You are on page 1of 72

โครงสร้างหน่วยการเรียนรู้ รายวิชาคณิตศาสตร์ 3 ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้


ตัวชี้วัด : ค.2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
หน่วยการ เวลา
เรียนรู้ที่ ชื อ
่ หน่ ว ยการเรี ย นรู ้ / แผนการจั ด การเรี ย นรู ้
(ชั่วโมง)
เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย 16
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การเตรียมความพร้อม 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง ธนบัตรและเงินเหรียญ 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3 เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ (1) 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4 เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ (2) 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5 เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ (3) 1

10 แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6 เรื่อง การเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด 1


แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7 เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวนเงิน 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8 เรื่อง การแลกเงิน (1) 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9 เรื่อง การแลกเงิน (2) 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง การบวกและการลบจำนวนเงิน 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง การคูณและการหารจำนวนเงิน 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน (1) (1) 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน (1) (2) 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน (2) 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15 เรื่อง การอ่านและการเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย 1
แบบทดสอบท้ายหน่วย 1
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 1
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง การเตรียมความพร้อม ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้
ตัวชี้วัด : -
ทักษะพื้นฐานของนักเรียน
1.การบวก การลบ การคูณ และการหารจำนวนนับ
2.การเปรียบเทียบจำนวนนับ
3.การแก้โจทย์ปัญหาการบวก โจทย์ปัญหาการลบ โจทย์ปัญหาการคูณ และโจทย์ปัญหา
การหารของจำนวนนับไม่เกิน 100,000
คำสำคัญ
การบอกจำนวนเงิน การเปรียบเทียบจำนวนเงิน การแลกเงิน ความสัมพันธ์ของหน่วยเงิน บาท สตางค์ธนบัตร
เงินเหรียญ บันทึกรายรับรายจ่าย รายรับ รายจ่าย
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง
3.การให้เหตุผล
4.การคิดสร้างสรรค์
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 1 เรื่อง การเตรียมความพร้อม
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนจากนั้นใช้ข้อมูลในหนังสือเรียนหน้าเปิดบทกระตุ้นความสนใจเกี่ยวกับ การใช้เงินใน
ชีวิตประจำวันโดยการถาม - ตอบ เช่น
− ในการซื้อสินค้าแต่ละครั้งนักเรียนใช้สิ่งใดเป็นการแลกเปลี่ยนสินค้า
− จากภาพแม่ของขุนซื้อสินค้าชนิดใดบ้างและมีราคาเท่าไร
− แม่ของขุนจะต้องจ่ายเงินเท่าไร จึงจะพอดีกับราคาสินค้า
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.ครูและนักเรียนสนทนาเกี่ยวกับจำนวนเงินในการชำระค่าสินค้าและนำเข้าสู่บทเรียนเรื่องเงินและบันทึก
รายรับรายจ่ายครูอาจยกตัวอย่างเกี่ยวกับเงินที่ใช้ในชีวิตจริงเพิ่มเติม เช่น เงินค่าขนมที่ผู้ปกครองให้มาโรงเรียน เงินค่า
เดินทางไปโรงเรียน เงินค่าอุปกรณ์การเรียน เป็นต้น
3.ครูจัดกิจกรรมจ่ายเงินซื้อของในการเตรียมความพร้อมเพื่อตรวจสอบความรู้พื้นฐานของนักเรียนเรื่องเงินการ
บอกธนบั ตรและเงิ นเหรียญชนิ ดต่างๆ การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ตามหนังสือเรียน โดยครูจัดเตรียม
อุปกรณ์ให้เพียงพอกับนักเรียนและแนะนำอุปกรณ์ในการทำกิจกรรมจ่ายเงินซื้อของ การเตรียมความพร้อมนักเรียนโดย
แบ่งนักเรียนเป็นกลุ่มและแจกธนบัตรและเงินเหรียญจำลองให้กลุ่มละ 1 ชุด ครูชูบัตรภาพสินค้าพร้อมราคาสินค้า 1
บัตร แล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันนำธนบั ตรและเงิน เหรียญ จำลองมาวางบนโต๊ะให้ได้จำนวนเงินเท่ากับราคา
สินค้าที่อยู่ในบัตรภาพอาจมีนักเรียนบางกลุ่ มที่วางธนบัตรและเงินเหรียญแต่ละชนิดแตกต่างกัน บางกลุ่ มอาจวาง
เหมือนกัน โดยครูให้แต่ละกลุ่มวางธนบัตรและเงินเหรียญเพียงแบบเดียว จากนั้นครูให้นักเรียนกลุ่มที่วางเงินแตกต่าง
กันออกมานำเสนอผลงาน
4.ครูจัดกิจกรรมเพิ่มเติมโดยการชูบัตรภาพราคาสินค้าเพิ่มอีก 2 - 3 บัตร และให้นักเรียนแข่งขันกัน นำเงิน
จำลองมาวางแสดงจำนวนเงินให้เท่ากับราคาสินค้าที่อยู่ในบัตรภาพ ถ้านักเรียนยังไม่มีความรู้เกี่ยวกับธนบัตรและเงิน
เหรียญชนิดต่าง ๆ ครูใช้กิจกรรมนี้ในการนำเข้าสู่บทเรียนเรื่องธนบัตรและเงินเหรียญชนิดต่างๆ โดยครูอาจใช้ธนบัตร
และเงินเหรียญจำลองในการแนะนำธนบัตรชนิดต่างๆ หรือแนะนำเงินเหรียญชนิดต่างๆ ไปทีละชนิดพร้อมทั้งบอกค่า
ของเงินชนิดนั้นๆ
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
5.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่า การบอกจำนวนเงิน การเปรียบเทียบจำนวนเงิน การแลกเงิน
ความสัมพันธ์ของหน่วยเงิน บาท สตางค์ธนบัตร เงินเหรียญ บันทึกรายรับรายจ่าย รายรับ รายจ่าย
6.ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเพื่อให้สอดคล้องกับจุดประสงค์ของการเรียนในชั่วโมงนี้ โดยให้ทำใบ
งานเพิ่มเติม
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 1 เรื่อง การเตรียมความพร้อม
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
เรียนรู้
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ
3.ด้านคุณลักษณะที่ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
พึงประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ที่พึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 2
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง ธนบัตรและเงินเหรียญ ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกชนิดของเงินและค่าของเงินได้ (K)
2.เขียนบอกชนิดของเงินและค่าของเงิน (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
ธนบัตรและเงินเหรียญของประเทศไทยที่ใช้ในปัจจุบัน
ธนบัตร ได้แก่ ธนบัตรชนิดราคา 1,000 บาท 500 บาท 100 บาท 50 บาท และ 20 บาท
เงินเหรียญ ได้แก่ เงินเหรียญชนิดราคา 10 บาท 5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์และ 25 สตางค์
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
ธนบัตรและเงินเหรียญ
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 2 เรื่อง ธนบัตรและเงินเหรียญ
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูนำเข้าสู่บทเรียนโดยสนทนาเกี่ยวกับเงินชนิดต่างๆ ที่เป็นธนบัตรและเงินเหรียญที่ใช้ในชีวิตประจำวัน เช่น
การจ่ายเงินค่าสินค้า การรับเงินจากผู้ปกครอง การขายของในตลาด การซื้อขนม เป็นต้น จากนั้นครูแนะนำธนบัตรและ
เงินเหรียญชนิดต่างๆ ทีละชนิดโดยใช้เงินจริงที่ใช้ในปัจจุบัน
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.จากนั้นครูให้นักเรียนสังเกตลักษณะของธนบัตร สีขนาด ตัวเลขที่แสดงบนธนบัตรแล้วให้นักเรียนบอกชนิด
ราคาของธนบัตรและเงินเหรียญนั้น ดังนี้

3.ครูชูธนบัตรชนิดราคา 1,000 บาท แบบใดก็ได้ที่ใช้จริงในปัจจุบันให้นักเรียนสังเกต ดังนี้


− รูปร่างของธนบัตรเป็นอย่างไร (เป็นรูปสี่เหลี่ยม)
− สีของธนบัตรเป็นสีใด (สีเทา)
− ตัวเลขที่แสดงบนธนบัตรเป็นตัวเลขใด (1,000 และ ๑,๐๐๐)
− ธนบัตรชนิดนี้น่าจะมีราคาเท่าไร (ราคา 1,000 บาท)
4.ครูจัดกิจ กรรมทำนองเดียวกัน นี้ กับ ธนบัตรชนิดราคาอื่นให้ ครบทุกชนิดแล้ว ให้ นักเรียนร่ว มกันสรุป การ
เรียกชื่อธนบัตรชนิดราคาต่างๆ ธนบัตรชนิดราคาต่างๆ ของประเทศไทยที่ใช้ในปัจจุบัน ครูแนะนำในทำนองเดียวกันกับ
การแนะนำธนบั ตรแล้วให้ นั กเรีย นร่วมกัน สรุป การเรียกชื่อเงินเหรียญชนิดต่างๆ เงินเหรียญชนิดราคาต่างๆ ของ
ประเทศไทยที่ใช้ในปัจจุบัน จากนั้นให้นักเรียนทำกิจกรรมบอกชนิดของเงินโดยครูเตรียมกล่องปริศนาที่มีธนบัตรและ
เงินเหรียญจำลองชนิดต่าง ๆ อยู่ในกล่องครูสุ่มนักเรียนออกมาหยิบ ธนบัตรหรือเงินเหรียญในกล่องปริศนาชูให้เพื่อนใน
ห้องดูแล้วให้เพื่อนบอกชนิดและราคาของธนบัตรหรือเงินเหรียญนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
5.ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยให้นักเรียนจับคู่ชนิดของเงินให้ถูกต้อง ซึ่งกำหนด
ภาพธนบัตรและเงินเหรียญชนิดต่างๆ มาให้แล้วให้นักเรียนจับคู่ให้ตรงกับชนิดราคาของธนบัตรและเงินเหรียญนั้น
จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง หากมีนักเรียนจับคู่ธนบัตรหรือเงินเหรียญกับชนิดราคาไม่ถูกต้อง
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
6.ครูให้นักเรียนแก้ไขให้ถูกต้องและร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ ธนบัตรและเงินเหรียญของประเทศไทยที่ใช้ใน
ปัจจุบัน ธนบัตร ได้แก่ ธนบัตรชนิดราคา 1,000 บาท 500 บาท 100 บาท 50 บาท และ 20 บาท เงินเหรียญ ได้แก่
เงินเหรียญชนิดราคา 10 บาท5 บาท 2 บาท 1 บาท 50 สตางค์ และ 25 สตางค์
7.ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยให้นักเรียนจับคู่ชนิดของเงินให้ถูกต้องตามหนังสือ
เรียน ซึ่งกำหนดภาพธนบัตรและเงินเหรียญชนิดต่างๆ มาให้แล้วให้นักเรียนจับคู่ให้ตรงกับชนิดราคาของธนบัตรและเงิน
เหรียญนั้น
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 2 เรื่อง ธนบัตรและเงินเหรียญ
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
เรียนรู้
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ
3.ด้านคุณลักษณะที่ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
พึงประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ที่พึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 3
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ (1) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ได้ (K)
2.เขียนบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ได้ (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
การบอกจำนวนเงินอาจบอกเป็นบาท เป็นสตางค์หรือเป็นบาทและสตางค์ เงินจำนวนหนึ่งสามารถแสดงด้วย
ธนบัตรหรือเงินเหรียญได้หลายแบบ
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง
3.การให้เหตุผล
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 3 เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูทบทวนความรู้เกี่ยวกับธนบัตรและเงินเหรียญชนิดต่างๆ และสนทนากับนักเรียนเกี่ยวกับ การบอกจำนวน
เงินที่อยู่ในชีวิตจริงว่านักเรียนนำเงินชนิดใดบ้างมาโรงเรียนหรือใช้จ่ายเงินในชีวิตประจำวันอย่างไร เป็นเงินเท่าไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.จากนั้นครูนำธนบัตรจำลองชนิดต่างๆ มาแยกประเภทโดยชนิดเดียวกันอยู่กลุ่ มเดียวกันแล้วให้นักเรียนบอก
จำนวนเงินของธนบัตรแต่ละกลุ่ม โดยครูอาจเพิ่มจำนวนธนบัตรมากขึ้นเพื่อให้นักเรียนบอกจำนวนเงินของธนบัตรที่เป็น
ชนิดเดียวกันให้คล่องโดยใช้การถาม - ตอบ ดังนี้

3.ครูใช้การถาม - ตอบ ทำนองเดียวกันเพื่อให้นักเรียนบอกจำนวนเงินของธนบัตรที่เป็นชนิดเดียวกันในแต่ละ


กลุ่มจนครบทุกกลุ่มและครบทุ กชนิด เมื่อนักเรียนสามารถบอกจำนวนเงินของธนบัตรที่เป็นชนิ ดเดียวกันคล่องแล้ว
จากนั้นครูนำธนบัตรต่างชนิดกันมาอยู่กลุ่มเดียวกันแล้วให้นักเรียนบอกจำนวนเงินของแต่ละกลุ่ม โดยเริ่มจัดกลุ่มให้แต่
ละกลุ่มมีธนบัตรแต่ละชนิดและจำนวนน้อยๆ ก่อน ดังนี้

มีเงินอยู่เท่าไร (50 บาท กับ 20 บาท เป็น 70 บาท)

มีเงินอยู่เท่าไร (150 บาท กับ 40 บาท เป็น 190 บาท)

มีเงินอยู่เท่าไร (100 บาท กับ 50 บาท กับ 20 บาท เป็น 170 บาท)

มีเงินอยู่เท่าไร (200 บาท กับ 100 บาท กับ 40 บาท เป็น 340 บาท)
มีเงินอยู่เท่าไร (1,000 บาท กับ 500 บาท กับ 100 บาท เป็น 1,600 บาท)

มีเงินอยู่เท่าไร (2,000 บาท กับ 2,000 บาท กับ 100 บาท กับ 20 บาท เป็น 4,120 บาท)

มีเงินอยู่เท่าไร (4,000 บาท กับ 1,000 บาท กับ 300 บาท เป็น 5,300 บาท)
4.ครูยกตัวอย่างการบอกจำนวนเงินชนิดต่าง ๆ เป็นบาทตามหนังสือเรียน
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
5.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่า การบอกจำนวนเงินอาจบอกเป็นบาท เป็นสตางค์หรือเป็นบาท
และสตางค์ เงินจำนวนหนึ่งสามารถแสดงด้วยธนบัตรหรือเงินเหรียญได้หลายแบบครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
เป็นรายบุคคลโดยให้นักเรียนทำใบงานเพิ่มเติมจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง ครูควรให้นักเรียน
แก้ไขให้ถูกต้อง และให้ทำใบงานเพิ่มเติม
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2. ใบงานที่ 3 เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
เรียนรู้
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ
3.ด้านคุณลักษณะที่ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
พึงประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ที่พึงประสงค์
เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ความคิดเห็นผู้บริหาร

ลงชื่อ ลงชื่อ
( ) ( )
รองผู้อำนวยการโรงเรียน ผู้อำนวยการโรงเรียน
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3/ ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 4
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ (2) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ได้ (K)
2.เขียนบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ได้ (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
การบอกจำนวนเงินอาจบอกเป็นบาท เป็นสตางค์หรือเป็นบาทและสตางค์ เงินจำนวนหนึ่งสามารถแสดงด้วย
ธนบัตรหรือเงินเหรียญได้หลายแบบ
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง
3.การให้เหตุผล
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 4 เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูสุ่มนักเรียนออกมาบอกชนิดต่ างๆ ของเงินเหรียญจำลองที่วางอยู่หน้าห้องเรียน จากนั้นครูนำเงินเหรียญ
จำลองชนิดต่างๆ มาแยกประเภทโดยชนิดเดียวกันอยู่กลุ่มเดียวกัน ครูแนะนำเงินเหรียญ 50 สตางค์ และเหรียญ 25
สตางค์ ว่า 100 สตางค์ เท่ากับ 1 บาท แล้วให้นักเรียนบอกจำนวนเงินของเงินเหรียญแต่ละกลุ่มโดยครูอาจเพิ่มจำนวน
เงินเหรียญมากขึ้นเพื่อให้นักเรียนบอกจำนวนเงินของเงินเหรียญให้คล่อง โดยใช้ การถาม - ตอบ เช่น

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.ครูใช้การถาม – ตอบ ทำนองเดียวกันเพื่อให้นักเรียนบอกจำนวนเงินของเงินเหรียญที่เป็นชนิดเดียวกันในแต่
ละกลุ่มจนครบทุกกลุ่มและครบทุกชนิดเมื่อนักเรียนสามารถบอกจำนวนเงินของเงินเหรียญที่เป็นชนิดเดียวกันคล่องแล้ว
จากนั้นครูนำเงินเหรียญต่างชนิดกันมาอยู่กลุ่มเดียวกันแล้วให้นักเรียนบอกจำนวนเงินของแต่ละกลุ่ม โดยเริ่มจัดกลุ่มให้
แต่ละกลุ่มมีเงินเหรียญแต่ละชนิดและจำนวนน้อยๆ ก่อน เช่น

3.ครูยกตัวอย่างการบอกจำนวนเงินชนิดต่างๆ เป็นบาทและสตางค์และให้นักเรียนช่วยกันบอกจำนวนเงินเป็น
บาทและสตางค์ในกรอบท้ายหนังสือเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
4.ครูยกตัวอย่างการบอกจำนวนเงินชนิดต่างๆ เป็นบาทและสตางค์ และให้นักเรียนช่วยกันบอกจำนวนเงินเป็น
บาทและสตางค์ในกรอบท้ายหนังสือเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
5.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่า การบอกจำนวนเงินอาจบอกเป็นบาท เป็นสตางค์หรือเป็นบาท
และสตางค์ เงินจำนวนหนึ่งสามารถแสดงด้วยธนบัตรหรือเงินเหรียญได้หลายแบบ
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 4 เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์
วัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรมด้าน นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ทักษะกระบวนการ คุณภาพดีขึ้นไป
3.ด้านคุณลักษณะที่พึง สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรมด้าน นักเรียนได้คะแนนระดับ
ประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คุณลักษณะ ที่พึงประสงค์ คุณภาพดีขึ้นไป

เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
1.ความถูกต้องของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของผลงาน เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
เนื้อหา ผลงานถูกต้องครบถ้วน ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่ ผลงานถูกต้องบาง ผลงานไม่ถูกต้อง
ประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอน่าสนใจ การนำเสนอถูกต้องเป็น การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอไม่
และเหมาะสมกับ ส่วนใหญ่ บางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
สถานการณ์
3. ความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมีข้อบกพร่อง ผลงานไม่มีความ
ระเบียบ ระเบียบ ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน เป็นระเบียบ
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 5
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ (3) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ได้ (K)
2.เขียนบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ได้ (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
การบอกจำนวนเงินอาจบอกเป็นบาทเป็นสตางค์หรือเป็นบาทและสตางค์ เงินจำนวนหนึ่งสามารถแสดงด้วย
ธนบัตรหรือเงินเหรียญได้หลายแบบ
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง
3.การให้เหตุผล
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 5 เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนจากนั้น ให้นักเรียนได้ฝึกการแสดงธนบัตรหรือเงินเหรียญตามจำนวนเงินที่กำหนด
โดยให้นักเรียนทำกิจกรรมแสดงธนบัตรหรือเงินเหรียญตามจำนวนเงินตามหนังสือเรีย นโดยครูแบ่งนักเรียนออกเป็น
กลุ่มและแจกธนบัตรและเงินเหรียญจำลองให้กลุ่มละ 1 ชุด
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.จากนั้นครูชูบัตรแสดงจำนวนเงินทีละบัตรแล้วให้นักเรียนแต่ละกลุ่มช่วยกันแสดงธนบัตรและเงินเหรียญ
จำลองให้เท่ากับจำนวนเงินที่กำหนดในบัตรและให้นักเรียนนำเสนอผลงานในการนำเสนอผลงาน
3.ครูให้นักเรียนสังเกตว่าแต่ละกลุ่มมีการวางธนบัตรและเงินเหรียญแต่ละชนิดแตกต่างกันแต่แสดงจำนวนเงิน
เดียวกัน เช่น 101 บาท 50 สตางค์ อาจวางธนบัตรและเงินเหรียญแตกต่างกัน ดังนี้

4.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าธนบัตรและเงินเหรียญที่แสดงจำนวนเงินเดียวกันสามารถแสดงได้หลายแบบ
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
5.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่า การบอกจำนวนเงินอาจบอกเป็นบาทเป็นสตางค์หรือเป็นบาท
และสตางค์ เงินจำนวนหนึ่งสามารถแสดงด้วยธนบัตรหรือเงินเหรียญได้หลายแบบ
6.ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยให้นักเรียนบอกจำนวนเงินและเขียนตัวเลขแสดง
ชนิดของธนบัตรและเงินเหรียญลงในรูปสี่เหลี่ยมและวงกลมตามจำนวนเงินที่กำหนดตามหนังสือเรียนครูและนักเรียน
ร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 5 เรื่อง การบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะกระบวนการ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
(P) ด้านทักษะ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ กระบวนการ
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
3.ด้านคุณลักษณะที่พึง สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
ประสงค์ (A) ด้านคุณลักษณะที่ ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
พึงประสงค์ ที่พึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 6
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง การเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกวิธีการเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด (K)
2.เขียนบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ได้ (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
การบอกจำนวนเงินอาจบอกเป็นบาท เป็นสตางค์หรือเป็นบาทและสตางค์ เงินจำนวนหนึ่งสามารถแสดงด้วย
ธนบัตรหรือเงินเหรียญได้หลายแบบ
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
การเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 6 เรื่อง การเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนจากนั้นทบทวนการบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์โดยชูธนบัตรและเงินเหรียญ
จำลองให้นักเรียนบอกจำนวนเงิน หรืออาจใช้บัตรภาพชุดเงินจำลองแล้วให้นักเรียนบอกจำนวนเงินที่อยู่ในบัตรภาพนั้น
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.จากนั้นครูติดบัตรคำบาทและสตางค์บ นกระดาน เพื่อให้นักเรียนเขียนจำนวนเงินที่บอกจำนวนเงินเป็นบาท
และสตางค์ให้ตรงกับบัตรคำบาทและสตางค์บนกระดานหรือครูอาจให้นักเรียนนำธนบัตรและเงินเหรียญจำลองมาติด
บนกระดานให้ตรงกับคำว่าบาทและสตางค์ เช่น 85 บาท 50 สตางค์ เขียนตัวเลขแสดงจำนวนเงินบาทและสตางค์หรือ
ติดธนบัตรและเงินเหรียญจำลองได้ ดังนี้

3.ครูให้นักเรียนบอกจำนวนเงินบนกระดานพร้อมกัน จากนั้นครูยกตัวอย่างการเขียนแสดงจำนวนเงิน
แบบใช้จุดที่พบในชีวิตจริง เช่น ป้ายบอกราคาสินค้าต่างๆ หรือใบแจ้งค่าใช้บริการต่างๆ ที่มักจะเขียนแสดงจำนวนเงิน
แบบใช้จุด เช่น ขนมราคา 12.50 บาท ค่าน้ำ 299.25 บาท เป็นต้น
4.ครูแนะนำการเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุดโดยเขียนจุดคั่นระหว่างจำนวนเงินเป็นบาทและจำนวนเงิน
เป็นสตางค์และเขียน “บาท”ต่อท้าย จากนั้นครูสุ่มนักเรียนให้ออกมาเขียนแสดง 85 บาท 50 สตางค์ แบบใช้จุดบน
กระดาน จะได้ 85.50 บาท
5.ครูยกตัวอย่างการเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุดเพิ่มเติม อีก 2 – 3 ตัวอย่าง โดยให้นักเรียนออกไปติด
ธนบัตรและเงินเหรียญจำลองแสดงจำนวนเงินต่างๆ แล้วให้เพื่อนอีกคนออกไปเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด ตาม
จำนวนเงินที่เพื่อนติดไว้บนกระดานครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนแสดง
จำนวนเงินแบบใช้จุดในกรอบท้ายหนังสือเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
6.จากนั้นครูยกตัวอย่างป้ายแสดงราคาสินค้าหรือใบแจ้งค่าบริการต่างๆ ที่เขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุดแล้ว
ให้นักเรียนช่วยกันบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ เช่น ขนมราคา 12.50 บาท บอกเป็นขนมราคา 12 บาท 50
สตางค์ ค่าน้ำ 299.25 บาท บอกเป็นค่าน้ำ 299 บาท 25 สตางค์ หรือครูอาจยกตัวอย่างป้ายบอกราคาสินค้าต่างๆ ที่
เขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุดที่พบในชีวิตจริงแล้วให้นักเรียนบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ เช่น
7.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่า การบอกจำนวนเงินที่เขียนแสดงแบบใช้จุดตัวเลขหน้าจุดบอกจำนวนเงินเป็น
บาทตัวเลขหลังจุดบอกจำนวนเงินเป็นสตางค์ ครูเขียนตัวเลขแสดงจำนวนเงินเป็นบาทบนกระดานแล้วถามนักเรียนว่า
เขียนแสดงจำนวนเงินเป็นบาทแบบใช้จุดได้อย่างไรครูอธิบายว่าการเขียนแสดงจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์แบบใช้
จุดจะเขียนจุดคั่นระหว่างจำนวนเงินเป็นบาทและจำนวนเงินเป็นสตางค์ ถ้าไม่มีจำนวนเงินเป็นสตางค์ให้เขียน 00 แทน
จำนวนเงินเป็นสตางค์ จากนั้นครูให้นักเรียนออกมาเขียนแสดงจำนวนเงินเป็นบาทแบบใช้จุด เช่น ครูเขียน 180 บาท
บนกระดาน แล้วให้นักเรียนออกมาเขียนแสดง 180 บาทแบบใช้จุดบนกระดานจะได้ 180.00 บาท
8.ครูแบ่งนักเรียนเป็นกลุ่ม ให้นักเรียนแต่ละกลุ่ม ช่วยกันเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุดและบอกจำนวนเงิน
ตามหนังสือเรียน แล้วให้แต่ละกลุ่มออกมานำเสนอ หรือครูอาจชูบัตรภาพแล้วให้นักเรียนเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้
จุดและเขียนบอกจำนวนเงินครูและนักเรียนร่วมกันตรวจคำตอบ
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
9.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่า การบอกจำนวนเงินอาจบอกเป็นบาท เป็นสตางค์หรือเป็นบาท
และสตางค์ เงินจำนวนหนึ่งสามารถแสดงด้วยธนบัตรหรือเงินเหรียญได้หลายแบบ
10.ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยให้นักเรียนเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด และ
เขียนบอกจำนวนเงินตามหนังสือเรียนหน้า
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 6 เรื่อง การเขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุด

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่าน
เกณฑ์การประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรมด้าน นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ทักษะกระบวนการ คุณภาพดีขึ้นไป
3.ด้านคุณลักษณะที่พึง สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรมด้าน นักเรียนได้คะแนนระดับ
ประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คุณลักษณะที่พึงประสงค์ คุณภาพดีขึ้นไป
เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 7
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวนเงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด : ค
2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกวิธีการเปรียบเทียบจำนวนเงิน (K)
2.เขียนบอกเปรียบเทียบจำนวนเงิน (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
การเปรียบเทียบจำนวนเงินสองจำนวนให้เปรียบเทียบจำนวนเงินเป็นบาทก่อน ถ้าจำนวนเงินเป็นบาทเท่ากัน
ให้เปรียบเทียบจำนวนเงินเป็นสตางค์
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
การเปรียบเทียบจำนวนเงิน
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 7 เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวนเงิน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนจากนั้นยกตัวอย่างการเปรียบเทียบจำนวนเงินเป็นบาท โดยใช้การถาม - ตอบ เช่น
ต้องตามีเงิน 240 บาท และต้องใจมีเงิน 700 บาท ใครมีเงินมากกว่า นักเรียนควรตอบได้ว่าต้องใจมีเงินมากกว่า
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.จากนั้นครูยกตัวอย่างการเปรียบเทียบจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ตามหนังสือเรียน เช่น ขุนออมเงินได้
345 บาท 50 สตางค์ แก้วตาออมเงินได้ 510 บาท 25 สตางค์ ขุนกับแก้วตาใครออมเงินได้มากกว่า ครูใช้การถาม -
ตอบ เพื่อให้นักเรียนได้เปรียบเทียบจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ เช่น
− ขุนออมเงินได้เท่าไร (345 บาท 50 สตางค์)
− แก้วตาออมเงินได้เท่าไร (510 บาท 25 สตางค์)
− จะทราบได้อย่ างไรว่าใครออมเงิน ได้มากกว่า (นำจำนวนเงินมาเปรียบเทียบกัน) 345 บาท 50
สตางค์มากกว่าหรือน้อยกว่า 510 บาท 25 สตางค์ นักเรียนควรตอบได้ว่า 345 บาท น้อยกว่า 510 บาท ดังนั้น 345
บาท 50 สตางค์น้อยกว่า 510 บาท 25 สตางค์ จากนั้นครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปคำตอบว่าแก้วตาออมเงินได้มากกว่า
ขุน ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมอีก 2 - 3 ตัวอย่าง
3.ครูยกตัวอย่างการเปรียบเทียบจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์ที่พบในชีวิตจริง เช่นการเปรียบเทียบราคาของ
สิ่งต่างๆ กล่องดินสอร้าน A ราคา 180.00 บาท กล่องดินสอร้าน B ราคา 120.50 บาท ซื้อกล่องดินสอที่ร้านใดจ่ายเงิน
น้อยกว่า ครูให้นักเรียนเปรียบเทียบ 180.00 บาท กับ 120.50 บาท โดยให้นักเรียนบอกจำนวนเงินเป็นบาทและสตางค์
ก่อน แล้วจึงนำ 180 บาท กับ 120 บาท 50 สตางค์มาเปรียบเทียบกัน ครูให้นักเรียนสังเกตว่าจำนวนเงินเป็นบาทไม่
เท่ากัน จะได้ 180 บาท มากกว่า 120 บาท 50 สตางค์ดังนั้น ซื้อกล่องดินสอที่ร้าน B จ่ายเงินน้อยกว่าซื้อที่ร้าน A
4.ครูยกตัวอย่างการเปรียบเทียบจำนวนเงิน โดยมีทั้งที่เขียนแสดงจำนวนเงินแบบใช้จุดและแบบไม่ใช้จุด ซึ่ง
นักเรียนได้เรียนรู้เกี่ยวกับข้อสรุปในการเปรียบเทียบจำนวนเงินมาแล้วทั้งสองแบบ เช่น 105.50 บาทกับ 501 บาท 25
สตางค์ ครูอาจถามนักเรียนก่อนว่าต้องเปรียบเทียบจำนวนเงินอย่างไรนักเรียนควรตอบได้ว่า ต้องเปรียบเทียบจำนวน
เป็นบาทก่อน จะได้ 105 บาท น้อยกว่า 501 บาท ดังนั้น 105.50 บาท น้อยกว่า 501 บาท 25 สตางค์ จากนั้นครูให้
นักเรียนช่วยกันเติมคำว่า มากกว่า น้อยกว่า หรือ เท่ากับ เพื่อแสดงการเปรียบเทียบจำนวนเงินที่กำหนดให้จากนั้นครู
และนักเรียนช่วยกันตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
4.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่าการเปรียบเทียบจำนวนเงินสองจำนวนให้เปรียบเทียบจำนวนเงิน
เป็นบาทก่อน ถ้าจำนวนเงินเป็นบาทเท่ากัน ให้เปรียบเทียบจำนวนเงินเป็นสตางค์
5.ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยให้นักเรียนเติมคำว่า มากกว่า น้อยกว่า หรือ เท่ากับ
เพื่อแสดงการเปรียบเทียบจำนวนเงินตามหนังสือเรียน
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 7 เรื่อง การเปรียบเทียบจำนวนเงิน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
เรียนรู้
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ
3.ด้านคุณลักษณะที่ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
พึงประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ที่พึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 8
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง 8 เรื่อง การแลกเงิน (1) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกวิธีแลกเงินตามจำนวนเงินที่กำหนดให้ (K)
2.แลกเงินตามจำนวนเงินที่กำหนดให้ (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
เงินเหรียญแลกเปลี่ยนกันได้โดยจำนวนเงินที่นำไปแลกกับจำนวนเงินที่ได้รับต้องเท่ากัน
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
การแลกเงิน
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 8 เรื่อง การแลกเงิน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูทบทวนเกี่ยวกับธนบัตรและเงินเหรียญชนิดต่างๆ โดยนำธนบัตรและเงินเหรียญจำลองไปติดบนกระดาน
แล้วให้นักเรียนบอกชนิดของธนบัตรและเงินเหรียญให้ครบทุกชนิดแล้วนำเข้าสู่บทเรียนโดยใช้คำถามกระตุ้นนักเรียนว่า
ถ้าต้องการนำเงินชนิดต่างกันมาแลกกันสามารถทำได้หรือไม่ นักเรียนควรตอบได้ว่าสามารถนำมาแลกกันได้ ครูอธิบาย
ว่าถ้าจะต้องนำเงินมาแลกกันจำนวนเงินที่นำมาแลกกับจำนวนเงินที่ได้รับต้องเท่ากัน
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.ครูยกตัวอย่างจำนวนเงินที่เท่ากันโดยเริ่มจากจำนวนเงินที่มีค่าน้อยก่อน อาจใช้ธนบัตรและเงินเหรียญจำลอง
ช่วยในการอธิบาย โดยการถาม - ตอบ และติดเหรียญแสดงการเท่ากันดังรูปภาพ

3.ครูทำเช่นนี้ไปเรื่อย ๆ จนเงินเหรียญครบทุกชนิด ครูอาจใช้การถาม - ตอบ เพื่อให้นักเรียนออกมาติดเงิน


เหรียญจำลองที่แสดงจำนวนเงินที่เท่ากัน เช่น ครูติดเงินเหรียญ 20 บาท แล้วให้ นักเรียนออกมาติดเงินเหรียญที่มี
จำนวนเงินเท่ากับ 20 บาท โดยเงินเหรียญที่นำมาติดนั้นต้องเป็นชนิดเดียวกัน เช่น

4.ครูยกตัวอย่างการแลกเงินที่มีความซับซ้อนมากขึ้นโดยการกำหนดชนิดของเหรียญที่นำมาแลกและต้องการ
แลกตามหนังสือเรียน เช่น เหรียญ 50 สตางค์ 6 เหรียญ แลกเหรียญ 1 บาท ได้กี่เหรียญ
5.ครูให้นักเรียนออกมาติดเหรียญจำลอง 50 สตางค์ 6 เหรียญบนกระดาน ครูอธิบายว่าเนื่องจากต้องการแลก
เป็นเหรียญ 1 บาท ครูถามนักเรียนว่าเหรียญ 50 สตางค์ กี่เหรียญเป็นเงิน 1 บาท นักเรียนควรตอบได้ว่าเหรียญ 50
สตางค์ 2 เหรี ยญ เป็ น เงิน 1 บาท ครูให้ นั กเรี ยนออกมาติดเหรียญจำลอง 1 บาท แสดงการเท่ากัน กับเหรียญ 50
สตางค์ 2 เหรียญ จนครบเหรียญ 50 สตางค์ 6 เหรียญ ดังรูป
เมื่อนักเรียนติดเหรียญจำลอง 1 บาท เรียบร้อยแล้วครูถามนักเรียนว่าติดเหรียญ 1 บาทได้กี่เหรียญนักเรียน
ควรตอบได้ว่าติดเหรียญ 1 บาท ได้ 3 เหรียญ ดังนั้น เหรียญ 50 สตางค์ 6 เหรียญ แลกเหรียญ 1 บาท ได้ 3 เหรียญ
ครูให้นักเรียนสังเกตว่าการนำเหรียญจำลอง 1 บาท 1 เหรียญมาติดแสดงการเท่ากันกับเหรียญ 50 สตางค์ 2 เหรียญ
เหมือนเป็นการแบ่งเหรียญ 50 สตางค์ 6 เหรียญ ออกเป็นกลุ่ม กลุ่มละ 2 เหรียญจึงสามารถใช้การหารเพื่อหาจำนวน
กลุ่มว่าจัดได้กี่กลุ่ม ดังนั้นจึงนำ 6 หารด้วย 2 ได้ 3 กลุ่ม
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
6.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่าเงินเหรียญแลกเปลี่ยนกันได้โดยจำนวนเงินที่นำไปแลกกับจำนวน
เงินที่ได้รับต้องเท่ากัน และครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยให้นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับการ
แลกเงิน โดยครูอาจชี้แนะเรื่องการหาจำนวนเงินก่อนแล้วจึงนำไปแลกเงินตามที่กำหนด
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 8 เรื่อง การแลกเงิน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์การ
ประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรมด้าน นักเรียนได้คะแนนระดับคุณภาพดี
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ทักษะกระบวนการ ขึ้นไป
3.ด้านคุณลักษณะที่พึง สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรมด้าน นักเรียนได้คะแนนระดับคุณภาพดี
ประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึง คุณลักษณะที่พึงประสงค์ ขึ้นไป
ประสงค์
เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ประเด็นการ ระดับคุณภาพ
ประเมิน 4 3 2 1
1.ความถูกต้องของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของผลงาน
เนื้อหา ผลงานถูกต้องครบถ้วน ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้องบาง ไม่ถูกต้องเป็นส่วนใหญ่
ส่วนใหญ่ ประเด็น
2. รูปแบบ การนำเสนอน่าสนใจ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอไม่เป็นไป
และเหมาะสมกับ เป็นส่วนใหญ่ บางส่วน ตามเกณฑ์
สถานการณ์
3. ความเป็น ผลงานมีความเป็น ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมีข้อบกพร่อง ผลงานไม่มีความเป็น
ระเบียบ ระเบียบ ข้อบกพร่องเล็กน้อย บางส่วน ระเบียบ
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 9
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง 9 เรื่อง การแลกเงิน (2) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกวิธีแลกเงินตามจำนวนเงินที่กำหนดให้ (K)
2.แลกเงินตามจำนวนเงินที่กำหนดให้ (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
เงินเหรียญแลกเปลี่ยนกันได้โดยจำนวนเงินที่นำไปแลกกับจำนวนเงินที่ได้รับต้องเท่ากัน
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
การแลกเงิน
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 9 เรื่อง การแลกเงิน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูทบทวนธนบัตรชนิดต่างๆ แล้วให้นักเรียนนำธนบัตรจำลองชนิดต่างๆ มาติดบนกระดานแล้วใช้คำถาม
กระตุ้นนักเรียนว่า ถ้าต้องการนำเงินธนบัตรชนิดต่างๆ แลกกันจะได้หรือไม่นักเรียนควรตอบว่าสามารถนำธนบัตรชนิด
ต่างกันมาแลกกันได้ ถ้าจำนวนเงินเท่ากัน
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.ครูติดธนบัตร 20 บาท 1 ฉบับ แล้วถามนักเรียนว่า “แลกเงินเหรียญได้อย่างไรบ้าง”

นักเรียนอาจมีคำตอบที่ต่างจากนี้ ครูให้นักเรียนได้แสดงความคิดเห็นที่หลากหลาย
3.จากนั้นครูยกตัวอย่างการแลกธนบัตรชนิดอื่นให้ครบทุกชนิดตามหนังสือเรียน โดยนำเสนอไปทีละชนิด ดังนี้

นัก เรีย นอาจมี วิธีก ารแลกเหรีย ญและธนบั ตรที่ ต่างจากในหนั งสื อ เรียนครูค วรยกตัว อย่างเพิ่ ม เติ ม และให้ มี ความ
หลากหลายมากที่สุดเพื่อให้นักเรียนได้ฝึกการแลกธนบัตรเป็นเงินเหรียญด้วย และนอกจากนี้ยังมีการแลกธนบัตรเป็น
ธนบั ตรต่างชนิดกัน เช่น ธนบั ตร 100 บาท แลกเป็นธนบัตรชนิดใดได้บ้าง ครูติดธนบัตรจำลองบนกระดานแล้วให้
นักเรียนออกมาติดธนบัตรชนิดอื่นที่มีจำนวนเงิน 100 บาท เท่ากัน เช่น

4.ครู ถ ามคำถามเพิ่ ม เติ ม ว่ าธนบั ต ร 100 บาท แลกเป็ น เงิน เหรี ย ญชนิ ด ใดได้ บ้ าง นั ก เรี ย นอาจตอบ ได้
หลากหลาย จากนั้นครูยกตัวอย่างการแลกเงินเหรียญกับธนบัตร
5.ครูยกตัวอย่างการแลกเงินที่กำหนดจำนวนเงินและกำหนดชนิดของเงินที่ต้องการแลก เช่น ธนบัตร 20 บาท
5 ฉบับ แลกธนบัตร 100 บาท ได้กี่ฉบับ ครูให้นักเรียนช่วยกันคิดว่าธนบัตร 20 บาท 5 ฉบับ เป็นเงินกี่บาท นักเรียน
ควรตอบได้ว่าธนบัตร 20 บาท 5 ฉบับ เป็นเงิน 5 × 20 = 100 บาท นำเงิน 100 บาท ไปแลกธนบัตร 100 บาท จะได้
1 ฉบับ ดังนั้น ธนบัตร 20 บาท 5 ฉบับ แลกธนบัตร 100 บาท ได้ 1 ฉบับ หรือครูอาจให้นักเรียนออกมาติดธนบัตร
จำลองเพื่อแสดงการเท่ากันของเงินจะได้ ดังรูป

หรืออาจให้นักเรียนนับธนบัตร 20 บาท 5 ฉบับ จะได้ 100 บาท พอดี จึงแลกธนบัตร 100 บาท ได้ 1 ฉบับ
ครูยกตัวอย่างเพิ่มเติม ธนบัตร 500 บาท 1 ฉบับ แลกธนบัตร 50 บาท ได้กี่ฉบับ นำเงิน 500 บาท แลกธนบัตร 100
บาท ได้กี่ฉบับ (5 ฉบับ) นำเงิน 100 บาท แลกธนบัตร 50 บาท ได้กี่ฉบับ (2 ฉบับ) ดังนั้น ธนบัตร 100 บาท 5 ฉบับ
แลกธนบัตร 50 บาท ได้ 5 × 2 = 10 ฉบับ จะได้ธนบัตร 500 บาท 1 ฉบับ แลกธนบัตร 50 บาท ได้ 10 ฉบับ
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
6.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่าเงินเหรียญแลกเปลี่ยนกันได้โดยจำนวนเงินที่นำไปแลกกับจำนวน
เงินที่ได้รับต้องเท่ากัน
7.ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคล โดยให้นักเรียนตอบคำถามเกี่ยวกับการแลกเงิน ตาม
หนังสือเรียน ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง และสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ถ้ามีนักเรียน ตอบคำถามเกี่ยวกับ
การแลกเงินไม่ถูกต้อง ครูอาจชี้แนะเพิ่มเติมแล้วให้ตรวจสอบความเข้าใจใหม่ อีกครั้งจนกว่านักเรียนจะสามารถแลกเงิน
ได้ถูกต้องเงินเหรียญและธนบัตรสามารถแลกเปลี่ยนกันได้โดยจำนวนเงินที่นำไปแลกกับจำนวนเงินที่ได้รับต้องเท่ากัน
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 9 เรื่อง การแลกเงิน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ
3.ด้านคุณลักษณะที่พึง สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
ประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึง ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ประสงค์ ที่พึงประสงค์
เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง การบวกและการลบจำนวนเงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกวิธีหาผลบวกและผลลบเกี่ยวกับจำนวนเงิน (K)
2.หาผลบวกและผลลบเกี่ยวกับจำนวนเงิน (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
การหาผลบวกหรือผลลบเกี่ยวกับจำนวนเงินทำได้ โดยนำจำนวนเงินที่เป็นหน่วยเดียวกันมาบวกหรือลบกัน
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
การบวกและการลบจำนวนเงิน
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.ความสามารถในการสื่อสารความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง
3.การให้เหตุผล
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 10 เรื่อง การบวกและการลบจำนวนเงิน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนจากนั้นทบทวนการบอกจำนวนเงินที่เขียนแบบใช้จุดแล้วนำเข้าสู่บทเรียนโดย
ยกตัวอย่างการบวกเกี่ยวกับจำนวนเงิน เช่น
นมกล่องละ 65.50 บาท กล้วยหอมหวีละ 87.00 บาท แม่ซื้อนมกล่อง 1 กล่อง และกล้วยหอม 1 หวีแม่ต้อง
จ่ายเงินเท่าไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.ครูติดบัตรคำบาทและสตางค์บนกระดานจากนั้นให้นักเรียนออกไปเขียนจำนวนเงินให้ตรงกับหน่วยบาทและ
หน่วยสตางค์ครูเขียนรายละเอียดของข้อมูลต่างๆ และถามนักเรียนว่า หาคำตอบได้อย่างไร นักเรียนควรตอบได้ว่า หา
คำตอบโดยการบวก ดังนี้

3.ครูให้นักเรียนหาผลบวกของจำนวนเงินในหน่วยสตางค์จะได้ 50 สตางค์ และหาผลบวกของจำนวนเงินใน


หน่ วยบาท จะได้ 152 บาท ดังนั้ น แม่ต้องจ่ายเงิน 152 บาท 50 สตางค์ ครูและนักเรียนร่วมกันเขียนแสดงวิธีห า
คำตอบ
4.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าการหาผลบวกเกี่ยวกับจำนวนเงินต้องนำจำนวนเงินที่เป็นหน่วยเดียวกันบวก
กัน จากนั้นครูให้นักเรียนหาผลบวกเกี่ยวกับจำนวนเงินเพิ่มเติมอีก 2 - 3 ตัวอย่าง
5.ครูให้นักเรียนออกเติมบาทและสตางค์บนกระดาน พร้อมกับ เขียนตัวเลขแสดงจำนวนเงินให้ตรงกับหน่วย
บาทและหน่วยสตางค์แล้วให้เพื่อนอีกคนออกมาช่วยกันหาผลลบ ดังนี้

6.ครูอธิบ ายเกี่ยวกับ การเขีย นแสดงวิธีห าคำตอบโดยเขียนหน่วยบาทและหน่ว ยสตางค์เขียนตัว เลขแสดง


จำนวนเงินให้ตรงกับหน่วยแต่ละหน่วย แล้วจึงนำจำนวนเงินในหน่วยเดียวกันมาบวกหรือมาลบกันตามโจทย์ที่ได้รับ
โดยให้หาผลบวกหรือหาผลลบในหน่วยสตางค์ก่อน จากนั้นหาผลบวกหรือหาผลลบในหน่วยบาทแล้วเขียนผลบวกหรือ
ผลลบที่ได้ให้ตรงกับหน่วยแต่ละหน่วย ถ้าผลบวกในหน่วยสตางค์สามารถเปลี่ยนหน่วยเป็นบาทได้ให้เปลี่ยนหน่วยเป็น
บาทแล้วนำไปรวมกับผลบวกในหน่วยบาท และถ้าในหน่วยสตางค์ ตัวตั้งน้อยกว่าตัวลบให้กระจายจำนวนเงินจากหน่วย
บาทมา 1 บาท หรือ 100 สตางค์ ไปรวมกับ ตัวตั้งในหน่วยสตางค์แล้วจึงนำมาลบกัน ครูยกตัวอย่างการหาผลลบ
เกี่ยวกับจำนวนเงินที่ต้องมีการกระจาย เช่น 1,000 บาท ลบด้วย 645.75 บาท เท่ากับเท่าไร แล้วให้นักเรียนช่วยกันหา
ผลลบและเขียนแสดงวิธีหาคำตอบ ดังนี้

7.ครูยกตัวอย่างการบวกและการลบเกี่ยวกับจำนวนเงิน ดังนี้

8.ครูให้นักเรียนสังเกตว่าผลบวกของจำนวนเงินในหน่วยสตางค์สามารถเปลี่ยนเป็นหน่วยบาทได้ดังนั้นจึงต้อง
เปลี่ยน 125 สตางค์ เป็น 1 บาท 25 สตางค์ แล้วนำ 1 บาท ไปรวมกับผลบวกในหน่วยบาทเป็น 883 บาท ดังนั้น
504.50 บาท บวก 378.75 บาท เท่ากับ 883.25 บาทหรือ 883 บาท 25 สตางค์
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
10.ครูและนั กเรียนร่วมกัน สรุป สิ่งที่ได้เรียนรู้ว่า การหาผลบวกหรือผลลบเกี่ยวกับจำนวนเงิน ทำได้ โดยนำ
จำนวนเงินที่เป็นหน่วยเดียวกันมาบวกหรือลบกัน
11.ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยให้นักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคำตอบ จากนั้นครูและ
นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง หากมีนักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคำตอบไม่ถูกต้อง ครูให้นักเรียนแก้ไขโดยการฝึก
เขียนแสดงวิธีหาคำตอบกับครูเป็นรายบุคคล
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 10 เรื่อง การบวกและการลบจำนวนเงิน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
3.ด้านคุณลักษณะที่พึง สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
ประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึง ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ประสงค์ ที่พึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง การคูณและการหารจำนวนเงิน ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกวิธีหาผลคูณและผลหารเกี่ยวกับจำนวนเงิน (K)
2.หาผลคูณและผลหารเกี่ยวกับจำนวนเงิน (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
การหาผลคูณหรือผลหารเกี่ยวกับจำนวนเงินทำ ได้โดยคูณหรือหารจำนวนเงินทีละหน่วย
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
การคูณและการหารจำนวนเงิน
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
2.การเชื่อมโยง
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 11 เรื่อง การคูณและการหารจำนวนเงิน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนยกตัวอย่างการคูณเกี่ยวกับจำนวนเงินโดยให้นักเรียนช่วยกันหาผลคูณของจำนวน
เงินในแต่ละหน่วย เริ่มจากหน่วยสตางค์ก่อนแล้วจึงหาผลคูณในหน่วยบาทเขียนผลคูณที่ได้ให้ตรงกับหน่วย เช่น 87
บาท 25 สตางค์คูณ 3 เท่ากับเท่าไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.ครูให้นักเรียนออกมาเขียนแสดงวิธีหาผลคูณ ครูและนักเรียนช่วยกันหาผลคูณและเขียนแสดงวิธีหาผลคูณได้
ดังนี้

3.จากนั้นครูยกตัวอย่างเพิ่มเติมในกรณีที่ผลคูณในหน่วยสตางค์สามารถเปลี่ยนเป็นหน่วยบาทได้ เช่น 164.75


บาท คูณ 5 เท่ากับเท่าไร ครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาผลคูณได้ ดังนี้

4.ครูให้นักเรียนสังเกตว่าผลคูณในหน่วยสตางค์ คือ 375 สามารถเปลี่ยนเป็นหน่วยบาทได้เป็น 3 บาท 75


สตางค์นำ 3 บาท ไปรวมกับผลคูณในหน่วยบาทจะได้ 823 บาท ดังนั้น 164.75 บาท คูณ 5 เท่ากับ 823.75 บาท หรือ
823 บาท 75 สตางค์
5.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าการหาผลคูณเกี่ยวกับจำนวนเงินให้เขียนตัวเลขแสดงจำนวนเงินให้ตรงหน่วย
แต่ละหน่วยแล้วหาผลคูณในหน่วยสตางค์ก่อน จากนั้นหาผลคูณในหน่วยบาทเขียนผลคูณที่ได้ให้ตรงกับหน่วยแต่ละ
หน่วยถ้าผลคูณในหน่วยสตางค์สามารถเปลี่ยนหน่วยเป็นบาทได้ให้เปลี่ยนหน่วยเป็นบาทแล้วนำไปรวมกับผลคูณใน
หน่วยบาท
6.ครูยกตัวอย่างการหารเกี่ยวกับจำนวนเงินโดยให้ นักเรียนหาผลหารโดยการหารสั้น เช่น 1,250 บาท 50
สตางค์ หารด้วย 5 เท่ากับเท่าไรครูให้นักเรียนออกมาติดบัตรคำบาทและสตางค์และเขียนตัวเลขแสดงจำนวนเงินให้ตรง
กับหน่วยแต่ละหน่วยเขียนเครื่องหมายหารสั้นแล้วหาผลหารโดยเริ่มหารในหน่วยบาทก่อนแล้วจึงหารในหน่วยสตางค์
ครูและนักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำตอบได้ ดังนี้
7.จากนั้นครูยกตัวอย่างการหาผลหารเกี่ยวกับจำนวนเงินที่หารในหน่วยบาทแล้วมีเศษให้นำเศษเปลี่ยนเป็น
หน่วยสตางค์แล้วนำไปรวมกับหน่วยสตางค์แล้วจึงหารในหน่วยสตางค์ เช่น 598 บาท หารด้วย 4 เท่ากับกี่บาท กี่
สตางค์ ครูให้นักเรียนออกมาติดบัตรคำบาทและสตางค์ เขียนตัวเลขแสดงจำนวนเงินให้ตรงกับหน่วยบาทและสตางค์
เขียนเครื่องหมายหารสั้นแล้วให้นักเรียนช่วยกันหาผลหารและเขียนแสดงวิธีหาผลหารได้ดังนี้

8.ครูให้นักเรียนสังเกตว่าการหารในหน่วยบาท 598 หารด้วย 4 ได้ 149 เศษ 2 จึงเขียน 149 เป็นผลหารใน


หน่วยบาท แล้วนำเศษ 2 บาท หรือ 200 สตางค์ไปรวมกับตัวตั้งในหน่วยสตางค์เป็น 200 สตางค์แล้วจึงหารในหน่วย
สตางค์จะได้ 200 หารด้วย 4 ได้ 50 เขียน 50 เป็นผลหารในหน่วยสตางค์ ดังนั้น 598 บาท หารด้วย 4 เท่ากับ 149
บาท 50 สตางค์ ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปว่าการหาผลหารเกี่ยวกับจำนวนเงิน ให้เขียนตัวเลขแสดงจำนวนเงินให้ตรง
กับหน่วยบาทและหน่วยสตางค์แล้วหารจำนวนเงินในหน่วยบาทก่อนเขียนผลหารที่ได้ในหน่วยบาท ถ้าหารแล้วมีเศษให้
นำเศษในหน่วยบาทเปลี่ยนเป็นหน่วยสตางค์แล้วนำไปรวมกับตัวตั้งในหน่วยสตางค์แล้วจึงหารจำนวนเงินในหน่วย
สตางค์เขียนผลหารที่ได้ในหน่วยสตางค์
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
9.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่า การหาผลคูณหรือผลหารเกี่ยวกับจำนวนเงินทำ ได้โดยคูณหรือ
หารจำนวนเงินทีละหน่วย และตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคลโดยให้นักเรียนเขียนแสดงวิธี หาคำตอบ
ตามหนังสือเรียน
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 11 เรื่อง การคูณและการหารจำนวนเงิน

การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ
3.ด้านคุณลักษณะที่พึง สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
ประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึง ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ประสงค์ ที่พึงประสงค์
เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน (1) (1) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกวิธีหาแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเงิน (K)
2.แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเงิน (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
การแก้โจทย์ปัญหาทำได้โดยอ่านทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปั ญหา หาคำตอบ และตรวจสอบความ
สมเหตุสมผลของคำตอบ
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การแก้ปัญหา
2.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3.การเชื่อมโยง
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 12 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนจากนั้นทบทวนการหาผลบวกเกี่ยวกับจำนวนเงิน เช่น 504.50 บาท บวก 378.75
บาท เท่ากับเท่าไร แล้วให้นักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำตอบได้ ดังนี้

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.ครูให้นักเรียนสังเกตการเขียนแสดงวิธีหาคำตอบจะเห็นว่า เขียนตัวเลขแสดงจำนวนเงินให้ตรงกับหน่วยบาท
และสตางค์ครูนำเข้าสู่การเขียนแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกว่าสามารถทำได้ในทำ นองเดียวกัน และครู
ทบทวนการแก้โจทย์ปัญหาว่าต้องอ่านทำความเข้าใจโจทย์วิเคราะห์ว่าโจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และหาคำตอบ
ได้อย่างไรโดยการวางแผนแก้ปัญหา แล้วหาคำตอบ สุดท้ายต้องตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ
3.จากนั้ น ครู ย กตัวอย่ างโจทย์ปั ญ หาการบวกเกี่ยวกับ เงินตามหนังสื อเรียน เช่น ใบบัว มีเงิน 126.50 บาท
แก้วตามีเงิน 230.50 บาท ใบบัวและแก้วตามีเงินรวมกันเท่าไร ครูให้นักเรียนร่วมกันอ่านและวิเคราะห์โจทย์ว่า โจทย์
ถามอะไร และโจทย์บอกอะไร โดยครูติดบัตรคำโจทย์ถามและโจทย์บอกบนกระดาน และให้นักเรียนช่วยกันเขียนส่วนที่
โจทย์ถามและส่วนที่โจทย์บอกบนกระดาน ดังนี้

4.จากนั้นครูถามนักเรียนว่าจะหาคำตอบได้อย่างไร เพราะเหตุใด นักเรียนควรตอบได้ว่าหาคำตอบได้ โดยการ


บวก เพราะ การนำจำนวนเงินของแก้วตาและใบบัวมารวมกันทำให้มีจำนวนเงินมากขึ้นครูและนักเรียนช่วยกันเขียน
แสดงวิธีหาคำตอบ ดังนี้

5.ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ โดยพิจารณาดังนี้ ใบบัวมีเงิน 126.50 บาท


ซึ่งมากกว่า 100 บาท แก้วตามีเงิน 230.50 บาท ซึ่งมากกว่า 200 บาทจำนวนเงินของใบบัวและแก้วตารวมกันจะต้อง
มากกว่า 300 บาท ดังนั้น 357 บาท จึงเป็นคำตอบที่สมเหตุสมผล
6.ครูทบทวนการหาผลลบเกี่ยวกับจำนวนเงิน เช่น 1,000 บาท ลบด้วย 645.75 บาทเท่ากับเท่าไร แล้วให้
นักเรียนช่วยกันหาผลลบและเขียนแสดงวิธีหาคำตอบ ดังนี้

โจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และหาคำตอบได้อย่างไร โดยการวางแผนแก้ปัญหา แล้วหาคำตอบสุดท้าย


ต้องตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ
7.ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับจำนวนเงิน เช่น แม่ซื้อผลไม้ 240.50
บาท จ่ายเงินด้วยธนบัตร 500 บาท แม่จะได้รับเงินทอนเท่าไร ครูให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ว่าโจทย์ถามอะไร
โจทย์บอกอะไร และจะหาคำตอบได้อย่างไร แล้วให้ช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำตอบได้ ดังนี้

ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
8.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่าการแก้โจทย์ปัญหาทำได้โดยอ่านทำความเข้าใจปัญหา วางแผน
แก้ปัญหา หาคำตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ
9.ครูให้นักเรียนจับคู่กันเขียนแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบ พร้อมกับ
ตรวจความสมเหตุสมผลของคำตอบเมื่อทำเสร็จแล้วให้แต่ละคู่ออกมานำเสนอจนครบทุกข้อ ครูและนักเรียนร่วมกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 12 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
3.ด้านคุณลักษณะที่พึง สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
ประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึง ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ประสงค์ ที่พึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน (1) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกวิธีหาแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเงิน (K)
2.แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบเกี่ยวกับเงิน (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
การแก้โจทย์ปัญหาทำได้โดยอ่านทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปั ญหา หาคำตอบ และตรวจสอบความ
สมเหตุสมผลของคำตอบ
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การแก้ปัญหา
2.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3.การเชื่อมโยง
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 13 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนจากนั้นยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการบวกและโจทย์ปัญหาการลบที่มีความซับซ้อนมาก
ขึ้น เช่น ต้นกล้ามีเงิน 789.50 บาท ใบบัวมีเงินมากกว่าต้นกล้า 75.25 บาท ใบบัวมีเงินกี่บาท ครูให้นักเรียนร่วมกัน
อ่านโจทย์และวิเคราะห์โจทย์ว่าโจทย์ถามอะไรโจทย์บอกอะไร และจะหาคำตอบได้อย่างไร
ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.ครูถามนักเรียนว่าจะหาจำนวนเงินของใบบัวได้อย่างไร นักเรียนควรตอบได้ว่าหาจำนวนเงินของใบบัวได้จาก
789.50 บาท บวก 75.25 บาท ครูถามนักเรียนว่าคำตอบคือเท่าไร ครูให้นักเรียนอาสาสมัครออกมาเขียนแสดงวิธีหา
คำตอบบนกระดานครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้องและแก้ไขจนสามารถเขียนแสดงวิธีหาคำตอบได้
ถูกต้อง ดังนี้

3.ครูใช้คำถามกระตุ้นให้นักเรียนคิด ใครมีเงินมากกว่ากันและนักเรียนทราบได้อย่างไรและจะมีวิธีหาคำตอบได้
อย่างไร นักเรียนควรตอบได้ว่านำจำนวนเงินของต้นกล้า 789.50 บาท มาบวกกับจำนวนเงินที่ใบบัวมีเงินมากกว่าต้น
กล้า 75.25 บาท จึงจะได้จำนวนเงินของใบบัว ดังนั้น 789.50 บาท บวก 75.25 บาท เท่ากับ 864.75 บาท จะได้ใบบัว
มีเงิน 864.75 บาท
4.จากนั้นครูให้นักเรียนตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบที่ได้เนื่องจาก 864.75 บาท มากกว่า 789.50
บาท ดังนั้ น 864.75 บาท จึงเป็ น คำตอบที่ส มเหตุส มผล ครูให้ นักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีห าคำตอบ พร้อมกับ
ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบซึ่งนักเรียนอาจมีวิธีการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบที่หลากหลาย
ครูอาจให้คำชี้แนะว่าการตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบนั้นไม่จำเป็นต้องเหมือนกันอาจมีวิธีตรวจสอบความ
สมเหตุสมผลได้หลายวิธีจากนั้นครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
8.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่า การแก้โจทย์ปัญหาทำได้โดยอ่านทำความเข้าใจปัญหา วางแผน
แก้ปัญหา หาคำตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ ครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็นรายบุคคล
โดยให้นักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคำตอบตามหนังสือเรียน
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 13 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะกระบวนการ สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
(P) ด้านทักษะ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ กระบวนการ
3.ด้านคุณลักษณะที่พึง สังเกตพฤติกรรม แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
ประสงค์ (A) ด้านคุณลักษณะที่พึง ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ประสงค์ ที่พึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 14
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน (2) ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101 เวลา 1 ชั่วโมง
วันที่…….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกวิธีหาแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการคูณและโจทย์ปัญหาการหารเกี่ยวกับจำนวนเงิน(K)
2.หาคำตอบของโจทย์ปัญหาการคูณและโจทย์ปัญหาการหารเกี่ยวกับจำนวนเงิน(P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป(A)
สาระสำคัญ
การแก้โจทย์ปัญหาทำได้โดยอ่านทำความเข้าใจปัญหา วางแผนแก้ปัญหา หาคำตอบ และตรวจสอบความ
สมเหตุสมผลของคำตอบ
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การแก้ปัญหา
2.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3.การเชื่อมโยง
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 14 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนยกตัวอย่างการหาผลคูณเกี่ยวกับจำนวนเงิน เช่น 164.75 บาท คูณ 5 เท่ากับเท่าไร
ครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาผลคูณได้ ดังนี้

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.ครูให้นักเรียนสังเกตการเขียนแสดงวิธี หาคำตอบ จะเห็นว่าเขียนตัวเลขแสดงจำนวนเงินให้ตรงกับ หน่วย
บาทและหน่วยสตางค์คูณจำนวนเงินในหน่วยสตางค์ก่อน แล้วคูณจำนวนเงินในหน่วยบาท จากนั้นครูนำ เข้าสู่การเขียน
แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการคูณว่าสามารถทำได้ในทำนองเดียวกัน และครูทบทวนการ แก้โจทย์ปัญหาว่า
ต้องอ่านทำความเข้าใจโจทย์ วิเคราะห์ว่าโจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และหาคำตอบได้อย่างไร โดยการวางแผน
แก้ปัญหา แล้วหาคำตอบสุดท้ายต้องตรวจสอบ ความสมเหตุสมผลของคำตอบ
3.จากนั้นครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการคูณเกี่ยวกับเงิน เช่น แม่ซื้อน้ำปลา ราคาขวดละ 23.50 บาท ซื้อ 8
ขวด แม่ต้องจ่ายเงินเท่าไร ครูให้นักเรียนร่วมกัน อ่านโจทย์และวิเคราะห์ว่า โจทย์ถามอะไร และ โจทย์บอกอะไร โดย
ครูติดบัตรคำโจทย์ถามและโจทย์บอกบนกระดานและให้นักเรียนช่วยกัน เขียนส่วนที่โจทย์ถามและส่วนที่โจทย์บอกบน
กระดาน ดังนี้

4.จากนั้นครูถามนักเรียนว่าจะหาคำตอบได้อย่างไร เพราะเหตุใด นักเรียนควรตอบได้ว่าหาคำตอบได้โดยการ


คูณ เพราะแม่ซื้อน้ำปลา 8 ขวด ราคาขวดละ 23.50 บาท จะหาจำนวนเงินทั้งหมดได้จากนำจำนวนทั้งสองจำนวนมา
คูณกันครูและนักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำตอบ ดังนี้

5.ครูอาจอธิบายการหาผลคูณเกี่ยวกับจำนวนเงินเพิ่มเติม ดังนี้ เขียนหน่วยบาทและสตางค์เขียนตัวเลขแสดง


จำนวนเงินให้ตรงกับหน่วยบาทและหน่วยสตางค์คูณในหน่วยสตางค์ก่อนแล้วจึงคูณในหน่วยบาทเขียนผลคูณที่ได้ให้
ตรงกับหน่วยบาทและสตางค์ถ้าผลคูณในหน่วยสตางค์สามารถเปลี่ยนเป็นหน่วยบาทได้ให้เปลี่ยนหน่วยแล้วนำไปรวม
กับผลคูณในหน่วยบาท จากนั้นครูและนักเรียนร่วมกัน
6.ตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ โดยพิจารณาว่าถ้าน้ำปลาราคาขวดละ 20 บาท ซื้อ 8 ขวดจ่ายเงิน
8 × 20 = 160 บาท แต่น้ำปลาแต่ละขวดราคามากกว่า 20 บาท แม่จึงต้องจ่ายเงินมากกว่า 160 บาท ดังนั้น 188
บาท จึ งเป็ น คำตอบที่ส มเหตุส มผล จากนั้ น ครู ให้ นักเรียนช่วยกัน เขียนแสดงวิธีห าคำตอบครูและนักเรียนช่ว ยกัน
ตรวจสอบความถูกต้อง
7.ครูทบทวนการหาผลหารเกี่ยวกับจำนวนเงิน เช่น 122.25 บาท หารด้วย 3 เท่ากับเท่าไร ครูให้นักเรียน
ช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำตอบ ดังนี้

8.ครูให้นักเรียนสังเกตการเขียนแสดงวิธีหาคำตอบจะเห็นว่าเขียนตัวเลขแสดงจำนวนเงินให้ตรงกับหน่วยบาท
และหน่วยสตางค์หาผลหารโดยการหารสั้น หารจำนวนเงินในหน่วยบาทก่อนแล้วหารจำนวนเงินในหน่วยสตางค์ถ้าหาร
ในหน่วยบาทมีเศษให้นำเศษเปลี่ยนหน่วยเป็นสตางค์แล้วไปรวมกั บตัวตั้งในหน่วยสตางค์แล้วหารจำนวนเงินในหน่วย
สตางค์ จากนั้นครูนำเข้าสู่การเขียนแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการหารว่า สามารถทำ ได้ในทำ นองเดียวกัน
และครูทบทวนการแก้โจทย์ปัญหาว่าต้องอ่านทำความเข้าใจโจทย์วิเคราะห์ว่าโจทย์ถามอะไร โจทย์บอกอะไร และหา
คำตอบได้อย่างไร โดยการวางแผนแก้ปั ญหาแล้วหาคำตอบ สุ ดท้ายต้องตรวจสอบความสมเหตุส มผลของคำตอบ
จากนั้นครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการหารเกี่ยวกับเงิน ครูติดบัตรโจทย์ปัญหา

9.ครูให้นักเรียนร่วมกันอ่านโจทย์และวิเคราะห์ว่า โจทย์ถามอะไร และโจทย์บอกอะไร โดยครูติดบัตรคำโจทย์


ถามและโจทย์บอกบนกระดาน และให้นักเรียนช่วยกันเขียนส่วนที่โจทย์ถามและส่วนที่โจทย์บอกบนกระดาน ดังนี้

จากนั้นครูถามนักเรียนว่าจะหาคำตอบได้อย่างไร เพราะเหตุใดนักเรียนควรตอบได้ว่า หาคำตอบได้โดยการ


หารเพราะ เป็นการแบ่งเงิน 326.25 บาท ให้ลูก 5 คน คนละเท่า ๆ กัน หาจำนวนเงินของแต่ละคนได้จากนำจำนวนทั้ง
สองจำนวนมาหารกัน ครูและนักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำตอบ ดังนี้
10.ครูให้นักเรียนร่วมกันสรุปเกี่ยวกับการเขียนแสดงวิธี หาคำตอบของโจทย์ปัญหาการหารเกี่ยวกับจำนวนเงิน
ดังนี้ เขีย นหน่ วยบาทและหน่ ว ยสตางค์เขีย นตั วเลขแสดงจำนวนเงิน ให้ ตรงกับ หน่ว ยบาทและหน่ วยสตางค์เขีย น
เครื่องหมายหารสั้น หารจำนวนเงินในหน่วยบาทก่อน ถ้ามีเศษให้เปลี่ยนหน่วยเป็นสตางค์แล้วนำ ไปรวมกับตัวตั้งใน
หน่วยสตางค์ หารจำนวนเงินในหน่วยสตางค์เขียนผลหารที่ได้ให้ตรงกับหน่วยบาทและหน่วยสตางค์ครูอาจให้นักเรียน
ตรวจคำตอบโดยนำผลหารคูณ กับ ตัวหารเท่ ากับตัว ตั้งจะได้ 65.25 บาท คูณ 5 เท่ากับ 326.25 บาทหรืออาจให้
นักเรียนตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ ถ้าพ่อมีเงิน 500 บาท ให้ลูก 5 คน คนละเท่าๆ กัน จะได้คนละ 100
บาท แต่พ่อมีเงินน้อยกว่า 500 บาทลูกแต่ละคนจึงควรได้เงินน้อยกว่า 100 บาท ดังนั้น 65.25 บาท จึงเป็นคำตอบที่
สมเหตุสมผล จากนั้นครูให้นักเรียนช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำตอบ ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
11.ครูยกตัวอย่างโจทย์ปัญหาการคู ณและโจทย์ปัญหาการหารเกี่ยวกับจำนวนเงิน เช่น ใบบัวซื้อสมุดราคา
เท่ากัน 2 เล่ม จ่ายเงิน 80 บาท 50 สตางค์ ใบบัวซื้อสมุดราคาเล่มละเท่าไร ครูให้นักเรียนช่วยกันวิเคราะห์โจทย์ว่า
โจทย์ถามอะไรโจทย์บอกอะไร และจะหาคำตอบได้อย่างไร แล้วให้ช่วยกันเขียนแสดงวิธีหาคำตอบได้ ดังนี้

12.จากนั้นครูให้นักเรียนจับคู่กันเขียนแสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาการคูณและโจทย์ปัญหาการหาร
พร้อมกับตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบ เมื่อทำเสร็จแล้วให้แต่ละคู่ออกมานำเสนอจนครบทุกข้อ ครูและ
นักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
13.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่าการแก้โจทย์ปัญหาทำได้โดยอ่านทำความเข้าใจปัญหา วางแผน
แก้ปัญหา หาคำตอบ และตรวจสอบความสมเหตุสมผลของคำตอบและครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียนเป็น
รายบุคคลโดยให้นักเรียนเขียนแสดงวิธีหาคำตอบ
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 14 เรื่อง โจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2.ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
3.ด้านคุณลักษณะที่พึง สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
ประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึง ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ประสงค์ ที่พึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 15
กลุ่มสาระการเรียนรู้ คณิตศาสตร์ หน่วยการเรียนรู้ที่ 10 เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
เรื่อง การอ่านและการเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย ชั้นประถมศึกษาปีที่ 3 รหัสวิชา ค 13101
เวลา 1 ชั่วโมง วันที…่ ….. เดือน……………………….พ.ศ…………… โรงเรียน บ้านหนองแคทราย
ชื่อผู้ร่วมสร้างแผน
1. นางสาวกาญจนา หงษ์กระโทก หัวหน้ากลุ่มสาระคณิตศาสตร์
2. นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง ครูผู้ช่วย
ชื่อผู้สอน นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง
มาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้ตัวชี้วัด :
ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน
จุดประสงค์การเรียนรู้
1.บอกวิธีอ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย (K)
2.อ่านและเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย (P)
3.นักเรียนมีความมุ่งในการทำงานและสามารถนำความรู้ที่ได้ไปต่อยอดในการเรียนเรื่องต่อไป (A)
สาระสำคัญ
บันทึกรายรับรายจ่ายประกอบด้วยชื่อบันทึก วัน เดือน ปีที่บันทึก และตารางในตารางจะมีวัน เดือน ปีรายการ
รายรับ รายจ่าย และคงเหลือ
สาระการเรียนรู้
1.ความรู้
การอ่านและการเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย
2.ทักษะ/กระบวนการ/กระบวนการคิด
1.การแก้ปัญหา
2.การสื่อสารและการสื่อความหมายทางคณิตศาสตร์
3.การเชื่อมโยง
3.คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1.มีวินัย
2.ใฝ่เรียนรู้
3.มุ่งมั่นในการทำงาน
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
1.ความสามารถในการสื่อสาร
2.ความสามารถในการคิด
3.ความสามารถในการแก้ปัญหา
ชิ้นงานหรือภาระงาน
ใบงานที่ 15 เรื่อง การอ่านและการเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย
กิจกรรมการจัดการเรียนรู้
ขั้นที่ 1 ขั้นนำ
1.ครูกล่าวทักทายนักเรียนจากนั้น นำแผ่นชาร์ตบันทึกรายรับรายจ่ายของเด็กชายชาตรีติดบนกระดานแล้วใช้
การถาม – ตอบ เพื่อนำเข้าสู่บทเรียน

ขั้นที่ 2 ขั้นสอน
2.ครูใช้คำถามกระตุ้นนักเรียน ดังต่อไปนี้
− จากแผ่นชาร์ต นักเรียนสังเกตเห็นอะไรบ้าง นักเรียนควรตอบได้ว่า เห็นเป็นตารางบันทึก
รายรับรายจ่ายของเด็กชายชาตรีโดยบอกวัน เดือน ปีรายการ รายรับ รายจ่าย คงเหลือ
− นักเรียนเคยเขียนบันทึกรายรับรายจ่ายของตนเองหรือไม่ นักเรียนบางคนอาจจะตอบว่า
เคยบันทึก นักเรียนบางคนอาจตอบว่ายังไม่เคยบันทึก ถ้ามีนักเรียนที่ตอบว่าเคยบันทึก ครูอาจให้นักเรียนคนนั้นออกมา
นำเสนอการเขียนบันทึกรายรับรายจ่ายของตนเองให้เพื่อนฟังแต่ถ้าไม่มีนักเรียนคนใดเคยเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย
ครูอาจให้นักเรียนร่วมกันอภิปรายเกี่ยวกับส่วนประกอบต่างๆ และความหมายของคำต่างๆ ที่อยู่ในแผ่นชาร์ ตที่ครูติด
บนกระดานโดยใช้การถาม - ตอบ ดังนี้
− ชื่อบันทึกและวัน เดือน ปีที่บันทึกบอกข้อมูลอะไรบ้าง (ชื่อบันทึกจะบอกข้อมูลของเจ้าของบันทึกว่า
เป็นของใคร และวัน เดือน ปีจะบอกว่า บันทึกนี้เขียนขึ้นในวันที่เท่าไร เดือนอะไรปีใด)
− หัวตารางมีข้อมูลอะไรบ้าง (วัน เดือน ปี รายการ รายรับ รายจ่าย คงเหลือ)
− แต่ละหัวข้อที่อยู่ในหัวตารางมีความหมายว่าอย่างไร (วัน เดือน ปีเป็นวันที่ เดือน และ
ปีที่แสดงรายการในบันทึก รายการเป็นสิ่ งที่ต้องการบันทึก รายรับเป็นจำนวนเงินที่ได้รับมารายจ่ายเป็นจำนวนเงินที่
จ่ายไปคงเหลือเป็นจำนวนเงินที่ได้รับมาลบด้วยจำนวนเงินที่จ่ายไป)
3.จากนั้นครูและนักเรียนช่วยกันอ่านบันทึกรายรับรายจ่ายในแผ่นชาร์ทบนกระดาน ดังนี้บันทึกรายรับรายจ่าย
ของเด็กชายชาตรีวันที่ 7 ถึง 8 ตุลาคม พ.ศ. 2562 โดยแต่ละวันมีรายการดังนี้ วันที่ 7 ตุลาคม 2562 รายการแม่ให้เงิน
ครูถามนักเรียนว่า แม่ให้เงิน 60 บาท จำนวนเงิน 60 บาทเป็นเงินที่ได้รับมาหรือจ่ายออกไป นักเรียนควรตอบได้ว่า 60
บาท เป็นเงินที่ได้รับมา ดังนั้น 60 บาท เป็นรายรับหรือรายจ่าย นักเรียนควรตอบได้ว่า 60 บาท เป็นรายรับ ดังนั้นใน
ตารางนักเรียนจึงเห็นว่า มี 60.00 อยู่ตรงกับรายรับและมี- อยู่ตรงกับรายจ่าย เนื่องจากคงเหลือเป็นจำนวนเงินที่ได้รับ
มาลบด้วยจำนวนเงินที่จ่ายไป ดังนั้นเมื่อรับมา 60.00 บาท ยังไม่ได้จ่ายอะไรไปจึงเหลือ 60.00 บาทนักเรียนจะเห็นว่า
ในตารางมี 60.00 บาท อยู่ ตรงกับ คงเหลื อ ครูและนักเรียนร่ว มกันอ่านรายการต่อไปเป็นรายการซื้อขนม ครูถาม
นักเรียนว่า ซื้อขนม 20 บาท จำนวนเงิน 20 บาท เป็นเงินที่ได้รับมาหรือจ่ายออกไป นักเรียนควรตอบได้ว่า 20 บาท
เป็นเงินที่จ่ายออกไป ดังนั้น 20 บาท เป็นรายรับหรือรายจ่ายนักเรียนควรตอบได้ว่า 20 บาท เป็นรายจ่าย ดังนั้นใน
ตารางนักเรียนจึงเห็นว่ามี 20.00 อยู่ตรงกับรายจ่ายและมี - อยู่ตรงกับรายรับ เนื่องจากคงเหลือเป็นจำนวนเงินที่ได้รับ
มาลบด้วยจำนวนเงินที่จ่ายไป ดังนั้นเมื่อรับมา 60.00 บาท จ่ายไป 20.00 บาทจึงเหลือ 40.00 บาท นักเรียนจะเห็นว่า
ในตารางมี 40.00 บาท อยู่ตรงกับคงเหลือ ครูและนักเรียนร่วมกันอ่านรายการต่อไปเรื่อย ๆ จนครบทุกรายการใน
ตาราง จากนั้นครูอาจถามนักเรียนเกี่ยวกับการอ่านตารางบันทึกรายรับรายจ่ายของเด็กชายชาตรีเช่น วันที่ 7 ตุลาคม
2562 เด็กชายชาตรีมีเงิน คงเหลื อเท่าไร นั กเรีย นควรตอบได้ว่า วันที่ 7 ตุล าคม 2562 เด็กชายชาตรีมีเงินคงเหลื อ
68.50 บาท โดยดูจากตารางที่ตรงกับคงเหลือของวันที่ 7 ตุลาคม 2562 หรือครูอาจถามคำถามเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียน
อ่านบันทึกรายรับรายจ่ายของเด็กชายชาตรีที่ครูนำมาติดไว้บนกระดานพร้อมกัน หากมีนักเรียนอ่านบันทึกไม่ถูกต้องให้
ครูแนะนำวิธีการอ่านที่ถูกต้อง
4.จากนั้นครูอาจถามคำถามเพิ่มเติม ดังนี้
− วันใดที่เด็กชายชาตรีมีรายรับมากที่สุดและมีรายรับเท่าไร
(วันที่ 7 ตุลาคม 2562 มีรายรับ 88.50 บาท)
− วันใดที่เด็กชายชาตรีมีรายจ่ายมากที่สุดและมีรายจ่ายเท่าไร
(วันที่ 8 ตุลาคม 2562 มีรายจ่าย 43.50 บาท)
5.ครูยกตัวอย่างบันทึกรายรับรายจ่ายของเด็กหญิงใบบัว วันที่ 1 ถึง 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 แล้วให้นักเรียน
ตอบคำถามที่เกี่ยวกับบันทึกรายรับรายจ่ายของเด็กหญิงใบบัว เช่น
− บันทึกรายรับรายจ่ายของใคร วันที่เท่าไรเดือนอะไร ปีใด (บันทึกรายรับรายจ่ายของเด็กหญิงใบบัว
วันที่ 1 ถึง 3 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562)
− วันที่ 1 พ.ย. 62 ใบบัวมีรายรับเท่าไร (150.00 บาท)
− วันที่ 1 พ.ย. 62 ใบบัวมีรายจ่ายเท่าไร (115.75 บาท)
− วันที่ 1 พ.ย. 62 ใบบัวมีเหลือเงินเท่าไร (34.25 บาท)
− วันที่ 2 พ.ย. 62 ใบบัวมีรายรับรายการใดบ้าง (พ่อให้เงินและช่วยป้าทำ งานได้เงิน)
− วันที่ 2 พ.ย. 62 ใบบัวเหลือเงินเท่าไร (147.75 บาท)
− ตั้งแต่วันที่ 1 ถึง 3 พ.ย. 62 ใบบัวเหลือเงินเท่าไร(188.00 บาท) ครูอาจให้นักเรียนลองตั้งคำถามที่
เกี่ยวกับบันทึกรายรับรายจ่ายของใบบัวแล้วให้เพื่อนในห้องเรียนช่วยกันตอบคำถาม ครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบ
ความถูกต้อง
6.ครูยกตัวอย่างบันทึกรายรับรายจ่ายของเด็กชายต้นกล้า วันที่ 10 ถึง 12 พฤศจิกายน พ.ศ. 2562 แล้วให้
นักเรียนช่วยกันตอบคำถามเกี่ยวกับบันทึกรายรับรายจ่ายของเด็กชายต้นกล้า ครูอาจสุ่มให้นักเรียนตอบคำถามเป็น
รายบุคคล หรืออาจให้นักเรียนช่วยกันตอบคำถามเป็นกลุ่มก็ได้ขึ้นอยู่กับความเหมาะสม ครูอาจให้นักเรียนตั้งคำถามเอง
หรืออาจให้เพื่อนในห้องช่วยกันตั้งคำถามแล้วหาคำตอบ
ขั้นที่ 3 ขั้นสรุป
7.ครูและนักเรียนร่วมกันสรุปสิ่งที่ได้เรียนรู้ว่าบันทึกรายรับรายจ่ายประกอบด้วยชื่อบันทึก วัน เดือน ปีที่บันทึก
และตารางในตารางจะมีวัน เดือน ปีรายการ รายรับ รายจ่าย และคงเหลือและครูตรวจสอบความเข้าใจของนักเรียน
เป็นรายบุคคล โดยให้นักเรียนทำใบงานเพิ่มเติมครูและนักเรียนร่วมกันตรวจสอบความถูกต้อง
สื่อการเรียนรู้
1.หนังสือเรียนคณิตศาสตร์ ป.3
2.ใบงานที่ 15 เรื่อง การอ่านและการเขียนบันทึกรายรับรายจ่าย
การวัดและประเมินผลการเรียนรู้
จุดประสงค์การเรียนรู้ วิธีวัด เครื่องมือวัด เกณฑ์การประเมิน
1.ด้านความรู้ (K) ตรวจใบงาน ใบงาน 60% ขึ้นไป ถือว่าผ่านเกณฑ์
การประเมิน
2. ด้านทักษะ สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
กระบวนการ (P) ทักษะกระบวนการ ด้านทักษะ คุณภาพดีขึ้นไป
กระบวนการ
3. ด้านคุณลักษณะที่พึง สังเกตพฤติกรรมด้าน แบบสังเกตพฤติกรรม นักเรียนได้คะแนนระดับ
ประสงค์ (A) คุณลักษณะที่พึง ด้านคุณลักษณะ คุณภาพดีขึ้นไป
ประสงค์ ที่พึงประสงค์

เกณฑ์การประเมินแบบฝึกหัด/ใบงาน
ระดับคุณภาพ
ประเด็นการประเมิน
4 3 2 1
1.ความถูกต้องของเนื้อหา เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
ผลงานถูกต้อง ผลงานถูกต้องเป็น ผลงานถูกต้อง ผลงานไม่ถูกต้อง
ครบถ้วน ส่วนใหญ่ บางประเด็น เป็นส่วนใหญ่
2. รูปแบบ การนำเสนอ การนำเสนอถูกต้อง การนำเสนอ การนำเสนอไม่
น่าสนใจและ เป็นส่วนใหญ่ ถูกต้องบางส่วน เป็นไปตามเกณฑ์
เหมาะสมกับ
สถานการณ์
3. ความเป็นระเบียบ ผลงานมีความ ผลงานส่วนใหญ่มี ผลงานมี ผลงานไม่มีความ
เป็นระเบียบ ข้อบกพร่อง ข้อบกพร่อง เป็นระเบียบ
เล็กน้อย บางส่วน
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
บันทึกผลหลังกระบวนการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
1. ผลการเรียนรู้ที่เกิดขึ้นกับผู้เรียน
1.1 ผู้เรียนผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน คิดเป็นร้อยละ
1.2 ผู้เรียนไม่ผ่านจุดประสงค์การเรียนรู้ จำนวน คน
ได้แก่
สาเหตุ
1.3 ผู้เรียนได้รับความรู้ :
1.4 ผู้เรียนเกิดทักษะกระบวนการ :
1.5 ผู้เรียนมีคุณธรรม จริยธรรม ค่านิยม :
2. ปัญหา / อุปสรรค

3. ข้อเสนอแนะ / แนวทางแก้ไข

4. แผนการจัดการเรียนรู้นี้ใช้กับนักเรียน
ห้อง ป. 3 ในวันที่ เดือน พ.ศ. เวลา ถึง

ลงชื่อ ผู้สอน
(นางสาวกิ่งกาญจน์ นารินทร์ยาง)
แบบทดสอบท้ายหน่วย เรื่อง เงินและบันทึกรายรับรายจ่าย
คะแนนเต็ม 30 คะแนน เวลา 60 นาที

มาตรฐาน ค 2.1 เข้าใจพื้นฐานเกี่ยวกับการวัด วัดและคาดคะเนขนาดของสิ่งที่ต้องการวัดและนำไปใช้


ตัวชี้วัด : ค 2.1 ป.3/1 แสดงวิธีหาคำตอบของโจทย์ปัญหาเกี่ยวกับเงิน

เลือก ก ข หรือ ค ที่เป็นคำตอบที่ถูกต้อง

1. จากภาพ ข้อใดเขียนแสดงจำนวนเงินถูกต้อง
ก. 2,010.50 บาท ข. 2,005.25 บาท ค. 2,108.75 บาท
2.ข้อใดมีจำนวนเงินตรงกับ 5,990 บาท 75 สตางค์

จากภาพใช้ตอบคำถามข้อ 3 - 4

3.ข้อใดกล่าวถูกต้อง
ก.ใบบัวออมเงินได้มากกว่าแก้วตาม 136 บาท 50 สตางค์
ข.แก้วตาออมเงินได้ 176 บาท 75 สตางค์
ค.ต้นกล้าออมเงินได้น้อยกว่าใบบัว 100.75 บาท
4.ใครออมเงินได้มากที่สุด
ก. ใบบัว ข. แก้วตา ค. ต้นกล้า
5. แม่มีธนบัตร 1,000 บาท 1 ฉบับ เหรียญ บาท 3 เหรียญ เหรียญ 25 สตางค์ 7 เหรียญ พ่อมีธนบัตร 500 บาท 2
ฉบับ เหรียญ 50 สตางค์ 13 เหรียญ ข้อใดถูกต้อง
ก.แม่กับพ่อมีเงินเท่ากัน
ข.แม่มีเงินมากกว่าพ่อ
ค.พ่อมีเงินมากกว่าแม่
6. จิ๊บมีเงินในกระปุกออมสินเป็นธนบัตร 500 บาท 4 ฉบับ ธนบัตร 50 บาท 60 ฉบับ นำเงิน ทั้งหมดไปแลกธนบัตร
1,000 บาท ได้กี่ฉบับ
ก. 5 ฉบับ ข. 6 ฉบับ ค. 7 ฉบับ
7.น้ำต้องการซื้อปากกา 3 ด้าม ร้าน A ขายราคาด้ามละ 24.50 บาท หากซื้อ 2 ด้าม จะได้ฟรี 1 ด้าม ร้าน B ขาย
ราคาด้ามละ 16.50 บาท น้ำควรซื้อปากการ้านใดถูกกว่าเพราะเหตุใด
ก. ร้าน A เพราะซื้อ 3 ด้าม ได้ในราคาที่ถูกกว่าร้าน B อยู่ 1 บาท
ข. ร้าน A เพราะซื้อ 3 ด้าม ได้ในราคาที่ถูกกว่าร้าน B อยู่ 0.50 บาท
ค. ร้าน B เพราะซื้อ 3 ด้าม ต้องจ่ายเงินเพียง 49.50 บาท

ขุนนำเงินที่เก็บได้ไปซื้อหนังสือราคา 250.50 บาท ขุนจะเหลือเงินกี่บาท


ก. 234.50 บาท ข. 334.50 บาท ค. 434.50 บาท
จากข้อมูลนี้ใช้ตอบคำถามข้อ 9 – 10

9.จากบันทึกรายรับรายจ่างของเด็กหญิงปรางแก้ว เด็กหญิงปรางแก้วช่วยป้าขายของวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2563


ได้รับเงินกี่บาท
ก. 50.00 บาท ข. 50.50 บาท ค. 88.25 บาท
10.ในวันที่ 3 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เด็กหญิงปรางแก้วเหลือเงินมากกว่าวันที่ 2 พฤษภาคม พ.ศ. 2563 เป็นจำนวน
เงินกี่บาท
ก. 195.50 บาท ข. 85.75 บาท ค. 75.00 บาท

You might also like