You are on page 1of 131

โรงเรียนโพนงามศึกษา

กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง ปฐมนิเทศการจัดการเรียนรู้
จำนวน ๒ คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน
สุภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ชื่อวิชา ภาษาไทย รหัส
วิชา ท๒๒๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๗ ครูผู้สอน
นางสาวศิริทรัพย์ ต้นสาย

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้


1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
ท 3.1 สามารถเลือกฟั งและดูอย่างมีวิจารณญาณ และพูดแสดง
ความรู้ ความคิด และความรู้สึก
ในโอกาสต่าง ๆ อย่างมีวิจารณญาณและสร้างสรรค์
1.2 ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
ท 3.1 ม.2/6 มีมารยาทในการฟั งการดูและการพูด
2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
ในการจัดกิจกรรมการเรียนการสอนนั้น การทำความเข้าใจ และร่วม
วางแนวปฏิบัติก่อนที่จะเริ่มเรียนเนื้อหาในแต่ละหน่วยการเรียนรู้ เป็ นสิ่งที่
ครูผู้สอน และนักเรียนจะต้องมีโอกาสได้ร่วมคิด ร่วมทำข้อตกลงร่วมกัน ซึ่ง
จะส่งผลให้มีความเข้าใจตรงกันในการจัดกระบวนการจัดการเรียนรู้ ให้
สอดคล้องกับวัตถุประสงค์ของการจัดกิจกรรมในแต่ละเนื้อหา
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจรับรู้กิจกรรม และเกณฑ์การวัดผล
ประเมินผล
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
นักเรียนสามารถบอกความสำคัญของรายวิชาได้ (P)
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้จากการปฐมนิเทศไปใช้เป็ นแนว
การในการพัฒนาตนเองเพื่อเตรียมพร้อมสู่การเรียนรู้วิชาภาษาไทย
4. สาระการเรียนรู้
ปฐมนิเทศ

5. สมรรถนะ
5.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1) ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล
1) เป็ นเลิศทางวิชาการ
2) สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
3) ล้ำหน้าทางความคิด
4) ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5) ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
7. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21
1) R1 -(R)eading (อ่านออก)
2) R2 –W(R)iting (เขียนได้)
8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษา
8.1 บูรณาการกับศาสตร์พระราชา
1) การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์)
2) การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
3) การมีงาน มีอาชีพ
4) การเป็ นพลเมืองดี มีน้ำใจ เอื้ออาทร มีจิตสาธารณะ
8.2 บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1) หลักความพอประมาณ
2) หลักความมีเหตุผล
3) หลักการมีภูมิคุ้มกัน
4) เงื่อนไขความรู้
5) เงื่อนไขคุณธรรม
8.3 บูรณาการกับจุดเน้นของสถานศึกษา
1) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2) สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
3) โครงการโรงเรียนคุณธรรม
4) โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่
5) โครงการ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานอาชีพ
8.4 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
9. ชิ้นงานและภาระงาน
-
10. กิจกรรมการเรียนรู้ : รูปแบบการสอนแบบนิรนัย (Deductive
Method)
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นนำ (๑๕ นาที)
๑. ครูแนะนำตัวเองและให้นักเรียนแนะนำตัวเองทีละคน พร้อม
บอกความสามารถพิเศษของแต่ละคน
ขั้นสอน (๒๕ นาที)
๒. ครูแนะนำหนังสือที่ใช้เรียนและชี้แจงรายละเอียดเกี่ยวกับการ
เรียนการสอนในรายวิชาภาษาไทย
ท๒๑๑๐๑ โดยมีหัวข้อดังนี้
๒.๑ แนวการสอนและหัวข้อที่กำหนดการเรียนรู้ภายในภาค
เรียนที่ ๑
๒.๒ เกณฑ์การวัดและประเมินผล
อัตราส่วนคะแนน ๗๐ : ๓๐ รวม ๑๐๐ คะแนน แบ่งเป็ น
๑. คะแนนเก็บระหว่างภาคเรียน ๗๐ คะแนน
๑.๑ คะแนนก่อนกลางภาค ๒๕ คะแนน
- หน่วยที่ ๑ แผนผังความคิด ๕ คะแนน
- หน่วยที่ ๑ การเขียนพรรณนา ๕ คะแนน
- หน่วยที่ ๑ แผนผังความคิด ๕ คะแนน
- หน่วยที่ ๒ อ่านบทอาขยาน ๕ คะแนน
- หน่วยที่ ๒ แบบทดสอบย่อย ๕ คะแนน
๑.๒ คะแนนสอบกลางภาค ๒๐ คะแนน
๑.๓ คะแนนหลังกลางภาค ๒๕ คะแนน
- หน่วยที่ ๓ คัดลายมือ ๕ คะแนน
- หน่วยที่ ๔ แผนผังความคิด ๕ คะแนน
- หน่วยที่ ๔ รายงาน (กลุ่ม) ๑๐ คะแนน
- สมุด ๕ คะแนน
๒. คะแนนสอบปลายภาค ๓๐ คะแนน
๒.๓ กติกาในชั้นเรียน
๑. นักเรียนต้องมีเวลาเรียนอย่างน้อย ๘๐ % คือ นักเรียน
ขาดเรียนได้ไม่เกิน ๗ ครั้ง
การลาจะต้องมีใบลาทุกครั้ง ถ้าไม่มีใบลาถือว่าขาดเรียน
๒. ไม่พูดคุยกันเสียงดังภายในห้องเรียน หากนักเรียนมีข้อ
สงสัยสามารถยกมือขึ้นถามครูได้
๓. ไม่รับประทานอาหารหรือขนมขบเคี้ยวทุกชนิดใน
ห้องเรียน
๔. แต่งกายสุภาพเรียบร้อยและพูดจาไพเราะ

๕. เข้าห้องเรียนและส่งงานตรงเวลาทุกครั้ง
๖. ห้ามเล่นโทรศัพท์ในห้องเรียน แต่จะสามารถใช้โทรศัพท์
ได้เมื่อคุณครูอนุญาตเท่านั้น
๒.๔ เมื่อคุณครูถามและนักเรียนสามารถตอบคำถามได้ คุณครู
จะมีไม้ไอศกรีมแจกให้นักเรียน
เพื่อสะสมคะแนน
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๕. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการปฐมนิเทศ
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นนำ (๑๐ นาที)
๑. ครูตั้งประเด็นคำถามทบทวนความรู้ของนักเรียนเกี่ยวกับเรื่อง
กลอน ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนาความรู้ที่มีเกี่ยวกับเรื่องกลอน
ขั้นสอน (๓๐ นาที)
2. ครูให้นักเรียนทำกิจกรรม เกมส่งสัมผัสคำ ซึ่งกิจกรรมนี้เป็ น
กิจกรรมทบทวนความรู้เดิมของ นักเรียน และเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิด
เจตคติที่ดีต่อวิชาภาษาไทย
3. ครูชี้แจ้งวิธีการเล่นกิจกรรม เกมส่งสัมผัส โดยครูขึ้นต้นคำให้
นักเรียน และนักเรียนคนแรก ของ ห้องต้องหาคำที่มีการสัมผัสเสียง
สระเหมือนคำที่ครูขึ้นต้น ตัวอย่างกิจกรรม เกมส่งสัมผัสคำ
ครู : นภา
นักเรียนคนแรกของห้อง : ราตรี
นักเรียนคนที่สอง: ปรีดา
นักเรียนคนที่สาม: อาศัย
แล้วให้นักเรียนพูดสัมผัสกันต่อไปเรื่อย ๆ จนถึงคนสุดท้ายของห้อง
จากนั้นช่วยกันสรุปเนื้อหาว่าจาก การส่งสัมผัสคำของนักเรียน มีใคร ทำ
อะไร ที่ไหน อย่างไร แล้วร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับการส่งสัมผัส
เสียง สระ ครูให้ข้อเสนอแนะเพิ่มเติม
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปกิจกรรม เกมส่งสัมผัสคำ เป็ นกิจกรรม
ทบทวนความรู้เดิมของนักเรียน และเพื่อส่งเสริมให้นักเรียนเกิดเจตคติที่ดี
ต่อวิชาภาษาไทย ซึ่งนักเรียนสามารถปฏิบัติกิจกรรมได้ถูกต้อง สะท้อน ให้
เห็นว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจมีพื้นฐานความรู้เกี่ยวกับสัมผัสสระ
11. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
- สื่อ

ลำดั
รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่มา
บที่

1 กิจกรรมเกมส่ง ขั้นสอน เพื่อ -


สัมผัสคำ เป็ นกิจกรรม
ทบทวนความรู้
เดิมของ
นักเรียน และ
เพื่อให้ นักเรียน
เกิดเจตคติที่ดี
ต่อวิชาภาษา
ไทย และครูผู้
สอน

2 แบบฝึ กทักษะ ให้นักเรียนทำ ครูจัดทำแบบฝึ กทักษะเลข


1.2 รากที่ n แบบฝึ กหัดหลัง ยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็ น
ของ จากได้เรียนเรื่อง จำนวนเต็ม จำนวน 10 ข้อ
จำนวนจริง นั้นมา โดยใช้โปรแกรม
Microsoft Office

- แหล่งเรียนรู้
 DLIT Classroom (ห้องเรียนแห่งคุณภาพ)
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
 DLIT Resources (คลังสื่อการเรียนรู้)
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

 DLIT Library (ห้องสมุดดิจิทัล)


…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
 DLIT Professional Learning Community : DLIT PLC (ชุมชน
แห่งการเรียนรู้วิชาชีพ)
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………………………………………

12. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียน วิธีการวัดผล เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การวัดผล
รู้ ใน
การวัดผล
ด้านความรู้ : ถาม – ตอบ นักเรียนอยู่ใน
1) นักเรียนมีความรู้ ระดับ พอใช้ขึ้น
ความเข้าใจรับรู้ ไป
กิจกรรม และเกณฑ์ หรือผ่านเกณฑ์
การวัดผลประเมินผล ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป
ด้านทักษะ/ ถาม – ตอบ นักเรียนอยู่ใน
กระบวนการ : ระดับ พอใช้ขึ้น
1) นักเรียนสามารถ ไป
บอกหน่วยการเรียน หรือผ่านเกณฑ์
ที่จะเรียนได้ครบ ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป
ด้านคุณลักษณะอัน - สังเกต - สังเกต นักเรียนอยู่ใน
พึง พฤติกรรม พฤติกรรม ระดับ พอใช้ขึ้น
ประสงค์ : นักเรียนด้าน นักเรียนด้าน ไป
1) นักเรียนมีวินัย คุณลักษณะ คุณลักษณะอัน หรือผ่านเกณฑ์
2) นักเรียนใฝ่ เรียนรู อันพึง พึงประสงค์ ร้อยละ 80 ขึ้น
ประสงค์ ไป

13. บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
- นักเรียนจำนวน.........................................คน
- ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม......................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ
ได้แก่...............................................................................................................
......................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K)
จำนวน................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P)
จำนวน.................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
.....
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านคุณลักษณะ (A)
จำนวน...............คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)


…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านคุณลักษณะ (A)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………… ปั ญหาและอุปสรรค / แนวทางการ
แก้ไข / ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………… …………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………… ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………
…………ผู้สอน
(นางสาวศิริทรัพย์ ต้น
สาย)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบ
การณ์ฯ

เกณฑ์การประเมิน
คุณภาพ หมายเหตุ : ผ่านเกณฑ์ร้อยละ 80 หรือระดับดีใน
ช่วง ระดับ ระดับคะแนน 7 คะแนนขึ้นไป
คะแนน คุณภาพ
8 ดีมาก
6-7 ดี
4-5 พอใช้
0-3 ปรับปรุง
ลงชื่อ.............................................ผู้
ประเมิน
(ผู้สอน)
วันที่.......เดือน....................พ.ศ..............
เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
การประเมินตามสภาพความเป็ นจริง (Rubrics)
เกณฑ์การประเมิน : ให้ผู้สอนพิจารณาจากเกณฑ์การประเมินผลตาม
สภาพจริง
ประเด็น ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1 0
มีวินัย นักเรียน นักเรียน นักเรียน นักเรียน นักเรียน
(4 ส่งงาน ส่งงาน ส่งงาน ส่งงานไม่ ส่งงานไม่
คะแนน) ตรงต่อ ตรงต่อ ตรงต่อ ตรงต่อ ตรงต่อ
เวลา และ เวลา และ เวลา และ เวลา เวลาและ
ทำงานได้ ทำงานได้ ทำงานได้ และ ทำงานไม่
เรียบร้อย เรียบร้อย ค่อนข้าง ทำงานไม่ เรียบร้อย
จะ เรียบร้อย
เรียบร้อย
ใฝ่ เรียนรู้ นักเรียนมี นักเรียนมี นักเรียนมี นักเรียนมี นักเรียน
(4 ความใฝ่ ความใฝ่ ความใฝ่ ความใฝ่ ไม่มีความ
คะแนน) เรียนรู้ใน เรียนรู้ใน เรียนรู้ใน เรียนรู้ใน ใฝ่ เรียนรู้
การ การ การ การ ในการ
แสวงหา แสวงหา แสวงหา แสวงหา แสวงหา
ข้อมูลจาก ข้อมูลจาก ข้อมูลจาก ข้อมูลจาก ข้อมูลจาก
แหล่ง แหล่ง แหล่ง แหล่ง แหล่ง
เรียนรู้ต่าง เรียนรู้ต่าง เรียนรู้ต่าง เรียนรู้ต่าง เรียนรู้ต่าง
ๆ อยู่ใน ๆ อยู่ใน ๆ อยู่ใน ๆ อยู่ใน ๆ
ระดับดี ระดับดี ระดับปาน ระดับ
มาก กลาง น้อยมาก
โรงเรียนโพนงามศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง ความรู้เรื่องกลอน
จำนวน ๒ คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๑ เรื่อง การแต่งบทร้อยกรองประเภทกลอน
สุภาพ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ชื่อวิชา ภาษาไทย รหัส
วิชา ท๒๒๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๗ ครูผู้สอน
นางสาวศิริทรัพย์ ต้นสาย

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้


1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
ท 1.1 ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิดเพื่อนำไปใช้
ตัดสินใจ แก้ปั ญหา ในการดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
1.2 ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
ท 1.1 ม.2/2 จับใจความสำคัญ สรุปความ และอธิบายราย
ละเอียดจากเรื่องที่อ่าน

2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
กลอน เป็ นคำประพันธ์ชนิดหนึ่ง ซึ่งใช้ถ้อยคำเรียงกันมีคำสัมผัส บทที่
หนึ่งมี 2 บาท เรียกว่าบาทเอก กับบาทโท บาทหนึ่งแบ่งเป็ น 2 วรรค
หรือ 2 ท่อน รวม 2 วรรค เป็ น 1 คำกลอน เป็ นคำประพันธ์ชนิดหนึ่ง
ที่บังคับคณะและเสียงวรรณยุกต์ บังคับสัมผัส คือเสียงที่คล้องจองกัน มีอยู่
ด้วยกันหลายชนิด มีลักษณะบังคับ ที่แตกต่างกันไป และมีชื่อเรียกต่าง
ๆ กันตามแต่บัญญัติไว้

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่องกลอน
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
นักเรียนสามารถอธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาของบทกลอนที่อ่านได้
ถูกต้อง
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
นักเรียนสามารถนำความรู้ที่ได้จากเรื่องความรู้เรื่องกลอนไป
ใช้ในการพัฒนางานเขียนอื่น ๆ ได้
4. สาระการเรียนรู้
1) ความหมายของกลอน
2) ความเป็ นมาของกลอน
3) การจำแนกกลอน

5. สมรรถนะ
5.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1) ความสามารถในการคิด
5.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล
1) เป็ นเลิศทางวิชาการ
2) สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
3) ล้ำหน้าทางความคิด
4) ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5) ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
7. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21
1) R1 -(R)eading (อ่านออก)
2) R2 –W(R)iting (เขียนได้)
8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษา
8.1 บูรณาการกับศาสตร์พระราชา
การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์)
8.2 บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1) หลักความพอประมาณ
2) หลักความมีเหตุผล
3) หลักการมีภูมิคุ้มกัน
8.3 บูรณาการกับจุดเน้นของสถานศึกษา
งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
8.4 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
9. ชิ้นงานและภาระงาน
ใบงานเรื่อง ความรู้เรื่องกลอน

10. กิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ (๑๐ นาที)
๑. ครูกล่าวทักทายนักเรียน จากนั้นครูนำกล่องสลากคำกลอนมาให้
นักเรียนสุ่มจับ แล้วให้นักเรียนที่จับสลากได้บทกลอน อ่านบทกลอนให้
เพื่อนฟั ง และให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นเกี่ยวกับบทกลอน แล้ว
ครูเชื่อมโยงเข้าสู่บทเรียน
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
2. ครูแจกใบความรู้เรื่องความรู้เรื่องกลอนให้กับนักเรียน ครูอธิบาย
เนื้อหาเกี่ยวกับความหมายของกลอน ความเป็ นมาของกลอน การจำแนก
กลอน และตัวอย่างบทกลอนของไทย พร้อมใช้สื่อประกอบการสอน
3. ครูนำบทกลอนมาให้นักเรียนอ่าน และให้นักเรียนร่วมกันถอด
เนื้อหาของบทประพันธ์
4. ครูแจกใบงานเรื่อง ความรู้เรื่องกลอน ให้นักเรียนแต่ละคน ซึ่งใบ
งานนี้เป็ นใบงานที่ให้นักเรียนได้รู้จักรูปแบบของกลอน และได้ฝึ กพิจารณา
เนื้อหาของบทกลอน ครูชี้แจงเกี่ยวกับใบงานเรื่องความรู้เรื่องกลอน โดยให้
นักเรียนอ่านบทกลอนที่ครูกำหนด และให้นักเรียนอธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาใน
บทกลอนที่อ่านด้วยสำนวนภาษา ของตนเองอย่างสุภาพ และเหมาะสม
5. นักเรียนแต่ละคนทำใบงานเรื่อง ความรู้เรื่องกลอน โดยนักเรียน
อ่านบทกลอน และอธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาในบทกลอนที่อ่านด้วยสำนวน
ภาษาของตนเองอย่างสุภาพ และเหมาะสม
6. ครูสุ่มผลงานนักเรียนออกมา 1-2 ชิ้น ครูและนักเรียนร่วมกัน
อภิปรายเกี่ยวกับผลงาน แล้วครูให้ข้อเสนอแนะและให้ความรู้เพิ่มเติม
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปใบงานเรื่อง ความรู้เรื่องกลอน เป็ นใบ
งานที่ให้นักเรียนได้อธิบายเกี่ยวกับเนื้อหาในบทกลอนที่อ่าน ด้วยสำนวน
ภาษาของตนเองอย่างสุภาพและเหมาะสม ซึ่งนักเรียนสามารถปฏิบัติ
กิจกรรมได้ถูกต้อง สะท้อนให้เห็นว่านักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในเรื่อง
ความรู้เรื่องกลอน และสามารถนำความรู้ ที่ได้มาใช้ในการทำใบงาน
8. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปองค์ความรู้ เรื่องความรู้เรื่องกลอน
กลอนเป็ นคำประพันธ์ชนิดหนึ่งที่บังคับ คณะและเสียง วรรณยุกต์ บังคับ
สัมผัส คือเสียงที่คล้องจองกัน มีอยู่ด้วยกันหลายชนิด มีลักษณะบังคับที่แตก
ต่างกันไป และมีชื่อเรียกต่าง ๆ กันตามแต่บัญญัติไว้จากที่นักเรียนได้เรียน
และปฏิบัติกิจกรรม ส่งผลให้นักเรียนเกิด องค์ความรู้ และสามารถนำความรู้
ที่ได้จากเรื่องความรู้เรื่องกลอนไปใช้ในการพัฒนางานเขียนอื่น ๆ ได้

11. สื่อ / แหล่งเรียนรู้


- สื่อ
ลำดับที่ รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่มา
๑ กล่องสลากคำกลอน
๒ ใบความรู้ เรื่อง ความรู้
เรื่องกลอน
๓ ใบงาน เรื่อง ความรู้เรื่อง
กลอน
12. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียน วิธีการวัดผล เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การวัดผล
รู้ ใน
การวัดผล
ด้านความรู้ : ถาม – ตอบ นักเรียนอยู่ใน
1) นักเรียนมีความรู้ ระดับ พอใช้ขึ้น
ความเข้าใจรับรู้ ไป
กิจกรรม และเกณฑ์ หรือผ่านเกณฑ์
การวัดผลประเมินผล ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป
ด้านทักษะ/ ถาม – ตอบ นักเรียนอยู่ใน
กระบวนการ : ระดับ พอใช้ขึ้น
1) นักเรียนสามารถ ไป
บอกหน่วยการเรียน หรือผ่านเกณฑ์
ที่จะเรียนได้ครบ ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป
ด้านคุณลักษณะอัน - สังเกต - สังเกต นักเรียนอยู่ใน
พึง พฤติกรรม พฤติกรรม ระดับ พอใช้ขึ้น
ประสงค์ : นักเรียนด้าน นักเรียนด้าน ไป
1) นักเรียนมีวินัย คุณลักษณะ คุณลักษณะอัน หรือผ่านเกณฑ์
2) นักเรียนใฝ่ เรียนรู้ อันพึง พึงประสงค์ ร้อยละ 80 ขึ้น
ประสงค์ ไป

13. บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
- นักเรียนจำนวน.........................................คน
- ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม......................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ
ได้แก่...............................................................................................................
......................

- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K)
จำนวน................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P)
จำนวน.................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
.....
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านคุณลักษณะ (A)
จำนวน...............คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)


…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านคุณลักษณะ (A)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………… ปั ญหาและอุปสรรค / แนวทางการ
แก้ไข / ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………… …………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………… ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………
…………ผู้สอน
(นางสาวศิริทรัพย์ ต้น
สาย)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบ
การณ์ฯ
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……

ลงชื่อ………………………………
………ครูพี่เลี้ยง
(นางสาววิภา บุญชาญ)
วัน
ที่……......../………………../……
………
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……
ลงชื่อ………………………………
………ครูนิเทศ
(นางสาววารุณี ธงไพร)
วัน
ที่……......../………………../……
……….
สลากคำกลอน
จักกรีดจักกราย จักย้ายจัก เมื่อนั้น โฉมจันท์
ย่อง กัลยามารศรี
ไม่เมินไม่มอง ไม่หมอง อยู่ด้วยยายตาได้ห้าปี ยากแค้น
ไม่หมาง แสนทวีทุกเวลา
งามเนื้องามนิ่ม งามยิ้ม ครั้นค่ำตักน้ำตำข้าว ครั้นรุ่งเช้า
งามย่าง เจ้าเข้าป่ า
ดูคิ้วดูคาง ดูปรางดู เก็บผักเที่ยวหักฟื นมา กัลยา
ปรุง ค้าขายได้เลี้ยงตัว

สักวาหวานอื่นมีหมื่นแสน ไม่เหมือนแม้น
เดือนสิบเอ็ดเสร็จ พจมานที่หวานหอม
ธุระพระวสา กลิ่นประเทียบเปรียบดวงพวงพะยอม อาจจะ
รับกฐินภิญโญโมทนา ชุลีลาลงเรือ น้อมจิตโน้มด้วยโลมลม
เหลืออาไลย แม้นล้อลามหยามหยาบไม่ปลาบปลื้ม ดังดูดดื่ม
ออกจากวัดทัศนาดูอาวาศ เมื่อตรุษ บอระเพ็ดต้องเข็ดขม

สารทพระวสาได้อาไศรย ผู้ดีไพร่ไม่ประกอบชอบอารมณ์ ใครฟั งลมเมิน


หน้าระอาเอย
สามระดูอยู่ดีไม่มีไภย มาจำไกล
อารามเมื่อยามเย็น

เมืองใดไม่มีทหาร เมืองนั้นไม่นานเป็ นข้า แล้วสอนว่าอย่าไว้ใจมนุษย์ มันแสน


เมืองใดไร้จอมพารา เมืองนั้นไม่ช้าอับจน สุดลึกล้ำเหลือกำหนด
เมืองใดไม่มีพณิชเลิศ เมืองนั้นย่อมเกิด ถึงเถาวัลย์พันเกี่ยวที่เลี้ยวลด ก็ไม่คด
ขัดสน เหมือนหนึ่งในน้ำใจคน
เมืองใดไร้ศิลป์ โสภณ เมืองนั้นไม่พ้น มนุษย์นี้ที่รักอยู่สองสถาน บิดา
เสื่อมทราม มารดารักมักเป็ นผล
ที่พึ่งหนึ่งพึ่งได้แต่กายตน เกิดเป็ น
คนคิดเห็นจึงเจรจา
ใบความรู้เรื่อง ความรู้เรื่องกลอน

กลอน เป็ นคำประพันธ์ที่คนไทยมีมาแต่เดิม ชาวบ้านในภาคกลางและ


ภาคใต้นิยมแต่งกลอนเป็ นบทร้องเล่น บทกล่อมเด็ก และเพลงพื้นบ้านต่าง ๆ
กลอนมีพัฒนาการมาเป็ นลำดับจนมีข้อบังคับทางฉันทลักษณ์ที่แน่นอน
ในปั จจุบันเป็ นคำประพันธ์ที่บังคับจำนวนคำ จำนวนวรรค สัมผัส และเสียง
วรรณยุกต์ กลอนมีประเภทย่อย ซึ่งมีชื่อต่างกันไปตามลักษณะย่อย เช่น
กลอนแปด กลอนหก กลอนสี่ กลอนสักวา กลอนดอกสร้อย กลอนบทละคร
เป็ นต้น

๑. บทและบาท
กลอน ๑ บท มี ๒ บรรทัด แต่ละบรรทัดเรียกว่า บาท
บาทที่ ๑ ของกลอน เรียกว่า บาทเอก
ส่วนบาทที่ ๒ เรียกว่า บาทโท
กลอนบาทหนึ่งมี ๒ วรรค กลอนบทหนึ่งจึงมี ๔ วรรค
๒. จำนวนวรรค
กลอน ๑ บท มี ๔ วรรค แต่ละวรรคมีชื่อเรียกดังนี้
วรรคที่ ๑ เรียกว่า วรรคสดับ
วรรคที่ ๒ เรียกว่า วรรครับ
วรรคที่ ๓ เรียกว่า วรรครอง
วรรคที่ ๔ เรียกว่า วรรคส่ง
แม้มิได้เป็ นดอกกุหลาบหอม (วรรคสดับ) ก็จงยอมเป็ น
เพียงลดาขาว (วรรครับ)
แม้มิได้เป็ นจันทร์อันสกาว (วรรครอง) จงเป็ นดาวดวงแจ่ม
แอร่มตา (วรรคส่ง)

๓. จำนวนคำและจังหวะการอ่าน
คำ ในกลอนมีความหมายเฉพาะ หมายถึง พยางค์ที่ลงจังหวะใน
แต่ละวรรค เช่น กลอนหก
คือกลอนที่กำหนดให้วรรคหนึ่งมี ๖ คำ หรือ ๖ พยางค์ กลอนแปด คือกลอนที่
กำหนดให้วรรคหนึ่งมี ๘ คำ
หรือ ๘ พยางค์

๔. สัมผัส
คำว่า สัมผัส ในคำประพันธ์หมายถึงคำ ๒ คำ (หรือ ๒ พยางค์) ที่มี
เสียงสระเสียงเดียวกัน
ซึ่งสัมผัสในกลอนจะมีทั้งสัมผัสบังคับและสัมผัสไม่บังคับ
สัมผัสบังคับ มี ๒ ประเภท คือ สัมผัสนอกกับสัมผัสระหว่างบท
สัมผัสนอก คือ สัมผัสสระของคำที่อยู่ต่างวรรคกัน กลอนบท
หนึ่ง ๆ มีสัมผัสนอกบังคับ ๕ แห่ง
คือ

แม้มิได้เป็ นดอกกุหลาบหอม ก็จงยอมเป็ นเพียงลดาขาว


แม้มิได้เป็ นจันทร์อันสกาว จงเป็ นดาวดวงแจ่มแอร่มตา

สัมผัสระหว่างบท คือ สัมผัสที่ส่งต่อจากคำสุดท้ายของบทไปยัง


คำสุดท้ายในวรรครับ
(วรรคที่ ๒) ของบทถัดไป ซึ่งเป็ นสัมผัสที่ทำให้กลอนเชื่อมต่อกันโดย
ตลอด ไม่ว่าจะแต่งกลอนกี่บท

แม้มิได้เป็ นดอกกุหลาบหอม ก็จงยอมเป็ นเพียงลดาขาว


แม้มิได้เป็ นจันทร์อันสกาว จงเป็ นดาวดวงแจ่มแอร่มตา
แม้มิได้เป็ นหงส์ทะนงศักดิ์ ก็จงรักเป็ นโนรีที่หรรษา
แม้มิได้เป็ นน้ำแม่คงคา จงเป็ นธาราใสที่ไหล
เย็น

สัมผัสไม่บังคับ คือ สัมผัสสระหรือพยัญชนะที่อยู่ในแต่ละวรรค


เพื่อเพิ่มความไพเราะ
ให้แก่บทกลอน สัมผัสที่อยู่ในวรรคมักเรียกว่า สัมผัสใน ในกลอนแต่ละวรรค
ถ้าคำที่เชื่อมระหว่างช่วงคำเป็ นคำ ที่สัมผัสกันจะทำให้กลอนไพเราะ เช่น
ถึงเกร็ดย่านบ้านมอญแต่ก่อนเก่า ผู้หญิงเกล้ามวยงาม
ตามภาษา
เดี๋ยวนี้มอญถอนไรจุกเหมือนตุ๊กตา ทั้งผัดหน้าจับเขม่า
เหมือนชาวไทย
๕. เสียงวรรณยุกต์
การประพันธ์กลอนไม่ได้มีการบังคับใช้เสียงวรรณยุกต์ แต่กวีนิยมใช้
เสียงวรรณยุกต์ในตำแหน่ง ของกลอนสุภาพ เพื่อรับรสเสนาะของ
กลอน ดังนั้นกวีจึงนิยมกำหนดเสียงวรรณยุกต์ในคำสุดท้ายของแต่ละวรรค
ดังนี้
วรรคสดับ คำสุดท้ายใช้ได้ทุกเสียง ไม่นิยมเสียงสามัญ
วรรครับ คำสุดท้ายนิยมใช้เสียงจัตวา
วรรครอง คำสุดท้ายนิยมใช้เสียงสามัญและเสียงตรี
วรรคส่ง คำสุดท้ายใช้ได้ทุกเสียง ไม่นิยมเสียงจัตวา
แบบทดสอบเรื่อง ความรู้เรื่องกลอน
โรงเรียนโพนงามศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
จำนวน ๓ คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ชื่อวิชา ภาษาไทย รหัส
วิชา ท๒๒๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๗ ครูผู้สอน
นางสาวศิริทรัพย์ ต้นสาย

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้


1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจแลละแสดงความคิดเห็น วิจารณ์
วรรณคดีและวรรณกรรมไทยและนำมา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
1.2 ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
ท ๕.๑ ม. ๒/๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับ
ที่ยากขึ้น
2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เกิดขึ้นโดยพระราชประสงค์ของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้า
เจ้าอยู่หัวที่จะสรรเสริญพระเกียรติคุณของพระมหากษัตริย์ไทย และเชิดชู
เกียรติข้าราชการที่มีความกล้าหาญ ซื่อสัตย์สุจริต จงรักภักดี แต่งเป็ นโคลงสี่
สุภาพ ซึ่งเป็ นคำประพันธ์ประเภทร้อยกรองชนิดหนึ่ง ซึ่งมีปรากฏใน
วรรณคดีไทยมานาน มีการเรียบเรียงถ้อยคำเข้าคณะ มีการกำหนดการใช้คำ
เอก คำโท และสัมผัส แต่ไม่ได้บัญญัติบังคับคำครุ ลหุ
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
นักเรียนสามารถอธิบายความเป็ นมาของเรื่อง โคลงภาพพระราช
พงศาวดารได้
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
นักเรียนสามารถสรุปเนื้อหาวรรณคดี เรื่อง โคลงภาพพระราช
พงศาวดารได้
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
นักเรียนมีตระหนักถึงคุณค่าวรรณคดีได้

4. สาระการเรียนรู้
๔.๑ ความเป็ นมาของเรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
- ประวัติและที่มา
- ผู้แต่ง
5. สมรรถนะ
5.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1) ความสามารถในการสื่อสาร
5.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล
1) เป็ นเลิศทางวิชาการ
2) สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
3) ล้ำหน้าทางความคิด
4) ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5) ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
๓) มุ่งมั่นในการทำงาน
๔) รักความเป็ นไทย
7. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21
1) R1 -(R)eading (อ่านออก)
2) R2 –W(R)iting (เขียนได้)
8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษา
8.1 บูรณาการกับศาสตร์พระราชา
1) การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์)
2) การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
3) การมีงาน มีอาชีพ
4) การเป็ นพลเมืองดี มีน้ำใจ เอื้ออาทร มีจิตสาธารณะ
8.2 บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1) หลักความพอประมาณ
2) หลักความมีเหตุผล
3) หลักการมีภูมิคุ้มกัน
4) เงื่อนไขความรู้
5) เงื่อนไขคุณธรรม
8.3 บูรณาการกับจุดเน้นของสถานศึกษา
1) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2) สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
3) โครงการโรงเรียนคุณธรรม
4) โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่
5) โครงการ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานอาชีพ
8.4 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
9. ชิ้นงานและภาระงาน
บันทึกความรู้จากเรื่อง
10. กิจกรรมการเรียนรู้ : รูปแบบการสอนแบบนิรนัย (Deductive
Method)
ชั่วโมงที่ ๑
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๑๐ นาที)
๑. ครูและนักเรียนกล่าวทักทายกัน ครูเช็กชื่อนักเรียนโดยให้
นักเรียนบอกความรู้สึกในช่วงเช้า แทนการพูดว่า มาครับ/ค่ะ
๒. ครูตั้งคำถามกระตุ้นความรู้ โดยให้นักเรียนแสดงความคิดเห็น
ดังนี้
๒.๑ นักเรียนเคยได้ยินหรือรู้จักพระราชพงศาวดารหรือไม่
แนวคำตอบ : เคยได้ยิน
๒.๒ พระราชพงศาวดารคืออะไร มีเนื้อหาเกี่ยวกับอะไร
แนวคำตอบ : คือหนังสือที่เป็ นประวัติศาสตร์ไทย มีเรื่องราว
ของเหตุการณ์เกี่ยวกับ
ประเทศชาติ หรือพระมหากษัตริย์ผู้เป็ นประมุขของประเทศชาตินั้น
๒.๓ นักเรียนรู้จักวีรบุรุษและวีรสตรีไทยท่านใดบ้าง
แนวคำตอบ : พระสุริโยทัย สมเด็จพระนเรศวรมหาราช ชาวบ้าน
บางระจัน ท้าวเทพสตรี-ท้าวศรี
สุนทร พันท้ายนรสิงห์ เป็ นต้น
๓. นักเรียนดูภาพโคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพต่าง ๆ ซึ่งภาพ
ดังกล่าวเป็ นภาพที่ใช้ประกอบ
พระราชพงศาวดารซึ่งนับหลักฐานทางประวัติศาสตร์
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
๓. ครูเข้าสู่เนื้อหาอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโคลงภาพพระ
ราชพงศาวดาร โดยใช้ Power point เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เป็ นสื่อในการใช้สอน
๔. จากนั้นครูให้นักเรียนศึกษาความรู้โคลงภาพพระราช
พงศาวดาร จากหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย วรรณคดีวรรณกรรม
หน้า ๑๘ โดยมีประเด็นศึกษา ดังนี้
๔.๑ ประวัติความเป็ นมาของโคลงภาพพระราชพงศาวดาร
๔.๒ ผู้แต่ง
๔.๓ ลักษณะคำประพันธ์
๔.๔ เนื้อหาโคลงภาพพระราชพงศาวดาร รูปที่ ๑๐ และ รูปที่
๕๖
๕. ครูแจกใบงาน เรื่อง วิเคราะห์โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ส่งในคาบเรียน
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๖. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปสาระสำคัญของเรื่องโคลงภาพพระราช
พงศาวดาร ครูอธิบายเพิ่มเติม และตอบข้อซักถามนักเรียน
โรงเรียนโพนงามศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง พระสุริโยทัยขาดคอช้าง,โคลงพันท้าย
นรสิงห์ถวายชีวิต จำนวน ๑ คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ชื่อวิชา ภาษาไทย รหัส
วิชา ท๒๒๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๗ ครูผู้สอน
นางสาวศิริทรัพย์ ต้นสาย

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้


1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจแลละแสดงความคิดเห็น วิจารณ์
วรรณคดีและวรรณกรรมไทยและนำมา ประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
2.2 ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
ท ๕.๑ ม. ๒/๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านในระดับ
ที่ยากขึ้น
2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เป็ นมรดกที่มีคุณค่าทั้งด้าน
ประวัติศาสตร์ ซึ่งโคลงภาพพระสุริโยทัย ขาดคอช้างและโคลงภาพพัน
ท้ายนรสิงห์ถวายชีวิตแสดงให้เห็นถึงบทบาทและหน้าที่ของบุคคลที่เป็ น
ตัวอย่างที่ดี การศึกษาเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร จะต้องอธิบายราย
ละเอียดจากเรื่องที่อ่าน และยังต้องรู้ความเป็ นมาและประวัติผู้แต่ง และ
จำเป็ นต้องรู้คำศัพท์ที่ปรากฏอยู่ในเรื่อง เพื่อจะได้เข้าใจเนื้อหาของเรื่องได้
อย่างถูกต้อง
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
นักเรียนสามารถสรุปเนื้อหา เรื่อง โคลงภาพพระราช
พงศาวดารได้
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
นักเรียนสามารถเขียนสรุป เรื่อง โคลงภาพพระราช
พงศาวดารได้
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
นักเรียนความมุ่งมั่นในการทำงาน

4. สาระการเรียนรู้
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

5. สมรรถนะ
5.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1) ความสามารถในการสื่อสาร
๒) ความสามารถในการคิด
5.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล
1) เป็ นเลิศทางวิชาการ
2) สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
3) ล้ำหน้าทางความคิด
4) ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5) ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
7. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21
1) R1 -(R)eading (อ่านออก)
2) R2 –W(R)iting (เขียนได้)
8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษา
8.1 บูรณาการกับศาสตร์พระราชา
1) การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์)
2) การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
3) การมีงาน มีอาชีพ
4) การเป็ นพลเมืองดี มีน้ำใจ เอื้ออาทร มีจิตสาธารณะ
8.2 บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1) หลักความพอประมาณ
2) หลักความมีเหตุผล
3) หลักการมีภูมิคุ้มกัน
4) เงื่อนไขความรู้
5) เงื่อนไขคุณธรรม
8.3 บูรณาการกับจุดเน้นของสถานศึกษา
1) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2) สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
3) โครงการโรงเรียนคุณธรรม
4) โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่
5) โครงการ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานอาชีพ
8.4 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
9. ชิ้นงานและภาระงาน
-
10. กิจกรรมการเรียนรู้ : รูปแบบการสอนแบบนิรนัย (Deductive
Method)
ชั่วโมงที่ ๑
ขั้นนำ (๑๐ นาที)
๑. ครูและนักเรียนกล่าวทักทายกัน ครูเช็กชื่อนักเรียนโดยให้
นักเรียนบอกวรรณคดีหรือวรรณกรรม ที่ชอบมาคนละ ๑ เรื่อง แทนการพูด
ว่า มาครับ/ค่ะ
๒. ครูตั้งคำถามกระตุ้นความรู้กับนักเรียนว่า วรรณคดีและ
วรรณกรรมต่างกันอย่างไร แล้วให้นักเรียนตอบจากความรู้ความเข้าใจ หลัง
จากนั้นครูอธิบายให้นักเรียนได้เข้าใจ

ขั้นสอน (๔๐ นาที)


๓. ครูเข้าสู่เนื้อหาอธิบายความรู้เบื้องต้นเกี่ยวกับโคลงภาพพระ
ราชพงศาวดาร โดยใช้ Power point เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
เป็ นสื่อในการใช้สอน
๔. ครูตั้งคำถามเพื่อทบทวนเนื้อหาที่เรียนเรื่อง โคลงภาพพระ
ราชพงศาวดาร จากที่ครูได้สอน และจากที่ครูให้นักเรียนไปทำความ
เข้าใจกับเนื้อหามา ดังนี้
- โคลงภาพพระราชพงศาวดารแต่งด้วยคำประพันธ์ชนิดใด
- กษัตริย์ที่ยกกองทัพทหารมาตีอยุธยาในครั้งนี้คือใคร
- พระสุริโยทัยเป็ นผู้หญิงหรือผู้ชาย
- สุดท้ายแล้วพันท้ายนรสิงห์โดนประหารชีวิตหรือไม่
เพราะเหตุใด
- สถานที่โขนเรือหักคือที่ใด
- พระเจ้าสรรเพชญที่ ๘ มีชื่อเรียกอีกชื่อหนึ่งว่าอะไร
๕. ครูให้นักเรียนเขียนสรุปเนื้อหา เรื่อง โคลงภาพพระราช
พงศาวดาร ลงในสมุดตามความรู้
ความเข้าใจของนักเรียน
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๖. ครูและนักเรียนสรุปองค์ความรู้เรื่อง โคลงภาพพระราช
พงศาวดารร่วมกัน

11. สื่อ / แหล่งเรียนรู้


- สื่อ
ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่มา
บที่
๑ หนังสือเรียนวรรณคดี
และวรรณกรรม
๒ Power point เรื่อง
โคลงภาพพระราช
พงศาวดาร

12. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียน วิธีการวัดผล เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การวัดผล
รู้ ใน
การวัดผล
ด้านความรู้ : ถาม – ตอบ นักเรียนอยู่ใน
1) นักเรียนมีความรู้ ระดับ พอใช้ขึ้น
ความเข้าใจรับรู้ ไป
กิจกรรม และเกณฑ์ หรือผ่านเกณฑ์
การวัดผลประเมินผล ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป
ด้านทักษะ/ ถาม – ตอบ นักเรียนอยู่ใน
กระบวนการ : ระดับ พอใช้ขึ้น
1) นักเรียนสามารถ ไป
บอกหน่วยการเรียน หรือผ่านเกณฑ์
ที่จะเรียนได้ครบ ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป
ด้านคุณลักษณะอัน - สังเกต - สังเกต นักเรียนอยู่ใน
พึง พฤติกรรม พฤติกรรม ระดับ พอใช้ขึ้น
ประสงค์ : นักเรียนด้าน นักเรียนด้าน ไป
1) นักเรียนมีวินัย คุณลักษณะ คุณลักษณะอัน หรือผ่านเกณฑ์
2) นักเรียนใฝ่ เรียนรู อันพึง พึงประสงค์ ร้อยละ 80 ขึ้น
ประสงค์ ไป

13. บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
- นักเรียนจำนวน.........................................คน
- ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม......................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ
ได้แก่...............................................................................................................
......................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K)
จำนวน................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......

- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P)
จำนวน.................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
.....
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านคุณลักษณะ (A)
จำนวน...............คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านคุณลักษณะ (A)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………… ปั ญหาและอุปสรรค / แนวทางการ
แก้ไข / ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………… …………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………… ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………
…………ผู้สอน
(นางสาวศิริทรัพย์ ต้น
สาย)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบ
การณ์ฯ

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……

ลงชื่อ………………………………
………ครูพี่เลี้ยง
(นางสาววิภา บุญชาญ)
วัน
ที่……......../………………../……
………

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……
ลงชื่อ………………………………
………ครูนิเทศ
(นางสาววารุณี ธงไพร)
วัน
ที่……......../………………../……
……….
โรงเรียนโพนงามศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๔ เรื่อง เชี่ยวชาญคำศัพท์
จำนวน ๒ คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ชื่อวิชา ภาษาไทย รหัส
วิชา ท๒๒๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๗ ครูผู้สอน
นางสาวศิริทรัพย์ ต้นสาย

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้


1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๑.๑ ใช้กระบวนการอ่านสร้างความรู้และความคิด
เพื่อนำไปใช้ตัดสินใจ แก้ปั ญหาในการ
ดำเนินชีวิต และมีนิสัยรักการอ่าน
๑.๒ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
ท ๑.๑ ม. ๒/๑ อ่านออกเสียงร้อยแก้วและร้อยกรองได้ถูกต้อง
ม. ๒/๘ มีมารยาทในการอ่าน
2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เป็ นมรดกที่มีคุณค่าทั้งด้าน
ประวัติศาสตร์ ซึ่งโคลงภาพพระสุริโยทัยขาดคอช้างและโคลงภาพพันท้าย
นรสิงห์ถวายชีวิตแสดงให้เห็นถึงบทบาทและหน้าที่ของบุคคลที่เป็ นตัวอย่าง
ที่ดี การศึกษาเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร จะต้องจับใจความสำคัญ
สรุปความ อธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่าน และยังต้องรู้ความเป็ นมาและ
ประวัติผู้แต่ง และจำเป็ นต้องรู้คำศัพท์ที่ปรากฏอยู่ในเรื่อง เพื่อจะได้เข้าใจ
เนื้อหาของเรื่องได้อย่างถูกต้อง
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- นักเรียนสามารถบอกคำศัพท์ในวรรณคดีและวรรณกรรมได้
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
- นักเรียนแสดงความคิดเห็นจากการอ่านวรรณคดีและ
วรรณกรรม
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
- มีความกระตือรือร้นในการเรียน มีมารยาทในการอ่าน

4. สาระการเรียนรู้
คำศัพท์วรรณคดีเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร

5. สมรรถนะ
5.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1) ความสามารถในการสื่อสาร
๒) ความสามารถในการคิด
5.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล
1) เป็ นเลิศทางวิชาการ
2) สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
3) ล้ำหน้าทางความคิด
4) ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5) ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
7. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21
1) R1 -(R)eading (อ่านออก)
2) R2 –W(R)iting (เขียนได้)
8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษา
8.1 บูรณาการกับศาสตร์พระราชา
1) การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์)
2) การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
3) การมีงาน มีอาชีพ
4) การเป็ นพลเมืองดี มีน้ำใจ เอื้ออาทร มีจิตสาธารณะ
8.2 บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1) หลักความพอประมาณ
2) หลักความมีเหตุผล
3) หลักการมีภูมิคุ้มกัน
4) เงื่อนไขความรู้
5) เงื่อนไขคุณธรรม

8.3 บูรณาการกับจุดเน้นของสถานศึกษา
1) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2) สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
3) โครงการโรงเรียนคุณธรรม
4) โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่
5) โครงการ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานอาชีพ
8.4 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
9. ชิ้นงานและภาระงาน
-
10. กิจกรรมการเรียนรู้ : รูปแบบการสอนแบบนิรนัย (Deductive
Method)
ชั่วโมงที่ ๑
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๑๐ นาที)
๑. ครูทักทายนักเรียนพร้อมเช็กชื่อเข้าเรียน (บอกอาหารที่ชอบ)
๒. ทบทวนความรู้เรื่อง โคลงภาพระราชพงศาวดาร ภาพที่ ๑๐
โดยถามคำถามทบทวนนักเรียน ดังนี้
- พระสุริโยทัยเป็ นผู้หญิงหรือผู้ชาย
- มีจุดประสงค์ในการแต่งเพื่ออะไร
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
๓. นักเรียนฟั งบรรยาย PowerPoint เกี่ยวกับการวิเคราะห์
วรรณคดีเรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ภาพที่ ๕๖ พันท้ายนรสิงห์
ถวายชีวิต พร้อมถอดคำประพันธ์ และอธิบายคำศัพท์ที่ควรรู้เพิ่มเติม
ประกอบหนังสือเรียนวรรณคดีและวรรณกรรม ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
๔. ครูให้นักเรียนตอบคำถาม ภาพที่ ๕๖ พันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต
ลงในสมุด โดยมีหัวข้อในการ
วิเคราะห์ ดังนี้
- หลังจากโขนเรือพระที่นั่งชนกับกิ่งไม้ ทำให้โขนเรือหัก พันท้าย
นรสิงห์ปฏิบัติยังไง
- สมเด็จพระเจ้าเสือจึงโปรดให้ทำเช่นไรกับพันท้ายนรสิงห์
- พันท้ายนรสิงห์กราบทูลขอถวายชีวิตตนเองเพื่อรักษาประเพณี
นักเรียนมีความคิดเห็นว่าอย่างไร
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๕. ครูสรุปการวิเคราะห์วรรณคดี เรื่องโคลงภาพพระราช
พงศาวดาร ภาพที่ ๕๖ พันท้ายนรสิงห์ ถวายชีวิต

ชั่วโมงที่ ๒
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๑๐ นาที)
๑. ครูทบทวนความรู้เรื่อง โคลงภาพระราชพงศาวดาร จากนั้นให้
นักเรียนแสดงความคิดเห็น โดยครูใช้คำถามท้าทายดังนี้
- ในชีวิตประจำวันนักเรียนต้องใช้คำราชาศัพท์มากน้อย
เพียงใด

ขั้นสอน (๔๐ นาที)


๒. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม ๕ กลุ่ม แล้วส่งตัวแทนมาจับสลาก
หมายเลขกลุ่ม เพื่อศึกษาตามหัวข้อต่อไปนี้
กลุ่มที่ ๑ คำราชาศัพท์ที่ใช้กับพระมหากษัตริย์
กลุ่มที่ ๒ คำราชาราศัพท์สำหรับพระสงฆ์
กลุ่มที่ ๓ คำราชาราศัพท์สำหรับสุภาพชน
กลุ่มที่ ๔ คำราชาราศัพท์หมวดร่างกาย
กลุ่มที่ ๕ คำราชาราศัพท์หมวดเครื่องใช้
๓. ครูอธิบายให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับการทำกิจกรรม จากนั้นแจก
กระดาษชาร์ตให้แต่ละกลุ่ม โดยให้เวลาศึกษาข้อมูล ๑๐ นาที เมื่อหมดเวลา
แล้วให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอคำศัพท์ตามหัวข้อที่ได้ให้เพื่อนกลุ่มอื่นฟั ง
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปการใช้คำราชาศัพท์ ดังนี้
สังคมไทยมีบุคคลซึ่งอยู่ในฐานะที่แตกต่างกัน และมีค่านยม
ในการเคารพผู้อาวุโส เราจึงต้องเข้าใจความหมายของคำราชาศัพท์และใช้ให้
ถูกต้อง เพื่อแสดงการยกย่อง และยังเป็ นการอนุรักษ์วัฒนธรรมทางภาษาให้
คงอยู่ต่อไป

11. สื่อ / แหล่งเรียนรู้


- สื่อ
ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่มา
บที่
๑ ฉลาก
๒ ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์

12. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียน วิธีการวัดผล เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การวัดผล
รู้ ใน
การวัดผล
ด้านความรู้ : นักเรียนอยู่ใน
1) นักเรียนสามารถ ระดับ พอใช้ขึ้น
บอกคำศัพท์ใน ไป
วรรณคดีและ หรือผ่านเกณฑ์
วรรณกรรมได้ คำถาม ภาพที่ ร้อยละ 80 ขึ้น
ตอบคำถาม ๕๖ ไป
ด้านทักษะ/ พันท้ายนรสิงห์ นักเรียนอยู่ใน
กระบวนการ : ถวายชีวิต ระดับ พอใช้ขึ้น
1) นักเรียนแสดง ไป
ความคิดเห็นจากการ หรือผ่านเกณฑ์
อ่านวรรณคดีและ ร้อยละ 80 ขึ้น
วรรณกรรม ไป
ด้านคุณลักษณะอัน ประเมิน แบบประเมิน นักเรียนอยู่ใน
พึง พฤติกรรม พฤติกรรม ระดับ พอใช้ขึ้น
ประสงค์ : ไป
1) นักเรียนมีวินัย หรือผ่านเกณฑ์
2) นักเรียนใฝ่ เรียนรู ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป

13. บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
- นักเรียนจำนวน.........................................คน
- ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม......................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ
ได้แก่...............................................................................................................
......................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K)
จำนวน................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P)
จำนวน.................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
.....
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านคุณลักษณะ (A)
จำนวน...............คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านคุณลักษณะ (A)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………… ปั ญหาและอุปสรรค / แนวทางการ
แก้ไข / ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………… …………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………… ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………
…………ผู้สอน
(นางสาวศิริทรัพย์ ต้น
สาย)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบ
การณ์ฯ
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……

ลงชื่อ………………………………
………ครูพี่เลี้ยง
(นางสาววิภา บุญชาญ)
วัน
ที่……......../………………../……
………

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……
ลงชื่อ………………………………
………ครูนิเทศ
(นางสาววารุณี ธงไพร)
วัน
ที่……......../………………../……
……….
โรงเรียนโพนงามศึกษา (แยกแผน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๕ เรื่อง วิเคราะห์คุณค่ากับพงศาวดาร
จำนวน ๑ คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ชื่อวิชา ภาษาไทย รหัส
วิชา ท๒๒๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๗ ครูผู้สอน
นางสาวศิริทรัพย์ ต้นสาย

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้


1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี
และวรรณกรรมไทยอย่างเห็น
คุณค่าและ นำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
๑.๒ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
ท ๕.๑ ม.๒/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมที่
อ่าน
ม.๒/๔ สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตจริง
2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เกิดขึ้นโดยพระราชประสงค์ของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว ที่จะสรรเสริญพระเกียรติคุณ
ของพระมหากษัตริย์ไทย และเชิดชูเกียรติข้าราชการที่มีความกล้าหาญ
ซื่อสัตย์สุจริตจงรักภักดี คุณค่าในด้านต่าง ๆ ทั้งด้านวรรณศิลป์ และด้าน
เนื้อหา โดยมีเนื้อหาที่ให้ข้อคิดเหมาะกับการนำมาเปรียบกับพฤติกรรมของ
คนในสังคมปั จจุบันได้
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- นักเรียนสามารถสรุปความรู้และข้อคิดจากวรรณคดีเรื่อง
โคลงภาพพระราชพงศาวดารได้
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์คุณค่าจากวรรณคดีเรื่องโคลง
ภาพพระราชพงศาวดารได้
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
- นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน

4. สาระการเรียนรู้
๔.๑ วรรณคดี เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
๔.๒ หลักการวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดี
5. สมรรถนะ
5.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1) ความสามารถในการคิด
๒) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล
1) เป็ นเลิศทางวิชาการ
2) สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
3) ล้ำหน้าทางความคิด
4) ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5) ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
๓) มุ่งมั่นในการทำงาน
7. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21
1) R1 -(R)eading (อ่านออก)
2) R2 –W(R)iting (เขียนได้)
8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษา
8.1 บูรณาการกับศาสตร์พระราชา
1) การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์)
2) การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
3) การมีงาน มีอาชีพ
4) การเป็ นพลเมืองดี มีน้ำใจ เอื้ออาทร มีจิตสาธารณะ
8.2 บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1) หลักความพอประมาณ
2) หลักความมีเหตุผล
3) หลักการมีภูมิคุ้มกัน
4) เงื่อนไขความรู้
5) เงื่อนไขคุณธรรม
8.3 บูรณาการกับจุดเน้นของสถานศึกษา
1) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2) สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
3) โครงการโรงเรียนคุณธรรม
4) โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่
5) โครงการ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานอาชีพ
8.4 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
9. ชิ้นงานและภาระงาน
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์คุณค่าโคลงภาพพระราชพงศาวดาร

10. กิจกรรมการเรียนรู้ : รูปแบบการสอนแบบนิรนัย (Deductive


Method)
ชั่วโมงที่ ๑
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๑๐ นาที)
๑. ครูและนักเรียนกล่าวทักทายกัน ครูเช็กชื่อนักเรียนโดยให้
นักเรียนบอกชื่อดาราที่ชื่นชอบมา ๑ คน
แทนการพูดว่า มาครับ/ค่ะ
๒. ครูทบทวนและเชื่อมโยงความรู้เดิมของนักเรียนเรื่องโคลงภาพ
พระราชพงศาวดาร จากคาบเรียน ที่ผ่านมา และแจ้งวัตถุประสงค์การสอน
พร้อมทั้งอธิบายว่าการวิเคราะห์คุณค่าวรรณคดีไทยมีความสำคัญอย่างไร
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
๓. นักเรียนและครูร่วมกันสนทนาถึงเนื้อเรื่องของโคลงภาพพระ
ราชพงศาวดารที่นักเรียนอ่านมาจากบ้าน โดยสนทนากันในประเด็นต่าง ๆ
เช่น เรื่องราวเป็ นอย่างไร มีใคร ทำอะไร ที่ไหน เมื่อไร ผลสรุปเป็ นอย่างไร
๔. นักเรียนดูวีดิทัศน์โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เรื่องพระสุริโย
ทัยขาดคอช้าง และพันท้ายนรสิงห์ เพื่อให้เข้าใจเนื้อเรื่องมากยิ่งขึ้น
๕. นักเรียนฟั งบรรยายเรื่อง “หลักการวิเคราะห์วรรณคดีไทย”
จากใบความรู้
๖. จากนั้นนักเรียนแบ่งกลุ่มออกเป็ น ๕ กลุ่ม เพื่อช่วยกันทำใบงาน
เรื่อง “วิเคราะห์คุณค่าโคลงภาพพระราชพงศาวดาร”
๗. นักเรียนทุกกลุ่มและครูร่วมกันอภิปรายถึงคุณค่าของวรรณคดี
เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดารในประเด็นต่าง ๆ เช่น วรรณคดีเรื่อง
โคลงภาพพระราชพงศาวดารมีคุณค่าทางด้านวรรณศิลป์ อย่างไรบ้าง มี
คุณค่าในด้านเนื้อหาอย่างไร ให้ข้อคิดอะไรบ้าง
๘. นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันระบุแนวทางในการนำข้อคิดจาก
วรรณคดีเรื่องโคลงภาพพระราชพงศาวดารไปใช้ในชีวิตจริง
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๙. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปความรู้จากการวิเคราะห์คุณค่าของ
วรรณคดีเรื่องโคลงภาพพระราช
พงศาวดาร

11. สื่อ / แหล่งเรียนรู้


- สื่อ
ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่มา
บที่
๑ ฉลาก
๒ ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์

12. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียน วิธีการวัดผล เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การวัดผล
รู้ ใน
การวัดผล
ด้านความรู้ : ตอบคำถาม คำถาม ภาพที่ นักเรียนอยู่ใน
1) นักเรียนสามารถ ๕๖ ระดับ พอใช้ขึ้น
บอกคำศัพท์ใน พันท้ายนรสิงห์ ไป
วรรณคดีและ ถวายชีวิต หรือผ่านเกณฑ์
วรรณกรรมได้ ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป
ด้านทักษะ/ นักเรียนอยู่ใน
กระบวนการ : ระดับ พอใช้ขึ้น
1) นักเรียนแสดง ไป
ความคิดเห็นจากการ หรือผ่านเกณฑ์
อ่านวรรณคดีและ ร้อยละ 80 ขึ้น
วรรณกรรม ไป
ด้านคุณลักษณะอัน ประเมิน แบบประเมิน นักเรียนอยู่ใน
พึง พฤติกรรม พฤติกรรม ระดับ พอใช้ขึ้น
ประสงค์ : ไป
1) นักเรียนมีวินัย หรือผ่านเกณฑ์
2) นักเรียนใฝ่ เรียนรู ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป

13. บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
- นักเรียนจำนวน.........................................คน
- ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม......................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ
ได้แก่...............................................................................................................
......................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K)
จำนวน................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P)
จำนวน.................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
.....
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านคุณลักษณะ (A)
จำนวน...............คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านคุณลักษณะ (A)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………… ปั ญหาและอุปสรรค / แนวทางการ
แก้ไข / ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………… …………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………… ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………
…………ผู้สอน
(นางสาวศิริทรัพย์ ต้น
สาย)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบ
การณ์ฯ

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……

ลงชื่อ………………………………
………ครูพี่เลี้ยง
(นางสาววิภา บุญชาญ)
วัน
ที่……......../………………../……
………

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……
ลงชื่อ………………………………
………ครูนิเทศ
(นางสาววารุณี ธงไพร)
วัน
ที่……......../………………../……
……….
โรงเรียนโพนงามศึกษา (แยกแผน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๖ เรื่อง การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์
จำนวน ๑ คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ชื่อวิชา ภาษาไทย รหัส
วิชา ท๒๒๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๗ ครูผู้สอน
นางสาวศิริทรัพย์ ต้นสาย

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้


1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๒.๑ ใช้กระบวนการเขียนสื่อสาร เขียนเรียงความ
ย่อความ และเขียนเรื่องราวในรูปแบบต่าง ๆ เขียนรายงานข้อมูลข่าวสาร
สนเทศและรายงานการศึกษาค้นคว้า อย่างมีประสิทธิภาพ
๑.๒ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๒.๑ ม.๒/๕ เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ และแสดง
ความรู้ ความคิดเห็น หรือโต้แย้งในเรื่อง
ที่อ่านอย่างมีเหตุผล
ม. ๒/๘ มารยาทในการเขียน
2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์จากสื่อต่าง ๆ ผู้เขียนจะต้องแยกแยะเน้อ
หาให้เข้าใจในส่วนต่าง ๆ ที่กล่าว และเข้าใจถึงความสัมพันธ์ของแต่ละส่วน
แล้วจึงใช้ความรู้ความสามารถอธิบายเหตุผลประกอบการแสดงความคิดที่
เห็นด้วยกับเรื่องนั้น ๆ เพื่อเข้าไปสู่การสรุปความคิดเห็นทั้งที่เห็นคล้อยตาม
และโต้แย้งจากเรื่องที่อ่าน
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- นักเรียนสามารถอธิบายการเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์จากสื่อ
ต่าง ๆ ได้
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
- นักเรียนสามารถเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์จากสื่อต่าง ๆ ได้
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
- นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน
4. สาระการเรียนรู้
การเขียนเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์จากสื่อต่าง ๆ

5. สมรรถนะ
5.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑) ความสามารถในการสื่อสาร
๒) ความสามารถในการคิด
๓) ความสามารถในการแก้ปั ญหา
๔) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
๕) ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล
1) เป็ นเลิศทางวิชาการ
2) สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
3) ล้ำหน้าทางความคิด
4) ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5) ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
๓) มุ่งมั่นในการทำงาน
7. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21
1) R1 -(R)eading (อ่านออก)
2) R2 –W(R)iting (เขียนได้)
8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษา
8.1 บูรณาการกับศาสตร์พระราชา
1) การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์)
2) การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
3) การมีงาน มีอาชีพ
4) การเป็ นพลเมืองดี มีน้ำใจ เอื้ออาทร มีจิตสาธารณะ
8.2 บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1) หลักความพอประมาณ
2) หลักความมีเหตุผล
3) หลักการมีภูมิคุ้มกัน
4) เงื่อนไขความรู้
5) เงื่อนไขคุณธรรม
8.3 บูรณาการกับจุดเน้นของสถานศึกษา
1) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2) สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
3) โครงการโรงเรียนคุณธรรม
4) โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่
5) โครงการ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานอาชีพ
8.4 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
9. ชิ้นงานและภาระงาน
ใบงาน เรื่อง วิเคราะห์คุณค่าโคลงภาพพระราชพงศาวดาร

10. กิจกรรมการเรียนรู้ : รูปแบบการสอนแบบนิรนัย (Deductive


Method)
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๑๐ นาที)
๑. ครูและนักเรียนกล่าวทักทายกัน ครูเช็กชื่อนักเรียนโดยให้
นักเรียนบอกกีฬาที่ชอบมา ๑ ประเภท
แทนการพูดว่า มาครับ/ค่ะ
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนา โดยตอบคำถาม ดังนี้
- นักเรียนเคยวิเคราะห์วิจารณ์อะไรบ้าง
- การวิเคราะห์วิจารณ์เรื่องนั้นเกิดประโยชน์อย่างไร
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
๓. ครูนำเสนอเนื้อหาเรื่อง การเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ จากสื่อต่าง
ๆ โดยใช้ Power point ประกอบการสอนและหนังสือหลักภาษาและการ
ใช้ภาษาไทย ม. ๒ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ เพื่อให้นักเรียน มีความรู้
ความเข้าใจในการเขียนวิเคราะห์ วิจารณ์ จากสื่อต่าง ๆ ให้ถูกต้อง
๔. ครูแบ่งนักเรียนออกเป็ น ๕ กลุ่ม ตามความเหมาะสม โดยให้
นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันวางแผนและปฏิบัติงาน เขียนวิเคราะห์ วิจารณ์
บทเพลงตามที่นักเรียนสนใจ จากนั้นประเมินผลงานเพื่อปรับปรุงและแก้ไข
ให้สมบูรณ์
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๕. ครูและนักเรียนสรุปองค์ความรู้เรื่อง การเขียนวิเคราะห์วิจารณ์
ร่วมกัน

11. สื่อ / แหล่งเรียนรู้


- สื่อ
ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่มา
บที่
๑ หนังสือเรียนวรรณคดีและ
วรรณกรรม ม.๒
๒ Power point

12. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียน วิธีการวัดผล เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การวัดผล
รู้ ใน
การวัดผล
ด้านความรู้ : นักเรียนอยู่ใน
๑. นักเรียนสามารถ ระดับ พอใช้ขึ้น
บอกส่วนประกอบ ไป
การเขียนรายงานได้ หรือผ่านเกณฑ์
(K) ตรวจการ ร้อยละ 80 ขึ้น
เขียน เขียนวิเคราะห์ ไป
ด้านทักษะ/ วิเคราะห์ วิจารณ์ นักเรียนอยู่ใน
กระบวนการ : วิจารณ์ บทเพลง ระดับ พอใช้ขึ้น
๒. นักเรียนสามารถ บทเพลง ไป
วางแผนการเขียน หรือผ่านเกณฑ์
รายงานการศึกษา ร้อยละ 80 ขึ้น
ค้นคว้าจากเรื่องที่ ไป
กำหนดให้ได้ (P)
ด้านคุณลักษณะอัน สังเกต แบบประเมิน ระดับคุณภาพ ๒
พึง พฤติกรรม สังเกต ผ่าน เกณฑ์
ประสงค์ : พฤติกรรม
๓. มีความมุ่งมั่นใน
การทำงาน (A)

13. บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
- นักเรียนจำนวน.........................................คน
- ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม......................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ
ได้แก่...............................................................................................................
......................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K)
จำนวน................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P)
จำนวน.................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
.....
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านคุณลักษณะ (A)
จำนวน...............คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านคุณลักษณะ (A)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………… ปั ญหาและอุปสรรค / แนวทางการ
แก้ไข / ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………… …………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………… ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………
…………ผู้สอน
(นางสาวศิริทรัพย์ ต้น
สาย)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบ
การณ์ฯ
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……

ลงชื่อ………………………………
………ครูพี่เลี้ยง
(นางสาววิภา บุญชาญ)
วัน
ที่……......../………………../……
………

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……
ลงชื่อ………………………………
………ครูนิเทศ
(นางสาววารุณี ธงไพร)
วัน
ที่……......../………………../……
……….
โรงเรียนโพนงามศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๗ เรื่อง คุณค่าวรรณคดี
จำนวน ๒ คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ชื่อวิชา ภาษาไทย รหัส
วิชา ท๒๒๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๗ ครูผู้สอน
นางสาวศิริทรัพย์ ต้นสาย

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้


1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี
และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
๑.๒ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
ท ๕.๑ ม.๒/๓ อธิบายคุณค่าของวรรณคดี และวรรณกรรมที่อ่าน
ม.๒/๔ สรุปความรู้และข้อคิดจากการอ่าน ไปประยุกต์ใช้ใน
ชีวิตจริง
2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร เกิดขึ้นโดยพระราชประสงค์ของ
พระบาทสมเด็จพระจุลจอมเกล้าเจ้าอยู่หัว
ที่จะ สรรเสริญพระเกียรติคุณของพระมหากษัตริย์ไทย และเชิดชูเกียรติ
ข้าราชการที่มีความกล้าหาญซื่อสัตย์สุจริต
จงรักภักดี คุณค่าในด้านต่างๆ ทั้งด้านวรรณศิลป์ และด้านเนื้อหา โดยมี
เนื้อหาที่ให้ข้อคิด เหมาะกับการนำมาเปรียบกับพฤติกรรมของคนในสังคม
ปั จจุบันได้
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- นักเรียนสามารถอธิบายหลักการพิจารณาคุณค่าของ
วรรณคดีและวรรณกรรมได้
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์คุณค่าและสรุปข้อคิดจากเรื่อง
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ภาพพระสุริโยทัยขาดคอช้างได้
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
- นักเรียนมีวินัยในการทำงาน
4. สาระการเรียนรู้
๔.๑ คุณค่าของโคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพพระสุริโยทัยขาดคอ
ช้าง
๔.๒ ข้อคิดของโคลงภาพพระราชพงศาวดารภาพพระสุริโยทัยขาดคอ
ช้าง
5. สมรรถนะ
5.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
๑) ความสามารถในการคิด
๒) ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
5.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล
1) เป็ นเลิศทางวิชาการ
2) สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
3) ล้ำหน้าทางความคิด
4) ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5) ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
๓) มุ่งมั่นในการทำงาน
7. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21
1) R1 -(R)eading (อ่านออก)
2) R2 –W(R)iting (เขียนได้)
8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษา
8.1 บูรณาการกับศาสตร์พระราชา
1) การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์)
2) การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
3) การมีงาน มีอาชีพ
4) การเป็ นพลเมืองดี มีน้ำใจ เอื้ออาทร มีจิตสาธารณะ
8.2 บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1) หลักความพอประมาณ
2) หลักความมีเหตุผล
3) หลักการมีภูมิคุ้มกัน
4) เงื่อนไขความรู้
5) เงื่อนไขคุณธรรม
8.3 บูรณาการกับจุดเน้นของสถานศึกษา
1) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2) สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
3) โครงการโรงเรียนคุณธรรม
4) โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่
5) โครงการ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานอาชีพ
8.4 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
9. ชิ้นงานและภาระงาน
ใบงาน เรื่อง รู้รักคุณค่าวรรณคดี

10. กิจกรรมการเรียนรู้ : รูปแบบการสอนแบบนิรนัย (Deductive


Method)
ชั่วโมงที่ ๑
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๑๐ นาที)
๑. ครูและนักเรียนกล่าวทักทายกัน ครูเช็กชื่อนักเรียน โดยให้
นักเรียนบอกความรู้สึกในช่วงเช้า
ว่ารู้สึกอย่างไร แทนการพูดว่า มาครับ/ค่ะ
๒. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนา โดยตอบคำถาม ดังนี้
- สมเด็จพระสุริโยทัยคือใคร และมีบทบาทสำคัญอย่างไรใน
การสู้รบครั้งนี้อย่างไร
- ขับคเชนทร์เช่นค้ำ สะอึกสู้ดัสกร ตามความเข้าใจของ
นักเรียน ข้อความนี้มีความหมายว่า
อย่างไร
- เหตุใดสมเด็จพระสุริโยทัยจึงตัดสินพระทัยขับช้างเข้าต่อสู้
กับข้าศึก และผลที่ตามมาเป็ น
อย่างไร
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
๓. ครูนำเสนอเนื้อหาเรื่องพระสุริโยทัยขาดคอช้าง โดยใช้ Power
point ประกอบการสอน และหนังสือหลักภาษาและการใช้ภาษาไทย
ม. ๒ พร้อมยกตัวอย่างประกอบ เพื่อให้นักเรียนมีความรู้ความเข้าใจในด้าน
วรรณศิลป์
๔. จากนั้นครูทบทวนความรู้ และให้นักเรียนตอบคำถาม หาก
นักเรียนคนใดตอบถูกก็จะได้ไม้ไอติม โดยมีคำถามดังนี้
- คุณค่าด้านวรรณศิลป์ มีลักษณะอย่างไร
- คุณค่าด้านแนวคิดมีลักษณะอย่างไร
- คุณค่าด้านเนื้อหามีลักษณะอย่างไร
- คุณค่าด้านสังคมมีลักษณะอย่างไร
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๕. ครูและนักเรียนสรุปองค์ความรู้เรื่อง คุณค่าด้านเนื้อหา ร่วมกัน

ชั่วโมงที่ ๒

ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๑๐ นาที)


๑. ครูและนักเรียนกล่าวทักทายกัน
๒. ครูทบทวนทบทวนความรู้เดิมจากคาบที่แล้ว เพื่อเชื่อมโยงเข้า
สู่เนื้อหาด้านต่าง ๆ ของเรื่อง
พระสุริโยทัยขาดคอช้าง และทำกิจกรรมต่อไป
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
๓. ครูนำเสนอเนื้อหาเกี่ยวกับคุณค่าด้านต่าง ๆ จากเรื่อง พระสุริโยทัย
ขาดคอช้าง โดยใช้ Power point
๔. ครูให้นักเรียนทำใบงาน เรื่อง รู้รักคุณค่าด้านวรรณคดี เพื่อ
สรุปความรู้ความเข้าใจเรื่อง โคลงภาพ พระราชพงศาวดาร เรื่อง พระสุริโย
ทัยขาดคอช้าง
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๕. ครูและนักเรียนสรุปองค์ความรู้เรื่อง คุณค่าวรรณคดี ร่วมกัน

11. สื่อ / แหล่งเรียนรู้


ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่มา
บที่
๑ หนังสือเรียนวรรณคดีและ
วรรณกรรม ม.๒
๓ ใบงาน เรื่อง รู้รักคุณค่า
วรรณคดี
๒ Power point
- สื่อ

12. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียน วิธีการวัดผล เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การวัดผล
รู้ ใน
การวัดผล
ด้านความรู้ : นักเรียนอยู่ใน
๑. นักเรียนอธิบาย สังเกต แบบประเมิน ระดับ พอใช้ขึ้น
หลักการพิจารณา พฤติกรรม การสังเกต ไป
คุณค่าของวรรณคดี การ พฤติกรรมการ หรือผ่านเกณฑ์
และวรรณกรรมได้ มีส่วนร่วม มีส่วนร่วม ร้อยละ 80 ขึ้น
(K) ไป
ด้านทักษะ/ ใบงาน ใบงาน นักเรียนอยู่ใน
กระบวนการ : เรื่อง รู้รัก เรื่อง รู้รัก ระดับ พอใช้ขึ้น
๒. นักเรียนสามารถ วรรณคดี วรรณคดี ไป
วิเคราะห์คุณค่าและ หรือผ่านเกณฑ์
สรุปข้อคิดจากเรื่อง ร้อยละ 80 ขึ้น
โคลงภาพพระราช ไป
พงศาวดารภาพพระสุ
ริโยทัยขาดคอช้างได้
(P)
ด้านคุณลักษณะอัน สังเกต แบบประเมิน ระดับคุณภาพ ๒
พึง พฤติกรรม สังเกต ผ่าน เกณฑ์
ประสงค์ : พฤติกรรม
๓. มีความมุ่งมั่นใน
การทำงาน (A)

13. บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
- นักเรียนจำนวน.........................................คน
- ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม......................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ
ได้แก่...............................................................................................................
......................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K)
จำนวน................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P)
จำนวน.................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
.....
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านคุณลักษณะ (A)
จำนวน...............คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......

ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)


…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านคุณลักษณะ (A)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………

ปั ญหาและอุปสรรค / แนวทางการแก้ไข / ข้อเสนอแนะ ………………………


…………………………………………………………………………………………………………
……………………… …………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………… …………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………
ลงชื่อ………………………………………
…………ผู้สอน
(นางสาวศิริทรัพย์ ต้น
สาย)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบ
การณ์ฯ

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……

ลงชื่อ………………………………
………ครูพี่เลี้ยง
(นางสาววิภา บุญชาญ)
วัน
ที่……......../………………../……
………

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……
ลงชื่อ………………………………
………ครูนิเทศ
(นางสาววารุณี ธงไพร)
วัน
ที่……......../………………../……
……….
โรงเรียนโพนงามศึกษา
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๘ เรื่อง บทอาขยาน ร้อยกรองคล้องใจ
จำนวน ๓ คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๒ เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ชื่อวิชา ภาษาไทย รหัส
วิชา ท๒๒๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๗ ครูผู้สอน
นางสาวศิริทรัพย์ ต้นสาย

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้


1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี
และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
๑.๒ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
ท ๕.๑ ม.๒/๕ ท่องจำบทอาขยานตามที่กำหนดและบทร้อย
กรองที่คุณค่าตามความสนใจ
2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
การท่องจำบทร้อนกรองที่มีคุณค่าช่วยจรรโลงใจและทำให้มีข้อคิด
เตือนใจ

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- นักเรียนสามารถท่องจำบทร้อยกรองตามความสนใจ
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
- นักเรียนสามารถวิเคราะห์คุณค่าบทร้อยกรอง
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
- เห็นคุณค่าของการท่องจำบทร้อยกรอง

4. สาระการเรียนรู้
การท่องบทอาขยานตามความสนใจ

5. สมรรถนะ
5.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1) ความสามารถในการสื่อสาร

5.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล
1) เป็ นเลิศทางวิชาการ
2) สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
3) ล้ำหน้าทางความคิด
4) ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5) ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
7. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21
1) R1 -(R)eading (อ่านออก)
2) R2 –W(R)iting (เขียนได้)
8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษา
8.1 บูรณาการกับศาสตร์พระราชา
1) การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์)
2) การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
3) การมีงาน มีอาชีพ
4) การเป็ นพลเมืองดี มีน้ำใจ เอื้ออาทร มีจิตสาธารณะ
8.2 บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1) หลักความพอประมาณ
2) หลักความมีเหตุผล
3) หลักการมีภูมิคุ้มกัน
4) เงื่อนไขความรู้
5) เงื่อนไขคุณธรรม
8.3 บูรณาการกับจุดเน้นของสถานศึกษา
1) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2) สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
3) โครงการโรงเรียนคุณธรรม
4) โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่
5) โครงการ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานอาชีพ
8.4 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
9. ชิ้นงานและภาระงาน
-
10. กิจกรรมการเรียนรู้ : รูปแบบการสอนแบบนิรนัย (Deductive
Method)
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๑๐ นาที)
๑. ครูและนักเรียนกล่าวทักทายกัน ครูเช็กชื่อนักเรียน โดยให้
นักเรียนบอกอาหารที่ชอบมา ๑ อย่าง แทนการพูดว่า มาครับ/ค่ะ
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
๓. นักเรียนฟั งบรรยาย PowerPoint เกี่ยวกับบทอาขยานหลักใน
เรื่อง โคลงภาพพระราชพงศาวดาร ภาพที่ ๕๖ พันท้ายนรสิงห์ถวายชีวิต
พร้อมถอดคำประพันธ์
๔. ครูให้นักเรียนฝึ กออกเสียงและท่องจำบทอาขยานหลัก เรื่อง
โคลงภาพพระราชพงศาวดาร จากหนังสือเรียนวรรณคดีและ
วรรณกรรม ม.๒
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๕. ครูและนักเรียนรวมกันสรุปความรู้การท่องจำบทอาขยาน

ชั่วโมงที่ ๒
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๑๐ นาที)
๑. ครูทบทวนความรู้จากคาบที่แล้ว เรื่อง โคลงภาพพระราช
พงศาวดาร เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาต่อไป
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
๒. ครูหมุนวงล้อสุ่มเลขที่นักเรียน เพื่อออกมาจับสลากในกล่อง
กลอนปริศนา
๓. ครูอธิบายให้นักเรียนทราบเกี่ยวกับกิจกรรม ดังนี้
- ล้วงจับกล่องกลอนปริศนา
- เมื่อจับได้บทออาขยานใด ให้นักเรียนท่องบทอาขยานนั้น
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง บทอาขยาน ร้อย
กรองคล้องใจ
ชั่วโมงที่ ๓
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๑๐ นาที)
๑. ครูทบทวนความรู้จากคาบที่แล้ว เรื่อง โคลงภาพพระราช
พงศาวดาร เพื่อเชื่อมโยงเข้าสู่เนื้อหาต่อไป
ขั้นสอน (๔๐ นาที)
๒. ครูนำเสนอเนื้อหาบทอาขยานในเรื่อง พระสุริโยทัยขาดคอช้าง
และให้นักเรียนร่วมกันท่อง บทอาขยานพร้อมกัน โดยใช้หนังสือเรียน
ภาษาไทย ม.๒ ประกอบการสอน เพื่อให้นักเรียนจดจำเนื้อหาได้

๓. ครูแจกใบงานเรื่อง ร้อยกรองคล้องใจ ให้กับนักเรียน โดยให้


เวลาทำ ๒๐ นาที เมื่อทำเสร็จแล้วให้นำมาส่งที่โต๊ะครู
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๔. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปความรู้เรื่อง บทอาขยาน ร้อย
กรองคล้องใจ

11. สื่อ / แหล่งเรียนรู้


- สื่อ
ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่มา
บที่
๑ ฉลาก
๒ ใบความรู้เรื่อง คำราชาศัพท์
๓ ใบงานเรื่อง ร้อยกรองคล้อง
ใจ

12. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียน วิธีการวัดผล เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การวัดผล
รู้ ใน
การวัดผล
ด้านความรู้ : นักเรียนอยู่ใน
1) นักเรียนสามารถ คำถาม ภาพที่ ระดับ พอใช้ขึ้น
บอกคำศัพท์ใน ตอบคำถาม ๕๖ ไป
วรรณคดีและ พันท้ายนรสิงห์ หรือผ่านเกณฑ์
วรรณกรรมได้ ถวายชีวิต ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป
ด้านทักษะ/ นักเรียนอยู่ใน
กระบวนการ : ระดับ พอใช้ขึ้น
1) นักเรียนแสดง ไป
ความคิดเห็นจากการ หรือผ่านเกณฑ์
อ่านวรรณคดีและ ร้อยละ 80 ขึ้น
วรรณกรรม ไป
ด้านคุณลักษณะอัน ประเมิน แบบประเมิน นักเรียนอยู่ใน
พึง พฤติกรรม พฤติกรรม ระดับ พอใช้ขึ้น
ประสงค์ : ไป
1) นักเรียนมีวินัย หรือผ่านเกณฑ์
2) นักเรียนใฝ่ เรียนรู ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป

13. บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
- นักเรียนจำนวน.........................................คน
- ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม......................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ
ได้แก่...............................................................................................................
......................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K)
จำนวน................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P)
จำนวน.................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
.....
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านคุณลักษณะ (A)
จำนวน...............คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านคุณลักษณะ (A)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………… ปั ญหาและอุปสรรค / แนวทางการ
แก้ไข / ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………… …………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………… ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………
…………ผู้สอน
(นางสาวศิริทรัพย์ ต้น
สาย)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบ
การณ์ฯ
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……

ลงชื่อ………………………………
………ครูพี่เลี้ยง
(นางสาววิภา บุญชาญ)
วัน
ที่……......../………………../……
………
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……
ลงชื่อ………………………………
………ครูนิเทศ
(นางสาววารุณี ธงไพร)
วัน
ที่……......../………………../……
……….
โรงเรียนโพนงามศึกษา (แยกแผน)
กลุ่มสาระการเรียนรู้ภาษาไทย
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ ๙ เรื่อง ศิลาจารึก
จำนวน ๓ คาบ
หน่วยการเรียนรู้ที่ ๓ เรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ ๒
ชื่อวิชา ภาษาไทย รหัส
วิชา ท๒๒๑๐๑
ภาคเรียนที่ ๑ ปี การศึกษา ๒๕๖๗ ครูผู้สอน
นางสาวศิริทรัพย์ ต้นสาย

1. มาตรฐานการเรียนรู้ / ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้


1.1 มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ท ๕.๑ เข้าใจและแสดงความคิดเห็น วิจารณ์วรรณคดี
และวรรณกรรมไทยอย่างเห็นคุณค่า
และนำมาประยุกต์ใช้ในชีวิตจริง
๑.๒ ตัวชี้วัด / ผลการเรียนรู้
ท ๕.๑ ม.๒/๑ สรุปเนื้อหาวรรณคดีและวรรณกรรมที่อ่านใน
ระดับที่ยากขึ้น
2. สาระสำคัญ / ความคิดรวบยอด
การศึกษาเรื่อง ศิลาจารึก หลักที่๑ จะต้องจับใจความสำคัญ สรุป
ความ อธิบายรายละเอียดจากเรื่องที่อ่านและยังต้องรู้ความเป็ นมาและ
ประวัติผู้แต่ง การศึกษาที่มาของเรื่องศิลาจารึก หลักที่ ๑ ทำให้เห็นความ
สำคัญและเกิดความตระหนักในคุณค่าของตัวอักษรไทย
3. จุดประสงค์การเรียนรู้
3.1 ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
- นักเรียนสามารถอธิบายความเป็ นมาของเรื่อง ศิลาจารึกได้
3.2 ด้านทักษะกระบวนการ (P)
- นักเรียนสามารถอธิบายความเป็ นมาของเรื่อง ศิลาจารึก ได้
3.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
- นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการทำงาน
4. สาระการเรียนรู้
ศิลาจารึก หลักที่ ๑
5. สมรรถนะ
5.1 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1) ความสามารถในการสื่อสาร
๒) ความสามารถในการคิด
5.2 สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนของโรงเรียนมาตรฐานสากล
1) เป็ นเลิศทางวิชาการ
2) สื่อสารได้อย่างน้อย 2 ภาษา
3) ล้ำหน้าทางความคิด
4) ผลิตงานอย่างสร้างสรรค์
5) ร่วมกันรับผิดชอบต่อสังคมโลก
6. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1) มีวินัย
2) ใฝ่ เรียนรู้
7. จุดเน้นสู่การพัฒนาผู้เรียน ความสามารถและทักษะของผู้เรียนใน
ศตวรรษที่ 21
1) R1 -(R)eading (อ่านออก)
2) R2 –W(R)iting (เขียนได้)
8. การบูรณาการตามพระราชบัญญัติการศึกษา
8.1 บูรณาการกับศาสตร์พระราชา
1) การมีทัศนคติที่ถูกต้องต่อบ้านเมือง (ชาติ ศาสนา พระมหา
กษัตริย์)
2) การมีพื้นฐานชีวิตที่มั่นคง
3) การมีงาน มีอาชีพ
4) การเป็ นพลเมืองดี มีน้ำใจ เอื้ออาทร มีจิตสาธารณะ
8.2 บูรณาการกับหลักปรัชญาของเศรษฐกิจพอเพียง
1) หลักความพอประมาณ
2) หลักความมีเหตุผล
3) หลักการมีภูมิคุ้มกัน
4) เงื่อนไขความรู้
5) เงื่อนไขคุณธรรม
8.3 บูรณาการกับจุดเน้นของสถานศึกษา
1) งานสวนพฤกษศาสตร์โรงเรียน
2) สถานศึกษาสีขาว ปลอดยาเสพติดและอบายมุข
3) โครงการโรงเรียนคุณธรรม
4) โครงการโรงเรียนปลอดบุหรี่
5) โครงการ 1 ห้องเรียน 1 โครงงานอาชีพ
8.4 บูรณาการข้ามกลุ่มสาระการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้สังคมศึกษาศาสนาและวัฒนธรรม
9. ชิ้นงานและภาระงาน
-
10. กิจกรรมการเรียนรู้ : รูปแบบการสอนแบบนิรนัย (Deductive
Method)
ขั้นนำเข้าสู่บทเรียน (๑๕ นาที)
๑. ครูทักทายนักเรียนพร้อมเช็กชื่อ
๒. นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียนหน่วยที่ ๓ เรื่อง ศิลาจารึก หลัก
ที่ ๑ ผ่านเว็ปไซต์ Google form
๓. ครูและนักเรียนร่วมกันสนทนา โดยตอบคำถาม ดังนี้
- ศิลาจารึกในความคิดของนักเรียนมีลักษณะอย่างไร
- ศิลาจารึกนำไปใช้ทำอะไร
- เมื่อกล่าวถึงศิลาจารึก นักเรียนจะนึกถึงสิ่งใดบ้าง
ขั้นสอน (๓๕ นาที)
๔. ครูอธิบาย Powerpoint เรื่อง ประวัติความเป็ นมาของศิลา
จารึก ประกอบหนังสือเรียน หลักวรรณคดีและวรรณกรรม ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ ๒
๕. นักเรียนฝึ กอ่านจำลองอักษรจารึกพ่อขุนรามคำแหง ครูและ
นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
๖. ครูให้เรียนเล่นเกม Vonder go เพื่อทบทวนความรู้ความเข้าใจ
ในเนื้อหาที่เรียน
ขั้นสรุป (๑๐ นาที)
๗. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุป เรื่อง ประวัติความเป็ นมาของศิลา
จารึก การศึกษาที่มาของเรื่อง ศิลาจารึก หลักที่ ๑ แบบอักษร และการ
เขียนคำในสมัยพ่อขุนรามคำแหงมหาราชอย่างถูกต้อง ทำให้เห็นความ
สำคัญและเกิดความตระหนักในคุณค่าของตัวอักษรไทย

11. สื่อ / แหล่งเรียนรู้


- สื่อ
ลำดั รายการสื่อ กิจกรรมที่ใช้ แหล่งที่มา
บที่
๑ หนังสือเรียนวรรณคดีและ
วรรณกรรม ม.๒
๒ Power point
๓ แบบทดสอบก่อนเรียน
๔ เว็ปไซต์ Plickers
๕ QR CODE

12. การวัดผลและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียน วิธีการวัดผล เครื่องมือที่ใช้ เกณฑ์การวัดผล
รู้ ใน
การวัดผล
ด้านความรู้ : นักเรียนอยู่ใน
1) นักเรียนสามารถ คำถาม ภาพที่ ระดับ พอใช้ขึ้น
บอกคำศัพท์ใน ตอบคำถาม ๕๖ ไป
วรรณคดีและ พันท้ายนรสิงห์ หรือผ่านเกณฑ์
วรรณกรรมได้ ถวายชีวิต ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป
ด้านทักษะ/ นักเรียนอยู่ใน
กระบวนการ : ระดับ พอใช้ขึ้น
1) นักเรียนแสดง ไป
ความคิดเห็นจากการ หรือผ่านเกณฑ์
อ่านวรรณคดีและ ร้อยละ 80 ขึ้น
วรรณกรรม ไป
ด้านคุณลักษณะอัน ประเมิน แบบประเมิน นักเรียนอยู่ใน
พึง พฤติกรรม พฤติกรรม ระดับ พอใช้ขึ้น
ประสงค์ : ไป
1) นักเรียนมีวินัย หรือผ่านเกณฑ์
2) นักเรียนใฝ่ เรียนรู ร้อยละ 80 ขึ้น
ไป

13. บันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดการเรียนรู้
- นักเรียนจำนวน.........................................คน
- ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม......................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- ไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้โดยรวม..................คน คิดเป็ นร้อย
ละ..............................
- นักเรียนที่มีความสามารถพิเศษ/นักเรียนเด็กพิเศษ
ได้แก่...............................................................................................................
......................
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านความรู้ (K)
จำนวน................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านทักษะ (P)
จำนวน.................คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
.....
- นักเรียนที่ไม่ผ่านการประเมินจุดประสงค์ด้านคุณลักษณะ (A)
จำนวน...............คน
คิดเป็ นร้อย
ละ...................................................................................................................
......
ด้านความรู้ ความเข้าใจ (K)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
ด้านคุณลักษณะ (A)
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
………………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………………………………………… ปั ญหาและอุปสรรค / แนวทางการ
แก้ไข / ข้อเสนอแนะ …………………………………………………………………………
……………………………………………………………………………… …………………………
…………………………………………………………………………………………………………
…………………… ……………………………………………………………………………………
……………………………………………………………………
ลงชื่อ………………………………………
…………ผู้สอน
(นางสาวศิริทรัพย์ ต้น
สาย)
ตำแหน่ง นักศึกษาฝึ กประสบ
การณ์ฯ
ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……

ลงชื่อ………………………………
………ครูพี่เลี้ยง
(นางสาววิภา บุญชาญ)
วัน
ที่……......../………………../……
………

ข้อเสนอแนะของหัวหน้าสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย (ตรวจ,นิเทศ,เ
สนอแนะ,รับรอง) ………………………………………………………………………………
………………………………………………………………………… ………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……………… …………………………………………………………………………………………
……………………………………………………………… …………………………………………
…………………………………………………………………………………………………………
……
ลงชื่อ………………………………
………ครูนิเทศ
(นางสาววารุณี ธงไพร)
วัน
ที่……......../………………../……
……….

You might also like