You are on page 1of 165

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต

สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง
มคอ. 2

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)

คณะวิศวกรรมศาสตร์
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


I มคอ. 2

สารบัญ
หมวดที่ 1. ข้อมูลทั่วไป หน้า
1. ชื่อหลักสูตร 1
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 1
3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร 1
4. จำนวนหน่วยกิต 1
5. รูปแบบของหลักสูตร 1
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร 2
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 2
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสำเร็จการศึกษา 2
9. ชื่อ นามสกุล เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ 2
ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
10. สถานที่จัดการเรียนการสอน 3
11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเป็นต้องนำมาพิจารณาในการวางแผน
หลักสูตร 3
12. ผลกระทบจาก ข้อ 11.1 และ 11.2 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับ 3
พันธกิจของสถาบัน
13. ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/สาขาวิชาอื่นของสถาบัน 4
หมวดที่ 2. ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
1. ปรัชญา ความสำคัญและวัตถุประสงค์ของหลักสูตร 5
2. แผนพัฒนาปรับปรุง 6
หมวดที่ 3. ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการและโครงสร้างของหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา 7
2. การดำเนินการหลักสูตร 7
3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 9
4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม 29
5. ข้อกำหนดเกี่ยวกับการทำโครงงานหรืองานวิจัย 30

สารบัญ (ต่อ)
หมวดที่ 4. ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล หน้า
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 31

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


มคอ. 2 II

2. การพัฒนาผลการเรียนรู้ในแต่ละด้าน 31
3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา 36
(Curriculum Mapping)
หมวดที่ 5. หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา
1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน 49
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 49
3. เกณฑ์การสำเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 50
หมวดที่ 6. การพัฒนาคณาจารย์
1. การเตรียมการสำหรับอาจารย์ใหม่ 51
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่คณาจารย์ 51
หมวดที่ 7. การประกันคุณภาพหลักสูตร
1. การกำกับมาตรฐาน 52
2. บัณฑิต 52
3. นักศึกษา 52
4. อาจารย์ 52
5. หลักสูตรการเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 53
6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 53
7. ตัวบ่งชี้ผลการดำเนินงาน (Key Performance Indicators) 54
หมวดที่ 8. การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของหลักสูตร
1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 56
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 56
3. การประเมินผลการดำเนินงานรายละเอียดหลักสูตร 56
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุงหลักสูตร 56

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


III มคอ. 2

สารบัญ (ต่อ)
เอกสารแนบ (ภาคผนวก) หน้า
(ก) ข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 58
ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559
(ข) ประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 86
(ฉบับประกาศ ณ วันที่ 20 ก.พ. 2553 ฉบับที่ 2 ประกาศ ณ วันที่ 28 ต.ค. 2553
และฉบับที่ 3 ประกาศ ณ วันที่ 3 มิ.ย. 2556)
(ค) ข้อบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าเจ้าคุณทหารลาดกระบัง 90
ว่าด้วยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีแบบก้าวหน้า
(ฉบับที่ 1 ประกาศ ณ วันที่ 23 ก.ค. 2553 และ ฉบับที่ 2 ประกาศ ณ วันที่ 1 เม.ย. 2554)
(ง) คำอธิบายรายวิชา 97
(จ) รายการทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน 131
(ฉ) เหตุผลการขอปรับปรุงหลักสูตร 138
(ช) รายนามคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร 152
(ซ) บรรณานุกรมผลงานวิชาการอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 154
(ฌ) สรุปข้อคิดเห็น/ข้อแนะนำของนักศึกษาปีสุดท้าย สถานประกอบการ และศิษย์เก่า 205
ในการพัฒนาหลักสูตร
(ญ)
เฉพาะกรณีหลักสูตร

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


1 มคอ. 2

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
คณะ/วิทยาเขต/วิทยาลัย คณะวิศวกรรมศาสตร
ภาควิชา วิศวกรรมโยธา
หมวดที่ 1 ขอมูลทั่วไป
1. ชื่อหลักสูตร
ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
(ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering Program in Civil Engineering
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา)
(ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Civil Engineering)
ชื่อยอ (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา)
(ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Civil Engineering)
3. วิชาเอกหรือความเชี่ยวชาญเฉพาะของหลักสูตร
-ไมมี-
4. จำนวนหนวยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
แผน ก แบบ ก1 จำนวน 36 หนวยกิต
แผน ก แบบ ก2 จำนวน 36 หนวยกิต
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
 หลักสูตรปริญญาโท
5.2 ภาษาที่ใช
 หลักสูตรจัดการศึกษาเปนภาษาไทย และภาษาอังกฤษ
5.3. การรับเขาศึกษา
 รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาตางชาติ
5.4. ความรวมมือกับสถาบันอื่น
 เปนหลักสูตรของสถาบันโดยเฉพาะ
5.5. การใหปริญญาแกผูสำเร็จการศึกษา
 ใหปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
 ปรับปรุงมาจากหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา พ.ศ 2558
กำหนดเปดสอนเดือน.....สิงหาคม...........พ.ศ. …..2560..................
ไดพิจารณากลั่นกรองโดยคณะกรรมการสภาวิชาการ ครั้งที่ .............3/2560.................
เมื่อวันที่.............28.............. เดือน…………มีนาคม............. พ.ศ. …………2560.............
ไดรับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภาสถาบัน ในการประชุมครั้งที่ ...........4/2560.........
เมื่อวันที่...........26............ เดือน…………เมษายน.......... พ.ศ. .............2560............

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


2 มคอ. 2

7. ความพรอมในการเผยแพรหลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน
หลั กสู ต รมี ความพร อมเผยแพร ว  า เป น หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิ
ระดับอุดมศึกษาแหงชาติ พ.ศ 2552 ในปการศึกษา 2561
8. อาชีพที่สามารถประกอบไดหลังสำเร็จการศึกษา
วิศวกรโยธา วิศวกรออกแบบ วิศวกรควบคุมงานกอสราง วิศวกรประมาณราคา อาจารย วิศวกรที่ปรึกษา
โครงการ และประกอบอาชีพอิสระดานวิศวกรรมโยธา
9. ชื่อ เลขประจำตัวบัตรประชาชน ตำแหนง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร
ชื่อ-สกุล คุณวุฒิการศึกษาสูงสุด (สาขาวิชา), สถาบันที่สำเร็จการศึกษา
(ระบุตำแหนงทางวิชาการ) ปที่สำเร็จการศึกษา
1. ผศ.ดร.ชลิดา อูตะเภา วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง), 2541 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจา
(3-2508-00100-46-1) คุณทหารลาดกระบัง
วศ.ม. (เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม), 2545 มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอม
เกลาธนบุรี
Ph.D. (Civil and Environmental University of Maryland, USA
Engineering), 2556
2. ศ.ดร.อุมา สีบุญเรือง -วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง), 2537 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา
3-1009-04775-17-1 เจาคุณทหารลาดกระบัง
-M.Sc. (Environmental Engineering), Lehigh University, USA
1998 University of California-Davis,
-Ph.D. (Water Resource Engineering), USA
2002
3. รศ.ดร.จักรพงษ พงษเพ็ง B.Eng. (Agricultural Engineering),2531 มหาวิทยาลัยขอนแกน
(3-1999-00356-93-8) M.Eng.(Construction Management), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร
2534
Ph.D. (Construction Engineering and Queensland University of
Management), 2546 Technology, Australia

10. สถานที่จัดการเรียนการสอน
 ในสถานที่ตั้งสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
11. สถานการณภายนอกหรือการพัฒนาที่จำเปนตองนำมาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณหรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
การกาวทันเทคโนโลยีชวยสงเสริมใหภาคอุตสาหกรรมมีความยั่งยืน มีศักยภาพในการแขงขันอยูในระดับที่
สูงขึ้น และสามารถคงสภาพสิ่งแวดลอมที่ดีได พรอมยังชวยเสริมสรางความแข็งแกรงและความเจริญรุงเรืองตอชุมชน
และสังคมดวย องคประกอบหลักที่สำคัญในการบรรลุจุดหมายดังกลาว คือการใชบุคลากรที่มีความรูความเขาใจในสห
สาขา เชน ผูที่มีความสามารถในการบูรณาการความรูทางดาน วิศวกรรมโยธา ซึ่งรวมถึงกลุมตางๆ คือ วิศวกรรม
โครงสราง วิศวกรรมขนสง วิศวกรรมปฐพี วิศวกรรมแหลงน้ำ วิศวกรรมชายฝงและทางทะเล การผสมผสานทาง
ความรูเหลานี้จะชวยสงเสริมใหเกิดทางเลือกที่หลากหลายในการแกไขปญหาแบบบูรณาการ เชน การออกแบบ
โครงสรางและระบบอาคารที่ดี การจัดการระบบขนสงมวลชนที่มีประสิทธิภาพ การจัดการแหลงน้ำอยางยั่งยืนและ

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


3 มคอ. 2

ลดปญหาสิ่งแวดลอม การขุดเจาะและกอสรางอุโมงค เปนตน ซึ่งในขณะนี้ประเทศไทย ยังมีความขาดแคลนบุคลากร


ที่มีการบูรณาการความรูดังกลาวอยูมาก
11.2 สถานการณหรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
การพัฒนาทางอุตสาหกรรมมีความเกี่ยวเนื่องกับการเปลี่ยนแปลงทางสังคมและวัฒนธรรมของกลุมชุมชน
อยางปฏิเสธไมได ดังนั้นวิศวกรที่ดีนอกเหนือจากมีความเชี่ยวชาญทักษะในเชิงวิศวกรรมแลวยังมีความจำเปนที่
จะตองมีความคำนึงถึงสภาพสังคม วัฒนธรรมและสิ่งแวดลอม มีทักษะการสื่อสารเจรจาและมีจิตสำนึกที่ดีตอจรรณ
ยาบรรณวิชาชีพ เพื่อสรางผลกระทบที่นอยที่สุดจากภาคอุตสาหกรรมอันจะมีตอวิถีการดำเนินชีวิตของชุมชนรอบ
ดาน
12. ผลกระทบจาก ขอ 11.1 และ 11.2 ตอการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน
12.1 การพัฒนาหลักสูตร
ผลจากการเปลี่ยนแปลงเทคโนโลยีดานวิศวกรรมโยธาและงานกอสรางในอุตสาหกรรม ที่มิไดมุงเพียงการ
ควบคุมกระบวนการผลิตเพียงอยางเดียว การเพิ่มประสิทธิภาพดานการบริหารจัดการที่ดีเพื่อเพิ่มศักยภาพทางการ
แขงขัน คุณภาพและมาตรฐานของผลิตภัณฑ ความปลอดภัยในการดำเนินงาน ลดตนทุนการผลิต ฯลฯ การนำ
เทคโนโลยีและการพัฒนาเทคโนโลยีใหมๆ เขามาชวยจึงเปนสิ่งจำเปน ดวยเหตุนี้สถาบันฯจำตองพัฒนาหลักสูตรใน
เชิงรุกใหมีศักยภาพ และสามารถปรับเปลี่ยนไดตามวิวัฒนาการทางดานวิศวกรรมโยธา การผลิตบุคลากรทาง
วิศวกรรมโยธาที่มีความพรอมที่จะปฏิบัติงานในองคกรภาครัฐและภาคเอกชน มีความสามารถในการปฏิบัติงานหรือ
พัฒนาเทคโนโลยีที่เหมาะสม มีความสามารถในการปรับตัวเรียนรูเทคโนโลยีใหมเพื่อประยุกตใชกับองคกร และมี
คุณธรรม จริยธรรมในวิชาชีพ จึงสอดรับกับผลกระทบดังกลาว
12.2 ความเกี่ยวของกับพันธกิจของสถาบัน
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เปนสถาบันที่มีชื่อเสียงในการผลิตวิศวกร นัก
เทคโนโลยีและนักวิทยาศาสตร เพื่อรองรับการพัฒนาประเทศและบริการสังคม การพัฒนาหลักสูตรไดสอดคลองกับ
พันธกิจและวิสัยทัศนของสถาบันที่มุงเปนสถาบันผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและการเปนสถาบันวิจัยดานวิทยาศาสตร
และเทคโนโลยี เพื่อการสรางความเปนเลิศในการประยุกตเทคโนโลยี รวมไปถึงพัฒนานวัตกรรมเพื่อการพึ่งตนเองที่
ยั่งยืน
13. ความสัมพันธ (ถามี) กับหลักสูตรอื่นที่เปดสอนในคณะ/สาขาวิชาอื่นของสถาบัน (เชน รายวิชา ที่เปดสอน
เพื่อใหบริการคณะ/สาขาวิชาอื่น หรือตองเรียนจากคณะ/สาขาวิชาอื่น)
13.1 กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปดสอนโดยคณะ/สาขาวิชา/หลักสูตรอื่น
 ไมมี
13.2กลุมวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปดสอนใหสาขาวิชา/หลักสูตรอื่นตองมาเรียน
 ไมมี
13.3การบริหารจัดการ
 ไมมี

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


4 มคอ. 2

หมวดที่ 2 ขอมูลเฉพาะของหลักสูตร
1. ปรัชญา ความสำคัญ และวัตถุประสงคของหลักสูตร
1.1 ปรัชญา
หลักสูตรมีปรัชญาในการพัฒนาทรัพยากรบุคคลใหเปนวิศวกรขั้นสูงที่เปยมดวยความรูในสาขาวิชาวิศวกรรม
โยธา อุดมดวยคุณธรรม จริยธรรม สงเสริมใหผูศึกษาใฝรูอยางตอเนื่องตลอดชีวิตและเรียนรูดวยตนเอง มีความ
กระตือรือรน มีความคิดวิเคราะหเหตุผลความนาเชื่อถือ มีความกลาที่จะวิพากษวิจารณ นักศึกษาตองมีทักษะใน
การสื่อสารใหเกิดความเขาใจอันดีระหวางบุคคลและชุมชนมีวิสัยทัศนที่กวางไกล โดยมีปรัชญาสอดคลองกับภารกิจ
หลักของสถาบันฯ
1.2 ความสำคัญ
จากการที่ความเจริญเติบโตของประเทศเปนไปอยางรวดเร็ว ดังจะเห็นไดจากการสรางสนามบินสุวรรณภูมิ
เพื่อขยายการเติบโตของสายการบิน การสรางระบบรถไฟฟาขนสงมวลชน การสรางรถไฟใตดิน ในเขต
กรุงเทพมหานคร ตลอดจนการสรางระบบอุโมงคระบายน้ำและการขยายอุโมงคสงน้ำ รวมถึงมีปญหาดานการกัด
เซาะและพังทลายของชายฝงทะเล ดังนั้น วงการวิชาชีพวิศวกรรมโยธาตองมีการพัฒนาไปลวงหนาเพื่อรองรับความ
เจริญเติบโตและแกปญหาดังกลาวนี้ หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา จึงเปดโอกาสให
วิศวกรผูมีประสบการณในการทำงานและวิศวกรผูเพิ่งจบการศึกษาใหม สามารถเพิ่มพูนความรูทางวิชาชีพใหทันตอ
ความเจริญเติบโตของประเทศ ซึ่งจะเปนรากฐานที่สำคัญในการเสริมสรางความกาวหนาในทางวิชาชีพวิศวกรรมได
ตอไป โดยวิศวกรผูมีประสบการณในการทำงานสามารถเขาศึกษาในแผนการศึกษา ก1 ซึ่งมุงเนนการทำวิจัยและการ
พัฒนาเทคโนโลยีเปนหลัก
1.3 วัตถุประสงค
1) เพื่อผลิตวิศวกรระดับมหาบัณฑิตที่มีความรูความสามารถทางดานวิศวกรรมโยธา เพื่อสนองความ
ตองการของประเทศในการพัฒนาในดานวิศวกรรมโยธา
2) เพื่อดำเนินการวิจัยทางดานวิศวกรรมโยธาทั้งทางดานวิชาการและการปฏิบัติ ในระดับที่สามารถ
นำไปใชพัฒนาเทคโนโลยีใหทันตอความตองการในอนาคต
3) เพื่อเผยแพรและใหบริการทางวิชาการทางดานวิศวกรรมโยธาแกหนวยงานตางๆ
1.4 หลักการและเหตุผล
ดวยวัตถุประสงคของหลั กสูตรเพื่อที่จะผลิตบั ณฑิต ที่ มีความรู และความสามารถ มีความพรอมในการ
ดำเนินการวิจัยทางดานวิศวกรรมโยธาทั้งในเชิงวิชาการและในทางปฏิบัติ ดังนั้นหลักสูตรนี้จึงมุงเนนที่จะรับ ทั้ง
นักศึกษาที่มีความรูและมีความตั้งใจพัฒนางานวิจัยเชิงวิชาการที่สรางสรรค และบุคคลผูมีประสบการณผานการ
ทำงานในสาขาวิศวกรรมโยธามาแลวและมีความตั้งใจที่จะพัฒนางานวิจัยในเชิงปฏิบัติที่สามารถนำไปใชงานไดจริง
เพื่อใหบรรลุตามวัตถุประสงคที่ตั้งไว

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


5 มคอ. 2

2. แผนพัฒนาปรับปรุง
แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ หลักฐาน/ตัวบงชี้
- ปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรม - พัฒนาหลักสูตรตาม - เอกสารปรับปรุงหลักสูตร
โยธา ใหมีมาตรฐานไมต่ำกวาที่ มาตรฐานสากล - รายงานผลการประเมินหลักสูตร
สกอ. กำหนด - ติดตามประเมินหลักสูตรอยาง
สม่ำเสมอ
- เชิญผูเชี่ยวชาญทั้งภาครัฐและ
เอกชนมามีสวนรวมในการพัฒนา
หลักสูตร
- ปรับปรุงหลักสูตรใหสอดคลอง - ติดตามความเปลี่ยนแปลงในความ - รายงานผลประเมินความพึงพอใจของ
กับความตองการของ ตองการของภาคอุตสาหกรรม ผูเรียนตอความรูและความทันสมัยของ
อุตสาหกรรม ธุรกิจ และการ - พัฒนาหลักสูตรใหสอดคลองกับ หลักสูตร
ความกาวหนาทางดานเทคโนโลยี - รายงานผลการประเมินความพึง
เปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยีและ
วิศวกรรมโยธา พอใจของผูใชมหาบัณฑิตหรือนายจาง
นวัตกรรม - นำเทคโนโลยีใหมๆ มาใชในการ - งานวิจัยในระดับชาติและนานาชาติ
เรียนการสอนเพื่อเพิ่มศักยภาพของ
หลักสูตร

3. ผลการเรียนรูที่คาดหวังรายชั้นป
เพื่อใหวัตถุประสงคของหลักสูตรทั้ง 3 ขอบรรลุ ไดกาหนดผลการเรียนรูที่คาดหวัง ดังนี้
ชั้นปที่ 1
1) มีความสามารถประยุกตใชความรูและเทคนิควิชาการเพื่อแกปญหาทางวิศวกรรมโยธาวิศวกรรม สิ่งแวดลอม
และวิศวกรรมการจัดการงานกอสรางในสถานการณตางๆ ได
2) มีความสามารถวิเคราะหแยกแยะองคความรูออกเปนองคประกอบยอยแลวสามารถสราง ความสัมพันธ
ระหวางองคประกอบยอยเหลานั้น เพือแสดงใหเห็นโครงสรางขององคความรูใน ภาพรวมทังหมด
3) มีความสามารถประเมินผลงานทางวิชาการหรือเหตุการณตางๆโดยใชเกณฑที่เหมาะสมหรือใช มาตรฐานใน
ระดับสากล
4) มีคุณธรรมจริยธรรมมีความรับผิดชอบตอตนเองสังคมและสิ่งแวดลอมประกอบอาชีพอยางมี จรรยาบรรณ
ดวยความซื่อสัตย สุจริต
5) มีความสามารถในการสือสารทังภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ตลอดจนสามารถใหเทคโนโลยี สารสนเทศใน
การประกอบวิชาชีพได
ชั้นปที่ 2
1) มีความสามารถวิเคราะหแยกแยะองคความรูออกเปนองคประกอบยอยแลวสามารถสราง ความสัมพันธ
ระหวางองคประกอบยอยเหลานั้น เพื่อแสดงใหเห็นโครงสรางขององคความรูใน ภาพรวมทั้งหมด
2) มีความสามารถประเมินผลงานทางวิชาการหรือเหตุการณตางๆโดยใชเกณฑที่เหมาะสมหรือใช มาตรฐานใน
ระดับสากล

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


6 มคอ. 2

3) มีความสามารถนาองคความรูไปใชในการประกอบวิชาชีพแลวทาใหเกิดการพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม และ


สิ่งแวดลอมอยางยั่งยืน
4) มีคุณธรรมจริยธรรมมีความรับผิดชอบตอตนเองสังคมและสิ่งแวดลอมประกอบอาชีพอยางมี จรรยาบรรณ
ดวยความซื่อสัตย สุจริต
5) มีความสามารถในการสื่อสารทั้งภาษาไทย และภาษาอังกฤษ ตลอดจนสามารถใหเทคโนโลยี สารสนเทศใน
การประกอบวิชาชีพได

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


7 มคอ. 2

หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดำเนินการ และโครงสรางของหลักสูตร


1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
ใชระบบการศึกษาแบบทวิภาค โดยใน 1 ปการศึกษาแบงออกเปน 2 ภาคการศึกษาปกติ ซึ่ง 1 ภาคการศึกษา
ปกติมีระยะเวลาศึกษาไมนอยกวา 15 สัปดาห และภาคฤดูรอน ใหกำหนด ระยะเวลาโดยสัดสวนเทียบเคียงได
กับภาคการศึกษาปกติ
ขอกำหนดตาง ๆ ไปเปนตามขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วาดวยการศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ก)
1.2 การจัดการศึกษาภาคฤดูรอน
 ไมมี
1.3 การเทียบเคียงหนวยกิตในระบบทวิภาค
 ไมมี
2. การดำเนินการหลักสูตร
2.1 วัน-เวลาในการดำเนินการเรียนการสอน
 วัน – เวลาราชการปกติ
 นอกวัน – เวลาราชการ วันจันทร ถึงวันศุกรเวลา 17.30 – 20.30 น.
ภาคการศึกษาที่ 1 เดือนสิงหาคม – เดือนธันวาคม
ภาคการศึกษาที่ 2 เดือนมกราคม – เดือนมิถุนายน
2.2 คุณสมบัติของผูเขาศึกษา
เปนผูสำเร็จการศึกษาปริญญาตรีหรือเทียบเทา ขอกำหนดตางๆ เปนไปตามขอบังคับของสถาบันวาดวย
การศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ก.) และขอบังคับสถาบัน วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี
แบบกาวหนา พ.ศ. 2553 และ พ.ศ. 2554 (ภาคผนวก ค.)
2.2.1 แผน ก แบบ ก 1
นักศึกษาสามัญ
สำเร็จการศึกษา หรือวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา และสาขาวิชาตามประกาศของคณะ
วิศวกรรมศาสตร ดวยคะแนนเฉลี่ยสะสมไมต่ำกวา 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนน หรือเทียบเทา หรือมี
ประสบการณในการทำงานในสาขาที่เกี่ยวของมาไมนอยกวา 8 ป
2.2.2 แผน ก แบบ ก 2
นักศึกษาสามัญ
สำเร็จการศึกษา หรือวิทยาศาสตรบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา และสาขาวิชาตามประกาศของคณะ
วิศวกรรมศาสตร

นักศึกษาทดลองเรียน
สำเร็จการศึกษาหรือกำลังศึกษาอยูในปการศึกษาสุดทายระดับปริญญาตรี ในสาขาวิชาตามประกาศของ
คณะวิศวกรรมศาสตร

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


8 มคอ. 2

2.3 ปญหาของนักศึกษาแรกเขา
นักศึกษามีขอจำกัดทางภาษาอังกฤษ และขาดความคิดสรางสรรในการดำเนินงานวิจัย นอกจากนั้นแลว
นักศึกษาไมมีเวลาในการทบทวนบทเรียนและอานบทความทางวิชาการตางๆ ทำใหเปนขอจำกัดที่สำคัญในการ
ทำงานวิจัย
2.4 กลยุทธในการดําเนินการเพื่อแกไขปญหา / ขอจํากัดของนักศึกษาในขอ 2.3
จัดใหนักศึกษาตองเรียนวิชาระเบียบวิธีวิจัย และวิชาสัมมนา พรอมกับมีการเรียนและสอบวัดระดับความรู
ทางดานภาษาอังกฤษ
2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูสําเร็จการศึกษาในระยะ 5 ป
 แผน ก แบบ ก 1
ปการศึกษา
จำนวนนักศึกษา
2560 2561 2562 2563 2564
ชั้นปที่ 1 5 5 5 5 5
ชั้นปที่ 2 5 5 5 5
รวม 5 10 10 10 10
คาดวาจะสำเร็จการศึกษา 5 5 5 5
 แผน ก แบบ ก 2
ปการศึกษา
จำนวนนักศึกษา
2560 2561 2562 2563 2564
ชั้นปที่ 1 15 15 15 15 15
ชั้นปที่ 2 15 15 15 15
รวม 15 30 30 30 30
คาดวาจะสำเร็จการศึกษา 15 15 15 15
2.6 งบประมาณตามแผน
ปงบประมาณ 2560 2561 2562 2563 2564
งบบุคลากร 2,050,000 3,100,000 4,100,000 5,100,000 6,100,000
งบลงทุน 300,000 600,000 600,000 600,000 600,000
งบดำเนินการ 150,000 300,000 300,000 300,000 300,000
รวม 2,500,000 4,000,000 5,000,000 6,000,000 7,000,000
ประมาณการคาใชจายตอหัวในการผลิตบัณฑิตตามหลักสูตรนี้ เฉลี่ย 75,000 บาท/คน/ป

2.7 ระบบการศึกษา
 แบบชั้นเรียน
2.8 การเทียบโอนหนวยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนขามสถาบันอุดมศึกษา (ถามี)
เปนไปตามข อบังคับ สถาบั นเทคโนโลยี พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง วาดวยการศึกษาระดั บ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ก)

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


9 มคอ. 2

3. หลักสูตรและอาจารยผูสอน
3.1 หลักสูตร
3.1.1 จำนวนหนวยกิตรวมตลอดหลักสูตร
 แผน ก แบบ ก 1 36 หนวยกิต
 แผน ก แบบ ก 2 36 หนวยกิต
3.1.2 โครงสรางหลักสูตร
แผน ก แบบ ก 1 36 หนวยกิต
หมวดวิชาวิทยานิพนธ 36 หนวยกิต
หมวดวิชาสัมมนา (ไมนับหนวยกิต) 2 หนวยกิต
หมวดวิชาบังคับ (ระเบียบวิธีวิจัย ไมนับหนวยกิต) 3 หนวยกิต
แผน ก แบบ ก 2 36 หนวยกิต
หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต
หมวดวิชาสัมมนา (ไมนับรวมหนวยกิต) 2 หนวยกิต
หมวดวิชาคณิตศาสตรขั้นสูง 3 หนวยกิต
หมวดวิชาบังคับ (ระเบียบวิธีวิจัย ไมนับหนวยกิต) 3 หนวยกิต
หมวดวิชาบังคับเลือก 6 หนวยกิต
หมวดวิชาเลือก 12 หนวยกิต
หมวดวิชาเลือกอิสระ 3 หนวยกิต

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


10 มคอ. 2

3.1.3 รายวิชา

แผน ก แบบ ก 1
หมวดวิชาวิทยานิพนธ 36 หนวยกิต
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 36 (0-108-0)
MASTER THESIS

หมวดวิชาสัมมนา 2 หนวยกิต (ไมนับหนวยกิต)


หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097307 สัมมนา 1 1 (0-2-0)
SEMINAR 1
01097308 สัมมนา 2 1 (0-2-0)
SEMINAR 2

หมวดวิชาบังคับ 3 หนวยกิต (ไมนับหนวยกิต)


หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097003 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6)
RESEARCH METHODOLOGY

แผน ก แบบ ก2
หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097640 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 12 (0-36-0)
MASTER THESIS

หมวดวิชาสัมมนา 2 หนวยกิต (ไมนับหนวยกิต)


หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097307 สัมมนา 1 1 (0-2-0)
SEMINAR 1
01097308 สัมมนา 2 1 (0-2-0)
SEMINAR 2

หมวดวิชาบังคับ 3 หนวยกิต (ไมนับหนวยกิต)


หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097003 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6)
RESEARCH METHODOLOGY

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


11 มคอ. 2

หมวดวิชาคณิตศาสตรขั้นสูง 3 หนวยกิต
ใหเลือกจากวิชาตอไปนี้ ตามที่กลุมวิชากำหนด
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097014 วิธีเชิงวิเคราะหและเชิงตัวเลขสำหรับวิศวกรรมโยธา 3 (3-0-6)
ANALYTICAL AND NUMERICAL METHODS FOR CIVIL ENGINEERING
01097012 การวิเคราะหระบบความนาจะเปนสำหรับวิศวกรรมโยธา 3 (3-0-6)
PROBABILISTIC SYSTEMS ANALYSIS FOR CIVIL ENGINEERING
01097013 การหาคาที่เหมาะสมที่สุดและการออกแบบ 3 (3-0-6)
DETERMINISTIC OPTIMIZATION AND DESIGN
01097015 วิธีเชิงตัวเลขสำหรับแบบจำลองทางวิศวกรรมชายฝงและทางทะเล 3 (3-0-6)
NUMERICAL METHODS FOR COASTAL AND
MARITIME ENGINEERING MODELING

หมวดวิชาบังคับเลือก 6 หนวยกิต

1) กลุมวิชาวิศวกรรมโครงสราง
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097812 กลศาสตรวัสดุขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED MECHANICS OF MATERIALS
01097114 การวิเคราะหโครงสรางโดยวิธีเมตริกซ 3 (3-0-6)
MATRIX ANALYSIS FOR STRUCTURES

2) กลุมวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097821 ปฐพีกลศาสตรขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED SOIL MECHANICS
01097823 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED FOUNDATION ENGINEERING

3) กลุมวิชาวิศวกรรมขนสง
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097831 วิศวกรรมจราจร 3 (2-3-6)
TRAFFIC ENGINEERING
01097833 การวางแผนระบบขนสงในชุมชนเมือง 3 (3-0-6)
URBAN TRANSPORTATION PLANNING

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


12 มคอ. 2

4) กลุมวิชาวิศวกรรมแหลงน้ำ
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097841 วิศวกรรมทรัพยากรแหลงน้ำ 3 (3-0-6)
WATER RESOURCE ENGINEERING
01097843 อุทกวิทยาขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED HYDROLOGY

5) กลุมวิชาวิศวกรรมชายฝงและทางทะเล
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097551 วิศวกรรมชายฝง 3 (3-0-6)
COASTAL ENGINEERING
01097552 ไดนามิคชายทะเลใกลฝงและขบวนการชายฝง 3 (3-0-6)
NEARSHORE DYNAMICS AND COASTAL PROCESSES

หมวดวิชาเลือก 12 หนวยกิต

1) กลุมวิชาวิศวกรรมโครงสราง
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097111 ทฤษฎีโครงสรางขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED THEORY OF STRUCTURES
01097113 กลศาสตรเนื้อตอเนื่อง 3 (3-0-6)
CONTINUUM MECHANICS
01097115 วิธีพลังงานในกลศาสตรประยุกต 3 (3-0-6)
ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS
01097116 ทฤษฎีอีลาสติกซิตี้ 3 (3-0-6)
THEORY OF ELASTICITY
01097117 เสถียรภาพของโครงสราง 3 (3-0-6)
STABILITY OF STRUCTURES
01097118 โครงสรางแผนและเปลือกบาง 3 (3-0-6)
THIN PLATE AND SHELL STRUCTURES
01097119 พลศาสตรทางโครงสราง 3 (3-0-6)
STRUCTURAL DYNAMICS
01097921 วิธีเชิงคำนวณทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)
COMPUTATIONAL METHODS IN ENGINEERING
01097922 การคำนวณทางวิศวกรรม I 3 (3-0-6)
COMPUTATION IN ENGINEERING I
01097923 วิธีไฟไนตเอลิเมนตสำหรับโครงสราง 3 (3-0-6)
FINITE ELEMENT METHODS FOR STRUCTURES

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


13 มคอ. 2

01097124 วิธีไฟไนตเอลิเมนตขั้นสูง 3 (3-0-6)


ADVANCED FINITE ELEMENT METHODS
01097125 วิธีไฟไนตเอลิเมนตแบบไมเชิงเสน 3 (3-0-6)
NONLINEAR FINITE ELEMENT METHODS
01097931 วิธีการทดลองในวิศวกรรมโครงสราง 3 (2-3-6)
EXPERIMENTAL METHODS IN STRUCTURAL ENGINEERING
01097932 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED CONCRETE TECHNOLOGY
01097941 โปรแกรมคอมพิวเตอรในงานวิศวกรรมโครงสราง 3 (3-0-6)
COMPUTER APPLICATIONS IN STRUCTURAL ENGINEERING
01097942 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED REINFORCED CONCRETE DESIGN
01097943 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง 3 (3-0-6)
PRESTRESSED CONCRETE DESIGN
01097144 การออกแบบโครงสรางเหล็กรูปพรรณขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED STRUCTURAL STEEL DESIGN
01097145 การออกแบบสะพาน 3 (3-0-6)
BRIDGE DESIGN
01097146 การออกแบบโครงสรางอาคารเหล็กขึ้นรูปเย็น 3 (3-0-6)
COLD-FORMED STEEL BUILDING DESIGN
01097147 การออกแบบโครงสรางวัสดุเชิงประกอบ 3 (3-0-6)
COMPOSITE MATERIAL STRUCTURE DESIGN
01097148 การออกแบบโครงสรางตานทานแผนดินไหว 3 (3-0-6)
SEISMIC DESIGN OF STRUCTURES
01097149 วิศวกรรมโครงสรางนอกฝง 3 (3-0-6)
OFFSHORE STRUCTURAL ENGINEERING
01097191 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมโครงสราง 3 (3-0-6)
SELECTED TOPICS IN STRUCTURAL ENGINEERING
01097193 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมโครงสราง I 3 (3-0-6)
SELECTED TOPICS IN STRUCTURAL ENGINEERING I
01097194 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมโครงสราง II 3 (3-0-6)
SELECTED TOPICS IN STRUCTURAL ENGINEERING II
01097195 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมโครงสราง III 3 (3-0-6)
SELECTED TOPICS IN STRUCTURAL ENGINEERING III

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


14 มคอ. 2

2) กลุมวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097242 การสำรวจและการทดสอบดานเทคนิคธรณี 3 (2-3-6)
GEOTECHNICAL EXPLORATION AND TESTING
01097231 งานกอสรางใตดินและงานอุโมงค 3 (3-0-6)
UNDERGROUND CONSTRUCTION AND TUNNELING
01097243 การปรับปรุงคุณภาพดิน 3 (3-0-6)
SOIL STABILIZATION
01097240 วิศวกรรมธรณีวิทยาขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED ENGINEERING GEOLOGY
01097244 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 (3-0-6)
SELECTED TOPICS IN GEOTECHNICAL ENGINEERING
01097245 การจัดการความเสี่ยงในสัญญาดานอุโมงค 3 (3-0-6)
RISK MANAGEMENT IN TUNNELLING CONTRACTS

3) กลุมวิชาวิศวกรรมขนสง
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097962 การวางแผนและเศรษฐศาสตรการทาง 3 (3-0-6)
HIGHWAY PLANNING AND ECONOMICS
01097964 การขนสงและสิ่งแวดลอม 3 (3-0-6)
TRANSPORTATION AND ENVIRONMENT
01097366 การวิเคราะหโครงขายและจำลองการขนสง 3 (3-0-6)
TRANSPORTATION NETWORK ANALYSIS AND MODELING
01097367 เทคโนโลยีการขนสง 3 (3-0-6)
TRANSPORTATION TECHNOLOGY
01097369 การวิเคราะหและปองกันอุบัติเหตุ 3 (3-0-6)
ACCIDENT ANALYSIS AND PREVENTION
01097370 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมขนสง 3 (3-0-6)
SELECTED TOPICS IN TRANSPORTATION ENGINEERING
01097371 หลักการนโยบายการขนสง 3 (3-0-6)
PRINCIPLES OF TRANSPORTATION POLICY

4) กลุมวิชาวิศวกรรมแหลงน้ำ
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097491 วิศวกรรมชลประทาน 3 (3-0-6)
IRRIGATION ENGINEERING
01097492 การไหลทางน้ำเปด 3 (3-0-6)
OPEN CHANNEL FLOW

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


15 มคอ. 2

01097908 อุทกวิทยาน้ำใตดิน 3 (3-0-6)


GROUNDWATER HYDROLOGY
01097498 การจำลองการไหลของน้ำใตดิน 3 (2-3-6)
GROUNDWATER FLOW MODELING
01097904 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมแหลงน้ำ 3 (3-0-6)
SELECTED TOPICS IN WATER RESOURCES AND
ENVIRONMENTAL ENGINEERING
01097538 วิศวกรรมแมน้ำ 3 (3-0-6)
RIVER ENGINEERING

5) กลุมวิชาวิศวกรรมชายฝงและทางทะเล
หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097511 การออกแบบ การกอสรางและการบำรุงรักษาของสิ่งปลูกสรางชายฝง 3 (3-0-6)
DESIGN, CONSTRUCTION AND MAINTENANCE FOR COASTAL FACILITIES
01097521 ไดนามิคที่ชายฝง 3 (3-0-6)
COASTAL DYNAMICS
01097522 ไฮโดรไดนามิคแนวชายฝงและปากอาว 3 (3-0-6)
ESTUARY AND COASTLINE HYDRODYNAMICS
01097523 ขบวนการชายฝงกับการประยุกตทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)
COASTAL PROCESSES WITH ENGINEERING APPLICATIONS
01097524 การออกแบบ การบำรุงรักษาและการประเมินคาความปลอดภัย 3 (3-0-6)
ของกำแพงกันคลื่นและเขื่อนหินทิ้ง
DIKES AND REVETMENTS, DESIGN, MAINTENANCE AND SAFETY ASSESSMENT
01097525 ทฤษฎีและวิธีปฏิบัติการเคลื่อนที่ของตะกอน 3 (3-0-6)
SEDIMENT TRANSPORT, THEORY AND PRACTICE
01097526 ความเสี่ยงและความนาเชื่อถือในวิศวกรรมชายฝง 3 (3-0-6)
RISK AND RELIABILITY IN COASTAL ENGINEERING
01097527 ความเสี่ยงจากการกอสรางในวิศวกรรมชายฝง 3 (3-0-6)
CONSTRUCTION RISK IN COASTAL ENGINEERING
01097528 การจัดการทรัพยากรชายฝง ในการฟนคืนสูปกติ การปรับตัว 3 (3-0-6)
และความหลากหลายของชุมชน
COASTAL RESOURCE MANAGEMENT IN RESILIENCE, ADAPTATION
AND COMMUNITY DIVERSITY
01097529 การจัดการโซนชายฝงแบบบูรณาการ 3 (3-0-6)
INTEGRATED COASTAL ZONE MANAGEMENT (ICZM)
01097530 ธรณีวิทยาชายฝง 3 (3-0-6)
COASTAL GEOLOGY

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


16 มคอ. 2

01097531 วิศวกรรมสมุทรศาสตร 3 (3-0-6)


OCEAN ENGINEERING
01097532 การออกแบบโครงสรางสมุทรศาสตร 3 (3-0-6)
DESIGN OF OCEAN STRUCTURES
01097533 วิศวกรรมนอกฝง 3 (3-0-6)
OFFSHORE ENGINEERING
01097534 การออกแบบโครงสรางนอกฝง 3 (3-0-6)
DESIGN OF OFFSHORE STRUCTURES
01097535 วิศวกรรมทาเรือ 3 (3-0-6)
PORT ENGINEERING
01097536 โครงสรางทาเรือและชายฝง 3 (3-0-6)
COASTAL AND PORT STRUCTURES
01097537 การจัดการเกี่ยวกับชายฝงและการทาเรือ 3 (3-0-6)
MANAGEMENT OF COASTS AND PORTS
01097539 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมชายฝงและทางทะเล 3 (3-0-6)
SELECTED TOPICS IN COASTAL AND MARITIME ENGINEERING
หมวดวิชาบังคับ
เปนวิชาวิศวกรรมโยธาที่สามารถนำไปใชประโยชนในการทำวิจัย เพื่อทำวิทยานิพนธไดโดยตรง หรือเปนสาขาวิชาหลักที่
นักศึกษามีความสนใจเปนพิเศษ โดยนักศึกษาตองศึกษาวิชาหลักนี้ตอเนื่องกันตามลำดับความยาก และความกาวหนาของ
งานวิจัย

หมวดวิชาบังคับเลือก
วิชาบังคับประกอบดวยวิชาพื้นฐานสำคัญของทุกกลุมในวิศวกรรมโยธา โดยจะเปนวิชาพื้นฐานของวิชาในหมวดวิชาเลือก
นักศึกษาเลือกลงกลุมใดกลุมหนึ่งเทานั้น

หมวดวิชาเลือก
วิชาเลือกเปนวิชาในวิศวกรรมโยธาทุกกลุมที่สามารถนำไปใชประโยชนในการทำวิจัยเพื่อวิทยานิพนธโดยตรง นักศึกษาควรจะ
เลือกศึกษาวิชาเลือกนี้ใหตอเนื่องตามลำดับความยาก และความกาวหนาของวิชาโดยสัมพันธกับงานวิจัย นักศึกษาอาจเลือก
วิชาใดในหมวดวิชาเลือกในกลุมเดียวกันหรือตางกลุมในสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา

หมวดวิชาเลือกอิสระ
วิชาเลือกอิสระเปนวิชาที่นักศึกษาตองเลือก เพื่อใหนักศึกษาไดเพิ่มพูนความรูและประสบการณในอันที่จะเปนประโยชนกับ
งานวิจัยหรือการศึกษากวางขวางออกไปที่เกี่ยวของกับงานวิจัย นักศึกษาอาจเลือกวิชาใดในหมวดวิชาเลือกในกลุมเดียวกันหรือ
ตางกลุมในสาขาวิชาวิศวกรรมโยธาหรือวิชาจากสาขาวิชาอื่น ๆ ในสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาลาดกระบัง ที่เกี่ยวของกับ
งานวิจัย โดยวิชาเลือกอิสระจะตองไดรับความเห็นชอบจากอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


17 มคอ. 2

หมวดวิชาสัมมนา
เปนวิชาที่ศึกษาเพื่อเปนแนวทางในการทำวิทยานิพนธ โดยเปนวิชาที่จะชวยใหนักศึกษาคุนเคยและรูจักกับการทำงานวิจัย โดย
การควบคุมของอาจารยที่ปรึกษาและเปนวิชาเริ่มตนคนควาในงานวิทยานิพนธตอไป

หมวดวิชาวิทยานิพนธ
เปนวิชาซึ่งเนนถึงการทำการวิจัย ความคิดริเริ่ม และคนพบวิชาการใหม หรือการประยุกตที่มีประโยชนตอการพัฒนาทางดาน
วิศวกรรมโยธา นักศึกษาจะดำเนินการทำวิทยานิพนธไดตามขั้นตอน ซึ่งกำหนดไวในขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลา
เจาคุณทหารลาดกระบังวาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


18 มคอ. 2

ความหมายของรหัสประจำรายวิชา
รหัสวิชาที่ใชถูกกำหมดเปนตัวเลข 8 หลัก คือ
รหัสตัวที่ 1, 2 ไดแกเลข 01 หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร
รหัสตัวที่ 3, 4 ไดแกเลข 09 หมายถึง สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
รหัสตัวที่ 5 ไดแกเลข 7 หมายถึง ระดับบัณฑิตศึกษา
รหัสตัวที่ 6, 7, 8 หมายถึง ลำดับที่ของรายวิชาตาง ๆ

ความหมายของรหัสประจำการสอบระดับบัณฑิตศึกษา
รหัสตัวที่ 1, 2 ไดแกเลข 99 หมายถึง รหัสประจำการสอบระดับบัณฑิตศึกษา
รหัสตัวที่ 3, 4 ไดแกเลข 01 หมายถึง คณะวิศวกรรมศาสตร
รหัสตัวที่ 5, 6 ไดแกเลข 09 หมายถึง สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
รหัสตัวที่ 7 ไดแกเลข 7 หมายถึง ระดับบัณฑิตศึกษา
รหัสตัวที่ 8 หมายถึง การสอบ
1 – วิทยานิพนธ
2 – การสอบวัดคุณสมบัติ
3 – การสอบประมวลความรู
4 – การผานเกณฑภาษาอังกฤษ

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


19 มคอ. 2

3.1.4 แผนการศึกษา
แผน ก แบบ ก 1
ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 9 (0-27-0)
MASTER THESIS
01097307 สัมมนา 1 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0)
SEMINAR 1
รวม 9 หนวยกิต

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 9 (0-27-0)
MASTER THESIS
01097003 ระเบียบวิธีวิจัย (ไมนับหนวยกิต) 3 (3-0-6)
RESEARCH METHODOLOGY
รวม 9 หนวยกิต

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 9 (0-27-0)
MASTER THESIS
01097308 สัมมนา 2 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0)
SEMINAR 2
รวม 9 หนวยกิต

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย-ปฏิบัติ-ศึกษาดวยตนเอง)
01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 9 (0-27-0)
MASTER THESIS
รวม 9 หนวยกิต

รวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


20 มคอ. 2

แผน ก แบบ ก 2
ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย- ปฏิบัติ- ศึกษาดวยตนเอง)
010970xx วิชาคณิตศาสตรขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED MATHEMATICS
010971xx วิชาบังคับเลือก 3 (3-0-6)
ELECTIVE COMPULSORY COURSES
01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6)
ELECTIVE COURSES
01097640 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 3 (0-9-0)
MASTER THESIS
01097307 สัมมนา 1 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0)
SEMINAR 1
รวม 12 หนวยกิต

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย- ปฏิบัติ- ศึกษาดวยตนเอง)
010971xx วิชาบังคับเลือก 3 (3-0-6)
ELECTIVE COMPULSORY COURSES
01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6)
ELECTIVE COURSES
01097640 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 3 (0-9-0)
MASTER THESIS
01097003 ระเบียบวิธีวิจัย (ไมนับหนวยกิต) 3 (3-0-6)
RESEARCH METHODOLOGY
รวม 9 หนวยกิต

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย- ปฏิบัติ- ศึกษาดวยตนเอง)
01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6)
ELECTIVE COURSE
01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6)
ELECTIVE COURSE
01097308 สัมมนา 2 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0)
SEMINAR 2
01097640 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 3 (0-9-0)
MASTER THESIS
รวม 9 หนวยกิต

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


21 มคอ. 2

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
รหัสวิชา ชื่อวิชา หนวยกิต (บรรยาย- ปฏิบัติ- ศึกษาดวยตนเอง)
xxxxxxxx วิชาเลือกอิสระ 3 (3-0-6)
FREE ELECTIVE COURSE
01097640 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 3 (0-9-0)
MASTER THESIS
รวม 6 หนวยกิต

รวมตลอดหลักสูตร 36 หนวยกิต

3.1.5 คำอธิบายรายวิชา
คำอธิบายรายวิชา (ภาคผนวก ง)

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


22 มคอ. 2

3.2 ชื่อ สกุล เลขประจําตัวบัตรประชาชน ตําแหนงและคุณวุฒิของอาจารย


3.2.1 อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร
ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ /สาขาวิชา/สถานศึกษา/ ผลงานทางวิชาการ
หมายเลขบัตรประชาชน ปที่สำเร็จการศึกษา
1. ผศ.ดร.ชลิดา อูตะเภา วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง), สถาบันเทคโนโลยี
1. งานวิจัย (รายละเอียดตามภาคผนวก ซ)
3-2508-00100-46-1 พระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง, 2541 - Two-level Optimization Model for
วศ.ม. (เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม), มหาวิทยาลัย
Compressed Natural Gas Infrastructure
เทคโนโลยีพระจอมเกลาธนบุรี, 2545 Investment Wastewater management,
Ph.D. (Civil and Environmental Journal of Natural Gas Science &
Engineering), University of Maryland, Engineering.
USA, 2556 2. ตำราเรียน -
3. ภาระงานสอน
- GROUNDWATER HYDROLOGY
10 ชั่วโมง/สัปดาห
2. ศ.ดร.อุมา สีบุญเรือง -วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง) 1. งานวิจัย
3-1009-04775-17-1 สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร - Acid Soil of Nakornnayok Province
ลาดกระบัง, 2537 - Groundwater Modeling of Namkham
-M.Sc. (Environmental Engineering), Basin
Lehigh University, USA, 1998 2. ตําราเรียน -
-Ph.D. (Water Resource Engineering), 3. ภาระงานสอน
University of California-Davis, - ANALYTICAL AND NUMERICAL
USA, 2002 METHODS FOR CIVIL ENGINEERING
- GROUNDWATER HYDROLOGY
- GROUNDWATER FLOW MODELING
3. รศ.ดร.จักรพงษ พงษเพ็ง B.Eng. (Agricultural Engineering), 1. งานวิจัย (รายละเอียดตามภาคผนวก ซ)
3-1999-00356-93-8 มหาวิทยาลัยขอนแกน, 2531 - โปรแกรมการคัดเลือกผูรับเหมา
M.Eng. (Construction Management), 2. ตำราเรียน
Kasetsart University, Thailand, 2534 - Construction Management
Ph.D. (Construction Engineering and 3. ภาระงานสอน
Management), Queensland University of - Research Methodology
Technology, Australia, 2546 9 ชั่วโมง/สัปดาห

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


23 มคอ. 2

3.2.2 อาจารยประจำหลักสูตร
ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา ผลงานทางวิชาการ
ปที่สำเร็จการศึกษา
1. รศ.ดร.คมสัน มาลีสี วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง) 1. งานวิจัย
สาขา วิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร - Double Mixing for Concrete
(คุณวุฒิตรงตามเกณฑ) ลาดกระบัง, 2536 - Autogenious Shrinkage
M.Eng. (Civil Engineering), - Lightweight Concrete
Tokai University, Japan, 2544 2. ตำราเรียน -
D. Eng. (Civil Engineering), 3. ภาระงานสอน
Tokai University, Japan, 2548 - Experimental Methods in Structural
Engineering
- Advanced Concrete Technology
3 ชั่วโมง/สัปดาห
2. ผศ.ดร. อัฎฐวิทย สุจริตพงศ วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเกษตร 1. งานวิจัย
สาขา วิศวกรรมโยธา ศาสตร, 2536 - Steel Structure
(คุณวุฒิตรงตามเกณฑ) วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเกษตร - Environmental factors for Structural
ศาสตร, 2544 Designs
Ph.D. (Civil Engineering), Kumamoto 2. ตำราเรียน -
University, Japan, 2550 3. ภาระงานสอน
- Structural Analysis
- Theory of Structure
3 ชั่วโมง/สัปดาห
3. รศ.ดร.นันทวัฒน Bachelor of Science (Statistics) 1. งานวิจัย
จรัสโรจนธนเดช มหาวิทยาลัยรามคำแหง, 2527 - Evaluation Method of Building Damage
สาขา วิศวกรรมโยธา Bachelor of Industrial Technology - Design Process of Coastal Structures
(คุณวุฒิตรงตามเกณฑ) (Construction Technology) 2. ตำราเรียน
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร - การประมาณราคาการกอสราง
ลาดกระบัง, 2528 - Construction Technology and
Master of Development Administration Equipment
Applied Statistics, National Institute of 3 ภาระงานสอน
Development Administration (NIDA), - Coastal Engineering
Thailand, 2529 - Design, Construction and Maintainance
Master of Engineering (Civil Engineering), for Coastal Facilities
King Mongkut's Institute of Technology - Research Methodology
Ladkrabang (KMITL), Thailand, 2555 3 ชั่วโมง/สัปดาห
Doctor of Engineering (Civil Engineering),
Tokai University, 2555

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


24 มคอ. 2

ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา ผลงานทางวิชาการ


ปที่สำเร็จการศึกษา
4. รศ.ดร.แหลมทอง วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง) 1. งานวิจัย
เหลาคงถาวร สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร - รูปแบบและการวิเคราะหสภาพปญหาใน
สาขา วิศวกรรมโยธา ลาดกระบัง, 2537 สัญญากอสราง บริหารและโอนกรรมสิทธิ์
(คุณวุฒิตรงตามเกณฑ) M.Eng. (Construction Management) โครงการระบบคมนาคมขนสงในประเทศไทย
Asian Institute of Technology, 2540 - การประเมินความเสี่ยงเกิดซ้ำสำหรับโครงการ
วศ.ด. (วิศวกรรมโยธา), อาคารสูงในกรุงเทพมหานคร
สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร 2. ตำราเรียน
ลาดกระบัง, 2559 - คูมือการพิมพและการเขียนปริญญานิพนธ
- คูมือปฏิบัติการทดลองปฐพีกลศาสตร
- การบริหารโครงการโดยใชโปรแกรม
Primavera
3. ภาระงานสอน
- Research Methodology
3 ชั่วโมง/สัปดาห

5. ศ.ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์ วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง) 1. งานวิจัย (รายละเอียดตามภาคผนวก ซ)


สาขา วิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร - Underground Construction and
(คุณวุฒิตรงตามเกณฑ) ลาดกระบัง, 2537 Tunneling, Advanced
M.Sc. (Geotechnical Engineering), Geotechnical Engineering, Soil
University of Wisconsin Madison, USA, Mechanics, Policy Analysis and
2540 Management, Political Economy
M.Sc. (Technology and Policy), 2. ตำราเรียน
Massachusetts Institute of Technology, - Principle of Soil Mechanics
USA, 2544 3. ภาระงานสอน
Sc.D. (Geotechnical Engineering), - Advanced Engineering Geology
Massachusetts Institute of Technology, - Advanced Soil Mechanics
USA, 2545 - Underground Construction and
Tunneling
2 ชั่วโมง/สัปดาห

6. ผศ.ดร.ภาสกร ขันทองทิพย - วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), 1.งานวิจัย


สาขา วิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาธนบุรี, - Environmental Science and
(คุณวุฒิตรงตามเกณฑ) 2535 Engineering
- M.Eng. (Civil Engineering), - Biological Processes
The University of Texas, 2541 - Waste Management
- M.Sc. (Environmental Engineering), - Renewable Energy

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


25 มคอ. 2

ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา ผลงานทางวิชาการ


ปที่สำเร็จการศึกษา
Virginia Polytechnic Institute and State 2. ตําราเรียน -
University, 2548 3. ภาระงานสอน
- Ph.D. (Environmental Engineering), - Environment System and Management
Virginia Polytechnic Institute and State - Selected Topics in Water Resources
University, 2553 and Environmental Engineering
7. ผศ.ดร.ชดชนก อัฑฒพงศ - วศ.บ. (วิศวกรรมสิ่งแวดลอม), 1. งานวิจัย
สาขา วิศวกรรมโยธา จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2548 - เชื้อเพลิงทดแทนและคุณสมบัติการเผาไหม
(คุณวุฒิตรงตามเกณฑ) - M.Sc. (Environmental Management), สำหรับการประยุกตใชทางดานพลังงานและ
จุฬาลงกรณมหาวิทยาลัย, 2550 สิ่งแวดลอม
- Ph.D (Environmental Engineering), - สารลดแรงตึงผิว (Surfactant)
The University of Oklahoma, USA, อิมัลชันและไมโครอิมัลชัน (Emulsion
2014 and microemulsion)
- อื่นๆ เชน การประเมินผลกระทบทาง
สิ่งแวดลอม (EIA) การประเมินวงจรชีวิต
ผลิตภัณฑ (LCA) การใชโปรแกรม GIS ในงาน
ทางดานสิง่ แวดลอม
2. ตำราเรียน -
3. ภาระงานสอน
- Principles of water and energy system
- Application for renewable energy
- Air pollution control
3 ชั่วโมง/สัปดาห
8. ผศ.ดร.อําพน จรัสจรุงเกียรติ - วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง) 1. งานวิจัย
สาขา วิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหาร - โปรแกรมจําลองพฤติกรรมโครงสราง
(คุณวุฒิตรงตามเกณฑ) ลาดกระบัง, 2541 - ชุดเขื่อนยางอัดลมพรอมระบบควบคุม
- M.Sc. (Computational Mechanics), - Smart Structures
Technische Universitaet Muenchen, - Light-weight Aggregate Materials for
2547 floating shelters
- Dr.-Ing. (Civil Engineering) Technische - Design concepts and development of
Universitaet Muenchen, 2552 the self floating boat landing
- Risk Assessment using Fault Tree
Analysis for Modular Assembly Process
2. ตําราเรียน -
กําลังของวัสดุ
3. ภาระงานสอน
- Strength of Materials
- Theory of Structures

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


26 มคอ. 2

ชื่อ-นามสกุล คุณวุฒิ สาขาวิชา สถานศึกษา ผลงานทางวิชาการ


ปที่สำเร็จการศึกษา
9. รศ.ดร.ศลิษา ไชยพุทธ - วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) 1.งานวิจัย
สาขา วิศวกรรมโยธา สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจา 2. ตำราเรียน -
(คุณวุฒิตรงตามเกณฑ) คุณทหารลาดกระบัง, 2553 3. ภาระงานสอน (6 ชม./สัปดาห)
- M.Sc. (Geotechnical and
Geoenvironmental Engineering), Asian
Institute of Technology, 2555
- Ph.D. (Geotechnical Engineering),
Nagaoka University of Technology,
Japan, 2559

3.2.3 อาจารยพิเศษ
-
4. องคประกอบเกี่ยวกับประสบการณภาคสนาม (การฝกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถามี)
ไมมี
4.1. มาตรฐานผลการเรียนรูของประสบการณภาคสนาม
-
4.2. ชวงเวลา
-

4.3. การจัดเวลาและตารางสอน
-

5. ขอกําหนดเกี่ยวกับการทําโครงงานหรืองานวิจัย (ถามี)
หลักสูตรกำหนดใหนักศึกษาตองมีผลงานวิจัยที่ไดมาตรฐานรวมกับอาจารยที่ปรึกษา เพื่อใชเปนสวนหนึ่งใน
การเรียบเรียงวิทยานิพนธ ซึ่งสอดคลองกับวิสัยทัศนของสถาบันที่มุงเปนสถาบันผลิตบัณฑิตที่มีคุณภาพและการเปน
สถาบันวิจัยดานวิทยาศาสตรและเทคโนโลยี
5.1 คําอธิบายโดยยอ
เปนวิชาซึ่งเนนถึงการทำการวิจัย ความคิดริเริ่ม และคนพบวิชาการใหม หรือการประยุกตที่มีประโยชนตอ
การพัฒนาทางดานวิศวกรรมโยธา นักศึกษาจะดำเนินการทำวิทยานิพนธไดตามขั้นตอนที่ไดรับการออกแบบไวใน
ระเบียบวิธีวิจัย
5.2 มาตรฐานผลการเรียนรู
นักศึกษามีศักยภาพในการเรียนรูดวยตนเอง สามารถคิดและวิเคราะหปญหาอยางเปนระบบและมีหลักการ
สามารถประยุกตใชศาสตรทั้งทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ดานวิศวกรรมโยธาในกลุมตางๆ และผลการเรียนรูทุก
ดาน มาใชในการทำวิทยานิพนธหรือทำการศึกษาอิสระไดผลเปนที่นาพึงพอใจ
นอกจากนั้นแลว นักศึกษาสามารถจัดการปญหาทางคุณธรรม จริยธรรมทั้งในเชิงวิชาการหรือวิชาชีพได
สามารถวินิจฉัยอยางผูรูดวยความยุติธรรมและชัดเจน มีหลักฐาน และตอบสนองปญหาเหลานั้นตามหลักการ เหตุผล
และคานิยมอันดีงาม นักศึกษาไดความรูและความเขาใจในเนื้อหาของหัวขออยางถองแท นำหลักการและทฤษฎีที่

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


27 มคอ. 2

สำคัญและนำมาประยุกตใชในการศึกษาคนควาได มีความสามารถในการพัฒนาความรูใหมๆ มีการพัฒนาแนวคิด


ริเริ่มและสรางสรรค สามารถแกไขปญหาที่มีความซับซอนหรือความยุงยากระดับสูงเพื่อตอบสนองประเด็นหรือ
ปญหา สามารถใชดุลยพินิจในการตัดสินใจในสถานการณตางๆได พรอมกันนี้ นักศึกษาสามารถคัดกรองขอมูลทาง
คณิตศาสตรและสถิติ เพื่อนำมาใชในการศึกษาคนควาปญหา สรุปปญหาและเสนอแนะแกไขปญหาในดานตางๆ
สามารถสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพไดอยางเหมาะสมกับกลุมบุคคลตางๆ ทั้งในวงการวิชาการและวิชาชีพ
5.3 ชวงเวลา
ภาคการเรียนที่ 1 และ 2 ของทุกปการศึกษา
5.4 จํานวนหนวยกิต
แผน ก แบบ ก1 36 หนวยกิต แผน ก แบบ ก2 12 หนวยกิต
5.5 การเตรียมการ
มีการกำหนดชั่วโมงการใหคำปรึกษา โดยอาจารยที่ปรึกษา และมีการสอนวิชาระเบียบวิธีวิจัย และวิชา
สัมมนา เพื่อเตรียมความพรอมของนักศึกษาในการทำวิทยานิพนธ

5.6 กระบวนการประเมินผล
(1) มีการเสนอวิทยานิพนธและสอบผานการสอบปากเปลาขั้นสุดทายจากคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ
(2) ผลงานวิทยานิพนธจะตองไดรับการตีพิมพ หรืออยางนอยดำเนินการใหผลงานหรือสวนหนึ่งของผลงาน
ไดรับการยอมรับใหตีพิมพในวารสารวิชาการระดับนานาชาติ (Journal/Transaction) หรือระดับชาติ
ซึ่งอาจตีพิมพเปน Letter หรือ Short paper ก็ได หรือเสนอตอที่ประชุมวิชาการระดับชาติหรือระดับ
นานาชาติที่มีรายงานการประชุม (Proceedings)

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


28 มคอ. 2

หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู กลยุทธการสอนและการประเมินผล


1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา
คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธหรือกิจกรรมของนักศึกษา
1. สามารถประยุกตใชความรู และเทคนิค - กำหนดปญหางานจริง เพื่อใหนักศึกษานำความรูไปประยุกตใช
วิธีการเพื่อแกปญหาทางวิศวกรรมโยธาใน แกปญหานั้น
สถานการณตางๆได - จัดใหมีการศึกษาในหองปฏิบัติการ หรือภาคสนาม เพื่อแสดงให
เห็นถึงการนำความรูไปประยุกตใช
- จัดใหมีการทำโครงงานพิเศษ
2. สามารถวิเคราะหแยกแยะองคความรู - จัดใหนักศึกษารวมกลุมกันวิเคราะหกรณีศึกษา/ปญหาจริง
ออกเปนองคประกอบยอย แลวสามารถ - จัดใหนักศึกษารวมกลุมกันเพื่อโตวาทีเกี่ยวกับปญหาปจจุบัน
สรางความสัมพันธระหวางองคประกอบ ทางดานวิศวกรรมโยธา
ยอยเหลานั้นเพื่อแสดงใหเห็นโครงสราง - กำหนดใหนักศึกษาทำการวิจัยหรือทดลองทางดานวิศวกรรมโยธา
ขององคความรูในภาพองคความรูรวม
ทั้งหมด
3. สามารถประเมินผลงานทางวิชาการ - กำหนดผลงานทางวิชาการ/ปญหางานจริงใหนักศึกษาทำการ
หรือเหตุการณตางๆ โดยใชเกณฑที่ ประเมิน
เหมาะสมหรือมาตรฐานในระดับสากล - จัดใหมีการโตวาทีเกี่ยวกับผลงานทางวิชาการ/ปญหางานจริง
- จัดใหมีการเรียนการสอนอยางเทาเทียมโดยใหผูเรียนสามารถ
ประเมินองคความรูที่นำมาสอน/เรียนในหองไดอยางเทาเทียม
4. สามารถนำองคความรูไปใชในการ - ปลูกฝงใหนักศึกษาตระหนักถึงการพัฒนาที่ยั่งยืนใน 3 ดาน คือ
ประกอบวิชาชีพแลวทำใหเกิดการพัฒนาที่ ดานเศรษฐกิจ สังคม และสิ่งแวดลอม โดยใชกรณีศึกษาหรือ
ยั่งยืน เหตุการณที่เกี่ยวของ

2. การพัฒนาผลการเรียนรูในแตละดาน
2.1 ดานคุณธรรม จริยธรรม
2.1.1 ผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม
(1) สามารถจัดการปญหาทางคุณธรรม จริยธรรมที่ซับซอนเชิงวิชาการหรือวิชาชีพ โดยคำนึงถึงความรูสึกของ
ผูอื่น และเมื่อไมมีขอมูลทางจรรยาบรรณวิชาขีพ หรือไมมีระเบียบขอบังคับเพียงพอที่จะจัดการกับปญหาที่
เกิดขึ้น ก็สามารถวินิจฉัยอยางผูรู ดวยความยุติธรรมและชัดเจน มีหลักฐานและตอบสนองปญหาเหลานั้น ตาม
หลักการ เหตุผล และคานิยมอันดีงาม ใหขอสรุปของปญหา ดวยความไวตอความรูสึกของผูไดรับผลกระทบ
(2) ริเริ่มในการยกปญหาทางจรรยาบรรณที่มีอยู เพื่อการทบทวนและแกไขสนับสนุนอยางจริงจัง ใหผูอื่นใชการ
วินิจฉัยทางดานคุณธรรม จริยธรรม ในการจัดการกับขอโตแยง และปญหาที่มีผลกระทบตอตนเองและผูอื่น
(3) แสดงออกซึ่งภาวะผูนำ ในการสงเสริมใหมีการประพฤติปฏิบัติตามหลักคุณธรรม จริยธรรม ในสภาพแวดลอม
ของการทำงาน และในชุมชนที่กวางขวางขึ้น
(4) มีจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพ และมีความรับผิดชอบในฐานะผูประกอบวิชาชีพ รวมถึงเขาใจถึง
บริบททางสังคมของวิชาชีพวิศวกรรมในแตละสาขา ตั้งแตอดีตจนถึงปจจุบัน

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


29 มคอ. 2

2.1.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม


(1) สอดแทรกเรื่องคุณธรรม จริยธรรมในการสอน ในการเรียนการสอน ทั้งในดานการดำรงชีวิตอยูในสังคม
และการประกอบวิชาชีพ โดยเนนในเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพเปนสำคัญ
(2) สอดแทรกกิจกรรมเกี่ยวกับการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม ในการเรียนการสอน ทั้งในดานการดำรงชีวิต
อยูในสังคม และการประกอบวิชาชีพ โดยเนนในเรื่องจรรยาบรรณทางวิชาการและวิชาชีพเปนสำคัญ
(3) ปลูกฝงใหนักศึกษามีระเบียบวินัยในตนเอง แตงกายเหมาะสมกับสถานภาพนักศึกษา มีความรับผิดชอบใน
การเขาเรียนและการสงงานตรงเวลา ฝกฝนภาวะความเปนผูนำ ผูตาม รวมถึงการเคารพสิทธิ และการรับฟง
ความคิดเห็นผูอื่นในการปฏิบัติงานเปนทีมและการทำงานวิจัย
(4) เชิญวิศวกรอาวุโสหรือผูทรงคุณวุฒิจากสภาวิชาชีพมาใหความรูความเขาใจดานคุณธรรมและจริยธรรม
ในวิชาชีพที่เกี่ยวของ
2.1.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานคุณธรรม จริยธรรม
(1) ประเมินจากการตรงเวลาของนักศึกษาในการเขาชั้นเรียน
(2) การสงงานตามกำหนดระยะเวลาที่มอบหมาย
(3) การทำงานรวมกันของนักศึกษา การแตงกาย การคัดลอกการบาน หรือการทุจริตในการสอบ
(4) การใหเกียรติในการอางอิงผลงานในการทำวิจัย
2.2 ดานความรู
2.2.1 ผลการเรียนรูดานความรู
(1) มีความรูและความเขาใจอยางถองแทในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่สำคัญ
และนำมาประยุกตในการศึกษาคนควาทางวิชาการ หรือการปฏิบัติในวิชาชีพ
(2) มีความเขาใจในทฤษฎี การวิจัย และการปฏิบัติทางวิชาชีพนั้นอยางลึกซึ้งในวิชาหรือกลุมวิชาเฉพาะในระดับ
แนวหนา
(3) มีความเขาใจในวิธีการพัฒนาความรูใหมๆ และการประยุกต ตลอดถึงผลกระทบของผลงานวิจัยในปจจุบัน ที่มี
ตอองคความรูในสาขาวิชา และตอการปฏิบัติในวิชาชีพ
(4) ตระหนักในระเบียบขอบังคับที่ใชอยูในสภาพแวดลอมของระดับชาติและนานาชาติ ที่อาจมีผลกระทบตอสาขา
วิชาชีพ รวมทั้งเหตุผลและการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต
2.2.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานความรู
ใชการสอนในหลากหลายรูปแบบ โดยเนนหลักการทางทฤษฎี และประยุกตใชทางปฏิบัติดวยการทดลอง
และโครงงานวิจัย ใชหลักการสอนที่เนนใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิดและการแกไขปญหา มีความสามารถในการ
เรียนรูดวยตนเอง และการปฏิบัติงานจริง สามารถคิดและวิเคราะหปญหาอยางเปนระบบ สามารถประยุกตใชศาสตร
ทางดานตางๆ กับสถานการณจริง ทั้งนี้ใหเปนไปตามลักษณะของรายวิชาตลอดจนเนื้อหาสาระของรายวิชานั้นๆ
นอกจากนี้ใหมีการเรียนรูจากสถานการณจริงโดยการศึกษาดูงานหรือเชิญผูเชี่ยวชาญที่มีประสบการณตรงมาเปน
วิทยากรพิเศษเฉพาะเรื่องตลอดจนฝกปฏิบัติงานในสถานประกอบการ

2.2.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานความรู
ประเมินจากผลสัมฤทธิ์ทางการเรียนและการปฏิบัติของนักศึกษา ในดานตาง ๆ คือ

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


30 มคอ. 2

(1) การทดสอบยอย การสอบกลางภาคเรียนและปลายภาคเรียน รวมไปถึงการสอบประมวลความรู การสอบวัด


คุณสมบัติ และการสอบวิทยานิพนธหรือการศึกษาอิสระ
(2) ประเมินจากรายงานที่นักศึกษาจัดทำและจากการโจทยการบาน การนำเสนอผลงาน การอธิบาย การตอบ
คำถาม การโตตอบสื่อสารกับผูอื่น
(3) ประเมินจากโครงการวิจัยที่นำเสนอ
2.3 ดานทักษะทางปญญา
2.3.1 ผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา
(1) ใชความรูทางทฤษฎีและภาคปฏิบัติในการจัดการบริบทใหมที่ไมคาดคิดทางวิชาการและวิชาชีพ และพัฒนา
แนวคิดริเริ่มและสรางสรรค เพื่อตอบสนองประเด็นหรือปญหา
(2) สามารถใชดุลยพินิจในการตัดสินใจในสถานการณที่มีขอมูลไมเพียงพอ
(3) สามารถสังเคราะหและใชผลงานวิจัย สิ่งตีพิมพทางวิชาการ หรือรายงานทางวิชาชีพและพัฒนาความคิดใหมๆ
โดยการบูรณาการใหเขากับองคความรูเดิม หรือเสนอเปนความรูใหมที่ทาทาย
(4) สามารถใชเทคนิคทั่วไป หรือเฉพาะทางในการวิเคราะหประเด็นหรือปญหาที่ซับซอนไดอยางสรางสรรค
รวมถึงพัฒนาขอสรุปและขอเสนอแนะที่เกี่ยวของในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ
(5) สามารถวางแผนและดำเนินการโครงการสำคัญ หรือโครงการวิจัยคนควาทางวิชาการไดดวยตนเอง โดยการใช
ความรูทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ ตลอดถึงการใชเทคนิคการวิจัย และใหขอสรุปที่สมบูรณ ซึ่งขยายองค
ความรูหรือแนวทางการปฏิบติในวิชาชีพที่มีอยูเดิมไดอยางมีนัยสำคัญ
2.3.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะทางปญญา
(1) ใชหลักการสอนที่เนนใหผูเรียนไดฝกทักษะการคิดและการแกไขปญหา มีความสามารถในการเรียนรูดวย
ตนเอง และการปฏิบัติงานจริง เปดโอกาสใหนักศึกษาไดแสดงความคิดเห็น
(2) การมอบหมายงานในลักษณะใหนักศึกษาคิด วิเคราะหและแกปญหาโดยใชโจทยจากสถานประกอบการณจริง
(3) การออกขอสอบที่ใหนักศึกษาแกปญหา อธิบายแนวคิดการแกปญหาและแนวทางการประยุกตความรูที่เรียนมา
(4) มอบหมายใหนักศึกษาคนควาหาความรูดวยตัวเอง แลวนำมาวิพากษรวมกับอาจารย
(5) กำหนดกรณีศึกษาใหนักศึกษาจัดทำในรายบุคลหรือรายงานกลุม
2.3.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะทางปญญา
ประเมินตามสภาพจริงจากผลงาน และการปฏิบัติของนักศึกษา เชน ประเมินจากการนำเสนอรายงานในชั้น
เรียน การทดสอบโดยใชแบบทดสอบหรือสัมภาษณ ความสัมฤทธิ์ผลทางการเรียนรู การนำเสนอผลงาน เปนตน และ
ประเมินทักษะทางปญญา ไดจากการแสดงออกทางการกระบวนการคิดและการแกไขปญหา ผลการปฏิบัติงาน เชน
การอธิบาย การตอบคำถาม การโตตอบสื่อสารกับผูอื่น
2.4 ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
2.4.1 ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคลและความรับผิดชอบ
(1) สามารถแกไขปญหาที่มีความซับซอน หรือความยุงยากระดับสูงทางวิชาขีพไดดวยตัวเอง
(2) สามารถตัดสินใจในการดำเนินงานดวยตัวเอง และสามารถประเมินตนเองได รวมทั้งวางแผนในการปรับปรุง
ตนเองใหมีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได
(3) มีความรับผิดชอบในการดำเนินงานของตนเอง และรวมมือกับผูอื่นอยางเต็มที่ในการจัดการขอโตแยง
และปญหาตางๆ
(4) แสดงออกดานทักษะการเปนผูนำไดอยางเหมาะสม ตามโอกาสและสถานการณ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพใน

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


31 มคอ. 2

การทำงานของกลุม
2.4.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรู ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และความ
รับผิดชอบ
(1) เนนการเรียนการสอนที่มีการปฏิสัมพันธที่ดีระหวางผูเรียนและผูสอน การมีมนุษยสัมพันธที่ดีกับผูรวมชั้น
เรียน การวางตัวที่เหมาะสมตอกาลเทศะ การทำกิจกรรมเพื่อสังคม การประสานงานกับผูอื่นทั้งภายในและ
ภายนอกสถาบันการศึกษา และความรับผิดชอบตองานที่ไดรับมอบหมาย
(2) ใชการสอนที่มีการกำหนดกิจกรรมใหมีการทำงานเปนกลุม การทำงานที่ตองประสานงานกับผูอื่น งาน
นำเสนอ หรือตองคนควาหาขอมูลจากการสัมภาษณบุคคลอื่น หรือผูมีประสบการณ โดยมีความคาดหวังใน
ผลการเรียนรูดานทักษะความสัมพันธระหวางตัวบุคคลและความสามารถในการรับผิดชอบ
(3) นอกจากนี้แลว การทำงานเปนกลุม ยังชวยใหเห็นถึงการแสดงออกถึงภาวะความเปนผูนำและผูตามที่ดี
2.4.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรู ดานทักษะความสัมพันธระหวางบุคคล และความ
รับผิดชอบ
(1) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษา ระหวางกิจกรรมการเรียนการสอน เชน พฤติกรรม
ความสนใจ ตั้งใจเรียนรู และพัฒนาตนเอง การแสดงบทบาทภาวะผูนำและผูตามที่ดี ความสามารถในการ
ทำงานรวมกับผูอื่น ความรับผิดชอบในการเรียนและงานที่ไดรับมอบหมาย การนำเสนอผลงาน การทำงาน
วิจัย และการรวมทำกิจกรรมเพื่อสังคม
(2) ประเมินจากพฤติกรรมและการแสดงออกของนักศึกษาในการนำเสนอรายงานกลุมในชั้นเรียน
(3) ประเมินจากการประเมินดวยกันเองของนักศึกษา
(4) ประเมินจากผลของการนำเสนอผลงานวิจัยในเวทีประชุมวิชาการ
2.5 ดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
2.5.1 ผลการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ
(1) สามารถคัดกรองขอมูลทางคณิตศาสตรและสถิติเพื่อนำมาใชในการศึกษา คนควาปญหา สรุปปญหา และ
เสนอแนะแกไขปญหาในดานตางๆ
(2) สามารถสื่อสารอยางมีประสิทธิภาพ ไดอยางเหมาะสมกับกลุมบุคคลตางๆ ทั้งในวงการวิชาการและวิชาชีพ
รวมถึงบุคคลทั่วไปโดยการนำเสนอรายงาน ทั้งในรูปแบบที่เปนทางการ และไมเปนทางการ ผานสิ่งตีพิมพ
ทางวิชาการ รวมทั้งวิทยานิพนธ หรือโครงการคนควาที่สำคัญ
(3) สามารถประยุกตใชเทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารที่ทันสมัยไดอยางเหมาะสม เชน การสืบคนขอมูล
2.5.2 กลยุทธการสอนที่ใชพัฒนาการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และ
การใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) มีรายวิชาตางๆ ที่มุงเนนเนื้อหาชวยพัฒนาทักษะทั้งทางดานคณิตศาสตร ทักษะดานการสื่อสาร และการใช
เทคโนโลยีสารสนเทศ ใหนักศึกษาไดฝกทักษะทั้งดานการวิเคราะห การสื่อสาร และการใชเทคโนโลยี
สารสนเทศ ในการคนควาและนำเสนองาน และมีกิจกรรมการเรียนการสอนอื่นๆ ที่มุงเนนใหผูเรียนไดฝกฝน
ทักษะตางๆ เหลานี้ ทั้งดวยตนเองและรวมกับผูอื่น การอภิปราย และการวิเคราะหปญหาจริงในการเรียนรู
และการทำงานวิจัย

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


32 มคอ. 2

(2) มีกลยุทธการสอนที่ใชในการพัฒนาการเรียนรูดานทักษะในการวิเคราะหสามารถทำไดในระหวางการสอน
โดยใหนักศึกษาแกปญหา วิเคราะหประสิทธิภาพของวิธีแกปญหา และใหนำเสนอแนวคิดของการแกปญหา
ผลการวิเคราะหประสิทธิภาพ ตอนักศึกษาในชั้นเรียน
2.5.3 กลยุทธการประเมินผลการเรียนรูดานทักษะการวิเคราะหเชิงตัวเลข การสื่อสาร และการ
ใชเทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) ประเมินผลตามกิจกรรมการเรียนการสอน และการนำเสนองานโดยใชแบบประเมินทักษะในดานตางๆ
เหลานี้ การทดสอบความรูและเทคนิคการวิเคราะหและแกปญหาในสถานการณจำลองเสมือนจริง และการ
ทำงานวิจัย ตั้งแตเริ่มตนจนถึงขั้นตอนการเขียนรายงาน และการนำเสนอผลงาน
(2) ประเมินจากเทคนิคการใชเครื่องมือการคำนวณและเครื่องมือทางวิศวกรรม
(3) ประเมินจากเทคนิคในการวิเคราะหขอมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตรหรือการแสดงสถิติประยุกตในการ
แกปญหาโจทยการคำนวณ
(4) ประเมินจากผลงานที่มอบหมาย

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


33 มคอ. 2

3. แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรูจากหลักสูตรสูรายวิชา (Curriculum Mapping)  ความรับผิดชอบหลัก  ความรับผิดชอบรอง  ไมมี


1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา
4. ทักษะความสัมพันธระหวาง 5. ทักษะการวิเคราะห
(1) สามารถจั ด การป ญ หาทาง (1) มีความรูและความเขาใจอยาง (1) ใชความรูทางทฤษฎีและภาคปฏิบัติในการ บุคคล และความรับผิดชอบ เชิงตัวเลข การสื่อสาร
คุณธรรม จริยธรรมที่ซับซอนเชิง ถองแทในเนื้อหาสาระหลั ก ของ จัดการบริบทใหมที่ไมคาดคิดทางวิชาการและ (1) สามารถแก ไ ขป ญ หาที ่ ม ี ค วาม แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
วิชาการหรือวิชาชีพ โดยคำนึงถึง สาขาวิชา ตลอดจนหลักการและ วิชาชีพ และพัฒนาแนวคิดริเริ่มและสรางสรรค ซั บ ซ อ น หรื อ ความยุ  งยากระดั บ สู ง
สารสนเทศ
ความรูสึกของผูอื่น และเมื่อไมมี ทฤ ษ ฎ ี ท ี ่ ส ำ คั ญ แ ละ นำ มา เพื่อตอบสนองประเด็นหรือปญหา ทางวิชาขีพไดดวยตัวเอง (1) สามารถคั ดกรองขอมูล
ข อ มู ลทางจรรยาบรรณวิ ช าขี พ ประยุกตในการศึกษาคนควาทาง (2) สามารถใช ด ุ ล ยพิ น ิ จ ในการตั ด สิ น ใจใน (2) สามารถตัดสินใจในการดำเนินงาน ทางคณิ ต ศาสตร แ ละสถิ ติ
หรือไมมีระเบียบขอบังคับเพี ย ง วิ ช าการ หรื อ การปฏิ บ ั ต ิ ใ น สถานการณที่มีขอมูลไมเพียงพอ ด ว ยตั ว เอง และสามารถประเมิ น เพื ่ อ นำมาใช ใ นการศึ ก ษา
พอที่จะจัดการกับปญหาที่เกิดขึ้น วิชาชีพ (3) สามารถสังเคราะหและใชผลงานวิจัย สิ่ง ตนเองได รวมทั ้ ง วางแผนในการ ค น คว า ป ญ หา สรุ ป ป ญ หา
ก็ สามารถวิ นิ จฉั ยอย างผู รู  ด วย (2) มี ความเขา ใจในทฤษฎี การ ตี พ ิ ม พ ทางวิ ช าการ หรื อ รายงานทางวิ ชาชีพ ปรับปรุงตนเองใหมีประสิทธิภาพใน และเสนอแนะแก ไขป ญ หา
ความยุ ต ิ ธ รรมและชั ด เจน มี วิจัย และการปฏิบัติทางวิชาชีพ และพัฒนาความคิดใหมๆโดยการบูรณาการให การปฏิบัติงานระดับสูงได ในดานตางๆ
หลั ก ฐานและตอบสนองป ญ หา นั ้ นอย า งลึ ก ซึ ้ งในวิ ช าหรื อ กลุ ม เขากับองคความรู  เดิม หรือเสนอเปนความรู (3) มีความรับผิดชอบในการ (2) สามารถสื ่ อ สารอย า งมี
เหล า นั ้ น ตามหลั ก การ เหตุ ผล วิชาเฉพาะในระดับแนวหนา ใหมที่ทาทาย ดำเนินงานของตนเอง และรวมมือกับ ประสิ ท ธิ ภ าพ ได อ ย า ง
และคานิยมอันดีงาม ใหขอสรุป (3) มีความเขาใจในวิธีการพัฒนา (4) สามารถใชเทคนิคทั่วไป หรือเฉพาะทางใน ผู  อ ื ่ น อย า งเต็ ม ที ่ ใ นการจั ด การข อ เหมาะสมกั บ กลุ  ม บุ ค คล
ของป ญ หา ด ว ยความไวต อ ความรู  ใหมๆ และการประยุกต การวิเคราะหประเด็นหรือปญหาที่ซับซอนได โตแยง และปญหาตางๆ ต า งๆ ทั ้ งในวงการวิ ช าการ
รายวิชา ความรูสึกของผูไดรับผลกระทบ ตลอดถึงผลกระทบของ อย า งสร า งสรรค รวมถึ ง พั ฒ นาข อ สรุ ป และ (4) แสดงออกดานทักษะการเปนผูนำ และวิ ช าชี พ รวมถึ ง บุ ค คล
(2) ริ เ ริ ่ ม ในการยกป ญ หาทาง ผลงานวิจัยในปจจุบัน ที่มีตอองค ขอเสนอแนะที่เกี่ยวของในสาขาวิชาการหรือ ได อ ย า งเหมาะสม ตามโอกาสและ ท ั ่ ว ไป โ ดย ก า รน ำ เ ส น อ
จรรยาบรรณที ่ ม ี อ ยู  เพื ่ อ การ ความรูในสาขาวิชา และตอการ วิชาชีพ สถานการณ เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพ รายงาน ทั้งในรูปแบบที่เปน
ทบทวนและแกไขสนับสนุนอยาง ปฏิบัติในวิชาชีพ (5) สามารถวางแผนและดำเนินการโครงการ ในการทำงานของกลุม ทางการ และไมเปนทางการ
จริ ง จั ง ให ผ ู  อ ื ่ น ใช ก ารวิ น ิ จ ฉั ย สำคัญ หรือโครงการวิจัยคนควาทางวิชาการได
ผ า นสิ ่ งตี พ ิ ม พ ท างวิ ช าการ
ทางดานคุณธรรม จริยธรรม ใน ดวยตนเอง โดยการใชความรูทั้งภาคทฤษฎีและ
รวมทั ้ ง วิ ท ยานิ พ น ธ  หรื อ
การจั ด การกั บ ข อ โต แ ย ง และ ภาคปฏิ บ ั ติ ตลอดถึ ง การใช เ ทคนิ คการวิ จั ย
โครงการคนควาที่สำคัญ
ป ญ หาที ่ ม ีผ ลกระทบต อ ตนเอง และใหขอสรุปที่สมบูรณ ซึ่งขยายองคความรู
(3) สามารถประยุ ก ต ใ ช
และผูอื่น หรือแนวทางการปฏิบติในวิชาชีพที่มีอยูเดิมได
เทคโนโลยี ส ารสนเทศและ
อยางมีนัยสำคัญ
การสื่อสารที่ทันสมัยไดอยาง
เหมาะสม เช น การสื บ ค น
ขอมูล

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


34 มคอ. 2

1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา 4. ทักษะความสัมพันธระหวาง 5. ทักษะการวิเคราะห


(3) แสดงออกซึ ่ งภาวะผู  นำ ใน (4) ตระหนักในระเบียบขอบังคับ บุคคล และความรับผิดชอบ เชิงตัวเลข การสื่อสาร
การส ง เสริ ม ให ม ี ก ารประพฤติ ที ่ ใ ช อ ยู  ใ นสภาพแวดล อ มของ แ ล ะ เ ท ค โ น โ ล ยี
ปฏิบัติตามหลักคุณธรรม ระดับชาติและนานาชาติ ที่อาจมี
สารสนเทศ
จริยธรรม ในสภาพแวดลอมของ ผลก ระ ทบ ต อ สาขาวิ ช าชี พ
การทำงาน และในชุ ม ชนที่ รวมทั้งเหตุผลและการ
กวางขวางขึ้น เปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นใน
รายวิชา (4) มี จ รรยาบรรณทางวิ ช าการ อนาคต
และวิชาชีพ และมีความ
รั บ ผิ ด ชอบในฐานะผู  ป ระกอบ
วิ ชาชี พ รวมถึ งเข าใจถึ งบริบท
ทางสังคมของวิ ชาชี พวิ ศวกรรม
ในแต ละสาขา ตั ้ งแต อ ดีตจนถึง
ปจจุบัน
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3
01097630 วิทยานิพนธ
มหาบัณฑิต
                   
01097640 วิทยานิพนธ
มหาบัณฑิต
                   
01097307-308
สัมมนา 1-2
                   
01097003
ระเบียบวิธีวิจยั
                   

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


35 มคอ. 2

5. ทักษะการวิเคราะห
4. ทักษะความสัมพันธระหวาง เชิงตัวเลข การสื่อสาร
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา
รายวิชา บุคคลและความรับผิดชอบ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3
01097014 วิธีเชิงวิเคราะห
และเชิงตัวเลขสำหรับ                   
วิศวกรรมโยธา
01097012 การวิเคราะห
ระบบความนาจะเปนสำหรับ                   
วิศวกรรมโยธา
01097013 การหาคาที่
เหมาะสมทีส่ ุดและการ                   
ออกแบบ
01097015 วิธีเชิงตัว เลข
สำหรับแบบจำลอง ทาง                    
วิศวกรรมชายฝงและทาง
ทะเล
01097812 กลศาสตรวสั ดุขั้น
สูง
         
01097114 การวิเคราะห
โครงสรางโดยวิธเี มตริกซ
         

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


36 มคอ. 2

5. ทักษะการวิเคราะห
4. ทักษะความสัมพันธระหวาง เชิงตัวเลข การสื่อสาร
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา
รายวิชา บุคคลและความรับผิดชอบ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3
01097821 ปฐพีกลศาสตรขั้น
สูง
                   
01097823 วิศวกรรมฐานราก
ขั้นสูง
                   
01097831 วิศวกรรมจราจร                    
01097833 การวางแผน
ระบบขนสงในชุมชนเมือง
                   
0109841 วิศวกรรม
ทรัพยากรแหลงน้ำ
                   
01097843 อุทกวิทยาขั้นสูง                    
01097551 วิศวกรรมชายฝง                    
01097552 ไดนามิค
ชายทะเลใกลฝงและ                    
ขบวนการชายฝง

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


37 มคอ. 2

5. ทักษะการวิเคราะห
4. ทักษะความสัมพันธระหวาง เชิงตัวเลข การสื่อสาร
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา
รายวิชา บุคคลและความรับผิดชอบ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3
01097111
ทฤษฎีโครงสรางขั้นสูง
         
01097113 กลศาสตรเนื้อ
ตอเนื่อง
         
01097115 วิธีพลังงานใน
กลศาสตรประยุกต
        
01097116 ทฤษฎีอีลาสติก
ซิตี้
       
01097117 เสถียรภาพของ
โครงสราง
           
01097118 โครงสรางแผน
และเปลือกบาง
           
01097119 พลศาสตรทาง
โครงสราง
          
01097921 วิธีเชิงคำนวณทาง
วิศวกรรม
         
01097922 การคำนวณทาง
วิศวกรรม I
          

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


38 มคอ. 2

5. ทักษะการวิเคราะห
4. ทักษะความสัมพันธระหวาง เชิงตัวเลข การสื่อสาร
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา
รายวิชา บุคคลและความรับผิดชอบ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3
01097923 วิธีไฟไนตอีลิ
เมนทสำหรับโครงสราง
         
01097124 วิธีไฟไนตอีลิ
เมนทขั้นสูง
          
01097125 วิธีไฟไนตอีลิ
เมนทแบบไมเชิงเสน
          
01097931 วิธีการทดลองใน
วิศวกรรมโครงสราง
              
01097932 คอนกรีต
เทคโนโลยีขั้นสูง
              
01097941 โปรแกรม
คอมพิวเตอรในงานวิศวกรรม             
โครงสราง
01097942 การออกแบบ
คอนกรีตเสริมเหล็กขั้นสูง
               

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


39 มคอ. 2

5. ทักษะการวิเคราะหเชิง
4. ทักษะความสัมพันธระหวาง
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา ตัวเลข การสื่อสาร และ
รายวิชา บุคคลและความรับผิดชอบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3
01097943 การออกแบบ
คอนกรีตอัดแรง
                 
01097144 การออกแบบ
โครงสรางเหล็กรูปพรรณขั้นสูง
                 
01097145 การออกแบบ
สะพาน
                 
01097146 การออกแบบ
โครงสรางอาคารเหล็กขึ้นรูป                 
เย็น
01097147 การออกแบบ
โครงสรางวัสดุเชิงประกอบ
              
01097148 การออกแบบ
โครงสรางตานทานแผนดินไหว
               
01097149 วิศวกรรม
โครงสรางนอกฝง
               
01097191 หัวขอคัดสรรทาง
วิศวกรรมโครงสราง
                
01097193 หัวขอขั้นสูงทาง
วิศวกรรมโครงสราง I                 

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


40 มคอ. 2

5. ทักษะการวิเคราะหเชิง
4. ทักษะความสัมพันธระหวาง
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา ตัวเลข การสื่อสาร และ
รายวิชา บุคคลและความรับผิดชอบ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3
01097194 หัวขอขั้นสูงทาง
                
วิศวกรรมโครงสราง II
01097195 หัวขอขั้นสูงทาง
                
วิศวกรรมโครงสราง III
01097242 การสำรวจและการ
                   
ทดสอบดานเทคนิคธรณี
01097231 งานกอสรางใตดิน
                   
และงานอุโมงค
01097243 การปรับปรุงคุณภาพ
                   
ดิน
01097240 วิศวกรรมธรณีวิทยา
                   
ขั้นสูง
01097244 หัวขอคัดสรรทาง
                   
วิศวกรรมเทคนิคธรณี
01097245 การจัดการความเสี่ยง
                   
ในสัญญาดานอุโมงค
01097962 การวางแผนและ
                   
เศรษฐศาสตรการทาง
01097964 การขนสงและ
                   
สิ่งแวดลอม
01097366 การวิเคราะห
                   
โครงขายและจำลองการขนสง

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


41 มคอ. 2

5. ทักษะการวิเคราะห
4. ทักษะความสัมพันธระหวาง เชิงตัวเลข การสื่อสาร
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา
รายวิชา บุคคลและความรับผิดชอบ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3
01097367 เทคโนโลยีการ
ขนสง
                   
01097369 การวิเคราะหและ
ปองกันอุบัติเหตุ
                   
01097370 หัวขอคัดสรรทาง
วิศวกรรมขนสง
                   
01097371 หลักการนโยบาย
การขนสง
                   
01097491 วิศวกรรม
ชลประทาน
                   
01097492 การไหลทางน้ำ
เปด
                   
01097908 อุทกวิทยาน้ำใต
ดิน
                   
01097498 การจำลองการ
ไหลของน้ำใตดิน
                   
01097904 หัวขอคัดสรรทาง
วิศวกรรมแหลงน้ำ                    

5. ทักษะการวิเคราะห
4. ทักษะความสัมพันธระหวาง
รายวิชา 1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา
บุคคลและความรับผิดชอบ
เชิงตัวเลข การสื่อสาร
และเทคโนโลยี

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


42 มคอ. 2

สารสนเทศ

1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3
01097538 วิศวกรรมแมน้ำ                
01097511 การออก แบบ
การกอสรางและการ
บำรุงรักษาของสิ่งปลูกสราง
                   
ชายฝง
01097521 ไดนามิคที่ชายฝง          
01097522 ไฮโดรไดนามิค
แนวชายฝงและปากอาว
         
01097523 ขบวนการชายฝง
กับการประยุกตทางวิศวกรรม
                   
01097524 การออก แบบ
การบำรุงรักษา และการ
ประเมินคาความปลอดภัย                    
ของกำแพงกันคลื่นและเขื่อน
หินทิ้ง

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


43 มคอ. 2

5. ทักษะการวิเคราะห
4. ทักษะความสัมพันธระหวาง เชิงตัวเลข การสื่อสาร
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา
รายวิชา บุคคลและความรับผิดชอบ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3
01097525 ทฤษฎีและวิธี
ปฏิบัติการเคลื่อนที่ของ                    
ตะกอน
01097526 ความเสี่ยงและ
ความนาเชื่อถือในวิศวกรรม             
ชายฝง
01097527 ความเสี่ยงจาก
การกอสรางในวิศวกรรม             
ชายฝง
01097528 การจัดการ
ทรัพยากรชายฝง ในการฟน
คืนสูปกติ การปรับตัว และ
                   
ความหลากหลายของชุมชน
01097529 การจัดการโซน
ชายฝงแบบบูรณาการ
                   

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


44 มคอ. 2

5. ทักษะการวิเคราะห
4. ทักษะความสัมพันธระหวาง เชิงตัวเลข การสื่อสาร
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู 3. ทักษะทางปญญา
รายวิชา บุคคลและความรับผิดชอบ และเทคโนโลยี
สารสนเทศ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3
01097530 ธรณีวิทยาชายฝง           
01097531 วิศวกรรมสมุทร
ศาสตร
          
01097532 การออก แบบ
โครงสรางสมุทรศาสตร
                   
01097533 วิศวกรรมนอกฝง           
01097534 การออก แบบ
โครงสรางนอกฝง
                   
01097535 วิศวกรรมทาเรือ           
01097536 โครงสรางทาเรือ
และชายฝง
          
01097537 การจัดการ
เกี่ยวกับชายฝงและการทาเรือ
                   
01097539 หัวขอคัดสรรทาง
วิศวกรรมชายฝงและทาง                    
ทะเล
สรุปผลการเรียนรู                    

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร สจล.


45

มคอ. 2
หมวดที่ 5 หลักเกณฑในการประเมินผลนักศึกษา
1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑในการใหระดับคะแนน (เกรด)
ใหเปนไปตามขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังวาดวยการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ก)

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
การกำหนดระบบและกลไกการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู เกิดขึ้นเพื่อแสดงหลักฐานยืนยันหรือ
สนับสนุนวานักศึกษาและมหาบัณฑิตทุกคนมีมาตรฐานผลการเรียนรูทุกดาน เปนไปตามที่กำหนดไวในมาตรฐาน
คุณวุฒิระดับปริญญาโท สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา เปนอยางนอย
2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูขณะนักศึกษายังไมสำเร็จการศึกษา
(1) การทวนสอบในระดับรายวิชา มีการประเมินทั้งในภาคทฤษฎีและปฏิบัติ การสัมมนา การทำวิทยานิพนธ
และการคนควาวิจัยอิสระ โดยใหเปนความรับผิดชอบของอาจารยผูสอนในการออกขอสอบหรือกำหนด
กลไกและกระบวนการสอบ
(2) การทวนสอบในระดับหลักสูตร มีระบบประกันคุณภาพภายใน เพื่อใชในการทวนสอบมาตรฐานผลการ
เรียนรูของนักศึกษา โดยคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจำหลักสูตร ระบบประกันคุณภาพภายในระดับ
คณะวิศวกรรมศาสตร และระบบประกันคุณภาพภายในระดับสถาบัน เพื่อดำเนินการทวนสอบมาตรฐานผล
การเรียนรูและรายงานผล
(3) การทวนสอบในระดับรายวิชา มีระบบแสดงความคิดเห็นตอการสอนของอาจารยโดยนักศึกษา
2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูหลังจากนักศึกษาสำเร็จการศึกษา
การกำหนดกลวิธีการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรูของนักศึกษาหลังสำเร็จการศึกษา เพื่อนำมาใชปรับปรุง
กระบวนการการเรียนการสอนและหลักสูตร รวมทั้งการประเมินคุณภาพของหลักสูตร อาจใชการประเมินจากตัวอยาง
ตอไปนี้
(1) การทวนสอบจากผูประกอบการ เพื่อประเมินความพึงพอใจในบัณฑิตที่จบการศึกษาและเขาทำงานในสถาน
ประกอบการนั้น ๆ โดยการทำแบบสอบถามถึงคุณสมบัติของบัณฑิตที่ทางผูประกอบการรับเขาทำงาน
(2) การทำฐานขอมูลนักศึกษาที่สำเร็จการศึกษา สถานที่รับเขาทำงาน และตำแหนงเมื่อแรกรับเขาทำงาน
(3) การประเมินจากสถานศึกษาอื่น ถึงระดับความพึงพอใจในดานความรู ความพรอม และคุณสมบัติดานอื่น ๆ ของ
บัณฑิตที่เขาศึกษาตอในระดับที่สูงขึ้นในสถานศึกษานั้นๆ โดยการทำแบบสอบถามถึงคุณสมบัติของบัณฑิตที่
ทางสถานศึกษานั้นๆรับเขาไป
(4) การประเมินจากบัณฑิตที่ไปประกอบอาชีพ ในสวนของความพรอมและความรูจากสาขาวิชาที่เรียนตาม
หลักสูตร เพื่อนำมาใชในการปรับหลักสูตรใหดียิ่งขึ้น โดยใหบัณฑิตที่จบไปแลวตอบแบบสอบถาม
(5) ผลงานของนักศึกษาและมหาบัณฑิตที่สามารถวัดเปนรูปธรรมได เชน
- จำนวนผลงานวิจัยที่เผยแพร
- จำนวนสิทธิบัตร
- จำนวนกิจกรรมเพื่อสังคมและประเทศชาติ
- จำนวนกิจกรรมอาสาสมัครในองคกรที่ทำประโยชนเพื่อสังคม

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


46 มคอ. 2

3. เกณฑการสําเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
เปนไปตามขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบังวาดวยการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ก) และ ประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง เรื่อง
เกณฑมาตรฐานความรูภาษาอังกฤษในการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา (ภาคผนวก ข) และเปนระบบเปดใหผูสนใจเขารับ
ฟงได

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


47

มคอ. 2
หมวดที่ 6 การพัฒนาคณาจารย
1. การเตรียมการสําหรับอาจารยใหม
มีการปฐมนิเทศแนะแนวอาจารยใหม ใหมีความรูและเขาใจนโยบายของมหาวิทยาลัย และหลักสูตรที่สอน
โดยสาระประกอบดวย
- บทบาทหนาที่ของอาจารยในพันธกิจของสถาบัน
- สิทธิผลประโยชนของอาจารย และกฎระเบียบตางๆ
- หลักสูตร การจัดการเรียนการสอน และกิจกรรมตางๆ ของหลักสูตร
และมีอาจารยอาวุโสเปนอาจารยพี่เลี้ยง โดยมีหนาที่ใหคำแนะนำและการปรึกษาเพื่อเรียนรูและปรับตัวเองเขาสูการ
เปนอาจารยในสาขาวิชาฯ มีการนิเทศการสอนทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติที่ตองสอน และมีการประเมินและ
ติดตามความกาวหนาในการปฏิบัติงานของอาจารยใหม
2. การพัฒนาความรูและทักษะใหแกคณาจารย
2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล
(1) สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณเพื่อสงเสริมการเรียนการสอน
(2) สนับสนุนดานการศึกษาตอ ฝกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองคกรตาง ๆ
(3) เพิ่มพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลใหทันสมัย
2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพดานอื่นๆ
(1) สงเสริมอาจารยใหมีการเพิ่มพูนความรู สรางเสริมประสบการณในสาขาที่เกี่ยวของ เพื่อสงเสริมการสอนและ
การวิจัยอยางตอเนื่อง และใหการสนับสนุนการศึกษาตอ ฝกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองคกร
ตาง ๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศ หรือตางประเทศ หรือการลาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ
(2) การมีสวนรวมในกิจกรรมบริการวิชาการแกชุมชนที่เกี่ยวของกับการพัฒนาความรูและคุณธรรม
(3) การประสานงานกับภาคธุรกิจและอุตสาหกรรมเพื่อเขาศึกษาดูงานหรือบริการงานวิชาการ เพื่อพัฒนาองค
ความรูในดานวิชาชีพเพื่อมาใชทั้งในการเรียนการสอนและงานวิจัย
(4) สนับสนุนใหอาจารยจัดทำผลงานทางวิชาการ พรอมสนับสนุนงบวิจัย เพื่อสงเสริมการมีตำแหน งทาง
วิชาการที่สูงขึ้น

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


48 มคอ. 2

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร
1. การกำกับมาตรฐาน
กระบวนการบริหารหลักสูตรเปนไปตามตัวบงชี้ผลการดำเนินงานเพื่อประกันคุณภาพหลักสูตรวาการเรียน
การสอนสอดคลองกับมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแหงชาติและหลักสูตรจะมีการปรับปรุงตามรอบระยะเวลา 5
ป เพื่อใหการดำเนินการเปนไปตามเกณฑมาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 นอกจากนี้หลักสูตรไดมี
การประกันคุณภาพตามเกณฑ AUN-QA โดยมีการจัดทำ SAR ของหลักสูตรตามเกณฑดังกลาวทุกป
2. บัณฑิต
อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรกำหนดใหการผลิตบัณฑิตเปนไปตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
แหงชาติ (5 ดาน) และกำหนดผลการเรียนรูของหลักสูตรโดยทำการสำรวจผลการเรียนรูที่ตองการจากผูมีสวนไดสวน
เสียกับหลักสูตรทุกฝาย นอกจากนี้หลักสูตรยังสนับสนุนใหอาจารยผูสอนกำหนดผลลัพธการเรียนรูรายวิชาที่รวมกัน
สนับสนุนผลลัพธการเรียนรูของหลักสูตร
เนื่องจากหลักสูตรนี้เปนระดับบัณฑิตศึกษา นักศึกษาสวนใหญเปนผูทำงานในภาคอุตสาหกรรม หรือเคย
ทำงานในภาคอุตสาหกรรมกับองคกรหรือประกอบอาชีพอิสระอยูกอนแลว ทำใหไมมีปญหาในการทำงานหรือกลับ
เขาไปทำงานในภาคอุตสาหกรรมเมื่อสำเร็จการศึกษา เมื่อนักศึกษาเปนหรือเคยเปนผูปฏิบัติงานในภาคอุตสาหกรรม
อยูกอนแลว เขาสามารถนำปญหาในภาคอุตสาหกรรมมาสรางสรรคงานวิจัยเพื่อตอบสนองภาคอุตสาหกรรมไดดี ทำ
ใหผลงานของนักศึกษาและบัณฑิตไดรับการยอมรับคอนขางดีจากภาคอุตสาหกรรมและในทางวิชาการภายใตการ
กำกับของอาจารยผูควบคุมวิทยานิพนธ
3. นักศึกษา
3.1 กระบวนการรับนักศึกษาไดจากการกำหนดคุณสมบัติตามขอ 2.2 และเปนไปตามขอบังคับของสถาบันวา
ดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ก) และขอบังคับสถาบันวาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรี
แบบกาวหนา พ.ศ. 2554 (ภาคผนวก ค) และมีการสอบขอเขียนและสัมภาษณ เพื่อคัดเลือกนักศึกษา
3.2 นักศึกษาที่เขามาศึกษาทุกคนจะไดรับการแตงตั้งอาจารยวิชาการ หรืออาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธ โดย
อาจารยและนักศึกษาจะตกลงรวมกันเกี่ยวกับจำนวนชั่วโมงและความถี่ในการใหคำปรึกษา
3.3 การสำเร็จการศึกษา การรักษาสภาพนักศึกษา เปนไปตามขอบังคับของสถาบันวาดวยการศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559 (ภาคผนวก ก)
3.4 ความพึงพอใจของนักศึกษาและการจัดการขอเรียกรองของนักศึกษา นักศึกษาสามารถอุทธรณผลการ
ประเมินเกี่ยวกับผลการเรียนไดโดยเปนไปตามขอบังคับของสถาบันวาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559
(ภาคผนวก ก)
4.อาจารย
4.1 การรับอาจารยใหม
อาจารยประจำตองมีคุณวุฒิเปนไปตามระเบียบและหลักเกณฑของสถาบันฯ โดยเบื้องตนอาจารยใหม
จะตองมีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกในสาขาวิศวกรรมโยธาหรือสาขาวิชาที่เกี่ยวของ
4.2 การคัดเลือกอาจารยใหม
การคัดเลือกอาจารยตองมีคุณสมบัติตรงตามคุณสมบัติของอาจารยตามประกาศของสถาบันฯ และมีความ
เชี่ยวชาญในสาขาวิชาที่หลักสูตรตองการโดยดูจากผลงานวิจัยของอาจารย
4.3 ความกาวหนาของการผลิตผลงานวิชาการของอาจารย
การกำหนดผลงานทางวิชาการของอาจารยเปนไปตามเกณฑภาระงานขั้นต่ำของบุคลากรสาขา
วิชาการ

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


49

มคอ. 2
4.4 การแตงตั้งคณาจารยพิเศษ
เชิญผูเชี่ยวชาญจากภาคธุรกิจ หรือภาคอุตสาหกรรมที่มีประสบการณตรงในรายวิชาตาง ๆ มาเปนวิทยากร
หรืออาจารยพิเศษ เพื่อถายทอดประสบการณใหแกนักศึกษา เนื่องจากวิศวกรรมโยธามีความเกี่ยวของโดยตรงกับ
ภาคธุรกิจและอุตสาหกรรม โดยคณะวิศวกรรมศาสตรสนับสนุนและจัดสรรงบประมาณสำหรับการเชิญวิทยากร
5. หลักสูตรการเรียนการสอน การประเมินผูเรียน
5.1 หลักสูตรจะทำการสำรวจความพึ งพอใจของผูมีสวนไดสวนเสีย และคุ ณสมบั ติของบั ณฑิ ตมาปรั บ ปรุ ง
หลักสูตร รายวิชา และเนื้อหารายวิชา รวมถึงการกำหนดผูสอนที่มีความสามารถในการผลิตบัณฑิตที่มีคุณสมบัติตาม
ตองการของผูมีสวนไดสวนเสีย
5.2 การเรียนการสอน และการประเมินผูเรียน ใหเปนไปตามเกณฑการประกันคุณภาพหลักสูตรของ AUN-QA
(11 เกณฑ)
6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู
6.1 การจัดสรรงบประมาณ
มหาวิทยาลัยจัดสรรงบประมาณประจำป ทั้งงบประมาณแผนดินและเงินรายไดเพื่อจัดซื้อตำรา สื่อการเรียน
การสอน โสตทัศนูปกรณ และวัสดุครุภัณฑคอมพิวเตอรอยางเพียงพอ เพื่อสนับสนุนการเรียนการสอนในชัน้ เรียนและ
สรางสภาพแวดลอมใหเหมาะสมกับการเรียนรูดวยตนเองของนักศึกษา
6.2 ทรัพยากรการเรียนการสอนที่มีอยูเดิม
รายการทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ภาคผนวก จ.)
6.3 การจัดสรรทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม
สิ่งสนับสนุนการเรียนการสอนที่สำคัญของสาขาวิชาทางวิศวกรรมศาสตร คือเครื่องมืออุปกรณ และ
หองปฏิบัติการเพื่อรองรับการเรียนการสอนของสาขาวิชา เนื่องจากนักศึกษาตองมีประสบการณการใชงานเครื่องมือ
และอุปกรณในแตละสาขาวิชา เพื่อใหเกิดความเขาใจในหลักการ วิธีการใชงานที่ถูกตอง และมีทักษะในการใชงาน
จริง รวมทั้งการเขาถึงแหลงสารสนเทศทั้งหองสมุดและอินเทอรเน็ต และสื่อการสอนสำเร็จรูป โดยสถาบัน คณะและ
สาขาวิชามีระบบจัดการทรัพยากรการเรียนการสอนดังนี้
(1) สาขาวิชามีการทำความรวมมือทางวิชาการกับหนวยงานภายนอกเพื่อรวมมือและสนับสนุนเครื่องมือและ
อุปกรณ
(2) คณะมีการจัดสรรงบพัฒนาหองเรียนใหมีสื่อการสอนและอุปกรณที่ทันสมัยทุกป เพื่อเอื้อตอปฏิบัติการสอนที่มี
ประสิทธิภาพ โดยมีเจาหนาที่สนับสนุนดูแล
(3) สถาบันมีการจัดสรรงบพัฒนาเครือขาย และจัดซื้อซอฟตแวรที่ถูกตองตามกฎหมายเพื่ออำนวยความสะดวก
ตอการศึกษาคนควาของคณาจารยและนักศึกษาทุกป
(4) สถาบันมีการจัดสรรงบพัฒนาและสำรวจความตองการทรัพยากรของหองสมุดทุกป

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


50 มคอ. 2

7. ตัวบงชี้ผลการดําเนินงาน (Key Performance Indicators)


ปการศึกษา
ตัวบงชี้และเปาหมาย
2560 2561 2562 2563 2564
1. อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตรอยางนอยรอยละ 80 มีสวนรวม
√ √ √ √ √
ในการประชุมเพื่อวางแผนติดตาม และทบทวนการดำเนินงานหลักสูตร
2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคลองตามกรอบ
√ √ √ √ √
มาตรฐานคุณวุฒริ ะดับอุดมศึกษาแหงชาติ
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณภาคสนาม
(ถามี) ตามแบบ มคอ.3 และ มคอ.4 อยางนอยกอนการเปดสอนในแต √ √ √ √ √
ละภาคการศึกษาใหครบทุกรายวิชา
4. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา และรายงานผลการ
ดำเนินการของประสบการณภาคสนาม (ถามี) ตามแบบ มคอ.5 และ
√ √ √ √ √
มคอ.6 ภายใน 30 วัน หลังสิ้นสุดภาคการศึกษาที่เปดสอนใครทุก
รายวิชา
5. จัดทำรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.7 ภายใน
√ √ √ √ √
60 วัน หลังสิ้นปการศึกษา
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการเรียนรู ที่
กำหนดใน มคอ.3 และ มคอ.4 (ถามี) อยางนอยรอยละ 25 ของ √ √ √ √ √
รายวิชาที่เปดสอนในแตละปการศึกษา
7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธการสอน หรือ
การประเมินผลการเรียนรู จากผลการประเมินการดำเนินงานที่รายงาน √ √ √ √
ใน มคอ.7 ปที่แลว
8. อาจารยใหม (ถามี) ทุกคน ไดรับการปฐมนิเทศหรือแนะนำดานการ
√ √ √ √ √
จัดการเรียนการสอน
9. อาจารยประจำหลักสูตรทุกคนไดรับการพัฒนาทางวิชาการ และ/หรือ
√ √ √ √ √
วิชาชีพ อยางนอยปละหนึ่งครั้ง
10. จำนวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถามี) ไดรับการพัฒนา
√ √ √ √ √
วิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไมนอยกวารอยละ 50 ตอป
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทาย/บัณฑิตใหมที่มีตอคุณภาพ
หลักสูตร เฉลี่ยไมนอยกวา 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0 √ √ √ √

12. ระดับความพึงพอใจของผูใชบัณฑิตที่มีตอบัณฑิตใหม เฉลี่ยไมนอยกวา


√ √ √
3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
รวมตัวบงชี้บังคับที่ตองมีผลการดำเนินการ (ลำดับขอที่ 1-5) (ตัว) 5 5 5 5 5
ในแตละป
รวมตัวบงชี้ (ตัว) ในแตละป 9 11 12 12 12

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


51

มคอ. 2

เกณฑประเมิน
หลักสูตรไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ ตองผานเกณฑประเมินดังนี้ ตัวบงชี้บังคับ (ตัวบงชี้ 1-5)
มีผลดำเนินการบรรลุตามเปาหมาย และมีจำนวนตัวบงชี้ที่มีผลดำเนินการบรรลุเปาหมายไมนอยกวา 80% ของตัว
บงชี้รวม โดยพิจารณาจากจำนวนตัวบงชี้บังคับและตัวบงชี้รวมในแตละป
ปการศึกษา หลักสูตรไดมาตรฐานตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิฯ
ตองบรรลุเปาหมายตัวบงชี้บังคับ ตัวที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 8, 9 และ 10 และบรรลุ
2560 เปาหมายตัวบงชี้รวม 9 ตัว
ตองบรรลุเปาหมายตัวบงชี้บังคับ ตัวที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และ 10 และบรรลุ
2561 เปาหมายตัวบงชี้รวม 10 ตัว
ตองบรรลุเปาหมายตัวบงชี้บังคับ ตัวที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9 และ 10 และบรรลุ
2562 เปาหมายตัวบงชี้รวม 10 ตัว
ตองบรรลุเปาหมายตัวบงชี้บังคับ ตัวที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12
2563 และบรรลุเปาหมายตัวบงชี้รวม 12 ตัว
ตองบรรลุเปาหมายตัวบงชี้บังคับ ตัวที่ 1, 2, 3, 4, 5, 6, 7, 8, 9, 10, 11 และ 12
2564 และบรรลุเปาหมายตัวบงชี้รวม 12 ตัว

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


52 มคอ. 2

หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดำเนินการของหลักสูตร
1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธการสอน
กระบวนการที่จะใชในการประเมินและปรับปรุงยุทธศาสตรที่วางแผนไวเพื่อพัฒนาการเรียนการสอนนั้น
พิจารณาจากตัวผูเรียนโดยอาจารยผูสอนจะตองประเมินผูเรียนในทุกๆ หัวขอวามีความเขาใจหรือไมโดยอาจประเมิน
จากการทดสอบยอย การสังเกตพฤติกรรมของนักศึกษา การอภิปรายโตตอบจากนักศึกษา การตอบคำถามของ
นักศึกษาในชั้นเรียน ซึ่งเมื่อรวบรวมขอมูลจากที่กลาวขางตนแลว ก็ควรจะสามารถประเมินเบื้องตนไดวา ผูเรียนมี
ความเขาใจหรือไม หากวิธีการที่ใชไมสามารถทำใหผูเรียนเขาใจได ก็จะตองมีการปรับเปลี่ยนวิธีสอนการทดสอบกลาง
ภาคเรียนและปลายภาคเรียน จะสามารถชี้ไดวาผูเรียนมีความเขาใจหรือไมในเนื้อหาที่ไดสอนไป หากพบวามีปญหาก็
จะตองมีการดำเนินการพัฒนาการเรียนการสอนในโอกาสตอไป
1.2 การประเมินทักษะของอาจารยในการใชแผนกลยุทธการสอน
ใหนักศึกษาไดมีการประเมินผลการสอนของอาจารยในทุกดาน ทั้งดานทักษะกลยุทธการสอน การตรงตอ
เวลา การชี้แจงเปาหมาย วัตถุประสงครายวิชา ชี้แจงเกณฑการประเมินผลรายวิชา และการใชสื่อการสอนในทุก
รายวิชา

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
เมื่อสิ้นสุดการเรียนการสอน การประเมินผล และการทวนสอบผลการเรียนรูของแตละรายวิชาในแตละภาค
การศึกษาแลว ใหอาจารยผูสอนจัดทำรายงานผลการดำเนินการของรายวิชา ซึ่งรวมถึงการประเมินผล และการทวน
สอบผลการเรียนในรายวิชาที่ตนรับผิดชอบพรอมปญหา/อุปสรรคและขอเสนอแนะและจัดทำรายงานผลการ
ดำเนินการของหลักสูตรในภาพรวมประจำปการศึกษาเมื่อสิ้นปการศึกษา

3. การประเมินผลการดําเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร
ใหประเมินตามตัวบงชี้ผลการดําเนินงานที่ระบุในหมวดที่ 7 ขอ 7 โดยคณะกรรมการประเมินอยางนอย 3
คน ประกอบดวยผูทรงคุณวุฒิในสาขา/สาขาวิชาเดียวกันอยางนอย 1 คน (ควรเปนคณะกรรมการประเมิน ชุ ด
เดียวกับการประกันคุณภาพภายใน)

4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง
วิเคราะหประสิทธิภาพและประสิทธิผลของการบริหารจัดการหลักสูตรในภาพรวมจากรายงานผลการ
ดำเนินการของรายวิชาและรายงานผลการดำเนินการของหลักสูตรในภาพรวมประจำปการศึกษา วาบัณฑิตบรรลุ
มาตรฐานผลการเรียนรูตามที่คาดหวังไวหรือไม รวมทั้งใหนำผลการวิเคราะหมาปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรและ/
หรือการดำเนินการของหลักสูตรตอไป

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


53

มคอ. 2
เอกสารแนบ (ภาคผนวก)

(ก) ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559
(ข) ประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
เรื่องเกณฑมาตรฐานความรูภาษาอังกฤษในการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2559
(ค) ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
วาดวยการจัดการศึกษาระดับปริญญาตรีแบบกาวหนา
(ฉบับที่ 1 ประกาศ ณ วันที่ 23 ก.ค. 2553 และ ฉบับที่ 2 ประกาศ ณ วันที่ 1 เม.ย. 2554)
(ง) คำอธิบายรายวิชา
(จ) รายการทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน
(ฉ) เหตุผลการขอปรับปรุงหลักสูตร
(ช) รายนามคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร
(ซ) บรรณานุกรมผลงานวิชาการอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร
(ฌ) สรุปขอคิดเห็น/ขอแนะนำของนักศึกษาปสุดทาย สถานประกอบการ และศิษยเกา
ในการพัฒนาหลักสูตร
(ญ) หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ.2560
ฉบับภาษาอังกฤษ(เฉพาะกรณีหลักสูตรปรับปรุง)

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


54 มคอ. 2

ภาคผนวก ก
ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
วาดวยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559
Appendix A

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


55

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


56 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


57

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


58 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


59

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


60 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


61

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


62 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


63

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


64 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


65

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


66 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


67

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


68 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


69

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


70 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


71

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


72 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


73

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


74 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


75

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


76 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


77

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


78 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


79

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


80 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


81

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


82 มคอ. 2

ภาคผนวก ข
ประกาศสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
เรื่องเกณฑมาตรฐานความรูภาษาอังกฤษในการศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2559

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


83

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


84 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


85

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


86 มคอ. 2

ภาคผนวก ค
ขอบังคับสถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกลาเจาคุณทหารลาดกระบัง
วาดวยการศึกษาระดับปริญญาตรีแบบกาวหนา
(ฉบับที่ 1 ประกาศ ณ วันที่ 23 ก.ค. 2553 และ ฉบับที่ 2 ประกาศ ณ วันที่
1 เม.ย. 2554)
Appendix C

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


87

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


88 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


89

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


90 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


91

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


92 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


93

มคอ. 2

ภาคผนวก ง
คำอธิบายรายวิชา
Appendix D

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


94 มคอ. 2

หมวดวิชาวิทยานิพนธ (THESIS COURSES)


สำหรับแผน ก แบบ ก1
01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 36 (0-108-0)
MASTER THESIS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
วิชานี้นักศึกษาตนเองทํางานวิจัยภายใตคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธโดยเนนในหัวขอที่มี
แนวความคิดใหมสามารถนำไปใช ประโยชนและขยายวิทยาการทางดานวิศวกรรมศาสตร
This course provides an opportunity for a student to do research under the supervision of
his/her advisor. The research should emphasize the originality and aim toward new and useful
results in engineering sciences.

สำหรับแผน ก แบบ ก2
01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 12 (0-36-0)
MASTER THESIS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
วิชานี้นักศึกษาตนเองทํางานวิจัยภายใตคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาวิทยานิพนธโดยเนนในหัวขอที่มี
แนวความคิดใหมสามารถนำไปใช ประโยชนและขยายวิทยาการทางดานวิศวกรรมศาสตร
This course provides an opportunity for a student to do research under the supervision of
his/her advisor. The research should emphasize the originality and aim toward new and useful
results in engineering sciences.

หมวดวิชาสัมมนา (SEMINAR COURSES)


01097307 สัมมนา 1 1 (0-2-0)
SEMINAR 1
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
วัตถุประสงคของวิชานี้เพื่อเพิ่มพูนประสบการณใหแกนักศึกษาระดับบัณฑิตในการอานทําความเขาใจและ
นําเสนอผลงานทางวิชาการ โดยการจัดใหมีการเสนอผลงานซึ่งอาจจะไดจากการอาน วิเคราะหบทความผลงานวิจัยที่
มีคุณภาพ หรือเปนผลงานวิจัยของตนเองภายใตคําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาตอผูฟงในกลุมและมีกรรมการ
ประเมินผล
This is the first in the series of required courses which must be taken consecutively by
master students. The purpose of the course is to develop the students' ability in reading,
understanding and presenting the technical papers, the student must be assigned to have a
presentation of research papers or his/her research under the supervision of advisor to an audience
and committee in a seminar.
01097308 สัมมนา 2 1 (0-2-0)

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


95

มคอ. 2
SEMINAR 2
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
วัตถุประสงคของวิชานี้เพื่อเพิ่มพูนประสบการณใหแกนักศึกษาระดับบัณฑิตในการอานทําความเขาใจและ
นําเสนอผลงานทางวิชาการโดยการจัดใหมีการเสนอผลงานซึ่งไดจากสวนหนึ่งของวิทยานิพนธของตนเองภายใต
คําแนะนําของอาจารยที่ปรึกษาตอผูฟงในกลุมและมีกรรมการประเมินผล
The purpose of this course is to develop the students' ability in reading, understanding and
presenting the technical papers. The student must be assigned to have a presentation that is from
a part of his/her thesis under the supervision of advisor to an audience and committee in a seminar.

หมวดวิชาบังคับ 3 หนวยกิต (RESEARCH COURSE)


01097003 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6)
RESEARCH METHODOLOGY
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
วิชานี้แนะนำลักษณะธรรมชาติและสวนประกอบตาง ๆ ของงานวิจัยทางดานวิศวกรรมโยธา โดยจะเนนที่
การเลือกหัวขอ การทบทวนวรรณกรรม กรอบแนวความคิด การออกแบบการวิจัย การวัด และการวิเคราะหเชิงสถิติ
รวมถึงการเขียนขอเสนองานวิจัยและการเขียนรายงานการวิจัย นอกจากนี้วิชานี้ตระหนักถึงประเด็นของความถูกตอง
และความเชื่อถือไดดวย
This course introduces the nature and components of research in construction engineering
and management. Emphasis is on the selection of a topic, literature review, conceptual framework,
research design, measurement, and statistical analyses, including writing research proposals and
research reports. In addition, this course handles issues of validity and reliability.

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


96 มคอ. 2

หมวดวิชาคณิตศาสตรขั้นสูง (ADVANCED MATHEMATICS COURSES)


01097014 วิธีเชิงวิเคราะหและเชิงตัวเลขสำหรับวิศวกรรมโยธา 3 (3-0-6)
ANALYTICAL AND NUMERICAL METHODS FOR CIVIL ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
วิธีเชิงตัวเลขในงานวิศวกรรมโยธา สมการดิฟเฟอเรนเชียลแบบธรรมดาและสมการเชิงอนุพันธยอย การหา
คำตอบของสมการดิฟเฟอเรนเชียลแบบธรรมดาและสมการเชิงอนุพันธยอย ปญหาคาเริ่มตนและคาขอบเขต การอิน
ติเกรทเชิงตัวเลข คาความผิดพลาดเชิงตัวเลข การประมาณคาของฟงกชันและขอมูล ไฟไนทดิฟเฟอรเรนซ คำตอบ
ของระบบสมการเชิงเสน ปญหาคาไอเกน และคาคำตอบของสมการเสนไมตรง
Numerical methods used in civil engineering; ordinary and partial differential equations;
analytical and numerical solutions of ordinary and partial differential equations; initial and boundary
value problems; numerical integration; numerical errors; approximations of functions and data
points; finite differences; solutions of linear equations systems; eigen value problems; solutions of
nonlinear equations.

01097012 การวิเคราะหระบบความนาจะเปนสำหรับวิศวกรรมโยธา 3 (3-0-6)


PROBABILISTIC SYSTEMS ANALYSIS FOR CIVIL ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
หลักการความนาจะเปนและการจำลองทางวิศวกรรม การวิเคราะหเชิงสถิติของขอมูลวิศวกรรมจากการ
ทดลองและจากหนางาน ความรูเบื้องตนของกระบวนการความไมแนนอน และการจำลองทางระบบวิศวกรรม
Probabilistic concepts and models in engineering; statistical analysis of engineering
experimental and field data; introduction to stochastic processes; models of engineering systems.

01097013 การหาคาที่เหมาะสมที่สุดและการออกแบบ 3 (3-0-6)


DETERMINISTIC OPTIMIZATION AND DESIGN
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การวิจัยเชิงปฏิบัติการ เทคนิคการหาคาที่เหมาะสมที่สุด เชน การโปรแกรมเชิงเสนตรง การโปรแกรมแบบ
พลศาสตร และการโปรแกรมแบบไมใชเสนตรง การประยุกตเขากับสาขาแหลงน้ำ ขนสง สิ่งแวดลอม ระบบพื้นฐาน
โครงสราง และวิศวกรรมโยธาสาขาอื่นๆ โดยใชโครงการออกแบบทางคอมพิวเตอร
Operations research; optimization techniques such as linear programming, dynamic
programming and non-linear programming; applications in water, transportation, environmental,
infrastructure systems and other civil engineering disciplines through computer-based design
projects.
01097015 วิธีเชิงตัวเลขสำหรับแบบจำลองทางวิศวกรรมชายฝงและทางทะเล 3 (3-0-6)
NUMERICAL METHODS FOR COASTAL AND
MARITIME ENGINEERING MODELING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


97

มคอ. 2
แบบจำลองชายฝง เทคนิคแบบจำลองแบบธรรมดา สูตรและการประยุกตของวิธีเชิงตัวเลขสำหรับการ
จำลองและการแกปญหาทางวิศวกรรมชายฝงและทางทะเล หลักการทางคณิศาสตรและการคำนวณกับความหมาย
โดยนัยสำหรับความเสถียรและความแมนยำ การปรับคาทางตัวเลข ดิฟเฟอเรนติเอชั่นและอินทิเกรต ขอบเขต
องคประกอบ วิธีการแตกตางมีขอจำกัด วิธีองคประกอบมีขอจำกัด สมการควบคุม คลื่นตามคาบชวงเวลา ปญหา
การแพรกระจายของคลื่นทั่วไป การวิเคราะหขอมูลคลื่นไมใชเชิงเสนทางภาคสนามและทางหองปฏิบัติการ
coastal modeling, conventional modeling techniques, formulation and application of
numerical methods for simulating and solving coastal and maritime engineering problems,
Mathematical and computational fundamentals with implications for accuracy and stability;
numerical interpolation, differentiation, and integration; boundary element, finite difference
methods, finite element methods, the governing equations, periodic waves, general wave
propagation problems, the nonlinear analysis of field and laboratory wave data.

หมวดวิชาบังคับเลือก (COMPULSORY ELECTIVE COURSES)


1. กลุมวิชาวิศวกรรมโครงสราง
01097812 กลศาสตรวัสดุขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED MECHANICS OF MATERIALS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ทฤษฎีความเคนและความเครียด ความเคนความเครียดเชิงเสน พฤติกรรมวัสดุในชวงเกินพิกัดยืดหยุน การ
เปลี่ยนรูปอยางถาวรของคาน หลักการของเซนวีนอง คานโคง คานบนฐากรากยืดหยุน กระบอกผนังหนา และ
เสถียรภาพของเสาในชวงยืดหยุนและเกินชวงยืดหยุน
Theories of stress and stain, linear stress-strain, inelastic material behavior, plastic
deformation of beam, Saint-Venant’s principle, curved beams, beams on elastic foundation, thick
wall cylinder and elastic and inelastic stability of columns.

01097114 การวิเคราะหโครงสรางโดยวิธีเมตริกซ 3 (3-0-6)


MATRIX ANALYSIS FOR STRUCTURES
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ทบทวนพื้นฐานวิธีเมทริกซ วิธีเมทริกซสำหรับการวิเคราะหคานตอเนื่อง โครงสรางสองมิติและสามมิติ รับ
น้ำหนักคงที่และไมคงที่ วิธีสติฟเนสและเฟลกซิบิลิตี้ในรูปแบบของเมทริกซ วิธีแกสมการระบบเชิงเสนขนาดใหญ
และการประยุกตใชคอมพิวเตอร
Review of matrix algebra; matrix procedures for analysis of continuous beams; plane frames
and space frames under static and quasi-static loading; stiffness and flexibility methods; techniques
for solving large linear equations system and computer applications.

2. กลุมวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี
01097821 ปฐพีกลศาสตรขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED SOIL MECHANICS

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


98 มคอ. 2

วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
พิจารณาดานปฐพีกลศาสตรขั้นสูง ซึ่งประกอบดวย การกระจายคาความเคนในดิน การวิเคราะหการไหลซึม
ของน้ำในมวลดิน การวิเคราะหความเคน ความเครียด และกำลังของดินทรายและดินเหนียว พฤติกรรมของแรงดันดิน
แอ็คทีพและแพ็สซีฟ รวมทั้งการวิเคราะหกำลังรับแรงแบกทานของดินเสถียรภาพลาดเอียง การวิเคราะหการทรุดตัว
ของดิน
Consideration of following advanced of soil mechanics: stress distribution in ground, seepage
analysis, stress-strain-strength analysis on cohesionless and cohesive soils, active and passive
behaviour; bearing capacity and slope stability analysis; settlement analyses.

01097823 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3 (3-0-6)


ADVANCED FOUNDATION ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การตรวจสอบหนางานและมุมมองดานปฐพีวิศวกรรมของการออกแบบและการกอสรางระบบฐานราก
รวมถึงการตรวจสอบสถานที่ซึ่งเนนดานการทดสอบในที่ฐานรากตื้นทั้งแบบเดี่ยวและแบบแพ ฐานรากลึกแบบเสาเข็ม
และเคซองส ระบบกำแพงกันดินกับระบบค้ำยันของการขุดดิน การควบคุมน้ำใตดิน เสถียรภาพลาดเอียง การ
ปรับปรุงดินซึ่งรวมทั้งการบดอัดดินเสริมแรง และการตรวจวัดพฤติกรรมของดิน ขณะทำการกอสราง
Site characterization and geotechnical aspects of the design and construction of foundation
systems; site investigation (with emphasis on in site testing), shallow (footings and raftings) and deep
(piles and caissons) foundations; excavation support systems; groundwater control; slope stability;
soil improvement (compaction, soil reinforcement, etc.); construction monitoring.

3. กลุมวิชาวิศวกรรมขนสง
01097831 วิศวกรรมจราจร 3 (2-3-6)
TRAFFIC ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การวิเคราะหปญหาการจราจร รวมทั้งการศึกษาหนางาน การออกสำรวจและแปลงขอมูลสภาพการจราจร
กฎขอบังคับและวิธีการควบคุมและเครื่องมือ
Analysis of traffic problems: field studies, survey and the interpretation of survey data;
regulations and control methods and equipment.

01097833 การวางแผนระบบขนสงในชุมชนเมือง 3 (3-0-6)


URBAN TRANSPORTATION PLANNING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การวางแผนระบบขนสงเปนสวนหนึงของการพัฒนาประเทศและชุมชนเมือง ในวิชานี้จะมีการแนะนำการ
วางแผนเมืองในเขตชุมชน และถึงประวัติของระบบขนสงในชุมชนเมือง การวางแผนการเงิน สิ่งแวดลอมและ

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


99

มคอ. 2
กฎระเบียบตางที่เกี่ยวของ คุณภาอากาศ คุณลักษณะของของระบบขนสงหลายรูปแบบ การใชประโยชนที่ดินกับการ
พัฒนาระบบขนสง การนำเทคโนโลยีมาชวยในการวางแผนระบบขนสง เปนตน
Transportation Planning is part of the country's and city/town's development therefore it is
important to include this courework for the transportation program. This is an introduction to
planning transportation in metropolitan areas. The course topics include the history of urban
transportation, highway finance, environmental and planning regulations, air quality, multi modal
characteristics, land use and transportation interaction and emerging information technologies for
transportation planning.

4. กลุมวิชาวิศวกรรมแหลงน้ำ
01097841 วิศวกรรมทรัพยากรแหลงน้ำ 3 (3-0-6)
WATER RESOURCE ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
วิชานี้บรรยายถึงหลักการพื้นฐานดานการจัดการน้ำสวนเกิน การบริหารจัดการการควบคุมน้ำฝน หลัก
เศรษฐศาสตรดานทรัพยากรน้ำ การใชวิธีการเชิงเสนสำหรับทรัพยากรน้ำ การวางแผนและจัดสรรทรัพยากรน้ำแบบ
บูรณาการ เนื้อหารายวิชาจะบรรยายถึง การควบคุมปริมาณน้ำทวม การควบคุมปริมาณน้ำฝน การบริหารจัดการ
เมื่อเกิดความแหงแลง คุณภาพของน้ำ เศรษฐศาสตรวิศวกรรมทรัพยากรน้ำ การประยุกตใชวิธีการเชิงเสนสำหรับ
ทรัพยากรน้ำ การบริหารจัดการทรัพยากรน้ำแบบบูรณาการ และการวางแผนทางดานทรัพยากรน้ำ
This course provides a firm foundation in water excess management concepts, storm
water control, economics in water resources, linear programming for water resources, integrated
water resources management and planning, Catalogue Description: Flood Control; Storm water
Control; Drought Management; Water Quality; Engineering Economy in Water Resources; Linear
Programming Application in Water Resources; Integrated Water Resource Management; Water
Resources Planning
Irrigation Engineering

01097843 อุทกวิทยาขั้นสูง 3 (3-0-6)


ADVANCED HYDROLOGY
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
หัวขอพิเศษทางกระบวนการอุทกวิทยา (เปนการบูรณาการของน้ำฝนโดยใชวิธีทางสถิติธรณีวิทยา
ภูมิศาสตรและแนวคิดการเกิดน้ำทา) ความนาจะเปนของภัยพิบัติทางอุทกวิทยา (การใหขีดจำกัดของระดับความ
รุนแรงและการประยุกตใชคาดังกลาว วิธีการประมาณคาตัวแปร การสรางแบบจำลอง) การจำลองทางอุทกวิทยา
และการพยากรณแบบจำลองการเก็บกักน้ำ (การจำลองแบบสุมของกระบวนการอุทกวิทยา แบบจำลองน้ำฝนและ
น้ำทาแบบเชิงเสนและไมเชิงเสน แบบจำลองการไหลบา แบบจำลองสมดุลน้ำ และแบบจำลองเชิงพยากรณ)
ขั้นตอนทางอุทกวิทยาของการเกิดน้ำทวม การออกแบบทางอุทกวิทยา (ความเสี่ยงเกณฑการออกแบบการ
ดำเนินงานในอางเก็บน้ำงานปองกันน้ำทวม, งานอื่น ๆ ที่เกี่ยวของกับงานวิศวกรรมโยธา) การใชงานพิเศษ
กรณีศึกษา

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


100 มคอ. 2

Special topics on hydrologic processes (spatial integration of rainfall using geostatistical


procedures, physical and conceptual approach of runoff components). Probabilistic approach of
extreme hydrologic events (the generalised extreme value distribution and its application, modern
parameter estimation methods, parametric models). Hydrologic simulation and forecasting,
catchment models (stochastic simulation of hydrologic processes, linear and non-linear rainfall-
runoff models, cascade models, water balance models, forecasting models). Hydrologic
procedures of flood routing. Hydrologic design (risk, design criteria, implementation on reservoirs,
flood protection works, other civil engineering related works). Special applications. Case studies.

5. กลุมวิชาวิศวกรรมชายฝง และทางทะเล
01097551 วิศวกรรมชายฝง 3(3-0-6)
COASTAL ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
ความรูเบื้องตนของวิศวกรรชายฝง การวางแผนและโครงสรางทางชายฝง กระบวนการทางชายฝง การเกิด
คลื่นและการกระเพิ่อมขึ้นๆลงๆจากลม คลื่นทะเลคาบชวงเวลายาว กระแสน้ำชายทะเลใกลฝง ตะกอนชายฝง การ
วางแผนพัฒนาสาธารณูปโภคชายฝง การสำรวจ การสังเกตการณ การออกแบบ การกอสราง และการบำรุงรักษา
Introduction to coastal engineering; coastal plan and structures; coastal process; wind waves
and swell; long period sea waves; near- shore currents; coastal sediment; coastal facilities
development planning; survey and observation, design, construction, and maintenance.

01097552 ไดนามิคชายทะเลใกลฝงและขบวนการชายฝง 3 (3-0-6)


NEARSHORE DYNAMICS AND COASTAL PROCESSES
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
พื้นฐานทฤษฏีคลื่น คลื่นบริเวณน้ำตื้น คลื่นบริเวณเขตคลื่นซัดฝง กระแสน้ำชายทะเลใกลฝง สัณฐาน
ชายหาดและการเปลี่ยนแปลง กลไกการเคลื่อนตัวของตะกอน อัตราการเคลื่นตัวของตะกอน การเคลื่อนตัวของทราย
โดยลม การคำนวณคลื่นสนามที่ชายทะเลใกลฝง การคำนวณกระแสน้ำที่ชายทะเลใกลฝง แบบจำลองของการเคลื่อน
ตัว ของตะกอนและการเปลี ่ ย นแปลงของชายหาด แบบจำลองของคลื่น แบบจำลองการเปลี่ย นแปลงของเสน
ชายทะเล วิธีการคำนวณเชิงเลข การสรางเงื่อนไขของการจำลอง การทำนายตัวแบบที่ตัวแบบมากกวาหนึ่งมิติ ระบบ
การสำรวจชายฝง การวัดความสูงคลื่นและระดับน้ำทะเลปานกลาง การวัดทิศทางของคลื่น การวัดและการสังเกต
กระแสน้ำ การวัดการเคลื่อนตัวของตะกอน การสำรวจแผนที่ชายฝง เครื่องมือและกรรมวิธีสำหรับการวัดกระแสลม
และลมพัดทราย การไดมาของขอมูล การประยุกตตัวแบบวิวัฒนาการชายหาดแบบ 3 มิติ การประยุกตตัวแบบการ
เปลี่ยนแปลงเสนชายทะเล
Basic wave theories, waves in shallow water, waves in the surf zone, near- shore currents,
beach morphologies and their change, mechanism of sediment transport, sediment transport rate,
sand transport by wind, computation of near-shore wave field, computation of near-shore current,
modeling of sediment transport and beach evolution, wave model, shoreline change model,
numerical calculation method, establishment of simulation conditions, predictive models other
than the one-line model, coastal observation system, measurement of wave height and mean sea

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


101

มคอ. 2
level, measurement of wave direction, measurement and observation of current, measurement of
sediment transport, coastal topography surveys, instruments and procedures for measuring wind
and wind- blown sand, data acquisition, application of the three- dimensional beach evolution
model, application of the shoreline change model.

หมวดวิชาเลือก (ELECTIVE COURSES)


1. กลุมวิชาวิศวกรรมโครงสราง
01097111 ทฤษฎีโครงสรางขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED THEORY OF STRUCTURES
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
งานเสมือนและวิธีพลังงาน การประยุกตใชวิธีงานเสมือน พลังงานความเครียด พลังงานศักย ทฤษฎีผกผัน
ทฤษฎีผกผันของการขจัด ทฤษฏีผกผันของงาน การวิเคราะหโครงสรางแบบอินดีเทอรมิเนต วิธีเฟลกซิบิลิตี้และสติฟ
เนส คานแบบอินดีเทอรมิ เนต โครงขอหมุนแบบอิน ดีเทอร มิเ นต โครงโคงตั้งแบบอินดีเ ทอรมิเนต แนะนำการ
วิเคราะหโครงสรางดวยวิธีเมตริกซ
Virtual work and Energy Method; Application of the Principle of Virtual Work; Strain Energy
and Complementary Energy; Potential Energy; Reciprocal Theorems; Theorem of Reciprocal
Displacements; Theorem of Reciprocal Work; Analysis of Statically Indeterminate Structures;
Flexibility and Stiffness Methods; Indeterminate Beams; Indeterminate Trusses; Indeterminate
Arches; introduction to matrix analysis of structures.

01097113 กลศาสตรเนื้อตอเนื่อง 3 (3-0-6)


CONTINUUM MECHANICS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
แนะนำเทนเซอรแคลคูลัส คำจำกัดความสภาวะของความเคนในพิกัดโคงเชิงเสนใดๆ คำจำกัดความลาก
รองคของสภาวะความเครียด การอนุรักษพลังงาน การอนุรักษมวล ความสัมพันธคอนสทิทิวทีฟ หลักการทั่วไปใน
การแกปญหาไมเชิงเสนดวยกลศาสตรเนื้อตอเนื่อง การเทียบเคียงกับวิธีทางกลศาสตรของวัสดุสำหรับ การบิด การ
ดัด แผนบาง พลศาสตร กระบวนการประมาณผลเฉลย
Introduction Tensor calculus; Description of stress states in arbitrary curvilinear coordinates;
Lagrangian description of strain states; Conservation of energy; Conservation of mass; Constitutive
relations; General treatment of continuum mechanical knowledge in order to solve non-linear
problems; References to approaches of mechanics of materials for Torsion, Bending, Plates, and
Dynamics ; Approximation solution process.

01097115 วิธีพลังงานในกลศาสตรประยุกต 3 (3-0-6)


ENERGY METHODS IN APPLIED MECHANICS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


102 มคอ. 2

หลักการของวิธีพลังงานศักยต่ำสุด พลังงานเสริม ทฤษฎีของ Castigliano พื้นฐานการแปรเปลี่ยน หลักการ


ของ Hamilton และสมการของ Lagrange ประยุกตใชหลักการดังกลาวในดานของการวิเคราะหหาหนวยแรง ใน
ดานเสถียรภาพ ในดานพลศาสตร และดานอื่นที่เกี่ยวของ
Principle of minimum potential energy, complementary energy, Castigliano’ s theorem,
variational principles, Hamilton’s principles and Lagrange’s equations; application to solve problems
in stress analysis, elastic stability, vibration and related topics.
01097116 ทฤษฎีอีลาสติกซิตี้ 3 (3-0-6)
Theory of Elasticity
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
สมการของความสมดุลและความตอเนื่องในของแข็งแบบอีลาสติค การแกปญหาแบบสองมิติในคานลิ่มแผน
กลมและวงแหวนภายใตแรงกระทำชนิดตาง ๆ ความเขมของหนวยแรง และการวิเคราะหดวยวิธีพลังงาน
Equations of equilibrium and continuity in elastic solid; two dimensional solutions of beam,
wedges, disks and rings under various conditions of loading; stress concentration and strain energy
methods of solution.

01097117 เสถียรภาพของโครงสราง 3 (3-0-6)


STABILITY OF STRUCTURES
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
แนะนำปรากฎการณเสถียรภาพ การวิเคราะหลำดับที่สอง ผลกระทบของความไมเปนเชิงเสน ปญหาความ
เคน การโกงเดาะ ปญหาของแพรนท การโกงเดาะจากการบิด การโกงเดาะดานขางจากการบิด เสถียรภาพของแผน
และเปลือก
Introduction to Stability phenomena; The seconde order analysis; Non-linear effects; Stress
problem; Buckling; Prandtl's problem; Torsional buckling; Lateral-torsional buckling; Stability of
plates and shells.

01097118 โครงสรางแผนและเปลือกบาง 3 (3-0-6)


THIN PLATE AND SHELL STRUCTURES
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
สมการอนุพันธของแรงดัดในแผนบาง แผนกลมซึ่งสมมาตรรอบแกน และแผนบางทั่วไปรับน้ำหนักในระนาบ
และในแนวขวาง ทฤษฏีเมมเบรนของโครงสรางเปลื อกบาง โครงสรางเปลือกบางที่ส รางจากรูปทางเรขาคณิ ต
หมุนรอบแกน ทฤษฎีทั่วไปของโครงสรางเปลือกบาง แรงดัดตามแนวแกนสมมาตรของโครงสรางเปลือกบาง หลังคา
เปลือกบางทรงกระบอก และหลังคาเปลือกบางที่มีความหนาคงที่
Differential equation for bending of plates, axisymmetrical bending of circular plates and
orthotropic plates combined action of lateral loads and in-plane forces; Membrane theory of shells;
rotational and transformational shells; general theory of shells; axisymmetrical bending of shells of
revolution; cylindrical shell roofs and prismatic shell roofs.

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


103

มคอ. 2

01097119 พลศาสตรทางโครงสราง 3 (3-0-6)


STRUCTURAL DYNAMICS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การวิเคราะหระบบที่มีความอิสระระดับเดียวและหลายระดับ การสั่นสะเทือนอิสระและภายใตแรง การหา
ความถี่ธรรมชาติของโครงสราง ระบบการกระจายมวล การสั่นสะเทือนตามแกนและตามขวางขององคอาคารรับแรง
ดัด ปญหาเกี่ยวกับความสัมพันธของการเคลื่อนที่และแรงที่ไมเปนเสนตรง และปญหาเกี่ยวกับการหนวง การ
วิเคราะหระบบโครงสรางเชิ งเสนรับน้ ำหนั กที่เ ปลี่ยนแปลงตลอดเวลา วิธีการหาคำตอบแบบคลาสิ กและแบบ
ประมาณการ
Analysis of system with single and multi degrees of freedom; free and forced vibration;
determination of natural frequencies of structures; mass distribution system; longitudinal and lateral
vibration of flexural members; problems involving nonlinear force- displacement relation and
damping; analysis of linear structural systems to time- dependent loads; classical and numerical
methods of solution.

01097921 วิธีเชิงคำนวณทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)


COMPUTATIONAL METHODS IN ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ทบทวนการเขียนโปรแกรม พิชคณิตเชิงเสนเชิงคำนวณ เมตริกซ วิธีโดยตรงสำหรับสมการเชิงเสน แนว
ทางการลดแยกสวนและการเก็บแบบตางๆ ไพวอตติ้งบางสวน ความผิดพลาดและสถานะภาพไมปกติ วิธีทำซ้ำสำหรับ
สมการเชิงเสน การทำซ้ำแบบยึดจุด วิธีการลดแยกสวนแบบQR และการแยกตัว ระบบหลายกริด การกำหนดสภาวะ
ลวงหนา วิธีการทำซ้ำแบบเกาซ-ไซเดล และการคลายตัวเกินแบบตอเนื่อง การประมาณคาในชวงและการกระชับโคง
การอินทิเกรตเชิงตัวเลข วิธีการประมาณตอเนื่องสำหรับการโกงเดาะของเสาและคานเสา ผลเฉลยเชิงตัวเลขของ
สมการอนุพันธ ผลเฉลยผลตางจำกัดของคาน แผนและตาราง ผลเฉลยของสมการไมเชิงเสน คอมพิวเตอรกราฟค
Review of computer programming; Computational linear algebra; Matrices; Direct Methods
for linear equations; various decomposition and storage schemes, partial pivoting, errors and
illconditioning; iterative methods for linear equations: Fixed-Point Iteration and Direct Solvers, QR
Decomposition and Splitting Methods; Multigrid; Preconditioning;Gauss-Seidel iteration and
successive overrelaxation methods; interpolations and curve fitting; numerical integration; methods
of successive approximations for buckling of columns and beamcolumns; numerical solution of
differential equations; finite difference solution of beams, plates and grids; solution of nonlinear
equations; computer graphic.

01097922 การคำนวณทางวิศวกรรม I 3 (3-0-6)


COMPUTATION IN ENGINEERING I
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


104 มคอ. 2

แนะการเขียนโปรแกรมบน C++ กระบวนการพัฒนาซอฟแวร การจำลองเชิงวัตถุดวยUML ตัวอยางการ


จำลองเชิงวัตถุ เซต ความสัมพันธและกราฟ การจำลองรูปราง การแสดงรูปรางของโคง
Introduction to Programming in C++; the process of software development; object oriented
modeling; the Unified Modelling Language (UML); examples for Object Oriented Modelling; sets
relations and graphs; geometric modeling; geometric representation of curves

01097923 วิธีไฟไนตอีลิเมนทสำหรับโครงสราง 3 (3-0-6)


FINITE ELEMENT METHODS FOR STRUCTURES
วิชาบังคับกอน : 01097114 การวิเคราะหโครงสรางโดยวิธีเมตริกซ
PREREQUISITE : 01097114 MATRIX ANALYSIS FOR STRUCTURES
ความแข็งแกรงของโครงสราง วิธีไฟไนตเอลิเมนต สำหรับระบบหนวยแรงและความเครียดในระนาบ สำหรับ
ระบบสมมาตรรอบแกน คุณสมบัติของชิ้นสวนรูปตาง ๆ และการประยุกตใชในงานทั่วไป
Structural stiffness; finite elements of a continuum, plane stress and strain, and axi-
symmetric stress analysis; element shape functions and various applications.

01097124 วิธีไฟไนตเอลิเมนตขั้นสูง 3 (3-0-6)


ADVANCED FINITE ELEMENT METHODS
วิชาบังคับกอน : 01097123 วิธีไฟไนตเอลิเมนตสำหรับโครงสราง
PREREQUISITE : 01097123 FINITE ELEMENT METHODS FOR STRUCTURES
แนะนำหัวขอขั้นสูงของวิธีไฟไนตเอลิเมนต เอลิเมนตคานเชิงเสนติโมเชงโก เอลิเมนตแผนที่เสียรูปไดจากแรง
เฉือน การลอค สมการการแปรผันของไฟไนตเอลิเมนต สมการไฟไนตเอลิเมนตแบบอื่น การประมาณความผิดพลาด
และการปรับตัว หัวขอเพิ่มเติมสำหรับวิธีไฟไนตเอลิเมนตสมัยใหม
Introduction to advanced topics of finite element methods; A Linear, straight Timoshenko
beam element; A shear deformable plate element; Locking; Variational formulations of finite
elements; Alternative finite element formulations; Error estimation and adaptivity; Additional topics
in modern finite element methods.

01097125 วิธีไฟไนตเอลิเมนตแบบไมเชิงเสน 3 (3-0-6)


NONLINEAR FINITE ELEMENT METHODS
วิชาบังคับกอน : 01097123 วิธีไฟไนตเอลิเมนตสำหรับโครงสราง
PREREQUISITE : 01097123 FINITE ELEMENT METHODS FOR STRUCTURES
หลักการวิธีไฟไนตเอลิเมนต ทฤษฎีสภาพยืดหยุนและความสัมพันธระหวางความเคนและ ความเครียด
แนวคิดและที่มาของสภาพไมเชิงเสน ขั้นตอนวิธีแบบไมเชิงเสน ความสัมพันธระหวางโครงสรางแบบไมยืดหยุนและ
เกณฑการวิบัติ การวิเคราะหการโกงเดาะ ทฤษฎีอันดับที่สองและความไมเชิงเสนดานเรขาคณิต ปญหาการสัมผัส
Principles of finite element methods; Theory of elasticity and relationship between stress
and strain; Concepts and sources and nonlinearity; Nonlinear algorithms; Relationship between
inelastic structures and failure criteria; Buclking analysis; The second order theory and geometrical
nonlinearity; Contact problems.

01097931 วิธีการทดลองในวิศวกรรมโครงสราง 3 (2-3-6)

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


105

มคอ. 2
EXPERIMENTAL METHODS IN STRUCTURAL ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ศึ กษาวิ ธ ี การและอุ ป กรณ ที ่ ใช ในการปฏิบ ั ติง านวิจ ั ย วิศวกรรมโครงสร าง ทฤษฎีการจำลองขนาดย อ
ลักษณะเฉพาะทางการทำงานและผลการใชเครื่องมือทรานซดิวเซอร การตรวจสอบอยางละเอียดของเครื่องมือท
รานซดิวเซอรเฉพาะอยางสำหรับการวัดหนวยแรง ความเครียด แรง การเคลื่อนที่ ความเร็ว ความเรง และอุณหภูมิ
ระบบการโหลดและการควบคุม การรับขอมูลและสัญญาณ ความรูเบื้องตนของการทดสอบโครงสรางแบบไมทำลาย
Study of methods and equipment used in a modern structural engineering research
laboratory; small-scale modeling theory; operational and performance characteristics of
transducers; detailed examination of specific transducers for measurement of strain, force,
displacement, velocity, acceleration and temperature; loading systems and controls; data
acquisition and signal conditioning; introduction to nondestructive testing of structures

01097932 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3 (3-0-6)


ADVANCED CONCRETE TECHNOLOGY
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ทบทวนเทคโนโลยีของคอนกรีต การปรับปรุงคุณภาพของคอนกรีตโดยวัสดุโพสโซลานิก สารผสมเพิ่มมี
คุณสมบัติทางแรธาตุและเคมี คอนกรีตประสิทธิภาพสูง คอนกรีตเสริมใย คอนกรีตผสมโพลิเมอร คอนกรีตทนทาน
และคอนกรีตพิเศษประเภทตางๆ การซอมแซมและเพิ่มกำลังโครงสรางคอนกรีต
Review of concrete technology; improvement of concrete’s quality by pozzolanic materials;
mineral and chemical admixtures; high performance concrete; fiber reinforced concrete; polymer
concrete; durable concrete and other special concrete; repair and strengthening of concrete
structures.

01097941 โปรแกรมคอมพิวเตอรในงานวิศวกรรมโครงสราง 3 (3-0-6)


COMPUTER APPLICATIONS IN STRUCTURAL ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การประยุกตใชโปรแกรมที่แพรหลายทั่วไปเชน Mathlab, MathCAD และตารางอีเลค ทรอนิค Excel ใน
การวิเคราะหปญหาในสาขาวิศวกรรมโครงสราง นักศึกษาตองเขียนโปรแกรมขึ้นเองและใชโปรแกรมที่มีอยูแลวใน
การแกปญหาทางโครงสราง
Computer programming using various commercial available programs such as Mathlab,
MathCAD, Excel spreadsheet and etc. Problems are taken from all phases of civil engineering.
Students will write programs and will use existing programs to solve structural engineering problems.

01097942 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็กขั้นสูง 3 (3-0-6)


ADVANCED REINFORCED CONCRETE DESIGN

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


106 มคอ. 2

วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ศึกษาการออกแบบองคอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กตางๆที่มีพฤติกรรมซับซอน เชน หูชาง คานลึก เสายาว
ฐานรากขนาดใหญ แผนพื้นไรคานและกำแพงรับแรงเฉือน โดยวิธีกำลัง การควบคุมความกวาง ของ รอยราวของ
โครงสร างคอนกรี ตเสริ มเหล็ ก และการออกแบบโดยวิธ ี strut-and-tie รายวิช านี้เนน การใชแบบจำลองทาง
คอมพิวเตอรในการวิเคราะหและออกแบบองคอาคารคอนกรีตเสริมเหล็กตางๆ
Study on the design of more complex structural elements of reinforced concrete such as
corbels, deep beams, slender columns, mat foundations, flat slabs and shear walls using the
strength methods; crack width control and strut- and- tie models. This course also emphasis on
computer modeling for the analysis and design of reinforced concrete structures.

01097943 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง 3 (3-0-6)


PRESTRESSED CONCRETE DESIGN
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การออกแบบวัสดุและวิธีที่ใชในการอัดแรง การออกแบบหนาตัดรับแรงดัด แรงเฉือน แรงที่สมอยึดและ
แรงบิด การโกงตัว รูปแบบการโกงตัว แอนตัว และเคเบิ้ล คานชวงเดี่ยว คานตอเนื่อง และแผนพื้นสองทาง
Discussions concerning materials and methods used in prestressing; design of sections for
flexure, shear, anchorage and torsion; camber, deflections and cable layouts; simple spans,
continuous beams and two-way slab system.

01097144 การออกแบบโครงสรางเหล็กรูปพรรณขั้นสูง 3 (3-0-6)


ADVANCED STRUCTURAL STEEL DESIGN
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การออกแบบโครงสรางโลหะ ครอบคลุมคาน-เสา ขอตอ การออกแบบโดยวิธีพลาสติก โครงขอแข็ง และการ
ออกแบบอาคารสูง
Design synthesis course for metal structures; beam columns; building connections; plastic
design; rigid frame; multistory building design.

01097145 การออกแบบสะพาน 3 (3-0-6)


BRIDGE DESIGN
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ทฤษฏี และขั้นตอนการออกแบบที่เกี่ยวของกับการวิเคราะหและออกแบบสงเคราะหสะพานและทางเชื่อม
ตามมาตรฐานการออกแบบของกรมทางหลวงอเมริกันและทองถิ่น โครงสรางเหล็กและคอนกรีต การปฏิบัติและ
ขั้นตอนการกอสราง
Theory and design procedures related to the analysis and design- synthesis of bridges and
guideways for vehicles using the AASHTO Code; concrete and steel structures; construction practices
and procedures.

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


107

มคอ. 2

01097146 การออกแบบโครงสรางอาคารเหล็กขึ้นรูปเย็น 3 (3-0-6)


Cold-Formed Steel Building Design
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
วัสดุและคุณสมบัติเหล็กขึ้นรูปเย็น น้ำหนักบรรทุกและขอกำหนดของวิธีกำลังที่ยอมให การออกแบบโดยวิธี
ตัวคูณความตานทานและน้ำหนักบรรทุก ชิ้นสวนและคุณสมบัติหนาตัด การคำนวณกำลังตานทานการโกงเดาะแบบ
เสียรูป องคอาคารรับแรงดึง คานและองคอาคารรับแรงดัด เสาและองคอาคารรับแรงอัด องคอาคารรับแรงตาม
แนวแกนและแรงดัดรวมกัน โครงสรางประกอบ การคำนวณออกแบบขอตอและรอยตอ การตอโดยการเชื่อม รอยตอ
แบบสลักเกลียว รอยตอแบบสกรู
Materials and Structural Properties of Cold - Formed steel, Load and Allowable Stress Design,
Load and Resistance Factor Design, Elements and Sectional Properties, Distortional Buckling Strength
Analysis, Tension members, Beam and Flexural Members, Columns and Compression Member,
Beam - Column Members, Composite Structures, Joints and Connections, Welding, Bolt
Connections, Screw Connections.

01097147 การออกแบบโครงสรางวัสดุเชิงประกอบ 3 (3-0-6)


COMPOSITE MATERIAL STRUCTURE DESIGN
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การออกแบบโครงสรางในงานวิศวกรรมโยธาซึ่งใชพลาสติกเสริมใย หัวขอรวมถึงประเภทของพลาสติกและ
สวนประกอบอื่นๆ พฤติกรรมของโครงสราง การวิเคราะหและออกแบบโครงสรางประกบแบบแบน องคประกอบ
ภายใตแรงตามแนวแกน คาน-เสา และขอตอ
Design synthesis course for fiber reinforced plastics in civil engineering structures; types of
plastics and composites; structural behavior; analysis and design of flat sandwich structures; axially
loaded members; beam-columns and building connections.

01097148 การออกแบบโครงสรางตานทานแผนดินไหว 3 (3-0-6)


SEISMIC DESIGN OF STRUCTURES
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
วิศวกรรมแผนดินไหวเบื้องตน ธรรมชาติของคลื่นแผนดินไหว ความเขมและขนาดของแผนดินไหว การ
ตอบสนองและการวิเคราะหสเปคตรัม มาตรฐานการออกแบบอาคารตานแผนดินไหวและการวิเคราะหแผนดินไหว
การสั่นสะเทือนไมแนนอน การสรางขอมูลแผนดินไหวจำลอง การออกแบบและการกำหนดรายละเอียด โครงสราง
เพื่อรับแรงแผนดินไหว โครงสรางพิเศษ สะพาน และเขื่อน
Elementary engineering seismology; seismic waves; intensity and magnitude; spectral
response and design; earthquake codes and analysis; response spectrum analysis; random
vibrations; artificial generation of earthquake records; structural design and detailing for earthquake
resistance; special structures; bridges and dams.

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


108 มคอ. 2

01097149 วิศวกรรมโครงสรางนอกฝง 3 (3-0-6)


OFFSHORE STRUCTURAL ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
แนะนำวิศวกรรมโครงสรางนอกฝง การวิเคราะหโครงสรางนอกฝง ประเด็นการวางแผนและการดำเนินการ
สภาวะแวดลอม แรงกระทำจากสภาพแวดลอม การออกแบบโครงสรางนอกฝงชนิดยึดแนน ประเภทของโครงสราง
นอกฝงการการวิเคราะหและออกแบบฐานรากนอกฝง มาตรฐานการออกแบบ กรณีศึกษา
Introduction to offshore structural engineering; Structural analysis of offshore structure;
Aspects of planning, operation; Environmental conditions, environmental loads; Design of fixed
offshore structures; Offshore foundation analysis and design; Design provision; Case study.
01098191 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมโครงสราง 3 (3-0-6)
SELECTED TOPICS IN STRUCTURAL ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
หัวขอคัดสรรดานวิศวกรรมโครงสรางในระดับปริญญาโท หัวขออาจเปลี่ยนไปในแตละภาคการศึกษา
Selected topics in structural engineering at the master degree leve; Topics may vary from
semester to semester.

01097193 หัวขอขั้นสูงทางวิศวกรรมโครงสราง I 3 (3-0-6)


ADVANCED TOPICS IN STRUCTURAL ENGINEERING I
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
หั ว ข อขั ้ นสู งทางวิ ศวกรรมโครงสร างในระดับ ปริญ ญาโท หัว ขอเรื่องอาจเปลี่ยนแปลงไปในแตละภาค
การศึกษา และแตกตางจาก 01097194 และ 01097195
Advanced topics in structural engineering at the master degree level; Topics may vary from
semester to semester and different from 01097194 and 01097195

01097194 หัวขอขั้นสูงทางวิศวกรรมโครงสราง II 3 (3-0-6)


ADVANCED TOPICS IN STRUCTURAL ENGINEERING II
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
หั ว ข อขั ้ นสู งทางวิ ศวกรรมโครงสร างในระดับ ปริญ ญาโท หัว ขอเรื่องอาจเปลี่ ยนแปลงไปในแตละภาค
การศึกษา และแตกตางจากวิชา 01097193 แล 01097195
Advanced topics in structural engineering at the master degree level; Topics may vary from
semester to semester and different from 01097193 and 01097195

01097195 หัวขอขั้นสูงทางวิศวกรรมโครงสราง III 3 (3-0-6)


ADVANCED TOPICS IN STRUCTURAL ENGINEERING III
วิชาบังคับกอน : ไมมี

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


109

มคอ. 2
PREREQUISITE : NONE
หั ว ข อขั ้ นสู งทางวิ ศวกรรมโครงสรางในระดับ ปริญ ญาโท หัว ขอเรื่องอาจเปลี่ยนแปลงไปในแตละภาค
การศึกษา และแตกตางจากวิชา 01097193 แล 01097194
Advanced topics in structural engineering at the master degree level; Topics may vary from
semester to semester and different from 01097193 and 01097194

2. กลุมวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี
01097242 การสำรวจและการทดสอบดานเทคนิคธรณี 3 (2-3-6)
GEOTECHNICAL EXPLORATION AND TESTING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การประยุกตใชหลักการทดสอบเพื่อหาพฤติกรรมของดิน ตั้งแตคุณสมบัติทางกายภาพ จนถึงคุณสมบัติทาง
วิศวกรรม เนนเทคนิคสำคัญเพื่อหาคาพฤติกรรมทางกลศาสตรภายใตสภาวะขอบเขตตางๆ เรียนรูความคลาด
เคลื่อนที่เกิดจากเครื่องมือทั้งในหองปฏิบัติการและในภาคสนาม การทดลองเพื่อใหเขาใจถึงเทคนิคตางๆ ที่ใชใน
หองปฏิบัติการ ซึ่งรวมถึงการใชระบบควบคุมการทดสอบอัตโนมัติและเครื่องมืออิเลคทรอนิกส การทดลองจะ
ครอบคลุมถึงการวิเคราะหขอมูล การประเมิน และการแสดงผล
Applications of the testing principles to the measurement of fundamental aspects of soil
behavior from physical to engineering properties; emphasis on rigorous techniques to measure
mechanical behavior under various boundary conditions; exposure to error estimation from research
devices and geotechnical field exploration in site testing; extensive laboratory experiment and
techniques; laboratory use of testing automation and electronic instrumentation; experiments
including data analysis, evaluation and presentation.

01097231 งานกอสรางใตดินและงานอุโมงค 3 (3-0-6)


UNDERGROUND CONSTRUCTION AND TUNNELING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ทำความรูจักกับสวนสำคัญดานการวางแผน การออกแบบและการกอสรางงานกอสรางใตดินในชั้นดินออน
และหินแข็ง รายละเอียดการวิเคราะหและการออกแบบดานวิศวกรรม เทคนิคและการบริหารงานกอสรางใตดินและ
งานอุโมงค แผนงานทั่วไปและปญหาดานเศรษฐศาสตร กรณีศึกษา
Familiarization with the most important aspects of planning, design and construction of
underground openings in soft ground and rock; detailed engineering analysis and design; major
aspects of techniques and management of underground construction and tunneling; general
planning and economic problems; case studies.

01097243 การปรับปรุงคุณภาพดิน 3 (3-0-6)


SOIL STABILIZATION
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


110 มคอ. 2

ปญหาทางวิศวกรรมของดินเพื่อใชสำหรับฐานรากและวัสดุกอสราง การปรับปรุงคุณสมบัติและคุณภาพของ
ดินโดยสรางเสถียรภาพทางกล ทางอุณหภูมิ และทางกระแสไฟฟา รวมถึงการลดระดับน้ำใตดินเพื่องานกอสราง การ
ระบายน้ำเพื่อเรงการทรุดตัวของดิน การเสริมกำลังของโครงสรางใตดิน และเสริมกำลังดินโดยวิธีการอัดฉีดสารเคมี
เขาไปในดิน
Engineering problems of soils to be used as foundation and construction materials; the art
of altering engineering properties of soils by means of mechanical, thermal and electrical
stabilization; including dewatering for construction; dewatering technique for settlement
enhancement; underpinning and chemical injection for soil strength.

01097240 วิศวกรรมธรณีวิทยาขั้นสูง 3 (3-0-6)


ADVANCED ENGINEERING GEOLOGY
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การศึกษาขั้นสูงเกี่ยวกับกลศาสตรของดินและหิน ในสวนที่เกี่ยวของกับโครงสรางทางธรณีวิทยา การ
ตรวจสอบสถานที่กอสรางโดยวิธีทางธรณีวิทยาและธรณีฟสิกส และการสำรวจวัสดุการกอสรางเพื่องานวิศวกรรม
โยธา
Advanced study of soil and rock mechanics related to geological structures; site investigation
by geological and geophysical methods; surveying of construction materials for civil engineering
works.

01097244 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 (3-0-6)


SELECTED TOPICS IN GEOTECHNICAL ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ศึกษาถึงปญหาและการแกปญหาทางวิศวกรรมเทคนิคธรณี ที่เกิดขึ้นจริง
Study of actual advanced problems in geotechnical engineering.

01097245 การจัดการความเสี่ยงในสัญญาดานอุโมงค 3 (3-0-6)


RISK MANAGEMENT IN TUNNELLING CONTRACTS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การแนะนำเบื้องตนเกี่ยวกับแบบจำลองสัญญางานอุโมงคและความหลากหลายดานความเสี่ยง ความเสี่ยง
ทั่วไปในงานใตดินและอุโมงค หลักการควบคุมความเสี่ยงโดยใชการจัดการความเสี่ยง การจัดการความเสี่ยงโดยใช
กระบวนการตัดสินใจทางวิศวกรรม กระบวนการตัดสินใจโดยใชเทคนิคดานการจัดการอยางเปนระบบ การจัดการ
และควบคุมโดยใชขั้นตอนตลอดโครงการในการวางแผนและออกแบบ การเตรียมสัญญาและการยื่นขอเสนอ การ
กอสรางและการดำเนินการ การใชวิธีบรรเทาความเสี่ยง การชำระคาใชจายและกำหนดการ
Introduction into Tunnelling Contract Models and Risk related Differentiation.Typical Risk
inherent in Underground and Tunnel Projects. Principles of Risk Control by Risk Management. Risk
Management through Engineering Decisions during Project Development. Risk Management Process
through Systematic Risk Management Technique. Risk Management and Control through Project Life

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


111

มคอ. 2
Phases in Planning & Design, Tendering & Contract Preparation, Construction & Operation.
Implementation of appropriate Risk Mitigation Measures, Costing and Scheduling.

3. กลุมวิชาวิศวกรรมขนสง
01097962 การวางแผนและเศรษฐศาสตรการทาง 3 (3-0-6)
HIGHWAY PLANNING AND ECONOMICS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
หลักสำคัญในการวางแผนการทาง การเงิน เศรษฐศาสตร พรอมทั้งระดับขั้นตอนการปรับปรุงขยายยกระดับ
ทาง การศึกษาถึงความตองการ ความจำเปนและความสมดุลยของทางในทองถิ่นตาง ๆ
Principles of highway planning; finance, economics and programming of highway
improvements; highway needs studies and highway sufficiency studies for regional highway planning.

01097964 การขนสงและสิ่งแวดลอม 3 (3-0-6)


TRANSPORTATION AND ENVIRONMENT
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ผลกระทบของการขนสงตอสิ่งแวดลอม การชี้ปญหา การประเมินและการรักษา เสียงรบกวน การ
สั่นสะเทือน มลพิษทางอากาศ การหนวงและอันตรายของคนเดินถนน การแตกแยก อุบัติเหตุ การรบกวนทางสายตา
และความสวยงาม ผลกระทบของมลพิษและของการกอสราง การใชที่ดินและผลกระทบ การวางแผนการทำลายและ
การทดแทน ดินฟาอากาศ การใชทรัพยากรและพลังงาน และการรักษาสภาพแวดลอมอยางยั่งยืน
Environmental effects of transportation; problems identification; assessment and
attenuation; noise; vibration; air pollution; pedestrian delay and danger; severance; accidents; visual
intrusion and aesthetics; toxic freight; construction effects; land consumption and land-use effects;
planning blight and compensation; global climate; energy and resource use; sustainability.

01097366 การวิเคราะหโครงขายและจำลองการขนสง 3 (3-0-6)


TRANSPORTATION NETWORK ANALYSIS AND MODELING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
สวนประกอบเบื้องตนของการจำลองการจัดการการจราจร การศึกษาอยางลึกซึ้งของวิธีการเก็บขอมูล
รูปแบบของการกอใหเกิดการเดินทางโดยใชทฤษฎีความสัมพันธ รูปแบบการกระจายของการเดินทาง โดยใชทฤษฎี
ความโนมถวงและทฤษฎีการเดินทางหลายอยาง การแบงแยกวิธีการเดินทาง การจัดการเดินทางลงไปในเสนทางและ
การประเมินผล
Basic components of traffic assignment models; an indepth study of data gathering and
processing; trip generation model using regression theory; trip distribution model using gravity model
and abstract mode model; modal split; traffic assignment and evaluation process.

01097367 เทคโนโลยีการขนสง 3 (3-0-6)

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


112 มคอ. 2

TRANSPORTATION TECHNOLOGY
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
การศึกษาการวางแผนการขนสงแบบรวมทุกประเภทและการออกแบบสิ่งอำนวยความสะดวก การอภิปราย
ในหัวขอซึ่งอยูในความสนใจที่เกี่ยวของกับการวางแผนคมนาคมขนสง รวมถึงเทคนิคการประเมินผลปญหาทางสังคม
และสภาพแวดลอมของการออกแบบระบบการขนสงและเทคโนโลยีคมนาคมขนสง
Study of multimodel transportation planning and facilities design; discussion on topics of
special interest in transportation planning; evaluation techniques for social and environmental
problems in system design and technology of transportation.

01097369 การวิเคราะหและปองกันอุบัติเหตุ 3 (3-0-6)


ACCIDENT ANALYSIS AND PREVENTION
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
รูปแบบของอุบัติเหตุ ความสัมพันธของยานพาหนะและสิ่งแวดลอม ระบบการรายงานอุบัติเหตุ ปจจัยทาง
ยานพาหนะ มูลคาที่เกิดจากอุบัติเหตุ ปจจัยทางมนุษย การขับรถขณะดื่ม การบงชี้อันตราย การวิเคราะหปญหา และ
การปรับปรุง การศึกษาการขัดแยง การจำลองอุบัติเหตุ การศึกษาความปลอดภัยทางถนน ผูใชถนนที่ไมมั่นคง
อุบัติเหตุของการเดินทางสาธารณะ วิธีการประเมิน การวิเคราะหทางเศรษฐกิจ การทดแทนการเสี่ยง ความสัมพันธ
ตอคากลาง การโยกยายอุบัติเหตุ และการวิเคราะหดานความปลอดภัย
Accident patterns; vehicles and environment interaction; accident reporting systems; vehicle
factors; crashworthiness; human factors; drink driving; identification of hazard; problem diagnosis
and remedial treatments; conflict studies; accident simulation; road safety study; vulnerable road
users; public transportation accidents; evaluation techniques; economic analysis; risk compensation;
regression-to-mean; accident migration; telematics for safety.

01097370 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมขนสง 3 (3-0-6)


SELECTED TOPICS IN TRANSPORTATION ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ศึกษาถึงปญหาและการแกปญหาทางวิศวกรรขนสง ที่เกิดขึ้นจริง
Study of actual advanced problems in transportation engineering.
01097371 หลักการนโยบายการขนสง 3 (3-0-6)
PRINCIPLES OF TRANSPORTATION POLICY
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
วิธีวิเคราะหปญหาสำหรับนโยบายการขนสง จุดมุงหมายของนโยบายการขนสง เชน สมรรถภาพ การปองกัน
ทางสิ่งแวดลอม ความปลอดภัย การวางแผนการใชที่ดิน และการใชดุลพินิจ เครื่องมือของนโยบายการขนสง การ
บริหารการจราจร การบริหารการจราจรทางสิ่งแวดลอม การปฏิบัติการขนสงสาธารณะ การควบคุมการจราจร การ
จัดการความตองการ การจัดการสิ่งกอสรางสูง หลักการการขนสงรวม ความรูเบื้องตนทางเศรษฐกิจ การประเมิน

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


113

มคอ. 2
ราคาถนนและการขนสงสาธารณะ การตัดสินใจลงทุน การประเมินผล การประเมินทางการเงินและการวิเคราะห
เปรียบเทียบระหวางผลประโยชนและคาใชจายทางสังคม
Problem analysis approaches to transportation policy; objectives of transportation policy:
efficiency, environmental protection, safety; land use planning and equity; instruments of
transportation policy; traffic management; environmental traffic management; public transportation
operation; traffic restraint; demand management; infrastructure provision; integrated transportation
strategies; introduction to transportation economics; cost estimation of roadspace and public
transportation such as railway system; investment decision making; evaluation; financial appraisal
and social cost-benefit analysis.

4. กลุมวิชาวิศวกรรมแหลงน้ำ
01097491 วิศวกรรมชลประทาน 3 (3-0-6)
IRRIGATION ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ความเขาใจทางวัฏจักรอุทกวิทยา หลักการและกระบวนการที่จำเปนเพื่อประสิทธิภาพในการจัดการ
ทรัพยากรน้ำโดยการออกแบบระบบสงน้ำและระบบชลประทาน การประยุกตใชเทคนิคและการวิเคราะหที่เหมะสม
ทางดานการออกแบบเพื่อใหมีประสิทธิภาพทั้งการชลประทานและระบบสงน้ำ การออกแบบ, การทดสอบและการ
วิเคราะหชลภาระระบบสงน้ำและอาคารประกอบ เพิ่มทักษะการสื่อสารและความรู ความเขาใจทางวิศวกรรม
ชลประทานแบบมืออาชีพ จริยธรรมและความรับผิดชอบทางสังคมไดรับความรูและสามารถอธิบายใหเขาใจงายขึ้น
Understand the hydrologic cycle, principles and processes necessary to effectively manage
water resources through well designed drainage and irrigation systems. Apply appropriate
techniques and analyses to the effective design of both irrigation and drainage systems. Design,
test, and analyse agricultural irrigation and drainage systems and their components. Enhance
communication skills, and impart a sense of professional, ethical and societal responsibility gained
through knowledge and discussion of contemporary issues.

01097492 การไหลทางน้ำเปด 3 (3-0-6)


OPEN CHANNEL FLOW
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
วิชานี้ครอบคลุมถึงแนวคิดของพลังงาน โมเมนตัม แรงเสียดทานที่เกี่ยวพันถึงการไหลในทางน้ำเปด แนวคิด
ของความลึกสลับ ความลึกผัน ความลึกปกติ ซึ่งถูกพัฒนาและนำมาใชเพื่อการพัฒนาที่มีคุณภาพในดานการไหล
เปลี่ยนแปลงนอย วิชานี้มุงเนนถึงการวิเคราะห คำนวน และการใชโปรมแกรมคอมพิวเตอรชวยในการวิเคราะห
HEC-RAS การใชวิธีเชิงตัวเลข และการปฏิบัติการรวมถึงการอภิปรายผลในชั้นเรียน
This course encompasses a rigorous examination of the concepts of energy, momentum,
and friction as they relate to flow in open channels. Concepts of alternate depths, conjugate
depths, normal depth, are developed and used to ultimately develop a close examination of the
full range of gradually varied flow surface water profiles. The course stresses both analytical

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


114 มคอ. 2

calculations and computer approaches culminating in a careful exploration of the HEC-RAS


computer program. Numerical “labs” may be used to complement classroom discussions.

01097908 อุทกวิทยาน้ำใตดิน 3 (3-0-6)


GROUNDWATER HYDROLOGY
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
อุทกวิทยาน้ำใตดินเบื้องตน การกำเนิด การเคลื่อนที่ และการแผกระจายของน้ำใตดิน ระบบการไหลบริเวณ
บอบาดาล การกอสรางบอ การดำเนินการและการบำรุงรักษา การปนเปอนของน้ำใตดิน การสำรวจและการประเมิน
คุณภาพ
Fundamentals of groundwater hydrology; occurrence, movement and distribution of
groundwater; well-flow systems; well construction; operation and maintenance; groundwater
contamination; exploration and quality assessment.

01097498 การจำลองการไหลของน้ำใตดิน 3 (2-3-6)


GROUNDWATER FLOW MODELING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ทฤษฎีและการพัฒนาการไหลของน้ำใตดิน วิธีการเชิงตัวเลขในการแกปญหาการไหลของน้ำใตดิน
หลักเกณฑในทางปฏิบัติของการทำสรางแบบจำลอง การประยุกตใชแบบจำลองและขอจำกัด กรณีศึกษา
Groundwater flow theory and development; numerical methods for solving groundwater
problems; practical aspects of modeling; model applications and limitations; case studies.

01097904 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมแหลงน้ำ 3 (3-0-6)


SELECTED TOPICS IN WATER RESOURCES AND ENVIRONMENTAL ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE : NONE
ศึกษาถึงปญหาและการแกปญหาทางวิศวกรรมแหลงน้ำที่เกิดขึ้นจริง
Study of actual advanced problems in water resource and environmental engineering.

01097538 วิศวกรรมแมน้ำ 3(3-0-6)


RIVER ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
คุณสมบัติของแมน้ำ การใชแมน้ำ ไฮดรอลิคทางแมน้ำ การเคลื่อนที่ของน้ำ การเคลื่อนที่ของตะกอน
สัณฐานวิทยาของแมน้ำ คุณภาพของน้ำในแมน้ำ การสำรวจแมน้ำ งานแผนที่ ระดับน้ำ ระดับใตทองน้ำ การระบาย
ออก การสำรวจตะกอน ตัวแบบแมน้ำ ตัวแบบทางคณิตศาสตร ตัวแบบแบบสเกล งานทางวิศวกรรมแมน้ำ กฎใต
ทองน้ำ การควบคุมการระบายน้ำ การควบคุมระดับน้ำ การควบคุมคุณภาพน้ำ วิศวกรรมแมน้ำสำหรับจุดประสงค

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


115

มคอ. 2
ตางๆ
River characteristics, use of river, river hydraulics; water movement, sediment transport,
river morphology, quality of river water, river survey, mapping, water levels, bed levels, discharges,
sediments survey, river models; mathematical models, scale models, river engineering; bed
regulation, discharge control, water level control, water quality control, river engineering for various
purposes.

5) กลุมวิชาวิศวกรรมชายฝงและทางทะเล
01097511 การออกแบบ การกอสรางและการบำรุงรักษาสำหรับสิ่งปลูกสรางชายฝง 3 (3-0-6)
DESIGN, CONSTRUCTION AND MAINTENANCE FOR COASTAL FACILITIES
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
โครงสรางและแผนเกี่ยวกับชายฝง สิ่งแวดลอมและไฮโดรไดนามิคเกี่ยวกับชายฝง สิ่งปลูกสรางเกี่ยวกับ
ชายฝง แผนการพัฒนาการ การสำรวจและการสังเกต การออกแบบ การกอสราง การบำรุงรักษา การปรับปรุงและ
การแทนที่
Coastal plan and structures, coastal hydrodynamics and environment, coastal facilities,
development planning, survey and observation, design, construction, maintenance, improvement
and replacement.

01097521 ไดนามิคที่ชายฝง 3 (3-0-6)


COASTAL DYNAMICS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
ชายฝง ทบทวนเชิงวิศวกรรมชายฝง ทฤษฎีเชิงเสนในไดนามิคที่ชายฝง การพิจารณาคาคงที่ที่ชายฝง การ
ตรวจสอบโดยทางการทดลอง การประเมินโดยตัวแบบเชิงเสนมิติเดียวและสองมิติ การปฏิสัมพันธระหวางบริเวณ
พื้นที่สามเหลี่ยมปากแมน้ำภายนอกและระดับน้ำของอาวดานใน
The coast; a coastal engineering view, line theories in coastal dynamics, determination of
coastal constants, experimental verification, evaluation of the one and two-line model, interaction
between outer delta’s and tidal basins.

01097522 ไฮโดรไดนามิคแนวชายฝงและปากอาว 3 (3-0-6)


ESTUARY AND COASTLINE HYDRODYNAMICS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
ทฤษฎีคลื่นชนิดความกวางคลื่นเล็ก คลื่นชนิดความกวางคลื่นจำกัด การเกิดคลื่นดวยลม ที่น้ำลึกและน้ำตื้น
กระแสน้ำขึ้นน้ำลงและการวิเคราะหฮาโมนิค แนวคิดทางวิศวกรรมของพายุซัดฝง การหักเหของคลื่น การออมของ
คลื่น และการสะทอนของคลื่น การสั่นพองที่ทาเรือ ปฏิสัมพันธของโครงสรางและคลื่น ขบวนการชายฝง ไดนามิค
ของน้ำขึ้นน้ำลงในปากอาว กลไกของการจับตัวชั้นเกลือ การรุกกระจายความเค็มในปากอาว มลภาวะในปากอาว
การตกตะกอนในปากอาว การสำรวจภาคสนามในปากอาว กฎโมเดลตางๆสำหรับโมเดลที่ปากอาวและที่ชายฝง

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


116 มคอ. 2

Small amplitude wave theory, finite amplitude waves; wave generation by wind, deep and
shallow water; tides and harmonic analysis, engineering aspects of storm surge; wave refraction,
diffraction, and reflection; harbor resonance, interaction of structures and waves, coastal processes,
tidal dynamics in estuaries, the mechanism of an arrested saline wedge, salinity intrusion in
estuaries, pollution in estuaries, sedimentation in estuaries, field survey in estuaries, model laws for
coastal and estuarine models.

01097523 ขบวนการชายฝงกับการประยุกตทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)


COASTAL PROCESSES WITH ENGINEERING APPLICATIONS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
คำศัพทของชายฝง คุณสมบัติของการตกตะกอน ไฮโดรไดนามิคของชายฝง น้ำขึ้นน้ำลงและพายุซัดฝง คลื่น
และคลื่นที่ทำใหเกิดขบวนการทางไฮโดรไดนามิค เทคนิคการวัดทางภาคสนามและการวิเคราะห โครงรางชายหาด
สมดุล การเคลื่อนที่ของตะกอน รูปลักษณะของชายฝงตางๆ โมเดลของชายหาดและเสนชายทะเล การดัดแปลงแนว
ชายทะเล การถมชายหาดและโครงสรางทางวิศวกรรมแบบออน โครงสรางทางวิศวกรรมแบบแข็ง น้ำขึ้นน้ำลงที่
ชองแคบ การจัดการของเสนชายฝง
Terminology of the coasts, sediment characteristics, hydrodynamics of the coastal, tides and
storm surges, waves and wave- induced hydrodynamic, field measurement techniques and analysis,
equilibrium beach profiles, sediment transport, miscellaneous coastal features, modeling of
beaches and shorelines, shoreline modification, beach fill and soft engineering structures, hard
engineering structures, tidal inlets, shoreline management.

01097524 การออกแบบ การบำรุงรักษาและการประเมินคาความปลอดภัย 3(3-0-6)


ของกำแพงกันคลื่นและเขื่อนหินทิ้ง
DIKES AND REVETMENTS, DESIGN, MAINTENANCE AND SAFETY ASSESSMENT
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
ปรัชญาและหลักการการออกแบบ เงื่อนไขขอบเขตทางชลศาสตร เงื่อนไขขอบเขตทางธรณีเทคนิคและการ
สำรวจดิน การปฏิสัมพันธทางโครงสรางของดินน้ำ ผลกระทบของสภาพดินฟาอากาศตอความตานทานของดิน การ
เคลื่อนที่แรกเริ่มและการกัดเซาะของวัสดุหลวม การเคลื่อนที่ขึ้นฝงและการทวมลนของคลื่น การออกแบบทาง
เรขาคณิตของโครงสรางเกี่ยวกับชายฝง โครงสรางชนิดกรอง การประยุกตและเกณฑความมั่นคงสำหรับหินและ
หนวยวัสดุเทียม เกณฑการออกแบบสำหรับเขื่อนหินทิ้งชนิดบล็อกวาง เขื่อนหินทิ้งชนิดบิทูเมน แผงแผนหญาและ
มาตรการการเสริมกำลัง แผงใยสังเคราะหชนิด 3 มิติ ทางเลือกของเขื่อนหินทิ้ง จีโอเทคไทลและระบบทางธรณีใน
เขื่อนดินและการออกแบบเกี่ยวกับชายฝง ภาพรวมความมั่นคงทางธรณีเทคนิค หลักเกณฑของการบริหารและการ
จัดการ การประเมินความปลอดภัย
Design philosophy and methodology, hydraulic boundary conditions, geotechnical boundary
conditions and soil investigation, soil- water- structure interactions, impact of weathering on
resistance of soils, incipient motion and scouring of loosely materials, wave run up and overtopping,
geometrical design of coastal structures, filter structures, application and stability criteria for rock
and artificial units, design criteria for placed block revetments, bituminous revetments, grass mats

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


117

มคอ. 2
and reinforcement measures, three dimensional synthetic mats, alternative revetments, geotextiles
and geo-systems in dike and coastal design, overall geotechnical stability, aspects of execution and
management, safety assessment.

01097525 ทฤษฎีและวิธีปฏิบัติการเคลื่อนที่ของตะกอน 3 (3-0-6)


SEDIMENT TRANSPORT, THEORY AND PRACTICE
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
คุณสมบัติของน้ำและตะกอน เกณฑการเคลื่อนที่เริ่มแรกและการประยุกตใช ความตานทานตอการไหล
และสัณฐานใตน้ำ การเคลื่อนที่ของตะกอนดวยแรงกระทำใตน้ำ การเคลื่อนที่ของตะกอนดวยแรงกระทำแขวงลอย
การเคลื่อนที่ของตะกอนดวยแรงกระทำรวม การเปรียบเทียบและการประเมินคาการเคลื่อนที่ของตะกอน การ
ตกตะกอนที่อางเก็บน้ำ
Properties of water and sediment, incipient motion criteria and applications, resistance to
flow and bed forms, bed-load transport, suspended load transport, total load transport, comparison
and evaluation of sediment transport, reservoir sedimentation.

01097526 ความเสี่ยงและความนาเชื่อถือในวิศวกรรมชายฝง 3 (3-0-6)


RISK AND RELIABILITY IN COASTAL ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
บทนำของความนาจะเปน องคประกอบของความนาจะเปนและกระบวนการสโตแคสติค ระดับที่สูงที่สุด
ความไมแนนอน การวิเคราะหความเสี่ยงและความนาเชื่อถือ ระบบความนาเชื่อถือ การประยุกตใชในทางวิศวกรรม
ชายฝง
Introduction to probability, elements of probability and stochastic processes, extremes;
uncertainty, risk and reliability analysis, reliability of system, applications in coastal engineering

01097527 ความเสี่ยงจากการกอสรางในวิศวกรรมชายฝง 3 (3-0-6)


CONSTRUCTION RISK IN COASTAL ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
นิยามความเสี่ยง ตัวแบบและการจัดการ ความไมแนนอนของทะเล วิธีการกอสรางที่ชายฝงและความเสี่ยง
ความปลอดภัย สุขภาพและสภาพแวดลอม การประกันภัย การจัดหา ความเสี่ยงจำเพาะ งานหิน แทงปองกันชนิด
คอนกรีต กำแพงกันคลื่นคอนกรีตและเขื่อนหินทิ้ง งานเคซอง งานเสาเข็มที่ชายฝง โครงการทางน้ำและปากแมน้ำ
งานขุดลอกทางเดินเรือ การเสริมชายหาด
Risk definition, modeling and management, the uncertain sea, coastal construction methods
and risks, safety, health and the environment, insurance, procurement, specific risks, rock works,
concrete armour units, concrete seawalls and revetments, caisson works, coastal piling work, outfall
and intake projects, navigational dredging works, beach nourishment.

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


118 มคอ. 2

01097528 การจัดการทรัพยากรชายฝง ในการฟนคืนสูปกติ 3 (3-0-6)


การปรับตัว และความหลากหลายของชุมชน
COASTAL RESOURCE MANAGEMENT IN RESILIENCE,
ADAPTATION, AND COMMUNITY DIVERSITY
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
สั งคมวิ ทยาและความหลากหลายของชุมชน การวิจ ัย แบบสหวิทยาการ การจัดการดว ยความรวมมือ
ชวยเหลือกันในชุมชนชายฝงขนาดเล็ก หลักวาดวยเขตอำนาจภายในอาณาเขต การทำใหมีพลังชีวิตใหมโดยทาง
เทคนิค และสัญญลักษณของชุมชนโดยดั้งเดิม ชุมชนและผูมีสวนไดสวนเสียในพื้นที่ปองกันทางทะเล การเตรียมการ
ของชุมชนและการศึกษาในการถูกทำใหไม บริสุทธของระบบนิเวสวิทยาที่ชายฝง สาหรายทะเลและปาโกงกาง วิธี
ปฏิบัติในการปรับปรุงสภาพแวดลอมในชุมชนชายฝงตอการดำรงชีวิตอยางยั่งยืนปลอดภัย องคกรการปกครองและ
กลุมทางเศรษฐกิจสังคมของชุมชนประมง การวิเคราะหเชิงประจักษ การศึกษาบทเรียนจากประสบการณ และการ
เสนอแนะ
Social sciences and the diversity of communities, interdisciplinary research and collaborative
management in small coastal communities, territoriality, technical revitalization, and symbolism in
indigenous communities, communities and stakeholders in marine protected areas, community
mobilization and education in contaminated coastal ecosystems, seaweed and mangroves:
improving environmental practices in coastal communities to secure sustainable livelihoods,
political organization and socioeconomics of fishing communities, analytical insights, lessons learnt,
and recommendations.

01097529 การจัดการโซนชายฝงแบบบูรณาการ 3 (3-0-6)


INTEGRATED COASTAL ZONE MANAGEMENT (ICZM)
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
การทบทวน เปาหมาย วัตถุประสงคและขอบเขตของโปรแกรมการจัดการชายฝงแบบบูรณาการ ขอบเขต
ของโซนเขตชายฝง ความยั่งยืน ระบบทรัพยากรธรรมชาติที่ชายฝง ทรัพยากรสิ่งแวดลอมของถิ่นที่อยูของพืชหรือ
สัตวที่วิกฤติ พื้นที่ที่มีน้ำทวมขังที่มีตนไมจำพวกโกงกางและระบบเขตน้ำตื้นริมฝงอื่นๆ ทรัพยากรและประเด็น
เกี่ยวกับระบบนิเวศน การใชประโยชนหลายประการของโซนเขตชายฝง การตั้งถิ่นฐานที่เปนลักษณะของชุมชนเมือง
หลักการที่เกี่ยวของ การวางแผนกลยุทธ การพัฒนาโปรแกรม กลไกการจัดการ ขอมูลขาวสาร การอบรมและ
การศึกษา การฟนฟู/การพักฟนของทรัพยากร การประเมินสภาพสิ่งแวดลอม
Overview, goals, objectives and scope of the ICZM programme, boundaries of the coastal
zone, sustainability, coastal natural resource systems, critical habitat resources, mangrove wetlands
and other intertidal systems, ecological issues and resources, multiple uses of the coastal zone,
urban settlement, related principles, strategic planning, programme development, management
mechanisms, information, training and education, restoration/ rehabilitation of resources,
environmental assessment.

01097530 ธรณีวิทยาชายฝง 3 (3-0-6)

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


119

มคอ. 2
COASTAL GEOLOGY
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
ศัพทบัญญัติทางชายฝงและสภาวะแวดลอมทางธรณีวิทยา การจัดหมวดหมูทางชายฝงและวิชาการศึกษา
สัณฐานใตทองทะเล การศึกษาปฏิสัมพันธและการเปลี่ยนแปลงของสัณฐานใตทองทะเลและขบวนการไฮโดรไดนามิค
การสำรวทางธรณีวิทยาชายฝง
Coastal terminology and geologic environments, coastal classification and morphology,
coastal morphodynamics, coastal geological investigations.

01097531 ศวกรรมสมุทรศาสตร 3 (3-0-6)


OCEAN ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
ทบทวนกลศาสตรทางน้ำ กระแสลมกอกำเนิดคลื่นมหาสมุทร คลื่นผิวน้ำเชิงเสน คลื่นผิวน้ำไมใชเชิงเสน
คลื่นทะเลเชิงสุม การเปลี่ยนแปลงของคลื่นและการเปลี่ยนรูป คลื่นในบริเวณพื้นที่ชายฝง การพิจารณาในเชิง
วิศวกรรมชายฝง คลื่นกอใหเกิดแรงและโมเมนตบนวัตถุคงที่ บทนำของปฏิสัมพันธทางโครงสรางคลื่น คลื่นกอใหเกิด
การเคลื่อนที่ของวัตถุลอยน้ำ คลื่นกอใหเกิดการเคลื่อนที่ของโครงสรางที่สัมพันธกัน
Review of hydromechanics, wind generated ocean waves, linear surface waves, nonlinear
surface waves, random seas, wave modification and transformation, waves in the coastal zone,
coastal engineering considerations, wave-induced forces and moments on fixed bodies, introduction
to wave-structure interaction, wave-induced motions of floating bodies, wave-induced motions of
compliant structures.

01097532 การออกแบบโครงสรางสมุทรศาสตร 3 (3-0-6)


DESIGN OF OCEAN STRUCTURES
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
สภาพแวดลอมทางทะเล สมุทรศาสตร ทฤษฎีสำหรับคลื่นมหาสมุทร กระแสน้ำและลม แรงกระทำในสภาวะ
โดยรอบ แรงไฮโดรไดนามิคจากคลื่นและกระแสน้ำ และการเคลื่อนที่ของวัตถุแข็งจากแรงนั้น ผลกระทบของแรง
กระทำ วิธีการเคลื่อนที่ แรงกระทำภายในและแรงเครียดในโครงสรางจากแรงพลศาสตรและสถิตศาสตร การ
วิเคราะหไฟไนทอีลีเมนตเชิงเสนและไมใชเชิงเสน ความสามารถทางโครงสราง การลาและการแตกหักภายใต
คุณสมบัติของวัสดุ การโกงขององคประกอบทางโครงสรางและการพังทลายรวมทางโครงสราง ไซเบอรเนติกทาง
ทะเล
Marine environment; oceanography, theories for ocean waves, current and wind,
environmental loads; hydrodynamic forces from waves and current, and rigid body motions from
such loads, load effects; displacements methods, internal forces and stresses in structures from
static and dynamic loads, Linear and non-linear finite element analysis, structural capacity; fatigue
and fracture based on material properties, buckling of structural elements and total collapse of
structures, marine cybernetics.

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


120 มคอ. 2

01097533 วิศวกรรมนอกฝง 3 (3-0-6)


OFFSHORE ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
รหัสและมาตรฐานสำหรั บวิ ศวกรรมนอกฝ ง ไฮโดรไดนามิ คของวิ ศวกรรมนอกฝ ง ไฮโดรไดนามิ ค คลื่ น
กระแสน้ำ แรง ทฤษฎีของคลื่นน้ำ โครงสรางนอกฝง ไดนามิคที่ผูกเรือของเรือเดินสมุทรนอกฝง ไดนามิคเคเบิล
สำหรับประยุกตใชนอกฝง ตัวแบบจำลองทางวิศวกรรมนอกฝง ระบบทอและระบบเครื่องกล ทอสงผานน้ำมัน
ปโตรเลียมหรือกาซธรรมชาติ งานใตน้ำ การดำน้ำและการชวยเหลือใตน้ำ
Codes and standards for offshore engineering, hydrodynamics of offshore engineering; wave
hydrodynamics, currents, forces, theories of water waves, offshore structures, mooring dynamics of
offshore vessels, cable dynamics for offshore applications, modeling in offshore engineering, piping
& mechanical, pipeline, underwater sea works, diving and underwater life support.

01097534 การออกแบบโครงสรางนอกฝง 3 (3-0-6)


DESIGN OF OFFSHORE STRUCTURES
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
แรงกระทำตอโครงสรางนอกฝง แรงลม แรงจากคลื่นและกระแสน้ำ การคำนวณภายใตแรงเฉือนสูงสุดที่ฐาน
และ โมเมนตสูงสุดของการพลิกหงาย นิยามของสเปกตรัมและความสูงคลื่นออกแบบ สัมประสิทธทางไฮโดรไดนา
มิคและคาขยายตัวทางทะเล นิยามของแรงการลา แรงคลื่นไหวสะเทือน นิยามของแทนยึดติดพื้นทะเลแบบหอคอย
และพื้นดาดฟา การออกแบบชิ้นสวนทอเหล็กกลม การออกแบบขอตอทอเหล็กกลมสำหรับแรงแบบสถิตและแบบ
วงรอบ แทนเจาะในทะเลชนิดตัวแทน 3-5 ขา การออกแบบตานแรงจากการเกิดอุบัติเหตุ (ไฟไหม การระเบิด และ
จากการชน)
Loads on offshore structures; wind loads, wave and current loads, calculation based on
maximum base shear and overturning moments, design wave heights and spectral definition,
hydrodynamic coefficients and marine growth, fatigue load definition, seismic loads, concepts of
fixed platform jacket and deck, steel tubular member design, tubular joint design for static and
cyclic loads, jack-up rigs, design against accidental loads (fire, blast and collision).

01097535 วิศวกรรมทาเรือ 3 (3-0-6)


PORT ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
สภาพแวดลอมทางทะเลและผลกระทบที่สงผลตอการออกแบบและการกอสรางทาเรือ องคประกอบทาเรือ
หลักการออกแบบและการพิจารณา การวางแผนทาเรื อ ไฮดรอลิคและการเดิ นเรื อที่ ทาเรื อ แรงกระทำในการ
ออกแบบ หัวขอทางปฐพีเทคนิคของการพิจารณาการออกแบบการปฏิสัมพันธทางโครงสรางดิน เขื่อนปองกันคลื่น
และเขื่อนสะพานทาเทียบเรือ โครงสรางทาเทียบเรือขนานแนวฝงแบบวอรฟ แบบเควร กำแพงยื่นดวยเข็มพืด
โครงสรางเสาเข็มดานหนาทาเรือ อาคารที่น้ำลึกนอกฝง อาคารและอุปกรณจอดเรือ การขนสงที่ทาเรือ ทาเทียบเรือ
ขนาดเล็กและทาเรือการประมง พื้นที่ฝงทะเล การพัดพาและปญหาจากการตกตะกอน ธรณีสัณฐานทางชายฝงกับ

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


121

มคอ. 2
วิศวกรรมทาเรือ ชั้นดินโคลนที่ชายทะเลจากน้ำขึ้นน้ำลงที่ชองแคบปากน้ำ เทคโนโลยีการขุดลอก ความทันสมัยของ
สิ่งอำนวยความสะดวกทางทะเลที่ปรากฎอยู
The marine environment and its effects on port design and construction, port ( harbor)
elements: design principles and considerations, port planning, port navigation and hydraulics, design
loads, geotechnical aspects of soil- structure interaction design consideration, breakwaters and
jetties; wharves, quays, sheet- pile bulkheads, piled waterfront structures, offshore deep water
terminals, terminals and mooring devices; harbor transportation, fishery and small craft harbors;
littoral, drift and sedimentation problems; coastal geomorphology vs port engineering, tidal inlets
on alluvial shores, dredging technology, modernization of existing marine facilities.

01097536 โครงสรางทาเรือและชายฝง 3(3-0-6)


COASTAL AND PORT STRUCTURES
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
กำแพงกันคลื่น ชนิด ขบวนการการออกแบบสำหรับกำแพงกันคลื่น วัสดุการกอสราง กำแพงกันคลื่นชนิด
หิ น ทิ ้ ง กำแพงกั น คลื ่ น ชนิ ด ผนั ง แนวตั ้ ง และชนิ ด สั น ดอนทราย วิ ศ วกรรมนอกฝ  ง โครงสร า งและเรื อ ที ่ ใ ชใน
อุตสาหกรรมนอกฝง คุณลักษณะของผลกระทบของคลื่น ภาวะแวดลอมของกระแสน้ำและลมตอพฤติกรรมของการ
ลอยตัวของเรือนอกฝง น้ำหนักบรรทุกขณะจอดเรือ การเลือกสถานที่ การสำรวจสถานที่ที่เลือก ชนิดของผังบริเวณ
และสวนประกอบของโครงสรางนอกฝง เกณฑการออกแบบ ทฤษฎีและเทคนิคที่ใช ขบวนการของการประเมินคา
ของวิธีการกอสรางและการเลือกอุปกรณการกอสราง การขนสงทางทะเล ชนิดของเรือสินคา ชนิดของสินคาและชนิด
ของเรือ แผนหลักของทาเรือ แผนผังองคกรและบทบาทหนาที่ในการทาเรือ กรรมวิธีของแผนการการทาเรือ การ
ออกแบบของพื้นที่แหลงน้ำ แผนกลยุทธทางเรือและพฤติกรรมไฮโดรไดนามิค การเขาสูชองแคบ พื้นที่ภายในทาเรือ
อูเรือ การออกแบบอาคารสำหรับตูคอนเทนเนอร บทนำทฤษฎีการรอคอยในฐานะเครื่องมือของแผนการทาเรือ
Breakwaters, types, design procedure for breakwaters, construction materials , rubble
mound breakwaters, vertical wall and berm breakwaters, offshore engineering, structures and
vessels used in the offshore industry, characteristic effects of wave, wind and current environment
on the behaviour of floating offshore vessels, mooring loads, site selection, investigations at chosen
site, typical lay-out and components of offshore structures, design criteria, theories and techniques
used, process of assessment of construction method and choice of construction equipment,
maritime transport, types of merchant ships, commodities and types of vessels. Port master
planning, port functions and organization, port planning methodology, design of wet areas, ship
maneuvering and hydrodynamic behavior, approach channels, maneuvering areas within the port,
port basins, design of container terminals, introduction to queuing theory as a tool on port planning.

01097537 การจัดการเกี่ยวกับชายฝงและการทาเรือ 3(3-0-6)


MANAGEMENT OF COASTS AND PORTS
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
คลื่นมหาสมุทร การจัดการแนวชายฝง วิธีปองกันแบบแข็ง การออกแบบโครงสรางและผังบริเวณของเขื่อน

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


122 มคอ. 2

ดักตะกอนและกำแพงกันคลื่นนอกฝง การคำนวณและการออกแบบของการถมสรางชายหาดเทียม โครงการทาเรือ


และชายฝง การศึกษาความเปนไปไดของที่จอดเรือขนาดเล็ก/ทาเรือประมง การวิเคราะหผลกระทบของชายหาด
ขางเคียง ระบบนิเวศชายฝงและการจัดการ ภาวะสิ่งแวดลอมบริเวณพื้นที่ต่ำของชายฝง(ปาโกงกาง ชายหาด/เนิน
ทราย ปากอาว แผนดินเปยกชื้น) และแนวทางการจัดการ การประเมินผลกระทบทางสิ่งแวดลอม(EIA) ขบวนการ
ทางสังคม การบรรเทาผลกระทบ การปองกัน มาตรการการแกไขและการชดเชย โครงรางสำหรับการพัฒนาอยาง
ยั่งยืนและการจัดการของชายฝงและทาเรือ เกณฑทางการจัดการของทาเรือสมัยใหม ทาเรือและโลจิสติกสการขนสง
ทางทะเล การขนส งทางคอนเทนเนอร การควบคุมคลังสิน คาและอาคารคลังสิน คา แผนหลักของการทาเรือ
แบบจำลองการทาเรือ การเชื่อมตอผืนแผนดินหลังฝงทะเล ความปลอดภัยและสิ่งแวดลอม การบำรุงรักษาและ
ตรวจสอบควบคุมทาเรือนานาชาติ
Ocean waves, coastline management, hard protection methods, structural design and layout
of groynes and offshore breakwaters, compute and design of artificial beach nourishment, coast
and port project, feasibility study of a small marina/ fishery port, analyses of impact of adjacent
beaches, coastal ecosystems and management, coastal lowland environments ( mangroves,
beach/ dunes, estuaries, wetlands) and guidelines for their management. Environmental impact
assessment ( EIA) , social process, impact mitigation, prevention, correction and compensation
measures, framework for sustainable development and management of coasts and ports,
managerial aspects of modern ports, port and shipping logistics, containerization, cargo handling
and terminals, port master planning, port simulation, hinterland connections, safety and
environment, maintenance and monitoring of international port.

01097539 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรมชายฝงและทางทะเล 3 (3-0-6)


SELECTED TOPICS IN COASTAL AND MARITIME ENGINEERING
วิชาบังคับกอน : ไมมี
PREREQUISITE: NONE
ศึกษาถึงปญหาและการแกปญหาทางวิศวกรรมชายฝงและทางทะเลที่เกิดขึ้นจริง
Study of actual problems and solve in coastal and maritime engineering

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


123

มคอ. 2

ภาคผนวก จ
รายการทรัพยากรสนับสนุนการเรียนการสอน
Appendix E

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


124 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


125

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


126 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


127

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


128 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


129

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


137

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


138 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


139

มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


140 มคอ. 2

ภาคผนวก ฉ
เหตุผลการขอปรับปรุงหลักสูตร
Appendix F

เหตุผลการขอปรับปรุงแกไขหลักสูตร

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


141

มคอ. 2
การปรับปรุงแกไขหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
(หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2560)
คณะวิศวกรรมศาสตร
สถาบั น เทคโนโลยี พ ระจอมเกล า เจ า คุ ณ ทหารลาดกระบั ง

1. เหตุผลในการปรับปรุงแกไข
1) เพื่อเพิ่มเติมผลการเรียนรูของนักศึกษานอกเหนือจากกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษา พ.ศ.
2552 (TQF)
2) ตัดรายวิชาในกลุมวิชาวิศวกรรมสิ่งแวดลอมออก และเพิ่มเติมรายวิชาในกลุมวิชาวิศวกรรมโครงสราง
และกลุมวิชาวิศวกรรมชายฝงและทางทะเล เพื่อใหหลักสูตรสนองสถานการณปจจุบัน
2. สาระในการปรับปรุงแกไข

อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร (เดิม) อาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร (แกไขใหม)


1. รศ.ดร.อุมา สีบุญเรือง 1. ผศ.ดร.ชลิดา อูตะเภา
วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง) วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง), 2539
M.Sc. (Environmental Engineering), 2541 วศ.ม. (เทคโนโลยีสิ่งแวดลอม), 2545
Ph.D. (Water Resource Engineering), 2545 Ph.D. (Civil and Environmental Engineering),
2556
2. ศ.ดร.สุชชั วีร สุวรรณสวัสดิ์ 2. ศ.ดร.อุมา สีบุญเรือง
วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง), 2537 วศ.บ. (วิศวกรรมกอสราง), 2537
M.Sc. (Geotechnical Engineering) M.Sc. (Environmental Engineering), 1998
M.Sc. (Technology and Policy) Ph.D. (Water Resource Engineering), 2002
Sc.D. (Geotechnical Engineering), 2545
3. ผศ.ดร.อาทิตย เพชรศศิธร 3. รศ.ดร.จักรพงษ พงษเพ็ง
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), 2543 B.Eng. (Agricultural Engineering),2531
M.Sc. (Structural Engineering), 2544 M.Eng. (Construction Management), 2534
Ph.D. (Structural Engineering), 2549 Ph.D. (Construction Engineering and
Management), 2546
4. ดร.จำรัส พิทักษศฤงคาร
วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), 2539
M.Sc. (Civil Engineering), 2542
Ph.D. (Transportation Engineering), 2551
5. รศ.ดร.สกุล หอวโนทยาน
วศ.บ. (วิศวกรรมชลประทาน), 2525
วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา), 2531
D. Eng. (Civil Engineering), 2542

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


142 มคอ. 2

6. โครงสรางหลักสูตรภายหลังการปรับปรุงแกไข เมื่อเปรียบเทียบกับโครงสรางเดิม และเกณฑมาตรฐานหลักสูตร


ระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558 ของกระทรวงศึกษาธิการ ปรากฏดังนี้
แผน ก แบบ ก 1
เกณฑกระทรวง โครงสรางเดิม โครงสรางใหม
หมวดวิชา ศึกษาธิการ จำนวนหนวยกิต จำนวนหนวยกิต
หมวดวิชาวิทยานิพนธ ไมนอยกวา 36 หนวยกิต 36 36
หมวดวิชาสัมมนา - 2 2
(ไมนับรวมหนวยกิต)
หมวดวิชาบังคับ - 3 3
(ไมนับรวมหนวยกิต)
รวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 36 หนวยกิต 36 36
แผน ก แบบ ก 2
เกณฑกระทรวง โครงสรางเดิม โครงสรางใหม
หมวดวิชา ศึกษาธิการ จำนวนหนวยกิต จำนวนหนวยกิต
หมวดวิชาวิทยานิพนธ ไมนอยกวา 12 หนวยกิต 12 12
หมวดวิชาสัมมนา รายวิชาไมนอยกวา 2 2
(ไมนับรวมหนวยกิต) 12 หนวยกิต
หมวดวิชาคณิตศาสตรขั้นสูง 3 3
หมวดวิชาบังคับเลือก 6 6
หมวดวิชาบังคับ 3 3
(ไมนับรวมหนวยกิต)
หมวดวิชาเลือก 12 12
หมวดวิชาเลือกอิสระ 3 3
รวมตลอดหลักสูตร ไมนอยกวา 36 หนวยกิต 39 36

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


143

มคอ. 2
ตารางเปรียบเทียบการปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
เหตุผลในการ
หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2554) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2560)
ปรับปรุง
แผน ก แบบ ก1 แผน ก แบบ ก1 - คงเดิม
หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต
หมวดวิชาสัมมนา (ไมนับรวมหนวยกิต) 2 หนวยกิต หมวดวิชาสัมมนา (ไมนับรวมหนวยกิต) 2 หนวยกิต
หมวดวิชาบังคับ (ไมนับรวมหนวยกิต) 3 หนวยกิต หมวดวิชาบังคับ (ไมนับรวมหนวยกิต) 3 หนวยกิต
รวมหนวยกิต 36 หนวยกิต รวมหนวยกิต 36 หนวยกิต

แผน ก แบบ ก2 แผน ก แบบ ก2 - คงเดิม


หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต
หมวดวิชาสัมมนา (ไมนับรวมหนวยกิต) 2 หนวยกิต หมวดวิชาสัมมนา (ไมนับรวมหนวยกิต) 2 หนวยกิต
หมวดวิชาบังคับ (ไมนับหนวยกิต) 3 หนวยกิต หมวดวิชาบังคับ (ไมนับหนวยกิต) 3 หนวยกิต
หมวดวิชาคณิตศาสตรขั้นสูง 3 หนวยกิต หมวดวิชาคณิตศาสตรขั้นสูง 3 หนวยกิต
หมวดวิชาบังคับเลือก 6 หนวยกิต หมวดวิชาบังคับเลือก 6 หนวยกิต
หมวดวิชาเลือก 12 หนวยกิต หมวดวิชาเลือก 12 หนวยกิต
หมวดวิชาเลือกอิสระ 3 หนวยกิต หมวดวิชาเลือกอิสระ 3 หนวยกิต
รวมหนวยกิต 36 หนวยกิต รวมหนวยกิต 36 หนวยกิต
แผนการศึกษา แผนการศึกษา - คงเดิม
แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 1
ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
010976xx วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X) 01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X)
01097307 สัมมนา 1 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0) 01097307 สัมมนา 1 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0)
รวม X รวม X
ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
010976xx วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X) 01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X)
01097003 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6) 01097003 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6)
(ไมนับหนวยกิต) X (ไมนับหนวยกิต) X

รวม รวม
ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
010976xx วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X) 01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X)
01097308 สัมมนา 2 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0) 01097308 สัมมนา 2 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0)
รวม X รวม X

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2


010976xx วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X) 01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X)
รวม X รวม X

รวมตลอดหลักสูตร 36 รวมตลอดหลักสูตร 36

เหตุผลในการ
หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2554) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2560)
ปรับปรุง

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


144 มคอ. 2

แผน ก แบบ ก 2 แผน ก แบบ ก 2 - คงเดิม


ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1 ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
010970xx วิชาคณิตศาสตรขั้นสูง 3 (3-0-6) 010970xx วิชาคณิตศาสตรขั้นสูง 3 (3-0-6)
010971xx วิชาบังคับเลือก 3 (3-0-6) 010971xx วิชาบังคับเลือก 3 (3-0-6)
01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6) 01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6)
010976xx วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X) 01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X)
01097307 สัมมนา 1 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0) 01097307 สัมมนา 1 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0)
รวม X รวม X

ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 ปที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2


010971xx วิชาบังคับเลือก 3 (3-0-6) 010971xx วิชาบังคับเลือก 3 (3-0-6)
01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6) 01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6)
010976xx วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X) 01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X)
01097003 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6) 01097003 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6)
(ไมนับหนวยกิต) (ไมนับหนวยกิต)
รวม X รวม X

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1 ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1


01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6) 01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6)
01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6) 01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6)
01097308 สัมมนา 2 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0) 01097308 สัมมนา 2 (ไมนับหนวยกิต) 1 (0-2-0)
010976xx วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X) 01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X)
รวม X รวม X

ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2 ปที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2


01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6) 01097xxx วิชาเลือก 3 (3-0-6)
010976xx วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X) 01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต X (X-X-X)
รวม X รวม X

รวมตลอดหลักสูตร 36 รวมตลอดหลักสูตร 36

เหตุผลในการ
หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2554) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2560)
ปรับปรุง
แผน ก แบบ ก 1 แผน ก แบบ ก 1
หมวดวิชาวิทยานิพนธ 36 หนวยกิต หมวดวิชาวิทยานิพนธ 36 หนวยกิต - คงเดิม
01097630-634 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 3 (0-9-5) 01097630 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 36 (0-108-0)

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


145

มคอ. 2
MASTER THESIS MASTER THESIS
01097635-638 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 6 (0-18-9)
MASTER THESIS
01097639-642 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 9 (0-27-14)
MASTER THESIS
01097643-645 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 12 (0-36-18)
MASTER THESIS
01097646-647 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 15 (0-45-23)
MASTER THESIS
หมวดวิชาสัมมนา 2 หนวยกิต หมวดวิชาสัมมนา 2 หนวยกิต - คงเดิม
01097307 สัมมนา 1 1 (0-2-0) 01097307 สัมมนา 1 1 (0-2-0)
SEMINAR 1 SEMINAR 1
01097308 สัมมนา 2 1 (0-2-0) 01097308 สัมมนา 2 1 (0-2-0)
SEMINAR 2 SEMINAR 2

หมวดวิชาบังคับ 3 หนวยกิต หมวดวิชาบังคับ 3 หนวยกิต - คงเดิม


01097003 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6) 01097003 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6)
RESEARCH METHODOLOGY RESEARCH METHODOLOGY

แผน ก แบบ ก2 แผน ก แบบ ก2


หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต หมวดวิชาวิทยานิพนธ 12 หนวยกิต - คงเดิม
01097630-634 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 3 (0-9-5) 01097630วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 12 (0-36-0)
MASTER THESIS MASTER THESIS
01097635-638 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 6 (0-18-9)
MASTER THESIS
01097639-642 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 9 (0-27-14)
MASTER THESIS
01097643-645 วิทยานิพนธมหาบัณฑิต 12 (0-36-18)
MASTER THESIS
หมวดวิชาสัมมนา 2 หนวยกิต หมวดวิชาสัมมนา 2 หนวยกิต - คงเดิม
01097307 สัมมนา 1 1 (0-2-0) 01097307 สัมมนา 1 1 (0-2-0)
SEMINAR 1 SEMINAR 1
01097308 สัมมนา 2 1 (0-2-0) 01097308 สัมมนา 2 1 (0-2-0)
SEMINAR 2 SEMINAR 2
หมวดวิชาบังคับ (ไมนับหนวยกิต) 3 หนวยกิต หมวดวิชาบังคับ (ไมนับหนวยกิต) 3 หนวยกิต - คงเดิม
01097003 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6) 01097003 ระเบียบวิธีวิจัย 3 (3-0-6)
RESEARCH METHODOLOGY RESEARCH METHODOLOGY
เหตุผลในการ
หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2554) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2560)
ปรับปรุง
หมวดวิชาคณิตศาสตรขั้นสูง 3 หนวยกิต หมวดวิชาคณิตศาสตรขั้นสูง 3 หนวยกิต
01097014 วิธีเชิงวิเคราะหและเชิงตัวเลข 3 (3-0-6) 01097014 วิธีเชิงวิเคราะหและเชิงตัวเลข 3 (3-0-6)
สำหรับวิศวกรรมโยธา สำหรับวิศวกรรมโยธา
ANALYTICAL AND NUMERICAL ANALYTICAL AND NUMERICAL
METHODS FOR CIVIL ENGINEERING METHODS FOR CIVIL ENGINEERING
01097012 การวิเคราะหระบบความนาจะ 3 (3-0-6) 01097012 การวิเคราะหระบบความนาจะ 3 (3-0-6)
เปนสำหรับวิศวกรรมโยธา เปนสำหรับวิศวกรรมโยธา

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


146 มคอ. 2

PROBABILISTIC SYSTEMS ANALYSIS PROBABILISTIC SYSTEMS ANALYSIS


FOR CIVIL ENGINEERING 3 (3-0-6) FOR CIVIL ENGINEERING 3 (3-0-6)
01097013 การหาคาที่เหมาะสมที่สุดและ 01097013 การหาคาที่เหมาะสมที่สุดและ
การออกแบบ การออกแบบ
DETERMINISTIC OPTIMIZATION AND DETERMINISTIC OPTIMIZATION AND
DESIGN DESIGN 3 (3-0-6) -เพิ่มสำหรับกลุมวิชา
--- 01097015 วิธีเชิงตัวเลขสำหรับ วิศวกรรมชายฝงและ
แบบจำลองทางวิศวกรรมชายฝงและ ทางทะเล
ทางทะเล
NUMERICAL METHODS FOR COASTAL
AND MARITIME ENGINEERING
MODELING

หมวดวิชาบังคับเลือก 6 หนวยกิต หมวดวิชาบังคับเลือก 6 หนวยกิต


1) กลุมวิชาวิศวกรรมโครงสราง 1) กลุมวิชาวิศวกรรมโครงสราง
01097111 ทฤษฎีโครงสรางขั้นสูง 3 (3-0-6) 01097812 กลศาสตรวัสดุขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED THEORY OF STRUCTURES ADVANCED MECHANICS OF
01097112 วิธีการทดลองในวิศวกรรม 3 (2-3-6) MATERIALS
โครงสราง 01097114 การวิเคราะหโครงสรางโดยวิธี 3 (3-0-6)
EXPERIMENTAL METHODS IN เมตริกซ
STRUCTURAL ENGINEERING MATRIX ANALYSIS FOR STRUCTURES

2) กลุมวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี 2) กลุมวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี - คงเดิม


01097121 ปฐพีกลศาสตรขั้นสูง 3 (3-0-6) 01097821 ปฐพีกลศาสตรขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED SOIL MECHANICS ADVANCED SOIL MECHANICS
01097123 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3 (3-0-6) 01097823 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED FOUNDATION ADVANCED FOUNDATION
ENGINEERING ENGINEERING

เหตุผลในการ
หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2554) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2560)
ปรับปรุง
3) กลุมวิชาวิศวกรรมขนสง 3) กลุมวิชาวิศวกรรมขนสง 3 (2-3-6)
01097131 วิศวกรรมจราจร 3 (2-3-6) 01097831 วิศวกรรมจราจร
TRAFFIC ENGINEERING TRAFFIC ENGINEERING
01097132 หลักการนโยบายการขนสง 3 (3-0-6) --- - ยายไปหมวดวิชา
PRINCIPLES OF TRANSPORTATION เลือก
POLICY
--- 01097833 การวางแผนระบบขนสงใน 3 (3-0-6) - ยายมาจากหมวด
ชุมชนเมือง วิชาเลือกเดิม
URBAN TRANSPORTATION PLANNING

4) กลุมวิชาวิศวกรรมแหลงน้ำ 4) กลุมวิชาวิศวกรรมแหลงน้ำ - คงเดิม


01097141 วิศวกรรมทรัพยากรแหลงน้ำ 3 (3-0-6) 01097841 วิศวกรรมทรัพยากรแหลงน้ำ 3 (3-0-6)
WATER RESOURCE ENGINEERING WATER RESOURCE ENGINEERING
01097143 อุทกวิทยาขั้นสูง 3 (3-0-6) 01097843 อุทกวิทยาขั้นสูง 3 (3-0-6)

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


147

มคอ. 2
ADVANCED HYDROLOGY ADVANCED HYDROLOGY

--- 5) กลุมวิชาวิศวกรรมชายฝงและทาง - เพิ่มกลุมวิชาใหม


ทะเล
01097551 วิศวกรรมชายฝง 3 (3-0-6)
COASTAL ENGINEERING
01097552 ไดนามิคชายทะเลใกลฝงและ 3 (3-0-6)
ขบวนการชายฝง
NEARSHORE DYNAMICS AND
COASTAL PROCESSES

หมวดวิชาเลือก 12 หนวยกิต หมวดวิชาเลือก 12 หนวยกิต


1) กลุมวิชาวิศวกรรมโครงสราง 1) กลุมวิชาวิศวกรรมโครงสราง - เพิ่มเติมวิชาใหม
01097417 การวิเคราะหโครงสรางโดยวิธี 3 (3-0-6) 01097111 ทฤษฎีโครงสรางขั้นสูง 3 (3-0-6) จำนวน 18 รายวิชา
เมตริกซ ADVANCED THEORY OF STRUCTURES
MATRIX ANALYSIS FOR STRUCTURES 01097113 กลศาสตรเนื้อตอเนื่อง 3 (3-0-6)
01097403 การออกแบบคอนกรีตเสริม 3 (3-0-6) CONTINUUM MECHANICS
เหล็กขั้นสูง 01097115 วิธีพลังงานในกลศาสตร 3 (3-0-6)
ADVANCED REINFORCED CONCRETE ประยุกต
DESIGN ENERGY METHODS IN APPLIED
01097405 การออกแบบโครงสรางเหล็ก 3 (3-0-6) MECHANICS
รูปพรรณขั้นสูง 01097116 ทฤษฎีอีลาสติกซิตี้ 3 (3-0-6)
ADVANCED STRUCTURAL STEEL THEORY OF ELASTICITY
DESIGN 01097117 เสถียรภาพของโครงสราง 3 (3-0-6)
01097407 พลศาสตรทางโครงสราง 3 (3-0-6) STABILITY OF STRUCTURES
STRUCTURAL DYNAMICS 01097118 โครงสรางแผนและเปลือกบาง 3 (3-0-6)
01097420 วิธีไฟไนตอีลิเมนทสำหรับ 3 (3-0-6) THIN PLATE AND SHELL
โครงสราง STRUCTURES
FINITE ELEMENT METHODS FOR 01097119 พลศาสตรทางโครงสราง 3 (3-0-6)
STRUCTURES STRUCTURAL DYNAMICS
01097409 การออกแบบโครงสราง 3 (3-0-6) 01097921 วิธีเชิงคำนวณทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)
ตานทานแผนดินไหว COMPUTATIONAL METHODS IN
SEISMIC DESIGN OF STRUCTURES ENGINEERING
01097414 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3 (3-0-6) 01097922 การคำนวณทางวิศวกรรม I 3 (3-0-6)
ADVANCED CONCRETE TECHNOLOGY COMPUTATION IN ENGINEERING I
01097415 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรม 3 (3-0-6) 01097923 วิธีไฟไนตเอลิเมนตสำหรับ 3 (3-0-6)
โครงสราง โครงสราง
SELECTED TOPICS IN STRUCTURAL FINITE ELEMENT METHODS FOR
ENGINEERING STRUCTURES
01097416 กลศาสตรวัสดุขั้นสูง 3 (3-0-6) 01097124 วิธีไฟไนตเอลิเมนตขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED MECHANICS OF ADVANCED FINITE ELEMENT
MATERIALS METHODS
01097125 วิธีไฟไนตเอลิเมนตแบบไม 3 (3-0-6)
เชิงเสน
NONLINEAR FINITE ELEMENT
METHODS

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


148 มคอ. 2

01097931 วิธีการทดลองในวิศวกรรม 3 (2-3-6)


โครงสราง
EXPERIMENTAL METHODS IN
STRUCTURAL ENGINEERING
01097932 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3 (3-0-6)
ADVANCED CONCRETE TECHNOLOGY
01097941 โปรแกรมคอมพิวเตอรในงาน 3 (3-0-6)
วิศวกรรมโครงสราง
COMPUTER APPLICATIONS IN
STRUCTURAL ENGINEERING
01097942 การออกแบบคอนกรีตเสริม 3 (3-0-6)
เหล็กขั้นสูง
ADVANCED REINFORCED CONCRETE
DESIGN
01097943 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง 3 (3-0-6)
PRESTRESSED CONCRETE DESIGN
01097144 การออกแบบโครงสรางเหล็ก 3 (3-0-6)
รูปพรรณขั้นสูง
ADVANCED STRUCTURAL STEEL
DESIGN
01097145 การออกแบบสะพาน 3 (3-0-6)
BRIDGE DESIGN
01097146 การออกแบบโครงสรางอาคาร 3 (3-0-6)
เหล็กขึ้นรูปเย็น
COLD-FORMED STEEL BUILDING
DESIGN
01097147 การออกแบบโครงสรางวัสดุเชิง 3 (3-0-6)
ประกอบ
COMPOSITE MATERIAL STRUCTURE
DESIGN
01097148 การออกแบบโครงสราง 3 (3-0-6)
ตานทานแผนดินไหว
SEISMIC DESIGN OF STRUCTURES
01097149 วิศวกรรมโครงสรางนอกฝง 3 (3-0-6)
OFFSHORE STRUCTURAL
ENGINEERING
01097191 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)
โครงสราง
SELECTED TOPICS IN STRUCTURAL
ENGINEERING
01097193 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)
โครงสราง I
SELECTED TOPICS IN STRUCTURAL
ENGINEERING I
01097194 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)
โครงสราง II
SELECTED TOPICS IN STRUCTURAL

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


149

มคอ. 2
ENGINEERING II
01097195 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)
โครงสราง III
SELECTED TOPICS IN STRUCTURAL
ENGINEERING III

หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2554) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2560) เหตุผลในการปรับปรุง


2) กลุมวิชาวิศวกรรมเทคนิค 2) กลุมวิชาวิศวกรรมเทคนิค - คงเดิม
ธรณี 3 (2-3-6) ธรณี 3 (2-3-6)
01097442 การสำรวจและการ 01097242 การสำรวจและการ
ทดสอบดาน ทดสอบดาน
เทคนิคธรณี เทคนิคธรณี
GEOTECHNICAL 3 (3-0-6) GEOTECHNICAL 3 (3-0-6)
EXPLORATION AND EXPLORATION AND
TESTING TESTING
01097431 งานกอสรางใตดิน 01097231 งานกอสรางใตดิน
และงาน 3 (3-0-6) และงาน 3 (3-0-6)
อุโมงค อุโมงค
UNDERGROUND 3 (3-0-6) UNDERGROUND 3 (3-0-6)
CONSTRUCTION CONSTRUCTION
AND TUNNELING 3 (3-0-6) AND TUNNELING 3 (3-0-6)
01097443 การปรับปรุงคุณภาพ 01097243 การปรับปรุงคุณภาพ
ดิน ดิน
SOIL STABILIZATION SOIL STABILIZATION
01097440 วิศวกรรมธรณีวิทยา 3 (3-0-6) 01097240 วิศวกรรมธรณีวิทยา 3 (3-0-6)
ขั้นสูง ขั้นสูง
ADVANCED ENGINEERING ADVANCED ENGINEERING
GEOLOGY GEOLOGY
01097444 หัวขอคัดสรรทาง 01097244 หัวขอคัดสรรทาง
วิศวกรรม วิศวกรรม
เทคนิคธรณี เทคนิคธรณี
SELECTED TOPICS IN SELECTED TOPICS IN
GEOTECHNICAL GEOTECHNICAL
ENGINEERING ENGINEERING
01097445 การจัดการความเสี่ยง 01097245 การจัดการความเสี่ยง
ในสัญญา ในสัญญา
ดานอุโมงค ดานอุโมงค
RISK MANAGEMENT IN RISK MANAGEMENT IN
TUNNELLING TUNNELLING
CONTRACTS CONTRACT

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


150 มคอ. 2

3) กลุมวิชาวิศวกรรมขนสง 3) กลุมวิชาวิศวกรรมขนสง
01097462 การวางแผนและเศรษฐศาสตร 3 (3-0-6) 01097962 การวางแผนและเศรษฐศาสตร 3 (3-0-6)
การทาง การทาง
HIGHWAY PLANNING AND HIGHWAY PLANNING AND
ECONOMICS ECONOMICS
01097464 การขนสงและสิ่งแวดลอม 3 (3-0-6) 01097964 การขนสงและสิ่งแวดลอม 3 (3-0-6)
TRANSPORTATION AND TRANSPORTATION AND
ENVIRONMENT ENVIRONMENT
01097466 การวิเคราะหโครงขายและ 3 (3-0-6) 01097366 การวิเคราะหโครงขายและ 3 (3-0-6)
จำลองการขนสง จำลองการขนสง
TRANSPORTATION NETWORK TRANSPORTATION NETWORK
ANALYSIS AND MODELING ANALYSIS AND MODELING
01097467 เทคโนโลยีการขนสง 3 (3-0-6) 01097367 เทคโนโลยีการขนสง 3 (3-0-6)
TRANSPORTATION TECHNOLOGY TRANSPORTATION TECHNOLOGY
01097469 การวิเคราะหและปองกัน 3 (3-0-6) 01097369 การวิเคราะหและปองกัน 3 (3-0-6)
อุบัติเหตุ อุบัติเหตุ
ACCIDENT ANALYSIS AND ACCIDENT ANALYSIS AND
PREVENTION PREVENTION
01097470 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรม 3 (3-0-6) 01097370 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)
ขนสง ขนสง
SELECTED TOPICS IN SELECTED TOPICS IN
TRANSPORTATION ENGINEERING TRANSPORTATION ENGINEERING
--- 01097332 หลักการนโยบายการขนสง 3 (3-0-6) - ยายมาจากวิชา
PRINCIPLES OF TRANSPORTATION บังคับเลือกเดิม
POLICY

4) กลุมวิชาวิศวกรรมแหลงน้ำ 4) กลุมวิชาวิศวกรรมแหลงน้ำ
01097491 วิศวกรรมชลประทาน 3 (3-0-6) 01097491 วิศวกรรมชลประทาน 3 (3-0-6)
IRRIGATION ENGINEERING IRRIGATION ENGINEERING
01097492 การไหลทางน้ำเปด 3 (3-0-6) 01097492 การไหลทางน้ำเปด 3 (3-0-6)
OPEN CHANNEL FLOW OPEN CHANNEL FLOW
01097508 อุทกวิทยาน้ำใตดิน 3 (3-0-6) 01097908 อุทกวิทยาน้ำใตดิน 3 (3-0-6)
GROUNDWATER HYDROLOGY GROUNDWATER HYDROLOGY
01097498 การจำลองการไหลของน้ำใต 3 (2-3-6) 01097498 การจำลองการไหลของน้ำใต 3 (2-3-6)
ดิน ดิน
GROUNDWATER FLOW MODELING GROUNDWATER FLOW MODELING
01097504 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรม 3 (3-0-6) 01097904 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)
แหลงน้ำ แหลงน้ำ
SELECTED TOPICS IN WATER SELECTED TOPICS IN WATER
RESOURCES AND RESOURCES AND
ENVIRONMENTAL ENGINEERING ENVIRONMENTAL ENGINEERING
01097505 วิศวกรรมชายฝง 3 (3-0-6) --- - ยกเลิก
COASTAL ENGINEERING
01097511 การออกแบบการกอสรางและ 3 (3-0-6) --- - ยกเลิก
การบำรุงรักษาของสิ่งปลูกสรางชายฝง
DESIGN, CONSTRUCTION AND

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


151

มคอ. 2
เหตุผลในการ
หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2554) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2560)
ปรับปรุง
MAINTAINANCE FOR COASTAL
FACILITIES
01097538 วิศวกรรมแมน้ำ 3 (3-0-6) -เพิ่มรายวิชาใหม
RIVER ENGINEERING
--- 5) กลุมวิชาวิศวกรรมชายฝงและทาง - เพิ่มกลุมวิชาใหม
ทะเล
01097511 การออกแบบ การกอสรางและ 3 (3-0-6)
การบำรุงรักษาของสิ่งปลูกสรางชายฝง
DESIGN, CONSTRUCTION AND
MAINTENANCE FOR COASTAL
FACILITIES
01097521 ไดนามิคที่ชายฝง 3 (3-0-6)
COASTAL DYNAMICS
01097522 ไฮโดรไดนามิคแนวชายฝงและ 3 (3-0-6)
ปากอาว
ESTUARY AND COASTLINE
HYDRODYNAMICS
01097523 ขบวนการชายฝงกับการ 3 (3-0-6)
ประยุกตทางวิศวกรรม
COASTAL PROCESSES WITH
ENGINEERING APPLICATIONS
01097524 การออกแบบ การบำรุงรักษา 3 (3-0-6)
และการประเมินคาความปลอดภัย
ของกำแพงกันคลื่นและเขื่อนหินทิ้ง
DIKES AND REVETMENTS, DESIGN,
MAINTENANCE AND SAFETY
ASSESSMENT
01097525 ทฤษฎีและวิธีปฏิบัติการ 3 (3-0-6)
เคลื่อนที่ของตะกอน
SEDIMENT TRANSPORT, THEORY AND
PRACTICE
01097526 ความเสี่ยงและความนาเชื่อถือ 3 (3-0-6)
ในวิศวกรรมชายฝง
RISK AND RELIABILITY IN COASTAL
ENGINEERING
01097527 ความเสี่ยงจากการกอสรางใน 3 (3-0-6)
วิศวกรรมชายฝง
CONSTRUCTION RISK IN COASTAL
ENGINEERING
01097528 การจัดการทรัพยากรชายฝง ใน 3 (3-0-6)
การฟนคืนสูปกติ การปรับตัวและความ

เหตุผลในการ
หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2554) หลักสูตรปรับปรุง (พ.ศ. 2560)
ปรับปรุง
หลากหลายของชุมชน
COASTAL RESOURCE MANAGEMENT
IN RESILIENCE, ADAPTATION AND

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


152 มคอ. 2

COMMUNITY DIVERSITY
01097529 การจัดการโซนชายฝงแบบ 3 (3-0-6)
บูรณาการ
INTEGRATED COASTAL ZONE
MANAGEMENT (ICZM)
01097530 ธรณีวิทยาชายฝง 3 (3-0-6)
COASTAL GEOLOGY
01097531 วิศวกรรมสมุทรศาสตร 3 (3-0-6)
OCEAN ENGINEERING
01097532 การออกแบบโครงสรางสมุทร 3 (3-0-6)
ศาสตร
DESIGN OF OCEAN STRUCTURES
01097533 วิศวกรรมนอกฝง 3 (3-0-6)
OFFSHORE ENGINEERING
01097534 การออกแบบโครงสรางนอกฝง 3 (3-0-6)
DESIGN OF OFFSHORE STRUCTURES
01097535 วิศวกรรมทาเรือ 3 (3-0-6)
PORT ENGINEERING
01097536 โครงสรางทาเรือและชายฝง 3 (3-0-6)
COASTAL AND PORT STRUCTURES
01097537 การจัดการเกี่ยวกับชายฝงและ 3 (3-0-6)
การทาเรือ
MANAGEMENT OF COASTS AND
PORTS
01097539 หัวขอคัดสรรทางวิศวกรรม 3 (3-0-6)
ชายฝงและทางทะเล
SELECTED TOPICS IN COASTAL AND
MARITIME ENGINEERING

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


153

มคอ. 2

ภาคผนวก ช
รายนามคณะกรรมการพัฒนาหลักสูตร
Appendix G

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


154 มคอ. 2

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


155

มคอ. 2

ภาคผนวก ซ
บรรณานุกรมผลงานวิชาการอาจารยผูรับผิดชอบหลักสูตร
Appendix H

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


156 มคอ. 2

1. ผศ.ดร.ชลิดา อูตะเภา
• U-tapao, C., Gabriel, S. A., Moryadee, S., Peot, C., and Ramirez, M. 2016. A stochastic, Two-
level Optimization Model for Compressed Natural Gas Infrastructure Investment Wastewater
management, Journal of Natural Gas Science & Engineering. P. 226-240.
• Laemthong Laokhongthavorn, Chalida U-Tapao. 2 0 1 7 . A Multi-Objective Optimization
Model for Solid Waste Disposal Under Uncertainty: A Case Study of Bangkok, Thailand.
International Journal of Civil Engineering, Vol. 15 (2). pp.205-212.
• Somkiat Khwanpruk, Worawat Sriudom and Chalida U-tapao, 2015, Identification optimal strategies
for natural gas pipeline network management in Thailand, 4th International conference of
Environmental Engineering Association of Thailand, 27-29 May 2015, Chiangmai, Thailand. pp.1-6.

2.ศ.ดร.อุมา สีบุญเรือง
• Seeboonruang U. (2014) “An empirical decomposition of deep groundwater time series and
possible link to climate variability” Global NEST Journal, 16; 87-103.
• Seeboonruang U. (2015) “An application of time-lag regression technique for assessment of
groundwater fluctuations in a regulated river basin: a case study in Northeastern Thailand”,
ENVIRONMENTAL EARTH SCIENCES, 73(10), pp.6511-6523
• Seeboonruang U. ( 2014) “ Physico- chemical characterization of saline subsurface system
near small endorheic ponds in Thailand”. Environ Earth Sci. 71(7), pp 3273-3286.
• Seeboonruang U. (2016) “Impact assessment of climate change on groundwater resource
and hotspots for future drought hazard for the Eastern Thailand.” Environmental Earth
Science. Environmental Earth Sciences, 75(1), pp 1-16.
• Seeboonruang U. ( 2016) “ Geographic information system- based impact assessment for
illegal dumping in borrow pits in Chachoengsao Province, Thailand” , in Wessel, G. R. , and
Greenberg, J. K. , eds. , Geoscience for the Public Good and Global Development: Toward a
Sustainable Future: Geological Society of America Special Paper 520, p.393 – 405.

3. รศ.ดร.จักรพงษ พงษเพ็ง

• Structural Equation Model for Construction Equipment Management Affecting Project and
Corporate Performance, 2016, Samee, K. and Pongpeng, J., KSCE Journal of Civil Engineering,
July 2016, 20(5): pp.1642-1656.
• Samee, K. and Pongpeng, J. (2 0 1 6 ) “ Structural Equation Model for Construction Equipment
Management Affecting Project and Corporate Performance”, KSCE Journal of Civil Engineering,
20(5): 1642-1656. DOI 10.1007/s12205-015-0717-1.

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


157

มคอ. 2
• Krajangsri, T. and Pongpeng, J., 2 0 1 7 , “Effect of Sustainable Infrastructure Assessments on
Construction Project Success Using Structural Equation Modeling”, Journal of Management in
Engineering, 33, 3, DOI: 10.1061/(ASCE)ME.1943-5479.0000509, 04016056.

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


158 มคอ. 2

ภาคผนวก ฌ
บรรณานุกรมผลงานวิชาการอาจารยประจำหลักสูตร
Appendix H

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


159

มคอ. 2
1. ผศ.ดร.คมสัน มาลีลี
• วสุ จารุฐานะกร, คมสัน มาลีสี, “อิทธิพลของการผสมแบบแบงน้ำออกเปนสองสวน กับคุณสมบัติของคอนกรีต
มวลเบาในระบบ CLC”, 2557, การประชุมวิชาการคอนกรีตประจำป,ครั้งที่ 10, หนา 41-47, 20-22ตุลาคม
2557, จ.เชียงราย
• Treesuwan, S., Maleesee, K. “Effects of Shrinkage Reducing Agent and Expansive Additive on
Mortar Properties”. Advances in Materials Science and Engineering, 2017, pp.1-11
• Sarapon Treesuwan and Komsan Maleesee, “Effects of Shrinkage Reducing Agent and
Expansive Additive on Mortar Properties”, Advances in Materials Science and Engineering,
October 2017, Volume 2017, Article ID 8917957, Page. 1-11,
https://doi.org/10.1155/2017/8917957

2. ผศ.ดร.อัฏฐวิทย สุจริตพงศ
• “การออกแบบและวิเคราะห โครงสรางสะพานคอนกรีตอัดแรงที่กอสรางโดยวิธีคานยื่นสมดุล ตามมาตรฐาน
AASHTO LRFD HL-93A”,ภูมิเกียรติ สวางวงศ และ อัฏฐวิทย สุจริตพงศ และ อํานวย พานิชกุลพงศ, การ
ประชุมวิชาการคอนกรีตประจําป ครั้งที่ ๑๑, ๑๗-๑๙ กุมภาพันธ ๒๕๕๙. หนา ๑๕-๑๙
• “การวิ เ คราะห ค  า โมเมนต ด ั ด และแรงตามแนวแกนของเสาไฟฟ า จากแรงลมในเขตพื ้ น ที่ จ ั ง หวั ด
กรุงเทพมหานคร”,อัฏฐวิทย สุจริตพงศ, กิตติศักดิ์ ลาทอง, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติ ครั้ง
ที่ ๑๙, ๑๔-๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗. หนา ๑๒-๒๐..
• Pumkieat S. , Atavit S. , and Amnuay P. ( 2016) “ Construction Stage Analysis and Design of
Bridge by Balanced Cantilever Method According to AASHTO LRFD HL- 93 Live Load”
Proceedings of the 11th Annual Concrete Conference, Thailand 2016, STR-51. Feb. 17–19,
2016. pp.. 14-19
3. รศ.ดร.ศลิษา ไชยพุทธ
• Chaiyaput, S. and Sugimoto, M. (2016). Effect of Boundary Conditions in Segmental Lining
Model on Its Sectional Force, Journal of Lowland Technology International, June 2016, Vol.
18, No. 1, pp. 9-22.
• Artidteang, S., Bergado, D.T., Chaiyaput, S., Tanchaisawat, T., and and Lam, L.G. (2016). Performance
of Ruzi Grass Combined with Woven Limited Life Geotextiles (LLGS) for Soil Erosion Control,
Journal of Lowland Technology International, June 2016, Vol. 18, No. 1, pp.1-8.
• Sugimoto, H. Tanaka, N.T. Huynh, S. Chaiyaput, L.G. Lam, and J. Chen (2017), Study on
Shield Operation Method in Soft Ground by Shield Simulation, Geotechnical Engineering
Journal of the SEAGS & AGSSEA, Vol. 49, No. 2, pp. 182-191.

• Bergado, D.T., Chaiyaput, S., Voottipriex, P., Hino, T. and Chanmee, N. (2017). Mitigations of Flooding
and Soil Erosions Geo-Disasters in Thailand and Laos due to Climate Change: From Mountains to
Lowlands, Journal of Lowland Technology International, June 2017, Vol. 19, 1, pp. 63-76.

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


160 มคอ. 2

4. รศ.แหลมทอง เหลาคงถาวร
• นัฐพร นวกิจรังสรรค, แหลมทอง เหลาคงถาวร และนงลักษณ ไกลเกลี่ย, “การศึกษาปญหาในขั้นตอนสง
มอบงานเพื่อเริ่มตนงานตกแตงภายในดวยเฟอรนิเจอรสำเร็จรูป”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธา
แหงชาติครั้งที่ ๑๙, หนา ๙๔๗ – ๙๕๔, ๑๔-๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗
• การศึกษารูปแบบปายทะเบียนรถยนต รถบรรทุกและจักรยานยนต ที่เหมาะแกการจดจา เพื่อรองรับการเขา
สูประชาคมเศรษฐกิ จ อาเซี ยน, 2558, สุพจน ศรีนิล แหลมทอง เหลาคงถาวร, ชื่อวารสาร : วิศวสาร
ลาดกระบัง ปที่ : 32 ฉบับที่ : 2 เลขหนา : 55-60
• นัฐพร นวกิจรังสรรค, แหลมทอง เหลาคงถาวร และวีระพงษ เตชเสถียร, “การศึกษาปจจัยที่มีผลตอความ
ตองการและความพึงพอใจดานสวนประสมทางการตลาดของที่อยูอาศัยใหเชาตำบลแสนสุขชลบุรี”, การ
ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแหงชาติครั้งที่ ๑๙, หนา ๑๒๕๑ – ๑๒๕๘, ๑๔-๑๖ พฤษภาคม ๒๕๕๗

5. ผศ.ดร. นันทวัฒน จรัสโรจนธนเดช


• Wirayut Kuisorn, Nunthawath Charusrojthanadech, Yoshimichi Yamamoto (2016)
“Improvement of Suction Rate Methods of Backfilling Materials from a Coastal Dike or a
Seawall” The 26th International Ocean and Polar Engineering Conference. June 26–July 2,
2016. Rhodes, Greece. pp. 12-19.
• Yoshimichi Yamamoto, Satawat Duangpan, Nunthawath Charusrojthanadech, (2015).“Investigation
on Safety to A Storm Surge at Sangchan Beach” Journal of Japan Society of Civil Engineers Ser B3
(Ocean Engineering) 71(2):431-436. DOI:10.2208/jscejoe.71.I_431
• Rattanarama, P., Charusrojthanadech, N., Yamamoto, Y, (2015). Perdictionof Surface
Elevation Change in Mangrove Forest and Evaluation of Coastal Erosion Prevention by
Mangrove Forest, Proc. 25th International Offshore and Polar Engineering Conference 2015,
ISOPE, Vol.3, 21-27 June 2015. KonaBig Island, Hawaii, USA. Paper Number: ISOPE-I-15-553
6. ผศ.ดร.ภาสกร ขันทองทิพย
• Impact of Substrate Feed Patterns on Solids Reduction by the Cannibal Process, 2 0 1 5 ,
Khanthongthip, P., Novak, J. T., & Doyle, M. L., Water Environment Research, 01 Mar 2015,
87(3), pp.274-280.
• Khanthongthip, P., Novak, J.T., (2013) The Role of Microbially Reducible Iron Flocs and Extracellular
proteases on the Sludge Reduction in the Cannibal Process. Annual WEF Residuals and Biosolids
Management Conference, May 5-8 2013, Nashville,Tennessee, pp. 251-300
• Khanthongthip, P. , Novak, J. T. , ( 2013) The effects of iron and system operation for sludge
reduction in the Cannibal process. 13th World Congress on Anaerobic Digestion, Recovering
(bio) Resources for the World (IWA), June 25-28, Santiago de Compostela, Spain. 4 pages.
• Khanthongthip, P., Novak, J.T., (2016) The roles of temperature surfactant and pH on the
performance of dissolved air flotation in wastewater treatment. 7th International IWA

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


161

มคอ. 2
Conference on Flotation for Water and Wastewater Systems. September 27-30, Toulouse,
France. pp.14-19.

7. ผศ.ดร.ชดชนก อัฑฒพงศ
• Attaphong C., Singh V., Balakrishnan A., Do L.D., Arpornpong N., Parthasarathy R.N.,Gollahalli
S.R., Khaodhiar S., and Sabatini D.A. “Phase Behaviors, Fuel Properties, and Combustion
Characteristics of Alcohol-vegetable oil-diesel Microemulsion Fuels.”International Journal of
Green Energy. 2016, 13 (9), 930-943.
• Do L.D., Attaphong C., Scamehorn J.F., and Sabatini D.A. “Detergency of Vegetable Oiland
Semi-Solid Fats Using Microemulsion Mixtures of Anionic Extended Surfactants: The HLD
Concept and Cold Water Applications.” Journal of Surfactant and Detergent. 2015, 18, 373-
382.
• Arpornpong N., Attaphong C., Charoensaeng A., Sabatini D.A., Khaodhiar S. “Ethanol-in-
palm oil/diesel microemulsion-based biofuel: Phase behavior, viscosity, and droplet size.”
Fuel. 2014, 132, 101–106.
8. ผศ.ดร. อําพน จรัสจรุงเกียรติ
• Jarasjarungkiat A. , et al. , “ Design concepts and development of the self floating boat
landing” (in Thai), Princess of Narathiwat University Journal 2016; year 8,vol 1: 53-61.
• Jarasjarungkiat A., “Development of the self-floating boat landing” (in Thai), Mice magazine,
Faculty of Engineering at Si Racha, Kasetsart University Sriracha Campuss , vol1, No.2 (2014)
; p18-21.
• Jarasjarungkiat A., Pacheunjai C., Klompanya N., and Jaroensap S., “AN INNOVATIVE
LIGHTWEIGHT AGGREGATE MATERIAL FOR FLOATING SHELTERS”, Proceedings of the 1 8 th
National Conference on Civil Engineering (NCCE18), Chiang Mai, Thailand, May 8-10, 2013
(MAT030). pp. 20 -25
9. ศ.ดร.สุชัชวีร สุวรรณสวัสดิ์
• Heama N, Jongpradist P, Suwansawat S, and Lueprasert P.,” TUNNEL LINING RESPONSES DUE
TO ADJACENT LOADED PILE – NUMERICAL INVESTIGATION”, 6th International Conference on
GEOMATE, 2016, pp. 117-122.
• Lueprasert P, Jongpradist P, Heama N, Ruengwirojjanakul K and Suwansawat S.,” 3D-FEA OF
EPB SHIELD TUNNEL EXCAVATION USING SHELL ELEMENT AND GROUTING LAYER” , 6th
International Conference on GEOMATE, 2016, pp. 92-97
• Kwanlikit N, Lueprasert P, Jongpradist P and Suwansawat S., “3-D Finite Element Analysis for
behavior of existing tunnel” , The 21 st National Convention on Civil Engineering, 2016, pp.
1253-1259.

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


162 มคอ. 2

ภาคผนวก ฌ
สรุปขอคิดเห็น/ขอแนะนำของนักศึกษาปสุดทาย
สถานประกอบการ และศิษยเกา ในการพัฒนาหลักสูตร
Appendix I

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


163

มคอ. 2

ฌ1. ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะจากแบบสอบถามความพึงพอใจของ นักศึกษาปสุดทาย ที่มีตอคุณภาพหลักสูตร


วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554
ในปการศึกษา 2558 ไดมีการสำรวจความคิดเห็นของนักศึกษาปสุดทาย ที่ศึกษาหลักสูตร วศ.ม. (วิศวกรรม
โยธา) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 จากการใชแบบสอบถามความพึงพอใจของนักศึกษาปสุดทายที่มีตอคุณภาพ
หลักสูตร ซึ่งมีจำนวนแบบสอบถามที่ตอบกลับ 30 ชุด ผลการสำรวจสรุปไดดังนี้

ความพึงพอใจ
รายการ (เต็ม 5)
คะแนนเฉลี่ย
ดานการประชาสัมพันธหลักสูตร
1.ความตอเนื่องในการประชาสัมพันธเกี่ยวกับกิจการของหลักสูตร 3.56
2.การแจงขอมูลขาวสารแกนักศึกษาอยางทั่วถึง 3.69
3.ความรูและความเขาใจเกี่ยวกับหลักสูตร 3.18
ดานหลักสูตรและเนื้อหา
1.หลักสูตรมีความทันสมัย 4.56
2.หลักสูตรมีเอกลักษณที่ชัดเจน 4.64
3.หลักสูตรมีภาคปฏิบัติที่ทำใหนักศึกษาเกิดทักษะในการปฏิบัติงานและทำวิจัยไดจริง 4.81
ดานบุคลากร/วิธีสอน
1.การกำหนดเคาโครงรายวิชาและอธิบายวัตถุประสงคของวิชาที่เรียน 4.37
2.การเตรียมการสอนลวงหนา 4.71
3.การอธิบายวิธีการประเมินผลอยางชัดเจน 4.51
4.การใชวิธีการวัดและประเมินผลอยางชัดเจน 4.39
5.การใชเทคนิคการสอนและกระตุนใหเกิดการเรียนรู 4.13
6.การใชสื่อ,โสตทัศนูปกรณที่ทันสมัย 4.17
7.การอธิบายตรงประเด็น มีการยกตัวอยางประกอบไดอยางชัดเจน 4.50
8.การเปดโอกาสใหซักถาม 4.69
9.อาจารยมีความรูในวิชาการหลายๆดาน และสามารถนำมาประยุกตใชในวิชาที่สอนได 4.87
10.อาจารยมีความรูในเนื้อหาวิชาที่สอนอยางถองแท 4.72
11.อาจารยมีความตั้งใจและมุงมั่นตอการถายทอดความรู 4.75
12.อาจารยใหความสนใจและเปนกันเองกับผูเรียน 4.49
ดานปจจัยเกื้อหนุน
1.ความเพียงพอของอุปกรณการเรียนการสอน 3.78
2.ความทันสมัยของอุปกรณการเรียนการสอน 4.38
3.ความพรอมของหองเรียน 4.11
4.ความพรอมของหองปฏิบัติการ 4.09

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


164 มคอ. 2

ความพึงพอใจ
รายการ (เต็ม 5)
คะแนนเฉลี่ย
5.การอมรมและสมนาจากบุคลากรภายนอก 4.30
คะแนนเฉลี่ยจากทุกรายการ 4.32
ขอสรุปความคิดเห็นของนักศึกษาปสุดทายจากการสำรวจความพึงพอใจที่มีตอคุณภาพหลักสูตร วศ.ม.
(วิศวกรรมโยธา) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554
จุดเดน
1. ดานหลักสูตรและเนื้อหา
เปนหลักสูตรที่มีความทันสมัย มีอัตลักษณที่ชัดเจน และมีภาคปฏิบัติที่ทำใหนักศึกษาเกิดทักษะในการ
ปฏิบัติงานและวิจัยไดจริง
2. ดานบุคลากรและการจัดการเรียนการสอน
มีคณาจารยที่มีความรูความสามารถในสาขาวิชาของหลักสูตร
จุดที่ควรพัฒนา
1. ดานการประชาสัมพันธหลักสูตร
ความตอเนื่องในการประชาสัมพันธเกี่ยวกับกิจกรรมของหลักสูตร
ขอเสนอแนะ
1. ควรเพิ่มเนื้อหาที่เกี่ยวของกับความยั่งยืน
2. ควรมีการใหคำแนะนำในการจัดทำรายงานที่ดี เพิ่มการฝกทักษะการเขียนรายงาน และการทำวิจัยดาน
วิศวกรรมโยธา
ฌ2. ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะจากแบบสอบถามความพึงพอใจของ สถานประกอบการ ที่มีตอมหาบัณฑิตที่สำเร็จ
การศึกษาในหลักสูตร วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554
ในปการศึกษา 2558 ไดมีการสำรวจความคิดเห็น/ขอแนะนำของสถานประกอบการตอมหาบัณฑิตที่สำเร็จ
การศึกษาในหลักสูตร วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554 ผลการสำรวจสรุปไดดังนี้

ความพึงพอใจ
พฤติกรรมที่ประเมิน (เต็ม 4)
คะแนนเฉลี่ย
1.ความรับผิดชอบตองานในหนาที่ (responsibility) 3.78
2.ความรูเกี่ยวกับงานในหนาที่ (Knowledge) 3.30
3.การตอบสนองตอคำสั่งของหนวยงาน (Obedience) 3.49
4.ความเอาใจใสระมัดระวังตออุปกรณเครื่องใช (Precaution) 3.33
5.คุณภาพและปริมาณของงานที่ทำ (Work Quality/Quantity) 3.45
6.ความคิดริเริ่มสรางสรรค (Intiative) 3.35
7.การแกไขปญหาและการตัดสินใจ (Problem Solving/Dicision Making) 3.32
8.การตรงตอเวลา (Punctuality) 3.71
9.ความมีระเบียบวินัย (Discipline) 3.61

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


165

มคอ. 2
10.ความซื่อสัตยสุจริต (Honesty) 3.85
11.สัมพันธภาพตอผูรวมงาน (Human Relation) 3.75
12.การรูจักใชเวลาวางใหเปนประโยชน (Free Time Usage) 3.68
13.การแตงกายเหมาะสม (Dressing) 3.59
14.กิริยา วาจาสุภาพเหมาะสมกับกาลเทศะ (Politeness) 3.62
15.ความขยันหมั่นเพียร (Diligence) 3.64
16.ความคลองแคลวในการทำงาน (Dexterity) 3.41
17.ทักษะการสื่อสาร และเทคโนโลยีสารสนเทศ 3.55
18.การมีคุณธรรม จริยธรรม 3.66

ขอสรุปความคิดเห็นของสถานประกอบการจากการสำรวจความพึงพอใจที่มีตอมหาบัณฑิตที่สำเร็จการศึกษาใน
หลักสูตร วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา) หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2554
จุดเดน
1. มหาบัณฑิตมีคุณสมบัติดานเจตคติ (Affective Domain) อยูในระดับ ดีมาก
2. นักศึกษามีความรูและทักษะในสาขาวิชา อยูในระดับ ดี
จุดที่ควรพัฒนา
1. การแกปญหาและการตัดสินใจ
2. คุณธรรม จริยธรรม
ขอเสนอแนะ
1. ควรเพิ่มทักษะการสังเคราะหองคความรู
2. ควรเพิ่มทักษะสรางสรรคผลงานใหม
ฌ3. ขอคิดเห็น/ขอเสนอแนะของ ศิษยเกา ที่มีตอการพัฒนาหลักสูตรและลักษณะมหาบัณฑิต
ในปการศึกษา 2558 ไดมีการสำรวจความคิดเห็น/ขอเสนอแนะของศิษยเกาในหลักสูตร วศ.ม. (วิศวกรรม
โยธา) ที่มีตอการพัฒนาหลักสูตรและลักษณมหาบัณฑิต ผลการสำรวจสรุปไดดังนี้
1. ความคิดเห็นเกี่ยวกับหลักสูตร วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา)
ดีแลว รอยละ 99.79
เนือหาไมทันสอดคลองกับการทำงานในสายวิชาชีพ รอยละ 0
เนื้อหาวิชาไมทันสมัย/สอดคลองกับสภาพปจจุบัน รอยละ 3.10
เนื้อหาวิชาไมสอดคลองกับความกับความตองการของตลาดแรงงาน รอยละ 0

2. ความคิดเห็นเกี่ยวกับระบบการเรียนการสอนของหลักสูตร วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา)


ดีแลว รอยละ 58.72
ควรปรับปรุงประสิทธิภาพการสอนของคณาจารย รอยละ 0
ควรเพิ่มปริมาณอุปกรณการเรียนการสอน รอยละ 9.81
ควรเนนภาคปฏบัติใหมากขึ้น รอยละ 23.12

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.


166 มคอ. 2

ควรจัดกิจกรรมเสริมการเรียนการสอนใหมากขึ้น รอยละ 12.12

3. ความคิดเห็นเกี่ยวกับจุดเดน/จุดดอยของบัณฑิตที่จบศึกษาในหลักสูตร วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา)


ลักษณะของบัณฑิตที่จบการศึกษาในหลักสูตร วศ.ม. (วิศวกรรม จุดเดน จุดดอย
โยธา)
ดานความรูทฤษฎี รอยละ 90.45 รอยละ 9.58
ทักษะดานวิชาชีพ รอยละ 100 รอยละ 0
ทักษะการใหภาษาตางประเทศ เชน ภาษาอังกฤษ รอยละ 20.91 รอยละ 79.09
ความพรอมในการปฏิบัติงานกับหนวยงาน รอยละ 97.12 รอยละ 2.88
ความสามารถในการพัฒนาตนเองอยางตอเนื่อง รอยละ 100 รอยละ 0
ความสามรถในการทำงานรวมกับผูอื่น รอยละ 96.78 รอยละ 3.22
ความสามารถในการบริหารจัดการ รอยละ 71.79 รอยละ 28.21
ดานบุคลิกภาพ (แสดงออก มนุษยสัมพันธ กาลเทศะ ความขยัน รอยละ 97.32 รอยละ 2.68
อดทน)

4. โดยภาพรวมของในดานคุณภาพของบัณฑิตที่จบการศึกษาในหลักสูตร
ระดับ ดีมาก รอยละ 29.58
ระดับ ดี รอยละ 70.42
ระดับ ปานกลาง รอยละ 0
ระดับ นอย รอยละ 0
ระดับ นอยที่สุด รอยละ 0

ขอเสนอแนะ
1. ควรมีการเพิ่มการเรียนการสอนดานวิศวกรรมโครงสราง
2. ควรเพิ่มทักษะในการนำเสนอผลงาน (Presentation)
3. ควรเพิ่มทักษะการใชภาษาตางประเทศ
4. ควรเพิ่มทักษะการแกปญหา (Problem Solving Skill)

วศ.ม.(วิศวกรรมโยธา) ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ สจล.

You might also like