You are on page 1of 65

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.

) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วรากร สีโย 1
รายละเอียดของรายวิชา
ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วิทยาเขต/คณะ/ภาควิชา สาขาดนตรีตะวันตก วิทยาลัยดุริยางคศิลป์

หมวดที่ 1 ข้อมูลทัว่ ไป
1. รหัสและชื่อรายวิชา
2000 112 โสตทักษะ 2 (Ear Training 2)

2. จานวนหน่วยกิต
1 หน่วยกิต 1(0-2-1)

3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) วิชาเอกบังคับ หมวดวิชาเฉพาะด้าน

4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน(ถ้าเป็นคนเดียวกันให้ระบุดังนี้)
- อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา: อ.วรากร สีโย ,โทร:089-9431921, facebook : warakorn seeyo
- อาจารย์ผู้สอน : กลุ่ม 1 อ.วรากร สีโย : กลุ่ม 2 อ.ศตวรรต มาไลศรี
กลุ่ม 3 อ.อรรคพงษ์ ภูลายาว : กลุ่ม 4 อ.วัชรานนท์ สังข์หมื่นนา

5. ภาคการศึกษา/ชั้นปีที่เรียน
ภาคปลาย ปีการศึกษา 2560 / ทุกชั้นปี
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite) (ถ้ามี)
Ear Training 1

7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co-requisites) (ถ้ามี)


- ไม่มี -
8. สถานที่เรียน
ห้องเรียน MU301 วิทยาลัยดุริยางคศิลป์

9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดวิชาครั้งล่าสุด
- วันที่จัดทา 10 ธันวาคม 2559
- วันที่ปรับปรุง (ถ้ามีการปรับปรุงให้ระบุด้วย)

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 2
หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์
1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
1. เพื่อให้นิสิตสามารถฟังและเขียนกลุ่มตัวโน้ต 2 ตัวใน 1 จังหวะได้
2. เพื่อให้นิสิตสามารถฟังและเขียนกลุ่มตัวโน้ต 4 ตัวใน 1 จังหวะได้
3. เพื่อให้นิสิตสามารถฟังและเขียนกลุ่มตัวโน้ตประจุดและโน้ตโยงเสียง
4. เพื่อให้นิสิตได้ทราบถึงเสียงชนิดของขั้นคู่ Major , Minor , Perfect , Augmented
5. เพื่อให้สามารถฟังเสียงขั้นคู่ 2,3,4,5 แล้วแยกชนิดของขั้นคู่ได้
6. เพื่อให้นิสิตสามารถอ่านแนวทานองและกลุ่มตัวโน้ตในขั้นสูงได้
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา/ปรับปรุงรายวิชา
เพื่อให้สอดคล้องกับสื่อการเรียนการสอนที่พัฒนาขึ้น

หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ
1. คาอธิบายรายวิชา
ภาษาไทย
ฝึกทักษะการฟังขั้นคู่เสียงและกลุ่มตัวโน้ต บันทึกขั้นคู่เสียงและกลุ่มตัวโน้ตและการอ่าน
กลุ่มตัวโน้ตในขั้นสูง
ภาษาอังกฤษ
Listening and writing skills 2 ; exercises in notation and reading of longer
melodic phrases

2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา (ระบุเวลาเรียนทั้งภาคการศึกษาโดยให้คิดจาก 15 ครั้งต่อภาคเรียน)

การฝึกปฏิบัติ/งาน
บรรยาย สอนเสริม การศึกษาด้วยตนเอง
ภาคสนาม/การฝึกงาน
บรรยาย 1 ชั่วโมง สอนเสริมตามความต้องการ 1 ชั่วโมง 2 ชั่วโมง
(1 ชม. x 15 สัปดาห์) ของอาจารย์และนิสิต (1 ชม. x 15 สัปดาห์) (2 ชม. x 15 สัปดาห์)

3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
2 ชั่วโมงต่อสัปดาห์ ทุกวันพุธ เวลา 15.00-17.00 น. ห้องแซกโซโฟน

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 3
หมวดที่ 4 การพัฒนาผลการเรียนรู้ของนักศึกษา
วิธีการวัดและ
มาตรฐานการเรียนรู้ รายละเอียดที่ต้องพัฒนา วิธีการสอน
ประเมินผล
1. คุณธรรมจริยธรรม 1.3 มีวินัย ตรงต่อเวลา 1. เน้นความสาคัญของการ 1. ประเมินจาก
เสียสละ ซื่อสัตย์สุจริต มีความ ตรงต่อเวลาในการเข้าชั้น พฤติกรรมและการ
รับผิดชอบต่อตนเองและ เรียน การส่งงาน ตรงต่อเวลาของนิสิต
สังคม 2. ฝึกให้นิสิตปฏิบัติตาม ในการเข้าชั้นเรียน
กฎระเบียบและข้อตกลงใน 2.การส่งงานตาม
แต่ละรายวิชา กาหนด และการเข้า
ร่วมกิจกรรม

2. ความรู้ 2.1 มีความรู้ความเข้าใจ 1. เน้นหลักการทางทฤษฎี 1. การทดสอบย่อย


เกี่ยวกับหลักการ ทฤษฎีและ ให้เป็นไปตามลักษณะ การสอบกลางภาค
ทักษะการปฏิบัติที่สาคัญ เนื้อหาสาระของรายวิชา และปลายภาค
เกี่ยวกับดนตรี 2. จัดกิจกรรมการเรียนการ 2. ประเมินจาก
สอนโดยการศึกษาค้นคว้า รายงานที่นาเสนอ
ด้วยตนเองและทากิจกรรม
กลุ่ม/รายงานกลุ่ม

3. ทักษะทางปัญญา 3.1 คิดวิเคราะห์อย่างมี อธิบายเนื้อหาโดยเชื่อมโยงค ประเมินจาก


วิจารณญาณ เนื้อหาที่เรียนอย่างเป็น กระบวนการคิด
ระบบ วิเคราะห์ที่ใช้ใน
การศึกษาค้นคว้า
4. ทักษะ 4.1 สามารถทางานร่วมกับ กาหนดให้นิสิตทางานกลุ่ม ประเมินจากการสอบ
ความสัมพันธ์ระหว่าง ผู้อื่นได้ และจับกลุ่มกันฝึกซ้อม แบบฝึกหัดเป็นกลุ่ม
บุคคลและความ และการรวมกลุ่ม
รับผิดชอบ ฝึกซ้อม

5. ทักษะการวิเคราะห์ 5.3 สามารถใช้เทคโนโลยี จัดกิจกรรมให้นิสิตศึกษา ประเมินจากผลงานที่


เชิงตัวเลข การสื่อสาร สารสนเทศในการปฏิบัติงาน ค้นคว้าด้วยตนเอง และใช้ ได้รับมอบหมายและ
และการใช้เทคโนโลยี ดนตรีอย่างมีประสิทธิภาพ ระบบเทคโนโลยีสารสนเทศ ส่งทางอิเล็กทรอนิคส์
สารสนเทศ ที่ทันสมัย

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 4
6. ทักษะปฏิบัติการ 6.3 มีความสามารถในการ กาหนดและแนะนาให้นิสิต 1. ประเมินจาก
ทางวิชาชีพ พัฒนาทักษะวิชาชีพตนเอง เรียนรู้ตัวเองและค้นคว้า ผลงานที่ได้รับ
อย่างยั่งยืน ความรู้เรื่องโสตทักษะอย่าง มอบหมายไปค้นคว้า
ต่อเนื่อง 2. ประเมินจากการ
นาเสนอและการตอบ
คาถามจากผู้สอน
และจากเพื่อนนิสิต
ในชั้นเรียน

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

แผนการสอน
จานวนชั่วโมง
กิจกรรมการเรียน
สัปดาห์ หัวข้อ/รายละเอียด ศึกษาด้วย ผู้สอน
บรรยาย ปฏิบัติ การสอนสื่อที่ใช้
ตนเอง
แนะนารายวิชา Ear Training and Sight
Singing 2 อธิบายชี้แจงกิจกรรม
1 2 - 2 อ.วรากร
แนะนาเอกสาร สื่อ และตาราประกอบการ การเรียน
เรียน
การอ่านกลุ่มตัวโน้ต 2 ตัวใน 1 จังหวะ บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/
2 1 1 2 อ.วรากร
Beat Subdivision by 2 ซักถาม/ สรุป
การฟังและบันทึกกลุ่มตัวโน้ต 2 ตัวใน 1 จังหวะ บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/
3 1 1 2 อ.วรากร
Beat Subdivision by 2 ซักถาม/ สรุป
การอ่านกลุ่มตัวโน้ต 4 ตัวใน 1 จังหวะ บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/
4 1 1 2 อ.วรากร
Beat Subdivision by 4 ซักถาม/ สรุป
การฟังและบันทึกกลุ่มตัวโน้ต 4 ตัวใน 1 จังหวะ บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/
5 1 1 2 อ.วรากร
Beat Subdivision by 4 ซักถาม/ สรุป
การอ่านกลุ่มตัวโน้ตประจุดและโน้ตโยงเสียง บรรยาย/สาธิต/ฝึก
6 1 1 2 อ.วรากร
Dots & Ties ปฏิบัติ/สรุป
การฟังและบันทึกกลุ่มตัวโน้ตประจุดและโน้ต
7 1 1 2 ฝึกปฏิบัติ/ ซักถาม/ อ.วรากร
โยงเสียง Dots & Ties
บรรยาย/สาธิต/ฝึก
การอ่านและการฝึกปฏิบัติ โน้ต 2 และ 4 ตัวใน
8 - 2 2 ปฏิบัติ/สรุป เก็บ อ.วรากร
1 จังหวะ และโน้ตประจุด
คะแนนการปฏิบัติ
9 สอบกลางภาค อ.วรากร
แนะนาชนิดขั้นคู่เสียง Major , Minor บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/
10 1 1 2 อ.วรากร
Perfect, Augmented , diminished ซักถาม/ สรุป

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 5
แนะนาขั้นคู่ 2 Major และ Minor บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/
11 1 1 2 อ.วรากร
ฝึกฟังแล้วแยกชนิดและบันทึกโน้ตขั้นคู่ 2 ซักถาม/ สรุป
แนะนาขั้นคู่ 3 Major และ Minor บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/
12 1 1 2 อ.วรากร
ฝึกฟังแล้วแยกชนิดและบันทึกโน้ตขั้นคู่ 3 ซักถาม/ สรุป
แนะนาขั้นคู่ 4 Perfect และ Augmented บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/
13 1 1 2 อ.วรากร
ฝึกฟังแล้วแยกชนิดและบันทึกโน้ตขั้นคู่ 4 ซักถาม/ สรุป
แนะนาขั้นคู่ 5 Perfect และ diminished บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/
14 1 1 2 อ.วรากร
ฝึกฟังแล้วแยกชนิดและบันทึกโน้ตขั้นคู่ 5 ซักถาม/ สรุป
บรรยาย/ฝึกปฏิบัติ/
15 อ่านการเคลื่อนทานอง ในขั้นคู่ 2,3,4,5 1 1 2 อ.วรากร
ซักถาม/ สรุป
16 สอบปลายภาค อ.วรากร

แผนการประเมินผลการเรียนรู้
สัดส่วนของ
ข้อ มาตรฐานการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน
การประเมิน
1 1.3 เวลาเรียน 1-8 และ 11-15 10%
2 2.1,3.1,5.3,6.3 รายงานเดีย่ ว 8 15%
3 2.1,3.1,4.1 รายงานกลุ่ม 15 15%
4 2.1,3.1 สอบกลางภาค 9 30%
5 2.1,3.1 สอบปลายภาค 16 30%
รวม 100%

2. การประเมินผล (ระบุช่วงคะแนน)
ช่วงคะแนน เกรด
80 - 100 A
75 - 79 B+
70 - 74 B
65 - 69 C+
60 - 64 C
55 - 59 D+
50-54 D
0-49 F

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 6
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน
1. ตาราและเอกสารหลัก
เอกสารประกอบการสอนรายวิชา2000 112 โสตทักษะ 2
2. เอกสารเพิ่มเติม
ผู้แต่ง ( รายการอ้างอิง )
ชื่อหนังสือ
1. Ear Training 2 วรากร สีโย
2. Music for Ear training & CD-ROM Michael Horvit
Timothy Koozin
Robert Nelson
3. Ear Training A Technique for Listening Bruce Benward
J.Timothy Kolosick
4. Ear Training for the contemporary Musician Keith wyatt
Carl Schroeder
Joe Elliott
5. A New Approach to Ear Training LEO KRAFT

6. Perfect pitch
7. Ear training kodaly book 333, 77 , 66 , 44 , 33 22 ,11 kodaly

3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
โปรมแกรมที่สามารถฝึกโสตทักษะจากคอมพิวเตอร์ได้
1. Music for Ear Training
2. Earope Ear training

เว็ปไซค์

www.MusicTheory.net ฝึกผ่านออนไลท์

www.hitsquad.com รวบรวมโปรแกรมฝึกโสตทักษะไว้มากมาย

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 7
หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา
1. กลยุทธ์การประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
การประเมินประสิทธิผลในรายวิชานี้ ดาเนินการดังนี้
- สนทนาสอบถามความคิดเห็นนิสิตเป็นรายคนและเป็นกลุ่ม
- การใช้แบบประเมินการเรียนการสอนของมหาวิทยาลัย
- รับฟังความคิดเห็นผ่านระบบ e-Learning และ Facebook รายวิชา

2. กลยุทธ์การประเมินการสอน
การประเมินประการสอนในรายวิชานี้ ดาเนินการดังนี้
- การสังเกตพฤติกรรมการเรียนรู้
- ทดสอบวัดผลการเรียนของนิสิตระหว่างเรียน โดยให้ทาแบบทดสอบท้ายบทเรียน
- การตรวจงานที่มอบหมายอย่างสม่าเสมอ

3. การปรับปรุงการสอน
นาผลการประเมินผู้สอนโดยนิสิตมาทาการปรับปรุงการสอนจากข้อเสนอแสะและผลการประเมิน

4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
- ตรวจสอบความรู้นิสิตอย่างสม่าเสมอ โดยการสอบถามและให้นิสิตแสดงความคิดเห็น ระหว่างการเรียน
- ตรวจสอบความรู้นิสิตโดยการสุ่มด้วยวิธีการสัมภาษณ์หลังจากส่งผลการเรียนแล้ว
- มีการตั้งคณะกรรมการในสาขาวิชา ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนิสิต โดยตรวจสอบข้อเขียน
รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม

5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
ปรับปรุงลักษณะการเรียนการสอน ตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ ได้แก่ การ
ปรับปรุงสื่อการสอน และเนื้อหาใหม่ให้ทันสมัยอยู่เสมอ

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 8
บทที่ 1
โน้ต 2 ตัว ใน 1 จังหวะ
(Beat Subdivision by 2)

โน้ต 2 ตัวใน 1 จังหวะ หรือ Beat Subdivision by 2 หมายถึง ในจังหวะ 1 จังหวะ สามารถเขียนโน้ต
ได้จานวน 2 ตัว ทั้งนี้จะต้องสังเกตที่เครื่องหมายกาหนดจังหวะ ในตัวเลขด้านล่างนั้นกาหนดให้ตัวเลขใดเป็นตัว
เลขตัวล่าง (Lower Figure) หมายถึงลักษณะตัวโน้ตที่จะถือเป็นเกณฑ์ 1 จังหวะของจังหวะเคาะ เลขตัวล่างที่
กาหนดลักษณะของตัวโน้ตคือ
เลข 1 ตรงกับลักษณะโน้ต Whole note
เลข 2 ตรงกับลักษณะโน้ต Half note
เลข 4 ตรงกับลักษณะโน้ต Quarter note
เลข 8 ตรงกับลักษณะโน้ต Eighth note
เลข 16 ตรงกับลักษณะโน้ต Sixteenth note

เมื่อเข้าใจในตัวเลขด้านล่างที่กาหนดแล้ว ก็จะสามารถทราบถึงตัวโน้ตที่จะสามารถเขียนตัวโน้ตจานวน 2
ตัวลงใน 1 จังหวะได้ เช่น
เลขด้านล่างเป็น1 ตัวโน้ตที่สามารถเขียน 2 ตัวลงใน 1 จังหวะได้ คือ Half note ดังตัวอย่าง

จังหวะ 1 2 & 1 2 1 2 & 1 2


การร้อง One Two and One Two One Two and One Two
หนึ่ง สอง และ หนึ่ง สอง หนึ่ง สอง และ หนึ่ง สอง

เลขด้านล่างเป็น 2 ตัวโน้ตที่สามารถเขียน 2 ตัวลงใน 1 จังหวะได้ คือ Quarter note ดังตัวอย่าง

จังหวะ 1 2 & 1 2 & 1 2 1 2


การร้อง One Two and One Two and One Two One Two
หนึ่ง สอง และ หนึ่ง สอง และ หนึง่ สอง หนึ่ง สอง

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 9
เลขด้านล่างเป็น 4 ตัวโน้ตที่สามารถเขียน 2 ตัวลงใน 1 จังหวะได้ คือ Eighth note

จังหวะ 1 2 1 & 2 & 1 2 1 2 1 & 2 & 1 2


การร้อง One Two One and Two and One Two One Two One and Two and One Two
หนึ่ง สอง หนึ่ง และ สอง และ หนึ่ง สอง หนึ่ง สอง หนึ่ง และ สอง และ หนึ่ง สอง

เลขด้านล่างเป็น 8 ตัวโน้ตที่สามารถเขียน 2 ตัวลงใน 1 จังหวะได้ คือ Sixteenth note

จังหวะ 1 2 & 3 1 2 & 3 1 2 3 1 2 3


การร้อง One Two and Three One Two and Three One Two Three One Two Three
หนึ่ง สอง และ สาม หนึ่ง สอง และ สาม หนึ่ง สอง สาม หนึ่ง สอง สาม

เลขด้านล่างเป็น 16 ตัวโน้ตที่สามารถเขียน 2 ตัวลงใน 1 จังหวะได้ คือ Thirty Second note

จังหวะ 1 2 3 & 1 2 3 & 1 & 2 3 1 & 2 3


การร้อง One Two Three and One Two Three and One and Two Three One and Two Three
หนึ่ง สอง สาม และ หนึ่ง สอง สาม และ หนึ่ง และ สอง สาม หนึ่ง และ สอง สาม

จังหวะที่เขียนไว้กากับตัวเลข 1 , 2 และ 3 ไว้นั้น เป็นจังหวะตก ส่วน & เป็นจังหวะยก

& & &


ตก ยก ตก ยก ตก ยก

1 2 3

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 10
แบบฝึกหัด 1 การอ่านและปฏิบัติ

1 2 3 4 & 1 2 3 & 4 1 2 & 3 4 1 & 2 3 4

1.1

1.2

1.3

1.4

1.5

1 2 3 &4 & 1 2 &3 & 4 1 &2 & 3 4 1& 2 3 4 &

1.6

1.7

1.8

1.9

1.10

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 11
1 2 &3&4& 1& 2 &3 &4 1 &2 & 34 & 1& 2 3 &4 &

1.11

1.12

1.13

1.14

1.15

แบบฝึกหัด 2 การอ่านและปฏิบัติ

1 & 2 & 3 & 1 & 2 & 3 1 2 & 3 & 1 2 & 3 &

2.1

2.2

2.3

2.4

2.5

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 12
1 & 2 3 1 2 & 3 1 2 3 & 1 & 2 3

2.6

2.7

2.8

2.9

2.10

1&2&3&45&6 1 2&3&4&5&6& 1 2&3 4 5 6& 1&2 3 4&5&6&

2.11

2.12

2.13

2.14

2.15

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 13
แบบฝึกหัด 3 การฟังและการเขียนเรื่อง โน้ต 2 ตัวใน 1 จังหวะ
3.1

3.2

3.3

3.4

3.5

3.6

3.7

3.8

3.9

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 14
3.10

3.11

3.12

3.13

3.14

3.15

3.16

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 15
แบบฝึกหัด 4 การฟังและเขียนเรื่อง โน้ต 2 ตัวใน 1 จังหวะ

4.1

4.2

4.3

4.4

4.5

4.6

4.7

4.8

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 16
4.9

4.10

4.11

4.12

4.13

4.14

4.15

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 17
บทที่ 2
โน้ต 4 ตัวใน 1 จังหวะ
(Beat Subdivision by 4)

โน้ต 4 ตัวใน 1 จังหวะ หรือ Beat Subdivision by 4 หมายถึง ในจังหวะ 1 จังหวะ สามารถเขียนโน้ต
ได้จานวน 4 ตัว ทั้งนี้จะต้องสังเกตที่เครื่องหมายกาหนดจังหวะ เช่นเดียวกันในบทที่ 1 เมื่อเข้าใจในตัวเลขด้านล่าง
ที่กาหนดแล้ว ก็จะสามารถทราบถึงตัวโน้ตที่จะสามารถเขียนตัวโน้ตจานวน 4 ตัวลงใน 1 จังหวะได้ เช่น

เลขด้านล่างเป็น 1 ตัวโน้ตที่สามารถเขียน 4 ตัวลงใน 1 จังหวะได้ คือ Quarter note ดังตัวอย่าง

จังหวะ 1 2 2 3 4 1 2 2 3 4 1 2 1 2 3 4 2
ร้อง 1 2 e & a 1 2 e & a 1 2 1 e & a 2
1 2 ละ และ ละ 1 2 ละ และ ละ 1 2 1 ละ และ ละ 2

เลขด้านล่างเป็น 2 ตัวโน้ตที่สามารถเขียน 4 ตัวลงใน 1 จังหวะได้ คือ Eighth note ดังตัวอย่าง

จังหวะ 1 2 2 3 4 1 2 2 3 4 1 2 3 4 2 1 2 3 4 2
ร้อง 1 2 e & a 1 2 e & a 1 e & a 2 1 e & a 2
1 2 ละ และ ละ 1 2 ละ และ ละ 1 ละ และ ละ 2 1 ละ และ ละ 2

เลขด้านล่างเป็น 4 ตัวโน้ตที่สามารถเขียน 4 ตัวลงใน 1 จังหวะได้ คือ Sixteenth note ดังตัวอย่าง

จังหวะ 1 2 2 3 4 1 2 2 3 4 1 2 3 4 2 1 2
ร้อง 1 2 e & a 1 2 e & a 1 e & a 2 1 2
1 2 ละ และ ละ 1 2 ละ และ ละ 1 ละ และ ละ 2 1 2

เลขด้านล่างเป็น 8 ตัวโน้ตที่สามารถเขียน 4 ตัวลงใน 1 จังหวะได้ คือ Thirty Second note ดังตัวอย่าง

จังหวะ 1 2 3 2 3 4 1 2 3 2 3 4 1 2 3 1 2 3 4 2 3
ร้อง 1 2 3 e & a 1 2 3 e & a 1 2 3 1 e & a 2 3
1 2 3 ละ และ ละ 1 2 3 ละ และ ละ 1 2 3 1 ละ และ ละ 2 3

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 18
แบบฝึกหัด 1 การอ่านและปฏิบัติ

1 e&a2 3 4 1 2e&a 3 4 1 2 3e&a 4 1 2 3 4e&a

1.1

1.2

1.3

1.4

1.5

1e&a 2e&a 3 4 1 2e&a 3e&a4 1 2 3e&a 4e&a 1e&a 2 3 4e&a

1.6

1.7

1.8

1.9

1.10

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 19
แบบฝึกหัด 2 การอ่านและปฏิบัติ

1 e & 2 & 1 & 2 e & 1 e & 2 e & 1 2 e &

2.1

2.2

2.3

2.4

2.5

1 & a 2 & 1 & 2 & a 1 & a 2 & a 1 2 & a

2.6

2.7

2.8

2.9

2.10

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 20
แบบฝึกหัด 3 การฟังและเขียน เรื่อง โน้ต 4 ตัวใน 1 จังหวะ
3.1

3.2

3.3

3.4

3.5

3.6

3.7

3.8

3.9
หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วรากร สีโย 21
3.10

3.11

3.12

3.13

3.14

3.15

3.16

แบบฝึกหัด 4 การฟังและเขียน เรื่อง โน้ต 4 ตัวใน 1 จังหวะ


หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วรากร สีโย 22
4.1

4.2

4.3

4.4

4.5

4.6

4.7

4.8

4.9

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 23
4.10

4.11

4.12

4.13

4.14

4.15

บทที่ 3
หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วรากร สีโย 24
โน้ตโยงเสียงและโน้ตประจุด
Ties & Dots
1. การใช้เครื่องหมายโยงเสียง (Tie)
การโยงเสียงเป็นการเพิ่มค่าตัวโน้ต ไม่สามารถกระทาได้กับตัวหยุด เครื่องหมายนี้จะใช้ก็ต่อเมื่อมีความ
ประสงค์จะทาเสียงของตัวโน้ต ที่บันทึกอยู่ใกล้กัน และมีระดับเสียงเดียวกันเท่านั้น ซึ่งจะเพิ่มอัตราจังหวะให้มี
ความยาวต่อเนื่องกันมากกว่าปกติ โดยใช้เครื่องหมายโยงเสียง บันทึกไว้ที่หัวตัวโน้ตดังตัวอย่าง

ตัวอย่าง การใช้เครื่องหมายโยงเสียง (Tie)

2. การใช้ประจุด (Dot)
การประจุด หมายถึงการประจุดลงข้างหลังตัวโน้ตหรือตัวหยุด เพื่อเพิ่มความยาวของเสียงดนตรี หรือยืด
การหยุด ให้ยาวนานขึ้น การประจุดแบ่งออกเป็น 2 ชนิดคือ
2.1 การประจุดหนึ่งจุด ลักษณะนี้แสดงถึงการเพิ่มอัตราจังหวะเคาะเพิ่มมากขึ้นอีกครึ่งหนึ่งของตัวเอง
หรือประจุดหนึ่งจุดมีค่าเป็นครึ่งหนึ่งของอัตราปกติเช่น

ตัวอย่าง การใช้เครื่องหมายประจุด

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 25
2.2 การประจุด 2 จุด ลักษณะนี้แสดงถึงการเพิ่มอัตราจังหวะเคาะเพิ่มขึ้นเป็น 3 ใน 4 ของ
อัตราตัวโน้ตหรือตัวหยุดปกติ นั่นคือประจุดแรกเพิ่มครึ่งหนึ่งของอัตราปกติประจุดหลังเพิ่มอีกครึ่งหนึ่งของประจุด
แรก ดังตัวอย่าง

ตัวอย่าง การใช้เครื่องหมายประจุด 2 จุด

หมายเหตุ การใช้เครื่องหมายโยงเสียงนั้นยังมีอีกชนิดคือ ไม่ได้ใช้โยงเสียงเดียวกัน จะเรียกเครื่องหมาย


ชนิดนี้ว่า Slur ซึ่งเป็นการเชื่อมเสียงของตัวโน้ตที่มีระดับเสียงต่างกัน โดยบรรเลงตามอัตราจังหวะของตัวโน้ตให้
ต่อเนื่องตลอดเครื่องหมาย ลักษณะของเครื่องหมายดังนี้

ตัวอย่าง การใช้ เครื่องหมายโยงเสียง (Tie) เครื่องหมายประจุด (Dotted) และเครื่องหมาย Slur ใน


บทเพลงต่างๆ

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 26
แบบฝึกหัด 1 การอ่านและปฏิบัติโน้ตประจุด

1&2& 3&4& 1&2 & 3&4 & 1&2& 3&4& 1e &a 2&3& 4

1.1

1.2

1.3

1.4

1.5

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 27
1 2 3 1 & 2 & 3 1 & 2 & 3 & 1 & 2 & 3

1.6

1.7

1.8

1.9

1.10

1 2 3 1 2 & 3 1 2 3 & 1 & 2 3 &

1.11

1.12

1.13

1.14

1.15

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 28
1 2 3 1 2 3 12 & 3 4 5 & 6 1 2 3 & 4 5 6 & 1 2& 3 4 5 6 &
1.16

1.17

1.18

1.19

1.20

แบบฝึกหัด 2 การอ่านและปฏิบัติโน้ตโยงเสียง

1 2 & 3 & 4 1 &2& 3 & 4 1& 2 & 3 & 4& 1 2 & 3 &4 &

2.1

2.2

2.3

2.4

2.5

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 29
1 &2& 3 & 4 & 1 & 2 & 3 & 4 & 1 & 2 &3 & 4 1 & 2& 3&4&

2.6

2.7

2.8

2.9

2.10

แบบฝึกหัด 3 การฟังและเขียน เรื่อง โน้ตประจุดและโน้ตโยงเสียง


3.1

3.2

3.3

3.4

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 30
3.5

3.6

3.7

3.8

3.9

3.10

3.11

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 31
3.12

3.13

3.14

3.15

3.16

แบบฝึกหัด 4 การฟังและเขียน เรื่อง โน้ตประจุดและโน้ตโยงเสียง


4.1

4.2

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 32
4.3

4.4

4.5

4.6

4.7

4.8

4.9

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 33
4.10

4.11

4.12

4.13

4.14

4.15

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 34
บทที่ 4
ขั้นคู่เสียง

ก่อนที่จะไปยังเรื่องของขั้นคู่เสียงนั้น ผู้เขียนอยากให้ทราบถึงเครื่องหมายแปลงเสียงซึ่งจะมีผลในการคิด
ขั้นคู่ต่างๆได้อย่างเข้าใจมากขึ้น

เครื่องหมายแปลงเสียง
เครื่องหมายแปลงเสียงคือหมายที่ใช้บังคับ หรือแปลงเสียงของตัวโน้ตที่ต้องการจะเพิ่มหรือลดเสียง โดย
บังคับให้เสียงนั้นสูงหรือต่าไปจากเดิม ตามความหมายของเครื่องหมายที่ใช้บังคับนั้น เครื่องหมายแปลงเสียงมีอยู่
ด้วยกัน 5 ชนิดโดยใช้สัญลักษณ์ดังนี้
1.1 เครื่ อ งหมายแปลงเสี ย ง “ชาร์ป ” (Sharp) ลั ก ษณะเครื่อ งหมาย ตั ว โน้ ต ทุ ก ลั ก ษณะที่
เครื่องหมาย ชาร์ป บันทึกกากับอยู่ข้างหน้าหมายถึงเสียงของตัวโน้ตตัวนั้นจะมีเสียงสูงขึ้นจากเดิมครึ่งเสียงหรือ 1
Semitone มีลักษณะการบันทึกดังนี้

ตัวอย่าง ตัวโน้ตเสียง G เมื่อเติมเครื่องหมาย “ชาร์ป” กลายเป็นเสียง G# ซึ่งทาให้เสียงสูงขึ้น

1.2 เครื่ อ งหมายแปลงเสี ย ง “แฟลต” (Flat) ลั ก ษณะเครื่ อ งหมาย ตั ว โน้ ต ทุ ก ลั ก ษณะที่


เครื่องหมาย แฟลต บันทึกกากับอยู่ข้างหน้าหมายถึงเสียงของตัวโน้ตตัวนั้นจะมีเสียงต่าลงจากเดิมครึ่งเสียงหรือ 1
Semitone ลักษณะการบันทึกดังตัวอย่าง

ตัวอย่าง ตัวโน้ตเสียงG เมื่อเติมเครื่องหมาย “แฟลต” กลายเป็นเสียง Gb ซึ่งทาให้เสียงต่าลง

1.3 เครื่องหมายแปลงเสียง “เนเจอรัล” (Natural) ลักษณะเครื่องหมาย คือเครื่องหมายแปลง


เสียงเมื่อโน้ตถูกบังคับด้วยเครื่องหมาย หรือ ให้กลับสู่เสียงเดิมลักษณะบันทึก ดังตัวอย่าง

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 35
ตัวอย่าง ตัวโน้ตตัวแรกเสียง - G# เมื่อเติมเครื่องหมาย “เนเจอรัล” ในตัวโน้ตตัวถัดมาหรือตัวโน้ตที่ 2จะทา
ให้เสียงกลับมาเป็นเสียง G เหมือนเดิม
-ตัวโน้ตตัวแรกเสียง Ab เมื่อเติมเครื่องหมาย “เนเจอรัล” ในตัวโน้ตตัวถัดมาหรือตัวโน้ตที่ 2จะทา
ให้เสียงกลับมาเป็นเสียง G เหมือนเดิม

1.4 เครื่องหมายแปลงเสียง “ดับเบิ้ลชาร์ป” (Double Sharp) ลักษณะเครื่องหมาย เป็น


เครื่องหมายที่ใช้แปลงเสียงให้ระดับเสียงสูงขึ้นจากเดิม 1 เสียงเต็มหรือ 1 Tone ลักษณะเครื่องหมายและการ
บันทึกดังตัวอย่าง

ตัวอย่าง ตัวโน้ตเสียงG เมื่อเติมเครื่องหมาย “ดับเบิ้ลชาร์ป” กลายเป็นเสียง Gx ซึ่งทาให้เสียง


สูงขึ้นไปเท่ากับเสียง A ในทางปฏิบัติแล้วเล่นเสียง A ได้เลยเมื่อเห็น Gx

1.5 เครื่องหมายแปลงเสียง “ดับเบิ้ลแฟลต” (Double Flat) ลักษณะเครื่องหมาย เป็น


เครื่องหมายที่ใช้แปลงเสียงให้ระดับเสียงต่าลงจากเดิม 1 เสียงเต็มหรือ 1 Tone ลักษณะเครื่องหมายและการ
บันทึกดังตัวอย่าง

ตัวอย่าง ตัวโน้ตเสียงB เมื่อเติมเครื่องหมาย “ดับเบิ้ลแฟลต” กลายเป็นเสียง Bbb ซึ่งทาให้


เสียงต่าลงมาเท่ากับเสียง A ในทางปฏิบัติแล้วเล่นเสียง A ได้เลยเมื่อเห็น Bbb
วิธีบันทึกเครื่องหมายแปลงเสียง
1. บันทึกในบรรทัด 5 เส้นตัวโน้ต ให้บันทึกเครื่องหมายแปลงไว้ด้านหน้าของตัวโน้ตเสมอและให้ตรง
กับเส้นหรือช่องที่บันทึกตัวโน้ตนั้นๆ ดังนี้

2. ถ้าบันทึกกับตัวอักษรให้บันทึกด้านบนขวาของตัวอักษรดังนี้

F A D G
หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม
วรากร สีโย 36
การใช้เครื่องหมายแปลงเสียงทั่วๆ ไปจะใช้ 2 ลักษณะคือ การใช้แปลงเสียงหรือบังคับเสียงประจา และ
การใช้แปลงเสียงหรือบังคับเสียงชั่วคราว ลักษณะการใช้เครื่องหมายแปลงเสียงทั้ง 2 ลักษณะดังนี้
1. เครื่องหมายแปลงเสียงที่ใช้แปลงเสียง หรือบังคับประจาได้แก่ เครื่องหมาย และ ที่เขียน
กากับไว้หลังกุญแจประจาหลักหรือที่เรียกว่า เครื่องหมายกาหนดบันไดเสียง มีลักษณะดังนี้

ตัวอย่าง เครื่องหมายกาหนดบันไดเสียงทาง Sharp

จากตัวอย่างเครื่องหมายกาหนดบันไดเสียงจะมีเครื่องหมาย กากับ 2 ตาแหน่ง คือที่เสียง


F และ C หมายถึงเสียง F และ C ที่บันทึกจะต้องบรรเลงเป็นเสียง F และ C ทุกเสียงตลอดเพลงจนกว่าจะมี
การเปลี่ยนแปลง

ตัวอย่าง เครื่องหมายกาหนดบันไดเสียงทาง Flat

จากตัวอย่างเครื่องหมายกาหนดบันไดเสียงจะมีเครื่องหมาย กากับ 2 ตาแหน่ง คือที่


เสียง B และ E หมายถึงเสียง B และ E ที่บันทึกจะต้องบรรเลงเป็นเสียง Bb และ Eb ทุกเสียงตลอดเพลง จนกว่า
จะมีการเปลี่ยนแปลง
2. เครื่องหมายแปลงเสียงที่ใช้แปลงเสียงหรือบังคับเสียงชั่วคราว เครื่องหมายที่ใช้แปลงเสียงมี 5
ลักษณะดังนี้

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 37
การใช้จะใช้บังคับตัวโน้ตที่ต้องการจะแปลงเสียงเท่านั้น และบังคับได้เพียง 1 ห้องเพลงเท่านั้น

ตัวโน้ตที่ ถูกวงกลมล้อมไว้คือตัวโน้ตที่ถูกแปลงเสียงด้วยเครื่องหมาย Sharp เช่นเดียวกับโน้ตตัว


แรกของห้องเพลง
การบันทึกเครื่องหมายแปลงเสียงทุกชนิด จะต้องบันทึกให้ตรงกับตาแหน่งของตัวโน้ต หากตัวโน้ตคาบ
เส้นบรรทัดเครื่องหมายต้องคาบเส้นบรรทัดด้วย และตัวโน้ตอยู่ในช่องบรรทัดเครื่องหมายต้องอยู่ในช่อง นั้น ๆ
ด้วยดังตัวอย่าง

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 38
ระยะห่างของเสียง

เสียง (Tone) และครึ่งเสียง (Semitone)


ในระบบเสียงของดนตรีสากลนั้นได้แบ่งระยะขั้นของเสียงได้ดังนี้
Tone = 1 เสียงเต็ม
Semitone = 1/
2 เสียง

แผนผังระยะขั้นเสียง

ตัวโน้ต ทั้ง 7 ตัวเมื่ออยู่ในตาแหน่งแล้วจะมีชื่อประจาลาดับขั้นแต่ละขั้นเสียงและมีความ

ชื่อประจาขั้นของเสียงตัวโน้ต
1. โทนิค Tonic
2. ซุปเปอร์โทนิค Supertonic
3. มีเดียนต์ Mediant
4. ซับดอมิแนนท์ Subdominant
5. ดอมิแนนท์ Dominant
6. ซับมีเดียนต์ Submediant
7. ลีดดิ้งโน้ตหรือซับโทนิค Leading note or Subtonic
8. โทนิค Tonic (Octave)

Leading note จะใช้เรียกในกรณีที่ขั้นที่ 7 ห่างกับ Tonic ครึ่งเสียง (Half tone step)

Subtonic จะใช้เรียกกรณีที่ขั้นที่ 7 ห่างกับ Tonic 1 เสียงเต็ม (Whole tone step) เช่นในบันได


เสียง Melodic Minor ขาลง (Descending)

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 39
1 - 2 C - D ห่างกัน 1 เสียง (Tone)
2 - 3 D - E ห่างกัน 1 เสียง (Tone)
3 - 4 E - F ห่างกัน 1/
2 เสียง (Semitone)
4 - 5 F - G ห่างกัน 1 เสียง (Tone)
5 - 6 G - A ห่างกัน 1 เสียง (Tone)
6 - 7 A - B ห่างกัน 1 เสียง (Tone)
7 - 8 B - C ห่างกัน 1/
2 เสียง (Semitone)

ระยะห่างของเสียงจาก C - C 1) Octave( จะมีระยะห่าง 1 เสียงตลอด ยกเว้น E - F และ


B - C ที่ห่างกันเพียงครึ่งเสียง เท่านั้น
เสียงทุกๆ เสียงสามารถลดหรือเพิ่มเสียงได้ โดยใช้เครื่องหมายแปลงเสียงมาบันทึกบังคับเสียงดังนี้
ตัวอย่าง การเพิ่มเสียง

ตัวอย่าง การลดเสียง

ระยะครึ่งเสียงจะมีชื่อเรียก 2 ชนิด คือ


1. ครึ่งเสียงไดอาโทนิค (Diatonic Semitone)
2. ครึ่งเสียงโครมาติค (Chromatic Semitone)

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 40
ครึ่งเสียงไดอาโทนิค (Diatonic Semitone) เป็นครึ่งเสียงที่มีชื่อเรียกตามลาดับขั้น จะสังเกตได้ว่ามี
ชื่อต่างกัน แต่เสียงจะห่างกันครึ่งเสียง หรือมีเครื่องหมายแปลงเสียงมาบังคับเสียงตัวโน้ต

ครึ่ ง เสี ย งโครมาติ ค (Chromatic Semitone) เป็ น ครึ่ ง เสี ย งระหว่ า งโน้ ต ตั ว เดี ย วกั น แต่ ถู ก
เครื่องหมายแปลงเสียงมาบังคับให้ห่างกันครึ่งเสียง

เอ็นอาร์โมนิคโน้ต (Enharmonic Note)

Enharmonic Note หมายถึงโน้ตที่มีระดับเสียงเดียวกันแต่มีชื่อต่างกัน ซึ่งจะสังเกตได้จากโครงสร้าง


นี้

ตามโครงสร้างนี้จะแสดงให้เห็นว่า

C กับ D มีระดับเสียงเดียวกัน เป็นEnharmonic กัน


D กับ E มีระดับเสียงเดียวกัน เป็นEnharmonic กัน
E กับ F มีระดับเสียงเดียวกัน เป็นEnharmonic กัน
F กับ G มีระดับเสียงเดียวกัน เป็นEnharmonic กัน
G กับ A มีระดับเสียงเดียวกัน เป็นEnharmonic กัน
A กับ B มีระดับเสียงเดียวกัน เป็นEnharmonic กัน
B กับ C มีระดับเสียงเดียวกัน เป็นEnharmonic กัน

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 41
ตัวอย่าง

ขั้นคู่เสียง

ขั้นคู่เสียง หมายถึง ระยะห่างของระดับเสียง 2 ระดับเสียง ที่ยึดเสียงใดเสียงหนึ่งเป็นหลักมีลักษณะ


สาคัญ 2 ลักษณะคือ
.1Harmonic Intervals เป็นขั้นคู่เสียงที่มีเสียงเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 เสียง

.2 Melodic Intervals เป็นขั้นคู่เสียงที่มีเสียงเกิดขึ้นตามกันต่อเนื่องกันเช่นขั้นคู่เสียงของทานอง


เพลง

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 42
ระยะห่างขั้นคู่เสียง

ระยะห่างขั้นคู่เสียงมีแบบแผนเรียกเป็นขั้นคู่ต่างๆ ทั้งนี้จะเป็นผลจากระยะห่างของระดับเสียง 2 ระดับ


เสียง โดยการนับระดับเสียงตัวล่างเป็นระยะขั้นที่ 1 ดังนี้

วิธีนับขั้นคู่เสียง

Unison คู่ 2 คู่ 3 คู่ 4 คู่ 5 คู่ 6 คู่ 7 คู่ 8

โด - โด , C - C เรียกว่า Unison
โด - เร , C - D เรียกว่า คู่ 2
โด - มี , C - E เรียกว่า คู่ 3
โด - ฟา , C - F เรียกว่า คู่ 4
โด - ซอล , C - G เรียกว่า คู่ 5
โด - ลา , C - A เรียกว่า คู่ 6
โด - ที , C - B เรียกว่า คู่ 7
โด - โด , C - C เรียกว่า คู่ 8

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 43
ขั้นคู่เสียงต่างๆนี้ เมื่อบรรเลงหรือขับร้องออกมาพร้อมกันจะให้คุณภาพเสียงที่ไม่เหมือนกัน จึงแบ่งขั้นคู่
เสียงเป็นชนิดต่างๆ ได้ 2 ประเภทคือ
1. ขั้นคู่เสียงเปอร์เฟค (Perfect Intervals) หมายถึงขั้นคู่เสียงที่ให้เสียงกลมกลืนกันสนิทมีความ
สมบูรณ์ มีลักษณะเสียงที่ไพเราะ นุ่มนวลกลมกล่อมน่าฟัง
2. ขั้นคู่เสียงอิมเปอร์เฟค (Imperfect Intervals) หมายถึงขั้นคู่เสียงที่ให้เสียงกลมกลืนไม่สนิท แบ่ง
ออกเป็น 4 ชนิดดังนี้
1.2 ขั้นคู่เสียง เมเจอร์ (Major Intervals) หมายถึงการเพิ่มขึ้นหรือใหญ่ขึ้น มีลักษณะเสียงแข็งไม่
นิ่มนวล แต่มีความไพเราะสง่างาม
2.2 ขั้นคู่เสียง ไมเนอร์ (Minor Intervals) หมายถึงการลดลงหรือเล็กลง มีลักษณะเสียงนิ่มนวล
อ่อนหวาน เศร้า
3.2 ขั้นคู่เสียง อ็อกเมนเต็ค (Augmented Intervals) หมายถึงการเพิ่มขึ้นสูงขึ้น มีลักษณะเสียง
ไม่สบายหู เสียงเพี้ยนกระด้าง แข็งกร้าว อ้างว้าง เดียวดาย
4.2 ขั้นคู่เสียง ดิมินิสท์ (Diminish Intervals) หมายถึงการลดลงต่าลง มีลักษณะเสียงเพี้ยน
แปร่งๆ รู้สึกไม่สบายหู สงสัยไม่แน่ใจ

แบบแผนของขั้นคู่เสียง

ในการจัดระยะขั้นคู่เสียงมีแบบแผนเรียงตามบันไดเสียง จะทาให้เกิดชนิดของขั้นคู่เสียงเป็น 2 ชนิดคือ


.1 ขั้นคู่เสียง Perfect ได้แก่ 1st , 4th , 5th , 8th
2. ขั้นคู่เสียง Major ได้แก่ 2nd , 3rd , 6th , 7th

ตัวอย่าง ขั้นคู่เสียงชนิดต่างๆในบันไดเสียง

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 44
ชนิดของขั้นคู่เสียง

ชนิดของขั้นคู่เสียงให้ถือระยะห่างของขั้นคู่เสียงตามความแตกต่างกัน โดยระยะห่างเป็น Semitone ที่


เรียงตามลาดับขั้นในบันไดเสียงเป็นมาตรฐาน ระยะขั้นคู่เสียงที่เปลี่ยนแปลงแตกต่างออกไประยะห่างเพิ่มขึ้นหรือ
ลดลงจากระยะห่างเดิมจะทาให้เกิดขั้นคู่เสียงใหม่อีก 2 ชนิดคือ

.1ขั้นคู่เสียง Augmented
.2ขั้นคู่เสียง Diminished

ลักษณะการเพิ่ม การลดขั้นคู่เสียง

Augmented
Perfect Major
Minor
Diminish

หมายเหตุ . แทนการเพิ่มขึ้นหรือลดลง ของระดับเสียงจานวน 1 Semitone

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 45
ตัวอย่าง ขั้นคู่เสียงแบบต่างๆ

ขั้นกลมกล่อมและกระด้าง(Consonant and Dissonant Intervals )

ขั้นคู่กลมกล่อม (Consonant Intervals) หมายถึง ขั้นคู่เสียงที่ฟังแล้วรู้สึกสบาย ปกติเข้ากันดี


เมื่อเกิดขึ้นพร้อมกันเป็นขั้นคู่เสียงที่ฟังแล้ว เกิดความพึงพอใจ ระรื่นหู ขั้นคู่กลมกล่อม ได้แก่
.1ขั้นคู่ Maj. 3rd , Min.3rd , Maj.6th , Min.6th
.2ขั้นคู่ Perfect Interval ยกเว้นขั้นคู่ Per.4th
.3ขั้นคู่ Unison

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 46
ขั้นคู่เสียงกระด้าง (Dissonant Intervals) หมายถึงขั้นคู่เสียงที่ฟังแล้ว ทาให้ความเครียด รู้สึก
กระด้างหรือแข็ง ขั้นคู่กระด้าง ได้แก่
.1ขั้นคู่ Per.4th , Maj.2nd , Min.2th , Maj.7th , Min.7th , Maj.9th , Min.9th
.2ขั้นคู่ Augmented Intervals , Diminished Intervals เช่น

ระดับเสียงเดียวกัน (Unison) หมายถึงขั้นคู่ที่มีเสียงเดียวกัน

ในส่วนขั้นคู่พลิกกลับและขั้นคู่ผสมให้นิสิตได้ศึกษาทบทวนในทฤษฏีดนตรีต่อไป

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 47
บทที่ 5
ขั้นคู่ 2 Major และ 2 Minor

คู่ 2 Major มีระยะห่าง 1 Tone หรือเท่ากับ 2 Semitone เช่น C –D , D – E, E – F# ,G# - A# , B – C#

คู่ 2 Minor มีระยะห่าง 1/2 Tone หรือเท่ากับ 1 Semitone เช่น D –Eb , F – Gb, A – Bb ,G# - A , E – F

จงเขียนโน้ตตัวกลม ขั้นคู่ 2 Major และ 2 Minor ให้ถูกต้องตามที่กาหนดให้

1. 2 Major 2. 2 Major 3. 2 Minor 4. 2 Minor 5. 2 Major

6. 2 Major 7. 2 Minor 8. 2 Minor 9. 2 Major 10. 2 Major

11. 2 Minor 12. 2 Minor 13. 2 Major 14. 2 Major 15. 2 Major

16. 2 Minor 17. 2 Minor 18. 2 Minor 19. 2 Major 20. 2 Major

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 48
แบบฝึกหัด

จงฟังแล้วแยกเสียงที่ได้ยินว่าเป็นขั้นคู่ 2 Major หรือ 2 Minor พร้อมเขียนโน้ตตัวกลมให้ถูกต้อง

1_________ 2_________ 3_________ 4_________ 5_________

6_________ 7_________ 8_________ 9_________ 10_________

11_________ 12_________ 13_________ 14_________ 15_________

16_________ 17_________ 18_________ 19_________ 20_________

21_________ 22_________ 23_________ 24_________ 25_________

26_________ 27_________ 28_________ 29_________ 30_________

Tip : เมื่อฝึกเขียนและฝึกฟังเข้าใจแล้วให้นิสิตฝึกร้องขั้นคู่ โดยใช้ตัวที่เขียนไว้ในแบบฝึกหัด


ตัวอย่าง ให้นิสิตเล่นขั้นคูเ่ สียงแบบ Harmonic Intervals ซึ่งเป็นขั้นคู่เสียงที่มีเสียงเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 เสียง แล้วฟัง
เสียงโน้ตตัวที่ต่าแล้วร้องออกเสียงให้ถูกต้อง และฟังเสียงโน้ตที่สูงกว่าแล้วร้องให้ถูกต้อง ดังโน้ตตัวอย่างเสียงต่าคือโน้ตตัว C และ
เสียงสูงคือโน้ตตัว D ร้องให้ออกเสียงตามตัวโน้ตหรือเสียงออกเสียง “ลา”

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 49
บทที่ 6
ขั้นคู่ 3 Major และ 3 Minor

คู่ 3 Major มีระยะห่าง 2 Tone หรือเท่ากับ 4 Semitone เช่น C –E , D – F# ,E – G# , A - C# , G# – B#

คู่ 3 Minor มีระยะห่าง 1 1/2 Tone หรือเท่ากับ 3 Semitone เช่น E –Gb, D – F, F# – A ,A - C , G – Ab

จงเขียนโน้ตตัวกลม ขั้นคู่ 3 Major และ 3 Minor ให้ถูกต้องตามที่กาหนดให้

1. 3 Major 2. 3 Major 3. 3 Minor 4. 3 Minor 5. 3 Major

6. 3 Major 7. 3 Minor 8. 3 Minor 9. 3 Major 10. 3 Major

11. 3 Minor 12. 3 Minor 13. 3 Major 14. 3 Major 15. 3 Major

16. 3 Minor 17. 3 Minor 18. 3 Minor 19. 3 Major 20. 3 Major

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 50
แบบฝึกหัด
จงฟังแล้วแยกเสียงที่ได้ยินว่าเป็นขั้นคู่ 3 Major หรือ 3 Minor พร้อมเขียนโน้ตตัวกลมให้ถูกต้อง

1_________ 2_________ 3_________ 4_________ 5_________

6_________ 7_________ 8_________ 9_________ 10_________

11_________ 12_________ 13_________ 14_________ 15_________

16_________ 17_________ 18_________ 19_________ 20_________

21_________ 22_________ 23_________ 24_________ 25_________

26_________ 27_________ 28_________ 29_________ 30_________


Tip : เมื่อฝึกเขียนและฝึกฟังเข้าใจแล้วให้นิสิตฝึกร้องขั้นคู่ โดยใช้ตัวที่เขียนไว้ในแบบฝึกหัด
ตัวอย่าง ให้นิสิตเล่นขั้นคูเ่ สียงแบบ Harmonic Intervals ซึ่งเป็นขั้นคู่เสียงที่มีเสียงเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 เสียง แล้วฟัง
เสียงโน้ตตัวที่ต่าแล้วร้องออกเสียงให้ถูกต้อง และฟังเสียงโน้ตที่สูงกว่าแล้วร้องให้ถูกต้อง ดังโน้ตตัวอย่างเสียงต่าคือโน้ตตัว C และ
เสียงสูงคือโน้ตตัว E ร้องให้ออกเสียงตามตัวโน้ตหรือเสียงออกเสียง “ลา”

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 51
บทที่ 7
คู่ 4 Perfect และ 4 Augmented

คู่ 4 Perfect มีระยะห่าง 2 1/2 Tone หรือเท่ากับ 5 Semitone เช่น C – F , D – G, E – A , F - Bb , G# – C#

คู่ 4 Augmented มีระยะห่าง 3 Tone หรือเท่ากับ 6 Semitone เช่น C –F#,D – G#, E – A# , F - B , G#– Cx

จงเขียนโน้ตตัวกลมขั้นคู่ 4 Perfect และ 4 Augmented ให้ถูกต้องตามที่กาหนดให้

1. 4 Perfect 2. 4 Perfect 3. 4 Augmented 4. 4 Augmented 5. 4 Perfect

6. 4 Perfect 7. 4 Augmented 8. 4 Augmented 9. 4 Perfect 10. 4 Perfect

11.4 Augmented 12.4 Augmented 13. 4 Perfect 14. 4 Perfect 15. 4 Perfect

16. 4 Augmented 17. 4 Augmented 18. 4 Augmented 19. 4 Perfect 20. 4 Perfect

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 52
แบบฝึกหัด
จงฟังแล้วแยกเสียงที่ได้ยินว่าเป็นขั้นคู่ 4 Perfect และ 4 Augmented พร้อมเขียนโน้ตตัวกลมให้ถูกต้อง

1_________ 2_________ 3_________ 4_________ 5_________

6_________ 7_________ 8_________ 9_________ 10_________

11_________ 12_________ 13_________ 14_________ 15_________

16_________ 17_________ 18_________ 19_________ 20_________

21_________ 22_________ 23_________ 24_________ 25_________

26_________ 27_________ 28_________ 29_________ 30_________

Tip : เมื่อฝึกเขียนและฝึกฟังเข้าใจแล้วให้นิสิตฝึกร้องขั้นคู่ โดยใช้ตัวที่เขียนไว้ในแบบฝึกหัด


ตัวอย่าง ให้นิสิตเล่นขั้นคูเ่ สียงแบบ Harmonic Intervals ซึ่งเป็นขั้นคู่เสียงที่มีเสียงเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 เสียง แล้วฟัง
เสียงโน้ตตัวที่ต่าแล้วร้องออกเสียงให้ถูกต้อง และฟังเสียงโน้ตที่สูงกว่าแล้วร้องให้ถูกต้อง ดังโน้ตตัวอย่างเสียงต่าคือโน้ตตัว C และ
เสียงสูงคือโน้ตตัว F ร้องให้ออกเสียงตามตัวโน้ตหรือเสียงออกเสียง “ลา”

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 53
บทที่ 8
คู่ 5 Perfect และ 5 Diminished

คู่ 5 Perfect มีระยะห่าง 3 1/2 Tone หรือเท่ากับ 7 Semitone เช่น C – G , Db – Ab, E – B , F - C , G# – D#

คู่ 5 Diminished มีระยะห่าง 3 Tone หรือเท่ากับ 6 Semitone เช่น C# – G , D – Ab, E – Bb , F# - C , G#– D

จงเขียนขั้นคู่ 5 Perfect และ 5 Diminished ให้ถูกต้อง

1. 5 Perfect 2. 5 Perfect 3. 5 Diminished 4. 5 Diminished 5. 5 Perfect

6. 5 Perfect 7. 5 Diminished 8. 5 Diminished 9. 5 Perfect 10. 5 Perfect

11.5 Diminished 12.5 Diminished 13. 5 Perfect 14. 5 Perfect 15. 5 Perfect

16. 5 Diminished 17. 5 Diminished 18. 5 Diminished 19. 5 Perfect 20. 5 Perfect

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 54
แบบฝึกหัด
จงฟังแล้วแยกเสียงที่ได้ยินว่าเป็นขั้นคู่ 5 Perfect และ 5 Diminished พร้อมเขียนโน้ตตัวกลมให้ถูกต้อง

1_________ 2_________ 3_________ 4_________ 5_________

6_________ 7_________ 8_________ 9_________ 10_________

11_________ 12_________ 13_________ 14_________ 15_________

16_________ 17_________ 18_________ 19_________ 20_________

21_________ 22_________ 23_________ 24_________ 25_________

26_________ 27_________ 28_________ 29_________ 30_________


Tip : เมื่อฝึกเขียนและฝึกฟังเข้าใจแล้วให้นิสิตฝึกร้องขั้นคู่ โดยใช้ตัวที่เขียนไว้ในแบบฝึกหัด
ตัวอย่าง ให้นิสิตเล่นขั้นคูเ่ สียงแบบ Harmonic Intervals ซึ่งเป็นขั้นคู่เสียงที่มีเสียงเกิดขึ้นพร้อมกันทั้ง 2 เสียง แล้วฟัง
เสียงโน้ตตัวที่ต่าแล้วร้องออกเสียงให้ถูกต้อง และฟังเสียงโน้ตที่สูงกว่าแล้วร้องให้ถูกต้อง ดังโน้ตตัวอย่างเสียงต่าคือโน้ตตัว C และ
เสียงสูงคือโน้ตตัว G ร้องให้ออกเสียงตามตัวโน้ตหรือเสียงออกเสียง “ลา”

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 55
บทที่ 9
การอ่านระดับเสียง

1. การอ่านโน้ต 2 เสียง
1.1

1.2

1.3

1.4

1.5

1.6

1.7

1.8

1.9

1.10

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 56
1.11

1.12

1.13

1.14

1.15

1.16

1.17

1.18

1.19

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 57
1.20

2. การอ่านโน้ต 3 เสียง
2.1

2.2

2.3

2.4

2.5

2.6

2.7

2.8

2.9

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 58
2.10

2.11

2.12

2.13

2.14

2.15

2.16

2.17

2.18

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 59
2.19

2.20

3. การอ่านโน้ต 4 เสียง
3.1

3.2

3.3

3.4

3.5

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 60
3.6

3.7

3.8

3.9

3.10

3.11

3.12

3.13

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 61
3.14

3.15

3.16

3.17

3.18

3.19

3.20

4. การอ่านโน้ต 5 เสียง
4.1

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 62
4.2

4.3

4.4

4.5

4.6

4.7

4.8

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 63
4.9

4.10

4.11

4.12

4.13

4.14

4.15

4.16

4.17

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 64
4.18

4.19

4.20

หลักสูตรดุริยางคศาสตรบัณฑิต (ดศ.บ.) มหาวิทยาลัยมหาสารคาม


วรากร สีโย 65

You might also like