You are on page 1of 66

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชัน


้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
ภาคเรียนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เส้นขนาน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายใน
เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน
………………………………………………………………………………………………
โรงเรียน……………………………………………………..
อำเภอ…………………………จังหวัด…………………………….
วันที่
สอน...............................................เดือน...........................................
...........พ.ศ.............................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูป
เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททาง
เรขาคณิต และนำไปใช้

2. ตัวชีว
้ ัด
มฐ (ค 2.2 ม.2/2) นำความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและรูป
สามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

3. สาระสำคัญ
1. เส้นตรงสองเส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกัน ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ
เส้นตรงทัง้ สองเส้นนัน
้ ไม่ตัดกัน
2. เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นน
ั ้ ขนานกัน
ก็ต่อเมื่อขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวมกัน
เท่ากับ 180 องศา

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้ (K) : นักเรียนสามารถ
1. บอกนิยามของเส้นขนานได้
2. บอกได้วา่ ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกัน แล้วระยะห่าง
ระหว่างเส้นตรงคูน
่ น
ั้ จะเท่ากันเสมอ
3. บอกได้ว่า ถ้าเส้นตรงสองเส้นมีระยะห่างระหว่างเส้นตรง
เท่ากันเสมอ แล้วเส้นตรงคู่นน
ั ้ จะขนานกัน
4. บอกได้ว่า มุมคู่ใดเป็ นมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของ
เส้นตัด เมื่อกำหนดให้เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง
5. บอกได้ว่า เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่
นัน
้ ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ ขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของ
เส้นตัดรวมกันเท่ากับ 180 องศา และนำสมบัตินไี ้ ปใช้ได้
4.2 ด้านทักษะ / กระบวนการ (P) : นักเรียนมีความ
สามารถ
1. ในการแก้ปัญหา
2. ในการให้เหตุผล
3. ในการสื่อสาร ในการสื่อความหมาย และการนำเสนอ
4. ในการเชื่อมโยงความรู้จ่างๆ ทางคณิตศาสตร์
4.3 ด้านคุณลักษณะ (A) : นักเรียน
1. ทำงานอย่างเป็ นระบบ
2. มีระเบียบวินัย
3. มีความรอบคอบ
4. มีความรับผิดชอบ
5. มีวิจารณญาณ
6. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
7. ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
8. ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
4.4 ค่านิยม 12 ประการ
1. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วน
รวม
2. ใฝ่ หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทัง้ ทางตรง และทางอ้อม

5. สาระการเรียนรู้
เส้นขนานและมุมภายใน

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูให้นักเรียนดูภาพรางรถไฟ ดังรูป
ครูถามนักเรียนว่า "รางรถไฟในภาพนีข
้ นานกันหรือไม่ เพราะ
เหตุใด ให้นก
ั เรียนร่วมกันอภิปราย ซึ่งอาจจะมีนักเรียนสรุปว่า ราง
รถไฟในภาพนีไ้ ม่ขนานกัน ดังนัน
้ ครูจำเป็ นที่จะต้องอธิบายเพิ่มเติมว่า
การที่นักเรียนคิดว่ารางรถไฟที่มองเห็นไม่ขนานกันเพราะเกิดจากการ
รวมจุดของสายตาเรา แต่รางรถไฟของจริงต้องขนานกัน เพราะล้อ
ของรถไฟ 2 ข้าง ซึ่งเป็ นตัวบังคับให้รางขนานกัน ต้องมีระยะห่าง
เท่ากันเสมอ
2. ครูลากส่วนของเส้นตรง 2 คู่บนกระดาน ดังรูป

 รูปที่
 รูปที่
1
2

ครูใช้คำถามเร้าความสนใจนักเรียนว่า “นักเรียนคิดว่าเส้นตรง
คู่ใดขนานกัน” ซึ่งนักเรียนตอบได้โดยใช้การมองด้วยสายตา แล้วครูจึง
ถามต่อว่า “นอกจากมองด้วยตาเปล่าแล้ว เราจะมีวิธีการแสดงอย่างไร
ว่าเส้นตรงคู่นน
ั ้ ขนานกัน” ครูเปิ ดโอกาสให้นก
ั เรียนได้แสดงความคิด
เห็น และจูงใจให้นักเรียนกล้าออกมาพิสูจน์ให้เพื่อนดูบนกระดาน โดย
การนำไม้บรรทัดออกมาวัดระยะห่างของเส้นตรง 2 เส้น โดยวัดทีละรูป
ว่าระยะห่างของแต่ละรูปเหมือนหรือต่างกันอย่างไร จากนัน
้ ร่วมกันสรุป
ว่ารูปใดที่ระยะห่างระหว่างเส้นตรงสองเส้นเท่ากันตลอด แสดงว่าเส้น
ตรงคู่นน
ั ้ ขนานกัน
3. ให้นักเรียนทุกคนร่วมกันพิจารณา สังเกต วิเคราะห์ และ
อภิปรายสรุป เพื่อบอกนิยามของเส้นขนาน นั่นคือ

เส้นตรงสองเส้นที่อยู่บนระนาบเดียวกัน ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ เส้นตรงทัง้


สองเส้นนัน
้ ไม่ตัดกัน

4. ครูแจกใบงานที่ 3.1.1 เรื่อง เส้นขนาน แล้วให้นักเรียนทำ เป็ น


รายบุคคลให้เสร็จภายในเวลา 10 นาที จากนัน
้ ครูและนักเรียนร่วมกัน
เฉลยคำตอบ ครูตรวจสอบความถูกต้อง นักเรียนทุกคนร่วมกัน
พิจารณา สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายสรุปได้ว่า ถ้าเส้นตรงสองเส้น
ขนานกัน แล้วระยะห่างระหว่างเส้นตรงคู่นน
ั ้ จะเท่ากันเสมอ หรือถ้า
เส้นตรงสองเส้นมีระยะห่างระหว่างเส้นตรงเท่ากันเสมอ แล้วเส้นตรง
คู่นน
ั ้ จะขนานกัน
5. ครูให้นักเรียนพิจารณารูปที่กำหนดพร้อมเงื่อนไข ดังนี ้

34 E

A 5 61 2 B

C D
78
F
เงื่อนไขที่กำหนดให้
ให้ ขนานกับ มี ตัดเส้นคู่ขนาน ทำให้เกิด , , ,
, , , และ

6. ครูถามนักเรียนว่ามุมภายในของคู่ขนานคือมุมอะไร (คำตอบคือ
, , และ ) แล้วถามต่อว่าแล้วมุมภายนอกของคู่ขนานคือมุม
อะไร ( คำตอบคือ , , และ ) หลังจากนัน
้ ให้นักเรียนสังเกตว่า
กับ สัมพันธ์กันอย่างไร ( เป็ นมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด
) แล้วให้นักเรียนช่วยกันหาว่ายังมีมุมคู่ใดที่เป็ นมุมภายในบนข้างเดียวกัน
ของเส้นตัดอีกหรือไม่ ( กับ )
7. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปความหมายของมุมภายในบนข้าง
เดียวกันของเส้นตัด
8. ให้นักเรียนทำแบบฝึ กปฏิบัติกิจกรรม ในหนังสือสัมฤทธิ ์
มาตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ แล้ว
ครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาเฉลย ครูและนักเรียน ช่วยกันตรวจสอบคำ
ตอบและวิธีทำให้ถูกต้อง หากนักเรียนมีข้อสงสัย ครูช่วยอธิบายเพิ่ม
เติม

ชั่วโมงที่ 2
1. ครูให้นักเรียนทำใบกิจกรรมที่ 3.1.1 เพื่อทบทวนเป็ นการ
ตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด
แล้วสุ่มเรียกนักเรียนออกมาเฉลย
2. ครูยกตัวอย่างที่ 2 และ ตัวอย่างที่ 3 ในหนังสือสัมฤทธิ ์
มาตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 แล้วครูสุ่มเรียกนักเรียนตอบ ครู
และนักเรียนช่วยกันตรวจสอบ คำตอบและวิธีทำให้ถูกต้อง หาก
นักเรียนมีข้อสงสัย ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติม
3. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปสมบัติของเส้นขนาน คือ

เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นน
ั ้ ขนานกัน
ก็ต่อเมื่อขนาดของมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัดรวม
กันเท่ากับ 180 องศา

4. ให้นักเรียนทำแบบฝึ กปฏิบัติกิจกรรม ในหนังสือสัมฤทธิ ์


มาตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 เป็ นการบ้าน

ชั่วโมงที่ 3
1. ครูสุ่มให้นักเรียนออกมาเฉลยการบ้านคนละข้อ เพื่อทบทวน
เป็ นการตรวจสอบความเข้าใจเกี่ยวกับมุมภายในบนข้างเดียวกันของ
เส้นตัด
2. ให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน เพื่อทำแบบฝึ กปฏิบัติ
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 แล้วครู
กิจกรรม ในหนังสือสัมฤทธิม
สุ่มเรียกนักเรียนตอบครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบคำตอบและวิธี
ทำให้ถูกต้อง หากนักเรียนมีข้อสงสัย ครูช่วยอธิบายเพิ่มเติม
3. ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปสมบัติของเส้นขนาน

7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
7.1 สื่อการเรียนรู้
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2
1. หนังสือสัมฤทธิม
2. ภาพรางรถไฟ
3. ใบงานที่ 3.1.1
4. แผนภูมิ
5. แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการสอน
6. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
7.2 แหล่งการเรียนรู้
1. ศูนย์คณิตศาสตร์
2. ห้องสมุดโรงเรียน
3. ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อ่ น
ื ๆ

8. การวัดประเมินผลการเรียนรู้

วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล


1. สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต นักเรียนผ่านเกณฑ์การ
ทางการเรียน พฤติกรรมทางการ ประเมิน
การสอน เรียนการสอน ในระดับดีขน
ึ ้ ไป
2. สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต นักเรียนผ่านเกณฑ์การ
การปฏิบัติ พฤติกรรมการปฏิบัติ ประเมิน
กิจกรรมกลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม ในระดับดีขน
ึ ้ ไป
3. การทำใบงานที่ ใบงานที่ 3.1.1 นักเรียนทุกคนทำถูก
3.1.1 ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
70 ของคะแนนทัง้ หมด
4. การทำใบกิจกรรม ใบกิจกรรมที่ 3.1.1 นักเรียนทุกคนทำถูก
ที่ 3.1.1 ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
70 ของคะแนนทัง้ หมด
5. การทำแบบฝึ ก แบบฝึ กปฏิบัติ นักเรียนทุกคนทำถูก
ปฏิบัติกิจกรรม กิจกรรม ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
70 ของคะแนนทัง้ หมด

เกณฑ์การประเมินผลจากการทำใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึ กปฏิบัติ


กิจกรรม ใช้เกณฑ์ดังนี ้

80% ขึน
้ ไป หมายถึง ดีมาก
70-79% หมายถึง ดี
60-69% หมายถึง ปานกลาง
50-59% หมายถึง ผ่าน
ต่ำกว่า 50% หมายถึง ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการสอน

ทำงาน
ความ ความ ความ การให้
อย่าง รว
เลข ชื่อ-สกุลของ รอบคอ ตัง้ ใจ รับผิด ความ
เป็ น ม
ที่ ผู้รับการประเมิน บ เรียน ชอบ ร่วมมือ
ระบบ
4 4 4 4 4 20

เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติเป็ นประจำ ให้ 4 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วง ระดับ
คะแนน คุณภาพ
18-20 ดีมาก
13-17 ดี
8-12 ปาน
5-7 กลาง
ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
กลุ่มที่(ชื่อ
ลุ่ม)...............................................................................................................................................
...
สมาชิกในกลุ่ม 1....................................................................
2........................................................................
3....................................................................
4........................................................................
5...................................................................
6.......................................................................

คำชีแ
้ จง ให้ทำเครื่องหมาย P ในช่องที่ตรงกับความเป็ นจริง
คะแนน
พฤติกรรมที่สังเกต
4 3 2 1
1. การมีส่วนร่วมในการ
วางแผน
2. การปฏิบัติงานตาม
บทบาทหน้าที่
3. การให้ความร่วมมือใน
การทำงาน
4. การแสดงความคิดเห็น
5. การยอมรับความคิดเห็น
รวม
ลงชื่อ............................................................................ผู้ประเมิน
.................../................../..................

เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติเป็ นประจำ ให้ 4 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วง ระดับ
คะแนน คุณภาพ
18-20 ดีมาก
13-17 ดี
8-12 ปาน
5-7 กลาง
ปรับปรุง

9. กิจกรรมเสนอแนะ
-

ใบงานที่ 3.1.1
เรื่อง เส้นขนาน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนตอบคำถามต่อไปนี ้
1. พิจารณาว่าส่วนของเส้นตรงคู่ใดบ้างที่ขนานกัน โดยใช้สัญลักษณ์
// แทนการขนานกัน และ // แทนการไม่ขนานกัน
M O
1) 3)
B

A
D
C

N P

2) 4)
P
E F
R G H
Q

2. ตรวจสอบว่าส่วนของเส้นตรงต่อไปนีม
้ ีคู่ใดขนานกันบ้าง
C E G I K
A

D F
H L
B J
ใบกิจกรรมที่ 3.1.1

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเขียนมุมภายในที่อยู่บนข้างเดียวกันของเส้นตัด
จากรูปที่กำหนดให้ดังต่อไปนี ้
1.

1 2
34
5 6
78

2.

a b
cd
e gf h

3.

53 64
12
78
แบบฝึ กเสริมทักษะ

1.เส้นตรงแต่ละคู่ต่อไปนี ้ ขนานกันหรือไม่ เพราะเหตุใด


1)

2)

3)

4)
2. จงหาค่าของ x ในแต่ละข้อต่อไปนี ้ เมื่อกำหนดให้ //

1)

2)

3)

4)
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
ภาคเรียนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เส้นขนาน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง เส้นขนานและมุมแย้ง
เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน
………………………………………………………………………………………………
……………………….……….
โรงเรียน……………………………………………………..
อำเภอ…………………………จังหวัด…………………………….
วันที่
สอน...............................................เดือน...........................................
...........พ.ศ.............................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูป
เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททาง
เรขาคณิต และนำไปใช้

2. ตัวชีว
้ ัด
มฐ (ค 2.2 ม.2/2) นำความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและรูป
สามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

3. สาระสำคัญ
เส้นขนานและมุมแย้ง
เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นน
ั ้ ขนานกัน ก็
ต่อเมื่อ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้ (K) : นักเรียนสามารถ
1. บอกได้ว่ามุมคู่ใดเป็ นมุมแย้ง เมื่อกำหนดให้เส้นตรงเส้น
หนึง่ ตัดเส้นตรงคู่หนึง่
2. บอกได้ว่าเมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่
นัน
้ ขนานกัน ก็ต่อเมื่อ มุมแย้งมีขนาดเท่ากัน และนำสมบัตินไี ้ ปใช้ได้
4.2 ด้านทักษะ / กระบวนการ (P) : นักเรียนมีความ
สามารถ
1. ในการแก้ปัญหา
2. ในการให้เหตุผล
3. ในการสื่อสาร ในการสื่อความหมาย และการนำเสนอ
4. ในการเชื่อมโยงความรู้จ่างๆ ทางคณิตศาสตร์
4.3 ด้านคุณลักษณะ (A) : นักเรียน
1. ทำงานอย่างเป็ นระบบ
2. มีระเบียบวินัย
3. มีความรอบคอบ
4. มีความรับผิดชอบ
5. มีวิจารณญาณ
6. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
7. ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
8. ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
4.4 ค่านิยม 12 ประการ
1. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วน
รวม
2. ใฝ่ หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทัง้ ทางตรง และทางอ้อม

5. สาระการเรียนรู้
เส้นขนานและมุมแย้ง

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูให้นักเรียนทบทวนมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด
โดยให้พิจารณารูปที่กำหนดพร้อมเงื่อนไขจากแผนภูมิ ดังนี ้
2
3 4E

A 5 61 B

C D
78
F
เงื่อนไขที่กำหนดให้
ให้ ขนานกับ มี ตัดเส้นคู่ขนาน ทำให้เกิด , , ,
, , , และ

ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่ามุมใดบ้างเป็ นมุมภายในบนข้าง
เดียวกันของเส้นตัด แล้วครูบอกให้นักเรียนทราบว่า เราจะเรียก
กับ ว่าเป็ นมุมแย้ง และ กับ ก็เป็ นมุมแย้งเช่นเดียวกัน
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์
2. ครูยกตัวอย่างที่ 1 ในหนังสือสัมฤทธิม
ม.2 เล่ม 2 โดยใช้การถามตอบนักเรียนทีละขัน
้ เพื่อแสดงการ
พิสูจน์ข้อสรุปต่อไปนี ้

ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัดแล้ว มุมแย้งจะมี
ขนาดเท่ากัน

์ าตรฐาน คณิตศาสตร์
3. ครูยกตัวอย่างที่ 2 ในหนังสือสัมฤทธิม
ม.2 เล่ม 2 โดยใช้การถามตอบนักเรียนทีละขัน
้ จนได้ข้อสรุปที่ว่า

ถ้าเส้นตรงเส้นหนึง่ ตัดเส้นตรงคู่หนึง่ ทำให้มุมแย้งมีขนาดเท่า


กันแล้ว เส้นตรงคู่นน
ั ้ จะ ขนานกัน

4. ครูใช้การถามตอบให้นักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของเส้น
ขนาน
5. ให้นักเรียนทำแบบฝึ กปฏิบัติกิจกรรม ในหนังสือสัมฤทธิ ์
มาตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 เป็ นการบ้าน
ชั่วโมงที่ 2
1. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยการบ้าน เพื่อตรวจสอบความ
เข้าใจ และ ช่วยกันสรุปเกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนาน
์ าตรฐาน
2. ให้นักเรียนทำแบบฝึ กปฏิบัติ ในหนังสือสัมฤทธิม
คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ แล้วครูสุ่มเรียก
นักเรียนออกมาเฉลย ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบคำตอบ และ
วิธีทำให้ถูกต้อง หากนักเรียนมีข้อสงสัยครูช่วยอธิบาย
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสมบัติของเส้นขนานอีกครัง้ หนึง่
4. ครูยกโจทย์มา 1 ข้อ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ให้
นักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบ โดยที่ครูตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้
หนึง่

ชั่วโมงที่ 3
1. ให้นักเรียนทำใบงานที่ 3.2.1 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
แล้วครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาเฉลย ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบ
คำตอบ และวิธีทำให้ถูกต้อง หากนักเรียนมีข้อสงสัยครูช่วยอธิบาย
2. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสมบัติของเส้นขนานอีกครัง้ หนึง่
3. ครูยกโจทย์มา 1 ข้อ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ให้นักเรียน
ช่วยกันเฉลยคำตอบ โดยที่ครูตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้ หนึ่ง

7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
7.1 สื่อการเรียนรู้
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2
1. หนังสือสัมฤทธิม
2. แผนภูมิ
3. ใบงานที่ 3.2.1
4. แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการสอน
7.2 แหล่งการเรียนรู้
1. ศูนย์คณิตศาสตร์
2. ห้องสมุดโรงเรียน
3. ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อ่ น
ื ๆ

8. การวัดประเมินผลการเรียนรู้

วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล


1. สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต นักเรียนผ่านเกณฑ์การ
ทางการเรียน พฤติกรรมทางการ ประเมิน
การสอน เรียนการสอน ในระดับดีขน
ึ ้ ไป
2. การทำใบงานที่ ใบงานที่ 3.2.1 นักเรียนทุกคนทำถูก
3.2.1 ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
70 ของคะแนนทัง้ หมด
3. การทำแบบฝึ ก แบบฝึ กปฏิบัติ นักเรียนทุกคนทำถูก
ปฏิบัติกิจกรรม กิจกรรม ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
70 ของคะแนนทัง้ หมด

เกณฑ์การประเมินผลจากการทำใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึ กปฏิบัติ


กิจกรรม ใช้เกณฑ์ดังนี ้

80% ขึน
้ ไป หมายถึง ดีมาก
70-79% หมายถึง ดี
60-69% หมายถึง ปานกลาง
50-59% หมายถึง ผ่าน
ต่ำกว่า 50% หมายถึง ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการสอน

ทำงาน
ความ ความ ความ การให้
อย่าง รว
เลข ชื่อ-สกุลของ รอบคอ ตัง้ ใจ รับผิด ความ
เป็ น ม
ที่ ผู้รับการประเมิน บ เรียน ชอบ ร่วมมือ
ระบบ
4 4 4 4 4 20

เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติเป็ นประจำ ให้ 4 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วง ระดับ
คะแนน คุณภาพ
18-20 ดีมาก
13-17 ดี
8-12 ปาน
5-7 กลาง
ปรับปรุง

9. กิจกรรมเสนอแนะ
-

ใบงานที่ 3.2.1
คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนหาค่าของตัวแปรในแต่ละข้อจากรูปต่อไปนี ้
1.

=
a

2.
x
=

3.

b =

4.

=
c

5.
x
=
6.
a
=

7.

c
=

8.
x
=

9.
x
=
y
=

10.

b =
a =
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
ภาคเรียนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เส้นขนาน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุม
ภายใน เวลา 3 ชั่วโมง
ครูผู้สอน ………………………………………………………………………………
……………………………………….……….
โรงเรียน……………………………………………………..
อำเภอ…………………………จังหวัด…………………………….
วันที่
สอน...............................................เดือน...........................................
...........พ.ศ.............................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูป
เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททาง
เรขาคณิต และนำไปใช้

2. ตัวชีว
้ ัด
มฐ (ค 2.2 ม.2/2) นำความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและรูป
สามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

3. สาระสำคัญ
เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน
เมื่อเส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้นตรงคู่หนึ่ง เส้นตรงคู่นน
ั ้ ขนานกัน ก็
ต่อเมื่อ มุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของ
เส้นตัดมีขนาดเท่ากัน

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้ (K) : นักเรียนสามารถ
1. บอกได้ว่า มุมคู่ใดเป็ นมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรง
ข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัด เมื่อกำหนดให้เส้นตรงเส้นหนึ่งตัดเส้น
ตรงคูห
่ นึ่ง
2. บอกได้ว่า เมื่อเส้นตรงเส้นหนึง่ ตัดเส้นตรงคู่หนึง่ เส้นตรง
คู่นน
ั ้ ขนานกัน ก็ต่อเมื่อมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้าง
เดียวกันของเส้นตัดมีขนาดเท่ากัน และนำสมบัตินไี ้ ปใช้ได้
4.2 ด้านทักษะ / กระบวนการ (P) : นักเรียนมีความ
สามารถ
1. ในการแก้ปัญหา
2. ในการให้เหตุผล
3. ในการสื่อสาร ในการสื่อความหมาย และการนำเสนอ
4. ในการเชื่อมโยงความรู้จ่างๆ ทางคณิตศาสตร์
4.3 ด้านคุณลักษณะ (A) : นักเรียน
1. ทำงานอย่างเป็ นระบบ
2. มีระเบียบวินัย
3. มีความรอบคอบ
4. มีความรับผิดชอบ
5. มีวิจารณญาณ
6. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
7. ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
8. ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
4.4 ค่านิยม 12 ประการ
1. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วน
รวม
2. ใฝ่ หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทัง้ ทางตรง และทางอ้อม

5. สาระการเรียนรู้
เส้นขนานและมุมภายนอกกับมุมภายใน

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูให้นักเรียนทบทวนมุมภายในบนข้างเดียวกันของเส้นตัด
และมุมแย้ง โดยให้พิจารณารูปที่กำหนดพร้อมเงื่อนไข ดังนี ้
1
34
E

A 2 B

5 6
C 7 8 D

เงื่อนไขที่กำหนดให้
ให้ ขนานกับ มี ตัดเส้นคู่ขนาน ทำให้เกิด , , ,
, , , และ
ให้นักเรียนช่วยกันบอกว่ามุมใดบ้างเป็ นมุมภายในบนข้างเดียวกัน
ของเส้นตัด มุมแย้ง แล้วครูบอกให้นักเรียนทราบว่า เราจะเรียก , ,
และ ว่ามุมภายนอก เรียก , , และ ว่ามุมภายใน
เรียก และ ว่าเป็ นมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้าง
เดียวกันของเส้นตัด ในทำนองเดียวกัน จะเรียก และ , และ
, และ แต่ละคู่ว่าเป็ นมุมภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบน
ข้างเดียวกันของเส้นตัดด้วย
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์
2. ครูยกตัวอย่างที่ 1 ในหนังสือสัมฤทธิม
ม.2 เล่ม 2 โดยใช้การถามตอบนักเรียนทีละขัน
้ เพื่อแสดงการพิสูจน์
ข้อสรุป ดังนี ้

ถ้าเส้นตรงสองเส้นขนานกันและมีเส้นตัด แล้ว
มุมภายนอกและมุมภายใน
ที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้นตัดมีขนาด
เท่ากัน

3. ให้นักเรียนทำแบบฝึ กปฏิบัติกิจกรรม ในหนังสือสัมฤทธิ ์


มาตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ แล้วสุ่ม
เรียกนักเรียนออกมาเฉลย ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบคำตอบ
และวิธีทำให้ถูกต้อง หากนักเรียนมีข้อสงสัยครูช่วยอธิบาย
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสมบัติของเส้นขนานอีกครัง้ หนึง่
5. ครูยกโจทย์มา 1 ข้อ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ให้นักเรียน
ช่วยกันเฉลยคำตอบ โดยที่ครูตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้ หนึ่ง

ชั่วโมงที่ 2
1. ครูและนักเรียนช่วยกันทบทวน สมบัติของเส้น
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์
2. ครูยกตัวอย่างที่ 2 ในหนังสือสัมฤทธิม
ม.2 เล่ม 2 โดยใช้การถามตอบนักเรียนทีละขัน
้ จนได้ข้อสรุปที่ว่า

ถ้าเส้นตรงเส้นหนึง่ ตัดเส้นตรงคู่หนึง่ ทำให้มุม


ภายนอกและมุมภายในที่อยู่ตรงข้ามบนข้างเดียวกันของเส้น
ตัดมีขนาดเท่ากันแล้ว เส้นตรงคู่นน
ั ้ จะขนานกัน

3. ให้นักเรียนทำแบบฝึ กปฏิบัติกิจกรรม ในหนังสือสัมฤทธิ ์


มาตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ แล้ว
ครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาเฉลย ครูและนักเรียนช่วยกันตรวจสอบคำ
ตอบ และวิธีทำให้ ถูกต้อง หากนักเรียนมีข้อสงสัยครูช่วยอธิบาย
4. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสมบัติของเส้นขนานอีกครัง้ หนึง่
5. ครูยกโจทย์มา 1 ข้อ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ให้นก
ั เรียน
ช่วยกันเฉลยคำตอบ โดยที่ครูตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้ หนึ่ง

ชั่วโมงที่ 3
1. ครูและนักเรียนช่วยกันทบทวน สมบัติของเส้นขนาน
2. ให้นักเรียนทำใบงานที่ 3.3.1 ข้อ 1 – 5 เพื่อตรวจสอบ
ความเข้าใจแล้วครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาเฉลย ครูและนักเรียนช่วยกัน
ตรวจสอบคำตอบ และวิธีทำให้ถูกต้อง หากนักเรียนมีข้อสงสัยครูช่วย
อธิบาย
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสมบัติของเส้นขนานอีกครัง้ หนึง่
4. ครูยกโจทย์มา 1 ข้อ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ให้นก
ั เรียน
ช่วยกันเฉลยคำตอบ โดยที่ครูตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้ หนึ่ง
5. ให้นักเรียนทำใบงานที่ 3.3.1 ข้อ 6 – 10 พร้อมทัง้ ให้
เหตุผลประกอบเป็ นการบ้าน

7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
7.1 สื่อการเรียนรู้
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2
1. หนังสือสัมฤทธิม
2. แผนภูมิ
3. ใบงานที่ 3.3.1
4. แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการสอน
7.2 แหล่งการเรียนรู้
1.ศูนย์คณิตศาสตร์
2.ห้องสมุดโรงเรียน
3.ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อ่ น
ื ๆ
8. การวัดประเมินผลการเรียนรู้

วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล


1. สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต นักเรียนผ่านเกณฑ์การ
ทางการเรียน พฤติกรรมทางการ ประเมิน
การสอน เรียนการสอน ในระดับดีขน
ึ ้ ไป
2. การทำใบงานที่ ใบงานที่ 3.3.1 นักเรียนทุกคนทำถูก
3.3.1 ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
70 ของคะแนนทัง้ หมด
4. การทำแบบฝึ ก แบบฝึ กปฏิบัติ นักเรียนทุกคนทำถูก
ปฏิบัติกิจกรรม กิจกรรม ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
70 ของคะแนนทัง้ หมด
เกณฑ์การประเมินผลจากการทำใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึ กปฏิบัติ
กิจกรรม ใช้เกณฑ์ดังนี ้

80% ขึน
้ ไป หมายถึง ดีมาก
70-79% หมายถึง ดี
60-69% หมายถึง ปานกลาง
50-59% หมายถึง ผ่าน
ต่ำกว่า 50% หมายถึง ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการสอน

ทำงาน
ความ ความ ความ การให้
อย่าง รว
เลข ชื่อ-สกุลของ รอบคอ ตัง้ ใจ รับผิด ความ
เป็ น ม
ที่ ผู้รับการประเมิน บ เรียน ชอบ ร่วมมือ
ระบบ
4 4 4 4 4 20

เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติเป็ นประจำ ให้ 4 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วง ระดับ
คะแนน คุณภาพ
18-20 ดีมาก
13-17 ดี
8-12 ปาน
5-7 กลาง
ปรับปรุง

9. กิจกรรมเสนอแนะ
-

ใบงานที่ 3.3.1

เรื่อง การหาค่าของมุมโดยใช้สมบัติของเส้นขนาน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนหาค่าของตัวแปรโดยใช้สมบัติของเส้นขนาน
1. หาค่า

0
a
115 x
2. หาค่า
600

600 x a y

3. หาค่า

x
1200
a
300
y

4. หาค่า
a
250

1200
b

5. หาค่า

700 b

500 a

6. หาค่
y า 1350

0
x z
22
7. หาค่า

1500
1650

400
b c

8. หาค่า

y
a x b
c

9. หาค่า
a
bb1 b
2

10. หาค่า
x
a
b y c
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ ชัน
้ มัธยมศึกษาปี ที่ 2
ภาคเรียนที่ 2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง เส้นขนาน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
เวลา 5 ชั่วโมง
ครูผู้สอน ………………………………………………………………………………
……………………………………….……….
โรงเรียน……………………………………………………..
อำเภอ…………………………จังหวัด…………………………….
วันที่
สอน...............................................เดือน...........................................
...........พ.ศ.............................

1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 2.2 เข้าใจและวิเคราะห์รูปเรขาคณิต สมบัติของรูป
เรขาคณิต ความสัมพันธ์ระหว่างรูปเรขาคณิต และทฤษฎีบททาง
เรขาคณิต และนำไปใช้

2. ตัวชีว
้ ัด
มฐ (ค 2.2 ม.2/2) นำความรู้เกี่ยวกับสมบัติของเส้นขนานและรูป
สามเหลี่ยมไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์

3. สาระสำคัญ
เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม
1. ขนาดของมุมภายในทัง้ สามมุมของรูปสามเหลี่ยมรวมกัน
เท่ากับ 180 องศา
2. ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่
เกิดขึน
้ จะมีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุม
ประชิดของมุมภายนอกนัน

3. ถ้ารูปสามเหลี่ยมสองรูปมีมุมที่มีขนาดเท่ากันสองคู่ และด้านคู่
ที่อยู่ตรงข้ามกับมุมคู่ที่มีขนาดเท่ากัน ยาวเท่ากันหนึ่งคู่แล้วรูป
สามเหลี่ยมสองรูปนัน
้ เท่ากันทุกประการ

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้ (K) : นักเรียนสามารถ
1. บอกได้ว่าขนาดของมุมภายในทัง้ สามมุมของรูปสามเหลี่ยม
รวมกันเท่ากับ 180 องศา และนำสมบัตินไี ้ ปใช้ได้
2. บอกได้ว่า ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป
มุมภายนอกที่เกิดขึน
้ จะมีขนาดเท่ากับผลบวกของขนาดของมุมภายในที่
ไม่ใช่มุมประชิดของมุมภายนอกนัน
้ และนำสมบัตินไี ้ ปใช้ได้
3. บอกได้ว่า รูปสามเหลี่ยมสองรูปที่มีความสัมพันธ์กันแบบ
มุม – มุม – ด้าน เท่ากันทุกประการและนำสมบัตินไี ้ ปใช้ได้
4. ใช้สมบัติเกี่ยวกับเส้นขนานและความเท่ากันทุกประการ
ของรูปสามเหลี่ยมในการให้เหตุผลและแก้ปัญหาได้
4.2 ด้านทักษะ / กระบวนการ (P) : นักเรียนมีความ
สามารถ
1. ในการแก้ปัญหา
2. ในการให้เหตุผล
3. ในการสื่อสาร ในการสื่อความหมาย และการนำเสนอ
4. ในการเชื่อมโยงความรู้จ่างๆ ทางคณิตศาสตร์
4.3 ด้านคุณลักษณะ (A) : นักเรียน
1. ทำงานอย่างเป็ นระบบ
2. มีระเบียบวินัย
3. มีความรอบคอบ
4. มีความรับผิดชอบ
5. มีวิจารณญาณ
6. มีความเชื่อมั่นในตนเอง
7. ช่วยเหลือซึง่ กันและกัน
8. ตระหนักในคุณค่าและมีเจตคติที่ดีต่อวิชาคณิตศาสตร์
4.4 ค่านิยม 12 ประการ
1. ซื่อสัตย์ เสียสละ อดทน มีอุดมการณ์ในสิ่งที่ดีงามเพื่อส่วน
รวม
2. ใฝ่ หาความรู้ หมั่นศึกษาเล่าเรียนทัง้ ทางตรง และทางอ้อม

5. สาระการเรียนรู้
เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยการพูดคุยกับนักเรียนเรื่องเส้นขนาน
และแบบฝึ กปฏิบัติกิจกรรมที่ได้ทำมาแล้ว จากนัน
้ ให้นักเรียนช่วยกัน
พิจารณาการอ้างเหตุผลในแบบฝึ กปฏิบัติกิจกรรมว่า นอกจากจะใช้
สมบัติของเส้นขนานแล้ว เรายังนำทฤษฎีอะไรมาใช้ในการทำแบบฝึ ก
ปฏิบัติกิจกรรมอีก ให้นักเรียนออกมาเขียนสมบัติหรือทฤษฎีที่นำมาใช้
จากชั่วโมงที่แล้ว จนได้ทฤษฎีที่กล่าวถึงมุมภายในของสามเหลี่ยมใดๆ
รวมกันได้ 180 ํ หรือ 2 มุมฉาก
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 2-3 คน แล้วแจกกระดาษให้
คนละแผ่น และกรรไกรกลุ่มละ 2 อัน จากนัน
้ ครูให้นักเรียนสร้างรูป
สามเหลี่ยมใดๆ คนละ 1 รูปให้เสร็จภายในเวลา 3 นาที เมื่อหมดเวลา
ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันหาวิธีการพิสูจน์ให้เห็นจริงว่า มุมภายใน
ของรูปสามเหลี่ยมรวมกันได้ 180 หรือ 2 มุมฉาก ซึ่งนักเรียนจะพิสูจน์
โดยวิธีใดๆ ก็ได้
3. ครูเดินดูขณะที่นักเรียนทำกิจกรรม ถ้ามีนักเรียนกลุ่มใด
สามารถแสดงวิธีการพิสูจน์ให้เห็นจริงได้ ให้ออกมาแสดงการพิสูจน์หน้า
ชัน
้ เรียนให้เพื่อนๆ ดู แต่ถ้านักเรียนไม่สามารถหาวิธีการพิสูจน์ได้ ครู
แสดงวิธีการพิสูจน์ให้นักเรียนดู โดยการพับมุม 3 มุมมาชิดกัน หรือการ
ฉีกมุมแล้วมาประกอบกันให้เห็นจริงว่ามุมสามมุมรวมกันได้ 180 หรือ
2 มุมฉาก ดังรูป
2 2
1 3 1 3 13

(ขณะทีค
่ รูพิสูจน์ให้ดู ให้นักเรียนทำตามไปด้วย เพื่อให้เห็นจริงว่า
มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมใดๆ รวมกันได้ 180 หรือ 2 มุมฉาก)
4. ให้นักเรียนทุกคนร่วมกันพิจารณา สังเกต วิเคราะห์และ
อภิปรายสรุปสมบัติของเส้นขนาน คือ

ขนาดของมุมภายในทัง้ สามมุมของรูปสามเหลี่ยม
รวมกันเท่ากับ 180 องศา

5. ให้นักเรียนแต่ละกลุ่มแสดงการพิสูจน์ให้เห็นจริง โดยทำใบ
งานที่ 3.4.1 เมื่อทำเสร็จแล้วให้สลับกลุ่มตรวจโดยครูและนักเรียนร่วม
กันเฉลย ครูตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้
6. ครูใช้การถามตอบให้นักเรียนร่วมกันสรุปการนำสมบัติของเส้น
ขนานมาช่วยในการพิสูจน์มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมใดๆ รวมกันได้
180 หรือ 2 มุมฉาก
7. ให้นักเรียนทำใบงานที่ 3.4.2 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
เป็ นการบ้าน

ชั่วโมงที่ 2
1. ครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยใบงานที่ 3.4.2 เป็ นการทบทวน
เรื่องที่เรียนมาในคาบที่แล้ว หลังจากนัน
้ จึงให้นักเรียนทำแบบฝึ ก
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2
ปฏิบัติกิจกรรม ในหนังสือสัมฤทธิม
เพื่อตรวจสอบความเข้าใจอีกครัง้
2. ครูสร้างรูปสามเหลี่ยม 2 รูปบนกระดาน โดยกำหนดให้ =
และ = แล้วถามนักเรียนว่า = หรือไม่ เพราะเหตุใด ให้
นักเรียนร่วมกันอภิปราย จากนัน
้ ให้นักเรียนที่พิสูจน์ได้ออกมาเขียนการ
พิสูจน์บนกระดานให้เพื่อนดู
3. ครูให้นักเรียนอาสาสมัครช่วยแจกใบงานที่ 3.4.3 เรื่อง มุม
ภายในรูปสามเหลี่ยมสองรูปใด ๆ มีขนาดเท่ากันสองคู่แล้ว มุมคู่ที่สาม
จะมีขนาดเท่ากันด้วย แล้วให้นักเรียนทำใบงานเป็ นรายบุคคล โดยดูวิธี
การพิสูจน์บนกระดานเป็ นตัวอย่าง
4. ครูให้นักเรียนอาสาสมัครช่วยแจกใบงานที่ 3.4.4 เรื่อง มุม
ภายในรูปสามเหลี่ยม สองรูปใด ๆ มีขนาดเท่ากันสองคู่แล้ว มุมคู่ที่สาม
จะมีขนาดเท่ากันด้วย โดยให้นักเรียนทำใบงานเป็ นรายบุคคล ให้เสร็จ
ภายในเวลา 25 นาที แล้วให้นักเรียนอาสาสมัครออกมาเฉลยบน
กระดานคนละข้อ ข้อใดที่ยากหรือนักเรียนให้เหตุผลไม่ได้ ครูแนะนำ
เพิ่มเติม
5. ให้นักเรียนทุกคนร่วมกันพิจารณา สังเกต วิเคราะห์ และ
อภิปรายสรุปสมบัติของเส้นขนาน คือ
มุมภายในรูปสามเหลี่ยม สองรูปใดๆ มีขนาดเท่ากันสองคู่แล้ว มุม
คู่ที่สามจะมีขนาดเท่ากันด้วย

6. ให้นักเรียนทำแบบฝึ กปฏิบัติกิจกรรม ในหนังสือสัมฤทธิ ์


มาตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
เป็ นการบ้าน

ชั่วโมงที่ 3
1. ครูให้นักเรียนจับคู่เตรียมทำกิจกรรม แล้วให้นักเรียนอาสา
สมัครช่วยแจกกระดาษลอกลาย กรรไกร และกาว ให้นักเรียนคู่ละ 1
ชุด เพื่อให้นักเรียนลงมือปฏิบัติกิจกรรมในใบกิจกรรมที่ 3.4.1 เรื่อง
ผลบวกของมุมภายใน 2 มุมของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ เท่ากับมุมภายนอก
ที่อยู่ตรงข้าม ขณะที่นักเรียนกำลังทำกิจกรรม ครูเดินดูนักเรียนทุก
ๆ คู่ คู่ใดทำกิจกรรมเสร็จเรียบร้อยแล้ว ครูแจกใบงานที่ 3.4.5 เรื่อง ผล
บวกของมุมภายใน 2 มุมของรูปสามเหลี่ยมใด ๆ เท่ากับมุมภายนอกที่
อยู่ตรงข้าม แล้วให้นักเรียนทำใบงานนีต
้ ่อ
2. ครูถามนักเรียนว่า นักเรียนได้ความรู้อะไรจากการทำกิจกรรม
และใบงานบ้าง ให้นักเรียนยกมือแสดงความคิดเห็น โดยให้นักเรียนทุก
คนร่วมกันพิจารณา สังเกต วิเคราะห์ และอภิปรายสรุปจนได้ว่า

ถ้าต่อด้านใดด้านหนึ่งของรูปสามเหลี่ยมออกไป มุมภายนอกที่เกิดขึน

จะมีขนาดเท่ากับ
ผลบวกของขนาดของมุมภายในที่ไม่ใช่มุมประชิดของมุมภายนอกนัน

3. ครูให้นก
ั เรียนทำใบงานที่ 3.4.6 เรื่อง เส้นขนานและรูป
สามเหลีย
่ ม เป็ นรายบุคคลให้เสร็จภายในเวลา 15 นาที แล้วให้นก
ั เรียน
ช่วยกันแสดงวิธก
ี ารหาคำตอบคนละ 1 ข้อ โดยครูคอยช่วยแนะนำวิธค
ี ด

เพิม
่ เติม
4. ครูใช้การถามตอบให้นักเรียนร่วมกันสรุปการนำสมบัติของเส้น
ขนานมาช่วยในการพิสูจน์ อีกครัง้

ชั่วโมงที่ 4
1. ครูทบทวนสมบัติของเส้นขนาน โดยใช้วิธีการถาม - ตอบ จน
นักเรียนทุกคนเข้าใจดี แล้วครูให้นักเรียนทำแบบฝึ กทักษะพัฒนาการ
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 เพื่อตรวจสอบ
ในหนังสือสัมฤทธิม
ความเข้าใจ
2. ขณะที่นักเรียนกำลังทำแบบฝึ กทักษะพัฒนาการเรียนรู้ ครูเดิน
ดูนักเรียนเป็ นรายบุคคล
เพื่อคอยแนะนำ และอธิบายเพิ่มเติมเมื่อนักเรียนมีข้อสงสัย ครูคอย
แนะนำวิธีคิดโดยการอ้างทฤษฎีที่เรียน
มาทัง้ หมด เพื่อเป็ นแนวทางให้นักเรียนสามารถทำแบบฝึ กทักษะ
พัฒนาการเรียนรู้ ได้
3. ครูให้นักเรียนอาสาสมัครออกมาแสดงวิธีคิด และเฉลยคำตอบ
ถ้านักเรียนทำไม่ได้ ครูเสนอแนะแนวทางเพิ่มเติมให้
4. ครูอธิบายตัวอย่างที่ 1 และตัวอย่างที่ 2 เพื่อทบทวนสมบัติ
ของความเท่ากันทุกประการ
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม
ของรูปสามเหลี่ยม ในหนังสือสัมฤทธิม
2
5. ครูใช้การถามตอบให้นักเรียนสรุปได้ว่า “ ถ้ารูปสามเหลี่ยม
สองรูปมีมุมที่มีขนาดเท่ากันสองคู่ และด้านคู่ที่อยู่ตรงข้ามกับมุมคู่ที่มี
ขนาดเท่ากัน ยาวเท่ากันหนึ่งคู่แล้วรูปสามเหลี่ยมสองรูปนัน
้ เท่ากัน
ทุกประการ”
6. ให้นักเรียนทำแบบฝึ กปฏิบัติกิจกรรม ในหนังสือสัมฤทธิ ์
มาตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ
เป็ นการบ้าน

ชั่วโมงที่ 5
1. ครูและนักเรียนช่วยกันเฉลยการบ้าน เพื่อตรวจสอบความ
เข้าใจ และช่วยกันสรุปสมบัติ
ของเส้นขนาน และทฤษฎีบทที่เรียนมาทัง้ หมดในเรื่องเส้นขนานกับรูป
สามเหลี่ยม
2. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 4 คน ให้ทำแบบฝึ กปฏิบัติ
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 เพื่อ
กิจกรรม ในหนังสือสัมฤทธิม
ตรวจสอบความเข้าใจอีกครัง้ แล้วครูสุ่มเรียกนักเรียนออกมาเฉลย ครู
และนักเรียนช่วยกันตรวจสอบคำตอบและวิธีทำให้ถูกต้อง หาก
นักเรียนมีข้อสงสัย ครูช่วยอธิบาย
3. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสมบัติของเส้นขนาน และทฤษฎีบท
ที่เรียนมาทัง้ หมดในเรื่องเส้นขนานกับรูปสามเหลี่ยมอีกครัง้
4. ครูยกโจทย์มา 1 ข้อ เพื่อตรวจสอบความเข้าใจ ให้
นักเรียนช่วยกันเฉลยคำตอบ โดยที่ครูตรวจสอบความถูกต้องอีกครัง้
หนึง่
5. ให้นักเรียนทำแบบฝึ กทักษะพัฒนาการเรียนรู้ ในหนังสือ
์ าตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2 เป็ นการบ้าน
สัมฤทธิม
7. สื่อและแหล่งการเรียนรู้
7.1 สื่อการเรียนรู้
1. ์ าตรฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 2
หนังสือสัมฤทธิม
2. กระดาษ
3. กระดาษลอกลาย
4. กรรไกร
5. กาว
6. ใบงานที่ 3.4.1 - 3.4.6
7. ใบกิจกรรมที่ 3.4.1
8. แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการสอน
9. แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม
7.2 แหล่งการเรียนรู้
1. ศูนย์คณิตศาสตร์
2. ห้องสมุดโรงเรียน
3. ข้อมูลจากแหล่งเรียนรู้อ่ น
ื ๆ
8. การวัดประเมินผลการเรียนรู้

วิธีวัดผล เครื่องมือวัดผล เกณฑ์การประเมินผล


1. สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต นักเรียนผ่านเกณฑ์การ
ทางการเรียน พฤติกรรมทางการ ประเมิน
การสอน เรียนการสอน ในระดับดีขน
ึ ้ ไป
2. สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกต นักเรียนผ่านเกณฑ์การ
การปฏิบัติกิจกรรม พฤติกรรมการปฏิบัติ ประเมิน
กลุ่ม กิจกรรมกลุ่ม ในระดับดีขน
ึ ้ ไป
3. การทำใบงานที่ ใบงานที่ 3.4.1 - นักเรียนทุกคนทำถูก
3.4.1 - 3.4.6 3.4.6 ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
70 ของคะแนนทัง้ หมด
4. การทำใบกิจกรรม ใบกิจกรรมที่ 3.4.1- นักเรียนทุกคนทำถูก
ที่ 3.4.6 ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
3.4.1- 3.4.6 70 ของคะแนนทัง้ หมด

5. การทำแบบฝึ ก แบบฝึ กปฏิบัติ นักเรียนทุกคนทำถูก


ปฏิบัติกิจกรรม กิจกรรม ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
70 ของคะแนนทัง้ หมด

6. การทำแบบฝึ ก แบบฝึ กทักษะ นักเรียนทุกคนทำถูก


ทักษะ พัฒนาการเรียนรู้ ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
พัฒนาการเรียนรู้ 70 ของคะแนนทัง้ หมด
7. การทำแบบ แบบทดสอบประจำ นักเรียนทุกคนทำถูก
ทดสอบประจำ หน่วย ต้องไม่ต่ำกว่าร้อยละ
หน่วย 70 ของคะแนนทัง้ หมด

เกณฑ์การประเมินผลจากการทำใบกิจกรรม ใบงาน แบบฝึ กปฏิบัติ


กิจกรรม ใช้เกณฑ์ดังนี ้

80% ขึน
้ ไป หมายถึง ดีมาก
70-79% หมายถึง ดี
60-69% หมายถึง ปานกลาง
50-59% หมายถึง ผ่าน
ต่ำกว่า 50% หมายถึง ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติกรรมทางการเรียนการสอน

ทำงาน
ความ ความ ความ การให้
อย่าง รว
เลข ชื่อ-สกุลของ รอบคอ ตัง้ ใจ รับผิด ความ
เป็ น ม
ที่ ผู้รับการประเมิน บ เรียน ชอบ ร่วมมือ
ระบบ
4 4 4 4 4 20
เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติเป็ นประจำ ให้ 4 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ช่วง ระดับ
คะแนน คุณภาพ
18-20 ดีมาก
13-17 ดี
8-12 ปาน
5-7 กลาง
ปรับปรุง
แบบสังเกตพฤติกรรมการปฏิบัติกิจกรรมกลุ่ม

กลุ่มที่(ชื่อ
ลุ่ม)...............................................................................................................................................
...
สมาชิกในกลุ่ม 1....................................................................
2........................................................................
3....................................................................
4........................................................................
5...................................................................
6.......................................................................

คำชีแ
้ จง ให้ทำเครื่องหมาย P ในช่องที่ตรงกับความเป็ นจริง
คะแนน
พฤติกรรมที่สังเกต
4 3 2 1
1. การมีส่วนร่วมในการ
วางแผน
2. การปฏิบัติงานตาม
บทบาทหน้าที่
3. การให้ความร่วมมือใน
การทำงาน
4. การแสดงความคิดเห็น
5. การยอมรับความคิดเห็น
รวม
ลงชื่อ............................................................................ผู้ประเมิน
.................../................../..................

เกณฑ์การให้คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติเป็ นประจำ ให้ 4 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบ่อยครัง้ ให้ 3 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครัง้ ให้ 1 คะแนน

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วง ระดับ
คะแนน คุณภาพ
18-20 ดีมาก
13-17 ดี
8-12 ปาน
5-7 กลาง
ปรับปรุง

9. กิจกรรมเสนอแนะ
-

ใบงานที่ 3.4.1

ู น์มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมใดๆ รวมกันได้ 180


เรื่อง การพิสจ

หรือ 2 มุมฉากโดยใช้สมบัติของเส้นขนาน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
กำหนดให้ รูปสามเหลี่ยม ABC เป็ นรูปสามเหลี่ยมใดๆ ดังรูป

E C D
4 3 5
2
A 1 B
จงพิสูจน์ว่า + + = 180

สร้าง ลาก ผ่านจุด C และขนานกับ

พิสูจน์

ข้อความ เหตุผล

1. 1. มุมแย้งภายในของเส้นคู่

2. = ขนานเท่ากัน

3. 2.

4. 3.

4. ผลจากข้อ 1, 2 และ 3
ใบงานที่ 3.4.2

เรื่อง มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมใดๆ รวมกันได้ 180

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนหาค่าของมุมที่แทนด้วยตัวแปรต่อไปนี ้
1. 5.
a d

 =  =
2. 6.
x

b
 =  =
3. 7.
c a

 =  =
4. 8.
2a a
b c
a

 =  =

ใบงานที่ 3.4.3
เรื่อง มุมภายในรูปสามเหลี่ยมสองรูปใดๆ มีขนาดเท่ากันสองคู่แล้ว
มุมคู่ที่สามจะมีขนาดเท่ากัน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
กำหนดให้ รูปสามเหลี่ยม PQR และรูปสามเหลี่ยม XYZ

มี = และ =

จงพิสูจน์ว่า =

R Z

P Q X Y

พิสูจน์

ข้อความ เหตุผล
1. = 1. กำหนดให้
2. = 2. กำหนดให้
3. + + = 180 ํ 3.
4. + + = 4.
5. + + = + 5. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 3
+ กับข้อ 4)
6. = 6. = และ =
ใบงานที่ 3.4.4

เรื่อง มุมภายในรูปสามเหลี่ยมรูปใดๆ มีขนาดเท่ากันสองคู่แล้วมุมคู่ที่


สามจะมีขนาดเท่ากัน

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
กำหนดให้ ABCD เป็ นรูปสี่เหลี่ยมด้านขนาน

มี และ เป็ นเส้นทแยงมุมตัดกันที่จุด O

ทำให้เกิด , , ,… ดังรูป
C
D 1 2 3 4

12 9 O10
11
8 7
A 6 5 B
จงหา 1. สามเหลี่ยมคู่ใดมีมุมเท่ากันทุกมุมแบบมุมต่อมุม

2. มุมคู่ใดเท่ากัน

ข้อความ เหตุผล
พ ิจ า ร ณ า  AOD แ ล ะ 
BOC 1. มุม แย้ง ภายในของเส้น ค ู่
1. = ขนานเท่ากัน
2. = 2.
3 = 3.

4.
4.  AOD  BOC
พิจารณา  และ
5.
5.
6. 6.
7. 7.
8.   8.
ใบกิจกรรมที่ 3.4.1

เรื่อง มุมภายในของรูปสามเหลี่ยมเท่ากับผลบวกของมุมภายในที่อยู่
ตรงข้าม

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนปฏิบัติกิจกรรมดังต่อไปนี ้
1. ใช้กระดาษลอกลาย ลอกขนาดของ และ
2. ใช้กรรไกรตัดขนาดของ และ
3. นำมุมที่ได้ทงั ้ 2 มุมมาวางทับมุมภายนอกของ
4. เขียนสรุปผลที่ได้จากการทำกิจกรรม

A D
B

สรุปผล .
ใบงานที่ 3.4.5

เรื่อง มุมภายนอกของรูปสามเหลี่ยมเท่ากับผลบวกของมุมภายในที่
อยู่ตรงข้าม

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนเติมข้อความลงในช่องว่างให้สมบูรณ์
C
กำหนดให้ รูปสามเหลี่ยม ABC มี

เป็ นมุมภายนอกของรูปสามเหลี่ยม

ABC และ กับ A เป็ น B D


มุมภายในของรูปสามเหลี่ยม ABC

จงพิสูจน์ว่า = +
พิสูจน์ วิธีท่ี 1

ข้อความ เหตุผล
1. + + = 1.
180 2. มุมตรง
2. + = 180 3. สมบัติการเท่ากัน (จากข้อ 1
3. + + = กับข้อ 2)
+ 4. สมบัตก
ิ ารเท่ากันของการลบ
4. + =

C
วิธีที่ 2 ใช้สมบัติของเส้นขนาน E

ลาก ขนานกับ ดังรูป D


A B

ข้อความ เหตุผล
1. = 1. มุม ภายในและมุม ภายนอก
ข้าง
2. = เ ดีย วก ัน ข อง ข นานก ับ
3. = +
4. = + 2.
3. การสร้าง
4.
ใบงานที่ 3.4.6

เรื่อง เส้นขนานและรูปสามเหลี่ยม

คำชีแ
้ จง ให้นักเรียนหาค่าของมุมที่แทนด้วยตัวแปรต่อไปนี ้
1. 4.

a x

= =
2. 5.

b b
a
a
= =
3.
b

a
=
แบบฝึ กเสริมทักษะ

จงหาค่าของตัวแปรในแต่ละข้อต่อไปนี ้
1.

2.

3.

4.
5.

6.

7.

You might also like