You are on page 1of 33

แผนการจัดการเรี ยนรู ้วิชา วิทยาศาสตร์

ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1 หน่วยการเรี ยนรู ้ที่ 4


เรื่ อง ศรลมบอกทิศ เวลาสอน 2 ชัว่ โมง
วันที่สอน.............. เดือน ............พ.ศ............... ครู ผสู ้ อน นางสาวเพ็ญศิริ ชาบัวน้อย
.................................................................................................................................................................................
1. มาตรฐานการเรียนรู้ /ตัวชี้วัด
สาระการเรี ยนรู ้คณิ ตศาสตร์
มาตรฐาน ค2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรู ปเรขาคณิ ต ความสัมพันธ์ระหว่าง
รู ปเรขาคณิตและทฤษฎีบททางเรขาคณิ ตและนาไปใช้
ตัวชี้วดั มฐ. ค2.2 ม.1/1 ใช้ความรู ้เกี่ยวกับความยาวและพื้นที่แก้ปัญหาในสถานการณ์ต่างๆ
มฐ. ค2.2 ม.1/2 เข้าใจและใช้ความรู ้ทางเรขาคณิ ตในการวิเคราะห์หาความสัมพันธ์
ระหว่างรู ปเรขาคณิตสองมิติและรู ปเรขาคณิตสามมิติ
สาระการเรี ยนรู ้เทคโนโลยี
มาตรฐาน ว4.1 เข้า ใจแนวคิ ด หลัก ของเทคโนโลยี เ พื่ อ การด ารงชี วิ ต ในสั ง คมที่ มี ก า ร
เปลี่ยนแปลงอย่างรวดเร็ว ใช้ความรู ้และทักษะทางด้านวิทยาศาสตร์ คณิตศาสตร์ และศาสตร์อื่น ๆ เพื่อแก้ปัญหา
หรื อพัฒนางานอย่างมีความคิดสร้างสรรค์ด้วยกระบวนการออกแบบเชิ งวิศวกรรม เลือกใช้เทคโนโลยีอย่า ง
เหมาะสมโดยคานึงถึงผลกระทบต่อชีวิต สังคมและสิ่ งแวดล้อม
ตัวชี้วดั มฐ. ว4.1 ม.1/4 ทดสอบ ประเมินผล และอธิบายปั ญหาหรื อข้อบกพร่ องที่เกิดขึ้น ภายใต้
กรอบเงื่อนไขพร้อมทั้งหาแนวทางการปรับปรุ งแก้ไขและนาเสนอผลการแก้ปัญหา
มฐ ว4.1 ม.1/5 ใช้ความรู ้และทักษะเกี่ยวกับวัสดุอุปกรณ์เครื่ องมือ กลไก ไฟฟ้า หรื อ
อิเล็กทรอนิกส์เพื่อแก้ปัญหาได้อย่างถูกต้อง เหมาะสมและปลอดภัย
สาระการเรี ยนรู ้วิทยาศาสตร์
มาตรฐาน ว 2.2 เข้าใจธรรมชาติของแรงในชีวิตประจาวัน ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุลกั ษณะ
การเคลื่อนที่แบบต่างๆ ของวัตถุ รวมทั้งนาความรู ้ไปใช้ประโยชน์
มาตรฐาน ว 3.2 เข้าใจองค์ประกอบและความสัมพันธ์ของระบบโลก กระบวนการเปลี่ยนแปลง
ภายใน โลกและบนผิวโลก ธรณี พิบตั ิภยั กระบวนการเปลี่ยนแปลงลมฟ้าอากาศและภูมิอากาศโลก รวมทั้งผลต่อ
สิ่ งมีชีวิตและสิ่ งแวดล้อม
ตัวชี้วดั มฐ.ว 2.2 ม.3/1 ระบุผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ของวัตถุจาก
หลักฐานเชิงประจักษ์
ตัวชี้วดั มฐ. ว3.2 ม.1/2 อธิบายปัจจัยที่มีผลต่อการเปลี่ยนแปลง องค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ
จากข้อมูล ที่รวบรวมได้
2. จุดประสงค์ การเรียนรู้
1. นักเรี ยนสามารถระบุผลของแรงที่มีต่อการเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ของวัตถุ
2. นักเรี ยนสามารถประดิษฐ์เครื่ องมือวัดทิศทางลมอย่างง่ายได้
3. นักเรี ยนมีความมุ่งมัน่ ตั้งใจและมีส่วนร่ วมในการทางาน
3. สาระสาคัญ/ความคิดรวบยอด
ลม เป็ นหนึ่งในองค์ประกอบของลมฟ้าอากาศ เมื่อลมมีการเปลี่ยนแปลงอัตราเร็ว หรื อเปลี่ยนแปลง
ทิศทางจะทาให้สภาพลม ฟ้า อากาศมีการเปลี่ยนแปลงไป นักอุตุนิยมวิทยาจึงจาเป็ นต้องมีการวัดอัตราเร็วและ
ทิศทางของลม เพื่อใช้เป็ นข้อมูลในการพยากรณ์อากาศ เครื่ องมือที่ใช้ในการตรวจวัดอัตราเร็วลม เรี ยกว่า มาตร
วัดลม (Anemometer) เครื่ องมือตรวจทิศทางของลม เรี ยกว่า ศรลม (wind vane)
ในการออกแบบศรลมควรนาความรู ้เกี่ยวกับการหาพื้นที่ของรู ปเรขาคณิ ตต่าง ๆ มาใช้ ศรลมควรมีพ้ืนที่
บริ เวณส่วนหางลูกศรมากกว่าบริ เวณส่วนหัวลูกศร เนื่องจากเมื่อมีลมพัดผ่าน ลมจะปะทะกับหางลูกศรมากกว่า
หัวลูกศรจึงทาให้ศรลมมีการหมุนจนกระทัง่ ศรลมลู่ขนานไปกับลมโดยหัวลูกศรชี้ ไปในทิศทางที่ลมพัดมาใน
การออกแบบศรลมควรพิจารณาถึงอัตราส่ วนของพื้นที่บริ เวณหัวและหาง การเลือกใช้วสั ดุที่ทนต่อแรงลมหาได้
ง่ายในท้องถิ่น ต้นทุนต่าและน้ าหนักที่เหมาะสมกับสถานการณ์และการนาไปใช้
เมื่อสร้างศรลมแล้วควรมีการทดสอบโดยการเก็บข้อมูลแล้วนามาประมวลผลเพื่อนาไปปรับปรุ งให้ได้
ศรลมที่บอกทิศทางได้ถูกต้องแม่นยา
4. สาระการเรียนรู้
ด้านความรู ้
การออกแรงกระทาต่อวัตถุแล้วทาให้วตั ถุเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่ โดยวัตถุที่หยุดนิ่งจะเคลื่อนที่และ
วัตถุที่กาลังเคลื่อนที่จะเคลื่อนที่เร็ วขึ้น หรื อเคลื่อนที่ชา้ ลง หรื อหยุดเคลื่อนที่ หรื อเปลี่ยนทิศทาง
ด้านทักษะ/กระบวนการ
1. ทักษะการประกอบชิ้นงานแต่ละส่ วนเข้าด้วยกัน
2. การเลือกใช้วสั ดุและสิ่ งของต่างๆ ให้เหมาะสมกับการสร้างชิ้นงาน
3. การใช้อินเทอร์เน็ตในการค้นหาข้อมูล
4. สมรรถนะสาคัญของผู้เรียน
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการแก้ปัญหา
3. ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
5. คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. มีวินยั
2. ใฝ่ เรี ยนรู ้
3. มุ่งมัน่ ในการทางาน
กรอบแนวคิด STEM

S: วิทยาศาสตร์
- ผลของแรงที่กระทาต่อวัตถุ T: เทคโนโลยี
- เครื่ องมือพื้นฐานในการตรวจทิศทางลม - การเลือกใช้วสั ดุ
- การจัดการสารสนเทศ

ชื่ อเรื่อง
ศรลม ชี้ทศิ บอกทาง

E: วิศวกรรมศาสตร์ M: คณิ ตศาสตร์


- กระบวนการออกแบบเชิงวิศวกรรม - การหาพื้นที่รูปเรขาคณิ สองมิติ
(การสร้างศรลมที่บอกทิศทางได้แม่นยา)
ชัว่ โมงที่ 1
ขั้นที่ 1 ขั้นระบุปัญหา (15 นาที)
1. ครู ให้นกั เรี ยนทาแบบทดสอบก่อนเรี ยน จานวน 10 ข้อ
2. ครู ผสู ้ อนนาเข้าสู่บทเรี ยนเพื่อให้นกั เรี ยนรู ้จกั และเห็นความสาคัญของศรลม โดยครู นาเสนอ
สถานการณ์ในชีวิตจริ งที่เกี่ยวข้อง ดังตัวอย่าง
“การตากแห้งเป็ นวิธีการทาให้อาหารหรื อสมุนไพรบางชนิดให้เก็บรักษา ได้นานขึ้นและไม่เน่าเสี ย
การตากแห้งโดยวิธีธรรมชาติอาศัยแสงแดดและอากาศจะช่วยถ่ายเทความชื้นออกไป การทราบทิศทางลมเพื่อ
กาหนดตาแหน่งในการตากแห้ง เป็ นการช่วยลดระยะเวลาในการตากแห้งได้รวดเร็ วขึ้น หากมีอุปกรณ์ช่วยบอก
ทิศทางลมจะเป็ นประโยชน์มากขึ้น ดังนั้น ให้นกั เรี ยนออกแบบและสร้างอุปกรณ์ที่ใช้บอกทิศทางลมเพื่อใช้
ประโยชน์ในบ้านของตัวเอง โดยใช้วสั ดุที่เหมาะสมและได้ประสิ ทธิ ภาพ ”
3. ครู และนักเรี ยนช่วยกันวิเคราะห์สถานการณ์ที่กาหนดให้ โดยใช้ประเด็นคาถาม ดังนี้
- จากสถานการณ์ที่กาหนดให้มีปัญหาหรื อความต้องการในเรื่ องใด
แนวทางคาตอบ ต้องการให้ของที่ตากไว้แห้งเร็ วขึ้น โดยสร้างอุปกรณ์ที่บอกทิศทางลมได้
- นักเรี ยนควรมีความรู ้ที่เกี่ยวข้องเรื่ องใดบ้าง
แนวคาตอบ หลักการการทางานของศรลมหรื อแนวทางในการสร้างศรลม การเลือกใช้วสั ดุอุปกรณ์
4. ครู ให้นกั เรี ยนทาใบกิจกรรมที่ 1 ตอบคาถาม “ศรลมบอกทิศ”
ขั้นที่ 2 ขั้นรวบรวมข้ อมูลและแนวคิดที่เกีย่ วข้ องกับปัญหา ( 15 นาที)
1. ครู ผสู ้ อนแสดงศรลมและการใช้งานศรลมให้นกั เรี ยนสังเกต โดยครู ผสู ้ อนเปิ ดคลิปวิดีโอต่างๆ
เกี่ยวกับศรลมและให้นกั เรี ยนศึกษาจากใบความรู ้ที่ 1 เรื่ อง การวัดความเร็วและทิศทางลม เพื่อให้นกั เรี ยนได้
เรี ยนรู ้ประโยชน์และการทางานของศรลม
2. ครู ผสู ้ อนกาหนดเงื่อนไขในการทดสอบศรลมว่า ใช้จะแหล่งกาเนิดลมเป็ นพัดลม ความแรงของลม
อยูใ่ นระดับ 1 และวางศรลมห่างจากพัดลมเป็ นระยะ 1 เมตร
3. ครู และนักเรี ยนร่ วมกันอภิปรายถึงปัจจัยที่เกี่ยวข้องกับการสร้างศรลม เช่น ความแรงและความเร็ว
ของลม รู ปร่ างและพื้นที่ของศรลม และวัสดุที่ใช้สร้างศรลม
ขั้นที่ 3 ขั้นออกแบบวิธีการแก้ปัญหา ( 30 นาที)
1. ครู ให้นกั เรี ยนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 -4 คน โดยแต่ละกลุ่มจะต้องออกแบบศรลม ตามเงื่อนไขที่ครู ได้
กาหนดไว้ โดยเลือกวัสดุอุปกรณ์ที่ตอ้ งใช้ พร้อมบอกเหตุผลในการเลือกใช้วสั ดุอุปกรณ์น้ นั แนวคิดในการสร้าง
ชิ้นงานภายในกลุ่ม แล้วร่ างภาพศรลมลงในใบบันทึกกิจกรรมที่ 2 ออกแบบศรลมบอกทิศของฉัน

ชัว่ โมงที่ 2
ขั้นที่ 4 ขั้นวางแผนและดาเนินการแก้ ปัญหา ( 40 นาที)
1. ครู ผสู ้ อนให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มวางแผนการทางาน แล้วสร้างศรลมตามที่ได้ออกแบบไว้
ขั้นที่ 5 ขั้นทดสอบ ประเมินผล และปรับปรุงแก้ ไขวิธีการแก้ ปัญหาหรื อชิ้นงาน ( 10 นาที)
1. ครู ผสู ้ อนให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มมาทดสอบการทางานของศรลมที่สร้างขึ้น และบันทึกผลการทดสอบ
ลงในตารางบันทึกผลในใบบันทึกกิจกรรมที่ 3 บันทึกกิจกรรม “ศรลมบอกทิศ”
2. ในกรณีที่ศรลมยังไม่สามารถบอกทิศทางลมได้ ให้นกั เรี ยนวิเคราะห์สาเหตุ และหาแนวทางการ
ปรับปรุ งศรลม และบันทึกการปรับปรุ งในแต่ละครั้ง แล้วทดสอบการทางาน จนได้ประสิ ทธิผลตามต้องการ
3. ครู ผสู ้ อนให้นกั เรี ยนหาขนาดพื้นที่ส่วนหัวและส่ วนหางของศรลม รวมทั้งอัตราส่ วนระหว่างพื้นที่
ส่วนหัวและส่วนหางของศรลม
ขั้นที่ 6 ขั้นนาเสนอวิธีการแก้ ปัญหา ผลการแก้ปัญหา หรื อชิ้นงาน ( 10 นาที)
1. ครู ้ผสู ้ อนให้นกั เรี ยนแต่ละกลุ่มออกมานาเสนอศรลมที่สร้างขึ้น และการปรับปรุ งศรลมจน รวมถึง
การหาพื้นที่และอัตราส่ วนระหว่างพื้นที่ส่วนหัวและส่ วนหางของศรลม แล้วนามาอภิปรายร่ วมกันถึงแนว
ทางการสร้างศรลมที่มีประสิ ทธิผล
ควรได้ ข้อสรุปว่ า การประดิษฐ์ศรลม ควรออกแบบให้มีพ้นื ที่บริ เวณส่ วนหางลูกศรมากกว่าบริ เวณ
ส่วนหัวลูกศร เมื่อมีลมพัดผ่าน ลมจะปะทะกับหางลูกศรมากกว่าหัวลูกศร จึ งทาให้ศรลมหมุนจนกระทัง่ ศรลม
ลู่ขนานไปกับแนวลม โดยหัวลูกศรชี้ไปในทิศทางที่ลมพัดมา นอกจากนั้นการสร้างศรลมควรคานึงถึงวัสดุที่ใช้
ความแข็งแรงของฐานที่วางศรลม ตาแหน่งจุดหมุนของศรลม ความคล่องในการหมุนของศรลม
2. ครู ผสู ้ อนตั้งคาถามเพื่อขยายความรู ้ให้นกั เรี ยนต่อไปดังนี้
- ถ้าจะนาศรลมที่นกั เรี ยนออกแบบไว้ไปตรวจสอบทิศทางลมในสถานที่จริ ง เช่น ภูเขา ริ มชายฝั่ง ซึ่งอาจต้อง
วางไว้กลางแจ้งเป็ นเวลานาน ๆ นักเรี ยนควรจะปรับปรุ งศรลมที่ออกแบบไว้อย่างไร เพราะเหตุใด
แนวคาตอบ ควรคานึงถึงวัสดุอุปกรณ์ที่ใช้สร้างศรลมให้มีความแข็งแรงทนทานต่อความแรงของลมและกัน
ความชื้น ฝน และทนต่อแดดเป็ นเวลานาน ๆ โดยมีหลักการการสร้างเหมือนเดิม
3. ครู ผสู ้ อนให้นกั เรี ยนทาแบบทดสอบหลังเรี ยน จานวน 10 ข้อ
ออกแบบชิ้นงาน
แต่ ละกลุ่มออกแบบโดยวาดภาพ และจดบันทึกขั้นตอนการสร้ างชิ้นงาน
ชื่อกลุ่ม ………………………………………………………………………………………….….
สมาชิก
1……………………………………………………………………………………..
2……………………………………………………………………………………..
3……………………………………………………………………………………..
4……………………………………………………………………………………..
5……………………………………………………………………………………..

แนวทางการปรับปรุ งแก้ไขชิ้นงาน
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
การวัดและประเมินผล
รายการประเมิน เครื่ องมือที่ใช้ประเมิน เกณฑ์การประเมิน
ด้ านความรู้ (K)
1. นักเรี ยนสามารถใช้ความรู ้เกี่ยวกับความ - แบบทดสอบหลังเรี ยน ระดับคุณภาพ ดี
ยาวและพื้นที่แก้ปัญหา - แบบบันทึกใบกิจกรรม ผ่านเกณฑ์
2. นักเรี ยนสามารถระบุผลของแรงที่มีต่อ
การเปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่ของวัตถุ
ด้านทักษะกระบวนการ (P)
1. นักเรี ยนสามารถประดิษฐ์เครื่ องมือวัด - แบบประเมินการ ระดับคุณภาพ ดี
ทิศทางลมอย่างง่ายได้ ออกแบบชิ้นงาน ผ่านเกณฑ์
2.ระบวนการทางานกลุ่มวางแผน
การศึกษาอย่างเป็ นระบบ
ด้ านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
- มีวินยั แบบสังเกตพฤติกรรม ระดับคุณภาพ ดี
- ใฝ่ เรี ยนรู ้ ผ่านเกณฑ์
- มุ่งมัน่ ในการทางาน
สมรรถนะ
- ความสามารถในการคิด ระดับคุณภาพ ดี
- ความสามารถในการแก้ปัญหา แบบประเมินสมรรถนะ ผ่านเกณฑ์
- ความสามารถในการใช้เทคโนโลยี
เกณฑ์ การประเมิน
เกณฑ์การให้คะแนน ใบกิจกรรมที่ 1 ตอบคาถามเกี่ยวกับศรลม
ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1 0
ตอบคาถาม ตอบคาถามเกี่ยวกับ ตอบคาถาม ตอบคาถามเกี่ยวกับ ตอบคาถาม
เกี่ยวกับศรลม ศรลมได้ถูกต้อง เกี่ยวกับศรลมได้ ศรลมได้ถูกต้อง เกี่ยวกับศรลมไม่
ทั้งหมด ถูกต้องอย่างน้อย 3 อย่างน้อย 1 ข้อ ถูกต้องหรื อไม่
ข้อ ตอบ

ระดับคุณภาพ คะแนน 0 หมายถึง ปรับปรุ ง


คะแนน 1 หมายถึง พอใช้
คะแนน 2 หมายถึง ดี
คะแนน 3 หมายถึง ดีมาก

เกณฑ์การให้คะแนน ใบกิจกรรมที่ 2 ศรลมบอกทิศ

ประเด็นการ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1 0
1.การออกแบบศร ออกแบบศรลม มี ออกแบบศรลม มี ออกแบบศรลม มี ไม่มีการออกแบบ
ลม องค์ประกอบครบทุก องค์ประกอบครบ องค์ประกอบเป็ น ศรลม
ส่วน เป็ นส่วนใหญ่ บางส่วน

2. วัสดุอุปกรณ์ที่ บอกวัสดุอุปกรณ์ที่ บอกวัสดุอุปกรณ์ที่ บอกวัสดุอุปกรณ์ที่ บอกวัสดุอุปกรณ์


ใช้ ใช้พร้อมเหตุผล ใช้พร้อมเหตุผลได้ ใช้พร้อมเหตุผลได้ ที่ใช้พร้อมเหตุผล
เป็ นส่วนใหญ่ บ้าง ไม่ได้
ระดับคุณภาพ คะแนน 0 หมายถึง ปรับปรุ ง
คะแนน 1 หมายถึง พอใช้
คะแนน 2 หมายถึง ดี
คะแนน 3 หมายถึง ดีมาก
เกณฑ์การให้คะแนนแบบสังเกตพฤติกรรมตามสภาพจริ งตามพฤติกรรมการปฏิบตั ิการทดลองของนักเรี ยน

ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน
3 2 1
1. การปฏิบตั ิตาม ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ
กฎระเบียบและ และข้อตกลงที่กาหนดไว้ และข้อตกลงที่กาหนดไว้ และข้อตกลงที่กาหนด
ข้อตกลง ทุกครั้ง ไว้บางครั้ง
2.การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ที่ สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ที่ สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ที่
ได้รับมอบหมาย ได้รับมอบหมายได้สาเร็ จ ได้รับมอบหมายได้เป็ น ได้รับมอบหมายได้
ลุล่วงทุกครั้ง สาเร็จลุล่วงเป็ นส่วนใหญ่ สาเร็ จลุล่วงเป็ นบางครั้ง
3.การปฏิบตั ิงานตาม สามารถปฏิบตั ิงานตาม สามารถปฏิบตั ิงานและ สามารถปฏิบตั ิงานและ
ขั้นตอนและการ ขั้นตอนและการวางแผน วางแผนการทางาน วางแผนการทางานแต่
วางแผนในการ ในการทางานเหมาะสม เหมาะสมกับกิจกรรมที่ ไม่เหมาะสมกับ
ทางาน กับกิจกรรมที่กาหนดไว้ กาหนดไว้ กิจกรรมที่กาหนดไว้
4.การทางานตาม ทางานที่ได้รับมอบหมาย ทางานที่ได้รับมอบหมาย ทางานที่ได้รับ
เวลาที่กาหนดไว้ เสร็จทันตามเวลาที่ เสร็จทันตามเวลาที่ มอบหมายเสร็ จทันตาม
กาหนดทุกครั้ง กาหนดเป็ นส่วนใหญ่ เวลาที่กาหนดเป็ นส่วน
ใหญ่
ระดับคุณภาพ คะแนน 0-4 หมายถึง พอใช้
คะแนน 5-8 หมายถึง ดี
คะแนน 9-12 หมายถึง ดีมาก

เกณฑ์การประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ปฏิบตั ิหรื อแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั ิหรื อแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั ิหรื อแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน
ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8-9 ดีมาก
6–7 ดี
ต่ากว่า 6 พอใช้

เกณฑ์การประเมินให้คะแนนการประเมินสรรถนะสาคัญ
รายการการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
3 2 1
ความสามารถในการคิด มีความสามารถในการ มีความสามารถในการคิด ขาดความสามารถใน
คิดวิเคราะห์และ วิเคราะห์และสังเคราะห์ การคิดวิเคราะห์และ
สังเคราะห์ บางครั้ง สังเคราะห์
ความสามารถในการ สามารถแก้ปัญหาและ สามารถแก้ปัญหาและ ไม่สามารถแก้ปัญหา
แก้ปัญหา อุปสรรคต่างๆที่เผชิญ อุปสรรคต่างๆที่เผชิญได้ และอุปสรรคต่างๆที่
ได้ทุกครั้ง บางครั้ง เผชิญได้
ความสามารถในการใช้ สามารถนาเทคโนโลยี สามารถนาเทคโนโลยีเข้า ไม่สามารถนา
เทคโนโลยี เข้ามาใช้ให้เกิด มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เทคโนโลยีเข้ามาใช้ให้
ประโยชน์มากที่สุด เกิดประโยชน์มากที่สุด
คะแนนเต็ม 9 คะแนน

เกณฑ์ การตัดสิน
คะแนน 8-9 6–7 ต่ากว่า 5
ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้
เกณฑ์ การผ่าน
ได้ ระดับคุณภาพดี ขึน้ ไป
สื่ อและแหล่งเรี ยนรู ้
1. ศรลม / คลิปวิดีโอ
2. ใบความรู ้ เรื่ อง การวัดความเร็วและทิศทางลม
3. PowerPoint
4. ใบบันทึกกิจกรรมที่ 1,2,3
ข้อคิดเห็น / ข้อเสนอแนะของผูบ้ ริ หาร
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
ลงชื่อ.............................................ผูต้ รวจ
(...........................................................)
บันทึกหลังสอน
1.ผลการสอน
□ สอนได้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้
□ สอนไม่ได้ตามแผนการจัดการเรี ยนรู ้ เนื่องจาก......................................................................
2. ผลที่เกิดกับผูเ้ รี ยน
1.) การประเมินผลความรู ้ (K)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
2.) การประเมินด้านทักษะกระบวนการ (P)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
3.) การประเมินด้านคุณลักษณะ (A)
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
3. ปัญหาและอุปสรรค
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
4. ข้อเสนอแนะ/แนวทางแก้ไข
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................

ลงชื่อ.............................................ครู ผสู ้ อน
( ........................................................... )
แบบประเมินต่างๆพร้อมเกณฑ์การประเมิน

แบบประเมินผลงานและการนาเสนอ
ชื่อชิ้นงาน............................................................

อธิบายหลักการสร้ างชิ้นงานได้ ถกู ต้ อง

ผลงานสมบูรณ์ ถูกต้ องตามแบบร่ าง


เนื้อหานาเสนอกระชับ ตรงประเด็น

ใช้ เวลาในการนาเสนอได้เหมาะตาม
ที่ ชื่ อกลุ่ม

ผลงานมีความคิดสร้ างสรรค์
วิธีการนาเสนอที่น่าสนใจ

รวมคะแนน
2 2 2 2 2 2 12

ลงชื่อ...................................................
วันที่....................................................
เกณฑ์ การให้ คะแนน

ประเด็นการประเมิน ระดับคะแนน
2 1 0
1. เนื้อหานาเสนอ นาเสนอเนื้ อหาได้ตรง นาเสนอเนื้ อหาได้ตรง นาเสนอเนื้ อหาไม่ตรง
กระชับ ตรงประเด็น ประเด็นตามที่กาหนดไว้ ประเด็นตามที่กาหนดได้ กับประเด็นที่กาหนดไว้
ไม่นอ้ ยกว่าร้อยละ 50
2. วิธีการนาเสนอที่ นาเสนอถูกต้องและจูงใจ นาเสนอค่อนข้างถูกต้อง นาเสนอไม่ถูกต้องและ
น่าสนใจ ผูฟ้ ัง และจูงใจผูฟ้ ังได้นอ้ ย ไม่จูงใจผูฟ้ ัง
3. ใช้เวลาในการ ใช้เวลานาเสนอตามที่ ใช้เวลานาเสนอเกินตามที่ ใช้เวลานาเสนอเกิน
นาเสนอได้เหมาะสม กาหนดไว้ กาหนดไว้ 1 นาที ตามที่กาหนดไว้มากกว่า
1 นาทีข้ นึ ไป
4. อธิบายหลักการ สามารถอธิบายหลักการ สามารถอธิบายหลักการ ไม่สามารถอธิบาย
สร้างชิ้นงานได้ สร้างชิ้นงานได้ถูกต้อง สร้างชิ้นงานได้บา้ ง หลักการสร้างชิ้นงานได้
ถูกต้อง ครบถ้วน
5. ผลงานสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานเสร็จสมบูรณ์ ผลงานไม่เสร็จสมบูรณ์
ตรงตามแบบร่ าง ถูกต้องตามแบบร่ าง ถูกต้องตามแบบร่ าง ถูกต้องตามแบบร่ าง
บางส่วน
6. ผลงานมีความคิด ผลงานมีความคิดแปลก ผลงานมีความคิดแปลก ผลงานไม่มีความแปลก
สร้างสรรค์ ใหม่ไม่ซ้ ากับกลุ่มอื่นๆ ใหม่โดยอาจจะคล้ายกับ ใหม่
กลุ่มอื่นๆ
ระดับคุณภาพ คะแนน ต่ากว่า 5 หมายถึง พอใช้
คะแนน 6 – 9 หมายถึง ดี
คะแนน 10 – 12 หมายถึง ดีมาก
แบบบันทึกการประเมินความรับผิดชอบต่อการปฏิบัติหน้ าทีและงานที่ได้รับมอบหมาย

การปฏิบัติงานตามขั้นตอนและการวางแผนในการทางาน
ที่ ชื่ อกลุ่ม

การปฏิบัติตามกฎระเบียบและข้อตกลง

การปฏิบัติหน้ าที่ที่ได้รับมอบหมาย

การทางานตามเวลาที่กาหนดไว้

รวมคะแนน
3 3 3 3 12

ลงชื่อ...................................................
วันที่....................................................
เกณฑ์ การให้ คะแนน

ประเด็นประเมิน ระดับคะแนน
3 2 1
1. การปฏิบตั ิตาม ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ ปฏิบตั ิตามกฎระเบียบ
กฎระเบียบและ และข้อตกลงที่กาหนดไว้ และข้อตกลงที่กาหนดไว้ และข้อตกลงที่กาหนด
ข้อตกลง ทุกครั้ง ไว้บางครั้ง
2.การปฏิบตั ิหน้าที่ที่ สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ที่ สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ที่ สามารถปฏิบตั ิหน้าที่ที่
ได้รับมอบหมาย ได้รับมอบหมายได้สาเร็ จ ได้รับมอบหมายได้เป็ น ได้รับมอบหมายได้
ลุล่วงทุกครั้ง สาเร็จลุล่วงเป็ นส่วนใหญ่ สาเร็ จลุล่วงเป็ นบางครั้ง
3.การปฏิบตั ิงานตาม สามารถปฏิบตั ิงานตาม สามารถปฏิบตั ิงานและ สามารถปฏิบตั ิงานและ
ขั้นตอนและการ ขั้นตอนและการวางแผน วางแผนการทางาน วางแผนการทางานแต่
วางแผนในการ ในการทางานเหมาะสม เหมาะสมกับกิจกรรมที่ ไม่เหมาะสมกับ
ทางาน กับกิจกรรมที่กาหนดไว้ กาหนดไว้ กิจกรรมที่กาหนดไว้
4.การทางานตาม ทางานที่ได้รับมอบหมาย ทางานที่ได้รับมอบหมาย ทางานที่ได้รับ
เวลาที่กาหนดไว้ เสร็จทันตามเวลาที่ เสร็จทันตามเวลาที่ มอบหมายเสร็ จทันตาม
กาหนดทุกครั้ง กาหนดเป็ นส่วนใหญ่ เวลาที่กาหนดเป็ นส่วน
ใหญ่
ระดับคุณภาพ คะแนน 0-4 หมายถึง พอใช้
คะแนน 5-8 หมายถึง ดี
คะแนน 9-12 หมายถึง ดีมาก
แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์
คาชี้แจง : ให้ครู ผสู ้ อนประเมินผลพฤติกรรมของนักเรี ยนตามรายการที่กาหนดไว้ แล้วทาเครื่ องหมาย  ลงใน
ช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

ระดับคะแนน
คุณลักษณะอันพึง รายการประเมิน 3 2 1
ประสงค์
มีวินยั มีความตรงต่อเวลาใสการปฏิบตั ิกิจกรรมต่างๆ
ใฝ่ เรี ยนรู ้ ตั้งใจเรี ยนและเอาใจใส่ มีความพยายามที่จะ
เรี ยนรู ้และเข้าร่ วมกิจกรรม
มุ่งมัน่ ในการทางาน มีความตั้งใจและพยายามทางานที่ได้รับ
มอบหมาย และไม่ทอ้ แท้ต่ออุปสรรค
รวม
ลงชื่อ...................................................
(..........................................................)
วันที่.............../................/...............

เกณฑ์การให้คะแนน
ปฏิบตั ิหรื อแสดงพฤติกรรมอย่างสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
ปฏิบตั ิหรื อแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 2 คะแนน
ปฏิบตั ิหรื อแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ 1 คะแนน

ช่ วงคะแนน ระดับคุณภาพ
8-9 ดีมาก
6–7 ดี
ต่ากว่า 6 พอใช้
แบบบันทึกการประเมินสมรรถนะสาคัญ
คาชี้แจง : ให้ครู ผสู ้ อนประเมินผลพฤติกรรมของนักเรี ยนตามรายการที่กาหนดไว้ แล้วทาเครื่ องหมาย  ลงใน
ช่องที่ตรงกับระดับคะแนน

พฤติกรรม/ระดับคะแนน

ความสามารถ ความสามารถใน ความสามารถ


ที่ ชื่ อ-สกุล การประเมินผล
ในการคิด การแก้ปัญหา ในการใช้

รวมคะแนน
เทคโนโลยี
3 2 1 3 2 1 3 2 1 ผ่าน ไม่ผ่าน
1.
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.

ลงชื่อ...................................................
(..........................................................)
วันที่.............../................/...............
เกณฑ์ การให้ คะแนนการประเมินสมรรถนะสาคัญ
รายการการประเมิน เกณฑ์การให้คะแนน
3 2 1
ความสามารถในการคิด มีความสามารถในการ มีความสามารถในการคิด ขาดความสามารถใน
คิดวิเคราะห์และ วิเคราะห์และสังเคราะห์ การคิดวิเคราะห์และ
สังเคราะห์ บางครั้ง สังเคราะห์
ความสามารถในการ สามารถแก้ปัญหาและ สามารถแก้ปัญหาและ ไม่สามารถแก้ปัญหา
แก้ปัญหา อุปสรรคต่างๆที่เผชิญ อุปสรรคต่างๆที่เผชิญได้ และอุปสรรคต่างๆที่
ได้ทุกครั้ง บางครั้ง เผชิญได้
ความสามารถในการใช้ สามารถนาเทคโนโลยี สามารถนาเทคโนโลยีเข้า ไม่สามารถนา
เทคโนโลยี เข้ามาใช้ให้เกิด มาใช้ให้เกิดประโยชน์ได้ เทคโนโลยีเข้ามาใช้ให้
ประโยชน์มากที่สุด เกิดประโยชน์มากที่สุด
คะแนนเต็ม 9 คะแนน

เกณฑ์ การตัดสิน
คะแนน 8-9 6–7 ต่ากว่า 5
ระดับคุณภาพ ดีมาก ดี พอใช้
เกณฑ์ การผ่าน
ได้ ระดับคุณภาพดี ขึน้ ไป
ภาคผนวก
แบบทดสอบก่อนเรียน
เรื่ อง ศรลมบอกทิศ
1. สาเหตุที่ทาให้เกิดลม คืออะไร
ก. ความแตกต่างของแรงดันอากาศ ข. ความแตกต่างของปริ มาตรอากาศ
ค. ความแตกต่างของความกดอากาศ ง. ความแตกต่างของความหนาแน่นของอากาศ
2. ชาวประมงอาศัยลมชนิดใดในการออกเรื อไปหาปลา และลมนี้เกิดเวลาใด
ก. ลมบก เวลากลางวัน ข. ลมบก เวลากลางคืน
ค. ลมทะเล เวลากลางวัน ง. ลมทะเล เวลากลางคืน
3. อาชีพใดที่ได้รับผลกระทบจากสภาพลมฟ้าอากาศมากที่สุด
ก. เกษตรกร นักธุรกิจ นักบิน ข. ค้าขาย ชาวประมง ข้าราชการ
ค. ค้าขาย ชาวนาเกลือ ตารวจจราจร ง. ชาวประมง เกษตรกร นักขุดเจาะน้ ามันกลางทะเล
4. ทิศทางการเคลื่อนที่ของลมตรงกับข้อใด
ก. จากบริ เวณหย่อมความกดอากาศสูงไปสู่หย่อมความกดอากาศต่า
ข. จากบริ เวณความกดอากาศต่าไปสู่หย่อมความกดอากาศต่า
ค. จากบริ เวณความกดอากาศต่าไปสู่หย่อมความกดอากาศสูง
ง. จากบริ เวณหย่อมความกดอากาศสูงไปสู่หย่อมความกดอากาศสูง
5. อุตุนิยมวิทยาคืออะไร
ก. การพยากรณ์อากาศ ข. การศึกษาเกี่ยวกับอุทกภัย
ค. การศึกษาเกี่ยวกับลมและพายุ ง.การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศ
6. ลมฟ้าอากาศหมายถึงข้อใด
ก. สภาพอากาศที่เกิดขึ้นประจาถิ่น
ข.อากาศทั้งหมดที่ห่อหุม้ โลกไว้
ค. ส่ วนผสมของอนุภาค ฝุ่ นละออง ไอน้ าและก๊าซ
ง.สภาพอากาศที่เป็ นอยู่ และมีการเปลี่ยนแปลงในระยะเวลาสั้นๆ
7. ข้อใดหมายถึงอากาศเคลื่อนที่
ก. ลม ข.ไอน้ า
ค.พายุ ง.ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.
8. ลมในข้อใดที่เกิดเวลากลางวัน และเกิดจากอากาศบริ เวณเหนื อพื้นดินมีอุณหภูมิสูงกว่าพื้นน้ า
ก.ลมบก ข. ลมทะเล
ค. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ง. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
9. ลมชนิดใดที่ก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อชีวิตและทรัพย์สินอย่างรุ นแรง
ก. ลมประจาฤดู ข.ลมประจาเวลา
ค. ลมประจาถิ่น ง.ลมพายุหมุน
11. กีฬาในข้อใดต้องอาศัยแรงลมในการเล่น
ก. วินด์เสิ ร์ฟ ข. เรื อแคนู
ค. เจ็ตสกี ง.กระดานโต้คลื่น

ทาได้ ไม่ยากเลยใช่ไหม
แบบทดสอบหลังเรียน
เรื่ อง ศรลมบอกทิศ
1. สาเหตุที่ทาให้เกิดลม คืออะไร
ก. ความแตกต่างของแรงดันอากาศ ข. ความแตกต่างของปริ มาตรอากาศ
ค. ความแตกต่างของความกดอากาศ ง. ความแตกต่างของความหนาแน่นของอากาศ
2. ชาวประมงอาศัยลมชนิดใดในการออกเรื อไปหาปลา และลมนี้เกิดเวลาใด
ก. ลมบก เวลากลางวัน ข.ลมบก เวลากลางคืน
ค. ลมทะเล เวลากลางวัน ง.ลมทะเล เวลากลางคืน
3. อาชีพใดที่ได้รับผลกระทบจากสภาพลมฟ้าอากาศมากที่สุด
ก. เกษตรกร นักธุรกิจ นักบิน ข. ค้าขาย ชาวประมง ข้าราชการ
ค. ค้าขาย ชาวนาเกลือ ตารวจจราจร ง. ชาวประมง เกษตรกร นักขุดเจาะน้ ามันกลางทะเล
4. ทิศทางการเคลื่อนที่ของลมตรงกับข้อใด
ก. จากบริ เวณหย่อมความกดอากาศสูงไปสู่หย่อมความกดอากาศต่า
ข. จากบริ เวณความกดอากาศต่าไปสู่หย่อมความกดอากาศต่า
ค. จากบริ เวณความกดอากาศต่าไปสู่หย่อมความกดอากาศสูง
ง. จากบริ เวณหย่อมความกดอากาศสูงไปสู่หย่อมความกดอากาศสูง
5. อุตุนิยมวิทยาคืออะไร
ก. การพยากรณ์อากาศ ข. การศึกษาเกี่ยวกับอุทกภัย
ค. การศึกษาเกี่ยวกับลมและพายุ ง.การศึกษาเกี่ยวกับการเปลี่ยนแปลงบรรยากาศ
6.ลมฟ้าอากาศหมายถึงข้อใด
ก. สภาพอากาศที่เกิดขึ้นประจาถิ่น
ข. อากาศทั้งหมดที่ห่อหุม้ โลกไว้
ค. ส่ วนผสมของอนุภาค ฝุ่ นละออง ไอน้ าและก๊าซ
ง. สภาพอากาศที่เป็ นอยู่ และมีการเปลี่ยนแปลงในระยะเวลาสั้นๆ
7. ข้อใดหมายถึงอากาศเคลื่อนที่
ก. ลม ข.ไอน้ า
ค.พายุ ง.ถูกทั้งข้อ ก. และ ค.
8.ลมในข้อใดที่เกิดเวลากลางวัน และเกิดจากอากาศบริ เวณเหนื อพื้นดินมีอุณหภูมิสูงกว่าพื้นน้ า
ก.ลมบก ข. ลมทะเล
ค. ลมมรสุมตะวันตกเฉียงใต้ ง. ลมมรสุมตะวันออกเฉียงเหนือ
9.ลมชนิดใดที่ก่อให้เกิดความเสี ยหายต่อชีวิตและทรัพย์สินอย่างรุ นแรง
ก. ลมประจาฤดู ข.ลมประจาเวลา
ค. ลมประจาถิ่น ง.ลมพายุหมุน
11.กีฬาในข้อใดต้องอาศัยแรงลมในการเล่น
ก. วินด์เสิ ร์ฟ ข. เรื อแคนู
ค. เจ็ตสกี ง.กระดานโต้คลื่น
เฉลยแบบทดสอบก่อนเรี ยน-หลังเรี ยน
1. ค. 6. ง.

2. ข. 7. ก.

3. ง. 8. ข.

4. ก. 9. ก.

5. ก. 10. ก.
ใบกิจกรรมที่ 1
ตอบคาถาม “ศรลมบอกทิศ”
คาชี้แจง : ให้นกั เรี ยนตอบคาถาม “ศรลมบอกทิศ” ลงในช่องว่างให้ถูกต้อง
1. ศรลมมีหลักการทางานอย่างไร
ตอบ ....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
2. เมื่อนาศรลมไปวางในบริ เวณที่มีลมพัด หัวลูกศรจะชี้ไปในทิศทางใด
ตอบ ....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
3.อุปกรณ์ที่สร้างขึ้นมาเพื่อใช้ตรวจสอบทิศทางลมนี้เรี ยกว่าอะไร
ตอบ ........................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
4. เงื่อนไขสถานการณ์ในการสร้างศรลมคืออะไรบ้าง
ตอบ ....................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
5. ศรลมที่สร้างขึ้นสามารถบอกทิศทางลมได้จริ งหรื อไม่ อย่างไร
ตอบ ........................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
ใบกิจกรรมที่ 2
“ออกแบบศรลมบอกทิศของฉัน”
วาดภาพการออกแบบศรลมและระบุวสั ดุอุปกรณ์ที่ใช้ พร้อมให้เหตุผลในการเลือกใช้วสั ดุ

วัสดุอุปกรณ์ที่ใช้ พร้อมเหตุผลในการเลือกใช้วสั ดุ
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
ใบกิจกรรมที่3
บันทึกกิจกรรม “ศรลมบอกทิศ”
ตารางบันทึกการบอกทิศของศรลม
ครั้งที่ 1 ลักษณะการวางศรลมเทียบกับ ความเที่ยงตรงของการ
พัดลม บอกทิศของศรลม

1. ผลการทดลอง
ตอบ ........................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
2. วาดภาพพร้อมอธิบายการปรับปรุ งศรลมตั้งแต่เริ่ มต้นจนกระทัง่ สุ ดท้าย

3.ระหว่างการสร้างศรลมพบปัญหาอะไรบ้างและมีวิธีการแก้ไขปัญหาอย่างไร
ตอบ ........................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
3. ถ้าจะนาศรลมที่นกั เรี ยนออกแบบไว้ไปตรวจสอบทิศทางลมในสถานที่จริ ง เช่น ภูเขา ริ มชายฝั่ง ซึ่งอาจต้อง
วางไว้กลางแจ้งเป็ นเวลานาน ๆ นักเรี ยนควรจะปรับปรุ งศรลมที่ออกแบบไว้อย่างไร เพราะเหตุใด
ตอบ ........................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
4. สรุ ปผลการทดลอง
ตอบ ........................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
.................................................................................................................................................................................
ใบความรู้ ที่ 1
เรื่ อง การวัดความเร็วและทิศทางลม
ลม คือ การเคลื่อนไหวของอากาศ ถ้าลมแรงก็หมายความว่า มวลของอากาศเคลื่อนตัวไปมากและเร็ ว
ในทางอุตุนิยมวิทยาการวัดลม จาต้องวัดทั้งทิศของลมและอัตราหรื อความเร็ วของลม สาหรับการตรวจสอบทิศ
ของลมนั้น เราใช้ศรลม (windvane) ส่วนการวัดความเร็วของลม เราใช้เครื่ องมือที่เรียกว่า มาตรวัดลม
(anemometer) ซึ่งมีหลายชนิด แต่ส่วนมากใช้แบบใบพัดหรื อกังหัน นอกจากมาตรวัดลมแล้วยังมีเครื่ องบันทึก
ความเร็ วและทิศของลมด้วย เครื่ องบันทึกนี้เรี ยกว่า อะนีมอกราฟ (anemograph) ซึ่งสามารถบันทึกความเร็วและ
ทิศของลมได้ตามที่เราต้องการ
เครื่ องวัดลมที่กล่าวมานี้เป็ นการวัดลมที่พ้นื ดินบอกทิศทางหรื อความเร็วลมในตาแหน่งคงที่ โดยสิ่ งกีด
ขวาง มีอิทธิพลต่อลม เช่น อาคาร ต้นไม้ ความเร็ วลมจะเพิ่มมากขึ้นอย่างรวดเร็ วเมื่อความสู งของตาแหน่งที่วดั
เพิ่มขึ้น ดังนั้นเครื่ องมือที่ใช้วดั ลมควรตั้งอยูใ่ นที่โล่งที่อากาศถ่ายเทได้สะดวกและควรอยูส่ ู งกว่าหลังคาอาคาร
เมื่อ พ.ศ. 2348 พลเรื อเอก เซอร์ ฟรานซิส โบฟอร์ต (Admiral Sir Francis Beaufort, ค.ศ. 1774 - 1857,
ชาวอังกฤษ) แห่งราชนาวีองั กฤษได้พฒั นามาตราส่วนสาหรับคาดคะเนความเร็วของลมไว้ใช้ในการเดินเรื อใบ
เรี ยกว่า มาตราลมโบฟอร์ ต (Beaufort wind scale) และแบ่งกาลังออกเป็ น 13 ระดับ (0-12) โดยมีคาบรรยาย
เครื่ องหมายและเปรี ยบเทียบความเร็ว ตามตารางแสดงคาบรรยายเครื่ องหมายและเปรี ยบเทียบความเร็ วของลม
เครื่ องมือสาหรับบอกทิศทางลมหรื อศรลมมีหลายรู ปแบบ โดยศรลมมีส่วนประกอบที่ สาคัญหลายส่วน
ได้แก่ ส่ วนตัวลูกศร ส่ วนแกนหมุน ส่ วนฐาน
• รู ปร่ างตัวลูกศร ส่วนหางจะมีขนาดใหญ่กว่าส่วนหัวลูกศร ซึ่งมีหลักการทางาน คือ เมื่อลมพัดแรงลม
จะกระทากับหางลูกศรมากกว่าหัวลูกศร เนื่ องจากส่ วนหางลูกศรมีพ้นื ที่มากกว่าส่ วนหัว ศรลมจึงหมุนโดยหัว
ลูกศรชี้ไปในทิศทางที่ลมพัดมา
• แกนหมุนของศรลมต้องหมุนได้อย่างอิสระ เพื่อให้ศรลมสามารถหมุนไปตามทิศทางของลมที่เปลี่ยนแปลง
ไป จึงบอกทิศทางของลมได้อย่างเที่ยงตรง แกนหมุนควรอยูใ่ นตาแหน่งสมดุลระหว่างส่วนหัวและส่วนหางของ
ศรลม
• ฐานของศรลม ควรแข็งแรงเพียงพอที่จะรับน้ าหนักของศรลม ทนทานต่อการปะทะของแรงลม สามารถตั้ง
ได้อย่างสมดุล โดยทัว่ ไปจะมีตวั บอกทิศติดบริ เวณฐานด้วย
ตารางแสดงคาบรรยายเครื่ องหมายและเปรี ยบเทียบความเร็วของลม
กาลัง ความเร็ วลม ลักษณะของลม การสังเกต
โบฟอร์ต นอต กม./ชม.
0 น้อยกว่า 1 น้อยกว่า 2 ลมสงบ(calm) ลมเงียบ ควันลอยขึ้นตรงๆ
1 1-3 2-6 ลมเบา (light air) ควันลอยตามลม แต่ศรลมไม่หนั ไปตามทิศ
ลม
2 4-5 7-11 ลมเฉื่อยเบา(light breeze) รู ้สึกลมพัดที่ผิวหน้า ใบไม้กระดิก ศรลม
หันไปตามลม
3 7-10 12-19 ลมเฉื่อย(gentle breeze) ใบไม้และกิ่งไม้เล็กๆ ขยับเขยื้อน ธงปลิว

4 11-16 20-30 ลมเฉื่อยปานกลาง (moderate มีฝนุ่ พัดตลบ กระดาษปลิว กิ่งไม้เล็กๆ


breeze) เคลื่อนไหว
5 17-21 31-39 ลมเฉื่อยค่อนข้างแรง(fresh ต้นไม้เล็กๆเริ่ มแกว่งไปมา น้ าเป็ นระรอก
breeze)
6 22-27 40-50 ลมแรง(strong breeze) กอ่งไม้ใหญ่ขยับเขยื้อน ได้ยินเสี ยงตาม
สายโทรเลข ใช้ร่มไม่สะดวก
7 28-33 51-61 ลมค่อนข้างแรง (near gale) ต้นไม้ใหญ่ท้ งั ต้น ขยับเขยื้อน เดินทวนลม
ไม่สะดวก
8 34-40 62-74 ลมจัด (gale) กิ่งไม้หกั มีสิ่งกีดขวางเพิ่มขึ้น

9 41-47 75-87 ลมจัดมาก (strong gale) สิ่ งก่อสร้างที่ไม่มนั่ คงหักพัก

10 48-55 88-102 พายุ(storm) ต้นไม้ถอนรากถอนโคน เกิดความเสี ยหาย


มาก
11 56-63 103-107 พายุใหญ่(violent storm) เกิดความเสี ยหายทัว่ ไป

12 64-70 118-132 พายุใต้ฝนุ่ หรื อพายุเฮอร์ริเคน เกิดความเสี ยหายทัว่ ไป


(typhoon or herricane)
ใบความรู้ ที่ 2
ประสิทธิผล ความเที่ยงตรง ความแม่นยา
ประสิ ทธิผล คือ ลักษณะการดาเนินงานที่สามารถทางานตามวัตถุประสงค์ที่วางไว้ได้สาเร็จ เกณฑ์ใน
การใช้วดั ประสิ ทธิผล คือ ศักยภาพของผลผลิตที่สามารถทางานตามวัตถุประสงค์ที่ตอ้ งการได้ ถ้าผลผลิต
สามารถทางานตามวัตถุประสงค์ได้ถือว่าผลผลิตนั้นมีประสิ ทธิผล แต่ถา้ ผลผลิตนั้นไม่สามารถทางานตาม
วัตถุประสงค์ได้ถือว่าผลผลิตนั้นไม่มีประสิ ทธิผล
ประสิ ทธิผล แตกต่างจาก ประสิ ทธิภาพ หรื อ Efficiency โดยประสิ ทธิภาพเป็ นการเปรี ยบเทียบ
อัตราส่ วนระหว่างปริ มาณผลลัพธ์ที่ได้ต่อปริ มาณทรัพยากรที่ใช้ ยิง่ กระบวนการทางานได้ผลลัพธ์สูงโดยใช้
ทรัพยากรน้อย กระบวนการนั้นจะถือว่ามีประสิ ทธิภาพสู ง
ความเที่ยงตรง (Accuracy)
ความเที่ยงตรง คือ คุณสมบัติของเครื่ องมือวัดที่สามารถแสดงค่าการวัดต่าง ๆ ได้ใกล้เคียงค่าที่เป็ นจริ ง
มากที่สุด

ความแม่นยา (Precision)
ความแม่นยา คือ คุณสมบัติของเครื่ องมือวัดที่สามารถแสดงค่าการวัดหนึ่ง ๆ ภายใต้สถานการณ์และ
สภาพแวดล้อมเดียวกันหลาย ๆ ครั้ง แล้วได้ผลลัพธ์เป็ นค่าเดียวกัน

You might also like