You are on page 1of 119

รายวิชาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

ฉบับปรับปรุง พ.ศ. 2562

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป
1. ชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ภาษาอังกฤษ : General Education Program

2. หน่วยงานรับผิดชอบ
กลุ่มส่งเสริมวิชาการ สำนักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

3. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต

4. รูปแบบของหลักสูตร
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป เป็ นหมวดวิชาตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 โดยเป็ นหมวดวิชาที่เสริมสร้างความเป็ นมนุษย์
ที่สมบูรณ์ ให้มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง เข้าใจ และเห็นคุณค่าของตนเอง
ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ ใส่ใจต่อความเปลี่ยนแปลงสรรพ
สิ่ง พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ดำเนินชีวิตอย่างมีคุณธรรม พร้อมให้
ความช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ และเป็ นพลเมืองที่มีคุณค่าของสังคมไทย

1
สังคมโลก โดยใช้ภาษาไทย และ/หรือ ภาษาอังกฤษในการจัดการเรียนการ
สอน

5.สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2562
สภาวิชาการ เห็นชอบในการนำเสนอหลักสูตรต่อสภามหาวิทยาลัยฯ
ในการประชุม
ครั้งที่ 12/2561 วันพฤหัสบดีที่ 6 ธันวาคม 2561
สภามหาวิทยาลัยฯ ให้ความเห็นชอบหลักสูตร ในการประชุม
ครั้งที่ 12/2561 วันพุธที่ 26 ธันวาคม 2561
เริ่มใช้จัดการเรียนการสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปี การศึกษา 2562

6.สถานที่จัดการเรียนการสอน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี วิทยาเขตปทุมธานี

7.สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็ นต้องนำมาพิจารณาในการ
วางแผนหลักสูตร
จากเป้ าหมายของมาตรฐานการศึกษาของชาติ ฉบับปี พ.ศ. 2561
ต้องการให้สถานศึกษายึดแนวทางในการพัฒนาผู้เรียนโดยกำหนดผลลัพธ์ที่
พึงประสงค์การศึกษา เพื่อสร้างคุณลักษณะของคนไทย 4.0 ที่สามารถสร้าง
ความมั่นคง มั่งคั่ง และยั่งยืนให้กับประเทศ โดยกำหนดผลลัพธ์ที่พึงประสงค์
ของการศึกษาที่ตอบสนองการพัฒนาประเทศที่มีคุณลักษณะ 1) ผู้เรียนรู้
เป็ นผู้มีความเพียร ใฝ่ เรียนรู้ และมีทักษะการเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อก้าวทัน

2
โลกยุคดิจิทัลและโลกในอนาคต และมีสมรรถนะ ที่เกิดจากความรู้ ความ
รอบรู้ด้านต่าง ๆ มีสุนทรียะ รักษ์และประยุกต์ใช้ภูมิปั ญญาไทย มีทักษะ
ชีวิต เพื่อสร้างงานหรือสัมมาอาชีพ บนพื้นฐานของความพอเพียง ความ
มั่นคงในชีวิต และคุณภาพชีวิตที่ดี ต่อตนเอง ครอบครัว และสังคม 2) ผู้ร่วม
สร้างสรรค์นวัตกรรม เป็ นผู้มีทักษะทางปั ญญา ทักษะศตวรรษที่21 ความ
ฉลาดดิจิทัล ทักษะการคิดสร้างสรรค์ ทักษะข้ามวัฒนธรรม สมรรถนะการบู
รณาการข้ามศาสตร์ และมีคุณลักษณะของความเป็ นผู้ประกอบการ เพื่อ
ร่วมสร้างสรรค์และพัฒนานวัตกรรมทางเทคโนโลยีหรือสังคม เพิ่มโอกาส
และมูลค่าให้กับตนเอง และสังคม 3) พลเมืองที่เข้มแข็ง เป็ นผู้มีความรัก
ชาติ รักท้องถิ่น รู้ถูกผิด มีจิตสํานึกเป็ นพลเมืองไทยและพลโลก มีจิตอาสา
มีอุดมการณ์และมีส่วนร่วมในการพัฒนาชาติ บนหลักการประชาธิปไตย
ความยุติธรรม ความเท่าเทียมเสมอภาค เพื่อการจัดการทรัพยากรธรรมชาติ
และสิ่งแวดล้อมที่ยั่งยืน และการอยู่ร่วมกันในสังคมไทยและประชาคมโลก
อย่างสันติ
นอกจากนี้ ยุทธศาสตร์ชาติระยะ 20 ปี มุ่งเน้นด้านการพัฒนา
ศักยภาพของคน โดยมุ่งหวังให้ประชาชนมีระดับการศึกษาที่สูงขึ้นพร้อมกับ
การปลูกฝั งระเบียบวินัย คุณธรรมจริธรรม ค่านิยม เสริมสร้างสุขภาวะที่ดี มี
สร้างความมั่นคงและเข็มแข็งทางสถาบันสังคม ลดความเหลื่อมล้ำ และ
เป็ นการพัฒนาที่เติบโดยอย่างเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม

8.ผลกระทบจากข้อ 7 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธ
กิจของมหาวิทยาลัย
จากสถานการณ์ดังกล่าว การเรียนรู้ในหมวดวิชาศึกษาทั่วไปจึงจำเป็ น
ต้องปรับปรุงสาระวิชา เพื่อพัฒนาบัณฑิตให้เป็ นผู้มีคุณลักษณะพึงประสงค์
มีความพร้อมต่อการเป็ นพลเมืองไทยและพลเมืองโลก สามารถใช้ชีวิตใน

3
สังคมที่มีการเปลี่ยนแปลงไป ทั้งในด้านความก้าวหน้าของเทคโนโลยีและ
สังคม มีความสอดคล้องกับวิสัยทัศน์และพันธกิจของมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี

9. คุณสมบัติผู้สอน
อาจารย์ผู้สอนในหมวดวิชาศึกษาทั่วไป ได้แก่ อาจารย์ประจำของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี จากทุกคณะ/วิทยาลัย ที่มีคุณวุฒิ
การศึกษาตรงหรือสัมพันธ์กับเนื้อหารายวิชาที่เปิ ดสอน มีความรู้ ทักษะ
และความสามารถในการสอนเป็ นทีม หรืออาจารย์พิเศษที่มีความรู้ความ
เชี่ยวชาญและมีประสบการณ์ ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
จะสนับสนุนให้อาจารย์ผู้สอนมีความรู้เกี่ยวกับเทคนิคการจัดการหน่วยเรียน
รู้ การจัดการกิจกรรม การวัดประเมินผล และการผลิตสื่อประกอบการเรียน
เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอน

4
หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. หลักการและเหตุผลในการปรับปรุง

การจัดการเรียนการสอนในระดับปริญญาตรีนั้น นอกจากการเรียนรู้
จากวิชาชีพและทักษะเฉพาะทาง ของแต่ละหลักสูตรแล้ว บัณฑิตต้องมีการ
เรียนด้านหมวดวิชาศึกษาทั่วไป เพื่อเป็ นผู้ที่มีความรู้ความสามารถในการบู
รณาการศาสตร์ต่าง ๆ เข้าใจการใช้ชีวิตในสังคมได้อย่างศิวิไลซ์และมี
อารยธรรม ทั้งนี้ สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวง
ศึกษาธิการได้กำหนดเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี โดยให้
คำนิยามไว้ว่า หมวดวิชาศึกษาทั่วไป หมายถึง “หมวดวิชาที่เสริมสร้างความ
เป็ นมนุษย์ที่สมบูรณ์ ให้มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง เข้าใจ และเห็นคุณค่า
ของตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรม และธรรมชาติ ใส่ใจต่อความ
เปลี่ยนแปลงของสรรพสิ่ง พัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ดําเนินชีวิตอย่างมี
คุณธรรม พร้อมให้ความช่วยเหลือเพื่อนมนุษย์ และเป็ นพลเมืองที่มีคุณค่า
ของสังคมไทยและสังคมโลก” (ประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี พ.ศ. 2558 ประกาศ ณ วันที่ 13
พฤศจิกายน 2558) โดยกำหนดให้หมวดวิชาศึกษาทั่วไปต้องมีจำนวน
หน่วยกิตไม่น้อยกว่า 30 หน่วยกิต และครอบคลุมสาระรายวิชาในหมวดต่าง
ๆ ในสัดส่วนที่เหมาะสม ได้แก่ สาระรายวิชา ดังนี้ สังคมศาสตร์
มนุษยศาสตร์ ภาษา และวิทยาศาสตร์กับคณิตศาสตร์
เนื่องจากปั จจุบันสังคมมีการเปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วจึงทำให้ต้อง
มีการพัฒนาระบบการศึกษาเพื่อรองรับ กล่าวคือ ส่งเสริมให้เกิดการศึกษา
ตลอดชีวิต และควรสร้างคุณภาพการศึกษาของสถาบันอุดมศึกษาต่าง ๆ ให้
มีมาตรฐานใกล้เคียงกัน เพื่อรองรับการเคลื่อนย้ายของนักศึกษาและการ

5
เทียบโอนหน่วยกิต สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษาจึงได้กำหนด
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยมีการประกาศใช้ในปี
พ.ศ. 2552 และปรับปรุงเพิ่มเติมในรายประเด็นย่อย ปี พ.ศ. 2554 และ ปี
พ.ศ. 2558 ตามลำดับ ซึ่งเป็ นการประกันคุณภาพแต่ละคุณวุฒิให้มี
มาตรฐานเทียบเคียงกันได้ทั้งในประเทศและต่างประเทศ โดยมีการกำหนด
จุดมุ่งหมายให้การจัดการศึกษาแบบมุ่งเน้นเป้ าหมายที่ผลการเรียนรู้ กล่าว
คือ กำหนดมาตรฐานการเรียนรู้ของบัณฑิตที่คาดหวังไว้ก่อน หลังจากนั้นจึง
พิจารณาองค์ประกอบที่เกี่ยวข้องในกระบวนการจัดการเรียนการสอนให้ส่ง
เสริมบรรลุผลการเรียนอย่างสอดคล้องและอย่างเป็ นระบบ จึงได้กำหนด
มาตรฐานการเรียนรู้สำหรับคุณวุฒิระดับปริญญาตรีไว้ 5 ด้าน ได้แก่ ด้าน
คุณธรรม จริยธรรม ด้านความรู้ ด้านทักษะทางปั ญญา ด้านทักษะความ
สัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง
ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
เพื่อให้การปรับปรุงกรอบแนวคิดหมวดวิชาศึกษาทั่วไปสามารถตอบ
สนองต่อสภาพการเปลี่ยนแปลงไปของเศรษฐกิจและสังคมปั จจุบัน
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี ได้แต่งตั้งคณะทำงานหมวดวิชา
ศึกษาทั่วไป ลงวันที่ 25 พฤษภาคม 2561 เพื่อร่วมกันศึกษาหาแนวทางและ
กำหนดกรอบแนวคิดโครงสร้างใหม่ให้มีความทันสมัย เพื่อให้การเรียนการ
สอนของหมวดวิชาศึกษาทั่วไปของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี
สามารถตอบสนองตรงต่อความคาดหวังที่ตั้งไว้ ทำให้บัณฑิตมีศาสตร์ในการ
ใช้ชีวิตได้อย่างสมบูรณ์ ทันต่อการเปลี่ยนแปลงในสังคมปั จจุบัน โดย
วิเคราะห์รายละเอียดวิชาและบูรณาการใหม่โดยยึดหลักตอบสนองต่อการ
ผลิตบัณฑิตยุคใหม่ หมวดวิชาศึกษาทั่วไปจึงได้มีการปรับปรุงโครงสร้างกลุ่ม
การเรียนรู้ใหม่ดังนี้ 1) คุณค่าแห่งชีวิตและหน้าที่พลเมือง 2) ภาษาและการ

6
สื่อสาร 3) วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 4) บูรณาการและศาสตร์ผู้ประกอบ
การ

คุณค่าแห่งชีวิตและหน้าที่ ภาษา วิทยาศา บูรณา


เกณฑ์ พลเมือง และ สตร์ การและ
มาตรฐาน มนุษยศ สังคมศา พลศึกษ การ เทคโนโ ศาสตร์ผู้
หลักสูตร าสตร์ สตร์ าและ สื่อสาร ลยีและ ประกอบ
ระดับ นันทนา นวัตกร การ
ปริญญา การ รม
ตรี พ.ศ.
2558
1.มนุษยศ
าสตร์
2.สังคมศา
สตร์
3.ภาษา

4.วิทยาศา
สตร์กับ
คณิตศาส
ตร์

7
มีความครอบคลุมระดับมาก มีความครอบคลุมระดับปาน
กลาง มีความครอบคลุมน้อย

2. ปรัชญาของหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มีจุดมุ่งหมายเพื่อสร้างผู้ที่มีความรู้ในการ
ดำเนินชีวิต ได้แก่ ความเข้าใจชีวิตตนเอง และความรู้ในการใช้ชีวิต โดยมุ่ง
หวังให้มีความสามารถในการใช้ความรู้ในการดำเนินชีวิตควบคู่กับความรู้ใน
วิชาชีพได้อย่างเกิดประสิทธิผล มีทักษะในด้านการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และนวัตกรรม โดยยึดมั่นในคุณธรรม จริยธรรมเพื่อการอยู่ร่วมกับพลเมือง
ไทยและพลเมืองโลก

3.วัตถุประสงค์
เพื่อสร้างบัณฑิตให้มีคุณลักษณะดังต่อไปนี้
1)ใช้ชีวิตได้อย่างสมบูรณ์ มีหลักในการใช้ชีวิตอย่างเหมาะสม เป็ นผู้ไฝ่
รู้และเรียนรู้ตลอดชีวิต และมีคุณธรรมจริยธรรม
2)เข้าใจวัฒนธรรม และสามารถอยู่ร่วมกับสังคม ยอมรับความคิดเห็น
ที่แตกต่าง
3)มีความสามารถในการสื่อสาร ได้แก่ การพูด การอ่าน การเขียน
และการนำเสนอ
4)มีความคิดเชิงวิเคราะห์ สามารถใช้สารสนเทศประกอบการตัดสินใจ
อย่างมีประสิทธิภาพ
5)มีคุณลักษณะของความเป็ นผู้ประกอบการ

8
9
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสร้าง
หลักสูตร

1. ระบบการจัดการศึกษา
ระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยใน 1 ปี การศึกษาแบ่งออกเป็ น 2
ภาคการศึกษา แต่ละภาคการศึกษาจัดการเรียนการสอนจำนวน 15 สัปดาห์
โดยอาจจัดการเรียนในภาคการศึกษาฤดูร้อนตามความเหมาะสมและเป็ นไป
ตามระเบียบข้อบังคับของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และ
จัดการเรียนการสอนเป็ นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี
รวมถึงกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ

2. การดำเนินการหลักสูตร

คุณลักษณะพึงประสงค์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล
ธัญบุรี (RMUTT Student Attributes)

กลุ่ม คำอธิบาย
1. คุณค่าแห่ง - มนุษยศาสตร์
ชีวิตและ มีคุณภาพชีวิตที่ดี มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม มี
หน้าที่พลเมือง ความสามารถในการพึ่งพาตนเอง (ทักษะการใช้ชีวิต
การบริหารเงิน) มีความรับผิดชอบ มีจิตสาธารณะ
มีความซาบซึ้งในคุณค่าความงามของสรรพสิ่ง เป็ นผู้
แสวงหาความรู้ให้แก่ตนเองตลอดชีวิต
- สังคมศาสตร์
การเป็ นพลเมืองที่ดีของสังคมไทยและสังคมโลก

10
มีความรอบรู้และวิสัยทัศน์ที่ดีต่อสังคมและสิ่ง
แวดล้อม ตระหนักในสิทธิ หน้าที่ คุณค่าของความ
เหมือน และยอมรับความแตกต่างในสังคม
- พลศึกษาและนันทนาการ
การมีสุขภาพกายดี จิตใจดี มีความสุข และ
พัฒนาการทางอารมณ์ที่ดี
2. ภาษาและ ทักษะการสื่อสารภาษาไทยและภาษาต่างประเทศ
การสื่อสาร ทักษะการพูด การฟั ง การอ่าน การเขียน และ
การนำเสนอ
3. วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ สิ่งแวดล้อม และ
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี เพื่อประกอบการดำเนินชีวิตและการ
เทคโนโลยีและ ปฏิบัติงาน มีแนวคิดการสร้างนวัตกรรมและองค์
นวัตกรรม ความรู้ การต่อยอดนวัตกรรม
4. บูรณาการ - บูรณาการ
และศาสตร์ผู้ ความภาคภูมิใจในวัฒนธรรม วิถีชีวิตแห่งความ
ประกอบการ เป็ นไทย และภูมิปั ญญาท้องถิ่น รักสถานศึกษา การ
ปรับตัวเข้ากับสังคมโลกซึ่งมีวัฒนธรรมแตกต่าง การ
ปรับตัวทันต่อสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
- ศาสตร์ผู้ประกอบการ
มีความคิดแบบองค์รวม การเชื่อมโยงความคิด
และกระบวนการแก้ไขปั ญหา วิธีคิดบนพื้นฐานของ
ความยั่งยืน ทักษะในการจัดการองค์กรและการ
ตัดสินใจในบริบทของเศรษฐกิจและสังคม การเป็ น
ผู้นำและผู้ตามที่ดี และความรู้พื้นฐานในการดำเนิน
ธุรกิจ
11
3. โครงสร้างหมวดศึกษาทั่วไป
แนวคิดการแบ่งโครงสร้างของหมวดวิชาศึกษาทั่วไปเพื่อตอบสนองอัต
ลักษณ์มหาวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีได้กำหนดอัตลักษณ์ของ
บัณฑิตไว้ดังนี้ “บัณฑิตนักปฏิบัติมืออาชีพ” มีความหมายว่า “บัณฑิตต้อง
เป็ นผู้ที่ได้รับการฝึ กฝนทั้งกายและใจให้เป็ นผู้ที่ปฏิบัติงานด้วยหลักวิชาที่ถูก
ต้องและสมบูรณ์ พร้อมด้วยความมุ่งมั่นพัฒนาตนเองให้มีความก้าวหน้าอยู่
เสมอ สามารถสร้างสรรค์คุณค่าและประโยชน์ให้แก่ตนเองและต่อสังคมได้
อย่างสัมฤทธิผล” เพื่อบรรลุเป้ าหมายดังกล่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
ราชมงคลธัญบุรีต้องสร้างทักษะให้ผู้เรียนสองส่วน ได้แก่ “ทักษะความรู้ใน
วิชาชีพ” ควบคู่กับ “ทักษะทางสังคม” เมื่อทักษะทั้งสองถูกนำมาบูรณา
การจะก่อให้เกิดเป็ น “ทักษะอาชีพ” นำไปสู่การเป็ นผู้ที่มีความสามารถใน
การเป็ นนักปฎิบัติมืออาชีพได้
ในปั จจุบันรัฐบาลส่งเสริมให้ประเทศมีศักยภาพการแข่งขันเชิงธุรกิจ
โดยให้ความสำคัญต่อการมีธุรกิจขนาดกลางขนาดย่อมในประเทศ เนื่องจาก
เป็ นกลุ่มที่ก่อให้เกิดการสร้างงาน การจ้างงาน และก่อให้เกิดการสร้าง
นวัตกรรมใหม่ โดยมุ่งหวังว่าจะเป็ นเสาหลักในการพัฒนาประเทศอย่าง
มั่นคง ดังนั้น สถาบันการศึกษาจึงควรส่งเสริมการผลิตบัณฑิตให้สอดคล้อง
กับแนวคิดดังกล่าว มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรีจึงได้กำหนดให้
หมวดวิชาศึกษาทั่วไปจัดการเรียนเพื่อตอบสนองแนวคิดการสร้างผู้ประกอบ
การตามนโยบายภาครัฐและตอบสนองการสร้างอัตลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
ด้วย โดยการเป็ นผู้ประกอบการจะต้องรู้จักและเลือกใช้นวัตกรรมใหม่ ๆ
เพื่อสร้างความได้เปรียบในการแข่งขัน และความยั่งยืนในธุรกิจ

12
13
โครงสร้างหมวดวิชาศึกษาทั่วไป

หมวดวิชาศึกษาทั่วไป จำนวนหน่วยกิตไม่น้อย 30 หน่วยกิ


กว่า ต
1. กลุ่มคุณค่าแห่งชีวิตและหน้าที่พลเมือง 7 หน่วยกิ

สังคมศาสตร์ 3 หน่วยกิต
มนุษย์ศาสตร์ 3 หน่วยกิต
พลศึกษาและนันทนาการ 1 หน่วยกิต

2. กลุ่มภาษาและการสื่อสาร 12 หน่วยกิ

ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 6 หน่วยกิต
ภาษาเพิ่มเติม 6 หน่วยกิต

3. กลุ่มวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและ 6 หน่วยกิ
นวัตกรรม ต
เทคโนโลยีสารสนเทศ 3 หน่วยกิต
วิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และนวัตกรรม 3 หน่วยกิต

4. กลุ่มบูรณาการและศาสตร์ผู้ประกอบการ 5 หน่วยกิ

บูรณาการและศาสตร์ผู้ประกอบการ 5 หน่วยกิต

14
1. กลุ่มคุณค่าแห่งชีวิตและหน้าที่พลเมือง ไม่น้อยกว่า
7 หน่วยกิต
1.1 รายวิชาสังคมศาสตร์ ให้เลือกศึกษาไม่น้อยกว่า 3
หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิ หมายเห


าที่ ต ตุ
1 01-110- สังคมกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-
004 Society and Environment 6)
2 01-110- การสื่อสารกับสังคม 3(3-0-
007 Communication and 6)
Society
3 01-110- การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ 3(3-0-
009 สังคม 6)
Development of Social
and Life
Quality
4 01-110- ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ 3(3-0-
012 การพัฒนาที่ยั่งยืน 6)
Sufficiency Economy for
Sustainable Development
5 01-110- คุณภาพชีวิตที่ดีของพลเมือง 3(3-0-
017 ยุคใหม่ 6)
Quality Life for New

15
Generation
6 01-110- อินเทรนด์ อย่างเป็ นสุข 3(3-0-
018 Happiness Trend 6)
7 01-110- คิดเชิงรุกแบบพอเพียง 3(3-0-
019 Proactive Thinking of 6)
Sufficiency Economic
8 01-110- หนึ่งเสียง สร้างพลังสังคม 3(3-0-
020 One voice for Social 6)
Empowerment
9 01-110- ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม 3(3-0-
021 Life in Multicultural 6)
Society
10 01-110- มองสังคมอย่างนักวิจัย 3(3-0-
022 Sociological Pperspective 6)
as a Researcher
11 01-110- พลเมืองที่ดีตามวิธี 3(3-0-
023 ประชาธิปไตย 6)
Good Citizen by
Democratic Way
12 01-110- ชีวิตที่พอเพียงกับภูมิปั ญญา 3(3-0-
024 ไทย 6)
Sufficiency Life with Thai
Wisdom

16
คำอธิบายรายวิชา

01-110-004 สังคมกับ
สิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Society and Environment
ความสำคัญของสังคมกับสิ่งแวดล้อม แนวคิดพื้นฐานทาง
นิเวศวิทยากับการศึกษาทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
มลพิษสิ่งแวดล้อมและการควบคุม การวิเคราะห์ระบบและการ
ประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมเพื่อการจัดการสิ่งแวดล้อมที่
เหมาะสม
Importance of society and environment, basic
concepts in ecology, natural resources and
environment, environment pollution and control,
system analysis and assessment of impacts on
environment for appropriate environmental
management

01-110-007 การ
สื่อสารกับสังคม 3(3-0-6)
Communication and Society
ความสัมพันธ์ระหว่างการสื่อสารกับสังคม กระบวนการสื่อสาร
และทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง อิทธิพลของการสื่อสารต่อการ
เปลี่ยนแปลงพฤติกรรมมนุษย์ในสังคม บทบาทของสื่อมวลชนที่
มีอิทธิพลต่อสังคมและวัฒนธรรมไทย การนำยุทธวิธีการใช้สื่อ

17
ประเภทต่างๆมาสนับสนุนการพัฒนาทางการเมือง เศรษฐกิจ
สังคมและวัฒนธรรม
Relations of communication and society,
communication processes and related theories,
influences of communication on human behavior
changes in society, roles of mass media influencing on
Thai society and culture, applying strategies of
different types of media to promote political,
economic, social and cultural development

01-110-009 การพัฒนา
คุณภาพชีวิตและสังคม 3(3-0-6)
Development of Social and Life Quality
ปรัชญาและหลักธรรมในการดำรงชีวิตของบุคคลการสร้าง
แนวคิดและเจตคติของตนเอง หลักธรรมในการสร้างคุณภาพ
ชีวิต บทบาทหน้าที่และความรับผิดชอบของบุคคล หลักการ
บริหารและการพัฒนาตนเอง การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทาง
สังคม เทคนิคการครองใจคน หลักการพัฒนางานให้มี
ประสิทธิภาพ คุณธรรม จริยธรรมและจรรยาวิชาชีพ
Philosophy and Dharma principles in daily life,
creating their own ideas and attitudes, Dharma
principles of creating life quality, individuals’ roles
and responsibilities, management principles and self-
development, participation in social activities,
techniques of winning the one’s hearts, principles for

18
effective job development, ethics and codes of
conduct

01-110-012 ปรัชญา
เศรษฐกิจพอเพียงเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน 3(3-0-6)
Sufficiency Economy for Sustainable Development
ความหมาย ความเป็ นมาความสำคัญของปรัชญาเศรษฐกิจพอ
เพียงและการพัฒนาเศรษฐกิจแบบยั่งยืน แนวคิดและแนวปฏิบัติ
ของปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อนำไปสู่การพัฒนาเศรษฐกิจ
แบบยั่งยืนการประยุกต์ใช้ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงกับการแก้ไข
ปั ญหาเศรษฐกิจและสังคมของไทย กรณีตัวอย่างเศรษฐกิจพอ
เพียงที่ประสบความสำเร็จ
Concepts of sufficiency economy philosophy and
sustainable development, application of the
philosophy in dealing with social and economic
problems in Thailand, case studies on successful
sufficiency-economy activities in Thailand

01-110-017 คุณภาพ
ชีวิตที่ดีของพลเมืองยุคใหม่ 3(3-0-6)
Quality Life for New Generation

19
ความหมายและความสำคัญของการมีคุณภาพชีวิตที่ดี การปรับ
ตัวและเข้าใจวัฒนธรรมเพื่อเป็ นสมาชิกที่ดีในครอบครัว องค์กร
สังคมและตระหนักในความสำคัญของสิ่งแวดล้อม หลักธรรมทาง
ศาสนาสู่การเป็ นพลเมืองที่ดี แนวคิดเกี่ยวกับแรงจูงใจในการ
ปฏิบัติงานสู่การเป็ นผู้นำที่มีประสิทธิภาพ การฝึ กอบรมเพื่อการ
สื่อสารในยุคใหม่
Meaning and importance of quality life, adaptation
and understanding of culture as good members in
families, organizations, societies, and realization of the
importance of environment, religious principles
towards good citizenship, concepts of motivation for
work becoming an effective leader and
communication in the modern age

01-110-018 อินเทรนด์
อย่างเป็ นสุข 3(3-0-6)
Happiness Trend
คนไทยในสังคมยุค 4.0 มารยาทสังคมไทยในสังคมโลก สิทธิ
หน้าที่ของคนไทย ตระหนักในสิ่งแวดล้อมเพื่อส่วนรวม การ
บริหารจัดการเศรษฐกิจในชีวิตประจำวัน รู้กฎหมายในการ
ทำงาน
Thai citizens in Thailand 4.0, Thai etiquette in global
society, rights and duties of Thai citizens,
environmental awareness, financial management in
daily life, law in the workplace

20
01-110-019 คิดเชิงรุก
แบบพอเพียง 3(3-0-6)
Proactive Thinking of Sufficiency Economy
หลักการคิดเชิงรุก เข้าใจเศรษฐกิจไทยและเศรษฐกิจโลก คิด
แบบไทยให้ก้าวหน้า พัฒนาบนพื้นฐานความพอเพียง สิทธิใน
ทรัพยสินทางปั ญญาที่ควรได้รับความคุ้มครอง ตระหนักถึงสิ่ง
แวดล้อมเพื่อส่วนรวม การวิจัยเชิงรุกแบบพอเพียง
Proactive thinking, Thai and Global economy, thinking
in Thai progressive way, development on the basis of
sufficiency, the rights for intellectual property that
should be protected, environmental awareness for
the common interest, proactive research on the basis
of sufficiency economy

01-110-020 หนึ่งเสียง
สร้างพลังสังคม 3(3-0-6)
One Voice for Social Empowerment
การเป็ นประชากรที่มีคุณภาพ การสร้างวินัยให้เกิดพลัง การ
วางแผนเศรษฐกิจให้ชีวิตมั่นคง เชิดชูพลเมืองตัวอย่าง เห็น
คุณค่าของวัฒนธรรมไทย ใช้สื่ออย่างสร้างสรรค์ ใช้ชีวิตที่เป็ น
มิตรกับสิ่งแวดล้อม การมีส่วนร่วมสร้างพลังสังคม
Being effective citizens, being powerful by mastering
self-discipline, organizing personal finance for a secure
life, exemplified citizens, the value of Thai culture,

21
how to use media creatively, life style friendly to the
environment, participating to build social power

01-110-021 ชีวิตใน
สังคมพหุวัฒนธรรม 3(3-0-6)
Life in Multicultural Society
สังคมในยุคโลกาภิวัตน์ ความหลากหลายของกลุ่มคน อาทิ กลุ่ม
ชาติพันธุ์กับพหุวัฒนธรรม สิทธิและความเป็ นธรรมทางสังคม
การสื่อสารภายใต้มิติความหลากหลายทางวัฒนธรรม แนวทาง
การจัดการสังคมพหุวัฒนธรรมในบริบทสังคมไทย อาเซียน และ
โลก เพื่อการยอมรับและความเคารพในความแตกต่างระหว่าง
กัน
Society in globalization, diversity among people e.g.
ethnic groups and multiculturalism, rights and social
justice, communication through multi-cultural
dimension, guidelines for managing multiculturalism
in Thai, Asian, and global contexts, related to diversity
to construct acceptance and respect among
differences

01-110-022 มองสังคม
อย่างนักวิจัย 3(3-0-6)
Sociological Perspective as a Researcher
เข้าใจการอยู่ร่วมกันในสังคม ศึกษา ค้นคว้าหาความจริงและ
ปรากฎการณ์ต่างๆที่เกิดขึ้นในสังคมผ่านกระบวนการทาง
ระเบียบวิธีวิจัย

22
Understand the coexistence in society, study the
truths and phenomena that occur in society through
the research methodology

01-110-023 พลเมืองดีตามวิธี
ประชาธิปไตย 3(3-0-6)
Good Citizen by Democratic Way
ความหมาย บทบาท หน้าที่ของพลเมืองดี การปฏิบัติตนเป็ น
พลเมืองดีตามวิธีประชาธิปไตย
บนสังคมออนไลน์และสังคมยุคใหม่ แนวปฏิบัติตามกรอบ
รัฐธรรมนูญและกระบวนการเมืองการปกครอง สิทธิ หน้าที่ของ
ตนเองภายใต้วิถีประชาธิปไตยในบริบทสังคมไทยและสังคมโลก
การจัดการความขัดแย้งในสังคมบนความเท่าเทียมนำไปสู่การ
สร้างความสงบสุข
Meaning, role, and duty of good citizens, being a
good citizen in accordance with democracy on social
media and in the modern society, implementation of
the constitutional framework and process of
government, the role of democracy in the context of
Thai and world society, conflict management in
society on equality leading to peacefulness
01-110-024 ชีวิตที่พอเพียงกับภูมิปั ญญาไทย
3(3-0-6)
Sufficiency Life with Thai Wisdom

23
ความหมาย ขอบเขต ความสำคัญ และพัฒนาการของภูมิปั ญญา
ไทย กระบวนการเรียนรู้ของภูมิปั ญญาไทยและภูมิปั ญญาท้อง
ถิ่น การใช้ภูมิปั ญญาไทยเพื่อพัฒนาชีวิตที่พอเพียง กรณีตัวอย่าง
ชีวิตที่พอเพียงของบุคคลในสังคมไทย กรณีตัวอย่างการนำ
ภูมิปั ญญาไทยมาประยุกต์ใช้ในการดำรงชีวิตจนประสบความ
สำเร็จในอาชีพ
Meanings, scopes, importance and development of
Thai wisdom, learning process of Thai and local
wisdom, using Thai wisdom for sufficient life
development, case studies about sufficient life of
Thai individuals in society, case studies of applying
Thai wisdom to living and career success

1.2 รายวิชามนุษยศาสตร์ ให้เลือกศึกษาไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต


จากรายวิชาต่อไปนี้

รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วย หมายเห


าที่ กิต ตุ
1 01-210- การค้นคว้าและการเขียน 3(3-0-
017 รายงานเชิงวิชาการ 6)
Searching and Academic
Report Writing
2 01-210- การสืบค้นสารสนเทศ 3(3-0-
018 Information Retrieval 6)
3 01-210- การพัฒนาบุคลิกภาพ 3(2-2-
24
019 Personality Development 5)
4 01-210- จิตวิทยาประยุกต์เพื่อการ 3(3-0-
020 ทำงาน 6)
Applied Psychology to
Work
5 01-210- การใช้เหตุผลและจริยธรรม 3(3-0-
021 Reasoning and Ethics 6)
6 01-210- วิถีธรรมวิถีไทย 3(3-0-
022 Religions and Thai Culture 6)
7 01-210- มหัศจรรย์แห่งรัก 3(3-0-
023 Miracle of Love 6)
8 01-210- ทักษะการเรียนรู้สู่ความสำเร็จ 3(3-0-
024 Learning Skills to Success 6)
9 01-210- มองชีวิตผ่านฟิ ล์ม 3(3-0-
025 Life on Films 6)

คำอธิบายรายวิชา

01-210-017 การ
ค้นคว้าและการเขียนรายงานเชิงวิชาการ 3(3-0-6)

25
Searching and Academic Report Writing
วิธีการค้นคว้าสารสนเทศ การเข้าถึงและรวบรวมทรัพยากร
สารสนเทศ การประเมิน การวิเคราะห์และการ
สังเคราะห์สารสนเทศ การเขียนรายงานเชิงวิชาการ การ
อ้างอิงและบรรณานุกรม
Searching for information, having access to and
collecting information resources, evaluating, analyzing,
and synthesizing information, writing academic
reports, references, and bibliographies

01-210-018 การสืบค้น
สารสนเทศ 3(3-0-6)
Information Retrieval
เทคนิคและกระบวนการสืบค้นสารสนเทศ การสืบค้นทรัพยากร
สารสนเทศห้องสมุด การสืบค้นฐานข้อมูลสาขาวิทยาศาสตร์
การสืบค้นฐานข้อมูลสาขาสังคมศาสตร์ การสืบค้นฐานข้อมูลสห
สาขาวิชา และการสืบค้นสารสนเทศบนอินเทอร์เน็ต
Techniques and procedure of information retrieval,
online public access cataloging, database retrieval in
scientific, social science and interdisciplinary fields,
and information retrieval on the Internet

01-210-019 การพัฒนา
บุคลิกภาพ 3(2-2-5)
Personality Development

26
ความหมายและความสำคัญของการพัฒนาบุคลิกภาพ ความ
แตกต่างระหว่างบุคคล การวิเคราะห์และการประเมินบุคลิกภาพ
ความฉลาดทางอารมณ์ การปรับตัวในสังคมปั จจุบัน การเสริม
สร้างสุขภาพจิต การพัฒนาเจตคติที่มีต่อตนเองและผู้อื่น การ
สื่อสารและมนุษย์สัมพันธ์ การพัฒนาบุคลิกภาพทางกาย การ
แสดงออกอย่างเหมาะสมและมารยาทสังคม
Definition and the importance of personality
development, individuals’ differences between ,
analyzing and assessing personality, emotional
intelligence, self-adjustment in present society,
mental health development, developing attitudes
towards oneself and others, transaction and
relationship, development of appearance,
assertiveness, social manners

01-210-020 จิตวิทยา
ประยุกต์เพื่อการทำงาน 3(3-0-6)
Applied Psychology to Work
ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับจิตวิทยาประยุกต์เพื่อการทำงาน ปั จจัย
ทางจิตวิทยาที่มีผลกระทบต่อพฤติกรรมการทำงาน การพัฒนา
ตนเพื่อการทำงานที่มีประสิทธิภาพ แรงจูงใจในการทำงาน การ
จัดการความเครียดจากการทำงาน กลุ่มและทีมงาน การบริหาร
ความขัดแย้ง รูปแบบภาวะผู้นำสมัยใหม่ องค์การ การบริหาร
ทรัพยากรมนุษย์ในองค์การ กลยุทธ์ในการเสริมสร้างประสิทธิผล
ขององค์การ สภาพแวดล้อมและสุขภาพในการทำงาน

27
Introduction to applied psychology to work,
psychological factors affecting work behavior, self-
development for effective work, work motivation,
work stress management, groups and teamwork,
conflict management, modern leadership style,
organization, human resource management in
organization, strategies to enhance organizational
effectiveness, work environment and health

01-210-021 การใช้
เหตุผลและจริยธรรม 3(3-0-6)
Reasoning and Ethics
สมองกับการคิด การคิดกับการอ้างเหตุผล เหตุผลที่ดีและเหตุผล
วิบัติ การใช้ตรรกะใน ชีวิตประจำวัน ความหมายของจริยธรรม
การเรียนรู้จริยธรรมและการพัฒนาจริยธรรม เกณฑ์ตัดสินทาง
จริยธรรม ค่านิยมทางจริยธรรมของสังคมไทย ปั ญหาจริยธรรม
ร่วมสมัย และจริยธรรมกับการแก้ปั ญหาของชีวิต
Brain and thinking, thinking and reasoning, good
reasoning end fallacies logic in daily life, definition of
ethics, learning and developing ethics, ethical criteria,
Thai value and ethics, cotemporary ethical problems,
ethics and solving life problems

01-210-022 วิถีธรรม
วิถีไทย 3(3-0-6)
Religions and Thai Culture

28
ความเป็ นมาและหลักธรรมคำสอนของศาสนาที่สำคัญใน
ประเทศไทย การพัฒนาความคิด ด้านศาสนาของคนไทยใน
แต่ละสมัย ความสัมพันธ์ระหว่างความคิดความเชื่อด้านศาสนา
กับวัฒนธรรมไทยในด้านวิถีชีวิตความเป็ นอยู่ เศรษฐกิจ
การเมืองการปกครอง ทัศนศิลป์ พิธีกรรม มารยาทไทย และ
ประเพณีไทย
History and doctrines of important religions in
Thailand, religious thought development of Thai
people in different periods, relationship between
religious thoughts or believes and Thai culture in the
aspect of way of life, economy, politics, visual arts,
ceremony, Thai manners, and tradition

01-210-023 มหัศจรรย์
แห่งรัก 3(3-0-6)
Miracle of Love
นิยามของความรัก ความรักกับความสุข ความรักในวัยเรียนกับ
ความขัดแย้ง ความฉลาดรู้เรื่องเพศ การจัดการชีวิตรักให้สมดุล
และมีความสุข การสร้างความสัมพันธ์ที่ยั่งยืน พัฒนาการของ
ความรัก ความรักในองค์กรและสถาบัน ความรักโลกและ
มนุษยชาติ ความเมตตากับการสร้างสันติภาพ
Definition of love, love and happiness, conflict of love
in university, sexual literacy, balancing love and
happiness for life, building life-long relationship,

29
development of love, love for the world and human
beings, compassion and peace making

01-210-024 ทักษะการ
เรียนรู้สู่ความสำเร็จ 3(3-0-6)
Learning Skills to Success
เคล็ดลับสู่ความสำเร็จ การคิดและการตัดสินใจที่ดี การรับรู้เกี่ยว
กับตนเองและสมรรถนะแห่งตนเพื่อความสำเร็จ คุณค่าของการ
ทำงาน การรู้เท่าทันสื่อยุคใหม่ การสร้างทีมงานที่มี
ประสิทธิภาพ การพัฒนาทักษะสู่ความสำเร็จผ่านกิจกรรมและ
โครงการ
Key to success, effective thinking and decision making,
self-perception towards self-esteem and self-efficacy
for success, value of working, being aware of modern
media’s tricks, building teamwork effectively and
efficiently, developing skills for success through
activities and projects

01-010-025 มองชีวิต
ผ่านฟิ ล์ม 3(3-0-6)
Life on Films

30
การเรียนรู้และเข้าใจชีวิตจากภาพยนตร์ผ่านมุมมองเกี่ยวกับ
ความจริงของชีวิต ความเป็ นมนุษย์ และการเป็ นสมาชิกที่ดีของ
สังคม เพื่อเข้าใจชีวิตของตนเองและผู้อื่นอันนำไปสู่การอยู่ร่วม
กันอย่างมีสันติสุข
Learning and understanding lives and realities from
movies, being of man, citizenship, self and other’s
understanding of living together in harmony

1.3 รายวิชาพลศึกษาและนันทนาการ ให้เลือกศึกษาไม่น้อยกว่า 1


หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้

รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิ หมายเ


าที่ ต หตุ
1 01-610- ทักษะกีฬาเพื่อสุขภาพ 1(0-2-
014 Sports Skill for health 1)
2 01-610- นันทนาการ 1(0-2-
003 Recreation 1)
3 01-610- กิจกรรมทางน้ำเพื่อสุขภาพ 3(2-2-
015 Water Activities for Health 5)
4 01-610- การจัดและการบริหารค่ายพัก 3(3-0-
005 แรม 6)
Organizing and Managing
Camps
5 01-610- การฝึ กด้วยน้ำหนักเพื่อสุขภาพ 3(2-2-
006 Weight Training for Health 5)
31
รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิ หมายเ
าที่ ต หตุ
6 01-610- ดำน้ำตื้นเบื้องต้น 3(2-2-
007 Basic Skin Diving 5)
7 01-610- ลีลาศเพื่อสุขภาพ 3(2-2-
008 Social Dances for Health 5)
8 01-610- สุขภาพเพื่อชีวิต 3(3-0-
009 Health for Life 6)
9 01-610- นันทนาการเพื่อพัฒนาคุณภาพ 3(2-2-
010 ชีวิต Recreation for Life 5)
Quality Development
10 01-610- กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาวะ 3(2-2-
011 Physical Activities for 5)
Wellness
11 01-610- สุขภาพเพื่อการดำรงชีวิต 3(2-2-
012 สำหรับคนรุ่นใหม่ 5)
Health for New Generation
Living
12 01-610- การควบคุมน้ำหนักและรูปร่าง 3(2-2-
013 เพื่อสุขภาพ Weight and 5)
Body Shapes Control for
Health

คำอธิบายรายวิชา

32
01-610-003
นันทนาการ 1(0-2-1)
Recreation
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับนันทนาการ กิจกรรมนันทนาการแบบต่าง
ๆ และเลือกกิจกรรมนันทนาการที่เหมาะสม
General knowledge of recreation, types of
recreational activities and selection of appropriate
recreational activities

01-610-005 การจัด
และการบริหารค่ายพักแรม 3(3-0-6)
Organizing and Managing Camps
หลักการจัดและการบริหารค่ายพักแรม ประเภทของค่ายพักแรม
กิจกรรมค่ายพักแรม ผู้นำค่ายพักแรม และการประเมินผลการ
จัดการค่ายพักแรม
Principles of camping arrangement management,
types of camping, camping activities, camp leaders,
evaluation of camping

01-610-006 การฝึ ก
ด้วยน้ำหนักเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5)
Weight Training for Health
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับการฝึ กด้วยน้ำหนัก องค์ประกอบของการมี
สุขภาพดี การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกายเพื่อสุขภาพ ทักษะ

33
พื้นฐานของการฝึ กด้วยน้ำหนัก การฝึ กเพื่อพัฒนา กลุ่ม
กล้ามเนื้อ และการเลือกโปรแกรมการฝึ กที่เหมาะสม
General knowledge of weight training, elements of
good health, building up physical fitness for health,
basic skill of weight training and developing muscles
and selecting appropriate weight training programs

01-610-007 ดำน้ำตื้น
เบื้องต้น 3(2-2-5)
Basic Skin Diving
ศึกษาความรู้ทั่วไปของการดำน้ำตื้นเบื้องต้น หลักการดำน้ำตื้น
โดยใช้อุปกรณ์การว่ายน้ำ ในท่าต่าง ๆ ทักษะการช่วยชีวิต สร้าง
เสริมสมรรถภาพทางกายโดยมีการศึกษานอกสถานที่
General knowledge of basic skin diving, principles of
skin diving by using equipment, swimming strokes,
lifesaving skills, building, physical fitness, field trip

01-610-008 ลีลาศเพื่อ
สุขภาพ 3(2-2-5)
Social Dances for Health
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับองค์ประกอบของสุขภาพ การเสริมสร้าง
สมรรถภาพทางกาย ประวัติความเป็ นมาของลีลาศทักษะพื้น
ฐานของการลีลาศ การลีลาศเพื่อเสริมสร้างสุขภาพ

34
Fundamental knowledge of health , building physical
fitness, history of social dances, basic skills for social
dances, social dances for good health

01-610-009 สุขภาพ
เพื่อชีวิต 3(3-0-6)
Health for Life
ศึกษาเกี่ยวกับพัฒนาการของมนุษย์ การปรับตัวของวัยรุ่นกับ
การพัฒนาบุคลิกภาพ หลักโภชนาการเพื่อสุขภาพ ความ
ก้าวหน้าทางวิทยาศาสตร์สุขภาพ สมรรถภาพของการมีสุขภาพ
ที่ดี
Human development, teenage adjustment and
personality development, nutrition for health,
advance of health science, and physical capability of
good health

01-610-010
นันทนาการเพื่อพัฒนาคุณภาพชีวิต 3(2-2-5)
Recreation for Life Quality Development
ความหมาย ขอบข่าย ความสำคัญและประเภทของนันทนาการ
ลักษณะและบทบาทของผู้นำนันทนาการ แนวคิดและทฤฎีที่
เกี่ยวข้องกับนันทนาการของมนุษย์ หลักการจัดกิจกรรม
นันทนาการในรูปแบบต่างๆ เพื่อสร้างเสริมสุขภาพร่างกาย

35
จิตใจ อารมณ์ สังคมและสติปั ญญา โดยคำนึงถึงความปลอดภัย
ในการปฏิบัติกิจกรรมนันทนาการ
Concepts, scope, importance and types of recreation,
principles of recreational management mind, emotion,
social and intelligence, feasibility studies of safety in
recreation performance

01-610-011 กิจกรรม
ทางกายเพื่อสุขภาวะ 3(2-2-5)
Physical Activities for Wellness
ความหมาย ความสำคัญและขอบข่ายของกิจกรรมทางกาย ความ
รู้เกี่ยวกับสุขภาพและสมรรถภาพทางกาย ปั จจัยที่สัมพันธ์
เกี่ยวข้องกับการส่งเสริมสุขภาพ แนวทางในการสร้างเสริมสุขภาพ
และสมรรถภาพทางกาย การประเมินสุขภาพและสมรรถภาพทาง
กายก่อนและหลังการออกกำลังกาย สมาธิกับการออกกำลังกาย
ปฏิบัติกิจกรรมทางกายอย่างน้อย 3 กิจกรรม โดยคำนึงศักยภาพ
และความสนใจของแต่ละบุคคล และการปลูกฝั งเจตคติที่ดีต่อการ
ออกกำลังกาย
Meaning, importance and scope of physical activities,
knowledge about health and physical fitness, factors
related to health promotion, guidelines for health
and physical fitness, assessment of health and
physical fitness before and after exercise,
concentration and exercise, practice of physical
activities for at least two activities, taking into account

36
the potential and interest of the individual’s instilling
of positive attitudes towards exercises

01-610-012 สุขภาพ
เพื่อการดำรงชีวิตสำหรับคนรุ่นใหม่ 3(2-2-5)
Health for New Generation Living
ศึกษาแนวความคิดเกี่ยวกับสุขภาพ องค์ประกอบของการมี
สุขภาพดี การเสริมสร้างสุขภาพโดยคำนึงถึงหลักการทาง
พลศึกษา เน้นการออกกำลังกายเพื่อสุขภาพ โภชนาการกับ
สุขภาพ การทดสอบสมรรถภาพทางกายด้วยตนเอง การ
ปฐมพยาบาล และการป้ องกันการบาดเจ็บจากการออกกำลัง
กายและการเล่นกีฬา
Concepts about health, elements of good health,
strengthening health by taking into account principles
of physical education, focus on fitness, nutrition with
health, self-test for physical fitness, first aid and
prevention of injury from exercises and sports

01-610-013 การ
ควบคุมน้ำหนักและรูปร่างเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5)
Weight and Body Shape Control for Health
ดัชนีมวลกาย สมรรถภาพทางกาย ลักษณะรูปร่างประเภทต่าง
ๆ อาหารเพื่อสุขภาพและการควบคุมน้ำหนัก การออกกำลังกาย
เพื่อสุขภาพ

37
Body mass index, physical fitness, types of body
shapes, healthy food and weight control, exercise for
health

01-610-014 ทักษะกีฬา
เพื่อสุขภาพ 1(0-2-1)
Sports Skills for health
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวชนิดกีฬา การพัฒนาสุขภาพด้านร่างกาย
จิตใจ อารมณ์ และสังคม การฝึ กปฏิบัติทักษะพื้นฐานของชนิด
กีฬาที่เลือก วิธีการเล่น และกติกาการแข่งขัน
General knowledge about the chosen sport,
development of health on aspects of body, mind,
emotion, and social, practice of basic skills of chosen
sports, how to play the sport, sport rules for
competition

01-610-015 กิจกรรม
ทางน้ำเพื่อสุขภาพ 3(2-2-5)
Water Activities for Health
ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับสุขภาพ การเสริมสร้างสมรรถภาพทางกาย
ก่อนและหลังการทำกิจกรรม ความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับกิจกรรรม

38
ทางน้ำ ทักษะพื้นฐานการว่ายน้ำ การดำน้ำโดยใช้อุปกรณ์และ
ไม่ใช้อุปกรณ์และการปฏิบัติกิจกรรมทางน้ำเพื่อให้เกิดสุขภาพที่
ดี
General knowledge about health, enhancing physical
performance before and after the activity, general
knowledge about water activities, basic skills of
swimming, water activities performed to achieve good
health

2. กลุ่มภาษาและการสื่อสาร ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต


2.1 รายวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร จำนวน 6 หน่วยกิต ให้
ศึกษาจากรายวิชาต่อไปนี้

รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วย หมายเหตุ


าที่ กิต
1 01-320- ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 3(2-2-
001 English for 5)
Communication 1
2 01-320- ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-
002 English for 5)
Communication 2

2.2 รายวิชาภาษาเพิ่มเติม ให้เลือกศึกษาไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต


จากรายวิชาต่อไปนี้

39
รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิ หมายเ
าที่ ต หตุ
1 01-310- ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร 3(3-0-
001 Thai for Communication 6)
2 01-310- วรรณคดีไทยและวรรณกรรม 3(3-0-
002 ท้องถิ่น 6)
Thai Literature and Local
Literary Works
3 01-310- การอ่านและการเขียนเชิง 3(3-0-
006 วิชาการ 6)
Academic Reading and
Writing
4 01-310- การสื่อสารกับบุคคลเฉพาะกลุ่ม 3(3-0-
011 Communication for 6)
Specific Groups
5 01-310- ภาษาไทยเพื่อพัฒนาองค์กร 3(3-0-
012 Thai for Organization 6)
Development
6 01-310- ภาษาไทยเพื่อการพินิจพิจารณ์ 3(3-0-
013 Thai for Analyses and 6)
Critics
7 01-310- วาทศิลป์ เพื่อความสำเร็จ 3(3-0-
014 Art of Speaking for Success 6)
8 01-310- การอ่านและการเขียนเชิง 3(3-0-
015 สร้างสรรค์ 6)
40
รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิ หมายเ
าที่ ต หตุ
Creative Reading and
Writing
9 01-310- ภาษาไทยเพื่อการนำเสนองาน 3(3-0-
016 แบบมืออาชีพ 6)
Thai for Professional
Presentation
10 01-310- มองโลกผ่านวรรณกรรม 3(3-0-
017 Life Seen through 6)
Literature
11 01-310- สุนทรียภาพของภาษาไทยใน 3(3-0-
018 บทเพลง 6)
Aesthetics of Thai
Language in Songs
12 01-320- สนทนาภาษาอังกฤษ 3(2-2-
003 English Conversation 5)
13 01-320- ภาษาอังกฤษเพื่อการสมัครงาน 3(2-2-
005 English for Job Application 5)
14 01-320- ภาษาอังกฤษเพื่อวิทยาศาสตร์ 3(2-2-
006 และเทคโนโลยี 5)
English for Science and
Technology
15 01-320- ภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอ 3(2-2-
007 English for Presentation 5)
41
รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิ หมายเ
าที่ ต หตุ
16 01-320- ภาษาอังกฤษเพื่อการทดสอบ 3(2-2-
010 English for Standardized 5)
Tests
17 01-320- การฟั งและการพูดภาษา 3(2-2-
012 อังกฤษสำหรับงานบริการด้าน 5)
เทคนิค
English Listening and
Speaking for Technical
Support
18 01-320- ภาษาอังกฤษสำหรับ 3(2-2-
013 อุตสาหกรรมบริการ 5)
English for Service Industry
19 01-320- ภาษาอังกฤษสำหรับการสื่อสาร 3(2-2-
014 ทางธุรกิจ 5)
English for Business
Communication
20 01-320- ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจ 3(2-2-
015 ออนไลน์ 5)
English for Online Business
21 01-320- ภาษาอังกฤษเพื่อการอ่านทาง 3(2-2-
016 วิชาการ 5)
English for Academic
Reading
42
รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิ หมายเ
าที่ ต หตุ
22 01-320- ภาษาอังกฤษเพื่อการเขียนทาง 3(2-2-
017 วิชาการ 5)
English for Academic
Writing
23 01-320- การพัฒนาทักษะการเขียน 3(2-2-
018 English Writing 5)
Development
24 01-320- ภาษาอังกฤษเชิงหรรษา 3(2-2-
019 English for Edutainment 5)
25 01-320- ภาษาอังกฤษและวัฒนธรรม 3(2-2-
020 ตะวันตก 5)
English Language and
Western Culture
26 01-320- การใช้สื่อดิจิทัลในการเรียน 3(2-2-
021 ภาษาอังกฤษ 5)
Using Digital Tools for
English Learning

27 01-320- การสรรสร้างละครและหนังสั้น 3(2-2-


022 ภาษาอังกฤษ 5)
Creating English Dramas
and Short Films
28 01-320- การเรียงร้อยเรื่องราวเป็ นภาษา 3(2-2-
43
รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิ หมายเ
าที่ ต หตุ
023 อังกฤษผ่านภาพ 5)
Telling Stories in English
through Pictures
29 01-320- ภาษาอังกฤษสำนักงาน 3(2-2-
024 English for Office 5)
30 01-320- ภาษาอังกฤษสำหรับการสื่อสาร 3(2-2-
025 ในองค์กร 5)
English for Organizational
Communication
31 01-320- การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความ 3(2-2-
026 เพลิดเพลิน 5)
English Reading for
Pleasure
32 01-330- ภาษาจีนพื้นฐาน 3(3-0-
001 Basic Chinese 6)
33 01-330- การสนทนาภาษาจีนเบื้องต้น 3(3-0-
002 Basic Chinese 6)
Conversation
34 01-330- ภาษาญี่ปุ่นพื้นฐาน 3(3-0-
006 Basic Japanese 6)
35 01-330- สนทนาภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 3(3-0-
007 Basic Japanese 6)
Conversation
44
รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วยกิ หมายเ
าที่ ต หตุ
36 04-000- ภาษาอังกฤษสำหรับงาน 3(2-2-
201 วิศวกรรม 5)
English for Engineering
37 05-110- ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจ 3(2-2-
201 English for Business 5)
38 08-888- ภาษาอังกฤษสำหรับงานสื่อสาร 3(2-2-
210 มวลชน 5)
English for Mass
Communication
39 09-900- ภาษาอังกฤษสำหรับสะเต็ม 3(2-2-
001 ศึกษา 5)
English for STEM
Education

คำอธิบายรายวิชา

01-320-001 ภาษา
อังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 3(2-2-5)
English for Communication 1
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการบอกข้อมูลเกี่ยวกับตนเอง
กิจวัตรประจำวัน ความสนใจ การสนทนาสั้นๆ ใน
สถานการณ์ต่างๆ การเขียนข้อความสั้นๆ การฟั งและอ่านข้อ
ความสั้นๆ จากสื่อต่างๆ

45
Vocabulary, expressions and language patterns for
giving personal information, routines and interests,
short conversations in various situations, writing short
statements, listening to and reading short and simple
texts

01-320-002 ภาษา
อังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 3(2-2-5)
English for Communication 2
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการเล่าเรื่อง อธิบาย และให้
เหตุผล การสนทนาอย่างต่อเนื่องในสถานการณ์ต่างๆ ในชีวิต
ประจำวัน การเขียนบรรยายสั้น ๆ การฟั งและการอ่านเนื้อหาใน
เรื่องที่เกี่ยวข้องจากสื่อ
Vocabulary, expressions and language patterns used
in daily life for telling stories, giving explanations and
reasons, exchanging information continuously, writing
short and connected descriptions, listening to and
reading longer texts

01-310-001 ภาษาไทย
เพื่อการสื่อสาร 3(3-0-6)
Thai for Communication
หลักการสื่อสาร ความรู้พื้นฐานการใช้ภาษาไทย การฟั งอย่างมี
วิจารณญาณ การอ่านจับใจความและวิเคราะห์ความ การเขียน
เพื่อการสื่อสารในชีวิตประจำวัน และการพูดในโอกาสต่างๆ

46
Principles of communication, Thai language usage,
critical listening, reading for main ideas and analysis,
writing for communication in daily life and speaking
on different occasions

01-310-002 วรรณคดี
ไทยและวรรณกรรมท้องถิ่น 3(3-0-6)
Thai Literature and Local Literary Works
พื้นฐานวรรณคดีไทยและวรรณกรรมท้องถิ่นด้านความหมาย
ประวัติ บ่อเกิด คุณค่าทางศิลปะ และคุณค่าด้านอิทธิพลที่มีต่อ
ศิลปวัฒนธรรมไทยและวิถีไทย อ่านและประเมินค่าวรรณกรรม
ไทยและวรรณกรรมท้องถิ่น
Fundamentals of Thai literature and local literary
works in terms of concepts, history and sources, art
values and their impacts on Thai literature and local
literary works, critical reading of Thai literature and
local literary works

01-310-006 การอ่าน
และการเขียนเชิงวิชาการ 3(3-0-6)
Academic Reading and Writing
หลักการอ่านเอกสารทางวิชาการ หลักการเขียนทางวิชาการ
การอ่านและเขียนสรุปสาระสำคัญ การศึกษาค้นคว้า และ
การนำเสนอผลงานในรูปแบบวิชาการ

47
Principles of academic reading and writing, reading
and note taking, information research and academic
presentation

01-310-011 การ
สื่อสารกับบุคคลเฉพาะกลุ่ม 3(3-0-6)
Communication for Specific Groups
การสื่อสารด้วยกระบวนการที่เหมาะสมกับกลุ่มผู้ที่มีสถานะ
เฉพาะ เช่น กลุ่มผู้พิการ ผู้สูงอายุ เยาวชน อาชีพเฉพาะ
Communication through process suitable for
particular groups of people, such as people with
physical disabilities, senior people, youths, and
people with a special career

01-310-012 ภาษาไทย
เพื่อพัฒนาองค์กร 3(3-0-6)
Thai for Organization Development
หลักการสื่อสารในองค์กรทั้งภาครัฐและเอกชน การประสานงาน
และการสื่อสารในองค์กรที่มุ่งผลสัมฤทธิ์ทั้งโดยการพูดและการ
เขียน
Principles of organizational communication in both
public and private sections, liaisons, oral and written
communication in organization

01-310-013 ภาษาไทย
เพื่อการพินิจพิจารณ์ 3(3-0-6)

48
Thai for Analyses and Critics
กระบวนการคิดพินิจและพิจารณ์สารจากการอ่าน การฟั ง และ
การดูสื่อต่างๆ อย่างมีวิจารณญาณ
Process of analyzing and commenting on messages
gained from watching, reading and listening to
different types of media

01-310-014 วาทศิลป์
เพื่อความสำเร็จ 3(3-0-6)
Art of Speaking for Success
หลักและศิลปะในการพูด การสนทนา การเจรจาต่อรอง การพูด
เพื่อนำเสนองาน การพูดในที่ประชุมชน การพูดในสถานการณ์
และโอกาสต่างๆ
Principles and art of speaking, conversation,
negotiation, and oral presentation, public speaking on
various occasions

01-310-015 การอ่าน
และการเขียนเชิงสร้างสรรค์ 3(3-0-6)
Creative Reading and Writing
การส่งเสริมความคิดสร้างสรรค์จากการอ่านและการเขียน การ
เลือกสรรวรรณกรรม การเรียบเรียงถ้อยคำ การใช้โวหาร การ
เขียนย่อหน้า กลวิธีการสร้างสรรค์และนำเสนอผลงานด้วยรูป
แบบที่หลากหลายและเหมาะสมกับวิชาชีพ

49
Promoting creative thinking from reading and writing,
selecting literature, organizing words and phrases,
making eloquence, paragraph writing, strategies for
creation and presentation appropriate for particular
professions

01-310-016 ภาษาไทย
เพื่อการนำเสนองานแบบมืออาชีพ 3(3-0-6)
Thai for Professional Presentation
ลักษณะ ความสำคัญ องค์ประกอบ และรูปแบบของการนำ
เสนอ การเตรียมความพร้อมการใช้สื่อ และศิลปะการใช้ภาษา
ไทยในการนำเสนอด้วยการพูดและการเขียน
Characteristics, importance, elements, and styles of
presentation, preparation and use of media, stylistic
use of Thai in oral and written presentation

01-310-017 มองโลก
ผ่านวรรณกรรม 3(3-0-6)
Life Seen through Literature
เนื้อหา รูปแบบ แนวคิดของวรรณกรรม การวิเคราะห์โดยอาศัย
ทฤษฎีทางจิตวิทยา หลักปรัชญาในวรรณกรรม ความสัมพันธ์
ระหว่างวรรณกรรมกับสังคม และภาพสะท้อนของสังคมจาก
วรรณกรรมไทย

50
Content, forms, concepts of literature, analysis by
psychological theories philosophy in literature
relationship between literature and society as
reflected in Thai literature

01-310-018
สุนทรียภาพของภาษาไทยในบทเพลง 3(3-0-6)
Aesthetics of Thai Language in Songs
สุนทรียภาพของภาษาไทย โลกทัศน์ และภาพสังคมที่สะท้อน
จากบทเพลงไทย
Vocabulary, expressions and language patterns from
songs, aesthetics in Thai language and perspective as
reflected in Thai song

01-320-003 สนทนา
ภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
English Conversation
คำศัพท์ สำนวนและโครงสร้างภาษาในการสนทนาตาม
สถานการณ์ต่างๆ ที่เหมาะสมกับวัฒนธรรมของเจ้าของภาษา
Vocabulary, expressions and language patterns
appropriately used in various situations according to
the native speaker’s culture

01-320-005 ภาษา
อังกฤษเพื่อการสมัครงาน 3(2-2-5)

51
English for Job Application
คำศัพท์ สำนวน และโครงสร้างภาษา เอกสารที่เกี่ยวข้องกับการ
สมัครงาน การเตรียมตัวและขั้นตอนในการสมัครงาน การอ่าน
ประกาศสมัครงาน การเขียนประวัติย่อ การกรอกใบสมัครและ
แบบฟอร์มต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการสมัครงาน การสัมภาษณ์
งาน
Vocabulary, expressions, and language patterns
related to job application, preparations for job
application, reading a job advertisement, writing a
resume, filling out an application form, job interview

01-320-006 ภาษา
อังกฤษเพื่อวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี 3(2-2-5)
English for Science and Technology
คำศัพท์ สำนวน และโครงสร้างภาษา การฟั ง พูด อ่านและเขียน
เพื่อการสื่อสารในสถานการณ์ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อม
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
Vocabulary, expressions, language patterns, listening,
speaking, reading and writing for communication
based on environment, science and technology
topics

01-320-007 ภาษา
อังกฤษเพื่อการนำเสนอ 3(2-2-5)

52
English for Presentation
คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาในการนำเสนองานในแต่ละขั้น
ตอน การใช้วจนภาษาและ อวจนภาษา การใช้สื่อประกอบ
การนำเสนองาน การนำเสนอเชิงสถิติ การตั้งคำถามและการ
ตอบคำถามระหว่างนำเสนองาน
Vocabulary , expressions, and language patterns used
at different stages of presentation, use of verbal and
non-verbal languages presentations, use of visual
supports, presentation of facts and figures, asking and
answering questions

01-320-010 ภาษา
อังกฤษเพื่อการทดสอบ 3(2-2-5)
English for Standardized Tests
ลักษณะของแบบทดสอบวัดระดับมาตรฐานภาษาอังกฤษ
มาตรฐานประเภทต่างๆ ความรู้และทักษะที่จำเป็ นทางด้าน
ภาษาอังกฤษที่ใช้ในการทำแบบทดสอบ กลวิธีในการทำแบบ
ทดสอบ
Formats and structures of various standardized tests,
linguistic knowledge and skills needed for taking the
tests, strategies dealing with standardized tests

01-320-012 การฟั ง
และการพูดภาษาอังกฤษสำหรับงานบริการด้านเทคนิค 3(2-2-5)

53
English Listening and Speaking for Technical
Support
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการอธิบายและการสาธิตการใช้
งานอุปกรณ์ต่าง ๆ การให้ความช่วยเหลือทางด้านเทคนิค การ
จัดการข้อร้องเรียน การติดตามความก้าวหน้าของงาน การ
รายงานความเสียหาย
Vocabulary, expressions and language patterns for
describing technical functions, demonstration of
equipment use, technical support, handling of
complaints, following up on work progress, reporting
damage

01-320-013 ภาษา
อังกฤษสำหรับอุตสาหกรรมบริการ 3(2-2-5)
English for Service Industry
คำศัพท์ สำนวน โครงสร้างภาษาที่เกี่ยวข้องกับอุตสาหกรรม
บริการ การแนะนำแหล่งท่องเที่ยวและอาหารท้องถิ่น การบอก
เส้นทาง การเช็คอิน การให้ความช่วยเหลือผู้มาเยือน
Vocabulary, expressions, and language patterns
related to service industry, recommendation for
tourist attractions and local food, giving directions,
check-in, offering assistance to visitors

01-320-014 ภาษา
อังกฤษสำหรับการสื่อสารทางธุรกิจ 3(2-2-5)

54
English for Business Communication
การฟั งและการพูดภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสารทางธุรกิจ การ
ทักทายและการแนะนำตัว การนัดหมายลูกค้าทางโทรศัพท์ การ
ขอร้องและการอาสา การแสดงความคิดเห็น การบอกทิศทาง
การเลี้ยงรับรองลูกค้า
Listening and speaking in situations related to business
communication, greeting and self-introduction, making
appointments by phone, requests and offers, giving
opinions, giving directions, entertaining clients

01-320-015 ภาษา
อังกฤษสำหรับธุรกิจออนไลน์ 3(2-2-5)
English for Online Business
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการอธิบายสินค้าและโฆษณาสินค้า
ออนไลน์ การขอข้อมูลสินค้า การชำระสินค้าออนไลน์ การรับส่ง
สินค้า และการร้องเรียนเกี่ยวกับสินค้า
Vocabulary, expressions and language patterns for
describing and advertising products online, asking
about products, making online payment, delivering
products, dealing with complaints

01-320-016 ภาษา
อังกฤษเพื่อการอ่านทางวิชาการ 3(2-2-5)
English for Academic Reading

55
รูปแบบบทความวิจัย บทความวิชาการในระดับนานาชาติ คำ
ศัพท์ทางวิชาการ การอ่านบทความวิจัยและบทความทาง
วิชาการ การสรุปใจความสำคัญจากรายงานวิจัยและบทความ
ทางวิชาการ
Genres and patterns of academic articles in
international journals, academic terms, reading
research and academic articles, summarizing main
ideas

01-320-017 ภาษา
อังกฤษเพื่อการเขียนทางวิชาการ 3(2-2-5)
English for Academic Writing
ลักษณะของภาษา องค์ประกอบของงานเขียนทางวิชาการ
เทคนิคการสืบค้น การประเมินความเหมาะสมของข้อมูลที่นำ
มาใช้ในการอ้างอิง การสรุปและเปลี่ยนข้อความ การอ้างอิง
ทางวิชาการ การเขียนบทคัดย่อ
Language discourse and components of academic
writing, techniques for searching, evaluation of
information and references, referencing, summary
writing and paraphrasing, academic referencing,
abstract writing

01-320-018 การพัฒนา
ทักษะการเขียน 3(2-2-5)
English Writing Development

56
การเขียนประโยค การเขียนย่อหน้า การกรอกแบบฟร์อม การ
เขียนบันทึกส่วนตัว การเขียนจดหมายส่วนตัว การจดข้อความ
โดยย่อจากการอ่านและการฟั ง
Sentence writing, paragraph writing, form filling, daily
writing, personal letter writing, note-taking from
reading and listening

01-320-019 ภาษา
อังกฤษเชิงหรรษา 3(2-2-5)
English for Edutainment
ศัพท์ สำนวนและโครงสร้างภาษาที่ใช้ในบริบทของสื่อบันเทิง
ภาษาอังกฤษและวัฒนธรรมในการสื่อสารจาก การ์ตูนและภาพ
เคลื่อนไหว ภาพยนตร์ ละครเพลง การสร้างสื่อบันเทิงตาม
หัวข้อที่สนใจ
Vocabulary, expressions and language features used
in entertainment contexts, English language and
culture for communication from cartoons and
animation, movies, dramas, songs, creation of
entertainment media according to topics of interest

01-320-020 ภาษา
อังกฤษและวัฒนธรรมตะวันตก 3(2-2-5)
English Language and Western Culture

57
คำศัพท์ สำนวน และโครงสร้างภาษา ในการสื่อสารข้าม
วัฒนธรรม ความแตกต่างด้านวัฒนธรรม การทักทายและการ
กล่าวลา ภาษาท่าทางและขนบธรรมเนียม การกล่าวชมเชย การ
ร้องเรียน มารยาททั่วไป มารยาทบนโต๊ะอาหาร วัฒนธรรม
ตะวันตกที่เกี่ยวกับชีวิตประจำวัน วัฒนธรรมการทำงาน
Vocabulary, expressions and language patterns used
for cross-cultural communication, and culture shocks,
greetings and farewell, gestures, tradition,
compliments, complaints, etiquettes, table manners,
western cultures related to daily life, workplace
culture

01-320-021 การใช้สื่อ
ดิจิทัลในการเรียนภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
Using Digital Tools for English Learning
ประเภทของสื่อดิจิทัลสำหรับการพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษด้าน
การอ่าน การฟั ง การพูด และการเขียน การใช้สื่อดิจิทัลเพื่อ
พัฒนาทักษะด้านการอ่าน การฟั ง การพูด และการเขียนด้วย
ตนเอง
Types of digital media for English skill development
including listening, reading, speaking and writing, use
of digital media for self-directed learning

01-320-022 การสรร
สร้างละครและหนังสั้นภาษาอังกฤษ 3(2-2-5)
Creating English Dramas and Short Films

58
ศัพท์ สำนวน และโครงสร้างประโยค ที่เกี่ยวข้อง การอ่านและ
การเขียนบทละครหรือบทภาพยนตร์สั้นๆ การวิเคราะห์ เนื้อ
เรื่องตัวละคร การใช้โทนเสียง ทำนองเสียง การแก้ไขปั ญหา
การทำงานเป็ นทีม การแสดงละครสั้นเป็ นภาษาอังกฤษ การจัด
ทำวิดีโอ คลิปสั้นๆเป็ นภาษาอังกฤษ
Vocabulary, expressions and language patterns
related to reading and writing short plays or short
films, analyzing themes and characters, tones and
intonations, problem-solving and team working,
performance of plays in English, making short video
clips

01-320-023 การเรียง
ร้อยเรื่องราวเป็ นภาษาอังกฤษผ่านภาพ 3(2-2-5)
Telling Stories in English through Pictures
ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของการเล่าเรื่อง ศัพท์สำนวน
โครงสร้างประโยคที่เกี่ยวข้อง โครงสร้างของเรื่อง การใช้เสียง
สื่อ ความช้า เร็วโทนเสียงและภาษาท่าทางในการพูดเล่าเรื่อง
เทคนิคการเล่าเรื่อง การเล่าเรื่องเกี่ยวกับคน เพลง รูป
ภาพยนตร์ วรรณกรรมและวัฒนธรรม และการประเมินผล
ตนเอง
The importance and purposes of storytelling, narrative
structure of storytelling, use of sound, visuals, paces,
tones, intonations, and gestures, telling stories of
people, songs, photos, movies, literature, and

59
cultures, relevant vocabulary, expressions, language
patterns/self-evaluation

01-320-024 ภาษา
อังกฤษสำนักงาน 3(2-2-5)
English for Office
ภาษาที่ใช้ในการต้อนรับผู้มาเยือน การนำชมสถานที่ การพูด
โทรศัพท์ การจดบันทึกการประชุม ประเภทของเอกสารใน
สำนักงานและลักษณะภาษาที่ใช้ การจัดเตรียมเอกสารการ
ประชุม การสื่อสารภายในและระหว่างองค์กร
Language used for welcoming visitors, company tours,
telephoning, minutes of meetings, types of office
documents and language use, document
preparations, internal and external communication

01-320-025 ภาษา
อังกฤษสำหรับการสื่อสารในองค์กร 3(2-2-5)
English for Organizational Communication
คำศัพท์ สำนวน ภาษาที่ใช้ในการเขียนจดหมายอิเล็กทรอนิกส์
การประชุม การแสดงความคิดเห็น การนำเสนองานอย่างสั้น
การให้ข้อวิจารณ์และกล่าวตอบข้อวิจารณ์ การทบทวนผลการ
ปฏิบัติงาน
Vocabulary, expressions and language patterns for
emailing, meeting, expressing opinions, giving a short

60
presentation, giving and responding to feedback,
performance reviews

01-320-026 การอ่าน
ภาษาอังกฤษเพื่อความเพลิดเพลิน 3(2-2-5)
English Reading for Pleasure
การอ่านการ์ตูน นิทาน เรื่องสั้น โคลงกลอน นวนิยายโดยเน้น
การหาประเด็น การหาความหมายตรงและความหมายแฝง การ
ฝึ กอ่านเพื่อสุนทรียรส
Reading cartoons, tales, short stories, poems, novels
focusing on finding themes, denotation and
connotation, reading practice for aesthetic
appreciation

01-330-001 ภาษาจีน
พื้นฐาน 3(3-0-6)
Basic Chinese
การใช้สัทอักษรโรมันกำกับเสียง การเขียนตัวอักษรจีนโดยใช้
มาตรฐานเดียวกับสาธารณรัฐประชาชนจีน การฟั งพูด การอ่าน
และการเขียน ตัวเลข คำศัพท์และประโยคที่ใช้บ่อยในชีวิต
ประจำวัน

61
Roman phonetic symbols for pronunciation, basic
calligraphy, basic Chinese language skills: listening,
speaking, reading and writing, numbers, words and
sentences frequently used in everyday life

01-330-002 การ
สนทนาภาษาจีนเบื้องต้น 3(3-0-6)
Basic Chinese Conversation
ทักษะการฟั งและการพูดในหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน
เน้นการออกเสียงที่ถูกต้อง ความสามารถในการถ่ายทอดความ
ต้องการเป็ นภาษาจีนโดยใช้สถานการณ์จำลองได้
Chinese listening and speaking on everyday life topics
focusing on correct pronunciation and expressions by
means of simulation

01-330-006 ภาษา
ญี่ปุ่นพื้นฐาน 3(3-0-6)
Basic Japanese
อักษรญี่ปุ่นฮิระงะนะและคะตะคะนะ คำศัพท์ในชั้นเรียน คำ
ทักทายในชีวิตประจำวัน ตัวเลข รวมทั้งฝึ กการสร้างรูปประโยค
พื้นฐาน
Japanese alphabets: Hiragana and Katakana,
vocabulary, greeting words in daily life, numbers and
constructing basic sentence structures

62
01-330-007 สนทนา
ภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น 3(3-0-6)
Basic Japanese Conversation
บทสนทนาภาษาญี่ปุ่นในรูปแบบต่างๆ โดยอาศัยสถานการณ์
จำลองจากสถานการณ์จริงที่ผู้เรียนจะต้องพบในชีวิตประจำวัน
โดยฝึ กฝนให้สามารถใช้ได้อย่างคล่องแคล่ว เมื่อชำนาญขึ้น
สามารถนำคำศัพท์ที่เกี่ยวข้องอื่นๆ มาประกอบเพื่อขยาย
ขอบเขตของบทสนทนาให้กว้างต่อไป
Various types of Japanese conversation in daily life,
situational conversation practice with the focus on
fluency and relevant vocabulary use for extension of
conversation

04-000-201 ภาษา
อังกฤษสำหรับงานวิศวกรรม 3(2-2-5)
English for Engineering
ทักษะฟั ง พูด อ่าน เขียน ศัพท์เทคนิค สำนวนภาษาที่เกี่ยวกับ
งานด้านวิศวกรรม ข้อกำหนดด้านความปลอดภัย คู่มือการ
ปฏิบัติงานและการใช้งาน การอธิบายกระบวนการทำงาน การ
เขียนรายงานความเสียหายและความก้าวหน้า
Listening, speaking, reading and writing skills, technical
terms and language patterns regarding engineering
work, safety regulations, manuals, explanation, report
of damages and progress

63
05-110-201 ภาษา
อังกฤษเพื่อธุรกิจ 3(2-2-5)
English for Business
ความหมายของคำศัพท์และสำนวนที่ใช้ในธุรกิจ ทักษะการสื่อสาร
ภาษาอังกฤษธุรกิจทั้ง การฟั ง การพูด การอ่าน และการเขียน จาก
เอกสารสื่อสารในงานธุรกิจ โฆษณา ประกาศ ตาราง กราฟ
กำหนดการ การสืบค้นข้อมูลทางธุรกิจจากสื่อต่างๆ การนำเสนอ
งานทางธุรกิจการเขียนโต้ตอบทางธุรกิจและการติดต่อธุรกิจผ่าน
ทางอินเตอร์เน็ต
Meaning of vocabulary and expressions used for
communication business, business English
communication skills: listening, speaking, reading and
writing from business documents, advertisements,
announcements, tables, graphs, schedules; searching
business information from various media; business
presentations; business correspondence writing and
business communication through the Internet

08-888-210 ภาษา
อังกฤษสำหรับงานสื่อสารมวลชน 3(2-2-5)
English for Mass Communication
ทักษะการฟั ง พูด อ่าน และเขียน ศัพท์เทคนิค สำนวนภาษาที่
เกี่ยวข้องกับงานสื่อสารมวลชน การอ่านและการเขียนคู่มือทาง
เทคนิค การอธิบายกระบวนการทำงาน การเขียนรายงานข้อมูล
และนำเสนอข้อมูลด้านสื่อสารมวลชน

64
Listening, speaking, reading and writing skills, technical
terms and language patterns regarding mass
communication work, reading and writing of technical
manuals, explanation of working process, report
writing and presentation in mass communication

09-900-001 ภาษาอังกฤษสำหรับสะเต็มศึกษา
3(2-2-5)
English for STEM Education
คำศัพท์ ศัพท์เทคนิค การฟั ง พูด อ่าน เขียน ที่เกี่ยวข้องกับกา
รบูรณาการศาสตร์ด้านวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยีวิศวกรรม และ
คณิตศาสตร์ สำหรับนักศึกษาทางด้านวิทยาศาสตร์และ
สังคมศาสตร์ เพื่อเสริมสร้างประสิทธิภาพกระบวนการคิดและ
การสื่อสารในการประยุกต์ความรู้และทักษะด้านสะเต็ม
Vocabulary, technical terms, listening, speaking,
reading, writing related to Science, Technology,
Engineering, and Mathematics fields for both science
and non-science students to improve critical thinking
and communication performance in applying
knowledge and STEM skills

65
3. กลุ่มวิทยาศาสตร์เทคโนโลยีและนวัตกรรม ไม่น้อยกว่า
6 หน่วยกิต
3.1 รายวิชาเทคโนโลยีสารสนเทศ ให้เลือก 1 รายวิชา จำนวน 3
หน่วยกิต จากรายวิชาดังต่อไปนี้

รายวิชา รหัสวิชา รายวิชา หน่วย หมายเหตุ


ที่ กิต
1 09-000- ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์ 3(2-2-
001 และเทคโนโลยีสารสนเทศ 5)
Computer and
Information Technology
Skills
2 09-000- การใช้งานโปรแกรม 3(2-2-
002 สำเร็จรูปเพื่องานมัลติมีเดีย 5)
Program Package for
Multimedia
3 09-000- เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ 3(2-2-
003 การตัดสินใจ 5)
Information Technology
for Decision Making

หมายเหตุ หลักสูตรด้านคอมพิวเตอร์ แนะนำให้เลือกรายวิชาที่ 2 หรือ 3 ตามความเหมาะสม

66
คำอธิบายรายวิชา
09-000-001 ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ
3(2-2-5)
(Computer and Information Technology Skills)
ความรู้พื้นฐานการใช้คอมพิวเตอร์การใช้โปรแกรมสำนักงาน ได้แก่
โปรแกรมประมวลผลคำ การใช้โปรแกรมตารางคำนวณ การใช้
โปรแกรมนำเสนอ การใช้อินเทอร์เน็ตและการสื่อสารสังคม
ออนไลน์ ได้แก่ เครือข่ายคอมพิวเตอร์ เทคโนโลยีการสื่อสารข้อมูล
จดหมายอิเล็กทรอนิกส์แบบภายในและภายนอกองค์กร การท่อง
เครือข่ายอินเทอร์เน็ต และความรู้ทั่วไปเกี่ยวกับโลกออนไลน์
Computing fundamentals, key applications such as
Word Processor (Microsoft Word), Spreadsheets
(Microsoft Excel), Presentation (Microsoft PowerPoint),
Internet and social networks such as computer
network, communication technology, internal and
external e-mail correspondence, surfing the Internet,
and general knowledge about the Internet World

09-000-002 การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูปเพื่องานมัลติมีเดีย
3(2-2-5)
Program Package for Multimedia
ความรู้พื้นฐานด้านเทคโนโลยีสื่อประสมประเภทข้อความ ภาพนิ่ง
เสียง ภาพเคลื่อนไหว และวีดิโอ การประยุกต์ใช้งานโปรแกรม
จัดการสื่อประสม เช่น โปรแกรมจัดการภาพกราฟิ กแบบราสเตอร์
โปรแกรมจัดการภาพกราฟิ กแบบเวกเตอร์ โปรแกรมสร้างภาพ

67
เคลื่อนไหว 2 มิติ โปรแกรมตัดต่อภาพวีดิโอ โปรแกรมแปลงไฟล์
ภาพและวีดิโอ โปรแกรมนำเสนอผลงานสื่อประสม และการเผย
แพร่ผลงานสื่อประสมบนอินเทอร์เน็ต
Basic knowledge of multimedia technology including
text, image, audio, animation and video, multimedia
applications such as raster graphics editor, vector
graphics editor, 2D animation software, video editing
software, image and video file conversion software,
multimedia presentation software, and multimedia
publishing on the internet

09-000-003 เทคโนโลยี
สารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ 3(2-2-5)
Information Technology for Decision Making
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับทฤษฎีการตัดสินใจ การใช้งานโปรแกรม
ประยุกต์หรือระบบเทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการตัดสินใจ เช่น
โปรแกรมตารางคำนวณขั้นสูง โปรแกรมทางสถิติและความน่าจะ
เป็ น ระบบสารสนเทศเพื่อผู้บริหารระดับสูง ระบบสนับสนุนการ
ตัดสินใจ โปรแกรมนำเสนอข้อมูลในรูปแบบของกราฟิ ก รวมถึง
เครื่องมืออำนวยความสะดวกในการจัดการข้อมูล ส่วนติดต่อกับผู้
ใช้งาน เพื่อนำเสนอข้อมูลที่เป็ นประโยชน์ต่อการตัดสินใจได้อย่าง
มีประสิทธิภาพ
Basic knowledge and theories of decision-making
application of software or information system for
decision-making such as advanced spreadsheet,

68
probability and statistics, executive information system,
decision support system including data management
tools and user interface for efficient decision marking

3.2 รายวิชาวิทยาศาสตร์คณิตศาสตร์และนวัตกรรม ให้เลือกเรียน


อีกไม่น้อยกว่า 3 หน่วยกิต
จากรายวิชาต่อไปนี้

รายวิช รหัส รายวิชา หน่วย หมายเหตุ


าที่ วิชา กิต
1 09-111- การคิดและการให้เหตุผล 3(3-0-
001 Thinking and Reasoning 6)
2 09-111- ค ณิ ต ศ า ส ต ร์ เ พื่ อ ก า ร ท่ อ ง
3(3-0-
002 เ ที่ ย ว Mathematics for
6)
Tourism
3 09-111- คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
3(3-0-
051 Mathematics in Daily
6)
Life
4 09-121- สถิติในชีวิตประจำวัน 3(2-2-
001 Statistical in Daily Life 5)
5 09-121- สถิติเบื้องต้นสำหรับ 3(2-2-
002 นวัตกรรม 5)
Basic Statistics for
Innovation
6 09-130- เทคโนโลยีสารสนเทศและ 3(3-0-
001 การสื่อสารสีเขียว 6)

69
รายวิช รหัส รายวิชา หน่วย หมายเหตุ
าที่ วิชา กิต
Green ICT
7 09-130- อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งใน
002 ชีวิตประจำวัน 3(3-0-
Internet of Things in 6)
Everyday Life
8 09-130- ชีวิตดิจิทัล 3(3-0-
003 Digital Life 6)
9 09-210- เคมีในยุคดิจิทัล 3(3-0-
001 Chemistry in Digital Life 6)
10 09-210- รู้ทันสารพิษ ชีวิตปลอดภัย
3(3-0-
002 Toxic Alert and Safety
6)
Life
11 09-210- วิทยาศาสตร์ ความคิด
003 สร้างสรรค์ และนวัตกรรม 3(3-0-
Science, Creativity and 6)
Innovation
12 09-210- เทคโนโลยีสีเขียว 3(3-0-
033 Green Technology 6)
13 09-311- ชีวิตยุคใหม่กับความ
001 ปลอดภัยในอาหาร 3(3-0-
Modern Life with Food 6)
Safety
14 09-311- ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-
051 Life and Environment 6)

70
รายวิช รหัส รายวิชา หน่วย หมายเหตุ
าที่ วิชา กิต
15 09-410- ก้าวทันเทคโนโลยี
3(3-0-
001 Keep Pace with
6)
Technology
16 09-410- วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต 3(3-0-
002 Sciences for Life 6)
17 09-410- ต้องรอดกับภัยพิบัติ
3(3-0-
003 ธรรมชาติ
6)
Natural Disaster Survival
18 09-410- เทคโนโลยีพลังงานทดแทน
004 เพื่อความยั่งยืน
3(3-0-
Renewable Energy
6)
Technologies for
Sustainability
19 09-090- การสื่อสารวิทยาศาสตร์และ
011 การสร้างความตระหนักด้าน
2 (1-
วิทยาศาสตร์
2-3)
Science Communication
and Public Awareness

คำอธิบายรายวิชา

09-111-001 การคิดและการให้เหตุผล
3(3-0-6)
Thinking and Reasoning

71
การคิดอย่างมีเหตุผล การให้เหตุผลทางคณิตศาสตร์ ประพจน์
ตัวเชื่อมทางตรรกศาสตร์ ตารางค่าความจริง สัจนิรันดร์ ตัวบ่ง
ปริมาณ การอ้างเหตุผล
Rational thinking, mathematical reasoning,
statements, logical connectives, truth table,
tautology, quantifiers, arguments

09-111-002 คณิตศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยว
3(3-0-6)
Mathematics for Tourism
การสำรวจพื้นที่ท่องเที่ยว การคำนวณระยะทาง วิถีที่สั้นที่สุด
การจัดการค่าใช้จ่าย การประยุกต์ทฤษฎีกราฟในการท่องเที่ยว
Exploration tourism area, distance calculation,
shortest path, expense management, application of
graph theory in tourism

09-111-051 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน
3(3-0-6)
Mathematics in Daily Life
การคำนวณทางคณิตศาสตร์ขั้นพื้นฐาน อัตราส่วน ร้อยละ ภาษี
ความสำคัญของการออมเงิน เป้ าหมายการออม การวางแผนใช้
จ่ายและการออมอย่างมีประสิทธิภาพ
Basic mathematical calculations, ratio, percentages,
taxes, essential of saving money, savings goals,
effective spending and saving plan

72
09-121-001 สถิติในชีวิตประจำวัน 3(2-2-5)
Statistical in Daily Life
ความหมายและบทบาทของสถิติในชีวิตประจำวัน สถิติในสังคม
มนุษย์ การเก็บรวบรวมข้อมูลและการตรวจสอบข้อมูล การหา
ตัวแทนข้อมูล การหาตำแหน่งและการกระจายของข้อมูล การ
แปลความหมายและสรุปข้อมูล การนำเสนอข้อมูลที่เหมาะสมกับ
คุณลักษณะของข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูลโดยใช้โปรแกรมทาง
สถิติ
Meaning and the role of statistics in daily life, statistics
in human society, data collection and data validation,
information agent, position measurement and
distribution measurement, interpretation and summary
data, data characteristics and means of presentation,
use of statistical software for data analysis

09-121-002 สถิติเบื้องต้นสำหรับนวัตกรรม 3(3-0-6)


Basic Statistics for Innovation
ความหมายและบทบาทของสถิติในการพัฒนานวัตกรรม การ
ศึกษาข้อมูลที่เกี่ยวข้องสำหรับการพัฒนานวัตกรรม เครื่องมือและ
การตรวจสอบคุณภาพเครื่องมือเพื่อหาประสิทธิภาพนวัตกรรม
การตรวจสอบประสิทธิภาพนวัตกรรม
Meaning and role of statistics in innovation
development, study of relevant information for
innovation development, tool and quality inspection to

73
find innovative performance, innovation performance
monitoring

09-130-001 เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารสีเขียว
3(3-0-6)
Green ICT
บทบาทของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารและผลกระทบ
กับสิ่งแวดล้อม การทำงานของเทคโนโลยีสารสนเทศและการ
สื่อสารที่ก่อให้เกิดปริมาณก๊าซเรือนกระจก วิธีลดปริมาณก๊าซเรือน
กระจกโดยเปลี่ยนแปลงกฎเกณฑ์ ปรับปรุงกระบวนการทำงาน
ของเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่มีผลกระทบกับสิ่ง
แวดล้อม
Roles of information and communication technologies
and their impact on the environment, process of
information and communication technology that
contributes to greenhouse gas emissions, how to
reduce greenhouse gas emissions by changing the rules
and improving the of information workflow and
communication technologies that affect environment

09-130-002 อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งในชีวิตประจำวัน
3(3-0-6)
Internet of Things in Everyday Life

74
แนวคิดพื้นฐานของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง แนวโน้มและการ
พัฒนาของเทคโนโลยีอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง สถาปั ตยกรรมของอุ
ปกรณ์สมาร์ตอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง การประยุกต์ใช้เทคโนโลยี
อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งในชีวิตประจำวัน ความปลอดภัยในการใช้
งานของอินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่ง
Basic concept of Internet of things (IoT), trend and
development of IoT technology, architecture of smart
devices of IoT, application of IoT technology in daily
life, security in applications of IoT

09-130-003 ชีวิตดิจิทัล
3(3-0-6)
Digital Life
เทคโนโลยีดิจิทัลเบื้องต้นในปั จจุบัน วิวัฒนาการของเทคโนโลยี
ดิจิทัล เทคโนโลยีดิจิทัลที่มีผลกระทบกับชีวิตประจำวัน การ
ประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลกับชีวิตประจำวัน แนวโน้มและการ
พัฒนาเทคโนโลยีดิจิทัลในอนาคต
Introduction to digital technology, evolution of digital
technology, applications and impacts of digital
technology in daily life, trends and development of
digital technology in the future

09-210-001 เคมีในยุคดิจิทัล
3(3-0-6)
Chemistry in Digital Life

75
บทบาทของเคมีในวิถีชีวิตสมัยใหม่ แนวคิด การประยุกต์ใช้เคมี
และนวัตกรรมเพื่อการพัฒนาคุณภาพชีวิต สร้างเสริมสุขภาวะใน
การดำเนินชีวิตและการอนุรักษ์สิ่งแวดล้อม มีความรู้ทันต่อความ
ก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงรอบตัว เพื่อการปรับตัวภายใต้
กระแสการเปลี่ยนแปลงในยุคดิจิทัล
Role of chemistry in modern life style, concept,
application of chemistry and innovation for quality of
life, health and environment, updated knowledge for
adjustment in Digital Life

09-210-002 รู้ทันสารพิษ ชีวิตปลอดภัย


3(3-0-6)
Toxic Alert and Safety Life
สถานการณ์และปั ญหาสารพิษภายใต้กระแสการเปลี่ยนแปลง
ของโลก สารพิษและการจัดการกับสารพิษใกล้ตัวในชีวิตประจำ
วัน มลพิษ การปรับตัวและการป้ องกันตนเองเพื่อสุขภาวะที่ดีใน
การดำเนินชีวิตในสังคมยุคปั จจุบัน
Situations and problems of toxic substances under
globalization changes, toxic substances and
management of toxic substances in daily life,
pollution, adjustment and prevention for health and
way of living in present life

76
09-210-003 วิทยาศาสตร์ ความคิดสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
3(3-0-6)
Science, Creativity and Innovation
การคิดเชิงวิทยาศาสตร์อย่างเป็ นระบบ ศึกษาค้นคว้า ความคิด
สร้างสรรค์ด้วยกระบวนการต่างๆ ทางวิทยาศาสตร์ โดยเน้น
กระบวนการเรียนรู้และสื่อที่หลากหลาย เพื่อนำไปสู่การพัฒนา
นวัตกรรมและเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับเกษตรกรรม วิศวกรรม
และอุตสาหกรรมสมัยใหม่ เทคโนโลยีสมัยใหม่และการประยุกต์
ใช้ในด้านต่าง ๆ เช่น ด้านสุขภาพ อาหาร เกษตรกรรม พลังงาน
สิ่งแวดล้อม เพื่อให้มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้าและการ
เปลี่ยนแปลง เพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน
Scientific thinking, information search, creative thinking
through scientific processes and various instructional
media for innovative and technology development in
agriculture, engineering and modern industries, modern
technologies and their application for sustainable
development

09-210-033 เทคโนโลยีสีเขียว
3(3-0-6)
Green Technology
ปั ญหาสิ่งแวดล้อมจากการพัฒนาด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หลักการและกระบวนการของเทคโนโลยีสีเขียว การประเมิน

77
วัฏจักรชีวิต การออกแบบเชิงนิเวศเศรษฐกิจ กรณีศึกษาการ
บริหารจัดการและการเลือกใช้เทคโนโลยีที่เป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม
Environmental problems caused by science and
technology development, principle and process of
green technology, life cycle assessment, eco-design,
case studies of management and appropriate use of
environmental–friendly technology

09-311-001 ชีวิตยุคใหม่กับความปลอดภัยในอาหาร 3(3-


0-6)
Modern Life with Food Safety
วัฒนธรรมการบริโภค อาหารสำหรับคนยุคใหม่ อันตรายในอาหาร
การเน่าเสียของอาหาร การยืดอายุของอาหารสมัยใหม่ หลักการ
ปฏิบัติที่ดีในการผลิตอาหาร กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับความ
ปลอดภัยในอาหาร
Eating cultures, food for modern life, food hazards,
food spoilage, food preservation, good manufacturing
practice, food safety regulations and laws

09-311-051 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)


Life and Environment
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับสิ่งมีชีวิตและสิ่งแวดล้อม นิเวศวิทยา
ทรัพยากรธรรมชาติและการอนุรักษ์ มลพิษสิ่งแวดล้อม และการ
จัดการสิ่งแวดล้อม

78
Basic knowledge of organisms and environment,
ecology, natural resources and conservation,
environmental pollutants and environmental
management

09-410-001 ก้าวทันเทคโนโลยี 3(3-0-6)


Keep Pace with Technology
แนวคิดเชิงวิทยาศาสตร์และการประยุกต์ในชีวิตประจำวัน การบู
รณาการเทคโนโลยีที่เกี่ยวข้องกับชีวิตประจำวัน เทคโนโลยี
อวกาศและการสื่อสารโทรคมนาคม เทคโนโลยีนิวเคลียร์และการ
ใช้ประโยชน์ทางสันติ นาโนเทคโนโลยี เทคโนโลยีวัสดุ เทคโนโลยี
กับการพัฒนาคุณภาพชีวิต เทคโนโลยีกับการพัฒนาที่ยั่งยืน
Scientific concepts and their application in everyday
life, integration of technologies related to everyday life,
space technology and telecommunications, nuclear
technology and peaceful uses, nanotechnology,
materials technology, technology with life quality
improvement, technology and sustainable
development

09-410-002 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต 3(3-0-6)


Sciences for Life

79
แนวคิดและวิธีการทางวิทยาศาสตร์ การสืบเสาะแสวงหาความรู้
การเชื่อมโยงความคิดและกระบวนการแก้ปั ญหาสถานการณ์
ปั จจุบันและการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ การบูรณาการความรู้ทาง
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน แนวคิดการสร้าง
นวัตกรรมและองค์ความรู้ ผลกระทบของความรู้ทางวิทยาศาสตร์
และเทคโนโลยีต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพแวดล้อม เศรษฐกิจ
สังคม และอนาคตของมนุษย์ การเรียนรู้ตลอดชีวิตเพื่อคุณภาพ
ชีวิตที่ดี
Scientific approaches and processes, knowledge
exploring, associative thinking and problem solving,
current situation and the learning from sharing,
integration of science and technology in everyday life,
concept of innovation and knowledge conformation,
effect of scientific and technological changes on
economy, society, environment and the future of
mankind, lifelong learning for better quality of life

09-410-003 ต้องรอดกับภัยพิบัติธรรมชาติ 3(3-0-6)


Natural Disaster Survival
ประเภทของภัยพิบัติธรรมชาติ ภัยพิบัติทางธรณี ภัยพิบัติทางภูมิ
อากาศ ธรณีศาสตร์ของภัยพิบัติทางธรณี เทคโนโลยีการเตือนภัย
และการเฝ้ าระวังภัยพิบัติทางธรณี อุตุนิยมวิทยาของภัยพิบัติทาง
ภูมิอากาศ เทคโนโลยีการพยากรณ์อากาศ การปฏิบัติตนเมื่อเกิด
ภัยพิบัติธรรมชาติ การลดความเสี่ยงจากภัยพิบัติธรรมชาติ การ
จัดการด้านภัยพิบัติธรรมชาติและสารธารณภัย

80
Types of natural disasters, geophysical disasters,
meteorological and climatological disasters,
geosciences of geophysical hazards, meteorology of
weather hazards, warning technology and natural
hazard monitoring, natural disaster risk reduction,
natural disaster and disaster risk management

09-410-004 เทคโนโลยีพลังงานทดแทนเพื่อความยั่งยืน
3(3-0-6)
Renewable Energy Technologies for Sustainability
ความรู้พื้นฐานด้านพลังงานทดแทนและเทคโนโลยีใกล้ตัว แหล่ง
ที่มาพลังงานทดแทน สถานการณ์พลังงานทดแทน เทคโนโลยีและ
การบริโภคพลังงานทดแทน ผลกระทบทางด้านสิ่งแวดล้อม
การจัดการของเสียที่เกิดจากกระบวนการผลิตพลังงานทดแทน
การอนุรักษ์พลังงานอย่างมีส่วนร่วม การปลูกจิตสำนึกการใช้
พลังงานอย่างฉลาด การเตรียมความพร้อมสำหรับการ
เปลี่ยนแปลงด้านพลังงาน
Fundamentals of renewable energy technologies,
renewable energy sources, renewable energy
situation, technology and energy consumption,
impact on the environment, management of waste
from the production of renewable energy, involved

81
conservation of energy, wisely awareness raising of
energy use, preparation for the change in energy

09-090-011 การ
สื่อสารวิทยาศาสตร์และการสร้างความตระหนักด้านวิทยาศาสตร์ 2(1-
2-3)
Science Communication and Public Awareness

ความรู้เกี่ยวกับการสื่อสารวิทยาศาสตร์ วิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีในชีวิตประจำวัน ความจำเป็ นของการสื่อสาร
วิทยาศาสตร์กับประชาชน สื่อมวลชน และหน่วยงานภาครัฐที่
เกี่ยวข้อง ปั จจัยที่มีผลต่อทัศนคติด้านวิทยาศาสตร์และ
เทคโนโลยีของประชาชน ประวัติความเป็ นมาของการสื่อสาร
วิทยาศาสตร์ ปรัชญาและแนวคิดต่าง ๆ ที่เกี่ยวข้องกับการ
สื่อสารวิทยาศาสตร์ ปั ญหาสำคัญในการสื่อสารวิทยาศาสตร์กับ
ผู้ฟั งทั่วไป ความสำคัญของการสร้างความตระหนักด้าน
วิทยาศาสตร์และจริยธรรมในการสื่อสารวิทยาศาสตร์ อิทธิพล
ของสื่อ ศูนย์เรียนรู้ การเมือง ประวัติศาสตร์ และค่านิยมทาง
วัฒนธรรมที่มีต่อความสนใจด้านวิทยาศาสตร์ของประชาชน รูป
แบบของการสื่อสารในบริบทต่าง ๆ การให้ข้อมูลข่าวสารและ
ความรู้ทางวิทยาศาสตร์ต่อสาธารณะ ความถูกต้องและความน่า
เชื่อถือของข้อมูลทางวิทยาศาสตร์
Knowledge of science communication, contemporary
science and technology related to daily life, necessity
of communicating science with the public, media as
well as the government, factors affecting public

82
opinion and attitudes towards science and
technology, history and the development of science
communication, philosophy and models of science
communication in different contexts, problems in
communicating science with non-expert audiences,
the importance of public awareness of science and
ethical issue in communicating science, the influence
of media, learning centers, politics, history and
cultural values on public’s interest in science, science
communication in different context, publicizing
scientific information, correctness and reliability of
scientific information

4. กลุ่มบูรณาการและศาสตร์ผู้ประกอบการ ไม่น้อยกว่า
5 หน่วยกิต
4.1 รายวิชาบูรณาการและศาสตร์ผู้ประกอบการ ให้ศึกษาจาก
รายวิชาต่อไปนี้

83
รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วย หมายเหตุ
าที่ กิต
1 00-100- อัตลักษณ์แห่งราชมงคล 2(0-4-
101 ธัญบุรี 2)
RMUTT Identity
2 00-100- มหาวิทยาลัยสีเขียว 1(0-2-
201 Green University 1)
3 00-100- การคิดเชิงออกแบบ 1(0-2-
202 Design Thinking 1)
4 00-100- ความเป็ นผู้ประกอบการ 1(0-2-
301 Entrepreneurship 1)

คำอธิบายรายวิชา

00-100-101 อัตลักษณ์แห่ง
ราชมงคลธัญบุรี 2(0-4-2)
RMUTT Identity
ความภาคภูมิใจในมหาวิทยาลัย การปรับตัวให้ทันต่อการ
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและสังคม การมีจิตใจริเริ่ม การเริ่ม
ต้นทำงานที่มีเป้ าหมายชัดเจน การลำดับความสำคัญของงาน
และความรับผิดชอบต่องานอย่างมืออาชีพ การพัฒนา
บุคลิกภาพ การมีจิตสาธารณะ มารยาททางสังคม การอยู่ร่วม
กับผู้อื่นภายใต้กฎระเบียบและหลักการปกครองระบอบ
ประชาธิปไตย หลักในการใช้ชีวิตตามปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียง

84
University pride, keeping up with technology and
social changes, having initiative and being proactive,
beginning with clear goals, prioritizingthings, and being
professional, personality development, public
consciousness, social manners, living democracy,
principles of living based on the philosophy of
Sufficiency Economy

00-100-201 มหาวิทยาลัยสีเขียว 1(0-2-1)


Green University
วิธีปฏิบัติตนเพื่อเป็ นมิตรกับสิ่งแวดล้อม การใช้พลังงานและ
ทรัพยากรอย่างคุ้มค่า มีความรับผิดชอบต่อสภาพแวดล้อม
ภายในมหาวิทยาลัย การปลูกฝั งจิตสำนึกรับผิดชอบ การแบ่งปั น
และช่วยเหลือสังคม การตระหนักและมีวิสัยทัศน์ที่ดีต่อสังคม
และสิ่งแวดล้อม
Being environmentally friendly, efficient use of energy
and resources, being responsible for the environment
in the university, instilling and contributing to the
sustainable and socially responsible university,
awareness of and vision for social and environmental
sustainability

00-100-202 การคิดเชิงออกแบบ 1(0-2-1)


Design Thinking

85
กระบวนการคิดเชิงออกแบบที่มุ่งเน้นการเข้าใจผู้ใช้ การ
สร้างสรรค์ผลิตภัณฑ์หรือนวัตกรรมที่ตอบโจทย์ สร้างไอเดียที่
หลากหลาย สร้างตัวต้นแบบเพื่อทดลองและทดสอบความคิด
ทางนวัตกรรมที่เกิดขึ้น
Human-centric approach to gain deep understanding
of users, design products or innovation, ideate several
alternatives, create prototypes, and test the
innovative solutions

00-100-301 ความเป็ นผู้


ประกอบการ 1(0-2-1)
Entrepreneurship
แนวโน้มและแนวคิดในการทำธุรกิจ การเป็ นผู้ประกอบการ การ
จัดการองค์การ การตลาด การจัดการด้านการเงิน การเป็ นผู้
ประกอบการที่ประสบความสำเร็จ การจัดทำแบบจำลองธุรกิจ
Business trends and concept, development of
entrepreneur characteristics, organization
management, marketing, financial management,
successful entrepreneurs, business model canvas

และสามารถเลือกศึกษาเพิ่มเติมได้จากรายวิชาต่อไป

4.2 รายวิชาบูรณาการและศาสตร์ผู้ประกอบการ

รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วย หมายเหตุ


าที่ กิต
1 00-100- นวัตกรรมเพื่อชุมชน 3(1-4-
302 Innovation for the 4)
Community
2 09-090- การจัดการสารสนเทศเพื่อผู้ 3(2-2-
013 ประกอบการ Information 5)
Management for

86
รายวิช รหัสวิชา รายวิชา หน่วย หมายเหตุ
าที่ กิต
Entrepreneur

คำอธิบายรายวิชา

00-100-302 นวัตกรรมเพื่อชุมชน 3(1-4-


4)
Innovation for the Community
ความหมาย หลักการ แนวคิด ความสำคัญ และการประยุกต์ใช้
หลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง หลักการทรงงาน หลักการ
เข้าใจ เข้าถึง พัฒนา ฝึ กทักษะการบริหารโครงการและการ
ตัดสินใจในบริบทของเศรษฐกิจและสังคม การปฏิบัติงานการใช้
เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อชุมชน ฝึ กกระบวนการคิดในเชิง
นวัตกรรม การสร้างนวัตกรรมเพื่อคุณภาพชีวิตที่ดีของชุมชน
โดยกระบวนการมีส่วนร่วมเพื่อการพัฒนาที่ยั่งยืน

Definitions, principles, concepts, significance, and


application of sufficiency economy philosophy, the
Royal Initiated Developmental Principals of His
Majesty: Understand, Achieve, and Develop, practice a
project management skill and decision making in the
context of economic and social, work performance,
use information technology for communities, practice
innovative thinking processes, innovation creation for
a better quality of life in the community by the
process of participation for sustainable development

09-090-013 การจัดการสารสนเทศเพื่อผู้ประกอบการ 3(2-


2-5)
Information Management for Entrepreneur

87
ความหมายและบทบาทของการจัดการข้อมูลหรับการเป็ นผู้
ประกอบการ ข้อมูลและการเก็บรวบรวมข้อมูล การวางแผนและ
การตัดสินใจบนพื้นฐานของข้อมูล การเปลี่ยนแปลงธุรกิจปั จจุบัน
โดยการสร้างและใช้นวัตกรรมเทคโนโลยีดิจิทัล การใช้ประโยชน์
จากเทคโนโลยีดิจิทัลสมัยใหม่เพื่อการแก้ปั ญหาและการปรับปรุง
กระบวนการทางธุรกิจ ระบบธุรกิจอัจฉริยะ การบริหารจัดการ
ทรัพย์สินดิจิทัล
Meaning and role of information management for
entrepreneurship, planning and decision making base
on information, business transformation by creating and
using novel digital technologies, utilization of new
digital technologies to improve business operations,
business intelligence, and managing digital assets

88
ตารางวิเคราะห์ผลสัมฤทธิ์การเรียนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับ
อุดมศึกษา พ.ศ. 2552

1 2
TQF GE Outcome RMUTT Expected Learning
Outcome
1. 1. มีคุณธรรม ELO1: มีคุณธรรม จริยธรรม ในการ
คุณธรรม จริยธรรมในการ ดำเนินชีวิต บนพื้นฐาน
จริยธรรม ดำเนินชีวิตบนพื้น เศรษฐกิจพอเพียง
ฐานเศรษฐกิจพอ ELO2: สามารถวิเคราะห์ประเด็น
เพียง คุณธรรม จริยธรรม
2. ตระหนักและ ELO3: ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มีวินัย
สำนึกในความเป็ น ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อ
ไทย บังคับขององค์กรและสังคม
2. ความรู้ 3. มีความรอบรู้อย่าง ELO4: มีความรู้และทักษะพื้นฐาน
กว้างขวาง มีโลก เพื่อนำไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนำ
ทัศน์กว้างขวาง ความรู้ไปสู่การสร้างนวัตกรรม
เข้าใจและเห็นคุณค่า ELO5: มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้า
ของตนเอง ผู้อื่น และการเปลี่ยนแปลง
สังคม ศิลป ELO6: สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ให้
วัฒนธรรมและ เหมาะสมกับการเป็ นผู้ประกอบการ
ธรรมชาติ
3. ทักษะ 4. มีทักษะในการ ELO7: มีทักษะการแสวงหาความรู้ด้วย
ทาง แสวงหาความรู้ตลอด ตนเองตลอดชีวิต
ปั ญญา ชีวิต เพื่อพัฒนา
ตนเองอย่างต่อเนื่อง
89
5. มีทักษะในการคิด EL08: สามารถแก้ไขปั ญหาได้ และ
แบบองค์รวม เสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่าง
สร้างสรรค์
ELO9: สามารถใช้ข้อมูล ประมวลผล
และวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเป็ นระบบ
4. ทักษะ 6. มีจิตอาสาและ ELO10: มีบุคลิกภาพและมนุษย์
ความ สำนึกสาธารณะเป็ น สัมพันธ์ที่ดี สามารถเป็ นผู้นำและผู้ตาม
สัมพันธ์ พลเมืองที่มีคุณค่า ที่ดีและทำงานเป็ นทีมได้
ระหว่าง ของสังคมไทยและ ELO11: มีสำนึกสาธารณะและจิต
บุคคล สังคมโลก อาสา เป็ นพลเมืองที่มีคุณค่าต่อสังคม
และความ ไทยและสังคมโลก
รับผิดชอบ ELO12: มีความรับผิดชอบต่อสังคม
5. ทักษะ 7. ใช้เทคโนโลยี ELO13: สามารถเลือกและประยุกต์ใช้
การ สารสนเทศอย่างรู้เท่า เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ที่
วิเคราะห์ ทัน เกี่ยวข้องมาใช้ในการดำรงชีวิตและ
เชิงตัวเลข ปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
การ ELO14: สามารถใช้งานเทคโนโลยี
สื่อสาร สารสนเทศในการสืบค้นเพื่อนำมา
และการ วิเคราะห์และสนับสนุนการตัดสินใจ
ใช้ 8. ใช้ภาษาในการ ELO15: สามารถเลือกรูปแบบของการ
เทคโนโลยี สื่อสารอย่างมี สื่อสารและการนำเสนอที่เหมาะสมต่อ
สารสนเท ประสิทธิภาพ บุคคลที่หลากหลาย

1 กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2552

90
2 กรอบแนวคิดหมวดวิชาศึกษาทั่วไป เครือข่ายศึกษาทั่วไปแห่งประเทศไทย
สำนักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา

การพัฒนาผลการเรียนรู้หมวดวิชาศึกษาทั่วไป
1.คุณธรรม จริยธรรม
1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1)มีคุณธรรม จริยธรรม ในการดำเนินชีวิต บนพื้นฐานเศรษฐกิจพอ
เพียง
2)สามารถวิเคราะห์ประเด็นคุณธรรม จริยธรรม
3)ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มีวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อ
บังคับขององค์กรและสังคม
1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1)จัดกิจกรรมเป็ นประโยชน์ต่อสังคม
2)สอดแทรกประเด็นคุณธรรมจริยธรรมที่กำลังพูดคุยในสังคม
3)สอดแทรกความซื่อสัตย์ต่อตนเอง และสังคม ให้ความสำคัญในวินัย
การตรงต่อเวลา การส่งงานภายในเวลาที่กำหนด เน้นเรื่องการแต่ง
กายและปฏิบัติตนที่เหมาะสม ถูกต้อง ตามระเบียบข้อบังคับของ
มหาวิทยาลัย
1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม
1)พิจารณาจากกิจกรรมการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
2)การอภิปรายในชั้นเรียนเกี่ยวกับประเด็นคุณธรรม จริยธรรม
3)การขานชื่อ การให้คะแนนการเข้าชั้นเรียนและการส่งงานตรงเวลา
4)สังเกตพฤติกรรมของนักศึกษาในการปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อ
บังคับต่าง ๆ อย่างต่อเนื่อง
2.ความรู้
2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
1)มีความรู้และทักษะพื้นฐาน เพื่อนำไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนำ
ความรู้ไปสู่การสร้างนวัตกรรม
2)มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลง
3)สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับการเป็ นผู้ประกอบการ
2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
1)ใช้การสอนหลายรูปแบบ โดยเน้นหลักทางทฤษฎีและการปฏิบัติ เพื่อ
ให้เกิดองค์ความรู้
2)จัดให้มีการเรียนรู้จากประสบการณ์ตรง และสถานการณ์ที่เป็ น
ปั จจุบัน

91
3)จัดให้มีการเรียนรู้จากสถานการณ์จริง โดยการศึกษาดูงานในสถาน
ประกอบการ
2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
1)ประเมินจากแบบทดสอบด้านทฤษฎี รายงานที่มอบหมาย และผล
งานและการปฏิบัติการ
2)ประเมินจากรายงานผลการศึกษาดูงาน
3)ประเมินจากการปฎิบัติตามข้อกำหนด ระเบียบ ข้อบังคับ
3.ทักษะทางปั ญญา
3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปั ญญา
1)มีทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต
2)สามารถแก้ไขปั ญหาได้ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่าง
สร้างสรรค์
3)สามารถใช้ข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเป็ นระบบ
3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปั ญญา
1)ให้นักศึกษาฝึ กการค้นหาความรู้ใหม่อยู่ตลอดเวลา
2)ส่งเสริมการเรียนรู้จากการแก้ปั ญหา (Problem Based
Instruction)
3)มอบหมายงานที่ส่งเสริมการคิด วิเคราะห์และสังเคราะห์

3.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปั ญญา


1)ประเมินจากรายงาน ผลการค้นคว้า
2)ประเมินจากการรายงานผลการดำเนินงานและการแก้ปั ญหา ผลการ
ปฏิบัติการจากสถานการณ์จริง
3)ประเมินจากการทดสอบ การวิเคราะห์กรณีศึกษาต่าง ๆ
4.ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับ
ผิดชอบ
1)มีบุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถเป็ นผู้นำและผู้ตามที่ดี
และทำงานเป็ นทีมได้
2)มีสำนึกสาธารณะและจิตอาสา เป็ นพลเมืองที่มีคุณค่าต่อสังคมไทย
และสังคมโลก
3)มีความรับผิดชอบต่อสังคม

92
4.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์
ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
1)กำหนดการทำงานกลุ่มโดยให้หมุนเวียนการเป็ นผู้นำและผู้รายงาน
2)ให้คำแนะนำในการเข้าร่วมกิจกรรมสโมสร กิจกรรมของมหาวิทยา
ลัยฯ
3)ให้ความสำคัญในการแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบและการให้ความร่วม
มือ
4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ
1)ประเมินผลจากแบบประเมินตนเองและกิจกรรมกลุ่ม
2)พิจารณาจากการเข้าร่วมกิจกรรมของนักศึกษา
3)ประเมินจากการรายงานหน้าชั้นเรียนและจากการสังเกตพฤติกรรม
5.ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และ
การใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1)สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ที่
เกี่ยวข้องมาใช้ในการดำรงชีวิตและปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
2)สามารถใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นเพื่อนำมาวิเคราะห์
และสนับสนุนการตัดสินใจ
3)สามารถเลือกรูปแบบของการสื่อสารและการนำเสนอที่เหมาะสมต่อ
บุคคลที่หลากหลาย
5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง
ตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ

93
1)ส่งเสริมให้เห็นความสำคัญ และฝึ กให้มีการตัดสินใจบนฐานข้อมูล
และข้อมูลเชิงตัวเลข
2)มอบหมายงานค้นคว้าองค์ความรู้จากแหล่งข้อมูลต่างๆและให้
นักศึกษานำเสนอหน้าชั้น
3)การใช้ศักยภาพทางคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศในการนำ
เสนอผลงานที่ได้รับมอบหมาย และฝึ กการนำเสนอผลงานโดยเน้น
ความสำคัญของการใช้ภาษา และบุคลิกภาพ
5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1)ประเมินจากงานที่มอบหมาย ความสามารถในการคำนวณด้วยหลัก
คณิตศาสตร์เชิงเลข
2)พิจารณาจากรายงานการค้นคว้าข้อมูล วิธีการนำข้อมูลออกมานำ
เสนอ และการประยุกต์ใช้งาน
3)พิจารณาจากวิธีการนำเสนอ การใช้ข้อมูล

94
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum
Mapping)

● ความรับผิดชอบหลัก O ความรับผิดชอบรอง

1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ


คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
01-110-004 สังคมกับสิ่งแวดล้อม              


01-110-007 การสื่อสารกับสังคม     

            
01-110-009 การพัฒนาคุณภาพชีวิตและ

95
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
สังคม

01-110-012 ปรัชญาเศรษฐกิจพอเพียงเพื่อ
           
การพัฒนาที่ยั่งยืน

01-110-017 คุณภาพชีวิตที่ดีของพลเมืองยุค
             
ใหม่

01-110-018 อินเทรนด์ อย่างเป็ นสุข             


01-110-019 คิดเชิงรุกแบบพอเพียง             

96
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3

01-110-020 หนึ่งเสียง สร้างพลังสังคม            


01-110-021 ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม       


01-110-022 มองสังคมอย่างนักวิจัย          


01-110-023 พลเมืองดีตามวิธีประชาธิปไตย           

01-110-024 ชีวิตที่พอเพียงกับภูมิปั ญญาไทย            

01-210-017 การค้นคว้าและการเขียน
        
รายงานเชิงวิชาการ

97
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
01-210-018 การสืบค้นสารสนเทศ        

01-210-019 การพัฒนาบุคลิกภาพ     

01-210-020 จิตวิทยาประยุกต์เพื่อการทำงาน       

01-210-021 การใช้เหตุผลและจริยธรรม           

01-210-022 วิถีธรรมวิถีไทย         

01-210-023 มหัศจรรย์แห่งรัก          

01-210-024 ทักษะการเรียนรู้สู่ความสำเร็จ          

98
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
01-210-025 มองชีวิตผ่านฟิ ล์ม          

01-610-001 ทักษะกีฬาเพื่อสุขภาพ           

01-610-003 นันทนาการ           

01-610-005 การจัดและการบริหารค่ายพัก
          
แรม
01-610-006 การฝึ กด้วยน้ำหนักเพื่อสุขภาพ           

01-610-007 การดำน้ำตื้นเบื้องต้น           

99
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
01-610-008 ลีลาศเพื่อสุขภาพ           

01-610-009 สุขภาพเพื่อชีวิต           

01-610-010 นันทนาการเพื่อพัฒนาคุณภาพ
          
ชีวิต
01-610-011 กิจกรรมทางกายเพื่อสุขภาวะ           

01-610-012 สุขภาพเพื่อการดำรงชีวิตสำหรับ
          
คนรุ่นใหม่

100
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
01-610-013 การควบคุมน้ำหนักและรูปร่าง  
        
เพื่อสุขภาพ
01-610-014 ทักษะกีฬาเพื่อสุขภาพ           

01-610-015 กิจกรรมทางน้ำเพื่อสุขภาพ           

01-320-001 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 1 ● ● O ● O
01-320-002 ภาษาอังกฤษเพื่อการสื่อสาร 2 ● ● O ● O
01-310-001 ภาษาไทยเพื่อการสื่อสาร O ● ● ● ● ●

101
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
01-310-002 วรรณคดีไทยและวรรณกรรม
● ● O ● ● ●
ท้องถิ่น
01-310-006 การอ่านและการเขียนเชิง
● ● O ● O ● O ●
วิชาการ
01-310-011 การสื่อสารกับบุคคลเฉพาะกลุ่ม ● ● ● O ● O ●
01-310-012 ภาษาไทยเพื่อพัฒนาองค์กร O ● ● O ● O ● O ●
01-310-013 ภาษาไทยเพื่อการพินิจพิจารณ์ ● ● ● ● ● O ●

102
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
01-310-014 วาทศิลป์ เพื่อความสำเร็จ ● ● O ● O ● O ●
01-310-015 การอ่านและการเขียนเชิง
● ● O ● O ● O ●
สร้างสรรค์
01-310-016 ภาษาไทยเพื่อการนำเสนองาน
● ● O O ● ● O O ●
แบบมืออาชีพ
01-310-017 มองโลกผ่านวรรณกรรม ● ● O ● ● ●

01-310-018 สุนทรียภาพของภาษาไทยใน ● ● O ● ● ●

103
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
บทเพลง
01-320-003 สนทนาภาษาอังกฤษ ● ● O ● O
01-320-005 ภาษาอังกฤษเพื่อการสมัครงาน ● ● O O ● O
01-320-006 ภาษาอังกฤษเพื่อวิทยาศาสตร์
● ● ● ● ● O ● O ● ●
และเทคโนโลยี
01-320-007 ภาษาอังกฤษเพื่อการนำเสนอ ● ● O ● O O
01-320-010 ภาษาอังกฤษเพื่อการทดสอบ ● ● O O ●

104
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
01-320-012 การฟั งและการพูดภาษาอังกฤษสำหรับ
● ● O O O O
งานบริการด้านเทคนิค

01-320-013 ภาษาอังกฤษสำหรับ
● ● O ● ● O
อุตสาหกรรมบริการ
01-320-014 ภาษาอังกฤษสำหรับการสื่อสาร
● ● O O O
ทางธุรกิจ
01-320-015 ภาษาอังกฤษสำหรับธุรกิจ ● ● O O O O

105
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
ออนไลน์
01-320-016 ภาษาอังกฤษเพื่อการอ่านทาง
● ● O O O ●
วิชาการ
01-320-017 ภาษาอังกฤษเพื่อการเขียนทาง
● ● O ● O ●
วิชาการ
01-320-018 การพัฒนาทักษะการเขียน ● ● O ● ●
01-320-019 ภาษาอังกฤษเชิงหรรษา ● ● O O O O

106
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
01-320-020 ภาษาอังกฤษและวัฒนธรรม
● ● O O ●
ตะวันตก
01-320-021 การใช้สื่อดิจิทัลในการเรียน
● ● ● O ●
ภาษาอังกฤษ
01-320-022 การสรรสร้างละครและหนังสั้น
O ● ● O O ● O
ภาษาอังกฤษ
01-320-023 การเรียงร้อยเรื่องราวเป็ นภาษา O ● ● O O ● O

107
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
อังกฤษ
01-320-024 ภาษาอังกฤษสำนักงาน ● ● O O ● O
01-320-025 ภาษาอังกฤษสำหรับการสื่อสาร
● ● O O ● O O
ในองค์กร
01-320-026 การอ่านภาษาอังกฤษเพื่อความ
● ● O O O O
เพลิดเพลิน
01-330-001 ภาษาจีนพื้นฐาน ● ● ● ● O O

108
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
01-330-002 การสนทนาภาษาจีนเบื้องต้น ● ● ● ● O O
01-330-006 ภาษาญี่ปุ่นพื้นฐาน ●   ● ●
01-330-007 สนทนาภาษาญี่ปุ่นเบื้องต้น ●   ● ●
04-000-201 ภาษาอังกฤษสำหรับงาน
● ● O ● ● O
วิศวกรรม
05-110-201 ภาษาอังกฤษเพื่อธุรกิจ ● ● O ● ● O
08-888-210 ภาษาอังกฤษสำหรับงานสื่อสาร ● ● O ● ● O

109
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
มวลชน
09-900-001 ภาษาอังกฤษสำหรับสะเต็ม
● ● ● ● ●
ศึกษา
09-000-001 ทักษะการใช้คอมพิวเตอร์และ
● ● ● O ●
เทคโนโลยีสารสนเทศ
09-000-002 การใช้งานโปรแกรมสำเร็จรูป
● ● ● O ●
เพื่องานมัลติมีเดีย

110
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
09-000-003 เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการ
● ● ● O ●
ตัดสินใจ
09-111-001 การคิดกับการให้เหตุผล O ● ● O O ● O O ● O O
09-111-002 คณิตศาสตร์เพื่อการท่องเที่ยว O ● ● O O ● O O ● O O
09-111-051 คณิตศาสตร์ในชีวิตประจำวัน O ● ● O O ● O O ● O O
09-121-001 สถิติในชีวิตประจำวัน ● ● O ● ● ● O
09-121-002 สถิติเบื้องต้นสำหรับนวัตกรรม ● ● O ● ● ● O

111
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
09-130-001 เทคโนโลยีสารสนเทศและการ O ● ● O O ● O O ● O O
สื่อสารสีเขียว
09-130-002 อินเทอร์เน็ตทุกสรรพสิ่งในชีวิต O
● ● O O ● O O ● O O
ประจำวัน
09-130-003 ชีวิตดิจิทัล O ● ● O O ● O O ● O O
09-210-001 เคมีในยุคดิจิทัล ● O ● O ● O O
09-210-002 รู้ทันสารพิษ ชีวิตปลอดภัย ● ● ● O O

112
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
09-210-003 วิทยาศาสตร์ ความคิด
● O ● ● ● O O
สร้างสรรค์ และนวัตกรรม
09-210-033 เทคโนโลยีสีเขียว ● ● O ● O O
09-311-001 ชีวิตยุคใหม่กับความปลอดภัย
● ● ● O O
ในอาหาร
09-311-051 ชีวิตกับสิ่งแวดล้อม ● ● ● O O
09-410-001 ก้าวทันเทคโนโลยี ● O O ● O ● O O O O

113
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
09-410-002 วิทยาศาสตร์เพื่อชีวิต ● O O ● O ● O O O O
09-410-003 ต้องรอดกับภัยพิบัติธรรมชาติ ● O O ● O ● O O O O
09-410-004 เทคโนโลยีพลังงานทดแทนเพื่อ
● O O ● O ● O O O O
ความยั่งยืน
09-090-011 การสื่อสารวิทยาศาสตร์และการ
สร้างความตระหนัก ● O O ● O ● O O O O
ด้านวิทยาศาสตร์

114
1. 2. ความรู้ 3. ทักษะ 4. ทักษะ 5. ทักษะ
คุณธรรม ทางปั ญญา ความ การ
จริยธรรม สัมพันธ์ วิเคราะห์
ระหว่าง เชิงตัวเลข
รายวิชา
บุคคลและ การสื่อสาร
ความรับ และการใช้
ผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3 1 2 3
09-090-013 การจัดการสารสนเทศเพื่อผู้
● ● O O ● ● ● O
ประกอบการ
00-100-101 อัตลักษณ์แห่งราชมงคลธัญบุรี ● O ● ● ● ● ● ●
00-100-201 มหาวิทยาลัยสีเขียว ● O O ● ● ●
00-100-202 การคิดเชิงออกแบบ ● ● ● ● ● O ●
00-100-301 ความเป็ นผู้ประกอบการ ● ● ● ● ● ● O ●
00-100-302 นวัตกรรมเพื่อชุมชน O ● ● O O ● ● O O O O O ●

115
116
ภาคผนวก ก
ขั้นตอนการพัฒนาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป พ.ศ.2562

1 แต่งตั้ง

คณะกรรมการปฎิรูปหมวดวิชาศึกษา

2 สำรวจ

ผลสำรวจความคิดเห็นต่อการจัดการ

3
ศึกษาหมวดวิชาศึกษาทั่วไป
ศึกษา

เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับปริญญาตรี.

พ.ศ. 2558

4 กำหนด

คุณลักษณะพึงประสงค์ของนักศึกษา

มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคล

5 วิเคราะห์

ผลการเรียนรู้เครือข่ายการศึกษา

6
ทั่วไปแห่งประเทศไทย

ออกแบบ

ผลการเรียนรู้หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

117
ภาคผนวก ข

แนวคิดผลลัพธ์การเรียนรู้หมวดวิชาศึกษาทั่วไป

118
ภาคผนวก ค
ตารางเปรียบเทียบคุณลักษณะพึงประสงค์ของนักศึกษามหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลธัญบุรี และผลการเรียน
รู้หมวดวิชาศึกษาทั่วไป มทร.ธัญบุรี

คุณลักษณะพึงประสงค์ของนักศึกษา มทร .ธัญบุรี


คุณค่าแห่งชีวิตและหน้าที่พลเมือง วิทยาศาสตร์และ บูรณาการและศาสตร์ผู้ประกอ บการ
ภาษาและการสื่อสาร
มนุษย์ศาสตร์ สังคมศาสตร์ พลศึกษาฯ เทคโนโลยีนวัตกรรม บูรณาการ ศาสตร์ผู้ประกอ บการ

มีความภาคภูมิใจในวัฒนธรรมวิถีชีวิตแห่งความเป็นไทยและภูมิปัญญาท้องถิ่น
ตระหนักในสิทธิและคุณค่าของความเหมือนและแตกต่างของผู้อื่น

การปรับตัวเข้ากับสังคมโลกซึ่งที่มีความแตกต่างในวัฒนธรรม
ผลการเรียนรู้วิชาศึกษาทั่วไป
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิ (GE Outcome)

มีความรอบรู้และวิสัยทัศน์ที่ดีต่อสังคมและสิ่งแวดล้อม
ผลการเรียนรู้วิชาศึกษาทั่วไป มทร .ธัญบุรี

การเชื่อมโยงความคิดและกระบวนการแก้ไขปัญหา
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ (RMUTT GE Outcome)

มีความซาบซึ้งในคุณค่าความงามของสรรพสิ่ง
เครือข่ายศึกษาทั่วไปแห่งประเทศไทย สำ นักงานคณะกรรมการการ

ปรับตัวทันต่อสภาพสังคมที่มีการเปลี่ยนแปลง
(TQF)

เป็นผู้แสวงหาความรู้ให้แก่ตนเองตลอดชีวิต

ทักษะในการจัดการองค์กรและการตัดสินใจ
อุดมศึกษา

มีความภาคภูมิใจและรักสถานศึกษา
มีความสามารถในการพึ่งพาตนเอง

ทักษะการสื่อสารภาษาต่างประเทศ

การสร้างนวัตกรรมและองค์ความรู้

วิธีคิดบนพื้นฐานของความยั่งยืน
การเป็นพลเมืองที่ดีของสังคม

ทักษะการเป็นผู้ประกอบการ
ทักษะการสื่อสารภาษาไทย
พัฒนาการทางอารมณ์ที่ดี

การเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดี
มีบุคลิกภาพที่เหมาะสม

ความคิดแบบองค์รวม
การต่อยอดนวัตกรรม
เทคโนโลยีสารสนเทศ
ทักษะการพูดและฟัง
การมีสุขภาพกายดี

ทักษะการนำเสนอ
มีความรับผิดชอบ
มีคุณภาพชีวิตที่ดี

มีจิตสาธารณะ

ทักษะการอ่าน
จิตใจที่เป็นสุข

วิทยาศาสตร์
คณิตศาสตร์
สิ่งแวดล้อม
ทักษะเขียน
มีความสุข
ELO1: มีคุณธรรม จริยธรรม ในการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง
1. มีคุณธรรมจริยธรรมในการดำเนินชีวิตบนพื้นฐานเศรษฐกิจพอเพียง
1. คุณธรรมจริยธรรม ELO2: สามารถวิเคราะห์ประเด็นคุณธรรม จริยธรรม
2. ตระหนักและสำนึกในความเป็นไทย ELO3: ซื่อสัตย์ ขยัน อดทน มีวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบและข้อบังคับขององค์กรและสังคม
ELO4: มีความรู้และทักษะพื้นฐาน เพื่อนำไปต่อยอดองค์ความรู้ หรือนำความรู้ไปสู่การสร้างนวัตกรรม
3. มีความรอบรู้อย่างกว้างขวาง มีโลกทัศน์กว้างขวาง เข้าใจและเห็นคุณค่า
2. ความรู้ ELO5: มีความรู้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลง
ของตนเอง ผู้อื่น สังคม ศิลปวัฒนธรรมและธรรมชาติ
ELO6: สามารถนำความรู้ไปปรับใช้ให้เหมาะสมกับการเป็นผู้ประกอบการ
4. มีทักษะในการแสวงหาความรู้ตลอดชีวิต เพื่อพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ELO7: มีทักษะการแสวงหาความรู้ด้วยตนเองตลอดชีวิต
3. ทักษะทางปัญญา EL08: สามารถแก้ไขปัญหาได้ และเสนอแนวทางการแก้ไขได้อย่างสร้างสรรค์
5. มีทักษะในการคิดแบบองค์รวม
ELO9: สามารถใช้ข้อมูล ประมวลผล และวิเคราะห์ข้อมูลได้อย่างเป็นระบบ
ELO10: มีบุคลิกภาพและมนุษย์สัมพันธ์ที่ดี สามารถเป็นผู้นำและผู้ตามที่ดีและทำงานเป็นทีมได้
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง 6. มีจิตอาสาและสำนึกสาธารณะเป็นพลเมืองที่มีคุณค่าของสังคมไทยและสังคม
ELO11: มีสำนึกสาธารณะและจิตอาสา เป็นพลเมืองที่มีคุณค่าต่อสังคมไทยและสังคมโลก
บุคคล และความรับผิดชอบ โลก
ELO12: มีความรับผิดชอบต่อสังคม
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิง ELO13: สามารถเลือกและประยุกต์ใช้เทคนิคทางสถิติและคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องมาใช้ในการดำรงชีวิตและปฏิบัติงานได้อย่างเหมาะสม
7. ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศอย่างรู้เท่าทัน
ตัวเลข การสื่อสารและการใช้ ELO14: สามารถใช้งานเทคโนโลยีสารสนเทศในการสืบค้นเพื่อนำมาวิเคราะห์และสนับสนุนการตัดสินใจ
เทคโนโลยีสารสนเทศ 8. ใช้ภาษาในการสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพ ELO15: สามารถเลือกรูปแบบของการสื่อสารและการนำเสนอที่เหมาะสมต่อบุคคลที่หลากหลาย

119

You might also like