยกิตเทากันหรือมากกวา
3. รายวิชาของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนตั้งแต 2 รายวิชาขึ้นไป ถามีตัวชี้วัดซ้ําซอนกัน
ใหนับเปน 1 ตัวชี้วัด
4. รายวิชาหลักสูตรของ สพฐ. ที่นํามาเทียบโอนเปนรายวิชาบังคับที่ทุกประเภทวิชาตองเรียน
ตามโครงสรางหลักสูตร สอศ. แลว ไมสามารถนํามาเทียบโอนซ้าํ ไดอีก

เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 159


ตารางที่ 6-5 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาทักษะชีวิตในการพัฒนาสุขภาพ จํานวน 1 หนวยกิต
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูส ุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตร
แกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ รายวิชาทักษะชีวิตในการพัฒนาสุขภาพ จําแนกตามรายวิชาสุขศึกษาพลศึกษา
2000 - 1602 1 2 3 4 5 6
1 61.1 3 3 - 3 - -
2 63.1 3 - - - - -
3 63.5 - 3 3 3 3 3
รวม 2 2 1 2 1 1
ทักษะชีวิตในการพัฒนาสุขภาพ เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 1 และ 2 จํานวน 3 ตัวชี้วัด
เรียน 3 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100.00

ตารางที่ 6-6 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาการออกกําลังกายเพื่อเสริมสรางสมรรถนะภาพ


ในการทํางานฺ จํานวน 1 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พื้นฐาน พุทธศักราช 2551
ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่
รายวิชาการออกกําลังกายเพื่อเสริมสราง จําแนกตามรายวิชาสุขศึกษาพลศึกษา
สมรรถนะภาพในการทํางาน
1 2 3 4 5 6
2000 - 1603
1 61.3 - - 3 - 3 -
2 61.4 3 3 3 3 3 3
3 62.1 3 3 3 3 3 3
4 62.3 3 3 3 3 3 3
5 62.4 - - 3 - - 3
6 63.3 - - - - 3 -
7 63.5 - 3 3 3 3 3
รวม 3 4 6 4 6 5
รายวิชาการออกกําลังกายเพื่อเสริมสราง
สมรรถนะภาพในการทํางาน เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 5 และ 6 จํานวน 7 ตัวชี้วัด
เรียน 7 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100.00

160 เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


ตารางที่ 6-7 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาการปองกันตนเองจากภัยสังคม
จํานวน 1 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ รายวิชาการปองกันตนเองจากภัยสังคม จําแนกตามรายวิชาสุขศึกษาพลศึกษา
2000 - 1604 1 2 3 4 5 6
1 61.2 - 3 - - - -
2 63.2 - 3 - - - -
3 63.3 - - - - 3 -
4 63.5 3 3 3 3 3 3
รวม 1 3 1 1 2 1
รายวิชาการปองกันตนเองจากภัยสังคม เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 2 และ 5 จํานวน 4 ตัวชี้วัด
เรียน 4 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100.00

ตารางที่ 6-8 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาพลศึกษาเพื่อพัฒนาการภาพ


เฉพาะทาง จํานวน 1 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน
พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ รายวิชาพลศึกษาเพื่อพัฒนาการภาพ จําแนกตามรายวิชาสุขศึกษาพลศึกษา
เฉพาะทาง 2000 - 1605 1 2 3 4 5 6
1 61.2 - 3 - - - -
2 61.4 3 3 3 3 3 3
62.1 - 3 3 3 3
3 3
62.3 - 3 3 3 3
4 3
62.4 - - 3 - - 3
5
63.4 - - - - 3
6 3
7 63.5 3 3 3 3 3 3
รวม 4 6 5 4 4 6
พลศึกษาเพื่อพัฒนาการ เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 2 และ 3 จํานวน 6 ตัวชี้วัด
เรียน 7 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100.00

เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 161


ตารางที่ 6-9 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาการจัดระเบียบชีวิตเพื่อความสุข
จํานวน 1 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ รายวิชาการจัดระเบียบชีวิตเพื่อความสุข จําแนกตามรายวิชาสุขศึกษาพลศึกษา
2000 - 1606 1 2 3 4 5 6
1 62.4 - 3 - - 3
2 63.1 3 - - - -
3 63.2 - 3 - - - -
4 63.3 - - - 3 -
5 63.4 3 3 - - 3
6 63.5 3 3 3 3 3
รวม 2 3 2 1 2 3
การจัดระเบียบชีวิตเพื่อความสุข เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 2 และ 5 จํานวน 4 ตัวชี้วัด
เรียน 6 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 66.65

ตารางที่ 6-10 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาเพศวิถีศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต


หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูสุขศึกษา
และพลศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย

สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย


ที่ รายวิชาเพศวิถีศึกษา จําแนกตามรายวิชาสุขศึกษาพลศึกษา
2000 - 1607 1 2 3 4 5 6
1 63.1 3 - - - - -
2 63.2 - 3 - - - -
3 63.4 3 3 - - - 3
4 63.5 - 3 3 3 3 3
รวม 2 3 1 1 1 2
เพศวิถีศึกษา เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 1 และ 2 จํานวน 4 ตัวชี้วัด
เรียน 4 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100.00

162 เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


ตารางที่ 6-11 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาสิ่งเสพติดศึกษา จํานวน 1 หนวยกิต
หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและสาระการเรียนรูสุขศึกษา
และพลศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษา
ตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ รายวิชาสิ่งเสพติดศึกษา จําแนกตามรายวิชาสุขศึกษาพลศึกษา
2000 - 1608 1 2 3 4 5 6
1 63.2 - 3 - - - -
2 63.4 3 3 - - - 3
3 63.5 - 3 3 3 3 3
รวม 1 3 1 1 1 2
สิ่งเสพติดศึกษา เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 2 และ 6 จํานวน 3 ตัวชี้วัด
เรียน 3 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100.00

ตารางที่ 6-12 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาพัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ


จํานวน 1 หนวยกิต หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ จําแนกตามรายวิชาสุขศึกษาพลศึกษา
2000 - 1609 1 2 3 4 5 6
1 62.4 - - 3 - - 3
2 63.5 - 3 3 3 3 3
รวม - 1 2 1 1 2
พัฒนาพฤติกรรมสุขภาพ เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 3 จํานวน 2 ตัวชี้วัด
เรียน 2 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100.00

เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 163


ตารางที่ 6-13 ผลการวิเคราะหความสอดคลองระหวางสมรรถนะยอยวิชาการพัฒนาคุณภาพชีวิต
จํานวน 1 หนวยกิตหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 กับตัวชี้วัดและ
สาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษาหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
สมรรถนะยอยที่จดั การเรียนรู จํานวนตัวชี้วัดหลักสูตร สพฐ. ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย
ที่ การพัฒนาคุณภาพชีวิต จําแนกตามรายวิชาสุขศึกษาพลศึกษา
2000 - 1610 1 2 3 4 5 6
1 61.1 3 3 - 3 - -
2 63.1 3 - - - - -
3 63.5 - 3 3 3 3 3
รวม 2 2 1 2 1 1
การพัฒนาคุณภาพชีวิต เนื้อหาสาระสอดคลองกับวิชาที่ 1 และ 2 จํานวน 3 ตัวชี้วัด
เรียน 3 สมรรถนะยอย คิดเปนรอยละ 100.00

164 เอกสารประกอบการปฏิบัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


บทที่ 4
บทบาทภาระหนาที่ของผูเกี่ยวของ

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 165 165
บทบาทและหนาที่ของหนวยงานที่เกี่ยวของในการจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตร
อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศกึ ษา)
การจั ด การศึ ก ษาเรี ย นร ว มหลั ก สู ต รอาชี ว ศึ ก ษาและมั ธ ยมศึก ษาตอนปลาย (ทวิ ศึ ก ษา) สํ า นั ก งาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน (สพฐ.) สํ านักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา (สอศ.) และหนว ยงาน
ที่เกี่ยวของมีบทบาทและหนาที่ ดังนี้

สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานและสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
1. กํ า หนดนโยบายแนวทางการดํ า เนิ น งานการจั ด การศึ ก ษาเรี ย นร ว มหลั ก สู ต รอาชี ว ศึ ก ษาและ
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
2. ประสานความรวมมือระหวาง สพฐ. สอศ. และหนวยงานที่เกี่ยวของ
3. จัดทําแนวทางการจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
4. สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาสามารถจัดการเรียนการสอนวิชาชีพ
ไดอยางมีประสิทธิภาพ
5. ติดตาม กํากับ ดูแลผลการดําเนินงาน

สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา
1. สงเสริม สนับสนุนใหสถานศึกษาดําเนินการตามนโยบายของ สพฐ. ในการเปดสอนวิชาชีพ
2. รายงาน สพฐ. เพื่อทราบการเขารวมและออกจากโครงการการจั ดการศึกษาเรี ย นร ว มหลั กสู ต ร
อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ของสถานศึกษาสังกัด สพฐ.
3. ประสานหนวยงานที่เกี่ยวของทราบ เพื่อประสิทธิภาพในการดําเนินการของสถานศึกษา
4. สงเสริม สนับสนุนทรัพยากรทางการศึกษาใหสถานศึกษาสามารถจั ดการเรียนการสอนวิชาชีพได
อยางมีประสิทธิภาพ
5. แต ง ตั้ ง คณะทํ า งานรั บ ผิ ด ชอบการดํ า เนิ น การจั ด การศึ ก ษาเรี ย นร ว มหลั ก สู ต รอาชี ว ศึ ก ษาและ
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) เพื่อนิเทศ กํากับ ติดตาม ประเมินผลและรายงานการดําเนินงาน
การจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
อาชีวศึกษาจังหวัด
1. ประสานกับสถานศึกษา สพฐ.ที่เปนกลุมเปาหมายการจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) เพื่อจัดทําขอตกลง
- ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน ที่เปดสอน
- หลักสูตรสถานศึกษา
- จํานวนผูเรียนในแตละประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน
- ตารางสอนและการจัดการเรียนการสอน
ฯลฯ
2. ประชุมกําหนดความรับผิดชอบของสถานศึกษาสังกัด สอศ. ในจังหวัดเพื่อจัดการเรียนการสอนคูขนาน
กับสถานศึกษาสังกัด สพฐ.
3. จัดสรร บริหารทรัพยากรของสถานศึกษาสังกัด สอศ. ในจังหวัด เพื่อจัดการเรียนการสอนคูขนาน
ใหเกิดประสิทธิภาพ
4. นิเทศ ติดตาม ประเมินผล

166 166 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
สถานศึกษาสังกัดสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษาและสถานศึกษาในสังกัดสํานักงาน
คณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
1. แต ง ตั้ ง คณะทํ า งาน เพื่ อ ศึ ก ษาแนวทางการจั ด การศึ ก ษาเรี ย นร ว มหลั ก สู ต รอาชี ว ศึ ก ษา และ
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ในสถานศึกษา
2. วางแผนการจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา และการจัดการเรียนการสอนรวมกัน ระหวางสถานศึกษา
สังกัด สพฐ. กับสถานศึกษาสังกัด สอศ.
3. ขออนุมัติหลักสูตรสถานศึกษาตอคณะกรรมการสถานศึกษา
4. แจ ง สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา เพื่ อ ทราบการเข า ร ว มการจั ด การศึ ก ษาเรี ย นร ว มหลั ก สู ต ร
อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
5. ทําบันทึกขอตกลงความรวมมือระหวางสถานศึกษาสังกัด สพฐ. กับสถานศึกษาสังกัด สอศ.
6. วางแผนและเตรียมความพรอมในปจจัยตางๆ ที่เกี่ยวของในการเปดสอนวิชาชีพตามหลักเกณฑ
ที่กําหนด
7. ประชาสัมพัน ธใหผู เรี ยน ผู ปกครอง ชุมชน ไดรั บทราบขอมูลเกี่ยวกับการจัดการศึกษาเรีย นร ว ม
หลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ในสถานศึกษา และรายงานแผนจัดชั้นเรียนรายป
และแผนการรับนักเรียน ประจําปการศึกษา ให สพฐ. โดยสํานักนโยบายและแผนการศึกษาขั้นพื้นฐาน และสํานัก
บริหารงานการมัธยมศึกษาตอนปลายทราบ
8. แตงตั้งคณะกรรมการเทียบโอนผลการเรียน เพื่อทําหนาที่พิจารณาเทียบโอนผลการเรียน
9. รายงานผลการดํ า เนิ น งานต อ สํ า นั ก งานเขตพื้ น ที่ ก ารศึ ก ษา และหน ว ยงา นที่ เ กี่ ย วข อ ง
ทุกสิ้นปการศึกษา
10. สถานศึ ก ษาบั น ทึ ก ข อ มู ล นั ก เรี ย นรายบุ ค คล ในระบบ Data Management Center (DMC)
ตามกําหนดเวลาที่ สพฐ. กําหนด เพื่อรับการจัดสรรงบประมาณเงินอุดหนุน คาใชจายรายหัวจาก สพฐ.
11. สถานศึ ก ษาที่ จั ด การศึ ก ษาเรี ย นร ว มหลั ก สู ต รอาชี ว ศึ ก ษาและมั ธ ยมศึ ก ษาตอนปลาย
(ทวิ ศึ ก ษา) ในสถานศึ ก ษายื น ยั น ข อ มู ล นั ก เรี ย นในระบบ (DMC) ตามแนวปฏิ บั ติ ที่ สํ า นั ก นโยบายและแผน
การศึกษาขั้นพื้นฐานกําหนด
ทั้งนี้ หากสถานศึกษามีความประสงคจะออกจากการจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและ
มัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ตองแจงใหสํานักงานเขตพื้นที่การศึกษา และสถานศึกษาสังกัด สอศ. ที่ทํา
บันทึกขอตกลงความรวมมือทราบลวงหนา อยางนอย 1 ปการศึกษา และตองจัดการเรียนการสอนใหกับผูเรียน
จนจบหลักสูตร จึงออกจากการจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) ได

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 167 167
ภาคผนวก
เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 169 169
170 170 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 171 171
สรุปสาขาวิชาและสาขางาน หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช ๒๕๕๖
ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน
๑. อุตสาหกรรม ๑ ชางยนต ๑ ยานยนต
๒ เครื่องกลอุตสาหกรรม
๓ เครื่องกลเรือ
๔ เครื่องกลเกษตร
๕ ตัวถังและสีรถยนต
๒ ชางกลโรงงาน ๑ เครื่องมือกล
๒ แมพิมพโลหะ
๓ แมพิมพพลาสติก
๔ ผลิตชิ้นสวนยานยนต
๓ ชางเชื่อมโลหะ ๑ ผลิตภัณฑ
๒ โครงสราง
๓ อุตสาหกรรมตอตัวถังรถโดยสาร
๔ ชางไฟฟากําลัง ๑ ไฟฟากําลัง
๕ ชางอิเล็กทรอนิกส ๑ อิเล็กทรอนิกส
๖ ชางกอสราง ๑ กอสราง
๗ ชางเครื่องเรือนและตกแตงภายใน ๑ เครื่องเรือนและตกแตงภายใน
๘ สถาปตยกรรม ๑ สถาปตยกรรม
๙ สํารวจ ๑ สํารวจ
๑๐ ชางเขียนแบบเครื่องกล ๑ เขียนแบบเครื่องกล
๑๑ ชางซอมบํารุง ๑ ซอมบํารุงอุตสาหกรรม
๑๒ ชางพิมพ ๑ ชางพิมพ
๑๓ เทคนิคแวนตาและเลนส ๑ แวนตาและเลนส
๑๔ ชางตอเรือ ๑ ตอเรือโลหะ
๒ ตอเรือไมและไฟเบอรกลาส
๓ นาวาสถาปตย
๑๕ โทรคมนาคม ๑ โทรคมนาคม
๑๖ โยธา ๑ โยธา
๑๗ อุตสาหกรรมยาง ๑ อุตสาหกรรมยาง
๑๘ เมคคาทรอนิกส ๑ เมคคาทรอนิกส
๒. พาณิชยกรรม ๑ การบัญชี ๑ การบัญชี
๒ การตลาด ๑ การตลาด
๓ การเลขานุการ ๑ การเลขานุการ
๔ คอมพิวเตอรธุรกิจ ๑ คอมพิวเตอรธุรกิจ
๕ ธุรกิจสถานพยาบาล ๑ ธุรกิจสถานพยาบาล
๖ การประชาสัมพันธ ๑ การประชาสัมพันธ
๗ ธุรกิจคาปลีก ๑ ธุรกิจคาปลีกทั่วไป
๑ ธุรกิจคาปลีกรานสะดวกซื้อ
๑ ธุรกิจคาปลีกสรรพสินคา
๑ ธุรกิจคาปลีกซุปเปอรเซ็นเตอร
๑ ธุรกิจคาปลีกซุปเปอรมารเก็ต

172 172 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน
๒. พาณิชยกรรม (ตอ) ๑ ธุรกิจคาปลีกสินคาเฉพาะอยาง
๑ ธุรกิจคาปลีกอาหารและภัตตาคาร
๘ ภาษาตางประเทศ ๑ ภาษาตางประเทศ
๓. ศิลปกรรม ๑ วิจิตรศิลป ๑ วิจิตรศิลป
๒ การออกแบบ ๑ การออกแบบ
๓ ศิลปหัตถกรรม ๑ ศิลปหัตถกรรม
๔ ศิลปกรรมเซรามิก ๑ ศิลปกรรมเซรามิก
๕ ศิลปหัตถกรรมรูปพรรณและเครื่องประดับ ๑ ศิลปหัตถกรรมรูปพรรณและเครื่องประดับ
๖ การถายภาพและวีดิทัศน ๑ การถายภาพและวีดิทัศน
๗ เทคโนโลยีศิลปกรรม ๑ เทคโนโลยีศิลปกรรม
๘ คอมพิวเตอรกราฟก ๑ คอมพิวเตอรกราฟกอารต
๒ มัลติมีเดีย
๓ แอนิเมชั่น
๙ อุตสาหกรรมเครื่องหนัง ๑ ผลิตภัณฑเครื่องหนัง
๑๐ เครื่องประดับอัญมณี ๑ เครื่องประดับอัญมณี
๒ การเจียระไนอัญมณี
๑๑ ชางทองหลวง ๑ ชางทองหลวง
๒ เครื่องประดับอัญมณี
๑๒ ศิลปการดนตรี ๑ ดนตรี
๒ ดนตรีประกอบสื่อและการแสดง
๔. คหกรรม ๑ แฟชั่นและสิ่งทอ ๑ แฟชั่นดีไซน
๒ เสื้อผาแฟชั่น
๓ อุตสาหกรรมเสื้อผา
๔ ธุรกิจแฟชั่น
๒ อาหารและโภชนาการ ๑ อาหารและโภชนาการ
๒ การแปรรูปอาหาร
๓ ธุรกิจอาหาร
๓ คหกรรมศาสตร ๑ ธุรกิจดอกไมและงานประดิษฐ
๒ เด็กปฐมวัย
๓ คหกรรมเพื่อการโรงแรม
๔ เสริมสวย ๑ เสริมสวย
๕. เกษตรกรรม ๑ เกษตรศาสตร ๑ การเกษตร
๒ พืชศาสตร
๓ สัตวศาสตร
๔ ชางเกษตร
๕ อุตสาหกรรมเกษตร
๖ ผลิตสัตวน้ํา
๖. ประมง ๑ เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา ๑ เพาะเลี้ยงสัตวน้ํา
๒ แปรรูปสัตวน้ํา ๑ แปรรูปสัตวน้ํา
๒ ผลิตภัณฑสตั วน้ําแชเยือกแข็ง
๓ ซูริมิและผลิตภัณฑ
๔ ผลิตภัณฑสตั วน้ําบรรจุกระปอง

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 173 173
ประเภทวิชา สาขาวิชา สาขางาน
๗. อุตสาหกรรมทองเที่ยว ๑ การโรงแรม ๑ การโรงแรม
๒ การทองเที่ยว ๑ การทองเที่ยว
๘. อุตสาหกรรมสิ่งทอ ๑ เทคโนโลยีสิ่งทอ ๑ เทคโนโลยีสิ่งทอ
๒ เคมีสิ่งทอ ๑ เคมีสิ่งทอ
๓ เทคโนโลยีเครื่องนุงหม ๑ เทคโนโลยีเครื่องนุงหม
๙. เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ ๑ เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสาร
๙ ประเภทวิชา ๕๑ สาขาวิชา ๘๘ สาขางาน

หมายเหตุ เอกสารแนบทายหนังสือสํานักงานคณะกรรมการการอาชีวศึกษา ที่ ศธ ๐๖๐๖/๖๔๔๖


ลงวันที่ ๑๘ ธันวาคม ๒๕๕๖

174 174 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวอยาง
ขอมูลประวัตินักเรียน นักศึกษา
กรุณาเขียนดวยตัวบรรจง
และตรวจสอบความถูกตอง ติดรูปถาย

ใบสมัครเขาเรียน
การจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
ระหวางวิทยาลัย .....................................................
โรงเรียน/สถานศึกษา .............................................

วัน เดือน ป ที่สมัคร .............................................. สถานที่รับสมัคร ........................................................................


ประเภทวิชา ........................................ สาขาวิชา ........................................ สาขางาน ...........................................
ชื่ อ -นามสกุ ล ................................................................ อายุ ............... วั น เดื อ น ป เกิ ด
......................................... เชื้อชาติ ................................... สัญชาติ ................................. ศาสนา .................... หมู
โลหิต ........... เพศ ............
เลขประจําตัวประชาชน
สําเร็จการศึกษาจาก ....................................................... จังหวัด ............................ วุฒิการศึกษา .........................
ที่อยู บานเลขที่ ............... หมูที่ ....... ตําบล ............................ อําเภอ .............................. จังหวัด ........................
ชื่อ -นามสกุ ล บิ ด า ................................................ อาชีพ ....................................... เบอร โ ทรศั พ ท
..........................
ชื่อ-นามสกุล มารดา ............................................ อาชีพ ....................................... เบอรโทรศัพท ..........................
ชื่อ-นามสกุล ผูปกครอง ....................................... อาชีพ ....................................... เบอรโทรศัพท .........................
เกี่ยวของเปน .......................................................

ลงชื่อ ................................................
(................................................)
ผูสมัคร

ไดตรวจสอบขอมูลถูกตอง ครบถวนแลว

ลงชื่อ ................................................
(................................................)
ผูรับสมัคร
......... / ....................... / .........

เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 175 175
ภารกิจและบทบาทหนาที่ในการบริหารจัดการหลักสูตรสถานศึกษา
การจัดการศึกษาเรียนรวมหลักสูตรอาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
สถานศึกษา สถานศึกษา
ที่ ภารกิจ
สพฐ. สอศ.
1 การประชาสัมพันธ 3 3
2 การรับสมัครผูเรียน 3 3
3 การขึ้นทะเบียน/บัตรประจําตัวผูเรียน 3 3
4 การปฐมนิเทศ การแนะแนว 3 3
5 การจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา 3 3
๖ การจัดการเรียนการสอนและวัดผลประเมินผลรายวิชา
หลักสูตร สพฐ. รายวิชาพื้นฐาน 3
หลักสูตร สพฐ. รายวิชาเพิ่มเติม 3
๗ การฝกประสบการณทักษะวิชาชีพ สถนประกอบการ
๘ การจัดกิจกรรม
หลักสูตร สพฐ. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน 3
๙ การโอนผลการเรียน
จากหลักสูตร สพฐ. รายวิชาพื้นฐาน 3
สูหลักสูตร ปวช. หมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี
จากหลักสูตร ปวช. หมวดวิชาทักษะวิชาชีพ 3
สูหลักสูตร สพฐ. รายวิชาเพิ่มเติม/บังคับ
๑๐ การสอบมาตรฐาน
สพฐ. การสอบ O-NET 3
สอศ. การสอบ V-NET 3
๑๑ การประเมินมาตรฐานวิชาชีพ 3
๑๒ การอนุมัตผิ ลการเรียน 3 3
๑๓ การปจฉิมนิเทศ 3 3
๑๔ การออกหลักฐานการศึกษา 3 3
๑๕ การรายงานผูสําเร็จการศึกษา 3 3
๑๖ การประเมินผลการจัดการศึกษา 3 3

176 176 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ


ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
แนวทางการเทียบมาตรฐานการเรียนรูห ลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ระดับมัธยมศึกษาตอนปลาย รายวิชาพื้นฐาน
กับรายวิชาในหลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556 หมวดวิชาทักษะชีวิตและหมวดวิชาเลือกเสรี

เอกสารประกอบการปฏิ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 6 นก. กลุมวิชาภาษาไทย ๓ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
สาระที่ 1 การอาน หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย

บัติงานการจัดการศึ
มาตรฐาน ท 1.1 ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจแกปญหาใน 1. ฟงและดูสารในชีวิตประจําวัน - ฟงและดูขาว สารคดีหรือบันเทิงคดี ฟงคําสั่งหรือขอแนะนํา
การดําเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอาน และในงานอาชีพ การปฏิบัติ งาน ฟงและดูสารในงานอาชีพจากสื่อบุคคล สื่อ

บัติงกานการจั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกส และแหลงเรียนรูในชุมชน
๑. อานออกเสียงบทรอยแกว และบทรอยกรอง x การอานออกเสียง ประกอบดวย 2. พูดในชีวิตประจําวัน และในงาน - พูด สื่ อ สารในสถานการณ ต า ง ๆ ที่กํา หนด นํา เสนอผลงาน

ษาร่วมหลัดกการศึ
อาชีพ หรื อ บรรยายสรุ ป พู ด แนะนํ าการใช เครื่ อ งมื อ อุ ป กรณ

สูตร อาชี
ไดอยางถูกตอง ไพเราะ และเหมาะสมกับเรื่อง - บทรอยแกวประเภทตาง ๆ เชน บทความ

กษาร่
ที่อาน นวนิยาย และความเรียง ผลงานหรือผลิตภัณฑ พูดสาธิตขั้นตอนการปฏิบัติงาน การใช
- บทรอยกรอง เชน โคลง ฉันท กาพย กลอน ผลิตภัณฑ หรือกระบวนการผลิตชิ้นงาน พูดเสนอขายสินคา

วศึกวษาและมั
ราย และลิลิต และบริการ พูดติดตอ กิจธุระ ขอความอนุเคราะห สนทนา

มหลักสูธตยมศึ
๒. ตีความ แปลความ และขยายความเรื่องที่อาน x การอานจับใจความจากสื่อตาง ๆ เชน ทางโทรศัพท สัมภาษณงาน

ร อาชี
๓. วิเคราะหและวิจารณเรื่องที่อานในทุกๆ ดาน - ขาวสารจากสื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกสและ 3. อานสารในชีวิตประจําวันและ - อ า นข า ว บทความ หรื อ สารคดี จ ากสื่ อ สิ่ ง พิ ม พ ห รื อ สื่ อ
อยางมีเหตุผล แหลงเรียนรู ตาง ๆ ในชุมชน ในงานอาชีพ อิเล็กทรอนิกส อานวรรณกรรมหรือภูมิปญญาทองถิ่นดาน

กษาตอนปลาย
๔. คาดคะเนเหตุการณจากเรื่องที่อาน และ - บทความ ภาษาที่สงเสริมคุณธรรม จริยธรรมและคานิยม

วศึกษาและมั
ประเมินคาเพื่อนําความรู ความคิดไปใช - นิทาน - อานคูมือการปฏิบัติงาน คูมือการใชอุปกรณ หรือรายละเอียด

(ทวิธศยมศึ
ตัดสินใจแกปญ  หาในการดําเนินชีวติ - เรื่องสั้น ของผลิตภัณฑ อานประกาศรับสมัครงาน ขอความโฆษณา
๕. วิเคราะห วิจารณ แสดงความคิดเห็นโตแยง - นวนิยาย จากสื่อสิ่งพิมพหรือสื่ออิเล็กทรอนิกส
กับเรื่องที่อาน และเสนอความคิดใหมอยางมี - วรรณกรรมพื้นบาน 4. เขียนเชิงวิชาการ - เขียนยอความ เขียนเรียงความ เขียนโครงการ เขียนรายงาน
เหตุผล - วรรณคดีในบทเรียน วิชาการ
๖. ตอบคําถามจากการอานประเภทตางๆ - บทโฆษณา 5. เขียนเชิงกิจธุระ - เขียนจดหมายสมัครงาน เขียนบันทึกขอความในหนวยงาน
ภายในเวลาที่กําหนด - สารคดี เขียนรายงานการประชุม กรอกแบบ- ฟอรมเอกสารประเภท

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
๗. อานเรื่องตางๆ แลวเขียนกรอบแนวคิดผัง - บันเทิงคดี ตาง ๆ เขียนแสดงความรูสึกในโอกาสตาง ๆ
ความคิด บันทึก ยอความ และรายงาน - ปาฐกถา 6. เขียนเชิงธุรกิจ - เขียนประชาสัมพันธในงานอาชีพ

177 177
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

178 178
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 6 นก. กลุมวิชาภาษาไทย ๓ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1101 ภาษาไทยพื้นฐาน ๒-๐-๒
๘. สังเคราะหความรูจากการอาน สื่อสิ่งพิมพ สื่อ - พระบรมราโชวาท (Basic Thai)
อิเล็กทรอนิกสและแหลงเรียนรูตา ง ๆ มา - เทศนา จุดประสงครายวิชา
พัฒนาตน พัฒนาการเรียน และพัฒนาความรู - คําบรรยาย 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจในการใชภาษาไทย
ทางอาชีพ - คําสอน 2. เพื่อใหสามารถเลือกใชภาษาไทยไดถูกตองตามหลักการใช ภาษาเหมาะสมกับบุคคล กาลเทศะ
- บทรอยกรองรวมสมัย โอกาส และสถานการณ
- บทเพลง 3. เพื่อใหสามารถนําความรูและทักษะการฟง การดู การพูด การอาน และการเขียนไปใชสื่อสาร
- บทอาเศียรวาท ในชีวิตประจําวันถูกตองตามหลักการ
- คําขวัญ 4. เพื่อใหเห็นคุณคาและความสําคัญของการใชภาษาไทย
๙. มีมารยาทในการอาน x มารยาทในการอาน
สมรรถนะรายวิชา
สาระที่ 2 การเขียน
1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการใชภาษาไทยในการฟง การดู การพูด การอาน และการเขียน

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
มาตรฐาน ท 2.1 ใชกระบวนการเขียนเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ ยอความ และเขียนเรื่องราว

ิงานการจัดการศึกษาร่
2. วิเคราะห ประเมินคาสารจากการฟง การดู การอานตามหลักการ
ในรูปแบบตาง ๆ เขียนรายงานขอมูลสารสนเทศและรายงานการศึกษาคนควาอยางมีประสิทธิภาพ
3. พูดติดตอกิจธุระ พูดในโอกาสตาง ๆ ตามหลักการและมารยาทของสังคม

บัติงวานการจั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
4. เขียนขอความติดตอกิจธุระ เขียนรายงานเชิงวิชาการ และเขียนโครงการตามหลักการ
๑. เขียนสื่อสารในรูปแบบตางๆ ไดตรงตาม x การเขียนสื่อสารในรูปแบบตาง ๆ เชน

มหลักสูดตการศึ
คําอธิบายรายวิชา

ร อาชี
วัตถุประสงค โดยใชภาษาเรียบเรียงถูกตอง - อธิบาย

กษาร่
มีขอมูล และสาระสําคัญชัดเจน - บรรยาย ศึกษาเกี่ยวกับ การรับสารและการสงสารดวยภาษาไทย การใชถอยคํา สํานวน ระดับภาษา การ

วศึวกมหลั
- พรรณนา ฟง การดูและการอานขาว บทความ สารคดี โฆษณา บันเทิงคดี วรรณกรรมหรือภูมิปญญาทองถิ่นดาน
ภาษาจากสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส การพูดในโอกาสตางๆ ตามมารยาทของสังคม การกลาว

ษาและมั
- แสดงทรรศนะ

กสูตร อาชี
- โตแยง ทั กทาย แนะนําตนเองและผูอื่น ตอบรับและปฏิเสธ แสดงความยินดี แสดงความเสียใจ การพูดติดตอ

ธยมศึ
- โนมนาว กิจธุระ พูดสรุปความ พูดแสดงความคิดเห็น การเขียนขอความติดตอกิจธุระ เขียนสะกดคํา สรุปความ
- เชิญชวน อธิบาย บรรยาย การกรอกแบบฟอรม เขียนประวัติยอ เขียนรายงานเชิงวิชาการและเขียนโครงการ

วศึกกษาและมั
- ประกาศ

ษาตอนปลาย
- จดหมายกิจธุระ
- โครงการและรายงานการดําเนินโครงการ
- รายงานการประชุม

ธยมศึกษาตอนปลาย
- การกรอกแบบรายการตาง ๆ

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 6 นก. กลุมวิชาภาษาไทย ๓ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
๒. เขียนเรียงความ x การเขียนเรียงความ 2000-1102 ภาษาไทยเพื่ออาชีพ 1-0-1
๓. เขียนยอความจากสื่อที่มรี ูปแบบและเนื้อหา x การเขียนยอความจากสื่อตางๆ เชน (Thai for Careers)
หลากหลาย - กวีนิพนธ และวรรณคดี วิชาบังคับกอน : ภาษาไทยพื้นฐาน

เอกสารประกอบการปฏิ
- เรื่องสั้น สารคดี นวนิยาย บทความทาง จุดประสงครายวิชา

บัติงานการจัดการศึ
วิชาการ และวรรณกรรมพื้นบาน 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจในการใชภาษาไทย
๔. ผลิตงานเขียนของตนเองในรูปแบบตาง ๆ x การเขียนในรูปแบบตาง ๆ เชน 2. เพื่อใหสามารถใชภาษาไทยสื่อสารในงานอาชีพอยางถูกตองตามหลักการใชภาษา

บัติงกานการจั
- สารคดี 3. เพือ่ ใหสามารถนําทักษะทางภาษาไทยไปใชพัฒนาตนเองและงานอาชีพ
- บันเทิงคดี 4. เพือ่ ใหเห็นคุณคาและความสําคัญของการใชภาษาไทย

ษาร่วมหลัดกการศึ
สูตร อาชี
๕. ประเมินงานเขียนของผูอื่น แลวนํามาพัฒนา x การประเมินคุณคางานเขียนในดานตาง ๆ เชน

กษาร่
สมรรถนะรายวิชา
งานเขียน ของตนเอง - แนวคิดของผูเขียน 1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการใชภาษาไทยในงานอาชีพ
- การใชถอยคํา

วศึกวษาและมั
2. วิเคราะห สังเคราะหและประเมินคาสารในงานอาชีพ จากการฟง การดู การอานตามหลักการ
- การเรียบเรียง 3. พูดติดตอกิจธุระและพูดในงานอาชีพตามหลักการ

มหลักสูธตยมศึ
- สํานวนโวหาร

ร อาชี
4. เขียนเอกสารในงานอาชีพตามหลักการ
- กลวิธีในการเขียน
๖. เขียนรายงานการศึกษาคนควาเรื่องที่สนใจ x การเขียนรายงานเชิงวิชาการ คําอธิบายรายวิชา

กษาตอนปลาย
ตามหลักการเขียนเชิงวิชาการ และใชขอมูล x การเขียนอางอิงขอมูลสารสนเทศ ศึกษาเกี่ยวกับ การใชภาษาไทยในงานอาชีพ การฟงคําสั่งหรือขอแนะนําการปฏิบัติงาน ฟงและดูสาร

วศึกษาและมั
สารสนเทศอางอิงอยางถูกตอง ในงานอาชีพจากสื่อบุคคล สื่อสิ่งพิมพ สื่ออิเล็กทรอนิกสและแหลงเรียนรูในชุมชน การอานคูมือการ

(ทวิธศยมศึ
๗. บันทึกการศึกษาคนควาเพื่อนํา ไปพัฒนา x การเขียนบันทึกความรูจากแหลงเรียนรูที่
ปฏิบัติงาน คูมือการใชอุปกรณหรือรายละเอียดของผลิตภัณฑ การนําเสนอผลงาน สาธิตขั้นตอนการ
ตนเองอยางสม่ําเสมอ หลากหลาย ปฏิบัติงานหรือกระบวนการผลิตชิ้นงาน การพูดติดตอกิจธุระ สนทนา กิจธุระทางโทรศัพท สัมภาษณ
งาน พูดเสนอความเห็นในที่ประชุม การเขียนรายงานการปฏิบัติงาน เขียนจดหมายกิจธุระ และเขียน
๘. มีมารยาทในการเขียน x มารยาทในการเขียน
โฆษณา ประชาสัมพันธในงานอาชีพ

179 179 ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

180 180
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 6 นก. กลุมวิชาภาษาไทย ๓ นก.
สาระที่ ๓ การฟง การดู และการพูด 2000-1104 การพูดในงานอาชีพ 1-0-1
มาตรฐาน ท ๓.๑ สามารถเลือกฟงและดูอยางมีวิจารณญาณ และพูดแสดงความรู ความคิด และ (Speaking for Careers)
ความรูสึกในโอกาสตางๆ อยางมีวิจารณญาณและสรางสรรค วิชาบังคับกอน : ภาษาไทยพื้นฐาน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง จุดประสงครายวิชา
๑. สรุปแนวคิด และแสดงความคิดเห็นจากเรื่องที่ x การพูดสรุปแนวคิด และการแสดงความคิดเห็น 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจในหลักการพูดและศิลปะการพูด
ฟงและดู จากเรื่องที่ฟงและดู 2. เพื่อใหมีทักษะการพูดในโอกาสตาง ๆ ตามหลักการพูด
๒. วิเคราะห แนวคิด การใชภาษา และความ x การวิเคราะหแนวคิด การใชภาษา และความ 3. เพื่อใหสามารถใชทักษะการพูดพัฒนาบุคลิกภาพและงานอาชีพ
นาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดูอยางมีเหตุผล นาเชื่อถือจากเรื่องที่ฟงและดู 4. เพื่อใหเห็นคุณคาและความสําคัญของการพูด
๓. ประเมินเรื่องที่ฟงและดู แลวกําหนดแนวทาง x การเลือกเรื่องที่ฟงและดูอยางมีวจิ ารณญาณ
สมรรถนะรายวิชา
นําไปประยุกต ใชในการดําเนินชีวิต x การประเมินเรื่องที่ฟงและดูเพื่อกําหนด
1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการพูดและศิลปะการพูด
๔. มีวิจารณญาณในการเลือกเรื่องที่ฟงและดู แนวทางนําไปประยุกตใช
2. พูดติดตอกิจธุระและธุรกิจตามหลักการ

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
๕. พูดในโอกาสตาง ๆ พูดแสดงทรรศนะ โตแยง x การพูดในโอกาสตางๆ เชน

ิงานการจัดการศึกษาร่
3. พูดในที่ประชุมชนในโอกาสตาง ๆ ตามขั้นตอน
โนมนาวใจ และเสนอแนวคิดใหมดวยภาษา - การพูดตอที่ประชุมชน
4. แสดงบุคลิกภาพเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ

บัติงวานการจั
ถูกตองเหมาะสม - การพูดอภิปราย
- การพูดแสดงทรรศนะ คําอธิบายรายวิชา

มหลักสูดตการศึ
ศึกษาเกี่ยวกับ การพูดในชีวิตประจําวันและงานอาชีพ พูดติดตอกิจธุระในโอกาสตาง ๆ พูดแสดง

ร อาชี
- การพูดโนมนาวใจ

กษาร่
๖. มีมารยาทในการฟง การดู และการพูด x มารยาทในการฟง การดูและการพูด ความคิดเห็น นําเสนอผลงาน บรรยายสรุป พูดเสนอขายสินคาหรือบริการ พูดในที่ประชุมชนในหนาที่

วศึวกมหลั
สาระที่ ๔ หลักการใชภาษาไทย โฆษกและพิธีกร กลาวตอนรับ กลาวขอบคุณ กลาวรายงาน กลาวอําลาอาลัย กลาวสุนทรพจนและ
อวยพรในโอกาสตาง ๆ

ษาและมั
มาตรฐาน ท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การเปลี่ยนแปลงของภาษาและ

กสูตร อาชี
พลังของภาษา ภูมิปญญาทางภาษา และรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

ธยมศึ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

วศึกกษาและมั
๑. อธิบายธรรมชาติของภาษา พลังของภาษา x ธรรมชาติของภาษา
และลักษณะของภาษา x พลังของภาษา

ษาตอนปลาย
x ลักษณะของภาษา
- เสียงในภาษา
- สวนประกอบของภาษา

ธยมศึกษาตอนปลาย
- องคประกอบของพยางคและคํา

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 6 นก. กลุมวิชาภาษาไทย ๓ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1105 การเขียนในงานอาชีพ 1-0-1
๒. ใชคําและกลุมคําสรางประโยคตรงตาม x การใชคําและกลุมคําสรางประโยค (Writing for Careers)
วัตถุประสงค - คําและสํานวน วิชาบังคับกอน : ภาษาไทยพื้นฐาน

เอกสารประกอบการปฏิ
- การรอยเรียงประโยค
จุดประสงครายวิชา

บัติงานการจัดการศึ
- การเพิ่มคํา
1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจในหลักการเขียน
- การใชคํา 2. เพื่อใหสามารถเรียบเรียงถอยคําไดถูกตองตามหลักการเขียน

บัติงกานการจั
- การเขียนสะกดคํา 3. เพื่อใหสามารถใชทักษะการเขียนพัฒนาตนเองและงานอาชีพ
๓. ใชภาษาเหมาะสมแกโอกาส กาลเทศะ และ x ระดับของภาษา 4. เพื่อใหเห็นคุณคาความสําคัญของการเขียน

ษาร่วมหลัดกการศึ
บุคคล รวมทั้งคําราชาศัพทอยางเหมาะสม x คําราชาศัพท

สูตร อาชี
กษาร่
๔. แตงบทรอยกรอง x กาพย โคลง ราย และฉันท สมรรถนะรายวิชา
๕. วิเคราะหอิทธิพลของภาษา ตางประเทศและ x อิทธิพลของภาษาตางประเทศและภาษาถิ่น 1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการใชและหลักการเขียนถอยคํา สํานวน โวหาร

วศึกวษาและมั
ภาษาถิ่น 2. เขียนคําทับศัพท ศัพทเฉพาะวิชาชีพถูกตองตามหลักการเขียน
3. เขียนขอความติดตอกิจธุระและธุรกิจตามรูปแบบและหลักการ

มหลักสูธตยมศึ
๖. อธิบายและวิเคราะหหลักการสรางคําใน x หลักการสรางคําในภาษาไทย

ร อาชี
ภาษาไทย คําอธิบายรายวิชา
๗. วิเคราะหและประเมินการใชภาษาจากสื่อ x การประเมินการใชภาษาจากสื่อสิง่ พิมพและ ศึกษาเกี่ยวกับ การเขียนในงานอาชีพ การเรียบเรียงถอยคํา สํานวน โวหารที่ใชในชีวิตประจําวัน

กษาตอนปลาย
สิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส สื่ออิเล็กทรอนิกส และงานอาชีพ เขียนสะกดคํา เขียนคําทับศัพทและศัพทเฉพาะวิชาชีพ เขียนแสดงความคิดเห็นและ

วศึกษาและมั
สาระที่ ๕ วรรณคดีและวรรณกรรม แสดงความรูสึกในโอกาสตาง ๆ เขียนรายงานการประชุม บันทึกขอความ จดหมายกิจธุระและธุรกิ จ

(ทวิธศยมศึ
มาตรฐาน ท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณวรรณคดีและวรรณกรรมไทยอยางเห็น และเขียนบทรอยกรอง โฆษณา ประชาสัมพันธในงานอาชีพ
คุณคาและนํามาประยุกตใชในชีวิตจริง
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. วิเคราะหและวิจารณวรรณคดีและวรรณกรรม x หลักการวิเคราะหและวิจารณวรรณคดีและ
ตามหลักการวิจารณเบื้องตน วรรณกรรมเบื้องตน
- จุดมุงหมายการแตงวรรณคดีและวรรณกรรม

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
- การพิจารณารูปแบบของวรรณคดีและ
วรรณกรรม
- การพิจารณาเนื้อหาและกลวิธใี นวรรณคดีและ
วรรณกรรม

181 181
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

182 182
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย 6 นก. กลุมวิชาภาษาไทย ๓ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1106 ภาษาไทยเชิงสรางสรรค 1-0-1
- การวิเคราะหและการวิจารณวรรณคดีและ (Creative Thai )
วรรณกรรม วิชาบังคับกอน : ภาษาไทยพื้นฐาน
๒. วิเคราะหลกั ษณะเดนของวรรณคดีเชื่อมโยงกับ x การวิเคราะหลักษณะเดนของวรรณคดีและ จุดประสงครายวิชา
การเรียนรูทางประวัติศาสตรและวิถีชีวิตของ วรรณกรรมเกี่ยวกับเหตุการณประวัติศาสตร 1. เพื่อใหมีความรู ความเขาใจ ในการใชภาษาไทยเชิงสรางสรรค
สังคมในอดีต และวิถีชีวิตของสังคมในอดีต 2. เพื่อใหสามารถเลือกใชภาษาไทยในการพูดและการเขียนเชิงสรางสรรคตามหลักการ
๓. วิเคราะหและประเมินคุณคาดานวรรณศิลป x การวิเคราะหและประเมินคุณคาวรรณคดีและ 3. เพื่อใหสามารถใชทักษะการใชภาษาไทยพัฒนาตนเองและงานอาชีพ
ของวรรณคดีและวรรณกรรมในฐานะที่เปน วรรณกรรม 4. เพื่อใหเห็นคุณคาความสําคัญของการใชภาษาไทย
มรดกทางวัฒนธรรมของชาติ - ดานวรรณศิลป
- ดานสังคมและวัฒนธรรม สมรรถนะรายวิชา
๔. สังเคราะหขอคิดจากวรรณคดีและวรรณกรรม x การสังเคราะหวรรณคดีและวรรณกรรม 1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการใชถอยคํา สํานวน โวหาร
2. พูดเชิงสรางสรรคตามรูปแบบและหลักการพูด

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
เพื่อนําไปประยุกตใชในชีวิตจริง

ิงานการจัดการศึกษาร่
๕. รวบรวมวรรณกรรมพื้นบานและอธิบาย x วรรณกรรมพื้นบานที่แสดงถึง
3. เขียนเชิงสรางสรรคตามรูปแบบและหลักการเขียน
ภูมิปญญาทางภาษา - ภาษากับวัฒนธรรม คําอธิบายรายวิชา
- ภาษาถิ่น ศึกษาเกี่ยวกับการใชภาษาไทยเชิงสรางสรรค การเรียบเรียงถอยคํา สํานวน โวหาร การพูดเลาเรื่อง
๖. ทองจําและบอกคุณคาบทอาขยานตามที่ x บทอาขยานและบทรอยกรองที่มีคณ ุ คา การอธิบาย บรรยาย การพูดโนมนาว การนําเสนอผลงาน การเขียนสรุปความ เขียนนิ ทาน สารคดี
กําหนดและบทรอยกรองที่มีคณ ุ คาตามความ - บทอาขยานตามที่กําหนด บทความ ปกิณกะ เขียนแสดงความคิดเห็นและแสดงความรูสึกในโอกาสตาง ๆ เขียนบทรอยกรอง
สนใจและนําไปใชอางอิง - บทรอยกรองตามความสนใจ โฆษณา ประชาสัมพันธในงานอาชีพ

วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


บัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ๖ นก. กลุมวิชาภาษาตางประเทศ ๖ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
สาระที่ ๑ ภาษาเพื่อการสื่อสาร หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย
มาตรฐาน ต ๑.๑ เขาใจและตีความเรื่องที่ฟงและอานจากสื่อประเภทตางๆ และแสดงความ 1. ฟง–ดู ขอความ/เรื่องในชีวิต- - ฟงบทสนทนาในสถานการณตาง ๆ ฟงขาวสั้น ๆ ฟงเพลง
คิดเห็นอยางมีเหตุผล ประจําวันและในงานอาชีพ - ดูภาพยนตร สารคดีสั้น ๆ จากสื่อโสตทัศน

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - ฟงคําสั่ง คําขอรอง คําแนะนํา คําบอกตําแหนง/ที่ตั้ง คําบอก

บัติงานการจัดการศึ
๑. ปฏิบัติตามคําแนะนําในคูมือการใชงานตางๆ คําแนะนํา คําชี้แจง คําอธิบาย คําบรรยาย เชน ทิศทาง คําอธิบายในสถานการณทใี่ ชในชีวิตประจําวัน
คําชี้แจง คําอธิบาย และคําบรรยายที่ฟงและ ประกาศเตือนภัยตางๆ ยาและการใชยา การใช - ฟง-ดูการอธิบาย การใหขอมูลเกีย่ วกับงานธุรกิจบริการ การ

บัติงกานการจั
อาน อุปกรณและสิ่งของ การสืบคนขอมูลทาง นําเสนอ สาธิตขั้นตอนการปฏิบัติงานของสถานการณในงาน
อินเทอรเน็ต อาชีพ

ษาร่วมหลัดกการศึ
2. พูดสื่อสารในสถานการณตาง ๆ - สนทนาโตตอบ แลกเปลี่ยนขอมูลไดตามวัตถุประสงคของการ

สูตร อาชี
- Modal verb: should/ ought to/ need/

กษาร่
have to/ must+ verb ที่เปน infinitive ในชีวิตประจําวันและงานอาชีพ สื่อสาร ในสถานการณที่กําหนด ใชภาษาในการใหคําสั่ง/
without to เชน You should have it after คําแนะนํา

วศึกวษาและมั
meal. (Active Voice)/The doses must be - สาธิตเกีย่ วกับผลิตภัณฑ สิ่งประดิษฐ การบริการในงานอาชีพ

มหลักสูธตยมศึ
divided. (Passive Voice) นําเสนอ (Presentation) ผลงาน โครงงาน สิ่งประดิษฐ รายงาน

ร อาชี
- Direct/Indirect Speech เรื่องที่กําหนด สินคา บริการในงานอาชีพ /ในชุมชน
- คําสันธาน (conjunction) and/ but/ or/ so/ 3. อานเรื่องทั่วไปในชีวิตประจําวัน - อานคําสั่ง ประโยค ขอความ เรื่องตาง ๆ ที่พบใน

กษาตอนปลาย
not only…but also/ both…and/ as well และในงานอาชีพ ชีวิตประจําวัน

วศึกษาและมั
as/ after/ because etc. - อานขอมูล ขาวสาร บทความในงานอาชีพตาง ๆ อานคูมือ

(ทวิธศยมศึ
- ตัวเชื่อม (connective words) เชน First, … การ-ปฏิบัติงาน กฎระเบียบ แบบฟอรมตาง ๆ ตาราง
Second, … Third, … Fourth, … Next, … แผนภาพ แผนภูมิ
Then, … Finally, … etc. - อานคูมือ ขั้นตอนการปฏิบัติ ขั้นตอนการทํางาน อานขอมูล
๒. อานออกเสียงขอความ ขาว ประกาศ โฆษณา ขอความ ขาว ประกาศ โฆษณา บทรอยกรอง คุณสมบัติเฉพาะทางเทคนิคของสินคา เครื่องมืออุปกรณในงาน
บทรอยกรอง และบทละครสั้น (skit) ถูกตอง และบทละครสั้น อาชีพ ใชคําศัพทเทคนิคในงานอาชีพ
ตามหลักการอาน การใชพจนานุกรม 4. เขียนใหขอมูลในชีวิตประจําวัน - เขียนโตตอบทางสังคม เขียนใหขอมูลบุคคล เขียนจดหมาย

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
หลักการอานออกเสียง เชน และในงานอาชีพ สวนตัว เขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส เขียนบันทึกยอ /
- การออกเสียงพยัญชนะตนคําและพยัญชนะ ขอความสั้น ๆ ในโอกาสตาง ๆ
ทายคํา สระเสียงสั้น สระเสียงยาว สระประสม

183 183
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

184 184
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ๖ นก. กลุมวิชาภาษาตางประเทศ ๖ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย
- การออกเสียงเนนหนัก-เบา ในคําและกลุม คํา - กรอกใหขอมูลในแบบฟอรมตาง ๆ ใบสมัครงาน ใบสมัคร
- การออกเสียงตามระดับเสียงสูง-ต่ําในประโยค สมาชิก ตาง ๆ ใบขอรับทุน ใบสมัครเขาศึกษา ใบสมัครสอบ
- การออกเสียงเชื่อมโยงในขอความ ฯลฯ
- การแบงวรรคตอนในการอาน - เขียนใหขอมูลในเอกสารการปฏิบตั ิงานในงานอาชีพตาง ๆ
- การอานบทรอยกรองตามจังหวะ - เขียนบันทึกยอ รายงานสั้น ๆ เขียนจดหมายธุรกิจประเภท
๓. อธิบายและเขียนประโยค และขอความให ประโยคและขอความ ตาง ๆ
สัมพันธกับสื่อที่ไมใชความเรียงรูปแบบตางๆ การตีความ/ถายโอนขอมูลใหสัมพันธกับสื่อที่ไมใช 5. ใชภาษาสื่อสารระหวาง - ใชภาษาไดเหมาะสมตามมารยาททางสังคมและวัฒนธรรม
ที่อาน รวมทั้งระบุและเขียนสื่อที่ไมใชความ ความเรียง เชน ภาพ แผนผัง กราฟ แผนภูมิ วัฒนธรรมของไทยและของ ของเจาของภาษา
เรียงรูปแบบตางๆ ใหสมั พันธกับประโยค และ ตาราง อักษรยอ จากกลุม สาระการเรียนรูอื่น เจาของภาษา
ขอความทีฟ่ งหรืออาน ดวยการพูดและการเขียนอธิบาย โดยใช 6. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนา - ใช ICT เปนแหลงการเรียนรูดวยตนเองหรือฝกฝนกับเพื่อน

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
Comparison of adjectives/ adverbs/ ทักษะทางภาษา - ใช ICT เปนแหลงการเรียนรูดวยตนเองหรือฝกฝนกับเพื่อน

ิงานการจัดการศึกษาร่
Contrast : but, although, however, in spite 7. ใชทกั ษะกระบวนการเรียนรูและ - ใชกลยุทธการเรียนรู สืบคนขอมูลจากแหลงการเรียนรูที่
of…/ Logical connectives เชน caused by/ การแสวงหาความรู เพื่อการ หลากหลาย เพื่อพัฒนาทักษะการสื่อสารและการประกอบ

บัติงวานการจั
followed by/ consist of etc. เรียนรูตลอดชีวิต อาชีพ

มหลักสูดตการศึ
๔. จับใจความสําคัญ วิเคราะหความสรุปความ เรื่องที่เปนสารคดีและบันเทิงคดี การจับใจความ

ร อาชี
กษาร่
ตีความ และแสดงความคิดเห็นจากการฟง สําคัญ การสรุปความ การวิเคราะหความ การ

วศึวกมหลั
และอานเรื่องที่เปนสารคดีและบันเทิงคดี ตีความ การใช skimming/scanning/
พรอมทั้งใหเหตุผลและยกตัวอยางประกอบ guessing/context clue

ษาและมั
กสูตร อาชี
ประโยคที่ใชในการแสดงความคิดเห็น การให

ธยมศึ
เหตุผลและการยกตัวอยาง เชน I believe…/ I
agree with… but…/ Well, I must say…/

วศึกกษาและมั
What do you think of /about…?/I think/

ษาตอนปลาย
don’t think…?/ What’s your opinion
about…?/ In my opinion…/
- if clauses

ธยมศึกษาตอนปลาย
- so…that/such…that

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ๖ นก. กลุมวิชาภาษาตางประเทศ ๖ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1201 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1 2-0-2
- too to…/enough to… (Real Life English 1)
- on the other hand, … จุดประสงครายวิชา

เอกสารประกอบการปฏิ
- other (s)/another/the other (s)- คําสันธาน 1. เพื่ อ ให ส ามารถใช ภ าษาอั ง กฤษฟ ง ดู พู ด อ า นและเขี ย นตามสถานการณ ต า ง ๆ ใน

บัติงานการจัดการศึ
(conjunctions) because/and/so /but/ ชีวิตประจําวัน
however/because of/due to/owing to etc. 2. เพื่อใหมีความรูความเขาใจในวัฒนธรรมของเจาของภาษาและใชภาษาตามมารยาทสังคม

บัติงกานการจั
- Infinitive pronouns: some, any, someone, 3. เพื่อใหตระหนักและเห็นประโยชนของการใชภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน และการศึกษา
anyone, everyone, one, ones etc. ตอ

ษาร่วมหลัดกการศึ
- Tenses: present simple/present

สูตร อาชี
กษาร่
continuous/present perfect/past simple สมรรถนะรายวิชา
/future tense etc. 1. ฟง ดู บทสนทนา เรื่องราว คําสัง่ ตาง ๆ ในชีวิตประจําวันจากสื่อโสตทัศน

วศึกวษาและมั
- Simple sentence/Compound sentence/ 2. สนทนาโตตอบไดตรงตามวัตถุประสงคของการสื่อสารตามสถานการณตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน
3. อานเรื่องทั่วไปในชีวิตประจําวัน

มหลักสูธตยมศึ
Complex sentence

ร อาชี
มาตรฐาน ต ๑.๒ มีทักษะการสือ่ สารทางภาษาในการแลกเปลี่ยนขอมูลขาวสาร แสดงความรูส ึก 4. เขียนใหขอมูลเกีย่ วกับตนเองในชีวิตประจําวัน
และความคิดเห็นอยางมีประสิทธิภาพ 5. ใชภาษาตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษาในสถานการณตาง ๆ
6. ใชเทคโนโลยีส ารสนเทศสืบค นและฝ กฝนการฟง พูด อานและเขีย น พรอมแสดงหลักฐาน

กษาตอนปลาย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

วศึกษาและมั
๑. สนทนาและเขียนโตตอบขอมูลเกีย่ วกับตนเอง ภาษาที่ใชในการสื่อสารระหวางบุคคล เชน การเรียนรูดวยตนเอง

(ทวิธศยมศึ
และเรื่องตาง ๆ ใกลตัว ประสบการณ การทักทาย กลาวลา ขอบคุณ ขอโทษ ชมเชย คําอธิบายรายวิชา
สถานการณ ขาว / เหตุการณ ประเด็นที่อยู การพูดแทรกอยางสุภาพ การชักชวน การ ศึกษาเกี่ยวกับ การฟง-ดู พูด อาน เขียน การฟงคําสั่ง เรื่องราว การสนทนาโตตอบในสถานการณ
ในความสนใจของสังคมและสื่อสารอยาง แลกเปลีย่ นขอมูลเกี่ยวกับตนเอง เรื่องใกลตัว ตางๆ หรือที่กําหนดเกี่ยวกับครอบครัว การศึกษา งานอดิเรก สุขภาพ การสนทนาเรื่องในอดีต ปจจุบัน
ตอเนื่อง และเหมาะสม สถานการณตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน การสนทนา/ และอนาคต เทศกาลทางวัฒนธรรม การอานเรื่องทั่วไป ขอความสั้น ๆ ที่พบในชีวิตประจําวันจากสื่อ
เขียนขอมูลเกีย่ วกับตนเองและบุคคลใกลตัว สิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส การเขียนขอความสั้น ๆ การใชพจนานุกรม และ online dictionary
ประสบการณ สถานการณตางๆ ขาวเหตุการณ การใชภาษาตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนแหลง

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
ประเด็นที่อยูในความสนใจของสังคม เรียนรูหรือฝกฝนกับเพื่อนเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาดวยตนเอง การสืบคนขอมูลจากแหลงการเรียนรูที่
๒. เลือกและใชคําขอรอง ใหคําแนะนํา คําชี้แจง คําขอรอง คําแนะนํา คําชี้แจง คําอธิบายที่มี หลากหลาย
คําอธิบายอยางคลองแคลว ขั้นตอนซับซอน

185 185
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

186 186
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ๖ นก. กลุมวิชาภาษาตางประเทศ ๖ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1202 ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 2 2-0-2
๓. พูดและเขียนแสดงความตองการ เสนอ ภาษาที่ใชในการแสดงความตองการ เสนอและให (Real Life English 2)
ตอบรับและปฏิเสธการใหความชวยเหลือ ความชวยเหลือ ตอบรับและปฏิเสธการใหความ วิชาบังคับกอน : ภาษาอังกฤษในชีวิตจริง 1
ในสถานการณจําลองหรือสถานการณจริง ชวยเหลือในสถานการณตาง ๆ เชน จุดประสงครายวิชา
อยางเหมาะสม Please…/…, please./ I’d like…/ I need…/ May/ 1. เพื่ อ ให ส ามารถใช ภ าษาอั ง กฤษฟ ง ดู พู ด อ า นและเขี ย น ตามสถานการณ ต า ง ๆ
Can/Could…?/Would you please…? Yes,../Please ในชีวิตประจําวัน
do. /Certainly./Yes, of course. /Sure./ Need some 2. เพื่อใหมีความรูความเขาใจในวัฒนธรรมของเจาของภาษาและใชภาษาตามมารยาทสังคม
help?/ What can I do to help?/ Would you like 3. เพื่อใหตระหนักและเห็นประโยชนของการใชภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน และการศึกษาตอ
any help?/ If you like I could…/ What can I do to
help? / Would you like any help?/ Would you like สมรรถนะรายวิชา
me to help you?/ If you need anything, please…/ 1. ฟง – ดู เรื่องราว บันเทิงคดี ขาวสั้น ๆ ในชีวิตประจําวันจากสื่อโสตทัศน
2. สนทนาโตตอบสถานการณตางๆในชีวิตประจําวันและสถานประกอบการ

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
Is there anything I can do?/ I’ll do it for you./ I’m

ิงานการจัดการศึกษาร่
afraid…/ I’m sorry, but…/ Sorry, but… etc. 3. อานเรื่องทั่วไป กําหนดการ ปายตาง ๆ ในชีวิตประจําวันจากสื่อสิง่ พิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส
๔. พูดและเขียนเพื่อขอและใหขอมูล บรรยาย คําศัพท สํานวน ประโยคและขอความที่ใชในการ 4. เขียนใหขอมูล กรอกแบบฟอรมตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน

บัติงวานการจั
อธิบาย เปรียบเทียบและแสดงความคิดเห็น ขอและใหขอมูล บรรยาย อธิบาย เปรียบเทียบ 5. ใชภาษาตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษาในสถานการณตาง ๆ

มหลักสูดตการศึ
เกี่ยวกับเรื่อง/ประเด็น/ขาว/เหตุการณที่ฟง และแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับประเด็น/ขาว/ 6. ใชเทคโนโลยีส ารสนเทศสืบค นและฝ กฝนการฟง พูด อานและเขีย น พรอมแสดงหลักฐาน

ร อาชี
กษาร่
และอานอยางเหมาะสม เหตุการณที่ฟงและอาน การเรียนรูดวยตนเอง

วศึวกมหลั
๕. พูดและเขียนบรรยายความ รูสึกและแสดง ภาษาที่ใชในการแสดงความรูสึก ความคิดเห็น และ คําอธิบายรายวิชา
ความคิดเห็นของตนเองเกี่ยวกับเรือ่ งตาง ๆ ใหเหตุผลประกอบ เชน ชอบ ไมชอบ ดีใจ เสียใจ ศึกษาเกี่ยวกับ การฟง-ดู พูด อาน เขียน การฟง-ดูเรื่องราวตาง ๆ บันเทิงคดีจากสื่อโสตทัศน

ษาและมั
กสูตร อาชี
กิจกรรม ประสบการณ และขาว/เหตุการณ มีความ สุข เศรา หิว รสชาติ สวย นาเกลียด การสนทนาโตตอบในสถานการณตาง ๆ ที่กําหนดเกี่ยวกับการเดินทาง ทองเที่ยว การบอกทิศทาง

ธยมศึ
อยางมีเหตุผล เสียงดัง ดี ไมดี จากขาว เหตุการณ สถานการณ การบอกตําแหนงที่ตั้ง สิ่งบันเทิง การซื้อ ขาย การตอนรับ การสนทนาทางโทรศัพท การปฏิบัติตาม
ในชีวิตประจําวัน เชน คําสั่ง ขั้นตอนการปฏิบัติ การอานเรื่องทั่วไป ขอความ กําหนดการ ปายประกาศตาง ๆ ที่พบใน

วศึกกษาและมั
Nice./Very nice./Well done!/ Congratulations ชีวิตประจําวันจากสื่อสิ่งพิมพและสื่ออิเล็กทรอนิกส จดหมายอิเล็กทรอนิกส การกรอกแบบฟอรมตาง ๆ

ษาตอนปลาย
on… I like… because… /I love… because…/ I การใชภาษาตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของภาษา การใชเทคโนโลยีสารสนเทศเปนแหลง
feel… because…/I think…/I believe…/I agree/ เรียนรูห รือฝกฝน กับเพื่อนเพื่อพัฒนาทักษะทางภาษาดวยตนเอง การสืบคนขอมูลจากแหลงการเรียนรูที่
disagree… /I’m afraid I don’t like…/I don’t หลากหลาย

ธยมศึกษาตอนปลาย
believe…/I have no idea…/ Oh no! etc.

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ๖ นก. กลุมวิชาภาษาตางประเทศ ๖ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
มาตรฐาน ต ๑.๓ นําเสนอขอมูลขาวสาร ความคิดรวบยอด และความคิดเห็นในเรื่องตาง ๆ โดย 2000-1205 การอานสื่อสิ่งพิมพในชีวิตประจําวัน 0-2-1
การพูดและการเขียน (Reading Authentic Materials)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง จุดประสงครายวิชา

เอกสารประกอบการปฏิ
๑. พูดและเขียนนําเสนอขอมูลเกีย่ วกับตนเอง การนําเสนอขอมูลเกีย่ วกับตนเอง ประสบการณ 1. เพื่อใหสามารถอานสื่อสิ่งพิมพชนิดตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน

บัติงานการจัดการศึ
ประสบการณ ขาว/เหตุการณ เรื่องและ ขาว/เหตุการณ เรื่องและประเด็นที่อยูในความ 2. เพื่อใหตระหนักและเห็นประโยชนของการอานภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันและการศึกษาตอ
ประเด็นตางๆ ตามความสนใจของสังคม สนใจของสังคม เชน การเดินทาง การรับประทาน
สมรรถนะรายวิชา

บัติงกานการจั
อาหาร การเลนกีฬา/ดนตรี การดูภาพยนตร
การฟงเพลง การเลีย้ งสัตวการอานหนังสือ การ 1. อานหนังสือพิมพ แผนพับ แผนปลิว โฆษณา โปสการดจากสื่อสิ่งพิมพตาง ๆ ในชีวิตประจําวัน

ษาร่วมหลัดกการศึ
ทองเที่ยว การศึกษา สภาพสังคม เศรษฐกิจ 2. อานประกาศ ฉลาก ปายประกาศ ปายเตือน เครื่องหมาย สัญลักษณจากสถานที่ตาง ๆ

สูตร อาชี
กษาร่
๒. พูดและเขียนสรุปใจความสําคัญ/แกนสาระ การจับใจความสําคัญ/แกนสาระ การวิเคราะห 3. อานตาราง แผนภาพ แผนภูมิ
ที่ไดจากการวิเคราะหเรื่อง กิจกรรม ขาว เรื่อง กิจกรรม ขาว เหตุการณ และสถานการณ 4. อานเอกสารทางการคา

วศึกวษาและมั
เหตุการณ และสถานการณตามความสนใจ ตามความสนใจ 5. อานประกาศรับสมัครงาน ระเบียบการ
6. อานกําหนดการ บันทึกสั้น ๆ

มหลักสูธตยมศึ
๓. พูดและเขียนแสดงความคิดเห็นเกีย่ วกับ การแสดงความคิดเห็น การใหเหตุผลประกอบและ

ร อาชี
กิจกรรม ประสบการณ และเหตุการณ ทั้งใน ยกตัวอยางเกี่ยวกับกิจกรรม ประสบการณ และ 7. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศสืบคนและฝกฝนการอานพรอมแสดงหลักฐานการเรียนรูดวยตนเอง
ทองถิ่น สังคมและโลก พรอมทั้งใหเหตุผล เหตุการณในทองถิ่น สังคมและโลก คําอธิบายรายวิชา

กษาตอนปลาย
และยกตัวอยางประกอบ ปฏิบั ติเ กี่ย วกั บ การอ านเรื่ องตา ง ๆ ที่พ บในชี วิต ประจํ าวั นจากสื่อ สิ่งพิม พ สารคดี บันเทิ งคดี

วศึกษาและมั
สาระที่ ๒ ภาษาและวัฒนธรรม หนังสือพิมพ โฆษณา แผนพับ แผนปลิว โปสการด ประกาศ ฉลาก ปายประกาศ ปายเตือน เครื่องหมาย

(ทวิธศยมศึ
มาตรฐาน ต ๒.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางภาษากับวัฒนธรรมของเจาของภาษา และนําไปใช สัญลั กษณ ตาราง แผนภาพ แผนภูมิ รายการสิ นคา ประกาศรั บสมัค รงาน กํา หนดการ ระเบีย บ
ไดอยางเหมาะสมกับกาลเทศะ การบันทึกสั้น ๆ การเลือกใชสื่อเทคโนโลยีเปนแหลงการเรียนรูดวยตนเอง การสืบคนขอมูลจากแหลง
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง การเรียนรูที่หลากหลาย
๑. เลือกใชภาษา น้ําเสียง และกิรยิ าทาทาง การเลือกใชภาษา น้ําเสียง และกิรยิ าทาทาง
เหมาะกับระดับของบุคคล โอกาสและสถานที่ ในการสนทนา ระดับของภาษา มารยาทสังคม
ตามมารยาทสังคมและวัฒนธรรมของเจาของ และวัฒนธรรมของเจาของภาษา เชน

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
ภาษา การขอบคุณ ขอโทษ การชมเชย การใชสีหนา
ทาทางประกอบการพูดขณะแนะนําตนเอง

187 187
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

188 188
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ๖ นก. กลุมวิชาภาษาตางประเทศ ๖ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1206 การเขียนในชีวิตประจําวัน 0-2-1
การสัมผัสมือ การโบกมือ การแสดงความ รูสึก (Daily writing)
ชอบ/ไมชอบ การกลาวอวยพร การแสดงอาการ จุดประสงครายวิชา
ตอบรับหรือปฏิเสธ 1. เพื่อใหสามารถเขียนภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวัน
๒. อธิบาย/อภิปรายวิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ วิถีชีวิต ความคิด ความเชื่อ และที่มาของ 2. เพื่อใหตระหนักและเห็นประโยชนของการใชภาษาอังกฤษในชีวิตประจําวันและการศึกษาตอ
และที่มาของขนบธรรมเนียมและประเพณีของ ขนบธรรมเนียม และประเพณีของเจาของภาษา
เจาของภาษา สมรรถนะรายวิชา
๓. เขารวม แนะนํา และจัดกิจกรรมทางภาษา กิจกรรมทางภาษาและวัฒนธรรม เชน การเลน 1. เขียนขอมูลบุคคล
และวัฒนธรรมอยางเหมาะสม เกม การรองเพลง การเลานิทาน/เรื่องจาก 2. เขียนบันทึกยอ ขอความสั้น ๆ
ภาพยนตร บทบาทสมมุติ ละครสั้น วันขอบคุณ 3. เขียนอวยพรเทศกาลตางๆ
พระเจา วันคริสตมาส วันขึ้นปใหม วันวาเลนไทน 4. เขียนจดหมายสวนตัว จดหมายอิเล็กทรอนิกส
5. กรอกแบบฟอรมชนิดตาง ๆ

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
มาตรฐาน ต ๒.๒ เขาใจความเหมือนและความแตกตางระหวางภาษาและวัฒนธรรมของเจาของ

ิงานการจัดการศึกษาร่
ภาษากับภาษาและวัฒนธรรมไทย และนํามาใชอยางถูกตองและเหมาะสม 6. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศสืบคนและฝกฝนการเขียนพรอมแสดงหลักฐานการเรียนรูดวยตนเอง
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง คําอธิบายรายวิชา

บัติงวานการจั
๑. อธิบาย/เปรียบเทียบความแตกตางระหวาง การอธิบาย/การเปรียบเทียบความแตกตาง ปฏิบัติเกี่ยวกับ การเขียนโตตอบทางสัง คม การเขียนขอมูลบุคคล ขอความสั้น ๆ บันทึกยอ /

มหลักสูดตการศึ
โครงสรางประโยค ขอความ สํานวน คํา ระหวางโครงสรางประโยค ขอความ สํานวน จดหมายส ว นตั ว การเขี ย นบั ต รอวยพร บั ต รอวยพรอิ เ ล็ ก ทรอนิ ก ส ใ นโอกาสต า ง ๆ จดหมาย

ร อาชี
กษาร่
พังเพย สุภาษิต และบทกลอนของ คําพังเพย สุภาษิต และบทกลอนของภาษา อิเล็กทรอนิกส การกรอกแบบฟอรมตาง ๆ การเลือกใชเทคโนโลยีสารสนเทศพัฒนาทักษะการเขียน

วศึวกมหลั
ภาษาตางประเทศและภาษาไทย ตางประเทศและภาษาไทย การแสวงหาความรูดวยตนเองจากแหลงการเรียนรูที่หลากหลาย
๒. วิเคราะห/อภิปราย ความเหมือนและความ การวิเคราะห/การอภิปรายความเหมือนและ

ษาและมั
กสูตร อาชี
แตกตางระหวางวิถีชีวิต ความเชื่อและ ความแตกตางระหวางวิถีชีวิต ความเชื่อและ

ธยมศึ
วัฒนธรรมของเจาของภาษากับของไทยและ วัฒนธรรมของเจาของภาษากับของไทย การนํา
นําไปใชอยางมีเหตุผล วัฒนธรรมของเจาของภาษาไปใช

วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย
ธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ๖ นก. กลุมวิชาภาษาตางประเทศ ๖ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
สาระที่ ๓ ภาษากับความสัมพันธกับกลุมสาระการเรียนรูอื่น
มาตรฐาน ต ๓.๑ ใชภาษาตางประเทศในการเชื่อมโยงความรูก ับกลุมสาระการเรียนรูอื่น และ
เปนพื้นฐานในการพัฒนา แสวงหาความรู และเปดโลกทัศนของตน

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

บัติงานการจัดการศึ
๑. คนควา/สืบคน บันทึก สรุป และแสดงความ การคนควา/การสืบคน การบันทึก การสรุป
คิดเห็นเกีย่ วกับขอมูลที่เกี่ยวของกับกลุมสาระ การแสดงความคิดเห็น และนําเสนอขอมูลที่

บัติงกานการจั
การเรียนรูอื่น จากแหลงเรียนรูตางๆ และ เกี่ยวของกับกลุมสาระการเรียนรูอนื่ จากแหลง
นําเสนอดวยการพูดและการเขียน เรียนรูต างๆ

ษาร่วมหลัดกการศึ
สูตร อาชี
กษาร่
สาระที่ ๔ ภาษากับความสัมพันธกับชุมชนและโลก
มาตรฐาน ต ๔.๑ ใชภาษาตางประเทศในสถานการณตาง ๆ ทั้งในสถานศึกษา ชุมชน และสังคม

วศึกวษาและมั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

มหลักสูธตยมศึ
๑. ใชภาษาสื่อสารในสถานการณจริง/ การใชภาษาสื่อสารในสถานการณจริง/

ร อาชี
สถานการณจําลองที่เกิดขึ้นในหองเรียน สถานการณจําลองเสมือนจริงที่เกิดขึ้นในหองเรียน
สถานศึกษา ชุมชน และสังคม สถานศึกษา ชุมชน และสังคม

กษาตอนปลาย
วศึกษาและมั
มาตรฐาน ต ๔.๒ ใชภาษาตางประเทศเปนเครื่องมือพื้นฐานในการศึกษาตอ การประกอบอาชีพ

(ทวิธศยมศึ
และการแลกเปลี่ยนเรียนรูก ับสังคมโลก
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. ใชภาษาตางประเทศในการสืบคน/คนควา การใชภาษาตางประเทศในการสืบคน/การคนควา
รวบรวม วิเคราะห และสรุปความรู/ขอมูล ความรู/ขอมูลตาง ๆ จากสื่อและแหลงการเรียนรู
ตางๆ จากสื่อและแหลงการเรียนรูต าง ๆ ตาง ๆ ในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ
ในการศึกษาตอและประกอบอาชีพ

189 189 ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

190 190
กลุมสาระการเรียนรูภาษาตางประเทศ ๖ นก. กลุมวิชาภาษาตางประเทศ ๖ นก.
๒. เผยแพร/ประชาสัมพันธ ขอมูล ขาวสารของ การใชภาษาอังกฤษในการเผยแพร/
โรงเรียน ชุมชน และทองถิ่น/ประเทศชาติ ประชาสัมพันธขอมูล ขาวสารของโรงเรียน ชุมชน
เปนภาษาตางประเทศ และทองถิ่น/ประเทศชาติ เชน การทําหนังสือ
เลมเล็กแนะนําโรงเรียน ชุมชน ทองถิ่น/ประเทศ
ชาติ การทําแผนปลิว ปายคําขวัญ คําเชิญชวน
แนะนําโรงเรียน สถานทีส่ ําคัญในชุมชนและ
ทองถิ่น/ประเทศชาติ การนําเสนอขอมูลขาวสาร
ในโรงเรียน ชุมชน ทองถิ่น/ประเทศชาติเปน
ภาษาอังกฤษ

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี
กษาร่
วศึวกมหลั
ษาและมั
กสูตร อาชี
ธยมศึวศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย
ธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
สาระที่ ๑ สิ่งมีชีวิตกับกระบวนการดํารงชีวิต หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย
มาตรฐาน ว ๑.๑ เขาใจหนวยพื้นฐานของสิ่งมีชีวิต ความสัมพันธของโครงสราง และหนาที่ของ 1.บูรณาการกระบวนการทาง - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบกระบวนการทางวิทยาศาสตร
ระบบตางๆ ของสิ่งมีชีวิตที่ทํางานสัมพันธกัน มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรู วิทยาศาสตรเพื่อใชในชีวิต ในการแสวงหาความรู/แกปญ  หา

เอกสารประกอบการปฏิ
และนําความรูไปใชในการดํารงชีวิตของตนเองและดูแลสิ่งมีชีวิต ประจําวัน การศึกษาและงานอาชีพ - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบกระบวนการทางวิทยาศาสตร

บัติงานการจัดการศึ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ในการทําโครงงานวิทยาศาสตร
๑. ทดลองและอธิบายการรักษาดุลยภาพของ - สารตาง ๆ เคลื่อนที่ผานเขาและออกจากเซลล ๒.บูรณาการความรูทางฟสิกสเพื่อ - แสดงความรูและปฏิบัตเิ กี่ยวกับการวัดปริมาณทางฟสิกส

บัติงกานการจั
เซลลของสิ่งมีชีวิต ตลอดเวลา เซลลจึงตองมี การรักษาดุล ยภาพ ใชในชีวิตประจําวัน การศึกษา - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องเวกเตอร
เพื่อใหรางกายของสิ่งมีชีวิตดํารงชีวิตไดตามปกติ และงานอาชีพ - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องแรง

ษาร่วมหลัดกการศึ
- แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องการเคลื่อนที่

สูตร อาชี
- เซลลมีการลําเลียงสารผานเซลลโดยวิธีการแพร การ

กษาร่
ออสโมซิส การลําเลียงแบบฟาซิลิเทต การลําเลียง - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องงาน พลังงานและกําลัง
แบบใชพลังงาน และการลําเลียงสารขนาดใหญ - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องคลื่น

วศึกวษาและมั
- สิ่ ง มี ชี วิ ต เซลล เ ดี ย วมี ก ารลํ า เลี ย งสารเกิ ด ขึ้ น - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องไฟฟา

มหลักสูธตยมศึ
ภายในเซลลเพียงหนึ่งเซลล แตสิ่งมีชีวิตหลาย - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบ เรื่องความรอน

ร อาชี
เซลลตองอาศัยการทํางานประสานกันของเซลล - แสดงความรูเรื่องนาโนเทคโนโลยี
จํานวนมาก 3.บูรณาการความรูทางเคมีเพื่อใช - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องสารและสมบัตขิ องสาร

กษาตอนปลาย
๒. ทดลองและอธิบายกลไกการรักษาดุลยภาพ - พืชมี กลไกในการรั กษาดุ ลยภาพของน้ํา โดยมี ในชีวิตประจําวัน การศึกษาและ - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบกรด เบสและเกลือ

วศึกษาและมั
ของน้ําในพืช การควบคุมสมดุลระหวางการคายน้ําผานปากใบ งานอาชีพ - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบสารประกอบไฮโดรคารบอน

(ทวิธศยมศึ
และการดูดน้ําที่ราก - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบพอลิเมอร
- การเปดปดของปากใบเปนการควบคุมอัตราการ - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบสารเคมี
คายน้ําของพืช ซึ่งชวยในการรักษาดุลยภาพของ - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบสารชีวโมเลกุล
น้ําภายในพืชใหมีความชุมชื้นในระดับที่พอเหมาะ 4. บูรณาการความรูทางชีววิทยา - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องหนวยพื้นฐานของ
๓. สืบคนขอมูลและอธิบายกลไกการควบคุม - ไตเปนอวัยวะสําคัญในการรักษาดุลยภาพของน้ํา เพื่อใชในชีวิตประจําวัน การศึกษา สิ่งมีชีวิต
ดุลยภาพของน้ํา แรธาตุ และอุณหภูมิของ และสารตาง ๆ ในรางกาย ซึ่งมีโครงสรางและ และงานอาชีพ - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องระบบตาง ๆ ของ

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
มนุษยและสัตวอื่น ๆ และนําความรูไปใช การทํางานรวมกับอวัยวะอื่น สิ่งมีชีวิต
ประโยชน - ภายในไตมีหนวยไต ของเหลวที่ผา นเขาสู - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องการจําแนกสิ่งมีชีวิต
หนวยไตสวนหนึ่งจะถูกดูดซึมกลับสูหลอดเลือด - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องพันธุกรรม
สวนที่ไมถูกดูดซึมกลับจะผานไปยังทอปสสาวะ - ประยุกตใชความรูเรื่องเทคโนโลยีชีวภาพ

191 191
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

192 192
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย
- ยูเรีย โซเดียมไอออน และคลอไรดไอออน เปน 5. บูรณาการความรูทางสิ่งแวดลอม - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องสิ่งแวดลอม
ของเสียจากกระบวนการเมแทบอลิซึม จะถูกขับ และพลังงานเพื่อใชใน- - แสดงความรูและสํารวจตรวจสอบเรื่องการอนุรักษพลังงาน
ออกจากไตไปพรอมกับปสสาวะ ชีวิตประจําวัน การศึกษาและงาน
- อะมีบาและพารามีเซียมเปนสิ่งมีชีวิตเซลลเดียว อาชีพ
ที่มีโครงสรางภายในเซลลที่เรียกวาคอนแทร็ ก
ไทลแวคิวโอลในการกําจัดน้ําและของเสียออก
จากเซลล
- ปลาน้ําจืดมีเซลลบริเวณเหงือกที่น้ําเขาสูรางกาย ได
โดยการออสโมซิ ส ส วนปลาน้ํ าเค็ มป องกั นการ
สูญเสียน้ําออกจากรางกายโดยมีผิวหนังและเกล็ดที่

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ปองกั นไม ให แร ธาตุ จากน้ําทะเลซึ มเขาสู รางกาย

ิงานการจัดการศึกษาร่
และที่ บริ เวณเหงื อกมี กลุ มเซลล ซึ่ งขั บ แร ธาตุ
สวนเกินออกโดยวิธีการลําเลียงแบบใชพลังงาน

บัติงวานการจั
- มนุษยมีกลไกในการควบคุมอุณหภูมิของรางกาย

มหลักสูดตการศึ
ให อ ยู ใ นสภาวะที่ เ หมาะสม โดยศู น ย ค วบคุ ม

ร อาชี
กษาร่
อุณหภูมิจะอยูที่สมองสวนไฮโพทาลามัส

วศึวกมหลั
- สัตวเลือดอุนสามารถรักษาอุณหภูมิของรางกาย
ใหเกื อบคงที่ไ ดในสภาวะแวดลอมตา ง ๆ สว น

ษาและมั
กสูตร อาชี
สัตวเลือดเย็น อุณหภูมิรางกายจะแปรผันตาม

ธยมศึ
อุณหภูมิของสิ่งแวดลอม
๔. อธิบายเกี่ยวกับระบบภูมิคุมกันของรางกาย - รา งกายมนุษ ย มีภู มิ คุม กัน ซึ่ งเปน กลไกในการ

วศึกกษาและมั
และนําความรูไ ปใชในการดูแลรักษาสุขภาพ ปองกันเชื้อโรคหรือสิ่งแปลกปลอมเขาสูรางกาย

ษาตอนปลาย
- ผิวหนัง เซลลเม็ดเลือดขาวและระบบน้ําเหลือง
เป นส วนสํา คั ญของรา งกายที่ ทํา หนา ที่ป องกั น
และทํา ลายเชื้ อโรคและสิ่งแปลกปลอมที่เ ขา สู

ธยมศึกษาตอนปลาย
รางกาย

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1301 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาทักษะชีวิต 1-2-2
- ระบบภูมิคุมกันมีความสําคัญยิ่งตอรางกายมนุษยการ (Science for Life Skills)
รับประทานอาหารที่ถูกสุขลักษณะ การออกกําลังกาย จุดประสงครายวิชา

เอกสารประกอบการปฏิ
การดูแลสุขอนามัย ตลอดจนการหลีกเลี่ยงสารเสพติด 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับหนวยและการวัด แรงและการเคลื่อนที่ ไฟฟา อะตอมและ

บัติงานการจัดการศึ
และพฤติ กรรมที่ เสี่ ยงทางเพศ และการได รั บวั คซี น ธาตุ สารและปฏิกิริยาเคมี การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศ
ในการป องกั นโรคต าง ๆ ครบตามกํ าหนด จะช วย 2. เพื่อใหมีทักษะเกี่ยวกับการใชเครื่องมือวัด ปริมาณทางฟสิกส การทดลองแหลงกําเนิดไฟฟา

บัติงกานการจั
เสริมสรางภูมิคุมกันและรักษาภูมิคุมกันของรางกายได วงจรไฟฟา การคํานวณคาไฟฟา การทดลองปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวันและงานอาชีพ
มาตรฐาน ว ๑.๒ เขาใจกระบวนการและความสําคัญของการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม 3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอวิชาวิทยาศาสตร และกิจนิสัยที่ดีในการทํางาน

ษาร่วมหลัดกการศึ
วิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต ความหลากหลายทางชีวภาพ การใชเทคโนโลยีชีวภาพที่มีผลกระทบตอ

สูตร อาชี
กษาร่
มนุษยและสิ่งแวดลอม มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรู สมรรถนะรายวิชา
และนําความรูไปใชประโยชน 1. แสดงความรูและปฏิบัติเกี่ยวกับปริมาณทางฟสิกส แรงและการเคลื่อนที่

วศึกวษาและมั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2. แสดงความรูและปฏิบัติเกี่ยวกับไฟฟาในชีวิตประจําวัน
3. แสดงความรูและปฏิบัติเกี่ยวกับสารเคมีและการเปลี่ยนแปลงทางเคมี

มหลักสูธตยมศึ
๑. อธิบายกระบวนการถายทอดสารพันธุกรรม - สิ่งมีชีวิตมีการถายทอดลักษณะทางพันธุกรรม

ร อาชี
การแปรผันทางพันธุกรรม มิวเทชัน และการ จากพอแมมาสูรุนลูกหลานได ซึ่งสังเกตไดจาก 4. แสดงความรูและปฏิบัติเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศ
เกิดความหลากหลายทางชีวภาพ ลักษณะที่ปรากฏ 5. แสดงความรูเบื้องตนเกี่ยวกับนาโนเทคโนโลยี

กษาตอนปลาย
- ดีเอ็นเอเปนนิวคลีโอไทดสายยาวสองสายพันกัน คําอธิบายรายวิชา

วศึกษาและมั
เป น เกลี ย วคู ว นขวา แต ล ะสายประกอบด ว ย ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร หนวยและการวัด แรงและการ

(ทวิธศยมศึ
นิ ว คลี โ อไทด นั บ ล า นหน ว ย ซึ่ ง มี โ ครงสร า ง เคลื่อนที่ ไฟฟาในชีวิตประจําวัน นาโนเทคโนโลยี โครงสรางอะตอมและตารางธาตุ พันธะเคมี
ประกอบด ว ยน้ํ า ตาลเพนโทส ไนโตรเจนเบส สารและการเปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาเคมีในชีวิตประจําวัน การรักษาดุลยภาพของสิ่งมีชีวิตและระบบนิเวศ
สี่ชนิดและหมูฟอสเฟต โดยที่ลําดับเบสของนิ
วคลีโอไทดจะมีขอมูลทางพันธุกรรมบันทึกอยู
- มิวเทชันเปนการเปลี่ยนแปลงทางพันธุกรรมใน
ระดับยีนหรือโครโมโซม ซึ่งเปนผลมาจากการ

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
เปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นกับดีเอ็นเอ โดยมิวเทชันที่
เกิดในเซลลสืบพันธุสามารถถายทอดไปสูรุนลูก
และหลานได

193 193
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

194 194
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1302 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพชางอุตสาหกรรม 1-2-2
- การแปรผันทางพันธุกรรมทําใหสิ่งมีชีวิตที่เกิ ด (Science for Industry)
ใหม มี ลั ก ษณะที่ แ ตกต า งกั น หลากหลายชนิ ด จุดประสงครายวิชา
กอใหเกิดเปนความหลากหลายทางชีวภาพ 1. เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามเข า ใจเกี่ ย วกั บ ปริ ม าณทางฟ สิ ก ส เวกเตอร แรง สมดุ ล ของวั ต ถุ
๒. สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของเทคโนโลยี - มนุษยนําความรูทางเทคโนโลยีชีวภาพดานพันธุ การเคลื่อนที่ งาน กําลัง พลังงาน คลื่น
ชีวภาพที่มีตอมนุษยและสิ่งแวดลอมและนํา วิศวกรรม การโคลนและการเพาะเลี้ยงเนื้อเยื่ อ 2. เพื่อใหมีทักษะการคํานวณ การทดลอง สามารถนําไปประยุกตใชในวิชาชีพและชีวิตประจําวัน
ความรูไปใชประโยชน มาใชในการพัฒนาใหเกิดความกาวหนาในดาน 3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอวิชาวิทยาศาสตร และกิจนิสัยที่ดีในการทํางาน
ตาง ๆ มากขึ้นและแพรหลาย
- การใช เ ทคโนโลยี ชี ว ภาพที่ ส ร า งสิ่ ง มี ชี วิ ต ใหม สมรรถนะรายวิชา
เกิดขึ้น หรือสิ่งมีชีวิตที่มีการดัดแปรพันธุกรรม 1. แสดงความรูและปฏิบัติเกี่ยวกับปริมาณทางฟสิกส แรง สมดุลของวัตถุและการเคลื่อนที่
สงผลกระทบทั้งทางดานที่เปนประโยชนและโทษ แบบตาง ๆ
2. แสดงความรูและปฏิบัตเิ กี่ยวกับหลักการทํางานของคลื่น และพลังงาน

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ตอสิ่งแวดลอม เศรษฐกิจและสังคม

ิงานการจัดการศึกษาร่
๓. สืบคนขอมูลและอภิปรายผลของความ -โลกมี ค วามหลากหลายของระบบนิ เ วศซึ่ ง มี คําอธิบายรายวิชา
หลากหลายทางชีวภาพที่มีตอมนุษยและ สิ่ ง มี ชี วิ ต อ า ศั ย อ ยู ม า ก ม า ย ห ล า ย ส ป ชี ส ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ ปริมาณทางฟสิกสและเวกเตอร แรง การรวมแรงและการแยกแรง

บัติงวานการจั
สิ่งแวดลอม สิ่งมีชีวิตสปชีสเดียวกันก็ยังมีความหลากหลาย การสมดุลของวัตถุ การเคลื่อนที่แนวเสนตรง การเคลื่อนที่แบบโปรเจคไทล การเคลื่อนที่แบบวงกลม

มหลักสูดตการศึ
ทางพันธุกรรม การเคลื่ อ นที่ แ บบฮาร โ มนิ ก อย า งง า ย งาน กํ า ลั ง และพลั ง งาน คลื่ น และสมบั ติ ข องคลื่ น

ร อาชี
กษาร่
- ความหลากหลายทางชี วภาพส งผลทํ าให มนุ ษย คลื่นแมเหล็กไฟฟา

วศึวกมหลั
และสิ่งมี ชีวิตอื่ น ๆ ได ใชประโยชน ในแงของการ
เป น อาหาร ที่ อ ยู อ าศั ย แหล ง สื บ พั น ธุ แ ละ

ษาและมั
กสูตร อาชี
ขยายพันธุ ทําใหสิ่งมีชีวิตสามารถดํารงพันธุอยูได

ธยมศึ
- สิ่งมีชีวิตที่มีความหลากหลายทางชีวภาพ มีความ
ตองการปจจัยตาง ๆ ในการดํารงชีวิตแตกตางกัน

วศึกกษาและมั
ซึ่งจะชวยรักษาสมดุลของระบบนิเวศบนโลกได

ษาตอนปลาย
๔. อธิบายกระบวนการคัดเลือกตามธรรมชาติ - สิ่ ง มี ชี วิ ต แต ล ะสป ชี ส จ ะมี ค วามหลากหลาย
และผลของการคัดเลือกตามธรรมชาติตอ ที่แตกตางกัน สิ่งมีชีวิตในสปชีสเดียวกันจะผสม
ความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต พันธุและสืบลูกหลานตอไปได

ธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1303 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพธุรกิจและบริการ 1-2-2
- การคัดเลือกตามธรรมชาติจะสงผลทําใหลักษณะ (Science for Business and Services)
พันธุกรรมของประชากรในกลุมยอยแตละกลุม จุดประสงครายวิชา

เอกสารประกอบการปฏิ
แตกตางกันไปจนกลายเปน สปชีสใหมทําใหเกิด 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับพันธุกรรม ความหลากหลายทางชีวภาพ เทคโนโลยีชีวภาพ

บัติงานการจัดการศึ
เปนความหลากหลายของสิ่งมีชีวิต จุลินทรียในอาหาร ปโตรเลียมและผลิตภัณฑ ยางและพอลิเมอร สารชีวโมเลกุลในอาหาร คลื่น
สาระที่ ๒ ชีวิตกับสิ่งแวดลอม แมเหล็กไฟฟา พลังงานนิวเคลียร

บัติงกานการจั
มาตรฐาน ว ๒.๑ เขาใจสิ่งแวดลอมในทองถิ่น ความสัมพันธระหวางสิ่งแวดลอมกับสิ่งมีชีวิต 2. เพื่ อให มีทั ก ษะการคํา นวณหาโอกาสของลั ก ษณะการถ า ยทอดทางพั นธุ ก รรม การจํ าแนก
ความสัมพันธระหวางสิ่งมีชีวิตตาง ๆ ในระบบนิเวศ มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา สิ่งมีชีวิต การทดลองจุลินทรียในอาหาร การเลือกใชเทคโนโลยีชีวภาพ การทดลองสมบัติของ

ษาร่วมหลัดกการศึ
สูตร อาชี
ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน สารไฮโดรคารบอน การทดสอบสมบัติทางกายภาพของพอลิเมอร การทดสอบสารชีวโมเลกุล

กษาร่
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ในอาหาร การวิเคราะหผลของคลื่นแมเหล็กไฟฟาตอมนุษย และพลังงานนิวเคลียร
๑. อธิบายดุลยภาพของระบบนิเวศ - ระบบนิ เ วศในธรรมชาติ จ ะมี ค วามสมดุ ล ได 3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอวิชาวิทยาศาสตรและกิจนิสัยที่ดีในการทํางาน

วศึกวษาและมั
ก็ตอเมื่อมีสภาพแวดลอมตาง ๆ ที่เอื้ออํานวยตอ
สมรรถนะรายวิชา

มหลักสูธตยมศึ
การดํารงชีวิตของสิ่งมีชีวิตชนิดตาง ๆ ในระบบ

ร อาชี
1. แสดงความรูและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการทางพันธุกรรม เทคโนโลยีชีว ภาพและจุลินทรียใน
นิเวศ จนทําใหเกิดความหลากหลายของระบบ
อาหาร
นิเวศบนโลก
2. แสดงความรูและปฏิบัติเกี่ยวกับปโตรเคมีและผลิตภัณฑ

กษาตอนปลาย
๒. อธิบายกระบวนการเปลีย่ นแปลงแทนที่ของ - ระบบนิเวศในโลกที่มีความหลากหลาย มีการ

วศึกษาและมั
3. แสดงความรูและปฏิบัติเกี่ยวกับสารชีวโมเลกุลของอาหาร
สิ่งมีชีวิต เปลี่ยนแปลงตาง ๆ เกิดขึ้นอยูตลอดเวลา ไมวา
4. แสดงความรูและปฏิบัติเกี่ยวกับคลื่นแมเหล็กไฟฟา

(ทวิธศยมศึ
จะเปนการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นตามธรรมชาติ
5. แสดงความรูและปฏิบัติเกี่ยวกับหลักการของพลังงานนิวเคลียร
หรื อ การเปลี่ ย นแปลงที่ เ กิ ด จากมนุ ษ ย เ ป น
ผูกระทํา การเปลี่ยนแปลงเหลานี้อาจสงผลทําให คําอธิบายรายวิชา
ระบบนิเวศเสียสมดุลได ศึก ษาและปฏิบั ติ เ กี่ย วกั บ การถ า ยทอดลั กษณะทางพั น ธุก รรม ความหลากหลายทางชี ว ภาพ
- เ มื่ อ ร ะ บ บ นิ เ ว ศ เ สี ย ส ม ดุ ล จ ะ เ กิ ด ก า ร เทคโนโลยีชีวภาพ จุลินทรียในอาหาร ปโตรเลียมและผลิตภัณฑ ยางและพอลิเมอร สารชีวโมเลกุล
เปลี่ยนแปลง แทนที่เกิดขึ้นในระบบนิเวศนั้น ในอาหาร คลื่นแมเหล็กไฟฟา พลังงานนิวเคลียรตอการดํารงชีวิต

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
การเปลี่ยนแปลงสภาพทางธรรมชาติของระบบ
นิเวศยอมสงผลทําใหเกิดการเปลี่ยนแปลงแทนที่
ของสิ่งมีชีวิตในระบบนิเวศนั้นดวย

195 195
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

196 196
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1304 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพศิลปกรรม 1-2-2
๓. อธิบายความสําคัญของความหลากหลายทาง - ความหลากหลายทางชีวภาพมีความสําคัญตอ (Science for Arts)
ชีวภาพ และเสนอแนะแนวทางในการดูแล สิ่งมีชีวิต สิ่งมีชีวิตทุกชนิดมีความสําคัญตอระบบ จุดประสงครายวิชา
และรักษา นิเวศ ถาสิ่งมีชีวิตชนิดใดชนิดหนึ่งถูกทําลายหรือ 1. เพื่อ ใหมี ความรู ความเขาใจเกี่ ยวกับสารเคมี ในงานอาชี พ พอลิเ มอร แสงและการมองเห็ น
สูญหายไปก็จะสงผลกระทบตอความหลากหลาย ความรอน
ของสิ่งมีชีวิตอื่น ๆ ในระบบนิเวศดวย 2. เพื่ อ ให มี ทั ก ษะเกี่ ย วกั บ การทดลองเรื่ อ งสารละลาย การทดสอบสมบั ติ ท างกายภาพของ
- ความหลากหลายทางชี ว ภาพของระบบนิ เ วศ พอลิเมอร การทดลองสมบัติของคลื่นแสง และผลของความรอนตอวัตถุ
หนึ่งยังอาจเกื้อกูลตอระบบนิเวศอื่น ๆ ไดดวย 3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอวิชาวิทยาศาสตร และกิจนิสัยที่ดีในการทํางาน
- ความหลากหลายทางชีวภาพมีความสําคัญต อ
มนุษย มนุษยใชประโยชนจากความหลากหลาย สมรรถนะรายวิชา
ทางชี ว ภาพมากมาย การใช ที่ ข าดความ 1. แสดงความรูและปฏิบัตเิ กี่ยวกับสารเคมีในงานอาชีพ
2. แสดงความรูและปฏิบัตเิ กี่ยวกับหลักการของแสงและความรอน

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ระมัดระวังอาจสงผลกระทบตอความหลากหลาย

ิงานการจัดการศึกษาร่
ทางชีวภาพได ซึ่งทุกคนควรมีสวนรวมในการ คําอธิบายรายวิชา
ดูแลและรักษา ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ สารละลาย คอลลอยดอีมัลชั่น สารเคมีในงานอาชีพ พอลิเมอร การ

บัติงวานการจั
มาตรฐาน ว ๒.๒ เขาใจความสําคัญของทรัพยากรธรรมชาติ การใชทรัพยากรธรรมชาติในระดับ เลือกใชผลิตภัณฑพอลิเมอร แสงและการมองเห็น ความรอน อุณหภูมิและผลของความรอนตอวัตถุ

มหลักสูดตการศึ
ทองถิ่น ประเทศ และโลกนําความรูไปใชในในการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ และสิ่งแวดลอมใน

ร อาชี
กษาร่
ทองถิ่นอยางยั่งยืน

วศึวกมหลั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. วิเคราะหสภาพปญหา สาเหตุของปญหา - ความสัมพันธซึ่งกันและกันระหวางสิ่งมีชีวิตกับ

ษาและมั
กสูตร อาชี
สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติในระดับ สิ่ ง แวดล อ มหรื อ ระหว า งสิ่ ง มี ชี วิ ต กั บ สิ่ งมี ชีวิ ต

ธยมศึ
ทองถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก ดว ยกั น มี ค วามสั ม พั น ธ กั น หลายระดั บ ตั้ ง แต
ระดับทองถิ่น ระดับประเทศ และระดับโลก

วศึกกษาและมั
- การเพิ่มขึ้นของประชากรมนุษยสงผลใหมีการใช

ษาตอนปลาย
ทรั พ ยากรธรรมชาติ เ พิ่ ม ขึ้ น ทํ า ให ท รั พ ยากร
ธรรมชาติลดจํานวนลง และเกิดปญหามลพิษ
ทางดานตาง ๆ ตามมา

ธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1305 วิทยาศาสตรเพื่อพัฒนาอาชีพเกษตรกรรม
- ป ญ หามลพิ ษ ที่ เ กิ ด ขึ้ น มี ด ว ยกั น หลายสาเหตุ (Science for Agriculture)
บางปญหามีผลกระทบเกิดขึ้นในระดับทองถิ่ น จุดประสงครายวิชา

เอกสารประกอบการปฏิ
บางปญหาสงผลกระทบระดับประเทศ และบาง 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับโครงสราง หนาที่ ของเซลลพืช เซลลสัตว ระบบตาง ๆ ของ

บัติงานการจัดการศึ
ปญหามีความรุนแรงจนเปนปญหาระดับโลก พื ช และสั ต ว การถ า ยทอดลั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรม ความหลากหลายทางชี ว ภาพ
๒. อภิปรายแนวทางในการปองกัน แกไข ปญหา - การใช ทรั พยากรธรรมชาติต าง ๆ ที่ มีอ ยูอ ยา ง เทคโนโลยีชีวภาพ และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

บัติงกานการจั
สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ จํ า กั ด จํ า เป น ต อ งใช ด ว ยความระมั ด ระวั ง และ 2. เพื่อใหมีทักษะเกี่ยวกับ โครงสราง และองคประกอบของเซลลพืช เซลลสัตว ทดลองเกี่ยวกับ
ไมใหเกิดผลกระทบตอสิ่งแวดลอม โครงสร า ง องค ป ระกอบ และการทํ า งานของอวั ย วะของระบบต า งๆ ของพื ช และสั ต ว

ษาร่วมหลัดกการศึ
- สิ่ง แวดล อมที่ อยู ใ นสภาพเสื่อ มโทรม หรือ เกิ ด คํานวณหาโอกาสของลักษณะการถายทอดทางพันธุกรรม และการจําแนกสิ่งมีชีวิต

สูตร อาชี
กษาร่
เปนมลพิษที่เปนผลเนื่องมาจากการใชทรัพยากร 3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอวิชาวิทยาศาสตรและกิจนิสัยที่ดีในการทํางาน
ธรรมชาติ ตองหาแนวทางในการปองกัน แกไข สมรรถนะรายวิชา

วศึกวษาและมั
ฟนฟูใหกลับมีสภาพที่สามารถใชการได 1. แ

มหลักสูธตยมศึ
๓. วางแผนและดําเนินการเฝาระวัง อนุรักษและ - สิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติควรตองมี สดงความรู และปฏิบัติเกี่ยวกับ เซลล พันธุกรรม และวิวัฒนาการของสิ่งมีชีวิต

ร อาชี
พัฒนาสิ่งแวดลอมและทรัพยากรธรรมชาติ การเฝาระวัง อนุรักษและพัฒนา ซึ่งทุกคนควร 2. แ
รวมกันปฏิบัติ เพื่อใหเกิดการใชประโยชนอยาง สดงความรูและปฏิบัติเกี่ยวกับองคประกอบ และการทํางานของอวัยวะของระบบตาง ๆ ของ

กษาตอนปลาย
ยั่งยืน พื ชและสัตว คํานวณหาโอกาสของลักษณะการถายทอดทางพันธุกรรม และจําแนกสิ่งมีชีวิต

วศึกษาและมั
สาระที่ ๓ สารและสมบัติของสาร คําอธิบายรายวิชา

(ทวิธศยมศึ
มาตรฐาน ว ๓.๑ เขาใจสมบัตขิ องสาร ความสัมพันธระหวางสมบัติของสารกับโครงสรางและแรง ศึกษาและปฏิบัติเกี่ยวกับ โครงสราง หนาที่ องคประกอบของเซลลพืช เซลลสัตว ระบบตาง ๆ ของ
ยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่ พื ชและสั ต ว แ ละการทํ า งาน การถ า ยทอดลั ก ษณะทางพั น ธุ ก รรม ความหลากหลายทางชี ว ภาพ
เรียนรู นําความรูไปใชประโยชน เทคโนโลยีชีวภาพและวิวฒ ั นาการของสิ่งมีชีวิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. สืบคนขอมูลและอธิบายโครงสรางอะตอม - นักวิทยาศาสตรใชขอมูลจากการศึกษาโครงสราง
และสัญลักษณนิวเคลียรของธาตุ อะตอม สรางแบบจําลองอะตอมแบบตาง ๆ ที่มี

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
พัฒนาการอยางตอเนื่อง

197 197
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

198 198
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1306 โครงงานวิทยาศาสตร
- อะตอมประกอบด ว ยอนุ ภ าคมู ล ฐานสํ า คั ญ ๓ (Science Project)
ชนิ ด คื อ โปรตอน นิ ว ตรอน และอิ เ ล็ ก ตรอน จุดประสงครายวิชา
จํานวนโปรตอนในนิวเคลียสเรียกวา เลขอะตอม 1. เพื่ อใหมี ความรูแ ละความเขา ใจเกี่ ย วกั บ ทัก ษะกระบวนการทางวิ ทยาศาสตร วิธี การทาง
ผลรวมของจํานวนโปรตอนกับนิวตรอนเรียกวา วิทยาศาสตร และขั้นตอนการทํางานโครงงานวิทยาศาสตร
เลขมวล ตั ว เลขทั้ ง สองนี้ จ ะปรากฎอยู ใ น 2. เพื่อใหมีทักษะเกี่ยวกับ ทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร วิธีการทางวิทยาศาสตร และ
สัญลักษณนิวเคลียรของไอโซโทปตาง ๆ ของธาตุ ขั้นตอนการทําโครงงานวิทยาศาสตร
๒. วิเคราะหและอธิบายการจัดเรียงอิเล็กตรอน - อิเล็กตรอนในอะตอมของธาตุจะจัดเรียงอยูใน 3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอวิชาวิทยาศาสตร และกิจนิสัยที่ดีในการทํางาน
ในอะตอม ความสัมพันธระหวางอิเล็กตรอน ระดับพลังงานตาง ๆ และในแตละระดับพลังงาน สมรรถนะรายวิชา
ในระดับพลังงานนอกสุดกับสมบัตขิ องธาตุ จะมีจํานวนอิเล็กตรอนเปนคาเฉพาะ 1. แสดงความรูและปฏิบัตเิ กี่ยวกับหลักการ กระบวนการทางวิทยาศาสตร
และการเกิดปฏิกิริยา - อิ เ ล็ ก ตรอนในระดั บ พลั ง งานนอกสุ ด จะแสดง 2. แสดงความรูและปฏิบัติขั้นตอนการทําโครงงานวิทยาศาสตร

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
สมบั ติ บางประการของธาตุ เช น ความเป นโลหะ คําอธิบายรายวิชา

ิงานการจัดการศึกษาร่
อโลหะ และเกี่ยวของกับการเกิดปฏิกิริยาของธาตุนั้น ปฏิบัติเกี่ยวกับทักษะกระบวนการทางวิทยาศาสตร วิธีการทางวิทยาศาสตร และขั้นตอนการทํา
๓. อธิบายการจัดเรียงธาตุและทํานายแนวโนม - ตารางธาตุปจจุบัน จัดเรียงธาตุตามเลขอะตอม โครงงานวิทยาศาสตร
สมบัติของธาตุในตารางธาตุ และอาศั ย สมบั ติ ที่ ค ล า ยกั น ทํ า ให ส ามารถ
ทํานายแนวโนมสมบัติของธาตุในตารางธาตุได
๔. วิเคราะหและอธิบายการเกิดพันธะเคมีใน - แรงยึ ดเหนี่ ยวระหวา งไอออนหรืออะตอมของ
โครงผลึกและในโมเลกุลของสาร ธาตุ ใ ห อ ยู ร วมกั น เป น โครงผลึ ก หรื อ โมเลกุ ล
เรียกวา พันธะเคมี
- พันธะเคมีแบงออกเปน พันธะไอออนิก พันธะ
โคเวเลนต และพันธะโลหะ
๕. สืบคนขอมูลและอธิบายความสัมพันธระหวาง - จุดเดือด จุดหลอมเหลวและสถานะของสาร มี
จุดเดือด จุดหลอมเหลว และสถานะของสาร ความเกี่ยวของกับแรงยึดเหนี่ยวระหวางอนุภาค
กับแรงยึดเหนีย่ วระหวางอนุภาคของสาร ของสารนั้น สารที่อนุภาคยึดเหนี่ยวกันดวยแรง
ยึดเหนี่ยวหรือพันธะเคมีที่แข็งแรง จะมีจุดเดือด
และจุด หลอมเหลวสู ง สารในสถานะของแข็ ง
อนุภาคยึดเหนี่ยวกันดวยแรงที่แข็งแรงกวาสาร

วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


ในสถานะของเหลวและแกสตามลําดับ

บัติงานการจัดการศึกษาร่วมหลักสูตร อาชีวศึกษาและมัธยมศึกษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
มาตรฐาน ว ๓.๒ เขาใจหลักการและธรรมชาติของการเปลี่ยนแปลงสถานะของสาร การเกิด
สารละลาย การเกิดปฏิกริ ิยา มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่
เรียนรู และนําความรูไปใชประโยชน

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

บัติงานการจัดการศึ
๑. ทดลอง อธิบายและเขียนสมการของปฏิกิริยา - ในชีวิตประจําวันจะพบเห็นปฏิกิริยาเคมีจํานวน
เคมีทั่วไปที่พบในชีวิตประจําวัน รวมทั้ง มาก ทั้ ง ที่ เ กิ ด ในธรรมชาติ แ ละมนุ ษ ย เ ป น

บัติงกานการจั
อธิบายผลของสารเคมีที่มีตอสิ่งมีชีวิตและ ผูกระทํา ปฏิกิริยาเคมีเขียนแทนไดดวยสมการเคมี
สิ่งแวดลอม -มนุ ษ ย นํ า สารเคมี ม าใช ป ระโยชน ทั้ ง ในบ า น

ษาร่วมหลัดกการศึ
ในทางการเกษตรและอุตสาหกรรม แตสารเคมี

สูตร อาชี
กษาร่
บางชนิดเปนอันตรายตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
๒. ทดลองและอธิบายอัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี - ป ริ ม า ณ ข อ ง ส า ร ตั้ ง ต น ห รื อ ผ ลิ ต ภั ณ ฑ ที่

วศึกวษาและมั
ปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกริ ิยาเคมี เปลี่ยนแปลงไปตอหนวยเวลาเรียกวาอัตราการ

มหลักสูธตยมศึ
และนําความรูไ ปใชประโยชน เกิ ด ปฏิ กิ ริ ย าเคมี และปริ ม าณของสารที่

ร อาชี
เปลี่ยนแปลงไปนั้น อาจวัดจากคาความเขมขน
ปริมาตร หรือมวลของสาร ซึ่งขึ้นอยูกับลักษณะ

กษาตอนปลาย
ของสาร

วศึกษาและมั
- ความเขมขน พื้นที่ผิว อุณหภูมิ ตัวเรงปฏิกิริยา

(ทวิธศยมศึ
เปนปจจัยที่มีผลตออัตราการเกิดปฏิกิริยาเคมี
การควบคุ ม ป จ จั ย เหล า นี้ เ พื่ อ ทํ า ให ป ฏิ กิ ริ ย า
เกิดขึ้นในอัตราที่เหมาะสม สามารถนํามาใชให
เปนประโยชนได
๓. สืบคนขอมูลและอธิบายการเกิดปโตรเลียม - การสลายตัวของซากพืชและซากสัตวที่ทับถมอยู
กระบวนการแยกแกสธรรมชาติ และการกลั่น ใตทะเลอยางตอเนื่องภายใตอุณหภูมิและความ

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
ลําดับสวนน้ํามันดิบ ดันสูงนานนับลานป จะเกิดเปนปโตรเลียม โดย
มีไดทั้งสถานะของแข็ง ของเหลวหรือแกส ซึ่งมี
สารประกอบไฮโดรคารบอนหลายชนิดรวมกัน
และอาจมีสารประกอบอื่น ๆ ปะปนอยูดวย

199 199
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

200 200
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
- การนําแกสธรรมชาติมาใชประโยชนจะตองผาน
กระบวนการแยกแก ส ส ว นของเหลวหรื อ
น้ํามันดิบจะแยกโดยการกลั่นลําดับสวน
๔. สืบคนขอมูลและอภิปรายการนําผลิตภัณฑ - มีเทน อีเทน โพรเพนและบิวเทน เปนผลิตภัณฑ
ที่ไดจากการแยกแกสธรรมชาติและการกลั่น ที่ไดจากการแยกแกสธรรมชาติและกลั่นลําดับ
ลําดับสวนน้ํามันดิบไปใชประโยชน รวมทั้งผล ส ว นน้ํ า มั น ดิ บ นํ า มาใช เ ป น เชื้ อ เพลิ ง และสาร
ของผลิตภัณฑตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ตั้งตน สวนผลิตภั ณฑอื่นๆ ซึ่งมีจํานวนอะตอม
คารบอนเพิ่มขึ้น นําไปใชประโยชนแตกตางกัน
- การสัมผัสตัวทําละลายและไฮโดรคารบอนบาง
ชนิ ด ในรู ป ของไอและของที่ ใ ช แ ล ว อาจเป น

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
อันตรายตอสุขภาพได รวมถึงการกําจัดอยาง

ิงานการจัดการศึกษาร่
ไมถูกวิธีก็จะมีผลตอสิ่งแวดลอมดวย
๕. ทดลองและอธิบายการเกิดพอลิเมอร สมบัติ - พอลิเมอรเปนสารประกอบที่โมเลกุลมีขนาดใหญ

บัติงวานการจั
ของพอลิเมอร เกิดจากมอนอเมอรจํานวนมากเชื่อมตอกันดวย

มหลักสูดตการศึ
พั น ธะโคเวเลนต มี ทั้ ง ที่ เ กิ ด ในธรรมชาติ แ ละ

ร อาชี
กษาร่
สังเคราะหขึ้น

วศึวกมหลั
- ปฏิ กิ ริ ย าที่ ม อนอเมอร ร วมกั น เป น พอลิ เ มอร
เรียกวา ปฏิกิริยาพอลิเ มอไรเซชัน ซึ่งอาจเป น

ษาและมั
กสูตร อาชี
แบบควบแนน หรือแบบตอเติม

ธยมศึ
- พอลิเมอรมีห ลายชนิด แต ละชนิ ดอาจมีสมบั ติ
บางประการเหมือนกันและบางประการแตกตาง

วศึกกษาและมั
กัน

ษาตอนปลาย
๖. อภิปรายการนําพอลิเมอรไปใชประโยชน - พอลิเมอรนําไปใชประโยชนไดแตกตางกัน ตาม
รวมทั้งผลที่เกิดจากการผลิตและใชพอลิเมอร สมบัติของพอลิเมอรชนิดนั้นๆ เชน ใชพลาสติก
ตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ทําภาชนะ ใชเสนใยสังเคราะหทําเครื่องนุงหม

ธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
- พอลิ เ มอร สั ง เคราะห ที่ นํ า ไปใช ป ระโยชน ใ น
ชีวิ ต ประจํ า วัน บางชนิ ดสลายตั ว ยาก การใช

เอกสารประกอบการปฏิ
อยางฟุมเฟอยและไมระมัดระวังอาจกอให เกิด

บัติงานการจัดการศึ
ปญหาตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอมได
๗. ทดลองและอธิบายองคประกอบ ประโยชน - คารโบไฮเดรตจัดเปนแหลงพลังงานของสิ่งมีชีวิต

บัติงกานการจั
และปฏิกริ ิยา บางชนิดของคารโบไฮเดรต พบไดทั่วไปในชีวิตประจําวัน เชน น้ําตาล แปง
เซลลูโลสและไกลโคเจน โดยมีน้ําตาลเปนหนวย

ษาร่วมหลัดกการศึ
ยอยสําคัญ ซึ่งประกอบดวยธาตุ C H และ O

สูตร อาชี
กษาร่
การตรวจสอบชนิ ด ของน้ํ า ตาลทํ า ได โ ดยใช
สารละลายเบเนดิกต

วศึกวษาและมั
๘. ทดลองและอธิบายองคประกอบ ประโยชน - ไขมันและน้ํามัน เปนสารประกอบไตรกลีเซอไรด

มหลักสูธตยมศึ
และปฏิกริ ิยาบางชนิดของไขมันและน้ํามัน เกิดจากการรวมตัวของกรดไขมันกับกลีเซอรอล

ร อาชี
กรดไขมั น มี ทั้ ง ชนิ ด อิ่ ม ตั ว และไม อิ่ ม ตั ว ซึ่ ง
สามารถตรวจสอบไดโดยใชสารละลายไอโอดีน

กษาตอนปลาย
- ไขมั น และน้ํ า มั น นํ า มาใช ป ระโยชน ไ ด ทั้ ง การ

วศึกษาและมั
บริโภคและใชในอุตสาหกรรม การบริโภคไขมันที่
ขาดความระมัดระวังจะเปนอันตรายตอสุขภาพได

(ทวิธศยมศึ
๙. ทดลองและอธิบายองคประกอบ ประโยชน - โปรตี น เป น สารที่ ช ว ยในการเจริ ญ เติ บ โต
และปฏิกริ ิยาบางชนิดของโปรตีน และกรด เสริมสรางและซอมแซมเนื้อเยื่อ หนวยยอยของ
นิวคลีอิก โปรตีนคือกรดอะมิโนซึ่งมีทั้งกรดอะมิโนจําเปน
และไมจําเปน มีธาตุองคประกอบสําคัญคือ C
H O N การทดสอบโปรตีนในอาหารใช
สารละลาย CuSO4 กับ NaOH

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
- กรดนิวคลีอิกเปนสารโมเลกุลใหญคลายโปรตีน
ประกอบดวย ธาตุ C H O N ที่พบในเซลล
ของสิ่งมีชีวิต มี ๒ ชนิด คือ DNA และ RNA ซึ่ง

201
เกี่ยวของกับกระบวนการถายทอดทางพันธุกรรม

201
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

202 202
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.
สาระที่ ๔ แรงและการเคลื่อนที่
มาตรฐาน ว ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของแรงแมเหล็กไฟฟา แรงโนมถวง และแรงนิวเคลียร
มีกระบวนการสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไ ปใชประโยชนอยางถูกตองและ
มีคุณธรรม
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางแรง - ในสนามโนมถวงจะมีแรงกระทําตอวัตถุ ทําให
กับการเคลื่อนที่ของวัตถุในสนามโนมถวง และ วัตถุมีน้ําหนัก เมื่อปลอยวัตถุ วัตถุจะตกแบบเสรี
นําความรูไ ปใชประโยชน สนามโนมถวงทําใหวัตถุตางๆ ไมหลุดจากโลก
เชน การโคจรของดาวเทียมรอบโลก และอาจใช
แรงโน มถ วงไปใชป ระโยชนเ พื่อ หาแนวดิ่ง ของ
ชางกอสราง

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
๒. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางแรง - เมื่ออนุภาคที่มีประจุไฟฟาอยูในสนามไฟฟา จะมี

ิงานการจัดการศึกษาร่
กับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามไฟฟา แรงกระทําตออนุภาคนั้น ซึ่งอาจทําใหสภาพการ

บัติงวานการจั
และนําความรูไ ปใชประโยชน เคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป สามารถนําสมบัติ
นี้ไปประยุกตสรางเครื่องมือบางชนิด เชน เครื่อง

มหลักสูดตการศึ
ร อาชี
กําจัดฝุน ออสซิลโลสโคป

กษาร่
๓. ทดลองและอธิบายความสัมพันธระหวางแรง - เมื่ อ อนุ ภ าคที่ มี ป ระจุ ไ ฟฟ า เคลื่ อ นที่ ใ นสนาม

วศึวกมหลั
กับการเคลื่อนที่ของอนุภาคในสนามแมเหล็ก แมเหล็ก จะมี แรงกระทําตออนุภาคนั้น ซึ่งอาจ

ษาและมั
และนําความรูไ ปใชประโยชน ทําใหสภาพการเคลื่อนที่ของอนุภาคเปลี่ยนไป

กสูตร อาชี
สามารถนําสมบัตินี้ไปประยุกตสรางหลอดภาพ

ธยมศึ
โทรทัศน
๔. วิเคราะหและอธิบายแรงนิวเคลียรและแรง - อนุภาคในนิวเคลียส เรียกวา นิวคลีออน นิวคลี-

วศึกกษาและมั
ไฟฟาระหวางอนุภาคในนิวเคลียส ออนประกอบดวยโปรตอนและนิวตรอน นิวคลี -

ษาตอนปลาย
ออนในนิวเคลียสยึดเหนี่ยวกันดวยแรงนิวเคลียร
ซึ่ ง มี ค า มากกว า แรงผลั ก ทางไฟฟ า ระหว า ง
นิวคลีออน นิวคลีออนจึงอยูรวมกันในนิวเคลียสได

ธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
มาตรฐาน ว ๔.๒ เขาใจลักษณะการเคลื่อนที่แบบตางๆ ของวัตถุในธรรมชาติ มีกระบวนการ
สืบเสาะหาความรูและจิตวิทยาศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

เอกสารประกอบการปฏิ
๑. อธิบายและทดลองความสัมพันธระหวางการ - การเคลื่อนที่แนวตรงเปนการเคลื่อนที่ในแนวใด

บัติงานการจัดการศึ
กระจัด เวลา ความเร็ว ความเรงของการ แนวหนึ่ ง เช น แนวราบหรื อ แนวดิ่ ง ที่ มี ก าร
เคลื่อนที่ในแนวตรง กระจัด ความเร็ว ความเรง อยูในแนวเสนตรง

บัติงกานการจั
เดี ย วกั น โดยความเร ง ของวั ต ถุ ห าได จ าก
ความเร็วที่เปลี่ยนไปในหนึ่งหนวยเวลา

ษาร่วมหลัดกการศึ
๒. สังเกตและอธิบายการเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล - การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลเปนการเคลื่อนที่

สูตร อาชี
กษาร่
แบบวงกลม และแบบฮารมอนิกอยางงาย วิถีโคงที่มีความเร็วในแนวราบคงตัวและความเรง
ในแนวดิ่งคงตัว

วศึกวษาและมั
- การเคลื่อนที่แบบวงกลมปนการเคลื่อนที่ที่มี

มหลักสูธตยมศึ
ความเร็วในแนวเสนสัมผัสวงกลมและมีแรง

ร อาชี
ในทิศทางเขาสูศูนยกลาง
- การเคลื่อนที่แบบฮารมอนิกอยางงายเปนการ

กษาตอนปลาย
เคลื่อนที่กลับไปกลับมาซ้ําทางเดิม เชน การ

วศึกษาและมั
แกวงของลูกตุมอยางงาย โดยที่มมุ สูงสุดที่เบน

(ทวิธศยมศึ
จากแนวดิ่งมีคาคงตัวตลอด
๓. อภิปรายผลการสืบคนและประโยชนเกี่ยวกับ - การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทลสามารถนําไปใช
การเคลื่อนที่แบบโพรเจกไทล แบบวงกลม ประโยชน เชน การเลนเทนนิส บาสเกตบอล
และแบบฮารมอนิกอยางงาย - การเคลื่ อ นที่ แ บบวงกลมสามารถนํ า ไปใช
ประโยชน เชน การวิ่งทางโคงของรถยนตให
ปลอดภัย

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
- การเคลื่ อนที่แบบฮารม อนิก อย างง ายสามารถ
นําไปใชประโยชนในการสรางนาฬิกาแบบลูกตุม

203 203
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

204 204
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.
สาระที่ ๕ พลังงาน
มาตรฐาน ว ๕.๑ เขาใจความสัมพันธระหวางพลังงานกับการดํารงชีวิต การเปลี่ยนรูปพลังงาน
ปฏิสัมพันธระหวางสารและพลังงาน ผลของการใชพลังงานตอชีวิตและสิ่งแวดลอม มีกระบวน
การสืบเสาะหาความรู สื่อสารสิง่ ที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. ทดลองและอธิบายสมบัติของคลื่นกล และ - คลื่ น กลมี ส มบั ติ การสะท อ น การหั ก เห การ
อธิบายความสัมพันธระหวาง อัตราเร็ว แทรกสอด และการเลี้ยวเบน
ความถี่และความยาวคลื่น - อัตราเร็ว ความถี่และความยาวคลืน่ มี
ความสัมพันธกันดังนี้
อัตราเร็ว = ความถี่ u ความยาวคลื่น
๒. อธิบายการเกิดคลื่นเสียงบีตสของเสียง ความ - คลื่นเสียงเกิดจากการสั่นของแหลงกําเนิดเสียง

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
เขมเสียง ระดับความเขมเสียง การไดยินเสียง - บีตสของเสียงเกิดจากคลื่นเสียงจากแหลงกําเนิด

ิงานการจัดการศึกษาร่
คุณภาพเสียง และนําความรูไปใชประโยชน สองแหลงที่มี ความถี่ตางกันเล็กนอย มารวมกัน

บัติงวานการจั
ทําใหไดยินเสียงดังคอยเปนจังหวะ
- ความเขมเสียง คือ พลังงานเสียงที่ตกตั้งฉากบน

มหลักสูดตการศึ
ร อาชี
หนึ่งหนวยพื้นที่ในหนึ่งหนวยเวลา

กษาร่
- ระดับความเขมเสียงจะบอกความดังคอยของ

วศึวกมหลั
เสียงที่ไดยิน

ษาและมั
- เครื่องดนตรีแตละชนิดที่ใชตัวโนตเดียวกัน จะให

กสูตร อาชี
รูปคลื่นที่แตกตางกัน เรียกวามีคณ ุ ภาพเสียง

ธยมศึ
ตางกัน
๓. อภิปรายผลการสืบคนขอมูลเกีย่ วกับมลพิษ - มลพิษทางเสียงมีผลตอสุขภาพของมนุษย ถาฟง

วศึกกษาและมั
ทางเสียงที่มีตอสุขภาพของมนุษย และการ เสีย งที่ มีร ะดั บความเขมเสีย งสู งกวา มาตรฐาน

ษาตอนปลาย
เสนอวิธีปองกัน เปนเวลานาน อาจกอใหเกิด อันตรายตอการได
ยิ น และสภาพจิ ต ใจได การป อ งกั น โดยการ
หลี กเลี่ย งหรือ ใชเ ครื่ องครอบหู หรื อลดการสั่ น

ธยมศึกษาตอนปลาย
ของแหลงกําเนิดเสียง เชน เครื่องจักร

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๔. อธิบายคลื่นแมเหล็กไฟฟา สเปกตรัมคลื่น - คลื่นแมเหล็กไฟฟาประกอบดวยสนามแมเหล็ก
แมเหล็กไฟฟา และนําเสนอผลการสืบคน และสนามไฟฟ า ที่ เ ปลี่ ย นแปลงตลอดเวลา

เอกสารประกอบการปฏิ
ขอมูลเกี่ยวกับประโยชน และการปองกัน สเปกตรัมคลื่นแมเหล็กไฟฟามีความถี่ตอเนื่องกัน

บัติงานการจัดการศึ
อันตรายจากคลื่นแมเหล็กไฟฟา โดยคลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า ช ว งความถี่ ต า งๆ มี
ลักษณะเฉพาะตัว ซึ่งสามารถนําไปใชประโยชน

บัติงกานการจั
ไดแตกตางกัน เชน การรับสงวิทยุ โทรทัศน การ
ป อ งกั น อั น ตรายจากคลื่ น แม เ หล็ ก ไฟฟ า เช น

ษาร่วมหลัดกการศึ
ไมอยูใกลเตาไมโครเวฟขณะเตาทํางาน

สูตร อาชี
กษาร่
๕. อธิบายปฏิกิริยานิวเคลียร ฟชชัน ฟวชัน และ - ปฏิกิริยานิวเคลียรเปนปฏิกิริยาที่ทําใหนิวเคลียส
ความสัมพันธระหวางมวลกับพลังงาน เกิดการเปลี่ยนแปลง ปฏิกิริยาที่นิวเคลียสของ

วศึกวษาและมั
ธาตุ ที่ มี เ ลขมวลมากแตกตั ว เรี ย กว า ฟ ช ชั น

มหลักสูธตยมศึ
ปฏิกิริยาที่เกิดจากการหลอมรวมนิวเคลียสของ

ร อาชี
ธ า ตุ ที่ มี เ ล ข ม ว ล น อ ย เ รี ย ก ว า ฟ ว ชั น
ความสั มพันธ ระหวา งมวลและพลั งงานเปนไป
2

กษาตอนปลาย
ตามสมการ E mc

วศึกษาและมั
๖. สืบคนขอมูลเกีย่ วกับพลังงานทีไ่ ดจากปฏิกริ ิยา - ปฏิ กิ ริ ย านิ ว เคลี ย ร ทํ า ให เ กิ ด ผลกระทบต อ

(ทวิธศยมศึ
นิวเคลียรและผลตอสิ่งมีชีวิต และสิง่ แวดลอม สิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม
๗. อภิปรายผลการสืบคนขอมูลเกีย่ วกับโรงไฟฟา - โรงไฟฟานิวเคลียรเปนโรงไฟฟาพลังงานความ
นิวเคลียร และนําไปใชประโยชน รอนประเภทหนึ่ง ซึ่งไดพลังงานความรอนจาก
พลังงานนิวเคลียร
๘. อธิบายชนิดและสมบัติของรังสีจากธาตุ - รังสีจากธาตุกัมมันตรังสีมี ๓ ชนิด คือ แอลฟา
กัมมันตรังสี บีตาและแกมมา ซึ่งมีอํานาจทะลุผานตางกัน

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
๙. อธิบายการเกิดกัมมันตภาพรังสีและบอกวิธี - กัมมันตภาพรังสีเกิดจากการสลายของไอโซโทป
การตรวจสอบรังสีในสิ่งแวดลอม การใช ของธาตุ ที่ ไ ม เ สถี ย ร สามารถตรวจจั บ ได โ ดย
ประโยชน ผลกระทบตอสิ่งมีชีวิตและ เครื่ อ งตรวจวั ด รั ง สี ในธรรมชาติ มี รั ง สี แ ต
สิ่งแวดลอม สวนใหญอยูในระดับต่ํามาก

205 205
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

206 206
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
- รังสีมีประโยชนในดานอุตสาหกรรม การเกษตร
การแพทย โบราณคดี รังสีในระดับสูงมีอันตราย
ตอสิ่งมีชีวิต
สาระที่ ๖ กระบวนการเปลี่ยนแปลงของโลก
มาตรฐาน ว ๖.๑ เขาใจกระบวนการตาง ๆ ที่เกิดขึ้นบนผิวโลกและภายในโลก ความสัมพันธของ
กระบวนการตาง ๆ ที่มีผลตอการเปลี่ยนแปลงภูมิอากาศ ภูมิประเทศ และสัณฐานของโลก มี
กระบวนการสื บ เสาะหาความรู แ ละจิ ต วิ ท ยาศาสตร สื่ อ สารสิ่ ง ที่ เ รี ย นรู แ ละนํ า ความรู ไ ปใช
ประโยชน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. สืบคนและอธิบายหลักการในการแบง - โลกเปนดาวเคราะหหินดวงหนึ่งในระบบสุริยะ

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
โครงสรางโลก ภายในโลกยังคงมีอุณหภูมิสูงมาก และมีการ

ิงานการจัดการศึกษาร่
เปลี่ ย นแปลงตลอดเวลานั บ ตั้ ง แตโลกเริ่ ม เกิ ด

บัติงวานการจั
จนถึงปจจุบัน
- นักวิทยาศาสตรแบงโครงสรางโลกโดยใชขอมูลและ

มหลักสูดตการศึ
ร อาชี
หลักฐานตางๆ ทางธรณีวิทยา และทางฟสิกส

กษาร่
๒. ทดลองเลียนแบบและอธิบายกระบวนการ - การเปลี่ยนแปลงของโลกสามารถอธิบายไดดวย

วศึวกมหลั
เปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคของโลก ทฤษฎีการแปรสัณฐานแผนธรณีภาค

ษาและมั
- การเปลี่ยนแปลงทางธรณีภาคของโลกสวนใหญ

กสูตร อาชี
จะเกิดในชั้นธรณีภาค และชั้นฐานธรณีภาค

ธยมศึ
- ชั้นธรณี ภาคแตกออกเปนแผนใหญๆ หลายแผน
เรี ยกวา แผนธรณี ภาค ซึ่ งมี การเคลื่ อนที่ อยู

วศึกกษาและมั
ตลอดเวลา ทําใหเกิดปรากฏการณตางๆ ทาง

ษาตอนปลาย
ธรณีวิทยาบนผิวโลกที่สามารถศึกษาไดจากรองรอย
หลักฐานที่ปรากฏอยูในปจจุบัน เชน รอยตอ รอย
แยกของแผนธรณีภาค เทือกเขา ใตมหาสมุทร

ธยมศึกษาตอนปลาย
และซากดึกดําบรรพ เปนตน

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๓. ทดลองเลียนแบบ และอธิบายกระบวนการ - จากการศึกษาทฤษฎีการแปรสัณฐานแผนธรณี

เอกสารประกอบการปฏิ
เกิดภูเขา รอยเลื่อน รอยคดโคง แผนดินไหว ภาคและปรากฏการณทางธรณีวิทยาตั้งแตอดีต

บัติงานการจัดการศึ
ภูเขาไฟระเบิด จนถึงปจจุบัน ทําใหพบวาแผนดินไหวและภูเขา
ไฟสวนใหญจะเกิดอยู ตามแนวรอยตะเข็บของ

บัติงกานการจั
ขอบแผนธรณีภาค ที่เรียกวาวงแหวนแหงไฟ
- รอยเลื่อน เปนแนวรอยแตกของหินที่เคลื่อนที่

ษาร่วมหลัดกการศึ
สั ม พั น ธกั น และขนานไปกั บ รอยแตก ซึ่ ง อาจ

สูตร อาชี
กษาร่
สั ม พั น ธกั บ การเกิ ด แผนดิ น ไหวและภู เ ขาไฟ
ระเบิด

วศึกวษาและมั
- รอยคดโคง เปนรอยที่ปรากฏในหิน เกิดจากการ

มหลักสูธตยมศึ
แปรสัณฐานแผนธรณีภาค

ร อาชี
- กระบวนการเกิดรอยเลื่อน รอยคดโคง การแปร
สัณฐานแผนธรณีภาค เปนสวนหนึ่งของการเกิด

กษาตอนปลาย
เทือกเขาบนโลก

วศึกษาและมั
๔. สืบคนและอธิบายความสําคัญของปรากฏ- - ปรากฏการณทางธรณี วิ ท ยาที่ สํ า คั ญ และมี

(ทวิธศยมศึ
การณทางธรณีวิทยาแผนดินไหว ภูเขาไฟ ผลตอสิ่งมีชีวิตที่เห็นไดชัดเจน ไดแก แผนดินไหว
ระเบิดที่สงผลตอสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดลอม ภูเขาไฟระเบิด
- แผนดินไหวและภูเขาไฟระเบิดเปนปรากฏการณ
ทางธรณีวิทยาที่ทําใหเกิดธรณีพิบัติภัย รูปแบบ
อื่นตามมา ทําใหสูญเสียชีวิตและทรัพยสินของ
มนุษย เกิดการเปลี่ยนแปลงลักษณะธรณีสัณฐาน

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
ชนิดหิน และสภาพแวดลอม
๕. สํารวจ วิเคราะหและอธิบายการลําดับชั้นหิน - สภาพเหตุ ก ารณ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ในอดี ต ของโลก
จากการวางตัวของชั้นหิน ซากดึกดําบรรพ สามารถอธิบายไดจากร องรอยตางๆ ที่ปรากฏ
และโครงสรางทางธรณีวิทยา เพื่ออธิบาย เปนหลักฐานอยูบนหิน

207 207
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

208 208
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.
ประวัติความเปนมาของพื้นที่
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
- ขอมูลทางธรณีวิทยาที่ใชอธิบายความเปนมาของ
โลก ไดแก ซากดึกดําบรรพ ชนิดของหิน
โครงสรางทางธรณีวิทยา และการลําดับชั้นหิน
- ประวัติความเปนมาของพื้นที่ ไดจากการลําดับ
ชั้นหินตามอายุการเกิดของหินจากอายุมากขึ้นไป
สูหินที่มีอายุนอย ตามมาตราธรณีกาล
๖. สืบคน วิเคราะห และอธิบายประโยชนของ - การเปลี่ยนแปลงตางๆที่เกิดขึ้นตั้งแตในอดีตจนถึง
ขอมูลทางธรณีวิทยา ปจจุบันจะบอกถึงวิวัฒนาการของการเปลี่ยนแปลง
ของเปลือกโลกซึ่งจะใหประโยชน ทั้งทางดาน

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
วิวัฒนาการ และการสํารวจคนหาทรัพยากรธรณี

ิงานการจัดการศึกษาร่
สาระที่ ๗ ดาราศาสตรและอวกาศ

บัติงวานการจั
มาตรฐาน ว ๗.๑ เขาใจวิวัฒนาการของระบบสุริยะ กาแล็กซีและเอกภพ การปฏิสมั พันธภายใน
ระบบสุริยะและผลตอสิ่งมีชีวิตบนโลก มีกระบวนการสืบเสาะ หาความรูและจิตวิทยาศาสตร การ

มหลักสูดตการศึ
ร อาชี
สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชน

กษาร่
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

วศึวกมหลั
ษาและมั
กสูตร อาชี
ธยมศึวศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย
ธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
๑. สืบคนและอธิบายการเกิดและวิวฒ
ั นาการของ - เอกภพกําเนิด ณ จุดที่เรียกวาบิกแบง เปนจุดที่
ระบบสุรยิ ะ กาแล็กซี และเอกภพ พลังงานเริ่มเปลี่ยนเปนสสาร เกิดเปนอนุภาคควารก
อิเล็กตรอน นิวทริโน พรอมปฏิอนุภาค เมื่ออุณหภูมิ

เอกสารประกอบการปฏิ
ของเอกภพ ลดต่ําลง ควารกจะรวมตัวกันเปน

บัติงานการจัดการศึ
อนุภาคพื้นฐาน คือโปรตรอนและนิวตรอน ตอมา
โปรตรอนและนิวตรอนรวมตัวกันเปนนิวเคลียสของ

บัติงกานการจั
ฮีเลียม และเกิดเปนอะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม
อะตอมของไฮโดรเจนและฮีเลียม ซึ่งเปนองคประกอบ

ษาร่วมหลัดกการศึ
สวนใหญของเนบิวลาดั้งเดิม เนบิวลาดั้งเดิมกระจาย

สูตร อาชี
กษาร่
อยูเปนหยอม ๆ กลายเปนกาแล็กซี่ ภายในกาแล็กซี่
เกิดเปนดาวฤกษ ระบบดาวฤกษ

วศึกวษาและมั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

มหลักสูธตยมศึ
๒. สืบคนและอธิบายธรรมชาติและวัฒนาการ - ดาวฤกษ เปนกอนแกสรอนขนาดใหญ กําเนิดมา

ร อาชี
ของดาวฤกษษ จากเนบิวลา ที่มีองคประกอบสวนใหญเปนธาตุ
ไฮ โด รเ จน ที่ แ ก นกลา งของดา วฤกษ จ ะ

กษาตอนปลาย
เกิดปฏิกิริยาเทอรโมนิวเคลียร หลอมนิวเคลียส

วศึกษาและมั
ของไฮโดรเจน เปนนิ ว เคลี ย สของฮี เ ลี ย ม ได

(ทวิธศยมศึ
พลังงานออกมา
- อันดับความสวางของดาวฤกษที่สังเกตเห็นไดมา
จากความสวางปรากฏที่ขึ้นอยูกับความสวางจริง
และระยะหางจากโลก
- สีของดาวฤกษมีความสัมพันธกับอุณหภูมิผิวของ
ดาวฤกษและอายุของดาวฤกษษ

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
- ดาวฤกษมีอายุยาวหรือสั้น มีจุดจบเปนหลุมดํา
หรือดาวนิวตรอน หรือดาวแคระขาว ขึ้นอยูกับ
มวลของดาวฤกษ
มาตรฐาน ว ๗.๒ เขาใจความสําคัญของเทคโนโลยีอวกาศที่นํามาใชในการสํารวจอวกาศและ

209 209
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

210 210
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.
ทรัพยากรธรรมชาติ ดานการเกษตรและการสื่อสาร มีกระบวนการสืบเสาะหาความรูและจิตวิทยา
ศาสตร สื่อสารสิ่งที่เรียนรูและนําความรูไปใชประโยชนอยางมีคุณธรรมตอชีวิตและสิ่งแวดลอม
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. สืบคนและอธิบายการสงและคํานวณความเร็ว - การสงดาวเทียมไปโคจรรอบโลก ณ ระดับความ
ในการโคจรของดาวเทียมรอบโลก สูงจากผิวโลกตาง ๆ กัน จรวดตองมีความเร็วที่
แตกตางกัน
๒. สืบคนและอธิบายประโยชนของดาวเทียม - ด า ว เ ที ย ม ถู ก นํ า ม า ใช ป ร ะ โ ย ช น ใ น ด า น
ในดานตาง ๆ อุตุนิยมวิทยา สํารวจทรัพยากรโลก การสื่อสาร
และบอกตําแหนงของวัตถุบนโลก

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ิงานการจัดการศึกษาร่
๓. สืบคนและอธิบายการสงและสํารวจอวกาศ - ระบบยานขนสงอวกาศถู ก พั ฒ นาขึ้ น มาใชสง
โดยใชยานอวกาศและสถานีอวกาศ ดาวเทียมและยานอวกาศ แทนการใชจรวด

บัติงวานการจั
อยางเดียวเนื่องจากสามารถนํากลับมาใชใหมได

มหลักสูดตการศึ
- ในการสงยานอวกาศไปสํารวจอวกาศ จรวดที่พา

ร อาชี
กษาร่
ยานอวกาศ ตองมี ค วามเร็ ว มากกวาความเร็ ว

วศึวกมหลั
หลุดพน จึงจะสามารถออกจากวงโคจรของโลกได
- ยานอวกาศและสถานี อ วกาศมี ภ ารกิ จ ในการ

ษาและมั
กสูตร อาชี
สํารวจโลกและวัตถุทองฟาอื่น ๆ

ธยมศึ
สาระที่ ๘ ธรรมชาติของวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ว ๘.๑ ใชกระบวนการทางวิทยาศาสตรและจิตวิทยาศาสตรในการสืบเสาะหาความรู

วศึกกษาและมั
การแกปญหา รูวาปรากฏการณทางธรรมชาติที่เกิดขึ้นสวนใหญมีรูปแบบที่แนนอน สามารถ

ษาตอนปลาย
อธิบายและตรวจสอบได ภายใตขอมูลและเครื่องมือที่มีอยูในชวงเวลานั้นๆ เขาใจวาวิทยาศาสตร
เทคโนโลยี สังคม และสิ่งแวดลอมมีความเกี่ยวของสัมพันธกัน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ธยมศึกษาตอนปลาย
๑. ตั้งคําถามที่อยูบนพื้นฐานของความรูและ -

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ความเขาใจทางวิทยาศาสตร หรือความสนใจ
หรือจากประเด็นที่เกิดขึ้นในขณะนั้นที่
สามารถทําการสํารวจตรวจสอบหรือศึกษา
คนควาไดอยางครอบคลุมและเชื่อถือได

เอกสารประกอบการปฏิ
บัติงานการจัดการศึ
๒. สรางสมมติฐานที่มีทฤษฎีรองรับหรือคาดการณ -
สิ่งที่จะพบ หรือสรางแบบจําลอง หรือสราง
รูปแบบ เพื่อนําไปสูการสํารวจตรวจสอบ

บัติงกานการจั
๓. คนควารวบรวมขอมูลที่ตองพิจารณาปจจัย -

ษาร่วมหลัดกการศึ
หรือตัวแปรสําคัญ ปจจัยที่มผี ลตอปจจัยอื่น

สูตร อาชี
ปจจัยที่ควบคุมไมได และจํานวนครั้งของการ

กษาร่
สํารวจตรวจสอบเพื่อใหไดผลที่มีความเชื่อมั่น
อยางเพียงพอ

วศึกวษาและมั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

มหลักสูธตยมศึ
๔. เลือกวัสดุ เทคนิควิธี อุปกรณที่ใชในการสังเกต

ร อาชี
-
การวัด การสํารวจตรวจสอบอยางถูกตองทั้งทาง
กวางและลึกในเชิงปริมาณและคุณภาพ

กษาตอนปลาย
วศึกษาและมั
๕. รวบรวมขอมูลและบันทึกผลการสํารวจ -
ตรวจสอบอยางเปนระบบถูกตอง ครอบคลุม

(ทวิธศยมศึ
ทั้งในเชิงปริมาณและคุณภาพ โดยตรวจสอบ
ความเปนไปได ความเหมาะสมหรือความ
ผิดพลาดของขอมูล
๖. จัดกระทําขอมูล โดยคํานึงถึงการรายงานผล -
เชิงตัวเลขที่มีระดับความถูกตองและนําเสนอ
ขอมูลดวยเทคนิควิธีที่เหมาะสม

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
๗. วิเคราะหขอมูล แปลความหมายขอมูล และ -
ประเมินความสอดคลองของขอสรุปหรือสาระ

211
สําคัญ เพื่อตรวจสอบกับสมมติฐานที่ตั้งไว

211
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

212 212
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.
๘. พิจารณาความนาเชื่อถือของวิธีการและผล -
การสํารวจตรวจสอบ โดยใชหลักความ-
คลาดเคลื่อนของการวัดและการสังเกต
เสนอแนะการปรับปรุงวิธีการสํารวจตรวจสอบ
๙. นําผลของการสํารวจตรวจสอบที่ได ทั้งวิธีการ -
และองคความรูที่ไดไปสรางคําถามใหม นําไป
ใชแกปญหาในสถานการณใหมและในชีวิตจริง
๑๐. ตระหนักถึงความสําคัญในการที่จะตองมีสวน -
รวมรับผิดชอบการอธิบาย การลงความเห็น
และการสรุปผลการเรียนรูวิทยาศาสตร
ที่นําเสนอตอสาธารณชนดวยความถูกตอง

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑๑. บันทึกและอธิบายผลการสํารวจตรวจสอบ

บัติงวานการจั
-
อยางมีเหตุผล ใชพยานหลักฐานอางอิงหรือ

มหลักสูดตการศึ
คนควาเพื่อเติม เพื่อหาหลักฐานอางอิงที่

ร อาชี
กษาร่
เชื่อถือได และยอมรับวาความรูเดิมอาจมี

วศึวกมหลั
การเปลีย่ นแปลงได เมื่อมีขอมูลและประจักษ
พยานใหมเพิ่มเติมหรือโตแยงจากเดิม ซึ่ง

ษาและมั
กสูตร อาชี
ทาทายใหมีการตรวจสอบอยางระมัดระวัง

ธยมศึ
อันจะนํามาสูการยอมรับเปนความรูใหม

วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย
ธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูวิทยาศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาวิทยาศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
๑๒. จัดแสดงผลงาน เขียนรายงาน และ/หรือ -
อธิบายเกี่ยวกับแนวคิด กระบวนการ และ
ผลของโครงงานหรือชิ้นงานใหผูอื่นเขาใจ

เอกสารประกอบการปฏิ
บัติงานการจัดการศึ
บัติงกานการจั
ษาร่วมหลัดกการศึ
สูตร อาชี
กษาร่วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี
กษาตอนปลาย
วศึกษาและมั
(ทวิธศยมศึ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาคณิตศาสตร ๔ นก.
สาระที่ ๑ จํานวนและการดําเนินการ หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
มาตรฐาน ค ๑.๑ เขาใจถึงความหลากหลายของการแสดงจํานวนและการใชจํานวนในชีวิตจริง 1. แสดงจํานวนและการใชจํานวน - ดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนจริงที่เปนจํานวนตรรกยะ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ในชีวิตประจําวัน - ดําเนินการเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวนและรอยละ
๑. แสดงความสัมพันธของจํานวนตาง ๆ ในระบบ - จํานวนจริง - ดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลข

213
จํานวนจริง ชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ

213
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

214 214
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาคณิตศาสตร ๔ นก.
๒. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับคาสัมบูรณของ - คาสัมบูรณของจํานวนจริง - ดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูปลอการิทมึ
จํานวนจริง - ดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนเชิงซอนในรูปพิกัดฉากและพิกด ั
๓. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยู - จํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลัง เชิงขั้ว
ในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวน เปนจํานวนตรรกยะ และจํานวนจริงที่อยูในรูป - ดําเนินการเกี่ยวกับการแปรผัน
ตรรกยะ และจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ กรณฑ 2. วิเคราะหผลที่เกิดขึ้นจากการ - ประยุกตใชอัตราสวน สัดสวนและรอยละในงานอาชีพ
มาตรฐาน ค ๑.๒ เขาใจถึงผลที่เกิดขึ้นจากการดําเนินการของจํานวนและความสัมพันธระหวาง ดําเนินการของจํานวนและ - ประยุกตการดําเนินการจํานวนเชิงซอนในรูปพิกัดฉากและ
การดําเนินการตาง ๆ และใชการดําเนินการในการแกปญหา ความสัมพันธ ระหวางการ พิกัดเชิงขั้วในงานอาชีพ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ดําเนินการตาง ๆ และใชในการ - ประยุกตใชจํานวนเชิงซอนที่อยูในรูปเลขยกกําลังและรูป
๑. เขาใจความหมายและหาผลลัพธที่เกิดจาก - การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวน แกปญ หา กรณฑในงานอาชีพ
การบวก การลบ การคูณ การหารจํานวนจริง จริง - ประยุกตใชการแปรผันในงานอาชีพ
จํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลข - การบวก การลบ การคูณ และการหารจํานวน 3. วัด หนวยของการวัด และ - ประมาณคา ความยาว พื้นที่พื้นที่ผิวและปริมาตร ในหนวย

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ และจํานวนจริง จริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปน คาดคะเนสิง่ ที่ตองการวัด มาตราวัดตาง ๆ

ิงานการจัดการศึกษาร่
ที่อยูในรูปกรณฑ จํานวนตรรกยะและจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ - วัดและเปรียบเทียบความยาวพื้นที่ พื้นที่ผิวและปริมาตรใน
มาตรฐาน ค ๑.๓ ใชการประมาณคาในการคํานวณและแกปญหา หนวยมาตราวัดตาง ๆ

บัติงวานการจั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - คาดคะเนระยะทางและความสูงโดยใชความรูเรื่องอัตราสวน

มหลักสูดตการศึ
๑. หาคาประมาณของจํานวนจริงที่อยูในรูป - คาประมาณของจํานวนจริงที่อยูในรูปกรณฑ ตรีโกณมิติของมุมที่กําหนด

ร อาชี
กษาร่
กรณฑ และจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลัง และจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลัง - คาดคะเนการหาพื้นที่ พื้นที่ผิวและปริมาตรของสิ่งที่ตองการ

วศึวกมหลั
โดยใชวิธีการคํานวณที่เหมาะสม วัด ที่ไมใชรูปทรงเรขาคณิตโดยใชความรูเรื่อง พื้นที่ พื้นที่ผิว
และปริมาตร

ษาและมั
มาตรฐาน ค ๑.๔ เขาใจระบบจํานวนและนําสมบัติเกี่ยวกับจํานวนไปใช

กสูตร อาชี
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 4. แกปญหาเกีย่ วกับการวัด - ประยุกตการวัด โดยใชความรูเ รื่องอัตราสวนตรีโกณมิติ

ธยมศึ
- ใชความรูเกี่ยวกับความยาวพื้นที่ พื้นที่ผิวและปริมาตร
๑. เขาใจสมบัติของจํานวนจริงเกี่ยวกับการบวก - สมบัติของจํานวนจริง และการนําไปใช
การคูณ การเทากัน การไมเทากันและนําไปใชได แกปญหาในสถานการณตาง ๆ

วศึกกษาและมั
สาระที่ ๒ การวัด หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย

ษาตอนปลาย
มาตรฐาน ค ๒.๑ เขาใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ตองการวัด 5. วิเคราะหรูปแบบ เรขาคณิต - แกปญหาเกี่ยวกับรูปเรขาคณิตและรูปทรงเรขาคณิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สองมิติ และสามมิติ และใช - ประยุกตความรูเ กี่ยวกับเสนตรงระนาบ รูปเรขาคณิตและ
๑. ใชความรูเรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติของมุม - อัตราสวนตรีโกณมิติและการนําไปใช แบบจําลองทางเรขาคณิต รูปทรงเรขาคณิตในการออกแบบลวดลาย

ธยมศึกษาตอนปลาย
ในการคาดคะเนระยะทางและความสูง (Geometric Model) ในการ - ดําเนินการเกี่ยวกับเสนตรงระยะหางและสมการเสนตรง

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาคณิตศาสตร ๔ นก.
-

เอกสารประกอบการปฏิ
มาตรฐาน ค ๒.๒ แกปญหาเกี่ยวกับการวัด แกปญหา ดําเนินการเกี่ยวกับภาคตัดกรวย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - ดําเนินการเกี่ยวกับเวคเตอร
๑. แกโจทยปญหาเกี่ยวกับระยะทางและความสูง - โจทยปญหาเกี่ยวกับระยะทางและความสูง - ขยายสวนและยอสวนของภาพ

เอกสารประกอบการปฏิ
โดยใชอัตราสวนตรีโกณมิติ 6. วิเคราะหแบบรูป (Pattern) - มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับเซตการดําเนินการของเซต และ

บัติงานการจัดการศึ
สาระที่ ๓ เรขาคณิต ความสัมพันธและฟงกชันตาง ๆ นําไปประยุกตใช
มาตรฐาน ค ๓.๑ อธิบายและวิเคราะหรูปเรขาคณิตสองมิติและสามมิติ - มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการดําเนินการของเมทริกซและ

บัติงกานการจั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง นําไปประยุกตใช
- - - ประยุกตใชความรูเกี่ยวกับเมทริกซ และการคํานวณคาดีเทอร

ษาร่วมหลัดกการศึ
มิแนนตของเมทริกซ

สูตร อาชี
มาตรฐาน ค ๓.๒ ใชการนึกภาพ (visualization) ใชเหตุผลเกี่ยวกับปริภมู ิ (spatial

กษาร่
- ดําเนินการเกี่ยวกับความสัมพันธและฟงกชันในรูปตาง ๆ
reasoning) และใชแบบจําลองทางเรขาคณิต (geometric model) ในการแกปญหา
- ดําเนินการเกี่ยวกับลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

วศึกวษาและมั
- ดําเนินการเกี่ยวกับลิมิตของฟงกชันอนุพันธของฟงกชัน
- -

มหลักสูธตยมศึ
พีชคณิต และอินทิกรัลฟงกชันพีชคณิต
สาระที่ ๔ พีชคณิต

ร อาชี
- ดําเนินการเกี่ยวกับการแยกเศษสวนยอย
มาตรฐาน ค ๔.๑ เขาใจและวิเคราะหแบบรูป (pattern) ความสัมพันธ และฟงกชัน
- ดําเนินการและคํานวณเกีย ่ วกับฟงกชันตรีโกณมิติ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

กษาตอนปลาย
7. ใชนิพจน สมการ อสมการ กราฟ - นําความรูเกีย่ วกับแผนภาพ เวนน-ออยเลอร (Venn-Euler

วศึกษาและมั
๑. มีความคิดรวบยอดในเรื่องเซตและการ - เซตและการดําเนินการของเซต
และแบบจําลองทางคณิตศาสตร Diagram) ไปใชแกปญหาเกี่ยวกับการหาจํานวนสมาชิกของ
ดําเนินการของเซต

(ทวิธศยมศึ
อื่น ๆ แทนสถานการณตาง ๆ เซตจํากัด
๒. เขาใจและสามารถใชการใหเหตุผลแบบอุปนัย - การใหเหตุผลแบบอุปนัยและนิรนัย แปลความหมายและนําไปใช - นําความรูเกีย
่ วกับสมการเชิงเสนตัวแปรเดียว ระบบสมการ
และนิรนัย แกปญหา เชิงเสนสองตัวแปรไปใชในสถานการณหรือปญหาที่กําหนด
๓. มีความคิดรวบยอดเกี่ยวกับความสัมพันธและ - ความสัมพันธและฟงกชัน - นําความรูเกีย ่ วกับอสมการเชิงเสนไมเกินสองตัวแปรไปใชใน
ฟงกชัน เขียนแสดงความสัมพันธและฟงกชัน - กราฟของความสัมพันธและฟงกชัน สถานการณหรือปญหาที่กําหนด
ในรูปตาง ๆ เชน ตาราง กราฟ และสมการ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
๔. เขาใจความหมายของลําดับและหาพจนทั่วไป - ลําดับและการหาพจนทั่วไปของลําดับจํากัด - ประยุกตใชความสัมพันธ หรือฟงกชันในสถานการณหรือ
ของลําดับจํากัด ปญหาที่กําหนด
๕. เขาใจความหมายของลําดับเลขคณิต และ - ลําดับเลขคณิตและลําดับเรขาคณิต - ใชความรูเกี่ยวกับการหาผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลข
ลําดับเรขาคณิต หาพจนตา ง ๆ ของลําดับ คณิตและอนุกรมเรขาคณิต โดยใชสูตรและการประยุกต

215 215
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

216 216
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาคณิตศาสตร ๔ นก.
เลขคณิตและลําดับเรขาคณิต และนําไปใช - ประยุกตใชกราฟของอสมการในสถานการณหรือปญหาที่
มาตรฐาน ค ๔.๒ ใช นิพ จน สมการ อสมการ กราฟ และตั ว แบบเชิ ง คณิ ต ศาสตร กําหนด
(mathematical model) อื่น ๆ แทนสถานการณตาง ๆ ตลอดจนแปลความหมายและนําไปใช - ประยุกตใชฟงกชันตรีโกณมิติในสถานการณหรือปญหาที่กําหนด
แกปญหา - นําความรูเกีย่ วกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวไปใชใน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง สถานการณหรือปญหาที่กําหนด
๑. เขียนแผนภาพเวนน-ออยเลอรแสดงเซต และ - แผนภาพเวนน-ออยเลอร ๘. ใชวิธีการทางสถิติและความรู - สํารวจและจัดหมวดหมูขอมูลอยางงาย
นําไปใชแกปญหา เกี่ยวกับความนาจะเปนในการ - ใชความรูเกี่ยวกับคากลางกับขอมูลที่กําหนด
๒. ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของการให - การใหเหตุผล วิเคราะหขอมูลการคาดการณได - วิเคราะหขอมูลเบื้องตน หาตําแหนงของขอมูลและการวัด
เหตุผลโดยใชแผนภาพเวนน-ออยเลอร อยางสมเหตุสมผล และการ การกระจายของขอมูล
๓. แกสมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสอง - สมการและอสมการตัวแปรเดียวดีกรีไมเกินสอง ตัดสินใจแกปญ หา - ใชความรูเกี่ยวกับแบบแผนการทดลองที่เหมาะสมกับ
๔. สรางความสัมพันธหรือฟงกชันจากสถานการณ - ความสัมพันธหรือฟงกชัน สถานการณหรือปญหาที่กําหนด

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
หรือปญหาและนําไปใชในการแกปญหา - วิเคราะหขอมูลตามขั้นตอนและใชสถิติไดเหมาะสมกับแบบ

ิงานการจัดการศึกษาร่
๕. ใชกราฟของสมการ อสมการ ฟงกชันในการ - กราฟของสมการ อสมการ ฟงกชัน และการ แผนการทดลอง
แกปญหา นําไปใช - นําความรูเกีย ่ วกับกระบวนการทางสถิติไปใชในการวิจัย

บัติงวานการจั
๖. เขาใจความหมายของผลบวก n พจนแรกของ - อนุกรมเลขคณิต และอนุกรมเรขาคณิต เบื้องตน

มหลักสูดตการศึ
- ดําเนินการความนาจะเปนเบื้องตน และนําผลไปใชในการ

ร อาชี
อนุกรมเลขคณิตและอนุกรมเรขาคณิต หา

กษาร่
ผลบวก n พจนแรกของอนุกรมเลขคณิตและ คาดการณ

วศึวกมหลั
อนุกรมเรขาคณิตโดยใชสตู รและนําไปใช - ใชขอมูลขาวสาร คาสถิติ และคาสถิติที่ไดจากการวิเคราะห
ขอมูลในการตัดสินใจ

ษาและมั
สาระที่ ๕ การวิเคราะหขอมูลและความนาจะเปน

กสูตร อาชี
- นําความรูเกีย ่ วกับความนาจะเปน ไปใชในการตัดสินใจและ
มาตรฐาน ค ๕.๑ เขาใจและใชวิธีการทางสถิติในการวิเคราะหขอ มูล

ธยมศึ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง แกปญหา
๑. เขาใจวิธีการสํารวจความคิดเห็นอยางงาย - การสํารวจความคิดเห็น

วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย
๒. หาคาเฉลีย่ เลขคณิต มัธยฐาน ฐานนิยม สวน- - คากลางของขอมูล 9. สื่อความหมาย แกปญหา - ใชความรูทางคณิตศาสตรเกี่ยวกับการแกปญหาและการให
เบี่ยงเบนมาตรฐานและเปอรเซ็นไทลของขอมูล - การวัดการกระจายของขอมูล ใหเหตุผลทางคณิตศาสตร และ เหตุผลในสถานการณจริง

ธยมศึกษาตอนปลาย
๓. เลือกใชคากลางที่เหมาะสมกับขอมูลและ - การหาตําแหนงที่ของขอมูล การนําเสนอ เชื่อมโยงความรู - สื่อความหมาย แปลความ และนําเสนอขอมูลทาง

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาคณิตศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
วัตถุประสงค ตาง ๆ ทางคณิตศาสตร และ คณิตศาสตร
มาตรฐาน ค ๕.๒ ใชวิธีการทางสถิติและความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนในการคาดการณได เชื่อมโยงคณิตศาสตรกับศาสตร - ประยุกตความรูและทักษะเกี่ยวกับเซตและฟงกชันตาง ๆ
อยางสมเหตุสมผล อื่น ๆ มีความคิดริเริม่ สรางสรรค ในงานอาชีพ

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง - ประยุกตความรูและทักษะเกี่ยวกับจํานวนเชิงซอนในงาน

บัติงานการจัดการศึ
๑. นําผลที่ไดจากการสํารวจความคิดเห็นไปใช - การสํารวจความคิดเห็น อาชีพ
คาดการณในสถานการณที่กําหนดให - ประยุกตความรูและทักษะเกี่ยวกับภาคตัดกรวยในงานอาชีพ

บัติงกานการจั
๒. อธิบายการทดลองสุม เหตุการณ ความนา - กฎเกณฑเบื้องตนเกี่ยวกับการนับ - ประยุกตความรูและทักษะเกี่ยวกับแคลคูลส ั ในงานอาชีพ
จะเปนของเหตุการณ และนําผลที่ไดไปใช - การทดลองสุม  - ใชความรูและทักษะเกี่ยวกับดีเทอรมิแนนตหาคําตอบของ

ษาร่วมหลัดกการศึ
คาดการณในสถานการณที่กําหนดให - แซมเปลสเปซ ระบบสมการเชิงเสน

สูตร อาชี
กษาร่
- เหตุการณ - ใชความรูเกี่ยวกับการออกแบบคณิตศาสตรในชีวิตประจําวัน
- ความนาจะเปนของเหตุการณ คณิตศาสตรกับการประกอบอาชีพไปเชื่อมโยงกับวิชาชีพ

วศึกวษาและมั
มาตรฐาน ค ๕.๓ : ใชความรูเกีย่ วกับสถิติและความนาจะเปนชวยในการตัดสินใจและแกปญหา - ประยุกตกระบวนการทางคณิตศาสตรในการวางแผน การ

มหลักสูธตยมศึ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง ออกแบบประดิษฐคิดคนสิ่งใหม ๆ ในงานอาชีพ

ร อาชี
๑. ใชขอมูลขาวสารและคาสถิติชวยในการตัดสินใจ - สถิติและขอมูล
๒. ใชความรูเกี่ยวกับความนาจะเปนชวยในการ - ความนาจะเปนของเหตุการณ

กษาตอนปลาย
ตัดสินใจและแกปญ  หา

วศึกษาและมั
สาระที่ ๖ ทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร

(ทวิธศยมศึ
มาตรฐาน ค ๖.๑ มีความสามารถในการแกปญหา การใหเหตุผล การสื่อสาร การสื่อความหมาย
ทางคณิตศาสตร และการนําเสนอ การเชื่อมโยงความรูตาง ๆ ทางคณิตศาสตรและเชื่อมโยง
คณิตศาสตรกับศาสตรอื่น ๆ และมีความคิดริเริม่ สรางสรรค
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. ใชวิธีการที่หลากหลายแกปญ  หา -

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1401 คณิตศาสตรพื้นฐาน 2-0-2
๒. ใชความรู ทักษะและกระบวนการทาง - (Basic Mathematics)
คณิตศาสตร และเทคโนโลยีในการแกปญหา จุดประสงครายวิชา
ในสถานการณตาง ๆ ไดอยางเหมาะสม

217 217
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

218 218
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาคณิตศาสตร ๔ นก.
๓. ใหเหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผล - 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจ เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน รอยละ การแปรผัน
ไดอยางเหมาะสม สถิติเบื้องตน การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง และการวัดการกระจายของขอมูล
๔. ใชภาษาและสัญลักษณทางคณิตศาสตรในการ - 2. เพื่อใหมีทักษะกระบวนการคิดและนําวิธีการแกปญหาเรื่อง อัตราสวน สัดสวน รอ ยละ การ
สื่อสาร การสื่อความหมาย และการนําเสนอ แปรผัน สถิ ติ เ บื้อ งต น การวั ด แนวโน ม เข า สูส ว นกลาง การวั ด การกระจายของข อ มู ล
ไดอยางถูกตอง และชัดเจน ประยุกตใชในชีวิตประจําวัน
๕. เชื่อมโยงความรูต าง ๆ ในคณิตศาสตร และนํา - 3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีในการเรียนรู อัตราสวน สัดสวน รอ ยละ การแปรผัน สถิติเบื้องตน
ความรู หลักการ กระบวนการทาง การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง และการวัดการกระจายของขอมูล
คณิตศาสตรไปเชื่อมโยงกับศาสตรอื่น ๆ สมรรถนะรายวิชา
๖. มีความคิดริเริ่มสรางสรรค - 1. ดําเนินการและประยุกตใชเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และรอยละในวิชาชีพ
2. ดําเนินการและประยุกตใชเกี่ยวกับการแปรผันในวิชาชีพ
3. สํารวจและจัดหมวดหมูขอมูลอยางงาย

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
4. เลือกใชคากลางของขอมูลที่เหมาะสมกับขอมูลที่กําหนด

ิงานการจัดการศึกษาร่
5. วิเคราะหตําแหนงของขอมูล และการวัดการกระจายของขอมูลจากขอมูลที่กําหนด

บัติงวานการจั
6. ใชขอมูลขาวสาร คาสถิติ และคาสถิติที่ไดจากการวิเคราะหขอมูลในการตัดสินใจ

มหลักสูดตการศึ
คําอธิบายรายวิชา

ร อาชี
กษาร่
ศึกษาเกี่ยวกับ ทักษะการคิดคํานวณ การแก ปญหาเรื่องอัตราสวน สัดสวน รอยละ การแปรผัน
สถิติเบื้องตน การวัดแนวโนมเขาสูสวนกลาง การวัดการกระจายของขอมูล และฝกปฏิบัติในการ

วศึวกมหลั
เลือกใชคาสถิติที่เหมาะสมกับขอมูล

ษาและมั
กสูตร อาชี
ธยมศึวศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย
2000-1402 คณิตศาสตรพื้นฐานอาชีพ 2-0-2
(Basic Mathematics for Careers)

ธยมศึกษาตอนปลาย
จุดประสงครายวิชา

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาคณิตศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจ เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับสมการเชิงเสน ระบบสมการเชิงเสน
สมการกําลังสองตัวแปรเดียว เลขยกกําลัง ลอการิทึม พื้นที่และปริมาตร
2. เพื่อใหมีทักษะกระบวนการคิดและนําวิธีการแกปญหาเรื่องสมการเชิงเสน ระบบสมการเชิงเสน

เอกสารประกอบการปฏิ
สมการกําลังสองตัวแปรเดียว เลขยกกําลัง ลอการิทึม พื้นที่ ปริมาตร ประยุกตใชในงานอาชีพ

บัติงานการจัดการศึ
3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีในการเรียนรูสมการเชิงเสน ระบบสมการเชิงเสน สมการกําลังสองตัวแปร
เดียว เลขยกกําลัง ลอการิทึม พื้นที่และปริมาตร

บัติงกานการจั
สมรรถนะรายวิชา
1. นํ า ความรู เ กี่ ย วกั บ สมการเชิ ง เส น ตั ว แปรเดี ย ว ระบบสมการเชิ ง เส น สองตั ว แปรไปใช ใ น

ษาร่วมหลัดกการศึ
สูตร อาชี
สถานการณจริงหรือปญหาที่กําหนด

กษาร่
2. นําความรูเกี่ยวกับสมการกําลังสองตัวแปรเดียวไปใชในสถานการณหรือปญหาที่กําหนด
3. ดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูปเลขยกกําลังที่มีเลขชี้กําลังเปนจํานวนตรรกยะ

วศึกวษาและมั
4. ดําเนินการเกี่ยวกับจํานวนจริงที่อยูในรูปลอการิทึม

มหลักสูธตยมศึ
5. วัดและเปรียบเทียบความยาว พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตรในหนวยมาตราวัดตาง ๆ

ร อาชี
6. ใชความรูเกี่ยวกับความยาว พื้นที่ พื้นที่ผิว และปริมาตร แกปญหาในสถานการณตาง ๆ
คําอธิบายรายวิชา

กษาตอนปลาย
วศึกษาและมั
ศึกษาเกี่ยวกับ ทักษะการคิดคํานวณ การแกปญหาเรื่องสมการเชิงเสน ระบบสมการเชิงเสน
สมการกําลังสองตัวแปรเดียว เลขยกกําลัง ลอการิทึม พื้นที่และปริมาตร

(ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
2000-1403 คณิตศาสตรพื้นฐานอุตสาหกรรม 1 2-0-2
(Basic Mathematics for Industry 1)
(สําหรับ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ยกเวน สาขาวิชาไฟฟาและอิเล็กทรอนิกส)

219 219
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

220 220
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาคณิตศาสตร ๔ นก.
จุดประสงครายวิชา
1. เพื่ อใหมี ค วามรู ความเขา ใจ เกิด ความคิ ดรวบยอดเกี่ ยวกั บมุ มและการวัด มุม อั ตราส ว น
ตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติของวงกลมหนึ่งหนวย กฎของไซน กฎของโคไซน เมทริกซ ดีเทอร
มิแนนตไมเกินอันดับสาม
2. เพื่อ ให มีทั กษะกระบวนการคิด และนํ าวิ ธีก ารแก ปญ หาเรื่ อง มุมและการวัดมุม อัตราสวน
ตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติของวงกลมหนึ่งหนวย กฎของไซน กฎของโคไซน เมทริกซ ดีเทอรมิแนนต
ไมเกินอันดับสาม ประยุกตใชในงานอาชีพ
3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีในการเรียนรูมุมและการวัดมุม อัตราสวนตรีโกณมิติ ตรีโกณมิติของวงกลม
หนึ่งหนวย กฎของไซน กฎของโคไซน เมทริกซ ดีเทอรมิแนนตไมเกินอันดับสาม
สมรรถนะรายวิชา
1. คาดคะเนระยะทางและความสูงโดยใชอัตราสวนตรีโกณมิติของมุมที่กําหนด

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
2. ประยุกตการวัด โดยใชความรูเรื่อง อัตราสวนตรีโกณมิติ
3. ดําเนินการและคํานวณเกี่ยวกับฟงกชันตรีโกณมิติ

บัติงวานการจั
4. ประยุกตใชความรูเกี่ยวกับเมทริกซ และการคํานวณคาดีเทอรมิแนนตของเมทริกซ

มหลักสูดตการศึ
5. ใชความรูและทักษะเกี่ยวกับดีเทอรมิแนนตหาคําตอบของระบบสมการเชิงเสน

ร อาชี
กษาร่
คําอธิบายรายวิชา

วศึวกมหลั
ศึกษาเกี่ยวกับ ทักษะการคิดคํานวณ การแกปญหาเรื่องมุมและการวัดมุม อัตราสวนตรีโกณมิติ
ตรีโกณมิติของวงกลมหนึ่งหนวย กฎของไซน กฎของโคไซน เมทริกซ ดีเทอรมิแนนตไมเกินอันดับ

ษาและมั
กสูตร อาชี
สาม และประยุกตใชดีเทอรมิแนนตหาผลเฉลยของระบบสมการเชิงเสน

ธยมศึวศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย
2000-1405 เรขาคณิตวิเคราะหและแคลคูลัสเบื้องตน 2-0-2
(Introduction to Calculus and Analytic Geometry)

ธยมศึกษาตอนปลาย
(สําหรับ ประเภทวิชาอุตสาหกรรม ประเภทวิชาอุตสาหกรรมสิ่งทอ และ

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาคณิตศาสตร ๔ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ประเภทวิชาเกษตรกรรม สาขางานชางเกษตร)
จุดประสงครายวิชา
1. เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามเข า ใจ เกิ ด ความคิ ด รวบยอดเกี่ ย วกั บ เส น ตรง ภาคตั ดกรวย

เอกสารประกอบการปฏิ
ความสัมพันธ ฟงกชัน ลิมิต อนุพันธของฟงกชันพีชคณิตและอินทิกรัลฟงกชันพีชคณิต

บัติงานการจัดการศึ
2. เพื่อใหมีทักษะกระบวนการคิดและนําวิธีการแกปญหาเรื่อง เสนตรง ภาคตัดกรวย ความสัมพันธ
ฟงกชัน ลิมิต อนุพันธของฟงกชันพีชคณิต อินทิกรัลฟงกชันพีชคณิต ประยุกตใชในงานอาชีพ

บัติงกานการจั
3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีในการเรียนรู เสนตรง ภาคตัดกรวย ความสัมพันธ ฟงกชัน ลิมิต
อนุพันธของฟงกชันพีชคณิต และอินทิกรัลฟงกชันพีชคณิต

ษาร่วมหลัดกการศึ
สูตร อาชี
กษาร่
สมรรถนะรายวิชา
1. ดําเนินการเกี่ยวกับเสนตรงระยะหางและสมการเสนตรง

วศึกวษาและมั
2. ดําเนินการ และประยุกตความรูและทักษะเกี่ยวกับภาคตัดกรวย ภาคตัดกรวยในงานอาชีพ
3. ดําเนินการ และประยุกตใชความสัมพันธและฟงกชันในรูปตาง ๆ ในสถานการณหรือปญหา

มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี
ที่กําหนด
4. ดําเนินการเกี่ยวกับลิมิตของฟงกชันอนุพันธของฟงกชันพีชคณิต และอินทิกรัลฟงกชันพีชคณิต

กษาตอนปลาย
5. ประยุกตความรูและทักษะเกี่ยวกับแคลคูลัสในงานอาชีพ

วศึกษาและมั
คําอธิบายรายวิชา

(ทวิธศยมศึ
ศึกษาเกี่ยวกับ ทักษะการคิดคํานวณ การแกปญหาเรื่องเสนตรง ภาคตัดกรวย ความสัมพันธ
ฟงกชันลิมิต อนุพันธของฟงกชันพีชคณิต และอินทิกรัลฟงกชันพีชคณิต

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
2000-1406 คณิตศาสตรพาณิชยกรรม 2-0-2
(Mathematics for Commerce)
จุดประสงครายวิชา

221 221
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

222 222
กลุมสาระการเรียนรูคณิตศาสตร ๖ นก. กลุมวิชาคณิตศาสตร ๔ นก.
1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจ เกิดความคิดรวบยอดเกี่ยวกับ บําเหน็จ หุน ตั๋วเงิน คาจาง
คาเสื่อมราคา ดัชนีราคา ตั้งราคาขาย การซื้อขายในระบบผอนชําระ ดอกเบี้ย และความนา-
จะเปนเบื้องตน
2. เพื่อใหมีทักษะกระบวนการคิดและนําวิธีการแกปญหาเรื่องบําเหน็จ หุน ตั๋วเงิน คาจาง คาเสื่อม
ราคา ดัชนีราคา ตั้งราคาขาย การซื้อขายในระบบผอนชําระ ดอกเบี้ย และความนา จะเปน
เบื้องตน ประยุกตใชในวิชาชีพ
3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีในการเรียนรู บําเหน็จ หุน ตั๋วเงิน คาจาง คาเสื่อมราคา ดัชนีราคา ตั้งราคา
ขาย การซื้อขายในระบบผอนชําระ ดอกเบี้ย และความนาเปนเบื้องตน
สมรรถนะรายวิชา
1. ประยุกตใชเกี่ยวกับอัตราสวน สัดสวน และรอยละ ในการคํานวณ บําเหน็จ หุน ตั๋วเงิน คาจาง
คาเสื่อมราคา ดัชนีราคา ตั้งราคาขาย การซื้อขายในระบบผอนชําระ ดอกเบี้ย

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
2. ดําเนินการความนาจะเปนเบื้องตน และนําผลไปใชในการคาดการณ

ิงานการจัดการศึกษาร่
3. นําความรูเกี่ยวกับความนาจะเปน ใชในการตัดสินใจและแกปญหา

บัติงวานการจั
คําอธิบายรายวิชา

มหลักสูดตการศึ
ศึกษาเกี่ยวกับ ทักษะการคิดคํานวณ แกปญหาเรื่องบําเหน็จ หุน ตั๋วเงิน คาจาง คาเสื่อมราคา

ร อาชี
กษาร่
ดัชนีราคา ตั้งราคาขาย การซื้อขายในระบบผอนชําระ ดอกเบี้ย และความนาเปนเบื้องตน

วศึวกมหลั
ษาและมั
กสูตร อาชี
ธยมศึวศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.

ธยมศึกษาตอนปลาย
สาระที่ ๑ ศาสนา ศีลธรรม จริยธรรม หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
-

เอกสารประกอบการปฏิ
มาตรฐาน ส ๑.๑ รู และเขาใจประวัติ ความสําคัญ ศาสดา หลักธรรมของพระพุทธศาสนา 1. ดํารงตนตามหลักธรรม ศีลธรรม ประยุกตใชแบบอยางการดํารงตนของศาสดาในการพัฒนาตน
หรือศาสนา ที่ตนนับถือและศาสนาอื่น มีศรัทธาที่ถูกตอง ยึดมั่นและปฏิบัติตามหลักธรรม จริยธรรม ศาสนพิธีของศาสนา และสังคม ปฏิบัตติ ามหลักธรรม ศีลธรรมและจริยธรรมของ
เพื่ออยูรวมกันอยางสันติสุข ศาสนา ศาสนพิธี พิธีกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ บริหารจิต

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง และเจริญปญญาตามหลักปฏิบตั ิทางศาสนา

บัติงานการจัดการศึ
๑. วิเคราะหสังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อทาง - ลักษณะของสังคมชมพูทวีป และคติความเชื่อ ๒. ดํารงตนเปนพลเมืองดี - ประยุกตใชหลักขนบธรรมเนียมประเพณีและคานิยมทีด ่ ีของ
ศาสนาสมัยกอนพระพุทธเจา หรือสังคมสมัย ทางศาสนาสมัยกอนพระพุทธเจา สังคมไทยมาใชในชีวิตประจําวัน

บัติงกานการจั
ของศาสดาที่ตนนับถือ - ปฏิบัตต
ิ นเปนพลเมืองดีภายใตการปกครองระบอบประชาธิปไตย
๒. วิเคราะหพระพุทธเจาในฐานะเปนมนุษยผฝู ก - พระพุทธเจาในฐานะเปนมนุษย ผูฝกตนได อันมีพระมหากษัตริยท รงเปนประมุขและปฏิบัตติ นตามกฎหมาย

ษาร่วมหลัดกการศึ
ตนไดอยางสูงสุดในการตรัสรู การกอตั้ง อยางสูงสุด (การตรัสรู) 3. ประยุกตใชขอมูลทางประวัติศาสตร - แสดงความรูและใชวิธีทางประวัตศิ าสตรในการศึกษาการเมือง

สูตร อาชี
กษาร่
วิธีการสอนและการเผยแผพระพุทธศาสนา - การกอตั้งพระพุทธศาสนา วิธีการสอน และการ การเมืองการปกครอง การธํารง การปกครอง และความเปนมาของชาติไทย
หรือวิเคราะหประวัติศาสดาทีต่ นนับถือ เผยแผพระพุทธศาสนาตามแนวพุทธจริยา ความเปนไทย การอยูรวมกัน - ธํารงไวซึ่งความเปนเอกลักษณของชาติไทย

วศึกวษาและมั
ตามที่กําหนด ในสังคมไทยและประชาคมอาเซียน - แสดงความรูและปฏิบัตติ นพรอมรับการเปนประชากรของ

มหลักสูธตยมศึ
๓. วิเคราะหพุทธประวัตดิ านการบริหาร และการ - พุทธประวัติดานการบริหารและการธํารงรักษา ประชาคมอาเซียน

ร อาชี
ธํารงรักษาศาสนา หรือ วิเคราะหประวัติ พระพุทธศาสนา 4. ใชหรือประยุกตใชขอมูลทาง - แสดงความรูและใชวิธีการทางภูมศ ิ าสตรเพื่อการศึกษาและ
ศาสดาทีต่ นนับถือ ตามที่กําหนด ภูมิศาสตรและเศรษฐกิจของไทย พัฒนา เศรษฐกิจ สังคม สิ่งแวดลอมของไทย

กษาตอนปลาย
๔. วิเคราะหขอปฏิบัติทางสายกลางในพระพุทธ- - พระพุทธศาสนามีทฤษฎีและวิธีการที่เปนสากล และกลุม ประชาคมเศรษฐกิจ - วิเคราะห เปรียบเทียบความแตกตางของกิจกรรมทาง

วศึกษาและมั
ศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาทีต่ นนับถือ และมีขอปฏิบัติที่ยึดทางสายกลาง อาเซียน เศรษฐกิจของไทยในแตละภูมภิ าคกับกลุมประชาคมอาเซียน

(ทวิธศยมศึ
ตามที่กําหนด - แสดงความรูและใชหลักการและกระบวนการสารสนเทศทาง
๕. วิเคราะหการพัฒนาศรัทธา และปญญาที่ - พระพุทธศาสนาเนนการพัฒนาศรัทธาและ ภูมิศาสตรเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืนในประเทศไทยและกลุม
ถูกตองในพระพุทธศาสนา หรือแนวคิดของ ปญญาที่ถูกตอง ประชาคมอาเซียน
ศาสนาที่ตนนับถือ ตามที่กําหนด - แสดงความรูและวิเคราะหบทบาทและความสําคัญของความ
๖. วิเคราะหลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธ- - ลักษณะประชาธิปไตยในพระพุทธศาสนา รวมมือทางเศรษฐกิจในกลุมประชาคมเศรษฐกิจอาเซียน
ศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาทีต่ นนับถือ 5. นําหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ - แสดงความรูและประยุกตใชหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
ตามที่กําหนด พอเพียงไปใชในชีวิตประจําวัน พอเพียงในการดําเนินชีวิต วิเคราะหหลักปรัชญาเศรษฐกิจ
พอเพียงเพื่อการเปนพลเมืองดีตามกฎหมาย

ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1501 หนาที่พลเมืองและศีลธรรม 2-0-2

223 223
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

224 224
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
๗. วิเคราะหหลักการของพระพุทธศาสนากับหลัก - หลักการของพระพุทธศาสนากับหลักวิทยาศาสตร (Civil Duties and Moral)
วิทยาศาสตร หรือแนวคิดของศาสนาที่ตน - การคิดตามนัยแหงพระพุทธศาสนาและการคิด จุดประสงครายวิชา
นับถือ ตามที่กําหนด แบบวิทยาศาสตร 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหนาที่ของ
๘. วิเคราะหการฝกฝนและพัฒนาตนเอง การ - พระพุทธศาสนาเนนการฝกหัดอบรมตน การ พลเมืองดี และหลักธรรมของศาสนา
พึ่งตนเอง และการมุงอิสรภาพในพระพุทธ- พึ่งตนเอง และการมุงอิสรภาพ 2. เพื่อใหปฏิบัติตนเปนพลเมืองดีตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข
ศาสนา หรือแนวคิดของศาสนาทีต่ นนับถือ 3. เพื่อใหปฏิบัติตนเปนศาสนิกชนที่ดีตามหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ
ตามที่กําหนด 4. เพื่อใหตระหนักถึงการดํารงชีวิตที่ถูกตองดีงามในฐานะศาสนิกชนและพลเมืองดี
๙. วิเคราะหพระพุทธศาสนาวาเปนศาสตรแหง - พระพุทธศาสนาเปนศาสตรแหงการศึกษา
สมรรถนะรายวิชา
การศึกษาซึ่งเนนความสัมพันธของเหตุปจจัย - พระพุทธศาสนาเนนความสัมพันธของเหตุปจจัย
1. แสดงความรูเกี่ยวกับสถาบันครอบครัวและสถาบันทางสังคม สิทธิหนาที่ของพลเมืองดี และ
กับวิธีการแกปญหา หรือแนวคิดของศาสนาที่ และวิธีการแกปญ
 หา หลักธรรมของศาสนา
ตนนับถือตามที่กําหนด
2. วิเคราะหหลักการของวัฒนธรรม คุณธรรม จริยธรรม คานิยม และหลักปรัชญาของเศรษฐกิจ

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
๑๐. วิเคราะหพระพุทธศาสนาในการฝกตนไมให - พระพุทธศาสนาฝกตนไมใหประมาท

ิงานการจัดการศึกษาร่
พอเพียงเพื่อใชในการดํารงชีวิต
ประมาท มุงประโยชนและสันติภาพบุคคล - พระพุทธศาสนามุงประโยชนสุขและสันติภาพ
3. นําหลักศาสนา หลักธรรม และหลักกฎหมาย มาประยุกตใชเพื่อการเปนพลเมืองดี
สังคมและโลก หรือแนวคิดของศาสนาที่ตน แกบุคคล สังคมและโลก

บัติงวานการจั
นับถือตามที่กําหนด คําอธิบายรายวิชา

มหลักสูดตการศึ
๑๑. วิเคราะหพระพุทธศาสนากับปรัชญาของ - พระพุทธศาสนากับปรัชญาของเศรษฐกิจ
ศึกษาเกี่ ยวกับ ความสํ าคัญ ของสถาบัน ครอบครัวและสถาบัน ทางสังคม วัฒนธรรม คุณธรรม

ร อาชี
กษาร่
เศรษฐกิจพอเพียงและการพัฒนาประเทศ พอเพียงและการพัฒนาแบบยั่งยืน จริยธรรม คานิยมและการดํารงชีวิตตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง สิทธิหนาที่ของพลเมืองดี
ตามระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข และหลักธรรมของศาสนาที่ตนนับถือ

วศึวกมหลั
แบบยั่งยืน หรือแนวคิดของศาสนาที่ตน
นับถือตามที่กําหนด

ษาและมั
กสูตร อาชี
๑๒. วิเคราะหความสําคัญของพระพุทธศาสนา - ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับการศึกษา

ธยมศึ
เกี่ยวกับการศึกษาทีส่ มบูรณ การเมืองและ ที่สมบูรณ
สันติภาพ หรือแนวคิดของศาสนาที่ตนนับถือ - ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับการเมือง

วศึกกษาและมั
ตามที่กําหนด - ความสําคัญของพระพุทธศาสนากับสันติภาพ

ษาตอนปลาย
๑๓. วิเคราะหหลักธรรมในกรอบอริยสัจ ๔ หรือ - พระรัตนตรัย
หลักคําสอนของศาสนาที่ตนนับถือ - วิเคราะหความหมายและคุณคาของพุทธะ
ธรรมะ สังฆะ

ธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1502 ทักษะชีวิตและสังคม 2-0-2

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
-

เอกสารประกอบการปฏิ
อริยสัจ ๔ (Life Skills and Society)
- ทุกข (ธรรมที่ควรรู) จุดประสงครายวิชา
- ขันธ ๕ 1. เพื่ อ ให มี ค วามรู ค วามเข า ใจเกี่ ย วกั บ หลั ก การดํ า เนิ น ชี วิ ต ในสั ง คมภายใต ห ลั ก ปรั ช ญาของ

เอกสารประกอบการปฏิ
- นามรูป เศรษฐกิจพอเพียง

บัติงานการจัดการศึ
- โลกธรรม ๘ 2. เพื่อใหสามารถประยุกตใชหลักมนุษยสัมพันธในงานอาชีพ มรรยาท ความเปนพลเมืองดีเพื่อ
- จิต, เจตสิก พัฒนาคุณภาพชีวิต และการอยูรวมกันในสังคม

บัติงกานการจั
- สมุทัย (ธรรมที่ควรละ) 3. เพื่อใหมีเจตคติที่ดีตอการพัฒนาคุณภาพชีวิตและการอยูรวมกันในสังคม
- หลักกรรม

ษาร่วมหลัดกการศึ
- นิยาม ๕
สมรรถนะรายวิชา

สูตร อาชี
1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการดําเนินชีวิตภายใตหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง

กษาร่
- กรรมนิยาม (กรรม ๑๒)
- ธรรมนิยาม (ปฏิจจสมุปบาท)
2. ตอบสนองสถานการณตาง ๆ โดยประยุกตใชหลัก ปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลัก -
มนุษยสัมพันธ ความมีมรรยาทและความเปนพลเมืองดี

วศึกวษาและมั
- วิตก ๓

มหลักสูธตยมศึ
- มิจฉาวณิชชา ๕ คําอธิบายรายวิชา

ร อาชี
- นิวรณ ๕ ศึกษาเกี่ยวกับ การมีทักษะชีวิตในสังคมตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักมนุษยสัมพันธ
- อุปาทาน ๔ ในการทํางาน มรรยาทไทย มรรยาทสังคม ความเปนพลเมืองดี เพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิตตามกรอบ

กษาตอนปลาย
- นิโรธ (ธรรมที่ควรบรรลุ) แนวคิดของแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแหงชาติ

วศึกษาและมั
- ภาวนา ๔

(ทวิธศยมศึ
- วิมุตติ ๕
- นิพพาน
- มรรค (ธรรมที่ควรเจริญ)
- พระสัทธรรม ๓
- ปญญาวุฒิธรรม ๔
- พละ ๕
- อุบาสกธรรม ๕

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
- อปริหานิยธรรม ๗
- ปาปณิกธรรม ๓
- ทิฏฐธัมมิกัตถสังวัตตนิกธรรม ๔
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1503 ภูมิศาสตรและประวัตศิ าสตรไทย 2-0-2

225 225
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

226 226
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
- โภคอาทิยะ ๕ (Geography and Thai History)
- อริยวัฑฒิ ๕
จุดประสงครายวิชา
- อธิปไตย ๓
1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกี่ยวกับภูมิศาสตรประเทศไทย ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร
- สาราณียธรรม ๖
วิธีการ ศึกษาประวัติศาสตรและประวัติศาสตรชาติไทย
- ทศพิธราชธรรม ๑๐
2. เพื่ อใหส ามารถประยุก ตใ ชค วามรู เรื่ องภูมิ ศาสตรแ ละประวั ติศ าสตร ในงานอาชี พและการ
- วิปสสนาญาณ ๙
ดํารงชีวิต
- มงคล ๓๘
3. เพื่อใหตระหนักในความสําคัญของประวัติศาสตรชาติไทย เพื่อธํารงไวซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา
- สงเคราะหบุตร
และพระมหากษัตริย
- สงเคราะหภรรยา
- สันโดษ สมรรถนะรายวิชา
- ถูกโลกธรรมจิตไมหวั่นไหว 1. แสดงความรูเกี่ยวกับภูมิศาสตรประเทศไทย ระบบสารสนเทศทางภูมิศาสตร วิธีการศึกษา
ประวัติศาสตรและประวัติศาสตรชาติไทย

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
- จิตไมเศราโศก

ิงานการจัดการศึกษาร่
- จิตไมมัวหมอง 2. รวบรวมสารสนเทศทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรตามหลักการและกระบวนการ
- จิตเกษม 3. นําความรูทางภูมิศาสตรและประวัติศาสตรไปประยุกตใชเพื่อการดํารงตนในงานอาชีพและ

บัติงวานการจั
- ความเพียรเผากิเลส ธํารงความเปนไทยอยางยั่งยืน

มหลักสูดตการศึ
- ประพฤติพรหมจรรย คําอธิบายรายวิชา

ร อาชี
กษาร่
- เห็นอริยสัจ ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ภู มิ ศ าสตร เ ศรษฐกิ จ ไทย ระบบสารสนเทศทางภู มิ ศ าสตร วิ ธี ก ารศึ ก ษา

วศึวกมหลั
- บรรลุนิพพาน ประวัติศาสตร ประวัติศาสตรชาติไทย และสถาบันสําคัญของชาติเพื่อธํารงความเปนไทยอยางยั่งยืน
- พุทธศาสนสุภาษิต

ษาและมั
- จิตฺตํ ทนฺตํ สุขาวหํ

กสูตร อาชี
ธยมศึ
จิตที่ฝกดีแลวนําสุขมาให
- นอุจฺจาวจํ ปณฺฑต ิ า ทสฺสยนฺติ

วศึกกษาและมั
บัณฑิตยอมไมแสดงอาการขึ้น ๆ ลง ๆ
- นตฺถิ โลเก อนินฺทิโต

ษาตอนปลาย
คนที่ไมถูกนินทา ไมมีในโลก
- โกธํ ฆตฺวา สุขํ เสติ

ธยมศึกษาตอนปลาย
ฆาความโกรธไดยอมอยูเปนสุข
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1507 ประวัตศิ าสตรชาติไทย 1-0-1

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
-

เอกสารประกอบการปฏิ
ปฏิรูปการี ธุรวา อุฎฐาตา วินฺทเต ธนํ (Geography and Thai History)
คนขยันเอาการเอางาน กระทําเหมาะสม จุดประสงครายวิชา
ยอมหาทรัพยได 1. เพื่อใหมีความรูความเขาใจเกีย่ วกับกระบวนการทางประวัติศาสตร

เอกสารประกอบการปฏิ
- วายเมถว ปุริโส ยาว อตฺถสฺส นิปป ฺ ทา 2. เพื่อใหสามารถนําความรูทางประวัติศาสตรมาประยุกตใชเปนพื้นฐานในการดํารงชีวิต

บัติงานการจัดการศึ
เกิดเปนคนควรจะพยายามจนกวาจะประสบ 3. เพื่อใหตระหนักในความสําคัญของประวัติศาสตรชาติไทย เพื่อธํารงไวซึ่งสถาบันชาติ ศาสนา
ความสําเร็จ และพระมหากษัตริย

บัติงกานการจั
- สนฺตฎฐี ปรมํ ธนํ
ความสันโดษเปนทรัพยอยางยิ่ง สมรรถนะรายวิชา

ษาร่วมหลัดกการศึ
- อิณาทานํ ทุกฺขํ โลเก 1. แสดงความรูเกี่ยวกับกระบวนการทางประวัติศาสตร

สูตร อาชี
กษาร่
การเปนหนี้เปนทุกขในโลก 2. เปรียบเทียบการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรมของประวัติศาสตรชาติไทย
- ราชา มุขํ มนุสส ฺ านํ คําอธิบายรายวิชา

วศึกวษาและมั
พระราชาเปนประมุขของประชาชน ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ กระบวนการทางประวั ติ ศ าสตร ประวั ติ ศ าสตร ช าติ ไ ทยสมั ย สุ โ ขทั ย อยุ ธ ยา

มหลักสูธตยมศึ
- สติ โลกสฺมิ ชาคโร รัตนโกสินทร ดานการเมือง การปกครอง เศรษฐกิจ สังคม วัฒนธรรม และพระราชกรณียกิจที่สําคัญ

ร อาชี
สติเปนเครื่องตื่นในโลก ของพระมหากษัตริยองคปจจุบัน
- นตฺถิ สนฺติปรํ สุขํ

กษาตอนปลาย
สุขอื่นยิ่งกวาความสงบไมมี

วศึกษาและมั
- นิพฺพานํ ปรมํ สุขํ

(ทวิธศยมศึ
นิพพานเปนสุข อยางยิ่ง
๑๔. วิเคราะหขอคิดและแบบอยางการดําเนินชีวิต - พุทธสาวก พุทธสาวิก
จากประวัตสิ าวก ชาดก เรื่องเลา และ - พระอัสสชิ
ศาสนิกชนตัวอยาง ตามที่กําหนด - พระกีสาโคตมีเถรี
- พระนางมัลลิกา
- หมอชีวก โกมารภัจ
- พระอนุรุทธะ

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
- พระองคุลิมาล
- พระธัมมทินนาเถรี
- จิตตคหบดี
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

227 227
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

228 228
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
- พระอานนท
- พระปฏาจาราเถรี
- จูฬสุภัททา
- สุมนมาลาการ
- ชาดก
- เวสสันดรชาดก
- มโหสธชาดก
- มหาชนกชาดก
- ชาวพุทธตัวอยาง
- พระนาคเสน - พระยามิลินท
- สมเด็จพระวันรัต (เฮง เขมจารี)

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
- พระอาจารยมั่น ภูริทตฺโต

ิงานการจัดการศึกษาร่
- สุชีพ ปุญญานุภาพ
- สมเด็จพระนารายณมหาราช

บัติงวานการจั
- พระธรรมโกศาจารย (พุทธทาสภิกขุ)

มหลักสูดตการศึ
- พระพรหมมังคลาจารย (ปญญานันทภิกขุ)

ร อาชี
กษาร่
- ดร.เอ็มเบดการ

วศึวกมหลั
- พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกลาเจาอยูหัว
- พระโพธิญาณเถร (ชา สุภทฺโท)

ษาและมั
กสูตร อาชี
- พระพรหมคุณาภรณ (ป.อ.ปยุตโต)

ธยมศึ
- อนาคาริก ธรรมปาละ
๑๕. วิเคราะหคุณคาและความสําคัญของการ - วิธีการศึกษาและคนควาพระไตรปฏก และ

วศึกกษาและมั
สังคายนา พระไตรปฎก หรือคัมภีรของ คัมภีรของศาสนาอื่น ๆ การสังคายนาและการ

ษาตอนปลาย
ศาสนาที่ตนนับถือ และการเผยแผ เผยแผพระไตรปฏก
- ความสําคัญและคุณคาของพระไตรปฏก

ธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
-

เอกสารประกอบการปฏิ
๑๖. เชื่อมั่นตอผลของการทําความดี ความชั่ว ตัวอยางผลที่เกิดจากการทําความดี ความชั่ว
สามารถวิเคราะหสถานการณที่ตองเผชิญ - โยนิโสมนสิการดวยวิธีคด
ิ แบบอริยสัจ
และตัดสินใจเลือกดําเนินการหรือปฏิบัติตน - หลักธรรมตามสาระการเรียนรูขอ ๑๓

เอกสารประกอบการปฏิ
ไดอยางมีเหตุผลถูกตองตามหลักธรรม

บัติงานการจัดการศึ
จริยธรรม และกําหนดเปาหมาย บทบาทการ
ดําเนินชีวิตเพื่อการอยูร วมกันอยางสันติสุข

บัติงกานการจั
และอยูรวมกันเปนชาติอยางสมานฉันท
๑๗. อธิบายประวัตศิ าสดาของศาสนาอื่น ๆ - ประวัติพระพุทธเจา มุฮัมมัด พระเยซู

ษาร่วมหลัดกการศึ
โดยสังเขป

สูตร อาชี
กษาร่
๑๘. ตระหนักในคุณคาและความสําคัญของ - คุณคาและความสําคัญของคานิยมและจริยธรรม
คานิยม จริยธรรมที่เปนตัวกําหนดความเชื่อ - การขจัดความขัดแยงเพื่ออยูรวมกันอยาง

วศึกวษาและมั
และพฤติกรรมที่แตกตางกันของศาสนิกชน สันติสุข

มหลักสูธตยมศึ
ศาสนาตางๆ เพื่อขจัดความขัดแยงและอยู

ร อาชี
รวมกันในสังคมอยางสันติสุข
๑๙. เห็นคุณคา เชื่อมั่น และมุงมัน่ พัฒนาชีวิตดวย - พัฒนาการเรียนรูดวยวิธีคดิ แบบโยนิโสมนสิการ

กษาตอนปลาย
การพัฒนาจิตและพัฒนาการเรียนรูดวยวิธี ๑๐ วิธี (เนน วิธีคิดแบบแยกแยะสวนประกอบ

วศึกษาและมั
คิดแบบโยนิโสมนสิการ หรือการพัฒนาจิต แบบสามัญญลักษณะ แบบเปนอยูใ นขณะ

(ทวิธศยมศึ
ตามแนวทางของศาสนาที่ตนนับถือ ปจจุบัน และแบบวิภัชชวาท)
๑) วิธีคิดแบบสืบสาวเหตุปจจัย
๒) วิธีคิดแบบแยกแยะสวนประกอบ
๓) วิธีคิดแบบสามัญลักษณะ
๔) วิธีคิดแบบอริยสัจ
๕) วิธีคิดแบบอรรถธรรมสัมพันธ

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
๖) วิธีคิดแบบคุณคาแท- คุณคาเทียม
๗) วิธีคิดแบบคุณ-โทษ และทางออก
๘) วิธีคิดแบบอุบาย ปลุกเราคุณธรรม
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

229 229
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

230 230
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
๙) วิธีคิดแบบเปนอยูในขณะปจจุบัน
๑๐) วิธีคิดแบบวิภัชชวาท
๒๐. สวดมนต แผเมตตา และบริหารจิตและเจริญ - สวดมนตแปล และแผเมตตา
ปญญาตามหลักสติปฏฐาน หรือตามแนวทาง รูและเขาใจวิธีปฏิบัติและประโยชนของการ
ของศาสนาที่ตนนับถือ บริหารจิตและเจริญปญญา
- ฝกการบริหารจิตและเจริญปญญาตามหลัก
สติปฎฐาน
- นําวิธีการบริหารจิตและเจริญปญญาไปใชในการ
พัฒนาการเรียนรู คุณภาพชีวิตและสังคม
๒๑. วิเคราะหหลักธรรมสําคัญในการอยูรวมกัน - หลักธรรมสําคัญในการอยูร วมกันอยางสันติสุข
อยางสันติสุขของศาสนาอื่นๆ และชักชวน - หลักธรรมในพระพุทธศาสนา เชน สาราณีย

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
สงเสริม สนับสนุนใหบุคคลอื่นเห็น ธรรม ๖ อธิปไตย ๓ มิจฉาวณิชชา ๕

ิงานการจัดการศึกษาร่
ความสําคัญของการทําความดีตอกัน อริยวัฑฆิ ๕ โภคอาทิยะ ๕
- คริสตศาสนา ไดแก

บัติงวานการจั
- บัญญัติ ๑๐ ประการ (เฉพาะที่เกีย่ วของ)

มหลักสูดตการศึ
- ศาสนาอิสลาม ไดแก หลักจริยธรรม (เฉพาะที่

ร อาชี
กษาร่
เกี่ยวของ)

วศึวกมหลั
๒๒. เสนอแนวทางการจัดกิจกรรม ความรวมมือ - สภาพปญหาในชุมชน และสังคม
ของทุกศาสนาในการแกปญหาและพัฒนา

ษาและมั
กสูตร อาชี
สังคม

ธยมศึ
สาระที่ ๒ หนาที่พลเมือง วัฒนธรรม และการดําเนินชีวิตในสังคม
มาตรฐาน ส ๒.๒ เขาใจระบบการเมืองการปกครองในสังคมปจจุบัน ยึดมั่น ศรัทธาและธํารง

วศึกกษาและมั
รักษาไวซึ่งการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ษาตอนปลาย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. วิเคราะหปญหาการเมืองที่สําคัญในประเทศจาก - ปญหาการเมืองสําคัญที่เกิดขึ้นภายในประเทศ
แหลงขอมูลตาง ๆ พรอมทั้งเสนอแนวทางแกไข

ธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
-

เอกสารประกอบการปฏิ
สถานการณการเมืองการปกครองของสังคมไทย
และสังคมโลก และการประสานประโยชน
รวมกัน

เอกสารประกอบการปฏิ
- อิทธิพลของระบบการเมืองการปกครองที่มีผล

บัติงานการจัดการศึ
ตอการดําเนินชีวิตและความสัมพันธระหวาง
ประเทศ

บัติงกานการจั
๒. เสนอแนวทาง ทางการเมืองการปกครองที่ - การประสานประโยชนรวมกันระหวางประเทศ
นําไปสูความเขาใจ และการประสาน เชน การสรางความสัมพันธระหวางไทยกับ

ษาร่วมหลัดกการศึ
ประโยชนรวมกันระหวางประเทศ ประเทศตาง ๆ

สูตร อาชี
กษาร่
- การแลกเปลี่ยนเพื่อชวยเหลือ และสงเสริมดาน
วัฒนธรรม การศึกษา เศรษฐกิจ สังคม

วศึกวษาและมั
๓. วิเคราะหความสําคัญและ ความจําเปนที่ตอง - การปกครองตามระบอบประชาธิปไตยอันมี

มหลักสูธตยมศึ
ธํารงรักษาไวซึ่งการปกครองตามระบอบ พระมหากษัตริยทรงเปนประมุข

ร อาชี
ประชาธิปไตย อันมีพระมหากษัตริยทรงเปน - รูปแบบของรัฐ
ประมุข - ฐานะและพระราชอํานาจของพระมหากษัตริย

กษาตอนปลาย
๔. เสนอแนวทางและมีสวนรวมในการตรวจสอบ - การตรวจสอบการใชอํานาจรัฐ ตามรัฐธรรมนูญ

วศึกษาและมั
การใชอํานาจรัฐ แหงราชอาณาจักรไทย ฉบับปจจุบัน ที่มีผลตอ

(ทวิธศยมศึ
การเปลีย่ นแปลงทางสังคม เชน การตรวจสอบ
โดยองคกรอิสระ การตรวจสอบโดยประชาชน
สาระที่ ๓ เศรษฐศาสตร
มาตรฐาน ส ๓.๑ เขาใจและสามารถบริหารจัดการทรัพยากรในการผลิตและการบริโภค การใช
ทรัพยากร ที่มีอยูจํากัดไดอยางมีประสิทธิภาพและคุม คา รวมทั้งเขาใจหลักการของเศรษฐกิจ
พอเพียง เพื่อการดํารงชีวิตอยางมีดุลยภาพ

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. อภิปรายการกําหนดราคาและคาจางในระบบ - ระบบเศรษฐกิจของโลกในปจจุบัน ผลดีและ
เศรษฐกิจ ผลเสียของระบบเศรษฐกิจแบบตางๆ

231
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

231
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

232 232
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
- ตลาดและประเภทของตลาด ขอดีและขอเสีย
ของตลาดประเภทตาง ๆ
- การกําหนดราคาตามอุปสงค และอุปทาน
การกําหนดราคาในเชิงกลยุทธที่มใี นสังคมไทย
- การกําหนดคาจาง กฎหมายที่เกีย่ วของและ
อัตราคาจางแรงงานในสังคมไทย
- บทบาทของรัฐ ในการแทรกแซงราคา และการ
ควบคุ ม ราคาเพื่ อ การแจกจ า ย และจั ด สรร
ในทางเศรษฐกิจ
๒. ตระหนักถึงความสําคัญของปรัชญาของ - การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงในการดําเนิน
เศรษฐกิจพอเพียงที่มีตอเศรษฐกิจสังคมของ ชีวิตของตนเอง และครอบครัว

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ประเทศ - การประยุกตใชเศรษฐกิจพอเพียงในภาคเกษตร

ิงานการจัดการศึกษาร่
อุตสาหกรรม การคาและบริการ
- ปญหาการพัฒนาประเทศทีผ ่ านมา โดยการ

บัติงวานการจั
ศึกษาวิเคราะหแผนพัฒนาเศรษฐกิจ และสังคม

มหลักสูดตการศึ
ฉบับที่ผานมา

ร อาชี
กษาร่
- การพัฒนาประเทศที่นําปรัชญาของเศรษฐกิจ

วศึวกมหลั
พอเพียงมาใช ในการวางแผนพัฒนาเศรษฐกิจ
และสังคมฉบับปจจุบัน

ษาและมั
กสูตร อาชี
๓. ตระหนักถึงความสําคัญของระบบสหกรณ - วิวัฒนาการของสหกรณในประเทศไทย

ธยมศึ
ในการพัฒนาเศรษฐกิจในระดับชุมชนและ - ความหมายความสําคัญ และหลักการของระบบ
ประเทศ สหกรณ

วศึกกษาและมั
- ตัวอยางและประเภทของสหกรณในประเทศไทย

ษาตอนปลาย
- ความสําคัญของระบบสหกรณในการพัฒนา
เศรษฐกิจในชุมชนและประเทศ

ธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
-

เอกสารประกอบการปฏิ
๔. วิเคราะหปญหาทางเศรษฐกิจในชุมชนและ ปญหาทางเศรษฐกิจในชุมชน
เสนอแนวทางแกไข - แนวทางการพัฒนาเศรษฐกิจของชุมชน
- ตัวอยางของการรวมกลุม  ที่ประสบความสําเร็จ

เอกสารประกอบการปฏิ
ในการแกปญหาทางเศรษฐกิจของชุมชน

บัติงานการจัดการศึ
มาตรฐาน ส ๓.๒ เขาใจระบบและสถาบันทางเศรษฐกิจตาง ๆ ความสัมพันธทางเศรษฐกิจและ
ความจําเปนของการรวมมือกันทางเศรษฐกิจในสังคมโลก

บัติงกานการจั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. อธิบายบทบาทของรัฐบาลดานนโยบาย - บทบาทของนโยบายการเงินและการคลังของ

ษาร่วมหลัดกการศึ
การเงิน การคลังในการพัฒนาเศรษฐกิจของ รัฐบาลในดาน

สูตร อาชี
กษาร่
ประเทศ - การรักษาเสถียรภาพทางเศรษฐกิจ
- การสรางการเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ

วศึกวษาและมั
- การรักษาดุลการคาระหวางประเทศ

มหลักสูธตยมศึ
- การแทรกแซงราคาและการควบคุมราคา

ร อาชี
- รายรับและรายจายของรัฐที่มีผลตองบประมาณ
หนี้สาธารณะ การพัฒนาทางเศรษฐกิจและ

กษาตอนปลาย
คุณภาพชีวิตของประชาชน

วศึกษาและมั
- นโยบายการเก็บภาษีประเภทตาง ๆ และการ

(ทวิธศยมศึ
ใชจายของรัฐ
- แนวทางการแกปญหาการวางงาน
- ความหมาย สาเหตุ และผลกระทบที่เกิดจาก
ภาวะทางเศรษฐกิจ เชน เงินเฟอ เงินฝด
- ตัวชี้วัดความเจริญเติบโตทางเศรษฐกิจ เชน
GDP, GNP รายไดเฉลี่ยตอบุคคล

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
- แนวทางการแกปญหาของนโยบายการเงินการคลัง

233
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

233
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

234 234
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
๒. วิเคราะหผลกระทบของการเปดเสรีทาง - วิวัฒนาการของการเปดเสรีทางเศรษฐกิจในยุค
เศรษฐกิจในยุคโลกาภิวตั นที่มีผลตอสังคมไทย โลกาภิวตั นของไทย
- ปจจัยทางเศรษฐกิจที่มผ ี ลตอการเปดเสรีทาง
เศรษฐกิจของประเทศ
- ผลกระทบของการเปดเสรีทางเศรษฐกิจของ
ประเทศที่มตี อภาคการเกษตร ภาคอุตสาหกรรม
ภาคการคาและบริการ
- การคาและการลงทุนระหวางประเทศ
- บทบาทขององคกรระหวางประเทศในเวที
การเงินโลกทีม่ ีผลกับประเทศไทย
๓. วิเคราะหผลดี ผลเสียของความรวมมือทาง - แนวคิดพื้นฐานที่เกี่ยวของกับการคาระหวาง

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
เศรษฐกิจระหวางประเทศในรูปแบบตาง ๆ ประเทศ

ิงานการจัดการศึกษาร่
- บทบาทขององคการความรวมมือทางเศรษฐกิจ
ที่สําคัญในภูมิภาคตาง ๆ ของโลก เชน WTO,

บัติงวานการจั
NAFTA, EU, IMF, ADB, OPEC, FTA, APEC

มหลักสูดตการศึ
ในระดับตาง ๆ เขตสีเ่ หลีย่ มเศรษฐกิจ

ร อาชี
กษาร่
- ปจจัยตาง ๆ ที่นําไปสูการพึ่งพา การแขงขัน

วศึวกมหลั
การขัดแยง และการประสานประโยชนทาง
เศรษฐกิจ

ษาและมั
กสูตร อาชี
- ตัวอยางเหตุการณที่นาํ ไปสูก
 ารพึงพาทางเศรษฐกิจ

ธยมศึ
- ผลกระทบจากการดําเนินกิจกรรมทางเศรษฐกิจ
ระหวางประเทศ

วศึกกษาและมั
- ปจจัยตาง ๆ ที่นําไปสูการพึ่งพาการแขงขัน การ

ษาตอนปลาย
ขัดแยง และการประสารประโยชนทางเศรษฐกิจ
วิธีการกีดกันทางการคาในการคาระหวางประเทศ

ธยมศึกษาตอนปลาย
สาระที่ ๔ ประวัติศาสตร

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
มาตรฐาน ส ๔.๑ เขาใจความหมาย ความสําคัญของเวลา และยุคสมัยทางประวัตศิ าสตร
สามารถใชวิธีการทางประวัติศาสตรมาวิเคราะหเหตุการณตาง ๆ อยางเปนระบบ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

เอกสารประกอบการปฏิ
๑. ตระหนักถึงความสําคัญของเวลาและยุคสมัย - เวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรที่ปรากฏ

บัติงานการจัดการศึ
ทางประวัติศาสตรที่แสดงถึงการเปลี่ยนแปลง ในหลักฐานทางประวัตศิ าสตรไทยและ
ของมนุษยชาติ ประวัติศาสตรสากล

บัติงกานการจั
- ตัวอยางเวลาและยุคสมัยทางประวัติศาสตรของ
สังคมมนุษยที่มีปรากฏในหลักฐานทาง

ษาร่วมหลัดกการศึ
ประวัติศาสตร (เชื่อมโยงกับ มฐ. ส ๔.๓)

สูตร อาชี
กษาร่
- ความสําคัญของเวลาและยุคสมัยทาง
ประวัติศาสตร

วศึกวษาและมั
๒. สรางองคความรูใหมทางประวัติศาสตรโดยใช - ขั้นตอนของวิธีการทางประวัติศาสตร โดย

มหลักสูธตยมศึ
วิธีการทางประวัติศาสตรอยางเปนระบบ นําเสนอตัวอยางทีละขั้นตอนอยางชัดเจน

ร อาชี
- คุณคาและประโยชนของวิธีการทางประวัติศาสตร
ที่มีตอการศึกษาทางประวัติศาสตร

กษาตอนปลาย
- ผลการศึกษาหรือโครงงานทางประวัติศาสตร

วศึกษาและมั
มาตรฐาน ส ๔.๒ เขาใจพัฒนาการของมนุษยชาติจากอดีตจนถึงปจจุบัน ในดานความสัมพันธ

(ทวิธศยมศึ
และการเปลี่ยนแปลงของเหตุการณอยางตอเนื่อง ตระหนักถึงความสําคัญและสามารถวิเคราะห
ผลกระทบที่เกิดขึ้น
๑. วิเคราะหอิทธิพลของอารยธรรรมโบราณ และ - อารยธรรมของโลกยุคโบราณ ไดแก อารยธรรม
การติดตอระหวางโลกตะวันออกกับโลก ลุมแมน้ําไทกรีส-ยูเฟรตีส ไนล ฮวงโห สินธุ และ
ตะวันตกที่มผี ลตอพัฒนาการและการ อารยธรรมกรีก-โรมัน
เปลี่ยนแปลงของโลก - การติดตอระหวางโลกตะวันออกกับโลก

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
๒. วิเคราะหเหตุการณสําคัญตางๆที่สงผลตอการ ตะวันตก และอิทธิพลทางวัฒนธรรมที่มีตอกัน
เปลี่ยนแปลงทางสังคม เศรษฐกิจและ และกัน
การเมือง เขาสูโ ลกสมัยปจจุบัน
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

235 235
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

236 236
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
- เหตุการณสําคัญตางๆที่สงผลตอการ
เปลี่ยนแปลงของโลกในปจจุบัน เชนระบอบ
ฟวดัส การฟนฟู ศิลปวิทยาการสงครามครูเสด
การสํารวจทางทะเล การปฏิรูปศาสนา การ
ปฏิวัติทางการเมือง
๓. วิเคราะหผลกระทบของการขยายอิทธิพลของ - วิทยาศาสตร การปฏิวัติอุตสาหกรรม จักรวรรดิ
ประเทศในยุโรปไปยังทวีปอเมริกา แอฟริกา นิยม ลัทธิชาตินิยม เปนตน
และเอเชีย - ความรวมมือ และความขัดแยงของมนุษยชาติ
๔. วิเคราะหสถานการณของโลกในคริสตศตวรรษ ในโลก
ที่ ๒๑ - สถานการณสําคัญของโลกในคริสตศตวรรษที่
๒๑ เชน

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
- เหตุการณ ๑๑ กันยายน ๒๐๐๑ (Nine

ิงานการจัดการศึกษาร่
Eleven )
- การขาดแคลนทรัพยากร

บัติงวานการจั
- การกอการราย

มหลักสูดตการศึ
- ความขัดแยงทางศาสนา ฯลฯ

ร อาชี
กษาร่
มาตรฐาน ส ๔.๓ เขาใจความเปนมาของชาติไทย วัฒนธรรม ภูมิปญญาไทย มีความรัก

วศึวกมหลั
ความภูมิใจและธํารงความเปนไทย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ษาและมั
กสูตร อาชี
๑. วิเคราะหประเด็นสําคัญของประวัติศาสตรไทย - ประเด็นสําคัญของประวัตศิ าสตรไทย เชน

ธยมศึ
๒. วิเคราะหความสําคัญของสถาบัน แนวคิดเกี่ยวกับความเปนมาของชาติไทย
พระมหากษัตริยต อชาติไทย อาณาจักรโบราณในดินแดนไทย และอิทธิพลที่

วศึกกษาและมั
๓. วิเคราะหปจจัยที่สงเสริมความสรางสรรค มีตอสังคมไทย ปจจัยที่มผี ลตอการสถาปนา

ษาตอนปลาย
ภูมิปญญาไทย และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลตอ อาณาจักรไทยในชวงเวลาตาง ๆ สาเหตุและ
สังคมไทยในยุคปจจุบัน ผลของการปฏิรูป ฯลฯ

ธยมศึกษาตอนปลาย
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
-

เอกสารประกอบการปฏิ
๔. วิเคราะหผลงานของบุคคลสําคัญทั้งชาวไทย บทบาทของสถาบันพระมหากษัตริยในการ
และตางประเทศ ที่มสี วนสรางสรรค พัฒนาชาติไทยในดานตางๆ เชน การปองกัน
วัฒนธรรมไทย และประวัตศิ าสตรไทย และรักษาเอกราชของชาติ การสรางสรรค

เอกสารประกอบการปฏิ
วัฒนธรรมไทย

บัติงานการจัดการศึ
- อิทธิพลของวัฒนธรรมตะวันตก และตะวันออก
ที่มีตอสังคมไทย

บัติงกานการจั
- ผลงานของบุคคลสําคัญทั้งชาวไทยและ
ตางประเทศ ที่มสี วนสรางสรรค วัฒนธรรมไทย

ษาร่วมหลัดกการศึ
และประวัติศาสตรไทย

สูตร อาชี
กษาร่
- ปจจัยที่สงเสริมความสรางสรรคภม ู ิปญญาไทย
และวัฒนธรรมไทย ซึ่งมีผลตอสังคมไทยในยุค

วศึกวษาและมั
ปจจุบัน

มหลักสูธตยมศึ
๕. วางแผนกําหนดแนวทางและการมีสวนรวม - สภาพแวดลอมที่มผ ี ลตอการสรางสรรค

ร อาชี
การอนุรักษภูมิปญ
 ญาไทยและวัฒนธรรมไทย ภูมิปญญาและวัฒนธรรมไทย
- วิถีชีวิตของคนไทยในสมัยตาง ๆ

กษาตอนปลาย
- การสืบทอดและเปลี่ยนแปลงของวัฒนธรรมไทย

วศึกษาและมั
- แนวทางการอนุรักษภูมิปญ  ญาและวัฒนธรรม

(ทวิธศยมศึ
ไทยและการมีสวนรวมในการอนุรกั ษ
- วิธีการมีสวนรวมอนุรักษภม ู ิปญญาและ
วัฒนธรรมไทย

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
สาระที่ ๕ ภูมิศาสตร

237 237
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

238 238
กลุมสาระการเรียนรูสังคมศึกษา ศาสนาและวัฒนธรรม ๓ นก. กลุมวิชาสังคมศึกษา ๓ นก.
มาตรฐาน ส ๕.๑ เขาใจลักษณะของโลกทางกายภาพ และความสัมพันธของสรรพสิ่งซึ่งมีผล
ตอกันและกันในระบบของธรรมชาติ ใชแผนที่และเครื่องมือทางภูมิศาสตรในการคนหา วิเคราะห
สรุป และใชขอมูลภูมิสารสนเทศอยางมีประสิทธิภาพ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๑. วิเคราะหสถานการณและวิกฤตการณดา น - การเปลีย่ นแปลงลักษณะทางกายภาพในสวน
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอมของ ตาง ๆ ของโลก
ประเทศไทยและโลก - การเกิดภูมิสังคมใหม ๆ ในโลก
- วิกฤตการณดานทรัพยากรธรรมชาติและ
สิ่งแวดลอมของประเทศไทยและโลก
๒. ระบุมาตรการปองกันและแกไขปญหา - มาตรการปองกันและแกไขปญหา บทบาทของ
บทบาทขององคการและการประสานความ องคการและการประสานความรวมมือทั้งใน

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
รวมมือทั้งในประเทศและนอกประเทศ ประเทศและนอกประเทศ กฎหมายสิ่งแวดลอม

ิงานการจัดการศึกษาร่
เกี่ยวกับกฎหมายสิ่งแวดลอม การจัดการ การจัดการทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม
ทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

บัติงวานการจั
๓. ระบุแนวทางการอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติ - การอนุรักษทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดลอม

มหลักสูดตการศึ
และสิ่งแวดลอมในภูมิภาคตาง ๆ ของโลก ในภูมิภาคตาง ๆ ของโลก

ร อาชี
กษาร่
๔. อธิบายการใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมในการ - การใชประโยชนจากสิ่งแวดลอมในการ

วศึวกมหลั
สรางสรรควัฒนธรรม อันเปนเอกลักษณของ สรางสรรควัฒนธรรม อันเปนเอกลักษณของ
ทองถิ่นทั้งในประเทศไทยและโลก ทองถิ่นทั้งในประเทศไทยและโลก

ษาและมั
กสูตร อาชี
๕. มีสวนรวมในการแกปญ  หาและการดําเนินชีวิต - การแกปญหาและการดําเนินชีวิตตามแนวทาง

ธยมศึ
ตามแนวทางการอนุรักษทรัพยากรและ การอนุรักษทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการ
สิ่งแวดลอม เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน พัฒนาที่ยั่งยืน

วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย
ธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ๓ นก. กลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ๒ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
สาระที่ 1 การเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย หนวยสมรรถนะ สมรรถนะยอย
มาตรฐาน พ 1.1 เขาใจธรรมชาติของการเจริญเติบโตและพัฒนาการของมนุษย 1. ดูแลสุขภาพ (Health Skills) - แสดงความรูเกี่ยวกับปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง พฤติกรรมเสี่ยงที่สงผลตอสุขภาพและสุขภาวะ

เอกสารประกอบการปฏิ
1. อธิบายกระบวนการสรางเสริมและดํารง - กระบวนการสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพ - แสดงความรูเกี่ยวกับการปกปองสิทธิของตนเองตามกฎหมาย

บัติงานการจัดการศึ
ประสิทธิภาพการทํางานของระบบอวัยวะ การทํางานของระบบอวัยวะตาง ๆ ที่เกี่ยวของกับสุขภาพในการทํางาน
ตาง ๆ - การทํางานของระบบอวัยวะตาง ๆ - แสดงความรูเกี่ยวกับการเปนผูนํา

บัติงกานการจั
- การสรางเสริมและดํารงประสิทธิภาพของ - แสดงความรูเกี่ยวกับการบริหารจัดการเรื่องการเสริมสราง
อวัยวะตางๆ สุขภาพและปกปองสิทธิของตนเองตามกฎหมายที่เกี่ยวของกับ

ษาร่วมหลัดกการศึ
สุขภาพในการทํางาน

สูตร อาชี
(อาหาร การออกกําลังกาย นันทนาการ การ

กษาร่
ตรวจสุขภาพ ฯลฯ) 2. เสริมสรางสมรรถภาพทางกาย - ออกกําลังกายเพื่อการเสริมสรางสุขภาพ
(Physical Skills) - แสดงออกถึงการมีน้ําใจนักกีฬา
2. วางแผนดูแลสุขภาพตามภาวะการเจริญเติบโต - การวางแผนดูแลสุขภาพของตนเองและบุคคล

วศึกวษาและมั
และพัฒนาการของตนเองและบุคคลใน ในครอบครัว - มีสมรรถภาพทางกายตามเกณฑมาตรฐานของกระทรวง

มหลักสูธตยมศึ
ครอบครัว สาธารณสุข

ร อาชี
- บริหารจัดการโครงการเสริมสรางสมรรถภาพทางกายเพื่อเพิม ่
สาระที่ 2 ชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน พ 2.1 เขาใจและเห็นคุณคาของตนเอง ครอบครัว เพศศึกษา และมีทักษะในการ ประสิทธิภาพในการทํางานได
3. พัฒนาทักษะชีวิต (Life Skills)

กษาตอนปลาย
- แสดงความรูและสรางและรักษาสัมพันธภาพกับผูอื่นได
ดําเนินชีวิต

วศึกษาและมั
- คิดไตรตรองในสถานการณที่ตองตัดสินใจ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

(ทวิธศยมศึ
- ใชชีวิตรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข
1. วิเคราะหอิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม - อิทธิพลของครอบครัว เพื่อน สังคม และ
- คนหาคุณคาของตนเองและเลือกดําเนินชีวิตใหสอดคลองอยาง
และวัฒนธรรมที่มผี ลตอพฤติกรรมทางเพศ วัฒนธรรมที่มีตอพฤติกรรมทางเพศและการ
มีความสุข
และการดําเนินชีวิต ดําเนินชีวิต
- มีกิจนิสัยที่คํานึงถึงความปลอดภัย (Safety First)
2. วิเคราะหคานิยมเรื่องเพศตามวัฒนธรรมไทย - คานิยมในเรื่องเพศตามวัฒนธรรมไทยและ
และวัฒนธรรมอื่น ๆ วัฒนธรรมอื่น ๆ

239 239 ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)


หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

240 240
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ๓ นก. กลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ๒ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1603 การออกกําลังกายเพื่อเสริมสรางสมรรถภาพในการทํางาน 0-2-1
3. เลือกใชทักษะที่เหมาะสมในการปองกัน ลด - แนวทางในการเลือกใชทักษะตาง ๆ ในการ (Physical Fitness for Work)
ความขัดแยง และแกปญหาเรื่องเพศและ ปองกัน ลดความขัดแยง และแกปญ  หาเรื่องเพศ จุดประสงครายวิชา
ครอบครัว และครอบครัว 1. เพื่ อ ให มี ค วามรู ความเข า ใจเกี่ ย วกั บ หลั ก การและรู ป แบบในการออกกํ า ลั ง กาย และการ
- ทักษะการสื่อสารและสรางสัมพันธภาพ เสริมสรางสมรรถภาพทางกาย
- ทักษะการตอรอง 2. เพื่อใหสามารถพัฒนาสมรรถภาพทางกาย ใหพรอมที่จะประกอบอาชีพไดอยางมีประสิทธิภาพ
- ทักษะการปฏิเสธ 3. เพื่อใหตระหนักถึงคุณคาของการออกกําลังกายและการเลนกีฬาเปนประจํา
- ทักษะการคิดวิเคราะห
- ทักษะการตัดสินใจและแกปญหา ฯลฯ
สมรรถนะรายวิชา
4. วิเคราะหสาเหตุและผลของความขัดแยงที่อาจ - ความขัดแยงที่อาจเกิดขึ้นระหวางนักเรียนหรือ 1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการและรูปแบบของการออกกําลังกาย
เกิดขึ้นระหวางนักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน เยาวชนในชุมชน 2. ประยุกตการออกกําลังกายเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกาย
3. ออกกําลังกายเพื่อพัฒนาความสมบูรณของรางกายและจิตใจ

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
และเสนอแนวทางแกไขปญหา - สาเหตุของความขัดแยง

ิงานการจัดการศึกษาร่
- ผลกระทบที่เกิดจากความขัดแยงระหวาง
4. ปฏิบัติโครงงานเกี่ยวกับการออกกําลังกาย
นักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน คําอธิบายรายวิชา

บัติงวานการจั
- แนวทางในการแกปญหาที่อาจเกิดจากความ ปฏิบัติเกี่ยวกับ กิจกรรมการเรียนรูเกี่ยวกับหลักการและรูปแบบการออกกําลังกาย กลไกของ

มหลักสูดตการศึ
ขัดแยงของนักเรียนหรือเยาวชนในชุมชน รางกาย การเลนกีฬาไทย กีฬาสากล หรือกิจกรรมนันทนาการ และการเสริมสรางสมรรถภาพทางกาย

ร อาชี
กษาร่
สาระที่ 3 การเคลื่อนไหว การออกกําลังกาย การเลนเกม กีฬาไทย และกีฬาสากล ใหสามารถทํางานไดอยางมีประสิทธิภาพ ปฏิบัติโครงงานการออกกําลังกายดวยกิจกรรมที่เหมาะสม

วศึวกมหลั
มาตรฐาน พ 3.1 เขาใจมีทักษะในการเคลื่อนไหว กิจกรรมทางกาย การเลนเกม และกีฬา สําหรับตนเองเพื่อพัฒนาสมรรถภาพทางกายใหเปนไปตามเปาหมายพรอมที่จะประกอบอาชีพไดอยางมี
ประสิทธิภาพ

ษาและมั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

กสูตร อาชี
1. การวิเคราะหความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการ - ความคิดรวบยอดเกี่ยวกับการเคลือ ่ นไหว

ธยมศึ
เคลื่อนไหวรูปแบบตาง ๆ ในการเลนกีฬา รูปแบบตาง ๆ ในการเลนกีฬา
- การวิเคราะหความคิดรวบยอดเกีย ่ วกับการ

วศึกกษาและมั
เคลื่อนไหวรูปแบบตาง ๆ ในการเลนกีฬา

ษาตอนปลาย
2. ใชความสามารถของตนเพื่อเพิม่ ศักยภาพ - การใชความสามารถของตนในการเลนกีฬา เพื่อ
ของทีม คํานึงถึงผลที่เกิดตอผูอื่นและสังคม เพิ่มศักยภาพของทีมโดยคํานึงถึงผลที่เกิดตอ
ผูอื่นและสังคม

ธยมศึกษาตอนปลาย
(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ๓ นก. กลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ๒ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง 2000-1606 การจัดระเบียบชีวิตเพื่อความสุข 1-0-1
3. การเลนกีฬาไทย กีฬาสากล ประเภทบุคคล/คู - กีฬาประเภทบุคคล/คู ประเภททีม เชน ฟุตซอล (Life Management for Happiness)
กีฬาประเภททีม อยางนอย 1 ชนิด รักบี้ ฟุตบอล ยิมนาสติก ลีลาศ ซอฟทบอล เทนนิส จุดประสงครายวิชา

เอกสารประกอบการปฏิ
เซปกตะกรอ มวยไทย กระบี่กระบอง พลอง งาว 1. เพื่อใหเขาใจในหลักการ กระบวนการและวางแผนสงเสริมสุขภาพตามพัฒนาการของตนเอง

บัติงานการจัดการศึ
4. แสดงการเคลื่อนไหวไดอยางสรางสรางสรรค - การเคลื่อนไหวที่สรางสรรค เชน กิจกรรม และครอบครัว
เขาจังหวะ เชียรลีดเดอร 2. เพื่อใหสามารถปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยงตอสุขภาพ อุบัติเหตุ ภัยธรรมชาติ การใชยา

บัติงกานการจั
๕. เขารวมกิจกรรมนันทนาการนอกโรงเรียน และ - การนําหลักการและแนวคิดของกิจกรรม สารเสพติด สื่อ และความรุนแรง
นําหลักการแนวคิดไปปรับปรุงและพัฒนา นันทนาการไปปรับปรุงและพัฒนาคุณภาพชีวิต 3. เพื่อใหสามารถเลือกใชระบบบริการสุขภาพ

ษาร่วมหลัดกการศึ
คุณภาพชีวิตของตนและสังคม ของตนและสังคม

สูตร อาชี
4. เพื่อใหมีทักษะการปฐมพยาบาล

กษาร่
มาตรฐาน พ 3.2 รักการออกกําลังกาย การเลนเกม และการกีฬา ปฏิบัติเปนประจําอยาง 5. เพื่อใหตระหนักในแนวทางการดําเนินชีวิตที่เหมาะสมและปลอดภัย
สม่ําเสมอ มีวินัย เคารพสิทธิ กฎ กติกา มีน้ําใจนักกีฬา มีจิตวิญญาณในการแขงขัน และชื่นชม

วศึกวษาและมั
ในสุนทรียภาพของการกีฬา สมรรถนะรายวิชา
1. แสดงความรูเกี่ยวกับหลักการ กระบวนการ และวางแผนสงเสริมสุขภาพ

มหลักสูธตยมศึ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

ร อาชี
1. ออกกําลังกายและเลนกีฬาที่เหมาะสมกับ - การออกกําลังกายดวยวิธีที่ชอบ เชน ฝกกาย
2. วิเคราะหปจจัยเสี่ยงตอสุขภาพ
ตนเองอยางสม่ําเสมอ และใชความสามารถ บริหารแบบตางๆ ขี่จักรยาน การออกกําลังกาย 3. วางแผนปองกันอันตรายจาก อุบัติเหตุ ภัยธรรมชาติ การใชยา สารเสพติด สื่อและความรุนแรง
4. ปฐมพยาบาลเบื้องตนตามหลักการและกระบวนการ

กษาตอนปลาย
ของตนเองเพิ่มศักยภาพของทีม ลดความเปน จากการทํางานในชีวิตประจําวัน การรํากระบอง

วศึกษาและมั
ตัวตน คํานึงถึงผลที่เกิดตอสังคม รํามวยจีน 5. ปฏิบัติโครงงานเพื่อสงเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตและสิ่งแวดลอม

(ทวิธศยมศึ
- การเลนกีฬาประเภทบุคคลและทีม คําอธิบายรายวิชา
- การใชความสามารถของตนในการเพิ่มศักยภาพ ศึกษาเกี่ยวกับ สุขบัญญัติแหงชาติเพื่อการเสริ มสรางสุขภาพของตนเองและครอบครัวเพื่อปองกัน
ของทีมในการเลนกีฬาและการเลนโดยคํานึงถึง ผลกระทบจากการขาดการออกกําลังกายและการรับประทานอาหารที่ไมเหมาะสม โรคติดตอและโรค
ผลประโยชนตอสังคม ไมติดตอ พฤติกรรมทางเพศที่สงผลตอสุขภาวะทางเพศและโรคเอดสโดยคํานึงถึงบริบทของสังคม การ
- การวางแผนกําหนดกิจกรรมการออกกําลังกาย หลีกเลี่ยงและปองกันอันตรายจากสิ่งเสพติดและอุ บัติเหตุ ปฏิบัติการปฐมพยาบาลจากอันตรายใน
และเลนกีฬา ชีวิตประจําวัน การเตรียมการเพื่อรับมือกับภัยธรรมชาติและภัยพิบัติ การใชยา สารเสพติด สื่อและ

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
2. อธิบายและปฏิบตั ิเกี่ยวกับสิทธิ กฎ กติกา - สิทธิ กฎ กติกาการเลนกีฬา ความรุนแรง การใชระบบบริการสุขภาพเพื่อนําไปสูการสรางเสริมสุขภาพและพัฒนาคุณภาพชีวิตดวย
กลวิธีตางๆ ในระหวางการเลน การแขงขัน - กลวิธี หลักการรุก การปองกันอยางสรางสรรค วิถีชีวิตที่พอเพียง
กีฬากับผูอื่น และนําไปสรุปเปนแนวปฏิบัติ ในการเลนและแขงขันกีฬา
และใชในชีวิตประจําวันอยางตอเนื่อง

241 241
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556

242 242
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ๓ นก. กลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ๒ นก.
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
- การนําประสบการณจากการเลนกีฬาไปใชใน
ชีวิตประจําวัน
3. แสดงออกถึงการมีมารยาทในการดู การเลน - การปฏิบัตติ นในเรื่องมารยาทในการดู การเลน
และการแขงขันของกีฬา ดวยความมีน้ําใน การแขงขัน ความมีน้ําใจนักกีฬา
นักกีฬา และนําไปใชปฏิบัติทุกโอกาสจนเปน - บุคลิกภาพที่ดี
บุคลิกภาพที่ดี
๔. รวมกิจกรรมทางกายและเลนกีฬาอยางมี - ความสุขที่ไดจากการเขารวมกิจกรรมทางกาย
ความสุข ชื่นชมในคุณคา และความงามของ และเลนกีฬา
การกีฬา - คุณคาและความงามของการกีฬา
สาระที่ 4 การสรางเสริมสุขภาพ สมรรถภาพ และการปองกันโรค

เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
มาตรฐาน พ 4.1 เห็นคุณคาและมีทักษะในการสรางเสริมสุขภาพ การดํารงสุขภาพ การปองกัน

ิงานการจัดการศึกษาร่
โรค แลการสรางเสริมสมรรถภาพเพื่อสุขภาพ

บัติงวานการจั
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
1. วิเคราะหบทบาทและความรับผิดชอบของ - บทบาทและความรับผิดชอบของบุคคลที่มีตอ

มหลักสูดตการศึ
ร อาชี
บุคคลที่มีตอการสรางเสริมสุขภาพและการ การสรางเสริมสุขภาพและการปองกันโรคใน

กษาร่
ปองกันโรคในชุมชน ชุมชน

วศึวกมหลั
๒. วิเคราะหอิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับ - อิทธิพลของสื่อโฆษณาเกี่ยวกับสุขภาพ

ษาและมั
สุขภาพเพื่อการเลือกบริโภค - แนวทางการเลือกบริโภคอยางฉลาดและปลอดภัย

กสูตร อาชี
๓. ปฏิบัตติ นตามสิทธิของผูบริโภค - สิทธิพื้นฐานของผูบริโภคและกฎหมายที่

ธยมศึ
เกี่ยวของกับการคุมครองผูบริโภค
๔. วิเคราะหสาเหตุและเสนอแนวทางการปองกัน - สาเหตุของการเจ็บปวยและการตายของคนไทย

วศึกกษาและมั
การเจ็บปวยและการตายของคนไทย เชน โรคจากการประกอบอาชีพ โรคทาง

ษาตอนปลาย
พันธุกรรม
- แนวทางการปองกันการเจ็บปวย
๕. วางแผนและปฏิบตั ิตามแผนการพัฒนา - การวางแผนการพัฒนาสุขภาพของตนเองและ

ธยมศึกษาตอนปลาย
สุขภาพของตนเองและครอบครัว ครอบครัว

(ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 หลักสูตรประกาศนียบัตรวิชาชีพ พุทธศักราช 2556
กลุมสาระการเรียนรูสุขศึกษาและพลศึกษา ๓ นก. กลุมวิชาสุขศึกษาและพลศึกษา ๒ นก.

เอกสารประกอบการปฏิ
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
๖. มีสวนรวมในการสงเสริมและพัฒนาสุขภาพ - การมีสวนรวมในการสงเสริมและพัฒนาสุขภาพ
ของบุคคลในชุมชน ของบุคคลในชุมชน

เอกสารประกอบการปฏิ
๗. วางแผนและปฏิบัตติ ามแผนการพัฒนา - การวางแผนพัฒนาสมรรถภาพทางกายและ

บัติงานการจัดการศึ
สมรรถภาพกายและสมรรถภาพกลไก สมรรถภาพกลไก
สาระที่ 5 ความปลอดภัยในชีวิต

บัติงกานการจั
มาตรฐาน พ. 5.1 ปองกันและหลีกเลี่ยงปจจัยเสี่ยง พฤติกรรมเสีย่ งตอสุขภาพ อุบัติเหตุ การใชยา
สารเสพติด และความรุนแรง

ษาร่วมหลัดกการศึ
สูตร อาชี
ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง

กษาร่
๑. มีสวนรวมในการปองกันความเสี่ยงตอการ - การจัดกิจกรรมปองกันความเสีย ่ งตอการใชยา
ใชยา การใชสารเสพติดและความรุนแรง สารเสพติด และความรุนแรง

วศึกวษาและมั
เพื่อสุขภาพของตนเอง ครอบครัวและสังคม

มหลักสูธตยมศึ
๒. วิเคราะหผลกระทบที่เกิดจากการครอบครอง - การวิเคราะหผลกระทบที่เกิดจากการ

ร อาชี
การใชและการจําหนายสารเสพติด ครอบครอง การใชและการจําหนายสารเสพติด
(ตนเอง ครอบครัว เศรษฐกิจ สังคม)

กษาตอนปลาย
- โทษทางกฎหมายที่เกิดจากการครอบครอง

วศึกษาและมั
การใชและการจําหนายสารเสพติด

(ทวิธศยมศึ
๓. วิเคราะหปจจัยที่มผี ลตอสุขภาพ หรือความ - ปจจัยที่มีผลตอสุขภาพของคนไทยและเสนอ
รุนแรงของคนไทยและเสนอแนวทางปองกัน แนวทางปองกัน
๔. วางแผน กําหนดแนวทางลดอุบัตเิ หตุ และ - การวางแผน กําหนดแนวทางลดอุบัติเหตุ และ
สรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน สรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน
๕. มีสวนรวมในการสรางเสริมความปลอดภัย - กิจกรรมการสรางเสริมความปลอดภัยในชุมชน
ในชุมชน

ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา)
๖. ใชทักษะการตัดสินใจแกปญ  หาในสถานการณ - ทักษะการตัดสินใจแกปญหาในสถานการณที่
ที่เสี่ยงตอสุขภาพและความรุนแรง เสี่ยงตอสุขภาพ
๗. แสดงวิธีการชวยฟนคืนชีพอยางถูกวิธี - วิธีการชวยฟนคืนชีพอยางถูกวิธี

243 243
244 244 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 245 245
246 246 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
เอกสารประกอบการปฏิ
เอกสารประกอบการปฏิ บัติงกานการจั
บัติงานการจัดการศึ ษาร่วมหลัดกการศึ กษาร่
สูตร อาชี วศึกวษาและมั
มหลักสูธตยมศึ
ร อาชี วศึกษาและมั
กษาตอนปลาย (ทวิธศยมศึ
ึกษา)กษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) 247 247
248 248 เอกสารประกอบการปฏิบัตเอกสารประกอบการปฏิ
ิงานการจัดการศึกษาร่
บัติงวานการจั
มหลักสูดตการศึ
ร อาชี วศึวกมหลั
กษาร่ ษาและมั ธยมศึ
กสูตร อาชี วศึกกษาและมั
ษาตอนปลาย (ทวิศึกษา) (ทวิศึกษา)
ธยมศึกษาตอนปลาย
คณะผู้รวบรวมและจัดทำเอกสำร

ที่ปรึกษำ
๑ นายสุเทพ ชิตยวงษ์ เลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
๒. นายวณิชย์ อ่วมศรี รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
๓. นายประชาคม จันทรชิต รองเลขาธิการคณะกรรมการการอาชีวศึกษา
๔. นายสุนันท์ เทพศรี ผู้ชานาญการด้านความร่วมมือการจัดการอาชีวศึกษา
ระหว่างการศึกษาขั้นพื้นฐานและอาชีวศึกษา

คณะทำงำน
๑. นางเจิดฤดี ชินเวโรจน์ ผู้อานวยการสานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๒. นายจินศิริ พุ่มศิริ ผู้อานวยการสานักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
๓. นางพรทิพย์ เอกมหาราช สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๔. นายวิทวัต ปัญจมะวัต สานักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
๕. นายเรืองแสง ห้าสกุล ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคนิคเพชรบุรี
๖. ว่าที่ร้อยตรีจรินทร์ ธรรมรักษ์ ผู้อานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีพณิชยการหาดใหญ่
๗. นายกิตติ รัตนราษี รองผู้อานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีปัญญาภิวัฒน์
๘. นางสุจิตรา บารุงกาญจน์ รองผู้อานวยการวิทยาลัยเทคโนโลยีหมู่บ้านครูภาคเหนือ
๙. นางจารุนันท์ ปกป้อง รองผู้อานวยการวิทยาลัยเทคนิคสมุทรสงคราม
๑๐. นางขนิษฐา ภมรดล ข้าราชการบานาญ
๑๑. นางณัฐยา สลับสม วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ
๑๒. นางสาวชญานันทน์ หอมจิตร วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ
๑๓. นางชลธิชา เหล็กกล้า วิทยาลัยเทคนิคนครสวรรค์
๑๔. นางชูศรี มังกะระ วิทยาลัยเทคนิคลาพูน
๑๕. นางดารณี รัชฎาวรรณพงษ์ วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ
๑๖. นายคารณ เพ็ยทอง วิทยาลัยเทคนิคสมุทรปราการ
๑๗. นายสันติ ล้อสังวาลย์ วิทยาลัยเทคนิคปทุมธานี
๑๘. นายธวัชชัย ดุกสุขแก้ว วิทยาลัยการอาชีพบางสะพาน
๑๙. นางอวัสดา คังคะโน วิทยาลัยเทคนิคพัทลุง
๒๐. นางชนากานต์ จิตรมะโน วิทยาลัยเกษตรและเทคโนโลยีเพชรบุรี
๒๑. นางสาวแก้วกานต์ ภูมิศรีแก้ว วิทยาลัยเทคนิคดอนเมือง
๒๒. นายเทิดศักดิ์ นิสังกาศ วิทยาลัยอาชีวศึกษามหาสารคาม
๒๓. นางนนทกร คาวอน วิทยาลัยเทคนิคเพชรบุรี
๒๔. นางวัชรี เอื้อเฟื้อ วิทยาลัยอาชีวศึกษาชลบุรี
๒๕. นายพิชัย ปัญญาอาวุธ วิทยาลัยสารพัดช่างพระนคร
๒๖. นางดรัณพัชร์ วงษ์อยู่น้อย ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานราย วิชาพื้นฐานวิชาภาษาไทย
๒๗. นางสาวอรอร ฤทธิ์กลาง ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานราย วิชาพื้นฐานวิชาภาษาไทย
๒๘. นางพัสวี ไพศาลธนสุข ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาภาษาอังกฤษ
๒๙. นางวนิดา วัฒนธรรม ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาวิทยาศาสตร์
๓๐. นายทรงวิทย์ สุวรรณธาดา ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาคณิตศาสตร์
๓๑. นางรัตนวิภา ธรรมโชติ ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาสุขศึกษาและพละศึกษา
๓๒. ว่าที่ ร.ต.หญิงจีรพรพจี ศรีเพชรเจริญ ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาศิลปะ
๓๓. นายวิรัตน์ คุ้มคา ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชาศิลปะ
๓๔. คุณสุภาภรณ์ โรมเริงฤทธิ์ ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชางานอาชีพและเทคโนโลยี
๓๕. นางสาวสมควร เพียรพิทักษ์ ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน วิชางานอาชีพและเทคโนโลยี
๓๖. นายกรเอก เผื่อนผัน ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานราย วิชาพื้นฐานวิชาภาษาไทย
๓๗. นางปราณี ลาภพูนนิวัฒน์ ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานราย วิชาพื้นฐานวิชาภาษาไทย
๓๘. นายณัฏฐเมธร์ ดุลคนิต ผู้แทนสานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐานราย วิชาพื้นฐานวิชาสังคมศึกษา
๓๙. นางวรัญญ์รัตน์ ตะเคียนทอง สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๔๐. นางสาวเพ็ญนภา ไพรบูรณ์ สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๔๑. นางจีรพัส บทมาตย์ สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๔๒. นางสาวศรีจักรี ธานีนุกูล สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๔๓. นางอัญชนา เฉลิมรัมย์ สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๔๔. นางสาวนลินี แก้วสุกใส สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๔๕. นางสาวสุนิสา สายสุวรรณ์ สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๔๖. นางสาวฐานมาศ แสงอรุณธาราวัฒนา สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๔๗. นางสาวรัชนก แสงแก้วท้ายคุ้ง สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๔๘. นายพนม หรูวัฒนานนท์ สานักมาตรฐานการอาชีวศึกษาและวิชาชีพ
๔๙. นายสรพงษ์ กุ้ยบารุง สานักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
๕๐. นางประภัศษร ครองงาม สานักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
๕๑. นายธรณิน ขจรภักดิ์ สานักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา
๕๒. นายนิติรัฐ อนิวรรตนกุล สานักนโยบายและแผนการอาชีวศึกษา

You might also like