You are on page 1of 10

เอกสารหมายเลข มคอ.

3
รายละเอียดของรายวิชา

ชื่อสถาบันอุดมศึกษา มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
คณะ / สาขาวิชา คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี สาขาวิชา ชีววิทยา

หมวดที่ 1 ข้อมูลโดยทั่วไป

1. รหัสและชื่อรายวิชา
รหัส 403-27-01 ชื่อวิชาภาษาไทย พันธุศาสตร์
ชื่อวิชาภาษาอังกฤษ Genetics
2. จานวนหน่วยกิต
3 หน่วยกิต (3-0-6)
3. หลักสูตรและประเภทของรายวิชา
วิทยาศาสตรบัณฑิต
ประเภทรายวิชา วิชาพื้นฐานวิชาชีพ หลักสูตรระดับ ปริญญาตรี
4. อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชาและอาจารย์ผู้สอน
อาจารย์ผู้รับผิดชอบรายวิชา ผศ. ดร.จุมพต พุ่มศรีภานนท์
อาจารย์ผู้สอน ผศ. ดร.จุมพต พุ่มศรีภานนท์
5. ภาคการศึกษา / ชั้นปีที่เรียน
ภาคการศึกษาที่ 1/2559
6. รายวิชาที่ต้องเรียนมาก่อน (Pre-requisite)
403-11-02 ชีววิทยา (Biology)
7. รายวิชาที่ต้องเรียนพร้อมกัน (Co- requisites)
-
8. สถานที่เรียน
คณะวิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ ศูนย์หันตรา
9. วันที่จัดทาหรือปรับปรุงรายละเอียดของรายวิชาครั้งล่าสุด
วัน 7 เดือน กรกฎาคม พ.ศ. 2559

หมวดที่ 2 จุดมุ่งหมายและวัตถุประสงค์

1. จุดมุ่งหมายของรายวิชา
เพื่อให้นักศึกษารู้ความหมาย ขอบข่าย ความสาคัญของวิชาพันธุศาสตร์ เข้าใจทฤษฎีความน่าจะเป็น
หลักพันธุศาสตร์ของเมนเดล ยีนนอกเหนือกฎเมนเดล พันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่ พันธุศาสตร์
ประชากร สารพันธุกรรม การกลายพันธุ์ และจุดเริ่มต้นทางพันธุศาสตร์
2. วัตถุประสงค์ในการพัฒนา / ปรับปรุงรายวิชา
-

สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
1
เอกสารหมายเลข มคอ.3
หมวดที่ 3 ลักษณะและการดาเนินการ

1. คาอธิบายรายวิชา
ศึกษาเกี่ยวกับความหมาย ขอบข่าย ความสาคัญของวิชาพันธุศาสตร์และ วิชาชีพที่เกี่ยวข้อง ทฤษฎีความน่าจะ
เป็น พันธุศาสตร์ของเมนเดล พันธุศาสตร์นอกเหนือกฎเมนเดล พันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่ พันธุศาสตร์
ประชากร สารพันธุกรรม การกลายพันธุ์และพันธุวิศวกรรม
2. จานวนชั่วโมงที่ใช้ต่อภาคการศึกษา

บรรยาย สอนเสริม การฝึกปฏิบัติการ / งาน การศึกษาด้วยตนเอง


ภาคสนาม / การฝึกงาน
บรรยาย 45 ชั่วโมง สอนเสริมตามความ ไม่มีการฝึกปฏิบัติงาน การศึกษาด้วยตนเอง
ต่อภาคการศึกษา ต้องการของนักศึกษา ภาคสนาม 6 ชั่วโมงต่อสัปดาห์
เฉพาะราย/กลุ่ม

3. จานวนชั่วโมงต่อสัปดาห์ที่อาจารย์ให้คาปรึกษาและแนะนาทางวิชาการแก่นักศึกษาเป็นรายบุคคล
อาจารย์จัดเวลาให้คาปรึกษาเป็นรายบุคคลหรือรายกลุ่มตามความต้องการ จานวน 1 ชัว่ โมง
(เฉพาะรายที่ต้องการ)

หมวดที่ 4 การพัฒนาการเรียนรู้ของนักศึกษา

1. คุณธรรม จริยธรรม
1.1. คุณธรรม จริยธรรมที่ต้องพัฒนา
- ตระหนักถึงคุณค่าของจริยธรรมที่เกี่ยวข้องทางพันธุศาสตร์ มีความซื่อสัตย์ ใฝ่รู้ ตรงต่อ
เวลา มีความรับผิดชอบต่องานที่ได้รับมอบ และเคารพกฎระเบียบในการปฏิบัติตนในชั้นเรียนอย่างเคร่งครัด
1.2. วิธีการสอน
- ชี้แจงรายละเอียด และข้อตกลง ในการปฏิบัติตนในชั้นเรียน เช่น การเข้าเรียนตรงต่อเวลา
การส่งงานที่ได้รับมอบหมายครบถ้วน เป็นต้น
- บรรยายเนื้อหาสอดแทรกประเด็นทางจริยธรรมที่เกี่ยวข้องทางพันธุศาสตร์และการดาเนิน
ชีวิต เช่น ให้ตระหนักถึงคุณค่าของชีวิต ไม่เบียดเบียนและทาร้าย เป็นต้น
- อภิปรายกลุ่ม
- นักศึกษาหาตัวอย่างที่เกี่ยวข้องมานาเสนอร่วมกัน
1.3. วิธีการประเมินผล
- พฤติกรรมการเข้าเรียน และส่งงานที่ได้รับมอบหมายตามขอบเขตที่ให้และตรงเวลา
- มีการอ้างอิงเอกสารที่ได้นามาทารายงาน อย่างถูกต้องเหมาะสม
- ประเมินผลการนาเสนอรายงานที่มอบหมาย

สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
2
เอกสารหมายเลข มคอ.3
2. ความรู้
2.1. ความรู้ที่ต้องได้รับ
- มีความรู้ความเข้าใจทางด้านพันธุศาสตร์ สามารถคานวณหาความน่าจะเป็นทางพันธุศาสตร์
มีความเข้าใจความแตกต่างระหว่างกฎของเมนเดล และพันธุศาสตร์นอกเหนือกฎของเมนเดล ทราบลักษณะ
ของสารพันธุกรรม การกลายพันธุ์และพันธุวิศวกรรม หรืออาจสามารถนาความรู้ทางพันธุศาสตร์ไปประยุกต์ใช้
ในวิชาชีพที่เกี่ยวข้องได้
2.2. วิธีการสอน
บรรยาย อภิปราย การทางานกลุ่ม/ การนาเสนอหน้าชั้น/มอบหมายให้ค้นคว้าข้อมูลที่
เกีย่ วข้อง/จัดทาชิ้นงาน/โครงการ โดยเน้นผู้เรียนเป็นสาคัญ
2.3. วิธีการประเมินผล
- ทดสอบย่อย สอบกลางภาค สอบปลายภาค โดยเป็นข้อสอบที่เน้นหลักการ
- สรุปการนาเสนอ/ทางานกลุ่ม/ งานมอบหมาย/ชิ้นงาน/โครงการ
3. ทักษะทางปัญญา
3.1. ทักษะทางปัญญาที่ต้องพัฒนา
- สามารถนาความรู้ทางพันธุศาสตร์ มาคิดวิเคราะห์เพื่ออธิบายหรือตอบโจทย์ทางพันธุศาสตร์
ได้
3.2. วิธีการสอน
- ยกตัวอย่างความรู้ทางพันธุศาสตร์ที่ใกล้ตัวผู้เรียน มาอภิปรายในชั้นเรียน
- มอบหมายให้นักศึกษาทาโครงการพิเศษพร้อมนาเสนอผลงาน
- อภิปรายกลุ่ม
3.3. วิธีการประเมินผล
- สอบกลางภาคและสอบปลายภาค โดยเน้นวิเคราะห์สถานการณ์ในชีวิตประจาวันเกี่ยวกับ
การประยุกต์ใช้ทางพันธุศาสตร์
4. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบ
4.1. ทักษะความสัมพันธ์ระหว่างบุคคลและความรับผิดชอบที่ต้องพัฒนา
- สามารถวางแผนและรับผิดชอบในการพัฒนาการเรียนรู้ของตนเอง เช่น สามารถวางแผน
และรับผิดชอบในการเรียนรู้ของตนเอง ออกแบบโจทย์พันธุศาสตร์และเฉลย
4.2. วิธีการสอน
- จัดกิจกรรมกลุ่ม
- มอบหมายงานรายกลุ่ม/รายบุคคล เช่น การประยุกต์ใช้พันธุศาสตร์กับการดารงชีวิต
- การนาเสนอรายงาน
4.3 วิธีการประเมินผล
- ประเมินตนเองและเพื่อน และผู้สอนประเมินจากการแสดงออกและการมีส่วนร่วมในการ
อภิปราย หรือแสดงความคิดเห็น
- รายงานที่นาเสนอ พฤติกรรมการทางานกลุ่ม
5. ทักษะการวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
5.1. ทักษะเชิงวิเคราะห์เชิงตัวเลข การสื่อสาร และการใช้เทคโนโลยีสารสนเทศที่ต้องพัฒนา
- สามารถใช้คอมพิวเตอร์ หรือเครื่องมืออื่นในการค้นคว้าข้อมูลทางพันธุศาสตร์เพิ่มเติมได้

สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
3
เอกสารหมายเลข มคอ.3
5.2. วิธีการสอน
- มอบหมายงานให้ศึกษาข้อมูลจาก website ต่างๆ จัดทารายงานและนาเสนอโดยใช้
เทคโนโลยีที่เหมาะสม
5.3. วิธีการประเมินผล
- การจัดทารายงานหรือนาเสนอด้วยสื่อเทคโนโลยี

หมวดที่ 5 แผนการสอนและการประเมินผล

1 แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ / รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน ชื่อผู้สอน
ชั่วโมง การสอนสื่อที่ใช้
1 1. ความหมายขอบข่าย 3 แจ้งลักษณะ ผศ.ดร.จุมพต
ความสาคัญทางวิชาพันธุศาสตร์ รายวิชา/ชี้แจง ผศ.องอาจ
และวิชาชีพที่เกี่ยวข้อง จุดมุ่งหมาย อ.กัญญา
1.1 ความหมายขอบข่าย รายวิชา/กฎเกณฑ์
ความสาคัญทางวิชาพันธุศาสตร์ การประเมินผล/
1.1.1 ความหมายของวิชาพันธุ บรรยาย / ซักถาม
ศาสตร์ ข้อคิดเห็น
1.1.2 ขอบข่าย และความสาคัญ
ทางวิชาพันธุศาสตร์
1.2 วิชาชีพที่เกี่ยวข้อง
1.2.1 การแพทย์
1.2.2 การเกษตรและ
อุตสาหกรรม
1.2.3 กฎหมายและสังคม
1.2.4 พันธุวิศวกรรม
2 2. ทฤษฎีความน่าจะเป็น 3 บรรยาย/ฝึกทา ผศ.ดร.จุมพต
2.1 กฎความน่าจะเป็น โจทย์ ผศ.องอาจ
2.1.1 ความหมายของความ อ.กัญญา
น่าจะเป็น
2.1.2 กฎการบวก
2.1.3 กฎการคูณ
2.2 การกระจายทวินาม
2.2.1 การกระจายนิพจน์
2.2.2 การหาค่าสัมประสิทธิ์
2.2.3 การคานวณความน่าจะ
เป็นโดยการกระจายทวินาม

สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
4
เอกสารหมายเลข มคอ.3
1 แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ / รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน ชื่อผู้สอน
ชั่วโมง การสอนสื่อที่ใช้
3. 2.3 การทดสอบไค-สแควร์ 3 บรรยาย/ฝึกทา ผศ.ดร.จุมพต
2.3.1 การคานวณไค-สแควร์ โจทย์อภิปราย ผศ.องอาจ
2.3.2 การหาหาองศาแห่ง กลุ่ม อ.กัญญา
ความอิสระ
2.3.3 การหาค่าความน่าจะ
เป็นโดยใช้ตารางไค-สสแควร์

4. 3. พันธุศาสตร์เมนเดล 3 บรรยาย/ ผศ.ดร.จุมพต


3.1 กฎเมนเดล อภิปรายกลุ่ม/ฝึก ผศ.องอาจ
3.1.1 เมนเดลกับการทดลอง ทาโจทย์ อ.กัญญา
ทางพันธุศาสตร์
3.1.2 ระดับการข่มของยีน
ตาแหน่งเดียวกัน
3.1.3 กฎการแยกตัวของยีน
3.1.4 กฏการจับคู่ของยีนอย่าง
อิสระ
5. 3.2 การคานวณสัดส่วนลูกผสม 3 บรรยาย/ ผศ.ดร.จุมพต
3.2.1 การหาชนิดและสัดส่วน อภิปราย/ฝึกทา ผศ.องอาจ
ของเซลล์สืบพันธุ์ โจทย์ อ.กัญญา
3.2.2 การคานวณสัดส่วนของ
ลูกผสมโดยใช้ตารางของ Punnette
3.2.3 การคานวณสัดส่วนของ
ลูกผสมโดยใช้การแตกแขนง

6 4. พันธุศาสตร์นอกเหนือกฎเมนเดล บรรยาย/ ผศ.ดร.จุมพต


4.1 ปฏิกิริยาระหว่างยีนต่างคู่ อภิปราย/ฝึกทา ผศ.องอาจ
4.1.1 การข่มแบบ epistasis โจทย์ อ.กัญญา
4.1.2 การข่มแบบ non –
epistasis

สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
5
เอกสารหมายเลข มคอ.3
1 แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ / รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน ชื่อผู้สอน
ชั่วโมง การสอนสื่อที่ใช้
7 4.2 multiple alleles 3 บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.จุมพต
4.2.1 ความหมายของ multiple กลุ่ม/ฝึกทาโจทย์ ผศ.องอาจ
alleles อ.กัญญา
4.2.2 multiple alleles ในคน
4.2.3 multiple alleles ในสัตว์
4.2.4 multiple alleles ในพืช
4.3 พันธุกรรมที่เกิดจากยีนบน
โครโมโซมเพศ
4.3.1 การกาหนดเพศ
4.3.2 พันธุกรรมบนโครโมโซมเพศ
4.3.3 การหาสัดส่วนพันธุกรรมบน
โครโมโซมเพศ
4.3.4 sex – influence , sex -
limited
8 4.4 พันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลายคู่ 3 บรรยาย/อภิปราย ผศ.ดร.จุมพต
4.4.1 ความหมายของพันธุกรรม กลุ่ม/ฝึกทาโจทย์ ผศ.องอาจ
นอกนิวเคลียส อ.กัญญา
4.4.2 พันธุกรรมนอกนิวเคลียสในพืช
4.4.3 พันธุกรรมนอกนิวเคลียสใน
สัตว์
4.4.4 พันธุกรรมนอกนิวเคลียสใน
โปรโตซัว
4.5 ยีนที่ไม่เป็นอิสระต่อกัน
4.5.1 ความหมายของยีนที่ไม่เป็น
อิสระต่อกัน
4.5.2 การหาระยะระหว่างยีนบน
โครโมโซมเดียวกัน
4.5.3 การหาชนิดและสัดส่วนของ
เซลล์สืบพันธุ์ลูกผสม

สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
6
เอกสารหมายเลข มคอ.3
1 แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ / รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน ชื่อผู้สอน
ชั่วโมง การสอนสื่อที่ใช้
9 สอบกลางภาค
10 5. พันธุกรรมที่ควบคุมโดยยีนหลาย 3 บรรยาย/ ผศ.ดร.จุมพต
คู่ อภิปรายกลุ่ม/ฝึก ผศ.องอาจ
5.1 พันธุกรรมลักษณะกึ่ง ทาโจทย์ อ.กัญญา
ปริมาณ
5.1.1 ความหมายของ
พันธุกรรมลักษณะกึ่งปริมาณ
5.1.2 การคานวณหาจานวน
ของยีน
5.2 พันธุกรรมลักษณะเชิง
ปริมาณ
5.2.1 ความหมายของ
พันธุกรรมลักษณะเชิงปริมาณ
5.2.2 การหาขนาด อิทธิพล
ของยีน และสภาวะแวดล้อมต่อ
พันธุกรรมลักษณะเชิงปริมาณ

11 6. พันธุศาสตร์ประชากร 3 บรรยาย/ ผศ.ดร.จุมพต


6.1 พันธุศาสตร์ประชากร อภิปรายกลุ่ม/ฝึก ผศ.องอาจ
6.1.1 ความหมายของพันธุสา ทาโจทย์ อ.กัญญา
สตร์ประชากร
6.1.2 การคานวณหาความถี่
ของอัลลีล
6.1.3 การคานวณหาความถี่
ของจีโนไทป์
6.1.4 การศึกษาพันธุศาสตร์
ประชากรของยีน
12. 6.2 กฎฮาร์ดี-ไวน์เบอร์ก 3 ค้นคว้า/ ผศ.ดร.จุมพต
6.2.1 กฎฮาร์ด-ี ไวน์เบอร์ก อภิปราย/ฝึกทา ผศ.องอาจ
6.2.2 การคานวณสมดุลตาม โจทย์ อ.กัญญา
ฮาร์ดี-ไวน์เบอร์ก
6.2.3 ปัจจัยที่มีผลต่อการ
เปลี่ยนแปลงความถี่ของอัลลีล

สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
7
เอกสารหมายเลข มคอ.3

1 แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ / รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน ชื่อผู้สอน
ชั่วโมง การสอนสื่อที่ใช้
13 7. สารพันธุกรรม 3 ค้นคว้า/อภิปราย ผศ.ดร.จุมพต
7.1 ชนิดและองค์ประกอบของ ผศ.องอาจ
กรดนิวคลิอิก อ.กัญญา
7.1.1 ชนิดของกรดนิวคลิอิก
7.1.2 องค์ประกอบของกรด
นิวคลิอิก
7.1.3 ความสืบพันธุ์ของกรด
นิวคลิอิกยีนและโครโมโซม

14 7.2 คุณสมบัติและหน้าที่ของสาร 3 ค้นคว้า/อภิปราย ผศ.ดร.จุมพต


พันธุกรรม ผศ.องอาจ
7.2.1 การจาลองตัวเองของสาร อ.กัญญา
พันธุกรรม
7.2.2 การลอกรหัสของสาร
พันธุกรรม
7.2.3 การแปลรหัสของสาร
พันธุกรรม
15 8. การกลายพันธุ์และพันธุ์วิศวกรรม 3 บรรยาย/ค้นคว้า/ ผศ.ดร.จุมพต
8.1 ชนิดของการกลายพันธุ์ ทารายงาน ผศ.องอาจ
8.1.1 ความหมายของการ อ.กัญญา
กลายพันธุ์
8.1.2 การกลายพันธุ์ระดับ
โครโมโซม
8.1.3 การกลายพันธุ์ระดับยีน

สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
8
เอกสารหมายเลข มคอ.3
1 แผนการสอน
สัปดาห์ที่ หัวข้อ / รายละเอียด จานวน กิจกรรมการเรียน ชื่อผู้สอน
ชั่วโมง การสอนสื่อที่ใช้

16 8.2 ความสาคัญของการกลายพันธุ์ 3 บรรยาย/ค้นคว้า/ ผศ.ดร.จุมพต


8.2.1 การปรับปรุงพันธุ์ อภิปรายกลุ่ม/ทา ผศ.องอาจ
8.2.2 ความหลากหลายของ รายงาน อ.กัญญา
สิ่งมีชีวิต
8.3 พันธุวิศวกรรม
8.3.1 ความหมายของพันธุ
วิศวกรรม
8.3.2 เทคนิคเกี่ยวข้องกับพันธุ
วิศวกรรม
8.3.3 ประโยชน์และโทษของ
พันธุวิศวกรรม
17 สอบปลายภาค

2. แผนการประเมินผลการเรียนรู้
กิจกรรมที่ ผลการเรียนรู้ วิธีการประเมิน สัปดาห์ที่ประเมิน สัดส่วนของการ
ประเมินผล
1 หน่วยที่ 1-2หน่วยที่ 3-4 ทดสอบย่อยครั้งที่1 5 15%
หน่วยที่ 5-6 สอบกลางภาค 9 20%
หน่วยที่ 7-8 ทดสอบย่อยครั้งที่2 14 20%
สอบปลายภาค 17 15%
2 ค้นคว้านาเสนอรายงาน/ ตลอดภาค 20%
ทางานกลุ่มและผลงาน / การศึกษา
การส่งงานตามที่มอบหมาย
3 การเข้าชั้นเรียน ตลอดภาค 10%
พฤติกรรม การศึกษา

สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
9
เอกสารหมายเลข มคอ.3
หมวดที่ 6 ทรัพยากรประกอบการเรียนการสอน

1. เอกสารและตาราหลัก
หนังสือ หลักพันธุศาสตร์ พันธุศาสตร์เบื้องต้น
2. เอกสารและข้อมูลสาคัญ
-
3. เอกสารและข้อมูลแนะนา
เว็บไซด์ที่เกี่ยวข้องกับหัวข้อในการประมวลรายวิชา เช่น Genetics

หมวดที่ 7 การประเมินและปรับปรุงการดาเนินการของรายวิชา

1. กลยุทธการประเมินประสิทธิผลของรายวิชาโดยนักศึกษา
- การสอบถามโดยตรงจากผู้เรียน
- แบบประเมินผู้สอนและแบบประเมินสภาพรายวิชา
- แบบประเมินสิ่งสนับสนุนการเรียนรู้ พร้อมข้อเสนอเพื่อพิจารณาปรับปรุงรายวิชา
2. กลยุทธการประเมินการสอน
- ประเมินโดยอาจารย์ประจาหลักสูตรหรืออาจารย์ในสาขา
3. การปรับปรุงการสอน
หลังจากผลการประเมินการสอนในข้อ 2 จึงมีการปรับปรุงการสอน โดยการจัดกิจกรรมในการระดม
สมอง และหาข้อมูลเพิ่มเติมในการปรับปรุงการสอนดังนี้
- การจัดการการเรียนการสอนให้เหมาะสมกับกลุ่มผู้เรียน
4. การทวนสอบมาตรฐานผลสัมฤทธิ์ของนักศึกษาในรายวิชา
ในระหว่างกระบวนการสอนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์ในรายหัวข้อ ตามที่คาดหวังจากการ
เรียนรู้ในวิชา การสอบถามนักศึกษา หรือการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษา รวมถึงพิจารณาจากผลการ
ทดสอบย่อย และหลังการออกผลการเรียนรายวิชา มีการทวนสอบผลสัมฤทธิ์โดยรวมในวิชาได้ดังนี้
- การทวนสอบการให้คะแนนจากการสุ่มตรวจผลงานของนักศึกษาโดยอาจารย์อื่นหรือผู้ทรงคุณวุฒิ
ที่ไม่ใช่อาจารย์ประจาหลักสูตร
- มีการตั้งคณะกรรมการ ตรวจสอบผลการประเมินการเรียนรู้ของนักศึกษาโดยตรวจสอบข้อสอบ
รายงาน วิธีการให้คะแนนสอบ และการให้คะแนนพฤติกรรม
5. การดาเนินการทบทวนและการวางแผนปรับปรุงประสิทธิผลของรายวิชา
จากผลการประเมิน และทวนสอบผลสัมฤทธิ์ประสิทธิผลรายวิชา ได้มีการวางแผนการปรับปรุงการ
สอน และรายละเอียดวิชา เพื่อให้เกิดคุณภาพมากขึ้น ดังนี้
- ปรับปรุงรายวิชาตามความเหมาะสม หรือตามข้อเสนอแนะและผลการทวนสอบมาตรฐาน
ผลสัมฤทธิ์ตามข้อ 4
- เปลี่ยนหรือสลับอาจารย์ผู้สอน เพื่อให้นักศึกษามีมุมมองในเรื่องการประยุกต์ความรู้เกี่ยวกับปัญหา
ที่มาจากงานวิจัยของอาจารย์หรืออุตสาหกรรมต่างๆ

สานักส่งเสริมวิชาการและงานทะเบียน มหาวิทยาลัยเทคโนโลยีราชมงคลสุวรรณภูมิ
10

You might also like