You are on page 1of 89

คณะครุศาสตร์

มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

E R N
IN T
I P 2
SH

คู่มือปฏิบัติการ
รายวิชา ETP414
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2

สำหรับนักศึกษาชั้นปีที่ 5
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี)
คู่มือการปฏิบัติการรายวิชา ETP 414
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (Internship 2)
นักศึกษาชั้นปีที่ 5 (หลักสูตร 5 ปี)

ชื่อนักศึกษา......................................................................................................
สาขาวิชา.......................................................รหัสประจาตัว.............................
ชื่อสถานศึกษา...................................................ภาคเรียนที่............../..............

คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 1

คานา

คู่มือการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานี้ จัดทาขึ้นเพื่อเป็นแนวทางการปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษาสาหรับนักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (หลักสูตร 5 ปี) ได้จัดทาขึ้นโดยมีวัตถุประสงค์
เพื่อให้นักศึกษามีความเข้าใจเกี่ยวกับกระบวนการศึกษา การฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครู ระเบียบ
ข้อปฏิบัติต่างๆ ร่วมกัน นอกจากนี้ยังมีข้อมูลเกี่ยวกับกิจกรรมต่างๆ ที่นักศึกษาควรทราบ เพื่อเป็น
แนวทางในการปฏิบัติ โดยภายในประกอบด้วยหัวข้อสาคัญ ได้แก่ จุดมุ่งหมายในการปฏิบัติการสอนใน
สถานศึ ก ษา ค าอธิ บ ายรายวิ ช า การปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษา คุ ณ สมบั ติ ข องนั ก ศึ ก ษาที่ จ ะ
ปฏิบั ติการสอนในสถานศึกษา ระยะเวลาในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การเตรียมตัว ก่ อ น
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การเขียนแผนการสอนรายวิชาและแผนการสอนรายสัปดาห์ ประโยชน์
ของแผนการสอน บทบาทและหน้าที่ของบุคลากรผู้เกี่ยวข้อง คุณสมบัติและบทบาทหน้าที่ของผู้พี่เลี้ยง
คุณสมบัติและบทบาทหน้าที่ของอาจารย์นิเทศก์ หน้าที่และความรับผิดชอบของนักศึกษา การปฏิบัติ
ก่อนสิ้นสุดการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา การประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเกณฑ์
การประเมินผล ผังการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาและแบบฟอร์มต่างๆ
การทาความเข้าใจกับคู่มือเล่มนี้จะช่วยให้นักศึกษาสามารถกาหนดแนวทางหรือแผนการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู ในส่วนของระเบียบ ข้อปฏิบัติ จะช่วยให้นักศึกษาสามารถปรับตัวและวางตน
ได้เหมาะสมตลอดเวลาที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในสถานศึกษาที่ทาการฝึกปฏิบัติ และเพื่อประโยชน์
สูงสุดของคู่มือเล่มนี้ขอให้นักศึกษาอ่านและความเข้าใจให้กระจ่างในทุกเรื่องและควรเก็บคู่มือนี้ไว้ศึกษา
ตลอดระยะเวลาที่ทาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูจนเสร็จสิ้น หากนักศึกษายังไม่เข้าใจในเรื่องใดๆ ให้
พบอาจารย์ที่ปรึกษาหรือหัวหน้าสาขาวิชา หรือฝ่ายที่เกี่ยวข้องโดยตรง
ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระ
บรมราชูป ถัมภ์ หวังเป็ น อย่ างยิ่ งว่าคู่มือนี้จะเป็นเสมือนที่ปรึกษาประจาตัว ของท่านส าหรับใช้ เ ป็ น
แนวทางในการสนับสนุนและเตรียมความพร้อมนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ขอให้นักศึกษาที่ใส่
ใจศึกษาคู่มือเล่มนี้ จะเป็นผู้มีปัญญามองเห็นทางเดินสู่ความสาเร็จและก้าวเดินไปได้อย่างราบรื่น สม
ดั ง เจตนารมณ์ ที่ ทุ ก คนมุ่ ง หวั ง หากท่ า นที่ น าคู่ มื อ ฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษานี้ ไ ปใช้ และมี
ข้อเสนอแนะ ผู้จัดทายินดีรับฟังและขอขอบพระคุณในความอนุเคราะห์มา ณ โอกาสนี้

ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 2

สารบัญ

เนื้อหา หน้า
ส่วนที่ 1 ข้อมูลพื้นฐานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู……………………………………………….... 3
บทที่ 1 ความสาคัญและจุดมุ่งหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู.................................. 4
บทที่ 2 แนวการจัดการเรียนรู้ของรายวิชา……………………………………………….…………………….. 8
บทที่ 3 ระเบียบ และแนวปฏิบัติการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา..................................... 14
บทที่ 4 คุณสมบัติและบทบาทหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้องกับการฝึกประสบการณ์สอนในชุมชน
แห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ…………………....……………………………………………………………. 29
ส่วนที่ 2 ชิ้นงาน แบบบันทึกและรายงานของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู………..…. 37
บทที่ 5 การจัดทารายงานปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา.......................................................... 38
บทที่ 6 แบบบันทึกการปฏิบัติงานประจาวัน..................................……………………………..…….. 51
บทที่ 7 การวิจัยในชั้นเรียนและการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน.…….....……………………………. 53
ส่วนที่ 3 กรอบการประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2...................................... 61
บทที่ 8 แบบประเมินสาหรับผู้บริหารสถานศึกษา หรือครูนิเทศก์ประจาโรงเรียน…………….…. 66
บทที่ 9 แบบประเมินสาหรับครูพี่เลี้ยง........................................................………………..………. 70
บทที่ 10 แบบประเมินสาหรับอาจารย์นิเทศก์............................................................................ 78
คณะผู้จัดและการติดต่อ......................................………..………………………………………………… 86
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 3

-------------------------------------------------------------------------
ส่วนที่ 1
ข้อมูลพื้นฐานการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
-------------------------------------------------------------------------

“ชาติยืนยง คงอยู่ เพราะครูดี


สาคัญนัก หน้าที่ เรามีอยู่
งานก่อสร้าง ห้างหอ ยากพอดู
แต่งานครู ยากยิ่ง กว่าสิ่งใด”
หม่อมหลวงปิ่น มาลากุล
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 4

บทที่ 1
ความสาคัญและจุดมุ่งหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

การผลิตครูตามหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ) ได้ให้ความสาคัญต่ อการจัดให้ผู้เรียนได้มี


โอกาสฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูและปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ อันจะช่วยเสริมสร้างให้ผู้เรียนได้เป็นผู้ที่มี
ความสามารถและมีทักษะในด้านต่าง ๆ เพื่อที่จะรับผิดชอบในด้านการสอน การพัฒนาวิชาชีพ โดย
กาหนดให้การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเป็นหัวใจของการฝึ กหัดครูและเป็นเรื่องสาคัญยิ่ง เพราะว่า
เป็นการที่นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต ได้นาเอาทฤษฎีและการปฏิบัติที่ได้เรียนรู้ในชั้นเรียนใช้
ประกอบกัน ในการปฏิบั ติการสอนในสถานศึกษา โดยในบทนี้จะนาเสนอเกี่ยวกับความส าคัญและ
จุ ดมุ่งหมายของการฝึ กประสบการณ์วิช าชีพ ครูในรายวิช าฝึ ก ประสบการณ์วิช าชี พครูและรายวิ ช า
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รายละเอียด ดังต่อไปนี้

1.1 ความสาคัญและจุดมุ่งหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เป็นหัวใจสาคัญของการผลิตครู เพราะเป็นกระบวนการ
ภาคปฏิบัติที่ช่วยเสริมสร้างคุณภาพของการผลิตครูให้มีความสามารถในการปฏิบัติงานหน้าที่ของครูได้
เป็นอย่างดี มิใช่การผลิตนักวิชาการครูให้มีความสามารถเฉพาะทางด้านทฤษฎีเท่านั้น นอกจากนี้การ
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพยังเป็นการศึกษาภาคปกติของนักศึกษาครู โดยการนาเอาความรู้ภาคทฤษฎีไป
ทดลองใช้ในสภาพความเป็นจริง มีโอกาสได้พัฒนาบุคลิกภาความเป็นครู และความเป็นครูของตนให้
เหมาะสมกับวิชาชีพ ได้เรียนรู้วิธีการทางานร่วมกันผู้อื่น ตลอดจนการปฏิบัติตนตามกฎหรือระเบียบ
ของสถานศึกษานั้น ๆ ซึ่งเป็นการเสริมสร้างคุณภาพและสมรรถภาพในการเป็นครูที่ดีในอนาคต
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูจาเป็นต้องมีการกาหนดจุดหมายให้ชัดเจน เพื่อเป็นแนวทาง
กาหนดทิศทางการดาเนินงานให้ไปสู่เป้าหมายอย่างถูกต้อง จึงได้กาหนดจุดมุ่งหมายเพื่อเป็นแนวทางใน
การจัดและดาเนินงานประสบการณ์วิชาชีพ เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาประสบการณ์วิชาชีพ (คณะครุ
ศาสตร์ จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย, 2523 : 7-8) ดังนี้
1. ได้ประสบการณ์ตรงเกี่ยวกับนักเรียน
2. ได้ศึกษาการจัดการและบริหารโรงเรียนอย่างใกล้ชิด
3. ได้เห็นปัญหาที่แท้จริงของโรงเรียนและคิดค้นหาวิธีแก้ปัญหาเฉพาะหน้าเป็นราย ๆ ไป
4. ได้ทดลองปฏิบัติตามทฤษฎีที่ได้เรียนมา และรู้จักยืดหยุ่นบ้างโดยอาศัยปัญหาที่เกิดขึ้น
และความจริงที่เกี่ยวกับนักเรียนเป็นรากฐาน
5. ปรับตัวให้เข้ากับสังคมในฐานะที่เป็นครู
6. ส่งเสริมความสัมพันธ์อันดีระหว่างนิสิตฝึกสอน นักเรียน ครู และเจ้าหน้าที่อื่นในสถาบัน
ฝึกสอน
7. เผยแพร่เกียรติคุณและชื่อเสียงของจุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัยและของนิสิ ตเอง โดยยึดมั่น
ในการทาความดี ในด้านการปฏิบัติงาน และการปรับตัวให้เข้ากับครู อาจารย์ และเจ้าหน้าที่อื่น ๆ ใน
โรงเรียน
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 5

8. ดาเนินงานภายใต้ระเบียบข้าราชการครู และการนิเทศของทางสถาบันฝึกสอนและทาง
ครุศาสตร์
9. ส่งเสริมความเจริญงอกงามส่วนบุคคลของตนเอง (Personal Growth) เพราะในการช่วย
ให้ผู้อื่นเจริญเติบโตนั้น นิสิตมีโอกาสช่วยตนเองได้อย่างมากด้วย
10. แสดงความเป็ น ผู้ น าในชั้ น ที่ ฝึ ก สอน โดยการท าหน้ า ที่ เ ป็ น ครู ข องนั ก เรี ย นและ
ขณะเดียวกันก็ได้แสดงความเป็นผู้ร่วมงานที่ดี โดยช่วยเหลือเพื่อนนิสิต และอาจารย์นิเทศฝ่ายโรงเรียน
ทาหน้าที่สอนนักเรียน
11. ได้ศึกษาความเข้มแข็งและความอ่อนแอในเรื่องบุคลิกภาพของตนเองและเพื่อนนิสิ ต
ด้วยกัน
12. ได้ฝึกตัวให้ปฏิบัติงานอย่างสม่าเสมอ โดยมีการเตรียมงานและรู้จักแบ่งเวลาการทางาน
ได้เหมาะสม
จุดมุ่งหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของสถาบันผลิตครู ดังได้กล่าวมาข้างต้น จะเห็น
ได้ว่ามีความสอดคล้องและเป็นไปในทางเดียวกัน คือ ต้องการให้นักศึกษาครูได้นาความรู้ความเข้าใจจาก
ทฤษฎีที่ได้รับจากการเรียนในห้องเรียนไปใช้ในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ให้นักศึกษาครูได้
ตรวจสอบความสามารถ บุคลิกภาพและทัศนคติของความเป็นครูของตน เพื่อปรับปรุงแก้ ไขก่อนออกไป
ประกอบอาชีพจริง ตลอดจนต้องการให้นักศึกษาครูที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้รู้จักการแก้ปัญหา การ
ทางานร่วมกับคนอื่นและมีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับผู้ร่วมงาน การผลิตครูให้ได้ครูที่มีคุณภาพนั้นควรเพิ่ม
เวลาการฝึกให้มากขึ้นให้สมกับที่วิชาชีพครูเป็นวิชาชีพชั้ นสูง ซึ่งวิชาชีพชั้นสูงนั้นจะมีลักษณะสาคัญ 3
ประการ คือ ใช้เวลาศึกษายาวนาน เนื้อหาวิชาเป็นศาสตร์ไม่ใช่ศิลป์ และต้องมีจรรยาบรรณ การผลิต
ครูต้องมีการศึกษาฝึกฝนกันอย่างจริงจัง เพื่อให้ได้ครูที่มีคุณภาพและมีวิญญาณของความเป็นครูอย่าง
แท้จริง จึงจาเป็นต้องสร้ างครูขึ้นมาโดยฝึกหัดและฝึกฝนทางภาคปฏิบัติให้เพิ่มขึ้น เพื่อให้สามารถ
ปฏิบัติหน้าที่ครูได้ดี มีคุณภาพและเกิดความมั่นใจอันจะนาไปสู่ความรักศรัทธาในอาชีพ

1.2 ความสาคัญและจุดมุ่งหมายของรายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษานับได้ว่าเป็นหัวใจของการผลิตครู เป็นการจัดประสบการณ์
วิ ช าชี พ ครู ใ ห้ แ ก่ นั ก ศึ ก ษาครู เ พื่ อ ให้ ส ามารถปฏิ บั ติ ห น้ า ที่ ข องครู ไ ด้ อ ย่ า งมี ป ระสิ ท ธิ ภ าพ การฝึ ก
ปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษาของคณะครุ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ วไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์ จัดเป็นกิจกรรมหลายลักษณะเพื่อให้ นักศึกษาเรียนรู้และมีประสบการณ์ควบคู่
ประสานกั น ไปทั้ ง ทางทฤษฎี แ ละปฏิ บั ติ ก าร การปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษาด าเนิ น การเป็ น
กระบวนการต่อเนื่ องกัน ไปตลอดหลั กสู ตร นักศึกษาทุกคนจะต้องเข้ารับการฝึ กปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษา และจะต้องได้รับการตัดสินผ่านทุกขั้นตอนจึงจะสาเร็จการศึกษาเพื่อออกไปประกอบอาชีพ
ครูได้

1.2.1 หลักสูตรและจุดมุ่งหมาย
จุ ด มุ่ ง หมายของการฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษาของคณะครุ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย
ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ มุ่งเน้นสมรรถภาพของความเป็นครู 3 ด้าน คือ สมรรถภาพ
ด้านความรู้ สมรรถภาพด้านเทคนิควิธี และสมรรถภาพด้านคุณลักษณะ โดยมีหลักการ ดังนี้
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 6

1. มุ่งประสานการเรียนด้านทฤษฎีให้ควบคู่กับภาคปฏิบัติ
2. ปฏิบัติการสอนในสถานการณ์จริงให้มากที่สุด
3. ปฏิบัติอย่างต่อเนื่องตลอดหลักสูตร
4. จัดให้ปฏิบัติหลายลักษณะเพื่อพัฒนาสมรรถภาพของนักศึกษาครูให้ครบถ้วน
5. ประสานงานกับหน่วยงานผู้ใช้ครู เพื่อให้ได้ครูพันธุ์ใหม่ที่มีคุณภาพ

1.2.2 การจัดโครงสร้างหลักสูตร
วิชาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต (ค.บ.) หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต
ได้กาหนดโครงสร้ างวิชา ประกอบด้ว ยกลุ่ มวิช า จ านวน 4 รายวิช า จ านวนหน่ว ยกิต 14 หน่ว ยกิต
ประกอบด้วย

ETP411 การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู 1 (Practicum 1) 1(45)


การศึกษาสังเกตสภาพทั่วไปของโรงเรียน งานในหน้าที่ครูผู้สอน งานครูประจาชั้น
พฤติกรรมการจัดการเรียนรู้ สภาพทั่วไปของนักเรียนในโรงเรียน สภาพชุมชน และความสัมพันธ์ระหว่าง
โรงเรียนกับชุมชน งานบริหารและบริการของโรงเรียนเป็นผู้ช่วยครูทางด้านธุรการชั้นเรียน พัฒนาชั้น
เรียน วิเคราะห์ผู้เรียน การจัดทารายงานการศึกษาสังเกต และสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ETP412 การฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู 2 (Practicum 2) 1(45)


การฝึกปฏิบัติการวางแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้ นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดทาแผน
การจัดการเรียนรู้ การผลิตสื่อ การวัดผลประเมินผล การทดลองสอนบทเรียนในรายวิชาเฉพาะด้านใน
โรงเรียน การจัดกิจกรรมพัฒนาผู้เรียน วิเคราะห์ผลการเรียนและปัญหาของผู้เรียน ตลอดจนหาทาง
แก้ไขและพัฒนา การรายงานผลการปฏิบัติงานอย่างต่อเนื่อง และสัมมนาแลกเปลี่ยนเรียนรู้

ETP413 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 (Internship 1) 6(540)


การฝึกปฏิบัติการสอนเต็มเวลาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในวิชาเฉพาะโดยใช้ระบบ
นิเทศ ติดตามการช่วยเหลือ การบูรณาการความรู้ภาคทฤษฎีสู่ การปฏิบัติจริงในทุกด้าน การจัดทา
แผนการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่าง
บุ ค คลเพื่ อ ส่ ง เสริ ม การเรี ย นรู้ ข องผู้ เ รี ย นเต็ ม ตามศั ก ยภาพ การมี ส่ ว นร่ ว มในกิ จ กรรมวิ ช าการใน
สถานศึกษา การมีส่วนร่วมในการพัฒนา/ปรับปรุงหลั กสูตรสถานศึกษาและการนาไปใช้ การจัด ทา
โครงการ/กิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียน การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนร่วมกับสถานศึกษา การ
ประชุมสัมมนาการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู

ETP414 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (Internship 2) 6(540)


การฝึกปฏิบัติการสอนเต็มเวลาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในวิชาเฉพาะ การบูรณาการ
ความรู้ภาคทฤษฎีสู่การปฏิบัติจริงในทุกด้าน การพัฒนาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้เรียนเป็นสาคัญให้
สามารถปฏิบัติให้เกิดผลได้จริง การเลือกใช้ ปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรี ยนที่สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิชาที่รับผิดชอบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อส่งเสริมการ
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 7

เรียนรู้ของผู้เรียนเต็มตามศักยภาพ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางวิชาการในสถานศึกษา การจัดทา


โครงงานวิชาการ การมีส่วนร่วมในกิ จกรรมของชุมชนร่วมกับสถานศึกษา การประชุมสัมมนาการฝึ ก
ประสบการณ์วิชาชีพครู

จากการจัดโครงสร้างหลักสูตร จะเห็นว่า การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาทั้ง 2 ลักษณะ


นักศึกษาจะต้องปฏิบัติตามระยะเวลาที่คณะครุศาสตร์กาหนด ซึ่งจะเป็นผู้กาหนดเวลาให้นักศึกษาได้
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาและปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเสริมนั้น คณะครุศาสตร์จะร่ว มกับ
สาขาวิช านาผลการปฏิบั ติของนั กศึกษามาพิจารณาประกอบการประเมินผลการปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษาด้วย
ปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษาทุ ก ขั้ น ตอน คณะครุ ศ าสตร์ จ ะแจ้ ง ให้ นั ก ศึ ก ษาทราบถึ ง
ระยะเวลาในการฝึก และจัดปฐมนิเทศนักศึกษาก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในทุก ๆ ขั้นตอน
เพื่อชี้แจงรายละเอียดและแนวทางในการปฏิบัติ นักศึกษาทุกคนจะต้องเข้ารับการปฐมนิเทศตามที่คณะ
ครุศาสตร์กาหนด มิฉะนั้นจะไม่ได้รับอนุญาตให้ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในขั้นตอนที่ขาดการ
ปฐมนิเทศนั้น อนึ่งนักศึกษาจะต้องปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเป็นขั้นตอนตามลาดับ จะข้ามขั้นมิได้
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 8

บทที่ 2
แนวการจัดการเรียนรู้ของรายวิชา

รายวิชาการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาเป็นรายวิชาที่หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต กาหนดให้
นักศึกษาฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาที่ ทางหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูพิจารณาอนุมัติ เป็น
เวลา 1 ปีการศึกษา โดยหน่วยฝึกประสบการณ์วิช าชีพครู ต้องจัดกระบวนการเรียนรู้ของรายวิช า
เพื่อให้บรรลุวัตถุประสงค์รายวิชา มีกิจกรรมเตรียมความพร้อมนักศึกษา ครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์
และผู้ที่เกี่ยวข้องต่าง ๆ การปฐมนิเทศ การสัมมนาระหว่างฝึกปฏิบัติการสอน การปัจฉิมนิเทศ การ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ และการถอดบทเรียนจากการดาเนินงานเพื่อพัฒนาระบบการฝึกปฏิบัติการสอนต่อไป
เพื่ อ เป็ น กรอบของการจั ด การเรี ย นรู้ ใ นรายวิ ช า ETP414 การปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษา 2
(Internship 2) ในส่วนของคู่มือฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จึงนาเสนอขอบข่ายของแนวการจัดการ
เรียนรู้ของรายวิชานี้ ดังนี้

2.1 รหัสวิชาและชื่อวิชา : ETP414 การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2


2.2 จานวนหน่วยกิตและชั่วโมงสอน : 6(540)
2.3 ลักษณะรายวิชา : วิชาชีพครูบังคับ ด้านประสบการณ์วิชาชีพครู

2.4 คาอธิบายรายวิชา
การฝึกปฏิบัติการสอนเต็มเวลาในสถานศึกษาขั้นพื้นฐานในวิชาเฉพาะ การบูรณาการความรู้
ภาคทฤษฎีสู่ การปฏิบั ติจ ริ งในทุกด้าน การพัฒ นาแผนการจัดการเรียนรู้ที่เน้นผู้ เรียนเป็ นส าคั ญ ให้
สามารถปฏิบัติให้เกิดผลได้จริง การเลื อกใช้ ปรับปรุงและพัฒนานวัตกรรมเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของ
ผู้เรียนโดยใช้กระบวนการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียนที่สอดคล้องกับธรรมชาติของกลุ่มสาระการเรียนรู้
วิชาที่รับผิดชอบ การจัดกิจกรรมการเรียนรู้โดยคานึงถึงความแตกต่างระหว่างบุคคลเพื่อส่งเสริมการ
เรียนรู้ของผู้เรี ยนเต็มตามศักยภาพ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมทางวิชาการในสถานศึกษา การจัดทา
โครงงานวิชาการ การมีส่วนร่วมในกิจกรรมของชุมชนร่วมกับสถานศึกษา การประชุมสัมมนาการฝึ ก
ประสบการณ์วิชาชีพครู

2.5 สาระการเรียนรู้ / การฝึกทักษะ


1) รู้และเข้าใจในหน้าที่ครูและมีทักษะในการจัดการเรียนรู้
2) การปฏิบัติงานในหน้าที่ครูทเี่ หมาะสมและสอดคล้องกับบริบทจริง
3) การปฏิบัติการสอนในสาขาวิชาเอกได้อย่างเหมาะสม
4) การวัดและประเมินผล และนาผลไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน
5) ใช้กระบวนการวิจัยในชั้นเรียนเพื่อพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน
6) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ และแบ่งปันความรู้ในชุมชนการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 9

2.6 ผลลัพธ์การเรียนรู้
1) นักศึกษาสามารถเรียนรู้และพัฒนาคุณลักษณะการเป็นครูของตนเองอย่างเป็นรูปธรรม
2) นักศึกษาสามารถนาความรู้และทฤษฎีที่ได้เรียนรู้ในหลักสูตรตลอด 4 ปีการศึกษา ไป
ประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาผู้เรียนในบริบทจริงได้อย่างมีคุณภาพและมีประสิทธิภาพ
3) นักศึกษาสามารถปฏิบัติการสอนในสถานการณ์จริงให้มากที่สุด และต่อเนื่องตลอดหลักสูตร
4) นักศึกษาสามารถพัฒนาทักษะการสอนและการปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ของตนเอง และ ที่
ได้รับมอบหมาย
5) นักศึกษาสามารถประเมิน ปรับปรุง และศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
6) นักศึกษาสามารถทางานร่วมกับครูพี่เลี้ยงในการวางแผนออกแบบเนื้อหา สาระและกิจกรรม
การจัดการเรียนรู้สื่อและเทคโนโลยี การวัดและประเมินผลตามกลุ่มสาระการเรียนรู้ใน รายวิชาเฉพาะ
ด้าน
7) นักศึกษาสามารถทางานร่วมกันกับเพื่อนนักศึกษาฝึกประสบการณ์ฯ ในโรงเรียน อาจารย์
นิเทศก์ ครูพี่เลี้ยง และผู้บริหารสถานศึกษาหรือครูนิเทศก์ โดยใช้ชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ

2.7 เกณฑ์การฝึกประสบการณ์
1) นักศึกษาปฏิบัติงานในโรงเรียนร่วมผลิต วันละ 7 ชั่วโมง รวมเวลาปฏิบัติงานต้องไม่น้อยกว่า
560 ชั่วโมง รวมเป็นระยะเวลา ไม่น้อยกว่า 16 สัปดาห์
2) นักศึกษาต้องปฏิบัติการสอนในวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 8 คาบ/สัปดาห์ แต่ไม่ควรเกิน 12 คาบ/
สัปดาห์
3) การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู สาหรับการประเมินผล เป็นไปตามปฏิทินวิชาการ ของฝ่ายฝึก
ประสบการณ์ คือ เริ่มต้นวันที่ 14 ตุลาคม ถึง วันที่ 9 มีนาคม 2565 แต่นักศึกษาต้องปฏิบัติหน้าที่และ
ทางานที่ได้รับมอบหมายจนสิ้นสุดภาคการศึกษาที่ 2 ของโรงเรียนร่วมผลิต
4) นักศึกษาต้องปฏิบัติงานในโรงเรียน ไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของเวลาปฏิบัติงาน จึงจะมีสิทธิ์
ได้รับการประเมินผล

2.8 คุณสมบัติของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่จะปฏิบัติการสอนในรายวิชา
1) เป็นนักศึกษาชั้นปีที่ 5
2) ต้องลงทะเบียนเรียนครบตามแผนการเรียนทั้ง 8 ภาคการศึกษา (4 ปีการศึกษา) ตามที่
หลักสูตรกาหนด
3) มีผลการเรียนรายวิชาเอกบังคับ และวิชาชีพครูบังคับผ่านตามที่กาหนด
4) ห้ามนักศึกษาลงทะเบียนเรียนพร้อมการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 4
5) ระเบียบข้อกาหนดเฉพาะของแต่ละสาขา ให้เป็นไปตามประกาศของแต่ละสาขา
6) กรณีอื่นๆ นอกเหนือจากนี้ ให้อยู่ในดุลยพินิจของคณะกรรมการวิชาการ คณะครุศาสตร์
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 10

2.9 แผนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
สัปดาห์ที่ ว/ด/ป กิจกรรม ผู้ปฏิบัติ
1. ปฐมนิเทศนักศึกษา (ที่มหาวิทยาลัย)
1.1 ชี้แจงขอบเขตการฝึก ปฏิบัติการสอน ตามคาอธิบาย ฝ่ายฝึกฯ
รายวิชา กาหนดการ การบันทึกข้อมูล การจัดทารายงานและ
แนวทางในการวัดและประเมินผล นักศึกษา
1.2 ฟังการบรรยายหัวข้อการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน และ
31 ต.ค.65 1.3 พบอาจารย์นิเทศในหลักสูตร อ.นิเทศก์
1 ถึง 2. เตรียมการสอน
13 พ.ย. 65 2.1 ติ ด ต่ อ นั ด หมายกั บ คุ ณ ครู พี่ เ ลี้ ย งเพื่ อ พู ด คุ ย เรื่ อ ง
ตารางสอน หั ว ข้ อ ที่ จ ะสอน ภาระงานอื่ น ๆ ที่ จ ะได้ รั บ
มอบหมาย ก่อนเปิดภาคการศึกษา นักศึกษา
2.2 ทบทวนความรู้ วางแผนการสอน ออกแบบกิจกรรม
การเรี ย นรู้ แ ละสื่ อ การเรี ย นรู้ ใ นหั ว ข้ อ ที่ ไ ด้ รั บ มอบหมาย
ล่วงหน้า
3. การเรียนรู้งานครู (leaning to be a teacher)
3.1 ปฐมนิเทศภาพรวมงานในโรงเรียน (ผอ.หรือครูที่ ผู้อานวยการ
รับผิดชอบในการฝึกประสบการณ์สอนในสถานศึกษาเป็นผู้
ปฐมนิเทศเมื่อนักศึกษาเข้าสู่สถานศึกษาในวันแรก)
3.2 สังเกตการสอนของครูพี่เลี้ยง และช่วยงานหน้าที่ครู นักศึกษา
ประจาชั้นที่ครูพี่เลี้ยงมอบหมาย
3.3 ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีตามจรรยาบรรณ
วิชาชีพครู เรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร (school culture) และ
ปฏิบัติงานครูอื่นๆ ตามที่ได้รับมอบหมายจากทางครูพี่เลี้ยง
หรือโรงเรียน
14 พ.ย. 65
3.4 บันทึกการปฏิบัติงานประจาวันให้เป็นปัจจุบัน
2-8 ถึง
4. การเรียนรู้ที่จะสอน (learning to teach)
4 ม.ค. 66
4.1 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ และนาแผนการจัดการ
เรียนรู้ทุกวิชาที่ปฏิบัติการสอนเสนอต่อครูพี่เลี้ยงและอาจารย์
นิเทศการสอน
นักศึกษา
4.2 ออกแบบและพั ฒ นาสื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ
ครูพ่เี ลี้ยง
รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้และระดับชั้นของผู้เรียน
และ
4.3 ปฏิบัติการสอน โดยดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
อ.นิเทศก์
บริ ห ารจั ด การชั้ น เรี ย น และพั ฒ นากระบวนการคิ ด ให้ แ ก่
นักเรียนที่ได้รับผิดชอบสอน
4.4 ศึกษาปัญหาวิจัย ทบทวนวรรณกรรม วิธีวิจัย และ
จัดทาโครงร่างวิจัย (proposal) ส่งอ.นิเทศก์
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 11

สัปดาห์ที่ ว/ด/ป กิจกรรม ผู้ปฏิบัติ


5. การนิเทศติดตาม ผอ.
5.1 ติดตามการสอนและการปฏิบัติงานครูของนักศึกษา ครูพี่เลี้ยง
ฝึกประสบการณ์ อ.นิเทศก์
6. สัมมนากลางภาค
6.1 แลกเปลี่ ย นเรี ยนรู้ป ระสบการณ์ ก ารสอนและการ
นักศึกษา
เรียนรู้งานครู
อ.นิเทศก์
9 5 ม.ค. 66 6.2 บรรยายในหัวข้อ “การเขียนบทความวิจัย และการ
และ
นาเสนอผลงานในการประชุมวิชาการ”
ฝ่ายฝึกฯ
6.3 พบอาจารย์นิเทศก์ในหลักสูตร และนาเสนอโครงร่าง
วิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
7. การเรียนรู้ที่จะสอน (ต่อ)
7.1 ออกแบบและน าแผนการจั ด การเรี ย นรู้ ทุ ก วิ ช าที่
ปฏิบัติการสอนเสนอต่อครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์
7.2 ออกแบบและพั ฒ นาสื่ อ การเรี ย นรู้ ที่ ส อดคล้ อ งกั บ นักศึกษา
รูปแบบกิจกรรมการเรียนรู้และระดับชั้นของผู้เรียน ครูพี่เลี้ยง
7.3 ปฏิบัติการสอน โดยดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ และอ.
บริ ห ารจั ด การชั้ น เรี ย น และพั ฒ นากระบวนการคิ ด ให้ แ ก่ นิเทศก์
6 ม.ค. 66 นักเรียนที่ได้รับผิดชอบสอน
10-16 ถึง 7.4 เก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล วิ เ คราะห์ อภิ ป ราย และสรุ ป
8 มี.ค. 66 ผลการวิจัย และจัดทารูปเล่มวิจัยในชั้นเรียน
8. การเรียนรู้งานครู (ต่อ)
8.1 สังเกตการสอนของครูพี่เลี้ยง และช่วยงานหน้าที่ครู
นักศึกษา
ประจาชั้นที่ครูพี่เลี้ยงมอบหมาย
ครูพี่เลี้ยง
8.2 ประพฤติ ต นเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ต ามจรรยาบรรณ
และอ.
วิชาชีพครู เรียนรู้วัฒนธรรมองค์กร และปฏิบัติงานครู อื่น ๆ
นิเทศก์
ตามที่ได้รับมอบหมายจากทางครูพี่เลี้ยง หรือโรงเรียน
8.3 บันทึกการปฏิบัติงานประจาวันให้เป็นปัจจุบัน
9. ปัจฉิมนิเทศ (ที่มหาวิทยาลัย)
9.1 นาเสนอผลงานวิจัยในชั้นเรียน (ตัวแทนของแต่ละ
9 มี.ค. 66
หลักสูตร) นักศึกษา
ถึง
9.2 แลกเปลี่ยนเรียนรู้ผลที่ได้รับจากการนาผลการวิจัยไป อ.นิเทศก์
17 สิ้นสุดภาค
ใช้จัดการเรียนรู้ และ
การศึกษา
9.3 กิจกรรมปัจฉิม และมอบประกาศนียบัตรแก่นักศึกษา ฝ่ายฝึกฯ
ของโรงเรียน
ฝึกสอนดีเด่น ด้านการสอน การพัฒนาสื่อการเรียนรู้ และการ
วิจัยในชั้นเรียน ของหลักสูตร
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 12

สัปดาห์ที่ ว/ด/ป กิจกรรม ผู้ปฏิบัติ


10. กิจกรรมหลังฝึกประสบการณ์
10.1 ส่ งชิ้นงาน และรายงานการฝึกปฏิบัติการสอนใน นักศึกษา
สถานศึกษา 4 อ.นิเทศก์
10.2 ประเมินผลการฝึกประสบการณ์ ผอ. และ
10.3 ปฏิบัติงานในหน้าที่ครูจนสิ้นสุดภาคการศึกษาที่ 2 ครูพี่เลี้ยง
ของโรงเรียน
**หมายเหตุ : รูปแบบกิจกรรมอาจมีการเปลี่ยนแปลงตามความเหมาะสม

2.10 แผนภูมิสรุปขั้นตอนการดาเนินการจัดกิจกรรมการเรียนรู้รายวิชาการปฏิบัติการ
สอนในสถานศึกษา 2
ปฐมนิเทศ

อบรมปฏิบตั ิการ
เสริมทักษะวิชาชีพครู

ไม่ผา่ น
วางแผนและจัดทา
แผนการเรียนรู้

ผ่าน
ตรวจสอบแผน
การเรียนรู้

ปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา

สัมมนากลางภาค

วัดและประเมินผล
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 13

2.11 เอกสารและชิ้นงานที่นักศึกษาจะต้องนาส่งภายหลังเสร็จสิ้นการฝึกประสบการณ์
สอนในสถานศึกษา
นักศึกษาที่ออกฝึ ก ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา จะต้องปฏิ บัติกิจกรรมให้ครบถ้วนตามแผน
การจัดการเรียนรู้ ดังแสดงในตาราง ข้อที่ 1.8 ตามที่มหาวิทยาลัยกาหนด โดยมีแนวปฏิบัติและเอกสาร
หรือชิ้นงานที่ต้องส่งให้ฝ่ายฝึกประสบการณ์ฯ และอาจารย์นิเทศก์ ดังนี้
เอกสาร/ ชิ้นงาน แนวปฏิบัติ
1. สิ่งที่ต้องส่งให้ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์
1.1 หนังสือส่งตัวกลับ 1) เมื่ อ สิ้ น สุ ด ภาคการศึ ก ษา นั ก ศึ ก ษาขอความอนุ เ คราะห์ ท าง
จากทางโรงเรียน โรงเรียนร่วมผลิตจัดทาหนังสือส่งตัวกลับมายังคณะ
2. สิ่งที่ต้องส่งให้อาจารย์นิเทศก์
2.1 แบบบันทึกผลการ 1) นักศึกษาส่งแบบบันทึกผลการสะท้อนคิดการเรียนรู้ ต่ออาจารย์
สะท้อนคิดการเรียนรู้ นิเทศก์ ภายหลังจบกิจกรรมแต่ละครั้ง (กิจกรรมปฐมนิเทศ สัมมนา
กลางภาคและปัจฉิมนิเทศ)
2.2 แบบบันทึกการ 1) นักศึกษาบันทึกการปฏิบัติงานให้ครอบคลุมทั้งการปฏิบัติงานสอน
ปฏิบัติงานประจาวัน และการปฏิบัติงานครู
2) ควรบันทึกการปฏิบัติงานให้เป็นปัจจุบัน และส่งให้ครูพี่เลี้ยงหรือ
ผู้อานวยการหรือครูนิเทศก์ พิจารณาและลงนาม
2.3 สมุดลงเวลา 1) นักศึกษาลงเวลาปฏิบัติงานให้เป็นปัจจุบัน
ปฏิบัติการสอน 2) เมื่อสิ้นสุดการปฏิบัติการสอน นักศึกษานาส่งโรงเรียนละ 1 เล่ม
โดยใช้รูปแบบตามคณะกาหนดหรือตามรูปแบบการลงเวลาที่โรงเรียน
กาหนดก็ได้
2.4 รายงานวิจัยในชั้น 1) นั ก ศึ ก ษาจั ด ท าโครงร่ า งวิ จั ย (proposal) ต่ อ ครู พี่ เ ลี้ ย งและ
เรียน อาจารย์นิเทศก์เพื่อพิจารณาและอนุมัติให้ทาวิจัยในชั้นเรียน ทั้งนี้ ควร
ดาเนินการส่วนนี้ให้สาเร็จภายในสัปดาห์ที่ 8
2) นั ก ศึ ก ษาด าเนิ น การเก็ บ รวบรวมข้ อ มู ล วิ เ คราะห์ แ ละสรุ ป
ผลการวิจัยในชั้นเรียน ทั้งนี้ ควรดาเนินการให้แล้วเสร็จก่อนวันปัจฉิม
นิเทศ
3) นักศึกษาจัดทารูปเล่มรายงานวิจัยในชั้นเรียน ตามแบบฟอร์มที่
กาหนดในเล่มคู่มือ โดยส่งในรูปแบบรูปเล่มหรือไฟล์เอกสาร ตามแต่การ
ตกลงร่วมกันระหว่างครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์ และนักศึกษา
2.5 แบบรายงานการ 1) จัดทาเอกสารรายงานให้ครบถ้วนตามแบบฟอร์มในเล่มคู่มือฯ
ฝึกปฏิบัติการสอนใน 2) การจัดทารายงานฯ สามารถส่งในรูปแบบรูปเล่มหรือไฟล์เอกสาร
สถานศึกษา 2 ตามแต่ ก ารตกลงร่ ว มกั น ระหว่ า งอาจารย์ นิ เ ทศก์ ครู พี่ เ ลี้ ย ง และ
นักศึกษา
2.6 แบบประเมิน การ 1) นั ก ศึ ก ษาขอความอนุ เ คราะห์ ผู้ อ านวยการและครู พี่ เ ลี้ ย ง
ป ฏิ บั ติ ก า ร ส อ น ใ น ประเมินผลปฏิบัติการสอน แล้วรวบรวมส่งอ.นิเทศก์
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 14

เอกสาร/ ชิ้นงาน แนวปฏิบัติ


สถานศึ ก ษาของผู้ บ ริ ห าร 2) อ.นิเทศก์ประเมินผลปฏิบัติการสอนของนักศึกษา และตัดสิ นผล
ครูพี่เลี้ยง และอ.นิเทศก์ การเรียน ส่งอาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาของหลักสูตร
2.7 อื่นๆ 1) เป็นไปตามที่อาจารย์นิเทศกาหนด เช่น สื่อการเรียนรู้ ฯลฯ

2.12 เกณฑ์การวัดผล
ระดับคะแนน ผล ระดับคะแนน ผล
85 – 100 A 80 – 84 B+
75 – 79 B 70 – 74 C+
65 – 69 C 60 – 64 D+
55 – 59 D 0 – 54 F

การวัดและประเมินผลการเรียนเป็นไปตามระเบียบมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ฯ โดย
นักศึกษาฝึกประสบการณ์ฯ ต้องได้ผลการเรียนไม่ต่ากว่า C จึงจะถือว่าผ่านการเรียนในวิชานี้ ถ้า
ระดับผลการเรียนต่ากว่า C นักศึกษาต้องลงทะเบียนเรียนใหม่
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 15

บทที่ 3
ระเบียบ และแนวปฏิบัติการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

การปฏิบัติตนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เมื่อไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
เป็นสิ่งที่นักศึกษาควรตระหนักและศึกษาทาความเข้าใจ เพื่อที่จะสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง เหมาะสม
โดยนักศึกษาควรเรียนรู้เกี่ยวกับประกาศ ระเบียบปฏิบัติ และแนวการปฏิบัติตนข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วย
มาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ. 2556 กรอบสมรรถนะวิชาชีพครู และข้อควรปฏิบัติ
ต่างๆ ต่อไปนี้ ให้เข้าใจเพื่อเตรียมความพร้อมก่อนออกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา

3.1 สาระความรู้ สมรรถนะและประสบการณ์ วิช าชี พของผู้ ประกอบวิช าชี พครู ต าม


ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพ พ.ศ. 2556

3.1.1 สาระความรู้และสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครูตามมาตรฐานความรู้
ด้าน (ก) สาระความรู้ (ข) สมรรถนะ
1. ความเป็น (1) สภาพงานครู คุณลักษณะ และ (1) รอบรู้ในเนื้อหาวิชาที่สอนและกลวิธี
ครู มาตรฐานวิชาชีพครู การสอน เพื่อให้ผู้เรียนคิดวิเคราะห์
(2) การปลูกฝังจิตวิญญาณความเป็นครู สังเคราะห์ สร้างสรรค์สิ่งใหม่ๆ ได้
(3) กฎหมายที่เกี่ยวข้องกับครูและ (2) แสวงหาและเลือกใช้ข้อมูลข่าวสาร
วิชาชีพครู ความรู้เพื่อให้ทันต่อการ
(4) การจัดการความรู้เกี่ยวกับวิชาชีพครู เปลี่ยนแปลง
(5) การ สร้างความก้าวหน้าและพัฒนา (3) ปฏิสัมพันธ์ระหว่างครูกับผู้เรียนที่
วิชาชีพครูอย่างต่อเนื่อง ส่งเสริมการพัฒนาศักยภาพผู้เรียน
(4) มีจิตวิญญาณความเป็นครู
2. ปรัชญา (1) ปรัชญา แนวคิด และทฤษฎีทางการ (1) ประยุกต์ใช้เพื่อพัฒนาสถานศึกษา
การศึกษา ศึกษา ศาสนา เศรษฐกิจ สังคม (2) วิ เ คราะห์ เ กี่ ย วกั บ การศึ ก ษาเพื่ อ
วัฒนธรรม พัฒนาที่ยั่งยืน
(2) แนวคิด และกลวิธีการจัดการศึกษา
เพื่อเสริมสร้างการพัฒนาที่ยั่งยืน
3. ภาษาและ (1) ภาษาและวัฒนธรรมไทยเพื่อการเป็น (1) สามารถใช้ทักษะการฟัง การพูด
วัฒนธรรม ครู การอ่าน การเขียนภาษาไทย และ
(2) ภาษาต่างประเทศเพื่อการเป็นครู ภาษาต่างประเทศ เพื่อการสื่อ
ความหมายอย่างถูกต้อง
(2) ใช้ภาษาและวัฒนธรรมเพื่อการอยู่
ร่วมกันอย่างสันติ
4. จิตวิทยา (1) จิ ต วิ ท ยาพื้ น ฐานและจิ ต วิ ท ยา (1) สามารถให้ ค าแนะนาช่ ว ยเหลื อ
สาหรับครู พัฒนาการของมนุษย์ ผู้เรียนให้มีคุณภาพชีวิตที่ดีขึ้น
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 16

ด้าน (ก) สาระความรู้ (ข) สมรรถนะ


(2) จิ ต วิ ท ยาการเรี ย นรู้ แ ละจิ ต วิ ท ยา (2) ใช้ จิ ต วิ ท ยาเพื่ อ ความเข้ า ใจและ
การศึกษา สนับสนุนการเรียนรู้ของผู้เรียนให้
(3) จิ ต วิ ท ยาการแนะแนวและการให้ เต็มศักยภาพ
คาปรึกษา
5. หลักสูตร (1) หลักการ แนวคิดในการจัดทา (1) วิ เ คราะห์ ห ลั ก สู ต รและสามารถ
หลักสูตร จัดทาหลักสูตรได้
(2) การนาหลักสูตรไปใช้ (2) ปฏิบัติการประเมินหลั กสูตร และ
(3) การพัฒนาหลักสูตร น าผลการประเมิ น ไปใช้ ใ นการ
พัฒนาหลักสูตร
6. การจัดการ (1) หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติ (1) สามารถจัดทาแผนการเรียนรู้และ
เรียนรู้และ เกี่ยวกับการจัดทาแผนการเรียนรู้ นาไปสู่การปฏิบัติให้เกิดผลจริง
การจัดการ การจัดการเรียนรู้ และสิ่งแวดล้อม (2) สามารถสร้างบรรยากาศการจัดการ
ชั้นเรียน เพื่อการเรียนรู้ ชั้นเรียนให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้
(2) ทฤษฎีและรูปแบบการจัดการเรียนรู้
เพื่อให้ผู้เรียนรู้จักคิดวิเคราะห์ คิด
สร้างสรรค์ และแก้ปัญหาได้
(3) การบูรณาการการเรียนรู้แบบเรียน
รวม
(4) การจัดการชั้นเรียน
(5) การพัฒนาศูนย์การเรียนใน
สถานศึกษา
7. การวิจัยเพื่อ (1) หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติในการ (1) สามารถนาผลการวิจัยไปใช้ในการ
พัฒนาการ วิจัย จัดการเรียนการสอน
เรียนรู้ (2) การใช้และผลิตงานวิจัยเพื่อ (2) สามารถทาวิจัยเพื่อพัฒนาการเรียน
พัฒนาการเรียนรู้ การสอนและพัฒนาผู้เรียน
8. นวัตกรรม (1) หลักการ แนวคิด การออกแบบ การ (1) ประยุกต์ใช้ และประเมินสื่อ
และ ประยุกต์ใช้ และการประเมินสื่อ นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศ
เทคโนโลยี นวัตกรรม เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อ เพื่อการเรียนรู้
สารสนเทศ การเรียนรู้ (2) สามารถใช้เทคโนโลยี ส ารสนเทศ
ทาง (2) เทคโนโลยีสารสนเทศเพื่อการสื่อสาร เพือ่ การสื่อสาร
การศึกษา
9. การวัดและ (1) หลักการ แนวคิด และแนวปฏิบัติใน (1) สามารถวัดและประเมินผลได้
ประเมินผล การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ (2) สามารถนาผลประเมินไปใช้ในการ
การเรียนรู้ ของผู้เรียน พัฒนาผู้เรียน
(2) ปฏิบัติการวัดและการประเมินผล
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 17

ด้าน (ก) สาระความรู้ (ข) สมรรถนะ


10. การประกัน (1) หลักการ แนวคิด แนวปฏิบัติ (1) สามารถจัดการคุณภาพการจัด
คุณภาพ เกี่ยวกับการจัดการคุณภาพ กิจกรรมการเรียนรู้และพัฒนา
การศึกษา การศึกษา คุณภาพการเรียนรู้ อย่างต่อเนื่อง
(2) การประกันคุณภาพการศึกษา (2) สามารถดาเนิ น การจั ด กิ จ กรรม
ประเมิ น คุ ณ ภาพการจั ด กิ จ กรรม
การเรียนรู้ได้
11. คุณธรรม (1) หลักธรรมาภิบาล และความซื่อสัตย์ (1) ปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี มี
จริยธรรม สุจริต จิตสานึกสาธารณะ และเสียสละให้
และ (2) คุณธรรม และจริยธรรมของวิชาชีพ สังคม
จรรยาบรร ครู (2) ปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณของ
ณ (3) จรรยาบรรณของวิชาชีพที่คุรุสภา วิชาชีพ
กาหนด

3.1.2 สาระการฝึกทักษะและสมรรถนะของผู้ประกอบวิชาชีพครูตามมาตรฐานประสบการณ์
วิชาชีพ
ด้าน (ก) สาระการฝึกทักษะ (ข) สมรรถนะ
12. การฝึกปฏิบัติ(1) การสังเกตการจัดการเรียนรู้ (1) สามารถจัดทาแผนการจัดการ
วิชาชีพ (2) การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้ให้ เรียนรู้เพื่อจุดประสงค์การสอนที่
ระหว่างเรียน ผู้เรียนสร้างความรู้ด้วยตนเอง หลากหลาย
(3) การทดลองสอนในสถานการณ์
จาลองและสถานการณ์จริง (2) สามารถปฏิบัติการสอน
(4) การออกแบบทดสอบ ข้อสอบหรือ ออกแบบทดสอบ วัดและ
เครื่องมือวัดผล ประเมินผลผู้เรียน
(5) การตรวจข้อสอบ การให้ คะแนน
และการตัดสินผลการเรียน
(6) การสอบภาคปฏิ บั ติ แ ละการให้
คะแนน
(7) การวิจัยแก้ปัญหาผู้เรียน
(8) การพัฒนาความเป็นครูมืออาชีพ
13. การปฏิบัติ (1) การปฏิบัติการสอนวิชาเอก (1) สามารถจั ด การเรี ย นรู้ ใ นสาขา
การสอนใน (2) การวัดและประเมินผล และนาผล วิชาเอก
สถานศึกษา ใน ไปใช้ในการพัฒนาผู้เรียน (2) สามารถประเมิน ปรับปรุง และ
สาขาวิชาเฉพาะ (3) การวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน ศึกษาวิจัยเพื่อพัฒนาผู้เรียน
(4) การแลกเปลี่ยนเรียนรู้ หรือแบ่งปัน (3) ปฏิบัติงานอื่นที่ได้รับมอบหมาย
ความรู้ในการสัมมนาการศึกษา
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 18

3.2 กรอบการประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู
การประเมินสมรรถนะทางวิชาชีพครู หมายถึง การประเมินการปฏิบัติงานและการปฏิบัติตนของ
นั กศึกษาครู และผู้ ขอรั บ ใบอนุ ญาตประกอบวิช าชีพ โดยผู้ บริห ารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ ยง กรรมการ
สถานศึกษา และอาจารย์นิเทศในสถาบันผลิตครู เพื่อวัดและประเมินสมรรถนะด้านการปฏิบัติงานและ
การปฏิบัติตน โดยใช้แบบประเมิน แบ่งเป็น 3 สมรรถนะหลัก และแต่ละสมรรถนะหลักแบ่งออกเป็น
สมรรถนะย่อย และพฤติกรรมบ่งชี้ ประกอบด้วย
1) สมรรถนะด้านการจัดการเรียนรู้ แบ่งเป็น 6 สมรรถนะย่อย 12 พฤติกรรมบ่งชี้
2) สมรรถนะด้านความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน แบ่งเป็น 4 สมรรถนะย่อย 8
พฤติกรรมบ่งชี้
1. สมรรถนะด้านการปฏิบัติหน้าที่ครู และจรรยาบรรณของวิชาชีพ แบ่งเป็น 10 สมรรถนะ
ย่อย 20 พฤติกรรมบ่งชี้
รายละเอียดของกรอบการประเมิน ดังแสดงในตาราง
สมรรถนะหลัก สมรรถนะย่อย พฤติกรรมบ่งชี้
1. ด้านการ 1.1 การพัฒนาหลักสูตร 1.1.1 สามารถวิเคราะห์ ความสอดคล้ องของสาระ
จัดการเรียนรู้ สถานศึกษา การ การเรี ย นรู้ กั บ มาตรฐานการเรี ย นรู้ ข องหลั ก สู ต ร
จัดการเรียรู้ สื่อ การวัด แกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษา
และประเมินผลการเรียนรู้ 1.1.2 สามารถวิเคราะห์ ความสอดคล้ องของสาระ
การเรียนรู้เพื่ อ พั ฒ นาผู้ เ รีย นให้ มี ปัญ ญารู้ คิด และมี
ความเป็นนวัตกร
1.2 บูรณาการความรู้ 1.2.1 สามารถเขียนแผนการจัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนา
และศาสตร์การสอนใน ผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิดและมีความเป็นนวัตกร
การวางแผนและจัดการ 1.2.2 สามารถจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามแผนการ
เรียรรู้ที่สามารถพัฒนา จัดการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิด และมี
ผู้เรียนให้มีปัญญารู้คิด ความเป็นนวัตกร
และมีความเป็นนวัตกร
1.3 จัดกิจกรรและสร้าง 1.3.1 สมารถจัดกิจ กรรมและสร้างบรรยากาศการ
บรรยากาศการเรียนรู้ให้ เรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน
ผู้เรียนมีความสุขในการ 1.3.2 จัดกิจกรรมและสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้
เรียน โดยตระหนักถึงสุข ผู้เรียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน
ภาวะของผู้เรียน
1.4 ดูแล ช่วยเหลือ และ 1.4.1 สามารถดูแล ช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียนเป็น
พัฒนาผู้เรียนเป็น รายบุคคลตามศักยภาพ
รายบุคคล ตามศักยภาพ 1.4.2 สามารถรายงานผลการพัฒนาคุณภาพผู้เรียน
สามารถรายงานผลการ ได้อย่างเป็นระบบ
พัฒนาคุณภาพผู้เรียนได้
อย่างเป็นระบบ
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 19

สมรรถนะหลัก สมรรถนะย่อย พฤติกรรมบ่งชี้


1.5 วิจัย สร้างนวัตกรรม 1.5.1 สามารถทาวิจัยที่สอดคล้องกับปัญหาของ
และประยุกต์ใช้เทคโนโลยี ผู้เรียน
ดิจิทัลให้เกิดประโยชน์ต่อ 1.5.2 สามารถประยุกต์ใช้เทคโนโลยีดิจิทัลในการ
การเรียนรู้ของผู้เรียน จัดการเรียนรู้ เช่น CAI, google classroom,
Kahoot เป็นต้น
1.6 ปฏิบัติงานร่วมกับ 1.6.1 สามารถปฏิบัติงานร่วมกับผู้อื่นอย่าง
ผู้อื่นอย่างสร้างสรรค์ และ สร้างสรรค์
มีส่วนร่วมในกิจกรรม 1.6.2 มีส่วนร่วมในกิจกรรมการพัฒนาวิชาชีพ
วิชาชีพ
2. ด้าน 2.1 ร่วมมือกับผู้ปกครอง 2.1.1 ร่วมมือกับผู้ปกครองในการพัฒนาผู้เรียนให้มี
ความสัมพันธ์กับ ในการพัฒนาและ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา
ผู้ปกครองและ แก้ปัญหาผู้เรียนให้มี 2.1.2 ร่วมมือกับผู้ปกครองในการแก้ปัญหาผู้เรียนให้
ชุมชน คุณลักษณะที่พึงประสงค์ มีคุณลักษณะที่พึงประสงค์ของสถานศึกษา
2.2 สร้างเครือข่ายความ 2.2.1 สามารถสร้ า งเครื อ ข่ า ยความร่ ว มมื อ กั บ
ร่วมมือกับผู้ปกครองและ ผู้ ปกครองเพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพของ
ชุมชนเพื่อสนับสนุนการ ผู้เรียน
เรียนรู้ที่มีคุณภาพของ 2.2.2 สามารถสร้างเครือข่ายความร่วมมือกับชุมชน
ผู้เรียน เช่น ปราชญ์ชาวบ้าน หน่วยงานปกครองของท้องถิ่น
เพื่อสนับสนุนการเรียนรู้ที่มีคุณภาพของผู้เรียน
2.3 ศึกษา เข้าถึงบริบท 2.3.1 สามารถรายงานการศึกษาบริบทของชุ ม ชน
ของชุมชน และสามารถ โดยเลือกประเด็น ได้แก่
อยู่ร่วมกันบนพื้นฐาน 1) วิทยากรในชุมชน
ความแตกต่างทาง 2) ปราชญ์ชาวบ้านในชุมชน
วัฒนธรรม 3) แหล่งเรียนรู้ในชุมชน
4) วัฒนธรรมของชุมชน
5) เศรษฐกิจของชุมชน
2.3.2 สามารถปฏิบัติตนในการอยู่ร่ว มกับชุมชนได้
อย่างเหมาะสม
2.4 ส่งเสริม อนุรักษ์ 2.4.1 สามารถรายงานการศึกษาวัฒนธรรมของ
วัฒนธรรม และภูมิปัญญา ชุมชนและภูมิปัญญาในท้องถิ่น โดยเลือกศึกษาตาม
ท้องถิ่น ประเด็น ได้แก่
1) วิทยากรด้านวัฒนธรรมของชุมชนและภูมิ
ปัญญาในท้องถิ่น
2) ปราชญ์ชาวบ้านด้านวัฒนธรรมของชุมชน
และภูมิปัญญาในท้องถิ่น
3) แหล่งเรียนรู้ในชุมชนด้านวัฒนธรรมของ
ชุมชนและภูมิปัญญาในท้องถิ่น
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 20

สมรรถนะหลัก สมรรถนะย่อย พฤติกรรมบ่งชี้


4) การอนุ รั ก ษ์ วั ฒ นธรรมและภู มิ ปั ญ ญา
ท้องถิน่
2.4.2 สามารถนาวัฒนธรรมของชุมชนและภูมิ
ปัญญาในท้องถิ่น มาบูรณาการในการจัดการเรียนรู้
ในชั้นเรียนตามประเด็น ได้แก่
1) องค์ ค วามรู้ ข องวิ ท ยากรด้ า นวั ฒ นธรรม
ของชุมชนและภูมิปัญญาในท้องถิ่น
2) องค์ความรู้ของปราชญ์ชาวบ้านด้าน
วัฒนธรรมของชุมชนและภูมิปัญญาในท้องถิ่น
3) องค์ความรู้จากแหล่งเรียนรู้ในชุมชนด้าน
วัฒนธรรมของชุมชนและภูมิปัญญาในท้องถิ่น
3. ด้านการ 3.1 มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียน 3.1.1 มุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ทักษะ
ปฏิบัติหน้าที่ครู ด้วยจิตวิญญาณความเป็น ปฏิบัติและคุณลักษณะที่ดีงามอย่างเต็มความสามารถ
ครู ด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับระดับความสามารถและ
ช่วงวัย
3.1.2 รักเมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือและพัฒนา
ผู้เรียนอย่างเหมาะสมด้วยความบริสุทธิ์ใจ
3.2 ส่งเสริมการเรียนรู้ 3.2.1 ส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่องด้วยความเอา
เอาใจใส่ และยอมรับ ใจใส่
ความแตกต่างของผู้เรียน 3.2.2 การยอมรับความแตกต่างของผู้เรียนทางด้าน
แต่ละบุคคล เพศ เชื้อชาติ ศาสนา วัฒนธรรม และระดับการเรียนรู้
3.3 สร้างแรงบันดาลใจ 3.3.1 กระตุ้นและเสริมสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
ผู้เรียนให้เป็นผู้ใฝ่เรียนรู้ แก่ผู้เรียนโดยใช้การเสริมแรงทางบวก
และผู้สร้างนวัตกรรม 3.3.2 ส่ ง เสริ ม ให้ ผู้ เ รี ย นแสดงความสามารถและ
ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์อย่างเต็มศักยภาพ

3.4 พัฒนาตนเองให้มี 3.4.1 ติ ด ตามข้ อ มู ล ข่ า วสารการศึ ก ษา สั ง คม


ความรอบรู้ ทันสมัยและ การเมือง การปกครอง และเศรษฐกิจโดย สามารถ
ทันต่อการเปลี่ยนแปลง นามาปรับใช้/เชื่อมโยง กับเนื้อหาในการจัดการเรียนรู้
ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.4.2 นาแนวคิด เทคนิควิธีการ หรือความรู้ใหม่ๆ ที่
น่าสนใจ มาประยุกต์ใช้เป็นส่วนหนึ่งในการออกแบบ
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่างเหมาะสมและ
3.5 ประพฤติตนเป็น 3.5.1 ประพฤติ ต นเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี ทั้ ง ทางกาย
แบบอย่างที่ดีมีคุณธรรม วาจา และจิตใจ มีคุณธรรมจริยธรรม
จริยธรรมและมีความเป็น 3.5.2 ปฏิบัติตนโดยยึดหลักความเป็นธรรม เท่าเทียม
พลเมืองที่เข้มแข็ง และมีส่วนช่วยให้คนในองค์กรอยู่ร่วมกันอย่างสันติ
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 21

สมรรถนะหลัก สมรรถนะย่อย พฤติกรรมบ่งชี้


3.6 จรรยาบรรณต่อ 3.6.1 ปฏิบัติตนตามข้อตกลง กฎกติกาของโรงเรียน
ตนเอง ด้วยความสมัครใจ ทั้งในด้านการปฏิบัติการสอนและ
การปฏิบัติหน้าที่อื่นในโรงเรียน
3.6.2 ติ ด ตามข้ อ มู ล และปรั บ เปลี่ ย นตนเองให้
สอดคล้ อ งการเปลี่ ย นแปลงทางวิช าชีพ วิ ท ยาการ
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
3.7 จรรยาบรรณต่อ 3.7.1 ศรัทธา ซื่อสัตย์ สุจริต และรับผิดชอบต่อ
วิชาชีพ วิชาชีพครู
3.7.2 เป็นสมาชิกที่ดีขององค์กรวิชาชีพ
3.8 จรรยาบรรณต่อ 3.8.1 ให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค
ผู้รับบริการ 3.8.2 ไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้
ตาแหน่งหน้าที่โดยมิชอบ
3.9 จรรยาบรรณต่อผู้ 3.9.1 อุ ทิ ศ ตนเพื่ อ ช่ ว ยเหลื อ เพื่ อ นผู้ ร่ ว มประกอบ
ร่วมประกอบอาชีพ วิชาชีพภายใต้หลักการที่ถูกต้อง
3.9.2 สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ
3.10 จรรยาบรรณต่อ 3.10.1 ริเริ่ม วางแผน หรือ เป็นผู้นาในการทา
สังคม กิจกรรมเกี่ยวกับอนุรักษ์และพัฒนา เศรษฐกิจ สังคม
ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา หรือสิ่งแวดล้อม
โดยคานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นสาคัญ
3.10.2 ปฏิบัติตามกฎระเบียบของสังคมภายใต้
ระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรงเป็น
ประมุขอย่างเคร่งครัด

3.3 ระเบียบปฏิบัติ
ในระหว่างที่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่ไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา นักศึกษาต้อง
เรี ย นรู้ แ ละปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บการปฏิ บั ติ ง าน เพื่ อ ให้ ก ารปฏิ บั ติ ก ารสอนได้ อ ย่ า งราบรื่ น และมี
ประสิทธิภาพ คู่มือฉบับนี้จึงได้กาหนดแนวทางที่นักศึกษาต้องปฏิบัติ ดังนี้
1) แต่งกายถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัยและเหมาะสมกับความเป็นครู ดังนี้
(1) นักศึกษาต้องแต่งกายโดยใช้เครื่องแบบที่ถูกต้องของมหาวิทยาลัย และติดป้ายชื่อ
ตลอดเวลาที่ปฏิบัติหน้าที่ครูในสถานศึกษา
(2) ทรงผมไว้ทรงผมสุภาพ นักศึกษาหญิงที่ไว้ผมยาวจะต้องรวบผูกให้เรียบร้อย
(3) ชุดวอร์มและรองเท้าผ้าใบ อนุญาตให้ใช้ได้เฉพาะเข้าร่วมกิจกรรมและเหมาะสม
เท่านั้น
(4) นั ก ศึ ก ษาสามารถใส่ ชุ ด อื่ น ๆ ตามลั ก ษณะกิ จ กรรม และตามข้ อ ก าหนดของ
โรงเรียน ทั้งนี้ ขึ้นกับดุลยพินิจของทางโรงเรียน
(5) ชุดลาลองให้ใช้เฉพาะเวลาปฏิบัติงานในโครงการนอกเวลาหรือวันหยุดเท่านั้น
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 22

2) ปฏิบัติงานที่สถานศึกษาอย่างน้อยวันละ 7 ชั่วโมง โดยเข้างานตามเวลาที่สถานศึกษา


กาหนด หากนักศึกษาไม่มีชั่วโมงสอน นักศึกษาจะต้องปฏิบัติงานหรือช่วยงานอยู่ในชั้นเรียนของตน หรือ
งานที่ได้รับมอบหมายจากสถานศึกษา
3) ลงเวลาทางานในสมุดลงเวลา เมื่อเริ่มปฏิบัติงานและลงเวลากลับเมื่อเลิกปฏิบัติงานตาม
เวลาจริง การลงเวลาแทนกันหรือการลงเวลาย้อนหลังในวันที่ขาดถือเป็นความผิดร้ายแรง
4) นักศึกษาต้องมีเวลาปฏิบัติงานไม่น้อยกว่าร้อยละ 80 ของช่วงเวลาการปฏิบัติการสอนใน
สถานศึกษา กรณีเจ็บป่วยหรือมีการลากิจธุระต้องเป็นกรณีที่จาเป็นเท่านั้น
5) นักศึกษาจะขาดงาน หรือหายไปเฉยๆ ไม่ได้ หากมีเหตุจาเป็นเร่งด่วน หรือกรณีฉุกเฉิน
นักศึกษาจะต้องติดต่อและแจ้งครูพี่เลี้ยงหรือครูนิเทศให้ทราบ หากนักศึกษาหายไปโดยไม่ทราบสาเหตุ
และมิได้แจ้งให้ทางโรงเรียนทราบ จะถือว่าขาดการปฏิบัติการสอนโดยไม่ทราบสาเหตุ ซึ่งจะมีผลต่อการ
ประเมินผลการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
6) การลากิ จ ลาป่ ว ย ต้ อ งปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บราชการและให้ เป็ น ไปตามระเบี ย บของ
สถานศึกษา โดยมีแนวปฏิบัติ ดังนี้
(1) การลากิจ ต้องส่งใบลาล่วงหน้าและต้องได้รับการอนุญาตก่อนจึงจะหยุดได้
(2) การลาป่วย ต้องส่งใบลาทันทีที่มาปฏิบัติหน้าที่ได้
(3) การลากิ จ หรื อ ลาป่ ว ย จะลาได้ ค รั้ ง ละไม่ เ กิ น 3 วั น โดยส่ ง ใบลาต่ อ ผู้ บ ริ ห าร
สถานศึ ก ษาและต้ อ งแจ้ ง ให้ ค รู พี่ เ ลี้ ย งทราบด้ ว ย พร้ อ มบั น ทึ ก ไว้ เ ป็ น หลั ก ฐาน
ด้ า นหลั ง สมุ ด ลงเวลาเพื่ อ ให้ อ าจารย์ นิ เ ทศก์ รั บ ทราบ และนั ก ศึ ก ษาต้ อ งฝึ ก
ปฏิบัติการสอนชดเชยให้ครบตามเกณฑ์ทกี่ าหนด
(4) กรณีที่ มีการลาครั้งละเกิ น 3 วัน ต้องขออนุญาตอาจารย์นิเ ทศด้ว ย ทั้งนี้ หาก
นักศึกษาลาป่วยเกิน 15 วัน ให้พักการปฏิบัติการสอนในภาคเรียนนั้น และแจ้งให้
ทางโรงเรียน รวมทั้งมหาวิทยาลัยทราบ กรณีถ้าลากิจเกิน 7 วัน จะไม่พิจารณาผล
การปฏิบัติการสอนในภาคเรียน
(5) ใบลาแต่ล ะครั้ ง ต้องทาส าเนาไว้ 1 ชุด เพื่อรวบรวมไว้เป็นหลักฐานส่งอาจารย์
นิเทศก์พร้อมบัญชีลงเวลาเมื่อเสร็จสิ้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาแล้ว หรือ
กรณีอาจารย์นิเทศก์เรียกดูในระหว่างการนิเทศติดตาม
(6) การลา จะต้องเป็นกรณีจาเป็น และไม่เป็นการจงใจหรือส่อไปในทางตั้งใจจะหยุดให้
เต็มสิทธิโดยไม่มีความจาเป็น
7) การออกนอกบริเวณสถานศึกษาเป็นบางช่วงเวลา ให้ นักศึกษาขออนุญาตทั้งผู้บริหาร
สถานศึกษาและครู พี่เลี้ ย ง แต่ต้องเป็นกรณีจาเป็น หรือได้รับมอบหมายเท่านั้น และหากโรงเรียนมี
แบบฟอร์มการออกนอกสถานศึกษา หรือแบบการลาชั่วคราวของสถานศึกษา ขอให้นักศึกษากรอก
แบบฟอร์มนั้นๆ ด้วย
8) การกลับไปช่วยงานอาจารย์ ในหลักสูตร หรือหน่วยงานต่างๆ ของมหาวิทยาลัยในช่วงที่
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ต้องมีการขอตัวตามระบบราชการจากมหาวิทยาลัยไปยังสถานศึกษา
9) การพานักเรียนออกไปนอกสถานศึกษาหรือไปทัศนศึกษา จะต้องมีครูประจาการเป็นผู้
นาไป นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูเป็นเพียงผู้ช่วยเท่านั้น
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 23

10) ระหว่างการฝึก ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา นักศึกษาต้องศึกษาและทราบนโยบาย


กฎระเบี ย บ ของสถานศึกษา และปฏิบัติ ต นเสมือนหนึ่ งครูในสถานศึกษาที่ปฏิบัติตามระเบียบของ
สถานศึกษาอย่างเคร่งครัด ทั้งนี้ การประพฤติผิดระเบียบ นักศึกษามีโทษ 5 สถาน ได้แก่
(1) ว่ากล่าวตักเตือน สาหรับความผิดครั้งแรกที่ไม่ร้ายแรง หรือความผิดอันเกิดจาก
การเข้าใจผิ ด ซึ่งจะกระทาด้ว ยวาจา หรือลายลั กษณ์อักษรก็ได้ โดยผู้ มี อานาจ
ลงโทษ คือ อาจารย์นิเทศก์ของมหาวิทยาลัย และผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหาร
สถานศึกษา
(2) ภาคทัณฑ์ สาหรับความผิดที่ผู้กระทาส่อเจตนา หรือผู้กระทาผิดเคยได้รับการว่า
กล่าวตักเตือนแล้วแต่ยังกระทาผิดอีก โดยผู้มีอานาจลงโทษ สาหรับความผิดไม่
ร้ายแรง ให้ผู้บริหารสถานศึกษา หรือครูนิเทศก์ประจาโรงเรียน ทาการภาคทัณฑ์
และแจ้งให้อาจารย์นิเทศก์ของมหาวิทยาลัยทราบ สาหรับความผิดร้ายแรง ให้เสนอ
เรื่องมายังฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เพื่อจะได้แต่งตั้ง คณะกรรมการพิจารณา
โทษ1 เพื่อพิจารณาตรวจสอบข้อเท็จจริง
(3) ติด “I” สาหรับผู้ประพฤติตนไม่ เหมาะสมกับสภาพนักศึกษา ทาให้เสื่อมเสียแก่
วิชาชีพครูและสถานศึกษา โดยผู้มีอานาจลงโทษ คือ คณะกรรมการพิจารณาโทษที่
ได้รับแต่งตั้งให้ สอบสวน ตรวจสอบข้อเท็จจริง
(4) พั ก การฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู ส าหรั บ ความผิ ด ที่ ร้ า ยแรง หรื อ มี ค วาม
ประพฤติที่ส่ อให้ เห็ นว่าจะก่อให้ เ กิดความเสื่ อ มเสี ยแก่วิช าชีพ และชื่ อ เสี ย งของ
สถานศึ ก ษา ทั้ ง ยั ง เคยถู ก ภาคทั ณ ฑ์ ม าแล้ ว หรื อ ขาดการปฏิ บั ติ ก ารสอนใน
สถานศึกษา เกินร้อยละ 80 ของเวลาทั้งหมด หรือมีความประพฤติเสียหายจน
โรงเรี ย นไม่ ส ามารถบั ง คั บ บั ญ ชาได้ โดยผู้ มี อ านาจลงโทษ คื อ คณะกรรมการ
พิจารณาโทษที่ได้รับแต่งตัง้ ให้ สอบสวน ตรวจสอบข้อเท็จจริง
(5) ตัดสินผลการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เป็น “ตก / ระดับ F” ในรายวิชาการ
ปฏิบั ติการสอนในสถานศึกษา ส าหรับความผิ ดที่ ร้ ายแรง ซึ่งทาให้ เสื่ อมเสี ย แก่
วิชาชีพครูและสถานศึกษา โดยผู้มีอานาจลงโทษ คือ คณะกรรมการพิจารณาโทษที่
ได้รับแต่งตั้งให้ สอบสวน ตรวจสอบข้อเท็จจริง
11) ความประพฤติที่ถือเป็นความผิดร้ายแรง ที่นักศึกษาจะถูกพิจารณาโทษ ได้แก่
(1) ดื่มสุรา หรือของมึนเมาจนครองสติไม่ได้
(2) เล่นการพนัน หรือมั่วสุมในสถานที่ที่ไม่เหมาะสม
(3) เสพ ขาย หรือมีสิ่งเสพติดไว้ในครอบครอง
(4) ประพฤติตนเสื่อมเสียเรื่องชู้สาว
(5) มีอาวุธส่อเจตนาที่จะก่อเหตุร้ายแรง
(6) ก่อการทะเลาะวิวาท หรือ เป็นตัวการก่อให้เกิดการแตกความสามัคคีภายใน
สถานศึกษา
(7) ลักขโมย หรือก่อให้เกิดหนี้สินในระหว่างฝึกปฏิบัติการสอน แล้วไม่ยอมใช้คืน
(8) กระทาความผิดในคดีอาญาและคดีแพ่ง

1
คณะครุศาสตร์ ดาเนินการตั้งคณะกรรมการพิจารณาโทษ ในกรณีที่เป็นความผิดร้ายแรง
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 24

(9) ความผิดอื่นที่คณะกรรมการพิจารณาโทษ ลงมติว่าเป็นความผิดร้ายแรง


12) ถ้านักศึกษาเห็นว่า ตนเองไม่ได้รับความเป็นธรรม ให้อุทธรณ์คาสั่งลงโทษเป็นลาย
ลักษณ์อักษรไปยังรองคณบดี/ ผู้ช่วยคณบดีคณะครุศาสตร์ที่รับผิดชอบฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ภายใน 7 วัน นับตั้งแต่ วันที่ได้รับทราบคาสั่งลงโทษ
13) ระหว่างการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หากนักศึกษาพบว่า มีปัญหากับครูพี่เลี้ยงและ/
หรืออาจารย์นิเทศก์ ให้นักศึกษารายงานหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ทันที เพื่อหา
รับทราบและแนวทางแก้ไข โดยมีแนวปฏิบัติดังนี้
13.1) กรณีทมี่ ปี ัญหากับครูพี่เลี้ยง ครูนิเทศก์หรือโรงเรียน
(1) แจ้งให้อาจารย์นิเทศรับทราบ
(2) บอกข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้น ร่วมวิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
และหาแนวทางแก้ไขหรือทางออกของปัญหากับอาจารย์นิเทศก์
(3) อาจารย์นิเทศก์ติดต่อหารือกับครูพี่เลี้ยง เพื่อชี้แจงหรือเสนอแนวทางแก้ไข
และดาเนินการแก้ปัญหาร่วมกับโรงเรียน
(4) อาจารย์นิเทศสรุปข้อเท็จจริงเป็นลายลักษณ์อักษร เสนอให้ทุกฝ่ายที่
เกี่ยวข้องพิจารณาเพื่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน และนาเสนอข้อมูลโดย
สรุปต่อหน่วยฝึกประสบการณ์ฯ เพื่อเก็บไว้เป็นหลักฐานต่อไป
(5) กรณีทเี่ ป็นปัญหาระดับร้ายแรง หรือส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงของนักศึกษา
ผู้เกี่ยวข้อง หรือองค์กร ทางคณะจะดาเนินการตามกระบวนการพิจารณา
ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยต่อไป

13.2) กรณีที่มีปัญหากับอาจารย์นิเทศก์
(1) ขอคาปรึกษาจากหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
(2) บอกข้อเท็จจริงเกี่ยวกับปัญหาที่เกิดขึ้น ดาเนินการแก้ปัญหาร่วมกับฝ่าย
ฝึกประสบการณ์ฯ
(3) ฝ่ายฝึกประสบการณ์ฯ ติดต่อหารือกับอาจารย์นิเทศก์ และประธาน
หลักสูตร เพื่อชี้แจงหรือเสนอแนวทางแก้ไขและดาเนินการแก้ปัญหา
ร่วมกัน
(4) ฝ่ายฝึกประสบการณ์ฯ สรุปข้อเท็จจริงข้อเท็จจริงเป็นลายลักษณ์อักษร
เสนอให้ทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องพิจารณาเพื่อให้เกิดความเข้าใจร่วมกัน และ
นาเสนอข้อมูลโดยสรุปต่อกรรมการวิชาการคณะครุศาสตร์ เพื่อเก็บไว้เป็น
หลักฐานต่อไป
(5) กรณีทเี่ ป็นปัญหาระดับร้ายแรง หรือส่งผลกระทบต่อชื่อเสียงของนักศึกษา
ผู้เกี่ยวข้อง หรือองค์กร ทางคณะจะดาเนินการตามกระบวนการพิจารณา
ตามระเบียบของมหาวิทยาลัยต่อไป
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 25

3.4 งานในหน้าที่ครูของนักศึกษาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา
งานในหน้าที่ครู ที่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพจะต้องปฏิบัติ ประกอบด้วย 2 ด้าน คือ งาน
ด้านการจัดการเรียนการสอน และด้านการทางานครู ดังนี้

3.4.1 ด้านการจัดการเรียนการสอน
1) ต้องปฏิบัติการสอนในวิชาเอก ไม่น้อยกว่า 8 คาบ/สัปดาห์ แต่ไม่ควรเกิน 12 คาบ/
สัปดาห์
2) วางแผนและออกแบบหน่วยการเรียนรู้ และแผนการจัดการเรียนรู้ตามชั่วโมงการ
สอนจริงและสอดคล้องกับหน่วยการเรียนรู้
3) ออกแบบ ผลิตและพัฒนา หรือจัดหาสื่อการเรียนรู้ที่สอดคล้องกับรูปแบบกิจกรรม
การเรียนรู้และระดับชั้นของผู้เรียน
4) สร้างเครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้
5) จัดทาวิจัยในชั้นเรียน
6) ปฏิบัติการสอน โดยจัดกิจกรรมการเรียนรู้ บริหารจัดการชั้นเรียน และพัฒนา
กระบวนการคิดให้แก่นักเรียนที่ได้รับผิดชอบสอน จนสิ้นสุดภาคการศึกษา
7) วัดและประเมินผลการเรียนรู้ผู้เรียน ระหว่างเรียนและ เมื่อสิ้นสุดภาคการศึกษา

3.4.2 ด้านการทางานครู
งานครูที่นอกเหนือไปจากการจัดการเรียนการสอน มีหลายด้าน ได้แก่ งานธุรการประจา
ชั้ น งานกิ จ กรรมนั ก เรี ย นและการแนะแนว งานธุ ร การทั่ ว ไป งานพั ฒ นาสถานศึ ก ษาและชุ ม ชน
รายละเอียด ดังนี้
งานธุรการประจาชั้น มีหน้าที่รับผิดชอบดาเนินงานในเรื่องต่อไปนี้
1) งานครูประจาชั้น ดูแลการเรียนของนักเรียนในชั้น และการจัดชั้นเรียน
2) งานข้อมูลและสถิติ เช่น การทาระเบียนนักเรียน ทาบัญชีเรียกชื่อนักเรียน ทาสมุด
ประจาชั้น รวบรวมงานข้อมูลสถิติ เป็นต้น
3) งานบริการและติดต่อ เช่น การทาบัตรสุขภาพ
4) งานประเมินและติดตามผล เช่น การทาสมุดรายงานประจาตัวนักเรียน ทาสังคมมิติ
และศึกษาเด็กรายกรณี (Case Study)
งานกิจกรรมนักเรียนและการแนะแนว มีหน้าที่รับผิดชอบดาเนินงานในเรื่องต่อไปนี้
1) งานชุมนุมหรือชมรม
2) งานแนะแนว
3) งานกีฬา
4) งานตรวจสุขภาพนักเรียน
5) ควบคุมการเข้าแถว
6) กิจกรรมเสริมหลักสูตร

งานธุรการทั่วไป มีหน้าที่รับผิดชอบดาเนินงานในเรื่องต่อไปนี้
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 26

1) งานสารบรรณ และงานพิมพ์เอกสารและแบบฟอร์มต่างๆ
2) งานพัสดุและครุภัณฑ์
3) งานการเงิน
4) งานประชาสัมพันธ์

งานพัฒนาสถานศึกษาและชุมชน มีหน้าที่รับผิดชอบดาเนินงานในเรื่องต่อไปนี้
1) โครงการหรือกิจกรรมของสถานศึกษา
2) โครงการหรือกิจกรรมสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน
3) งานพัฒนาชุมชน

3.5 ข้อควรปฏิบัติตนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
การปฏิบัติตน และการวางตนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มีความสาคัญและเป็นสิ่งที่
นักศึกษาควรตระหนักและเตือนตนเองเสมอว่า “กาลังปฏิบัติหน้าที่ครูอยู่” เพื่อที่จะสามารถปฏิบัติและ
วางตนเองได้ถูกต้อง เหมาะสมกับการเป็นครู และเพื่อป้องกัน ไม่เกิดปัญหาต่างๆ ดังนั้น จึงควรปฏิบัติ
ดังนี้
1) มีความภาคภูมิใจ เชื่อมั่นในตนเองภายใต้บริบท กาลเทศะและบุคคล และวางตนให้
เหมาะสมกับสถานะภาพนักศึกษาและเหมาะสมกับจรรยาบรรณวิชาชีพ ยึดมั่นในอุดมคติที่จะเป็นครูที่ดี
ของศิษย์ของสังคม
2) แต่งกายถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัยและเหมาะสมกับความเป็นครู
3) รับทราบนโยบาย กฎระเบียบ และกิจกรรมต่างๆ ของสถานศึกษา และปฏิบัติตนเสมือน
หนึ่ ง ครู หรื อ สมาชิ ก คนหนึ่ ง ในสถานศึ ก ษาที่ ป ฏิ บั ติ ห น้ า ที่ อ ย่ า งสม่ าเสมอ และรั ก ษาระเบี ย บของ
สถานศึกษาอย่างเคร่งครัด ไม่ลาหรือขาด มาสายโดยไม่มีเหตุผลจาเป็น
4) มีมนุษยสัมพันธ์ที่ดีกับครูอาจารย์และบุคลากรในโรงเรียน มีความสุภาพ อ่อนน้อมเป็น
กันเองกับบุคคลในสถานศึกษาทุกคนทั้งในและนอกสถานศึกษา และทั้งต่อหน้าและลับหลัง
5) มีปฏิสัมพันธ์และทางานร่วมกับผู้เรียน เพื่อนร่วมงาน และผู้อื่นได้ สามารถปรับตัวได้ดี
และสอดคล้ องกับ บริ บ ทและวัฒ นธรรมองค์กร และเข้าใจความแตกต่างระหว่างบุคคล สั งคมและ
วัฒนธรรม
6) มีเจตคติทางบวกต่อการสอนและการเป็นครู สนใจและกระตือรือร้นต่องานในหน้าที่ เปิด
ใจเรียนรู้ พร้อมรับฟังข้อเสนอแนะของครูพี่เลี้ยง ครูในสถานศึกษาและอาจารย์นิเทศ และพยายาม
ปรับปรุงการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาให้ดียิ่งขึ้น
7) มีความรับผิดชอบในหน้าที่ครูโดยครบถ้วนสมบูรณ์ และทางานที่ได้รับมอบหมายอย่างเต็ม
ความสามารถและให้ได้ผลดีที่สุด
8) มีน้าใจ เต็มใจและให้ความร่วมมือในการทากิจกรรม หรือช่วยเหลืองานของสถานศึกษา
นอกเหนือจากงานในหน้าที่ที่รับผิดชอบตามสมควรและเหมาะสม
9) ใช้เวลาว่างให้คุ้มค่า ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่เสมอทั้งด้านวิชาการและอื่นๆ ที่เกี่ยวกับครู
และเป็นประโยชน์ต่อการปฏิบัติการสอน
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 27

10) ให้ความรัก ความสนใจ และปฏิบัติต่อผู้เรียนโดยเสมอภาค ไม่เลือกปฏิบัติ เป็นที่ไว้วางใจ


แก่นักเรียนที่มาขอคาปรึกษา
11) มีอารมณ์มั่นคง อดทนอดกลั้นต่อสถานการณ์ที่ไม่พึงประสงค์ ไม่ลุแก่อานาจโทสะ มีความ
ยุ ติธ รรมในการตัดสิ น การกระทาของผู้ เรียนและผู้ อื่น ช่ว ยแก้ปัญหาต่างๆ ที่เกิดขึ้นด้ว ยความสุ ขุ ม
รอบคอบ
12) มีทักษะในการติดต่อสื่อสารและให้ข้อมูล สามารถรักษาความลับของข้อมูลต่างๆ ที่ได้จาก
นักเรียนหรือโรงเรียน โดยไม่แสดงความคิดเห็น วิพากษ์วิจารณ์หรือเผยแพร่ข้อมูลอันเป็นเท็จ หรือยัง
ไม่ได้รับอนุญาตจากผู้เกี่ยวข้อง
13) นักศึกษาพึงระลึกเสมอว่าตนเป็นผู้แทนนักศึกษา ของมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูปถัมภ์ และเป็นครูคนหนึ่งของสถานศึกษา ก่อนทาสิ่งใด พูดสิ่งใด พึงคิดให้รอบคอบ โดย
คานึงถึงเกียรติและชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย ประพฤติตนให้เป็นครูที่ดีของศิษย์ เป็นนักศึกษาครูที่
สถานศึกษาระลึกถึงเสมอ แม้จะเสร็จสิ้นการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาแล้ว

3.6 การพัฒนาอัตลักษณ์และคุณลักษณะความเป็นครู
การปฏิบั ติการสอนในสถานศึก ษาจะประสบผลส าเร็จด้ว ยดี นักศึกษาจาเป็น ต้อ งสร้ า งและ
พัฒนาอัตลักษณ์และคุณลักษณะความเป็นครูให้เกิดขึ้นในตนเอง โดยตัวบ่ งชี้ที่แสดงให้เห็นคุณลักษณะ
อันพึงประสงค์ ที่เป็นองค์ประกอบสาคัญของอัตลักษณ์ความเป็นครู มีดังนี้
1) มีความรับผิดชอบ นักศึกษาครูควรอุทิศแรงกาย กาลังความคิดอย่างเต็มสติกาลังและ
อุทิศเวลาทั้งหมดเพื่อการฝึกปฏิบัติ โดยไม่ถือโอกาสยามว่างไปกระทากิจกรรมอื่นที่ไม่ใช่งานสอน
2) มี ค วามอุ ต สาหพยายาม นั ก ศึ ก ษาครู พึ ง ตั้ ง ใจท างานในหน้ าที่ ด้ ว ยความขยั น ขั นแข็ง
เอางานเอาการไม่ปล่อยเวลาให้ล่วงไปโดยเปล่าประโยชน์ มีความพากเพียรที่จะปฏิบัติงานให้ลุล่วงไป
อย่างมีคุณภาพและสาเร็จลงด้วยดี
3) มีความกระตือรือร้น นักศึกษาครูควรทางานด้วยความสนใจ หาข้อบกพร่องของตนเอง
แล้วรีบแก้ไข พยายามพัฒนางานให้ดีขึ้นทุกวิถีทาง สิ่งใดควรทาก็รีบทาทันทีและเสร็จทันเวลาเสมอ
4) มีความซื่อสัตย์ต่อหน้าที่ นักศึกษาครูนอกจากจะทางานสอนแล้วยังต้องรับผิดชอบงาน
ในหน้าที่ครู จึงควรปฏิบัติตนให้เป็นที่ไว้ใจ ไม่หลีกเลี่ ยงงาน ตรงต่อเวลา ทาหน้าที่ของตนให้สมบูรณ์
โดยไม่ต้องว่ากล่าวตักเตือน
5) ปรับปรุงตนเอง นักศึกษาครูจะต้องยอมรับฟังคาวิจารณ์และคาตักเตือนของอาจารย์
นิเทศก์และครูพี่เลี้ยงด้วยความเต็มใจ พยายามปรับปรุงแก้ไขในสิ่งที่ตนบกพร่อง หมั่นตรวจตารางงาน
อยู่ตลอดเวลา ทั้งนี้เพื่อสร้างสมรรถภาพแห่งตนให้ปฏิบัติสาเร็จลุล่วงไปด้วยดี
6) ตรงต่อเวลา นักศึกษาครูจะต้องเป็นผู้ตรงต่อเวลาเสมอ ทั้งการไปถึงสถานศึกษาตอนเช้า
ก่อนเวลาเข้าเรียน เพื่อทบทวนวิชาที่จะสอน ตรวจสอบอุปกรณ์ให้พร้อมที่จะใช้ ตลอดจนศึกษาระเบียบ
ข้อบังคับหรือประกาศของทางสถานศึกษา เข้าห้องสอนและเลิกสอนตรงเวลา การปฏิบัติเช่นนี้แสดงถึง
ความเอาใจใส่ต่อหน้าที่ และเป็นตัวอย่างที่ดีของนักเรียนด้วย
7) ให้ ค วามร่ ว มมื อ นอกจากงานประจาแล้ ว นั ก ศึ ก ษาครู จาเป็น ต้อ งให้ ค วามร่ ว มมื อใน
กิจกรรมด้านต่างๆ ของสถานศึกษา นับเป็นโอกาสอันดีที่จะได้ใช้ความสามารถและประสบการณ์ที่ตนมี
อยู่ การช่วยกิจกรรมของสถานศึกษาเป็นการทาประโยชน์ส่วนรวม เป็นการแสดงความมีน้าใจ ซึ่ง
นอกจากจะส่ งผลให้ เกิดความสามัคคีร่ว มใจระหว่างครู อาจารย์ นักศึกษาแล้ ว ยังนาชื่อเสี ยงมาสู่
สถาบันการศึกษาของนักศึกษาครูอีกด้วย
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 28

3.7 แนวปฏิบัติเมื่ออาจารย์นิเทศก์ไปนิเทศติดตาม
การนิเทศติดตามการปฏิบัติการสอนและการปฏิบัติงานครูของอาจารย์นิเทศ จะเกิดขึ้นอย่างน้อย
3 ครั้งต่อภาคการศึกษา โดยมีแนวปฏิบัติ ดังนี้
1) นักศึกษาแจ้ งตารางสอนที่ได้รับมอบหมายจากครูพี่เลี้ยงให้ อาจารย์นิเทศทราบ ภายใน
สัปดาห์แรกของการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา หรือ ทันทีที่ได้รับมอบหมายจากครูพี่เลี้ยง
2) อาจารย์นิเทศก์จัดทาตารางนิเทศติดตามและแจ้งกาหนดนัดหมายการนิเทศให้นักศึกษา
ทราบ ทั้งนี้ ขึ้นกับการตกลงระหว่างอาจารย์นิเทศและนักศึกษา
3) ขอความร่วมมือนักศึกษาแจ้งห้องเรียนและอาคารเรียนให้อาจารย์นิเทศก์ทราบล่วงหน้า และ
แจ้งให้ครูพี่เลี้ยงหรือครูนิเทศทราบกาหนดการการนิเทศติดตาม
4) ขอความร่วมมือจัดเตรียมโต๊ะ เก้าอี้ หรือหาที่นั่งในห้องสอน หรือสนาม ให้อาจารย์นิเทศขณะ
สังเกตการสอน และอานวยความสะดวกแก่อาจารย์ในการดูแลการสอน
5) อาจารย์นิเทศก์ทาบันทึกขออนุญาตไปนิเทศติดตามตามแบบฟอร์มที่คณะครุศาสตร์กาหนด
6) การนิเทศติดตาม ขอให้นักศึกษานาเอกสารและบันทึกทุกชนิด เช่น แผนการจัดการเรียนรู้
บันทึกหลังสอน และบันทึกการปฏิบัติงาน ฯลฯ เสนอต่ออาจารย์นิเทศให้พิจารณา และให้ข้อเสนอแนะ
7) ระหว่างการสอน ขอความอนุเคราะห์อาจารย์นิเทศก์ให้ข้อมูลย้อนกลับ (feedback) โดย
เขียนลงในแผนการจัดการเรียนรู้ที่สังเกตการสอนทุกครั้ง
8) เมื่ออาจารย์นิเทศก์ดูการสอนจบแล้ว นักศึกษาจะต้องเข้าพบอาจารย์นิเทศก์ และ/หรือ ครูพี่
เลี้ยง และ/หรือครูนิเทศก์ เพื่อพบและรับคาแนะนา หรือวิพากษ์การสอน แลกเปลี่ยนความเห็นและให้
ข้อเสนอแนะเกี่ย วกับ การสอนและการปฏิบัติงานครู แก่นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิช าชีพ เพื่อให้
นักศึกษารับทราบและนาไปปฏิบัติ
9) นักศึกษาต้องรายงานความก้าวหน้าของงานวิจัยในชั้นเรียนให้แก่อาจารย์นิเทศก์ทราบเป็น
ระยะ
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 29

บทที่ 4
คุณสมบัติและบทบาทหน้าที่ของผู้ที่เกี่ยวข้อง
กับการฝึกประสบการณ์สอนในชุมชนแห่งการเรียนรู้เชิงวิชาชีพ

ผู้ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การฝึ ก ประสบการณ์ ส อนในสถานศึ ก ษาเป็ น ผู้ ที่ มี ส่ ว นส าคั ญ อย่ า งยิ่ ง ในการ
สนับสนุนและพัฒนานักศึกษาครู เพื่อให้สามารถปฏิบัติการสอนและมีคุณลักษณะความเป็นครูตาม
มาตรฐานการผลิตครูของประเทศ ผู้เกี่ยวข้องประกอบด้วย สถานศึกษา ผู้บริหารสถานศึกษาหรือครู
นิเทศก์ประจาสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์ รวมถึงนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ซึ่งมี
คุณสมบัติและบทบาทหน้าที่ ดังนี้

4.1 คุณสมบัติของสถานศึกษาสาหรับปฏิบัติการสอน
ตามประกาศคณะกรรมการคุรุสภา เรื่อง หลักเกณฑ์คุณสมบัติ ของสถานศึกษาสาหรับปฏิบัติการ
สอน2 ในราชกิจจานุเบกษา วันที่ 12 ตุลาคม 2549 และตามประกาศของมหาวิทยาลัยราชภัฏ วไล
ยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เรื่อง หลักเกณฑ์คุณสมบัติของสถานศึกษาเครือข่ายสาหรับปฏิบัติการ
สอน3 ได้กาหนดคุณสมบัติของสถานศึกษาสาหรับการปฏิบัติการสอน สรุปดังนี้
เป็นสถานศึกษาที่ผ่านการประเมินและได้มาตรฐานคุณภาพจากสานักงานรับรองมาตรฐานและ
ประเมินคุณภาพการศึกษา (องค์การมหาชน) หรือ มีมาตรฐานคุณสมบัติทั้งด้านกระบวนการ และ
มาตรฐานด้านปัจจัย ดังต่อไปนี้
มาตรฐานด้านกระบวนการ ประกอบด้วย
(1) สถานศึกษามีการจัดองค์การ โครงสร้างและการบริหารงานอย่างเป็นระบบครบ
วงจร ให้บรรลุเป้าหมายการศึกษา
(2) สถานศึ ก ษาส่ ง เสริ ม ความสั ม พั น ธ์ แ ละความรวมมื อ กั บ ชุ ม ชนในการพั ฒ นา
การศึกษา
(3) สถานศึกษามีการจัดสภาพแวดล้อมที่เอื้อต่อการเรียนรู้ ส่งเสริมสุขภาพอนามัย
และความปลอดภัยของผู้เรียน
(4) สถานศึกษาส่งเสริมและพัฒนาบุคลากรครูตามความจาเป็นและเหมาะสมอย่ าง
สม่าเสมอ
(5) สถานศึกษา มีการจัดการเรียนการสอนสอดคล้ องกับหลักสูตรตามความต้ องการ
ของผู้เรียนและท้องถิน่
(6) สถานศึกษาจัดกิจกรรมและการเรียนการสอนโดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ

มาตรฐานด้านปัจจัย ประกอบด้วย
(1) ผู้บริหารมีคุณธรรม จริยธรรม และเป็นแบบอย่างที่ดี
2
รายละเอียดเพิ่มเติมในภาคผนวก หรือในเว็บไซต์ของคุรสุ ภา https://catalog.ksp.or.th/th/dataset/dataset_11_04
3
รายละเอียดเพิ่มเติมในภาคผนวก
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 30

(2) ผู้บริหารมีภาวะผู้นาและมีความสามารถในการบริหารจัดการ
(3) ครูมีจิตวิญญาณความเป็นครู มีคุณธรรม และจริยธรรม
(4) ครูมีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่ างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียน
เป็นสาคัญ
(5) ครูมีความสามารถในการแสวงหาความรู้ คิดวิเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้เพื่อ
พัฒนาการเรียนการสอน
(6) ครูมีคุณวุฒิ ความรู้ความสามารถตรงกับงานที่รับผิดชอบ
(7) สถานศึกษามีหลักสูตรที่เหมาะสมกับผู้เรียนและท้องถิ่น มีสื่อการเรียนการสอนที่
เอื้อต่อการเรียนรู้
(8) สถานศึกษามีอาคาร สถานที่ และสิ่งอานวยความสะดวกเพียงพอ
(9) สถานศึกษามีการจัดองค์การ โครงสร้าง และการบริหารงานอย่างเป็นระบบ เพื่อให้
มีความพร้อมในการเป็นโรงเรียนรวมพัฒนาวิชาชีพครู
(10) ผู้บริหารมีความสามารถในการบริหารหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
(11) ครูมีความสามารถในการเป็นครูพี่เลี้ยงนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
(12) ที่ตั้งมีความสะดวก เหมาะสม และปลอดภัยสาหรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครู
(13) มีความสนใจ ยินดี และให้ความร่วมมื อในการดาเนินงานการฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครูของคณะครุศาสตร์
(14) จัดชั่วโมงในการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาให้แก่นักศึกษา ไม่น้อยกว่าสัปดาห์
ละ 8 คาบ
(15) มอบหมายงานอื่นๆ ในหน้าที่ครูให้แก่นักศึกษาไม่น้อยกว่าสัปดาห์ละ 8 คาบ
(16) มีครูพี่เลี้ยงที่มีคุณสมบัติตามประกาศมหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ฯ เรื่อง
หลักเกณฑ์คุณสมบัติของครูพี่เลี้ยงในสถานศึกษาเครือข่ายสาหรับปฏิบัติการสอน
(17) ผ่ า นความเห็ น ชอบจากที่ ป ระชุ ม คณะกรรมการวิ ช าการ คณะครุ ศ าสตร์
มหาวิทยาลัย ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

4.2 คุณสมบัติ บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติของผู้บริหารสถานศึกษา และครูนิเทศก์


ผู้บริหารสถานศึกษา และครูนิเทศของสถานศึกษา (หรือ ครูนิเทศก์ประจาโรงเรียน) ในโรงเรียน
ร่วมผลิตที่รับ นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เป็นผู้ที่มีบทบาท
สาคัญในการพัฒนานักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ซึ่งอาจจาแนกบทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติได้
ดังนี้
4.2.1 ผู้บริหารสถานศึกษา
ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง หัวหน้าสถานศึกษาที่เป็นโรงเรียนร่วมผลิตบัณฑิตครู
ซึง่ เป็นผู้ที่มีบทบาทหน้าที่สาคัญยิ่งในการจัดการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา ประกอบด้วย
บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติด้านการเป็นเครือข่ายความร่วมมือระหว่างสถาบัน
ผลิตครูและโรงเรียนร่วมผลิต
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 31

1) ทาความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิดและเป้าหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนักศึกษาครู
2) เข้าร่วมประชุม รายงานปัญหา แลกเปลี่ยนความคิดเห็นและให้ข้อเสนอแนะแก่คณะครุศาสตร์
มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ฯ และโรงเรียนร่วมผลิตอื่นๆ เพื่อปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติการสอน
ในสถานศึกษา และกระบวนการผลิตบัณฑิตครูให้สอดคล้องกับความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต
3) ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติตน การปฏิบัติงาน และประเมินสมรรถนะวิชาชีพครูของนักศึกษา
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
4) ติดต่อและประสานงานกับอาจารย์นิเทศก์ หรือฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ คณะครุศาสตร์ ใน
เรื่ องที่เกี่ยวข้องการออกฝึ กปฏิบั ติการสอนในสถานศึกษา โดยเฉพาะอย่างยิ่ง เมื่อมีเหตุที่เ กี่ยวข้องกับ
นักศึกษา อันจะก่อให้เกิดความเสียหายแก่หรือสถานศึกษา คณะ และมหาวิทยาลัย ควรแจ้งให้ทราบโดยเร็ว

บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติด้านการปฐมนิเทศนักศึกษา
1) ให้การปฐมนิเทศและคาแนะนาแก่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพที่เข้ามาปฏิบัติการสอน
ได้แก่ แนะนาเกี่ยวกับสถานที่ สภาพทั่วไปของสถานศึกษา สิ่งอานวยความสะดวก หรือบริการต่างๆ
ของสถานศึกษา สวัสดิการจาเป็นและสถานที่ทางานของนักศึกษา แนะนาให้รู้จักบุคลากรของสถานศึกษา
เช่น ผู้บริหารสถานศึกษา อาจารย์ประจาชั้น อาจารย์ผู้สอน ครูพี่เลี้ยง อาจารย์พิเศษของสถานศึกษา
ตลอดจนหาโอกาสแนะนาให้รู้จักบุคคลสาคัญของท้องถิ่น ปราชญ์ชาวบ้าน ขนบธรรมเนียมประเพณี
และภูมิปัญญาของท้องถิ่น และการมีส่วนร่วมในกิจกรรมของท้องถิ่นหรือชุมชน
2) มอบหมายงาน และชี้แจงเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ ข้อตกลง หรือกติกาของสถานศึกษาที่
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูจะต้องยึดถือเป็นแนวปฏิบัติ

บทบาทหน้ า ที่ แ ละแนวปฏิ บั ติ ด้ า นการอ านวยความสะดวก การเป็ น ผู้


ประสานงาน และการดูแลนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
1) จั ด บุ ค ลากรของสถานศึ ก ษาให้ เ ป็ น ผู้ ป ระสานงานกั บ คณะครุ ศ าสตร์ อาจารย์ นิ เ ทศก์
ครูพี่เลี้ยง และนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ และอานวยความสะดวกในการติดต่อประสานงานและ
การนิเทศติดตาม
2) พิ จ ารณาคั ด เลื อ กและมอบหมายงานในหน้ า ที่ ใ ห้ กั บ ครู พี่ เ ลี้ ย งตามเกณฑ์ ใ นคู่ มื อ ฝึ ก
ปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษา เพื่ อ ให้ ไ ด้ บุ ค ลากรที่ มี ค วามตั้ ง ใจ มี คุ ณ สมบั ติ และมี ป ระสบการณ์
เหมาะสม เป็นไปตามเกณฑ์ที่กาหนด
3) สนั บ สนุ น ให้ ค รู พี่ เ ลี้ ย งได้ เ ข้ า ร่ ว มประชุ ม สั ม มนาเกี่ ย วกั บ การปฏิ บัติ ก ารสอนที่ ฝ่ า ยฝึ ก
ประสบการณ์วิชาชีพ คณะครุศาสตร์จัดขึ้น
4) จัดสวัสดิการจาเป็นและสถานที่ทางานของนักศึกษา และอนุญาตให้ใช้สถานศึกษาเป็น
สถานที่ปฏิบัติการสอน
5) จัดให้มีการประชุมสัมมนา หรือกิจกรรมสัมพันธ์ระหว่างนักศึกษากับบุคลากรในโรงเรียนใน
โอกาสอันควร
6) นิเทศติดตามอย่างน้อย 3 ครั้ง และประเมินผลการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาตามแบบ
ประเมินผลของมหาวิทยาลัย และประเมินสรรถนะวิชาชีพตามแบบประเมินที่คุรุสภากาหนด
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 32

7) ดูแลการนิเทศติดตามและการประเมินผลของครูพี่เลี้ยง และบุคลากรที่ เกี่ยวข้องให้เป็นไป


ตามระเบียบ
8) พิ จ ารณาและอนุ มั ติ โ ครงการต่ า งๆ ที่ นั ก ศึ ก ษาฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ จั ด ท าขึ้ น ให้
คาปรึกษา แนะนาและสนับสนุนด้านงบประมาณหรือวัสดุต่างๆ ตามสมควร หรืออาจมอบหมายงานส่วน
ใดส่วนหนึ่งของโรงเรียนให้นักศึกษาได้ดาเนินการโดยมีงบประมาณสนับสนุน
9) ให้ความคุ้มครอง ดูแลให้คาปรึกษา อานวยความปลอดภัย และแก้ไขปัญหาในด้านการ
ปฏิบัติตนและการปฏิบัติงานของนักศึกษา
10) ลงนามเพื่อรับรองการฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ในเอกสารตามที่คณะครุศาสตร์กาหนด และ
จัดทาหนังสือส่งตัว

4.2.2 ครูนิเทศก์ของสถานศึกษา หรือครูนิเทศก์ประจาโรงเรียน


ครู นิ เ ทศของสถานศึ ก ษา หรื อ ครู นิ เ ทศก์ ป ระจ าโรงเรี ย น หมายถึ ง บุ ค ลากร
ประจ าการในโรงเรี ย นร่ ว มผลิ ต ที่มีตาแหน่งอยู่ในระดั บบริห ารสถานศึกษา เช่น รองผู้ อานวยการ
หัวหน้ากลุ่มสาระ หรือหัวหน้ากลุ่มงาน ซึ่งได้รับการมอบหมายและแต่งตั้งจากผู้บริหารสถานศึกษาให้ทา
หน้าที่แทนเกี่ยวกับการดูแลให้คาปรึกษา นิเ ทศติดตาม ให้ข้อเสนอแนะและประเมินผลนักศึกษาฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ ซึ่งสถานศึกษาหนึ่งจะใช้ครูนิเทศก์คนเดียวทาหน้าที่นิเทศทั้งสถานศึกษาก็ได้ โดย
มีบทบาทหน้าที่และ แนวปฏิบัติ ดังนี้
1) เป็นตัวแทนของโรงเรียนในการติดต่อประสานงานกับ ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ คณะครุ
ศาสตร์ ในเรื่ องที่เกี่ย วกับ การปฏิบั ติการสอนของนักศึกษาทุกคนที่มาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูใน
โรงเรียน
2) ปฏิบัติหน้าที่แทนผู้บริหารสถานศึกษาในการปฐมนิเทศและส่งมอบนักศึกษาในวันแรกของ
การปฏิบัติการสอน
3) ปฏิบัติหน้าที่แทนผู้บริหารสถานศึกษา ในการสังเกตการปฏิบัติการสอนและ การปฏิบัติงาน
ในหน้าที่ครูด้านอื่นๆ นิเทศติดตามเพื่อประเมินสมรรถนะวิชาชีพ อย่างน้อย 3 ครั้ง (สาหรับนักศึกษาชั้น
ปี 4) และให้ข้อเสนอแนะที่เป็นประโยชน์แก่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
4) ดูแลและติดตามการเสนอและจัดทาโครงการต่างๆ ตรวจแนะนารายงานผลการศึ ก ษา
รายกรณี (case Study) รายงานการปฏิบัติการสอน 1 – 4 และการบันทึกการปฏิบัติงานประจาวัน
5) ดู แ ล และสนั บ สนุ น ให้ เ กิ ด สั ม พั น ธภาพที่ ดี ร ะหว่ า งนั ก ศึ ก ษาต่ า งสาขาวิ ช า หรื อ ต่ า ง
มหาวิทยาลัยที่ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในโรงเรียนเดียวกัน
6) ปฏิบัติหน้าที่แทนผู้บริหารสถานศึกษาในด้านอื่นๆ เกี่ยวกับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ตามที่ได้รับมอบหมาย

4.3 คุณสมบัติ บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติของครูพี่เลี้ยง


ครูพี่เลี้ยง หมายถึง ครูประจากลุ่มสาระที่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพจะปฏิบัติการสอน
หรือเป็นผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารสถานศึกษา ให้ทาหน้าที่เป็นพี่เลี้ยงประจาตัวนักศึกษา ซึ่งถือว่า
เป็นผู้ที่มีบทบาทสาคัญยิ่งในการพัฒนานักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เนื่องจากเป็นผู้ที่ใกล้ชิดกับ
นักศึกษามากที่สุดระหว่างไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา และถือเป็นต้นแบบของความเป็นครู ของ
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 33

นั ก ศึ ก ษา ซึ่ ง ช่ ว ยหล่ อ หลอม สนั บ สนุ น และพั ฒ นาให้ นั ก ศึ ก ษาฝึ ก ประสบการณ์ มี ส มรรถนะและ
คุณลักษณะความเป็นครู ตามมาตรฐานวิชาชีพครูที่คุรุสภากาหนด

4.3.1 คุณสมบัติของครูพี่เลี้ยง
หลักเกณฑ์คุณสมบัติของครูพี่เลี้ยง ตามประกาศของคุรุสภาและประกาศมหาวิทยาลัย
ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ เรื่อง หลักเกณฑ์คุณสมบัติของครูพี่เลี้ยงในสถานศึกษา
เครือข่ายสาหรับปฏิบัติการสอน4 มีดังต่อไปนี้
1) มีคุณวุฒิปริญญาตรีขึ้นไป ในสาขาวิชาที่ตรงกับสาขาวิชาเอกที่นักศึกษาไปฝึกปฏิบัติการสอน
2) มีประสบการณ์การสอนไม่น้อยกว่า 3 ปี ในสาขาที่ตรง และ/ หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาเอก
ที่นักศึกษาไปฝึกปฏิบัติการสอน
3) มีคุณลักษณะเป็นแบบอย่างที่ดีให้แก่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
4) มีความรู้ ความสามารถ และประสบการณ์ ตรงกับสาขาวิชาเอกของนักศึกษาที่ปฏิบัติการสอน
5) มีจิตวิญญาณความเป็นครู มีคุณธรรม และจริยธรรม
6) มีความสามารถในการจัดการเรียนการสอนอย่างมีประสิทธิภาพและเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
7) มีความสามารถในการแสวงหาความรู้ คิดวิเคราะห์ และสร้างองค์ความรู้เพื่อพัฒนาการ
เรียนการสอน

4.3.2 บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติของครูพี่เลี้ยง
ครู พี่ เ ลี้ ย ง คื อ ผู้ ที่ ใ กล้ ชิ ด กั บ นั ก ศึ ก ษา และเป็ น ตั ว อย่ า งของการปฏิ บั ติ ต นและการ
ปฏิบัติงานที่นักศึกษาได้พบเห็น เรียนรู้ และซึมซับไว้เป็นต้นแบบ (role model) ของการเป็นครูที่ดี
ดังนั้น จึงมีบทบาทหน้าที่ในการจัดการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา และดูแลนักศึกษา ประกอบด้วย
1) ทาความเข้าใจเกี่ยวกับแนวคิด เป้าหมายของการฝึกประสบการณ์วิชาชีพของนั กศึกษาครู
และแนวทางในการประเมินสมรรถนะและคุณลักษณะของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ของคณะ
ครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
2) เข้ าร่ วมประชุ มเพื่ อรั บทราบนโยบาย รายงานปั ญหา แลกเปลี่ ย นความคิ ด เห็ น และให้
ข้อเสนอแนะแก่ คณะครุ ศาสตร์ มหาวิทยาลั ยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ฯ และโรงเรียนร่วมผลิ ตอื่ นๆ เพื่ อ
ปรับปรุงกระบวนการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา และกระบวนการผลิตบัณฑิตครูให้สอดคล้องกับ
ความต้องการของผู้ใช้บัณฑิต
3) แนะนานักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพแก่นักเรียนในชั้นเรียน
4) ให้ความรู้ ข้อมูลและคาแนะนาเกี่ยวกับสภาพและปัญหาการเรียนรู้ของนักเรียน แนวทาง
ปฏิบัติการสอน การปกครองชั้นเรียน ตลอดจนการทางานธุรการในชั้นเรียน รวมทั้งให้ข้อมูลเกี่ยวกับ
บริบทของชุมชน และแนวทางในการสร้างความสัมพันธ์อันดีระหว่างโรงเรียนกับชุมชน
5) เปิดโอกาสให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูได้สังเกตการสอนของครูพี่เลี้ยง ก่อนที่จะ
มอบหมายให้ปฏิบัติการสอนจริงในชั้ นเรียน ตลอดจนให้คาแนะนา สาธิตการสอน การจัดการชั้นเรียน
และการปฏิบัติกิจกรรมต่างๆ ในชั้นเรียน เพื่อเป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักศึกษา

4
รายละเอียดเพิ่มเติมในภาคผนวก
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 34

6) ให้ โ อกาสนั กศึกษาฝึ กประสบการณ์วิช าชีพได้เรียนรู้และท างานในหน้า ที่ครูด้านต่ า งๆ


ร่ ว มกั น กั บ ครู พี่ เ ลี้ ย ง พร้ อ มทั้ ง ให้ ค าปรึ ก ษาและแนะน าเกี่ ยวกั บการปฏิบั ติ ตนและปฏิบั ติง านของ
นั กศึกษา เมื่อพบว่างานใดบกพร่ อง ต้ องให้ คาแนะนาและช่วยแก้ไขปัญหาตามสมควร เพื่อช่ว ยให้
นักศึกษาได้มีโอกาสเรียนรู้และพัฒนาตนเองอย่างมีประสิทธิภาพ
7) ช่วยเหลือ แนะนานักศึกษาในด้านการออกแบบ จัดทาและใช้สื่อการเรียนรู้ แหล่งเรียนรู้ใน
ชุมชน
8) ตรวจแผนการจัดการเรียนรู้ ให้คาแนะนาและส่งคืนให้นักศึกษาปรับปรุงแก้ไขก่อนนาไป
การจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน
9) สั ง เกตการสอน การจั ด การชั้ น เรี ย น และการท างานในหน้ า ที่ ค รู ข องนั ก ศึ ก ษาฝึ ก
ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู อ ย่ า งสม่ าเสมอ ไม่ ป ล่ อ ยให้ นั ก ศึ ก ษาท าการสอนโดยล าพั ง โดยขอความ
อนุเคราะห์ให้เขียนข้อเสนอแนะการสอนลงในแผนการจัดการเรียนรู้ด้วยตัวสีแดงไว้ทุกครั้ง และลง
รายการนิเทศที่ท้ายสมุดแผนการจัดการเรียนรู้ รวมทั้งขอความอนุเคราะห์ให้ครูพี่เลี้ยงวิพากษ์การสอน
และข้อเสนอแนะเพื่อพัฒนาการปฏิบัติการสอน เมื่อพบว่างานใดบกพร่อง ต้องให้คาแนะนา เพื่อช่วยให้
การฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูมีประสิทธิภาพ
10) ปรึกษาหารือและประสานงานกับอาจารย์นิเทศ คณะครุศาสตร์ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้
ร่วมกันระหว่างนักศึกษา ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์นิเทศก์ ในลักษณะของชุมชนวิชาชีพ (PLC)
11) ให้ข้อมูลเกี่ยวกับการปฏิบัติตน การปฏิบัติงานแก่นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และวัด
และประเมินผลการปฏิบัติงานตามแบบฟอร์มที่คณะครุศาสตร์กาหนด และประเมินสมรรถนะวิชาชีพครู
ตามข้อกาหนดของคุรุสภา เพื่อให้การนิเทศติดตาม การประเมินผลการปฏิบัติงาน และการเรียนรู้และ
พัฒนาตนเองของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพเป็นไปด้วยดีและมีประสิทธิภาพ
12) เป็นแบบอย่างที่ดีแก่นักศึกษา คอยช่วยเหลือ ส่งเสริม ให้กาลังใจ และกระตุ้นให้นักศึกษา
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพได้ปฏิบัติงานในหน้าที่ของตนอย่างเต็มความสามารถ
13) ในกรณีที่พบว่า นักศึกษามีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ (เช่น ขาดความรับผิดชอบในการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ ไม่ปฏิบัติตนตามระเบียบวินัย ไม่ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย หรือมีปัญหาชู้สาว
ฯลฯ) ให้ครูพี่เลี้ยงพิจารณาตัดสินเบื้องต้น เป็นรายกรณี ดังนี้
(1) ชี้ แ จงระเบี ย บหรื อ บทลงโทษให้ กั บ นั ก ศึ ก ษาทราบ และแจ้ ง ฝ่ า ยฝึ ก
ประสบการณ์วิชาชีพเพื่อร่วมกันแก้ไขต่อไป
(2) ตักเตือนโดยร่วมมือกับครูนิเทศก์สถานศึกษา หรืออาจารย์นิเทศก์คณะ
ครุศาสตร์ และบันทึกเป็นลายลักษณ์อักษร
(3) หากอาจารย์นิเทศก์ ครูพี่เลี้ยง และครูนิเทศก์สถานศึกษา พบว่านักศึกษา
ยังมีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ หรือไม่ปรับปรุงแก้ไข ให้อาจารย์นิเทศก์
เสนอเรื่องเข้าสู่กระบวนการพิจารณาโดยคณะกรรมการวิชาการต่อไป

4.4 คุณสมบัติ บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติของอาจารย์นิเทศก์


อาจารย์นิเทศการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา หรือ อาจารย์นิเทศก์ หมายถึง อาจารย์ประจา
ของมหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชู ป ถั ม ภ์ ที่ มี คุ ณ สมบั ติ เ หมาะสมและได้ รับ
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 35

มอบหมายให้ทาหน้าที่นิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูที่อยู่ในความรับผิดชอบ โดยต้องมีคาสั่ง
แต่งตั้งเป็นอาจารย์นิเทศก์นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูประจาโรงเรียนร่วมผลิต

4.4.1 คุณสมบัติอาจารย์นิเทศก์
หลักเกณฑ์คุณสมบัติของอาจารย์นิเทศก์ มีดังนี้
1) มีคุณวุฒิไม่ต่ากว่าปริญญาโท ในสาขาวิชาที่ตรง หรือสัมพันธ์กับสาขาวิชาเอกที่นักศึกษาไป
ฝึกปฏิบัติการสอน
2) มีคุณลักษณะเป็นแบบอย่างที่ดีเหมาะสมกับความเป็นครู
3) มีประสบการณ์การสอนอย่างน้อย 3 ปี
4) มีทักษะการนิเทศ โดยมีประสบการณ์การนิเทศไม่น้อยกว่า 2 ปี สาหรับกรณีที่อาจารย์
นิเทศก์มีคุณสมบัติไม่ครบถ้วนตามเกณฑ์ ให้นิเทศติดตามคู่กับอาจารย์นิเทศก์ที่มีคุณสมบัติครบถ้วนใน
ลักษณะพี่เลี้ยงสอนงาน เพื่อเตรียมความพร้อมของอาจารย์ ใหม่ ให้มีประสบการณ์ การนิเทศเพิ่มขึ้น
ตามลาดับ
5) รับผิดชอบดูแลนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ในจานวนที่เหมาะสม ทั้งนี้ ไม่เกิน 1 : 10

4.4.2 บทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติของอาจารย์นิเทศก์
อาจารย์นิเทศก์เป็นบุคคลที่มีบทบาทใกล้ชิดกับนักศึกษาในการให้คาปรึกษาแนะนา ให้
ข้อเสนอแนะ และช่วยเหลือนักศึกษา ตลอดจน ทาหน้าที่นิเทศและติดตามผลนักศึกษาฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครูเมื่อไปปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยมีบทบาทหน้าที่และแนวปฏิบัติ ดังนี้
1) ร่ ว มประชุ ม วางแผนกั บ ฝ่ า ยฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู ในการจั ด หาสถานศึ ก ษาฝึ ก
ประสบการณ์ หรื อ หาแนวทางในการพั ฒ นา ปรั บ ปรุ ง และแก้ ปั ญ หาต่ า งๆ ที่ เ กี่ ย วข้ อ งกั บ การ
ฝึกปฏิบัติการสอนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
2) เข้าร่วมกิจกรรมการประชุมผู้บริหารสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยง การปฐมนิเทศ สัมมนากลาง
ภาค การปัจฉิมนิเทศและสัมมนาหลังการปฏิบัติการสอนของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู และ
เสนอแนะแนวทางเพื่อพัฒนา แก้ปัญหา และปรับปรุงกระบวนการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้ดียิ่งขึ้น
3) เข้าใจข้อมูลพื้นหลัง (background) และคุณลักษณะความเป็นครูของนิสิตฝึกประสบการณ์
วิชาชีพเป็นรายบุคคล
4) ดูแลและให้คาปรึกษานักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ หากพบว่าประสบปัญหาในการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ และ/หรือ ปัญหาในการดาเนินชีวิตขณะฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ขอให้รายงานต่อ
หน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูทันทีเมื่อทราบปัญหา
5) ประสานงานกับครูพี่เลี้ยง ครูนิเทศ ผู้บริหารสถานศึกษา และผู้เกี่ยวข้องกับฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครู
6) นิเทศติดตามนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เกี่ยวกับการปฏิบัติการสอน งานครู และ
กิจกรรมอื่นๆ ที่โรงเรียนมอบหมายให้นักศึกษาปฏิบัติ อย่างน้อยภาคการศึกษาละ 3 ครั้ง และให้ข้อมูล
ย้อนกลับ (feedback) โดยเขียนลงในแผนการจัดการเรียนรู้ที่สังเกตการสอนทุกครั้ง รวมทั้งวิพากษ์การ
สอนและแลกเปลี่ยนเรียนรู้ร่วมกันระหว่างนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ครูพี่เลี้ยงและอาจารย์
นิเทศก์ ในลักษณะของชุมชนวิชาชีพ (PLC)
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 36

7) ประเมินผลการปฏิบัติงานครู และส่งผลการประเมินตามปฏิทินที่มหาวิทยาลัยกาหนด โดย


รวบรวมผลการประเมินจากผู้บริหารหรือครูนิเทศก์ และครูพี่เลี้ยง เพื่อนาไปสรุปและประเมินผล แล้วส่ง
ให้อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ประจาสาขาวิชาเพื่อสรุปผลรวมออกเกรดและส่งเกรดต่อไป
8) ในกรณีที่พบว่า นักศึกษามีพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ (เช่น ขาดความรับผิดชอบในการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพ ไม่ปฏิบัติตนตามระเบียบวินัย ไม่ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย หรือมีปัญหาชู้สาว
ฯลฯ) ให้ครูพี่เลี้ยงพิจารณาตัดสินเบื้องต้น เป็นรายกรณี ดังนี้
9) ชี้แจงระเบียบหรือบทลงโทษให้กับนักศึกษาทราบ และแจ้งฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพเพื่อ
ร่วมกันแก้ไขต่อไป
10) ตักเตือนโดยร่วมมือกับผู้บริหารสถานศึกษา ครูนิเทศก์สถานศึกษา หรือครูพี่เลี้ยง โดยบันทึก
เป็นลายลักษณ์อักษร
11) หากอาจารย์นิ เทศก์ ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง และครูนิเทศก์ส ถานศึกษา พบว่า
นั กศึกษายั ง มี พ ฤติ กรรมที่ ไม่ พึ ง ประสงค์ หรือไม่ปรับปรุง แก้ ไข ให้ อาจารย์นิเ ทศก์ เสนอเรื่ อ งเข้ า สู่
กระบวนการพิจารณาโดยคณะกรรมการวิชาการต่อไป

4.5 บทบาทหน้าที่ของฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เป็นส่วนหนึ่งของฝ่ ายวิช าการ คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลั ย
ราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ทาหน้าที่ รับผิดชอบการปฏิบัติการสอนของนัก ศึ ก ษา
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ทุกชั้นปี โดยดาเนินงานด้านธุรการ 4 งาน คือ งานธุรการ งานข้อมูลสถิติ
งานบริการและติดต่อ งานประเมินผลและติดตามผล มีบทบาทหน้าที่ ดังนี้
1) วางแผนการฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู ทุ ก ขั้ น ตอนของนั ก ศึ ก ษาทุ ก ระดั บ และทุ ก
สาขาวิชาตลอดหลักสูตรที่เรียน
2) ประชาสัมพันธ์และประสานงานกับทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้อง
3) จัดหาโรงเรียนร่วมผลิตที่จะใช้เป็นสถานศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
4) จัดทางานสารบรรณ ออกหนังสือแจ้งโรงเรียนร่วมผลิตเพื่อสอบถามความต้องการจาเป็น
และจานวนการรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพ รวมถึงการจัดทาหนังสือส่งตัวนักศึกษา
5) ดาเนินงานร่วมกับหลักสูตรในการจัดอาจารย์นิเทศก์ จัดนักศึกษาตามความสามารถใน
การรับนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของสถานศึกษา
6) จั ด ท าเล่ ม คู่ มื อ การปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษา และเครื่ อ งมื อ ประเมิ น ผลการฝึ ก
ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา รวมทั้งพิมพ์เอกสารและแบบฟอร์มอื่นๆ ที่ได้รับมอบหมาย
7) จัดกิจกรรมเพื่อเตรียมความพร้อมและพัฒนานักศึกษา ได้แก่ กิจกรรมปฐมนิเทศนักศึกษา
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพ กิจกรรมสัมมนากลางภาค และกิจกรรมสัมมนาหลังฝึกประสบการณ์วิชาชีพ
และปัจฉิมนิเทศ
8) รวบรวมแบบประเมินผลการสะท้อนคิดการเรียนรู้ แบบประเมินผลการฝึกปฏิบัติการสอน
เพื่อมอบให้อาจารย์นิเทศตัดสินผลการเรียนต่อไป
9) ปรับปรุงการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้บังเกิดผลต่อการพัฒนาคุณภาพนักศึกษาครูมาก
ยิ่งขึ้น
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 37

-------------------------------------------------------
ส่วนที่ 2
ชิ้นงาน แบบบันทึกและรายงาน
ของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
-------------------------------------------------------

“สิ่งหนึ่งที่ทาให้เราเป็นเราและมีการสอนแบบทุกวันนี้
คือการมองย้อนกลับไปในชีวิตตั้งแต่เด็ก เราชอบครูแบบไหน
เราจะไม่เป็นครูที่ไม่เคยฟังเด็ก เอะอะตัดคะแนน
ทุกคนจะมีครูที่เรานึกถึงแล้วก็ไม่นึกถึง
ดังนั้น เราก็จะเลือกเป็นครูที่เรานึกถึง”
ครูลูกกอล์ฟ-คณาธิป สุนทรรักษ์
#Museum Siam
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 38

บทที่ 5
การจัดทารายงานปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2
รายงานการฝึ ก ปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษา 2 ของนั ก ศึ ก ษาฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู
เป็ น หลั ก ฐานของนั ก ศึ ก ษาที่ จั ด เก็ บ อย่ า งมี เ ป้ า หมาย เพื่ อ แสดงให้ เ ห็ น ความมุ่ ง มั่ น พยายามและ
ความก้าวหน้า ในการปฏิบัติงานสอนและงานในหน้าที่ครู การเรียนรู้ที่เกิดขึ้น รวมถึง ผลสัมฤทธิ์ และ
สมรรถนะในการทางาน รายละเอียดของรูปแบบรายงานปฏิบัติการสอน และแบบบันทึกต่างๆ มีดังนี้

5.1 เค้าโครงการจัดทารายงานการฝึกปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2
เมื่อนักศึกษาเริ่ ม ปฏิบัติ การสอนในสถานศึกษา จะต้องเตรียมเอกสารแบบบันทึกต่างๆ และ
จัดเก็บผลงานของตนเอง สาหรับใส่ในรายงานปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 โดยเขียนบันทึกตาม
แบบฟอร์ม เลือกชิ้นงานที่จ ะจัดเก็บ รวบรวมเอกสาร แผนการจัดการเรียนรู้ และหลักฐานที่ แสดง
พัฒนาการหรือการปรับปรุงชิ้นงาน/ แผนการจัดการเรียนรู้ พร้อมทั้ง เขียนข้อความแสดงความคิดเห็น
การชี้แนะแนวทางการปรับปรุงผลงาน/ การสอนของตน
เมื่อสิ้ น สุ ดการปฏิบั ติการสอนในสถานศึกษา หรือภายหลั งการปัจฉิมนิเทศ นักศึกษาจะต้อง
รายงานผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา โดยรวมเอกสารต่างๆ เป็นรูปเล่มรายงาน จานวน 1 เล่ม
โดยเขียนเรียงลาดับตามหัวข้อที่กาหนดในแบบรายงาน และส่งรายงานการปฏิบัติการสอนให้ครูพี่เลี้ยง
ตรวจพิจารณาความถูกต้องและลงนามก่อนหรือส่งให้ฝ่ายบริหารโรงเรียนตรวจพิจารณาด้วย แล้วจึง
เสนอต่ออาจารย์นิเทศก์เพื่อตรวจพิจารณาและลงนามต่อไป
เอกสารที่จะจัดเก็บ และเค้าโครงการจัดทาเล่มรายงานปฏิบัติการสอนใสถานศึกษา 2 มีดังนี้
1) ปกหน้า (นักศึกษาออกแบบได้อิสระ)
2) ปกใน (ตามแบบฟอร์มที่คณะกาหนด)
3) คานา
4) สารบัญ
5) ข้อมูลนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
6) ประวัติครูพี่เลี้ยง
7) บันทึกการนัดหมายกับอาจารย์นิเทศก์ ครูพี่เลี้ยงและครูนิเทศ
8) ตารางสอนของนักศึกษา
9) บันทึกความรู้สึกที่มีต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
10) บันทึกการนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ของผู้บริหารสถานศึกษา/ครูนิเทศก์
ครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์
11) บันทึกอนุทินเกี่ยวกับแผนการจัดการเรียนรู้ที่ประทับใจ
12) แผนการจัดการเรียนรู้และบันทึกผลการจัดการเรียนรู้หลังสอน ที่ประทับใจ
13) บันทึกอนุทินเกี่ยวกับผลงานของนักเรียนที่ประทับใจ
14) ผลงานของนักเรียนที่ประทับใจ พร้อมทั้งเขียนข้อความบรรยายให้ผู้อ่านเกิดความเข้าใจ
15) บันทึกการสะท้อนคิดการเรียนรู้ในกิจกรรมการปฐมนิเทศ สัมมนาและปัจฉิมนิเทศ
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 39

16) ผลงาน ภาพกิจกรรม หรือหลักฐานแสดงการปฏิบัติงานต่างๆ ในสถานศึกษา


(นอกเหนือจากที่ได้รับมอบหมายจากทางมหาวิทยาลัย) พร้อมทั้งเขียนข้อความบรรยายให้
ผู้อ่านเกิดความเข้าใจ
17) ภาคผนวก ได้แก่ เอกสารหลักฐานต่างๆ เช่น คาสั่งแต่งตั้งการปฏิบัติงาน หรือ สาเนา
เกียรติบัตรที่ได้รับขณะปฏิบัติงานในสถานศึกษา และแผนการจัดการเรียนรู้ เป็นต้น
รายละเอียด ดังตัวอย่างแนบท้ายบท

5.2 บันทึกการนัดหมายกับอาจารย์นิเทศก์ ครูพี่เลี้ยงและครูนิเทศก์


การบันทึกนัดหมายเป็นการบันทึกปฏิทินงาน การนัดหมายนิเทศการสอน การนัดหมายส่งงาน
ขอให้นักศึกษา เสนอบันทึกนี้แก่อาจารย์นิเทศก์ ครูพี่เลี้ยง และครูนิเทศก์เพื่อลงนาม เมื่อการนัดหมาย
เสร็จสิ้น นักศึกษาสามารถศึกษารูปแบบบันทึก ในตัวอย่างของแบบฟอร์มที่แนบมาด้วย

5.3 บันทึกความรู้สึกที่มีต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
บั น ทึกความรู้ สึ ก ที่ มีต่ อ การฝึ กประสบการณ์วิช าชี พครู เป็นการเขียนแสดงความคิด เห็ น ต่ อ
ภาพรวมการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู เมื่อการปฏิบัติการสอนสิ้นสุดลง เพื่อเปิดโอกาสให้นักศึกษาฝึก
ประสบการณ์วิช าชีพครู มีส่ ว นร่ ว มในการประเมิ นผลตนเอง ผ่ านการสะท้อนความคิด (reflective
thinking) และตระหนักถึงความสาเร็จหรือความล้มเหลวของตนเอง ซึ่งจะช่วยส่งเสริมให้นักศึกษาเห็น
จุดแข็ง จุดอ่อน และเกิดความกระตือรือร้นในการปรับปรุงและพัฒนาตนเอง
นักศึกษาจะต้องบันทึกสรุปผลที่ ได้รับการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูให้เสร็จเรียบร้อยหลังการ
ปัจฉิมนิเทศ โดยแนบบันทึกไว้ในส่วนท้ายของเล่มรายงานบันทึกการปฏิบัติงานประจาวัน นักศึกษา
สามารถศึกษารูปแบบบันทึก ในตัวอย่างของแบบฟอร์มที่แนบมาด้วย

5.4 บันทึกการนิเทศของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
การนิเทศเป็นกระบวนการที่สาคัญในการพัฒนาการจัดการเรียนรู้และการเรียนรู้ ที่จะสอนและ
การเรียนรู้ที่จะเป็นครูของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ให้มีประสิทธิภาพและเกิดประสิทธิผลต่อ
ผู้ เรี ย นในชั้น เรี ย นที่นั ก ศึ กษารั บ ผิ ดชอบสอน การนิเทศติดตามการสอนและปฏิ บัติ งานครู จึงเป็ น
กระบวนการทางานร่วมกันระหว่างนักศึกษา อาจารย์นิเทศก์ ครูพี่เลี้ยง และครูนิเทศก์หรือผู้บริห าร
สถานศึกษา ในลักษณะการเรียนรู้ในชุมชนวิชาชีพ
เมื่อนั กศึกษาทราบกาหนดนัดหมายการนิเทศติดตามจากอาจารย์นิเทศก์ ครูพี่เลี้ ยง และครู
นิเทศก์หรือผู้บริหารสถานศึกษา ขอให้นักศึกษาจัดเตรียมบันทึกการนิเทศพร้อมกับแผนการจัดการ
เรียนรู้ หรือชิ้นงานต่างๆ ที่สอดคล้องกับเป้าหมายการนิเทศแต่ล ะครั้ง โดยนักศึกษาสามารถศึ ก ษา
รูปแบบบันทึกในตัวอย่างของแบบฟอร์มที่แนบมาด้วย
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 40

5.5 บันทึกอนุทิน
การเขียนอนุทิน (journal writing) ในรายงานการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เป็น การเขียน
รายงานความประทับใจของตนเองเกี่ยวกับชิ้นงานหรือเรื่องต่างๆ ในลักษณะของการพรรณนาหรือบอก
เล่ า เรื่ อ งราวความประทั บ ใจว่า นั ก ศึ ก ษารู้ สึ ก ประทั บ ใจชิ้น งานเหล่ า นั้น ตรงไหน เพราะเหตุ ใ ดจึง
ประทับใจ และความสาเร็จ (หรืออุปสรรค/ ความล้มเหลว) จากการออกแบบ สร้างและพัฒนาชิ้นงาน
เหล่านั้น ช่วยให้เห็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอดหรือปรับปรุงการสอน การพัฒนาผู้เรียนและการ
ทางานของตนอย่างไร โดยนักศึกษาสามารถศึกษารูปแบบบันทึกในตัวอย่างของแบบฟอร์มที่แนบมาด้วย

5.6 บันทึกการสะท้อนคิดการเรียนรู้
บันทึกการสะท้อนคิดการเรียนรู้นี้ ใช้ในกิจกรรมการปฐมนิเทศ การสัมมนาและการปัจฉิมนิเทศ ขอให้
นักศึกษาบันทึกสาระสาคัญที่ได้รับ สิ่งที่ได้เรียนรู้จากการเข้าร่วมกิจกรรม และแสดงความคิดเห็น
เกี่ยวกับการนาสิ่งที่ได้เรียนรู้ไปไปประยุกต์ใช้ หรือพัฒนาการสอนและการเป็นครูของตนเอง โดยเขียน
ในรูปแบบใดก็ได้ เช่น การวาดภาพ อนุทิน (journal writing) ไดอารี่ (diary) ผังความคิด (mind map)
ผังมโนทัศน์หรือผังแนวคิด (concept mapping) หรือ อินโฟกราฟิก (infographic) โดยนักศึกษา
สามารถศึกษารูปแบบบันทึกในตัวอย่างของแบบฟอร์มที่แนบมาด้วย

5.7 แผนการจัดการเรียนรู้
การจัดทาแผนการจัดการเรียนรู้เป็นการออกแบบการจัดการเรียนรู้ประจาเรื่องหรือหน่วยการ
เรี ย นรู้ ย่ อย ซึ่ งเป็ น เตรี ยมการจัดการเรียนรู้ล่ วงหน้าอย่างเป็นระบบและเป็นลายลักษณ์อักษร เพื่อ
นาไปใช้เป็นแนวทางจัดการเรียนรู้ให้ผู้เรียนเกิดการเรียนรู้ตามเป้าหมายทีก่ าหนดไว้
นักศึกษาสามารถใช้รูปแบบแผนฯ และรูปแบบการจัดการเรียนรู้ ตามที่สถานศึกษากาหนด หรือ
จะใช้รูปแบบแผนตามที่หลักสูตรกาหนด ก็ได้ ทั้งนี้ ถ้าเลือกใช้เป็นรูปแบบใด ให้ใช้รูปแบบนั้นๆ ทั้งหมด
และควรให้ครอบคลุมองค์ประกอบและประเด็นสาคัญต่างๆ ของแผนการจัดการเรียนรู้ ได้แก่
1) หัวเรื่อง ประกอบด้วย ลาดับที่ของแผนการจัดการเรียนรู้ กลุ่มสาระการเรียนรู้ รายวิชา
ระดับชั้นที่สอน ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ชื่อเรื่อง วันที่/ เวลาที่ใช้สอน
2) มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้/ จุดประสงค์การเรียนรู้
3) สาระสาคัญ และสาระการเรียนรู้
4) การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
5) สื่อและแหล่งการเรียนรู้
6) การวัดและประเมินผลการเรียนรู้ โดยระบุให้ชัดเจนถึงสิ่งที่จะประเมิน เครื่องมือที่ใช้ในการ
ประเมิน และเกณฑ์การประเมิน
7) บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 41

5.8 บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
การจัดทาบันทึกผลการจัดการเรียนรู้ ในรายงานปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา เป็นรูปแบบการ
สะท้ อ นการจั ด การเรี ย นรู้ (reflective teaching) ซึ่ ง เป็ น การบู ร ณาการบั น ทึ ก หลั ง สอนที่ เ ป็ น การ
บรรยายสภาพการณ์การสอนเข้ากับการแสดงความรู้สึกและความคิดเห็นของครูที่มีต่อการจัดการเรียนรู้
ของตนเอง เพื่อ ประเมิน การจั ด การเรียนรู้ ซึ่งช่ว ยให้ นักศึกษาฝึ กประสบการณ์วิช าชี พครู ได้ มี ก าร
วิเคราะห์ ข้อเด่น ข้อบกพร่ องของตนเองจากการปฏิบัติงานจริง รวมถึงได้วิเคราะห์ ความรู้ ทักษะ/
พฤติกรรมการเรียนรู้ และคุณลักษณะอังพึงประสงค์ของผู้เรียนที่เกิดขึ้นในแต่ล ะขั้นของการจัดการ
เรียนรู้ เชื่อมโยงไปถึงการวางแผนปรับปรุงและพัฒนาการจัดการเรียนรู้ให้มีประสิทธิภาพมากขึ้น
นอกจากนี้ข้อดีจากการประเมินตนเองผ่านบันทึกฯ นี้ จะทาให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู มี
ข้อมูลเริ่มต้น สาหรับปัญหาของการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน ซึ่งเป็นจุดเริ่มต้นของการทาวิจัยในชั้นเรียน
โดยนาข้อเสนอแนะมาเป็นแนวคิดในการจัดทาวิจัยในชั้นเรียน ทั้งนี้ นักศึกษาสามารถใช้รูปแบบบันทึก
ในตัวอย่างของแบบฟอร์มที่แนบมาด้วย หรือใช้แบบฟอร์มของทางโรงเรียน หรือตามที่อาจารย์นิเทศก์
กาหนดก็ได้
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 42

รายงานการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2
(Internship 2)

จัดทาโดย

ชื่อนักศึกษา......................................................................................................
สาขาวิชา.......................................................รหัสประจาตัว.............................

เสนอต่อ
ครูพี่เลี้ยง ครูนิเทศก์และผู้บริหารสถานศึกษา
โรงเรียน.....................................................................
และอาจารย์นิเทศก์ คณะครุศาสตร์

รายงานฉบับนี้เป็นส่วนหนึ่งของรายวิชา ETP414 ปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2


คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
ข้อมูลนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 43
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ ติดรูปถ่ายชุด
นักศึกษา
ประวัตินักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ชื่อ – นามสกุล (นาย/นางสาว)……………..……………………….....…………………………………………….…...………
รหัสนักศึกษา………………………....................สาขาวิชา................................................................................
ชื่อ – นามสกุลอาจารย์ที่ปรึกษา ............................................................................................................

ที่อยู่ ที่ติดต่อได้ระหว่างการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา :
…………………………………………………………………………………………………………………………………………………
โทรศัพท์ : …………........…..............................… ID Line : ……………………………………………………………….
E-mail : ....................................................................................
บุคคลที่จะติดต่อได้ (ในกรณีเร่งด่วน) ………………………………………………………………………….....................
โทรศัพท์ : …………........…..............................… E-mail : ……………………………………………………………….

ประวัติการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ประจาภาคการศึกษาที่...…ปีการศึกษา………....…ชื่อสถานศึกษา...............................................................
ชื่อ – นามสกุลอาจารย์นิเทศก์ ............................................................................................................
ชื่อ – นามสกุลครูพี่เลี้ยง …………………………..............................................................................

รายวิชาที่ได้รับมอบหมายให้สอน
รหัสวิชา ชื่อวิชา ระดับชั้น จานวนคาบ

งานในหน้าที่ครู และหน้าที่ความรับผิดชอบที่ได้รับมอบหมายพิเศษ
1. …………………………….....................................................................................……………………………………
2. …………………………….....................................................................................……………………………………
3. …………………………….....................................................................................……………………………………
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 44

ประวัติครูพี่เลี้ยง
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู รายวิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา...........
หลักสูตรครุศาสตรบัณฑิต สาขาวิชา................................................................
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
---------------------------------------------------------------

ชื่อครูพเี่ ลี้ยง................................................................................................................................................
โรงเรียน......................................................................................................................................................
วุฒิการศึกษา ปริญญาตรี.............................................................. วิชาเอก........................................
ปริญญาโท............................................................... วิชาเอก........................................
ปริญญาเอก............................................................. วิชาเอก........................................
วิทยฐานะ................................................. ปัจจุบันสอนวิชา..........................................ระดับชั้น...............
ประสบการณ์การทางานวิชาชีพครู........ปี ประสบการณ์การสอนวิชา (กลุ่มสาระ/วิชาที่ตนศึกษา).......ปี
ประวัติการสอน วิชา..........................................................................ระดับชั้น.................. จานวน.......ปี
วิชา..........................................................................ระดับชั้น.................. จานวน.......ปี
วิชา..........................................................................ระดับชั้น.................. จานวน.......ปี
วิชา..........................................................................ระดับชั้น.................. จานวน.......ปี

ชื่อนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูในความดูแล
ชื่อ – สกุล...................................................................................รหัส นักศึกษา..................................
ชื่อ – สกุล...................................................................................รหัส นักศึกษา..................................
ชื่อ – สกุล...................................................................................รหัส นักศึกษา..................................

ลงชื่อ.............................................................
(...............................................................)
........./.........../.................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 45

บันทึกการนัดหมายกับอาจารย์นิเทศก์ ครูพี่เลีย้ งและครูนิเทศก์


ของ (นาย/นางสาว) ..................................................... สาขาวิชา...................................................
รายวิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา...... โรงเรียน..........................................................................

ครั้งที่/วันที่ เรื่อง ลงนาม


อาจารย์นิเทศก์
1/…………………

ครูพี่เลี้ยง
1/…………………

ครูนิเทศก์
1/…………………

อื่นๆ
1/…………………
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 46

บันทึกความรู้สึกที่มีต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ชื่อ-สกุลนักศึกษา..............................................................................................................................
สาขาวิชา........................................................................ รหัสประจาตัว...........................................
ขณะนี้การฝึกสอนได้สิ้นสุดลงแล้ว ข้าพเจ้ามีความคิดเห็นต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ดังนี้
1) ปัญหาใดบ้างที่สามารถแก้ไขได้ และปัญหาที่ไม่สามารถแก้ไขได้เลย
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
2) ประโยชน์ที่ได้รับต่อการทางานในอนาคต
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
3) แนวคิดที่จะยึดเป็นหลักในการทางานในอนาคต
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
4) จากประสบการณ์ทั้งหมดที่ได้รับ มีผลทาให้เจตคติต่อวิชาชีพครูเปลี่ยนแปลงหรือไม่
อย่างไร
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................

ลงชื่อ...............................................................
(นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู)
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 47

บันทึกการนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
รายวิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา.......... ครั้งที่............ วันที่....................................................
ชื่อนักศึกษา................................................................................................. ระดับชั้นที่สอน.....................
วิชา.................................................. เรื่อง..................................................................................................

ข้อเสนอแนะของ ☐ อาจารย์นิเทศก์ ☐ ครูพี่เลี้ยง ☐ ผู้บริหารสถานศึกษา/ ครูนิเทศก์


...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
..................................................................................................................................... ..............................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
......................................................................................................................................................... ..........
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลงชื่อ................................................................
(อาจารย์นิเทศก์/ ครูพี่เลี้ยง/ ผู้บริหารหรือครูนิเทศก์)

สะท้อนความคิดของนักศึกษาต่อข้อเสนอแนะ
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
...................................................................................................................................................................
ลงชื่อนักศึกษา........................................................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 48

บันทึกอนุทินของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ชื่อ-สกุลนักศึกษา.......................................................สาขาวิชา........................................................
บันทึกความประทับใจต่อ....................................................................................ของข้าพเจ้า
1) ข้าพเจ้า รู้สึกประทับใจชิ้นงานนี้ตรงไหนบ้าง เพราะเหตุใดจึงประทับใจ
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
................................................................................................................................................. .............
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
2) ความสาเร็จ (หรืออุปสรรค/ ความล้มเหลว) จากการออกแบบและพัฒนาชิ้นงาน ช่วยให้
เห็นแนวทางในการพัฒนาต่อยอดหรือปรับปรุงการสอน การพัฒนาผู้เรียนและการทางาน
ของข้าพเจ้าอย่างไร
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
.................................................................................................................................................... ..........
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................
..............................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .................................

ลงชื่อ...............................................................
(นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู)
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 49

บันทึกการสะท้อนคิดการเรียนรู้
ของ (นาย/นางสาว) .............................................................. สาขาวิชา..........................................
รายวิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา....... โรงเรียน..........................................................................

กิจกรรม วันที่

1. ฉันได้เรียนรู้อะไร และอย่างไรบ้าง

2. ฉันจะนาสิ่งที่เรียนรู้วันนี้ไปประยุกต์ใช้ หรือพัฒนาการสอนและการเป็นครูอย่างไร
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 50

บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
ผู้บันทึกชื่อ...........................................................................สอนชั้น.............จานวนผู้เรียน..........คน
เรื่องที่สอน..........................................................................................วันที.่ ......................................
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ ฉันเรียนรู้อย่างไร ฉันนาการเรียนรู้ที่เกิดขึ้น
ขั้น พฤติกรรมที่ปรากฏจริงในชั้นเรียน (จุดที่ดี/ ปัญหาและ ไปพัฒนา/ปรับปรุง/
การสอน ฉันสอนอย่างไร ผู้เรียนเรียนรู้อย่างไร อุปสรรคที่พบ) แก้ปญ
ั หาอย่างไร
ขั้นนา

ขั้นสอน

ขั้นสรุป

หมายเหตุ ขั้นการสอนปรับเพิ่มได้ตามรูปแบบการจัดการเรียนรู้ของนักศึกษา

ลงชื่อ...............................................................
(นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู)
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 51

บทที่ 6
แบบบันทึกการปฏิบัติงานประจาวัน

บันทึกการปฏิบัติงานประจาวัน เป็นการบันทึกถึงกิจกรรมเกี่ยวกับการสอน งานในหน้าที่ครู และ


งานอื่นที่นกั ศึกษาได้รับมอบหมายจากสถานศึกษา ให้ปฏิบัติระหว่างฝึกประสบการณ์วิชาชีพในแต่ละวัน
ขอให้นักศึกษาปฏิบัติ ดังนี้
1) บันทึกข้อมูลการปฏิบัติงานหรือลักษณะกิจกรรม โดยระบุให้ทราบชัดเจนเกี่ยวกับช่วงเวลา
ที่ปฏิบัติงาน ชื่องาน ปริมาณงาน สถานที่ปฏิบัติงาน และบุคคลที่เกี่ยวข้อง เพื่อแสดงว่าได้
ใช้เวลาในแต่ละวันปฏิบัติงานอะไรบ้าง
2) ให้เขียนความรู้สึกเชิงบวกหรือเชิงลบที่นักศึกษาได้รับทั้งทางตรงและทางอ้อมจากนักเรียน
เพื่อนร่วมงาน ครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์ และบุคคลอื่นๆ ในสถานศึกษา
3) สิ่งที่ได้เรียนรู้ ข้อคิดเห็นและประโยชน์ที่ได้รับจากการทากิจกรรม
ในการบันทึก ขอให้นักศึกษาบันทึกต่อเนื่อง โดยขีดเส้นใต้คั่นเมื่อบันทึกหมด 1 วัน แล้วบันทึก
ของวั น อื่ น ต่ อ ไป แล้ ว ให้ ค รู พี่ เ ลี้ ย ง/อาจารย์ ผู้ รั บ ผิ ด ชอบลงนามรั บ รองทุ ก วั น ที่ ป ฏิ บั ติ ง าน ซึ่ ง ฝ่ า ย
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จะใช้ข้อมูลจากสมุดบั นทึกประจาวันนี้เพื่อตรวจสอบเวลาปฏิบัติงานของ
นักศึกษา นักศึกษาสามารถศึกษารูปแบบบันทึก ในตัวอย่างของแบบฟอร์มที่แนบมาด้วย
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 52

บันทึกการปฏิบัติงานประจาวัน
ชื่อ-สกุลนักศึกษา..............................................................................................................................
สาขาวิชา........................................................................ รหัสประจาตัว...........................................
สิ่งที่เรียนรู้ ความคิดเห็น การลงนามของ
วัน/เดือน/ปี รายละเอียดการปฏิบัติงาน/ กิจกรรม ความรูส้ ึกและประโยชน์ที่ได้รับ ครูพี่เลี้ยง/ครูที่
จากการปฏิบัติงาน มอบหมายงาน

หมายเหตุ - ขีดเส้นใต้คั่นเมื่อบันทึกหมด 1 วัน แล้วบันทึกของวันอื่นต่อไป


การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 53

บทที่ 7
การวิจัยในชั้นเรียนและการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน

การวิจัยในชั้นเรียน หมายถึง การวิจัยที่ทาโดยครูผู้สอนเพื่อแก้ปัญหาที่เกิดขึ้นในห้องเรียน หรือ


แก้ปัญหาจากกการจัดการเรียนการสอนของตนเอง และนาผลการวิจัยมาใช้ปรับปรุงการเรียนการสอน
เพื่ อ ให้ เ กิ ด ประโยชน์ สู ง สุ ด กั บ ผู้ เ รี ย น จึ ง มี จุ ด เน้ น ที่ ห ลากหลายเชื่ อ มโยงกั น ดั ง นั้ น นั ก ศึ ก ษา
ฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู จาเป็นต้องเรียนรู้และฝึกทาวิจัยในชั้นเรียนในบริบทจริง โดยมีรายละเอียด
ดังนี้

7.1 เป้าหมายและความสาคัญของการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียน เป็นการวิจัยที่มีขั้นตอนการดาเนินการวิจัยคล้ายกับการวิจัยทั่วไป แต่ต่างกัน
ที่การวิจัยในชั้นเรีย น มีเป้าหมายหลั กเพื่อการแก้ปัญหาและพัฒนาการจัด การเรียนรู้ของครู ให้ เ กิด
ประโยชน์สูงสุด ต่อผู้เรียน มิใช่การมุ่งสร้างองค์ความรู้เพื่อพัฒนาหรือขยายองค์ความรู้ในศาสตร์ของ
ตนเอง อย่างไรก็ดี เป้าหมายและความสาคัญของการวิจัยในชั้นเรียน สรุปเป็นประเด็นได้ ดังนี้
1) แสวงหาคาตอบจากปัญหาหรือข้อสงสัยของครู
2) คิดค้นพัฒนานวัตกรรมหรือชุดกิจกรรม เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาจัดการเรียนการสอน
3) การแก้ปัญหานักเรียนบางคน/ บางเรื่อง
4) พัฒนาการเรียนรู้ ทักษะ สมรรถนะ หรือคุณลักษณะของผู้เรียน
5) พัฒนาการเรียนการสอนของครู หรือค้นหาแนวทางการแก้ไขปัญหาที่เกิดขึ้น และพัฒนา
วิชาชีพครู
6) การพัฒนาคุณภาพการเรียนการสอนให้เกิดผลดีที่สุด

7.2 ลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียน
การวิจัยในชั้นเรียนมีลักษณะสาคัญ ดังนี้
1) ปัญหาการวิจัยเกิดขึ้นจากการทางานในชั้นเรียนที่เกี่ยวกับการเรียนการสอน
2) เป็นการวิจัยในสภาพการณ์จริงของห้องเรียน ไม่ได้จัดสถานการณ์ใหม่หรือจัดห้องเรียนใหม่
ขึ้นมาสาหรับทาการวิจัยโดยเฉพาะ
3) ผลการวิจัยนาไปใช้เพื่อพัฒนาการเรียนการสอน
4) การสอนและการวิจัยไม่แยกส่วนกัน โดยครูผู้สอนสามารถทาการวิจัยไปพร้อมกับการจัด
การเรี ย นรู้ ใ ห้ กั บ ผู้ เ รี ย น แล้ ว น าผลการวิ จั ย มาใช้ แ ก้ ปั ญ หา และท าการเผยแพร่ ใ ห้ เ กิ ด
ประโยชน์ต่อผู้อื่น
5) ไม่มีรูปแบบการดาเนินงานหรือรูปแบบการเขียนรายงานวิจัยที่เป็นทางการมากนัก
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 54

7.3 เปรียบเทียบการวิจัยในชั้นเรียนและการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
เมื่อนักศึกษาได้สืบค้น หรือศึกษาหาข้อมูลเกี่ยวกับ การทาวิจัยในชั้นเรียน นักศึกษาจะพบคาที่
เกี่ ย วข้ อ ง หรื อ คล้ า ยคลึ ง กั น 2 ค า คื อ การวิ จั ย ในชั้ น เรี ย น (classroom research) และ การวิ จั ย
ปฏิบัติการในชั้นเรียน (classroom action research) ซึ่งมีความคล้ายคลึงและความแตกต่างกัน ดัง
แสดงในตารางต่อไปนี้

ตารางเปรียบเทียบความหมายและลักษณะของการวิจัยในชั้นเรียนและการวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
ประเด็น การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
เปรียบเทียบ (classroom research) (classroom action research)
ความหมาย กระบวนการศึกษาค้นคว้าหาความรู้ เป็นการวิจัยทีอ่ ยู่บนพื้นฐานของการวิจัย
จริงเกี่ยวกับกระบวนการเรียนการสอน ปฏิบัติการ (action Research) ครูทาวิจัย
ของครู มีวัตถุประสงค์เพื่อแก้ปัญหา โดยมีเป้าหมายเพื่อปรับปรุงการสอนของ
หรือพัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน โดย ตนเอง หรือเปลี่ยนแปลงการสอนของ
ดาเนินการวิจัยควบคู่ไปกับการสอนใน ตนเองให้ดียิ่งขึ้น จากนั้นลงมือทา แล้ว
ชั้นเรียน5 สรุปผลออกมาเป็นทฤษฎี หรือแนวปฏิบัติ
ของตนเอง6
ลักษณะ
ใคร ครูผู้สอนในห้องเรียน ครูผู้สอนในห้องเรียน
ทาอะไร ทาการแสวงหาวิธีการแก้ไขปัญหาหรือ ปรับปรุงการสอนของตนเอง หรือ
พัฒนาการเรียนรู้ของผู้เรียน เปลี่ยนแปลงการสอนของตนเองให้ดียิ่งขึ้น
ที่ไหน ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน ที่เกิดขึ้นในห้องเรียน
เมื่อไร ในขณะที่การเรียนการสอนกาลัง ในขณะที่การเรียนการสอนกาลังเกิดขึ้น
เกิดขึ้น
อย่างไร ใช้วิธีการวิจัยที่มีวงจรการทางาน ใช้วิธีการวิจัยที่มีวงจรการทางานต่อเนื่อง
ต่อเนื่อง ที่เรียกว่า การทางานตาม ที่เรียกว่า การทางานตามวงจร PAOR
วงจร PAOR (Plan, Act, Observe, (Plan, Act, Observe, Reflect &
Reflect & Revise) หรือ Revise) และ
ใช้วงจรการทาวิจัยแบบกาหนดปัญหา การสะท้อนกลับการทางานของตนเอง
ศึกษาเอกสารที่เกี่ยวข้อง ออกแบบการ (self-refection) เพื่อหาแนวปฏิบัติที่ดี
วิจัย (กาหนดประชากร กลุ่มตัวอย่าง
สร้างเครื่องมือ เก็บข้อมูล วิเคราะห์
ข้อมูล) สรุปและอภิปรายผลการวิจัย

5
ผู้ช่วยศาสตราจารย์นิลรัตน์ นวกิจไพฑูรย์ (มปป.). การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน
http://edu.nstru.ac.th/thai/research/fileresearch/0_040712_143127.pdf
6
กิตติพร ปัญญาภิญโญผล (มปป.). การวิจัยปฏิบตั ิการในชั้นเรียน https://www.tci-thaijo.org › tgt › article › download
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 55

ประเด็น การวิจัยในชั้นเรียน การวิจัยปฏิบัติการในชั้นเรียน


เปรียบเทียบ (classroom research) (classroom action research)
เพื่อ มีจุดมุ่งหมายเพื่อพัฒนาการเรีย นการ มุ่งสร้างความรู้เฉพาะเพื่อใช้ใ นห้องเรียน
จุดมุ่งหมายใด สอนให้เกิดประโยชน์สูงสุดต่อผู้เรียน ของผู้วิจัย
กลุ่มเป้าหมาย นั ก เรี ย นในห้ อ งเรี ย นอาจเป็ น รายคน นักเรียนในห้องเรียนอาจเป็นรายคนหรือ
หรือรายห้อง รายห้อง
ลักษณะเด่น เป็นกระบวนการวิจัยที่ทาอย่างรวดเร็ว 1) ไม่เน้นการกาหนดกรอบแนวคิดทฤษฎี
การวิจัย โดยครู ผู้ ส อนน าวิ ธี ก ารแก้ ปั ญ หาที่ หรือแบบแผนการวิจัยมาก แต่ใช้
ตนเองคิดขึ้นไปทดลองให้กับผู้เรียนนั้น ประสบการณ์ของผู้สอน
ทันทีและสังเกตผลการแก้ปัญหานั้น 2) ใช้การวิจัยเชิงคุณภาพมากกว่าเชิง
ปริมาณ
3) มีการสะท้อนผล หรือมีการ
แลกเปลี่ยนประสบการณ์กับเพื่อนครูใน
โรงเรียน เป็นการวิจัยแบบร่วมมือ
(collaborative research)

7.4 ขั้นตอนของการทาวิจัยในชั้นเรียน
สาหรับการวิจัยในชั้นเรียนมีขั้นตอนการดาเนินงานเช่นเดียวกันกับการวิจัยทั่วไป แต่อาจไม่เน้น
รูปแบบการดาเนินงานที่เป็นทางการมากนัก โดยส่วนใหญ่ สรุปเป็นขั้นตอนได้ดังนี้

7.4.1 เลือกปัญหาการวิจัย
นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูอาจพิจารณาหรือแสวงหาปัญหาที่นามาใช้ในการ
วิจัย จากปัญหาที่เกิดกับตัวนักเรียน อาจจะเป็นปัญหาพฤติกรรม ปัญหาการเรียนรู้ หรือทักษะต่างๆ
ปัญหาที่เกิดระหว่างการจัดการเรียนรู้ โดยอาจจะเป็นปัญหาเกี่ยวกับนวัตกรรม สื่อการเรียนรู้ รูปแบบ
กิจกรรม กระบวนการและเทคนิคการสอนของครู หรือการวัดประเมินผลการเรียนรู้ เป็นต้น รวมถึง
ปัญหาจากความต้องการของครูที่จะพัฒนาคุณภาพการสอนให้ดียิ่งขึ้น
นักศึกษาสามารถค้นหาปัญหาเหล่านี้ได้จาก บันทึกท้ายแผนการสอน บันทึกผลการเรียน
แฟ้มสะสมผลงาน ชิ้นงาน การสังเกตพฤติกรรมในชั้นเรียน หรือ การพูดคุยกับเพื่อนครู ฯลฯ ซึ่งบางครั้ง
นักศึกษาจะพบปัญหามากกว่า 1 ปัญหา ดังนั้น นักศึกษาควรจัดลาดับความสาคัญจาเป็นของปัญหา
เพื่อคัดเลือกปัญหามาทาวิจัยในชั้นเรียน โดยมีเกณฑ์การพิจารณา ดังนี้
1) เป็นปัญหาที่มีความสาคัญจาเป็นมากที่สุด ที่อาจส่งผลต่อการเรียนรู้ พฤติกรรม
ทักษะหรือสมรรถนะและผลสัมฤทธิ์ในการเรียนรู้ของนักเรียน
2) เป็นปัญหาที่มีความต่อเนื่อง หากไม่ได้รับการแก้ไขจะส่งผลต่อการเรียนรู้ของ
นักเรียนในเรื่องอื่นๆ ตามมา
3) เป็นปัญหาที่วิธีการจัดการเรียนรู้แบบเดิมไม่สามารถแก้ปัญหาได้
4) เป็นปัญหาที่นักศึกษาครูสามารถดาเนินการวิจัยในชั้นเรียนได้ด้วยตนเอง
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 56

7.4.2 วิเคราะห์สาเหตุของปัญหา
เมื่อเลือกปัญหาทีจ่ ะทาวิจัย นักศึกษาครูจะต้องวิเคราะห์สภาพและสาเหตุของปัญหาว่ามา
จากตัวผู้เรียนหรือผู้สอน วิธีการที่จะค้นหาสาเหตุ คือ ใช้การสังเกต พูดคุยกับนักเรียน ดูจากผลงานของ
นักเรียน ใช้การทดสอบ การสอบถามพูดคุยกับเพื่อนครู ผู้ปกครอง ฯลฯ จากการวิเคราะห์สภาพปัญหา
นักศึกษาจะได้คาถามวิจัยและวัตถุประสงค์ของการทาวิจัยในชั้นเรียน เช่น เพื่อพัฒนาการเรียนรู้ เพื่อ
แก้ปัญหาการเรียนรู้ ทักษะ สมรรถนะ หรือคุณลักษณะอันพึงประสงค์ เป็นต้น

7.4.3 ศึกษาแนวทางแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้
การศึกษาแนวทางหรือวิธีการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ คือการทบทวนวรรณกรรม
จากงานวิจัยทางการศึกษา หรืองานวิจัยในชั้นเรียนอื่นๆ ที่มีการตีพิมพ์เผยแพร่ เพื่อหาวิธีการหรือ นามา
ปรับใช้ให้เหมาะสมกับงานวิจัยในชั้นเรียนและผู้เรียนของตนเอง ซึ่งจะทาให้ได้ เข็มทิศหรือแนวทางที่จะ
ใช้ในการดาเนินการวิจัย ต่อไป

7.4.4 การดาเนินการวิจัย
การดาเนินการวิจัยในชั้นเรียน เพื่อแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ นักศึกษาควรจะระบุ
ประเด็นต่อไปนี้เพื่อให้เห็นภาพของการดาเนินงานอย่างชัดเจน ประกอบด้วย
1) นวัตกรรมหรือเครื่องมือในการวิจัย หมายถึง เครื่องมือที่ผู้วิจัยจัดทาหรือปรับปรุงขึ้น
เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาหรือพัฒนาการเรียนรู้ เช่น ชุดกิจกรรมการเรียนรู้ วิธีการจัดการเรียนรู้แบบใหม่ที่
จะนามาใช้พัฒนาผู้เรียน การสอนซ่อมเสริม แบบฝึกทักษะ ฯลฯ และเครื่องมือเก็บรวบรวมข้อมูล เช่น
แบบสังเกตพฤติกรรม แบบสัมภาษณ์ แบบทดสอบ แบบบันทึก อนุทิน ใบงาน เป็นต้น
2) วิธีการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูล นักศึกษาควรระบุเครื่องมือที่ใช้เก็บรวบรวม
ข้อมูล ช่วงเวลาที่เก็บ วิธีการที่จะใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล รวมถึงเครื่องมือในการวิเคราะห์ ข้อมูล
และสถิติที่จะใช้ให้ชัดเจน เช่น การหาค่าความถี่ ร้อยละ ค่าเฉลี่ย และส่วนเบี่ยงเบนมาตรฐาน ค่า t-test
เป็นต้น
3) ลงมือปฏิบัติตามแผนการเก็บรวบรวมข้อมูลและวิเคราะห์ข้อมูล

7.4.5 การสรุปและอภิปรายผลการวิจัย
การสรุปผลการวิจัยจะต้องสามารถตอบคาถามวิจัย และตรงตามวัตถุประสงค์ที่กาหนด
ไว้ และนาเสนอผลการวิจัยอย่างเป็นระบบ โดยอาจจะในรูปตาราง แผนภูมิ แผนภาพ หรือเขียนบรรยาย
ส่วนการอภิปรายผลเป็นการกล่าวว่าผลจากการวิจัยเป็นไปตามที่คาดการณ์ไว้หรือไม่ เพราะเหตุใด
สอดคล้องกับสิ่งที่ผู้อื่นทาไว้หรือไม่ หรือผู้วิจัยมีแนวคิดอะไรเพิ่มเติมจากการทาวิจัยในครั้งนี้บ้าง

7.5 การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการวิจัย เป็นการนาเสนอความรู้ และเผยแพร่ผลการวิจัยในชั้นเรียนที่นักศึกษา
จัดทาขึ้นให้ผู้อนื่ ได้รับทราบ และสามารถนาไปประยุกต์ใช้ในการจัดการเรียนการสอนได้ นอกจากนี้ การ
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 57

ทาวิจัยในชั้นเรียนยังแสดงถึงความเชี่ยวชาญและความสามารถทางวิชาการของผู้วิจัย โดยมีหลักการ
เขียนรายงานวิจัย ดังนี้

7.5.1 ข้อควรนานึงในการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการวิจัยในชั้นเรียน นักศึกษาจาเป็นต้องคานึงถึงประเด็น ต่อไปนี้
1) ความถูกต้องตามหลักวิชาการ นักศึกษาต้องแน่ใจว่าเนื้อหาในงานวิจัย เป็นผลที่
เกิดจากการวิจัย ข้อมูลที่นามาใช้อ้างอิง หรืออภิปรายผล มาจากข้อเท็จจริงที่ได้จากการศึกษาค้นคว้า
วิเคราะห์ สังเคราะห์งานวิจัยอื่นๆ มีความน่าเชื่อถือ และไม่นาข้อคิดเห็นของตนเองมาใส่ ข้อมูลถูกต้อง
ตามความเป็นจริง
2) เนื้อหาสาระที่เขียนทั้งหมดมีความตรง หมายถึง แสดงความเชื่อมโยงสอดคล้อง
กันระหว่างปัญหาการวิจัย วัตถุประสงค์การวิจัย วิธีการ และผลการวิจัย ซึ่งเนื้อหาแต่ละส่วนต้องอย่าง
ถูกต้องและชัดเจนไม่คลุมเครือ สื่อความหมายได้ถูกต้อง
3) ระหว่างการเขียน นักศึกษาต้องระลึกอยู่ตลอดเวลาว่า เป็นการเขียนรายงานการ
วิจัยในชั้นเรียนให้ผู้อื่นอ่าน ดังนั้น แต่ละส่วนในรายงานวิจัย ต้องมีความชัดเจน ทาให้ผู้อ่านเกิดความ
เข้าใจและเห็นภาพการดาเนินงานได้ชัดเจน
4) การเขียนรายงานการวิจัยที่ดี เนื้อหาควรมีความสมบูรณ์ มีข้อมูลครบถ้วน ควร
เขียนอธิบายคาตอบของปัญหาวิจัย และเน้นการนาผลการวิจัยไปใช้ ในส่วนของเพื่อให้ผู้อ่านสามารถ
ผลการวิจัยและข้อเสนอแนะจากการวิจัยไปใช้ หรือพัฒนาต่อไปได้

7.5.2 เค้าโครงการเขียนรายงานวิจัยในชั้นเรียน
การเขียนรายงานการวิจัย ในชั้นเรียนฉบับเต็มหรือ แบบเป็นทางการ แบ่ งส่วนส าคัญ
ออกเป็น 3 ส่วน คือ ส่วนนา ส่วนเนื้อความ และส่วนอ้างอิง ซึ่งแต่ละส่วนมีรายละเอียด ดังนี้

ส่วนนา
ประกอบด้วยหัวข้อ สาคัญดังนี้
1) ชื่อเรื่อง ซึ่งเป็นหน้าแรกของรายงานการวิจัย ในชั้นเรียน ประกอบด้วย ชื่อเรื่อง ชื่อ
ผู้ทาการวิจัยและหน่วยงานที่ผู้วิจัยสังกัด
2) บทคัดย่อ เป็นบทสรุปสั้นๆ เกี่ยวกับการดาเนินงานวิจัยทั้งหมด โดยมีจุดมุ่งหมายที่
จะช่วยให้ผู้อ่านได้อ่านเนื้อเรื่องย่อๆ ส่วนใหญ่ เนื้อหาในบทคัดย่อมักประกอบด้วย ปัญหา วิธีดาเนินการ
วิจัย ข้อสรุปสาคัญ และการนาไปใช้ เพื่อให้ผู้อ่านตัดสินใจว่าควรจะอ่านผลการวิจั ยนั้นทั้งฉบับหรือไม่
และงานวิจัยนี้จะเป็นประโยชน์ต่อผู้อ่านในการนางานวิจัยนี้ไปต่อยอดหรือประยุกต์ใช้ได้หรือไม่
3) กิตติกรรมประกาศ เป็นข้อความสั้นๆ กล่าวขอบคุณผู้ให้ความช่วยเหลือหรื อให้
ความร่วมมือในการค้นคว้าวิจัย
4) สารบัญ ประกอบด้วยหัวเรื่องประจาบท หัวข้อย่อยในแต่ละบท และเลขหน้าของ
หัวข้อนั้นๆ ปรากฏอยู่
5) สารบั ญ ตาราง ประกอบด้ ว ยเลขที่ ข องตาราง หั ว เรื่ อ งตารางที่ ต รงกั บ ในส่ ว น
เนื้อความ และเลขหน้า ที่ตารางนั้นๆ ปรากฏอยู่
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 58

6) สารบัญภาพ ประกอบด้วยเลขที่ของภาพ หัวเรื่องภาพที่ตรงกับในส่วนเนื้อความ


และเลขหน้า ทีภ่ าพนั้นๆ ปรากฏอยู่

ส่วนเนื้อความ
เนื้อความหรือเนื้อหาในรายงานการวิจัย นิยมเขียนและแบ่งออกเป็น 5 บท คือ บทที่ 1
บทนา บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์
ข้อมูล และบทที่ 5 สรุปผล การอภิปราย และข้อเสนอแนะ โดยมีรายละเอียดดังนี้
1) บทที่ 1 บทนา
ควรเขียนให้เห็นถึงความเป็นมาและความสาคัญของการวิจัยนี้ ประกอบด้วยหัวข้อ
ย่อย ได้แก่
(1) ความเป็ น มาและความสาคัญของปัญหาการวิจัย ให้ นักศึกษาเขียนแนวคิด
เกี่ย วกับ สิ่ งที่เป็ น สาเหตุ เหตุ หรื อปั ญหาของเรื่องที่ศึกษา โดยควรจะระบุให้ ผู้ อ่านเห็ นความสาคัญ
ประโยชน์และคุณค่าที่จะได้รับจากงานวิจัยในเรื่องนี้
(2) วัตถุประสงค์ในการค้นคว้า โดยการเขียนชัดเจนเป็นข้อๆ และสอดคล้องกับ
คาถามการวิจัย
(3) สมมติ ฐ าน เป็ น การเขี ย นคาดคะเนผลการวิ จั ย ว่ า เป็ น อย่ า งไรให้ ชั ด เจน
สอดคล้องกับจุดประสงค์การวิจัยเป็นข้อๆ บางกรณี เช่น งานวิจัยที่เน้นวิธีการเชิงคุณภาพ ที่มุ่งค้นหา
ปรากฏการณ์ของสิ่งที่ศึกษา อาจจะไม่ใส่สมมติฐานก็ได้
(4) อื่นๆ เช่น ข้อตกลงเบื้องต้น ขอบเขตของการค้นคว้า คานิยามศัพท์เฉพาะ และ
ประโยชน์และคุณค่าของการวิจัย โดยเขียนให้สอดคล้องกับเรื่องที่ศึกษา
2) บทที่ 2 เอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง
เนื้อหาในส่วนของเอกสารและงานวิจัยที่เกี่ยวข้อง เป็นส่วนที่จะช่วยให้ ผู้อ่านเห็น
ภาพของปัญหาที่ชัดยิ่งขึ้น ช่วยชี้ให้เห็นเหตุผลที่นาไปสู่จุดหมายของการวิจัย และช่วยชี้ให้ทราบว่าส่วน
ที่เกี่ยวข้องกับโครงการวิจัยมีส่วนใดบ้างที่มีผู้ดาเนินการไปแล้ว และส่วนที่เกี่ยวข้องสัมพันธ์กับงานวิจัยที่
นักศึกษาสนใจ โดยนักศึกษาควรเลือกกล่าวถึงเฉพาะสิ่งที่สาคัญ และสรุปความ เช่น วัตถุประสงค์การ
วิจัย วิธีการที่ผู้วิจัยใช้ในการแก้ปัญหา ผลที่ได้รับ หรือส่วนที่เป็นความคิดเห็น หรือข้อเสนอแนะที่ผู้วิจัย
กล่าวไว้ ซึ่งสามารถนามาต่อยอดในงานวิจัยของนักศึกษาได้ ทั้งนี้ นักศึกษาควรรวบรวมข้อมูลจากแหล่ง
งานวิจัยต่างๆ สรุและเขียนเป็นคาพูดของนักศึกษาเอง
3) บทที่ 3 วิธีดาเนินการวิจัย
การเขียนวิธีดาเนินการวิจัย ซึ่งมักจะแบ่งเป็นหัวข้อย่อย ดังนี้
(1) ประชากรและกลุ่มตัวอย่างที่ศึกษา/ ผู้ให้ข้อมูลและบริบทที่ศึกษา โดยเขียนให้
ผู้ อ่ า นทราบถึ ง ลั ก ษณะของประชากรที่ จ ะใช้ ใ นการวิ จั ย วิ ธี ก ารเลื อ กกลุ่ ม ตั ว อย่ า งที่ ศึ ก ษา หรื อ
รายละเอียดของบริบทชั้นเรียนและโรงเรียนที่จาเป็นจะต้องให้ผู้อ่านทราบเพื่อให้เข้าใจผู้ให้ข้อมูล ใน
งานวิจัยนี้ และช่วยให้ผู้อ่านสามารถเปรียบเทียบได้ว่า หากจะนาผลการวิจัยของนักศึกษาไปใช้ บริบท
ของชั้น เรี ย นและโรงเรีย นของผู้ อ่านเหมือนหรือแตกต่างหรือไม่ และจะปรับการวิจัยของตนเองให้
สอดคล้องกับบริบทของตนเองอย่างไร
(2) เครื่องมือที่ใช้ในงานวิจัย เครื่องมือที่ใช้ในการแก้ปัญหา และเครื่องมือที่ใช้ใน
การเก็บรวบรวมข้อมูล และวิเคราะห์ข้อมูล
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 59

(3) วิธีเก็บรวบรวมข้อมูล บอกถึงเครื่องมือที่ใช้ในการเก็บรวบรวมข้อมูล เริ่มตั้งแต่


การสร้างเครื่องมือการหาคุณสมบัติที่ดีของเครื่องมือ และการใช้เครื่องมือนั้นเก็บรวบรวมข้อมูล
(4) วิธีจั ดกระทาข้อมูล หรือการวิเคราะห์ ข้อมูล บอกสถิติที่ใช้ในการวิเคราะห์
ข้อมูล เป็นต้น
4) บทที่ 4 ผลการวิเคราะห์ข้อมูล/ ผลการวิจัย
ผลการวิเคราะห์ข้อมูล จะต้องสามารถตอบคาถามการวิจัยได้ โดยนักศึกษาต้อง
นาเสนอผลการวิเคราะห์ที่ชัดเจน รัดกุมไม่เยิ่นเย้อ และตรงตามข้อเท็จจริง การเขียนผลการวิจัยที่ดี ควร
จัดเรียงลาดับข้อมูลตามคาถามวิจัยหรือจุดประสงค์การวิจัย และใช้ตารางหรือแผนภาพในการนาเสนอ
ซึ่งควรจะมีคาอธิบ ายหั ว ตารางด้ว ยทุกครั้ง รวมทั้ง แปลความหมายจากตัว เลขต่างๆ ในตารางหรือ
แผนภาพด้วย
5) บทที่ 5 สรุปผล การอภิปราย และข้อเสนอแนะ
การเขียนส่ วนสรุปผลการวิจัย การอภิปราย และการให้ข้อเสนอแนะ ถือว่าเป็น
หัวใจสาคัญของการเขียนรายงานการวิจัย เพราะจะต้องตีความและสรุปผลการค้นพบทั้งหมด ดังนั้น
การเขียน นักศึกษาควรทบทวนปัญหาความมุ่งหมาย กลุ่มตัวอย่าง เครื่องมือที่ใช้ในการวิจัย และการ
วิเคราะห์ข้อมูลอย่างสั้นๆ ทีน่ าสู่การสรุปและการอภิปรายตามข้อเท็จจริงที่พบและวัตถุประสงค์การวิจัย
สาหรับการอภิปรายผลการวิจัย นักศึกษาควรเขียนโดยพิจารณาผลการศึกษาของ
ตนเองในประเด็นที่สาคัญๆ ว่าสอดคล้องหรือแตกต่างกับ ทฤษฎีหรือผลการศึกษาของนักวิจัยอื่นๆ ที่ทา
การวิจัยมาก่อน และผลการวิจัยสมเหตุสมผลอย่างไร บางครั้งการที่ผลการวิจัยของนักศึกษาสอดคล้อง
กับผลการศึกษาของนักวิจัยท่านอื่นๆ ทั้งหมด อาจจะทาให้งานวิจัยของนักศึกษาไม่น่าสนใจ และทาให้
ผู้อ่านรู้สึกว่า งานวิจัยของนักศึกษาไม่มีอะไรใหม่ ซึ่งหากผลการวิจัยมีความสอดคล้องทั้งหมดก็ไม่ควรทา
วิจัย เพราะนักศึกษาสามารถนาผลการวิจัยเหล่านั้นไปแก้ปัญหาในชั้นเรียนของตนเองได้ทันที ทั้งนี้ หาก
ข้ อ ค้ น พบของนั ก ศึ ก ษาแตกต่ า งกั บ ผลการศึ ก ษาของนั ก วิ จั ย ท่ า นอื่ น ๆ นั ก ศึ ก ษาควรอภิ ป รายว่ า
ผลการวิจัย ที่แตกต่างนี้มีความสมเหตุส มผลหรือไม่ และเป็นเพราะเหตุใด ซึ่งจะทาให้ผู้ อ่า นรู้ สึ กว่า
งานวิจัยนี้เป็นทางเลือกหนึ่งของการนาไปใช้แก้ปัญหาในชั้นเรียน และอาจจะเป็นจุดขายของงานวิจัยใน
ชั้นเรียนของนักศึกษา
สาหรับข้อเสนอแนะและการนาผลการวิจัยไปใช้ ควรจะมีลักษณะเป็นข้อเสนอแนะ
การวิจั ย ที่ส ร้ างสรรค์ และน่ าจะทาการวิจัย ต่ อไป ซึ่งจะช่ว ยให้ ผู้ อ่า นตั ดสิ น ใจว่ างานวิจัย นี้จ ะเป็ น
ประโยชน์ต่อผู้อ่านในการนางานวิจัยนี้ไปต่อยอดหรือประยุกต์ใช้ได้หรือไม่

ส่วนอ้างอิง
เนื้อหาในส่วนอ้างอิง ประกอบด้วยบรรณานุกรม ภาคผนวก และประวัติผู้วิจัย ซึ่งเป็น
ส่วนรายการหลักฐานของเอกสารทั้งหมด รวมทั้งเครื่องมือและวัสดุทุกประเภทที่ผู้วิจัยได้ศึกษาค้นคว้าได้
แนวความคิดมาหรืออ้างอิงถึงในการทาวิจัย เพื่อเป็นประโยชน์แก่ผู้อ่านต่อไป

อนึ่ง การจัดทาวิจัย ในชั้นเรียน นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูพึงระวังเรื่องเรื่องลิขสิทธิ์


งานวิจัย การลอกเลียนแบบหรือนาข้อความใดๆ มาใช้เป็นของตนเองโดยไม่อ้างอิงเจ้าของงานวิจัยฉบับ
จริง ทางคณะครุศาสตร์จะไม่รับผิดชอบ ดังนั้น ขอให้นักศึกษาระบุเป็นข้อความในตอนท้ายงานวิจัย
ดังนี้ “ข้าพเจ้าขอรับรองว่า งานวิจัยฉบับนี้ ข้าพเจ้ามิได้ลอกเลียนแบบมาจากตาราอื่นใด หากปรากฏว่า
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 60

ข้าพเจ้าได้ทาการลอกเลียนแบบหรือคัดลอกผู้อื่น ซึ่งถือว่าเป็นสิ่งผิดกฎหมายลิขสิทธิ์ ข้าพเจ้าขอรับผิด


แต่เพียงผู้เดียว ทางมหาวิทยาลัยไม่มีส่วนรู้เห็นกับการกระทาของข้าพเจ้า”
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 61

-------------------------------------------------------------------------
ส่วนที่ 3
กรอบการประเมินการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2
-------------------------------------------------------------------------

“...ครูทเี่ ยีย่ มทีส่ ุด คือ


ครูทสี่ ามารถสร้างนักเรียนที่ยิ่งใหญ่กว่าตนเอง...”
มหาตมา คานธี
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 62

กรอบการประเมินการฝึกปฏิบัติการสถานศึกษา 2

ระบบการประเมินการฝึกปฏิบัติ การสอนในสถานศึกษา เป็นระบบที่ส่งเสริมให้เกิดการพัฒนา


นักศึกษาครู โดยมีองค์ประกอบที่ใช้เป็นเกณฑ์ในการประเมิน วิธีการประเมิน แบบประเมิน และรายการ
ข้อคาถามที่ ส อดคล้ องกับ คาอธิบ ายรายวิช าและกรอบสมรรถนะทางวิช าชีพครู มีห ลั กการของการ
ประเมินผลที่ยึดถือ ดังนี้
1) ประเมินผลเพื่อพัฒนาสมรรถนะทางวิชาชีพครูในด้านต่างๆ ได้แก่ ด้านความรู้ เทคนิควิธี และ
คุณลักษณะ ผ่านการนิเทศติดตาม โดยอาศัยผู้ประเมินสองฝ่ายทั้งฝ่ายของคณะครุศาสตร์และโรงเรียน
ร่วมผลิต เพื่อวินิจฉัยข้อดี และข้อควรปรับปรุงเป็น ระยะหรือเป็นลาดับขั้นตอนอย่างต่อเนื่องกัน ซึ่ งจะ
ช่วยให้นักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ได้ทราบผลการประเมิน และปรับปรุงสมรรถนะทางวิชาชีพ
ของตนระหว่างการฝึกประสบการณ์ แล้วจึงมีการประเมินผลเพื่อตัดสินความสามารถนั้นๆ ในภายหลัง
2) ประเมิน ผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาแบบอิงเกณฑ์ โดยการตัดสิ นผลแต่ละแบบ
ประเมินจะต้องพิจารณาไปตามเกณฑ์ที่กาหนดไว้ล่วงหน้า
ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏ วไลยอลงกรณ์ ในพระบรม
ราชูปถัมภ์ ได้กาหนดแนวทางการประเมินนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู โดยขอความอนุเคราะห์ผู้
ที่ เ กี่ ย วข้ อ งร่ ว มวั ด และประเมิ น ผล ซึ่ ง ผู้ ที่ ท าหน้ า ที่ ป ระเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษา
ประกอบด้วย 2 ฝ่าย คือ ฝ่ายโรงเรียนร่วมผลิตที่เป็นหน่วยปฏิบัติการสอน ได้แก่ ผู้บริหารสถานศึกษา
หรือครูนิเทศก์ และครูพี่เลี้ยง และฝ่ายคณะครุศาสตร์ คือ อาจารย์นิเทศก์
ผู้ประเมินแต่ละฝ่ายจะกากับการปฏิบัติ การสอนและการปฏิ บัติงานในหน้าที่ครูของนักศึกษาฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครู อย่างใกล้ชิด ปรับปรุงแก้ไขสิ่งที่บกพร่อง และทาการวัดและประเมินผลลงใน
แบบประเมิ น ให้ ค รบแล้ ว ส่ ง ให้ ฝ่ า ยฝึ ก ประสบการณ์ วิ ช าชี พ ครู คณะครุ ศ าสตร์ ซึ่ ง จะน าส่ ง ต่ อ ให้
คณะกรรมการผู้รับผิดชอบเพื่อนามาพิจารณาสรุปตัดสินต่อไป
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 63

แนวทางการประเมิน เอกสารชิ้นงาน และผลงานที่นักศึกษาจะต้องนาส่งคณะกรรมการผู้รับผิดชอบเพื่อ


ประเมินผล มีดังนี้
ผู้ประเมิน
แบบประเมิน เอกสาร/ชิ้นงาน แนวทางการประเมิน อาจารย์
ผู้บริหาร ครูพี่เลี้ยง
นิเทศก์
ปค.1 แบบประเมิน 1. รายงานการ 1. การตรงต่ อ เวลาในการเข้ า
การปฏิบัติงาน ปฏิบัติงาน ร่วมกิจกรรมและการปฏิบัติงาน
ประจาวัน ประจาวัน ประจาวัน ✓ ✓ ✓
2. สมุดลงเวลา
ปฏิบัติการสอน
ปค.2 แบบประเมิน 3. รายงานการ 1. ความตรงเวลาในการส่งแบบ
คุณลักษณะความเป็น ปฏิบัติการสอน บันทึกผล และรายงาน ✓ ✓ ✓
ครู ในสถานศึกษา 2 2. พิ จ ารณาผลการสะท้ อนคิด
ปค.3 แบบประเมิน 4. แบบบันทึกผล การเรียนรู้ และการแลกเปลี่ยน
แผนการจัดการ การสะท้อนคิด เรี ย นรู้ ร ะหว่ า งการเข้ า ร่ ว ม ✓ ✓
เรียนรู้ การเรียนรู้ กิจกรรมของคณะ
ปค.4 แบบประเมิน 3. การแสดงคุณ ลั กษณะความ
กระบวนการจัดการ เป็นครู ทั้งด้านการสอนและงาน
ครู ✓ ✓
เรียนการสอนในชัน้
เรียน 4.. ผลการออกแบบและจั ด ท า
ปค.5 แบบประเมิน แผนการจัดการเรียนรู้
รายงานการ 5. นิ เ ทศติ ด ตามเพื่ อ ประเมิ น
ปฏิบัติการสอน การ กระบวนการจั ด การเรี ย นการ
วิเคราะห์ผู้เรียน/ ส อ น ใ น ชั้ น เ รี ย น แ ล ะ ก า ร ✓ ✓
ตนเอง และการ พิจารณาผลการเรียนรู้ที่เกิดกับ
แก้ไข ผู้เรียน
6. การตรวจรูปเล่มรายงาน
ปค.6 แบบประเมิน 5. รายงานการ พิจารณากระบวนการดาเนิน
รายงานวิจัยในชั้น วิจัยในชั้นเรียน งานวิจยั และการจัดทาเล่ม ✓ ✓
เรียน รายงานการวิจัยในชั้นเรียน
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 64

สัดส่วนการประเมินผล
ผู้ประเมิน แบบประเมิน คะแนน ค่าน้าหนัก
ผู้บริหาร ปค.1 แบบประเมินการปฏิบัตงิ านประจาวัน 25
15%
สถานศึกษา ปค.2 แบบประเมินคุณลักษณะความเป็นครู 90
ปค.1 แบบประเมินการปฏิบัตงิ านประจาวัน 25
ปค.2 แบบประเมินคุณลักษณะความเป็นครู 90
ปค.3 แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ 60
ปค.4 แบบประเมินกระบวนการจัดการเรียนการสอนในชัน้
ครูพี่เลี้ยง 80 30%
เรียน
ปค.5 แบบประเมินรายงานการปฏิบัติการสอน การ
50
วิเคราะห์ผู้เรียน / ตนเอง และการแก้ไข
ปค.6 แบบประเมินรายงานวิจยั ในชั้นเรียน 75
ปค.1 แบบประเมินการปฏิบัตงิ านประจาวัน 25
ปค.2 แบบประเมินคุณลักษณะความเป็นครู 90
ปค.3 แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ 60
อาจารย์ ปค.4 แบบประเมินกระบวนการจัดการเรียนการสอนในชัน้
80 55%
นิเทศก์ เรียน
ปค.5 แบบประเมินรายงานการปฏิบัติการสอน การวิเคราะห์
50
ผู้เรียน/ ตนเอง และการแก้ไข
ปค.6 แบบประเมินรายงานวิจยั ในชั้นเรียน 75
รวม 875 100%

ระเบียบในการประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 (Internship 2)
การประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษา ในกลุ่ ม วิ ช าการปฏิ บั ติ ก ารสอนใน
สถานศึกษาตามหลักสูตรการผลิตครูการศึกษาขั้นพื้นฐานระดับปริญญาตรี (หลักสู ตร 5 ปี) ใช้ข้อบังคับ
สภาประจามหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์ จังหวัดปทุมธานี ว่าด้วยการ
ประเมินผล ซึ่งกาหนดไว้ว่า การประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษาในแต่ละรายวิชานั้น ถ้า
ได้ระดับคะแนนต่ากว่า “C” ถือว่าสอบตก นักศึกษาจะต้องลงทะเบียนเรี ยนใหม่ และถ้าได้รับการ
ประเมินผลต่ากว่า “C” เป็นครั้งที่ 2 อีก ถือว่าหมดสภาพการเป็นนักศึกษา
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 65

กระบวนการรวบรวมคะแนนและส่งผลการประเมิน
2. ครูพี่เลี้ยงในสถานศึกษาที่เป็นหน่วยปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา นาผลการประเมิน
และผลการประเมินของผู้บริหารสถานศึกษาหรืออาจารย์นิเทศก์ที่ได้รับมอบหมายให้ปฏิบัติหน้าที่นาผล
การประเมิน ส่งไปยังคณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
3. คณะกรรมการผู้ รั บ ผิ ด ชอบ คณะครุ ศ าสตร์ มหาวิ ท ยาลั ย ราชภั ฏ วไลยอลงกรณ์
ในพระบรมราชูป ถัมภ์ ร่วมกันประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา จากแบบประเมิ นของ
สถานศึกษา
4. การดาเนิ น การส่ งผลการประเมินของสถานศึกษา ตลอดจนการดาเนินการในส่วนที่
เกี่ยวข้องกับเอกสารนี้ ให้ดาเนินการในลักษณะเอกสารลับของราชการ

สถานที่ส่งผลการประเมิน
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
ปณจ. ประตูน้าพระอินทร์ จังหวัดปทุมธานี 13180
โทรศัพท์/โทรสาร : 0 – 2529 – 3099
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 66

บทที่ 8
แบบประเมินสาหรับผู้บริหารสถานศึกษา หรือครูนิเทศก์ประจาโรงเรียน

แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 สาหรับผู้บริหารสถานศึกษาและครู
นิเทศก์ประจาโรงเรียน มี 2 ด้าน คือ การประเมินการปฏิบัติงานประจาวัน คะแนนเต็ม 25 คะแนน การ
ประเมินคุณลักษณะความเป็นครู คะแนนเต็ม 90 คะแนน รวมทั้งสิ้น 115 คะแนน คิดเป็นน้าหนัก
คะแนน เท่ากับ 15 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน รายละเอียดดังตาราง

แนวทางการประเมิน แบบประเมิน คะแนน


การปฏิบัติงานประจาวัน ปค.1 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจาวัน 25
คุณลักษณะความเป็นครู ปค.2 แบบประเมินคุณลักษณะความเป็นครู 90
รวมคะแนนทั้งสิ้น 115
คิดเป็นคะแนนเต็ม (จาก 100 คะแนน) เท่ากับ 15

โดยมีแบบประเมิน ดังต่อไปนี้
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 67

แบบประเมินการปฏิบตั ิงานประจาวัน
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค.1
รหัสประจาตัว
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน ผู้บริหาร
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินที่ท่านคิด
ว่าตรงกับการปฏิบัติงานของนักศึกษามากที่สุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อเสนอแนะประกอบเพื่อการปรับปรุง
ผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. นักศึกษาปฏิบัติงานในสถานศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักศึกษาบันทึกการปฏิบัติงานประจาวันสม่าเสมอ และตรงต่อ
เวลา
3. นักศึกษาบันทึกเนื้อหาการปฏิบัติงานประจาวันได้ครบสมบูรณ์
ทั้ง 2 ด้าน คือ การปฏิบัติการสอน และงานในหน้าที่ครู
4. นักศึกษาส่งบันทึกการปฏิบัติงานประจาวันเป็นประจา โดยมี
การลงนามรับรองจากครูพี่เลี้ยงหรือผู้มอบหมายงาน
5. นักศึกษาสรุปข้อเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน
รวม (25 คะแนน)

ข้อเสนอแนะอื่นๆ
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................................. ....................

ลงชื่อ.....................................................ผู้บริหารสถานศึกษา
(...........................................................)
......../.........................../....................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 68

แบบประเมินคุณลักษณะความเป็นครู
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค 2
รหัสประจาตัว
ผู้บริหาร
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินทีท่ ่าน
คิดว่าตรงกับพฤติกรรมของนักศึกษามากที่สุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อคิดเห็นประกอบเพื่อการปรับปรุง
ผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. นักศึกษามุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะปฏิบัติและ
คุณลักษณะที่ดีงามอย่างเต็มความสามารถ
2. นักศึกษา รักเมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียนอย่างเหมาะสม
ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
3. นักศึกษาส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับระดับ
ความสามารถและช่วงวัย
4. นักศึกษายอมรับความแตกต่างของผู้เรียนทางด้านเพศ เชื้อชาติ ศาสนา
วัฒนธรรม และระดับการเรียนรู้
5. นักศึกษากระตุ้นและสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้แก่ผู้เรียนโดยใช้การ
เสริมแรงทางบวก
6. นักศึกษาส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงความสามารถและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
อย่างเต็มศักยภาพ
7. นักศึกษาติดตามข้อมูลและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรอบรู้
ทันสมัยและสอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพ วิทยาการ
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
8. นักศึกษานาข้อมูลข่าวสาร แนวคิด เทคนิควิธีการ หรือความรู้ใหม่ๆ ที่
น่าสนใจ มาปรับใช้ในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่าง
เหมาะสม
9. นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นตัวแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน
10. นักศึกษาปฏิบัติตนกับนักเรียนและเพื่อนร่วมงานด้วยความเต็มใจ และ
เสมอภาค
11. นักศึกษาวางตนและปฏิบัติตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยและ
สถานศึกษา ด้วยความเต็มใจและเหมาะสมตามกาลเทศะ
12. นักศึกษามีเจตคติที่ดีและรับผิดชอบต่อวิชาชีพครู
13. นักศึกษาเรียนรู้และปรับตัวตนเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 69

ผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
14. นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ สามารถการสื่อสาร และอยู่ร่วมกับคนใน
สถานศึกษาอย่างสันติ
15. นักศึกษาไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดย
มิชอบ
16. นักศึกษาทางานและช่วยเหลือเพื่อนนักศึกษาและผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
ภายใต้หลักการที่ถูกต้อง
17. นักศึกษามีจิตอาสาและคานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
18. นักศึกษาเป็นผู้นาในการทาโครงการ/กิจกรรมทางสังคม (เช่น อนุรักษ์
และพัฒนา เศรษฐกิจ สังคมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา หรือ
สิ่งแวดล้อม) ทั้งในและนอกโรงเรียน
รวม (90 คะแนน)
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
............................................................................................................................. .......................................
..................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................................

ลงชื่อ.....................................................ผู้ บริหารสถานศึกษา
(...........................................................)
......../.........................../....................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 70

บทที่ 9
แบบประเมินสาหรับครูพี่เลี้ยง

แนวทางการประเมิ น ผลการปฏิ บั ติ ก ารสอนในสถานศึ ก ษา 2 ส าหรั บ ครู พี่ เ ลี้ ย ง มี 6 ด้ า น


ประกอบด้วย การประเมินการปฏิบัติงานประจาวัน การประเมินคุณลักษณะความเป็นครู การประเมิน
แผนการจัดการเรียนรู้ การประเมินการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน การประเมินรายงานการปฏิบัติการสอน
การวิเคราะห์ผู้เรียน/ตนเอง และการแก้ไข และการวิจัยในชั้นเรียน รวมทั้งสิ้น 380 คะแนน คิดเป็น
น้าหนักคะแนน เท่ากับ 30 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน รายละเอียดดังตาราง

แนวทางการประเมิน แบบประเมิน คะแนน


การปฏิบัติงานประจาวัน ปค.1 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจาวัน 25
คุณลักษณะความเป็นครู ปค.2 แบบประเมินคุณลักษณะความเป็นครู 90
ปค.3 แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ 60
ปค.4 แบบประเมินกระบวนการจัดการเรียนการสอน
การฝึกปฏิบัติการสอนและ 80
ในชั้นเรียน
งานในหน้าที่ครู
ปค.5 แบบประเมินรายงานการปฏิบัติการสอน การ
50
วิเคราะห์ผู้เรียน/ ตนเอง และการแก้ไข
การวิจัยในชั้นเรียน ปค.6 แบบประเมินรายงานวิจัยในชั้นเรียน 75
รวมคะแนนทั้งสิ้น 380
คิดเป็นคะแนนเต็ม (จาก 100 คะแนน) เท่ากับ 30

โดยมีแบบประเมิน ดังต่อไปนี้
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 71

แบบประเมินการปฏิบตั ิงานประจาวัน
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค 1
รหัสประจาตัว
ครูพี่เลี้ยง
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินที่ท่านคิด
ว่าตรงกับการปฏิบัติงานของนักศึกษามากที่สุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อเสนอแนะประกอบเพื่อการปรับปรุง
ผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. นักศึกษาปฏิบัติงานในสถานศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักศึกษาบันทึกการปฏิบัติงานประจาวันสม่าเสมอ และตรงต่อ
เวลา
3. นักศึกษาบันทึกเนื้อหาการปฏิบัติงานประจาวันได้ครบสมบูรณ์
ทั้ง 2 ด้าน คือ การปฏิบัติการสอน และงานในหน้าที่ครู
4. นักศึกษาส่งบันทึกการปฏิบัติงานประจาวันเป็นประจา โดยมี
การลงนามรับรองจากครูพี่เลี้ยงหรือผู้มอบหมายงาน
5. นักศึกษาสรุปข้อเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน
รวม (25 คะแนน)

ข้อเสนอแนะอื่นๆ
............................................................................................................................. .......................................
............................................................................................................................. .......................................
.................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.....................................................ครูพี่เลี้ยง
(...........................................................)
......../.........................../....................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 72

แบบประเมินคุณลักษณะความเป็นครู
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค 2
รหัสประจาตัว
ครูพี่เลี้ยง
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินทีท่ ่าน
คิดว่าตรงกับพฤติกรรมของนักศึกษามากที่สุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อคิดเห็นประกอบเพื่อการปรับปรุง
ผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. นักศึกษามุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะปฏิบัติและ
คุณลักษณะที่ดีงามอย่างเต็มความสามารถ
2. นักศึกษา รักเมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียนอย่างเหมาะสม
ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
3. นักศึกษาส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับระดับ
ความสามารถและช่วงวัย
4. นักศึกษายอมรับความแตกต่างของผู้เรียนทางด้านเพศ เชื้อชาติ ศาสนา
วัฒนธรรม และระดับการเรียนรู้
5. นักศึกษากระตุ้นและสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้แก่ผู้เรียนโดยใช้การ
เสริมแรงทางบวก
6. นักศึกษาส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงความสามารถและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
อย่างเต็มศักยภาพ
7. นักศึกษาติดตามข้อมูลและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรอบรู้
ทันสมัยและสอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพ วิทยาการ
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
8. นักศึกษานาข้อมูลข่าวสาร แนวคิด เทคนิควิธีการ หรือความรู้ใหม่ๆ ที่
น่าสนใจ มาปรับใช้ในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่าง
เหมาะสม
9. นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นตัวแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน
10. นักศึกษาปฏิบัติตนกับนักเรียนและเพื่อนร่วมงานด้วยความเต็มใจ และ
เสมอภาค
11. นักศึกษาวางตนและปฏิบัติตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยและ
สถานศึกษา ด้วยความเต็มใจและเหมาะสมตามกาลเทศะ
12. นักศึกษามีเจตคติที่ดีและรับผิดชอบต่อวิชาชีพครู
13. นักศึกษาเรียนรู้และปรับตัวตนเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 73

ผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
14. นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ สามารถการสื่อสาร และอยู่ร่วมกับคนใน
สถานศึกษาอย่างสันติ
15. นักศึกษาไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดย
มิชอบ
16. นักศึกษาทางานและช่วยเหลือเพื่อนนักศึกษาและผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
ภายใต้หลักการที่ถูกต้อง
17. นักศึกษามีจิตอาสาและคานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
18. นักศึกษาเป็นผู้นาในการทาโครงการ/กิจกรรมทางสังคม (เช่น อนุรักษ์
และพัฒนา เศรษฐกิจ สังคมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา หรือ
สิ่งแวดล้อม) ทั้งในและนอกโรงเรียน
รวม (90 คะแนน)
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
................................................................................................................................................................. ...
............................................................................................................................. .....................................
............................................................................................................................. ......................................

ลงชื่อ.....................................................ครูพี่เลี้ยง
(...........................................................)
......../.........................../....................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 74

แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค3
รหัสประจาตัว
ครูพี่เลี้ยง
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินที่ท่านคิดว่าตรง
กับพฤติกรรมของนักศึกษามากทีส่ ดุ
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อคิดเห็นประกอบเพื่อการปรับปรุง
ผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความถูกต้องและสอดคล้องของสาระการเรียนรู้ กับ
มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษา
2. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความสอดคล้องของจุดประสงค์การเรียนรู้กับเนื้อหา
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
3. นักศึกษาเขียนจุดประสงค์การเรียนรูไ้ ด้ครอบคลุมพฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน คือ ความรู้
(K) ทักษะ กระบวนการ/สมรรถนะ (P/S) และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
4. กิจกรรมการเรียนรู้ในแผนฯ สามารถพัฒนาผูเ้ รียนได้ตามที่ระบุในจุดประสงค์
การเรียนรู้
5. นักศึกษาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็นลาดับขั้นอย่างต่อเนือ่ ง
6. นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในเนื้อหาและศาสตร์การสอนเพื่อออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารูค้ ิดและมีความเป็นนวัตกร
7. นักศึกษาสามารถออกแบบหรือพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะกับกิจกรรมการเรียนรู้
8. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้สอื่ เทคโนโลยีดิจิทลั ในการจัดการเรียนรู้
9. เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความชัดเจนต่อการนาไปปฏิบัติ
10. แผนการจัดการเรียนรู้เป็นระเบียบเรียบร้อยและมีรายละเอียดครบตามรูปแบบที่
สถานศึกษาหรือหลักสูตรกาหนด
11. ความตรงเวลาในการส่งแผนการจัดการเรียนรู้
12. นักศึกษาใช้ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษในการเขียนแผนการจัดการเรียนรูไ้ ด้ถูกต้อง
รวม (60 คะแนน)
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
...........................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.......................................................ครูพี่เลีย้ ง
(...........................................................)
......../.........................../....................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 75

แบบประเมินกระบวนการจัดการเรียนรูใ้ นชั้นเรียน
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค 4
รหัสประจาตัว
ครูพี่เลี้ยง
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินที่ท่านคิดว่า
ตรงกับพฤติกรรมของนักศึกษามากที่สุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อคิดเห็นประกอบเพื่อการปรับปรุง
คะแนนผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. นักศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้
2. นักศึกษามีความแม่นยาในเนื้อหาสาระที่สอน
3. นักศึกษาสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผเู้ รียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะทางร่างกาย
และจิตใจของผูเ้ รียน
4. นักศึกษาใช้วิธีการที่เหมาะสมในการกระตุ้นและเสริมสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
แก่ผู้เรียน
5. นักศึกษาสามารถดูแลช่วยเหลือและพัฒนาผูเ้ รียนเป็นรายบุคคลตามศักยภาพ
6. นักศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นหรือมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม
ในชั้นเรียน
7. นักศึกษาส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงสมรรถนะและทักษะต่างๆ อย่างเต็มศักยภาพ
8. นักศึกษาเชื่อมโยงเนื้อหาสาระสู่การนาไปใช้ในชีวติ ประจาวันได้อย่างเหมาะสม
9. นักศึกษาสามารถสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน
10. นักศึกษาสอดแทรกคุณลักษณะที่ดีงามแก่ผู้เรียนตามโอกาสที่เหมาะสม
11. นักศึกษาแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและควบคุมอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม
12. นักศึกษามีความเชี่ยวชาญในการใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้
13. นักศึกษาใช้คาถามที่เข้าใจง่ายและตรงประเด็นกับเนื้อหา
14. นักศึกษาใช้ระดับเสียงและน้าเสียงได้เหมาะสมชัดเจน
15. นักศึกษาใช้วิธีการวัดและประเมินผลสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
16. นักศึกษาเข้าสอนและเลิกสอนตรงตามเวลา
รวม (80 คะแนน)
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
..........................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.......................................................ครูพี่เลีย้ ง
(...........................................................)
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 76

แบบประเมินรายงานการปฏิบัติการสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน/ ตนเอง และการแก้ไข


ชือ่ -สกุลนักศึกษา
ปค 5
รหัสประจาตัว
ครูพี่เลี้ยง
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินที่ท่านคิดว่า
ตรงกับความเป็นจริงมากทีส่ ุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อคิดเห็นประกอบเพื่อการปรับปรุง
คะแนนผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. เล่มรายงานฯ มีเนื้อหาการปฏิบัติการสอนครบถ้วนตรงประเด็น
2. ความเห็นเกี่ยวกับการเรียนรู้ทจี่ ะสอนและการเรียนรู้ที่จะเป็นครูของนักศึกษา
สามารถนาไปปฏิบัติใช้ได้จริงและชัดเจนเป็นรูปธรรม
3. นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของอย่างชัดเจนเป็น
ระบบ (ประเมินจากบันทึกความรูส้ ึกที่มีต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู)
4. นักศึกษาเห็นปัญหาของตนเองและเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้ชัดเป็นรูปธรรม
(ประเมินจากบันทึกการนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู)
5. ชิ้นงาน/ผลงานของนักศึกษามีความหลากหลายและโดดเด่น (ประเมินจากบันทึก
อนุทินของนักศึกษา)
6. นักศึกษาดูแลจัดเก็บรักษาชิ้นงานครบถ้วน เรียงลาดับก่อนหลังได้ถูกต้อง
7. นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดได้ถึงระดับที่การเรียนรู้เกิดขึ้น (ประเมินจากบันทึก
สะท้อนคิดการเรียนรู้)
8. นักศึกษาแสดงการวิเคราะห์พฤติกรรม/ การเรียนรู้ของผู้เรียนเพือ่ นาไปใช้สอน
หรือพัฒนาผู้เรียนได้ (บันทึกผลการจัดการเรียนรู้)
9. นักศึกษาแสดงวิเคราะห์พฤติกรรมการสอน จุดทีด่ ี ปัญหาและอุปสรรคที่พบ
เกี่ยวกับการสอนของตนเองอย่างชัดเจน (บันทึกผลการจัดการเรียนรู้)
10. นักศึกษาส่งงานตรงเวลา
รวม (50 คะแนน)
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
...........................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................................ครูพี่เลีย้ ง
(...........................................................)
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 77

แบบประเมินรายงานวิจัยในชั้นเรียน
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค 6
รหัสประจาตัว
ครูพี่เลี้ยง
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินที่ท่านคิดว่าตรง
กับความเป็นจริงมากที่สุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อคิดเห็นประกอบเพื่อการปรับปรุง
คะแนนผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
การดาเนินงานวิจัย
1. พบกับอาจารย์นิเทศก์หรือครูพี่เลี้ยงเพื่อรายงานความก้าวหน้างานวิจัยอย่างสม่าเสมอ
2. สามารถวิเคราะห์ อธิบายประเด็นปัญหา และทาวิจยั ที่สอดคล้องกับปัญหาของ
ผู้เรียนได้
3. นาข้อเสนอแนะของอาจารย์นิเทศหรือครูพี่เลี้ยงไปปรับปรุงการดาเนินงานวิจัย
4. มีการวางแผนการดาเนินงานวิจัยและเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและถูกต้อง
5. สร้างนวัตกรรม/เครื่องมือในการแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับปัญหาของผู้เรียน
6. เลือก/ จัดทาเครื่องมือในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้อง
7. มีจรรยาบรรณในการวิจัย
ผลการวิจัยและรายงานการวิจัย
8. โครงร่างงานวิจัยมีความเหมาะสมกับสภาพจริงของชั้นเรียน/โรงเรียน
9. นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลครอบคลุมวัตถุประสงค์ของปัญหาวิจัยทุกข้อ
10. เลือกวิธีแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบที่เข้าใจง่าย ชัดเจน
11. อภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูลสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของปัญหาวิจัย
12. มีการอ้างอิงเอกสารงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องประกอบการอภิปราย
13. ผลที่ได้จากการวิจัยสามารถนาไปใช้ได้จริงในชั้นเรียน
14. มีการนาเสนอข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาทีส่ ามารถเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
15. นักศึกษาเขียนเอกสารอ้างอิงสอดคล้องกับปัญหาวิจัย
รวม (75 คะแนน)
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
...........................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ....................................................................ครูพี่เลี้ยง
(...........................................................)
......../.........................../....................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 78

บทที่ 10
แบบประเมินสาหรับอาจารย์นิเทศก์

แนวทางการประเมินผลการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 สาหรับอาจารย์นิเทศก์ มี 6 ด้าน


ประกอบด้วย การประเมินการปฏิบัติงานประจาวัน การประเมินคุณลักษณะความเป็นครู การประเมิน
แผนการจัดการเรียนรู้ การประเมินการจัดการเรียนรู้ในชั้นเรียน การประเมินรายงานการปฏิบัติการสอน
การวิเคราะห์ผู้เรียน/ตนเอง และการแก้ไข และการวิจัยในชั้นเรียน รวมทั้งสิ้น 380 คะแนน คิดเป็น
น้าหนักคะแนน เท่ากับ 30 คะแนน จากคะแนนเต็ม 100 คะแนน รายละเอียดดังตาราง

แนวทางการประเมิน แบบประเมิน คะแนน


การปฏิบัติงานประจาวัน ปค.1 แบบประเมินการปฏิบัติงานประจาวัน 25
คุณลักษณะความเป็นครู ปค.2 แบบประเมินคุณลักษณะความเป็นครู 90
ปค.3 แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้ 60
ปค.4 แบบประเมินกระบวนการจัดการเรียนการสอน
การฝึกปฏิบัติการสอนและ 80
ในชั้นเรียน
งานในหน้าที่ครู
ปค.5 แบบประเมินรายงานการปฏิบัติการสอน การ
50
วิเคราะห์ผู้เรียน/ ตนเอง และการแก้ไข
การวิจัยในชั้นเรียน ปค.6 แบบประเมินรายงานวิจัยในชั้นเรียน 75
รวมคะแนนทั้งสิ้น 380
คิดเป็นคะแนนเต็ม (จาก 100 คะแนน) เท่ากับ 30

โดยมีแบบประเมิน ดังต่อไปนี้
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 79

แบบประเมินการปฏิบตั ิงานประจาวัน
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค 1
รหัสประจาตัว
อาจารย์นิเทศก์
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินที่ท่านคิด
ว่าตรงกับการปฏิบัติงานของนักศึกษามากที่สุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อเสนอแนะประกอบเพื่อการปรับปรุง
ผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. นักศึกษาปฏิบัติงานในสถานศึกษาไม่น้อยกว่าร้อยละ 80
2. นักศึกษาบันทึกการปฏิบัติงานประจาวันสม่าเสมอ และตรงต่อ
เวลา
3. นักศึกษาบันทึกเนื้อหาการปฏิบัติงานประจาวันได้ครบสมบูรณ์
ทั้ง 2 ด้าน คือ การปฏิบัติการสอน และงานในหน้าที่ครู
4. นักศึกษาส่งบันทึกการปฏิบัติงานประจาวันเป็นประจา โดยมี
การลงนามรับรองจากครูพี่เลี้ยงหรือผู้มอบหมายงาน
5. นักศึกษาสรุปข้อเรียนรู้จากการปฏิบัติงาน
รวม (25 คะแนน)

ข้อเสนอแนะอื่นๆ
....................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. .......................................
...................................................................................................................................................... ...........

ลงชื่อ.....................................................อาจารย์นิเทศก์
(...........................................................)
......../.........................../....................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 80

แบบประเมินคุณลักษณะความเป็นครู
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค 2
รหัสประจาตัว
อาจารย์นิเทศก์
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินทีท่ ่าน
คิดว่าตรงกับพฤติกรรมของนักศึกษามากที่สุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อคิดเห็นประกอบเพื่อการปรับปรุง
ผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. นักศึกษามุ่งมั่นพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้ ทักษะปฏิบัติและ
คุณลักษณะที่ดีงามอย่างเต็มความสามารถ
2. นักศึกษา รักเมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือและพัฒนาผู้เรียนอย่างเหมาะสม
ด้วยความบริสุทธิ์ใจ
3. นักศึกษาส่งเสริมการเรียนรู้อย่างต่อเนื่อง ด้วยวิธีการที่เหมาะสมกับระดับ
ความสามารถและช่วงวัย
4. นักศึกษายอมรับความแตกต่างของผู้เรียนทางด้านเพศ เชื้อชาติ ศาสนา
วัฒนธรรม และระดับการเรียนรู้
5. นักศึกษากระตุ้นและสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้แก่ผู้เรียนโดยใช้การ
เสริมแรงทางบวก
6. นักศึกษาส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงความสามารถและความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
อย่างเต็มศักยภาพ
7. นักศึกษาติดตามข้อมูลและพัฒนาตนเองอย่างต่อเนื่อง ให้มีความรอบรู้
ทันสมัยและสอดคล้องต่อการเปลี่ยนแปลงทางวิชาชีพ วิทยาการ
เศรษฐกิจ สังคม และการเมือง
8. นักศึกษานาข้อมูลข่าวสาร แนวคิด เทคนิควิธีการ หรือความรู้ใหม่ๆ ที่
น่าสนใจ มาปรับใช้ในการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ได้อย่าง
เหมาะสม
9. นักศึกษาปฏิบัติตนเป็นตัวแบบอย่างที่ดีแก่นักเรียน
10. นักศึกษาปฏิบัติตนกับนักเรียนและเพื่อนร่วมงานด้วยความเต็มใจ และ
เสมอภาค
11. นักศึกษาวางตนและปฏิบัติตามกฎระเบียบของมหาวิทยาลัยและ
สถานศึกษา ด้วยความเต็มใจและเหมาะสมตามกาลเทศะ
12. นักศึกษามีเจตคติที่ดีและรับผิดชอบต่อวิชาชีพครู
13. นักศึกษาเรียนรู้และปรับตัวตนเป็นสมาชิกที่ดีของสถานศึกษา
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 81

ผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
14. นักศึกษามีมนุษยสัมพันธ์ สามารถการสื่อสาร และอยู่ร่วมกับคนใน
สถานศึกษาอย่างสันติ
15. นักศึกษาไม่เรียกรับหรือยอมรับผลประโยชน์จากการใช้ตาแหน่งหน้าที่โดย
มิชอบ
16. นักศึกษาทางานและช่วยเหลือเพื่อนนักศึกษาและผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
ภายใต้หลักการที่ถูกต้อง
17. นักศึกษามีจิตอาสาและคานึงถึงผลประโยชน์ของส่วนรวมเป็นที่ตั้ง
18. นักศึกษาเป็นผู้นาในการทาโครงการ/กิจกรรมทางสังคม (เช่น อนุรักษ์
และพัฒนา เศรษฐกิจ สังคมศาสนา ศิลปวัฒนธรรม ภูมิปัญญา หรือ
สิ่งแวดล้อม) ทั้งในและนอกโรงเรียน
รวม (90 คะแนน)
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
............................................................................................................................. .......................................
..................................................................................................................................................................
............................................................................................................................. ......................................

ลงชื่อ.....................................................อาจารย์นิเทศก์
(...........................................................)
......../.........................../....................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 82

แบบประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค3
รหัสประจาตัว
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
อาจารย์นิเทศก์

คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินที่ท่านคิดว่าตรง


กับพฤติกรรมของนักศึกษามากทีส่ ดุ
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อคิดเห็นประกอบเพื่อการปรับปรุง
ผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความถูกต้องและสอดคล้องของสาระการเรียนรู้ กับ
มาตรฐานการเรียนรู้ของหลักสูตรแกนกลางและหลักสูตรสถานศึกษา
2. นักศึกษาสามารถวิเคราะห์ความสอดคล้องของจุดประสงค์การเรียนรู้กับเนื้อหา
สาระและมาตรฐานการเรียนรู้
3. นักศึกษาเขียนจุดประสงค์การเรียนรูไ้ ด้ครอบคลุมพฤติกรรมทั้ง 3 ด้าน คือ ความรู้
(K) ทักษะ กระบวนการ/สมรรถนะ (P/S) และคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
4. กิจกรรมการเรียนรู้ในแผนฯ สามารถพัฒนาผูเ้ รียนได้ตามที่ระบุในจุดประสงค์
การเรียนรู้
5. นักศึกษาออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้ที่เป็นลาดับขั้นอย่างต่อเนือ่ ง
6. นักศึกษาสามารถบูรณาการความรู้ในเนื้อหาและศาสตร์การสอนเพื่อออกแบบ
กิจกรรมการเรียนรู้ที่เน้นการพัฒนาผู้เรียนให้มีปัญญารูค้ ิดและมีความเป็นนวัตกร
7. นักศึกษาสามารถออกแบบหรือพัฒนาสื่อการเรียนรู้ที่เหมาะกับกิจกรรมการเรียนรู้
8. นักศึกษาสามารถประยุกต์ใช้สอื่ เทคโนโลยีดิจิทลั ในการจัดการเรียนรู้
9. เครื่องมือวัดและประเมินผลการเรียนรู้มีความชัดเจนต่อการนาไปปฏิบัติ
10. แผนการจัดการเรียนรู้เป็นระเบียบเรียบร้อยและมีรายละเอียดครบตามรูปแบบที่
สถานศึกษาหรือหลักสูตรกาหนด
11. ความตรงเวลาในการส่งแผนการจัดการเรียนรู้
12. นักศึกษาใช้ภาษาไทย/ภาษาอังกฤษในการเขียนแผนการจัดการเรียนรูไ้ ด้ถูกต้อง
รวม (60 คะแนน)
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
...........................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.......................................................อาจารย์นิเทศก์
(...........................................................)
......../.........................../....................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 83

แบบประเมินกระบวนการจัดการเรียนรูใ้ นชั้นเรียน
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค 4
รหัสประจาตัว
อาจารย์นิเทศก์
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินที่ท่านคิดว่า
ตรงกับพฤติกรรมของนักศึกษามากที่สุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อคิดเห็นประกอบเพื่อการปรับปรุง
คะแนนผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. นักศึกษาสามารถจัดการเรียนรู้ให้เป็นไปตามแผนการจัดการเรียนรู้
2. นักศึกษามีความแม่นยาในเนื้อหาสาระที่สอน
3. นักศึกษาสามารถจัดกิจกรรมการเรียนรู้ให้ผเู้ รียนโดยตระหนักถึงสุขภาวะทางร่างกาย
และจิตใจของผูเ้ รียน
4. นักศึกษาใช้วิธีการที่เหมาะสมในการกระตุ้นและเสริมสร้างแรงจูงใจในการเรียนรู้
แก่ผู้เรียน
5. นักศึกษาสามารถดูแลช่วยเหลือและพัฒนาผูเ้ รียนเป็นรายบุคคลตามศักยภาพ
6. นักศึกษาเปิดโอกาสให้ผู้เรียนได้แสดงความคิดเห็นหรือมีส่วนร่วมในการทากิจกรรม
ในชั้นเรียน
7. นักศึกษาส่งเสริมให้ผู้เรียนแสดงสมรรถนะและทักษะต่างๆ อย่างเต็มศักยภาพ
8. นักศึกษาเชื่อมโยงเนื้อหาสาระสู่การนาไปใช้ในชีวิตประจาวันได้อย่างเหมาะสม
9. นักศึกษาสามารถสร้างบรรยากาศการเรียนรู้ให้ผู้เรียนมีความสุขในการเรียน
10. นักศึกษาสอดแทรกคุณลักษณะที่ดีงามแก่ผู้เรียนตามโอกาสที่เหมาะสม
11. นักศึกษาแก้ปัญหาเฉพาะหน้าและควบคุมอารมณ์ได้อย่างเหมาะสม
12. นักศึกษามีความเชี่ยวชาญในการใช้สื่อเทคโนโลยีดิจิทัลในการจัดการเรียนรู้
13. นักศึกษาใช้คาถามที่เข้าใจง่ายและตรงประเด็นกับเนื้อหา
14. นักศึกษาใช้ระดับเสียงและน้าเสียงได้เหมาะสมชัดเจน
15. นักศึกษาใช้วิธีการวัดและประเมินผลสอดคล้องกับจุดประสงค์การเรียนรู้
16. นักศึกษาเข้าสอนและเลิกสอนตรงตามเวลา
รวม (80 คะแนน)
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
..........................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.......................................................อาจารย์นิเทศก์
(...........................................................)
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 84

แบบประเมินรายงานการปฏิบัติการสอน การวิเคราะห์ผู้เรียน/ ตนเอง และการแก้ไข


ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค 5
รหัสประจาตัว
อาจารย์นิเทศก์
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินที่ท่านคิดว่า
ตรงกับความเป็นจริงมากทีส่ ุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อคิดเห็นประกอบเพื่อการปรับปรุง
คะแนนผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
1. เล่มรายงานฯ มีเนื้อหาการปฏิบัติการสอนครบถ้วนตรงประเด็น
2. ความเห็นเกี่ยวกับการเรียนรู้ทจี่ ะสอนและการเรียนรู้ที่จะเป็นครูของนักศึกษา
สามารถนาไปปฏิบัติใช้ได้จริงและชัดเจนเป็นรูปธรรม
3. นักศึกษาแสดงความคิดเห็นต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูของอย่างชัดเจนเป็น
ระบบ (ประเมินจากบันทึกความรูส้ ึกที่มีต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู)
4. นักศึกษาเห็นปัญหาของตนเองและเสนอแนวทางแก้ปัญหาได้ชัดเป็นรูปธรรม
(ประเมินจากบันทึกการนิเทศนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู)
5. ชิ้นงาน/ผลงานของนักศึกษามีความหลากหลายและโดดเด่น (ประเมินจากบันทึก
อนุทินของนักศึกษา)
6. นักศึกษาดูแลจัดเก็บรักษาชิ้นงานครบถ้วน เรียงลาดับก่อนหลังได้ถูกต้อง
7. นักศึกษาสามารถสะท้อนคิดได้ถึงระดับที่การเรียนรู้เกิดขึ้น (ประเมินจากบันทึก
สะท้อนคิดการเรียนรู้)
8. นักศึกษาแสดงการวิเคราะห์พฤติกรรม/ การเรียนรู้ของผู้เรียนเพือ่ นาไปใช้สอน
หรือพัฒนาผู้เรียนได้ (บันทึกผลการจัดการเรียนรู้)
9. นักศึกษาแสดงวิเคราะห์พฤติกรรมการสอน จุดทีด่ ี ปัญหาและอุปสรรคที่พบ
เกี่ยวกับการสอนของตนเองอย่างชัดเจน (บันทึกผลการจัดการเรียนรู้)
10. นักศึกษาส่งงานตรงเวลา
รวม (50 คะแนน)
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
...........................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.......................................................อาจารย์นิเทศก์
(...........................................................)
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 85

แบบประเมินรายงานวิจัยในชั้นเรียน
ชื่อ-สกุลนักศึกษา
ปค 6
รหัสประจาตัว
อาจารย์นิเทศก์
ชื่อ-สกุล ผู้ประเมิน
คาชี้แจง พิจารณารายการประเมินต่อไปนี้ แล้วทาเครื่องหมาย ✓ ลงในช่องคะแนนผลการประเมินที่ท่านคิดว่าตรง
กับความเป็นจริงมากที่สุด
ระดับการประเมิน : 5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = ปานกลาง , 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง
กรณีผลการประเมินในรายการใดต่ากว่า 2 กรุณาให้ข้อคิดเห็นประกอบเพื่อการปรับปรุง
คะแนนผลการประเมิน
รายการประเมิน
1 2 3 4 5
การดาเนินงานวิจัย
1. พบกับอาจารย์นิเทศก์หรือครูพี่เลี้ยงเพื่อรายงานความก้าวหน้างานวิจัยอย่างสม่าเสมอ
2. สามารถวิเคราะห์ อธิบายประเด็นปัญหา และทาวิจยั ที่สอดคล้องกับปัญหาของ
ผู้เรียนได้
3. นาข้อเสนอแนะของอาจารย์นิเทศหรือครูพี่เลี้ยงไปปรับปรุงการดาเนินงานวิจัย
4. มีการวางแผนการดาเนินงานวิจัยและเก็บข้อมูลอย่างเป็นระบบและถูกต้อง
5. สร้างนวัตกรรม/เครื่องมือในการแก้ปัญหาได้เหมาะสมกับปัญหาของผู้เรียน
6. เลือก/ จัดทาเครื่องมือในการเก็บรวบรวมและวิเคราะห์ข้อมูลได้ถูกต้อง
7. มีจรรยาบรรณในการวิจัย
ผลการวิจัยและรายงานการวิจัย
8. โครงร่างงานวิจัยมีความเหมาะสมกับสภาพจริงของชั้นเรียน/โรงเรียน
9. นาเสนอผลการวิเคราะห์ข้อมูลครอบคลุมวัตถุประสงค์ของปัญหาวิจัยทุกข้อ
10. เลือกวิธีแสดงผลการวิเคราะห์ข้อมูลในรูปแบบที่เข้าใจง่าย ชัดเจน
11. อภิปรายผลการวิเคราะห์ข้อมูลสอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของปัญหาวิจัย
12. มีการอ้างอิงเอกสารงานวิจัยทีเ่ กี่ยวข้องประกอบการอภิปราย
13. ผลที่ได้จากการวิจัยสามารถนาไปใช้ได้จริงในชั้นเรียน
14. มีการนาเสนอข้อเสนอแนะในการแก้ปัญหาทีส่ ามารถเป็นไปได้ในทางปฏิบัติ
15. นักศึกษาเขียนเอกสารอ้างอิงสอดคล้องกับปัญหาวิจัย
รวม (75 คะแนน)
ข้อเสนอแนะอื่นๆ
...........................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ....................................................................อาจารย์นิเทศก์
(...........................................................)
......../.........................../....................
การปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 | 86

คณะผู้จัดทาคู่มือการปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์

ที่ปรึกษา
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์จิตเจริญ ศรขวัญ คณบดีคณะครุศาสตร์
2. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.นิติกร อ่อนโยน รองคณบดีฝ่ายวิชาการ
3. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ ดร.ฐาปนา จ้อยเจริญ รองคณบดีฝ่ายบริหารและแผนงาน
4. อาจารย์เกียรติศักดิ์ รักษาพล รองคณบดีฝ่ายกิจการพัฒนานักศึกษา

คณะผู้จัดทา
1. ผู้ช่วยศาสตราจารย์ธัญวรัตน์ ปิ่นทอง ผู้ช่วยคณบดีฝ่ายวิชาการ
2. นางสาวกนกภรณ์ สุธัมรส เจ้าหน้าที่ฝ่ายฝึกประสบการณ์
3. นางบุณยนุช เทียบแสน เจ้าหน้าที่ฝ่ายวิชาการ

การติดต่อ
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
เลขที่ 1 หมู่ 20 ตาบลคลองหนึ่ง อาเภอคลองหลวง จังหวัดปทุมธานี 13180
โทรศัพท์ : 0 – 2529 – 3099 ต่อ 15
โทรสาร : 0 – 2529 – 3099 ต่อ 13
Email : academic.edu@vru.ac.th
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏวไลยอลงกรณ์ ในพระบรมราชูปถัมภ์
เลขที่ 1 หมู่ 20 ตำบลคลองหนึ่ง อำเภอคลองหลวงจังหวัดปทุมธานี 13180
โทรศัพท์ : 0 – 2529 – 3099 ต่อ 15
โทรสาร : 0 – 2529 – 3099 ต่อ 13
Email : academic.edu@vru.ac.th

You might also like