You are on page 1of 15

หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ

เคลื่อนที่ของวัตถุ

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัส
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4
ระยะเวลา 2 ชั่วโมง
กลุ่มสาระการเรียนรู้วิทยาศาสตร์และเทคโนโลยี
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ 3
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ว 2.2 ป.3/2 เปรียบเทียบและยกตัวอย่างแรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสที่มี
ผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ โดยใช้หลักฐานเชิงประจักษ์

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) อธิบายการเกิดแรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสได้ (K)
2) สามารถระบุแรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของ
วัตถุได้ (P)
3) มีความสนใจใฝ่ เรียนรู้ และสามารถทำงานร่วมกับผู้อื่นได้ (A)

3. สาระการเรียนรู้
การดึงหรือการผลักเป็ นการออกแรงที่เกิดจากวัตถุหนึ่งกระทำกับอีกวัตถุ
หนึ่ง โดยวัตถุทั้งสองอาจสัมผัสหรือไม่ต้องสัมผัสกัน เช่น การออกแรงโดยใช้
มือดึงหรือการผลักโต๊ะให้เคลื่อนที่เป็ นการออกแรงที่วัตถุต้องสัมผัสกัน แรง
นี้จึงเป็ นแรงสัมผัส ส่วนการที่แม่เหล็กดึงดูดหรือผลักระหว่างแม่เหล็กเป็ น
แรงที่เกิดขึ้นโดยแม่เหล็ก ไม่จำเป็ นต้องสัมผัสกัน แรงแม่เหล็กนี้จึงเป็ น
แรงไม่สัมผัส

200
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
วัตถุที่หยุดนิ่งจะเคลื่อนที่ และวัตถุที่กำลังเคลื่อนที่จะเคลื่อนที่เร็วขึ้น
หรือช้าลงหรือเปลี่ยนทิศทางการเคลื่อนที่ล้วนเป็ นผลมาจากแรงกระทำต่อ
วัตถุ ซึ่งแรงที่มากระทำต่อวัตถุอาจเป็ นแรงที่สัมผัสกับวัตถุหรือแรงที่ ไม่
สัมผัสกับวัตถุ

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน ทักษะกระบวนการทาง
วิทยาศาสตร์และคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้ ทักษะกระบวนการ คุณลักษณะอันพึง
เรียน ทางวิทยาศาสตร์ ประสงค์
1)ความสามารถในการ 1)ทักษะการสังเกต 1)มีวินัย
สื่อสาร 2)ทักษะการจำแนก 2)ใฝ่ เรียนรู้
2)ความสามารถในการ ประเภท 3)มุ่งมั่นในการทำงาน
คิด 3)ทักษะการตั้ง
3)ความสามารถในการ สมมติฐาน
แก้ปั ญหา 4)ทักษะการลงความ
เห็นจากข้อมูล
5)ทักษะการจัดกระทำ
และ
การสื่อความหมาย
ข้อมูล

201
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

6. กิจกรรมการเรียนรู้
 แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : แบบสืบเสาะหาความรู้
(5Es Instructional Model)
ชั่วโมงที่ 1
ขั้นนำ
สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
ขั้นกระตุ้นความสนใจ
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนและแจ้งจุด
ประสงค์การเรียนรู้ที่จะเรียนในชั่วโมงนี้
2. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียน โดยนำ - ทักษะ - สังเกต
ตัวอย่างภาพที่ออกแรงกระทำต่อวัตถุ การ พฤติกรร
ทำให้วัตถุเคลื่อนที่ และนักเรียนร่วมกัน วิเคราะห์ ม การ
ตอบคำถาม ดังนี้ ทำงาน
ราย
บุคคล

 นักเรียนคิดว่า ทั้ง 2 ภาพวัตถุมีการ


เคลื่อนที่หรือไม่
(แนวคำตอบ ทั้ง 2 ภาพวัตถุมีการ
เคลื่อนที่ เนื่องจากมีแรงกระทำต่อวัตถุ
โดยภาพที่ 1 เป็ นการออกแรงตีลูก
ปิ งปอง ภาพที่ 2 เป็ นแรงโน้มถ่วงของ

202
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
โลกดึงดูดทำให้ดาวเทียมโคจรรอบโลก)
3. ครูแบ่งกลุ่มนักเรียนกลุ่มละ 4-5 คน จาก - ทักษะ - สังเกต
นั้นแจกแม่เหล็กกลุ่มละ 2 แท่ง และ การ พฤติกรร
กระดาษ 1 แผ่น โดยมีขั้นตอน ดังนี้ วิเคราะห์ ม การ
1) วางแม่เหล็กไว้บนโต๊ะ ใช้กระดาษขั้น - ทักษะการ ทำงาน
กลางระหว่างแท่งแม่เหล็ก แล้วหันขั้ว สื่อสาร กลุ่ม
ที่เหมือนกันเข้าใกล้กัน - ทักษะการ
2) วางแม่เหล็กไว้บนโต๊ะ ใช้กระดาษขั้น สำรวจ
กลางระหว่างแท่งแม่เหล็ก แล้วหันขั้ว ค้นหา
ต่างกันเข้าใกล้กัน - ทักษะการ
3) สังเกตการเคลื่อนที่ของแม่เหล็ก ทำงานร่วม
กัน
4. ครูลากเก้าอี้จากหน้าห้องไปยังหลังห้อง - ทักษะ - เก้าอี้ - สังเกต
แล้วถามนักเรียนโดยใช้คำถาม ดังนี้ การ พฤติกรร
 การที่ครูออกแรงกระทำกับเก้าอี้ วิเคราะห์ ม การ
แรงดึงดูดของแม่เหล็ก และการที่ ทำงาน
ปากกา ดินสอตกลงสู่พื้น ทำให้วัตถุเกิด ราย
การเปลี่ยนแปลง ลักษณะของแรงที่ บุคคล
กระทำต่อวัตถุแตกต่างกันหรือไม่
อย่างไร
(แนวคำตอบ แตกต่างกัน เนื่องจาก
การที่ครูออกแรงลากเก้าอี้ เป็ นการ
ออกแรงที่วัตถุทั้ง 2 ชนิด สัมผัสกัน แต่
แรงดึงดูดแม่เหล็กและปากกา ดินสอ

203
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
ตกลงสู่พื้น แรงวัตถุทั้ง 2 ชนิด ไม่สัมผัส
กัน)

ขั้นสอน

สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
ขั้นสำรวจค้นหา
1. ครูให้นักเรียนสรุปสาระสำคัญ ประจำเรื่อง - ทักษะ - หนังสือ - สังเกต
ที่ 2 ในหนังสือเรียน ชุดแม่บทมาตรฐาน การ เรียน ชุด พฤติกรร
วิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 102 วิเคราะห์ แม่บท ม การ
มาตรฐาน ทำงาน
วิทยาศาส ราย
ตร์ ป.3 บุคคล
หน้า 102
2. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มสืบค้นข้อมูล - ทักษะ - สังเกต
เกี่ยวกับตัวอย่างของ แรงสัมผัสและ การสำรวจ พฤติกรร
แรงไม่สัมผัส โดยทำลงในกระดาษ A4 ค้นหา ม การ
และครูสุ่มตัวแทน 3-4 คน ออกมานำ ทำงาน
เสนอหน้าชั้นเรียน ราย
บุคคล
ขั้นอธิบายความรู้
1. ครูอธิบายเพิ่มเติมเกี่ยวกับแรงระหว่างแม่
เหล็ก เกิดจากแท่งแม่เหล็ก แบ่งเป็ น 2
กรณี คือ

204
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
1) แรงดึงดูด เกิดจากการวางแม่เหล็ก 2
แท่ง ที่มีขั้วต่างกันเข้าใกล้กัน
2) แรงผลัก เกิดจากการวางแม่เหล็ก 2
แท่ง ที่มีขั้วเหมือนกัน เข้าใกล้กัน
2. แรงไฟฟ้ าสถิต เกิดจากประจุไฟฟ้ า ซึ่งมี
2 ชนิด คือ ประจุบวก และประจุลบ
สามารถเกิดทั้งแรงผลักและแรงดึงดูด ดังนี้
1) แรงดึงดูด เกิดจากประจุไฟฟ้ าต่างกัน
เข้าใกล้กัน
2) แรงผลัก เกิดจากประจุไฟฟ้ าเหมือน
กันเข้าใกล้กัน
3. แรงโน้มถ่วงของโลก เกิดจากโลกมี
แรงดึงดูดวัตถุบนโลกและวัตถุที่อยู่ใกล้
หรือโคจรรอบโลกให้เข้าสู่จุดศูนย์กลาง
ของโลก

ชั่วโมงที่ 2

สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
ขั้นขยายความเข้าใจ
1. ครูให้นักเรียนดูบัตรภาพ และตั้งคำถาม - ทักษะ - บัตรภาพ - สังเกต
ว่า กิจกรรมในภาพเป็ น แรงสัมผัสหรือ การ พฤติกรร
แรงไม่สัมผัส และทำให้วัตถุเคลื่อนที่ได้ วิเคราะห์ ม การ
อย่างไร ทำงาน

205
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
ราย
บุคคล

ภาพที่ 1
ภาพที่ 2
2. ครูให้นักเรียนสำรวจกิจกรรมในชีวิต - ทักษะ - สมุด - สังเกต
ประจำวันที่มีการออกแรง แล้วทำให้วัตถุ การ บันทึก พฤติกรร
เคลื่อนที่ได้มา 10 กิจกรรม จากนั้นบันทึก วิเคราะห์ ประจำตัว ม การ
ผลตามตัวอย่างตารางลงในสมุดบันทึก นักเรียน ทำงาน
ประจำตัวนักเรียน ราย
บุคคล
กิจกรร ชนิดของแรง วัตถุเกิดการ
ม แรง เปลี่ยนแป
แรง
ผลั ลงการ
ดึง
ก เคลื่อนที่
บันทึกข้อมูลลงใน

3. ครูให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี้ลงใน - ทักษะ - สมุด -สังเกต


สมุดบันทึกประจำตัวนักเรียน การ บันทึก พฤติกรร
1) แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัสมีลักษณะ วิเคราะห์ ประจำตัว ม การ
เหมือนกันหรือไม่ อย่างไร นักเรียน ทำงาน
2) ยกตัวอย่างกิจกรรมในชีวิตประจำวันที่ ราย

206
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
ใช้แรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัส มาอย่าง บุคคล
ละ 2 กิจกรรม
3) ยกตัวอย่างแรงสัมผัสและแรงไม่สัมผัส
ที่มีผลต่อการเคลื่อนที่ของวัตถุ มา
อย่างละ 1 ตัวอย่าง พร้อมบอกว่า
วัตถุเกิดการเปลี่ยนแปลงการเคลื่อนที่
อย่างไร
4. ให้นักเรียนทำกิจกรรมพัฒนาทักษะการ - ทักษะ - หนังสือ -สังเกต
คิด ประจำเรื่องที่ 2 ในหนังสือเรียน การ เรียน ชุด พฤติกรร
ชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.3 วิเคราะห์ แม่บท ม การ
หน้า 103 มาตรฐาน ทำงาน
วิทยาศาส ราย
ตร์ ป.3 บุคคล
หน้า 103
5. นักเรียนทำแบบวัดผลสัมฤทธิ์ตามตัวชี้วัด - ทักษะ - หนังสือ -สังเกต
ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 หน้า 105 การ เรียน ชุด พฤติกรร
วิเคราะห์ แม่บท ม การ
มาตรฐาน ทำงาน
วิทยาศาส ราย
ตร์ ป.3 บุคคล
หน้า 105
6. ครูให้นักเรียนทำแบบทดสอบหลังเรียน - ทักษะการ - แบบ - ตรวจ
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 วิเคราะห์ ทดสอบ สอบตาม
หลังเรียน สภาพจริง

207
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 4

ขั้นประเมิน

สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
1. ครูตรวจสอบข้อสอบหลังเรียน หน่วยการ - ข้อสอบ - ตรวจ
เรียนรู้ที่ 4 เรื่อง แรงและการเปลี่ยนแปลง หลังเรียน สอบ
การเคลื่อนที่ของวัตถุ หน่วยการ ข้อสอบ
เรียนรู้ที่ 4 หลังเรียน
หน่วย
การเรียน
รู้ที่ 4
2. ครูตรวจสอบผลการทำงานกลุ่ม โดยการ - แบบ - ตรวจ
สังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม ประเมิน สอบผล
การแสดงความคิดเห็น การตอบคำถาม พฤติกรรม การ
และ การนำเสนองาน การทำงาน ทำงาน
กลุ่ม กลุ่ม
3. ครูตรวจสอบการสืบค้น เรื่อง ตัวอย่างแรง - แบบ - ตรวจ
สัมผัสและแรงไม่สัมผัส โดยการสังเกต ประเมิน สอบการ
พฤติกรรมการทำงานกลุ่ม การแสดงความ พฤติกรรม สืบค้น
คิดเห็น การตอบคำถาม การทำงาน เรื่อง
รายบุคคล ตัวอย่าง
แรงสัมผัส

208
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
และแรง
ไม่สัมผัส
4. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมในชีวิต - แบบ - ตรวจ
ประจำวันที่เกี่ยวกับการออกแรงในชีวิต ประเมิน สอบผล
ประจำวันโดยทำลงในสมุดจดบันทึก โดย พฤติกรรม การทำ
การสังเกตพฤติกรรมการทำงาน การแสดง การทำงาน กิจกรรม
ความคิดเห็น การตอบคำถาม รายบุคคล ในชีวิต
ประจำ
วันที่เกี่ยว
กับการ
ออกแรง
ในชีวิต
ประจำ
วัน
5. ครูตรวจสอบผลการทำกิจกรรมพัฒนา - หนังสือ - ตรวจ
ทักษะการคิดประจำเรื่อง ที่ 2 ในหนังสือ เรียน ชุด สอบผล
เรียนชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.3 แม่บท การทำ
หน้า 103 มาตรฐาน กิจกรรม
วิทยาศาส พัฒนา
ตร์ ป.3 ทักษะ
หน้า 103 การคิด
ประจำ
เรื่องที่ 2
6. ครูตรวจสอบผลการทำแบบวัดผลสัมฤทธิ์ - หนังสือ - ตรวจ

209
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

สื่อที่ใช้/ ประเมิน
กิจกรรมการเรียนรู้ ทักษะที่ใช้
อุปกรณ์ ผล
ตามตัวชี้วัด ประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 เรียน ชุด สอบผล
ในหนังสือเรียนชุดแม่บทมาตรฐาน แม่บท การทำ
วิทยาศาสตร์ ป.3 หน้า 105 มาตรฐาน แบบ
วิทยาศาส วัดผล
ตร์ ป.3 สัมฤทธิ์
หน้า 105 ตามตัวชี้
วัด
ประจำ
หน่วย
การเรียน
รู้ที่ 4

7. การวัดและประเมินผล
รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน
1)แบบทดสอบหลัง - ตรวจแบบ - แบบทดสอบ - ประเมินตาม

210
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน
เรียนหน่วยการ ทดสอบหลัง หลังเรียนหน่วย สภาพจริง
เรียนรู้ที่ 4 แรง เรียนหน่วยการ การเรียนรู้ที่ 4
และการ เรียนรู้ที่ 4 แรง แรงและการ
เปลี่ยนแปลงการ และการ เปลี่ยนแปลง
เคลื่อนที่ของวัตถุ เปลี่ยนแปลง การเคลื่อนที่
การเคลื่อนที่ ของวัตถุ
ของวัตถุ
2)การทำงานกลุ่ม - ตรวจสอบผล - แบบประเมิน - ร้อยละ 60
การทำงาน พฤติกรรมการ ผ่านเกณฑ์
กลุ่ม ทำงานกลุ่ม
3)การสืบค้น เรื่อง - ตรวจสอบการ - แบบประเมิน - ร้อยละ 60
ตัวอย่างแรง สืบค้นเรื่อง พฤติกรรมการ ผ่านเกณฑ์
สัมผัสและแรงไม่ ตัวอย่างแรง ทำงานราย
สัมผัส สัมผัสและแรง บุคคล
ไม่สัมผัส
4)กิจกรรมในชีวิต - ตรวจสอบผล - แบบประเมิน - ร้อยละ 60
ประจำวันที่เกี่ยว การทำกิจกรรม พฤติกรรมการ ผ่านเกณฑ์
กับการออกแรง ในชีวิตประจำ ทำงานราย
ในชีวิตประจำวัน วันที่เกี่ยวกับ บุคคล
การออกแรงใน
ชีวิตประจำวัน

211
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ


ประเมิน
5)การทำกิจกรรม - ตรวจสอบผล - หนังสือเรียนชุด - ร้อยละ 60
พัฒนาทักษะการ การทำกิจกรรม แม่บทมาตรฐาน ผ่านเกณฑ์
คิดประจำเรื่องที่ พัฒนาทักษะ วิทยาศาสตร์
2 การคิดประจำ ป.3
เรื่องที่ 2
6)การทำแบบ - ตรวจสอบผล - หนังสือเรียนชุด - ร้อยละ 60
วัดผลสัมฤทธิ์ การทำแบบ แม่บทมาตรฐาน ผ่านเกณฑ์
ตามตัวชี้วัด วัดผลสัมฤทธิ์ วิทยาศาสตร์
ตามตัวชี้วัด ป.3
7) คุณลักษณะ - สังเกตความมี - แบบประเมิน - ร้อยละ 60
อันพึงประสงค์ วินัย คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์
ใฝ่ เรียนรู้ และ อันพึงประสงค์
มุ่งมั่น
ในการทำงาน
หมายเหตุ : แบบสังเกตพฤติกรรมประเมินรายเทอม

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนชุดแม่บทมาตรฐาน วิทยาศาสตร์ ป.3

212
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

2) แบบทดสอบหลังเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ
8.2 แหล่งการเรียนรู้
-

213
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 แรงและการเปลี่ยนแปลงการ
เคลื่อนที่ของวัตถุ

แบบบันทึกหลังแผนการจัดการเรียนรู้

 ด้านความรู้

 ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

 ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

 ด้านความสามารถทางวิทยาศาสตร์

 ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่นหรือพฤติกรรมที่มีปั ญหาของนักเรียน


เป็ นรายบุคคล (ถ้ามี))

 ปั ญหา/อุปสรรค

 แนวทางการแก้ไข

ลงชื่อ..............................................ผู้บันทึก
(................................................)

ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ 214

ลงชื่อ................................................

You might also like