You are on page 1of 16

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนจอมสุรางค์

อุปถัมภ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 4 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ความน่าจะเป็ น
รหัสวิชา ค 31101 ชื่อรายวิชา คณิตศาสตร์ 2 เวลาเรียน 5
คาบ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็ น
และนำไปใช้

2. ตัวชี้วัด
1. หาความน่าจะเป็ นและนำความรู้เกี่ยวกับความน่าจะเป็ นไป
ใช้

3. สาระสำคัญ
ศึกษา ค้นคว้า สำรวจ วิเคราะห์ อธิบาย ฝึกทักษะ การคิด
คำนวณการให้เหตุ มีความคิดรวบยอดและฝึกการแก้ปัญหาในเรื่อง
ความน่าจะเป็ น

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1. แซมเปิลสเปซ (Sample Space )
2. แซมเปิลพ้อยท์ (Sample Point)
3. เหตุการณ์ (event)
4. การทดลองสุ่ม (Random Experiment)
5. ความน่าจะเป็ น
6. สมบัติของความน่าจะเป็ น

ทักษะ/กระบวนการ
1) ทักษะการสื่อสาร
2) ทักษะการแก้ปัญหา

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1) มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
2) มีระเบียบวินัย
สมรรถนะสำคัญ
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด

5. คำถามสำคัญ
ความน่าจะเป็ นมีลักษณะอย่างไร นำไปใช้ในการแก้ปัญหา
สถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างไรบ้าง

6. ภาระ/ชิ้นงาน
-

7. การวัดและการประเมินผล
การวัดประเมินผลระหว่างเรียน
1) การทำแบบฝึกทักษะ
2) การสังเกตพฤติกรรม

การประเมินรวบยอด
สิ่งที่ต้องการประเมิน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน ที่ใช้ ประเมิน
ความรู้
1. แซมเปิลสเปซ -การสังเกต - แบบ ผ่าน หมายถึง
(Sample Space ) พฤติกรรม สังเกต นักเรียน
2. แซมเปิลพ้อยท์ พฤติกรรม สามารถ
(Sample Point) อธิบาย
3. เหตุการณ์ (event) นิยามความ
4. การทดลองสุ่ม รู้หัวข้อต่าง
(Random Experiment) ๆ ได้ถูก
5. ความน่าจะเป็ น ต้อง
6. สมบัติของความน่าจะ ไม่ผ่าน หมาย
เป็ น 7) การแก้โจทย์ ถึง
ปัญหาของการเรียงสับ นักเรียน
เปลี่ยนเมื่อสิ่งของไม่แตก สามารถ
-การตรวจ
ต่างกัน อธิบาย
แบบฝึกหัด - แบบ
8) การจัดหมู่ นิยามความ
ฝึกหัด
สิ่งที่ต้องการประเมิน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน ที่ใช้ ประเมิน
รู้หัวข้อต่าง
ๆ ได้ไม่ถูก
ต้อง

- ทำแบบ
ฝึกหัดถูกต้อง
อย่างน้อยร้อย
ละ 60 ของ
จำนวนข้อ
ทั้งหมด
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทักษะการสื่อสาร - การสังเกต - แบบฝึก - ผ่านเกณฑ์
2) ทักษะการแก้ปัญหา - การตรวจ ทักษะ ร้อยละ 60
ชิ้นงาน
สมรรถนะสำคัญ นักเรียน 80%
1) ความสามารถในการ การสังเกต แบบ ของชั้นเรียนมี
สื่อสาร พฤติกรรม สังเกต ความสามารถ
2) ความสามารถในการ พฤติกรรม ในการคิดและ
คิด การสื่อสาร อยู่
ในระดับ ดี ขึ้น
ไป

8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1) แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบเมื่อเรียนจบ
2) ทบทวนความรู้เกี่ยวกับเซตโดยใช้การถาม-ตอบ
ขั้นสอน
3) ผู้เรียนทำแบบฝึกทักษะ โดยครูใช้การถาม-ตอบ เฉลยคำ
ตอบและช่วยกันสรุปผล พร้อมทั้งทำแบบสรุปเนื้อหา
4) ผู้เรียนทำเอกสารฝึกหัดเพิ่มเติมเป็ นการบ้านเพื่อเสริม
ทักษะและความแม่นยำ
ใน การเรียนรู้
ขั้นสรุป
5) ครูและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเนื้อหา

9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. โปรแกรม Microsoft PowerPoint
2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 – 6

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนจอมสุรางค์
อุปถัมภ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 3 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ หลักการนับเบื้อง
ต้น
รหัสวิชา ค 31101 ชื่อรายวิชา คณิตศาสตร์ 2 เวลาเรียน 25
คาบ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 3.2 เข้าใจหลักการนับเบื้องต้น ความน่าจะเป็ น
และนำไปใช้

2. ตัวชี้วัด
1. เข้าใจและใช้หลักการบวก และการคูณ การเรียงสับเปลี่ยน
และการจัดหมู่ในการแก้ปัญหา

3. สาระสำคัญ
ศึกษา ค้นคว้า สำรวจ วิเคราะห์ อธิบาย ฝึกทักษะ การคิด
คำนวณการให้เหตุ มีความคิดรวบยอดและฝึกการแก้ปัญหาในเรื่อง
กฎการนับต่าง ๆ การวาดแผนภาพต้นไม้ การใช้หลักการคูณ การใช้
หลักการบวกเพื่อแก้โจทย์ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1) แผนภาพต้นไม้
2) กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับ (หลักการบวกและ
หลักการคูณ)
3) การแก้โจทย์ปัญหาโดยใช้หลักการนับ
4) การเรียงสับเปลี่ยนเมื่อสิ่งของแตกต่างกันทั้งหมด
5) การแก้โจทย์ปัญหาของการเรียงสับเปลี่ยนเมื่อ
สิ่งของแตกต่างกันหมด
6) การเรียงสับเปลี่ยนเมื่อสิ่งของไม่แตกต่างกัน
7) การแก้โจทย์ปัญหาของการเรียงสับเปลี่ยนเมื่อ
สิ่งของไม่แตกต่างกัน
8) การจัดหมู่
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทักษะการสื่อสาร
2) ทักษะการแก้ปัญหา

คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1) มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
2) มีระเบียบวินัย
สมรรถนะสำคัญ
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด

5. คำถามสำคัญ
1) แผนภาพต้นไม้มีลักษณะอย่างไร และสามารถนำไป
ประยุกต์ใช้ในการแก้ปัญหาอะไรได้บ้าง
2) กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยวกับการนับมีอะไรบ้าง และมีลักษณะ
อย่างไรสามารถนำไปประยุกต์ในการแก้ปัญหาสถานการณ์ต่าง ๆ
ได้อย่างไร
3) การเรียงสับเปลี่ยนเมื่อสิ่งของแตกต่างกันทั้งหมดมีลักษณะ
อย่างไร และนำไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้
อย่างไร
4) การเรียงสับเปลี่ยนเมื่อสิ่งของไม่แตกต่างกันทั้งหมดมี
ลักษณะอย่างไร และนำไปใช้ในการแก้ปัญหาในสถานการณ์ต่าง ๆ
ได้อย่างไร
7) การจัดหมู่มีลักษณะอย่างไร และนำไปใช้ในการแก้ปัญหา
ในสถานการณ์ต่าง ๆ ได้อย่างไร

6. ภาระ/ชิ้นงาน
1) แบบฝึกหัดที่ 3.1 ข้อ 1 – 8 ในหนังสือเรียนรายวิชา
คณิตศาสตร์พื้นฐาน
มัธยมศึกษาปี ที่ 4
2) แบบฝึกหัดเรื่อง การเรียงสับเปลี่ยนเมื่อสิ่งของแตกต่างกัน
ทั้งหมด

7. การวัดและการประเมินผล
การวัดประเมินผลระหว่างเรียน
1) การทำแบบฝึกทักษะ
2) การสังเกตพฤติกรรม

การประเมินรวบยอด
สิ่งที่ต้องการประเมิน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน ที่ใช้ ประเมิน
ความรู้
1) แผนภาพต้นไม้ -การสังเกต - แบบ ผ่าน หมายถึง
2) กฎเกณฑ์เบื้องต้นเกี่ยว พฤติกรรม สังเกต นักเรียน
กับการนับ (หลักการบวก พฤติกรรม สามารถ
และหลักการคูณ) อธิบาย
3) การแก้โจทย์ปัญหา นิยามความ
โดยใช้หลักการนับ รู้หัวข้อต่าง
4) การเรียงสับเปลี่ยนเมื่อ ๆ ได้ถูก
สิ่งของแตกต่างกัน ต้อง
ทั้งหมด ไม่ผ่าน หมาย
5) การแก้โจทย์ปัญหา ถึง
ของการเรียงสับเปลี่ยน นักเรียน
เมื่อสิ่งของแตกต่างกัน สามารถ
-การตรวจ
หมด อธิบาย
แบบฝึกหัด - แบบ
6) การเรียงสับเปลี่ยนเมื่อ นิยามความ
ฝึกหัด
สิ่งของไม่แตกต่างกัน รู้หัวข้อต่าง
7) การแก้โจทย์ปัญหา ๆ ได้ไม่ถูก
ของการเรียงสับเปลี่ยน ต้อง
เมื่อสิ่งของไม่แตกต่างกัน
8) การจัดหมู่ - ทำแบบ
ฝึกหัดถูกต้อง
อย่างน้อยร้อย
ละ 60 ของ
จำนวนข้อ
ทั้งหมด
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทักษะการสื่อสาร - การสังเกต - แบบฝึก - ผ่านเกณฑ์
2) ทักษะการแก้ปัญหา - การตรวจ ทักษะ ร้อยละ 60
ชิ้นงาน
สมรรถนะสำคัญ นักเรียน 80%
1) ความสามารถในการ การสังเกต แบบ ของชั้นเรียนมี
สื่อสาร พฤติกรรม สังเกต ความสามารถ
2) ความสามารถในการ พฤติกรรม ในการคิดและ
คิด การสื่อสาร อยู่
ในระดับ ดี ขึ้น
ไป

8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1) แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบเมื่อเรียนจบ
2) ทบทวนความรู้เกี่ยวกับเซตโดยใช้การถาม-ตอบ
ขั้นสอน
3) ผู้เรียนทำแบบฝึกทักษะ โดยครูใช้การถาม-ตอบ เฉลยคำ
ตอบและช่วยกันสรุปผล พร้อมทั้งทำแบบสรุปเนื้อหา
4) ผู้เรียนทำเอกสารฝึกหัดเพิ่มเติมเป็ นการบ้านเพื่อเสริม
ทักษะและความแม่นยำ
ใน การเรียนรู้
ขั้นสรุป
5) ครูและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเนื้อหา

9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. โปรแกรม Microsoft PowerPoint
2. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 – 6

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนจอมสุรางค์
อุปถัมภ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ฟังก์ชันต่าง ๆ
รหัสวิชา ค 31101 ชื่อรายวิชา คณิตศาสตร์ 2 เวลาเรียน 13
คาบ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์
ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้

2. ตัวชี้วัด
1. ใช้ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชันอธิบายสถานการณ์ที่
กำหนด

3. สาระสำคัญ
ศึกษา ค้นคว้า สำรวจ วิเคราะห์ อธิบาย ฝึกทักษะ การคิด
คำนวณการให้เหตุผล มีความคิดรวบยอดและฝึกการแก้ปัญหาใน
เรื่องฟังก์ชันต่าง ๆ ฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชันกำลังสอง กราฟ
ของฟังก์ชันกำลังสอง ตัวอย่างของฟังก์ชันที่ควรรู้จัก การนำ
กราฟไปแก้สมการและอสมการ การแก้ปัญหาโดยใช้ความรู้เรื่อง
ฟังก์ชันกำลังสองและกราฟ ฟังก์ชันเอกซ์โพเนชียล ฟังก์ชัน
ค่าสัมบูรณ์ ฟังก์ชันขั้นบันได

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1) ความหมายและกราฟของฟังก์ชันเชิงเส้น
2) กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้น
3) การแก้ปัญหาโดยใช้ฟังก์ชันเชิงเส้น
4) ความหมายและลักษณะของกราฟฟังก์ชันกำลังสอง
5) การแก้ปัญหาโดยใช้ฟังก์ชันกำลังสอง
6) ความหมายและกราฟของฟังก์ชันเอกโพเนนเชียล
7) แก้สมการและแก้ปัญหาเรื่องฟังก์ชันเอกโพเนนเชียล
8) ฟังก์ชันขั้นบันได และฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทักษะการสื่อสาร
2) ทักษะการแก้ปัญหา
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1) มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
2) มีระเบียบวินัย
สมรรถนะสำคัญ
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด

5. คำถามสำคัญ
1) กราฟของฟังก์ชันเชิงเส้นมีลักษณะอย่างไร
2) กราฟเชิงเส้นสามารถนำไปประยุกต์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหา
ได้อย่างไร
3) กราฟของฟังก์ชันกำลังสองมีลักษณะอย่างไร
4) กราฟฟังก์ชันกำลังสองสามารถนำไปประยุกต์เพื่อใช้ในการ
แก้ปัญหาได้อย่างไร
5) กราฟของฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลมีลักษณะอย่างไร
6) กราฟของฟังก์ชันเอกโพเนนเชียลสามารถนำไปประยุกต์
เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างไร
7) กราฟของฟังก์ชันขั้นบันได และฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์มี
ลักษณะอย่างไร
8) กราฟของฟังก์ชันขั้นบันได และฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์สามารถ
นำไปประยุกต์เพื่อใช้ในการแก้ปัญหาได้อย่างไร

6. ภาระ/ชิ้นงาน
1. แบบฝึกหัดที่ 4.3.3 ข้อ 1 – 5 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้น
ฐาน คณิตศาสตร์เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
2. แบบฝึกหัดที่ 4.4 ข้อ 1 – 8 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6

7. การวัดและการประเมินผล
การวัดประเมินผลระหว่างเรียน
1) การทำแบบฝึกทักษะ
2) การสังเกตพฤติกรรม

การประเมินรวบยอด
สิ่งที่ต้องการประเมิน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน ที่ใช้ ประเมิน
ความรู้
1) ความหมายและกราฟ -การสังเกต - แบบ ผ่าน หมายถึง
ของฟังก์ชันเชิงเส้น พฤติกรรม สังเกต นักเรียน
2) กราฟของฟังก์ชันเชิง พฤติกรรม สามารถ
เส้น อธิบาย
3) การแก้ปัญหาโดยใช้ นิยามความ
ฟังก์ชันเชิงเส้น รู้หัวข้อต่าง
4) ความหมายและ ๆ ได้ถูก
ลักษณะของกราฟฟังก์ชัน ต้อง
กำลังสอง ไม่ผ่าน หมาย
5) การแก้ปัญหาโดยใช้ ถึง
ฟังก์ชันกำลังสอง นักเรียน
6) ความหมายและกราฟ -การตรวจ สามารถ
ของฟังก์ชันเอกโพเนน แบบฝึกหัด อธิบาย
เชียล - แบบ นิยามความ
7) แก้สมการและแก้ ฝึกหัด รู้หัวข้อต่าง
ปัญหาเรื่องฟังก์ชันเอกโพ ๆ ได้ไม่ถูก
เนนเชียล ต้อง
8) ฟังก์ชันขั้นบันได และ
ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ - ทำแบบ
ฝึกหัดถูกต้อง
อย่างน้อยร้อย
ละ 60 ของ
จำนวนข้อ
ทั้งหมด
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทักษะการสื่อสาร - การสังเกต - แบบฝึก - ผ่านเกณฑ์
2) ทักษะการแก้ปัญหา - การตรวจ ทักษะ ร้อยละ 60
ชิ้นงาน
สมรรถนะสำคัญ นักเรียน 80%
1) ความสามารถในการ การสังเกต แบบ ของชั้นเรียนมี
สื่อสาร พฤติกรรม สังเกต ความสามารถ
2) ความสามารถในการ พฤติกรรม ในการคิดและ
คิด การสื่อสาร อยู่
ในระดับ ดี ขึ้น
ไป

8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1) แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบเมื่อเรียนจบ
2) ทบทวนความรู้เกี่ยวกับเซตโดยใช้การถาม-ตอบ
ขั้นสอน
3) ผู้เรียนทำแบบฝึกทักษะ โดยครูใช้การถาม-ตอบ เฉลย
คำตอบและช่วยกันสรุปผล พร้อมทั้งทำแบบสรุปเนื้อหา
4) ผู้เรียนทำเอกสารฝึกหัดเพิ่มเติมเป็ นการบ้านเพื่อเสริม
ทักษะและความแม่นยำ
ใน การเรียนรู้
ขั้นสรุป
5) ครูและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเนื้อหา

9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1. โปรแกรม Microsoft PowerPoint
2. โปรแกรม GSP สำหรับวาดกราฟฟังก์ชันเชิงเส้น ฟังก์ชัน
กำลังสอง ฟังก์ชันเอกโพเนนเชียล ฟังก์ชันค่าสัมบูรณ์ และฟังก์ชัน
ขั้นบันได
3. หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 – 6
4. Application Kahoot

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ โรงเรียนจอมสุรางค์
อุปถัมภ์
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ชื่อหน่วยการเรียนรู้ ความสัมพันธ์
ฟังก์ชัน
รหัสวิชา ค 31101 ชื่อรายวิชา คณิตศาสตร์ 2 เวลาเรียน 11
คาบ
ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 4 ภาคเรียนที่ 2
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 1.2 เข้าใจและวิเคราะห์แบบรูป ความสัมพันธ์
ฟังก์ชัน ลำดับและอนุกรม และนำไปใช้

2. ตัวชี้วัด
1. ใช้ฟังก์ชันและกราฟของฟังก์ชันอธิบายสถานการณ์ที่
กำหนด

3. สาระสำคัญ
ศึกษา ค้นคว้า สำรวจ วิเคราะห์ อธิบาย ฝึกทักษะ การคิด
คำนวณการให้เหตุผล มีความคิดรวบยอดและฝึกการแก้ปัญหาใน
เรื่องความสัมพันธ์และฟังก์ชัน โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
และฟั งก์ชัน ความหมายของฟั งก์ชัน กราฟของความสัมพันธ์และ
ฟั งก์ชัน

4. สาระการเรียนรู้
ความรู้
1) การเขียนคู่อันดับ การหาค่าของคู่อันดับ และการ
เขียนคู่อันดับ
2) ความสัมพันธ์
3) การหาโดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์
4) ความหมายและรูปแบบการเขียนฟังก์ชัน
5) การตรวจสอบความเป็ นฟังก์ชัน
6) การหาโดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชัน
7) การหาค่าของฟังก์ชัน
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทักษะการสื่อสาร
คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1) มีส่วนร่วมในกิจกรรมการเรียน
2) มีระเบียบวินัย
สมรรถนะสำคัญ
1) ความสามารถในการสื่อสาร
2) ความสามารถในการคิด
5. คำถามสำคัญ
1. คู่อันดับมีลักษณะอย่างไร
2. วิธีการหาค่าของคู่อันดับ สามารถหาได้อย่างไร
3. ผลคูณคาร์ทีเซียนมีลักษณะอย่างไร
4. ความสัมพันธ์มีลักษณะอย่างไร
5. โดเมนและเรนจ์ของความสัมพันธ์สามารถหาได้อย่างไร
6. ฟังก์ชันมีลักษณะอย่างไร
7. การตรวจสอบความเป็ นฟังก์ชันมีวิธีการตรวจอะไรบ้าง และ
มีกระบวนการอย่างไร
8. โดเมนและเรนจ์ของฟังก์ชันสามารถหาได้อย่างไร
9. การหาค่าของฟังก์ชันหาได้อย่างไร

6. ภาระ/ชิ้นงาน
1. แบบฝึกหัดที่ 4.1 ข้อ 1 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์เล่ม 1 ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 4-6
2. แบบฝึกหัดที่ 4.1 ข้อ 8 – 9

7. การวัดและการประเมินผล
การวัดประเมินผลระหว่างเรียน
1) การทำแบบฝึกทักษะ
2) การสังเกตพฤติกรรม

การประเมินรวบยอด
สิ่งที่ต้องการประเมิน วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน ที่ใช้ ประเมิน
ความรู้
1) การเขียนคู่อันดับ การ -การสังเกต - แบบ ผ่าน หมายถึง
หาค่าของคู่อันดับ และ พฤติกรรม สังเกต นักเรียน
การเขียนคู่อันดับ พฤติกรรม สามารถ
2) ความสัมพันธ์ อธิบาย
3) การหาโดเมนและเรนจ์ นิยามความ
ของความสัมพันธ์ รู้หัวข้อต่าง
4) ความหมายและรูป ๆ ได้ถูก
แบบการเขียนฟังก์ชัน ต้อง
5) การตรวจสอบความ ไม่ผ่าน หมาย
เป็ นฟังก์ชัน ถึง
6) การหาโดเมนและเรนจ์ นักเรียน
ของฟังก์ชัน สามารถ
-การตรวจ
7) การหาค่าของฟังก์ชัน อธิบาย
แบบฝึกหัด - แบบ
นิยามความ
ฝึกหัด
รู้หัวข้อต่าง
ๆ ได้ไม่ถูก
ต้อง

- ทำแบบ
ฝึกหัดถูกต้อง
อย่างน้อยร้อย
ละ 60 ของ
จำนวนข้อ
ทั้งหมด
ทักษะ/กระบวนการ
1) ทักษะการสื่อสาร - การสังเกต - แบบฝึก - ผ่านเกณฑ์
- การตรวจ ทักษะ ร้อยละ 60
ชิ้นงาน
สมรรถนะสำคัญ นักเรียน 80%
1) ความสามารถในการ การสังเกต แบบ ของชั้นเรียนมี
สื่อสาร พฤติกรรม สังเกต ความสามารถ
2) ความสามารถในการ พฤติกรรม ในการคิดและ
คิด การสื่อสาร อยู่
ในระดับ ดี ขึ้น
ไป
8. การจัดกิจกรรมการเรียนรู้
ขั้นนำ
1) แจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้ให้นักเรียนทราบเมื่อเรียนจบ
2) ทบทวนความรู้เกี่ยวกับเซตโดยใช้การถาม-ตอบ
ขั้นสอน
3) ผู้เรียนทำแบบฝึกทักษะ โดยครูใช้การถาม-ตอบ เฉลย
คำตอบและช่วยกันสรุปผล พร้อมทั้งทำแบบสรุปเนื้อหา
4) ผู้เรียนทำเอกสารฝึกหัดเพิ่มเติมเป็ นการบ้านเพื่อเสริม
ทักษะและความแม่นยำ
ใน การเรียนรู้
ขั้นสรุป
5) ครูและผู้เรียนร่วมกันอภิปรายและสรุปเนื้อหา

9. สื่อ/แหล่งเรียนรู้
1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ เล่ม 1 ชั้น
มัธยมศึกษาปี ที่ 4 - 6
2) โปรแกรม Microsoft PowerPoint
3) โปรแกรม GSP สำหรับวาดกราฟของความสัมพันธ์

You might also like