You are on page 1of 38

โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

1
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

ตัวชี้วัดและหนวยการเรียนรู
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
ตามหลักสูตรสถานศึกษาโรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร พุทธศักราช 2552

โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1
สํานักงานคณะกรรมการการศึกษาขั้นพื้นฐาน
กระทรวงศึกษาธิการ
2
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

คํานํา
กระทรวงศึกษาธิการ ไดมีคําสั่งใหใชหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ในโรงเรียนตนแบบ และโรงเรียนที่มีความพรอมการใชหลักสูตร ในปการศึกษา 2552 และใช
ในโรงเรี ย นทั่ ว ประเทศ ในป ก ารศึ ก ษา 2553 หลั ก สู ต รนี้ เ ป น หลั ก สู ต รที่ ใ ช แ นวคิ ด หลั ก สู ต รอิ ง
มาตรฐาน (Standard-based curriculum) กลาวคือ เปนหลักสูตรที่กําหนดมาตรฐาน การเรียนรู เปน
เปาหมายในการพัฒนาคุณภาพผูเรียน โดยในมาตรฐานการเรียนรู ไดระบุสิ่งที่ผูเรียนพึงรูและปฏิบัติได
เมื่อสําเร็จการศึกษา ขั้นพื้นฐานเพื่อใหผูบริหาร ครู ผูปกครอง ชุมชน ผูเกี่ยวของทุกภาคสวนใน
การจั ด การศึ ก ษาได ยึ ด เน น แนวทางในการดํ า เนิ น การและพั ฒ นาส ง เสริ ม ให บ รรลุ คุ ณ ภาพ ความ
มาตรฐานการเรี ย นรู ดั ง กล า วด ว ยการดํ า เนิ น การบริ ห ารจั ด การอิ ง มาตรฐาน (Standard-based
Administration) การจัดการเรียนรูที่มีมาตรฐานเปนเปาหมาย (Standard-based Assessment) เพื่อให
กระบวนการนําหลักสูตรไปสูการปฏิบัติ เปนไปอยางมีประสิทธิภาพ
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร เปนโรงเรียนตนแบบการใชหลักสูตรในปการศึกษา 2552
ไดดําเนินจัดทําหลักสูตร สถานศึกษาโดยนําสาระการเรียนรูที่สําคัญของทองถิ่น เปาประสงคของการ
จัดการศึกษาของโรงเรียนตามความตองการของชุมชน ทักษะกระบวนการคิด ผสมผสาน ใหสอดคลอง
รอยรัดกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551 ทั้งนี้ ไดดําเนินงานอยาง เปน
ระบบ ได แ ก ทบทวนเป า หมายการจั ด การศึ ก ษาของโรงเรี ย น และปรั บ ให ส อดคล อ งกั บ การ
เปลี่ยนแปลงของสังคมและโลกปจจุบัน วิเคราะหหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช
2551 ทุกกลุมสาระการเรียนรู จัดทําโครงสรางหลักสูตร วิเคราะหมาตรฐานสาระการเรียนรู และ
ตัวชี้วัด กําหนดคําอธิบายรายวิชา จัดทําหนวยการเรียนรูแผนการจัดการเรียนรู แนวทางการวัดและผล
ประเมิ น ผล ผู ชํ า นาญตรวจสอบ แนะนํ า ประชาพิ จ ารณ ผู เ กี่ ย วข อ งและเสนอให ค ณะกรรมการ
สถานศึกษาขั้นพื้นฐาน ใหความเห็นชอบ ดําเนินการขับเคลื่อน ใหหลักสูตรสูการปฏิบัติ บันทึกผลการ
ใชเพื่อนําไปปรับปรุง เมื่อสิ้นปการศึกษา ประเมินและรายงาน
ขอขอบคุ ณ คณะกรรมการสถานศึ ก ษาขั้ น พื้ น ฐาน ครู แ ละบุ ค ลากรการศึ ก ษา นั ก เรี ย น
ผูปกครอง ผูแทนชุมชน ศึกษานิเทศก ผูทรงคุณวุฒิ ผูเชี่ยวชาญ และผูเกี่ยวของ ที่มีสวนรวมในการ
จัดทําหลักสูตรสถานศึกษา ของโรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร ใหสําเร็จลุลวงไดอยางมีคุณภาพเพื่อ
มุงสูเปาหมาย คือ การพัฒนาคุณภาพผูเรียน ใหมีความรู ความสามารถมีทักษะกระบวนการคิด เปนคน
ดี มีคุณธรรม เปนผูนําที่สงางามสูสังคมและดํารงชีวิต ในสังคมไดอยาง มีความสุข
สําหรับโรงเรียนใดที่นําเอกสารนี้ไปเปนแนวทางจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา ขอความกรุณา
อางอิง หรือขอบคุณไวในเอกสารของทานดวยจักเปนพระคุณยิ่ง และ

3
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

หากทานมีขอเสนอแนะเพื่อการปรับปรุงแกไขอันจะชวยใหเอกสารมีความสมบูรณ สามารถปฏิบัติได
อยางแทจริง โปรดสงขอคิดเห็นมาที่ :
ผูอํานวยการโรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร
111 หมูที่ 18 ตําบล คลองหนึ่ง อําเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 12120
(ในมหาวิทยาลัยธรรมศาสตร ศูนยรังสิต)
โทรศัพท 0-2564-4498
โทรสาร 0-2564-2729
มือถือ 08-9200-8691
E-mail : naree_2499@hotmail.com
Website : www.pts.ac.th

โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร
สํานักงานเขตพื้นที่การศึกษาปทุมธานี เขต 1

4 ข
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

หนา
คํานํา ก
ทําไมตองเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี 1
เรียนรูอะไรในการงานอาชีพและเทคโนโลยี 1
สาระและมาตรฐานการเรียนรู 2
คุณภาพผูเรียน ชวงชั้นที่ 3 3
ตัวชี้วัดและหนวยการเรียนรู 4
สาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว 4
สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี 5
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร 6
สาระที่ 4 การอาชีพ 7
คําอธิบายรายวิชา 8
โครงสรางรายวิชา 9
หนวยการเรียนรู 10
อภิธานศัพท 23
คณะผูจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา 31
ภาพบันทึกความทรงจํา 32

5
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

ทําไมตองเรียนการงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี เปนกลุมสาระที่ชวยพัฒนาใหผูเรียนมีความรู
ความเขาใจ มีทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการดํารงชีวิต และรูเทาทันการเปลี่ยนแปลง สามารถนําความรู
เกี่ ย วกั บ การดํ า รงชี วิ ต การอาชี พ และเทคโนโลยี มาประยุ ก ต ใ ช ใ นการทํ า งานอย า งมี ค วามคิ ด
สรางสรรค และแขงขันในสังคมไทยและสากล เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ รักการทํางาน และ
มีเจตคติที่ดีตอการทํางาน สามารถดํารงชีวิตอยูในสังคมไดอยางพอเพียง และมีความสุข

เรียนรูอะไรในการงานอาชีพและเทคโนโลยี
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี มุงพัฒนาผูเรียนแบบองครวม เพื่อใหมี
ความรูความสามารถ มีทักษะในการทํางาน เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพและการศึกษาตอไดอยาง
มีประสิทธิภาพ โดยมีสาระสําคัญ ดังนี้
— การดํารงชีวิตและครอบครัว เปนสาระเกี่ยวกับการทํางานในชีวิตประจําวัน ชวยเหลือ
ตนเอง ครอบครัว และสังคมไดในสภาพเศรษฐกิจที่พอเพียง ไมทําลายสิ่งแวดลอม เนนการปฏิบัติจริง
จนเกิ ด ความมั่ น ใจและภู มิ ใ จในผลสํ า เร็ จ ของงาน เพื่ อ ให ค น พบความสามารถ ความถนั ด และ
ความสนใจของตนเอง
— การออกแบบและเทคโนโลยี เปนสาระเกี่ยวกับการพัฒนาความสามารถของมนุษยอยาง
สรางสรรค โดยนําความรูมาใชกับกระบวนการเทคโนโลยี สรางสิ่งของเครื่องใช วิธีการ หรือเพิ่ม
ประสิทธิภาพในการดํารงชีวิต
— เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร เปนสาระเกี่ยวกับกระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
การติดตอสื่อสาร การคนหาขอมูล การใชขอมูลและสารสนเทศ การแกปญหาหรือการสรางงาน คุณคา
และผลกระทบของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

1
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

— การอาชี พ เป น สาระเกี่ ย วกั บ ทั ก ษะที่ จํ า เป น ต อ อาชี พ เห็ น ความสํ า คั ญ ของคุ ณ ธรรม
จริ ย ธรรมและเจตคติ ที่ ดี ต อ อาชี พ ใช เ ทคโนโลยี ไ ด เ หมาะสม เห็ น คุ ณ ค า ของอาชี พ สุ จ ริ ต และ
เห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ

สาระและมาตรฐานการเรียนรู
สาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข า ใจการทํ า งาน มี ค วามคิ ด สร า งสรรค มี ทั ก ษะกระบวนการการทํ า งาน ทั ก ษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะ
การแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใช
พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว
สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใชหรือ
วิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยี
ในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยี
ที่ยั่งยืน
สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรฐาน ง 3.1 เขา ใจ เห็น คุ ณ ค า และใชก ระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค น ขอมู ล
การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล และมีคุณธรรม
สาระที่ 4 อาชีพ
มาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ มีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยีเพื่อ
พัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ

2
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

คุณภาพผูเรียน ชวงชั้นที่ 3
จบชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3
— เขาใจกระบวนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ ใชกระบวนการกลุมในการทํางาน มีทักษะ
การแสวงหาความรู ทักษะกระบวนการแกปญหา และทักษะการจัดการ มีลักษณะนิสัยการทํางานที่
เสียสละ มีคุณธรรม ตัดสินใจอยางมีเหตุผลและถูกตอง และมีจิตสํานึกในการใชพลังงาน ทรัพยากร
และสิ่งแวดลอมอยางประหยัดและคุมคา
— เข า ใจกระบวนการเทคโนโลยี แ ละระดั บ ของเทคโนโลยี มี ค วามคิ ด สร า งสรรค ใ น
การแกปญหาหรือสนองความตองการ สรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี
อย า งถู ก ต อ งและปลอดภั ย โดยถ า ยทอดความคิ ด เป น ภาพฉายเพื่ อ นํ า ไปสู ก ารสร า งชิ้ น งานหรื อ
แบบจําลองความคิดและการรายงานผล เลือกใชเทคโนโลยีอยางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม
และมีการจัดการเทคโนโลยีดวยการลดการใชทรัพยากร หรือเลือกใชเทคโนโลยีที่ไมมีผลกระทบกับ
สิ่งแวดลอม
— เข า ใจหลั ก การเบื้ อ งต น ของการสื่ อ สารข อ มู ล เครื อ ข า ยคอมพิ ว เตอร หลั ก การ และ
วิธีแกปญหา หรือการทําโครงงานดวยกระบวนการทางเทคโนโลยีสารสนเทศ มีทักษะการคนหาขอมูล
และการติดตอสื่อสารผานเครือขายคอมพิวเตอรอยางมีคุณธรรมและจริยธรรม การใชคอมพิวเตอรใน
การแกปญหา สรางชิ้นงานหรือโครงงานจากจินตนาการ และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน
— เขาใจแนวทางการเลือกอาชีพ การมีเจตคติที่ดี และเห็นความสําคัญของการประกอบอาชีพ
วิธีการหางานทํา คุณสมบัติที่จําเปนสําหรับการมีงานทํา วิเคราะหแนวทางเขาสูอาชีพ มีทักษะพื้นฐานที่
จํ า เป น สํ า หรั บ การประกอบอาชี พ และประสบการณ ต อ อาชี พ ที่ ส นใจ และประเมิ น ทางเลื อ กใน
การประกอบอาชีพที่สอดคลองกับความรู ความถนัด และความสนใจ

3
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

ตัวชี้วัดและหนวยการเรียนรู
สาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว
มาตรฐาน ง 1.1 เข า ใจการทํ า งาน มี ค วามคิ ด สร า งสรรค มี ทั ก ษะกระบวนการการทํ า งาน ทั ก ษะ
การจัดการ ทักษะกระบวนการการแกปญหา ทักษะการทํางานรวมกัน และทักษะ
การแสวงหาความรู มีคุณธรรม และลักษณะนิสัยในการทํางาน มีจิตสํานึกในการใช
พลังงาน ทรัพยากรและสิ่งแวดลอม เพื่อการดํารงชีวิตและครอบครัว
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
ม.3 1. อภิปรายขั้นตอนการทํางานที่มี Š ขั้นตอนการทํางานที่มีประสิทธิภาพ
ประสิทธิภาพ เปนการปฏิบัตติ ามกระบวนการ
2. ใชทักษะในการทํางานรวมกันอยาง ทํางานโดยการทําตามลําดับขั้นตอน
มีคุณธรรม มีความสามรถทํางานสําเร็จตาม
3. อภิปรายการทํางานโดยใชทกั ษะ เปาหมายทีว่ างไว เชน
การจัดการเพื่อการประหยัดพลังงาน - การซัก ตาก พับ เก็บ เสื้อผา
ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม ที่ตองดูแลอยางประณีต
- การสรางชิ้นงานหรือผลงาน
Š ทักษะการทํางานรวมกัน เปน
การสรางใหผูเรียนสามารถทํางาน
และอยูรว มกันไดอยางมีความสุข
และมีคุณธรรม เชน
- การเตรียม ประกอบอาหาร
ประเภทสํารับ
- การประดิษฐบรรจุภัณฑจากวัสดุ
ธรรมชาติ
Š ทักษะการจัดการ เปนการจัด
ระบบงานและระบบคน เพื่อให
ทํางานสําเร็จตามเปาหมายอยางมี
ประสิทธิภาพ เชน
- ธุรกิจประเภทตาง ๆ
- การขยายพันธพืช
- การติดตั้ง/ประกอบผลิตภัณฑ

4
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี
มาตรฐาน ง 2.1 เขาใจเทคโนโลยีและกระบวนการเทคโนโลยี ออกแบบและสรางสิ่งของเครื่องใชหรือ
วิธีการ ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางมีความคิดสรางสรรค เลือกใชเทคโนโลยี
ในทางสรางสรรคตอชีวิต สังคม สิ่งแวดลอม และมีสวนรวมในการจัดการเทคโนโลยี
ที่ยั่งยืน
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
ม.3 1. อธิบายระดับของเทคโนโลยี Š ระดับของเทคโนโลยี แบงตาม
2. สรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธกี าร ความรูที่ใชเปน 3 ระดับ คือ ระดับ
ตามกระบวนการเทคโนโลยีอยาง พื้นบานหรือพืน้ ฐาน ระดับกลาง
ปลอดภัย ออกแบบโดยถายทอด และระดับสูง
ความคิดเปนภาพฉายเพื่อนําไปสู Š การสรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการ
การสรางตนแบบและแบบจําลอง ตามกระบวนการเทคโนโลยี เพื่อให
ของสิ่งของเครื่องใชหรือถายทอด ผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ
ความคิดของวิธีการเปนแบบจําลอง สามารถยอนกลับมาแกไขไดงาย
ความคิดและการรายงานผล Š ภาพฉาย เปนภาพแสดงรายละเอียด
ของชิ้นงาน ประกอบดวย ภาพ
ดานหนา ดานบน แสดงขนาดและ
หนวยวัด เพื่อนําไปสรางชิ้นงาน
Š การสรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการ
ตองอาศัยความรูที่เกี่ยวของอื่นอีก
เชน กลไกและการควบคุมไฟฟา –
อิเล็กทรอนิกส

5
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
มาตรฐาน ง 3.1 เขา ใจ เห็ น คุณ ค า และใชก ระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศในการสื บค น ขอมู ล
การเรียนรู การสื่อสาร การแกปญหา การทํางาน และอาชีพอยางมีประสิทธิภาพ
ประสิทธิผล และมีคุณธรรม
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
ม.3 1. อธิบายหลักการทําโครงงานที่มี Š หลักการทําโครงงาน เปน
การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ การพัฒนาผลงานที่เกิดจากการศึกษา
คนควา ดําเนินการพัฒนาตาม
ความสนใจและความถนัด โดยใช
เทคโนโลยีสารสนเทศ
2. เขียนโปรแกรมภาษาขั้นพื้นฐาน Š หลักการพื้นฐานในการเขียน
โปรแกรม
- แนวคิดและหลักการโปรแกรม
โครงสรางโปรแกรม ตัวแปร
การลําดับคําสั่ง การตรวจสอบ
เงื่อนไข การควบคุมโปรแกรม
คําสั่งแสดงผล และรับขอมูล
การเขียนโปรแกรมแบบงาย ๆ
- การเขียนสคริปตแฟลช
3. ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ Š การเลือกซอฟตแวรที่เหมาะสมกับ
นําเสนองาน ในรูปแบบที่เหมาะสม ลักษณะของงาน
กับลักษณะงาน Š การใชซอฟตแวรและอุปกรณดิจิตัล
มาชวยในการนําเสนองาน
4. ใชคอมพิวเตอรชวยสรางชิ้นงาน Š การใชคอมพิวเตอรชวยสรางงาน
จากจินตนาการหรืองานที่ทํา ตามหลักการทําโครงงาน โดยมี
ในชีวิตประจําวัน ตามหลัก การอางอิงแหลงขอมูล ใชทรัพยากร
การทําโครงงานอยางมีจิตสํานึกและ อยางคุมคา ไมคัดลอกผลงานของ
ความรับผิดชอบ ผูอื่น ใชคําสุภาพ และไมสราง
ความเสียหายตอผูอื่น

6
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

สาระที่ 4 อาชีพ
มาตรฐาน ง 4.1 เขาใจ มีทักษะที่จําเปน มีประสบการณ เห็นแนวทางในงานอาชีพ ใชเทคโนโลยี
เพื่อพัฒนาอาชีพ มีคุณธรรม และมีเจตคติที่ดีตออาชีพ
ชั้น ตัวชี้วัด สาระการเรียนรูแกนกลาง
ม.3 1. อภิปรายการหางานดวยวิธีที่ Š การหางานหรือตําแหนงทีว่ าง
หลากหลาย - สื่อสิ่งพิมพ
2. วิเคราะหแนวทางเขาสูอาชีพ - สื่ออิเล็กทรอนิกส
3. ประเมินทางเลือกในการประกอบ Š แนวทางเขาสูอาชีพ
อาชีพที่สอดคลองกับความรู - คุณสมบัติที่จําเปน
ความถนัด และความสนใจ - ความมั่นคง
ของตนเอง - การประเมินทางเลือก
Š การประเมินทางเลือกอาชีพ
- แนวทางการประเมิน
- รูปแบบการประเมิน
- เกณฑการประเมิน

7
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

คําอธิบายรายวิชา
กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
รหัสรายวิชา ง 33101 ชั้นมัธยมศึกษาศึกษาปที่ 3 เวลาเรียน 80 ชั่วโมง

ศึกษาขั้นตอนการทํางานที่มปี ระสิทธิภาพ ทักษะในการทํางานรวมกันอยางมีคุณธรรม การ


ทํางานโดยใชทักษะ การจัดการเพื่อการประหยัดพลังงาน ทรัพยากร และสิ่งแวดลอม ระดับของ
เทคโนโลยี สรางสิ่งของเครื่องใชหรือวิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยีอยางปลอดภัย ออกแบบโดย
ถายทอดความคิดเปนภาพฉายเพื่อนําไปสู การสรางตนแบบและแบบจําลองของสิ่งของเครื่องใชหรือ
ถายทอดความคิดของวิธีการเปนแบบจําลองความคิดและการรายงานผล หลักการทําโครงงานที่มี
การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ เขียนโปรแกรมภาษาขัน้ พื้นฐาน ใชเทคโนโลยีสารสนเทศนําเสนองาน
ในรูปแบบที่เหมาะสมกับลักษณะงาน ใชคอมพิวเตอรชว ยสรางชิ้นงาน จากจินตนาการหรืองานทีท่ ํา
ในชีวิตประจําวัน ตามหลักการทําโครงงานอยางมีจิตสํานึกและความรับผิดชอบ การหางานดวยวิธีที่
หลากหลาย วิเคราะหแนวทางเขาสูอาชีพ ประเมินทางเลือกในการประกอบอาชีพทีส่ อดคลองกับ
ความรู ความถนัด และความสนใจของตนเอง

โดยกระบวนการอภิปราย ใช อธิบาย สราง เขียน วิเคราะห ประเมิน ความสามารถ


ในการสื่อสาร ความสามารถในการคิด ความสามารถในการแกปญหา ความสามารถในการใชทกั ษะ
ชีวิต และความสามารถในการใชเทคโนโลยี

ใหมีคุณลักษณะอันพึงประสงครักชาติ ศาสน กษัตริย ซื่อสัตยสุจริต มีวินัย ใฝเรียนรู


อยูอยางพอเพียง มุงมั่นในการทํางาน รักความเปนไทย มีจิตสาธารณะ รักนวลสงวนตัว
การเปนสุภาพบุรุษ สุภาพสตรี

8
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

โครงสรางรายวิชา การงานอาชีพและเทคโนโลยี
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา 80 ชั่วโมง คะแนนเก็บ 100 คะแนน

น้ําหนัก
ลําดับ เวลา
ชื่อหนวยการเรียนรู มาตรฐานการเรียนรู/ ตัวชี้วัด คะแนน
ที่ (ชั่วโมง)
(100)
1 ครอบครัว
แผนที่ 1 หนูนอย Service ง 1.1 ม.3/1 9 10
2 ชุมชน
แผนที่ 2 หนูนอย Creative ง 1.1 ม.3/2 9 10
แผนที่ 3 หนูนอย Data ง 2.1 ม.3/2 5 5
แผนที่ 4 หนูนอย IT ง 3.1 ม.3/1 4 5
แผนที่ 5 หนูนอย .Com ง 3.1 ม.3/3 8 5
3 สรุปทบทวนภาพรวม (สอบกลางภาค) 5 10
4 ชุมชน
แผนที่ 6 หนูนอย Successful ง 1.1 ม.3/3 9 10
แผนที่ 7 หนูนอย Occupation ง 4.1 ม.3/1 ง 4.1 ม.3/2 ง 4.1 ม.3/3 9 10
5 โลก
แผนที่ 8 หนูนอย The World ง 2.1 ม.3/1 4 5
แผนที่ 9 หนูนอย Universe ง 3.1 ม.3/2 ง 3.1 ม.3/4 14 15
6 สรุปทบทวนภาพรวม (สอบปลายภาค) 4 10
รวมทั้งสิ้น ตลอดป 80 100

หมายเหตุ 1) * มาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วดั ชั้นป ทีถ่ ูกใชมากกวา 1 หนวย


2) อัตราสวนคะแนนระหวางเรียนกับการสอบ 80 : 20

9
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 1 ครอบครัว
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา………9…….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการ สาระที่
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ยอด การคิด ยอย จัดการเรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)
ง 1.1
ม.3/1 อภิปราย Š ขั้นตอนการทํางานที่มี - กระบวนการ - มีวินัย (3) - ความ ผลงานจะสําเร็จ การจัด - Diagram แผนที่ 1 การจัดระเบียบ
ขั้นตอนการทํางาน ประสิทธิภาพเปนการปฏิบัติตาม ทํางานที่มี - ใฝเรียนรู สามารถใน ตามเปาหมายได ระเบียบ แสดง หนูนอย 1. พิจารณาขอมูล
ที่มีประสิทธิภาพ กระบวนการทํางาน โดยการทํา ประสิทธิภาพ (4) การคิด (2) นั้นตองมีการ 1. พิจารณา ขั้นตอนการ Service หรือสิ่งที่ตองการ
ตามลําดับขั้นตอน มี ทํางานตาม 2. กําหนด ทํางานลําดับ จัดระเบียบทั้งหมด
ความสามารถทํางานสําเร็จตาม ขั้นตอนที่มี วัตถุประสงค ขั้นตอน 2. กําหนด
เปาหมายที่ วางไว ประสิทธิภาพ 3. นําขอมูลมา - รายงาน วัตถุประสงคใน
- การซัก ตาก พับ เก็บ เสื้อผาที่ จัดระเบียบ การจัดระเบียบ
ตองดูแลอยางประณีต ขอมูล/สิ่งตาง ๆ
- การสรางชิ้นงานหรือผลงาน 3. นําขอมูลมา
จัดเปนประเภท
หมวดหมู หรือ
เรียงตามลําดับ
ขั้นตอนตามความ
เหมาะสม

10
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 2 ชุมชน
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา………9…….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการจัดการ สาระที่
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ยอด การคิด ยอย เรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)
ง 1.1
ม.3/2 ใชทักษะใน ทักษะการทํางานรวมกัน เปนการ - ทักษะ - ซื่อสัตย (2) - ความ การทํางาน กระบวนการ - ใบงาน แผนที่ 2 กระบวนการคิดอยางมี
การทํางานรวมกัน สรางใหผูเรียนสามารถทํางานและ การทํางาน - มุงมั่นใน สามารถใน รวมกันอยางมี คิดอยางมี - รายงาน หนูนอย วิจารณญาณ
อยางมีคุณธรรม อยูรวมกันไดอยางมีความสุข และมี รวมกัน การทํางาน การคิด (2) ความสุขตองมี วิจารณญาณ Creative 1. ระบุประเด็นปญหา
คุณธรรม เชน (6) - ความ คุณธรรม 1. ระบุ หรือประเด็นในการคิด
- การเตรียม ประกอบ - มีจิต สามารถใน 2. ประมวล 2. ประมวลขอมูลที่เกี่ยง
อาหารประเภทสําหรับ สาธารณะ (8) การใชทักษะ ขอมูล ของจากการคิดทาง
- การประดิษฐ บรรจุภัณฑจาก ชีวิต (4) 3. วิเคราะห กวาง คิดทางลึกซึ้ง คิด
วัสดุธรรมชาติ 4. พิจารณา อยางละเอียด และคิดใน
5. ตัดสินใจ รายละเอียด
3. วิเคราะหขอมูล
4. พิจารณาทางเลือก
โดยพิจารณาขอมูลโดย
ใชหลักเหตุผลและระบุ
ทางเลือกที่หลากหลาย

11
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 2 ชุมชน(ตอ)
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา…………….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการจัดการ สาระที่
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ยอด การคิด ยอย เรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)

5. ลงความเห็น/
ตัดสินใจ/ทํานาย
อนาคต โดยประเมิน
ทางเลือกและใชเหตุผล
คิดคุณคา

12
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 2 ชุมชน (ตอ)
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา………9…….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการ สาระที่
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ยอด การคิด ยอย จัดการเรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)
ง 1.1
ม 3/3 อภิปราย Š ทักษะการจัดการ เปนการจัด - ทักษะ - ซื่อสัตย (2) - ความ การจัดการที่ดีมี การนําความรู - ใบงาน แผนที่ 7 การนําความรูไปใช
การทํางานโดยใช ระบบงานและระบบคน เพื่อให การจัดการ - มีวินัย (3) สามารถใน ประสิทธิภาพ ไปใช - รายงาน หนูนอย 1. ทบทวนความรูที่
ทักษะการจัดการ ทํางานสําเร็จตามเปาหมายอยางมี อยางมี - มุงมั่นใน การคิด (2) ตองประหยัด 1. ทบทวน Successful มี
เพื่อการประหยัด ประสิทธิภาพ เชน ประสิทธิภ การทํางาน - ความ พลังงานและ 2. มองเห็น 2. มองเห็นความ
พลังงานทรัพยากร - ธุรกิจประเภทตางๆ าพ (6) สามารถใน สิ่งแวดลอม 3. นําความรู เหมือนกันของ
และ สิ่งแวดลอม - การขยายพันธุพืช - มีจิต การใชทักษะ สถานการณใหม
- การติดตั้ง/ประกอบ สาธารณะ (8) ชีวิต (4) กับสถานการณเดิม
ผลิตภัณฑ ที่เคยเรียนรูมา
3. นําความรูที่มีไป
ใชในสถานการณ
ใหมที่ใกลเคียงกับ
ที่ไดเคยเรียนรูแลว

13
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 2 ชุมชน (ตอ)
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา………5…….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการ สาระที่
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ยอด การคิด ยอย จัดการเรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)
ง 2.1
ม.3/2 สรางสิ่งของ Š การสรางสิ่งของเครื่องใชหรือ - การสราง - มีวินัย (3) - ความ ทุกคนสามารถ กระบวนการ ชิ้นงาน 3 แผนที่ 3 กระบวนการคิด
เครื่องใชหรือวิธีการ วิธีการตามกระบวนการเทคโนโลยี สิ่งของ - ใฝเรียนรู สามารถ ใน ออกแบบภาพ คิดอยางมี มิติ หนูนอย อยางมีวิจารณญาณ
ตามกระบวนการ เพื่อใหผูเรียนทํางานอยางเปนระบบ เครื่องใช (4) การคิด (2) 3 มิติไดตาม วิจารณญาณ Data 1. ระบุประเด็น
เทคโนโลยีอยาง สามารถยอนกลับมาแกไขไดงาย ตาม - มุงมั่นการ - ความ ความคิดตนเอง 1. ระบุ ปญหาหรือ
ปลอดภัย ออกแบบ Š ภาพฉาย เปนภาพแสดง กระบวน ทํางาน (6) สามารถใน 2. ประมวล ประเด็นในการคิด
โดยถายทอด รายละเอียดของชิ้นงาน เทคโนโลยี การใช ขอมูล 2. ประมวลขอมูล
ความคิดเปนภาพ ประกอบดวย ภาพดาน หนา 3 มิติ เทคโนโลยี 3. วิเคราะห ที่เกี่ยงของจากการ
ฉายเพื่อนําไปสูการ ดานขาง ดานบนแสดงขนาดและ (5) 4. พิจารณา คิดทางกวาง คิด
สรางตนแบบและ หนวยวัด เพื่อนําไปสรางชิ้นงาน 5. ตัดสินใจ ทางลึกซึ้ง คิดอยาง
แบบจําลองความคิด Š การสรางสิ่งของเครื่องใช หรือ ละเอียด และคิดใน
และรายงานผล วิธีการตองอาศัยความรูที่เกี่ยวของ รายละเอียด
อื่นอีก เชน กลไกและการควบคุม 3. วิเคราะหขอมูล
ไฟฟา – อิเล็กทรอนิกส 4. พิจารณา
- Corel Draw ทางเลือกโดย
พิจารณาขอมูล

14
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 2 ชุมชน (ตอ)
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา…………….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการ สาระที่
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ยอด การคิด ยอย จัดการเรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)
โดยใชหลักเหตุผล
และระบุทางเลือก
ที่หลากหลาย
5. ลงความเห็น/
ตัดสินใจ/ทํานาย
อนาคต โดย
ประเมินทางเลือก
และใชเหตุผลคิด
คุณคา

15
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 2 ชุมชน (ตอ)
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา………4…….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการ สาระที่
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ยอด การคิด ยอย จัดการเรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)
ง 3.1
ม.3/1 อธิบาย Š หลักการทําโครงงาน เปนการ -หลักการทํา - ซื่อสัตย - ความ เราสามารถใช คิดละเอียด - Diagram แผนที่ 4 คิดละเอียด
หลักการทํา พัฒนาผลงานที่เกิดจากการศึกษา โครงงาน (2) สามารถใน เทคโนโลยี - พิจารณา แสดง หนูนอย IT 1. พิจารณาเรื่องที่
โครงงานที่มีการใช คนควา ดําเนินการพัฒนาตาม โดยใช - มีวินัย (3) การคิด (2) สารสนเทศใน - ขยายขอมูล ขั้นตอนการ คิดวามีประเด็นใด
เทคโนโลยี ความสนใจและความถนัดโดยใช เทคโนโลยี - ใฝเรียนรู - ความ การทําโครงงาน ทํางานลําดับ ตองการ
สารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ (4) สามารถใน ได ขั้นตอน รายละเอียดเพิ่มขึ้น
- มุงมั่นการ การใช - รายงาน และเพื่อ
ทํางาน (6) เทคโนโลยี จุดประสงคใด
(5) 2. ขยายขอมูลของ
ประเด็นที่คิดใหได
รายละเอียดเพิ่ม
มากขึ้น

16
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 2 ชุมชน (ตอ)
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา………8…….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการจัดการ สาระที่
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ยอด การคิด ยอย เรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)
ง 3.1
ม.3/3 ใช Š การเลือกซอฟตแวรที่ - นําเสนอ - มีวินัย (3) - ความ การนําเสนองาน การพิสูจน - ใบงาน แผนที่ 5 การพิสูจนความจริง
เทคโนโลยี เหมาะสมกับลักษณะงาน งานโดยใช - ใฝเรียนรู (4) สามารถใน ตาง ๆ ตอง ความจริง - Diagram หนูนอย 1. ศึกษาผลสรุปหรือ
สารสนเทศ Š การใชซอฟตแวรและอุปกรณ เทคโนโลยี - มุงมั่นการ การสื่อสาร เลือกใช 1. ศึกษา แสดง .Com คําตอบ
นําเสนองานใน ดิจิตัลมาชวยในการนําเสนองาน สารสนเทศ ทํางาน (6) (1) ซอฟตแวรที่ 2. วิธีการ ขั้นตอนการ 2. แสวงหาวิธีการ
รูปแบบที่เหมาะสม - ความ เหมาะสมกับ 3. ยืนยัน ทํางานลําดับ และขอมูลที่เชื่อถือ
กับลักษณะงาน สามารถใน งานนั้นๆ ขั้นตอน สนับสนุนผลสรุป
การคิด (2) - รายงาน หรือคําตอบนั้น
- ความ 3. ยืนยันผลสรุปหรือ
สามารถใน คําตอบโดยยกขอมูล
การใช หลักฐานที่เชื่อถือได
เทคโนโลยี สนับสนุน
(5)

17
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 2 ชุมชน (ตอ)
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา………9…….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการ สาระที่
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ยอด การคิด ยอย จัดการเรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)
ง 4.1
ม.3/1 อภิปรายการหา Š การหางานหรือตําแหนงที่วาง - วิธีหา - ซื่อสัตย (2) - ความ การเลือก คิดชัดเจน - ใบงาน แผนที่ 7 คิดชัดเจน
งานดวยวิธีที่ - สื่อสิ่งพิมพ งานหรือ - มุงมั่นการ สามารถใน ประกอบอาชีพ 1. พิจารณา - รายงาน หนูนอย 1. พิจารณาขอมูล/
หลากหลาย - สื่ออิเล็กทรอนิกส ตําแหนง ทํางาน (6) การคิด (2) ตองมีการ 2. ระบุ Occupation เรือ่ งที่นํามาคิด
วาง - ความ วิเคราะหหา 3. อธิบาย 2. ระบุไดวาตนรู/
ง 4.1 สามารถใน แนวทาง วิธีการ ไมรู/ เขาใจ/
ม.3/2 วิเคราะห Š แนวทางเขาสูอาชีพ - แนวทาง การใชทักษะ ที่หลากหลาย ไมเขาใจอะไร
แนวทางเขาสูอาชีพ - คุณสมบัติที่จําเปน อาชีพ ชีวิต (5) และประเมิน หรือสงสัยอะไร
- ความมั่นคง - ฝกปฏิบัติ ทางเลือก เพื่อที่ 3. อธิบายความ
- การประเมินทางเลือก เลือกประกอบ เขาใจของตนใน
ง 4.1 อาชีพได เรื่องที่รู ยกตัวอยาง
ม.3/3 ประเมิน Š การประเมินทางเลือกอาชีพ - การเลือก สอดคลองกับ และตอบคําถามใน
ทางเลือกในการ - แนวทางการประเมิน อาชีพ ความรูความ เรื่องนั้น
ประกอบอาชีพที่ - รูปแบบการประเมิน ถนัดของตน
สอดคลองกับความรู - เกณฑการประเมิน
ความถนัดและความ
สนใจของตนเอง

18
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 3 โลก
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา………4…….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
มาตรฐาน/ ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการ สาระที่
สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ตัวชี้วัด ยอด การคิด ยอย จัดการเรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)
ง 2.1
ม.3/1 อธิบาย Š ระดับของเทคโนโลยี แบงตาม - ระดับของ - ใฝเรียนรู (4) - ความ ระดับของ คิดอยางมี - ใบงาน แผนที่ 8 คิดอยางมีเหตุผล
ระดับของ ความรูที่เปน 3 ระดับ คือ ระดับ เทคโนโลยี สามารถใน เทคโนโลยี เหตุผล - รายงาน หนูนอย 1. รวบรวมขอมูล
เทคโนโลยี พื้นบานหรือพื้นฐาน ระดับกลางและ การคิด (2) มีระดับพื้นบาน 1. รวบรวม The World ในเรื่องที่คิด
ระดับสูง หรือพื้นฐาน 2. จําแนก 2. จําแนกขอมูลใน
ระดับกลางและ 3. พิจารณา เรื่องที่คิดที่เปน
ระดับสูง ความเชื่อถือ ขอเท็จจริง และ
4. พิจารณา ความคิดเห็นออก
เหตุผล จากกัน
อธิบาย 3. พิจารณาความ
นาเชื่อถือของ
ขอเท็จจริงและ
ความคิดเห็น

19
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 3 โลก (ตอ)
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา…………….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการ สาระที่
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ยอด การคิด ยอย จัดการเรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)

4. พิจารณาเรื่องที่
คิดโดยใชเหตุผล
แบบนิรนัย และ /
หรืออุปนัยบนฐาน
ของขอมูลที่เชื่อถือ
ได
5. อธิบายเรื่องที่คิด
อยางมีเหตุผล

20
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 3 โลก
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา………14…….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
มาตรฐาน/ ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการ สาระที่
สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ตัวชี้วัด ยอด การคิด ยอย จัดการเรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)
ง 3.1
ม.3/2 เขียน Š หลักการพื้นฐานในการเขียน - การเขียน - รักชาติ - ความ คอมพิวเตอร คิดกวาง - เว็บเพจ แผนที่ 9 คิดกวาง
โปรแกรม โปรแกรม โปรแกรม ศาสน กษัตริย สามารถใน สามารถสราง 1. องคประกอบ HTML หนูนอย 1. คิดถึง
ภาษาพื้นฐาน - แนวคิดและหลักการโปรแกรม โดยใช (1) การคิด (2) งานไดดวยการ 2. หาขอมูล Universe องคประกอบ/
โครงสราง โปรแกรม ตัวแปร การ คอมพิวเตอร - ซื่อสัตย (2) - ความ เขียนโปรแกรม 3. พิจารณา แงมุมตาง ๆ ที่
ลําดับคําสั่ง การตรวจสอบเงื่อนไข สรางงาน - ใฝเรียนรู (4) สามารถใน ภาษาพื้นฐาน 4. สรุปผล เกี่ยวของกับเรื่องที่
การควบคุมโปรแกรมคําสั่งแสดงผล - มุงมั่นการ การใชทักษะ คิดใหไดมากที่สุด
และรับขอมูลการเขียนโปรแกรมแบบ ทํางาน (6) ชีวิต (5) 2. หาขอมูล
งายๆ - จิต รายละเอียดของ
- การเขียนสคริปต เชน จาวาสคริปต สาธารณะ (8) องคประกอบ/
แฟลช แงมุมของเรื่องที่
คิดใหไดมากที่สุด
3. พิจารณาเรื่องที่
คิดโดยใชขอมูล
หลายแงมุม

21
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

กลุมสาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี
หนวยการเรียนรูที่ 3 โลก (ตอ)
ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 3 เวลา…………….ชั่วโมง
ความรูที่คงทน
ความคิดรวบ กระบวน ชื่อหนวย กระบวนการ สาระที่
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด สาระ ความรู คุณลักษณะ การปฏิบัติ ภาระงาน
ยอด การคิด ยอย จัดการเรียนรู เกี่ยวของ
(K) (A) (P)
ง 3.1
ม.3/4 ใช Š การใชคอมพิวเตอรชวยสราง - ใช 4. สรุปผล
คอมพิวเตอรชวย งานตามหลักการทําโครงงาน โดยมี คอมพิวเตอร การพิจารณาเรื่องที่
สรางชิ้นงานจาก การอางอิงแหลงขอมูล ใชทรัพยากร สรางงาน คิด
จินตนาการหรืองาน อยางคุมคา ไมคัดลอกผลงานผูอื่น
ที่ทําใน ใชคําสุภาพและไมสรางความ
ชีวิตประจําวัน ตาม เสียหายตอผูอื่น
หลักการทํา
โครงงานอยางมี
จิตสํานึกและความ
รับผิดชอบ

22
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

สาระที่ 1 การดํารงชีวิตและครอบครัว

กระบวนการกลุม
กระบวนการในการทํางานกลุม มีขั้นตอน ดังนี้ การเลือกหัวหนากลุม การกําหนดเปาหมาย
หรือวัตถุประสงคของงาน วางแผนการทํางาน แบงงานตามความสามารถของแตละบุคคล ปฏิบัติตาม
บทบาทหนาที่ ประเมินผล และปรับปรุงการทํางาน

การดํารงชีวิต
เปนการทํางานในชีวิตประจําวันเพื่อชวยเหลือตนเอง ครอบครัว ชุมชน และสังคม ที่วาดวย
งานบาน งานเกษตร งานชาง งานประดิษฐ งานธุรกิจ และงานอื่น ๆ

การทํางานเพื่อการดํารงชีวิต
เปนการทํางานที่จําเปนเกี่ยวกับความเปนอยูในชีวิตประจําวัน ชวยเหลือตนเอง ครอบครัว
และสังคมไดในสภาพเศรษฐกิจพอเพียง ไมทําลายสิ่งแวดลอม เนนการปฏิบัติจริงจนเกิดความมั่นใจ
และภูมิใจในผลสําเร็จของงาน เพื่อใหคนพบความสามารถ ความถนัด และความสนใจของตนเอง

คุณธรรม จริยธรรม เจตคติ และลักษณะนิสัยในการทํางาน


ประกอบดวย ความซื่อสัตย เสียสละ ยุติธรรม ประหยัด ขยัน อดทน รับผิดชอบ ตรงเวลา
รอบคอบ ปลอดภัย คุมคา ยั่งยืน สะอาด ประณีต มีเหตุผล มีมารยาท ชวยเหลือตนเอง ทํางานบรรลุ
เปาหมาย ทํางานถูกวิธี ทํางานเปนขั้นตอน ทํางานเปนระบบ มีความคิดสรางสรรค มีประสิทธิภาพ
รักสิ่งแวดลอม ฯลฯ

ทักษะกระบวนการแกปญหา
เป น กระบวนการที่ ต อ งการให ผู เ รี ย นได เ กิ ด ความคิ ด หาวิ ธี ก ารแก ป ญ หาอย า งมี ขั้ น ตอน
การสังเกต การวิเคราะห การสรางทางเลือก และการประเมินทางเลือก

23
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

ทักษะการจัดการ
ความพยายามของบุคคลที่จะจัดระบบงาน (ทํางานเปนรายบุคคล) และจัดระบบคน (ทํางาน
เปนกลุม) เพื่อใหทํางานสําเร็จตามเปาหมายอยางมีประสิทธิภาพ

ทักษะกระบวนการทํางาน
การลงมือทํางานดวยตนเอง โดยมุงเนนการฝกวิธีการทํางานอยางสม่ําเสมอ ทั้งการทํางาน
เปนรายบุคคล และการทํางานเปนกลุม เพื่อใหสามารถทํางานสามารถทํางานไดบรรลุเปาหมาย ไดแก
การวิเคราะหงาน การวางแผนในการทํางาน การปฏิบัติงานตามลําดับขั้นตอน และการประเมินผล
การทํางาน

ทักษะการทํางานรวมกัน
การทํางานเปนกลุม สามารถทํางานรวมกับผูอื่นไดอยางมีความสุข โดยมุงเนนใหผูเรียนได
ทํางานอยางมีกระบวนการตามขั้นตอนการทํางาน และฝกหลักการทํางานกลุม โดยรูจักบทบาทหนาที่
ภายในกลุม มีทักษะในการฟง – พูด มีคุณธรรมในการทํางานรวมกัน สรุปผล และนําเสนอรายงาน

ทักษะการแสวงหาความรู
วิธีการและกิจกรรมที่มุงเนนใหผูเรียนไดแสวงหาขอมูลความรูตาง ๆ เกี่ยวกับเรื่องหรือเนื้อหา
นั้น ๆ ไดแก การศึกษาคนควา การรวบรวม การสังเกต การสํารวจ และการบันทึก
สาระที่ 2 การออกแบบและเทคโนโลยี

กระบวนการเทคโนโลยี
เปนขั้นตอนการแกปญหา หรือสนองความตองการของมนุษย ประกอบดวย กําหนดปญหา
หรือความตองการ รวบรวมขอมูลเพื่อแสวงหาวิธีการแกปญหาหรือสนองความตองการ เลือกวิธีการ
ออกแบบและปฏิบัติการ ทดสอบ ปรับปรุงแกไข และประเมินผล

การถายทอดความคิด
เปนการถายทอดแนวคิดที่ใชแกปญหาหรือสนองความตองการใหเปนรูปธรรมเพื่ออธิบายและ
สื่อสารใหผูอื่นเขาใจ ไดแก แผนที่ความคิด ภาพวาด 2 มิติ ภาพวาด 3 มิติ ภาพฉายเพื่อสรางชิ้นงาน

24
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

การออกแบบ (ทางเทคโนโลยี)
เปนการลําดับความคิดหรือจินตนาการเปนขั้นตอน นําไปสูการวางแผนการแกปญหาหรือสนอง
ความตองการ

การออกแบบและเทคโนโลยี
เปนการเรียนรูเพื่อพัฒนาความสามารถของมนุษยในการแกปญหา และสนองความตองการ
อยางสรางสรรค โดยนําความรูมาใชกับกระบวนการเทคโนโลยี สรางสิ่งของเครื่องใช วิธีการ หรือเพิ่ม
ประสิทธิภาพการดํารงชีวิตและกิจกรรมตาง ๆ ของมนุษย

การเลือกใชเทคโนโลยี
เป น การเลื อ กใช เ ทคโนโลยี เพื่ อ แก ป ญ หาหรื อ สนองความต อ งการของมนุ ษ ย โ ดยผ า น
กระบวนการวิเคราะห เปรียบเทียบ และตัดสินใจเลือกใชเทคโนโลยีอยางมีคุณธรรม จริยธรรม และ
เจตคติที่ดีตอสังคมและสิ่งแวดลอม

ความคิดสรางสรรค
เปนความสามารถทางสมองมนุษยที่คิดไดกวางไกล หลายแงมุม หลายทิศทาง นําไปสูการคิด
ประดิ ษ ฐ สิ่ ง ของ และแนวทางการแก ป ญ หาใหม ลั ก ษณะการคิ ด อย า งสร า งสรรค มี 4 ลั ก ษณะ
ประกอบดวย
1. ความคิดริเริ่ม (Originality) คือ ลักษณะความคิดที่แปลกใหม แตกตางจากความคิดเดิม
ประยุกตใหเกิดสิ่งใหมขึ้น ที่ไมซ้ํากับของเดิม ไมเคยปรากฏมากอน
2. ความคลองในการคิด (Fluency) คือ ความสามารถในการคิดหาคําตอบไดอยางคลองแคลว
รวดเร็ว และมีปริมาณที่มาในเวลาจํากัด เชน ใหผูเรียนวาดภาพตอเติมรูปที่กําหนดใหไดมากที่สุด
ภายในเวลา 10 นาที
3. ความยืดหยุนในการคิด (Flexibility) คือ ความสามารถในการคิดหาคําตอบไดหลาย
ประเภทและหลายทิศทาง ดัดแปลงจากสิ่งหนึ่งไปเปนหลายสิ่งได เชน ใหผูเรียนบอกวิธีการนําขวดน้ํา
พลาสติกที่เหลือใชนําไปทําอะไรใหเกิดประโยชนไดบาง
4. ความคิ ด ละเอี ย ดลออ (Elaboration) คื อ ความคิ ด ในรายละเอี ย ดเพื่ อ ตกแต ง หรื อ ขยาย
ความคิดหลัก ใหสมบูรณยิ่งขึ้น

25
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

ความปลอดภัยในการทํางาน
เปนการใชอุปกรณ เครื่องมือในการทํางานเพื่อสรางชิ้นงานอยางปลอดภัย และเลือกใชให
เหมาะสมกับประเภทและลักษณะการใชงานของอุปกรณและเครื่องมือนั้น

เทคโนโลยี
เป น การนํ า ความรู ทั ก ษะ และทรั พ ยากรมาสร า งสิ่ ง ของเครื่ อ งใช หรื อ วิ ธี ก ารโดยผ า น
กระบวนการ เพื่อแกปญหาสนองความตองการหรือเพิ่มความสามารถในการทํางานของมนุษย

เทคโนโลยีที่ยั่งยืน
เปนเทคโนโลยีที่ใชเพื่อตอบสนองความตองการของมนุษยในปจจุบันโดยไมทําใหประชาชน
รุนตอไปในอนาคตตองประนีประนอม ยอมลดความสามารถของเขาในการที่จะสนองความตองการของ
เขาเอง โดยคํานึงถึงผลกระทบตอสังคม สิ่งแวดลอม และเศรษฐกิจ

เทคโนโลยีสะอาด
เปนกระบวนการ หรือวิธีการ ที่นํามาใชพัฒนา เปลี่ยนแปลง ปรับปรุง ผลิตภัณฑ วิธีการ
กระบวนการ หรื อ การบริ ก ารอย า งต อ เนื่ อ ง เพื่ อ ให เ กิ ด ผลกระทบหรื อ ความเสี่ ย งต อ มนุ ษ ย และ
สิ่งแวดลอมนอยที่สุด โดยใชเครื่องมือ เชน 4R (Reuse, Repair, Reduce, Recycle) เปนตน

แบบจําลอง
เปนแบบหรือวัตถุสามมิติที่จําลองรูปแบบ รายละเอียด วิธีการ ตามแนวคิดที่ไดออกแบบไว
เพื่อนําเสนอรูปแบบของชิ้นงานหรือรูปแบบของวิธีการ

แผนที่การคิด (Concept Mapping)


เปนการถายทอดความคิดหรือขอมูลตาง ๆ ในภาพรวม เพื่อแสดงการเชื่อมโยงขอมูลเกี่ยวกับ
เรื่องใดเรื่องหนึ่งระหวางความคิดหลัก ความคิดรอง และความคิดยอยที่เกี่ยวของสัมพันธกัน นําเสนอ
เปนขอความ สัญลักษณ หรือภาพ โดยใชสีและเสน

ภาพฉาย
เปนภาพแสดงรายละเอียดของแนวคิดในการแกปญหาหรือสนองความตองการ ประกอบดวย
ภาพดานหนา ภาพดานขาง และภาพดานบน แสดงขนาดและหนวยในการวัด เพื่อสามารถนําไปสราง
แบบจําลองหรือชิ้นงานได

26
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

ภาพราง 2 มิติ
เปนภาพที่ประกอบดวย ดานกวาง และดานยาว เพื่อนําเสนอแนวคิดของการแกปญหาหรือ
สนองความตองการ

ภาพราง 3 มิติ
เปนภาพที่ประกอบดวย ดานกวาง ดานยาว และดานสูง เพื่อนําเสนอแนวคิดของการแกปญหา
หรือสนองความตองการ

ออกแบบและสราง
หรื อ ออกแบบและปฏิ บั ติ ก าร หมายถึ ง ขั้ น ตอนการลํ า ดั บ ความคิ ด เพื่ อ สร า งแนวทาง
การแกปญหาหรือสนองความตองการและถายทอดความคิดเปนภาพที่มีรายละเอียดเพื่อนําไปสรางใน
กระบวนการเทคโนโลยี โดยเปนขั้นตอนที่ใหมีการออกแบบกอนการสรางชิ้นงาน

สาระที่ 3 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร

กระบวนการเทคโนโลยีสารสนเทศ
เปนกระบวนการที่เกี่ยวของกับการรวบรวม การตรวจสอบความถูกตอง การจัดเก็บ การจัดการ
การกระทํากับขอมูลขาวสาร โดยใชอุปกรณคอมพิวเตอรและอุปกรณสํานักงานตาง ๆ ในการปฏิบัติงาน
เพื่อใหไดสารสนเทศหรือความรูที่นํามาใชในการตัดสินใจหรือเปนประโยชนตอการดําเนินชีวิต

ขอมูล
ขอเท็จจริงหรือเหตุการณที่เกี่ยวของกับสิ่งตาง ๆ เชน คน สัตว สิ่งของ สถานที่ ฯลฯ โดยอยู
ในรูปแบบที่เหมาะสมตอการสื่อสาร การแปลความหมาย การประมวลผล และการใชงาน ขอมูลอาจ
เปนตัวเลข ตัวอักขระ หรือสัญลักษณใด

เครือขายคอมพิวเตอร
การเชื่ อ มโยงระหว า งคอมพิ ว เตอร ตั้ ง แต 2 เครื่ อ งขึ้ น ไป เพื่ อ ให ส ามารถถ า ยโอนข อ มู ล
อิเล็กทรอนิกสระหวางกัน

27
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

ซอฟตแวร
ชุดคําสั่งหรือโปรแกรมที่เขียนขึ้นดวยภาษาคอมพิวเตอรอยางมีลําดับขั้นตอน เพื่อใหเครื่อง
คอมพิวเตอรทํางาน

ซอฟตแวรประยุกต
เป น ซอฟต แ วร ที่ เ ขี ย นขึ้ น เพื่ อ อํ า นวยความสะดวกให กั บ ผูใ ช โดยสามารถนํ า ไปใช กั บ งาน
ดานตาง ๆ ที่ทําอยูเปนประจําไดอยางรวดเร็ว เชน ซอฟตแวรประมวลคํา ซอฟตแวรตารางการทํางาน
ซอฟตแวรจัดการฐานขอมูล ซอฟตแวรนําเสนอ และซอฟตแวรระบบงานธนาคาร

ซอฟตแวรระบบ
เปนซอฟตแวรที่ใชในการจัดการควบคุมการทํางานรวมกันของระบบการทํางานของเครื่อง
คอมพิวเตอรใหทํางานรวมกับอุปกรณตาง ๆ ในระบบคอมพิวเตอร เชน การจัดการดานอุปกรณรับเขา
ข อ มู ล และแสดงผล การแสดงผลลั พ ธ บ นจอภาพ การนํ า ผลลั พ ธ ที่ ไ ด ไ ปแสดงทางเครื่ อ งพิ ม พ
การบันทึกขอมูลเก็บไวในหนวยความจํารอง

เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสาร
เทคโนโลยี ส ารสนเทศและการสื่ อ สาร หมายถึ ง การนํ า วิ ท ยาการที่ ก า วหน า ทางด า น
คอมพิวเตอรและการสื่อสารมาสรางมูลคาเพิ่มใหกับสารสนเทศ ทําใหสารสนเทศมีประโยชนและใช
งานไดกวางขวางมากขึ้น เทคโนโลยีสารสนเทศ รวมถึงการใชเทคโนโลยีดานตาง ๆ ในการรวบรวม
จัดเก็บ ใชงาน สงตอ หรือสื่อสารระหวางกัน เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารเกี่ยวของโดยตรง
กับ 2 สิ่ง คือ
1. เครื่องมือเครื่องใชในการจัดการสารสนเทศ เชน เครื่องคอมพิวเตอร อุปกรณรอบขาง
และอุปกรณสื่อสารและโทรคมนาคม
2. ขั้นตอนวิธีการดําเนินการซึ่งเกี่ยวของกับซอฟตแวร ขอมูล บุคลากร และกรรมวิธีการ
ดําเนินงาน เพื่อใหขอมูลนั้นเกิดประโยชนมากที่สุด

โปรแกรมอรรถประโยชน
เปนโปรแกรมที่ชวยเสริมการทํางานของคอมพิวเตอร หรือชวยโปรแกรมใชงานอื่น ๆ ใหมี
ความสามารถใชงานไดสะดวกและรวดเร็วมากยิ่งขึ้น นอกจากนี้บางโปรแกรมยังออกแบบมาเพื่อชวย

28
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

จัดการกับทรัพยากรของเครื่องคอมพิวเตอรใหมีประสิทธิภาพมากขึ้น เชน จัดการหนวยความจํา จัดการ


เนื้อที่ในการเก็บขอมูล ชวยทําสําเนาและคนคืนขอมูล ชวยซอมการชํารุดของหนวยเก็บขอมูล ชวย
คนหาปองกันและกําจัดไวรัส

โพรโตคอล
ขอกําหนด ระเบียบ พิธีการ ขั้นตอนปฏิบัติที่ใชควบคุมการสื่อสารขอมูลในเครือขายเครื่อง
คอมพิวเตอรหรืออุปกรณเครือขายที่ใชโพรโตคอลชนิดเดียวกัน จึงจะสามารถติดตอและสงขอมูล
ระหวางกันได

สารสนเทศ
ขอมูลที่เปนเรื่องเกี่ยวของกับความจริงของคน สัตว สิ่งของ ทั้งที่เปนรูปธรรมและนามธรรม
ที่ไดรับการจัดเก็บรวบรวม ประมวลผล เรียกคน และสื่อสารระหวางกัน นํามาใชใหเกิดประโยชนได

ระบบสารสนเทศ
เปนระบบสนับสนุนการบริหารงาน การจัดการ และการปฏิบัติการทั้งในระดับบุคคล ระดับ
กลุมหรือระดับองคกร เพื่อชวยใหการทํางานมีประสิทธิภาพมากยิ่งขึ้น โดยใชองคประกอบของระบบ
สารสนเทศในการดําเนินการ

สาระที่ 4 การอาชีพ

การจําลองอาชีพ
เปนการจัดกิจกรรมเพื่อการเรียนรูเกี่ยวกับอาชีพที่สถานศึกษาจัดทําใหเสมือนจริงเพื่อใหผูเรียนมี
ทักษะการทํางานอาชีพ เห็นคุณคาของงานอาชีพสุจริต และเห็นแนวทางในการประกอบอาชีพ เชน
การจัดนิทรรศการ บทบาทสมมติ ฯลฯ

การประเมินทางเลือกอาชีพ
เปนการรูจักตนเองดานความรู ความสามารถ ทัศนคติ ศักยภาพ วิสัยทัศน แนวโนม ดาน
อาชีพที่ตองการของตลาดแรงงาน ที่เหมาะสมกับความสนใจ ความถนัด และทักษะทางดานอาชีพกอน
ตัดสินใจเลือกอาชีพ

29
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

การอาชีพ
เปนสาระที่เกี่ยวของกับทักษะที่จําเปนตออาชีพ เห็นความสําคัญของคุณธรรม จริยธรรม และ
เจตคติ ที่ ดี ต อ อาชี พ ใช เ ทคโนโลยี ไ ด เ หมาะสม เห็ น คุ ณ ค า ของอาชี พ สุ จ ริ ต และเห็ น แนวทางใน
การประกอบอาชีพ

ทักษะพื้นฐานที่จําเปนตอการประกอบอาชีพ
ประกอบดว ย ทักษะกระบวนการทํางาน ทักษะกระบวนการแกปญหา ทักษะการทํางาน
รวมกัน ทักษะการแสวงหาความรู และทักษะการจัดการ

ประสบการณในอาชีพ
เปนการจัดใหผูเรียนไดเรียนรู ไดเห็น และไดฝกปฏิบัติกิจกรรมที่เกี่ยวกับอาชีพที่ตนเองถนัด
และสนใจ

สถานการณแรงงาน
ประกอบดวย การมีงานทํา การจางงาน การคุมครองแรงงาน และการประกันสังคม ทั้งใน
ปจจุบันและอนาคต

30
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

คณะผูจัดทําหลักสูตรสถานศึกษา
กลุม สาระการเรียนรูการงานอาชีพและเทคโนโลยี ประกอบดวย

นางนารี คูหาเรืองรอง ที่ปรึกษา


ดร.วรรณา ชองดารากุล ที่ปรึกษา
นายศักดิ์สิน ชองดารากุล ที่ปรึกษา
นางสาวสุภาพร สระโสม ชั้นประถมศึกษาปที่ 1
เจาหนาที่พิมพและออกแบบปก
นางสุภาภรณ ทับทิมแดง ชั้นประถมศึกษาปที่ 2
นางสาวภัสสร ขุนแกว ชั้นประถมศึกษาปที่ 3และออกแบบปก
นางศิวาพร แกวเอียด ชั้นประถมศึกษาปที่ 4
นางกัญญาณุช บุญคุม ชั้นประถมศึกษาปที่ 5
นางโกสุม แกวประสิทธิ์ ชั้นประถมศึกษาปที่ 6
นางสาวชญานุช ธนะสาร ชั้นมัธยมศึกษาปที่ 1 - 3
นางสาวนุชนารถ ทาแทงทอง พิสูจนอักษร

31
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

ภาพบันทึกความทรงจํา

32
โรงเรียนประถมศึกษาธรรมศาสตร

33

You might also like