You are on page 1of 11

แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 มุม เวลาเรียน 11 ชั่วโมง
เรื่อง ระนาบ จุด และการใช้จุดแสดงตำแหน่ง เวลาเรียน 1
ชั่วโมง
มาตรฐานการเรีวันที่ เดื
ยอ นนพ.ศ. 2566 ภาคเรียยนรู
กิจกรรมการเรี นที
้ ่ 2 ปี การ
ค 2.2
้ ัดศึกษา 2566ป.4/1
รู้/ตัวชีว ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
สาระสำคัญ
1. สิ่งที่มีลักษณะแบนราบ ครูนำสิ่งของต่างๆ เช่น แก้ว หนังสือ
เรียบ และมีอาณาบริเวณไม่จำกัด ธนบัตร ลูกบอล ให้นักเรียนพิจารณาว่าสิ่งใด
เรียกว่า ระนาบ ที่มีลักษณะแบบราบ
2. จุด () ใช้แสดง ขัน ้ สอน
ตำแหน่งนิยมใช้อักษรตัง้ ชื่อจุด 1.ครูนำอภิปรายเกี่ยวกับประสบการณ์ที่
จุ ด ประสงค์ ก ารเรี ยนรู

1. อธิบายสัญลักษณ์จุดและลักษณะ นักเรียนเคยพบ “จุด” และ “เส้นในแนว
ของระนาบได้ (K) ตรง” ในชีวิตจริง แล้วนักเรียนยกตัวอย่าง
2. บอกลักษณะของระนาบได้ (P) และอธิบายถึงการนำไปใช้ประโยชน์จากจุด
3. เขียนชื่อและสัญลักษณ์แทนจุด และเส้นในแนวตรง จากนัน ้ ให้นักเรียน
ได้ (P) พิจารณาภาพหน้า 103 เพื่อให้เห็นถึงการใช้
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ จุดและเส้นในแนวตรงในชีวิตจริง
หมาย (A)
ทักษะและกระบวนการทาง 2.ครูอธิบายลักษณะของ ระนาบ จุด และ
คณิตศาสตร์ วิธีการเขียนจุด หน้า 104
• การสื่อสารและการสื่อความ 3.ครูตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้
หมายทางคณิตศาสตร์ ที่ได้โดยให้นักเรียนโดยทำกิจกรรมข้อ 1 และ
• การเชื่อมโยง 2 หน้า 110 เป็ นรายบุคคล
• การให้เหตุผล 4.มอบหมายนักเรียนทำใบงานที่ 1 ระนาบ
จุด และการใช้จุดแสดงตำแหน่ง ลงในสมุด
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ รายวิชา
• มีวินัย ขัน ้ สรุป
• ใฝ่ เรียนรู้ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้
• มุ่งมั่นในการทำงาน เรียนรู้ร่วมกัน

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
• หนังสือเรียน ชัน ้ ประถมศึกษาปี
ที่ 4 เล่มที่ 2
• ใบงานที่ 1 เรื่อง ระนาบ จุด และ บันทึกหลังการสอน
การใช้จุดแสดงตำแหน่ง
การวัดและประเมินผล
เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด
ใบงานที่ 1 1. ตรวจใบงาน ลงชื่อ ลงชื่อ
2. สังเกตพฤติกรรม (นางสาวปุญญานันท์ เพชรเพ็ง) (
ของผู้เรียน ศักดิ ์ รักใหม่)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 มุม เวลาเรียน 11 ชั่วโมง
เรื่อง เส้นตรง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
วันที่ เดือนพ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปี การ
มาตรฐานการเรี ศึกษา ย 2566
น ค 2.2 กิจกรรมการเรียนรู้
รู้/ตัวชีว้ ัด ป.4/1 ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
สาระสำคัญ
ครูแจกกระดาษ A4 ให้นักเรียนคนละ1
เส้นในแนวตรงที่มีความยาว แผ่น กำหนด จุด ก และ จุด ข บนกระดาษ
ไม่จำกัด เรียกว่า เส้นตรง ให้นักเรียนลากเส้นในแนวตรงผ่านจุด ก และ
จุด ข ไปเรื่อย ๆ จะเป็ นอย่างไร
ขัน ้ สอน
1.ครูแนะนำว่าเส้นในแนวตรงที่ยาวไม่สน ิ้
จุดประสงค์การเรียนรู้ สุด เรียกว่า เส้นตรง จากนัน ้ ใส่ลูกศรทัง้ สอง
ข้างแสดงความยาวไม่สน ิ ้ สุด จากนัน้ ครูสาธิต
1. อธิบายสัญลักษณ์เส้นตรงได้ (K) วิธีเขียนเส้นตรงโดยกำหนดจุด A B เราเรียก
2. อ่านและเขียนสัญลักษณ์เส้นตรง ว่า เส้นตรง AB สามารถเขียนสัญลักษณ์
ได้ (P) แสดงเส้นตรงได้ ดังนี ้ ตามหนังสือหน้า 105
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ 2.ครูแนะนำว่าเส้นในแนวตรงที่มีความยาว
ทักษะและกระบวนการทาง
หมาย (A) ไม่จำกัด เรียกว่า เส้นตรง ใช้สัญลักษณ์
คณิตศาสตร์
• การสื่อสารและการสื่อความ แสดงเส้นตรงมีลักษณะตรง มีความยาวไม่
หมายทางคณิตศาสตร์ จำกัด เราสามารถใช้ไม้บรรทัดเป็ นเครื่องมือ
• การเชื่อมโยง ในการลากเส้นตรงบนระนาบแล้วใส่หัวลูกศร
• การให้เหตุผล ที่ปลายทัง้ สองข้างเพื่อแสดงว่ามีความยาว
ออกไปไม่จำกัด
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมในหน้า 105
• มีวินัย – 106
• ใฝ่ เรียนรู้ 4.ครูตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้
• มุ่งมั่นในการทำงาน ที่ได้โดยให้นักเรียนโดยทำกิจกรรมข้อ 3 และ
ข้อ 4 หน้า 110 เป็ นรายบุคคล
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ 5.มอบหมายนักเรียนทำใบงานที่ 2 เส้น
• หนังสือเรียน ชัน ้ ประถมศึกษาปี ตรง ลงในสมุดรายวิชา
ที่ 4 เล่มที่ 2 ขัน ้ สรุป บันทึกหลังการสอน
• ใบงานที่ 2 เรื่อง เส้นตรง ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้
เรียนรู้ร่วมกัน
การวัดและประเมินผล
เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด
ใบงานที่ 2 1. ตรวจใบงาน ลงชื่อ ลงชื่อ
2. สังเกตพฤติกรรม (นางสาวปุญญานันท์ เพชรเพ็ง) (
ของผู้เรียน ศักดิ ์ รักใหม่)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 มุม เวลาเรียน 11 ชั่วโมง
เรื่อง รังสี และส่วนของเส้นตรง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
วันที่ เดือนพ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปี การ
มาตรฐานการเรี ศึกษา ย 2566
น ค 2.2 กิจกรรมการเรียนรู้
รู้/ตัวชีว ้ ัด ป.4/1 ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
สาระสำคัญ
ครูทบทวนความรู้ เรื่อง เส้นตรง โดย
รังสีมีลักษณะตรง มีจุดปลาย กำหนดเส้นตรงบนกระดานแล้วให้นักเรียน
หนึ่งจุดและอีกข้างหนึ่งต่ออกไปได้ บอกชื่อเส้นตรงและสัญลักษณ์ที่ใช้
โดยไม่จำกัด ขัน ้ สอน
ส่วนของเส้นตรงมีลักษณะ 1.ครูให้นักเรียนศึกษาความหมายของรังสี
ตรง มีจุดปลายสองจุดและไม่ และส่วนของเส้นตรงในหน้า 107 – 108
สามารถต่ จุดประสงค์
อออกไปได้ การเรี
อีก ยนรู้ จากนัน ้ ครูสาธิตวิธีการเขียนรังสีและส่วนของ
1. อธิบายสัญลักษณ์รังสี และส่วน เส้นตรง พร้อมสัญลักษณ์ พร้อมอธิบายว่า
ของเส้นตรงได้ (K) เส้นตรงและรังสีมีความยาวไม่จำกัด จึงไม่
2. อ่านและเขียนสัญลักษณ์รังสี สามารถวัดความยาวได้ แต่ส่วนของเส้นตรงมี
และส่วนของเส้นตรงได้ (P) ความยาวจำกัด สามารถวัดความยาวของ
3. รัทับกผิษะและกระบวนการทาง
ดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ ส่วนของเส้นตรงได้
คณิ หมาย
ตศาสตร์ (A) 2.ครูติดบัตรภาพส่วนของรังสีและบัตร
• การสื่อสารและการสื่อความ ภาพส่วนของเส้นตรงบนกระดาน ให้นักเรียน
หมายทางคณิตศาสตร์ เขียนชื่อและสัญลักษณ์ของรังสีและส่วนของ
• การเชื่อมโยง เส้นตรงนัน ้
• การให้เหตุผล 3.นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรม หน้า 109
4.ครูตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ที่ได้โดยให้นักเรียนโดยทำกิจกรรมข้อ 5 หน้า
• มีวินัย 110 - 111 เป็ นรายบุคคล
• ใฝ่ เรียนรู้ 5.มอบหมายนักเรียนทำใบงานที่ 3 รังสี
• มุ่งมั่นในการทำงาน และส่วนของเส้นตรง ลงในสมุดรายวิชา
ขัน ้ สรุป
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้
• หนังสือเรียน ชัน ้ ประถมศึกษาปี เรียนรู้ร่วมกัน
ที่ 4 เล่มที่ 2
• ใบงานที่ 3 เรื่อง รังสี และส่วน บันทึกหลังการสอน
ของเส้นตรง
การวัดและประเมินผล
เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด
ใบงานที่ 3 1. ตรวจใบงาน ลงชื่อ ลงชื่อ
2. สังเกตพฤติกรรม (นางสาวปุญญานันท์ เพชรเพ็ง) (
ของผู้เรียน ศักดิ ์ รักใหม่)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 มุม เวลาเรียน 11 ชั่วโมง
เรื่อง มุม ส่วนประกอบของมุม และการเรียกชื่อมุม เวลาเรียน 1
ชั่วโมง
มาตรฐานการเรี วันที่ เดื
ยอ นนพ.ศ. 2566 ภาคเรียยนรู
กิจกรรมการเรี นที
้ ่ 2 ปี การ
ค 2.2
รู้/ตัวชีว ้ ัดศึกษา 2566ป.4/1 ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
สาระสำคัญ
ครูทบทวนรังสี จากนัน ้ ให้นักเรียน
รังสีมีลักษณะตรง มีจุดปลาย พิจารณารูปที่ติดบนกระดาน และใช้การถาม
หนึ่งจุดและอีกข้างหนึ่งต่ออกไปได้ ตอบ ดังนี ้ ครูถามนักเรียนว่ามีรังสีอะไรบ้าง
โดยไม่จำกัด ขัน ้ สอน
ส่วนของเส้นตรงมีลักษณะ 1.ครูให้นักเรียนพับกระดาษ แล้วลากเส้น
ตรง มีจ ุจุด ปลายสองจุ ด และไม่
ดประสงค์การเรียนรู้ ตามขอบกระดาษที่พับ ทำให้เกิดมุมตามหน้า
สามารถต่อออกไปได้อีก 112 ครูนำสนทนากับนักเรียนว่ารังสีสองเส้น
1. อธิบายลักษณะมุม และส่วน
ประกอบของมุมได้ (K) ซึ่งมีจุดปลายเป็ นจุดเดียวกันทำให้เกิดมุม ครู
2. อธิบายหลักการการเขียนชื่อและ แนะนำจุดยอดมุมและแขนของมุม
สัญลักษณ์แสดงมุมได้ (K) 2.ครูแนะนำการเรียกชื่อมุมและสัญลักษณ์
3. บอกชื่อมุม ส่วนประกอบของมุม แสดงมุม ให้เรียกตามตัวอักษร 3 ตัว คือชื่อ
และสัญลักษณ์แทนมุมได้ (P) ของจุดที่อยู่บนแขนของมุมข้างหนึ่ง ชื่อจุด
4. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ ยอดมุม และชื่อจุดบนแขนของมุมอีกข้าง
หมาย (A)
ทักษะและกระบวนการทาง หนึ่งตามลำดับ หรืออาจเรียกตามชื่อจุดยอด
คณิตศาสตร์ มุม โดยใช้ข้อมูลในกรอบท้ายหน้า 112 3.
• การสื่อสารและการสื่อความ ครูแนะนําเพิ่มเติมว่าถ้าจุดยอดมุมเป็ นของ
หมายทางคณิตศาสตร์ มุมเพียงมุมเดียวการเรียกชื่อมุมอาจเรียกตาม
• การเชื่อมโยง ชื่อจุดยอดมุมนัน ้ ในกรอบท้ายหน้า 113 จาก
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ นัน ้ นักเรียนทำกิจกรรมหน้า 114
• มีวินัย 4.ครูตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้
• ใฝ่ เรียนรู้ ที่ได้โดยให้นักเรียนโดยทำกิจกรรมหน้า 115
• มุ่งมั่นในการทำงาน เป็ นรายบุคคล
5.มอบหมายนักเรียนทำใบงานที่ 4 มุม
• หนังสืสือ่ อเรี
/แหล่
ยน ชังน
้ การเรี ยนรูก้ ษาปี
ประถมศึ ส่วนประกอบของมุม และการเรียกชื่อมุม ลง
ที่ 4 เล่มที่ 2 ในสมุดรายวิชา
• ใบงานที่ 4 เรื่อง มุม ส่วน ขัน ้ สรุป บันทึกหลังการสอน
ประกอบของมุม และการเรียก ครู และนั กเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้
ชื่อมุม เรียนรู้ร่วมกัน
การวัดและประเมินผล
เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด
ใบงานที่ 4 1. ตรวจใบงาน ลงชื่อ ลงชื่อ
2. สังเกตพฤติกรรม (นางสาวปุญญานันท์ เพชรเพ็ง) (
ของผู้เรียน ศักดิ ์ รักใหม่)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 มุม เวลาเรียน 11 ชั่วโมง
เรื่อง มุมฉาก และมุมตรง เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
วันที่ เดือนพ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปี การ
มาตรฐานการเรี ศึกษา ย 2566
น ค 2.2 กิจกรรมการเรียนรู้
รู้/ตัวชีว ้ ัด ป.4/1 ขัน ้ นำเข้าสู่บทเรียน
สาระสำคัญ
ครูสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับที่มาของมุม
มุมฉาก เป็ นมุมที่มีขนาดเป็ น รอบจุดศูนย์กลางที่มีขนาด 360 องศา จาก
ครึ่งหนึ่งของมุมตรง นัน ้ ครูสาธิตการพับกระดาษแบ่งขนาดของมุม
มุมตรง เป็ นมุมที่มีขนาดเป็ น เป็ นมุม 180 องศา 90 องศาตามลำดับ
ครึ่งหนึ่งของมุม 360 องศา ขัน ้ สอน
1.ครูให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมพับ
จุดประสงค์การเรียนรู้
กระดาษ A4 เป็ นมุมฉาก จากนัน ้ ให้นักเรียน
1. อธิบายลักษณะของมุมฉาก และ ทำเครื่องหมายกากบาทไว้ตรงมุมที่เกิดจาก
มุมตรงได้ (K) รอบพับตามหน้า 116 ครูใหนักเรียนนํา
2. บอกมุมฉาก และมุมตรง โดยใช้ กระดาษที่พับมาวางใหมุมที่ทำเครื่องหมาย
สิ่งของที่มีลักษณะเป็ นมุมฉาก ไวซอนกัน จะพบวามุมทุกมุมทับกันสนิทครู
ช่วยในการให้เหตุผลได้ (P) แนะนําวามุมที่ได้จากการพับกระดาษครัง้ ที่
3. รัทับกผิษะและกระบวนการทาง
ดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ 2 หรือมุมใดๆที่มีขนาดเทากับมุมนีเ้ ป็ น
คณิ หมาย
ตศาสตร์ (A) มุมฉาก ซึ่งมีขนาด 1 มุมฉาก
• การสื่อสารและการสื่อความ 2.ครูแนะนำเพิ่มเติมว่าเราใช้ไม้ฉากตรวจ
หมายทางคณิตศาสตร์ สอบมุมฉากแทนกระดาษที่พับเป็ นมุมฉากได้
• การเชื่อมโยง เพราะไม้ฉากจะมีมุมฉากหนึ่งมุม และให้
• การให้เหตุผล นักเรียนเปรียบเทียบขนาดของมุมที่ไม้ฉาก
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ทัง้ สามมุมกับกระดาษที่พับเป็ นมุมฉาก จาก
• มีวินัย นัน ้ ให้นักเรียนสำรวจว่าสิ่งต่าง ๆ ที่อยู่รอบตัว
• ใฝ่ เรียนรู้ นักเรียน มีสิ่งใดบ้างที่มีลักษณะเป็ นมุมฉาก
• มุ่งมั่นในการทำงาน โดยให้นักเรียนลองใช้กระดาษที่พับเป็ น
มุมฉากหรือไม้ฉากเป็ นเครื่องมือในการ
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ สำรวจ แล้วทำกิจกรรมในหน้า 117
• หนังสือเรียน ชัน ้ ประถมศึกษาปี 3.ครูแนะนำมุมสองมุมฉาก หรือมุมตรง
ที่ 4 เล่มที่ 2 โดยใช้มุมฉากเป็ นพื ้นฐานในการอธิ
• ใบงานที่ 5 เรื่อง มุมฉาก และ บันทึ กหลั งการสอน บาย แล้ว
ให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมหน้า 118
มุมตรง 4.มอบหมายนักเรียนทำใบงานที่ 5
การวัดและประเมินผล มุมฉาก และมุมตรง ลงในสมุดรายวิชา
เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ขัน ้่ อสรุป
ใบงานที่ 5 1. ตรวจใบงาน ลงชื ลงชื่อ
ครูและนั
(นางสาวปุ กเรียน
ญญานั นร่
ท์วมกั นสรุปงสิ) ่งที่ได้
เพชรเพ็ (
2. สังเกตพฤติกรรม
ของผู้เรียน ศักเรีดิย์ รันรู้ร่วมกั
กใหม่ )น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 มุม เวลาเรียน 11 ชั่วโมง
เรื่อง มุมแหลม และมุมป้ าน เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
วันที่ เดือนพ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปี การ
มาตรฐานการเรี ศึกษา ย 2566
น ค 2.2 กิจกรรมการเรียนรู้
รู้/ตัวชีว ้ ัด ป.4/1 ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
สาระสำคัญ
นักเรียนทบทวนความรู้ เรื่อง มุม และส่วน
มุมแหลมมีขนาดเล็กกว่า ประกอบของมุม โดยนำบัตรภาพติดบน
มุมฉาก กระดาน และสนทนาซักถามส่วนประกอบ
มุมป้ านมีขนาดใหญ่กว่าหนึ่ง ของมุม การอ่านมุมและการเขียนสัญลักษณ์
มุมฉากแต่เล็กกว่ามุมตรงหรือสอง แทนมุม
มุมฉาก ขัน ้ สอน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.ครูนําสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับมุมโดย
1. อธิบายลักษณะของมุมแหลม ใหนักเรียนพิจารณารูปภาพที่ครูติดบน
และมุมป้ านได้ (K) กระดาน แล้วบอกวาสิ่งของใดมีสวนใดสวน
2. บอกมุมแหลม และมุมป้ าน โดย ประกอบของมุมบ้าง นักเรียนรูจักมุมเหลานี ้
ใช้สิ่งของที่มีลักษณะเป็ นมุมฉาก หรือไม่ มุมเหลานีเ้ ป็ นมุมชนิดใด มุมใดมี
ช่วยในการให้เหตุผลได้ (P) ขนาดใหญ่ที่สุด มุมใดมีขนาดเล็กที่สุด
3. รัทับกผิษะและกระบวนการทาง
ดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ 2.ครูให้นักเรียนร่วมกันปฏิบัติกิจกรรม
คณิ หมาย
ตศาสตร์ (A) หน้า 119 โดยใช้กระดาษที่พับเป็ นมุมฉาก
• การสื่อสารและการสื่อความ ตรวจสอบ จากนัน ้ ครูแนะนำมุมแหลมและ
หมายทางคณิตศาสตร์ มุมป้ าน แล้วให้นักเรียนระบุมุมในกิจกรรมว่า
• การเชื่อมโยง เป็ นมุมชนิดใด จากนัน ้ ให้นักเรียนร่วมกัน
• การให้เหตุผล ปฏิบัติกิจกรรมในหน้า 120
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ 3.ครูตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้
• มีวินัย ที่ได้โดยให้นักเรียนโดยทำกิจกรรมหน้า 121
• ใฝ่ เรียนรู้ เป็ นรายบุคคล
• มุ่งมั่นในการทำงาน 3.มอบหมายนักเรียนทำใบงานที่ 6 มุม
แหลม และมุมป้ าน ลงในสมุดรายวิชา
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ขัน ้ สรุป
• หนังสือเรียน ชัน ้ ประถมศึกษาปี ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้
ที่ 4 เล่มที่ 2 เรียนรู้ร่วมกันบันทึกหลังการสอน
• ใบงานที่ 6 เรื่อง มุมแหลม และ
มุมป้ าน
การวัดและประเมินผล
เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด
ใบงานที่ 6 1. ตรวจใบงาน ลงชื่อ ลงชื่อ
2. สังเกตพฤติกรรม (นางสาวปุญญานันท์ เพชรเพ็ง) (
ของผู้เรียน ศักดิ ์ รักใหม่)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 มุม เวลาเรียน 11 ชั่วโมง
เรื่อง การวัดขนาดของมุม เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
วันที่ เดือนพ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปี การ
มาตรฐานการเรี ศึกษา ย 2566
น ค 2.1 กิจกรรมการเรียนรู้
รู้/ตัวชีว ้ ัด ป.4/2 ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
สาระสำคัญ
ครูนําสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับมุมที่
การวัดขนาดของมุมใหจุด นักเรียนพบเห็นในชีวิตจริง ใหนักเรียนบอก
กึ่งกลางของโพรแทรกเตอร์ทับจุด วาสิ่งของใดมีสวนประกอบของมุมบ้าง
ยอดมุมของมุมที่ตองการวัด ใหแนว ขัน ้ สอน
ศูนย์องศาของโพรแทรกเตอร์ทาบ 1.ครูนําสนทนาวา ขนาดของมุมในหน้า
ไปบนแขนหนึ่งของมุม อ่านขนาด 122 ครูใช้การสาธิตประกอบการอธิบายเกี่ยว
ของมุม โดยนับจาก 0 องศาที่ตรง กับขนาดของมุมต่าง ๆ โดยใช้แบบจำลอง
กับแขนของมุมอีกแขนหนึ่งไปจนถึง ของมุม ซึ่งอาจทำจากกระดาษแข็งรูปลูกศร
รอยขีดจุบอกองศาที
ดประสงค์ก่ตารเรีรงกับ แขนของ
ยนรู
้ 2 ชิน ้ ติดหมุดไว้ที่ปลาย เพื่อแสดงการหมุน
มุมอีกแขนหนึ่งรอยขีดนัน ้ จะบอก แขนของมุม ครูแนะนำหน่วยที่ใช้ในการวัด
1. อธิบายการวั
ขนาดของมุ มทีด ่ตขนาดของมุ
องการวัด มโดย ขนาดของมุม คือ องศา จากนัน ้ ใช้การถาม-
ใช้โพรแทรกเตอร์ได้ (K)
ตอบประกอบการอธิบายเพื่อระบุขนาดของ
2. วัดขนาดของมุมโดยใช้โพร
มุมฉาก
แทรกเตอร์ได้ (P)
2.ครูแนะนําเครื่องมือวัดขนาดของมุม
3. รัทับกผิษะและกระบวนการทาง
ดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ
คณิ ตศาสตร์ เรียกวา โพรแทรกเตอร์ มี 2 แบบ คือ ชนิด
หมาย (A)
• การสื่อสารและการสื่อความ ครึ่งวงกลมและชนิดสี่เหลี่ยมผืนผา ครูสาธิต
หมายทางคณิตศาสตร์ การวัดขนาดของมุม 1 มุม จากนัน ้ ให้
• การเชื่อมโยง นักเรียนปฏิบัติตามครูทีละขัน ้ ตอน แล้วจึงให้
• การให้เหตุผล นักเรียนปฏิบัติเองโดยครูเป็ นผู้ให้คำแนะนำ
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
ต่อมาให้นักเรียนพิจารณาการวัดขนาดของ
• มีวินัย มุมหน้า 123 พร้อมตอบคำถาม
• ใฝ่ เรียนรู้ 3.ครูนำสนทนาเกี่ยวกับวิธีการแก้ปัญหา
• มุ่งมั่นในการทำงาน สำหรับการวัดขนาดของมุมในกรณีที่แขน
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ของมุมสัน ้ ไม่ถึงรอยขีดบอกองศาในโพร
• หนังสือเรียน ชัน ้ ประถมศึกษาปี แทรกเตอร์ ให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายแสดง
ที่ 4 เล่มที่ 2 เหตุผล จากนับัน ้ นครู
ทึกใช้หลั
การสาธิ ตประกอบการ
งการสอน
• ใบงานที่ 7 เรื่อง การวัดขนาด อธิบายเพื่อแสดงการวัดขนาดของมุมดังกล่าว
ของมุม แล้วให้นักเรียนร่วมกันทำกิจกรรมหน้า 124
การวัดและประเมินผล
เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด
ใบงานที่ 7 1. ตรวจใบงาน ลงชื่อ4.มอบหมายนักลงชื เรีย่ อนทำใบงานที่ 7 การวัด
ขนาดของมุ
(นางสาวปุ มญ ลงในสมุ
ญานันท์ ดรายวิ ชา ง)
เพชรเพ็ (
2. สังเกตพฤติกรรม
ของผู้เรียน ศักขัดิน้ ์ รัสรุ ป )
กใหม่
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 มุม เวลาเรียน 11 ชั่วโมง
เรื่อง การจำแนกชนิดของมุม เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
วันที่ เดือนพ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปี การ
มาตรฐานการเรี ศึกษา ย 2566
น ค 2.1 กิจกรรมการเรียนรู้
รู้/ตัวชีว ้ ัด ป.4/2 ขัน
้ นำเข้าสู่บทเรียน
สาระสำคัญ
นักเรียนทบทวนความรู้ เรื่อง เครื่องมือ
มุมศูนย์ มีขนาด 0˚ มุม สำหรับการวัดขนาดของมุม และหน่วยการ
แหลม มีขนาดมากกว่า 0˚ แต่น้อย วัดขนาดของมุม พร้อมทัง้ บอกส่วนประกอบ
กว่า 90˚ มุมฉาก มีขนาด 90˚ มุม ขัน้ สอน
ป้ าน มีขนาดมากกว่า 90˚ แต่น้อย 1.ครูใช้การถามตอบประกอบการอธิบาย
กว่า 180˚ มุมตรง มีขนาด 180˚ การจำแนกชนิดของมุมต่าง ๆ ตามขนาด ใน
มุมกลับ มีขนาดมากกว่า 180˚ แต่ หน้า 125 โดยเชื่อมโยงกับความรู้ในหัวข้อ
น้อยกว่จุาด360˚ ประสงค์การเรียนรู้ 8.3 หน้า 116-120 แล้วให้ตอบคำถามท้าย
1. อธิบายขนาดของมุมแต่ละชนิด หน้า 125 พร้อมระบุเหตุผลและร่วมกันทำ
ได้ (K) กิจกรรมหน้า 126 จากนัน ้ ครูอธิบายข้อตกลง
2. จำแนกชนิดของมุมจากขนาด ในการเขียนสัญลักษณ์แสดงมุมฉากและส่วน
ของมุมได้ (P) โค้งของวงกลมที่ต้องการ หน้า 126
3. รัทับกผิษะและกระบวนการทาง
ดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ 2.มอบหมายนักเรียนทำใบงานที่ 8 การ
หมาย (A) จำแนกชนิดของมุม ลงในสมุดรายวิชา
คณิ ตศาสตร์ ขัน ้ สรุป
• การสื่อสารและการสื่อความ
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้
หมายทางคณิตศาสตร์
เรียนรู้ร่วมกัน
• การเชื่อมโยง
• การให้เหตุผล
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
• มีวินัย
• ใฝ่ เรียนรู้
• มุ่งมั่นในการทำงาน

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
• หนังสือเรียน ชัน้ ประถมศึกษาปี
ที่ 4 เล่มที่ 2 บันทึกหลังการสอน
• ใบงานที่ 8 เรื่อง การจำแนกชนิด
ของมุ ม ดและประเมินผล
การวั
เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ลงชื่อ ลงชื่อ
ใบงานที่ 8 1. ตรวจใบงาน (นางสาวปุญญานันท์ เพชรเพ็ง) (
2. สังเกตพฤติกรรม ศักดิ ์ รักใหม่)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 มุม เวลาเรียน 11 ชั่วโมง
เรื่อง การวัดขนาดของมุมกลับ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
วันที่ เดือนพ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปี การ
มาตรฐานการเรีศึกษา ย 2566
น ค 2.1 กิจกรรมการเรียนรู้
รู้/ตัวชีว
้ ัด ป.4/2 ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
สาระสำคัญ
ครูทบทวนขนาดของ มุมตรง และมุมกลับ
การวัดขนาดของมุมกลับอาจ โดยการซักถาม ซึ่งจะได้ว่า มุมตรงมีขนาด
ทำได้โดยวัดขนาดของมุมที่เหลือ 180˚ และมุมกลับมีขนาดมากกว่า 180˚ แต่
แล้วนำไปลบออกจาก 360˚ หรือ น้อยกว่า 360˚
การแบ่งมุมกลับเป็ นมุมย่อย วัด ขัน ้ สอน
ขนาดมุมย่อยแล้วนำขนาดของมุม 1.ครูแนะนำว่าเนื่องจากมุมกลับมีขนาด
ย่อยเหล่านัน ้ มารวมกัน ใหญ่กว่ามุมตรงหรือ 180˚ แต่เล็กกว่า 360˚
จุดประสงค์การเรียนรู้ เราไม่สามารถใช้โพรแทรกเตอร์วัดขนาดของ
1. อธิบายการวัดขนาดของมุมกลับ มุมกลับได้เหมือนมุมแหลม หรือ มุมฉาก
โดยใช้โพรแทรกเตอร์ได้ (K) หรือ มุมป้ าน หรือ มุมตรง ดังนัน ้ การวัด
2. วัดขนาดของมุมกลับได้ (P) ขนาดของมุมกลับอาจทำได้โดยวัดขนาดของ
3. รับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ มุมที่เหลือแล้วนำไปลบออกจาก 360˚ ครู
หมาย (A) แนะนำการหาขนาดของมุมกลับในหน้า 127
ทักษะและกระบวนการทาง 2. ครูตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความ
คณิตศาสตร์ รู้ที่ได้โดยให้นักเรียนโดยทำกิจกรรมหน้า 128
• การสื่อสารและการสื่อความ
เป็ นรายบุคคล
หมายทางคณิตศาสตร์
3.มอบหมายนักเรียนทำใบงานที่ 9 การวัด
• การเชื่อมโยง
ขนาดของมุมกลับ ลงในสมุดรายวิชา
• การให้เหตุผล
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ขัน ้ สรุป
• มีวินัย ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้
• ใฝ่ เรียนรู้ เรียนรู้ร่วมกัน
• มุ่งมั่นในการทำงาน

สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
• หนังสือเรียน ชัน้ ประถมศึกษาปี
ที่ 4 เล่มที่ 2 บันทึกหลังการสอน
• ใบงานที่ 9 เรื่อง การวัดขนาด
ของมุ มกลัดบและประเมินผล
การวั
เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ลงชื่อ ลงชื่อ
ใบงานที่ 9 1. ตรวจใบงาน (นางสาวปุญญานันท์ เพชรเพ็ง) (
2. สังเกตพฤติกรรม ศักดิ ์ รักใหม่)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 มุม เวลาเรียน 11 ชั่วโมง
เรื่อง การสร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ เวลาเรียน 1 ชั่วโมง
วันที่ เดือนพ.ศ. 2566 ภาคเรียนที่ 2 ปี การ
มาตรฐานการเรี ศึกษา ย 2566
น ค 2.1 กิจกรรมการเรียนรู้
รู้/ตัวชีว ้ ัด ป.4/2
สาระสำคัญ ขัน
้ นำเข้าสู่บทเรียน
การสร้างมุมทำได้โดยลาก ครูทบทวนส่วนประกอบของมุม จากรูปที่
แขนของมุมวางโพรแทรกเตอร์ทาบ ติดบนกระดาน ให้นักเรียนช่วยกันบอกจุด
บนแขนของมุม ใหจุดกึ่งกลางโพร ยอดมุม แขนของมุม การเรียกชื่อมุม และ
แทรกเตอร์อยู่ที่จุดยอดมุมที่จุด 0 ชนิดของมุม พร้อมบอกเหตุผล
บนโพรแทรกเตอร์ทางด้านที่ทับ ขัน้ สอน
แขนของมุมนับจำนวนองศาตามที่ 1.ครูนำสนทนาเกี่ยวกับการสร้างมุม ABC
กำหนด เขียนจุดกำกับไวตรงกับ ให้มีขนาด 55˚ โดยให้นักเรียนวิเคราะห์สิ่งที่
เสนที่ชต ี ้ ัวเลข เขียนสวนของเสน โจทย์กำหนดให้เพื่อเป็ นแนวทางในการสร้าง
จุดประสงค์การเรียนรู้ โดยครูใช้คำถาม เช่น โจทย์ข้อนีใ้ ห้ทำอะไร
ตรงจากจุดยอดมุมไปยังจุดที่เขียน
1.
กำกัอธิบบายการสร้างมุมโดยใช้โพร มุม ABC เป็ นมุมชนิดใด จุดใดเป็ นจุดมุมยอด
แทรกเตอร์ได้ (K) มุม แขนของมุมคือรังสีใดหรือส่วนของเส้น
2. สร้างมุมให้มีขนาดตามที่กำหนด ตรงใด
โดยใช้โพรแทรกเตอร์ได้ (K) 2.ครูสาธิตการสร้างมุม ABC แล้วให้
3. รัทับกผิษะและกระบวนการทาง
ดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ นักเรียนปฏิบัติตามลงในสมุดไปพร้อมกับครู
คณิ หมาย
ตศาสตร์ (A) ตามขัน ้ ตอนในหน้า 129 จากนัน ้ ให้นักเรียน
• การแก้ปัญหา ร่วมกันทำกิจกรรมข้อ 1 2 3 และ 4 หน้า
• การสื่อสารและการสื่อความ 131
หมายทางคณิตศาสตร์ 3.มอบหมายนักเรียนทำใบงานที่ 10 การ
• การเชื่อมโยง สร้างมุมโดยใช้โพรแทรกเตอร์ ลงในสมุด
คุณลักษณะที่พึงประสงค์
รายวิชา
• มีวินัย ขัน ้ สรุป
• ใฝ่ เรียนรู้ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้
• มุ่งมั่นในการทำงาน เรียนรู้ร่วมกัน
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
• หนังสือเรียน ชัน ้ ประถมศึกษาปี
ที่ 4 เล่มที่ 2 บันทึกหลังการสอน
• ใบงานที่ 10 เรื่อง การสร้างมุม
โดยใช้การวั โพรแทรกเตอร์
ดและประเมินผล
เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ลงชื่อ ลงชื่อ
ใบงานที่ 10 1. ตรวจใบงาน (นางสาวปุญญานันท์ เพชรเพ็ง) (
2. สังเกตพฤติกรรม ศักดิ ์ รักใหม่)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ ชัน
้ ประถมศึกษาปี ที่ 4
หน่วยการเรียนรู้ที่ 8 มุม เวลาเรียน 11 ชั่วโมง
เรื่อง การสร้างมุมกลับโดยใช้โพรแทรกเตอร์ เวลาเรียน 1
ชั่วโมง
มาตรฐานการเรี วันที่ เดื
ยอ นนพ.ศ. 2566 ภาคเรียยนรู
กิจกรรมการเรี นที
้ ่ 2 ปี การ
ค 2.1
รู้/ตัวชีว ้ ัดศึกษา 2566ป.4/2 ขัน้ นำเข้าสู่บทเรียน
สาระสำคัญ
ครูติดรูปมุมที่มีขนาด 240˚ บนกระดานให้
การสร้างมุมทำได้โดยลาก นักเรียนตอบคำถาม ดังนี ้ มุมที่มีขนาด 240˚
แขนของมุมวางโพรแทรกเตอร์ทาบ เป็ นมุมชนิดใด และจะเรียกชื่อมุมนีว้ ่า
บนแขนของมุม ใหจุดกึ่งกลางโพร อย่างไร จะสร้างมุมให้มีขนาด 240˚ โดยใช้
แทรกเตอร์อยู่ที่จุดยอดมุมที่จุด 0 โพรแทรกเตอร์ได้อย่างไร
บนโพรแทรกเตอร์ทางด้านที่ทับ ขัน ้ สอน
แขนของมุมนับจำนวนองศาตามที่ 1.ครูนำสนทนาเกี่ยวกับการสร้างมุม DEF
กำหนด เขียนจุดกำกับไวตรงกับ ให้มีขนาด 245˚ โดยให้นักเรียนวิเคราะห์สิ่ง
เสนที่ชจุต ี ้ ดัวประสงค์
เลข เขียนส วนของเส
การเรียนรู้ น ที่โจทย์กำหนดให้เพื่อเป็ นแนวทางในการ
ตรงจากจุดยอดมุมไปยังจุดที่เขียน สร้างโดยครูใช้คำถาม เช่น โจทย์ข้อนีใ้ ห้ทำ
1. อธิบายการสร้างมุมกลับโดยใช้
กำกับ อะไร โจทย์กำหนดอะไรให้บ้าง จุดใดเป็ นจุด
โพรแทรกเตอร์ได้ (K)
2. สร้างมุมกลับให้มีขนาดตามที่ มุมยอดมุม แขนของมุมคือรังสีใดหรือส่วน
กำหนดโดยใช้โพรแทรกเตอร์ได้ ของเส้นตรงใด
(K) 2.ครูสาธิตการสร้างมุม DEF แล้วให้
3. รัทับกผิษะและกระบวนการทาง
ดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบ นักเรียนปฏิบัติตามลงในสมุดไปพร้อมกับครู
คณิ ตศาสตร์
หมาย (A) ตามขัน ้ ตอนในหน้า 130 จากนัน ้ ให้นักเรียน
• การแก้ปัญหา ร่วมกันทำกิจกรรมข้อ 5 และ 6 หน้า 131
• การสื่อสารและการสื่อความ 3.ครูตรวจสอบความเข้าใจและสรุปความรู้
หมายทางคณิตศาสตร์ ที่ได้โดยให้นักเรียนโดยทำกิจกรรมหน้า 132
• การเชื ่ อ มโยง
คุณลักษณะที่พึงประสงค์ เป็ นรายบุคคล
• มีวินัย 4.มอบหมายนักเรียนทำใบงานที่ 11 การ
• ใฝ่ เรียนรู้ สร้างมุมกลับโดยใช้โพรแทรกเตอร์ ลงในสมุด
• มุ่งมั่นในการทำงาน รายวิชา
สื่อ/แหล่งการเรียนรู้ ขัน ้ สรุป
ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้
• หนังสือเรียน ชัน ้ ประถมศึกษาปี
เรียนรู้ร่วมกันบันทึกหลังการสอน
ที่ 4 เล่มที่ 2
• ใบงานที่ 11 เรื่อง การสร้างมุม
กลับการวั
โดยใช้ ดโและประเมิ
พรแทรกเตอร์นผล
เครื่องมือที่ใช้ วิธีการวัด ลงชื่อ ลงชื่อ
ใบงานที่ 11 1. ตรวจใบงาน (นางสาวปุญญานันท์ เพชรเพ็ง) (
2. สังเกตพฤติกรรม ศักดิ ์ รักใหม่)

You might also like