You are on page 1of 16

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

ภาคเรียนที่ 2 ปี การศึกษา 2561


ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4
รหัสวิชา ค 31102 ชื่อวิชา คณิตศาสตร์ 2 หน่วย
การเรียนรู้ หลักการนับเบื้องต้น
และความน่า
จะเป็ น
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่องการแก้โจทย์ปัญหาการเรียงสับ
เปลี่ยนเมื่อสิ่งของไม่แตกต่างกัน
เวลา 3 คาบ
1. มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็ น
และนำไปใช้
ตัวชี้วัด
1. เข้าใจและใช้หลักการบวก และการคูณ การเรียงสับ
เปลี่ยน และการจัดหมู่ในการแก้ปัญหา

2. คำถามสำคัญ
การเรียงสับเปลี่ยนเมื่อสิ่งของไม่แตกต่างกันหมดมีลักษณะ
อย่างไร และนำมาใช้ในการแก้โจทย์ปัญหาได้อย่างไร

3. จุดประสงค์การเรียนรู้
ด้านความรู้(K) : นักเรียน
1. อธิบายลักษณะของการเรียงสับเปลี่ยนได้
ด้านทักษะ/กระบวนการ(P) : นักเรียนสามารถ
1. นำความรู้เรื่องการเรียงสับเปลี่ยนมาใช้ในการแก้ปัญหาใน
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้
2. ใช้สัญลักษณ์ทางคณิตศาสตร์เพื่อสื่อความหมายถึงการ
เรียงสับเปลี่ยนได้
ด้านคุณลักษณะ(A) : นักเรียน
1. มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
2. มีระเบียบวินัย
สมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการสื่อสาร
4. สาระสำคัญ
วิธีการเรียงสับเปลี่ยน (Permutation) คือการเรียงสิ่งของ
โดยคำนึงถึงตำแหน่งของสิ่งขอแต่ละสิ่งเป็ นที่สำคัญที่สุด โดยจะใช้
บทนิยามที่ว่า "ถ้า n เป็ นจำ นวนเต็ มบวก จะใ ช้แฟกทอเรียล
(factorial) n โดยเป็ นผลคูณตั้งแต่ 1 ถึง n เขียนเเทนด้วย n!"
ถ้ามีสิ่งของอยู่ n สิ่ง ในจำนวนนี้มี n1 สิ่งที่เหมือนกันเป็ นกลุ่มที่
หนึ่ง มี n2 สิ่งที่เหมือนกันเป็ นกลุ่มที่สอง และมี nk สิ่งที่เหมือนกัน
เป็ นกลุ่มที่ k โดย n = n1 + n2 + n3 + … + nk
จำ น ว น วิธีเ รีย ง สับ เ ป ลี่ย น ข อ ง สิ่ง ข อ ง ทั้ง ห ม ด n สิ่ง นี้ เ ท่า กั บ

วิธี

5. สาระการเรียนรู้
วิธีการเรียงสับเปลี่ยน (Permutation) คือการเรียงสิ่งของ
โดยคำนึงถึงตำแหน่งของสิ่งขอแต่ละสิ่งเป็ นที่สำคัญที่สุด โดยจะใช้
บทนิยามที่ว่า "ถ้า n เป็ นจำ นวนเต็ มบวก จะใ ช้แฟกทอเรียล
(factorial) n โดยเป็ นผลคูณตั้งแต่ 1 ถึง n เขียนเเทนด้วย n!"
ถ้ามีสิ่งของอยู่ n สิ่ง ในจำนวนนี้มี n1 สิ่งที่เหมือนกันเป็ นกลุ่มที่
หนึ่ง มี n2 สิ่งที่เหมือนกันเป็ นกลุ่มที่สอง และมี nk สิ่งที่เหมือนกัน
เป็ นกลุ่มที่ k โดย n = n1 + n2 + n3 + … + nk
จำ น ว น วิธีเ รีย ง สับ เ ป ลี่ย น ข อ ง สิ่ง ข อ ง ทั้ง ห ม ด n สิ่ง นี้ เ ท่า กั บ

วิธี

ตัวอย่างที่ 1 มีหนังสือวิชาคณิตศาสตร์เหมือนกัน 3 เล่ม เคมีเหมือน


กัน 2 เล่ม และชีววิทยาเหมือนกัน 3 เล่ม จะเรียงบนชั้นหนังสือได้กี่
แบบ ถ้า
1. ไม่มีเงื่อนไขเพิ่มเติม
วิธีทำ หนังสือวิชาคณิตศาสตร์เหมือนกัน 3 เล่ม
เคมีเหมือนกัน 2 เล่ม
และชีววิทยาเหมือนกัน 3 เล่ม
รวม 8 เล่ม
จะเรียงบนชั้นหนังสือได้ แบบ

2. วิชาเดียวกันต้องวางเรียงติดกันเสมอ
วิธีทำ จำนวนวิชา 3 วิชา
จะเรียงบนชั้นหนังสือได้ 3! แบบ
ตัวอย่างที่ 2 จงหาจำ นวนวิธีทั้งหมดในการจัดอักษรในคำ ว่า
COLLEGE ถ้า
1. ไม่มีเงื่อนไขเพิ่มเติม
วิธีทำ จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของสิ่งของทั้งหมด n สิ่งนี้

เท่ากับ วิธี
จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนตัวอักษรคำว่า COLLEGE

2. สระ ต้องอยู่ติดกันเสมอ
วิธีทำ สระต้องอยู่ติดกันเสมอ OEE , C , L ,L , G

จะได้ = 180 แบบ

ตัวอย่างที่ 3 จากอักษรคำว่า MEMBER จะจัดได้กี่แบบ ถ้า


1. ไม่มีเงื่อนไข
วิธีทำ จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของสิ่งของทั้งหมด n สิ่งนี้

เท่ากับ วิธี

จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนตัวอักษรคำว่า MEMBER

2. ตัวอักษรเหมือนกันต้องอยู่ติดกันเสมอ
วิธีทำ ตัวอักษรเหมือนกัน MM , EE , B, R
จะได้ 4!
ตัวอย่างที่ 4 มีลูกบอลสีแดงที่เหมือนกันอยู่ 3 ลูก ลูกบอลสีเขียวที่
เหมือนกันอยู่ 2 ลูก และลูกบอลสีฟ้ าที่เหมือนกันอยู่ 5 ลูก จะนำมา
วางเรียงเป็ นเส้นตรงได้กี่แบบ ถ้า
1. ไม่มีเงื่อนไขเพิ่มเติม
วิธีทำ จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนของสิ่งของทั้งหมด n สิ่งนี้

เท่ากับ วิธี
จำนวนวิธีเรียงสับเปลี่ยนตัวอักษรคำว่า MEMBER

2. สีแดงสองลูกใด ๆ ต้องไม่วางติดกัน

วิธีทำ วางลูกบอลสีฟ้า และสีเขียว

วางลูกบอลสีแดงระหว่างลูกบอลสีฟ้า หรือเขียว

ดังนั้น สีแดงสองลูกใด ๆ ต้องไม่วางติดกัน x

3. ลูกบอลริมทั้งสองฝั่ง ต้องเป็ นสีเดียวกันเท่านั้น


วิธีทำ กรณีที่ 1 ริมทั้งสองเป็ นลูกบอลสีแดง

1x x1
กรณีที่ 2 ริมทั้งสองเป็ นลูกบอลสีฟ้า

1x x1
กรณีที่ 3 ริมทั้งสองเป็ นลูกบอลสีเขียว

1x x1
ดังนั้น ลูกบอลริมทั้งสองฝั่ง ต้องเป็ นสีเดียวกันเท่านั้น +

6. ภาระงาน/ชิ้นงาน
การหาโจทย์ปัญหาเรื่องการวางเรียงสับเปลี่ยนสิ่งของแตกต่าง
กันทั้งหมด จากข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย/ข้อสอบ O-NET

7. การวัดและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการ
วิธีการ เครื่องมือที่
วัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน ใช้
ประเมิน
1. ความรู้ (K)
1. อธิบาย การสังเกต แบบสังเกต ผ่าน หมายถึง
ลักษณะของ พฤติกรรม พฤติกรรม นักเรียน อธิบาย
การเรียงสับ ลักษณะของการ
เปลี่ยนได้ เรียงสับเปลี่ยน
ได้ถูกต้อง
ไม่ผ่าน หมายถึง
อธิบายลักษณะ
ของการเรียงสับ
เปลี่ยนได้ไม่ถูก
ต้อง
2. ทักษะ/กระบวนการ (P)
1. นำความรู้ การทำแบบ แบบฝึกหัด นักเรียนสามารถนำ
เรื่องการเรียง ฝึกหัดใน ความรู้เรื่องการเรียง
สับเปลี่ยนมา ชั้นเรียน สับเปลี่ยนมาใช้ใน
สิ่งที่ต้องการ
วิธีการ เครื่องมือที่
วัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน ใช้
ประเมิน
ใช้ในการแก้ การแก้ปัญหาใน
ปัญหาใน สถานการณ์ต่าง ๆ
สถานการณ์ ได้
ต่าง ๆ ได้ ถูกต้องไม่น้อยกว่า
ร้อยละ 60 ของ
จำนวนแบบฝึกหัด
ทั้งหมด
2. ใช้ การทำแบบ แบบฝึกหัด นักเรียนสามารถใช้
สัญลักษณ์ทาง ฝึกหัดใน สัญลักษณ์ทาง
คณิตศาสตร์ ชั้นเรียน คณิตศาสตร์เพื่อสื่อ
เพื่อสื่อความ ความหมายถึงการ
หมายถึงการ เรียงสับเปลี่ยนได้ถูก
เรียงสับเปลี่ยน ต้อง
ได้

3. คุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)
1. นักเรียนมี การสังเกต แบบสังเกต นักเรียนมีส่วนร่วมใน
ส่วนร่วมใน พฤติกรรม พฤติกรรม กิจกรรมการเรียนอยู่
กิจกรรมการ การมีส่วน ในระดับ ดี ขึ้นไป
เรียน ร่วมในชั้น
เรียน
2. มีระเบียบ การสังเกต แบบสังเกต นักเรียนมีระเบียบ
วินัย พฤติกรรม พฤติกรรม วินัย อยู่ในระดับ ดี
ในชั้นเรียน ขึ้นไป
4. สมรรถนะสำคัญ
1. ความ การสังเกต แบบสังเกต นักเรียน 80% ของ
สามารถในการ พฤติกรรม พฤติกรรม ชั้นเรียนมีความ
คิด สามารถในการคิด
2. ความ การสังเกต แบบสังเกต นักเรียน 80% ของ
สามารถในการ พฤติกรรม พฤติกรรม ชั้นเรียนมีความ
สื่อสาร การสื่อสาร สามารถในการ
สิ่งที่ต้องการ
วิธีการ เครื่องมือที่
วัดและ เกณฑ์การประเมิน
ประเมิน ใช้
ประเมิน
กับครูในชั้น สื่อสาร
เรียน

8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
คาบที่ 1 - 2
ขั้นนำ
1. ครูนำเข้าสู่บทเรียน โดยการทบทวนนิยามของการเรียง
ของสับเปลี่ยนที่แตกต่างกันทั้งหมด ดังนี้
วิธีการเรียงสับเปลี่ยน (Permutation) คือการเรียง
สิ่งของโดยคำนึงถึงตำแหน่งของสิ่งขอแต่ละสิ่งเป็ นที่
สำ คั ญ ที่สุด โ ด ย จ ะ ใ ช้บ ท นิย า ม ที่ว่า "ถ้า n เ ป็ น
จำนวนเต็มบวก จะใช้แฟกทอเรียล (factorial) n โดย
เป็ นผลคูณตั้งแต่ 1 ถึง n เขียนเเทนด้วย n!"
แฟกทอเรียล
เมื่อ n เป็ นจำนวนเต็มใด ๆ แล้ว n! = 1 x 2 x 3 x
4 x … x n-1 x n
วิธีเรียงสับเปลี่ยนของเป็ นเส้นตรง
1. มีของ n สิ่งที่ต่างกันนำมาเรียงสับเปลี่ยนทั้งหมด n
สิ่ง
วิธีเรียงสับเปลี่ยน = n!
2. มีของ n สิ่งที่ต่างกันนำมาเรียงสับเปลี่ยนทั้งหมด r
สิ่ง (r ≤ n)
ขั้นสอน วิธีเรียงสับเปลี่ยน = Pn,r
1. ยกตัวอย่างที่ 1.1 บนกระดานโดยใช้ Microsoft
PowerPoint “มีหนังสือวิชาคณิตศาสตร์เหมือนกัน 3 เล่ม
Pn,r =
เคมีเหมือนกัน 2 เล่ม และชีววิทยาเหมือนกัน 3 เล่ม จะ
เรียงบนชั้นหนังสือได้กี่แบบ ถ้าไม่มีเงื่อนไขเพิ่มเติม”
จากนั้นให้เวลานักเรียนใช้นิยามของการเรียงสับเปลี่ยน
ทำด้วยตนเอง
2. ครูสาธิตประกอบการอธิบายเพื่อเฉลยตัวอย่างที่ 1
3. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ที่ 1.2 บ น ก ร ะ ด า น โ ด ย ใ ช้ Microsoft
PowerPoint “วิชาเดียวกันต้องวางเรียงติดกันเสมอ” จาก
นั้นครูอธิบายประกอบการสาธิตเพื่อเฉลยตัวอย่างที่ 1.2
4. ยกตัวอย่างที่ 2 บนกระดาน โดยใช้ Microsoft
PowerPoint “จงหาจำนวนวิธีทั้งหมดในการจัดอักษรใน
คำว่า COLLEGE ถ้าไม่มีเงื่อนไขเพิ่มเติม” จากนั้นให้
เวลานักเรียนใช้นิยามของการเรียงสับเปลี่ยนทำด้วย
ตนเอง
5. สุ่มนักเรียน 1 คน เฉลยบนกระดาน จากนั้นครูยกตัวอย่าง
ที่ 2.2 บนกระดาน และใช้กระบวนการสาธิตประกอบการ
อธิบาย
6. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ที่ 3.1 บ น ก ร ะ ด า น โ ด ย ใ ช้ Microsoft
PowerPoint “จากอักษรคำว่า MEMBER จะจัดได้กี่แบบ
ถ้าไม่มีเงื่อนไขเพิ่มเติม”
7. ให้เวลานักเรียนใช้นิยามของการเรียงสับเปลี่ยนทำด้วย
ตนเอง จากนั้น สุ่มนักเรียน 1 คน เฉลยบนกระดาน
8. ย ก ตั ว อ ย่ า ง ที่ 3.2 บ น ก ร ะ ด า น โ ด ย ใ ช้ Microsoft
PowerPoint “เงื่อนไขคือ ตัวอักษรเหมือนกันต้องอยู่ติด
กันเสมอ” ครูใช้กระบวนการตั้งคำ ถาม ประกอบการ
อธิบายเพื่อแนะให้นักเรียนเกิดกระบวนการแก้ปัญหาใน
ข้อ 3.2
9. ยกตัวอย่างที่ 4 บนกระดาน จากนั้นใช้กระบวนการสอน
แบบตั้งคำถามเพื่อให้เกิดกระบวนการคิดเพื่อแก้ปัญหา
ขั้นสรุป
1. ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปลักษณะของการเรียงสับเปลี่ยน
เมื่อสิ่งของไม่แตกต่างกันทั้งหมด
2. มอบหมายให้นักเรียนหาโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการวางเรียง
สับเปลี่ยนสิ่งของที่ไม่แตกต่างกันหมด โดยเป็ นข้อสอบ
เข้ามหาวิทยาลัย / O-NET เป็ นต้น

คาบที่ 3
1. ให้นักเรียนอาสาสมัครนำเสนอโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับการ
เรียงสับเปลี่ยนเมื่อสิ่งของไม่แตกต่างกันหมดโดยใช้
เครื่องฉายข้ามศีรษะ
2. ให้เวลานักเรียนในชั้นเรียนคนอื่น ๆ ใช้ความรู้ที่เรียนมานำ
มาแก้ปัญหาโจทย์ดังกล่าว
3. ครูเดินสำรวจกระบวนการคิดของนักเรียนรายบุคคล
4. ให้นักเรียนเจ้าของโจทย์ปัญหาดังกล่าว เป็ นผู้อธิบาย
เฉลย
5. ทำกระบวนการสอนข้อ 1 – 4 สำหรับโจทย์ปัญหาที่
นักเรียนมานำเสนอ จำนวน 5 – 6 ข้อ หรือ จนกว่าจะ
หมดคาบเรียน

9. สื่อ / แหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี
ที่ 4
2. Microsoft PowerPoint
3. ข้อสอบเข้ามหาวิทยาลัย/O-NET

10. บันทึกหลังสอน
ผลการจัดการเรียนรู้
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
ปัญหา อุปสรรค
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
ข้อเสนอแนะ
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………
………………………………………………………………………
………………………………………………………………………
………

ลงชื่อ...............................................................ครูผู้สอน
(นางสาววรเนตร พิชิตเกริกพล)
ตำแหน่งครู วิทยฐานะครูชำนาญ
การพิเศษ

แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์

พฤติกรรมที่สังเกต
ด้านความรู้
1. นักเรียนสามารถอธิบายลักษณะของการเรียงสับเปลี่ยนเมื่อ
สิ่งของแตกต่างกันหมดได้
ด้านคุณลักษณะของนักเรียน
1. มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
2. มีระเบียบวินัย
ด้านสมรรถนะสำคัญ
1. ความสามารถในการคิด
2. ความสามารถในการสื่อสาร

เกณฑ์การประเมินผล :
ด้านความรู้ 1 คะแนน หมายถึง อธิบายถูกต้อง
0 คะแนน หมายถึง อธิบายไม่
ได้/อธิบายผิด

ด้านที่คุณลักษณะของนักเรียน 2 คะแนน หมายถึง แสดง


พฤติกรรมเป็ นประจำ
1 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรม
เป็ นบางครั้ง
0 คะแนน หมายถึง ไม่แสดงพฤติกรรม
เลย

ด้านสมรรถนะสำคัญ 2 คะแนน หมายถึง แสดง


พฤติกรรมเป็ นประจำ
1 คะแนน หมายถึง แสดงพฤติกรรม
เป็ นบางครั้ง
0 คะแนน หมายถึง ไม่แสดงพฤติกรรม
เลย

แบบสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
อธิบาย มีส่วน ความ ความ
การ ร่วม สามารถ สามารถ
มี
ชื่อ - นามสกุล เรียงสับ ใน ในการ ในการ
ระเบียบ
เปลี่ยน กิจกรรม คิด สื่อสาร
วินัย
การ
เรียน
1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0
1.
2.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
อธิบาย มีส่วน ความ ความ
การ ร่วม สามารถ สามารถ
มี
ชื่อ - นามสกุล เรียงสับ ใน ในการ ในการ
ระเบียบ
เปลี่ยน กิจกรรม คิด สื่อสาร
วินัย
การ
เรียน
1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
21.
22.
23.
24.
25.
26.
27.
28.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
อธิบาย มีส่วน ความ ความ
การ ร่วม สามารถ สามารถ
มี
ชื่อ - นามสกุล เรียงสับ ใน ในการ ในการ
ระเบียบ
เปลี่ยน กิจกรรม คิด สื่อสาร
วินัย
การ
เรียน
1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0 2 1 0
29.
30.
31.
32.
33.
34.
35.
36.
37.
38.
39.
40.

แบบสรุปการสังเกตพฤติกรรมรายบุคคล ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4


โรงเรียนจอมสุรางค์อุปถัมภ์
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
ชื่อ - นามสกุล
รวม รวม รวม
สรุปผล สรุปผล สรุปผล
คะแนน คะแนน คะแนน
1.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
ชื่อ - นามสกุล
รวม รวม รวม
สรุปผล สรุปผล สรุปผล
คะแนน คะแนน คะแนน
2.
3.
4.
5.
6.
7.
8.
9.
10.
11.
12.
13.
14.
15.
16.
17.
18.
19.
20.
21.
22.
23.
24.
25.
26.
27.
28.
29.
30.
31.
32.
ความรู้ คุณลักษณะของ สมรรถนะสำคัญ
นักเรียน
ชื่อ - นามสกุล
รวม รวม รวม
สรุปผล สรุปผล สรุปผล
คะแนน คะแนน คะแนน
33.
34.
35.
36.
37.
38.
39.
40.

หมายเหตุ : ด้านความรู้ ผ่าน หมายถึง ได้คะแนนรวม


ตั้งแต่ 1 คะแนนขึ้นไป
ไม่ผ่าน หมายถึง ได้คะแนนรวมต่ำ
กว่า 0 คะแนน

ด้านคุณลักษณะของนักเรียน
ดีมาก หมายถึง ได้คะแนนรวม 3 –
4 คะแนน
ดี หมายถึง ได้คะแนนรวม 2 คะแนน
ปรับปรุง หมายถึง ได้คะแนนต่ำกว่า 2
คะแนน
ด้านสมรรถนะที่สำคัญ
ดีมาก หมายถึง ได้คะแนนรวม 3 –
4 คะแนน
ดี หมายถึง ได้คะแนนรวม 2 คะแนน
ปรับปรุง หมายถึง ได้คะแนนต่ำกว่า 2
คะแนน

You might also like