You are on page 1of 293

1 263

7 ก.ค. 64

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564

ภาควิชาวิศวกรรมโยธา
คณะวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


2

สารบัญ
หน้า
หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป 5
1. รหัสและชื่อหลักสูตร 5
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา 5
3. วิชาเอก (ถ้ามี) 5
4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร 5
5. รูปแบบของหลักสูตร 5
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/ เห็นชอบหลักสูตร 6
7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มีคุณภาพและมาตรฐาน 6
8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา 6
9. ชื่อ-สกุล ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร 7
10.สถานที่จัดการเรียนการสอน 7
11.สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร 7
12.ผลกระทบจากข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกีย่ วข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย 8
13.ความสัมพันธ์กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของสถาบัน (ถ้ามี) 8
หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร 10
1. ปรัชญา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร และผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร 10
2. แผนพัฒนาปรับปรุงหลักสูตร 12
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร 14
1. ระบบการจัดการศึกษา 14
2. การดาเนินการหลักสูตร 14
2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน 14
2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา 14
2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า 14
2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา/ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3 14
2.5 แผนการรับนักศึกษาและผู้สาเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี 14
2.6 งบประมาณตามแผน 15
2.7 ระบบการศึกษา 17
2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชา และการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย (ถ้ามี) 17
3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 17
3.1 หลักสูตร 17

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


3

3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 17
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร 17
3.1.3 รายวิชา 18
3.1.4 แผนการศึกษา 25
3.2 ชื่อ สกุล ตาแหน่ง คุณวุฒิ และภาระงานสอนของอาจารย์ 33
3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร 33
3.2.2 อาจารย์ประจา 39
3.2.3 อาจารย์พิเศษ 39
4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ามี) 39
5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย (ถ้ามี) 39
หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล 41
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา 41
2. การพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรในแต่ละข้อ 41
3. แผนที่แสดงการกระจายความสัมพันธ์ผลลัพธ์การเรียนรู้จากหลักสูตรสูรายวิชา 46
(Curriculum Mapping)
หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา 58
1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด) 58
2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา 58
3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร 59
หมวดที่ 6 การพัฒนาอาจารย์ 64
1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่ 64
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่อาจารย์ 64

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร 65
1. การกากับมาตรฐาน 65
2. บัณฑิต 65
3. นักศึกษา 66
4. อาจารย์ 68
5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน 68
6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ 68
7. ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators) 71

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


4

หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร 73
1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน 73
2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม 74
3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร 74
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง 74

เอกสารแนบ 75
ภาคผนวก ก. คาอธิบายรายวิชา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชา 76
ภาคผนวก ข. ตารางเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงระหว่างหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง 120
ภาคผนวก ค. ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร 126
ภาคผนวก ง. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร 218
ภาคผนวก จ. ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 219
ภาคผนวก ฉ. บทสรุปผู้บริหาร 251
ภาคผนวก ช. เอกสารความร่วมมือกับสถาบันอื่น 269

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


5

หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชาคณะวิศวกรรมศาสตร์ ภาควิชาวิศวกรรมโยธา

หมวดที่ 1 ข้อมูลทั่วไป

1. รหัสและชื่อหลักสูตร
1.1 ระบุรหัส : 2520002
1.2 ชื่อหลักสูตร (ภาษาไทย) : หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
(ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering Program in Civil Engineering
2. ชื่อปริญญาและสาขาวิชา
2.1 ชื่อเต็ม (ภาษาไทย) : วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา)
(ภาษาอังกฤษ) : Master of Engineering (Civil Engineering)
2.2 ชื่อย่อ (ภาษาไทย) : วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา)
(ภาษาอังกฤษ) : M.Eng. (Civil Engineering)
3. วิชาเอก (ถ้ามี)
ไม่มี
4. จานวนหน่วยกิตที่เรียนตลอดหลักสูตร
แผน ก2 (วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต) จานวน 37 หน่วยกิต
5. รูปแบบของหลักสูตร
5.1 รูปแบบ
หลักสูตรระดับปริญญาโท 2 ปี ได้แก่ แผน ก2
5.2 ภาษาที่ใช้
หลักสูตรจัดการเรียนการสอนด้วยภาษาไทยเป็นหลักหรือด้วยภาษาอังกฤษในบางรายวิชา อาจมีการ
ใช้เอกสารและตาราเรียนเป็นภาษาอังกฤษ
5.3 การรับเข้าศึกษา
รับทั้งนักศึกษาไทยและนักศึกษาต่างชาติที่เข้าใจภาษาไทย
5.4 ความร่วมมือกับสถาบันอื่น
ภาควิชาวิศวกรรมโยธาได้มีการลงนามในบันทึกความเข้าใจ (MOU) กับสถาบันการชั้นนาในระดับ
ภู มิ ภ า ค เ ช่ น Universiti Teknologi Malasia (UTM), University of Malaya (UM), Universiti Saints

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


6

Malasia (USM), National Taiwan Ocean University (NTOU), National Taiwan University (NTU) ซึ่ง
ตามแนวทางในบันทึกความเข้าใจดังกล่าว ได้มีความร่วมมือในด้านเกี่ยวกับการวิจัยและผลงานแผยแพร่
บทความทางวิชาการร่วมกันระหว่างคณาจารย์ของภาควิชาวิศวกรรมโยธาและบุคลากรของสถาบันต่างๆ
เหล่านี้ ซึ่งความร่วมมือในระดับนานาชาตินี้มีประโยชน์ต่อการเรียนรู้ของผู้เข้าศึกษาในหลักสูตรวิศวกรรม
ศาสตรมหาบัณฑิต (วิศวกรรมโยธา) ด้วยการช่วยเพิ่มมุมมองต่อวิชาชีพและองค์ความรู้จากพื้นฐานสังคมและ
วัฒนธรรมรวมไปถึงเศรษฐกิจที่แตกต่างกัน นอกเหนือไปจากความร่วมมือกับสถาบันการศึกษาต่างๆ ดังที่
กล่าวไว้ข้างต้น หลักสูตรยังได้มีการเชิญผู้เชี่ยวชาญจากภาคอุตสาหกรรม หน่วยราชการ รวมไปถึงสมาคม
วิชาชีพต่างๆ (เช่น สมาคมวิศวกรรมสถานแห่งประเทศไทย) มาช่วยแบ่งบันประสบการณ์และแนวความคิดที่
เป็นประโยชน์ต่อนักศึกษาในหลักสูตร ในฐานะวิทยากรรับเชิญของรายวิชาต่างๆ อยู่อย่างสม่าเสมอ
5.5 การให้ปริญญาแก่ผู้สาเร็จการศึกษา
ให้ปริญญาเพียงสาขาวิชาเดียว
6. สถานภาพของหลักสูตรและการพิจารณาอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตร
หลักสูตรปรับปรุง กาหนดเปิดสอนเดือน สิงหาคม พ.ศ. 2564 ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษา 2564
เริ่มใช้มาตั้งแต่ปี พ.ศ. ....2520.... (ระบุปี พ.ศ. ของหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนครั้งแรก)
ได้พิจารณากลั่นกรองโดยสภาวิชาการ ในการประชุมครั้งที่ ...6.../...2564...
เมื่อวันที่......14....... เดือน.....มิถุนายน......... พ.ศ. ...2564....
ได้รับอนุมัติ/เห็นชอบหลักสูตรจากสภามหาวิทยาลัยฯ ในการประชุมครั้งที่ ....263.....
เมื่อวันที่....7... เดือน...กรกฎาคม.... พ.ศ. ....2564....
ปรับปรุงจากหลักสูตรเดิม
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559

7. ความพร้อมในการเผยแพร่หลักสูตรที่มคี ุณภาพและมาตรฐาน
หลักสูตรมีความพร้อมเผยแพร่คุณภาพและมาตรฐานตามมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ
พ.ศ.2552 ในปีการศึกษา 2565

8. อาชีพที่สามารถประกอบได้หลังสาเร็จการศึกษา
(1) วิศวกรโยธา
(2) ผู้จัดการโครงการก่อสร้าง
(3) นักวิชาการหรือผู้เชี่ยวชาญ
(4) นักออกแบบ
(5) นักวิชาชีพในสถานประกอบการ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


7

9. ชื่อ ตาแหน่ง และคุณวุฒิการศึกษาของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร


ชื่อ-สกุล คุณวุฒิระดับอุดมศึกษา
(ระบุตาแหน่งทางวิชาการ)
1. รศ. ดร.ทวิช พูลเงิน - ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี,
ประเทศไทย (2547)
- M.Eng. (Structural Engineering), Illinois Institute of Technology,
U.S.A (1999)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี,
ประเทศไทย (2540)
2. รศ. ดร.วรัช ก้องกิจกุล - Ph.D. (Civil Engineering), University of Tokyo, Japan (2004)
- M.Eng. (Civil Engineering), Asian Institute of Technology,
Thailand (2001)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย (2542)
3. ผศ. ดร.วศิน เกียรติโกมล - Ph.D. (Transportation Engineering), University of Tennessee at
Knoxville, U.S.A. (2005)
- M.Eng. (Transportation Engineering), University of Tennessee at
Knoxville, U.S.A. (2003)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินทร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ประเทศไทย (2542)
4. ผศ. ดร.รักติพงษ์ - Ph.D. (Civil Engineering), University of Tokyo, Japan (2005)
สหมิตรมงคล - M.Eng. (Civil Engineering.), University of Tokyo, Japan (2002)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินทร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ประเทศไทย (2543)

10. สถานทีจ่ ัดการเรียนการสอน


ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์ มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
11. สถานการณ์ภายนอกหรือการพัฒนาที่จาเป็นต้องนามาพิจารณาในการวางแผนหลักสูตร
11.1 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางเศรษฐกิจ
การพัฒนาหลั กสู ตรจะสอดคล้ องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ.
2560–2564) บนพื้นฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ซึ่งเป็นแผนหลักของการ
พัฒนาประเทศ และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) รวมทั้ง
การปรับโครงสร้างประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ ที่กล่าวถึง
การเสริมสร้างและพัฒนาศักยภาพทุนมนุษย์ และ ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


8

และนวัตกรรม จึงจาเป็นต้องเตรียมทรัพยากรมนุษย์ให้พร้อมต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาดังกล่าว ดังนั้นการ


บริ ห ารจั ด การองค์ ค วามรู้ แ ละสร้ า งบุ คคลากรที่ มีทั กษะที่จ าเป็ นต่ อ ยุ ทธศาสตร์ ก ารพั ฒ นาทางด้าน
วิศวกรรมโยธาดังกล่าวอย่างเป็นระบบเป็นสิ่งจาเป็น
11.2 สถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรม
การวางแผนหลักสูตรคานึงถึงการเปลี่ยนแปลงด้านสังคมและเทคโนโลยีทางด้ านวิศวกรรมโยธาที่
ทันสมัย การก่อสร้างในประเทศไทยมีการขยายตัวอย่างต่อเนื่องและเปลี่ยนแปลงสูงจากเทคโนโลยีในการ
ก่อสร้างสมัยใหม่ผนวกกับการใช้งานคอมพิวเตอร์กราฟฟิคและประมวลผลการคานวณเพิ่มขึ้นอย่าง
รวดเร็ว ทาให้มีการแข่งขันในการทางานที่รวดเร็วและมีค่าใช้จ่ายที่ถูก และมีการใส่ใจถึงความมั่นคงซึ่งจะ
นาไปสู่พื้นฐานทางสังคมที่จะหยั่งรากต่อไปในการพัฒนาด้านอื่นๆในชุมชน เพื่อให้เกิดการเปลี่ยนแปลง
ทางสังคมและวัฒนธรรมในพื้นที่แห่งนั้น ทั้งนี้จาเป็นจะต้องใช้วิศวกรโยธาที่มีทักษะสูง ปรับตัวได้อย่าง
รวดเร็วตามการเปลี่ยนแปลงของเทคโนโลยี และมีความเป็นมืออาชีพ มีความเข้าใจในผลกระทบทาง
สังคมและวัฒนธรรม มีคุณธรรม จริยธรรม ที่จะช่วยขับเคลื่อนให้การเปลี่ยนแปลงนี้เป็นไปในรูปแบบที่
สอดคล้องและเหมาะสมกับวิถีชีวิตของสังคมไทย
12. ผลกระทบจาก ข้อ 11 ต่อการพัฒนาหลักสูตรและความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย
12.1 การพัฒนาหลักสูตร
จากผลกระทบจากสถานการณ์ภายนอกในการพัฒนาหลักสูตรจึงจาเป็นต้องพัฒนาหลักสูตรในเชิงรุก
ที่มีศักยภาพและสามารถปรับเปลี่ยนได้ตามวิวัฒนาการของเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรม และรองรับการ
แข่งขันทางธุรกิจก่อสร้างทั้งในประเทศไทยและต่างประเทศ โดยการผลิตบุคลากรทางวิศวกรรมโยธาที่
จาเป็นต้องมีความพร้อมที่จะปฏิบัติงานได้ทันที และมีศักยภาพสูงในการพัฒนาตนเองให้เข้ากับลักษณะ
งานทั้งด้านวิชาการ การพัฒนาเทคโนโลยี และวิชาชีพ รวมถึงความเข้าใจในผลกระทบของการก่อสร้าง
และพัฒนาต่อสังคม โดยต้องปฏิบัติตนอย่างมืออาชีพ มีคุณธรรม จริยธรรม ซึ่งเป็นไปตามนโยบายและ
วิสัยทัศน์ของมหาวิทยาลัยด้านมุ่งสู่ ความเป็นเลิศในเทคโนโลยีและการวิจัย และการผลิตบัณฑิตทีด่ ีและเก่ง
12.2 ความเกี่ยวข้องกับพันธกิจของมหาวิทยาลัย
ผลกระทบจากสถานการณ์หรือการพัฒนาทางสังคมและวัฒนธรรมที่มีต่อพันธกิจของมหาวิทยาลัย
ที่มุ่งสู่ความเป็นเลิศในเทคโนโลยีและการวิจัย และมุ่งธารงปณิธานในการสร้างบัณฑิต ที่ดีและเก่ง การ
พัฒนาหลักสูตรจึงต้องเน้นและส่งเสริมวิศวกรรมโยธาให้คานึงถึงคุณธรรม จริยธรรมทางวิชาชีพด้วย
13. ความสัมพันธ์ (ถ้ามี) กับหลักสูตรอื่นที่เปิดสอนในคณะ/ภาควิชาอื่นของมหาวิทยาลัย
13.1 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรนี้ที่เปิดสอนโดยคณะ/ภาควิชา/หลักสูตรอื่น
รายวิชาภาษาอังกฤษ LNG550 และ LNG600 สอนโดยอาจารย์คณะศิลปศาสตร์ โดยมีการกาหนด
เนื้อหาการเรียนการสอนให้สามารถนาไปประยุกต์ใช้กับหลักสูตรนี้ได้มากกว่าวิชาภาษาอังกฤษโดยทั่วไป
รายวิชาคณิตศาสตร์ MTH665 และ MTH 666 สอนโดยอาจารย์คณะวิทยาศาสตร์
13.2 กลุ่มวิชา/รายวิชาในหลักสูตรที่เปิดสอนให้ภาควิชา/หลักสูตรอื่นต้องมาเรียน

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


9

ใช้รายวิชาร่วมกับหลักสูตรปรัชญาดุษฎีบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
13.3 การบริหารจัดการ
อาจารย์ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก สู ต รต้ อ งประสานงานกั บ อาจารย์ ผู้ แ ทนจากในคณะอื่ น ที่ เ กี่ ย วข้ อ ง
ด้านเนื้อหาสาระ การจัดตารางเรียนและสอบ และความสอดคล้องกับมาตรฐานผลการเรียนรู้ตามกรอบ
มาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติและผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชาที่กาหนดไว้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


10

หมวดที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร

1. ปรัชญา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร และผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร


1.1 ปรัชญาของหลักสูตร
เพื่อสร้างและพัฒนานักวิชาชีพด้านวิศวกรรมโยธาที่มีความรู้ความชานาญ มีทักษะในการทางานเชิง
วิศวกรรม พร้อมที่ จะท างานในที มงานวิศวกรรมระดับสูงได้ทันทีที่จบการศึกษา สามารถปรับตัวเข้ากับ
เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และปฏิบัติตนตามหลั กจริยธรรมและ
จรรยาบรรณ

1.2 ความสาคัญของหลักสูตร
ในการพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมของประเทศไทยให้ต่อเนื่องนั้น ยังคงต้องมีการก่อสร้างโครงสร้าง
ระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ระบบขนส่ ง และที่พักอาศัยที่มีความปลอดภัยให้กับประชาชนอย่างทั่ว ถึ ง
นอกจากนี้ประเทศไทยยังต้องการผู้เชี่ยวชาญที่จะคอยบริหารจัดการความเสี่ยงที่อาจจะเกิดจากภัยพิบัติต่างๆ
เช่ น อุ ท กภั ย ป้ อ งกั น ปั ญ หาอุ บั ติ เ หตุ ต่ า งๆ ในระยะยาว ประเทศไทยยั ง ต้ อ งมี ก ารบ ารุ ง รั ก ษาระบบ
สาธารณูปโภค โครงสร้างต่างๆ ที่มีอยู่ให้คงอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน ซึ่ง การดาเนินการดังกล่าวนั้นต้องการ
วิศวกรโยธาที่มีทั้งความรู้และทักษะในการทางานที่ดีเป็นจานวนมาก ในขณะเดียวกันลักษณะการทางานเชิง
วิศวกรรมโยธาก็มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องและทักษะต่างๆ ที่จาเป็นต่อวิศวกรรุ่นใหม่ๆ ก็เปลี่ยนแปลง
ไปจากเดิม หน่วยงานต่างๆ มีความต้องการวิศวกรที่พร้อมที่จะทางานได้ทันทีที่จบการศึกษามากกว่าที่จะต้อง
ทาการฝึกอบรมก่อนที่จะให้เริ่มปฏิบั ติงานทั้งนี้เพื่อให้หน่วยงานสามารถบรรลุเป้าหมายในการดาเนินงานได้
อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพที่สุด ตามที่หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตนี้เน้นการพัฒนานักวิชาชีพ
ด้านวิศวกรรมโยธาที่มีทั้งความรู้ในระดับสูงและมีทักษะต่างๆ พร้อมที่จะปฏิบัติงานได้ทันทีที่จบการศึกษา จึง
เป็นหลักสูตรที่ตอบสนองต่อความต้องการของประเทศไทยในปัจจุบันและมีความสาคัญในการแก้ปัญหาและ
ส่งเสริมการพัฒนาของประเทศ บุคลากรที่สาเร็จการศึกษาจะช่วยเพิ่ม คุณภาพและเพิ่มขีดความสามารถใน
การผลิต และแก้ปัญหา และเป็นผลให้เศรษฐกิจของประเทศแข็งแกร่งและมีการพัฒนาที่ยั่งยืน

1.3 วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
1.3.1 เพื่อผลิตนักวิชาชีพวิศวกรรมโยธาระดับปริญญาโท ที่มีทั้งความรู้ระดับสูงและทักษะในการ
ทางานในสาขาวิชาวิศวกรรมโยธา เป็นที่ยอมรับของภาคอุตสาหกรรมขึ้นภายในประเทศ
1.3.2 เพื่อผลิตนักวิชาชีพวิศวกรรมโยธาที่สามารถประยุกต์ใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ไขปัญหา
หรือสร้างนวัตกรรมในเชิงวิศวกรรมได้
1.3.3 เพื่อผลิตนักวิชาชีพวิศวกรรมโยธาเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศและภูมิภาค มี
ความรู้พื้นฐานในสาขาความเชี่ยวชาญที่ดีและสามารถที่จะทางานเป็นทีมและปรับตัวตามสภาวะการณ์
และเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปได้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


11

1.4 ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร (Program Learning Outcome : PLO)


PLO1 : บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในงานด้านวิศวกรรมโยธาได้
Sub PLO1A : อธิบายเกี่ยวกับปรากฎการณ์ธรรมชาติ วัสดุและระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน
วิศวกรรมโยธาและประยุกต์ใช้ความรู้ดังกล่าวในงานวิศวกรรมได้
Sub PLO1B : วิเคราะห์โครงสร้างหรือระบบเชิงวิศวกรรมโยธาด้านต่างๆ ได้อย่างปลอดภัยและ
เหมาะสม
PLO2 : บัณฑิตมีทักษะในการทางานด้านวิศวกรรม
Sub PLO2A : สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
Sub PLO2B : สามารถบริหารจัดการงานและรับผิดชอบในการดาเนินงานให้เสร็จลุล่วงไปได้
Sub PLO2C : สามารถสื่อสารและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้
Sub PLO2D : สามารถดาเนินการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมได้
Sub PLO2E : มีความสามารถในการปรับตัวและทางานภายใต้ความกดดันได้
Sub PLO2F : สามารถใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่สาหรับงานวิศวกรรมในสาขาความเชี่ยวชาญได้
PLO3 : บัณฑิตปฎิบัติตนตามหลักจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรมและมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและ
สังคม
Sub PLO3A : ยึดมั่นในหลักจรรยาบรรณคุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้อง ไม่ละเมิดสิทธิ
ทางปัญญาของผู้อื่น
Sub PLO3B : รับฟังความเห็นที่แตกต่าง ให้เกียรติและเคารพคุณค่าในงานของผู้อื่น

1.5 ผลลัพธ์การเรียนรู้ตามลาดับขั้นของการพัฒนาผู้เรียน (Stage Lo)


Stage LO#1 มีความรู้และพื้นฐานเบื้องต้น บัณฑิตมีความสามารถในการใช้ทักษะในเชิงคณิตศาสตร์ และ
ตระหนักถึงทักษะต่างๆ ที่สาคัญต่อการทางานในเชิงวิศวกรรมวิชาชีพ
วิธีการวัดผล ใช้ผลการเรียนของรายวิชา CVE701 ซึ่งเป็นวิชาบังคับของหลักสูตร ร่วมกับรายวิชาเลือกสาขา
คณิตศาสตร์
กาหนดเวลา ภายใน 2 ภาคการศึกษาแรก
PLO ที่ถูกวัด PLO2
Stage LO#2 บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับปรากฎการณ์ธรรมชาติและหลักการวิศวกรรม
ในการประยุกต์ออกแบบงานวิศวกรรม
วิธีการวัดผล ใช้ผลการเรียนของวิชาเลือกของกลุ่มวิชาหลัก โดยนักศึกษาจะต้องลงสะสมหน่วยกิตของวิชา
เลือกกลุ่มวิชาหลักได้ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
กาหนดเวลา ภายใน 3 ภาคการศึกษาแรก
PLO ที่ถูกวัด PLO1, และ PLO3

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


12

Stage LO#3 บัณฑิตดาเนินการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาระบบเชิงวิศวกรรมโดยใช้องค์ความรู้เชิงวิศวกรรม


และทักษะในการทางานโดยคานึงถึงหลักจรรยาบรรณและจริยธรรม
วิธีการวัดผล นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานตามเงื่อนไขการจบการศึกษาได้ครบถ้วน ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ได้
เสร็จสมบูรณ์ มี การเผยแพร่ผ ลงานตามเกณฑ์ และดาเนินการสอบประเมินผลด้ วยคณะกรรมการสอบ
วิทยานิพนธ์เป็นขั้นตอนสุดท้าย
PLO ที่ถูกวัด PLO1, PLO2, PLO3

2. แผนพัฒนาปรับปรุง
แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่งชี้
- ปรับปรุงหลักสูตรวิศวกรรมโยธา - พัฒนาหลักสูตรโดยมีพื้นฐาน - เอกสารปรับปรุงหลักสูตร
ให้ มี ค วามทั น สมั ย และเป็ น ไป จากทิ ศ ทางการพั ฒ นาของ - ร า ย ง า น ผ ล ก า ร ป ร ะ เ มิ น
ตามมาตรฐาน ตามเกณฑ์ ที่ ประเทศไทยและภู มิ ภ าค หลักสูตร
ส านั ก งานปลั ด กระทรวงการ อาเซียน
อุ ด มศึ ก ษา วิ ท ยาศาสตร์ วิ จั ย - ติดตามประเมินหลักสูตรอย่าง
และนวัตกรรม (สป.อว.) กาหนด สม่าเสมอ
- ปรับปรุงหลักสูตรโดยเน้น - พัฒนาหลักสูตรโดยมีการ - เอกสารปรับปรุงหลักสูตร
ผลลัพท์การเรียนรู้ (LO) ของ กาหนด “ผลลัพท์การเรียนรู้ - รายงานการประเมิ น ตนเอง
บัณฑิตตามทฤษฎีการเรียนการ ระดับหลักสูตร” และกระจาย (Self-Assessment Report)
สอนที่เป็นที่ยอมรับในระดับ ผลลัพท์การเรียนรู้ไปยัง ซึ่งจัดทาขึ้นทุกปีการศึกษา
นานาชาติ รายวิชาต่างๆ อย่างเหมาะสม - ข้ อ มู ล เกี่ ย วกั บ การเรี ย นการ
- มีการปรับปรุงเนื้อหา วิธีการ สอนและการเรี ย นการสอน
ส่งเสริมการเรียนรู้ และวิธี (เช่น มคอ. 5 มคอ. 6 และ มคอ.
ผลลัพท์การเรียนรู้ที่สอดคล้อง 7) และตัวอย่างข้อสอบและการ
กับผลลัพท์การเรียนรู้ที่ ให้คะแนนของแต่ละรายวิชา
กาหนดไว้
- ปรับปรุงหลักสูตรให้สอดคล้อง - ติดตามความเปลี่ยนแปลงใน - รายงานผลการประเมินความพึง
กับความต้องการของธุรกิจ และ ความต้องการของ พอใจในการใช้ บั ณ ฑิ ต ของ
การเปลี่ยนแปลงทางด้าน ผู้ประกอบการ สถานวิจัยด้าน ผู้ ใ ช้ ง านบั ณ ฑิ ต (เช่ น สถาน
วิศวกรรมโยธาในปัจจุบัน วิศวกรรมโยธา (ภาคผู้ใช้ ประกอบการ หน่วยงานรัฐ รัฐ
บัณฑิต) มีการรวบรวม สาหกิจต่างๆ) และจากบัณฑิตที่
ความเห็นในการปรับปรุง จบการศึกษาไป

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


13

แผนการพัฒนา/เปลี่ยนแปลง กลยุทธ์ หลักฐาน/ตัวบ่งชี้


- ส่งเสริมให้อาจารย์ผู้สอนแต่ - ผลวิเคราะห์คณ ุ ลักษณะที่
ละรายวิชาและที่ปรึกษา ต้องการจากแบบสอบถามภาค
วิทยานิพนธ์นาความรู้ที่ ผู้ใช้บัณฑิต และคุณลักษณะที่
ทันสมัยและเป็นประโยชน์กับ จาเป็นจากบัณฑิตของหลักสูตร
ภาคอุตสาหกรรมมาใช้ในการ - เอกสารประกอบการบรรยาย
เรียนการสอน ของวิทยากรรับเชิญจาก
ภาคอุตสาหกรรมและหน่วยงาน
รัฐที่จะช่วยส่งเสริมให้นักศึกษา
เข้าใจสถานการณ์ของ
อุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องได้ดีขึ้น

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


14
หมวดที่ 3 ระบบการจัดการศึกษา การดาเนินการ และโครงสร้างของหลักสูตร
1. ระบบการจัดการศึกษา
1.1 ระบบ
ระบบการจัดการศึกษาใช้ระบบทวิภาคโดย 1 ปีการศึกษาแบ่งออกเป็น 2 ภาคการศึกษาปกติ 1 ภาค
การศึกษาปกติมีระยะเวลาศึกษาไม่น้อยกว่า 15 สัปดาห์
1.2 การจัดการศึกษาภาคพิเศษ
ไม่มี
1.3 การเทียบเคียงหน่วยกิตในระบบทวิภาค
ไม่มี
2. การดาเนินการหลักสูตร
2.1 วัน-เวลาในการดาเนินการเรียนการสอน
ในวัน-เวลาราชการปกติ (จันทร์ – ศุกร์ เวลา 08.30 – 16.30 น.)
ปฏิทินการศึกษา
ภาคการศึกษาที่ 1 เริ่มเปิดสอนในเดือนสิงหาคม – เดือนธันวาคม
ภาคการศึกษาที่ 2 เริ่มเปิดสอนในเดือนมกราคม – เดือนพฤษภาคม
2.2 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
เป็นผู้สาเร็จการศึกษาปริญญาตรี สาขาวิศวกรรมโยธาจากสถาบันอุดมศึกษาที่สานักงานคณะกรรมการ
ข้าราชการผลเรือน (ก.พ) รับรองหลักสูตร หรือสาขาวิชาอื่นที่เทียบเท่าซึ่งคณะกรรมการสอบคัดเลือกเข้าศึกษา
ของภาควิชาฯ พิจารณาเห็นสมควรรับเข้าศึกษาได้
2.3 ปัญหาของนักศึกษาแรกเข้า
ไม่มี
2.4 กลยุทธ์ในการดาเนินการเพื่อแก้ไขปัญหา / ข้อจากัดของนักศึกษาในข้อ 2.3
ไม่มี
2.5 แผนการรับนักศึกษาและผูส้ าเร็จการศึกษาในระยะ 5 ปี
จานวนนักศึกษาแต่ละปีการศึกษา จานวนรวม
จานวนนักศึกษา 2564-2568
2564 2565 2566 2567 2568
ชั้นปีที่ 1 35 35 35 35 35 175
ชั้นปีที่ 2 - 35 35 35 35 140
รวม 35 70 70 70 70 315
คาดว่าจะสาเร็จการศึกษา - 35 35 35 35 140

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


15
หมายเหตุ : 1. แผนนั ก ศึ ก ษาเข้ า ใหม่ ตามแผนกลยุ ท ธ์ มจธ. ฉบั บ ที่ 12 (พ.ศ.2560 – 2564) ณ วั น ที่
31 มกราคม 2563
2.จานวนนักศึกษาเข้าใหม่ คงเดิมไม่เปลี่ยนแปลง จากหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต
สาขาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559

2.6 งบประมาณตามแผน
2.6.1 งบประมาณรายรับ (หน่วย : บาท)
อัตราค่าเล่าเรียน ภาคการศึกษา ปีการศึกษา
1. ค่าบารุงการศึกษา 12,000 บาท 24,000 บาท
2. ค่าลงทะเบียน
วิชาเรียน 1,000 บาท/หน่วยกิต 6,250 บาท 12,500 บาท
วิทยานิพนธ์ 2,000 บาท/หน่วยกิต 6,000 บาท 12,000 บาท
ค่าใช้จ่ายตลอดหลักสูตรของนักศึกษา 97,000 บาท / คน

ปีงบประมาณ (บาท) รวม


รายการ 2564 2565 2566 2567 2568 2564-
2568
รายรับ
1. ค่าบารุงการศึกษา 1,656,000 1,680,000 1,680,000 1,680,000 1,680,000 8,376,000
2. ค่าลงทะเบียน 1,690,500 1,715,000 1,715,000 1,715,000 1,715,000 8,550,500
3. งานวิจัยและ
4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 4,000,000 20,000,000
บริการวิชาการ
4. เงินอุดหนุนจากรัฐ 5,868,000 5,831,000 5,714,380 5,600,092 5,488,091 28,501,563
รวมรายรับ (1 +
13,214,500 13,226,000 13,109,380 12,995,092 12,883,091 65,428,063
2+3+4)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


16
2.6.2 งบประมาณรายจ่าย (หน่วย: บาท)
ปีงบประมาณ (บาท) รวม
รายการ
2564 2565 2566 2567 2568 2564-2568
ก. งบดาเนินการ
1. ค่าใช้จ่ายบุคลากร 2,795,520 2,963,251 3,141,046 3,329,509 3,529,280 15,758,606
- เงินเดือน 2,496,000 2,645,760 2,804,506 2,972,776 3,151,142 14,070,184
- สวัสดิการ 12% 299,520 317,491 336,541 356,733 378,137 1,688,422
2. ค่าใช้จ่ายดาเนินงาน 2,032,474 2,037,890 2,029,727 2,021,726 2,013,886 10,135,703
- ค่าตอบแทน 54,000 54,000 54,000 54,000 54,000 270,000
- ค่าใช้สอย 317,400 322,000 322,000 322,000 322,000 1,605,400
- ค่าวัสดุ 120,750 122,500 122,500 122,500 122,500 610,750
- ค่าสาธารณูปโภค 146,625 148,750 148,750 148,750 148,750 741,625
- ทุนการศึกษา 750,000 750,000 750,000 750,000 750,000 3,750,000
- รายจ่ายอื่น (สนง.คณะ
643,699 640,640 632,477 624,476 616,636 3,157,928
วิศวกรรมศาสตร์
3. ค่าใช้จ่ายหักเข้ามหาวิทยาลัย 4,015,800 4,074,000 4,074,000 4,074,000 4,074,000 20,311,800
- รายจ่ายค่าเล่าเรียน 1,600,800 1,624,000 1,624,000 1,624,000 1,624,000 8,096,800
- รายจ่ายทางอ้อม 2,415,000 2,450,000 2,450,000 2,450,000 2,450,000 12,215,000
4. งบลงทุน
ค่าครุภัณฑ์ - - - - - -
รวมทั้งสิ้น 8,843,794 9,075,141 9,244,773 9,425,236 9,617,166 46,206,110
รายรับหักรายจ่าย 4,367,706 4,150,859 3,864,607 3,569,857 3,265,925 19,218,954
ค่าใช้จ่ายต่อหัวนักศึกษา 128,171 129,645 132,068 134,646 137,388 661,918
ค่าใช้จ่ายเฉลี่ยต่อหัวนักศึกษา 132,384

หมายเหตุ ทั้งนี้ อัตราค่าเล่าเรียนให้ขึ้นอยู่กับประกาศของมหาวิทยาลัย ในแต่ละปีการศึกษา

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


17
2.7 ระบบการศึกษา
- ระบบการศึกษาเป็นแบบชั้นเรียน และ/ หรือ การใช้สื่ออิเล็กทรอนิกส์
2.8 การเทียบโอนหน่วยกิต รายวิชาและการลงทะเบียนเรียนข้ามมหาวิทยาลัย (ถ้ามี)
เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.
2562 ข้อ 17.2 การลงทะเบียนข้ามสถาบัน และข้อ 28 การเทียบโอนรายวิชา ทั้งนี้ อาจมีการเปลี่ยนแปลง
ขึ้นอยู่กับประกาศของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
3. หลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน
3.1 หลักสูตร
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาเป็นหลักสูตร 2 ปี มีจานวนหน่วยกิตไม่
น้อยกว่า 37 หน่วยกิต นักศึกษาต้องศึกษารายวิชาไม่น้อยกว่า 25 หน่วยกิต และต้องทาวิทยานิพนธ์ ซึ่งมี
ค่าเทียบได้ไม่ น้อยกว่า 12 หน่วยกิต โดยมีรายวิชาเลือกแบ่งออกเป็น 4 กลุ่มสาขาวิชา คือ สาขาวิชา
วิ ศ วกรรมโครงสร้ า ง สาขา วิ ช าวิ ศ วกรรมเทคนิ ค ธรณี สาขา วิ ช าวิ ศ วกรรม ทรั พ ยากร น้ า
และสาขาวิชาวิศวกรรมขนส่ง โดยมีโครงสร้างหลักสูตรดังนี้
3.1.1 จานวนหน่วยกิตรวมตลอดหลักสูตร 37 หน่วยกิต
3.1.2 โครงสร้างหลักสูตร
แผน ก 2
ก. หมวดวิชาบังคับ 1 หน่วยกิต
ข. หมวดวิชาเลือก 24 หน่วยกิต
ข.1 วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก อย่างน้อย 15 หน่วยกิต
โดยนักศึกษาสามารถเลือกรายวิชาในกลุ่มวิชาหลักกลุ่มใดกลุ่มหนึ่งในกลุ่มวิชาดังต่อไปนี้ คือ
กลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง กลุ่มวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี กลุ่มวิชาวิศวกรรมขนส่ง หรือ กลุ่มวิชา
วิศวกรรมทรัพยากรน้า
ข.2 วิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น ไม่เกิน 6 หน่วยกิต
ข.3 วิชาเลือกกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ อย่างน้อย 3 หน่วยกิต
ค. วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
หมายเหตุ
- สาหรับวิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น ให้เลือกเรียนวิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลักอื่นๆ ที่มิได้อยู่ในกลุ่มวิชาหลัก
ของนักศึกษาคนนั้นๆ หรือวิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น แต่ไม่นับรวมกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์ โดยสามารถ
เรียนวิชาในลักษณะดังกล่าวนอกคณะหรือต่างมหาวิทยาลัยก็ได้
- วิชาเลือกในกลุ่มวิชาคณิตศาสตร์และในกลุ่มวิชาอื่น นอกคณะหรือต่างมหาวิทยาลัย ต้องเป็นวิชาใน
ระดับบัณฑิ ตศึกษา และเป็นไปตามระเบี ยบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วย
การศึ ก ษาระดั บ บั ณ ฑิ ต ศึ ก ษา พ.ศ.2562 ทั้ ง นี้ อาจมี ก ารเปลี่ ย นแปลงขึ้ น อยู่ กั บ ประกาศของ
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


18
3.1.3 รายวิชา
- ความหมายของรหัสวิชา
รหัสวิชาของภาควิชาวิศวกรรมโยธา ประกอบด้วยอักษรย่อ 3 ตัวและเลข 3 หลัก ดังนี้
CVE xxx ความหมายของเลขทั้งสามหลัก คือ
เลขหลักร้อย (เลขตัวแรก)
เลข 6 และ 7 หมายถึง วิชาระดับบัณฑิตศึกษา
เลขหลักสิบ (เลขตัวที่สอง)
เลข 0 หมายถึง วิชาที่เกี่ยวข้องกับสัมมนาหรือหัวข้อพิเศษ และวิทยานิพนธ์
เลข 1-2 หมายถึง วิชาในสาขาการบริหารงานก่อสร้าง
เลข 3-4 หมายถึงวิชาในสาขาวิชาโครงสร้าง
เลข 5-6 หมายถึง วิชาในสาขาวิศวกรรมเทคนิคธรณี
เลข 7 หมายถึง วิชาในสาขาวิศวกรรมขนส่ง
เลข 8-9 หมายถึง วิชาในสาขาสาขาทรัพยากรน้า
เลขหลักหน่วย (เลขตัวที่สาม) แสดงลาดับรายวิชา ในแต่ละสาขา
-รายวิชา
ก. หมวดวิชาบังคับ (Compulsory Courses) 1 หน่วยกิต
CVE 701 ทักษะสาคัญสาหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา 1 (0 – 3 – 3)
(Essentials for Professional Civil Engineering)

ข. กลุ่มสาขาวิชาเลือก 24 หน่วยกิต
(Elective Courses in the Specified Field)
ข.1 วิชาเลือกกลุ่มวิชาหลัก
ข.1.1 กลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
CVE 630 กลศาสตร์ของแข็งที่มีความต่อเนื่อง 3 (3 – 0 – 9)
(Continuum Solid Mechanics)
CVE 632 การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Design of Concrete Structures)
CVE 633 การออกแบบคอนกรีตอัดแรงขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Design of Prestressed Concrete)
CVE 634 การออกแบบและใช้งานคอนกรีตพิเศษ 3 (3 – 0 – 9)
(Design and Application of Special Concrete)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


19
CVE 636 การออกแบบโครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Steel Design)
CVE 637 วิธีการคานวณในกลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 – 0 – 9)
(Computational Methods in Structural Mechanics)
CVE 638 ทฤษฎีของแผ่นบางและเปลือกบาง 3 (3 – 0 – 9)
(Theory of Plates and Shells)
CVE 639 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3 (3 – 0 – 9)
(Structural Stability)
CVE 640 กลศาสตร์วัสดุและโครงสร้างขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Mechanic of Materials and Structures)
CVE 641 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Concrete Technology)
CVE 642 พลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 – 0 – 9)
(Structural Dynamics)
CVE 644 ทฤษฎีของโครงสร้างเปลือกบาง 3 (3 – 0 – 9)
(Theory of Thin Elastic Shells)
CVE 645 วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์ในกลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 – 0 – 9)
(Finite Element Method in Structural Mechanics)
CVE 646 วิธีการพลังงานในกลศาสตร์ประยุกต์ 3 (3 – 0 – 9)
(Energy Methods in Applied Mechanics)
CVE 648 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างรับแรงลมและแผ่นดินไหว 3 (3 – 0 – 9)
(Analysis and Design of Structures for Wind and
Seismic Loads)
CVE 732 การวิเคราะห์โครงสร้างวัสดุคอมโพสิต 3 (3 – 0 – 9)
(Analysis of Composite Structures)
CVE 733 การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ไม่เชิงเส้นของโครงสร้าง 3 (3 – 0 – 9)
(Nonlinear Finite Element Analysis of Structures)
CVE 734 การออกแบบข้อต่อโครงสร้างเหล็ก 3 (3 – 0 – 9)
(Design of Steel Connections)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


20
CVE 735 ความทนทาน การป้องกัน และซ่อมแซมคอนกรีต 3 (3 – 0 – 9)
(Concrete Durability, Protection, and Repair)

ข.1.2 กลุ่มวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี
CVE 653 เทคนิคปรับปรุงคุณภาพดิน 3 (3 – 0 – 9)
(Soil Improvement Technique)
CVE 654 เครื่องมือวัดในงานวิศวกรรมโยธา 3 (3 – 0 – 9)
(Instrumentation in Civil Engineering)
CVE 655 อุโมงค์และงานก่อสร้างใต้ดิน 3 (3 – 0 – 9)
(Tunneling and Underground Construction)
CVE 657 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 (3 – 0 – 9)
(Numerical Analysis in Geotechnical Engineering)
CVE 658 วิศวกรรมธรณีวิทยาประยุกต์ 3 (3 – 0 – 9)
(Applied Engineering Geology)
CVE 659 กลศาสตร์ของหิน 3 (3 – 0 – 9)
(Rock Mechanics)
CVE 660 การสารวจใต้ผิวพื้นและการทดสอบดิน 3 (2 – 3 – 9)
(Subsurface Investigation and Soil Testing)
CVE 661 กลศาสตร์ของดินขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Soil Mechanics)
CVE 662 คุณสมบัติและพฤติกรรมของดิน 3 (3 – 0 – 9)
(Soil Properties and Behavior)
CVE 664 พลศาสตร์ของดิน 3 (3 – 0 – 9)
(Soil Dynamics)
CVE 666 ทฤษฎีกลศาสตร์ของดิน 3 (3 – 0 – 9)
(Theoretical Soil Mechanics)
CVE 667 โครงสร้างดิน 3 (3 – 0 – 9)
(Earth Structures)
CVE 668 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Foundation Engineering)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


21
ข.1.3 กลุ่มวิชาวิศวกรรมขนส่ง
CVE 671 ระบบการขนส่งและเทคโนโลยี 3 (3 – 0 – 9)
(Transportation Systems and Technologies)
CVE 672 การดาเนินงานการจราจร 3 (3 – 0 – 9)
(Traffic Operations)
CVE 674 การขนส่งมวลชนในตัวเมือง 3 (3 – 0 – 9)
(Urban Mass Transportation)
CVE 675 การประเมินโครงการด้านการขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)
(Transportation Project Evaluation)
CVE 676 การออกแบบทางเรขาคณิตของถนน 3 (3 – 0 – 9)
(Geometric Design of Highways)
CVE 677 การวางแผนการขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)
(Transportation Planning)
CVE 678 การวางแผนและออกแบบสนามบิน 3 (3 – 0 – 9)
(Airport Planning and Design)
CVE 679 การออกแบบผิวทางขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Pavement Design)
CVE 771 แบบจาลองวิเคราะห์การจราจรและการใช้งาน 3 (3 – 0 – 9)
(Traffic Analysis Models and Applications)
CVE 772 สิ่งแวดล้อมของระบบการขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)
(Environmental Aspects of Transportation System)
CVE 773 วิศวกรรมและการวางแผนความปลอดภัยทางถนน 3 (3 – 0 – 9)
(Road Safety Engineering and Planning)
CVE 774 เทคนิคการหาผลเฉลยที่ดีที่สดุ สาหรับการขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)
(Optimization Techniques in Transportation)
CVE 775 การสร้างแบบจาลองและการพยากรณ์ความต้องการเดินทาง 3 (3 – 0 – 9)
(Travel Demand Modeling and Forecasting)
CVE 776 การจัดการห่วงโซ่อุปทาน 3 (3 – 0 – 9)
(Supply Chain Management)
CVE 777 นโยบายและการวางแผนการขนส่งสินค้าในเขตเมือง 3 (3 – 0 – 9)
(Urban Goods Movement: Policy and Planning)
CVE 778 แบบจาลองการขนส่งสินค้า 3 (3 – 0 – 9)
(Freight and Logistics Modeling)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


22
CVE 779 การวิเคราะห์โครงข่ายขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)
(Transportation Network Analysis)
ข.1.4 กลุ่มวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า
CVE 680 กลศาสตร์ของไหลขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Fluid Mechanics)
CVE 681 ชลศาสตร์ทางน้าเปิดขั้นสูง 3.(3 – 0 – 9)
(Advanced Open Channel Hydraulics)
CVE 682 ชลศาสตร์ของการไหลแบบไม่คงที่ 3 (3 – 0 – 9)
(Hydraulics of Unsteady Flow)
CVE 683 การจาลองและแบบจาลองสภาพอุทกวิทยา 3 (3 – 0 – 9)
(Hydrologic Simulation and Models)
CVE 685 การวิเคราะห์ระบบแหล่งน้า 3 (3 – 0 – 9)
(Water Resources System Analysis)
CVE 686 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและทรัพยากรน้า 3 (3 – 0 – 9)
(Climate Change and Water Resources)
CVE 688 ชลศาสตร์ชายฝั่งทะเล 3 (3 – 0 – 9)
(Coastal Hydraulics)
CVE 689 ชลศาสตร์ของน้าขึ้นน้าลงและบริเวณปากแม่น้า 3 (3 – 0 – 9)
(Tidal and Estuarine Hydraulics)
CVE 690 การกัดเซาะและตะกอน 3 (3 – 0 – 9)
(Erosion and Sediment)
CVE 691 กลศาสตร์และกระบวนการของแม่น้า 3 (3 – 0 – 9)
(River Mechanics and Fluvial Processes)
CVE 692 การป้องกันน้าท่วมและการระบายน้า 3 (3 – 0 – 9)
(Flood Protection and Drainage)
CVE 693 อุทกวิทยาขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Hydrology)
CVE 695 การวิเคราะห์ปัญหาแหล่งน้าโดยคอมพิวเตอร์ 3 (3 – 0 – 9)
(Computer Application in Water Resources Analysis)
CVE 696 ระบบและกระบวนการทางอุทกวิทยา 3 (3 – 0 – 9)
(Hydrologic System and Processes)
CVE 698 การออกแบบโครงสร้างป้องกันชายฝั่งทะเล 3 (3 – 0 – 9)
(Design of Coastal Protection Works)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


23
ข. 2 วิชาเลือกกลุ่มวิชาอื่น
CVE 704 หัวข้อพิเศษ 1 3 (3 – 0 – 9)
(Special Topics I)
CVE 705 หัวข้อพิเศษ 2 3 (3 – 0 – 9)
(Special Topics II)
CVE 706 หัวข้อพิเศษ 3 3 (3 – 0 – 9)
(Special Topics III)
CVE 707 หัวข้อพิเศษ 4 2 (2 – 0 – 6)
(Special Topics VI)

ข. 3 วิชาเลือกสาขาวิชาคณิตศาสตร์
วิชาเลือกในกลุ่มคณิตศาสตร์ หรือ สถิติขั้นสูง นักศึกษาสามารถเลือกเรียนตามแผนการศึกษา
ของกลุ่มวิชาได้ดังนี้
MTH 665 เทคนิคทางคณิตศาสตร์ 3 (3 – 0 – 9)
(Mathematical Techniques)
MTH 666 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกร 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Mathematics for Engineers)
CVE 631 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมโยธา 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Mathematics for Civil Engineering)
CVE 673 สถิติขั้นสูงสาหรับการศึกษาด้านการขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)
(Advanced Statistical Methods for
Transportation Studies)

ค. วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


24
ง. หมวดวิชาภาษาอังกฤษ ไม่นับหน่วยกิต
LNG 550 วิชาปรับพื้นภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2 (1 – 2 – 6) (S/U)
(Remedial English Course for Post Graduate Students)
LNG 600 วิชาภาษาอังกฤษระหว่างการเรียนในหลักสูตรสาหรับ 3 (2 – 2 – 9) (S/U)
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
(Insessional English Course for Post Graduate Students)
หมายเหตุ นักศึกษาต้องเรียนวิชา LNG 550 และ/หรือ LNG 600 และ/หรือได้รับการยกเว้น ทั้งนี้
ขึ้นอยู่กับระดับคะแนนการทดสอบและเงื่อนไขตามที่คณะศิลปศาสตร์กาหนด

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


25
3.1.4 แผนการศึกษา
กลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
MTH xxx / CVE xxx วิชาเลือกสาขาวิชาคณิตศาสตร์ 3 (3 - 0 - 9)
(Mathematic Elective)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 1 3 (3 - 0 - 9)
xx
(Elective I)
CVE xxx (Advanced
วิชาเลือกในกลุMathematics
่มวิชาหลัก 2 for Engineer) 3 (3 - 0 - 9)
(Elective II)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 3 3 (3 - 0 - 9)
(Elective III)
รวม 12 (12-0-36)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 48
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
CVE 701 ทักษะสาคัญสาหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา 1 (0 – 3 –3)
(Essentials for Professional Civil Engineering)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 4 3 (3 - 0 - 9)
(Elective IV)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 5 3 (3 - 0 - 9)
(Elective V)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น 1 3 (3 - 0 - 9)
(Elective VI)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น 2 3 (3 - 0 - 9)
(Elective VII)
รวม 13 (12-3-39)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 54

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


26
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 6 (0-12-24)
(Thesis)
รวม 6 (0-12-24)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 36

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 6 (0-12-24)
(Thesis)
รวม 6 (0-12-24)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 36

หมายเหตุ นักศึกษาควรเลือกเรียนวิชา MTH 666 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกร เป็นวิชาเลือกสาขาวิชา


คณิตศาสตร์
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนวิชาภาษาอังกฤษ LNG 550 หรือ LNG 660 ในปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
และปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


27
กลุ่มวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
MTH xxx / CVE xxx วิชาเลือกสาขาวิชาคณิตศาสตร์ 3 (3 - 0 - 9)
(Mathematic Elective)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 1 3 (3 - 0 - 9)
(Elective I)
CVE xxx (Advanced
วิชาเลือกในกลุMathematics
่มวิชาหลัก 2 for Engineer) 3 (3 - 0 - 9)
(Elective II)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 3 3 (3 - 0 - 9)
(Elective III)
รวม 12 (12-0-36)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 48
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
CVE 701 ทักษะสาคัญสาหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา 1 (0 – 3 –3)
(Essentials for Professional Civil Engineering)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 4 3 (3 - 0 - 9)
(Elective IV)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 5 3 (3 - 0 - 9)
(Elective V)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น 1 3 (3 - 0 - 9)
(Elective VI)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น 2 3 (3 - 0 - 9)
(Elective VII)
รวม 13 (12-3-39)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 54

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


28
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 6 (0 - 12 -24)
(Thesis)
รวม 6 (0 - 12 -24)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 36

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 6 (0 - 12 -24)
(Thesis)
รวม 6 (0 - 12 -24)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 36

หมายเหตุ นักศึกษาควรเลือกเรียนวิชา MTH 666 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกร เป็นวิชาเลือกสาขาวิชา


คณิตศาสตร์
นักศึกษาสามารถเลือกเรียนวิชาภาษาอังกฤษ LNG 550 หรือ LNG 660 ในปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
และปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


29
กลุ่มวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
MTH xxx / CVE xxx วิชาเลือกสาขาวิชาคณิตศาสตร์ 3 (3 - 0 - 9)
(Mathematic Elective)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 1 3 (3 - 0 - 9)
(Elective I)
CVE xxx (Advanced
วิชาเลือกในกลุMathematics
่มวิชาหลัก 2 for Engineer) 3 (3 - 0 - 9)
(Elective II)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 3 3 (3 - 0 - 9)
(Elective III)
รวม 12 (12-0-36)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 48

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
CVE 701 ทักษะสาคัญสาหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา 1 (0 – 3 –3)
(Essentials for Professional Civil Engineering)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 4 3 (3 - 0 - 9)
(Elective IV)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 5 3 (3 - 0 - 9)
(Elective V)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น 1 3 (3 - 0 - 9)
(Elective VI)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น 2 3 (3 - 0 - 9)
(Elective VII)
รวม 13 (12-3-39)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 54

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


30
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 6 (0 12-24)
(Thesis)
รวม 6 (0-12-24)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 36

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 6 (0-12-24)
(Thesis)
รวม 6 (0-12-24)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 36

หมายเหตุ นักศึกษาควรเลือกเรียนวิชา MTH 665 เทคนิคทางคณิตศาสตร์ เป็นวิชาเลือกสาขาวิชาคณิตศาสตร์

นักศึกษาสามารถเลือกเรียนวิชาภาษาอังกฤษ LNG 550 หรือ LNG 660 ในปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2


และปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


31
กลุ่มวิชาวิศวกรรมขนส่ง

ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 1
MTH xxx / CVE xxx วิชาเลือกสาขาวิชาคณิตศาสตร์ 3 (3 - 0 - 9)
(Mathematic Elective)

CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 1 3 (3 - 0 - 9)


(Elective
(AdvancedI) Mathematics for Engineer)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 2 3 (3 - 0 - 9)
(Elective II)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 3 3 (3 - 0 - 9)
(Elective III)
รวม 12 (12-0-36)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 48
ปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2
CVE 701 ทักษะสาคัญสาหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา 1 (0 – 3 –3)
(Essentials for Professional Civil Engineering)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 4 3 (3 - 0 - 9)
(Elective IV)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 5 3 (3 - 0 - 9)
(Elective V)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น 1 3 (3 - 0 - 9)
(Elective VI)
CVE xxx วิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น 2 3 (3 - 0 - 9)
(Elective VII)
รวม 13 (12-3-39)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 54

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


32
ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 1
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 6 (0 - 12 -24)
(Thesis)
รวม 6 (0 - 12 -24)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 36

ปีที่ 2 ภาคการศึกษาที่ 2
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 6 (0 - 12 -24)
(Thesis)
รวม 6 (0 - 12 -24)
ชั่วโมง/สัปดาห์ = 36

หมายเหตุ นักศึกษาควรเลือกเรียนวิชา CVE673 สถิติขั้นสูงสาหรับการศึกษาด้านการขนส่ง เป็นวิชาเลือก


สาขาวิชาคณิตศาสตร์
สามารถเลือกเรียนวิชาภาษาอังกฤษ LNG 550 หรือ LNG 660 ในปีที่ 1 ภาคการศึกษาที่ 2 และปีที่
ภาคการศึกษาที่ 1

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


33
3.2 ชื่อ สกุล ตาแหน่งและคุณวุฒิของอาจารย์
3.2.1 อาจารย์ประจาหลักสูตร
ชื่อ-สกุล ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ (ชม./สัปดาห์)
คุณวุฒิการศึกษา (สาขาวิชา),
ที่ (ระบุตาแหน่งทาง (ปีการศึกษา)
ที่สาเร็จการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)
วิชาการ) ปัจจุบัน เมื่อเปิดหลักสูตรนี้
1 ศ. ดร.ชัย จาตุรพิทักษ์กุล - Ph.D. (Civil Engineering), New 3 3
Jersey Institute of Technology,
U.S.A. (1993)
- M.Eng. (Structural Engineering
and Construction), Asian Institute
of Technology, Thailand (1987)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2527)
2 ศ. ดร.ชัยยุทธ - D.Eng. (Integrated Water 3 3
ชินณะราศรี Resources Management), Asian
Institute of Technology, Thailand
(1997)
- M.Eng. (Water Resources
Engineering), Asian Institute of
Technology, Thailand (1990)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2528)
3 รศ. ดร.วรัช ก้องกิจกุล - Ph.D. (Civil Engineering), 3 3
University of Tokyo, Japan (2004)
- M.Eng. (Civil Engineering), Asian
Institute of Technology, Thailand
(2001)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย (2542)
4 รศ. ดร.วีรชาติ ตั้งจิรภัทร - ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัย 3 3
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2550)
- วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2547)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


34
ชื่อ-สกุล ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ (ชม./สัปดาห์)
คุณวุฒิการศึกษา (สาขาวิชา),
ที่ (ระบุตาแหน่งทาง (ปีการศึกษา)
ที่สาเร็จการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)
วิชาการ) ปัจจุบัน เมื่อเปิดหลักสูตรนี้
- ค.อ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2543)
5 ศ. ดร.สมชาย ชูชีพสกุล - Ph.D. (Civil Engineering), 6 6
University of Texas, U.S.A. (1983)
- M.S.C.E (Civil Engineering),
University of Texas, U.S.A. (1976)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา),
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย
(2517)
6 รศ. ดร.พรเกษม จง - Ph.D. (Civil Engineering), 2 2
ประดิษฐ์ University of Tokyo, Japan (2001)
- M.Eng. (Civil Engineering),
University of Tokyo, Japan (1998)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย (2539)
7 รศ. ดร.วิโรจน์ - Ph.D. (Human-Social Information 3 3
ศรีสุรภานนท์ Science), Tohoku University, Japan
(1996)
- M.Eng. (Transportation
Engineering), Asian Institute of
Technology, Thailand (1992)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2532)
8 รศ. ดร.สุทัศน์ - Ph.D. (Civil Engineering) , 3 3
ลีลาทวีวัฒน์ University of Michigan, U.S.A.
(1998)
- M.Eng. (Civil Engineering),
University of Michigan, U.S.A.
(1995)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย (2536)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


35
ชื่อ-สกุล ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ (ชม./สัปดาห์)
คุณวุฒิการศึกษา (สาขาวิชา),
ที่ (ระบุตาแหน่งทาง (ปีการศึกษา)
ที่สาเร็จการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)
วิชาการ) ปัจจุบัน เมื่อเปิดหลักสูตรนี้
9 รศ .ดร.ทวิช พูลเงิน - ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา) , มหาวิทยาลัย 3 3
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2547)
- M.Eng. (Structural Engineering),
Illinois Institute of Technology,
U.S.A (1999)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2540)
10 รศ. ดร.อาพล - Ph.D. (Transportation 3 3
การุณสุนทวงษ์ Engineering), University of Texas,
U.S.A. (2006)
- M.S. (Transportation
Engineering), University of Texas,
U.S.A. (2002)
- วศ.บ (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย (2540)
11 ผศ. ดร.วุฒิพงศ์ เมืองน้อย - D.Eng. (Construction 3 3
Management), Asian Institute of
Technology, Thailand (2000)
- M.Eng. (Structural Engineering),
Asian Institute of Technology,
Thailand (1994)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี,
ประเทศไทย (2532)
12 ผศ. ดร.อภินัติ อัชกุล - Ph.D. (Civil Engineering), Verginia 3 3
Polytechnic Institute and State
University, U.S.A. (2004)
- M.Eng. (Structural Engineering),
Illinois Institute of Technology,
U.S.A. (1999)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย (2537)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


36
ชื่อ-สกุล ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ (ชม./สัปดาห์)
คุณวุฒิการศึกษา (สาขาวิชา),
ที่ (ระบุตาแหน่งทาง (ปีการศึกษา)
ที่สาเร็จการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)
วิชาการ) ปัจจุบัน เมื่อเปิดหลักสูตรนี้
13 รศ. ดร.สมโพธิ อยู่ไว - D.Eng. (Soil Engineering), Asian 3.7 1.5
Institute of Technology, Thailand
(2003)
- M.Eng. (Soil Engineering), Asian
Institute of Technology, Thailand
(1999)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์
มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย (2539)
14 ผศ. ดร.สันติ - Ph.D. (Civil Engineering) , 3 3
เจริญพรพัฒนา University of Tokyo, Japan (2004)
- M.Eng. (Construction Engineering
& Management), Asian Institute of
Technology, Thailand (1998)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2538)
15 ผศ. ดร.พิชญ์ - Ph.D. (International Studies.), 3 3
สุธีรวรรธนา University of Tokyo, Japan (2006)
- M.Eng. (Construction Engineering
& Management), Asian Institute of
Technology, Thailand (1998)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา),
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ (2539)
16 รศ. ดร.ชัยณรงค์ อธิสกุล - ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา) , มหาวิทยาลัย 1 1
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2551)
- วศ.ม. (วิศวกรรมทรัพยากรน้า),
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ธนบุรี, ประเทศไทย (2544)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) , มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2542)
17 ผศ. ดร.ชัยวัฒน์ - Ph.D. (Civil and Environmental 7.5 3
เอกวัฒน์พานิชย์ Engineering.), Tohoku University,
Japan (2007)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


37
ชื่อ-สกุล ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ (ชม./สัปดาห์)
คุณวุฒิการศึกษา (สาขาวิชา),
ที่ (ระบุตาแหน่งทาง (ปีการศึกษา)
ที่สาเร็จการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)
วิชาการ) ปัจจุบัน เมื่อเปิดหลักสูตรนี้
- วศ.ม. (วิศวกรรมทรัพยากรน้า),
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้า
ธนบุรี, ประเทศไทย (2544)
- วศ.บ. (วิศวกรรมทรัพยากรน้า),
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ประเทศไทย
(2539)
18 ผศ. ดร.บุญมี ชินนาบุญ - ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัย 3 3
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2551)
- วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2544)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2541)
19 ผศ. ดร.วศิน เกียรติโกมล - Ph.D. (Transportation 6 3
Engineering), University of
Tennessee at Knoxville, U.S.A.
(2005)
- M.Eng, (Transportation
Engineering), University of
Tennessee at Knoxville, U.S.A.
(2003)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบัน
เทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ประเทศไทย
(2542)
20 ผศ. ดร.ดวงฤดี - ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา) , มหาวิทยาลัย 1.5 6
โฆษิตกิตติวงศ์ ก้องกิจกุล เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2555)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศ
ไทย (2548)
21 Asst. Prof. Dr. Goran - Ph.D. (Geotechnical Engineering), 2.5 3
Arangjelovski University of Tokyo, Japan (2001)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


38
ชื่อ-สกุล ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ (ชม./สัปดาห์)
คุณวุฒิการศึกษา (สาขาวิชา),
ที่ (ระบุตาแหน่งทาง (ปีการศึกษา)
ที่สาเร็จการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)
วิชาการ) ปัจจุบัน เมื่อเปิดหลักสูตรนี้
- M.Sc. (Earthquake Engineering),
University “St. Cyril and
Methodius”, Republic of
Macedonia (1998)
- B.Eng. (Structural Engineering),
University “Ss. Cyril and
Methodius”, Republic of
Macedonia (1993)
22 ผศ. ดร.รักติพงษ์ - Ph.D. (Civil Engineering), 3 3
สหมิตรมงคล University of Tokyo, Japan (2005)
- M.Eng. (Civil Engineering),
University of Tokyo, Japan (2002)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบัน
เทคโนโลยีนานาชาติสิรินธร
มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ประเทศไทย
(2543)
23 ดร.เอกชัย อยู่ประเสริฐชัย - D.Eng .( Structural Engineering), 3 3
Asian Institute of Technology,
Thailand (2016)
- M.Eng. (Structural Engineering),
Asian Institute of Technology,
Thailand (2007)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) ,
มหาวิทยาลัยมหิดล, ประเทศไทย
(2546)
24 ผศ. ดร.ชูชัย สุจิวรกุล - Ph.D. (Civill Engineering). 3 3
University of Michigan, U.S.A.
(2002)
- M.Eng. (Structural Engineering),
Asian Institute of Technology,
Thailand (1995)
- วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) (เกียรตินิยม
อันดับ 1), สถาบันเทคโนโลยีพระจอม
เกล้าธนบุรี, ประเทศไทย (2535)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


39
ชื่อ-สกุล ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้ (ชม./สัปดาห์)
คุณวุฒิการศึกษา (สาขาวิชา),
ที่ (ระบุตาแหน่งทาง (ปีการศึกษา)
ที่สาเร็จการศึกษา (ปีที่สาเร็จการศึกษา)
วิชาการ) ปัจจุบัน เมื่อเปิดหลักสูตรนี้
25 ศ. ดร.ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติ - Ph.D. (Polymer Processing & 3 3
สมภพ Rheology), University of
Manchester (UMIST), U.K. (1997)
- M.Sc. (Polymer Science &
Technology), University of
Manchester (UMIST), U.K. (1994)
- วท.บ. (เคมีอุตสาหกรรม), สถาบัน
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ
ประเทศไทย (2535)
3.2.2 อาจารย์ประจา
ไม่มี
3.2.3 อาจารย์พิเศษ
ไม่มี
4. องค์ประกอบเกี่ยวกับประสบการณ์ภาคสนาม (การฝึกงาน หรือสหกิจศึกษา) (ถ้ามี)
ไม่มี
5. ข้อกาหนดเกี่ยวกับการทาโครงงานหรืองานวิจัย (ถ้ามี)
ข้อกาหนดในการทางานวิจัย ต้องเป็นหัวข้อที่เกี่ยวข้องกับ การพัฒนาด้านวิศวกรรมโยธา ต้องมีรายงานที่
ต้องนาส่งตามรูปแบบและระยะเวลาที่หลักสูตรกาหนด อย่างเคร่งครัด
5.1 คาอธิบายโดยย่อ
งานวิจัยด้านวิศวกรรมโยธาที่นักศึกษาสนใจ สามารถอธิบายทฤษฎีที่นามาใช้ในการทางานวิจัย ประโยชน์
ที่จะได้รับจากการทางานวิจัย มีขอบเขตงานวิจัยที่สามารถทาเสร็จภายในระยะเวลาที่กาหนด
5.2 ผลลัพธ์การเรียนรู้ของการทาโครงงานหรืองานวิจัย
ผ่านการประเมินการทาวิทยานิพนธ์ในแต่ละภาคการศึกษาโดยอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ และผ่านการ
นาเสนอวิทยานิพนธ์และสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย โดยมีคณะกรรมการเป็นผู้ทรงคุณวุฒิ ที่ภาควิชาตั้งขึ้นเป็น
ผู้ประเมิน กาหนดเกณฑ์การประเมินสอดคล้องกับผลลัพท์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้
5.3 ช่วงเวลา
ภาคการศึกษาที่ 1-2 ของปีการศึกษาที่ 2
5.4 จานวนหน่วยกิต
วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
5.5 การเตรียมการ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


40
1) ภาควิชาจะกาหนดให้มีอาจารย์ที่ปรึกษาชั้นปี เพื่อให้คาปรึกษาและแนะนานักศึกษาเกี่ยวกับการ
ลงทะเบียนรายวิชา จากนั้นนักศึกษาจะทาการเลือกอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ (Advisor) อีก
ครั้ง โดยอาจารย์ที่ปรึกษาจะคอยให้คาแนะนาและเป็นที่ปรึกษาเกี่ยวกับทฤษฎี แนวคิด และวิธีการ
ศึกษาวิจัย และแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้นในงานวิทยานิพนธ์ รวมถึงวางแนวคิดในการเขียนวิทยานิพนธ์
นอกจากนี้นักศึกษาจะลงทะเบียนเพื่อทาวิทยานิพนธ์ได้ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่
ปรึ ก ษาวิ ท ยานิ พ นธ์ ก่ อ นทั้ ง นี้ ใ ห้ เ ป็ น ไปตามระเบี ย บมหาวิ ท ยาลั ย ฯ ว่ า ด้ ว ยการศึ ก ษาระดั บ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ.2562 ทั้งนี้ อาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับประกาศของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยี
พระจอมเกล้าธนบุรี
2) นักศึกษาสามารถลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ เมื่อเป็นนักศึกษาแล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา และได้
ลงทะเบียนรายวิชาและสอบผ่านแล้วไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต มีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อย
กว่า 3.00 นักศึกษาสามารถแบ่งจานวนหน่วยกิตในการลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์ได้ตามความ
เห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ในกรณีอื่น ๆ การลงทะเบียนวิทยานิพนธ์อยู่ในดุลพินิจ
ของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
3) การสอบวิทยานิพนธ์ ทาได้เมื่อได้รับความเห็นชอบจากคณะที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ให้ทาการสอบ
วิทยานิพนธ์ได้
4) ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2562
ทั้งนี้ อาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับประกาศของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี
5.6 กระบวนการประเมินผล
1) ประเมินผลจากความก้าวหน้าในการทางานวิจัย ที่บันทึกในสมุดให้คาปรึกษาโดยอาจารย์ที่ปรึกษา
และประเมินผลจากรายงานที่ได้กาหนดรูปแบบการนาเสนอตามระยะเวลา
2) นักศึกษาต้องศึกษาได้ครบหน่วยกิตและรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร และมีแต้มระดับคะแนน
เฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00
3) ต้องเสนอวิทยานิพนธ์และสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย และมีผลงานเผยแพร่ในรูปแบบใดรูปแบบหนึ่ง
ซึ่งไม่ใช่รูปเล่มที่เป็นวิทยานิพนธ์

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


41
หมวดที่ 4 ผลการเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนและการประเมินผล
1. การพัฒนาคุณลักษณะพิเศษของนักศึกษา

คุณลักษณะพิเศษ กลยุทธ์หรือกิจกรรมของนักศึกษา
มีความรู้เกี่ยวกับงานวิศวกรรมโยธาสาขา - ใช้องค์ความรู้ที่มีความทันสม้ยในการเรียนการสอน
ต่างๆ ที่เชี่ยวชาญพร้อมทั้งความสามารถ - มีการฝึกให้นักศึกษาฝึกแก้ไขปัญหาในลักษณะที่ต้องประยุกต์ใช้
ในการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ดังกล่าวใน องค์ความรู้ พร้อมกรณีศึกษา
- มีการเชิญผู้เชี่ยวชาญมาบรรยายในบางรายวิชาเพื่อถ่ายทอด
งานวิศวกรรม
ประสบการณ์ที่เป็นประโยชน์ต่อการประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในงาน
วิศวกรรม
มีทักษะต่างๆที่จาเป็นต้องการทางานใน - กาหนดให้นักศึกษาต้องทางานเป็นกลุ่ม และมีการกาหนดหัวหน้า
การทางานวิศวกรรมในโครงการต่างๆ กลุ่มในการทารายงาน ตลอดจนกาหนดให้ทุกคนมีส่วนร่วมในการ
นาเสนอรายงาน เพื่อเป็นการฝึกให้นักศึกษาได้สร้างภาวะผู้นา
และการเป็นสมาชิกกลุ่มที่ดี ในบางรายวิชา
- กาหนดกติกาที่จะสร้างวินัยในตนเอง เช่น การเข้าเรียนตรงเวลา
เข้าเรียนอย่างสม่าเสมอ การมีส่วนร่วมในชัน้ เรียน เสริมความกล้า
ในการแสดงความคิดเห็น
- ส่งเสริมให้นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้ผ่านการทากิจกรรมต่างๆ
การนาเสนอผลงาน การเขียนรายงาน และการสื่อสารรูปแบบ
ต่างๆ เพื่อให้สามารถผลักดันงานต่างๆ ให้เกิดผลสัมฤทธิ์ได้
ยึดมั่นใจหลักคุณธรรม จริยธรรม และ - ให้ความรู้เกี่ยวกับความสาคัญของคุณธรรม จริยธรรม และ
จรรยาบรรณวิชาชีพ จรรยาบรรณวิชาชีพในเนื้อหาในบางรายวิชาที่เกี่ยวข้อง
- การให้ความรู้ถงึ ผลกระทบต่อสังคม และข้อกฎหมายที่เกี่ยวข้อง
กับการกระทาความผิดเกี่ยวกับงานก่อสร้าง
2. การพัฒนาผลการเรียนรูร้ ะดับหลักสูตรในแต่ละข้อ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
(PLO/SubPLO) เรียนรู้
PLO1 : บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในงานด้านวิศวกรรมโยธาได้
Sub PLO1A : อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บ การบรรยายในห้องเรียน การสอบวัดผล (สอบกลางภาค
ปรากฎการณ์ ธ รรมชาติ วั ส ดุ แ ละ และ สอบปลายภาค)
ระบบต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ งาน
วิศวกรรมโยธาและประยุกต์ใช้ความรู้
ดังกล่าวในงานวิศวกรรมได้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


42
ผลลัพธ์การเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
(PLO/SubPLO) เรียนรู้
การยกตัวอย่างและแสดงวิธีการหา การให้คะแนนจากงานที่
คาตอบตามหลักขององค์ความรู้ มอบหมาย
สาขาต่างๆ
การประยุกต์ใช้ความรู้ในการทา
วิทยานิพนธ์ (การสอบ
วิทยานิพนธ์)

Sub PLO1B : วิ เ ค ร า ะ ห์ แ ล ะ การบรรยายในห้องเรียน การสอบวัดผล (สอบกลางภาค


ออกแบบโครงสร้ า งหรื อ ระบบเชิ ง และ สอบปลายภาค)
วิศวกรรมโยธาด้านต่างๆ ให้มีความ การยกตัวอย่างและแสดงวิธีการหา
ปลอดภัยได้อย่างเหมาะสม คาตอบตามหลักขององค์ความรู้ การให้คะแนนจากงานที่
สาขาต่างๆ มอบหมาย

การให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาเชิง การประยุกต์ใช้ความรู้ในการทา
วิศวกรรมโดยเน้นไปที่การ วิทยานิพนธ์ (การสอบ
ประยุกต์ใช้ความรู้ ในรูปแบบของ วิทยานิพนธ์)
การมอบหมายงาน (งานเดี่ยวหรือ
งานกลุ่ม)
การให้นักศึกษาอธิบายหลักการ
ต่างๆ ในเชิงวิศวกรรม
PLO2 : บัณฑิตมีทักษะในการทางานด้านวิศวกรรม
Sub PLO2A : สามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ การอธิบายถึงความสาคัญของการ การให้คะแนนจากงานที่
ด้วยตนเอง เรียนรู้ด้วยคนเอง มอบหมาย

การให้นักศึกษาฝึกการเรียนรู้ด้วย การประยุกต์ใช้ทักษะต่างๆ ในการ


ตนเองโดยเน้นไปที่หัวข้อวิศวกรรม ทาวิทยานิพนธ์ (การนาเสนอ
ที่นักศึกษาแต่ละคนสนใจ ผลงานวิจัย / การติพิมพ์เผยแพร่
ทาการศึกษาหัวข้อนั้นๆ แล้วมา ผลงาน)
อธิบายให้เพื่อนๆ เข้าใจ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


43
ผลลัพธ์การเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
(PLO/SubPLO) เรียนรู้
การทาวิทยานิพนธ์ภายใต้คาแนะนา
ของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

Sub PLO2B : ส า ม า ร ถ บ ริ ห า ร การอธิบายถึงความสาคัญของการ การประยุกต์ใช้ทักษะต่างๆ ในการ


จั ด การงานและรั บ ผิ ด ชอบในการ บริหารจัดการงานและรับผิดชอบใน ทาวิทยานิพนธ์ (การนาเสนอ
ดาเนินงานให้เสร็จลุล่วงไปได้ การดาเนินการให้เสร็จลุล่วงไปได้ ผลงานวิจัย / การติพิมพ์เผยแพร่
ผลงาน)
การให้นักศึกษาปฏิบัติภาระกิจเป็น
กลุ่มโดยให้มีการบริหารจัดการ
กันเอง

การทาวิทยานิพนธ์ภายใต้คาแนะนา
ของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

Sub PLO2C : สามารถสื่อสารและ การอธิบายถึงความสาคัญของทักษะ การสอบวัดผล (สอบกลางภาค


สามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ การสื่อสารและทางานร่วมกับผู้อื่น และ สอบปลายภาค)

การให้นักศึกษาปฏิบัติภาระกิจเป็น การให้คะแนนจากงานที่
กลุ่มโดยให้มีการบริหารจัดการ มอบหมาย
กันเอง

Sub PLO2D : สามารถดาเนินการ การอธิบายถึงกระบวนการวิจัยและ การให้คะแนนจากงานที่


วิจัยเพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมได้ การใช้กระบวนการดังกล่าวในการ มอบหมาย
แก้ปัญหาและสร้างสรรค์นวัตกรรม
การประยุกต์ใช้ทักษะต่างๆ ในการ
การให้นักศึกษาเลือกปัญหาเชิง ทาวิทยานิพนธ์ (การนาเสนอ
วิศวกรรมที่ตนสนใจแล้วลอง ผลงานวิจัย / การติพิมพ์เผยแพร่
ประยุกต์วางแผนการใช้ ผลงาน)
กระบวนการวิจัยในการเสนอ
แนวทางแก้ปัญหาดังกล่าว

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


44
ผลลัพธ์การเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
(PLO/SubPLO) เรียนรู้
การทาวิทยานิพนธ์ภายใต้คาแนะนา
ของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

Sub PLO2E : มี ค วามสามารถใน การอธิบายถึงความสาคัญของ การให้คะแนนจากงานที่


การปรับตัวและทางานภายใต้ความ ความสามารถในการปรับตัวและ มอบหมาย
กดดันได้ ทางานภายใต้ความกดดัน
การประยุกต์ใช้ทักษะต่างๆ ในการ
การให้นักศึกษาทางานที่ได้รับ ทาวิทยานิพนธ์ (การนาเสนอ
มอบหมายอย่างมีคุณภาพใน ผลงานวิจัย / การติพิมพ์เผยแพร่
ระยะเวลาที่จากัด ผลงาน)

การทาวิทยานิพนธ์ภายใต้คาแนะนา
ของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์

Sub PLO2F : ส า ม า ร ถ ใ ช้ การบรรยายตัวอย่างของเทคโนโลยี การให้คะแนนจากงานที่


เทคโนโลยี ส มั ย ใหม่ ส าหรั บ งาน สมัยใหม่และประโยชน์ในเชิง มอบหมาย
วิศวกรรมในสาขาความเชี่ยวชาญได้ วิศวกรรม โดยอาจจะเชิญ
ผู้เชี่ยวชาญจากภาคอุตสาหกรรมมา
แบ่งปันองค์ความรู้

การให้นักศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับ
เทคโนโลยีสมัยใหม่ด้วยตนเองพร้อม
ทั้งนาเสนกรณีตัวอย่างที่สามารถนา
เทคโนโลยีสมัยใหม่นั้นมาใช้เพื่อเพิ่ม
ประสิทธิภาพ หรือ ความปลอดภัย
ของงานวิศวกรรมโยธา

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


45
ผลลัพธ์การเรียนรู้ กลยุทธ์การสอนที่ใช้พัฒนาการ กลยุทธ์การประเมินผลการเรียนรู้
(PLO/SubPLO) เรียนรู้
PLO3 : บัณฑิตปฎิบัติตนตามหลักจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรมและมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม
Sub PLO3A : ยึดมั่นในหลัก การอธิบายถึงความสาคัญของ การติดตามว่านักศึกษาไม่ทาผิด
จรรยาบรรณคุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณและหลักจริยธรรมใน หลักจริยธรรมตลอดระยะเวลา
และความถูกต้อง ไม่ละเมิดสิทธิทาง การทางานเชิงวิศวกรรม การเรียนในหลักสูตร (ทั้งรายวิชา
ปัญญาของผู้อนื่
และวิทยานิพนธ์)
การให้นักศึกษาพิจารณาว่า หาก
ปราศจากหลักจรรยาบรรณและ
หลักจริยธรรมแล้ว การทางานจะมี
ปัญหาอย่างไร (โดยพิจารณา
ผลกระทบในระดับบุคคล ในระดับ
ทีม ในระดับองค์กร และใน
ระดับประเทศ)

Sub PLO3B : รับฟังความเห็นที่ มอบหมายงานที่ต้องมีการใช้องค์ ประเมินโดยการสังเกตและให้


แตกต่าง ให้เกียรติและเคารพคุณค่า ความรู้จากหลายสาขาและให้ คะแนนระหว่างการทากิจกรรม
ในงานของผู้อื่น กาหนดแนวทางดาเนินงานนั้นให้
เสร็จสิ้น ซึ่งจะเป็นการฝึกให้
นักศึกษาสื่อสารและรับฟังความเห็น
คนที่มีความรู้ความเชี่ยวชาญ
แตกต่างกันเพื่อบรรลุเป้าหมาย
ร่วมกัน

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


3. แผนที่แสดงการกระจายความสัมพันธ์ผลลัพท์การเรียนรู้จากหลักสูตรสูร่ ายวิชา (Curriculum Mapping)
3.1 แผนที่แสดงการกระจายความรับผิดชอบมาตรฐานผลการเรียนรู้จากหลักสูตรสู่รายวิชา (Curriculum Mapping) รายวิชาภาษาอังกฤษ
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา 4. ทักษะความสัมพันธ์ 5. ทักษะการ
ระหว่างบุคคลและความ วิเคราะห์เชิงตัวเลข
รายวิชา รับผิดชอบ การสื่อสาร และ
เทคโนโลยีสารสนเทศ
1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3
LNG 550 : Remedial English Course for Post Graduate
Students 2 (1-2-6)             
วิชาปรับพื้นภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
LNG 600 : In-sessional English Course for Post Graduate
Students 3 (2-2-9)
            
วิชาภาษาอังกฤษระหว่างการเรียนในหลักสูตรสาหรับนักศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษา

46
ผลการเรียนรู้ในตารางมีความหมาย ดังนี้ 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา
1. คุณธรรม จริยธรรม (1) มีความรู้และความเข้าใจด้านหลักการใช้ภาษา (1) มีความคิดอย่างมีวิจารณญาณทีด่ ี สามารถวิเคราะห์ อภิปราย
(1) มีคุณธรรมจริยธรรม ซื่อสัตย์สจุ ริต มีจิต และการสื่อสาร และประยุกต์ใช้ความรู้ด้านภาษา และการสื่อสาร ในการเรียนรู้
อาสา ไม่ละเลยต่อปัญหาขององค์กรหรือ (2) สามารถบูรณาการความรู้ในสาขาวิชาที่ศกึ ษากับ และการทางานอย่างเหมาะสม
สังคม ความรู้ในศาสตร์อื่น ๆ ที่เกี่ยวข้อง (2) สามารถรวบรวม ศึกษา วิเคราะห์ และสรุปประเด็นปัญหาได้
(2) มีวินัย ตรงต่อเวลา เคารพกฎระเบียบ (3) สามารถใช้ความรู้และทักษะในด้านภาษาอังกฤษ (3) สามารถคิด วิเคราะห์ ใช้ตรรกะในการสื่อสารและนาเสนอ
มารยาท และข้อบังคับขององค์กรและ มาประยุกต์ใช้ในการแก้ไขปัญหาในการเรียนและ ข้อมูลอย่างมีลาดับขั้นตอน และสามารถแก้ไขปัญหาได้อย่างมี
สังคม การทางานจริงได้ ระบบ สามารถใช้ข้อมูลประกอบการตัดสินใจในการทางานได้
(3) ตระหนักในคุณค่าของระบบคุณธรรม (4) สามารถนาความรู้ด้านภาษามาใช้ในการพัฒนา อย่างมีประสิทธิภาพ
จริยธรรม เข้าใจและซาบซึ้งในวัฒนธรรม และต่อยอดการเรียนรู้ของตนเองอย่างต่อเนื่อง (4) มีจินตนาการและความยืดหยุ่นในการปรับใช้องค์ความรูท้ ี่
ไทยและวัฒนธรรมสากล สามารถสืบค้นข้อมูลและแสวงหาความรู้เพิ่มเติม เกี่ยวข้องอย่างเหมาะสม รู้เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลงทางองค์
(4) มีจรรยาบรรณทางวิชาชีพ ตระหนักถึง ได้ด้วยตนเองเพื่อการเรียนรู้ตลอดชีวิต ความรู้และเทคโนโลยีใหม่
หน้าที่ความรับผิดชอบที่มีต่อตนเองและ
สังคม
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ 5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสือ่ สาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
(1) สามารถสื่อสารกับกลุ่มคนที่หลากหลาย และ ทางานร่วมกันได้อย่างมี (1) มีทักษะในการวิเคราะห์ข้อมูลสารสนเทศทางคณิตศาสตร์ หรือการแสดงสถิติประยุกต์ต่อ
ประสิทธิภาพ การแก้ปญั หาทีเ่ กี่ยวข้องได้อย่างสร้างสรรค์
(2) รู้จักบทบาท หน้าที่ และมีความรับผิดชอบในการทางานตามที่มอบหมาย (2) มีทักษะในการสือ่ สารข้อมูลทั้งทางการพูด การเขียน และการสื่อความหมายได้อย่างดี
ทั้งงานบุคคลและงานกลุ่ม ตรงประเด็น และเหมาะสมกับบริบท
(3) สามารถปรับตัวและทางานร่วมกับผู้อื่นทัง้ ในฐานะผู้นาและผู้ตามได้อย่างมี (3) สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศและการสื่อสารทีท่ ันสมัยได้อย่างเหมาะสมและ
ประสิทธิภาพ สามารถ วางตัวได้อย่างเหมาะสมกับความรับผิดชอบ มีประสิทธิภาพ
(4) สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง
(5) มีจิตสานึกความรับผิดชอบด้านวิชาชีพของตนเอง

47
3.2 ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพทธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรกับผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับรายวิชา (PLO Curriculum Mapping)
PLO 1 PLO 2 PLO 3
Sub Sub Sub Sub Sub Sub Sub 2E Sub 2F Sub Sub
1A 1B 2A 2B 2C 2D 3A 3B
สาหรับผู้เข้าศึกษาที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรี (วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต)
ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษาที่ 1
MTH 665 เทคนิคทางคณิตศาสตร์ หรือ 
MTH 666 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกร หรือ
CVE 631 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมโยธา หรือ
CVE 673 สถิติขั้นสูงสาหรับการศึกษาด้านการขนส่ง
LNG 550 : วิชาปรับพื้นภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หรือ   
LNG 600 : วิชาภาษาอังกฤษระหว่างการเรียนในหลักสูตรสาหรับนักศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษา
CVE XXX วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 1    
CVE XXX วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 2    
CVE XXX วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 3    
ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษาที่ 1  
CVE 701 ทักษะสาคัญสาหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา        
CVE XXX วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 4    
CVE XXX วิชาเลือกในกลุ่มวิชาหลัก 5    
CVE XXX วิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น 1    
CVE XXX วิชาเลือกในกลุ่มวิชาอื่น 2    
ภาคการศึกษาที่ 1 ปีการศึกษาที่ 2

48
PLO 1 PLO 2 PLO 3
Sub Sub Sub Sub Sub Sub Sub 2E Sub 2F Sub Sub
1A 1B 2A 2B 2C 2D 3A 3B
CVE 702 วิทยานิพนธ์         
ภาคการศึกษาที่ 2 ปีการศึกษาที่ 2
CVE 702 วิทยานิพนธ์         

49
PLO1 PLO2 PLO3
รายวิชา
1A 1B 2A 2B 2C 2D 2E 2F 3A 3B
รายวิชาเลือกในกลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
CVE630 กลศาสตร์ของแข็งที่มีความต่อเนื่อง    
CVE632 การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง    
CVE633 การออกแบบคอนกรีตอัดแรงขั้นสูง    
CVE634 การออกแบบและใช้งานคอนกรีตพิเศษ    
CVE636 การออกแบบโครงสร้างเหล็กขั้นสูง    
CVE637 วิธีการคานวณในกลศาสตร์โครงสร้าง    
CVE638 ทฤษฎีของแผ่นบางและเปลือกบาง    
CVE639 เสถียรภาพของโครงสร้าง    
CVE640 กลศาสตร์วัสดุและโครงสร้างขั้นสูง    
CVE641 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง    
CVE642 พลศาสตร์โครงสร้าง    
CVE644 ทฤษฎีของโครงสร้างเปลือกบาง    
CVE645 วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์ในกลศาสตร์โครงสร้าง    
CVE646 วิธีการพลังงานในกลศาสตร์ประยุกต์    

50
PLO1 PLO2 PLO3
รายวิชา
1A 1B 2A 2B 2C 2D 2E 2F 3A 3B
CVE648 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างรับแรงลมและ
   
แผ่นดินไหว
CVE732 การวิเคราะห์โครงสร้างวัสดุคอมโพสิต    
CVE 733 การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ไม่เชิงเส้นของโครงสร้าง    
CVE734 การออกแบบข้อต่อโครงสร้างเหล็ก    
CVE735 ความทนทาน การป้องกันและซ่อมแซมคอนกรีต    
รายวิชาเลือกในกลุ่มวิชาวิศวกรรมเทคนิคธรณี
CVE653 เทคนิคปรับปรุงคุณภาพดิน    
CVE654 เครื่องมือวัดในงานวิศวกรรมโยธา    
CVE655 อุโมงค์และงานก่อสร้างใต้ดิน    
CVE657 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี    
CVE658 วิศวกรรมธรณีวิทยาประยุกต์    
CVE659 กลศาสตร์ของหิน    
CVE660 การสารวจใต้ผิวพื้นและการทดสอบดิน    
CVE661 กลศาสตร์ของดินขั้นสูง    
CVE662 คุณสมบัติและพฤติกรรมของดิน    

51
PLO1 PLO2 PLO3
รายวิชา
1A 1B 2A 2B 2C 2D 2E 2F 3A 3B
CVE664 พลศาสตร์ของดิน    
CVE666 ทฤษฎีกลศาสตร์ของดิน    
CVE667 โครงสร้างดิน    
CVE668 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง    
รายวิชาเลือกในกลุ่มวิชาวิศวกรรมขนส่ง
CVE671 ระบบการขนส่ง    
CVE672 การดาเนินงานการจราจร    
CVE674 การขนส่งมวลชนในตัวเมือง    
CVE675 การประเมินโครงการด้านการขนส่ง    
CVE676 การออกแบบทางเรขาคณิตของถนน    
CVE677 การวางแผนการขนส่ง    
CVE678 การวางแผนและออกแบบสนามบิน    
CVE679 การออกแบบผิวทางขั้นสูง    
CVE771 แบบจาลองวิเคราะห์การจราจรและการใช้งาน     
CVE772 สิ่งแวดล้อมของระบบการขนส่ง    
CVE773 วิศวกรรมและการวางแผนความปลอดภัยทางถนน    
CVE774 เทคนิคการหาผลเฉลยที่ดีที่สุดสาหรับการขนส่ง    

52
PLO1 PLO2 PLO3
รายวิชา
1A 1B 2A 2B 2C 2D 2E 2F 3A 3B
CVE775 การสร้างแบบจาลองและการพยากรณ์ความต้องการ
   
เดินทาง
CVE776 การจัดการห่วงโซ่อุปทาน    
CVE777 นโยบายและการวางแผนการขนส่งสินค้าในเขตเมือง    
CVE778 แบบจาลองการขนส่งสินค้า    
CVE779 การวิเคราะห์โครงข่ายขนส่ง    
รายวิชาเลือกในกลุ่มวิชาวิศวกรรมทรัพยากรน้า
CVE 680 กลศาสตร์ของไหลขั้นสูง    
CVE 681 ชลศาสตร์ทางน้าเปิดขั้นสูง    
CVE 682 ชลศาสตร์ของการไหลแบบไม่คงที่    
CVE 683 การจาลองและแบบจาลองสภาพอุทกวิทยา    
CVE 685 การวิเคราะห์ระบบแหล่งน้า    
CVE 686 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและทรัพยากรน้า    
CVE 688 ชลศาสตร์ชายฝั่งทะเล    
CVE 689 ชลศาสตร์ของน้าขึ้นน้าลงและบริเวณปากแม่น้า    
CVE 690 การกัดเซาะและตะกอน    
CVE 691 กลศาสตร์และกระบวนการของแม่น้า    

53
PLO1 PLO2 PLO3
รายวิชา
1A 1B 2A 2B 2C 2D 2E 2F 3A 3B
CVE 692 การป้องกันน้าท่วมและการระบายน้า    
CVE 693 อุทกวิทยาขั้นสูง    
CVE 695 การวิเคราะห์ปัญหาแหล่งน้าโดยคอมพิวเตอร์    
CVE 696 ระบบและกระบวนการทางอุทกวิทยา    
CVE698 การออกแบบโครงสร้างป้องกันชายฝั่งทะเล    
รายวิชาเลือกในกลุ่มวิชาอืน่ ๆ
CVE 704 หัวข้อพิเศษ 1    
CVE 705 หัวข้อพิเศษ 2    
CVE 706 หัวข้อพิเศษ 3    
CVE 707 หัวข้อพิเศษ 4    

54
3.3 ตารางแสดงความสัมพันธ์ระหว่างผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร (PLOs) กับKMUTT Student QF และผลการเรียนรู้ 5 ด้านของ TQF
KMUTT Student QF TQF
5. ทักษะการ
KMUTT’s 4. ทักษะความสั มพันธ์ระหว่าง วิเคราะห์เชิง

Communication Skill
1. คุณธรรม จริยธรรม 2. ความรู้ 3. ทักษะทางปัญญา

Management Skills
Professional Skill
Citizenship บุคคล และรับผิดชอบ ตัวเลข การสื่ อสาร

Thinking Skill
Learning Skill

Leadership
Knowledge
ผลลั พท์การเรียนรู้ของหลั กสู ตร และการใช้

Responsibility

Humanization
Adaptability
1 2 3 4 5 1 2 3 4 1 2 3 4 5 1 2 3 4 5 1 2 3

PLO 1: บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในงานด้านวิศวกรรมโยธาได้ P P P P P P P

Sub PLO1A อธิบายเกี่ยวกับปรากฎการณ์ธรรมชาติ วัสดุและระบบ


ต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงานวิศวกรรมโยธาและประยุกต์ใช้ความรู้ดงั กล่าว P P P P P P P

ในงานวิศวกรรมได้

Sub PLO1B วิเคราะห์โครงสร้างหรือระบบเชิงวิศวกรรมโยธาด้าน


P P P P
ต่างๆ ได้อย่างปลอดภัยและเหมาะสม

PLO 2: บัณฑิตที่มีทกั ษะในการทางานด้านวิศวกรรม P P P P P P P P P P P P P P P P P P P P P P P

Sub PLO2A สามารถเรียนรู้ได้ดว้ ยตนเอง P P P P P

Sub PLO2B สามารถบริหารงานและรับผิดชอบในการดาเนินงานให้


P P P P P P P P P
เสร็จลุลว่ งไปได้
Sub PLO2C สามารถสื่อสารและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ P P P P P

Sub PLO2D สามารถดาเนินการวิจัยเพือ่ แก้ปัญหาทางวิศวกรรมได้ P P P P P P P P P

Sub PLO2E มีความสามารถปรับตัวและทางานภายใต้ความกดดันได้ P P P P P

Sub PLO2F สามารถใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่สาหรับงานวิศวกรรมใน


P P P P P
สาขาความเชี่ยวชาญได้
PLO 3: บัณฑิตปฏิบัตติ นตามหลักจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม
P P P P P P P P P P
และมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม

Sub PLO3A ยึดมั่ นในหลักจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม และ


P P P P
ความถูกต้อง ไม่ละเมิดสิทธิทางปัญญาของผู้อื่น

55
Sub PLO3B รับฟังความเห็นที่แตกต่าง ให้เกียรติและเคารพคุณค่าใน
P P P P P P
งานของผู้อื่น
ความหมายของกรอบคุณลักษณะบัณฑิตอันพึงประสงค์ของ มจธ. (KMUTT Student QF)
กรอบคุณลักษณะบัณฑิตอันพึงประสงค์ ของ มจธ. (KMUTT Student QF)
ความรับผิดชอบ (Responsibility) มีความรับผิดชอบต่อทั้งตนเอง วิชาชีพและสังคม มีวินัย ตรงต่อเวลา ใส่ใจสิ่งแวดล้อมและสาธารณะ ไม่ละทิ้งงานหรือปัดความรับผิดชอบ พร้อม
ที่จะยอมรับและจัดการกับผลที่ตามมาจากการกระทาทั้งผลโดยตรงและผลกระทบทางอ้อม เคารพต่อกฎระเบียบและข้อบังคับต่างๆขององค์กรและสังคม ตลอดจนมีจรรยาบรรณทาง
ความเป็นพลเมือง มจธ.(KMUTT’s citizenship) วิชาการและวิชาชีพ
คือความเป็นมืออาชีพและมีคุณธรรมจริยธรรม
(Professionalism and Integrity)รวมถึงการยึดมั่น การปรับตัว (Adaptability) มีความยืดหยุ่นไม่ยึดติดกับสิ่งใดสิ่งหนึ่งจนปิดกั้นตนเองจากสิ่งอื่น และเตรียมพร้อมที่จะยอมรับการเปลี่ยนแปลงต่างๆโดยไม่คิดต่อต้ านแต่พร้อมจะทา
ตามหลักปฏิบัติด้านจรรยาบรรณองค์กร เพื่อพัฒนาสู่ ความเข้าใจในความจาเป็นของการเปลี่ยนแปลงที่เกิดขึ้น
การเป็นมนุษย์อย่างสมบูรณ์ (Humanization) การเป็นมนุษย์อย่างสมบูรณ์ (Humanization) มีทัศนคติมองโลกในแง่ดี ไม่ดูถูกตนเองและผู้อื่น เห็นคุณค่าของความเป็นมนุษย์ใส่ใจดูแล สิ่งแวดล้อมและของสาธารณะ สามารถอยู่
ร่วมกับผู้อื่นได้เป็นอย่างดี รู้จักการให้ การแบ่งปัน และการเสียสละ

ความรู้ (Knowledge) คือ มีฐานความรู้ทางวิชาการที่ลึกซึ้งในสาขาวิชาที่ศึกษาเป็นอย่างดี และมี ความรู้ที่กว้างขวางเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงต่างๆที่เกิดขึ้น และสามารถนาความรู้มาใช้ในการประกอบวิชาชีพได้อย่างเชี่ยวชาญ และในกา ร


ดาเนินชีวิตได้อย่างถูกต้องดีงาม
ทักษะเชิงวิชาชีพ (Professional Skill) คือ มีความสามารถในการนาความรู้มาสู่การปฏิบัติ มีความชานาญในการใช้เครื่องมือ อุปกรณ์ทางวิชาชีพ มีความสามารถในการประยุกต์ใช้เทค โนโลยีในการทางาน มีความสามารถช่วยชี้แนะฝึกฝน
ผู้อื่นให้สามารถปฏิบัติงานใช้อุปกรณ์ต่างๆได้

ทักษะการคิด (Thinking Skill) คือ มีความคิดสร้างสรรค์ มีระบบความคิดที"มีเหตุผล รู้จัก ประมวลสารสนเทศ ระดมความคิดรอบด้านจากมุมมองที่แตกต่าง สามารถเลือกใช้แบ บแผน ความคิดที่หลากหลาย นามาใช้ในการแก้ไขปัญหาและ
ตัดสินใจได้อย่างมีเหตุมีผล
ทักษะการเรียนรู้ (Learning Skill) คือ รู้จักแสวงหาความรู้ มองการเรียนรู้ว่าเกิดขึ้นได้ในทุกที่ทุกเวลา ซึ่งจะช่วยพัฒนาให้เป็นผู้เรียนรู้ตลอดชีวิต สามารถเรียนรู้ผ่านสื่อต่างๆที่มี อยู่หลากหลายรูปแบบ มีระบบและระเบียบวิธีคิดที่ดี สามารถ
แยกแยะ กลั่นกรองข้อมูลที่ได้มาจากการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสม โดยสมรรถนะด้านทักษะการเรียนรู้
ทักษะการจัดการ (Management Skills) คือ สามารถตั้งเป้าหมาย วางแผน และดาเนินการอย่างมีประสิทธิภาพภายใต้ข้อจากัดของทรัพยากรและอยู่บนพื้นฐานของคุณธรรมจริยธรรม เพื่อ ให้บรรลุเป้าหมายส่วนตน ทีมงาน องค์กร และ
สังคม สามารถคาดการณ์ถึงปัญหา ผลกระทบ ตลอดจนปัจจัยที่เกี่ยวข้องได้ รวมทั้งมีทัศนคติที่ดีและมีความสามารถในการเตรียมพร้อม ป้องกัน และแก้ไขสถานการณ์หรือปัญหาเชิงรุก
ทักษะการสื่อสาร (Communication Skill) คือ มีทักษะในการใช้ภาษาไทย ภาษาอังกฤษได้ดีทั้งด้านการฟัง พูด อ่าน เขียน สามารถสื่อสารกับผู้อื่นได้อย่างถูกต้องเหมาะสม มีความสามารถในการถ่ายทอด การนาเสนอ มีวิจารณญาณที่ดีใน
การรับฟัง
ภาวะผู้นา (Leadership) คือ มีความเชื่อมั่นและเห็นคุณค่าในตนเองและผู้อื่น มีความเข้าใจพื้นฐานและความต้องการของทีม สามารถสร้างบรรยากาศการทางานเป็นทีม สร้างแรงบันดาลใจ และกระตุ้นให้เกิดการสร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ รู้เท่าทัน
ต่อสถานการณ์ โอกาส และความท้าทาย และ /สร้างสรรค์วิธีการในการบรรลุเป้าหมายที่หลากหลาย มีความสามารถในการรับฟังอย่างลึกซึ้ง สามา รถสื่อสาร และประสานงานให้เกิดความร่วมมือในการคิดและลงมือทาของทีม รวมทั้งเป็น
แบบอย่างการปฏิบัติที่ดี

56
ผลการเรียนรู้ 5 ด้าน ตามคุณวุฒิปริญญาโท
คุณธรรม จริยธรรม 1.3 สามารถสังเคราะห์และใช้ผลงานวิจยั สิ่งตีพิมพ์ทางวิชาการหรือรายงานทางวิชาชีพและพัฒนาความคิด
1.1 สามารถจัดการปัญหาคุณธรรมจริยธรรมที่ซับซ้อนในบริบททางวิชาการหรือวิชาชีพ แม้ว่าจะไม่มีข้อมูล ใหม่ๆโดยบูรณาการให้เข้ากับองค์ความรู้เดิมหรือเสนอเป็นความรู้ใหม่ทที่ ้าทาย
เพียงพอ ก็สามารถวินิจฉัยอย่างผูร้ ู้ คานึงถึงความรู้สึกของผู้อื่น ด้วยความยุติธรรม หลักฐาน หลักการที่มี 1.4 สามารถใช้เทคนิคทั่วไปหรือเฉพาะทางในการวิเคราะห์ประเด็นหรือปัญหาที่ซับซ้อนได้อย่างสร้างสรรค์
เหตุผลและค่านิยมอันดีงาม รวมทั้งพัฒนาข้อสรุปและข้อเสนอแนะที่เกี่ยวข้องในสาขาวิชาการหรือวิชาชีพ
1.2 สามารถจัดการปัญหาคุณธรรมจริยธรรม วินิจฉัยอย่างผู้รู้ โดยให้ข้อสรุปของปัญหาด้วยความไวต่อ 1.5 สามารถวางแผนและดาเนินการโครงการสาคัญหรือโครงการวิจัยค้นคว้าทางวิชาการได้ด่วยตนเองโดย
ความรูส้ ึกของผู้ที่ได้รับผลกระทบ การใช้ความรู้ทั้งภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติ เทคนิคการวิจัยและให้ขอ้ สรุปที่สมบูรณ์ซึ่งขยายองค์ความรู้
1.3 คิดริเริ่มในการยกปัญหาทางจรรยาบรรณที่มีอยู่เพือ่ การทบทวนและแก้ไข หรือแนวทางการปฏิบัติในวิชาชีพทีม่ ีอยู่เดิมได้อย่างมีนัยสาคัญ
1.4 สนับสนุนอย่างจริงจังให้ผู้อื่นใช้การวินิฉัยทางด้านคุณธรรมจริยธรรมในการจัดการกับข้อโต้แย้งและ ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคล และความรับผิดชอบ
ปัญหาที่มีผลกระทบต่อตนเองและผู้อื่น 1.1 สามารถแก้ไขปัญหาที่มีความซับซ้อนหรือความยุ่งยากระดับสูงทางวิชาชีพได้ด้วยตนเอง
1.5 สามารถแสดงออกซึ่งภาวะผู้นาในการส่งเสริมให้มกี ารประพฤติปฎิบัตติ ามหลักคุณธรรม จริยธรรมใน 1.2 สามารถตัดสินใจในการดาเนินด้วยตนเองและสามารถประเมินตนเอง
สภาพแวดล้อมของการทางานและในชุมชนที่กว้างขวางขึ้น 1.3 สามารถวางแผนในการปรับปรุงตนเองให้มีประสิทธิภาพในการปฏิบัติงานระดับสูงได้
ความรู้ 1.4 รับผิดชอบในการดาเนินงานของตนเองและร่วมมือกับผู้อื่นอย่างเต็มที่ในการจัดการข้อโต้แย้งและปัญหา
1.1 มีความรู้และความเข้าใจอย่างถ่องแท้ในเนื้อหาสาระหลักของสาขาวิชา ตลอดจนหลักการและทฤษฎีที่ ต่างๆ
สาคัญและนามาประยุกต์ในการศึกษาค้นคว้าทางวิชาการหรือการปฏิบตั ิในวิชาชีพ 1.5 แสดงออกทักษะการเป็นผู้นาได้อย่างเหมาะสมตามโอกาสและสถานการณ์เพื่อเพิ่มพูนประสิทธิภาพใน
1.2 มีความเข้าใจทฤษฎีการวิจัยและการปฏิบัติทางวิชาชีพนั้นอย่างลึกซึ้งในวิชาหรือกลุ่มวิชาเฉพาะในระดับ การทางานของกลุม่
แนวหน้า ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
1.3 มีความเข้าใจในวิธพี ัฒนาความรู้ใหม่ๆและการประยุกต์ ตลอดถึงผลกระทบของงานวิจัยในปัจจุบันที่มีต่อ 1.1 สามารถคัดกรองข้อมูลทางคณิตศาสตร์และสถิติเพื่อนามาใช้ในการศึกษาค้นคว้าปัญหา สรุปปัญหาและ
องค์ความรู้ในสาขาวิชาและต่อการปฏิบัติวิชาชีพ เสนอแนะแก้ไขปัญหาในด้านต่างๆ
1.4 ตระหนักในระเบียบข้อบังคับทีใ่ ช้อยู่ในสภาพแวดล้อมของระดับชาติและนานาชาติที่อาจมีผลกระทบต่อ 1.2 สามารถสื่อสารอย่างมีประสิทธิภาพได้อย่างเหมาะสมกับกลุ่มบุคคลต่างๆทั้งในวงวิชาการและวิชาชีพ
สาขาวิชาชีพรวมทั้งเหตุผลและการเปลี่ยนแปลงที่อาจจะเกิดขึ้นในอนาคต รวมถึงชุมชนทั่วไป
ทักษะทางปัญญา 1.3 สามารถนาเสนอรายงานทั้งในรูปแบบที่เป็นทางการและไม่เป็นทางการผ่านสิง่ ตีพิมพ์ทางวิชาการและ
1.1 ใช้ความรู้ทางภาคทฤษฎีและภาคปฏิบัติในการจัดการบริบทใหม่ที่ไม่คาดคิดทางวิชาการและวิชาชีพ และ วิชาชีพรวมทัง้ วิทยานิพนธ์หรือโครงการค้นคว้าที่สาคัญ
พัฒนาแนวคิดริเริม่ และสร้างสรรค์เพื่อตอบสนองประเด็นหรือปัญหา
1.2 สามารถใช้ดุลยพินิจในการตัดสินใจในสถานการณ์ที่มขี ้อมูลไม่เพียงพอ

57
58

หมวดที่ 5 หลักเกณฑ์ในการประเมินผลนักศึกษา

1. กฎระเบียบหรือหลักเกณฑ์ในการให้ระดับคะแนน (เกรด)
เป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2562
ทั้งนี้ อาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับประกาศของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

2. กระบวนการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษา
2.1 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้ขณะนักศึกษายังไม่สาเร็จการศึกษา
การทวนสอบมาตรฐานการเรียนรู้ของนักศึกษาเป็นส่วนหนึ่งของระบบการประกันคุณภาพภายในของ
สถาบันอุดมศึกษา ซึ่งมีวัตถุประสงค์เพื่อยืนยันพิสูจน์ว่าการศึกษาตามหลักสูตรนั้นได้มีการดาเนินการและบรรลุ
เป้าหมายตามวัตถุประสงค์ และทาให้มั่นใจว่าผลลัพท์การเรียนรู้ที่กาหนดไว้ในหลักสูตรนั้นเป็น ที่เข้าใจตรงกันใน
หมู่อาจารย์ เจ้าหน้าที่ที่เกี่ยวข้อง และนักศึกษา
ในหลักสูตรนี้ ได้มีการกาหนดกลไกเพื่อการทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้อยู่ ดังนี้
ในการสอบวัดผลการเรียนรู้ (ทั้งกลางภาคและปลายภาค) อาจารย์ผู้สอนแต่จะรายวิชาจะเป็นผู้รับผิดชอบ
ในการจัดทาข้อสอบเพื่ อวัดผลการเรียนรู้ และต้องส่งข้อสอบเพื่อการตรวจทานโดยคณะกรรมการที่ภาควิชา
มอบหมายก่อนดาเนินการจัดสอบ ซึ่งเป็นอาจารย์ที่มีองค์ความรู้ที่เหมาะสมเกี่ยวกับวิชานั้นๆ โดยผู้ตรวจทาน
ข้อสอบจะดาเนินการตรวจสอบว่าข้อสอบนั้นมีมีความเหมาะสมต่อการวัดผลการเรียนรู้ของนักศึก ษาในขอบเขต
ของแต่ละวิช าหรื อ ไม่ อ ย่ างไร ทั้ งนี้ผู้ ตรวจทานข้ อสอบจะพิจ ารณาเนื้อ หาทางด้ านวิศ วกรรม รวมถึงความ
สอดคล้องของคาถามในข้อสอบกับผลลัพท์การเรียนรู้ที่คาดหวังของรายวิชานั้นๆ รวมไปถึงตรวจทานความ
สมบูรณ์ถูกต้องของข้อสอบด้วย
เมื่อสิ้นสุดแต่ละภาคการศึกษา ผลคะแนนของแต่ละวิชาก็จะต้องผ่านการพิจารณากลั่นกรองในที่ประชุม
คณาจารย์ของภาควิชา โดยจะมีการพิจารณาถึงคะแนนเก็บ คะแนนสอบกลางภาคและคะแนนสอบปลายภาค
ว่ามีลักษณะอย่างไร ในการประชุมนี้จะมีการทวนสอบวิธีการที่อาจารย์แต่ละท่านใช้ในการเก็บคะแนน หลักการ
ให้คะแนน รวมไปถึงสอบถามถึงรายละเอียดในกรณีที่พบนักศึกษาที่ได้คะแนนน้อยหรือมากจนผิดปกติด้วย ทั้งนี้
หากพบกรณีที่การให้คะแนนไม่สอดคล้องกับผลลัพทย์การเรียนรู้อย่างเพียงพอ ก็จะขอให้อาจารย์ผู้สอนรายวิชา
นั้นๆ กลับไปพิจารณาแก้ไข ทั้งนี้มีการบันทึกการประชุมดังกล่าวไว้อย่างชัดเจน
คณะกรรมการหลักสูตรได้มีการร้องขอให้อาจารย์ผู้สอนแต่ละรายวิชาเก็บตัวอย่างข้อสอบและคาตอบของ
นักศึกษาที่ได้คะแนนในระดับต่างๆ อย่างน้อยเป็นระยะเวลา 5 ปี เพื่อกรณีที่ต้องมีการตรวจสอบโดยละเอียด
ทั้งนีก้ ารเก็บตัวอย่างข้อสอบและคาตอบของนักศึกษานั้นจะรับผิดชอบโดยอาจารย์ผู้สอนรายวิชานั้นๆ
สาหรับการทาวิทยานิพนธ์นั้น ภาควิชาได้มีการจัดตั้งคณะกรรมการวิชาการเพื่อดูแลทวนสอบหัวข้อตถุ
ประสงค์ และขอบเขต ของวิทยานิพนธ์ของนักศึกษาแต่ละคน โดยนักศึกษาจะต้องนาส่งรายละเอียดดังกล่าว
เพื่อพิจารณาภายในภาคการศึกษาที่ 3 ของนักศึกษาคนนั้นๆ และคณะกรรมการวิชาการของภาควิ ช าจะ
พิจารณาว่ารายละเอียดต่างๆของวิทยานิพนธ์นั้น สอดคล้องกับวัตถุประสงค์และผลลัพท์การเรียนรู้ของหลักสูตร
หรือไม่ และอาจจะให้นักศึกษาพิจารณาแก้ไขหากมีความจาเป็น
สาหรับการสอบวิทยานิพนธ์เพื่อขอสาเร็จการศึกษา ภาควิชาก็ได้มีการแต่งตั้งคณะทางานเพื่อตรวจสอบ
รูปเล่มรวมไปถึงรายละเอียดวิทยานิพนธ์ว่ามีคุณภาพเพียงพอตามที่ได้กาหนดไว้ในหลักสูตร

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


59

2.2 การทวนสอบมาตรฐานผลการเรียนรู้หลังจากนักศึกษาสาเร็จการศึกษา
สาหรับบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาจากหลักสูตร ภาควิชาได้มีการติดต่อเพื่อขอข้อ มูลความเห็นของบัณฑิต
และผู้ใช้งานบัณฑิตเกี่ยวกับความสามารถ (ในแง่ขององค์ความรู้ และ ทักษะ) ที่เป็นประโยชน์ต่อการทางานใน
สาขาความเชี่ยวชาญ ซึ่งข้อมูลดังกล่าวรวมถึง

(1) ภาวะการณ์ได้งานทาของบัณฑิต ประเมินจากบัณฑิตแต่ละรุ่นที่สาเร็จการศึกษา ในด้านของระยะเวลาใน


การหางานทา ความเห็นต่อความรู้ ความสามารถ ความมั่นใจของบัณฑิตในการประกอบอาชีพ
(2) การสอบถามผู้ประกอบการ โดยการขอเข้าสัมภาษณ์ หรือ การส่งแบบสอบถาม เพื่อประเมินความพึง
พอใจในบัณฑิตที่สาเร็จการศึกษาและเข้าทางานในสถานประกอบการนั้น ๆ ในคาบระยะเวลาต่างๆ เช่น
ปีที่ 1 ปีที่ 5 เป็นต้น
(3) การประเมินตาแหน่ง และหรือความก้าวหน้าในสายงานของบัณฑิต
(4) การประเมิ นจากสถานศึกษาอื่น โดยการส่งแบบสอบถาม หรือสอบถามเมื่อมีโอกาสในระดับความ
พึงพอใจในด้านความรู้ ความพร้อม และคุณสมบัติด้านอื่น ๆ ของบัณฑิตจะสาเร็จการศึกษาและเข้า
ศึกษาเพื่อปริญญาที่สูงขึ้นในสถานศึกษานั้น ๆ
(5) การประเมินจากบัณฑิตที่ไปประกอบอาชีพ ในแง่ของความพร้อมและความรู้จากสาขาวิชาที่เรียน รวมทั้ง
สาขาอื่น ๆ ที่กาหนดในหลักสูตร ที่เกี่ยวเนื่องกับการประกอบอาชีพของบัณฑิต รวมทั้งเปิดโอกาสให้
เสนอข้อคิดเห็นในการปรับหลักสูตรให้ดียิ่งขึ้นด้วย
(7) ผลงานเชิงวิชาการ/นวัตกรรมของนักศึกษาที่จบการศึกษาในแต่ละปีการศึกษา เช่น (ก) จานวนโครงการ
ที่ร่วมทางาน (ข) จานวน สิทธิบัตร (ค) จานวนรางวัลทางสังคมและวิชาชีพ (ง) จานวนกิจกรรมการกุศล
เพื่อสังคมและประเทศชาติ
คณะกรรมการหลักสูตรให้ความสาคัญต่อ การเก็บข้อมูลผลสัมฤทธิผลของการประกอบอาชีพของบัณฑิต
อย่างต่อเนื่องและนาข้อมูลที่ได้ย้อนกลับมาปรับปรุงกระบวนการการเรียนการสอน และหลักสูตรแบบครบวงจร
รวมทั้งการประเมินคุณภาพของหลักสูตรและหน่วยงานโดยองค์กรระดับสากล

3. เกณฑ์การสาเร็จการศึกษาตามหลักสูตร
เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558 และเป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัย
เทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษาพ.ศ. 2562 (ภาคผนวก จ.)
ข้อ 17 การลงทะเบียนเรียน
17.1 การลงทะเบียนรายวิชา
17.1.1 นักศึกษาจะลงทะเบียนรายวิชาได้ ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา
17.1.2 นักศึกษาระดับปริญญาเอกสามารถลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ได้เมื่อสอบผ่านการวัด
คุณสมบัติ (Qualifying Examination, QE) แล้ว
ข้อ 30 การสอบวัดคุณสมบัติ (Qualifying Examination)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


60

การสอบวัดคุณสมบัติ เป็นการวัดความรู้ ความสามารถของนักศึกษาระดับปริญญาเอกที่จะต้องทาการสอบ


ให้ผ่านตามเกณฑ์ที่หลักสูตรกาหนดไว้ เพื่อเป็นผู้มีสิทธิขอทาวิทยานิพนธ์ เสนอวิทยานิพนธ์ และสอบผ่านการสอบ
ปากเปล่าขั้นสุดท้าย ทั้งนี้
(1) ผู้เข้าศึกษาระดับปริญญาเอกที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ
ภายใน 4 ภาคการศึกษาปกตินับตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษา
(2) ผู้เข้าศึกษาระดับปริญญาเอกที่สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาโทต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติ
ภายใน 3 ภาคการศึกษาปกตินับตั้งแต่เริ่มเข้าศึกษา
(3) หากสอบไม่ผ่านหรือไม่ได้ดาเนินการภายในกาหนดให้พ้นสภาพการเป็นนักศึกษา
ข้อ 31 การทาวิทยานิพนธ์
31.1 นักศึกษาจะลงทะเบียนเพื่อทาวิทยานิพนธ์ได้ต้องได้รับความเห็นชอบจากอาจารย์ที่ปรึกษา ทั้งนี้
31.1.1 นักศึกษาระดับปริญญาโท แผน ก 2 จะลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ได้เมื่อเป็นนักศึกษาสามัญ
แล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา ได้ลงทะเบียนรายวิชาและสอบผ่านแล้วไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และมีแต้มระดับ
คะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ น้อยกว่า 3.00 ยกเว้นผู้ที่พ้นสภาพและสมัครกลับมาศึกษาใหม่ตามข้อ 28.2.4 สามารถ
ลงทะเบียนวิทยานิผพนธ์ได้ในภาคการศึกษาที่กลับเข้าศึกษาใหม่
31.1.2 นักศึกษาระดับปริญญาเอกต้องสอบผ่านการสอบวัดคุณสมบัติก่อนลงทะเบียนเพื่อทา
วิทยานิพนธ์ โดยนักศึกษาระดับปริญญาเอกแผนการศึกษา แบบ 2 จะลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ได้เมื่อเป็นนักศึกษา
สามัญแล้วอย่างน้อย 1 ภาคการศึกษา ได้ลงทะเบียนรายวิชาและสอบผ่านแล้วไม่น้อยกว่า 6 หน่วยกิต และมีแต้ม
ระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่น้อยกว่า 3.25 ยกเว้นผู้ที่พ้นสภาพและสมัครกลับมาศึกษาใหม่ตามข้อ 28.2.4 สามารถ
ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์ได้ในภาคการศึกษาที่กลับเข้าศึกษาใหม่
31.1.3 นักศึกษาสามารถแบ่งจานวนหน่วยกิตในการลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์ได้ตามความ
เห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์แต่ต้องไม่ขัดกับข้อ 17.1.3
31.2 การเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์
31.2.1 เมื่อนักศึกษาลงทะเบียนทาวิทยานิพนธ์แล้วนักศึกษาต้องจัดทาโครงร่างวิทยานิพนธ์เสนอ
อาจารย์ที่ ปรึกษาวิท ยานิพ นธ์ เพื่อ ตรวจแก้ไขแล้ว นาเสนออาจารย์ผู้รั บผิด ชอบหลักสูตรเพื่อ ขอความ
เห็นชอบ
31.2.2 อาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรจะเสนอโครงร่างวิทยานิพนธ์พร้อมรายชื่อ ค ณ ะ ก ร ร ม ก า ร
วิทยานิพนธ์ไปยังคณะกรรมการประจาคณะเพื่ออนุมัติหัวข้อวิทยานิพนธ์พร้อมแต่งตั้ง คณะกรรมการวิทยานิพนธ์
31.3 การสอบโครงร่างและการประเมินผลการทาวิทยานิพนธ์
31.3.1 นักศึกษาต้องสอบผ่านการสอบโครงร่างวิทยานิพนธ์ และจัดทารายงานความก้าวหน้า
วิทยานิพนธ์ เสนอคณะกรรมการวิทยานิพนธ์ทุกภาคการศึกษา
31.3.2 คณะกรรมการวิ ท ยานิ พ นธ์ จ ะประเมิ น ผลการท าวิ ท ยานิ พ นธ์ ต ามจ านวนหน่ ว ยกิ ต
วิทยานิพนธ์ที่นักศึกษา ลงทะเบียนในแต่ละภาคการศึกษา โดยจะให้ผลการศึกษา S เฉพาะหน่วยกิตที่การวิจัยมี

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


61

ความก้าวหน้าเป็นที่พอใจ และให้ผลการศึกษา U ในกรณีที่นักศึกษาไม่ได้ทาการค้นคว้าวิจัยตามแผนงาน นั กศึกษา


ที่ทาการสอบและส่งวิทยานิพนธ์เรียบร้อยแล้วจึงจะได้ผลการศึกษา S ครบตามจานวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์
31.3.3 นักศึกษาซึ่งลงทะเบียนวิทยานิพนธ์แล้ว แต่ขาดการติดตามในการทาวิทยานิพนธ์โดย
สม่าเสมอ 2 ภาคการศึกษาปกติต่อเนื่องกัน ทาให้มีผลการศึกษา U คณะกรรมการวิทยานิพนธ์อาจเสนอให้นักศึกษา
พ้นจากการทาวิทยานิพนธ์ในเรื่องนั้นได้ โดยได้รับความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรและการอนุมัติ
ของคณะกรรมการประจาคณะ
31.4 การขอเปลี่ยนแปลงหัวข้อและจานวนหน่วยกิตวิทยานิพนธ์
31.4.1 ในกรณีที่คณะกรรมการวิทยานิพนธ์เห็นสมควรให้นักศึกษาเปลี่ยนแปลงหัวข้อหรือจานวน
หน่วยกิตวิทยานิพนธ์ที่ได้รับอนุมัติแล้ว เนื่องจากมีอุปสรรคทางวิชาการหรือเหตุสุดวิสัยให้นักศึกษายื่นคาร้องขอ
เปลี่ยนแปลงหัวข้อวิทยานิพนธ์พร้อมแนบโครงร่างวิทยานิพนธ์ใหม่ตามข้อ 31.2 เพื่อให้คณบดีอนุมัติ โดยผ่านการ
พิจารณาของคณะกรรมการวิทยานิพนธ์และการให้ความเห็นชอบของอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร
31.4.2 ในกรณี ที่ มี ก ารขอปรั บ ชื่ อ วิ ท ยานิ พ นธ์ เ ล็ ก น้ อ ยเพื่ อ ความเหมาะสมตามงานวิ จั ย ของ
นักศึกษาในขั้นตอนสุดท้าย โดยไม่มีการเปลี่ยนแปลงวัตถุประสงค์ของงานวิจัยอย่างมีนัยสาคัญ ตามความเห็นของ
คณะกรรมการวิทยานิพนธ์ ให้นักศึกษายื่นคาร้องผ่านอาจารย์ที่ปรึกษาและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตรให้คณบดี
อนุมัติโดยไม่ต้องแนบโครงร่างวิทยานิพนธ์ใหม่
31.4.3 นักศึกษาที่เปลี่ยนหัวข้อวิทยานิพนธ์ใหม่จะต้องทาการลงทะเบียนและชาระหน่ ว ยกิต
วิทยานิพนธ์ใหม่ ยกเว้นกรณีที่มีการปรับหัวข้อวิทยานิพนธ์ตามข้อ 31.4.2
ข้อ 32 การสอบวิทยานิพนธ์
32.1 นักศึกษามี สิ ทธิ์ขอสอบวิท ยานิพนธ์ได้ เมื่อคณะกรรมการวิทยานิพนธ์เห็นชอบให้นักศึกษาสอบ
วิทยานิพนธ์ โดยเสนอรายชื่อคณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์ พร้อมกาหนดวันสอบไปยังอาจารย์ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตรเพื่อให้ความเห็นชอบ และคณะกรรมการประจาคณะ เพื่อพิจารณาอนุมัติและแต่งตั้งคณะกรรมการสอบ
วิทยานิพนธ์
32.2 นักศึกษาจะต้องส่งร่างวิทยานิพนธ์ให้คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์พิจารณาล่วงหน้าอย่างน้อย 2
สัปดาห์ก่อนวันสอบวิทยานิพนธ์ มิฉะนั้น คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์อาจจะเลื่อนวันสอบออกไปโดยให้นับตั้งแต่
วันที่ได้รับร่างวิทยานิพนธ์ไม่ต่ากว่าสองสัปดาห์แต่ไม่เกินหนึ่งเดือน
32.3 คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์เป็นผู้รับผิดชอบในการสอบ กรณีที่ผลสอบเป็นที่พอใจให้ผลการศึกษา
ผ่าน (S) และกรณีที่ผลสอบไม่เป็นที่พอใจ ให้ทาการสอบแก้ตัวภายในระยะเวลาที่คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
กาหนด
32.4 นักศึกษาที่สอบผ่านวิทยานิพนธ์แล้ว ให้ดาเนินการแก้ไขตามคาแนะนาของกรรมการสอบวิทยานิพนธ์
และจัดส่งไปยังคณะภายใน 30 วันนับถัดจากวันสอบวิทยานิพนธ์ ในกรณีที่มีการแก้ไขวิทยานิ พนธ์ซึ่งไม่เกี่ยวกับ
เนื้อหาหลักแต่ต้องใช้เวลามาก คณะกรรมการสอบวิทยานิพนธ์อาจกาหนดให้ส่งวิทยานิพนธ์เกิน 30 วันได้ แต่ต้อง
ไม่เกิน 60 วัน มิฉะนั้น ผลสอบวิทยานิพนธ์จะปรับเป็น U จากนั้นให้คณะตรวจสอบรูปแบบวิทยานิพนธ์ซึ่งมีรูปแบบ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


62

ตามคู่มือการเขียนและพิมพ์วิทยานิพนธ์ของมหาวิทยาลัยภายใน 30 วัน พร้อมวิทยานิพนธ์ฉบับอิเล็กทรอนิกส์ตาม


ประกาศของมหาวิทยาลัย
32.5 นักศึกษาระดับปริญญาโท ควรใช้ภาษาอังกฤษในการเขียนวิทยานิพนธ์ นักศึกษาระดับปริญญาเอก
ต้องใช้ภาษาอังกฤษในการเขียนวิทยานิพนธ์
32.6 การสอบวิทยานิพนธ์ ให้เป็นการสอบอย่างเปิดเผย ซึ่งผู้สนใจทั่วไปสามารถเข้าร่วมรับฟังได้ ยกเว้น
หัวข้อวิจัยที่ทาร่วมกับองค์กรที่ประสงค์จะปกปิดให้ขออนุญาตคณบดีหรือผู้อานวยการเป็นกรณีไป
32.7 ลิขสิทธิ์ในวิทยานิพนธ์เป็นของมหาวิทยาลัย ยกเว้นมีข้อตกลงอื่นกับเจ้าของทุนวิจัย
ข้อ 33 การทาการศึกษาค้นคว้าอิสระ
ให้คณะกรรมการประจาคณะกาหนดแนวปฏิบัติเกี่ยวกับการทาการศึกษาค้นคว้าอิสระของนักศึกษาระดับ
ปริญญาโท แผน ข ที่ไม่ขัดกับระเบียบนี้ ทั้งนี้
33.1 คณะกรรมการสอบประมวลความรู้ตามข้อ 34.3.3 (ก) ให้เป็นไปตามข้อ 10.3.6
33.2 คณะกรรมการสอบการศึกษาค้นคว้าอิสระตามข้อ 34.3.3 (ข) ให้เป็นไปตามข้อ 10.3.5
33.3 การสอบการศึกษาค้นคว้าอิสระ ให้เป็นการสอบอย่างเปิดเผย ซึ่งผู้สนใจทั่วไปสามารถเข้าร่วมรับฟังได้
ยกเว้ น หั ว ข้ อ วิ จั ย ที่ ท าร่ ว มกั บ องค์ ก รที่ ป ระสงค์ จ ะปกปิ ด การศึ ก ษาค้ น คว้ า อิ ส ระ ให้ ข ออนุ ญ าตคณบดี ห รื อ
ผู้อานวยการเป็นกรณีไป
ข้อ 34 นักศึกษาจะได้รับประกาศนียบัตร หรือปริญญาจากมหาวิทยาลัยเมื่อมีคุณสมบัติครบถ้วน ดังนี้
34.1 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตต้องศึกษาได้ครบหน่วยกิตและรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตร
และมีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.00
34.2 นักศึกษาระดับประกาศนียบัตรบัณฑิตชั้นสูงต้องศึกษาได้ครบหน่วยกิตและรายวิชาตามโครงสร้าง
หลักสูตรและมีแต้มระดับคะแนนเฉลี่ยสะสมไม่ต่ากว่า 3.25
34.3 นักศึกษาระดับปริญญาโท
34.3.1 นักศึกษาแผน ก แบบ ก 1
(ก) ต้องเสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย และ
(ข) มีบทความวิจัยฉบับสมบูรณ์ (Full Paper) ที่มาจากผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วนหนึ่งของ
วิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับนานาชาติ อย่างน้อย 1
ชิ้น หรือผลงานอื่น ๆ ที่เทียบเท่า โดยได้รับความเห็นชอบจากคณะกรรมการประจาคณะ
34.3.2 แผน ก แบบ ก 2
(ก) ต้องศึกษาได้ครบหน่วยกิตและสอบผ่านรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตรและจะต้องได้ระดับ
คะแนนเฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.00 จากระบบ 4 ระดับคะแนนหรือเทียบเท่า และ
(ข) เสนอวิทยานิพนธ์และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย และผลงานวิทยานิพนธ์หรือส่วน
หนึ่งของวิทยานิพนธ์ต้องได้รับการตีพิมพ์ หรืออย่างน้อยได้รับการยอมรับให้ตีพิมพ์ในวารสารระดับชาติหรือระดับ
นานาชาติหรือนาเสนอต่อที่ประชุมวิชาการโดยบทความที่นาเสนอต้องมีการตีพิมพ์บทความฉบับสมบูรณ์ (Full
Paper) ในรายงานสืบเนื่องจากการประชุมวิชาการ (Proceeding) ที่มีผู้ทรงคุณวุฒิพิจารณาผลงาน

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


63

34.3.3 นักศึกษาแผน ข
(ก) ต้องศึกษาได้ครบหน่วยกิตและสอบผ่านรายวิชาตามโครงสร้างหลักสูตรมีแต้มระดับคะแนน
เฉลี่ยไม่ต่ากว่า 3.00 และ
(ข) เสนอการศึ ก ษาค้ น คว้ า อิ ส ระ และสอบผ่ า นการสอบประมวลความรู้ (Comprehensive
Examination) โดยการสอบแบบปากเปล่าหรือสอบข้อเขียน และ
(ค) เสนอการศึกษาค้นคว้าอิสระ และสอบผ่านการสอบปากเปล่าขั้นสุดท้าย
34.3.4 ต้องสอบผ่านภาษาอังกฤษตามเกณฑ์ของแต่ละหลักสูตร หรือหากหลักสูตรไม่ระบุให้ใช้
เกณฑ์ของมหาวิทยาลัย
ข้อ 35 นักศึกษาต้องปฏิบัติตามเงื่อนไขที่ แต่ละหลักสูตรกาหนด โดยความเห็นชอบของอาจารย์ ผู้รับผิดชอบ
หลักสูตร และคณะกรรมการประจาคณะอย่างครบถ้วน
ข้อ 36 ในการพิจารณาให้นักศึกษาได้รับปริญญา นอกจากคณะกรรมการประจาคณะจะพิจารณาจากผลการศึกษา
ของนักศึกษาแล้วให้นาพฤติการณ์ของนักศึกษาในด้านความประพฤติ คุณธรรม และจริยธรรม อันเป็นเกียรติและ
ศักดิ์ของนักศึกษาตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด ตลอดเวลาที่ศึกษาอยู่ในมหาวิทยาลัยจนถึง วันที่จะนาเสนอสภา
มหาวิทยาลัยพิจารณาอนุมัติให้ปริญญา มาเป็นเกณฑ์ประกอบการพิจารณาด้วย

ทั้งนี้ อาจมีการเปลี่ยนแปลงขึ้นอยู่กับประกาศของมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


64

หมวดที่ 6 การพัฒนาอาจารย์

1. การเตรียมการสาหรับอาจารย์ใหม่
(1) มีการปฐมนิเทศแนะแนวการเป็นครูแก่อาจารย์ใหม่ ให้มีความรู้และเข้าใจนโยบายของมหาวิทยาลัย/
สถาบัน คณะตลอดจนในหลักสูตรที่สอน
(2) ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการสอนและการวิจัยอย่าง
ต่อเนื่องโดยผ่านการทาวิจัยสายตรงในสาขาวิชาและมีงบสนับสนุนในการทาวิจัยจากมหาวิทยาลัยและ
ภาควิชาเป็นอันดับแรก การสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพในองค์กร
ต่าง ๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศและ/หรือต่างประเทศ หรือการลาเพื่อเพิ่มพูนประสบการณ์
2. การพัฒนาความรู้และทักษะให้แก่อาจารย์
2.1 การพัฒนาทักษะการจัดการเรียนการสอน การวัดและการประเมินผล
(1) ส่งเสริมอาจารย์ให้มีการเพิ่มพูนความรู้ สร้างเสริมประสบการณ์เพื่อส่งเสริมการสอนและการวิจัยอย่าง
ต่อเนื่องโดยผ่านการทาวิจัย การสนับสนุนด้านการศึกษาต่อ ฝึกอบรม ดูงานทางวิชาการและวิชาชีพ
ในองค์กรต่าง ๆ การประชุมทางวิชาการทั้งในประเทศ และ/หรือต่างประเทศ หรือการลาเพื่อเพิ่มพูน
ประสบการณ์
(2) การเพิ่มพูนทักษะการจัดการเรียนการสอนและการประเมินผลตามเกณฑ์และแนวปฏิบัติของ
KMUTT-PSF (KMUTT- Professional Standard Framework: Learning and Teaching)
2.2 การพัฒนาวิชาการและวิชาชีพด้านอื่นๆ
(1) มีการส่งเสริมให้อาจารย์มี ส่วนร่วการอมในกิจกรรมบริการวิชาการแก่ชุมชนที่เกี่ยวข้องกับการ
พัฒนาความรู้และคุณธรรม และนาองค์ความรู้และประสบการณ์ที่ได้จากงานดังกล่าวมาเสริมใน
การเรียนการสอนของหลักสูตร
(2) มีการกระตุ้นอาจารย์ทาผลงานทางวิชาการสายตรงในสาขาวิชาโครงสร้าง เทคนิคธรณี ทรัพยากรน้า
และขนส่ง
(3) ส่ ง เสริ ม การท าวิ จั ย สร้ า งองค์ ค วามรู้ ใ หม่ เ ป็ น หลั ก และเพื่ อ พั ฒ นาการเรี ย นการสอนและมี ค วาม
เชี่ยวชาญในสาขาวิชาชีพ เป็นรอง
(4) จัดสรรงบประมาณสาหรับการทาวิจัย
(5) จัดให้อาจารย์ทุกคนเข้าร่วมกลุ่มวิจัยต่าง ๆ ของคณะ
(6) จัดให้อาจารย์เข้าร่วมกิจกรรมบริการวิชาการต่าง ๆ ของภาควิชาและคณะ
(7) ส่งเสริมให้อาจารย์สายปฏิบัติการมีใบรับรองวิชาชีพในสาขาวิชาที่สอบปฏิบัติ
(8) ส่งเสริมให้อาจารย์มีความเข้าใจในการเรียนการสอนแบบเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome-based
education) และมีการปรับปรุงพัฒนาการเรียนการสอนอย่างต่อเนื่อง (Continuous improvement)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


65

หมวดที่ 7 การประกันคุณภาพหลักสูตร

1. การกากับมาตรฐาน
ในการกากับมาตรฐานหลักสูตร จะมีคณะกรรมการประจาหลักสูตร อันประกอบด้วยประธานหลักสูตร
หรือหัวหน้าภาค และอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักแต่ละสาขาวิชาในภาควิชาเป็นกรรมการหลักสูตร โดยมีที่ปรึกษา
ที่ ไ ด้ รั บ การแต่ ง ตั้ ง เป็ น ผู้ ก ากั บ ดู แ ลและคอยให้ ค าแนะน า ตลอดจนก าหนดนโยบายปฏิ บั ติ ใ ห้ แ ก่ กรรมการ
ผู้ รั บ ผิ ด ชอบหลั ก สู ต รโดยให้ เ ป็ น ไปตามมาตรฐานใช้ เ กณฑ์ ข อง ASEAN University Network – Quality
Assurance (AUN-QA)
การประเมินระดับหลักสูตรจะแบ่งได้เป็น 2 องค์ประกอบ ได้แก่
- • องค์ประกอบที่ 1 การกากับมาตรฐาน –หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต (สาขาวิศวกรรมโยธา) นี้ถูก
กากับดูแลให้มีการดาเนินการตามองค์ประกอบที่ 1 (เกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร) ของสานักงานปลั ดกระทรวงการ
อุดมศึกษา วิทยาศาสตร์ วิจัยและนวัตกรรม (สป.อว.) โดยหลักสูตรดาเนินการตรวจสอบข้อมูลองค์ประกอบที่ 1 การ
กากับมาตรฐาน ให้เป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรเป็นประจาทุกปี
- • องค์ประกอบที่ 2 เกณฑ์การพัฒนา – ใช้แนวทางของ ASEAN University Network Quality Assurance
(AUN-QA) ซึ่งหลักสูตรดาเนินการตรวจประเมินเพื่อการพัฒนาตามเกณฑ์ ผ่านการเขียนรายงานการประเมินตนเอง
(SAR) ทุกปี และถ้าหลั กสู ตรได้รับการรับรองตามเกณฑ์มาตรฐาน (Certification) AUN-QA แล้ว จึงจะทาการ
ประเมินอย่างน้อย 1 ครั้งในรอบ 5 ปี
โดยหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธานี้ ได้รับการกากับให้มีการประเมินตามระบบ
CUPT QA ซึ่ ง ก าหนดรอบการประเมิ น หลั ก สู ต รทั้ ง 2 ส่ ว น คื อ องค์ ป ระกอบที่ 1 การก ากั บ มาตรฐาน และ
องค์ประกอบที่ 2 เกณฑ์การพัฒนาตาม AUN-QA เป็นประจาทุกปี
กรรมการผู้รับผิดชอบหลักสูตร จะวางแผนการจัดการเรียนการสอนร่วมกับคณะและอาจารย์ผู้สอน ติดตาม
และรวบรวมข้อมูล สาหรับใช้ในการปรับปรุงและพัฒนาหลักสูตรโดยกระทาทุกปีอย่างต่อเนื่อง

2. บัณฑิต
ตามนโยบายการพัฒนาประเทศด้านวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี (กรอบการพัฒนายุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี
และแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติ ฉบับที่ 12) รวมไปถึงพันธกิจของมหาวิทยาลัย ประกอบด้วย หลักคิด
แผนอุดมศึกษาระยะยาวฉบับที่ 3 นโยบาย Thailand 4.0 และแผนการศึกษาแห่งชาติ พ.ศ. 2560 – 2579 มจธ.ได้
มีการกาหนดเป้าหมายการดาเนินการทั้งในระยะกลาง (5 ปี และ 10 ปี) และระยะยาว (15 และ 20 ปี) โดยมี
KMUTT Education Reform/Lifelong Learning เป็นส่วนสาคัญของแผนการดาเนินการดังกล่าว
มจธ.มุ่ งพัฒนาการศึกษาอย่ า งมี คุ ณภาพเพื่ อให้ บัณฑิ ตที่จ บการศึกษามี คุณลัก ษณะที่พึ ง ประสงค์ ต าม
ศตวรรษที่ 21 สร้างผู้นาการเปลี่ยนแปลง (Social Change Agent) และเน้นฝึกฝนให้บัณฑิตมีทักษะในการเรียนรู้
ตลอดชีวิต (Lifelong learning) ซึ่งเป็นทักษะที่มีความสาคัญมากสาหรับการทางานในปัจจุบันและอนาคต ซึ่ง

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


66

ภาคอุตสาหกรรมจะให้ความสาคัญต่อใบปริญญาน้อยลง แต่ให้ความสาคัญกับทักษะที่บุคลากรแต่ละคนมีมากขึ้น
เพื่อให้สอดคล้องกับนโยบายและทิศทางของ มจธ. การเรียนการสอนในหลักสูตรนี้จึงเน้นการสร้างทักษะ
และความสามารถด้านต่างๆ (Competences) ให้กับนักศึกษา โดยมีการกาหนดผลลัพท์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร
(Program Learning Outcomes) และมีการทบทวนประเมินผลลัพธ์การเรียนรู้อย่างต่อเนื่องสม่าเสมอ เพื่อให้
มั่นใจว่าการเรียนการสอนจะได้รับการปรับปรุงเพื่อให้สอดคล้องกับทักษะและความสามารถที่เป็นที่ต้องการของ
ภาคอุตสาหกรรมที่เกี่ยวข้องและสอดคล้องกับเป้าหมายเชิงอาชีพของผู้เข้าศึกษาในหลักสูตร
ในส่วนของการเรียนการสอนก็จะมีการสร้างบรรยากาศในการเรียนรู้ (Learning Environment) มากยิ่งขึ้น
โดยจะมี ก ารประยุ ก ต์ ใ ช้ เ ทคนิ ค การเรี ย นการสอนรู ป แบบต่ า งๆ เช่ น Active Learning, Work-integrated
Learning, Experience-based learning เข้ามาผสมผสานการเรียนการสอนในรูปแบบเดิมที่เป็นการบรรยายใน
ห้องเรียน ซึ่งการเพิ่มสัดส่วนของรูปแบบการเรียนการสอนรูปแบบต่างๆ นั้นจะมีส่วนช่วยเป็นอย่างสูงในการพัฒนา
ทักษะ (Skills) ของนักศึกษานอกเหนือไปจากส่วนขององค์ความรู้เชิงวิศวกรรม (Engineering Knowledge)
การประเมิ น ผลลั พ ท์ ก ารเรี ย นรู้ ใ นรู ป แบบต่ า งๆ ก็ จ ะมี ก ารอ้ า งอิ ง กั บ ผลลั พ ท์ ก ารเรี ย นรู้ (Learning
Outcomes) อย่างชัดเจนมากขึ้น ถึงแม้ว่าสัดส่วนของการประเมินผลส่วนใหญ่จะยังเป็นการสอบข้อเขียน (Written
Examination) แต่ก็จะเพิ่มเติมการระบุอย่างชัดเจนว่าข้อสอบแต่ละข้อนั้นประเมินทักษะใดและสอดคล้อ งกับ
ผลลัพท์การเรียนรู้ที่ได้กาหนดไว้หรือไม่ นอกจากนี้ยังมีการเพิ่มเติมการประเมินในรูปแบบต่างๆ เพื่อกระตุ้นให้
นักศึกษาพัฒนาทักษะต่างๆ ที่จาเป็นและสามารถวัดผลลัพท์ในการพัฒนาทักษะได้อย่างเหมาะสมมากกว่าการสอบ
ข้อเขียนเพียงอย่างเดียวด้วย
ควบคู่ไปกับการปรับปรุงเปลี่ยนแปลงแนวทางการเรียนการสอนดังกล่าว อาจารย์ที่อยู่ในหลักสูตรนี้ก็จะ
ได้ รั บ การส่ ง เสริ ม ให้ ส ามารถพั ฒ นาความรู้ แ ละทั ก ษะ รวมไปถึ ง เทคนิ ค การสอนที่ ส อดคล้ อ งกั บ ทิ ศ ทางการ
เปลี่ยนแปลงดังกล่าว และอาจารย์บางท่านอาจจะมีการทาวิจัยในห้องเรียนเพื่อส่งเสริมกระบวนการพัฒนากาเรียน
การสอนอย่างต่อเนื่องของ มจธ. แนวทางการปฏิบัติงานดังกล่าวจะทาให้สามารถมั่นใจได้ว่าบัณฑิตที่จบการศึกษา
จากหลักสูตรนี้จะมีทักษะที่เป็น ที่ต้องการของภาคอุตสาหกรรมและมีความสามารถในการปรับตัว ยืดหยุ่น และ
ทางานในบริบทต่างๆ ที่เปลี่ยนแปลงไปอย่างรวดเร็วได้
หลักสูตรยังมีการประเมินผลตอบรับของผู้ใช้งานบัณฑิต ประกอบด้วย ภาคอุตสาหกรรม บริษัทเอกชน และ
หน่วยงานรัฐต่างๆ รวมไปถึงบัณฑิตที่จบการศึกษาไปแล้วระยะเวลาหนึ่ง เพื่อนาข้อมูลดังกล่าวมาวิเคราะห์ และ
กาหนดทิศทางในการปรับปรุงหลักสูตรต่อไปในอนาคตด้วย

3. นักศึกษา
3.1 การรับนักศึกษาและการเตรียมความพร้อมก่อนเข้าศึกษา
ในการบริหารหลักสูตรมีการกาหนดกระบวนการรับนักศึกษาโดยการตั้งคุณสมบัติของผู้เข้าศึกษาและ
ร่วมกับการสอบสัมภาษณ์ รวมถึงการสอบวัดคะแนน นอกจากนี้เพื่อมั่นใจว่าตลอดหลักสูตรนักศึกษาจะ
สามารถมีเวลาอยู่กับการเรียนและทาวิจัยเชิงลึกได้อย่างไม่กังวล และอาจารย์ที่ปรึกษาจะมีประสบการณ์และ
เวลาเพียงพอ ภาควิชาได้กาหนดเงื่อนไขประกอบการสัมภาษณ์แรกเข้าดังต่อไปนี้ (แนวปฏิบัติการรับนักศึกษา

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


67

ปริญญาโท)
1).นักศึกษาควรติดต่อและมีที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ก่อนเข้ารับการสัมภาษณ์ ในกรณีที่ไม่กาหนดที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ก่อนเข้าเรียนจะต้องเลือกอาจารย์ที่ปรึกษาภายในการเรียนเทอมแรก
2).นักศึกษา/อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ ต้องชี้แจงเรื่องสถานะการเงิน แหล่งทุน เกี่ยวกับค่าใช้จ่ายของ
นักศึกษาตลอดหลักสูตร

3.2 การให้คาปรึกษาด้านวิชาการ และอื่นๆ แก่นักศึกษา


อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์จะช่วยดูแลนักศึกษาเป็นหลักในการวางแผนการเรียน การทาวิทยานิพนธ์
การเผยแพร่บทความวิจัย /วิชาการ รวมไปถึงแนวทางการดาเนินชีวิต ในมหาวิทยาลัย รวมไปถึงการจัดหา
ทุ น การศึ ก ษาส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาที่ ต้ อ งการความช่ ว ยเหลื อ ทางด้ า นการเงิ น โดยปกติ จ ะมี ก ารนั ด พบเพื่ อ
ปรึกษาหารือเกี่ยวกับงานวิทยานิพนธ์อย่างน้อยสัปดาห์ละครั้ง
ภาควิชายังได้มีการมอบหมายอาจารย์ที่ปรึกษาประจาชั้นปีในกรณีที่นักศึกษาคนใดมีปัญหาด้านการเรียน
หรือพบอุปสรรคใดๆ เกี่ยวกับการเรียนในหลักสูตร แต่ยังไม่มีอาจารย์ที่ปรึกษาปริญญานิพนธื หรือไม่สามารถ
ปรึกษากับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ได้ ซึ่งระบบดังกล่าวทาให้นักศึกษามีทางเลือกในการขอคาแนะนาและ
อาจจะได้แนวทางในการแก้ไขปัญหาที่หลากหลายขึ้น
ในกรณีที่นักศึกษาไม่สามารถบรรลุผลลัพท์การเรียนรู้ในขั้นต่างๆ (Stage LOs) ตามที่ได้กาหนดไว้ในหลักสูตร
นักศึกษาก็จะสามารถปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรืออาจารย์ที่ปรึกษาชั้นปีถึงปัญหาที่เกิดขึ้นและ
อาจารย์ที่ปรึกษาทั้งสองท่านก็จะมีหน้าที่ในการแนะนาแนวทางในการพัฒนาการเรียนรู้เพื่อให้บรรลุ ผลลัพท์
ตามที่ได้กาหนดได้ในที่สุด

3.3 การอุทธรณ์ของนักศึกษา
ในขั้นแรก หากนักศึกษาประสบปัญหากับการเรียนรายวิชาใดๆ ก็จะสามารถปรึกษาอาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์ หรือหากนักศึกษาประสบปัญหาในการติดต่อกับอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์ก็จะสามารถปรึกษา
อาจารย์ที่ปรึกษาชั้นปี โดยหากปัญหาที่เกิดขึ้นเป็นเรื่องที่เกี่ยวข้องกับผลการเรียน เช่น กรณีที่นักศึกษาเกิด
ความสงสัยเกี่ยวกับผลการประเมินในรายวิชาใดๆ อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์หรืออาจารย์ที่ปรึกษาชั้นปีก็จะ
นาปัญหาเข้าหารือในการประชุมภาควิชาฯ เมื่อนักศึกษาแสดงความจานงขอดูกระดาษคาตอบในการสอบกับ
อาจารย์ที่ปรึกษาแล้ว อาจารย์ผู้สอนรายวิชาดังกล่าวก็จะต้องแสดงวิธีการให้คะแนนรวมไปถึงอธิบายวิธีการ
ประเมินของอาจารย์ให้นักศึกษาเข้าใจโดยปราศจากข้อสงสัย ทั้งนี้ขั้นตอนการอุทธรณ์ดังกล่าวของหลักสูตร ก็
สอดคล้องเป็นไปตามข้อบังคับมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี ว่าด้วยวินัยนักศึกษา พ.ศ. 2546
หมวด 4 การอุทธรณ์

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


68

4. อาจารย์
4.1 การรับอาจารย์ใหม่
มี ก ารคั ด เลื อ กอาจารย์ ใ หม่ ต ามระเบี ย บและหลั ก เกณฑ์ ข องมหาวิ ท ยาลั ย โดยอาจารย์ ใ หม่ จ ะต้ อ ง
มีวุฒิการศึกษาระดับปริญญาเอกขึ้นไปในสาขาใดสาขาหนึ่งของวิศวกรรมโยธา
4.2 การมีส่วนร่วมของอาจารย์ในการวางแผน การติดตามและทบทวนหลักสูตร
อาจารย์ผู้ รับผิ ดชอบหลั กสู ตร และผู้สอน จะต้องประชุมร่วมกันในการวางแผนจัดการเรียนการสอน
ประเมินผลและให้ความเห็นชอบการประเมินผลทุกรายวิชา เก็บรวบรวมข้อมูลเพื่อเตรียมไว้สาหรับการปรับปรุง
หลักสูตร ตลอดจนปรึกษาหารือแนวทางที่จะทาให้บรรลุเป้าหมายตามหลักสูตร และได้บัณฑิตเป็นไปตาม
คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์
ในกรณีที่พบว่ามีปัญหาไม่สามารถจัดการเรียนการสอนเพื่อให้นักศึกษาบรรลุตามผลลัพท์การเรียนรู้ระดับ
หลักสูตร (PLOs) หรือผลลัพท์การเรียนรู้ของรายวิชาใดๆ (CLOs) ก็จะมีการนามาปรึกษาหารือในที่ประชุม
ร่วมกันระหว่างอาจารย์ผู้สอนและอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร เพื่อกาหนดแนวทางการแก้ไข เช่น มีการจัดหา
อุปกรณ์หรือซอฟท์แวร์ที่จาเป็นเพิ่มเติม จัดหาวิทยากรจากภาคอุตสาหกรรมที่เชี่ยวชาญเฉพาะในหัวข้อย่อยใน
เนื้อหา หรือ ทักษะต่างๆ ที่ได้กาหนดไว้มาเสริมในการเรียนการสอน เป็นต้น
4.3 การแต่งตั้งอาจารย์พิเศษ
อาจารย์พิเศษถือว่ามีความสาคัญมาก เพราะจะเป็นผู้ถ่ายทอดประสบการณ์ตรงจากการปฏิบัติมาให้กับ
นักศึกษา ดังนั้นจะมี การเชิญอาจารย์พิเศษหรือวิทยากร มาสอนหรือบรรยายพิเศษอย่างสม่าเสมอ และ
อาจารย์พิเศษนั้น ไม่ว่าจะสอนทั้งรายวิชาหรือบางชั่วโมงจะต้องเป็นผู้มีประสบการณ์ตรง หรือมีวุฒิการศึกษา
อย่างต่าปริญญาโท ตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตรระดับบัณฑิตศึกษา พ.ศ.2558

5. หลักสูตร การเรียนการสอน การประเมินผู้เรียน


ใช้ระบบคณะกรรมการบัณฑิตศึกษาประจาภาควิชาฯ ติดตาม ประเมิน และแก้ไข ให้เป็นไปตามประกาศ
คณะกรรมการประกันคุณภาพภายในระดับอุดมศึกษาที่เกี่ยวข้องและเป็นไปตามเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร
AUN-QA

6. สิ่งสนับสนุนการเรียนรู้
6.1 อุปกรณ์การสอน
ลาดับ ชื่ออุปกรณ์ จานวน
1 เครื่อง Universal Testing Machine 200,000 กก. 1 เครื่อง
2 เครื่อง Universal Testing Machine 100,000 กก. 1 เครื่อง
3 เครื่อง Universal Testing Machine 30,000 กก. 1 เครื่อง
4 เครื่อง Universal Testing Machine 20,000 กก. 1 เครื่อง

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


69

ลาดับ ชื่ออุปกรณ์ จานวน


5 เครื่องทดสอบกาลังอัด 150,000 กก. 1 เครื่อง
6 เครื่องทดสอบกาลังอัด 300,000 กก. 1 เครื่อง
7 เครื่องทดสอบกาลังอัด 500,000 กก. 1 เครื่อง
8 เครื่องทดสอบการคืบของไม้ 1 ชุด
9 เครื่องทดสอบแรงดัดของคอนกรีต 1 ชุด
10 เครื่องแยกขนาดอนุภาควัสดุ (Air Classifier) 1 เครื่อง
11 เครื่องทดสอบแรงดึงของมอร์ต้าร์ (อัตโนมัติ) 1 เครื่อง
12 เครื่องทดสอบระยะเวลาการก่อตัวของคอนกรีต 2 เครื่อง
13 เตาอบขนาด 1000 ลิตร 1 เครื่อง
14 เตาอบขนาด 300 ลิตร 3 เครื่อง
15 เครื่องชั่งน้าหนักละเอียด 5 เครื่อง
16 Data Logger 1 ชุด
17 เครื่อง Los Angeles Machine 1 เครื่อง
18 เครื่องทดสอบ Blaine Fineness 1 เครื่อง
19 เครื่ อ งทดสอบ Triaxial แบบ Pneumatic system พร้ อ มระบบควบคุ ม ด้ ว ย 1 เครื่อง
คอมพิวเตอร์
20 เครื่องทดสอบ Triaxial แบบ Mercury pot 1 เครื่อง
21 Oedometer 18 ชุด
22 Proving Ring 8 ชุด
23 Direct Shear 2 เครื่อง
24 Compaction Test และ Swelling Test 10 ชุด
25 เครื่องคอมพิวเตอร์ Work Station 3 เครื่อง
26 เครื่องคอมพิวเตอร์เพนเทียม III และ IV 150 เครื่อง
27 เครื่องพิมพ์เลเซอร์ 15 เครื่อง
28 Automatic Traffic Data Collection Equipment 1 เครื่อง
29 Traffic Volume and Speed Data Logger 1 ชุด
30 Traffic Noise Level Meters 4 ชุด
31 Microcomputer 20 เครื่อง
32 Los Angeles Abrasion Machine 2 เครื่อง
33 Marshall Stability and Flow Testing Machine 1 เครื่อง
34 Ductility Tester 1 เครื่อง

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


70

ลาดับ ชื่ออุปกรณ์ จานวน


35 Saybolt Fural Specific Gravity Analyzer 1 เครื่อง
36 Muffle Furnaces 1 เครื่อง
37 Asphalt Viscosity Analyzer 1 เครื่อง
38 Manual Traffic Counter 10 เครื่อง
39 Endoscopes 10 เครื่อง
40 Skid Resistant Tester 2 เครื่อง
41 Radar Gun 2 เครื่อง
42 เครื่องมือวัดความเร็วกระแสน้า (Current Meters) 1 ชุด
43 เครื่องมือวัดและบันทึกคลื่น และน้าขึ้นน้าลง 1 ชุด
44 เครื่องมือเก็บตัวอย่างน้าและตะกอน 1 ชุด
45 มาตรวัดน้าฝนอัตโนมัติ 1 ชุด
46 เครื่องวัดระดับน้าอัตโนมัติ 1 ชุด
47 โปรแกรมวิเคราะห์การขนส่ง “TRAN PLAN” 1 ชุด
48 โปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง ” STRUDEL” 1 ชุด
49 โปรแกรม MS/NASTRAN FOR WINDOWS 1 ชุด
50 โปรแกรมสาหรับการบริหารโครงการ 1 ชุด
51 โปรแกรมสาหรับการประมาณราคาก่อสร้าง 1 ชุด
52 โปรแกรม Finite Element : ABAQUS, Plaxis 1 ชุด
53 โปรแกรมวิเคราะห์งานวิศวกรรมปฐพี : SlopeW , SigmaW 1 ชุด
54 โปรแกรมวิเคราะห์โครงสร้าง “SAP2000” 1 ชุด
55 โปรแกรมวิเคราะห์การไหล : MIKE 11 1 ชุด
56 โปรแกรมวิเคราะห์แบบจาลองจราจร VISSIM 1 ชุด

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


71

6.2 ห้องสมุดและสารสนเทศ
ใช้ ส านั ก หอสมุ ด ของมหาวิ ท ยาลั ย เทคโนโลยี พ ระจอมเกล้ า ธนบุ รี ซึ่ ง มี ห นั ง สื อ ทางวิ ท ยาศาสตร์ แ ละ
เทคโนโลยีมากกว่า 124,404 รายการ และมีวารสารวิชาการต่างๆ กว่า 2,500 รายการ มีหนังสือที่เกี่ยวข้องกับ
เทคโนโลยีและวิศวกรรมไม่น้อยกว่า 15,000 เล่ม และระบบหนังสือ สิ่งพิมพ์ออนไลน์ ระบบสืบค้นและคลังข้อมูล
วารสารวิชาการออนไลน์ ระบบสนับสนุนการตรวจการลอกเลียนผลงาน
6.3 การจัดหาทรัพยากรการเรียนการสอนเพิ่มเติม
ประสานงานกับสานักหอสมุดกลาง ในการจัดซื้อหนังสือ และตาราที่เกี่ยวข้อง เพื่อบริการให้อาจารย์และ
นักศึกษาได้ค้นคว้า และใช้ประกอบการเรียนการสอน ในการประสานการจัดซื้อหนังสือนั้น อาจารย์ผู้สอนแต่ละ
รายวิชาจะมีส่วนร่วมในการเสนอแนะรายชื่อหนังสือ ตลอดจนสื่ออื่น ๆ ที่จาเป็น นอกจากนี้อาจารย์พิเศษที่เชิญมา
สอนบางรายวิชาและบางหัวข้อ ก็มีส่วนในการเสนอแนะรายชื่อหนังสือ สาหรับให้สานักหอสมุดกลางจัดซื้อหนังสือ
ด้วย
ในส่วนของภาควิชาฯจะมีห้องสมุดย่อย เพื่อบริการหนังสือ ตารา หรือวารสารเฉพาะทาง และภาควิชาฯ
จะต้องจัดสื่อการสอนอื่นเพื่อใช้ประกอบการสอนของอาจารย์ เช่น เครื่องมัลติมีเดียโปรเจคเตอร์ คอมพิวเตอร์
เครื่องถ่ายทอดภาพ 3 มิติ เครื่องฉายสไลด์ เป็นต้น นอกจากนี้สาหรับนักศึกษาที่ได้เริ่มทาวิทยานิพนธ์แล้วภาควิชา
จะมีการจัดเตรียมโต๊ะสาหรับทางานค้นคว้า ศึกษาวิจัย และดาเนินงานวิทยานิพนธ์ไว้ให้ด้วย

7. ตัวบ่งชี้ผลการดาเนินงาน (Key Performance Indicators)


ปีการศึกษา
ตัวบ่งชี้และเป้าหมาย
2564 2565 2566 2567 2568
1. อาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตรอย่างน้อยร้อยละ 80 มีสว่ นร่วม
ในการประชุมเพื่อวางแผนติดตาม และทบทวนการดาเนินงาน ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
หลักสูตร
2. มีรายละเอียดของหลักสูตร ตามแบบ มคอ.2 ที่สอดคล้องกับ
กรอบมาตรฐานคุณวุฒิแห่งชาติ หรือ มาตรฐานคุณวุฒิสาขา/ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
สาขาวิชา (ถ้ามี)
3. มีรายละเอียดของรายวิชา และรายละเอียดของประสบการณ์
ภาคสนามอย่างน้อยก่อนการเปิดสอนในแต่ละภาคการศึกษาให้ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
ครบทุกรายวิชา
4. จัดทารายงานผลการดาเนินการของรายวิชา และรายงานผล
การดาเนินการของประสบการณ์ภาคสนาม ภายใน 30 วัน หลัง ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
สิ้นสุดภาค การศึกษาที่เปิดสอนให้ครบทุกรายวิชา

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


72

ปีการศึกษา
ตัวบ่งชี้และเป้าหมาย
2564 2565 2566 2567 2568
5. จัดทารายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร ภายใน 60 วัน ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
หลังสิ้นสุดปีการศึกษา
6. มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาตามมาตรฐานผลการ
เรียนรู้อย่างน้อยร้อยละ 25 ของรายวิชาที่เปิดสอนในแต่ละปี ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
การศึกษา
7. มีการพัฒนา/ปรับปรุงการจัดการเรียนการสอน กลยุทธ์การ
สอน หรือ การประเมิ นผลการเรียนรู้ จากผลการประเมินการ ✓ ✓ ✓ ✓
ดาเนินงานที่รายงานในรายงานผลการดาเนินการของหลักสูตร
ปีที่แล้ว
8. 8. อาจารย์ใหม่ (ถ้ามี) ทุกคน ได้รับการปฐมนิเทศหรือแนะนา ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
ด้านการจัดการเรียนการสอน
9. อาจารย์ประจาหลักสูตรทุกคนได้รับการพัฒนาทางวิชาการ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
และ/หรือวิชาชีพ อย่างน้อยปีละหนึ่งครั้ง
10.จานวนบุคลากรสนับสนุนการเรียนการสอน (ถ้ามี) ได้รับการ ✓ ✓ ✓ ✓ ✓
พัฒนาวิชาการ และ/หรือวิชาชีพ ไม่น้อยกว่าร้อยละ 50 ต่อปี
11. ระดับความพึงพอใจของนักศึกษาปีสุดท้าย/บัณฑิตใหม่ที่มีต่อ ✓ ✓ ✓ ✓
คุณภาพหลักสูตร เฉลี่ยมากกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0
12. ระดับความพึงพอใจของผู้ใช้บัณฑิตที่มตี ่อบัณฑิตใหม่ ✓ ✓ ✓
เฉลี่ยมากกว่า 3.5 จากคะแนนเต็ม 5.0

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


73

หมวดที่ 8 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของหลักสูตร

1. การประเมินประสิทธิผลของการสอน
1.1 การประเมินกลยุทธ์การสอน
ในช่วงของการเตรียมการเรียนการสอน หลักสูตรจะมีการสื่อสารไปยังอาจารย์ผู้สอนรายวิชาต่างๆ ให้เข้าใจ
ถึงผลลัพท์การเรียนรู้ที่คาดหวังจากรายวิชานั้นๆ และได้มีการกาหนดไว้อย่างชัดเจนว่ากลยุทธ์ที่ใช้ในการเรียนการ
สอน และ วิธีการวัดผลนั้นจะต้องสอดคล้องกับผลลัพท์การเรียนรู้ที่ได้กาหนดไว้ ทั้งนี้อาจารย์ผู้สอนแต่ละท่านมี
อิสระในการกาหนดกลยุทธในการเรียนการสอนที่ตนเองคิดว่าเหมาะสมและมีประสิทธิภาพ ทั้งนี้ต้องมีการเก็บ
เอกสารการเรียนการสอนไว้พร้อมทั้งสรุปกลยุทธ์การเรียนการสอนที่ใช้ในเอกสารที่เกี่ยวข้อง เช่น มคอ.5 เป็นต้น
นอกจากนี้ หลั กสู ตรยังได้ส่ งเสริม ให้อาจารย์ทาแบบสอบถามนักศึกษาเกี่ ยวกั บวิ ธีการเรียนการสอนที่
ดาเนินการอยู่ เมื่อได้ดาเนินการสอนไปแล้วบางส่วน เช่น หลังการสอบกลางภาค เพื่อเป็นการสารวจความเห็น
ของนักศึกษาต่อวิธีการเรียนการสอนที่ใช้อยู่ ซึ่งจะเป็นประโยชน์ในปรับเปลี่ยนวิธีการเรียนการสอนให้เหมาะสม
มากขึ้น และเมื่อจบการเรียนการสอนในเทอมการศึกษานั้นๆ แล้วก็ควรทาแบบสอบถามเกี่ยวกับวิธีการเรียนการ
สอนเพิ่มเติมในปีการศึกษาถัดๆ ไป
ในปั จ จุ บั น อาจารย์ ผู้ ส อนส่ ว นใหญ่ อ้ า งอิ ง ระบบการประเมิ น การเรี ย นการสอนของมหาวิ ท ยาลั ย (ที่
ดาเนินการก่อนประกาศผลการศึกษา) เป็นหลักทั้งนี้เพื่อลดความซ้าซ้อนของการประเมินที่นักศึกษาต้องทา
อย่างไรก็ตามหลักสูตรก็ส่งเสริมให้อาจารย์ผู้สอนนาความเห็นของนักศึกษามาปรับปรุงวิธีการเรี ยนการสอนอย่าง
ต่อเนื่อง
1.2 การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอน
การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอนนั้นจะเป็นการเน้นไปที่การพัฒนาการสอนของ
อาจารย์ใหม่ที่มีประสบการณ์ในการสอนน้อยกว่า 5 ปีและยังอยู่ในระหว่างการพัฒนาเอกสารประกอบการสอน
เป็นหลัก โดยมีการมอบหมายให้มีอาจารย์พี่เลี้ยงเพื่อให้คาแนะนาในการเตรียมเอกสารประกอบการสอนและ
กาหนดกลยุทธ์ที่ใช้ในการเรียนการสอน โดยการประเมินทักษะในการใช้แผนกลยุทธ์การสอนนั้นจะอาศัยการ
สังเกตการณ์ในห้องเรียนเป็นหลัก ทั้งนี้บรรยากาศในการแนะนาจะเป็นไปเพื่อส่งเสริมให้อาจารย์ใหม่คลายความ
วิตกกังวลเกี่ยวกับการสอนลง
สาหรับอาจารย์ที่มีประสบการณ์สอนมาระยะเวลาหนึ่งแล้วมักจะมีแนวทางการสอนของตัวเองที่ชัดเจนและ
อาจารย์ทุกท่านในหลักสูตรนี้มักได้คะแนนประเมินเกี่ยวกับกลยุทธการเรียนการสอนในระดับสูง แผนกลยุทธ์การ
สอนจึงไม่ใช่ปัญ หาสาหรับอาจารย์ในกลุ่มนี้ อย่างไรก็ตามหลักสูตรได้มีการส่งเสริมให้อาจารย์ทุกท่านมีการ
ปรับปรุงเนื้อหาการสอนให้ทันสมัยตามมาตรฐานเชิงวิศวกรรมที่เกี่ยวข้องอยู่เป็นระยะ ซึ่งได้รับความร่วมมือจาก
อาจารย์ผู้สอนทุกท่านเป็นอย่างดี
ทั้งนี้การประเมินทักษะของอาจารย์ในการใช้แผนกลยุทธ์การสอนนั้นจะเป็นไปตามเกณฑ์และแนวปฏิบัติ
ของ KMUTT-PSF (KMUTT- Professional Standard Framework: Learning and Teaching)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


74

2. การประเมินหลักสูตรในภาพรวม
การประเมินหลักสูตรในภาพรวมนั้นจะอ้างอิงแบบสอบถามเกี่ยวกับคุณภาพของหลักสูตรในแง่มุมต่างๆ
เพื่อสรุปข้อเด่นข้อด้อยของหลักสูตรในภาพรวม โดยสารวจข้อมูลจาก นักศึกษาปีสุดท้าย (บัณฑิตที่เพิ่งสาเร็จ
การศึกษา), ผู้ว่าจ้างบัณฑิต (ที่เพิ่งสาเร็จการศึกษาไปเป็นระยะเวลาไม่เกิน 5 ปี) ซึ่งข้อมูลในส่วนนี้มีประโยชน์
เป็นอย่างมากในการพิจารณาว่าหลักสูตรมีความสอดคล้องกับความต้องการของภาคอุตสาหกรรมหรือไม่ และ
สามารถกาหนดแนวทางในการปรับเปลี่ยนผลลัพท์การเรียนรู้ และกลยุทธ์ในการเรียนการสอนได้อย่างเหมาะสม
นอกเหนือจากการสอบถามความเห็นจากบัณฑิตและผู้ ใช้งานบัณฑิตดังที่ได้กล่าวไว้ข้างต้น หลักสูตรก็
ยังได้มีการเชิญผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกซึ่งมีประสบการณ์ในการพัฒนาการเรียนการสอนในระดับบัณฑิตศึกษาและ
มีประสบการณ์และความรู้เกี่ยวกับหลักสูตรสมัยใหม่ในสถาบันชั้นนาทั่วโลก ซึ่งความเห็นที่ได้จากผู้ทรงคุณวุฒิใน
ส่วนนี้จะเป็นแนวทางให้หลักสูตรสามารถกาหนดแนวทางในการพัฒนาให้สอดคล้องกับแนวโน้มการเปลี่ยนแปลง
ของการศึกษาในระดับบัณฑิตศึกษาได้
3. การประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดหลักสูตร
หลักสูตรมีการดาเนินการเพื่อประเมินผลการดาเนินงานตามรายละเอียดของหลักสูตร ตามขั้นตอนการ
ประกันคุณภาพหลักสูตรและจัดการเรียนการสอนตามกรอบมาตรฐานคุณวุฒิระดับอุดมศึกษาแห่งชาติ และเกณฑ์
มาตรฐานหลักสูตร AUN-QA โดยมีการจัดทาเอกสารประเมินหลักสูตรรายปีเพื่อสรุปการดาเนินงานในแต่ละปี
การศึกษา
4. การทบทวนผลการประเมินและวางแผนปรับปรุง
• รวบรวมข้อเสนอแนะ/ข้อมูล จากการประเมินจากนักศึกษา ผู้ใช้บัณฑิต ผู้ทรงคุณวุฒิ
• วิเคราะห์ทบทวนข้อมูลข้างต้น โดยผู้รับผิดชอบหลักสูตร / ประธานหลักสูตร
• เสนอการปรับปรุงหลักสูตรและแผนกลยุทธ์ (ถ้ามี)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


75

เอกสารแนบ
ภาคผนวก ก. คาอธิบายรายวิชา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชา
ภาคผนวก ข. ตารางเปรียบเทียบการเปลี่ยนแปลงระหว่างหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง
ภาคผนวก ค. ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร
ภาคผนวก ง. คาสั่งแต่งตั้งคณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร
ภาคผนวก จ. ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา
ภาคผนวก ฉ. บทสรุปผู้บริหาร

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


76

ภาคผนวก ก.คาอธิบายรายวิชา และผลลัพธ์การเรียนรู้ของรายวิชา


LNG 550 วิชาปรับพืน้ ภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา 2(1-2-6)
(Remedial English Course for Post Graduate Students)
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
รายวิชานี้มุ่งเน้นปรับพื้นฐานภาษาอังกฤษและทักษะที่จาเป็นของนักศึกษาเพื่อให้อยู่ในระดับที่
สามารถเข้าเรียน วิชา LNG 600 ได้อย่างมีประสิทธิภาพ ตลอดจนส่งเสริมให้นักศึกษาเกิดความ
มั่นใจในการใช้ภาษาอังกฤษ ในด้านเนื้อหาวิ ชา ไม่ได้กาหนดเนื้อหาที่แน่นอนแต่มุ่งเน้นการแก้ไข
ปั ญ หาการเรี ย นภาษาอั ง กฤษของนั ก ศึ ก ษา โดยเฉพาะประเด็ น ที่ นั ก ศึ ก ษามี ปั ญ หามากที่ สุ ด
นอกจากนี้ยังส่งเสริมให้นักศึกษาเรี ยนรู้การจัดการการเรียนด้วยตนเองอันเป็นการพัฒนาทักษะการ
เรียนรู้ภาษาอังกฤษ โดยไม่ต้องพึ่งครูผู้สอน
This course aims to instill the background language and skills necessary for
undertaking LNG 600 and to raise the students’ confidence in using English. There
will be no predetermined focus of the course, but instead it will concentrate on those
areas where the students are weakest and need most improvement. The classroom
teaching and learning will be supported by self-directed learning to allow the students
to improve their language and skills autonomously.
ผลลัพธ์การเรียนรู้:
1. Identify main ideas and supporting details
2. Write different types of sentences and paragraphs
3. Express and discuss ideas and opinions
4. Select appropriate resources for self-study
5. have responsibility and ethical awareness

LNG 600 วิชาภาษาอังกฤษระหว่างการเรียนในหลักสูตรสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา


(In-sessional English Course for Post Graduate Students) 3(2-2-9)
วิชาบังคับก่อน : LNG 550 วิชาปรับพื้นภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา หรือผ่าน
การสอบ placement test ได้คะแนนตามเกณฑ์ที่ภาควิชากาหนด
รายวิชานี้มีวัตถุประสงค์เพื่อพัฒนาทักษะภาษาอังกฤษที่เกี่ยวขัองกับการเรียนของนักศึกษาระดับ
บัณฑิตศึกษาด้านวิศวกรรมศาสตร์ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี โดยเน้นทักษะการฝึกปฏิบัติ แต่ไม่
เน้นหนักที่เนื้อหาไวยากรณ์โดยตรง รายวิชานี้มุ่งเน้นการใช้ภาษาอังกฤษที่ตรงกับความต้องการใน
การใช้ภาษาของนักศึกษา โดยเฉพาะด้านการอ่านและการเขียนซึ่งนักศึกษาต้องใช้ในการทาโครงงาน
ในรายวิชานักศึกษาจะได้ฝึกปฏิบัติขั้นตอนการทาโครงงานตั้งแต่การหาข้อมูลอ้างอิง จนถึงการเขียน

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


77

รอบสุดท้าย นอกจากนี้ นักศึกษาจะได้เรียนรู้กลยุทธ์การเรียนเพื่อฝึกทักษะการเรียนรู้ภาษาอังกฤษ


ด้วยตนเอง เพื่อนาไปใช้ในการสื่อสารที่แท้จริงนอกห้องเรียนต่อไป
This course aims to develop English language skills relevant to mature students in
Graduate Degree Programs in Engineering, Science and Technology. It will be based
on practical skills, but will not be yet another grammar course. Rather its focus will
be on the real language demands, particularly in reading and writing, faced by
students in the course of their studies. It is project-focused and simulates the stages
in preparing and presenting research, from finding references to writing a final draft.
The course will equip students with language learning strategies to facilitate ongoing
autonomous learning and will emphasize language use not usage, real communication
not classroom practice.
ผลลัพธ์การเรียนรู้:
1. Identify main ideas and supporting details
2. Take notes from reading and listening
3. Write a summary
4. Write an argumentative essay
5. Make a presentation and discuss the topics

MTH 665 เทคนิคทางคณิตศาสตร์ 3 (3 – 0 – 9)


Mathematical Techniques
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
เทคนิ ค การหาค่ า เหมาะสมที่ สุ ด วิ ธี ก ารวิ เ คราะห์ โ ดยใช้ ล ากรองจ์ multiplier วิ ธี Steepest-
assent โปรแกรมพลศาสตร์ โปรแกรมแบบเชิงเส้น การวิเคราะห์เชิงเรขาคณิต แคลคูลัสวาริเอชั่น
วิ ธี ก ารวิ เ คราะห์ ด้ ว ยคอมพิ ว เตอร์ เ พื่ อ หาค าตอบของปั ญ หาแบบเชิ ง เส้ น แบบไร้ เ ชิ ง เส้ น
การวิเคราะห์ด้วยวิธีเชิงตัวเลข การหาคาตอบของสมการอนุพันธ์สามัญและสมการอนุพันธ์ย่อย
Optimization techniques, Lagrange multiplier method, steepest- assent method,
dynamic programming. linear programming, geometric programming, calculus of
variations, computational methods, solution of system of linear and nonlinear
equations, numerical interpolation and numerical integration, solution of ordinary
and partial differential equations.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


78

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เทคนิคการหาค่าเหมาะที่สุดแบบต่างๆได้
2. นักศึกษาสามารถคานวณแคลคูลัสของการแปรผันได้
3. นักศึกษาสามารถคานวณการประมาณค่าในช่วงและการประมาณค่าปริพันธ์เชิงตัวเลขได้
4. นักศึกษาสามารถคานวณผลเฉลยของระบบสมการเชิงเส้นและไม่เชิงเส้นเชิงตัวเลขได้
5. นักศึกษาสามารถคานวณผลเชิงตัวเลขของสมการเชิงอนุพันธ์สามัญและสมการเชิงอนุพันธ์ย่อย
ได้

MTH 666 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกร 3(3-0-9)


Advanced Mathematics for Engineers
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
พีชคณิตเชิงเส้นและทฤษฎีแมทริกซ์ การหาผลเฉลยของสมการอนุพันธ์โดยสมการอนุพันธ์ย่อย
แคลคูลัสของการแปรผันวิธีการเชิงตัวเลข
Linear algebra and matrix theory, Solution to differential equations, emphasize on
partial differential equations, Calculus of variations, Numerical methods.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายพีชคณิตเชิงเส้นและทฤษฎีเมทริกซ์ และสามารถประยุกต์ใช้ได้
2. นักศึกษาสามารถแก้ปัญหาโดยใช้แคลคูลัสของการแปรผันได้
3. นักศึกษาสามารถหาผลเฉลยเชิงตัวเลขของสมการเชิงอนุพันธ์ย่อยได้

CVE 701 ทักษะสาคัญสาหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา 1(0-3-3)


Essentials for Professional Civil Engineering
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ความสาคัญการเรียนรู้ด้วยตนเอง, ทักษะการบริหารจัดการงานเบื้องต้น, พื้นฐานการสื่อสารในการ
ทางานร่วมกับผู้อื่น , พื้นฐานการทาวิจัยเพื่อแก้ปัญหาเชิงวิศวกรรม, การค้นคว้าข้อมูลเพื่องาน
วิศวกรรมและวิจัย , แนวทางการเตรียมเอกสารเชิงวิศวกรรมและวิจัย , การวิเคราะห์ข้อมูลเชิง
วิศวกรรม, เทคโนโลยีสมัยใหม่ในงานวิศวกรรมโยธา, จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม และสิทธิ
ทางปัญญา
Signifance of self- learning, Basic management skills, Basic communication skills for
collaboration, Basic research methodology for problem solving, Literature reivew for
engineering work and research, Guideline for preparation of engineering and

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


79

research documents, Analysis of engineering information, Modern technology


in civil engineering, Moral and Ethics, Right in Intellectural properties
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายความหมายของการเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
2. นักศึกษาสามารถบริหารจัดการงานและรับผิดชอบในการดาเนินงานให้สาเร็จลุล่วงไปได้
3. นักศึกษาสามารถสื่อสารและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้
4. นักศึกษาสามารถวางแผนการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมได้
5. นักศึกษาสามารถปรับตัวและทางานภายใต้ความกดดันได้
6. นักศึกษาสามารถใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่สาหรับงานวิศวกรรมในสาขาความเชี่ยวชาญได้
7. นักศึกษาสามารถอธิบายความสาคัญของหลักจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม และไม่ละเมิด
สิทธิทางปัญญาของผู้อื่น
8. นักศึกษารับฟังความเห็นที่แตกต่าง ให้เกียรติและเคารพคุณค่าในงานของผู้อื่น

CVE 630 กลศาสตร์ของแข็งที่มีความต่อเนื่อง 3 (3 - 0 - 9)


Continuum Solid Mechanics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
พีชคณิตของเวคเตอร์และเทนเซอร์ กลศาสตร์ของการเสียรูป พิกัดและรายละเอียดแบบลากราง
และออยเลอร์ อนุพันธ์ของวัสดุเทียบกับเวลา เกรเดียนของการเสียรูปร่าง ความเครียดที่มีขนาดโต
การหมุนและการยืด เกรเดียนของความเร็ว อั ตราการเสียรูป การเหวี่ ยง กฎพื้นฐาน (กฎการ
สมดุล) การทรงมวล การทรงโมเมนตัมเชิงเส้นและเชิงมุม การทรงพลังงาน หลักการของความเค้น
ความเค้นแบบคอชี เทนเซอร์ความเค้น สมการสมดุล การแปลงความเค้น ความเค้นหลักและ
ทิศทางหลัก สมการความสัมพันธ์ระหว่างความเค้นและความเครียด ทฤษฎีความยืดหยุ่นเชิ งเส้น
หลักการพลังงานและการแปรผัน
Vector and tensor algebra, kinematics of deformation, Lagrangian and Eulerian
coordinates and descriptions, material derivative, deformation gradients, finite strain,
rotations and stretches, velocity gradients, rate of deformations, vorticity,
fundamental ( balance) laws and equations, mass conservation, linear and angular
momentum conservation, energy conservation, concept of stress, Cauchy stress,
stress tensor, equilibrium equations, stress transformation, principal stresses and

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


80

directions, constitutive equations, linear elasticity theory, energy and variational


principles
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.นักศึกษาสามารถเขียนสมการทางกลศาสตร์ของแข็งทีต่ ่อเนื่องในรูปแบบเทนเซอร์และอธิบาย
ความหมายของสมการดังกล่าวได้
2.นักศึกษาสามารถเลือกใช้ระบบพิกัดลากรางและออยเลอร์เพื่อแก้ปัญหากลศาสตร์แบบไม่เชิงเส้น
ได้อย่างถูกต้อง
3.นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้หลักการสมดุลในทางกลศาสตร์ในการวิเคราะห์ปัญหาการเสียรูป
ของวัตถุที่มีความต่อเนื่อง

CVE 631 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมโยธา 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Mathematics for Civil Engineering
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
พีชคณิตและเรขาคณิตของเวคเตอร์ ปริภูมิเวคเตอร์เชิงเส้นและเมทริกซ์ แคลคูลัสของการแปรผัน
สมการอนุพันธ์เชิงเส้น สมการอนุพันธ์ย่อยเชิงเส้น สมการปริพันธ์ การวิเคราะห์เชิงตัวเลข
Algebra and geometry of vectors, linear vector spaces and matrices, calculus of
variations, linear differential equations, partial differential equations, integral
equations, numerical analysis.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ วิธีการรวมทั้งเทคนิคต่างๆในคณิตศาสตร์ขั้นสูง
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์วิธีการต่างๆทางคณิตศาสตร์ในการแก้ปัญหาทางวิศวกรรมโยธาได้
อย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ

CVE 632 การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Design of Concrete Structures
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การออกแบบคานทั่วไปและคานลึกเพื่อรับแรงดัดและแรงเฉือน การวิเคราะห์และออกแบบคานรูป
ตัวทีและรูปตัวไอ ผลกระทบของแรงตามแนวแกนต่อการรับแรงเฉือนของคาน เสาสั้นและเสายาว
ผลกระทบของเหล็กปลอกเดี่ยวและเหล็กปลอกเกลียว เสารับแรงตามแนวแกนและแรงดัด การโก่ง
เดาะของเสา ผลกระทบของ P-Δ เสาที่ไม่มีการเซและมีการเซทางด้านข้าง การออกแบบแผ่นพื้น

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


81

และแผ่นพื้นไร้คานโดยวิธีตรงและวิธีเทียบเท่า แรงเฉือนในแผ่นพื้นไร้คาน การควบคุมรอยร้าวและ


การแอ่นตัวของคาน
Design of normal and deep beams for flexural and shear, analysis and design of T-
beam and I-section, effect of axial force on shear strength of beam. Short and long
columns, effect of lateral ties and spirals, compression plus bending, bucking load
of column, P- Δ effect, braced and unbraced frames. Design of slabs and flat slabs
by using direct and equivalent methods, shear in flat slab. Control of deflections
and cracks of beams.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการออกแบบทั้งวิธีหน่วยแรงใช้งานและวิธีกาลังได้
2. นักศึกษาสามารถออกแบบองค์อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กแบบต่างๆ และระบุรายละเอียดการ
จัดวางเหล็กเสริมที่จาเป็นในองค์อาคารเหล่านั้นได้
3. นักศึกษาสามารถคานวณการแอ่นตัวและความกว้างของรอยร้าวที่จะเกิดขึ้นในองค์อาคาร
คอนกรีตเสริมเหล็กภายใต้สภาวะใช้งานได้

CVE 633 การออกแบบคอนกรีตอัดแรงขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Design of Prestressed Concrete
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การวิเคราะห์และออกแบบคานคอนกรีตอัดแรงภายใต้แรงดัดหลักการรวมหน่วยแรง หลักการแรงคู่
ควบภายใน หลักการแรงเทียบเท่า การออกแบบเพื่อรับแรงเฉือนและแรงบิด การออกแบบองค์
อาคารในส่วนปลายยึดด้วยแบบจาลองพลาสติกแบบสมดุล การวิเคราะห์หน่วยแรงในคานคอนกรีต
อัดแรงแบบต่อเนื่อง ลิเนียร์ทรานส์ฟอร์เมชั่นและแนวคอนคอร์แดนท์ของเหล็กเสริมอัดแรงในคาน
ต่อเนื่อง การออกแบบพื้นไร้คานคอนกรีตอัดแรงแบบดึงลวดทีหลัง
Analysis and design of prestressed concrete flexural members, concept
of combined stress, internal couple concept, equivalent load concept, design for
capacity against shear & torsion, end zone design according to equilibrium- based
plasticity model, analysis for stress in continuous prestressed concrete beams, linear
transformation and concordant profilein continuous member, design of post
tensioned flat slab.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นั ก ศึ ก ษาสามารถอธิ บ ายหลัก การคอนกรีต อั ด แรงและผลของการอั ด แรงต่ อ พฤติ กรรมของ
โครงสร้างได้
2. นักศึกษาสามารถออกแบบองค์อาคารคอนกรีตเสริมเหล็กเพื่อรับแรงดัด แรงเฉือน และแรงบิดได้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


82

4. นักศึกษาสามารถออกแบบการเสริมเหล็กในส่วนปลายของโครงสร้างคอนกรีตอัดแรงได้
3. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์หรือออกแบบโครงสร้างคานคอนกรีตอัดแรงแบบต่อเนื่อง พื้นคอนกรีต
อัดแรงแบบดึงลวดที่หลังได้

CVE 634 การออกแบบและการใช้งานคอนกรีตพิเศษ 3 (3 – 0 – 9)


Design and Application of Special Concrete
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การออกแบบคอนกรีตโดยพิจารณาสมรรถนะ แบบจาลองทางคณิตศาสตร์พื้นฐานสาหรับพฤติกรรม
ของคอนกรีต เทคนิคพิเศษในการศึกษาพฤติกรรมของคอนกรีต แนวทางในการออกแบบและใช้งาน
คอนกรีตพิเศษแบบต่างๆ คอนกรีตกาลังสูง คอนกรีตขยายตัว คอนกรีตมวลเบา คอนกรีตจี้เขย่าด้วย
ตัวเอง คอนกรีตเสริมเส้นใย คอนกรีตความร้อนต่า คอนกรีตป้องกันรังสี มาตรฐานที่เกี่ยวข้องและ
กรณีศกึ ษา
Performance-based design of concrete, basic mathematical modelling of concrete’s
properties, Special techniques for study on concrete behaviors, Guideline for design
and application of various types of special concrete, High-strength concrete,
Expansive concrete, Lightweight Concrete, Self-consolidating concrete, Fiber-
reinforced concrete, Low-heat concrete, Concrete for Radioactive Protection, Related
standard of practice and case studies
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการของการออกแบบคอนกรีตโดยพิจารณาสมรรถนะ
2.นักศึกษาสามารถอธิบายลักษณะของคอนกรีตพิเศษแต่ละประเภทรวมถึงลักษณะของงานก่อสร้าง
ที่เหมาะสมกับการใช้งานคอนกรีตเหล่านัน้
3.นั ก ศึ ก ษาสามารถประยุ ก ต์ ใ ช้ ส มการคณิ ต ศาสตร์ เ พื่ อ อธิ บ ายพฤติ ก รรมของคอนกรี ต
เช่น การทาปฏิกิริยา การการไหล การเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิ หรือการพัฒนาโครงสร้างจุลภาคได้

CVE 636 การออกแบบโครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Steel Design
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
พฤติกรรมการโก่งเดาะเฉพาะที่ในองค์อาคารรับแรงอัด การออกแบบองค์อาคารรับแรงอัดที่มีหน้า
ตัดแบบสมมาตรแกนเดียวและไม่สมมาตร การออกแบบองค์อาคารรับแรงดัด การออกแบบองค์
อาคารรั บ แรงเฉื อ น การออกแบบช่ อ งเปิ ด ในองค์ อ าคาร การออกแบบเพื่ อ รั บ แรงบิ ด
การออกแบบค้ายันในเบื้องต้น การออกแบบโครงสร้างแบบ Composite ในเบื้องต้น

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


83

Local buckling in compression members, design of singly symmetric and non-


symmetric compression members, comprehensive design of flexural members,
shear strength design, design of web openings, design of torsional members,
introduction to design of bracing, introduction to design of composite structure.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถออกแบบโครงสร้างเหล็กแบบ Built-up เพื่อรับแรงอัด
2. นักศึกษาสามารถออกแบบโครงสร้างเหล็กแบบ Built-up เพื่อรับแรงอัดแรงดัดและแรงเฉือนโดย
ใช้ Post-buckling strength
3. นักศึกษาสามารถออกแบบโครงสร้างแบบ composite

CVE 637 วิธีการคานวณในกลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 - 0 – 9)


Computational Methods in Structural Mechanics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
วิธีไฟไนดิฟเฟอเรน วิธีชิ้นส่วนย่อยขอบเขต วิธีไร้โครงข่าย วิธีอินทิเกรตโดยตรงและวิธีการคานวณ
ขั้นสูงอื่นๆ นามาประยุกต์กับปัญหากลศาสตร์โครงสร้าง ภาษาคอมพิวเตอร์ระดับสูง เช่น แมตแลบ
โฟทราน ในการพัฒนาโปรแกรมการคานวณเพื่อแก้ปัญหาการดัดและเสถียรภาพของชิ้นส่วนรับแรง
แนวแกนของชิ้นส่วนรับแรงดัด โครงสร้างแผ่นบาง และโครงสร้างเปลือกบาง
Finite difference, boundary elements, meshless, direct integration and other
advanced computational methods for applications in structural mechanics, high level
languages such as Matlab and Fortran for development of program for solving bending
and stability problems of bars, beams, plates, and shells.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ วิธีการรวมทั้งเทคนิคต่างๆในกลศาสตร์คานวณโครงสร้างขั้นสูง
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์วิธีการคานวณต่างๆ ในกลศาสตร์โครงสร้างเพื่อการแก้ปัญหาทาง
วิศวกรรมโครงสร้างได้อย่างถูกวิธีและมีประสิทธิภาพ
3. นักศึกษาสามารถพัฒนาซอฟแวร์หรือใช้ซอฟแวร์สาเร็จรูปเพื่อแก้ปัญหากลศาสตร์โครงสร้าง.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


84

CVE 638 ทฤษฎีของแผ่นบางและเปลือกบาง 3 (3 - 0 – 9)


Theory of Plates and Shells
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ทฤษฎีการเคลื่อนตัวน้อยของแผ่นบางการดัดของแผ่นบางในระบบพิกัดฉากที่มีเงื่อนไขขอบเขตต่างๆ
กัน การดัดของแผ่นบางรูปวงกลม วิธีการพลังงาน ความเครียดของแผ่นบาง การดัดของแผ่ นบาง
ภายใต้น้าหนักบรรทุกแบบต่างๆรวมทั้งแรงในระนาบของแผ่นบาง การดัดของแผ่นบางแบบแอนไอ
โซทรอปิค การศึกษาเบื้องต้นของเปลือกบางที่ปราศจากการดัด
Small deflection theory of plates, bending of rectangular plates with various edge
conditions, bending of circular plates, strain energy method of plates, bending of
plates under lateral loads and in- plane forces, bending of anisotropic plates,
introduction to deformation of shells without bending.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฎีของแผ่นพื้นบาง 2 มิติรูปแบบต่างๆ ที่เสียรูปน้อยได้
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์วิธีการทางคณิตศาสตร์ในการวิเคราะห์ของโครงสร้างแผ่นพื้นบางรับ
น้าหนักบรรทุกแบบต่างๆ
3. นักศึกษาสามารถคานวณหาค่าแรงภายในและโมเมนต์ดัดของโครงสร้างแผ่นพื้นบางรับน้าหนัก
บรรทุกแบบต่างๆได้อย่างถูกต้อง
4. นักศึกษาสามารถสร้างแบบจาลองในการวิเคราะห์ปัญหาโครงสร้างแผ่นพื้นบางที่มีที่รองรับแบบ
ต่างๆ

CVE 639 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3 (3 – 0 – 9)


Structural Stability
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การวิเคราะห์คาน-เสา การโก่งเดาะของคานและโครงข้อแข็ง อิลาสติกา การโก่งเดาะของคานบน
ฐานรากยืดหยุ่น การโก่งเดาะโดยแรงบิด การโก่งเดาะโดยแรงดัดและแรงบิด การโก่งเดาะด้านข้าง
ของคาน การโก่งเดาะของวงแหวน คานโค้ง และโครงสร้างทรงโค้งตั้งและ การโก่งเดาะของแผ่นบาง
Analysis of beam-columns, buckling of beams and frames, elastica, buckling of beams
on elastic foundation, torsional buckling, flexural- torsional buckling, lateral buckling
of beams, buckling of rings, curved beams and arches, buckling of plates.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


85

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการ วิธีการรวมทั้งเทคนิคต่างๆในการคานวณค่าน้าหนักบรรทุก
วิกฤตของโครงสร้างรับแรงตามแนวแกนได้อย่างถูกต้อง
2.นักศึกษาสามารถประยุกต์วิธีการต่างๆ เพื่อคานวณค่าน้าหนักบรรทุกวิกฤตของโครงสร้างทั้งแบบ
2 มิติและ 3 มิติ
3.สามารถสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ของปัญหาโครงสร้างรั บแรงตามแนวแกนที่เกิดการเสีย
รูปมากได้อย่างถูกต้องแม่นยา

CVE 640 กลศาสตร์วสั ดุและโครงสร้างขั้นสูง (3 – 0 – 9)


Advanced Mechanics of Materials and Structures
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ความสัมพันธ์ของหน่วยแรงและความเครียด การวิบัติและข้อกาหนดของการออกแบบ ทฤษฎีของ
หน่วยแรงและความเครียด ความสัมพันธ์แบบเชิงเส้นของหน่วยแรง ความเครียด และอุณหภูมิ
หลักการพลังงานในการวิเคราะห์โครงสร้าง ทฤษฎีของ Castigliano เกีย่ วกับการโก่งตัว การบิด
ของหน้าตัดคานรูปต่างๆการดัดแบบไม่สมมาตรของคานตรง ศูนย์กลางของแรงเฉือนของหน้าตัด
ที่มีผนังบางคานโค้งคานที่วางอยู่บนฐานรากที่ยืดหยุ่นได้
Stress-strain relations, failure and limits on design, theories of stress and strain,
linear stress-strain-temperature relationships, energy principles in structural analysis,
Castigliano’stheorems on deflections, torsion, nonsymmetrical bending of straight
beams, shear center for thin-wall beams cross sections, curved beams, beams on
elastic foundations.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการของการวิเคราะห์ทางกลศาสตร์วัสดุและโครงสร้างได้
2. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหาทางกลศาสตร์วัสดุและโครงสร้างขั้นสูงได้
3. นักศึกษาสามารถประยุกต์ความรู้ในการศึกษาและวิจัยทางกลศาสตร์โครงสร้าง

CVE 641 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Concrete Technology
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ทบทวนเรื่องคอนกรีตเทคโนโลยี สารผสมเพิ่มในคอนกรีต เถ้าถ่านหิน ซิลิกาฟูม เถ้าปาล์มน้ามัน
เถ้าชานอ้อย ตะกรันเตาถลุงเหล็ก วัสดุประสานที่ไม่มีปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ คอนกรีตกาลังสูง ความ
ทนทานของคอนกรีต

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


86

Review of concrete technology, chemical admixtures for concrete, fly ash, silica fume,
palm oil fuel ash, bagasse ash, blast- furnace slag, concrete binder without Portland
cement, high strength concrete, durability of concrete.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายกลไกของวัสดุปอซโซลานแต่ละประเภทได้
2. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการในการผลิตคอนกรีตกาลังสูง
3. นักศึกษาสามารถอธิบายแนวคิดเกี่ยวกับความทนทานของคอนกรีต
4. นักศึกษาสามารถอธิบายสมบัติของวัสดุประสานที่ไม่มีปูนซีเมนต์ปอร์ตแลนด์ได้

CVE 642 พลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 - 0 - 9)


Structural Dynamics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การจาลองโครงสร้างสาหรับการวิเคราะห์พลศาสตร์ การสั่นแบบธรรมชาติและการสั่นโดยมีแรง
กระทาของระบบดีกรีอิสระเดี่ยวและหลายๆ ดีกรี การตอบสนองของโครงสร้างเมื่อรับแรงกระแทก
แรงลม และ แรงแผ่นดินไหว วิธีการสเปกตรัมของผลตอบสนอง ความรู้เบื้องต้นมาตรฐานการ
ออกแบบโครงสร้างต้านทานแผ่นดินไหว
Idealization of structures for dynamic analysis, free and forced vibrations of single and
multiple degree of freedom systems, response of structures subjected to blast, wind,
and earthquake loads, response spectrum method, introduction to seismic design
codes.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.นักศึกษาสามารถวิเคราะห์หาคุณสมบัติทางพลศาสตร์ของโครงสร้างได้
2.นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และหาผลตอบสนองของโครงสร้างภายใต้แรงกระทาแบบพลศาสตร์

CVE 644 ทฤษฎีของโครงสร้างเปลือกบาง 3 (3 - 0 - 9)


Theory of Thin Elastic Shells
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ความรู้พื้นฐานเกี่ยวกับดิฟเฟอเรนเชียลจีโอแมทรี สมการพื้นฐานของเปลือกบางรูปทรงต่างๆ สมการ
เฉพาะของเปลือกบางทรงกระบอก สมการเปลือกบางเนื่องจากการหมุนรอบแกน เป็นต้น
Elements of differential geometry, basic equations for shell of arbitrary shape, specific
equations for cylindrical shells of revolution, etc.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


87

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับเรขาคณิตของชิ้นส่วนเล็กๆ ได้
อย่างถูกต้อง
2. นักศึกษาสามารถระบุพารามิเตอร์สาคัญของโครงสร้างผนังบางรูปทรงต่างๆ ได้
3. นักศึกษาสามารถประยุกต์วิธีการทางกลศาสตร์ของแข็งในการวิเคราะห์โครงสร้างผนังบาง
หมุนรอบแกน
4. นักศึกษาสามารถสร้างแบบจาลองเพื่อคานวณหาค่าแรงภายในและโมเมนต์ดัดของโครงสร้างผนัง
บางรับน้าหนักบรรทุกแบบต่างๆได้

CVE 645 วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์ในกลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 - 0 - 9)


Finite Element Method in Structural Mechanics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การจาลองและการคานวณเมทริกซ์ของชิ้นส่วนย่อยโดยใช้หลักการของการเคลื่อนที่เสมือน แนะนา
วิธีการสร้างชิ้นส่วนย่อยโดยใช้ไอโซพาราเมทริกซ์ การประยุกต์ปัญหาต่างๆ ในการวิเคราะห์ความ
เค้นทั้งในสองและสามมิติของวัสดุแข็ง ปัญหาการดัดของแผ่นบางและเปลือกบาง ปัญหาการโก่ง
เดาะและการสั่น
Formulation and calculation of the finite element matrices using the principle of
virtual displacements. Introduction to isoparametric family of elements.Applications
include stress analysis of two and three-dimensional solids, bending of plates and
shells, buckling and vibration problems.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการของวิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์ได้
2. นักศึกษาสามารถกาหนดค่าสติฟเนฟของชิ้นส่วนโครงสร้า งแบบ 2 มิติอย่างง่าย และอธิบาย
ความหมายของค่าสติฟเนสได้อย่างถูกต้อง
3. นักศึกษาสามารถสร้างฟังก์ชั่นรูปร่างของชิ้นส่วนโครงสร้างแบบ 2 มิติอย่างง่ายเพื่อการประยุกต์
ในการคานวณกลศาสตร์โครงสร้างได้
4. นั ก ศึ ก ษาสามารถสร้ า งแบบจ าลองโดยใช้ ซ อฟแวร์ ส าเร็ จ รู ป ในการวิ เ คราะห์ หาค่ า การ
เคลี่อนที่และแรงภายในของโครงสร้างแบบ 2 มิติและ 3 มิติภายใต้น้าหนักบรรทุกแบบต่างๆ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


88

CVE 646 วิธีการพลังงานในกลศาสตร์ประยุกต์ 3 (3 – 0 – 9)


Energy Methods in Applied Mechanics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การเคลื่ อ นที่ เ สมื อ น พลั ง งานศั ก ย์ ต่ าสุ ด หลั ก การของพลั ง งานสมทบ ทฤษฎี ข องคาสติ เ กลี ย โน
หลั กการแปรผั น หลั กการของแฮมิลตันและสมการของลากรองจ์ การประยุกต์แก้ปัญ หาในการ
วิเคราะห์ความเค้น เสถียรภาพเชิงอีลาสติก การสั่นและปัญหาอื่นที่เกี่ยวข้อง
Virtual displacements, minimum potential energy, principle of complementary energy.
Castigliano’s theorem, and variational principles. Hamilton’s principles and Lagrange’s
equations. Applications to solve problems in stress analysis, elastic stability, vibration
and related topics.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการและวิธีการพลังงานในปัญหากลศาสตร์ประยุกต์ได้
2.นักศึกษาสามารถประยุกต์วิธีการพลังงานในการวิเคราะห์แก้ปัญหากลศาสตร์โครงสร้างทั้งแบบเชิง
เส้นและไม่เชิงเส้นได้อย่างถูกต้อง
3.นักศึกษาสามารถประยุกต์หลักการแปรผันในการสร้างแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ของปัญหา
กลศาสตร์โครงสร้างทั้งแบบเชิงเส้นและไม่เชิงเส้นได้อย่างถูกต้อง

CVE 648 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างรับแรงลมและแผ่นดินไหว 3 (3 – 0 – 9)


Analysis and Design of Structures for Wind and Seismic Loads
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ผลของแรงลมและแผ่นดินไหวและการออกแบบโครงสร้างเพื่อรับแรงที่เกิดจากลมและแผ่นดินไหว
กลไกลการเกิดแผ่นดินไหว ลักษณะคลื่นแผ่นดินไหว การตอบสนองของโครงสร้างต่อแผ่นดินไหว
ในช่วงยืดหยุ่นและไม่ยืดหยุ่นข้อพิจาณาในการออกแบบโครงสร้าง การสร้างแบบจาลองและการ
วิเคราะห์โครงสร้าง มาตรฐานการออกแบบโครงสร้างรับและลมและแผ่นดินไหว การออกแบบโดย
เน้นสมรรถนะ
Effects of wind and earthquakes on structures and design of structures to resist wind
and seismic effects, earthquake mechanisms and ground motions, elastic and
inelastic response of structures to earthquake motions, structural system design
considerations, modeling and analysis of buildings, design standards and
performance-based design.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


89

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.นักศึกษาสามารถวิเคราะห์และหาผลตอบสนองของโครงสร้างภายใต้แรงกระทาจากแผ่นดินไหว
หรือแรงลม
2. นักศึกษาสามารถออกแบบองค์อาคารโครงสร้างภายใต้แรงกระทาจากแผ่นดินไหวหรือแรงลม
3. นักศึกษาสามารถอธิบายข้อกาหนดในมาตรฐานอาคารที่เกี่ยวข้องกับสาหรับแรงแผ่นดินไหวและ
แรงลมและอ้างอิงในการออกแบบได้

CVE 732 การวิเคราะห์โครงสร้างวัสดุคอมโพสิต 3 (3 – 0 – 9)


Analysis of Composite Structures
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การแบ่งประเภทของวัสดุคอมโพสิต วัสดุแอนไอโซทรอปิกเชิงเส้นตรง โมดูลัสประสิทธิผลของวัสดุ
ของคอมโพสิต พฤติกรรมยืดหยุ่นของลามิเนตคอมโพสิต และแซนวิชคอมโพสิต กลไกลการวิบัติและ
เงื่อนไขการวิบัติ แบบจาลองและการวิเคราะห์คาน แผ่นบาง และผนังทรงกลมที่ทาด้วยวัสดุคอมโพสิต
Classification of composite materials, linear anisotropic materials, effective material
moduli for composites, elastic behavior of laminate and sandwich composites, failure
mechanisms and criteria, modeling and analysis of beams, plates and circular
cylindrical shells.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถจาแนกประเภทและอธิบายพฤติกรรมทางกลศาสตร์ของวัสดุคอมโพสิตได้
2. นักศึกษาสามารถคานวณค่าสมบัติของชิ้นส่วนวัสดุคอมโพสิตแบบเชิงเส้นได้
3. นักศึกษาสามารถสร้างแบบจาลองเพื่อการวิเคราะห์และออกแบบชิ้นส่วนวัสดุคอมโพสิตแบบเชิง
เส้นในทางวิศวกรรมโครงสร้าง

CVE 733 การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ไม่เชิงเส้นของโครงสร้าง 3 (3 – 0 – 9)


Nonlinear Finite Element Analysis of Structures
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ทบทวนความรู้กลศาสตร์คอนตินิวอัมลักษณะการเคลื่อนที่ในมุมมองแบบลากรางและแบบออย
เลอร์ การจาลองปัญหาและวิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์แบบโตตัลลากราง การจาลองปัญหาและวิธีการ
ไฟไนต์เอลิเมนต์ แบบอับเดตลากรางการจาลองปัญหา แบบโคโรเตชั่น วิธีการหาผลเฉลยต่างๆ
Review of continuum mechanics. Lagrangian and Eulerian description of motion.
Total Lagrangian formulation and finite element discretization. Updated Lagrangian

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


90

formulation and finite element discretization. Corotational formulations. Solution


methods.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายหลักการกลศาสตร์วัสดุที่มีความต่อเนื่องได้
2. นักศึกษาสามารถเลือกใช้พิกัดเพื่อวิเคราะห์ปัญหาไม่เชิงเส้นของโครงสร้างได้
3. นักศึกษาสามารถสร้างแบบจาลองในการแก้ปัญหากลศาสตร์โครงสร้างไม่เชิงเส้นโดยใช้พิกัด
แบบโตตัลลากรางและแบบอับเดตลากราง
4. นักศึกษาสามารถประยุกต์วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์ในการสร้างสมการการเคลื่อนที่ของปัญหา
กลศาสตร์โครงสร้างไม่เชิงเส้น

CVE 734 การออกแบบข้อต่อโครงสร้างเหล็ก 3 (3 – 0 – 9)


Design of Steel Connections
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ทบทวนข้อต่อรับแรงดึง การออกแบบด้วยวิธี Instantaneous Center การวิเคราะห์ด้วยวิธี Yield
Line Prying Action ข้อต่อรับแรงเฉือนแบบต่างๆ (End Plate ฉากคู่ ฉากเดี่ยว ตัว T Single
Plate Seating) ข้ อ ต่ อ รั บ แ ร ง ดั ด แ บ บ ต่ า ง ๆ ( แ บ บ ทั่ ว ไ ป Moment- End Plate)
การออกแบบข้อต่อในค้ายันขนาดใหญ่
Review of connections for tension, instantaneous center of rotation concept, yield
line analysis, prying action, steel shear connections: shear end plate, double-angle
connections, single-angle connections, T-connections, single plate connection (Fin
plate) , seating connections, steel moment connections: standard moment
connections moment- end plate connections, design of connections in heavy
bracings
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถออกแบบจุดต่อโครงสร้างเหล็กแบบพื้นฐานเพื่อถ่ายแรงในแนวแกนได้
2. นักศึกษาสามารถออกแบบจุดต่อเพื่อถ่ายแรงเฉือนในโครงสร้างเหล็กตามรูปแบบพื้นฐานของ
AISC ได้
3. นักศึกษาสามารถออกแบบจุดต่อในโครงสร้างเหล็กเพื่อถ่ายโมเมนต์และตรวจสอบสภาวะจากัด
ที่เกี่ยวข้อง

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


91

CVE 735 ความทนทาน การป้องกัน และซ่อมแซมคอนกรีต 3 (3 – 0 – 9)


Concrete Durability, Protection, and Repair
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ทบทวนเรื่องคอนกรีตเทคโนโลยี ส่วนประกอบต่างๆ ของคอนกรีต คุณสมบัติของคอนกรีตสดและ
คอนกรีตที่แข็งตัวแล้วการเสื่อมสภาพของคอนกรีตในสภาวะต่ างๆ การประเมินคุณภาพของ
คอนกรีต การป้องกันการเสื่อมสภาพและการซ่อมแซมคอนกรีต
Review of concrete technology, concrete compositions, fresh and hardened
concrete properties, deterioration of concrete in early, plastic, and hardened
states,evaluation of concrete performance, concrete protection and repair.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายกลไกการเสื่อมสภาพของคอนกรีตที่เกิดจากสภาวะต่างๆได้
2. นักศึกษาสามารถเลือกวิธีป้องกันและซ่อมแซมคอนกรีตได้อย่างเหมาะสม

CVE 653 เทคนิคปรับปรุงคุณภาพดิน 3 (3 – 0 – 9)


Soil Improvement Technique
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
วิธีปรับปรุงคุณภาพดินเนื้อเหนียวและดินเนื้อร่วน การบดอัด การลดระดับน้าใต้ดิน การให้
น้าหนักล่วงหน้าและการระบายน้าทางดิ่ง การใช้เสาเข็มดินซีเมนต์ การเกร๊าท์ การอัดฉีดแรงดันสูง
การใช้วัสดุสังเคราะห์ในงานด้านวิศวกรรมเทคนิคธรณี กาแพงกันดินเสริมแรง การใช้วัสดุ มวลเบา
ในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี
Method of soil improvement, cohesive soil and cohesion less soil, dewatering,
compaction, preloading and vertical drains, cement columns, grout injections, jet
grouting, geosynthetics engineering, reinforced wall, light-weight geomaterial

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถเลือกวิธีการปรับปรุงคุณภาพดินที่เหมาะสมได้
2. นักศึกษาสามารถ ออกแบบ และควบคุมการก่อสร้างการปรับปรุงคุณภาพดินด้วย วิธีการบดอัด
การให้น้าหนักล่วงหน้าและการระบายน้าทางดิ่ง การใช้เสาเข็มดินซีเมนต์ การเกร๊าท์ การอัดฉีด
แรงดันสูง การใช้วัสดุสังเคราะห์ในงานด้านวิศวกรรมเทคนิคธรณี กาแพงกันดินเสริมแรงและ
การใช้วัสดุมวลเบาในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณีได้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


92

CVE 654 เครื่องมือวัดในงานวิศวกรรมโยธา 3 (3 – 0 – 9)


Instrumentation in Civil Engineering
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การเลือกใช้เครื่องมือวัดในงานวิศวกรรมโยธาประเภทของเครื่องมือวัด การวัดความเครียด การ
วัดการเคลื่อนที่ การวัดแรง การวัดแรงดัน การวัดแรงดันน้าใต้ดิน การวัดโมดูลัสยืดหยุ่นในชั้นดิน
การวัดมุมเอียงของชั้นดิน การวิเคราะห์ความเครียดจากภาพถ่าย เครื่องมือวัดเพื่อการสารวจทาง
ธรณีฟิสิกส์ เครื่องมือวัดความเครียดปริมาณน้อยและปริมาณมาก เครื่องมือวัดสาหรับโครงสร้าง
ทางวิศวกรรมโยธา เครื่องมือวัดสาหรับเขื่อน เครื่องมือวัดสาหรับคันดินบนชั้นดินอ่อน เครื่ องมือ
วัดสาหรับงานขุดและลาดชัน ในธรรมชาติ เครื่องมือวัดสาหรับโครงสร้างกาแพงกันดิน เครื่องมือ
วัดสาหรับงานฝังท่อและงานใต้ดิน
Choice of geotechnical and civil instrumentation, type of instrumentation, strain
measurement, displacement measurement, load measurement, pressure
measurement, groundwater pressure measurement,pressuremeter,inclinometer,
photogrammetric analysis, geophysical investigation instrumentation, small and
large strain apparatus instrumentation, geotechnical structures instrumentation,
dam instrumentation, embankment on soft ground instrumentation, excavation and
natural slope instrumentation, retaining structures instrumentation, buried and
underground structures instrumentation.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นั ก ศึ ก ษาสามารถประยุ ก ต์ ท ฤษฎี พื้ น ฐานและทฤษฎี ชั้ น สู ง ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การท างานของ
เครื่องมือวัดเพื่อออกแบบเครื่องมือวัดพื้นฐานในขั้นต้นได้
2. นักศึกษาสามารถอธิบายความหมายของศัพท์ต่างๆ ที่ใช้ในการสอบเทียบเครื่องมือวัด และ
สามารถสอบเทียบเครื่องมือวัดพื้นฐานและรายงานผลได้
3. นักศึกษาสามารถเลือกวิธีการและตาแหน่งการติดตั้งเครื่องมือวัด และสามารถอธิบายสาเหตุ
ของความคลาดเคลื่อนจากการวัดในห้องปฏิบัติการและในสนามได้
4. นักศึกษาสามารถแปลข้อมูลดิบจากเครื่องมือวัดเป็นข้อมูลกายภาพที่ต้องการ และสามารถ
วิเคราะห์เป็นค่าพารามิเตอร์ทางวิศวกรรมโยธาและรายงานผลได้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


93

CVE 655 อุโมงค์และงานก่อสร้างใต้ดนิ 3 (3 – 0 – 9)


Tunneling and Underground Construction
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การออกแบบและการเลือกเทคนิควิธีขุด อุโมงค์ในดินอ่อน Shield Tunneling NATM ระบบค้า
ยันชั่วคราวและถาวร การตรวจวัดและติดตามผล วิธีการไฟไนท์อีลีเมนท์สาหรับการก่อสร้างใต้ดิน
การวิเคราะห์ความเค้น-การเสียรูป การวิเคราะห์การรั่วซึม
Design and selection of excavation techniques, tunneling in soft ground, shield,
NATM tunneling, temporary and permanent supports, observation and
measurement, finite Element method for underground construction, stress-
deformation analysis, seepage analysis.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัจจัยสาคัญต่างๆที่มผี ลต่อการก่อสร้างอุโมงค์
2. นักศึกษาสามารถตัดสินใจเลือกวิธีการและออกแบบอุโมงค์ที่เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ได้

CVE 657 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3(3 – 0 – 9)


Numerical Analysis in Geotechnical Engineering
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ปัญหาค่าขอบเขตและการวิเคราะห์เชิงตัวเลขเบื้องต้น การวิเคราะห์แบบขีดจากัดสมดุล วิธีไฟไนท์
เอลิเมนท์เบื้องต้น การจาลองและการคานวณเมทริกซ์ของชิ้นส่วนย่อย ทฤษฏีความต่อเนื่องของ
ปฐพีกลศาสตร์ ข้อพิจารณาในการวิเคราะห์งานปฐพีกลศาสตร์ พฤติกรรมไม่เชิงเส้นและกฎคอน
สติทิวทีฟของวัสดุปฐพี การไหลผ่านวัสดุพรุน ทฤษฏีการอัดตัวคายน้า การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์
ใน การวิเคราะห์ปัญหาทางด้านเทคนิคธรณี
Boundary value problem and principle of numerical analysis, limit equilibrium
analysis, introduction to finite element method, formulation and calculation of the
finite element matrices, continuum theory of geo- mechanics,considerations
in geotechnical analyses, nonlinear behavior and constitutive laws of geo-materials,
flow through porous media, consolidation theory, computer application in
geotechnical analysis.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.นักศึกษาสามารถจาลองพฤติกรรมการเสียรูปของดินโดยใช้แบบจาลองคอนสตทิวทีฟได้
2.นักศึกษาสามารถวิเคราะห์เสถียรภาพได้โดยใช้วิธีขีดจากัดสมดุลได้
3.นักศึกษาสามารถวิเคราะห์การเสียรูปและเสถียรภาพโดยใช้ไฟไนต์อิลิเมนต์ได้
4.นักศึกษาสามารถวิเคราะห์การไหลโดยใช้ไฟไนต์อิลิเมนต์ได้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


94

CVE 658 วิศวกรรมธรณีวิทยาประยุกต์ 3 (3 – 0 – 9)


Applied Engineering Geology
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
คุณสมบัติทางวิศวกรรมของหิน การแบ่งกลุ่มของหิน น้าใต้ดินในชั้นหิน วิธีการออกแบบทางด้าน
กลศาสตร์-ของหิน การทดสอบหิน การระเบิดหิน การวัดและการตรวจสอบในงานวิศวกรรม
ธรณีวิทยา
Engineering properties of rock, rock mass classification, groundwater in rock,
geomechanical design method, rock testing, blasting, measuring and monitoring in
engineering geology
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหาทางเทคนิคธรณีที่ซับซ้อนได้ จากพฤติกรรมของมวลหินในเชิง
ลึก
2. นักศึกษาสามารถออกแบบ ประเมินคุณสมบัติของโครงสร้างธรณีวิทยาของหิน

CVE659 กลศาสตร์ของหิน 3 (3 – 0 – 9)
Rock Mechanics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
แรงกระทาในโครงสร้างหิน ความแข็งแรงและทฤษฎีการพังของหิน คุณสมบัติทางวิศวกรรมของ
หิน การวิเคราะห์ใ นศิล ากลศาสตร์ การใช้ประโยชน์โครงสร้างธรณีวิทยาใต้ดิน ฐานรากศิลา
กลศาสตร์ วิศวกรรมทางลาดหิน
Rock stress, strength and failure criteria, engineering properties of rock, analysis in
rock mechanics, underground space utilization, rock foundation, rock slope
engineering.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถประเมินความเค้น และการวิบัติของมวลหินได้
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความเข้าใจในพฤติกรรมของหินในเชิงลึกกับงานทางเทคนิคธรณีได้
3. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหาทางเทคนิคธรณีที่ซับซ้อนในหินได้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


95

CVE 660 การสารวจใต้ผิวพื้นและการทดสอบดิน 3 (2 – 3 – 9)


Subsurface Investigation and Soil Testing
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การวางแผนการสารวจใต้พื้นผิว การเจาะสารวจและการเก็บตัวอย่าง การทดสอบในสนามของดิน
และหิ น การทดสอบการแบกทานของฐานรากตื้ น และเสาเข็ ม การทดสอบดิ น และหิ น
ในห้องปฏิบัติการ เช่น ทางด้านคุณสมบัติทางกายภาพ การบดอัด การซึมผ่าน การอัดตัวคายน้า
การเสียรูปและกาลังของดิน เครื่องมือวัด การเขียนรายงานด้านวิศวกรรมเทคนิคธรณี
Site investigation planning, drilling and sampling technique, in-situ test of soil and
rock, plate bearing test and pile load tests, laboratory methods of soil and rock
testings for identification, physicalproperties,compaction,permeability,consolidation
and deformation and shear strength, instrumentation, geotechnical report
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษามีความสามารถวางแผนและเลือกวิธีการสารวจใต้พื้นผิวได้
2. นักศึกษาสามารถทดสอบและวิเคราะห์ผลการทดสอบดินและหินในห้องปฏิบัติการได้
3. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ผลการทดสอบในสนามได้
4. นักศึกษาสามารถแปรผลการทดสอบเป็นคุณสมบัติทางวิศวกรรมเพื่อใช้ในการออกแบบได้
5. นักศึกษาสามารถวางแผนและวิเคราะห์ผลการติดตั้งอุปกรณ์ในสนามได้

CVE 661 กลศาสตร์ของดินขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Soil Mechanics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ธรรมชาติของดิน การจาแนกประเภทดิน ส่วนประกอบของดิน การไหลของน้าผ่านดิน ทฤษฎีการ
อัดตัวคายน้า พฤติกรรมความเค้น -ความเครียดของดิน กาลั งรับแรงเฉือนและทฤษฎีการวิบัติ
กลศาสตร์ของดินที่สภาวะวิกฤตเบื้องต้น
Nature of soil, soil classification, soil composition, water flow through soil, theory of
consolidation, stress-strain behavior of soil, shear strength and failure theory, basic
critical state soil mechanics

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์พฤติกรรมของดินในเชิงลึกได้
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ความเข้าใจพฤติกรรมของดินในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณีได้อย่าง
เหมาะสม
3. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหาทางเทคนิคธรณีที่ซับซ้อนได้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


96

CVE 662 คุณสมบัติและพฤติกรรมของดิน 3 (3 – 0 – 9)


Soil Properties and Behavior
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การเกิดของดิน การจาแนกประเภทของดิน การก่อรูปผลึกของดิน แร่วิทยาของดินเหนียว โครงร่าง
และโครงสร้ า งของดิ น องค์ ป ระกอบของดิ น คุ ณ สมบั ติ ด้ า นฟิ สิ ก ส์ เ คมี แ ละวิ ศ วกรรมของดิ น
พฤติกรรมการเปลี่ยนแปลงปริมาตรของดิน พฤติกรรมด้านกาลังและการเปลี่ยนรูปของดิน
Soil formation, soil classification, crystallography of soil, clay mineralogy, soil fabric
and structure, soil composition, physical chemistry and engineering properties of
soil, volume change behavior of soil, strength and deformation behavior of soil.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นั ก ศึ ก ษาสามารถอธิ บ ายขอบเขตและความส าคั ญ ของสมบั ติ ท างกายภาพและสมบั ติ ท าง
วิศวกรรมของดินได้
2. นักศึกษาสามารถแยกองค์ประกอบทางเคมีและสมบัติทางกายภาพของดินจากการทดสอบใน
ห้องปฏิบัติการและการทดสอบในสนามได้
3. นักศึกษาสามารถอธิบายพฤติกรรมทางด้านวิศวกรรมของดิน และสามารถนามาประยุกต์เพื่อ
การแก้ปัญหา หรือทาการคานวณและการออกแบบโครงสร้างทางวิศวกรรมเทคนิคธรณีได้

CVE 664 พลศาสตร์ของดิน 3 (3 – 0 – 9)


Soil Dynamics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
วัตถุประสงค์ของการวิเคราะห์โครงสร้างทางพลศาสตร์ ประเภทของแรงพลศาสตร์ การสร้าง
สมการการเคลื่อนที่ การวิเคราะห์การสั่นแบบอิ สระและแบบหน่วง แผ่นดินไหววิทยาภัยจาก
แผ่นดินไหว การวิเคราะห์ภัยจากแผ่นดินไหวด้วยวิธีที่กาหนดและวิธีสถิติ การเคลื่อนที่ของคลื่น
การเคลื่อนที่ของพื้นดินและพารามิเตอร์ที่เกี่ยวข้อง คุณสมบัติทางพลศาสตร์ของดิน การวิเคราะห์
การตอบสนองของพื้ น ดิ น อิ ท ธิ พ ลเฉพาะพื้ น ที่ แ ละการเคลื่ อ นที่ ข องพื้ น ดิ น ที่ ไ ด้ อ อกแบบ
ปรากฏการณ์แผ่นดินเหลว เสถียรภาพของลาดชันต่อแรงแผ่นดินไหว การออกแบบกาแพงกันดิน
ต้านแรงแผ่นดินไหว การปรับปรุงหรือแก้ไขสภาพดิน การปฎิสัมพันธ์ระหว่างดินและโครงสร้าง
Objective of structural dynamics analysis, types of prescribed loading, formulation
of the equations of motion, analysis of free and dumped vibrations, seismology
and earthquakes, seismic hazard, deterministic and probabilistic hazard analysis,
wave propagation, strong ground motion and its parameters, dynamic soil
properties, ground response analysis, local site effects and design ground motions,

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


97

liquefaction, seismic slope stability, seismic design of retaining walls, soil


improvement/remediation, soil structure interaction
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้หลักการของการแผ่ขยายของคลื่นในตัวอย่างปัญหาวิศวกรรม
พลศาสตร์ของดินได้
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ผลทดสอบในห้องปฏิบัติการเพื่อกาหนดพฤติกรรมของดินภายใต้
แรงแบบพลศาสตร์ได้
3. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ภัยพิบัติแผ่นดินไหวและเลือกการเคลื่อนที่เชิงแผ่นดินไหวสาหรับ
คานวณและออกแบบงานทางวิศวกรรมเทคนิคธรณีในพื้นที่เสี่ยงภัยได้

CVE 666 ทฤษฎีกลศาสตร์ของดิน 3 (3 – 0 – 9)


Theoretical Soil Mechanics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
เส้นทางเดินความเค้น ค่าคงที่หน่วยแรงและความเครียด พฤติกรรมอีลาสติก พฤติกรรมพลาสติก
การเกิดการเสียรูปถาวร ทิศทางการเสี ยรูปถาวร แบบจาลองสาหรับพฤติกรรม อีลาสติกและ
พลาสติก แบบจาลองแคมเคลย์ ทฤษฎีสภาวะวิกฤต กาลังรับแรงเฉือนของดิน ความสัมพันธ์
ระหว่างหน่วยแรงและอัตราการขยายปริมาตร
Stress path, stress and strain invariants, elasticity, plasticity, yielding, flow- rule,
elastic-plastic model for soil, Cam-clay model, critical states theory, strength of soils,
stress-dilatancy
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.นักศึกษาสามารถคานวณค่าคงที่หน่วยแรงและความเครียด และสามารถแสดงเส้นทางเดินความ
เค้นจากผลการทดสอบได้
2.นักศึกษาสามารถอธิบายทฤษฏีและแบบจาลองทางคณิตศาสตร์ที่เกี่ยวข้องกับสมบัติกาลังและ
การเสียรูปของดิน และสามารถนามาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์พฤติกรรมความเค้นความเครียด
ของดินได้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


98

CVE 667 โครงสร้างดิน 3 (3 – 0 – 9)


Earth Structures
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ดินที่มีและไม่มีแรงยึดเหนี่ยวระหว่างเม็ดดินสาหรับใช้เป็นวัสดุก่อสร้าง คุณสมบัติของดินที่ถูกบดอัด
แล้ว การปรับปรุงคุณภาพดิน เสถียรภาพของพื้นลาดตามธรรมชาติหรือที่สร้างขึ้น การออกแบบงานถม
สาหรับงานสร้างถนนและงานเขื่อน ปัญหาการรั่วซึมของน้า การก่อสร้างงานถมบนดินอ่อนข้อเสนอแนะ
ในงานออกแบบสาหรับดินบริเวณประเทศไทย
Cohesionless and cohesive soils as construction materials, properties of compacted
soil, soil improvement,stability of nature and man- made slopes, design of earth
embankments for highway and earth dams, seepage problems, embankment on
soft foundation, design recommendations with emphasis on regional problems in
Thailand.

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.นักศึกษาสามารถอธิบายองค์ประกอบพื้นฐานของโครงสร้างดินแบบต่างๆ ได้
2.นักศึกษาสามารถระบุส มบัติทางวิศวกรรมเทคนิคธรณีที่สาคัญ ของแต่ละองค์ประกอบของ
โครงสร้างดินแบบต่างๆ และทราบวิธีการทดสอบเพื่อให้ได้ค่าพารามิเตอร์สาหรับการออกแบบ
และการควบคุมคุณภาพการก่อสร้างได้
3.นักศึกษาสามารถออกแบบโครงสร้างดินแบบต่างๆ และให้ข้อเสนอแนะสาหรับการควบคุม
คุณภาพการก่อสร้างได้

CVE 668 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Foundation Engineering
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การส ารวจใต้ พื้ น ผิ ว การประเมิ น ค่ า พารามิ เ ตอร์ ข องดิ น รายงานเกี่ ย วกั บ วิ ศ วกรรมฐานราก
การวิเคราะห์แบบขีดจากัด ทฤษฎีขีดจากัดบนและขีดจากัดล่าง ฐานรากชนิดต่างๆ การรับน้าหนัก
แบกทานของของดิน การทรุดตัว ฐานรากแบบเสาเข็ม ปัญหาเกี่ยวกับแรงดันปฐพี กรณีศึกษาในอดีต
Site investigation, evaluation of geotechnical parameters and foundation reports,
limit analysis, upper bound and lower bound theory, types of foundations, bearing
capacity of soil, settlement, pile foundations, earth pressure problems, case
histories.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


99

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวางแผนการเจาะสารวจดินได้
2. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์เสถียรภาพของฐานรากได้
3. นักศึกษาสามารถประเมินพารามิเตอร์ที่ใช้ในการออกแบบได้
4. นักศึกษาสามารถมารถออกแบบ ฐานรากแผ่ ฐานรากเสาเข็ม และ กาแพงกันดินได้

CVE 671 ระบบการขนส่งและเทคโนโลยี 3 (3 – 0 – 9)


Transportation Systems and Technologies
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ลักษณะและเทคโนโลยีของระบบการขนส่งทางถนน ทางอากาศ ทางรถไฟ ทางน้า และการขนส่ง
ทางท่อ เป้าหมาย วัตถุประสงค์ และปัญหาในระบบการขนส่ง การเปลี่ยนแปลงของระบบการ
ขนส่งที่เป็นผลจากการพัฒนาเทคโนโลยี การใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือสมัยใหม่เพื่อช่วยในการ
บริหารจัดการ วิเคราะห์ ตัดสินใจ วางแผน และปรับปรุงระบบการขนส่ง
Operational characteristics and technology development for transportation systems
including land, air, water, rail, and pipeline systems; goals, objectives, and
transportation system problems; impacts of technology development on
transportation systems; applications of new technologies and tools to support
management, analysis, decision, planning, improvement of transportation systems.
ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง (Course Learning Outcomes):
1. นักศึกษาสามารถอธิบายคุณลักษณะและการพัฒนาระบบขนส่งประเภทต่างๆ
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีและเครื่องมือสมัยใหม่ในการบริหารจัดการและพัฒนา
ระบบขนส่ง

CVE 672 การดาเนินงานการจราจร 3 (3 – 0 – 9)


Traffic Operations
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การทาความเข้าใจการดาเนินงานการจราจร หลักการและเทคนิคการจัดการจราจร ลักษณะและ
ความสัมพันธ์ของปัจจัยการจราจรด้าน คน ยานพาหนะ ถนน และสภาพแวดล้อม การวิเคราะห์
จราจรบริเวณทางแยก ทฤษฎีและการออกแบบสัญญาณไฟจราจร การวิเคราะห์และประเมินผล
การจราจรที่ไหลแบบต่อเนื่อง การวิเคราะห์ความจุและระดับการให้บริการของถนนทางตรง
ทางเชื่อม และทางตัดของกระแสจราจร
Understanding traffic system; principle and technique for traffic system
management; characteristics and relationship of traffic parameters related to

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


100

humans, vehicles, roads, and environments; traffic analysis for interrupted facilities;
theory and design of traffic signal control; traffic analysis for uninterrupted flow
facilities; capacity and level of service analysis for roadway segments, ramp
junctions, and weave facilities.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัจจัยที่ส่งผลต่อการดาเนินงานจราจร
2.นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ระดับการบริการจราจรบนถนนประเภทต่างๆรวมถึงทางแยก
3.นักศึกษาสามารถออกแบบสัญญาณไฟจราจรบริเวณทางแยก

CVE 673 สถิติขั้นสูงสาหรับการศึกษาด้านการขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Statistical Methods for Transportation Studies
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การวิเคราะห์ระบบ ข้อมูลเพื่อการขนส่ง การเก็บรวบรวมข้อมูล วิธีการสารวจ วิธีการสุ่ม ความ
น่าจะเป็น การประมาณค่า การทดสอบสมมติฐาน การวิเคราะห์ความแปรปรวน การวิเคราะห์
ข้ อ มู ล ห ล า ย ตั ว แ ป ร ก า ร วิ เ ค ร า ะ ห์ ค ว า ม ถ ด ถ อ ย แ บ บ เ ส้ น ต ร ง แ ล ะ ส ห สั ม พั น ธ์
การวิเคราะห์จาแนกประเภท การวิเคราะห์ตัวแปรหลัก การวิเคราะห์กลุ่ม การวิเคราะห์อนุกรม
เวลา ทฤษฎีแถวคอย ตัวแบบมาร์คอฟ การแก้ปัญหากาหนดการเชิงเส้น
System analysis for transportation study; data for transportation study; data
collection; survey method; sampling procedure; probability; sampling; estimation;
test of hypotheses; analysis of variance; multivariate analysis; linear regression
analysis and correlation; discriminant analysis; principal component analysis; cluster
analysis; time-series analysis; queuing theory; Markov model; linear programming.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนการเก็บและเตรียมข้อมูลทางด้านขนส่ง
2. นักศึกษาสามารถพิจารณาคุณลักษณะของข้อมูลที่เหมาะสมต่อการวิเคราะห์
3. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางสถิติในการวิเคราะห์ข้อมูลสาหรับงานด้านวิศวกรรม
ขนส่ง

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


101

CVE 674 การขนส่งมวลชนในตัวเมือง 3 (3 – 0 – 9)


Urban Mass Transportation
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ชนิดและลักษณะของระบบการขนส่งมวลชนในตัวเมือง รถเมล์ ระบบขนส่งมวลชนรางหนัก ราง
เบา รางเดี่ยว และระบบดีมานด์ -เรสปอนสีป การวางแผน ออกแบบ และเลือกแนวเส้นทาง ชนิด
และลักษณะของสถานี
Type and characteristics of urban mass transportation system including bus, heavy
rail, light- rail, monorail transit, and demand- responsive system; planning, design,
and layout of mass transit lines; types and characteristics of transit terminals.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถพิจารณาเลือกระบบการขนส่งที่เหมาะสาหรับเมืองที่มีขนาดแตกต่างกัน
2. นักศึกษาสามารถออกแบบแนวเส้นทางและตัวสถานีของระบบขนส่งมวลชน

CVE 675 การประเมินโครงการด้านการขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)


Transportation Project Evaluations
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ปั ญ หาการขนส่ ง กระบวนการการประเมิน โครงการด้ า นการขนส่ง การวิ เ คราะห์ ผ ลกระทบ
การประเมินแบบต่างๆ รอบวงจรของโครงการ การวิเคราะห์กระแสเงินโครงการ การคาดการณ์
ความต้องการขนส่ง ต้นทุนและผลประโยชน์โครงการด้านการขนส่ง การวิเคราะห์ความอ่อนไหว
กรณีศกึ ษาการประเมินโครงการด้านการขนส่ง
Transport Problems; procedure of transport project evaluations; impact analysis;
aspects of evaluations; project cycle; cash flow analysis; transport demand forecast;
transport project costs and benefits; sensitivity analysis; case studies of transport
project evaluations.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนการประเมินโครงการด้านการขนส่ง
2. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ต้นทุนและผลประโยชน์ของโครงการด้านการขนส่ง
3. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีในการเลือกโครงการด้านการขนส่งที่เหมาะสม

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


102

CVE 676 การออกแบบทางเรขาคณิตของถนน 3 (3 – 0 – 9)


Geometric Design of Highways
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การออกแบบเชิงเรขาคณิตของถนนในเมืองและชนบท การคานวณหาระยะหยุดและระยะแซง
ปลอดภัย การยกซุปเปอร์อีลีเวชั่นของถนน และการวางแนวถนนตามแนวระนาบและแนวดิ่ง
การออกแบบช่องทางจราจรและเกาะ ทางแยกระดับพื้นดินและทางแยกต่ างระดับ เครื่องมือ
อุปกรณ์สาหรับการควบคุมการจราจร
Geometric design of urban and rural highways; estimation of safe stopping sight
distance and passing sight distance; layout of vertical and horizontal curves; traffic
lanes and medians; at-grade intersection and interchanges; traffic control devices.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.นักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะการออกแบบรูปเรขาคณิตของถนน
2.นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้มาตรฐานในการออกแบบรูปเรขาคณิตของถนน

CVE 677 การวางแผนการขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)


Transportation Planning
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
กระบวนการการวางแผนการขนส่ง ภาพรวมของระบบขนส่งและความสัมพันธ์กับการใช้ที่ดิน การ
วิเคราะห์ปัญหาระบบขนส่ง เป้าประสงค์และวัตถุประสงค์ในการวางแผนการขนส่ง ตัวอย่างระบบ
ขนส่งที่ดี การวิเคราะห์ผลกระทบจากการปรั บปรุงระบบขนส่ง การพยากรณ์การเดินทางและ
ขนส่ง การประเมินผลโครงการและการติดตามผลการดาเนินโครงการ เทคนิคการตัดสินใจในการ
วางแผนการขนส่ง และการมีส่วนร่วมของสาธารณะชนในการวางแผนการขนส่ง
Transportation planning process, total transportation system and land use
interaction; analysis of transportation problems; goals and objectives in
transportation planning; examples of good transportation systems; analysis of
transportation improvement programs; travel demand forecasting, evaluation and
monitoring of transport project; decision techniques in transportation planning; and
public participation in transportation planning.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


103

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถปฏิบัติตามขั้นตอนการวางแผนทางด้านขนส่ง
2. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหาระบบการขนส่งและพิจารณาทางเลือกการปรับปรุงได้อย่าง
เหมาะสม
3. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์คาดการณ์ความต้องการการเดินทาง

CVE 678 การวางแผนและออกแบบสนามบิน 3 (3 – 0 – 9)


Airport Planning and Design
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
หลั กเกณฑ์แ ละส่วนประกอบในการพิจารณาเพื่อการวางแผนสนามบินและการเลือกสถานที่
สาหรับสนามบิน การออกแบบสนามบินซึ่งประกอบด้วย ทางวิ่ง ทางขับ ลานจอด ระบบไฟฟ้า
สนามบิน เครื่องหมายในสนามบิน การระบายน้าของสนามบินและอาคารผู้โดยสาร การวิเคราะห์
วินโรสเกี่ยวกับทิศทางลมสาหรับการวางแนวทางวิ่ง การวิเคราะห์ความสามารถในการรับภาระ
ของทางวิ่ง ทางขับ และอาคารที่พักผู้โดยสาร การจัดการด้านผู้โดยสารและสินค้า ตลอดจนการ
พิจารณาทางด้านสภาพสิ่งแวดล้อมที่เกี่ยวข้องกับสนามบิน
Airport planning; airport configuration; geometric design of airfield; planning and
design of terminal area; structural design of airport pavements; airport lighting,
marking, and signing; airport drainage; environmental and economic assessment.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.นักศึกษาสามารถบ่งบอกถึงความสาคัญและข้อกาหนดขององค์ประกอบของสนามบิน
2.นักศึกษาสามารถวางแผนและออกแบบองค์ประกอบของสนามบิน
3.นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ระดับการให้บริการของสนามบิน

CVE 679 การออกแบบผิวทางขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Pavement Design
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ชนิดและการทางานของผิวถนน และการวิเคราะห์การกระจายความเค้นในผิวถนนชนิดยืดหยุ่น
และชนิดแข็ง การวิเคราะห์ผิวถนนโดยวิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ หลักเกณฑ์วิธีการ ตลอดจนขั้นตอนของ
การออกแบบผิวถนนชนิดยืดหยุ่นและชนิดแข็ง การวิเคราะห์ และออกแบบผิวถนนคอนกรีตบล๊อค
ส าหรั บ รถที่ มี น้ าหนั ก ล้ อ มาก การประเมิ น ผลของสภาพปั จ จุ บั น ของผิ ว ถนน ตลอดจนการ
บารุงรักษาถนนและการเสริมผิวถนน

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


104

Classification of materials pavements; structural analysis of pavements; design


concepts and methods for flexible and rigid pavements; pavement evaluation; pavement
management concepts; maintenance; rehabilitation
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีทางด้านวิศวกรรมในการออกแบบผิวทางชนิดยืดหยุ่นและ
ชนิดแข็ง
2. นักศึกษาสามารถเลือกใช้วัสดุที่เหมาะสมสาหรับการก่อสร้างผิวทาง
3. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์สภาพผิวทางและเลือกใช้วิธีการบารุงรักษาที่เหมาะสม

CVE 771 แบบจาลองวิเคราะห์การจราจรและการใช้งาน 3 (3 – 0 – 9)


Traffic Analysis Models and Applications
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การทาความเข้าใจแบบจาลองวิเคราะห์การจราจร หลักการและเทคนิคการสร้างแบบจาลอง
การจราจรเสมือนจริงด้วยโปรแกรมคอมพิวเตอร์ การใช้แบบจาลองวางแผนและออกแบบระบบ
จราจร การสอบเที ยบแบบจาลอง การประเมินผลดาเนินงานจราจรด้ว ยแบบจ าลอง การใช้
แบบจาลองจราจรวิเคราะห์ผลกระทบจากการจัดการจราจร
Understanding principle and technique for traffic modeling; traffic system planning
and design using traffic simulation models; model calibration; traffic operations
performance evaluation; traffic impact assessment.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1.นักศึกษาสามารถอธิบายการทางานของแบบจาลองจราจร
2.นักศึกษาสามารถพัฒนาแบบจาลองจราจรเสมือนจริงได้
3.นั ก ศึ ก ษาสามารถประยุ ก ต์ ใ ช้ แ บบจ าลองเสมื อ นจริ ง ในการวิ เ คราะห์ ป ระสิ ท ธิ ภ าพระบบ
การจราจร

CVE 772 สิ่งแวดล้อมของระบบการขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)


Environmental Aspects of Transportation System
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ประเด็นทางด้านสิ่งแวดล้อมที่มาจาการขนส่งระบบต่างๆ ผลกระทบทางด้านทัศนียภาพ การ
ติดขัด มลภาวะทางเสียงและอากาศจากระบบขนส่ง การวิเคราะห์และประเมินค่าของผลกระทบ
ต่อสิ่งแวดล้อมจากการขนส่ง รูปแบบทางคณิตศาสตร์ที่ใช้ในการคาดคะเนมลภาวะทางเสียง
สาหรับโครงการขนส่ง กฎหมายและระเบียบที่เกี่ยวข้องกับสิ่งแวดล้อมในการขนส่ง

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


105

Aspects of environment from transport system; environmental impacts on visual


obstruction; traffic congestion; noise and air pollution from transport; analysis and
evaluation of transport’s environmental impacts; mathematical simulation model
for prediction of traffic noise impact of transport projects environmental laws and
regulations in transport.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถอธิบายรูปแบบผลกระทบจากระบบการขนส่งต่อสิ่งแวดล้อมในด้านต่างๆ
2. นักศึกษาสามารถคาดการณ์ผลกระทบทางด้านเสียงและอากาศที่เกิดจากระบบการขนส่ง
3. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้กฎหมายและระเบียบเกี่ยวกับสิ่งแวดล้อมในการออกแบบระบบ
การขนส่ง

CVE 773 วิศวกรรมและการวางแผนความปลอดภัยทางถนน 3 (3 – 0 – 9)


Road Safety Engineering and Planning
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การวิเคราะห์ปัญหาความปลอดภัยของการจราจรทางถนน ปัจจัยด้านผู้ขับขี่ ข้อมูลอุบัติเหตุจราจร
การวิ เ คราะห์ จุ ด เสี่ ย งอั น ตราย การวิ เ คราะห์ ส าเหตุ อุ บั ติ เ หตุ จ ราจรด้ ว ยแผนภาพการชน
การปรับปรุงแก้ไขจุดอันตรายและการประเมินประสิทธิภาพ การวิเคราะห์ความปลอดภัยทางด้าน
เศรษฐศาสตร์ การการตรวจสอบความปลอดภัยทางถนน การวางแผนและการจัดการเพื่อความ
ปลอดภัยทางถนน การประเมินผลและการติดตามโครงการปรับปรุงด้านความปลอดภัยทางถนน
Analysis of road traffic safety problem; human factors; accident data; hazardous
location analysis; accident investigation; countermeasure; economic analysis; safety
improvement analysis; road safety audit; road safety planning; safety evaluation for
project alternative.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์จุดเสี่ยงอันตรายทางถนน
2. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์สาเหตุการเกิดอุบัติเหตุทางถนน
3. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ทางเลือกในการปรับปรุงความปลอดภัยของถนน

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


106

CVE 774 เทคนิคการหาผลเฉลยที่ดีทสี่ ุดสาหรับการขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)


Optimization Techniques in Transportation
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
แบบจาลองและวิธีการหาคาตอบที่ดีที่สุด ของปัญหาด้านขนส่ง รวมถึงการจัดตารางรถโดยสาร
สาธารณะ การบรรจุ ข องลงคอนเทนเนอร์ การจั ด เส้ น ทางขนส่ ง สิ น ค้ า การหาต าแหน่ ง ที่ ตั้ ง
คลังสินค้า ความรู้เบื้องต้นของวิธีการหาคาตอบที่ดีที่สุด รวมถึงโปรแกรมเชิงเส้น โปรแกรมเชิง
จานวนเต็ม โปรแกรมเชิงโครงข่าย โปรแกรมเชิงพลวัต และซอฟต์แวร์ของการหาค่าที่ดีที่สุด
Optimization models and methods for transportation applications including transit
scheduling, container loading, vehicle routing, and warehouse location problem;
overview of optimization methods including linear programming, integer
programming, network programming, dynamic programming, and optimization
software.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์โปรแกรมเชิงเส้น สาหรับปัญหาด้านขนส่งและโลจิสติกส์
2. นั ก ศึ ก ษาสามารถวิ เ คราะห์ โ ปรแกรมเชิ ง จ านวนเต็ ม ส าหรั บ ปั ญ หาด้ า นขนส่ ง และ
โลจิสติกส์

CVE 775 การสร้างแบบจาลองและการพยากรณ์ความต้องการเดินทาง 3 (3 – 0 – 9)


Travel Demand Modeling and Forecasting
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การเข้าสู่สมดุลระหว่างอุปสงค์และอุปทาน ระบบแบบจาลองการขนส่งในเขตเมือง สมการถดถอย
เชิงเส้นสาหรับการก่อกาเนิดการเดินทาง การแบ่งตลาดในการก่อกาเนิดการเดินทาง ผลกระทบ
แบบไม่เชิงเส้นในการก่อกาเนิดการเดินทาง แบบจาลองแรงดึงดูดในการกระจายการเดินทาง
สมการถดถอยเชิงเส้นในการแยกรูปแบบการเดินทาง สมดุลผู้ใช้ในการแจกแจงการเดินทาง
Demand and supply equilibration; urban transportation model system; linear
regression for trip generation; market segmentation in trip generation; non- linear
effects in trip generation; gravity model in trip distribution; linear regression in modal
split; user equilibrium in traffic assignment.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถพัฒนาแบบจาลองการก่อกาเนิดการเดินทางได้
2. นักศึกษาสามารถพัฒนาแบบจาลองการกระจายการเดินทางได้
3. นักศึกษาสามารถพัฒนาแบบจาลองการแยกรูปแบบการเดินทางได้
CVE 776 การจัดการห่วงโซ่อุปทาน 3 (3 – 0 – 9)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


107

Supply Chain Management


วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ความเข้าใจในห่วงโซ่อุปทาน สมรรถนะในห่วงโซ่ อุปทาน ตัวขับของห่วงโซ่อุปทาน การออกแบบ
โครงข่ายการกระจายสินค้า การออกแบบโครงข่ายในห่วงโซ่อุปทาน การออกแบบโครงข่ายห่วงโซ่
อุปทานระดับโกลบอล การพยากรณ์ความต้องการสินค้า การวางแผนรวม การขายและการ
วางแผนการดาเนินการ การจัดการประหยัดขนาด การจัดการความไม่แน่นอน การหาระดับ
ที่เหมาะสมของปริมาณสินค้า การขนส่งในห่วงโซ่อุปทาน
Understanding the supply chain. Supply chain performance. Supply chain drivers
and metrics. Designing distribution networks. Network design in the supply chain.
Designing global supply chain networks. Demand forecasting in a supply chain.
Aggregate planning in a supply chain. Sales and operations planning. Managing
economies of scale in a supply chain. Managing uncertainty in a supply chain.
Determining the optimal level of product availability. Transportation in a supply
chain.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษามีสามารถวิเคราะห์โครงข่ายการกระจายสินค้า
2. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์การจัดการระดับสินค้าคงคลัง
3. นักศึกษาสามารถวางแผนโดยรวมสาหรับการจัดการห่วงโซ่อุปทาน

CVE 777 นโยบายและการวางแผนการขนส่งสินค้าในเขตเมือง 3 (3 – 0 – 9)


Urban Goods Movement: Policy and Planning
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ลักษณะทั่วไปของสินค้าในเขตเมือง ตัวบ่งชี้สภาพการขนส่งสินค้าระบบการขนส่งสินค้านโยบาย
และการวางแผนการขนส่ง เป้าหมายของการขนส่งสินค้า การวางแผนครอบคลุมเนื้อหาการจัดการ
จราจร การเลือกทาเลที่ตั้งและการจัดโซนการใช้พื้นฐาน การบังคับและการออกข้อกาหนด การใช้
กลไกของราคา ศูนย์รวมและเปลี่ยนถ่ายสินค้า และกลยุทธ์การจัดการต่าง ๆ
Policy part covers freight in urban areas, a profile of urban freight, the urban freight
system, freight policy and planning and objectives of urban freight, planning part
covers traffic management, location and zoning of land use, infrastructure, licensing
and regulations, pricing, terminals and modal interchange facilities and operational
strategies.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหาการขนส่งสินค้าในเขตเมือง

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


108

2. นักศึกษาสามารถอธิบายลักษณะการเคลื่อนตัวของสินค้าในเขตเมือง
3. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีด้านการขนส่งในการวางแผนการขนส่งสินค้าในเขตเมือง

CVE 778 แบบจาลองการขนส่งสินค้า 3 (3 – 0 – 9)


Freight and Logistics Modeling
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
บทบาทของการจาลอง รูปแบบการสร้างแบบจาลองระบบโลจิสติกส์ วิธีการทางคณิตศาสตร์เพื่อ
ก าหนดหาผลลั พ ธ์ ที่ เ หมาะสมที่ สุ ด การจ าลองสถานการณ์ การสร้ า งแบบจ าลองโครงข่ า ย
แบบจ าลองการเลื อ กเส้ น ทางเดิ น รถ การสร้ า งแบบจ าลองอื่ น ๆ การออกแบบและการน า
แบบจาลองโลจิสติกส์ไปใช้
The role of modeling; approaches to modeling logistics systems; optimization;
simulation; network modeling; vehicle routing modeling and other approaches;
designing and using logistics models.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์รูปแบบการขนส่งสินค้าและสร้างแบบจาลองด้วยวิธีการทาง
คณิตศาสตร์
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แบบจาลองโลจิสติกส์ในการออกแบบการขนส่งสินค้า

CVE 779 การวิเคราะห์โครงข่ายขนส่ง 3 (3 – 0 – 9)


Transportation Network Analysis
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การวิเคราะห์โครงข่ายขนส่งมุ่งเน้นที่การวางแผนและการหาผลเฉลยที่ดีที่สุด อัลกอริธึมต่างๆ
สาหรับการหากระแสจราจรที่จุดสมดุลของโครงข่ายขนส่ง ลกอริธึมสาหรับการหาเส้นทางสั้นที่สุด
สมดุลผู้ใช้กรณีที่การรับรู้ มีความแน่นอนและความไม่แน่นอน การออกแบบโครงข่ายขนส่ง การ
ประมาณตารางการเดินทาง ความน่าเชื่อถือของโครงข่าย
Transportation network analysis focusing on planning and optimization; algorithms
for finding transport network equilibrium flows; shortest path algorithms;
deterministic and stochastic user equilibrium; transportation network design; trip
table estimation; network reliability.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


109

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์เส้นทางสั้นที่สุดในโครงข่ายขนส่ง
2. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์สมดุลของผู้ใช้ในโครงข่ายขนส่ง
3. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความน่าเชื่อถือของโครงข่ายขนส่ง

CVE 680 กลศาสตร์ของไหลขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Fluid Mechanics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
สมการอนุรักษ์มวล พลังงานและโมเมนตัมของการไหลสองและสามมิติ การไหลแบบมีความหนืด
การไหลวน การไหลสองมิติแบบไม่หมุน ตาข่ายการไหล สมการนาเวียร์ -สโตคสามมิติ ทฤษฎีการ
ไหลในชั้นติดขอบ แรงเสียดทานการไหล แรงลากและแรงยก พลศาสตร์การคานวณของไหล
Conservation of mass, energy and momentum in two and three dimensional flows,
flow of viscous fluid, circulation, two-dimensional irrotational flow, flow net analysis,
Navier- stokes equation for three dimensional flow, boundary layer theory, flow
resistance laws drag and lift, Computational Fluid Dynamics
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถใช้สมการควบคุมในการอธิบายและวิเคราะห์ปัญหาการไหลแบบสองและสาม
มิติ
2. นักศึกษาประยุกต์ใช้ทฤษฎีขอบเขตการไหล และพลศาสตร์ของไหลเชิงคานวณในการแก้ปัญหา
ทางกลศาสตร์ของไหลขั้นสูงได้

CVE 681 ชลศาสตร์ทางน้าเปิดขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Open Channel Hydraulics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
พลังงานและโมเมนตัมของการไหลในทางน้าเปิด การกระโดดของน้า การไหลแบบสม่าเสมอ การ
วัดและการควบคุมการไหล การไหลแบบแปรเปลี่ยนช้า การไหลแบบอัตราการไหลแปรเปลี่ยนตาม
ระยะทาง การไหลผ่านโค้งและการไหลวนขวาง การออกแบบคลอง การไหลแบบแปรเปลี่ยนเร็ว
การแพร่กระจายของเจ็ตและเวค การลอยขึ้นและการแผ่ตัวของของไหล
Energy and momentum principles, hydraulic jump, uniform flow, flow control and
measurements, gradually varied flow, spatially varied flow, flow through bends and
secondary flow, design of canal, jet diffusion and wakes, rapidly varied flow,
mechanics of buoyant plumes.
ผลลัพธ์การเรียนรู้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


110

1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์พฤติกรรมของการไหลในทางน้าเปิด
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้ทฤษฎีกลศาสตร์ของไหลมาประยุกต์ใช้ในงานวิศวกรรมชลศาสตร์
และงานพัฒนาแหล่งน้า

CVE 682 ชลศาสตร์ของการไหลแบบไม่คงที่ 3 (3 – 0 – 9)


Hydraulics of Unsteady Flow
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การไหลแบบไม่คงที่ในทางน้าเปิด สมการควบคุมการไหลแบบ 1 มิติ และ 2 มิติ หลักการคานวณ
คลื่ น น้ าท่ ว มโดยวิ ธี ป ระมาณ การไหลไม่ ค งที่ 1 มิ ติ แบบแปรเปลี่ ย นช้ า และแปรเปลี่ ย นเร็ ว
การหลากการไหลโดยวิธีการทางชลศาสตร์ สมการพื้นฐานของการไหลแบบไม่คงที่ในท่อปิด
การวิเคราะห์วอเตอร์แฮมเมอร์และถังเสอร์จ
Unsteady flow in open channels, governing equations for one and two dimensional
flows, various concepts of flood wave approximation, one dimensional gradually
varied unsteady flow and rapidly varied unsteady flow, hydraulics flood routing,
basic equations of unsteady flow in closed conduits, water hammer and surge tank
analyses.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์การไหลแบบไม่คงที่ในทางน้าเปิด และคลื่นน้าท่วม
2. นักศึกษาสามารถใช้ทฤษฎีการไหลในท่อปิดมาประยุกต์ในการป้องกันการเกิดฆ้อนน้าและ
ออกแบบถังเสอร์จ

CVE 683 การจาลองและแบบจาลองสภาพอุทกวิทยา 3 (3 – 0 – 9)


Hydrologic Simulation and Models
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
องค์ ป ระกอบของวั ฎ จั ก รอุ ท กวิ ท ยา การจ าลององค์ ป ระกอบย่ อ ยของวั ฎ จั ก รอุ ท กวิ ท ยา
แบบจ าลองประสมประสานแบบดี เ ทอร์ มิ นิ ส ติ ก ของระบบอุ ท กวิ ท ยา ชนิ ด โครงสร้ า งของ
แบบจาลองเชิงแนวคิด พารามิเตอร์และการเทียบค่า การใช้แบบจาลองในโครงการด้านอุทกวิทยา
ความเชื่อถือของการจาลองทางอุทกวิทยา
Components of hydrologic cycle, modeling of sub-components of hydrologic cycle,
integrated hydrologic deterministic models, types, structure of conceptual model,
parameter and calibration, application in hydrological projects, reliability of
hydrologic simulation.
ผลลัพธ์การเรียนรู้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


111

1. นักศึกษาสามารถอธิบายและตรวจสอบความน่าเชื่อถือของแบบจาลองทางอุทกวิทยา
2. นักศึกษาสามารถใช้แบบจาลองทางอุทกวิทยาเพื่อประยุกต์ใช้ในโครงการพัฒนาแหล่งน้าได้

CVE 685 การวิเคราะห์ระบบแหล่งน้า 3 (3 – 0 – 9)


Water Resources System Analysis
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ธรรมชาติของระบบแหล่งน้า การวิเคราะห์ระบบ วัตถุประสงค์ของการพัฒนาแหล่งน้า โปรแกรม
เชิงเส้น วิธีการหาค่าความเหมาะสม การประยุกต์ใช้การวิเคราะห์ระบบศึกษา องค์ประกอบของ
ระบบแหล่ ง น้ า การวิ เ คราะห์ ร ะบบแหล่ ง น้ าเอนกประสงค์ ที่ ซั บ ซ้ อ น และมี ข นาดใหญ่
การวิเคราะห์ระบบน้าใต้ดินหรือ ด้านคุณภาพน้า การประเมินโครงการด้านแหล่งน้า
The nature of water resources systems, system analysis, the objective functions of
water resources development, linear programming, optimization techniques,
application of system analysis to water resources system elements, large- scale
complex multi-purpose water resources system, analysis of groundwater system or
water quality, appraisal of water resources projects.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ระบบแหล่งน้าเพื่อหาค่าความเหมาะสม
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้วิธีการหาค่าความเหมาะสมในโครงการพัฒนาแหล่งน้า

CVE 686 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและทรัพยากรน้า 3 (3 – 0 – 9)


Climate Change and Water Resources
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
นิยามของโลกร้อน ปัจจัยที่ทาให้เกิดโลกร้ อน แบบจาลองสภาพภูมิอากาศโลกและการคาดการณ์
ในอนาคต ความไม่แน่นอนในการศึกษาการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศ การลดขนาดโดยวิธี
ไดนามิกส์และวิธีสถิติ ผลกระทบของโลกร้อนต่อทรัพยากรน้า การปรับตัวและความเปราะบางของ
การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ การลดผลกระทบต่ อ การเปลี่ ย นแปลงสภาพภู มิ อ ากาศ
ผลกระทบของโลกร้อนในลุ่มน้า การปรับตัวและความเปราะบางในลุ่มน้า การจัดการความเสี่ยง
ของภูมิอากาศโดยใช้เครื่องมือและระบบช่วยตัดสินใจ
Definition of global warming, factors causing global warming, global climate model
and future projection, uncertainty in climate change studies, dynamically and
statistically downscaled, effects of global warming on water resources, adaption and
vulnerability to climate change, climate change mitigation,impact of climate change

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


112

in basin scale, adaption and vulnerability in basin scale, managing climate risk for
the water sector with tools and decision support
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ถึงการเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศที่มีต่อทรัพยากรน้า
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้แบบจาลองเพื่อประเมินผลกระทบต่อการเปลี่ยนแปลงสภาพ
ภูมิอากาศที่มีต่อทรัพยากรน้า

CVE 688 ชลศาสตร์ชายฝั่งทะเล 3 (3 – 0 – 9)


Coastal Hydraulics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ขอบข่ายของงานวิศวกรรมชายฝั่งทะเลและนอกชายฝั่งทะเล การวัดและข้อมูลลม กาเนิดของคลื่น
การพยากรณ์และการวัดคลื่น ทฤษฎีคลื่น การสะท้อน การหักเห การเลี้ยวเบี่ยงเบนและการแตก
ตัวของคลื่น น้าขึ้นน้าลงและคลื่นคาบยาว พลังงานคลื่นและแรงของคลื่นที่กระทบบนโครงสร้างใน
ทะเล การเคลื่อนที่ของตะกอนและทรายตามแนวชายฝั่งทะเลและกระบวนการการเกิดชายหาด
การศึกษาปัญหาโดยใช้แบบจาลองชลศาสตร์
Scope of coastal and offshore engineering, wind measurement and data, wave
generation, prediction and measurement of waves, wave theories, reflection,
refraction, diffraction and breaking of waves, tides and long- period waves, wave
energy and wave force on marine structures, littoral drift and beach processes,
hydraulic model studies.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์กระบวนการทางวิศวกรรมชายฝั่งทะเล
2. นักศึกษาสามารถออกแบบโครงสร้างที่เหมาะกับปัญหาชายฝั่งทะเล

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


113

CVE 689 ชลศาสตร์ของน้าขึ้นน้าลงและบริเวณปากแม่น้า 3 (3 – 0 – 9)


Tidal and Estuarine Hydraulics
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
กาเนิด ทฤษฎี การวัด ข้อมูล และการวิเคราะห์ฮาร์โมนิกของน้าขึ้นน้าลง กระแสน้าเนื่องจากน้า
ขึ้นน้าลง การเปลี่ยนแปลงระดับน้าเนื่องจากน้าขึ้นน้าลงในทะเลเปิด ในบริเวณชายฝั่งทะเลและใน
แม่น้า การพยากรณ์น้าขึ้นน้าลง ลักษณะทางกายภาพของปากแม่น้า ชลพลศาสตร์ของปากแม่น้า
กระบวนการผสมและการเคลื่อนย้ายตะกอนบริเวณปากแม่น้า การศึกษาระบบน้าขึ้นน้าลง การวัด
ในสนาม แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ด้านคุณภาพน้า และชลศาสตร์ การจัดการและการควบคุม
บริเวณปากแม่น้า กรณีศึกษา เทคโนโลยีการขุดลอกตะกอน
Tide generation, theory, measurement, data and harmonic analysis, tidal currents,
tidal oscillation in open ocean, coastal margins, and rivers, tide prediction, physical
aspects of estuary, hydrodynamics of estuaries, mixing processes and sediment
movement, the study of tidal systems, field measurement, mathematical models,
water quality models, hydraulic models, management and control of estuaries,
case studies, dredging technology.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ฮาร์โมนิกของน้าขึ้นน้าลง กระแสน้าเนื่องจากน้าขึ้นน้าลง และการ
เปลี่ยนแปลงระดับน้าเนื่องจากน้าขึ้นน้าลง
2. นักศึกษาสามารถพยากรณ์น้าขึ้นน้าลง และประยุกต์ใช้แบบจาลองทางคณิตศาสตร์ทางชล
ศาสตร์และคุณภาพน้าบริเวณปากแม่น้า

CVE 690 การกัดเซาะและตะกอน 3 (3 – 0 – 9)


Erosion and Sediment
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ปรากฏการณ์การกัดเซาะ และการขนส่งรวมถึงการทับถมของตะกอน กลศาสตร์และกฎการ
อนุรักษ์มวล การศึกษาหัวข้อเหล่านี้จะทาให้ทราบถึงการเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิสัณฐานโลก
รวมถึงกระบวนการทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน
Erosion and sedimentation which are the parts of the natural evolution of the
landscape. The theory of mechanics and physical study, developed and applied
from fluid mechanics and governing equations are used. Erosion and sedimentation
processes are related to the geomorphology and sustainable development.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


114

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาเข้าใจและนาเสนอพื้นฐานของสมการทั้งแบบสมการทางทฤษฎีและสมการอย่างง่าย
สาหรับใช้ในการประเมินการกัดเซาะ และอธิบายระบบการขนส่งตะกอนได้
2. นักศึกษาสามารถวางแผนการวิจัยและหาข้อมูลสาหรับการเปลี่ยนแปลงลักษณะภูมิสัณฐานโลก
รวมถึงกระบวนการทาให้เกิดการเปลี่ยนแปลงอย่างยั่งยืน

CVE 691 กลศาสตร์และกระบวนการของแม่น้า 3 (3 – 0 – 9)


River Mechanics and Fluvial Processes
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ลั ก ษณะสมบั ติ ข องพื้ น ที่ ลุ่ ม น้ า ขนาดพื้ น ที่ แหล่ ง ก าเนิ ด ตะกอนและปริ ม าณตะกอน
ชลศาสตร์แม่น้า ความสัมพันธ์ระหว่างอัตราไหลและระดับน้า การคานวณโค้งผิวน้า สัณฐานวิทยา
ของแม่น้า การเคลื่อนที่ของตะกอนในลาน้า รูปแบบทางราบของแม่น้า รูปตัดขวางและรูปตัด
ตามยาว แบบรูปท้องน้าและแรงต้านการไหล วิธีการควบคุมและรักษาสภาพแม่น้า การควบคุม
ตะกอน
Catchments characteristics, catchments area, sediment sources and sediment yield,
river hydraulics, water level and discharge rating curves, backwater curve
computations, river morphology, sediment transport, plan forms, cross-section and
longitudinal profiles, bed forms and flow resistance, river training works and
sediment control device.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์กระบวนการของแม่น้าและตะกอน
2. นักศึกษาสามารถออกแบบวิธีการควบคุม รักษาสภาพแม่น้า

CVE 692 การป้องกันน้าท่วมและการระบายน้า 3 (3 – 0 – 9)


Flood Protection and Drainage
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ลักษณะและสาเหตุของการเกิดน้าท่วม ปัจจัยทางอุตุอุทกวิทยาและชลศาสตร์ที่มีอิทธิพลต่อการ
เกิดน้าท่วม การกาหนดรูปแบบของน้าท่า และพายุฝนเพื่อใช้ในงานออกแบบระบบป้องกันน้าท่วม
และระบายน้า แบบจาลองคณิตศาสตร์สาหรับวิเคราะห์สภาพน้าท่วม มาตรการป้องกันและ
บรรเทาปัญหาน้าท่วมแบบใช้สิ่ งก่อสร้างและไม่ใช้สิ่งก่อสร้าง การประเมินความเสียหายจากน้า
ท่วมและผลประโยชน์จากโครงการป้องกันน้าท่วม ระบบการเตือนภัยน้าท่วม การวางแผน และ
ออกแบบเบื้องต้นระบบระบายน้าในเขตพื้นที่ชุมชน การจัดผังระบบ การประเมินปริมาณน้าท่า

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


115

และเลือกขนาดทางระบายน้า การใช้พื้นที่ชะลอน้า เครื่องสูบน้าและประตูระบายน้า แบบจาลอง


คณิตศาสตร์สาหรับวิเคราะห์ระบบระบายน้าพื้นที่ชุมชน
Types and causes of floods, hydrologic and hydraulic factors influencing flood
problems, design flood and design storm, flood problem simulation by
mathematical models, structural and non- structural flood mitigation measures,
assessment of flood damages and benefits from flood protection projects, flood
warning system. Preliminary design and planning of urban drainage systems, system
lay- out, estimate of runoff quantities and sewer sizes, uses of retention storage,
pump and gate operation, mathematical modeling of urban drainage system.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาเข้าใจกระบวนการการสร้างระบบป้องกันน้าท่วมและออกแบบระบบป้องกันน้าท่วม
รวมถึงระบบระบายน้าเบื้องต้นได้
2. นักศึกษาเข้าใจองค์ประกอบของระบบระบายน้าได้
3. นักศึกษาสามารถพัฒนาแนวคิดในการออกแบบระบบป้องกันน้าท่วมและระบายน้าจากข้อมูล
น้าท่วมออกแบบและพายุออกแบบได้

CVE 693 อุทกวิทยาขั้นสูง 3 (3 – 0 – 9)


Advanced Hydrology
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ศักยภาพความชื้นในมวลอากาศ ปริมาณสูงสุดที่จะเป็นไปได้( PMP) และปริมาณน้าท่าสูงสุดที่จะ
เป็นไปได้(PMF) การวิเคราะห์คุณสมบัติทางกายภาพของลุ่มน้า ลักษณะสมบัติของน้าท่วมและการ
ประเมินขนาดของน้าท่วม การวิเคราะห์สภาพแล้ง การวิเคราะห์ตัวแปรอุทกวิทยา(น้าฝน น้าท่วม
สภาพแล้ง) เชิงภูมิภาค วิธีการหลากน้าท่วมเชิงจลน์ การพยากรณ์การไหลและระดับน้าในแม่น้า
อุทกวิทยาชุมชนเมือง ป่า และพื้นที่เกษตรกรรม ระบบเตือนภัยน้าท่วม เทคนิคการสื่อสารส่ง
ข้อมูล และวิธีการตรวจข้อมูลระยะไกลที่ใช้ในงานอุทกวิทยา การกัดเซาะผิวดินและการตกตะกอน
ในอ่างเก็บน้า
Air-mass moisture potential, probable maximum precipitation (PMP) and probable
maximum flood ( PMF) , watershed analysis, flood characteristics and flood flow
determination, regionalization of hydrologic parameters ( flood, rainfall, and
drought) , advanced flood routing techniques, river forecasting, hydrology of urban
areas, forests, and agricultural lands, flood warning systems, telemetry practice and
remote sensing techniques related to hydro- meteorology measurements, soil
erosion and reservoir sedimentation.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


116

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ลักษณะน้าท่วม น้าแล้ง และคานวณการหลากของน้า
2. นักศึกษาสามารถออกแบบปริมาณฝนและปริมาณน้าท่าสูงสุดที่จะเป็นไปได้

CVE 695 การวิเคราะห์ปัญหาแหล่งน้าโดยคอมพิวเตอร์ 3 (3 – 0 – 9)


Computer Application in Water Resources Analysis
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
การประยุกต์ใช้คอมพิวเตอร์ในการแก้ปัญหาวิศวกรรมทรัพ ยากรน้ารวมถึงการวิเคราะห์วเลขและ
สถิ ติ การพั ฒ นาโปรแกรมคอมพิ ว เตอร์ เ พื่ อ แก้ ปั ญ หาด้ า นอุ ท กวิ ท ยา ชลศาสตร์ น้ าใต้ ดิ น
การควบคุมคุณภาพน้า วิศวกรรมชายฝั่ งทะเล และการจาลองระบบแหล่งน้า การใช้โปรแกรม
คอมพิวเตอร์ ที่ได้มีการพัฒนาไว้แล้วเพื่อแก้ปัญหาด้านแหล่งน้าที่กาหนด
Applications of digital computer in solving proving problems in water resources
engineering, including elementary numerical and statistical analysis, computer
program development in the areas of hydrology, hydraulics, groundwater, water
quality control, coastal engineering and water resources system simulation,
applications of available software packages to solve some assigned water resources
problems.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ปัญหาทางวิศวกรรมทรัพยากรน้าโดยใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์
2. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้โปรแกรมคอมพิวเตอร์เพื่อแก้ปัญหาทางชลศาสตร์ น้าใต้ดิน การ
ควบคุมคุณภาพน้า วิศวกรรมชายฝั่งทะเล และการจาลองระบบแหล่งน้า

CVE 696 ระบบและกระบวนการทางอุทกวิทยา 3 (3 – 0 – 9)


Hydrologic System and Processes
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
หลักการของระบบอุทกวิทยา วัฏจักรและองค์ประกอบทางอุทกวิทยา น้าในบรรยากาศ น้าใต้ผิว
ดินและน้าผิวดิน โครงข่ายลาธารและลักษณะสมบัติของพื้นที่รับน้า แบบจาลองระบบอุทกวิทยา
ทั่วไป ฟังก์ชั่นตอบสนองต่อระบบสมการเชิงเส้น เอกชลภาพ การคานวณการหลากไหลด้วยวิธีรวม
และวิธีกระจาย การวิเคราะห์ความถี่ ฝนออกแบบและอัตราการไหลออกแบบสาหรับโครงการ
พัฒนาแหล่งน้า
Hydrologic system concept, hydrologic cycle and its components, atmospheric
water, subsurface and surface water, stream networks and watershed characteristics,

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


117

general hydrologic system model, respond functions of linear systems, unit


hydrograph, lumped
and distributed flood routing, frequency analysis, design storms and floods for water
resources development projects.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความถี่ ฝนออกแบบในโครงการพัฒนาแหล่งน้า
2. นักศึกษาสามารถคานวณแบบจาลองทางอุทกวิทยา แบบเหมารวมและวิธีกระจายเชิงพื้นที่

CVE 698 การออกแบบโครงสร้างป้องกันชายฝั่งทะเล 3 (3 – 0 – 9)


Design of Coastal Protection Works
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ทบทวนกระบวนการและปรากฏการณ์ชายฝั่งทะเล หน้าที่ วิธีการออกแบบ วัสดุก่อสร้างของ
โครงสร้างป้องกันชายฝั่งทะเลโดยทั่วไป เช่น ผนัง กาแพง และโครงสร้างชายฝั่งเพื่อกันคลื่น สัน
ดอนทราย ระบบล าเลี ยงทราย ก าแพงดั ก ทราย ท่ า เที ย บเรือ คั น กั น คลื่น การพิ จ ารณาด้าน
สิ่งแวดล้อม
Review of coastal processes and phenomena, functions, design practice,
construction materials of typical sea- defense and coastal structures, seawalls,
bulkheads and revetment, sand dunes, sand bypassing, groynes, jetties, breakwaters,
environmental considerations.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์กระบวนการ ปรากฏการณ์ชายฝั่งทะเลและโครงสร้างชายฝั่งนักศึกษา
สามารถออกแบบโครงสร้างป้องกันชายทะเล เช่นโครงสร้างชายฝั่งเพื่อกัดคลื่น

CVE 704 หัวข้อพิเศษ 1 3 (3 – 0 – 9)


Special Topic 1
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ศึกษาหัวข้อพิเศษที่เป็นเรื่องน่าสนใจในปัจจุบันที่เกี่ยวกับวิศวกรรมโยธา โดยได้ ความเห็นชอบของ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Study of topics of current interest in the field of civil engineering with a faculty advisor.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


118

ผลลัพธ์การเรียนรู้
นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ความรู้ เทคโนโลยีเฉพาะทางในสาขาความเชี่ยวชาญของ
ตน ที่มีความสาคัญต่องานวิศวกรรมโยธาในปัจจุบัน

CVE 705 หัวข้อพิเศษ 2 3 (3 – 0 – 9)


Special Topic 2
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ศึ ก ษาหั ว ข้ อ พิ เ ศษที่ เ ป็ น เรื่ อ งน่ า สนใจในปั จ จุ บั น ที่ เ กี่ ย วกั บ วิ ศ วกรรมโยธา โดยได้
ความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Study of topics of current interest in the field of civil engineering with a faculty advisor.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ความรู้ เทคโนโลยีเฉพาะทางในสาขาความเชี่ยวชาญของ
ตน ที่มีความสาคัญต่องานวิศวกรรมโยธาในปัจจุบัน

CVE 706 หัวข้อพิเศษ 3 3 (3 – 0 – 9)


Special Topic 3
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ศึกษาหัวข้อพิเศษที่เป็นเรื่องน่าสนใจในปัจจุบันที่เกี่ยวกับวิศวกรรมโยธา โดยได้ ความเห็นชอบของ
อาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Study of topics of current interest in the field of civil engineering with a faculty advisor.
ผลลัพธ์การเรียนรู้
นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ความรู้ เทคโนโลยีเฉพาะทางในสาขาความเชี่ยวชาญของ
ตน ที่มีความสาคัญต่องานวิศวกรรมโยธาในปัจจุบัน

CVE 707 หัวข้อพิเศษ 4 2 (2 – 0 – 6)


Special Topic 4
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
ศึ ก ษาหั ว ข้ อ พิ เ ศษที่ เ ป็ น เรื่ อ งน่ า สนใจในปั จ จุ บั น ที่ เ กี่ ย วกั บ วิ ศ วกรรมโยธา โดยได้
ความเห็นชอบของอาจารย์ที่ปรึกษาวิทยานิพนธ์
Study of topics of current interest in the field of civil engineering with a faculty advisor.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


119

ผลลัพธ์การเรียนรู้
นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ และประยุกต์ใช้ความรู้ เทคโนโลยีเฉพาะทางในสาขาความเชี่ยวชาญของ
ตน ที่มีความสาคัญต่องานวิศวกรรมโยธาในปัจจุบัน

CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต


Thesis
วิชาบังคับก่อน : ไม่มี
นักศึกษาจะต้องทางานวิจัยอิสระในหัวข้อเกี่ยวกับวิศวกรรมโยธาภายใต้การแนะนาของอาจารย์ผู้
ควบคุ ม วิ ท ยานิ พ นธ์ โดยที่ หั ว ข้ อ วิ ท ยานิ พ นธ์ ไ ด้ ผ่ า นการยอมรั บ จากคณะกรรมการที่ ป รึ ก ษา
วิทยานิพนธ์และต้องเสนอความก้าวหน้าในการสัมมนาทุกภาคที่ลงทะเบียนวิทยานิพนธ์
Each student is required to undertake an individual research project in the field of
civil engineering under supervision of the advisor. The master thesis topic must be
approved by the advisory committee. The student has to present his/ her research
progress for each semester of his/her thesis enrollment.

ผลลัพธ์การเรียนรู้
1. นักศึกษาสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
2. นักศึกษาสามารถบริหารจัดการงานและรับผิดชอบในการดาเนินงานให้เสร็จลุล่วงไปได้
3. นักศึกษามีทักษะในการสื่อสารและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้
4. นักศึกษาสามารถดาเนินการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมได้
5. นักศึกษามีความสามารถในยการปรับตัวและทางานภายใต้ความกดดันได้
6. นักศึกษายึดมั่นในหลักจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรมและความถูกต้อง ไม่ละเมิดสิทธิทาง
ปัญญาของผู้อนื่
7. นักศึกษารับฟังความเห็นที่แตกต่าง ให้เกียรติและเคารพคุณค่าในงานของผู้อื่น

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


ภาคผนวก ข. ตารางเปรียบเทียบรายวิชาที่เปลี่ยนแปลงไประหว่างหลักสูตรเดิมและหลักสูตรปรับปรุง
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หมายเหตุ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564
1. โครงสร้างหลักสูตร-องค์ประกอบของหลักสูตร 1. โครงสร้างหลักสูตร-องค์ประกอบของหลักสูตร ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
- จานวนหน่วยกิต เดิม 37 หน่วยกิต - จานวนหน่วยกิต 37 หน่วยกิต
- มีวิชา CVE701 Research Methodology เป็นหนึ่งในวิชาบังคับ - มีวิชา CVE701 Essentials for Professional Civil Engineering เป็น
- จานวนวิชาเลือกในแต่ละกลุ่มวิชาเอก หนึ่งในวิชาบังคับ
- จานวนวิชาเลือกในแต่ละกลุ่ม
1)*วิชาเลือกสาขาวิศวกรรมโครงสร้าง 20 วิชา 1) ลดเป็น 19 รายวิชา รายละเอียดดังนี้
- ยกเลิกรายวิชา 1 วิชา ได้แก่ CVE 635
- ปรับชื่อและเนื้อหารายวิชา 2 วิชาได้แก่ CVE 630 และ CVE 637
- ปรับเนื้อหารายวิชา 2 วิชา ได้แก่ CVE 633 และ CVE 641
2)*วิชาเลือกสาขาวิศวกรรมเทคนิคธรณี 13วิชา 2) ) ยังคงเป็น 13 วิชา รายละเอียดดังนี้
- ปรับชื่อและเนื้อหารายวิชา 1 วิชา ได้แก่ CVE 654
3)*วิชาเลือกสาขาวิศวกรรมขนส่ง 18 วิชา 3) เพิ่มเป็น 19 วิชา รายละเอียดดังนี้
- เพิ่มรายวิชา 1 วิชา ได้แก่ CVE 673
- ปรับชื่อและเนื้อหารายวิชา 3 วิชา ได้แก่ CVE671, CVE 771 และ CVE 776
4)*วิชาเลือกสาขาวิศวกรรมทรัพยากรน้า 14 วิชา 4) เพิ่มเป็น 15 วิชา รายละเอียดดังนี้
- เพิ่มรายวิชา 1 วิชา ได้แก่ CVE 683
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร -ปรับใหม่ให้สอดคล้องกับผลสารวจความต้องการผูใ้ ช้บัณฑิต
ผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชา
ผลลัพธ์การเรียนรู้รายวิชา -ปรับให้สามารถวัดได้ชัดเจนขึ้น สอดคล้องกับ Outcome Based Eduction
2. รายชื่ออาจารย์ประจาหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน 2. รายชื่ออาจารย์ประจาหลักสูตรและอาจารย์ผู้สอน

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)

120
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หมายเหตุ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564
1) อาจารย์ประจาหลักสูตร จานวน 5 ท่าน 1) ปรับเปลี่ยนอาจารย์ประจาหลักสูตรและลดจานวนเป็น 3 ท่าน
2) รายชื่ออาจารย์ประจา 2) ตัดรายชื่ออาจารย์ที่เกษียณอายุ เพิ่มรายชื่ออาจารย์ใหม่ และปรับตาแหน่งวิชาการ
ให้ตรงกับปัจจุบัน
3. รายละเอียดวิชา 3.รายละเอียดวิชา
ก. หมวดวิชาบังคับ ก. หมวดวิชาบังคับ
CVE 701 ระเบียบวิธีวิจัย 1 (0 –3 – 3) CVE 701 ทักษะสาคัญสาหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา 1 (0 –3 – 3) เปลี่ยนชื่อและปรับ
*MTH 666 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกร 3 (3 –0 – 9) *MTH 666 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกร 3 (3 –0 – 9) เนื้อหาวิชา
*MTH 665 เทคนิคทางคณิตศาสตร์ 3 (3 –0 – 9) *MTH 665 เทคนิคทางคณิตศาสตร์ 3 (3 –0 – 9) ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
*CVE 631 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมโยธา 3 (3 –0 – 9) *CVE 631 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมโยธา 3 (3 –0 – 9) ปรับเนื้อหาวิชา
*CVE 673 สถิติขั้นสูงสาหรับการศึกษาด้านการขนส่ง 3 (3 –0 – 9) *CVE 673 สถิติขั้นสูงสาหรับการศึกษาด้านการขนส่ง 3 (3 –0 – 9) ไม่มีการเปลี่ยนแปลง
* ตามแต่กลุ่มวิชา * ตามแต่กลุ่มวิชา ตัดออก
ข. หมวดวิชาเลือก ข. หมวดวิชาเลือก
ข.1 วิชาเลือกกลุ่มวิชาหลัก ข.1วิชาเลือกกลุ่มวิชาหลัก
ข.1 1.กลุ่มวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง
CVE 630 กลศาสตร์ของแข็งขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) CVE 630 กลศาสตร์ของแข็งที่มีความต่อเนื่อง: 3 (3 –0 – 9) ปรับชื่อและเนื้อหารายวิชา
CVE 632 การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) CVE 632 การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง 3 (3 –0 – 9)
CVE 633 การออกแบบคอนกรีตอัดแรงขั้นสูง) 3 (3 –0 – 9) CVE 633 การออกแบบคอนกรีตอัดแรงขั้นสูง : 3 (3 –0 – 9) ปรับเนื้อหารายวิชา
CVE 634 การออกแบบและใช้งานคอนกรีตพิเศษ 3 (3 –0 – 9) CVE 634 การออกแบบและใช้งานคอนกรีตพิเศษ : 3 (3 –0 – 9)
CVE 635 ทฤษฎีของโครงสร้างขัน้ สูง 3 (3 –0 – 9) ยกเลิกรายวิชา
CVE 636 การออกแบบโครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) CVE 636 การออกแบบโครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3 (3 –0 – 9)
CVE 637 วิธีเชิงตัวเลขในกลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 –0 – 9) CVE 637 วิธีการคานวณในกลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 –0 – 9) ปรับชื่อและเนื้อหารายวิชา

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)

121
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หมายเหตุ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564
CVE 638 ทฤษฎีของแผ่นบางและเปลือกบาง 3 (3 –0 – 9) CVE 638 ทฤษฎีของแผ่นบางและเปลือกบาง 3 (3 –0 – 9)
CVE 639 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3 (3 –0 – 9) CVE 639 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3 (3 –0 – 9)
CVE 640 กลศาสตร์วัสดุและโครงสร้างขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) CVE 640 กลศาสตร์วัสดุและโครงสร้างขั้นสูง 3 (3 –0 – 9)
CVE 641 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) CVE 641 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) ปรับเนื้อหารายวิชา
CVE 642 พลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 –0 – 9) CVE 642 พลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 –0 – 9)
CVE 644 ทฤษฎีของโครงสร้างเปลือกบาง 3 (3 –0 – 9) CVE 644 ทฤษฎีของโครงสร้างเปลือกบาง 3 (3 –0 – 9)
CVE 645 วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์ในกลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 –0 – 9) CVE 645 วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์ในกลศาสตร์โครงสร้าง 3 (3 –0 – 9)
CVE 646 วิธีการพลังงานในกลศาสตร์ประยุกต์ 3 (3 –0 – 9) CVE 646 วิธีการพลังงานในกลศาสตร์ประยุกต์ 3 (3 –0 – 9)
CVE 648 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างรับแรงลมและ 3 (3 –0 – 9) CVE 648 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างรับแรงลมและ 3 (3 –0 – 9)
แผ่นดินไหว แผ่นดินไหว
CVE 732 การวิเคราะห์โครงสร้างวัสดุคอมโพสิต 3 (3 –0 – 9) CVE 732 การวิเคราะห์โครงสร้างวัสดุคอมโพสิต 3 (3 –0 – 9)
CVE 733 การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ไม่เชิงเส้นของโครงสร้าง 3 (3 –0 – 9) CVE 733 การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ไม่เชิงเส้นของโครงสร้าง 3 (3 –0 – 9)
CVE 734 การออกแบบข้อต่อโครงสร้างเหล็ก 3 (3 –0 – 9) CVE 734 การออกแบบข้อต่อโครงสร้างเหล็ก 3 (3 –0 – 9)
CVE 735 ความทนทาน การป้องกัน และซ่อมแซมคอนกรีต 3 (3 –0 – 9) CVE 735 ความทนทาน การป้องกัน และซ่อมแซมคอนกรีต 3 (3 –0 – 9)
ข.1.2.วิชาเลือกกลุ่มวิชาเอกวิศวกรรมเทคนิคธรณี
CVE 653 เทคนิคปรับปรุงคุณภาพดิน 3 (3 –0 – 9) CVE 653 เทคนิคปรับปรุงคุณภาพดิน 3 (3 –0 – 9)
CVE 654 เครื่องมือวัดในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 (3 –0 – 9) CVE 654 เครื่องมือวัดในงานวิศวกรรมโยธา: 3 (3 –0 – 9) ปรับชื่อและปรับ
คาอธิบายรายวิชา
CVE 655 อุโมงค์และงานก่อสร้างใต้ดิน 3 (3 –0 – 9) CVE 655 อุโมงค์และงานก่อสร้างใต้ดิน 3 (3 –0 – 9)
CVE 657 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 (3 –0 – 9) CVE 657 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 (3 –0 – 9)
CVE 658 วิศวกรรมธรณีวิทยาประยุกต์ 3 (3 –0 – 9) CVE 658 วิศวกรรมธรณีวิทยาประยุกต์ 3 (3 –0 – 9)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)

122
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หมายเหตุ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564
CVE 659 กลศาสตร์ของหิน 3 (3 –0 – 9) CVE 659 กลศาสตร์ของหิน 3 (3 –0 – 9)
CVE 660 การสารวจใต้ผิวพื้นและการทดสอบดิน 3 (3 –0 – 9) CVE 660 การสารวจใต้ผิวพื้นและการทดสอบดิน 3 (3 –0 – 9)
CVE 661 กลศาสตร์ของดินขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) CVE 661 กลศาสตร์ของดินขั้นสูง 3 (3 –0 – 9)
CVE 662 คุณสมบัติและพฤติกรรมของดิน 3 (3 –0 – 9) CVE 662 คุณสมบัติและพฤติกรรมของดิน 3 (3 –0 – 9)
CVE 664 พลศาสตร์ของดิน 3 (3 –0 – 9) CVE 664 พลศาสตร์ของดิน 3 (3 –0 – 9)
CVE 666 ทฤษฎีกลศาสตร์ของดิน 3 (3 –0 – 9) CVE 666 ทฤษฎีกลศาสตร์ของดิน 3 (3 –0 – 9)
CVE 667 โครงสร้างดิน 3 (3 –0 – 9) CVE 667 โครงสร้างดิน 3 (3 –0 – 9)
CVE 668 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) CVE 668 วิศวกรรมฐานรากขั้นสูง 3 (3 –0 – 9)
ข.1.3 วิชาเลือกกลุ่มวิชาเอกวิศวกรรมขนส่ง
CVE 671 ระบบการขนส่ง 3 (3 –0 – 9) CVE 671 ระบบการขนส่งและเทคโนโลยี 3 (3 –0 – 9) ปรับชื่อและปรับ
คาอธิบายรายวิชา
CVE 672 การดาเนินงานการจราจร 3 (3 –0 – 9) CVE 672 การดาเนินงานการจราจร 3 (3 –0 – 9)
- CVE 673 สถิติขั้นสูงสาหรับการศึกษาด้านการขนส่ง 3 (3 –0 – 9) เปิดรายวิชาใหม่
CVE 674 การขนส่งมวลชนในตัวเมือง 3 (3 –0 – 9) CVE 674 การขนส่งมวลชนในตัวเมือง 3 (3 –0 – 9)
CVE 675 การประเมินโครงการด้านการขนส่ง 3 (3 –0 – 9) CVE 675 การประเมินโครงการด้านการขนส่ง 3 (3 –0 – 9)
CVE 676 การออกแบบทางเรขาคณิตของถนน 3 (3 –0 – 9) CVE 676 การออกแบบทางเรขาคณิตของถนน 3 (3 –0 – 9)
CVE 677 การวางแผนการขนส่ง 3 (3 –0 – 9) CVE 677 การวางแผนการขนส่ง 3 (3 –0 – 9)
CVE 678 การวางแผนและออกแบบสนามบิน 3 (3 –0 – 9) CVE 678 การวางแผนและออกแบบสนามบิน 3 (3 –0 – 9)
CVE 679 การออกแบบผิวทางขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) CVE 679 การออกแบบผิวทางขั้นสูง 3 (3 –0 – 9)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)

123
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หมายเหตุ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564
CVE 771 การออกแบบและการจัดการระบบจราจร 3 (3 –0 – 9) CVE 771 แบบจาลองวิเคราะห์การจราจรและการใช้งาน 3 (3 –0 – 9) เปลี่ยนชื่อและปรับ
เนื้อหาวิชา
CVE 772 สิ่งแวดล้อมของระบบการขนส่ง 3 (3 –0 – 9) CVE 772 สิ่งแวดล้อมของระบบการขนส่ง 3 (3 –0 – 9)
CVE 773 วิศวกรรมและการวางแผนความปลอดภัยทางถนน 3 (3 –0 – 9) CVE 773 วิศวกรรมและการวางแผนความปลอดภัยทางถนน 3 (3 –0 – 9)
CVE 774 เทคนิคการหาผลเฉลยที่ดีที่สุดสาหรับการขนส่ง 3 (3 –0 – 9) CVE 774 เทคนิคการหาผลเฉลยที่ดีที่สุดสาหรับการขนส่ง 3 (3 –0 – 9)
CVE 775 การสร้างแบบจาลองและการพยากรณ์ความต้องการเดินทาง 3 (3 –0 – 9) CVE 775 การสร้างแบบจาลองและการพยากรณ์ความต้องการเดินทาง 3 (3 –0 – 9)
CVE 776 ระบบโลจิสติกส์ 3 (3 –0 – 9) CVE 776 การจัดการห่วงโซ่อุปทาน 3 (3 –0 – 9) เปลี่ยนชื่อและปรับ
เนื้อหาวิชา
CVE 777 นโยบายและการวางแผนการขนส่งสินค้าในเขตเมือง 3 (3 –0 – 9) CVE 777 นโยบายและการวางแผนการขนส่งสินค้าในเขตเมือง 3 (3 –0 – 9)
CVE 778 แบบจาลองการขนส่งสินค้า 3 (3 –0 – 9) CVE 778 แบบจาลองการขนส่งสินค้า 3 (3 –0 – 9)
CVE 779 การวิเคราะห์โครงข่ายขนส่ง 3 (3 –0 – 9) CVE 779 การวิเคราะห์โครงข่ายขนส่ง 3 (3 –0 – 9)
ข.1.4 วิชาเลือกกลุ่มวิชาเอกวิศวกรรมทรัพยากรน้า
CVE 680 กลศาสตร์ของไหลขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) CVE 680 กลศาสตร์ของไหลขั้นสูง 3 (3 –0 – 9)
CVE 681 ชลศาสตร์ทางน้าเปิดขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) CVE 681 ชลศาสตร์ทางน้าเปิดขั้นสูง 3 (3 –0 – 9)
CVE 682 ชลศาสตร์ของการไหลแบบไม่คงที่ 3 (3 –0 – 9) CVE 682 ชลศาสตร์ของการไหลแบบไม่คงที่ 3 (3 –0 – 9)
CVE 683 การจาลองและแบบจาลองสภาพอุทกวิทยา 3 (3 –0 – 9) เพิ่มรายวิชา
CVE 685 การวิเคราะห์ระบบแหล่งน้า 3 (3 –0 – 9) CVE 685 การวิเคราะห์ระบบแหล่งน้า 3 (3 –0 – 9)
CVE 686 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและทรัพยากรน้า 3 (3 –0 – 9) CVE 686 การเปลี่ยนแปลงสภาพภูมิอากาศและทรัพยากรน้า 3 (3 –0 – 9)
CVE 688 ชลศาสตร์ชายฝั่งทะเล 3 (3 –0 – 9) CVE 688 ชลศาสตร์ชายฝั่งทะเล 3 (3 –0 – 9)
CVE 689 ชลศาสตร์ของน้าขึ้นน้าลงและของบริเวณปากแม่น้า 3 (3 –0 – 9) CVE 689 ชลศาสตร์ของน้าขึ้นน้าลงและของบริเวณปากแม่น้า 3 (3 –0 – 9)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)

124
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หมายเหตุ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564
CVE 690 การกัดเซาะและตะกอน 3 (3 –0 – 9) CVE 690 การกัดเซาะและตะกอน 3 (3 –0 – 9)
CVE 691 กลศาสตร์และกระบวนการของแม่น้า 3 (3 –0 – 9) CVE 691 กลศาสตร์และกระบวนการของแม่น้า 3 (3 –0 – 9)
CVE 692 การป้องกันน้าท่วมและการระบายน้า 3 (3 –0 – 9) CVE 692 การป้องกันน้าท่วมและการระบายน้า 3 (3 –0 – 9)
CVE 693 อุทกวิทยาขั้นสูง 3 (3 –0 – 9) CVE 693 อุทกวิทยาขั้นสูง 3 (3 –0 – 9)
CVE 695 การวิเคราะห์ปัญหาแหล่งน้าโดยคอมพิวเตอร์ 3 (3 –0 – 9) CVE 695 การวิเคราะห์ปัญหาแหล่งน้าโดยคอมพิวเตอร์ 3 (3 –0 – 9)
CVE 696 ระบบและกระบวนการทางอุทกวิทยา 3 (3 –0 – 9) CVE 696 ระบบและกระบวนการทางอุทกวิทยา 3 (3 –0 – 9)
CVE 698 การออกแบบโครงสร้างป้องกันชายฝั่งทะเล 3 (3 –0 – 9) CVE 698 การออกแบบโครงสร้างป้องกันชายฝั่งทะเล 3 (3 –0 – 9)
ข.2 วิชาเลือกสาขาวิชาอื่น
CVE 620 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 3 (3 –0 – 9) 3 (3 –0 – 9) ยกเลิกรายวิชา
CVE 622 การบริหารโครงการก่อสร้าง 3 (3 –0 – 9) 3 (3 –0 – 9) ยกเลิกรายวิชา
CVE 704 หัวข้อพิเศษ 1 3 (3 –0 – 9) CVE 704 หัวข้อพิเศษ 1 3 (3 –0 – 9)
CVE 705 หัวข้อพิเศษ 2 3 (3 –0 – 9) CVE 705 หัวข้อพิเศษ 2 3 (3 –0 – 9)
CVE 706 หัวข้อพิเศษ 3 3 (3 –0 – 9) CVE 706 หัวข้อพิเศษ 3 3 (3 –0 – 9)
CVE 707 หัวข้อพิเศษ 4 3 (3 –0 – 9) CVE 707 หัวข้อพิเศษ 4 3 (3 –0 – 9)
ข.3 วิชาเลือกสาขาคณิตศาสตร์
MTH 665 เทคนิคทางคณิตศาสตร์ 3 (3 – 0 -.9) MTH 665 เทคนิคทางคณิตศาสตร์ 3 (3 – 0 -.9) ปรับผลลัพท์การเรียนรู้
MTH 666 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกร 3 (3 – 0 -.9) MTH 666 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกร 3 (3 – 0 -.9) ปรับผลลัพท์การเรียนรู้
CVE 631 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมโยธา 3 (3 – 0 -.9) CVE 631 คณิตศาสตร์ขั้นสูงสาหรับวิศวกรรมโยธา 3 (3 – 0 -.9)
CVE 673 สถิติขั้นสูงสาหรับการศึกษาด้านการขนส่ง 3 (3 – 0 -.9) CVE 673 สถิติขั้นสูงสาหรับการศึกษาด้านการขนส่ง 3 (3 – 0 -.9)
ค. วิทยานิพนธ์ ค. วิทยานิพนธ์
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)

125
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา หมายเหตุ
หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2559 หลักสูตรปรับปรุง พ.ศ. 2564
ง. หมวดวิชาภาษาอังกฤษ ง. หมวดวิชาภาษาอังกฤษ
LNG 550 วิชาปรับพื้นภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษา LNG 550 วิชาปรับพื้นภาษาอังกฤษสาหรับนักศึกษา
ระดับบัณฑิตศึกษา : 2 (1-2-6) ระดับบัณฑิตศึกษา : 2 (1-2-6)
LNG 600 วิชาภาษาอังกฤษระหว่างการเรียนในหลักสูตรสาหรับ LNG 600 วิชาภาษาอังกฤษระหว่างการเรียนในหลักสูตรสาหรับ
นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา : 3 (2-2-9) นักศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา : 3 (2-2-9)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)

126
127

ภาคผนวก ค. ประวัติอาจารย์ประจาหลักสูตร

ศ. ดร.ชัย จาตุรพิทักษ์กุล
Prof. Dr. Chai Jaturapitakkul

1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 1993 Ph.D. (Civil Engineering), New Jersey Institute of Technology, U.S.A.
ปี ค.ศ. 1987 M.Eng. (Structural Engineering and Construction), Asian Institute of
Technology, Thailand
ปี พ.ศ. 2527 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
2. ภาระการสอน

2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน

รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา

CVE 632 การออกแบบโครงสร้างคอนกรีตขั้นสูง 3 หน่วยกิต


(Advanced Design of Concrete Structures)
CVE 641 คอนกรีตเทคโนโลยีขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Concrete Technology)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Dissertation)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Dissertation)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


128

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์ประจาหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร

3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี

ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Chindaprasirt, P., Kroehong, W., Damrongwiriyanupap, N., Suriyo, W. and Jaturapitakkul, C. (2020):
“Mechanical properties, chloride resistance and microstructure of Portland fly ash cement
concrete containing high volume bagasse ash”, Journal of Building Engineering, Vol. 31, 101415.
(ISI-IF2019 = 3.379, Q1)
2. Klathae, T., Tanawuttiphong, N., Ananthanet, N., Tangchirapat, W., Chindaprasirt, P., Sukontasukkul,
P. and Jaturapitakkul, C. (2020): “Heat evolution, strengths, and drying shrinkage of concrete
containing high volume ground bagasse ash with different LOIs”, Construction and Building
Materials, Vol. 258, 119443. (ISI-IF2019-4.419, Q1)
3. Khongpermgoson, P., Boonlao, K., Ananthanet, N., Thitithananon, T., Jaturapitakkul, C.,
Tangchirapat, W. and Chee Ban, C. (2020): “The mechanical properties and heat development
behavior of high strength concrete containing high fineness coal bottom ash a pozzolanic binder”,
Construction and Building Materials, Vol. 253, DOI: 10.1016/j.conbuildmat.2020.119239. (ISI-IF2019-
4.419, Q1)
4. Dueramae, S., Tangchirapat, W., Chindaprasirt, P., Jaturapitakkul, C. and Sukontasukkul, P. (2020):
“ Autogenous and drying shrinkages of mortars and pore structure of pastes made with activated
binder of calcium carbide residue and fly ash”, Construction and Building Materials, Vol. 230,
116962. (ISI-IF2019-4.419, Q1)
5. Rattanachu, P., Toolkasikorn, P., Tangchirapat, W., Chindaprasirt, P. and Jaturapitakkul, C. (2020):
“Performance of recycled aggregate concrete with rice husk ash as cement binder”, Cement and
Concrete Composites, Vol. 108, 103533. (ISI-IF2019-6.257, Q1)
6. Norrarat, P., Tangchirapat, W., Songpiriyakij, S. and Jaturapitakkul, C. (2019): “Evaluation of
strengths from cement hydration and slag reaction of mortars containing high volume of
ground river sand and GGBF slag”, Advances in Civil Engineering, Vol. 2019, Article ID 4892015,
pp. 12.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


129

7. Rattanachu, P., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2019): “Water permeability and


sulfate resistance of eco-friendly high-strength concrete composed of ground bagasse ash
and recycled concrete aggregate”, Journal of Materials in Civil Engineering, pp. 1-8.
8. Khongpermgoson, P., Abdulmatin, A., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2019):
“Evaluation of compressive strength and resistance of chloride ingress of concrete using a
novel binder from ground coal bottom ash and ground calcium carbide residue”,
Construction and Building Materials, Vol. 214, pp. 631-640.
9. Abdulmatin, A., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2019): “Environmentally friendly
interlocking concrete paving block containing new cementing material and recycled
concrete aggregate”, European Journal of Environmental and Civil Engineering, Vol. 23, Issue 12,
pp. 1467-1484.
10. Dueramae, S., Tangchirapat, W., Sukontasukkul, P., Jaturapitakkul, C. and Chindaprasirt, P.,
(2019): “Investigation of compressive strength and microstructures of activated cement free
binder from fly-ash-calcium carbide residue mixture”, Journal of Materials Research and
Technology, Vol. 8, Issue 5, pp. 4757-4765.
11. Abdulmatin, A., Khongpermgoson, P., Jaturapitakkul, C. And Tangchirapat., W. (2018): “Use of eco-
friendly cementing material in concrete made from bottom ash and calcium carbide residue”, Arabian
Journal for Science and Engineering, Vol. 43, No. 4.
12. Dueramae, S., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2018): “Strength and heat generation
of concrete using carbide lime and fly ash as a new cementitious material without Portland
cement”, Advanced Powder Technology, 29 (2018), pp. 672-681.
13. Rattanashotinunt, C., Tangchirapat, W., Jaturapitakkul, C., Cheewaket, T. and Chindaprasirt,
P. (2018): “Investigation on the strength, chloride migration, and water permeability of eco-
friendly concretes from industrial by-product materials”, Journal of Cleaner Production, Vol.
172, pp. 1691-1698.
14. Namarak, C., Bumrungsri, C., Tangchirapat, W.and Jaturapitakkul, C. (2018): “Development of
concrete paving blocks prepared from waste materials without Portland cement”, Materials
Science (Medziagotyra), Vol. 24, No. 1, pp. 92-99.
15. Namarak, C., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2018): “Bar-concrete bond in mixes
containing calcium carbide residue, fly ash and recycled concrete aggregate”, Cement and
Concrete Composites, Vol. 89, pp. 31-40.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


130

16. Rattanachu, P., Karntong, I., Tangchirapat, W., Jaturapitakkul, C. and Chindaprasirt, P. (2018):
"Influence of bagasse ash and recycled concrete aggregate on hardened properties of high-
strength concrete", Materiales de Construcción, Vol. 68, Issue 330, April-June 2018.
17. Ramjan, S., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2018): "Effects of binary and ternary
blended cements made from palm oil fuel ash and rice husk-ash on alkali-silica reaction of
mortar", Arabian Journal for Science and Engineering, Vol. 43, Issue 4, April 2018, pp. 1941-
1954.
18. Abdulmatin, A., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2018): "An investigation of bottom
ash as a pozzolanic material", Construction and Building Materials, Vol. 186, pp. 155-162.
19. Ramjan, S., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2018): "Influence of bagasse ash with
different fineness on alkali-silica reactivity of mortar, Materiales de Construcción, Vol. 68,
Issue 332, pp. 1-12.
20. Norrarat, P., Tangchirapat, W, and Jaturapitakkul, C. (2017): “Evaluation of heat evolution of
pastes containing high volume of ground river sand and ground granulated blast furnace
slag”, Materials science (Medziagotyra), Vol. 23, No. 1, pp. 57-63.
21. Namarak, C., Satching, P., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2017): “Improving the
compressive strength of mortar from a binder of fly ash-calcium carbide residue”,
Construction and Building Materials, Vol. 147, pp. 713-719.
ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ
1. อรรคเดช อับดุลมาติน, ปกป้อง รัตนชู, เพ็ญพิชชา คงเพิ่มโกศล, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล
(2563) “การศึกษาปฏิกิริยาปอซโซลานของเถ้าก้นเตาที่ได้จากการเผาถ่านหินลิกไนต์และถ่านหินบิทูมินัส ”
วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., ปีที่ 43 ฉบับที่ 1, มกราคม-มีนาคม 2563, หน้า 49-65
2. Chapirom, A., Sinsiri, T., Jaturapitakkul, C. and Chindaprasirt, P. (2562): “Effect of speed
rotation on the compressive strength of horizontal mixes for cellular lightweight concrete”,
Suranaree Journal of Science and Technology, 26 (2), pp. 113-120.
3. ปกป้อง รัตนชู, อิศราพงษ์ ขานทอง, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2561) “การใช้เถ้าชาน
อ้ อ ยบดละเอี ย ดเพื่ อ เพิ่ ม การต้ า นทานคลอไรด์ ข องคอนกรี ต ก าลั ง สู ง ที่ ใ ช้ ม วลรวมจากการย่ อ ยเศษ
คอนกรีต”, วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ, ปีที่ 41 ฉบับที่ 2, เมษายน–มิถุนายน 2561, หน้า 169-183.
4. อรรคเดช ฤกษ์พิบูลย์, นัฐภพ ถานะวุฒพงศ์, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2561) “กาลังอัด
ประลัย อัตราการซึมของน้าผ่านคอนกรีต และการแทรกซึมของคลอไรด์ผ่านคอนกรีตที่ใช้เถ้าชานอ้อย

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


131

บดละเอียดแทนที่ปูนซีเมนต์ปริมาณสูง ” วารสารวิชาการสมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ปีที่ 6 ฉบับที่


1, มกราคม–มิถุนายน 2561, หน้า 1-9.
5. วชิรกรณ์ เสนาวัง, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2561) "กาลังอัด การต้านทานการขัดสี และ
การแทรกซึมของคลอไรด์ของคอนกรีตที่ผสมเถ้าปาล์มน้ามัน", วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., ปีที่ 41,
ฉบับที่ 1, มกราคม-มีนาคม 2561,หน้า 1-14.
บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. ปิ่นพงศ์ กันหาลา วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2563) “การประเมินกาลังและการหดตัวของ
คอนกรีตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ทาจากมวลรวมรีไซเคิลและใช้เถ้าก้นเตาร่วมกับกากแคลเซียมคาร์ไบด์
บดละเอี ย ดเป็ นวั สดุป ระสาน”, การประชุ มวิ ช าการวิ ศ วกรรมโยธาแห่ ง ชาติ ครั้ง ที่ 25, วั น ที่ 15-17
กรกฎาคม 2563, การประชุมแบบออนไลน์
2. เทพฤทธิ์ เจริญสุข วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2563) “คอนกรีตกาลังสูงที่ผสมเถ้าปาล์ม
น้ามันบดละเอียดในปริมาณสูง ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่ 15-17
กรกฎาคม 2563, การประชุมแบบออนไลน์, STR44
3. นครินทร์ นัคราโรจน์, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2563) “ผลกระทบของเถ้าก้นเตาปริมาณ
สูงต่อกาลังอัดและโมดูลัสยืดหยุ่นของคอนกรีตกาลังสูงที่ใช้มวลรวมจากการย่อยเศษคอนกรีต”, การประชุม
วิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 15, 25-27 มีนาคม 2563, Zoom Meeting
4. ปิยนัฐ เจริญอานวยสุข ภควัต พร้อมมูล วีรชาติ ตั้งจิรภัทร อนุวัฒน์ อรรถไชยวุฒิ และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล
(2563) “สมบั ติ เ ชิ ง กลของคอนกรี ต สมรรถนะสู ง ที่ ใ ช้ เ ถ้ า ก้ น เตาบดละเอี ย ดร่ ว มกั บ ผงหิ น ปู น แทนที่
ปู น ซี เ มนต์ ” , การประชุ ม วิ ช าการคอนกรี ต ประจ าปี ครั้ ง ที่ 15, วั น ที่ 25-27 มี น าคม 2563, Zoom
Meeting
5. ปัญธนา สุทธิประภา วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2563) “อิทธิพลของสารละลายโซเดียมไฮ
ดรอกไซด์และอัตราส่วนกากแคลเซียมคาร์ไบด์ต่อเถ้าถ่านหินที่มีต่อกาลังอัดและความต้านทานการขัดสีของ
มอร์ตาร์ที่กระตุ้นด้วยด่าง”, การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 15, วันที่ 25-27 มีนาคม 2563,
Zoom Meeting
6. Loun, R., Khongpermgoson, P., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2019): “Effects of
ground bottom ash on compressive strength and modulus of elasticity of concrete”,
The 24th National Convention on Civil Engineering, July 10-12, 2019, Udonthani, Thailand.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


132

ศ. ดร.ชัยยุทธ ชินณะราศรี
Prof. Dr.Chaiyuth Chinnarasri

1.ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 1997 D.Eng. (Integrated Water Resources Management), Asian Institute of Technology,
Thailand
ปี ค.ศ. 1990 M.Eng. (Water Resources Engineering), Asian Institute of Technology, Thailand
ปี พ.ศ. 2528 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) เกียรตินิยมอันดับสอง, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี,
ประเทศไทย
2. ภาระงานสอน
2.1 ภาระงานสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 281 กลศาสตร์ของไหล 3 หน่วยกิต
(Fluid Mechanics)
CVE 282 ชลศาสตร์สาหรับวิศวกรรมสิ่งแวดล้อม 3 หน่วยกิต
(Hydraulic for Environmental Engineering)
CVE 385 อุทกวิทยา 3 หน่วยกิต
(Hydrology)
CVE 488 วิศวกรรมแม่น้าเบื้องต้น 3 หน่วยกิต
(Introduction to River Engineering)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 688 ชลศาสตร์ชายฝั่งทะเล 3 หน่วยกิต
(Coastal Hydraulics)
CVE 689 ชลศาสตร์ของน้าขึ้นน้าลงและของบริเวณปากแม่น้า 3 หน่วยกิต
(Tidal and Estuarine Hydraulics)
CVE 691 กลศาสตร์และกระบวนการของแม่น้า 3 หน่วยกิต
(River Mechanics and Fluvial Processes)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Dissertation)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


133

CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต


(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)
CET 644 กลศาสตร์ของไหล และปฏิสัมพันธ์ระหว่างของไหลและโครงสร้างนอกฝัง่ 3 หน่วยกิต
(Fluid mechanics and Fluid-Offshore Structure Interactions)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์ผู้รับผิดชอบหลักสูตร และ/หรืออาจารย์ประจาหลักสูตรนี้

3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาสัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตร

3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี

1. Chinnarasri, C. and Phothiwijit, K. , 2016, “ Appropriate engineering measures with


participation of community for flood disaster reduction: case of the Tha Chin Basin,
Thailand”, Arabian Journal for Science and Engineering, Vol.41,No.12, pp.4879-4892.
2. Chinnarasri, C. and Kemden, N. , 2016, “ Discharge estimation of a tidal river with reverse
flow: case of the Chao Phraya River, Thailand”, Journal of Hydrologic Engineering, ASCE,
Vol. 21, No.4. pp.06015016.1-6.
3. Chinnarasri, C. and Porkaew, K. , 2015, “ An organisation for improving flood resilience in
Thailand”, Water Management, Vol. 168, Issue WM2, pp. 97-104.
ผลงานวิจัยในวารสารระดับชาติ

1. ชัยยุทธ ชินณะราศรี, 2562, “พฤติกรรมการกระจายน้าอุ่นในแม่น้าเจ้าพระยา ที่มีอิทธิพลของน้าขึ้น - น้าลง”,


วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา, ปีที่ 30 ฉบับที่ 2 หน้า 77 - 93.
2. ณัฐดนัย ธรรมประเสริฐดี และ ชัยยุทธ ชินณะราศรี, 2562, “พฤติกรรมของตะกอนแขวนลอย บริเวณแม่น้า
เจ้าพระยาตอนล่าง”, วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา, ปีที่ 30 ฉบับที่ 3 หน้า 7 - 29.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


134

3. ชัยยุทธ ชินณะราศรี และคมสัน วิริยะกิจจา, 2561, “การตรวจวัดระดับผิวน้าด้วยวิธีการประมวล และ


วิเคราะห์ผลด้วยภาพ”, วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา, ปีที่ 29 ฉบับที่ 4 หน้า 35 - 53.
4. สัจจา บรรจงศิริ บาเพ็ญ เขียวหวาน ปาลีรัตน์ การดี และชัยยุทธ ชินณะราศรี , 2560, การถอดบทเรียน
การบรรเทาอุทกภัยในระดับชุมชน, วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., ปีที่ 40 ฉบับที่ 1 หน้า 103 - 115.
5. ชัยยุทธ ชินณะราศรี กิตติธัช โพธิวิจิตร และสมเกียรติ อภิพัฒนวิศว์ , 2560, การศึกษาลักษณะเฉพาะ
ของการไหลในแม่น้าเจ้าพระยาตอนล่างด้วยเทคโนโลยีความเร็วคลื่นเสียงดอปเปลอร์ , วารสารวิจัยและ
พัฒนา มจธ., ปีที่ 40 ฉบับที่ 2 หน้า 217 - 235.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


135

รศ. ดร.วรัช ก้องกิจกุล


Assoc. Prof. Dr. Warat Kongkitkul
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2004 Ph.D. (Civil Engineering), University of Tokyo, Japan
ปี ค.ศ. 2001 M.Eng. (Civil Engineering), Asian Institute of Technology, Thailand
ปี พ.ศ. 2542 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย

2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 101 อาณาจักรวิศวกรรมโยธา 2 หน่วยกิต
(World of Civil Engineering)
CVE 362 ปฐพีกลศาสตร์ 3 หน่วยกิต
(Soil Mechanics)
CVE 363 ปฎิบัติการปฐพีกลศาสตร์ 1 หน่วยกิต
(Soil Mechanics Laboratory)
CVE 364 วิศวกรรมฐานราก 3 หน่วยกิต
(Foundation Engineering)
CVE 492 การออกแบบงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 หน่วยกิต
(Geotechnical Engineering Design)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 653 เทคนิคปรับปรุงคุณภาพดิน 3 หน่วยกิต
(Soil Improvement Technique)
CVE 654 เครื่องมือวัดในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 หน่วยกิต
(Geotechnical Instrumentation)
CVE 666 ทฤษฎีกลศาสตร์ของดิน 3 หน่วยกิต
(Theoretical Soil Mechanics)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


136

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 653 เทคนิคปรับปรุงคุณภาพดิน 3 หน่วยกิต
(Soil Improvement Technique)
CVE 654 เครื่องมือวัดในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 หน่วยกิต
(Geotechnical Instrumentation)
CVE 666 ทฤษฎีกลศาสตร์ของดิน 3 หน่วยกิต
(Theoretical Soil Mechanics)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์ประจาหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Dararat, S., Kongkitkul, W., Arangjelovski, G. and Ling, H.I. (2019): “Estimation of stress state-
dependent elastic modulus of pavement structure materials using one -
dimensional loading test” , Road Materials and Pavement Design , doi:
https://doi.org/10.1080/14680629.2019.1620119
2. Jongpradist, P., Jamsawang, P. and Kongkitkul, W., 2019, “Equivalent Void Ratio Controlling
the Mechanical Properties of Cementitious Material-Clay Mixtures with High Water Content”,
Marine Georesources and Geotechnology, 37 (10), pp. 1151-1162.
3. Chantachot, T., Kongkitkul, W. and Tatsuoka, F., 2018, "Effects of temperature rise on load-
strain-time behaviour of geogrids and simulations", Geosynthetics International, Vol. 25, No.
3, pp. 287-303.
4. Nuntapanich, N., Kongkitkul, W., Tatsuoka, F. and Jongpradist, P., 2018, "Prediction of creep
behaviour from load relaxation behaviour of polymer geogrids", Geosynthetics International,
Vol. 25, No. 3, pp. 334-349.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


137

5. Jongpradist, P., Homtragoon, W., Sukkarak, R., Kongkitkul, W. and Jamsawang, P. (2018):
“Efficiency of rice husk ash as cementitious material in high-strength cement-admixed
clay”, Advances. in Civil Engineering, Vol. 2018, Article ID 8346319, pp.11.
6. Sukkarak, R. , Pramthawee, P. , Jongpradist, P. , Kongkitkul, W. and Jamsawang, P. , 2018,
“ Deformation analysis of high CFRD considering the scaling effects” , Geomechanics and
Engineering, Vol. 14, No. 3, pp. 211-224.
7. Kaewsresai, K. , Kongkitkul, W. , Jongpradist, P. and Horpibulsuk, S. , 2017, “ Use of geogrid
encasement to increase the ductility of cement- mixed clay” , Journal of Testing and
Evaluation, ASTM, Vol. 45, No. 5, pp. 1787-1799.
8. Thaothip, A. and Kongkitkul, W. ( 2017) : “ Strength and deformation characteristics of EPS
bead-mixed sand”, International Journal of GEOMATE, Vol.13, No.35, July 2017, pp.8-15.
9. Dararat, S. and Kongkitkul, W. ( 2017) : “ Use of CBR mould for evaluation of constrained
modulus- bulk stress relations of pavement structure materials” , International Journal of
GEOMATE, Vol.12, No.32, April 2017, pp.107-113.
10. Chantachot, T., Kongkitkul, W. and Tatsuoka, F. (2017): “Effects of temperature on elastic
stiffness of a HPDE geogrid and its model simulation” , International Journal of GEOMATE,
Vol.12, No.32, April 2017, pp.94-100.

วารสารระดับประเทศ
1. สุรพันธ์ สุดใจ และ วรัช ก้องกิจกุล (2563) "ผลกระทบของอัตราส่วนปกคลุมและระยะระหว่างชั้นของตา
ข่ า ยเสริ ม ก าลั ง แบบสองทิ ศ ทางที่ มี ต่ อ ก าลั ง อั ด ของทรายเสริ ม ก าลั ง " , วารสารวิ ศ วกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ฉบับที่ 27 (1), มกราคม-เมษายน 2563, หน้า 198-211

บทความวิจัยที่เสนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Terum, B. and Kongkitkul, W. (2018): “Load-strain-time behaviours of a PP geogrid affected
by temperature change histories” , Proceedings of the 11th International Conference on
Geosynthetics, September 16-21, 2018, Coex, Seoul, Korea, paper S35-03.
2. Punya-in, Y. and Kongkitkul, W. (2018): “Compilation of non-linear three-component model
for simulations of rate-dependent load-strain-time behaviours of geogrids”, Proceedings of
the 11th International Conference on Geosynthetics, September 16- 21, 2018, Coex, Seoul,
Korea, paper S35-05.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


138

3. Rudahl, K. , Goldin, S. and Kongkitkul, W. ( 2017) : “ Early detection of track substructure


damage” , Proceedings of the First International Conference on Rail Transportation,
Wangjiang Hotel, Chengdu, China, July 10-12, 2017, paper ID 309.

บทความวิจัยที่เสนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. ศรนเรศ อินทรัตน์ และ วรัช ก้องกิจกุล (2562): “อิทธิพลของการเปลี่ยนแปลงอุณหภูมิแวดล้อมแบบวัฏ
จั ก รที่ มีต่ อการพั ฒนาความเครีย ดคงเหลือของวัสดุ เสริม แรงสังเคราะห์โพลิโพรไพลีน ”, การประชุ ม
วิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 24, 10-12 กรกฎาคม 2562, โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชัน
เซ็นเตอร์ อุดรธานี, อุดรธานี, GTE006, หน้า 1357-1365.
2. Pukeaw, S., Sumanuschai, O., Sakulpojworachai, W. and Kongkitkul, W. (2019): “Evaluation
of mass of failed soil slopes induced by lateral seepage and rainfall; a physical model
study with image analysis” , Proceedings of the 24th National Convention on Civil
Engineering, 10-12 July 2019, Centara Hotel & Convention Centre Udon Thani, Udon Thani,
GTE024, pp. 1482-1488.
3. Kuisomjai, P., Rattanasiriphan, W., Charoenwongsak, S., Thaonil, R. and Kongkitkul, W. (2019):
“ Evaluation of vertically loaded pile group efficiency by physical model tests with DIC
technique” , Proceedings of the 24th National Convention on Civil Engineering, 10- 12
July 2019, Centara Hotel & Convention Centre Udon Thani, Udon Thani, GTE025, pp. 1489-
1497.
4. Wiksitcharoenkul, N. , Limpanawat, P. , Kanhala, P. , Chiravacharadej, J. and Kongkitkul, W.
(2019): “Evaluation of compressive strength of lateritic soil mixed with cement and fly ash
for soil cement base course” , Proceedings of the 24th National Convention on Civil
Engineering, 10-12 July 2019, Centara Hotel & Convention Centre Udon Thani, Udon Thani,
GTE026, pp. 1498-1502.
5. ปรินทร มุทธากลิน, ภคพณ ภัทรเคหะ, ศรนเรศ อินทรัตน์ และ วรัช ก้องกิจกุล (2561): “การพัฒนา MS
Excel Worksheet เพื่ อ การวิเ คราะห์เสถียรภาพของลาดดินด้ วยวิ ธี Mass Procedure”, การประชุ ม
วิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, 18-20 กรกฎาคม 2561, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า,
นครนายก, GTE 13, ID 127.
6. ฉัตรชัย ไข่แก้ว, วัชริศ ถิ่นวัฒนากูล, วงศธร ศิริกิจ และ วรัช ก้องกิจกุล (2561): “การพัฒนา MS Excel
Worksheet เพื่อการวิเคราะห์เสถียรภาพของลาดดินด้วยวิธี Method of Slices”, การประชุมวิชาการ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


139

วิ ศ วกรรมโยธาแห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 23, 18-20 กรกฎาคม 2561, โรงเรี ย นนายร้ อ ยพระจุ ล จอมเกล้ า ,
นครนายก, GTE 14, ID 128.
7. มนัสวี เฟื่องฟู, วรัช ก้องกิจกุล และ ปกรณ์ มิลินทะเลข (2561): “อิทธิพลของชนิดและลักษณะการคละ
ขนาดของวัสดุมวลรวมที่มีต่อสมบัติมาร์แชลของแอสฟัลต์คอนกรีต ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธา
แห่งชาติ ครั้งที่ 23, 18-20 กรกฎาคม 2561, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, นครนายก, GTE 19, ID
170.
8. สุรพันธ์ สุดใจ และ วรัช ก้องกิจกุล (2561): “ผลกระทบของอัตราส่วนปกคลุมของตาข่ายเสริมกาลังที่มีต่อ
กาลังอัดและการเสียรูปของทรายเสริมกาลัง ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23,
18-20 กรกฎาคม 2561, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, นครนายก, GTE 23, ID 197.
9. ธมนวรรณ สืบพงศ์, วรัช ก้องกิจกุล และ พรเทพ ม่วงสุขา (2561): “การศึกษาสมบัติทางวิศวกรรมเทคนิค
ธรณีของโฟมโพลียูรีเทน”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, 18-20 กรกฎาคม
2561, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, นครนายก, GTE 28, ID 213.
10. ชนาวรรธน์ สิริพฤกษา และ วรัช ก้องกิจกุล (2561): “การประเมินความเครียดในโครงสร้างชั้นทางภายใต้
น้าหนักจราจรที่แตกต่างกันด้วยแบบจาลองกายภาพ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้ง
ที่ 23, 18-20 กรกฎาคม 2561, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, นครนายก, GTE 36, ID 265.
11. พงศธร กระจ่างผล, วรัช ก้องกิจกุล และ Goran Arangjelovski (2561): “ผลกระทบของแรงกระทา
ด้านข้างแบบวัฐจักรที่ควบคุมแอมพลิจูดด้วยระยะทางต่อพฤติกรรมของเสาเข็มเดี่ยวและเสาเข็มกลุ่มใน
แบบจาลอง”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, 18-20 กรกฎาคม 2561, โรงเรียน
นายร้อยพระจุลจอมเกล้า, นครนายก, GTE 44, ID 314.
12. สวรรยา ดารารัตน์ และ วรัช ก้องกิจกุล (2561): “การประมาณโมดูลัสยืดหยุ่นของหินคลุกโดยใช้โมดูลัส
ทิศทางเดียวแบบจากัด ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, 18-20 กรกฎาคม
2561, โรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า, นครนายก, GTE 50, ID 375.
13. Weerakul, P., Arangjelovski, G. and Kongkitkul, W. (2017): “Effects of group arrangements
on the lateral resistance of pile groups”, Proceedings of the 22nd National Convention
on Civil Engineering, 18- 20 July 2017, The Greenery Resort Khao Yai Hotel, Nakhon
Ratchasima, GTE 089, Vol.2, pp.222-227.
14. Kunrattanawanit, N., Manapattananukul, S., Padungwong, P. Kongkitkul, W. and Sukolrat, J.
(2017): “Laboratory Study on Evaluations of Strengths of Pavement Structure Materials by
Using a Rapid Cone Penetrometer” , Proceedings of the 22nd National Convention on
Civil Engineering, 18- 20 July 2017, The Greenery Resort Khao Yai Hotel, Nakhon
Ratchasima, GTE 164, Vol.2, pp. 317-324.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


140

รศ. ดร.วีรชาติ ตั้งจิรภัทร


Asst. Prof. Dr. Weerachart Tangchirapat
1.ประวัติการศึกษา
ปี พ.ศ. 2550 ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2547 วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2543 ค.อ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
2. ภาระงานสอน
2.1 ภาระงานสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 235 วัสดุในงานวิศวกรรมโยธาและคอนกรีตเทคโนโลยี 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Materials and Concrete Technology)
CVE 336 ปฏิบัติการทดสอบวัสดุ 1 หน่วยกิต
(Materials Testing lab)
CVE 342 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก 4 หน่วยกิต
(Reinforced Concrete Design)
CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา 1 หน่วยกิต
(Civil Engineering Capstone Project Proposal)
CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Capstone Project)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 735 ความทนทานการป้องกัน และซ่อมแซมคอนกรีต 3 หน่วยกิต
(Concrete Durability, Protection, and Repair)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Dissertation)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 12 หน่วยกิต
(Special Research Study)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


141

CET 604 สัมมนาทางเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธา 1 หน่วยกิต


(Civil Engineering Technology Seminar)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้

รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา

CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต


(Dissertation)
3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้และ/หรืออาจารย์ประจาหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Sukontasukkul, M., Sangpet, T., Newlands, Tangchirapat, W., Limkatanyu, S. and
Chindaprasirt, P. (2020): “Engineering and gamma-ray attenuation properties of steel furnace
slag heavyweight concrete with nano calcium carbonate and silica”, Construction and
Building Materials.
2. Sukontasukkul, P., Sangpet, T., Newlands, Tangchirapat, W., Limkatanyu, S. and Chindaprasirt,
P. (2020): “Thermal behaviour of concrete sandwich panels incorporating phase change
material”, Advances in Building Energy Research. (ESCI)
3. Sukontasukkul, P., Sangpet, T., Newlands, M., Yoo, D.-Y., Tangchirapat, W., Limkatanyu, S. and
Chindaprasirt, P. (2020): “Thermal storage properties of lightweight concrete incorporating
phase change materials with different fusion points in hybrid form for high temperature
applications”, Heliyon, Vol. 6, e04863.
4. Klathae, T., Tanawuttiphong, N., Ananthanet, N., Tangchirapat, W., Chindaprasirt, P.,
Sukontasukkul, P. and Jaturapitakkul, C. (2020): “Heat evolution, strengths, and drying
shrinkage of concrete containing high volume ground bagasse ash with different LOIs”,
Construction and Building Materials, Vol. 258, 119443. (ISI-IF2019-4.419, Q1)
5. Khongpermgoson, P., Boonlao, K., Ananthanet, N., Thitithananon, T., Jaturapitakkul, C.,
Tangchirapat, W. and Chee Ban, C. (2020): “The mechanical properties and heat
development behavior of high strength concrete containing high fineness coal bottom ash

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


142

a pozzolanic binder”, Construction and Building Materials, Vol. 253, DOI:


10.1016/j.conbuildmat.2020.119239. (ISI-IF2019-4.419, Q1)
6. Sukontasukkul, P., Chindaprasirt, P., Pongsopha, P., Phoo-Ngernkham, T., Tangchirapat, W.,
and Banthia, N. (2020): “Effect of fly ash/silica fume ratio and curing condition on mechanical
properties of fiber-reinforced geopolymer”, Journal of sustainable Cement-Based Materials,
Vol. 9, Issue 4. pp. 218-232. (ESCI)
7. Dueramae, S., Tangchirapat, W., Chindaprasirt, P., Jaturapitakkul, C. and Sukontasukkul, P.
(2020): “Autogenous and drying shrinkages of mortars and pore structure of pastes made
with activated binder of calcium carbide residue and fly ash”, Construction and Building
Materials, Vol. 230, 116962. (ISI-IF2019-4.419, Q1)
8. Rattanachu, P., Toolkasikorn, P., Tangchirapat, W., Chindaprasirt, P. and Jaturapitakkul, C.
(2020): “Performance of recycled aggregate concrete with rice husk ash as cement binder”,
Cement and Concrete Composites, Vol. 108, 103533. (ISI-IF2019-6.257, Q1)
9. Abdulmatin, A., Khongpermgoson, P., Jaturapitakkul, C. and Tangchirapat, W. (2018): “Use of
eco-friendly cementing material in concrete made from bottom ash and calcium carbide
residue”, Arabian Journal for Science and Engineering, Vol. 43, No. 4.
10. Dueramae, S., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2018): “Strength and heat generation
of concrete using carbide lime and fly ash as a new cementitious material without Portland
cement”, Advanced Powder Technology, Vol. 29, pp. 672-681.
11. Rattanashotinunt, C., Tangchirapat, W., Jaturapitakkul, C., Cheewaket, T. and Chindaprasirt,
P. (2018): “Investigation on the strength, chloride migration, and water permeability of eco-
friendly concretes from industrial by-product materials”, Journal of Cleaner Production, Vol.
172, pp. 1691-1698.
12. Namarak, C., Bumrungsri, C., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2018): “Development
of concrete paving blocks prepared from waste materials without Portland cement”,
Materials Science (MEDZIAGOTYRA), Vol. 24, No. 1, pp. 92-99.
13. Namarak, C., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2018): “Bar-concrete bond in mixes
containing calcium carbide residue, fly ash and recycled concrete aggregate”, Cement and
Concrete Composites, Vol. 89, pp. 31-40.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


143

14. Rattanachu, P., Karntong, I., Tangchirapat, W., Jaturapitakkul, C. and Chindaprasirt, P. (2018):
“Influence of bagasse ash and recycled concrete aggregate on hardened properties of high-
strength concrete”, Materiales de Construcción, Vol. 68, No. 330.
15. Ramjan, S., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2018): “Effects of binary and ternary
blended cements made from palm oil fuel ash and rice husk-ash on alkali-silica reaction of
mortar”, Arabian Journal for Science and Engineering, Vol. 43, No. 4, pp. 1941-1954.
16. Abdulmatin, A., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2018): “An investigation of bottom
ash as a pozzolanic material”, Construction and Building Materials, Vol. 186, pp. 155-162.
17. Ramjan, S., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2018): “Influence of bagasse ash with
different fineness on alkali-silica reactivity of mortar”, Materiales de Construcción, Vol. 68,
No. 332, pp. 1-12.
18. Dueramae, S., Tangchirapat., W, Chindaprasirt, P. and Jaturapitakkul, C. (2017): “Influence of
activation methods on strength and chloride resistance of concrete using calcium carbide
residue-fly ash mixture as a new binder”, Journal of Material in Civil Engineering, Vol. 29,
No. 4, pp. 1-1.
19. Norrarat, P., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2017): “Evaluation of heat evolution of
pastes containing high volume of ground river sand and ground granulated blast furnace
slag”, Materials science (Medziagotyra), Vol. 23, No. 1, pp. 57-63.
20. Namarak, C., Satching, P., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2017): “Improving the
compressive strength of mortar from a binder of fly ash-calcium carbide residue”,
Construction and Building Materials, Vol. 147, pp. 713-719.
21. Abdulmatin, A., Khongpermgoson, P., Jaturapitakkul, C. and Tangchirapat, W. (2017): “Use of
eco-friendly cementing material in concrete made from bottom ash and calcium carbide
residue”, Arabian Journal for Science and Engineering, pp. 1-10.
22. Sanawung, W., Cheewaket, T., Tanchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2017): “Influence of
palm oil fuel ash and W/B ratios on compressive strength, water permeability, and chloride
resistance of concrete”, Advances in Materials Science and Engineering, Vol. 2017, pp. 8.

ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ

1. อรรคเดช อั บ ดุ ล มาติ น , ปกป้ อ ง รั ต นชู , เพ็ ญ พิ ช ชา คงเพิ่ ม โกศล , วี ร ชาติ ตั้ ง จิ ร ภั ท ร และ
ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2563) “การศึกษาปฏิกิริยาปอซโซลานของเถ้าก้นเตาที่ได้จากการเผาถ่านหินลิกไนต์

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


144

และถ่ า นหิ น บิ ทู มิ นั ส ” วารสารวิ จั ย และพั ฒ นา มจธ., ปี ที่ 43 ฉบั บ ที่ 1, มกราคม-มี น าคม 2563,
หน้า 49-65
2. วชิรกรณ์ เสนาวัง, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2561) “กาลังอัดการต้านทานการขัดสี และ
การแทรกซึมของคลอไรด์ของคอนกรีตที่ผสมเถ้าปาล์มน้ามัน ”, วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., ปีที่ 41,
ฉบับที่ 1, หน้า 1-14.
3. อรรคเดช ฤกษ์พิบูลย์, นัฐภพ ถานะวุฒิพงศ์, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2561) “กาลังอัด
ประลัย อัตราการซึมของน้าผ่านคอนกรีต และการแทรกซึมของคลอไรด์ผ่านคอนกรีตที่ใช้เถ้าชานอ้อย
บดละเอียดแทนที่ปูนซีเมนต์ปริมาณสูง”, วารสารวิชาการสมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ปีที่ 6, ฉบับที่
1, หน้า 1-9.
4. สุวัฒน์ รามจันทร์, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2560) “ผลกระทบของความละเอียดของเถ้า
ถ่ า นหิ น และเถ้ า แกลบต่ อ ก าลั ง อั ด และการขยายตั ว ของมอร์ ต าร์ ที่ เ ร่ ง โดยใช้ ส ารละลาย NaOH ที่
อุณหภูมิสูง”,วารสารวิชาการสมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, ปีที่ 5, ฉบับที่ 1, หน้า 1-13.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Mahasuwanchai, P., Wonganan, N., Athisakul, C., Tangchirapat, W., Sahamitmongkol, R. and
Leelataviwat, S. (2020): “Engineering properties of ancient masonry materials in Thailand and
substitution materials for historical structures preservation”, Proceeding of International
Conference on Sustainable Energy and Green Technology 2019, Bangkok, Thailand,
December 11-14, 2019, IPO Conf. Series: Earth and Environmental Science 463,
doi:10.1088/1755-1315/463/1/012077.
2. Sanawung, W., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C., (2017): “Influence of palm oil fuel
ash fineness on alkali-silica reaction of mortar”, The 2nd ACF Symposium Innovations for
sustainable concrete infrastructures, November 23-25, Chiang Mai, Thailand.
3. Rerkpiboon, A., Tanawuttiphong, N., Tangchirapat, W. and Jaturapitakkul, C. (2017): “Effects
of high-volume ground bagasse ash on compressive strength and heat evolution of
concrete”, The 2nd ACF Symposium Innovations for sustainable concrete infrastructures,
November 23-25, Chiang Mai, Thailand.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. ปิ่นพงศ์ กันหาลา, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2563) “การประเมินกาลังและการหดตัวของ
คอนกรีตที่เป็นมิตรกับสิ่งแวดล้อมที่ทาจากมวลรวมรีไซเคิลและใช้เถ้าก้นเตาร่วมกับกากแคลเซียมคาร์ไบด์

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


145

บดละเอี ยดเป็น วัสดุป ระสาน”, การประชุ มวิ ช าการวิ ศ วกรรมโยธาแห่ งชาติ ครั้ง ที่ 25, วั น ที่ 15-17
กรกฎาคม 2563, การประชุมแบบออนไลน์
2. เทพฤทธิ์ เจริญสุข, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2563) “คอนกรีตกาลังสูงที่ผสมเถ้าปาล์ม
น้ามันบดละเอียดในปริมาณสูง ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่ 15-17
กรกฎาคม 2563, การประชุมแบบออนไลน์, STR44
3. สุนัย โตศิริมงคล, พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร, สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ และ ชัยณรงค์ อธิสกุล
(2563) “สมบัติทางกลของอิฐโบราณและอิฐทดแทนเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถานของไทย”, การประชุม
วิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่ 15-17 กรกฎาคม 2563, การประชุมแบบออนไลน์
4. นครินทร์ นัคราโรจน์, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2563) “ผลกระทบของเถ้าก้นเตาปริมาณ
สูงต่อกาลังอัดและโมดูลัสยืดหยุ่นของคอนกรีตกาลังสูงที่ใช้มวลรวมจากการย่อยเศษคอนกรีต”, การประชุม
วิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 15, วันที่ 25-27 มีนาคม 2563, Zoom Meeting
5. ปิยนัฐ เจริญอานวยสุข, ภควัต พร้อมมูล, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร, อนุวัฒน์ อรรถไชยวุฒิ และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล
(2563) “สมบั ติ เ ชิ ง กลของคอนกรี ต สมรรถนะสู ง ที่ ใ ช้ เ ถ้ า ก้ น เตาบดละเอี ย ดร่ ว มกั บ ผงหิ น ปู น แทนที่
ปู น ซี เ มนต์ ” , การประชุ ม วิ ช าการคอนกรี ต ประจ าปี ครั้ ง ที่ 15, วั น ที่ 25-27 มี น าคม 2563, Zoom
Meeting
6. ปัญธนา สุทธิประภา, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2563) “อิทธิพลของสารละลายโซเดียมไฮ
ดรอกไซด์และอัตราส่วนกากแคลเซียมคาร์ไบด์ต่อเถ้าถ่านหินที่มีต่อกาลังอัดและความต้านทานการขัดสีของ
มอร์ตาร์ที่กระตุ้นด้วยด่าง”, การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 15, วันที่ 25-27 มีนาคม 2563,
Zoom Meeting
7. ทศพล มุสิกะศิริ, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร, สมิตร ส่งพิริยะกิจ และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2561) “การศึกษาปัจจัยที่
ส่งผลกระทบต่อสมบัติของจีโอพอลิเมอร์คอนกรีตสดและที่แข็งตัวแล้วที่ทาจากเถ้าถ่านหินที่มีปริมาณ
แคลเซียมสูง”, การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 13, 7-9 มีนาคม 2561, โรงแรม เดอะซายน์
พัทยา, จังหวัดชลบุรี.
8. กันติยา โสธรชัยวิทย์, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร, เที่ยง ชีวะเกตุ และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2561) “การศึกษากาลัง
อัด และการต้านทานการกัดกร่อนเนื่องจากกรดซัลฟูริคของจีโอโพลิเมอร์มอร์ตาร์จากเถ้าถ่านหินผสมซิลิกา
ฟูม”, การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 13, 7-9 มีนาคม 2561, โรงแรม เดอะซายน์ พัทยา,
จังหวัดชลบุรี.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


146

ศ. ดร.สมชาย ชูชีพสกุล
Prof. Dr. Somchai Chucheepsakul
1.ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 1983 Ph.D. (Civil Engineering), University of Texas, U.S.A.
ปี ค.ศ. 1976 M.S.C.E. (Civil Engineering), University of Texas, U.S.A
ปี พ.ศ. 2517 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย

2. ภาระงานสอน

2.1 ภาระงานสอนในปัจจุบัน

รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา

CVE 639 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3 หน่วยกิต


(Structural Stability)
CVE 645 วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์ในกลศาสตร์โครงสร้าง 3 หน่วยกิต
(Finite Element Method in Structural Mechanics)
CVE 646 วิธีการพลังงานในกลศาสตร์ประยุกต์ 3 หน่วยกิต
(Energy Methods in Applied Mechanics)
CVE 733 การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ไม่เชิงเส้นของโครงสร้าง 3 หน่วยกิต
(Nonlinear Finite Element Analysis of Structures)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)
CET 604 พลศาสตร์ของโครงสร้าง 3 หน่วยกิต
(Dynamics of Structures)
CET 605 หัวข้อพิเศษ 1 3 หน่วยกิต
(Special Topic I)
CET 647 พลศาสตร์ของโครงสร้าง 3 หน่วยกิต
(Dynamics of Structures)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


147

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 639 เสถียรภาพของโครงสร้าง 3 หน่วยกิต
(Structural Stability)
CVE 644 ทฤษฎีของโครงสร้างเปลือกบาง 3 หน่วยกิต
(Theory of Thin Elastic Shells)
CVE 645 วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์ในกลศาสตร์โครงสร้าง 3 หน่วยกิต
(Finite Element Method in Structural Mechanics)
CVE 733 การวิเคราะห์ไฟไนต์เอลิเมนต์ไม่เชิงเส้นของโครงสร้าง 3 หน่วยกิต
(Nonlinear Finite Element Analysis of Structures)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Juntarasaid, C., Pulngern, T. and Chucheepsakul, S. (2020): “A variational method for post-
buckling analysis of end-supported nanorods under self-weight with surface stress effect”,
Archive of Applied Mechanics, DOI: 10.1007/s00419-020-01807-y. (ISI-IF2019 = 1.374, Q3)
2. Juntarasaid, C., Pulngern, T. and Chucheepsakul, S. (2020): “Postbuckling analysis of a
nonlocal nanorod under self-weight”, International Journal of Applied Mechanics, Vol. 12,
No. 4, 2050035. (ISI-IF2019 =2.449, Q2)
3. Jiammeepreecha, W., Suebsuk, J. and Chucheepsakul, S. (2020): “Nonlinear Static Analysis
of Liquid-Containment Toroidal Shell under Hydrostatic Pressure”, Journal of structural
engineering, Vol. 146, Issue 1 (ISI-Q2-IF2018-2.528)
4. Klaycham, K., Nguantud, P., Athisakul, C. and Chucheepsakul, S. (2020): “Free vibration
analysis of large sag catenary with application to catenary jumper”, Ocean Systems
Engineering-AN International Journal, Vol. 10, Issue 1, pp. 67-86.
5. Klaycham, K., Athisakul, C. and Chucheepsakul, S. (2020): “Nonlinear Response of Marine
Riser with Large Displacement Excited by Top-End Vessel Motion using Penalty Method”,

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


148

International Journal of Structural Stability and Dynamics, Vol. 20, Issue 4, 2050052. (ISI-
IF2019-2.015, Q2)
6. Tangbanjongkij, C., Chucheepsakul, S. and Jiammeepreecha, W. (2020): “Analytical and
Numerical Analyses for a Variety of Submerged Hemi-Ellipsoidal Shells”, Journal of
Engineering Mechanics, Vol. 146, Issue 7, 04020066. (ISI-IF2019-2.033, Q2)
7. Panyatong, M., Chinnaboon, B. and Chucheepsakul, S. (2020): “Influences of surface effects
on large deflections of nanomembranes with arbitrary shapes by the coupled BE-RBFs
method”, Archive of Applied Mechanics, Vol. 90, Issue 5, pp. 1157-1177. (ISI-IF2019=1.374,
Q3)
8. Tangbanjongkij, C., Jiammeepreecha, W. and Chucheepsakul, S. (2020): “Numerical and
Analytical Analyses for a Variety of Submerged Hemi-Ellipsoidal Shells”, ASCE Journal of
Engineering Mechanics, Vol.146, No. 7, 04020066 pp. 15
9. Juntarasaid, C., Pulngern, T., and Chucheepsakul, S. (2020): “Postbuckling of a Nonlocal
Narorod under Selfweight”, International Journal of Applied Mechanics.
10. Klaychum, K.., Nguantud, P., Athisakul, C. and Chucheepsakul, S. (2020): “Free Vibration of
Large Sag Catenary Riser Application to Catenary Jumper”, Ocean System Engineering,
Vol. 10, No,1, pp. 67-86.
11. Panyatong, M., Chinnaboon, B. and Chucheepsakul, S. (2019): “Bending analysis of
functionally graded plates with arbitrary shapes and boundary conditions”, Structural
Engineering and Mechanics, Vol. 71, No. 6, pp. 627-641.
12. Jiammeepreecha, W, and Chucheepsakul, S. (2019): “Nonlinear Free Vibration Analysis of a
Toroidal Pressure Vessel under Constrained Volume Condition”, International Journal of
Structural Stability and Dynamics, Vol. 19, No. 10, 1950118 (19 pages).
13. Punjarat, O. and Chucheepsakul, S. (2019): “Post-buckling analysis of a uniform, self-weight
beam with application to marine riser”, International Journal of Structural Stability and
Dynamics, Vol. 19, No.4, 1950047 (20 pages).
14. Tangbanjongkij, C., Chucheepsakul, S. and Jiammeepreecha, W. (2019): “Large displacement
analysis of ellipsoidal pressure vessel heads using the fundamental of differential
geometry”, International Journal of Pressure Vessels and Piping, Volume 172, No. 5,
pp. 337-347.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


149

15. Panyatong, M., Chinnaboon, B. and Chucheepsakul, S. (2018): “Nonlinear bending analysis
of nonlocal nanoplates with general shapes and boundary conditions by the boundary-only
method”, Engineering Analysis with Boundary Elements, Vol. 87, pp. 90-110.
16. Phanyasahachart, T., Athisakul, C. and Chucheepsakul, S. (2018) “Natural Frequencies of a
Very Large–Sag Extensible Cable”, ASCE Journal of Engineering Mechanics, Vol. 144, No.2,
06017020 (7 pages).
17. Juntarasaid, C., Pulngern, T. and Chucheepsakul, S. (2018): “A variational approach for large
deflection of ends supported nanorod under a uniformly distributed load, using intrinsic
coordinate finite elements”, Applied Mathematical Modelling, Vol. 54, pp. 34-45.
18. Phungpaingam, B. and Chucheepsakul, S. (2018): “Postbuckling behavior of variable-arc-
length elastica connected with a rotational spring joint including the effect of configurational
force”, Meccanica, Vol. 53, pp. 2619–2636.
19. Phanyasahachart, T., Athisakul, C. and Chucheepsakul, S. (2017): “Analysis of Large-Sag
Extensible Catenary with Free Horizontal Sliding at One End by Variational Approach”,
International Journal of Structural Stability and Dynamics, Vol. 17, No.7, 1750070 (17 pages).
20. Jiammeepreecha, W. and Chucheepsakul, S, (2017): “Nonlinear static analysis of an
underwater elastic semi-toroidal shell”, Thin-Walled Structures, Vol. 116, No. 7, pp. 12-18.
21. Haruehansapong, S., Pulngern, T. and Chucheepsakul, S. (2017): “Effect of Nanosilica Particle
Size on the Water Permeability, Abrasion Resistance, Drying Shrinkage, and Repair Work
Properties of Cement Mortar Containing Nano-SiO2”, Advances in Materials Science and
Engineering, Vol. 2017, 4213690 (11 pages).
22. Klaycham, K., Athisakul, C., and Chucheepsakul, S. (2017): “Nonlinear Vibration of Marine
Riser with Large Displacement”, Journal of Marine Science and Technology, Vol. 22, Issue 2,
pp 361–375.
23. Panyatong, M., Chinnaboon, B., and Chucheepsakul, S. (2016): “Free Vibration Analysis of FG
Nanoplates Embedded in Elastic Medium Based on Second-Order Shear Deformation Plate
Theory and Nonlocal Elasticity”, Composite Structures, Vol. 153, pp. 428-441.
24. Phanyasahachart, T., Athisakul, C., and Chucheepsakul, S. (2017): “Analysis of Large-Sag
Extensible Catenary with Free Horizontal Sliding at One End by Variational Approach”,
International Journal of Structural Stability and Dynamics, Vol. 17, No. 7, 1750070
(17 pages).

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


150

ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ
1. ภูมิภิญญ์ พลเจียก, บุญมี ชินนาบุญ และ สมชาย ชูชีพสกุล (2563) "การเปรียบเทียบผลตอบสนองสูงสุด
ของสะพาน ชนิด I-GIRDER โดยการวิเคราะห์โครงสร้างแบบสถิตและพลวัต เนื่องจากน้าหนักบรรทุกตาม
มาตรฐาน AASHTO LRFD และรถบรรทุกไทย", วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา วสท., ปีที่ 31 (3),
กรกฎาคม-กันยายน 2563, หน้า 99-***
2. ซุลกิฟลี เดมะ, บุญมี ชินนาบุญ, และ สมชาย ชูชีพสกุล (2562) "การวิเคราะห์ระนาบอินฟลูเอนซ์ของแผ่น
บางด้วยวิธีบาวดารีเอลิเมนต์" , วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา, ปีที่ 30, ฉบับที่ 2, เมษายน-มิถุนายน
2562,หน้า 7-23.
3. อาร์ตีส ยศอมรสุนทร, ชัยณรงค์ อธิสกุล, สมชาย ชูชีพสกุล และ การันต์ คล้ายฉ่า (2562) "การสั่นอิสระของ
ท่อลาเลียงของไหลใต้ทะเลในสภาวะแขวนปลายบน", วารสารวิจัยและพัฒนา มจธ., ปีที่ 42, ฉบับที่ 1,
มกราคม-มีนาคม 2562, หน้า 69-93.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Sairuamyat, P., Mahasuwanchai, P., Athisakul, C., Leelataviwat, S. and Chucheepsakul, S.
(2020): “Application of 3D laser scanning technology for preservation and monitoring of Thai
pagoda: A case study of Wat Krachee Ayutthaya” , Proceeding of International Conference
on Sustainable Energy and Green Technology 2019 (SEGT 2019), Bangkok, Thailand,
December 11-14, 2019, IPO Conf. Series: Earth and Environmental Science 463,
doi:10.1088/1755-1315/463/1/012082.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. ธนิยพรรธน์ ศรีมนตริภักดี, การันต์ คล้ายฉ่า, ชัยณรงค์ อธิสกุล, สมชาย ชูชีพสกุล, และ ชัยยุทธ ชินณะ
ราศรี (2563) “ผลตอบสนองทางพลศาสตร์สาหรับเคเบิ้ลยึดโยงแผงโซล่าเซลล์ลอยน้าเมื่อรับการกระตุ้นที่
ปลายด้านบน”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่ 15-17 กรกฎาคม 2563,
การประชุมแบบออนไลน์

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


151

รศ. ดร.พรเกษม จงประดิษฐ์


Assoc. Prof. Dr.Pornkasem Jongpradist
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2001 Ph.D. (Civil Engineering.), University of Tokyo, Japan
ปี ค.ศ. 1998 M.Eng. (Civil Engineering.), University of Tokyo, Japan
ปี พ.ศ. 2539 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย

2. ภาระงานสอน
2.1 ภาระงานสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 362 ปฐพีกลศาสตร์ 3 หน่วยกิต
(Soil Mechanics)
CVE 363 ปฎิบัติการปฐพีกลศาสตร์ 1 หน่วยกิต
(Soil Mechanics Laboratory)
CVE 364 วิศวกรรมฐานราก 3 หน่วยกิต
(Foundation Engineering)
CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา 1 หน่วยกิต
(Civil Engineering Capstone Project Proposal)
CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Capstone Project)
CVE 492 การออกแบบงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 หน่วยกิต
(Geotechnical Engineering Design)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 661 กลศาสตร์ของดินขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Soil Mechanics)
CVE 657 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 หน่วยกิต
(Numerical Analysis in Geotechnical Engineering)
CVE 701 ระเบียบวิธีวิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


152

CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต


(Special Research Study)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 661 กลศาสตร์ของดินขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Soil Mechanics)
CVE 657 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 หน่วยกิต
(Numerical Analysis in Geotechnical Engineering)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Phutthananon, C., Jongpradist, P. and Jamsawang, P. (2020): “ Influence of cap size and
strength on settlements of TDM-piled embankments over soft ground” , Marine
Georesources & Geotechnology, Vol. 38 (6), pp. 686-705. (ISI-IF2019 =1.716, Q3)
2. Yoobanpot, N., Jamsawang, P., Simarat, P., Jongpradist, P. and Likitlersuang, S. (2020):
“ Sustainable reuse of dredged sediments as pavement materials by cement and fly ash
stabilization” , Journal of Soils and Sediments, Vol. 20, Issue 10, pp. 3807-3823. (ISI-IF2019-
2.763, Q2)
3. Yoobanpot, N., Jamsawanga, P., Krairana, K., Jongpradist, P. and Likitlersuang, S. (2020):
“ Laboratory investigation of the properties of cement fly ash gravel for use as a column-
supported embankment” , Construction & Building Materials, Vol. 257, 119493. (ISI-IF2019=
4.419 Q1)
4. Phutthananon, C., Jongpradist, P., Dias, D. and Baroth, J. (2020): “ Parametric analysis and
optimization of T-shaped and conventional deep cement mixing column-supported
embankments”, Computers and Geotechnics, Vol. 122, 103555. (ISI-IF2019-3.818, Q1)
5. Yoobanpot, N., Jamsawang, P., Poorahong, H., Jongpradist, P. and Likitlersuang, S. (2020):
“ Multiscale laboratory investigation of the mechanical and microstructural properties of

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


153

dredged sediments stabilized with cement and fly ash” , Engineering Geology, Vol. 267,
105491. (ISI-IF2019=4.779, Q1)
6. Waichita, S., Jongpradist, P. and Schweiger, Helmut F. (2020): “ Numerical and experimental
investigation of failure of a DCM-wall considering softening behaviour” , Computers and
Geotechnics, Vol. 119, 103380. (ISI-IF2019 = 3.818, Q1)
7. Waichita, S. , Jongpradist, P. and Jamsawang, P. (2019): “ Characterization of deep cement
mixing wall behavior using wall- to excavation shape factor” , Tunnelling and Underground
Space Technology, Vol. 83, pp. 243-253.
8. Sukkarak, R., Jongpradist, P. and Pramthawee, P. (2019): “A modified valley shape factor for
the estimation of rockfill dam settlement”, Computers and Geotechnics, Vol. 108, pp. 244-
256.
9. Jamsawang, P. , Voottipruex, P. Tanseng, P. , Jongpradist, P. and Bergado, D. T. (2019):
“ Effectiveness of deep cement mixing walls with top- down construction for
deep excavations in soft clay: Case study and 3D simulation” , Acta Geotechnica, Vol. 14,
No. 1, pp. 225–246.
10. Sukkarak, R., Jongpradist, P., Jamsawang, P., Sukontasukkul, P. and Chindaprasirt, P. (2019):
“Effect of polypropylene fiber on the flexural strength properties of lightweight foam mixed
soil” , Advances in Materials Science and Engineering, Volume 2019, Article ID 1607325, 12
pages.
11. Chaipanna, P. and Jongpradist, P. (2019): “3D response analysis of a shield tunnel segmental
lining during construction and a parametric study using the ground-spring model”, Tunnelling
and Underground Space Technology, Vol. 90, pp. 369-382.
12. Lueprasert, P. , Jongpradist, P. , Ruangvirrojanakul, K. and Suwansawat, S. , (2019):
“ Dependence of tunnel deformation due to adjacent pile under loading on tunnel
geometry”, International Journal of Geomate, Vol. 16, Issue 54, pp. 193-199.
13. Jongpradist, P., Jamsawang, P. and Kongkitkul, W. (2019): “Equivalent Void Ratio Controlling
the Mechanical Properties of Cementitious Material-Clay Mixtures with High Water Content”,
Marine Georesources and Geotechnology, Vol. 37, No. 10, pp. 1151-1162.
14. Jamsawang, P., Suansomjeen, T., Suknotasukkul, P., Jongpradist, P., and Bergado, D.T. (2018):
“ Comparative flexural performance of compacted cement- fiber- sand” , Geotextiles and
Geomembranes, Vol. 46 (4), pp. 414–425.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


154

15. Sukkarak, R. , Pramthawee, P. , Jongpradist, P. , Kongkitkul, W. and Jamsawang, P. (2018):


“ Deformation analysis of high CFRD considering the scaling effects” , Geomechanics and
Engineering, Vol. 14, No. 3, pp. 211-224.
16. Wonglert, A. , Jongpradist, P. , Jamsawang, P. and Larsson, S. (2018): “ Bearing capacity and
failure behaviors of floating stiffened deep cement mixing columns under axial load”, Soils
and Foundations, Vol. 58, pp. 446-461.
17. Jongpradist, P. , Homtragoon, W. , Sukkarak, R. , Kongkitkul, W. and Jamsawang, P. (2018):
"Efficiency of rice husk ash as cementitious material in high-strength cement-admixed clay",
Advances in Civil Engineering, Vol. 2018, Article ID 8346319.
18. Nuntapanich, N., Kongkitkul, W., Tatsuoka, F. and Jongpradist, P. (2018): "Prediction of creep
behaviour from load relaxation behaviour of polymer geogrids", Geosynthetics International,
Vol. 25, No. 3, pp. 334-349.
19. Tunsakul, J., Jongpradist, P., Kim, H.M. and Nanakorn, P. (2018): "Evaluation of rock fracture
patterns based on the element- free Galerkin method for stability assessment of a Highly
pressurized gas storage cavern", Acta Geotechnica, Vol. 13, No. 4, pp. 817-832.
20. Yoobanpot, N., Jamsawang, P., Krairan, K., Jongpradist, P. and Horpibulsuk, S. (2018): "Reuse
of dredged sediments as pavement materials by cement kiln dust and lime treatment" ,
Geomechanics and Engineering, Vol. 15, No. 4, pp. 1005-1016.
21. Phutthananon, C. , Jongpradist, P. , Yensri, P. and Jamsawang, P. (2018): " Dependence of
ultimate bearing capacity and failure behavior of T- shaped deep cement mixing piles on
enlarged cap shape and pile strength", Computers and Geotechnics, pp. 27-41.

ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ
1. สมชาย จิรวัฒนาการ, กฤษดา ตระกูลจั่นนาค และ พรเกษม จงประดิษฐ์ (2563) "การวิเคราะห์เชิงตัวเลข
ของผลตอบสนองอุโมงค์แบบชิ้นส่วนประกอบเนื่องจากเสาเข็มรับแรงข้างเคียง", วารสารวิศวกรรมศาสตร์
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ปีที่ 27 (2), พฤษภาคม-สิงหาคม 2563, หน้า 28-38
2. รักษ์ศิริ สุขรักษ์, พรเกษม จงประดิษฐ์, ทศพร แย้มกล่า และ สุรเดช เหรัมพกุล (2563) “การพัฒนาเขต
ผลกระทบของอุโมงค์ส่งน้าจากการขุดลึกข้างเคียง” วิศวสารลาดกระบัง, ปีที่ 37 ฉบับที่ 1, มีนาคม 2563,
หน้า 21-28

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


155

3. ธนณั ฏฐ์ โยนจอหอ, พรเกษม จงประดิ ษฐ์ และ ศิริ ว รรณ ไวยชิ ต า, (2562) “ผลกระทบของเครื่องมือ
ตรวจวัดต่อการตรวจวัดการถ่ายแรงของเสาเข็มดินซีเมนต์ภายใต้การรับแรงในแนวแกน” วารสารวิศวกรรม
มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ปีที่ 26 ฉบับที่ 2, พฤษภาคม.–สิงหาคม 2562, หน้า 99-106.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Jongpradist, P. , Haema, N. and Lueprasert, P. (2019): “ Influence of pile row under loading
on existing tunnel”, Tunnels and Underground Cities: Proceedings of World Tunnel Congress
2019, Naples, Italy, May 6-9, 2019, pp. 5711-5719.
2. Chaipanna, P., Trakoonjannak, K. and Jongpradist, P. (2019): “Experimental investigation of
response of segment lining due to adjacent pile under loading” . 5th Inter Conference on
Science, Engineering & Environment ( SEE) , Bangkok, Thailand, November 11- 13, 2019,
pp. 512-515.
3. Waichita, S. and Jongpradist, P. (2019): “Investigation on the effects of wall slenderness on
failure behavior of DCM wall using a simplified small- scale physical model test” ,
The 4th International Conference on Geotechnics for Sustainable Infrastructure
Development- Geotec Hanoi 2019, Hanoi, Vietnam, November 28-29, 2019, pp. 489-495.
4. Pramthawee, P. and Jongpradist, P. (2018): “Incorporation of creep into an elasto-plastic soil
model for time-depedent analysis of a high rockfill dam”, Proceedings of the 9th European
Conference on Numerical Methods in Geotechnical Engineering (NUMGE 2018), June 25-27,
2018, Porto, Portugal, pp. 299-305.
5. Heama, N., Jongpradist, P., Lueprasert, P. and Suwansawat, S. (2018): “Investigation on Pile-
Soil-Tunnel Interaction Due to Adjacent Loaded Pile Row by 3D FEM”, The 4th International
conference on Engineering, Applied Sciences and Technology, Swissotel Resort Phuket
Patong Beach, Thailand, July 4-7, 2018, pp. 792-795.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. ทิพวรรณ อิ่มเอิบ, ประทีป หลือประเสริฐ และ พรเกษม จงประดิษฐ์ (2563) “อิทธิพลของระยะห่างระหว่าง
หัวเจาะต่อการทรุดตัวของผิวดินจากการก่อสร้าง อุโมงค์คู่ - การวิเคราะห์เชิงตัวเลขแบบสามมิติ ” การ
ประชุ ม วิ ช าการวิ ศ วกรรมโยธาแห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 25, วั น ที่ 15-17 กรกฎาคม 2563, การประชุ ม แบบ
ออนไลน์, GTE10
2. กัณตภณ จินทราคา, พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย, ก้องภพ วัชรเสวี, ชัยณรงค์ อธิสกุล, พรเกษม จงประดิษฐ์ และ
สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ (2563) “สมบัติทางกลของอิฐโบราณและอิฐทดแทนเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถานของ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


156

ไทย”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่ 15-17 กรกฎาคม 2563, การประชุม


แบบออนไลน์
3. สมชาย จิราวัฒนาการ, กฤษดา ตระกูลจั่นนาค และ พรเกษม จงประดิษฐ์ (2562) “การศึกษาผลตอบสนอง
อุโมงค์แบบชิ้นส่วนประกอบเนื่องจากเสาเข็มรับแรงข้างเคียงโดยการวิเคราะห์เชิงตัวเลข”, การประชุม
วิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 24, 10-12 กรกฎาคม 2562, โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชัน
เซ็นเตอร์ อ.เมือง จ.อุดรธานี
4. พงศกร พรนิพนธ์วิทยา และ พรเกษม จงประดิษฐ์ (2562) “ผลกระทบของตาแหน่งเสาเข็มรับแรงต่ออุโมงค์
แบบชิ้นส่วนโดยการวิเคราะห์แบบจาลองเชิงกายภาพ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ
ครั้งที่ 24, 10-12 กรกฎาคม 2562, โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อ.เมือง จ.อุดรธานี

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


157

รศ. ดร.วิโรจน์ ศรีสุรภานนท์


Assoc. Prof. Dr. Viroat Srisurapanon
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 1996 Ph.D. (Human-Social. Information Science), Tohoku University, Japan
ปี ค.ศ. 1992 M.Eng. (Transportation Engineering), Asian Institute of Technology, Thailand
ปี พ.ศ. 2532 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) เกียรตินิยมอันดับ 1, มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุร,ี
ประเทศไทย
2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 371 วิศวกรรมการทาง 3 หน่วยกิต
(Highway Engineering)
CVE 474 ระบบการขนส่งในเมือง 3 หน่วยกิต
(Urban Transportation Systems)
CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา 1 หน่วยกิต
(Civil Engineering Capstone Project Proposal)
CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Capstone Project)
CVE 405 หัวข้อพิเศษ 3 3 หน่วยกิต
(Special Topic III)

รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 673 สถิติขั้นสูงสาหรับการศึกษาด้านการขนส่ง 3 หน่วยกิต
(Advanced Statistical Methods for Transportation Studies)
CVE 675 การประเมินโครงการด้านการขนส่ง 3 หน่วยกิต
(Transport Project Evaluation)
CVE 701 ระเบียบวิธีวิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 704 หัวข้อพิเศษ 1 3 หน่วยกิต

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


158

(Special Topics)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)
2.2 ภาระการสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 673 สถิติขั้นสูงสาหรับการศึกษาด้านการขนส่ง 3 หน่วยกิต
(Advanced Statistical Methods for Transportation Studies)
CVE 675 การประเมินโครงการด้านการขนส่ง 3 หน่วยกิต
(Transport Project Evaluation)
CVE 701 ระเบียบวิธีวิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Srisurapanon, V. (2016): “The case of subsidizing school bus operations”, Journal of Society
for Transportation and Traffic Studies, Vol.7, No.4, Dec.2016, pp. 11-19.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. พิษณุรักษ์ เจริญวัย, มัลลิกา พันธ์หงษ์, พิชชาพร ลิขิตปัญจมานนท์, พร พันธ์จงหาญ และ วิโรจน์ ศรีสุรภา
นนท์ (2563) “การปรั บ ปรุ ง ประสิ ท ธิ ภ าพของการให้ บ ริ ก ารแท็ ก ซี่ โ ดยใช้ ข้ อ มู ล จี พี เ อสแบบเกิ น นั บ ”,
การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา, 28 สิงหาคม 2563, ณ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา, จังหวัดชลบุรี, ID090
2. ธนวั ฒ น์ ธวั ช ธนไพศาล และ วิ โ รจน์ ศรี สุ ร ภานนท์ (2563) “ปั จ จั ย ที่ ส่ ง ผลต่ อ การใช้ ร ถโรงเรี ย น”,
การประชุมวิชาการ ครั้งที่ 4 มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา, 28 สิงหาคม 2563, ณ
มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตศรีราชา, จังหวัดชลบุรี, ID075

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


159

3. สุทธิดา นวสุขสาราญ, อาทิยา เผ่าพงษ์ , อรรถพล พรหมอินทร์ และ วิโรจน์ ศรีสุรภานนท์ (2562) “การ
ปรั บ ปรุ ง ทางเดิ น เท้ า ในชุ ม ชน (กรณี ศึ ก ษา ซอยพุ ท ธบู ช า 44)”, The 7th Thailand Bike and Walk
Forum : Think Globally, Bike-Walk Locally , วั น ที่ 21 กั น ยายน 2562 , ณ อาคารเคเอ็ ก ซ์
มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, หน้า 37-47.
4. ธนวัฒน์ ธวัชธนไพศาล, นนทกร วัฒนวิบูลย์, รัฐเขต จุนันท์ และ วิโรจน์ ศรีสุรภานนท์ (2562) “การจัดการ
การจอดรถบริเวณถนนพุทธบูชาจังหวัดกรุงเทพมหานคร” การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ
ครั้งที่ 24 วันที่ 10-12 กรกฎาคม 2562 อุดรธานี, TRL008.
5. วิโรจน์ ศรีสุรภานนท์, ธนวัฒน์ ธวัชธนไพศาล, พิษณุรักษ์ เจริญวัย และ อชิรญาณ์ สอนสาย (2562) “ปัจจัย
ที่ มี ผ ลต่ อ การใช้ ร ถยนต์ ร่ ว มกั น ไปโรงเรี ย น” การประชุ ม วิ ช าการวิ ศ วกรรมโยธาแห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 24
วันที่ 10-12 กรกฎาคม 2562 อุดรธานี, TRL024.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


160

รศ. ดร.สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์


Assoc. Prof. Dr. Sutat Leelataviwat
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 1998 Ph.D. (Civil Engineering), University of Michigan, U.S.A.
ปี ค.ศ. 1995 M.Eng. (Civil Engineering), University of Michigan, U.S.A.
ปี พ.ศ. 2536 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย

2. ภาระงานสอน
2.1 ภาระงานสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 341 การออกแบบโครงสร้างเหล็กและไม้ 3 หน่วยกิต
(Steel and Timber Design)
CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Project Proposal)
CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Project)
CVE 444 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง 2 หน่วยกิต
(Prestressed Concrete Design)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 642 พลศาสตร์โครงสร้าง 3 หน่วยกิต
(Structural Dynamics)
CVE 648 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างรับแรงลมและแผ่นดินไหว 3 หน่วยกิต
(Analysis and Design of Structures for Wind and Seismic Loads)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)
CET 623 ระบบโครงสร้างอาคาร 3 หน่วยกิต

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


161

(Building Structural Systems)


CET 624 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างอาคารสูง 3 หน่วยกิต
(Analysis and Design of High-Rise Structures)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
CVE 642 พลศาสตร์โครงสร้าง 3 หน่วยกิต
(Structural Dynamics)
CVE 648 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างรับแรงลมและแผ่นดินไหว 3 หน่วยกิต
(Analysis and Design of Structures for Wind and Seismic Loads)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
1.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
1.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Wararuksajja, W., Srechai, J. and Leelataviwat, S. (2020): “Seismic design of RC moment-
resisting frames with concrete block infill walls considering local infill-frame interactions”,
Bulletin of Earthquake Engineering, Vol. 18, Issue 14, pp. 6445-6474. (ISI-IF2019 = 2.602, Q2)
2. Junda, E., Leelataviwat, S. and Doung, P. (2018): “Cyclic testing and performance evaluation
of buckling-restrained knee-braced frames”, Journal of Constructional Steel Research, Vol.
48, pp. 154-164.
3. Leelataviwat, S., Posai, K., Sahamitmongkol, R. and Kietmetha, S. (2018): “Testing of a
damaged PT slab-column frame repaired using injection grouting and steel collar”, Eleventh
U.S. National Conference on Earthquake Engineering, Integrating Science, Engineering &
Policy, June 25-29, Los Angeles, California, U.S.A.
4. Wongpakdee, N., and Leelataviwat, S., (2017): “Influence of column strength and stiffness
on the inelastic behavior of strong-column-weak-beam frames”, Journal of Structural
Engineering, Vol. 143, No. 9, pp. 04017124-1 – 04017124-12.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


162

5. Srechai, J., Leelataviwat, S., Wongkaew, A. and Lukkunaprasit, P., (2017): “Experimental and
analytical evaluation of a low-cost seismic retrofitting method for masonry-infilled non-
ductile RC frames”, Earthquakes and Structures, Vol. 12, No. 6, pp. 699-712.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Sairuamyat, P., Mahasuwanchai, P., Athisakul, C., Leelataviwat, S. and Chucheepsakul, S.
(2020): “Application of 3D laser scanning technology for preservation and monitoring of Thai
pagoda: A case study of Wat Krachee Ayutthaya” , Proceeding of International Conference
on Sustainable Energy and Green Technology 2019 (SEGT 2019), Bangkok, Thailand,
December 11-14, 2019, IPO Conf. Series: Earth and Environmental Science 463,
doi:10.1088/1755-1315/463/1/012082.
2. Mahasuwanchai, P., Wonganan, N., Athisakul, C., Tangchirapat, W., Sahamitmongkol, R. and
Leelataviwat, S. (2020): “Engineering properties of ancient masonry materials in Thailand and
substitution materials for historical structures preservation” , Proceeding of International
Conference on Sustainable Energy and Green Technology 2019, Bangkok, Thailand,
December 11-14, 2019, IPO Conf. Series: Earth and Environmental Science 463,
doi:10.1088/1755-1315/463/1/012077.
3. Mahasuwanchai, P., Wonganan, N., Athisakul, C., Tangchirapat, W., Sahamitmongkol, R. and
Leelataviwat, S. (2020): “Engineering properties of ancient masonry materials in Thailand and
substitution materials for historical structures preservation”, Proceeding of International
Conference on Sustainable Energy and Green Technology 2019, Bangkok, Thailand,
December 11-14, 2019, IPO Conf. Series: Earth and Environmental Science 463,
doi:10.1088/1755-1315/463/1/012077.
4. Sairuamyat, P., Mahasuwanchai, P., Athisakul, C., Leelataviwat, S. and Chucheepsakul, S.
(2020): “Application of 3D laser scanning technology for preservation and monitoring of Thai
pagoda: A case study of Wat Krachee Ayutthaya”, Proceeding of International Conference
on Sustainable Energy and Green Technology 2019 (SEGT 2019), Bangkok, Thailand,
December 11-14, 2019, IPO Conf. Series: Earth and Environmental Science 463,
doi:10.1088/1755-1315/463/1/012082.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


163

5. Wararuksajja, W. , Srechai, J. and Leelataviwat, S. (2018): “Cyclic testing of intermediate RC


moment frames with concrete block walls”, The 7th Asia conference on Earthquake
Engineering, November 22-25, Grand Hyatt Erawan. Bangkok, Thailand.
6. Leelataviwat, S., Doung, P., Junda, E. and Chan-anan, W. (2017): “Ductile knee-braced frames
for seismic applications” , International Conference on Earthquake engineering and
Structural Dynamics, June 12-14, 2017, Reykjavik, lceland.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ

1. ศิวนนท์ ต้นเกตุ , พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย , ชนาธิป บินซาอิส , สุรพัศ นิธิปฏิคม, สุวัจน์ชัย แก้วมาคูณ ,
ชัยณรงค์ อธิสกุล และ สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ (2563) “ข้อมูลการสแกนวัตถุ 3 มิติ และสมบัติวัสดุก่อของวัด
ราชบพิธสถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่
15-17 กรกฎาคม 2563, การประชุมแบบออนไลน์
2. สุนัย โตศิริมงคล, พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร, สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ และ ชัยณรงค์ อธิสกุล
(2563) “สมบัติทางกลของอิฐโบราณและอิฐทดแทนเพื่อการอนุรั กษ์โบราณสถานของไทย”, การประชุม
วิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่ 15-17 กรกฎาคม 2563, การประชุมแบบออนไลน์
3. กัณตภณ จินทราคา, พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย, ก้องภพ วัชรเสวี, ชัยณรงค์ อธิสกุล, พรเกษม จงประดิษฐ์
และ สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ (2563) “สมบัติทางกลของอิฐโบราณและอิฐทดแทนเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถาน
ของไทย”, การประชุ ม วิ ช าการวิ ศ วกรรมโยธาแห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 25, วั น ที่ 15-17 กรกฎาคม 2563,
การประชุมแบบออนไลน์

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


164

รศ.ดร. ทวิช พูลเงิน


Assoc. Prof. Dr. Tawich Pulngern

1. ประวัติการศึกษา
ปี พ.ศ. 2547 ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
ปี ค.ศ. 1999 M.Eng. (Structural Engineering), Illinois Institute of Technology, U.S.A.
ปี พ.ศ. 2540 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 240 คณิตศาสตร์ประยุกต์สาหรับวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Applied Mathematics for Civil Engineers)
CVE 342 การออกแบบคอนกรีตเสริมเหล็ก 4 หน่วยกิต
(Reinforced Concrete Design)
CVE 444 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง 3 หน่วยกิต
(Prestressed Concrete Design)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 640 กลศาสตร์วัสดุและโครงสร้างขัน้ สูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Mechanic of Materials and Structures)
CVE 732 การวิเคราะห์โครงสร้างวัสดุคอมโพสิต 3 หน่วยกิต
(Analysis of Composite Structures)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 640 กลศาสตร์วัสดุและโครงสร้างขัน้ สูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Mechanic of Materials and Structures)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


165

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


166

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Juntarasaid, C., Pulngern, T. and Chucheepsakul, S. (2020): “ A variational method for post-
buckling analysis of end-supported nanorods under self-weight with surface stress effect” ,
Archive of Applied Mechanics, (ISI-IF2019 = 1.374, Q3)
2. Pulngern, T., Chanto, K., Pansuwan, W. and Pattaraumpornsak, W. (2020): “Effect of lamina
thickness on flexural performance and creep behavior of douglas fir glued laminated timber
beam”, Wood Research, Vol. 65, Issue 5, pp. 715-726.
3. Pulngern, T., Udtaranakron, T. and Chanto, K. (2020): “ Physical and mechanical behaviors
of thermally modified rubberwood glulam beam under sustained and cyclic loading” ,
Wood and Fiber Science, Vol. 52, No. 3, pp. 298-312. (ISI-IF2019 = 1.104, Q2)
4. Juntarasaid, C., Pulngern, T. and Chucheepsakul, S. (2020) : “ Postbuckling analysis of a
nonlocal nanorod under self-weight”, International Journal of Applied Mechanics, Vol. 12,
No. 4, 2050035. (ISI-IF2019 =2.449, Q2)
5. Juntarasaid, C., Pulngern, T. and Chucheepsakul, S. (2019): "Postbuckling analysis of end
supported rods under self-weight using intrinsic coordinate finite elements", International
Journal of Civil and Architectural Engineering, Vol. 13, No.11, pp. 689-693.
6. Juntarasaid, C., Pulngern, P. and Chucheepsakul, S. (2018): "A variational approach for large
deflection of ends supported nanorod under a uniformly distributed load, using intrinsic
coordinate finite elements", Applied Mathematical Modelling, Vol. 54, pp. 34–45.
7. Haruehansapong, S., Pulngern, T. and Chucheepsakul, S. (2017): “Effect of nanosilica particle
size on the water permeability, abrasion resistance, drying shrinkage, and repair work
properties of cement mortar containing nano- SiO2” , Advances in Materials Science and
Engineering, Vol. 2017, Article ID 4213690, pp. 11.
8. Pulngern, T. , Eakintumas, W. , Rosarpitak, V. and Sombatsompop, N. (2017): " Compressive
load thermal and acoustic properties of wood/ polyvinyl chloride composite log- wall
panels", Journal of reinforced Plastics and Composites.
9. Pulngern, T. , Chitsamran, T. , Chucheepsakul, S. , Rosarpitak, V. , Patcharaphun, S. and
Sombatsompop, N. (2016): " Effect of temperature on mechanical properties and creep

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


167

responses for wood/ PVC composites" , Construction and Building Materials, Vol. 111,
pp. 191-198.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ

1. Chanto, K., Mahasuwanchai, P., Eakintumas, W., Lairat, C., Thavornsettawat, N.,
Tanthanawiwat, K., Wongthavornman, K., Pulngern, T., Chayavanich, N., Wiputthanupong, W.
and Pansuwan, W. (2020) : “ Solar Decathlon Europe 2019: the resilient nest as a solar
powered and energy efficiency rooftop house for urban density”, International Conference
on Sustainable Energy and Green Technology 2019, Bangkok, Thailand, December 11- 14,
2019, IPO Conf. Series: Earth and Environmental Science 463, doi:10. 1088/ 1755-
1315/463/1/012033.
2. Pulngern, T., Chayavanich, N., Wiputthanupong, W. and Pansuwan, W. (2020): “Solar
Decathlon Europe 2019: the resilient nest as a solar powered and energy efficiency rooftop
house for urban density”, International Conference on Sustainable Energy and Green
Technology 2019, Bangkok, Thailand, December 11-14, 2019, IPO Conf. Series: Earth and
Environmental Science 463, doi:10.1088/1755-1315/463/1/012033.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. กิตติพงศ์ เรืองศิลปานันต์, ทวิช พูลเงิน, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร และ ชัย จาตุรพิทักษ์กุล (2562) “การศึกษา
คุณสมบัติเชิงและการหดตัวของคอนกรีตที่ทาจากเถ้าถ่านหินที่ถูกกระตุ้นด้วยด่าง”, การประชุมวิชาการ
คอนกรีตประจ าปี ครั้ง ที่ 14, 6-8 มี น าคม 2562, วรวนา หั ว หิ น โฮเต็ ล แอนด์ คอนเวนชั่ น จั ง หวัด
ประจวบคีรีขันธ์
2. ฐิปกรณ์ อุตรนคร และ ทวิช พูลเงิน (2562) “ผลการปรับปรุงสมบัติของไม้ด้วยความร้อนสูงที่มีผลต่อค่า
กาลังต้านทานแรงดัด ความถ่วงจาเพาะ และความชื้น ของไม้ยางพาราประสานด้วยกาว”, การประชุม
วิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 24, 10-12 กรกฎาคม 2562, โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชัน
เซ็นเตอร์ อ.เมือง จ.อุดรธานี.
3. พรเทพ วัฒนากรแก้ว, ทวิช พูลเงิน และ สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ (2560) “การประเมินและเสริมกาลังอาคาร
คอนกรีตเสริมเหล็กเพื่อต้านทานแรงแผ่นดินไหว”, การประชุมวิชาการระดับชาติ ครั้งที่ 14, 7-8 ธันวาคม
2560, มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์ วิทยาเขตกาแพงแสน, หน้า 353-362.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


168

รศ. ดร.อาพล การุณสุนทวงษ์


Assoc. Prof. Dr.Ampol Karoonsoontawong
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2006 Ph.D. (Transportation Engineering), University of Texas at Austin, U.S.A.
ปี ค.ศ. 2002 M.S. (Transportation Engineering), University of Texas at Austin, U.S.A.
ปี พ.ศ. 2540 วศ.บ. เกียรตินิยมอันดับสอง (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย

2. ภาระงานสอน
2.1 ภาระงานสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 371 วิศวกรรมการทาง 3 หน่วยกิต
(Highway Engineering)
CVE 372 วิศวกรรมขนส่ง 3 หน่วยกิต
(Transportation Engineering)
CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Project Proposal)
CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Project)
CVE 405 หัวข้อพิเศษ 3 3 หน่วยกิต
(Special Topic III)
CVE 775 การสร้างแบบจาลองและการพยากรณ์ความต้องการเดินทาง 3 หน่วยกิต
(Travel Demand Modeling and Forecasting)
CVE 779 การวิเคราะห์โครงข่ายขนส่ง 3 หน่วยกิต
(Transportation Network Analysis)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 775 การสร้างแบบจาลองและการพยากรณ์ความต้องการเดินทาง 3 หน่วยกิต
(Travel Demand Modeling and Forecasting)
CVE 779 การวิเคราะห์โครงข่ายขนส่ง 3 หน่วยกิต
(Transportation Network Analysis)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


169

CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต


(Thesis)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)
CET 672 สถิติสาหรับวิศวกรรมขนส่งและโลจิสติกส์ 3 หน่วยกิต
(Statistics for Transportation and Logistics Engineering)
CET 667 การสร้างแบบจาลองและการพยากรณ์ความต้องการเดินทาง 3 หน่วยกิต
(Travel Demand Modeling and Forecasting)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
CVE 775 การสร้างแบบจาลองและการพยากรณ์ความต้องการเดินทาง 3 หน่วยกิต
(Travel Demand Modeling and Forecasting)
CVE 779 การวิเคราะห์โครงข่ายขนส่ง 3 หน่วยกิต
(Transportation Network Analysis)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Champahom, T., Jomnonkwao, S., Nambulee, W., Klungboonkrong, P., Karoonsoontawong,
A. and Ratanavaraha, V. (2020): “Analyzing transport mode choice for aging society in
Thailand”, Engineering and Applied Science Research, October-December, 2 020, 47 (4), pp.
383-392.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


170

2. Karoonsoontawong, A., Punyim, P., Nueangnitnaraporn, W., and Ratanavaraha, V. (2 02 0):


“Multi-trip time-dependent vehicle routing problem with soft time windows and overtime
constraints”, Network and Spatial Economics, Vol. 20, Issue 2, pp. 549-598. (ISI-IF2019-2.379, Q2)
3. Champahom. T., Jomnonkwao, S., Watthanaklang, D., Karoonsoontawong, A.,
Chatpattananan, V. and Ratanavaraha, V. (2 02 0): “ Applying hierarchical logistic models to
compare urban and rural roadway modeling of severity of rear-end vehicular crashes” ,
Accident Analysis and Prevention, Vol. 141, 105537. (ISI-IF2019-3.655, Q1)
4. Karoonsoontawong, A. , Kobkiattawin, O. and Xie. C. (2020): “ Efficient insertion heuristic
algorithms for multi-trip inventory routing problem with time windows, shift time limits and
variable delivery time”, Networks and Spatial Economics, Vol.19(2), 331-379.
5. Champahom, T., Jomnonkwao, S., Chatpattananan, V., Karoonsoontawong, A., Ratanavaraha,
V. (2019): “Analysis of Rear-End Crash on Thai Highway: Decision Tree Approach”, Journal of
Advanced Transportation, Vol.2019, 1-13.
6. Punyim, P., Karoonsoontawong, A., Unnikrishnan, A. and Xie, C. (2018): “Tabu search heuristic
for joint location- inventory problem with stochastic inventory capacity and practicality
constraints”, Networks and Spatial Economics, Vol.18, No. 1, pp. 51-84, DOI:10.1007/s11067-
017-9368-8.
7. Xie, C. , Wang, T- G. , Pu, X. and Karoonsoontawong, A. , (2 017): “ Path- constrained traffic
assignment: Modeling and computing network impacts of stochastic range anxiety” ,
Transportation Research Part B, Vol. 103, pp. 136-157.
8. Karoonsoontawong, A. and Taptana, A. , (2 017): “ Branch- and- Bound- Based Local Search
Heuristics for Train Timetabling on Single- Track Railway Network” , Networks and Spatial
Economics, DOI: 10.1007/s11067-015-9316-4, Vol.17, pp. 1-39.

ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ
1. ภูวดล พิมพ์สีทา และ อาพล การุณสุนทวงษ์ (2563) "การศึกษาความจุและระดับการให้บริการของท่าเรือ
ข้ามฟากพระประแดง", วิศวกรรมสารเกษมบัณฑิต, ปีที่ 10, ฉบับที่ 3, กันยายน-ธันวาคม 2563, หน้า 99-119
2. ปิ ย พั ช ร เพ็ ช รจั น ทร์ และ อ าพล การุ ณ สุ น ทวงษ์ (2563) "การพั ฒ นาแบบจ าลองสถานการณ์ ส าหรั บ
การศึกษาระบบแถวคอยบนสถานีรถไฟฟ้าบีทีเอสสะพานตากสินด้วยโปรแกรม PTV Viswalk", วิศวกรรม
สารเกษมบัณฑิต, ปีที่ 10, ฉบับที่ 3, กันยายน-ธันวาคม 2563, หน้า 25-45

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


171

3. อาพล การุณสุนทวงษ์ สรวัชร์ จันทร์ทับ พรรณทิพา พันธ์ยิ้ม วันจักร ฉายากุล และ ปิยพงษ์ จิวัฒนกุล
ไพศาล (2563) “การประเมินประสิทธิผลของเครื่องหมายบนผิวจราจรแบบ Transverse Bar ที่มีต่อการลด
ความเสี่ ย งการเกิ ด อุ บั ติ เ หตุ ช นท้ า ย” วารสารวิ จั ย และพั ฒ นา มจธ., ปี ที่ 43 ฉบั บ ที่ 1, มกราคม-
มีนาคม 2563, หน้า 17-29.
4. Champahom. T., Jomnonkwao, S., Karoonsoontawong, A., Hantanong, N., Beeharry, R. and
Ratanavaraha, V. (2 02 0): “ Modeling user perception of bus service quality: A case study in
Mauritius” , Songklanakarin Journal Science and Technology, Vol. 42 (3), pp. 660–670. (Q3,
Scopus)
5. A. Karoonsoontawong, S. Juntub, P. Punyim, V. Chayakul, P. Jiwattanakulpaisarn,
“Effectiveness Evaluation of “ Transverse Bar” Pavement Marking Pattern on the Reduction
of Rear-End Collision Risk”, KMUTT Research and Development Journal Vol.43 (1), 2020, pp.
18-29.
6. Champahom. T., Jomnonkwao, S., Karoonsoontawong, A., Hantanong, N., Beeharry, R. and
Ratanavaraha, V., “Modeling User Perception of Bus Service Quality: Case Study of Mauritius”,
Songklanakarin Journal of Science and Technology, Vol.42(3), June 2020, pp.660-670.
7. Mongkolchoo, T., Subprasom, K., Karoonsoontawong, A., Saowalakaksorn. S., “Alternative
Investment Scheme for Don Muang Tollway Extension Project”, KMUTT Research and
Development Journal Vol.42 (2), 2019.
8. Subunnapas, C., Punyim, P., Karoonsoontawong, A., “Study of Passenger Satisfaction to Use
Airport Rail Link Service”, KMUTT Research and Development Journal Vol.42 (4), 2019, 389-402.
9. Nambulee, W., Jomnonkwao, S., Siridhara, S., Ratanavaraha, V., Karoonsoontawong, A. and
Beeharry, R., (2018): “The Intercity Bus Passenger’s Locus of Control with Regard to Seat Belt
Use Intention”, Suranaree Journal of Science & Technology, Vol. 25, No. 3, pp. 235-246.
10. Nueangnitnaraporn, W. and Karoonsoontawong, A. (2018): “A Construction Heuristic Method
for Time Dependent Vehicle Routing Problem with Soft Time Windows and Multiple Use of
Vehicles”, KMUTT Research and Development Journal, Vol. 41, No. 1, January-March, pp. 63-81.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Li, M., Xie, C., Li, X. and Karoonsoontawong, A., 2019, “Liner Shipping Routes and Schedules
under Uncertain Weather and Ocean Conditions: A Robust Optimization Approach” , 98th
Transportation Research Board Meeting, 13-17 January, Washington, D.C.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


172

2. Karoonsoontawong, A. , 2 016, “ Stochastic Programming Approach for Traffic Signal Setting


and Lane Marking Design at an Isolated Signalized Intersection”, 95th Transportation Research
Board Meeting, January 10-14, Washington, DC.
3. Karoonsoontawong, A. , 2 016, “ Efficient Insertion Heuristics for Multi- Trip Inventory Routing
Problem with Time Windows” , Shift Time Limits and Variable Delivery Time, 95th
Transportation Research Board Meeting, January 10-14, Washington, DC.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. ธวัชชัย ปัญญาคิด และ รศ. ดร.อาพล การุณสุนทวงษ์ (2563) “การศึกษาเพื่อปรับปรุงมาตรการควบคุม
การจราจรบริ เ วณจุ ด ตั ด ทางรถไฟโดยใช้ แ บบจ าลองระดั บ จุ ล ภาค และสั ญ ญาณไฟอั ต โนมั ติ แ บบพรี
เอ็มชั่น”, 4th National Conference on Creative Technology, วันที่ 5-7 สิงหาคม 2563, ณ โรงแรม
แกรนด์ แปซิฟิก ซอฟเฟอริน รีสอร์ท แอนด์ สปา, จังหวัดเพชรบุรี
2. Punyim, P., Nampulwan, S. and Karoonsoontawong, A., 2017, “Study of Customer Satisfaction
for Bus Service between KMUTT Campuses”, 22nd National Convention on Civil Engineering,
18-19 July 2017, Nakhon Ratchasima, Thailand.
3. Nueangnitnaraporn, W. and Karoonsoontawong, A. , 2 016, “ Time Dependent Multi- Trip
Vehicle Routing Problem with Soft Time Windows” , 21st National Convention on Civil
Engineering, 28-30 June, Songkhla, Thailand.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


173

ผศ. ดร.วุฒพิ งศ์ เมืองน้อย


Asst. Prof. Dr. Wuttipong Muangnoi
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2000 D.Eng. (Construction Management), Asian Institute of Technology, Thailand
ปี ค.ศ. 1994 M.Eng. (Structural Engineer), Asian Institute of Technology, Thailand
ปี พ.ศ. 2532 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 311 การบริหารงานวิศวกรรม 3 หน่วยกิต
(Engineering Management)
CVE 411 วิศวกรรมและเทคโนโลยีการก่อสร้างสมัยใหม่ 3 หน่วยกิต
(Modern Construction Engineering and Technology)
CVE 415 การบริหารงานก่อสร้าง 3 หน่วยกิต
(Construction Management)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 617 การบริหารการเงินสาหรับโครงการก่อสร้าง 12 หน่วยกิต
(Financial Management in Construction Project)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)
2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Thesis)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


174

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Suweero, K., Moungnoi, W. and Charoenngam, C. (2017): "Outsourcing decision factors of
building operation and maintenance services in the commercial sector" , Property
Management, Vol. 35 Issue: 3, pp. 254-274.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. ศดานันท์ อารยชูเกียรติ์, วุฒิพงศ์ เมืองน้อย และ สุทธิ ภาษีผล (2560) “การวิเคราะห์งบการเงินและการ
บริ ห ารความเสี่ ย งของบริ ษ้ ท จดทะเบี ย นในตลาดหลั ก ทรั พ ย์ แ ห่ ง ประเทศไทยกลุ่ ม พั ฒ นา
อสังหาริมทรัพย์”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, วันที่ 18-20 กรกฎาคม 2560,
ณ โรงแรมเดอะกรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่, นครราชสีมา, หน้า 568-579.
2. มนัสนันท์ สุทธิวงศ์, วุฒิพงศ์ เมืองน้อย และ สุทธิ ภาษีผล (2560) “การวิเคราะห์งบการเงินและการบริหาร
ความเสี่ยงของบริษัทมหาชนกลุ่มบริการรับเหมาก่อสร้าง”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ
ครั้งที่ 22, วันที่ 18-20 กรกฎาคม 2560, ณ โรงแรมเดอะกรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่ , นครราชสีมา, หน้า
580-588.
3. อาทิตย์ แสงดี, วุฒิพงศ์ เมืองน้อย และ สุทธิ ภาษีผล (2560) “การศึกษาขั้นตอนงานก่อสร้างถนนลาดยาง
ระหว่างผิวจราจรพราเคพซีลและผิวจราจรพาราแอสฟัสต์คอนกรีต กรณีศึกษา : องค์การบริหารส่วนจังหวัด
อุดรธานี ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, วันที่ 18-20 กรกฎาคม 2560, ณ
โรงแรมเดอะ กรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่, นครราชสีมา, หน้า 640-649.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


175

ผศ. ดร.อภินัติ อัชกุล


Asst. Prof. Dr. Aphinat Ashakul
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2004 Ph.D. (Civil Engineering), Virginia Polytechnic Institute and State University, U.S.A.
ปี ค.ศ. 1999 M.Eng. (Structural Engineering), Illinois Institute of Technology, U.S.A.
ปี พ.ศ. 2537 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย

2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 233 กลศาสตร์วัสดุ 3 หน่วยกิต
(Mechanics of Materials)
CVE 337 การวิเคราะห์โครงสร้าง 1 3 หน่วยกิต
(Structural Analysis I)
CVE 338 การวิเคราะห์โครงสร้าง 2 3 หน่วยกิต
(Structural Analysis I)
CVE 341 การออกแบบโครงสร้างเหล็กและไม้ 4 หน่วยกิต
(Steel and Timber Design)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 636 การออกแบบโครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Steel Design)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 734 การออกแบบข้อต่อโครงสร้างเหล็ก 3 หน่วยกิต
(Design of Steel Connections)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)
CET 604 สัมมนาทางเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธา 1 หน่วยกิต
(Civil Engineering Technology Seminar)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


176

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 636 การออกแบบโครงสร้างเหล็กขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Steel Design)
CVE 734 การออกแบบข้อต่อโครงสร้างเหล็ก 3 หน่วยกิต
(Design of Steel Connections)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Ashakul, A. (2017): “Experiments of angle welded connections under cyclic loads”, The 8th
Asia and Pacific Young Researchers and Graduates Symposium, September 7-8, 2017, Tokyo,
Japan.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. ธนากร พรหมเจริญ, อภินัติ อัชกุล และ รักติพงษ์ สหมิตรมงคล (2561) “ปัจจัยที่ส่งผลต่อกาลังรับแรงเฉือน
ของอุปกรณ์ฝังยึดชนิดติดตั้งภายหลังในคอนกรีต”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23,
วันที่ 18-20 กรกฎาคม 2561, ณ จ. นครนายก, บทความเลขที่ 139.
2. ศุภษิต ปันจันตา, รักติพงษ์ สหมิตรมงคล และ อภินัติ อัชกุล (2560) “พฤติกรรมภายใต้แรงดึงถอนของ
อุปกรณ์ฝังยึดแบบติดตั้งภายหลังในคอนกรีต ”, การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 12, วันที่ 15-
17 กุมภาพันธ์ 2560, ณ เดอะ รีเจนท์ ชะอา บีช รีสอร์ท, จังหวัดเพชรบุรี.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


177

รศ. ดร.สมโพธิ อยู่ไว


Assoc. Prof. Dr. Sompote Youwai
1.ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2003 D. Eng (Soil Engineering), Asian Institute of Technology, Thailand
ปี ค.ศ. 1999 M.Eng. (Soil Engineering), Asian Institute of Technology, Thailand
ปี พ.ศ. 2536 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, ประเทศไทย
2. ภาระงานสอน
2.1 ภาระงานสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 363 ปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ 1 หน่วยกิต
(Soil Mechanics Laboratory)
CVE 364 วิศวกรรมฐานราก 3 หน่วยกิต
(Foundation Engineering)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 653 เทคนิคปรับปรุงคุณภาพดิน 3 หน่วยกิต
(Soil Improvement Technique)
CVE 657 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 หน่วยกิต
(Analytical and Numerical Method in
Geotechnical Engineering)
CVE 660 การสารวจใต้ผิวพื้นและการทดสอบดิน 3 หน่วยกิต
(Subsurface Investigation and Soil Test.)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Civil Engineering Seminar)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 623 ระบบโครงสร้างอาคาร 3 หน่วยกิต
(Building Structural Systems)
2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 653 เทคนิคปรับปรุงคุณภาพดิน 3 หน่วยกิต

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


178

(Soil Improvement Technique)


CVE 657 การวิเคราะห์เชิงตัวเลขในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 หน่วยกิต
(Analytical and Numerical Method in
Geotechnical Engineering)
CVE 660 การสารวจใต้ผิวพื้นและการทดสอบดิน 3 หน่วยกิต
(Subsurface Investigation and Soil Test.)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Civil Engineering Seminar)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รับผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Makararotrit, W. , Youwai, S. , & Rodpol, P. ( 2019) : “Deformation characteristics of cement
treated pasak clay and bangkok clay with different stress path”. World Congress on Civil,
Structural, and Environmental Engineering, (April), Rome Italy, pp. 1-10.
2. Malai, A. , Youwai, S. , & Jaturabandit, N. ( 2017) : “Stress- Strain Mechanism of Expanded
Polystyrene Foam under Cyclic Loading Conditions within and Beyond Yield States”,
International Conference on Transportation Infrastructure and Materials ICTIM2017) ,
Qingdao, Chaina, DOI: 10.12783/dynes/ictim2017/10184.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. วสุพล ภาวสุทธิไพศิฐ และ สมโพธิ อยู่ไว (2562) “คุณสมบัติเขิงพลวัตของแอสฟัลต์คอนกรีตที่ปรับปรุง
คุณสมบัติด้วยยางพาราและผงยางรถยนต์ ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 24, วันที่
10-12 กรกฎาคม 2562, ณ โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อ.เมือง จ.อุดรธานี หน้า 1339-1343
2. จารุกิตติ์ พูนชัย และ สมโพธิ อยู่ไว (2561) “การจาลองพฤติกรรมของเสาเข็มเดี่ยวในดินเหนียวกรุงเทพด้วย
วิธีไฟไนต์เอลิเมนต์ ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, วันที่ 18-20 กรกฎาคม
2561, ณ หอประชุมโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า อาเภอเมือง, จ. นครนายก หน้า 216

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


179

3. ฉัตรกมล เดชเรือง, สมโพธิ อยู่ไว และ เพิ่มพร บัวทอง (2561) “สมบัติด้านกาลังของทรายที่ปรับปรุง


คุณสมบัติด้วยซีเมนต์และเส้นใยปาล์ม ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, วันที่
18-20 กรกฎาคม 2561, ณ หอประชุมโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า อาเภอเมือง, จ. นครนายก หน้า 208
4. พัชร รอดพล และ สมโพธิ อยู่ไว (2561) “ความแข็งแรงและการเสียรูปของดินเหนียวกรุงเทพและดินเหนียว
ป่ า สั ก ที่ ไ ด้ รั บ การปรั บ ปรุ งเสถี ยรภาพด้ วยปู น ซี เ มนต์ ”, การประชุ มวิ ช าการวิ ศ วกรรมโยธาแห่ ง ชาติ
ครั้งที่ 23, วันที่ 18-20 กรกฎาคม 2561, ณ หอประชุมโรงเรียนนายร้อยพระจุลจอมเกล้า อาเภอเมือง, จ.
นครนายก หน้า 21

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


180

ผศ. ดร.สันติ เจริญพรพัฒนา


Asst. Prof. Dr. Santi Charoenpornpattana
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2004 Ph.D. (Civil Engineering), University of Tokyo, Japan
ปี ค.ศ. 1998 M.Eng. (Construction Engineering & Management), Asian Institute of
Technology, Thailand
ปี พ.ศ. 2538 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 411 การประมาณราคา และการกาหนดรายการก่อสร้าง 3 หน่วยกิต
(Personality Development and Public Speaking)
CVE 414 การประมาณราคา และการกาหนดรายการก่อสร้าง 3 หน่วยกิต
(Construction Estimating and Specification)
CVE 415 การบริหารงานก่อสร้าง 3 หน่วยกิต
(Construction Management)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Thesis)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


181

ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Pornthepkasemsant, P. and Charoenpornpattana S. (2019): “Identification of factors affecting
productivity in Thailand’s construction industry and proposed maturity model for
improvement of the productivity”, Journal of Engineering, Design and Technology, Vol.17,
No.5, pp.849-861.
บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Charoenpornpattana S., Pittayasophon S., Kuakim P., and Jutarosaga A. (2019): “The
Evolution of Research & Innovation Governance in Thailand: Re-aligning Budget and Funding
System towards National Priority”, Proceedings of ASIALICS 2019 Conference, 26-27 July
2019, Korea.
2. Jutarosaga A., Hengjan Y., Charoenpornpattana S., Jitvanichphaibool K. (2019): “The Emerging
Reorientation of Thailand’s National R&D Programmes - Limits and Challenges on
Technological Development” Proceedings of ASIALICS 2019 Conference, 26- 27 July 2019,
Korea.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. S. Tooptiantong, S. Charoenpornpattana and R. Ruthankoon, (2018): “Problems and benefits
of using building information modeling for construction projects from contractor’ s
perspective” , The 23rd National Convention on Civil Engineering, July 18- 20, 2018, Nakhon
Nayok, THAILND.
2. สุนิตษา เสาระโส สันติ เจริญพรพัฒนา และ รัฐวุฒิ รู้แทนคุณ (2560) “การสารวจการใช้แบบจาลอง
สารสนเทศอาคารในขั้นตอนโครงการก่อสร้าง”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22,
วันที่ 18-20 กรกฎาคม 2560, ณ โรงแรมเดอะกรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่, นครราชสีมา, หน้า 545-553.
3. เอก จิตชัยเจริญ, รัฐวุฒิ รู้แทนคุณ และ สันติ เจริญพรพัฒนา (2560) “การจัดทากาหนดการก่อสร้างด้วย
แบบจาลองสารสนเทศอาคาร กรณีศึกษาอาคารโครงสร้างสาเร็จรูป ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธา
แห่งชาติ ครั้งที่ 22, วันที่ 18-20 กรกฎาคม 2560, ณ โรงแรมเดอะกรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่, นครราชสีมา
, หน้า 560-567

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


182

ผศ. ดร.พิชญ์ สุธีรวรรธนา


Asst. Prof. Dr. Pitch Sutheerawathana
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2006 Ph.D. (International Studies.), University of Tokyo, Japan
ปี ค.ศ. 1998 M.Eng. (Construction Engineering & Management), Asian Institute of Technology,
Thailand
ปี พ.ศ. 2539 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเชียงใหม่, ประเทศไทย

2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 311 การบริหารงานวิศวกรรม 3 หน่วยกิต
(Engineering Management)
CVE 411 วิศวกรรมและเทคโนโลยีการก่อสร้างสมัยใหม่ 3 หน่วยกิต
(Modern Construction Engineering & Technology)
CVE 415 การบริหารงานก่อสร้าง 3 หน่วยกิต
(Construction Management)
CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา 1 หน่วยกิต
(Civil Engineering Capstone Project Proposal)
CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Capstone Project)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 621 หัวข้อพิเศษ 1 3 หน่วยกิต
(Special Topic I)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Thesis)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


183

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ

1. ธนา นวพงศ์ธนานนท์ และ พิชญ์ สุธีรวรรธนา (2561) “การศึกษาปัญหาและการพัฒนาคุณภาพของบ้าน


สาเร็จรูปของบริษัทอสังหาริมทรัพย์รายใหญ่รายหนึ่ง”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่
23, 18-20 กรกฎาคม 2561, จ. นครนายก, บทความเลขที่ CEM08.
2. เทิดพงศ์ แสงระวี และ พิชญ์ สุธีรวรรธนา (2561) “แนวทางการป้องกันการเกิดข้อบกพร่องที่เกิดขึ้นในงาน
ก่ อ สร้ า ง กรณี ศึก ษา งานก่ อ สร้ า งปรั บ ปรุ ง พื้ น ที่ สาขาธนาคาร”, การประชุ ม วิ ช าการวิ ศ วกรรมโยธา
แห่งชาติ ครั้งที่ 23, 18-20 กรกฎาคม 2561, จ .นครนายก, บทความเลขที่ CEM029.
3. นรินทร บุณยโยธิน และ พิชญ์ สุธีรวรรธนา (2561) “การศึกษาผลิตภาพแรงงานและระดับคุณภาพของ
แรงงานก่อสร้าง”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, 18-20 กรกฎาคม 2561, จ .
นครนายก, บทความเลขที่ CEM07.
4. พรเทพ ม่วงสุขา และ พิชญ์ สุธีรวรรธนา (2563) “การประเมินทางเลือกและวิเคราะห์ความเสี่ยงโครงการ
บริหารจัดการขยะมูลฝอยชุมชน”, เอกสารการประชุมวิชาการโยธาแห่งชาติครั้งที่ 25, ชลบุรี, 15 – 17
กรกฎาคม 2563, บทความเลขที่ CEM38.
5. เจริญทรัพย์ งอยจันทร์ศรี และ พิชญ์ สุธีรวรรธนา (2563) “สาเหตุของงานบกพร่องในงานก่อสร้าง ต้นทุน
ในการแก้ไข และแนวทางป้องกันการเกิดซ้า: กรณีศึกษางานก่อสร้างโรงแรม 1 แห่ง”, เอกสารการประชุม
วิชาการโยธาแห่งชาติครั้งที่ 25, ชลบุรี, 15 – 17 กรกฎาคม 2563, , บทความเลขที่ CEM08.
6. วิษณุ ฉีดอิ่ม และ พิชญ์ สุธีรวรรธนา (2563) “ปัจจัยเชิงสาเหตุที่ส่งผลต่อพฤติกรรมในการซื้อวัสดุก่อสร้าง
จากพื้นฐานราคาเป็นพื้นฐานของคุณค่า”, เอกสารการประชุมวิชาการโยธาแห่งชาติครั้งที่ 25, ชลบุรี, 15
– 17 กรกฎาคม 2563, บทความเลขที่ CEM01.
7. ชัยวัฒน์ อุ่นบรรจง และ พิชญ์ สุธีรวรรธนา (2562) “ผลิตภาพแรงงานของงานเสาเข็ม” เอกสารการประชุม
วิชาการโยธาแห่งชาติครั้งที่ 24, อุดรธานี, 10 – 12 กรกฎาคม 2562, บทความเลขที่ CEM42

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


184

รศ. ดร.ชัยณรงค์ อธิสกุล


Assoc. Prof. Dr.Chainarong Athisakul
1. ประวัติการศึกษา
ปี พ.ศ. 2551 ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา) , มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2544 วศ.ม. (วิศวกรรมทรัพยากรน้า), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี,
ประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2542 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) , มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย

2. ภาระงานสอน
2.1 ภาระงานสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับระดับปริญญาตรี
CVE 131 กลศาสตร์วิศวกรรม 1 3 หน่วยกิต
(Engineering Mechanics I)
CVE 232 กลศาสตร์วิศวกรรม 2 3 หน่วยกิต
(Engineering Mechanics II)
CVE 240 คณิตศาสตร์ประยุกต์สาหรับวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Applied Mathematics for Civil Engineers)
CVE 448 วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์เบื้องต้น 3 หน่วยกิต
(Fundamental of Finite Element Method)
CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Project Proposal)
CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Project)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 635 ทฤษฎีของโครงสร้างขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Theory of Structures)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


185

(Thesis)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


186

CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต


(Special Research Study)
CET 604 สัมมนาทางเทคโนโลยีวิศวกรรมโยธา 1 หน่วยกิต
(Civil Engineering Technology Seminar)
CET 647 พลศาสตร์ของโครงสร้าง 3 หน่วยกิต
(Dynamics of Structures)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 635 ทฤษฎีของโครงสร้างขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Theory of Structures)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Thesis)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้เป็นอาจารย์ผู้รบั ผิดชอบหลักสูตร และ/หรืออาจารย์ประจาหลักสูตรนี้


3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาสัมพันธ์กับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Klaycham, K., Nguantud, P., Athisakul, C. and Chucheepsakul, S. (2020) : “ Free vibration
analysis of large sag catenary with application to catenary jumper”, Ocean Systems
Engineering-AN International Journal, Vol. 10, Issue 1, pp. 67-86.
2. Klaycham, K., Athisakul, C. and Chucheepsakul, S. (2020) : “ Nonlinear Response of Marine
Riser with Large Displacement Excited by Top-End Vessel Motion using Penalty Method”,
International Journal of Structural Stability and Dynamics, Vol. 20, Issue 4, 2050052. ( ISI-
IF2019-2.015, Q2).
3. Phanyasahachart, T. , Athisakul, C. and Chucheepsakul, S. (2018): “ Natural frequencies of a
very large- sag extensible cable” , Journal of Engineering Mechanics, Vol. 144, No. 2,
pp. 334-349.
4. Phanyasahachart, T. , Athisakul, C. and Chucheepsakul, S. ,(2017): “ Analysis of Large- Sag
Extensible Catenary with Free Horizontal Sliding at One End by Variational Approach” ,

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


187

International Journal of Structural Stability and Dynamics, Vol. 17, No. 7, pp.1750070-1 –
1750070-17.
5. Klaycham, K., Athisakul, C. and Chucheepsakul, S. (2017): “Nonlinear Vibration of Marine Riser
with Large Displacement”, Journal of Marine Science and Technology, Vol. 22, No. 2,
pp. 361-375.

ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ
1. Yosamornsoontorn, A., Athisakul, C., Chucheepsakul, S., and Klaycham, K., (2019): “Free
Vibration of Hang-off Riser”, KMUTT Research and Development, Vol. 42, pp. 69-93.
2. Chaiyasarn, K., Pleansamai, K, and Athisakul, C., (2018): “The Planar Extraction in Image-Based
3D Point Cloud Photogrammetry for As-Built Building Information Modelling”, Thammasat
Engineering Journal, Vol. 4, No.2, pp. 96-103.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Mahasuwanchai, P., Wonganan, N., Athisakul, C., Tangchirapat, W., Sahamitmongkol, R. and
Leelataviwat, S. (2020): “Engineering properties of ancient masonry materials in Thailand and
substitution materials for historical structures preservation” , Proceeding of International
Conference on Sustainable Energy and Green Technology 2019, Bangkok, Thailand,
December 11-14, 2019, IPO Conf. Series: Earth and Environmental Science 463,
doi:10.1088/1755-1315/463/1/012077.
2. Sairuamyat, P., Mahasuwanchai, P., Athisakul, C., Leelataviwat, S. and Chucheepsakul, S.
(2020): “Application of 3D laser scanning technology for preservation and monitoring of Thai
pagoda: A case study of Wat Krachee Ayutthaya” , Proceeding of International Conference
on Sustainable Energy and Green Technology 2019 (SEGT 2019), Bangkok, Thailand,
December 11-14, 2019, IPO Conf. Series: Earth and Environmental Science 463,
doi:10.1088/1755-1315/463/1/012082.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. นัย โตศิริมงคล, พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย , วีรชาติ ตั้งจิรภัทร, สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ และ ชัยณรงค์ อธิสกุล
(2563) “สมบั ติ ท างกลของอิ ฐ ทดแทนเพื่ อ การอนุ รั ก ษ์ โ บราณสถานของไทย”, การประชุ ม วิ ช าการ
วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่ 15-17 กรกฎาคม 2563, การประชุมแบบออนไลน์

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


188

2. ธนิยพรรธน์ ศรีมนตริภักดี, การันต์ คล้ายฉ่า, ชัยณรงค์ อธิสกุล, สมชาย ชูชีพสกุล และ ชัยยุทธ ชินณะราศรี
(2563) “ผลตอบสนองทางพลศาสตร์สาหรับเคเบิ้ลยึดโยงแผงโซล่าเซลล์ลอยน้าเมื่อรับการกระตุ้นที่ปลาย
ด้านบน”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่ 15-17 กรกฎาคม 2563, การ
ประชุมแบบออนไลน์
3. กัณตภณ จินทราคา, พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย, ก้องภพ วัชรเสวี, ชัยณรงค์ อธิสกุล, พรเกษม จงประดิษฐ์ และ
สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ (2563) “สมบัติทางกลของอิฐโบราณและอิฐทดแทนเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถานของ
ไทย”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่ 15-17 กรกฎาคม 2563, การประชุม
แบบออนไลน์
4. สุนัย โตศิริมงคล, พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย, วีรชาติ ตั้งจิรภัทร, สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ และ ชัยณรงค์ อธิสกุล
(2563) “สมบัติทางกลของอิฐโบราณและอิฐทดแทนเพื่อการอนุรักษ์โบราณสถานของไทย”, การประชุม
วิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่ 15-17 กรกฎาคม 2563, การประชุมแบบออนไลน์
5. ศิวนนท์ ต้นเกตุ พีรสิทธิ์ มหาสุวรรณชัย ชนาธิป บินซาอิส สุรพัศ นิธิปฏิคม สุวัจน์ชัย แก้วมาคูณ ชัยณรงค์
อธิสกุล และ สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์ (2563) “ข้อมูลการสแกนวัตถุ 3 มิติ และสมบัติวัสดุก่อของวัดราชบพิธ
สถิตมหาสีมารามราชวรวิหาร”, การประชุมวิ ชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 25, วันที่ 15-17
กรกฎาคม 2563, การประชุมแบบออนไลน์

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


189

ผศ. ดร.ชัยวัฒน์ เอกวัฒน์พานิชย์


Asst. Prof. Dr. Chaiwat Ekkawatpanit
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2007 Ph.D. (Civil and Environmental Engineering), Tohoku University, Japan
ปี พ.ศ. 2544 วศ.ม .(วิศวกรรมทรัพยากรน้า), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2539 วศ.บ.(วิศวกรรมทรัพยากรน้า), มหาวิทยาลัยเกษตรศาสตร์, ประเทศไทย

2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 101 อาณาจักรวิศวกรรมโยธา 2 หน่วยกิต
(World of Civil Engineering)
CVE 394 การทดลองชลศาสตร์ 1 หน่วยกิต
(Hydraulics Laboratory)
CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา 1 หน่วยกิต
(Civil Engineering Capstone Project Proposal)
CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Capstone Project)
CVE 403 หัวข้อพิเศษ 1 3 หน่วยกิต
(Special Topic I)
CVE 490 อุทกวิทยาประยุกต์ 3 หน่วยกิต
(Applied Hydrology)

รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 681 ชลศาสตร์ทางน้าเปิดขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Open Channel Hydraulics)
CVE 685 การวิเคราะห์ระบบแหล่งน้า 3 หน่วยกิต
(Water Resources System Analysis)
CVE 693 อุทกวิทยาขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Hydrology)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


190

(Research Methodology)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 681 ชลศาสตร์ทางน้าเปิดขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Open Channel Hydraulics)
CVE 685 การวิเคราะห์ระบบแหล่งน้า 3 หน่วยกิต
(Water Resources System Analysis)
CVE 693 อุทกวิทยาขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Hydrology)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Thesis)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Ekkawatpanit, C., Protoomchai, W., Khemngoen, C. and Srivihok, S. (2020): “Climate change
impact on water resources in Klong Yai River Basin, Thailand” , Proceedings of the
International Association of Hydrological Sciences, Vol. 383, pp. 355-365.
2. Kuljitjuawong, T., Kositgittiwong, D., Ekkawatpanit, C. and Sukjan, R. (2020): “ Comparison of
the flow behaviours of physical and numerical models on a stepped spillway” , Applied
Science and Engineering Progress, DOI: 10.14416/j.asep,2020.05.004.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


191

3. Visessri, S. and Ekkawatpanit, C. (2020): “ Flood management in the context of climate and
land-use changes and adaptation within the Chao Phraya River Basin” , Journal of Disaster
Research, Vol. 15, Issue 5, pp. 579-587. (ESCI)
4. Foyhirun, C., Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit, C. (2020): “ Wave Energy Potential and
Simulation on the Andaman Sea Coast of Thailand” , Sustainability, Vol. 12, Issue 9, 3657.
(ISI-IF2019-2.576, Q2)
5. Pratoomchai, W., Tantanee, S. and Ekkawatpanit, C. (2020): “A comprehensive grid-based
rainfall characteristics in the central plain river basin of Thailand”, Geographia Technica, Vol.
15, Issue 2, pp. 47-56. (ESCI)
6. Kanjanakaroon, P., Ekkawatpanit, C., Wongsa, S., Isarangkura, U. and Kositgittiwong, D. (2020):
“ A comparative study of embankment breach parameters in different breach locations” ,
Journal of Hydro-environment Research, Vol. 29, pp. 59–69. (ISI-IF2019-2.099, Q2)
7. Hiraga, Y., Kazama, S., Ekkawatpanit, C. and Yamada, K. (2020): “ Evaluation of the impact of
landfill on floodplain water quality in a tropical monsoon region” , Hydrological Research
Letters, Vol. 14, Issue 1, pp. 48-55. (ISI-IF2019-1.24, Q2)
8. Petpongpan, C., Ekkawatpanit, C. and Kositgittiwong, D. (2020): “ Climate change impact on
surface water and groundwater recharge in Northern Thailand” , Water, Vol. 12, Issue 4,
103555. (ISI-IF2019-2.544, Q2)
9. Huang, G. , Xue, H. , Liu, H. , Ekkawatpanit, C. and Sukhapunnapha, T. (2019): “ Duality of
seasonal effect and river bend in relation to water quality in the Chao Phraya River”, WATER,
Vol. 11, Article Number 656, pp. 1-18. (ISI-Q2-IF2018-2.542)
10. Rangsiwanichpong, P., Kazama, S., Ekkawatpanit, C.and Gunawardhana, L. (2019): “Evaluation
of cost and benefit of sediment based on landslide and erosion models”, Catena, Vol. 173,
pp. 194-206. (ISI-Q1-IF2018-3.851)
11. Kompor, W. , Ekkawatpanit, C. and Kositgittiwong, D. (2018): “ Assessment of ocean wave
energy resource potential in Thailand” , Ocean and Coastal Management, Vol. 160, pp. 64-
74. (ISI-Q2-IF2018-2.595)
12. Hiraga, Y., Kazama, S., Ekkawatpanit, C. and Touge, Y. (2018): "Impact of reclamation on the
environment of the lower mekong river basin" , Journal of Hydrology: Regional Studies 18,
pp. 143-155. (ESCI)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


192

13. Ketsri, C. , Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit, C. (2018): " Submerged breakwaters design
development based on artificial oyster reef", Lowland Technology International, 20 (2), pp.
229-236. (Scopus)
14. Rangsiwanichpong, P. , Kazama, S. and Ekkawatpanit, C. (2017): “ Analysing the relationship
between ocean indices and rainfall in the Chao Phraya River Basin” , International Journal
of Climatology, 37, pp.230-238. (ISI-Q1-IF2018-3.601)

ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ
1. Kuljitjuawong, T., Kongkitkul, K.D., Ekkawatpanit, C. and Sukjan, R., (2562) “Physical modeling
of flow behavior on stepped spillway case study: Mae Suai Dam in Chiang Rai” Veridian E-
Journal, Science and Technology, Silpakorn University, Vol.6, No.1, January-February, 2019,
ISSN 2408 – 1248.
2. ดวงมณี ทองคา, ชัยวัฒน์ เอกวัฒน์พานิชย์ , กิตติรัตน์ รุ่งรัตนาอุบล ,ปัญญา วงศ์ต่าย ,เกรียงไกร ตรีฤทธิ
วิทยา ,พรพิมล ฉายแสง กฤติยาภรณ์ คุณสุข และ ไพลิน ทองสนิทกาญจน์, (2561) “การศึกษาการปรับตัว
ของประชาชนในจังหวัดจันทบุรีทั้งก่อนและหลังเกิดอุทกภัย ” วารสารวิจัยราไพพรรณี ปีที่ 12, ฉบับ
ที่ 2 พฤษภาคม–สิงหาคม 2561, หน้า 177-189.
3. Komkhum, N. , Kositgittiwong, D. , Ekkawatpanit, C. , “A Simulation Study of Detention Pond
for Flood Inundation Reduction in Lower Chao Phraya River Basin”, Journal of Science and
Technology, Ubon Ratchathani University, 21(1),37-45.
4. Kositgittiwong, D. , Ekkawatpanit, C. , Jaidee, T. and Lerdmongkolname, J. (2016): “Wave
Energy in Thailand: Policy and Appropriateness of Wave Power Generator”, SWU Engineering
Journal 11(2), 152-15.
5. Petchpongpan, C. , Ekkawatpanit, C. , Kositgittiwong, D. , Lee, K. T, “Performance Assessment
of the Hydrological Models KW-GIUH and BTOPMC for River Runoff Simulation in Upper Yom
River Basin”, UBU Engineering Journal 10(2), 74-84.
6. Petchpongpan, C. , Ekkawatpanit, C. , Kositgittiwong, D. , Lee, K. T. , “Application of KW- GIUH
Model for Flood Mitigation of Kaeng Sua Ten dam”, SWU Engineering Journal 12(1), 127-136.
7. Wititpan, S. , Ekkawatpanit, C. , Kositgittiwong, D. , Srikasit, Sasananan, S. , “Automatic
Calibration of Tank Model Using Microsoft Excel Solver”, SWU Engineering Journal 12( 2) ,
151-159.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


193

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Ekkawatpanit, C., Pratoomchai, W. and Kositgittiwong, D. (2020): "Climate change impacts on
water resources in the upper Chaophaya River Basin" , The 2nd International Academic
Conference “ Roles of the university as the driver for changes and Innovation- based
society”, February 13-14, 2020, Rattanathepsatri Building, Thepsatri Rajabhat University, pp.
1-10.
2. Hongto,W, Wannawong, W. , Saetae, D. , Ekkawatpanit,C. , Sakornmaneerat, P. (2018):
“Alternative methods for offshore wind- wave resources and power assessments over the
Gulf of Thailand and Andaman Sea (528)”, AWTEC 2018, Taipei, Taiwan
3. Ketsiri, C. Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit, C. (2017): “ Submerged Breakwaters Design
Development based on Artificial Oyster Reef”, International Convention on Civil Engineering,
July 20-21, 2017 Nakornratchasima, Thailand.
4. Foyhirun, C., Kositkittiwong, D. and Ekkawatpanit, C. (2016): "The use of computational fluid
dynamics wave simulation in the coastal zone of Thailand" , The 3rd Asian Wave and Tidal
Energy Conference, Singapore, October 24-28, 2016, pp. 695-701. (Best paper award)
5. Ekkawatpanit, C., Kositgittiwong, D., Kompor, W. and Foyhirun, C. (2016): “The possibility of
promoting wave energy in the coastal zone of Thailand”, SEE 2016 in conjunction with ICGSI
2016 and CTI 2016, 28-30 November 2016, Bangkok,
6. Rangsiwanichpong, P. , Ekkawatpanit, C. , Komori, D. and Kazama, S. ( 2016) : " Assessment
landslides hazard map in Thailand using extreme daily rainfall" Proceedings of the Annual
Session of the Japanese Society of Civil EngineersTohoku Branch, Miyagi, Japan, March 14-
15, 2016.
7. Kompor, W. , Tanaka, H. , Ekkawatpanit, C. and Kositkittiwong, D. ( 2016) : " Application of
simulating WAves nearshore ( SWAN) model for wave simulation in Andaman sea 2014"
Proceedings of the Annual Session of the Japanese Society of Civil Engineers Tohoku Branch,
Miyagi, Japan, March 14-15, 2016.
8. Rangsiwanichpong, P., Kazama, S. and Ekkawatpanit, C. (2016): “Assessment of flood and
drought using ocean indices in the Chao Phraya river Basin, Thailand”, 7th ICWRER, June 5-9,
2016, Kyoto, Japan, pp. g14-04-1-g14-04-6.
9. Aimmanee, S. , Ekkawatpanit, C. and Asanuma, H. ( 2016) : “ Smart disaster mitigation in
Thailand”, Proceedings of SPIE vol. 9803, pp. 98030w-1-7

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


194

10. Kompor, W., Ekkawatpanit, C. and Kositkittiwong, D. (2016): "Evaluation of wave energy using
numerical model in gulf of Thailand and Andaman Sea" , The 3rd Asian Wave and Tidal
Energy Conference, Singapore, October 24-28, 2016.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. Suwannarat, W., Kositgittiwong, D., Ekkawatpanit, C. and Sukjan, R. ( 2020): “A study of the
energy reduction of flow through concrete and natural rubber tetrapods”, The 25th National
Convention on Civil Engineering, July 15-17, 2020, Online Conference.
2. Thunyaphun, T., Kositgittiwong, D., Ekkawatpanit, C. and Sukjan, R. (2020): “Scour protection
around bridge pier using based ram ”, The 25th National Convention on Civil Engineering,
July 15-17, 2020, Online Conference.
3. ภมรวรรณ พุทธา, ชัยวัฒน์ เอกวัฒน์พานิชย์ และ ดวงฤดี โฆษิตกิตติวงศ์ ก้องกิจกุล (2562) “การประเมิน
น้ าท่ า ในลุ่ ม น้ ายมตอนบนโดยใช้ ข้ อ มู ล European Centre for Medium-Range Weather Forecasts
(ECMWF)”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 24, 10-12 กรกฎาคม 2562, โรงแรมเซ็น
ทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อ.เมือง จ.อุดรธานี.
4. กิตติยา วงศ์ใหญ่, ดวงฤดี โฆษิตกิตติวงศ์ ก้องกิจกุล, ชัยวัฒน์ เอกวัฒน์พานิชย์ และ รัชพล สุขจันทร์ (2562)
“การศึกษาความสามารถและตาแหน่งที่เหมาะสมในการติดตั้งใบพัดผลักดันน้าเพื่อบรรเทาปัญหาการเกิด
อุทกภัย”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 24, 10-12 กรกฎาคม 2562, โรงแรมเซ็นทา
ราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อ.เมือง จ.อุดรธานี.
5. รชตะ สารีศรี, ดวงฤดี โฆษิตกิตติวงศ์ ก้องกิจกุล, และ ชัยวัฒน์ เอกวัฒน์พานิชย์ (2562) “ประเมินการใช้น้า
ของมันสาปะหลังและอ้อย ในพื้นที่อาเภอจอมบึง จังหวัดราชบุรี ”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธา
แห่งชาติ ครั้งที่ 24, 10-12 กรกฎาคม 2562, โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวนชันเซ็นเตอร์ อ.เมือง จ.อุดรธานี.
6. สุทธิดา อ่าแจ้ง, ชัยวัฒน์ เอกวัฒน์พานิชย์, และ ดวงฤดี โฆษิตกิตติวงศ์ ก้องกิจกุล (2562) “การปรับปรุง
แบบจาลองอุทกวิทยา H08 โดยใช้พารามิเตอร์ของดินและการใช้ที่ดินในลุ่มน้าเจ้าพระยาตอนบน”, การ
ประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 24, 10-12 กรกฎาคม 2562, โรงแรมเซ็นทาราและคอนเวน
ชันเซ็นเตอร์ อ.เมือง จ.อุดรธานี.
7. ไตรรัตน์ ใจดี , ดวงฤดี โฆษิตกิตติวงศ์ และ ชัยวัฒน์ เอกวัฒน์พานิชย์ (2561) “การศึกษาเครื่องกาเนิด
พลังงานไฟฟ้าจากคลื่นในบริเวณชายฝั่งของประเทศไทยโดยใช้ทฤษฎีพลศาสตร์ของไหลเชิงคานวณ”,
การประชุมวิชาการระดับชาติ “มศว วิจัย” ครั้งที่ 11, 29-30 มีนาคม 2561, มหาวิทยาลัยศรีนครินทร
วิโรฒ.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


195

ผศ. ดร.บุญมี ชินนาบุญ


Asst. Prof. Dr.Boonme Chinnaboon
1. ประวัติการศึกษา
ปี พ.ศ. 2551 ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2544 วศ.ม. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2541 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย

2. ภาระงานสอน
2.1 ภาระงานสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 235 วัสดุในงานวิศวกรรมโยธาและคอนกรีตเทคโนโลยี 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Materials and Concrete Technology)
CVE 236 วัสดุในงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Materials)
CVE 237 การวิเคราะห์โครงสร้าง 1 3 หน่วยกิต
(Structural Analysis I)
CVE 335 วัสดุซีเมนต์และคอนกรีต 3 หน่วยกิต
(Cement and Concrete Materials Laboratory)
CVE 336 วัสดุซีเมนต์และคอนกรีต 3 หน่วยกิต
(Materials Testing Laboratory)
CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Project Proposal)
CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Project)
CVE 448 วิธีการไฟไนต์เอลิเมนต์เบื้องต้น 3 หน่วยกิต
(Fundamental of Finite Element Method)
CVE 403 หัวข้อศึกษาพิเศษ 1 3 หน่วยกิต
(Special Study I)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 640 กลศาสตร์วัสดุและโครงสร้างขัน้ สูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Mechanics of Materials and Structures)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


196

CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต


(Dissertation)
CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)
CET 625 การวิเคราะห์โครงสร้างและระเบียบวิธีเชิงตัวเลข 3 หน่วยกิต
(Structural Analysis and Numerical Methods)
CET 646 การวิเคราะห์โครงสร้างนอกฝั่ง 3 หน่วยกิต
(Analysis of Offshore Structures)
CET 648 การออกแบบโครงสร้างนอกฝั่งแบบลอยและแบบยึดแน่น 3 หน่วยกิต
(Design of Fixed and Floating Offshore)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 640 กลศาสตร์วัสดุและโครงสร้างขัน้ สูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Mechanics of Materials and Structures)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Thesis)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
วารสารระดับนานาชาติ/ภูมิภาค
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Panyatong, M., Chinnaboon, B. and Chucheepsakul, S. (2020): “Influences of surface effects
on large deflections of nanomembranes with arbitrary shapes by the coupled BE-RBFs
method”, Archive of Applied Mechanics, Vol. 90, Issue 5, pp. 1157-1177. (ISI-IF2019=1.374, Q3)
2. Panyatong, M. , Chinnaboon, B. and Chucheepsakul S. ( 2019) : “ Bending analysis of
functionally graded plates with arbitrary shapes and boundary conditions” , Structural
Engineering and Mechanics, An International Journal, Vol. 71, No. 6, pp.627-641.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


197

3. Panyatong, M., Chinnaboon, B. and Chucheepsakul S. (2018): “Nonlinear bending analysis of


nonlocal nanoplates with general shapes and boundary conditions by the boundary- only
method”, Engineering Analysis with Boundary Elements, Vol. 87, pp. 90-110.

ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ
1. Poljeck, P. , Chinnaboon, B. and Chucheepsakul, S. ( 2020) : “ A Comparison of maximum
responses of I- girder bridges by static and dynamic analysis due to AASHTO LRFD
specifications and Thai truck loading”, วิ ศ วกรรมสาร ฉบั บ วิ จั ย และพั ฒ นา ปี ที่ 31 ฉบั บ ที่ 3,
Research and Development Journal, Vol. 31, No. 3.
2. Dema, Z., Chinnaboon, B. and Chucheepsakul, S., (2019): “Analysis of Influence Surfaces of
Thin Plates by Boundary Element Method”, วิศวกรรมสาร ฉบับวิจัยและพัฒนา ปีที่ 30 ฉบับที่
2, Research and Development Journal, Vol. 30, No. 2, pp. 7-23.
3. ภูมิภิญญ์ พลเจียก, บุญมี ชินนาบุญ และ สมชาย ชูชีพสกุล (2563) "การเปรียบเทียบผลตอบสนองสูงสุด
ของสะพาน ชนิด I-GIRDER โดยการวิเคราะห์โครงสร้างแบบสถิตและพลวัต เนื่องจากน้าหนักบรรทุกตาม
มาตรฐาน AASHTO LRFD และรถบรรทุกไทย", วิศวกรรมสารฉบับวิจัยและพัฒนา วสท., ปีที่ 31 (3),
กรกฎาคม-กันยายน 2563, หน้า 99.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


198

ผศ. ดร.วศิน เกียรติโกมล


Asst. Prof. Dr. Vasin Kiattikomol
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2005 Ph.D. (Transportation Engineering), University of Tennessee at Knoxville, U.S.A.
ปี ค.ศ. 2003 M.Eng. (Transportation Engineering), University of Tennessee at Knoxville, U.S.A.
ปี พ.ศ. 2542 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินทร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์, ประเทศไทย

2. ภาระงานสอน
2.1 ภาระงานสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 101 อาณาจักรวิศวกรรมโยธา 2 หน่วยกิต
(World of Civil Engineering)
CVE 371 วิศวกรรมการทาง 3 หน่วยกิต
(Highway Engineering)
CVE 473 วิศวกรรมจราจร 3 หน่วยกิต
(Traffic Engineering)
CVE 401 โครงร่างงานวิศวกรรมโยธา 1 หน่วยกิต
(Civil Engineering Project Proposal)
CVE 402 โครงงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Project)
CVE 405 หัวข้อพิเศษ 3 3 หน่วยกิต
(Special Topic III)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 672 การดาเนินงานการจราจร 3 หน่วยกิต
(Traffic Operations)
CVE 677 การวางแผนการขนส่ง 3 หน่วยกิต
(Transportation Planning)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 705 หัวข้อพิเศษ 2 3 หน่วยกิต
(Special Topic II)
CVE 773 วิศวกรรมและการวางแผนความปลอดภัยทางถนน 3 หน่วยกิต
(Road Safety Engineering)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


199

CET 601 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต


(Thesis)
CET 602 การศึกษาโครงการวิจัยเฉพาะเรื่อง 6 หน่วยกิต
(Special Research Study)
CET 664 ระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์สาหรับการขนส่ง 3 หน่วยกิต
(GIS for Transportation)
CET 670 การจาลองและการปฏิบัติการจราจร 3 หน่วยกิต
(Traffic Operations and Simulation)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 672 การดาเนินงานการจราจร 3 หน่วยกิต
(Traffic Operations)
CVE 677 การวางแผนการขนส่ง 3 หน่วยกิต
(Transportation Planning)
CVE 773 วิศวกรรมและการวางแผนความปลอดภัยทางถนน 3 หน่วยกิต
(Road Safety Engineering)
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Thesis)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ
1. Yamoung, C. and Kiattikomol, V. (2017): “A Reversible Lane System Improvement of
Phetchaburi Road”, Ladkrabang Engineering Journal, Volume 34, Number 3, September,
Page 58-64.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Ruangjirakit, K., Laoonual, Y., Kiattikomol, V., Charadsuksawat, A., Sridan, S., and
Loahalertdecha, D. (2018): “A Study of Grid to Wheel Energy Consumption of Electric Vehicle
on Real Road Tests in Bangkok”, International Electric Vehicle Technology Conference and

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


200

Exhibition and 2018 IEEE Transportation Electrification Conference and Expo Asia-Pacific,
Bangkok, Thailand, pp. 1-5.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. Homkanjan, S. and Kiattikomol, V. (2019): “An Evaluation of Readiness of Bangkok Road
Network for Autonomous Vehicles”, Proc. of the 24th National Convention on Civil
Engineering, Udonthani, Thailand, pp. 1923-1927.
2. Homhuan, T. and Kiattikomol, V. (2019): “A Study for Long-Term Performance of Radar
Speed Signs”, Proc. of the 24th National Convention on Civil Engineering, Udonthani,
Thailand, pp. 1831-1837.
3. Rodkham, N., Sripongngam, N., Luechai, S., and Kiattikomol, V. (2019): “A Study for Start-Up
Lost Time and Saturation Flow Rate at Intersections in Bangkok”, Proc. of the 24th National
Convention on Civil Engineering, Udonthani, Thailand, pp. 1876-1881.
4. Krittavetin, Y. and Kiattikomol, V. (2018): “The Development of Intra Transit System within
the University that Links to Mass Transit System”, Proc. of the 23rd National Convention on
Civil Engineering, Nakhon Nayok, Thailand, pp. 1-9 (TR225).
5. Younglung, A. and Kiattikomol, V. (2018): “A Study of Radar Speed Sign Operations on
National Highways”, Proc. of the 23rd National Convention on Civil Engineering, Nakhon
Nayok, Thailand.
6. Homhuan, T., Rattanachavee, N., Homkeanchan, S., and Kiattikomol, V. (2018): “A Study for
Appropriate Time Periods for Curbside Parking: A Case Study for Pracha Uthit Road”, Proc.
of the 23rd National Convention on Civil Engineering, Nakhon Nayok, Thailand, pp. 1-8
(TR141).
7. Sridan, S. and Kiattikomol, V. (2018): “Electric Vehicles Readiness Situation in Bangkok”,
Proc. of the 23rd National Convention on Civil Engineering, Nakhon Nayok, Thailand, pp. 1-
7 (TR386).

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


201

ผศ. ดร.ดวงฤดี โฆษิตกิตติวงศ์ ก้องกิจกุล


Asst. Prof. Dr. Duangrudee Kositgittiwong Kongkitkul
1. ประวัติการศึกษา
ปี พ.ศ. 2555 ปร.ด. (วิศวกรรมโยธา) , มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
ปี พ.ศ. 2548 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย
2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 101 อาณาจักรวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(World of Civil Engineering)
CVE 281 กลศาสตร์ของไหล 3 หน่วยกิต
(Fluid Mechanics)
CVE 382 วิศวกรรมชลศาสตร์ 3 หน่วยกิต
(Hydraulic Engineering)
CVE 385 อุทกวิทยา 3 หน่วยกิต
(Hydrology)
CVE 394 การทดลองชลศาสตร์ 1 หน่วยกิต
(Hydraulics Laboratory)
CVE 490 อุทกวิทยาประยุกต์ 3 หน่วยกิต
(Applied Hydrology)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 701 ระเบียบวิธวี ิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 680 กลศาสตร์ของไหลขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Fluid Mechanics)
CVE 690 การกัดเซาะและตะกอน 3 หน่วยกิต
(Erosion and Sediment)
CVE 692 การป้องกันน้าท่วมและการระบายน้า 3 หน่วยกิต
(Flood Protection and Drainage)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


202

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 701 ระเบียบวิธีวิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Thesis)
CVE 680 กลศาสตร์ของไหลขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Fluid Mechanics)
CVE 690 การกัดเซาะและตะกอน 3 หน่วยกิต
(Erosion and Sediment)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Kuljitjuawong, T., Kositgittiwong, D., Ekkawatpanit, C. and Sukjan, R. (2020): “ Comparison of
the flow behaviours of physical and numerical models on a stepped spillway” , Applied
Science and Engineering Progress, DOI: 10.14416/j.asep,2020.05.004.
2. Foyhirun, C., Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit, C. (2020): “ Wave Energy Potential and
Simulation on the Andaman Sea Coast of Thailand” , Sustainability, Vol. 12, Issue 9, 3657.
(ISI-IF2019-2.576, Q2)
3. Kanjanakaroon, P., Ekkawatpanit, C., Wongsa, S., Isarangkura, U. and Kositgittiwong, D. (2020):
“ A comparative study of embankment breach parameters in different breach locations” ,
Journal of Hydro-environment Research, Vol. 29, pp. 59–69. (ISI-IF2019-2.099, Q2)
4. Petpongpan, C., Ekkawatpanit, C. and Kositgittiwong, D. (2020): “Climate change impact on surface
water and groundwater recharge in Northern Thailand”, Water, Vol. 12, Issue 4, 103555. (ISI-IF2019-
2.544, Q2)
5. Ketsiri, C. Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit, C. ( 2018): “Submerged Breakwaters Design
Development based on Artificial Oyster Reef”, Lowland Technology International journal,
Vol. 20, No. 2, pp. 229-236.
6. Kompor W. , Ekkawatpanit, C. and Kositgittiwong, D. ( 2018) : “Assessment of Ocean Wave
Energy Resource Potential in Thailand”, Ocean and Coastal Management. Vol. 160, pp. 64-
74.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


203

7. Ekkawatpanit, C., Kositgittiwong, D., Kompor W. and Foyhirun, C. (2017): “Investigation on the
possibility of wave energy into electricity in the coast of Thailand”, Journal of Sustainable
Energy and Environment, Vol. 8, pp. 43-45.
8. Kositgittiwong D. , Ekkawatpanit C. , Chiawyonsin, S. , Petpongpan, C. and Ekphisutsuntorn. ,
P. ( 2017) : “Development of Wetland Water Management in Bueng Takreng, Thailand”,
Wetland Research, Vol. 7, No. 1, pp. 25-31.
9. Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit, C. ( 2016): “A Study on Integrated Water Resources
Management and King Bhumibol's New Theory on Land and Water Management
in Wattananakorn area, Sa Kaeo Province, Thailand”, Global Journal of Engineering and
Technology Review, Vol. 1, No. 1, pp. 69 – 77.
10. Kompor W. , Tanaka H, Ekkawatpanit, C. and Kositgittiwong, D. ( 2016) : “Application of
Simulating WAves Nearshore (SWAN) model for wave simulation in Gulf of Thailand”, Tohoku
Journal Natural Disaster Science, Vol.52, pp.139-144.

ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ
1. Kuljitjuawong, T., Kongkitkul, D.K., Ekkawatpanit, C. and Sukjan, R. (2019): “Physical Modeling
of Flow Behavior on Stepped Spillway Case Study: Mae Suai Dam in Chiang Rai”, Veridian E-
Journal Science and Technology Silpakorn University, Vol. 6, No. 1, pp. 89-104.
2. Komkhum, N. , Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit, C. ( 2019) : “A Simulation Study of
Detention Pond for Flood Inundation Reduction in Lower Chao Phraya River Basin”, UBU
Engineering Journal, Vol. 21, No. 1, pp. 37-49.
3. Wititpan, S. , Ekkawatpanit, C. , Kositgittiwong, D. and Sasananan, S. ( 2017) : “Automatic
Calibration of Tank Model Using Microsoft Excel Solver”, Srinakharinwirot Engineering
Journal, Vol. 12, No. 2, pp. 1-9.
4. Petpongpan, C. , Ekkawatpanit C. , Kositgittiwong, D. and Lee, K. T. ( 2017) : “Performance
Assessment of the Hydrological Models KW- GIUH and BTOPMC for River Runoff Simulation
in Upper Yom River Basin”, UBU Engineering Journal, Vol. 10, No. 2, pp. 74-84.
5. Petpongpan, C., Ekkawatpanit C., Kositgittiwong, D. and Lee, K.T. (2017): “Application of KW-
GIUH Model for Flood Mitigation of Kaeng Sua Ten dam”, Srinakharinwirot Engineering
Journal, Vol. 12, No. 1, pp. 127-136.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


204

6. Kositgittiwong D., Ekkawatpanit C., Jaidee, T. and Lertmongkolnam, J. (2016): “Wave Energy
in Thailand: Policy and appropriateness of Wave Power Generator”, Srinakharinwirot
Engineering Journal, Vol. 11, No. 2, pp. 152-159.
7. Kositgittiwong D. ( 2016) : “Evaluation of the Risk of Bridge Failure from Flood Event in
Thailand”, KMUTT Research and Development Journal, Vol. 39, No. 2, pp. 191-205.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Ekkawatpanit, C., Pratoomchai, W. and Kositgittiwong, D. (2020): "Climate change impacts on
water resources in the upper Chaophaya River Basin" , The 2nd International Academic
Conference “ Roles of the university as the driver for changes and Innovation- based
society” , February 13- 14, 2020, Rattanathepsatri Building, Thepsatri Rajabhat University,
pp. 1-10.
2. Durin, B. , Težak, D. , Kositgittiwong, D. , Kranjčić, N. and Soldo, B. ( 2019) : “Preventing the
adverse impact of floods by combined use of the Monkey cheek concept and renewable
energy”, International Scientific Internet Conference of Young Scientists and Professionals,
20 December.
3. Foyhirun, C. , Kongkitkul, D. K. , Ekkawatpanit, C. ( 2019) : “Performance of Global Climate
Models (GCMs) for Wind Data Analysis”, 2019 International Conference on Water Resource
and Environmental Engineering (ICWREE2019), Singapore, 22-23 August.
4. Petpongpan, C. , Ekkawatpanit, C. , Kositgittiwong, D. , Hanasaki, N. , Champathong, A. ,
Saphaokham, S. , Sukkapan, T. , and Thongduang, J. ( 2019) : “The assessment of climate
change impact on extreme flood and drought in Yom and Nan River basin, Thailand”,
THA 2019 International Conference on Water Management and Climate Change towards
Asia's Water-Energy-Food Nexus and SDGs, Bangkok, Thailand, 23-25 January.
5. Ketsiri, C. Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit, C. , ( 2017) : “Submerged Breakwaters Design
Development based on Artificial Oyster Reef”, International Convention on Civil Engineering,
Nakornratchasima, Thailand, 20-21 July.
6. Ekkawatpanit, C. , Kositgittiwong, D. , Kompor W. and Foyhirun, C. ( 2016) : “The possibility
of promoting wave energy in the coastal zone of Thailand”, The 6th International
Conference on Sustainable Energy and Environment ( SEE 2016) , Bangkok, Thailand, 28- 30
November.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


205

7. Kompor W., Ekkawatpanit, C. and Kositgittiwong, D. (2016): “Evaluation of Wave Energy Using
Numerical Model in Gulf of Thailand and Andaman Sea”, The 3rd Asian Wave and Tidal
Energy Conference, Singapore, 24-28 October.
8. Foyhirun, C., Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit, C. (2016): “The use of computational fluid
dynamics wave simulation in the coastal zone of Thailand”, The 3rd Asian Wave and Tidal
Energy Conference, Singapore, 24-28 October, pp. 695-701.
9. Kompor, W. , Tanaka, H., Ekkawatpanit, C. and Kositgittiwong D. ( 2016) : “Application of
Simulating WAves Nearshore ( SWAN) model for wave simulation in Andaman Sea 2014”,
Proceedings of the Annual Session of the Japanese Society of Civil Engineers - Tohoku
Branch, Miyagi, Japan, 14-15 March.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. Suwannarat, W. , Kositgittiwong, D. , Ekkawatpanit, C. and Sukjan, R. ( 2020) : “A study of the
energy reduction of flow through concrete and natural rubber tetrapods”, The 25th National
Convention on Civil Engineering, Thailand, 15-17 July.
2. Thunyaphun, T., Kositgittiwong, D., Ekkawatpanit, C. and Sukjan, R. (2020): “Scour Protection
Around Bridge Pier Using Based Ramp”, The 25th National Convention on Civil Engineering,
Thailand, 15-17 July.
3. Umjaeng, S., Ekkawatpanit, C. and Kongkitkul, D.K. (2019): “The improvement of Hydrological
model H08 using soil and land use parameters in Upper Chao Phraya River Basin”, The 24th
National Convention on Civil Engineering, Udonthani, Thailand, 10-12 July.
4. Putta, P., Ekkawatpanit, C. and Kongkitkul, D.K. (2019): “Runoff Estimation in the Upper Yom
River Basin Using European Centre for Medium- Range Weather Forecasts ( ECMWF) data”,
The 24th National Convention on Civil Engineering, Udonthani, Thailand, 10-12 July.
5. Wongyai, K., Kongkitkul, D.K., Ekkawatpanit, C. and Sukjan, R. (2019): “Study of ability of flow
thruster turbine for flood relief”, The 24th National Convention on Civil Engineering,
Udonthani, Thailand, 10-12 July.
6. Foyhirun, C. , Kongkitkul, D. K. , Ekkawatpanit, C. ( 2019) : “Review of GCM Modeling and
Downscaling for a Study of the Impact of Climate Change on Coastal Area”, The 24th National
Convention on Civil Engineering, Udonthani, Thailand, 10-12 July.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


206

7. Sareesri, R. , Kongkitkul, D. K. and Ekkawatpanit, C. ( 2019) : “The water consumptive use


assessment for cassava and sugarcane in Chombueng districrt, Ratchaburi province”,
The 24th National Convention on Civil Engineering, Udonthani, Thailand, 10-12 July.
8. Chiawyonsin, S., Ekkawatpanit, C. and Kongkitkul, D.K. (2019): “Climate Change Impacts on
Rainfall and Runoff in Ping and Wang River Basins”, Proceeding of 12th Rajamangala
University of Technology Tawan-ok Research Conference, Chonburi, Thailand, 24-26 June.
9. Jaidee, T. , Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit, C. ( 2018) : “The Study of Wave Energy
Converter in the Coastal Zone of Thailand by Using Computational Fluid Dynamics”,
The 11th Srinakharinwirot University Research Conference, Bangkok, Thailand, 29-30 March.
10. Krasao, N., Ekkawatpanit, C. and Kositgittiwong, D. (2017): “A Comparison of NAM and IFAS
Models to Evaluate Runoff in Upper Nan River Basin”, The 22nd National Convention on Civil
Engineering, Nakornratchasima, Thailand, 18-20 July.
11. Ruangpan, L., Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit C. (2016): “Polder system assessment and
water level analysis by SOBEK”, The 21st National Convention on Civil Engineering, Songkhla,
Thailand, 28-30 June, pp. 2176-2183.
12. Phawandee, A., Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit C. (2016): “Analysis of Water System in
Sireasa Polder, Danube Delta, Romania”, The 21st National Convention on Civil Engineering,
Songkhla, Thailand, 28-30 June, pp. 2169-2175.
13. Wantanagun, C. , Naowaphol, N. , Sintusamran, S. , Kositgittiwong, D. and Ekkawatpanit C.
(2016): “Simulation of Inundation Area of Pho Thong District, Ang Thong Province”, The 21st
National Convention on Civil Engineering, Songkhla, Thailand, 28-30 June, pp. 2

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


207

Asst. Prof. Dr. Goran Arangjelovski

1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2001 Ph.D. (Geotechnical Engineering), University of Tokyo, Japan
ปี ค.ศ. 1998 M.Sc. (Earthquake Engineering), University “Ss. Cyril and Methodius”, Republic
of Macedonia
ปี ค.ศ. 1993 B.Eng. (Structural Engineering), University “Ss. Cyril and Methodius”, Republic
of Macedonia
2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 111 เขียนแบบวิศวกรรม 3 หน่วยกิต
(Engineering Drawing)
CVE 261 วิทยาศาสตร์โลก 2 หน่วยกิต
(Earth Science)
CVE 363 ปฏิบัติการปฐพีกลศาสตร์ 1 หน่วยกิต
(Soil Mechanics Laboratory)
CVE 364 วิศวกรรมฐานราก 3 หน่วยกิต
(Foundation Engineering)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 654 เครื่องมือวัดในงานวิศวกรรมเทคนิคธรณี 3 หน่วยกิต
(Geotechnical Instrumentation)
CVE 661 กลศาสตร์ของดินขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Soil Mechanics)
CVE 664 พลศาสตร์ของดิน 3 หน่วยกิต
(Soil Dynamics)
CVE 701 ระเบียบวิธีวิจัย 1 หน่วยกิต
(Research Methodology)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


208

CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต


(Thesis)
3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Dararat S., Kongkitkul W., Arangjelovski G. and Ling, H.L. (2019): “Estimation of stress state-
dependent elastic modulus of pavement structure materials using one-dimensional loading
test”, Road Materials and Pavement Design, DOI: 10.1080/14680629.2019.1620119.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Jongpradist, P., Punya-in, Y., Tunsakul, J. and Arangjelovski, G. (2016): “Facture behaviour of
rock masses around high pressurized gas storage cavern” , International conference on
Geomechanics, Geo-energy and Geo-resources, pp. 86-91.
2. Thongraksa, A. , Jongpradist, P. , Tunsakul, J. , Sukkaruk, R and Arangjelovski, G. (2016):
“ Simulation of shear fracture in rock mass around high pressurized cavern by element free
galerkin method” , The 2016 World Congress on Advances in Civil, Environmental, and
Materials Resarch (ACEM16), ICC JEJU, Jeju island, South Korea, August 28-September 1.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. อาทิตย์ ฉายอรุณ, พรเกษม จงประดิษฐ์, ประทีป หลือประเสริฐ และ Goran Arangjelovski (2561) “อิทธิพลของ
วิธีการวิเคราะห์ต่อการประเมินผลกระทบของอาคารจากการขุดอุโมงค์เข้าใกล้โครงสร้าง”, การประชุมวิชาการ
วิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 23, 18-20 กรกฎาคม 2561, จ. นครนายก, หน้า GTE209-1-7.
2. พงศธร กระจ่ า งผล, วรั ช ก้ อ งกิ จ กุ ล และ Goran Arangjelovski, (2561) “ผลกระทบของแรงกระท า
ด้านข้างแบบวัฐจักรทึ่ควบคุมแอมพลิจูดด้วยระยะทางต่อพฤติกรรมของเสาเข็มเดี่ยวและเสาเข็มกลุ่มใน
แบบจ าลอง”, การประชุ ม วิ ช าการวิ ศ วกรรมโยธาแห่ ง ชาติ ครั้ ง ที่ 23, 18-20 กรกฎาคม 2561, จ.
นครนายก, GTE 44, ID 314.
3. ฉัฐวัฒน์ วรรธนกันย์, วรัช ก้องกิจกุล, Goran Arangjelovski และ จุฑา สุนิตย์สกุล (2560) “การประเมิน
ความเครียดในวัสดุชั้นทางถนนผิวทางแอสฟัสต์คอนกรีตโดยใช้พารามิเตอร์หลุมการแอ่นตัวสังเคราะห์จาก
การวิเคราะห์เชิงเส้น”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, 18-20 กรกฎาคม 2560,
โรงแรมเดอะกรีนเนอรี่ รีสอร์ท เขาใหญ่, นครราชสีมา, GTE 144, เล่ม 2, หน้า 269-277.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


209

ผศ. ดร.รักติพงษ์ สหมิตรมงคล


Asst. Prof. Dr. Raktipong Sahamitmongkol
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2005 Ph.D. (Civil Engineering), University of Tokyo, Japan
ปี ค.ศ. 2002 M.Eng. (Civil Engineering.), University of Tokyo, Japan
ปี พ.ศ. 2543 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา), สถาบันเทคโนโลยีนานาชาติสิรินทร มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์,
ประเทศไทย
2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 101 อาณาจักรวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(World of Civil Engineering)
CVE 235 วัสดุในงานวิศวกรรมโยธาและคอนกรีตเทคโนโลยี 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Materials and Concrete Technology)
CVE 236 วัสดุในงานวิศวกรรมโยธา 3 หน่วยกิต
(Civil Engineering Materials)
CVE 335 วัสดุซีเมนต์และคอนกรีต 3 หน่วยกิต
(Cement and Concrete Materials)
CVE 444 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง 3 หน่วยกิต
(Prestressed Concrete Design)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 702 วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต
(Thesis)
CET 629 การป้องกัน ซ่อมแซม และการดูแลรักษาอาคาร 3 หน่วยกิต
(Building Protection, Repair and Maintenance)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 633 การออกแบบคอนกรีตอัดแรงขั้นสูง 3 หน่วยกิต
(Advanced Design of Prestressed Concrete)
CVE 634 การออกแบบและใช้งานคอนกรีตพิเศษ 3 หน่วยกิต
(Design and Application of Special Concrete)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


210

CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต


(Thesis)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Wiwatrojanagul, P., Sahamitmongkol, R., and Tangtermsirikul, S., 2018, “A Method to Detect
Lap Splice in Reinforced Concrete using a Combination of Covermeter and GPR”,
Construction and Building Materials, Vol. 173, pp. 481-494
2. Wiwatrojanagul, P., Sahamitmongkol, R., Tangtermsirikul, S., and Khamsemanan, N., 2017, “A
New Method to Determine Locations of Rebars and Estimate Cover Thickness of RC Structure
using GPR Data”, Construction and Building Materials, Vol. 140, pp. 257-273

ผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับนานาชาติ
1. Leelataviwat, S., Posai, K., Sahamitmongkol, R. and Kietmetha, S., 2018, "Testing of a damaged
PT slab-column frame repaired using injection grouting and steel collar", Eleventh U.S.
National Conference on Earthquake Engineering, Integrating Science, Engineering & Policy,
June 25-29 2018, Los Angeles, California ,U.S.A.
2. S.Y., Mousavi Siamakani and Sahamitmongkol, R., 2018, “Effect of Adjacent Post-installed
Reinforcing Bars on Tensile Capacity of Post-installed Anchors in Concrete”, The Third
International Symposium on Concrete and Structures for Next Generation, September
7-8 2018, Department of Civil Engineering, Kasetsart University, Bangkok, Thailand, pp. 120-
124.
3. Khuon, N. and Sahamitmongkol, R., 2018, “Flow and Compressive Strength of Mortars
Containing Limestone Powder and Calcined Clay”, The Third International Symposium on
Concrete and Structures for Next Generation, September 7-8 2018, Department of Civil
Engineering, Kasetsart University, Bangkok, Thailand, pp. 167-170.

ผลงานวิจัยในการประชุมวิชาการระดับชาติ
1. Thitikavanont, Y. , Chamnankid, B, Sinthupinyo, S. and Sahamitmongkol, R. ,2019,
“ Compressive strength, heat generation and porosity of limestone calcined clay cement

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


211

systems”, Annual Concrete Conference 14, 6-8 March 2019, Wora Wana Hua Hin Hotel &
Convention, Prachuap Khiri Khan.
2. พชร ทีฆธนานนท์, ภาสพรรณ มณีโชติ, รณกร เฮงสกุลวัฒน์ และ รักติพงษ์ สหมิตรมงคล, 2562, “ผลของ
กระบวนการขัดต่อคุณสมบัติของผิวหน้าคอนกรีต ”, การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 14, 6-8
มีนาคม 2562, วรวนา หัวหิน โฮเต็ล แอนด์ คอนเวนชั่น จังหวัดประจวบคีรีขันธ์.
3. จาตุรันต์ แร่เพชร, ธนสร อาจสาอางค์, พันธิพา นาคนวล, รักติพงษ์ สหมิตรมงคล และ สุทัศน์ ลีลาทวีวัฒน์,
2562, “คุณสมบัติเชิงกลภายใต้แรงอัดและการทดสอบแบบไม่ทาลายของอิฐก่อโบราณ”, การประชุม
วิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 14, 6-8 มีนาคม 2562 วรวนา หัวหิน โฮเต็ล แอนด์ คอนเวนชั่น จังหวัด
ประจวบคีรีขันธ์.
4. Solvej van Kampen, C. , Dorkpikul, P. Setthapongkun, C. and Sahamitmongkol, R. , 2019,
“Effect of bottom ash and glass cullet on alkali silica reaction in mortar”, Annual Concrete
Conference 14, 6 - 8 March 2019, Wora Wana Hua Hin Hotel & Convention, Prachuap Khiri
Khan.
5. Thitikavanont, Y. , Chamnankid, B. , Sinthupinyo, S. and Sahamitmongkol, R. , 2019,
“ Compressive strength, heat generation and porosity of limestone calcined clay cement
systems”, Annual Concrete Conference 14, 6-8 March 2019, Wora Wana Hua Hin Hotel &
Convention, Prachuap Khiri Khan.
6. Solvej van Kampen, C., Ushiro, M., Hori, A and Sahamitmongkol., 2018, “Development of
water based expansive additive slurry for shrinkage compensation in concrete”, Annual
concrete Conference 13, March 7-9 2018, The Zign Hotel ,Pattaya, Chonburi, pp. MAT-79 –
MAT-85.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


212

ดร. เอกชัย อยู่ประเสริฐชัย


Dr. Ekkachai Yooprasertchai
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2016 D.Eng. (Structural Engineering), Asian Institute of Technology, Thailand
ปี ค.ศ. 2007 M.Eng. (Structural Engineering), Asian Institute of Technology, Thailand
ปี พ.ศ. 2546 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) ,มหาวิทยาลัยมหิดล, ประเทศไทย

2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CVE 101 อาณาจักรวิศวกรรมโยธา 2 หน่วยกิต
(World of Civil Engineering)
CVE 131 กลศาสตร์วิศวกรรม 3 หน่วยกิต
(Engineering Mechanics)
CVE 236 วัสดุในงานวิศวกรรมโยธา 2 หน่วยกิต
(Civil Engineering Materials)
CVE 335 วัสดุซีเมนต์และคอนกรีต 3 หน่วยกิต
(Cement and Concrete Materials)
CVE 338 การวิเคราะห์โครงสร้าง 2 3 หน่วยกิต
(Structural Analysis II)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 648 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างรับแรงลมและแผ่นดินไหว 3 หน่วยกิต
(Analysis And Design of Structures For Wind
And Seismic Loads)
2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 648 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างรับแรงลมและแผ่นดินไหว 3 หน่วยกิต
(Analysis And Design of Structures For Wind
And Seismic Loads)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


213

CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต


(Thesis)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Pimanmas, A., Yooprasertchai, E., and Wiwatrojanagul, P. (2019). “Cyclic loading test of
precast concrete load-bearing walls designed for gravitational loading”. Magazine of
Concrete Research, DOI: 10.1680/jmacr.19.00347.
2. Yooprasertchai, E. and Warnitchai, P. (2018), “Seismic performance of precast hybrid
moment-resisting frame rocking wall systems”, Magazine of Concrete Research, DOI:
10.1680/jmacr.17.00248.
ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ
1. Yooprasertchai, E., Wiwatrojanagul, P., Suwansaya, P. and Pimanmas, A. (2018), “Seismic
Behavior of Precast Concrete Load Bearing Wall with Welded Rebar Connections”,
Srinakharinwirot Engineering Journal, 13(1), 39-51. (in Thai)
2. Pimanmas, A., Thammarak, P. and Yooprasertchai, E. (2018), “Study of seismic resistance of
precast concrete structures and seismic retrofit of RC structures by Natural fibers” Full
Research Report submitted to the Thailand Research Fund (TRF).

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


214

ผศ. ดร.ชูชยั สุจิวรกุล


Asst.Prof.Dr. Chuchai Sujivorakul
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 2002 Ph.D. (Civill Engineering). University of Michigan, U.S.A.
ปี ค.ศ. 1995 M.Eng. (Structural Engineering), Asian Institute of Technology, Thailand
ปี พ.ศ. 2535 วศ.บ. (วิศวกรรมโยธา) (เกียรตินยิ มอันดับ 1), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรี, ประเทศไทย

2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับปริญญาตรี
CTE 213 ปฏิบัติการเทคนิคการก่อสร้าง 2 3 หน่วยกิต
(Construction Technique Workshop II)
CTE 220 คอนกรีตและวัสดุก่อสร้าง 3 หน่วยกิต
(Concrete and Construction Materials)
CTE 223 กลศาสตร์วัสดุ 1 3 หน่วยกิต
(Mechanics of Materials)
CTE 428 การออกแบบคอนกรีตอัดแรง 3 หน่วยกิต
(Prestressed Concrete Design)
CTE 483 หัวข้อพิเศษ 3 หน่วยกิต
(Design and Construction of Precast Concrete)
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CTE 610 เทคนิคและเทคโนโลยีการก่อสร้าง 3 หน่วยกิต
(Construction Technique and Technology)
CTE 621 การออกแบบอาคารคอนกรีตเสริมเหล็ก 3 หน่วยกิต
(Design of Reinforced Concrete Building)
CTE 624 นวัตกรรมของคอนกรีตเทคโนโลยี 2 หน่วยกิต
(Innovation in Concrete Technology)
CTE 626 การซ่อมแซมและเสริมกาลังโครงสร้าง 3 หน่วยกิต
(Repair and Retrofit of Structures)
CTE 649 ระบบโครงสร้างพื้นฐาน 3 หน่วยกิต
(Infrastructure Systems)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


215

FEM 623 หลักสูตรและการประกันคุณภาพการศึกษา 3 หน่วยกิต


(Curriculum and Quality Assurance in Education)
CET 621 การวิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างคอนกรีต 3 หน่วยกิต
(Analysis and Design of Concrete Structures)
CET 633 การประยุกต์ใช้และออกแบบโครงสร้างคอนกรีตอัดแรง 3 หน่วยกิต
(Application and Design of Prestressed
Concrete Structures)
2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)
3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร ภาควิชาวิศวกรรมโยธาต้องการเพิ่มความเชี่ยวชาญ
ทางด้ า นวั ส ดุ ป ระกอบ (Composite Materials) ชิ้ น ส่ ว นคอนกรี ต หล่ อ ส าเร็ จ (Precast Concrete) รวมถึ ง
เทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโยธาในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีความเชื่อมโยงกับศาสตร์ในสาขาวิชา อื่นๆมาก
ขึ้นดังนั้น จึงมีความจาเป็นต้องเพิ่มอาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีความรู้ ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ ดังกล่าวเพื่อเป็น
อาจารย์ที่ปรึกษาร่วมและอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์
3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Sripan, T. and Sujivorakul, C. (2020): “Variables that Influence the Intention to Persist in
Vocational Education” International Journal of Instruction (accepted, publishing process in
2020)
ผลงานวิจัยในวารสารระดับประเทศ
1. Chuchai Sujivorakul, Teerawut Muhummud, and Sakol Kong, “Steel Fiber Reinforced
Concrete Sandwich Panel Using a Foam Core: Flexural Investigation and Prediction”,
วารสารวิชาการสมาคมคอนกรีตแห่งประเทศไทย, January-June 2017, Volume 5, No.1, pp.24-34.
2. ชูชัย สุจิวรกุล และ กนกวรรณ ชัยวรวิทย์กุล , “อิทธิพลของค่ากาลังอัดของคอนกรีต และขนาดตัวอย่าง
ทดสอบที่ มี ผ ลต่ อ การทดสอบค่ า ก าลั ง อั ด ของคอนกรี ต ที่ ไ ด้ จ ากการทดสอบแบบไม่ ท าลายโดยใช้ ค้อ น
กระแทก”, วารสารวิจัยและนวัตกรรมการอาชีวศึกษา, January-June 2017, Volume 1, No.1, pp.62-69.

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


216

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับนานาชาติ
1. Chamroeun Chhun, Chuchai Sujivorakul and Teerawut Muhummud, “Bond Mechanisms of
An Anchor Embedded into Concrete,” 2nd International Conference on Engineering
Innovation 2018, July 5- 6, 2018, Faculty of Engineering, King Mongkut’s University of
Technology North Bangkok, Thailand
2. Chamroeun Chhun, Chuchai Sujivorakul and Teerawut Muhummud, “Laboratory-Based
Learning to Study the Pullout Test of an Anchor in Concrete,” 9th International Science,
Social Science, Engineering and Energy Conference (I-SEEC 2018), May 2nd- 4th, 2018,
Ambassador Hotel Bangkok, Thailand
3. Wijitsombat, S. and Sujivorakul C., “Factors Affecting on the Strengthening of Reinforced
Concrete Beams Using Steel Plate”, The 2nd ACF Symposium 2017: Innovations for
Sustainable Concrete Infrastructures, November 23-25, 2017, Chiang Mai.
4. Sripan, T. and Sujivorakul C., “The Relationship between Perceived Teacher Autonomy
Support, School Engagement for Enhancing Perceived Value in Vocational Education”, The
10th International Conference of HUSOC on “Dynamics of Humanities and Social Sciences
in Cross-Border Societies”, February 3-4, 2017 Chiang Rai Rajabhat University, Chiang Rai.
5. Sripan, T. and Sujivorakul C., “Factors Related to Decreasing the Drop-Out Rate Among
Vocational Students”, The IRES International Conference, Bangkok, Thailand, 14 May 2016.

บทความวิจัยทีเ่ สนอในที่ประชุม/สัมมนาวิชาการระดับประเทศ
1. ชูชัย สุจิวรกุล, พัทธพล ศิลากุล, และ ณัฐพล พิลึก, “อิทธิพลของขนาดมวลรวมที่มีผลต่อการไหลตัวและ
กาลังของคอนกรีตเสริมเส้นใยที่ไหลตัวด้วยตนเอง”, การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 13, 7-9
มีนาคม 2561 ณ โรงแรมเดอะ ซายน์ พัทยา จังหวัดชลบุรี
2. สรวิชญ บัวสี, วุฒิชัย สะผาย, ธนากร เขียวเหลือง และชูชัย สุจิวรกุล , “การศึกษาความต้านทานต่อแรง
แผ่นดินไหวของอาคารสูงไม่เกิน 15เมตร”, การประชุมวิชาการวิศวกรรมโยธาแห่งชาติ ครั้งที่ 22, จ.
นครราชสีมา, 18 – 20 กรกฏาคม 2560
3. ชูชัย สุจิวรกุล และ กนกวรรณ ชัยวรวิทย์กุล , “อิทธิพลของค่ากาลังอัดของคอนกรีต และขนาดตัวอย่าง
ทดสอบที่ มี ผ ลต่ อ การทดสอบค่ า ก าลั ง อั ด ของคอนกรี ต ที่ ไ ด้ จ ากการทดสอบแบบไม่ ท าลายโดยใช้ ค้ อ น
กระแทก”, การประชุมวิชาการเทคโนโลยีและนวัตกรรมอาชีวศึกษาระดับชาติ ครั้งที่ 1, 24 -25 มีนาคม
2560, จ. อุดรธานี
4. ชูชัย สุจิวรกุล, ชรินทร์ ชื่นเนียม อภิญญา แสนณรงค์ และ อรพิณ ภูมิกาล “กาลังและพฤติกรรมการยึด
เหนี่ยวระหว่างอุปกรณ์ฝังยึดกับคอนกรีตเสริมเส้นใยเหล็กแบบตะขอ” การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี
ครั้งที่ 12, 15-17 กุมภาพันธ์ 2560, โรงแรมเดอะ รีเจนท์ ชะอา บีช รีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


217

5. ชูชัย สุจิวรกุล, อชรพร รองเดช และ จิรัชญา เสถียรรังสฤษดิ์ “การศึกษาแรงยึดเหนี่ยวระหว่างคอนกรีตเดิม


และคอนกรีตใหม่” การประชุมวิชาการคอนกรีตประจาปี ครั้งที่ 12 15-17 กุมภาพันธ์ 2560, โรงแรมเดอะ
รีเจนท์ ชะอา บีช รีสอร์ท จังหวัดเพชรบุรี

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


218

ศ. ดร.ณรงค์ฤทธิ์ สมบัติสมภพ
Prof. Dr. Narongrit Sombatsompop
1. ประวัติการศึกษา
ปี ค.ศ. 1997 Ph.D. (Polymer Processing & Rheology), University of Manchester (UMIST), U.K.
ปี ค.ศ. 1994 M.Sc. (Polymer Science & Technology), University of Manchester (UMIST), U.K.
ปี พ.ศ. 2535 วท.บ. (เคมีอุตสาหกรรม), สถาบันเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ, ประเทศไทย

2. ภาระการสอน
2.1 ภาระการสอนในปัจจุบัน
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
MTT 651 กระแสวิทยาของพอลิเมอร์ 3 หน่วยกิต
(Polymer Rheology)
MTT 655 กระบวนการขึ้นรูปพอลิเมอร์ 3 หน่วยกิต
(Polymer Processing)
MTT 692 หัวข้อพิเศษ 3 หน่วยกิต
(Special Topic: Wood Polymer Composites for Specific Applications)
MTT 600 วิทยานิพนธ์ 15 หน่วยกิต
(Thesis)
MTT 601 โครงการการศึกษาวิจัย 6 หน่วยกิต
(Research Study)

2.2 ภาระงานสอนในหลักสูตรนี้
รายวิชาระดับบัณฑิตศึกษา
CVE 901 วิทยานิพนธ์ 36 หน่วยกิต
(Dissertation)

3. เหตุผลที่ได้รับมอบหมายให้รบั ผิดชอบหลักสูตรนี้
3.1 คุณวุฒิและสาขาวิชาตรงกับสาขาวิชาของหลักสูตร ภาควิชาวิศวกรรมโยธาต้องการเพิ่มความเชี่ยวชาญ
ทางด้านวัสดุ และเทคโนโลยีทางด้านวิศวกรรมโยธาในปัจจุบันมีการเปลี่ยนแปลง ซึ่งมีความเชื่อมโยง
กับศาสตร์ในสาขาวิชาอื่น ๆ มากขึ้น ดังนั้น จึงมีความจาเป็นต้องเพิ่มอาจารย์ประจาหลักสูตรที่มีความรู้
ความเชี่ยวชาญในศาสตร์ดังกล่าวเพื่อเป็นอาจารย์ที่ปรึกษาร่วมและอาจารย์ผู้สอบวิทยานิพนธ์

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


219

3.2 ผลงานวิชาการย้อนหลัง 5 ปี
ผลงานวิจัยในวารสารระดับนานาชาติ
1. Moonlek, B., Wimolmala, E., Markpin, T., Sombatsompop, N. and Saenboonruang, K. (2020):
“Enhancing electromagnetic interference (EMI) shielding effectiveness for radiation
vulcanized natural rubber latex (RVNRL) composites containing multi-walled carbon
nanotubes (MWCNTs) and silk textile” – Polymer Composites, (accepted) [JIF = 2.268]
2. Srimalanon, P., Prapagdee, B. and Sombatsompop, N. (2020): “Soil inoculation with
Pseudomonas geniculata WS3 for accelerating the biodegradation process of in situ
compatibilized PBS/PLA blends doped with HPQM”, Journal of Polymers and the
Environment, (accepted) [JIF = 2.765].
3. Boonluksiri, Y., Prapagdee, B. and Sombatsompop, N., (2020): “Effect of poly (D-lactic acid)
and cooling temperature on heat resistance and antibacterial performance of
stereocomplex poly (L-lactic acid)”, Journal of Applied Polymer Science, 137, 48970. [JIF =
2.188].
4. Tangudom P, Wimolmala E, Prapagdee B & Sombatsompop N (2019): Mechanical properties
and antibacterial performance of PMMA toughened with acrylic rubber containing 2-
hydroxypropyl-3-piperazinyl-quinoline carboxylic acid methacrylate (HPQM) and HPQM
absorbed on TiO2 particles – Polymer Testing, 79, 106023, [JIF = 2.943].
5. Toyen, D., Markpin, T., Wimolmala, E., Sombatsompop, N. and Saenboonruang, K. (2019):
“Sm2O3/UHMWPE composites for radiation shielding applications: Mechanical and
dielectric properties under gamma irradiation and thermal neutron shielding”, Radiation
Physics and Chemistry, 164: 108366. [JIF = 1.435].
6. Choosri, S., Sombatsompop, N., Wimolmala, E. and Thongsang, S. (2019): “Potential Use of
fly ash and bagasse ash as secondary abrasives in phenolic composites for eco-friendly
brake pads applications”, Journal of Automobile Engineering 233(5): 1296-1305. [1.414].
7. Pattanasuttichonlakul, W., Sombatsompop, N., Prapagdee, B. (2018): “Accelerating
biodegradation of PLA using microbial consortium from dairy wastewater sludge combined
with PLA-degrading bacterium”, International Biodeterioration & Biodegradation 132: 74-
83. [2.962].
8. Srimalanon, P., Prapagdee, B., Markpin, T. and Sombatsompop, N. (2018): “Effects of DCP
as a free radical producer and HPQM as a biocide on the mechanical properties and
antibacterial performance of in situ compatibilized PBS/PLA blends”, Polymer Testing 67
(May): 331-341. [2.464]

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


220

9. Tangudom, P., Wimolmala, E., Prapagdee, B. and Sombatsompop, N. (2018): “Material


formulations for AR/PMMA and AR-TiO2/PMMA blends and effects of UV radiation and TiO2
loading on mechanical and antibacterial performances”, Polymer-Plastics Technology and
Engineering (accepted). [1.232]
10. Jansinak, S., Markpin, T., Wimonmala, E., Mahathanabodee, S., and Sombatsompop, N.
(2018): “Tribological properties of carbon nanotube as co-reinforcing additive in CB/NBR
composites for hydraulic seal applications”, Journal of Reinforced Plastics and Composites
(accepted) [1.086].
11. Chan-Hom, T., Yamsaengsung, W., Prapagdee, B., Markpin, T. and Sombatsompop, N. (2017):
“Flame retardancy, antifungal efficacies, and physical–mechanical properties for
wood/polymer composites containing zinc borate”, Fire and Materials 41(6): 675-687.
[1.352].
12. Pulngern, T., Eakintumas, W., Rosarpitak, V. and Sombatsompop, N. (2017): “Compressive
Load, Thermal, and Acoustic Properties of Wood/PVC Composite Log-Wall Panels”, Journal
of Reinforced Plastics and Composites – 36(16): 1183-1193. [1.086]
13. Tangudom P, Wimolmala E, Prapagdee B & Sombatsompop N (2018) Material formulations
for AR/PMMA and AR-TiO2/PMMA blends and effects of UV radiation and TiO2 loading on
mechanical and antibacterial performances – Polymer-Plastics Technology and Engineering
(accepted). [1.232]
14. Jansinak S, Markpin T, Wimonmala E Mahathanabodee S, and Sombatsompop N (2018)
Tribological properties of carbon nanotube as co-reinforcing additive in CB/NBR composites
for hydraulic seal applications – Journal of Reinforced Plastics and Composites (accepted)
[1.086].
15. Chan-Hom T, Yamsaengsung W, Prapagdee B, Markpin T and Sombatsompop N (2017)
Flame retardancy, antifungal efficacies, and physical–mechanical properties for
wood/polymer composites containing zinc borate – Fire and Materials 41(6): 675-687.
[1.352].
16. Pulngern T, Eakintumas W, Rosarpitak V & Sombatsompop N (2017) Compressive Load,
Thermal, and Acoustic Properties of Wood/PVC Composite Log-Wall Panels – Journal of
Reinforced Plastics and Composites – 36(16): 1183-1193. [1.086]

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


221

ภาคนวก ง. คาสั่งแต่งตัง้ คณะกรรมการปรับปรุงหลักสูตร

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


222

ภาคผนวก จ. ระเบียบมหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าธนบุรีว่าด้วยการศึกษาระดับบัณฑิตศึกษา

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


223

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


224

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


225

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


226

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


227

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


228

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


229

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


230

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


231

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


232

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


233

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


234

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


235

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


236

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


237

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


238

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


239

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


240

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


241

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


242

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


243

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


244

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


245

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


246

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


247

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


248

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


249

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


250

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


251

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


252

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


253

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


254

บทสรุปผูบ้ ริหาร
ชื่อหลักสูตร: วิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา คณะ:วิศวกรรมศาสตร์

รอบการปรับปรุง: 2564 ภาคการศึกษาที่เริ่มใช้: 1/2564

หัวข้อที่ 1 ที่มาของการปรับปรุงหลักสูตร
1.1) บทวิเคราะห์สภาพแวดล้อมที่มีผลต่อการเปิดหรือการปรับปรุงหลักสูตร
A) การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายนอก
A1) การวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ภาควิชาวิศวกรรมโยธา ได้ติดตามภาวการณ์มีง านท าของบัณ ฑิตที่จ บการศึ กษาอย่า งต่อ เนื่ อ ง
โดยเฉพาะบัณฑิตที่เพิ่งสาเร็จการศึกษา พบว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาไปในช่วง 5 ปีล่าสุด ส่วนใหญ่ทางานใน
บริษัทเอกชน (50% ในบริษัทผู้ออกแบบ/ที่ปรึกษาเชิงวิศวกรรม) และมีจานวนประมาณ 20% ทางานใน
หน่วยราชการและรัฐวิสาหกิจ, และมีบัณฑิตที่ศึกษาต่อระดับปริญญาเอกจานวนประมาณ 10% จากแนวโน้ม
ดังกล่าว จะเห็นได้ว่าบัณฑิตส่วนใหญ่ของภาควิชาจะไปทางานในรูปแบบที่มีการวิเคราะห์วางแผนสูง

จากการสารวจผู้มีส่วนได้ส่วนเสียโดยสอบถาม บัณฑิตที่จบการศึกษาในช่วง 5 ปีที่ผ่านมาจานวน 51


คน และผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างานของกลุ่มบัณฑิตดังกล่าวจานวน 17 คน ถึงทักษะที่สาคัญสาหรับการ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


255

ทางานและการพัฒนาเส้นทางอาชีพ ผู้ตอบแบบสอบถามทั้งสองกลุ่มให้ความเห็นที่ค่อนข้างตรงกันว่า ทักษะ


ที่มีความสาคัญเป็นลาดับต้นๆ ต่อการทางานวิชาชีพวิศวกรรม คือ “ความสามารถทางานร่วมกับผู้อื่น ”
“ความสามารถสื่อสาร” “ความรับผิ ดชอบ” และ “ความสามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง” ซึ่ งในหลักสูตร
ปัจจุบันไม่ได้มีการระบุการพัฒนาทักษะดังกล่าว เป็นส่วนหนึ่งของผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตรอย่าง
ชัดเจน นอกจากนี้ภาควิชาวิศวกรรมโยธายังได้มีการจัดสัมมนาบัณฑิตศึกษาเพื่อทราบความคาดหวังของ
นักศึกษาปัจจุบัน นาผลการวิเคราะห์ม าสรุปเพื่อออกแบบผลลัพธ์การเรียนรู้ที่คาดหวัง ทั้งนี้ให้มีความ
สอดคล้องกับปรัชญาของหลักสูตรและคุณลักษณะที่พึงประสงค์ในบริบทของนานาชาติด้วย
ในการพัฒนาปรับปรุงผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรฉบับปรับปรุงในครั้งนี้ ได้มีการอ้างอิงข้อมูลความ
ต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียตามกรรมวิธีดังกล่าวข้างต้นเพื่อให้สอดคล้องกับสภาวการณ์ปั จจุบันและความ
คาดหวังในอนาคตด้วย ซึ่งประเด็นจาเป็นที่ควรต้องมีการปรับปรุงให้มีความชัดเจนในครั้งนี้คือการกาหนด
ทักษะ (Skill) ในการทางานเชิงวิศวกรรมของบัณฑิตที่จบการศึกษาในหลักสูตรนี้ เพิ่มเติมจากหลักสูตรเดิมที่
มีการกาหนดเพียงองค์ความรู้เชิงวิศวกรรม (Engineering Knowledge) เท่านั้น

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


256

A2) สรุปข้อมูลความคิดเห็นจากผู้ทรงคุณวุฒิภายนอกและการดาเนินการตามคาแนะนา

1 ชื่อ – สกุล ศ. ดร. ปิติ สุคนธสุขกุล

ตาแหน่ง ศาสตราจารย์ สังกัด ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีพระจอมเกล้าพระนครเหนือ

• เห็นด้วยกับรายละเอียดของหลักสูตร แต่มขี ้อเสนอแนะดังนี้


ข้อเสนอแนะ การดาเนินการ
• โดยรวมเป็นหลักสูตรที่ดี มีเนื้อหาทันสมัย และ คงองค์ประกอบที่ดีไว้ตามความเห็น
สอดคล้องกับนโยบายภาครัฐ และกรอบยุทธศาสตร์
ชาติ 20 ปี ที่มุ่งเน้นไปสู่การพัฒนา ศักยภาพทุน
มนุษย์ และการพัฒนาวิทยาศาสตร์เทคโนโลยี วิจัย
และนวัตกรรม

• เห็นด้วยกับการจัดให้มีรายวิชา CVE 701 ทักษะ คงรายวิชา CVE701 ไว้ตามความเห็น


สาคัญสาหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา โดยเมื่อ
พิจารณาในเนื้อหาหลักสูตรอาจจะมีการปรับปรุงให้
เกิดความครอบคลุมทักษะอืน่ ที่สาคัญ เช่น เทคนิค
การทางานเป็นทีม เทคนิคการนาเสนอหรือการพูด
ต่อหน้าสาธารณชน หรือแม้แต่ทักษะการแต่งกาย
เพื่อให้เหมาะกับสภาพสังคม เป็นต้น

• ควรจัดให้มีวิชาเลือกประเภท Computer coding จะมี ก ารสอดแทรกเนื้ อ หาเกี่ ย วกั บ การเขี ย น


ที่เกี่ยวข้องกับ Artificial Intelligent เช่น ภาษา โปรแกรม (Coding) ไว้ในเนื้อหาของบางวิชา แต่
Python ที่สามารถนามาประยุกต์ใช้ในการวิเคราะห์ ไม่ได้มีการกาหนดชื่อของภาษาที่ใช้อย่างชัดเจน
งานด้านวิศวกรรมศาสตร์ เพราะเทคโนโลยีมีการเปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว
การกาหนดชื่อภาษาที่ใช้ อาจจะทาให้เกิดความไม่
คล่องตัวในการเปลี่ยนตามเทคโนโลยีที่เปลี่ยนไป

• วิทยานิพนธ์ควรเพิ่ม Sub PLO2C : มีทักษะในการ ได้ดาเนินการตามคาแนะนาแล้ว


สื่อสารและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้ เข้าไป
ด้วย เนื่องจากบางครั้งการทาวิทยานิพนธ์อาจต้องมี

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


257

ข้อเสนอแนะ การดาเนินการ
ติดต่อประสานงานกับผู้อื่นหรือบุคคลภายนอก
ทักษะการสื่อสารเป็นทักษะสาคัญที่จาเป็นสาหรับ
นักศึกษาระดับปริญญาโท ซึ่งควรมีก่อนที่จะจบ
การศึกษาออกไปทางาน

• ควรเน้นการพัฒนาหรือเปิดโอกาสให้อาจารย์และ ข้ อ เสนอแนะนี้ เ ป็ น ประเด็ น ที่ ดี แ ละตรงกั บ สิ่ ง ที่


นั ก ศึ ก ษาต่ า งคณะได้ มี โ อกาสได้ เ ข้ า มาพบปะ ผู้บริหารของภาควิชาได้นาเสนอตลอดมา โดยได้มี
แลกเปลี่ยนความรู้ เพื่อนาไปสู่พัฒนางานวิจัยข้าม การแจ้งไปยังอาจารย์ประจาหลักสูตรทุกท่านให้
สาขา (multidisciplinary research) ซึ่งจะนาไปสู่ พิจารณาประเด็นดังกล่าวเพื่อเพื่มการปฎิสัมพันธ์
การพัฒนางานวิจัยที่ยั่งยืนและส่งกระทบในวงกว้าง กับอาจารย์/นักศึกษา จากคณะหรือภาควิชาอื่นๆ
โดยจัดในรูปแบบของโครงการแลกเปลี่ยนความรู้ เพิ่มมากขึ้น แต่ไม่ได้มีการกาหนดเป็นลายลักษณ์
งานวิจัยระหว่างภาควิชาหรือคณะ อักษรในหลักสูตร
2 ชื่อ – สกุล ศ. ดร. สุขสันต์ หอพิบูลสุข

ตาแหน่ง ศาสตราจารย์ สังกัด ภาควิชาวิศวกรรมโยธา คณะวิศวกรรมศาสตร์


มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีสุรนารี

• เห็นด้วยกับรายละเอียดของหลักสูตร แต่มขี ้อเสนอแนะดังนี้


ข้อเสนอแนะ การดาเนินการ

• หลั ก สู ต รมี ค วามสมบู ร ณ์ดี ม าก มี ก ารแก้ ไ ขค าผิด ได้ดาเนินการแก้ไขคาผิดตามคาแนะนาเรียบร้อย


เล็กน้อย ตามเอกสารแนบ แล้ว

• รายวิชาเลือกทุกวิชา ไม่มีวิชาบังคับก่อน อาจมีผล ในประเด็นนี้ คณะกรรมการผู้ปรับปรุงหลักสูตรได้


ต่อการสอนของผู้สอน หากผู้เรียนมีบางกลุ่มขาด มีการตรวจสอบกับอาจารย์ผู้สอนทุกรายวิชาแล้ว
ความรู้พื้นฐาน ว่าผู้สาเร็จการศึกษาระดับปริญญาตรีจากสถาบัน
ต่างๆ จะสามารถทาความเข้าใจรายวิชาต่างๆ ได้
โดยมีการทบทวนทฤษฎีพื้นฐานในส่วนต้นของการ
สอนแต่ละรายวิชาอย่างเหมาะสม เพื่อให้นักศึกษา
ท าความเข้ า ใจเนื้ อ หาในส่ ว นต่ อ ๆ ไปได้ อ ย่ า ง
ปราศจากปัญหา

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


258

3 ชื่อ – สกุล ดร. เมธี เชี่ยววณิชย์กร

ตาแหน่ง Associate Director สังกัด Meinhardt (Thailand) Ltd.,

• เห็นด้วยกับรายละเอียดของหลักสูตร แต่มขี ้อเสนอแนะดังนี้


ข้อเสนอแนะ การดาเนินการ

• Section 3.4 – Work Experience ข้อเสนอแนะนี้ ชี้แนะในประเด็นของประสบการณ์


Students shall have a minimum of 120 working ท างานซึ่ ง มี ค วามส าคั ญ ของการเรี ย นรู้ ข อง
days of work experience that is relevant to นักศึกษา แต่นักศึกษาที่เข้ามาศึกษาในหลักสูตร
his/her area of specialties. At least 60 days out บางคนมีประสบการณ์ทางานจริงมาบ้างแล้ว การ
of 120 days shall be design experience. กาหนดให้ นศ.ทุกคนต้องมีการทางานในบริ ษั ท
• Section 6 – Faculty Development and/or ระหว่างที่ทาการศึกษาอยู่จึงอาจจะดูไม่สอดคล้อง
Section 7.xxx กับสถานการณ์จริง
New faculties shall obtain a valid Professional
Engineering License (ภ า คี วิ ศ ว ก ร ) of his/her
specialization. ข้อเสนอแนะข้อทั้งสองข้อนี้นี้ตรงกับแนวทางการ
พัฒนาหลักสูตร ซึ่งต้องการให้อาจารย์ผู้สอนนั้นมี
มุมมองของการทางานวิศวกรรมวิชาชีพจริงเพื่อนา
• Faculties who teach design classes shall
ประสบการณ์มาประกอบในการสอนนักศึกษา
have at least Level 2 Engineering License
(สามั ญ วิ ศ วกร) and at least 5 years of design อาจารย์ผู้สอนส่วนใหญ่ในปัจจุบันก็มีใบอนุญาต
experience. ประกอบอาชีพวิศวกรรมอยู่แล้ว อย่างไรก็ตามการ
เขี ย นข้ อ บั ง คั บ ให้ อ าจารย์ ผู้ ส อนทุ ก คนต้ อ งมี ใ บ
ประกอบวิชาชีพก็อาจจะทาให้เกิดจุดบอดในการ
เชิญผู้เชี่ยวชาญด้านต่างๆ จากภาคอุตสาหกรรมที่
เกี่ยวข้อง หรือจากต่างประเทศ มาช่วยสอนได้ จึง
ไม่ได้มีการเพิ่มเติมประเด็นนี้เข้าไปในหลักสูตร

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


259

ข้อเสนอแนะ การดาเนินการ

• Research work must be fully or partially ข้ อ เสนอแนะนี้ ส อดคล้ อ งกั บ ทิ ศ ทางการวิ จั ย ซึ่ ง
practical to engineering industry. ต้องการให้มีการทาวิจัยที่ตรงกับความต้องการของ
ภาคอุ ต สาหกรรมมากขึ้ น และได้ มี ก ารส่ ง เสริ ม
ประเด็นดังกล่าวมาอย่างต่อเนื่อง อย่างไรก็ตาม
งานวิ จั ย บางส่ ว นนั้ น เป็ น ประเด็ น วิ จั ย ใหม่ ๆ
(Emerging research themes) ซึ่งอาจจะยังไม่ได้
รับความนิยมในภาคอุตสาหกรรม การกาหนดให้
ต้องมีความร่วมมือกับภาคอุตสาหกรรมอาจจะทา
ให้เกิดความยากลาบากในกรณีที่นักศึกษาสนใจทา
การวิจัยในหัวข้อลักษณะดังกล่าว จึงไม่ได้มีการ
เพิ่มเติมประเด็นนี้เข้าไปในหลักสูตร

A3) การวิเคราะห์สิ่งแวดล้อมมหภาคที่มีผลต่อหลักสูตร

การพัฒนาหลักสูตรสอดคล้องกับแผนพัฒนาเศรษฐกิจและสังคมแห่งชาติฉบับที่ 12 (พ.ศ. 2560–


2564) บนพื้นฐานของกรอบยุทธศาสตร์ชาติ 20 ปี (พ.ศ.2560-2579) ซึ่งเป็นแผนหลักของการพัฒนาประเทศ
และเป้าหมายการพัฒนาที่ยั่งยืน (Sustainable Development Goals : SDGs) รวมทั้งการปรับโครงสร้าง
ประเทศไทยไปสู่ประเทศไทย 4.0 ตลอดจนประเด็นการปฏิรูปประเทศ ในประเด็นการเสริมสร้างและพัฒนา
ศักยภาพทุนมนุษย์ และ ยุทธศาสตร์การพัฒนาวิทยาศาสตร์ เทคโนโลยี วิจัย และนวัตกรรม จึงจาเป็นต้อง
เตรียมทรัพยากรมนุษย์ให้พร้อมต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาดังกล่าว ดังนั้นการบริหารจัดการองค์ความรู้และ
สร้างบุคคลากรที่มีทักษะที่จาเป็นต่อยุทธศาสตร์การพัฒนาทางด้านวิศวกรรมโยธาดังกล่าวอย่างเป็นระบบ
เป็นสิ่งจาเป็น นอกจากนี้ทักษะที่จาเป็นดังกล่าวควรต้องสอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิตอีกด้วย

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


260

A4) การวิเคราะห์คู่แข่งหรือคู่เปรียบเทียบ
โดยที่ลักษณะโดยธรรมชาติของการเลือกเข้าศึกษาของนักศึกษาในหลักสูตรขั้นสูงเป็นไปตามความ
เชี่ยวชาญเฉพาะของอาจารย์ที่ปรึกษา และมีผลของความมีชื่อเสียงของอาจารย์ที่ปรึกษาและมหาวิทยาลัย
ร่วมด้วย ในขณะที่รูปแบบแผนการศึกษาโดยรวมถูกกาหนดโดยกระทรวงอุดมศึกษา วิจัย และนวัตกรรม ใน
ที่นี้ขอแสดงการเปรียบเทียบในลักษณะคู่เปรียบเทียบดังแสดงในตาราง
หลักสูตรนี้ *หลักสูตรคู่เปรียบเทียบ
จานวนแผนการศึกษา 1 แบบ เหมือนกัน
จานวนหน่วยกิต 37 หน่วยกิต 36 หน่วยกิต
(วิชาบังคับ 4 หน่วยกิต / วิชาเลือก (วิ ช าบั ง คั บ 9 หน่ ว ยกิ ต /
21 หน่วยกิต / วิทยานิพนธ์ 12 วิ ช าเลื อ ก 15 หน่ ว ยกิ ต /
หน่วยกิต) วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต)
เงื่อนไขสาเร็จการศึกษา เป็ น ไปตามประกาศกระทรวงศึ ก ษา เหมือนกัน
เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสู ตรระดั บ
บัณฑิตศึกษา พ.ศ. 2558
จานวนสาขาวิชาเอก (1) วิศวกรรมโครงสร้าง (1) วิศวกรรมโครงสร้าง
(2) วิศวกรรมเทคนิคธรณี (2) วิศวกรรมเทคนิคธรณี
(3) วิศวกรรมขนส่ง (3) วิศวกรรมขนส่ง
(4) วิศวกรรมทรัพยากรน้า (4) วิ ศ วกรรมก่ อ สร้ า งและ
การบริหาร
ภาษาที่ใช้ ศึ ก ษาเป็ น ภาษาไทยและอาจจะมี ศึ ก ษาเป็ น ภาษาไทยและ
เอกสารประกอบเป็นภาษาอังกฤษ ภาษาอังกฤษ
หมายเหตุ : หลั กสู ตรคู่เปรียบเที ยบ คือ หลั กสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา
จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย

ลักษณะเฉพาะที่สาคัญของหลักสูตรนี้เมื่อเทียบกับหลักสูตรคู่เปรียบเทียบ คือ การกาหนดรูปแบบ


ของการเรียนการสอนในรูปแบบที่มุ่งเน้นผลลัพธ์การเรียนรู้ (Outcome-based learning) โดยมีการเน้น
การพัฒนาทักษะการทางานที่จาเป็นต่อการทางานด้านวิศวกรรมให้กับนักศึกษาและมีการวั ดผลอย่างเป็น
ระบบ และมีการกาหนดรายวิชาบังคับที่ช่วยให้นักศึกษามีความตระหนักเกี่ยวกับความสาคัญของทักษะ
ต่างๆ เหล่านี้โดยตรง ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรปรับปรุงใหม่ในครั้งนี้จะเป็นการส่งเสริมให้บัณฑิตที่
จบไปจากหลักสูตรมีความสามารถในการทางานได้ทันทีและอย่างมีประสิทธิภาพ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


261

หลักสูตรที่คล้ายคลึงกันมักจะมีปัญหาจากมุมมองของภาคอุตสาหกรรมในสองลักษณะคือ ประการ
แรกบัณฑิตมีความรู้ดีแต่ไม่สามารถทางานเป็นส่วนหนึ่งของทีมงานวิศวกรรมได้ หรือประการสอง บัณฑิตที่
จบการศึกษาไปไม่มีองค์ความรู้เชิงวิศวกรรมเพียงพอที่จะเริ่มงานได้ทันที ซึ่งการที่บัณฑิตจากหลักสูตรนี้มี
ทั้งความรู้ที่จาเป็นต่อการทางานในสาขาวิชาที่เชี่ยวชาญของต้นและสามารถเป็นส่วนหนึ่งของทีมงาน
วิศวกรรมได้เป็นอย่างดี ซึ่งเป็นจุดแข่งของหลักสูตรนี้เมื่อเปรียบเทียบกับหลักสูตรอื่นๆ ที่คล้ายคลึงกันใน
ประเทศไทย

B )การวิเคราะห์สภาพแวดล้อมภายใน
B1) การวิเคราะห์ผลการดาเนินงานที่ผ่านของหลักสูตร
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาจัดตั้งครั้งแรกในปีการศึกษา 2520
ด้วยสาขาวิชาวิศวกรรมโครงสร้าง โดยหลักสูตรได้มีการปรับปรุงและพัฒนาอย่างต่อเนื่อง สาหรับหลักสูตร
ที่ปรับปรุงครั้งล่าสุด ตั้งแต่ปีการศึกษา 2559 ถึงปีการศึกษา 2663 ได้รับนักศึกษาใหม่จานวน 143 คน
และมีผู้จบการศึกษาในช่วงเวลาเดียวกันจานวน 86 คน
จานวนนักศึกษาที่สมัครเข้าศึกษาในหลักสูตรดังกล่าวมีค่าเฉลี่ย ประมาณ 35 คน/ปีการศึกษา ซึ่งมีค่า
ใกล้เคียงกับแผนการดาเนินการที่ระบุไว้ในหลักสูตรฉบับปรับปรุง ปีการศึกษา 2559 เป็นอย่างมาก
สัดส่วนของนักศึกษาที่เรียนจบการศึกษาคิดเป็น 60%

B 2)การวิเคราะห์ทรัพยากรที่หลักสูตรมี
นอกจากเครื่ อ งมื อ ครุ ภั ณ ฑ์ วิ จั ย ที่ ไ ด้ ล งทุ น และมี ก ารสนั บ สนุ น อย่ า งต่ อ เนื่ อ ง ในหลั ก สู ต รมี
คณาจารย์ที่มีวุฒิปริญญาเอกที่มีคุณสมบัติการเป็นที่ปรึกษาจานวน 25 คน ที่มีผลงานทางวิชาการต่อเนื่อง
และมีตาแหน่งวิชาการต่างๆ และจัดตั้งกลุ่มวิจัยต่างๆที่มีระบบการพัฒนาบัณฑิตที่เข้มแข็ง นอกจากนี้หนึ่ง
ในนโยบายหลักสาหรับการรับเข้าศึกษาของหลักสูตรนี้คือ นักศึกษาต้องสามารถทาโครงการวิทยานิพนธ์
ในช่วงปีที่ 2 ของการศึกษาในหลักสูตรได้แบบเต็มเวลา นักศึกษาในหลักสูตรส่วนใหญ่จะได้รับทุนการศึกษา
หรือการสนับสนุนอย่างเพียงพอจากที่ปรึกษาหรือภาควิชา
นอกเหนือจากเครื่องมือและครุภัณฑ์วิจัย โปรแกรมสาหรับคานวณแล้ว คณาจารย์ในหลักสูตรมีความ
ร่วมมือเป็นอย่างดีทั้งในระดับชาติ และนานาชาติ ที่จะสนับสนุนการทาวิจัยเพื่อสร้างองค์ความรู้ใหม่

B3) การวิเคราะห์จุดแข็งและจุดอ่อน
ด้วยหลักสูตรที่ได้จัดตั้งมาระยะเวลากว่า 40 ปี หลักสูตรได้ผลิตบัณฑิตจานวนมากที่ขณะนี้อยู่ใน
ภาคอุตสาหกรรม รวมถึงหน่วยงานรัฐ หน่วยงานรัฐวิสาหกิจ และบริษัทเอกชน บัณฑิตที่จบการศึกษาจาก
หลั ก สู ต รนี้ ไ ด้ รั บ การยอมรั บ ในแง่ ข องการท างานว่ า มี ค วามรู้ ใ นด้ า นวิ ศ วกรรมที่ เ กี่ ย วข้ อ งที่ ดี แ ละมี

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


262

ขยันหมั่นเพียรมีทักษะในการทางานเป็นทีมได้ คุณภาพของบัณฑิตที่ผ่านมาและภาพลักษณ์ดังกล่าวทาให้
อัตราการจ้างงานของบัณฑิตที่จบจากหลักสูตรนี้อยู่ในอัต ราที่สูงมาก และทาให้หลักสูตรนี้ถือเป็นหนึ่งใน
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตที่ได้รับความนิยมอันดับต้นๆ ของประเทศไทย นอกจากนี้การที่
หลักสูตรมีศิษย์เก่าจานวนมากที่เป็นผู้บริหารระดับสูงของหน่วยงานต่างๆ ทาให้มีเครือข่ายการทางานที่เข้ม
แข้งที่จะช่วยสนับสนุนช่วยเหลือเกื้อกูลนักศึกษาปัจจุบันและบัณฑิตจบใหม่ในรูปแบบต่างๆ เช่นการให้
ทุนการศึกษา การเป็นวิทยากรบรรยายเพื่อแบ่งบันประสบการณ์ การจัดศึกษาดูงาน เป็นต้น

1.2) สาระสาคัญของการเสนอปรับปรุงหลักสูตร พร้อมแสดงเหตุผล


C1) การออกแบบปรับปรุงครั้งนี้จากการวิเคราะห์สภาพแวดล้อม
ผลจากการวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในข้างต้นแสดงอย่างชัดเจนว่า ทักษะที่
คาดหวังสาหรับการประกอบอาชีพและเส้นทางการเจริญเติบโตในงานที่ได้จากทั้ง บัณฑิตที่จบการศึกษา
ในช่วง 5 ปีที่ผ่านมา และผู้บังคับบัญชาหรือหัวหน้างานของกลุ่มบัณฑิตดังกล่าว มีความคล้ายกัน และ
สอดคล้องกับ ปรัชญาของหลักสูตรและ ผลลัพธ์การเรียนรู้ที่ทาไว้เมื่อฉบับปรับปรุง 2559 อย่างไรก็ตาม
จากการวิเคราะห์ความต้องการของผู้มีส่วนได้ส่วนเสียครั้งนี้ ทาให้สามารถระบุทักษะที่มีความสาคัญระดับ
ต้นๆ และได้มีการระบุการพัฒนาทักษะต่างๆเหล่านั้นไว้เป็นส่วนของผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร
(PLOs) เพื่อให้เกิดความชัดเจนมากขึ้นว่าหลักสูตรให้ความสาคัญกับการพัฒนาทักษะนั้นไม่น้อยไปกว่าการ
เสริมสร้างองค์ความรู้เชิงวิศวกรรม
ความเปลี่ยนแปลงของสภาพแวดล้อมที่สาคัญอีกประการหนึ่ง คือ การที่ผู้ใช้งานบัณฑิตนั้นต้องการ
บุคลากรที่มีความรู้ ความสามารถ และทักษะในการใช้เทคโนโลยีเฉพาะสาขามากขึ้น และแสดงความเห็น
ว่าบัณฑิตที่จบการศึกษาจากหลักสูตร ป.โท นั้นไม่มีความโดดเด่นในสาขาความเชี่ยวชาญของตนอย่าง
เพียงพอ ซึ่งนี่น่าจะเป็นเหตุผลหลักข้อหนึ่งของการที่กลุ่มผู้ใช้งานบัณฑิตนั้น มีความรู้สึกว่าบัณฑิตที่จบจาก
หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิต สาขาวิศวกรรมโยธา นั้นไม่ได้มีความโดดเด่นแตกต่างจากบัณฑิตที่จบ
การศึกษาจากสถาบันอื่นๆ ที่เทียบเคียงกันในประเทศ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


263

C2) ประเด็นการปรับปรุงในครั้งนี้
การปรับปรุงครั้งนี้เป็นการปรับตามรอบปกติ โดยมีเนื้อหาสาระสาคัญที่การสารวจความต้องการ
ของผู้ใช้บัณฑิตว่าเปลี่ยนแปลงไปจากปรัชญาของหลักสูตรหรือไม่ และมีทักษะต่าง ๆที่ผู้ใช้บัณฑิตคาดหวัง
ที่ยังไม่มีในกระบวนการฝึกของหลักสูตรหรือไม่ เพื่อกาหนดและปรับปรุงกลยุทธ์การฝึกทักษะผ่านปรัชญา
ข อ ง ห ลั ก สู ต ร
ผลการสารวจพบว่า ภาคอุตสาหกรรมนั้นให้ความสาคัญกับทักษะในการทางานของบัณฑิต ไม่น้อยไปกว่า
องค์ความรู้เชิงวิศวกรรม และยังต้องการบัณฑิตที่มีความรู้ความสามารถเฉพาะด้านที่โดดเด่ นกว่าที่เคย
เป็นมาในอดีต
ในการปรับปรุงหลักสูตรครั้งนี้จึงได้มีการระบุทักษะที่ได้รับความสาคัญเป็นอันดับต้นๆ เป็นส่วนหนึ่งของ
ผลลัพธ์การเรียนรู้ระดับหลักสูตร พร้อมทั้งเปิดโอกาสให้นักศึกษาสามารถเลือกเรียนกลุ่มวิชาที่ตรงกับความ
เชี่ยวชาญที่ตนสนใจได้มากขึ้น โดยยัง คงความหลากหลายของวิชาเลือกเพื่อให้สอดคล้องกับความต้องการ
ของภาคอุตสาหกรรมและได้มีการปรับเปลี่ยนจานวนวิชาบังคับให้สอดคล้องกับแนวทางนี้ โดยวิชาบังคับจะ
เน้นไปที่การส่งเสริมให้นักศึกษาตระหนักถึงความสาคัญของทักษะต่าง ๆเหล่านี้ รวมไปถึงสามารถที่จะ
พัฒนาตนเองให้มีทั กษะดังกล่าวได้อย่างต่อเนื่องด้วย นอกจากนี้ยังมีการปรับรายวิชาเลือก เช่นตัดหรือ
ปรับปรุงเนื้อหารายวิชาที่ไม่ทันสมัยออกหรือให้ ปรับเนื้อหาของรายวิชาให้สอดคล้องกับเทคโนโลยีใน
ปัจจุบันหรือที่กาลังจะเป็นที่นิยมในอนาคต

C3) จุดเด่นของหลักสูตร
ด้วยหลั กสู ตรที่ ได้จัดตั้งมาระยะเวลากว่ า 40 ปี ชื่อเสียงที่สั่งสมมา หลักสูตรครอบคลุมสาขา
วิชาเอกที่เป็นสาขาสาคัญในอุตสาหกรรมถึง 4 สาขา คุณภาพของบัณฑิตได้รับการยอมรับเป็นอย่างดีจาก
หน่วยงานที่รับบัณฑิตไปทางานอยู่ ทั้งในภาครัฐและภาคเอกชน กอปรกับคณาจารย์ส่วนใหญ่ มีความ
เชื่อมโยงกับภาคอุตสาหกรรม ชื่อเสียงและศักยภาพของคณาจารย์ ทาให้หลักสูตรวิศวกรรมศาตรมหา
บัณฑิต สาขาวิชาวิศวกรรมโยธาเป็นตัวเลือกแรกๆ สาหรับผู้ต้องการศึกษาในระดับปริญญาโท สาขาวิชา
วิศวกรรมโยธา ในประเทศไทย
นอกจากนี้หน่วยงานที่รับผิดชอบหลักสูตร ได้แก่ ภาควิชาวิศวกรรมโยธาเอง ยังมีหลักสูตรระดับปริญญาตรี
ที่มีชื่อเสียงและเข้ม แข็ง ซึ่ งหลั กสู ตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตจะเป็นช่องทางหนึ่งให้บัณฑิตระดับ
ปริญญาตรีพัฒนาตัวเองไปอีกระดับหนึ่ง

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


264

หัวข้อที่ 2 ข้อมูลเฉพาะของหลักสูตร
2.1 ปรัชญา ความสาคัญ วัตถุประสงค์ของหลักสูตร
ปรัชญาของหลักสูตรคือ “เพื่อสร้างและพัฒนานักวิชาชีพด้านวิศวกรรมโยธาที่มีความรู้ความ
ชานาญ มีทักษะในการทางานเชิงวิศวกรรม พร้อมที่จะทางานในทีมงานวิศวกรรมระดับสูงได้ทันทีที่จบ
การศึกษา สามารถปรับตัวเข้ากับเทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว เป็นที่ยอมรับในระดับชาติ และ
ปฏิบัติตนตามหลักจริยธรรมและจรรยาบรรณ”
ในการพั ฒ นาเศรษฐกิ จ และสั ง คมของประเทศไทยให้ ต่ อ เนื่ อ งนั้ น ยั ง คงต้ อ งมี ก ารก่ อ สร้ า ง
โครงสร้างระบบสาธารณูปโภคพื้นฐาน ระบบขนส่ง และที่พักอาศัยที่มีความปลอดภัยให้กับประชาชนอย่าง
ทั่วถึง นอกจากนี้ประเทศไทยยังต้องการผู้เชี่ ยวชาญที่จะคอยบริหารจัดการความเสี่ยงที่อาจจะเกิดจากภัย
พิบัติต่าง ๆ เช่น อุทกภัย ป้องกันปัญหาอุบัติเหตุ ต่าง ๆ ในระยะยาว ประเทศไทยยังต้องมีการบารุงรักษา
ระบบสาธารณูปโภค โครงสร้างต่างๆ ที่มีอยู่ให้คงอยู่ในสภาพที่พร้อมใช้งาน ซึ่งการดาเนินการดังกล่าวนั้น
ต้องการวิศวกรโยธาที่มีทั้งความรู้และทักษะในการทางานที่ดีเป็นจานวนมาก ในขณะเดียวกันลักษณะการ
ทางานเชิงวิศวกรรมโยธาก็มีการเปลี่ยนแปลงอย่างต่อเนื่องและทักษะต่างๆ ที่จาเป็นต่อวิศวกรรุ่นใหม่ๆ ก็
เปลี่ยนแปลงไปจากเดิม หน่วยงานต่างๆ มีความต้องการวิศวกรที่พร้อมที่จะทางานได้ทั นทีที่จบการศึกษา
มากกว่าที่จะต้องทาการฝึกอบรมก่อนที่จะให้เริ่มปฏิบัติงานทั้งนี้เพื่อให้หน่วยงานสามารถบรรลุเป้าหมายใน
การดาเนินงานได้อย่างรวดเร็วและมีประสิทธิภาพที่สุด ตามที่หลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตนี้เน้น
การพัฒนานักวิชาชีพด้านวิศวกรรมโยธาที่มีทั้งความรู้ในระดับสูงและมีทักษะต่างๆ พร้อมที่จะปฏิบัติงานได้
ทั น ที ที่ จ บการศึ ก ษา จึ ง เป็ น หลั ก สู ต รที่ ต อบสนองต่ อ ความต้ อ งการของประเทศไทยในปั จ จุ บั น และมี
ความสาคัญในการแก้ปัญหาและส่งเสริมการพัฒนาของประเทศ บุคลากรที่สาเร็จการศึกษาจะช่วยเพิ่ม
คุณภาพและเพิ่มขีดความสามารถในการผลิต และแก้ปัญหา และเป็นผลให้เศรษฐกิจของประเทศแข็งแกร่ง
และมีการพัฒนาที่ยั่งยืน
วัตถุประสงค์ของหลักสูตรเป็นไปดังนี้
o เพื่อผลิตนักวิชาชีพวิศวกรรมโยธาระดับปริญญาโท ที่มีทั้งความรู้ระดับสูงและทักษะในการทางานใน
สาขาวิชาวิศวกรรมโยธา เป็นที่ยอมรับของภาคอุตสาหกรรมขึ้นภายในประเทศ
o เพื่อผลิตนักวิชาชีพวิศวกรรมโยธาที่สามารถประยุกต์ใช้กระบวนการวิจัยในการแก้ไขปัญหาหรือ
สร้างนวัตกรรมในเชิงวิศวกรรมได้
o เพื่อผลิตนักวิชาชีพวิศวกรรมโยธาเพื่อตอบสนองความต้องการของประเทศและภูมิภาค มีความรู้
พื้นฐานในสาขาความเชี่ยวชาญที่ดีและสามารถที่จะทางานเป็นทีมและปรับตัวตามสภาวะการณ์และ
เทคโนโลยีที่เปลี่ยนแปลงไปได้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


265

2.2 คุณลักษณะบัณฑิตที่พึงประสงค์หรือคุณลักษณะพิเศษของบัณฑิตของหลักสูตร
คุณลักษณะของบัณฑิตจะเป็นนักวิชาชีพวิศวกรรมโยธาที่มีทั้ง “ความรู้สาขาความเชี่ยวชาญของตน
ในระดับสูง” และมี “ทักษะในการทางานเชิงวิศวกรรม” ที่เป็นที่ต้องการของภาคอุตสาหกรรมในปัจจุบันและ
ในอนาคตอันใกล้ ทั้งยังประพฤติตนตามหลักจริยธรรมและจรรยาบรรณ สามารถที่จะประยุกต์ใช้องค์ความรู้
ต่างๆ รวมถึงกระบวนการวิจัยเพื่อทางาน แก้ไขปัญหา หรือสร้างนวัตกรรมเชิงวิศวกรรมให้สาเร็จลุล่วงไปได้

2.3 ผลลัพธ์การเรียนรู้ทคี่ าดหวังของหลักสูตร


PLO1 : บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในงานด้านวิศวกรรมโยธาได้
Sub PLO1A : อธิบายเกี่ยวกับปรากฎการณ์ธรรมชาติ วัสดุและระบบต่างๆ ที่เกี่ยวข้องกับงาน
วิศวกรรมโยธาและประยุกต์ใช้ความรู้ดังกล่าวในงานวิศวกรรมได้
Sub PLO1B : วิเคราะห์และออกแบบโครงสร้างหรือระบบเชิงวิศวกรรมโยธาด้านต่างๆ ให้มีความ
ปลอดภัยได้อย่างเหมาะสม
PLO2 : บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้ความรู้ในงานด้านวิศวกรรมโยธาได้
Sub PLO2A : สามารถเรียนรู้ได้ด้วยตนเอง
Sub PLO2B : สามารถบริหารจัดการงานและรับผิดชอบในการดาเนินงานให้เสร็จลุล่วงไปได้
Sub PLO2C : สามารถสื่อสารและสามารถทางานร่วมกับผู้อื่นได้
Sub PLO2D : สามารถดาเนินการวิจัยเพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมได้
Sub PLO2E : มีความสามารถในการปรับตัวและทางานภายใต้ความกดดันได้
Sub PLO2F : สามารถใช้เทคโนโลยีสมัยใหม่สาหรับงานวิศวกรรมในสาขาความเชี่ยวชาญได้
PLO3 : ปฏิบัติตนตามหลักจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรมและมีความรับผิดชอบทั้งต่อตนเองและสังคม
Sub PLO3A ยึดมั่นในหลักจรรยาบรรณคุณธรรม จริยธรรม และความถูกต้อง ไม่ละเมิดสิทธิทาง
ปัญญาของผู้อนื่
Sub PLO3B รับฟังความเห็นที่แตกต่าง ให้เกียรติและเคารพคุณค่าในงานของผู้อื่น

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


266

หัวข้อที่ 3 การพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้ และการประเมินผลผู้เรียน


3.1 แนวคิดในการพัฒนาผลลัพธ์การเรียนรู้แต่ละด้านของหลักสูตร
3.1.1) อธิบายถึงกลยุทธ์การเรียนการสอนทีจ่ ะใช้ในรายวิชาต่างๆ ในหลักสูตร เพื่อที่จะพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตาม
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรที่ตั้งไว้
ปรัชญาและลักษณะของหลักสูตรวิศวกรรมศาสตรมหาบัณฑิตนี้ เป็นการต่อยอดความสามารถความรู้และ
ทักษะของผุ้ที่จบการศึกษาในระดับปริญญาตรี เพื่อให้สามารถทางานได้มีประสิทธิภาพมากขึ้นและตรงตามความ
ต้องการของภาคอุตสาหกรรม
สาหรับการพัฒนาบัณฑิตในแง่ของ “องค์ความรู้เชิงวิศวกรรม” จะอาศัยกลยุทธ์การเรียนจากการบรรยาย การ
ยกตัวอย่างปัญหาเชิงวิศวกรรม และการแก้ปัญหาตัวอย่าง โดยจะมีการเสริมด้วยการมอบหมายงานที่มีความ
ซับซ้อนขึ้นเพื่อส่งเสริมให้นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้ในการแก้ปัญหา การวิเคราะห์และการออกแบบ
ได้
สาหรับการพัฒนาในแง่ของ “ทักษะที่จาเป็นต่อการทางานวิชาชีพวิศวกรรม” จะผ่านการทากิจกรรมการเรียนรู้
ในรายวิชาบังคับ “CVE701 ทักษะสาคัญสาหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา” ซึ่งจะช่วยให้นกั ศึกษาตระหนักถึง
ความสาคัญของทักษะต่างๆ และประเมินได้ว่าตนเองมีทักษะต่างๆเหล่านี้มากเพียงใด รวมไปถึงสามารถที่จะ
กาหนดแนวทางการพัฒนาทักษะต่างๆ เหล่านั้นและนาไปใช้ในการทาวิทยานิพนธ์ของตนเองได้
3.1.2) อธิบายกลยุทธ์ในการวัดและประเมินผลที่จะใช้ในรายวิชาต่างๆ ในหลักสูตร ที่จะประเมินผลการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนว่าสามารถบรรลุตามผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรที่ตั้งไว้ หรือไม่
เกณฑ์การวัดและประเมินผลที่เข้มข้นมีตลอดตามช่วงเวลาต่างๆ ได้แก่
1. การสอบ
2. การให้คะแนนงานที่มอบหมาย
3. เกณฑ์การตีพิมพ์
4. การนาเสนอผลงานในที่ประชุมวิชาการ
5. การสอบวิทยานิพนธ์
3.1.3) ตารางสรุป
ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร กลยุทธ์วิธีการสอน กลยุทธ์การวัดและประเมินผล

PLO1 : บั ณ ฑิ ต ส า ม า ร ถ การบรรยายในห้องเรียน การสอบวัดผล (สอบกลางภาค


ประยุ ก ต์ ใ ช้ ค วามรู้ ใ นงานด้ า น และ สอบปลายภาค)
วิศวกรรมโยธาได้
Sub PLO1A :
อ ธิ บ า ย เ กี่ ย ว กั บ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


267

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร กลยุทธ์วิธีการสอน กลยุทธ์การวัดและประเมินผล

ปรากฎการณ์ธรรมชาติ วัสดุและ การยกตัวอย่างและแสดงวิธีการ การให้คะแนนจากงานที่


ระบบต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ งาน หาคาตอบตามหลักขององค์ มอบหมาย
วิ ศ วกรรมโยธาและประยุ ก ต์ ใ ช้ ความรู้สาขาต่างๆ
ความรู้ดังกล่าวในงานวิศวกรรม การประยุกต์ใช้ความรู้ในการทา
ได้ การให้นักศึกษาฝึกแก้ปัญหาเชิง วิทยานิพนธ์ (การสอบ
Sub PLO1B : วิศวกรรมโดยเน้นไปที่การ วิทยานิพนธ์)
วิเคราะห์และออกแบบ ประยุกต์ใช้ความรู้ ในรูปแบบของ
โครงสร้างหรือระบบเชิง การมอบหมายงาน (งานเดี่ยว
วิศวกรรมโยธาด้านต่างๆ ให้มี
หรืองานกลุ่ม)
ความปลอดภัยได้อย่างเหมาะสม
การให้นักศึกษาอธิบายหลักการ
ต่างๆ ในเชิงวิศวกรรม

PLO2 : บั ณ ฑิ ต ส า ม า ร ถ การอธิบายถึงความสาคัญของ การสอบวัดผล (สอบกลางภาค


ประยุ ก ต์ ใ ช้ ค วามรู้ ใ นงานด้ า น ทักษะต่างๆ ในการทางานเชิง และ สอบปลายภาค)
วิศวกรรมโยธาได้ วิศวกรรม
Sub PLO2A : การให้คะแนนจากงานที่
สามารถเรี ย นรู้ ไ ด้ ด้ ว ย การให้นักศึกษาฝึกทักษะแต่ละ มอบหมาย
ตนเอง อย่างผ่านการทากิจกรรมแบบ
การประยุกต์ใช้ทักษะต่างๆ ใน
Sub PLO2B : กลุ่มโดยเน้นไปที่การเปิดให้
สามารถบริ ห ารจั ด การ การทาวิทยานิพนธ์ (การนาเสนอ
นักศึกษาพิจารณาว่าตนเองจะ
ง า น แ ล ะ รั บ ผิ ด ช อ บ ใ น ก า ร ผลงานวิจัย / การติพิมพ์เผยแพร่
พัฒนาทักษะแต่ละอย่างนั้นได้
ดาเนินงานให้เสร็จลุล่วงไปได้ ผลงาน)
Sub PLO2C : มี อย่างไร (อาจจะมีการระดมสมอง
ทักษะในการสื่อสารและสามารถ ภายในกลุ่มเพื่อกระตุ้นการ
ทางานร่วมกับผู้อื่นได้ เรียนรู้)
Sub PLO2D :
การให้นักศึกษาอธิบายแนวทาง
สามารถดาเนินการวิจัย
เพื่อแก้ปัญหาทางวิศวกรรมได้ ในการพัฒนาทักษะแต่ละอย่างที่
ตนเองคิดว่าเหมาะสม รวมไปถึง
แนวทางในการประยุกต์ใช้ทักษะ

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


268

ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตร กลยุทธ์วิธีการสอน กลยุทธ์การวัดและประเมินผล

Sub PLO2E : มี นั้นๆ ในงานวิทยานิพนธ์ของ


ความสามารถในการปรับตัวและ ตนเอง
ทางานภายใต้ความกดดันได้
Sub PLO2F :
สามารถใช้ เ ทคโนโลยี
สมัยใหม่สาหรับงานวิศวกรรมใน
สาขาความเชี่ยวชาญได้

PLO3 : ปฏิบัติตนตามหลัก การอธิบายถึงความสาคัญของ การติดตามว่านักศึกษาไม่ทาผิด


จรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม จรรยาบรรณและหลักจริยธรรม หลักจริยธรรมตลอดระยะเวลา
และมีความรับผิดชอบทั้งต่อ ในการทางานเชิงวิศวกรรม การเรียนในหลักสูตร (ทั้งรายวิชา
ตนเองและสังคม
และวิทยานิพนธ์)
Sub PLO3A : ยึดมั่น การให้นักศึกษาพิจารณาว่า หาก
ในหลักจรรยาบรรณคุณธรรม ปราศจากหลักจรรยาบรรณและ
จริยธรรม และความถูกต้อง ไม่ หลักจริยธรรมแล้ว การทางานจะ
ละเมิดสิทธิทางปัญญาของผู้อื่น มีปัญหาอย่างไร (โดยพิจารณา
Sub PLO3B : รับฟัง
ผลกระทบในระดับบุคคล ใน
ความเห็นที่แตกต่าง ให้เกียรติ
และเคารพคุณค่าในงานของผู้อื่น ระดับทีม ในระดับองค์กร และใน
ระดับประเทศ)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


269

3.2 Stage-LOs
Stage LO#1 มีความรู้และพื้นฐานเบื้องต้น บัณฑิตมีความสามารถในการใช้ทักษะในเชิงคณิตศาสตร์ และ
ตระหนักถึงทักษะต่างๆ ที่สาคัญต่อการทางานในเชิงวิศวกรรมวิชาชีพ
วิธีการวัดผล ใช้ผลการเรียนของรายวิชา CVE701 ซึ่งเป็นวิชาบังคับของหลักสูตร ร่วมกับรายวิชาเลือกสาขา
คณิตศาสตร์
กาหนดเวลา ภายใน 2 ภาคการศึกษาแรก
PLO ที่ถูกวัด PLO2

Stage LO#2 บัณฑิตสามารถประยุกต์ใช้องค์ความรู้เกี่ยวกับปรากฎการณ์ธรรมชาติและหลักการวิศวกรรม


ในการประยุกต์ออกแบบงานวิศวกรรม
วิธีการวัดผล ใช้ผลการเรียนของวิชาเลือกของกลุ่มวิชาหลัก โดยนักศึกษาจะต้องลงสะสมหน่วยกิตของวิชา
เลือกกลุ่มวิชาหลักได้ไม่น้อยกว่า 15 หน่วยกิต
กาหนดเวลา ภายใน 3 ภาคการศึกษาแรก
PLO ที่ถูกวัด PLO1, และ PLO3

Stage LO#3 บัณฑิตดาเนินการแก้ไขปัญหาหรือพัฒนาระบบเชิงวิศวกรรมโดยใช้องค์ความรู้เชิงวิศวกรรม


และทักษะในการทางานโดยคานึงถึงหลักจรรยาบรรณและจริยธรรม
วิธีการวัดผล นักศึกษาสร้างสรรค์ผลงานตามเงื่อนไขการจบการศึ กษาได้ครบถ้วน ดาเนินงานวิทยานิพนธ์ได้
เสร็จสมบูรณ์ มี การเผยแพร่ผ ลงานตามเกณฑ์ และดาเนินการสอบประเมินผลด้วยคณะกรรมการสอบ
วิทยานิพนธ์เป็นขั้นตอนสุดท้าย
PLO ที่ถูกวัด PLO1, PLO2, PLO3

3.3 โครงสร้างของหลักสูตร
3.3.1) เปรียบเทียบโครงสร้างหลักสูตรเดิมกับประกาศกระทรวงศึกษาธิการ เรื่องเกณฑ์มาตรฐานหลักสูตร ดังนี้
จานวนหน่วยกิต จานวน
หมวดวิชา เกณฑ์ หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรุง หน่วยกิต
สป.อว. พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2564 ที่แตกต่าง
แผน ก2 (วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต)
วิชาบังคับ ≥ 12 4 1 -3
วิชาเลือก 21 24 +3
วิทยานิพนธ์ ≥ 12 12 12 -

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


270

จานวนหน่วยกิต จานวน
หมวดวิชา เกณฑ์ หลักสูตรเดิม หลักสูตรปรับปรุง หน่วยกิต
สป.อว. พ.ศ. 2559 พ.ศ. 2564 ที่แตกต่าง
แผน ก2 (วิทยานิพนธ์ 12 หน่วยกิต)
จานวนหน่วยกิตรวม ≥ 36 37 37 -
ตลอดหลักสูตร

3.3.2) อธิบายแนวคิดในการออกแบบโครงสร้างและเนื้อหาของหลักสูตร ที่จะใช้ในการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตาม


ผลลัพธ์การเรียนรู้ของหลักสูตรที่ตั้งไว้
ในการพิจารณาแนวคิดในการพัฒนาผู้เรียนให้บรรลุตามผลลัพธ์การเรียนรู้นั้น อาจจะสามารถจาแนกส่วน
ของการเรียนรู้อ อกมาได้ เป็ น 2 ส่ วนหลั ก ๆ ส่วนแรกคือส่วนที่เน้นในการพั ฒนา “ทักษะในการทางานด้ า น
วิศวกรรม” และส่วนที่สองคือส่วนที่ “สร้างเสริมองค์ความรู้เชิงวิศวกรรมและการประยุกต์ที่ตรงตามความต้องการ
ของผู้ใช้งานบัณฑิตและเทคโนโลยีในปัจจุบัน”
ในการสร้างเสริมทักษะในการทางานด้านวิศวกรรมนั้น จะมีการเน้นย้าถึงทักษะที่สาคัญ จากมุมมองของผู้ใช้บัณฑิต
และศิษย์เก่าของหลักสูตร และฝึกฝนเบื้องต้นในวิช าบังคับ “CVE701 ทักษะสาคัญสาหรับวิชาชีพวิศวกรรมโยธา”
และเป็นที่คาดหวังว่า นักศึกษาจะเริ่มนาแนวทางที่อยู่ในรายวิชาดังกล่าวไปใช้ในระหว่างที่เรียนอยู่ในหลักสูตรนี้
โดยเฉพาะอย่างยิ่งในการทาวิทยานิพนธ์
สาหรับรายวิชาคณิตศาสตร์ซึ่งเป็นองค์ความรู้พื้นฐานที่นักศึกษาจะสามารถนาไปประยุกต์ใช้นั้น ได้มีการกาหนดให้
นักศึกษาแต่ละคนต้องเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์อย่างน้อย 3 หน่วยกิต แต่เพื่อให้นักศึกษาสามารถเลือกเรียนหัวข้อ
ทางคณิตศาสตร์ที่เหมาะสมกับความเชี่ยวชาญของตนได้ จึงได้กาหนดรายวิชาคณิตศาสตร์เป็นวิชาเลือกและได้มี
การแนะนารายวิชาคณิตศาสตร์ที่นักศึกษาควรเรียนไว้ในส่วนของแผนการศึกษา อย่างไรก็ตามอาจารย์ที่ปรึกษา
วิทยานิพนธ์จะเป็นผู้ให้คาแนะนาเพิ่มเติมแก่นักศึกษาว่าควรเรียนรายวิชาคณิตศาสตร์ตัวใดจึงจะเป็นประโยชน์ต่อ
ตัวนักศึกษามากที่สุด
สาหรับการสร้างเสริมองค์ความรู้เชิงวิศวกรรมและการประยุกต์นั้น นักศึกษาจะได้เรียนรู้ในรายวิชาเลือกซึ่ ง
นักเรียนแต่ละคนจะสามารถเลือกลงเรียนวิชาที่ตรงกับแผนการทางานในอนาคตและความสนใจของตนเอง โดย
นักศึกษาจะมีอิสระในการเลือกเรียนรายวิชาในส่วนนี้ ซึ่งนักศึกษาจะสามารถเลือกเรียนรายวิชาที่จะช่วยเสริมสร้าง
ความรู้และทักษะในการวิเคราะห์เฉพาะทางซึ่งเป็นสิ่งที่ผู้ในงานบัณฑิตในภาคอุตสาหกรรมแสดงความเห็นว่า
หลักสูตรควรมีการปรับเปลี่ยนเพื่อให้มีความโดดเด่นเหนือกว่าหลักสูตรที่คล้ายคลึงกันในประเทศไทย
นักศึกษาแต่ละคนยังสามารถที่จะเลือกเรียนบางรายวิชาที่อยู่นอกกลุ่มวิชาหลักของตนเองได้ เป็นจานวนไม่เกิน 6
หน่วยกิต ซึ่งอิสระในการเรียนบางรายวิชาที่อยู่นอกกลุ่มวิชาหลักของตนเองนั้นก็จะช่วยให้นักศึกษามีความรู้
เกี่ยวกับสาขาอื่นๆ ที่อาจจะเป็นประโยชน์ต่อการทางานในอนาคต

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


271

ทั้งนี้ จะมีการสอดแทรกความสาคัญของหลักจรรยาบรรณ คุณธรรม จริยธรรม ในทุกๆ ส่วนของการเรียนการสอน


ตลอดหลักสูตร โดยนักศึกษาจะต้องแสดงให้เห็นว่ายึดหลักการดังกล่าวในการเรียน การส่งงาน และการทา
วิทยานิพนธ์
ถึ ง แม้ ว่ า การวางโครงสร้า งหลั ก สู ต รดั ง กล่ า วจะท าให้มี วิ ช าเลือ กเป็น จ านวนมาก แต่ ก็ เ ป็ น สิ่ ง ที่ส อดคล้อ งต่อ
ข้อเสนอแนะจากผู้ใช้งานบัณฑิตในภาคอุตสาหกรรมทั้งยังจะไม่ก่อให้เกิดปัญหาด้านการบริหารจัดการใดๆ เพราะ
ภาควิชาวิศวกรรมโยธานั้นมีประสบการณ์ในการจัดการเรียนการสอนและมีบุคลากรเพียงพอต่อการเรียนการสอน

หัวข้อที่ 4
4.1 คุณสมบัติของผู้เข้าศึกษา
เป็นผู้สาเร็จการศึกษาปริญญาตรีสาขาวิศวกรรมโยธาจากสถาบันอุดมศึกษาที่สานักงาคณะกรรมการ
ข้าราชการผลเรือน (ก.พ) รับรองหลักสูตร หรือสาขาวิชาอื่นที่เทียบเท่าซึ่งคณะกรรมการสอบคัดเลือกเข้า
ศึกษาของภาควิชาฯ พิจารณาเห็นสมควรรับเข้าศึกษาได้

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


272

ภาคผนวก ช. เอกสารความร่วมมือกับสถาบันอื่น

University of Malaya (UM)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


273

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


274

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


275

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


276

Universiti Teknologi Malasia (UTM)

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


277

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


278

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


279

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


280

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


281

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


282

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


283

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


284

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


285

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


286

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


287

Agreement on Student Exchange Program

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


288

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


289

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


290

MEMORANDUM OF UNDERSTANDING

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


291

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


292

Agreement on Scholarly Exchange and Collaboration

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)


293

อนุมัติจากสภา มจธ.ครั้งที่ 263 (7 ก.ค. 64)

You might also like