You are on page 1of 21

แผนจัดการเรียนรูท ้ ี่ 1 เรือ่ ง ลักษณะและสมบัตข ิ องปริซึม

กลุม ่ สาระการเรียนรู ้ คณิตศาสตร์ รหัสวิชา 22101


ชือ
่ วิชา คณิตศาสตร์ 3
ชัน้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2 ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2562
หน่ วยการเรียนรูท ้ ี่ 3 เรือ
่ ง พื้นทีผ
่ วิ และปริมาตร
เวลาเรียน 1 คาบ

1. มาตรฐานการเรียนรู ้ / ตัวชี้วดั
มาตรฐานการเรียนรู ้
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกีย่ วกับการวัด
วัดและคาดคะเนขนาดของสิง่ ทีต ่ อ
้ งการวัด
มาตรฐาน ค 3.1 อธิบายและวิเคราะห์รูปเรขาคณิตสองมิตแ ิ ละสามมิติ
ตัวชี้วดั
ค 3.1 ม.2/1 อธิบายลักษณะและสมบัตข ิ องปริซมึ พีระมิด ทรงกระบอก
กรวยและทรงกลม
2. จุดประสงค์การเรียนรู ้
2.1. สามารถบอกลักษณะและสม
บัตข ิ องปริซมึ ได้
2.2. สามารถบอกชือ ่ ของปริซม ึ ไ
ด้
3. สาระสาคัญ
ป ริ ซึ ม คื อ
รู ป เรขาคณิ ต สามมิ ติ ที่ มี ฐ านทั้ง สองเป็ นรู ป เหลี่ ย มที่ เ ท่ า กัน ทุ ก ประการ
ฐ า น ทั้ ง ส อ ง อ ยู่ บ น ร ะ น า บ ที่ ข น า น กั น
และด้านข้างแต่ละด้านเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มด้านขนาน
4. สมรรถนะของผูเ้ รียน
4.1. ความสามารถในการสือ ่ สาร
4.2. ความสามารถในการคิด
5. สาระการเรียนรู ้
ลักษณะและสมบัตข ิ องปริซม ึ
6. จุดเน้นสูก ่ ารพัฒนาคุณภาพผูเ้ รียนตามทักษะศตวรรษที่ 21
6.1. การเรียนรู ้ 3R × 8C
 Reading (อ่านออก)
 (W)Riting (เขียนได้)
 (A)Rithemetics (คิดเลขเป็ น)
 การคิดอย่างมีวจิ ารณญาณ และทักษะในการแก้ปญ ั หา
 ทักษะด้านการสร้างสรรค์ และนวัตกรรม
 ทักษะด้านความเข้าใจความต่างวัฒนธรรม ต่างกระบวนทัศน์
 ทักษะด้านความร่วมมือ การทางานเป็ นทีม และภาวะผูน ้ า
 ทักษะด้านการสือ ่ สาร สารสนเทศ และรูเ้ ท่าทันสือ ่
 ทักษะด้านคอมพิวเตอร์ และเทคโนโลยีสารสนเทศและการสือ ่ สาร
 ทักษะอาชีพ และทักษะการเรียนรู ้
 ทักษะการเปลีย่ นแปลง
 Learning skill (ทักษะในการเรียนรู)้
 Leadership (ภาวะผูน ้ า)
6.2. ทักษะด้านชีวต ิ และอาชีพ
 มีความยืดหยุน ่
 รูจ้ กั ปรับตัว
 ริเริม ่ สิง่ ใหม่
 ใส่ใจดูแลตัวเอง
 รูจ้ กั เข้าสังคม
 เรียนรูว้ ฒ ั นธรรม
 มีความเป็ นผูน ้ า
 รับผิดชอบหน้าที่
 พัฒนาอาชีพ
 หมั่นหาความรูร้ อบด้าน
6.3. คุณลักษณะสาหรับศตวรรษที่ 21
 คุณลักษณะด้านการทางาน ได้แก่ การปรับตัว ความเป็ นผูน ้ า
 คุณลักษณะด้านการเรียนรู ้ ได้แก่ การชี้นาตนเอง
การตรวจสอบการเรียนรูข ้ องตนเอง
 คุณลักษณะด้านศีลธรรม ได้แก่ ความเคารพผูอ ้ ืน
่ ความซือ ่ สัตย์
7. การบูรณาการ
 การส่งเสริมประชาธิปไตย
 การเศรษฐกิจพอเพียง
 การบูรณาการกับกลุม ่ สาระ..........................................
 โรงเรียนวิถีพุทธ
 โรงเรียนสีเขียว

8. ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 1.1 เรือ ่ ง ลักษณะและสมบัตข ิ องปริซม ึ
9. การจัดกิจกรรมการเรียนรู ้
9.1. ขัน
้ นาเข้าสูบ ่ ทเรียน
ครูถามนักเรียนเกีย่ วกับรูปทรงเรขาคณิตทีน ่ กั เรียนเคยพบเห็นในชีวิ
ตประจาวันทีม ่ ีลกั ษณะเป็ นรูปเรขาคณิตสามมิตม ิ ีอะไรบ้าง
(เช่น กล่องกระดาษชาระ ลูกบอล ปิ่ นโต กรวยไอศกรีม เป็ นต้น)
9.2. ขัน้ สอน
1. ครูแสดงรูปทรงปริซึมให้นกั เรียนได้เห็นตัวอย่างของปริซม ึ มีลกั ษณ
ะอย่างไร
2. ครูแบ่งกลุม ่ นักเรียนออกเป็ น 4 – 5 คน
โดยให้นกั เรียนแต่ละกลุม ่ สังเกตรูปทรงปริซม ึ ทีค ่ รูได้แสดงข้างต้น
แล้วให้นกั เรียนแต่ละกลุม ่ สร้างรูปปริซม ึ ออกมากลุม ่ ละ 1 ชิ้น
ตามแบบรูปคลี่ ทีค่ รูให้ ดังนี้
1. กลุม ่ ที่ 1 ปริซม ึ สามเหลีย่ มด้านเท่า

2. กลุม
่ ที่ 2 ปริซม
ึ สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั

3. กลุม
่ ที่ 3 ปริซม
ึ สีเ่ หลีย่ มผืนผ้า
4. กลุม
่ ที่ 4 ปริซม
ึ ห้าเหลีย่ มด้านเท่า

5. กลุม
่ ที่ 5 ปริซม
ึ หกเหลีย่ มด้านเท่า

3. เมือ
่ นักเรียนสร้างชิ้นงานเสร็จเรียบร้อยแล้ว
ครูสอนเกีย่ วกับส่วนประกอบของปริซม ึ ใน
หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 3 เล่ม
1 หน้า 4 ว่ามีสว่ นประกอบอะไรบ้าง
4. ครูอธิบายเพิม ่ เติมเรือ
่ งการเรียกชือ
่ ปริซม
ึ แบบต่างๆ
ว่าจะเรียกตามลักษณะของฐาน ถ้าฐานเป็ นรูปสามเหลีย่ มจะเรียก
ปริซมึ นี้วา่ ปริซม
ึ สามเหลีย่ ม เป็ นต้น
ปริซม ึ สามเ ปริซม
ึ สีเ่ หลี่ ปริซม
ึ ห้าเห ปริซม ึ หกเห
หลีให้
5. ครู ย่ ม
นกั เรียนแต่ละกลุยม
ม ลีย่ ม
่ ร่วมกันบอกส่วนประกอบของปริ
ซมึ ลีทีย่ ไ่ มด้สร้
้ มาว่าส่วนใดเรียกว่าอะไรบ้าง แล้วนาเสนอหน้าชัน
างขึน ้ เรียน
6. ครูและนักเรียนทีเ่ หลือร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
7. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าลักษณะของปริซม ึ เป็ นอย่างไร
(ปริซม ึ คือ
รูปเรขาคณิตสามมิตท ิ ม
ี่ ีฐานทัง้ สองเป็ นรูปเหลีย่ มทีเ่ ท่ากันทุกประกา
ร ฐานทัง้ สองอยูบ ่ นระนาบทีข ่ นานกัน
และด้านข้างแต่ละด้านเป็ นรูปสีเ่ หลีย่ มด้านขนาน)
8. ครูให้นกั เรียนทาใบงานที่ 1.1 เรือ ่ ง ลักษณะและสมบัตข ิ องปริซึม
พร้อมสังเกตและประเมินพฤติกรรมของนักเรียนด้านทักษะและกระ
บวนการทางคณิตศาสตร์และด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์
ระหว่างทาใบงานที่ 1.1
9.3. ขัน
้ สรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปลักษณะและสมบัตข ิ องปริซม ึ
จนได้ขอ ้ สรุปทีว่ า่

ป ริ ซึ ม คื อ
รู ป เรขาคณิ ต สามมิติที่มี ฐ านทั้ง สองเป็ นรู ป เหลี่ย มที่เ ท่า กัน ทุ ก ประการ
ฐ า น ทั้ ง ส อ ง อ ยู่ บ น ร ะ น า บ ที่ ข น า น กั น
และด้าการเรี
นข้างแต่ละด้่ อาปริ
ย กชื นเป็ซนรู ปสีเ่ หลีย่ ามด้
ึ ม แบบต่ งๆานขนาน
จะเรี ย กตามลัก ษณะขอ ง ฐา น
ถ้าฐานเป็ นรูปสามเหลีย่ มจะเรียก ปริซม
ึ นี้วา่ ปริซม
ึ สามเหลีย่ ม เป็ นต้น

10. สือ
่ การสอน
10.1. กระดานรูปคลี่
10.2. กรรไกร
10.3. กาวสองหน้า
10.4. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ชัน ้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
เล่ม 1
10.5. ใบงานที่ 1.1 เรือ ่ ง ลักษณะและสมบัตข ิ องปริซม

11. แหล่งเรียนรูใ้ นหรือนอกสถานที่
11.1. โทรศัพท์เคลือ ่ นที่
11.2. ห้องกลุม ่ สาระการเรียนรูค ้ ณิตศาสตร์
โรงเรียนมัธยมวัดหนองจอก
12. การวัดและประเมินผล
12.1. การประเมินตามตัวชี้วดั
ชิ้นงาน/ภาระงาน วิธีวดั
ใบงานที่ 1.1 เรือ
่ ง พิจารณาจานวนคาตอบทีถ
่ ูกต้องของนักเรียนจากใบงานและการ
ลักษณะและสมบัตข ิ องปริซม

12.2. การประเมินสมรรถนะสาคัญ
คุณลักษณะอันพึงประสงค์และทักษะศตวรรษที่ 21
การวัดผล
เก
องนักเรียนจากใบงานและการตอบคาถาม ถ





เก


เก
ทีม
่ อบหมายโดยครูเป็ นผูส
้ งั เกตแล้วบันทึก ใน

องนักเรียน ถ

เก


เก
ณะทางานทีม ่ อบหมายโดยครูเป็ น ผูส ้ งั เกตแล้วบันทึกในแบบสังเกตพฤติกรรมการทางานของนักเรียน ใน

องนักเรียน ถ

เก


เก
ณะทางานทีม ่ อบหมายโดยครูเป็ นผูส
้ งั เกตแล้วบันทึกในแบบสังเกตพฤติกรรมการทางานของนักเรียน ใน

องนักเรียน ถ

เก

ใบงานที่ 1.1
เรือ
่ ง ลักษณะและสมบัตข ิ องปริซม

ชือ
่ -
สกุล...............................................................................................
.ชัน้ .............................เลขที.่ ....................

ตอนที่ 1
คาชี้แจง ให้นกั เรียนพิจารณารูปต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง

A
B E

C D

G
H F

1. ปริซมึ นี้มีทง้ ั หมดกีห


่ น้า
ตอบ I J
2. รูปเหลีย่ มทีเ่ ป็ นฐานของปริซม ึ มีกีร่ ูป ได้แก่รูปใดบ้าง
ตอบ
3. รูปเหลีย่ มทีเ่ ป็ นด้านข้างของปริซม ึ มีกีร่ ูป ได้แก่รูปใด
ตอบ
4. ส่วนสูงของปริซม ึ มีความยาวเท่ากับส่วนของเส้นตรงใดบ้าง
ตอบ
5. ปริซม ึ นี้รูปหน้าตัดมีลกั ษณะและพื้นทีเ่ ท่ากันทุกประการหรือไม่
ตอบ
ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นกั เรียนวิเคราะห์รูปเรขาคณิตต่อไปนี้วา่ รูปใดเป็ นปริซม

1. ตอบ

2.
ตอบ

4.
ตอบ

3.

ตอบ

ตอนที่ 3
คาชี้แจง รูปคลีแ
่ ต่ละข้อต่อไปนี้เป็ นรูปคลีข
่ องปริซม
ึ ชนิดใด
และประกอบรูปคลีข่ องปริซมึ ชนิดใด
1. 3.

ตอบ ตอบ

4.
2.

ตอบ
ตอบ

เฉลย
ใบงานที่ 1.1
เรือ
่ ง ลักษณะและสมบัตข ิ องปริซม

ชือ
่ -
สกุล...............................................................................................
.ชัน
้ .............................เลขที.่ ....................

ตอนที่ 1
คาชี้แจง ให้นกั เรียนพิจารณารูปต่อไปนี้ แล้วตอบคาถามให้ถูกต้อง

A
B E

C D

G
H F

I J

1. ปริซมึ นี้มีทง้ ั หมดกีห ่ น้า


ตอบ 7 หน้า
2. รูปเหลีย่ มทีเ่ ป็ นฐานของปริซม ึ มีกีร่ ูป ได้แก่รูปใดบ้าง
ตอบ 2 รูป คือ รูปห้าเหลีย่ ม ABCDE และ รูปห้าเหลีย่ ม
FGHIJ
3. รูปเหลีย่ มทีเ่ ป็ นด้านข้างของปริซม ึ มีกีร่ ูป ได้แก่รูปใด
ตอบ 5 รูป คือ AEFG, EFJD, DJIC, CIHB และ
BHGA
4. ส่วนสูงของปริซม ึ มีความยาวเท่ากับส่วนของเส้นตรงใดบ้าง
ตอบ ̅ , DJ
̅̅̅̅, CI
BH ̅̅̅, EF ̅̅̅̅
̅̅̅̅, และ AG
5. ปริซม ึ นี้รูปหน้าตัดมีลกั ษณะและพื้นทีเ่ ท่ากันทุกประการหรือไม่
ตอบ เท่ากันทุกประการ

ตอนที่ 2
คาชี้แจง ให้นกั เรียนวิเคราะห์รูปเรขาคณิตต่อไปนี้วา่ รูปใดเป็ นปริซม

1. 3.

ตอบ ไม่เป็ นปริซม



ตอบ เป็ นปริซม

2.
4.

ตอบ ไม่เป็ นปริซม



ตอบ เป็ นปริซม

ตอนที่ 3
คาชี้แจง รูปคลีแ
่ ต่ละข้อต่อไปนี้เป็ นรูปคลีข
่ องปริซม
ึ ชนิดใด
และประกอบรูปคลีข่ องปริซมึ ชนิดใด
1. 3.

ตอบ ปริซม
ึ สามเหลีย่ ม ตอบ ปริซม
ึ แปดเหลีย่ ม

2. 4.

ตอบ ปริซม
ึ สามเหลีย่ ม
ตอบ ปริซม
ึ สีเ่ หลีย่ มจัตรุ สั

บันทึกหลังการสอน

ผลการสอน
.............................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
...........
.....................................................................................................
.........................................................................

ปัญหาในการสอน
.............................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
...........
.....................................................................................................
.........................................................................

แนวทางการแก้ไข
.............................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
...........
.....................................................................................................
.........................................................................

ข้อเสนอแนะ
.............................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
...........
.....................................................................................................
.........................................................................

ลงชือ
่ นางสาวชิดชไม เจือมา
ผูส
้ อน
(นางสาวชิดชไม
เจือมา)
ตาแหน่ ง ครูผช
ู้ ว่ ย
ความเห็นของครูหรือผูน ้ ิเทศการสอน
1. เป็ นแผนการสอนทีเ่ น้นผูเ้ รียนเป็ นสาคัญ
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
2. นักเรียนมีสว่ นร่วมในกิจกรรมการเรียนการสอน
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง
3. นักเรียนมีสว่ นร่วมในการวัดและประเมินผล
ดีมาก ดี พอใช้ ปรับปรุง

ข้อเสนอแนะของครูหรือผูน ้ ิเทศการสอน
.............................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
.....................................................................................................
...........
.....................................................................................................
.........................................................................

ลงชือ ่
....................................................
..........

(.............................................................)

ตาแหน่ ง.........................................
แบบบันทึกคะแนนการทาใบงาน
กลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา ค22101 ชือ ่ รายวิชา คณิตศาสตร์ 3 ผูส
้ อน
นางสาวชิดชไม เจือมา

หน่ วยการเรียนรูท
้ ี่ 1 (ใบงานที.่ ..)
ที่ ชือ
่ -นามสกุล 1.7 1.8 1.9 1.1 1.1 1.1
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6
0 1 2
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
33
34
35
36
37
หน่ วยการเรียนรูท
้ ี่ 1 (ใบงานที.่ ..)
ที่ ชือ
่ -นามสกุล 1.7 1.8 1.9 1.1 1.1 1.1
1.1 1.2 1.3 1.4 1.5 1.6
0 1 2
38
3
9
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50

เกณฑ์ผา่ นการประเมิน
นักเรียนทาได้คะแนนมากกว่าร้อยละ 80 ของคะแนนเต็ม ถือว่าผ่าน
แบบประเมินด้านสมรรถนะสาคัญ
กลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา ค22101 ชือ ่ รายวิชา คณิตศาสตร์ 3 ผูส
้ อน
นางสาวชิดชไม เจือมา
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมทีป
่ ฏิบตั ช ิ ดั เจนสม่าเสมอ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมทีป่ ฏิบตั ช ิ ดั เจนเป็ นบางครัง้ บางคราว ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมทีป ่ ฏิบตั ช ิ ดั เจนน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน
สมรรถนะสาคัญ สรุปผล
ความสามารถ ความสามารถ รวม
เลข การประเมิน
ชือ
่ – นามสกุล ในการสือ่ สาร ในการคิด
ที่
ไม่ผา่
3 2 1 3 2 1 6 ผ่าน

1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
30
31
32
สมรรถนะสาคัญ สรุปผล
เลข ความสามารถ ความสามารถ รวม
ชือ
่ – นามสกุล การประเมิน
ที่ ในการสือ่ สาร ในการคิด
3 2 1 3 2 1 15 ผ่าน ไม่ผา่ น
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50

เกณฑ์การประเมิน
6 คะแนน หมายถึง ดีมาก
4 – 5 คะแนน หมายถึง ดี
2 – 3 คะแนน หมายถึง พอใช้
0 – 1 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์ผา่ นการประเมิน
นักเรียนทาได้คะแนนมากกว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม หมายถึง
้ ไป ถือว่าผ่าน
ทาได้ตง้ ั แต่ 4 คะแนนขึน
แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล
กลุม
่ สาระการเรียนรูค
้ ณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
ภาคเรียนที่ 1
รหัสวิชา ค22101 ชือ ่ รายวิชา คณิตศาสตร์ 3 ผูส
้ อน
นางสาวชิดชไม เจือมา

สรุปผลการ
รายการประเมิน
ประเมิน

ทางานอย่างเป็ นร

่ มั่นใน
มีความรับผิดชอ
มีความรอบคอบ
รว
เลข

มีระเบียบวินยั
ชือ
่ -นามสกุล ม

มีความเชือ
ที่

ตนเอง
ผ่าน ไม่ผา่

ะบบ


3 3 3 3 3 15
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
21
22
23
24
25
26
27
28
29
สรุปผลการ
รายการประเมิน
ประเมิน

ทางานอย่างเป็ นร

่ มั่นใน
มีความรับผิดชอ
มีความรอบคอบ
รว
เลข

มีระเบียบวินยั
ชือ
่ -นามสกุล ม

มีความเชือ
ที่

ตนเอง
ผ่าน ไม่ผา่

ะบบ


3 3 3 3 3 15
30
31
32
33
34
35
36
37
38
39
40
41
42
43
44
45
46
47
48
49
50

เกณฑ์การประเมิน
13 – 15 คะแนน หมายถึง ดีมาก
9 – 12 คะแนน หมายถึง ดี
6 – 8 คะแนน หมายถึง พอใช้
0 – 5 คะแนน หมายถึง ปรับปรุง
เกณฑ์ผา่ นการประเมิน
นักเรียนทาได้คะแนนมากกว่าร้อยละ 60 ของคะแนนเต็ม หมายถึง
้ ไป ถือว่าผ่าน
ทาได้ตง้ ั แต่ 9 คะแนนขึน

You might also like