You are on page 1of 72

หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

เลขยกกำลัง
เวลา 8 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ค 1.1 เข้าใจความหลากหลายของการแสดงจำนวน ระบบจำนวน การดำเนินการของจำนวน ผลที่เกิดขึ้น
จากการดำเนินการ สมบัติของการดำเนินการ และนำไปใช้
ค 1.1 ม.2/1 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มในการแก้ปัญหา
คณิตศาสตร์และปัญหาในชีวิตจริง

2. สาระการเรียนรู้
2.1 สาระการเรียนรู้แกนกลาง
1) เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
2) การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในการแก้ปัญหา
2.2 สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
(พิจารณาตามหลักสูตรสถานศึกษา)

3. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มสามารถเขียนในรูปของการคูณซ้ำตามบทนิยามดังนี้
บทนิยาม กำหนดให้ a เป็นจำนวนเต็มใดๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก

an = a x a x a x ... x a
n ตัว
เรียก a ว่า ฐาน (base)
เรียก n ว่า เลขชี้กำลัง (exponent or index)
เรียก an ว่า เลขยกกำลัง
การคูณและการหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวน
เต็มบวก ต้องใช้สมบัติของเลขยกกำลังดังนี้
กำหนดให้ a,b แทนจำนวนใดๆ ที่ b ≠ 0 และ m,n,k แทนจำนวนเต็มบวกใดๆ
1) am  an = am+ n 2) (am) n = amn
3) ( a  b ) m = am  bm ( )
4) am  bn k = amk  bmk

คณิตศาสตร์ ม.2
am m− n am  a m
5) n = a เมื่อ a ≠ 0 , m > n 6) m =   เมื่อ a ≠ 0 , m > n
a b b
 am k amk
7)   = nk เมื่อ a ≠ 0 , m > n
 bn  b
จำนวนที่เขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ คือ จำนวนที่เขียนในรูป A × 10n เมื่อ 1≤ A <10 โดยที่ n เป็น
จำนวนเต็ม และสามารถนำเรื่องจำนวนที่เขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ไปใช้ในชีวิตจริงได้ เช่น การคำนวณหา
ดอกเบี้ยเงินฝากต่อปีและ การคำนวณจำนวนอะตอมของธาตุ เป็นต้น

4. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย รับผิดชอบ
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
1) ทักษะการเปรียบเทียบ 3. มุ่งมั่นในการทำงาน
2) ทักษะการแปลความ
3) ทักษะการเชื่อมโยง
4) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
5) ทักษะการคิดคล่อง
6) ทักษะการคิดหลากหลาย
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต

5. ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด)
- แผ่นพับ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

คณิตศาสตร์ ม.2
6. การวัดและการประเมินผล
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
6.1 การประเมินชิ้นงาน/ - ตรวจแผ่นพับ - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ระดับคุณภาพ 2
ภาระงาน (รวบยอด) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ภาระงาน ผ่านเกณฑ์
เลขยกกำลัง
6.2 การประเมินก่อนเรียน
- แบบทดสอบก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ประเมินตามสภาพจริง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ก่อนเรียน
เลขยกกำลัง
6.3 การประเมินระหว่างการ
จัดกิจกรรมการเรียนรู้
1) เลขยกกำลัง - ตรวจใบงานที่ 1.1.1 - ใบงานที่ 1.1.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ที่มีเลขชี้กำลัง - ตรวจแบบฝึกทักษะ 1.1 - แบบฝึกทักษะ 1.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
เป็นจำนวนเต็ม - ตรวจ Exercise 1.1 - Exercise 1.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

2) การคูณและการหาร - ตรวจใบงานที่ 1.2.1 - ใบงานที่ 1.2.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์


เลขยกกำลัง - ตรวจใบงานที่ 1.2.2 - ใบงานที่ 1.2.2 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
เมื่อเลขชี้กำลัง - ตรวจใบงานที่ 1.2.3 - ใบงานที่ 1.2.3 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
เป็นจำนวนเต็ม - ตรวจแบบฝึกทักษะ 1.2 - แบบฝึกทักษะ 1.2 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจ Exercise 1.2 - Exercise 1.2 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
3) สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ - ตรวจใบงานที่ 1.3.1 - ใบงานที่ 1.3.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจแบบฝึกทักษะ 1.3 - แบบฝึกทักษะ 1.3 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจ Exercise 1.3 - Exercise 1.3 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
4) การนำความรู้ - ตรวจใบงานที่ 1.4.1 - ใบงานที่ 1.4.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
เกี่ยวกับเลขยกกำลัง - ตรวจแบบฝึกทักษะ 1.4 - แบบฝึกทักษะ 1.4 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ไปใช้ในชีวิตจริง - ตรวจ Exercise 1.4 - Exercise 1.4 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- ตรวจแบบฝึกทักษะ - แบบฝึกทักษะประจำ - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
ประจำหน่วยการเรียนรู้ หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
ที่ 1
5) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2
ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์

คณิตศาสตร์ ม.2
รายการวัด วิธีวัด เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
6.1 การประเมินชิ้นงาน/ - ตรวจแผ่นพับ - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ระดับคุณภาพ 2
ภาระงาน (รวบยอด) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ภาระงาน ผ่านเกณฑ์
เลขยกกำลัง
6) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
7) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
กลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
8) คุณลักษณะ - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2
อันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่นใน คุณลักษณะ ผ่านเกณฑ์
การทำงาน อันพึงประสงค์
6.4 การประเมินหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
- แบบทดสอบหลังเรียน หลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เลขยกกำลัง

7. กิจกรรมการเรียนรู้
● แผนฯ ที่ 1 : เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม เวลา 2 ชั่วโมง
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : Concept Based Teaching
● แผนฯ ที่ 2 : การคูณและการหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม เวลา 3 ชั่วโมง
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : Concept Based Teaching
● แผนฯ ที่ 3 : สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ เวลา 1 ชั่วโมง
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : Concept Based Teaching
● แผนฯ ที่ 4 : การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในชีวิตจริง เวลา 2 ชั่วโมง
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : Concept Based Teaching
(รวมเวลา 8 ชั่วโมง)

คณิตศาสตร์ ม.2
8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
2) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์หน่วยที่1 เรื่อง เลชยกกำลัง
3) แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
4) ใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกัน
5) ใบงานที่ 1.2.1 เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (1)
6) ใบงานที่ 1.2.2 เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (2)
7) ใบงานที่ 1.2.3 เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (3)
8) ใบงานที่ 1.3.1 เรื่อง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
9) ใบงานที่ 1.4.1 เรื่อง การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในชีวิตจริง
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องสมุด
3) อินเทอร์เน็ต

คณิตศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้อเดียว


1. ผลลัพธ์ของ 32 × 36 เท่ากับเท่าไร 7. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (74 x 82)3
ก. 34 ข. 36 ก. (74 x 82) ข. (712 x 86)3
ค. 38 ง. 310 ค. (7 x 8) ง. (712 x 86)

2. ผลลัพธ์ของ b2 × b10 × b3 เท่ากับเท่าไร 8. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (8-2 x 5-4)-2


ก. b25 ข. b20 ก. (8 x 5-4) ข. (84 x 58)
ค. b15 ง. b10 ค. (8 x 5)-2 ง. (85 x 52)8

3. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (52)5 9. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (x3y4z5)3


ก. 518 ข. 520 ก. x3y4z5 ข. (xyz)3
ค. 515 ง. 510 ค. x6y7z8 ง. x9y12z15

4. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ ((0.1)3)2 55
10. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ
ก. (0.1)3 ข. (0.1)4 54
ก. 53 ข. 52
ค. (0.1)6 ง. (0.1)9
ค. 51 ง. 50
5. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (3 x 7)4 (0.1) 6
11. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ
ก. (34 x 74) ข. (34 x 7) (0.1)10
ค. (3 x 74) ง. (34 x 74)4 ก. (0.1)-4 ข. (0.1)-3
ค. (0.1)-2 ง. (0.1)-1
6. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (5 x 8)5
2 2
ก. (55 x 85) ข. (55 x 8) 12. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ  
ค. (5 x 85) ง. (55 x 85)2 5
22 2
ก. ข. 2
5 5
22 2
ค. 2 ง.
5 5

คณิตศาสตร์ ม.2
 − 7 4 17. ข้อต่อไปนี้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
13. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ   ก. 108 ข. 0.007
−5
( − 7) 4 ( − 7) ค. 543 × 10 ง. 2.93 × 10
ก. ข.
( 5) ( − 5)
( − 7) ( − 7) 4
18. ข้อใดเป็นรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ของ 9,854
ค. ง. ก. 9.854 x 104 ข. 9.854 x 102
( − 5) 4 ( − 5) 4
4 ค. 9.854 x 105 ง. 9.854 x 103
 52 
14. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ  
 33  19. ข้อใดเป็นรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ของ 0.0123
56 56 ก. 1.23 x 10-2 ข. 1.23 x 102
ก. ข. 9
3 3 ค. 1.23 x 10-4 ง. 1.23 x 104
5 5
ค. 9 ง. 108 10−5
3 3 20. ผลลัพธ์ของ เท่ากับเท่าไร
 x2 
6 12 10−6
15. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ   ก. 9 ข. 9 x 102
4
y 
ค. 9 x 10-1 ง. 9 x 10
x12 x
ก. ข. 24
y y
x 12 x
ค. 24 ง.
y y
−3
 a2 
16. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ  
 b5 
 a6  a
ก.   ข.  
b  b15 
 a  a6 
ค.   ง.  15 
b b 

เฉลย
1. ค 2. ค 3. ง 4. ค 5. ก 6. ก 7. ง 8. ข 9. ง 10. ค
11. ก 12. ค 13. ง 14. ข 15. ค 16. ง 17. ง 18. ง 19. ก 20. ง

คณิตศาสตร์ ม.2
แบบทดสอบหลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1

คำชี้แจง : ให้นักเรียนเลือกคำตอบที่ถูกต้ องที่สุดเพียงข้อเดียว


1. จงหาผลลัพธ์ของ 22 × 26 7. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (72 x 83)5
ก. 24 ข. 26 ก. (72 x 83) ข. (710 x 83)5
ค. 28 ง. 210 ค. (710 x 815) ง. (7 x 8)5

2. จงหาผลลัพธ์ของ a12 × a10 × a3 8. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (10-2 x 5-4)-2


ก. a25 ข. a20 ก. (10-2 x 5-4) ข. (104 x 58)
ค. a15 ง. a10 ค. (10 x 5)-2 ง. (105 x 52)8

3. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (56)3 9. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (a3b4c5)3


ก. 518 ข. 520 ก. a3b4c5 ข. (abc)3
ค. 515 ง. 510 ค. a6b7c8 ง. a9b12c15

55
4. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ ((0.1)3)3 10. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ 2
ก. (0.1)3 ข. (0.1)4 5
ก. 5 3 ข. 52
ค. (0.1)6 ง. (0.1)9
ค. 51 ง. 50
(0.1) 4
5. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (2 x 7)3 11. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ
ก. (23 x 7) ข. (2 x 73) (0.1)7
ก. (0.1)-4 ข. (0.1)-3
ค. (23 x 73)3 ง. (23 x 73)
ค. (0.1)-2 ง. (0.1)-1

2 2
6. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ (5 x 8)-2 12. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ  
ก. (5-2 x 8-2) ข. (5-2 x 8) 3
ค. (5 x 8-2) ง. (5-2 x 8-2)-2 22 2
ก. ข. 2
3 3
22 2
ค. 2 ง.
3 3

คณิตศาสตร์ ม.2
 − 2 4 17. ข้อต่อไปนี้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
13. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ   ก. 100 ข. 0.002
 −5
( − 2 ) −4 ( − 2) ค. 5 × 10 ง. 293 × 10
ก. ข.
( − 5) ( − 5)
( − 2) ( − 2) 4
18. ข้อใดเป็นรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ของ 54,321
ค. ง. ก. 5.4321 x 104 ข. 5.4321 x 102
( − 5) 4 ( − 5) 4
ค. 5.4321 x 105 ง. 5.4321 x 103
 2 2 3
14. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ  
 33 
26 26 19. ข้อใดเป็นรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ของ 0.000123
ก. ข. 9 ก. 1.23 x 10-2 ข. 1.23 x 102
3 3
ค. 1.23 x 10-4 ง. 1.23 x 104
2 2
ค. 9 ง.
3 3
 a 2 4 42 10 −5
15. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ   20. จงหาผลลัพธ์ของ
 b6  6 10 −6
a12 a ก. 7 ข. 7 x 102
ก. ข. 24
b b ค. 7 x 10-1 ง. 7 x 10
a 12 a
ค. 24 ง.
b b
−3
 x2 
16. ข้อใดต่อไปนี้อยู่ในรูปอย่างง่ายของ  
 y5 
 x −6   x 
ก.  
 ข.  −15 
 y  y 
x  x −6 
ค.   ง.  −15 
y y 

เฉลย
1. ค 2. ก 3. ก 4. ง 5. ง 6. ก 7. ค 8. ข 9. ง 10. ก

11. ข 12. ค 13. ง 14. ข 15. ค 16. ง 17. ค 18. ก 19. ค 20. ง
คณิตศาสตร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เวลา 2 ชั่วโมง

1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.2/1 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
และปัญหาในชีวิตจริง

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) เข้าใจความหมายของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม (K)
2) หาค่าของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มได้ (K)
3) เขียนเลขยกกำลังให้อยู่ในรูปจำนวนเต็มได้ (P)
4) เขียนเลขยกกำลังให้อยู่ในรูปเศษส่วนได้ (P)
5) เขียนเลขยกกำลังให้อยู่ในรูปทศนิยมได้ (P)
6) ตั้งใจรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มสามารถเขียนในรูปของการคูณซ้ำตามบทนิยามดังนี้
บทนิยาม กำหนดให้ a เป็นจำนวนเต็มใดๆ และ n เป็นจำนวนเต็มบวก

an = a x a x a x ... x a
n ตัว
เรียก a ว่า ฐาน (base)
เรียก n ว่า เลขชี้กำลัง (exponent or index)
เรียก an ว่า เลขยกกำลัง

คณิตศาสตร์ ม.2
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย รับผิดชอบ
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
1) ทักษะการเชื่อมโยง 3. มุ่งมั่นในการทำงาน
2) ทักษะการคิดหลากหลาย
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

6. กิจกรรมการเรียนรู้
 แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : Concept Based Teaching

ชั่วโมงที่ 1

นักเรียนทำแบบทดสอบก่อนเรียน หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

ขั้นนำ
ขั้นการใช้ความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ (Prior Knowledge)
1. ครูกล่าวทักทายกับนักเรียน แล้วแจ้งจุดประสงค์การเรียนรู้เรื่องเลขยกกำลังให้นักเรียนทราบ
2. ครูกระตุ้นความสนใจของนักเรียนโดยให้นักเรียนดูภาพประกอบหน้าหน่วยในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมว่า
“เซลล์แบคทีเรียชนิดหนึ่ง มีความยาวประมาณ 2 ไมโครเมตร (ไมโครเมตร = 10−6 ) หรือ 2 10−6
เมตร ในสภาพที่เหมาะสมเซลล์แบคทีเรียจะสามารถแบ่งตัวทุก ๆ 20 - 30 นาที และมีจำนวนเพิ่มขึ้นเป็น
1
2 เท่า โดยมีอัตราการแบ่งตัวทุก ชั่วโมง จาก 1 เซลล์ จะแบ่งตัวได้เป็น 2 เซลล์”
2
3. ครูเล่าเรื่องให้นักเรียนฟังว่า “หากครูเป็นผู้วิเศษ ครูจะให้พรนักเรียนได้ 1 ข้อ นักเรียนจะเลือกขอพรข้อที่ 1
หรือข้อที่ 2 เพราะเหตุใด ดังนี้
ข้อที่ 1 ขอทองคำหนัก 100 บาท เมื่อทองหนัก 1 บาทมีมูลค่า 20,000 บาท
ข้อที่ 2 ขอเงินรายวัน จำนวน 30 วัน โดยวันแรกได้รับเงิน 2 บาท วันที่สองได้รับเงิน 4 บาท
และวันต่อๆ มาได้รับเงิน 8, 16, 32, 64, 128, … เรียงตามลำดับ จนครบ 30 วัน”
(คำตอบ : ข้อที่ 2 เพราะ เมื่อนำเงินรายวันที่ได้รับมารวมกันทั้งหมด 30 วัน จะมีมูลค่ามากกว่าเงินที่ได้รับ
จากข้อที่ 1

คณิตศาสตร์ ม.2
โดยข้อที่ 1 ขอทองคำหนัก 100 บาท เมื่อทองหนัก 1 บาทมีมูลค่า 20,000 บาท
จะได้ว่า นักเรียนจะได้ทองหนัก 1 บาท มีมูลค่า 20,000 บาท
ข้อที่2 ขอเงินรายวัน จำนวน 30 วัน โดยวันแรกได้รับเงิน 2 บาท วันที่สองได้รับเงิน 4 บาท
และวันต่อๆ มาได้รับเงิน 8, 16, 32, 64, 128, … เรียงตามลำดับ จนครบ 30 วัน
จะได้ว่า วันแรกได้เงิน 2 บาท,วันที่ 2 ได้เงิน 2 2 = 4 ,วันที่ 3 ได้เงิน 2 3 = 8 วันต่อๆมาได้รับเงิน
จนถึง 30 วัน จะได้เงิน 2 30 = 1,073,741,824 บาท)
4. ครูถามนักเรียนว่า “จากพรข้อที่ 2 ลักษณะการเพิ่มของเงินแต่ละวันมีความสัมพันธ์กันอย่างไร”
(คำตอบ : สัมพันธ์แบบเพิ่มขึ้นทวีคูณ 21 , 22 , 23 , 24 , 25 , 26 ,..., 230 )

ขั้นสอน
ขั้นรู้ (Knowing)
1. นักเรียนศึกษา“ควรรู้ก่อนเรียน”ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เลขยกกำลัง จากนั้นครูถามคำถามดังนี้
• การเขียนเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวกมีบทนิยามว่าอย่างไร
(คำตอบ : กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ และ n แทนจำนวนเต็มบวก “a ยกกำลัง n” หรือ
“a กำลัง n” เขียนแทนด้วย an มีความหมาย ดังนี้ เรียก an ว่า an = a  a  a ... a
เลขยกกำลังที่มี a เป็นฐาน และ n เป็นเลขชี้กำลัง) n ตัว
• การคูณและการหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และมีเลขชี้กำลัง
เป็นจำนวนเต็มบวก ต้องใช้สมบัติใด
(คำตอบ : การคูณและการหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และมีเลขชี้กำลัง
เป็นจำนวนเต็มบวก ต้องใช้สมบัติของเลขยกกำลัง)
สมบัติของเลขยกกำลัง กำหนดให้ a,b เป็นจำนวนใดๆ และ m,n,k แทนจำนวนเต็มบวกใดๆ
1) am  an = am+ n 2) (am) n = amn
3) ( a b ) m = am  bm ( )
4) am  bn k = amk  bnk
am a m
 a 
m
5) n = am−n เมื่อ a ≠ 0 , m > n 6) m =   เมื่อ a ≠ 0 , m > n
a b b
k mk
am
7)   = nk เมื่อ a ≠ 0 , m > n
a
 bn  b

คณิตศาสตร์ ม.2
• จำนวนที่เขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์คืออะไร

(คำตอบ : จำนวนที่เขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ คือ จำนวนที่เขียนในรูป A10n เมื่อ 1 ≤ A < 10


และ n เป็นจำนวนเต็ม)
หมายเหตุ นักเรียนทำแบบทดสอบพื้นฐานก่อนเรียน โดยการสแกน QR Code ในหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
2. นักเรียนศึกษาเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.2
เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
• 34 สามารถเขียนให้อยู่ในรูปจำนวนเต็มได้อย่างไร
(คำตอบ : 34 ฐานคือ 3 เลขชี้กำลังคือ 4 จะได้ว่า 3 x 3 x 3 x 3 = 81 )
4
• ( − 2 ) สามารถเขียนให้อยู่ในรูปจำนวนเต็มได้อย่างไร
(คำตอบ : ( − 2 ) 4 ฐานคือ (-2) เลขชี้กำลังคือ 4 จะได้ว่า (-2) x (-2) x (-2) x (-2) = 16)
 1 2
•   สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนได้อย่างไร
2
 1 2 1  1 2  1   1   1 
(คำตอบ :   ฐานคือ เลขชี้กำลังคือ 2 จะได้ว่า   =      =   )
2 2 2 2 2 4
2
 3
•  −  สามารถเขียนให้อยู่ในรูปเศษส่วนได้อย่างไร
 5
 3 2 3  3 2  3   3  9
(แนวตอบ:  −  ฐานคือ − เลขชี้กำลังคือ 2 จะได้ว่า  −  =  −  −  = − )
 5 5  5  5  5 25
0
• 3 สามารถเขียนให้อยู่ในรูปจำนวนเต็มได้อย่างไร
(แนวตอบ : 30 = 1 )
ทำไม 30 = 1
บทนิยาม a0 = 1
a0 = an−n
an
a0 =
an
a0 = 1 เมื่อ a ≠ 0 เพราะ 00 = หาค่าไม่ได้
แสดงว่า จำนวนใดๆ ยกกำลัง 0 จะเท่ากับ 1 เสมอ
ดังนั้น 30 = 1

คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้นเข้าใจ (Understanding)
3. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน ทำ “กิจกรรมคณิตศาสตร์” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์
ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
4. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปว่า“จากกิจกรรมคณิตศาสตร์จะเห็นว่า
“การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกัน ซึ่งไม่เท่ากับศูนย์และมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวกที่
เท่ากัน จะได้ผลหารเป็นเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นศูนย์ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1 เป็นไปตามบทนิยามต่อไปนี้
กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ จะได้ a 0 = 1”
บทนิยาม a 0 = 1
a 0 = an −n
an
a0 = an
a0 = 1 เมื่อ a ≠ 0 เพราะ 00 = หาค่าไม่ได้
แสดงว่า จำนวนใดๆ ยกกำลัง 0 จะเท่ากับ 1 เสมอ
และ“การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกันซึ่งไม่เท่ากับศูนย์แต่เ ลขชี้กำลังของตัวหารมากกว่า
เลขชี้กำลังของตัวตั้ง จะได้ผลหารเป็นเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มลบเป็นไปตามบทนิยาม
ต่อไปนี้ กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ n แทนจำนวนเต็มบวก
1
โดยที่เลขชี้กำลังของตัวหารมากกว่าเลขชี้กำลังของตัวตั้ง จะได้ a −n = ”
an
2
2
ตัวอย่างเช่น จงพิสูจน์ว่า 2−3 กับ 5 มีค่าเท่ากันหรือไม่
2
1
จาก นิยาม a −n =
an
1 1
ดังนั้น 2−3 = 3 =
2 8
2
2 22 1
ส่วน 5 = =
2 22222 8
− 3 22 1
ดังนั้น 2 กับ 5 มีค่าเท่ากับ
2 8
แสดงว่า เลขชี้กำลังของตัวหารมากกว่าเลขชี้กำลังของตัวตั้ง จะได้ผลหารเป็นเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็น
จำนวนเต็มลบ
5. นักเรียนทำใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกันเมื่อทำเสร็จแล้ว
ครูขออาสาสมัครออกมานำเสนอคำตอบหน้าชั้นเรียน

คณิตศาสตร์ ม.2
ชั่วโมงที่ 2
ขั้นรู้ (Knowing)
6. ครูทบทวนความรู้เรื่องการหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกันจากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
• บทนิยามของการหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกันซึ่งไม่เท่ากับศูนย์และมีเลขชี้กำลัง

เป็นจำนวนเต็มบวกที่เท่ากัน จะได้ผลหารเป็นเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นศูนย์ซึ่งมีค่าเท่ากับ 1
เป็นอย่างไร
(แนวตอบ : กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ จะได้ a0 = 1)
• บทนิยามของการหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกันซึ่งไม่เท่ากับศูนย์แต่เลขชี้กำลังของตัวหาร

มากกว่าเลขชี้กำลังของตัวตั้ง จะได้ผลหารเป็นเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มลบเป็นอย่างไร
(แนวตอบ : กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ n แทนจำนวนเต็มบวก
1
จะได้ a −n = )
an
7. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมเกี่ยวกับการอ่านเลขยกกำลังในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง บนกระดาน ดังนี้
• 3 −4 อ่านว่า “สามยกกำลังลบสี่” หรือ “สามกำลังลบสี่”
 ฐานคือ 3 เลขชี้กำลังคือ -4
− 4 1  1 4
หรือ 3 = =   อ่านว่า “เศษหนึ่งส่วนสองทั้งหมดยกกำลังสี่” หรือ “เศษหนึ่งส่วนสองทั้งหมด
2 2
4
กำลังสี่”
1
 ฐานคือ เลขชี้กำลังคือ 4
3
• ( − 2)
− 5 อ่านว่า “ลบสองยกกำลังลบห้า” หรือ “ลบสองกำลังลบห้า”
 ฐานคือ -2 เลขชี้กำลังคือ -5
− 5 1  1 5
หรือ ( − 2 ) = =  −  อ่านว่า “ลบเศษหนึ่งส่วนสองทั้งหมดยกกำลังสี่ ” หรือ “ลบเศษ
− 25  2 
หนึ่งส่วนสองทั้งหมดกำลังสี่”
1
 ฐานคือ − เลขชี้กำลังคือ 5
2

คณิตศาสตร์ ม.2
−5
1
•  อ่านว่า “เศษหนึ่งส่วนสองทั้งหมดยกกำลังลบห้า” หรือ “เศษหนึ่งส่วนสองทั้งหมดกำลังลบห้า”
2
1
 ฐานคือ เลขชี้กำลังคือ -5
2
2
( 1.1) − อ่านว่า “หนึ่งจุดหนึ่งยกกำลังลบสอง” หรือ “หนึ่งจุดหนึ่งกำลังลบสอง”

 ฐานคือ 1.1 เลขชี้กำลังคือ -2

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
8. นักเรียนจับคู่ทำกิจกรรมโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) ดังนี้
• ให้นักเรียนแต่ละคนคิดคำตอบของตนเอง จาก “Thinking Time” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
9. นักเรียนทำ Exercise 1.1 ในแบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้
ที่ 1 เลขยกกำลัง เป็นการบ้าน

ขั้นลงมือทำ (Doing)
10. นักเรีย นแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน คละความสามารถทางคณิตศาสตร์ แล้ว ร่ว มกัน ทำแบบฝึกทักษะ 1.1
ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

ขั้นสรุป
ครูถามคำถามเพื่อสรุปความรู้รวบยอดของนักเรียนดังนี้
• การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกัน ซึ่งไม่เท่ากับศูนย์และมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวกที่เท่ากัน
จะได้ผลหารเป็นอย่างไร
(คำตอบ : เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นศูนย์จะมีค่าเท่ากับ 1)
• การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกันซึ่งไม่เท่ากับศูนย์แต่เลขชี้กำลังของตัวหารมากกว่า เลขชี้กำลัง
ของตัวตั้ง จะได้ผลหารเป็นอย่างไร
(คำตอบ : เลขยกกำลังจะมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มลบ)
• เรียก a n ว่าอย่างไร
(คำตอบ : เรียก an ว่า เลขยกกำลังที่มี a เป็นฐาน และ n เป็นเลขชี้กำลัง)

คณิตศาสตร์ ม.2
7. การวัดและประเมินผล
รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
7.1 การประเมินก่อนเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบก่อนเรียน - ประเมินตามสภาพจริง
- แบบทดสอบก่อนเรียน ก่อนเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
7.2 การประเมินระหว่าง - ตรวจใบงานที ่ 1.1.1 - ใบงานที่ 1.1.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
การจัดกิจกรรม - ตรวจแบบฝึกทักษะ 1.1 - แบบฝึกทักษะ 1.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
การเรียนรู้ - ตรวจ Exercise 1.1 - Exercise 1.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
1) เลขยกกำลัง
ที่มีเลขชี้กำลัง
เป็นจำนวนเต็ม
2) การนำเสนอผลงาน - ประเมิ น การนำเสนอ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2
ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม - ระดับคุณภาพ 2
รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
4) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสั ง เกตพฤติ ก รรม - ระดับคุณภาพ 2
กลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
5) คุณลักษณะ - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมินคุณลักษณะ - ระดับคุณภาพ 2
อันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
2) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ที่ 1.1 เรื่อง เลขยกกำลัง
3) แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
4) ใบงานที่ 1.1.1 เรื่อง การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกัน
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องสมุด
3) อินเทอร์เน็ต

คณิตศาสตร์ ม.2
ใบงานที่ 1.1.1
เรื่อง การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกัน

คำชี้แจง : ให้นักเรียนหาผลลัพธ์ต่อไปนี้

1. 29  23 =

2. 35  32 =

3. 114 115 =

4. ( − 5 ) 8  ( − 5 ) 4 =

5. ( − 4 ) 6  ( − 4 ) 8 =

6. ( − 1) 5  ( − 1) 5 =

7. ( 0.3 ) 7  ( 0.3 ) 5 =

8. ( 0.06) 5  ( 0.06 ) 10 =

9. ( 0.02 ) 7  ( 0.02 ) 7 =

 1 5  1 2
10.      =
4 4

 1 3  1 4
11.  −    −  =
 2  2

3 4 3 4
12.      =
2 2

คณิตศาสตร์ ม.2
ใบงานที่ 1.1.1 เฉลย
เรื่อง การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกัน

คำชี้แจง : ให้นักเรียนหาผลลัพธ์ต่อไปนี้

= 2
6
1. 29  23

2. 35  32 = 33

3. 114 115 = 11-1

4. ( − 5) 8  ( − 5) 4 = (-5)4

5. ( − 4 ) 6  ( − 4 ) 8 = (-4)-2

6. ( − 1) 5  ( − 1) 5 = (-1)0 = 1

7. ( 0.3 ) 7  ( 0.3 ) 5 = (0.3)2

8. ( 0.06) 5  ( 0.06) 10 = (0.06)-5

9. ( 0.02 ) 7  ( 0.02 ) 7 = (0.02)0 = 1


1 3
1 5 1 2 ()
10.      = 4
4 4
1 -1
 1 3  1 4 (- )
11.  −    −  = 2
 2  2
3 0
3 43 4 ()
12.      = 2 = 1
2 2

คณิตศาสตร์ ม.2
9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ ........................................
( ...................................... )
ตำแหน่ง …………………......

10. บันทึกผลหลังการสอน
• ด้านความรู้

• ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

• ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

• ด้านความสามารถทางคณิตศาสตร์

• ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))

• ปัญหา/อุปสรรค

• แนวทางการแก้ไข

คณิตศาสตร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
การคูณและการหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
เวลา 3 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.2/1 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
และปัญหาในชีวิตจริง

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) หาผลลัพธ์ของการการคูณและการหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มได้ (K)
2) บอกสมบัติของเลขยกกำลังที่มเี ลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มได้ (K)
3) เขียนผลคูณของเลขยกกำลังให้อยู่ในรูปอย่างง่ายได้ (P)
4) เขียนผลหารของเลขยกกำลังให้อยู่ในรูปอย่างง่ายได้ (P)
5) เขียนแสดงขั้นตอนวิธีการหาผลคูณและผลหารของเลขยกกำลังในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลัง
เป็นจำนวนเต็มได้ (P)
6) ตั้งใจและรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การคูณและการหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
ต้องใช้สมบัติของเลขยกกำลัง
สมบัติของเลขยกกำลัง กำหนดให้ a,b เป็นจำนวนใดๆ และ m,n,k แทนจำนวนเต็มบวกใดๆ
1) am  an = a m+n 2) (am ) n = amn
3) ( a  b ) m = am  b m ( )
4) am bn k = amk  bnk
am a m  a m
5) n = am−n เมื่อ a ≠ 0 , m > n 6) n =   เมื่อ a ≠ 0 , m > n
a a b
 am k amk
7)   = nk เมื่อ a ≠ 0 , m > n
 bn  b

คณิตศาสตร์ ม.2
5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย รับผิดชอบ
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
1) ทักษะการคิดคล่อง 3. มุ่งมั่นในการทำงาน
2) ทักษะการคิดหลากหลาย
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

6. กิจกรรมการเรียนรู้
 แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : Concept Based Teaching

ชั่วโมงที่ 1

ขั้นนำ
ขั้นการใช้ความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ (Prior Knowledge)
1. ครูทบทวนความรู้เรื่อง การคูณเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกันและมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก
จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมว่า
“การคูณเลขยกกำลังที่มีฐานเดียวกัน ผลคูณจะเป็นเลขยกกำลังที่มีฐานเท่าเดิมและมีเลขชี้กำลังเท่ากับ
ผลบวกของเลขชี้กำลังของเลขยกกำลังที่นำมาคูณ ซึ่งเป็นไปตามสมบัติของเลขยกกำลัง ดังนี้
จากสมบัติข้อที่ 1 กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ และ m, n แทนจำนวนเต็มบวก
จะได้ am  an = am+n ”เช่น
• จงหาผลลัพธ์ของ 34  32

(คำตอบ : 34  32 = 34+ 2 = 36 )
5
• จงหาผลลัพธ์ของ ( − 2 )  ( − 2 )
3

(คำตอบ : ( − 2 ) 5  ( − 2 ) 3 = ( − 2 ) 5+3 = ( − 2 ) 8 )
2
• จงหาผลลัพธ์ของ ( 1.5 )  ( 1.5 )
4

(คำตอบ : ( 1.5 ) 2  ( 1.5 ) 4 = ( 1.5 ) 2+4 = ( 1.5) 6 )


 1 3  1 4
• จงหาผลลัพธ์ของ     
2 2
 1  3  1  4  1  3 + 4  1 7
(คำตอบ :      =   =  )
2 2 2 2

คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้นสอน
ขั้นรู้ (Knowing)
1. ครูกล่าวกับนักเรียนว่า “เมื่อนักเรียนศึกษาสมบัติการคูณของเลขยกกำลังทีม่ ีฐานเป็นจำนวนเดียวกันและมีเลข
ชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวกแล้ว ในหัวข้อนี้นักเรียนจะศึกษาสมบัติการคูณของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็น
จำนวนเต็มใด ๆ”
2. นักเรียนจับคูท่ ำ “กิจกรรมคณิตศาสตร์” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นร่วมกันสรุปว่า
“การคูณเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกันและมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม ผลคูณที่ได้จะเป็นเลขยก
กำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดิม และมีเลขชี้กำลังเท่ากับผลบวกของเลขชี้กำลังของเลขยกกำลังที่นำมาคูณกัน”
จากสมบัติข้อที่ 1 กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ และ m, n แทนจำนวนเต็มใดๆ
จะได้ am an = am+n ”เช่น
• จงหาผลลัพธ์ของ 2 − 3  2 4

(แนวตอบ 2 − 3  2 4 = 2 −3+4 = 21 )
• จงหาผลลัพธ์ของ 3 −5 37

(แนวตอบ 3 −5 37 = 3 −5+7 = 32 )


• จงหาผลลัพธ์ของ 6 −4  67

(แนวตอบ 6 −4  67 = 6 −4+7 = 63 )
3. ครูเสริมความรู้ หรือข้อสังเกตที่ได้จากเนื้อหาจากกรอบ “คณิตน่ารู้” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง ว่า
“รูปอย่างง่าย เป็นการจัดรูปของผลลัพธ์ที่ได้จากการดำเนินการของเลขยกกำลังให้อยู่ในรูปเลขยกกำลังที่
มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวกและฐานเป็นจำนวนเดียวกันจะมีแค่นิพจน์เดียว เช่น 2 −3  2 เขียนให้อยู่
1 1
ในรูปอย่างง่ายได้เป็น 2 ” (เพราะ 2 −3  2 = 2 −3+1 = 2 −2 = 2 )
2 2

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
4. นักเรียนจับคู่ทำ “ลองทำดู” ของตัวอย่างที่ 2 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
จงเขียนผลคูณในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
1) ( − 5) 7 ( − 5) −3 = ( − 5) 4 2) 7 −6  711 = 7 5
 1  −9  1  −4  1  −5
3)  −   −  =  −  4) b13 b −6 = b 7
 3  3  3

คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้นรู้ (Knowing)
5. นักเรียนคู่เดิมศึกษาตัวอย่างที่ 3 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
6. ครูเสริมความรู้ หรือข้อสังเกตที่ได้จากเนื้อหาจากกรอบ “คณิตน่ารู้” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง ว่า
“จากตัวอย่างที่ 3 จะสังเกตเห็นว่า สามารถใช้เลขยกกำลังที่มีฐานต่างกัน หรือเลขชี้กำลังต่างกัน หรือ
จำนวนที่เขียนต่างกันแต่มีค่าเท่ากัน แทนเลขยกกำลังหรือจำนวนที่กำหนดในโจทย์ได้ เพื่อให้ง่ายต่อการหา
คำตอบ”เช่น
• (-2)-4 เท่ากับเท่าใด

 1  1
(แนวตอบ : ( − 2 ) −4 =  4  = 16 )
 ( − 2 ) 
• นักเรียนคิดว่า ( − 2 ) −4 = 2 −4 หรือไม่
(แนวตอบ : เท่ากัน เพราะ
1 1
( − 2 ) −4 = =
( − 2) 4 16
1 1
และ 2 −4 = = )
2 4 16
7. ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมบนกระดาน ดังนี้
จงตรวจสอบว่า ประโยคสัญลักษณ์ต่อไปนี้ เป็นจริงหรือไม่ เพราะเหตุใด
( − 2 ) −6 = 2 −6 (แนวตอบ : เป็นจริง)
( 3 ) −4 = 3 −4 (แนวตอบ : เป็นจริง)
1 −2 = 1 )
( −1.5) −2 = 1.5 −2 (แนวตอบ : เป็นเท็จ เพราะ ( −1.5) −2 = − แต่ 1 .5
1.52 1.52
16 = ( − 2) 4 หรือ 2 4 (แนวตอบ : เป็นจริง)
64 = ( − 2 ) 6 หรือ 2 6 (แนวตอบ : เป็นจริง)

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
8. นักเรียนจับคู่ทำกิจกรรมโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) ดังนี้
• ให้นักเรียนแต่ละคนคิดคำตอบของตนเอง จาก “Thinking Time” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

คณิตศาสตร์ ม.2
จงเขียนผลคูณของ ( − 2 ) −3 ( − 2 ) 2  2 4 ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
(แนวตอบ : ( − 2 ) −3 ( − 2 ) 2  2 4 = 2 − 3  2 2  2 4 = 2 −3+ 2 + 4 = 2 3 )

ขั้นรู้ (Knowing)
9. นักเรียนร่วมกันพิจารณาผลคูณของเลขยกกำลังในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
• นักเรียนคิดว่า 2
3+3 เป็นไปตามสมบัติใดของเลขยกกำลัง
(แนวตอบ : สมบัติ 1 กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m, n แทนจำนวนเต็ม
จะได้ am x an = am + n)
10. ครูอธิบายเพิ่มเติมว่า
จากสมบัติข้อที่ 2 กำหนดให้ a แทนจำนวนใดๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m,n แทนจำนวนเต็ม
จะได้ (am)n = amn เช่น
• 2 ( )
4 3 เขียนให้อยู่ในรูปแจกแจงได้อย่างไร
(แนวตอบ : ( 2  2  2  2 )  ( 2  2  2  2 )  ( 2  2  2  2 ) = 212 )
( )
• 2
3 −3 เขียนให้อยู่ในรูปแจกแจงได้อย่างไร

( )−3
(แนวตอบ : 2 3 = 23( −3) = 2 −9 = 9 )
1
2
6
• (3 −2 ) เขียนให้อยู่ในรูปแจกแจงได้อย่างไร
1
(แนวตอบ : (3 −2 )6 = 3( −2 ) 6 = 3−12 = 12 )
3
• ( − 3 ) 5  เขียนให้อยู่ในรูปแจกแจงได้อย่างไร
−3

(แนวตอบ : ( − 3) 5  = ( − 3) 5( −3) = ( − 3) −15 =


−3 1 1
= − )
( − 3 ) 15 315

• ( − 2) 4 −3 เขียนให้อยู่ในรูปแจกแจงได้อย่างไร
(แนวตอบ : ( − 2 ) 4  = ( − 2 ) 4( −3 )
−3 1 1
= ( − 2 ) −12 = = − )
( −2 ) 12 212
• นักเรียนสามารถใช้สมบัติ 1 ของเลขยกกำลังในการเขียนผลคูณของ ( 0.5 ) −3 
−2
ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
ได้อย่างไร

(แนวตอบ : ( 0.5) −3 = 
−2 1
( 0.5  0.5  0.5)  ( 0.5  0.5  0.5) 0.5
1
− 6 = 0.56 )

คณิตศาสตร์ ม.2
11. ครูเสริมความรู้ หรือข้อสังเกตที่ได้จากเนื้อหาจากกรอบ “คณิตน่ารู้” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง ว่า “ (2 3)2 เป็นเลขยกกำลังที่มี 2 3 เป็นฐาน
และ 2 เป็นเลขชี้กำลัง”
12. นักเรียนจับคู่ศึกษาสมบัติของเลขยกกำลังจากกรอบ “สมบัติ 2” และตัวอย่างที่ 4 ในหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
13. นักเรียนทำ “ลองทำดู” ของตัวอย่างที่ 4 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
จงเขียนผลคูณในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
( ) ( )−2
1) 53  52
−6 −6 −12 ( −6) +( −12 ) −18
= 5 5 =5 =5
−3 −5
 3  −7   3  −4   3 21  3 20  3  20+21  3 41
2)  −     −   =  −    −  =  −  = − 
  5    5    5   5   5   5
( ) ( ) 4 3
3) s −9  s −3 = ( s ) −36  ( s ) −9 = ( s ) ( −36) +( −9 ) = ( s ) −45
ขั้นรู้ (Knowing)
14. นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 5 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
• นักเรียนคิดว่า (35 )3 = 3 53 = 315 เป็นไปตามสมบัติใดของเลขยกกำลัง
(แนวตอบ : สมบัติ 2 กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m, n แทนจำนวนเต็ม
จะได้ (am)n = amn )
315 38 = 315+ 8 เป็นไปตามสมบัติใดของเลขยกกำลัง
• นักเรียนคิดว่า
(แนวตอบ : สมบัติ 1 กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m, n แทนจำนวนเต็ม
จะได้ (am)n = amn )
ขั้นเข้าใจ (Understanding)
15. นักเรียนจับคู่ทำกิจกรรมโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) ดังนี้
• ให้นักเรียนแต่ละคนคิดคำตอบของตนเอง จาก “Thinking Time” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง


( ) 3
( ) 4
คำถาม : นักเรียนคิดว่า − 54 มีค่าเท่ากับ − 53 หรือไม่ เพราะเหตุใด
( ) 3
( )
4
(แนวตอบ : เท่ากัน เพราะ − 54 = ( − 5) 12 แล้ว − 53 = ( − 5) 12 )

คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้นรู้ (Knowing)
16. นักเรียนร่วมกันพิจารณาผลคูณของเลขยกกำลังในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
จากสมบัติข้อที่ 3 กำหนดให้ a และ bแทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m, n แทนจำนวนเต็มใดๆ
( )
จะได้ a b m = ambm ”เช่น
• ( 2 3) 2มีค่าเท่ากับเท่าใด
(แนวตอบ : ( 2 3) 2 = ( 2  3)  ( 2  3) = 36)
• ( − 5)  4 −3 มีค่าเท่ากับเท่าใด
1 1 1
(แนวตอบ : ( − 5)  4−3 = ( 20 ) −3 = 3 = = )
20 20  20  20 8 , 000
0
• ( 3 5) มีค่าเท่ากับเท่าใด

(แนวตอบ : ( 3 5) 0 = 1)
17. นักเรียนศึกษาสมบัติของเลขยกกำลังจากกรอบ “สมบัติ 3” และตัวอย่างที่ 6 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
18. นักเรียนทำ “ลองทำดู” ของตัวอย่างที่ 6 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
คำถาม : จงเขียนผลคูณในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
1) 53( −11) 3 (
= (แนวตอบ : 53( −11) 3 = 5( − 11) 3 ) )
(
2) ( −4 ) 7( −13) 7 = (แนวตอบ : ( −4 ) 7( −13) 7 = 4 ( − 13) 7 ) )
3) p −11q −11 = (แนวตอบ : p −11q −11 = pq −11 )( )
ขั้นรู้ (Knowing)
19. นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 7 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
• สมบัติ 3 ของเลขยกกำลังกล่าวไว้อย่างไร
(แนวตอบ : สมบัติ 3 กำหนดให้ a และ b แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m แทนจำนวนเต็ม
( )
จะได้ a b m = ambm )

คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้นเข้าใจ (Understanding)
20. นักเรียนทำ “ลองทำดู” ของตัวอย่างที่ 7 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบ “ลองทำดู”
คำถาม : จงเขียนจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ ให้อยู่ในรูปเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเฉพาะ
( )
1) 397 = (แนวตอบ : 13 3 7 )
2) 85 9 = (แนวตอบ : (17 5) 9 )

ขั้นรู้ (Knowing)
21. นักเรียนร่วมกันพิจารณาผลคูณของเลขยกกำลังในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
จากสมบัติข้อที่ 4 กำหนดให้ a และ bแทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m,n,k แทนจำนวนเต็ม
( )
จะได้ ambn k = amk  bnk เช่น
( )
5 6 2 มีค่าเท่ากับเท่าใด
• 2 3

( )
(แนวตอบ : 2 5  36 2 = 252  362 = 210  312 )
• 
( − 5) 2  4 
4 −3 มีค่าเท่ากับเท่าใด


(แนวตอบ : ( − 5) 2  4 4
−3
 = ( − 5) 2( −3)  4 4( −3) = ( −5) −64 −12 )
22. นักเรียนศึกษาสมบัติของเลขยกกำลังจากกรอบ “สมบัติ 4” และตัวอย่างที่ 8 ในหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
ขั้นเข้าใจ (Understanding)
23. นักเรียนจับคู่ทำกิจกรรมโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) ดังนี้
• ให้นักเรียนแต่ละคนคิดคำตอบของตนเอง จาก “Thinking Time” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง


( )
คำถาม : ตะวันเขียน 4a 2 3 ให้อยู่ในรูปง่ายดายดังนี้
(4a2 )3 = 4 (a2 )3
= 4a 23
= 4 a6
ซึ่งตะวันเขียนไม่ถูกต้อง นักเรียนคิดว่าตะวันเขียนไม่ถูกต้องในขั้นตอนใด
( )
(แนวตอบ : ขั้นตอนที่ 1 เพราะ 4a 2 3 = 4 3 a( 23) )

คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้นรู้ (Knowing)
24. นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 9 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เลขยกกำลัง จากนั้นครูสุ่มนักเรียนออกมาอธิบายวิธีการหาคำตอบหน้าชั้นเรียน โดยครูตรวจสอบความถูกต้อง
25.ครูถามคำถาม ดังนี้
( −3 ) 2
• นักเรียนคิดว่า 5  3 5 เป็นไปตามสมบัติใดของเลขยกกำลัง
(แนวตอบ : สมบัติ 4 กำหนดให้ a และ b แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m, n, k
( )
แทนจำนวนเต็ม จะได้ ambn k = amk  bnk )

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
26. ครูแจกใบงานที่ 1.2.1 เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (1) ให้นักเรียนทำ เป็นการบ้าน

ชั่วโมงที่ 2
ขั้นรู้ (Knowing)
27. ครูทบทวนความรู้เรื่อง การคูณเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
• จงเขียนผลคูณของ 34  3 −2 ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย และใช้สมบัติใดของเลขยกกำลัง

(แนวตอบ : 34  3 −2 = 32 และใช้สมบัติ 1 ของเลขยกกำลัง)


( )
• จงเขียนผลคูณของ 3
4 −2 ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย และใช้สมบัติใดของเลขยกกำลัง

(แนวตอบ : 34( −2 ) = 3 −8 และใช้สมบัติ 2 ของเลขยกกำลัง)



• จงเขียนผลคูณของ ( − 3)  2 −2 ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย และใช้สมบัติใดของเลขยกกำลัง
(แนวตอบ : ( − 3) −3  2 −2 และใช้สมบัติ 3 ของเลขยกกำลัง)

• จงเขียนผลคูณของ ( − 3) 3  2 −2
−2

ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย และใช้สมบัติใดของเลขยกกำลัง
(แนวตอบ : ( − 3) −6  2 4 และใช้สมบัติ 4 ของเลขยกกำลัง)
28. ครูกล่าวว่า “การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกันและมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก
มีสมบัติการหารของเลขยกกำลัง ดังนี้
กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m, n แทนจำนวนเต็มบวก
จะได้ am  an = am−n ” เช่น
• จงหาผลลัพธ์ของ 3 4  3 2
(แนวตอบ : 34  32 = 34−2 = 32 )

คณิตศาสตร์ ม.2
• จงหาผลลัพธ์ของ ( −2 ) 5 ( −2 ) 3

(แนวตอบ : ( − 2 ) 5  ( −2 ) 3 = ( −2 ) 5−3 = ( −2 ) 2 )
• จงหาผลลัพธ์ของ ( 1.5) 4 ( 1.5) 2

(แนวตอบ : ( 1.5) 4 ( 1.5) 2 = ( 1.5) 4−2 = ( 1.5) 2 )


 1 4  1 3
• จงหาผลลัพธ์ของ     
2 2
 1  4  1  3  1 4 − 3  1 1
(แนวตอบ :      =   =  )
2 2 2 2
ขั้นเข้าใจ (Understanding)
29. นักเรียนทำ “กิจกรรมคณิตศาสตร์” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูสุ่มนักเรียนออกมานำเสนอคำตอบหน้าชั้นเรียน
โดยครูตรวจสอบความถูกต้อง
30. นักเรียนและครูร่วมกันสรุปว่า “จากกิจกรรมคณิตศาสตร์ จะเห็นว่า การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวน
เดียวกันและมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม ผลหารที่ได้จะเป็นเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดิม
และมีเลขชี้กำลังเท่ากับผลลบของเลขชี้กำลังของเลขยกกำลังที่นำมาหารกัน”
ขั้นรู้ (Knowing)
31. นักเรียนศึกษาสมบัติของเลขยกกำลังจากกรอบ “สมบัติ 5” และตัวอย่างที่ 10 ในหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลังโดยครูถามคำถาม ดังนี้
• สมบัติ 5 ของเลขยกกำลังกล่าวไว้อย่างไร
(แนวตอบ : สมบัติ 5 กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m, n แทนจำนวนเต็ม
จะได้ am  an = am−n )
( 3) 6  ( 3) 5
• จงหาผลลัพธ์ของ ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวก
( 3) 2  ( 3) 0

( 3 ) 6  ( 3 ) 5 ( 3 ) 6+ 5
(แนวตอบ : = 2 = 311−2 = 39 )
( 3) 2  ( 3) 0 3
1
• จงเขียน ในรูปเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มลบ
x3 y4
1
(แนวตอบ : = x −3 y −4 )
3
x y 4

คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้นเข้าใจ (Understanding)
32. ครูแจกใบงานที่ 1.2.2 เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (2) ให้นักเรียนทำ เป็นการบ้าน

ชั่วโมงที่ 3
ขั้นรู้ (Knowing)
33. ครูถามคำถาม ดังนี้

• จงเขียนผลคูณของ ( − 3) 4  2 −2 2 ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย และใช้สมบัติใดของเลขยกกำลัง
(แนวตอบ : ( − 3) 42  2( −2 ) 2 = ( − 3) 8 2 −4 และใช้สมบัติ 4 ของเลขยกกำลัง)
• จงเขียนผลหารของ 3 4  3 2 ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย และใช้สมบัติใดของเลขยกกำลัง

(แนวตอบ : 34−2 = 32 และใช้สมบัติ 5 ของเลขยกกำลัง)


34. ครูกล่าวว่า “การหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นเศษส่วนและมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวกมีสมบัติการหาร
ของเลขยกกำลัง ดังนี้
“กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m แทนจำนวนเต็มบวก
am  a m
จะได้ n =   เมื่อ a ≠ 0 , m > n” เช่น
a b
2
3
• จงหาผลลัพธ์ของ  
5

 3  2 3 3 3  3 32
(แนวตอบ :   =  = = )
5 5 5 5  5 52
−3
4
• จงหาผลลัพธ์ของ  
7

4 −3 1 1 7 3 4 −3
(แนวตอบ :   = 4 4 4 = 3 = = −3
7   4 43 7
7 7 7
73

 5 0
• จงหาผลลัพธ์ของ  
 11 
5 0
(แนวตอบ :   = 1 )
 11 

คณิตศาสตร์ ม.2
35. นักเรียนศึกษาสมบัติของเลขยกกำลังจากกรอบ “สมบัติ 6” และตัวอย่างที่ 11 ในหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
36. นักเรียนทำ “ลองทำดู” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เลขยกกำลัง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบ “ลองทำดู”
คำถาม : จงหาผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
 2  3 −3 −2 2 3 −3 −2
1)    2  5 = 3 2 5
5 5
= 2 3+ (−3)  5( −2 ) +( −3)
= 2 0 5 −5
6 −4 ( 6 ) −4
2)    65 112 =  6 5 112
 11  ( 11) −4

= ( 6) ( −4 ) +5 112+4
= 6116
ขั้นรู้ (Knowing)
37. ครูกล่าวว่า “การคูณเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นเศษส่วนและมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มบวกมีสมบัติการคูณ
ของเลขยกกำลัง ดังนี้
“กำหนดให้ a แทนจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และ m,n,k แทนจำนวนเต็ม
 am k amk
จะได้   = nk เมื่อ a ≠ 0 , m > n” เช่น
 bn  b
4
 23 
• จงหาผลลัพธ์ของ  
 65 
 
4
 2 3  2 34 212
(แนวตอบ :   = = 20 )
6
  5 6 5 4 6
−2
 43 
• จงหาผลลัพธ์ของ  
 57 
 
−2 3( −2 )
 43  4 4 −6
(แนวตอบ :   = = 14 )
5
  7 5 7 ( −2 ) 5

คณิตศาสตร์ ม.2
38. นักเรียนศึกษาสมบัติของเลขยกกำลังจากกรอบ “สมบัติ 7” และตัวอย่างที่ 12 ในหนังสือเรียน
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
39. นักเรียนจับคู่ทำแบบฝึกทักษะ 1.2 เรื่องเลขยกกำลัง ข้อ 1 - 4 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง และแจกใบงานที่ 1.2.3 เรื่อง สมบัติของเลขยก
กำลัง (3)
ขั้นลงมือทำ (Doing)
40. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3 คน คละความสามารถทางคณิตศาสตร์ จากนั้นครูแจกกระดาษ A4
ให้แต่ละกลุ่ม กลุ่มละ 1 แผ่น แล้วให้นักเรียนร่วมกันทำ “H.O.T.S. คำถามท้าทายการคิดขั้นสูง”
ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
นักเรียนคิดว่าประโยคในแต่ละข้อต่อไปนี้เป็นจริงหรือไม่ เพราะเหตุใด
1) 10m10n 1 เมื่อ m และ n แทนจำนวนเต็มที่ m+n < 0
(แนวตอบ เป็นจริงเพราะ จำนวนใดๆ ที่ยกตัวอย่างมาเช่น ให้ m = -1 ให้ n=-2
1
จะได้ว่า 10 −1  10 −2 = 10 (−1) + (−2) = 10 −3 = 3 ดังนั้น 10 −3 <1 )
10
m n
2) 10 10 =1 เมื่อ m และ nเท่ากับ 0 เท่านั้น
(แนวตอบ เป็นจริงเพราะ จำนวนใดๆที่ยกกำลังศูนย์จะเท่ากับ 1 เสมอ)
3) 10m  10n  1 เมื่อ m และ n แทนจำนวนเต็มที่ m-n < 0
(แนวตอบ เป็นจริงเพราะ จำนวนใดๆ ที่ยกตัวอย่างมาเช่น ให้ m = 2 ให้ n=1
จะได้ว่า 102 101 = 102−1 = 101 ดังนั้น 101 > 1 )

ขั้นสรุป
ครูถามคำถามเพื่อสรุปความรู้รวบยอดของนักเรียน ดังนี้
• นักเรียนคิดว่าการคูณเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกัน และมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มผลคูณที่ได้จะ
เป็นอย่างไร
(แนวตอบ : ผลคูณที่ได้จะเป็นเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดิม และมีเลขชี้กำลังเท่ากับผลบวก
ของเลขชี้กำลังของเลขยกกำลังที่นำมาคูณกัน)
• นักเรียนคิดว่าการหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดียวกัน และมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มผลหารที่ได้จะ
เป็นอย่างไร
(แนวตอบ : ผลหารที่ได้จะเป็นเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนเดิม และมีเลขชี้กำลังเท่ากับผลลบ
ของเลขชี้กำลังของเลขยกกำลังที่นำมาหารกัน)

คณิตศาสตร์ ม.2
7. การวัดและประเมินผล
รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
การประเมินระหว่าง - ตรวจใบงานที่ 1.2.1 - ใบงานที่ 1.2.1 - ร้อยละ 60 ผ่าน
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - ตรวจใบงานที่ 1.2.2 - ใบงานที่ 1.2.2 เกณฑ์
1) การคูณและการหาร - ตรวจใบงานที่ 1.2.3 - ใบงานที่ 1.2.3 - ร้อยละ 60 ผ่าน
เลขยกกำลัง - ตรวจแบบฝึกทักษะ 1.2 - แบบฝึกทักษะ 1.2 เกณฑ์
เมื่อเลขชี้กำลัง - ตรวจ Exercise 1.2 - Exercise 1.2 - ร้อยละ 60 ผ่าน
เป็นจำนวนเต็ม เกณฑ์
- ร้อยละ 60 ผ่าน
เกณฑ์
- ร้อยละ 60 ผ่าน
เกณฑ์
2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2
ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
4) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
กลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
5) คุณลักษณะ - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมินคุณลักษณะ - ระดับคุณภาพ 2
อันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
ในการทำงาน
8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
2) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 1.2 เรื่อง เลขยกกำลัง
3) แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
4) ใบงานที่ 1.2.1 เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (1)
5) ใบงานที่ 1.2.2 เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (2)
6) ใบงานที่ 1.2.3 เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (3)
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2) ห้องสมุด
3) อินเทอร์เน็ต

คณิตศาสตร์ ม.2
ใบงานที่ 1.2.1
เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (1)

คำชี้แจง : จงเขียนผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
1. 2 2 5 =

2. 2 3 2 6 27 =

3. 32 36312 =

 3  2  3 7
4.      =
2 2
5. ( −1.5) 11 (−1.5) 5 =

( )
6. 2 4
3
=

7. (33 )
3
=

8. (53)4 =

( )
9. 8 6 3 =

10. (( − 2 ) 3 )
2
=

11. ( 2 3) 3 =

12. ( 0.1)  ( 0.2 ) −3 =

13. ( − 3)  ( − 5) 2 =
2
 2  4  3  3 
14.     −   =
 5   5  
15. − ( 4a ) 2 =

คณิตศาสตร์ ม.2
ใบงานที่ 1.2.1 เฉลย
เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (1)

คำชี้แจง : จงเขียนผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
1. 2 2 5 =26

=2
16
2. 2 3 2 6 27

3. 32 36312 =3
20

3 9
 3  2  3 7 ()
4.      = 2
2 2
5. ( −1.5) 11 (−1.5) 5 = (-1.5)
6

( )3
6. 2 4 = 2
12

7. (33 )
3
= 3
9

8. (53)4 = 512

( )
9. 8 6 3 = 818

10. (( − 2) 3 )2 =(-2)
6

11. ( 2 3) 3 =23 x 33

12. ( 0.1)  ( 0.2) −3 = (0.1)-3 x (0.2)-3


13. ( − 3)  ( − 5) 2 =(-3)2 x (-5)2
8 6
4 3 2 (2) × (- 3)
 2 3 
14.     −   = 5 5
 5   5  
15. − ( 4a ) 2 = -16a2

คณิตศาสตร์ ม.2
ใบงานที่ 1.2.2
เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (2)

คำชี้แจง : จงเขียนผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
( )
1. 2 5 32 3 =

2. (52 8 2 ) 5 =

3. (0.13 0.0032 ) 2 =
2
 2  4  3  3 
4.     −   =
 5   5  

(
5. a3b 4 c 5 3 ) =

25
6. 2 =
2
56
7. 8 =
5
( − 3) 5
8. =
( − 3) 4

( 0.2 ) 4
9. =
( 0.2 ) 7

2 × 22
10. 5 =
2

คณิตศาสตร์ ม.2
ใบงานที่ 1.2.2 เฉลย
เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (2)

คำชี้แจง : จงเขียนผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
( )
1. 2 5 32 3 = 2 x3
15 6

2. (52 8 2 ) 5 = 510 x 810

3. (0.13 0.0032 ) 2 = (0.1)6 x (0.03)4


2 2 8
 2  4  3  3  ( ) × (-
4.     −   = 5
 5   5   3 6
)
(
5. a3b 4 c 5 3 ) 5 9 12 15
= (a b c )

25
6. 2 = 23
2
56
7. 8 = 5-2
5
( − 3) 5
8. = -3
( − 3) 4

(0.2) 4
9. = (0.2)-3
(0.2) 7

2 × 22
10. 5 = 2-2
2

คณิตศาสตร์ ม.2
ใบงานที่ 1.2.3
เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (3)

คำชี้แจง : จงเขียนผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
2 2
1.   =
3
−3 3
2.   =
−5
6 −2
3.   =
7
0.3 5
4.   =
 0.4 
1 9
5.   =
9
3
 22 
6.  3  =
3 
74
7. −   =
 93 
4
 0.32 
8.  5  =
 0.3 

a3 2
9.   =
 b4 

a3 −4
10.   =
 b4 

คณิตศาสตร์ ม.2
ใบงานที่ 1.2.3 เฉลย
เรื่อง สมบัติของเลขยกกำลัง (3)

คำชี้แจง : จงเขียนผลลัพธ์ในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปอย่างง่าย
2 22
2
1.   = 32
3
(-3)3
−3 3
2.   = (-5)3
−5
6-2 72
 6  −2
3.   = 7-2 = 62
7
(0.3)5
0.3 5
4.   = (0.4)5
 0.4 
1
1 9
5.   = 99
9
6
3 2
 22 
6.  3  = 39
3 
78
74 -
7. −   = 96
 93 
(0.3)8
4
 0.32  20
8.  5  = (0.5)
 0.3 
2 a6
a3
9.   = b8
b 4
− 4 a-12 b16
a3
10.   = b-16 = a12
b 4

คณิตศาสตร์ ม.2
9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ ........................................
( ...................................... )
ตำแหน่ง …………………......

10. บันทึกผลหลังการสอน
• ด้านความรู้

• ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

• ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

• ด้านความสามารถทางคณิตศาสตร์

• ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))

• ปัญหา/อุปสรรค

แนวทางการแก้ไข

คณิตศาสตร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในชีวิตจริง
เวลา 2 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู/้ ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.2/1 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
และปัญหาในชีวิตจริง

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) หาผลลัพธ์โดยการนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์และในชีวิตจริงได้(K)
2) เขียนแสดงขั้นตอนวิธีการแก้โจทย์ปัญหาทางคณิตศาสตร์เกี่ยวกับเลขยกกำลังได้ (P)
3) ตั้งใจรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น

การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ใน พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

การแก้ปัญหา

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
การนำความรู้เรื่องจำนวนที่เขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ไปใช้ในชีวิตจริงได้ เช่น การคำนวณหาดอกเบี้ย
เงินฝากต่อปีและ การคำนวณจำนวนอะตอมของธาตุ เป็นต้น

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย รับผิดชอบ


2. ความสามารถในการคิด
2. ใฝ่เรียนรู้
1) ทักษะการประยุกต์ใช้ความรู้
3. มุ่งมั่นในการทำงาน
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

คณิตศาสตร์ ม.2
6. กิจกรรมการเรียนรู้
 แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : Concept Based Teaching

ชั่วโมงที่ 1

ขั้นนำ
ขั้นการใช้ความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ (Prior Knowledge)
1. ครูทบทวนความรู้เรื่อง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
• จงเขียน 21,000,000 ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์

(แนวตอบ : 21,000,000 = 2.1107 )


• จงเขียน 0.000038 ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์

(แนวตอบ : 0.000038 = 3.8  10−5 )


2. ครูกล่าวว่า “จากหัวข้อสัญกรณ์วิทยาศาสตร์นักเรียนจะเห็นว่า การเขียนแสดงจำนวนที่มีค่ามาก ๆ
หรือมีค่าน้อย ๆ มักจะดูยุ่งยากและซับซ้อน เพื่อให้การเขียนแสดงจำนวนเหล่านั้นดูสั้นและกระชับมากยิ่งขึ้น
จึงมีการกำหนดคำนำหน้าหน่วยในระบบเอสไอ โดยใช้สัญลักษณ์ย่อมาวางไว้หน้าหน่วยของจำนวนนั้น”ดัง
ตารางต่อไปนี้

คำนำหน้า
ตัวคูณที่ สัญลักษณ์
คำอ่าน หน่วย ค่าประจำหลัก
เทียบเท่า ย่อ
ระบบไอเอส
1012 ล้านล้าน เทระ- T 1,000,000,000,000
109 พันล้าน จิกะ- G 1,000,000,000
106 ล้าน เมกะ- M 1,000,000
103 พัน กิโล- k 1,000
1
10 −3 ส่วนในพันส่วน มิลลิ- m 0.001=
1,000
1
10 −6 ส่วนในล้านส่วน ไมโคร- µ 0.000001=
1,000,000

คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้น10สอน ส่วนในพัน 1
−9 นาโน- n 0.000000001=
ล้านส่วน 1,000,000,000
ส่วนในล้าน 1
10 −12 พิโก- p 0.000000000001=
ล้านส่วน 1,000,000,000,000

ขั้นรู้ (Knowing)
1. นักเรียนจับคู่ศึกษาการนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในชีวิตจริง ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
2. ครูถามคำถาม ดังนี้
• 1,000,000,000,000 ใช้คำนำหน้าหน่วยในระบบเอสไอว่าอย่างไร
(แนวตอบ : 1,000,000,000,000 ใช้คำนำหน้าหน่วยในระบบเอสไอว่า เทระ-)
• พันล้าน ใช้คำนำหน้าหน่วยในระบบเอสไอว่าอย่างไรและใช้สัญลักษณ์ย่อตัวใด
(แนวตอบ : พันล้าน ใช้คำนำหน้าหน่วยในระบบเอสไอว่า จิกะ- และใช้สัญลักษณ์ย่อ คือ G)
• เมกะ- ใช้แทนค่าประจำหลักของจำนวนใด
(แนวตอบ : เมกะ- ใช้แทนค่าประจำหลักของ 1,000,000)
• 10 − 3 ใช้คำนำหน้าหน่วยในระบบเอสไอว่าอย่างไร
(แนวตอบ : 10 − 3 ใช้คำนำหน้าหน่วยในระบบเอสไอว่า มิลลิ-)
• p มีตัวคูณที่เทียบเท่าเท่าใดและอ่านว่าอย่างไร
(แนวตอบ : p มีตัวคูณที่เทียบเท่าเท่ากับ 10 −12 และอ่านว่า ส่วนในล้านล้านส่วน)

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
3. นักเรียนจับคู่ทำกิจกรรมโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) ดังนี้
• ให้นักเรียนแต่ละคนคิดคำตอบของตนเอง จาก “Thinking Time” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

ขั้นรู้ (Knowing)
4. นักเรียนศึกษาการใช้เลขยกกำลังแสดงจำนวนที่พบในชีวิตประจำวันในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน
คณิตศาสตร์ม.2 เล่ม1 หน่วยการเรียนรู้ที่1 เลขยกกำลัง ดังนี้
• ดวงอาทิตย์มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณกี่เมตร
(แนวตอบ : ดวงอาทิตย์มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 1.39  10 9 เมตร)
• โลกมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณกี่กิโลเมตร
(แนวตอบ : โลกมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 12,700 กิโลเมตร)

คณิตศาสตร์ ม.2
• ดวงจันทร์มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณกี่กิโลเมตร
(แนวตอบ : ดวงจันทร์มีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 3,470 กิโลเมตร)
• คนไทยมีส่วนสูงเฉลี่ยกี่เซนติเมตร ให้นักเรียนตอบในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์

(แนวตอบ : คนไทยมีส่วนสูงเฉลี่ย 1.63 102 เซนติเมตร)


• ยุงมีลำตัวยาวประมาณกี่เมตร
(แนวตอบ : ยุงมีลำตัวยาวประมาณ 510 − 3 เมตร)
• หัวปากกามีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณกี่มิลลิเมตร ให้นักเรียนตอบในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
(แนวตอบ : หัวปากกามีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 510 −1 มิลลิเมตร)
• เซลล์เม็ดเลือดแดงมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณกี่เมตร
(แนวตอบ : เซลล์เม็ดเลือดแดงมีเส้นผ่านศูนย์กลางประมาณ 510 − 6 เมตร)

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
5. นักเรียนทำ “กิจกรรมคณิตศาสตร์” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
คำถาม : ให้นักเรียนเติมจำนวนลงในช่องว่างให้ถูกต้อง แล้วตอบคำถามต่อไปนี้ โดยลงในสมุด
ตัวอย่างที่พบเห็นใน เขียนแสดงจำนวนในรูปปกติ เขียนแสดงในรูปสัญกรณ์
ชีวิตประจำวัน (โดยประมาณ) วิทยาศาสตร์
จำนวนของประชากรในประเทศ
(แนวตอบ :66,200,000 คน) 6.62  107 คน
ไทยปี พ.ศ.2560
ระยะทางระหว่างโลกกับ
(แนวตอบ :38440 กิโลเมตร) 3.844  105 กิโลเมตร
ดวงจันทร์
ขนาดละอองหมอก 0.000005 (แนวตอบ : 5  10 −6 เมตร)
ขนาดฝุ่นละอองขนาดเล็ก (แนวตอบ :0.0000025) 2.5  10 −6 เมตร

ขั้นรู้ (Knowing)
6. นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 15 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ม.2 เล่ม1 หน่วยการเรียนรู้
ที1่ เลขยกกำลัง ดังนี้
• จากตัวอย่างที่ 15 ถ้าไฮโดรเจน 2 × 103 อะตอม จะมีมวลกี่กิโลกรัม (ไฮโดรเจนหนึ่งอะตอมมีมวลประมาณ

1.67  10−27 )
(แนวตอบ : ไฮโดรเจน 2 × 103 อะตอม จะมีมวลประมาณ 3.34 × 10-24 กิโลกรัม)

คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้นเข้าใจ (Understanding)
7. นักเรียนทำ “ลองทำดู” ของตัวอย่างที่ 15 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ม.2 เล่ม1 หน่วยการ
เรียนรู้ที่1 เลขยกกำลัง
คำถาม : ออกซิเจนหนึ่งอะตอมมีมวลประมาณ 2.6610 −26 กิโลกรัม ออกซิเจน 2.5103 อะตอม มีมวล
กี่กิโลกรัม
(แนวตอบ : ประมาณ ( 2.6610 −26 )( 2.5103 ) กิโลกรัม
= 2.66  2.5  10−26  103 กิโลกรัม
= 6.6510 −23 กิโลกรัม
ดังนั้น ออกซิเจน 2.5103 อะตอม มีมวลประมาณ 6.6510 −23 กิโลกรัม)

ขั้นรู้ (Knowing)
8. นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 16 และเสริมความรู้ทั่วไปที่สอดคล้องกับเนื้อหาจากกรอบ “เกร็ดน่ารู้”
ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูถาม
คำถาม ดังนี้
• ปรากฏการณ์ที่ดวงจันทร์ค่อย ๆ โคจรห่างจากโลกปีละประมาณ 4 เซนติเมตร และโลกหมุนรอบตัวเอง
ช้าลงเรียกว่าอะไร
(แนวตอบ : ปรากฏการณ์ที่ดวงจันทร์ค่อย ๆ โคจรห่างจากโลกปีละประมาณ 4 เซนติเมตร
และโลกหมุนรอบตัวเองช้าลงเรียกว่า Lunar Recession)

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
9. นักเรียนทำ “ลองทำดู” ของตัวอย่างที่ 16 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการ
เรียนรู้ที่ 1เลขยกกำลัง จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันเฉลยคำตอบ “ลองทำดู”
คำถาม : ดวงจันทร์อยู่ห่างจากโลกเป็นระยะทางประมาณ 3.8  105 กิโลเมตร นักดาราศาสตร์พบว่าดวง
จันทร์จะโคจรห่างจากโลกออกไปอีกปีละประมาณ 4 เซนติเมตร จงหาว่า ต้องใช้เวลาประมาณกี่ปีดวงจันทร์
จึงจะโคจรห่างออกไปจากโลกอีก 1.5  10 6
(แนวตอบ : ระยะทาง 1 กิโลเมตร เท่ากับ 102 103 = 10 5 เซนติเมตร
จะได้ว่า ระยะทาง 1.5  10 6 กิโลเมตร
เท่ากับ ระยะทาง 1.5  10 6  10 5 เซนติเมตร
= 1.5  1011 เซนติเมตร
เนื่องจากดวงจันทร์จะโคจรห่างจากโลกออกไปอีกปีละประมาณ 4 เซนติเมตร โดยใช้เวลา 1 ปี

คณิตศาสตร์ ม.2
11.51011
จะใช้เวลาประมาณ ปี
4
= 3.75  1010 ปี
ดังนั้น ดวงจันทร์จะโคจรห่างจากโลกประมาณ 3.8  105 กิโลเมตรจะใช้เวลาประมาณ 3.75  1010 ปี)
ขั้นรู้ (Knowing)
10. นักเรียนศึกษาตัวอย่างที่ 18 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้
ที่ 1 เลขยกกำลัง ดังนี้
• จากตัวอย่างที่ 18 ถ้าประชากรหนึ่งคนบริโภคข้าวสารเฉลี่ยปีละประมาณ 80 กิโลกรัม ให้นักเรียนหา
ปริมาณข้าวสารที่ประชากรไทยบริโภคประมาณกี่กิโลกรัม
(แนวตอบ : ปริมาณข้าวสารที่ประชากรไทยบริโภคประมาณ 5.296 × 109 กิโลกรัม)

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
11. นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ 1.4 ข้อ 1 - 3 และข้อ 5 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2
เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง เป็นการบ้าน

ชั่วโมงที่ 2
ขั้นรู้ (Knowing)
12. ครูกล่าวกับนักเรียนว่า “การฝากเงินกับธนาคาร เมื่อครบกำหนดเวลาก็จะได้รับดอกเบี้ยเป็นผลตอบแทน
แต่การกู้ยืมเงินจากธนาคารก็ต้องจ่ายดอกเบี้ยเป็นค่าใช้จ่ายในการกู้ยืมเงิน ซึ่งการคิดดอกเบี้ยจะมีการกำหนด
อัตราดอกเบี้ยไว้ก่อนการฝากหรือการกู้ยืมเงินจากธนาคาร โดยคิดจากจำนวนเงินที่นำไปฝากหรือจำนวนเงิน
ที่กยู้ ืมมา เรียกว่า เงินต้น ซึ่งจำนวนเงินต้นรวมกับดอกเบี้ยจะเป็นเงินรวมที่ได้รับหรือต้องชำระเงินคืน”
13. ครูถามคำถาม ดังนี้
• ดอกเบี้ย คืออะไร
(แนวตอบ : นักเรียนสามารถตอบได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน เช่น ดอกเบี้ย (Interest)
คือ ผลประโยชน์ที่บุคคลหนึ่งต้องใช้ให้แก่บุคคลอีกคนหนึ่ง เพื่อการที่ได้ใช้เงินของบุคคลนั้น
หรือเพื่อการไม่ชำระหนี้หรือชำระหนี้ไม่ถูกต้องหรือชำระหนี้ล่าช้า ทั้งนี้ โดยคำนวณเป็นรายวัน รายเดือน
หรือรายปี จากยอดเงินต้นหรือยอดเงินที่ต้องชำระ)
• เงินต้น คืออะไร
(แนวตอบ : นักเรียนสามารถตอบได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน เช่น เงินต้น (Principal)
คือ เงินที่ให้กู้ยืมโดยไม่รวมดอกเบี้ย)
14. นักเรียนจับคู่ทำ “กิจกรรมคณิตศาสตร์” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1

คณิตศาสตร์ ม.2
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลังครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า “จากกิจกรรมคณิตศาสตร์ จะเห็นว่า
การคิดดอกเบี้ยวิธีที่ 1 จะคิดจากเงินต้นที่เวลาเริ่มต้นคูณกับอัตราดอกเบี้ยเท่านั้น ทำให้ดอกเบี้ยเท่าเดิม
เสมอ เรียกว่า ดอกเบี้ยเชิงเดียว
ส่วนการคิดดอกเบี้ยวิธีที่ 2 จะคิดจากเงินรวมของปีก่อนหน้าคูณกับอัตราดอกเบี้ย ทำให้เมื่อเวลาผ่านไป
ดอกเบี้ยจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ เรียกว่า ดอกเบี้ยทบต้น”
15. นักเรียนศึกษาสูตรดอกเบี้ยทบต้นในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
• ดอกเบี้ยทบต้น คืออะไร
(แนวตอบ : นักเรียนสามารถตอบได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน เช่น ดอกเบี้ยทบต้น
(Compound Interest) คือ ดอกเบี้ยซึ่งได้รับจากเงินต้นที่เกิดจากเงินต้นรวมกับดอกเบี้ยของเงินต้นนั้น
ในช่วงเวลาที่กำหนด ดังนั้น เงินต้นและดอกเบี้ยที่ได้รับในงวดต่อไปจะเพิ่มขึ้นเรื่อย ๆ)
• สูตรดอกเบี้ยทบต้น เป็นอย่างไร

 r t
(แนวตอบ : สูตรดอกเบี้ยทบต้น A = P 1 +  )
 100 
• A แทนอะไร
(แนวตอบ : A แทนเงินรวมเมื่อสิ้นปีที่ t)
• P แทนอะไร
(แนวตอบ : P แทนเงินต้น)
• r แทนอะไร
(แนวตอบ : r แทนอัตราดอกเบี้ยต่อปี)
• t แทนอะไร
(แนวตอบ : t แทนระยะเวลาเป็นปี)
16. นักเรียนจับคู่ศึกษาตัวอย่างที่ 19 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
• ธารน้ำกู้เงินจากธนาคาร 50,000 บาท โดยธนาคารคิดอัตราดอกเบี้ยทบต้น 10% ต่อปี
จงหาเงินรวมเมื่อธารน้ำไม่ได้ชำระเงินคืนธนาคารเป็นระยะเวลา 3 ปี
(แนวตอบ : เงินรวมเมื่อธารน้ำไม่ได้ชำระเงินคืนธนาคารเป็นระยะเวลา 3 ปี ประมาณ 66,550 บาท)

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
17. นักเรียนทำใบงานที่ 1.4.1 เรื่อง การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในชีวิตจริง และทำ
Exercise 1.4 ในแบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
เป็นการบ้าน

คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้นลงมือทำ (Doing)
18. นักเรียนแบ่งกลุ่ม กลุ่มละ 3-4 คน คละความสามารถทางคณิตศาสตร์ แล้วทำกิจกรรม ดังนี้
• ให้แต่ละกลุ่มร่วมกันทำแบบฝึกทักษะ 1.4 ข้อ 7 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2
เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

19. นักเรียนศึกษา “สรุปแนวคิดหลัก” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1


หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง แล้วให้นักเรียนนำความรู้ที่ได้รับจากการเรียนหน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เลขยกกำลัง มาออกแบบเป็นแผ่นพับขนาดกระดาษ A4 ตกแต่งให้สวยงาม

ขั้นสรุป
1. ครูถามคำถามเพื่อสรุปความรู้รวบยอดของนักเรียน ดังนี้
• นักเรียนสังเกตเห็นการนำเลขยกกำลังไปใช้ในชีวิตจริงกับสถานการณ์ใดบ้าง
(แนวตอบ : นักเรียนสามารถตอบได้หลากหลาย ขึ้นอยู่กับดุลยพินิจของครูผู้สอน เช่น การใช้เลขยกกำลัง
แสดงจำนวนที่พบในชีวิตประจำวัน ได้แก่ เส้นผ่านศูนย์กลางของดวงอาทิตย์ โลก และดวงจันทร์
การคำนวณจำนวนอะตอมของธาตุ การคำนวณหาดอกเบี้ยเงินฝากต่อปี เป็นต้น)
• จากคำถามประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ให้นักเรียนร่วมกันแสดงความคิดเห็นว่า “แบคทีเรียจำนวน
1 เซลล์ จะต้องใช้เวลาในการแบ่งเซลล์กี่ชั่วโมงจึงจะได้เซลล์แบคทีเรีย 262,144 เซลล์”
(แนวตอบ : แบคทีเรียจำนวน 1 เซลล์ จะต้องใช้เวลาในการแบ่งเซลล์ 9 ชั่วโมงจึงจะได้เซลล์แบคทีเรีย
262,144 เซลล์)
2. นักเรียนทำแบบฝึกทักษะประจำหน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานคณิตศาสตร์ ม.2
เล่ม1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง เป็นการบ้าน

คณิตศาสตร์ ม.2
7. การวัดและประเมินผล
รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน

7.1 การประเมินชิ้นงาน/ - ตรวจแผ่นพับ - แบบประเมินชิ้นงาน/ - ระดับคุณภาพ 2


ภาระงาน
ภาระงาน (รวบยอด) หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 ผ่านเกณฑ์
เลขยกกำลัง

7.2 การประเมินระหว่าง

การจัดกิจกรรม

การเรียนรู้

1) การนำความรู้ - ตรวจใบงานที่ 1.4.1 - ใบงานที่ 1.4.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

เกี่ยวกับเลขยกกำลัง - ตรวจแบบฝึกทักษะ 1.4 - แบบฝึกทักษะ 1.4 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

ไปใช้ในชีวิตจริง - ตรวจ Exercise 1.4 - Exercise 1.4 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมินการนำเสนอ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2


ผลงาน
การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์

3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2


การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล
รายบุคคล ผ่านเกณฑ์

4) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2


กลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม
ผ่านเกณฑ์

คณิตศาสตร์ ม.2
5) คุณลักษณะ - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมินคุณลักษณะ - ระดับคุณภาพ 2
ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น อันพึงประสงค์
อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
ในการทำงาน

7.3 การประเมินหลังเรียน

- แบบทดสอบหลังเรียน - ตรวจแบบทดสอบ - แบบทดสอบหลังเรียน - ประเมินตามสภาพจริง


หลังเรียน
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เลขยกกำลัง

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
2) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 1.4 เรื่อง เลขยกกำลัง
3) แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
4) ใบงานที่ 1.4.1 เรื่อง การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในชีวิตจริง
8.2 แหล่งการเรียนรู้
1) ห้องเรียน
2)ห้องสมุด
3) อินเทอร์เน็ต

คณิตศาสตร์ ม.2
ใบงานที่ 1.4.1
เรื่อง การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในชีวิตจริง

คำชี้แจง : จงแสดงวิธีทำ
1. เชื้อไวรัสที่ทําให เกิดโรคหวัดแต ละตัวยาวประมาณ 3  10 −7 เมตร ถ าไวรัสชนิดนี้เรียงต
อกัน
เป นสายยาว 9  10 − 3 เมตร จงหาว ามีไวรัสอยู ประมาณกี่ตัว

คณิตศาสตร์ ม.2
2. ดาวอังคารมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.8  1012 เมตร จงหาปริมาตรของดาวอังคาร
22 4
(กำหนด  = และมีปริมาตรของทรงกลมเท่ากับ  r 3 )
7 3

ใบงานที่ 1.4.1 เฉลย


เรื่อง การนำความรู้เกี่ยวกับเลขยกกำลังไปใช้ในชีวิตจริง

คำชี้แจง : จงแสดงวิธีทำ
1. เชื้อไวรัสที่ทําให เกิดโรคหวัดแต ละตัวยาวประมาณ 3  10 −7 เมตร ถ าไวรัสชนิดนี้เรียงต
อกัน
เป นสายยาว 9  10 − 3 เมตร จงหาว ามีไวรัสอยู ประมาณกี่ตัว

วิธีทำ ไวรัสแต่ละตัว ยาวประมาณ 3  10 −7 เมตร


และ ไวรัสเรียงต่ อกันเป็นสายยาว 9  10 − 3 เมตร
9  10 −3
จะได้ว่า มีไวรัสอยู่ประมาณ ตัว
3  10 −7
 3 10 4 ตัว
ดังนั้น มีไวรัสอยู่ประมาณ
คณิต3 10 4 ม.2
ศาสตร์ ตัว ตอบ
2. ดาวอังคารมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.8  1012 เมตร จงหาปริมาตรของดาวอังคาร
22 4
(กำหนด  = และมีปริมาตรของทรงกลมเท่ากับ  r 3 )
7 3

วิธีทำ ดาวอังคารมีเส้นผ่านศูนย์กลาง 2.8  1012 เมตร


จะได้ว่า ดาวอังคารมีรัศมียาวประมาณ (2.8  1012 )  2 เมตร
= 1.4  1012 เมตร
4
จาก ปริมาตรของทรงกลมเท่ากับ  r 3
3
4 22
(
จะได้ว่า ปริมาตรของทรงกลมเท่ากับ   1.4  1012
3 7
3
)
 1.1510 37 ลูกบาศก์เมตร
ดังนั้น ปริมาตรของดาวอังคารประมาณ 1.1510 37 ลูกบาศก์เมตร ตอบ

9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ ........................................
( ...................................... )
ตำแหน่ง …………………......

10. บันทึกผลหลังการสอน
• ด้านความรู้

คณิตศาสตร์ ม.2
• ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

• ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

• ด้านความสามารถทางคณิตศาสตร์

• ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))

• ปัญหา/อุปสรรค

• แนวทางการแก้ไข
ชิ้นงาน/ภาระงาน (รวบยอด) แผนฯ ที่ 4
แบบประเมินแผ่นพับ
คำชี้แจง : ให้ผู้สอนประเมินชิ้นงาน/ภาระงานของนักเรียนตามรายการที่กำหนด แล้วขีด ✓ ลงในช่องที่ตรงกับ
ระดับคะแนน
ระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 ความสอดคล้องกับจุดประสงค์
2 ความถูกต้องของเนื้อหา
3 ความคิดสร้างสรรค์
4 ความตรงต่อเวลา
รวม

คณิตศาสตร์ ม.2
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............/................./................
เกณฑ์การประเมินแผ่นพับ
ระดับคะแนน
ประเด็นที่ประเมิน
4 3 2 1
1. ความสอดคล้อง ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานสอดคล้องกับ ผลงานไม่สอดคล้องกับ
กับจุดประสงค์ จุดประสงค์ทุกประเด็น จุดประสงค์เป็นส่วนใหญ่ จุดประสงค์บางประเด็น จุดประสงค์
2. ความถูกต้อง เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของผลงาน
ของเนื้อหา ถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางประเด็น ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
3. ความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานแสดงถึงความคิด ผลงานมีความน่าสนใจ ผลงานไม่มีความ
สร้างสรรค์ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ สร้างสรรค์ แปลกใหม่ แต่ยังไม่มีแนวคิดแปลก น่าสนใจ และไม่แสดงถึง
และเป็นระบบ แต่ยังไม่เป็นระบบ ใหม่ แนวคิดแปลกใหม่
4. ความตรงต่อ ส่งชิ้นงานภายในเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่ ส่งชิ้นงานช้ากว่าเวลาที่
เวลา กำหนด กำหนด 1 วัน กำหนด 2 วัน กำหนด 3 วันขึ้นไป

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ระดับ
ช่วงคะแนน
คุณภาพ
14 - 16 ดีมาก
11 - 13 ดี
8 - 10 พอใช้
แบบประเมินการนำเสนอผลงาน ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ


ระดับคะแนน

ลำดับ ระดับคะแนน
รายการประเมิน
ที่ 4 3 2 1
1 เนื้อหาละเอียดชัดเจน    
2 ความถูกต้องของเนื้อหา    
3 ภาษาที่ใช้เข้าใจง่าย    
4 ประโยชน์ที่ได้จากการนำเสนอ    
5 วิธีการนำเสนอผลงาน    

คณิตศาสตร์ ม.2
รวม

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............/................./................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ผลงานหรือพฤติกรรมสมบูรณ์ชัดเจน ให้ 4 คะแนน ระดับ
ช่วงคะแนน
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องบางส่วน ให้ 3 คะแนน คุณภาพ
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องเป็นส่วนใหญ่ ให้ 2 คะแนน 14 - 16 ดีมาก
ผลงานหรือพฤติกรรมมีข้อบกพร่องมาก ให้ 1 คะแนน 11 - 13 ดี
8 - 10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ


ระดับคะแนน

ระดับคะแนน
ลำดับที่ รายการประเมิน
4 3 2 1
1 การแสดงความคิดเห็น    
2 การยอมรับฟังความคิดเห็นของผู้อื่น    
3 การทำงานตามหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย    
4 ความมีน้ำใจ    
5 การตรงต่อเวลา    
รวม

คณิตศาสตร์ ม.2
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............/................./................

เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
เกณฑ์การให้คะแนน
ระดับ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน
คุณภาพ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน
14 - 16 ดีมาก
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
11 - 13 ดี
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
8 - 10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานกลุ่ม

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ


ระดับคะแนน

การมี
การทำงาน
การแสดง การยอมรับฟัง ส่วนร่วมใน รวม
ลำดับ ชื่อ – สกุล ตามที่ได้รับ ความมีน้ำใจ
ความคิดเห็น คนอื่น การปรับปรุง 20
ที่ ของนักเรียน มอบหมาย
ผลงานกลุ่ม คะแนน
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1

คณิตศาสตร์ ม.2
ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............/................./................
เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน
ระดับ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน ช่วงคะแนน
คุณภาพ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครัง้ ให้ 2 คะแนน
14 - 16 ดีมาก
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน
11 - 13 ดี
8 - 10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง

แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงค์

คำชี้แจง : ให้ผู้สอนสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด ✓ลงในช่องที่ตรงกับ


ระดับคะแนน

คุณลักษณะ ระดับคะแนน
รายการประเมิน
อันพึงประสงค์ด้าน 4 3 2 1
1. รักชาติ ศาสน์ 1.1 ยืนตรงเคารพธงชาติ และร้องเพลงชาติได้
กษัตริย์ 1.2 เข้าร่วมกิจกรรมที่สร้างความสามัคคี ปรองดอง และเป็นประโยชน์ต่อ
โรงเรียน
1.3 เข้าร่วมกิจกรรมทางศาสนาที่ตนนับถือ ปฏิบัติตามหลักศาสนา
1.4 เข้าร่วมกิจกรรมที่เกี่ยวกับสถาบันพระมหากษัตริย์ตามที่โรงเรียนจัดขึ้น
2. ซื่อสัตย์ สุจริต 2.1 ให้ข้อมูลที่ถูกต้อง และเป็นจริง
2.2 ปฏิบัติในสิ่งที่ถูกต้อง

คณิตศาสตร์ ม.2
3. มีวินัย รับผิดชอบ 3.1 ปฏิบัติตามข้อตกลง กฎเกณฑ์ ระเบียบ ข้อบังคับของครอบครัว มีความตรง
ต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมต่าง ๆ ในชีวิตประจำวัน
4. ใฝ่เรียนรู้ 4.1 รู้จักใช้เวลาว่างให้เป็นประโยชน์ และนำไปปฏิบัติได้
4.2 รู้จักจัดสรรเวลาให้เหมาะสม
4.3 เชื่อฟังคำสั่งสอนของบิดา - มารดา โดยไม่โต้แย้ง
4.4 ตั้งใจเรียน
5. อยู่อย่างพอเพียง 5.1 ใช้ทรัพย์สินและสิ่งของของโรงเรียนอย่างประหยัด
5.2 ใช้อุปกรณ์การเรียนอย่างประหยัดและรู้คุณค่า
5.3 ใช้จ่ายอย่างประหยัดและมีการเก็บออมเงิน
6. มุ่งมั่นในการ 6.1 มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย
ทำงาน 6.2 มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเร็จ
7. รักความเป็นไทย 7.1 มีจิตสำนึกในการอนุรักษ์วัฒนธรรมและภูมิปัญญาไทย
7.2 เห็นคุณค่าและปฏิบัติตนตามวัฒนธรรมไทย
8. มีจิตสาธารณะ 8.1 รู้จักช่วยพ่อแม่ ผู้ปกครอง และครูทำงาน
8.2 รู้จักการดูแลรักษาทรัพย์สมบัติและสิ่งแวดล้อมของห้องเรียนและโรงเรียน

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
............/................./................

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
พฤติกรรมที่ปฏิบัตสิ ม่ำเสมอ ให้ 4 คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบ่อยครั้ง ให้ 3 คะแนน 14 - 16 ดีมาก
พฤติกรรมที่ปฏิบัติบางครั้ง ให้ 2 คะแนน 11 - 13 ดี
พฤติกรรมที่ปฏิบัติน้อยครั้ง ให้ 1 คะแนน 8 - 10 พอใช้
ต่ำกว่า 8 ปรับปรุง

คณิตศาสตร์ ม.2
คณิตศาสตร์ ม.2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
เวลา 1 ชั่วโมง
1. มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
ค 1.1 ม.2/1 เข้าใจและใช้สมบัติของเลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็มในการแก้ปัญหาคณิตศาสตร์
และปัญหาในชีวิตจริง

2. จุดประสงค์การเรียนรู้
1) หาผลลัพธ์ของจำนวนที่กำหนดให้ในรูปสัญกรณ์วิทยาสตร์ได้ (K)
2) เขียนจำนวนที่กำหนดให้ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้ (P)
3) ตั้งใจและรับผิดชอบต่อหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย (A)

3. สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
เลขยกกำลังที่มีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม พิจารณาตามหลักสูตรของสถานศึกษา

4. สาระสำคัญ/ความคิดรวบยอด
จำนวนทีเ่ ขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ คือ จำนวนที่เขียนในรูป A × 10n เมื่อ 1 ≤ A < 10
และ n เป็นจำนวนเต็ม

5. สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์

คณิตศาสตร์ ม.2
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย รับผิดชอบ
2. ความสามารถในการคิด 2. ใฝ่เรียนรู้
1) ทักษะการเปรียบเทียบ 3. มุ่งมัน่ ในการทำงาน
2) ทักษะการแปลความ
3. ความสามารถในการแก้ปัญหา

6. กิจกรรมการเรียนรู้
 แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : Concept Based Teaching

ชั่วโมงที่ 1

ขั้นนำ
ขั้นการใช้ความรู้เดิมเชื่อมโยงความรู้ใหม่ (Prior Knowledge)
1. ครูทบทวนความรู้เรื่อง การคูณและการหารเลขยกกำลัง เมื่อเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม จากนั้นครูถาม
คำถามดังนี้
• การคูณและการหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และมีเลขชี้กำลังเป็นจำนวนเต็ม
ต้องใช้สมบัติของเลขยกกำลังใดบ้าง
(แนวตอบ : การคูณและการหารเลขยกกำลังที่มีฐานเป็นจำนวนใด ๆ ที่ไม่เท่ากับศูนย์ และมีเลขชี้กำลัง
เป็นจำนวนเต็ม ต้องใช้สมบัติของเลขยกกำลังต่อไปนี้
กำหนดให้ a,b แทนจำนวนใดๆ ที่ b ≠ 0 และ m,n,k แทนจำนวนเต็มบวกใดๆ
1) am  an = am+n 2) (am) n = amn
3) ( a b ) m = am  bm ( )
4) ambn k = amk  bnk
am am  a m
5) n = am−n เมื่อ a ≠ 0 , m > n 6) m =   เมื่อ a ≠ 0 , m > n
a b b
 am k amk
7)   = nk เมื่อ a ≠ 0 , m > n
 bn  b

ขั้นสอน
คณิตศาสตร์ ม.2
ขั้นรู้ (Knowing)
1. ครูกล่าวกับนักเรียนว่า “จำนวนที่มีค่ามาก ๆ หรือมีค่าน้อย ๆ นิยมเขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์”
จากนั้นครูเขียนโจทย์ตัวอย่างในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1
เลขยกกำลัง บนกระดาน ดังนี้

350,000,000 เขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้เป็น 3.5 × 108


(แนวคิด : ต้องทำให้อยู่ในรูปของ A × 10n เมื่อ 1 ≤ A < 10 ดังนี้
350,000,000 = 35107 (มีศูนย์ 7 ตัว สังเกตว่า 35 ยังไม่อยู่ในรูปของ 1 ≤ A < 10
ดังนั้น 350,000,000 = 3.5101 107
= 3.5 108 )
0.0000000074 เขียนในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้เป็น 7.4 × 10-9
74
(แนวคิด:0.0000000074 = 10 (หลังทศนิยมมี 10 ตำแหน่ง สังเกตว่า74ยังไม่อยู่ในรูปของ1 ≤ A < 10
10
7.4  101
ดังนั้น 0.0000000074 = 10 = 7.4 101 10−10 = 7.4 10−9 )
10
2. ครูให้นักเรียนจับคู่ศึกษาสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
• จำนวนที่อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์คืออะไร
(แนวตอบ : จำนวนที่อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ คือ จำนวนที่เขียนอยู่ในรูป A x 10n เมื่อ 1 ≤ A < 10
และ n เป็นจำนวนเต็ม)
3. ครูให้นักเรียนจับคู่ศึกษาตัวอย่างที่ 13 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง แล้วแลกเปลี่ยนความรู้กับคู่ของตนเอง จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
3
• นักเรียนสามารถเขียน 123.4 10 ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้เท่ากับเท่าใด

(แนวตอบ : 123.4 103 (แต่ 123.4 ยังไม่อยู่ในรูป 1 ≤ A < 10


ดังนั้น 123.4 = 1.234 102
123.4 103 = 1.234 102  103

คณิตศาสตร์ ม.2
= 1.234 105 )
• นักเรียนสามารถเขียน 0.003 10 −6 ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้เท่ากับเท่าใด

(แนวตอบ : 0.00310−6 (แต่ 0.003 ยังไม่อยู่ในรูป 1 ≤ A < 10


3 3
ดังนั้น 0.003 = = 3 = 3 10−3
1000 10
0.00310−6 = 310−3  10−6
= 3  10−9 )

• นักเรียนสามารถเขียน
13 ร้อยล้าน ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้เท่ากับเท่าใด
(แนวตอบ : 13 ร้อยล้าน =1,300,000,000 = 1.3109 )

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
4. นักเรียนทำ “ลองทำดู” ของตัวอย่างที่ 13 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
คำถาม : จงเขียนจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์
1) 220.5 105
(แนวตอบ : แปลง 220.5 ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์จะได้ 2.205102
ดังนั้น 220.5 105 = 2.205102 105 = 2.205107 )
2) 0.104 10−6
1.04 1.04
(แนวตอบ : แปลง 0.104 ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์จะได้ = 3 = 1.04 10 −3
1000 10
ดังนั้น 0.104 10−6 = 1.04 10 −3  10 −6 = 1.04 −9 )
3) 625 ล้าน
(แนวตอบ : แปลง 625 ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์ทางวิทยาศาสตร์จะได้ 6.25 102
ดังนั้น 625 ล้าน = 6.25 102  106 = 6.25 108 )

ขั้นรู้ (Knowing)
5. นักเรียนจับคู่ศึกษาตัวอย่างที่ 14 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง จากนั้นครูถามคำถาม ดังนี้
( )( 3 ) 2
• นักเรียนหาผลลัพธ์ของ 1234 10 + 5.6  10 ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้เท่ากับเท่าใด

คณิตศาสตร์ ม.2
(แนวตอบ : จากโจทย์ 1234103 แปลงให้มีเลขชี้กำลังเท่ากับ 102 จะได้ 123.4 102
ดังนั้น ( 1.234 + 5.6)  102 = 129 102 = 1.29 104 )
• นักเรียนหาผลลัพธ์ของ (1.5510−3 )− (4.8 10−5 ) ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้เท่ากับ
เท่าใด
( )
(แนวตอบ : จากโจทย์ 4.8  10 −5 ให้มีเลขชี้กำลังเท่ากับ 10−3 จะได้ 0.048 10−3
ดังนั้น ( 1.55 − 0.048 )  10−3 = 1.502 10−3 )

• นักเรียนหาผลลัพธ์ของ (1.910−5 ) (1.110−8 ) ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้เท่ากับเท่าใด


(แนวตอบ : ( 1.91.1) 105+( −8 ) = 2.0910−3 )
• ( )( )
นักเรียนหาผลลัพธ์ของ 4.8 10−4  12 10−8 ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์ได้เท่ากับเท่าใด
( )
(แนวตอบ:แปลง 12 10−8 ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์จะได้ 1.2 10 10−8 = 1.2 10−7
4.8  10−4
ดังนั้น −7 = 4103 )
1.2  10
6. นักเรียนจับคู่ศึกษา “มุมเทคโนโลยี” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

ขั้นเข้าใจ (Understanding)
7. นักเรียนทำแบบฝึกทักษะ 1.3 ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
8. นักเรียนทำใบงานที่ 1.3.1 เรื่อง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ และ Exercise 1.3 ในแบบฝึกหัด
รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง เป็นการบ้าน

ขั้นลงมือทำ (Doing)
9. นักเรียนจับคู่ทำกิจกรรมโดยใช้เทคนิคคู่คิด (Think Pair Share) ดังนี้
• ให้นักเรียนแต่ละคนคิดคำตอบของตนเอง จาก “Thinking Time” ในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน

คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง

ขั้นสรุป

คณิตศาสตร์ ม.2
1. ครูถามคำถามเพื่อสรุปความรู้รวบยอดของนักเรียน ดังนี้
• การเขียนจำนวนให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์มีวิธีการอย่างไร
(แนวตอบ : เขียนจำนวนให้อยู่ในรูป A  10n เมื่อ 1 ≤ A < 10 และ n เป็นจำนวนเต็ม)

7. การวัดและประเมินผล
รายการวัด วิธีการ เครื่องมือ เกณฑ์การประเมิน
1) ประเมินระหว่าง ตรวจใบงานที่ 1.3.1 - ใบงานที่ 1.3.1 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
การจัดกิจกรรมการเรียนรู้ - ตรวจแบบฝึกทักษะ 1.3 - แบบฝึกทักษะ 1.3 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์
สัญกรณ์วิทยาศาสตร์ - ตรวจ Exercise 1.3 - Exercise 1.3 - ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

2) การนำเสนอผลงาน - ประเมิ น การนำเสนอ - แบบประเมิน - ระดับคุณภาพ 2


ผลงาน การนำเสนอผลงาน ผ่านเกณฑ์
3) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
รายบุคคล การทำงานรายบุคคล การทำงานรายบุคคล ผ่านเกณฑ์
4) พฤติกรรมการทำงาน - สังเกตพฤติกรรม - แบบสังเกตพฤติกรรม - ระดับคุณภาพ 2
กลุ่ม การทำงานกลุ่ม การทำงานกลุ่ม ผ่านเกณฑ์
5) คุณลักษณะ - สังเกตความมีวินัย - แบบประเมินคุณลักษณะ - ระดับคุณภาพ 2
อันพึงประสงค์ ใฝ่เรียนรู้ และมุ่งมั่น อันพึงประสงค์ ผ่านเกณฑ์
ในการทำงาน

8. สื่อ/แหล่งการเรียนรู้
8.1 สื่อการเรียนรู้
1) หนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
2) แบบฝึกทักษะคณิตศาสตร์ 1.3 เรื่องเลขยกกำลัง
3) แบบฝึกหัด รายวิชาพื้นฐาน คณิตศาสตร์ ม.2 เล่ม 1 หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 เลขยกกำลัง
4) ใบงานที่ 1.3.1 เรื่อง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์
8.2 แหล่งการเรียนรู้

คณิตศาสตร์ ม.2
1) ห้องเรียน
2) ห้องสมุด
3) อินเทอร์เน็ต

ใบงานที่ 1.3.1
เรื่อง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์

คำชี้แจง : จงเขียนจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
1. 1,000,000 =
2. 24,000 =
3. 245 =
4. 736106 =

5. 68.5 =
6. 436.5 103 =

7. 61103 104 =

8. 0.04 102 =

9. 0.003 107 =

10. 0.0021 108 102 =

11. 0.0004 109 10 −5 =

12. 0.000061 10 −3 x  104 =

คณิตศาสตร์ ม.2
คณิตศาสตร์ ม.2
ใบงานที่ 1.3.1 เฉลย
เรื่อง สัญกรณ์วิทยาศาสตร์

คำชี้แจง : จงเขียนจำนวนในแต่ละข้อต่อไปนี้ให้อยู่ในรูปสัญกรณ์วิทยาศาสตร์
1. 1,000,000 = 106
= 2.4 × 10
4
2. 24,000
3. 245 = 2.45 × 102
= 7.36 × 10
8
4. 736106

5. 68.5 = 6.85 × 10
= 4.365 × 10
5
6. 436.5 103

= 6.1 × 10
8
7. 61103 104

8. 0.04 102 = 4

= 3 × 10
4
9. 0.003 107

10. 0.0021 108 102 = 2.1 × 107

11. 0.0004 109 10 −5 = 4

12. 0.000061 10 −3 x  104 = 6.1 × 10-4

คณิตศาสตร์ ม.2
9. ความเห็นของผู้บริหารสถานศึกษาหรือผู้ที่ได้รับมอบหมาย
ข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ ........................................
( ...................................... )
ตำแหน่ง …………………......

10. บันทึกผลหลังการสอน
• ด้านความรู้

• ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน

• ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์

• ด้านความสามารถทางคณิตศาสตร์

• ด้านอื่น ๆ (พฤติกรรมเด่น หรือพฤติกรรมที่มีปัญหาของนักเรียนเป็นรายบุคคล (ถ้ามี))

• ปัญหา/อุปสรรค

• แนวทางการแก้ไข

คณิตศาสตร์ ม.2
คณิตศาสตร์ ม.2

You might also like