You are on page 1of 160

มคอ.

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
และ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มคอ. 2

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

ปีการศึกษาที่เริ่มใช้หลักสูตรเดิม
พ.ศ. 2555

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
และ บัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มคอ. 2

สารบัญ
หน้า
หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อหลักสูตร 1
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 1
3. วิชาเอก 1
4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 1
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ 1
5.2 ภาษาที่ใช้ 1
5.3 การรับเข้าศึกษา 1
5.4 ความร่วมมือกับสถาบัน 1
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา 1
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 1
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 2
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา 2
9. ชื่อ เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร 2
10. สถานที่จัดการเรียนการสอน 2
11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ 2
11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม 2
12. ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
12.1 การพัฒนาหลักสูตร 3
12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน 3
13. ความสัมพันธ์ (ถ้ามี) กับหลักสูตรอื่น ที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน
13.1 การบริหารหลักสูตร 3
13.2 การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรนี้ มีคณะ/ภาควิชา/สาขาวิชาอื่นในมหาวิทยาลัยร่วมด้วย 3
หรือไม่ อย่างไร
หมวดที่ 2. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.1 ปรัชญา 4
1.2 วัตถุประสงค์ 4
2. แผนพัฒนาปรับปรุง 5
มคอ. 2

สารบัญ (ต่อ) หน้า


หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ 6
1.2 การจัดการศึกษาภาคการศึกษาพิเศษ 6
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค 6
2. การดาเนินการหลักสูตร
2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน 6
2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 6
2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า 6
2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3 7
2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูส้ าเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี 7
2.6 งบประมาณตามแผน 7
2.7 ระบบการศึกษา 7
2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย 7
3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
3.1 หลักสูตร
3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวม 8
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 8
3.1.3 รายวิชา 8
3.1.4 แผนการศึกษา 15
3.1.5 คาอธิบายรายวิชา 17
3.2 ชื่อ เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์
3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร 38
3.2.2 อาจารย์ประจา 40
3.2.3 อาจารย์พิเศษ 40
4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน) 41
5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ
5.1 คาอธิบายโดยย่อ 41
5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้ 41
5.3 ช่วงเวลา 41
5.4 จานวนหน่วยกิต 41
5.5 การเตรียมการ 41
5.6 กระบวนการประเมินผล 41
มคอ. 2

สารบัญ (ต่อ) หน้า


หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 41
2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน
2.1 คุณธรรมและจริยธรรม (Ethics & Moral) 42
2.2 ความรู้ (Knowledge) 42
2.3 ทักษะทางปัญญา (Cognitive skills) 43
2.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal skills & responsibility) 43
2.5 ทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical analysis, 43
communication & information technology skills)
3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum 56
Mapping)
หมวดที่ 5. หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา
1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน 44
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 44
3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 44
หมวดที่ 6. การพัฒนาคณาจารย์
1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ 45
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่อาจารย์ 45
หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพหลักสูตร
1. การกากับมาตรฐาน 46
2. บัณฑิต 46
3. นักศึกษา 46
4. อาจารย์ 47
5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 47
6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 47
7. ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) 141
หมวดที่ 8. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร
1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 54
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 54
3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร 54
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง 55
มคอ. 2

สารบัญ (ต่อ) หน้า


เอกสารแนบ
1. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum 56
Mapping)
2. ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร 63
3. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร 113
4. ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 115
5. ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 23/2560) เรื่อง การเทียบโอนรายวิชาและ 132
ค่าคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา จากการศึกษาในระบบ
6. ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541 135
7. ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 946/2550) เรื่อง แนวปฏิบัติในการขออุทธรณ์ผลการสอบ 138
วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ
8. ตัวบ่งชีผ้ ลการดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตร 141
9. รายงานผลการประเมินหลักสูตรหรือรายงานผลการศึกษาความพึงพอใจของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย (กรณี 143
หลักสูตรปรับปรุง)
10. ตารางเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างหลักสูตรปรับปรุงกับหลักสูตรเดิม 148
มคอ.2

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา และบัณฑิตวิทยาลัย

หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป
1. รหัสและชื่อหลักสูตร
ภาษาไทย : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
ภาษาอังกฤษ : Master of Engineering Program in Civil Engineering
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา)
ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา)
ชื่อเต็ม (ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Civil Engineering)
ชื่อย่อ (ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Civil Engineering)

3. วิชาเอก
ไม่มี

4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต

5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท แผน ก แบบ ก 1 และ แผน ก แบบ ก 2
5.2 ภาษาที่ใช้
ภาษาไทย และภาษาอังกฤษบางรายวิชา
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับนักศึกษาไทย และนักศึกษาชาวต่างประเทศที่สามารถใช้ภาษาไทยเป็นอย่างดี
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
-
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว

6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
เป็นหลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 ปรับปรุงจากหลักสูตรวิศวกรรมศาสมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา พ.ศ. 2555
คณะกรรมการกลั่ น กรองหลั ก สู ต รของมหาวิ ท ยาลั ย เห็ น ชอบใน คราวประชุ ม ครั้ ง ที่ 5/2560 เมื่ อ วั น ที่ 27
เดือน กุมภาพันธ์ พ.ศ. 2560
สภามหาวิทยาลัย อนุมัติหลักสูตรในคราวประชุมครั้งที่ 8/2560 เมื่อวันที่ 8 เดือน สิงหาคม พ.ศ. 2560
เปิดสอน ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2560

-1-
มคอ.2

7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรจะได้รับการเผยแพร่ว่าเป็นหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
พ.ศ. 2552 ในปีการศึกษา 2561

8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
(1) อาจารย์ประจาสถาบันการศึกษาของรัฐหรือเอกชน
(2) วิศวกรโยธา สาหรับควบคุม ออกแบบหรือให้คาปรึกษางานที่เกี่ยวข้อง
(3) นักวิจัย

9. ชื่อ เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร


1. นายวันชัย สะตะ X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา)
วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
2. นายพงศกร พรรณรัตนศิลป์ X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ Ph.D. (Foundation Engineering)
M.Eng. (Geotechnical Engineering)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
3. นายชาติชาย ไวยสุระสิงห์ X-XXXX-XXXXX-XX-X ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D. (Integrative Environmental Science)
วศ.ม. (วิศวกรรมสารวจ)
วศ.บ. (วิศกวรรมสารวจ)
10. สถานที่จัดการเรียนการสอน
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
ในปัจจุบันประเทศไทยมีความพยายามที่จะพัฒนาประเทศให้มีความเป็นเลิศในทุกๆด้าน ส่งผลให้มีการเร่งรัดการ
พั ฒ นาโครงสร้างพื้นฐานต่ างๆ ซึ่ ง เกี่ย วข้องโดยตรงกับงานด้านวิศวกรรมโยธาที่ประกอบด้ว ยแขนงวิชาย่ อยๆ ได้แก่
วิศวกรรมโครงสร้าง วิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง วิศวกรรมแหล่งน้า วิศวกรรมฐานราก วิศวกรรมขนส่ง วิศวกรรมสารวจ และ
การบริหารงานก่อสร้าง แต่การมุ่งเน้นในการพัฒนาดังกล่าวนั้น ต้องมีการเตรียมความพร้อมทางด้านทรัพยากรมนุษย์เป็น
กาลังสาคัญ สาหรับสถานการณ์ของโลกที่ดาเนินอยู่ในปัจจุบัน การเชื่อมโยงที่มีมากขึ้นทั้งในไทย และระหว่างประเทศ
สมาชิกอาเซียนที่ต้องมีการเผชิญกับสถานการณ์การพัฒนาทางแรงต่างชาติที่ข้ามเขตแดน (Cross Border) เข้ามาทางานได้
ง่ายขึ้น นับเป็นการพลิกโฉมที่สาคัญ และเป็นปัจจัยผลักดันให้เกิดการพัฒนาและขยายตัวทางเศรษฐกิจครั้งใหญ่แบบก้าว
กระโดดที่มุ่งเน้นพัฒนาโครงข่ายความเชื่อมโยงในด้านต่างๆ จะเป็นตัวเร่งสาคัญที่เอื้อให้เกิดโอกาสในการทา งานทั้งใน
ภาครัฐ และเอกชน ดั ง นั้ น การพั ฒ นาหลั กสู ต รควรตระหนั กถึ ง การเปลี่ ย นแปลงที่ กาลั ง เกิด ขึ้น เพื่ อ ผลิ ต บั ณ ฑิ ต ที่ มี
ความสามารถในการแข่งขันตลาดแรงงานที่กว้างขึ้น วิศวกรจาเป็นต้องมีความรู้พื้นฐานที่เพียงพอ มีความสามารถในการ
ปรับตัวกับเทคโนโลยีใหม่ๆ และมีความรู้ความสามารถเป็นพิเศษในเรื่องเฉพาะด้าน ภายใต้บริบททางเศรษฐกิจและ
สภาพแวดล้อมของธุรกิจที่เปลี่ยนแปลงไป

11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
จากแผนพัฒ นาเศรษฐกิจและสังคมแห่ งชาติ ฉบั บ ที่ 12 (พ.ศ. 2560 - 2564) ท่ า มกลางสถานการณ์โลกที่
เปลี่ยนแปลงรวดเร็วและเชื่อมโยงกันใกล้ชิดมากขึ้น การพัฒนาเทคโนโลยีจะมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็วและเป็น
รูป แบบของวิ วั ฒ นาการที่ จ ะกระทบชี วิ ต ความเป็ น อยู่ ในสั ง คมและวั ฒ นธรรม ขณะที่ ป ระเทศไทยจะต้ องเร่ง พั ฒ นา
วิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และนวัตกรรมให้ เป็นปัจจัยขับเคลื่อนการพัฒนาในทุกด้านภายใต้สถานการณ์ที่ขีดความสามารถ

-2-
มคอ.2

ในการแข่งขันของประเทศมีข้อจากัดหลายด้าน อาทิคุณภาพคนไทยยังต่า กาลังแรงงานมีปัญหาทั้งในเรื่ององค์ความรู้


ทักษะ และทัศนคติ สังคมขาดคุณภาพและมีความเหลื่อมล้าสูง โครงสร้างประชากรเข้าสู่สังคมสู งวัยส่งผลให้ขาดแคลน
แรงงาน จึงเป็นที่ตระหนักร่วมกันว่าจะพัฒนาประเทศต่อไปได้อย่างไรให้เป็นประเทศที่พัฒนาแล้ว มีความมั่นคง มั่งคั่ง และ
ยั่งยืนได้ในระยะยาวนั้นทาให้ประเทศต้องเร่งเพิ่มการลงทุนเพื่อการวิจัยและพัฒนาเพื่อพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี และ
นวัตกรรม ควบคู่ กับการพัฒนาคนให้เป็นคนที่สมบูรณ์ในทุกด้านและในทุกช่วงวัย และพัฒนาโลจิสติกส์ให้เป็นระบบ
โครงข่า ยที่ ส มบู รณ์ และมี ป ระสิ ท ธิ ภาพ ให้ เป็ น ปั จ จั ย สนั บ สนุ น การขับ เคลื่ อนการพั ฒ นาที่ ส าคั ญ วิ ศวกรรมโยธา ที่
ประกอบด้วยวิศวกรรมแขนงย่อยต่างๆ ได้แก่ วิศวกรรมโครงสร้าง วิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง วิศวกรรมแหล่งน้า วิศวกรรมฐาน
ราก วิศวกรรมขนส่ง วิศวกรรมสารวจ และ การบริหารงานก่อสร้าง จึงเป็นอีกหนึ่งสาขาใหญ่ที่มีความสาคัญและตอบโจทย์
ต่อการพัฒนาโครงสร้างพื้นฐานต่างๆของประเทศดังกล่าว ซึ่งถือเป็นเพิ่มขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศรวมถึง
การพัฒนาเมืองให้น่าอยู่และน่าลงทุนทางเศรษฐกิจต่อไปในอนาคต

12. ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน


12.1 การพัฒนาหลักสูตร
จากสถานการณ์ภายนอกทั้งทางด้านเศรษฐกิจ สังคม และวัฒนธรรม การเชื่อมโยงที่มีมากขึ้นทั้งในไทย และ
ระหว่างประเทศสมาชิกอาเซียน จึงทาให้สาขาวิชาวิศวกรรมโยธามีความจาเป็นต้องปรับปรุงหลักสูตรให้มีความทันสมัย
สามารถผลิตบัณฑิตให้มีทั้งคุณภาพ คุณธรรม และความพร้อมการทางานจริงในทุกภาคส่วน รวมทั้งการเตรียมความพร้อม
สาหรับการพัฒนาแบบมีส่วนร่วมทุกภาคส่วน ทาให้จะต้ องยกระดับบัณฑิตให้มีคุณภาพสูงขึ้นเพื่อเข้าไปเป็นส่วนสาคัญใน
การพัฒนาประเทศให้ดาเนินก้าวหน้าไปอย่างยั่งยืน มีคุณภาพ และประสิทธิภาพ
ดังนั้น สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น จึงต้องมีการเตรียมความพร้อมที่จะ
ผลิ ต มหาบั ณ ฑิ ต ที่ ไ ด้ ม าตรฐานสู ง เป็ น ที่ ย อมรั บ โดยทั่ ว ไป มหาบั ณ ฑิ ต ที่ จ บจากสาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา
มหาวิทยาลัยขอนแก่น จะต้องมีความรู้ความเชี่ยวชาญพื้นฐานที่เพียงพอ สามารถทางานวิศวกรรมได้อย่างถูกต้องและ
เหมาะสมตามหลักวิชาการ มีความรู้ในเชิงลึกสาหรับเรื่องเฉพาะด้าน มีความสามารถในการทางานวิจัย และมีความทันสมัย
เท่าทันเทคโนโลยีปัจจุบัน ซึ่งเป็นพื้นฐานในการพัฒนาประเทศอย่างยั่งยืน และมีความพร้อมในการก้าวสู่ตลาดงานของ
ประชาคมอาเซียนและโลกต่อไป
12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของสถาบัน
การพัฒนาหลักสูตรได้สอดคล้องกับวิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยที่เน้นการเป็นสถาบันการเรียนรู้พลวัตรระดับแนว
หน้ า ในการผลิตบัณ ฑิต และพั ฒนาบุคลากรที่มีคุณภาพตามมาตรฐานอุ ดมศึกษา และการสร้างความเป็นเลิศ ในการ
ประยุกต์เทคโนโลยี และพัฒนานวัตกรรมอีกทั้งยังเป็นภาระหนึ่งของพันธกิจของมหาวิทยาลัยที่มีไว้ดังนี้
- ผลิตบัณฑิตและพัฒนาบุคลากร
- ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาความรู้และนวัตกรรม
- บริการวิชาการแก่สังคม

13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่น ที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน


13.1 การบริหารหลักสูตร
ไม่มี
13.2 การจัดการเรียนการสอนในหลักสูตรนี้ มีคณะ/ภาควิชา/สาขาวิชาอื่นในมหาวิทยาลัยร่วมด้วยหรือไม่ อย่างไร
ไม่มี
13.3 การบริการให้หลักสูตรอืน่
ไม่มี

-3-
มคอ.2

หมวดที่ 2. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
1. ปรัชญา ความสาคัญ และวัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.1 ปรัชญา
หลั ก สู ต รวิ ศ วกรรมศาสตรมหาบั ณ ฑิ ต สาขาวิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา (หลั ก สู ต รปรั บ ปรุ ง พ.ศ. 2560) มุ่ ง ผลิ ต
มหาบัณฑิตให้มีความรู้ความเข้าใจในเชิงลึกของหลักการและทฤษฎีในสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา มีความสามารถในการทา
วิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาชีพได้ โดยการใช้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ นามาประยุกต์ให้เกิดการพัฒนา
ความรู้ใหม่หรือวิธีการปฏิบัติงานใหม่ในสาขาวิชาได้อย่างสร้างสรรค์ มีคุณธรรม จริยธรรม และจรรยาบรรณตามหลั ก
วิชาการและวิชาชีพ และมีภาวะผู้นา
1.2 วัตถุประสงค์
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560) มีวัตถุประสงค์
เพื่อผลิตมหาบัณฑิตที่มีคุณสมบัติดังนี้
1.2.1 มีความรู้ลึกในวิชาการที่ศึกษา และสามารถประยุกต์ในการประกอบวิชาชีพขั้นสูงหรือการวิจัยเพื่อ
แก้ปัญหาหรือสร้างองค์ความรู้ใหม่ ในแขนงวิชาต่อไปนี้ วิศวกรรมโครงสร้าง วิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง
วิศวกรรมแหล่งน้า วิศวกรรมฐานราก วิศวกรรมขนส่ง วิศวกรรมสารวจ และ การบริหารงานก่อสร้าง
1.2.2 ความสามารถในการใช้ความรู้ ทักษะทางวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และวิศวกรรมศาสตร์ในการคิด
วิเคราะห์ ริเริ่มสร้างสรรค์งาน และแก้ไขข้อโต้แย้งหรือปัญหาทางวิชาการขั้นสูงได้อย่างมีประสิทธิภาพ
และเหมาะสม
1.2.3 มีความสามารถในการใช้ภาษาไทย และภาษาต่างประเทศในการศึกษาเรียนรู้ และการสื่อสารถ่ายทอด
ความรู้ในทางวิชาการได้ รวมไปถึงการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศได้อย่างมีประสิทธิภาพ
1.2.4 มีความสนใจใฝ่รู้ สามารถพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้ทันต่อความก้าวหน้าและการเปลี่ยนแปลงของ
เทคโนโลยี และสถานการณ์
1.2.5 มีความสามารถในการบูรณาการแขนงความรู้ด้านวิศวกรรมโยธาที่ประกอบด้วย วิศวกรรมโครงสร้าง
วิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง วิศวกรรมแหล่งน้า วิศวกรรมฐานราก วิศวกรรมขนส่ง วิศวกรรมสารวจ และ การ
บริหารงานก่อสร้าง เพื่อนามาผสมผสานและแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในสังคมและชุมชน ตลอดจนผลักดัน
ให้ขีดความสามารถในการแข่งขันของประเทศ
1.2.6 มีวุฒิภาวะ ความเป็นผู้นา มีมนุษยสัมพันธ์ และทักษะในการทางานเป็นหมู่คณะและเครือข่าย สามารถ
บริหารจัดการงานได้อย่างมีประสิทธิภาพ มีจิตสาธารณะ เสียสละ อุทิศตนเพื่อสังคม ถือเอาประโยชน์
ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง ภาคภูมิใจในท้องถิ่น สถาบัน และประเทศชาติ มีทัศนคติที่ดีต่อการทางานและใช้
ชีวิตในสังคมพหุวัฒนธรรม
1.2.7 มีคุณธรรม จริยธรรม มีวินัย รับผิดชอบต่อตนเอง ครอบครัว องค์กร สังคม และประเทศชาติ ประกอบ
วิชาชีพด้วยความซื่อสัตย์สุจริตและมีจรรยาบรรณ

-4-
มคอ.2

2. แผนพัฒนาปรับปรุง
แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่งชี้ความสาเร็จ
 การพัฒนาการเรียนการสอน 1. อาจารย์ทุกคนโดยเฉพาะอาจารย์ใหม่ต้องเข้า 1. ความสามารถในการวัดและประเมิน ผล
อบรมเกี่ยวกับหลักสูตร การสอนรูปแบบต่างๆ ของหลักสูตร
และการวัดผล ประเมินผล ทั้งนี้เพื่อให้มีความรู้ 2. ปริมาณงานทางด้านการบริการวิชาการต่อ
ความสามารถในการประเมิ น ผลตามกรอบ อาจารย์ในหลักสูตร
มาตรฐานคุ ณ วุ ฒิ ที่ ผู้ ส อนจะต้ อ งสามารถวั ด 3. รายงานผลประเมิ น ความพึ ง พอใจของ
และประเมินผลได้เป็นอย่างดี ผู้ใช้บริการวิชาการ
2. สนั บ สนุ น บุ ค ลากรด้ า นการเรี ย นการสอนให้ 4. จานวนโครงการ/กิจกรรมที่เป็นประโยชน์
ทางานบริการวิชาการแก่องค์กรภายนอก ต่อชุมชนและความบรรลุผลสาเร็จ
3. ส่งเสริมให้มีการนาความรู้ และงานวิจัย ไปใช้
จริงเพื่อทาประโยชน์ให้แก่ชุมชน
 การพัฒนาอาจารย์ 1. ส่งเสริมการเพิ่มตาแหน่งทางวิชาการ 1. จานวนอาจารย์ที่มีตาแหน่งทางวิชาการ
เพิ่มมากขึ้น
2. การพัฒนาอาจารย์ให้เป็นนักวิจัยอาชีพ 2. จานวนบทความทางวิ ชาการที่ เ พิ่ ม มาก
ขึ้น รวมถึงจานวนงานวิจัยและ/หรือ งาน
บริการวิชาการที่มีคุณค่าต่อสังคม
3. การพั ฒ นาทั ก ษะและความเชี่ ย วชาญเชิ ง 3. ปริมาณผลงานที่สอดคล้องกับวิชาชีพใน
วิชาชีพ การบริการวิชาการและบริการสังคม
 การพัฒนานักศึกษา 1. ส่ ง เสริ ม นั ก ศึ ก ษาเสนอผลงานวิ จั ย ใน 1. จ านวนผลงานวิ จั ย ของนั ก ศึ ก ษาใน
ระดับชาติและนานาชาติมากขึ้น ระดับชาติและนานาชาติ
2. ส่งเสริมนัก ศึก ษาท าวิจัย ในต่ างประเทศหรื อ
ร่วมกับต่างประเทศ
3. เชิญผู้ทรงคุณวุฒิมาบรรยายพิเศษ
4. เพิ่มการรับวารสารวิชาการ
 การเปลี่ยนแปลงจุดเน้นของ 1. เพิ่มทักษะในการทางานของนักศึกษา 1. การพานั ก ศึ ก ษาไปดู ง านนอกสถานที่ ใ น
หลักสูตร 2. ปรับทิศทางการพัฒนาเทคโนโลยีด้าน สถานที่ที่เกี่ยวข้อง
วิศวกรรมโยธาให้ทันสมัย 2. ปรับปรุงด้านห้องปฏิบัติการเพื่อให้มีความ
ทันสมัยนักศึกษามีความรู้
 การเพิ่มเนื้อหาใหม่ๆ ที่สาคัญ 1. ทาการทบทวนเนื้อหาในหลักสูตร และแทรก 1. ปรับปรุงเนื้อหาในรายวิชาในส่วนสาระใหม่
เทคโนโลยีและนวัตกรรมใหม่ๆเพิ่มมากขึ้น หรือเพิ่มเติมเนื้อหา

-5-
มคอ.2

หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร


1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
ใช้ระบบทวิภาค โดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาคการศึกษาปกติมีระยะเวลา
ศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
1.2 การจัดการศึกษาภาคการศึกษาพิเศษ
ไม่มี
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี
2. การดาเนินการหลักสูตร
2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
ภาคการศึกษาต้น เดือนสิงหาคม - เดือนธันวาคม
ภาคการศึกษาปลาย เดือนมกราคม - เดือนพฤษภาคม
2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
2.2.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณพ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558
2.2.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึ กษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 5
ข้อ 21.2 และประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 20/2560) เรื่อง หลักเกณฑ์การรับบุคคลเข้า
ศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา และเพิ่มเติมดังนี้
แผน ก แบบ ก 1
(1) ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 5 ข้อ
21.2 หรือเป็นไปตามระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่
(2) ผู้สมัครจะต้องเป็นผู้สาเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา การบริหารงานก่อสร้าง
วิศวกรรมขนส่ง วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมทรัพยากรน้า วิศวกรรมชนบท หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้องจาก
สถาบันการศึกษาที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้ให้การรับรอง หรือมีประสบการณ์การ
ทางานไม่น้อยกว่า 3 ปี
(3) ในกรณีที่ผู้สมัคร แผน ก แบบ ก1 เป็นนักศึกษาที่จบจากสถาบันการศึกษาจากต่างประเทศ หรือมีคุณสมบัติ
ต่างไปจากข้อ (2) ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
แผน ก แบบ ก 2
(1) ให้เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 5 ข้อ
21.2 หรือเป็นไปตามระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่
(2) ผู้สมัครจะต้องเป็นผู้สาเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเท่า ในสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา การบริหารงานก่อสร้าง
วิศวกรรมขนส่ง วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม วิศวกรรมทรัพยากรน้า วิศวกรรมชนบท หรือสาขาอื่นที่เกี่ยวข้อง จาก
สถาบันการศึกษาที่สานักงานคณะกรรมการการอุดมศึกษา (สกอ.) ได้ให้การรับรอง
(3) ในกรณีที่ผู้สมัคร แผน ก แบบ ก2 เป็นนักศึกษาที่จบจากสถาบันการศึกษาจากต่างประเทศ หรือมีคุณสมบัติ
ต่างไปจากข้อ (2) ให้อยู่ในดุลยพินิจของของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า
นั กศึกษาที่ เข้า ศึกษาในหลั กสู ต รอาจมี พื้ น ฐานการเรีย นรู้ ในหลั กสู ต รไม่ เพี ย งพอ รวมทั้ ง ทั กษะและความรู้
ความสามารถทางภาษาอังกฤษของนักศึกษา

-6-
มคอ.2

2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3


นักศึกษาที่จะเข้าศึกษาจาเป็นต้องปรับพื้นฐานทางวิศวกรรม และภาษาอังกฤษ โดยการลงทะเบียนวิชาเพิ่มเติม
ตามคาแนะนาของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯ และในกรณีที่ภาษาอังกฤษอยู่ในระดับที่ต้องมีการเพิ่มหรือเสริมทักษะ
จะมีการส่งเสริมนักศึกษาให้มีการพัฒนาทักษะโดยผ่านคอร์สฝึกอบรมตามที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นจัดขึ้น

2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี
จานวนนักศึกษาแต่ละปีการศึกษา
จานวนนักศึกษา 2560 2561 2562 2563 2564
ก1 ก2 ก1 ก2 ก1 ก2 ก1 ก2 ก1 ก2
ชั้นปีที่ 1 5 45 5 50 5 55 5 60 5 65
ชั้นปีที่ 2 - - 5 45 5 50 5 55 5 60
รวม 5 45 10 95 10 105 10 115 10 125
คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา - - 5 45 5 50 5 55 5 60

2.6 งบประมาณตามแผน
ประมาณการรายรับ ปีงบประมาณ
2560 2561 2562 2563 2564
- ค่าธรรมเนียมการศึกษา 2,065,500 2,272,050 2,478,600 2,685,150 2,891,700
รวมรายรับ 2,065,500 2,272,050 2,478,600 2,685,150 2,891,700
ประมาณการรายจ่าย ปีงบประมาณ
2560 2561 2562 2563 2564
- งบใช้สอยตอบแทนและวัสดุ 1,032,750 1,136,025 1,239,300 1,239,300 1,445,850
- งบครุภัณฑ์ 619,650 681,615 743,580 805,545 867,510
- งบดาเนินการ (พัฒนาการเรียน การ 413,100 681,615 495,720 537,030 578,340
สอน พัฒนานักศึกษา ทุน ฯลฯ)
รวมรายจ่าย 2,065,500 2,272,050 2,478,600 2,685,150 2,891,700
ประมาณการค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษาต่อหลักสูตร = 120,000 บาท

2.7 ระบบการศึกษา
ระบบการศึกษาเป็นแบบชั้นเรียน
2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย
ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 23/2560) เรื่อง การเทียบโอนรายวิชาและ
ค่าคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาจากการศึกษาในระบบ

-7-
มคอ.2

3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
3.1 หลักสูตร
3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวม
แผน ก แบบ ก 1 รวมหลักสูตรไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
แผน ก แบบ ก 2 รวมหลักสูตรไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร
จานวนหน่วยกิต
แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
36 36
1) หมวดวิชาบังคับ
1.1 วิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต) 9 3
1.2 วิชาบังคับ (นับหน่วยกิต) - 9
2) หมวดวิชาเลือก
2.1 วิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม - 6
2.2 วิชาเลือก - 9
3) วิทยานิพนธ์ 36 12

3.1.3 รายวิชา
3.1.3.1 หมวดวิชาบังคับ
3.1.3.1.1 หมวดวิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต)
(1) นักศึกษาแผน ก แบบ ก 1 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จานวน 9
หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory)
*EN007000 การนางานวิจยั สู่ธุรกิจสาหรับการประกอบการด้าน 3(3-0-6)
วิศวกรรม (ไม่นบั หน่วยกิต)
Research to Business for Engineering
Entrepreneurship
*EN007001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(2-3-5)
Engineering Research Methodology (ไม่นบั หน่วยกิต)
**EN127891 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 1 1(0-3-2)
Civil Engineering Seminar I (ไม่นบั หน่วยกิต)
**EN127892 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 2 1(0-3-2)
Civil Engineering Seminar II (ไม่นบั หน่วยกิต)
**EN127893 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 3 1(0-3-2)
Civil Engineering Seminar III (ไม่นบั หน่วยกิต)

(2) นักศึกษาแผน ก แบบ ก 2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ แบบไม่นับหน่วยกิต (Audit) จานวน 3


หน่วยกิต และต้องมีผลการศึกษาในระดับ S (Satisfactory)
**EN127891 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 1 1(0-3-2)
Civil Engineering Seminar I (ไม่นบั หน่วยกิต)
**EN127892 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 2 1(0-3-2)

-8-
มคอ.2

Civil Engineering Seminar II (ไม่นบั หน่วยกิต)


**EN127893 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 3 1(0-3-2)
Civil Engineering Seminar III (ไม่นบั หน่วยกิต)

3.1.3.1.2 หมวดวิชาบังคับ (นับหน่วยกิต)


นักศึกษาแผน ก แบบ ก 2 ต้องลงทะเบียนเรียนรายวิชาต่อไปนี้ แบบนับหน่วยกิต (Credit) จานวน 9 หน่วย
กิต ดังนี้
*EN007000 การนางานวิจยั สู่ธุรกิจสาหรับการประกอบการด้าน 3(3-0-6)
วิศวกรรม
Research to Business for Engineering
Entrepreneurship
*EN007001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(2-3-5)
Engineering Research Methodology
**EN127000 การจัดการโครงการ 3(3-0-6)
Project Management

3.1.3.2 หมวดวิชาเลือก
3.1.3.2.1 หมวดวิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม
นักศึกษาแผน ก แบบ ก 2 ให้ลงทะเบียนเรียนในรายวิชากลุ่มใดกลุ่มหนึ่ง จานวน 6 หน่วยกิต หรือจาก
รายวิชาอื่นที่จะเปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ดังนี้
กลุ่มวิชาวิศวกรรมการบริหารงานก่อสร้าง
**EN127100 การบริหารต้นทุนและความเสี่ยงของโครงการ 3(3-0-6)
Project Cost and Risk Management
**EN127101 การวางแผนและควบคุมการก่อสร้างเชิงบูรณาการ 3(3-0-6)
Integrated Project Planning and Control
กลุ่มวิชาวิศวกรรมปฐพี
**EN127200 ปฐพีกลศาสตร์ขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Soil Mechanics
**EN127201 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Foundation Engineering
กลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
**EN127300 การวิเคราะห์โครงสร้างขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Structural Analysis
**EN127301 โครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Concrete Structures
กลุ่มวิชาวิศวกรรมสารวจ
**EN127400 การคานวณปรับแก้ 3(2-3-6)
Adjustment Computation
**EN127401 การคานวณปรับแก้ขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Adjustment Computation

-9-
มคอ.2

กลุ่มวิชาวิศวกรรมขนส่ง
**EN127500 การวิเคราะห์ระบบการขนส่ง 3(3-0-6)
Transport System Analysis
**EN127501 วิศวกรรมจราจร 3(3-0-6)
Traffic Engineering
กลุ่มวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า
**EN127600 ระบบอุทกวิทยา 3(3-0-6)
Hydrologic System
**EN127601 วิศวกรรมชลศาสตร์ประยุกต์ 3(3-0-6)
Applied Hydraulic Engineering

3.1.3.2.2 หมวดวิชาเลือกทั่วไป
นักศึกษาแผน ก แบบ ก 2 ลงทะเบียนเรียนในแต่ละกลุ่มวิชาสามารถเลือกเรียนและสอบผ่านในรายวิชา
เลือกทั่วไป ของกลุ่มวิชาใดก็ได้โดยมีจานวนไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิต ทั้งนี้ต้องได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหาร
หลักสูตร ดังมีรายวิชาต่อไปนี้ หรือ รายวิชาที่เปิดเพิ่มเติมภายหลัง โดยผ่านความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร
หลักสูตร
กลุ่มวิชาวิศวกรรมการบริหารงานก่อสร้าง
**EN127102 การบริหารคุณภาพงานก่อสร้าง 3(3-0-6)
Quality Management in Construction
**EN127103 การวิเคราะห์ผลิตภาพในการก่อสร้าง 3(3-0-6)
Construction Productivity Analysis
**EN127104 กฎหมายและสัญญาการก่อสร้าง 3(3-0-6)
Legal Concepts and Construction Contract
**EN127105 การบริหารการเงินและการบัญชีในการก่อสร้าง 3(3-0-6)
Financial and Accounting in Construction
Management
**EN127106 เทคนิคงานก่อสร้าง 3(3-0-6)
Construction Techniques
**EN127107 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมการจัดการการก่อสร้าง 3(3-0-6)
Selected Topic In Construction Management
Engineering
กลุ่มวิชาวิศวกรรมปฐพี
**EN127202 ปฐพีกลศาสตร์สาหรับดินทีไ่ ม่อิ่มตัวด้วยน้า 3(3-0-6)
Soil Mechanics for Unsaturated Soils
**EN127203 โครงสร้างดิน 3(3-0-6)
Earth Structures
**EN127204 ปฐพีพลศาสตร์ 3(3-0-6)
Soil Dynamics
**EN127205 การวิเคราะห์และออกแบบผิวทาง 3(3-0-6)
Pavement Analysis and Design

- 10 -
มคอ.2

**EN127206 การสารวจและทดสอบดินในสนาม 3(2-3-6)


Field Exploration and Soil Testing
**EN127207 การปรับปรุงคุณสมบัติของดิน 3(3-0-6)
Ground Improvement
**EN127208 ธรณีฟิสิกส์ในงานวิศวกรรม 3(3-0-6)
Engineering Geophysics
**EN127209 ธรณีวิทยาในงานวิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Engineering Geology
กลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
**EN127302 วิธีไฟไนท์เอเลเมนท์ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง 3(3-0-6)
Finite Element Method in Structural Engineering
**EN127303 พลศาสตร์ของโครงสร้าง 3(3-0-6)
Dynamics of Structures
**EN127304 โครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Steel Structures
**EN127305 การจาลองพฤติกรรมของโครงสร้างในช่วงไม่ยืดหยุน่ 3(3-0-6)
Inelastic Modeling of Structures
**EN127306 วิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว 3(3-0-6)
Wind and Earthquake Engineering
**EN127307 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3(3-0-6)
Stability of Structures
**EN127308 วิธีทดลองปฏิบัติงานในงานวิศวกรรมโครงสร้าง 3(2-3-6)
Experimental Methods in Structural Engineering
**EN127309 โครงสร้างจุลภาคและความทนทานของคอนกรีต 3(3-0-6)
Microstructures and Durability of Concrete
**EN127310 การซ่อมแซมและการป้องกันโครงสร้างคอนกรีต 3(3-0-6)
Repair and Protection of Concrete Structures
**EN127311 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Concrete Technology
**EN127312 โครงสร้างและสมบัติของวัสดุวิศวกรรมโยธา 3(3-0-6)
Structure and Properties of Civil Engineering
Materials
*EN127313 คอนกรีตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Environmentally Friendly Concrete
**EN127314 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง 3(3-0-6)
Selected Topics in Construction Materials
กลุ่มวิชาวิศวกรรมสารวจ
**EN127402 ภูมิมาตรศาสตร์ 3(3-0-6)
Geodesy
**EN127403 หลักมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3(3-0-6)
Fundamentals of Geographic Information Systems

- 11 -
มคอ.2

**EN127404 โฟโตแกรมเมตรีเชิงวิเคราะห์ 3(2-3-6)


Analytical Photogrammetry
**EN127405 การรับรู้ระยะไกล 3(2-3-6)
Remote Sensing
**EN127406 การวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศและภาพดาวเทียม 3(3-0-6)
Analysis of Aerial and Satellite Imageries
**EN127407 งานสารวจดาวเทียมจีพีเอส 3(3-0-6)
GPS Satellite Surveying
**EN127408 การจัดการข้อมูลปริภูมิ 3(3-0-6)
Spatial Data Handling
**EN127409 การวิเคราะห์เชิงปริภูมิ 3(3-0-6)
Spatial Data Handling
กลุ่มวิชาวิศวกรรมขนส่ง
**EN127502 การวางแผนการขนส่งในเมือง 3(3-0-6)
Urban Transportation Planning
**EN127503 การวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านการขนส่งและสถิติ 3(3-0-6)
Transportation Data Analysis and Statistics
**EN127504 การออกแบบถนนเชิงเรขาคณิต 3(3-0-6)
Geometric Design of Highway
**EN127505 การวางแผนระบบขนส่งสาธารณะ 3(3-0-6)
Public Transportation Planning
**EN127506 วิศวกรรมความปลอดภัยของถนน 3(3-0-6)
Road Safety Engineering
**EN127507 การประเมินผลกระทบสิง่ แวดล้อมจากการจราจรและขนส่ง 3(3-0-6)
Traffic and Transportation Environmental Impacts
Evaluation
**EN127508 เรื่องการคัดสรรทางวิศวกรรมขนส่ง 3(3-0-6)
Selected Topics In Transportation Engineering
**EN127509 การวางแผนการขนส่ง การใช้ประโยชน์ที่ดิน และ 3(3-0-6)
สิ่งแวดล้อม
Transportation, Land Use and Environment
Planning
**EN127510 การจัดทาแบบจาลองด้านการขนส่งและจราจร 3(3-0-6)
Transportation and Traffic Modeling
กลุ่มวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า
**EN127602 อุทกพลศาสตร์ 3(3-0-6)
Hydrodynamics
**EN127603 การพัฒนาและการจัดการน้าใต้ดิน 3(3-0-6)
Groundwater Development and Management
**EN127604 วิศวกรรมแม่น้า 3(3-0-6)
River Engineering

- 12 -
มคอ.2

**EN127605 การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สาหรับการจัดการ 3(3-0-6)


ทรัพยากรน้า
Application of Geographic Information System for
Water Resources Management
**EN127606 การจัดการลุ่มน้าเชิงบูรณาการ 3(3-0-6)
Integrated River Basin Management
**EN127607 การวิเคราะห์ระบบทรัพยากรน้า 3(3-0-6)
Water Resources System Analysis
**EN127608 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมทรัพยากรน้า 3(3-0-6)
Selected Topics in Water Resources Engineering
**EN127609 การศึกษาพิเศษทางวิศวกรรมทรัพยากรน้า 3(3-0-6)
Special Study in Water Resources Engineering
*EN527401 การหาค่าเหมาะที่สุดทางวิศวกรรม 3(3-0-6)
Engineering Optimization
3.1.3.3 วิทยานิพนธ์
**EN127898 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
Thesis
**EN127899 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
Thesis

หมายเหตุ * รายวิชาใหม่
** รายวิชาเปลี่ยนแปลง

- 13 -
มคอ.2

คาอธิบายระบบรหัสวิชา
ระบบรหัสวิชา มหาวิทยาลัยขอนแก่น ประกอบด้วยตัวอักษรภาษาอังกฤษจานวน 2 ตัว ตามด้วยตัวเลขจานวน
6 หลัก รหัสวิชาในหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา กาหนดดังนี้
EN12X XXX ตัวอักษร 2 ตัวแรก หมายถึง แสดงอักษรย่อ คณะวิศวกรรมศาสตร์
ตัวเลขหลักที่ 1 และ 2 หมายถึง ลาดับที่สาขาวิชาที่เปิดสอนก่อนหลัง
เลข 00 หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร์
เลข 12 หมายถึง หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
ตัวเลขตัวที่ 3 หมายถึง ระดับของวิชา
เลข 7 – 8 หมายถึง วิชาทีท่ าการสอนในระดับปริญญาโท
เลข 9 หมายถึง วิชาทีท่ าการสอนในระดับปริญญาเอก
ตัวเลขตัวที่ 4 หมายถึง กลุ่มวิชาทีจ่ ัดสอน
เลข 0 หมายถึง วิชากลางสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
เลข 1 หมายถึง กลุ่มวิชาวิศวกรรมการบริหารงานก่อสร้าง
เลข 2 หมายถึง กลุ่มวิชาวิศวกรรมปฐพี
เลข 3 หมายถึง กลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
เลข 4 หมายถึง กลุ่มวิชาวิศวกรรมสารวจ
เลข 5 หมายถึง กลุ่มวิชาวิศวกรรมขนส่ง
เลข 6 หมายถึง กลุ่มวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า
เลข 8 หมายถึง วิชาสัมมนา ปัญหาพิเศษ วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาโท
เลข 9 หมายถึง วิชาสัมมนา ปัญหาพิเศษ วิทยานิพนธ์ระดับปริญญาเอก
ตัวเลขตัวที่ 5 – 6 หมายถึง ลาดับที่ของรายวิชาในแต่ละกลุม่

- 14 -
มคอ.2

3.1.4 แผนการศึกษา
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต
แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2
*EN007001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(2-3-5) 3(2-3-5)
Engineering Research Methodology (ไม่นบั หน่วยกิต)
**EN127000 การจัดการโครงการ - 3(3-0-6)
Project Management
**EN127891 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 1 1(0-3-2) 1(0-3-2)
Civil Engineering Seminar I (ไม่นบั หน่วยกิต) (ไม่นบั หน่วยกิต)
**EN127XXX วิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม - 3(3-0-6)
Technical Elective
**EN127XXX วิชาเลือกทั่วไป - 3(3-0-6)
General Elective
**EN127898 วิทยานิพนธ์ 9 -
Thesis
รวมจานวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 13
รวมจานวนหน่วยกิตสะสม 9 12

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต


แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2
*EN007000 การนางานวิจยั สู่ธุรกิจสาหรับการประกอบการ 3(3-0-6) 3(3-0-6)
ด้านวิศวกรรม
Research to Business for Engineering (ไม่นบั หน่วยกิต)
Entrepreneurship
**EN127892 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 2 1(0-3-2) 1(0-3-2)
Civil Engineering Seminar II (ไม่นบั หน่วยกิต) (ไม่นบั หน่วยกิต)
**EN127XXX วิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม - 3(3-0-6)
Technical Elective
**EN127XXX วิชาเลือกทั่วไป - 3(3-0-6)
General Elective
**EN127XXX วิชาเลือกทั่วไป - 3(3-0-6)
General Elective
**EN127898 วิทยานิพนธ์ 9 -
Thesis

**EN127899 วิทยานิพนธ์ - 2
Thesis
รวมจานวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 13 15
รวมจานวนหน่วยกิตสะสม 18 26

- 15 -
มคอ.2

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 หน่วยกิต


แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2
**EN127893 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 3 1(0-3-2) 1(0-3-2)
Civil Engineering Seminar III (ไม่นบั หน่วยกิต) (ไม่นบั หน่วยกิต)
**EN127898 วิทยานิพนธ์ 9 -
Thesis
**EN127899 วิทยานิพนธ์ - 8
Thesis
รวมจานวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 10 9
รวมจานวนหน่วยกิตสะสม 27 34

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 หน่วยกิต


แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 2
**EN127898 วิทยานิพนธ์ 9 -
Thesis
**EN127899 วิทยานิพนธ์ - 2
Thesis
รวมจานวนหน่วยกิตลงทะเบียนเรียน 9 2
รวมจานวนหน่วยกิตสะสม 36 36

- 16 -
มคอ.2

3.1.5 คาอธิบายรายวิชา
*EN007000 การนางานวิจัยสู่ธุรกิจสาหรับการประกอบการด้านวิศวกรรม 3(3-0-6)
Research to Business for Engineering Entrepreneurship
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การจัดการนวัตกรรมและทรัพย์สินทางปัญญา การพาณิชย์อิเล็กทรอนิกส์
และการจัดการห่วงโซ่อุปทาน การตลาดขั้นสูงสาหรับการเป็นผู้ประกอบการด้าน
วิศวกรรม แผนธุรกิจ แนวปฏิบัติที่ดี
Innovation and Intellectual Property Management, E-commerce
& Supply Chain Management, Advanced Marketing for Engineering
Entrepreneurship, Business Plan, Good Practice
*EN007001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(2-3-5)
Engineering Research Methodology
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ภาพรวมของระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ จริยธรรม การคัดลอก
ผลงาน การทบทวนวรรรณกรรม การวิเคราะห์ผลงานตีพิมพ์ การอ่านบทความทาง
เทคนิค การกาหนดปัญหา การตั้งคาถามการวิจัย การวางแผนโครงการหรืองานวิจัย
การสุ่มตัวอย่างข้อมูล การเก็บข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล เครื่ องมือวิจัย ประมวล
หลักการปฏิบัติงาน และมาตรฐาน การจัดการและการนาเสนอข้อมูล การเขียน
บทความวิชาการ การนาเสนอ
Overview engineering research methodology, ethics, plagiarism,
literature review, critical analysis of publications, reading of technical
papers, problem identification, research question, research or project
planning, data sampling, data collection, data analysis, research tools,
code of practice and standards, data management and presentation,
academic writing, presentation.
**EN127000 การจัดการโครงการ 3(3-0-6)
Project Management
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
บทนาของการบริหารโครงการ การวางแผนโครงการ การบริหารขอบเขต
ของโครงการ การบริหารเวลาของโครงการ การบริหารต้นทุนของโครงการ การ
บริหารคุณภาพของโครงการ การบริหารทรัพยากรแรงงานของโครงการ การบริหาร
การสื่อสารในโครงการ การบริหารการจัดซื้อ จัดจ้างของโครงการ การบริหารความ
เสี่ยงของโครงการ การวางผังโครงการ การบริหารความปลอดภัยในโครงการ
Project scope management, project planning, project time
management, project cost management, project quality management,
project human resource management, project communication
management, project procurement management, project risk
management, project integration management, project site layout,
project safety management.

- 17 -
มคอ.2

**EN127100 การบริหารต้นทุนและความเสี่ยงของโครงการ 3(3-0-6)


Project Cost and Risk Management
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
สภาพแวดล้ อ มทางเศรษฐศาสตร์ บทน าของการบริ ห ารต้ น ทุ น การ
วางแผนทรัพยากร การประมาณราคาค่าใช้จ่าย การตั้งงบประมาณค่าใช้จ่าย การ
ควบคุมค่าใช้จ่าย บทนาของการบริหารความเสี่ยง การระบุความเสี่ยง การประเมิน
ความเสี่ยง การตอบสนองความเสี่ยง การควบคุมความเสี่ยง การจัดทาเอกสารความ
เสี่ยง
Economical environment, introduction to cost management,
resource planning, cost estimating, cost budgeting, cost control,
introduction to risk management, risk identification, risk assessment, risk
response, risk control, risk documentation.
**EN127101 การวางแผนและควบคุมการก่อสร้างเชิงบูรณาการ 3(3-0-6)
Integrated Project Planning and Control
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
บทนาของการวางแผนและการควบคุมงานก่อสร้าง บทบาทของผู้วางแผน
ยุทธศาสตร์ของการวางแผน การวางแผนโครงการและกาหนดการการก่อสร้าง การ
ควบคุมความคืบหน้าของงานก่อสร้าง การวางแผนทรัพยากร การวางแผนต้นทุน
และการจัดหา การวางแผนโครงการขนาดใหญ่ ความล่าช้า บทนาของการจัดการ
ข้ อ เรี ย กร้ อ ง การวางแผนการก่ อ สร้ า งแบบซ้ าๆและการควบคุ ม โครงการด้ ว ย
โปรแกรมสาเร็จรูป
Introduction of construction planning and controlling, the role
of the planner, planning strategy, construction project planning and
scheduling, progress monitoring and controlling, resources planning,
cost and procurement planning, equipment planning multi- project
planning, delays, Introduction to claim management, line of balance,
computer software planning and controlling.
**EN127102 การบริหารคุณภาพงานก่อสร้าง 3(3-0-6)
Quality Management in Construction
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
นิยามคุณภาพ ต้นทุนของคุณภาพ วงจรของคุณภาพ การวางแผนคุณภาพ
การประกั น คุ ณ ภาพ การควบคุ ม คุ ณ ภาพ กรณี ศึ ก ษา และน าเสนอรายงาน
กรณีศึกษา
Quality definitions, quality costs, quality circles, quality
planning, quality assurance, quality control, study case and
presentation.

- 18 -
มคอ.2

**EN127103 การวิเคราะห์ผลิตภาพในการก่อสร้าง 3(3-0-6)


Construction Productivity Analysis
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
บทนาเรื่องผลิตภาพในการก่อสร้างและปัจจัยที่ส่งผลต่อผลิตภาพในงาน
ก่อสร้าง ปัจจัยหน้างานและปัจจัยที่ไม่เกี่ยวข้องกับหน้างาน การวัดผลิตภาพในงาน
ก่อสร้าง การวัดผลิตภาพทางตรงและการวัดผลิตภาพทางอ้อม การเพิ่มผลิตภาพใน
การก่อสร้าง ระยะเวลาในการออกแบบ วิศวกรรมคุณค่า การศึกษาความสามารถ
ในการก่อสร้าง การเลือกนักออกแบบ ผู้รับเหมา และบริษัทการจัดการการก่อสร้าง
ระยะเวลาในการก่อสร้าง การรวบรวมข้อมูลในการเพิ่มผลิตภาพในการก่อสร้าง
สาหรับหน้างาน สภาวะการทางาน การจัดหน้างาน การกระตุ้นพนักงานก่อนการ
วางแผน การจัดการอุปกรณ์และเครื่องมือในการสื่อสารหน้างาน
Introduction to productivity in construction and factors affecting
construction productivity: on site factors and off site factors,
construction productivity measurement : direct productivity
measurement and indirect productivity measurement, construction
productivity improvement, design stage: value engineering,
constructability study, selection of designer, contractor and
construction management firm and construction stage: data gathering
for on site productivity improvement, working condition, on site
organization, preplanning worker motivation, on site communication
material and equipment management.
**EN127104 กฎหมายและสัญญาการก่อสร้าง 3(3-0-6)
Legal Concepts and Construction Contract
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
หลักเบื้องต้นเกี่ยวกับกฎหมาย หลักทั่วไปของสัญญา สัญญาก่อสร้าง การ
ละเมิ ด กฎหมายเกี่ย วกับที่ ดิน การตี ความบทกฎหมาย การเรีย กร้องค่าชดเชย
สาหรับงานก่อสร้าง ข้อพิพาท การประกันภัย
General principles of law, general principles of contract,
construction contracts, tort, law relating to land, construction statutes,
construction claims, dispute, insurance.
**EN127105 การบริหารการเงินและการบัญชีในการก่อสร้าง 3(3-0-6)
Financial and Accounting in Construction Management
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
แผนปฏิบัติการและเศรษฐศาสตร์อุตสาหกรรม การจัดซื้อ จัดจ้าง และการ
คัดเลือกผู้รับเหมา การจัดทาบัญชีสาหรับแรงงาน การจัดทาบัญชีสาหรับวัสดุ การ
จัดทาบัญชีสาหรับเครื่องมือ เครื่องจักร การจัดทาบัญชีสาหรับค่าใช้จ่ายทั่วไป การ
จัดทารายงานการเงินและต้นทุน การตรวจสอบภายใน ปัญหาพิเศษสาหรับการ
จัดทาบัญชีในงานก่อสร้าง การพิจารณาภาษีในการบริหารงานก่อสร้าง
Operating patterns and industry economics, procurement and
subcontracting, accounting for labor, accounting for material and
supplies, accounting for equipment cost, accounting for distributable

- 19 -
มคอ.2

cost, financial and cost reporting, internal auditing, special problems


for the construction accountant, tax consideration in construction
management.
**EN127106 เทคนิคงานก่อสร้าง 3(3-0-6)
Construction Techniques
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
งานก่อสร้างประเภทต่าง ๆ (เช่น งานดิน คอนกรีต งานใต้ดิน ฐานราก
เป็นต้น) วิธีเลือกเทคนิคก่อสร้างและอุปกรณ์ เทคนิคในการเพิ่มผลิตผลงานก่อสร้าง
Types of construction ( earth- work, concrete, underground,
foundation etc.) , selection of construction techniques and equipments,
techniques for construction productivity.
**EN127107 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมการจัดการการก่อสร้าง 3(3-0-6)
Selected Topics in Construction Management Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี
การศึกษาหัวข้อพิเศษทางด้านวิศวกรรมการจัดการงานก่อสร้าง
Study on some special topics in construction management
engineering.
**EN127200 ปฐพีกลศาสตร์ขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Soil Mechanics
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
คุณลักษณะพื้นฐานของดิน รูปแบบพื้นฐานของโครงสร้างทางธรณีเทคนิค
หน่วยแรงและความเครียด สมการคอนสติติวทีฟ หน่วยแรงในพื้นดิน หน่วยแรง
ประสิทธิผล การเปลี่ยนแปลงปริมาตรและการระบายน้า การอัดตัวและการบวมตัว
กาลังของดินที่สภาวะวิกฤติ พฤติกรรมของดินก่อนเกิดการพังทลาย คุณลักษณะ
พื้นฐานของแบบจาลองแคมเคลย์ การอัดตัวคายน้า ทฤษฎีของการอัดตัวคายน้าใน
หนึ่งมิติ
Basic characteristics of soils, basic forms of geotechnical
structure, stresses and strains, constitutive equations, stress in the
ground, effective stress, volume change and drainage, compression and
swelling, critical state strength of soil, behavior of soil before failure,
basic features of the cam clay models, consolidation, theory for one-
dimensional consolidation.
**EN127201 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Foundation Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การประยุกต์ใช้หลักการปฐพีกลศาสตร์ต่อการกระจายแรงเค้นในมวลดิน
กับการกระจายตัวของหน่วยแรงในมวลดิน การวิเคราะห์การทรุดตัว ความสามารถ
การรับน้าหนักของ เข็มและเคซอง ความกดดันด้านข้างเพื่อการออกแบบกาแพงกัน
ดิน การเปิดหน้าดินสมอยึดเขื่อนและทางน้าลอด

- 20 -
มคอ.2

Application of soil mechanics principles to stress distribution in


earth masses, settlement analysis, bearing capacity of piles and
caissons, lateral pressure for design of retaining walls, open cuts
anchored bulkheads, cofferdams and culverts.
**EN127202 ปฐพีกลศาสตร์สาหรับดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้า 3(3-0-6)
Soil Mechanics for Unsaturated Soils
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
คุณสมบัติและความสัมพันธ์ระหว่างส่วนประกอบของดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้า
สภาวะหน่วยแรงในดินที่ไม่อิ่มตัว การวัดหาค่าการดูดน้าของดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้า
ทฤษฎีการหากาลังรับแรงเฉือนของดินไม่อิ่มตัวด้วยน้า สภาพพลาสติกและพิกัด
สมดุลของดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้า
Phase properties and relations, stress state variables,
measurements of soil suction, shear strength theory, plastic and limit
equilibrium.
**EN127203 โครงสร้างดิน 3(3-0-6)
Earth Structures
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การใช้ประโยชน์ของดินในงานวิศวกรรมโยธา การบดอัดดินและคุณสมบัติ
ทางวิศวกรรมของดินที่บดอัด การรั่วซึมและปัญหาที่เกี่ยวข้อง เสถียรภาพของผิว
ลาด การออกแบบและ การก่อสร้างเขื่อนดิน
Engineering uses of soils, compaction and engineering
properties of compacted soils, seepage problems, slope stability, design
and construction of earth dams.
**EN127204 ปฐพีพลศาสตร์ 3(3-0-6)
Soil Dynamics
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ชนิ ด ของแรงพลวั ต ร หลั ก การสั่ น สะเทื อ น คลื่ น ในตั ว กลางยื ด หยุ่ น
คุณสมบัติของดินต่อแรงแบบพลวัตร การสั่นสะเทือนของฐานราก การรับแรงอัด
ของดินในแบบพลศาสตร์ต่อฐานรากระดับตื้น ฐานรากแบบเสาเข็มรับเครื่องจั กร
และแผ่นดินไหวและธรณีสูบ
Types of dynamic loading on soils, fundamentals of vibration,
waves in elastic medium, properties of dynamically loaded soils,
foundation vibration, dynamics bearing capacity of shallow foundations,
machine foundation on piles and earthquake and liquefaction.
**EN127205 การวิเคราะห์และออกแบบผิวทาง 3(3-0-6)
Pavement Analysis and Design
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ปั จ จั ย ที่ เกี่ย วข้องกับการออกแบบและความสาคัญ ชนิ ด ของผิวจราจร
ลักษณะของชุดล้อ ความดันลมยาง ความดันที่จุดสัมผัสและรอยสัมผัสของล้อ ความ
เค้นในผิวจราจรแบบยืดหยุ่นและแบบแกร่ง การพิจารณาเกี่ยวกับยวดยานและ
การจราจร ระบบการจาแนกดิน คุณสมบัติของวัสดุ การบดอัดและการปรับปรุง

- 21 -
มคอ.2

คุณภาพดิน การออกแบบผิวจราจรแบบยืดหยุ่นและแบบแกร่ง ความเสียหายและ


การบูรณะของผิวจราจร
Design factors and their importance, type of pavements, wheel
configurations, tire pressure, contact pressure and tire imprint, stresses
in flexible and rigid pavements, vehicles and traffic considerations, soil
classification systems, material properties, compaction and soil
improvements, design of flexible and rigid pavements, pavement
damages and rehabilitation.
**EN127206 การสารวจและทดสอบดินในสนาม 3(2-3-6)
Field Exploration and Soil Testing
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ขอบเขตในการสารวจ การสารวจดินสาหรับงานวิศวกรรมโดยมาตรฐาน
และวิธีทางธรณีวิทยา การทดสอบในสนาม การทดสอบในห้องปฏิบัติการ
Scope of investigation, regional geologic and site
reconnaissance investigations, field investigation, laboratory
investigations.
**EN127207 การปรับปรุงคุณสมบัตขิ องดิน 3(3-0-6)
Ground Improvement
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
บทนา คุณสมบัติทางวิศวกรรม การบดอัด การระบายน้า การอัดตัวคาย
น้า การฉีดอัดนาปูน การเพิ่มเสถียรภาพ และการเสริมกาลังในดิน
Introduction, engineering properties, compaction, drainage,
consolidation, grouting, soil stabilization and soil reinforcement.
**EN127208 ธรณีฟิสิกส์ในงานวิศวกรรม 3(3-0-6)
Engineering Geophysics
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การใช้คลื่นอิลาสติกและกระแสไฟฟ้าเพื่อสารวจความเอียงลาดของชั้นดิน
และคุณ สมบั ติ บ างชนิ ด ของชั้ น ดิ น ในสถานที่ ก่อสร้า งส าหรับ งานด้ า นวิ ศวกรรม
การศึกษาคุณสมบัติทางธรณีของชั้นดิน โดยการใช้เทคนิคทางนิวเคลียร์ คลื่นเสียง
กระแสแม่เหล็กและการเปลี่ยนแปลงของอุณหภูมิในชั้น ดิน เพื่อจาแนกชนิดของดิน
ในแต่ละชั้น
Sources and types of ground contamination, characteristics of
aquifer, hydraulic conductivity and dispersivity of soils, solute
contaminant transport in saturated porous media, chemical and
biological reaction in subsurface environments, non- aqueous phase
liquids, environmental problems associated with geotechnical
construction works.

- 22 -
มคอ.2

**EN127209 ธรณีวิทยาในงานวิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6)


Advanced Engineering Geology
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การศึกษาขั้นสูงเกี่ยวกับกลศาสตร์ของดินและหินที่เกี่ยวข้องกับโครงสร้าง
ทางธรณีวิทยา การจาแนกและการจัดประเภท การสารวจภาคสนาม อันตรายที่เกิด
ในทางธรณีวิทยา
Advanced study of soil and rock mechanics related to
geological structures, identification and classification, site investigation,
geologic Hazards.
**EN127300 การวิเคราะห์โครงสร้างขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Structural Analysis
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การวิเคราะห์โครงสร้างชนิดอินดีเทอมิเนท การวิเคราะห์โครงสร้างโดย
วิธีการเปลี่ยนแปลงรูปร่าง วิธีการใช้หลักของพลังงานในการวิเคราะห์โครงสร้าง การ
ย่อโครงสร้างในการวิเคราะห์โครงสร้าง การวิเคราะห์โครงสร้างแบบไม่เป็นเชิงเส้น
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการวิเคราะห์โครงสร้าง
Analysis of indeterminate structures, displacement method of
structural analysis, energy approach for structural analysis, sub-
structuring method, nonlinear structural analysis, application of
computer for structural analysis.
**EN127301 โครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Concrete Structures
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
แนวคิดในการออกแบบโครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็ก สภาวะจากัดสุดขีด
สภาวะจ ากั ด ใช้ ง าน ความเหนี ย วของชิ้ น ส่ ว นและโครงคอนกรี ต เสริ ม เหล็ ก
แบบจาลองท่อนรับแรงดัดและท่อนรับแรงดึง การวิเคราะห์สภาวะจากัดของแผ่น
พื้นคอนกรีตเสริมเหล็ก ศิลปะในการให้รายละเอียด พื้นฐานคอนกรีตอัดแรง
Structural design concept of reinforced concrete structures,
ultimate limit state, serviceability limit state, ductility of RC members
and frames, strut and tie models, limit state analysis RC slabs, art of
detailing, fundamentals of prestressed concrete.
**EN127302 วิธีไฟไนท์เอเลเมนท์ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง 3(3-0-6)
Finite Element Method in Structural Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
แนะนาวิธีหาคาตอบโดยประมาณสาหรับปัญหาทางความยืดหยุ่นวิธี Ritz
การอินเทอร์โพเลท วิธีริซิดวลถ่วงน้าหนัก การประยุกต์ใช้วิธีไฟไนท์เอเลเมนท์ ไฟ
ไนท์เอเลเมนท์ไอโซพาราเมตริค ชิ้นส่วนเพลทและเชลล์ การเขียนโปรแกรมวิธีไฟ
ไนท์เอเลเมนท์ หัวข้อขั้นสูงในการวิเคราะห์โดยใช้ไฟไนเอเลเมนท์
Introduction to approximate solution methods for problems in
elasticity, the Ritz method, interpolation, weighted residual methods,
applications of the finite element method, isoperimetric finite

- 23 -
มคอ.2

elements, plate and shell elements, programming the finite element


method, advanced topics in finite element analysis.
**EN127303 พลศาสตร์ของโครงสร้าง 3(3-0-6)
Dynamics of Structures
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
พลศาสตร์ของโครงสร้างแบบง่าย (ระบบที่มีความอิสระเดี่ยว) พลศาสตร์
ของโครงสร้างที่มีความอิสระหลายขั้น พลศาสตร์ของโครงสร้างต่อเนื่อง ตอบสนอง
ต่อแผ่นดินไหว การสั่นไม่เจาะจง การควบคุมการสั่นไหวด้วยวิธีต่างๆ
Dynamics of simple structures ( single- degree- of- freedom
systems), dynamics of multi-degree-of-freedom structures, dynamics of
continuous structures, earthquake response, random vibrations,
vibration control of structures.
**EN127304 โครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Steel Structures
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
โครงสร้างเหล็ก ทฤษฎีเสถียรภาพพื้นฐาน ทฤษฎีการแยกเป็นสองกิ่ง
เสถียรภาพของคานเหล็ก เสถียรภาพของแผ่นเหล็กแบนและแผ่นเหล็กโค้ง การ
ออกแบบโครงสร้างเหล็กภายใต้แรงกระทาซ้า สะพานช่วงยาว
Steel structures, basic stability theory, bifurcation theory,
stability of steel beams, stability of steel plates and shells, fatigue
design of steel structures, long span bridges.
**EN127305 การจาลองพฤติกรรมของโครงสร้างในช่วงไม่ยืดหยุ่น 3(3-0-6)
Inelastic Modeling of Structures
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
โครงสร้างของวิธีวิเคราะห์ชิ้นส่วนย่อยแบบไม่เป็นเชิงเส้น วิธีการวิเคราะห์
ปัญหาสถิตย์ศาสตร์แบบไม่เป็นเชิงเส้น เทคนิคในการจาลองชิ้นส่วนย่อย อิลาส
โตพลาสติซิตี้ วิสโคอิลาสติซิตี้ พฤติกรรมรอยต่อของโครงสร้าง คุณลักษณะไม่เป็น
เชิงเส้นทางเรขาคณิต
The structure of nonlinear finite element method, nonlinear
solution technique for static analysis, element technology, elasto-
plasticity, discontinuous modelling, visco- elasticity, structural interface
behaviour, geometrical nonlinearity.
**EN127306 วิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว 3(3-0-6)
Wind and Earthquake Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา : EN127302
ลักษณะเฉพาะของลม แรงลมและอากาศพลศาสตร์ของวัตถุรูปร่างต่าง ๆ
ปรากฏการณ์การยืดหยุ่นทางอากาศ การออกแบบโครงสร้างต้านลม วิศวกรรม
แผ่นดินไหว แนวคิดพื้นฐานในการออกแบบโครงสร้างรับแผ่นดินไหว การออกแบบ
โครงสร้างคอนกรีตเสริมเหล็กรับแผ่นดินไหว หัวข้ออื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง

- 24 -
มคอ.2

Wind characteristics, wind loading and bluff- body


aerodynamics, aero elastic phenomena, wind- resistant design of
structures, seismology engineering, basic concepts in seismic design of
structures, seismic design of reinforced concrete structures, other
related issues.
**EN127307 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3(3-0-6)
Stability of Structures
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การโก่งเดาะแบบยืดหยุ่นของเสา การโก่งเดาะแบบอิลาสโตพลาสติก การ
โก่ ง เดาะแบบมี ค วามคื บ เสถี ย รภาพของเสาในช่ ว งไม่ ยื ด หยุ่ น ผลของการ
เปลี่ยนแปลงรูปร่างต่อเสถียรภาพ ปัญหาของเสถียรภาพจากการแตกร้าว
Elastic buckling of column, elasto- plastic buckling, creep
buckling, stability of inelastic structures, effects of finite strain tensor on
stability, fracture as a stability problem.
**EN127308 วิธีทดลองในงานวิศวกรรมโครงสร้าง 3(2-3-6)
Experimental Methods in Structural Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
กฎของความคล้ายคลึง ประโยชน์และการประยุกต์ใช้แบบจาลอง การ
วิเคราะห์ข้อมูลจากการทดลอง การวัดความเครียด เทคนิคพิเศษ การวัดในสนาม
Laws of similitude, uses and applications of models, analysis of
experimental data, measurement of strain, special techniques, field
measurements.
**EN127309 โครงสร้างจุลภาคและความทนทานของคอนกรีต 3(3-0-6)
Microstructure and Durability of Concrete
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
แนะนาคอนกรีต โครงสร้างจุลภาคของคอนกรีต แนะนาการเสื่อมสลาย
ของคอนกรีต กระบวนการเคลื่อนย้ายในคอนกรีต การทาลายโดยสารซัลเฟต การ
กัดกร่อนของเหล็กเสริมในคอนกรีต การออกแบบเพื่อความทนทาน
Introduction to concrete, microstructure of concrete, transport
processes in concrete, introduction to the deterioration of concrete,
sulfate attack, corrosion of steel in concrete, design for durability
**EN127310 การซ่อมแซมและการป้องกันโครงสร้างคอนกรีต 3(3-0-6)
Repair and Protection of Concrete Structures
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
พฤติ กรรมคอนกรีต การประเมิ น สภาพคอนกรี ต การซ่ อมแซมพื้ น ผิ ว
คอนกรีต การเสริมกาลังและเพิ่มเสถียรภาพการป้องกัน
Concrete behavior, concrete evaluation, concrete surface
repair, strengthening and stability of concrete, protection of concrete.

- 25 -
มคอ.2

**EN127311 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3(3-0-6)


Advanced Concrete Technology
เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี
โครงสร้างพื้นฐานของซีเมนต์เพสท์ วัสดุพื้นฐาน การเลือกส่วนผสมและ
สารเติมการให้สัดส่วนและควบคุมคุณภาพ สารผสมและวัสดุผสม สมบัติสภาพสด
และแข็งตัวแล้วของคอนกรีตคุณภาพสูง การออกแบบส่วนผสมสาหรับกาลังและ
ความคงทนของคอนกรีตคุณภาพสูง การประยุกต์ใช้คอนกรีตคุณลักษณะพิเศษใน
งานก่อสร้าง เช่น คอนกรีตโพลีเมอร์และคอนกรีตบดอัดด้วยลูกรีด
Basic structures of cement paste, basic materials, admixture
and additive selections, proportioning and quality control, fresh and
hardened properties of high performance concrete, strength and
durability design of high performance concrete mixes, applications of
special concrete in construction such as polymer concrete and roller
compacted concrete.
**EN127312 โครงสร้างและสมบัตขิ องวัสดุวิศวกรรมโยธา 3(3-0-6)
Structure and Properties of Civil Engineering Materials
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
แนะนาโครงสร้างและคุณสมบัติของวัสดุวิศวกรรมโยธา เช่น โลหะ โพลี
เมอร์ เซรามิก และไม้ สมบัติที่อยู่ในช่วงยืดหยุ่น ช่วงการเปลี่ยนรูปร่างถาวรและ
คุ ณ สมบั ติ ข องการแตกร้ า วถึ ง ความพรุ น ความร้ อ น และผลตอบสนองจาก
สิ่งแวดล้อม
Introduction to structure and properties of civil engineering
materials such as metal, polymer, ceramic and wood. The properties
range from elastic, plastic and fracture properties to porosity and
thermal and environment responses.
*EN127313 คอนกรีตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Environmentally Friendly Concrete
เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี
ซี เ มนต์ แ ละคอนกรี ต ที่ เ ป็ น มิ ต รต่ อ สิ่ ง แวดล้ อ ม ปอซโซลานคอนกรี ต
คอนกรีตเบา คอนกรีตพรุน คอนกรีตผสมมวลรวมจากเศษวัสดุ คอนกรีตกาลังสูง จี
โพลิเมอร์คอนกรีตและการประยุกต์ใช้งาน
Eco- efficient cement and concrete, pozzolan concrete,
lightweight concrete, pervious concrete, recycled aggregate concrete,
high strength concrete, geopolymer concrete and theirs applications
**EN127314 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง 3(3-0-6)
Selected Topics in Construction Materials
เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี
การดาเนินการแก้ไขปัญหาพิเศษทางวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง ภายใต้การ
ดูแลของผู้สอน
Special problems in construction engineering materials to be
carried out under instructors.

- 26 -
มคอ.2

**EN127400 การคานวณปรับแก้ 3(2-3-6)


Adjustment Computation
เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี
ทบทวนแนวคิดทางสถิติ สมบัติเชิงสถิติของค่าการวัด หลักและเทคนิคการ
แพร่ หลักการปรับแก้และลิสท์สแควร์ แบบจาลองกรณีทั่วไปและการแก้ปัญหาใน
เชิงลีสท์สแควร์ วิธีสมการค่าสังเกต วิธีสมการเงื่อนไข วงรีความคลาดเคลื่อนและ
การแปลงฉาก ข้อควรพิจารณาเชิงเลขและเชิงสถิติในการปรับแก้
Review of statistical concepts, statistical properties of
observations, principle and techniques of propagation, principle of
adjustment and least squares, general model and least squares
solution, method of observation equations, method of condition
equations, error ellipses and orthogonal transformation, numerical and
statistical considerations in adjustment.
**EN127401 การคานวณปรับแก้ขั้นสูง 3(3-0-6)
Advanced Adjustment Computation
เงื่อนไขของรายวิชา : EN127400
วิธีเมตริกซ์สาหรับการคานวณปรับแก้ลิสท์สแควร์ ลิสท์สแควร์ขั้นสูง การ
หาคาตอบเชิงลาดับด้วยสมการค่าสังเกต ยูนิไฟน์อะโฟรช ในการปรับแก้ลิสท์สแควร์
เยอร์เนอรราลไลซ์อินเวอร์ส ซูโดอินเวอร์ส การปรับแก้โครงข่ายอิสระ การประมาณ
ค่าและการกรองแบบลิสท์สแควร์ และลิสท์สแควร์คอลโลเคชั่น
Matrix methods in least squares adjustment, advanced least
squares: sequential solution with observation equations, a unified
approach to least squares adjustments, generalised inverses, pseudo-
inverse, free network adjustments, least squares interpolation, filtering
and collocation.
**EN127402 ภูมิมาตรศาสตร์ 3(3-0-6)
Geodesy
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ยีออยด์และคุณสมบัติเรขาคณิตของทรงรี ทฤษฎีสัณฐานของโลก และ
สนามความโน้มถ่วงคานวณบนทรงรี การประยุกต์และวิธีการในปัจจุบัน
Geoid and geometric property of ellipsoid, earth’ s figure and
gravity field computed on ellipsoid, applications and current methods.
**EN127403 หลักมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3(3-0-6)
Fundamentals of Geographic Information Systems
เงื่อนไขของรายวิชา : โดยความเห็นชอบของสาขาวิชาฯ
บทน า ระบบสารสนเทศภู มิ ศ าสตร์ แ ละส่ ว นประกอบที่ ส าคั ญ การ
ประยุกต์ใช้งานระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การจัดการข้อมูล เทคนิคการรวบรวม
ข้อมูล ระบบพิกัดและการปรับแก้พิกัด การจัดการข้อมูลเวกเตอร์ การจัดการข้อมูล
จากระบบดาวเทียมจีพีเอส การจัดการข้อมูลราสเตอร์ การสืบค้นข้อมูล การค้นหา
แบบเรขาคณิต การค้นหาแบบช่วง การค้นหาแบบอาณาบริเวณ การจัดการข้อมูล
สามมิติ การจาลองพื้นผิว การมองเห็นซึ่งกันและกัน การสร้างเส้นคอนทัวร์ คุณภาพ

- 27 -
มคอ.2

ของข้อมูล การวัดคุณภาพของข้อมูล การวัดการกระจาย การวัดการเรียงตัว การ


วิเคราะห์ข้อมูล การสร้างบัฟเฟอร์ การซ้อนทับกันของรูปปิด แสปนนิงทรีและการ
เดินทางในกราฟ การหาเส้นทางที่สั้นที่สุด
Introduction, geographic information systems ( GIS) and its
organizations, applications of GIS, data manipulations, data capture
techniques, coordinate systems and coordinate adjustment, vector data
manipulation, GPS data manipulation, raster data manipulation, vata
query, geometric searching, range searching, proximity searching, 3-
dimentional data manipulation, surface modeling, inter- visibility,
contouring, data qualification, data quality, measures of dispersion,
measures of arrangements, data analysis, buffer generation, polygon
overlays, spanning trees and graph traversal, shortest part routing.
**EN127404 โฟโตแกรมเมตรีเชิงวิเคราะห์ 3(2-3-6)
Analytical Photogrammetry
เงื่อนไขของรายวิชา : EN127400
ระบบภาพถ่ายและระบบพิกัดของวัตถุในที่ว่าง การแปลงพิกัด การระบุ
การกาหนด และการกาหนดตาแหน่งและย้ายตาแหน่งของจุดผ่าน คอมแพเรเตอร์
และคานวณคอมแพเรเตอร์ การวัดและแก้ไขพิกัดบนภาพถ่าย การจัดภาพแบบ
สัมพัทธ์และสัมบูรณ์ การก่อตัวและการปรับแก้แถบและบล็อก
Image and object space coordinate systems, coordinate
transformations, pass point identification, marking and transfer,
comparators and comparator calibration, image coordinate
measurement and refinement, relative and absolute orientation, strip
and block formation and adjustment.
**EN127405 การรับรู้ระยะไกล 3(2-3-6)
Remote Sensing
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
แนวความคิดและหลักการรับรู้จากระยะไกล กระบวนการประมวลภาพ
แบบเชิงเลข เทคนิคสาหรับการแปลภาพดาวเทียมเพื่อการรับรู้ระยะไกล ดาวเทียม
สารวจทรัพยากร การประยุกต์ใช้ภาพถ่ายดาวเทียมในพัฒนาโครงการวิศวกรรม
โยธา
Concepts and principles of remote sensing, procedure in digital
image processing, techniques for remote sensing satellite image
interpretation, earth observation satellite, and application of satellite
imagery to implement civil engineering project.
**EN127406 การวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศและภาพดาวเทียม 3(3-0-6)
Analysis of Aerial and Satellite Imageries
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ปฏิบัติการบนภาพ ปฏิบัติการเชิงจุด ปฏิบัติการเชิงท้องถิ่น ปฏิบัติการเชิง
เรขาคณิต การตัดแบ่งส่วนภาพโดยวิธีการจับกลุ่ม วิธีแบบกาหนดขั้น วิธีจาแนก

- 28 -
มคอ.2

แบบสเปคตรัล วิธีจาแนกแบบปริภูมิ การตรวจสอบขอบ การตัดแบ่งส่วนอิมเมจ


แบบวนซ้าโดยวิธีรีแลกเซชันเชิงสถิติ วิธีฟัซซี่รีแลกเซชัน
Operations on image, point operations, local operations,
geometric operations, image segmentation, clustering, thresholding,
spectral classification, spatial classification, edgedetection, iterative
segmentation, probabilistic relaxation, fuzzy relaxation
**EN127407 งานสารวจดาวเทียมจีพีเอส 3(3-0-6)
GPS Satellite Surveying
เงื่อนไขของรายวิชา : EN127406
หลักมูลงานสารวจดาวเทียม วงโคจรดาวเทียม ระบบดาวเทียม GPS ค่าที่
วัดได้จาก GPS และความคลาดเคลื่อน วิธีการสารวจ การประมวลผลข้อมูล การ
ประยุกต์ใช้ในประเทศไทย
Fundamental of satellite surveying, satellite orbit motion,
Global Positioning System, GPS observables and errors, surveying
method, data processing, applications in Thailand.
**EN127408 การจัดการข้อมูลปริภูมิ 3(3-0-6)
Spatial Data Handling
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
เทคนิ คการจั บ ข้อมู ล ระบบพิ กัด การตั ด กัน ของเส้ น และส่ ว นโค้ง การ
คานวณหาความยาวและพื้นที่ การปรับแก้พิกัด รับเบอร์ชีตติ้ง การต่อขอบ การวาร์
ปอิมเมจ คอนเฟลชัน การแก้ไขฟีเจอร์ การวางตัวของฟีเจอร์ การเจนเนอรัลไลเซชัน
การสร้างโทโปโลยี การจาลองพื้นผิว การกาหนดแสงเงาของมุมมอง การมองเห็นซึ่ง
กันและกัน การสร้างเส้นคอนทัวร์
Data capture techniques, coordinate systems, intersections of
lines and curves, calculation of length and area, coordinate adjustment,
rubber sheeting, edge matching, image warping, conflation, feature
editing, feature orientation, generalization, topological generation,
surface modeling, setting illumination of scene, inter- visualization and
contour creation.
**EN127409 การวิเคราะห์เชิงปริภูมิ 3(3-0-6)
Spatial Analysis
เงื่อนไขของรายวิชา : EN127408
คุณภาพของข้อมูล การวัดการกระจาย การวัดการเรียงตัว การค้นหาแบบ
เรขาคณิต การค้นหาแบบช่วง การค้นหาแบบอาณาบริเวณ การสร้างบัฟเฟอร์ การ
ซ้อนทับกันของรูปปิด แสปนนิงทรีและการเดินทางในกราฟ การหาเส้นทางที่สั้น
ที่สุด
Data quality, measures of dispersion, measures of
arrangements, geometric searching, range searching, proximity
searching, buffer generation, polygon overlays, spanning trees and graph
traversal, shortest part routing.

- 29 -
มคอ.2

**EN127500 การวิเคราะห์ระบบการขนส่ง 3(3-0-6)


Transport System Analysis
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ความท้าทายของการวิเคราะห์ระบบการขนส่ง อุปสงค์ของการขนส่ง
พฤติกรรมของผู้เดินทางเชิงบุคคลและเชิงกลุ่ม ฟังก์ชันต้นทุน การจราจรติดขัด
ลักษณะของระบบการขนส่ง สภาวะสมดุลของระบบขนส่ง และการประเมินระบบ
ขนส่ง
Challenge of transportation system analysis, demand for
transportation, disaggregate and aggregate prediction of behavior, cost
function, congestion, transportation system performance, equilibrium
and evaluation.
**EN127501 วิศวกรรมจราจร 3(3-0-6)
Traffic Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ขอบข่ า ยของวิ ศ วกรรมจราจร ลั ก ษณะเฉพาะของระบบการจราจร
การศึกษาด้านการจราจรและการวิเคราะห์ข้อมูลจากการสารวจภาคสนาม การ
วิเคราะห์การดาเนินการทางด้านการจราจร การออกแบบและเทคนิคการควบคุม
ด้ า นวิ ศ วกรรมจราจร การวางแผนและการจั ด การการจราจร การจราจรกั บ
สภาพแวดล้อม
Scope of traffic engineering, traffic system characteristics, traffic
studies and analysis of field survey data, analysis of traffic operations,
traffic engineering design and control techniques, traffic planning and
management, traffic and environment.
**EN127502 การวางแผนการขนส่งในเมือง 3(3-0-6)
Urban Transportation Planning
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
บทบาทของการขนส่ง และกระบวนการวางแผนการขนส่งในเมืองภูมิภาค
และเขตเมือง การบ่งชี้ปัญหา เป้าหมาย วัตถุประสงค์และหลักเกณฑ์ แบบจาลอง
คณิตศาสตร์สาหรับการคาดคะเนการใช้ที่ดิน อุปสงค์ของการเดินทาง การบริการ
และผลกระทบ การสร้างและประเมินผลทางเลือกการขนส่ง
Roles of transportation and transportation planning process in
regional and metropolitan context, problem identification, vision
strategies and policies of transportation, mathematical models for
prediction of land use, travel demand, services and impacts, generation
and evaluation of transportation alternatives, public transportation
systems, clean development mechanism in transportation sectors,
transportation softwares.

- 30 -
มคอ.2

**EN127503 การวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านการขนส่งและสถิติ 3(3-0-6)


Transportation Data Analysis and Statistics
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ธรรมชาติและความต้องการข้อมูลด้านการขนส่ง การนาเสนอข้อมูลการ
วิเคราะห์ข้อมูลที่สารวจได้ การออกแบบการทดลองและทฤษฎีการสุ่มตัวอย่าง การ
ทดสอบสมมติฐาน การสร้างกราฟให้สอดคล้องกับข้อมูล โปรแกรมวิเคราะห์ข้อมูล
แบบจาลองเชิงสถิติ ทฤษฎีสารสนเทศ
Nature and needs of transportation data, presentation of data,
exploratory data analysis, experimental design and sample theory,
hypothesis testing Distribution fitting, data analysis software, statistical
modeling, Information theory.
**EN127504 การออกแบบถนนเชิงเรขาคณิต 3(3-0-6)
Geometric Design of Highway
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
แนวคิดขั้นสูงในการออกแบบถนนในเมืองและนอกเมือง หลักเกณฑ์และ
การควบคุมการออกแบบ การวางแนวเส้นทางถนน ลักษณะหน้าตัดถนน ทางร่วม
ทางแยก ทางแยกต่างระดับ ประสิทธิผลของความปลอดภัยในการออกแบบทาง
เรขาคณิต
Advanced concept of the design of urban and rural roads,
design controls and criteria, highway alignment, cross section,
intersection, interchange and safety effectiveness of geometric design.
**EN127505 การวางแผนระบบขนส่งสาธารณะ 3(3-0-6)
Public Transportation Planning
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ประวัติและบทบาทของการขนส่งสาธารณะ ประเภทการขนส่งผู้โดยสาร
ในเมือง การเคลื่อนที่ของยานพาหนะทางถนนและบนราง ระบบและเทคโนโลยีของ
ประเภททั่ ว ไปส าหรับ การขนส่ ง สาธารณะทางถนนและระบบราง แนวคิด และ
ประเภทการขนส่ ง สาธารณะที่ น าเสนอใหม่ กรณี ศึ ก ษาของระบบการขนส่ ง
ผู้โดยสารง
History and role of public transportation, urban passenger
transportation modes, road and rail vehicle motion, system and
technologies of conventional highway and rail transit modes, transit
system performances, new concepts and proposed modes, case studies
of passenger transportation systems.
**EN127506 วิศวกรรมความปลอดภัยของถนน 3(3-0-6)
Road Safety Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
สถานการณ์ของอุบัติเหตุจราจรทางถนนและปัจจัยที่เกี่ยวข้อง ปัจจัยที่
เกี่ยวกับคน ยวดยานและถนนในอุบัติเหตุทางถนน บริเวณอันตรายบนถนน การ
วินิจฉัยปัญหาของอุบัติเหตุบนถนน การพัฒนามาตรการแก้ไขอุบัติเหตุทางถนน

- 31 -
มคอ.2

ลักษณะขององค์ประกอบต่าง ๆ ของถนนที่เกี่ยวข้องกับความปลอดภัยทางถนน
ผู้ใช้ถนนกลุ่มเสี่ยง การตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน การแก้ไขจุดอันตราย
การสืบสวนอุบัติเหตุเชิงลึก การประเมินผลโครงการด้านความปลอดภัยทางถนน
กรณีศึกษา
Road traffic accident situations and contributing factors, human
vehicle and road factors in road accidents, hazardous road location,
diagnosis of road accident problems, development of road accident
countermeasures, road features relating to road safety, vulnerable road
users, road safety audit, black spot treatments, in- depth crash
investigation, evaluation of road safety program, case studies.
**EN127507 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการจราจรและขนส่ง 3(3-0-6)
Traffic and Transportation Environmental Impacts Evaluation
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ความสัมพันธ์ระหว่างการใช้ที่ดิน การขนส่งและสิ่งแวดล้อม การจาแนก
ประเภทของถนนตามบทบาทและหน้าที่ ประเภทและผลกระทบสิ่งแวดล้อมที่มา
จากการจราจรและขนส่ง วิธีการวิเคราะห์และประเมินผลกระทบต่อสิ่งแวดล้อมจาก
การจราจรและขนส่ ง การประยุ ก ต์ ใ ช้ แ บบจ าลองทางคณิ ต ศาสตร์ ที่ ใ ช้ ใ น การ
ประมาณความรุนแรงของมลภาวะต่ าง ๆ กฎหมายและระเบี ย บที่ เกี่ย วข้องกับ
ผลกระทบสิ่ง แวดล้ อม การประยุ กต์ ใช้ การสยบการจราจรในการจัด การปัญหา
ผลกระทบสิ่งแวดล้อม กลไกการพัฒนาที่สะอาดในภาคการขนส่ง
Interrelationship between land use, transportation and
environment, road hierarchy classification, types and effects of
environmental impacts of road traffic and transportation, analysis and
evaluation methods for traffic and transportation environmental
impacts, applications of mathematical modeling in estimation of the
severity of environmental impacts, laws and regulations related to
issues of environmental impacts, application of traffic calming schemes
in managing the environmental impacts, clean development
mechanism in transportation sectors.
**EN127508 เรื่องการคัดสรรทางวิศวกรรมขนส่ง 3(3-0-6)
Selected Topics in Transportation Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การศึกษาหัวข้อพิเศษทางด้านวิศวกรรมขนส่ง
Study on some special topics in transportation engineering.
**EN127509 การวางแผนการขนส่ง การใช้ประโยชน์ทดี่ ิน และสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6)
Transportation, Land Use and Environment Planning
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ระบบความสัมพันธ์ของการขนส่ง การใช้ประโยชน์ที่ดินและสิ่งแวดล้อม
ขบวนการวางแผนการขนส่ง การใช้ ป ระโยชน์ที่ ดินและสิ่ง แวดล้อม การพั ฒนา
แบบจ าลองและการพยากรณ์ การขนส่ ง การใช้ ป ระโยชน์ ที่ ดิ น และสิ่ ง แวดล้ อม
ผลกระทบด้านเศรษฐศาสตร์สิ่งแวดล้อม ความปลอดภัยและพลังงานจากการขนส่ง

- 32 -
มคอ.2

การจัดการด้านการขนส่ง ความปลอดภัยและสิ่งแวดล้อม กลไกการพัฒนา


ที่สะอาดในภาคการขนส่ง โปรแกรมด้านการขนส่ง
Transportation, land use and environment interrelationship
systems, transportation, land use and environment planning process,
transportation, land use and environment modeling and forecasting,
economic, environmental safety and energy impacts of transportation,
transportation, safety and environmental management, clean
development mechanism ( CDM) for transportation sector,
transportation
**EN127510 การจัดทาแบบจาลองด้านการขนส่งและจราจร 3(3-0-6)
Transportation and Traffic Modeling
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ทฤษฎี ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ แบบจ าลองการขนส่ ง และจราจร หลั ก การและ
ขั้นตอนในการจัดทาแบบจาลองด้านขนส่งและจราจร การรวมรวบข้อมูลเพื่อใช้
จัดทาแบบจาลอง การปรับเทียบแบบจาลอง (การประมาณค่าพารามิเตอร์) การ
ตรวจสอบความถูกต้องของแบบจ าลอง การประยุกต์ใช้แบบจ าลองเพื่อทานาย
ปริมาณการเดินทางในอนาคต โปรแกรมและ การเลือกใช้
Theories relating to transportation and traffic modeling,
principle and methodology for modeling, data collection for modeling,
model calibration ( parameters estimation) , model validation,
applications of model for forecasting future travel demands, software
and its selection.
**EN127600 ระบบอุทกวิทยา 3(3-0-6)
Hydrologic System
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ระบบและกระบวนการทางอุทกวิทยา วัฏจักรทางอุทกวิทยา น้าในอากาศ
ฤดูกาล เอลนีโญ ลานีญา การหมุนเวียนในระบบอุทกวิทยา วิธีการเชิงสถิติทางอุทก
วิทยา การวิเคราะห์ความถี่ การวิเคราะห์อนุกรมเวลา เทคโนโลยีทางอุทกวิทยา การ
เก็บข้อมูลทางอุทกวิทยา การทานายทางอุทกวิทยา การออกแบบทางอุทกวิทยา
อุทกวิทยากับการบริหารจัดการทรัพยากรน้า
Hydrologic system and processes, hydrologic cycle, prepitation,
season, el niño, la niña, hydrologic transport, statistical methods in
hydrology, frequency analysis, time series analysis, hydrologic
technology, data collection, hydrological forecasting, hydrologic design,
hydrology for water resources management.
**EN127601 วิศวกรรมชลศาสตร์ประยุกต์ 3(3-0-6)
Applied Hydraulic Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา: ไม่มี
การไหลสม่าเสมอและการออกแบบทางน้า การไหลแปรเปลี่ยนอย่างช้า ๆ
การวางแผนความต้ อ งการน้ าชลประทาน ชลศาสตร์ ผ่ า นสะพาน เขื่ อ นผั น น้ า
โครงสร้างของระบบทางน้าเปิด ตัวสลายพลังงาน การไหลไม่คงที่

- 33 -
มคอ.2

Uniform flow and channel design, Gradually varied flow,


Planning of irrigation water requirement, Bridge hydraulic, Diversion
dam, Hydraulic structures of canal system, Energy dissipater, and
Unsteady flow.
**EN127602 อุทกพลศาสตร์ 3(3-0-6)
Hydrodynamics
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
คุณสมบัติของของไหล ความดันและแรงดันของของไหล ทฤษฎีที่เกี่ยวข้อง
และการประยุ กต์ ใช้ ง านทางด้ านอุ ท กพลศาสตร์ สมการสภาพต่ อเนื่ อง สมการ
โมเมนตัม สมการพลังงาน และโมเมนต์ของโมเมนตัม ความคล้ายคลึงกันทางอุทก
พลศาสตร์ การไหลแบบราบเรียบและการไหลแบบปั่นป่วน การไหลในระบบท่อ
การไหลในทางน้าเปิด การไหลแบบไม่คงตัว คลื่นและการเคลื่อนที่ของคลื่น การ
คานวณการหลาก ชั้นขอบเขต การไหลผ่ านวัตถุที่เคลื่อนที่ในของไหล อาคารชล
ศาสตร์ และเครื่องจักรกลของไหล
Fluid properties, fluid pressure and fluid forces, theory and
applications of fluid dynamics, governing equations of continuity,
momentum, energy and moment of flow momentum, hydrodynamic
similitude, laminar and turbulent flows, flow in pipe systems, open
channel flow, unsteady flow, waves and wave propagation, flood
routing, boundary layers, flow over immersed bodies, hydraulic
structures and hydraulic machinery.
**EN127603 การพัฒนาและการจัดการน้าใต้ดิน 3(3-0-6)
Groundwater Development and Management
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
หลักมูลของการไหลของน้าใต้ดินและบ่อน้า สมการการไหลของน้าใต้ดิน
การทดสอบบ่อน้าและการวิเคราะห์ การประเมินแหล่งน้าใต้ดิน การสารวจชั้นน้า
บาดาล สมดุลน้า สภาพสิ่งแวดล้อม การจัดการน้าใต้ดิน แนวคิดของการจัดการลุ่ม
น้า คุณภาพของน้าใต้ดิน การจัดการน้าใต้ดิน มลพิษของน้าใต้ดิน กระบวนการการ
เคลื่อนที่ของมวลสารในน้าใต้ดิน การจัดการมลพิษของน้าใต้ดิน
Fundamentals of groundwater flow and groundwater wells,
groundwater flow equations, pumping tests and analysis, groundwater
resources assessment, hydro geological surveys, water balance,
environmental issues, groundwater management, concept of basin
management, groundwater quality, groundwater management, data
requirement, groundwater pollution, mass transport processes,
management of groundwater pollution.

- 34 -
มคอ.2

**EN127604 วิศวกรรมแม่น้า 3(3-0-6)


River Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
อุทกวิทยาการไหลในแม่น้า คุณลักษณะการเคลื่อนที่ของตะกอน รูปแบบ
การเคลื่อนที่ของตะกอน ลักษณะท้องน้า ทฤษฎีการเคลื่อนที่ของตะกอน ความ
ขรุขระของตะกอนน้าพัดพา การออกแบบร่องน้าที่มั่นคง การวัดการเคลื่อนที่ของ
ตะกอน งานที่เกี่ยวข้องกับวิศวกรรมแม่น้า การจาลองสภาพของลักษณะลาน้า การ
ตกตะกอนและวิ ธีการคานวณการตกตะกอนในอ่ างเก็บน้า การส ารวจปริมาณ
ตะกอนในอ่างเก็บน้า
River flow hydrology, sediment transport characteristics, mode
of sediment transport, bed forms, sediment transport theory, alluvial
roughness, design of stable channels, sediment transport
measurements, river engineering works, analytical and numerical
modeling of river morphology, sedimentation in reservoirs and its
computational methods, reservoirs sedimentation surveys.
**EN127605 การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สาหรับการจัดการทรัพยากรน้า 3(3-0-6)
Application of Geographic Information System for Water
Resources Management
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ขั้นแนะนา เส้นโครงแผนที่และระบบพิกัด
โครงสร้างของฐานข้อมูลในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ การจัดการข้อมูล การสืบค้น
ข้อมูล การวิเคราะห์และการแปลงข้อมูล การประยุกต์ใช้ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
ในการจัดการทรัพยากรน้า
Introduction to GIS, Map projection and coordinate system, GIS
databased structure, Data management, Data query, Data manipulation
and analysis, Application of GIS for Water Resources Management.
**EN127606 การจัดการลุ่มน้าเชิงบูรณาการ 3(3-0-6)
Integrated River Basin Management
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
แนวคิ ด หลั ก การ และเครื่ อ งมื อ ส าหรั บ การจั ด การน้ าเชิ ง บู ร ณาการ
เป้าหมายและยุทธศาสตร์สาหรับการจัดการลุ่มน้าเชิงบูรณาการ สถานะและการ
จั ด การแหล่ ง น้ า การกาหนดผู้ มี ส่ ว นได้ เสี ย และการมี ส่ ว นร่ว ม การประยุ ก ต์ ใ ช้
แบบจาลองทางคณิตศาสตร์สาหรับการจัดการลุ่มน้าเชิงบูรณาการ เศรษฐศาสตร์
ของแหล่งน้า นโยบายเกี่ยวกับน้า การจัดระเบียบองค์กร ระบบข่าวสารข้อมูล และ
กรณีศึกษา
Concepts, principles and tools of integrated water resources
management ( IWRM) , goals and strategies for IWRM, status and
management of the water resources, stakeholder definition and
participation, applications of mathematical models for IWRM,
economics of water resources, water policies, institutional
arrangements, data and information systems and case studies.

- 35 -
มคอ.2

**EN127607 การวิเคราะห์ระบบทรัพยากรน้า 3(3-0-6)


Water Resources System Analysis
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การคิดอย่างเป็นระบบ ระบบทรัพยากรน้า การพัฒนาอย่างยั่งยืน แนวคิด
ในการวางแผนและการจัดการทรัพยากรน้า ภาพรวมของประเด็นทางด้านเศรษฐกิจ
สังคมและสิ่งแวดล้อม การจาลองสภาพทางคณิตศาสตร์และการประยุกต์ใช้งานใน
การเลียนสภาพ การสร้างโปรแกรมมิ่งเชิงเส้นและโปรแกรมมิ่งเชิงพลวัตของปัญหา
ต่างๆ ทางด้านทรัพยากรน้า การประเมินทางเลือก
Systems thinking, water resources systems, sustainable
development, concepts on water resources planning and management,
overview of socio- economic and environmental issues, mathematical
modeling and application of deterministic simulation, linear
programming and dynamic programming to different water resources
problems, evaluation of alternatives.
**EN127608 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมทรัพยากรน้า 3(3-0-6)
Selected Topics in Water Resources Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การศึกษาหัวข้อพิเศษทางด้านวิศวกรรมทรัพยากรน้า
Study on some special topics in water resources engineering.
**EN127609 การศึกษาพิเศษทางวิศวกรรมทรัพยากรน้า 3(3-0-6)
Special Study in Water Resources Engineering
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การวิเคราะห์ปัญหาขั้นสูงทางด้านวิศวกรรมทรัพยากรน้าที่เกิดขึ้นจริง
Actual advanced problems in water resources engineering.
**EN127891 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 1 1(0-3-2)
Civil Engineering Seminar I
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การทบทวนหัวข้องานวิจัยที่สนใจ การจัดทารายงาน การนาเสนอรายงาน
และการมี ส่ ว นร่ว มในการอภิป รายในการน าเสนอรายงานหรือหั ว ข้องานวิ จัยที่
เกี่ยวข้อง
Review of research topics of interest, report preparation, report
presentation and participation in discussion on report presentation or
related research topics.
**EN127892 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 2 1(0-3-2)
Civil Engineering Seminar II
เงื่อนไขของรายวิชา : EN127891
การทบทวนวรรณกรรมในหัวข้อที่เกี่ยวกับวิทยานิพนธ์ การจัดทาร่างเค้า
โครงวิทยานิพนธ์ การนาเสนอร่างเค้าโครงวิทยานิพนธ์
Review of literature on dissertation related topics, draft thesis
proposal draft thesis proposal presentation.

- 36 -
มคอ.2

**EN127893 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 3 1(0-3-2)


Civil Engineering Seminar III
เงื่อนไขของรายวิชา : EN127892
การมีส่วนร่วมในการถกปัญหา การนาเสนอบทความหรือหัวข้องานวิจัยที่
เกี่ยวข้อง
participation in discussion on paper presentation or related
research topics.
**EN127898 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
Thesis
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งเขี ย นบทความที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ งานวิ จั ย อย่ า งน้ อ ยหนึ่ ง
บทความ โดยที่เนื้อหาเกี่ยวกับงานที่ทาวิทยานิพนธ์ โดยจะต้องได้รับการตอบรับให้
ตีพิมพ์ในเอกสารประกอบการประชุมทางวิชาการในระดับนานาชาติ ก่อนเสนอเพื่อ
การสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ แ ละการสอบปากเปล่ า ให้ ใ ช้ ภ าษาอั ง กฤษในการเขี ย น
วิทยานิพนธ์และการสอบปากเปล่า
Student must write at least one research paper, content of
which is related to work done for his thesis and is accepted for
publication in a peer review proceedings prior to presentation of the
thesis and oral examination. English language is used in writing and
examination.
**EN127899 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
Thesis
เงื่อนไขของรายวิชา : ไม่มี
การค้นคว้าและวิจัยปัญหาในสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ภายใต้การดูแล
ของอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ์ นั ก ศึ ก ษาต้ อ งเขี ย นบทความที่ เ กี่ ย วกั บ
วิทยานิพนธ์ และสอบวิทยานิพนธ์ด้วยปากเปล่า
Investigation and research in civil engineering problems under
the supervision of advisors. The student must write a dissertation
related paper and take oral examination.
*EN527401 การหาค่าเหมาะที่สุดทางวิศวกรรม 3(3-0-6)
Engineering Optimization
การออกแบบเชิงสหวิชาการด้วยการหาค่าเหมาะที่สุดขั้นแนะนา ภาพรวม
ของการหาค่าเหมาะที่สุด ระเบียบวิธีการพื้นฐานเชิงเกรเดียนต์ชนิดไม่มีเงื่อนไข
บังคับและการหาค่าเหมาะที่สุดชนิดมีเงื่อนไขบังคับ การหาค่าเหมาะที่สุดหลาย
เป้าหมาย การประยุกต์ และพัฒนาการในปัจจุบันของการหาค่าเหมาะที่สุด
Introduction to multidisciplinary design optimization, overview
of optimization, gradient- based unconstrained and constrained
optimization methods, evolutionary algorithms, multi objective
optimization, applications and up- to- date development of
optimization.

- 37 -
มคอ.2

3.2 ชื่อ เลขประจาตัวบัตรประชาชน ตาแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์


3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร
ที่ ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวบัตร ตาแหน่งทาง คุณวุฒิ
ประชาชน วิชาการ
1 นายปริญญา จินดาประเสริฐ X-XXXX-XXXXX-XX-X ศาสตราจารย์ Ph.D. (Civil Engineering)
M.Eng. (Civil Engineering)
B.Eng. (Civil Engineering)
2 นายจารึก ถีระวงษ์ X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ วศ.ด. (วิศวกรรมโยธา)
วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา)
วศ.บ. (วิศวกรรมสิ่งแวดล้อม)
3 นายณรงค์ เหลืองบุตรนาค X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ D.Eng. (Construction
Engineering and
Management)
วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
4 นายธเนศ เสถียรนาม X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ D.Eng. (Transportation
Engineering and Socio-
Technology)
M.Eng. (Transportation
Engineering)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
5 นายวินัย ศรีอาพร X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ M.Eng. (Water Resources
Engineering)
วศ.บ. (วิศวกรรมเกษตร)
6 นายวันชัย สะตะ X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา)
วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
7 นายวีระ หอสกุลไท X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
8 นายพงศกร พรรณรัตนศิลป์ X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ Ph.D. (Foundation
Engineering)
M.Eng. (Geotechnical
Engineering)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
9 นายพนกฤษณ คลังบุญครอง X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ Ph.D. (Transportation
System Engineering)
M.Eng. (Transport
Engineering)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)

- 38 -
มคอ.2

ที่ ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวบัตร ตาแหน่งทาง คุณวุฒิ


ประชาชน วิชาการ
10 นางลัดดา ตันวาณิชกุล X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ Ph.D. (Transportation
System Engineering)
M.Eng. (Transportation
System Engineering)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
11 นางวิชุดา เสถียรนาม X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ D.Eng. (Transportation
Engineering)
M.Eng. (Transportation
Engineering)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
12 นายกิตติเวช ขันติยวิชยั X-XXXX-XXXXX-XX-X ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D. (Water Resources
Engineering)
วศ.ม. (วิศวกรรมแหล่งน้า)
วศ.บ. (วิศวกรรมขนส่ง)
13 นายชาติชาย ไวยสุระสิงห์ X-XXXX-XXXXX-XX-X ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D. (Integrative
Environmental Science)
วศ.ม. (วิศวกรรมสารวจ)
วศ.บ. (วิศกวรรมสารวจ)
14 ว่าที่ ร.ต.กอปร ศรีนาวิน X-XXXX-XXXXX-XX-X ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D. (Construction
Engineering and
Management)
M.Eng. (Structural
Engineering and
Construction)
วศ.บ. (วิศวกรรมเกษตร)
15 นายณัฐพงษ์ อารีมิตร X-XXXX-XXXXX-XX-X ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D. (Structural
Engineering)
M.Eng. (Structural
Engineering)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
16 นางสาวดลฤดี หอมดี X-XXXX-XXXXX-XX-X ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D. (Geotechnical
Engineering, Civil
Engineering)
M.Eng. (Soil Engineering
and Applied Geology)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)

- 39 -
มคอ.2

ที่ ชื่อ นามสกุล เลขประจาตัวบัตร ตาแหน่งทาง คุณวุฒิ


ประชาชน วิชาการ
17 นางสาวธันยดา พรรณเชษฐ์ X-XXXX-XXXXX-XX-X ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D. (Computational
Mechanics)
M.Eng. (Structural
Engineering)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
18 นายเมธี บุญพิเชฐวงศ์ X-XXXX-XXXXX-XX-X ผู้ช่วยศาสตราจารย์ M.Eng. (Structural
Engineering)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
19 นางสาวรัตมณี นันทสาร X-XXXX-XXXXX-XX-X ผู้ช่วยศาสตราจารย์ Ph.D. (Civil Engineering)
วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
20 นายปิยะวัชร ฝอยทอง X-XXXX-XXXXX-XX-X อาจารย์ วศ.ด. (วิศวกรรมโยธา)
วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
21 นายพัศพันธน์ ชาญวสุนนั ท์ X-XXXX-XXXXX-XX-X อาจารย์ วศ.ด. (Construction
Engineering &
Management)
วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
3.2.2 อาจารย์ประจา
เลขประจาตัวบัตร ตาแหน่งทาง
ที่ ชื่อ นามสกุล คุณวุฒิ
ประชาชน วิชาการ
1 นายเฉลิมชัย พาวัฒนา X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ D.Eng. (Remote sensing
and GIS)
วศ.ม. (วิศวกรรมทรัพยากร
แหล่งน้า)
วศ.บ. (วิศวกรรมเกษตร)
2 นายชินะวัฒน์ มุกตพันธุ์ X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ M.S.C.E. (Soil Mechanics)
B.S.C.E. (วิศวกรรมโยธา)
3 นายวัชรินทร์ กาสลัก X-XXXX-XXXXX-XX-X รองศาสตราจารย์ Ph.D. (Soil and Water
Engineering)
วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
4 นายสุรัตน์ ประมวลศักดิกุล X-XXXX-XXXXX-XX-X อาจารย์ Lic (Geodesy)
MSIS (Geodesy)
GradDipSIS (Geodesy)
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา)
3.2.3 อาจารย์พิเศษ
สาขาวิชาจะเชิญผูท้ รงคุณวุฒิมาเป็นอาจารย์พิเศษเป็นคราวๆไป

- 40 -
มคอ.2

4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน)
ไม่มี
5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ
5.1 คาอธิบายโดยย่อ
การทาวิทยานิพนธ์เกี่ยวกับวิศวกรรมโยธา โดยให้มีการดาเนินการ การเสนอเค้าโครง การทบทวนวรรณกรรมและ
งานวิจัยที่เกี่ยวข้อง การเก็บรวบรวมข้อมูล การวิเคราะห์ข้อมูล การเรียบเรียงผลการวิจัย การเสนอผลการวิจัยในรูป
บทความตีพิมพ์ในวารสารหรือเอกสารเผยแพร่ในการประชุมวิชาการระดับชาติหรือระดับนานาชาติ
5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู้
5.2.1 มีความรู้และทักษะด้านวิศวกรรมโยธา
5.2.2 มีทักษะการทางานด้านวิศวกรรมโยธา
5.2.3 มีการพัฒนาด้านทัศนคติ คุณธรรม จริยธรรม บุคลิกภาพ
5.3 ช่วงเวลา
5.3.1 แผน ก แบบ ก 1 วิทยานิพนธ์ตั้งแต่ภาคการศึกษาต้น ปีการศึกษาที่ 1
5.3.2 แผน ก แบบ ก 2 วิทยานิพนธ์ตั้งแต่ภาคการศึกษาปลาย ปีการศึกษาที่ 1
5.4 จานวนหน่วยกิต
5.4.1 แผน ก แบบ ก 1 วิทยานิพนธ์จานวน 36 หน่วยกิต
5.4.2 แผน ก แบบ ก 2 วิทยานิพนธ์จานวน 12 หน่วยกิต
5.5 การเตรียมการ
มีการกาหนดชั่วโมงให้คาแนะนาปรึกษาในการทาวิทยานิพนธ์ เช่น การเลือกหัวข้อเรื่อง การแนะนาแหล่งข้อมูลมี
การกาหนดเวลาเสนอความก้าวหน้าวิทยานิพนธ์ การเตรี ยมอุปกรณ์ปฏิบัติการทางวิศวกรรมโยธา และเครื่องคอมพิวเตอร์
เพื่อช่วยการค้นคว้าทาวิทยานิพนธ์
5.6 กระบวนการประเมินผล
เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 8 ทุกข้อ หรือ
ระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่

หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล

1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา
คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมการดาเนินการ
1. มีประสบการณ์พร้อมปฏิบตั ิงานในวิชาชีพ ได้รับการฝึกฝนให้มีความรู้และประสบการณ์ตรงที่สอดคล้องกับ
การปฏิบัติงานในสาขาอาชีพ
2. พร้อมต่อการเปลี่ยนแปลง ได้ รับ การฝึ กฝนให้ มี ความรู้ และประสบการณ์ ในสถานการณ์ ที่
แตกต่างหลากหลาย มีการเปลี่ยนแปลงอยู่ตลอดเวลา
3. เรียนรู้ตลอดชีวิต ได้รับการฝึกฝนให้นักศึกษาค้นคว้าหาความรู้และประสบการณ์
เพิ่มเติมได้ด้วยตนเอง
4. ความสามารถด้านการใช้ภาษาอังกฤษ ส่งเสริมทักษะการฟัง พูด อ่าน และเขียนภาษาอังกฤษโดยการใช้
ตาราภาษาอังกฤษในการเรียนการสอน และใช้ภาษาอังกฤษในการ
เขี ย นและน าเสนอรายวิ ช าสั ม มนา ฝึ ก งานให้ น าเสนอเป็ น
ภาษาอังกฤษ

- 41 -
มคอ.2

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมการดาเนินการ
5. ความสามารถด้านเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งเสริมให้มีการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในกระบวนการเรียนรู้และ
ปฏิบัติงาน เช่น การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์ การใช้บริการห้องสมุด
ผ่านระบบอินเทอร์เน็ตทั่วประเทศ
6. ด้านภาวะผู้นา ความรับผิดชอบ และการมีวินัย ได้รับการฝึกฝนเกี่ยวกับการพัฒนาภาวะความเป็นผูน้ า
7. ด้านบุคลิกภาพ ได้รับการฝึกฝนเกี่ยวกับการพัฒนาด้านบุคลิกภาพ
8. ด้านจริยธรรม และคุณธรรม จัดกิจกรรมที่ส่งเสริมให้นักศึกษามีคุณธรรมและจริยธรรม
2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน
2.1 คุณธรรมและจริยธรรม (Ethics & Moral)
2.1.1 ผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
(1) สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นาหรือมีส่วนริเริ่ม
ให้ มี การทบทวนและวิ นิ จ ฉัย ปั ญ หาทางจรรยาบรรณวิ ช าการและวิ ช าชี พ ได้ อย่ า งเหมาะสมตาม
สถานการณ์
(2) มี ภ าวะผู้ น าในการส่ ง เสริ ม ให้ มี ก ารประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นตามกรอบคุ ณ ธรรมและจริ ย ธรรมของ
มหาบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจใน
ความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรมและสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น
สถาบันและประเทศชาติ
2.1.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
(1) สอดแทรกในเนื้อหาวิชาเรียน
(2) การเรียนรู้จากสถานการณ์จริง การจัดกิจกรรมในชั้นเรียนหรือในวิชาเรียน
(3) การสอนในรายวิชาสัมมนา วิชาวิจัย วิทยานิพนธ์ และการศึกษาอิสระ
2.1.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านคุณธรรมและจริยธรรม
(1) ประเมินพฤติกรรมโดยเพื่อนักศึกษา อาจารย์ที่ปรึกษา อาจารย์ผู้สอน
(2) ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผู้ใช้บัณฑิต
2.2 ความรู้ (Knowledge)
2.2.1 ผลการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาและสามารถ
นามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
(2) สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้
ใหม่ๆ หรือการประยุกต์วิธีปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
(3) มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิชา รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนา
ความรู้ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่จะเกิดขึ้น
ในอนาคต
(4) ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้ง
ในระดับชาติและระดับนานาชาติ
2.2.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) การสอนหลายรูปแบบในรายวิชาตามหลักสูตร ได้แก่ การบรรยาย อภิปราย การจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้ การให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง
(2) การฝึกปฏิบัติ การทาวิจัย วิทยานิพนธ์ และการศึกษาอิสระ
(3) การศึกษาดูงาน การเข้าร่วมประชุมสัมมนาทางวิชาการ

- 42 -
มคอ.2

2.2.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านความรู้
(1) ประเมินผลการเรียนรู้จากการเรียนรายวิชา โดยการสอบข้อเขียน สอบภาคปฏิบัติ การทาแบบฝึกหัด
การทารายงาน การนาเสนอรายงานในการประชุมวิชาการ
(2) ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผู้ใช้บัณฑิต
2.3 ทักษะทางปัญญา (Cognitive skills)
2.3.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
(1) สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือ
แนวความคิดใหม่ๆโดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
(2) สามารถดาเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่
สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสาคัญ
2.3.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
(1) การสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
(2) การให้ศึกษาค้นคว้าด้วยตนเอง การสัมมนา การทารายงาน การทาวิจัย วิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ
2.3.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะทางปัญญา
(1) ประเมินผลการเรียนรู้จากการเรียนรายวิชา
(2) ประเมิ น ผลงานจากการท าการศึกษาค้น คว้า ด้ วยตนเอง การโครงงาน การท าวิ จั ย วิ ท ยานิพนธ์
การศึกษาอิสระ
(3) ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผู้ใช้บัณฑิต
2.4 ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal skills & responsibility)
2.4.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) มีภาวะผู้นา รับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือ
ปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางาน
ของกลุ่ม
(2) มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการ
ทางานระดับสูงได้
2.4.2 กลยุ ท ธ์ ก ารสอนที่ ใ ช้ ใ นการพั ฒ นาการเรี ย นรู้ ด้ า นทั ก ษะความสั ม พั น ธ์ ร ะหว่ า งบุ ค คลและความ
รับผิดชอบ
(1) การสอนในรายวิชาต่างๆ ตามหลักสูตร โดยเน้นการทางานเป็นกลุ่ม
(2) การจัดให้มีรายวิชาสัมมนา การทาวิจัย วิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ
2.4.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) ประเมินผลการเรียนรู้จากรายวิชาต่างๆ ที่มีการส่งเสริมให้ทางานกลุ่ม
(2) ประเมินผลการเรียนรายวิชาสัมมนา การทาวิจัย วิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ
(3) ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผู้ใช้บัณฑิต
2.5 ทั ก ษะในการวิ เ คราะห์ เ ชิ ง ตั ว เลข การสื่ อ สารและเทคโนโลยี ส ารสนเทศ ( Numerical analysis,
communication & information technology skills)
2.5.1 ผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิทยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการ
คิดวิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
(2) มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วย
ตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆเพื่อประโยชน์ในการเรียนรู้ของผู้อื่นได้

- 43 -
มคอ.2

2.5.2 กลยุทธ์การสอนที่ใช้ในการพัฒนาการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและ


เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) การสอนในรายวิชาวิจัย หรือสถิติ วิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ
(2) การเรียนรู้ด้วยตนเองผ่านระบบ e-Learning
(3) การเรียนรู้จากการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศในการผลิตผลงานวิจัยในรูปแบบต่างๆ
2.5.3 กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้ด้านทักษะในการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและเทคโนโลยี
สารสนเทศ
(1) ประเมินผลการเรียนรู้จากการเรียนรายวิชาวิจัย หรือสถิติ วิทยานิพนธ์ การศึกษาอิสระ
(2) ประเมินผลการเรียนรู้จากผลิตผลงานการวิจัยเพื่อนาเสนอในรูปแบบต่างๆ เช่น โปสเตอร์ บทความ
สื่อต่างๆ
(3) ประเมินคุณลักษณะบัณฑิต โดยผู้ใช้บัณฑิต
3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum
Mapping)
ตามตารางแนบในเอกสารแนบหมายเลข 1

หมวดที่ 5. หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน
เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 7 หรือ
ระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
อาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชา ทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาโดยเทียบเคียงผลการเรียนของนักศึกษาที่
เรียนในรายวิชา ซึ่งอาจเป็น ต่างกลุ่ม ต่างชั้นปี ต่างคณะ แล้วแต่กรณี เพื่อนาผลมาใช้ในการปรับปรุงรายวิชา
2.1 ทบทวนเนื้อหารายวิชาทุกปีการศึกษา โดยอาจพิจารณาร่วมกับอาจารย์ผู้สอนรายวิชาอื่นที่มีเนื้อหาใกล้เคียงกัน
เพื่อไม่ให้เกิดความซ้าซ้อน หรือให้เกิดความสัมพันธ์และต่อเนื่อง แล้วแต่กรณี และทบทวนเนื้อหาโดยเทียบเคียงกับรายวิชา
ของสถาบันอื่น หรือเทียบเคียงกับตาราหรือบทความทางวิชาการหรือผลการวิจัย เพื่อให้เกิดการพัฒนาเนื้อหาให้ทันสมัย
และมีมาตรฐานทางวิชาการ
2.2 ทบทวนและวิเคราะห์จากผลงานการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา
3. สาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
3.1 เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558
3.2 เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 หมวดที่ 9 ข้อ 50.2
หรือระเบียบที่จะปรับปรุงใหม่
3.3 แผน ก แบบ ก 1 เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่า ขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการที่
สถาบันอุดมศึกษานั้นแต่งตั้ง และต้องเป็นระบบเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังได้ สาหรับผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วน
หนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับ การยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับ
นานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศคณะกรรมการ การอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์การพิจารณาวารสารทาง
วิชาการสาหรับการเผยแพร่ผลงานทางวิชาการ

- 44 -
มคอ.2

แผน ก แบบ ก 2 ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร โดยจะต้องได้ระดับคะแนนเฉลี่ยไม่ํา ต่


กว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า พร้อมทั้ง เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่า
ขั้ น สุ ด ท้ า ยโดยคณะกรรมการที่ ส ถาบั น อุ ด มศึ ก ษานั้ น แต่ง ตั้ ง และต้ อ งเป็ น ระบบเปิ ด ให้ ผู้ ส นใจเข้ า รั บ ฟังได้
ผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ใน
วารสารระดับชาติหรือระดับนานาชาติที่มีคุณภาพตามประกาศ คณะกรรมการการอุดมศึกษา เรื่อง หลักเกณฑ์
การพิจารณาวารสารทางวิชาการสาหรับการเผยแพร่ ผลงานทางวิชาการ หรือนาเสนอต่อที่ประชุม
และเพิ่มเติมดังนี้ แผน ก แบบ ก 1 และ แผน ก แบบ ก 2 ต้องตีพิมพ์หรือได้รับการตอบรับให้ตีพิมพ์ในวารสารที่อยู่
ในฐานข้อมูล SCI (Science Citation Index) หรืออยู่ในฐานข้อมูล Scopus หรืออยู่ในฐานข้อมูล TCI (Thai-Journal
Citation Index ) จานวนอย่างน้อย 1 บทความ หรือได้รับการจดทะเบียนทรัพย์สินทางปัญญา จานวนอย่างน้อย 1 อนุ
สิทธิบัตร และ นักศึกษาต้องจัดทาสื่อประชาสัมพันธ์ (Poster) เพื่อเผยแพร่ข้อมูลผลงานทางด้านวิชาการของนักศึกษา
ก่อนที่จะสาเร็จการศึกษา ซึ่งรายละเอียดของสื่อประชาสัมพันธ์เพื่อเผยแพร่ข้อมูลผลงานทางด้านวิ ชาการนั้นต้องมีรูปแบบ
ที่เป็นไปตามที่สาขาวิชาฯ กาหนด

หมวดที่ 6. การพัฒนาคณาจารย์

1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่
1.1 การให้เข้ารับการอบรมตามหลักสูตร “การพัฒนาอาจารย์ใหม่” ของมหาวิทยาลัย ให้มีความรู้ความเข้าใจเกี่ยวกับ
หลักสูตรและการบริหารวิชาการของมหาวิทยาลัย บทบาทหน้าที่ของอาจารย์มหาวิทยาลัยและจรรยาบรรณครู และให้มี
ทักษะเกี่ยวกับการจัดการเรียนการสอนที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การสอนสอดแทรกคุณธรรมและจริยธรรม และการสอนโดย
ใช้สื่อและเทคโนโลยีสารสนเทศ
1.2 การมอบหมายให้มีอาจารย์พี่เลี้ยงทาหน้าที่ให้คาแนะนาและเป็นที่ปรึกษาในด้านการจัดการเรียนการสอน
1.3 การชี้แจงและแนะนาหลักสูตร รายวิชาในหลักสูตร
1.4 การมอบหมายให้อาจารย์ใหม่ศึกษาค้นคว้า จัดทาเอกสารที่เกี่ยวข้องกับการสอน ในหัวข้อหนึ่งหรือหลายหัวข้อที่
อาจารย์ใหม่มีความรู้ ความชานาญ เพื่อทดลองทาการสอนภายใต้คาแนะนาของอาจารย์พี่เลี้ยง หรือประธานบริหาร
หลักสูตร
1.5 การกาหนดให้อาจารย์ใหม่เข้าร่วมสังเกตการณ์การสอนของอาจารย์ในหลักสูตร
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่อาจารย์
2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล
(1) กาหนดให้อาจารย์ต้องเข้ารับการอบรมเพื่อพัฒนาตนเองด้านการจัดการเรียนการสอน การวัดและการ
ประเมินผล ตามความต้องการของอาจารย์ และเป็นไปตามนโยบายของมหาวิทยาลัย ซึ่งมหาวิทยาลัยมีการเปิดหลักสูตร
อบรมเพื่อพัฒนาอาจารย์ในหัวข้อต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับการจัดการเรียนการสอน การวิจัย การผลิตผลงานทางวิชาการ เป็น
ประจาทุกปี
(2) การจัดให้มีการสอนแบบเป็นทีม ซึ่งจะส่งเสริมโอกาสให้อาจารย์ได้มีประสบการณ์การสอนร่วมกับ คนอื่น
รวมถึงการมีโอกาสได้เป็นผู้รับผิดชอบรายวิชา ผู้ประสานงาน และผู้ร่วมทีมการสอน
(3) การส่งเสริมหรือสร้างโอกาสให้มีการแลกเปลี่ยนเรียนรู้ประสบการณ์ด้านการจัดการเรียนการสอนระหว่าง
อาจารย์ในหลักสูตร หรือทาวิจัยการเรียนการสอนที่สามารถนาไปเผยแพร่ในการประชุมวิชาการที่มีการจัดการเรียนการ
สอนในสาขาวิชาเดียวกันของหลายๆ สถาบัน
2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ
(1) การส่งเสริมให้อาจารย์เข้าร่วมการอบรม การประชุมสัมมนาในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพที่ จัดทั้งภายในและ
ภายนอกมหาวิทยาลัย อย่างน้อยปีละ 1 ครั้ง

- 45 -
มคอ.2

(2) การส่งเสริมให้อาจารย์ผลิตผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ และการนาเสนอผลงานในการประชุมวิชาการ


ในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ อย่างน้อยให้มีผลงานการเขียนหรือการนาเสนอปีละ 1 เรื่อง

หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพหลักสูตร

1. การกากับมาตรฐาน
1.1 มีอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรฯ ที่มีจานวนและคุณสมบัติตรงตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
พ.ศ.2558 เพื่อทาหน้าที่บริหารและดาเนินการควบคุมคุณภาพการจัดการเรียนการสอน การประเมินผล การ
ปรับปรุงและการพัฒนาหลักสูตร โดยมีการประชุมภาคการศึกษาละ 2 ครั้งหรือมากกว่า
1.2 มีคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะ และคณะทางานตามยุทธศาสตร์ ด้านวิจัยและบัณฑิตศึกษา ประจา
คณะ เพื่อควบคุมและดูแลคุณภาพการจัดการเรียนการสอนของหลักสูตรฯ
1.3 มีอาจารย์ผู้ประสานงานรายวิชาต่างๆ เพื่อทาหน้าที่จัดทา มคอ. 3 มคอ. 5 และมคอ. 7 เพื่อวางแผนการจัดการ
เรียนการสอน การประเมินผล และการปรับปรุงรายวิชาที่รับผิดชอบให้เป็นไปตามมาตรฐานหลักสูตรระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558
2. บัณฑิต
2.1 การประเมิ น คุณ ภาพของบั ณ ฑิ ต ตามกรอบมาตรฐานคุณ วุ ฒิ ระดั บ อุ ด มศึ กษาแห่ ง ชาติ จ ากผู้ ใช้ บั ณ ฑิ ต ทุ ก ปี
การศึกษา เพือ่ นาข้อมูลมาใช้ในการปรับปรุงหลักสูตรครั้งถัดไป
2.2 มีการสารวจการได้งานทาของบัณฑิตทุกปีการศึกษา
2.3 ติดตามและวิเคราะห์ความต้องการของตลาดแรงงาน ความก้าวหน้าของเทคโนโลยี เพื่อเป็นข้อมูลในการพัฒนา
และปรับปรุงการเรียนการสอนให้ทันสมัย
3. นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษา
3.1.1 มีกระบวนการรับนักศึกษาเพื่อให้ได้นักศึกษาตามเป้าหมายของการรับทั้งด้านปริมาณและคุณภาพ
3.1.2 มีการเตรียมความพร้อมของนักศึกษาในปีแรกของการเรียน เพื่อให้มีทักษะพื้นฐานที่จาเป็นสาหรับการเรียนใน
หลักสูตรฯ
3.2 การส่งเสริมและพัฒนานักศึกษา
3.2.1 หลักสูตรมีการแต่งตั้งอาจารย์ที่ปรึกษาทางวิชาการให้แก่นักศึกษาทุกคน เพื่อทาหน้าที่ให้คาปรึกษาแนะนาด้าน
การเรียน โดยอาจารย์หนึง่ คนต่อนักศึกษา 5 – 10 คน และอาจารย์ต้องกาหนดชัว่ โมงให้คาปรึกษาแก่นักศึกษา อย่างน้อย
สัปดาห์ละ 2 ชั่วโมง ฯลฯ และการแต่งตั้งอาจารย์ทปี่ รึกษาวิทยานิพนธ์ ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
พ.ศ. 2558 และ ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559
3.2.2 หลักสูตรมีการจัดกิจกรรมวิชาการหรือทางวิชาชีพ เพื่อเพิ่มพูนความรู้ ทักษะและศักยภาพให้กับนักศึกษา โดย
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นผู้กาหนดรูปแบบกิจกรรม ดาเนินการและประเมินผลกิจกรรม เพื่อปรับปรุงกิจกรรมให้มีประโยชน์
ตรงตามผลการเรียนรู้ของผู้เรียน
3.3 ผลที่เกิดกับนักศึกษา
3.3.1 ผู้รับผิดชอบหลักสูตรรายงานอัตราการคงอยู่ของนักศึกษา
3.3.2 ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอนหาแนวทางในการลดอัตราการตกออกของนักศึกษา โดยดาเนินการ
ประชุมหารือหลังสิน้ สุดปีการศึกษา
3.3.3 ผู้รับผิดชอบหลักสูตรดาเนินการสารวจความพึงพอใจต่อการบริหารหลักสูตรในทุกปีการศึกษา และให้นาผลการ
ประเมินไปปรับปรุงคุณภาพของการบริหารหลักสูตร

- 46 -
มคอ.2

3.3.4 กรณีที่นักศึกษาสงสัยผลการประเมินในรายวิชาใดๆ สามารถยื่นคาร้องตรวจสอบระดับคะแนนในแต่ละรายวิชา


ได้ ตามหลักเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
4. อาจารย์
4.1 การบริหารและพัฒนาอาจารย์
4.1.1 มีระบบและกระบวนการรับอาจารย์ใหม่ของหลักสูตรโดยผู้รับผิดชอบหลักสูตรกาหนดคุณสมบัติเบื้องต้นและ
หารือกับอาจารย์ผู้สอนในสาขาวิชา จากนั้นจึงนาเสนอคณบดีเพื่อขออนุมัติ ละส่งเรื่องเพื่อดาเนินการต่อไปยังส่วนการ
เจ้าหน้าที่เพื่อดาเนินการรับสมัครและสอบสัมภาษณ์ตามเกณฑ์ของคณะและมหาวิทยาลัย
4.1.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเป็นผู้ดาเนินการจัดผู้สอนในแต่ละรายวิชาที่เปิดสอน โดยประเมินจากความ
เชี่ยวชาญ ผลประเมินการสอนในที่ผ่านมาและภาระงานโดยรวม
4.1.3 มีงบพัฒนาวิชาการของอาจารย์เพื่อส่งเสริมให้อาจารย์ได้พัฒนาตนเองตลอดเวลา
4.2 คุณภาพอาจารย์
มีการติดตามและกระตุน้ ให้อาจารย์มีตาแหน่งทางวิชาการที่สูงขึ้นผ่านระบบประเมินผลการปฏิบัติงานในแต่ละปี
4.3 ผลที่เกิดกับอาจารย์
อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรมีการติดตามการบริหารจานวนอาจารย์ที่เหมาะสมต่อจานวนนักศึกษา อัตราการคงอยู่
ของอาจารย์ และความพึงพอใจของอาจารย์ผู้ส อนต่ อการบริหารงานของหลักสูต ร และรายงานให้อาจารย์ผู้ส อนใน
สาขาวิชาทราบทุกปีการศึกษา เพื่อนาข้อมูลไปพัฒนาคุณภาพของอาจารย์
5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน
5.1 สาระของรายวิชาในหลักสูตร
มีระบบ กลไก ในการออกแบบหลักสูตรและสาระรายวิชาในหลักสูตรผ่านการวิพากษ์การเรียนการสอนเมื่อสิ้นสุดแต่
ละภาคการศึกษา เพื่อสรุปปัญหาและแนวทางการพัฒนา
5.2 การวางระบบผู้สอนและกระบวนการจัดการเรียนการสอน
5.2.1 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและผู้สอน ประชุมร่วมกันในการวางแผนจัดการเรียนการสอน ประเมินผล และให้
ความเห็นชอบการประเมินผลทุกรายวิชา เพื่อเตรียมข้อมูลไว้สาหรับการปรับปรุงหลักสูตร ตลอดจนปรึกษาหารือแนวทาง
ที่จะทาให้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตร และได้บัณฑิตเป็นไปตามคุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
5.2.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรกาหนดผู้สอนในแต่ละรายวิชาโดยพิจารณาจากความเชี่ยวชาญ ผลการประเมิน
การสอนที่ผ่านมา และภาระงานสอนโดยรวม
5.2.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรทาหน้าที่ติ ดตามการจัดทา มคอ.3 และ มคอ.5 ในแต่ละภาคการศึกษา แล้วนาผล
ที่ได้มาแลกเปลี่ยนเรียนรู้เรื่องการเรียนการสอนผ่านการประชุมอาจารย์ผู้สอนเมื่อสิ้นสุดแต่ละภาคการศึกษา
5.2.4 มี ระบบการรับ การอุ ท ธรณ์ ข องนั ก ศึกษาผ่ า นอาจารย์ ผู้ รับ ผิ ด ชอบหลั กสู ต ร และน าเข้า ที่ ป ระชุ ม อาจารย์
ผู้รับผิดชอบหลักสูตรเพื่อพิจารณา
5.3 การประเมินผู้เรียน
มีการประเมินผลการเรียนรู้ตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เช่น การตรวจสอบการประเมินผล
การเรียนรู้ของนักศึกษา การประเมินการจัดการเรียนการสอน การทบทวนผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา โดยการประชุมร่วมกัน
ของผู้รับผิดชอบหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา
6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 การบริหารงบประมาณ
คณะกรรมการบริหารหลักสูตร จัดทาแผนการใช้จ่ายงบประมาณประจาปี จากงบประมาณที่ได้รับจัดสรรจาก
คณะฯ โดยมีการจัดแบ่งค่าใช้จ่ายเป็นกลุ่ม เช่น ค่าวัสดุตาราและสื่อการเรียนการสอน ค่าครุภัณฑ์ ค่าใช้จ่ายในการพัฒนา
อาจารย์ ค่าใช้จ่ายในการพัฒนานักศึกษา ฯลฯ
6.2 ข้อมูลทรัพยากรสารสนเทศที่มีในสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น เพื่อใช้ประกอบการปรับปรุงหลักสูตร
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น

- 47 -
มคอ.2

1. ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (Subscribe by database)


1.1 IEEE Explore
สืบค้นที่ http://ieeexplore.ieee.org/
1.2. ProQuest Dissertation
สืบค้นที่ http://search.proquest.com/autologin
1.3. ASME/Technical Journals
(ยกเลิกการบอกรับ ต้องการบทความโปรดติดต่อบรรณารักษ์) e-mail: chathu1@kku.ac.th
1.4. H.W. Wilson
สืบค้นที่ http://search.ebscohost.com/
1.5. ACM Digital Library
สืบค้นที่ http://dl.acm.org/results.cfm?query=
1.6. ASTM International Standards
สืบค้นที่ http://enterprise.astm.org/
1.7. Springer Link
สืบค้นที่ http://link.springer.com/search?query=environment+engineering
1.8. Taylor & Fransis
สืบค้นที่ http://www.tandfonline.com/
2. ฐานข้อมูลวารสารอิเล็กทรอนิกส์ (Subscribe by title)
2.1 Engineering Fracture Mechanics
สืบค้นที่ http://www.sciencedirect.com/science/journal/00137944
2.2 Engineering Geology
สืบค้นที่ http://www.sciencedirect.com/science/journal/00137952
2.3. Environment and Planning, Part B: Planning and Design
สืบค้นที่ http://online.sagepub.com/browse/by/discipline
2.4. Technometrics
สืบค้นที่ http://www.tandfonline.com/action/showPublications
2.5. Journal of the American Statistical Association
สืบค้นที่ http://www.tandfonline.com/loi/uasa20#.VwDnq5yLQrg
3. ฐานข้อมูลสาหรับการอ้างอิง
3.1. Scopus
สืบค้นที่ http://www.scopus.com/
3.2. ISI Web of Knowledge
สืบค้นที่ http://admin-apps.webofknowledge.com/JCR/JCR
3.3. SciVal
สืบค้นที่ https://www.scival.com/customer/authenticate/loginfull
3.4. Web of Science
สืบค้นที่ http://apps.webofknowledge.com/
3.5 Journal Citation Report
สืบค้นที่ http://isiknowledge.com/JCR
4. ฐานข้อมูลอิเล็กทรอนิกส์ที่ สกอ. บอกรับ
4.1. ScienceDirect

- 48 -
มคอ.2

สืบค้นที่ http://www.sciencedirect.com/
4.2. ProQuest Dissertations & Theses Fulltext
สืบค้นที่ http://search.proquest.com/autologin
4.3 SpringerLink eJournal
สืบค้นที่ http://link.springer.com/
4.4 Web of Science
สืบค้นที่ http://isiknowledge.com/
4.5 Emerald Management 175
สืบค้นที่ http://www.emeraldinsight.com
4.6 Wilson Databases (12 Subjects)
สืบค้นที่ http://search.ebscohost.com/
4.7 Academic Search Complete
สืบค้นที่ https://search.ebscohost.com หรือ
http://search.ebscohost.com/login.aspx?authtype=ip,uid&profile=ehost&defaultdb=a9h
5. E-Theses
5.1 KKU-E-Theses
สืบค้นที่ http://lib18.kku.ac.th/kku/main.nsp?view=DCMS
5.2 TDC (Thai Digital Collection)
สืบค้นที่ http://www.thailis.or.th/tdc/
5.3 STKS (Thai Theses Online) ฐานข้อมูลวิทยานิพนธ์ไทย
สืบค้นที่ http://thesis.stks.or.th/
5.4 CHE PDF (Dissertation Full Tex)
สืบค้นที่ http://ebook.thailis.or.th/
6. E – Books บอกรับรายฐานข้อมูล
6.1 Knovel
สืบค้นที่ https://app.knovel.com/web/index.v?jsp=basic_search
6.2 ScienceDirect Ebooks
สืบค้นที่ http://www.sciencedirect.com/
6.3 Springer Link
สืบค้นที่ http://link.springer.com
7. วารสาร
7.1 วารสารภาษาไทย จานวน 42 ชื่อ
7.2 รายชื่อวารสารภาษาต่างประเทศ จานวน 31 ชื่อ
8. ฐานข้อมูล หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books)
8.1. Science Direct eBook
สืบค้นได้ที่ URL: http://www.sciencedirect.com/
8.2. Knovel
สืบค้นได้ที่ URL:
http://app.knovel.com/web/index.v?jsp=basic_search&host=www.knovel.com
8.3. eBook Academic Collection (EBSCOhost)
สืบค้นได้ที่ URL: search.ebscohost.com

- 49 -
มคอ.2

8.4. SpringerLink eBooks


สืบค้นที่ http://link.springer.com/
9. เครื่องมืออื่นๆ
9.1 โปรแกรม Turnitin สาหรับการตรวจสอบการคัดลอก
9.2 โปรแกรม Zotero สาหรับการจัดการบรรณานุกรม
9.3 Impact Factor
- SCIMAGO Journal Rank -SJR
สืบค้นที่ http://www.scimagojr.com/
- Journal Citation Impact Factor -JCR (ISI Web of Knowledge)
- ค่า Thai-Journal Impact Factors – (T-JIF)
สืบค้นที่ http://www.kmutt.ac.th/jif/public_html/T-JIF.html
หมายเหตุ หัวเรื่อง (Subjects) : วิศวกรรมโยธา (9) วิศวกรรมการทาง (4) ทางหลวง (265) คอมพิวเตอร์กับ
วิศวกรรมศาสตร์ (6) Civil engineers (2) Civil law -- Inheritance and succession (1) Civil Society -- Thailand,
Northeastern (1)
10. ข้อมูลหนังสือ/หนังสืออิเล็กทรอนิกส์
10.1. หนังสือตารา แบ่งออกตามหัวเรื่องที่เกี่ยวข้อง ได้ดังนี้
1. หนังสือภาษาไทย 6,582 ชื่อเรื่อง
2. หนังสือภาษาอังกฤษ 2,522 ชื่อเรื่อง
10.2. หนังสืออิเล็กทรอนิกส์ (E-books) ภาษาอังกฤษ 359 ชื่อเรื่อง

ภาคผนวก
รายชื่อวารสารภาษาไทย
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ในสานักหอสมุด มหาวิทยาลัยขอนแก่น
1. ข่าวสารกรมโยธาธิการและผังเมือง
2. ถนนหนทาง
3. เทคนิค เครื่องกล ไฟฟ้า อุตสาหการ
4. ไทยออยล์
5. นิตยสารข่าวนิคมอุตสาหกรรม
6. ไฟฟ้าและอุตสาหกรรม
7. วัฏจักรอุตสาหกรรม
8. วารสารเทคโนโลยีที่เหมาะสม
9. วารสารเทคโนโลยีธนบุรี
10. วารสารเทคโนโลยีภาคใต้
11. วารสารเทคโนโลยีสารสนเทศลาดกระบัง
12. วารสารเทคโนโลยีสุรนารี
13. วารสารเพื่อการเพิ่มผลผลิต
14. วารสาร ค.พ.
15. วารสารโรงงาน
16. วิศวกรรมเกษตร
17. วิศวกรรมก้าวหน้า
18. วารสารวิศวกรรมโยธาและการก่อสร้าง มก.

- 50 -
มคอ.2

19. วารสารวิศวกรรมและเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยรังสิต


20. วารสารวิศวกรรมศาสตร์
21. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ (จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย)
22. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มศว
23. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
24. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยสยาม
25. วารสารวิศวกรรมศาสตร์ ราชมงคลธัญบุรี
26. วารสารวิศวกรรมสิ่งแวดล้อมไทย
27. วิศวกรรมสาร
28. วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา
29. วิศกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา
30. วิศวกรรมสิ่งแวดล้อมไทย
31. วิศวกรรมสาร ม.ข.
32. วิศวกรรมสาร มก.
33. วิศวกรรมสาร มข.
34. วิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยนเรศวร
35. วิศวกรรมสาร มหาวิทยาลัยรังสิต
36. วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต
37. วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา
38. วิศวกรรมสารธรรมศาสตร์
39. วิศวกรรมสารเอเชียอาคเนย์
40. วิศวสารลาดกระบัง
41. วิศวอุตสาหกรรม
42. ส่งเสริมเทคโนโลยี
รายชื่อวารสารภาษาต่างประเทศ
1. BU Academic Review
2. Business.Com
3. Colourway
4. Computer.today
5. E-commerce
6. Hobby Electronics
7. Electrical & Control
8. Electricity & industry magazine
9. Engineering Journal
10. Engineering journal Chiang Mai University
11. Engineering journal of Kasetsart
12. Engineering Journal of Siam University
13. Engineering Today
14. Engineering transactions a research publication of Mahanakorn University of Technology
15. Extreme technology magazine
16. Industrial Technology Review

- 51 -
มคอ.2

17. The journal of King Mongkut's institute of technology north bangkok


18. Journal of King Mongkut's institute of technology Ladkrabang
19. Lab.Today
20. Ladkrabang engineering journal
21. Micro Computer User
22. Money and Wealth
23. MM Electronics
24. Shoppin computer
25. Suranaree journal of science and technology
26. Suranaree journal of Social Science
27. SWU engineering journal
28. Technology Promotion
29. Windows Magazine
30. Winmag
31. Wireless Communications Journal
6.3 ทรัพยากรการเรียนการสอนในสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
สถานที่ที่มีอยู่แล้ว
1. อาคาร EN01
ลักษณะห้อง จานวน พื้นที่ที่มีอยู่
(ห้อง) (ตารางเมตร)
(1) ห้องเรียนและห้องสัมมนา 5 1,440
(2) ห้องอ่านหนังสือ 1 240
(3) ห้องทางานอาจารย์ 30 400
(4) ห้องคอมพิวเตอร์ 1 240
(5) ห้องทางานนักศึกษาบัณฑิตศึกษา จุได้ 35 คน 1 150
2. อาคาร EN16
เป็นอาคารกลางของคณะวิศวกรรมศาสตร์ที่สามารถจัดให้มีห้องเรียนระดับบัณฑิตศึกษาเพิ่มได้
อีก 2 ห้อง ๆ ละ 64 ตารางเมตร และห้องทางานนักศึกษาได้อีก 40 คน
3. อาคารปฏิบัติการสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
เป็นอาคารที่มีห้องปฏิบั ติการสอนของสาขาวิชาวิ ศวกรรมโยธา ซึ่งแบ่งเป็นพื้นที่สาหรับ การ
ปฏิบัติการด้านวิศวกรรมชลศาสตร์ วิศวกรรมปฐพี วิศวกรรมสารวจ วิศวกรรมโครงสร้าง วิศวกรรมการทาง และวิศวกรรม
วัสดุ ซึ่งสามารถใช้ในการวิจัยที่เกี่ยวข้องได้เป็นอย่างดี
อุปกรณ์การสอนและวิจัยที่มีอยู่แล้ว
อุปกรณ์การสอนที่มีอยู่ในการสอนระดับบัณฑิตศึกษา และอุปกรณ์การวิจัยหลักๆ มีอยู่แล้วเป็นส่วนใหญ่
สามารถใช้กับการสอนระดับบัณฑิตศึกษาได้ เช่น
- โต๊ะทดลองทางชลศาสตร์ 6 ชุด
- เครื่องทดลองการทรงตัวของวัตถุที่ลอยในของเหลว 4 ชุด
- เครื่องทดลองการแบ่งมาตราวัดความดัน 6 ชุด
- มาตรวัดความดัน 6 ชุด
- เครื่องทดลองการไหลของน้าผ่านรู 5 ชุด
- เครื่องมือวัดอัตราการไหลของน้า 5 ชุด

- 52 -
มคอ.2

- เครื่องมือทดลองหาความฝืดของท่อ 4 ชุด
- เครื่องมือทดลองหาแรงกระแทกของน้า 5 ชุด
- เครื่องมือทดลองหาจุดศูนย์กลางของแรงดัน 4 ชุด
- เครื่องทดลองอิมพัลล์เทอร์ไบน์ 1 ชุด
- เครื่องทดลองเพลตันเทอร์ไปน์ 1 ชุด
- เครื่องทดลองรีแอคชั่นเทอร์ไบน์ 1 ชุด
- เครื่องวัดความเร็วของกระแสน้า 3 ชุด
- เครื่องบันทึกอัตราการไหลและแรงดันของน้า 2 ชุด
- รางน้าเปิด (open channel flume) 1 ชุด
- เครื่องอุโมงค์ลม 4 ชุด
- เครื่องทดสอบยูนิเวอร์แซลโหลดดิ้ง 1 ชุด
- เครื่องทดสอบกาลังอัด 1 ชุด
- เครื่องทดสอบแรงเฉือน 1 ชุด
- เครื่องทดสอบโมเมนต์ของคาน 1 ชุด
- เครื่องวัดอุณหภูมิและความชืน้ อากาศ 2 ชุด
- เครื่องผสมมอตาร์ 1 ชุด
- เครื่องวัดอัตราการไหลมอตาร์ 1 ชุด
- เครื่องมือหาพิกัดเหลวของดิน 15 ชุด
- เครื่องทดสอบการทรุดตัวของดิน 3 ชุด
- เครื่องทดสอบแรงอัด 3 แกน 3 ชุด
- ชุดทดสอบ Plate Bearing 1 ชุด
- เครื่องมือทดสอบ CBR 3 ชุด
- ชุดทดสอบ Benkelman Beam 1 ชุด
- กล้องระดับอิเลกทรอนิกส์ 7 ชุด
- กล้องสารวจ Total Station 5 ชุด
- GPS 2 ชุด
- เครื่องวัดจุดติดไฟของยางมะตอย 2 ชุด เป็นต้น
สาหรับไมโครคอมพิวเตอร์นั้นปัจจุบันมีอยู่คิดเป็นสัดส่วน 1 เครื่องต่อนักศึกษา 3 คน นอกจากนั้นยังมี
ชุดคอมพิวเตอร์และโปรแกรมต่าง ๆ เพื่อการวิจัยที่เกี่ยวข้องกับเทคโนโลยีสารสนเทศสมัยใหม่ เช่น ระบบสารสนเทศ
ภู มิ ศ าสตร์ (Geographical Information System, GIS) (เช่ น โปรแกรม ArcView, ArcGIS, ArcInfo, Image Analysis
เป็นต้น) Global Positioning System (GPS), Knowledge Based Expert Systems (KBES) (เช่น KPwin++, Level5
เป็นต้น) เป็นต้น นอกจากนั้นยังมีโปรแกรมวิเคราะห์ และออกแบบทางด้านต่าง ๆ อีกเป็นจานวนมาก เช่น โปรแกรม
ทางด้านวิศวกรรมจราจรและขนส่ง อาทิเช่น โปรแกรม PARAMICS, TRIPS, โปรแกรมทางด้านวิศวกรรมโครงสร้าง อาทิ
เช่ น โปรแกรม STADD III, SAP2000 อี ก ทั้ ง ยั ง มี โ ปรแกรมทางด้ า นวิ ศ วกรรมทรั พ ยากรน้ า อาทิ เ ช่ น InfoWorks RS,
InfoWorks RS PDM, HEC เป็นต้น
อุปกรณ์การสอนและวิจัยที่ต้องการเพิ่ม
- ชุดทดสอบวัสดุประเภทไดอิเลกทริกและแม่เหล็ก 1 ชุด
- ชุดทดสอบทางด้านห้องปฏิบัตกิ ารไมโครคอนโทรลเลอร์ 1 ชุด
- มาตรวัดการยืดหดตัวแบบหน้าปัด (Dial Gauge) แบบต่างๆ 10 ชุด
- เครื่องวัดและบันทึกอุณหภูมิและความชื้นอากาศ 4 เครื่อง
- เครื่องวัดปฏิกิริยาอัลคาไลฟ์แอกริเกต-รีแอคชั่น 1 ชุด

- 53 -
มคอ.2

- ชุดวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านการจราจรและขนส่ง 1 ชุด
- ชุดวิเคราะห์ข้อมูลเสถียรภาพของผิวลาด 1 ชุด
- ชุดวิเคราะห์ข้อมูลการไหลของน้าในดินโดยวิธี Finite Element 1 ชุด
- โปรแกรมคอมพิวเตอร์สาหรับการวิเคราะห์หาความเค้นในดินและ 1 ชุด
การเสียรูปของดินโดยวิธี Finite Element 1 ชุด
6.4 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ ได้เสนอแนะให้สานักวิทยบริการจัดซื้อหนังสือและวารสาร
ทางด้านวิศวกรรมโยธาประจาทุกปี และในส่วนของอุปกรณ์การสอนและวิจัยนั้นได้ของบประมาณจากคณะฯ เพื่อจัดซื้อ
อุปกรณ์การสอนและวิจัยที่ต้องการ
6.5 การประเมินความเพียงพอของทรัพยากร
สานักวิทยบริการมีเอกสาร ตารา หนังสือ วารสารทางด้านวิศวกรรมโยธาอย่างเพียงพอ และจัดหาเพิ่มขึ้นทุกปี
7. ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators)
ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงานเป็นไป ตามที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นกาหนด (เอกสารแนบหมายเลข 8)

หมวดที่ 8. การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน
(1) การประชุมร่วมของอาจารย์ในภาควิชา/สาขาวิชาเพื่อแลกเปลี่ยนความคิดเห็น ขอคาแนะนา ข้อเสนอแนะ
จากอาจารย์ที่มีความรู้และประสบการณ์ หรือเพื่อนร่วมงาน
(2) การแลกเปลี่ยนโดยสนทนากับนักศึกษา เพื่อสะท้อนผลการจัดการเรียนการสอนในช่วงของการเรียนแต่ละ
รายวิชา
(3) การประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนของนักศึกษา เปรียบเทียบพัฒนาการหรือความเปลี่ยนแปลงที่
เกิดขึ้นจากการใช้กลยุทธ์การสอนที่แตกต่างกัน
(4) การทาวิจัยในชั้นเรียน เพื่อประเมินภาพรวมของการจัดการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชา
1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน
(1) การประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพการสอนของอาจารย์ โ ดยนั ก ศึ ก ษา ทุ ก สิ้ น ภาคการศึ ก ษา ตามระบบขอ ง
มหาวิทยาลัย
(2) การประเมินการสอนของอาจารย์โดยหัวหน้าสาขาวิชา หรือประธานบริหารหลักสูตร หรือเพื่อนร่วมงาน ตาม
ระบบการประเมินผลการปฏิบัติงานประจาปีของอาจารย์/พนักงานสายผู้สอน
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
2.1 การประเมินหลักสูตร โดยนักศึกษาปัจจุบันและอาจารย์ เพื่อนาข้อมูลมาทบทวนและปรับปรุงการจัดการแผนการ
เรียน การจัดการเรียนการสอน และเนื้อหารายวิชาที่อาจซ้าซ้อน ไม่ทันสมัย ยาก/ง่าย เป็นต้น
2.2 การประเมินหลักสูตรโดยศิษย์เก่า เพื่อติดตามผลการนาความรู้และประสบการณ์ที่ได้รับจากการศึกษาในหลักสูตร
ไปใช้ในการทางาน
2.3 การประเมิ นผลโดยผู้ใช้บัณฑิต เพื่อสารวจความพึงพอใจและความคิดเห็นและข้อเสนอแนะจากผู้ใช้ บั ณ ฑิ ต
เกี่ยวกับคุณภาพของบัณฑิตที่จบจากหลักสูตรนี้
3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร
การประเมินผลการจัดการหลักสูตรเป็นไป ตามที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นกาหนด

- 54 -
มคอ.2

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง
4.1 อาจารย์ ป ระจ าวิ ช า อาจารย์ ผู้ ส อน น าผลการประเมิ น ประสิ ท ธิ ภ าพการสอนของอาจารย์ โ ดยนั ก ศึ ก ษา
ผู้ บั ง คั บบัญ ชา และหรือเพื่ อนร่วมงาน แล้ ว แต่ กรณี มาปรับ ปรุงและพัฒนาการจัด การเรียนการสอนในรายวิชาที่ตน
รับผิดชอบ
4.2 คณะกรรมการบริหารหลักสูตรนาผลประเมินตามระบบการจัดการหลักสูตรของมหาวิทยาลัย ซึ่งดาเนินการทุกสิ้น
ปีการศึกษามาทบทวนและวิเคราะห์ พร้อมนาเสนอแนวทางปรับปรุงแก้ไขในจุดที่มีข้อบกพร่อง สาหรับปีการศึกษาถัดไป
4.3 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร นาผลการประเมินภาพรวมของหลักสูตรโดยนักศึกษาปัจจุบันและอาจารย์ โดย
ศิษย์เก่า และโดยผู้ใช้บัณฑิต เพื่อทบทวนและพิจารณาในการนาไปแก้ไขปรับปรุงหลักสูตร ตามรอบระยะเวลาที่กาหนดใน
ระบบประกันคุณภาพการศึกษาของมหาวิทยาลัย

- 55 -
มคอ.2

เอกสารแนบหมายเลข 1
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้
จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)

- 56 -
เอกสารแนบหมายเลข 1
แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping)
สาหรับหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
⚫ความรับผิดชอบหลัก  ความรับผิดชอบรอง

รายวิชา 1. คุณธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทักษะ 5. ทักษะการ


จริยธรรม ปัญญา ความสัมพันธ์ วิเคราะห์เชิง
ระหว่างบุคคล ตัวเลข การ
และความ สื่อสารและการใช้
รับผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2
1. หมวดวิชาบังคับ
สาหรับแผน ก แบบ ก 1 (ไม่นับหน่วยกิต 12 หน่วยกิต)
สาหรับแผน ก แบบ ก 2 (ไม่นับหน่วยกิต 3 หน่วยกิต) (นับหน่วยกิต 9 หน่วยกิต)
*EN007000 การนางานวิจัยสู่ธุรกิจสาหรับการประกอบการด้าน ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫  ⚫  ⚫
วิศวกรรม
*EN007001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ ⚫ ⚫   ⚫ ⚫ ⚫   ⚫  ⚫
**EN127000 การจัดการโครงการ  ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫   ⚫  ⚫
**EN127891 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 1 ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫
**EN127892 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 2 ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫
**EN127893 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 3 ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫

- 57 -
รายวิชา 1. คุณธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทักษะ 5. ทักษะการ
จริยธรรม ปัญญา ความสัมพันธ์ วิเคราะห์เชิง
ระหว่างบุคคล ตัวเลข การ
และความ สื่อสารและการใช้
รับผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2
2. หมวดวิชาเลือก 15 หน่วยกิต
2.1 หมวดวิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม 6 หน่วยกิต
**EN127100 การบริหารต้นทุนและความเสีย่ งของโครงการ ⚫ ⚫  
**EN127101 การวางแผนและควบคุมการก่อสร้างเชิงบูรณาการ ⚫ ⚫  
**EN127200 ปฐพีกลศาสตร์ขั้นสูง ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127201 วิศวกรรมฐานรากขัน้ สูง ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127300 การวิเคราะห์โครงสร้างขั้นสูง  ⚫ ⚫    ⚫    ⚫ 
**EN127301 โครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫
**EN127400 การคานวณปรับแก้ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127401 การคานวณปรับแก้ขั้นสูง ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127500 การวิเคราะห์ระบบการขนส่ง ⚫ ⚫ ⚫  ⚫
**EN127501 วิศวกรรมจราจร ⚫ ⚫ ⚫  ⚫
**EN127600 ระบบอุทกวิทยา ⚫  ⚫    ⚫   ⚫ ⚫ ⚫
**EN127601 วิศวกรรมชลศาสตร์ประยุกต์  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
2.1 หมวดวิชาเลือกทั่วไป 9 หน่วยกิต
**EN127102 การบริหารคุณภาพงานก่อสร้าง ⚫  ⚫  
**EN127103 การวิเคราะห์ผลิตภาพในการก่อสร้าง ⚫  ⚫  
**EN127104 กฎหมายและสัญญาการก่อสร้าง ⚫ ⚫  
**EN127105 การบริหารการเงินและการบัญชีในการก่อสร้าง ⚫ ⚫  
- 58 -
รายวิชา 1. คุณธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทักษะ 5. ทักษะการ
จริยธรรม ปัญญา ความสัมพันธ์ วิเคราะห์เชิง
ระหว่างบุคคล ตัวเลข การ
และความ สื่อสารและการใช้
รับผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2
**EN127106 เทคนิคงานก่อสร้าง    ⚫ ⚫     
**EN127107 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมการจัดการการก่อสร้าง ⚫ ⚫  
**EN127202 ปฐพีกลศาสตร์สาหรับดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้า ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127203 โครงสร้างดิน ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127204 ปฐพีพลศาสตร์ ⚫ ⚫   ⚫ ⚫
**EN127205 การวิเคราะห์และออกแบบผิวทาง  ⚫  ⚫   ⚫  ⚫  ⚫ 
**EN127206 การสารวจและทดสอบดินในสนาม ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127207 การปรับปรุงคุณสมบัติของดิน ⚫ ⚫   ⚫ ⚫
**EN127208 ธรณีฟิสิกส์ในงานวิศวกรรม ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127209 ธรณีวิทยาในงานวิศวกรรมขั้นสูง ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127302 วิธีไฟไนท์เอลิเมนท์ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127303 พลศาสตร์ของโครงสร้าง  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127304 โครงสร้างเหล็กขั้นสูง ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫
**EN127305 การจาลองพฤติกรรมของโครงสร้างในช่วงไม่ยืดหยุ่น  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ 
**EN127306 วิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127307 เสถียรภาพของโครงสร้าง ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫
**EN127308 วิธีทดลองปฏิบัติงานในงานวิศวกรรมโครงสร้าง  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127309 โครงสร้างจุลภาคและความทนทานของคอนกรีต ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127310 การซ่อมแซมและการป้องกันโครงสร้างคอนกรีต  ⚫  ⚫  ⚫ 
- 59 -
รายวิชา 1. คุณธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทักษะ 5. ทักษะการ
จริยธรรม ปัญญา ความสัมพันธ์ วิเคราะห์เชิง
ระหว่างบุคคล ตัวเลข การ
และความ สื่อสารและการใช้
รับผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2
**EN127311 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง  ⚫   ⚫  ⚫ 
**EN127312 โครงสร้างและสมบัติของวัสดุวิศวกรรมโยธา  ⚫  ⚫  ⚫ 
**EN127314 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง  ⚫   ⚫  ⚫ 
**EN127402 ภูมิมาตรศาสตร์  ⚫   ⚫
**EN127403 หลักมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ ⚫   ⚫
**EN127404 โฟโตแกรมเมตรีเชิงวิเคราะห์  ⚫   ⚫
**EN127405 การรับรู้ระยะไกล  ⚫   ⚫
**EN127406 การวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศและภาพดาวเทียม   ⚫   ⚫
**EN127407 งานสารวจดาวเทียมจีพีเอส  ⚫   ⚫
**EN127408 การจัดการข้อมูลปริภูมิ  ⚫   ⚫
**EN127502 การวางแผนการขนส่งในเมือง  ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127503 การวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านการขนส่งและสถิติ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫
**EN127504 การออกแบบถนนเชิงเรขาคณิต ⚫ ⚫ ⚫  ⚫
**EN127505 การวางแผนระบบขนส่งสาธารณะ  ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127506 วิศวกรรมความปลอดภัยของถนน  ⚫ ⚫  ⚫
**EN127507 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการจราจรและขนส่ง ⚫ ⚫ ⚫  ⚫
**EN127508 เรื่องการคัดสรรทางวิศวกรรมขนส่ง ⚫ ⚫  
**EN127509 การวางแผนการขนส่ง การใช้ประโยชน์ ที่ดินและ
สิ่งแวดล้อม ⚫ ⚫ ⚫  ⚫
- 60 -
รายวิชา 1. คุณธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทาง 4. ทักษะ 5. ทักษะการ
จริยธรรม ปัญญา ความสัมพันธ์ วิเคราะห์เชิง
ระหว่างบุคคล ตัวเลข การ
และความ สื่อสารและการใช้
รับผิดชอบ เทคโนโลยี
สารสนเทศ
1.1 1.2 2.1 2.2 2.3 2.4 3.1 3.2 4.1 4.2 5.1 5.2
**EN127510 การจัดทาแบบจาลองด้านการขนส่ง และจราจร  ⚫  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127602 อุทกพลศาสตร์ ⚫  ⚫    ⚫   ⚫ ⚫ ⚫
**EN127603 การพัฒนาและการจัดการน้าใต้ดิน ⚫  ⚫    ⚫   ⚫ ⚫ ⚫
**EN127604 วิศวกรรมแม่น้า ⚫  ⚫    ⚫   ⚫ ⚫ ⚫
**EN127605 การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สาหรับการจัดการ
ทรัพยากรน้า  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
**EN127606 การจัดการลุ่มน้าเชิงบูรณาการ ⚫  ⚫    ⚫   ⚫ ⚫ ⚫
**EN127607 การวิเคราะห์ระบบทรัพยากรน้า ⚫  ⚫    ⚫   ⚫ ⚫ ⚫
**EN127608 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมทรัพยากรน้า ⚫  ⚫    ⚫   ⚫ ⚫ ⚫
**EN127609 การศึกษาพิเศษทางวิศวกรรมทรัพยากรน้า  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫ ⚫
*EN127313 คอนกรีตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม  ⚫  ⚫  ⚫   
*EN527401 การหาค่าเหมาะที่สดุ ทางวิศวกรรม   ⚫    ⚫     
3. วิทยานิพนธ์
**EN127898 วิทยานิพนธ์ (แผน ก แบบ ก 1) 36 หน่วยกิต  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ 
**EN127899 วิทยานิพนธ์ (แผน ก แบบ ก 2) 12 หน่วยกิต  ⚫ ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ ⚫ ⚫  ⚫ 
หมายเหตุ * รายวิชาใหม่
** รายวิชาเปลี่ยนแปลง

- 61 -
มาตรฐานผลการเรียนรู้ของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
1. ด้านคุณธรรม จริยธรรม (Ethics & Moral)
2.1 สามารถจัดการปัญหาในการปฏิบัติตามจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพ และเป็นผู้นาหรือมีส่วนริเริ่มให้
มีการทบทวนและวินิจฉัยปัญหาทางจรรยาบรรณวิชาการและวิชาชีพได้อย่างเหมาะสมตามสถานการณ์
2.2 มีภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มีการประพฤติปฏิบัติตนตามกรอบคุณธรรมและจริยธรรมของบัณฑิต มข.
ได้แก่ การมีวินัย ซื่อสัตย์ รับผิดชอบต่อตนเองและสังคม เข้าใจความแตกต่างหลากหลายทางวัฒนธรรม
และสังคม มีจิตสาธารณะ มีความรักและภูมิใจในท้องถิ่น สถาบันและประเทศชาติ
2. ด้านความรู้ (Knowledge)
2.1 มีความรู้ความเข้าใจอย่างลึกซึ้งในหลักการและทฤษฎีสาคัญในสาขาวิชา และสามารถนามาประยุกต์ใน
การศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบัติงานในวิชาชีพ
2.2 สามารถทาการวิจัยหรือปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพได้อย่างลึกซึ้ง โดยการพัฒนาความรู้ใหม่ๆ
หรือการประยุกต์วิธีการปฏิบัติงานใหม่ๆ ได้
2.3 มีความรู้ความเข้าใจในพัฒนาการใหม่ๆ ในสาขาวิช า รวมถึงงานวิจัยที่มีผลกระทบต่อการพัฒนาความรู้
ใหม่หรือการปฏิบัติงานในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพในปัจจุบันและการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้นในอนาคต
2.4 ตระหนักในธรรมเนียมปฏิบัติ กฎระเบียบ ข้อบังคับในสาขาวิชาชีพ ที่เปลี่ยนแปลงตามสถานการณ์ทั้งใน
ระดับชาติและระดับนานาชาติ
3. ด้านทักษะทางปัญญา (Cognitive skills)
3.1 สามารถสังเคราะห์และประเมินผลงานวิจัยและผลงานทางวิชาการในสาขาวิชา และพัฒนาความรู้หรือ
แนวความคิดใหม่ๆ โดยบูรณาการเข้ากับความรู้เดิมได้อย่างสร้างสรรค์
3.2 สามารถดาเนินโครงการศึกษาที่สาคัญหรือโครงการวิจัยทางวิชาการได้ด้วยตนเอง และหาข้อสรุปที่
สมบูรณ์เพื่อขยายองค์ความรู้หรือแนวทางปฏิบัติในวิชาชีพได้อย่างมีนัยสาคัญ
4. ด้านทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ (Interpersonal skill & responsibility)
4.1. มีภาวะผู้นา รับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเอง และร่วมมือกับผู้อื่นในการจัดการข้อโต้แย้งหรือ
ปัญหาทางวิชาการได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพการทางาน
ของกลุ่ม
4.2. มีความรับผิดชอบในการเรียนรู้ รวมทั้งวางแผนพัฒนาและปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการ
ทางานระดับสูงได้
5. ด้านทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสารและการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ (Numerical analysis,
communication & information technology skills)
5.1. มีความสามารถในการใช้กระบวนการทางวิยาศาสตร์หรือคณิตศาสตร์หรือกระบวนการวิจัยในการคิด
วิเคราะห์หรือแก้ปัญหาการปฏิบัติงานหรือปัญหาทางวิชาการที่สลับซับซ้อนได้
5.2. มีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และสารสนเทศในการสื่อสาร การแสวงหาความรู้ด้วย
ตนเอง และการสร้างสรรค์ผลงานทางวิชาการในรูปแบบต่างๆ เพื่อประโยชน์เพื่อประโยชน์ในการ
เรียนรู้ของผู้อื่นได้

- 62 -
เอกสารแนบหมายเลข 2
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร

- 63 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายปริญญา จินดาประเสริฐ

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
ศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Civil Engineering) University of New South Wales 2523
ปริญญาโท M.Eng. (Civil Engineering) University of New South Wales 2520
ปริญญาตรี B.Eng. (Civil Engineering) University of Tasmania 2517

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
- ตารา/หนังสือ ภาษาอังกฤษ 2 เล่ม
1. F. Pacheco-Torgal, J. A. Labrincha, C. Leonelli, A. Palomo and P.Chindraprasirt, 2014,
Handbook of alkali- activated cements, mortars and concretes, 1st Edition, Woodhead
Publishing, ISBN:9781782422761, P. 852
2. F. Pacheco-Torgal, P.B. Lourenço, J.A. Labrincha, S. Kumar, and P. Chindaprasirt, 2014,
Eco- efficient masonry bricks and blocks: design, properties and durability, 1st Edition,
Woodhead Publishing, P. 548
3.2 ผลงานวิจัย
อนุสิทธิบัตร
- ไม้เทียมจากเศษขี้เลื่อยและเถ้าลอยจีโอโพลิเมอร์
- เถ้าลอยจีโอโพลิเมอร์มวลเบาทีม่ ีผงอะลูมิเนียมเป็นส่วน
- ศิลาแลงประดิษฐ์ที่ใช้เศษวัสดุกอ่ สร้างเป็นส่วนผสม
- วัสดุจีโอโพลิเมอร์จากเถ้าถ่านหินจากกระบวนการเผาแบบฟลูอิดไดซ์เบดผสมเถ้าลอยจาก
กระบวนการเผาแบบใช้ถ่านหินบด
- วัสดุปอซโซลานที่มีส่วนประกอบของเถ้าถ่านหินและยิปซัมเป็นส่วนประกอบ
สิทธิบัตร
- กรรมวิธีการผลิตมวลรวมเบาจากเถ้าแกลบ

- 64 -
3.3 บทความทางวิชาการ
1. Phoo-ngernkham T, Sata V, Hanjitsuwan S, Ridtirud C, Hatanaka S, Chindaprasirt P. High
calcium fly ash geopolymer mortar containing Portland cement for use as repair material.
Construction and Building Materials 2015;98:482-488.
2. Chindaprasirt P, Rukzon S. Strength and chloride resistance of the blended Portland
cement mortar containing rice husk ash and ground river sand. Materials and Structures
2014;48 (11):3771-3777.
3. Hunpratub S, Phokha S, Maensiri S, Chindaprasirt P. Dielectric properties of 0− 3
BCTZO/high calcium fly ash geopolymer composites. Ferroelectrics Letters 2015;42:4-6.
4. Jittabut P, Pinitsoontorn S, Thongbai P, Amornkitbamrung V, Chindaprasirt P. Effect of
nano- silica addition on mechanical properties and thermal conductivity of cement
composites. Chiang Mai Journal of Science 2015;42(3):745-751.
5. Phonphuak N, Kanyakam S, Chindraprasirt P. Utilization of waste glass to enhance
physical- mechanical properties of fired clay brick. Journal of Cleaner Production
2016;112:3057-3062.

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 35 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127311 Advanced Concrete Technology
EN127314 Selected Topics in Construction Materials
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 65 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายจารึก ถีระวงษ์

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
รองศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย 2547
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย 2540
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรม มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ประเทศไทย 2533
สิ่งแวดล้อม)

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
จารึ ก ถี ร ะวงษ์ , 2558. ก าลั ง วั ส ดุ เ บื้ อ งต้ น , ขอนแก่ น : ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 ผลงานวิจัย
จารึก ถีระวงษ์, 2556. การพัฒนาวัสดุจีโอโพลิเมอร์ ซีเมนต์และคอมโพสิตเพื่อนามาใช้ในงานอุตสาหกรรมการ
ก่อสร้าง, ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.3 บทความทางวิชาการ
จารึ ก ถี ระวงษ์ , 2559. กลไกการถ่า ยน้ าหนั ก และตั ว คูณ ประสิ ท ธิ ผ ลในแบบจ าลองโครงถัก , ขอนแก่น :
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จารึก ถีระวงษ์, 2559. พฤติกรรมของคานลึกคอนกรีตเสริมเหล็ก: การทดสอบและการวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิ
เมนต์, ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จารึ ก ถี ระวงษ์ , 2559. แบบจาลองโครงถักอย่างง่ายสาหรับการทานายกาลัง รับแรงเฉือนของแป้น หู ช้ า ง
คอนกรีตเสริมเหล็ก, ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปนัสย์ชัย เชษฐโชติศักดิ์ , รศ.จารึก ถีระวงษ์, รศ.ดนัยพงศ์ เชษฐโชติศักดิ์ , สุกิจ ยินดีสุข, 2557. Efficiency
Factors for Reinforced Concrete Deep Beams: Part 1 - Improved models, ข อ น แ ก่ น :
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปนัสย์ชัย เชษฐโชติศักดิ์ , รศ.จารึก ถีระวงษ์, รศ.ดนัยพงศ์ เชษฐโชติศักดิ์ , สุกิจ ยินดีสุข, 2557. Efficiency
Factors for Reinforced Concrete Deep Beams: Part 2- Code Calibration, ขอนแก่น: ภาควิชา
วิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จารึก ถีระวงษ์, 2557. Shear strength prediction of reinforced concrete deep beams using strut-
and-tie model, ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
จารึก ถีระวงษ์, 2557. Shear behavior of reinforced concrete deep beams with various horizontal
to vertical reinforcements and shear span-to-effective depth ratio, ขอนแก่ น : ภาควิ ช า
วิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

- 66 -
จารึก ถีระวงษ์ , 2557. New strut-and-tie-models for shear strength prediction and design of RC
deep beams, ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 12 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN113321 Civil Engineering Materials Laboratory
EN113304 Reinforced Concrete Design & Practice
EN114305 Timber and Steel Design & Practice
EN114307 Advanced Steel Structures Design
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127301 Advanced Concrete Structures
EN127304 Advanced Steel Structures
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 67 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายณรงค์ เหลืองบุตรนาค
1. ตาแหน่งทางวิชาการ
รองศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก D.Eng. (Construction Engineering and Asian Institute of Technology 2548
Management)
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2526
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2523

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
รศ.ดร ณรงค์ เหลืองบุตรนาค, 2557 การบริหารงานก่อสร้าง (Construction Management) ISBN
978-616-348-672-1 พิมพ์ครั้งที่ 1 จานวน 2,000 เล่ม
3.2 ผลงานวิจัย
Dr.Patrick Manu, รศ.ดร ณรงค์ เหลืองบุตรนาค, Dr.Bonaventura Hadikusumo. 2559, ผลกระทบ
ของค่านิยมส่วนบุคคลของคนก่อสร้างไทยต่ออาชีวอนามัยและความปลอดภัยในงาน
ก่อสร้าง (Understanding How Thai Construction Workers’ Personal Values Affect
Health and Safety in Constructio) University of the west of England,
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, Asian of institute of Technology
ท่านชุณหจิต สังข์ใหม่, รศ.ดร.ณรงค์ เหลืองบุตรนาค, นางสุพิชฌาย์ อนันต์กิตติกุล, นายธนายุทธ ไชย
ธงรัตน์. 2559, แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติงานของผูป้ ระกอบการ (Grading) กรมบัญชีกลาง
กระทรวงการคลัง, ขอนแก่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น
3.3 บทความทางวิชาการ
Vuthea Min, รศ.ดร ณรงค์ เหลืองบุตรนาค, ผศ.กอปร ศรีนาวิน, Preenithi Aksorn, วัชรพงศ์ ดีวงษ์.
2559, Cambodian Construction Industry’s Issues in the ASEAN Economic Community,
Journal of Construction Engineering and Project Management หน้า 24-33
รศ.ดร ณรงค์ เหลื อ งบุ ต รนาค, 2558 Adjusting Planning Management and Control to the
Owner Environment Case Study: Consultant Adjustment to the Owner Environment in
Thailand. KICEM Journal of Construction Engineering and Project Management Online
ISSN 2233-9582 หน้า 10
รศ.ดร ณรงค์ เหลืองบุตรนาค, อ.พัศพันธน์ ชาญวสุนันท์, ผศ.กอปร ศรีนาวิน. 2558 the competency
of Lao civil engineers in Lao PDR บทความวิทยานิพนธ์นักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่น, หน้า
10
รศ.ดร ณรงค์ เหลืองบุตรนาค, วัชรพงศ์ ดีวงษ์, ธนายุทธ ไชยธงรัตน์, กฤษนันท์ ธาราวดี, จักริน จักร
แก้ว, ธนวรรธ สาลีสี. 2557. Labor management problems in construction projects, 19th
National Convention on Civil Engineering.

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 33 ปี

- 68 -
5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN114101 Construction Management
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127100 Project Cost and Risk Management
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 69 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายธเนศ เสถียรนาม

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
รองศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก D.Eng. (Transportation Engineering and Nihon University, Japan 2550
Socio-Technology)
ปริญญาโท M.Eng. (Transportation Engineering) Asian Institute of Technology, Thailand 2545
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ไทย 2543

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
ธเนศ เสถียรนาม. 2552. การวิเคราะห์ระบบขนส่ง, ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ธเนศ เสถียรนาม. 2557. การวางแผนการขนส่งในเขตเมือง, ขอนแก่น: โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 ผลงานวิจัย
Thaned Satiennam, Sittha Jaensirisak, Wichuda Satiennam and Sumet Detdamrong (2016)
“Potential for Modal Shift by Passenger Car and Motorcycle Users towards Bus Rapid
Transit (BRT) in an Asian Developing City”, IATSS Res., Vol. 39, pp. 121-129.
Atthapol Seedam, Thaned Satiennam, Thana Radpukdee, Wichuda Satiennam (2015),
“Development of an onboard system to measure the on-road driving pattern for
developing motorcycle driving cycle in Khon Kaen city, Thailand”, IATSS Res., Vol. 39,
pp. 79-85.
Thaned Satiennam, Wichuda Satiennam, Phongphan Tankasem, Piyanat Jantosut,
JessadapornThengnamlee and WeerutKhunpumphat (2014), “A Study of Potential
Electric Motorcycle Use to Support a Low Carbon Society: Case of a Developing Asian
City”, Advanced Materials Research, Vol.931-932, pp. 541-545.
Wichuda Satiennam, Thaned Satiennam, Pornsiri Urapa and Tussawan Phacharoen (2014),
“Effects of Speed Bumps and Humps on Motorcycle Speed Profiles”, Advanced
Materials Research, Vol. 931-932, pp. 536-540.
Thaned Satiennam, Phongphan Tankasem, Wichuda Satiennam, Piyanat Jantosut, Sumet
Detdamrong (2013), “A Potential Study of Bus Rapid Transit (BRT) Supporting Low
Carbon Asian Developing City", Proceeding of the Eastern Asia Society for
Transportation Studies, Japan.

3.3 บทความทางวิชาการ

- 70 -
-

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 14 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN113500 Transportation Engineering
EN113501 Highway Engineering
EN113502 Highway Engineering Laboratory
EN113503 Urban Transportation Planning
EN113503 Asphalt Technology
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127500 Transport System Analysis
EN127503 Transportation Data Analysis and Statistics
EN127510 Transportation and Traffic Modeling
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 71 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายวินัย ศรีอาพร

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
รองศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาโท M.Eng. (Water Resources Asian Institute of Technology, Thailand 2532
Engineering)
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ไทย 2523

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
1) วิ นั ย ศรี อ าพร. 2557. วิ ศ วกรรมน้ าใต้ ดิ น . ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น. กุมภาพันธ์. 441 หน้า.
2) วิ นั ย ศรีอาพร. 2558. การจั ด การทรัพยากรน้าอย่า งบูรณาการ. ภาควิ ช าวิศวกรรมโยธา คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. พฤษภาคม. 501 หน้า.
3) วิ นั ย ศรี อ าพร. 2559. กลศาสตร์ ข องไหล. Second edition. ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น. กรกฎาคม. 712 หน้า.
3.2 ผลงานวิจัย
1) โครงการจัดทาแผนบริหารจัดการและพัฒนาทรั พยากรน้าแบบบูรณาการจังหวัดกาฬสินธุ์. จังหวัด
ขอนแก่ น . และจั ง หวั ด มหาสารคาม. ได้ รั บ ทุ น สนั บ สนุ น จากส านั ก งานจั ง หวั ด แต่ ล ะจั ง หวั ด .
ระยะเวลาดาเนินการ 10 กันยายน 2556 - 8 มีนาคม 2557.
2) โครงการการบริหารจัดการสถานีนาร่องโรงไฟฟ้าพลังน้าขนาดเล็กสาหรับชุมชนอย่างยั่งยืน: สถานีลา
ชีลอง-4. ได้รับทุนสนับสนุนจากสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ. ระยะเวลาดาเนินการ 15
กรกฎาคม 2558 - 15 มกราคม 2560.

3.3 บทความทางวิชาการ
1) กิตติเวช ขันติยวิชัย. วินัย ศรีอาพร และวิเชียร ปลื้มกมล (2557). "กระบวนการจัดทาแผนการ
บริหารจัดการทรัพยากรน้าแบบบูรณาการภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมจากล่างขึ้นบน" วิศวกรรม
สาร มข. ปีที่ 41 ฉบับที่ 2 (เม.ย. – มิ.ย.). หน้า 163 – 171.
2) วินัย ศรีอาพร (2557). "การมีส่วนร่วมของประชาชนในการพัฒนาและบริหารจัดการทรัพยากรน้า"
การประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 19. ขอนแก่น. หน้า 2703 – 2710. พ.ค.
3) Kittiwet Kuntiyawichai, Winai Sri-Amporn and Chadchai Pruthong, (2014), "Quantifying
Consequences of Land Use and Rainfall Changes on Maximum Flood Peak in the
Lower Nam Phong River Basin" Advanced Materials Research, Vols 931 – 932, pp
791 – 796.

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 27 ปี

- 72 -
5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127898 Thesis
EN127899 Thesis

- 73 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายวันชัย สะตะ
1. ตาแหน่งทางวิชาการ
รองศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, 2548
ไทย
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง) มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ไทย 2538
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ไทย 2533

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
1. วั น ชั ย สะตะ, 2556. ก าลั ง วั ส ดุ 2, ขอนแก่ น : หน่ ว ยสารบรรณ งานบริ ห ารและธุ ร การ คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 ผลงานวิจัย
วารสารระดับนานาชาติ
1. Chotetanorm, C. , Chindaprasirt, P. , Sata, V. , Rukzon, S and Sathonsaowapak, A. , 2013,
“ High calcium bottom ash geopolymer: sorptivity, pore size and resistance to sodium
sulfate attack”, Journal of Materials in Civil Engineering, Vol. 25, No. 1, pp. 105-111.
2. Phoo- ngernkham, T. , Chindaprasirt, P. , Sata, V. , Pangdaeng, S. , and Sinsiri, T. , 2013,
“ Properties of high calcium fly ash geopolymer pastes with Portland cement as an
additive” International Journal of Minerals, Metallurgy and Materials, Vol. 20, No. 2, pp.
214-220.
3. Sata, V. , Wongsa, A. , and Chindaprasirt, P. , 2013, “ Properties of pervious geopolymer
concrete using recycled aggregates”, Construction and Building Materials, Vol. 42, pp. 33-
39.
4. Phoo- ngernkham, T. , Chindaprasirt, P. , Sata, V. , Sinsiri, T. , 2013, “ High calcium fly ash
geopolymer containing diatomite as additive”, Indian Journal of Engineering and Materials
Sciences, Vol. 20, No. 4, pp. 310-318.
5. Posi, P. , Lertnimoolchai, S. , Sata, V. , and Chindaprasirt, P. , 2013, “ Pressed lightweight
concrete containing calcined diatomite aggregate” , Construction and Building Materials,
Vol. 47, pp. 896-901.
6. Zaetang, Y., Wongsa, A., Sata, V., and Chindaprasirt, P., 2013, “Use of lightweight aggregates
in pervious concrete”, Construction and Building Materials, Vol. 48, pp. 585-591.
7. Posi, P., Teerachanwit, C., Tanutong, C., Limkamoltip, S., Lertnimoolchai, S., Sata, V., and
Chindaprasirt, P. , 2013, “ Lightweight geopolymer concrete containing aggregate from
recycle lightweight block”, Materials and Design, Vol. 52, No. 10, pp. 580-586.

- 74 -
8. Sumreng Rukson, Prinya Chindaprasirt, Vanchai Sata, and Wanthayawut Wongkhongkaew,
2013, “ The innovation of use of waste from agricultural by- product in concrete work” ,
Journal of Applied Sciences Research, Vol. 9, No.12, pp. 6160-6165.
9. Pangdaeng, S. , Phoo- ngernkham, T. , Sata, V. , and Chindaprasirt, P. , 2014, “ Influence of
curing conditions on properties of high calcium fly ash geopolymer containing Portland
cement as additive”, Materials and Design, Vol. 53, No. 1, pp. 269-274.
10. Hanjitsuwan, H. , Hunpratub, S. , Thongbai, P. , Maensiri, S. , Sata, V, and Chindaprasirt, P. ,
2014, “ Effects of NaOH concentrations on physical and electrical properties of high
calcium fly ash geopolymer paste”, Cement and Concrete Composites, Vol. 45, No. 1, pp.
9-14.
11. Phoo- ngernkham, T. , Chindaprasirt, P. , Sata, V. , Hanjitsuwan, S. , and Hatanaka, S. , 2014,
“ The effect of adding nano- SiO2 and nano- Al2O3 on properties of high calcium fly ash
geopolymer cured at ambient temperature”, Materials and Design, Vol. 55, No. 3, pp. 58-
65.
12. Posi, P. , Lertnimoolchai, S. , Sata, V. , Phoo- ngermkham, T. , and Chindaprasirt, P. , 2014,
“ Investigation of properties of lightweight concrete with calcined diatomite aggregate” ,
KSCE Journal of Civil Engineering, Vol. 18, No. 5, pp. 1429-1435.
13. Prinya Chindaprasirt, Peem Nuaklong, Yuwadee Zaetang, Purimpat Sujumnongtokul,
Vanchai Sata., 2015, “Mechanical and thermal properties of recycling lightweight pervious
concrete”, Arabian Journal for Science and Engineering, Vol. 40, No. 2, pp. 443-450.
14. Pangdaeng, S. , Sata, V. , Aguiar, J. B. , Pacheco- Torgal, F. , Chindaprasirt, P. , 2015, “ Apatite
formation on calcined kaolin–white Portland cement geopolymer”, Materials Science and
Engineering C, Vol. 51, pp. 1-6.
15. Topark-Ngarm, P., Chindaprasirt, P., and Sata, V., 2015. “Setting Time, Strength, and Bond
of High-Calcium Fly Ash Geopolymer Concrete”, Journal of Materials in Civil Engineering,
Vol. 27, No. 7, 04014198.
16. Yuwadee Zaetang, Amphol Wongsa, Vanchai Sata, and Prinya Chindaprasirt, 2015, “Use of
coal ash as geopolymer binder and coarse aggregate in pervious concrete”, Construction
and Building Materials, Vol. 96, pp. 289-295.
17. Tanakorn Phoo- ngernkham, Vanchai Sata, Sakonwan Hanjitsuwan, Charoenchai Ridtirud,
Shigemitsu Hatanaka, and Prinya Chindaprasirt, P., 2015, “High calcium fly ash geopolymer
mortar containing Portland for use as repair material”, Construction and Building Materials,
Vol. 98, pp. 482-488.
18. Vanissorn Vimonsatit1, Prinya Chindaprasirt, Seksun Ruangsiriyakul and Vanchai Sata, 2015,
“ Influence of fly ash fineness on water requirement and shrinkage of blended cement
mortars” KKU Engineering Journal, Vol. 42, No. 4, 311-316.
19. Peem Nuaklong, Vanchai Sata, and Prinya Chindaprasirt, 2016, “ Influence of recycled
aggregate on fly ash geopolymer concrete properties”, Journal of Cleaner Production, Vol.
112, pp. 2300-2307.

- 75 -
20. Vanchai Sata, Ampol Wongsa, Kiatsuda Somna, and Prinya Chindaprasirt, 2016, “Interfacial
Transition Zone of Pervious Cement and Geopolymer Concrete Containing Crushed Clay
Brick”, Chiang Mai Journal of Science, Vol. 43(2), pp. 402-408.
21. Vanchai Sata, Chanchai Ngohpok, and Prinya Chindaprasirt, 2016, “ Properties of pervious
concrete containing high-calcium fly ash”, Computers and Concrete, Vol. 17(3), pp. 337-
351.
22. Tanakorn Phoo- ngernkham, Vanchai Sata, Sakonwan Hanjitsuwan, Charoenchai Ridtirud,
Shigemitsu Hatanaka, and Prinya Chindaprasirt, 2016, “Compressive strength, Bending and
Fracture Characteristics of High Calcium Fly Ash Geopolymer Mortar Containing Portland
Cement Cured at Ambient Temperature, Arabian Journal for Science and Engineering, Vol.
41, No. 4(April), pp. 1263-1271.
23. Yuwadee Zaetang, Amphol Wongsa, Vanchai Sata, and Prinya Chindaprasirt, 2016,
“ Properties of Pervious Concrete Containing Recycled Concrete Block aggregate and
recycled aggregate”, Construction and Building Materials, Vol. 111, pp. 15-21.
24. Amphol Wongsa, Yuwadee Zaetang, Vanchai Sata, and Prinya Chindaprasirt, 2016,
“ Properties of lightweight fly ash geopolymer concrete containing bottom ash as
aggregates”, Construction and Building Materials, Vol. 111, pp. 637-643.

วารสารระดับชาติ
1. ธนากร ภูเงินขา, ปริญญาจินดาประเสริฐ, วันชัย สะตะ และ สกลวรรณ ห่านจิตสุวรรณ์, 2557, “อิทธิพล
ของการแทนที่ปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ในเถ้าลอยแคลเซียมสูงจีโอโพลิเมอร์เพสต์” วิศวกรรมสาร มข., ปีที่
41, ฉบับที่ 1 (มกราคม– มีนาคม 2557), 19-27.
การประชุมระดับนานาชาติ
-

การประชุมระดับชาติ
1. อาพล วงศษา, ยุวดี แซตั้ง, วันชัย สะตะ และปริญญา จินดาประเสริฐ , 2556, “คอนกรีตพรุนจากมวล
รวมรีไซเคิล ” การประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18, เชียงใหม่ , หน้า MAT147-
MAT153.
2. พัชรพล โพธิ์ศรี, สุรสิทธิ์ เลิศนิมูลชัย, วันชัย สะตะ และปริญญา จินดาประเสริฐ, 2556, “คุณสมบัติของ
คอนกรีตมวลเบาที่ผสมไดอะตอมไมตเผาโดยวิธีอัดแหง” การประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ
ครั้งที่ 18, เชียงใหม่, หน้า MAT154-MAT159.
3. ยุวดี หิรัญ, อาพล วงศ์ษา, วันชัย สะตะ, ปริญญา จินดาประเสริฐ, 2556, “สมบัติของคอนกรีตพรุนที่ใช้
มวลรวมเบา” การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 9, พิษณุโลก, MAT156-MAT163.
4. ภีม เหนือคลอง, ธวัชชัย โทอินทร์, วันชัย สะตะ และปริญญา จินดาประเสริฐ , 2557, “สมบัติทางกล
ของจีโอโพลิเมอร์คอนกรีตที่ใช้มวลรวมหยาบจากเศษวัสดุ ” การประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธา
แห่งชาติ ครั้งที่ 19, ขอนแก่น, หน้า 699-704.
5. อาพล วงศ์ษา, กรกนก บุญเสริม, วันชัย สะตะ และปริญญา จินดาประเสริฐ , 2557, “อิทธิพลของเถ้า
ขยะที่มีผลต่อสมบัติของซีเมนต์มอร์ต้าร์และจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ ” การประชุมทางวิชาการวิศวกรรม
โยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 19, ขอนแก่น, หน้า 711-716.

- 76 -
6. ยุวดี แซ่ตั้ง, อาพล วงศ์ษา, วันชัย สะตะ และปริญญา จินดาประเสริฐ , 2557, “จีโอโพลิเมอร์คอนกรีต
พรุนที่เถ้าหนักเป็นมวลรวมหยาบ” การประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 19, ขอนแก่น,
หน้า 736-741.
7. วัชรปัญญา พรมแสน, วันชัย สะตะ, ปริญญา จินดาประเสริฐ, 2557, “ผลความละเอียดของเถ้าลอยต่อ
สมบัติของจีโอโพลิเมอร์” การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 10, เชียงราย, MAT28-MAT34.
8. อาพล วงศ์ษา, ยุวดี แซ่ตั้ง, วันชัย สะตะ, ปริญญา จินดาประเสริฐ, 2558, “ผลของอุณหภูมิในการบ่ม
และการแทนที่เถ้าลอยด้วยปูนซีเมนต์ต่อสมบัติของจีโอโพลิเมอร์คอนกรีตพรุนที่ใช้เถ้าหนักเป็นมวลรวม
หยาบ” การประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20, ชลบุรี, 132-MAT.
9. ภีม เหนือคลอง, วันชัย สะตะ และปริญญา จินดาประเสริฐ , 2558, “กาลังอัดและการต้านทานการ
แทรกซึมคลอไรด์ของจีโอโพลิเมอร์คอนกรีตที่ใช้มวลรวมหยาบจากเศษวัสดุ ” การประชุมทางวิชาการ
วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20, ชลบุรี, 121-MAT.
10. ธวัชชัย โทอินทร์, กรกนก บุญเสริม, วันชัย สะตะ, ปริญญา จินดาประเสริฐ, 2559, “การใช้เศษแก้วบด
จากหลอดฟลูออเรสเซนต์แทนทรายในซีเมนต์และจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร” การประชุมวิชาการคอนกรีต
ประจาปี ครั้งที่ 11, นครราชสีมา, MAT111-MAT119.
11. ชาญชัย เงาะปก, วันชัย สะตะ, ปริญญา จินดาประเสริฐ, 2559, “การใช้เถ้าก้นเตาเป็นมวลรวมหยาบใน
คอนกรีตพรุน” การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 11, นครราชสีมา, MAT170-MAT176.
12. ภีม เหนือคลอง, วันชัย สะตะ และปริญญา จินดาประเสริฐ , 2558, “ผลกระทบของการใช้ปูนซี เมนต์
ปอร์ตแลนด์แทนที่เถ้าลอยบางส่วนต่อสมบัติทางกลของจีโอโพลิเมอร์คอนกรีตที่ใช้มวลรวมหยาบจาก
เศษวัสดุ” การประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 21, สงขลา, 610-614.
13. อาพล วงศ์ษา, วันชัย สะตะ, ปริญญา จินดาประเสริฐ , 2558, “ค่าการไหลแผ่ กาลังรับแรงอัด ความ
หนาแน่น และการนาความร้อนของจีโอโพลิเมอร์มอร์ต้าร์ที่มีเศษยางรถยนต์เก่าเป็นส่วนผสม” การ
ประชุมทางวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 21, สงขลา, 620-625.

สิทธิบัตร
1. ชื่อสิ่งประดิษฐ์ ศิลาแลงประดิษฐ์ที่มีจีโอโพลิเมอร์จากเถ้าลอยเป็นส่วนประกอบ
เลขที่คาขอ 1101001697 วันที่ยื่นขอ 19 ส.ค. 2554
เลขที่สิทธิบัตร .(ยังไม่ได้รบั )................. วันที่ออก..................
ผู้ประดิษฐ์ วันชัย สะตะ, ปริญญา จินดาประเสริฐ, และ ธวัชชัย โทอินทร์

2. ชื่อสิ่งประดิษฐ์ วัสดุจีโอโพลิเมอร์จากเถ้าลอยและปูนซีเมนต์
เลขที่คาขอ 1101003153 วันที่ยื่นขอ 10 พ.ย. 2554
เลขที่สิทธิบัตร (ยังไม่ได้รับ)................. วันที่ออก..................
ผู้ประดิษฐ์ ปริญญา จินดาประเสริฐ, วันชัย สะตะ, แสงสุรีย์ พังแดง และสกลวรรณ ห่านจิต
สุวรรณ์
3. ชื่อสิ่งประดิษฐ์ แผ่นทางเดินสาเร็จรูปมีรูพรุนจากอิฐมอญย่อยที่มีจีโอโพลิเมอร์จากเถ้าลอยเป็น
ส่วนประกอบ
เลขที่คาขอ 1201004387 วันที่ยื่นขอ 8 ส.ค. 2555
เลขที่สิทธิบัตร (ยังไม่ได้รับ)................. วันที่ออก..................
ผู้ประดิษฐ์ วันชัย สะตะ, ปริญญา จินดาประเสริฐ, อาพล วงศ์ และยุวดี แซ่ตั้ง

อนุสิทธิบัตร

- 77 -
1. ชื่อสิ่งประดิษฐ์ ศิลาแลงประดิษฐ์ที่ใช้เศษวัสดุกอ่ สร้างเป็นส่วนผสม
เลขที่คาขอ 1103000498 วันที่ยื่นขอ 10 พ.ค. 2554
เลขที่อนุสิทธิบัตร 7254 วันที่ออก 19 มิ.ย. 2555
ผู้ประดิษฐ์ วันชัย สะตะ, ปริญญา จินดาประเสริฐ, ศราวุธ เรืองนุช, อาพล วงศ์ษา, อุทัยวรรณ
พวงพิลา, ศรัญญู ดังดี, สุริยา จุตาทิศ และอนุรักษ์ รินทรักษ์

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 19 ปี

- 78 -
5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN112 301 Strength of Materials II
EN113301 Civil Engineering Materials Laboratory
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127310 Repair and Protection of Concrete Structures
EN127312 Structure and Properties of Civil Engineering Materials
EN127313 Environmentally Friendly Concrete
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 79 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายวีระ หอสกุลไท

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
รองศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง) มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ประเทศไทย 2532
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ประเทศไทย 2527

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
-

3.2 ผลงานวิจัย
วีระ หอสกุลไท, 2557. การแทรกซึมของอิออนคลอไรด์และอิออนซัลเฟตของคอนกรีตผสมเถ้าลอยที่เติมเถ้า
ชานอ้ อ ย-แกลบ-ไม้ เ พิ่ ม , ขอนแก่ น : ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วีระ หอสกุลไท, 2556. การใช้ประโยชน์ของเหลือทิ้งฉนวนไฟฟ้าเซรามิกลูกถ้วยไฟฟ้าในคอนกรีต, ขอนแก่น:
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.3 บทความทางวิชาการ
วีระ หอสกุลไท, 2556. Strength, chloride permeability and corrosion of coarse fly ash concrete
with bagasse-rice-husk ash additive, ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วีระ หอสกุลไท, 2556. กาลังอัด ความพรุนและความดูดซึมน้าของมอร์ต้าร์ผสมผงลูกถ้วยไฟฟ้า , ขอนแก่น:
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วีระ หอสกุลไท, 2556. ความทนทานต่อการกัดกร่อนของเหล็กเสริมที่ฝังในคอนกรีตผสมผงลูกถ้วยไฟฟ้า ,
ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
วี ร ะ หอสกุ ล ไท, 2556. ความต้ า นทานการขัด สี และกาลัง อั ด ของคอนกรีต ผสมเถ้า ชานอ้ อย-แกลบ-ไม้,
ขอนแก่น: ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 32 ปี

- 80 -
5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN113301 Civil Engineering Materials Laboratory
EN113312 Advanced Concrete Technology
EN114309 Building Design
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127309 Microstructures and Durability of Concrete
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis

- 81 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายพงศกร พรรณรัตนศิลป์

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
รองศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Foundation Tokyo Institute of Technology, Japan 2547
Engineering)
ปริญญาโท M.Eng. (Geotechnical Asian Institute of Technology, Thailand 2544
Engineering)
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ไทย 2538

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
พงศกร พรรณรั ต นศิ ล ป์ , 2556. การออกแบบและก่ อ สร้ า งฐานรากที่ ใ ช้ เ สาเข็ ม ตอก.
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

3.2 ผลงานวิจัย
พงศกร พรรณรัตนศิลป์, 2559. อิทธิพลของชนิดของปูนซีเมนต์ต่อการดูดซับสารอันตรายปนเปื้อนในดิน
ที่พบในภาคตะวันออกเฉียงเหนือ, ศูนย์วิจัยด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและสารอันตราย มหาวิทยาลัยขอนแก่น,
ขอนแก่น.
พงศกร พรรณรัตนศิลป์, 2558. อิทธิพลของปูนซีเมนต์และเถ้าลอยต่อการดูดซับสารอันตรายปนเปื้อนใน
ดิ น เหนี ย วที่ พ บในภาคตะวั น ออกเฉี ย งเหนื อ , ศู น ย์ วิ จั ย ด้ า นการจั ด การสิ่ ง แวดล้ อ มและสารอั น ตราย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
พงศกร พรรณรัต นศิล ป์, 2557.อิ ท ธิ พ ลของสารผสมเพิ่ ม ต่อการดู ดซั บสารอั นตรายปนเปื้อนในดิน,
ศูนย์วิจัยด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและสารอันตราย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.
พงศกร พรรณรัต นศิล ป์ , 2556. การดู ด ซั บ สารอั น ตรายปนเปื้ อนในดิ น ลมหอบสี เหลื องและสีแดง,
ศูนย์วิจัยด้านการจัดการสิ่งแวดล้อมและสารอันตราย มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

3.3 บทความทางวิชาการ
Tuan Van Nguyen and Pongsakorn Punrattanasin ( 2014) : “ The effect of sand relative
density on the capacities of improved model pile foundation under combined loading,”
International Journal of Geotechnical Engineering, Volume 8, pp.46-58.
Noppadol Sangiumsak and Pongsakorn Punrattanasin ( 2014) : “ Adsorption Behaviour of
Heavy Metals on Various Soils,” Polish Journal of Environmental Studies, Volume 23(2), pp.853-
865.

Noppadol Sangiumsak and Pongsakorn Punrattanasin ( 2014) : “ Behaviors of Ni and Zn


Adsorption on Different Soils Found in the Northeastern Thailand,” Advanced Materials Research,
Volume 931-932(2014), pp.681-686.
- 82 -
Pongsakorn Punrattanasin and Panha Sariem (2015): “Adsorption of Cu, Zn and Ni Using
Loess as an Absorbent,” Polish Journal of Environmental Studies, Volume 24(3), pp.1259-1266.

Pongsakorn Punrattanasin and Panha Sariem ( 2015) : “ Adsorption of Copper, Zinc and
Nickel Using Loess as Adsorbent by Column Studies,” Polish Journal of Environmental Studies,
Volume 24(3), pp.1267-1275.

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 19 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN113201 Soil Mechanics
EN113202 Soil Mechanics Laboratory
EN113201 Pile Foundation
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127200 Advanced Soil Mechanics
EN127206 Field Exploration and Soil Testing
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 83 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายพนกฤษณ คลังบุญครอง

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
รองศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Transport Systems University of South Australia, AUSTRALIA 2542
Engineering)
ปริญญาโท M.Eng. (Transportation University of Manitoba, CANADA 2532
Engineering)
ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2527
(วิศวกรรมโยธา)

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
1. พนกฤษณ คลังบุญครอง (2557) วิศวกรรมการขนส่ง , ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ขอนแก่น.

3.2 ผลงานวิจัย
1. การใช้ ป ระโยชน์ จ ากโครงสร้ า งพื้ น ฐานและการปรั บ เปลี่ ย นรู ป แบบการขนส่ ง เพื่ อ ลดต้ น ทุ น ขนส่ ง :
กรณีศึกษา น้าตาล (ภาคตะวันออกเฉียงเหนือ) โดยสานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ (วช.) พ.ศ. 2558
2. โครงการศึกษาและวิจัยความเหมาะสมในการก่อสร้างสถานีขนส่งผู้โดยสารต่อเนื่องหลายรูปแบบเบื้องต้น
จังหวัดหนองคาย โดยจังหวัดหนองคาย พ.ศ. 2557
3.โครงการศึกษาวิจัยเพื่อจัดทาแผนแม่บทมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น โดย
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลอีสาน วิทยาเขตขอนแก่น พ.ศ. 2557

3.3 บทความทางวิชาการ
(1) Klungboonkrong, P. , Jaensirisak, S. , Tankasem P. , Prabnasak, J. ,
(2013) “Evaluation of Potential Urban Transport and Land Use Measures to Reduce Greenhouse
Gases (GHGs) Emission”, Proceedings of the 10th International Conference of EASTS, Taiwan.
(2) Jaensirisak, S. Klungboonkrong, P., Udomsri R. (2013) “Development of Bus Rapid
Transit (BRT) in Khon Kaen, Thailand”, Proceedings of the 10th International Conference of EASTS,
Taiwan.
(3) Klungboonkrong P. , Bejarananda, M. , Faiboun, N. , ( 2013) “ The Performance
Evaluation of the Application of the Environmental Adaptation Concept on A Collector Road in
KKU, Thailand”, Proceedings of the 10th International Conference of EASTS, Taiwan.
(4) Klungboonkrong P., Faiboun, N., (2014) “ROAD TRAFFIC FATALITIES ANALYSIS IN
AEC COUNTRIES” , paper presented at the 5th KKU International Engineering Conference 2014,
Khon Kaen, Thailand.

- 84 -
(5) Kummuntree R., Klungboonkrong P., (2014) “Determination of the speed limits
in Thailand” , 19th National Convention on Civil Engineering, 14 – 16 May 2014, Khon
Kaen,Thailand.
(6) Raimaturapong A. , Klungboonkrong P., Bejrananda M., Waisurasingha. C. (2014)
“ Development of the Master Plan for Sustainable and Livable Campus: The Rajamangala
University of Technology Isan, KhonKaen Campus Case Study” , The Sixth International
Conference on Science, Technology and Innovation for Sustainable Well- Being ( STISWB VI) ) ,
Cambodia.
(7) รัชมงคล คามุนตรี และ พนกฤษณ คลังบุญครอง. 2558, การพัฒนาระบบผู้เชี่ยวชาญต้นแบบ
เพื่อแนะนาค่าขีดจากัดความเร็วบนถนนสายหลัก (กรณีศึกษาเมืองขอนแก่น). ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธา
แห่งชาติครั้งที่ 20, พัทยา ชลบุรี
(8) ภูวไนย ไชยวรรณและ พนกฤษณ คลังบุญครอง. 2558, การสืบสวนอุบัติเหตุเชิงลึกในภาค
ตะวันออกเฉียงเหนือตอนบนของประเทศไทย : กรณีอุบัติเ หตุรถกระบะ. ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ
ครั้งที่ 20, พัทยา ชลบุรี
(9) พนกฤษณ คลั ง บุญครอง และ ณั ฐ พจน์ ฝ่ า ยบุญ 2558, การคัด เลื อกพื้นที่ เหมาะสมในการ
ก่อสร้างสถานีขนส่งผู้โดยสารต่อเนื่องหลายรูปแบบจังหวัดหนองคาย. ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่
20, พัทยา ชลบุรี
(10) Taneerananon P. , Klungboonkrong P. ( 2015) , “ THAILAND ROAD SAFETY CRISIS:
Time for Urgent Actions”, 20th National Convention on Civil Engineering, Pattaya, Chonburi.
(11) Klungboonkrong P., Bejrananda M., (2015) “The Application of the Environmental
Adaption Concept to A Collector Road in KKU,Thailand” , The Sixth International Conference on
Science, Technology and Innovation for Sustainable Well- Being ( STISWB VII) ) , Nakhon Pathom,
Thailand

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 32 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN113500 Transportation Engineering
EN113501 Highway Engineering
EN113502 Highway Engineering Laboratory
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127502 Urban Transportation Planning
EN127506 Road Safety Engineering
EN127507 Traffic and Transportation Environmental Impacts Evaluation
EN127898 Thesis

- 85 -
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 86 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นางลัดดา ตันวาณิชกุล

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
รองศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Transportation University of South Australia, Australia 2549
System Engineering)
ปริญญาโท M.Eng. (Transportation University of South Australia, Australia 2543
System Engineering)
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ไทย 2539

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
-

3.2 ผลงานวิจัย
ลัดดา ตันวาณิชกุล, 2558. Study of Attitude Survey in Super Market: Case Study Amphor Kranuan
Khon Kaen : ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ลั ด ดา ตั น วาณิ ช กุ ล , 2558. Feasibility Study of Expressway and Master Plan of Expressway in
Khon Kaen : ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ลั ด ดา ตั นวาณิ ช กุ ล , 2556. Study of Feasibility and Redesign Tablamu and Kuraburi Port Phang
Nga Province : ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.3 บทความทางวิชาการ
ลั ด ดา ตั นวาณิ ช กุ ล , รศ.กาญจนา เศรษฐนั น ท์ , 2558. A Differential evolution algorithm VRP with
flexibility of mixing pickup and delivery services and the maximum duration of a route
in poultry industry, ข อ น แ ก่ น : ภ า ค วิ ช า วิ ศ ว ก ร ร ม โ ย ธ า ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร ม ศ า ส ต ร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ลัดดา ตันวาณิชกุล, กิตติพงษ์ ถาวงษ์กลาง, 2558. การประยุกต์ใช้เทคนิคการจัดตารางการผลิตสาหรับการ
จั ด ส่ ง คอนกรี ต ผสมเสร็ จ , ขอนแก่ น : ภาควิ ช าวิ ศ วกรรมโยธา คณะวิ ศ วกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
รศ.กาญจนา เศรษฐนันท์, ผศ.ลัดดา ตันวาณิชกุล, รศ.กาญจนา เศรษฐนันท์, รศ.ระพีพันธ์ ปิตาคะโส, ดารัตน์
เดชอาไพ 2557. A differential evolution algorithm for the capacitated VRP with flexibility
of mixing pickup and delivery services and the maximum duration of a route in poultry
industry, ขอนแก่น : ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปั ท มา อยู่ เ ย็ น , ลั ด ดา ตั น วาณิ ช กุ ล , 2556. การจั ด ตารางเวลาในการเดิ น รถขนส่ ง มวลชน ภายใน
มหาวิทยาลัยขอนแก่น โดยใช้โปรแกรมเอกเซลโซลเวอร์ , ขอนแก่น : ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

- 87 -
ปิยภัสว์ เหิรเมฆ, ลัดดา ตันวาณิชกุล, 2556. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างค่าความฝืดของผิวทางและปัจจัย
ที่เกี่ยวข้อง โดยใช้การวิเคราะห์ทางสถิติ , ขอนแก่น : ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
บุณยพัต รุ่งเรืองชัยศรี, ลัดดา ตันวาณิชกุล, 2556. การศึกษาการวิเคราะห์ความสัมพันธ์ของข้อมูลความฝืด
ของผิวทางจากเครื่องมือที่แตกต่างกัน โดยใช้ดัชนีความฝืดสากล, ขอนแก่น : ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ขวัญเรือน แย้มทะเล, ลัดดา ตันวาณิชกุล, 2556. การศึกษาความสัมพันธ์ระหว่างความต้านทานการลื่นไถล
แ ล ะ อุ บั ติ เหตุ จ ร าจ ร , ข อน แ ก่ น : ภ า ค วิ ช า วิ ศ ว ก ร ร มโ ยธ า ค ณ ะ วิ ศ ว ก ร ร มศาสตร์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
ปัทมา อยู่เย็น, ลัดดา ตันวาณิชกุล, 2556. การใช้โปรแกรมเอกเซลโซลเวอร์เพื่อแก้ปัญหาการจัดตารางเวลา
ในการเดินรถขนส่งมวลชนภายในมหาวิทยาลัยขอนแก่น , ขอนแก่น : ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.
4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 15 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN113500 Transportation Engineering
EN113501 Highway Engineering
EN113502 Highway Engineering Laboratory
EN113403 Introduction to Geographic Information Systems
EN114505 Transport Logistics Management Systems
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project
5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)
EN127501 Traffic Engineering
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 88 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นางวิชุดา เสถียรนาม

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
รองศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก D.Eng. (Transportation Asian Institute of Technology, Thailand 2549
Engineering)
ปริญญาโท M.Eng. (Transportation Asian Institute of Technology, Thailand 2544
Engineering)
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ไทย 2542

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
วิชุดา เสถียรนาม. 2558. การออกแบบถนนทางเรขาคณิตและความปลอดภัย, ขอนแก่น: โรงพิมพ์
มหาวิทยาลัยขอนแก่น มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 ผลงานวิจัย
Thaned Satiennam, Sittha Jaensirisak, Wichuda Satiennam and Sumet Detdamrong (2016)
“Potential for Modal Shift by Passenger Car and Motorcycle Users towards Bus Rapid
Transit (BRT) in an Asian Developing City”, IATSS Res., Vol. 39, pp. 121-129.
Atthapol Seedam, Thaned Satiennam, Thana Radpukdee, Wichuda Satiennam (2015),
“Development of an onboard system to measure the on-road driving pattern for
developing motorcycle driving cycle in Khon Kaen city, Thailand”, IATSS Res., Vol. 39,
pp. 79-85.
Rattanaporn Kaewkluengklom, Wichuda Satiennam, Sitta Jaensirisak and Thaned Satiennam
(2015), Psychological Factors Influencing Intentions to Use Bus Rapid Transit (BRT) in
Khon Kaen, Thailand, Proceedings of the Eastern Asia Society for Transportation
Studies, Cebu, Philippines; September 11-14.
Thaned Satiennam, Wichuda Satiennam, Phongphan Tankasem, Piyanat Jantosut,
JessadapornThengnamlee and WeerutKhunpumphat (2014), “A Study of Potential
Electric Motorcycle Use to Support a Low Carbon Society: Case of a Developing Asian
City”, Advanced Materials Research, Vol.931-932, pp. 541-545.
Wichuda Satiennam, Thaned Satiennam, Pornsiri Urapa and Tussawan Phacharoen (2014),
“Effects of Speed Bumps and Humps on Motorcycle Speed Profiles”, Advanced
Materials Research, Vol. 931-932, pp. 536-540.
Thaned Satiennam, Phongphan Tankasem, Wichuda Satiennam, Piyanat Jantosut, Sumet
Detdamrong (2013), “A Potential Study of Bus Rapid Transit (BRT) Supporting Low
Carbon Asian Developing City", Proceeding of the Eastern Asia Society for
Transportation Studies, Japan.
- 89 -
3.3 บทความทางวิชาการ
-

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 16 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN113500 Transportation Engineering
EN113501 Highway Engineering
EN113502 Highway Engineering Laboratory
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127504 Geometric Design of Highway
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 90 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายกิตติเวช ขันติยวิชัย

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Water Resources Wageningen University ปริญญาเอก
Engineering)
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมแหล่งน้า) มหาวิทยาลัยขอนแก่น ปริญญาโท
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมขนส่ง) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี ปริญญาตรี

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
พ.ศ. 2547 เอกสารประกอบการสอนวิชา 181100 สถิตศาสตร์ (Statics)
พ.ศ. 2547 เอกสารประกอบการสอนวิชา 181360 อุทกวิทยา (Hydrology)
พ.ศ. 2555 เอกสารประกอบการสอนวิชา 181360 อุทกวิทยา (Hydrology) (ฉบับปรับปรุง)

3.2 ผลงานวิจัย
พ.ศ. 2547 วิศวกร โครงการศึกษาการป้องกันและแก้ไขปัญหาอุทกภัยอุดรธานี ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น
พ.ศ. 2556 ผลกระทบจากการเปลี่ยนแปลงลักษณะการใช้ประโยชน์ที่ดินต่อปริมาณน้านองสูงสุดของลุม่ น้า
พองตอนล่างและลุ่มน้าสาขา
พ.ศ. 2556 การลดความเสี่ยงต่อการเกิดอุทกภัยในลุ่มน้าพองตอนล่าง ด้วยการบูรณาการแบบจาลอง
คณิตศาสตร์และระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์
พ.ศ. 2556 การบริหารจัดการอ่างเก็บน้าเขื่อนอุบลรัตน์และเขื่อนลาปาวเพื่อการบรรเทาปัญหาอุทกภัยใน
เขตพื้นที่ลุ่มน้าชีตอนล่าง
พ.ศ. 2557 ผลกระทบของสภาพการไหลหลากของน้าต่อขอบเขตและระดับความรุนแรงของอุทกภัยในลุ่ม
น้ายัง
พ.ศ. 2557 2556-2557 Co-coordinator of the Theme 2 "Managing sediments and nutrients
across scales and climate change adaptation" Post- graduate Research Programme on
Adaptation to Climate Change ( PRoACC- 2 ) , UNESCO- IHE Institute for Water Education, Delft,
The Netherland.
พ.ศ. 2557 2556-2557 Programme assistant for Post-graduate Research Programme on
Adaptation to Climate Change ( PRoACC- 2 ) , UNESCO- IHE Institute for Water Education, Delft,
The Netherland.
พ.ศ. 2557 การประเมินระดับความรุนแรงของภัยแล้งในเขตลุ่มน้าพองตอนล่างด้วยดัชนีความแห้งแล้งทาง
อุตุนิยมวิทยา
พ . ศ . 2 5 5 8 Climate Change Vulnerability Map of Mekong Countries, UNESCO Office in
Bangkok, responsible for data analysis, GIS, and report writing.

- 91 -
พ . ศ . 2 5 5 8 GIZ project on " Analysis of Vulnerability and Resilience on Huai Sai Bat River
Basin".
พ.ศ. 2558 โครงการศึกษาแผนพัฒนาลุ่มน้าห้วยหลวงตอนล่างจังหวัดอุดรธานีและหนองคาย รับผิดชอบ
งานด้านแบบจาลองชลศาสตร์
พ.ศ. 2558 โครงการศึกษาและจัดทารายงานผลกระทบสิ่งแวดล้อมด้านทรัพยากรทางกายภาพภายหลัง
การดาเนินงานโรงไฟฟ้าพลังน้าเขื่อนศรีนครินทร์ รับผิดชอบด้านอุทกวิทยาน้าผิวดิน (ภายใต้สถาบันวิจัย
วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยีแห่งประเทศไทย)
พ.ศ. 2558 2556-2558, GIZ project on "Improved Management of Extreme Events through
Ecosystem-based Adaptation in Watersheds (ECOSWat)" Case study: Huai Sai Bat River Basin,
Northeast of Thailand".7

3.3 บทความทางวิชาการ
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารต่างประเทศ
Kuntiyawichai, K. , Schultz, B. , Uhlenbrook, S. , Suryadi, F. X. , and Corzo, G. A. , 2011.
Comprehensive flood mitigation and management in the Chi River Basin, Thailand.
Lowland Technology International, 13(1): 10 – 18.
Kuntiyawichai, K. , Schultz, B. , Uhlenbrook, S. , Suryadi, F. X. , and van Griensven, A. , 2011.
Comparison of flood management options for the Yang River Basin, Thailand. Irrigation
and Drainage, 60(4): 526 – 543.
Kuntiyawichai, K. , 2014. Effectiveness of Ubol Ratana and Lam Pao Reservoirs for Flood
Mitigation in the Downstream Area of the Chi River Basin using HEC-HMS model, Advanced
Materials Research, Vol.931 – 932: 785 – 790.
Kuntiyawichai, K., Sri-Amporn, W., and Pruthong, C., 2014. Quantifying Consequences of Land
Use and Rainfall Changes on Maximum Flood Peak in the Lower Nam Phong River Basin,
Advanced Materials Research, Vol.931 – 932: 791 – 796.

- 92 -
ผลงานตีพิมพ์ในวารสารในประเทศ
กิตติเวช ขันติยวิชัย วินัย ศรีอาพร และ วิเชียร ปลื้มกมล. 2557. กระบวนการจัดทาแผนการบริหารจัดการ
ทรัพยากรน้าแบบบูรณาการภายใต้แนวคิดการมีส่วนร่วมจากล่างขึ้นบน. วิศวกรรมสาร มข. (41, 2): 163
– 171.
วินัย ศรีอาพร และ กิตติเวช ขันติยวิชัย. 2548. การหาค่าสัมประสิทธิ์ความขรุขระของลาน้าชีและที่ราบริมฝั่ง.
วิศวกรรมสาร มข. (32, 5): 663 – 674.
วินัย ศรีอาพร และ กิตติเวช ขันติยวิชัย. 2548. การจาลองสภาพน้าท่วมของลุ่มน้าชี. วิศวกรรมสาร มข. (32,
6): 803 – 812.

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 12 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN112 600 Fluid Mechanics
EN112 601 Fluid Mechanics Laboratory
EN113604 Groundwater Engineering
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127600 Hydrologic System
EN127602 Hydrodynamics
EN127603 Groundwater Development and Management
EN127606 Integrated River Basin Management
EN127609 Special Study in Water Resources Engineering
EN139991 Civil Engineering Seminar I
EN139992 Civil Engineering Seminar II
EN139993 Civil Engineering Seminar III
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 93 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายชาติชาย ไวยสุระสิงห์

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Integrative University of Tsukuba, Japan 2550
Environmental Science)
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมสารวจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ไทย 2545
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมสารวจ) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ไทย 2543

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
1. เอกสารประกอบการสอนวิชา 191240 การสารวจ
2. เอกสารประกอบการสอนวิชา 191770 Adjustment Computation
3. เอกสารประกอบการสอนวิชา 191771 Advanced Adjustment Computation
4. เอกสารประกอบการสอนวิชา 191776 Analysis of Aerial and Satellite Imagery
5. เอกสารประกอบการสอนวิชา 191440 Photogrammetry
3.2 ผลงานวิจัย
ปีที่วิจัย ชื่อโครงการ แหล่งทุน และหน้าที่
2559- ชื่อโครงการ การพัฒนาระบบการตัดสินใจในการพัฒนาคุณภาพผลผลิตปาล์มน้ามันเพื่อยกระดับมาตรฐาน
2560 การผลิตของโรงงานสกัดน้ามันปาล์มชุมชนอย่างมีส่วนร่วม
แหล่งทุน: สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
หน้าที่ นักวิจัย
2557- ชื่อโครงการ การพัฒนาคาร์บอนไฟเบอร์และคาร์บอนมอร์ต้าคอมโพสิตจากชีวมวลเหลือทิ้งของกากปาล์ม
2559 แหล่งทุน: สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
หน้าที่ หัวหน้าโครงการ
2558- ชื่อโครงการ การบริหารจัดการสถานีนาร่องโรงไฟฟ้าพลังน้าขนาดเล็กสาหรับชุมชนอย่างยั่งยืน: สถานีลาชี
2559 ลอง-4
แหล่งทุน: สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หน้าที่ หัวหน้าโครงการ
2557- ชื่อโครงการ การศึกษาและประเมินพื้นที่ที่มีศักยภาพในการเพาะปลูกพืชน้ามันทีไ่ ม่ใช่พชื อาหาร ในภาค
2558 ตะวันออกเฉียงเหนือของประเทศไทย
แหล่งทุน: สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หน้าที่ นักวิจัย
2556- ชื่อโครงการ โครงการระบบการบริหารจัดการปาล์มน้ามันอย่างมีส่วนร่วมที่ยงั่ ยืนเพื่อเตรียมพร้อมการ
2558 รองรับ GAP และ RSPO
แหล่งทุน: สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
หน้าที่ นักวิจัย

- 94 -
ปีที่วิจัย ชื่อโครงการ แหล่งทุน และหน้าที่
2556- ชื่อโครงการ สมบัติของพอลิบิวทิลีนซัคซิเนตเสริมแรงด้วยเซลลูโลสวิสเกอร์จากกากปาล์มน้ามัน
2558 แหล่งทุน: สานักงานพัฒนาการวิจัยการเกษตร (องค์การมหาชน)
หน้าที่ นักวิจัย
2556- ชื่อโครงการ โครงการศึกษาและวิจัยความเหมาะสมในการก่อสร้างสถานีขนส่งผูโ้ ดยสารต่อเนื่องหลาย
2557 รูปแบบเบื้องต้น จังหวัดหนองคาย
แหล่งทุน: จังหวัดหนองคาย
หน้าที่ นักวิจัย
2555- ชื่อโครงการ โครงการนาร่องการพัฒนาพลังน้าขนาดเล็กเพื่อผลิตกระแสไฟฟ้าในพื้นที่ลุ่มน้าชี: ระยะที่ 2
2557 แหล่งทุน: สานักงานคณะกรรมการวิจัยแห่งชาติ
หน้าที่ หัวหน้าโครงการ

3.3 บทความทางวิชาการ
ปีที่ตีพิมพ์ ชื่อบทความ ชื่อวารสาร /
งานประชุมวิชาการ
2559 การศึกษาเปรียบเทียบการใช้ข้อมูลดาวเทียมเรดาร์แซท-2 หลายช่วงเวลาที่ วารสารวิจัย มข.
รับส่งสัญญาณโพลาไรเซชันแบบ HH และแบบ VV เพื่อประเมินพื้นทีป่ ลูก (ฉบับบัณฑิตศึกษา)
ข้าวนาปรัง
2558 การพัฒนาสถานีไฟฟ้าพลังน้าชุมชนในลุ่มน้าชี วารสารราชบัณฑิตยสถาน
2558 การศึกษาเปรียบเทียบวิธีการจาแนกแบบความน่าจะเป็นได้สูงทีส่ ุด กับ การประชุมวิชาการ
เทคนิคซัพพอร์ตเวกเตอร์แมชชีน ในจาแนกข้อมูลดาวเทียมเรดาร์แซท-2 วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้ง
หลายช่วงเวลา โพลาไรเซชัน แบบ HH เพื่อประเมินการปลูกข้าวนาปรัง ที่ 20
2558 Four-dimensional Geographic Information System for Planning การประชุมวิชาการ
and Managing University Growth: A Case Study of Rajamangala วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้ง
University of Technology Isaan, Khon Kaen ที่ 20
2558 การใช้ AHP-GIS ในการคัดเลือกจุดรับซื้อผลปาล์มน้ามัน: กรณีศึกษา นา การประชุมวิชาการ
ด้วง และเชียงคาน จังหวัดเลย วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้ง
ที่ 20
2557 โครงการนาร่องจัดตั้งและบริหารจัดการอย่างยั่งยืน โรงไฟฟ้าพลังงานน้า วารสารราชบัณฑิตยสถาน
ขนาดเล็กมากสาหรับชุมชนในพืน้ ที่ลุ่มน้าชี
2557 การใช้ระบบภูมสิ ารสนเทศผ่านเครือข่ายอินเตอร์เนตร่วมกับ การตัดสินใจ การประชุมวิชาการ
แบบหลายหลักเกณฑ์ในการจัดลาดับความสาคัญของ พื้นทีท่ ี่มศี ักยภาพ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้ง
สาหรับการพัฒนาโรงไฟฟ้าพลังน้าขนาดจิ๋วที่เน้นการมีส่วนร่วมของชุมชน ที่ 19
2557 การสร้างแบบจาลองสามมิติเพื่ออนุรักษ์สถาปัตยกรรมร่วมสมัย โดยใช้ การประชุมวิชาการ
เทคนิคการรังวัดบนภาพถ่ายระยะใกล้เชิงเลข: กรณีศึกษาอาคารวิศวกรรม วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้ง
01 แห่งมหาวิทยาลัยขอนแก่น ที่ 19
2557 Properties of Wood Flour/Expanded Polystyrene Waste Polymer Composites
Composites Modified With Diammonium Phosphate Flame
Retardant

- 95 -
ปีที่ตีพิมพ์ ชื่อบทความ ชื่อวารสาร /
งานประชุมวิชาการ
2557 Utilization of multi-temporal Landsat imagery for analyzing land วิศวกรรมสาร มข.
Use/Cover changes and urban expansion of Nakhon Rachasima
City
2556 การใช้ข้อมูลภาพดาวเทียมแลนด์แซทหลายช่วงเวลาวิเคราะห์การ การประชุมวิชาการ
เปลี่ยนแปลงการใช้ที่ดินและสิ่งปกคลุมและการขยายตัวของเมืองขอนแก่น วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้ง
ที่ 18
2556 การสร้างแบบจาลองสามมิติดิจทิ ัลของสถาปัตยกรรมไทยโดยใช้งานรังวัด การประชุมวิชาการ
ด้วยภาพถ่ายระยะใกล้:กรณีศึกษาเจดีย์พระมหาธาตุแก่นนคร วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้ง
ที่ 18

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 10 ปี
5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN112 400 Surveying
EN112 401 Surveying Laboratory
EN113410 Field Survey
EN114405 Photogrammetry
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127400 Adjustment Computation
EN127401 Advanced Adjustment Computation
EN127403 Fundamentals of Geographic Information Systems
EN127404 Analytical Photogrammetry
EN127406 Analysis of Aerial and Satellite Imageries
EN127408 Spatial Data Handling
EN127409 Spatial Data Handling
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 96 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายกอปร ศรีนาวิน

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Construction Engineering Griffith University 2545
and Management)
ปริญญาโท M.Eng. (Structural Engineering and Asian Institute of Technology 2539
Construction)
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมเกษตร) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2532

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
กอปร ศรีนาวิน 2557. การจัดการงานวิศวกรรม โรงพิมพ์มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 ผลงานวิจัย
-

3.3 บทความทางวิชาการ
Korb Srinavin and Patipat Tunming, 2016. “ The effects of foam beads and kaolin on Physical
and thermal properties of concrete blocks” The 6th KKU International Engineering
Conference 2016, Khon Kaen, Thailand.
Korb Srinavin and Patipat Tunming, 2016. “Physical and thermal properties of fired clay bricks
mixed with rice husk ash and fly ash” The 6th KKU International Engineering Conference
2016, Khon Kaen, Thailand.
Min V., Luangbutnak N., Srinavin K., Aksorn P., Deevong W., 2016. “Cambodian Construction
Industry’s Issues in the ASEAN Economic Community” Journal of Construction Engineering
and Project Management. v.6, n.1, p.24-33.
สิทธิศักด์ ผุยโสภา และ กอปร ศรีนาวิน. 2558. “ต้นทุนบนฐานกิจกรรมและเกณฑ์เวลาสาหรับการวางแผน
ระยะเวลากิจกรรมก่อสร้าง” วารสารวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ v.22, n.3, p.52-62.
ทวีวุฒิ นามศิริ และ กอปร ศรีนาวิน 2558. “ปัจจัยที่ส่งผลกระทบต่อการบริหารสัญญาก่อสร้างในมหาวิทยาลัย
ของรัฐ” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20, 8-10 กรกฎาคม 2558 จ. ชลบุรี.
Korb Srinavin and Patipat Tunming, 2015. “ PHYSICAL AND THERMAL PROPERTIES OF BRICKS
AND CONCRETE BLOCKS MIXED WITH RICE HUSH ASH, FLY ASH, FOAM BEADS AND KAOLIN”
International Conference on " Physics and Mechanics of New Materials and Their
Applications" (PHENMA 2015). Azov, Russia, May 19-22, 2015.

- 97 -
โอชิ ษ ฐ์ ศิ ริ จ านุ ส รณ์ และ กอปร ศรี น าวิ น . 2556. “การใช้ เ ทคนิ ค AHP เพื่ อ วิ เ คราะห์ ปั จ จั ย ที่ มี ผ ลต่ อ
ความสาเร็จในการบริหารความปลอดภัย ในการก่อสร้าง: กรณีศึกษาจังหวัดขอนแก่น ” การประชุม
วิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18, 8-10 พฤษภาคม 2556 โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่.
อรรถพล ราชวิ จิ ต ร และ กอปร ศรีน าวิ น . 2556. “ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลกระทบต่ อการควบคุม งานก่อสร้า งใน
สถาบันอุดมศึกษาของรัฐ : มุมมองผู้ควบคุมงาน” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18,
8-10 พฤษภาคม 2556 โรงแรมดิเอ็มเพรส เชียงใหม่.
4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 24 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN113100 Construction Engineering
EN114101 Construction Management
EN114103 Construction Planning and Scheduling
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127000 Project Management
EN127102 Quality Management in Construction
EN127106 Construction Techniques
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 98 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายณัฐพงษ์ อารีมิตร

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D.(Structural Eng.) Saitama University, Japan 2548
ปริญญาโท M.Eng.(Structural Eng.) Asian Institute of Technology 2543
ปริญญาตรี วศ.บ.(วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี 2541

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
เอกสารประกอบการสอน เรื่อง การวิเคราะห์โครงสร้าง

3.2 ผลงานวิจัย
1. ภัทรพล พลศักดิ์ และ ณัฐพงษ์ อารีมิตร (2559) “อิทธิพลของเหล็กฉากต่อการโอบรัดในเสาคอนกรีตที่เสริม
กาลังด้วยเหล็กฉากและเหล็กรัด” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 11
17-19 กุมภาพันธ์ 2559 นครราชสีมา
2. ณัฐพงษ์ อารีมิตร (2558) “การเสริมกาลังของคานคอนกรีตเสริมเหล็กด้วยลวดเหล็กกล้าแรงสูงแบบประชิด
ผิว” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 20 8-10 กรกฎาคม 2558
พัทยา ชลบุรี
3. คมสัน โพนสัย และ ณัฐพงษ์ อารีมิตร (2558) “การออกแบบโครงข้อหมุนอัตโนมัติโดยเป็นอิสระจาก
โครงสร้างฐาน” เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 20 8-10
กรกฎาคม 2558 พัทยา ชลบุรี
4. อัครวุฒิ อาจบรรจง และ ณัฐพงษ์ อารีมิตร (2558). “ผลกระทบของการกระตุ้นการสัน่ สะเทือนที่มตี ่อ
ค่าความถี่ธรรมชาติและอัตราส่วนความหน่วงของคานคอนกรีตเสริมเหล็กที่เกิดสนิมในเหล็กเส้น”
เอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 20 8-10 กรกฎาคม 2558 พัทยา
ชลบุรี
5. N.Areemit, N. Faeksin, P. Niyom, and P. Phonsak. (2013) “Strengthening of deficient RC
columns by steel angles and battens under axial load” in Proceedings of the 13th East
Asia-Pacific Conference on Structural Engineering and Construction, Hokkaido
University, Japan, September 11-13, 2013.

3.3 บทความทางวิชาการ
-
4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 13 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี

- 99 -
EN001200 Statics
EN112 302 Structural Theory
EN113303 Structural Analysis
EN113303 Pretressed Concrete Design
EN114311 Structural Dynamics
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127303 Dynamics of Structures
EN127306 Wind and Earthquake Engineering
EN127308 Experimental Methods in Structural Engineering
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 100 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นางสาวดลฤดี หอมดี

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Geotechnical Engineering, Civil Kyushu University, Japan 2548
Engineering)
ปริญญาโท M.Eng.(Soil Engineering and Applied Asian Institute of 2545
Geology) Technology,Thailand
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ไทย 2542

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
1. หนังสือ: วัชรินทร์ กาสลัก และ ดลฤดี หอมดี. 2558, ธรณีวิทยาวิศวกรรม (Engineering
Geology), วิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย ในพระบรมราชูปถัมภ์ (วสท.)
2. เอกสารคาสอน: ดลฤดี หอมดี. 2559, เอกสารคาสอน วิชา 191 100 Statics
3. เอกสารประกอบการสอน: ดลฤดี หอมดี. 2553, เอกสารประกอบการสอน วิชา 171 754 Soil
Dynamics

3.2 ผลงานวิจัย
1. ผดุง แสนตรง และ ดลฤดี หอมดี. 2559, ผลกระทบของอัตราการเพิ่มแรงต่อคุณสมบัติการทรุดตัวของ
ดินยุบตัวมหาวิทยาลัยขอนแก่น, การประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20, สงชลา
2. กฤษณรักษ์ แสนคา และ ดลฤดี หอมดี. 2558, Application of Kondner’s Hyperbolic Approach
to Predict Strength Behavior on Unsaturated Soils, The 11th PSU Engineering Conference
(PEC – 11), ภูเก็ต.
3. กฤษณรักษ์ แสนคา และ ดลฤดี หอมดี. 2558, Utilization of PID Controller on Geotechnical
Engineering Field, การประชุมวิชาการ วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 20 มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์,
ชลบุรี
4. Dolrerdee Hormdee, Piyoros Jirawattana and Nicha Kraikeerati. 2014, Application of
Image Proceedings for Volume Measurement in Multistage Triaxial Tests, Advanced
Materials Research, Vol. 931-932, pp. 501-505
5. ดลฤดี หอมดี, ปิโยรส จิระวัฒนา และ นิชา ไกรกีรติ. 2557, รายงานวิจัยฉบับสมบูรณ์เรื่อง การพัฒนา
กระบวนการให้แรงเฉือนทั้งแบบควบคุมระดับความเค้นและอัตราความเครียด สาหรับการทดสอบแรงอัด
สามแกน
6. ชินะวัฒน์ มุกตพันธุ์, ดลฤดี หอมดี, รัตมณี นันทสาร, ปิโยรส จิระวัฒนา, นิชา ไกรกีรติ, วัชร พัฒนา
วิวัฒนพร และ วีระวัฒน์ วรรณกุล. 2557, รายงานวิจยั ฉบับสมบูรณ์เรื่อง การพัฒนาชุดเครื่องมือทดสอบ
แรงอัดสามแกนเพื่อใช้ทดสอบดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้า

3.3 บทความทางวิชาการ
- 101 -
-
4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 17 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN112 200 Engineering Geology
EN113202 Soil Mechanics Laboratory
EN113204 Introduction to Soil Dynamics
EN114205 Soil Improvement
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127204 Soil Dynamics
EN127207 Ground Improvement
EN127208 Engineering Geophysics
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 102 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นางสาวธันยดา พรรณเชษฐ์

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D.(Computational Delft University of Technology, 2549
Medhanics) the Netherlands
ปริญญาโท M.Eng.(Structural สถาบันเทคโนโลยีแห่งเอเซีย, ไทย 2543
Engnieering
ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ไทย 2540
(วิศวกรรมโยธา, เกียรตินิยม)

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
-

3.2 ผลงานวิจัย
ธันยดา พรรณแชษฐ์ 2558, การใช้วัสดุทางเลือกสาหรับการเพิ่มกาลังรับน้าหนักตามแนวแกนของเสาคอนกรีต
, ขอนแก่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น

3.3 บทความทางวิชาการ
อภิชัย โพธิ์ศรีทอง และ ธันยดา พรรณเชษฐ์ (พ.ศ.2557) การใช้แถบเมทัลชีทเพื่อเพิ่มกาลังรับแรงอัดของเสา
คอนกรีต, ในเอกสารประกอบการประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติครั้งที่ 19, พฤษภาคม 2557,
จ.ขอนแก่น
นิชฌานันท์ ห้องสินหลาก, เมธี บุญพิเชฐวงศ์ และ ธันยดา พรรณเชษฐ์ (พ.ศ. 2557) แบบจาลองไฟไนต์อิลิ
เมนต์ของเสาคอนกรีตที่ถูกโอบรัดด้วยเมทัลชีทภายใต้แรงอัดตามแนวแกน, วิศวกรรมสาร ม.ข., ปีที่
41, ฉบับที่ 4, หน้า 517-525.
Traiyotee, S., Pannachet, T. , and Boonpichetvong, M. (2015) Enforcement of constraints on
bi- material interface in the element- free Galerkin method, in Proceedings of the
Twentieth National Convention on Civil Engineering, July, 2 0 1 5, Pattaya, Chonburi,
Thailand.
ศิระพล พินิจการวัฒน์กุล , เมธี บุญพิเชฐวงศ์ และ ธันยดา พรรณเชษฐ์ (พ.ศ. 2559) การจาลองพฤติกรรม
การรั บ แรงอั ด ในแนวแกนของเสาคอนกรี ต ที่ ถู ก โอบรั ด บางส่ ว นด้ ว ยแถบเมทั ล ชี ท , ในเอกสาร
ประกอบการประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปีครั้งที่ 11 (ACC-11), กุมภาพันธ์ 2559, โรงแรมสีมา
ธานี, อ.เมือง, จ.นครราชสีมา
4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 19 ปี

5. ภาระงานสอน

- 103 -
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN112 302 Structural Theory
EN113303 Structural Analysis
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127302 Finite Element Method in Structural Engineering
EN127891 Civil Engineering Seminar I
EN127892 Civil Engineering Seminar II
EN127893 Civil Engineering Seminar III
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 104 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายเมธี บุญพิเชฐวงศ์

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาโท Master of Engineering (Structural Asian Institute of Technology, Thailand 2540
Engineering)
ปริญญาตรี วิศวกรรมศาสตรบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย 2538
เกียรตินิยมอันดับสอง)
3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
-

3.2 ผลงานวิจัย
-

3.3 บทความทางวิชาการ
นิชฌานันท์ ห้องสินหลาก, เมธี บุญพิเชฐวงศ์ และ ธันยดา พรรณเชษฐ์ (พ.ศ. 2557) แบบจาลองไฟไนต์อิลิ
เมนต์ของเสาคอนกรีตที่ถูกโอบรัดด้วยเมทัลชีทภายใต้แรงอัดตามแนวแกน, วิศวกรรมสาร ม.ข., ปีที่
41, ฉบับที่ 4, หน้า 517-525.
S. Traiyotee, T. Pannachet and M. Boonpichetvong. 2015. Enforcement of constraints on bi-
material interface in the element- free Galerkin method in Proceedings of the
Twentieth National Convention on Civil Engineering, July, 2 0 1 5, Pattaya, Chonburi,
Thailand.
ศิระพล พินิจการวัฒน์กุล, เมธี บุญพิเชฐวงศ์ และ ธันยดา พรรณเชษฐ์ (พ.ศ. 2559) การจาลองพฤติกรรมการ
รับแรงอัดในแนวแกนของเสาคอนกรีตที่ถูกโอบรัดบางส่วนด้วยแถบเมทัลชีท ในเอกสารประกอบการ
ประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปีครั้งที่ 11 (ACC-11), กุมภาพันธ์ 2559, โรงแรมสีมาธานี, อ.เมือง,
จ.นครราชสีมา

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 11 ปี

- 105 -
5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN112 300 Strength of Materials I
EN113304 Reinforced Concrete Design & Practice
EN114310 Concrete Bridge Design
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127305 Inelastic Modeling of Structures
EN127307 Stability of Structures
EN127891 Civil Engineering Seminar I
EN127892 Civil Engineering Seminar II
EN127893 Civil Engineering Seminar III
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis

- 106 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นางสาวรัตมณี นันทสาร
1. ตาแหน่งทางวิชาการ
ผู้ช่วยศาสตราจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก Ph.D. (Civil Engineering) University of South Australia, Australia 2551
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ไทย 2544
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น, ไทย 2541

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
รัตมณี นันทสาร. 2554. โครงสร้างดิน (Earth Structures), ขอนแก่น, ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะ
วิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยขอนแก่น.

3.2 ผลงานวิจัย
รัตมณี นันทสาร. 2554, ค่าความต้านทานแรงเฉือนแบบไม่ระบายน้าของดินลมหอบขอนแก่นในสภาวะไม่
อิ่มตัวด้วยน้า, ขอนแก่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ชินะวัฒน์ มุกตพันธุ์, ดลฤดี หอมดี, รัตมณี นันทสาร, ปิโยรส จิระวัฒนา, นิชา ไกรกีรติ, วัชร พัฒนาวิวัฒนพร
และ วีระวัฒน์ วรรณกุล. 2554, การพัฒนาชุดเครื่องมือทดสอบแรงอัดสามแกนเพื่อใช้ทดสอบดินที่ไม่
อิ่มตัวด้วยน้า, ขอนแก่น, มหาวิทยาลัยขอนแก่น

3.3 บทความทางวิชาการ
Cameron, D. A., Nuntasarn, R. and Gasaluck, W. (2005), 'Comparison of Collapsing Soils from
Australia and Thailand', Proceedings, Int. Conf. on Problematic Soils, N. Cyprus, May
25-27, pp 105 - 114
Cameron, D. A. and Nuntasarn, R. (2006), 'Pavement Engineering Parameters for Thai
Collapsible Soil', Proceedings, 4th Int. Conf. on Unsaturated Soils, Arizona, April 2-6,
V1, pp 1061- 1072.
Cameron, D. A. and Nuntasarn, R. (2006), 'Treatment of a Collapsible Soil for Road
Construction', Proceedings, 2nd Int. Conf. on Problematic Soils, Dec 3 - 5, Selangor, pp
Nuntasarn, R., Cameron, D. A. and Mitchell P. W. (2007), 'South Australian Collapsing Soils',
Australian Geomechnics, Vol. 2, No. 42, pp 1- 12
Nuntasarn, R. 2010, Stabilized Khon Kaen Loess for Road Construction, Proceedings of the
3rd International Conference on PROBLEMATIC SOILS, Adelaide, p.251 – 258
รัตมณี นันทสาร. 2554, การประเมินกาลังรับแรงเฉือนของดินไม่อิ่มตัวด้วยน้าโดยวิธีแรงอัดสามแกน.
วิศวกรรมสาร มข., หน้า 335 – 346
Nuntasarn, R. and Wannakul, Weerawat. 2011, The Relationship between Soil Suction and
the Maximum Unsaturated Undrained Shear Strengths of Compacted Khon Kaen Soil.

- 107 -
First International Conference on Geotechnique, Construction Materials and
Environment, Mie, p. 107-112
Nuntasarn, R. 2012, The Undrained Shear Strengths of Unsaturated Khon Kaen Soil,
Proceedings of the 5th Asia-Pacific Conference on Unsaturated Soils, Pattaya, p.197 –
202
วีระวัฒน์ วรรณกุล และ รัตมณี นันทสาร. 2556, อิทธิพลของความหนาแน่นแห้งและแรงดันรอบด้านสุทธิ.
การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 18, เชียงใหม่, หน้า GTE 168 – 174
ธนาภรณ์ ถิตย์ผ่อง, ชินะวัฒน์ มุกตพันธุ์ และ รัตมณี นันทสาร. 2557, ความคงทนและความแข็งแรงของดิน
ลมหอบขอนแก่นปรับปรุงคุ ณภาพด้วยปูนซีเมนต์และยิปซัมสังเคราะห์สาหรับงานรองพื้นทาง. ประชุม
วิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 19, ขอนแก่น, หน้า 1555 – 1558
วีระวัฒน์ วรรณกุล และ รัตมณี นันทสาร. 2557, การเปรียบเทียบเส้นกักเก็บปริมาณความชื้นในดินจาก
สมการการทานายกับการทดสอบจากเครื่องอัดแรงสามแกน. ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้ง
ที่ 19, ขอนแก่น, หน้า 1604 – 1609
Nuntasarn, R. 2014, The Relationship between Unconfined Compressive Strength and Matric
Suction of Compacted Khon Kaen Loess, Proceedings of the sixth international
Conference on Unsaturated Soils, Sydney, p.1315-1322

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 15 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN112 200 Engineering Geology
EN113203 Foundation Engineering
EN113202 Soil Mechanics laboratory
EN114207 Earth Structures
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127202 Soil Mechanics for Unsaturated Soils
EN127203 Earth Structures
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 108 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายปิยะวัชร ฝอยทอง

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
อาจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก วศ.ด. (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2556
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมโครงสร้าง) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2550
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) มหาวิทยาลัยขอนแก่น 2547

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
-

3.2 ผลงานวิจัย
Foytong, P., Ruangrassamee, A., Lukkunaprasit, P. and Thanasisathit, N. (2015). Behaviors of
Reinforced-Concrete Building under Tsunami Loading, Institution of Engineers Singapore, The IES Journal
Part A: Civil & Structural Engineering, pp. 1-10.
Suppasri, A., Koshimura, S., Imamura, F., Ruangrassamee, A. and Foytong, P. (2013). A Review of
Tsunami Damage Assessment Methods and Building Performance in Thailand, Journal of Earthquake and
Tsunami, Volume 7(5), pp. 1-21.
Foytong, P., Ruangrassamee, A., Shoji, G., Hiraki, Y. and Ezura, Y. (2013). Analysis on Tsunami
Flow Velocities in the March 2011 Tohoku, Japan Tsunami, Earthquake Spectra, Volume 29, No. S1, March
2013, pp. S161-S181.
Foytong, P., Ruangrassamee, A. and Lukkunaprasit, P. (2013). Correlation Analysis of a
Reinforced-Concrete Building under Tsunami Load Pattern and Effect of Masonry Infill Walls on Tsunami
Resistance, Institution of Engineers Singapore, The IES Journal Part A: Civil & Structural Engineering, pp.
1-12.
Srivihok, P. Honda, K., Ruangrassamee, A., Muangsin, V., Naparat, P., Foytong, P., Promdumrong,
N., Aphimaeteethomrong, P., Intavee, A., Layug, J.E., and Kosin, T. (2012), Development of an online tool
for tsunami inundation simulation and tsunami loss estimation, Continental Shelf Research.
Ruangrassamee, A., Yanagisawa, H., Foytong, P., Lukkunaprasit, P., Koshimura, S., and Imamura,
F. (2006). Investigation on Tsunami-Induced Damage and Fragility of Buildings in Thailand, Journal of
Earthquake Engineering Research Institute, Earthquake Spectra, Volume 22, Issue S3, June 2006, pp. S377-
S401.
3.3 บทความทางวิชาการ
ปิ ย ะวัช ร ฝอยทอง, อาณัติ เรืองรัศมี ปณิธาน ลักคุณะประสิทธิ์ และ ณัฐวุฒิ ธนศรีสถิตย์ (2557). ความ
ต้านทานแรงด้านข้างและรูปแบบการวิบัติของอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กภายใต้แรงสึนามิ , การประชุมวิชาการวิศวกรรม
โยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 19, จ.ขอนแก่น, วันที่ 14-16 พฤษภาคม 2557.
Ruangrassamee, A. and Foytong, P. (2012). Correlation analysis of a reinforced-concrete building
under tsunami loads and effect of masonry infill walls in tsunami resistance, JAEE, Tokyo, Japan.

- 109 -
Foytong, P., Shoji, G., Hiraki, Y., Ezura, Y. and Ruangrassamee, A. (2012). Analysis on the tsunami
flow velocity during the 2011 off the Pacific coast of Tohoku earthquake and tsunami, 9CUEE&4ACEE,
Tokyo, Japan.
Foytong, P. and Ruangrassamee, A., Tsunami Risk Analysis of Buildings in Patong Beach Phuket,
th
Proc. 13 National Convention on Civil Engineering, Pattaya, Thailand, May 14-16, 2008.
Foytong, P. and Ruangrassamee, A., Fragility curves of reinforced-concrete buildings damaged
by a tsunami for tsunami risk analysis, Proc. 20th KKCNN Symposium on Civil Engineering, Jeju, Korea,
October 4-5, 2007.

4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 4 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN112 300 Strength of Materials I
EN114306 Advanced Structural Analysis
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127300 Advanced Structural Analysis
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 110 -
ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
นายพัศพันธน์ ชาญวสุนันท์

1. ตาแหน่งทางวิชาการ
อาจารย์

2. ประวัติการศึกษา
ระดับ ชื่อปริญญา (สาขา) ชื่อสถาบัน,ประเทศ ปี พ.ศ.ที่จบ
ปริญญาเอก วศ.ด. (Construction Engineering & จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2556
Management)
ปริญญาโท วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2548
ปริญญาตรี วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย 2546

3. ผลงานทางวิชาการ
3.1 ตารา หนังสือ หรือเอกสารประกอบการสอน
-
3.2 ผลงานวิจัย
-

3.3 บทความทางวิชาการ
(1) Petcharat Limsupreeyarat, Tanit Tongthong, and Phatsaphan Charnwasununth: Applying
Augmented Reality Technology to Reduce Disaster Risks in Infrastructure Planning.
Proceedings of the 3rd AUN/SEED-Net Regional Conference on Natural Disaster
(RCND2015), September 25-26, 2015, Manila, Philippines, pp. 127-128, 2015.
(2) Thapanee Petkhongtong, Noppadon Jokkaw and Phatsaphan Charnwasununth: An
Identification of Problems in Application of Fully Precast Concrete System for Low-rise
Condominium Construction, Proceedings of the 3rd Annual International Conference of
Architecture and Civil Engineering (ACE2015), April 13-14, 2015, Singapore, pp. 387-395,
2015.
(3) Sunita Sayadeth and Phatsaphan Charnwasununth: The Competency Problems of Lao
Civil Engineers in Lao PDR, Proceedings of the 34th National Graduate Research
Conference, March 27, 2015, Khon Kaen, Thailand, pp. 181-187, 2015.
(4) Phatsaphan Charnwasununth, Nobuyoshi Yabuki, and Tanit Tongthong: Knowledge and
Skill Requirements in the Installation of Prefabricated Members, International Journal of
Civil Engineering and Technology, Vol. 4(2), pp.156-176, 2013.
4. ประสบการณ์การสอนในระดับอุดมศึกษา 3 ปี

5. ภาระงานสอน
5.1 ระดับปริญญาตรี
EN001200 Statics
EN114102 Construction Productivity Management

- 111 -
EN114104 Construction Planning and Scheduling
EN114105 Construction Contract and Related Law Management
EN114998 Civil Engineering Pre-project
EN114999 Civil Engineering Project

5.2 ระดับบัณฑิตศึกษา (หลักสูตรนี้)


EN127101 Integrated Project Planning and Control
EN127103 Construction Productivity Analysis
EN127103 Legal Concepts and Construction Contract
EN127105 Financial and Accounting in Construction Management
EN127898 Thesis
EN127899 Thesis
EN139996 Dissertation
EN139999 Dissertation

- 112 -
เอกสารแนบหมายเลข 3
คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร

- 113 -
- 114 -
เอกสารแนบหมายเลข 4
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559

- 115 -
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
พ.ศ. 2559
-----------------------
เพื่อให้การศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาเป็นไปอย่างถูกต้องตามมาตรฐานวิชาการ มีคุณภาพสูง มีประสิทธิภาพ และสอดคล้อง
กับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และเรื่องแนวทางการบริหาร
เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558
อาศัยอานาจตามความในมาตรา 23(2) แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ.2558 ประกอบกับมติ
สภามหาวิทยาลัยขอนแก่น ในการประชุม ครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 5 มิถุนายน 2559 จึงวางระเบียบไว้ ดังนี้

หมวดที่ 1
บททั่วไป
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559”
ข้อ 2 ระเบียบนี้ให้ใช้สาหรับหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิ ทยาลัยขอนแก่นทุ กหลักสูตรตั้ งแต่ ปี
การศึกษา 2559 เป็นต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิก
3.1 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548
3.2 ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ฉบับที่ 2) พ.ศ. 2550
บรรดาข้อบังคับ ระเบียบ คาสั่ง หรือประกาศอื่นใดของมหาวิทยาลัยหรือคณะที่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ ให้ใช้ระเบียบ
นี้แทน
ข้อ 4 ในระเบียบนี้
“มหาวิทยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
“สภามหาวิทยาลัย” หมายความว่า สภามหาวิทยาลัยขอนแก่น
“อธิการบดี” หมายความว่า อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น
“คณะ” หมายความว่า คณะ วิทยาลัย หรือส่วนงานที่มีหลักสูตร
ระดับบัณฑิตศึกษา
“คณบดี” หมายความว่า คณบดีของคณะ วิทยาลัย หรือหัวหน้า
ส่วนงานที่มีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
“สาขาวิชา” หมายความว่า สาขาวิชาของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
“คณะกรรมการบริหารหลักสูตร” หมายความว่า คณะกรรมการที่ได้รับแต่งตั้งจากคณบดี
เพื่อรับผิดชอบหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
“ประธานหลักสูตร” หมายความว่า ประธานคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
“สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ” หมายความว่า สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
“บัณฑิตวิทยาลัย” หมายความว่า บัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น
“คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย” หมายความว่า คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
“นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

- 116 -
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ข้อ 5 ให้อธิการบดีรักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจออกหลักเกณฑ์ ประกาศ คาสั่ง หรือระเบียบ
ปฏิบัติซึ่งไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้
ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการและการปฏิบัตไิ ว้ในระเบียบนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติตามระเบียบ
นี้ ให้คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยพิจารณาและเสนอความเห็นต่ออธิการบดี และให้อธิการบดีมีอานาจวินิจฉัยสั่งการ
คาวินิจฉัยของอธิการบดีให้ถือเป็นที่สิ้นสุด
ทั้ ง นี้ ก ารวิ นิ จ ฉั ย หรื อ ตี ค วามให้ ยึ ด ประกาศกระทรวงศึ ก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง เกณฑ์ ม าตรฐานหลั ก สู ต รระดั บ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 และเรื่องแนวทางการบริหารเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับอุดมศึกษา พ.ศ. 2558

หมวดที่ 2
ระบบการจัดการศึกษา
ข้อ 6 การจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ให้ดาเนินการดังนี้
6.1 บัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษามาตรฐานของหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษาของมหาวิทยาลัย
6.2 บัณฑิตวิทยาลัยมีหน้าที่ประสานงานและสนับสนุนการจัดการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ส่วนคณะและสาขาวิชามีหน้าที่จัดการศึกษาในสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง
6.3 บัณฑิตวิทยาลัยจัดให้มีคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชาร่วม เพื่อบริหารและจัดการศึกษาใน
หลักสูตรที่มีกระบวนวิชาเกี่ยวข้องกับหลายคณะโดยมีองค์ประกอบและหน้าที่ตามประกาศของมหาวิทยาลัย
ข้อ 7 ระบบการศึ กษาเป็ นแบบสะสมหน่ วยกิ ตใช้ ระบบทวิ ภาค โดยหนึ่ งปี การศึ กษาแบ่ งออกเป็ นสองภาค
การศึกษาปกติ หนึ่งภาคการศึกษาปกติให้มีระยะเวลาศึกษา ไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์ ส่วนภาคการศึกษาพิเศษอาจจัดได้ตาม
ความจาเป็นของแต่ละหลักสูตร โดยให้กาหนดระยะเวลาและจานวนหน่วยกิตมีสัดส่วนเทียบเคียงกันได้กับการศึกษาภาคปกติ
หลักสูตรอาจจัดการศึกษาระบบอื่น เช่น ระบบไตรภาค ระบบจตุรภาค หรืออื่นๆ ก็ได้ โดยให้ถือแนวทาง ดังนี้
ระบบไตรภาค หนึ่งปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 3 ภาคการศึกษาปกติ รวมภาคการศึกษาพิเศษ หนึ่งภาคการศึกษา
ปกติ มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 12 สัปดาห์
ระบบจตุรภาค หนึ่งปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 4 ภาคการศึกษาปกติ รวมภาคการศึกษาพิเศษ หนึ่งภาคการศึกษาปกติ
มีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 10 สัปดาห์
ข้อ 8 การคิดหน่วยกิต
8.1 ระบบทวิภาค
รายวิ ชาภาคทฤษฎี ที่ ใ ช้ เ วลาบรรยายหรื อ อภิ ป รายปั ญ หา ไม่ น้ อ ยกว่ า 15 ชั่ ว โมงต่ อ ภาค
การศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต
รายวิชาภาคปฏิบัติ ที่ใช้เวลาฝึกหรือทดลองไม่น้อยกว่า 30 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่า
เท่ากับ 1 หน่วยกิต
รายวิช าการฝึก งานหรือ การฝึก ภาคสนาม ที ่ใ ช้เ วลาฝึก ไม่น ้อ ยกว่า 45 ชั ่ว โมงต่อ ภาค
การศึกษาปกติ ให้มีค่าเท่ากับ 1 หน่วยกิต
รายวิชาวิทยานิพนธ์ ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติ ให้มีค่า
เท่ากับ 1 หน่วยกิต
รายวิชาการศึกษาอิสระ ที่ใช้เวลาศึกษาค้นคว้าไม่น้อยกว่า 45 ชั่วโมงต่อภาคการศึกษาปกติให้มี ค่ า
เท่ากับ 1 หน่วยกิต
8.2 ระบบไตรภาค
1 หน่วยกิต ระบบไตรภาค เทียบได้กับ 12/15 หน่วยกิต ระบบทวิภาค หรือ 4 หน่วยกิต ระบบ
ทวิภาค เทียบได้กับ 5 หน่วยกิต ระบบไตรภาค
8.3 ระบบจตุรภาค
1 หน่วยกิต ระบบจตุรภาค เทียบได้กับ 10/15 หน่วยกิต ระบบทวิภาค หรือ 2 หน่วยกิต ระบบ
ทวิภาค เทียบได้กับ 3 หน่วยกิต ระบบจตุรภาค
ข้อ 9 การจัดแผนการศึกษา แบ่งเป็น ๓ ประเภทคือ

- 117 -
9.1 การจัดแผนการศึกษาแบบเต็มเวลา (Full-time) หมายถึง การจัดแผนการศึกษาในหลักสูตรโดย
กาหนดจานวนหน่วยกิตเฉลี่ยตลอดหลักสูตร ไม่น้อยกว่า 9 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษาปกติ สาหรับระบบทวิภาค
9.2 การจัดแผนการศึกษาแบบไม่เต็มเวลา (Part-time) หมายถึง การจัดแผนการศึกษาในหลักสูตรโดย
กาหนดจานวนหน่วยกิตเฉลี่ยตลอดหลักสูตร น้อยกว่า 9 หน่วยกิตต่อภาคการศึกษาปกติ สาหรับระบบทวิภาค
9.3 การจัดการศึกษาแบบพิเศษ ให้พิจารณาตามความเหมาะสมของแต่ละหลักสูตร โดยความเห็นชอบของคณะ
ข้อ 10 หลักสูตรหนึ่งๆ อาจจัดระบบการศึกษา และหรือจัดแผนการศึกษาแบบใดแบบหนึ่ง หรือหลายแบบได้
ทั้งนี้ ระบบการจัดการเรียนการสอน และระบบการจัดแผนการศึกษาตามวรรคหนึ่งให้เป็นไปตาม
ประกาศของมหาวิทยาลัย

หมวดที่ 3
หลักสูตร
ข้อ 11 หลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา มีดังนี้
11.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สร้างเสริมความเชี่ยวชาญ
หรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ เป็นหลักสูตรที่มีลักษณะสิน้ สุดในตัวเอง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาในระดับปริญญาบัณฑิต
หรือเทียบเท่ามาแล้ว
11.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาที่ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการ
และหรือการวิจัยในสาขาวิชาต่างๆ ในระดับสูงกว่าขั้นปริญญาบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิต
11.3 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง เป็นหลักสูตรการศึกษาที่สร้างเสริมความเชี่ยวชาญ
หรือประสิทธิภาพในทางวิชาชีพ และเป็นหลักสูตรที่มีลักษณะสิ้นสุดในตัวเอง สาหรับผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญา
มหาบัณฑิตหรือเทียบเท่ามาแล้ว
11.4 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต เป็นหลักสูตรการศึกษาที่ส่งเสริมความก้าวหน้าทางวิชาการ
การวิจัยในสาขาวิชาต่างๆ ในระดับสูงกว่าปริญญามหาบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
ข้อ 12 โครงสร้ างของหลั กสู ตรระดั บบั ณฑิ ตศึ กษาให้ เป็ นไปตามประกาศกระทรวงศึ กษาธิ การ เรื่ อง เกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อ 13 ประเภทของหลักสูตร แบ่งออกเป็น 2 ประเภท คือ
13.1 หลักสูตรปกติ (Regular Program) หมายถึง หลักสูตรในสาขาวิชาหนึ่งที่ใช้ภาษาไทย
เป็นสื่อหลักในการเรียนการสอน และ/หรืออาจมีบางรายวิชาที่ใช้ภาษาต่างประเทศเป็นสื่อในการเรียนการสอนด้วยก็ได้
13.2 หลักสูตรนานาชาติ (International Program) หมายถึง หลักสูตรที่มีองค์ความรู้ และ
เนื้อหาสาระที่มีความเป็นสากล และมีการจัดกิจกรรมเพื่อส่งเสริมความเป็นนานาชาติ เพื่อมุ่งผลิตบัณฑิตให้มีคุณภาพและ
มาตรฐานสากล โดยใช้ภาษาต่างประเทศเป็นสื่อในการเรียนการสอน
คณะหรือสาขาวิชาอาจดาเนินการจัดทาหลักสูตรร่วมกับสถาบันอื่นในลักษณะร่วมแบบหลายปริญญา
เพื่อสร้างความเข้มแข็งให้กับหลักสูตร ทั้งนี้การดาเนินการดังกล่าวให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด
ข้อ 14 ระยะเวลาการศึกษาของแต่ละหลักสูตรที่จดั แผนการศึกษาแบบเต็มเวลา เป็นดังนี้
14.1 ประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง ไม่เกิน 3 ปีการศึกษา
14.2 ปริญญามหาบัณฑิต ไม่เกิน 5 ปีการศึกษา
14.3 ปริ ญ ญาดุ ษ ฎี บั ณ ฑิ ต ผู้ ที่ ส าเร็ จ ปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต ไม่ เ กิ น 8 ปี ก ารศึ ก ษา ส่ ว นผู้ ที่ ส าเร็ จ ปริ ญ ญา
มหาบัณฑิต ไม่เกิน 6 ปีการศึกษา
ระยะเวลาการศึกษาสาหรับหลักสูตรแบบไม่เต็มเวลาหรือที่จัดการศึกษาแบบอื่น ให้เป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด

ข้อ 15 การประกันคุณภาพ
การประกันคุณภาพของหลักสูตร ให้ทุกหลักสูตรกาหนดระบบการประกันคุณภาพของหลักสูตร ให้เป็นไปตามระบบการ
ประกันคุณภาพหลักสูตรของมหาวิทยาลัย

- 118 -
หมวดที่ 4
อาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อ 16 อาจารย์ระดับบัณฑิตศึกษา ประกอบด้วย
16.1 อาจารย์ประจา หมายถึง บุคคลที่ดารงตาแหน่งอาจารย์ ผู้ช่วยศาสตราจารย์ รองศาสตราจารย์ และ
ศาสตราจารย์ ในมหาวิทยาลัย ที่มีหน้าที่รับผิดชอบตามพันธกิจของการอุดมศึกษา และปฏิบัติหน้าที่เต็มเวลา
ส าหรั บอาจารย์ ประจ าที่ มหาวิ ทยาลั ยรั บเข้ าใหม่ ตั้ งแต่ ระเบี ยบนี้ เริ่ มบั งคั บใช้ ต้ องมี คะแนนทดสอบ
ความสามารถภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด
16.2 อาจารย์ประจาหลักสูตร หมายถึง อาจารย์ประจาที่มีคุณวุฒิตรงหรือสัมพันธ์กับ
สาขาวิชาของหลักสูตรที่เปิดสอน ซึ่งมีหน้าที่สอนและค้นคว้าวิจัยในสาขาวิชาดังกล่าว
16.3 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร หมายถึง อาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีภาระหน้าที่ในการบริหาร
และพัฒนาหลักสูตรและการเรียนการสอน ตั้งแต่การวางแผน การควบคุมคุณภาพ การติดตามประเมินผลและการพัฒนา
หลักสูตร อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต้องอยู่ประจาหลักสูตรนั้นตลอดระยะเวลาที่จัดการศึกษา
16.4 อาจารย์พิเศษ หมายถึง อาจารย์ผู้สอนที่ไม่ใช่อาจารย์ประจา
16.5 อาจารย์ผู้สอน หมายถึง อาจารย์ประจาหรืออาจารย์พิเศษที่ได้รับมอบหมายหรือแต่งตั้งให้ทา
หน้าที่สอนในรายวิชาหรือบางหัวข้อในแต่ละรายวิชา
16.6 อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป หมายถึง อาจารย์ประจาที่คณะแต่งตั้งเพื่อทาหน้าที่ให้คาปรึกษาด้าน
การศึกษาและการจัดแผนการเรียนของนักศึกษา
16.7 อาจารย์ที่ปรึกษาหลัก (Major advisor) หมายถึง อาจารย์ประจาหลักสูตรที่ได้รับแต่งตั้งให้
รับผิดชอบกระบวนการเรียนรู้เพื่อวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเฉพาะราย เช่น การพิจารณาเค้าโครง การให้
คาแนะนาและควบคุมดูแล รวมทั้งการประเมินความก้าวหน้าและการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา
16.8 อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม (Co-advisor) หมายถึง อาจารย์ประจา หรือ อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิ
ภายนอกที่คณะแต่งตั้ง เพื่อให้ทาหน้าที่ร่วมกับอาจารย์ที่ปรึกษาหลักในการพิจารณาเค้าโครง รวมทั้งช่วยเหลือให้คาแนะนา
และควบคุมดูแลการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา
16.9 อาจารย์ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอก หมายถึง ผู้ที่มิได้เป็นอาจารย์ประจาที่ได้รับการแต่งตั้งให้
ทาหน้าที่อาจารย์ที่ปรึกษาร่วม หรือ อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์โดยผู้ที่ได้รับแต่งตั้งนั้นมีคุณสมบัติตามที่กาหนดในหน้าที่นั้นๆ
16.10 อาจารย์ผู้เชี่ยวชาญ หมายถึง ผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกที่ไม่มีคุณสมบัติและผลงานทางวิชาการ
ตามที่กาหนดในหน้าที่นั้นๆ แต่เป็นผู้มีความรู้ความเชี่ยวชาญและประสบการณ์สูงเป็นที่ยอมรับ ซึ่งตรงหรือสัมพันธ์กับหัวข้อ
วิทยานิพนธ์ หรือการศึกษาอิสระ โดยผ่านความเห็นชอบจากสภามหาวิทยาลัย
ข้อ 17 คุ ณสมบั ติ อาจารย์ ประจ าหลั กสู ตร อาจารย์ ผู้ รั บผิ ดชอบหลั กสู ตร อาจารย์ ผู้ สอน อาจารย์ ที่ ปรึ กษา
วิทยานิพนธ์หลัก อาจารย์ที่ปรึกษาการศึกษาอิสระ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ร่วม อาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์ และอาจารย์
พิเศษ ของหลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต ปริญญามหาบัณฑิต ประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง และปริญญาดุษฎีบัณฑิต
ให้เป็นไปตามประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์ มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิต
วิทยาลัย

ข้อ 18 ภาระงานของอาจารย์ ที่ ป รึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ์ แ ละการศึ ก ษาอิ ส ระ ให้ เ ป็ น ไปตามประกาศ
กระทรวงศึกษาธิการ เรื่อง เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ 19 การบริหารจัดการศึกษาหลักสูตร ให้ดาเนินการ ดังนี้
19.1 หลักสูตรหนึ่งๆ ต้องอยู่ภายใต้การกากับดูแลของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ซึ่งคณบดีที่
หลักสูตรสังกัดเป็นผู้แต่งตั้ง โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะ มีวาระการดารงตาแหน่ง 2 ปี
19.2 องค์ประกอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร ประกอบด้วยอาจารย์ผรู้ ับผิดชอบ
หลักสูตร ทั้งนี้ อาจมีอาจารย์ประจาหลักสูตรเป็นกรรมการเพิ่มเติมตามความเหมาะสม
19.3 หน้าที่ของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร

- 119 -
19.3.1 วางนโยบายและแผนการบริหารจัดการและการผลิตบัณฑิตของหลักสูตร
19.3.2 ควบคุมมาตรฐานหลักสูตรสาขาวิชาที่รับผิดชอบให้เป็นไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรของกระทรวงศึกษาธิการ และเกณฑ์มาตรฐานวิชาชีพ (ถ้ามี)
19.3.3 ดาเนินการประกันคุณภาพหลักสูตร
19.3.4 ติดตามรายงานผลการดาเนินการของรายวิชา รายงานผลการดาเนินการของ
ประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) และจัดทารายงานผลการดาเนินงานของหลักสูตรรวมทั้งให้คาแนะนาเพื่อการพัฒนา
ข้อ 20 ให้มีคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาคณะ เพื่อทาหน้าที่กากับดูแลคุณภาพและการบริหาร
จั ด การหลั ก สู ต รระดั บ บั ณฑิ ตศึ ก ษาทุ ก หลัก สู ตรในองค์ ร วมของคณะนั้ น ๆ องค์ ป ระกอบและอ านาจหน้ า ที่ ข อง
คณะกรรมการดังกล่าว ให้เป็นไปตามที่คณะกาหนด

- 120 -
หมวดที่ 5
การรับเข้าศึกษา
ข้อ 21 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
21.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิต
ผู้ เ ข้ า ศึ ก ษาต้ อ งเป็ น ผู้ ส าเร็ จ ปริ ญ ญาบั ณ ฑิ ต หรื อ เที ย บเท่ า ตามที่ ห ลั ก สู ต รก าหนด และมี
คุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกาหนด
21.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต
ผู้เข้าศึกษาต้องเป็นผู้สาเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเท่า หรือประกาศนียบัตรบัณฑิต ตามที่
หลักสูตรกาหนด และมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และบัณฑิตวิทยาลัยกาหนด
21.3 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
ผู้เข้าศึกษาต้องเป็นผู้สาเร็จการศึกษาประกาศนียบัตรบัณฑิตหรือปริญญา
มหาบัณฑิตหรือเทียบเท่าตามที่หลักสูตรกาหนด และมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตร และ
บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด
21.4 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต
ผู้เข้าศึกษาต้องเป็นผู้สาเร็จปริญญาบัณฑิตหรือเทียบเท่า ที่มีผลการเรียนดีมาก หรือ
ปริญญามหาบัณฑิตหรือเทียบเท่า และมีผลการสอบภาษาอังกฤษได้ตามเกณฑ์ที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด และมีพื้น ความรู้
ความสามารถและศักยภาพเพียงพอที่จะทาวิทยานิพนธ์ได้ หรือมีคุณสมบัติอื่นเพิ่มเติมตามที่คณะกรรมการ บริหารหลักสูตร และ
บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด
ข้อ 22 การรับสมัคร
ใบสมัคร ระยะเวลาสมัคร หลักฐานประกอบและเงื่อนไขอื่นๆ ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ 23 การรับเข้าศึกษา
การรับบุคคลใดเข้าศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา ให้ออกเป็นประกาศบัณฑิตวิทยาลัย โดยมี
หลักเกณฑ์ ดังต่อไปนี้
23.1 คณะกรรมการบริหารหลักสูตร โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาคณะเป็นผู้
กาหนดเงื่อนไข วิธีการและจานวนนักศึกษาที่จะรับในแต่ละสาขาวิชา และได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาบัณฑิต
วิทยาลัย
23.2 คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยอาจให้ความเห็นชอบในการรับบุคคลเข้าศึกษา
เป็นกรณีพิเศษได้ ทั้งนี้ต้องผ่านการพิจารณารับเข้าจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะที่เกี่ยวข้อง
23.3 คณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัยอาจให้ความเห็นชอบในการรับผู้มีพื้นความรู้ไม่ต่ากว่า
ปริญญาบัณฑิต และมีคุณสมบัติตามข้อ 21 เข้าศึกษาหรือวิจัยโดยไม่ขอรับปริญญาเป็นกรณีพิเศษเฉพาะรายได้ ทั้งนี้ต้องผ่าน
การพิจารณารับเข้าจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณะที่เกี่ยวข้อง
23.4 ในกรณีที่ผู้สมัครกาลังรอผลการศึกษาขั้นปริญญาบัณฑิต หรือปริญญามหาบัณฑิต
แล้วแต่กรณี การรับเข้าศึกษาจะมีผลสมบูรณ์เมื่อผู้สมัครส่ งหลั กฐานการสาเร็ จการศึ กษาขั้ นปริญญาขั้ นใดขั้ นหนึ่ งตามที่
หลักสูตรที่เข้าศึกษานั้นกาหนด ภายในเวลาที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด
23.5 การรับนักศึกษาต่างชาติ ให้เป็นไปตามประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น
23.6 การรับนักศึกษาจากหลักสูตรความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาอื่นให้เป็นไปตาม
ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย
กรณีไม่เป็นไปตาม ข้อ 23.1 – 23.6 ให้อยู่ในดุลพินิจของคณะกรรมประจาบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ 24 การรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา
การรายงานตัวและขึ้นทะเบียนเป็นนักศึกษา ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ 25 ประเภทของนักศึกษา แบ่งเป็น 2 ประเภทคือ
25.1 นักศึกษาสามัญ คือ บุคคลที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเข้าเป็นนักศึกษาโดยสมบูรณ์ในแต่ละสาขาวิชา

- 121 -
หรือรับเข้าเป็นนักศึกษาทดลองศึกษาตามเงื่อนไขของแต่ละสาขาวิชา ซึ่งเมื่อผ่านการประเมินผลหรือครบเงื่อนไขของแต่ละ
สาขาวิชา จึงจะได้รับเข้าเป็นนักศึกษาตามหลักสูตรในสาขาวิชาต่างๆ เพื่อรับปริญญา หรือประกาศนียบัตร
25.2 นักศึกษาวิสามัญหรือบุคคลภายนอกร่วมเรียน คือ บุคคลที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเข้าเป็น
นักศึกษาโดยไม่ขอรับปริญญาหรือประกาศนียบัตร การดาเนินการเกี่ยวกับนักศึกษาวิสามัญหรือบุคคลภายนอกร่วมเรียนให้
เป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด

หมวดที่ 6
การลงทะเบียนวิชาเรียน
ข้อ 26 การลงทะเบียนและการเพิม่ หรือถอนวิชาเรียน
26.1 การลงทะเบียนวิชาเรียนแบ่งออกเป็น 2 ประเภทคือ
26.1.1 การลงทะเบียนโดยนับหน่วยกิตและคิดค่าคะแนน (Credit)
26.1.2 การลงทะเบียนโดยไม่นบั หน่วยกิต (Audit)
26.2 การลงทะเบียนในภาคการศึกษาปกติ
นักศึกษาในหลั กสูตรที่จัดแผนการศึ กษาแบบเต็ มเวลาต้ องลงทะเบียนวิชาเรียนไม่น้ อยกว่ า 9
หน่วยกิต และไม่มากกว่า 15 หน่วยกิต
นักศึกษาในหลักสูตรที่จัดแผนการศึกษาแบบไม่เต็มเวลาต้องลงทะเบียนวิชาเรียนไม่น้อยกว่ า 3
หน่วยกิต และไม่มากกว่า 8 หน่วยกิต
นักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 ที่เข้าศึกษาในภาคเรียนที่หนึ่งและ
นักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ที่ยังสอบไม่ผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination) อาจได้รับการ
ยกเว้นไม่ต้องลงทะเบียนในภาคการศึกษานั้นๆ โดยการอนุมัติของคณบดี ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหาร
หลักสูตร ทั้งนี้ต้องต่อทะเบียนนักศึกษาและชาระค่าธรรมเนียมการศึกษาเต็มตามอัตราที่กาหนด
26.3 ในภาคการศึกษาพิเศษนักศึกษาจะลงทะเบียนวิชาเรียนได้ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
26.4 การลงทะเบียนวิชาเรียนน้อยกว่าหรือมากกว่าที่กาหนดในข้อ 26.2 และ 26.3 จะกระทาได้ใน
กรณีที่จานวนหน่วยกิตที่เหลือตามหลักสูตรมีจานวนน้อยกว่า หรือมากกว่าที่กาหนดไว้ข้างต้น และจาเป็นต้องสาเร็จการศึกษาใน
ภาคการศึกษานั้นๆ ทั้งนี้ต้องได้รับอนุมัติจากคณบดีที่เกี่ยวข้อง ตามความเห็นชอบของคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
26.5 นักศึกษาจะลงทะเบียนวิชาเรียนซ้าเพื่อคิดค่าคะแนนในวิชาที่เคยลงทะเบียน และได้ผลการ
เรียนตั้งแต่ระดับคะแนน B ขึ้นไปแล้วมิได้
ในกรณีที่นักศึกษาเรียนครบรายวิชาตามหลักสูตรแล้ว แต่ได้คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 3.00
จะสามารถลงทะเบียนวิชาเรียนซ้าเพื่อคิดค่าคะแนนในวิชาที่เคยลงทะเบียนและได้ผลการเรียนต่ากว่าระดับคะแนน A ได้
26.6 นักศึกษาที่เรียนรายวิชาครบตามหลักสูตรแล้วแต่ยังไม่สาเร็จการศึกษา และนักศึกษาที่
ลาพักการศึกษาจะต้องชาระค่าธรรมเนียมรักษาสถานภาพการเป็นนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
26.7 นักศึกษาสามารถลงทะเบียนวิชาที่บรรจุอยู่ในแผนการเรียนตามหลักสูตรหรือรายวิชา
ที่เทียบเท่าในสถาบันอุดมศึกษาอื่นเพื่อนับเป็นวิชาตามแผนการเรียนตามหลักสูตรได้ เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะ
กรรมการบริหารหลักสูตรและได้รับอนุมัติจากคณบดีที่เกี่ยวข้อง
ข้อ 27 เกณฑ์การขอเพิ่มและการถอนวิชาเรียน ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ 28 การโอนหน่ วยกิ ตและค่ าคะแนนของรายวิ ชาที่ ได้ ศึ กษามาแล้ วทั้ งจากสถาบั นการศึ กษาอื่ น และจาก
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ 29 การเปลีย่ นสาขาวิชา
นักศึกษาอาจขอเปลี่ยนสาขาวิชาได้เมื่อศึกษารายวิชาในสาขาวิชาเดิมมาแล้วไม่น้อยกว่า
8 หน่วยกิต มีรายวิชาที่สามารถโอนเข้าสาขาวิชาใหม่ได้ไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และทุกวิชาที่จะขอโอนต้องได้ระดับ
คะแนน B ขึ้นไป หรือ S แล้วแต่กรณี และได้ศึกษามาแล้วไม่เกิน 3 ปี
สาหรับหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 และหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต
แบบ 1 นักศึกษาอาจขอเปลี่ยนสาขาวิชาได้หลังจากที่ได้ลงทะเบียนเรียนแล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา และได้ศึกษามาแล้ว
ไม่เกิน 3 ปี โดยมีศักยภาพในการทาวิทยานิพนธ์ในสาขาวิชาใหม่ได้

- 122 -
การดาเนินการเปลี่ยนสาขาวิชาให้เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ 30 การเปลีย่ นระดับการศึกษา
นักศึกษาในหลักสูตรระดับที่ต่ากว่า อาจได้รับการพิจารณาให้โอนเข้าศึกษาในหลักสูตรระดับที่สูงกว่า หรือในทาง
กลับกัน นักศึกษาในหลักสูตรระดับที่สูงกว่า อาจได้รับการพิจารณาให้โอนเข้าศึกษาในหลักสูตรระดับที่ต่ากว่าได้ ทั้งนี้ให้
เป็นไปตามเงื่อนไขที่กาหนดไว้ในหลักสูตรนั้นๆ และ/หรือประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย

หมวดที่ 7
การวัดและประเมินผลการศึกษา
ข้อ 31 การวัดและประเมินผลการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษา มีดังนี้
31.1 การสอบรายวิชา นักศึกษาจะต้องสอบรายวิชาทุกรายวิชาที่ลงทะเบียนเรียน เว้นแต่
รายวิชาที่ได้ถอนโดยถูกต้องตามระเบียบ ให้อาจารย์ประจาวิชาส่งผลการประเมินผลรายวิชาตามแบบฟอร์มของสานัก
บริหารและพัฒนาวิชาการ ผ่านความเห็นชอบของสาขาวิชาหรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีที่เกี่ยวข้อง
แล้วแจ้งให้สานักบริหารและพัฒนาวิชาการทราบ ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ
31.2 การสอบประมวลความรู้ (Comprehensive Examination) เป็นการสอบข้อเขียน
หรือการสอบปากเปล่า หรือการสอบทั้งสองแบบข้างต้น สาหรับนักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข การสอบ
ประกอบด้วยวิชาในสาขาวิชาเอกเฉพาะ และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง โดยให้มีคณะกรรมการสอบประมวลความรู้ ซึ่งคณะกรรมการ
บริหารหลักสูตรเสนอคณบดีเป็นผู้พิจารณาแต่งตั้ง
31.3 การสอบวิทยานิพนธ์ เป็นการสอบเพื่อประเมินผลงานวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาใน
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก และนักศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ประกอบด้วยการตรวจอ่านและประเมิน
คุณภาพผลงาน การทดสอบความรู้ของนักศึกษาด้วยวิธีการสอบปากเปล่า และการประชุมพิจารณาผลงานของกรรมการ โดยให้
มีคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์เป็นผู้สอบ
31.4 การสอบการศึกษาอิสระ เป็นการสอบเพื่อประเมินผลงานการศึกษาอิสระของนักศึกษาใน
หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ข โดยคณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระ ประกอบด้วย การตรวจอ่านและ ประเมิน
คุณภาพผลงาน การทดสอบความรู้ของนักศึกษาด้วยวิธีการสอบปากเปล่า และการประชุมตัดสินผลงานของกรรมการ
31.5 การสอบวัดคุณสมบัติ เป็นการสอบวัดความรู้ความสามารถของนักศึกษาในสาขาวิชาเอก
และสาขาวิชาที่เกี่ยวข้อง เพื่อประเมินว่านักศึกษามีความสามารถที่จะดาเนินการวิจัยโดยอิสระ และเป็นผู้มีสิทธิ์เสนอขออนุมัติ
เค้าโครงวิทยานิพนธ์ ในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตได้ ซึ่งกาหนดให้นักศึกษาที่เข้าศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต แบบ
1 และ แบบ 2 ต้องสอบผ่าน โดยมีหลักเกณฑ์ และแนวปฏิบัติดังนี้
31.5.1 การสอบวัดคุณสมบัติเป็นการสอบข้อเขียนหรือการสอบปากเปล่า หรือทั้ง
สองแบบในสาขาวิชาเอกและสาขาวิชาอื่นที่เกี่ยวข้อง
31.5.2 ให้คณะกรรมการสอบวัดคุณสมบัติเป็นผู้ดาเนินการจัดสอบวัดคุณสมบัติ
ภาคการศึกษาละ 1 ครั้ง
ในกรณีที่จาเป็นอาจจัดการสอบในภาคการศึกษาพิเศษได้ คณะกรรมการสอบวัด
คุณสมบัติประกอบด้วยกรรมการไม่น้อยกว่า 4 คน โดยอาจจะมีกรรมการซึ่งเป็นบุคคลภายนอกมหาวิทยาลัยร่วมด้วย ไม่เกิน 2
คน ที่คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเสนอรายชื่อให้คณบดีที่หลักสูตรสังกัดเป็นผู้แต่งตั้ง
31.5.3 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ขอสอบวัดคุณสมบัติ คือ
(1) นักศึกษาที่เข้าศึกษาในหลักสูตรปริญญาดุษฎีบัณฑิต ตั้งแต่ภาคการศึกษาแรก เป็นต้น
ไป
(2) นักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต ที่มีความประสงค์ จะขอเปลี่ยนระดับ
การศึ ก ษา แผน ก แบบ ก 2 ในสาขาวิ ชาเดีย วกั น กับ หลั กสูต รปริ ญญาดุ ษฎี บัณฑิ ต ที่ ไ ด้ ล งทะเบี ยนเรี ยนรายวิชาที่
ประเมินผลเป็น A B+ B C+ C D+ D F มาแล้วไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต และได้คะแนนเฉลี่ยสะสมในภาคสุดท้ายก่อนการ
สอบวัดคุณสมบัติไม่ต่า 3.5 หรือนักศึกษาหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต แผน ก แบบ ก 1 ที่มีผลงานวิจัยเพื่อทาวิทยานิพนธ์
อันมีศักยภาพที่จะพัฒนาเป็นวิทยานิพนธ์ในระดับดุษฎีบัณฑิตได้ทั้งนี้โดยได้รับความเห็นชอบจาก คณะกรรมการบริหาร
หลักสูตร/สาขาวิชา และคณะที่หลักสูตรสังกัด

- 123 -
31.5.4 การประเมินผลการสอบวัดคุณสมบัติ ให้เป็นสัญลักษณ์ S หมายถึง สอบผ่าน
หรือ U หมายถึง สอบไม่ผ่าน ให้ประธานคณะกรรมการสอบ รายงานผลการสอบต่อคณะ สานักบริหารและพัฒนาวิชาการและบัณฑิต
วิทยาลัย ผ่าน หัวหน้าสาขาวิชา/ประธานหลักสูตร ภายใน 15 วัน นับจากวันสอบ
31.5.5 นักศึกษาที่สอบวัดคุณสมบัติผ่านแล้ว จะเรียกว่า นักศึกษาปริญญา
ดุษฎีบัณฑิตมีสิทธิ์เสนอขออนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ในระดับปริญญาดุษฎีบัณฑิตได้
31.5.6 นักศึกษา ตามข้อ 31.5.3 (1) ที่สอบวัดคุณสมบัติครั้งแรกไม่ผ่าน
สามารถขอสอบได้อีก 1 ครั้ง และต้องสอบวัดคุณสมบัติให้ได้ภายใน 2 ปีการศึกษา นับตั้งแต่ลงทะเบียน รายวิชา
วิ ท ยานิ พ นธ์ นั ก ศึ ก ษาที่ ส อบวั ด คุ ณ สมบั ติ ค รั้ ง ที่ ส องแล้ ว ไม่ ผ่ า น จะพ้ น สภาพการเป็ น นั ก ศึ ก ษาตามระเบี ย บ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559 ข้อ 55.8 เว้นแต่ได้รับอนุมัติให้เปลี่ยนระดับ
การศึกษา ให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย
31.5.7 นักศึกษาตามข้อ 31.5.3 (2) ที่สอบวัดคุณสมบัติครั้งที่สองแล้วไม่ผ่าน
จะยังคงมีสภาพเป็นนักศึกษาในหลักสูตรปริญญามหาบัณฑิตต่อไป
31.6 การประเมินความรู้ความสามารถทางภาษาต่างประเทศ สาหรับนักศึกษาในหลักสูตร
ปริญญาดุษฎีบัณฑิตให้ดาเนินการให้เสร็จสิ้นภายใน 2 ปี โดยเป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ 32 การสอบประมวลความรู้ การสอบวั ด คุ ณ สมบั ติ และการประเมิ น ความรู้ ค วามสามารถทาง
ภาษาต่างประเทศ ตามข้อ 31.2, 31.5, 31.6 ให้บัณฑิตวิทยาลัย โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย
เป็นผู้กาหนดหลักเกณฑ์และวิธีการ
ข้อ 33 การลงโทษนักศึกษาที่ทาการทุจริตทางวิชาการให้ดาเนินการตามข้อบังคับมหาวิทยาลัย ว่าด้ว ยวินัย
นักศึกษา พ.ศ. 2551 และประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น ฉบับที่ 1365/2550 เรื่อง แนวปฏิบัติแ ละเกณฑ์การพิจารณา
โทษทางวิชาการ นักศึกษาที่กระทาทุจริตทางวิชาการ ระดับบัณฑิตศึกษา หรือข้อบังคับและประกาศที่ปรับปรุงใหม่
ข้อ 34 การประเมินผลการศึกษา ให้กระทาเมื่อสิ้นภาคการศึกษาแต่ละภาค ยกเว้นรายวิชาวิทยานิพนธ์หรือ
การศึกษาอิสระ ให้มีการประเมินผลได้ก่อนสิ้นภาคการศึกษา
ข้อ 35 การประเมินผลรายวิชา ให้กาหนดระดับคะแนนหรือสัญลักษณ์ ซึ่งมีความหมาย และค่าคะแนนดังนี้
ระดับคะแนน ความหมาย ค่าคะแนนต่อหน่วยกิต
A ผลการประเมินขั้นดีเยี่ยม (Excellent) 4.0
B+ ผลการประเมินขั้นดีมาก (Very Good) 3.5
B ผลการประเมินขั้นดี (Good) 3.0
C+ ผลการประเมินขั้นค่อนข้างดี (Fairly Good) 2.5
C ผลการประเมินขั้นพอใช้ (Fair) 2.0
D+ ผลการประเมินขั้นอ่อน (Poor) 1.5
D ผลการประเมินขั้นอ่อนมาก (Very Poor) 1.0
F ผลการประเมินขั้นตก (Failed) 0
สัญลักษณ์ ความหมาย
I การวัดผลยังไม่สมบูรณ์ (Incomplete) ใช้สาหรับรายวิชาที่มีค่าคะแนน
ในกรณีนักศึกษาไม่สามารถเข้าสอบได้โดยเหตุสุดวิสัย
โดยอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาจะต้องระบุสาเหตุของการให้สัญลักษณ์ I
และแจ้งให้นักศึกษาทราบภายใน 1 เดือน นับจากวันที่ประกาศผลการประเมิน
และการแก้สัญลักษณ์ I ให้ดาเนินการภายในภาคการศึกษาถัดไป มิฉะนั้น
จะเปลี่ยนสัญลักษณ์ เป็น F เว้นแต่ในกรณีที่จาเป็นโดยความเห็นชอบของ
คณะกรรมการประจาคณะที่รายวิชานั้นสังกัด และให้คณบดีที่รายวิชานั้นสังกัด
มีอานาจอนุมัติให้ขยายเวลาได้ โดยต้องแจ้งให้สานักบริหารและพัฒนาวิชาการ
ทราบล่วงหน้า
S ผลการศึกษาเป็นที่พอใจ (Satisfactory) ใช้สาหรับรายวิชาที่ลงทะเบียน
โดยไม่นับหน่วยกิต (Audit)

- 124 -
U ผลการศึกษายังไม่เป็นที่พอใจ (Unsatisfactory) ใช้สาหรับรายวิชาที่ลงทะเบียน
โดยไม่นับหน่วยกิต W ถอนวิชาเรียนแล้ว (Withdrawn) ใช้สาหรับรายวิชาที่ได้รบั
อนุมัติให้ถอนหรือใช้ในกรณีที่นักศึกษาได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา หรือใช้ในกรณีที่
นักศึกษาถูกสั่งพักการศึกษาในภาคการศึกษานั้น
ข้อ 36 การประเมินผลการสอบประมวลความรู้ การสอบวัดคุณสมบัติ และการสอบภาษาต่างประเทศ ให้เป็นดังนี้
S (Satisfactory) หมายความว่า สอบผ่าน
U (Unsatisfactory) หมายความว่า สอบไม่ผ่าน
การสอบประมวลความรู้และการสอบวัดคุณสมบัติจะสอบได้ไม่เกิน ๒ ครั้ง ในแต่ละหลักสูตร
สาหรับการสอบภาษาต่างประเทศ ไม่จากัดจานวนครั้งที่สอบ
ข้อ 37 นักศึกษาที่ได้ระดับคะแนนต่ากว่า C หรือได้ U แล้วแต่กรณี ในหมวดวิชาบังคับถือว่าต่ากว่า
มาตรฐาน ให้ลงทะเบียนเรียนซ้า
ข้อ 38 การนับจานวนหน่วยกิตและคานวณคะแนนเฉลี่ยสะสม
38.1 ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนวิชาใดวิชาหนึ่งมากกว่า 1 ครั้ง ให้นับจานวนหน่วยกิต
ตามหลักสูตรในวิชานั้นเพียงครั้งเดียว
38.2 ในการคานวณคะแนนเฉลี่ยสะสม (Cumulative Grade Point Average) ให้คานวณ
จากทุกรายวิชาที่มีค่าคะแนน ในกรณีที่นักศึกษาลงทะเบียนเรียนวิชาใดมากกว่า 1 ครั้ง ให้นาจานวนหน่วยกิตและค่า
คะแนนที่ได้ทุกครั้งไปใช้ในการคานวณคะแนนเฉลี่ยสะสม การคานวณคะแนนเฉลี่ยสะสมให้ตั้งหารถึงทศนิยม 4 ตาแหน่ง
และให้ปัดเศษเฉพาะทศนิยมที่มีค่าตั้งแต่ 5 ขึ้นไป ตั้งแต่ตาแหน่งที่ 4 เพื่อให้เหลือทศนิยม 2 ตาแหน่ง

หมวดที่ 8
การทาวิทยานิพนธ์และการศึกษาอิสระ
ข้อ 39 การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระกระทาได้เมื่อนักศึกษามีคุณสมบัติครบตามที่ แต่ละ
หลักสูตรกาหนด โดยได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ทั้งนี้ หลักเกณฑ์อื่นๆ ให้
เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ 40 การเสนออนุมตั ิเค้าโครงวิทยานิพนธ์
40.1 ปริญญาโทต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ภายใน 1 ปี หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ์
40.2 ปริญญาเอกต้องได้รับอนุมัติเค้าโครงวิทยานิพนธ์ภายใน 2 ปี หลังจากลงทะเบียนวิทยานิพนธ์
ข้อ 41 การควบคุมวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาหลัก 1 คน และอาจมีอาจารย์ที่ปรึกษา
ร่วมได้อีกตามความเหมาะสมแต่ละกรณี ทั้งนี้ให้เป็นไปตามประกาศหรือข้อกาหนดของแต่ละคณะ (ถ้ามี)
ข้อ 42 การประเมินผลความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ
42.1 การประเมินผลความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ต้องกระทใน
ทุกภาคการศึกษา โดยผ่านความเห็นชอบของสาขาวิชาหรือคณะกรรมการบริหารหลักสูตร และคณบดีที่เกี่ยวข้อง
42.2 อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ มีหน้าที่ในการประเมินผลความก้าวหน้า
ในการท าวิ ทยานิ พนธ์ หรื อการศึ กษาอิ สระของนั กศึ กษา และรายงานผลการประเมิ นต่ อคณะกรรมการบริ หารหลั กสู ตร
คณะกรรมการประจาคณะ และสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ
42.3 ใช้สัญลักษณ์ S (Satisfactory) หมายถึง ผลการประเมินความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์
หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษาเป็นที่พอใจ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระประเมินความก้าวหน้า
ในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของนักศึกษา โดยระบุจานวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระที่ได้รับ
การประเมินให้ได้สัญลักษณ์ S ของนักศึกษาแต่ละคนในแต่ละภาคการศึกษานั้น แต่ทั้งนี้ต้องไม่เกินจานวนหน่วยกิตที่
ลงทะเบียน (หากผลการประเมินพบว่าไม่มีความก้าวหน้า จานวนหน่วยกิตที่ได้ในภาคการศึกษานั้นๆ ให้มีค่าเป็น S เท่ากับ
0 (ศูนย์))
ต้นฉบับร่างวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระที่พร้อมนาเสนอคณะกรรมการสอบ และ
ต้นฉบับผลงานวิทยานิพนธ์ ที่ต้องตีพิมพ์หรือเผยแพร่ตามเงื่อนไขที่หลักสูตรกาหนด ให้ถือเป็นส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ หรือ
การศึกษาอิสระ ซึ่งต้องกาหนดจานวนหน่วยกิต ตามความเหมาะสมแล้วแต่กรณี

- 125 -
42.4 นักศึกษาที่ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระแล้ว ได้รับการประเมินผล
ความก้าวหน้าเป็น S เท่ากับ 0 (ศูนย์) คณะกรรมการบริหารหลักสูตร ควรพิจารณาหาสาเหตุ ซึ่งอาจให้นักศึกษาผู้นั้นได้รับการ
พิจารณาให้เปลี่ยนหัวข้อเรื่องวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระหรือเปลี่ยนอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ หรือ
อื่นๆแล้วแต่กรณี และประธานหลักสูตรต้องรายงานสาเหตุและผลการพิจารณาต่อคณบดีเพื่อหาข้อยุติ
ข้อ 43 ในกรณี ที่ นั ก ศึ ก ษาได้ รั บ อนุ มั ติ ใ ห้ เ ปลี่ ย นหั ว ข้ อ วิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ การศึ ก ษาอิ ส ระ ซึ่ งมี ผ ลต่ อ การ
เปลี่ยนแปลงสาระสาคัญของเนื้อหาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ให้อาจารย์ที่ปรึกษาประเมินจานวนหน่วยกิตจาก
หัวข้อเดิม ที่สามารถนาไปใช้กับหัวข้อใหม่ได้ แต่ต้องไม่เกินจานวนหน่วยกิตที่ผ่านในหัวข้อเดิม ทั้งนี้ให้นับจานวนหน่วยกิต
ดังกล่าว เป็นจานวนหน่วยกิตที่ผ่านได้สัญลักษณ์ S ซึ่งสามารถนามานับเพื่อสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตรได้ โดยต้องได้รับ
อนุมัติจากคณบดีโดยความเห็นชอบจากคณะกรรมการบริหารหลักสูตร พร้อมทั้งให้คณะแจ้งสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ
ภายใน 15 วัน และให้บันทึกการเปลี่ยนแปลงในประวัติการศึกษา
ข้อ 44 การสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ
44.1 การดาเนินการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ต้องสอบภายในเวลา 45 วัน
หลังจากที่นักศึกษาผ่านการประเมินผลความก้าวหน้าและได้สัญลักษณ์ S ครบตามจานวนหน่วยกิต รายวิชาวิทยานิพนธ์
หรือการศึกษาอิสระของหลักสูตรนั้นๆ
ในการรายงานการประเมินผลความก้าวหน้าครั้งสุดท้ายซึ่งนักศึกษาผ่านและได้ สัญลักษณ์ S
ครบตามจานวนหน่วยกิตรายวิชาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระของหลักสูตรนั้น อาจารย์ที่ปรึกษาต้องเสนอให้คณบดีแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ รวมทั้งให้เสนอวันที่จะทาการสอบไปพร้อมกันด้วย
ในกรณีที่ไม่สามารถดาเนินการสอบได้ภายใน 45 วัน ให้ถือว่า การได้สัญลักษณ์ S ในการ
ประเมินครั้งสุดท้ายเป็นโมฆะ
44.2 การสอบวิทยานิพนธ์
44.2.1 ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นผู้พิจารณาเสนอให้คณะแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบวิ ทยานิ พ นธ์ ให้ เ ป็ น ไปตามประกาศกระทรวงศึก ษาธิ ก าร เรื่ อ ง เกณฑ์ ม าตรฐานหลักสูตรระดับ
บัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
44.2.2 การสอบวิทยานิพนธ์ ต้องเป็นแบบเปิด โดยการเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟังการนาเสนอ
และตอบคาถามของผู้เข้าสอบได้ และคณะต้องประกาศให้ผู้สนใจทราบก่อนการสอบไม่น้อยกว่า 7 วัน
คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์มีอานาจ ในการอนุญาตหรือไม่อนุญาตให้ ผู้เข้า
ฟังถามหรือแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาของวิทยานิพนธ์ รวมทั้งการจากัดเวลาการถาม และการควบคุมให้ดาเนินการ
สอบเป็นไปโดยเรียบร้อย
44.2.3 ในวันสอบ จะต้องมีคณะกรรมการสอบจานวนไม่น้อยกว่าตามที่กาหนด
ตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย จึงจะถือว่าการสอบนั้นมีผลสมบูรณ์
ถ้าคณะกรรมการสอบไม่ครบตามจานวนดังกล่าวข้างต้น ให้เลื่อนการสอบออกไป ในกรณี
ที่จาเป็นอาจเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ โดยให้คณะแต่งตั้งซ่อมกรรมการ ทั้งนี้จะต้องกาหนดวันสอบครั้งใหม่ให้มีเวลาพอสมควร
แก่การที่กรรมการที่แต่งตั้งซ่อมขึ้นใหม่ จะได้ใช้ตรวจอ่านวิทยานิพนธ์ได้
44.2.4 ผู้ประเมินผลการสอบต้องเป็นกรรมการสอบที่อยู่ร่วมในวันสอบ การประเมินผล
โดยให้นับ (คณะ) อาจารย์ที่ปรึกษาเป็น 1 อาจารย์ประจาหลักสูตรเป็น 1 และผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกเป็น 1 และให้ถือผล
การประเมินตามมติกรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของจานวนกรรมการทั้งหมด
44.3 การสอบการศึกษาอิสระ
44.3.1 ให้คณะกรรมการบริหารหลักสูตรเป็นผู้พิจารณาเสนอให้คณะแต่งตั้ง
คณะกรรมการสอบการศึ กษาอิ สระ ให้ เป็ นไปตามประกาศกระทรวงศึ กษาธิ การ เรื่ อง เกณฑ์ มาตรฐานหลั กสู ตรระดั บ
บัณฑิตศึกษา และประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
44.3.2 การสอบการศึกษาอิสระ ต้องเป็นแบบเปิด โดยการเปิดให้ผู้สนใจเข้ารับฟัง
การนาเสนอและตอบคาถามของผู้เข้าสอบได้ และคณะต้องประกาศให้ผู้สนใจทราบก่อนการสอบไม่น้อยกว่า 7 วัน
คณะกรรมการสอบการศึกษาอิสระมีอานาจ ในการอนุญาตหรือไม่อนุญาต

- 126 -
ให้ผู้เข้าฟังถามหรือแสดงความเห็นที่เกี่ยวข้องกับเนื้อหาของการศึกษาอิสระ รวมทั้งการจากัดเวลาการถาม และการควบคุมให้
ดาเนินการสอบเป็นไปโดยเรียบร้อย
44.3.3 ในวันสอบจะต้องมีคณะกรรมการสอบจานวนไม่น้อยกว่าตามที่กาหนด
ตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย จึงจะถือว่าการสอบนั้นมีผลสมบูรณ์
ถ้าคณะกรรมการสอบไม่ครบตามจานวนดังกล่าวข้างต้น ให้เลื่อนการสอบออกไป ในกรณี
ที่จาเป็นอาจเปลี่ยนแปลงกรรมการได้ โดยให้คณะแต่งตั้งซ่อมกรรมการ ทั้งนี้จะต้องกาหนดวันสอบครั้งใหม่ให้มีเวลา
พอสมควรแก่การที่กรรมการที่แต่งตั้งซ่อมขึ้นใหม่ จะได้ใช้ตรวจอ่านการศึกษาอิสระได้
44.3.4 ผู้ประเมินผลการสอบต้องเป็นกรรมการสอบทุกคน การประเมินผลโดยอาจารย์
ที่ปรึกษาและอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมให้นับคะแนนเป็น 1 และให้ถือผลการประเมินตามมติกรรมการจานวนไม่น้อยกว่า 2 ใน 3 ของ
จานวนกรรมการทั้งหมดการสอบตามนัยนี้จะสอบได้ไม่เกิน 2 ครั้ง
ข้อ 45 การประเมินผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ โดยให้เป็นไปตามประกาศบัณฑิตวิทยาลัย แบ่งเป็น 4
ระดับคือ
Excellent หมายความว่า ผลการประเมินขั้นดีเยี่ยม
Good หมายความว่า ผลการประเมินขั้นดี
Pass หมายความว่า ผลการประเมินขั้นผ่าน
Fail หมายความว่า ผลการประเมินขั้นตก
ข้อ 46 ให้ประธานคณะกรรมการสอบแจ้งผลการสอบเป็นลายลักษณ์อักษรแก่คณบดีและผู้เข้าสอบภายใน 5
วันทาการถัดจากวันสอบ หากไม่สามารถดาเนินการแจ้งผลได้ภายในวันที่กาหนด ถือว่าการสอบครั้งนั้นเป็นโมฆะ
46.1 ในกรณีสอบผ่านแต่ต้องมีการแก้ไขให้มีบันทึกประเด็นหรือรายการที่ต้องแก้ไข พร้อม
ทั้งมีการอธิบายชี้แจงให้ผู้เข้าสอบรับทราบ ทั้งนี้ผู้เข้าสอบต้องแก้ไขให้แล้วเสร็จ และคณะกรรมการสอบให้ความเห็นชอบภายใน 45
วันนับจากวันสอบ หากไม่สามารถดาเนินการได้ทันตามกาหนดดังกล่าวให้ถือว่าไม่ผ่านในการสอบครั้งนั้น ให้คณะกรรมการสอบ
รายงานผลขั้นสุดท้ายต่อคณบดี
46.2 กรณีสอบไม่ผ่านคณะกรรมการต้องสรุปสาเหตุหลักของการพิจารณาไม่ให้ผ่าน โดย
บันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร รายงานต่อคณบดีภายใน 3 วันทาการถัดจากวันสอบให้คณะแจ้งผลการสอบให้ สานักบริหารและ
พัฒนาวิชาการ ภายใน 15 วัน
ข้อ 47 หากนักศึกษาขาดสอบโดยไม่มเี หตุสุดวิสัย ให้ถือว่าสอบไม่ผา่ นในการสอบครั้งนั้น
ข้อ 48 ผู้สอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระครั้งแรกไม่ผ่านตามข้อ 46.2 มีสิทธิยื่นขอสอบครั้งที่ 2 ได้ภายใน
15 วันหลังวันสอบ และต้องสอบภายใน 60 วันหลังวันสอบ
ในกรณีที่ไม่ผ่านการสอบตามนัยแห่งข้อ 46.1 ให้ยื่นขอสอบครั้งที่ 2 ภายใน 15 วันหลังวันครบกาหนดการแก้ไข
และต้องสอบภายใน 60 วันหลังวันครบกาหนดการแก้ไข
การขอสอบทั้ง 2 กรณี ต้องเสียค่าธรรมเนียมหรือค่าลงทะเบียนสอบตามที่คณะกาหนด หากไม่ดาเนินการตาม
กาหนดข้างต้น ให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
การให้โอกาสสอบครั้งที่ 2 นี้ ไม่เป็นเหตุให้ได้รับการยกเว้น หรือมิต้องปฏิบัติตามระเบียบหรือ หลักเกณฑ์ที่
กาหนดไว้ที่อื่นแต่อย่างใด
ข้อ 49 รูปแบบการพิมพ์ การส่งเล่ม และลิขสิทธิ์ในวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระ
49.1 รูปแบบการพิมพ์วิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระให้เป็นไปตามที่
บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด
49.2 นักศึกษาต้องส่งวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระฉบับสมบูรณ์ตามจานวนลักษณะ
และระยะเวลาที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด
49.3 ลิขสิทธิ์หรือสิทธิบัตรในวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระเป็นของ
มหาวิทยาลัยขอนแก่น นักศึกษาและ/หรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระเรื่องนั้นๆ สามารถนาไป
เผยแพร่ในเชิงวิชาการได้ แต่การนาเนื้อหาหรือผลจากการศึกษาไปใช้เพื่อประโยชน์อื่น ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์และวิธีการ
ที่มหาวิทยาลัยกาหนด

- 127 -
กรณีที่การทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระได้รับทุนวิจัยที่มีข้อผูกพันเกี่ยวกับลิขสิทธิ์หรือ
สิทธิบัตรโดยได้รับความเห็นชอบจากมหาวิทยาลัย ให้ดาเนินการตามข้อผูกพันนั้นๆ

หมวดที่ 9
การสาเร็จการศึกษา
ข้อ 50 การสาเร็จการศึกษา
ให้คณะกรรมการประจาคณะเป็นผูอ้ นุมัติการสาเร็จการศึกษา และให้ถือวันที่ได้รับอนุมัตินั้นเป็นวันสาเร็จการศึกษา และ
นักศึกษาจะสาเร็จการศึกษาได้ต้องมีคุณสมบัติต่อไปนี้
50.1 หลักสูตรประกาศนียบัตรบัณฑิตและประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูง
50.1.1 สอบได้จานวนหน่วยกิตครบตามหลักสูตร
50.1.2 ได้คะแนนเฉลีย่ สะสมของรายวิชาตามหลักสูตร ไม่ต่ากว่า 3.00
50.2 หลักสูตรปริญญามหาบัณฑิต
50.2.1 มีความรูภ้ าษาอังกฤษผ่านเกณฑ์มาตรฐานตามประกาศของ
บัณฑิตวิทยาลัย
50.2.2 แผน ก แบบ ก 1 เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่า
ขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดาเนินการ
ให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ
50.2.3 แผน ก แบบ ก 2 ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร ได้
คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบ
วิทยานิพนธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของผลงานได้รับ
การยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่มีคุณภาพ หรือเสนอต่อที่ประชุมวิชาการที่มีรายงานสืบเนื่องจากการ
ประชุม (Proceedings) ที่ได้มาตรฐาน
50.2.4 แผน ข ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตร ได้คะแนน
เฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00 พร้อมทั้งเสนอรายงานการศึกษาอิสระ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบ
การศึกษาอิสระ และผลงานรายงานการศึกษาอิสระจะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยดาเนินการให้ผลงานหรือส่วนหนึ่งของ
ผลงานได้ รั บการยอมรั บให้ ตี พิ มพ์ ในวารสาร หรื อเสนอต่ อที่ ประชุ มวิ ชาการที่ ที่ มี รายงานสื บเนื่ องจากการประชุ ม
(Proceedings) ที่ได้มาตรฐาน
50.3 หลักสูตรปริญญาดุษฎีบณ ั ฑิต
50.3.1 ผ่านเกณฑ์การประเมินความรู้ความสามารถทางภาษาต่างประเทศตาม
ประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
50.3.2 สอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)
50.3.3 แบบ 1 เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้น
สุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์
หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ จานวน 1 เรื่อง และวารสารระดับชาติหรือนานาชาติที่
มีคุณภาพอีก 1 เรื่อง
50.3.4 แบบ 2 ศึกษารายวิชาครบถ้วนตามที่กาหนดในหลักสูตรได้คะแนนเฉลี่ย
สะสมไม่ต่ากว่า 3.00 พร้อมทั้งเสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยคณะกรรมการสอบ
วิทยานิพนธ์ และผลงานวิทยานิพนธ์จะต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติ
หรือนานาชาติที่มีคุณภาพ
ทั้งนี้ มหาวิทยาลัยหรือหลักสูตรอาจกาหนดเกณฑ์การสาเร็จการศึกษาที่ไม่ต่ากว่าข้อ 50.2 หรือ ข้อ
50.3 แล้วแต่กรณีได้
ข้อ 51 การขออนุมัติปริญญา
51.1 นักศึกษาผู้คาดว่าจะสาเร็จการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษา ให้ยื่นคาร้องแสดงความจานง
ขอสาเร็จการศึกษาต่อคณะล่วงหน้าอย่างน้อย 30 วัน ก่อนวันสิ้นภาคการศึกษาที่คาดว่าจะสาเร็จการศึกษานั้น

- 128 -
51.2 นักศึกษาที่จะได้รับการพิจารณาเสนอชื่อจากคณะเพื่อขออนุมัติปริญญาต่อสภามหาวิทยาลัย
ต้องมีคุณสมบัติ ดังนี้
51.2.1 เป็นผู้สาเร็จการศึกษาตามข้อ 50
51.2.2 ไม่ค้างชาระค่าธรรมเนียมต่างๆ หรือมีหนี้สินกับมหาวิทยาลัยหรือคณะ
51.2.3 เป็นผู้ไม่อยู่ในระหว่างการดาเนินการทางวินัยนักศึกษา
51.2.4 ส่งวิทยานิพนธ์หรือรายงานการศึกษาอิสระและเอกสารอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
ที่จัดทาตามรูปแบบและจานวนที่บัณฑิตวิทยาลัยกาหนด
51.2.5 การเสนอชื่อผู้สาเร็จการศึกษาเพื่อขออนุมัติปริญญาต่อสภา
มหาวิทยาลัย ให้เป็นไปตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด
ข้อ 52 ในกรณีที่มีเหตุผลที่จาเป็นและสมควร มหาวิทยาลัยอาจพิจารณามิให้ผู้สาเร็จการศึกษาผู้หนึ่ง
ผู้ใดเข้ารับพระราชทานปริญญาบัตรก็ได้ ทั้งนี้ให้เป็นไปตามหลักเกณฑ์ที่มหาวิทยาลัยกาหนด
ข้อ 53 การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตร
สภามหาวิทยาลัยอาจพิจารณาเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตรซึ่งได้อนุมัติแก่ผู้สาเร็จ
การศึกษาผู้หนึ่งผู้ใดไปแล้วตามกรณีดังต่อไปนี้
53.1 ผู้สาเร็จการศึกษาผู้นั้น ไม่มีคุณสมบัติครบถ้วนตามนัยของคุณสมบัติผู้มีสิทธิเข้าศึกษา
หรื อผู้ ส าเร็ จการศึ กษา ของหลั กสู ตรที่ ตนได้ ส าเร็ จการศึ กษา ตามข้ อ 21 หรื อ ข้ อ 50 แห่ งระเบี ยบนี้ การเพิ กถอนปริ ญญาหรื อ
ประกาศนียบัตร มีผลตั้งแต่วันที่สภามหาวิทยาลัยได้อนุมัติปริญญาหรือประกาศนียบัตรให้กับบุคคลนั้น
53.2 วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ หรือผลงานทางวิชาการอื่นที่เป็นองค์ประกอบสาคัญ
ต่อการสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร ของผู้สาเร็จการศึกษาผู้นั้น ลอกเลียนงานผู้อื่น หรือดัดแปลงข้อมูลที่ไม่เป็ นข้อเท็จจริง
หรือปลอมแปลงผลงานวิจัย หรือมิได้กระทาด้วยตนเอง การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตร ให้มีผลตั้งแต่วันที่สภา
มหาวิทยาลัยได้อนุมัติปริญญาหรือประกาศนียบัตรให้กับบุคคลนั้น
53.3 ผู้สาเร็จการศึกษาผู้นั้นได้กระทาการอันเป็นที่เสื่อมเสียร้ายแรงต่อมหาวิทยาลัย หรือต่อ
ศักดิ์ศรีแห่งปริญญาหรือประกาศนียบัตรที่ตนได้รับ การเพิกถอนปริญญาหรือประกาศนียบัตรในกรณีนี้ ให้มีผลตั้งแต่
วันที่สภามหาวิทยาลัยมีมติเพิกถอน

หมวดที่ 10
สถานภาพของนักศึกษา
ข้อ 54 การลาพักการศึกษาและการลาออกของนักศึกษา
54.1 นักศึกษาผู้ประสงค์จะลาพักการศึกษา ต้องยื่นคาร้องต่อคณะที่เกี่ยวข้อง โดยผ่านการพิจารณาของ
อาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไป หรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ และประธานหลักสูตร เพื่อเสนอคณบดีพิจารณา
อนุมัติ
54.2 การลาพักการศึกษามี 2 ลักษณะ ดังนี้
54.2.1 การลาพักการศึกษาหลังจากได้ลงทะเบียนรายวิชาในแต่ละภาค
การศึกษา ตามเวลาที่ปฏิทินการศึกษาในแต่ละภาคการศึกษากาหนด และชาระค่าธรรมเนียมการศึกษาในภาคการศึกษานั้น
เรียบร้อยแล้ว แต่ ภายหลัง มีความประสงค์ขอลาพักการศึกษาในภาคการศึกษานั้น ต้องยื่นคาร้องและได้รับ อนุมัติให้ลา
พัก การศึก ษา ก่อ นการสอบประจาภาคตามปฏิทิน การศึก ษาที่ม หาวิท ยาลัย กาหนดไม่น้อ ยกว่า 2 สัปดาห์ ยกเว้น
กรณีที่มีสาเหตุสุดวิสัยหรือเจ็บป่วยให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะ
การลาพักการศึกษา ในกรณีที่ได้ลงทะเบียนรายวิชาแล้ว จะได้สัญลักษณ์ W และ
นักศึกษาไม่ต้องชาระค่าธรรมเนียมการลาพักการศึกษาในภาคการศึกษานั้น
54.2.2 การลาพักการศึกษา กรณียังไม่ได้ลงทะเบียนรายวิชา ให้ยื่นคาร้องผ่าน
กระบวนการ หลังจากที่ได้รับอนุมัติให้ลาพักการศึกษา และยื่นตามเวลาที่ปฏิทิน การศึกษากาหนด นักศึกษาต้องชาระ
ค่าธรรมเนียมการลาพักการศึกษา ในอัตราที่มหาวิทยาลัยกาหนด
54.3 การลาพักการศึกษาให้ลาพักได้ไม่เกิน 2 ภาคการศึกษาปกติ ตลอดหลักสูตร การนับ

- 129 -
เวลาการลาพักการศึกษา ให้นับรวมอยู่ในระยะเวลาการศึกษาตลอดหลักสูตร ยกเว้นนักศึกษาที่ได้รับอนุมัติให้ลาพัก
การศึกษา เนื่องจากถูกเกณฑ์หรือระดมเข้ารับราชการทหารกองประจาการ
54.4 นักศึกษาใหม่ที่บัณฑิตวิทยาลัยรับเข้าศึกษาในภาคการศึกษาแรก ไม่มีสิทธิลาพัก
การศึกษา ยกเว้น มีเหตุจาเป็นสุดวิสัยหรือเจ็บป่วย
54.5 นักศึกษาผู้ประสงค์จะลาออกจากการเป็นนักศึกษา ต้องยื่นคาร้องต่อคณะที่เกี่ยวข้อง
โดยผ่านการพิจารณาของอาจารย์ที่ปรึกษาทั่วไปหรืออาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ประธานหลักสูตร
และคณบดีเพื่อเสนออธิการบดีพิจารณาอนุมัติ
ข้อ 55 การพ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
นักศึกษาจะพ้นสภาพการเป็นนักศึกษาต่อเมื่ออยู่ในกรณีใดกรณีหนึง่ ดังต่อไปนี้
55.1 ตาย
55.2 ลาออกและได้รับอนุมัติแล้ว
55.3 สาเร็จการศึกษา
55.4 มหาวิทยาลัยสั่งให้ออก อันเนื่องมาจากการฝ่าฝืนระเบียบการลงทะเบียนและการชาระ
ค่าธรรมเนียมการศึกษา
55.5 เรียนได้จานวนหน่วยกิตไม่เกินกึ่งหนึ่งจากจานวนหน่วยกิตรวมของรายวิชาที่มีค่าคะแนน
ในหลักสูตร และได้คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 2.50
55.6 เรียนได้จานวนหน่วยกิตเกินกึ่งหนึ่งจากจานวนหน่วยกิตรวมของรายวิชาที่มีค่า
คะแนนและได้คะแนนเฉลี่ยสะสมต่ากว่า 2.75
55.7 ไม่มีความก้าวหน้าในการทาวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ 2 ภาคการศึกษาติดต่อกันโดย
ได้สัญลักษณ์ S เป็น 0 ติดต่อกัน 2 ภาคการศึกษา ทั้งนี้ หากได้ S เป็น 0 ก่อนและหลังการลาพักการศึกษา ถือว่า เป็นการได้
สัญลักษณ์ S เป็น 0 ติดต่อกัน 2 ภาคการศึกษา
55.8 สอบวิทยานิพนธ์ หรือสอบประมวลความรู้ หรือสอบการศึกษาอิสระ หรือสอบวัด
คุณสมบัติครั้งที่สองไม่ผ่าน
55.9 หลังการสอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระ ครั้งที่ 1 ไม่ผ่าน หากไม่ดาเนินการและ/หรือ
สอบวิทยานิพนธ์/การศึกษาอิสระครั้งที่ 2 ตามระยะเวลาที่กาหนด
55.10 ใช้เวลาการศึกษาครบตามทีห่ ลักสูตรกาหนดแล้ว
55.11 นักศึกษาสามัญที่คงสภาพเป็นนักศึกษาทดลองศึกษาเกินระยะเวลาที่กาหนด
55.12 ต้องคาพิพากษาถึงที่สุดให้จาคุก เว้นแต่ความผิดที่เป็นลหุโทษหรือความผิดอันได้
กระทาโดยประมาท
55.13 ถูกลงโทษทางวินัยให้ออกจากการเป็นนักศึกษา
ข้อ 56 การขอกลับเข้าเป็นนักศึกษา
นักศึกษาที่พ้นสภาพการเป็นนักศึกษาตามข้อ 55.2 55.4 อาจขอสถานภาพการเป็นนักศึกษาคืนได้ ทั้งนี้ ให้
เป็นไปตามประกาศของบัณฑิตวิทยาลัย
ข้อ 57 หลั ก สู ต รใหม่ หรื อ หลั ก สู ตรปรั บปรุงที่ ไ ด้รับ อนุ มัติ จากสภามหาวิ ท ยาลัย ขอนแก่ น ก่ อ นวั น ที่ 11
พฤษภาคม พ.ศ. 2559 ให้ ใ ช้ เ กณฑ์ ม าตรฐานที่ เกี่ ย วข้ อ งกั บหลัก สูต ร ตามระเบี ย บมหาวิ ท ยาลั ยขอนแก่ น ว่ า ด้ วย
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2548 ทั้งนี้หลักสูตรต้องได้รับการปรับปรุงและใช้ระเบียบนี้ภายใน 5 ปี นับจากการ
ปรับปรุงครั้งสุดท้าย หรือเปิดสอนครั้งแรกของหลักสูตรนั้นๆ แล้วแต่กรณี

หมวดที่ 11
บทเฉพาะกาล
ข้อ 58 บรรดาประกาศ หรือคาสั่ง หรือหลักเกณฑ์อันเกี่ยวข้องกับการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาที่มีอยู่ก่อน
ระเบียบนี้มีผลบังคับใช้ ให้ยังคงมีผลบังคับใช้ต่อไป จนกว่าจะได้มีการปรับปรุงแก้ไขให้เป็นไปตามระเบียบนี้ ทั้งนี้ต้อง
ดาเนินการให้แล้วเสร็จภายใน 180 วัน หลังวันประกาศใช้ระเบียบนี้

- 130 -
ประกาศ ณ วันที่ 5 มิถุนายน พ.ศ. 2559

(ลงชื่อ) ณรงค์ชัย อัครเศรณี


(นายณรงค์ชัย อัครเศรณี)
นายกสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น

- 131 -
เอกสารแนบหมายเลข 5
ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 23/2560)
เรื่อง การเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
จากการศึกษาในระบบ

- 132 -
ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 23/2560)
เรื่อง การเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาจากการศึกษาในระบบ
--------------------------
เพื่อให้การเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา เป็นไปด้วยความเรียบร้อย และเป็นการให้โอกาส
ทางการศึกษาแก่นักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาต่อในมหาวิทยาลัยขอนแก่น อีกทั้งรักษาไว้ซึ่งคุณภาพและมาตรฐาน
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา ของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ตามระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 ข้อ 28 อาศัยอ านาจตามความในข้ อ 6 (3) แห่งข้อบังคั บมหาวิ ทยาลัย ขอนแก่น ว่าด้ว ย
คณะกรรมการประจาคณะ/วิทยาลัย หรือส่วนงานที่เรียกชื่ออย่างอื่นที่มีฐานะเทียบเท่าคณะ วิทยาลัย พ.ศ. 2558 และโดย
ความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย ในคราวประชุมครั้งที่ 6/2559 เมื่อวันที่ 8 ธันวาคม 2559 จึงออก
ประกาศเพื่อกาหนดหลักเกณฑ์การเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา ไว้ดังนี้
ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 23/2560) เรื่อง การเทียบ
โอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาจากการศึกษาในระบบ”
ข้อ 2 ประกาศนี้ให้มีผลบังคับใช้ตั้งแต่วันที่ออกประกาศเป็นต้นไป
ข้อ 3 ให้ยกเลิก ประกาศบัณฑิตวิทยาลัย มหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 22/2550) เรื่อง การเทียบโอนรายวิชา
และค่าคะแนนของรายวิชาระดับบัณฑิตศึกษาจากการศึกษาในระบบ
ข้อ 4 ในประกาศนี้
“มหาวิทยาลัย” หมายความว่า มหาวิทยาลัยขอนแก่น
“คณะ” หมายความว่า คณะ วิทยาลัย หรือส่วนงานที่มีหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา
“นักศึกษา” หมายความว่า นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
“รายวิชา” หมายความว่า กระบวนวิชาต่าง ๆ ที่เปิดสอนตามหลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษา
ข้อ 5 ผู้มีสิทธิ์ขอเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา ได้แก่ นักศึกษาที่ผ่านการคัดเลือกเข้าศึกษาใน
มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ข้อ 6 กาหนดเวลาการขอเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา
6.1 นักศึกษาที่ประสงค์จะขอเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชาจะต้องยื่นคาร้อง
ขอเทียบโอนรายวิชาภายใน 15 วัน นับถัดจากวันเปิดภาคการศึกษาแรกที่เข้าศึกษา และสามารถยื่นคาร้องได้เพียงครั้ง
เดียวเท่านั้น ที่งานบริการการศึกษาของคณะที่สาขาวิชาสังกัด โดยแนบใบแสดงผลการศึ กษา รายละเอียดของรายวิชา
และเค้าโครงรายวิชาเพื่อประกอบการพิจารณา ยกเว้นผู้ขอเทียบโอนที่เคยศึกษาในมหาวิทยาลัยขอนแก่น ขอเทียบโอนใน
หลักสูตรของมหาวิทยาลัยขอนแก่น ให้แนบเฉพาะใบแสดงผลการเรียนเท่านั้น
6.2 ให้คณะที่สาขาวิชาสังกัด พิจารณาการเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชาตามคาร้องของ
นักศึกษาให้แล้วเสร็จภายใน 20 วัน นับถัดจากวันสุดท้ายของระยะเวลาที่กาหนด เป็นวันยื่นคาร้อง และแจ้งผลการอนุมัติ
ไปยังบัณฑิตวิทยาลัย และสานักบริหารและพัฒนาวิชาการ
ข้อ 7. เกณฑ์การพิจารณาเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา และขั้นตอนการตรวจสอบรายวิชาที่ขอเทียบโอน
7.1 เกณฑ์การพิจารณาการขอเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา

- 133 -
7.1.1 เป็นรายวิชาที่สอบผ่านมาแล้วไม่เกิน 5 ปีการศึกษา นับจากวันลงทะเบียนรายวิชานั้น ถึงวันที่
มหาวิทยาลัยได้รับคาร้องขอเทียบโอน
7.1.2 เป็ นรายวิ ชาหรื อกลุ ่ มรายวิ ชาในหลั กสู ตรระดั บบั ณฑิ ตศึ กษาหรื อเที ยบเท่ าที ่ ส านั กงาน
คณะกรรมการการอุดมศึกษา กระทรวงศึกษาธิการ หรือหน่วยงานของรัฐที่มีอานาจตามกฎหมายรับรอง
7.1.3 เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชา ที่มีเนื้อหาสาระครอบคลุม ไม่น้อยกว่าสามในสี่ของรายวิชา
หรือกลุ่มรายวิชาที่ขอเทียบ
7.1.4 เป็นรายวิชาหรือกลุ่มรายวิชาที่สอบไล่ได้ไม่ต่ากว่าระดับคะแนน ตัวอักษร B หรือแต้มระดับ
คะแนน 3.00 หรือเทียบเท่า หรือระดับคะแนนตัวอักษร S ทั้งนี้ต้องเป็นไปตามเงื่อนไขของหลักสูตรของรายวิชานั้นกาหนด
7.1.5 รายวิชาหรือกลุ่มวิชาที่เทียบโอนจากต่างสถาบันอุดมศึกษา จะไม่นามาคานวณ
แต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสม
7.1.6 การเที ย บโอนหน่ ว ยกิ ต ในรายวิ ชาวิ ท ยานิ พ นธ์ ใ ห้ เ ที ย บโอนได้ เ ฉพาะหลั ก สู ต รที ่ เ ป็ น
วิทยานิพนธ์อย่างเดียว ทั้งนี้ การกาหนดสัดส่วนภาระงาน จานวนหน่วยกิตของรายวิชาวิทยานิพนธ์ที่เทียบโอนได้ ให้อยู่ใน
ดุลยพินิจของคณะกรรมการบริหารหลักสูตรสาขาวิชานั้น ๆ โดยความเห็นชอบของคณะกรรมการประจาบัณฑิตวิทยาลัย
7.1.7 การเทียบรายวิชาเรียนและโอนหน่วยกิต สามารถเทียบโอนได้ไม่เกินหนึ่งในสาม
ของจานวนหน่วยกิตรวมของหลักสูตรที่รับโอน
7.1.8 นักศึกษาจะต้องใช้เวลาศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยอย่างน้อยหนึ่งปีการศึกษา และ
ลงทะเบียนเรียนรายวิชาหรือวิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรที่เข้าศึกษา ไม่น้อยกว่า 12 หน่วยกิต
7.1.9 ในกรณีที่มหาวิทยาลัยเปิดหลักสูตรใหม่จะเทียบโอนนักศึกษาเข้าศึกษาได้ไม่เกินกว่าชั้นปี
และภาคการศึกษาที่ได้รับอนุญาตให้มีนักศึกษาเรียนอยู่ตามหลักสูตรที่ได้รับความเห็นชอบแล้ว
7.2 ขั้นตอนการตรวจสอบรายวิชาที่เทียบโอน
7.2.1 คณะที่นักศึกษาสังกัดเป็นผู้ส่งรายวิชาไปยังคณะกรรมการบริหารหลักสูตร
สาขาวิชาที่เข้าศึกษา เพื่อพิจารณาว่ารายวิชาใดที่สามารถเทียบโอนได้
7.2.2 คณะกรรมการประจาคณะที่นักศึกษาสังกัด พิจารณาผล ตามข้อ 7.2.1 เพื่อพิจารณารับการ
เทียบโอนทั้งนี้ให้เป็นไปตามเกณฑ์ ข้อ 7.1 หากเห็นชอบให้นาเสนอขออนุมัติต่อคณบดีคณะที่สาขาวิชาสังกัด
ข้อ 8 ค่าใช้จ่ายในการเทียบโอนรายวิชาและค่าคะแนนของรายวิชา ให้เป็นไปตามประกาศของมหาวิทยาลัย
ข้อ 9 ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้
ข้อ 10 ในกรณีที่มิได้กาหนดหลักการหรือแนวปฏิบัติไว้ในประกาศนี้ หรือในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัตติ าม
ประกาศนี้ ให้คณบดีบัณฑิตวิทยาลัยมีอานาจวินิจฉัยหรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของคณบดีบัณฑิตวิทยาลัย ถือเป็น
สิ้นสุด
ประกาศ ณ วันที่ 25 มกราคม พ.ศ. 2560

(รองศาสตราจารย์สรุ ศักดิ์ วงศ์รัตนชีวิน)


คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย

- 134 -
เอกสารแนบหมายเลข 6
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ว่าด้วยการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541

- 135 -
ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น
ว่าด้วยการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย
พ.ศ. 2541
-----------------------

เพื่อเป็นการส่งเสริมคุณภาพ และมาตรฐานการศึกษาในระดับอุดมศึกษาระหว่างมหาวิทยาลัยในการผลิต
บัณฑิต โดยการใช้ทรัพยากรร่วมกันอย่างมีประสิทธิภาพ ทั้งยังเป็นการส่งเสริมบรรยากาศทางวิชาการในการสร้าง
ประสบการณ์ทางวิชาการ และสังคมแก่นักศึกาในการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัยซึ่งกันและกัน
ดังนั้นเพื่อให้การลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย ดาเนินไปด้วยความเรียบร้อย อาศัยอานาจตามความ
ในมาตรา 16(2) แห่ ง พระราชบั ญ ญั ต ิ ม หาวิ ท ยาลั ย ขอนแก่ น พ.ศ. 2541 ประกอบด้ ว ยมติ ส ภา
มหาวิทยาลัยขอนแก่น ครั้งที่ 6/2541 เมื่อวันที่ 29 กรกฎาคม 2541 จึงวางระเบียบไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ระเบียบนี้เรียกว่า “ระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วยการลงทะเบียบเรียนข้าม
มหาวิทยาลัย พ.ศ. 2541”
ข้อ 2 ให้ใช้ระเบียบนี้ตั้งแต่ปีการศึกษา 2541 เป็นต้นไป
ข้อ 3 ในระเบียบนี้
“มหาวิทยาลัย” หมายถึง จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย มหาวิทยาลัย
เกษตรศาสตร์มหาวิทยาลัยขอนแก่น
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยมหิดล มหาวิทยาลัยศิลปากร
มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์ และรวมถึง
มหาวิทยาลัยและ/หรือสถาบันอื่นที่มีข้อตกลง
ร่วมกันเพื่อให้มีการลงทะเบียนเรียนข้าม
มหาวิทยาลัย
“การลงทะเบียนเรียน” หมายถึง การลงทะเบียนเรียนในรายวิช่างๆ และสอบผ่าน
“ข้ามมหาวิทยาลัย” หมายถึง ตามเกณฑ์ของมหาวิทยาลัย/สถาบันแห่งหนึ่ง
และนาจานวนหน่วยกิตไปเป็นส่วนหนึ่งของ
จานวนหน่วยกิตในหลักสูตรของมหาวิทยาลัย/
สถาบันที่นักศึกษาสังกัด
“นักศึกษา” หมายถึง นิสิตและ/หรือนักศึกษาของมหาวิทยาลัย

- 136 -
ข้อ 4 คุณสมบัติของผู้ลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัยให้เป็นไปตามเงื่อนไขของมหาวิทยาลัยแต่ละ
แห่งจะเป็นผู้กาหนดขึ้น
ข้อ 5 วิธีการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย
5.1 นักศึกษามหาวิทยาลัยอื่นที่ประสงค์จะลงทะเบียนเรียนที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นให้ปฏิบัติ
ดังนี้
5.1.1 นักศึกษาที่ประสงค์จะลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัยในรายวิชาใดต้องยื่นความ
จ านงผ่านมหาวิทยาลัยที่นักศึกษานั้นสังกัดอยู่และได้รับอนุมัติจากผู้บังคับบัญชา
สูงสุดของมหาวิทยาลัยถึงมหาวิทยาลัยขอนแก่นเป็นเวลาไม่น้อยกว่า 2 เดือนก่อน
วันลงทะเบียนวิชาเรียนประจาภาคการศึกษาที่มหาวิทยาลัยขอนแก่นกาหนด
5.1.2 มหาวิทยาลัยขอนแก่นจะแจ้งผลการพิจารณาให้ผู้สมัครทราบก่อน
5.1.3 กาหนดการลงทะเบียนวิชาเรียน
5.1.4 นั ก ศึ ก ษาที ่ ไ ด้ ร ั บ อนุ ม ั ต ิ ใ ห้ ล งทะเบี ย นเรี ย นในแต่ ล ะภาคการศึ ก ษาจะต้ อง
ลงทะเบี ย นเรี ย นและช าระเงิ น ค่ า ธรรมเนี ย มการศึ ก ษาตามระเบี ย บ ของ
มหาวิทยาลัยให้ เสร็ จสิ ้นตามวัน เวลา และสถานที่ ที่มหาวิทยาลัยขอนแก่น
กาหนดจึงจะถือว่าการลงทะเบียนนั้นสมบูรณ์
5.2 กรณีนักศึกษามหาวิทยาลัยขอนแก่นที่ประสงค์จะลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัยให้
ปฏิบัติตามหลักเกณฑ์และเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยนั้นๆ กาหนด
ข้อ 6 การถอนรายวิชาใดก็ดี การประเมินผลการศึกษาก็ดี และการให้ใบรับรองผลการศึกษาก็ดี ให้
เป็นไปตามเงื่อนไขที่มหาวิทยาลัยนั้นๆ กาหนด
ข้อ 7 ภายใต้แห่งระเบียบนี้มหาวิทยาลัยอาจจะประกาศงดการเรียนการสอนวิชาใดวิชาหรือจ ากัด
จานวนนักศึกษาที่ลงทะเบียนเรียนวิชาใดวิชาหนึ่งได้
ข้อ 8 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามระเบียบนี้ และให้มีอานาจออกประกาศคาสั่งหรือข้อปฏิบัตใิ ดๆ
ซึ่งไม่ขัดหรือแย้งกับระเบียบนี้ได้

ประกาศ ณ วันที่ 26 สิงหาคม พ.ศ.2541

(ลงชื่อ) พล.ต.อ.เภา สารสิน


(เภา สารสิน)
นายกสภามหาวิทยาลัยขอนแก่น

- 137 -
เอกสารแนบหมายเลข 7
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 946/2550)
เรื่อง แนวปฏิบัติในการอุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์
หรือการศึกษาอิสระ

- 138 -
ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 946/2550)
เรื่อง แนวปฏิบัติในการอุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ
-----------------------------------

เพื่อให้มีแนวปฏิบัติในการอุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ และเป็นการให้โอกาส
ทางการศึกษา ฉะนั้น อาศัยอานาจตามความในมาตรา 20 แห่งพระราชบัญญัติมหาวิทยาลัยขอนแก่น พ.ศ. 2541
และข้อ 6 แห่งระเบียบมหาวิทยาลัยขอนแก่น ว่าด้วย การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ฉบับที่ 2 ) พ.ศ. 2550 โดย
ความเห็นชอบของที่ประชุมคณบดีในคราวประชุมครั้งที่ 13/2550 เมื่อวันที่ 20 กรกฎาคม 2550 จึงออก
ประกาศไว้ดังต่อไปนี้
ข้อ 1 ประกาศนี้เรียกว่า “ประกาศมหาวิทยาลัยขอนแก่น (ฉบับที่ 946/2550) เรื่อง แนวปฏิบัติในการ
อุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ”
ข้อ 2 ให้ใช้ประกาศนี้ตั้งแต่วันถัดจากวันประกาศเป็นต้นไป บรรดาประกาศหรือแนวปฏิบัติอื่นใดที่ขัด
หรือแย้งกับประกาศนี้ ให้ใช้ประกาศฉบับนี้แทน
ข้อ 3 ในประกาศนี้
“อธิการบดี” หมายถึง อธิการบดีมหาวทยาลัยขอนแก่น
“นักศึกษา” หมายถึง นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
“วิทยานิพนธ์” หมายถึง รายงานผลการวิจัยที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษาตาม
หลักสูตรในระดับบัณฑิตศึกษาที่กาหนดให้ทาวิทยานิพนธ์
“การศึกษาอิสระ” หมายถึง รายงานผลการศึกษาอิสระที่เป็นส่วนหนึ่งของการศึกษา
ตามหลักสูตรระดับปริญญามหาบัณฑิต แผน ข
“การอุทธรณ์” หมายถึง การที่นักศึกษายื่นเรื่องต่อมหาวิทยาลัยเป็นลายลักษณ์
อั กษรเพื ่ อขอให้ พ ิ จ ารณาทบทวนผลการสอบวิ ท ยานิ พ นธ์ ห รื อ
การศึกษาอิสระ เนื่องจากเห็นว่าไม่ได้รับความเป็นธรรมหรือไม่เห็ น
ด้วยกับผลการสอบ
ข้อ 4 นักศึกษาที่มีสิทธิ์ยื่นอุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระ ได้แก่ นักศึกษาที่สอบ
วิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระครั้งแรกไม่ผ่านและไม่ยื่นขอสอบครั้งที่สองหรือเป็นนักศึกษาที่สอบไม่ผ่านการ
สอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกาอิสระครั้งที่สอง
ข้อ 5 นักศึกษาที่ต้องการอุทธรณ์ผลการสอบวิทยานิพนธ์หรือการศึกษาอิสระให้ยื่นอุทธรณ์ต่ออธิการบดี
โดยยื่นที่บัณฑิตวิทยาลัยด้วยตนเองภายใน 30 วัน นับแต่วันที่ได้รับแจ้งผลการสอบอย่างเป็นทางการ โดยทาเป็น
หนังสือลงลายมือชื่อของนักศึกษา และข้อคัดค้านการสอบพร้อมข้อเท็จจริงและเอกสารที่เกี่ยวข้อง

- 139 -
ข้อ 6 ให้มหาวิทยาลัยแต่งตั้งคณะกรรมการพิจารณาการอุทธรณ์ เป็นการเฉพาะราย ประกอบด้วย
1) รองอธิการบดีฝ่ายวิชาการและวิเทศสัมพันธ์ เป็นประธานกรรมการ
2) คณบดีบัณฑิตวิทยาลัย เป็นรองประธานกรรมการ
3) รองคณบดีฝ่ายวิชาการ (หรือที่เรียกชื่อเป็นอย่างอื่น)
จากคณะที่มีหลักสูตรบัณฑิตศึกษาแลไม่เกี่ยวข้อง
กับการอุทธรณ์อีก 2 คน เป็นกรรมการ
4) นิติกรที่อธิการบดีมอบหมาย 1 คน เป็นกรรมการ
5) รองคณบดีฝ่ายวิชาการ บัณฑิตวิทยาลัย เป็นกรรมการและเลขานุการ
ทั้งนี้อาจแต่งตั้งผู้ช่วยเลขานุการได้อีก 1 คน
ข้อ 7 ให้มหาวิทยาลัยดาเนินการพิจารณาข้ออุทธรณ์โดยเปิดโอกาสให้ผู้อุทธรณ์ได้ชี้แจงข้อเท็จจริงเพื่อ
ประกอบการพิจารณาอุทธรณ์และเสนอผลการพิจารณาต่ออธิการบดีภายใน 45 วันนับตั้งแต่วันที่ได้รับคาอุทธรณ์
กรณีที่มีเหตุผลความจาเป็นสามารถขอขยายระยะเวลาได้ทงั้ นี้ไม่เกินครั้งละ 30 วัน และไม่เกิน 2 ครั้ง โดยแจ้งให้ผู้
อุทธรณ์ได้รับทราบด้วย
ข้อ 8 อธิการบดีมีอานาจพิจารณาวินิจฉัยผลการพิจารณาอุทธรณ์ แล้วแจ้งคาวินิจฉัยเป็นลายลักษณ์
อักษรให้ผู้อุทธรณ์ทราบภายใน 15 วันนับจากวันที่ได้รับรายงานจากคณะกรรมการพิจารณาการอุทธรณ์
ข้อ 9 ให้อธิการบดีเป็นผู้รักษาการตามประกาศนี้
ข้อ 10 ในกรณีที่มีปัญหาเกี่ยวกับการปฏิบัติหรือการตีความตามประกาศนี้ให้อธิการบดีมีอานาจวินิจฉัย
หรือสั่งการ การวินิจฉัยหรือสั่งการของอธิการบดีถือเป็นสิ้นสุด

ประกาศ ณ วันที่ 6 สิงหาคม พ.ศ. 2550

(รองศาสตราจารย์สุมนต์ สกลไชย)
อธิการบดีมหาวิทยาลัยขอนแก่น

- 140 -
เอกสารแนบหมายเลข 8
ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตร

- 141 -
ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินการตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
เพื่อการประกันคุณภาพหลักสูตรและการเรียนการสอน และหลักเกณฑ์การประเมินประจาปี
ปีการศึกษา
ตัวบ่งชี้และเป้าหมาย
ปีที่ 1 ปีที่ 2 ปีที่ 3
1. อาจารย์ประจาหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีส่วนร่วมในการประชุมเพื่อวางแผน √ √ √
ติดตาม และทบทวนการดาเนินงานหลักสูตร
2. มีรายละเอียดหลักสูตรตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับกรอบมาตรฐาน √ √ √
คุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/สาขาวิชา (ถ้ามี)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ √ √ √
มคอ.3 และ มคอ.4 อย่างน้อยก่อนการเปิดการสอนใรแต่ละภาคการศึกษาให้ครบทุกวิชา
4. จัดทารายงานผลการดาเนินการรายวิชา และรายงานผลการดาเนินการของประสบการณ์ √ √ √
ภาคสนาม (ถ้ามี) ตามแบบ มคอ.5 และ มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นภาคการศึกษาที่
เปิดสอนให้ครบทุกวิชา
5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตรตามแบบ มคอ.7 ภายใน 60 วันหลังสิ้นปี √ √ √
การศึกษา
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู้ที่กาหนดใน มคอ.3 √ √ √
และ มคอ.4 (ถ้ามี) อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปีการศึกษา
7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การสอน หรือการประเมินผลการ √ √
เรียนรู้ จากการประเมินการดาเนินงานที่รายงานใน มคอ.7 ปีที่แล้ว
8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคนได้รับการปฐมนิเทศหรือให้คาแนะนาด้านการจัดการเรียนการ √ √ √
สอน
9. อาจารย์ประจาทุกคนได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพอย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง √ √ √
10. จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการพัฒนาวิชาการ และ/หรือ √ √ √
วิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีผลต่อคุณภาพหลักสูตรเฉลี่ย √ √
ไม่น้อยกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม5.0
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มีผลต่อบัณฑิตใหม่ เฉลี่ยไม่น้อยกว่า 3.5 จาก √
คะแนนเต็ม 5.0
รวมตัวบ่งชี้ (ข้อ) ในแต่ละปี 9 11 12
ตัวบ่งชี้บังคับ (ข้อที่) 1-5 1-5 1-5
ตัวบ่งชี้ที่ต้องผ่านรวม (ข้อ) 10 11 12
เกณฑ์ประเมิน : หลักสูตรได้มาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ ต้องผ่านเกณฑ์การประเมินดังนี้ ตัวบ่งชี้
บังคับ (ตัวบ่งชี้ 1-5) มีผลการดาเนินการบรรลุตามเป้าหมาย และจานวนตัวบ่งชี้ที่มีลการดาเนินการบรรลุเป้าหมาย ไม่
น้อยกว่า 80% ของตัวบ่งชี้รวม โดยพิจารณาจากจานวนตัวบ่งชี้บังคับและตัวบ่งชี้รวมในแต่ละปี

- 142 -
เอกสารแนบหมายเลข 9
รายงานการประเมินผลการจัดการหลักสูตร คณะวิศวกรรมศาสตร์ ปีการศึกษา 2557
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

- 143 -
รายงานผลการดาเนินการของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา ประจาปีการศึกษา 2557

1. การประเมินจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ตัวบ่งชี้ ระดับคุณภาพ
ไม่ทราบ/
มากที่สุด มาก ปานกลาง น้อย น้อยที่สุด ไม่มี
ลาดับที่ รายการ
(5) (4) (3) (2) (1) ความเห็น

1 ด้านโครงสร้างหลักสูตร √
2 ด้านอาคารและสถานที่ √
3 ด้านอุปกรณ์การเรียนการสอน √
4 วิธีการสอน √
5 กิจกรรมนอกหลักสูตร √
6 คุณลักษณะของบัณฑิตที่พึงประสงค์ √
7 จริยธรรมของบัณฑิต √
รวมคะแนน 10 20
จุดเด่นของหลักสูตร
ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน
ด้านโครงสร้างหลักสูตรจัดว่าเป็นหลักสูตรที่มีกลุ่มวิชาเฉพาะ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯรับทราบ และจะพัฒนา
ทางให้เลือกเรียนที่หลากหลายสามารถรองรับความต้องการ คุณภาพบัณฑิตให้ดีสม่าเสมอ รวมถึงพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
ของผู้เรียนได้ในหลายวิชาชีพเฉพาะทางของสาขาวิศวกรรม
โยธา มีรายวิชาเรียนที่ครอบคลุมความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต
มีกิจกรรมนอกหลักสูตรที่ส่งเสริมความสามารถด้านได้อย่าง คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯรับทราบ และจะพัฒนา
รอบด้านทั้งด้านวิชาชีพและการเรียนรู้ซึ่งจะช่วยในการเพิ่ม คุณภาพบัณฑิตให้ดีสม่าเสมอ รวมถึงพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
ศักยภาพของผู้เรียนให้สามารถพัฒนาตนเองอย่างมี
ประสิทธิภาพ
จุดด้อยของหลักสูตร
ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน
กิจกรรมนอกหลักสูตรที่ส่งเสริมประสิทธิภาพด้านวิชาชีพ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯรับทราบ
ค่อนข้างกระจุกอยู่เพียงบางกลุ่มวิชา ควรส่งเสริมให้นักศึกษา ในปัจจุบัน หลักสูตรฯ ได้มีแนวทางในการพัฒนาการเรียนการ
ในทุกกลุ่มวิชาเข้าร่วมกิจกรรมอย่างเหมาะสมไม่น้อยหรือมาก สอนให้นักศึกษาได้ความรู้ที่ทันสมัย โดยการจัดการอบรมและ
เกินไปในกลุ่มวิชาใดเท่านั้น จากข้อมูลกิจกรรมนอกหลักสูตร บรรยายพิเศษจากผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา นอกจากนั้น ใน
จะเห็นว่ากลุ่มวิชาวิศวกรรมสารวจและกลุ่มวิชาวิศวกรรม หลายวิชาได้มีการถ่ายทอดประสบการณ์จากการทางานจริง
ขนส่งจะได้รับการส่งเสริมให้นักศึกษาเข้าร่วมกิจกรรมนอก พานักศึกษาไปศึกษาหน้างาน และมีการมอบหมายงานที่เป็น
หลักสูตรค่อนข้างมากเมื่อนับตามจานวนกิจกรรมที่นักศึกษา งานจริงให้กลับไปลองวิเคราะห์ ลองออกแบบ และเสนอแนว
เข้าร่วมกิจกรรม ทางแก้ไข เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลในรายวิชาอีก
ด้วย
2. การประเมินจากผู้ทรงคุณวุฒิในสาขาที่เกี่ยวข้อง
จุดเด่นของหลักสูตร
ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน
หลักสูตรประกอบด้วย 7 สาขาหลัก

- 144 -
มีการเรียนการสอนเน้นภาษาอังกฤษบางรายวิชา คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯรับทราบ โดยในปัจจุบัน
มีการใช้โปรแกรมในการเรียนการสอน ซึ่งจาเป็นมากต่อการ หลักสูตรฯ ได้มีการส่งเสริมให้คณาจารย์จัดการเรียนการสอน
ประกอบวิชาชีพหลังสาเร็จการศึกษา เป็นภาษาอังกฤษในหลายรายวิชา อีกทั้งยังพัฒนาทักษะการใช้
ภาษาอังกฤษของบุคลาการสายสนับสนุนให้สามารถสื่อสารกับ
นักศึกษาชาวต่างชาติได้อีกด้วย
นอกจากนั้น หลักสูตรฯยังส่งเสริมให้คณาจารย์ได้เสริมทักษะ
การใช้คอมพิวเตอร์ให้นักศึกษา โดยการสนับสนุนงบประมาณ
จากภาควิชาฯ โดยปีที่ผ่านมา ทางภาควิชาฯได้มีการการจัดซื้อ
โปรแกรมเฉพาะทางในแต่ละด้าน และจัดการอบรมให้
นักศึกษาอย่างสม่าเสมอ
ภาควิชาฯและหลักสูตรฯ จะมีการพัฒนาระบบและ
กระบวนการประเมินการส่งเสริมกิจกรรมดังกล่าวต่อไป เพื่อให้
เกิดประสิทธิภาพในการดาเนินการอย่างสูงสุด

จุดด้อยของหลักสูตร
-ไม่มี-
3. การประเมินจากผู้ใช้บัณฑิต
ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน
นักศึกษามีความพร้อมในการทางาน คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯรับทราบ และจะพัฒนา
นักศึกษามีความสามารถในการใช้เทคโนโลยีคอมพิวเตอร์และ คุณภาพบัณฑิตให้ดีสม่าเสมอ รวมถึงพัฒนาให้ดียิ่งขึ้น
สารสนเทศ ในการทางาน
นักศึกษามีวินัย ซื่อสัตย์ และรับผิดชอบต่อตัวเอง ครอบครัว
วิชาชีพ และประเทศชาติ

จุดด้อยของนักศึกษา/บัณฑิต ที่กาลังศึกษาหรือจบการศึกษาในหลักสูตร
ข้อวิพากษ์ที่สาคัญจากผลการประเมิน ข้อคิดเห็นของคณาจารย์ต่อผลการประเมิน
มีข้อจากัดในการใช้ภาษาอังกฤษ เมื่อประเทศไทยเข้าสู่ AEC คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯรับทราบ โดยในปัจจุบัน
จะมีข้อเสียเปรียบเมื่อเทียบกับบางประเทศ เช่น มาเลเซีย หลักสูตรฯ ได้มีการส่งเสริมให้คณาจารย์จัดการเรียนการสอน
สิงคโปร์ เป็นต้น และจัดกิจกรรมต่างๆเป็นภาษาอังกฤษอย่างสม่าเสมอ อย่างไร
ก็ตาม พื้นฐานความสามารถทางภาษาอังกฤษของผู้เข้ามาเรียน
ในหลักสูตรก็มีส่วนอย่างมาก ในการพัฒนาให้ดีเทียบเท่า
ต่างประเทศ ต้องอาศัยเวลาและการพัฒนาควรจะเป็นไปอย่าง
ต่อเนื่องตั้งแต่ระดับในโรงเรียน จนถึงมหาวิทยาลัยในระดับ
ปริญญาตรีด้วย

หากมีการเพิ่มเติม การฝึกกับงานหรือจาลองกับงานโครงการ คณะกรรมการบริหารหลักสูตรฯรับทราบ


จริง จะทาให้บัณฑิตมีความพร้อมและสามารถปรับวิธีการ ในปัจจุบัน หลักสูตรฯ ได้มีแนวทางในการพัฒนาการเรียนการ
ทางานได้สอดคล้องกับการทางานจริงได้อย่างรวดเร็ว สอนให้นักศึกษาได้ความรู้ที่ทันสมัย โดยการจัดการอบรมและ
บรรยายพิเศษจากผู้เชี่ยวชาญในแต่ละสาขา นอกจากนั้น ใน
หลายวิชาได้มีการถ่ายทอดประสบการณ์จากการทางานจริง
พานักศึกษาไปศึกษาหน้างาน และมีการมอบหมายงานที่เป็น
งานจริงให้กลับไปลองวิเคราะห์ ลองออกแบบ และเสนอแนว
ทางแก้ไข เพื่อเป็นส่วนหนึ่งของการประเมินผลในรายวิชาอีก
ด้วย
ข้อเสนอการเปลี่ยนแปลงในหลักสูตรจากผลการประเมิน

- 145 -
(1) ควรเน้นให้บัณฑิตเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ นอกเหนือจากการนาเสนอในงานประชุม
วิชาการระดับชาติ
(2) ควรให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการบริการวิชาการของคณาจารย์
(3) จัดให้มีการฝึกอบรมพร้อมกับนักศึกษาดูงานโครงการก่อสร้างด้านโยธาทีส่ าคัญๆ ของประเทศ เช่นโครงการ
รถไฟฟ้าในเขต กทม. ต่างๆ, โครงการรถไฟรางคู่, โครงการก่อสร้างอาคารที่พักผูโ้ ดยสาร, โครงการก่อสร้าง
Motorway และอื่นๆ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ รวมถึงการประยุกต์วิชาความรู้ที่ศึกษามาใช้ประโยชน์
ในการดาเนินงานโครงการ
(4) จัดหาวิทยากรภายนอกที่ดาเนินงานโครงการศึกษาออกแบบที่สาคัญๆ ต่างๆ ที่แล้วเสร็จ เพื่อให้บัณฑิตเกิด
ความรู้ความเข้าใจในองค์ประกอบของการดาเนินงานโครงการ ตั้งแต่เริ่มต้นจนแล้วเสร็จ เป็นต้น
(5) กิจกรรมศึกษาดูงานนอกสถานที่นับเป็นอีกทางเลือกที่ช่วยเพิ่มประสิทธิภาพบัณฑิตได้หลากหลายด้าน ช่วย
เพิ่มพูนความรู้ จุดกาเนิดของแรงบันดาลใจของการสร้างสรรค์งานวิจัยที่ดี สร้างเครือข่ายวิจัยนอกสถาบัน และ
ทันต่อความก้าวหน้าของเทคโนโลยี เป็นต้น
4. ข้อคิดเห็น และข้อเสนอแนะเกี่ยวกับคุณภาพหลักสูตร จากผู้ประเมินอิสระ
1. ข้อคิดเห็นหรือสาระที่ได้รบั
ข้อคิดเห็นหรือสาระที่ได้รับการเสนอแนะจาก ความเห็นของผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อข้อคิดเห็นหรือ
ผู้ประเมินอิสระ สาระที่ได้รับการเสนอแนะ
1. ควรเน้นให้บัณฑิตเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารระดับ ในปัจจุบัน หลักสูตรฯได้สนับสนุนให้คณาจารย์รวมทั้ง
นานาชาติ นอกเหนือจากการนาเสนอในงานประชุม นักศึกษาบัณฑิตศึกษาตีพิมพ์ในวารสารที่ได้รับการยอมรับ
วิชาการระดับชาติ ในระดับสากล อย่างไรก็ตาม ด้วยกรอบเวลาของการศึกษา
นักศึกษามีเวลาทาวิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรประมาณ 1 ปี
และจะต้องมีการตีพิมพ์เพื่อให้ได้สาเร็จตามหลักสูตร จึงทา
ให้ยังมีนักศึกษาจานวนไม่มากนักที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับ
นานาชาติ
2. ควรให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการบริการวิชาการของ ในปัจจุบัน หลักสูตรฯได้สนับสนุนให้อาจารย์พานักศึกษาทา
คณาจารย์ กิจกรรมบริการวิชาการอย่างสม่าเสมอ โดยจะเห็นได้จาก
กิจกรรมของนักศึกษา อีกทั้งในหลายรายวิชา อาจารย์ยัง
สอดแทรกเนื้อหาและถ่ายทอดประสบการณ์ในการทางาน
จริง พาไปดูงาน และหลายวิชายังตั้งโจทย์โครงงานให้
นักศึกษาศึกษาวิเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ไขด้วย
3. จัดให้มีการฝึกอบรมพร้อมกับนักศึกษาดูงานโครงการ หลักสูตรฯได้ส่งเสริมการพานักศึกษาทุกระดับชั้นไปดูงาน
ก่อสร้างด้านโยธาที่สาคัญๆ ของประเทศ เช่นโครงการ ตามสถานที่ก่อสร้างต่างๆ ซึ่งทางหลักสูตรจะพยายาม
รถไฟฟ้าในเขต กทม. ต่างๆ, โครงการรถไฟรางคู่, โครงการ ดาเนินการและส่งเสริมให้มากยิ่งขึ้น
ก่อสร้างอาคารที่พักผู้โดยสาร, โครงการก่อสร้าง
Motorway และอื่นๆ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
รวมถึงการประยุกต์วิชาความรู้ที่ศึกษามาใช้ประโยชน์ใน
การดาเนินงานโครงการ
4. จัดหาวิทยากรภายนอกที่ดาเนินงานโครงการศึกษา หลักสูตรฯได้จัดการอบรมโดยเชิญวิทยากรจากภายนอกมา
ออกแบบที่สาคัญๆ ต่างๆ ที่แล้วเสร็จ เพื่อให้บัณฑิตเกิด ให้ความรู้และถ่ายทอดประสบการณ์อย่างสม่าเสมอ ซึ่งทาง
ความรู้ความเข้าใจในองค์ประกอบของการดาเนินงาน หลักสูตรจะพยายามดาเนินการและส่งเสริมให้มากยิ่งขึ้น
โครงการ ตั้งแต่เริ่มต้นจนแล้วเสร็จ เป็นต้น
2. ความคิดเห็นหรือสาระที่ได้รับการเสนอแนะจากผู้ประเมิน และความเห็นของหลักสูตร/ผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อ
ข้อคิดเห็นหรือสาระที่ได้รบั
ข้อคิดเห็นหรือสาระที่ได้รับการเสนอแนะจาก ความเห็นของผู้รับผิดชอบหลักสูตรต่อข้อคิดเห็นหรือ
ผู้ประเมินอิสระ สาระที่ได้รับการเสนอแนะ

- 146 -
5. ควรเน้นให้บัณฑิตเผยแพร่ผลงานวิจัยในวารสารระดับ ในปัจจุบัน หลักสูตรฯได้สนับสนุนให้คณาจารย์รวมทั้ง
นานาชาติ นอกเหนือจากการนาเสนอในงานประชุม นักศึกษาบัณฑิตศึกษาตีพิมพ์ในวารสารที่ได้รับการยอมรับ
วิชาการระดับชาติ ในระดับสากล อย่างไรก็ตาม ด้วยกรอบเวลาของการศึกษา
นักศึกษามีเวลาทาวิทยานิพนธ์ตามหลักสูตรประมาณ 1 ปี
และจะต้องมีการตีพิมพ์เพื่อให้ได้สาเร็จตามหลักสูตร จึงทา
ให้ยังมีนักศึกษาจานวนไม่มากนักที่ตีพิมพ์ในวารสารระดับ
นานาชาติ
6. ควรให้นักศึกษามีส่วนร่วมในการบริการวิชาการของ ในปัจจุบัน หลักสูตรฯได้สนับสนุนให้อาจารย์พานักศึกษาทา
คณาจารย์ กิจกรรมบริการวิชาการอย่างสม่าเสมอ โดยจะเห็นได้จาก
กิจกรรมของนักศึกษา อีกทั้งในหลายรายวิชา อาจารย์ยัง
สอดแทรกเนื้อหาและถ่ายทอดประสบการณ์ในการทางาน
จริง พาไปดูงาน และหลายวิชายังตั้งโจทย์โครงงานให้
นักศึกษาศึกษาวิเคราะห์และเสนอแนวทางแก้ไขด้วย
7. จัดให้มีการฝึกอบรมพร้อมกับนักศึกษาดูงานโครงการ หลักสูตรฯได้ส่งเสริมการพานักศึกษาทุกระดับชั้นไปดูงาน
ก่อสร้างด้านโยธาที่สาคัญๆ ของประเทศ เช่นโครงการ ตามสถานที่ก่อสร้างต่างๆ ซึ่งทางหลักสูตรจะพยายาม
รถไฟฟ้าในเขต กทม. ต่างๆ, โครงการรถไฟรางคู่, โครงการ ดาเนินการและส่งเสริมให้มากยิ่งขึ้น
ก่อสร้างอาคารที่พักผู้โดยสาร, โครงการก่อสร้าง
Motorway และอื่นๆ เพื่อเสริมสร้างความรู้ความเข้าใจ
รวมถึงการประยุกต์วิชาความรู้ที่ศึกษามาใช้ประโยชน์ใน
การดาเนินงานโครงการ
8. จัดหาวิทยากรภายนอกที่ดาเนินงานโครงการศึกษา หลักสูตรฯได้จัดการอบรมโดยเชิญวิทยากรจากภายนอกมา
ออกแบบที่สาคัญๆ ต่างๆ ที่แล้วเสร็จ เพื่อให้บัณฑิตเกิด ให้ความรู้และถ่ายทอดประสบการณ์อย่างสม่าเสมอ ซึ่งทาง
ความรู้ความเข้าใจในองค์ประกอบของการดาเนินงาน หลักสูตรจะพยายามดาเนินการและส่งเสริมให้มากยิ่งขึ้น
โครงการ ตั้งแต่เริ่มต้นจนแล้วเสร็จ เป็นต้น
การนาไปดาเนินการเพื่อการวางแผนหรือปรับปรุงหลักสูตร
ผู้ทรงคุณวุฒไิ ด้ให้คาแนะนาในการปรับปรุงคุณภาพหลักสูตร โดยให้เน้นถึงการส่งเสริมในเรื่องของการพัฒนา
ทักษะทางวิชาการและวิชาชีพให้แก่นักศึกษา ส่งเสริมให้นักศึกษาได้เห็นถึงการทางานจริงโดยผ่านงานบริการวิชาการ
ที่ทาร่วมกับคณาจารย์ เพื่อที่จะสามารถประยุกต์นาความรู้ที่ได้จากการศึกษาในหลักสูตรไปใช้ต่อได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ และส่งเสริมให้นกั ศึกษาได้เพิ่มเป้าหมายในการตีพิมพ์งานวิจัยให้ไปสู่ในระดับสากล
คณะกรรมการบริหารหลักสูตรพิจารณาแล้ว เห็นว่า ในปัจจุบนั ทางหลักสูตรฯได้มีกิจกรรมพัฒนาดังกล่าวมา
โดยต่อเนื่อง ทั้งผ่านโครงการพัฒนานักศึกษาต่างๆ และผ่านทางกิจกรรมการจัดการเรียนการสอนในแต่ละรายวิชา
สาหรับการดาเนินการในปีการศึกษาต่อไป ทางหลักสูตรฯก็จะส่งเสริมการพัฒนาทักษะแก่นักศึกษาอย่างสม่าเสมอ
เช่นเดิม สิ่งหนึ่งที่จาเป็นในกระบวนการพัฒนาหลักสูตรฯและคุณภาพบัณฑิตของหลักสูตรฯ คือการพัฒนาคณาจารย์
และบุคลากรให้มีความรู้และความสามารถทางวิชาการและวิชาชีพ ที่ทนั สมัย สามารถทางานบริการวิชาการได้
หลากหลาย มีโจทย์วิจัยทีท่ ันสมัย ซึ่งจะทาให้คณาจารย์สามารถถ่ายทอดสู่ลูกศิษย์และตั้งเป้าหมายในการยกระดับ
ของงานตีพิมพ์ได้

- 147 -
เอกสารแนบหมายเลข 10
ตารางเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่าง
หลักสูตรปรับปรุงกับหลักสูตรเดิม

- 148 -
เอกสารแนบหมายเลข 10
ตารางเปรียบเทียบข้อแตกต่างระหว่างหลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2560) กับหลักสูตรเดิม (พ.ศ. 2555)
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2555 หมายเหตุ


1. จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 1. จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร
แผน ก แบบ ก 1 ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 1 ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต - คงเดิม
แผน ก แบบ ก 2 ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต แผน ก แบบ ก 2 ไม่น้อยกว่า 36 หน่วยกิต - คงเดิม
2. โครงสร้างหลักสูตร 2. โครงสร้างหลักสูตร
จานวนหน่วยกิต จานวนหน่วยกิต
จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร แผน ก แผน ก จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร แผน ก แผน ก
แบบ ก 1 แบบ ก 2 แบบ ก 1 แบบ ก 2
36 36 36 36
1) หมวดวิชาบังคับ 1) หมวดวิชาบังคับ
1.1 วิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต) 9 3 1.1 วิชาบังคับ (ไม่นับหน่วยกิต) 3 - - เพิ่มจานวนหน่วยกิต
1.2 วิชาบังคับเฉพาะกลุ่ม (นับหน่วยกิต) - 9 1.2 วิชาบังคับเฉพาะกลุ่ม (นับหน่วยกิต) - 3 - เพิ่มจานวนหน่วยกิต
2) หมวดวิชาเลือก 2) หมวดวิชาเลือก
2.1 วิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม - 6 2.1 วิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม - 6 - คงเดิม
2.2 วิชาเลือกเสรี - 9 2.2 วิชาเลือกเสรี - 15 - ลดจานวนหน่วยกิต
3) วิทยานิพนธ์ 36 12 3) วิทยานิพนธ์ 36 12 - คงเดิม
3. รายวิชาในหมวดวิชาบังคับ 3. รายวิชาในหมวดวิชาบังคับ
3.1 สาหรับแผน ก แบบ ก 1 (ไม่นับหน่วยกิต) 3.1 สาหรับแผน ก แบบ ก 1 (ไม่นับหน่วยกิต)
EN007000 การนางานวิจัยสู่ธุรกิจสาหรับการประกอบการด้านวิศวกรรม 3(3-0-6) - รายวิชาเปิดใหม่
EN007001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(2-3-5) - รายวิชาเปิดใหม่
EN127891 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 1 1(0-3-2) 191 891 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 1 1(0-3-2) - เปลี่ยนชื่อวิชา, เงื่อนไขรายวิชา
EN127892 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 2 1(0-3-2) 191 892 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 2 1(0-3-2) - เปลี่ยนชื่อวิชา, เงื่อนไขรายวิชา

- 149 -
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2555 หมายเหตุ
EN127893 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 3 1(0-3-2) 191 893 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 3 1(0-3-2) - เปลี่ยนชื่อวิชา, เงื่อนไขรายวิชา
3.2 สาหรับแผน ก แบบ ก 2 (นับหน่วยกิต) 3.2 สาหรับแผน ก แบบ ก 2 (นับหน่วยกิต)
EN007000 การนางานวิจัยสู่ธุรกิจสาหรับการประกอบการด้านวิศวกรรม 3(3-0-6) - รายวิชาเปิดใหม่
EN007001 ระเบียบวิธีวิจัยทางวิศวกรรมศาสตร์ 3(2-3-5) - รายวิชาเปิดใหม่
EN127000 การจัดการโครงการ 3(3-0-6) - ย้ายมาจากหมวดวิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม,
เปลี่ยนรหัสวิชา,เปลี่ยนชื่อวิชา
EN127891 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 1 1(0-3-2) 191 891 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 1 1(0-3-2) - คงเดิม
EN127892 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 2 1(0-3-2) 191 892 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 2 1(0-3-2) - เปลี่ยนคาอธิบายรายวิชา
EN127893 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 3 1(0-3-2) 191 893 การสัมมนาทางวิศวกรรมโยธา 3 1(0-3-2) - เปลี่ยนคาอธิบายรายวิชา
4. รายวิชาในหมวดวิชาเลือก 4. รายวิชาในหมวดวิชาเลือก
4.1 หมวดวิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม 4.1 วิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม
กลุ่มวิชาวิศวกรรมการบริหารงานก่อสร้าง กลุ่มวิชาวิศวกรรมการบริหารงานก่อสร้าง
191 740 การบริหารงานโครงการ 3(3-0-6) - ย้ายไปหมวดวิชาบังคับ,เปลีย่ นรหัส
วิชา

EN127100 การบริหารต้นทุนและความเสี่ยงของโครงการ 3(3-0-6) 191 741 การบริหารต้นทุนและความเสี่ยงของโครงการ 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา


EN127101 การวางแผนและควบคุมการก่อสร้างเชิงบูรณาการ 3(3-0-6) - ย้ายมาจากหมวดวิชาเลือกเสรี, เปลี่ยน
รหัสวิชา,เปลี่ยนชื่อวิชา
กลุ่มวิชาวิศวกรรมปฐพี กลุ่มวิชาวิศวกรรมปฐพี
EN127200 ปฐพีกลศาสตร์ขั้นสูง 3(3-0-6) 191 750 ปฐพีกลศาสตร์ขั้นสูง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127201 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3(3-0-6) 191 751 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
กลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง กลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
EN127300 การวิเคราะห์โครงสร้างขั้นสูง 3(3-0-6) 191 720 การวิเคราะห์โครงสร้างขั้นสูง 3(3-0-6) - คงเดิม
EN127301 โครงสร้างคอนกรีตขัน้ สูง 3(3-0-6) - ย้ายมาจากหมวดวิชาเลือกเสรี, เปลี่ยน
รหัสวิชา

- 150 -
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2555 หมายเหตุ
191 721 วิธีไฟไนท์เอเลเมนท์ในงานวิศวกรรมโครงงาน 3(3-0-6) - ย้ายไปหมวดวิชาเลือกเสรี, เปลีย่ นรหัส
วิชา
กลุ่มวิชาวิศวกรรมสารวจ กลุ่มวิชาวิศวกรรมสารวจ
EN127400 การคานวณปรับแก้ 3(2-3-6) 191 770 การคานวณปรับแก้ 3(2-3-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127401 การคานวณปรับแก้ขนั้ สูง 3(3-0-6) 191 771 การคานวณปรับแก้ขั้นสูง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
กลุ่มวิชาวิศวกรรมขนส่ง กลุ่มวิชาวิศวกรรมขนส่ง
EN127500 การวิเคราะห์ระบบการขนส่ง 3(3-0-6) 191 760 การวิเคราะห์ระบบการขนส่ง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127501 วิศวกรรมจราจร 3(3-0-6) 191 761 วิศวกรรมจราจร 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
กลุ่มวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า กลุ่มวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า
EN127600 ระบบอุทกวิทยา 3(3-0-6) 191 710 ระบบอุทกวิทยา 3(3-0-6) - คงเดิม
EN127601 วิศวกรรมชลศาสตร์ประยุกต์ 3(3-0-6) 191 711 การออกแบบอาคารชลศาสตร์ 3(3-0-6) - เปลี่ยนชื่อวิชา,คาอธิบายรายวิชา

กลุ่มวิชาวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง - ยุบรวมกับกลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
191 730 โครงสร้างจุลภาคและความทนทานของคอนกรีต 3(3-0-6) - ย้ายไปหมวดวิชาเลือกเสรี,เปลีย่ นรหัส
วิชา
191 731 การซ่อมแซมและการป้องกันโครงสร้างคอนกรีต 3(3-0-6) - ย้ายไปหมวดวิชาเลือกเสรี,เปลีย่ นรหัส
วิชา
4.2 หมวดวิชาเลือกเสรี 4.2 หมวดวิชาเลือกเสรี
กลุ่มวิชาวิศวกรรมการบริหารงานก่อสร้าง กลุ่มวิชาวิศวกรรมการบริหารงานก่อสร้าง
191 742 การวางแผนและควบคุมการก่อสร้าง 3(3-0-6) - ย้ายไปหมวดวิชาเลือก,เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127102 การบริหารคุณภาพงานก่อสร้าง 3(3-0-6) 191 743 การบริหารคุณภาพงานก่อสร้าง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127103 การวิเคราะห์ผลิตภาพในการก่อสร้าง 3(3-0-6) 191 744 การวิเคราะห์ผลิตภาพในการก่อสร้าง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127104 กฎหมายและสัญญาการก่อสร้าง 3(3-0-6) 191 745 กฎหมายและสัญญาการก่อสร้าง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127105 การบริหารการเงินและการบัญชีในการก่อสร้าง 3(3-0-6) 191 746 การบริหารการเงินและการบัญชีในการก่อสร้าง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127106 เทคนิคงานก่อสร้าง 3(3-0-6) 191 747 เทคนิคงานก่อสร้าง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127107 เรื่องคัดสรรทางการบริหารการก่อสร้าง 3(3-0-6) 191 748 เรื่องคัดสรรทางการบริหารการก่อสร้าง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา

- 151 -
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2555 หมายเหตุ
กลุ่มวิชาวิศวกรรมปฐพี กลุ่มวิชาวิศวกรรมปฐพี
EN127202 ปฐพีกลศาสตร์สาหรับดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้า 3(3-0-6) 191 752 ปฐพีกลศาสตร์สาหรับดินที่ไม่อิ่มตัวด้วยน้า 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127203 โครงสร้างดิน 3(3-0-6) 191 753 โครงสร้างดิน 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127204 ปฐพีพลศาสตร์ 3(3-0-6) 191 754 ปฐพีพลศาสตร์ 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127205 การวิเคราะห์และออกแบบผิวทาง 3(3-0-6) 191 755 การวิเคราะห์และออกแบบผิวทาง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127206 การสารวจและทดสอบดินในสนาม 3(2-3-6) 191 756 การสารวจและทดสอบดินในสนาม 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา, เปลีย่ นแผนการ
เรียนรู้
EN127207 การปรับปรุงคุณสมบัติของดิน 3(3-0-6) 191 757 การปรับปรุงคุณสมบัติของดิน 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127208 ธรณีฟิสิกส์ในงานวิศวกรรม 3(3-0-6) 191 758 ธรณีฟิสิกส์ในงานวิศวกรรม 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127209 ธรณีวิทยาในงานวิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) 191 759 ธรณีวิทยาในงานวิศวกรรมขั้นสูง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
กลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง กลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
EN127302 วิธีไฟไนท์เอลิเมนท์ในงานวิศวกรรมโครงสร้าง 3(3-0-6) - ย้ายมาจากหมวดวิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม
EN127303 พลศาสตร์ของโครงสร้าง 3(3-0-6) 191 722 พลศาสตร์ของโครงสร้าง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
191 723 โครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง 3(3-0-6) - ปิดรายวิชา
EN127304 โครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3(3-0-6) 191 724 โครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127305 การจาลองพฤติกรรมของโครงสร้างในช่วงไม่ยืดหยุ่น 3(3-0-6) 191 725 การจาลองพฤติกรรมของโครงสร้างในช่วงไม่ยดื หยุ่น 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127306 วิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว 3(3-0-6) 191 726 วิศวกรรมลมและแผ่นดินไหว 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127307 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3(3-0-6) 191 727 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127308 วิธีทดลองปฏิบัติงานในงานวิศวกรรมโครงสร้าง 3(3-0-6) 191 728 วิธีทดลองปฏิบัติงานในงานวิศวกรรมโครงสร้าง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
191 729 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมโครงสร้าง 3(3-0-6) - ปิดรายวิชา
กลุ่มวิชาวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง - ยุบรวมกับกลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
EN127309 โครงสร้างจุลภาคและความทนทานของคอนกรีต 3(3-0-6) - ย้ายมาจากหมวดวิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม,
เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127310 การซ่อมแซมและการป้องกันโครงสร้างคอนกรีต 3(3-0-6) - ย้ายมาจากหมวดวิชาเลือกเฉพาะกลุ่ม,
เปลี่ยนรหัสวิชา

- 152 -
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2555 หมายเหตุ
EN127311 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3(3-0-6) 191 732 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3(3-0-6) - ย้ายมาจากกลุม่ วิชาวิศวกรรมวัสดุ,
เปลี่ยนรหัสวิชา
191 733 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง 3(3-0-6) - ปิดรายวิชา
EN127312 โครงสร้างและสมบัตขิ องวัสดุวิศวกรรมโยธา 3(3-0-6) 191 734 โครงสร้างและสมบัติของวัสดุวิศวกรรมโยธา 3(3-0-6) - ย้ายมาจากกลุม่ วิชาวิศวกรรมวัสดุ,
เปลี่ยนรหัสวิชา
191 735 วัสดุขั้นสูงสาหรับโครงสร้างพื้นฐาน 3(3-0-6) - ปิดรายวิชา
191 736 เทคโนโลยีงานก่ออิฐฉาบปูนและการออกแบบ 3(3-0-6) - ปิดรายวิชา
191 737 ระเบียบวิธีการเลี้ยวเบนในวัสดุศาสตร์ 3(3-0-6) - ปิดรายวิชา
191 738 อิเลคตรอนจุลทรรศน์ศาสตร์ขั้นแนะนา 3(3-0-6) - ปิดรายวิชา
EN127313 คอนกรีตที่เป็นมิตรต่อสิ่งแวดล้อม 3(3-0-6) - รายวิชาเปิดใหม่
EN127314 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง 3(3-0-6) 191 739 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมวัสดุก่อสร้าง 3(3-0-6) - ย้ายมาจากกลุม่ วิชาวิศวกรรมวัสดุ,
เปลี่ยนรหัสวิชา
กลุ่มวิชาวิศวกรรมสารวจ กลุ่มวิชาวิศวกรรมสารวจ
EN127402 ภูมิมาตรศาสตร์ 3(3-0-6) 191 772 ภูมิมาตรศาสตร์ 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127403 หลักมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3(3-0-6) 191 773 หลักมูลระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127404 โฟโตแกรมเมตรีเชิงวิเคราะห์ 3(2-3-6) 191 774 โฟโตแกรมเมตรีเชิงวิเคราะห์ 3(2-3-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127405 การรับรู้ระยะไกล 3(2-3-6) 191 775 การรับรู้ระยะไกล 3(2-3-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127406 การวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศและภาพดาวเทียม 3(3-0-6) 191 776 การวิเคราะห์ภาพถ่ายทางอากาศและภาพดาวเทียม 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127407 งานสารวจดาวเทียมจีพีเอส 3(3-0-6) 191 777 งานสารวจดาวเทียมจีพีเอส 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127408 การจัดการข้อมูลปริภมู ิ 3(3-0-6) 191 778 การจัดการข้อมูลปริภมู ิ 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127409 การวิเคราะห์เชิงปริภมู ิ 3(3-0-6) 191 779 การวิเคราะห์เชิงปริภูมิ 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
กลุ่มวิชาวิศวกรรมขนส่ง กลุ่มวิชาวิศวกรรมขนส่ง
EN127502 การวางแผนการขนส่งในเมือง 3(3-0-6) 191 762 การวางแผนการขนส่งในเมือง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127503 การวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านการขนส่งและสถิติ 3(3-0-6) 191 763 การวิเคราะห์ข้อมูลทางด้านการขนส่งและสถิติ 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127504 การออกแบบถนนเชิงเรขาคณิต 3(3-0-6) 191 764 การออกแบบถนนเชิงเรขาคณิต 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127505 การวางแผนระบบขนส่งสาธารณะ 3(3-0-6) 191 765 การวางแผนระบบขนส่งสาธารณะ 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา

- 153 -
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560 หลักสูตรเดิม พ.ศ. 2555 หมายเหตุ
EN127506 วิศวกรรมความปลอดภัยของถนน 3(3-0-6) 191 766 วิศวกรรมความปลอดภัยของถนน 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127507 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการจราจรและขนส่ง 191 767 การประเมินผลกระทบสิ่งแวดล้อมจากการจราจรและขนส่ง - เปลี่ยนรหัสวิชา
3(3-0-6) 3(3-0-6)
EN127508 เรื่องการคัดสรรทางวิศวกรรมขนส่ง 3(3-0-6) 191 768 เรื่องการคัดสรรทางวิศวกรรมขนส่ง 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127509 การวางแผนการขนส่ง การใช้ประโยชน์ ที่ดินและสิ่งแวดล้อม 191 769 การวางแผนการขนส่ง การใช้ประโยชน์ ที่ดินและสิ่งแวดล้อม - เปลี่ยนรหัสวิชา
3(3-0-6) 3(3-0-6)
EN127510 การจัดทาแบบจาลองด้านการขนส่ง และจราจร 3(3-0-6) 191 861 การจัดทาแบบจาลองด้านการขนส่ง และจราจร 3(3-0-6) - เปลี่ยนรหัสวิชา
กลุ่มวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า กลุ่มวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า
EN127602 อุทกพลศาสตร์ 3(3-0-6) 191 712 อุทกพลศาสตร์ - คงเดิม
EN127603 การพัฒนาและการจัดการน้าใต้ดิน 3(3-0-6) 191 713 การพัฒนาและการจัดการน้าใต้ดิน 3(3-0-6) - คงเดิม
EN127604 วิศวกรรมแม่น้า 3(3-0-6) 191 714 วิศวกรรมแม่น้า 3(3-0-6) - คงเดิม
EN127605 การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สาหรับการจัดการทรัพยากรน้า 191 715 การประยุกต์ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์และการศึกษาข้อมูล - เปลี่ยนชื่อวิชา, คาอธิบายรายวิชา,
3(3-0-6) ระยะไกลสาหรับการจัดการทรัพยากรน้า 3(3-0-6) รายละเอียดชั่วโมงการสอน
EN127606 การจัดการลุ่มน้าเชิงบูรณาการ 3(3-0-6) 191 716 การจัดการลุม่ น้าเชิงบูรณาการ 3(3-0-6) - คงเดิม
EN127607 การวิเคราะห์ระบบทรัพยากรน้า 3(3-0-6) 191 717 การวิเคราะห์ระบบทรัพยากรน้า 3(3-0-6) - คงเดิม
EN127608 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมทรัพยากรน้า 3(3-0-6) 191 718 เรื่องคัดสรรทางวิศวกรรมทรัพยากรน้า 3(3-0-6) - คงเดิม
EN127609 การศึกษาพิเศษทางวิศวกรรมทรัพยากรน้า 3(3-0-6) 191 719 การศึกษาพิเศษทางวิศวกรรมทรัพยากรน้า 3(3-0-6) - คงเดิม
EN527401 การหาค่าเหมาะทีส่ ุดทางวิศวกรรม 3(3-0-6) - รายวิชาใหม่ จากภาควิชา
วิศวกรรมเครื่องกล
5. รายวิชาในวิชาวิทยานิพนธ์ 5. รายวิชาในวิชาวิทยานิพนธ์
EN127898 วิทยานิพนธ์ (แผน ก แบบ ก 1) 36 หน่วยกิต 191 898 วิทยานิพนธ์ (แผน ก แบบ ก 1) 36 หน่วยกิต - เปลี่ยนรหัสวิชา
EN127899 วิทยานิพนธ์ (แผน ก แบบ ก 2) 12 หน่วยกิต 191 899 วิทยานิพนธ์ (แผน ก แบบ ก 2) 12 หน่วยกิต - เปลี่ยนรหัสวิชา

- 154 -

You might also like