You are on page 1of 6

แผนการจัดการเรียนรู ้ (รายวิชาพืนฐาน)
กลุ่มสาระการเรียนรู ้วิทยาศาสตร ์ ้ั ม.4
ชน
ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา ว30102
ื้
รายวิชาเคมีพนฐาน ่
เรืองโครงสร ้างอะตอม
หน่ วยการเรียนรู ้ที่ 2 ่ั
จานวน 2 ชวโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู ้
มาตรฐาน ว 3.1
ตัวชีวั้ ด
ว 3.1 ม.4-6/1, 2, 3
2. สาระสาค ัญ
- โครงสร้างอะตอม
- แบบจาลองอะตอม
-
3. จุดประสงค ์การเรียนรู ้
1) อธิบายแบบจาลองอะตอมของนักวิทยาศาสตร ์ทีส ่ าคัญได ้
2) อธิบายถึงองค ์ประกอบต่าง ๆ ในอะตอมหนึ่ ง ๆ ได ้
3) สามารถหาอนุ ภาคมูลฐานของอะตอมแต่ละชนิ ด

4) นาความรู ้เรืองโครงสร ่
้างอะตอมมาอธิบายเกียวกั บลักษณะต่าง ๆ
ของอะตอมได ้

4. สาระการเรียนรู ้
1. ความรู ้
โครงสร ้างอะตอม
อะตอม (Atoms)
อะตอมเป็ นอนุ ภาคเล็กๆ ทีเป็ ่ นองค ์ประกอบของธาตุทุกชนิ ด อะตอมของธาตุใด
ๆ จะมีลก ั ษณะเป็ นทรงกลม

ซึงภายในจะมี นิวเคลียสเป็ นแกนกลางและมีกลุ่มหมอกของอนุ ภาคทีเล็ ่ กมากห่
อหุ ้มอยู่ซงเรี่ึ ยกว่า อิเล็กตรอน
แบบจาลองอะตอมของดอลตน ั
สารทุกชนิ ดประกอบด ้วยอนุ ภาคขนาดเล็ กทีสุ ่ ดเรียกว่า "อะตอม" อะตอมจะไม่
สามารถแบ่งแยกได ้ และไม่สามารถสร ้างขึนใหม่ ้ ได ้
อะตอมของธาตุชนิ ดเดียวกันจะมีสมบัตเิ หมือนกันทุกประการ
อะตอมของธาตุตา่ งกันจะมีสมบัตต ิ า่ งกัน
้ั สองชนิ ดขึนไปสามารถรวมตั
ธาตุตงแต่ ้ วกันเกิดเป็ นสารประกอบ
โดยมีอต ั ราส่วนการรวมตัวเป็ นตัวเลขอย่างง่าย
แบบจาลองอะตอมของทอมสัน
อะตอมมีลก ั ษณะเป็ นทรงกลม ประกอบด ้วยอนุ ภาคอิเล็ กตรอนทีมี ่ ประจุเป็ นลบ
อนุ ภาคโปรตรอนมีประจุเป็ นบวก
โปรตรอนและอิเล็กตรอนกระจายอยู่ทวไปอย่ ่ั างสม่าเสมอ อะตอมเป็ นกลางท
างไฟฟ้ า เพราะ มีจานวนประจุบวกเท่ากับประจุลบ
แบบจาลองอะตอมของร ัทเทอร ์ฟอร ์ด
อะตอมมีศูนย ์กลางซึงเรี ่ ยกว่า นิ วเคลียส ซึงมี ่ ขนาดเล็ก
มีประจุบวกเรียกว่าโปรตอนอยู่
และมีประจุลบทีเรี ่ ยกว่าอิเล็กตรอนวิงอยู ่ ่ภายนอก
แบบจาลองอะตอม นี ลส ์ โบร ์
อะตอมเคลือนที ่ ่
รอบนิ วเคลียสเป็ นวงกลมโดยแต่ละวงจะมีระดับพลังงานแตกต่า
งกันไป
โครงสร ้างอะตอม
อะตอม มีลก ั ษณะเป็ นทรงกลมแบบกลุ่มหมอก
ประกอบด ้วยอนุ ภาคมูลฐานทีมี ่ มวลน้อยมาก 3 ชนิ ดได ้แก่ นิ วตรอน
(Neutron) โปรตอน (Proton) และอิเล็กตรอน
(Electron)มีนิวเคลียสอยู่ตรงกลางซึงภายในประกอบด ่ ้วยอนุ ภาคของนิ วตรอน
และโปรตอนอยู่ อาจเรียกว่านิ วคลิออน (Nucleon)
มีอเิ ล็กตรอนเคลือนที ่ ่
ไปรอบๆนิ วเคลียส ซึงไม่ ่ สามารถกาหนดความเร็ว
ทิศทางและตาแหน่ งทีแน่ ่ นอนได ้ จึงทาใหโ้ อกาส

ทีจะพบอิ เล็กตรอนในบริเวณหนึ่ งๆไม่สม่าเสมอ

บริเวณทีสามารถพบอิ เล็กตรอนได ้ถูกเรียกว่า ออร ์บิทลั (Orbital)

บริเวณทีใกล ่ ดจะมีกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนทีหนาแน่
้นิ วเคลียสมากทีสุ ่ ่ ด ระดั
นทีสุ
บพลังงานของอิเล็กตรอนถูกกาหนดใหแ้ ทนด ้วย n = 1
่ างจากนิ วเคลียสมากขึน้
และเมือห่
ความหนาแน่ นของกลุ่มหมอกอิเล็กตรอนจะน้อยลง
ค่าของระดับพลังงานของอิเล็กตรอนจะถูกกาหนดใหแ้ ทนด ้วย n = 2 n = 3 n
= 4 ตามลาดับ

2. ทักษะกระบวนการ
1. การอภิปราย
2. การจาแนก
3. การสืบค ้นข ้อมูล
4. การนาความรู ้ไปใช ้ในชีวต
ิ ประจาวัน

3. คุญลักษณะอ ันพึงประสงค ์
1. ใฝ่ เรียนรู ้
2. มุ่งมั่นในการทางาน
3. เห็นคุณค่าของการนาความรู ้ไปใช ้ในชีวต
ิ ประจาวัน
4. สมรรนะ

1. ความสามารถในการสือสาร
2. ความสามารถในการคิด
3. ความสามารถในการใช ้เทคโนโลยี


5. ชินงานหรื
อภาระงาน
แนวทางการจัดการเรียนรู ้
การเรียนรู ้
บทบาทครู บทบาทนักเรียน

ผลงานหรือ ชินง
าน 1. 1.
นาเสนอภาพโครงสร ้าง ร่วมอภิปรายให ้ความสนใจ
แนวทางการจัดการเรียนรู ้
การเรียนรู ้
บทบาทครู บทบาทนักเรียน
- อะตอม อภิปราย ซักถาม
ภาพโครงสร ้างอะต อธิบาย ทาความเข ้าใจการเขียนแผ
อม ่
องค ์ประกอบและความ นทีความคิ ดและร ับทราบเก
- สาคัญทีต ่ ้องศึกษา ้
ณฑ ์การประเมินชินงาน

สรุปความรู ้ความเข ้ นาเสนอตัวอย่างชินงาน

าใจเกียวกั ่
บ เรืองอะ ่
แผนทีความคิ ดและเกณ
ตอม ฑ ์การประเมินผล
-
สรุปความรู ้ความเข ้

าใจเกียวกั ่
บเรืองแบ
บจาลองอะตอม

6. กระบวนการการจัดกิจกรรมการเรียนรู ้
แนวทางการจัดการเรียนรู ้
การเรียนรู ้
บทบาทครู บทบาทนักเรียน

กระบวนการหรื

อขันตอน 2. 2.

ั งิ าน ครูเตรียมความพร ้อมด ้ว ศึกษาทาความเข ้าใจเนื อหาแ
การปฏิบต
แนวทางการจัดการเรียนรู ้
การเรียนรู ้
บทบาทครู บทบาทนักเรียน
- ยการทบทวนความรู ้เรือ่ ละทากิจกรรมฝึ กทักษะการคิด
การสืบคน้ ขอ้ มูลแ งโครงสร ้างอะตอม ่
วิเคราะห ์เรืองโครงสร ้างอะตอม
ล ะ ป ฏิ บั ติ 3. 3.
กิจ กรรมเพื่ อให ม ้ ี ทบทวนการจัดกิจกรรม ปฏิบต ั กิ จิ กรรมด ้วยเทคนิ คเพื่
ค ว า ม รู ้ ค ว า ม ่
การเรียนรู ้เตรียมเครือง อนคู่คดิ แลกกันตรวจคาตอบ

เขา้ ใจเรืองโครงส มือการวัดและประเมินผ ฟังเฉลยจากครู
ร้ า ง อ ะ ต อ ม ล สรุปผลการทากิจกรรมส่งครูป
การฝึ กทัก ษะการ เตรียมเกณฑ ์การประเมิ ระเมินผล
คิดวิเคราะห ป์ ั ญ ห นผล
าและการหาคาตอ 4.
บ นาอภิปรายเกียวกั่ บโคร
งสร ้างอะตอมจากภาพเ

คลือนไหว
(Animation)

7. การวด
ั และการประเมิน
เป้ าหมาย หลักฐาน ่ อวัด
เครืองมื เกณฑ ์การประเมิน
สาระสาค ัญ
- - ใบความรู ้ ่
- สือการสอน -
แบบจาลองอะต โครงสร ้างอะตอม โครงสร ้างอะตอม ความถูกต ้องของเนื ้
อม และแบบจาลองอะ และแบบจาลองอะ อหา
ตอม ตอม -
- Power point ความครบถ ้วนของเ

เรือง ้
นื อหา
โครงสร ้างอะตอม
และแบบจาลองอะ
ตอม
คุณลักษณะ
มุ่งมั่นในการ ่
- Power point - สือการสอน ้
- เนื อหาต ้องถูกต ้อง
ทางาน ่
เรือง โครงสร ้างอะตอม -
โครงสร ้างอะตอม ้
เนื อหาต ้องครบถ ้วน
สมบูรณ์


8. สือ/แหล่ งเรียนรู ้
่ โครงสร ้างอะตอม แบบจาลองอะตอม
1. ใบความรู ้ เรือง
2. Power point เรือง ่ โครงสร ้างอะตอม แบบจาลองอะตอม
แหล่งเรียนรู ้

1. หนังสือเรียนพืนฐาน เคมี ม.5
2. ห้องสมุด
3. อินเตอร ์เน็ ต

9. ความคิดเห็น (ผู บ
้ ริหาร/หรือผู ท ี่ ร ับมอบหมาย)
้ ได้
ได ้ทาการตรวจแผนการจัดการเรียนของ................นางสาวมณฑกานต ์
บุญถึง...........แล ้วมีความเห็นดังนี ้
9.1 เป็ นแผนการจัดการเรียนรู ้ที่
ดีมาก ดี
พอใช ้ ต ้องปร ับปรุง

You might also like