You are on page 1of 63

คำนำ

หลักสูตรครู 4 ปีเป็นหลักสูตรที่มุ่ง พัฒ นานักศึกษาบนฐานสมรรถนะ โดยมุ่ง พัฒ นาทั้งทักษะ


ความรู้และเจตคติควบคู่กันไป เพื่อให้นักศึกษาจบออกไปเป็นครูพร้อมใช้ โดยเน้นไปที่กระบวนการจัดการ
เรียนรู้โดยใช้โรงเรียนเป็ นฐาน (School Based Learning) โดยอยู่บนความเชื่ อที่ว่า หากนักศึกษาครู
ได้ ต้ น แบบที่ ดี เน้ น การปฏิ บั ติ ใ นสถานการณ์ จ ริ ง อย่ า งต่ อ เนื่ อ งแล้ ว จะช่ ว ยให้ นั ก ศึ ก ษาได้ ซึ ม ซั บ
จรรยาบรรณวิชาชีพครู เกิดความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู เข้าใจเป้าหมายของกระบวนการจัดการ
เรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน อันเป็นวิถีทางนาไปสู่จิตวิญ ญาณของความเป็นครูในอนาคต ทั้งนี้โดยมุ่งหวัง
ความร่วมมือจากทุกฝ่ายที่เกี่ยวข้องในการร่วมผลิตครูที่มีคุณภาพ อันได้แก่ มหาวิทยาลัยซึ่งเป็นฝ่ายผลิต
อาจารย์ผู้สอน อาจารย์นิเทศก์ อาจารย์พี่เลี้ยง และโรงเรียนที่ต้องร่วมมือกันอย่างใกล้ชิดในการพัฒนา
นักศึก ษาครู โดยเริ่มตั้ งแต่ชั้น ปีที่ 1 – 4 ซึ่ง รูปแบบการฝึกประสบการณ์ วิชาชีพครูของมหาวิทยาลั ย
ราชภัฏสุรินทร์ได้กาหนดแนวทางไว้ดังนี้
วิชาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 1 (60) ชั้นปีที่ 1 ภาคเรียนที่ 2
วิชาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 2 1 (60) ชั้นปีที่ 2 ภาคเรียนที่ 1
วิชาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 3 1 (60) ชั้นปีที่ 3 ภาคเรียนที่ 2
วิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 1 6 (360) ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 1
วิชาปฏิบัติการสอนในสถานศึกษา 2 6 (360) ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
วิชาคุรุนิพนธ์ 1 (0-2-1) ชั้นปีที่ 4 ภาคเรียนที่ 2

เอกสารฉบับนี้เป็นคู่มือวิชาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ซึ่งนักศึกษาครูในหลักสูตร
4 ปี จะต้องใช้เป็นคู่มือในการออกฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 คู่มือฉบับนี้ใช้เป็นแนวทางสาหรับ
ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์และนักศึกษาครู ได้ศึกษาทาความเข้าใจ เพื่อเป็นแนว
ทางการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ให้มีประสิทธิภาพดียิ่งขึ้น การเสริมสร้างคุณภาพการผลิตครู
ด้วยกระบวนการฝึกประสบการณ์ วิชาชี พครู ตามหลักสูตรครุศาสตรบัณ ฑิต (ค.บ. 4 ปี) มหาวิทยาลัย
ราชภัฏสุรินทร์ โดยมีวัตถุประสงค์เพื่อ
1. มุ่งให้นักศึกษาครู 4 ปี ให้เรียนรู้งานในหน้าที่ครูจากแหล่งฝึกประสบการณ์ในสถานการณ์
จริง
2. มุ่งให้นักศึกษาครู 4 ปี ได้เรียนรู้งานในหน้าที่ครู
3. มุ่งฝึกให้นักศึกษาครูมีจิตวิญ ญาณความเป็นครู การมีจรรยาบรรณต่อตนเอง และวิชาชีพ
โดยเรียนรู้จากครูที่เป็นต้นแบบครูดีในโรงเรียน
4. มุ่งประสานงานระหว่างหน่วยงานการผลิตครูในคณะต่างๆ และโรงเรียนร่วมผลิตเพื่อให้
การผลิตและพัฒนาครูมีคุณภาพ

ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
คณะครุศาสตร์ มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์

สำรบัญ

เรื่อง หน้ำ
คานา ก
สารบัญ ข
ส่วนที่ 1 แนวคิดสาคัญของการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 1
รายละเอียดของรายวิชา 1
กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 2
แนวทางการประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 5
บทบาทของบุคลากรที่เกี่ยวข้องกับการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ 6
ความประพฤติและการปฏิบัติตนของนักศึกษาปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 8
ส่วนที่ 2 แบบบันทึกและการรายงานผลการปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 10
1. ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา 12
2. แบบบันทึกการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง หรืออาจารย์นิเทศก์ 13
3. แบบบันทึกผลการปฏิบัติงานประจาวัน 14
4. แบบบันทึกข้อมูลโรงเรียนปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 16
5. แบบบันทึกการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 20
6. แบบบันทึกงานในหน้าที่ครู 21
7. แบบบันทึกการมีส่วนร่วมในงานของครูพี่เลี้ยงและโรงเรียนปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่าง 22
เรียน 1
8. แบบบันทึกการสังเกตการสอนของครู 23
9. แบบบันทึกการวิเคราะห์แผนการสอน 25
10. การสารวจหรือศึกษานักเรียนเป็นรายบุคคล (case study) 26
11. แบบบันทึกผลการพัฒนาและแก้ไขพฤติกรรมในการเรียนร่วมกับอาจารย์พี่เลี้ยง 34
12. แบบบันทึกการจัดป้ายนิเทศ 35
13. แบบรายงานผลการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียน 37
ให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข
14. แบบบันทึกการศึกษาต้นแบบครูดี (ครูพี่เลี้ยง) 38
15. บันทึกความรู้สึกของนักศึกษาที่มีต่อการปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 39
ส่วนที่ 3 แบบประเมินการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 40
1. แบบประเมินผลตามมาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานการปฏิบัติตน 41
ของนักศึกษาปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 (สาหรับครูพี่เลี้ยง) (10 คะแนน)
2. แบบประเมินผลตามมาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐานการปฏิบัติตนของนักศึกษา 42
ปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 (สาหรับผู้บริหารสถานศึกษา) (10 คะแนน)
3. แบบประเมินการปฏิบัติงานตามขอบข่ายรายวิชาของนักศึกษาปฏิบัติงานวิชาชีพ 43
ระหว่างเรียน 1 (สาหรับครูพี่เลี้ยง) (20 คะแนน)

สำรบัญ (ต่อ)

เรื่อง หน้ำ
ส่วนที่ 3 แบบประเมินการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 (ต่อ)
4. แบบประเมินรายงานผลการปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 (สาหรับอาจารย์ 44
นิเทศก์) (20 คะแนน)
5. แบบประเมินผลการเข้าชั้นเรียนเพื่อสะท้อนคิด และ PLC ของนักศึกษาปฏิบัติงาน 46
วิชาชีพระหว่างเรียน 1 (สาหรับอาจารย์นิเทศก์) (20 คะแนน)
6. แบบประเมินการสัมมนาการปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 (สาหรับฝ่ายฝึก 47
ประสบการณ์วิชาชีพครู) (10 คะแนน)
ภำคผนวก ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตนของนักศึกษา ปฏิทินการปฏิบัติงานวิชาชีพ 49
ระหว่างเรียน 1
เกณฑ์การตัดคะแนนความประพฤติ 50
ข้อบังคับมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ว่าด้วยการแต่งกายของนักศึกษา 52
ข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.2550 53
ปฏิทินการปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 57
ส่วนที่ 1
แนวคิดสำคัญของกำรฝึกปฏิบัตงิ ำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1
การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 มีแนวคิดสาคัญ ซึ่งประกอบด้วย รายละเอียดของรายวิชา
จุด มุ่ ง หมาย กิ จกรรม แนวทางการวั ด ประเมิ น บทบาทของผู้ มี ส่ วนเกี่ ย วข้อ ง การปฏิ บั ติ ต นของนั ก ศึ ก ษา
ดังต่อไปนี้

รำยละเอียดของวิชำ
1. ชื่อวิชำ
การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 (Practicum in Profession of Teaching 1)
2. รหัสวิชำ
EEDU621003
3. จำนวนหน่วยกิต / ชั่วโมงสอน
1 (90)
4. คำอธิบำยรำยวิชำ
ฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน โดยการศึกษาเรี ยนรู้ คุณลักษณะของครูที่แสดงออกถึงความรัก
และ ศรั ท ธ าใน วิ ชาชี พ ค รู ก ารป ฏิ บั ติ ตน ขอ งค รู ที่ สะ ท้ อ น ถึ งก าร มี จิ ต วิ ญ ญ าณ ค ว าม เป็ น ค รู
การมี จ รรยาบรรณต่ อ ตนเอง และวิ ช าชี พ ศึ ก ษาเรี ย นรู้ บ ทบาทหน้ า ที่ ค รู ครู ป ระจ าชั้ น ศึ ก ษาบริ บ ท
ชั้ น เรี ย น บริ บ ทของสถานศึ ก ษา ข้ อ มู ล การบริ ห ารและการจั ด การศึ ก ษาของสถานศึ ก ษา บริ บ ทชุ ม ชน
ที่มีต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ฝึกปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ร่วมมือกับผู้ปกครองวิเคราะห์ แก้ปัญ หา
ผู้เรียนรายกรณี (Case study) ฝึกปฏิบัติ ออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒ นาผู้เรียนเรียนรู้อย่ามี
ความสุข ตระหนักถึ งสุ ข ภาวะของผู้ เรียน ผ่านกระบวนการสัง เกต บัน ทึกข้ อมูล วิเคราะห์ สัง เคราะห์ ถอด
บ ท เรี ย น แ ล ะ ส ะ ท้ อ น คิ ด เพื่ อ น า ไ ป ป ร ะ ยุ ก ต์ ใช้ ใน ก า ร พั ฒ น า ต น เอ ง ให้ เป็ น ค รู ที่ ดี
มีความรอบรู้ และทันสมัยต่อการเปลี่ยนแปลง
Practice in professional teaching by study the characteristics of love and faith in
the teacher profession. Practice in teacher act that reflect the spirit of being a teacher, ethics
of oneself and professional. Study the teacher’s roles, teacher’s duties and class teachers.
Study the classroom context, educational institutions context, administration information and
education management of educational institutions. Community context on educational
management of school. Practice in teacher duties, collaborate with parents to analyze for
solve a case study. Practice, design and organize learning activities to develop learners to learn
happily. Aware of the learners health through the observation process, recording data,
analyzing, synthesizing, lesson learned and reflective thinking to apply for develop oneself to
be a good teacher with be proficient, up to date and keep up with the changes.
2

5. จุดมุ่งหมำยของรำยวิชำ
5.1 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ได้ ศึกษาเรียนรู้ คุณลักษณะของครูที่
แสดงออกถึงความรักและศรัทธาในวิชาชีพครู การปฏิบัติตน ของครูที่สะท้อนถึงการมีจิตวิญญาณความเป็นครู
การมีจรรยาบรรณต่อตนเอง และวิชาชีพ
5.2 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ได้ เรียนรู้บทบาทหน้าที่ครู ครูประจา
ชั้น ศึกษาบริบทชั้นเรียน บริบทของสถานศึกษา ข้อมูลการบริหารและการจัดการศึกษาของสถานศึกษา
5.3 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ได้เข้าใจกระยวนการศึกษาบริบทชุมชน
ที่มีต่อการจัดการศึกษาของสถานศึกษา ฝึกปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ร่วมมือกับผู้ปกครองวิเคราะห์ แก้ปัญ หา
ผู้เรียนรายกรณี
5.4 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติง านวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ได้ฝึกออกแบบและจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนเรียนรู้อย่ามีความสุข ตระหนักถึงสุขภาวะของผู้เรียน
5.5 เพื่อให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ได้ฝึกบันทึกข้อมูล วิเคราะห์ สังเคราะห์
ถอดบทเรียน และสะท้อนคิดเพื่อนาไปประยุกต์ใช้ในการพัฒนาตนเอง ให้เป็นครูที่ดี มีความรอบรู้ ทันสมัย และ
เท่าทันต่อการเปลี่ยนแปลง

กิจกรรมกำรฝึกปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1
การฝึ ก ปฏิ บั ติ วิช าชี พ ระหว่ างเรีย น 1 เป็ น รายวิช าแรกส าหรั บ นั ก ศึ ก ษาชั้ น ปี ที่ 1 ที่ จ ะได้ ร่ว มฝึ ก
ประสบการณ์ วิช าวิช าชี พ ร่ว มกั บ ครูพี่ เลี้ย งในโรงเรีย นโดยเน้ น ให้ นั กศึ ก ษาได้ รับ ประสบการณ์ ต รงจากการ
ปฏิ บั ติ ง านร่ วมกั บ ครู ในบทบาทของการเป็ น นั ก ศึก ษาครู เข้ าไปสั ง เกตและมี ส่ ว นร่ วมในงานหรื อ กิ จ กรรม
ของครูพี่เลี้ยง เวลา 2 สัปดาห์ ซึ่งประสบการณ์ ต่างๆ เหล่านี้จะช่วยให้นักศึกษาเกิดเจตคติที่ดีต่อการเป็นครู
วิชาชีพ โดยมีกิจกรรมตามรายวิชา ดังนี้

ตารางที่ 1 กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1

กิจกรรม กำรปฏิบัติ/ผู้ปฏิบัติ
1. กิจกรรมก่อนออกฝึกปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1 สาขาวิชา
1.1 สาขาเลือกโรงเรียนและอาจารย์พี่เลี้ยงให้กับนักศึกษา
1.2 แต่งตั้งอาจารย์นิเทศก์
1.3 จัดประชุมร่วมระหว่างอาจารย์นิเทศก์ อาจารย์พี่เลี้ยงและนักศึกษาเพื่อ ทาความ
เข้าใจในเป้าหมายของการดูแลนักศึกษาครู 4 ปี ตั้งแต่ ปี 1 – 4
2. ปฐมนิเทศนักศึกษำ
2.1 ชี้แจงแนวทางการจัดกิจกรรมการเรียนรู้ การออกฝึกปฏิบัติในโรงเรียน
ฝ่ายฝึกประสบการณ์
การปฏิบัติตนในสถานศึกษา
วิชาชีพครู
2.2 ชี้แจงบทบาทหน้าที่หรือภาระงาน เป้าหมาย ของการออกฝึกในโรงเรียน
2.3 ทาความเข้าใจคู่มือฯ และการบันทึกข้อมูลลงในคู่มือฯ
3. รับหนังสือส่งตัว ฝ่ายฝึกประสบการณ์
รับหนังสือส่งตัวเพื่อออกฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 เพื่อไปยังโรงเรียนฝึก วิชาชีพครู
ปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน
3

ตารางที่ 1 กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 (ต่อ)

กิจกรรม กำรปฏิบัติ/ผู้ปฏิบัติ
4. ฝึกปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน โรงเรียน
นั ก ศึ ก ษาออกฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ ระหว่ า งเรี ย น 1 ในโรงเรี ย นเป็ น เวลาอย่ างน้ อ ย
2 สัปดาห์ และทากิจกรรมดังนี้
4.1 เมื่อนักศึกษาไปถึงโรงเรียนให้นาหนังสือส่งตัวให้กับผู้บริหารโรงเรียนและพบครู
พี่เลี้ยง
4.2 ปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน และบันทึกข้อมูลตามแบบบันทึกที่กาหนดไว้
สัปดาห์ที่ 1 สัปดาห์ที่ 2 สัปดาห์ที่ 3
●บันทึกข้อมูลเกี่ยวกับ ●บันทึกการนิเทศของผู้บริหาร ●บันทึกการนิเทศของผู้บริหาร -นักศึกษาฝึก
นักศึกษา (1) และครูพี่เลี้ยง (2) และครูพี่เลี้ยง (2) ปฏิบัติงานวิชาชีพ
●บันทึกผลการปฏิบัติงาน ●บันทึกผลการปฏิบัติงาน ●บันทึกผลการปฏิบัติงาน ระหว่างเรียน
ประจาวันให้บันทึกทุกวัน (3) ประจาวัน (ให้บันทึกทุกวัน) (3) ประจาวันให้บันทึกทุกวัน(3)
●บันทึกข้อมูลโรงเรียนฝึก ●บันทึกการมีส่วนร่วมในงาน ●บันทึกการมีส่วนร่วมในงาน -โรงเรียน
ปฏิบัติวิชาชีพครู (โรงเรียน ของครูพี่เลี้ยงและโรงเรียน ของครูพี่เลี้ยงและโรงเรียน
ร่วมผลิต) (4) ร่วมผลิต(7) ร่วมผลิต (7)
●บันทึกการจัดสภาพแวดล้อม ●บันทึกการสังเกตการสอน ●บันทึกการสังเกตการสอน
ของโรงเรียนร่วมผลิต (5) ของครู (อย่างน้อย 2 ครั้ง) (8) ของครู(อย่างน้อย 2 ครัง้ ) (8)
●บันทึกงานในหน้าที่ครู (6) ●บันทึกการสารวจหรือศึกษา ●บันทึกการวิเคราะห์
●บันทึกการมีส่วนร่วมในงาน นักเรียนเป็นรายบุคคล แผนการสอน (9)
ของครูพี่เลี้ยงและโรงเรียน (case study) (10) ●บันทึกผลการพัฒนาและ
ร่วมผลิต (7) ●บันทึกการจัดป้ายนิเทศ (12) แก้ไขพฤติกรรมนักเรียน (11)
●บันทึกการสังเกตการสอน ●บันทึกผลการผลการ ●บันทึกผลการผลการ
ของครู (อย่างน้อย 1 ครั้ง) (8) ออกแบบและจัดกิจกรรมการ ออกแบบและจัดกิจกรรมการ
เรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิด เรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิด
การเรียนรู้อย่างมีความสุข (13) การเรียนรู้อย่างมีความสุข(13)
(สัปดาห์ละอย่างน้อย 1 (สัปดาห์ละอย่างน้อย
กิจกรรม) 1 กิจกรรม)
● บันทึกการศึกษาต้นแบบครู ● บันทึกความรู้สึกของ
ดี (ให้นักศึกษาสัมภาษณ์ นักศึกษาที่มีต่อการฝึก
ครูพี่เลี้ยง) (14) ปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน
1 (15)
หมายเหตุ : การฝึกฯ จะมี 2 ช่วง คือ ช่วงที่ 1 (สัปดาห์ที่ 1) และช่วงที่ 2 (สัปดาห์ที่ 2 และ 3) -นักศึกษาฝึก
1. กำรฝึกฯ ช่วงที่ 1 ดาเนินการดังนี้ ปฏิบัติงานวิชาชีพ
1.1 นักศึกษาปฏิบัติงานฝึกตามที่ได้รับมอบหมาย และบันทึกตามแบบบันทึกที่ 1 3 4 5 6 ระหว่างเรียน
7 และ 8
1.2 เมื่อสิ้นสุดการฝึกฯ ในสัปดาห์ที่ 1 ให้นักศึกษานาแบบบันทึกส่งให้กับ อาจารย์นิเทศ เพื่อ
-อาจารย์นิเทศก์
ตรวจสอบความก้าวหน้า พร้อมทั้งถอดบทเรียนและสะท้อนคิดการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1
1.3 เตรียมตัวฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ช่วงที่ 2 เป็นเวลา 2 สัปดาห์
4

ตารางที่ 1 กิจกรรมการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 (ต่อ)

กิจกรรม กำรปฏิบัติ/ผู้ปฏิบัติ
2. กำรฝึกช่วงที่ 2 ดาเนินการดังนี้
2.1 ฝึกปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 2 พร้อมทั้งบันทึกในแบบบันทึกที่ 2 3 7 8 10 12 13 14
2.2 ฝึกปฏิบัติการในสัปดาห์ที่ 3 พร้อมทั้งบันทึกในแบบบันทึกที่ 2 3 7 8 9 11 13 15
2.3 หลังจากเสร็จสิ้นการฝึกปฏิบัติการฯ ในช่วงที่ 2 แล้ว ดาเนินการดังนี้
2.3.1 นาหนังสือส่งตัวกลับมหาวิทยาลัยส่งมายังฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
2.3.2 น าเอกสารการประเมิ น จากผู้ บ ริ ห ารผู้ บ ริ ห ารสถานศึ ก ษาและอาจารย์ พี่ เลี้ ย ง
ส่งอาจารย์นิเทศก์ (หรืออาจารย์ประจาหมู่เรียน)
2.3.3 ส่งเอกสารการบันทึกกิจกรรมให้อาจารย์นิเทศก์ (หรืออาจารย์ประจาหมู่เรียน)
2.3.4 เข้าชั้นเรียนพบอาจารย์นิเทศก์เพื่อถอดบทเรียนและสะท้อนคิดและ PLC การฝึก
ปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1
5. กำรนิเทศติดตำม อาจารย์นิเทศก์
อาจารย์นิเทศก์แต่ละท่านออกนิเทศติดตามประสานความร่วมมือกับโรงเรียนและ อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
อาจารย์พี่เลี้ยงในการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 รายวิชา
ฝ่ายฝึกประสบการณ์
วิชาชีพครู
6. กิจกรรมหลังฝึกฯ
6.1 ประเมินผลหลังการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 อาจารย์นิเทศก์
- อาจารย์นิเทศก์ตรวจให้คะแนนแบบบันทึก การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่าง อาจารย์ผู้รับผิดชอบ
เรียน 1 รายวิชา
- จั ด กิ จ กรรม สะท้ อ นคิ ด ในประเด็ น การมี จิ ต วิ ญ ญ าณ ความเป็ น ครู
การมีจรรยาบรรณต่อตนเอง บทบาทหน้าที่ครู ชุมชนที่มีต่อการจัดการเรีย นรู้และการ
พัฒนาคุณลักษณะของผู้เรียน
- ถอดบทเรียนการศึกษาเป็นรายกรณี เพื่อการรู้จักผู้เรียน การจัดกิจกรรมที่
ส่งเสริมพัฒนาการของผู้เรียน
- จัดทาแฟ้มสะสมผลงานดีเด่น
6.2 จัดกิจกรรมสัมมนาหลังฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ฝ่ายฝึกประสบการณ์
- จัดกิจกรรมสัมมนาหลังฝึกเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ระหว่างกลุ่ม วิชาชีพครู
5

แนวทำงกำรประเมินผลกำรฝึกปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1
รายวิชาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 กาหนดแนวทางการวัดประเมินจากการปฏิบัติเป็น
ส่วนใหญ่ และมีผู้มีส่วนที่เกี่ยวข้องจานวนมาก ดังนั้นจึงกาหนดสัดส่วนของการให้คะแนนจากผู้มีส่วนเกี่ยวข้อง
ดังนี้
ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ร้อยละ 20
ผู้บริหารโรงเรียน ร้อยละ 10
ครูพี่เลี้ยง ร้อยละ 30
อาจารย์นิเทศก์ ร้อยละ 40
โดยมีกิจกรรม แนวทางการวัดประเมิน สัดส่วนคะแนน และผู้ปฏิบัติ ดังตารางที่ 2

ตารางที่ 2 กิจกรรมการปฏิบัติ แนวทางการวัดประเมิน สัดส่วนคะแนน และผู้ปฏิบัติ ในการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ


ระหว่างเรียน 1

ผู้รับผิดชอบ กิจกรรมการปฏิบัติ แนวทางการวัดประเมิน สัดส่วนคะแนน ผู้ปฏิบัติ


ฝ่ายฝึก 1) การประชุมชี้แจง 1) การตรงต่อเวลา 20 ฝ่ายฝึก
ประสบการณ์ 2) การปฐมนิเทศ 2) การเข้าร่วมกิจกรรมสัมมนา ประสบการณ์
วิชาชีพครู 3) การสัมมนาหลังฝึกฯ 3) การแต่งกาย วิชาชีพครู
บุคลากรใน การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ ป ร ะ เมิ น ม า ต ร ฐ า น ก า ร 10 ผู้บริหาร
โรงเรียนร่วม ตามภาระงานที่ได้รับ ปฏิ บั ติ ง านและมาตรฐานการ สถานศึกษา
ผลิต มอบหมาย และการ ปฏิบัติตน
1) ประเมินมาตรฐานการ 10 ครูพี่เลี้ยง
บันทึกในแบบบันทึก ปฏิบัติงานและมาตรฐานการ
ที่กาหนดไว้ ปฏิบัติตน
2) ประเมินการปฏิบัติงานตาม 20 ครูพี่เลี้ยง
ขอบข่ายรายวิชาของนักศึกษา
ปฏิบัติงานวิชาชีพครู 1
อาจารย์ ตรวจรูปเล่มรายงาน ประเมินงานในแต่ละส่วน 20 อาจารย์นิเทศก์
นิเทศก์ ตามแบบประเมินและค่า ประจาสาขาที่
คะแนนที่กาหนด ได้รับการแต่งตั้ง
แลกเปลี่ยนเรียนรู้ 1) เข้าชั้นเรียนเพื่อพบนักศึกษา 20 อาจารย์นิเทศก์
กรณีศึกษา หลังออกฝึกทั้ง 2 ช่วงเพื่อถอด ประจาสาขาที่
แฟ้มสะสมผลงาน บทเรียนและสะท้อนคิดและ ได้รับการแต่งตั้ง
PLC การฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
นิเทศติดตาม ระหว่างเรียน 1 ของนักศึกษา
และจัดทาแฟ้มสะสมผลงาน
2) เตรียมความพร้อมนักศึกษา
เพื่อเข้าร่วมกิจกรรมแลกเปลี่ยน
เรียนรู้ในการสัมมนาหลังฝึก
6

ทั้งนี้ผู้มีส่วนเกี่ยวข้องจะดาเนินการวัดประเมินจากกิจกรรม และ/หรือแบบบันทึกที่กาหนดไว้ให้ จาก


ตารางที่ 2 พร้อมทั้งให้ระดับคะแนนตามเกณฑ์การให้คะแนน (Scoring Rubric) ที่ระบุไว้ แล้วนาคะแนนจาก
ส่วนต่างๆ เหล่านั้นมารวมกัน
ระดับคะแนน ระดับผลการเรียน
86 - 100 A
80 - 85 B+
75 - 79 B
70 - 74 C+
65 - 69 C
60 - 64 D+
55 - 59 D
0 - 54 E

บทบำทของบุคลำกรที่เกี่ยวข้องกับกำรฝึกปฏิบัติงำนวิชำชีพ
ผู้ ที่ มี ส่ ว นเกี่ ย วข้ อ งกั บ การฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ ระหว่ า งระหว่ า งเรี ย น 1 ซึ่ ง นอกเหนื อ จากฝ่ า ยฝึ ก
ประสบการณ์วิชาชีพครู แล้ว ประกอบด้วย ผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์ และนักศึกษา ซึ่งมี
บทบาทดังต่อไปนี้
1. ผู้บริหำรสถำนศึกษำ
ผู้บริหารสถานศึกษา หมายถึง หัวหน้าสถานศึกษาที่เป็นหน่วยฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู หรือ
ผู้ที่ได้รับมอบหมายที่เกี่ยวข้องกับการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ แต่ทั้งนี้ครูพี่เลี้ยงนักศึกษาจะต้องเป็นบุคคลเดิมที่มี
การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ ตั้งแต่ปี 1 - 4 โดยผู้บริหารสถานศึกษามีบทบาทสาคัญ ดังนี้
1.1 แต่งตั้งครูพี่เลี้ยงสาหรับนักศึกษาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ เพื่อให้คาแนะนาและดูแลนักศึกษาฝึก
ประสบการณ์ ตั้งแต่ปี 1- 4 ตลอดจนเสนอแนะข้อมูลในด้านต่างๆ ของโรงเรียนแก่นักศึกษา
1.2 อานวยความสะดวกให้แก่นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ ในการศึกษางานครูและโรงเรียน
1.3 แนะนาสถานที่และสภาพทั่วไปของโรงเรียนและชุมชน
1.4 แนะนาให้รู้จักบุคลากรของโรงเรียน
1.5 แนะนาเกี่ยวกับสิ่งอานวยความสะดวกหรือบริการต่างๆ ของโรงเรียนและสถานที่ทางานของ
นักศึกษา
1.6 ชี้แจงเกี่ยวกับระเบียบ ข้อบังคับ ข้อตกลงหรือกติกาของโรงเรียนที่จะต้องยึดถือเป็นแนวทาง
ปฏิบัติระหว่างที่ปฏิบัติงานในโรงเรียน
1.7 ร่วมประชุมสัมมนา ปรึกษาหารือกับครูพี่เลี้ยง และอาจารย์นิเทศก์ มหาวิทยาลัยราชภั ฏ
สุรินทร์ เพื่อหาแนวทาง ปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆ ที่อาจเกิดขึ้นระหว่างการปฏิบัติของนักศึกษาในโรงเรียนและ
ครูของนักศึกษาฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
1.8 กากับดูแลการปฏิบัติตน ปฏิบัติงานของนักศึกษาตลอดจนการให้คาแนะนาในสิ่งที่ควรปฏิบัติ
ว่ากล่าวตักเตือนหากเกิดเหตุอันไม่พึงประสงค์ หรือนักศึกษามีพ ฤติกรรมอันส่อไปในทางที่เสียหายทั้ง ต่อตัว
นักศึกษาเอง และต่อโรงเรียน
1.9 นิเทศ ติดตาม และประเมินผลคุณลักษณะและการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูของ
นักศึกษาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครู
7

1.10 ประสานงานอย่างใกล้ชิดในการร่วมเป็นหน่วยร่วมผลิตครูกับทางมหาวิทยาลัยอันจะส่งผล
ต่อคุณภาพบัณฑิต
2. ครูพี่เลี้ยง
ครูพี่เลี้ยง หมายถึง ครูประจาชั้น หรือผู้ที่ได้รับมอบหมายจากผู้บริหารสถานศึกษาให้ทาหน้าที่
เป็ น พี่ เลี้ ย งประจ าตั ว นั ก ศึ ก ษาฝึ ก ปฏิ บั ติ ง านวิ ช าชี พ เป็ น ผู้ ที่ จ ะคอยช่ ว ยเหลื อ ให้ ค วามรู้ ค าปรึก ษาหารื อ
คาแนะนาแก่นักศึกษาครูในเรื่องงาน ในหน้าที่ครูผู้สอน งานธุรการในชั้นเรียน งานสนับสนุนการสอน การพัฒนา
หลักสูตรสถานศึกษา การพัฒนาชั้นเรียน การวิเคราะห์ผู้เรียน บทบาทหน้าที่ของครูพี่เลี้ยง ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับ
การฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ตั้งแต่ชั้นปีที่ 1- 4 มีดังต่อไปนี้
2.1 เข้าร่ว มประชุม กับ ทางสาขาวิช าเพื่ อ พบปะนั กศึ กษาฝึ ก ปฏิ บั ติง านวิช าชีพ และอาจารย์
นิเทศก์ เพื่อทาความเข้าใจในเป้าหมายของการปฏิบัติร่วมกัน
2.2 ให้ ค าแนะน านั กศึ ก ษาฝึก ปฏิ บั ติ วิ ชาชี พ ตลอด 4 ปี ที่ นั ก ศึ ก ษาออกฝึก ปฏิ บั ติ วิ ชาชีพ ใน
โรงเรียน
2.3 ให้ ค าแนะน าและบอกแหล่ ง ข้ อ มู ล ต่ า งๆ ของนั ก เรี ย นและโรงเรี ย นแก่ นั ก ศึ ก ษาฝึ ก
ประสบการณ์วิชาชีพครู
2.4 ให้คาแนะนานักศึกษาฝึกปฏิบัติวิชาชีพ เกี่ยวกับสภาพปัญหาของนักเรียน และแนวทางการ
วิเคราะห์ผู้เรียน
2.5 ให้คาแนะนาและส่งเสริมให้นักศึกษาฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ได้เรียนรู้และฝึกปฏิบัติงานธุรการ
ในชั้นเรียน งานในหน้าที่ครูผู้สอน งานสนับสนุนการสอน งานพัฒนาหลักสูตรสถานศึกษาและงานพัฒนาชั้นเรียน
2.6 ปรึกษาหารือและประสานงานกับอาจารย์นิเทศก์/ อยู่เสมอโดยเฉพาะในเรื่องการวางแผน
การทางาน ความรับผิดชอบ การประพฤติการปฏิบัติ และการปฏิบัติตนตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูของนักศึกษา
2.7 ร่วมประชุม สัมมนา ปรึกษาหารือกั บผู้บ ริห ารสถานศึกษา อาจารย์นิ เทศก์ มหาวิท ยาลั ย
ราชภัฏสุรินทร์ เพื่อหาแนวทางปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆ ในการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
2.8 นิเทศ ติดตาม และประเมินผลด้านคุณลักษณะและการปฏิบัติตนเป็นครูวิชาชีพของนักศึกษา
ฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
3. อำจำรย์นิเทศก์
อาจารย์นิเทศก์ หมายถึง อาจารย์มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ที่ได้รับมอบหมายให้ทาหน้าที่นิเทศ
และให้ความรู้กับนักศึกษาครูในความรับผิดชอบ บทบาทหน้าที่ของอาจารย์นิเทศก์ในส่วนที่เกี่ยวข้องกับการฝึก
ปฏิบัติงานวิชาชีพในสถานศึกษา มีดังต่อไปนี้
3.1 ศึก ษาท าความเข้าใจงานฝึก ปฏิ บัติ ง านวิช าชี พ และคุรุนิพ นธ์ เพื่ อให้ การปฏิ บั ติง านด้ าน
การนิเทศแก่นักศึกษาฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ได้อย่างมีประสิทธิภาพ
3.2 ให้ ความรู้ คาแนะนา แนวทางในการฝึกปฏิบัติวิชาชีพแก่นักศึกษาในแต่ละรายวิชา ทั้งใน
ประเด็นของการจัดการเรียนรู้ การปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน
3.3 ให้คาแนะนาและดูแลการปฏิบัติตามตามจรรยาบรรณวิชาชีพครูของนักศึกษาตั้งแต่ปีที่ 1 –
4 ที่ออกฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ในสถานศึกษา โดยทางานและประสานกับครูพี่เลี้ยงอย่างใกล้ชัดในด้านต่างๆ ได้แก่
จรรยาบรรณต่อตนเอง จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบ
วิชาชีพ จรรยาบรรณต่อสังคม
3.3 ร่วมประชุมสัมมนา ปรึกษาหารือ กับผู้บริหารสถานศึกษาและครูพี่เลี้ยง เพื่อ ทาความเข้าใจ
ในบทบาทหน้าที่ของกันและกัน ปรับปรุงแก้ไขปัญหาต่างๆในการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
3.4 นิเทศ ติดตาม การปฏิบัติตน การปฏิบัติงานในหน้าที่ครู ของนักศึกษาฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
8

3.5 เข้าร่ว มจั ดกิ จกรรมถอดบทเรีย น สะท้ อนคิ ดในการออกฝึก ปฏิ บัติ วิช าชีพ แต่ล ะรายวิช า
ของนักศึกษาในสาขาวิชา
3.6 พิจารณาให้ความเห็นชอบผลการประเมินการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ ในทุกรายวิชา
4. นักศึกษำ
นักศึกษา หมายถึง นักศึกษาหลักสูตรครุศาสตร์บัณฑิต (ค.บ.4 ปี) มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
ที่ลงทะเบียนเรียนในรายวิชาฝึกปฏิบัตงิ านวิชาชีพระหว่างเรียน ซึ่งมีบทบาทหน้าที่ดังต่อไปนี้
4.1 ศึกษารายละเอียด คู่มือการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียนในแต่ละรายวิชาอย่างละเอียด
4.2 เข้ า ร่ ว มกิ จ กรรม การสั ม มนาทั้ ง ก่ อ น ระหว่ า ง และหลั ง ฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ จากฝ่ า ยฝึ ก
ประสบการณ์วิชาชีพครู ทุกครั้ง
4.3 เข้าร่วมกิจกรรมกับอาจารย์นิเทศก์สาขาทุกครั้งที่ได้มีการนัดหมาย
4.4 ฟังคาแนะนาของอาจารย์พี่เลี้ยง ผู้บริหารสถานศึกษา และปฏิบัติงานในโรงเรียนอย่างทุ่มเท
เสียสละ และพร้อมที่จะเป็นผู้เรียนรู้งานตลอดเวลา
4.5 ปฏิบั ติตนตามระเบี ยบ และแนวปฏิบัติ ของมหาวิทยาลัยราชภั ฏสุรินทร์ และโรงเรียนฝึ ก
ปฏิบัติงานวิชาชีพ

ควำมประพฤติและกำรปฏิบัติตนของนักศึกษำฝึกปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1
การปฏิบัติตนของนักศึกษาฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 เป็นสิ่งที่นักศึกษา ควรตระหนักและ
ศึกษาทาความเข้าใจ เพื่อที่จะสามารถปฏิบัติตนได้ถูกต้อง เหมาะสม ไม่เกิดปัญหาต่างๆ ตามมา ดังนั้นนักศึกษา
จึงควรศึกษาข้อควรปฏิบัติตนเหล่านี้ให้เข้าใจ และยังเป็นการฝึกประสบการณ์ เพื่อเตรียมความพร้อมก่อนการฝึก
ประสบการณ์วิชาชีพครูในขั้นต่อไป นักศึกษาต้องประพฤติและปฏิบัติในเรื่องต่างๆ ดังนี้
1. วางตนให้เหมาะสมกับกาลเทศะและบุคคล มีความสุภาพอ่อนน้อม มีสัมมาคารวะกับผู้บริหาร
สถานศึกษา อาจารย์หรือบุคคลในหน่วยงานทุกคน ให้ความเคารพ และมี มนุษย์สัมพันธ์ที่ดีกับครูอาจารย์ และ
บุคลากรในโรงเรียนฝึกประสบการณ์วิชาชีพครูตามความเหมาะสม
2. แต่งกายตามระเบียบของมหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์
3. ปฏิบัติตามนโยบายของโรงเรียนฝึก ปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ระเบียบทางราชการเสมือน
เป็นครู หรือเป็นสมาชิกคนหนึ่งของโรงเรียนและรักษาระเบียบวินัยของโรงเรียนแห่งนั้น
4. มีความสนใจ กระตือรือร้นต่องานในหน้าที่ พยายามปรับปรุงงานอยู่เสมอ โดยพิจารณาด้วยตนเอง
หรือปรึกษาครูพี่เลี้ยงแล้วปฏิบัติตามคาแนะนา
5. เต็มใจและให้ความร่วมมือ ในการทากิจกรรมอื่น ๆ ของโรงเรียนฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน
1 นอกเหนือจากงานในหน้าที่รับผิดชอบตามความเหมาะสม
6. พึงเว้นการวิจารณ์โรงเรียนฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ หรือบุคคลที่ตนเกี่ยวข้องกับการปฏิบัติงานในทาง
เสื่อมเสีย
7. ไม่ประพฤติตนให้เสื่อมเสียชื่อเสียง เช่น เสพเครื่องดองของเมา เล่นการพนัน ประพฤติตนในทางชู้
สาว เที่ยวเตร่ไปในสถานที่และในเวลาที่ไม่เหมาะสม
8. สามัคคี กลมเกลียว ไม่ทะเลาะวิวาทกัน
9. ใช้เวลาว่างให้คุ้มค่า เป็นประโยชน์ต่อการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู ศึกษาหาความรู้เพิ่มเติมอยู่
เสมอ
9

10. ปฏิบัติตามคาตักเตือนและคาแนะนาของผู้บริหารสถานศึก ษา ครูพี่เลี้ยง อาจารย์นิเทศก์ และ


ตามคาชี้แจงการปฏิบัติงานในเอกสารคู่มือการฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
11. บันทึกกิจกรรมต่าง ๆ ตามแบบบันทึกที่กาหนด
12. เข้าร่วมกิจกรรมกับทั้งทางสาขาวิชา และจากฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพ ทั้งนี้ในการประเมินผล
การเรียนนั กศึกษาจะขาดคะแนนส่วนใดส่วนหนึ่ งไปไม่ ไ ด้ หากขาดแล้วนักศึกษาจะไม่ได้รับการประเมินผล
การเรียน
10

ส่วนที่ 2
แบบบันทึกและการรายงานผลการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1
11

แบบบันทึกและกำรรำยงำนผลกำรกำรฝึกปฏิบตั ิงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1
(Practicum in Profession of Teaching 1: SIL1)

รูปภาพนักศึกษา

ชื่อ-นำมสกุล
รหัสนักศึกษำ
หลักสูตร
โปรแกรมวิชำ คณะ

รำยงำนนี้เป็นส่วนหนึ่งของกำรศึกษำรำยวิชำ กำรฝึกปฏิบัติวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1 (SIL 1)


(Practicum in Profession of Teaching 1)
ภำคเรียนที่ ปีกำรศึกษำ
คณะครุศำสตร์ มหำวิทยำลัยรำชภัฏสุรินทร์
12

1. ข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษำ

ชื่อนักศึกษา นามสกุล
รหัสประจาตัวนักศึกษา หมายเลขโทรศัพท์
หลักสูตร โปรแกรมวิชา
คณะ
ที่อยู่ปัจจุบัน บ้านเลขที่ ชื่อหอพัก
เลขที่ หมู่ที่ ถนน แขวง/ตาบล
อาเภอ จังหวัด รหัสไปรษณีย์
บุคคลใกล้ชิดที่สามารถติดต่อประสานงาน
ชื่อ นามสกุล
ตาแหน่ง หน่วยงาน
ที่อยู่
หมายเลขโทรศัพท์ E-mail
ชื่อโรงเรียนร่วมผลิต..............................
สังกัด
ระยะเวลาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 (Practicum in Profession of Teaching 1)
ระหว่างวันที่ เดือน พ.ศ. ถึงวันที่ เดือน พ.ศ.
ชื่อผู้บริหารสถานศึกษา หมายเลขโทรศัพท์
ชื่อครูพี่เลี้ยง หมายเลขโทรศัพท์
ชื่ออาจารย์นิเทศก์ / อาจารย์ผู้สอน หมายเลขโทรศัพท์
ชื่ออาจารย์ที่ปรึกษา หมายเลขโทรศัพท์

ให้นักศึกษานารายงานผลการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 1 (SIL 1) (Practicum in Profession


of Teaching 1)เล่มนี้ ส่งอาจารย์นิเทศก์ / อาจารย์ผู้สอนประจาวิชา เมื่อสิ้นสุดระยะเวลา การปฏิบัติวิชาชีพ
ตามกาหนด
13

2. แบบบันทึกกำรนิเทศของผู้บริหำรสถำนศึกษำ ครูพี่เลี้ยง หรืออำจำรย์นิเทศก์

ครั้งที่ ลำยมือชื่อของผู้นิเทศก์
วัน เดือน ปี
บันทึกกำรนิเทศ
/ ตำแหน่ง

** เขียนด้วยลายมือ
14

3. แบบบันทึกผลกำรปฏิบัตงิ ำนประจำวัน
คำชี้แจง
1. นั ก ศึ ก ษาจะต้อ งบั น ทึ ก การปฏิ บั ติ ง านในโรงเรี ยนแต่ ล ะวั น ลงในตารางบั น ทึ ก การปฏิ บั ติ ง าน
ประจาวัน
2. การบันทึกการปฏิบัติงาน เช่น การรับนักเรียน การจัดกิจกรรมก่อนเข้าชั้น การปฏิบัติงานในหน้าที่
ครูประจาชั้นเรียน การควบคุมชั้นเรียนและอื่นๆ
3. หลังจากการบันทึกการปฏิบัติง านประจาวัน ต้องให้ผู้บริหารสถานศึกษา หรือครูพี่เลี้ยง ลงนาม
รับรองการปฏิบัติงานทุกครั้ง

(ตัวอย่ำง)

วัน/เดือน/ปี กิจกรรมทีป่ ฏิบัติ ลงนำมรับรอง


12 มิ.ย. 54 ภาคเช้า
1. รับนักเรียนที่หน้าประตูเวลา 07.15-07.50 น.
2. ตรวจแถว และความสะอาดของเครื่องแต่งกายนักเรียน ม.1
3. อบรมนักเรียนหน้าเสาธงเรื่องความสะอาดเครื่องแต่งกาย
กิจกรรมช่วงเวลาการเรียน
1. สังเกตการสอนวิชาวิทยาศาสตร์ เรื่องพืช ชั้น ม.1 สอนโดย...........เวลา 8.30
– 9.30 น.
2. บันทึกข้อมูลนักเรียนที่ห้องทะเบียน เวลา 10.00-12.00 น.
3. ศึกษาข้อมูล เตรียมวัสดุอุปกรณ์ และออกแบบการจัดป้ายนิเทศตั้งแต่เวลา
13.00 – 14.00 น.
4. ตรวจแบบฝึกหัดวิทยาศาสตร์เรื่อง เซลล์ ชั้น ม.1
หลังเลิกเรียน
1. ดูแลและส่งนักเรียน
2. ประชุมกลุ่มย่อยนักศึกษาฝึกประสบการณ์ เรื่องโครงการการจัดกิจกรรม ลายมือชื่อ
พัฒนา ผู้บริหาร/
ครูพี่เลี้ยง

** เขียนด้วยลายมือ
15

วัน/เดือน/ปี กิจกรรมที่ปฏิบัติ ลงนำมรับรอง

** เขียนด้วยลายมือ
16

4. แบบบันทึกข้อมูลโรงเรียนฝึกปฏิบตั วิ ิชำชีพระหว่ำงเรียน 1
1. ข้อมูลทั่วไปเกี่ยวกับโรงเรียน
ชื่อโรงเรียน สานักงานเขตพื้นที่การศึกษา เขต
กระทรวง ที่ตั้ง (ถนน/ซอย)
แขวง/ตาบล เขต/อาเภอ จังหวัด
รหัสไปรษณีย์ โทรศัพท์/โทรสาร
คติพจน์/ปรัชญาของโรงเรียน

2. ข้อมูลฝ่ำยบริหำรของโรงเรียน
ชื่อ - สกุล ผู้บริหารโรงเรียน ตาแหน่ง
รองผู้อานวยการฝ่าย ชื่อ - สกุล
รองผู้อานวยการฝ่าย ชื่อ - สกุล
รองผู้อานวยการฝ่าย ชื่อ - สกุล
รองผู้อานวยการฝ่าย ชื่อ - สกุล
หัวหน้ากลุ่มสาระ ชื่อ - สกุล
หัวหน้ากลุ่มสาระ ชื่อ - สกุล
หัวหน้ากลุ่มสาระ ชื่อ - สกุล
หัวหน้ากลุ่มสาระ ชื่อ - สกุล
หัวหน้ากลุ่มสาระ ชื่อ - สกุล
หัวหน้ากลุ่มสาระ ชื่อ - สกุล
หัวหน้ากลุ่มสาระ ชื่อ - สกุล
หัวหน้ากลุ่มสาระ ชื่อ - สกุล
3. ข้อมูลคณะกรรมกำรสถำนศึกษำขั้นพื้นฐำนของโรงเรียน
1) ตาแหน่ง
2) ตาแหน่ง
3) ตาแหน่ง
4) ตาแหน่ง
5) ตาแหน่ง
6) ตาแหน่ง
7) ตาแหน่ง
8) ตาแหน่ง
9) ตาแหน่ง
10) ตาแหน่ง
12) ตาแหน่ง
13) ตาแหน่ง
14) ตาแหน่ง
15) ตาแหน่ง
17

แผนภูมิกำรบริหำรงำนโรงเรียนร่วมผลิต

แผนผังบริเวณโรงเรียน
แผนที่โรงเรียน
ทิศเหนือ

4. ข้อมูลอำคำรเรียนและอำคำรประกอบ ประกอบด้วย
4.1 จานวนห้องเรียน ห้อง
จานวนห้องพักครู ห้อง
จานวนห้องปฏิบัติการทางภาษา ห้อง
จานวนห้องปฏิบัติการคอมพิวเตอร์ ห้อง
18

จานวนห้องปฏิบัติการทางวิทยาศาสตร์ ห้อง
จานวนห้อง (อื่นๆ) ห้อง
4.2 พื้นที่บริเวณโรงเรียน
จานวนพื้นที่บริเวณโรงเรียน ทั้งหมด ไร่ งาน ตารางวา
จานวนพื้นที่สนาม ไร่ งาน ตารางวา
จานวนพื้นที่ทางการเกษตร ไร่ งาน ตารางวา
สนามกีฬา (ประเภทของสนามกีฬา)

5. ข้อมูลบุคลำกรของโรงเรียน
จานวนบุคลากร ครูทั้งหมด คนชาย คน หญิง คน
จานวนบุคลากรครู จาแนกตามวุฒิ ปริญญาเอก คน
ปริญญาโท คน
ปริญญาตรี คน
ต่ากว่าปริญญาตรี คน
จานวนบุคลากรครู จาแนกตามตาแหน่ง คศ. 4 คน
คศ. 3 คน
คศ. 2 คน
คศ. 1 คน
ครูผู้ช่วย คน
พนักงานราชการ คน
อัตราจ้าง คน
จานวนนักการภารโรงและบุคลากรอื่น คน ชาย คน หญิง คน

6. กำรจัดกำรศึกษำของโรงเรียน
โรงเรียนจัดการศึกษา จานวน ระดับชั้น จานวนนักเรียนทั้งหมด คน
จาแนกตามระดับชั้นได้ดังนี้

ระดับชัน้ จำนวนห้อง ชำย (คน) หญิง (คน) หมำยเหตุ


อนุบาล 1
อนุบาล 2
อนุบาล 3
รวมระดับชั้นอนุบาล
ประถมศึกษาปีที่ 1
ประถมศึกษาปีที่ 2
ประถมศึกษาปีที่ 3
ประถมศึกษาปีที่ 4
19

ระดับชั้น จำนวนห้อง ชำย (คน) หญิง (คน) หมำยเหตุ


ประถมศึกษาปีที่ 5
ประถมศึกษาปีที่ 6
รวมระดับชั้นประถมศึกษา
มัธยมศึกษาปีที่ 1
มัธยมศึกษาปีที่ 2
มัธยมศึกษาปีที่ 3
มัธยมศึกษาปีที่ 4
มัธยมศึกษาปีที่ 5
มัธยมศึกษาปีที่ 6
รวมระดับมัธยมศึกษา
รวมทั้งหมด

7. ข้อมูลกำรขำดแคลนครู จำนวน อัตรำ


ครูกลุ่มสาระที่ขาดแคลน 1.
2.
8. พื้นที่เขตบริกำรของโรงเรียน
8.1 จานวนหมูบ้าน.........หมู่บ้าน ได้แก่บ้าน.....................................................................................
จานวนครัวเรือน………………
8.2 ลักษณะของชุมชน (อาชีพ/ประชากรในช่วงวัยต่าง ๆ/การอยู่อาศัย/ลักษณะเด่น/
ความสัมพันธ์ของคนในชุมชน/เศรษฐกิจ/สังคม) เขียนบรรยาย
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
8.3 ความสัมพันธ์ระหว่างโรงเรียนกับชุมชนหรือองค์กรในชุมชน
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
9. ประวัติควำมเป็นมำของโรงเรียน (โดยสังเขป)
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
10. ควำมสำเร็จและเกียรติคุณที่โรงเรียนได้รับ
...............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
...............................................................................................................................................................................
**ข้อมูลโรงเรียนฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู (โรงเรียนร่วมผลิต) สามารถพิมพ์ได้
20

5. แบบบันทึกกำรจัดสภำพแวดล้อมของโรงเรียนฝึกปฏิบตั ิงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1
1. กำรจัดสภำพแวดล้อมในโรงเรียน
โรงเรี ย นมี ก ารจั ด สภาพแวดล้ อ มที่ เ อื้ อ ต่ อ การเรี ย นรู้ อ ะไรบ้ า ง และจั ด อย่ า งไร (อาจ ใช้
ภาพประกอบ และบรรยายใต้ภ าพว่าแหล่ง เรีย นรู้อ ะไร และใช้ อย่างไร และส่ งผลต่ อการเรียนรู้ของผู้เรีย น
อย่างไร)
1.1 ....................
ภาพถ่าย

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

1.2……………………
1.3……………………

2. การจัดสภาพแวดล้อมในชั้นเรียน (ป้ายนิเทศ/การจัดโต๊ะ เรียน/การจัดสิ่ง อานวยความสะดวก


ภายในห้องเรียน) นักศึกษาอาจใช้ภาพถ่ายแล้วบรรยายใต้ภาพ

ภาพถ่ายหรือภาพวาด

.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
**แบบบันทึกการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนร่วมผลิต สามารถพิมพ์ได้
21

6. แบบบันทึกงำนในหน้ำที่ครู
คำชี้แจง ให้นักศึกษาบันทึกงานในหน้าที่ครูโดยระบุเป็นข้อ ๆ ว่าครูมีหน้าที่หรืองานอะไรบ้างที่ต้องทาและ
ลักษณะของงานที่รายละเอียดอย่างไร

1. งำน....................................................................................................................................................
รายละเอียดขั้นตอนและเป้าหมายของงานที่ทานั้น
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
2. งำน....................................................................................................................................................
รายละเอียดขั้นตอนและเป้าหมายของงานที่ทานั้น
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
3. งำน..........................................................
4. งำน..........................................................

**แบบบันทึกงานในหน้าที่ครู (รอบรู้งานครู) สามารถพิมพ์ได้


22

7. แบบบันทึกกำรมีส่วนร่วมในงำนของครูพี่เลี้ยงและโรงเรียนฝึกปฏิบัตงิ ำนวิชำชีพ
ระหว่ำงเรียน 1
ให้นักศึกษาบันทึกการมีส่วนร่วมกับงานหรือกิจกรรมที่ได้รับมอบหมายจากครูพี่เลี้ยงหรือทางโรงเรียน
(ใช้ภาพถ่ายประกอบการอธิบาย)
สิ่งที่ได้
วัน/เดือน/ปี ลักษณะกิจกรรม (ประโยชน์ของกิจกรรมทัง้ ต่อตนเอง/โรงเรียน/
นักเรียน/ชุมชน)
……………. …………………………………………………………………
...........................................................................
...........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................

……………. ...........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
..........................................................................
……………. …………………………………………………………………
...........................................................................
...........................................................................

**เขียนด้วยลายมือ
23

8. แบบบันทึกกำรสังเกตกำรสอนของครู
นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งเข้ าสั ง เกตการณ์ ส อนของครู อ ย่ า งน้ อ ยสั ป ดาห์ ล ะ 2 ครั้ ง แล้ ว บั น ทึ ก การสั ง เกต
ในประเด็นดังต่อไปนี้
เข้าสังเกตวันที่ ..............................เวลา....................................รายวิชา........................................
เรื่อง......................................................................ชั้น...........................เวลา.....................ชั่วโมง

รำยกำรสังเกต กิจกรรมกำรสอนของครู
กำรวำงแผนกำรสอน
●ครูผู้สอนได้วางแผนการจัดผู้เรียนในชั้นเรียน ...................................................................................................
สาหรับการเรียนในครั้งนี้อย่างไร ...................................................................................................
●กิจกรรมอะไรที่ครูใช้ที่ทาให้นักเรียนสนใจ ...................................................................................................
การเรียนในครั้งนี้ ...................................................................................................
●นักเรียนทราบจุดประสงค์ของการเรียนใน ...................................................................................................
ครั้งนี้หรือไม่ และเป้าหมายของการเรียนใน ...................................................................................................
วันนี้คืออะไร (อะไรคือวิธีการ) ...................................................................................................
วิธีกำรจัดกำรเรียนกำรสอน
●ครูใช้วิธีการอย่างไรในการเริ่มบทเรียนก่อน ...................................................................................................
ที่จะเข้าสู่การสอนในเรื่องนั้น ๆ ...................................................................................................
●อะไรคือวิธีการที่ครูใช้ในการเรียนการสอน ...................................................................................................
อะไรที่เป็นวัสดุ แหล่งเรียนรู้ ที่ครูใช้ในครั้งนี้ ...................................................................................................
●อะไรที่เป็นกิจกรรมหลักที่เรียกความสนใจ ...................................................................................................
ของเด็ก ...................................................................................................
●ครูมีวิธีการส่งเสริมให้เด็กได้มีส่วนร่วมใน ...................................................................................................
กิจกรรมอย่างไร ...................................................................................................
●ครูมีวิธีการสรุปบทเรียนอย่างไร ...................................................................................................
...................................................................................................

เทคนิคกำรใช้คำถำมของครู
●ความถีแ่ ละลักษณะคาถามที่ครูใช้ในการถาม ...................................................................................................
นักเรียน ...................................................................................................
●ลักษณะคาถามอย่างไรที่ทาให้เด็กตอบและ ...................................................................................................
ครูมีวิธีการให้ข้อเสนอแนะอย่างไรเมื่อเด็กตอบ ...................................................................................................
คาถาม ...................................................................................................
●ครูมีวิธีการอย่างไรหากเด็กไม่ตอบคาถาม ...................................................................................................
●ครูมีวิธีการตรวจสอบอย่างไรว่าเด็กเกิดการ ...................................................................................................
เรียนรู้แล้วจากการใช้คาถาม ...................................................................................................
24

รำยกำรสังเกต กิจกรรมกำรสอนของครู
กำรจัดกำรองค์ควำมรู้ของครู
●ครูมีวิธีกาหนดองค์ความรู้ที่จาเป็นสาหรับ ...................................................................................................
ผู้เรียนในครั้งนั้นอย่างไร จากไหน ...................................................................................................
●ครูมีวิธีการทาให้ผู้เรียนเข้าใจในองค์ความรู้ ...................................................................................................
นั้นได้อย่างไร ...................................................................................................
●ครูมีวิธีการอย่างไรที่ระบุได้ว่านักเรียนคนไหน ...................................................................................................
ไม่เข้าใจเรื่องอะไรในบทเรียน ...................................................................................................
●บทเรียนของครูมีลักษณะการวางแผนอย่างไร ...................................................................................................
(ขั้นตอน) จึงส่งผลให้การสอนในครั้งนั้นบรรลุ ...................................................................................................
ตามวัตถุประสงค์ ...................................................................................................
กำรวำงแผนกำรสอนของครู
●อภิปรายและสอบถามครูว่ามีการวางแผน ...................................................................................................
การสอนอย่างไร ...................................................................................................
●อะไรที่มีความหมายและสาคัญที่สุดสาหรับ ...................................................................................................
การวางแผนในการสอนในทัศนะของนักศึกษา ...................................................................................................
...................................................................................................
กำรมีส่วนร่วม
●ในคาบเรียนนี้นักศึกษามีส่วนร่วมใน ...................................................................................................
ความสาเร็จของการสอนในครั้งนี้อย่างไร ...................................................................................................
●นักศึกษาคิดว่าการสอนของครูในครั้งนี้สาเร็จ ...................................................................................................
หรือไม่อย่างไร ...................................................................................................
●หากนักศึกษาจะปรับเปลี่ยนบทเรียนนี้จะ ...................................................................................................
ปรับอย่างไรตรงส่วนใด ...................................................................................................
**เขียนด้วยลายมือ
25

9. แบบบันทึกกำรวิเครำะห์แผนกำรสอน
คำชี้แจง ให้นักศึกษาวิเคราะห์แผนการสอนของอาจารย์พี่เลี้ยงจานวน 1 แผนและนาเสนอในประเด็นต่อไปนี้
1. ก่อนมาเป็น แผนการสอนคุณครูมีวิธีการท าอย่างไร (เขียนอธิบ ายเป็นข้อ ๆ หรืออาจเขียนเป็ น
แผนภูมิ)
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
2. องค์ ป ระกกอบของแผนการสอนมี อ ะไรบ้ าง แต่ ล ะส่ ว นเขี ย นอธิ บ ายอะไร และแต่ ล ะส่ ว นมี
ความสัมพันธ์กันอย่างไร

ส่วนต่ำงๆ องค์ประกอบ ลักษณะกำรเขียน ควำมสัมพันธ์กับ


ของแผน องค์ประกอบอื่นๆ
หัวแผน 1…………………………. ……………………………………………………….... ………………………………
……………………………………………………… ………………………………
2…………………………. ………………………………………………………… ………………………………
………………………………………………………… ………………………………
……………………………………………………… ………………………………
………………………………………………………… ………………………………

ตัวแผน 1…………………………. ……………………………………………………… ………………………………


………………………………………………………… ………………………………
2…………………………. ………………………………………………………… ………………………………
………………………………………………………… ………………………………
………………………………………………………… ………………………………
……………………………………………………… ………………………………

ภำคผนวก 1…………………………. ……………………………………………………………. ………………………………


……………………………………………………………. ………………………………
2…………………………. ……………………………………………………………. ……………………………
……………………………………………………………. ………………………………
……………………………………………………………. ………………………………
……………………………………………………………. ………………………………

**เขียนด้วยลายมือ
26

10. กำรสำรวจหรือศึกษำนักเรียนเป็นรำยบุคคล (case study)

ควำมจำเป็นที่จะต้องศึกษำข้อมูลนักเรียน
มนุษย์ทุกคนย่อมมีความแตกต่างกัน ไม่ว่าจะเป็นความแตกต่างด้านร่างกาย ความแตกต่างด้านจิตใจ
ความแตกต่างด้านอารมณ์ ความแตกต่างทางสัง คม และความแตกต่างทางสติปัญ ญา ความแตกต่างเหล่านี้
ย่อมส่งผลต่อความคิดและพฤติกรรม ฉะนั้นจาเป็นอย่างยิ่งที่ครูผู้สอนจะต้องเข้าใจธรรมชาติของผู้เรียนแต่ละคน
โดยการรู้จัก เข้าใจ และวิเคราะห์ผู้เรียน เพื่อนาไปสู่การได้มาซึ่งข้อมูลที่จะสามารถใช้ในการดูแล ช่วยเหลือ
แก้ไข ในพฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์ รวมถึงการส่งเสริมและพัฒนาในพฤติกรรมที่พึงประสงค์
สิ่งแรกที่ครูควรจะรู้เกี่ยวกับผู้ เรียนเพื่อนาไปสู่การช่วยเหลือ ส่งเสริมและแก้ไข นั่นก็คือ ครูจะต้องรู้
ข้อมูลเกี่ยวกับผู้เรียนว่าผู้เรียนมีความรู้เดิมอยู่ในระดับใด ผู้เรียนแต่ละคนมีวิธีการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างไร
มีความสนใจ ความถนัด ความพร้อมและทักษะในการเรียนรู้แตกต่างกันอย่างไร บุคลิกภาพลักษณะนิสัย สุขภาพ
และความแข็ งแรงของร่างกาย รวมถึ งภู มิห ลัง ของครอบครัว สิ่ ง ต่างๆ เหล่ านี้ล้ วนส่ง ผลให้ผู้ เรีย นแต่ล ะคน
มีความแตกต่างกัน และนามาซึ่งการแสดงพฤติกรรมที่แตกต่างกัน การแสดงออกด้านพฤติกรรมของแต่ละคน
จะทาให้ครูผู้สอนรู้ว่าผู้เรียนมีความพร้อมมากน้อยเพียงใด ไม่ว่าจะเป็นความพร้อมด้านความรู้ ความสามารถ
และประสบการณ์ ในการเรียนรู้ ความพร้อมด้านสติ ปัญ ญา ความพร้อ มด้านร่างกาย ความพร้อมด้านจิตใจ
และความพร้อมด้านสังคม
1. ข้อมูลหรือสำรสนเทศที่สำคัญของนักเรียน
ข้อมูลหรือสารสนเทศของนักเรียนที่จาเป็นต้องรวบรวม ประกอบด้วย
1.1 ข้อมูลเรื่องส่วนตัวและครอบครัว
1.2 ข้อมูลเรื่องกิจกรรมในโรงเรียน และสัมฤทธิ์ผลทางการเรียน
1.3 ข้อมูลเรื่องสุขภาพและอนามัย
1.4 ข้อมูล เรื่องสติปัญ ญา ความสามารถ ความสนใจ บุค ลิกภาพ ตลอดจนความต้อ งการและ
ปัญหาต่าง ๆ
1.5 ข้อมูลพัฒนาด้านสังคม และสภาพอารมณ์จิตใจ อุปนิสัย
1.6 ข้อมูลเกี่ยวกับการทางาน กิจกรรมและประสบการณ์ต่าง ๆ นอกโรงเรียน
1.7 ข้อมูลเรื่องแผนการชีวิตในอนาคต
2. เทคนิคในกำรรวบรวมข้อมูล
เทคนิคและกลวิธีที่ใช้สารวจและศึกษาข้อเท็จจริงของนักเรียนเป็นรายบุคคล แบ่งเป็น 2 ประเภท
คือ กลวิธีที่ไม่ใช่แบบทดสอบ (Non-testing) และกลวิธีที่ใช้แบบทดสอบ (Testing)
2.1 กลวิธีที่ไม่ใช่แบบทดสอบ (Non-testing)
วิธีการที่ไม่ได้ใช้แบบทดสอบ ประกอบด้วย
2.1.1 การสังเกต
2.1.2 ระเบียนพฤติการณ์
2.1.3 การสัมภาษณ์
2.1.4 สังคมมิติ
2.1.5 ใครเอ่ย
2.1.6 แบบสอบถาม
2.1.7 อัตชีวประวัติ
27

2.1.8 บันทึกประจาวันหรืออนุทินส่วนตัว
2.1.9 การศึกษารายกรณี
2.1.10 ระเบียนสะสม
2.1.11 ผลงานอื่น ๆ ของนักเรียน
2.1.12 การแนะแนวหมู่
2.2 กลวิธีที่ใช้แบบทดสอบ (Testing) ประกอบด้วยแบบทดสอบที่ใช้ทานายคุณลักษณะต่าง ๆ
ดังนี้
2.2.1 แบบทดสอบสติปัญญาหรือความสามารถทางสมอง
2.2.2 แบบทดสอบผลสัมฤทธิ์ทางการเรียน
2.2.3 แบบสารวจความสนใจ
2.2.4 แบบทดสอบบุคลิกภาพ

กำรได้มำซึ่งข้อมูลที่เกี่ยวกับนักเรียน
กำรได้มำซึ่งข้อมูลที่เกี่ยวกับนักเรียน

จากนักเรียน จากผู้ปกครอง จากเพื่อน จากครู


- แบบสอบถาม - สัมภาษณ์ - สังคมมิติ - บันทึกระเบียนพฤติกรรม
- เขียนอัตชีวประวัติ - เยี่ยมบ้าน - ใครเอ่ย - ระเบียนสะสม
- บันทึกประจาวัน - กรอกแบบสอบถาม - แบบสอบถาม - ศึกษารายกรณี
- สัมภาษณ์ - สัมภาษณ์ - สัมภาษณ์
- เติมประโยคให้สมบูรณ์ - แบบสอบถาม
- มาตราส่วนประมาณค่า - มาตราส่วนประมาณค่า
- กิจกรรมกลุ่ม
- ผลงานด้านอื่น ๆ ของโรงเรียน
- ศิลปะ
- ดนตรี
- การแสดง
- กิจกรรมเสริมหลักสูตร
- โครงงานในรายวิชา
- ฯลฯ
28

แบบสัมภำษณ์ข้อมูลนักเรียน

นักเรียนชั้น.....….../……… เลขที่…………….. วันที่เก็บข้อมูล………. เดือน………………..……. พ.ศ.……….……….....


1. นักเรียนชื่อ………………………..….……… นามสกุล………………..…………… ชื่อเล่น……………………………………….
เกิดเมื่อวันที่………….. เดือน…………………….. พ.ศ. ……………
2. บิดา ชื่อ-สกุล…………………………………………อายุ…………ปี อาชีพ………….…………………………………………………..
รายได้เดือนละ…………………………….. บาท
ความรู้สึกที่นักเรียนมีต่อบิดา. ……………………………………………………………………………………………………………….
3. มารดา ชื่อ-สกุล………………………………………….อายุ………… ปี อาชีพ………….……………
รายได้เดือนละ…………………………….. บาท
ความรู้สึกที่นักเรียนมีต่อมารดา.....................................................................................................................
4. นักเรียนมีพ…ี่ …..………..…… คน น้อง………….……..คน นักเรียนเป็นบุตรคนที่…..…….………
5. ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับพี่......................................................................................................................
ความสัมพันธ์ระหว่างนักเรียนกับน้อง..................................................................................................................
6. นักเรียนได้เงินมาโรงเรียนวันละ…………..บาท ส่วนใหญ่ใช้เกี่ยวกับ.....................................................................
7. ปัญหาด้านสุขภาพ/โรคประจาตัวของนักเรียน คือ .............................................................................................
8. ผลการเรียนของนักเรียนที่ได้…………………..
-วิชาที่ชอบ คือ..................................................................................................................................
เพราะเหตุใด.........................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
- วิชาที่ไม่ชอบ คือ ..............................................................................................................................
เพราะเหตุใด .....................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
9. กิจกรรมเวลาว่างที่นักเรียนชอบทาคืออะไร.........................................................................................................
10. เพื่อนสนิทของนักเรียน คือ (ชื่อ-สกุล )......................................................... เรียนชั้น..............................
11. นักเรียนอยากให้คนอื่นปฏิบัติต่อนักเรียนอย่างไร (พ่อ,แม่, ครู, พี่,น้อง,เพื่อน)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
12. สิ่งที่นักเรียนกลัวหรือกังวลเวลาอยู่กับคนอื่น
.................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
13. นักเรียนคิดว่าตนเองมีลักษณะนิสัยอย่างไร......................................................................................................
................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
29

14. สิ่งที่นักเรียนชอบ / พอใจเกี่ยวกับตนเอง


.................................................................................................................................................................................
................................................................................................................................................................................
15. สิ่งที่นักเรียนไม่ชอบเกี่ยวกับตนเอง
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
16. สิ่งที่นักเรียนอยากปรับปรุง / แก้ไขเกี่ยวกับตนเอง
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
17. ความภาคภูมิใจ/ ความสาเร็จของนักเรียน
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
18. เหตุการณ์ที่นักเรียนประทับใจมากที่สุด
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
19. นักเรียนเสียใจเกี่ยวกับการกระทาในเรื่องใดมากที่สุด
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………………..
20. ปัจจุบันนักเรียนรู้สึกไม่สบายใจในเรื่องใด
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
21. บุคคลที่นักเรียนไว้วางใจอยากปรึกษาปัญหาต่าง ๆ คือ ..............................................................................
เพราะเหตุใด....................................................................................................................................................
22. ความรู้สึกของนักเรียนที่มีต่อโรงเรียนและครู
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………………………………………………………………………………………………

**เขียนด้วยลายมือ
30

แบบสอบถำมใคร่เอ่ย

คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนใส่ชื่อเพื่อน (กี่คนก็ได้) รวมทั้งตัวเอง ลงในข้อความต่าง ๆ ที่ตรงกับลักษณะ


ของเพื่อนหรือลักษณะของนักเรียน
2. คาตอบที่นักเรียนตอบมาทุกข้อ จะได้รับการปกปิดไว้เป็นความลับ
ชื่อ- นามสกุล...............................................................................................ชั้น....................เลขที่ ....................
1. ผู้ที่ชอบช่วยเหลือเพื่อน คือ..........................................................................................................................
2. ผู้ที่ชอบทางานกับเพื่อน คือ.........................................................................................................................
3. ผู้ที่พูดจาสุภาพ คือ........................................................................................................................................
4. ผู้ที่ตรงต่อเวลา คือ........................................................................................................................................
5. ผู้ที่แต่งกายเรียบร้อย คือ...............................................................................................................................
6. ผู้ที่รับผิดชอบ คือ.........................................................................................................................................
7. ผู้ที่ไม่รับผิดชอบ คือ.....................................................................................................................................
8. ผู้ที่กล้าหาญ คือ............................................................................................................................................
9. ผู้ที่ขี้อาย คือ..................................................................................................................................................
10. ผู้ที่ชอบรังแกเพื่อน คือ...............................................................................................................................
11. ผู้ที่ชอบล้อเลียนเพื่อน คือ...........................................................................................................................
12.ผู้ที่ชอบออกความคิดเห็น คือ......................................................................................................................
13. ผู้ที่ชอบหยิบของคนอื่นโดยไม่ได้รับอนุญาต คือ..........................................................................................
14. ผู้ที่อารมณ์เย็น คือ.......................................................................................................................................
15. ผู้ที่ขี้บ่น คือ.................................................................................................................................................
16. ผู้ที่พูดจามีเหตุผล คือ..................................................................................................................................
17. ผู้ที่ใจน้อย คือ..............................................................................................................................................
18. ผู้ที่ชอบฟ้อง คือ..........................................................................................................................................
19. ผู้ที่ชอบทาผิดกฎของโรงเรียน คือ..............................................................................................................
20. ผู้ที่พูดจาเหลวไหล คือ.................................................................................................................................

**เขียนด้วยลายมือ
31

สรุปคะแนนกำรเลือกเพื่อน
ผู้ถูกเลือก ผู้ถูกเลือก ผู้ถูกเลือก
ข้อคำถำม ผู้ที่ถูกเลือก ลำดับที่ 1 ลำดับที่ 2 ลำดับที่ 3
(จำนวน) (จำนวน) (จำนวน)
1. ผู้ที่ชอบช่วยเหลือเพื่อน
2. ผู้ที่ชอบทางานกับเพื่อน
3. ผู้ที่พูดจาสุภาพ
4. ผู้ที่ตรงต่อเวลา
5. ผู้ที่แต่งกายเรียบร้อย
6. ผู้ที่มีความรับผิดชอบ
7. ผู้ที่ไม่มีความรับผิดชอบ
8. ผู้ที่มีความกล้าหาญ
9. ผู้ที่มักจะขี้อาย
10.ผู้ที่ชอบรังแกเพื่อน
11. ผู้ที่ชอบล้อเลียนเพื่อน
12.ผู้ที่ชอบออกความคิดเห็น
13.ผู้ที่ชอบหยิบของคนอื่นโดย
ไม่ได้รับอนุญาต
14. ผู้ที่อารมณ์เย็น
15. ผู้ที่ขี้บ่น
16. ผู้ที่พูดจามีเหตุผล
17. ผู้ที่ใจน้อย
18. ผู้ที่ชอบฟ้อง
19.ผู้ที่ชอบทาผิดกฎของโรงเรียน
20. ผู้ที่พูดจาเหลวไหล

**เขียนด้วยลายมือ

สรุปคะแนนผู้ที่ถูกเลือก
1. ผู้ที่ได้คะแนนพฤติกรรมด้านดีที่ควรชื่นชม (ข้อ1,2,3,4,5,6,8,12,14,16) คือ
..........................................................................................................................................................................
ท่านจะส่งเสริมและพัฒนานักเรียนกลุ่มนี้อย่างไร ..............................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................................
32

2. ผู้ที่ได้คะแนนพฤติกรรมด้านที่ควรช่วยเหลือเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
(ข้อ7,9,10,11,13,15,17,18,19,20) คือเลขที่......................................................................................................
ท่านจะช่วยเหลือและพัฒนานักเรียนกลุ่มนี้อย่างไร
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.....................................................................................................................................................

**เขียนด้วยลายมือ

ตัวอย่ำง
กำรเลือกเพื่อน แบบสอบถำมใคร่เอ่ย

คาชี้แจง 1. ให้นักเรียนใส่ชื่อเพื่อน (กี่คนก็ได้) รวมทั้งตัวเอง ลงในข้อความต่าง ๆ ที่ตรงกับลักษณะของ


เพื่อนหรือลักษณะของนักเรียน
2. คาตอบที่นักเรียนตอบมาทุกข้อ จะได้รับการปกปิดไว้เป็นความลับ
ชื่อ....เด็กชายสมชาย รักดี...........................ชั้น............ป.5/3....................เลขที่ 9..............

1. ผู้ที่ชอบช่วยเหลือเพื่อน คือ ..............ฟ้า โหน่ง มิว มิ้นท์ หนุ่ม...........................


2. ผู้ที่ชอบทางานกับเพื่อน คือ ............โหน่ง ก้าน หนุ่ม ฟ้า……………………….
3. ผู้ที่พูดจาสุภาพ คือ ...........................หนุ่ม แมน ฟ้า..............................................
4 .ผู้ที่ชอบรังแกเพื่อน คือ ..................... เก้า ตั้ม……………………………………..
5 . ผู้ที่ชอบล้อเลียนเพื่อน คือ................ ฟิวส์ ตั้ม……………………………………

**เขียนด้วยลายมือ
33

ตัวอย่ำง สรุปคะแนนกำรเลือกเพือ่ น

ผู้ถูกเลือก ผู้ถูกเลือก ผู้ถูกเลือก


ข้อคำถำม ผู้ที่ถูกเลือก ลำดับที่ 1 ลำดับที่ 2 ลำดับที่ 3
(จำนวน) (จำนวน) (จำนวน)
1. ผู้ที่ชอบช่วยเหลือเพื่อน ฟ้า โหน่ง มิว มิ้นท์ หนุ่ม หนุ่ม (11) โหน่ง (6) ฟ้า (3)
2. ผู้ที่ชอบทางานกับเพื่อน โหน่ง ก้าน หนุ่ม ฟ้า หนุ่ม (9) ฟ้า (6) โหน่ง(5)
3. ผู้ที่พูดจาสุภาพ หนุ่ม แมน ฟ้า ฟ้า (11) แมน (6) หนุ่ม(5)
4. ผู้ที่ตรงต่อเวลา เก้า ตั้ม เก้า (15) ตั้ม (10)
5. ผู้ที่แต่งกายเรียบร้อย ฟิวส์ ตั้ม ตั้ม (12) ฟิวส์ (9)

1. ผู้ที่ได้คะแนนพฤติกรรมด้านดีที่ควรชื่นชม (ข้อ1,2,3,4,5,6,8,12,14,16) คือหนุ่ม โหน่ง ฟ้า แมน


ท่านจะส่งเสริมและพัฒนานักเรียนกลุ่มนี้อย่างไร…………………………………………………………………………….
.................................................................................................................................................................................
2. ผู้ที่ได้คะแนนพฤติกรรมด้านที่ควรช่วยเหลือเพื่อปรับเปลี่ยนพฤติกรรม
(ข้อ7,9,10,11,13,15,17,18,19,20) คือ เก้า ตั้ม ฟิวส์
ท่านจะช่วยเหลือและพัฒนานักเรียนกลุ่มนี้อย่างไร ...................................................................................
.................................................................................................................................................................................

กลวิธี “ใครเอ่ย” (Guess-who) คือแบบสอบถาม “ใครเอ่ย” เป็นกลวิธีหนึ่งที่ใช้สาหรับการรวบรวม


ข้อมูลต่างๆ เกี่ยวกับนั กเรียน โดยครูห รือผู้แนะแนว เป็นผู้เขียนลาดับ คาถามที่บ รรยายเกี่ยวกับคุณ ลักษณะ
ต่างๆ ของนักเรียนในห้องเรียน และนักเรียนแต่ละคนจะได้รับการขอร้องให้เขียนชื่อบุคคลในห้องเรียนรวมทั้ง
ตัวนักเรียนเอง ที่เขาคิดว่ามีลักษณะที่ตรงกันหรือใกล้เคียงกับคาถามเหล่านั้น
หลักเกณฑ์ของการใช้ กลวิธี “ใครเอ่ย” ให้เกิดประสิทธิภาพ
1. ผู้ศึกษาต้องสร้างแบบสอบถาม “ใครเอ่ย” ให้รัดกุม
2. ก่อนใช้ ผู้ศึกษาต้องแน่ใจว่านักเรียนในชั้นเรียนรู้จักคุ้นเคยกันเป็นอย่างดี
3. ใช้เป็นแนวทางพิจารณาเกี่ยวกับสถานภาพของนักเรียนในกลุ่มเพื่อนควบคู่ไปกับผลของสังคมมิติ
เพื่อให้ผู้ศึกษามองเห็นบุคลิกภาพและพฤติกรรมของนักเรียนชัดเจนมากยิ่งขึ้น
4. ชี้แจงวิธีการทาแบบสอบถามแก่นักเรียน ดังนี้
4.1 ให้นักเรียนใส่ชื่อเพื่อน (กี่คนก็ได้) รวมทั้งตัวเอง ลงในข้อความต่าง ๆ ที่ตรงกับลักษณะของ
เพื่อนหรือลักษณะของนักเรียน
4.2 คาตอบที่นักเรียนตอบมาทุกข้อ จะได้รับการปกปิดไว้เป็นความลับ
5. นาผลการเลือกเพื่อนที่ได้จากแบบสอบถาม “ใครเอ่ย” ไปใส่ในตารางสรุปคะแนนการเลือกเพื่อน
6. สรุปผลคะแนนนักเรียนที่มีพฤติกรรมด้านบวกและด้านลบ เพื่อนาไปสู่การดูแล ช่วยเหลือและพัฒนา
ต่อไป
7. นาผลคะแนนที่ได้มาพิจารณาร่วมกับการทาสังคมมิติ เพื่อวิเคราะห์พฤติกรรมนักเรียนทั้งด้านบวก
และด้านลบได้ชัดเจนและถูกต้องมากยิ่งขึ้น
34

11. แบบบันทึกผลกำรพัฒนำและแก้ไขพฤติกรรมในกำรเรียนร่วมกับอำจำรย์พี่เลี้ยง

1. นักเรียนที่ท่านเลือก (พัฒนาและแก้ไขพฤติกรรม) มีพฤติกรรมอย่างไร


..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
2. ท่านได้ปรึกษากับครูพี่เลี้ยงในการแก้ไขในประเด็นใดบ้าง
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
3. วิธีการที่ท่านและอาจารย์ใช้ส่งเสริมและพัฒนานักเรียนที่ได้คะแนนพฤติกรรมด้านดีที่ควรชื่นชม
คือ............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
4. ผลที่เกิดขึ้น
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
5. วิธีการที่ท่านใช้ช่วยเหลือและพัฒนานักเรียนที่ได้คะแนนพฤติกรรมด้านที่ควรช่วยเหลือเพื่อ
ปรับเปลี่ยนพฤติกรรมคือ......................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
6. ผลที่เกิดขึ้น
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
**เขียนด้วยลายมือ
35

12. แบบบันทึกกำรจัดป้ำยนิเทศ

คำชี้แจง : 1. นักศึกษาจะต้องจัดป้ายนิเทศในชั้นเรียนหรือนอกชั้นเรียนอย่างน้อย 1 ครั้ง ตามที่ครูพี่เลี้ยงหรือ


โรงเรียนมอบหมายหรือวางแผนจัดขึ้นเอง เพื่อเสริมกิจกรรมการเรียนการสอนในชั้นเรียนซึ่งอาจปฏิ บัติเป็ น
รายบุคคลหรือเป็นกลุ่มตามความเหมาะสม
2. นักศึกษาจะต้องแจ้งให้ครูพี่เลี้ยง ได้ตรวจป้ายนิเทศและเสนอแนะปรับปรุงทุกครั้ง
3. นั ก ศึ ก ษาจะต้ อ งบั น ทึ ก แผนผั ง การจั ด ป้ า ยนิ เทศหลั ง จากที่ ไ ด้ ด าเนิ น วางแผน ร่ างแบบหรื อ
ดาเนินการเสร็จเรียบร้อยแล้ว และให้ครูพี่เลี้ยงลงนามรับรอง

หลักกำรจัดป้ำยนิเทศ
1. มีชื่อเรื่องเด่น สอดคล้องกับกลุ่มสาระ มาตรฐาน, ตัวชี้วัด
2. สื่อความหมายตรงตามตัวชี้วัด, ผลการเรียนรู้ จุดประสงค์และเนื้อหา
3. ออกแบบสมดุลและมีจุดสนใจ สวย สะดุดตา น่าสนใจ ทันสมัย
มีคุณค่าต่อการนาไปใช้
4. มีรูปแบบที่ง่ายต่อการศึกษา และเข้าใจเรื่องราว

กำรจัดป้ำยนิเทศครั้งที่ 1 เรื่อง
วิชา ชั้น
จัดแสดงระหว่างวันที่ ถึงวันที่
วัสดุที่ใช้ในการจัดป้ายนิเทศ

สอดคล้องกับมาตรฐาน, ตัวชี้วัด
36

แผนผังกำรจัดป้ำยนิเทศ

ผู้ร่วมงำน

บันทึกผลการตรวจและข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ
/ /

ครูพี่เลี้ยง

**แบบบันทึกการจัดป้ายนิเทศ สามารถพิมพ์ได้
37

13. แบบรำยผลกำรออกแบบและจัดกิจกรรมกำรเรียนรู้เพื่อพัฒนำผู้เรียน
ให้เกิดกำรเรียนรู้อย่ำงมีควำมสุข

(ให้นักศึกษาระบุกิจกรรมที่นักศึกษาได้จัดให้กับนักเรียนอย่างน้อย 2 กิจกรรม)
1. ชื่อกิจกรรมที่ได้ออกแบบ......................................สอนชั้น..............................เวลา...............ชั่วโมง
ช่วงเลาที่ใช้ ( ) ในรายวิชา........................................................ ( ) นอกเวลาเรียน (ระบุช่วงเวลา)...................
2. เป้าหมายของการทากิจกรรมในครั้งนี้...........................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
3. ขั้นตอนหรือกระบวนการในการทากิจกรรม
3.1 ................................................................................................................................................................
3.2 ................................................................................................................................................................
3.3 ................................................................................................................................................................
3.4 ................................................................................................................................................................
...........................
3. สื่อหรืออุปกรณ์ที่ใช้ในการจัดกิจกรรมครั้งนี้
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
4. ความสาเร็จของกิจกรรมในครั้งนี้คือ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

5. สิ่งที่นักศึกษาได้เรียนรู้จากการทากิจกรรมในครั้งนี้คือ
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
6. ภาพถ่ายการทากิจกรรม
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………………………………………………………

**แบบรายผลการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้อย่างมีความสุข
สามารถพิมพ์ได้
38

14. แบบบันทึกกำรศึกษำต้นแบบครูดี (ครูพี่เลี้ยง)

ชื่อคุณครู..............................................สอนชั้น..............วิชา...................
ประสบการณ์ในการสอน.........................................................................
วิธีการที่ครูช่วยให้ผู้เรียนประสบความสาเร็จในการเรียน.........................
รูปครูพี่เลี้ยง .................................................................................................................
……………………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………………………………
วิธีการที่ครูใช้ในการพัฒนาผู้เรียนในด้านต่างๆ........................................

.........................................................................................................................................................................
…………………………….........................................................................................................................................
…………………………….........................................................................................................................................
หลักคิดในการปฏิบัติตนของครู
…………………………….........................................................................................................................................
…………………………….........................................................................................................................................
…………………………….........................................................................................................................................
หลักคิดในการปฏิบัติงานของครู
…………………………….........................................................................................................................................
…………………………….........................................................................................................................................
…………………………….........................................................................................................................................
ความสาเร็จหรือความภาคภูมิใจของครู
…………………………….........................................................................................................................................
…………………………….........................................................................................................................................
…………………………….........................................................................................................................................
ปัญหาและอุปสรรคที่พบเจอในการพัฒนาผู้เรียนคืออะไร และครูแก้ปัญหาอย่างไร
…………………………….........................................................................................................................................
…………………………….........................................................................................................................................
…………………………….........................................................................................................................................
สิ่งที่ครูต้องการพัฒนาหรืออยากทาคืออะไร
…………………………….........................................................................................................................................
……………………………..........................................................................................................................................
**แบบบันทึกการศึกษาต้นแบบครูดี (ให้นักศึกษาสัมภาษณ์ครูพี่เลี้ยง) สามารถพิมพ์ได้
39

15. บันทึกควำมรู้สึกของนักศึกษำที่มตี ่อกำรฝึกปฏิบัติวชิ ำชีพระหว่ำงเรียน 1


ขณะนี้การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 สาหรับนักศึกษาครูได้สิ้นสุดลงแล้ว ข้าพเจ้ามีความคิด
เห็นต่อการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียนในประเด็นดังต่อไปนี้
1. งานที่ประสบความสาเร็จและภาคภูมิใจ

2. งาน/กิจกรรมที่ประสบปัญหา อุปสรรค และข้อเสนอแนะแนวทางแก้ไข

3. ข้อเสนอแนะที่มีต่อการปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 สาหรับนักศึกษาครู

4. ความรู้สึกที่มีต่อวิชาชีพครู หลังจากการปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1

ลงชื่อ นักศึกษา
(..............................................)
/ /
40

ส่วนที่ 3
แบบประเมินการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1
41
1. แบบประเมินผลตำมมำตรฐำนกำรปฏิบัติงำนและมำตรฐำนกำรปฏิบัติตน
ของนักศึกษำปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1 (สำหรับครูพี่เลี้ยง) (10 คะแนน)
ชื่อนักศึกษา นามสกุล
รหัสประจาตัวนักศึกษา สาขาวิชา
คำชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมายลงในช่องระดับคะแนนเพื่อแสดงผลการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐาน
การปฏิบัติตนของนักศึกษา
กำรประเมิน คะแนนเต็ม 5 (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช้, 2 = ควรปรับปรุง, 1= ควรปรับปรุงเร่งด่วน)
ระดับคะแนน
ที่ รายการประเมิน
5 4 3 2 1
มำตรฐำนกำรปฏิบัติงำน
1 พฤติกรรมการแสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้
(เข้าร่วมสังเกตการสอนของคุณครู/ ออกแบบกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะ/ ใช้สื่อ
และประเมินการจัดกิจกรรมได้/ วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคล/ ความสามารถในการทางานเป็นทีม/มีส่วนร่วม
ในงานที่เป็นบทบาทหน้าที่ครูอย่างสร้างสรรค์)
2 พฤติกรรมการแสดงออกถึงการปฏิบัติงานในหน้าที่ครู
(มุ่งมั่นตั้งใจในการเป็นผู้ช่วยครู/เอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล/มีความรอบรู้/ ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
แก่ผู้เรียน(แต่งกาย กิริย ามารยาท การปฏิ บัติต นตามระเบียบวินัย ของโรงเรียน อารมณ์ดี ยิ้มแย้ มแจ่ม ใส
ควบคุมอารมณ์ได้มีน้าใจ))
3 พฤติกรรมการแสดงออกถึงการสร้างความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน
(ร่วมมือกั บผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์/ มีส่ วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์ วัฒนธรรมกับ ชุมชนอย่ าง
สร้างสรรค์/ยอมรับในความแตกต่างของคนในชุมชน นักเรียน)
มำตรฐำนกำรปฏิบัติตนตำมจรรยำบรรณของวิชำชีพ
1 จรรยาบรรณต่อตัวเอง
(ความมีวินัย ตรงเวลา รอบคอบ อดทน มีอารมณ์มั่นคง ควบคุมอารมณ์ได้ดี ใฝ่รู้ บุคลิกภาพเหมาะสมกับการ
เป็นครู)
2 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
(แสดงออกถึงการเป็นผู้ที่มีความรัก ศรัทธาในอาชีพครู ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ)
3 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
(แสดงออกถึงความรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือส่งเสริมให้กาลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่
โดยเสมอหน้ า/ ส่งเสริมให้เกิดการเรีย นรู้ทักษะ และนิสั ยที่ถูก ต้องดีงามแก่ศิษย์ / ประพฤติ ปฏิบั ติตนเป็ น
แบบอย่างที่ดีทั้งกายวาจา และจิตใจ ยอมรับความแตกจ่างระหว่างบุคคล มีจิตบริการด้วยความจริงใจและ
เสมอภาค)
4 จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
(มีน้าใจช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ)
5 จรรยาบรรณต่อสังคม
(การประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นเป็ น ผู้ น า มี จิ ต อาสา ในการอนุ รั ก ษ์ แ ละพั ฒ นา สั ง คม ศาสนาศิ ล ปวั ฒ นธรรม
ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม แสดงออกถึงการยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข)
คะแนนรวมแต่ละระดับ
คะแนนรวม (40 คะแนน)

คะแนนรวม
คะแนนที่ได้ (10 คะแนน) = = ……………………….คะแนน
4
สรุปข้อคิดเห็นเพิ่มเติม

ลงชื่อ ครูพี่เลี้ยง
( )
วันที่ เดือน พ.ศ.
(ประทับตราของโรงเรียน/สถานศึกษา)
42
2. แบบประเมินผลตำมมำตรฐำนกำรปฏิบัติงำนและมำตรฐำนกำรปฏิบัติตน
ของนักศึกษำปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1 (สำหรับผู้บริหำรสถำนศึกษำ) (10 คะแนน)
ชื่อนักศึกษา นามสกุล
รหัสประจาตัวนักศึกษา สาขาวิชา
คำชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมายลงในช่องระดับคะแนนเพื่อแสดงผลการปฏิบัติตามมาตรฐานการปฏิบัติงานและมาตรฐาน
การปฏิบัติตนของนักศึกษา
กำรประเมิน คะแนนเต็ม 5 (5 = ดีมาก , 4 = ดี , 3 = พอใช้ , 2 = ควรปรับปรุง , 1= ควรปรับปรุงเร่งด่วน)
ระดับคะแนน
ที่ รายการประเมิน
5 4 3 2 1
มำตรฐำนกำรปฏิบัติงำน
1 พฤติกรรมการแสดงออกถึงการมีทักษะในการจัดการเรียนรู้
(เข้าร่วมสังเกตการสอนของคุณครู/ ออกแบบกิจกรรมเพื่อพัฒนาผู้เรียนและเพื่อเสริมสร้างสุขภาวะ/ ใช้สื่อ
และประเมินการจัดกิจกรรมได้/ วิเคราะห์ผู้เรียนเป็นรายบุคล/ ความสามารถในการทางานเป็นทีม/มีส่วนร่วม
ในงานที่เป็นบทบาทหน้าที่ครูอย่างสร้างสรรค์)
2 พฤติกรรมการแสดงออกถึงการปฏิบัติงานในหน้าที่ครู
(มุ่งมั่นตั้งใจในการเป็นผู้ช่วยครู/เอาใจใส่ผู้เรียนเป็นรายบุคคล/มีความรอบรู้/ ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดี
แก่ผู้เรียน(แต่งกาย กิริย ามารยาท การปฏิ บัติต นตามระเบียบวินัย ของโรงเรียน อารมณ์ดี ยิ้มแย้ มแจ่ม ใส
ควบคุมอารมณ์ได้มีน้าใจ))
3 พฤติกรรมการแสดงออกถึงการสร้างความสัมพันธ์กับผู้ปกครองและชุมชน
(ร่วมมือกั บผู้อื่นในชุมชนอย่างสร้างสรรค์/ มีส่ วนร่วมในกิจกรรมส่งเสริมอนุรักษ์ วัฒนธรรมกับ ชุมชนอย่ าง
สร้างสรรค์/ยอมรับในความแตกต่างของคนในชุมชน นักเรียน)
มำตรฐำนกำรปฏิบัติตนตำมจรรยำบรรณของวิชำชีพ
1 จรรยาบรรณต่อตัวเอง
(ความมีวินัย ตรงเวลา รอบคอบ อดทน มีอารมณ์มั่นคง ควบคุมอารมณ์ได้ดี ใฝ่รู้ บุคลิกภาพเหมาะสมกับการ
เป็นครู)
2 จรรยาบรรณต่อวิชาชีพ
(แสดงออกถึงการเป็นผู้ที่มีความรัก ศรัทธาในอาชีพครู ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อวิชาชีพ)
3 จรรยาบรรณต่อผู้รับบริการ
(แสดงออกถึงความรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือส่งเสริมให้กาลังใจแก่ศิษย์และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่
โดยเสมอหน้ า/ ส่งเสริมให้เกิดการเรีย นรู้ทักษะ และนิสั ยที่ถูก ต้องดีงามแก่ศิษย์ / ประพฤติ ปฏิบั ติตนเป็ น
แบบอย่างที่ดีทั้งกายวาจา และจิตใจ ยอมรับความแตกจ่างระหว่างบุคคล มีจิตบริการด้วยความจริงใจ
และเสมอภาค)
4 จรรยาบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
(มีน้าใจช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกัน ยึดมั่นในระบบคุณธรรม สร้างความสามัคคีในหมู่คณะ)
5 จรรยาบรรณต่อสังคม
(การประพฤติ ป ฏิ บั ติ ต นเป็ น ผู้ น า มี จิ ต อาสา ในการอนุ รั ก ษ์ แ ละพั ฒ นา สั ง คม ศาสนาศิ ล ปวั ฒ นธรรม
ภูมิปัญญา สิ่งแวดล้อม แสดงออกถึงการยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข)
คะแนนรวมแต่ละระดับ
คะแนนรวม (40 คะแนน)

คะแนนรวม
คะแนนที่ได้ (10 คะแนน) = = ……………………….คะแนน
4
สรุปข้อคิดเห็นเพิ่มเติม

ลงชื่อ ผู้บริหารสถานศึกษา
( )
วันที่ เดือน พ.ศ.
(ประทับตราของโรงเรียน/สถานศึกษา)
43
3. แบบประเมินกำรปฏิบัติงำนตำมขอบข่ำยรำยวิชำของนักศึกษำปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1
(สำหรับครูพี่เลี้ยง) (20 คะแนน)
ชื่อนักศึกษา นามสกุล
รหัสประจาตัวนักศึกษา สาขาวิชา
คำชี้แจง โปรดเขียนเครื่องหมายลงในช่องระดับคะแนนเพื่อแสดงผลการปฏิบัติงานตามขอบข่ายรายวิชา ของนักศึกษา
ปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1
กำรประเมิน คะแนนเต็ม 5 (5 = ดีมาก, 4 = ดี, 3 = พอใช้, 2 = ควรปรับปรุง, 1= ควรปรับปรุงเร่งด่วน)
ลำดับ ระดับคะแนน
รำยกำรประเมิน
ที่ 5 4 3 2 1
1 การบันทึกผลการปฏิบัติงานประจาวัน (ครบถ้วน เป็นปัจจุบันและเป็น
ความจริง)
2 บันทึกข้อมูลของโรงเรียนฝึกปฏิบัติวิชาชีพครู (โรงเรียนร่วมผลิต)
ได้ครบถ้วน ถูกต้อง
3 เข้าร่วมสังเกตการสอน ช่วยเหลือและมีส่วนร่วมงานในหน้าที่ครู
อย่างเต็มใจและมีประสิทธิภาพ
4 จัดป้ายนิเทศได้สวยงาม มีวัตถุประสงค์
5 ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู้เพื่อพัฒนาผู้เรียนให้เกิดการเรียนรู้
อย่างมีความสุข
6 มีส่วนร่วมในงานกิจกรรมของโรงเรียนได้อย่างสร้างสรรค์ไม่เกี่ยงงอน
และมีประสิทธิภาพ
7 มีส่วนร่วมอย่างสร้างสรรค์กับครูพี่เลี้ยงในการสร้างความสัมพันธ์
กับชุมชนและผู้ปกครองในการแก้ปัญหาผู้เรียน
8 แลกเปลี่ยนเรียนรู้กับครูพี่เลี้ยงในการบันทึกข้อมูลต่างๆ
อย่างสม่าเสมอ และแสดงออกถึงความเอาใจใส่ ต่องาน เรียนรู้ได้เร็ว
และแสวงหาความรู้อยู่เสมอ
คะแนนรวมแต่ละระดับ
คะแนนรวม (40 คะแนน)

คะแนนรวม
คะแนนที่ได้ (20 คะแนน) = = ……………………….คะแนน
2
สรุปข้อคิดเห็นเพิ่มเติม

ลงชื่อ ครูพี่เลี้ยง
( )
วันที่ เดือน พ.ศ.
(ประทับตราของโรงเรียน/สถานศึกษา)
44

4. แบบประเมินรำยงำนผลกำรปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1
(สำหรับอำจำรย์นเิ ทศก์) (20 คะแนน)

ชื่อนักศึกษา รหัสนักศึกษา
สาขาวิชา โรงเรียนที่ปฏิบัติงานวิชาชีพครู
คำชี้แจง
1. แบบประเมินผลการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครู 1 นี้เป็นแบบประเมินรายงานการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพ ระหว่างเรียน
สาหรับนักศึกษา
2. แบบประเมินรายงานผลการฝึกปฏิบัติงานระหว่างเรียน 1 ชุดนี้ใช้กับนักศึกษาครู 1 คนเท่านั้น
3. โปรดเขียนเครื่องหมาย ลงในช่องระดับคะแนนของแต่ละเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพรายงานผลการฝึก
ปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ที่ตรงกับความคิดเห็น
4. ให้นาคะแนนทั้งหมดมาคิดคะแนนเฉลี่ยและใส่ลงในช่องคะแนน (คะแนนเต็ม 80 คะแนน)

ที่ รำยกำรประเมิน ระดับคะแนน


1. การบันทึกข้อมูลเกี่ยวกับนักศึกษา (ครบถ้วน นาเสนอน่าสนใจ) 5 4 3 2 1
2. การบันทึกการนิเทศของผู้บริหารสถานศึกษา ครูพี่เลี้ยง หรือ 5 4 3 2 1
อาจารย์นิเทศ (มีการบันทึกข้อมูลการนิเทศ)
3. การบันทึกผลการปฏิบัติงานประจาวัน 5 4 3 2 1
(บันทึกครบถ้วน/ชัดเจน/พี่เลี้ยงลงนามเป็นปัจจุบัน)
4. การบั นทึก ข้อมูล โรงเรียนฝึกปฏิบัติ วิช าชี พครู (โรงเรียนร่วม 5 4 3 2 1
ผลิต) (บันทึกครบถ้วนทุกหัวข้อ/ถูกต้อง/ปราณีต)
5. แบบบันทึกการจัดสภาพแวดล้อมของโรงเรียนร่วมผลิต (อธิบาย 5 4 3 2 1
ได้ชัดเจน/ครบถ้วน/ผ่านการวิเคราะห์)
6. แบบบันทึกงานในหน้าที่ครู (รอบรู้งานครู) (ครบถ้วน/เขียนได้ 5 4 3 2 1
ชัดเจน/แสดงถึงความเข้าใจในการเขียน)
7. แบบบันทึกการสัง เกตการสอนของครู (ความชัดเจนในแต่ล ะ
ประเด็นที่เขียน/แสดงถึงความเข้าใจในเป้าหมายของการสอน/ ........................................................................
ใส่ ใจทุ ก ขั้ น ตอน/แสดงให้ เห็ น ถึ ง พั ฒ นาการในการท าความ (คะแนนในข้อนี้ 10 คะแนน โดยมีค่ำคะแนน
เข้าใจการสอนของครู/ครบถ้วน (6 ครั้ง)) ตั้งแต่ 1 -10)
8. บันทึกการวิเคราะห์แผนการสอน (ครบถ้วน/ชัดเจน/และแสดง 5 4 3 2 1
ให้เห็นถึงความเข้าใจในแผนการสอนนั้น)
9. บันทึกการมีส่วนร่วมในงานของโรงเรียนร่วมผลิต (บั นทึกให้ 5 4 3 2 1
ครบถ้วน/ละเอียดชัดเจน/และสะท้อนผลการการทากิจกรรม
นั้นๆ อย่างชัดเจน)
10. การส ารวจหรื อศึ ก ษานั ก เรี ย นเป็ น รายบุ ค คล (case study) 5 4 3 2 1
และแบบสอบถามใครเอ่ย (ครบถ้วน/ถูกต้อง)
11. แบบ บั น ทึ ก ผลการพั ฒ นาและแก้ ไ ขพฤติ ก รรมในเรี ย น 5 4 3 2 1
(ครบถ้วน/ ชัดเจนแสดงให้เห็นถึงความเข้าใจเอาใจใส่ต่อการ
พัฒนาผู้เรียน ความรักและเมตตาต่อศิษย์อย่างยุติธรรม)
12. แบบรายผลการออกแบบและจัดกิจกรรมการเรียนรู้ เพื่อพัฒนา 5 4 3 2 1
ผู้เรียนเรียนรู้อย่างมีความสุข (ครบถ้วน/ชัดเจน)
45

ที่ รำยกำรประเมิน ระดับคะแนน


13. บันทึกการจัดป้ายนิเทศ(ครบถ้วน/ถูกต้อง/ ชัดเจน/สวยงาม) 5 4 3 2 1
14. แบบบั น ทึ ก การศึ ก ษาต้ น แบบครู ดี สั ม ภาษณ์ ค รู พี่ เ ลี้ ย ง 5 4 3 2 1
(ครบถ้วน/ถูกต้อง/ ชัดเจน/แสดงให้เห็นถึงเจคติที่ดีต่อการเป็น
ครู)
15 บั น ทึ ก ความรู้ สึ ก ของนั ก ศึ ก ษาที่ มี ต่ อ การฝึ ก ปฏิ บั ติ วิ ช าชี พ 5 4 3 2 1
ระหว่างเรียน 1 (ครบถ้วน/ชัดเจน)
รวมทั้งหมด (80)

คะแนนเฉลี่ย 80

คะแนนรวมทั้งหมด
คะแนนที่ได้ (20 คะแนน) = = ……………………….คะแนน
4

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ลงชื่อ อาจารย์นิเทศก์
( )
วันที่ เดือน พ.ศ.
46

5. แบบประเมินผลกำรเข้ำชั้นเรียนเพื่อสะท้อนคิด และ PLC


ของนักศึกษำปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1 (สำหรับอำจำรย์นิเทศก์) (20 คะแนน)

ชื่อนักศึกษา รหัสนักศึกษา
สาขาวิชา โรงเรียนที่ปฏิบัติงานวิชาชีพครู
คำชี้แจง
1. แบบประเมินรายงานผลการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ชุดนี้ใช้กับนักศึกษาครู 1 คนเท่านั้น
2. โปรดเขี ย นเครื่ อ งหมาย ลงในช่ อ งระดั บ คะแนนของแต่ ล ะเกณฑ์ ก ารประเมิ น ระดั บ คุ ณ ภาพรายงานผล
การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1 ที่ตรงกับความคิดเห็น
กำรประเมิน คะแนนเต็ม 4 (4 = ดีมาก, 3 = ดี, 2 = พอใช้ , 1 = ควรปรับปรุง)

ลำดับ รำยกำรประเมิน ระดับคะแนน


ที่ 4 3 2 1
1. การแสดงออกถึงการมีความรู้
(ความแสดงความคิดเห็นที่ถูกต้อง /ครบถ้วน/รอบรู้ทั้งในวิชาเอกและวิชาชีพครู
/การประยุกต์ใช้/การแก้ปัญหา)
2. การแสดงออกถึงการมีทักษะ
(ความสามารถในการใช้ ภ าษา/เทคโนโลยี / การสื่ อ สาร /การค้ น คว้ า /
ความสามารถในการทางานเป็นทีม/การมีส่วนร่วมในงานที่ได้รับมอบหมายอย่าง
สร้างสรรค์)
3. การแสดงออกถึงการมีคุณลักษณะแห่งวิชาชีพ
(การมี ส่วนร่วม / ทั ศ นคติที่ ดีต่อบ้ านเมือ ง / ต่ อตัวเอง / เอื้อ อาทรต่อผู้ อื่น /
ความมุ่งมั่นตั้งใจ)
4. การแสดงออกถึงการเป็นผู้มีคุณธรรมจริยธรรมอันดี
(ประพฤติ ต นเป็ น แบบอย่ า งที่ ดี / ความมี วิ นั ย ตรงเวลา รอบคอบ อดทน
มีอารมณ์มั่นคง ควบคุมอารมณ์ได้ดี ใฝ่รู้ / สามัคคี / ใส่ใจสิ่งแวดล้อม)
5. การแสดงออกถึงการเป็นนักศึกษาครูที่ดี
(ตรงต่อ เวลา / การแต่ง กาย / การมี มารยาท / กาลเทศะ / ความซื่อ สัต ย์ /
บุคลิกภาพเหมาะสมกับการเป็นครู / อารมณ์ดี ยิ้มแย้มแจ่มใส ควบคุมอารมณ์ได้
มีน้าใจ / จิตอาสา)
รวมคะแนนแต่ละระดับ
รวมคะแนนทั้งหมด (20)
คะแนนที่ได้ (คะแนนเต็ม 20 คะแนน) = .........................................คะแนน
ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ลงชื่อ อาจารย์นิเทศก์
( )
วันที่ เดือน พ.ศ.
47

6. แบบประเมินกำรสัมมนำกำรฝึกปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1
(สำหรับฝ่ำยฝึกประสบกำรณ์วิชำชีพครู) (10 คะแนน)

สาขาวิชา คณะ
คำชี้แจง
1. แบบประเมินการสัมมนาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครู 1 (SIL 1)
2. แบบประเมินการสัมมนาการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครู 1 (SIL 1) ชุดนี้ ใช้กับนักศึกษาครู 1 สาขา เท่านั้น
3. โปรดเขียนเครื่องหมาย ลงในช่องระดับคะแนนของแต่ละเกณฑ์การประเมินระดับคุณภาพการสัมมนา
การฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพครู 1 (SIL 1) ที่ตรงกับความคิดเห็นของท่าน
คะแนน 5 ให้กับเกณฑ์การประเมินคุณภาพในระดับ ดีมำก
คะแนน 4 ให้กับเกณฑ์การประเมินคุณภาพในระดับ ดี
คะแนน 3 ให้กับเกณฑ์การประเมินคุณภาพในระดับ พอใช้
คะแนน 2 ให้กับเกณฑ์การประเมินคุณภาพในระดับ ควรปรับปรุง
คะแนน 1 ให้กับเกณฑ์การประเมินคุณภาพในระดับ ควรปรับปรุงอย่ำงยิ่ง
4. นาผลการประเมินจากคณะกรรมการทุกคนมาเฉลี่ย เพื่อเป็นคะแนนสาหรับนักศึกษาในสาขาวิชานั้นๆ
ระดับคะแนน
รำยกำรประเมิน
5 4 3 2 1
1. ความรับผิดชอบความร่วมมือในการดาเนินงาน
2. ความครอบคลุมของข้อมูลครบถ้วน
3. การเสนอความคิดเห็น
4. ความคิดริเริ่มสร้างสรรค์
คะแนนรวมแต่ละระดับ
คะแนนรวม (20 คะแนน)
คะแนนรวม
คะแนนที่ได้ (10 คะแนน) = = ……………………….คะแนน
2

ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม

ลงชื่อ
( )
วันที่ เดือน พ.ศ.
48

เกณฑ์กำรประเมินรำยงำนผลกำรสัมมนำกำรฝึกปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1

รำยกำรประเมิน
เกณฑ์กำรประเมิน
5 4 3 2 1
1.ความรับผิดชอบ มีความพร้อมใน มีความพร้อมใน แสดงออกถึงความ ขาดความพร้อม ขาดการเตรียม
ความร่วมมือใน การดาเนินการ การดาเนินการ พยายามในการ ในการดาเนินงาน ความพร้อมในการ
การดาเนินการ ร่วมมือกับกลุ่ม และทางาน ดาเนินงานแต่ขาด ไม่สามารถ ดาเนินงานส่งผล
ด้วยความ ร่วมกันอย่างเป็น การวางระบบการ ดาเนินการไปสู่ ให้การดาเนินการ
กระตือรือร้น ระบบแต่ยังขาดใน ทางานที่ส่งผลต่อ ความสาเร็จตาม ไม่ประสบ
แสดงถึงความ เรื่องการอาสา ความสาเร็จ เวลา ผลสาเร็จ
พยายามในการ ช่วยงาน
ดาเนินงานร่วมกัน
2.ความครอบคลุม รายละเอียดของ ขาดรายละเอียด ขาดรายละเอียด ขาดรายละเอียด ขาดรายละเอียด
ของข้อมูล ประเด็นการ ของประเด็นการ ของประเด็นการ ของประเด็นการ ของประเด็นการ
ครบถ้วน สัมมนาครบถ้วน สัมมนา 1 สัมมนา 2 สัมมนา 3 สัมมนาทุก
ทุกรายการ รายการ รายการ รายการ รายการ
3.การเสนอความ แสดงออกถึงการมี แสดงออกถึงการมี พยายามมีส่วน แสดงการยอมรับ แสดงความคิดเห็น
คิดเห็น ส่วนร่วมอภิปราย ส่วนร่วมอภิปราย ร่วมอภิปราย ฟังความคิดเห็น ในเชิงลบไม่
แสดงความคิดเห็น แสดงความคิดเห็น แสดงความคิดเห็น ของผู้อื่นแต่ไม่มี สอดคล้องกับ
และยอมรับฟัง เป็นบางครั้งและ เป็นบางครั้งและ ส่วนร่วมในการ ประเด็นการ
ความคิดเห็นของ ยอมรับฟังความ ยอมรับฟังความ อภิปรายแสดง สัมมนาและ
ผู้อื่น คิดเห็นของผู้อื่น คิดเห็นของผู้อื่น ความคิดเห็น ก่อให้เกิดความ
ขัดแย้ง
4.ความคิดริเริ่ม รูปแบบการ รูปแบบการ รูปแบบการ รูปแบบการ รูปแบบการ
สร้างสรรค์ สัมมนาและการ สัมมนาและการ สัมมนาและการ สัมมนาและการ สัมมนาและการ
จัดนิทรรศการมี จัดนิทรรศการมี จัดนิทรรศการมี จัดนิทรรศการ จัดนิทรรศการไม่
ความน่าสนใจ ความน่าสนใจ ความน่าสนใจแต่ ขาดจุดเด่นที่ เหมาะสมผลการ
แปลกใหม่ข้อมูล ข้อมูลนาไป รายละเอียดข้อมูล น่าสนใจ ข้อมูล สัมมนาไม่มีข้อมูล
นาไปประยุกต์ใช้สู่ ประยุกต์ใช้สู่การ ไม่สมบรูณ์ ขาดความชัดเจน รายละเอียดที่
การปฏิบัติได้ ปฏิบัติได้ ในรายละเอียด ชัดเจน
49

ภำคผนวก
ข้อบังคับที่เกี่ยวข้องกับการปฏิบัติตนของนักศึกษา
ปฏิทินการฝึกปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1
50

เกณฑ์กำรตัดคะแนนควำมประพฤติ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (2563 : 277 - 278) ได้กาหนดเกณฑ์การตัดคะแนนความประพฤติตาม
ข้อบังคับสภาประจามหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ว่าด้วยการตัดคะแนนความประพฤตินักศึกษา พ.ศ.2539 ดังนี้

ลักษณะควำมผิดและระดับโทษ คะแนนที่ตัดต่อครั้ง
โทษระดับเบำ หรือระดับว่ำกล่ำวตักเตือน
1.มาเรียนสายเป็นประจา 3
2.กระทาความผิดเกี่ยวกับระเบียบกระทรวงศึกษาธิการว่าด้วยการเคารพธงชาติ 3
3.ไม่พกบัตรประจาตัวนักศึกษา 3
4.สูบบุหรี่ในบริเวณหรือสถานที่ที่มหาวิทยาลัยไม่อนุญาต 3
5.กระทาความผิดในเรื่องระเบียบการลาหรือขาดเรียนโดยปราศจากเหตุผลอันสมควร 5
6.แต่งกายไม่ถูกต้องตามระเบียบของมหาวิทยาลัย 5
7.แสดงกิริยามารยาทไม่สุภาพต่อครูอาจารย์และบุคลากรทั่วไป 5
8.ขัดคาสั่งอาจารย์อันชอบด้วยระเบียบ 5
9.ละทิ้งหน้าที่ที่อาจารย์มอบหมาย 5
10.ประพฤติส่อไปในทางชู้สาว 5
11.ทาความสกปรกให้แก่มหาวิทยาลัย 5
12.ไม่ปฏิบัติตามนโยบาย ระเบียบ ข้อบังคับ ประกาศ คาสั่งของสถาบันและทางราชการ 5
13.เที่ยวในสถานที่ที่ไม่เหมาะสม 5
14.ไม่เข้าร่วมกิจกรรมที่มหาวิทยาลัยจัดขึ้น 8
15.กล่าวคาไม่สุภาพ หรือกล่าวคาเท็จ 10
16.มีหนี้สินจนทาให้เกิดความเสื่อมเสียต่อตนเองและมหาวิทยาลัย 10
โทษระดับกลำง หรือระดับทำทัณฑ์บน 10-15
1.กระทาความผิดสถานเบา ขั้นร้ายแรงจนทาให้เสื่อมเสียชื่อเสียงของมหาวิทยาลัย 11
2.กระทาความผิดสถานเบาที่ถูกลงโทษแล้วแต่ยังกระทาความผิดซ้าอีก 12
3.เล่นการพนัน หรืออื่นใดที่ส่อไปในทางการพนัน 12
4.เสพสุราหรือของมึนเมา หรือแสดงอาการมึนเมาในบริเวณมหาวิทยาลัย 12
5.แสดงกิริยาทางกาย วาจาที่ส่อไปในทางลบหลู่ หรือหมิ่นประมาทครู-อาจารย์ 12
6.ทาลายประกาศหรือเอกสารของมหาวิทยาลัย 15
7.ทาลายทรัพย์สินของมหาวิทยาลัยหรือผู้อื่น 15
8.พกพาอาวุธ เช่น วัตถุระเบิด ปืน มีด ฯลฯ ในบริเวณมหาวิทยาลัยหรือชุมชน 15
9.ก่อการทะเลาะวิวาทภายในหรือภายนอกมหาวิทยาลัย 15
10.เติมหรือตัดทอนข้อความเอกสารของมหาวิทยาลัยที่ติดประกาศ 15
51

ลักษณะควำมผิดและระดับโทษ คะแนนที่ตัดต่อครั้ง
โทษระดับหนัก หรือระดับพักกำรเรียนและให้ออก 16-25
1.กระทาความผิดสถานกลาง ขั้นร้ายแรงมาก 16
2.กระทาความผิดสถานกลาง ที่ถูกลงโทษแล้วแต่ยังกระทาผิดซ้าอีก 20
3.ประพฤติในทางชู้สาว ขั้นร้ายแรงจนอื้อฉาว 25
4.ลักทรัพย์ของผู้อื่น หรือของมหาวิทยาลัย หรือสมรู้ร่วมคิด 25
5.ทุจริตในการสอบ 25

ที่มา :
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. (2563). คู่มือนักศึกษำ ประจำปี 2563. สุรินทร์ : สานักส่งเสริมวิชาการและงาน
ทะเบียน.
52

ข้อบังคับมหำวิทยำลัยรำชภัฏสุรินทร์วำ่ ด้วยกำรแต่งกำยของนักศึกษำ
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์ (2563 : 153 - 155) กาหนดแนวทางการแต่งกายของนักศึกษาชายและ
นักศึกษาหญิง ไว้ดังนี้

กำรแต่งกำยของนักศึกษำชำยในเวลำเรียนปกติ
1. เสื้อ ใส่เสื้อ เชิ้ตสีขาวเนื้ อเรียบเกลี้ยง แขนสั้น หรือแขนยาว ไม่ พับ แขน ปกแหลมคอตั้ ง ผ่ าอก
ตลอด ติดกระดุมสีขาว 6 เม็ด มีกระเป๋าเสื้อที่หน้าอกด้านซ้าย 1 กระเป๋าไม่มีฝาปิด ขนาดพอดีกับรูปร่างให้เก็บ
ชายเสื้อเข้าภายในกางเกง
2. ให้ผูกเน็คไทที่มีตราสัญลักษณ์ หรือติดตราสัญลักษณ์ ตามแบบที่กาหนด
3. กางเกง ใช้กางเกงขายาวเนื้ อผ้าเรียบเกลี้ยงสีดา หรือสีกรมท่า ทรงสุภาพ ปลายขาเรียว กว้าง
20 -26 เซนติเมตร ไม่มี ลวดลาย มีหู สาหรับ สอดเข็มขั ด รอบเอว 5-7 หู หู กว้างไม่ เกิน 1 - 1.5 เซนติเมตร
มีกระเป๋าข้าง 1 กระเป๋า ปากกระเป๋ายาวตามตะเข็บข้าง กระเป๋าหลังหนึ่งหรือสองข้างเป็นแบบกระเป๋าเจาะ
ไม่มีฝาปิด ขนาดพอดีกับรูปร่าง ความยาวของขากางเกงต้องหุ้มข้อเท้าเมื่อสวมรองเท้าไม่คลุมรองเท้าทั้งหมด
ไม่พับขากางเกงออกมาด้านนอก
4. เข็มขัด ใช้เข็มขัดหนังสีดา หัวเข็มขัดมีตราสัญลักษณ์ของมหาวิทยาลัย
5. รองเท้า ใช้รองเท้าหนังหรือผ้าใบหุ้มส้นปิดปลายเท้าทรงสุภาพ สีดาไม่มีลวดลาย ส้นรองเท้าสูง
ไม่เกิน 1.5 นิ้ว
6. ถุงเท้า ใช้ถุงเท้าสั้นสีดา หรือ สีกรมท่า ไม่มีลวดลาย
7. ทรงผม ให้ไว้ผมสั้น หรือ รองทรงแบบสุภาพ ไม่ไว้หนวดเครา
8. ไม่สวมกาไลแขน ต่างหู หรือ เครื่องประดับอื่นๆที่ไม่เหมาะสม

เครื่องแต่งกำยของนักศึกษำหญิงในเวลำเรียนปกติ
1. เสื้อ ใช้เสื้อเชิ้ตสีขาวแขนสั้น ใช้ผ้าหนาปานกลาง เนื้อเกลี้ยงเรียบ ปกแหลมคอพับ มีสาบผ่าอก
ตลอด ขนาดพอดี กั บ รู ป ร่ า ง ติ ด กระดุ ม โลหะตราสั ญ ลั ก ษณ์ ม หาวิ ท ยาลั ย 5 เม็ ด ติ ด เข็ ม สั ญ ลั ก ษณ์ ต รา
มหาวิทยาลัยที่อกเสื้อด้านซ้าย ที่ปกเสื้อด้านซ้ายห้อยตุ้งติ้งตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัยให้เก็บชายเสื้อไว้ภายใน
กระโปรงไม่พับแขนเสื้อ
2. กระโปรง ให้ใช้ กระโปรงเนื้ อ ผ้าเรียบเกลี้ ยงสี ด า หรือ สี กรมท่ า หรือผ้ าพื้ น เมื อ งหรือ ผ้ามั ด หมี่
ตัดเย็บเข้ารูปหรือจีบรอบเอว ไม่มีกระเป๋าปะ ความยาวคลุมเข่าไม่มีระบาย ไม่ใช้ผ้ายีนส์ ผ้ากามะหยี่ ผ้าลู กไม้
ผ้าถัก ผ้าเนื้อมัน หรือผ้าเนื้อบาง
3. เข็มขัด ให้ใช้ เข็มขัดสายสีดา หัวเข็มขัดมีตราสัญลักษณ์มหาวิทยาลัย
4. รองเท้า ให้ใช้รองเท้าหนังสีดาหุ้มส้น ปิดปลายเท้า ไม่มีลวดลาย ส้นสูงไม่เกิน 2 นิ้ ว ทรงผมให้ไว้
ผมสั้น ทรงสุภาพ ไม่ทาสีผม ถ้าไว้ผมยาวเกินต้นคอให้รวบไว้ข้างหลังให้เรียบร้อย ผูกด้วยโบว์สีดาหรือสีกรมท่า
ไม่มีลวดลาย

ที่มา :
มหาวิทยาลัยราชภัฏสุรินทร์. (2563). คู่มือนักศึกษำ ประจำปี 2563. สุรินทร์ : สานักส่งเสริมวิชาการและงาน
ทะเบียน.
53

ข้อบังคับคุรุสภำว่ำด้วยแบบแผนพฤติกรรมตำมจรรยำบรรณของวิชำชีพ พ.ศ.2550
คณะกรรมการคุรุสภา ได้ออกข้อบังคับคุรุสภาว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ
(2550) ที่สาคัญ มีดังต่อไปนี้
“แบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ” หมายความว่า ประมวลพฤติกรรมที่เป็นตัวอย่าง
ของการประพฤติที่กาหนดขึ้นตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ ซึ่งผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา คือ ครู ผู้บริหาร
สถานศึกษา ผู้บริหารการศึกษา และศึกษานิเทศก์ ต้องพึงประพฤติปฏิบัติตาม ประกอบด้วย พฤติกรรมที่พึง
ประสงค์ ที่กาหนดให้ผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษาต้องหรือพึ งละเว้น“จรรยาบรรณของวิชาชีพ” หมายความ
ถึง มาตรฐานการปฏิบัติตนตามข้อบังคับ คุรุสภาว่าด้วยมาตรฐานวิชาชีพและจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.2548

จรรยำบรรณต่อตนเอง
ครูต้องมีวินัยในตนเอง พัฒ นาตนเองด้านวิชาชีพ บุคลิกภาพและวิสัยทัศน์ให้ทันต่อการพัฒนาทาง
วิท ยาการ เศรษฐกิ จ สังคม และการเมื องอยู่เสมอโดยต้ องประพฤติ และละเว้น การประพฤติต ามแบบแผน
พฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. พฤติกรรมที่พึงประสงค์
1.1 ประพฤติตนเหมาะสมกับสถานภาพและเป็นแบบอย่างที่ดี
1.2 ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการดาเนินชีวิตตามประเพณี และวัฒนธรรมไทย
1.3 ปฏิบัติงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมายให้สาเร็จอย่างมีคุณภาพตามเป้าหมายที่กาหนด
1.4 ศึกษา หาความรู้ วางแผนพัฒนาตนเอง พัฒนางานและสะสมผลงานอย่างสม่าเสมอ
1.5 ค้นคว้า แสวงหา และนาเทคนิคด้านวิชาชีพที่พัฒนาและก้าวหน้า เป็นที่ยอมรับมาใช้แก่ศิษย์
และผู้รับบริการให้เกิดผลสัมฤทธิ์ที่พึงประสงค์
2. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
2.1 เกี่ยวข้องกับอบายมุขหรือเสพสิ่งเสพติดจนขาดสติหรือแสดงกิริยาไม่สุภาพเป็นที่น่ารังเกียจ
ของสังคม
2.2 ประพฤติผิดทางชู้สาวหรือมีพฤติกรรมล่วงละเมิดทางเพศ
2.3 ขาดความรับผิดชอบ ความกระตือรือร้น ความเอาใจใส่จนเกิดความเสียหายในการปฏิบัติ
หน้าที่
2.4 ไม่รับรู้หรือไม่แสวงหาความรู้ใหม่ๆ ในการจัดการเรียนรู้และการปฏิบัติหน้าที่
2.5 ขัดขวางการพัฒนาองค์การจนเกิดความเสียหาย

จรรยำบรรณต่อวิชำชีพ
ครูต้องรัก ศรัทธา ซื่อสัตย์สุจริต รับผิดชอบต่อ วิชาชีพ และเป็นสมาชิกที่ดีต่อองค์กรวิชาชีพโดยต้อง
ประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. พฤติกรรมที่พึงประสงค์
1.1 แสดงความชื่นชมและศรัทธาในคุณค่าของวิชาชีพ
1.2 รักษาชื่อเสียงและปกป้องศักดิ์ศรีแห่งวิชาชีพ
1.3 ยกย่องและเชิดชูเกียรติผู้มีผลงานในวิชาชีพให้สาธารณชนรับรู้
1.4 อุทิศตนเพื่อความก้าวหน้าทางวิชาชีพ
54

1.5 ปฏิ บั ติห น้ า ที่ ด้ วยความรับ ผิ ด ชอบ ซื่อ สั ต ย์สุ จ ริต ตามกฎระเบี ยบและแบบแผนของทาง
ราชการ
1.6 เลือกใช้หลักวิชาที่ถูกต้อง สร้างสรรค์เทคนิค วิธีการใหม่ๆเพื่อพัฒนาวิชาชีพ
1.6 ใช้องค์ความรู้หลากหลายในการปฏิบัติหน้าที่ และแลกเปลี่ยนเรียนรู้กับสมาชิกในองค์กร
เข้าร่วมกิจกรรมของวิชาชีพหรือองค์กรวิชาชีพอย่างสร้างสรรค์
2. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
2.1 ไม่แสดงความภาคภูมิใจในการประกอบวิชาชีพ
2.2 ดูหมิ่นเหยียดหยามให้ร้ายผู้ร่วมประกอบวิชาชีพศาสตร์ในวิชาชีพ หรือองค์กรวิชาชีพ
2.3 ประกอบการงานอื่นที่ไม่เหมาะสมกับการเป็นผู้ประกอบวิชาชีพทางการศึกษา
2.4 ไม่ซื่อสัตย์สุจริต ไม่รับผิดชอบ หรือไม่ปฏิบัติตามกฎระเบียบ หรือแบบแผนของทางราชการ
จนก่อให้เกิดความเสียหาย
2.5 คัดลอกหรือนาผลงานของผู้อื่นมาเป็นของตน
2.6 ใช้ห ลัก วิชาการที่ไม่ถู กต้ องในการปฏิ บั ติวิช าชีพ ส่ ง ผลให้ ศิษ ย์ห รือผู้ รับ บริก ารเกิด ความ
เสียหาย
2.7 ใช้ความรู้ทางวิชาการ วิชาชีพ หรืออาศัยองค์กรวิชาชีพแสวงหาประโยชน์เพื่อตนเองและ
ผู้อื่นโดยชอบ

จรรยำบรรณต่อผู้รับบริกำร
ครูต้องรัก เมตตา เอาใจใส่ ช่วยเหลือ ส่งเสริมให้กาลังใจแก่ศิษย์ และผู้รับบริการตามบทบาทหน้าที่
โดยเสมอหน้า ครูต้อ งส่ งเสริมให้ เกิดการเรียนรู้ ทัก ษะ และนิสั ยที่ถูก ต้องดีง ามแก่ศิ ษย์และผู้รับบริการตาม
บทบาทหน้าที่อย่างเต็มความสามารถด้วยความบริสุทธิ์ใจ ครูต้องประพฤติปฏิบัติตนเป็นแบบอย่างที่ดี ทั้งทาง
กาย วาจา และจิตใจ ครูต้องไม่กระทาตนเป็นปฏิปักษ์ต่อความเจริญ ทางกาย สติ ปัญ ญา จิตใจ อารมณ์และ
สังคม ของศิษย์และผู้รับบริการ และครูต้องให้บริการด้วยความจริงใจและเสมอภาค โดยไม่เรียกรับหรือยอมรับ
ผลประโยชน์ จากการใช้ต าแหน่ งหน้ าที่โดยมิช อบ โดยต้ องประพฤติแ ละละเว้น การประพฤติต ามแบบแผน
พฤติกรรมดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. พฤติกรรมที่พึงประสงค์
1.1 ให้ ค าปรึ ก ษาหรื อ ช่ วยเหลื อ ศิษ ย์ และผู้ รับ บริก ารด้ วยความเมตตากรุณ าอย่ า งเต็ ม ก าลั ง
ความสามารถและเสมอภาค
1.2 สนับสนุนการดาเนินงานเพื่อปกป้องสิทธิเด็ก เยาวชน และผู้ด้อยโอกาส
1.3 ตั้งใจ เสียสละ และอุทิ ศตนในการปฏิบั ติห น้าที่เพื่อให้ศิษ ย์และผู้เข้ารับบริการได้รับการ
พัฒนาตามความสามารถ ความถนัด และความสนใจของแต่ละบุคคล
1.4 ส่งเสริมให้ศิษย์และผู้รับบริการสามารถแสวงหาความรู้ได้ด้วยตนเองจากสื่อ อุปกรณ์ และ
แหล่งเรียนรู้อย่างหลากหลาย
1.5 ให้ศิษย์และผู้รับบริการมีส่วนร่วมวางแผนการเรียนรู้ และเลือกวิธีการปฏิบัติ ที่เหมาะสมกับ
ตนเอง
1.6 เสริมสร้างความภาคภู มิใจให้ แก่ศิษย์และผู้รับบริการด้ วยการรับฟัง ความคิ ดเห็น ยกย่อ ง
ชมเชย และให้กาลังใจอย่างกัลยาณมิตร
55

2. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
2.1 ลงโทษศิษย์อย่างไม่เหมาะสม
2.2 ไม่ ใ ส่ ใจหรื อ ไม่ รั บ รู้ ปั ญ หาของศิ ษ ย์ ห รื อ ผู้ รั บ บริ ก าร จนเกิ ด ผลเสี ย หายต่ อ ศิ ษ ย์ หรื อ
ผู้รับบริการ
2.3 ดูหมิ่นเหยียดหยามศิษย์ หรือผู้รับบริการ
2.4 เปิดเผยความลับของศิษย์หรือผู้รับบริการ เป็นผลให้ได้รับความอับอายและเสื่อมเสียชื่อเสียง
2.5 จูงใจ โน้มน้าว ยุยงส่งเสริมให้ศิษย์หรือผู้รับบริการปฏิบัติขัดต่อศีลธรรมหรือกฎระเบียบ
2.6 ชักชวน ใช้ จ้าง วานศิษย์หรือผู้รับบริการให้จัดขึ้น จัดหาสิ่งเสพติด หรือเข้าไปเกี่ยวข้องกับ
อบายมุข
2.7 เรียกร้องผลตอบแทนจากศิษย์หรือผู้รับบริการในงานตามหน้าที่ที่ต้องให้บริการ

จรรยำบรรณต่อผู้ร่วมประกอบวิชำชีพ
ครูพึงช่วยเหลือเกื้อกูลซึ่งกันและกันอย่างสร้างสรรค์ โดยยึดมั่นในระบบคุณธรรมสร้างความสามัคคี
ในหมู่คณะ โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่างต่อไปนี้
1. พฤติกรรมที่พึงประสงค์
1.1 เสียสละ เอื้ออาทร และให้ความช่วยเหลือผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
1.2 มีความรัก ความสามัคคี และร่วมใจกันผนึกกาลังในการพัฒนาการศึกษา
2. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
2.1 ปิดบังข้อมูลข่าวสารในการปฏิบัติงาน จนทาให้เกิดความเสียหายต่องานหรือผู้ร่วมประกอบ
อาชีพ
2.2 ปฏิเสธความรับผิดชอบ โดยตาหนิ ให้ร้ายผู้อื่นในความบกพร่องที่เกิดขึ้น
2.3 สร้างกลุ่มอิทธิพลภายในองค์กร หรือกลั่นแกล้งผู้ร่วมประกอบวิชาชีพให้เกิดความเสียหาย
2.4 เจตนาให้ข้อมูลเท็จทาให้เกิดความเข้าใจผิดหรือเกิดความเสียหายต่อผู้ร่วมประกอบวิชาชีพ
2.5 วิพากษ์ วิจารณ์ผู้ร่วมประกอบวิชาชีพในเรื่องที่ก่อให้เกิดความเสียหายหรือแตกความสามัคคี

จรรยำบรรณต่อสังคม
ครูพึงประพฤติปฏิบัติตนเป็นผู้นาในการอนุรักษ์และพัฒนาเศรษฐกิจ สังคม ศาสนา ศิลปวัฒนธรรม
ภูมิปัญ ญา สิ่งแวดล้อม รักษาผลประโยชน์ของส่วนรวม และยึดมั่นในการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมี
พระมหากษัตริย์ทรงเป็นประมุข โดยพึงประพฤติและละเว้นการประพฤติตามแบบแผนพฤติกรรม ดังตัวอย่าง
ต่อไปนี้
1. พฤติกรรมที่พึงประสงค์
1.1 ยึดมั่น สนับสนุน และส่งเสริมการปกครองระบอบประชาธิปไตยอันมีพระมหากษัตริย์ทรง
เป็นประมุข
1.2 นาภูมิปัญญาท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรมมาเป็นปัจจัยในการจัดการศึกษาให้เป็นประโยชน์ต่อ
ส่วนรวม
1.3 จัดกิจกรรมส่งเสริมให้ศิษย์เกิดการเรียนรู้และสามารถดาเนินชีวิตตามหลักเศรษฐกิจพอเพียง
1.4 เป็นผู้นาในการวางแผน และดาเนินการ เพื่ออนุรักษ์สิ่งแวดล้อม พัฒนาเศรษฐกิจภูมิปัญญา
ท้องถิ่นและศิลปวัฒนธรรม
56

2. พฤติกรรมที่ไม่พึงประสงค์
2.1 ไม่ ให้ ค วามร่วมมื อหรือ สนับ สนุ น กิจ กรรมของชุม ชนที่ จั ดเพื่ อประโยชน์ ต่ อการศึ ก ษาทั้ ง
ทางตรงและทางอ้อม
2.2 ไม่แสดงความเป็นผู้นาในการอนุรักษ์หรือพัฒนาเศรษฐกิจสังคม ศาสนา ศิลปะ วัฒนธรรม
ภูมิปัญญาหรือสิ่งแวดล้อม
2.3 ไม่ประพฤติตนเป็นแบบอย่างที่ดีในการอนุรักษ์หรือพัฒนาสิ่งแวดล้อม
2.4 ปฏิบัติตนเป็นปฏิปักษ์ต่อวัฒนธรรมอันดีงามของชุมชนหรือสังคม

ที่มำ :
"ข้อบังคับคุรุสภา ว่าด้วยแบบแผนพฤติกรรมตามจรรยาบรรณของวิชาชีพ พ.ศ.2550". (2550, 27 เมษายน).
รำชกิจจำนุเบกษำ. เล่ม 124 ตอนพิเศษ 51 ง. หน้า 37 - 56.
57

ปฏิทินกำรฝึกปฏิบัติงำนวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1
(Practicum in Profession of Teaching 1)
วันที่ กิจกรรม กำรปฏิบัติ
ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย ลงทะเบียน ให้นักศึกษาแต่ละหมู่เรียน
ลงทะเบียนในหมู่เรียนที่มี
อาจารย์ประจาหมู่เรียนเป็น
อาจารย์ในหลักสูตร (จะลง
ข้ามหลักสูตรไม่ได้)
ภายในเดือนตุลาคม ๏ สาขานัดประชุมอาจารย์พี่เลี้ยง สาขาวิชา
ธันวาคม 2563 ๏ ดาวน์โหลดเอกสารคู่มือการฝึก นักศึกษาทุกคน
ประสบการณ์จากเฟซบุ๊ก
วันที่ 23 ธันวาคม 2563 ๏ ปฐมนิเทศรวม ชี้แจงแนวทางการฝึก ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
ปฏิบัติงานวิชาชีพระหว่างเรียน 1
๏ นักศึกษาสมัครเข้าเฟซบุ๊กกลุ่ม
วันที่ 5-8 มกราคม 2564 ๏สาขาวิชาส่งข้อมูลการเลือกโรงเรียน สาขาวิชา
วันที่ 8-12 กุมภาพันธ์ 2564 ๏ รับหนังสือส่งตัว นักศึกษา
เอกสารแนบ
1. รายชื่อนักศึกษา
2. คู่มือการฝึกปฏิบัติวิชาชีพระหว่างเรียน 1
3. แบบประเมินผลฯสาหรับคุณครูพี่เลี้ยง
4. แบบประเมินผลฯสาหรับผู้บริหาร
สถานศึกษา
5. แบบประเมินคู่มือการฝึกปฏิบัติวิชาชีพ
ระหว่างเรียน 1
6. บัญชีลงเวลา
15-26 กุมภาพันธ์ 2564 ๏ ส่งนักศึกษาออกฝึกฯ ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
(นักศึกษาอาจออกฝึก ๏ นิเทศติดตาม อาจารย์นิเทศก์
ในโรงเรียนก่อนเวลา
๏ เข้าชั้นเรียนพบอาจารย์ประจาวิชา นักศึกษา
ที่กาหนดก่อนทั้งนี้ขึ้นอยู่กับ
โรงเรียนแต่ละโรงเรียน เพื่อทากิจกรรมถอดบทเรียน และ
ว่าเปิดภาคเรียนช่วงใด) สะท้อนคิด
๏ ส่งเอกสารแบบบันทึกสาหรับสัปดาห์ที่ 1
58

ปฏิทินกำรฝึกปฏิบัติวิชำชีพระหว่ำงเรียน 1 (ต่อ)
(Practicum in Profession of Teaching 1)
วันที่ กิจกรรม กำรปฏิบัติ
๏ นาหนังสือส่งตัวจากโรงเรียนมาส่งยัง นักศึกษา
ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
เอกสาฉบับจริง (นักศึกษาสาเนาเอกสาร
เก็บไว้ อย่างละ 1 ฉบับ)
1. หนังสือส่งตัวจากโรงเรียน
2. คาสั่งแต่งตั้งคุณครูพี่เลี้ยง
3. บัญชีลงเวลา
มีนาคม 2564 ๏ เข้าชั้นเรียนพบอาจารย์ประจาวิชา อาจารย์นิเทศก์
ทากิจกรรมถอดบทเรียน และสะท้อนคิด
(ในแต่ละประเด็นของการเก็บรวบรวม
ข้อมูล) โดยมีเป้าหมายเพื่อให้นักศึกษาได้
รอบรู้ขอบข่ายของงานครู รู้เป้าหมาย
ของการเป็นครูที่ดี การทาแฟ้มสะสมผลงาน
และ PLC
๏เตรียมสัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
๏ ส่งเอกสารแบบบันทึกทุกแบบ
๏ ส่งแบบประเมินจากโรงเรียน (ผู้บริหาร
โรงเรียนและอาจารย์พี่เลี้ยง) ให้กับอาจารย์
นิเทศก์
ปลายมีนาคม 2564 ๏ สัมมนาเพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้ ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
อาจารย์นิเทศก์
ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย ฝ่ายฝึกประสบการณ์ส่งคะแนนให้กับ ฝ่ายฝึกประสบการณ์วิชาชีพครู
อาจารย์นิเทศก์
ตามปฏิทินของมหาวิทยาลัย ประเมินผลการเรียนรู้ส่งคณะครุศาสตร์เพื่อ อาจารย์นิเทศก์
อนุมัติผลการเรียนรู้

You might also like