You are on page 1of 152

พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต

สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๗

วิทยาลัยสงฆ์บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
รายละเอียดของหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์

วิทยาลัยสงฆ์บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

สภามหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
อนุมัติในการประชุมครัง้ ที่...../๒๕........เมื่อวันที่......เดือน.................๒๕......
สารบัญ

เรื่อง หน้า
หมวดที่ ๑ ชื่อปริญญาและสาขาวิชา ๑
หมวดที่ ๒ ปรัชญา วัตถุประสงค์ และผลลัพธ์การเรียนรู้ ๔
หมวดที่ ๓ โครงสร้างหลักสูตร รายวิชาและหน่วยกิต ๑๐
หมวดที่ ๔ การจัดกระบวนการเรียนรู้ ๒๘
หมวดที่ ๕ ความพร้อมและศักยภาพในการบริหารจัดการหลักสูตร ๓๐
หมวดที่ ๖ คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา ๓๗
หมวดที่ ๗ การประเมินผลการเรียนและเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา ๔๐
หมวดที่ ๘ การประกันคุณภาพหลักสูตร ๔๔
หมวดที่ ๙ ระบบและกลไกในการพัฒนาหลักสูตร ๔๙
ภาคผนวก ก
ก ๑ การออกแบบหลักสูตร ๕๑
ก ๒ การวิเคราะห์สถานะการณ์ของประเทศ วิสัยทัศน์ พันธกิจและทิศทางการพัฒนา ๕๕
มหาวิทยาลัยและคณะ การวิเคราะห์ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผลลัพธ์ที่วิเคราะห์ในภาพรวม
ก ๓ การกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร(PLO) เชื่อมโยงผลลัพธ์การเรียนรู้ ๖๓
ทั้ง ๔ ด้าน รวมทั้งเนื้อหา รายวิชาที่กำหนดในโปรแกรมการเรียน
ก ๔ การวิเคราะห์ผลลัพธ์รายชั้นปี YLO ๖๘
ก ๕ ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗๒
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๒ กับ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๗
ภาคผนวก ข
ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศที่เกี่ยวข้อง ๘๘
ภาคผนวก ค
ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ๑๒๐
และอาจารย์ประจำหลักสูตร
ภาคผนวก ง
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร ๑๔๖
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต
สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๗
----------------------------------
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา วิทยาลัยสงฆ์บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

หมวดที่ ๑
ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
๑. รหัสและชื่อหลักสูตร
รหัสหลักสูตร : ๒๕๖๒๑๘๕๐๐๓๐๖๑
ชื่อหลักสูตรภาษาไทย : หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์
ชื่อหลักสูตรภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy Program in Buddhist Pali Studies
๒. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็มภาษาไทย : พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต (บาลีพุทธศาสตร์)
ชื่อเต็มภาษาอังกฤษ : Doctor of Philosophy (Buddhist Pali Studies)
ชื่อย่อภาษาไทย : พธ.ด. (บาลีพุทธศาสตร์)
ชื่อย่อภาษาอังกฤษ : Ph.D. (Buddhist Pali Studies)

๓. วิชาเอก
ไม่มี
๔. จำนวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
๔.๑ หลักสูตรแผน ๒.๑ จำนวน ๕๔ หน่ว ยกิต หลักสูตรเน้นวิจัยเข้าห้องเรียนและทำดุษฎี
นิพนธ์ โดยทำวิยานิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต ศึกษารายวิชา ๑๘ หน่วยกิต ศึกษารายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิต
จำนวน ๒๔ หน่วยกิต
๔.๒ หลักสูตรแผน ๒.๒ จำนวน ๘๑ หน่วยกิต หลักสูตรเข้าห้องเรียนและทำดุษฎีนิพนธ์ โดยผู้
เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี หรือเปรียญธรรม ๙ ประโยค ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติให้เข้าศึกษาเป็นกรณี
พิเศษ ต้องศึกษาวิชาไม่น้อยกว่า ๓๓ หน่วยกิต รายวิชาไม่นับหน่วยกิต จำนวน ๑๒ หน่วยกิต และทำดุษฎี
นิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๔๘ หน่วยกิต รวม ๘๑ หน่วยกิต
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๕. รูปแบบของหลักสูตร
๕.๑ รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาเอก
๕.๒ ภาษาที่ใช้
ภาษาไทยหรือภาษาบาลีหรือภาษาอังกฤษ
๕.๓ การรับเข้าศึกษา
รับนิสิตชาวไทยและนิสิตต่างประเทศ
๕.๔ ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
เป็นหลักสูตรเฉพาะของมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส
นครปฐม
๕.๕ การให้ปริญญาแก่ผู้สำเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาเดียวคือ พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์

๖. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
๖.๑ ปรับปรุงครั้งสุดท้ายเมื่อ พ.ศ. ๒๕๖๒
๖.๒ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๗
๖.๓ เริ่มใช้ในภาคเรียนที่ ๑ ปีการศึกษา ๒๕๖๗ เป็นต้นไป
๖.๔ สภาวิชาการ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติเห็นชอบในการประชุม
ครั้งที่ .............. เมื่อวันที่ ........
๖.๕ สภามหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย มีมติเห็นชอบในการประชุม
ครั้งที่ .............. เมื่อวันที่ ........

๗. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา
๑. นักวิชาการและนักวิจัยทางด้านภาษาบาลีชั้นสูง
๒. ผู้เชี่ยวชาญด้านภาษาบาลีและพระพุทธศาสนา
๓. ผู้เชี่ยวชาญด้านการสอนโรงเรียนพระปริยัติธรรม/มหาวิทยาลัย
๔. อนุศาสนาจารย์ กองทัพไทย
๕. วิทยากรด้านพระพุทธศาสนาชั้นสูง แก่ภาครัฐและเอกชน
๖. ที่ปรึกษาด้านพระพุทธศาสนา
๗. เป็นผู้นำการเผยแผ่ธรรมทั้งในและต่างประเทศ
๘. นักวิชาการอิสระด้านภาษาบาลี
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๘. สถานที่จัดการเรียนการสอน
วิทยาลัยสงฆ์บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ที่อยู่ : เลขที่ ๑๕๔ หมู่ ๒ ซอยวัดมหาสวัสดิ์นาคพุฒาราม ถนนศาลายา-นครชัยศรี ตำบลหอมเกร็ด
อำเภอสามพราน จังหวัดนครปฐม ๗๓๑๑๐
โทร ๐ ๓๔๒๙ ๙๓๑
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

หมวดที่ ๒
ปรัชญา วัตถุประสงค์ และผลลัพธ์การเรียนรู้
๑. ปรัชญา
วิเคราะห์บาลีพระไตรปิฎก จัดระบบองค์ความรู้ ประยุกต์ใช้และเผยแผ่พระสัทธรรม

๒. วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
๑. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีความรอบรู้ในคัมภีร์ในพระไตรปิฎกและปกรณ์ชั้นสูงเพื่อนำมาสร้าง
งานวิจัยและนวัตกรรมให้เกิดองค์ความรู้ใหม่ด้านบาลี โดยนำเทคโนโลยีสารสนเทศมาประยุกต์ใช้
๒. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มีความเชี่ยวชาญในการแปล ตีความ คิดวิเคราะห์บาลีตามหลักคัมภีร์สัททา
วิเสส คัมภีร ์พระไตรปิฎ ก มีทักษะในการสืบค้นข้อมูล พัฒ นางานวิจัยและนวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อ
พระพุทธศาสนา
๓. เพื ่ อ ผลิ ต ดุ ษ ฎี บ ั ณ ฑิ ต ที ่ ม ี ค วามเชี ่ ย วชาญและความชำนาญด้ า นภาษาบาลี แ ละอั ก ษรจารึ ก
พระไตรปิฎกของนานาประเทศ สามารถเผยแพร่ข้อมูลได้อย่างมืออาชีพ
๔. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่ซื่อสัตย์สุจริต มีป ฏิปทาน่าเลื่อมใส มีจิตอาสา อุทิศตนเพื่อประโยชน์ทาง
พระพุทธศาสนา
๕. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มีความเป็นผู้นำ เป็นนักบริหารจัดการ มีลักษณะกัลยาณมิตรรับผิดชอบต่อ
ตนเองและสังคม

๓. ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (Program Learning Outcomes) PLOs


ผลลัพธ์การ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง กลยุทธ์สำหรับวิธีการวัด
กลยุทธ์การสอน
เรียนรู้ ของหลักสูตร (PLOs) และประเมิน
ด้านความรู้ ๑. นิ ส ิ ต มี ค วามรอบรู ้ ใ น ๑.๑ จัดกิจกรรมเชิงวิชาการ ๑.๑ ประเมินด้วยผลงาน
พระไตรปิฎก คัมภีร์อรรถกถา ที่ส่งเสริมให้มีความสามารถทาง วิชาการ และการบำเพ็ญตน
เนตติปกรณ์ สัททาวิเสส และ วิช าการภาษาบาลี การเรียนรู้ ให้เป็นประโยชน์ต่อสังคม
คัมภีร์ต่างๆ ด้านคุณธรรม จริยธรรม ให้เป็น ๑ . ๒ ประเมินด้วย
๒. นิ ส ิ ต สามารถนำคั ม ภี ร์ ผู ้ ม ี น ้ ำ ใจเสี ย สละอุ ท ิ ศ ตนเพื่ อ แบบทดสอบ ด้ วยการสั งเกต
ต่ า งๆ มาบู ร ณาการกั บ ด้ า น พระพุทธศาสนาและสังคม สั มภาษณ์ การสนทนากลุ่ ม
งานวิจัยหรือองค์ความรู้ใหม่ ๑.๒ ฝึกฝนให้มีความใฝ่รู้ ใฝ่ และแบบวัดผล
๓.นิ ส ิ ต สามารถนำความรู้ คิ ด เป็ น ผู ้ น ำด้ า นจิ ต ใจและ ๑.๓ ประเมิ นจากความ
ทั ้ ง หมดมาพั ฒ นางานวิ จั ย ปั ญ ญาเพื ่ อ พั ฒ นาตนเองและ รับผิดชอบในการให้ความร่วมมือ
นวัตกรรมและพัฒ นาจนเกิด สังคม การทำงานวิจัย และการเข้าร่วม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ผลลัพธ์การ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง กลยุทธ์สำหรับวิธีการวัด


กลยุทธ์การสอน
เรียนรู้ ของหลักสูตร (PLOs) และประเมิน
องค์ความรู้ใหม่ด้าน ๑.๓ การจั ด กิ จ กรรมใน กิจกรรมในการใช้องค์ความรู้ทาง
พระพุทธศาสนา รายวิชาที่เน้นการปลูกฝังให้นิสิต การศึกษาทำประโยชน์ต่อสังคม
๔.นิ ส ิ ต สามารถวางแผนกล มี ร ะเบี ย บวิ น ั ย ในตนเอง และ ๑.๔ ผู ้ เ รี ย นประเมิ น
ยุทธ์และพัฒนางานวิจัย ให้ มี แก้ ไ ขปั ญ หาของตนเองและ ตนเองและประเมินโดยเพื่อน
ความทันสมัยอย่างมีจริยธรรม สังคมได้ และอาจารย์ โดยใช้ แ บบ
๑.๔ ฝึกฝนภาวะความเป็ น ประเมินและแบบวัดผล
ผู้นำ รวมถึงการเคารพสิทธิและ ๑.๕ ประเมิ น กระบวนการ
การรับฟังความคิดเห็นผู้อื่ นใน ทำงานที ่ ม ี ค วามเชื ่ อ มโยง
ต่อเนื่องอย่างเป็นระบบ
การปฏิบัติ งานในการให้ ค วาม
ร่วมมือกับผู้อื่น
๑.๕ ฝึกฝนให้รู้จักการวาง
แผนการกำหนดวิธีปฏิบัติกำกับ
ติดตามพบปัญหาปรับปรุงแก้ไข
ด้านทักษะ ๕. นิสิตมีทักษะในการสื บ ค้น ๒.๑ จัดการเรียนรู้โดยผู้เรียน ๒.๑ ประเมินทักษะการ
ข ้ อ ม ู ล ก า ร ว ิ เ ค ร า ะ ห์ เป็นสำคัญ และมุ่งเน้นให้นิส ิตมี ปฏิ บ ั ต ิ ง านด้ า นการจั ด หา
สังเคราะห์ ตีความ อ่านคัมภีร์ ความรู้ความเข้าใจในภาษาบาลีและ สื บ ค้ น คั ด เลื อ ก ข้ อ มู ล ที่
ทางพุทธศาสนา คั มภี ร ์ พระพุ ทธศาสนา โดยใช้ ส ำ ค ั ญ ม า เ ป ็ น ป ร ะ เ ด็ น
๖. นิส ิตมีทักษะในการแปล วิธีการเรียนการสอนที่เน้นหลักการ ประมวลผลงาน
ปริวรรตคัมภีร์ จากภาษาพื้น ทางทฤษฎี และการประยุกต์ทาง ๒.๒ ประเมิ น ด้ ว ยการ
ถิ ่ น หรื อ ภาษาต่ า งประเทศ ปฏิ บ ั ต ิ ใ นสภาพแวดล้ อ มจริ ง สังเกตพฤติกรรมการ
กระตุ้นให้เกิดการคิดวิเคราะห์ และ
เพื ่ อ เพิ ่ ม ความ หลากหลาย ตั ด สิ น ใจกา รแ ก ้ ป ั ญ ห า
ตัดสินใจด้วยตนเอง
และสร้างมูล ค่าเพิ่มทางการ โครงงาน ผลงาน ที ่ ไ ด้ รั บ
๒.๒ จัดกิจกรรมการเรียนรู้
สื่อสารทางพุทธศาสนา มอบหมาย
วิ ช าการและศาสตร์ ส มั ย ใหม่
๗. นิ ส ิ ต สามารถสร้ า งองค์ ๒.๓ ประเมิ น ด้ ว ยการ
ควบคู่กับวิชาการด้านภาษาบาลี
ความรู้ ใหม่ทางพุทธศาสนา และคัมภีร์พระพุทธศาสนา นำเสนอรายงานในรายวิช า
เพื่อแก้ปัญหาแก่สังคม ๒.๓ ส่งเสริมให้มีการสืบค้นคัด และ/หรื อ กิ จ กรรมแ ล ะ
๘. นิ ส ิ ต มี ท ั ก ษะในการนํ า สรรข้อมูลเพื่อพัฒนาการวิจัยและ ประเมินผล
คัมภีร ์ทางพุทธศาสนามาต่ อ ค้นคว้าองค์ความรู้ใหม่ที่เกิดจาก ๒.๔ ประเมิ น ด้ ว ยการ
ยอดองค์ ค วามรู ้ เ พื ่ อ พั ฒ นา ภ า ษ า บ า ล ี แ ล ะ ค ั ม ภ ี ร์ นำเสนอรายงาน สารนิพนธ์
งานวิ จ ั ย นวั ต กรรมที ่ เ ป็ น พระพุทธศาสนาด้วยตนเอง และ/หรือดุษฎีนิพนธ์
ประโยชน์ต่อสังคม ๒.๔ จัดให้มีการศึกษาค้นคว้า ๒.๕ ประเมินจากผลงานวิจัย
วิจัยด้วยตนเอง ในการพัฒนา บทความทางวิชาการและการ
และสร้างองค์ความรู้ด้านภาษา พัฒนาจนเกิดนวัตกรรมและ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ผลลัพธ์การ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง กลยุทธ์สำหรับวิธีการวัด


กลยุทธ์การสอน
เรียนรู้ ของหลักสูตร (PLOs) และประเมิน
บาลีและคัมภีร์พระพุทธศาสนา องค์ความรู้ใหม่เพื่อประโยชน์
มาประยุกต์ให้ตอบสนองความ ต่อสังคม
ต้องการของสังคม
ด้านจริยธรรม ๙. นิ ส ิ ต มี ค วามเที ่ ย งตรงใน ๓.๑ จัดกิจกรรมส่งเสริมและ ๓.๑ วัดการแสดงออกทาง
การนําหลักการตามคัมภีร์ทาง พั ฒ นาด้ า นจริ ย ธรรมและการ กระบวนการคิดและการแก้ไข
พุ ท ธศาสนามาแก้ ไ ขปั ญ หา เป็ น คนดี ข องสั ง คมตามหลั ก ปั ญ หาโดยการสั ง เกตหรื อ
โดยยึดหลักความถูกต้อง พระพุทธศาสนาโดยการ แสดง สัมภาษณ์การตอบคำถาม
๑๐. มี พ ฤติ ก รรมด้ า นบวก และแลกเปลี่ยนเรียนรู้โดยเชิญ ๓.๒ วัดผลการปฏิบัติงาน
ยอมรั บ ในความเห็ น ต่ า ง บุคคลภายนอกมาร่วมเสวนา ที่ได้รับมอบหมาย
ภายใต้กรอบของพุทธศาสนา ๓.๒ จั ด กิ จ กรรมส่ ง เสริ ม ๓.๓ การนำเสนอผลงาน
ทักษะทางด้านวิชาการและการ
ม ี จ ร ร ย า บ ร ร ณ ข อ ง นั ก การอธิ บ าย การถามและ
วิจัยโดยเน้นให้เกิดการเรี ย นรู้
วิชาการ ตามสมณเพศ ตอบคำถาม
ด้วยตนเอง
๑๑. กระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้ ๓.๔ การอภิ ป รายกลุ่ ม
๓.๓ ส่งเสริมกระตุ้นให้เกิด
สามารถนำปั ญ หาจาการ และการโต้ ต อบสื ่ อ สารกั บ
การเรียนรู้ที่สามารถประยุกต์ใช้
ปฏิบัติงานจริงมาวิเคราะห์มา ผู้อื่น
กับสถานการณ์จริงโดยใช้ปัญหา
ปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นาจนเกิ ด ๓ . ๕ พ ฤ ต ิ ก ร ร ม ที่
เป็นตัวกระตุ้นให้เกิดการเรียนรู้
องค์ความรู้ใหม่ แสดงออก
๓.๔ ส่ ง เสริ ม ให้ ม ี ก ารนำ
ประเด็นปัญหามาร่วมพิจารณา
ในรูปแบบการอภิปรายรายกลุ่ม
เพื ่ อ สร้ า งพฤติ ก รรมบวกและ
ยอมรั บ ความเห็ น ต่ า งโดยให้
ถูกต้องตามพระธรรมวินัย

ด้านลักษณะ ๑๒. นิสิตมีความเป็นผู้นํา มี ๔.๑ การจัดกิจกรรมในรายวิชา ๔.๑ สังเกตพฤติกรรมและ


บุคคล หลั ก การบริ ห ารจั ด การ รู้ ที่เน้นการเรียนการสอนที่มีการนำ การแสดงออกของนิ ส ิ ต ใน
แนวทางการพั ฒ นางานทั้ ง ปัญหาในสถานการณ์ปัจจุบันมา หลาย ๆ ด้ า น ระหว ่ า ง
ลักษณะภายนอก และภายใน พิ จารณาหาแนวทางการแก้ ไข กิ จ กรรมการเรี ย นการสอน
จิตใจ ร่ วมกั นอย่ างมี ปฏิ ส ั มพั นธ์ ท ี ่ ดี เช่ น พฤติ ก รรมความสนใจ
๑๓. นิส ิตเป็น ผู้มีปฏิป ทาน่า ระหว่างผู้เรียนและผู้สอน ตั ้ ง ใจเรี ย นรู ้ และพั ฒ นา
เ ล ื ่ อ ม ใ ส ม ี ค ว า ม เ ป็ น ๔.๒ ฝึ ก ฝนภาวะความเป็ น ตนเอง
กัลยาณมิตร มีบุคลิกภาพที่ดี ผู้นำ มีเทคนิคการบริหารจัดการ ๔.๒ สังเกตพฤติกรรมการ
สามารใช้ภาษาในการสื่อสาร การมี ส ่ ว นร่ ว ม การมี ม นุ ษ ย แสดงบทบาทภาวะผู้นำและ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ผลลัพธ์การ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง กลยุทธ์สำหรับวิธีการวัด


กลยุทธ์การสอน
เรียนรู้ ของหลักสูตร (PLOs) และประเมิน
ได้ อ ย่ า งเหมาะสมกั บ สมณ สัมพันธ์กับผู้ร่วมงาน และการ ก า ร ม ี ส ่ ว น ร ่ ว ม ท ี ่ ดี
สารู ป และใช ้ เ ทคโ น โ ล ยี รับฟังความคิดเห็นผู้อื่นในการ ความสามารถในการทำงาน
ดิจิตอลได้อย่างเหมาะสม ปฏิ บ ั ต ิ ง านเป็ น กลุ ่ ม และการ ร่วมกับผู้อื่น
๑๔. นิสิตมีความรับผิดชอบ มี ทำงานวิจัย ๔.๓ สั ง เกตพฤติ ก รรม
จิ ต สาธารณะ เสี ย สละ เห็ น ๔.๓ ฝึ ก ฝนการทำกิ จ กรรม ความรับผิดชอบในการเรียน
ประโยชน์ ส ่ ว นรวมมากกว่ า กลุ่มแบ่งหน้าที่ความรับผิดชอบ และงานที ่ ไ ด้ ร ั บ มอบหมาย
ประโยชน์ส่วนตน การทำกิจกรรมเพื่อสังคม และ การนำเสนอผลงาน การ
การว างตั ว ที ่ เ หมาะสมต่ อ ทำงานวิจัย และการร่วมทำ
กาลเทศะ กิจกรรมเพื่อสังคม
๔.๔ ฝึกฝนการประสานงาน ๔.๔ สั ง เกตความสนใจ
กับผู้อื่นทั้งภายในและภายนอก การแสดงความคิดเห็น เพื่อ
สถาบั น การศึ ก ษา ฝึ ก สั ง เกต การแก้ไขปัญหาและพัฒนา
ติ ด ตามผล สรุ ป รายงานและ ตนเองและกิ จ กรรมการ
นำเสนอแนวทางการแก้ไข เรียนรู้ที่เหมาะสม
๔.๕ พิจารณาจาก ๔.๕ พิจารณาจากบุคลิกภาพ
บุคลิกลักษณะ หลักเทคนิคการ วิธีการแสดงออก การ
สื่อสาร มีปฏิปทาน่าเลื่อมใส สนทนาธรรม จริยาวัตรที่
งดงาม

๔. ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างวัตถุประสงค์ของหลักสูตร และผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของ
หลักสูตร (PLOs)
วัตถุประสงค์ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (PLOs)
ของหลักสูตร PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔
๑.เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มี
ความรอบรู ้ ใ นคั ม ภี ร ์ ใ น
พระไตรปิ ฎ กและปกรณ์
ช ั ้ น สู ง เพื ่ อ นำมาสร้ า ง
√ √ √ √
งานวิจ ัย และนวัต กรรมให้
เกิดองค์ความรู้ใหม่ด้านบาลี
โ ด ย น ำ เ ท ค โ น โ ล ยี
สารสนเทศมาประยุกต์ใช้
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

วัตถุประสงค์ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร (PLOs)


ของหลักสูตร PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO PLO
๑ ๒ ๓ ๔ ๕ ๖ ๗ ๘ ๙ ๑๐ ๑๑ ๑๒ ๑๓ ๑๔
๒. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตให้มี
ความเชี่ยวชาญในการแปล
ตี ค วาม คิ ด วิ เ คราะห์ บ าลี
ตามหลักคัมภีร์สัททาวิเสส
คัมภีร์พระไตรปิฎก มีทักษะ √ √ √ √
ในการสืบ ค้น ข้อมูล พัฒ นา
งานวิ จ ั ย และนวั ต กรรมที่
เ ป ็ น ป ร ะ โ ย ช น ์ ต่ อ
พระพุทธศาสนา
๓. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มี
ความเชี่ยวชาญด้าน
ภาษาสากลและมี ค วาม
ช ำ น า ญ อ ั ก ษ ร จ า รึ ก
พระไตรปิฎกในการอธิบาย √ √ √
หลักธรรมทาง
พระพุ ท ธศาสนา สามารถ
เผยแพร่ข้อ มูล ได้ อย่ า งมื อ
อาชีพ
๔. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่
ซื่อสัตย์สุจริต มีปฎิปทาน่า
เลื่อมใส มีจิตอาสา อุทิศตน √ √ √
เพื่อประโยชน์ทาง
พระพุทธศาสนา
๕. เพื่อผลิตดุษฎีบัณฑิตที่มี
ความเป็ น ผู ้ น ำ เป็ น นั ก
บริ ห ารจั ด การ มี ล ั ก ษณะ √ √ √
กัล ยาณมิตรรับ ผิดชอบต่อ
ตนเองและสังคม

หมายเหตุ : ระบุสัญลักษณ์ √ ในช่องที่วัตถุประสงค์สัมพันธ์กับผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวังของหลักสูตร


(PLOs)
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๕. ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา
ชั้นปีที่ ความคาดหวังของผลลัพธ์การเรียนรู้เมื่อสิ้นปีการศึกษา
ชั้นปีที่ ๑ - มีความรอบรู้ในพระไตรปิฎก คัมภีร์อรรถกถา เนตติปกรณ์ สัททาวิเสส และคัมภีร์ต่าง ๆ
- สามารถค้นคว้า เก็บข้อมูลทางสถิติและวางแผนเพื่อการวิจัย นำจริยธรรมงานวิจัยไป
ปฏิบัติ
- รู้ประวัติความสำคัญ วิเคราะห์ สังเคราะห์ เนื้อหาสำคัญในพระไตรปิฎก
- มีความเข้าใจประวัติความเป็นมาของวรรณคดีบาลีสันสฤต รู้คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และ
ความแตกต่างของบาลีและสันกฤต
- มีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักไวยากรณ์ บทบาลี ความหมาย โครงสร้างประโยค ฉันทลักษณ์
อลังการ รส เป็นต้น
- มีทักษะในการตีความคัมภีร์บาลี ตามหลักการที่ถูกต้อง
- สามารถทำงานวิจัยด้านบาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูงได้
- สามารถใช้ภาษาอังกฤษใช้ในงานวิจัยและสื่อสารได้
- มีความเที่ยงตรงในการนําหลักการตามคัมภีร์ทางพุทธศาสนามาแก้ไขปัญหาโดยยึดหลัก
ความถูกต้อง
ชั้นปีที่ ๒ - สามารถนำคัมภีร์ต่างๆ มาบูรณาการกับด้านงานวิจัยหรือองค์ความรู้ใหม่
- สามารถบริหารจัดการและพัฒนาตนเองได้
- สามารถนำองค์ความรู้ใหม่มาพัฒนางานวิจัยและนวัตกรรมได้
- แตกฉานด้านภาษาบาลีและเชื่อมโยงกับองค์ความรู้ที่หลากหลายได้
- ปรับบุคลิกภาพ การวางตัว การสื่อสาร และมีลักษณะความเป็นผู้นำ
- รู้กระบวนการทำงานวิจัยและแนวทางการทำดุษฎีนิพนธ์
- ได้พัฒนางานดุษฎีนิพนธ์
- มีความรู้ และทักษะสามารถตามหลักวิชาที่ได้เลือกเรียน
- เป็นผู้มีปฏิปทาน่าเลื่อมใส มีความเป็นกัลยาณมิตร มีบุคลิกภาพที่ดี สามารใช้ภาษาใน
การสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับสมณสารูปและใช้เทคโนโลยีดิจิตอลได้อย่างเหมาะสม
ชั้นปีที่ ๓ - สามารถวางแผนกลยุทธ์และพัฒนางานวิจัยให้มีความทันสมัยอย่างมีจริยธรรม
- มีทักษะในการนําคัมภีร์ทางพุทธศาสนามาต่อยอดองค์ความรู้เพื่อพัฒนางานวิจัย
นวัตกรรมที่เป็นประโยชน์ต่อสังคม
- ได้บทความวิชาการ
- ได้บทวิจารณ์หนังสือ
- ได้สารนิพนธ์
- ได้ดุษฎีนิพนธ์ที่มีองค์ความรู้ใหม่
- ตีพิมพ์บทความดุษฎีนิพนธ์
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

หมวดที่ ๓
โครงสร้างหลักสูตร รายวิชาและหน่วยกิต

๑. โครงสร้างหลักสูตร
๑.๑. จำนวนหน่วยกิต
- หลักสูตรแผน ๒.๑ มี ๕๔ หน่วยกิต
- หลักสูตรแผน ๒.๒ มี ๘๑ หน่วยกิต
๑.๒. โครงสร้างหลักสูตร
โครงสร้างหลักสูตร เป็น แผน ๒.๑ และแผน ๒.๒ โดยแบ่งหมวดวิชาตามที่กำหนดไว้ในประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๕ ดังนี้
หมวดวิชา จำนวนหน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต
แผน ๒.๑ แผน ๒.๒
๑. หมวดวิชาบังคับ
๑.๑ นับหน่วยกิต ๙ ๙
๑.๒ ไม่นับหน่วยกิต (๑๒) (๑๒)
๒. หมวดวิชาเอก
๒.๑ นับหน่วยกิต ๖ ๑๒
๒.๒ ไม่นับหน่วยกิต (๑๒) -
๓. หมวดวิชาเลือก ๓ ๑๒
๔. หมวดวิชาพื้นฐาน - -
๔. ดุษฎีนิพนธ์ ๓๖ ๔๘
รวมทั้งสิ้น ๕๔ (๒๔) ๘๑ (๑๒)
หมายเหตุ: รายวิชาใน ( ) นิสิตต้องเรียนโดยไม่นับหน่วยกิต

๒. รายวิชาในหลักสูตร
(๑) คำอธิบายรหัสวิชา
ความหมายของเลขรหัสประจำรายวิชาในหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธ
ศาสตร์ ประกอบด้วยเลข ๖ หลัก มีความหมายดังนี้
๑. เลข ๘ ตัวที่หนึ่ง หมายถึง หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต
๒. เลขตัวที่ ๒ - ๓ หมายถึงสาขาวิช า เริ่มตั้งแต่ ๐๑ ไปถึง ๙๙ ในทุกหลักสูตรโดยให้นับ เลข
ตามลำดับสาขาวิชา และเลข ๐๐ หมายถึง หลายสาขาวิชาในหลักสูตรนั้นบังคับให้ศึกษารายวิชาเหมือนกัน
๓. เลขตัวที่ ๔ หมายถึง ชั้นปีที่จัดให้มีการศึกษา ตั้งแต่ภาคการศึกษาที่ ๑ เป็นต้นไป
๔. เลขตัวที่ ๕ และ ๖ หมายถึง ลำดับรายวิชาในแต่ละหลักสูตร เริ่มตั้งแต่ ๐๑ ไปถึง ๙๙ และเลข
๐๐ หมายถึง ดุษฎีนิพนธ์
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

(๒) หลักสูตรแผน ๒.๑


หลักสูตรแผน ๒.๑ จำนวน ๕๔ หน่วยกิต เป็นหลักสูตรเน้นวิจัยเข้าห้องเรียนและทำดุษฎี
นิพนธ์ โดยทำวิทยานิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต ศึกษารายวิชา ๑๘ หน่วยกิต ศึกษารายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิต จำนวน
๒๔ หน่วยกิต
ก. วิชาบังคับ นับหน่วยกิต ๙ หน่วยกิต
รหัส รายวิชา จำนวนหน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๑ บาลีพระไตรปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Tipitaka Studies
๘๐๓ ๑๐๒ วรรณคดีบาลีและสันสกฤตชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali and Sanskrit Literature
๘๐๓ ๒๐๕ อรรถกถาสังวัณณนาชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Atthakathāsamvaṇṇanā

ข. วิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต ๑๒ หน่วยกิต


๘๐๓ ๑๐๓ วิธีจดั เก็บข้อมูลและสถิติเพื่อการวิจยั ๓ (๓-๐-๖)
Data collection methods and statistics for research
๘๐๓ ๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อวิจัยทางบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)
English for Buddhist Pali Research
๘๐๓ ๓๐๙ หลักการบริหารและภาวะผูน้ ำตามแนวบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)
Principle of Administration and Leadership Based on Buddhist Pali Studies
๘๐๓ ๓๑๐ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์สมัยใหม่ ๓ (๓-๐-๖)
Buddhist Pali Studies and Modern Sciences

ค.วิชาเอก นับหน่วยกิต ๖ หน่วยกิต


รหัส รายวิชา จำนวนหน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๔ สัททาวิเสสบาลีชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Saddāvisesa
๘๐๓ ๒๐๗ ระเบียบวิธวี ิจยั บาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Research Methodology in Pali
ง.วิชาเอกไม่นับหน่วยกิต
๘๐๓ ๒๐๖ เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์ ๓ (๓-๐-๖)
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

Nettipakarana and Petakopadesapakarana


๘๐๓ ๓๑๑ สัมมนาองค์ความรู้ด้านบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)
Buddhist Pali Studies Seminar
๘๐๓ ๓๒๑ อุปจาระและนยะในภาษาบาลี ๓ (๓-๐-๖)
Upacāra and Naya in Pali Language
๘๐๓ ๓๒๒ งานนิพนธ์สำคัญทางพระพุทธศาสนา ๓ (๓-๐-๖)
Selected Pali Texts of Buddhism

จ.วิชาเลือก เลือกเรียน จำนวน ๑๒ หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้


รหัส รายวิชา จำนวนหน่วยกิต
๘๐๓ ๓๑๒ บาลีพระวินยั ปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Study of Vinayapitaka
๘๐๓ ๓๑๓ บาลีพระสุตตันตปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Study of Suttantapitaka
๘๐๓ ๓๑๔ บาลีพระอภิธรรมปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Study of Abhidhammapitaka
๘๐๓ ๓๑๕ สัมมนาคัมภีร์สัททนีติ ๓ (๓-๐-๖)
Seminar on Saddanīti Scripture
๘๐๓ ๓๑๖ ศึกษาอิสระบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)
Independent Study on Buddhist Pali Studies
๘๐๓ ๓๑๗ อักษรจารึกพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)
Scripts on Pali Tipitaka
๘๐๓ ๓๑๘ หลักพุทธสุนทรียศาสตร์ด้านภาษาบาลี ๓ (๓-๐-๖)
Buddhist Aesthetics Principle on Pali
๘๐๓ ๓๑๙ เปรียบเทียบบาลีและสันสกฤต ๓ (๓-๐-๖)
Comparison of Pali and Sanskrit
๘๐๓ ๓๒๐ การแปลและการสือ่ สารบาลีชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Translation and Communication

ฉ. ดุษฎีนิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต
รหัส รายวิชา จำนวนหน่วยกิต
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต


Dissertation

(๓) หลักสูตรแผน ๒.๒


หลักสูตรแผน ๒.๒ จำนวน ๘๑ หน่วยกิต ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี หรือเปรียญธรรม ๙
ประโยค ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติให้เข้าศึกษาเป็นกรณีพิเศษ ต้องศึกษาวิชาไม่น้อยกว่า ๓๓ หน่วยกิต รายวิชา
ไม่นับหน่วยกิต จำนวน ๑๒ หน่วยกิต และทำดุษฎีนิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๔๘ หน่วยกิต รวม ๘๑ หน่วยกิต

ก. วิชาบังคับ นับหน่วยกิต ๙ หน่วยกิต


รหัส รายวิชา จำนวนหน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๑ บาลีพระไตรปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Tipitaka Studies
๘๐๓ ๑๐๒ วรรณคดีบาลีและสันสกฤตชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali and Sanskrit Literature
๘๐๓ ๒๐๕ อรรถกถาสังวัณณนาชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Atthakathāsamvaṇṇanā
ข. วิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต ๑๒ หน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๓ วิธีจัดเก็บข้อมูลและสถิติเพื่อการวิจัย ๓ (๓-๐-๖)
Data collection methods and statistics for research
๘๐๓ ๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อวิจยั ทางบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)
English for Buddhist Pali Research
๘๐๓ ๓๐๙ หลักการบริหารและภาวะผู้นำตามแนวบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)
Principle of Administration and Leadership Based on Buddhist Pali Studies
๘๐๓ ๓๑๐ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์สมัยใหม่ ๓ (๓-๐-๖)
Buddhist Pali Studies and Modern Sciences

ค.วิชาเอก นับหน่วยกิต ๑๒ หน่วยกิต


รหัส รายวิชา จำนวนหน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๔ สัททาวิเสสบาลีชนั้ สูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Saddāvisesa
๘๐๓ ๒๐๖ เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์ ๓ (๓-๐-๖)
Nettipakarana and Petakopadesapakarana
๘๐๓ ๒๐๗ ระเบียบวิธวี ิจยั บาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

Advanced Research Methodology in Pali


๘๐๓ ๓๑๑ สัมมนาองค์ความรู้ด้านบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)
Buddhist Pali Studies Seminar

ง.วิชาเลือก เลือกเรียน จำนวน ๑๒ หน่วยกิต จากรายวิชาต่อไปนี้


รหัส รายวิชา จำนวนหน่วยกิต
๘๐๓ ๓๑๒ บาลีพระวินยั ปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Study of Vinayapitaka
๘๐๓ ๓๑๓ บาลีพระสุตตันตปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Study of Suttantapitaka
๘๐๓ ๓๑๔ บาลีพระอภิธรรมปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Study of Abhidhammapitaka
๘๐๓ ๓๑๕ สัมมนาคัมภีร์สัททนีติ ๓ (๓-๐-๖)
Seminar on Saddanīti Scripture
๘๐๓ ๓๑๖ ศึกษาอิสระบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)
Independent Study on Buddhist Pali Studies
๘๐๓ ๓๑๗ อักษรจารึกพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)
Scripts on Pali Tipitaka
๘๐๓ ๓๑๘ หลักพุทธสุนทรียศาสตร์ด้านภาษาบาลี ๓ (๓-๐-๖)
Buddhist Aesthetics Principle on Pali
๘๐๓ ๓๑๙ เปรียบเทียบบาลีและสันสกฤต ๓ (๓-๐-๖)
Comparison of Pali and Sanskrit
๘๐๓ ๓๒๐ การแปลและการสือ่ สารบาลีชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Translation and Communication
๘๐๓ ๓๒๑ อุปจาระและนยะในภาษาบาลี ๓ (๓-๐-๖)
Upacāra and Naya in Pali Language
๘๐๓ ๓๒๒ งานนิพนธ์สำคัญทางพระพุทธศาสนา ๓ (๓-๐-๖)
Selected Pali Texts of Buddhism

จ. ดุษฎีนิพนธ์ ๔๘ หน่วยกิต
รหัส รายวิชา จำนวนหน่วยกิต
๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๔๘ หน่วยกิต
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

Dissertation

กระบวนวิชาที่ไม่นับหน่วยกิตสะสม
๑. ตามเงื่อนไขของบัณฑิตวิทยาลัย
๒. ตามเงื่อนไขของสาขาวิชา
๓. รายวิชาที่เรียนโดยไม่นับหน่วยกิต มีจำนวน ๔ รายวิชา

๓. แสดงแผนการศึกษา

๓.๑ แผนการศึกษาแผน ๒.๑


ภาคการศึกษาที่ ๑
แผน ๒.๑
ภาค
รหัส/รายวิชา หน่วยกิต บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
การศึกษา
ด้วยตนเอง
วิชาบังคับ
๘๐๓ ๑๐๑ บาลีพระไตรปิฎกชัน้ สูง ๓ ๓ ๐ ๖
๘๐๓ ๑๐๒ วรรณคดีบาลีและสันสกฤตชัน้ สูง ๓ ๓ ๐ ๖
วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๓ วิธีจดั เก็บข้อมูลและสถิติเพื่อการ (๓) (๓) (๐) (๖)
๑ วิจัย

วิชาเอก ๓ ๓ ๐ ๖
๘๐๓ ๑๐๔ สัททาวิเสสบาลีชั้นสูง
วิชาเลือก
-
รวมนับหน่วยกิต ๙
รวมไม่นับหน่วยกิต (๓)
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ภาคการศึกษาที่ ๒
แผน ๒.๑
ภาค หน่วย บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
รหัส/รายวิชา
การศึกษา กิต ด้วย
ตนเอง
วิชาบังคับ
๘๐๓ ๒๐๕ อรรถกถาสังวัณณนาชั้นสูง ๓ ๓ ๐ ๖
วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต
๘๐๓ ๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อวิจัยทางบาลีพุทธ (๓) (๓) (๐) (๖)
ศาสตร์

วิชาเอก
๘๐๓ ๒๐๖ เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์ ๓ ๓ ๐ ๖
๘๐๓ ๒๐๗ ระเบียบวิธีวิจัยบาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง ๓ ๓ ๐ ๖
วิชาเลือก
-
รวมนับหน่วยกิต ๙
รวมไม่นับหน่วยกิต (๓)

ภาคการศึกษาที่ ๓
แผน ๒.๑
ภาค
รหัส/รายวิชา หน่วย บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
การศึกษา ด้วยตนเอง
กิต
วิชาบังคับ
๘๐๓ ๓๐๙ หลักการบริหารและภาวะผู้นำตามแนว ๓ ๓ ๐ ๖
บาลีพุทธศาสตร์
๘๐๓ ๓๑๐ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์ส มัย ใหม่ ๓ ๓ ๐ ๖
๓ วิชาเอก
๘๐๓ ๓๑๑ สั ม มนาองค์ ค วามรู ้ ด ้ า นบาลี พ ุ ท ธ ๓ ๓ ๐ ๖
ศาสตร์
วิชาเลือก
-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา ๓ ๓ ๐ ๖
รวมนับหน่วยกิต ๑๒
รวมไม่นับหน่วยกิต
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ภาคการศึกษาที่ ๔
แผน ๒.๑
ภาค
รหัส/รายวิชา หน่วย บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
การศึกษา ด้วยตนเอง
กิต
วิชาเลือก
-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา ๓ ๓ ๐ ๖
-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา ๓ ๓ ๐ ๖

-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา ๓ ๓ ๐ ๖
ดุษฎีนิพนธ์
๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๑๒ ๐ ๓๖ ๐
รวมนับหน่วยกิต ๒๑
รวมไม่นับหน่วยกิต

ภาคการศึกษาที่ ๕
แผน ๒.๑
ภาค หน่วยกิต บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
รหัส/รายวิชา
การศึกษา ด้วย
ตนเอง
ดุษฎีนิพนธ์

๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๑๒ ๐ ๓๖ ๐
รวมนับหน่วยกิต ๑๒
รวมไม่นับหน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ ๖
แผน ๒.๑
ภาค หน่วยกิต บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
รหัส/รายวิชา
การศึกษา ด้วย
ตนเอง
ดุษฎีนิพนธ์

๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๑๒ ๐ ๓๖ ๐
รวมนับหน่วยกิต ๑๒
รวมไม่นับหน่วยกิต
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๓.๒ แผนการศึกษาแผน ๒.๒


ภาคการศึกษาที่ ๑
แผน ๒.๒
ภาค
รหัส/รายวิชา หน่วยกิต บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
การศึกษา
ด้วยตนเอง
วิชาบังคับ
๘๐๓ ๑๐๑ บาลีพระไตรปิฎกชัน้ สูง ๓ ๓ ๐ ๖
๘๐๓ ๑๐๒ วรรณคดีบาลีและสันสกฤตชัน้ สูง ๓ ๓ ๐ ๖
วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๓ วิธีจดั เก็บข้อมูลและสถิติเพื่อการ (๓) (๓) (๐) (๖)
๑ วิจัย

วิชาเอก ๓ ๓ ๐ ๖
๘๐๓ ๑๐๔ สัททาวิเสสบาลีชั้นสูง
วิชาเลือก
-
รวมนับหน่วยกิต ๙
รวมไม่นับหน่วยกิต (๓)
ภาคการศึกษาที่ ๒
แผน ๒.๒
ภาค หน่วย บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
รหัส/รายวิชา
การศึกษา กิต ด้วย
ตนเอง
วิชาบังคับ
๘๐๓ ๒๐๕ อรรถกถาสังวัณณนาชั้นสูง ๓ ๓ ๐ ๖
วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต
๘๐๓ ๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อวิจัยทางบาลีพุทธ (๓) (๓) (๐) (๖)
๒ ศาสตร์
วิชาเอก
๘๐๓ ๒๐๖ เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์ ๓ ๓ ๐ ๖
๘๐๓ ๒๐๗ ระเบียบวิธีวิจัยบาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง ๓ ๓ ๐ ๖
วิชาเลือก
-
รวมนับหน่วยกิต ๙
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

รวมไม่นับหน่วยกิต (๓)
ภาคการศึกษาที่ ๓
แผน ๒.๒
ภาค
รหัส/รายวิชา หน่วย บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
การศึกษา ด้วยตนเอง
กิต
วิชาบังคับ
๘๐๓ ๓๐๙ หลักการบริหารและภาวะผูน้ ำตามแนว ๓ ๓ ๐ ๖
บาลีพุทธศาสตร์
๘๐๓ ๓๑๐ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์ส มัย ใหม่ ๓ ๓ ๐ ๖
วิชาเอก
๓ ๘๐๓ ๓๑๑ สั ม มนาองค์ ค วามรู ้ ด ้ า นบาลี พ ุ ท ธ ๓ ๓ ๐ ๖
ศาสตร์
วิชาเลือก
-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา ๓ ๓ ๐ ๖
ดุษฎีนิพนธ์
๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๑๒ ๐ ๔๘ ๐
รวมนับหน่วยกิต ๒๔
รวมไม่นับหน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ ๔
แผน ๒.๒
ภาค
รหัส/รายวิชา หน่วย บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
การศึกษา ด้วยตนเอง
กิต
วิชาเลือก
-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา ๓ ๓ ๐ ๖
-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา ๓ ๓ ๐ ๖

-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา ๓ ๓ ๐ ๖
ดุษฎีนิพนธ์
๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๑๒ ๐ ๔๘ ๐
รวมนับหน่วยกิต ๒๑
รวมไม่นับหน่วยกิต
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๒๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ภาคการศึกษาที่ ๕
แผน ๒.๒
ภาค หน่วยกิต บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
รหัส/รายวิชา
การศึกษา ด้วย
ตนเอง
ดุษฎีนิพนธ์

๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๑๒ ๐ ๔๘ ๐
รวมนับหน่วยกิต ๑๒
รวมไม่นับหน่วยกิต
ภาคการศึกษาที่ ๖
แผน ๒.๒
ภาค หน่วยกิต บรรยาย ปฏิบัติ ศึกษา
รหัส/รายวิชา
การศึกษา ด้วย
ตนเอง
ดุษฎีนิพนธ์

๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๑๒ ๐ ๔๘ ๐
รวมนับหน่วยกิต ๑๒
รวมไม่นับหน่วยกิต

๕. คำอธิบายรายวิชา
๘๐๓ ๑๐๑ บาลีพระไตรปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)
Advanced Pali Tipitaka Studies
ศึกษาบาลีพระไตรปิฎกในด้านโครงสร้าง การจัดหมวดหมู่ ลักษณะพิเศษของแต่ละปิฎก
เนื้อหาโดยย่อ วิเคราะห์บทบาลีในเชิงหาเหตุผล จุดมุ่งหมาย สภาวธรรม ด้วยวิธีจำแนกประโยค สัมพันธ์
ประโยค วิเคราะห์องค์ธรรมของศัพท์ ลักษณะอุปจาระและนยะที่ใช้ รวมทั้งอธิบายศัพท์และอรรถตามหลั ก
หาระ ๑๖ และนยะ ๕ เป็นต้น

๘๐๓ ๑๐๒ วรรณคดีบาลีและสันสกฤตชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)


Advanced Pali and Sanskrit Literature
ศึกษาประวัติความหมายประเภทและพัฒนาการของวรรณกรรมต่างๆ ที่บันทึกด้วยภาษา
บาลี และวรรณกรรมบาลีในประเทศไทย และวรรณคดีสันสกฤตตั้งแต่สมัยพระเวทจนถึงสมัยสันสกฤตแบบ
แผน
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๒๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๘๐๓ ๑๐๓ วิธีจัดเก็บข้อมูลและสถิติเพื่อการวิจัย ๓ (๓-๐-๖)


Data collection methods and statistics for research
ศึกษาวิธีการทางสถิติที่ใช้ในการวิจัย การวิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือสำหรับการเก็บรวบรวม
ข้อมูลแบบต่างๆ การสรุปข้อมูล และการนำเสนอผลการสรุป กำหนดให้นิสิตฝึกเขียนวัตถุประสงค์ของงานวิจัย
ขอบเขตการศึกษา การกำหนด ขนาดตัวอย่าง การเลือกแผนการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และ
การสรุปผลการวิเคราะห์

๘๐๓ ๑๐๔ สัททาวิเสสบาลีชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)


Advanced Pali Saddāvisesa
ศึกษาคัมภีร์สัททาวิเสสบาลีชั้นสูง อันเป็นคัมภีร์แสดงหลักด้านภาษาบาลีที่เป็นอุปการะใน
การศึกษาพระไตรปิฎ กบาลีช ั้น สูง ทั้ง ๔ ประเภท ได้แก่ คัมภีร์ไวยากรณ์ คัมภีร์นิฆัณฑุศาสตร์ คัมภีร์
ฉันทศาสตร์ คัมภีร์เกฏุภศาสตร์ โดยศึกษาตามสูตร วุตติ และอุทาหรณ์

๘๐๓ ๒๐๕ อรรถกถาสังวัณณนาชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)


Advanced Atthakathāsamvaṇṇanā
ศึกษาโครงสร้างและความเป็นมาของคัมภีร์อรรถกถา ศึกษาวิธีการอธิบายพระไตรปิฎกตาม
หลักอรรถกถา ๕๘ ลักษณะ โดยแยกเป็นรูปศัพท์ ๑๓ ลักษณะ ความหมายของรูปศัพท์ ๑๒ ลักษณะ การ
อธิบายรูปศัพท์และความหมายรวมกัน ๒๕ ลักษณะ และการอธิบายลักษณะทั่วไป ๘ ลักษณะ และศึกษา
ระเบียบการขยายความของพระอรรถกถาจารย์ ๔๐ ข้อ

๘๐๓ ๒๐๖ เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์ ๓ (๓-๐-๖)


Nettipakarana and Petakopadesapakarana
ศึกษาคัมภีร์เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์ในประเด็นเกี่ยวกับความเป็นมา ความหมาย
โครงสร้าง และเนื้อหา ศึกษาเนื้อหา ๓ ส่วน ได้แก่ หาระ ๑๖ เป็นหลักในการอธิบายด้านพยัญชนะ นยะ ๕
เป็นวิธีอธิบายด้านอรรถะสาสนปัฏฐาน ๑๖ และสาสนปัฏฐาน ๒๘ เป็นการจัดหมวดหมู่พระพุทธพจน์โดย
อาศัยเนื้อหาสาระเป็นสำคัญ วิเคราะห์มูลบท ๑๘ อันเป็นพื้นฐานสำหรับพิจารณาเนื้อความในพระพุทธพจน์

๘๐๓ ๒๐๗ ระเบียบวิธีวิจัยบาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)


Advanced Research Methodology in Pali
ศึกษาวิธีวิทยาการวิจัยทางภาษาบาลีและภาษาศาสตร์ รูปแบบการตีความ การวิเคราะห์ การ
สังเคราะห์ การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปริมาณ และการผสานวิธีตามแนวทางพระพุทธศาสนา ทั้ง
ภาคทฤษฎี และภาคปฏิบัติ กำหนดประเด็นปัญหาวิจัยเกี่ยวกับพระพุทธศาสนาในปัจจุบัน โดยความเห็น ชอบ
ของอาจารย์ประจำวิชา
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๒๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๘๐๓ ๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อวิจัยทางบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)


English for Buddhist Pali Research
ศึกษาหลักการใช้ภาษาอังกฤษขั้นสูง ฝึกทักษะในการฟัง พูด อ่าน สนทนา การเขียนเพื่องาน
วิชาการบาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง การวิเคราะห์ อ่านเอกสารวิชาการภาษาอังกฤษ ศัพท์สำนวนภาษาอังกฤษทาง
พระพุทธศาสนา การแสวงหาองค์ความรู้ใหม่ทางภาษาบาลีพุทธศาสตร์เชิงวิชาการ การนำเทคนิคต่ างๆ ไปใช้
ในการอ่าน เขียนบทความ งานวิจัย และตำราในสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์

๘๐๓ ๓๐๙ หลักการบริหารและภาวะผู้นำตามแนวบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)


Principle of Administration and Leadership Based on Buddhist Pali Studies
ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ห ลัก การบริ ห ารและภาวะผู ้น ำตามแนวบาลี พ ุท ธศาสตร์ ท ี่ ม ีป รากฏใน
พระไตรปิฎก ทั้งในระดับครอบครัว ญาติพี่น้อง สังคม การทำงาน และการปกครองในระดับต่าง ๆ เพื่อนำ
หลักการในพระไตรปิฎกมาประยุกต์ใช้ชีวิตประจำวัน และทำวิจัยเพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน

๘๐๓ ๓๑๐ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์สมัยใหม่ ๓ (๓-๐-๖)


Buddhist Pali Studies and Modern Sciences
ศึกษาวิเคราะห์บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์สมัยใหม่ที่ครอบคลุมวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์
และมนุษยศาสตร์ โดยวิเคราะห์ เปรียบเทียบ และการประยุกต์ เพื่ออธิบายคำสอนทางพระพุทธศาสนา และ
วิเคราะห์ประเด็นปัญหาที่ควรนำมาศึกษาวิจัยต่อยอด

๘๐๓ ๓๑๑ สัมมนาองค์ความรู้ด้านบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)


Buddhist Pali Studies Seminar
ศึ ก ษาความรู ้ เ กี ่ ย วกั บ พุ ท ธศาสนาบาลี ภาพรวมพระพุ ท ธศาสนา ความสำคั ญ ทาง
ประวัติศาสตร์ คัมภีร์บาลีที่สำคัญของฝ่ายบาลีเถรวาทและผู้แต่งคัมภีร์ อภิปรายการจัดหมวดหมู่คำสอนใน
นิกายเถรวาท และมหายาน คำสอนพระวินัย พระสูตร พระอภิธรรม หลักธรรมที่เป็นประเด็นปัญหาการ
ตีความในปัจจุบัน และการค้นพบองค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมทางด้านพระพุทธศาสนาของนักวิชาการ

๘๐๓ ๓๑๒ บาลีพระวินัยปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)


Advanced Pali Study of Vinayapitaka
ศึกษาเชิงวิเคราะห์บทบาลีในพระวินัยปิฎก ในเชิงหาเหตุผล จุดมุ่งหมาย สภาวธรรม ด้วยวิธี
จำแนกประโยค สัมพันธ์ประโยค วิเคราะห์องค์ธรรมของศัพท์ ลักษณะอุปจาระและนยะ รวมทั้งอธิบายศัพท์
และอรรถตามหลักหาระ ๑๖ และนยะ ๕ เป็นต้น

๘๐๓ ๓๑๓ บาลีพระสุตตันตปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)


Advanced Pali Study of Suttantapitaka
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๒๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ศึกษาเชิงวิเคราะห์บทบาลีในพระสุตตันตปิฎก ในเชิงหาเหตุผล จุดมุ่งหมาย สภาวธรรม ด้วย


วิธีจำแนกประโยค สัมพันธ์ประโยค วิเคราะห์องค์ธรรมของศัพท์ ลักษณะอุปจาระและนยะ รวมทั้งอธิบายศัพท์
และอรรถตามหลักหาระ ๑๖ และนยะ ๕ เป็นต้น

๘๐๓ ๓๑๔ บาลีพระอภิธรรมปิฎกชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)


Advanced Pali Study of Abhidhammapitaka
ศึกษาเชิงวิเคราะห์บทบาลีในพระอภิธรรมปิฎก ในเชิงหาเหตุผล จุดมุ่งหมาย สภาวธรรม
ด้วยวิธีจำแนกประโยค สัมพันธ์ประโยค วิเคราะห์องค์ธรรมของศัพท์และวินิจฉัยลักขณาทิจตุกกะเป็นต้น
ศึกษาลักษณะอุปจาระและนยะ รวมทั้งอธิบายศัพท์และอรรถตามหลักหาระ ๑๖ และนยะ ๕ เป็นต้น

๘๐๓ ๓๑๕ สัมมนาคัมภีร์สัททนีติ ๓ (๓-๐-๖)


Seminar on Saddanīti Scripture
สัมมนาหลักภาษาบาลีช ั้นสูงตามแนวคัมภีร์ส ัททนีติทั้งด้านบทบาลี รากศัพท์และสูตร
ไวยากรณ์ โดยวิเคราะห์รากศัพท์ที่มีใช้ในบาลีพระไตรปิฎกในคัมภีร์สัททนีติ ธาตุมาลา วิเคราะห์บทบาลี
ในสัททนีติ ปทมาลา และ วิเคราะห์สูตรไวยากรณ์ในคัมภีร์สัททนีติ สุตตมาลา

๘๐๓ ๓๑๖ ศึกษาอิสระบาลีพุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖)


Independent Study on Buddhist Pali Studies
ศึกษาบาลีพุทธศาสตร์ในหัวข้อที่นักศึกษาเลือกเอง โดยปรึกษาจากอาจารย์และประเมินผล
โครงการโดยอาจารย์ นิสิตและอาจารย์จัดทำแผนการศึกษาของโครงการเกี่ยวกับบาลีพุทธศาสตร์ คัมภีร์
พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา และปกรณ์วิเสสอื่น ๆ

๘๐๓ ๓๑๗ อักษรจารึกพระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖)


Scripts on Pali Tipitaka
ศึกษาอักษรต่างๆ ที่ใช้จารึกในพระไตรปิฎก คือ อักษรโรมัน เทวนาครี พม่า มอญ ขอม ธรรม
ล้านนา ธรรมอีสาน และอักษรสิงหล ให้สามารถอ่านออกเขียนได้

๘๐๓ ๓๑๘ หลักพุทธสุนทรียศาสตร์ด้านภาษาบาลี ๓ (๓-๐-๖)


Buddhist Aesthetics Principle on Pali
ศึกษาหลักพุทธสุนทรียะ ทฤษฎีรสทางวรรณคดีบาลี หลักการแต่งฉันท์ในคัมภีร์อลังการะ
การใช้คำบาลีให้ไพเราะสละสลวย แสดงคุณและโทษของคำ โวหาร การร้อยแก้วและร้อยกรอง วิเคราะห์
ตัวอย่างการใช้คำตามหลักสุนทรียศาสตร์จากบาลีพระไตรปิฎก อรรถกถาและคัมภีร์สำคัญอื่น ๆ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๒๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๘๐๓ ๓๑๙ เปรียบเทียบบาลีและสันสกฤต ๓ (๓-๐-๖)


Comparison of Pali and Sanskrit
ศึกษาเปรียบเทียบบาลีกับสันสกฤต โดยเปรียบเทียบรากศัพท์ การสร้างคำกริยา คำนาม
ไวยากรณ์และวิธีใช้จากคัมภีร์กัจจายนะ โมคคัลลานะ สัททนีติ และคัมภีร์ปาณินิ

๘๐๓ ๓๒๐ การแปลและการสื่อสารบาลีชั้นสูง ๓ (๓-๐-๖)


Advanced Pali Translation and Communication
ศึกษาทฤษฎีและหลักการในแปลตามหลักภาษาศาสตร์ เปรียบเทียบให้เห็นการถ่ายทอด
ภาษาบาลีเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาบาลี โดยอาศัยตัวอย่างจากบาลีพระไตรปิฎก ศึกษาการแปล
แต่งเรียงความภาษาบาลี เพื่อการนำเสนอบทความและผลงานทางภาษาบาลี

๘๐๓ ๓๒๑ อุปจาระและนยะในภาษาบาลี ๓ (๓-๐-๖)


Upacāra and Naya in Pali Language
ศึกษาการใช้คำพูดโดยอ้อมในภาษาบาลีตามหลักอุปจาระ ๑๒ ได้แก่ การณูปจาระ ผลูปจาระ
สทิสูปจาระ ฐานูปจาระ เป็นต้น และศึกษาวิธีการที่จะทำให้รู้ความหมายของพระบาลีได้อย่างชัดเจนตามหลัก
นัย ๔๐ หรือ นัย ๕๕ ได้แก่ ปัจจาสันนนัย ปัจจาสัตตนัย ปธานนัย อุปลักขณนัย นิทัสสนนัย เป็นต้น

๘๐๓ ๓๒๒ งานนิพนธ์สำคัญทางพระพุทธศาสนา ๓ (๓-๐-๖)


Selected Pali Texts of Buddhism
ศึกษางานนิพนธ์ภาษาบาลีที่สำคัญทางพระพุทธศาสนา เช่น มิลินทปัญหา วิมุตติมรรค
วิสุทธิมรรค มังคลัตถทีปนี ชินาลังการ โดยเน้นให้นิสิตมีความรู้ในศัพท์สำนวนวิชาการทางพระพุทธศาสนา
รวมทั ้ ง ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ ร ู ป แบบการแต่ ง คั ม ภี ร ์ โครงสร้ า ง เนื ้ อ หา และองค์ ค วามรู ้ ใ นงานนิ พ นธ์ ท าง
พระพุทธศาสนาเรื่องนั้น ๆ เพื่อประโยชน์ในการค้นคว้าข้อมูลประกอบการทำวิจัย

๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์


Dissertation
แผน ๒.๑ มี ๓๖ หน่วยกิต แผน ๒.๒ มี ๔๘ หน่วยกิต
โดยมีลำดับขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้
ระยะที่ ๑ ให้ผู้เรียนนำเสนอโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ โดยการกำหนดหัวข้อ ความเป็นมาของ
ปัญหา วัตถุประสงค์ วิธีการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ระยะที่ ๒ นิสิตต้องส่งงาน ๓ บท เพื่อสอบหัวข้อ
ระยะที่ ๓ ส่งเล่มครบสมบูรณ์ เพื่อสอบดุษฎีวิจารณ์ สอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๒๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum mapping)


• ความรับผิดชอบหลัก  ความรับผิดชอบรอง
ด้านความรู้ ด้านทักษะ ด้านจริยธรรม ด้านลักษณะบุคคล
รายวิชา
๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๔ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓
หลักสูตรแผน ๒.๑
หมวดวิชาบังคับ ๙ หน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๑ บาลีพระไตรปิฎกชัน้ สูง • •
๘๐๓ ๑๐๒ วรรณคดีบาลีและสันสกฤตชัน้ สูง • •
๘๐๓ ๒๐๕ อรรถกถาสังวัณณนาชั้นสูง • •
วิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต ๑๒ หน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๓ วิธีจัดเก็บข้อมูลและสถิติเพื่อการวิจัย • •
๘๐๓ ๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อวิจยั ทางบาลีพุทธศาสตร์ • •
๘๐๓ ๓๐๙ หลักการบริหารและภาวะผูน้ ำตามแนวบาลีพุทธศาสตร์ • •
๘๐๓ ๓๑๐ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์สมัยใหม่ • •
วิชาเอก นับหน่วยกิต ๖ หน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๔ สัททาวิเสสบาลีชนั้ สูง • •
๘๐๓ ๒๐๗ ระเบียบวิธวี ิจยั บาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง • •
วิชาเอกไม่นับหน่วยกิต
๘๐๓ ๒๐๖ เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์ • •
๘๐๓ ๓๑๑ สัมมนาองค์ความรู้ด้านบาลีพุทธศาสตร์ • •
๘๐๓ ๓๒๑ อุปจาระและนยะในภาษาบาลี • •
๘๐๓ ๓๒๒ งานนิพนธ์สำคัญทางพระพุทธศาสนา • •
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๒๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

วิชาเลือก เลือกเรียน จำนวน ๑๒ หน่วยกิต


๘๐๓ ๓๑๒ บาลีพระวินยั ปิฎกชั้นสูง • •
๘๐๓ ๓๑๓ บาลีพระสุตตันตปิฎกชั้นสูง • •
๘๐๓ ๓๑๔ บาลีพระอภิธรรมปิฎกชั้นสูง • •
๘๐๓ ๓๑๕ สัมมนาคัมภีรส์ ัททนีติ • •
๘๐๓ ๓๑๖ ศึกษาอิสระบาลีพุทธศาสตร์ • •
๘๐๓ ๓๑๗ อักษรจารึกพระไตรปิฎก • •
๘๐๓ ๓๑๘ หลักพุทธสุนทรียศาสตร์ด้านภาษาบาลี • •
๘๐๓ ๓๑๙ เปรียบเทียบบาลีและสันสกฤต • •
๘๐๓ ๓๒๐ การแปลและการสื่อสารบาลีชั้นสูง • •
ดุษฎีนิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต
๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนพิ นธ์ • • • • • • • • • • • • • •
หลักสูตรแผน ๒.๒
หมวดวิชาบังคับ ๙ หน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๑ บาลีพระไตรปิฎกชั้นสูง • •
๘๐๓ ๑๐๒ วรรณคดีบาลีและสันสกฤตชัน้ สูง • •
๘๐๓ ๒๐๕ อรรถกถาสังวัณณนาชั้นสูง • •
วิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต ๑๒ หน่วยกิต
๘๐๓ ๑๐๓ วิธีจัดเก็บข้อมูลและสถิติเพื่อการวิจัย • •
๘๐๓ ๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อวิจยั ทางบาลีพุทธศาสตร์ • •
๘๐๓ ๓๐๙ หลักการบริหารและภาวะผูน้ ำตามแนวบาลีพุทธศาสตร์ • •
๘๐๓ ๓๑๐ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์สมัยใหม่ • •
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๒๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

วิชาเอก นับหน่วยกิต ๑๒ หน่วยกิต


๘๐๓ ๑๐๔ สัททาวิเสสบาลีชนั้ สูง • •
๘๐๓ ๒๐๖ เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์ • •
๘๐๓ ๒๐๗ ระเบียบวิธีวิจัยบาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง • •
๘๐๓ ๓๑๑ สัมมนาองค์ความรู้ด้านบาลีพุทธศาสตร์ • •
วิชาเลือก เลือกเรียน จำนวน ๑๒ หน่วยกิต
๘๐๓ ๓๑๒ บาลีพระวินยั ปิฎกชั้นสูง • •
๘๐๓ ๓๑๓ บาลีพระสุตตันตปิฎกชั้นสูง • •
๘๐๓ ๓๑๔ บาลีพระอภิธรรมปิฎกชั้นสูง • •
๘๐๓ ๓๑๕ สัมมนาคัมภีรส์ ัททนีติ • •
๘๐๓ ๓๑๗ อักษรจารึกพระไตรปิฎก • •
๘๐๓ ๓๑๘ หลักพุทธสุนทรียศาสตร์ด้านภาษาบาลี • •
๘๐๓ ๓๑๙ เปรียบเทียบบาลีและสันสกฤต • •
๘๐๓ ๓๒๐ การแปลและการสือ่ สารบาลีชั้นสูง • •
๘๐๓ ๓๒๑ อุปจาระและนยะในภาษาบาลี • •
๘๐๓ ๓๒๒ งานนิพนธ์สำคัญทางพระพุทธศาสนา • •
ดุษฎีนิพนธ์ ๔๘ หน่วยกิต
๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนพิ นธ์ • • • • • • • • • • • • • •
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๒๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

หมวดที่ ๔
การจัดกระบวนการเรียนรู้

๑. ระบบการจัดการศึกษา
๑.๑. ระบบ
ระบบทวิภาค โดยหนึ่งปีการศึกษาแบ่งออกเป็น ๒ ภาคการศึกษาปกติ ๑ ภาคการศึกษาปกติ
มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๑๕ สัปดาห์ หลักสูตรอาจจัดการศึกษาภาคฤดูร้อนได้อีก ๑ ภาคการศึกษา
โดยมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า ๖ สัปดาห์ หรือเป็นไปตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย หรือมติคณะกรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร
นิสิตต้องผ่านเกณฑ์การสอบวัดคุณสมบัติ
๑.๑.๑ นิสิตแผน ๒.๑ และ แผน ๒.๒ ต้องสอบวัดคุณสมบัติด้านบทความวิชาการ จำนวน ๒
เรื่อง และสรุปรายงานจัดกิจกรรม/การพัฒนา/เผยแผ่ เกี่ยวกับภาษาลี จำนวน ๑ เรื่อง ส่วนระเบียบ
ปฏิบัติอื่นๆ ให้ถือปฏิบัติตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วย
เรื่องการสอบวัดคุณสมบัตินิสิตหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต
๑.๑.๒ นิสิตแผน ๒.๑ และ แผน ๒.๒ ต้องสอบวัดคุณสมบัติด้านบทความ จำนวน ๒ ชิ้น และ
สรุปรายงานจัดกิจกรรม/การพัฒนา/เผยแผ่ เกี่ยวกับภาษาลี จำนวน ๑ ชิ้น โดยมีอาจารย์ที่ปรึกษา
โครงการกิจกรรมที่ได้รับแต่งตั้งให้คำปรึกษาอย่างเป็นทางการจากศูนย์บัณฑิตศึกษาหรือผู้อำนวยการ
โครงการหลักสูตร ส่วนระเบียบปฏิบัติอื่นๆ ให้ถือปฏิบัติตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหา
จุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยเรื่องการสอบวัดคุณสมบัตินิสิตหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต
๑.๑.๓ นิสิตแผน ๒.๑ แผน ๒.๒ ศึกษาครบทุกรายวิชาที่กำหนดในหลักสูตร และผ่านตาม
เกณฑ์การสอบวัดคุณสมบัติตามข้อ ๑.๑.๑ และ ๑.๑.๒ จึงจะมีสิทธิ์เสนอโครงร่างดุษฎีนิพนธ์เพื่อขออนุมัติ
ลงทะเบียนทำดุษฎีนิพนธ์ได้
๑.๑.๔ นิสิตแผน ๒.๑ และ แผน ๒.๒ ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัย
กำหนด หรือสอบผ่าน MCU-GET หรือ ผ่านการเรียนในหลักสูตรภาษาอังกฤษ MCU 005 และ MCU 006
จัดโดยสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๑.๑.๕ นิสิตแผน ๒.๑ และ แผน ๒.๒ ต้องเลือกสอบภาษาต่างประเทศอีก ๑ ภาษา คือ
ภาษาบาลี, ภาษาสันสกฤต, ภาษาเยอรมัน, ภาษาญี่ปุ่น, ภาษาจีน, ภาษาฝรั่งเศส หรือภาษาฮินดี, นิสิตชาว
ต่างประเทศที่จบการศึกษาระดับปริญญาโทจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ สามารถเลือกภาษาไทยเป็น
ภาษาต่างประเทศ
๑.๑.๖ นิสิตแผน ๒.๑ และ แผน ๒.๒ ต้องปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานรวมสะสมจำนวน ๔๕
วัน ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
๑.๑.๗ ระบบการศึกษาในเรื่องอื่นๆ ให้นำข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัยว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษามาใช้โดยอนุโลม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๒๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๑.๒. การจัดการศึกษาภาคฤดูร้อน
ไม่มี
๑.๓. การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี

๒. การดำเนินการหลักสูตร
วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน
ภาคการศึกษาที่ ๑ เดือน มิถุนายน – เดือนตุลาคม
ภาคการศึกษาที่ ๒ เดือน พฤศจิกายน – เดือนมีนาคม
เรี ย นวั น เวลาปกติ วั น จั น ทร์ – ศุ ก ร์ และเสาร์ - อาทิ ต ย์ ทั ้ ง นี ้ ใ ห้ เ ป็ นไปตามประกาศ
มหาวิทยาลัยฯ
๓. รูปแบบการจัดการเรียนการสอน
- จัดการศึกษาแบบชั้นเรียน
- แบบทางไกลผ่านสื่อแพร่ภาพและเสียงเป็นสื่อหลัก
- แบบทางไกลอิเล็กทรอนิกส์เป็นสื่อหลัก (E-learning)
- แบบทางไกลอินเทอร์เน็ต

๔. การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามสถาบันอุดมศึกษา
ตามระเบียบของมหาวิทยาลัย
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๓๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

หมวดที่ ๕
ความพร้อมและศักยภาพในการบริหารจัดการหลักสูตร
๑. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
๑.๑ สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ได้กำหนดวิสัยทัศน์
หนึ่งในหลาย ๆ ข้อ คือ มุ่งสร้างคุณภาพชีวิตและสุขภาวะที่ดีสำหรับคนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็นคนที่
สมบูรณ์มีวินัยใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดีรับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรมและ
คุณธรรม เป็นต้น โดยกำหนดเป็นกรอบวิสัยทัศน์ว่า “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยื น เป็นประเทศพัฒนา
แล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
การพัฒนาหลักสูตรทั้งในและนอกระบบจึงมีความจำเป็นต้องทำให้หลากหลายมีเป้าหมายสอดคล้อง
กับพัฒนาการและบูรณาการเรื่องศีลธรรม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจใน
รากเหง้าของวัฒนธรรมที่ดีของชาติ และเรียนรู้การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข
๑.๒ สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
การเลื่อนไหลของวัฒนธรรมต่างชาติที่เข้าสู่ประเทศไทยผ่านสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำให้
ประสบปัญหาวิกฤตค่านิยม จริยธรรม และพฤติกรรมเชื่อมโยงถึงการดำเนินชีวิต ความประพฤติความคิด
ทัศนคติและคุณธรรมของคนในสังคม ประกอบกับสถาบันทางสังคม เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันศาสนา
และสถาบันการศึกษาได้ดำเนินบทบาทตามภาระหน้าที่ยังไม่ครอบคลุม สถาบันการศึกษา ให้ความสำคัญกับ
การพัฒนาคุณธรรมของผู้เรียนไม่มากเท่าที่ควรสถาบันศาสนายังไม่สามารถพัฒนาบุคลากรยังซึ่งมีอยู่มากมาย
ไม่เต็มที่ และขาดความสอดคล้องกับภาวะปัจจุบัน ดังนั้นจึงควรมีหลักสูต รการเรียนการสอนที่แสดงรากเหง้า
วัฒ นธรรมไทยที่มีความหลากหลายโดดเด่น พัฒ นาบุคลากรทางศาสนาให้มีความรู้ครอบคลุม ทางด้ า น
วัฒนธรรมศาสนาสามารถรักษาสืบทอดเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๒. ผลกระทบจาก ข้อ ๑ ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน


๒.๑ การพัฒนาหลักสูตร
ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัตน์ จำเป็นต้องวางแผนและพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับแผนยุทธศาสตร์
การพั ฒ นาคุ ณ ภาพคนและสั ง คมไทยสู ่ส ัง คมแห่ งภูม ิ ปั ญ ญาและการเรีย นรู้ ที ่ บ ู ร ณาการเรื่ อ งศีล ธรรม
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจในหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาที่เป็นรากเหง้า
แห่งวัฒนธรรมของสังคมไทย โดยการเรียนรู้และวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่จากบาลีพระไตรปิฎก ให้เกิดความ
เข้าใจลึกซึ้ง

๒.๒ ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนการวิจัยคัมภีร์บาลีพระไตรปิฎก โดยมุ่งเน้นสร้างองค์ความรู้ในการ
รักษาสืบทอดและเผยแผ่หลักพุทธธรรม มุ่งพัฒนาบุคลากรของสถาบันศาสนาให้มีความรู้ความสามารถในการ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๓๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

สอนธรรมนำปฏิบัติ เพื่อพัฒนาสติปัญญาและคุณธรรม ตามแผนและนโยบายของมหาวิทยาลัย ซึ่ง สอดคล้อง


กับพันธกิจของสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย คือ ผลิตบัณฑิต วิจัยและพัฒนา
ส่งเสริมพระพุทธศาสนาบริการวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุงศิลปวัฒนธรรม

๓. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน
๓.๑ กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น
มีการเชิญอาจารย์จากคณะพุทธศาสตร์ หรือจากบัณฑิตวิทยาลัย มาเป็นผู้สอนหรือผู้ร่วมสอนในบาง
รายวิชาที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาบาลีพระไตรปิฎกและหลักธรรมในพุทธศาสนา รวมทั้งมีการใช้อุปกรณ์
ประกอบการเรียนการสอน ร่วมกันกับหลักสูตรเหล่านี้ด้วย
๓.๒ กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ภาควิชา/หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน
ไม่มี
๓.๓ การบริหารจัดการหลักสูตร
การบริหารจัดการหลักสูตรเป็นแบบ สาขาวิชาเดี่ยว มีเป้าหมายวัตถุประสงค์เป็นไปตามคำอธิบาย
ลักษณะกระบวนวิชา โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร ประสานงานกับอาจารย์ผู้แทนจากสาขาวิชาอื่นที่
เกี่ยวข้องด้านเนื้อหาสาระ การจัดตารางเรียนและการสอบ โดยความร่วมมือในการประสานงานกับสาขาวิชา
อื่นนั้น เป็นการเปิดโอกาส มิได้กำหนดเฉพาะเจาะจงกับสาขาวิชาใดโดยเฉพาะแต่ขึ้นอยู่กับความจำนงของ
หลักสูตร

๔. ชื่อ สกุล เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์


๔.๑ อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
ตำแหน่ง
ลำดับ ชื่อ-ฉายา- คุณวุฒิ/ สำเร็จการศึกษาจาก ปีที่สำเร็จ
ทาง
ที่ นามสกุล สาขาวิชา สถาบัน การศึกษา
วิชาการ
พระมหาโกมล กมโล รองศาสตรา ปร.ด. (สันสกฤต มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๖๔
รศ.ดร. จารย์ ศึกษา)
3251100282xxx สาขาวิชา ศศ.ม. (สันสกฤต) มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๔๘

ภาษาบาลี พธ.บ. (บาลีพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๔๒
และสันสกฤตศาสตร์) ราชวิทยาลัย
ป.ธ. ๘ (ภาษาบาลี) กองบาลีสนามหลวง ๒๕๕๐
รศ.ดร. เวทย์ รองศาสตรา พธ.ด. (บาลีพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๖๐
บรรณกรกุล จารย์ ศาสตร์) ราชวิทยาลัย
3350600461xxx สาขาวิชา ศษ.ม. (ประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๕๔๓
๒ ภาษาบาลี ศึกษา)
พธ.บ. (ปรัชญา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๓๔
ราชวิทยาลัย
ป.ธ. ๙ (ภาษาบาลี) ๒๕๓๕
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๓๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

กองบาลีสนามหลวง

ดร.สุภีร์ ทุมทอง อาจารย์ พธ.ด. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๖๒


3321200281xxx (พระพุทธศาสนา) ราชวิทยาลัย
พธ.ม. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๕๔

(พระพุทธศาสนา) ราชวิทยาลัย
วศ.บ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๒๕๔๐
(วิศวกรรมศาสตร์)

๔.๒ อาจารย์ประจำหลักสูตร
ลำดับ ชื่อ-ฉายา- ตำแหน่ง คุณวุฒิ/ สำเร็จการศึกษาจาก ปีที่สำเร็จ
ที่ นามสกุล ทางวิชาการ สาขาวิชา สถาบัน การศึกษา
พระมหาโกมล กมโล รอง ปร.ด. (สันสกฤต มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๖๔
รศ.ดร. ศาสตราจารย์ ศึกษา)
3251100282xxx สาขาวิชา ศศ.ม. (สันสกฤต) มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๔๘
๑ ภาษาบาลีและ พธ.บ. (บาลีพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๔๒
สันสฤต ศาสตร์) ราชวิทยาลัย
ป.ธ. ๘ (ภาษา กองบาลีสนามหลวง ๒๕๕๐
บาลี)
รศ.ดร. เวทย์ รอง พธ.ด. (บาลีพุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๖๐
บรรณกรกุล ศาสตราจารย์ ศาสตร์) ราชวิทยาลัย
3350600461xxx สาขาวิชา ศษ.ม. (ประชากร มหาวิทยาลัยมหิดล ๒๕๔๓
๒ ภาษาบาลี ศึกษา) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๓๔
พธ.บ. (ปรัชญา) ราชวิทยาลัย
ป.ธ. ๙ (ภาษา กองบาลีสนามหลวง ๒๕๓๕
บาลี)
ดร.สุภีร์ ทุมทอง อาจารย์ พธ.ด. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๖๒
3321200281xxx (พระพุทธศาสนา) ราชวิทยาลัย
พธ.ม. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๕๔

(พระพุทธศาสนา) ราชวิทยาลัย
วศ.บ. มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๒๕๔๐
(วิศวกรรมศาสตร์)
พระธรรมวชิราจารย์, รอง พธ.ด. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๕๘
รศ.ดร. (สุชาติ กิตฺ- ศาสตราจารย์ (พระพุทธศาสนา) ราชวิทยาลัย
ติปญฺโ /หวลจิตต์) สาขาวิชา ศศ.ม. (ภาษา มหาวิทยาลัยศิลปากร ๒๕๔๖
๔ 3220100387xxx สันสกฤต สันสกฤต) มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๓๕
พธ.บ. (ปรัชญา) ราชวิทยาลัย
กองบาลีสนามหลวง ๒๕๒๘
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๓๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ป.ธ. ๘ (ภาษา
บาลี)
พระครูปลัดสัมพัฒน อาจารย์ พธ.ด. (วิปัสสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๖๕
ธรรมาจารย์ (นิรันดร์ ภาวนา) ราชวิทยาลัย
อภิปญฺโญ/ศิรริ ัตน์), พธ.ด. (พุทธ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๖๒
ดร. จิตวิทยา) ราชวิทยาลัย

3689900694xxx พธ.ม. (วิปัสสนา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๕๕
ภาวนา) ราชวิทยาลัย
พธ.บ. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ ๒๕๕๐
(ภาษาอังกฤษ) ราชวิทยาลัย
รศ. ดร.วิโรจน์ รอง พธ.ด มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าราช ๒๕๕๖
คุ้มครอง ศาสตราจารย์ (พระพุทธศาสนา) วิทยาลัย
3740300091xxx สาขาวิชา พธ.ม. ๒๕๔๙

ภาษาบาลีและ (พระพุทธศาสนา) มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าราช
สันสฤต ป.ธ. ๙ (ภาษา วิทยาลัย
บาลี) แม่กองบาลีสนามหลวง ๒๕๓๘
ผศ.ดร.ธานี สุวรรณ ผู้ช่วย พธ.ด. มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าราช ๒๕๕๙
ประทีป ศาสตราจารย์ (พระพุทธศาสนา) วิทยาลัย
3720500269xxx สาขาวิชา ศน.ม . (พุทธ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช ๒๕๔๘
๗ ศาสนาและ ศาสนาและ วิทยาลัย
เทววิทยา ปรัชญา) กองบาลีสนามหลวง ๒๕๓๙
ป.ธ. ๙ (ภาษา
บาลี)
ผศ.ดร.นวลวรรณ ผู้ช่วย พธ.ด. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาราช ๒๕๕๖
พูนวสุพลฉัตร ศาสตราจารย์ (พระพุทธศาสนา) วิทยาลัย
3409900643xxx สาขาวิชา M.A. (Applied Western Michigan ๒๕๓๓

ศาสนาและ Economics) University, USA
เทววิทยา วท.บ. (พยาบาล มหาวิทยาลัยขอนแก่น ๒๕๒๘
และผดุงครรภ์)
ดร. ชัยชาญ ศรีหานู อาจารย์ Ph.D. Dr.B.R .Ambedkar ๒๕๕๔
3302000070xxx (Philosophy) University, India
M.A.(Indian Banaras Hindu University, ๒๕๔๓
Philosophy and India

Religion)
ศน.บ. (ศาสนา มหาวิทยาลัยมหามกุฏราช ๒๕๔๐
และปรัชญา) วิทยาลัย
ป.ธ.๗ (ภาษาบาลี) กองบาลีสนามหลวง ๒๕๓๗
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๓๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๔.๓ อาจารย์พิเศษ
เป็นไปตามที่ คณะกรรมการบริหารหลักสูตร/อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร พิจารณาเห็นสมควร

๕. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี)
ไม่มี
๕.๑ มาตรฐานผลการเรียนรู้ของประสบการณ์ภาคสนาม
ไม่มี
๕.๒ ช่วงเวลา
ไม่มี
๕.๓ การจัดเวลาและตารางสอน
ไม่มี

๖. ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย
๖.๑ คำอธิบายโดยย่อ
การทำดุษฎีนิพนธ์เป็นการทำวิจัยเพื่อความก้าวหน้าทางวิชาการในสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ภายใต้
การดูแลของคณะกรรมการและอาจารย์ที่ปรึกษาซึ่งมีหน้าที่ให้คำปรึกษาและควบคุมการทำดุษฎีนิพนธ์ของ
นิสิตแต่ละ รูป/คน จนแล้วเสร็จพร้อมเรียบเรียงเขียนเป็นดุษฎีนิพนธ์และตีพิมพ์หรือ เผยแพร่ผ่านสื่อทาง
วิชาการหรือวิชาชีพต่างๆ
๖.๒ มาตรฐานผลการเรียนรู้
นิส ิตมีศักยภาพในการเรีย นรู้และสามารถคิดและวิเคราะห์ปัญหาเป็นระบบและมี โดยสามารถ
ประยุกต์ใช้ศาสตร์ในการศึกษาวิเคราะห์สังเคราะห์ข้อมูลทางพระพุทธศาสนา ที่หลากหลายนำมาพัฒนา
จัดทำระบบ นวัตกรรมและสร้างองค์ความรู้ใหม่เพื่อพัฒนานิสิตให้มีศักยภาพในการค้นคว้าประยุกต์บูรณา
การและสร้างเป็นโมเดลองค์ความรู้ใหม่ทางด้านบาลีพุทธศาสตร์ให้มีคุณค่าและเป็นประโยชน์และเป็นแหล่ง
อ้างอิงในการพัฒนาพระพุทธศาสนาชั้นสูงสืบต่อไป
๖.๓ ช่วงเวลา
๖.๓.๑ นิสิตแผน ๒.๑ จะเสนอหัวข้อและโครงร่างดุษฎีนิพนธ์เพื่อขออนุมัติลงทะเบียนทำ
ดุษฎีนิพนธ์ได้เมื่อศึกษารายวิชามาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ภาคการศึกษาปกติ และมีหน่วยกิตสะสมในรายวิชาไม่
น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต โดยนิสิตต้องทำวิทยานิพนธ์ไม่น้อยกว่า ๓๖ หน่วยกิต และต้องศึกษารายวิชาอีกไม่
น้อยกว่า ๑๘ หน่วยกิต
๖.๓.๒ คณะกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์ต้องมีจำนวนไม่น้อยกว่า ๒ ท่าน แต่ไม่เกิน ๓ ท่าน
๖.๓.๓ นิสิตแผน ๒.๑ มีสิทธิขอสอบดุษฎีนิพนธ์ได้เมื่อศึกษารายละเอียดครบตามกำหนด ได้
ค่าระดับเฉลี่ยสะสมในรายวิชาไม่น้อยกว่า ๓.๐๐ และทำดุษฎีนิพนธ์เสร็จสมบูรณ์ โดยใช้เวลาทำดุษฎีนิพนธ์
ไม่น้อยกว่า ๘ เดือน นับจากวันลงทะเบียนทำดุษฎีนิพนธ์
๖.๓.๔ นิสิตหลักสูตรระดับดุษฎีบัณฑิต แผน ๒ ที่ศึกษารายวิชามาแล้วไม่น้อยกว่า ๑ ภาค
การศึกษาปกติ และมีหน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่า ๖ หน่วยกิต มีสิทธิ์เสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์ เพื่อขอ
อนุมัติลงทะเบียนทำวิทยานิพนธ์
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๓๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๖.๔ จำนวนหน่วยกิต
๖.๔.๑ หลักสูตรแผน ๒.๑ จำนวน ๕๔ หน่วยกิต เป็นหลักสูตรเน้นวิจัยเข้าห้องเรียนและทำ
ดุษฎีนิพนธ์ โดยทำวิยานิพนธ์ ๓๖ หน่วยกิต ศึกษารายวิชา ๑๘ หน่วยกิต ศึกษารายวิชาที่ไม่นับหน่วยกิต
จำนวน ๒๔ หน่วยกิต
๖.๔.๒ หลักสูตรแผน ๒.๒ จำนวน ๘๑ หน่วยกิต ผู้เข้าศึกษาที่สำเร็จปริญญาตรี หรือเปรียญ
ธรรม ๙ ประโยค ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติให้เข้าศึกษาเป็นกรณีพิเศษ ต้องศึกษาวิชาไม่น้อยกว่า ๓๓ หน่วย
กิต รายวิชาไม่นับหน่วยกิต จำนวน ๑๒ หน่วยกิต และทำดุษฎีนิพนธ์ซึ่งมีค่าเทียบได้ ๔๘ หน่วยกิต รวม ๘๑
หน่วยกิต
๖.๕ การเตรียมการ
หลักสูตรได้จัดโครงการกิจกรรมให้คำปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ ตลอดภาคการศึกษาพร้อมทั้งจัดตารางวัน
เวลากำหนดให้นิสิต พบอาจารย์ที่ปรึกษาพร้อมทั้งทำสมุดบันทึกการให้คำปรึกษาเป็นรายบุคคล
๖.๖ กระบวนการประเมินผล
๖.๖.๑ การสอบวัดคุณสมบัติ
นิสิตจะต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติทั้งข้อเขียนและปากเปล่าภายหลังจากที่ศึกษา
รายวิชาครบถ้วน และได้เกรดเฉลี่ยสะสมตลอดหลักสูตรไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ ในการสอบวัดคุณสมบัติ ให้คณบดี
บัณฑิตวิทยาลัยแต่งตั้งอาจารย์อย่างน้อย ๓ คน เป็นคณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติ ทั้งนี้ ให้มีกรรมการอย่าง
น้อย ๑ คน มาจากสาขาวิชาเดียวกันหรือเกี่ยวข้องกัน ซึ่งมิใช่อาจารย์ที่ปรึกษา และให้คณะกรรมการสอบวัด
คุณสมบัติดำเนินการสอบให้เป็นไปด้วยวความเรียบร้อย เกณฑ์ในการสอบผ่านและการสอบแก้ตัวให้เป็นไป
ตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๖
การสอบวัดคุณสมบัติประกอบด้วยหมวดวิชาบังคับ และหมวดวิชาเอกที่นิสิตเลือกเรียน
นิสิตต้องสอบผ่านข้อเขียนทุกหมวดและสอบปากเปล่าจึงมีสิทธินำเสนอหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ การประเมินผลการ
สอบข้อเขียนและปากเปล่าให้เป็นไปตามมาตรฐานการศึกษาและดุลพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
๖.๖.๒ การสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์
๑) นิสิตต้องสอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์ต่อคณะกรรมการที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์และกรรมการสอบ
ดุษฎีนิพนธ์ตามที่โครงการกำหนดขึ้นไม่น้อยกว่า ๕ ท่าน ซึ่งประกอบด้วย
(๑) ประธาน ที่เป็นผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก
(๒) คณะกรรมการควบคุมดุษฎีนิพนธ์
(๓) กรรมการผู้ทรงคุณวุฒิจากภายนอก ๑ ท่าน และภายใน ๑ ท่าน
ทั้งนี้ให้เป็นไปตามระเบียบ ประกาศของบัณฑิตวิทยาลัยและมาตราฐานของการอุดมศึกษา
๒) ให้คณะกรรมการตรวจสอบดุษฎีนิพนธ์ทำการประเมินผลดุษฎีนิพนธ์โดยกำหนดเป็น ๔
ระดับ ดังนี้
ผลการศึกษา ระดับ
ดีเยี่ยม (Excellence) A
ดี (Good) B+
ผ่าน (Passed) B
ตก (Failed) F
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๓๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ส่วนดุษฎีนิพนธ์ที่อยู่ในระหว่างการเรียบเรียงให้แสดงสถานะด้วยสัญลักษณ์ IP (In-progress)
ทั้งนี้ ให้เป็นไปตามระเบียบบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย ว่าด้วยวิธีปฏิบัติ
เกี่ยวกับดุษฎีนิพนธ์ พ.ศ. ๒๕๕๐ หมวดที่ ๖ ข้อที่ ๑๔ (ภาคผนวก ข)
๓) การลงนามของกรรมการตรวจสอบดุษฎีนิพนธ์ในหน้าอนุมัติ อาจกระทำได้เมื่อเห็นสมควร
แต่ประธานคณะกรรมการตรวจสอบดุษฎีนิพนธ์จะลงนามได้ต่อเมื่อดุษฎีนิพนธ์นั้นได้รับการแก้ไขทั้งรูปแบบ
และเนื้อหาเรียบร้อยแล้วเท่านั้น จากนั้นคณบดีบัณฑิตวิทยาลัยจึงลงนามอนุมัติ
๔) ให้ประธานคณะกรรมการตรวจสอบดุษฎีนิพนธ์เสนอผลการประเมินต่อคณบดีบัณฑิต
วิทยาลัย หากมีมติไม่เป็นเอกฉันท์โดยคณะกรรมการเสียงข้างมากมีมติให้ผ่าน ให้รวบรวมใบประเมินผลของ
กรรมการทุกท่าน เพื่อส่งให้คณะกรรมการประจำบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาชี้ขาด เมื่อทราบผลการประเมิน
และนิสิตส่งดุษฎีนิพนธ์ฉบับที่แก้ไขเรียบร้อย บัณฑิตวิทยาลัยจะประกาศผลให้ทราบโดยทั่วกัน
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๓๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

หมวดที่ ๖
คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
๑. คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
๑.๑. หลักสูตร แผน ๒.๑
๑) เป็ น ผู ้ ส ำเร็ จ การศึ ก ษาระดั บปริ ญ ญาโท สาขาวิ ช าบาลี พ ุท ธศาสตร์ สาขาวิ ช าบาลี
สาขาวิชาบาลีสันสกฤต หรือเป็นผู้สำเร็จการศึกษาระดับปริญญาโททุกสาขา จากสถาบันการศึกษาทั้งภายใน
และตางประเทศ ที่ไดรับการรับรองจากคณะกรรมการอุดมศึกษา (สกอ.) โดยมีคุณสมบัติเป็นเปรียญเอก
(ป.ธ.๗, ๘, ๙) และตองมีคุณสมบัติอื่นตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
๒) ได้รับคาระดับเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาโท ไม่ต่ำกวา ๓.๕๐ จากระบบ ๔ คะแนน
ยกเว้นผู้มีประสบการณทำงานติดตอกันเป็นเวลาไมนอยกวา ๒ ปนับแตสำเร็จการศึกษาหรือมีผลงานทาง
วิชาการที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเห็นชอบ
๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษไดตามเกณฑที่มหาวิทยาลัยกำหนด
๔) เปนผูมีรางกายแข็งแรงและไมเปนโรคหรือภาวะอันเปนอุปสรรคในการศึกษา
๕) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาเห็นสมควรใหมีสิทธิเขาศึกษาได
๖) ไมเคยถูกลงโทษใหพนสภาพการเปนนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย
๑.๒ หลักสูตร แผน ๒.๒
๑) ต้ อ งเป็ น ผู ้ จ บเปรี ย ญธรรม ๙ ประโยค หรื อ ผู ้ ส ำเร็ จ การศึ ก ษาระดั บ ปริ ญ ญาตรี
สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ (เกียรตินิยมอันดับหนึ่ง) ซึ่งบัณฑิตวิทยาลัยอนุมัติให้เข้าศึกษาเป็นกรณีพิเศษ
๒) ได้รับค่าเฉลี่ยสะสมในระดับปริญญาตรี ไม่ต่ำกว่า ๓.๕๐ จากระบบ ๔ คะแนน ยกเว้นผู้มี
ประสบการณทำงานติดตอกันเป็นเวลาไมนอยกวา ๒ ป นับแตสำเร็จการศึกษา และผู้จบเปรียญธรรม ๙
ประโยค
๓) มีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑที่มหาวิทยาลัยกำหนด
๔) เปนผูมีรางกายแข็งแรงและไมเปนโรคหรือภาวะอันเปนอุปสรรคในการศึกษา
๕) คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาเห็นสมควรใหมีสิทธิเขาศึกษาได
๖) ไมเคยถูกลงโทษใหพนสภาพการเปนนิสิตบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๓๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๒. นิสิตแรกเข้าและกลยุทธ์ในการดำเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา
ปัญหาของนิสิตแรกเข้า กลยุทธ์ในการดำเนินการแก้ไขปัญหา
- ขาดความรู้พื้นฐานในสาขา จัดการเรียนการสอน คัมภีร์พื้นฐานหลักภาษาบาลี ๔ คัมภีร์ก่อนการ
ความรู้ด้านหลักภาษาบาลี ๔ คัมภีร์หลัก เรียน เพื่อลดทางด้านภาษาบาลี
ไม่เพียงพอต่อการวิเคราะห์บทบาลี
- ทั ก ษะการวิ จ ั ย ประสบการณ์ แ ละ จัดให้มีการปฐมนิเทศนิสิต และจัดโครงการเสริมทักษะด้านการ
ทักษะในการวิจัยรวมทั้งระเบียบวิธีวิจัย สืบค้นข้อมูล จริยธรรมงานวิจัย การวิจัยสำหรับนิสิต ทั้งก่อนเรียน
ทางด้านภาษา และวัฒนธรรม และระหว่างเรียน
- ทักษะภาษาอังกฤษ จัดให้มีการฝึกอบรมทักษะภาษาอังกฤษก่อนเรียน และระหว่างเรียน
อย่างสม่ำเสมอ จนสามารถใช้ในการศึกษาค้นคว้าวิจัยได้ และสื่อสาร
เบื้องต้นได้เป็นอย่างดี
- ทักษะด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ จัดให้มีการฝึกอบรมด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ด้านการเก็บข้อมูล
งานวิจัย การนำเทคโนโลยีมาพัฒนางานวิจัยและสามารถเทคโนโลยี
ในการสื่อสารได้

๓. แผนการรับนิสิตและผู้สำเร็จการศึกษาในระยะ ๕ ปี

แผนการรับนิสิตแผน ๒.๑
จำนวนรับ
ชั้นปีที่
๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐ ๒๕๗๑
๑ ๕ ๕ ๕ ๕ ๕
๒ - ๕ ๕ ๕ ๕
๓ - - ๕ ๕ ๕
จำนวนรวม - ๑๐ ๑๕ ๑๕ ๑๕
คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา - - ๕ ๕ ๕

แผนการรับนิสิตแผน ๒.๒
จำนวนรับ
ชั้นปีที่
๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐ ๒๕๗๑
๑ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
๒ - ๑๐ ๑๐ ๑๐ ๑๐
๓ - - ๑๐ ๑๐ ๑๐
จำนวนรวม - ๒๐ ๓๐ ๓๐ ๓๐
คาดว่าจะสำเร็จการศึกษา - - - ๑๐ ๑๐
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๓๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๔.งบประมาณตามแผน
๔.๑ งบประมาณรายรับ (หน่วย : บาท)

ปีงบประมาณ
รายละเอียดรายรับ
๒๕๖๗ ๒๕๖๘ ๒๕๖๙ ๒๕๗๐ ๒๕๗๑
ค่าบำรุงการศึกษา ๗๐๐,๐๐๐ ๗๕๐,๐๐๐ ๘๐๐,๐๐๐ ๘๕๐,๐๐๐ ๙๐๐,๐๐๐
ค่าลงทะเบียน ๕๐๐,๐๐๐ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐
เงินอุดหนุนจากรัฐบาล ๑,๕๐๐,๐๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐ ๑,๕๐๐,๐๐๐
รวมรายรับ ๒,๗๐๐,๐๐๐ ๓,๒๕๐,๐๐๐ ๓,๘๐๐,๐๐๐ ๔,๓๕๐,๐๐๐ ๔,๔๐๐,๐๐๐

๔.๒ งบประมาณรายจ่าย (หน่วย: บาท)


ประมาณความต้องการในปีงบประมาณ
รายการจ่าย
๒๕๖๒ ๒๕๖๓ ๒๕๖๔ ๒๕๖๕ ๒๕๖๖
งบดำเนินการ
- ค่าตอบแทนบุคลากรประจำ
สายสนับสนุน (๒ x ๑๐,๑๐๐ ๒๔๒,๔๐๐ ๒๔๒,๔๐๐ ๒๔๒,๔๐๐ ๒๔๒,๔๐๐ ๒๔๒,๔๐๐
x ๑๒)
- ค่าตอบแทนวิทยากร
อาจารย์พิเศษ ค่าเดินทาง ค่าที่ ๑,๐๐๐,๐๐๐ ๒,๐๐๐,๐๐๐ ๓,๐๐๐,๐๐๐ ๔,๐๐๐,๐๐๐ ๖,๐๐๐,๐๐๐
พัก
- ค่าจัดซื้อหนังสือและวารสาร ๒๐๐,๐๐๐ ๓๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ ๖๐๐,๐๐๐
งบลงทุน
- ค่าครุภัณฑ์
๒๐๐,๐๐๐ ๓๐๐,๐๐๐ ๔๐๐,๐๐๐ ๕๐๐,๐๐๐ ๖๐๐,๐๐๐
- ค่าที่ดินและสิ่งก่อสร้าง
งบพัฒนาบุคลากร
รวม ๙๔๒,๔๐๐ ๑,๓๔๒,๔๐๐ ๑,๗๔๒,๔๐๐ ๒,๑๔๒,๔๐๐ ๒,๖๔๒,๔๐๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๔๐

หมวดที่ ๗
การประเมินผลการเรียนและเกณฑ์การสำเร็จการศึกษา

๑. การประเมินผลการเรียน
๑.๑ เป็ น ไปตามข้ อ บั ง คั บ มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย ว่ า ด้ ว ยการศึ ก ษาระดั บ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. ๒๕๖๖ ดังนี้
ระดับ A A- B+ B C+ C F
ค่าระดับ ๔.๐๐ ๓.๖๗ ๓.๓๓ ๓.๐๐ ๒.๕๐ ๒.๐๐ ๐

๑.๒ การวัดและการประเมินผู้เรียน จะต้องมีการพิจารณาผลลัพธ์การเรียนรู้ของในแต่ละรายวิชาของ


หลักสูตรซึ่งจะมีวิธีการวัดโดยการให้ความสำคัญกับการวัดและการประเมินจากกลยุทธการสอน เช่น งานที่
ได้รับหมอบหมาย โครงงาน สารนิพนธ์ บทความทางวิชาการ บทวิจารณ์หนังสือ เพื่อสะท้อนผลลัพธ์การเรียนรู้
ในกิจกรรมต่างๆ ที่เกิดขึ้นและเพื่อสร้างความมั่นใจให้กลุ่มผู้มีส่วนได้ส่วนเสียว่าเกณฑ์การตัดสินผลน่าเชื่อถือ
และพร้อมที่จะนำมาสู่การปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนทั้งของผู้สอนและผู้เรียนเพื่อให้หลักสูตรมีผลลัพธ์
การเรียนรู้เป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตรและทำให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตลอดชีวิต

๒. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนิสิต
การกำหนดระบบและกลไกการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ เกิดขึ้นเพื่อแสดงหลักฐานยืนยันหรือ
สนับสนุนว่านิสิตและดุษฎีบัณฑิตทุกรูป/คน มีมาตรฐานผลการเรียนรู้ทุกด้าน เป็นไปตามที่กำหนดไว้ใน
มาตรฐานคุณวุฒิระดับปริญญาเอกสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ โดยมีการทวนสอบจากผู้มีส่วนได้ส่ วนเสียตั้งแต่
นิสิต อาจารย์ ศิษย์เก่าและผู้ใช้บัณฑิต และผลลัพธ์แต่ละกลุ่มนำมาสู่การปรับปรุงพัฒนาหลักสูตรอย่างเป็น
รูปธรรมมีกระบวนการ PDCA ชัดเจน
๒.๑ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนิสิตยังไม่สำเร็จการศึกษา
การทวนสอบในทุกรายวิช า ทั้งภาคทฤษฎี ภาคปฏิบัติ การสัมมนา การทำดุษฎีนิพนธ์ จะต้อง
สอดคล้องกับกลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้โดยให้เป็นความรับผิดชอบของอาจารย์ผู้สอนในการออก
ข้อสอบหรือกำหนดกลไกและกระบวนการสอบ และมีการประเมินแผนการสอนสัมพันธ์กับการประเมินข้อสอบ
การประเมินผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนการสอนจากผลการสอบ โดยคณะกรรมการประจำหลักสูตร และ/หรือ
คณะกรรมการผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒิ ท ั้ ง จากภายในและภายนอกสถาบั น รวมถึ ง การประเมิ น อาจารย์ และการ
ประเมินผลการเรียนการสอนโดยนิสิตเอง ส่วนการทวนสอบในระดับหลักสูตร ให้มีระบบประกันคุณภาพ
ภายในของสาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์เอง ระบบประกันคุณภาพภายในระดับคณะ และระบบประกันคุณ ภาพ
ภายในระดับสถาบัน เพื่อดำเนินการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้และรายงานผล ทั้งนี้ผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น
จะต้องเป็นไปตามผลลัพธ์การเรียนรู้ตามมาตรฐานรายวิชาที่กำหนด
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๔๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๒.๒ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนิสิตสำเร็จการศึกษา
การทวนสอบผลลัพธ์รายชั้นปีของนิสิตระหว่างศึกษาเป็นการทวนสอบผลลัพธ์การเรียนรู้ว่าในแต่ระปี
การศึกษานิสิตจะมีศักยภาพหรือสมรรถนทางด้านวิชาการจากผลลัพธ์การเรียนรู้โดยพิจารณาจากรายวิชาและ
องค์ความรู้ที่ได้จากรายวิชาหรือกิจกรรมที่ดำเนินการในแต่ระปีการศึกษาเพื่อแสดงให้เห็นถึงการพัฒนาหรือ
ความก้าวหน้าของนิสิตระหว่างศึกษาในแต่ละปี หากพบปัญหาหรือแนวทางพัฒนาไม่เป็นไปตามผลลัพธ์การ
เรียนรู้ที่กำหนดไว้หลักสูตรจะต้องประชุมเพื่อหารแนวทางปรับปรุงแก้ไขเป็นการแก้ปัญหาก่อนที่นิสิตจะสำเร็จ
การศึกษาและแสดงให้เห็นถึงความก้าวหน้าตลอดจนการพัฒนาด้านความรู้ที่จะเพิ่มขึ้นเป็นลำดับในแต่ละปี
และส่งผลให้เป็นไปตามผลลัพธ์การเรียนรู้ที่หลักสูตรกำหนดอย่างมีประสิทธิภาพ
๒.๓ การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนิสิตสำเร็จการศึกษา
การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนิสิตสำเร็จการศึกษา เน้นการทำวิจัยสัมฤทธิผลของการ
ประกอบอาชีพหรือการศึกษาต่อของดุษฎีบัณฑิต โดยทำการวิจัยอย่างต่อเนื่อง แล้วนำผลที่ได้มาเป็นข้อมูลใน
การประเมินคุณภาพของหลักสูตร การพัฒนาหรือปรับปรุงหลักสูตร และกระบวนการเรียน การสอน โดยมี
หัวข้อการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ ดังต่อไปนี้
๑) สภาวะการได้งานทำดุษฎีบัณฑิต ประเมินจากการได้งานทำตรงตามสาขาหรือในสาขาที่เกี่ยวข้อง
และระยะเวลาในการหางาน โดยทำการประเมินจากดุษฎีบัณฑิตแต่ละรุ่นที่สำเร็จการศึกษา
๒) ตำแหน่งงานและความก้าวหน้าในสายงานของดุษฎีบัณฑิต
๓) ความพึงพอใจของดุษฎีบัณฑิต ต่อความรู้ความสามารถที่ได้เรียนรู้จากหลักสูตร ที่ใช้ในการ
ประกอบอาชีพหรือศึกษาต่อพร้อมกับ เปิดโอกาสให้มีการเสนอข้อคิดเห็นในการปรับปรุงหลักสูตรให้มี
ประสิทธิภาพยิ่งขึ้น
๔) ความพึงพอใจของผู้ใช้ดุษฎีบัณฑิตหรือนายจ้าง พร้อมกับเปิดโอกาสให้มีข้อเสนอแนะต่อสิ่งที่
คาดหวังหรือต้องการจากหลักสูตรในการนำไปใช้ในการปฏิบัติงานในสถานประกอบการ
๕) ความเห็น และข้อเสนอแนะจากอาจารย์พิเศษและผู้ทรงคุณวุฒ ิภายนอก ต่อผลสัมฤทธิ์ทาง
การศึกษาของดุษฎีบัณฑิตที่สำเร็จการศึก ษา กระบวนการพัฒนาการเรียนรู้ องค์ความรู้ และการปรับปรุง
หลักสูตร ให้มีความเหมาะสมกับสถานการณ์ทางการศึกษา และสังคมในปัจจุบันมากยิ่งขึ้น
๖) ผลงานของนิสิตดุษฎีบัณฑิตที่สามารถวัดเป็นรูปธรรมได้ เช่น
- จำนวนผลงานวิจัยที่เผยแพร่
- จำนวนสิทธิบัตรหรืออนุสิทธิบัตร
- จำนวนกิจกรรมเพื่อสังคมและประเทศชาติ
- จำนวนกิจกรรมอาสาสมัครในองค์กรที่ทำประโยชน์เพื่อสังคม

๓. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
แผน ๒.๑ มีเกณฑ์ดังนี้
๑. มีเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า ๖ ภาคการศึกษาปกติ หรือไม่เกินกว่า ๑๒ ภาคการศึกษาปกติ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๔๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๒. สอบผ่านภาษาอังกฤษจากสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (LIMCU)


หรือสถาบันภาษาอื่นที่มหาวิทยาลัยกำหนด และเลือกสอบภาษาต่างประเทศอีก ๑ ภาษา คือ ภาษาบาลี
ภาษาสันสกฤต ภาษาเยอรมัน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน หรือภาษาฝรั่งเศส นิสิตชาวต่างประเทศที่จบการศึกษา
ระดับปริญญาโทจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ สามารถเลือกภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศ
๓. ศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนและถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
๔. ได้หน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
๕. ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ แต้ม
๖. ได้ระดับไม่ต่ำกว่า B ในรายวิชาบังคับและวิชาเอกทุกวิชา และได้รับ S ในกรณีที่หลักสูตร
กำหนดให้วัดผลเป็น S หรือ U
๗. สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ตามที่คณะกรรมบริหารหลักสูตร
กำหนด
๘. นำเสนอดุษฎีนิพนธ์ (Public Hearing) ต่อคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและสาธารณชน
๙. สอบผ่านการประเมินผลดุษฎีนิพนธ์ และส่งดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ ตามที่มหาวิทยาลัย
กำหนด
๑๐. ผลงานดุษฎีน ิพนธ์ห รื อส่ว นหนึ ่ง ของดุษฎีนิ พนธ์ ต้ องได้รั บการตีพ ิม พ์ ห รื อ อย่ างน้ อ ย
ดำเนิน การให้ทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ
ระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณา
วารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
๑๑. เกณฑ์อื่น ๆ ต้องปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด (ภาคผนวก ข)

และแผน ๒.๒ มีเกณฑ์ดังนี้


๑. มีเวลาการศึกษาไม่น้อยกว่า ๘ ภาคการศึกษาปกติ หรือไม่เกินกว่า ๑๖ ภาคการศึกษาปกติ
๒. สอบผ่านภาษาอังกฤษจากสถาบันภาษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย (LIMCU)
หรือสถาบันภาษาอื่นที่มหาวิทยาลัยกำหนด และเลือกสอบภาษาต่างประเทศอีก ๑ ภาษา คือ ภาษาบาลี
ภาษาสันสกฤต ภาษาเยอรมัน ภาษาญี่ปุ่น ภาษาจีน หรือภาษาฝรั่งเศส นิสิตชาวต่างประเทศที่จบการศึกษา
ระดับปริญญาโทจากสถาบันการศึกษาในต่างประเทศ สามารถเลือกภาษาไทยเป็นภาษาต่างประเทศ
๓. ศึกษารายวิชาต่าง ๆ ครบถ้วนและถูกต้องตามเงื่อนไขที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
๔. ได้หน่วยกิตสะสมไม่น้อยกว่าที่กำหนดไว้ในหลักสูตร
๕. ได้ค่าระดับเฉลี่ยสะสมไม่ต่ำกว่า ๓.๐๐ จากระบบ ๔ แต้ม
๖. ได้ระดับไม่ต่ำกว่า B ในรายวิชาบังคับและวิชาเอกทุกวิชา และได้รับ S ในกรณีที่หลักสูตร
กำหนดให้วัดผลเป็น S หรือ U
๗. สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) ตามที่คณะกรรมบริหารหลักสูตร
กำหนด
๘. นำเสนอดุษฎีนิพนธ์ (Public Hearing) ต่อคณะกรรมการผู้ทรงคุณวุฒิและสาธารณชน
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๔๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๙. สอบผ่านการประเมินผลดุษฎีนิพนธ์ และส่งดุษฎีนิพนธ์ฉบับสมบูรณ์ ตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด


๑๐. ผลงานดุษฎีน ิพนธ์ห รื อส่ว นหนึ ่ง ของดุษฎีนิ พนธ์ ต้ องได้รั บการตีพ ิม พ์ ห รื อ อย่ างน้ อ ย
ดำเนิน การให้ทั้งหมดหรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ได้รับการตีพิมพ์ในวารสารหรือสิ่งพิมพ์ทางวิชาการ
ระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณา
วารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ
๑๑. เกณฑ์อื่น ๆ ต้องปฏิบัติวิปัสสนากรรมฐานตามที่มหาวิทยาลัยกำหนด
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๔๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

หมวดที่ ๘
การประกันคุณภาพหลักสูตร

๑. การกำกับมาตรฐาน
การบริห ารจัดการหลั กสูตรจัด ให้ ดำเนิ นการตามเกณฑ์ ม าตรฐานหลัก สูตรที ่ กำหนดโดย สกอ.
ตามรายละเอียดต่อไปนี้
๑.๑ จัดให้มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจำนวน ๓ ท่าน ซึ่งมีคุณสมบัติและมีผลงานวิชาการเป็นไป
ตามประกาศคณะกรรมการมาตราฐานอุดมศึกษา เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.
๒๕๖๕ ทำหน้าที่ในการบริหารและพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน การควบคุม
คุณภาพ การติดตามประเมินผล ติดตามประเมินผลและการพัฒนาหลักสูตรตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา
และมีหน้าที่ในการเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์และ/หรืออาจารย์ผู้สอบดุษฎีนิพนธ์ และ/หรืออาจารย์
ผู้สอน
๑.๒ จัดให้มีอาจารย์ประจำหลักสูตร ซึ่งมีคุณสมบัติและมีผลงานวิชาการเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐาน
หลักสูตรตามประกาศคณะกรรมการมาตราฐานอุดมศึกษา เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
พ.ศ. ๒๕๖๕ ทำหน้าที่รับผิดชอบตามพันธกิจของการอุดมศึกษาและปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา มีหน้าที่ ในการเป็น
อาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์และ/หรืออาจารย์ผู้สอบดุษฎีนิพนธ์ และ/หรืออาจารย์ผู้สอน
๑.๓ มีการควบคุมภาระงานอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
ระดับตามประกาศคณะกรรมการมาตราฐานอุดมศึกษา เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.
๒๕๖๕
๑.๔ ผลงานดุษฎีนิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของดุษฎีนิพนธ์ของผู้สำเร็จการศึกษาได้รับการตีพิมพ์หรืออย่าง
น้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการ
อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ เป็นไป
ตามประกาศคณะกรรมการมาตราฐานอุดมศึกษา เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.
๒๕๖๕
๑.๕ จัดให้มีคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตรเพื่อรับผิดชอบในการวางแผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร
อย่างต่อเนื่องทุกๆ ๕ ปี

๒.บัณฑิต
๒.๑ บัณฑิตมีคุณภาพตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ ตามเกรฑ์มาตราฐาน
คุณวุฒิที่กำหนดไว้ เช่น ผลงานวิทยานิพนธ์เป็นผลงานที่สร้างนวัตกรรมและองค์ความรู้ใหม่เพื่อประโยชน์ของ
ประเทศชาติ จำนวนคุณสมบัติอาจารย์ทั้งอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร อาจารย์ประจำหลักสูตร อาจารย์
พิเศษ มีคุณวุฒิ ตำแหน่งทางวิชาการ และผลงานวิจัยเป็นไปตามมาตราฐานคุณวุฒิอุดมศึกษาที่กำหนดใน
ระดับปริญญาเอก ผลลั พธ์การเรียนรู้เป็นไปตามโปรแกรมของหลักสูตรที่ได้กำหนดไว้ ผลงานดุษฎีนิพนธ์
จะต้องตีพิมพ์บทความในวารสารทางวิชาการระดับชาติและยังประกอบด้วย สารนิพนธ์ ๑ เรื่อง
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๔๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๒.๒มีการประเมินความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิต เพื่อวัดผลและควบคุมคุณภาพบัณฑิตให้เป็นไปตาม
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
๒.๓ มีการพัฒนาและส่งเสริม ควบคุมและติดตามให้ผลงานนิสิตและผู้สำเร็จการศึกษาได้รับการ
ตีพิมพ์หรือเผยแพร่ผลงานวิชาการในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการ
อุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทางวิชาการสำหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

๓. นิสิต
๓.๑ มีการวางแผนกระบวนการรับนิสิตอย่างมีระบบ มีกลไก นำไปสู่การปฏิบัติและจัดให้มีการวัดผล
ประเมินผลเพื่อติดตามและนำมาปรับปรุงแก้ไขพัฒนาคุณภาพกระบวนการรับนิสิต โดยกำหนดคุณสมบัติของ
นิสิตให้สอดคล้องกับลักษณะธรรมชาติของหลักสูตร เกณฑ์ในการคัดเลือกมีความโปรงใส ชัดเจนมีเครื่องมือใน
การคัดเลือกนิสิตที่มีความพร้อมสามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่หลักสูตรกำหนด
๓.๒ สำหรับ นิสิตที่มีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ที่กำหนดในการประกาศรับ หลักสูตร มี
กระบวนการในการเตรียมความพร้อมให้กับนิสิตก่อนเข้าศึกษา อย่างมีระบบ มีกลไก นำไปสู่การปฏิบัติและมี
การประเมินผลติดตามเพื่อนำมาพัฒนาปรับปรุงแก้ไขกระบวนการเตรียมความพร้อมให้นิสิตก่อนเข้าการศึกษา
หรือได้รับการพัฒนาจนมีคุณสมบัติครบผ่านเกณฑ์ขั้นต่ำ เพื่อให้สามารถเรียนในหลักสูตรได้จนสำเร็จการศึกษา
๓.๓ มีกระบวนการในการส่งเสริมและพัฒนานิสิต มีการวางแผนการดำเนินงานอย่างเป็นระบบ
มีกลไกที่นำไปสู่การปฏิบัติและมีการประเมินผลเพื่อนำมาปรับปรุงและพัฒนา โดยการจัดกิจกรรมการพัฒนา
ความรู้ในรูปแบบต่างๆ ทั้งกิจกรรมในห้องเรียนและนอกห้องเรียน มีกิจกรรมเสริมสร้างความเป็นพลเมืองที่ดีมี
จิตสำนึกสาธารณะ
๓.๔ มีกระบวนการในการดูแลให้คำปรึกษาจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิชาการ และมีการวางระบบการ
ป้องกันหรือการบริหารจัดการความเสี่ยงของนิสิต เพื่อให้นิสิตสามารถสำเร็จการศึกษาได้ตามระยะเวลาที่
หลักสูตรกำหนด
๓.๕ มี ก ารรั ก ษาอั ต ราความคงอยู ่ อั ต ราความสำเร็ จ การศึ ก ษา โดยการควบคุ ม ติ ด ตามและ
ประเมินผลความพึงพอใจของนิสิตต่อการหลักสูตร และมีการจัดรายงานผลการจัดการข้อร้องเรียนของนิสิต
เพื่อนำมาพัฒนาคุณภาพหลักสูตร
๓.๖ มีการกำหนดระบบการจัดการข้อร้องเรียนของผู้รับบริการ ผู้ร้องเรียนสามารถเสนอข้อร้องเรียน
โดยเขียนข้อเสนอแนะลงในกล่องรับความคิดเห็นหรือโดยวิธีแจ้งโดยตรงกับผู้เกี่ยวข้องหรือโดยวิธีโทรศัพท์
ฯลฯ และข้อร้องเรียนจะส่งไปยังผู้รับผิดชอบเพื่อดำเนินการปรับปรุงแก้ไขและแจ้งกลับให้ผู้ที่ร้องเรียนได้ทราบ

๔. อาจารย์
๔.๑ มีการวางแผนกระบวนการการบริหารและการพัฒนาอาจารย์ โดยการรับอาจารย์ใหม่ต้องมีวุฒิ
การศึกษาระดับปริญญาเอกในสาขาวิชาที่ตรงหรือสาขาที่สัมพันธ์ โดยมีระบบมีกลไกที่นำไปสู่การปฏิบัติและมี
การติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา ในการรับอาจารย์ใหม่ให้สอดคล้องกับสภาพบริบท ปรัชญา วิสัยทัศน์
ของสถาบันและหลักสูตร โดยมีกลไกการคัดเลือกที่เหมาะสมและโปร่งใส
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๔๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๔.๒ มีการวางแผนกระบวนการบริห ารอาจารย์ อย่างมีระบบ มีกลไกที่นำไปสู่การปฏิบัติและ


ประเมินผลเพื่อการพัฒนาคุณภาพของอาจารย์ที่มีคุณสมบัติทั้งเชิงปริมาณและเชิงคุณภาพที่เป็นไปตามเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตรที่กำหนดโดยสำนักงานคณะกรรมการอุดมศึกษา มีการกำหนดบทบาทหน้าที่และความ
รับผิดชอบของอาจารย์ประจำหลักสูตรอย่างชัดเจน และมีความเหมาะสมกับคุณวุฒิ ความรู้ความสามารถ และ
ประสบการณ์ มีระบบการกำหนดภาระงานและแรงจูงใจในการสนับสนุนการจัดการเรียนการสอน การบริหาร
อาจารย์ประจำหลักสูตรมีระเบียบและมีความโปร่งใสชัดเจน
๔.๓ มีร ะบบการส่งเสริมและพัฒ นาอาจารย์ โดยการกำหนดแผนการลงทุน งบประมาณและ
ทรัพยากรและกิจกรรมการดำเนินงาน เพื่อกำกับติดตามคุณภาพของอาจารย์อย่างมีระบบ มีกลไกที่นำไปสู่การ
ปฏิบัติและติดตามประเมินผลเพื่อการพัฒนา มีการจัดสรรงบประมาณในการพัฒนาศักยภาพของอาจารย์
สนับสนุนการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการของอาจารย์ และมีการรักษาอัตราการคงอยู่ของอาจารย์ โดยการ
กำกับควบคุมให้อัตราอาจารย์มีจำนวนเหมาะสมกับจำนวนนิสิตที่รับเข้าในหลักสูตร โดยจัดให้มีการประเมินผล
ความพึงพอใจของอาจารย์ต่อการบริหารหลักสูตร
๔.๔ สำหรับความก้าวหน้าในการขอตำแหน่งทางวิชาการ วิทยาเขตเปิดโอกาสให้อาจารย์ทุกคนที่มี
คุณสมบัติพร้อมที่จะขอตำแหน่งทางวิชาการได้โดยมีหน่วยงานรับผิดชอบในด้านกำหนดผลงานการจัดส่ง
เอกสารไปยังมหาวิทยาลัยต้นสังกัด การจัดหาผู้อ่านผลงาน ปัจจุบันมีอาจารย์ดำรงตำแหน่งทางวิชาการ ร้อย
ละ ๘๕.๗๑ ของอาจารย์ประจำหลักสูตรทั้งหมด

๕. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน


๕.๑ มีกระบวนการออกแบบหลักสูตรตามเกณฑ์มาตราฐานคุณภาพการศึกษาปีการศึกษา ๒๕๖๕
โดยมีการวิเคราะห์สถานะการเปลี่ยนแปลงของประเทศ วิสัยทัศน์ พันธกิจ ทิศทางการพัฒนาของมหาวิทยาลัย
และวิทยาเขต รวมทั้งการวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาเป็นผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร
โดยนำข้อมูลไปกำหนดวัตถุประสงค์ ผลลัพธ์การเรียนรู้ (PLO) ทั้ง ๔ ด้าน มีการจัดทำ PLO YLO CLO ทั้งนี้มี
การนำข้อมูลไปกำหนดโครงสร้างหลักสูตร เทคนิคการจัดการเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน โดยมีเกณฑ์
มาตรฐานเป็นตัวกำหนดและในแต่ละปีจะมีการประเมินผลลัพธ์ที่เกิดขึ้น และหาแนวทางปรับปรุงพัฒนาเป็น
ระยะตามหลัก PDCA
๕.๒ มีกระบวนการในการวางแผนควบคุมกำกับสาระของรายวิชาในหลักสูตร อย่างมีระบบ มีกลไกที่
นำไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา ในการการจัดทำรายวิชาต่างๆ ให้มี
เนื้อหาที่ทันสมัย มีความก้าวหน้าก้าวทันวิทยาการที่เปลี่ยนแปลงตลอดเวลา โดยมีการบริหารจัดการเปิด
รายวิชาต่าง ๆ ทั้งวิชาบังคับและวิชาเลือก ที่เน้นนิสิตเป็นสำคัญ สามารถตอบสนองความต้องการของนิสิตและ
ตลาดแรงงาน
๕.๓ มีกระบวนการในการควบคุมกำกับมาตรฐานของหัวข้อดุษฎีนิพนธ์ที่เน้นความสามารถในการใช้
การวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่
๕.๔ มีกระบวนการในการวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน อย่างมีระบบ มี
กลไกในการนำไปสู่การปฏิบัติและการประเมินผลเพื่อปรับปรุงและพัฒนา โดยมีการพิจารณากำหนดผู้สอนใน
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๔๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

แต่ละรายวิชาที่มีความรู้ความสามารถและมีความเชี่ยวชาญในวิชาที่สอน และมีการกำกับติดตามอาจารย์ใน
การจัดทำ มคอ. ๓ และ มคอ. ๔
๕.๕ มีการกำหนดเกณฑ์ในการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาดุษฎีนิพนธ์ที่มีความเหมาะสมกับหัวข้อดุษฎี
นิพนธ์ และมีกระบวนการในการติดตามกำกับควบคุมการให้ความช่วยเหลือในการทำดุษฎี นิพนธ์ตั้ ง แต่
กระบวนการพัฒนาหัวข้อจนถึงการทำดุษฎีนิพนธ์ การสอบป้องกัน และการเผยแพร่ผลงานวิจัยจนสำเร็จ
การศึกษา
๕.๖ มีกระบวนการในประเมินผู้เรียนที่มีระบบ มีกลไกที่นำไปสู่การปฏิบัติและการติดตามประเมินผล
เพื ่ อ การปรั บ ปรุ ง และพั ฒ นา ในการติ ด ตามการประเมิ น ผลการเรี ย นรู ้ ต ามกรอบมาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ มีการตรวจสอบการประเมินผลการเรียนรู้ของนิสิต การกำกั บการประเมินการ
จัดการเรียนการสอนและประเมินหลักสูตร (มคอ.๕ และ มคอ.๗) และมีการวางระบบการเมิน ดุษฎีนิพนธ์ที่มี
คุณภาพ ทั้งนี้หลักสูตรมีการทวนผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชา ทวนสอบรายชั้นปี และทวนสอบเมื่อสำเร็จ
การศึกษา เพื่อจะทำให้กระบวนการมีการติดตามและประเมินผลเพื่อการปรับปรุงอย่างสม่ำเสมอ
๕.๗ มีการวัดผลและรายงานผลการดำเนินงานหลักสูตรตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แห่งชาติ

๖. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
มีกระบวนการในการจัดการความพร้อมของสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีระบบ มีกลไกที่นำไปสู่การ
ปฏิบัติและการติดตามประเมินผลเพื่อการปรับปรุงและพัฒนา สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ ซึ่งประกอบด้วย ความ
พร้อมทางกายภาพ เช่น ห้องเรียน ห้องปฏิบัติการ ห้องทำวิจัย อุปกรณ์การเรียนการสอน ห้องสมุด การบริการ
เทคโนโลยีสารสนเทศ คอมพิวเตอร์ Wifi มีแหล่งสืบค้นข้อมูลทั้งจากภายนอกภายในที่ทันสมัยและสิ่งสนับสนุน
อื่นๆที่จำเป็นเพื่อส่งเสริม ที่ส่งเสริมสนับสนุนให้นิสิตสามารถเรียนรู้ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ประสิทธิผล ตาม
มาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กำหนดตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ โดยพิจารณาการ
ดำเนินการปรับปรุงพัฒนาจากผลการประเมินความพึงพอใจของนิสิตและอาจารย์ต่อสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ที่
เพียงพอและมีความเหมาะสมต่อการจัดการเรียนการสอน
๗. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators)
ปีที่ ปีที่ ปีที่ ปีที่ ปีที่
ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕
๑. อาจารย์ป ระจำหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ ๘๐ มีส ่ว นร่ว มในการ X X X X X
ประชุมเพื่อวางแผน ติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
๒. มี ร ายละเอี ย ดของหลั ก สู ต ร ตามแบบ มคอ.๒ ที ่ ส อดคล้ อ งกั บ X X X X X
มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา
๓. มีรายละเอียดของรายวิชา และประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตาม X X X X X
แบบ มคอ.๓ และ มคอ.๔ อย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาค
การศึกษาให้ครบทุกรายวิชา
๔. จั ด ทำรายงานผลการดำเนิ น การของรายวิ ช า และประสบการณ์ X X X X X
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๔๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ปีที่ ปีที่ ปีที่ ปีที่ ปีที่


ดัชนีบ่งชี้ผลการดำเนินงาน
๑ ๒ ๓ ๔ ๕
ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.๕ & ๖ ภายใน ๓๐ วัน หลังสิ้นสุด
ภาคการศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา
๕. จั ด ทำรายงานผลการดำเนิน การของหลัก สูต ร ตามแบบ มคอ.๗ X X X X X
ภายใน ๖๐ วัน หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
๖. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนิส ิตตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่ X X X X X
กำหนดในมคอ.๓ & ๔ (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ ๒๕ ของรายวิชาที่
เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
๗. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือ X X X X
การประเมิน ผลการเรีย นรู ้ จากผลการประเมินการดำเนิน งานที่
รายงานใน มคอ. ๗ ปีที่แล้ว
๘. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือคำแนะนำด้าน X X X X X
การจัดการเรียนการสอน
๙. อาจารย์ประจำทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ X X X X X
อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
๑๐. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนา X X X X X
วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ ๕๐ ต่อปี
๑๑. ระดับความพึงพอใจของนิสิตปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อคุณภาพ X X
หลักสูตร เฉลี่ยไม่น้อยกว่า ๓.๕๑ จากคะแนน ๕.๐
๑๒. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อย X
กว่า ๓.๕๑ จากคะแนนเต็ม ๕.๐
รวมตัวบ่งชี้บังคับที่ต้องมีผลการดำเนินการ (ข้อที่ ๑-๕) ในแต่ละปี
รวมตัวบ่งชี้ (ตัว) ในแต่ละปี
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๔๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

หมวดที่ ๙
ระบบและกลไกในการพัฒนาหลักสูตร

๑. การประเมินประสิทธิผลของการสอน
๑.๑. การประเมินกลยุทธ์การสอน
กระบวนการที่จะใช้ในการประเมินและปรับปรุงยุทธศาสตร์ที่วางแผนไว้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
นั้น พิจารณาจากตัวผู้เรียน โดยอาจารย์ผู้สอนจะต้องประเมินผู้เรียนในทุกๆหัวข้อ ว่ามีความเข้าใจหรือไม่ โดย
อาจประเมินจากการทดสอบย่อยการสังเกตพฤติกรรมของนิสิตการอภิปรายโต้ตอบจากนิสิตการตอบคำถาม
ของนิสิตในชั้นเรียนซึ่งเมื่อรวบรวมข้อมูลจากที่กล่าวข้างต้นแล้วก็ควรจะสามารถประเมินเบื้องต้นได้ว่าผู้เรียนมี
ความเข้าใจหรือไม่หากวิธีการที่ใช้ไม่สามารถทำให้ผู้เรียนเข้าใจได้ก็จะต้องมีการปรับเปลี่ยนวิธีสอน การ
ทดสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียนจะสามารถชี้ได้ว่าผู้เรียนมีความเข้าใจหรือไม่ในเนื้อหาที่ได้สอนไป
หากพบว่ามีปัญหาก็จะต้องมีการดำเนินการวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนในโอกาสต่อไป

๑.๒. การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน
ให้นิสิตได้มีการประเมินผลการสอนของอาจารย์ในทุกด้านทั้งด้านทักษะกลยุทธ์การสอนการตรงต่อ
เวลาการชี้แจงเป้าหมายวัตถุประสงค์รายวิชาชี้แจงเกณฑ์การประเมินผลรายวิชาและการใช้สื่อการสอนในทุก
รายวิชา
๒. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
๒.๑ ประเมินจากนิสิตและศิษย์เก่า
ดำเนินการประเมินจากนิสิต โดยติดตามจากผลการทำดุษฎีนิพนธ์ซึ่งอาจารย์สามารถประเมินผลการ
ทำงานได้ตั้งแต่เริ่มต้นกระบวนการจนถึงขั้นตอนการนำเสนอเป็นรายบุคคล และสำหรับศิษย์เก่านั้นจะประเมิน
โดยใช้แบบสอบถามหรืออาจจะจัดประชุมศิษย์เก่าตามโอกาสที่เหมาะสม
๒.๒ ประเมินจากยังผู้ใช้ดุษฎีบัณฑิต
ดำเนินการโดยการสัมภาษณ์จากผู้ใช้ดุษฎีบัณฑิตหรือใช้วิธีการส่งแบบสอบถามไปยังผู้ใช้ดุษฎีบัณฑิต
๒.๓ อาจารย์ผู้สอน
ดำเนินการโดยเชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาให้ความเห็นหรือจากข้อมูลในรายงานผลการดำเนินงานหลักสูตร
หรือจากรายงานของการประเมินผลการประกันคุณภาพภายใน
๒.๔ ประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก หรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
เพื่อเสนอให้ผู้ทรงคุณวุฒิหรือผู้มีส่วนได้ส่วนเสียเข้ามามีส่วนร่วมในการพัฒนากระบวนการเรียนการ
สอนผลลัพธ์การเรียนรู้ให้เป็นไปตามเป้าหมายของหลักสูตรรวมทั้งเสนอแนวทางปรับปรุงและพัฒนา
๓. การประเมินผลการดำเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร
ให้ประเมินตามตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงานที่ระบุไว้ในหมวด ๕ ข้อ ๕.๗ โดยคณะกรรมการประเมิน
อย่ า งน้ อ ย ๓ คน ซึ ่ ง ต้ อ งประกอบด้ ว ยผู ้ ท รงคุ ณ วุ ฒ ิ ใ นสาขาวิ ช าเดี ย วกั น อย่ า งน้ อ ย ๑ คน (ควรเป็ น
คณะกรรมการประเมินชุดเดียวกับการประกันคุณภาพภายใน)
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๕๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๔. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง
จากการรวบรวมข้อมูล การประเมินทั้งหมดจะทำให้ทราบปัญหาของการบริห ารหลักสูตรทั้งใน
ภาพรวมและในแต่ละรายวิชากรณีที่พบปัญหาของรายวิชาก็สามารถที่จะดำเนินการปรับปรุงรายวิชานั้นๆได้
ทันที ซึ่งก็จะเป็นการปรับปรุงย่อยในการปรับปรุงย่อยนั้นควรทำให้ตลอดเวลาที่พบปัญหา สำหรับการปรับปรุง
หลักสูตรทั้งฉบับนั้นจะกระทำทุก๕ปีทั้งนี้เพื่อให้หลักสูตรมีความทันสมัยและสอดคล้องกับความต้องการของ
ผู้ใช้ดุษฎีบัณฑิตอยู่เสมอ ทั้งนี้เป็นไปตามหลัก PDCA
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๕๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ภาคผนวก ก

ก ๑ การออกแบบหลักสูตร
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๕๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

กระบวนวนการในการพัฒนาหลักสูตร
กระบวนวนการในการพัฒนาหลักสูตร หลักสูตรมีกระบวนการพัฒนาหลักสูตรตามขั้นตอนดังต่อไปนี้

๑. ปัจจัยนำเข้า หลักสูตรจะต้องพิจารณาปัจจัยสำคัญที่นำไปสู่การจัดหาและวิเคราะห์ข้อมูลเพื่อนำมาพัฒนา
หลักสูตรโดยมีการจัดหาข้อมูลดังนี้
ก.การหาข้ อ มู ล และวิ เ คราะห์ ข ้ อ มู ล จากสถานะการณ์ ข องประเทศ นโยบาย สภาวเศรษฐกิ จ
สภาวการณ์ด้านการเมือง สังคม วัฒนธรรมที่การเปลี่ยนแปลงมีผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลง ของสภาว
ปัจจุบัน และทิศทางการพัฒนาในอนาคตรวมทั้งBCG
ข วิสัยทัศน์พันธกิจยุทธศาสตรของมหาวิทยาลัยมหาวิทยาลัยมีวิสัยทัศน์ พันธกิจในทิศทางใดเป็น
มหาวิทยาลัยด้านวิทยาศาสตรเทคโนโลยีหรือมหาวิทยาลัยด้านศิลปวัฒนธรรมพุทธศาสตรหรือมหาวิทยาลัย
มุ่งเน้นวิชาชีพเช่นมหาวิทยาลัยมุ่งเน้นการจรรโลงพุทธศาสนามหาวิทยาลัยมุ่งเน้นการพัฒนาผู้ประกอบการ
หรือSMEsรวมทั้งนำแผนกลยุทธของมหาวิทยาลัยมาวิเคราะห์ เพื่อกำหนดทิศทางการพัฒนาของมหาวิทยาลัย
และคณะ
ค. การนำข้อมูลของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียมาวิเคราะห์โดยพิจารณาว่าผู้มีส่วนได้ส่วนเสียของหลักสูตร
ประกอบไปด้วยกลุ่มใดบ้างเช่นผู้ใช้บัญฑิต ศิษย์เก่า ศิษย์ปัจจุบัน สมาคนวิชาชีพ (ถ้ามี) อาจารย์ผู้สอน
อุตสาหกรรมหรือกลุ่มธุรกิจหรือผู้ทรงคุณวุฒิที่มีส่วนเกี่ยวข้องของหลักสูตรโดยหลักสูตรต้องกำหนดจำนวน
กลุ่มเป้าหมายให้เหมาะสม และครอบคลุมทุกอาชีพที่หลักสูตรเกี่ยวข้อง แล้วกำหนดวิธีการจัดเก็บข้อมูลว่าจาก
การสัมภาษณ์ ออกแบบสอบถาม ทำ Focus Group หรืออื่นๆ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๕๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ง.นำข้อมูลจากทั้งสามกลุ่ม มาวิเคราะห์ สังเคราะห์และสรุปความคาดหวังของแต่ละกลุ่ม มาวิเคราะห์


ความคาดหวังของแต่ละกลุ่มโดยแบ่งเป็น ความรู้ ทักษะ จริยธรรม ลักษณะบุคคล

๒. ผลลัพธ์
ก. จากข้อมูลการเก็บข้อมูลของทุกภาคส่วน มหาวิทยาลัยนำมาจัดทำวิเคราะห์ร่วมกัน ให้เป็นผลลัพธ
การเรียนรู้ของหลักสูตรและนำไปเป็นข้อมูล
ข. ในการกำหนดผลลัพธการเรียนรู้ของรายวิชา เพื่อแสดงให้เห็นว่าเมื่อหลักสูตรเข้าใจว่ามีการเก็บ
ข้อมูล ที่จำแนกความคาดหวัง ได้ ๔ ประเด็น หลักสูตรควรนำมาวิเคราะห์ว่ามีเนื้อหาและกำหนดเป็นรายวิชา
ใดที่จะนำมากำหนด เนื้อหาการเรียนการสอนเพื่อให้เกิดผลลัพธการเรียนรู้ของหลักสูตรดังกล่าว
ค.หลักสูตรนำข้อมูลที่ได้จ ากการรับฟังความคิดเห็นของผู้รับบริการทุกกลุ่ม และนำมากำหนด
วัตถุประสงค์ของหลักสูตร และกำหนดผลลัพธการเรียนรู้ของหลักสูตรโดยกำหนดเป็นมาตราฐานการเรียนรู้ทั้ง
๔ ด้าน เป็น PLO ของหลักสูตรในแต่ละ PLO อย่างเหมาะสม

๓. ระบบการจัดการเรียนการสอน (DO)
ก. การจัดหาทรัพยากร และสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ เพื่อให้หลักสูตรสามารถบริหารจัดการ การเรียน
การสอนอย่างมีประสิทธิภาพตามผลลัพธการเรียนรู้ที่กำหนด หลักสูตรจะต้องพิจราณาว่าอุปกรณ์ เครื่องมือ
ระบบ โปรแกรมซอฟแวร์ เทคโนโลยีที่จำเป็นต้องจัดหาให้เกิดความพร้อมในการจัดการเรียนการสอน
ข. หลักสูตรต้องมีการพัฒนาอาจารย์ผู้สอน รวมทั้งการหากลยุทธการสอนที่เป็นกระบวนการที่สำคัญ
ที่จะส่งผลให้การจัดการเรียนการสอนในรายวิชาบรรลุผลลัพธการเรียนรู้ของหลักสูตร
ค. มีการกำหนดกิจกรรมการเรียนรู้หลักสูตรควรมีการกำหนดเป้าหมายที่เป็นผลลัพธการเรียนรู้ของ
หลักสูตรของแต่ละ PLO และกำหนดว่าในแต่ละ PLO ต้องการผลลัพธการเรียนรู้อย่างไรบ้าง และกำหนด
กิจกรรม กำหนดกลยุทธ ที่จะดำเนินการให้เกิดผลลัพธ์ การเรียนรู้ที่กำหนด และนำไปสู่กระบวนการวัดและ
ประเมินผล

๔. การวัดและการประเมิน (CHECK)
ก. มีการวัดและการประเมินผลระดับหลักสูตร เพื่อให้มีความมั่นใจว่าผลลัพธการเรียนรู้ที่กำหนดไว้
ตั้งแต่ต้นบรรลุผลลัพธการเรียนรู้ตามที่กำหนด โดยการกำหนดวิธีการประเมินผลที่หลากหลาย แต่ต้องมั่นใจว่า
การวัดและการประเมินผลการเรียนรู้จะส่งผลใก้การวัดและการประเมินมีความเชื่อถือ
ข. การวัดและการประเมินผลลรายวิชา หลักสูตรควรมีการกำหนดกระบวนการวัดและประเมินผลทั้ง
ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยคือการสอบและต้องบูรณาการกับวิธีการวัดและประเมินผลวิธีการอื่นๆ รวมทั้งมี
การทวนสอบผลลัพธการเรียนรู้เพื่อให้มั่มใจว่าผู้เรียนในแต่ละรายวิชาจะสามารถเรียนรู้แ ละพัฒนาตนเองให้มี
ศักยภาพตามที่กำหนดไว้ในแต่ละรายวิชา
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๕๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๕. การปรับปรุงและพัฒนา (ACT)
ก. หลักสูตรจะต้องพิจารณา กระบวนการเรียนการ การสอนโดยเริ่มต้นตั้งแต่การออกแบบหลักสูตร
การกำหนดกิจกรรมการเรียนการสอน การควบคุมและประชาสัมพันธให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียได้มีโอกาสเข้ามามี
ส่วนร่วมในการประเมินและพัฒนา เพื่อให้หลักสูตรมีการพัฒนาให้ทันสมัย และกระตุ้นให้เกิดการพัฒนาอย่าง
ต่อเนื่อง
ข. หลักสูตรควรวิเคราะห์ ในประเด็นที่อาจเกิดความเสียหาย หรืออันตรายที่มีผลกระทบต่อความ
สูญเสียของหลักสูตร โดยนำมาจัดทำการบริหารความเสี่ยงของหลักเพื่อป้องกัน และปรับปรุงแก้ไข ก้หลักสูตร
สามารถดำเนินการต่อไปได้อย่างมีคุณภาพ
ค. หลักสูตรควรมีการสื่อสาร ประชาสัมพันธ์ให้ผู้มีส่วนได้ส่วนเสียหรือผู้เกี่ยวข้องได้ทราบแนวทางและ
ผลลัพธ์ของการบริหารจัดการหลักสูตร เพื่อกลุ่มบุคคลเหล่านั้นจะได้มีส่วนร่วมในการพัฒนาให้หลักสูตรมี
คุณภาพ ทั้งนี้หลักสูตรควรระบุช่องทางการสื่อสาร ระยะเวลาในการสื่อสารให้ผู้เกี่ยวข้องทราบ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๕๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ก๒
การวิเคราะห์สถานะการณ์ของประเทศ วิสัยทัศน์
พันธกิจและทิศทางการพัฒนามหาวิทยาลัยและคณะ
การวิเคราะห์ความต้องการและความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ผลลัพธ์ที่วิเคราะห์ในภาพรวม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๕๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ความพร้อมและศักยภาพในการบริหารจัดการหลักสูตร

๑. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
๑.๑ สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ในแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ ๑๓ (พ.ศ. ๒๕๖๖ – ๒๕๗๐) ได้กำหนด
วิสัยทัศน์หนึ่งในหลาย ๆ ข้อ คือ มุ่งสร้างคุณภาพชีวิตและสุขภาวะที่ดีสำหรับคนไทย พัฒนาคนให้มีความเป็น
คนที่สมบูรณ์มีวินัยใฝ่รู้ มีความรู้ มีทักษะ มีความคิดสร้างสรรค์ มีทัศนคติที่ดีรับผิดชอบต่อสังคม มีจริยธรรม
และคุณธรรม เป็นต้น โดยกำหนดเป็นกรอบวิสัยทัศ น์ว่า “ประเทศมีความมั่นคง มั่งคั่ง ยั่งยืน เป็นประเทศ
พัฒนาแล้ว ด้วยการพัฒนาตามหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง”
การพัฒนาหลักสูตรทั้งในและนอกระบบจึงมีความจำเป็นต้องทำให้หลากหลายมีเป้าหมาย
สอดคล้องกับพัฒนาการและบูรณาการเรื่องศีลธรรม ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เป็นการสร้างความรู้ ความ
เข้าใจใน รากเหง้าของวัฒนธรรมที่ดีของชาติ และเรียนรู้การอยู่ร่วมกันอย่างสงบสุข
๑.๒ สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
การเลื่อนไหลของวัฒนธรรมต่างชาติที่เข้าสู่ประเทศไทยผ่านสื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ ทำ
ให้ประสบปัญหาวิกฤตค่านิยม จริยธรรม และพฤติกรรมเชื่อมโยงถึงการดําเนินชีวิต ความประพฤติความคิด
ทัศนคติและคุณธรรมของคนในสังคม ประกอบกับสถาบันทางสังคม เช่น สถาบันครอบครัว สถาบันศา สนา
และสถาบันการศึกษาได้ดำเนินบทบาทตามภาระหน้าที่ยังไม่ครอบคลุม สถาบันการศึกษา ให้ความสําคัญกับ
การพัฒนาคุณธรรมของผู้เรียนไม่มากเท่าที่ควรสถาบันศาสนายังไม่สามารถพัฒนาบุคลากรยังซึ่งมีอยู่มากมาย
ไม่เต็มที่ และขาดความสอดคล้องกับภาวะปัจจุบัน ดังนั้นจึงควรมีหลัก สูตรการเรียนการสอนที่แสดงรากเหง้า
วัฒ นธรรมไทยที่มีความหลากหลายโดดเด่น พัฒ นาบุคลากรทางศาสนาให้มีความรู้ครอบคลุม ทางด้ า น
วัฒนธรรมศาสนาสามารถรักษาสืบทอดเผยแผ่พระพุทธศาสนาได้อย่างมีประสิทธิภาพ

๒. ผลกระทบจาก ข้อ ๑ ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน


๒.๑ การพัฒนาหลักสูตร
ท่ามกลางกระแสโลกาภิวัฒน์ จำเป็นต้องวางแผนและพัฒนาหลักสูตรให้สอดคล้องกับแผน
ยุทธศาสตร์การพัฒนาคุณภาพคนและสังคมไทยสู่สังคมแห่งภูมิปัญญาและการเรียนรู้ ที่บูรณาการเรื่องศีลธรรม
ประวัติศาสตร์ วัฒนธรรม เป็นการสร้างความรู้ ความเข้าใจในหลักคำสอนทางพระพุทธศาสนาที่เป็ นรากเหง้า
แห่งวัฒนธรรมของสังคมไทย โดยการเรียนรู้และวิจัยสร้างองค์ความรู้ใหม่จากบาลีพระไตรปิฎก
๒.๒ ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
เป็นหลักสูตรการเรียนการสอนการวิจัยคัมภีร์บาลีพระไตรปิฎก โดยมุ่งเน้นสร้างองค์ความรู้
ในการรักษาสืบทอดและเผยแผ่หลักพุทธธรรม มุ่งพัฒนาบุคลากรของสถาบันศาสนาให้มีความรู้ความสามารถ
ในการสอนธรรมนำปฏิบัติ จึงสอดคล้องกับพันธกิจของสถาบันการศึกษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกร ณราช
วิทยาลัย คือ ผลิตบัณฑิต วิจัยและพัฒนา ส่งเสริมพระพุทธศาสนาบริการวิชาการแก่สังคม และทำนุบำรุง
ศิลปวัฒนธรรม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๕๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๒.๓ การจัดกลุ่มสถาบัน
มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุฬ าลงกรณราชวิ ท ยาลั ย เป็ น มหาวิ ท ยาลั ยที ่ม ุ ่ง เน้ นการจัด การเชิง
พระพุทธศาสนา จึงกำหนดรูปแบบการแบ่งกลุ่ม อยู่ในกลุ่มที่ ๔ กลุ่มพัฒนาปัญญาและคุณธรรมด้วยหลัก
ศาสนา
๒.๔ การจัดการความเสี่ยงที่หลักสูตรต้องเผชิญกับปัจจัยภายนอก
ปัญหาความขัดแย้งด้านการเมืองหรือโรคระบาด ภัยธรรมชาติ เศรษฐกิจตกต่ำ ซึ่งส่งผล
กระทบต่อการจัดการศึกษาอย่างรุนแรง

๓. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน
๓.๑ กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น
มีการเชิญอาจารย์จากคณะพุทธศาสตร์ หรือจากบัณฑิตวิทยาลัย มาเป็นผู้สอนหรือผู้ร่วมสอนในบาง
รายวิชาที่เกี่ยวเนื่องกับการศึกษาบาลีพระไตรปิฎกและหลักธรรมในพุทธศาสนา รวมทั้งมีการใช้อุปกรณ์
ประกอบการเรียนการสอน ร่วมกันกับหลักสูตรเหล่านี้ด้วย
๓.๒ การบริหารจัดการหลักสูตร
การบริหารจัดการหลักสูตรเป็นแบบ สาขาวิชาเดี่ยว มีเป้าหมายวัตถุประสงค์เป็นไปตาม
คำอธิบ ายลักษณะกระบวนวิชา โดยอาจารย์ผ ู้รับผิดชอบหลักสูตร ประสานงานกับอาจารย์ผู้แทนจาก
สาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้องด้านเนื้อหาสาระ การจัดตารางเรียนและการสอบ โดยความร่วมมือในการประสานงาน
กับสาขาวิชาอื่นนั้น เป็นการเปิดโอกาส มิได้กำหนดเฉพาะเจาะจงกับสาขาวิชาใดโดยเฉพาะแต่ขึ้นอยู่กับความ
จำนงของหลักสูตร
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๕๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์
ความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ตารางที่ ๑
ความคาดหวังของนิสิตปัจจุบันในด้านผลลัพธ์การเรียนรู้ ๔ ด้าน (เก็บข้อมูลจากนิสิต ๘ รูป โดยแบบสอบถาม)
ความรู้ ทักษะ จริยธรรม ลักษณะบุคคล
- มีความรู้ในคัมภีร์สัททา - มีความชำนาญในการใช้ - ให้คุณค่าทุกคัมภีร์อย่าง - มีความคิดเชิงตรรกะ
วิเสส คัมภีร์สัททาวิเสส เสมอภาค - สามารถสื่อสารได้ดี
- มีองค์ความรู้ชั้นสูงใน - สามารถประยุกต์ใช้กับ - มีพฤติกรรมด้านบวก - ใฝ่รู้ ใฝ่ศึกษา ช่างสังเกตุ
พระไตรปิฎก หลักสูตรบาลีสนามหลวงและ - ไม่ประพฤติผิดจริยธรรม - สามารถเทียบเคียงกับ
- มีองค์ความรู้ชั้นสูงใน หลักสูตรอื่น ๆ ได้ - เคารพในพระสัทธรรม พระไตรปิฎกทั้งภาษาไทย
คัมภีร์อรรถกถา ฎีกา - มีความชำนาญใน - เห็นประโยชน์ส่วนรวม และภาษาอื่นๆ
ปกรณ์วิเสส และคัมภีร์ พระไตรปิฎกและคัมภีร์ที่ มากกว่าส่วนตัว - อ้างอิงสูตร รอบรู้ใน
ต่าง ๆ เกี่ยวข้อง - ยอมรับในความเห็นต่าง พระไตรปิฎก อรรถกถา ฎีกา
- รู้แหล่งที่มาของข้อมูล - มีความสามารถในการใช้ - ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น ฯลฯ รอบรู้คัมภีร์ต่างๆ
เพื่อการสืบค้น เทคโนโลยีสารสนเทศในการ - สามารถตัดสินถูกผิดตาม - ทำงานร่วมกับผู้อื่นได้
- สร้างงานวิจัยภาษา สืบค้นข้อมูล หลักพระธรรมวินัยได้ - ยอมรับความแตกต่าง
บาฬีชั้นสูง - มีความสามารถในการ - มีความเลื่อมใสศรัทธา - พร้อมที่จะเรียนรู้
- สร้างองค์ความรู้ใหม่ ทำงานวิจัยชั้นสูง พระพุทธศาสนาเพิ่มขึ้น - รู้จักการปรับตัวให้เหมาะสม
- สร้างนวัตกรรมใหม่ - สามารถเผยแพร่ข้อมูลทาง - มีจรรยาบรรณของ เรียบง่าย สง่างาม
- มีความรู้ด้าน พระพุทธศาสนาได้อย่างมือ นักวิชาการ เหมาะสมกับสมณสารูป
เทคโนโลยีสารสนเทศ อาชีพ - ยอมรับข้อบกพร่องและหา - อุทิศตนเพื่อส่วนรวม
เพื่อประยุกต์กับวิชาชีพ - มีความสามารถในการผลิต ทางแก้ไข - เป็นแบบอย่างในการให้
สื่อ/เอกสาร ที่ถูกต้อง คำแนะนำกับผู้อื่น
- สามารถเข้าถึงองค์ความรู้ - อดทน ใฝ่เรียนรู้
อย่างลึกซึ้ง - กล้าแสดงออก
- ทรงจำตัวสูตรที่สำคัญได้ - มีจิตสาธารณะ
- มีความคิดเชิงตรรกะ
- ยอมรับความคิดเห็นของ
ผู้อื่น
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๕๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ตารางที่ ๒ อาจารย์ผู้สอน (เก็บข้อมูลจากอาจารย์ผู้สอน ๔ รูป/คน โดยวิธีการ Focus Group)


ความรู้ ทักษะ จริยธรรม ลักษณะบุคคล
- มีความรู้ในคัมภีร์สัททา - มีความชำนาญในการคิด - มีความรับผิดชอบต่อสังคม - มีความใฝ่รู้ใฝ่เรียน
วิเสส วิเคราะห์ตามหลักคัมภีร์สัท และพระพุทธศาสนาโดย - มีบุคลิกภาพน่าเชื่อถือ
- มีความรู้ใน ทาวิเสสเพื่อสร้างองค์ความรู้ ส่วนรวม - มีสีลาจารวัตรน่าเลื่อมใส
พระไตรปิฎกและคัมภีร์ ใหม่ - มีความซื่อสัตย์สุจริต - มีความเป็นผู้นำ
อรรถกถา ฎีกา ปกรณ์วิ - มีความชำนาญในการคิด - ไม่คัดลอกผลงานผู้อื่น - มีความรับผิดชอบ
เสส และคัมภีร์ต่าง ๆ วิเคราะห์ตามพระไตรปิฎก - เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีจิตใจ - มีความอดทนอดกลั้น
- มีความรู้ในอักษรต่าง และคัมภีร์อรรถกถา ฎีกา เมตตา มีความโอบอ้อมอารี - ยอมรับความแตกต่างและ
ๆ ที่ใช้จารึกคำสอนทาง ปกรณ์วิเสส และคัมภีร์ต่าง ๆ - รักษาธรรมชาติและ หลากหลายทางสังคม
พระพุทธศาสนา เพื่ออธิบายหลักธรรมทาง สิ่งแวดล้อม - มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดี
- มีองค์ความรู้ด้าน พระพุทธศาสนาให้ตรงตาม - มีจิตสาธารณะ
กระบวนการวิจัย หลักในคัมภีร์
- สร้างองค์ความรู้ด้าน - มีทักษะทางการใช้
นวัตกรรม ภาษาสากลในการอธิบาย
หลักธรรมทาง
พระพุทธศาสนา
- มีความชำนาญในอักษรต่าง
ๆ ที่ใช้จารึกคำสอนทาง
พระพุทธศาสนา

ตารางที่ ๓ ศิษย์เก่า (เก็บข้อมูลจากศิษย์เก่า ๒ รูป/คน โดยแบบสอบถาม)


ความรู้ ทักษะ จริยธรรม ลักษณะบุคคล
- ความรู้ในคัมภีร์หลัก - เรียบเรียงวิเคราะห์พระพุทธ - รู้จักการให้ สร้างจิตใจเป็น - มีความประพฤติในหลัก
ภาษาศัพทศาสตร์ พจน์ ในรูปแบบสัททนัย ตาม นักเสียสละและให้โอกาสแก่ วิชาการ วิชาชีพ และ วิชา
ไวยากรณ์ นิฆัณฑุศาสตร์ หลักภาษา ๔ คัมภีร์หลัก บุคคลผู้สมควรได้รับโอกาส ชีวิต
พจนานุกรม ฉันทศาสตร์ และรูปแบบอัตถนัย มี - ตั้งมั่นในคุณธรรมศีลธรรม - สัมมาปฏิบัติ
และเกฏุศาสตร์ อลังการ ความสามารถวิเคราะห์องค์ ตามมาตรฐานวิชาการ หมั่นประพฤติปฏิบัติในสมถ
อย่างลึกซึ้งและเป็น ธรรมตามหลักเนตติปกรณ์ - หมั่นอบรมฝึกฝนพัฒนา กัมมัฏฐาน หรือ วิปัสสนา
ระบบ นำความรู้สู่การ - สามารถประยุกต์ความรู้ตาม ตนเองให้มีความพร้อมในการ กัมมัฏฐาน ตามกาลอันควร
ปฏิบัติ หลักคัมภีร์บูรณาการกับ เผยแผ่ธรรม - เป็นผู้ใฝ่ในการเรียนรู้
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๖๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ความรู้ ทักษะ จริยธรรม ลักษณะบุคคล


- ความรู้เข้าใจระบบ หลักสูตรการเรียนการสอน - ศีลธรรม - มีความเสียสละเพื่อส่วนรวม
วรรณคดีบาลี พระปริยัติธรรม ดำรงตนให้เป็นที่นับถือตาม - มีลักษณะความเป็นผู้นำ
พระไตรปิฎก อรรถกถา - มีทักษะในการบูรณาการ หลักศาสนา - ยึดมั่นในคุณธรรม
ฎีกา ฯลฯ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์อื่น - มีอาจาระงดงาม
- รู้เข้าใจหลักการตีความ ๆ สมัยใหม่ได้อย่างเหมาะสม - มีความซื่อสัตย์ สุจริต
พระพุทธพจน์ ตามหลัก - มีทักษะในการวิเคราะห์องค์ - มีระเบียบวินัย มีความอดทน
คัมภีร์เปฏโกปเทสและ ความรู้ทั้งคดีโลกและคดีธรรม และมีความรับผิดชอบ
เนตติปกรณ์ ได้อย่างถูกต้อง - มีความเมตตา กรุณา
- มีทักษะในการแก้ปัญหา - กตัญญูกตเวที
- มีทักษะในการสื่อสาร

ตารางที่ ๔ ผู้ใช้บัณฑิต (เก็บข้อมูลจากผู้ใช้บัณฑิต ๒ รูป/คน โดยวิธีการสัมภาษณ์ทางโทรศัพท์)


ความรู้ ทักษะ จริยธรรม ลักษณะบุคคล
- มีความรู้ภาษาบาลี - มีความชำนาญทางภาษา - เป็นผู้นำทางคณะสงฆ์ - มีเมตตา
ชั้นสูงอย่างลึกซึ้งตรง บาลีชั้นสูง - มีความเชื่อมั่น - ยึดถือความถูกต้องเป็นธรรม
ตามพุทธประสงค์เป็นที่ - มีทักษะด้านหลักไวยากรณ์ - มีความคิดสร้างสรรค์ - มีคุณธรรม
ยอมรับ บาลีที่สามารถวิเคราะห์ - เป็นผู้มีความรู้และความ - มีความซื่อสัตย์
- สร้างองค์ความรู้ใหม่ใน แก้ปัญหาเรื่องหลักคำสอน ประพฤติเป็นที่ตั้งแห่งความ - มีจิตสาธารณะ
การแก้ปัญหา - มีความสามารถในการ เลื่อมใส
สื่อสารภาษาบาลีได้และ - เป็นผู้นำทางจิตใจของ
อธิบายหลักธรรมได้อย่าง ประชาชน
ชัดเจน - สามารถเผยแผ่หลักธรรมได้
- ช่วยงานคณะสงฆ์ได้อย่างมี อย่างถูกต้อง
ประสิทธิภาพ
- มีทักษะด้านคอมพิวเตอร์
อย่างดี
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๖๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์
ตารางสรุปผลการวิเคราะห์ข้อมูลจากความคาดหวังของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียทั้งหมดของหลักสูตรพุทธ
ศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์
ความรู้ ทักษะ จริยธรรม ลักษณะบุคคล
- มีความรอบรู้ใน - มีความชำนาญในการคิด - มีความซื่อสัตย์สุจริต - มีความแตกฉานด้านภาษา
พระไตรปิฎกและคัมภีร์ วิเคราะห์ แปลและตีความ - มีจรรยาบรรณของ บาลีและแก้ปัญหาเกี่ยวกับ
อรรถกถา ฎีกา ปกรณ์วิ พระไตรปิฎกและคัมภีร์ที่ นักวิชาการ หลักธรรมที่เป็นประเด็นทาง
เสส และคัมภีร์ต่าง ๆ เกี่ยวข้อง - เอื้อเฟื้อเผื่อแผ่ มีจิตใจ สังคม
- มีความรอบรู้ใน - มีความชำนาญในการคิด เมตตา มีความโอบอ้อมอารี - มีปฏิปทาสีลาจารวัตรน่า
คัมภีร์สัททาวิเสสอย่าง วิเคราะห์หลักการในคัมภีร์สัท - มีศีลธรรม ดำรงตนให้เป็นที่ เลื่อมใส และเป็นแบบอย่างที่
ลึกซึ้งและเป็นระบบ นำ ทาวิเสส นับถือตามหลักศาสนา ดีของผู้สืบทอด
ความรู้สู่การปฏิบัติได้ - ทรงจำตัวสูตรและมาติกาที่ - เคารพในพระสัทธรรม พระพุทธศาสนา
จริง สำคัญได้เพื่อนำไปอธิบาย - เห็นประโยชน์ส่วนรวม - มีลักษณะเป็นกัลยาณมิตร
- มีความเข้าใจการ คำศัพท์ ความหมาย และองค์ มากกว่าส่วนตัว - มีความใฝ่เรียนรู้
วิเคราะห์และสังเคราะห์ ธรรม - ตัดสินถูกผิดตามหลักพระ - มีภาวะผู้นำและเป็นนัก
หลักการตีความพระพุทธ - สามารถประยุกต์ใช้กับ ธรรมวินัย บริหารจัดการ
พจน์ ตามหลักในคัมภีร์ หลักสูตรบาลีสนามหลวงและ - มีระเบียบวินัย - มีความรับผิดชอบต่อตนเอง
เนตติปกรณ์และเปฏโกป หลักสูตรอื่น ๆ ได้ - มีความเมตตา กรุณา และสังคม
เทสปกรณ์ - มีความสามารถในการ - กตัญญูกตเวที - มีความอดทนอดกลั้น
- สร้างองค์ความรู้ใหม่ สื่อสารและใช้เทคโนโลยี - ยอมรับความแตกต่างและ
และนวัตกรรมใหม่ด้าน สารสนเทศเพื่อสืบค้นข้อมูล หลากหลายทางสังคม
บาลีพุทธศาสตร์ และพัฒนางานวิจัย - มีจิตสาธารณะ และการให้
- รู้วิธีการและแหล่ง - มีทักษะในการบูรณาการ - อุทิศตนเพื่อส่วนรวม
สืบค้นข้อมูลเพื่อการวิจัย บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์ - รู้เท่าทันสื่อ
และงานวิชาการอื่น ๆ สมัยใหม่ และสร้างองค์ความรู้
- สร้างงานวิจัยภาษา ใหม่เชิงวิชาการที่สามารถ
บาลีชั้นสูง เป็นที่ยอมรับ นำไปอ้างอิงและปรับใช้ใน
อ้างอิง และปรับใช้ใน บริบทอื่นได้
บริบทอื่น ๆ ได้ - มีทักษะในการคิดวิเคราะห์
- มีความรู้ด้าน เชิงเหตุผล
เทคโนโลยีสารสนเทศ - มีทักษะทางการใช้
เพื่อประยุกต์กับวิชาชีพ ภาษาสากลในการอธิบาย
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๖๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ความรู้ ทักษะ จริยธรรม ลักษณะบุคคล


- มีความรู้ด้าน หลักธรรมทาง
ภาษาอังกฤษและมี พระพุทธศาสนา
ความรู้ในอักษรต่าง ๆ ที่ - มีความชำนาญในอักษรต่าง
ใช้จารึกคำสอนทาง ๆ ที่ใช้จารึกคำสอนทาง
พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา
- สามารถเผยแพร่ข้อมูล
วิชาการทางพระพุทธศาสนา
ได้อย่างมืออาชีพ
- มีความสามารถในการผลิต
สื่อ/เอกสาร ที่ถูกต้อง
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๖๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ก๓
การกำหนดผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร (PLO) เชื่อมโยงผลลัพธ์การ
เรียนรู้ทั้ง ๔ ด้าน รวมทั้งเนื้อหา รายวิชาที่กำหนดในโปรแกรมการเรียน
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๖๔

ตาราง แผนภาพแสดง ระหว่างผลลัพธ์การเรียนรู้ (PLO) กับการออกแบบการเรียนการสอนการประเมินผู้เรียน


และรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
ที่ PLO กลยุทธ์การจัดการ การประเมิน รายวิชาที่ กิจกรรมที่รองรับ
เรียนรู้ ผู้เรียน รองรับ
๑ ๑. บัณฑิตมีความ - ออกแบบการสอน - ทรงจำกัจจายน - บาลี - ออกแบบ
รอบรู้ใน เพื่อวิพากษ์อย่าง สูตรได้ พระไตรปิฎก กิจกรรมตาม
พระไตรปิฎก เป็นระบบสอดคล้อง - สอบประเมิน ชั้นสูง วัตถุประสงค์ราย
คัมภีร์อรรถกถา กับระเบียบวิจัยบาลี ความรู้ - บาลีพระวินัย ระเอียดของ
ฎีกา เนตติปกรณ์ พุทธศาสตร์ - ประเมิน ปิฎกชั้นสูง เนื้อหา
ปกรณ์วิเสส สัททา - ให้ความรู้ ศึกษา คุณสมบัติ - บาลีพระ - ออกแบบวิธีการ
วิเสส และคัมภีร์ เพิ่มเติมด้วยตนเอง - ประเมินจากงาน สุตตันตปิฎก วัดผลให้
ต่าง ๆ นำมา ฝึกวิเคราะห์ ที่ได้รับมอบหมาย ชั้นสูง เหมาะสม
บูรณาการกับ สังเคราะห์ จาก - ผลการสอบ - บาลีพระ - จัดทำ จัดหา
งานวิจัยนวัตกรรม คัมภีร์มาอภิปราย บทความวิชาการ/ อภิธรรมปิฎก กรณีศึกษาที่
จนเกิดองค์ความรู้ และสรุปประเด็น บทวิจารณ์/สาร ชั้นสูง เกี่ยวข้องกับ
ใหม่ด้านบาลีพุทธ ร่วมกัน นิพนธ์/ดุษฎีนิพนธ์ - อรรถกถาสัง เนื้อหาที่เป็นองค์
ศาสตร์ - ฝึกให้ค้นคว้าข้อมูล - ผลการตีพิมพ์ วัณณนาชั้นสูง ความรู้
จากคัมภีร์และ บทความดุษฎี - การแปลและ - การอภิปรายใน
แหล่งข้อมูลที่ นิพนธ์ การสื่อสารบาลี ชั้นเรียน การ
หลากหลายใน - นวัตกรรมและ ชั้นสูง สังเคราะห์เนื้อหา
ประเด็นที่สำคัญ องค์ความรู้ใหม่ที่ - สัททาวิ จากบทความวิจัย
เพื่อบูรณาการสร้าง เกิดขึ้นจากงาน เสสบาลีชั้นสูง - กิจกรรมเสริม
องค์ความรู้ใหม่ด้าน ดุษฎีนิพนธ์ - สัททนีติปท หลักสูตร
วิจัยนวัตกรรม - งานดุษฎีนิพนธ์ที่ มาลา - ศึกษาดูงาน
- เชิญผู้ทรงคุณวุฒิ นำไปใช้ประโยชน์ - สัททนีติธาตุ - ฝึกปฏิบัติงานใน
ด้านบาลีพุทธศาสตร์ มาลา พื้นที่
มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้ - เนตติปกรณ์ - ทดลอง
กับผู้เรียน และเปฏโกป กระบวนการ
- ฝึกปฏิบัติการ เทสปกรณ์ ทำงาน
ศึกษาค้นคว้าจาก - กัมมัฏฐานใน - ฝึกแปล
แหล่งเรียนรู้หรือต้น พระไตรปิฎก ปริวรรต
กำเนิดของคัมภีร์ (ฝึกปฏิบัติ ๔๕ - ออกแบบการฝึก
วัน) เช่นสนทนาภาษา
บาลี
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๖๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ที่ PLO กลยุทธ์การจัดการ การประเมิน รายวิชาที่ กิจกรรมที่รองรับ


เรียนรู้ ผู้เรียน รองรับ
- ภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ ฝึก
เพื่อวิจัยทาง ปฏิบัติกัมมัฏฐาน
บาลีพุทธ การเทศน์ การพูด
ศาสตร์ หน้าชั้นเรียน
- อักษรจารึก เทคนิคการสอน
พระไตรปิฎก
๒ ๒.บัณฑิตมีทักษะ - ฝึกให้ผู้เรียนไปสืบ - จากงานที่ได้รับ - เปรียบเทียบ - ฝึกปฏิบัติใน
ในการแปล หา ค้นคว้า เลือก มอบหมาย บาลีและ สถานที่จริง
ตีความ สืบค้น ประเด็นที่สำคัญจาก - คุณภาพงานกับ สันสกฤต - ทดลองปฏิบัติ
ข้อมูล วิเคราะห์ แหล่งข้อมูลต่าง ๆ ระยะเวลาที่ - วรรณคดีบาลี ภาคสนาม
สังเคราะห์ ด้าน และนำมา กำหนด และสันสกฤต - ฝึกการนำทฤษฎี
คัมภีร์ทาง แลกเปลี่ยนเรียนรู้ ชั้นสูง นำมาบูรณาการ
พระพุทธศาสนา - วิจารณ์งานด้าน - ระเบียบวิธี กับงานวิจัย
เพื่อต่อยอดองค์ บาลีพุทธศาสตร์โดย วิจัยบาลีพุทธ - ฝึกภาษาอังกฤษ
ความรู้และสร้าง มีหลักฐานเชิง ศาสตร์ชั้นสูง - ฝึกเก็บข้อมูลมา
งานวิจัยนวัตกรรม ประจักษ์ - ภาษาอังกฤษ สังเคราะห์โดย
ที่เป็นประโยชน์ต่อ
-ฝึกสังเคราะห์ เพื่องาน ระบบสารสนเทศ
สังคม เนื้อหาจากบทความ วิชาการบาลี
วิจัยต่าง ๆ พร้อม พุทธศาสตร์
สอดแทรกคุณธรรม - ศึกษาอิสระ
จริยธรรม บาลีพุทธ
จรรยาบรรณ ฯลฯ ศาสตร์ชั้นสูง
- ฝึกปฏิบัติเรื่องการ
ตรงต่อเวลาและ
คุณค่าของเวลา
๓ ๓. บัณฑิตสามารถ - วิเคราะห์ - จากงานที่ได้รับ - บาลี - วางแผน
สร้างองค์ความรู้ สังเคราะห์ องค์ มอบหมาย พระไตรปิฎก ออกแบบการนำ
ใหม่ทาง ความรู้ด้านบาลีพุทธ - คุณภาพงานกับ - บาลีพระวินัย พระพุทธศาสนา
พระพุทธศาสนา ศาสตร์ เชื่อมโยงกับ ระยะเวลาที่ ปิฎก มาแก้ปัญหา
เพื่อวิเคราะห์ ศาสตร์สมัยใหม่ กำหนด - บาลีพระ - ฝึกสังเคราะห์
ปัญหา แนวทางใน - งานวิเคราะห์ สุตตันตปิฎก เนื้อหาจาก
การแก้ปัญหา โดย สังเคราะห์ องค์ งานวิจัย
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๖๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ที่ PLO กลยุทธ์การจัดการ การประเมิน รายวิชาที่ กิจกรรมที่รองรับ


เรียนรู้ ผู้เรียน รองรับ
วางแผนและ - ค้นคว้าและวิพากษ์ ความรู้ใหม่หรือ
- บาลีพระ - ฝึกการเขียน
พัฒนางานวิจัยที่มี นวัตกรรมด้าน นวัตกรรมที่มี
อภิธรรมปิฎก บทคัดย่อของ
ความทันสมัยอย่าง พระพุทธศาสนา หลักฐานเชิง- อรรถกถาสัง งานวิจัย/
มีจริยธรรม - ฝึกสังเคราะห์ ประจักษ์ วัณณนา บทความวิจัย
เนื้อหาจากบทความ ตรวจสอบได้ - การแปลและ - ฝึกการนำ
วิจัย สร้างทักษะใน - งานวิเคราะห์
การสื่อสารบาลี นวัตกรรมองค์
การกำหนดกรอบ สังเคราะห์ องค์
ชั้นสูง ความรู้มาใช้ใน
และแนวคิดด้าน ความรู้ทาง - บาลีพุทธ การวิจัย
งานวิจัย พระพุทธศาสนา
ศาสตร์กับ - ฝึกการคิดโดย
กับงานวิจัยได้
ศาสตร์ นำพุทธศาสนามา
อย่างนัยยะสำคัญ
สมัยใหม่ บูรณาการกับ
- ระเบียบวิธี ศาสตร์สมัยใหม่
วิจัยบาลีพุทธ
ศาสตร์ชั้นสูง
- วิธีจัดเก็บ
ข้อมูลและสถิติ
เพื่อการวิจัย
๔ ๔. บัณฑิตมีความ - นำ Case Study - จากการแสดง - บาลี - การวิจารณ์งาน
เที่ยงตรงใน มาเป็นแนวทางใน ความคิดเห็นใน พระไตรปิฎก ด้าน
หลักการตาม การตัดสินผลโดยใช้ การวิพากษ์ - การแปลและ พระพุทธศาสนา
คัมภีร์ทาง หลักธรรมทาง - การให้เหตุและ การสื่อสารบาลี โดยมีหลักฐานเชิง
พระพุทธศาสนา พระพุทธศาสนา ผลในการ ชั้นสูง ประจักษ์
สามารถตัดสินและ สนับสนุนความ - บาลีพุทธ
แก้ไขปัญหาโดยยึด ถูกต้องจาก ศาสตร์กับ
หลักความถูกต้อง หลักธรรมได้อย่าง ศาสตร์
แม่นยำ สมัยใหม่
๕ ๕. บัณฑิตมีความ - ฝึกจัดทำโครงงาน - ผลสอบประมวล - การแปลและ - ฝึกการ
เป็นผู้นำ เป็นนัก บริหารจัดการ ด้าน ความรู้ การสื่อสารบาลี แสดงออกในที่
บริหารจัดการ แหล่งเรียนรู้ของ - ผลสำเร็จของ ชั้นสูง สาธารณะ
เป็นผู้มีจริยวัตรที่ ชุมชนและวัด งานที่ได้รับ - กัมมัฏฐานใน - ฝึกอาการภาษา
งดงาม มีปฏิปทา รวมทั้งกิจกรรมอื่นๆ มอบหมาย บาลี ให้ถูกต้อง
น่าเลื่อมใส เป็น ที่เกี่ยวข้องกับ พระไตรปิฎก
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๖๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ที่ PLO กลยุทธ์การจัดการ การประเมิน รายวิชาที่ กิจกรรมที่รองรับ


เรียนรู้ ผู้เรียน รองรับ
กัลยาณมิตร มี พระพุทธศาสนาหรือ - ผลสอบฝึก - บาลีพุทธ - ฝึกปฏิบัติวัตร
ความรับผิดชอบ วัฒนธรรม ปฏิบัติบุคลิกภาพ ศาสตร์กับ สำหรับพระสงฆ์
ต่อตนเองและ - ฝึกบุคลิกภาพ - สังเกตจาก ศาสตร์ - ฝึกทักษะการ
สังคม เทคนิคการสื่อสาร พฤติกรรมที่ สมัยใหม่ บริหารจัดการ
ให้อยู่ในศีลจารวัตร แสดงออก - หลักการ - ฝึกธรรม
ที่ดีงามเหมาะสมกับ - การบรรยาย บริหารและ ภาคปฏิบัติ
ความเป็นผู้นำทาง ธรรมะในที่ ภาวะผู้นำตาม
พระพุทธศาสนา สาธารณชน แนวบาลีพุทธ
- ฝึกกัมมัฏฐาน เพื่อ - เกณฑ์ผ่านจาก ศาสตร์
สร้างศรัทธา น่า กิจกรรมการเข้า
เลื่อมใส เป็น ร่วมปฏิบัติ
กัลยาณมิตร กรรมฐาน
รับผิดชอบ -ทักษะการทำงาน
ร่วมกับผู้อื่น
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๖๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ก๔
การวิเคราะห์ผลลัพธ์รายชั้นปี YLO
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๖๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ความสัมพันธ์ระหว่างรายวิชา YLO แต่ละชั้นปี


ภาคการ รายวิชาในภาคการศึกษา ผลลัพธ์การเรียนรู้ในแต่ละชั้นปี
ศึกษา
วิชาบังคับ - มีความรอบรู้ในพระไตรปิฎก คัมภีร์อรรถกถา
๘๐๓ ๑๐๑ บาลีพระไตรปิฎกชัน้ สูง เนตติปกรณ์ สัททาวิเสส และคัมภีร์ต่าง ๆ
๘๐๓ ๑๐๒ วรรณคดีบาลีและสันสกฤตชัน้ สูง - สามารถค้นคว้า เก็บข้อมูลทางสถิติและวางแผน
เพื่อการวิจัย นำจริยธรรมงานวิจัยไปปฏิบัติ

วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต - รู้ประวัติความสำคัญ วิเคราะห์ สังเคราะห์
๘๐๓ ๑๐๓ วิธีจดั เก็บข้อมูลและสถิติเพื่อการวิจยั เนื้อหาสำคัญในพระไตรปิฎก
- มีความเข้าใจประวัติความเป็นมาของวรรณคดี
วิชาเอก บาลีสันสฤต รู้คุณค่าด้านวรรณศิลป์ และความ
๘๐๓ ๑๐๔ สัททาวิเสสบาลีชนั้ สูง แตกต่างของบาลีและสันกฤต
วิชาบังคับ - มีความเข้าใจเกี่ยวกับหลักไวยากรณ์ บทบาลี
๘๐๓ ๒๐๕ อรรถกถาสังวัณณนาชั้นสูง ความหมาย โครงสร้างประโยค ฉันทลักษณ์
วิชาเอก อลังการ รส เป็นต้น
๘๐๓ ๒๐๖ เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์ - มีทักษะในการตีความคัมภีร์บาลี ตามหลักการที่
๘๐๓ ๒๐๗ ระเบียบวิธวี ิจยั บาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง ถูกต้อง

วิชาเอก ไม่นับหน่วยกิต - สามารถทำงานวิจัยด้านบาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูงได้
๘๐๓ ๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อวิจยั ทางบาลีพุทธ - สามารถใช้ภาษาอังกฤษใช้ในงานวิจัยและ
ศาสตร์ สื่อสารได้
- มีความเที่ยงตรงในการนําหลักการตามคัมภีร์
ทางพุทธศาสนามาแก้ไขปัญหาโดยยึดหลักความ
ถูกต้อง
วิชาบังคับ ไม่นับหน่วยกิต - สามารถนำคัมภีร์ต่างๆ มาบูรณาการกับด้าน
๘๐๓ ๓๐๙ หลักการบริหารและภาวะผู้นำตาม งานวิจัยหรือองค์ความรู้ใหม่
แนวบาลีพุทธศาสตร์ - สามารถบริหารจัดการและพัฒนาตนเองได้
๘๐๓ ๓๑๐ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์สมัยใหม่ - สามารถนำองค์ความรู้ใหม่มาพัฒนางานวิจัย
๓ วิชาเอก และนวัตกรรมได้
๘๐๓ ๓๑๑ สัมมนาองค์ความรู้ด้านบาลีพุทธ - แตกฉานด้านภาษาบาลีและเชื่อมโยงกับองค์
ศาสตร์ ความรู้ที่หลากหลายได้
วิชาเลือก - ปรับบุคลิกภาพ การวางตัว การสื่อสาร และมี
-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา ลักษณะความเป็นผู้นำ
๔ วิชาเลือก
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา - รู้กระบวนการทำงานวิจัยและแนวทางการทำ


-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา ดุษฎีนิพนธ์
-เลือกจากวิชาเลือก ๑ รายวิชา - ได้พัฒนางานดุษฎีนิพนธ์
- มีความรู้ และทักษะสามารถตามหลักวิชาที่ได้
ดุษฎีนิพนธ์ เลือกเรียน
๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ - เป็นผู้มีปฏิปทาน่าเลื่อมใส มีความเป็น
กัลยาณมิตร มีบุคลิกภาพที่ดี สามารใช้ภาษาใน
การสื่อสารได้อย่างเหมาะสมกับสมณสารูปและใช้
เทคโนโลยีดิจิตอลได้อย่างเหมาะสม
ดุษฎีนิพนธ์ - สามารถวางแผนกลยุทธ์และพัฒนางานวิจัยให้มี

๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ความทันสมัยอย่างมีจริยธรรม
ดุษฎีนิพนธ์ - มีทักษะในการนําคัมภีร์ทางพุทธศาสนามาต่อ
๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ยอดองค์ความรู้เพื่อพัฒนางานวิจัยนวัตกรรมที่
เป็นประโยชน์ต่อสังคม
- ได้บทความวิชาการ

- ได้บทวิจารณ์หนังสือ
- ได้สารนิพนธ์
- ได้ดุษฎีนิพนธ์ที่มีองค์ความรู้ใหม่
- ตีพิมพ์บทความดุษฎีนิพนธ์

รายวิชาในภาคการศึกษา ตามแผนการศึกษา
รายวิชาในภาคการศึกษา รายวิชาในภาคการศึกษา
(แผนการศึกษา ๒.๑) (แผนการศึกษา ๒.๒)
วิชาบังคับ ๙ วิชาบังคับ ๙
๘๐๓ ๑๐๑ บาลีพระไตรปิฎกชัน้ สูง ๘๐๓ ๑๐๑ บาลีพระไตรปิฎกชัน้ สูง
๘๐๓ ๑๐๒ วรรณคดีบาลีและสันสกฤตชั้นสูง ๘๐๓ ๑๐๒ วรรณคดีบาลีและสันสกฤตชัน้ สูง
๘๐๓ ๒๐๕ อรรถกถาสังวัณณนาชั้นสูง ๘๐๓ ๒๐๕ อรรถกถาสังวัณณนาชั้นสูง

วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต ๑๒ วิชาบังคับไม่นับหน่วยกิต ๑๒
๘๐๓ ๑๐๓ วิธีจดั เก็บข้อมูลและสถิติเพื่อการวิจยั ๘๐๓ ๑๐๓ วิธีจดั เก็บข้อมูลและสถิติเพื่อการวิจยั
๘๐๓ ๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อวิจยั ทางบาลีพุทธศาสตร์ ๘๐๓ ๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อวิจยั ทางบาลีพุทธศาสตร์
๘๐๓ ๓๐๙ หลักการบริหารและภาวะผูน้ ำตามแนวบาลี ๘๐๓ ๓๐๙ หลักการบริหารและภาวะผูน้ ำตามแนวบาลีพุทธ
พุทธศาสตร์ ศาสตร์
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๘๐๓ ๓๑๐ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์สมัยใหม่ ๘๐๓ ๓๑๐ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์สมัยใหม่

วิชาเอก ๖ วิชาเอก ๑๒
๘๐๓ ๑๐๔ สัททาวิเสสบาลีชนั้ สูง ๘๐๓ ๑๐๔ สัททาวิเสสบาลีชนั้ สูง
๘๐๓ ๒๐๗ ระเบียบวิธวี ิจยั บาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง ๘๐๓ ๒๐๖ เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์
๘๐๓ ๒๐๗ ระเบียบวิธวี ิจยั บาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง
วิชาเอก ไม่นับหน่วยกิต ๑๒ ๘๐๓ ๓๑๑ สัมมนาองค์ความรู้ด้านบาลีพุทธศาสตร์
๘๐๓ ๒๐๖ เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์
๘๐๓ ๓๑๑ สัมมนาองค์ความรู้ด้านบาลีพุทธศาสตร์
๘๐๓ ๓๒๑ อุปจาระและนยะในภาษาบาลี
๘๐๓ ๓๒๒ งานนิพนธ์สำคัญทางพระพุทธศาสนา

วิชาเลือก ๓ วิชาเลือก ๑๒
ดุษฎีนิพนธ์ ๓๖ ดุษฎีนิพนธ์ ๔๘
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ก ๕ ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตร
พุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๒ กับ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗๓

ตารางเปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๒ กับ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๗
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๒ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๗
หมวดวิชา จำนวนหน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต หมวดวิชา จำนวนหน่วยกิต จำนวนหน่วยกิต
แผน ๑.๑ แผน ๒.๑ แผน ๒.๒ แผน ๒.๑ แผน ๒.๒
๑. หมวดวิชาบังคับ ๑. หมวดวิชาบังคับ
๑.๑ นับหน่วยกิต - ๙ ๙ ๑.๑ นับหน่วยกิต ๙ ๙
๑.๒ ไม่นับหน่วยกิต ๑๕ (๑๒) (๑๒) ๑.๒ ไม่นับหน่วยกิต (๑๒) (๑๒)
๒. หมวดวิชาเอก ๒. หมวดวิชาเอก
๒.๑ นับหน่วยกิต - ๖ ๑๒ ๒.๑ นับหน่วยกิต ๖ ๑๒
๒.๒ ไม่นับหน่วยกิต (๑๒) - ๒.๒ ไม่นับหน่วยกิต (๑๒) -
๓. หมวดวิชาเลือก - ๓ ๑๒ ๓. หมวดวิชาเลือก ๓ ๑๒
๔. หมวดวิชา - - - ๔. หมวดวิชา - -
พื้นฐาน พื้นฐาน
๔. ดุษฎีนิพนธ์ ๕๔ ๓๖ ๔๘ ๔. ดุษฎีนิพนธ์ ๓๖ ๔๘
รวมทั้งสิ้น ๕๔ (๑๕) ๕๔ (๒๔) ๘๑ (๑๒) รวมทั้งสิ้น ๕๔ (๒๔) ๘๑ (๑๒)
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

เปรียบเทียบรายวิชาและแนวสังเขปรายวิชา
หลักสูตรใหม่ พ.ศ. ๒๕๖๒ หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. ๒๕๖๗ หมายเหตุ
แผน ๑.๑, แผน ๒.๑, แผน ๒.๒ แผน ๒.๑, แผน ๒.๒ ตัด แผน ๑.๑ ออก
๒.๑, ๒.๒ แบบเดิม

ตารางเปรียบเทียบรายวิชา หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์


หลักสูตรใหม่ ๒๕๖๒ หลักสูตรปรับปรุง ๒๕๖๗ ความเปลี่ยนแปลง
๘๐๓ ๑๐๑ บาลีสัททาวิเสส ๘๐๓ ๑๐๔ สัททาวิเสสบาลีชั้นสูง ๑. ปรับรหัสวิชา
๓ (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Pali Saddāvisesa Advanced Pali Saddāvisesa ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา
ศึกษาคัมภีร์สัททาวิเสส อันเป็นคัมภีร์ศัพทศา ศึกษาคัมภีร์สัททาวิเสสบาลีชั้นสูง อันเป็นคัมภีร์ เพิ่มคำอธิบาย เพื่อให้เห็นชัดถึงความสำคัญ
สตร์แสดงหลักภาษาบาลี โดยศึกษาสูตร วุตติอุทาหรณ์ แสดงหลักด้านภาษาบาลีที่เป็นอุปการะในการศึกษา ของคั ม ภี ร ์ บ าลี ส ั ท ทาวิ เ สสชั ้ น สู ง ต่ อ
จากคัมภีร ์ศัพทศาสตร์ นิฆัณฑุศาสตร์ ฉัน ทศาสตร์ พระไตรปิฎ กบาลีชั้นสูง ทั้ง ๔ ประเภท ได้แก่ คัมภีร์ การศึกษาพระไตรปิฎกบาลี
เกฏุภศาสตร์ ไวยากรณ์ คัมภีร์นิฆัณฑุศาสตร์ คัมภีร์ฉันทศาสตร์ คัมภีร์
เกฏุภศาสตร์ โดยศึกษาตามสูตร วุตติ และอุทาหรณ์
๘๐๓ ๒๐๔ สัมมนาบาลีพระไตรปิฎก ๘๐๓ ๑๐๑ บาลีพระไตรปิฎกชั้นสูง ๑. ปรับรหัสวิชา
(๓) (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Seminar on Pali Tipiṭaka Advanced Pali Tipitaka Studies ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา
สัมมนาประเด็นปัญหา เกี่ยวกับหลักการใช้ ศึกษาบาลีพระไตรปิฎกในด้านโครงสร้าง การ ในการศึ ก ษาเชิ ง วิ เ คราะห์ ภ าษาบาลี ใ น
ภาษาบาลี ใ นพระไตรปิ ฎ ก เช่ น หลั ก อั ต ถุ ท ธาระ จัดหมวดหมู่ ลักษณะพิเศษของแต่ละปิฎก เนื้อหาโดยย่อ พระไตรปิ ฎ ก สมควรที ่ จ ะได้ เ ห็ น บาลี
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

(หลักการใช้ศัพท์มีเสียงพ้องกัน ๘ ลักษณะ) อัตถสัท วิ เ คราะห์ บ ทบาลี ใ นเชิ ง หาเหตุ ผ ล จุ ด มุ ่ ง หมาย พระไตรปิฎกทั้ง ๓ คัมภีร์ในวิชาเดียวกัน จึง
ทจิ น ตา (การวิ เ คราะห์ ว ิ จ ั ย อรรถและศั พ ท์ ๑๘ สภาวธรรม ด้ว ยวิธ ีจำแนกประโยค สัมพันธ์ประโยค เพิ ่ ม รายวิ ช าใหม่ เพื ่ อ ให้ เ หมาะสมกั บ
ประการ) อัตถาติสยโยคะ (วิธีการนำความหมายพิเศษ วิเคราะห์องค์ธรรมของศัพท์ ลักษณะอุปจาระและนยะที่ การศึกษาเชิงวิเคราะห์เปรียบเทียบการใช้
ของธาตุมาใช้) เป็นต้น สรุปเป็นเอกสารรายงานเสนอ ใช้ รวมทั้งอธิบายศัพท์และอรรถตามหลักหาระ ๑๖ และ ภาษาในคั ม ภี ร ์ ส่ ว นพระไตรปิ ฎ กทั ้ ง ๓
การสัมมนา โดยคัดเลือกหัวข้อที่เป็นประเด็นปัญหาใน นยะ ๕ เป็นต้น คัมภีร์แยกเป็นวิชาสำหรับเลือกเรียน
บาลีพระไตรปิฎก
๘๐๓ ๒๐๒ ระเบียบวิธีวิจัยชั้นสูงในภาษาบาลี ๘๐๓ ๒๐๗ ระเบียบวิธวี ิจยั บาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง ๑. ปรับรหัสวิชา
๓ (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Advanced Research Methodology in Pali Advanced Research Methodology in Pali ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา
ศึกษาวิธีวิทยาการทำวิจัยทางภาษาศาสตร์ ศึ ก ษาวิ ธ ี ว ิ ท ยาการวิ จ ั ย ทางภาษาบาลี แ ละ เพิ่มคำอธิบาย เพื่อให้การศึกษาเน้ น ไปที่
โดยเฉพาะภาบาลี ทั้งในภาคทฤษฎีและภาค ปฏิบัติ ภาษาศาสตร์ รูปแบบการตีความ การวิเคราะห์ การ หลักภาษาบาลีในเชิงภาษาศาสตร์ นำไปสู่
กำหนดประเด็นปัญหาเกี่ยวกับพระพุทธศาสนา โดยให้ สังเคราะห์ การวิจัยเชิงคุณภาพ การวิจัยเชิงปริมาณ และ การตี ค วามเนื ้ อ หาในคั ม ภี ร ์พ ระไตรปิฎ ก
นิสิตกำหนดประเด็นปัญหาวิจัย โดยความเห็นชอบ การผสานวิธีตามแนวทางพระพุทธศาสนา ทั้งภาคทฤษฎี วิเคราะห์ และสังเคราะห์ เนื้อหาหลักธรรม
ของอาจารย์ประจำวิชา และภาคปฏิบ ัต ิ กำหนดประเด็ นปัญ หาวิจ ัย เกี่ ย วกั บ ให้ช ัดเจนและเข้าใจง่าย เหมาะสมกับ ยุ ค
พระพุ ท ธศาสนาในปั จ จุ บ ั น โดยความเห็ น ชอบของ สมัย
อาจารย์ประจำวิชา
๘๐๓ ๑๐๒ วรรณคดีบาลีและสันสกฤตชั้นสูง เพิ ่ ม รายวิ ช าใหม่ เพื ่ อ ให้ น ิ ส ิ ต มี ค วามรู้
๓ (๓-๐-๖) เกี ่ ย วกั บ วรรณคดี บ าลี เ ปรี ย บเที ย บกั บ
Advanced Pali and Sanskrit Literature สันสกฤต
ศึ ก ษาประว ั ต ิ ค ว ามหมายประเภทและ
พัฒนาการของวรรณกรรมต่างๆ ที่บันทึกด้วยภาษาบาลี
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

และวรรณกรรมบาลี ใ นประเทศไทย และวรรณคดี


สันสกฤตตั้งแต่สมัยพระเวทจนถึงสมัยสันสกฤตแบบแผน
๘๐๓ ๓๐๓ อรรถกถาสังวัณณนา ๘๐๓ ๒๐๕ อรรถกถาสังวัณณนาชั้นสูง ๑. ปรับรหัสวิชา
๓ (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Atthakathāsamvaṇṇanā Advanced Atthakathāsamvaṇṇanā ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา
ศึกษาวิธ ีการอธิบ ายพระไตรปิฎ กตามหลั ก ศึ ก ษาโครงสร้ างและความเป็ นมาของคัมภีร์ เพิ่มให้ศึกษาโครงสร้างและความเป็นมาของ
อรรถกถา ๕๘ ลั ก ษณะ โดยแยกเป็ น รู ป ศั พ ท์ ๑๓ อรรถกถา ศึกษาวิธ ีการอธิบายพระไตรปิฎกตามหลัก คัมภีร์อรรถกถา
ลักษณะ ความหมายของรูปศัพท์ ๑๒ ลักษณะ การ อรรถกถา ๕๘ ลั ก ษณะ โดยแยกเป็ น รู ป ศั พ ท์ ๑๓
อธิบายรูปศัพท์และความหมายรวมกัน๒๕ ลักษณะ ลั ก ษณะ ความหมายของรู ป ศั พ ท์ ๑๒ ลั ก ษณะ การ
และการอธิบายลักษณะทั่วไป ๘ ลักษณะ และศึกษา อธิบายรูปศัพท์ และความหมายรวมกั น ๒๕ ลักษณะ
ระเบียบการขยายความของพระอรรถกถาจารย์ ๔๐ และการอธิบายลักษณะทั่ว ไป ๘ ลักษณะ และศึกษา
ข้อ ระเบียบการขยายความของพระอรรถกถาจารย์ ๔๐ ข้อ
๘๐๓ ๑๐๓ วิธีจัดเก็บข้อมูลและสถิติเพื่อการวิจัย เพิ่มรายวิชาใหม่ เพื่อให้นิสิตมีความสามารถ
๓ (๓-๐-๖) ในการเก็บข้อมูลและใช้หลักสถิติ ในการทำ
Data collection methods and การวิจัย
statistics for research
ศึ ก ษาวิ ธ ี ก ารทางสถิ ต ิ ท ี ่ ใ ช้ ใ นการวิ จ ั ย การ
วิเคราะห์ข้อมูล เครื่องมือสำหรับการเก็บรวบรวมข้อมูล
แบบต่างๆ การสรุปข้อมูล และการนำเสนอผลการสรุป
กำหนดให้ น ิ ส ิ ต ฝึ ก เขี ย นวั ต ถุ ป ระสงค์ ข องงานวิ จั ย
ขอบเขตการศึกษา การกำหนด ขนาดตัวอย่าง การเลือก
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

แผนการเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล และการ


สรุปผลการวิเคราะห์
๘๐๓ ๑๐๕ งานวิช าการภาษาอั ง กฤษเพื่ อ การ ๘๐๓ ๒๐๘ ภาษาอังกฤษเพื่อวิจัยทางบาลีพุทธศาสตร์ ๑. ปรับรหัสวิชา
วิจัย (๓) (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
English Academic Works for Research English for Buddhist Pali Research ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา
ศึ ก ษางานวิ ช าการหรื อ งานวิ จ ั ย สำคัญ ทาง ศึกษาหลักการใช้ภาษาอังกฤษขั้นสูง ฝึกทักษะ ปรับคำอธิบาย เน้นให้มีทักษะครบทุกด้าน
พระพุทธศาสนาในภาคภาษาอังกฤษ โดยเน้นให้นิสิต ในการฟัง พูด อ่าน สนทนา การเขียนเพื่องานวิชาการ และมีความสามารถในการเขียนงานวิชาการ
เกิดทักษะการอ่านเอกสารวิช าการภาษาอังกฤษ รู้ บาลี พ ุ ท ธศาสตร์ ช ั ้ น สู ง การวิ เ คราะห์ อ่ า นเอกสาร ด้านภาษาบาลี
ศัพท์สำนวนภาษาอังกฤษทางพระพุทธ ศาสนา รวมทั้ง วิช าการภาษาอั ง กฤษ ศัพท์ส ำนวนภาษาอัง กฤษทาง
ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบ โครงสร้าง เนื้อหา และองค์ พระพุทธศาสนา การแสวงหาองค์ความรู้ใหม่ทางภาษา
ความรู้ใหม่ ในงานวิชาการ หรืองานวิจัยเรื่องนั้ น ๆ บาลีพุทธศาสตร์เชิงวิชาการ การนำเทคนิคต่างๆ ไปใช้ใน
เพื่อประโยชน์ในการค้นคว้าข้อมูลประกอบการทำวิจัย การอ่าน เขียนบทความ งานวิจัย และตำราในสาขาวิชา
บาลีพุทธศาสตร์

๘๐๓ ๒๐๖ ภาษาบาลีเพื่อการสื่อสาร ยุบรายวิชา เอาไปรวมอยู่ในรายวิชา การ


(๓) (๓-๐-๖) แปลและการสื่อสารบาลีชั้นสูง
Pali for Communication
ศึกษาการแปลแต่งเรียงความภาษาบาลี เพื่อ
การนำเสนอบทความและผลงานทางภาษาบาลี
รวมทั้งฝึกการเขียนจดหมายเพื่อการติดต่อสื่อสาร
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๘๐๐ ๓๐๗ วิปัสสนากรรมฐาน ยุ บ รายวิ ช า เพราะรวมกั บ ข้ อ บั ง คั บ ของ


(๓) (๓-๐-๖) หลั ก สู ต รปฏิ บ ั ต ิ ก รรมฐาน ๔๕ วั น ตาม
Meditation ระเบียบของมหาวิทยาลัย
ศึ ก ษาวิ ป ั ส สนากรรมฐานภาคทฤษฎี แ ละ
ภาคปฏิ บ ั ต ิ ต ามระยะเวลาและสถานที ่ ที ่ บ ั ณ ฑิ ต
วิทยาลัยกำหนด โดยในภาคทฤษฎีเน้นศึกษาวิเคราะห์
การปฏิบัติกรรมฐานของพระพุทธศาสนาของยุคต้นใน
พระไตรปิฎกและการปฏิบัติกรรมฐานในคัมภีร์ยุคหลัง
เช่น วิมุตติมรรค วิสุทธิมรรค รวมทั้งรูปแบบการปฏิบัติ
กรรมฐานของสำนักต่าง ๆ ในสังคมไทย
๘๐๓ ๑๐๘ การวิเคราะห์บาลีพระวินัยปิฎก ๘๐๓ ๓๑๒ บาลีพระวินัยปิฎกชั้นสูง ๑. ปรับรหัสวิชา
๓ (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Analysis of Pali Vinayapitฺaka Advanced Pali Study of Vinayapitaka ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา
ศึกษาเชิงวิเคราะห์บาลีพระวินัยปิฎก ในเชิง ศึกษาเชิงวิเคราะห์บทบาลีในพระวินัยปิฎก ใน ปรับคำอธิบายเพิ่มเล็กน้อยเพื่อให้ครบถ้วน
หาเหตุผล, จุดมุ่งหมาย, สภาวธรรม ด้วยวิธีจำแนก เชิงหาเหตุผล จุดมุ่งหมาย สภาวธรรม ด้วยวิธีจำแนก ทั้งการศึกษาด้านพยัญชนะและอรรถะ
ประโยค, สัมพันธ์ประโยค, วิเคราะห์องค์ธรรมศัพท์ , ประโยค สัมพันธ์ประโยค วิเคราะห์องค์ธรรมของศัพท์
ลักษณะอุปจาระนยะ, สงเคราะห์ศัพท์และอรรถตาม ลักษณะอุปจาระและนยะ รวมทั้งอธิบายศัพท์และอรรถ
หลักหาระ ๑๖ เป็นต้น ตามหลักหาระ ๑๖ และนยะ ๕ เป็นต้น
๘๐๓ ๒๐๙ การวิเคราะห์บาลีพระสุตตันตปิฎก ๘๐๓ ๓๑๓ บาลีพระสุตตันตปิฎกชั้นสูง ๑. ปรับรหัสวิชา
๓ (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Analysis of Pali Suttantapitฺaka Advanced Pali Study of Suttantapitaka ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๗๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ศึกษาเชิงวิเคราะห์บาลีพระสุตตันตปิฎก ใน ศึกษาเชิงวิเคราะห์บทบาลีในพระสุตตันตปิฎก ปรับคำอธิบายเพิ่มเล็กน้อยเพื่อให้ครบถ้วน


เชิงหาเหตุผล, จุดมุ่งหมาย สภาวธรรม ด้วยวิธีจำแนก ในเชิงหาเหตุผล จุดมุ่งหมาย สภาวธรรม ด้วยวิธีจำแนก ทั้งการศึกษาด้านพยัญชนะและอรรถะ
ประโยค, สัมพันธ์ ประโยค, วิเคราะห์องค์ธรรมศัพท์, ประโยค สัมพันธ์ประโยค วิเคราะห์องค์ธรรมของศัพท์
ลักษณะอุปจาระนยะ สงเคราะห์ศัพท์และอรรถตาม ลักษณะอุปจาระและนยะ รวมทั้งอธิบายศัพท์และอรรถ
หลักหาระ ๑๖, วิธ ีเข้าถึงพุทธประสงค์ด้ว ยหลักอา ตามหลักหาระ ๑๖ และนยะ ๕ เป็นต้น
โภคะ เป็นต้น
๘๐๓ ๓๑๐ การวิเคราะห์บาลีพระอภิธรรมปิฎก ๘๐๓ ๓๑๔ บาลีพระอภิธรรมปิฎกชั้นสูง ๑. ปรับรหัสวิชา
(๓)(๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Analysis of Pali Abhidhammapitฺaka Advanced Pali Study of Abhidhammapitaka ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา
ศึกษาเชิงวิเคราะห์บาลีพระอภิธรรมปิฎก ใน ศึกษาเชิงวิเคราะห์บทบาลีในพระอภิธรรมปิฎก ปรับคำอธิบายเพิ่มเล็กน้อยเพื่อให้ครบถ้วน
เชิงหาเหตุผล, จุดมุ่งหมาย, สภาวธรรม ด้วยวิธีจำแนก ในเชิงหาเหตุผล จุดมุ่งหมาย สภาวธรรม ด้วยวิธีจำแนก ทั้งการศึกษาด้านพยัญชนะและอรรถะ
ประโยค, สัมพันธ์ ประโยค, วิเคราะห์องค์ธรรมศัพท์ ประโยค สัมพันธ์ประโยค วิเคราะห์องค์ธรรมของศัพท์
และวินิจฉัยลักขณาทิจตุกกะเป็นต้น ศึกษาลักษณะอุป และวินิจฉัยลักขณาทิจตุกกะเป็นต้น ศึกษาลักษณะอุป
จาระนยะ, สงเคราะห์ศัพท์และอรรถตามหลักหาระ จาระและนยะ รวมทั้งอธิบายศัพท์และอรรถตามหลักหา
๑๖, วิธีเข้าถึงพุทธประสงค์ด้วยหลักอาโภคะ, วิธีการ ระ ๑๖ และนยะ ๕ เป็นต้น
จำแนก ด้วยหลักทัสสนัตถนัย เป็นต้น

๘๐๓ ๓๐๙ หลักการบริหารและภาวะผู้นำตามแนวบาลี เพิ่มรายวิชาใหม่ เพื่อให้ได้ดุษฎีบัณฑิตที่เป็น


พุทธศาสตร์ ๓ (๓-๐-๖) เอกลักษณ์ มีความสามารถในการบริห าร
Principle of Administration and และมีภาวะผู้นำ โดยใช้หลักการที่ปรากฏใน
Leadership Based on Buddhist Pali Studies พระไตรปิฎกเป็นแนวทาง
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๘๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ศึกษาวิเคราะห์หลักการบริหารและภาวะผู้นำ
ตามแนวบาลีพุทธศาสตร์ที่มีปรากฏในพระไตรปิฎก ทั้ง
ในระดับครอบครัว ญาติพี่น้อง สังคม การทำงาน และ
การปกครองในระดั บ ต่ า ง ๆ เพื ่ อ นำหลั ก การใน
พระไตรปิฎกมาประยุกต์ใช้ชีวิตประจำวัน และทำวิจัย
เพื่อหาแนวทางที่เหมาะสมกับสังคมปัจจุบัน
๘๐๓ ๓๑๐ บาลีพุทธศาสตร์กับศาสตร์สมัยใหม่ เพิ่มวิรายชาใหม่ เพื่อให้การศึกษาบาลีพุทธ
๓ (๓-๐-๖) ศ า ส ต ร ์ ม ี ค ว า ม ท ั น ส ม ั ย ว ิ เ ค ร า ะ ห์
Buddhist Pali Studies and Modern เปรียบเทียบ ประยุกต์ การอธิบายคำสอนให้
Sciences เข้าใจได้ง่าย
ศึ ก ษาวิ เ คราะห์ บ าลี พ ุ ท ธศาสตร์ ก ั บ ศาสตร์
สมัยใหม่ที่ครอบคลุมวิทยาศาสตร์ สังคมศาสตร์ และ
มนุ ษ ยศาสตร์ โดยวิ เ คราะห์ เปรี ย บเที ย บ และการ
ประยุกต์ เพื่ออธิบายคำสอนทางพระพุทธศาสนา และ
วิเคราะห์ประเด็นปัญหาที่ควรนำมาศึกษาวิจัยต่อยอด
๘๐๓ ๑๑๑ เนตติปกรณ์ ๘๐๓ ๒๐๖ เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์ ๑. ปรับรหัสวิชา
๓ (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Nettipakaraṇa Nettipakarana and Petakopadesapakarana ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา
ศึกษาระเบียบวิธีการตามนัยของคัมภีร์เนตติ ศึกษาคัมภีร์เนตติปกรณ์และเปฏโกปเทสปกรณ์ ปรับคำอธิบายให้ครอบคลุมการเรียนรู้ ใน
ด้ ว ยหลั ก หาระ ๑๖ นั ย มี เ ทศนาหาระ (หลั ก การ ในประเด็นเกี่ยวกับความเป็นมา ความหมาย โครงสร้าง คัมภีร์ เนตติปกรณ์ และเพิ่มการศึ ก ษา
อธิบ ายพุทธพจน์โ ดยการจำแนกเนื้อหาออกเป็น ๖ และเนื้อหา ศึกษาเนื้อหา ๓ ส่วน ได้แก่ หาระ ๑๖ เป็น คัมภีร์เปฏโกปเทส ปกรณ์ ซึ่งเป็นคัมภีร์ที่มี
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๘๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ประเด็ น ) เป็ น ต้ น ด้ ว ยหลั ก การจำแนกพุ ท ธพจน์ หลักในการอธิบายด้านพยัญชนะ นยะ ๕ เป็นวิธีอธิบาย เนื ้ อ หาใกล้ เ คี ย งกั น เพื ่ อ การศึ ก ษา
โดยนัย ๕ อย่างมีนันทิยาวัฏฏนัย เป็นต้น และด้วย ด้านอรรถะสาสนปัฏ ฐาน ๑๖ และสาสนปัฏ ฐาน ๒๘ เปรียบเทียบ
หลักสาสนปัฏฐาน ๑๖ ประการ มีสังกิเลสภาคิยสูตร เป็นการจัดหมวดหมู่พระพุทธพจน์โดยอาศัยเนื้อหาสาระ
เป็นต้น และศึกษาวิธีขยายความในพระไตรปิฎก ตาม เป็นสำคัญ วิเคราะห์มูลบท ๑๘ อันเป็นพื้นฐานสำหรับ
แนวอรรถกถา มี ห ลั ก การตั ้ ง ฐปนา (ความเห็ น ขั้ น พิจารณาเนื้อความในพระพุทธพจน์
สมมติฐาน) อาโภคะ (ความมุ่งหมายหรือความดำริอัน
เป็นการคาดคะเนข้อสงสัยของ พระอรรถกถาจารย์)
และ ปุจฉา (คำถาม)
๘๐๓ ๓๑๑ สัมมนาองค์ความรูด้ า้ นบาลีพุทธศาสตร์ เพิ่มรายวิชาใหม่ เพื่อฝึกทักษะการค้นคว้า
๓ (๓-๐-๖) องค์ความรู้ด้านภาษาบาลีในคัมภีร์ต่าง ๆ
Buddhist Pali Studies Seminar
ศึกษาความรู้เกี่ยวกับพุทธศาสนาบาลี ภาพรวม
พระพุทธศาสนา ความสำคัญทางประวัติศาสตร์ คัมภีร์
บาลี ท ี ่ ส ำคั ญ ของฝ่ า ยบาลี เ ถรวาทและผู ้ แ ต่ ง คั ม ภี ร์
อภิปรายการจัดหมวดหมู่คำสอนในนิกายเถรวาท และ
มหายาน คำสอนพระวิ น ั ย พระสู ต ร พระอภิ ธ รรม
หลักธรรมที่เป็นประเด็นปัญหาการตีความในปัจจุบัน
และการค้นพบองค์ความรู้ใหม่และนวัตกรรมทางด้าน
พระพุทธศาสนาของนักวิชาการ
๘๐๓ ๒๑๒ สัททนีติธาตุมาลา ๘๐๓ ๓๑๕ สัมมนาคัมภีร์สัททนีติ ๑. ปรับรหัสวิชา
๓ (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๘๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

Saddanītidhatumāla Seminar on Saddanīti Scripture ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา


ศึกษาคัมภีร ์ธ าตุมาลาตามลำดับ ปริเ ฉทสร สัมมนาหลักภาษาบาลีชั้นสูงตามแนวคัมภีร์สัทท ปรับรายวิชาเพื่อให้การศึกษาคัมภีร์สัททนีติ
วรรคปัญจกันติกธาตุ ภูวาทิคณิกธาตุ รุธาทิฉักธาตุ จุ นีติทั้งด้านบทบาลี รากศัพท์และสูตรไวยากรณ์ โดย ทั้ง ๓ ชุด เจาะจงไปสู่วิเคราะห์บทบาลีใน
ราคณปริทีปนธาตุ และสัพพคณวินิจฉัยธาตุเป็นต้น วิเคราะห์รากศัพท์ที่มีใช้ในบาลีพระไตรปิฎกในคัมภีร์ พระไตรปิฎก จัดรายวิชาเป็นสัมมนา เพื่อให้
สัททนีติ ธาตุมาลา วิเคราะห์บทบาลีในสัททนีติ ปท นิ ส ิ ต มี ท ั ก ษะในการศึ ก ษาค้ น คว้ า และ
มาลา และ วิเคราะห์ส ูตรไวยากรณ์ในคัมภีร์ส ัททนีติ นำเสนอ
สุตตมาลา
๘๐๓ ๓๑๓ สัททนีติปทมาลา ยุบรายวิชา ไปรวมกับรายวิชา สัมมนาคัมภีร์
๓ (๓-๐-๖) สัททนีติ เพื่อให้การศึกษาค้นคว้าต่อเนื่อง
Saddanītipadamāla รวมเป็นชุดเดียวกัน
ศึ ก ษาการวิ เ คราะห์ บ ทในคั ม ภี ร ์ ส ั ท ทนี ติ
ตามลำดับ ปริ เ ฉทได้ แ ก่ สวิกรณาขยาตวิภ าค ภวติ
กิริยาปทมาลาวิภาค ปกิณณกวินิจฉัย ภูธาตุมยนามิ
กรูปวิภาค โอการันตปุลลิงคนามิกปทมาลาวิภาค อา
การันตปุลลิงคนามิกปทมาลา นิคคหีตันตาทิปุลลิงคนา
มิกปทมาลา อิตถีลิงคนามิกปทมาลา นปุงสกลิงคนา
มิกปทมาลา เป็นต้น
๘๐๓ ๓๑๔ กถาวัตถุปกรณ์ ยุบรายวิชา เพราะเป็นส่วนหนึ่งของคัมภีร์
๓ (๓-๐-๖) อภิธรรมปิฎก
Kathāvatthupakaraṇa
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๘๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บหลั ก วาทศาสตร์ ข อง


พระพุทธศาสนาเถรวาทกับนิกายอื่น ๆ
๘๐๓ ๓๑๕ ศึกษาอิสระในบาลีพุทธศาสตร์ ๘๐๓ ๓๑๖ ศึกษาอิสระบาลีพุทธศาสตร์ ๑. ปรับรหัสวิชา
๓ (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Independent Study in Buddhist Pali Studies Independent Study on Buddhist Pali Studies
ศึกษาหัวข้อที่นักศึกษาเลือกเอง โดยปรึกษา ศึกษาบาลีพุทธศาสตร์ในหัวข้อที่นักศึกษาเลือก
จากอาจารย์และประเมิน ผลโครงการ โดยอาจารย์ เอง โดยปรึกษาจากอาจารย์และประเมินผลโครงการโดย
นิสิตและอาจารย์จ ัดทำแผนการศึกษาของโครงการ อาจารย์ นิ ส ิ ต และอาจารย์ จ ั ด ทำแผนการศึ ก ษาของ
เกี่ยวกับบาลีพุทธศาสตร์ คัมภีร์พระไตร ปิฎก อรรถ โครงการเกี่ยวกับบาลีพุทธศาสตร์ คัมภีร์พระไตร ปิฎก
กถา ฎีกา และปกรณ์วิเสส อื่น ๆ อรรถกถา ฎีกา และปกรณ์วิเสสอื่น ๆ
๘๐๓ ๒๑๖ วิธีวิจัยทางภาษาศาสตร์ชั้นสูง ยุ บ รายวิ ช า เพราะรวมอยู ่ ก ั บ รายวิ ช า
๓ (๓-๐-๖) ระเบียบวิธีวิจัยบาลีพุทธศาสตร์ชั้นสูง
Advanced Research Methodology in Linguistics
ศึกษาวิธีการวิจัยทางภาษาศาสตร์ ซึ่งแตกต่าง
ไปตามประเภทของงานวิจ ัย การเลือกหัว ข้อวิจัยที่
เหมาะสม การจัดทำโครงการ วิจัย วิธีดำเนินการวิจัย
และการเขียนรายงานผลการวิจัย
๘๐๓ ๒๑๗ สั ม มนาการถ่ า ยทอดและ แปล ๘๐๓ ๓๒๐ การแปลและการสื่อสารบาลีชั้นสูง ๑. ปรับรหัสวิชา
พระไตรปิฎก ๓ (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Seminar on Tipiṭaka Transmission and Advanced Pali Translation and ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา
Translation Communication
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๘๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ศึ ก ษาทฤษฎี แ ละหลั ก การในการถ่ า ยทอด ศึ ก ษาทฤษฎี แ ละหลั ก การในแปลตามหลั ก ปรับคำอธิบายเน้นไปที่การศึกษาตัวอย่าง


ภาษาตามหลักภาษาศาสตร์ เปรียบเทียบให้เห็น การ ภาษาศาสตร์ เปรียบเทียบให้เห็นการถ่ายทอดภาษาบาลี จากบาลีพระไตรปิฎกเป็นหลัก
ถ่ายทอดภาษาบาลีเป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็น เป็นภาษาไทย และภาษาไทยเป็นภาษาบาลี โดยอาศัย
ภาษาบาลี โดยอาศัยตัวอย่างจากบาลีพระไตรปิฎก ตั ว อย่ า งจากบาลี พ ระไตรปิ ฎ ก ศึ ก ษาการแปลแต่ ง
เรี ย งความภาษาบาลี เพื ่ อ การนำเสนอบทความและ
ผลงานทางภาษาบาลี
๘๐๓ ๓๑๗ อักษรจารึกพระไตรปิฎก เพิ่มรายวิชาใหม่ เพื่อให้นิสิตมีความสามารถ
๓ (๓-๐-๖) ในการอ่านอักษรจารึกพระไตรปิฎกต่าง ๆ
Scripts on Pali Tipitaka ได้ เพื่อการเปรียบเทียบ วิจัย และเผยแผ่คำ
ศึกษาอักษรต่าง ๆ ที่ใช้จารึกในพระไตรปิฎ ก สอน อย่างกว้างขวางออกไป
คือ อักษรโรมัน เทวนาครี พม่า มอญ ขอม ธรรมล้านนา
ธรรมอีสาน และอักษรสิงหล ให้สามารถอ่านออกเขียนได้
๘๐๓ ๓๑๘ หลักพุทธสุนทรียศาสตร์ด้านภาษาบาลี เพิ่มรายวิชาใหม่ เพื่อให้นิสิตมีความสามารถ
๓ (๓-๐-๖) ในการวิ เ คราะห์ ค วามสวยงามและรส
Buddhist Aesthetics Principle on Pali ทางด้านภาษา ที่มีอยู่ในบาลีพระไตรปิฎก
ศึกษาหลักพุทธสุนทรียะ ทฤษฎีรสทางวรรณคดี เป็นการศึกษาเชิงลึกอีกด้านหนึ่ง
บาลี หลักการแต่งฉันท์ในคัมภีร์อลังการะ การใช้คำบาลี
ให้ไพเราะสละสลวย แสดงคุณและโทษของคำ โวหาร
การร้อยแก้วและร้อยกรอง วิเคราะห์ตัวอย่างการใช้คำ
ตามหลักสุนทรียศาสตร์จากบาลีพระไตรปิฎก อรรถกถา
และคัมภีร์สำคัญอื่น ๆ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๘๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๘๐๓ ๓๑๘ ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บไวยากรณ์ บ าลี ๘๐๓ ๓๑๙ เปรียบเทียบบาลีและสันสกฤต ๑. ปรับรหัสวิชา
และสันสกฤต ๓ (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Comparative Studies of Pali and Sanskrit Comparison of Pali and Sanskrit
Grammars ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บบาลี ก ั บ สั น สกฤต โดย
ศึ ก ษาเปรี ย บเที ย บหลั ก ไวยากรณ์ บ าลี กั บ เปรี ย บเที ย บรากศั พ ท์ การสร้ า งคำกริ ย า คำนาม
สัน สกฤต โดยเปรีย บเทีย บรากศั พ ท์ แ ละวิธ ี ใช้ จ าก ไวยากรณ์และวิธีใช้จากคัมภีร์กัจจายนะ โมค
คัมภีร์กัจจายนะ โมคคัลลานะ สัททนีติ และคัมภีร์ คัลลานะ สัททนีติ และคัมภีร์ปาณินิ
ปาณินิ
๘๐๓ ๓๑๙ บาลีตักกนัย ยุบรายวิชา เพราะเนื้อหารวมอยู่ในบางส่วน
๓ (๓-๐-๖) ของพระอภิธรรมปิฎก อรรถกถา และคัมภีร์
Pali Takkanaya (Pali in term of logic) เนตติปกรณ์
ศึกษากระบวนการใช้ภาษาอย่างมีเหตุผล อัน
นำมาสู ่ ก ารตั ้ ง ข้ อ ซั ก ถามหาเหตุ ผ ลเพื ่ อ หาข้ อ ยุ ติ
เกี่ยวกับกระบวนการใช้ถ้อยคำ ประโยค และภาษาใน
ที่นั้น ๆ ทางตักกนัย ๔ ประเภท คือ อนุสนธิตักกนัย
ปุจฉาตักกนัย ๔ ประเภท โจทนาตักกนัย ๔ ประเภท
อภิยาจกตักกนัย และศึกษาวิธ ีการสัมพั นธ์ประโยค
๔๘ นั ย มี ส ั ท ทนั ย (ความสั ม พั น ธ์ ท างไวยากรณ์ )
ปัญญัตินัย (ความสัมพันธ์ตามโวหารชาวโลกนิยมใช้สื่อ
ความหมาย) และปรมั ต ถนั ย (ความสั ม พั น ธ์ ท าง
ปรมัตถมีปกตูปนิสสยปัจจัย)เป็นต้น
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๘๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๘๐๓ ๓๒๐ งานนิ พ นธ์ ท างภาษาบาลี เ พื ่ อ การ ๘๐๓ ๓๒๒ งานนิพนธ์สำคัญทางพระพุทธศาสนา ๑. ปรับรหัสวิชา
วิจัย ๓ (๓-๐-๖) ๓ (๓-๐-๖) ๒. ปรับชื่อวิชา
Buddhist Pali Works for Research Selected Pali Texts of Buddhism ๓. ปรับคำอธิบายรายวิชา
ศึกษางานนิพนธ์ที่สำคัญทางภาษาบาลี เช่น ศึ ก ษางานนิ พ นธ์ ภ าษาบาลี ท ี ่ ส ำคั ญ ทาง ปรับคำอธิบาย ให้การศึกษาภาษาบาลีเน้น
มิลินทปัญหา วิมุตติมรรค วิสุทธิมรรค มังคลัตถทีปนี พระพุทธศาสนา เช่น มิลินทปัญหา วิมุตติมรรค วิสุทธิ ไปที่คัมภีร์ทางพระพุทธศาสนา
ชินาลังการ โดยเน้นให้นิสิตมีความรู้ในศัพท์สำนวน มรรค มังคลัตถทีปนี ชินาลังการ โดยเน้นให้นิสิตมีความรู้
วิชาการทางพระพุทธศาสนา รวมทั้งศึกษาวิเคราะห์ ในศั พ ท์ ส ำนวนวิ ช าการทางพระพุ ท ธศาสนา รวมทั้ ง
รูปแบบการแต่งคัมภีร ์ โครงสร้าง เนื้อหา และองค์ ศึกษาวิเคราะห์รูปแบบการแต่งคัมภีร์ โครงสร้าง เนื้อหา
ความรู้ในงานนิพนธ์ทาง พระพุทธศาสนาเรื่องนั้น ๆ และองค์ความรู้ในงานนิพนธ์ ทาง พระพุทธศาสนาเรื่อง
เพื่อประโยชน์ในการค้นคว้าข้อมูลประกอบการทำวิจัย นั้น ๆ เพื่อประโยชน์ในการค้นคว้าข้อมูลประกอบการทำ
วิจัย
๘๐๓ ๓๒๑ อุปจาระและนยะในภาษาบาลี เพิ่มรายวิชาใหม่ เพื่อให้ดุษฎีบัณฑิตมีความ
๓ (๓-๐-๖) รอบรู้ในการใช้คำพูดโดยอ้อม และนัยต่าง ๆ
Upacāra and Naya in Pali Language ในพระไตรปิฎกที่โบราณาจารย์รวบรวมไว้
ศึกษาการใช้คำพูดโดยอ้อมในภาษาบาลีตาม
หลักอุปจาระ ๑๒ ได้แก่ การณูปจาระ ผลูปจาระ สทิสู
ปจาระ ฐานูปจาระ เป็นต้น และศึกษาวิธีการที่จะทำให้รู้
ความหมายของพระบาลีได้อย่างชัดเจนตามหลักนัย ๔๐
หรือ นัย ๕๕ ได้แก่ ปัจจาสันนนัย ปัจจาสัตตนัย ปธาน
นัย อุปลักขณนัย นิทัสสนนัย เป็นต้น
๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๘๐๐ ๓๐๐ ดุษฎีนิพนธ์ ๑. ปรับคำอธิบายรายวิชา
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๘๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

Dissertation Dissertation ให้มีรายละเอียดเป็น ๓ ระยะอย่างชัดเจน


เป็ น โครงการเฉพาะบุ ค คลที ่ ม ี เ นื ้ อ หาตาม โดยมีลำดับขั้นตอนการดำเนินการ ดังนี้
ลักษณะวิชาที่กำหนดไว้ในหลักสูตร ระยะที่ ๑ ให้ผู้เรียนนำเสนอโครงร่างดุษฎีนิพนธ์ โดยการ
กำหนดหัวข้อ ความเป็นมาของ ปั ญ หาวั ตถุ ประสงค์
วิธีการวิจัย ประโยชน์ที่คาดว่าจะได้รับ
ระยะที่ ๒ นิสิตต้องส่งงาน ๓ บท เพื่อสอบหัวข้อ
ระยะที่ ๓ ส่งเล่มครบสมบูรณ์ เพื่อสอบดุษฎีว ิจารณ์
สอบป้องกันดุษฎีนิพนธ์
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๘๘

ภาคผนวก ข
ระเบียบ ข้อบังคับ และประกาศที่เกี่ยวข้อง
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๘๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๙๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๙๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๙๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๙๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๙๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๙๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๙๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๙๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๙๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๙๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๐๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๐๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๐๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๐๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๐๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๐๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๐๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๐๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๐๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๐๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๑๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๑๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๑๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๑๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๑๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๑๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๑๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๑๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๑๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๑๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ภาคผนวก ค
ประวัติและผลงานทางวิชาการของอาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ประจำหลักสูตร
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๑. พระมหาโกมล กมโล,รศ.ดร.
๑. ชื่อ/ฉายา/สกุล พระมหาโกมล กมโล,รศ.ดร.
๒. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสฤต
อาจารย์ประจำ เลขที่ ๖๕๘ วันที่ ๑ ตุลาคม ๒๕๕๐
๓. สาขาที่เชี่ยวชาญ บาลี-สันสกฤต, พระพุทธศาสนา
๔. สังกัด-สถานที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส
นครปฐม
๕.คุณวุฒิ
ปีที่สำเร็จ
คุณวุฒิ สถานที่ศึกษา
การศึกษา
ปร.ด. (สันสกฤตศึกษา) ๒๕๖๔ มหาวิทยาลัยศิลปากร
ศศ.ม. (สันสกฤต) ๒๕๔๘ มหาวิทยาลัยศิลปากร
พธ.บ. (บาลีพุทธศาสตร์) ๒๕๔๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ป.ธ.๘ (ภาษาบาลี) ๒๕๕๐ กองบาลีสนามหลวง

๖. ภาระงานในความรับผิดชอบ(ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)
๖.๑ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑. ขุททกนิกายปาลิ ๑, ๒ มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒. วรรณคดี มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓. พระสุตตันตปิฎก มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๔. อภิธาน มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๕. มังคลัตถทีปนี มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖. ศึกษาอิสระทางบาลีพุทธศาสตร์ มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๗. ชีวิตและผลงานของปราญช์ทางพระพุทธศาสนา มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖.๒ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑. การใช้ภาษาบาลี ๑, ๒ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย

๖.๓ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาเอก
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน


๑. การใช้ภาษาบาลี ๑,๒ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย

๗. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา)
๗.๑ งานวิจัย
พระมหาโกมล กมโล และพระมหาชิต ฐานชิโต. “บทบาลีในคัมภีร์อภิธัมมัตถวิภาวินี ปัญจิกา อัตถโยชนา ตาม
สูตรคัมภีร์สัททาวิเสส: ศึกษาเชิงวิเคราะห์” ตีพิมพ์ใน วารสารบัณฑิตศึกษาปริทรรศน์ (TCI-2). ปีที่
๑๕ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม ๒๕๖๒) หน้า ๑๒๕-๑๓๗.
พระมหาโกมล กมโล, ปรมัตถ์ คำเอก, จิรพัฒน์ ประพันธ์วิทยา. “การศึกษาวิเคราะห์กระบวนการสร้างคำในมหา
กาพย์เสานทรนัน ทะ ตามหลักคัมภีร์อัษฏาธยายีของปาณินิ ” ตีพิมพ์ใน วารสารบัณ ฑิตศึก ษา
ปริทรรศน์ (TCI-2).ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๖ (พฤศจิกายน -ธันวาคม ๒๕๖๓) หน้า ๒๐๙๘-๒๑๑๕
พระมหาโกมล กมโล, พระภาวนาพิศาลเมธี , พระครูปลัดสัม พิพัฒ นธรรมาจารย์ , พระประเทือง ขนฺติโ ก,
ชํานาญ เกิดช่อและสังข์วาล เสริมแก้ว “นามานุกรม วิปัสสนา ภาวนา ใน คัมภีร์ พระพุทธ ศาสนา”
วารสารศิลปะการจัดการ (TCI-1). ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๖) หน้า ๑ -๑๖

๗.๒ บทความวิชาการ
พระมหาโกมล กมโล, ชัยชาญ ศรีหานู, คชาภรณ์ คำสอนทา และธานี สุวรรณประทีป. “การตีความพุทธภาวะ
เชิงอัตวิสัยที่มีผลต่องานวรรณกรรมของพระอัศวโฆษ”. ตีพิมพ์ในวารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร
(TCI-1). ปีที่ ๗ บับที่ ๔ (กรกฎาคม–สิงหาคม ๒๕๖๒): หน้า ๑๑๖๗-๑๑๗๘.
พระมหาโกมล กมโล, ผศ. และ รศ.ดร.สำเนียง เลื่อมใส. “หลักปฏิบัติกรรมฐานที่เป็นลักษณะเฉพาะของการ
บรรลุธรรม ของพระสาวกในสมัยพระพุทธเจ้า ”. มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ (TCI-2). : ปีที่
๕ ฉบับที่ ๑ (มกราคม - มิถุนายน ๒๕๖๒) : ๑ – ๒๒.
Phramaha Komon Kamalo, Thanee Suwanpratheep, Viroj Koomkrong, Phramaha Wattana
Pannadipo, Chaichan Srihanu. “Influence of Puzzle Word (Paheli) for Virtue Growth in
Example Term ‘AKATAÑNŪ’”. Solid State Technology. Volume: 63 Issue: 4 (2020):
PP 2557-2565.
Thanee Suwanpratheep, Viroj Koomkrong, Phramaha Komol Kamalo, Phra Rajratanamuni,
Chaichan Srihanu. “ The leadership in Sangha Governance in ASEAN Community” .
Solid State Technology. Volume: 63 Issue: 4 (2020): PP 2576-2584

๗.๓ หนังสือ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

พระมหาโกมล กมโล, ผศ. (๒๕๖๔). ปาฬิภาสา: ภาษาบาลี ไวยากรณ์ภาษาบาลี. กรุงเทพมหานคร: เจพ


ริ้นท์. จำนวน ๒๙๖ หน้า.
-พระมหาโกมล กมโล, รศ.ดร. (๒๕๖๖). ศัพท์ไวยากรณ์ในพระคาถาธรรมบท ๑. กรุงเทพมหานคร. ห้าง
หุ้นส่วนจำกัด ประยูรสาส์นไทย จำกัด การพิมพ์. จำนวน ๒๖๑ หน้า.

๘. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา
- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๒. รศ.ดร.เวทย์ บรรณกรกุล
๑. ชื่อ/ฉายา/สกุล รศ.ดร.เวทย์ บรรณกรกุล
๒. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์สาขาวิชาภาษาบาลี
อาจารย์ประจำ เลขที่ ๖๗๔ วันที่ ๑ พฤษภาคม ๒๕๔๑
๓. สาขาที่เชี่ยวชาญ พระพุทธศาสนา, บาลีพุทธศาสตร์, วิปัสสนาภาวนา
๔. สังกัด-สถานที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส
นครปฐม
๕. คุณวุฒิ/ประวัติการศึกษา

ปีที่สำเร็จ
คุณวุฒิ สถานที่ศึกษา
การศึกษา
พธ.ด. (บาลีพุทธศาสตร์) ๒๕๖๐ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ศษ.ม. (ประชากรศึกษา) ๒๕๔๓ มหาวิทยาลัยมหิดล
พธ.บ. (ปรัชญา) ๒๕๓๔ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ป.ธ. ๙ (ภาษาบาลี) ๒๕๓๕ กองบาลีสนามหลวง
๖. ภาระงานในความรับผิดชอบ(ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)
๖.๑ ประสบการณ์การสอนระดับปริญญาตรี
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ ภาษาบาลี ๑ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ ภาษาบาลี ๒ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ ภาษาบาลี ๓ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๔ ภาษาบาลี ๔ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๕ ภาษาบาลี ๕, ๖ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖ ระเบียบวิธีวิจัยทางภาษาบาลี มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๗ พื้นฐานคอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีสารสนเทศ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

๖.๒ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ การใช้ภาษาบาลี ๑ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ การใช้ภาษาบาลี ๒ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๓ เทคโนโลยีสารสนเทศทาง วิปัสสนาภาวนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม


๔ ระเบียบวิธีวิจัยวิปัสสนาภาวนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

๖.๓ ประการณ์การสอนระดับปริญญาเอก
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ การวิเคราะห์บาลีพระสุตตันตปิฎก มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ งานนิพนธ์ทางภาษาบาลีเพื่อการวิจัย มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๗. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา)
๗.๑ งานวิจัย
วุฒิชัย อัตถาพงศ์, พระมหาสมบูรณ์ วุฑฺฒิกโร, เวทย์ บรรณกรกุล. “การพัฒนารูปแบบการสร้างเสริมคุณภาพ
ชีวิตผู้สูงอายุโดยการมีส่วนร่วมเชิงพุทธ” ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน
(TCI-2). ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ กรกฎาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒: หน้า ๘๑-๙๐
ดร.ชัยชาญ ศรีหานู. พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์, วิโรจน์ คุ้มครอง, เวทย์ บรรณกรกูล “วิเคราะห์คำ
สอนวิปัสสนาในเตภูมิกถาที่มีผลต่อคตินิยมเชิงพุทธในสังคมไทย” ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬีศึกษา
พุทธโฆสปริทรรศน (TCI-2). ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–เมษายน ๒๕๖๔): หน้า ๑๓-๒๖.
สุภีร์ ทุมทอง, อาณัติชัย เหลืองอมรชัย, พระศรีวินยาภรณ์, เวทย์ บรรณกรกุล “วิเคราะห์หลักอัปปมาทธรรม
ตามแนวเนตติปกรณ์” ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. (TCI-2). ปีที่ ๙
ฉบับที่ ๑ (มกราคม - เมษายน ๒๕๖๖): ๙๖-๑๑๔

๗.๒ บทความทางวิชาการ
-
๗.๓. หนังสือ/ตำรา
-
๘. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา
- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๓. ดร.สุภีร์ ทุมทอง
๑. ชื่อ/ฉายา/สกุล ดร.สุภีร์ ทุมทอง
๒. ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
อาจารย์อัตราจ้าง เลขที่ ๑๕๖๗๐๐๕ วันที่ ๒๑ กุมภาพันธ์ ๒๕๖๓
๓. สาขาที่เชี่ยวชาญ พระพุทธศาสนา, ภาษาบาลี
๔. สังกัด-สถานที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส
นครปฐม
๕. คุณวุฒิ/ประวัติการศึกษา

คุณวุฒิ ปีที่สำเร็จ สถานที่ศึกษา


การศึกษา
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) ๒๕๖๑ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พธ.ม. (พระพุทธศาสนา) ๒๕๕๓ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
วศ.บ. (วิศวกรรมศาสตร์) ๒๕๓๙ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

๖. ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)


๖.๑ ประสบการณ์การสอนปริญญาตรี
ที่ รายวิชาที่สอน สถานที่สอน
๑ กถาวัตถุปาลิ มจร. วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ ยมกปาลิ มจร. วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

๖.๒ ประสบการณ์การสอนปริญญาโท
ที่ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบันที่สอน
๑ สติปัฏฐานภาวนา มจร. วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

๖.๓ ประสบการณ์การสอนปริญญาเอก
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบันที่สอน
๑ ๑ วิเคราะห์บาลีพระอภิธรรมปิฎก มจร. วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ อริยสัจวิเคราะห์ มจร. วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๗. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา)
๗ ๑. งานวิจัย
สุภีร์ ทุมทอง. “รูปแบบการอธิบายพระพุทธพจน์ตามแนวเนตติปกรณ์ ” ตีพิมพ์ใน วารสารบัณฑิตศึกษา
ปริทรรศน์ (TCI-1). ปีที่ ๑๕ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-สิงหาคม พ.ศ.๒๕๖๒): หน้า ๓๒-๔๓
สรวิชญ์ วงษ์สอาด, สุภีร์ ทุมทอง, พระปัญญา รัตนากร. “วิเคราะห์แนวคิดเชิงปรัชญาชีวิตของไทย” ตีพิมพ์ใน
วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. (TCI-2). ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ กรกฏาคม - ธันวาคม
๒๕๖๒): ๔๗-๖๐.
สุภีร์ ทุมทอง, พระเทพสุวรรณเมธี , พระมหาวัฒนา ปญฺญาปทีโป. ชัยชาญ ศรีหานู “การศึกษาวิเคราะห์
รูปแบบการอธิบายพระพุทธพจน์ตามแนวเนตติปกรณ์สำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษา วิทยาเขตบาฬีศึกษา
พุทธโฆส นครปฐม ” ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. (TCI-2). ปีที่ ๗ ฉบับ
ที่ ๑ (มกราคม - เมษายน ๒๕๖๔): หน้า ๗๘-๙๔
สุภีร์ ทุมทอง, อาณัติชัย เหลืองอมรชัย, พระศรีวินยาภรณ์, เวทย์ บรรณกรกุล “วิเคราะห์หลักอัปปมาทธรรม
ตามแนวเนตติปกรณ์” ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. (TCI-2). ปีที่ ๙
ฉบับที่ ๑ (มกราคม - เมษายน ๒๕๖๖): ๙๖-๑๑๔

๗.๒ บทความทางวิชาการ
วิโรจน์ คุ้มครอง พระมหาวีรธิษณ์ วรินฺโท (อินทะโพธิ์) และ สุภีร์ ทุมทอง. (๒๕๖๑). ภาษาบาลี : ภาษารักษา
พุทธพจน์. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๑. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราช
วิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม, หน้า ๑๘ – ๒๒.
ดร.สุภีร์ ทุมทอง และ ผศ.ดร.วุฒินันท์ กันทะเตียน. (๒๕๖๓). อธิบายความหมายทางเอกเชื่อมโยงกับสติปัฏ
ฐาน ๔ ตามแนวหลักภาษา. รายงานการประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๓ มหาวิทยาลัยมหาจุฬา
ลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม, หน้า ๔๕ – ๕๖

๗.๓ หนังสือ/ตำรา
สุภีร์ ทุมทอง. (๒๕๖๖). สาธยายธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๑. นนทบุรี: ภาพพิมพ์ จำกัด. จำนวน ๓๔๐ หน้า. จำนวน ๒,๐๐๐
เล่ม. ISBN : 978-616-598-499-7
สุภีร์ ทุมทอง. (๒๕๖๕). อริิยสััจ ๕ สููตร ๑๔ มุุม ๒๖๖ บท. พิมพ์ครั้งที่ ๑. นนทบุรี: ภาพพิมพ์ จำกัด. จำนวน ๒๔๔
หน้า. จำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม. ISBN : 978-616-593-229-5
สุภีร์ ทุมทอง, พระเทพสุุวรรณเมธีี, รศ.ดร, พระมหาวััฒนา ปญฺฺ าทีีโป, ดร. (๒๕๖๔). อััปปมาทธรรม. พิมพ์ครั้งที่ ๑.
นนทบุรี: ภาพพิมพ์ จำกัด. จำนวน ๒๕๘ หน้า. จำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม. ISBN :978-616-582-478-1
สุภีร์ ทุมทอง. (๒๕๖๔). ปฏิิจจสมุุปบาทภาคปฏิิบั ติ.พิมพ์ครั้งที่ ๑. นนทบุรี: ภาพพิมพ์ จำกัด. จำนวน ๔๖๘ หน้า.
จำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม. ISBN : 978-616-582-789-8
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

สุภีร์ ทุมทอง. (๒๕๖๔). โลกอัันไฟติิดทั่วแล้้ว. พิมพ์ครั้งที่ ๑. นนทบุรี: ภาพพิมพ์ จำกัด. จำนวน ๑๒๘ หน้า. จำนวน
๑๐,๐๐๐ เล่ม. ISBN : ๙๗๘-๖๑๖-๕๗๗-๔๔๕-๑

๘ .กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา
- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๒๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๔. พระธรรมวชิราจารย์ (สุชาติ กิตฺติปญฺโ ), รศ.ดร.


๑. ชื่อ/ฉายา/สกุล พระธรรมวชิราจารย์ (สุชาติ กิตฺติปญฺโ ), รศ.ดร.
๒. ตำแหน่ง รองศาสตราจารย์สาขาวิชาสันสฤต
อาจารย์ประจำ เลขที่ ๑๔๒๑๐๐๔ วันที่ ๑ มีนาคม ๒๕๖๑
๓. สาขาที่เชี่ยวชาญ พระพุทธศาสนา, วิปัสสนาภาวนา, ภาษาบาลี
๔. สังกัด-สถานที่ บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๕. คุณวุฒิ
ปีที่สำเร็จ
คุณวุฒิ สถานที่ศึกษา
การศึกษา
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) ๒๕๕๘ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ศศ.ม. (ภาษาสันสกฤต) ๒๕๔๖ มหาวิทยาลัยศิลปากร
พธ.บ. (ปรัชญา) ๒๕๓๕ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ป.ธ.๘ (ภาษาบาลี) ๒๕๔๑ กองบาลีสนามหลวง

๖. ภาระงานในความรับผิดชอบ(ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)
๖.๑ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ ภาษาสันสกฤตพื้นฐาน มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ ประวัติพระพุทธศาสนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ สันสกฤตชั้นสูง มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๔ เทศกาลและพิธีกรรมพระพุทธศาสนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๕ เทคนิคการศึกษาระดับอุดมศึกษา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖ คอมพิวเตอร์และเทคโนโลยีเบื้องต้น มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๗ พระพุทธศาสนากับการพัฒนาที่ยั่งยืน มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖.๒ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ พระไตรปิฎกวิเคราะห์ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ พระพุทธศาสนาเถรวาท มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ กรรมฐาน มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๓๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน


๔ ระเบียบวิธีวิจัยทางพระพุทธศาสนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๕ การใช้ภาษาบาลี ๑ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖ สัมมนาพระพุทธศาสนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๗ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖.๓ ประสบการณ์การสอนปริญญาเอก
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ สัมมนาพระไตรปิฎกและอรรถกถา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๗. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา)
๗.๑ งานวิจัย
สุภีร์ ทุมทอง, พระเทพสุวรรณเมธี , พระมหาวัฒนา ปญฺญาปทีโป. ชัยชาญ ศรีหานู “การศึกษาวิเคราะห์
รูปแบบการอธิบายพระพุทธพจน์ตามแนวเนตติปกรณ์สำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษา วิทยาเขตบาฬีศึกษา
พุทธโฆส นครปฐม ” ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. (TCI-2). ปีที่ ๗ ฉบับ
ที่ ๑ (มกราคม - เมษายน ๒๕๖๔): หน้า ๗๘-๙๔
สุพิชฌาย์ พรพิชณรงค์, พระธรรมวชิราจารย์ (สุชาติ กิตฺติปญฺโญ) “การพัฒนาองค์ความรู้ เทคนิค กระบวนการ
ดูแลด้านสุขภาวะสำหรับพระสงฆ์ ” ตีพิมพ์ใน วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร (TCI-1). ปีที่ ๑๑
ฉบับที่ ๖ กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๕) :หน้า ๒๔๙๗ – ๒๕๐๗
สุพิชฌาย์ พรพิชณรงค์, พระธรรมวชิราจารย์ “การบูรณาการหลักพุทธธรรมและศาสตร์พระราชาในการพัฒนา
ชุมชนตามศาสตร์พระราชา บ้านทุ่งเจริญ ตำบลพระแก้ว อำเภอสังขะ จังหวัดสุรินทร์” ตีพิมพ์ใน
วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. (TCI-2). ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม - สิงหาคม
๒๕๖๖): หน้า ๙๒ – ๑๐๒

๗.๒ บทความทางวิชาการ
--

๗.๓ หนังสือ/ตำรา
สุภีร์ ทุมทอง, พระเทพสุุวรรณเมธีี, รศ.ดร, พระมหาวััฒนา ปญฺฺ าทีีโป, ดร. (๒๕๖๔). อััปปมาทธรรม. พิมพ์
ครั้งที่ ๑. นนทบุรี: ภาพพิมพ์ จำกัด. จำนวน ๒๕๘ หน้า. จำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม. ISBN :978-616-
582-478-1
๘. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตวิทยาลัย
- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๓๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๕. พระครูปลัดสัมพัฒนธรรมาจารย์ (นิรันดร์ อภิปญฺโญ/ศิริรัตน์), ดร


๑. ชื่อ/ฉายา/สกุล พระครูปลัดสัมพัฒนธรรมาจารย์
๒. ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
คำสั่งมหาวิทยาลัยฯ ที่ ๑๓๔๓/๒๕๖๓ เมื่อวันที่ ๑ กันยายน พ.ศ. ๒๕๖๓
๓. สาขาที่เชี่ยวชาญ พระพุทธศาสนา, พระไตรปิฎก, วิปัสสนาภาวนา,
๔. สังกัด-สถานที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส
นครปฐม

๕. คุณวุฒิ/ประวัติการศึกษา
คุณวุฒิ ปีที่สำเร็จ ชื่อสถานที่ศึกษา
พธ.ด. (วิปัสสนาภาวนา) ๒๕๖๕ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พธ.ด. (พุทธจิตวิทยา) ๒๕๖๒ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พธ.ม. (วิปัสสนาภาวนา) ๒๕๕๕ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พธ.บ. (ภาษาอังกฤษ) ๒๕๕๐ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย

๖. ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)


๖.๑ ประสบการณ์การสอนปริญญาตรี
ที่ วิชา มหาวิทยาลัย
๑ กรรมฐาน ๑ มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๓ มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๔ มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๔ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๕ มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๕ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๖ มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖ ธรรมะภาคปฏิบัติ ๗ มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

๖.๒ ประสบการณ์ในการสอนปริญญาโท
ที่ วิชา มหาวิทยาลัย
๑ กรรมฐาน มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

๖.๓ ประสบการณ์ในการสอนปริญญาเอก
ที่ วิชา มหาวิทยาลัย
๑ ไตรสิกขาวิเคราะห์ มจร วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๓๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๗. งานวิจัย บทความวิชาการ และหนังสือ


๗.๑ งานวิจัย
ดร.ชัยชาญ ศรีหานู. พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ , วิโรจน์ คุ้มครอง, เวทย์ บรรณกรกูล “วิเคราะห์คำ
สอนวิปัสสนาในเตภูมิกถาที่มีผลต่อคตินิยมเชิงพุทธในสังคมไทย”. ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬี
ศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน (TCI-2). ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–เมษายน ๒๕๖๔): หน้า ๑๓-๒๖.
พระมหาโกมล กมโล, พระภาวนาพิศาลเมธี , พระครูปลัดสัมพิพัฒ นธรรมาจารย์ , พระประเทือง ขนฺติโ ก,
ชํานาญ เกิดช่อและสังข์วาล เสริมแก้ว “นามานุกรม วิปัสสนา ภาวนา ใน คัมภีร์ พระพุทธ ศาสนา”
วารสารศิลปะการจัดการ (TCI-1). ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม – มีนาคม ๒๕๖๖) หน้า ๑ -๑๖
พระมหาวัฒนา คำเคน, พระปัญญารัตนากร สำรวย พินดอน, พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ นิรันดร์ ศิริ
รัตน์ “คัมภีร ์น ยมุขปทีป นี: การปริว รรต การแปล และการวิเคราะห์ ” ตีพิมพ์ใน วารสารสห
วิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์ (TCI-1). ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๕ (กันยายน - ตุลาคม ๒๕๖๖):
หน้า ๒๗๒๙-๒๗๔๘

๗.๒ บทความวิชาการ
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ (นิรันดร์ ศิริรัตน์) ดร. , สังข์วาล เสริมแก้ว และ พระมหาวิโรจน์
คุตฺตวีโร ผศ.ดร, (๒๕๖๔) แนวคิดคำสอนเรื่องกามตามหลักพระพุทธศาสนาเถรวาท, วารสารศิลปะการ
จัดการ. ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๓ กันยายน – ธันวาคม ๒๕๖๔.
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ ดร. อัตตกิลมถานุโยค: แนวคิดการปฏิบัติธรรมที่ทำให้ตนลำบาก.
วารสาร มจร. บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ ประจำเดือน มกราคม-มิถุนายน, หน้า 13-26.
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ ดร. ฝึกสติ ๑๐ วินาที ชีวิตดีขึ้นแน่ (บทวิจารณ์). วารสาร มจร.
บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน กรกฎาคม-ธันวาคม, ๒๕๖๓, หน้า 116-221.
Phrakrupaladsampipaddhanadhammajan, Human development according Buddhism
(processding). The International onference Asian values in the process of integration and
development , p 15. 2019. (Viet Nam)
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ ดร. กรรมและการสิ้นกรรมตามหลักพระพุทธศาสนา (processding).
รายงานการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ ครั้งที่ ๓. มจร. บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ นครปฐม
, ๒๕๖๓, หน้า ๕๕๖.
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์,ดร. การพัฒนาสุขภาวะในพระพุทธศาสนา. วารสารพุทธศาสน์ศึกษา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย. ปีที่ ๒๖ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือนพฤษภาคม - สิงหาคม, ๒๕๖๒, หน้า ๗๔.
พระครูป ลัด สั ม พิ พ ัฒ นธรรมาจารย์, ดร. รูปแบบสมรรถนะพระวิ ปัส สนาจารย์ . วารสารบั ณ ฑิ ต ศึกษา
ปริทรรศน์. ปีที่ ๑๔ ฉบับที่ ๓ ประจำเดือน กันยายน – ธันวาคม, ๒๕๖๑, หน้า ๑๓๖.
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๓๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ ดร. มนุษย์สัมพันธ์ตามหลักกัลยาณมิตร. วารสาร มจร มนุษยศาสตร์


ปริทรรศน์, ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ ประจำเดือน กรกฎาคม – ธันวาคม, ๒๕๖๑.
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ ดร. อัตตกิลมถานุโยค : แนวคิดการปฏิบัติธรรมที่ทำให้ตนลำบาก. วารสาร
บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ ประจำเดือน มกราคม-มิถุนายน , ๒๕๖๓, หน้า ๑๓.

๗.๓ หนังสือ
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ ดร. สติปัฏฐานภาวนา, จำนวน ๒,๐๐๐ เล่ม, สำนักพิมพ์ ประยูรสาส์นไทย
การพิมพ์, ๒๕๖๓. ๒๑๒ หน้า. ISBN 978-616-485-758-2
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ ดร. มรรควิธีเพื่อการสิ้นกรรม, จำนวน ๓,๐๐๐ เล่ม, สำนักพิมพ์ ประยูร
สาส์นไทย การพิมพ์, ๒๕๖๓. ๒๑๒ หน้า. ISBN 978-616-568-061-5
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ ดร. คู่มือพระวิปัสสนาจารย์, จำนวน ๑,๕๐๐ เล่ม, สำนักพิมพ์ ประยูร
สาส์นไทย การพิมพ์, ๒๕๖๔. ๖๗ หน้า. ISBN 978-616-577-662-6
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ ดร. พละ ๕ เพื่อการบรรลุธรรม, จำนวน ๑,๐๐๐ เล่ม, สำนักพิมพ์ ประยูร
สาส์นไทย การพิมพ์, ๒๕๖๔. ๕๖ หน้า. ISBN 978-616-577-665-3
พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ ดร. กตัญญูกตเวทิตาธรรม, จำนวน ๑,๕๐๐ เล่ม, สำนักพิมพ์ ประยูร
สาส์นไทย การพิมพ์, ๒๕๖๔. ๖๒ หน้า. ISBN 978-616-577-665-1
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๓๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๖. รศ.ดร.วิโรจน์ คุ้มครอง
๑. ชื่อ/ฉายา/สกุล รศ.ดร.วิโรจน์ คุ้มครอง
๒. ตำแหน่งทางวิชาการ รองศาสตราจารย์สาขาวิชาภาษาบาลีและสันสฤต
อาจารย์ประจำ เลขที่ ๑๔๒๑๐๐๙ วันที่ ๑ มิถุนายน ๒๕๕๘
๓. สาขาที่เชี่ยวชาญ พระพุทธศาสนา, พระไตรปิฎก, วิปัสสนาภาวนา, ภาษาบาลี
๔. สังกัด-สถานที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส
นครปฐม
๕. คุณวุฒิ/ประวัติการศึกษา

คุณวุฒิ ปีที่สำเร็จการศึกษา สถานที่ศึกษา


พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) ๒๕๕๖ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
พธ.ม. (พระพุทธศาสนา) ๒๕๔๘ มหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ป.ธ. ๙ (ภาษาบาลี) ๒๕๔๐ กองบาลีสนามหลวง

๖. ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)


๖.๑ ประสบการณ์การสอนปริญญาตรี
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ ขุททกนิกายปาลิ ๓ มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ มัชฌิมนิกายปาลิ มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ สังยุตตนิกายปาลิ มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๔ พุทธธรรมกับสังคมไทย มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๕ จิตวิทยาในพระไตรปิฎก มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

๖.๒ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ พระไตรปิฎกวิเคราะห์ มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ ระเบียบวิธีวิจัยวิปัสสนาภาวนา มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ ศึกษาอิสระในหลักวิปัสสนาภาวนา มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๔ ศึกษางานสำคัญทางพระพุทธศาสนา มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๓๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๖.๓ ประสบการณ์การสอนปริญญาเอก
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ ระเบียบวิธีวิจัยชั้นสูงทางวิปัสสนาภาวนา มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ พระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่งการตีความ มจร วข.บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๗. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา)
๗.๑ งานวิจัย
ผศ.ดร.วิโรจน์ คุ้มครอง.(๒๕๖๒). คัมภีร์มูลสิกขา-มูลสิกขาฎีกา : การแปล และการวิเคราะห์ . สถาบันวิจัยพุทธ
ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย. (จำนวน ๒๖๕ หน้า)
ดร.ชัยชาญ ศรีหานู. พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ , วิโรจน์ คุ้มครอง, เวทย์ บรรณกรกูล “วิเคราะห์คำ
สอนวิปัสสนาในเตภูมิกถาที่มีผลต่อคตินิยมเชิงพุทธในสังคมไทย” ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬีศึกษา
พุทธโฆสปริทรรศน (TCI-2). ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–เมษายน ๒๕๖๔): หน้า ๑๓-๒๖.
รศ.ดร.วิโรจน์ คุ้มครอง, พระศรีสุทธิเวที ขวัญ ถิรมโน, พระมหาวัฒนา ปญฺญาทีโป (คำเคน) “คัมภีร์สีมาวิโสธนี
: การปริวรรต การแปล และวิเคราะห์” ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ (TCI-
2). ปีที่ ๘ ฉบับ ที่ ๑ (มกราคม - เมษายน ๒๕๖๕): ๑๖-๓๑

๗.๒ บทความวิชาการ
อุทัย สติมั่น , วิโรจน์ คุ้มครอง, พระมหาวีรธิษณ์ วรินฺโท. “วงจรวิบากตามหลักพระพุทธศาสนา” ตีพิมพ์ใน
วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. (TCI-2). ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๒ กรกฏาคม – ธันวาคม ๒๕๖๒):
๑๓-๒๔.
Phramaha Komon Kamalo, Thanee Suwanpratheep, Viroj Koomkrong, Phramaha Wattana
Pannadipo, Chaichan Srihanu. “Influence of Puzzle Word (Paheli) for Virtue Growth in
Example Term ‘AKATAÑNŪ’”. Solid State Technology. Volume: 63 Issue: 4 (2020):
PP 2557-2565.
Thanee Suwanpratheep, Viroj Koomkrong, Phramaha Komol Kamalo, Phra Rajratanamuni,
Chaichan Srihanu. “ The leadership in Sangha Governance in ASEAN Community” .
Solid State Technology. Volume: 63 Issue: 4 (2020): PP 2576-2584
๗.๓. หนังสือ/ตำรา

๘. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตวิทยาลัย
- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๓๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๗. ผศ.ดร. ธานี สุวรรณประทีป


๑. ชื่อ/ฉายา/สกุล ผศ.ดร. ธานี สุวรรณประทีป
๒. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาขาวิชาศาสนาและเทววิทยา
อาจารย์ประจำ เลขที่ ๑๔๒๑๐๑๓ วันที่ ๑ สิงหาคม ๒๕๖๐
๓. สาขาที่เชี่ยวชาญ พระพุทธศาสนา,ภาษาบาลี
๔. สังกัด-สถานที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส
นครปฐม
๕. คุณวุฒิ
คุณวุฒิ ปีที่สำเร็จ สถานที่ศึกษา
การศึกษา
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) ๒๕๕๙ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ศน.ม. (พุทธศาสนาและปรัชญา) ๒๕๔๘ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
ป.ธ.๙ (ภาษาบาลี) ๒๕๓๙ กองบาลีสนามหลวง
๖. ภาระงานในความรับผิดชอบ(ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)
๖.๑ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ ทีฆนิกายปาลิ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ ประวัติพระพุทธศาสนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ ประวัติคัมภีร์บาลี มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๔ กฎหมายสำหรับพระสงฆ์ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๕ บาลีไวยากรณ์ ๓ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖ บาลีไวยากรณ์ ๔ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๗ นิเทศศาสตร์ในพระไตรปิฎก มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๘ มหาวัคคปาลิ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖.๒ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ ระเบียบวิธีวิจัยวิปัสสนาภาวนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ พระพุทธศาสนาเถรวาท มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ พระไตรปิฎกวิเคราะห์ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖.๓ ประสบการณ์การสอนปริญญาเอก
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๓๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ที่ วิชา สถาบัน


๑ ระเบียบวิธีวิจัยชั้นสูงทางวิปัสสนาภาวนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ สัมมนาดุษฎีนิพนธ์ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ พระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่งการใช้เหตุผล มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

๗. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา)
๗. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา)
๗.๑ งานวิจัย
ผศ.ดร.ธานี สุวรรณประทีป, พระศรีสุทธิเวที ขวัญ ถิรมโน, พระภาวนาพิศาลเมธี วิ. “คัมภีร์อุปาสกชนาลังการ
: การปริวรรต การแปล และวิเคราะห์” ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์
(TCI-2) ปีที่ ๘ ฉบับที่ ๑ มกราคม - เมษายน ๒๕๖๕
ผศ.ดร.ธานี สุวรรณประทีป , วุฒินันท์ กันทะเตียน “สังเคราะห์พุทธธรรมกับการเสริมสร้างสุขภาวะเชิงพุทธ
ตามพัน ธกิจ ของหน่ว ยอบรมประชาชนประจำตำบล (อ.ป.ต.) ของคณะสงฆ์ไทย”. ตีพิมพ์ใ น
วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ (TCI-2) ปีที่ ๙ ฉบับที่ ๑ มกราคม - เมษายน ๒๕๖๖
ผศ.ดร.ธานี สุวรรณประทีป, วุฒินันท์ กันทะเตียน, พงษ์พัฒน์ ใหม่จันทร์ดี “รูปแบบการเสริมสร้างสุขภาวะวิถี
พุทธเพื่อป้องกันการดื่มเครื่องแอลกอฮอล์ ”. ตีพิมพ์ใน วารสารพุทธศาสน์ศึกษา จุฬาลงกรณ
มหาวิทยาลัย (TCI-2) ปีที่ ๒๙ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม - สิงหาคม ๒๕๖๕) หน้า ๔๔-๗๔

๗.๒ บทความวิชาการ
พระมหาโกมล กมโล, ชัยชาญ ศรีหานู, คชาภรณ์ คำสอนทา และธานี สุวรรณประทีป. “การตีความพุทธภาวะ
เชิงอัตวิสัยที่มีผลต่องานวรรณกรรมของพระอัศวโฆษ”. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร (TCI-1).
ปีที่ ๗ บับที่ ๔ (กรกฎาคม–สิงหาคม ๒๕๖๒): หน้า ๑๑๖๗-๑๑๗๘.
ดร.ธานี สุวรรรณประทีป, ดร. ชัยชาญ ศรีหานู, พระปลัดสุพจน์ สุปภาโต, พระมหาสมศักดิ์ ญาณโพโธ. “มิติ
ของการตีความคำสอนของศาสนาส่งผลต่อ จุดยื นและวิธ ี การเข้า ถึง ความจริ งสุงสุ ด” . วารสาร
พุทธมัคค์ (TCI-2). ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม (๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๓): หน้า
๘๘-๙๗.
Phramaha Komon Kamalo, Thanee Suwanpratheep, Viroj Koomkrong, Phramaha Wattana
Pannadipo, Chaichan Srihanu. “Influence of Puzzle Word (Paheli) for Virtue Growth in
Example Term ‘AKATAÑNŪ’”. Solid State Technology. Volume: 63 Issue: 4 (2020):
PP 2557-2565.
Thanee Suwanpratheep, Viroj Koomkrong, Phramaha Komol Kamalo, Phra Rajratanamuni,
Chaichan Srihanu. “ The leadership in Sangha Governance in ASEAN Community” .
Solid State Technology. Volume: 63 Issue: 4 (2020): PP 2576-2584
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๓๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

Phumphakhawat Phumphongkhochasorn, Uthai Satiman, Thanee Suwanprateep. “ Model for


the Development of Educational Quality and Standards of Secondary Schools Under
Bangkok Under the New Quality Assurance Framework” PSYCHOLOGY AND
EDUCATION. Volume: 58 Issue: 1 (2021): PP 3824-3831.
Phumphakhawat Phumphongkhochasorn, Phrapalad Somchai Damnoen, Thanee
Suwannaprateep, Uthai Phoomparmarn. (2021). National Educational Standards and
the Improvement of Thai Education System with World Class. Asia Pacific Journal of
Religions and Cultures, 5(1), 75-86.
สังข์วาล เสริมแก้ว, ธานี สุวรรณประทีป, ชลิต วงษ์สกุล. (๒๕๖๕). การบูรณาการหลักอัตถะ ๓ ในการสังคม
สงเคราะห์ : บทวิเคราะห์ในมิติพระพุทธศาสนา. วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ ๘(๑),
๑ - ๑๕
พระอธิการไพทูลย์ ตีบไธสง, ธานี สุวรรรณประทีป. (๒๕๖๕). ศึกษาหลักธรรมที่ส่งเสริมต่อการปฏิบัติวิปัสสนา
ภาวนาในสฬายตนวิภังคสูตร. วารสารสหวิทยาการมนุษยศาสตร์และสังคมศาสตร์. Pp ๓๑๘-๓๒๖

๗.๓ หนังสือ/ตำรา
ดร.ธานี สุวรรณประทีป. (๒๕๖๓), จตุรารักขคาถาธิบาย. กรุงเทพมหานคร: อักขระการพิมพ์. จำนวน ๒๒๕
หน้า.
ธานี สุวรรณประทีป, วุฒินันท์ กันทะเตียน, พงษ์พัฒน์ ใหม่จันทร์ดี. (๒๕๖๓) ปกป้องวัยใส ห่างไกลเหล้า -
บุหรี่, นนทบุรี: นิิติธรรมการพิิมพ์.จำนวน ๑๖๒ หน้า
ดร.ธานี สุวรรณประทีป. (๒๕๖๔). อรรถกถาวิธีเพื่อการวิจัยทางภาษาบาลี , นนทบุรี: อักขระการพิมพ์.
จำนวน ๑๙๕ หน้า.
ธานี สุวรรณประทีป, วุฒินันท์ กันทะเตียน, กณภัทร ไตรพรพัฒนา. (๒๕๖๖). ๓ ไตร ๓ โอวาท พัฒนาหน่วย
อบรมประชาชนประจำตำบล (อ.ป.ต.), นนทบุรี: นิิติธรรมการพิิมพ์.จำนวน ๓๐๙ หน้า
ธานี สุวรรณประทีป. (๒๕๖๖) อาฬวกเทศนา, นนทบุรี: อักขระการพิมพ์. จำนวน ๓๐๙ หน้า

๘. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา
- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๓๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๘. ผศ.ดร. นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร


๑. ชื่อ/ฉายา/สกุล ผศ.ดร. นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร
๒. ตำแหน่งทางวิชาการ ผู้ช่วยศาสตราจารย์สาขาวิชาศาสนาและเทววิทยา
อาจารย์อัตราจ้าง เลขที่ ๑๕๖๗๐๐๘ วันที่ ๘ ธันวาคม ๒๕๖๑
๓. สาขาที่เชี่ยวชาญ พระพุทธศาสนา, ภาษาอังกฤษ, การพยาบาล
๔. สังกัด-สถานที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส
นครปฐม
๕. คุณวุฒิ
ปีที่สำเร็จ
คุณวุฒิ สถานที่ศึกษา
การศึกษา
พธ.ด. (พระพุทธศาสนา) ๒๕๕๖ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
M.A. (Applied Economics) ๒๕๓๓ Western Michigan University, USA
วท.บ. (พยาบาลและผดุงครรภ์) ๒๕๒๘ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

๖. ภาระงานในความรับผิดชอบ (ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)


๖.๑ ประสบการณ์การสอนปริญญาตรี

ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน


๑ Dhamma in English คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย
๒ Research Methodology คณะมนุษยศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย
๓ ภาษากับการสื่อสาร มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๔ พุทธธรรมกับสังคมไทย มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

๖.๒ ประสบการณ์การสอนปริญญาโท
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ ชีวิตและความตายในพระพุทธศาสนา คณะมนุษย์ศาสตร์ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลง
กรณราชวิทยาลัย
๒ ภาษาอังกฤษ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ ระเบียบวิธีวิจัยทางพระพุทธศาสนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๔๐
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน


๔ พระพุทธศาสนากับศาสตร์สมัยใหม่ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๕ ระบบและทฤษฎีทางพุทธจิตวิทยา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖ พระพุทธศาสนาภาษาอังกฤษ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๗ พระพุทธศาสนากับภูมิปัญญาไทย มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๕ MCU 003 สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย
๖ MCU 004 สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย

๖.๓ ประสบการณ์การสอนปริญญาเอก
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ MCU 005 สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย
๒ MCU 006 สถาบันภาษา มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณ
ราชวิทยาลัย
๓ ภาษาอังกฤษชั้นสูงเพื่อการสอนวิปัสสนาภาวนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๔ งานวิชาภาษาอังกฤษเพื่อการวิจัยวิปัสสนาภาวนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๕ พระพุทธศาสนากับศาสตร์แห่งการใช้เหตุผล มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖ งานวิชาการภาษาอังกฤษเพื่อการวิจัย มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๗ สัมมนาพระพุทธศาสนากับวิชาชีพ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๘ สัมมนาพุทธจริยศาสตร์ประยุกต์ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

๗. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา)
๗.๑ งานวิจัย
ดร.นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร, ดร.ทรงวิทย์ แก้วศรี และรศ.ดร. กฤษณา เลิศสุขประเสริฐ. “ความสัมพันธ์
ระหว่างปฏิจจสมุปบาทกับอริยสัจ ๔.” วารสารบาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ (TCI-2). ปีที่ ๕
ฉบับที่ ๒ (กรกฏาคม-ธันวาคม ๒๕๖๒): ๓๕-๔๕.
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๔๑
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ดร.นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร, ผศ.ดร. ตวงเพชร สมศรี และดร.ทรงวิทย์ แก้วศรี . “การศึกษาปัจจัยที่มีอิทธิพล


ต่อพระราชนิพนธ์เรื่องไตรภูมิพระร่วง”. ตีพิมพ์ใน วารสารบาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ (TCI-2).
ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๒ (กรกฏาคม-ธันวาคม ๒๕๖๓): ๗๑-๘๓.
ดร. นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร, ดร.ทรงวิทย์ แก้วศรี, และ รศ.ดร. ประพันธ์ ศุภษร. “การศึกษาบทบาทของ
พระพุทธเจ้าในฐานะทรงเป็นต้นแบบนวัตกรรมเครื่องนุ่งห่มที่เป็นมิตรกับธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม:
กรณีศึกษาเฉพาะผลิตภัณฑ์จีวร.” ตีพิมพ์ใน วารสารบาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ (TCI-2). ปีที่ ๖
ฉบับที่ ๒ (กรกฏาคม-ธันวาคม ๒๕๖๓): ๑๕-๒๖.
ดร. นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร และคณะ. “การวิเคราะห์สังเคราะห์องค์ความรู้และกระบวนการให้การปรึกษา
เชิงพุทธจิตวิทยา.” ตีพิมพ์ใน วารสารบัณฑิตปริทรรศน์ (TCI-2). ปีที่ ๑๖ ฉบับที่ ๒ (พฤษภาคม-
สิงหาคม ๒๕๖๓): ๗๙-๙๑.

๗.๒ บทความทางวิชาการ
Nuarhnwan Punwasuponchat. (2018). “The Rights to Die: Buddhist Perspective.” Journal of
International Buddhist Studies, Buddhist Research Institue of
Mahachulalonglornrajavidyalaya University. Vol. 8 No. 2 (2017): 12 – 24.
Dr. Nuarhnwan Punwasupoonchat, Phra Depsuvarnamedhi, Dr., Dr. Songvit Kaeosri. (๒๕๖๑). “A
Study of the State Policy in the Conservation of Buddhist Cultural Heritage in
Thailand.” การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๕ และสัมมนานานาชาติ ครั้งที่ ๓ (The 5th
National and the 3rd International Conferences 2018). ณ มจร. วิทยาเขตขอนแก่ น
(๒๙ มีนาคม ๒๕๖๑): ๒๓๕ – ๒๔๐.
ดร. นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร, พระเทพสุวรรณเมธี, และ ทรงวิทย์ แก้วศรี. “การศึกษานโยบายและกลไกของ
มหาวิ ท ยาลั ย มหาจุ ฬ าลกรณราชวิ ท ยาลั ย ในการส่ ง เสริ ม และคุ ้ ม ครองมรดกวั ฒ นธรรมทาง
พระพุทธศาสนาในประเทศไทย.” การสัมมนาวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ ๔ พุทธศาสนากับสังคม
ร่วมสมัย. มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วังน้อย (๒๕ มีนาคม ๒๕๖๑) A010: ๑-๗.
ดร.นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร. บทความ “อโคจรในพระวินัยปิฎกกับสังคมไทยปัจจุบัน .” วารสารบาฬีศึกษา
พุทธโฆสปริทรรศน์ (TCI-2). ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ (กรกฏาคม-ธันวาคม ๒๕๖๑): ๕๗-๗๖.
ดร.นวลวรรณ พู น วสุ พ ลฉั ต ร. บทวิ จ ารณ์ ห นั ง สื อ “ART IN PENINSULAR THAILAND PRIOR TO THE
FOURTEENTH CENTURY A.D.” วารสารบาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์ (TCI-2). ปีที่ ๕ ฉบับที่
๑ (มกราคม-มิถุนายน ๒๕๖๒): ๑๑๗-๑๒๓.
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๔๒
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

Nuarhnwan Punwasuponchat, Phratheppariyatmunee (Meechai), Phrapanyarattanakorn


(Somruay), Phramaha Wijit Srichan. (2021). “A Study of Forest Dwelling and Meditation
Practice”. Psychology and Education. 58 (2) Scopus/Q4: 10567-10571.
ดร.นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร. บทวิจารณ์หนังสือ “ตอบเรื่อง พ.ร.บ. คณะสงฆ์.” วารสารบาฬีศึกษาพุทธ
โฆสปริทรรศน์ (TCI-2). ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๓ (กันยายน-ธันวาคม ๒๕๖๔): ๒๐๙-๒๑๔.

๗.๓ หนังสือ/ตำรา
ดร.นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร. (๒๕๖๔). สันติภาพเชิงปฏิบัต ิแนวพุทธ. กรุงเทพมหานคร: J Print 2.
จำนวน ๒๕๕ หน้า.
ดร.นวลวรรณ พูนวสุพลฉัตร. (๒๕๖๓). การทำนุบำรุงพระพุทธศาสนาในอาณาจักรหริภุญไชย (Promotion
of Buddhism in Haribhunjai Kingdom in the Reign of Queen Camadevi). ( ฉ บั บ
ปรับปรุง) พิมพ์ครั้งที่ ๒. กรุงเทพมหานคร: J Print 2. จำนวน ๑๘๕ หน้า.
ดร.นวลวรรณ พู น วสุ พ ลฉั ต ร. (๒๕๖๑). เอกสารประกอบการสอนรายวิ ช า ชี ว ิ ต และความตายใน
พระพุทธศาสนา. กรุงเทพมหานคร: J Print 2. จำนวน ๓๙๐ หน้า.

๘. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตวิทยาลัย
- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๔๓
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๙. ดร.ชัยชาญ ศรีหานู
๑. ชื่อ/ฉายา/สกุล ดร.ชัยชาญ ศรีหานู
๒. ตำแหน่งทางวิชาการ อาจารย์
อาจารย์ประจำ เลขที่ ๑๔๒๑๐๑๐ วันที่ ๑ ธันวาคม ๒๕๖๐
๓. สาขาที่เชี่ยวชาญ ปรัชญาศาสนา, พระพุทธศาสนา, ภาษาอังกฤษ
๔. สังกัด-สถานที่ มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย
๕. คุณวุฒิ
ปีที่สำเร็จ
คุณวุฒิ สถานที่ศึกษา
การศึกษา
Ph.D. (Philosophy) ๒๕๕๓ Dr.B.R. Ambedkar University, Agra, India
M.A.(Indian Philosophy and Religion) ๒๕๔๓ Banaras Hindu University, India
ศน.บ. (ศาสนาและปรัชญา) ๒๕๔๐ มหาวิทยาลัยมหามกุฏราชวิทยาลัย
ป.ธ.๗ (ภาษาบาลี) ๒๕๓๗ กองบาลีสนามหลวง

๖. ภาระงานในความรับผิดชอบ(ภายใน ๓ ปีย้อนหลัง)
๖.๑ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาตรี
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ Symbolic Logics มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วังน้อย
๒ Religion and Sociology มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วังน้อย
๓ Buddhism and Philosophy มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วังน้อย
๔ Philosophy of Religion มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วังน้อย
๕ Religion in China Korea and Japan มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วังน้อย
๖ ตรรกศาสตร์เบื้องต้น มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๗ สถิติเบื้องต้นและการวิจัย มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๘ คณิตศาสตร์เบื้องต้น มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๙ ปรัชญาเบื้องต้น มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๑๐ ภาษาอังกฤษเบื้องต้น มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๑๑ พุทธศิลป์ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๑๒ การอนุรักษ์และการจัดการพุทธศิลป์ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๑๓ พระพุทธศาสนากับสันติภาพ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๑๔ พุทธปรัชญาเถรวาท มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๑๕ เปรียบเทียบเถรวาทกับมหายาน มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๑๖ มนุษย์กับสิ่งแวดล้อม มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๔๔
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

๑๗ สัมมนาพระพุทธศาสนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม


๑๘ ภาษาอังกฤษชั้นสูง มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๑๙ ภาษาอังกฤษเสริม ๑-๒ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖.๒ ประสบการณ์ในการสอนระดับปริญญาโท
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ ยุทธศาสตร์การบริหารจัดการสำนักวิปัสสนาภาวนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ ภาษาอังกฤษ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ พุทธปรัชญา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๔ ประวัติศาสตร์อารยธรรมอินเดียโบราณ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๖.๓ ประสบการณ์การสอนปริญญาเอก
ที่ รายวิชาที่ทำการสอน สถาบัน
๑ ภาษาอังกฤษเพื่อการวิจัยวิปัสสนาภาวนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๒ งานวิชาการภาษาอังกฤษเพื่อวิปัสสนาภาวนา มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
๓ พระพุทธศาสนากับศาสาตร์แห่งการตีความ มจร วข. บาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม

๗. ผลงานทางวิชาการ (งานวิจัย/บทความทางวิชาการ/หนังสือ/ตำรา)
๗.๑ งานวิจัย/บทความวิจัย
ดร.ชัยชาญ ศรีหานู. “การปฏิบัติและการสอบอารมณ์กรรมฐานตามหลักพระพุทธศาสนาเถรวาท ในประเทศ
ลาว” มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม ตีพิมพ์ใน
วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน (TCI-2). ปีที่ ๖ ฉบับที่ ๑ (มกราคม มิถุนายน ๒๕๖๓):
หน้า ๖๘ – ๗๖
ดร.ชัยชาญ ศรีหานู. พระครูปลัดสัมพิพัฒนธรรมาจารย์ , วิโรจน์ คุ้มครอง, เวทย์ บรรณกรกูล “วิเคราะห์คำ
สอนวิปัสสนาในเตภูมิกถาที่มีผลต่อคตินิยมเชิงพุทธในสังคมไทย” ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬีศึกษา
พุทธโฆสปริทรรศน (TCI-2). ปีที่ ๗ ฉบับที่ ๑ (มกราคม–เมษายน ๒๕๖๔): หน้า ๑๓-๒๖.
สุภีร์ ทุมทอง, พระเทพสุวรรณเมธี , พระมหาวัฒนา ปญฺญาปทีโป. ชัยชาญ ศรีหานู “การศึกษาวิเคราะห์
รูปแบบการอธิบายพระพุทธพจน์ตามแนวเนตติปกรณ์สำหรับนิสิตบัณฑิตศึกษา วิทยาเขตบาฬีศึกษา
พุทธโฆส นครปฐม ” ตีพิมพ์ใน วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน์. (TCI-2). ปีที่ ๗ ฉบับ
ที่ ๑ (มกราคม - เมษายน ๒๕๖๔): หน้า ๗๘-๙๔

๗.๒ /บทความวิชาการ
พระมหาโกมล กมโล, ชัยชาญ ศรีหานู, คชาภรณ์ คำสอนทา และธานี สุวรรณประทีป. “การตีความพุทธภาวะ
เชิงอัตวิสัยที่มีผลต่องานวรรณกรรมของพระอัศวโฆษ”. วารสารสันติศึกษาปริทรรศน์ มจร (TCI-1).
ปีที่ ๗ บับที่ ๔ (กรกฎาคม–สิงหาคม ๒๕๖๒): หน้า ๑๑๖๗-๑๑๗๘.
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๔๕
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ชัยชาญ ศรีหานู, พระมงคลธรรม วิธาน. “บ่อเกิดและความสำคัญของศีลธรรมต่อมนุษย์และสังคม”. ตีพิมพ์ใน


วารสาร มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน (TCI-2). ปีที่ ๕ ฉบับที่ ๑ มกราคม - มิถุนายน ๒๕๖๒:
หน้า ๒๓-๓๖
ดร.ธานี สุวรรรณประทีป, ดร. ชัยชาญ ศรีหานู, พระปลัดสุพจน์ สุปภาโต, พระมหาสมศักดิ์ ญาณโพโธ. “มิติ
ของการตีความคำสอนของศาสนาส่งผลต่อ จุดยื นและวิธ ี การเข้า ถึง ความจริ งสุงสุ ด” . วารสาร
พุทธมัคค์ (TCI-2). ศูนย์วิจัยธรรมศึกษา สำนักเรียนวัดอาวุธวิกสิตาราม (๒๙ ธันวาคม ๒๕๖๓): หน้า
๘๘-๙๗.
Phramaha Komon Kamalo, Thanee Suwanpratheep, Viroj Koomkrong, Phramaha Wattana
Pannadipo, Chaichan Srihanu. “Influence of Puzzle Word (Paheli) for Virtue Growth in
Example Term ‘AKATAÑNŪ’”. Solid State Technology. Volume: 63 Issue: 4 (2020):
PP 2557-2565.
Thanee Suwanpratheep, Viroj Koomkrong, Phramaha Komol Kamalo, Phra Rajratanamuni,
Chaichan Srihanu. “ The leadership in Sangha Governance in ASEAN Community” .
Solid State Technology. Volume: 63 Issue: 4 (2020): PP 2576-2584
ชัยชาญ ศรีหานู. “Genome: The Autobiography of a Species in 23 Chapters” ตีพิมพ์ใน วารสาร
มจร บาฬีศึกษาพุทธโฆสปริทรรศน (TCI-2). ปีที่ ๔ ฉบับที่ ๒ กรกฏาคม - ธันวาคม ๒๕๖๑: หน้า
๑๐๕-๑๐๘

๗.๓ หนังสือ/ตำรา
นายชัยชาญ ศรีหานู. (๒๕๖๓). ว่าด้วยจิตนิยาม: รากเหง้าของศีลธรรม. กรุงเทพมหานคร: ประยูรสาส์นไทย.
จำนวน ๒๗๐ หน้า.

๘. กรรมการที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ระดับบัณฑิตศึกษา
- มหาวิทยาลัยมหาจุฬาลงกรณราชวิทยาลัย วิทยาเขตบาฬีศึกษาพุทธโฆส นครปฐม
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๔๖
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

ภาคผนวก ง
คำสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๔๗
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๔๘
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ
ั ฑิต สาขาวิชาบาลีพุทธศาสตร์ ๑๔๙
หลักสูตรพุทธศาสตรดุษฎีบณ

You might also like