You are on page 1of 17

รายละเอียดของรายวิชา (มคอ.

๓)
รายวิชา ๐๐๐ ๒๖๐ การปกครองคณะสงฆ์ไทย (Thai Sangha Administration)
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาเขตขอนแก่น
คณะพุทธศาสตร์
สาขาวิชา ปรัชญา
หมวดที่ ๑ ข้อมูลโดยทั่วไป
๑. รหัสและชื่อรายวิชา
๐๐๐ ๒๖๐ การปกครองคณะสงฆ์ ไทย (Thai Sangha Administration)
๒. จานวนหน่วยกิต
๒ หน่วยกิต (๒-๐-๔)
๓. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
พุทธศาสตรบัณฑิต หมวดวิชาเฉพาะ/วิชากลุ่มพระพุทธศาสนา/ข. กลุ่มวิชาพระพุทธศาสนาทั่วไป
๔. อาจารย์ผู้รับผิดหลักสูตร, อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา และอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร.
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา พระสมบัตร ฐิตญาโณ, ดร.
อาจารย์ผู้สอน พระสมบัตร ฐิตญาโณ, ดร.
๕. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ ๑ / ชั้นปีที่ ๒
๖. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
๐๐๐ ๑๕๘ ประวัติพระพุทธศาสนา (History of Buddhism)
๗. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)
๐๐๐ ๑๔๔ วรรณคดีบาลี (Pali Literature)
๐๐๐ ๒๖๓ งานวิจัยและวรรณกรรมทางพระพุทธศาสนา (Research and Literary Works on
Buddhism)
๘. ทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้
ไม่ได้กาหนดการทวนสอบผลสัมฤทธิ์การเรียนรู้ในรายวิชานี้
๙. สถานที่เรียน
ห้อง ๓๑๒-๓๑๓ ชั้น ๓ อาคารเรียน ๑๐๐ ปี มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขต
ขอนแก่น
๑๐. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
๑๕ พฤษภาคม ๒๕๖๑
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓

Thai Sangha Administration พระสมบัตร ฐิตญาโณ, ดร.

หมวดที่ ๒ จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
๑. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
- มุ่งให้นิสิตมีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับการบริหารและการปกครองคณะสงฆ์ในยุคต่างๆ
- มุ่งให้นิสิตสามารถอธิบายการนาการปกครองและการบริหารคณะสงฆ์ไทยตั้งแต่อดีตถึงปัจจุบันไป
ใช้กับการบริหารได้อย่างมีประสิทธิภาพ
- มุ่งให้นิสิตสามารถวิเคราะห์พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ กฎ ระเบียบ ข้อบังคับ ที่เกี่ยวข้องไปใช้ใน
การบริหารได้อย่างเหมาะสม โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการแก้ไขปัญหาการบริหารกิจการคณะสงฆ์
- มุ่งส่งเสริมและเผยแผ่การจัดองค์กร และการพัฒนาบุคลากรในสถาบันสงฆ์ไปประยุกต์ใช้ในการ
บริหารจัดการได้อย่างเหมาะสมและมีประสิทธิภาพที่พึงประสงค์
- มุ่งให้นิสิตสามารถนาหลักคุณธรรมและจริยธรรมประยุกต์หลักการปกครอง การบริหารจัดการ
องค์กรคณะสงฆ์ไปปลูกฝังสู่ความเป็นนักปกครองที่ดีได้
๒. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้นิสิตมีความรู้พื้นฐาน เป็นการเตรียมความพร้อมด้านปัญญาในการนาความรู้ ความเข้าใจ ใน
ด้านการปกครองและการบริหารคณะสงฆ์ไทยไปประยุกต์ใช้ในการเผยแผ่พ ระพุทธศาสนาเพื่อแก้ปัญหา
และพัฒนาสังคม เพื่อเป็นพื้นฐานการเรียนในวิชาอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง ทั้งนี้ ควรมีการเปลี่ยนแปลงตัวอย่าง
อ้างอิง ให้สอดคล้องกับแนวโน้มด้านการปกครองและการบริหารที่ได้มีความก้าวหน้าและเปลี่ยนแปลงไป
ตามยุคสมัย
หมวดที่ ๓ ลักษณะและการดาเนินการ
๑. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาพั ฒ นาการของระบบการปกครองคณะสงฆ์ไทย ตั้ งแต่ ส มั ยสุ โขทั ยถึ งปั จจุบั น ศึกษาและ
วิเคราะห์เนื้อหาพระราชบัญญั ติคณะสงฆ์ฉบับต่างๆ กฎ ระเบียบ คาสั่งและประกาศที่สาคัญของคณะ
สงฆ์ การประยุกต์การปกครองและการบริหารในปัจจุบันสาหรับคณะสงฆ์ไทย
๒. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา
การฝึกปฏิบัติ/งาน การศึกษาด้วยตนเอง
บรรยาย สอนเสริม ภาคสนาม/การฝึกงาน
บรรยาย ๓๒ สอนเสริมตามความ ไม่มีการฝึกปฏิบัติงาน การศึกษาด้วยตนเอง ๔
ชั่วโมงต่อภาค ต้องการของนิสิต ภาคสนาม ชั่วโมงต่อสัปดาห์
การศึกษา เฉพาะราย
๓. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นิสิตเป็นรายบุคคล
- อาจารย์ประจาวิชาหรืออาจารย์ผู้สอนให้คาปรึกษาผ่านโปรแกรมโทรศัพท์มือถือ (Line,
Messenger, Facebook)
- มุมแนะแนว ห้องบริหารงานหลักสูตรคณะสังคมศาสตร์ อาคารหอประชุมเฉลิมพระเกียรติ ๘๐
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
Thai Sangha Administration พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. /ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

พรรษา ชั้น ๑
- อาจารย์ประจาวิชาหรืออาจารย์ผู้สอน จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคล หรือรายกลุ่มตาม
ความต้องการ ๒ ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทุกวันพุธ เวลา ๙.๐๐ – ๑๑.๐๐ น. ณ ห้องบริหารงานหลักสูตรคณะ
สังคมศาสตร์ อาคารหอประชุมเฉลิมพระเกียรติ ๘๐ พรรษา ชั้น ๑ (เฉพาะรายที่ต้องการ)

หมวดที่ ๔ การพัฒนาการเรียนรู้ของนิสิต

๔.๑ การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนิสิต
คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนิสิต
ด้านบุคลิกภาพ มีการสอดแทรกเรื่องการสารวมในสมณภาวะ การครองจีวรหรือ
การแต่ งกาย การเข้ า สั งคมและศาสนพิ ธี เทคนิ ค การเจรจา
สื่อสาร การมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี และการวางตัวในการทางานใน
บางรายวิชาที่เกี่ยวข้อง และในกิจกรรมปัจฉิมนิเทศก่อนที่นิสิต
จะสาเร็จการศึกษา
ด้านภาวะผู้นา และความรับผิดชอบ - กาหนดให้มีรายวิชาซึ่งนิสิตต้องทางานเป็นกลุ่มและมีการกา
ตลอดจนวินัยในตนเอง หนดหัวหน้ากลุ่มในการทารายงานตลอดจน กาหนดให้ทุกคนมี
ส่วนร่วมในการนาเสนอรายงานเพื่อเป็นการฝึกให้นิสิตได้สร้าง
ภาวะผู้นาและการเป็นสมาชิกกลุ่มที่ดี
- มีกิจกรรมนิสิตที่มอบหมายให้นิสิตหมุนเวียนกันเป็นหัวหน้าใน
การดาเนินกิจกรรมเพื่อฝึกให้นิสิตมีความรับผิดชอบ
- มีกติกาที่จะสร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าเรียนตรงเวลาเข้า
เรียนอย่างสม่าเสมอ การมีส่วนร่วมในชั้นเรียน เสริมความกล้า
ในการแสดงความคิดเห็น
ทักษะ IT การนาเสนอรายงานในชั้นเรียน กาหนดให้นิสิตนาเสนอรายงาน
โดยใช้ Power Point หรื อ การตั ด ต่ อ VDO สั้ น ๆ ๕-๗ นาที
นาเสนอหน้ าชั้น และโพสต์ ล งใน You Tube หรือ Facebook
เพื่อเพิ่มทักษะในการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ และใช้โปรแกรม
สาเร็จรูปสาหรับการวิเคราะห์ประมวลผลทางสถิติ
จริยธรรม และจรรยาบรรณวิชาชีพ มีการให้ความรู้แก่นิสิตในการนาเอาความรู้ทางด้านปรัชญาไปใช้
ในการทางานที่จะทาให้นิสิตอยู่ร่วมกับคนอื่นและคนในสังคมได้
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓

Thai Sangha Administration พระสมบัตร ฐิตญาโณ, ดร.

๔.๒ การพัฒนาการเรียนรู้ในแต่ละด้าน (จาก มคอ.๒ หลักสูตรพุทธศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาปรัชญา


(หลักสูตรปรับปรุง พุทธศักราช ๒๕๖๐))
๑. คุณธรรม จริยธรรม ๒. ความรู้ ๓. ทักษะทาง ๔. ทักษะ ๕. ทักษะการ
ปัญญา ความสัมพันธ์ วิเคราะห์เชิงตัวเลข
ระหว่างบุคคลและ การสื่อสารและการ
ความรับผิดชอบ ใช้เทคโนโลยี
สารสนเทศ
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓
⚫ ⚫   ⚫ ⚫  ⚫   ⚫  ⚫  ⚫ ⚫  ⚫  

๔.๒.๑ คุณธรรม จริยธรรม


ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรม กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
จริยธรรม เรียนรู้ด้านคุณธรรม จริยธรรม ด้านคุณธรรม จริยธรรม
ความรับผิดชอบหลัก ๑ ) บ รรย ายพ ร้ อ ม ยก ตั วอ ย่ า ง ๑) การเข้าเรียน และการส่ งงานที่
๑. มีศีลธรรม จริยธรรม กรณี ศึ ก ษาเกี่ ย วกั บ ประเด็ น ทาง ได้รับมอบหมายตามเนื้อหาที่ มอบ
คุณธรรม ความซื่อสัตย์สุจริต จริยธรรมที่เกี่ยวข้องกับการปกครอง ให้และตรงเวลา
๒. มีจิตสาธารณะและ และการบริหารคณะสงฆ์ไทย ๒) มี ก ารอ้ างอิ งเอกสารที่ ได้ น ามา
เสียสละเพื่อส่วนรวม ๒) อภิปรายกลุ่ม ท าราย งาน อ ย่ างถู ก ต้ อ งแ ล ะ
๕. ประพฤติตนเป็นแบบอย่าง ๓) ก าหนดให้ นิ สิ ต หาตั ว อย่ า งที่ เหมาะสม
ที่ดีต่อสังคมชาติศาสนา เกี่ยวข้อง ๓ ) ป ร ะ เมิ น ผ ล ก ารวิ เค ร าะ ห์
ความรับผิดชอบรอง ๔) บทบาทสมมติ กรณีศึกษา
๓. เคารพสิทธิ ศักดิ์ศรีความ ๔) ประเมินผลการนาเสนอรายงาน
เป็นมนุษย์ และรับฟังความ ที่มอบหมาย
คิดเห็นของผู้อนื่
๔. เห็นคุณค่าศิลปวัฒนธรรม
และภูมิปัญญาท้องถิ่น
๔.๒.๒ ความรู้
ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
เรียนรู้ด้านความรู้ ด้านความรู้
ความรับผิดชอบหลัก ๑) บรรยาย อภิปราย ๑) ทดสอบย่ อ ย สอบกลางภาค
๑. มีความรู้ ความเข้าใจ ๒) การทางานกลุ่ม หรือการทางาน สอบปลายภาค ด้ว ยข้อ สอบที่ เน้ น
เกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎี และนาเสนอใบงานเดี่ยว ทั้งด้านศักยภาพและสมรรถภาพ
และเนื้อหา ๓) การวิเคราะห์กรณีศึกษา และ ๒) สมุดบันทึก
๓. สามารถนาความรู้มาปรับ มอบหมายให้ค้นคว้าข้อมูลที่ ๓) รายงาน/ใบงาน
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
Thai Sangha Administration พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. /ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

ผลการเรียนรู้ด้านความรู้ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้


เรียนรู้ด้านความรู้ ด้านความรู้
ใช้ในการดาเนินชีวิตได้ เกี่ยวข้องกับการปกครองคณะสงฆ์ ๔) การสังเกตพฤติกรรม
ความรับผิดชอบรอง ไทยตามเนื้อหาของแต่ละบทโดย ๕) ประเมินการนาเสนอสรุป
๒ . ใช้ ค ว าม รู้ ม าอ ธิ บ าย สรุปและนาเสนอเป็นใบงาน การศึกษาค้นคว้าข้อมูล
ปรากฏการณ์ ที่ เ กิ ด ขึ้ น ได้ ๔) เน้นการศึกษาโดยใช้บททดสอบ
อย่างมีเหตุผล ๕) เน้นการศึกษาโดยใช้ปัญหา และ
๔. มีความรอบรู้เท่าทัน การ โ ค ร ง ง า น ( Problem base
เปลี่ยนแปลงทั้งของไทยและ learning)
ของโลก ๖) เน้ น ผู้ เรี ย นเป็ น ศู น ย์ ก ลางของ
๕. รู้จั ก แสวงหาความรู้ จ าก การเรียนรู้ (Student Center)
แหล่งเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง
๔.๒.๓ ทักษะทางปัญญา
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
ทางปัญญา เรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา ด้านทักษะทางปัญญา
ความรับผิดชอบหลัก ๑ ) การบ รรย าย/อภิ ป ราย เชิ ง ๑) ประเมินจากผลงานและการของ
๑. สามารถค้ น หาข้อ มูล ท า วิชาการ ผู้เรียนที่เกิดจากการใช้กระบวนการ
ความเข้ า ใจและประเมิ น ๒) การมอบหมายงานให้นิสิตศึกษา เรียนรู้อย่างเป็น เหตุเป็ นผล ศึกษา
ข้อมูลจากหลักฐาน ค้ น ค ว้ า ข้ อ มู ล แ ล ะน าเส น อ ผ ล ค้ น คว้ า วิ เ คราะห์ วิ จ ารณ์ และ
๓. สามารถประยุกต์ความรู้ การศึกษา นาเสนออย่างเป็นระบบ
และทั กษะเพื่ อแก้ปั ญ หาได้ ๓ ) การให้ นิ สิ ต ศึ ก ษ าวิ เ คราะห์ ๒) ประเมินผลจากการทดสอบย่อย
อย่างเหมาะสม เนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ การปกครองคณะ การสอบกลางภาค และการสอบ
ความรับผิดชอบรอง สงฆ์ไทย จนเกิดทักษะสามารถนาไป ปลายภาค โดยเน้นข้อสอบที่แสดง
๒. สามารถวิ เคราะห์ แ ละ ถ่ายทอดได้ ถึ ง ทั ก ษะทางปั ญ ญาเกี่ ย วกั บ การ
สั ง เคราะห์ อ ย่ า งเป็ น ระบบ ๔) การสะท้ อ นแนวคิ ด จากการ ปกครองคณะสงฆ์ไทย
และมีเหตุผล ประพฤติ
๔.๒.๔ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
ความสัมพันธ์ระหว่าง เรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ บุคคลและความรับผิดชอบ
ความรับผิดชอบหลัก ๑) จัดกิจกรรมกลุ่มภายในห้องเรียน ๑) ประเมินตนเอง และเพื่อน ด้วย
๒. เป็ น สมาชิ ก ที่ ดี ข องกลุ่ ม หรือห้องสมุด เพื่อการศึกษาค้นคว้า แบบฟอร์มที่กาหนด
ทั้งในฐานะผู้นาและผู้ตาม ข้อมูล ๒) รายงานที่ น าเสนอ พฤติ ก รรม
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓

Thai Sangha Administration พระสมบัตร ฐิตญาโณ, ดร.

ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้


ความสัมพันธ์ระหว่าง เรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่าง
บุคคลและความรับผิดชอบ ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ บุคคลและความรับผิดชอบ
๓. มีมนุษยสัมพันธ์รู้จัก ๒) มอบหมายงานเป็ น รายบุ ค คล การทางานเป็นทีม
ควบคุมอารมณ์และยอมรับ ห รื อ กลุ่ ม ห รื อ อ่ า น บ ท ความ ที่ ๓) รายงานการศึกษาด้วยตนเอง
ความแตกต่างระหว่างบุคคล เกี่ยวข้องกับรายวิชา ๔) ประเมินผลจากการทดสอบย่อย
ความรับผิดชอบรอง ๓) การน าเสนอหรื อ ส่ ง ใบงาน/ การสอบกลางภาค และการสอบ
๑. สามารถทางานเป็นทีม รายงานที่ได้ศึกษาค้นคว้า ปลายภาค
๔. รับผิดชอบต่อตนเองและ
สังคม

๔.๒.๕ ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลขการสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
ผลการเรียนรู้ด้านทักษะ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
การวิเคราะห์เชิงตัวเลขการ เรียนรู้ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิง ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข
สื่อสารและการใช้ ตัวเลขการสื่อสารและการใช้ การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยี
เทคโนโลยีสารสนเทศ เทคโนโลยีสารสนเทศ สารสนเทศ
ความรับผิดชอบหลัก ๑) อภิปราย ๑) การจัดทารายงาน และนาเสนอ
๑. ใช้ทักษะวิเคราะห์เชิง ๒) มอบหมายงานให้ นิ สิ ต ศึ ก ษา ด้วยสื่อเทคโนโลยี
ตัวเลขได้ ค้ น คว้ า ด้ ว ยตนเอง จาก website ๒) การมี ส่ ว นร่ว มในกิ จ กรรมการ
ความรับผิดชอบรอง สื่อการสอน e-learning เรี ย น ก ารส อ น อ าทิ เช่ น ก า ร
๒. ใช้ภาษาในการติดต่อสื่ อ ๓) ทารายงาน โดยเน้นการนาตัวเลข
ความหมายได้ ดี ทั้ ง การฟั ง หรือมีสถิติอ้างอิงจากแหล่งที่มาของ อภิปรายและวิธีการอภิปราย
พูด อ่าน และเขียน ข้อมูลทีน่ ่าเชื่อถือ
๓. มี ทั ก ษะใช้ เ ทคโนโลยี
๔) น าเสนอ/ส่งใบงานหรือรายงาน
ส า ร ส น เ ท ศ ไ ด้ อ ย่ า ง
โดยใช้ รู ป แบบและเทคโนโลยี ที่
เหมาะสม
เหมาะสม
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
Thai Sangha Administration พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. /ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

หมวดที่ ๕ แผนการสอนและการประเมินผล
๑. แผนการสอน
สัปดาห์ จานวน กิจกรรมการเรียน การ
ที่ หัวข้อ/รายละเอียด ชัว่ โมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน
๑ - แนะนารายวิชาและแผนการสอน ชี้แจง ๒ - แนะนา ชี้แจง อธิบาย พระสมบัตร
แนวสั งเขปและรายละเอี ย ดประจ าวิ ช า รายวิ ช า แผนการสอน ฐิตญาโณ,ดร.
เก ณ ฑ์ ก ารศึ ก ษ าต าม ระ เบี ย บ ข อ ง แ ล ะ เอ ก ส า ร
มหาวิทยาลัย, การวัดผลและประเมินผล ประกอบการเรี ย นการ
- เกริ่นนารายละเอียดเนื้อหาสาระในแต่ สอน
ละบทเรี ยนทั้ง ๗ บท เกี่ยวกับ รายวิช า - แนะน าวั ต ถุ ป ระสงค์
การปกครองคณะสงฆ์ไทย ประจาบท
- แ น ะ วิ ธี ก า ร สื บ ค้ น
ข้ อ มู ล สารสนเทศ หรื อ
แหล่ งค้ น คว้าข้ อ มู ล การ
ท าเอกสารส าหรั บ การ
นาเสนอ
-การบรรยายประกอบ
สื่อ
- การเรียนการสอนแบบ
e-Learning
- ถาม-ตอบประเด็นที่
ศึกษาในห้องเรียน
๒ บทที่ ๑ ความรู้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ การ ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
ปกครองคณะสงฆ์ไทย ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๑.๑ ความนา กรณีศึกษา
- การเรียนการสอนแบบ
๑.๒ ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการปกครอง
e-Learning
ทั่วไป - ถาม-ตอบประเด็น
๑.๓ การปกครองอาณาจักรกับศาสนจักร ประจาบท
สรุปท้ายบท - อภิปรายแลกเปลี่ยน
คาถามท้ายบท ความคิดเห็น
- กิจกรรมประจาสัปดาห์
- มอบหมายงานค้นคว้า
และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
ส่งตามวัตถุประสงค์
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓

Thai Sangha Administration พระสมบัตร ฐิตญาโณ, ดร.

สัปดาห์ จานวน กิจกรรมการเรียน การ


ที่ หัวข้อ/รายละเอียด ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน
ประจาบท
๓ บทที่ ๑ ความรู้ เ บื้ อ งต้ น เกี่ ย วกั บ การ ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
ปกครองคณะสงฆ์ไทย (ต่อ) ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๑.๔ การปกครองคณะสงฆ์ กรณีศึกษา
- การเรียนการสอนแบบ
๑.๕ ลักษณะการใช้อานาจในการปกครอง
e-Learning
คณะสงฆ์ - ถาม-ตอบประเด็น
สรุปท้ายบท ประจาบท
คาถามท้ายบท - อภิปรายแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น
- กิจกรรมประจาสัปดาห์
- มอบหมายงานค้นคว้า
และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
ส่งตามวัตถุประสงค์
ประจาบท
๔ บทที่ ๒ การปกครองคณ ะสงฆ์ ส มั ย ๒ - บรรยาย ยกตั ว อย่ า ง พระสมบัตร
พุทธกาล ประกอบ อภิ ป รายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๒.๑ ความนา กรณีศึกษา
- การเรียนการสอนแบบ
๒.๒ รูปแบบการปกครองคณะสงฆ์ในสมัย
e-Learning
การทาสังคายนาครั้งที่ ๑ - ถาม-ตอบประเด็นที่ทา
๒.๓ ลักษณะการปกครองในสมัยพุทธกาล ใบงาน
(พรรษา ๑-๒๐) - อภิ ป รายแลกเปลี่ ย น
๒.๔ ลักษณะการปกครองในสมัยพุทธกาล ความคิดเห็น
(หลังพรรษาที่ ๒๐) - กิจกรรมประจาสัปดาห์
สรุปท้ายบท - มอบหมายงานค้นคว้า
และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
คาถามท้ายบท
ส่งตามวัตถุประสงค์
ประจาบท

ทดสอบย่อยครั้งที่ ๑ ใน
ระบบ e-Learning
๕ บทที่ ๓ การปกครองคณะสงฆ์สมัยหลัง ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
Thai Sangha Administration พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. /ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

สัปดาห์ จานวน กิจกรรมการเรียน การ


ที่ หัวข้อ/รายละเอียด ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน
พุทธกาล ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๓.๑ ความนา กรณีศึกษา
๓.๒ ความหมายของสังคายนา - การเรียนการสอนแบบ
๓.๓ ความสาคัญของสังคายนา e-Learning
- ถาม-ตอบประเด็น
๓.๔ การปกครองคณะสงฆ์ในสมัยการทา
ประจาบท
สังคายนาครั้งที่ ๑ - อภิปรายแลกเปลี่ยน
๓.๕ ผลกระทบต่อการปกครองคณะสงฆ์ ความคิดเห็น
หลังจากการทาสังคายนาครั้งที่ ๑ - กิจกรรมประจาสัปดาห์
สรุปท้ายบท - มอบหมายงานค้นคว้า
คาถามท้ายบท และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
ส่งตามวัตถุประสงค์
ประจาบท
๖ บทที่ ๓ การปกครองคณะสงฆ์สมัยหลัง ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
พุทธกาล (ต่อ) ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๓.๖ การปกครองคณะสงฆ์ ใ นการท า กรณีศึกษา
สังคายนาครั้งที่ ๒ - การเรียนการสอนแบบ
๓.๗ ผลกระทบต่อการปกครองคณะสงฆ์ e-Learning
-ถาม-ตอบประเด็น
หลังจากการทาสังคายนาครั้งที่ ๒
ประจาบท
๓.๘ การปกครองคณะสงฆ์ในสมัยการทา - อภิปรายแลกเปลี่ยน
สังคายนาครั้งที่ ๓ ความคิดเห็น
๓.๙ ผลกระทบต่อการปกครองคณะสงฆ์ -กิจกรรมประจาสัปดาห์
หลังจากการทาสังคายนาครั้งที่ ๓ - มอบหมายงานค้นคว้า
สรุปท้ายบท และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
คาถามท้ายบท ส่งตามวัตถุประสงค์
ประจาบท
๗ บทที่ ๔ การปกครองคณะสงฆ์ ไทยสมัย ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
สุโขทัยและสมัยอยุธยา ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๔.๑ ความนา กรณีศึกษา
- การเรียนการสอนแบบ
๔.๒ การปกครองคณ ะสงฆ์ ไ ทยสมั ย
e-Learning
สุโขทัย -ถาม-ตอบประเด็น
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
๑๐
Thai Sangha Administration พระสมบัตร ฐิตญาโณ, ดร.

สัปดาห์ จานวน กิจกรรมการเรียน การ


ที่ หัวข้อ/รายละเอียด ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน
๑) รูป แบบการปกครองคณะสงฆ์ ประจาบท
ไทยสมัยสุโขทัย - อภิปรายแลกเปลี่ยน
๒) โครงสร้ า งการปกครองคณะ ความคิดเห็น
-กิจกรรมประจาสัปดาห์
สงฆ์ไทยสมัยสุโขทัย
- มอบหมายงานค้นคว้า
๓) เปรียบเทียบโครงสร้างระหว่าง และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
อาณาจักรกับศาสนจักร ส่งตามวัตถุประสงค์
๔ ) ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง ประจาบท
อาณาจักรกับศาสนจักรในสมัยสุโขทัย
สรุปท้ายบท
คาถามท้ายบท
๘ บทที่ ๔ การปกครองคณะสงฆ์ ไทยสมั ย ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
สุโขทัยและสมัยอยุธยา (ต่อ) ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๔.๓ การปกครองคณ ะสงฆ์ ไ ทยสมั ย กรณีศึกษา
- การเรียนการสอนแบบ
อยุธยา
e-Learning
๑) รูป แบบการปกครองคณะสงฆ์ -ถาม-ตอบประเด็น
ไทยสมัยอยุธยา ประจาบท
๒) โครงสร้ า งการปกครองคณะ - อภิปรายแลกเปลี่ยน
สงฆ์ไทยสมัยอยุธยา ความคิดเห็น
๓ ) ค ว า ม สั ม พั น ธ์ ร ะ ห ว่ า ง -กิจกรรมประจาสัปดาห์
อาณาจักรกับศาสนจักรในสมัยอยุธยา - มอบหมายงานค้นคว้า
และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
สรุปท้ายบท
ส่งตามวัตถุประสงค์
คาถามท้ายบท ประจาบท
๙ สอบกลางภาค ๒ สอบในระบบ e-
Learning แบบอัตนัย
๑๐ บทที่ ๕ การปกครองคณะสงฆ์ ไทยสมัย ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
ธนบุ รี แ ละสมั ย รั ต น โกสิ น ทร์ (พ.ศ. ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๒๓๒๕-๒๕๐๔) กรณีศึกษา
- การเรียนการสอนแบบ
๕.๑ ความนา
e-Learning
๕.๒ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัยธนบุรี
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
Thai Sangha Administration พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. /ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์
๑๑

สัปดาห์ จานวน กิจกรรมการเรียน การ


ที่ หัวข้อ/รายละเอียด ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน
๕.๓ รู ป แบบการปกครองคณะสงฆ์ ไทย -ถาม-ตอบประเด็น
สมัยธนบุรี ประจาบท
๕.๔ โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทย - อภิปรายแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น
สมัยธนบุรี
-กิจกรรมประจาสัปดาห์
๕.๕ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งอาณาจั ก ร - มอบหมายงานค้นคว้า
กับศาสนจักรในสมัยธนบุรี และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
สรุปท้ายหัวข้อ ส่งตามวัตถุประสงค์
คาถามท้ายบท ประจาบท
๑๑ บทที่ ๕ การปกครองคณะสงฆ์ไทยสมัย ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
ธนบุ รี แ ละสมั ย รั ต น โกสิ น ทร์ (พ.ศ. ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๒๓๒๕-๒๕๐๔) (ต่อ) กรณีศึกษา
๕.๖ การปกครองคณ ะสงฆ์ ไ ทยสมั ย - การเรียนการสอนแบบ
รัตนโกสินทร์ (พ.ศ.๒๓๒๕-๒๕๐๔) e-Learning
๕.๖.๑ การปกครองคณะสงฆ์ไทย -ถาม-ตอบประเด็น
ประจาบท
สมัยรัตนโกสิ น ทร์ ช่ว งแรก (พ.ศ.๒๓๒๕-
- อภิปรายแลกเปลี่ยน
๒๔๔๔) ความคิดเห็น
๕.๖.๒ โครงสร้ า งการปกครอง -กิจกรรมประจาสัปดาห์
คณะสงฆ์ไทยสมัยรัตนโกสินทร์ ช่วงที่ ๒ - มอบหมายงานค้นคว้า
๕.๖.๓ การปกครองคณะสงฆ์ไทย และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
สมัยรัตนโกสินทร์ ช่วงที่ ๓ ส่งตามวัตถุประสงค์
สรุปท้ายบท ประจาบท
คาถามท้ายบท
ทดสอบย่อยครั้งที่ ๒ ใน
ระบบ e-Learning
๑๒ บทที่ ๖ การปกครองคณะสงฆ์ ไทยสมัย ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
ปัจจุบัน ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๖.๑ ความนา กรณีศึกษา
๖.๒ การปกครองคณ ะสงฆ์ ไ ทยสมั ย - การเรียนการสอนแบบ
ปัจจุบัน e-Learning
-ถาม-ตอบประเด็น
๖.๓ ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งอาณาจั ก ร
ประจาบท
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
๑๒
Thai Sangha Administration พระสมบัตร ฐิตญาโณ, ดร.

สัปดาห์ จานวน กิจกรรมการเรียน การ


ที่ หัวข้อ/รายละเอียด ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน
กับศาสนจักร - อภิปรายแลกเปลี่ยน
สรุปท้ายบท ความคิดเห็น
คาถามท้ายบท -กิจกรรมประจาสัปดาห์
- มอบหมายงานค้นคว้า
และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
ส่งตามวัตถุประสงค์
ประจาบท
๑๓ บทที่ ๖ การปกครองคณะสงฆ์ ไทยสมัย ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
ปัจจุบัน (ต่อ) ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๖.๔ ปัญหาที่สาคัญของการปกครองคณะ กรณีศึกษา
สงฆ์ไทย - การเรียนการสอนแบบ
๖.๕ แนวทางการประยุกต์ใช้หลักการ e-Learning
-ถาม-ตอบประเด็น
ปกครองเพื่อแก้ปัญหาการปกครองคณะ
ประจาบท
สงฆ์ไทย - อภิปรายแลกเปลี่ยน
สรุปท้ายบท ความคิดเห็น
คาถามท้ายบท -กิจกรรมประจาสัปดาห์
- มอบหมายงานค้นคว้า
และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
ส่งตามวัตถุประสงค์
ประจาบท
๑๔ บทที่ ๗ ทิ ศ ทางการปกครองคณะสงฆ์ ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
ไทยในอนาคต ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๗.๑ ความนา กรณีศึกษา
๗.๒ พระราชบัญญัติลักษณะปกครองสงฆ์ - การเรียนการสอนแบบ
ในปริบทคณะสงฆ์ e-Learning
-ถาม-ตอบประเด็น
๗.๓ พระราชบัญญัติลักษณะปกครองสงฆ์
ประจาบท
ร.ศ.๑๒๑ ฉบับที่ ๑ (พ.ศ.๒๔๔๕) - อภิปรายแลกเปลี่ยน
๗ .๔ พ ร ะ ร า ช บั ญ ญั ติ ค ณ ะ ส ง ฆ์ ความคิดเห็น
พุทธศักราช ๒๔๘๔ (ฉบับที่ ๒) -กิจกรรมประจาสัปดาห์
๗.๕ พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ พ.ศ.๒๕๐๕ - มอบหมายงานค้นคว้า
และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
Thai Sangha Administration พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. /ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์
๑๓

สัปดาห์ จานวน กิจกรรมการเรียน การ


ที่ หัวข้อ/รายละเอียด ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน
(ฉบับที่ ๓) ส่งตามวัตถุประสงค์
๗.๖ ทิศทางการปกครองคณะสงฆ์ไทยใน ประจาบท
อนาคต
๑๕ บทที่ ๗ ทิ ศ ทางการปกครองคณะสงฆ์ ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
ไทยในอนาคต (ต่อ) ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
๗.๗ รู ป แบบปกครองคณะสงฆ์ ไทยใน กรณีศึกษา
อนาคต - การเรียนการสอนแบบ
๗.๘ โครงสร้างการปกครองคณะสงฆ์ไทย e-Learning
-ถาม-ตอบประเด็น
ในอนาคต
ประจาบท
๗.๙ แนวโน้ ม ความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า ง - อภิปรายแลกเปลี่ยน
อาณาจักรกับศาสนจักรในอนาคต ความคิดเห็น
๗ .๑ ๐ เปรี ย บ เที ยบ ช่ ว งเวลาการใช้ -กิจกรรมประจาสัปดาห์
พระราชบัญญัติคณะสงฆ์ในอดีต - มอบหมายงานค้นคว้า
๗ .๑ ๑ ป ร ะ โ ย ช น์ ข อ ง ก า ร ต ร า และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
พระราชบัญญัติทั้งสองฉบับ จะมีผลดังนี้ ส่งตามวัตถุประสงค์
ประจาบท
๗.๑๒ ทิ ศ ทางการศึ ก ษาโรงเรี ย นพระ
ปริยัติธรรม
สรุปท้ายบท
คาถามท้ายบท
๑๖ ประมวล/สรุปองค์ความรู้ประจารายวิชา ๒ - บรรยาย ยกตัวอย่าง พระสมบัตร
ประกอบ อภิปรายจาก ฐิตญาโณ,ดร.
กรณีศึกษา
- การเรียนการสอนแบบ
e-Learning
-ถาม-ตอบประเด็น
ประจาบท
- อภิปรายแลกเปลี่ยน
ความคิดเห็น
-กิจกรรมประจาสัปดาห์
- มอบหมายงานค้นคว้า
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
๑๔
Thai Sangha Administration พระสมบัตร ฐิตญาโณ, ดร.

สัปดาห์ จานวน กิจกรรมการเรียน การ


ที่ หัวข้อ/รายละเอียด ชั่วโมง สอน สื่อที่ใช้ (ถ้ามี) ผู้สอน
และฝึกปฏิบัติทาใบงาน
ส่งตามวัตถุประสงค์
ประจาบท

ทดสอบย่อยครั้งที่ ๓ ใน
ระบบ e-Learning
๑๗ สอบปลายภาค ๒

๒. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
สัดส่วนของ
ที่ มาตรฐานการเรียนรู้ วิธีการประเมินผล สัปดาห์ที่ประเมิน
การประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมผู้เรียน
ด้านคุณธรรมจริยธรรม
๑ - ประเมินผลงานจากการทาใบงาน ตลอดภาคการศึกษา ๑๐ %
ข้อ ๑.๑, ๑.๒, ๑.๕
เดี่ยวหรือรายงานกลุ่ม/เข้าชั้นเรียน
ด้านความรู้ - การตอบคาถามในชั้นเรียน ๑-๘, ๑๐-๑๖
๒ ๑๐ %
ข้อ ๒.๑, ๒.๓ - การสอบกลางภาค/กิจกรรม ๙
ด้านทักษะทางปัญญา
๓ การสอบปรนัย ปลายภาค ๑๗ ๖๐ %
ข้อ ๓.๑, ๓.๓
- การสั งเกตพฤติ ก รรมจากการ
ท างานกลุ่ มร่ ว มกั บ เพื่ อ น/การมี
ด้านทักษะความสัมพันธ์ ส่วนร่วม
ระหว่างบุคคลและความ - การน าเสนอรายงาน/อภิ ป ราย
๔ ตลอดภาคการศึกษา ๑๐ %
รับผิดชอบ เสนอความคิดเห็น
ข้อ ๔.๒, ๔.๓ - การทางานกลุ่มหรือใบงานเดี่ยว
(อัตนัย/ปรนัย)
- การส่งงานตามที่มอบหมาย
ด้านทักษะการวิเคราะห์ - การนาเสนองานหน้าชั้นเรียนหรือ
เชิงตัวเลขการสื่อสารและ ใช้สื่อเทคโนโลยีนาเสนองานผ่านสื่อ
๕ การใช้เทคโนโลยี VDO ตลอดภาคการศึกษา ๑๐ %
สารสนเทศ
ข้อ ๕.๑
หมวดที่ ๖ ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
๑. เอกสารและตาราหลัก
พระครูวิบูลเจติยาทร. การปกครองคณะสงฆ์ไทย. เอกสารประกอบการสอน. วิทยาลัยสงฆ์ลาพูน, ๒๕๔๖.
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
Thai Sangha Administration พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. /ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์
๑๕

พระเมธีธรรมาภรณ์ (ประยูร ธมฺมจิตฺโต). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ,


๒๕๓๗.
พระวิสุทธิโสภณ (สารวม ปิยธมโม). การปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ: มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย, ๒๕๔๓.
๒. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
ไม่มี
๖.๓ เอกสารและข้อมูลแนะนา
กรมการศาสนากระทรวงศึกษาธิการ. คู่มือพระสังฆาธิการว่าด้วยพระราชบัญญัติ กฎ ระเบียบ และคาสั่งของคณะ
สงฆ์. กรุงเทพฯ: การศาสนา. ๒๕๔๒.
เฉลิ ม พล โสมอิน ทร์. ประวัติศาสตร์พ ระพุท ธศาสนาและการปกครองคณะสงฆ์ไทย. กรุงเทพฯ: สู ตรไพศาล,
๒๕๔๙.
ไชย ณ พล. การปกครองของพระพุทธเจ้าระบอบธรรมาธิปไตย. กรุงเทพฯ: เคล็ดไทย, ๒๕๓๗.
พระศรีป ริยั ติโมลี (สมชัย กุส ลจิ ตฺโต). พระสงฆ์กับ การเมื อง. พิ มพ์ ครั้งที่ ๒. กรุงเทพฯ: มหาจุฬ าลงกรณราช
วิทยาลัย, ๒๕๔๖.
พีรพล กนกวลัย. คู่มือพระสังฆาธิการ. กรุงเทพฯ :สานักงานพระพุทธศาสนาแห่งชาติ, ๒๕๔๘.
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย.พระไตรปิฎกภาษาไทย ฉบับมหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย เล่มที่ ๑-เล่มที่ ๑๐.
กรุงเทพฯ : มหาจุฬาลงกรณวิทยาลัย,๒๕๓๙.
สัมพันธ์ เสริมชีพ. “คู่มือพระสงฆ์ไทย” เจ้าอาวาสเป็นเจ้าพนักงานหรือไม่. กรุงเทพฯ: ๒๕๔๓.
สุรพล สุยะพรหม ดร.. ความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับการเมืองการปกครอง. กรุงเทพฯ : มหาจุฬาบรรณาคาร, ๒๕๔๘.
แสวง อุ ด มศรี . การปกครองคณ ะสงฆ์ ไ ทย. กรุ ง เทพ ฯ : มหาจุ ฬ าลงกรณ ราชวิ ท ยาลั ย , ๒๕ ๓๓ .
http://kanchanapisek.or.th/kp6/BOOK18/chapter4/t18-4-l1.htm

หมวดที่ ๗ การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
๑. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนิสิต
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ได้รับการประเมินผลจากนิสิต โดยมีผลการประเมินความสอดคล้องตาม
มาตรฐานผลการเรียนรู้ แยกเป็นรายด้านได้ดังนี้
๑.๑ ด้านเนื้อหาวิชา
๑) มีการแจ้งให้นิสิตทราบเกี่ยวกับคาอธิบายรายวิชา ขอบข่ายเนื้อหารายวิชา แผนการสอน
๒) การจัดลาดับเนื้อหาเป็นไปอย่างมีระบบและขั้นตอนชัดเจน
๓) ได้รับความรู้ในรายวิชานี้ครบถ้วนตามแผนการสอน
๔) สอนเนื้อหารายวิชาให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้ได้ในชีวิตประจาวันและสถานการณ์ปัจจุบัน
๕) นาเสนอประเด็นใหม่ๆ ที่ทันสมัยในกรอบเนื้อหารายวิชา
๑.๒ ด้านการจัดการเรียนการสอน
๑) มีการใช้สื่อการเรียนการสอนที่ส่งเสริมการเรียนรู้ที่เหมาะสมและหลากหลายทาให้ผู้เรียนเข้าใจ
เนื้อหามากยิ่งขึ้น
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
๑๖
Thai Sangha Administration พระสมบัตร ฐิตญาโณ, ดร.

๒) ส่งเสริมให้ผู้เรียนสามารถคิดวิเคราะห์อย่างมีเหตุผล
๓) ให้ข้อมูลและชี้แนะแหล่งค้นคว้าหาความรู้เพิ่มเติม
๔) จัดเนื้อหาและกิจกรรมให้สอดคล้องกับความสนใจและความถนัดของผู้เรียน
๕) มีการสอดแทรกเรื่องคุณธรรมและจริยธรรมที่มีสารประโยชน์ในกิจกรรมการเรียนการสอน
๖) เปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้เสนอความคิดเห็นในการเรียนการสอน
๗) มีการวัดผลและประเมินผลหลายรูปแบบ
๑.๓ ด้านคุณธรรมจริยธรรมของอาจารย์
๑) มีความเมตตา กรุณา ปราศจากอคติต่อผู้เรียน
๒) มีความอดทนต่อพฤติกรรมที่ไม่เหมาะสมของผู้เรียนในขณะทาการเรียนการสอน
๓) ปฏิบัติตนให้เป็นที่เคารพนับถือทั้งในและนอกเวลาปฏิบัติงานสอน
๔) มีเวลาให้คาปรึกษาแก่ผู้เรียน ตรงต่อเวลาและอุทิศตนให้กับการสอนเต็มที่
๒. กลยุทธ์การประเมินการสอน
ในการเก็บข้อมูลเพื่อประเมินการสอน ได้มีกลยุทธ์ ดังนี้
- การสังเกตการณ์สอนของผู้ร่วมทีมการสอน
- ผลการสอบ
- การทวนสอบผลประเมินการเรียนรู้
- แบบประเมินผู้สอน และแบบประเมินรายวิชา
- ขอเสนอแนะผ่านเวบบอร์ด ที่อาจารย์ผู้สอนได้จัดทาเป็นช่องทางการสื่อสารกับนิสิต
๓. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ ๒ จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม
สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอน ดังนี้
- สัมมนาการจัดการเรียนการสอน
- การวิจัยในและนอกชั้นเรียน
๔. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิตในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการเรียนรู้ใน
วิชา ได้จาก การสอบถามนิสิต หรือการสุ่มตรวจผลงานของนิสิต รวมถึงพิจารณาจากผลการทดสอบย่อย และ
หลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนิสิตโดยอาจารย์อื่น หรือผู้ทรงคุณวุฒิที่ไม่ใช่
อาจารย์ประจาหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิช า ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนิ สิ ต โดยตรวจสอบ
ข้อสอบ รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
๕. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการสอน และ
รายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาทุก ๓ ปี หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ตามข้อ ๔
รายวิชา การปกครองคณะสงฆ์ไทย มคอ. ๓
Thai Sangha Administration พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร. /ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์
๑๗

- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นิสิตมีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้นี้กับปัญหาที่มาจาก
งานวิจัยของอาจารย์หรือแนวคิดใหม่ๆ

ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา/อาจารย์ผู้บรรยาย พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร./ดร.ภูษิต ปุลันรัมย์

ลงชื่อ _______________________________ วันที่รายงาน _____________________

ชื่ออาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร พระครูปริยัติธรรมวงศ์, ผศ.ดร.


ลงชื่อ _______________________________ วันที่รับรายงาน _____________________

You might also like