You are on page 1of 53

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6


หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง แคลคูลัสเบื้องต้น ภาคเรียนที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน เวลา 1 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางสาวสุมาริน อัง โรงเรียนแม่จริม
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจลิมิตและความต่อเนื่องของฟั งก์ชัน อนุพั นธ์ของฟังก์ชัน และปริพั นธ์ของ
ฟังก์ชันและนำไปใช้

2. ตัวชี้วัด
มฐ. ค 4.1 ม. 6/1 ตรวจสอบความต่อเนื่องของฟังก์ชันที่กำหนดให้

3. สาระสำคัญ
สำหรับฟังก์ชัน f ใด ๆ ที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริง ถ้าค่าของ f(x) เข้าใกล้
จำนวนจริง L เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ a เรียก L ว่า ลิมิตของ f ที่ a และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ lim f(x) = L
x →a
สามารถหาค่าลิมิตของฟังก์ชันโดยใช้ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตในการหาค่า
สำหรับ ฟั งก์ ชัน f ใด ๆ ที่ มีโดเมนและเรนจ์เป็น สั บ เซตของเซตของจำนวนจริง ให้ ฟังก์ชัน f เป็ น
ฟังก์ชันต่อเนื่องที่จุด x = c ก็ต่อเมื่อ f(c) หาค่าได้ lim f(x) หาค่าได้ และ f(c) = lim f(x) ถ้าขาดสมบัติเพียง
x →c x →c
ข้อเดียว ถือว่า f ไม่เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = c

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้(K)
1) อธิบายทฤษฎีบทของลิมิตได้
2) อธิบายความต่อเนื่องของฟังก์ชันที่จุดได้
3) แสดงวิธีการหาค่าลิมิตของฟังก์ชันโดยใช้ทฤษฎีบทได้ถูกต้อง
4.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
1) นักเรียนสามารถใช้ความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และวิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2) นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์
3) นักเรียนสามารถให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผล
4.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
1) นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติตามข้อตกลงและตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้
2) นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
3) นักเรียนแสดงออกถึงความเอาใจใส่และรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

5. สาระการเรียนรู้
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้
ชั่วโมงที่ 1
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียน พร้อมทั้งให้นักเรียนทบทวนความรู้ที่ผ่านมา
2. ครูให้นักเรียนพิจารณากราฟของฟังก์ชัน f ดังรูป
3. ครูกล่าวถึงบทนิยาม ดังนี้

บทนิยาม 1

ให้ f เป็นฟังก์ชันซึ่งนิยามบนช่วงเปิด (a, b) และ c ∈ (a, b)


จะกล่าวว่า f เป็น ฟังก์ชันต่อเนื่อง (continuous function) ที่ x = c ก็ต่อเมื่อ
𝐥𝐢𝐦 𝒇(𝐱) = 𝒇(𝐜)
𝐱→𝐜

จากบทนิยาม 1 มี f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = c ต้องมีสมบัติครบทั้งสามข้อดังต่อไปนี้


1) f(c) หาค่าได้ (นั่นคือ c อยู่ในโดเมนของ f )
2) 𝐥𝐢𝐦 𝒇(𝐱) มีค่า
𝐱→𝐜
3) 𝐥𝐢𝐦 𝒇(𝐱) = 𝒇(𝐜)
𝐱→𝐜
4. ครูได้แสดงตัวอย่างที่ 14 - 15 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เล่ม 1 หน้าที่ 139 บนกระดานเพื่อความเข้าใจของนักเรียน
5. ครูได้เขียนตัวอย่างที่ 16 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1
หน้าที่ 139 บนกระดานจากนั้นให้นักเรียนช่วยกันทำไปพร้อมกัน เพื่อความเข้าใจของนักเรียน
6. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด 2.2 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เล่ม 1 หน้าที่ 144 ข้อที่ 1 ใหญ่ เป็นการบ้าน

7. สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1
2. ใบงาน
3. ห้องสมุด
4. อินเทอร์เน็ต
8. การวัดและประเมินผล

ด้านความรู้(K)
วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด
1. สังเกตจากการซักถาม การแสดง – แบบบันทึกผลการอภิปราย ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 6 ขึ้นไป
ความคิดเห็น การให้ข้อเสนอแนะ – แบบบันทึกความรู้
และการอภิปรายร่วมกัน
2. ตรวจผลการทำใบงานการหา
3. ตรวจผลการทำแบบฝึกหัด – แบบฝึกหัด ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 6 ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ(P)

วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด


1. นักเรียนสามารถใช้ความรู้ ทักษะ – แบ บ ป ระเมิ น ทั ก ษ ะแล ะ นักเรียนมีคะแนนอยู่ในระดับ
กระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ และ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดีข้นึ ไปผ่านเกณฑ์
วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2. นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้
ทางคณิตศาสตร์
3. นักเรียนสามารถให้เหตุผล
ประกอบการตัดสินใจ และสรุปผล

ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม(A)

วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด


1. นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติตาม - แบบสังเกตคุณลักษณะอัน นักเรียนมีคะแนนอยู่ในระดับ
ข้อตกลงและตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ พึงประสงค์ ดีขึ้นไปผ่านเกณฑ์
กิจกรรมการเรียนรู้
2. นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร
พยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้
3. นักเรียนแสดงออกถึงความเอาใจใส่และ
รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย
แบบประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างการจัดการเรียนการสอนโดยใส่เครื่องหมาย 
ลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน
ประเด็นการประเมิน
ผลการ
การแก้ปัญหา การเชื่อมโยงความรู้ การให้เหตุผล รวม ประเมิน
ที่ ชื่อ - สกุล
(12)
ไม่
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ผ่าน
ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑ์การประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ระดับคะแนน
ประเด็น
4 3 2 1
การประเมิน
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง)
ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา มี ห ลั ก ฐานหรื อ ร่ อ งรอยการ
ได้ ส ำเร็ จ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ได้สำเร็จแต่อธิบายขั้นตอนของ ได้ ส ำเร็จแต่ ไม่ ส ามารถอธิบ าย ดำเนินการแก้ปัญหาบางส่วนแต่
การแก้ปัญหา อธิบ ายขั้นตอนของวิธีดังกล่าว วิธีการดังกล่าวได้เป็นบางส่วน ขั้นตอนของวิธีการดังกล่าวได้ แก้ปัญหาไม่สำเร็จ
ได้อย่างชัดเจน
นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง
คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงยัง
การเชื่อมโยงความรู้ สาระคณิตศาสตร์หรือสาระอื่น สาระคณิตศาสตร์หรือสา ระอื่น สาระคณิตศาสตร์หรือสาระอื่น ไม่เหมาะสม
ในชี วิ ต ประจำวั น เพื่ อ ช่ ว ย ได้ เพื่ อ แ ก้ ปั ญ - ห า ได้ เป็ น ได้บาง ส่วน
แก้ปัญหาอย่างเหมาะสม บางส่วน
มีการอ้างอิงที่ถูกต้องและเสนอ มีการอ้างอิงที่ถูกต้องและเสนอ มี การอ้างอิ งที่ ถู ก ต้ อ งบางส่ ว น มี ก า ร เส น อ แ น ว คิ ด ที่ ไ ม่
แนวคิดประกอบการตัดสิ น ใจ แนวคิดประกอบ การตัดสินใจ แต่ยังเสนอแนวคิดประกอบการ สมเหตุ ส มผลในการตั ด สิ น ใจ
การให้เหตุผล ได้อย่างสมเหตุสมผล ได้ แต่ยังไม่สมเหตุสมผล ตัดสินใจไม่ได้ และไม่มีระบุการอ้างอิง
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรุง
ให้คะแนน 2 หมายถึง พอใช้
ให้คะแนน 3 หมายถึง ดี
ให้คะแนน 4 หมายถึง ดีมาก
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน 3-4 หมายถึง ปรับปรุง
ช่วงคะแนน 5-7 หมายถึง พอใช้
ช่วงคะแนน 8-10 หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน 11-12 หมายถึง ดีมาก

หมายเหตุ : นักเรียนมีระดับคุณภาพตั้งแต่ “ดี” ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคล
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 10 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างการจัดการเรียนการสอนโดยใส่เครื่องหมาย 
ลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน
ประเด็นการประเมิน

ความตั้งใจ เพียรพยายาม
ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้

หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ในการเรียนและเข้าร่วม

รับผิดชอบในการปฏิบัติ
การปฏิบัติตามข้อตกลง
และตรงต่อเวลาในการ
นักเรียนแสดงออกถึง

นักเรียนแสดงออกถึง

นักเรียนแสดงออกถึง
กิจกรรมการเรียนรู้

ความเอาใจใส่และ
ผลการ
รวม ประเมิน
ที่ ชื่อ - สกุล
(12)

ไม่
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ผ่าน
ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
เกณฑ์การสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลของนักเรียน
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ระดับคะแนน
ประเด็น
4 3 2 1
การประเมิน
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง)
เข้ าเรี ย นตรงเวลา ปฏิ บั ติ ต าม เข้าเรียนช้ากว่าเวลา แต่ไม่เกิน เข้ า เรี ย นช้ า กว่ า เวลาเกิ น 15 ไม่เข้าเรียน หรือไม่ป ฏิบั ติตาม
นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติ ระเบียบและข้อตกลงต่าง ๆ ได้ 15 นาที ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บ นาที ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บและ ระเบียบและข้อตกลงต่าง ๆ
ตามข้อตกลงและตรงต่อเวลาใน ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องอาศัยการ และข้ อ ตกลงต่ า ง ๆ ได้ ด้ ว ย ข้อตกลงต่าง ๆ เป็นบางครั้ง
การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ควบคุม เป็นประจำ ตั ว เอง โดยไม่ ต้ อ งอาศั ย การ
ควบคุม บ่อยครั้ง
ตั้ ง ใจ เรี ย น มี ค ว า ม เพี ย ร ตั้ ง ใจ เรี ย น มี ค ว า ม เพี ย ร ค่อนข้างตั้งใจเรียน และเข้าร่วม ไม่ ตั้ ง ใจเรี ย น หรื อ ไม่ ให้ ค วาม
นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ พยายามในการเรียนรู้ และเข้า พยายามในการเรียนรู้ และเข้า ใน กิ จกรรม ก ารเรี ย น รู้ เ ป็ น ร่วมมือในกิจกรรมการเรียนรู้
เพี ย รพยายามในการเรี ย นและ ร่ ว มกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ เป็ น ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น รู้ บางครั้ง
เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ประจำ บ่อยครั้ง

เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ ทำงานไม่สำเร็จตามเป้าหมาย
นั กเรีย นแสดงออกถึ งความเอา ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ใจใส่ แ ละรั บ ผิ ด ชอบ ใน การ ให้ ส ำเร็ จ มี ก ารปรั บ ปรุ ง และ ให้ ส ำเร็ จ มี ก ารปรั บ ปรุ ง และ ให้สำเร็จ แต่ช้ากว่ากำหนดเกิน
ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย พัฒนาการทำงานให้ดีขึ้นภายใน พัฒ นาการทำงานให้ดีขึ้น แต่ช้า 1 วัน
เวลาที่กำหนดด้วยตนเอง กว่ากำหนดไม่เกิน 1 วัน
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรุง
ให้คะแนน 2 หมายถึง พอใช้
ให้คะแนน 3 หมายถึง ดี
ให้คะแนน 4 หมายถึง ดีมาก
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน 3-4 หมายถึง ปรับปรุง
ช่วงคะแนน 5-7 หมายถึง พอใช้
ช่วงคะแนน 8-10 หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน 11-12 หมายถึง ดีมาก

หมายเหตุ : นักเรียนมีระดับคุณภาพตั้งแต่ “ดี” ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน

9. กิจกรรมเสนอแนะ
-
ใบงานที่ 1

คำชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำให้เรียบร้อย
1. จงพิจารณาว่า f(x) = x2 + 4 เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = 2 หรือไม่
ใบงานที่ 1 เฉลย
คำชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำให้เรียบร้อย
1. จงพิจารณาว่า f(x) = x2 + 4 เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = 2 หรือไม่
บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นางสาวสุมาริน อัง)
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย

ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นายเกรียงไกร ไชยภักษา)
หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ

ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นางพัชราภา ผาแสง)
ผู้อำนวยการโรงเรียนแม่จริม
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง แคลคูลัสเบื้องต้น ภาคเรียนที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน เวลา 1 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางสาวสุมาริน อัง โรงเรียนแม่จริม
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจลิมิตและความต่อเนื่องของฟั งก์ชัน อนุพั นธ์ของฟังก์ชัน และปริพั นธ์ของ
ฟังก์ชันและนำไปใช้

2. ตัวชี้วัด
มฐ. ค 4.1 ม. 6/1 ตรวจสอบความต่อเนื่องของฟังก์ชันที่กำหนดให้

3. สาระสำคัญ
สำหรับฟังก์ชัน f ใด ๆ ที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริง ถ้าค่าของ f(x) เข้าใกล้
จำนวนจริง L เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ a เรียก L ว่า ลิมิตของ f ที่ a และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ lim f(x) = L
x →a
สามารถหาค่าลิมิตของฟังก์ชันโดยใช้ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตในการหาค่า
สำหรับ ฟั งก์ ชัน f ใด ๆ ที่ มีโดเมนและเรนจ์เป็น สั บ เซตของเซตของจำนวนจริง ให้ ฟังก์ชัน f เป็ น
ฟังก์ชันต่อเนื่องที่จุด x = c ก็ต่อเมื่อ f(c) หาค่าได้ lim f(x) หาค่าได้ และ f(c) = lim f(x) ถ้าขาดสมบัติเพียง
x →c x →c
ข้อเดียว ถือว่า f ไม่เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = c

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้(K)
1) อธิบายทฤษฎีบทของลิมิตได้
2) อธิบายความต่อเนื่องของฟังก์ชันที่จุดได้
3) แสดงวิธีการหาค่าลิมิตของฟังก์ชันโดยใช้ทฤษฎีบทได้ถูกต้อง
4.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
1) นักเรียนสามารถใช้ความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และวิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2) นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์
3) นักเรียนสามารถให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผล
4.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
1) นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติตามข้อตกลงและตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้
2) นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
3) นักเรียนแสดงออกถึงความเอาใจใส่และรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

5. สาระการเรียนรู้
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทั้งทบทวนในชั่วโมงที่ผ่านมา
2. ครูเฉลยแบบฝึกหัด 2.2 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1
หน้าที่ 144 ข้อที่ 1 ใหญ่ ที่เป็นการบ้าน และช่วยกันสรุป
3. ครูได้กล่าวต่อไปนี้จะกล่าวถึงทฤษฎีบทเกี่ยวกับความต่อเนื่องของฟังก์ชัน โดยจะขอละการพิสูจน์

ทฤษฎีบท 5

ถ้า f และ g เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = a แล้ว


1. f + g เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = a
2. f - g เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = a
3. f ∙ g เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = a
𝒇
4. เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = a เมื่อ g(a) ≠ 0
𝐠

ดังที่ ได้ ท ราบมาแล้ ว จากทฤษฎี บ ท 3 ว่า ถ้ า p เป็ น ฟั งก์ ชัน พหุ น ามแล้ ว 𝐥𝐢𝐦 p(𝐱) = 𝑝(𝑎)
𝐱→𝐚
สำหรับจำนวนจริง a ใด ๆ ดังนั้นจะได้ทฤษฎีบทต่อไปนี้
ทฤษฎีบท 6

สำหรับจำนวนจริง a ใด ๆ ฟังก์ชันพหุนาม p เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = a

𝑝
โดยใช้ทฤษฎีบท 5 และ 6 จะสามารถพิสูจน์ทฤษฎีบทเกี่ยวกับความต่อเนื่องของฟังก์ชัน เมื่อ p
𝑞
และ q เป็นฟังก์ชันพหุนาม ดังนี้

ทฤษฎีบท 7

𝒑(𝒙)
ถ้ า f เป็ น ฟั ง ก์ ชั น ที่ 𝒇(𝒙) = เมื่ อ p และ q เป็ น ฟั งก์ ชั น พหุ น าม แล้ ว f เป็ น
𝒒(𝒙)
ฟังก์ชัน ต่อเนื่องที่ x = a เมื่อ a เป็นจำนวนจริงใด ๆ ซึ่ง q(a) ≠ 0

4. ครูได้แสดงตัวอย่างที่ 17 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1


หน้าที่ 141 บนกระดานเพื่อความเข้าใจของนักเรียน
5. ครูได้กล่าวความต่อเนื่องบนช่วง ให้ความหมายของความต่อเนื่องของฟังก์ชันบนช่วงที่กำหนดดังนี้
1) ฟั งก์ชัน f เป็ น ฟั งก์ชัน ต่ อเนื่ อ งบนช่ว ง (a, b) ก็ต่ อเมื่อ f เป็ นฟั งก์ชั นต่ อเนื่อ งที่ ทุ กจุ ด
ในช่วง (a, b)
2) ฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (a, b) ก็ต่อเมื่อ
(1) f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ทุกจุดในช่วง (a, b) และ
(2) 𝐥𝐢𝐦+ 𝑓(𝐱) = 𝑓(𝑎) และ 𝐥𝐢𝐦− 𝑓(𝐱) = 𝑓(𝑏)
𝐱→𝐚 𝐱→b
3) ฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (a, b) ก็ต่อเมื่อ
(1) f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ทุกจุดในช่วง (a, b) และ
(2) 𝐥𝐢𝐦− 𝑓(𝐱) = 𝑓(𝑏)
𝐱→b
4) ฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องบนช่วง (a, b) ก็ต่อเมื่อ
(1) f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ทุกจุดในช่วง (a, b) และ
(2) 𝐥𝐢𝐦+ 𝑓(𝐱) = 𝑓(𝑎)
𝐱→𝐚
6. ครูได้ยกตัวอย่างเพิ่มเติม บนกระดานเพื่อให้นักเรียนได้เข้าใจมากยิ่งขึ้นและมีการถามตอบคำถาม
อภิปรายร่วมกัน
7. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด 2.2 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เล่ม 1 หน้าที่ 145 ข้อที่ 2 ใหญ่ เป็นการบ้าน

7. สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1
2. ใบงาน
3. ห้องสมุด
4. อินเทอร์เน็ต

8. การวัดและประเมินผล

ด้านความรู้(K)
วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด
1. สังเกตจากการซักถาม การแสดง – แบบบันทึกผลการอภิปราย ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 6 ขึ้นไป
ความคิดเห็น การให้ข้อเสนอแนะ – แบบบันทึกความรู้
และการอภิปรายร่วมกัน
2. ตรวจผลการทำใบงานการหา
3. ตรวจผลการทำแบบฝึกหัด – แบบฝึกหัด ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 6 ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ(P)

วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด


1. นักเรียนสามารถใช้ความรู้ ทักษะ – แบ บ ป ระเมิ น ทั ก ษ ะแล ะ นักเรียนมีคะแนนอยู่ในระดับ
กระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ และ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดีข้นึ ไปผ่านเกณฑ์
วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2. นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้
ทางคณิตศาสตร์
3. นักเรียนสามารถให้เหตุผล
ประกอบการตัดสินใจ และสรุปผล
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม(A)

วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด


1. นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติตาม - แบบสังเกตคุณลักษณะอัน นักเรียนมีคะแนนอยู่ในระดับ
ข้อตกลงและตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ พึงประสงค์ ดีขึ้นไปผ่านเกณฑ์
กิจกรรมการเรียนรู้
2. นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร
พยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้
3. นักเรียนแสดงออกถึงความเอาใจใส่และ
รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย
แบบประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างการจัดการเรียนการสอนโดยใส่เครื่องหมาย 
ลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน
ประเด็นการประเมิน
ผลการ
การแก้ปัญหา การเชื่อมโยงความรู้ การให้เหตุผล รวม ประเมิน
ที่ ชื่อ - สกุล
(12)
ไม่
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ผ่าน
ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑ์การประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ระดับคะแนน
ประเด็น
4 3 2 1
การประเมิน
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง)
ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา มี ห ลั ก ฐานหรื อ ร่ อ งรอยการ
ได้ ส ำเร็ จ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ได้สำเร็จแต่อธิบายขั้นตอนของ ได้ ส ำเร็จแต่ ไม่ ส ามารถอธิบ าย ดำเนินการแก้ปัญหาบางส่วนแต่
การแก้ปัญหา อธิบ ายขั้นตอนของวิธีดังกล่าว วิธีการดังกล่าวได้เป็นบางส่วน ขั้นตอนของวิธีการดังกล่าวได้ แก้ปัญหาไม่สำเร็จ
ได้อย่างชัดเจน
นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง
คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงยัง
การเชื่อมโยงความรู้ สาระคณิตศาสตร์หรือสาระอื่น สาระคณิตศาสตร์หรือสา ระอื่น สาระคณิตศาสตร์หรือสาระอื่น ไม่เหมาะสม
ในชี วิ ต ประจำวั น เพื่ อ ช่ ว ย ได้ เพื่ อ แ ก้ ปั ญ - ห า ได้ เป็ น ได้บาง ส่วน
แก้ปัญหาอย่างเหมาะสม บางส่วน
มีการอ้างอิงที่ถูกต้องและเสนอ มีการอ้างอิงที่ถูกต้องและเสนอ มี การอ้างอิ งที่ ถู ก ต้ อ งบางส่ ว น มี ก า ร เส น อ แ น ว คิ ด ที่ ไ ม่
แนวคิดประกอบการตัดสิ น ใจ แนวคิดประกอบ การตัดสินใจ แต่ยังเสนอแนวคิดประกอบการ สมเหตุ ส มผลในการตั ด สิ น ใจ
การให้เหตุผล ได้อย่างสมเหตุสมผล ได้ แต่ยังไม่สมเหตุสมผล ตัดสินใจไม่ได้ และไม่มีระบุการอ้างอิง
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรุง
ให้คะแนน 2 หมายถึง พอใช้
ให้คะแนน 3 หมายถึง ดี
ให้คะแนน 4 หมายถึง ดีมาก
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน 3-4 หมายถึง ปรับปรุง
ช่วงคะแนน 5-7 หมายถึง พอใช้
ช่วงคะแนน 8-10 หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน 11-12 หมายถึง ดีมาก

หมายเหตุ : นักเรียนมีระดับคุณภาพตั้งแต่ “ดี” ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคล
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 11 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างการจัดการเรียนการสอนโดยใส่เครื่องหมาย 
ลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน
ประเด็นการประเมิน

ความตั้งใจ เพียรพยายาม
ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้

หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ในการเรียนและเข้าร่วม

รับผิดชอบในการปฏิบัติ
การปฏิบัติตามข้อตกลง
และตรงต่อเวลาในการ
นักเรียนแสดงออกถึง

นักเรียนแสดงออกถึง

นักเรียนแสดงออกถึง
กิจกรรมการเรียนรู้

ความเอาใจใส่และ
ผลการ
รวม ประเมิน
ที่ ชื่อ - สกุล
(12)

ไม่
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ผ่าน
ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
เกณฑ์การสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลของนักเรียน
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ระดับคะแนน
ประเด็น
4 3 2 1
การประเมิน
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง)
เข้ าเรี ย นตรงเวลา ปฏิ บั ติ ต าม เข้าเรียนช้ากว่าเวลา แต่ไม่เกิน เข้ า เรี ย นช้ า กว่ า เวลาเกิ น 15 ไม่เข้าเรียน หรือไม่ป ฏิบั ติตาม
นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติ ระเบียบและข้อตกลงต่าง ๆ ได้ 15 นาที ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บ นาที ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บและ ระเบียบและข้อตกลงต่าง ๆ
ตามข้อตกลงและตรงต่อเวลาใน ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องอาศัยการ และข้ อ ตกลงต่ า ง ๆ ได้ ด้ ว ย ข้อตกลงต่าง ๆ เป็นบางครั้ง
การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ควบคุม เป็นประจำ ตั ว เอง โดยไม่ ต้ อ งอาศั ย การ
ควบคุม บ่อยครั้ง
ตั้ ง ใจ เรี ย น มี ค ว า ม เพี ย ร ตั้ ง ใจ เรี ย น มี ค ว า ม เพี ย ร ค่อนข้างตั้งใจเรียน และเข้าร่วม ไม่ ตั้ ง ใจเรี ย น หรื อ ไม่ ให้ ค วาม
นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ พยายามในการเรียนรู้ และเข้า พยายามในการเรียนรู้ และเข้า ใน กิ จกรรม ก ารเรี ย น รู้ เ ป็ น ร่วมมือในกิจกรรมการเรียนรู้
เพี ย รพยายามในการเรี ย นและ ร่ ว มกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ เป็ น ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น รู้ บางครั้ง
เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ประจำ บ่อยครั้ง

เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ ทำงานไม่สำเร็จตามเป้าหมาย
นั กเรีย นแสดงออกถึ งความเอา ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ใจใส่ แ ละรั บ ผิ ด ชอบ ใน การ ให้ ส ำเร็ จ มี ก ารปรั บ ปรุ ง และ ให้ ส ำเร็ จ มี ก ารปรั บ ปรุ ง และ ให้สำเร็จ แต่ช้ากว่ากำหนดเกิน
ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย พัฒนาการทำงานให้ดีขึ้นภายใน พัฒ นาการทำงานให้ดีขึ้น แต่ช้า 1 วัน
เวลาที่กำหนดด้วยตนเอง กว่ากำหนดไม่เกิน 1 วัน
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรุง
ให้คะแนน 2 หมายถึง พอใช้
ให้คะแนน 3 หมายถึง ดี
ให้คะแนน 4 หมายถึง ดีมาก
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน 3-4 หมายถึง ปรับปรุง
ช่วงคะแนน 5-7 หมายถึง พอใช้
ช่วงคะแนน 8-10 หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน 11-12 หมายถึง ดีมาก

หมายเหตุ : นักเรียนมีระดับคุณภาพตั้งแต่ “ดี” ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน

9. กิจกรรมเสนอแนะ
-
ใบงานที่ 2

คำชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำให้เรียบร้อย
1. กำหนดให้ จงพิจารณาว่าฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = 2
หรือไม่
ใบงานที่ 2 เฉลย
คำชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำให้เรียบร้อย
1. กำหนดให้ จงพิจารณาว่าฟังก์ชัน f เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = 2

หรือไม่
บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นางสาวสุมาริน อัง)
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย

ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นายเกรียงไกร ไชยภักษา)
หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ

ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นางพัชราภา ผาแสง)
ผู้อำนวยการโรงเรียนแม่จริม
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง แคลคูลัสเบื้องต้น ภาคเรียนที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน เวลา 1 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางสาวสุมาริน อัง โรงเรียนแม่จริม
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจลิมิตและความต่อเนื่องของฟั งก์ชัน อนุพั นธ์ของฟังก์ชัน และปริพั นธ์ของ
ฟังก์ชันและนำไปใช้

2. ตัวชี้วัด
มฐ. ค 4.1 ม. 6/1 ตรวจสอบความต่อเนื่องของฟังก์ชันที่กำหนดให้

3. สาระสำคัญ
สำหรับฟังก์ชัน f ใด ๆ ที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริง ถ้าค่าของ f(x) เข้าใกล้
จำนวนจริง L เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ a เรียก L ว่า ลิมิตของ f ที่ a และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ lim f(x) = L
x →a
สามารถหาค่าลิมิตของฟังก์ชันโดยใช้ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตในการหาค่า
สำหรับ ฟั งก์ ชัน f ใด ๆ ที่ มีโดเมนและเรนจ์เป็น สั บ เซตของเซตของจำนวนจริง ให้ ฟังก์ชัน f เป็ น
ฟังก์ชันต่อเนื่องที่จุด x = c ก็ต่อเมื่อ f(c) หาค่าได้ lim f(x) หาค่าได้ และ f(c) = lim f(x) ถ้าขาดสมบัติเพียง
x →c x →c
ข้อเดียว ถือว่า f ไม่เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = c

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้(K)
1) อธิบายทฤษฎีบทของลิมิตได้
2) อธิบายความต่อเนื่องของฟังก์ชันที่จุดได้
3) แสดงวิธีการหาค่าลิมิตของฟังก์ชันโดยใช้ทฤษฎีบทได้ถูกต้อง
4.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
1) นักเรียนสามารถใช้ความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และวิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2) นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์
3) นักเรียนสามารถให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผล
4.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
1) นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติตามข้อตกลงและตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้
2) นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
3) นักเรียนแสดงออกถึงความเอาใจใส่และรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

5. สาระการเรียนรู้
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทั้งทบทวนในชั่วโมงที่ผ่านมา
2. ครูเฉลยแบบฝึกหัด 2.2 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1
หน้าที่ 145 ข้อที่ 2 ใหญ่ ที่เป็นการบ้าน และช่วยกันสรุป
3. ครูได้แสดงตัวอย่างที่ 18 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1
หน้าที่ 122 บนกระดานเพื่อความเข้าใจของนักเรียน
4. ครูให้เขียนตัวอย่างที่ 19 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1
หน้าที่ 143 - 144 บนกระดาน และให้นักเรียนช่วยกันตอบคำถามที่ครูถามเพื่อให้นักเรียนช่วยกันคิดพร้อมทั้ง
ให้นักเรียนได้เข้าใจมากยิ่งขึ้น
5. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 3 – 4 คน โดยให้แต่และกลุ่มแบ่งให้มีนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน เพื่อ
เป็นการช่วยกัน
- นักเรียนทำแบบฝึกหัด 2.2 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
6 เล่ม 1 หน้าที่ 146 ข้อที่ 3 ใหญ่
- นักเรียนช่วยกันศึกษาแล้วออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
6. ครูให้นักเรียนทำแบบฝึกหัด 2.2 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
เล่ม 1 หน้าที่ 146 ข้อที่ 4 ใหญ่ เป็นการบ้าน
7. สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1
2. ใบงาน
3. ห้องสมุด
4. อินเทอร์เน็ต

8. การวัดและประเมินผล

ด้านความรู้(K)
วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด
1. สังเกตจากการซักถาม การแสดง – แบบบันทึกผลการอภิปราย ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 6 ขึ้นไป
ความคิดเห็น การให้ข้อเสนอแนะ – แบบบันทึกความรู้
และการอภิปรายร่วมกัน
2. ตรวจผลการทำใบงานการหา
3. ตรวจผลการทำแบบฝึกหัด – แบบฝึกหัด ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 6 ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ(P)

วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด


1. นักเรียนสามารถใช้ความรู้ ทักษะ – แบ บ ป ระเมิ น ทั ก ษ ะแล ะ นักเรียนมีคะแนนอยู่ในระดับ
กระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ และ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดีข้นึ ไปผ่านเกณฑ์
วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2. นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้
ทางคณิตศาสตร์
3. นักเรียนสามารถให้เหตุผล
ประกอบการตัดสินใจ และสรุปผล
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม(A)

วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด


1. นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติตาม - แบบสังเกตคุณลักษณะอัน นักเรียนมีคะแนนอยู่ในระดับ
ข้อตกลงและตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ พึงประสงค์ ดีขึ้นไปผ่านเกณฑ์
กิจกรรมการเรียนรู้
2. นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร
พยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้
3. นักเรียนแสดงออกถึงความเอาใจใส่และ
รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย
แบบประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างการจัดการเรียนการสอนโดยใส่เครื่องหมาย 
ลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน
ประเด็นการประเมิน
ผลการ
การแก้ปัญหา การเชื่อมโยงความรู้ การให้เหตุผล รวม ประเมิน
ที่ ชื่อ - สกุล
(12)
ไม่
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ผ่าน
ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑ์การประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ระดับคะแนน
ประเด็น
4 3 2 1
การประเมิน
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง)
ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา มี ห ลั ก ฐานหรื อ ร่ อ งรอยการ
ได้ ส ำเร็ จ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ได้สำเร็จแต่อธิบายขั้นตอนของ ได้ ส ำเร็จแต่ ไม่ ส ามารถอธิบ าย ดำเนินการแก้ปัญหาบางส่วนแต่
การแก้ปัญหา อธิบ ายขั้นตอนของวิธีดังกล่าว วิธีการดังกล่าวได้เป็นบางส่วน ขั้นตอนของวิธีการดังกล่าวได้ แก้ปัญหาไม่สำเร็จ
ได้อย่างชัดเจน
นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง
คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงยัง
การเชื่อมโยงความรู้ สาระคณิตศาสตร์หรือสาระอื่น สาระคณิตศาสตร์หรือสา ระอื่น สาระคณิตศาสตร์หรือสาระอื่น ไม่เหมาะสม
ในชี วิ ต ประจำวั น เพื่ อ ช่ ว ย ได้ เพื่ อ แ ก้ ปั ญ - ห า ได้ เป็ น ได้บาง ส่วน
แก้ปัญหาอย่างเหมาะสม บางส่วน
มีการอ้างอิงที่ถูกต้องและเสนอ มีการอ้างอิงที่ถูกต้องและเสนอ มี การอ้างอิ งที่ ถู ก ต้ อ งบางส่ ว น มี ก า ร เส น อ แ น ว คิ ด ที่ ไ ม่
แนวคิดประกอบการตัดสิ น ใจ แนวคิดประกอบ การตัดสินใจ แต่ยังเสนอแนวคิดประกอบการ สมเหตุ ส มผลในการตั ด สิ น ใจ
การให้เหตุผล ได้อย่างสมเหตุสมผล ได้ แต่ยังไม่สมเหตุสมผล ตัดสินใจไม่ได้ และไม่มีระบุการอ้างอิง
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรุง
ให้คะแนน 2 หมายถึง พอใช้
ให้คะแนน 3 หมายถึง ดี
ให้คะแนน 4 หมายถึง ดีมาก
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน 3-4 หมายถึง ปรับปรุง
ช่วงคะแนน 5-7 หมายถึง พอใช้
ช่วงคะแนน 8-10 หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน 11-12 หมายถึง ดีมาก

หมายเหตุ : นักเรียนมีระดับคุณภาพตั้งแต่ “ดี” ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคล
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 12 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างการจัดการเรียนการสอนโดยใส่เครื่องหมาย 
ลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน
ประเด็นการประเมิน

ความตั้งใจ เพียรพยายาม
ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้

หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ในการเรียนและเข้าร่วม

รับผิดชอบในการปฏิบัติ
การปฏิบัติตามข้อตกลง
และตรงต่อเวลาในการ
นักเรียนแสดงออกถึง

นักเรียนแสดงออกถึง

นักเรียนแสดงออกถึง
กิจกรรมการเรียนรู้

ความเอาใจใส่และ
ผลการ
รวม ประเมิน
ที่ ชื่อ - สกุล
(12)

ไม่
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ผ่าน
ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
เกณฑ์การสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลของนักเรียน
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ระดับคะแนน
ประเด็น
4 3 2 1
การประเมิน
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง)
เข้ าเรี ย นตรงเวลา ปฏิ บั ติ ต าม เข้าเรียนช้ากว่าเวลา แต่ไม่เกิน เข้ า เรี ย นช้ า กว่ า เวลาเกิ น 15 ไม่เข้าเรียน หรือไม่ป ฏิบั ติตาม
นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติ ระเบียบและข้อตกลงต่าง ๆ ได้ 15 นาที ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บ นาที ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บและ ระเบียบและข้อตกลงต่าง ๆ
ตามข้อตกลงและตรงต่อเวลาใน ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องอาศัยการ และข้ อ ตกลงต่ า ง ๆ ได้ ด้ ว ย ข้อตกลงต่าง ๆ เป็นบางครั้ง
การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ควบคุม เป็นประจำ ตั ว เอง โดยไม่ ต้ อ งอาศั ย การ
ควบคุม บ่อยครั้ง
ตั้ ง ใจ เรี ย น มี ค ว า ม เพี ย ร ตั้ ง ใจ เรี ย น มี ค ว า ม เพี ย ร ค่อนข้างตั้งใจเรียน และเข้าร่วม ไม่ ตั้ ง ใจเรี ย น หรื อ ไม่ ให้ ค วาม
นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ พยายามในการเรียนรู้ และเข้า พยายามในการเรียนรู้ และเข้า ใน กิ จกรรม ก ารเรี ย น รู้ เ ป็ น ร่วมมือในกิจกรรมการเรียนรู้
เพี ย รพยายามในการเรี ย นและ ร่ ว มกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ เป็ น ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น รู้ บางครั้ง
เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ประจำ บ่อยครั้ง

เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ ทำงานไม่สำเร็จตามเป้าหมาย
นั กเรีย นแสดงออกถึ งความเอา ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ใจใส่ แ ละรั บ ผิ ด ชอบ ใน การ ให้ ส ำเร็ จ มี ก ารปรั บ ปรุ ง และ ให้ ส ำเร็ จ มี ก ารปรั บ ปรุ ง และ ให้สำเร็จ แต่ช้ากว่ากำหนดเกิน
ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย พัฒนาการทำงานให้ดีขึ้นภายใน พัฒ นาการทำงานให้ดีขึ้น แต่ช้า 1 วัน
เวลาที่กำหนดด้วยตนเอง กว่ากำหนดไม่เกิน 1 วัน
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรุง
ให้คะแนน 2 หมายถึง พอใช้
ให้คะแนน 3 หมายถึง ดี
ให้คะแนน 4 หมายถึง ดีมาก
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน 3-4 หมายถึง ปรับปรุง
ช่วงคะแนน 5-7 หมายถึง พอใช้
ช่วงคะแนน 8-10 หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน 11-12 หมายถึง ดีมาก

หมายเหตุ : นักเรียนมีระดับคุณภาพตั้งแต่ “ดี” ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน

9. กิจกรรมเสนอแนะ
-
ใบงานที่ 3

คำชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำให้เรียบร้อย
1. กำหนดให้ f(x) = x 2 - 2x + 5 มีความต่อเนื่องที่จุด x = 3 หรือไม่

x2 - 9
2. กำหนดให้ f(x) = มีความต่อเนื่องที่จุด x = 3 หรือไม่
x-3
ใบงานที่ 3 เฉลย
คำชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำให้เรียบร้อย
1. กำหนดให้ f(x) = x 2 - 2x + 5 มีความต่อเนื่องที่จุด x = 3 หรือไม่
วิธีทำ ตรวจสอบความต่อเนื่องของฟังก์ชันด้วยเงื่อนไข ดังนี้
1) f(3) = 32 - 2(3) + 5 = 8 หาค่าได้

2) lim f(x) = lim x 2 - 2x + 5 = 3 2 - 2(3) + 5 = 8 หาค่าได้


x →3 x →3

3) f(3) = lim f(x) = 8


x →3

ดังนั้น f(x) ต่อเนื่องที่จุด x = 3 เพราะทั้ง 3 เงื่อนไขเป็นจริง

x2 - 9
2. กำหนดให้ f(x) = มีความต่อเนื่องที่จุด x = 3 หรือไม่
x-3
วิธีทำ ตรวจสอบความต่อเนื่องของฟังก์ชันด้วยเงื่อนไข ดังนี้

32 - 9 0
1) f(3) = = หาค่าไม่ได้
3-3 0
ดังนั้น f(x) ไม่ต่อเนื่องที่จุด f(3) เพราะหาค่าไม่ได้
บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
..........................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นางสาวสุมาริน อัง)
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย

ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นายเกรียงไกร ไชยภักษา)
หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ

ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................
..............................................................................................................................................................................
....................................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นางพัชราภา ผาแสง)
ผู้อำนวยการโรงเรียนแม่จริม
แผนการจัดการเรียนรู้
กลุ่มสาระการเรียนรู้คณิตศาสตร์ วิชา คณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
หน่วยการเรียนรู้ที่ 2 เรื่อง แคลคูลัสเบื้องต้น ภาคเรียนที่ 2
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน เวลา 1 ชั่วโมง
ครูผู้สอน นางสาวสุมาริน อัง โรงเรียนแม่จริม
-------------------------------------------------------------------------------------------------------------------------
1. มาตรฐานการเรียนรู้
มาตรฐาน ค 4.1 เข้าใจลิมิตและความต่อเนื่องของฟั งก์ชัน อนุพั นธ์ของฟังก์ชัน และปริพั นธ์ของ
ฟังก์ชันและนำไปใช้

2. ตัวชี้วัด
มฐ. ค 4.1 ม. 6/1 ตรวจสอบความต่อเนื่องของฟังก์ชันที่กำหนดให้

3. สาระสำคัญ
สำหรับฟังก์ชัน f ใด ๆ ที่มีโดเมนและเรนจ์เป็นสับเซตของเซตของจำนวนจริง ถ้าค่าของ f(x) เข้าใกล้
จำนวนจริง L เมื่อ x มีค่าเข้าใกล้ a เรียก L ว่า ลิมิตของ f ที่ a และเขียนแทนด้วยสัญลักษณ์ lim f(x) = L
x →a
สามารถหาค่าลิมิตของฟังก์ชันโดยใช้ทฤษฎีบทเกี่ยวกับลิมิตในการหาค่า
สำหรับ ฟั งก์ ชัน f ใด ๆ ที่ มีโดเมนและเรนจ์เป็น สั บ เซตของเซตของจำนวนจริง ให้ ฟังก์ชัน f เป็ น
ฟังก์ชันต่อเนื่องที่จุด x = c ก็ต่อเมื่อ f(c) หาค่าได้ lim f(x) หาค่าได้ และ f(c) = lim f(x) ถ้าขาดสมบัติเพียง
x →c x →c
ข้อเดียว ถือว่า f ไม่เป็นฟังก์ชันต่อเนื่องที่ x = c

4. จุดประสงค์การเรียนรู้
4.1 ด้านความรู้(K)
1) อธิบายทฤษฎีบทของลิมิตได้
2) อธิบายความต่อเนื่องของฟังก์ชันที่จุดได้
3) แสดงวิธีการหาค่าลิมิตของฟังก์ชันโดยใช้ทฤษฎีบทได้ถูกต้อง

.
4.2 ด้านทักษะ/กระบวนการ (P)
1) นักเรียนสามารถใช้ความรู้ ทักษะกระบวนการทางคณิตศาสตร์ และวิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2) นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้ทางคณิตศาสตร์
3) นักเรียนสามารถให้เหตุผลประกอบการตัดสินใจ และสรุปผล
4.3 ด้านคุณลักษณะ (A)
1) นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติตามข้อตกลงและตรงต่อเวลาในการปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้
2) นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียรพยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้
3) นักเรียนแสดงออกถึงความเอาใจใส่และรับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย

5. สาระการเรียนรู้
ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน

6. กระบวนการจัดการเรียนรู้
1. ครูกล่าวทักทายนักเรียนพร้อมทั้งทบทวนในชั่วโมงที่ผ่านมา
2. ครูเฉลยแบบฝึกหัด 2.2 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1
หน้าที่ 146 ข้อที่ 4 ใหญ่ ที่เป็นการบ้าน และช่วยกันสรุป
3. ครูได้หาตัวอย่างเพิ่มเติม โดยแสดงบนกระดานเพื่อความเข้าใจของนักเรียน
4. ครูได้ให้นักเรียนสืบค้นหาโจทย์ โดยให้นักเรียนจับกลุ่มนักเรียนที่ เก่ง ปานกลาง และอ่อน เพื่อให้
นักเรียนในกลุ่มช่วยกันสืบค้นโจทย์ที่น่าสนใจ โดยสืบค้นจากหนังสือ หรืออินเตอร์เน็ต
5. ครูให้นักเรียนแต่ละกลุ่มออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียนโดยครูคัดเลือกโจทย์ของนักเรียนแต่ละกลุ่มที่
น่าสนใจ
6. ครูให้นักเรียนแบ่งกลุ่ม 3 – 4 คน โดยให้แต่และกลุ่มแบ่งให้มีนักเรียนเก่ง ปานกลาง และอ่อน เพื่อ
เป็นการช่วยกัน
- นักเรียนทำแบบฝึกหัด 2.2 ในหนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่
6 เล่ม 1 หน้าที่ 146 ข้อที่ 5 ใหญ่
- นักเรียนช่วยกันศึกษาแล้วออกมานำเสนอหน้าชั้นเรียน
7. ครูและนักเรียนรวมกันสรุป พร้อมทั้งให้นักเรียนสรุปความคิดรอบยอดเกี่ยวกับความต่อเนื่องของ
ฟังก์ชัน โดยเขียนเป็นแผนผังความคิด (Mind Mapping) พร้อมทั้งส่ง
7. สื่อและแหล่งเรียนรู้
1. หนังสือเรียนรายวิชาเพิ่มเติมคณิตศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6 เล่ม 1
2. ใบงาน
3. ห้องสมุด
4. อินเทอร์เน็ต

8. การวัดและประเมินผล

ด้านความรู้(K)
วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด
1. สังเกตจากการซักถาม การแสดง – แบบบันทึกผลการอภิปราย ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 6 ขึ้นไป
ความคิดเห็น การให้ข้อเสนอแนะ – แบบบันทึกความรู้
และการอภิปรายร่วมกัน
2. ตรวจผลการทำใบงานการหา
3. ตรวจผลการทำแบบฝึกหัด – แบบฝึกหัด ผ่านเกณฑ์เฉลี่ย 6 ขึ้นไป

ด้านทักษะ/กระบวนการ(P)

วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด


1. นักเรียนสามารถใช้ความรู้ ทักษะ – แบ บ ป ระเมิ น ทั ก ษ ะแล ะ นักเรียนมีคะแนนอยู่ในระดับ
กระบวนการทางคณิ ต ศาสตร์ และ กระบวนการทางคณิตศาสตร์ ดีข้นึ ไปผ่านเกณฑ์
วิธีการที่หลากหลายแก้ปัญหา
2. นักเรียนสามารถเชื่อมโยงความรู้
ทางคณิตศาสตร์
3. นักเรียนสามารถให้เหตุผล
ประกอบการตัดสินใจ และสรุปผล
ด้านคุณธรรม จริยธรรม และค่านิยม(A)

วิธีการวัดผลและการประเมินผล เครื่องมือวัดและประเมินผล เกณฑ์การวัด


1. นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติตาม - แบบสังเกตคุณลักษณะอัน นักเรียนมีคะแนนอยู่ในระดับ
ข้อตกลงและตรงต่อเวลาในการปฏิบัติ พึงประสงค์ ดีขึ้นไปผ่านเกณฑ์
กิจกรรมการเรียนรู้
2. นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ เพียร
พยายามในการเรียนและเข้าร่วมกิจกรรม
การเรียนรู้
3. นักเรียนแสดงออกถึงความเอาใจใส่และ
รับผิดชอบในการปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับ
มอบหมาย
แบบประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างการจัดการเรียนการสอนโดยใส่เครื่องหมาย 
ลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน
ประเด็นการประเมิน
ผลการ
การแก้ปัญหา การเชื่อมโยงความรู้ การให้เหตุผล รวม ประเมิน
ที่ ชื่อ - สกุล
(12)
ไม่
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ผ่าน
ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
20
เกณฑ์การประเมินทักษะและกระบวนการทางคณิตศาสตร์
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ระดับคะแนน
ประเด็น
4 3 2 1
การประเมิน
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง)
ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา ใช้ยุทธวิธีดำเนินการแก้ปัญ หา มี ห ลั ก ฐานหรื อ ร่ อ งรอยการ
ได้ ส ำเร็ จ มี ป ระสิ ท ธิ ภ าพและ ได้สำเร็จแต่อธิบายขั้นตอนของ ได้ ส ำเร็จแต่ ไม่ ส ามารถอธิบ าย ดำเนินการแก้ปัญหาบางส่วนแต่
การแก้ปัญหา อธิบ ายขั้นตอนของวิธีดังกล่าว วิธีการดังกล่าวได้เป็นบางส่วน ขั้นตอนของวิธีการดังกล่าวได้ แก้ปัญหาไม่สำเร็จ
ได้อย่างชัดเจน
นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง นำความรู้ หลั ก การ วิ ธี ท าง
คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงกับ คณิตศาสตร์ ในการเชื่อมโยงยัง
การเชื่อมโยงความรู้ สาระคณิตศาสตร์หรือสาระอื่น สาระคณิตศาสตร์หรือสา ระอื่น สาระคณิตศาสตร์หรือสาระอื่น ไม่เหมาะสม
ในชี วิ ต ประจำวั น เพื่ อ ช่ ว ย ได้ เพื่ อ แ ก้ ปั ญ - ห า ได้ เป็ น ได้บาง ส่วน
แก้ปัญหาอย่างเหมาะสม บางส่วน
มีการอ้างอิงที่ถูกต้องและเสนอ มีการอ้างอิงที่ถูกต้องและเสนอ มี การอ้างอิ งที่ ถู ก ต้ อ งบางส่ ว น มี ก า ร เส น อ แ น ว คิ ด ที่ ไ ม่
แนวคิดประกอบการตัดสิ น ใจ แนวคิดประกอบ การตัดสินใจ แต่ยังเสนอแนวคิดประกอบการ สมเหตุ ส มผลในการตั ด สิ น ใจ
การให้เหตุผล ได้อย่างสมเหตุสมผล ได้ แต่ยังไม่สมเหตุสมผล ตัดสินใจไม่ได้ และไม่มีระบุการอ้างอิง
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรุง
ให้คะแนน 2 หมายถึง พอใช้
ให้คะแนน 3 หมายถึง ดี
ให้คะแนน 4 หมายถึง ดีมาก
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน 3-4 หมายถึง ปรับปรุง
ช่วงคะแนน 5-7 หมายถึง พอใช้
ช่วงคะแนน 8-10 หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน 11-12 หมายถึง ดีมาก

หมายเหตุ : นักเรียนมีระดับคุณภาพตั้งแต่ “ดี” ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน


แบบสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคล
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6
แผนการจัดการเรียนรู้ที่ 13 เรื่อง ความต่อเนื่องของฟังก์ชัน
คำชี้แจง : ให้ครูสังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างการจัดการเรียนการสอนโดยใส่เครื่องหมาย 
ลงในตารางที่ตรงกับความสามารถของผู้เรียน
ประเด็นการประเมิน

ความตั้งใจ เพียรพยายาม
ปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้

หน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ในการเรียนและเข้าร่วม

รับผิดชอบในการปฏิบัติ
การปฏิบัติตามข้อตกลง
และตรงต่อเวลาในการ
นักเรียนแสดงออกถึง

นักเรียนแสดงออกถึง

นักเรียนแสดงออกถึง
กิจกรรมการเรียนรู้

ความเอาใจใส่และ
ผลการ
รวม ประเมิน
ที่ ชื่อ - สกุล
(12)

ไม่
4 3 2 1 4 3 2 1 4 3 2 1 ผ่าน
ผ่าน
1
2
3
4
5
6
7
8
9
10
11
12
13
14
15
16
17
18
19
เกณฑ์การสังเกตคุณลักษณะอันพึงประสงค์รายบุคคลของนักเรียน
รายวิชาคณิตศาสตร์เพิ่มเติม (ค33202) ชั้นมัธยมศึกษาปีที่ 6

ระดับคะแนน
ประเด็น
4 3 2 1
การประเมิน
(ดีมาก) (ดี) (พอใช้) (ปรับปรุง)
เข้ าเรี ย นตรงเวลา ปฏิ บั ติ ต าม เข้าเรียนช้ากว่าเวลา แต่ไม่เกิน เข้ า เรี ย นช้ า กว่ า เวลาเกิ น 15 ไม่เข้าเรียน หรือไม่ป ฏิบั ติตาม
นักเรียนแสดงออกถึงการปฏิบัติ ระเบียบและข้อตกลงต่าง ๆ ได้ 15 นาที ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บ นาที ปฏิ บั ติ ต ามระเบี ย บและ ระเบียบและข้อตกลงต่าง ๆ
ตามข้อตกลงและตรงต่อเวลาใน ด้วยตัวเอง โดยไม่ต้องอาศัยการ และข้ อ ตกลงต่ า ง ๆ ได้ ด้ ว ย ข้อตกลงต่าง ๆ เป็นบางครั้ง
การปฏิบัติกิจกรรมการเรียนรู้ ควบคุม เป็นประจำ ตั ว เอง โดยไม่ ต้ อ งอาศั ย การ
ควบคุม บ่อยครั้ง
ตั้ ง ใจ เรี ย น มี ค ว า ม เพี ย ร ตั้ ง ใจ เรี ย น มี ค ว า ม เพี ย ร ค่อนข้างตั้งใจเรียน และเข้าร่วม ไม่ ตั้ ง ใจเรี ย น หรื อ ไม่ ให้ ค วาม
นักเรียนแสดงออกถึงความตั้งใจ พยายามในการเรียนรู้ และเข้า พยายามในการเรียนรู้ และเข้า ใน กิ จกรรม ก ารเรี ย น รู้ เ ป็ น ร่วมมือในกิจกรรมการเรียนรู้
เพี ย รพยายามในการเรี ย นและ ร่ ว มกิ จ กรรมการเรี ย นรู้ เป็ น ร่ ว ม กิ จ ก ร ร ม ก า ร เรี ย น รู้ บางครั้ง
เข้าร่วมกิจกรรมการเรียนรู้ ประจำ บ่อยครั้ง

เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ เอาใจใส่ และรับผิ ดชอบในการ ทำงานไม่สำเร็จตามเป้าหมาย
นั กเรีย นแสดงออกถึ งความเอา ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย
ใจใส่ แ ละรั บ ผิ ด ชอบ ใน การ ให้ ส ำเร็ จ มี ก ารปรั บ ปรุ ง และ ให้ ส ำเร็ จ มี ก ารปรั บ ปรุ ง และ ให้สำเร็จ แต่ช้ากว่ากำหนดเกิน
ปฏิบัติหน้าที่ที่ได้รับมอบหมาย พัฒนาการทำงานให้ดีขึ้นภายใน พัฒ นาการทำงานให้ดีขึ้น แต่ช้า 1 วัน
เวลาที่กำหนดด้วยตนเอง กว่ากำหนดไม่เกิน 1 วัน
เกณฑ์การให้คะแนน
ให้คะแนน 1 หมายถึง ปรับปรุง
ให้คะแนน 2 หมายถึง พอใช้
ให้คะแนน 3 หมายถึง ดี
ให้คะแนน 4 หมายถึง ดีมาก
เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน 3-4 หมายถึง ปรับปรุง
ช่วงคะแนน 5-7 หมายถึง พอใช้
ช่วงคะแนน 8-10 หมายถึง ดี
ช่วงคะแนน 11-12 หมายถึง ดีมาก

หมายเหตุ : นักเรียนมีระดับคุณภาพตั้งแต่ “ดี” ขึ้นไป ผ่านเกณฑ์การประเมิน

9. กิจกรรมเสนอแนะ
-
ใบงานที่ 4

คำชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำให้เรียบร้อย

2x + 1, x < 3

1. กำหนดให้ f(x) =  3, 3  x < 5
 x - 2, x  5

1) f(x) มีความต่อเนื่องที่จุด x = 3 หรือไม่
2) f(x) มีความต่อเนื่องที่จุด x = 5 หรือไม่
ใบงานที่ 4 เฉลย
คำชี้แจง : ให้นักเรียนแสดงวิธีทำให้เรียบร้อย

2x + 1, x < 3

1. กำหนดให้ f(x) =  3, 3  x < 5
 x - 2, x  5

1) f(x) มีความต่อเนื่องที่จุด x = 3 หรือไม่
2) f(x) มีความต่อเนื่องที่จุด x = 5 หรือไม่
วิธีทำ 1) ตรวจสอบความต่อเนื่องของฟังก์ชันด้วยเงื่อนไข ดังนี้
1.1) f(3) = 3 หาค่าได้

1.2) lim f(x) ; พิจารณา x → 3− และ x → 3+


x →3

lim f(x) = lim− 2x + 1 = 2(3) + 1 = 7


x →3 − x →3

lim f(x) = 3
x →3 +

ฉะนั้น lim f(x) หาค่าไม่ได้


x →3

ดังนั้น f(x) ไม่ต่อเนื่องที่จุด x = 3 เพราะ lim f(x) หาค่าไม่ได้


x →3

2) ตรวจสอบความต่อเนื่องของฟังก์ชันด้วยเงื่อนไข ดังนี้
2.1) f(5) = 5 - 2 = 3 หาค่าได้

2.2) lim f(x) ; พิจารณา x → 5− และ x → 5+


x →5

lim f(x) = 3
x →5−

lim f(x) = lim+ x - 2 = 5 - 2 = 3


x →5+ x →5

ฉะนั้น lim f(x) = 3 หาค่าได้


x →5

2.3) f(5) = lim f(x) = 3


x →5

ดังนั้น f(x) ต่อเนื่องที่จุด x = 5 เพราะทั้ง 3 เงื่อนไขเป็นจริง


บันทึกผลการจัดการเรียนรู้
.........................................................................................................................................................................
................................................................................................................................... ......................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นางสาวสุมาริน อัง)
ตำแหน่ง ครูผู้ช่วย

ความคิดเห็นของฝ่ายบริหารงานวิชาการ
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นายเกรียงไกร ไชยภักษา)
หัวหน้าฝ่ายบริหารงานวิชาการ

ความคิดเห็นของผู้อำนวยการโรงเรียน
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................
.........................................................................................................................................................................

ลงชือ่
(นางพัชราภา ผาแสง)
ผู้อำนวยการโรงเรียนแม่จริม

You might also like