You are on page 1of 6

แบบประเมินผลการใชหลักสูตรสถานศึกษา

ตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐาน พุทธศักราช 2551


และมาตรฐานการเรียนรูและตัวชี้วัดฯ(ระหวางทาง,ปลายทาง) (ฉบับปรับปรุง พ.ศ.2560)

โรงเรียน …………………..…………………………………………………. เครือขาย..........................................


สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษาสุราษฎรธานี เขต 1
---------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
คำชี้แจง
1. แบบประเมินฉบับนี้ เปนแบบประมาณคา 4 ระดับ พรอมบันทึกเสนอแนะ แบงเปน 3 ตอน ประกอบดวย
ตอนที่ 1 องคประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา
ตอนที่ 2 การนำหลักสูตรสถานศึกษาสูการจัดการเรียนรู
ตอนที่ 3 ปญหาหรือขอเสนอแนะอื่นๆ
2. ใหผูรับผิดชอบหรือผูไดรับมอบหมายของโรงเรียนดำเนินการประเมินโดยทำเครื่องหมาย / ลงในชองผลการประเมินตาม
สภาพที่เปนจริง พรอมบันทึกขอเสนอแนะเพื่อปรับปรุง/แกไข
3. ระดับคุณภาพ

เกณฑการประเมิน
รายการประเมิน ดีมาก ดี พอใช ปรับปรุง
(4) (3) (2) (1)
ตอนที่ 1 องคประกอบ ครบถ้วน ถูกต้อง ครบถ้วน ถูกต้อง มีครบทุกรายการ ไมมี มีไมครบ
ของหลักสูตร สอดคล้อง สอดคล้อง แต่มบี างรายการ ทุกรายการ ไม
สถานศึกษา เหมาะสม ทุก เหมาะสม บาง ควรปรับปรุงแก้ไข สอดคลอง ตอง
รายการ รายการ ปรับปรุงแกไข
หรือเพิ่มเติม
ตอนที่ 2 การนำ มีการปฏิบัติใน มีการปฏิบัติใน มีการปฏิบัติใน มีการปฏิบัติใน
หลักสูตรสถานศึกษา ระดับมากที่สุดหรือ ระดับมากหรือมี ระดับปานกลาง ระดับนอยหรือ
สูการจัดการเรียนรู มีความสอดคลอง ความสอดคลอง หรือมีความ มีความ
ถูกตองมากที่สุด ถูกตองมาก สอดคลอง ถูกตอง สอดคลอง
หรือปฏิบัติ 7-8 หรือปฏิบัติ 5-6 ปานกลาง หรือ ถูกตองนอย
กลุมสาระการ กลุมสาระการ ปฏิบัติ 3-4 กลุม หรือปฏิบัตินอย
เรียนรู เรียนรู สาระการเรียนรู กวา 3 กลุม
สาระการ
เรียนรู
4. เกณฑการตัดสินระดับคุณภาพ
คะแนน 75 – 100 ไดระดับคุณภาพ 4 หมายถึง ดีมาก
คะแนน 50 - 74 ไดระดับคุณภาพ 3 หมายถึง ดี
คะแนน 25 - 49 ไดระดับคุณภาพ 2 หมายถึง พอใช
คะแนน 0 - 24 ไดระดับคุณภาพ 1 หมายถึง ปรับปรุง

1
ตอนที่ 1 องคประกอบของหลักสูตรสถานศึกษา (9 รายการ 36 คะแนน)
ระ ด ับ ค ุณ ภ า พ
รายการ
4 3 2 1
๑. ส่วนนํา
๑.๑ ความนํา
แสดงความเชื่อมโยงระหว่างหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน
พุทธศักราช ๒๕๕๑ กรอบหลักสูตรระดับท้องถิน่ จุดเน้น และความต้องการของโรงเรียน
๑.๒ วิ สยั ทัศน์
แสดงภาพอนาคตทีพ่ งึ ประสงค์ของผูเ้ รียนทีส่ อดคล้องกับวิสยั ทัศน์ของ
หลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑ อย่างชัดเจน สอดคล้อง
กับกรอบหลักสูตรระดับท้องถิน่ ครอบคลุมสภาพความต้องการของโรงเรียน ชุมชน ท้องถิน่
มีความชัดเจนสามารถปฏิบตั ไิ ด้
๑.๓ สมรรถนะสําคัญของผู้เรียน
มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑
๑.๔ คุณลักษณะอันพึงประสงค์
มีความสอดคล้องกับหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช
๒๕๕๑ สอดคล้องกับเป้ าหมาย จุดเน้น กรอบหลักสูตรระดับท้องถิน่ สอดคล้องกับ
วิสยั ทัศน์ ของโรงเรียน
๒. โครงสร้างหลักสูตรสถานศึกษา
๒.๑ โครงสร้างเวลาเรียน
มีการระบุเวลาเรียนตลอดหลักสูตร จํานวน ๘ กลุ่มสาระการเรียนรู้ ทีเ่ ป็ นเวลา
เรียนพืน้ ฐาน และเพิม่ เติมจําแนกแต่ละชัน้ ปี อย่างชัดเจน ระบุเวลาการจัดกิจกรรมพัฒนา
ผูเ้ รียนจําแนกแต่ละชัน้ ปี อย่างชัดเจน เวลาเรียนรวมของหลักสูตรสถานศึกษาสอดคล้อง
กับโครงสร้างเวลาเรียนตามหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขัน้ พืน้ ฐาน พุทธศักราช ๒๕๕๑
๒.๒ โครงสร้างหลักสูตรชัน้ ปี
มีการระบุรายวิชาพืน้ ฐาน รายวิชาเพิม่ เติม ระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา พร้อมทัง้ ระบุ
เวลาเรียน และ/หรือหน่ วยกิต มีการระบุกจิ กรรมพัฒนาผูเ้ รียน พร้อมทัง้ ระบุเวลาเรียนไว้
อย่างถูกต้อง ชัดเจน รายวิชาเพิม่ เติม / กิจกรรมเพิม่ เติมทีก่ ําหนดสอดคล้องกับวิสยั ทัศน์
จุดเน้นของโรงเรียน
3. คำอธิบายรายวิชา
1) มีการระบุรหัสวิชา ชื่อรายวิชา และชื่อกลุมสาระการเรียนรู ชั้นปที่สอน จำนวน
เวลาเรียน และ/หรือหนวยกิต ไวอยางถูกตองชัดเจน
2) การเขียนคำอธิบายรายวิชาไดเขียนเปนความเรียงโดยระบุ องคความรู ทักษะ

2
ระ ด ับ ค ุณ ภ า พ
รายการ
4 3 2 1
กระบวนการ และคุณลักษณะ หรือเจตคติ ที่ตองการและครอบคลุมตัวชี้วัด สาระการเรียนรู
แกนกลาง
3) ระบุรหัสตัวชี้วัด(ระหวางทาง,ปลายทาง) ในรายวิชาพื้นฐานและจำนวนรวมของ
ตัวชี้วัดและระบุผลการเรียนรู ในรายวิชาเพิ่มเติมและจำนวนรวมของผลการเรียนรูถูกตอง
4) มีการกำหนดสาระการเรียนรูทองถิ่น สอดแทรกอยูในคำอธิบายรายวิชาพื้นฐาน
หรือรายวิชาเพิ่มเติม
4. กิจกรรมพัฒนาผูเรียน
1) ในโครงสรางหลักสูตรสถานศึกษาและโครงสรางหลักสูตรชั้นป ไดระบุกิจกรรม
และจัดเวลาสอน ตามที่กำหนดไวในหลักสูตรแกนกลางการศึกษาขั้นพื้นฐานและสอดคลองกับ
บริบทของโรงเรียน
2) หลักสูตรสถานศึกษามีการจัดทำโครงสรางและแนวการจัดกิจกรรม แนวทางการวัดและ
ประเมินกิจกรรมพัฒนาผูเรียนทั้ง 3 กิจกรรมที่ชัดเจน
5. เกณฑการจบการศึกษา
1) ระบุเวลาเรียน/หนวยกิต ทั้งรายวิชาพื้นฐานและรายวิชาเพิ่มเติมตามเกณฑการจบ
การศึกษาของโรงเรียน ชัดเจน
2) ระบุเกณฑการประเมินการอาน คิดวิเคราะห และเขียนไวอยางชัดเจน
3) ระบุเกณฑการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคไวอยางชัดเจน
4) ระบุเกณฑการผานกิจกรรมพัฒนาผูเรียนไวอยางชัดเจน

ตอนที่ 2 การนำหลักสูตรสถานสถานศึกษาสูการจัดการเรียนรู (16 รายการ 64 คะแนน)


ผ ล ก าร ป ร ะเม ิน
รายการ
4 3 2 1
1. โครงสรางรายวิชา
1.1 การจัดกลุมมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด จัดกลุมมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด(ระหวาง
ทาง,ปลายทาง) ที่มีความสัมพันธกัน และเวลาในแตละหนวยการเรียนรู เหมาะสม ทุกกลุม
สาระการเรียนรู
1.2 การจัดทำสาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
ไดวิเคราะหแกนความรูของทุกตัวชี้วัดในแตละหนวยการเรียนรู มาจัดทำสาระสำคัญ/ความคิด
รวบยอด ชัดเจนเหมาะสมและครบทุกหนวยการเรียนรูทุกกลุมสาระการเรียนรู
1.3 การตั้งชื่อหนวยการเรียนรูของแตละหนวยการเรียนรู สะทอนใหเห็นสาระสำคัญ หรือ
ประเด็นหลักในหนวยการเรียนรูนั้นๆ นาสนใจเหมาะสมกับวัย ความสนใจ ความสามารถของ
ผูเรียน ทุกกลุมสาระการเรียนรู
1.4 การกำหนดสัดสวนเวลาเรียน กำหนดสัดสวนเวลาเรียนแตละหนวยการเรียนรู
เหมาะสม และรวมทุกหนวยตองเทากับเวลาเรียนตามหลักสูตรทุกกลุมสาระการเรียนรู

3
ผ ล ก าร ป ร ะเม ิน
รายการ
4 3 2 1
1.5 การกำหนดสัดสวนน้ำหนักคะแนน กำหนดสัดสวนน้ำหนักคะแนนแตละหนวยการ
เรียนรูเหมาะสมและรวมตลอดป/ภาคเรียนเทากับ 100 คะแนน ทุกกลุมสาระการเรียนรู
2. หนวยการเรียนรู
2.1 การวางแผนจัดทำหนวยการเรียนรู
มีการวางแผนออกแบบหนวยการเรียนรูครบทุกหนวยการเรียนรูและทุกกลุมสาระ
การเรียนรู
2.2 การจัดทำหนวยการเรียนรู : การกำหนดเปาหมาย
กำหนดมาตรฐานการเรียนรู/ตัวชี้วัด(ระหวางทาง,ปลายทาง) สาระสำคัญ/ความคิด
รวบยอด สาระการเรียนรู สมรรถนะสำคัญของผูเรียน คุณลักษณะอันพึงประสงคถูกตอง
เหมาะสมมีความสอดคลองกันทุกกลุมสาระการเรียนรู
2.3 การจัดทำหนวยการเรียนรู : การกำหนดหลักฐานการเรียนรู
กำหนดชิ้นงาน /ภาระงาน การวัดและประเมินผลสอดคลองกับตัวชี้วัด(ระหวางทาง
,ปลายทาง)/มาตรฐานการเรียนรูทุกกลุมสาระการเรียนรู
2.4 การจัดทำหนวยการเรียนรู : ออกแบบกิจกรรมการเรียนรู ออกแบบกิจกรรมการ
เรียนรู ไดสอดคลองกับตัวชี้วัด (ระหวางทาง,ปลายทาง) /มาตรฐานและเนนผูเรียนเปนสำคัญ
ทุกกลุมสาระการเรียนรู และมีการบูรณาการแหลงเรียนรูทองถิ่น
3. แผนการจัดการเรียนรู
3.1 เขียนแผนการจัดการเรียนรูที่ครบตามองคประกอบที่สำคัญ
3.1.1 แผนการจัดการเรียนรูสมบูรณ มีองคประกอบสำคัญครบทุกหนวยตาม
กระบวนการจัดการเรียนรูเชิงรุก (Active Learning) ทุกกลุมสาระฯ
3.1.2 แผนการจัดการเรียนรูสงเสริมและพัฒนาศักยภาพผูเรียนตามพหุปญญา
3.2 การประเมินแผนการจัดการเรียนรู
มีการประเมินแผนการจัดการเรียนรูทุกแผนกอนการนำไปใชจริงทุกกลุมสาระการเรียนรู
3.3 การนำแผนไปสูการปฏิบัติ
มีการนำเอาแผนที่ปรับปรุงแลวไปใชในการจัดการเรียนรูจริงทุกกลุมสาระการเรียนรู
4. การวัดและประเมินผลการเรียนรูระดับชั้นเรียน
4.1 การประเมินผลการเรียนรูตามกลุมสาระการเรียนรู
1) การวางแผนการประเมินรายวิชาและตรวจสอบการใชตัวชี้วัด (ระหวางทาง
,ปลายทาง)
2) การออกแบบการวัดและประเมินผลในหนวยการเรียนรู
3) มีการออกแบบการวัดและประเมินผลปลายป/ปลายภาค

4
ผ ล ก าร ป ร ะเม ิน
รายการ
4 3 2 1
4.2 การประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน
1) มีการบันทึก ตรวจสอบตัวชี้วัดความสามารถในการอาน คิดวิเคราะหและเขียน
ตามกลุมสาระการเรียนรู
2) มีการบันทึกและสรุปผลการประเมินผลการอาน คิดวิเคราะหและเขียนแตละ
กลุมสาระการเรียนรู
3) มีการจัดทำแบบสรุปผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียนแตละกลุม
สาระการเรียนรู
4) มีการจัดทำแบบรายงานผลการประเมินการอาน คิดวิเคราะหและเขียน
4.3 การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
1) การออกแบบการวัด และประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
2) มีการจัดทำแบบประเมินพฤติกรรมนักเรียนตามคุณลักษณะอันพึงประสงค
แตละขอ
3) มีการจัดทำแบบสรุปผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
4) มีการจัดทำแบบรายงานผลการประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค
4.4 การประเมินสมรรถนะสำคัญของผูเรียน
1) การออกแบบการวัด และประเมินสมรรถนะสำคัญของผูเรียน
2) มีการจัดทำแบบประเมินพฤติกรรมนักเรียนตามสมรรถนะสำคัญของผูเรียน
3) มีการจัดทำแบบสรุปผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผูเรียน
4) มีการจัดทำแบบรายงานผลการประเมินสมรรถนะสำคัญของผูเรียน

ปญหา หรือขอเสนอแนะอื่นๆ
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ................................................... ผูประเมิน
(.......................................................)
ตำแหนง ......................................................
วันที่.........................................................

5
ลงชื่อ................................................... ผูตรวจสอบ/รับรอง
(.......................................................)
ตำแหนง ผูอำนวยการโรงเรียน.................................................
วันที่.........................................................

You might also like