You are on page 1of 14

แผนการจัดการเรียนรู้

กลุ่มสาระการเรียนรู้ วิทยาศาสตร์ ชั้นมัธยมศึกษาปี ที่ 1


ภาคเรียนที่ 1 ปี การศึกษา 2566
วิชาเทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ) จำนวน 2 ชั่วโมง
หน่วยการเรียนรู้ที่ 1 การออกแบบและการเขียนอังกอลิทึม
แผนการเรียนรู้ที่ 1 เรื่อง การเขียนอังกอลิทึมด้วยผังงาน
---------------------------------------------------------------------------------------
-------------------------------------------
มาตรฐาน/ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ว 4.2 เข้าใจและใช้แนวคิดเชิงคำนวณในการแก้ปั ญหาที่
พบในชีวิตจริงอย่างเป็ นขั้นตอนและเป็ นระบบ ใช้เทคโนโลยีสารสนเทศ
และการสื่อสารในการเรียนรู้ การทำงาน และการแก้ปั ญหาได้อย่างมี
ประสิทธิภาพ รู้เท่าทันและมีจริยธรรม
ตัวชี้วัด ม.1/2 ออกแบบและเขียนโปรแกรมอย่างง่าย เพื่อแก้ปั ญหา
ทางคณิตศาสตร์หรือวิทยาศาสตร์
จุดประสงค์การเรียนรู้
1. นักเรียนอธิบายความหมายผังงานและสัญลักษณ์ของผังงานได้
(K)
2. นักเรียนสามารถเขียนผังงานแบบลำดับขั้นได้ (P)
3. นักเรียนมีความมุ่งมั่นในการเรียนรู้จากกิจกรรมที่คุณครูได้จัด
ขึ้นในคาบเรียน (A)
สาระการเรียนรู้
สาระการเรียนรู้แกนกลาง สาระการเรียนรู้ท้องถิ่น
- การแก้ปั ญหาอย่างเป็ นขั้นตอน - พิจารณาตามหลักสูตรของสถาน
จะช่วยให้แก้ปั ญหา ได้อย่างมี ศึกษา
ประสิทธิภาพ
- การออกแบบและเขียนโปรแกรม
ที่มีการใช้ตัวแปร เงื่อนไข วนซ้ำ

การแก้ปั ญหา คือ การนำขั้นตอนและวิธีการต่างๆมาใช้ให้ได้ผลลัพธ์


ตามที่ต้องการแก้ปั ญหาโดยใช้แนวคิดเชิงคำนวณเป็ นกระบวนการแก้
ปั ญหาโดยใช้เหตุผลเชิงตรรกะ เช่น การจัดลำดับ การวิเคราะห์ข้อมูล
การสร้างสรรค์วิธีการแก้ปั ญหาทีละขั้นตอน เรียกว่า อัลกอริทึม
(algorithm)
อัลกอริทึม (algorithm) เป็ นระเบียบวิธีหรือขั้นตอนวิธีที่ดำเนินการ
ด้วยคอมพิวเตอร์เพื่อใช้ในการแก้ปั ญหาต่าง ๆ อย่างมีระบบ มีลำดับขั้น
ตอนตั้งแต่ต้นจนกระทั่งได้ผลลัพธ์ ซึ่งสามารถเขียนได้หลายรูปแบบ การ
เลือกใช้ต้องเลือกใช้ขั้นตอนวิธีที่เหมาะสม กระชับและรัดกุม
ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์
(Symbol) ที่ใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความหรือคำพูด ที่ใช้ใน
อัลกอริทึม (Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรง
กัน ระหว่างผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือ ข้อความ ทำได้ยากกว่าเมื่อใช้
รูปภาพ หรือสัญลักษณ์
ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถใช้ผังงานเพื่อช่วยลำดับ
แนวความคิดในการเขียนโปรแกรม เรียกว่า ผังงานโปรแกรม (program
flowchart) ซึ่งเป็ นวิธีที่นิยมใช้เพราะทำให้เข้าใจการทำงานของ
โปรแกรมได้ง่ายกว่าการอธิบายด้วยข้อความ เมื่อมีข้อผิดพลาดจะ
สามารถดูจากผังงานทำให้การแก้ไขหรือปรับปรุงโปรแกรมทำได้ง่ายขึ้น
ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานบางส่วน มีดังนี้
รูปแบบการเขียนผังงาน จะประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐาน 3 รูป
แบบต่อไปนี้ คือ
1. โครงสร้างแบบเป็ นลำดับ (sequence structure)
2. โครงสร้างแบบมีการเลือก (selection structure)
3. โครงสร้างแบบทำซ้ำ (iteration structure)
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียนและคุณลักษณะอันพึงประสงค์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
1. ความสามารถในการสื่อสาร 1. มีวินัย รับผิดชอบ
- ทักษะการสื่อสาร 2. ใฝ่ เรียนรู้
2. ความสามารถในการคิด 3. มุ่งมั่นในการทำงาน
- การวิเคราะห์
- การสรุปความรู้
3. ความสามารถในการแก้ปั ญหา
- การแก้ปั ญหา
4. ความสามารถในการใช้ทักษะชีวิต
- การวิเคราะห์ปั ญหาจากโจทย์
ในชีวิตประจำวัน

ภาระงาน/ชิ้นงาน
ชิ้นงาน
- ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง “โครงสร้างผังงาน”
กิจกรรมการเรียนรู้
แนวคิด/รูปแบบการสอน/วิธีการสอน/เทคนิค : การจัดการเรียน
การสอนแบบการเรียนรู้แบบ Active Learning และการจัดการเรียนรู้
แบบสืบเสาะหาความรู้ 5Es (5Es Intructional Model)
ชั่วโมงที่ 1
1. ขั้นกระตุ้นความสนใจ (Engagement)
- คุณครูแจกการ์ดสัญลักษณ์ของผังงาน (Flow Chart) ให้กับ
นักเรียนคนละ 1 ใบ ซึ่งนักเรียนแต่ละคนจะได้การ์ดสัญลักษณ์ของผังงาน
(Flow Chart) แตกต่างกัน
- คุณครูถามคำถามนักเรียนว่า “นักเรียนเคยเห็นสัญลักษณ์
เหล่านี้หรือไม่”
- คุณครูบอกกับนักเรียนว่า “สัญลักษณ์ที่นักเรียนได้ไป
เกี่ยวข้องกับเนื้อหาที่เราจะเรียนในวันนี้ คือกระบวนการแก้ปั ญหาด้วยอัล
กอลิทึม”
2. ขั้นสำรวจปั ญหา (Exploration)
- คุณครูให้นักเรียนสำรวจปั ญหาในชีวิตประจำวันพร้อมบอก
ลำดับขั้นตอนวิธีการแก้ปั ญหา
3. ขั้นอธิบายความรู้ (Explanation)
- คุณครูถามนักเรียนว่า “รูปร่างของการ์ดที่นักเรียนได้ไปเกี่ยวข้อง
กับปัญหาในชีวิตประจำวันอย่างไร”
- คุณครูอธิบายเกี่ยวกับสัญลักษณ์ซึ่งประกอบไปด้วย ความ
หมายของสัญลักษณ์ สัญลักษณ์ของผังงานและให้นักเรียน
ร่วมกันอ่านความหมายของสัญลักษณ์ที่นักเรียนได้รับ
- จากนั้นครูอธิบายเพิ่มเติมเพื่อให้นักเรียนเข้าใจมากยิ่งขึ้นว่า
ผังงาน (Flowchart) คือ รูปภาพ (Image) หรือสัญลักษณ์ (Symbol) ที่
ใช้เขียนแทนขั้นตอน คำอธิบาย ข้อความหรือคำพูด ที่ใช้ในอัลกอริทึม
(Algorithm) เพราะการนำเสนอขั้นตอนของงานให้เข้าใจตรงกัน ระหว่าง
ผู้เกี่ยวข้อง ด้วยคำพูด หรือ ข้อความ ทำได้ยากกว่าเมื่อใช้รูปภาพ หรือ
สัญลักษณ์
ในการเขียนโปรแกรมคอมพิวเตอร์สามารถใช้ผังงานเพื่อช่วยลำดับ
แนวความคิดในการเขียนโปรแกรม เรียกว่า ผังงานโปรแกรม (program
flowchart) ซึ่งเป็ นวิธีที่นิยมใช้เพราะทำให้เข้าใจการทำงานของ
โปรแกรมได้ง่ายกว่าการอธิบายด้วยข้อความ เมื่อมีข้อผิดพลาดจะ
สามารถดูจากผังงานทำให้การแก้ไขหรือปรับปรุงโปรแกรมทำได้ง่ายขึ้น
ซึ่งสัญลักษณ์ที่ใช้ในการเขียนผังงานบางส่วน มีดังนี้
รูปแบบการเขียนผังงาน จะประกอบด้วยโครงสร้างพื้นฐาน 3 รูป
แบบต่อไปนี้ คือ
1. โครงสร้างแบบเป็ นลำดับ (sequence structure)
2. โครงสร้างแบบมีการเลือก (selection structure)
3. โครงสร้างแบบทำซ้ำ (iteration structure)

- คุณครูอธิบายเกี่ยวกับผังงานโครงสร้างแบบเป็ นลำดับ
(sequence structure) เป็ นลักษณะโครงสร้างพื้นฐานของผังงาน
ทุกผังงาน ลักษณะการทำงานของโครงสร้างผังงานแบบลำดับจะ
ทำงานทีละขั้นตอน ตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย ลำดับ
การทำงานของผังงานจะทำงานตามทิศทางของลูกศร
ชั่วโมงที่ 2
4. ขั้นขยายความเข้าใจ
- คุณครูซักถามนักเรียนเพื่อตรวจสอบความเข้าใจว่า
“สัญลักษณ์ของผังงานแต่ละสัญลักษณ์มีความหมายว่าอย่างไรและมี
โครงสร้างอย่างไรบ้าง”
- คุณครูให้นักเรียนทำใบงานโดยให้นักเรียนจับคู่สัญลักษณ์
กับความหมายและวาดผังงานแบบลำดับขั้น เรื่อง “สั่งของ Online”
5. ขั้นตรวจตรวจสอบผล (Evaluation)
- คุณครูประเมินผลงานนักเรียนจากการสังเกตการตอบ
คำถาม ความสนใจในการเรียนและการทำใบกิจกรรม
- คุณครูตรวจสอบความถูกต้องของผลการทำใบกิจกรรม 1.
เรื่อง “โครงสร้างผังงาน”
- นักเรียนและคุณครูร่วมกันสรุปเกี่ยวกับ ผังงานแบบลำดับ
ขั้น คือ การทำงานทีละขั้นตอน ตั้งแต่ขั้นตอนแรกจนถึงขั้นตอนสุดท้าย
ลำดับการทำงานของผังงานจะทำงานตามทิศทางของลูกศร

สื่อและแหล่งเรียนรู้
สื่อ
- สื่อ Powerpoint เรื่อง ผังงาน
- ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง “โครงสร้างผังงาน”
การวัดและประเมินผล
สิ่งที่ต้องการวัด วิธีวัด/เครื่องมือ เกณฑ์การ
ประเมิน
1. นักเรียนอธิบาย
แบบประเมินจากการตรวจ
ความหมายผังงาน ดี
ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง
และสัญลักษณ์ของ ผ่านเกณฑ์
“โครงสร้างผังงาน”
ผังงานได้ (K)
2. นักเรียนสามารถ แบบประเมินจากการตรวจ
ร้อยละ 60 ผ่าน
เขียนผังงานแบบ ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง
เกณฑ์
ลำดับขั้นได้ (P) “โครงสร้างผังงาน”
3. นักเรียนมีความ
มุ่งมั่นในการเรียนรู้ แบบบันทึกการสังเกตและ
ดี
จากกิจกรรมที่คุณครู ประเมินผลพฤติกรรมรายบุ
ผ่านเกณฑ์
ได้จัดขึ้นในคาบเรียน ลคล
(A)
แบบบันทึกการสังเกตและประเมินผลพฤติกรรมรายบุคคล
ครั้งที่ ......... เรื่อง ...........................................................
รหัสวิชา.................... ภาคเรียนที่ ........ ปี การศึกษา .................. ชั้น
................. โรงเรียน ................................

พฤติกรรม / ระดับคะแนน
การมี
ความ ส่วนร่วม ทำงาน
ลำดั สนใจใน ในการ การตอบ ตามที่ได้
ชื่อ - สกุล รวม
บที่ การ แสดง คำถาม รับมอบ
ทำงาน ความคิด หมาย
เห็น
3 2 1 3 2 1 3 2 1 3 2 1
เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การประเมิน คะแนน

คะแ ระดับ 3 มีพฤติกรรมในระดับ เต็ม 15

นน หมายถึง ดี คะแ 13 - หมายถึง ดี

ระดับ 2 มีพฤติกรรมในระดับ นน 15

หมายถึง ปานกลาง คะแ 9 - หมายถึง

ระดับ 1 มีพฤติกรรมในระดับ นน 12 ปานกลาง

หมายถึง ปรับปรุง คะแ 5 – 8 หมายถึง

เกณฑ์การผ่าน ดี (คะแนนเต็มอยู่ในช่วง 13 นน ปรับปรุง

– 15 คะแนน)
ลงชื่อ....................................................
( )
ครูผู้สอน/ประเมิน
เกณฑ์การวัด ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างผัง
งาน
วิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
เรื่อง : โครงสร้างผังงาน
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง
คำชี้แจง : ให้ประเมินชิ้นงานของนักเรียน
โดยทำเครื่องหมาย ตรงกับความคิดเห็นของท่านให้ใกล้เคียง
มากที่สุด เพื่อเป็ นข้อมูลในการจัดกิจกรรม
ความ
ความถูก
ลำดั ชื่อ-สกุล สอดคล้อง ความคิด
ต้องของ
กับจุด สร้างสรรค์ รวม
บที่ เนื้อหา
ประสงค์
3 2 1 3 2 1 3 2 1

เกณฑ์การให้คะแนน
ควร ให้ 1 เกณฑ์การแปลความ

ปรับปรุง คะแน คะแนน หมาย

น คะแ 1 หมายถึง

ปาน ให้ 2 นน ปรับปรุง

กลาง คะแน คะแนน คะแ 2 หมายถึง

น นน ปานกลาง

ดี ให้ 3 คะแ 3 หมายถึง ดี

คะแน คะแนน นน


เกณฑ์การประเมิน ร้อยละ 60 ผ่านเกณฑ์

เกณฑ์การวัด ใบกิจกรรมที่ 1 เรื่อง โครงสร้างผัง


งาน
วิชา เทคโนโลยี (วิทยาการคำนวณ)
เรื่อง : โครงสร้างผังงาน
เวลาเรียน 2 ชั่วโมง

ประเด็นที่ ระดับคะแนน
ประเมิน 3 2 1
1. ใบกิจกรรม ใบกิจกรรม ใบกิจกรรม
ใบกิจกรรมไม่
ตรงกับจุด สอดคล้องกับจุด สอดคล้องกับจุด
สอดคล้อง
ประสงค์ที่ ประสงค์ทุก ประสงค์บาง
กับจุดประสงค์
กำหนด ประเด็น ประเด็น
เนื้อหาสาระของ เนื้อหาสาระของ
2. ความถูก เนื้อหาสาระของ
ใบกิจกรรมถูก ใบกิจกรรมไม่ถูก
ต้องของ ใบกิจกรรมถูก
ต้องเป็ นบาง ต้องเป็ นส่วน
เนื้อหา ต้องครบถ้วน
ประเด็น ใหญ่
บันทึกผลหลังการจัดการเรียนรู้
ผลการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................
ปั ญหาและ
อุปสรรค.....................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
............................................................................
ข้อเสนอแนะ
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
...................................................................................................................
..............................................................

ลงชื่อ
………………………………………………….
(นางสาวกันติชา
สิริโกศล)
วัน
ที่............เดือน.........................พ.ศ. 2566

You might also like