You are on page 1of 14

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี


หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง การเคลื่อนที่ของแสง : 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ว 2.3 ป.2/1 ขั้นนา


1. ผู้แทนนักเรียนสาธิตฉายไฟฉาย และจุดเทียนไขในห้อง
จุดประสงค์การเรียนรู้
มืด นักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนประสบการณ์เดิม
เกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของแสง แล้วร่วมกันตอบคาถาม
1. อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงได้ (K) สาคัญกระตุ้นความคิด ดังนี้
2. ปฏิบัติกิจกรรม การเคลื่อนที่ของแสง อย่างรวม 1.1 นักเรียนรู้จัก/เคยเห็นแสงหรือไม่
พลัง ด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจได้ (P) (รู้จัก/เคยเห็น)
3. บ่งชี้ตัวแปรต่าง ๆ ตั้งสมมุติฐาน และสรุปผลการ 1.2 แสงมีลักษณะการเคลื่อนที่อย่างไร
ทดลองได้ (P) (แสงเคลื่อนที่เป็นแนวตรงออกจากแหล่งกาเนิดแสง)
4. มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ (A) ขั้นกิจกรรม
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังทากิจกรรม
สาระการเรียนรู้ เรื่อง การเคลื่อนที่ของแสง และบันทึกผลการทากิจกรรม
แสงเคลื่อนที่เป็นแนวตรงจากแหล่งกาเนิดแสง ในใบงาน
ทุกทิศทุกทาง ขั้นสรุป
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมและ
สมรรถนะสาคัญ สรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการเคลื่อนที่ของ
แสงว่า แสงเคลื่อนที่จากแหล่งกาเนิดแสงทุกทิศทางเป็น
● การสื่อสาร ●การคิด ● การแก้ปัญหา
แนวตรง
● ทักษะชีวิต ○ การใช้เทคโนโลยี

การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10)


คุณลักษณะอันพึงประสงค์
K P A
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ บันทึกหลังสอน
...............................................................................
...............................................................................
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ ...............................................................................
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ลงชื่อ
2. อุปกรณ์การทดลอง (.......................................................)
3. ใบงาน เรื่อง การเคลื่อนที่ของแสง ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง การเคลื่อนที่ของแสง : 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ขั้นนา
ว 2.3 ป.2/1
1. ครูทบทวนความรู้ที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมา โดยการถามคาถาม
นักเรียน แล้วสุ่มนักเรียนตอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้ ขั้นกิจกรรม
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน สารวจ และเขียนอธิบายการ
1. อธิบายลักษณะการเคลื่อนที่ของแสงได้ (K)
เคลื่อนที่ของแสงออกจากแหล่งกาเนิดแสงที่สนใจ พร้อมยกตัวอย่าง
2. วาดภาพและระบายสี การเคลื่อนที่ของแสงออก สนับสนุนการอธิบาย พร้อมวาดภาพและระบายสีประกอบ
จากแหล่งกาเนิดแสง อย่างรวมพลังด้วยความมุ่งมั่นได้ จัดทาเป็นชิ้นงาน
(P) 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน ออกแบบ และช่วยกันคิดหา
3. มีความมุ่งมั่น (A) วิธีที่จะให้มองเห็นแสงจากเทียนไข โดยกาหนดว่า ต้องมองเห็นแสง
ทะลุแผ่น CD ทั้ง 3 แผ่น บันทึกผล พร้อมเขียนรายงานพอสังเขป
สาระการเรียนรู้ กาหนดวัสดุอุปกรณ์ ดังนี้
1)แผ่น CD 3 แผ่น 2)เทียนไข 1 เล่ม
แสงเคลื่อนที่เป็นแนวตรงจากแหล่งกาเนิดแสง 3)ไม้ขีดไฟ 1 กล่อง 4)ดินน้ามัน 1 ก้อน
ทุกทิศทุกทาง

สมรรถนะสาคัญ
● การสื่อสาร ●การคิด ● การแก้ปัญหา
● ทักษะชีวิต ○ การใช้เทคโนโลยี
ขั้นสรุป
4. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้รว่ มกัน ดังนี้ แสง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ เคลื่อนที่เป็นแนวตรงจากแหล่งกาเนิดแสงทุกทิศทุกทาง
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
5. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาพูดและนาเสนอภาพวาดและ
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
ระบายสีการเคลือ่ นที่ของแสงออกจากแหล่งกาเนิดแสง และรายงาน
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย หน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เพื่อน ๆ ร่วมกันตรวจสอบ
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ และแก้ไขให้ถูกต้อง

สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้
บันทึกหลังสอน
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ...............................................................................
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ...............................................................................
2. แผ่น CD เทียนไข ไม้ขีดไฟ ดินน้ามัน
ลงชื่อ
การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10) (.......................................................)
K P A ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง แหล่งกาเนิดแสง : 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ว 2.3 ป.2/1 ขั้นนา
1. นักเรียนร่วมกันร้องเพลง รอบกองไฟ พร้อมแสดงท่าทางประกอบ
เพลงตามจินตนาการแล้วทบทวนประสบการณ์เดิมเกีย่ วกับ
จุดประสงค์การเรียนรู้
แหล่งกาเนิดแสง โดยร่วมกันตอบคาถามสาคัญกระตุ้นความคิด ดังนี้
1.ระบุแหล่งกาเนิดแสง และประเภทของแหล่งกาเนิดแสง (K) 1.1 แหล่งกาเนิดแสงที่นักเรียนรู้จักมีอะไรบ้าง
2.สืบสอบข้อมูลเกี่ยวกับแหล่งกาเนิดแสง และประเภทของ (ดวงอาทิตย์ ดวงดาว หลอดไฟฟ้า เทียนไข กองไฟ)
แหล่งกาเนิดแสง อย่างรวมพลังด้วยความใฝ่รู้ (P) 1.2 แหล่งกาเนิดแสงแบ่งได้เป็นกี่ประเภท อะไรบ้าง
3.จัดจาแนกประเภทของแหล่งกาเนิดแสงได้ (P) (แหล่งกาเนิดแสง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ แหล่งกาเนิดแสงตาม
4.มีความใฝ่รู้ (A) ธรรมชาติ และแหล่งกาเนิดแสงที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น)
ขั้นกิจกรรม
สาระการเรียนรู้ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังศึกษา สืบสอบข้อมูล
แหล่งกาเนิดแสง หมายถึง แหล่งที่มีแสงสว่างออกมา เกี่ยวกับแหล่งกาเนิดแสง และประเภทของแหล่งกาเนิดแสง จาก
แหล่งกาเนิดแสง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ แหล่งกาเนิดแสง แหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย พร้อมทั้งออกแบบการนาเสนอผลการ
ตามธรรมชาติ และแหล่งกาเนิดแสงที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น สืบสอบให้อยู่ในแบบที่น่าสนใจ
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสังเกตภาพไฟฉาย ฟ้าแลบ หิ่งห้อย
สมรรถนะสาคัญ หลอดไฟฟ้า ดวงอาทิตย์และเทียนไขแล้วแต่ละกลุม่ ร่วมกันวิเคราะห์
กาหนดเกณฑ์ และจัดจาแนกประเภทของแหล่งกาเนิดแสง
● การสื่อสาร ●การคิด ○ การแก้ปัญหา
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบว่ามี
● ทักษะชีวิต ● การใช้เทคโนโลยี
อะไรที่เหมือนหรือแตกต่างกันร่วมกันแก้ไขเพิ่มเติมให้ได้ขอ้ มูลที่
ครบถ้วนที่สุด ในประเด็น แหล่งกาเนิดแสงและประเภทของ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ แหล่งกาเนิดแสง
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง ขั้นสรุป
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรูร้ ่วมกัน
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย เกี่ยวกับแหล่งกาเนิดแสง และประเภทของแหล่งกาเนิดแสง
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ

สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ บันทึกหลังสอน
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
...............................................................................
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ...............................................................................
2. เพลง รอบกองไฟ ...............................................................................
3. ภาพแหล่งกาเนิดแสงต่างๆ

การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10) ลงชื่อ


(.......................................................)
K P A ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง แหล่งกาเนิดแสง : 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ว 2.3 ป.2/1 ขั้นนา
1. ครูทบทวนความรู้ที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมา โดยการถาม
จุดประสงค์การเรียนรู้ คาถามนักเรียน แล้วสุ่มนักเรียนตอบ
1. ระบุประเภทของแหล่งกาเนิดแสงได้ (K) ขั้นกิจกรรม
2. เขียนแผนภาพความคิดประเภทของแหล่งกาเนิด 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน สารวจ แหล่งกาเนิด
แสง อย่างรวมพลัง ด้วยความใฝ่รู้ได้ (P) แสงในท้องถิ่น จัดจาแนกประเภทแหล่งกาเนิดแสง แล้ว
3. จัดจาแนกประเภทของแหล่งกาเนิดแสงได้ (P) ออกแบบ และเขียนเป็นแผนภาพความคิด จัดทาเป็นชิ้นงาน
4. มีความใฝ่รู้ (A)
สาระการเรียนรู้
แหล่งกาเนิดแสง หมายถึง แหล่งที่มีแสงสว่าง
ออกมา แหล่งกาเนิดแสง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ
แหล่งกาเนิดแสงตามธรรมชาติ และแหล่งกาเนิด
แสงที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น

สมรรถนะสาคัญ
● การสื่อสาร ●การคิด ○ การแก้ปัญหา ขั้นสรุป
● ทักษะชีวิต ● การใช้เทคโนโลยี 3. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
แหล่งกาเนิดแสง หมายถึง แหล่งที่มีแสงสว่างออกมา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ แหล่งกาเนิดแสง แบ่งเป็น 2 ประเภท คือ แหล่งกาเนิดแสง
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
ตามธรรมชาติ และแหล่งกาเนิดแสงที่มนุษย์ประดิษฐ์ขึ้น
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ บันทึกหลังสอน
...............................................................................
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ ...............................................................................
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
...............................................................................
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10) ลงชื่อ


(.......................................................)
K P A ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง : 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ว 2.3 ป.2/2 ขั้นนา
1. นักเรียนทบทวนประสบการณ์เดิมเกี่ยวกับแหล่งกาเนิด
จุดประสงค์การเรียนรู้ แสง แล้วร่วมกันตอบคาถามสาคัญกระตุ้นความคิด ดังนี้
1. อธิบายการมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสงได้ (K) 1.1 เรามองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสงได้อย่างไร
2. ปฏิบัติกิจกรรม การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง (การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง ต้องมีแสงจาก
อย่างรวมพลังด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจได้ (P) แหล่งกาเนิดแสงไปกระทบวัตถุแล้วสะท้อนเข้าตา)
3. มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ (A) ขั้นกิจกรรม
สาระการเรียนรู้ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังทากิจกรรมเรื่อง
การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง (ตอนที่ 1) และ
การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง ต้องอาศัยแสง
จากแหล่งกาเนิดกระทบสิ่งนั้นแล้วสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตา ส่วน
บันทึกผลการทากิจกรรมในใบงาน
การมองเห็นวัตถุที่เป็นแหล่งกาเนิดแสง แสงจากแหล่งกาเนิด ขั้นสรุป
นั้นต้องเคลื่อนที่มาถึงนัยน์ตา 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมและ
สรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการมองวัตถุที่
สมรรถนะสาคัญ
ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสงว่า เมื่อใช้นิ้วมือจับและปิดรูด้านข้าง
● การสื่อสาร ●การคิด ● การแก้ปัญหา ของแกนกระดาษชาระก้มมองเหรียญผ่านช่องแกนกระดาษ
● ทักษะชีวิต ○ การใช้เทคโนโลยี ชาระจะมองไม่เห็นเหรียญ แต่ถ้าไม่ปิดรูด้านข้างของแกน
กระดาษชาระจะทาให้แสงกระทบกับเหรียญแล้วสะท้อน
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
เข้าตา ทาให้มองเห็นเหรียญ
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ

สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้
บันทึกหลังสอน
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ...............................................................................
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ...............................................................................
2. อุปกรณ์การทดลอง ...............................................................................
3. ใบงานเเรื่อง การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่
แหล่งกาเนิดแสง (ตอนที่ 1)
ลงชื่อ
การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10) (.......................................................)
K P A ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง : 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ว 2.3 ป.2/2 ขั้นนา
1. ครูทบทวนความรู้ที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมา โดยการถาม
จุดประสงค์การเรียนรู้ คาถามนักเรียน แล้วสุ่มนักเรียนตอบ
ขั้นกิจกรรม
1. อธิบายการมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังทากิจกรรมเรื่อง
ได้ (K) การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง (ตอนที่ 2) และ
2. ปฏิบัติกิจกรรม การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่ บันทึกผลการทากิจกรรมในใบงาน
แหล่งกาเนิดแสง อย่างรวมพลัง ด้วยความมุ่งมั่นและ ขั้นสรุป
ตั้งใจได้ (P) 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมและ
3. มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ (A) สรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการมองวัตถุที่
ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสงว่า วัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง เมื่อมี
สาระการเรียนรู้
แสงมากระทบแล้ว
การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง ต้อง สะท้อนเข้านัยน์ตา เราจะสามารถมองเห็นวัตถุเหล่านั้นได้
อาศัยแสงจากแหล่งกาเนิดกระทบสิ่งนั้นแล้วสะท้อน
เข้าสู่นัยน์ตา ส่วนการมองเห็นวัตถุที่เป็นแหล่งกาเนิด
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้
แสง แสงจากแหล่งกาเนิดนั้นต้องเคลื่อนที่มาถึง
นัยน์ตา 1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. อุปกรณ์การทดลอง
สมรรถนะสาคัญ
3. ใบงาน เรื่อง การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่
● การสื่อสาร ●การคิด ● การแก้ปัญหา แหล่งกาเนิดแสง (ตอนที่ 2)
● ทักษะชีวิต ○ การใช้เทคโนโลยี

คุณลักษณะอันพึงประสงค์ บันทึกหลังสอน
...............................................................................
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
...............................................................................
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย
...............................................................................
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ

ลงชื่อ
การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10) (.......................................................)
K P A ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง : 3 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ว 2.3 ป.2/2 ขั้นนา
1. ครูทบทวนความรู้ที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมา โดยการถามคาถาม
นักเรียน แล้วสุ่มนักเรียนตอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้ ขั้นกิจกรรม
1. อธิบายการมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสงได้ (K) 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน สารวจ และเขียนอธิบายการ
2. วาดภาพและระบายสี การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่ มองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสงที่สนใจ และยกตัวอย่าง
แหล่งกาเนิดแสง อย่างรวมพลัง ด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจได้ (P) สนับสนุนการอธิบาย พร้อมวาดภาพและระบายสีประกอบจัดทาเป็น
3. มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ (A) ชิ้นงาน

สาระการเรียนรู้
การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง ต้องอาศัยแสง
จากแหล่งกาเนิดกระทบสิ่งนั้นแล้วสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตา ส่วน
การมองเห็นวัตถุที่เป็นแหล่งกาเนิดแสง แสงจากแหล่งกาเนิด
นั้นต้องเคลื่อนที่มาถึงนัยน์ตา
ขั้นสรุป
สมรรถนะสาคัญ 3. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้รว่ มกัน ดังนี้การ
มองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง ต้องอาศัยแสงจากแหล่งกาเนิด
● การสื่อสาร ●การคิด ● การแก้ปัญหา
กระทบสิ่งนั้นแล้วสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตา ส่วนการมองเห็นวัตถุที่เป็น
● ทักษะชีวิต ○ การใช้เทคโนโลยี
แหล่งกาเนิดแสง แสงจากแหล่งกาเนิดนั้นต้องเคลื่อนที่มาถึงนัยน์ตา
4. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาพูดและนาเสนอภาพวาดและ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ ระบายสี การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง หน้าชั้นเรียน เพื่อ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เพื่อน ๆ ร่วมกันตรวจสอบและแก้ไข
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
ให้ถูกต้อง
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย 5. นักเรียนร่วมกันคัดเลือกผลงานที่ดีเด่นจัดทาเป็นนิทรรศการ เพื่อ
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ เป็นแหล่งการเรียนรู้ให้นักเรียนชั้นอื่น ๆ

สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ บันทึกหลังสอน
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ...............................................................................
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ...............................................................................

ลงชื่อ
การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10)
(.......................................................)
K P A ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง การมองเห็นวัตถุ : 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ว 2.3 ป.2/1 ว 2.3 ป.2/2 ขั้นนา
1. นักเรียนสังเกตสื่อวิทยาศาสตร์ แบบจาลอง นัยน์ตา แล้ว
จุดประสงค์การเรียนรู้ ร่วมกันสนทนา และตอบคาถามสาคัญกระตุน้ ความคิด ดังนี้
1. อธิบายการมองเห็นวัตถุเมื่อมีแสงได้ (K) 1.1 ส่วนประกอบของนัยน์ตาที่สาคัญที่รจู้ ักมีอะไรบ้าง ทา
2. ปฏิบัติกิจกรรม การมองเห็นวัตถุ อย่างรวมพลัง ด้วย หน้าที่อะไร
ความใฝ่รู้ได้ (P) 1.2 เราสามารถมองเห็นวัตถุได้อย่างไร
3. เสนอแนะแนวทางการป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุ ขั้นกิจกรรม
ที่อยู่ในบริเวณที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสมได้ (P) 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังทากิจกรรม เรื่อง
4. มีความใฝ่รู้ (A) การมองเห็นวัตถุ และบันทึกผลการทากิจกรรม ในใบงาน
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวิเคราะห์ และอภิปรายผลการ
สาระการเรียนรู้ ทากิจกรรม โดยร่วมกันตอบคาถาม ดังนี้
การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง ต้องอาศัยแสง 3.1 การมองผ่านรูของกล่องกระดาษใบที่ 1 ผลการสังเกตเป็น
จากแหล่งกาเนิดกระทบสิ่งนั้นแล้วสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตา ส่วน เช่นไร เพราะเหตุใด
การมองเห็นวัตถุที่เป็นแหล่งกาเนิดแสง แสงจากแหล่งกาเนิด 3.2 การมองผ่านรูของกล่องกระดาษใบที่ 2 ผลการสังเกตเป็น
นั้นต้องเคลื่อนที่มาถึงนัยน์ตา เช่นไร เพราะเหตุใด
3.3 เมื่อเปิดไฟฉาย แล้วนาไปใส่ในกล่องใบที่ 1 แล้วมองผ่าน
สมรรถนะสาคัญ รูของกล่องกระดาษผลการสังเกตเป็นเช่นไร เพราะเหตุใด
3.4 สรุปผลการทดลองได้ว่าอย่างไร
● การสื่อสาร ●การคิด ● การแก้ปัญหา
ขั้นสรุป
● ทักษะชีวิต ● การใช้เทคโนโลยี
4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมและสรุป
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ สิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันเกี่ยวกับการมองเห็นวัตถุว่า วัตถุ
สามารถมองเห็นได้เมื่อมีแสงจากแหล่งกาเนิดแสงกระทบวัตถุ
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
แล้วสะท้อนเข้านัยน์ตา
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ
บันทึกหลังสอน
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ ...............................................................................
...............................................................................
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
...............................................................................
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
2. แบบจาลองนัยน์ตา
3. ใบงาน เรื่อง การมองเห็นวัตถุ
ลงชื่อ
การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10) (.......................................................)
ครูผู้สอน
K P A
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง การมองเห็นวัตถุ : 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ว 2.3 ป.2/1 ว 2.3 ป.2/2 ขั้นนา
1. ครูทบทวนความรู้ที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมา โดยการถามคาถาม
จุดประสงค์การเรียนรู้ นักเรียน แล้วสุ่มนักเรียนตอบ
ขั้นกิจกรรม
1. อธิบายการมองเห็นวัตถุเมื่อมีแสงได้ (K) 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน สืบสอบข้อมูลจากแหล่งการ
2. เขียนแผนภาพความคิด การมองเห็นวัตถุ อย่าง เรียนรู้ที่หลากหลายออกแบบ และเขียนแผนภาพความคิด การ
รวมพลัง ด้วยความใฝ่รู้ได้ (P) มองเห็นวัตถุ จัดทาเป็นชิ้นงาน
3. มีความใฝ่รู้ (A)

สาระการเรียนรู้
การมองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง ต้อง
อาศัยแสงจากแหล่งกาเนิดกระทบสิ่งนั้นแล้วสะท้อน
เข้าสู่นัยน์ตา ส่วนการมองเห็นวัตถุที่เป็นแหล่งกาเนิด ขั้นสรุป
แสง แสงจากแหล่งกาเนิดนั้นต้องเคลื่อนที่มาถึง 3. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้รว่ มกัน ดังนี้ การ
นัยน์ตา มองเห็นวัตถุที่ไม่ใช่แหล่งกาเนิดแสง ต้องอาศัยแสงจาก
แหล่งกาเนิดกระทบสิ่งนั้นแล้วสะท้อนเข้าสู่นัยน์ตา ส่วนการ
สมรรถนะสาคัญ มองเห็นวัตถุที่เป็นแหล่งกาเนิดแสง แสงจากแหล่งกาเนิดนั้นต้อง
เคลื่อนที่มาถึงนัยน์ตา
● การสื่อสาร ●การคิด ● การแก้ปัญหา
4. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาพูดและนาเสนอแผนภาพ
● ทักษะชีวิต ● การใช้เทคโนโลยี
ความคิด การมองเห็นวัตถุ หน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน
เพื่อน ๆ ร่วมกันตรวจสอบและแก้ไขให้ถูกต้อง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5. นักเรียนร่วมกันคัดเลือกผลงานที่ดีเด่นจัดทาเป็นนิทรรศการ
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
หรือจัดแสดงผลงาน หรือเผยแพร่ในเว็บไซต์ หรือเฟซบุ๊ก
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน (facebook) ของโรงเรียน เพื่อเป็นแหล่งการเรียนรู้ให้นักเรียนชั้น
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย อื่น ๆ
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ
บันทึกหลังสอน
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ ...............................................................................
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ...............................................................................
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)

การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10) ลงชื่อ


(.......................................................)
K P A ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง ปิดตาหาทางออก : 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ว 2.3 ป.2/2 ขั้นนา
1. นักเรียนจับคู่กับเพื่อน ทดลองปิดตาตนเอง แล้วบอกสิ่ง
จุดประสงค์การเรียนรู้ ที่เห็นและความรู้สึกกับเพื่อนแล้วร่วมกันตอบคาถามสาคัญ
1. บอกแนวทางการป้องกันอันตรายที่เกิดกับ กระตุ้นความคิด ดังนี้
นัยน์ตาได้ (K) 1.1 จะเกิดอะไรขึ้น ถ้าเรามองไม่เห็นสิ่งต่าง ๆ รอบตัว
2. ปฏิบัติกิจกรรม ปิดตาหาทางออก อย่างรวมพลัง (ตัวอย่างคาตอบ ทาให้เราเดินไม่ตรงทาง หยิบจับสิ่งของ
ด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจได้ (P) ผิด หรืออาจเกิดอุบัติเหตุได้เพราะมองไม่เห็นสิ่งต่าง ๆ
3. ตระหนักในคุณค่าของความรู้ของการมองเห็นได้ รอบตัว)
(A) ขั้นกิจกรรม
4. มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ (A) 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังทากิจกรรมรื่อง
ปิดตาหาทางออก (ตอนที่ 1) และบันทึกผลการทากิจกรรม
สาระการเรียนรู้ ในใบงาน
นัยน์ตาที่เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการมองเห็น จะ ขั้นสรุป
ทาให้การทางานหรือการใช้ชีวิตประจาวันมีความลาบาก 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมและ
มากขึ้น และอาจทาให้เกิดอุบัติเหตุได้ เราจึงต้องดูแล สรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันว่า แสงช่วยให้เรา
รักษาและถนอมนัยน์ตา เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาขึ้น มองเห็นสิ่งต่าง ๆ รอบตัว เมื่อแสงกระทบกับวัตถุแล้ว
สะท้อนเข้าตา จะทาให้เรามองเห็นสิ่งต่าง ๆ รอบตัวได้
สมรรถนะสาคัญ ชัดเจน
● การสื่อสาร ●การคิด ● การแก้ปัญหา
● ทักษะชีวิต ○ การใช้เทคโนโลยี การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10)
K P A
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
บันทึกหลังสอน
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย
...............................................................................
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ ...............................................................................
...............................................................................
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) ลงชื่อ
2. อุปกรณ์การทดลอง (.......................................................)
3. ใบงาน เรื่อง ปิดตาหาทางออก (ตอนที่ 1) ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง ปิดตาหาทางออก : 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ว 2.3 ป.2/2 ขั้นนา
1. ครูทบทวนความรู้ที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมา โดยการ
จุดประสงค์การเรียนรู้ ถามคาถามนักเรียน แล้วสุ่มนักเรียนตอบ
1. บอกแนวทางการป้องกันอันตรายที่เกิดกับ ขั้นกิจกรรม
นัยน์ตาได้ (K) 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน ออกแบบ และ
2. ปฏิบัติกิจกรรม ปิดตาหาทางออก อย่างรวมพลัง แข่งขันปฏิบัติกิจกรรม ปิดตาหาทางออก
ด้วยความมุ่งมั่นและตั้งใจได้ (P) (ตอนที่ 1) ที่ใช้เวลาในการเดินไปยังจุดหมายน้อยที่สุด
3. ตระหนักในคุณค่าของความรู้ของการมองเห็นได้ ขั้นสรุป
(A) 3. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกัน ดังนี้
4. มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ (A) นัยน์ตาที่เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการมองเห็น จะทาให้
การทางานหรือการใช้ชีวิตประจาวันมีความลาบากมาก
สาระการเรียนรู้ ขึ้น และอาจทาให้เกิดอุบัติเหตุได้ เราจึงต้องดูแลรักษา
และถนอมนัยน์ตา เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาขึ้น
นัยน์ตาที่เกิดความผิดปกติเกี่ยวกับการมองเห็น จะ
4. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาพูดและนาเสนอ
ทาให้การทางานหรือการใช้ชีวิตประจาวันมีความลาบาก
วิธีการที่ทาให้การแข่งขันชนะ ซึ่งใช้เวลาในการเดินไปยัง
มากขึ้น และอาจทาให้เกิดอุบัติเหตุได้ เราจึงต้องดูแล
จุดหมายน้อยที่สุด หน้าชั้นเรียน เพื่อแลกเปลี่ยนเรียนรู้
รักษาและถนอมนัยน์ตา เพื่อไม่ให้เกิดปัญหาขึ้น
กัน
สมรรถนะสาคัญ
5. นักเรียนนากิจกรรมดังกล่าวไปเล่นกับเพื่อนในชุมชน
การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10)
● การสื่อสาร ●การคิด ● การแก้ปัญหา
● ทักษะชีวิต ○ การใช้เทคโนโลยี K P A

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
บันทึกหลังสอน
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
...............................................................................
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย
...............................................................................
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ ...............................................................................
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
ลงชื่อ
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
(.......................................................)
2. อุปกรณ์การทดลอง ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง การป้องกันและดูแลรักษานัยน์ตา : 1 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ว 2.3 ป.2/2 ขั้นนา
1. นักเรียนร่วมกันสนทนาทบทวนความรู้เกี่ยวกับอันตรายที่
จุดประสงค์การเรียนรู้ อาจเกิดขึ้นกับนัยน์ตา และวิธีการดูแลรักษานัยน์ตา โดย
ร่วมกันตอบคาถามสาคัญกระตุ้นความคิด ดังนี้
1.บอกแนวทางการป้องกันอันตรายที่เกิดกับนัยน์ตาได้ 1.1 อันตรายที่อาจเกิดขึ้นกับนัยน์ตามีอะไรบ้าง
(K) (ตัวอย่างคาตอบ ตาพร่ามัวจากการจ้องคอมพิวเตอร์นาน หรือ
2.ปฏิบัติกิจกรรม ปิดตาหาทางออก อย่างรวมพลัง ด้วย แสบตาจากการมองหลอดไฟฟ้าที่มีแสงสว่างมากเกินไป หรือ
ความมุ่งมั่นและตั้งใจได้ (P) เคืองนัยน์ตาจากฝุ่นละอองปลิวเข้าตา)
3.ตระหนักในคุณค่าของความรู้ของการมองเห็นได้ (A) 1.2 นักเรียนมีวิธีการป้องกันและดูแลรักษานัยน์ตาอย่างไร
4.มีความมุ่งมั่นและตั้งใจ (A) (ตัวอย่างคาตอบ ใส่แว่นตากรองแสงหรือแว่นตากันแดด เมื่อยู่
ในที่ที่มีแสงสว่างมากเกินไป)
สาระการเรียนรู้ ขั้นกิจกรรม
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลังทากิจกรรม เรื่อง
ถ้ามีแสงสว่างมาก ๆ เข้าสู่ตาอาจเกิดอันตรายต่อ
ปิดตาหาทางออก (ตอนที่ 2) และบันทึกผลการทากิจกรรม ใน
ตาได้ จึงต้องหลีกเลี่ยงการมองหรือใช้แผ่นกรองแสง
ใบงาน
ที่มีคุณภาพเมื่อจาเป็น และต้องจัดความสว่างให้
ขั้นสรุป
เหมาะสมกับการทากิจกรรมต่าง ๆ 3. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปผลการทากิจกรรมและสรุป
สิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้ร่วมกันว่า นัยน์ตาของเรามีความสาคัญ
สมรรถนะสาคัญ
ต่อการมองเห็น ดังนั้น เราควรดูแลรักษานัยน์ตาเพื่อไม่ให้
● การสื่อสาร ●การคิด ● การแก้ปัญหา นัยน์ตาเสื่อมสภาพลงจนมองไม่เห็นสิ่งต่าง ๆ รอบตัว จะทาให้
● ทักษะชีวิต ● การใช้เทคโนโลยี เราเดินทางไม่สะดวก
การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10)
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
K P A
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ บันทึกหลังสอน
...............................................................................
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ ...............................................................................
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ลงชื่อ
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) (.......................................................)
2. อุปกรณ์การทดลอง ครูผู้สอน
3. ใบงานเรื่อง ปิดตาหาทางออก (ตอนที่ 2)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง การป้องกันและดูแลรักษานัยน์ตา : 2 ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่........เดือน......................พ.ศ. ........... ผู้สอน .................................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้

ว 2.3 ป.2/2 ขั้นนา


1. ครูทบทวนความรู้ที่เรียนในชั่วโมงที่ผ่านมา โดยการถามคาถาม
นักเรียน แล้วสุ่มนักเรียนตอบ
จุดประสงค์การเรียนรู้ ขั้นกิจกรรม
1. บอกแนวทางการป้องกันอันตรายที่เกิดกับ 2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน สืบสอบข้อมูลเกี่ยวกับวิธีการ
นัยน์ตาได้ (K) ป้องกันและดูแลรักษานัยน์ตา จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ออกแบบ และเขียนแผนภาพความคิด วิธีการป้องกันและดูแลรักษา
2. เขียนแผนภาพความคิด วิธีการป้องกันและดูแล
นัยน์ตา จัดทาเป็นชิ้นงาน
รักษานัยน์ตา อย่างรวมพลัง ด้วยความมุ่งมั่นได้ (P)
3.ตระหนักในคุณค่าของความรู้ของการมองเห็นได้ (A)
4. มีความมุ่งมั่น (A)

สาระการเรียนรู้
ถ้ามีแสงสว่างมาก ๆ เข้าสู่ตาอาจเกิดอันตรายต่อ
ตาได้ จึงต้องหลีกเลี่ยงการมองหรือใช้แผ่นกรองแสง
ที่มีคุณภาพเมื่อจาเป็น และต้องจัดความสว่างให้ ขั้นสรุป
เหมาะสมกับการทากิจกรรมต่าง ๆ 3. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้รว่ มกัน ดังนี้ ถ้ามีแสง
สว่างมาก ๆ เข้าสู่ตาอาจเกิดอันตรายต่อตาได้ จึงต้องหลีกเลี่ยงการ
สมรรถนะสาคัญ มองหรือใช้แผ่นกรองแสงที่มีคุณภาพเมื่อจาเป็น และต้องจัดความ
สว่างให้เหมาะสมกับการทากิจกรรมต่าง ๆ
● การสื่อสาร ●การคิด ● การแก้ปัญหา 4. ผู้แทนนักเรียนแต่ละกลุ่มออกมาพูดและนาเสนอแผนภาพ
● ทักษะชีวิต ● การใช้เทคโนโลยี ความคิด วิธีการป้องกันและดูแลรักษานัยน์ตา หน้าชั้นเรียน เพื่อ
แลกเปลี่ยนเรียนรู้กัน เพื่อน ๆ ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10)
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
K P A
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ บันทึกหลังสอน
...............................................................................
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้
...............................................................................

1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2 ลงชื่อ


ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.) (.......................................................)
ครูผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
รหัสวิชา ว 12101 กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
หน่วยการเรียนรู้ที่ 5 แสงและการมองเห็น ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
เรื่อง แนวทางการป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุที่อยู่ในบริเวณที่มี ภาคเรียนที่ 2 เวลา 1 ชั่วโมง
แสงสว่างไม่เหมาะสม วันที่......เดือน...................พ.ศ. ........ ผู้สอน .............................................

มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด การจัดกิจกรรมการเรียนรู้


ว 2.3 ป.2/2 ขั้นนา
1. นักเรียนสังเกตภาพ ส่วนประกอบของนัยน์ตา หรือสื่อวิทยาศาสตร์
จุดประสงค์การเรียนรู้ แบบจาลองนัยน์ตา ร่วมกันสนทนาทบทวนความรู้เกี่ยวกับแนว
ทางการป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุที่อยู่ในบริเวณ
1. บอกแนวทางการป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุที่อยู่
ที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสม โดยร่วมกันตอบคาถามสาคัญกระตุน้
ในบริเวณที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสมได้ (K)
ความคิด ดังนี้
2. สืบสอบข้อมูลเกี่ยวกับแนวทางการป้องกันอันตรายจาก
1.1 การป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุที่อยู่ในบริเวณที่มีแสงสว่าง
การมองวัตถุที่อยู่ในบริเวณที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสม อย่างรวม
ไม่เหมาะสมมีแนวทางอย่างไร
พลัง ด้วยความใฝ่รู้ได้ (P)
ขั้นกิจกรรม
3. มีความใฝ่รู้ (A)
2. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันอย่างรวมพลัง ศึกษา สืบสอบข้อมูล
สาระการเรียนรู้ เกี่ยวกับ แนวทางการป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุที่อยู่ในบริเวณ
ที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสม จากแหล่งการเรียนรู้ที่หลากหลาย
ถ้ามีแสงสว่างมาก ๆ เข้าสู่ตาอาจเกิดอันตรายต่อตาได้
พร้อมทั้งออกแบบการนาเสนอผลการสืบสอบให้อยู่ในแบบที่น่าสนใจ
จึงต้องหลีกเลี่ยงการมองหรือใช้แผ่นกรองแสง
3. นักเรียนแต่ละกลุ่มนาข้อมูลที่ได้มาวิเคราะห์ เปรียบเทียบว่าอะไร
ที่มีคุณภาพเมื่อจาเป็น และต้องจัดความสว่างให้
ที่เหมือนหรือแตกต่างกันร่วมกันแก้ไขเพิ่มเติมให้ได้ข้อมูลที่ครบถ้วน
เหมาะสมกับการทากิจกรรมต่าง ๆ
ที่สุด ในประเด็น แนวทางการป้องกันอันตรายจากการมอง
สมรรถนะสาคัญ วัตถุที่อยู่ในบริเวณที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสม
ขั้นสรุป
● การสื่อสาร ●การคิด ○ การแก้ปัญหา 4. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรูร้ ่วมกัน
● ทักษะชีวิต ● การใช้เทคโนโลยี เกี่ยวกับแนวทางการป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุที่อยู่ในบริเวณ
ที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสม
คุณลักษณะอันพึงประสงค์ 5. นักเรียนแต่ละกลุ่มร่วมกันวางแผน ออกแบบ และวาดภาพและ
ระบายสี แนวทางการป้องกันอันตรายจากการมองวัตถุที่อยู่ในบริเวณ
○ รักชาติ ศาสน์ กษัตริย์ ○ อยู่อย่างพอเพียง
○ ซื่อสัตย์สุจริต ● มุ่งมั่นในการทางาน
ที่มีแสงสว่างไม่เหมาะสม ในกระดาษฟลิปชาร์ต
○ มีวินัย ○ รักความเป็นไทย 6. นักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่เข้าใจเป็นความรู้รว่ มกัน ดังนี้ ถ้ามีแสง
● ใฝ่เรียนรู้ ○ มีจิตสาธารณะ สว่างมาก ๆ เข้าสู่ตาอาจเกิดอันตรายต่อตาได้ จึงต้องหลีกเลี่ยงการ
มองหรือใช้แผ่นกรองแสงที่มีคุณภาพเมื่อจาเป็น และต้องจัดความ
สื่อ/อุปกรณ์/แหล่งเรียนรู้ สว่างให้เหมาะสมกับการทากิจกรรมต่าง ๆ
1. หนังสือเรียนวิทยาศาสตร์ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 2
บันทึกหลังสอน
ของสถาบันพัฒนาคุณภาพวิชาการ (พว.)
...............................................................................
2. ภาพส่วนประกอบของนัยน์ตาแบบจาลองนัยน์ตา
...............................................................................
การวัดและประเมิน (คะแนนเต็ม 10)
ลงชื่อ
K P A (.......................................................) ครูผู้สอน

You might also like