You are on page 1of 65

แผนการจัดการเรียนรูที่๑

กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒เรื่องใจหาย เวลา๒๐ ชั่วโมง
เรื่องเรียนรูคํานําเรื่อง เวลา ๒ ชั่วโมง
......................................................................................
..........................................
สาระที่ ๑การอาน
ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ
แกปญหาในการดําเนินชีวิตและมีนิสัย รักการอาน

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
การเรียนรูคํา ผูเรียนตองเรียนรูทั้งในดานองคประกอบ หลัก
การอานแจกลูกสะกดคํา ความหมายและหลักการใชจึงจะสามา
รถนําคําไปใชไดถูกตองตามสถานการณ
๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๒ อธิบายความหมายของคําและขอความที่
อาน

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. นักเรียนอานแจกลูกสะกดคําได
๒. นักเรียนบอกความหมายของคําได
๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู
- รูจักคํานําเรื่อง
- การบอกความหมายของคํา
๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. นักเรียนทองบทอานคลองรองเลน“เย็นเย็น” ที่เรียนไปแลวและ
สนทนาซักถามถึงเนื้อเรื่อง
ของเรื่องน้ำใสที่เรียนไปแลวดังนี้
โปกเปกกรุงกริ๋งกรุงกริ๋ง
น้ำแข็งอรอยจริง
ขอกินอีก
หนอย ลูกชางชอบกิน
น้ำแข็งกด ราดน้ำแดง
สีสด ชื่นใจไมนอย ขอ
อีกขออีกชางชอบ
เย็นเย็นกรอบกรอบอรอยอรอย
๒. ครูชี้แจงจุดประสงคและลําดับขั้นตอนการเรียนรใูหนักเรียนรับ
ทราบ
๓. นักเรียนดูรูปภาพในบทที่๒ใจหายและรวมกันสนทนาโดยครูใชคํา
ถามเชน
- ในภาพมีใครบาง
- นักเรียนคิดวาคนในภาพกําลังทําอะไรกัน
๔. นัก เรียนดูค ํา ศัพ ทป ระกอบรูปภาพในหนัง สือ เรียนภาษาพาที
หนาที่๑๘และ๑๙แลวรวมกันสนทนา ถึงความหมาย ดังนี้ เกา แฉะ บอ หัว
ขาว แอง ทอง โอบ กอด ตัด ขัง เสียม ไหล เต็ม ประชุม ถลม

ปางชางขบวน
๕. หาอาสาสมัคร ๒ – ๓ คน ออกมาหนาชั้นเรียนแสดงทาใบประกอบ
คํา เกา โอบ กอด ตัด แลวให นักเรียนในหองชวยกันทายวาเปนคําวาอะไร
๖. ครูนําบัตรคํามาติดที่กระเปาผนังใหนักเรียนทุกคนฝกอานสะกดคํา
จนคลอง
๗. นักเรียนคัดคําศัพทที่อานลงสมุดใหสวยงามนําสงครูเพื่อตรวจสอบ
ความถูกตองถานักเรียนเขียนผิด ใหแกไขใหถูกตอง

๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. บัตรคํา
๒. หนังสือเรียนภาษาพาทีชั้นประถมศึกษาปที่๒
๓. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- แบบฝก
๓. เกณฑการประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐
แบบสังเกตพฤติกรรมการทำงานรายบุคคล

คำชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนใน
ระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับ
คะแนน

ความ
ความ ผล รวม
ชื่อ-สกุล ความรับ การตรง สะอาด
ลำดั ตั้งใจ สำเร็จ ๑๕
ของผู้รับการ ผิดชอบ ต่อเวลา เรียบร้อ
บ ที่ ทำงาน ของงาน คะแน
ประเมิน ย

๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓ ๑ ๒ ๓














รวมคะแนน ........................ คะแนนเฉลี่ย............................ ระดับ


คุณภาพ................................

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน

(นายเทิดศักดิ์ ปั ญญาจิราธิวัฒน์)

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน
๑๒ – ๑๕ ดี
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้๒ คะแนน
๘ – ๑๑ พอใช้
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้๑ คะแนน ต่ำกว่า ๘ ปรับปรุง

แบบสังเกตพฤติกรรม การทำงานกลุ่ม
วิชาภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒

เกณฑ์การประเมิน : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนในระหว่างเรียนและนอก
เวลาเรียน(การบ้าน)

แล้วขีด  ลงในช่องที่ตรงกับระดับคะแนน
ลำดับ ระดับคะแนน
รายการประเมิน
ที่ ๓ ๒ ๑
แสดงถึงความกระตือรือร้นใน

การทำงาน
๒ การรับฟั งความคิดเห็น
๓ การแสดงความคิดเห็น
แสดงความมีน้ำใจช่วยเหลือกัน

แบ่งหน้าที่กัน
แสดงให้เห็นความร่วมมือกัน

ทำงานจนงานสำเร็จ
รวม
รวม....................คะแนน
สรุประดับ
คุณภาพ...................

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน

(นายเทิดศักดิ์ ปั ญญาจิราธิวัฒน์)

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน
ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ
๑๒ – ๑๕ ดี
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้๒ คะแนน
๘ – ๑๑ พอใช้
ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้๑ คะแนน
ต่ำกว่า ๘ ปรับปรุง
แบบประเมินชิ้นงาน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๒ ปี การศึกษา ๒๕๖๖
โรงเรียนบ้านชุมนาก สำนักงานเขตพื้นที่การศึกษาประถมศึกษากำแพงเพชร
เขต ๒
ระดับคุณภาพ ๐-๘ = ปรับปรุง , ๙-๑๒ = พอใช้ , ๑๓-๑๖ = ดี , ๑๗-
๒๐ = ดีมาก
รายการประเมินชิ้นงาน

ความสมบูรณ์ ครบ

การประเมินตนเอง
เป็ นแบบอย่างได้
รายชื่อนักเรียน
ความคิดริเริ่ม

ความถูกต้อง

รวมคะแนน

ระดับคุณภาพ
๑ -๔ ๑ -๔ ๑ -๔ ๑ -๔ ๑ -๔ ๒๐

รวม ..............................คะแนน เฉลี่ย....................... ระดับ


คุณภาพ.............................
สรุปผลการประเมินรายชั้นเรียน
ดีมาก คิดเป็ นร้อยละ................. ดี คิดเป็ นร้อย
ละ.................
พอใช้ คิดเป็ นร้อยละ................ ปรับปรุง คิดเป็ นร้อย
ละ.................

ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน
(นายเทิดศักดิ์ ปั ญญาจิราธิวัฒน์)

เกณฑ์การให้คะแนนเรียงความ

รายการ ระดับคุณภาพ / ระดับคะแนน


ประเมิน ดีมาก (๔) ดี (๓) พอใช้ (๒) ปรับปรุง (๑)
๑. มีความ มีแนวคิดที่แปลกใหม่ มีแนวคิดที่แปลก มีแนวคิดคล้ายแนว มีแนวคิดสับสน วาง
คิดริเริ่ม คิดได้ลึกซึ้ง แตกต่าง ใหม่ คิดได้ลึกซึ้ง คิดทั่วๆ ไปไม่แตก รูปแบบไม่เป็ นไป
สร้างสรรค์ ไปจากแนวคิดธรรมดา แตกต่างไปจาก ต่างไปจากแนวคิด ตามลำดับ
มีความสร้างสรรค์ไป แนวคิดธรรมดา มี ธรรมดา
ในทางที่ดีมาก ความสร้างสรรค์ไป
ในทางที่ดี
๒. มีความ มีองค์ประกอบของ มีองค์ประกอบของ มีองค์ประกอบของ มีองค์ประกอบของ
สมบูรณ์ครบ งานครบถ้วนสมบูรณ์ งานครบถ้วนตาม งานยังไม่ครบถ้วน งานยังไม่ครบถ้วน
ถ้วน มากตามหัวข้อที่ทำ หัวข้อที่ทำ เก็บราย ตามหัวข้อที่ทำ เก็บ ตามหัวข้อที่ทำ เก็บ
เก็บรายละเอียดได้ ละเอียดได้ครบ รายละเอียดได้บ้าง รายละเอียดไม่ได้
ครบ มีความโดดเด่น ไม่มีความโดดเด่น ขาดความสมบูรณ์
มาก
๓. ความถูก มีความถูกต้องของ มีความถูกต้องของ มีความถูกต้องของ ไม่มีความถูกต้อง
ต้อง เนื้อหา ถูกต้องตาม เนื้อหา ถูกต้องตาม เนื้อหา ถูกต้องตาม ของเนื้อหา ไม่ถูก
หลักการ ถูกต้องตาม หลักการ ถูกต้อง หลักการ ถูกต้อง ต้องตามหลักการ ไม่
ข้อมูลอ้างอิง มีความ ตามข้อมูลอ้างอิง มี ตามข้อมูลอ้างอิง มี ถูกต้องตามข้อมูล
น่าเชื่อถือได้มาก ความน่าเชื่อถือได้ ความน่าเชื่อถือได้ อ้างอิง มีความไม่น่า
บ้าง เชื่อถือ
๔. เป็ นแบบ ชิ้นงานมีความครบ ชิ้นงานมีความครบ ชิ้นงานมีความครบ ชิ้นงานยังขาดความ
อย่างได้ ถ้วนสมบูรณ์มาก ถ้วนสมบูรณ์ สมควร ถ้วนแต่ยังขาดความ สมบูรณ์ ไม่สามารถ
สมควรเผยแพร่ นำ เผยแพร่ นำเสนอให้ สมบูรณ์ ไม่สามารถ เป็ นแบบอย่างได้
เสนอให้ผู้อื่นทำตาม ผู้อื่นทำตามได้ เป็ นแบบอย่างได้
เป็ นแบบอย่างที่ดีมาก
๕. การ นักเรียนประเมินความ นักเรียนประเมิน นักเรียนประเมิน นักเรียนประเมิน
ประเมิน พึงพอใจผลงานของ ความพึงพอใจผล ความพึงพอใจผล ความพึงพอใจผล
ตนเอง ตนเองในระดับพึง งานของตนเองใน งานของตนเองใน งานของตนเองใน
พอใจมากที่สุด ระดับพึงพอใจมาก ระดับพอใช้ ระดับที่ไม่ค่อยพอใจ
อยากแก้ไขใหม่

ระดับคุณภาพ ๐-๘ = ปรับปรุง , ๙-๑๒ = พอใช้ , ๑๓-๑๖ = ดี , ๑๗-๒๐


= ดีมาก
แบบประเมิน คุณลักษณะอันพึงประสงค์
คำชี้แจง : ให้ ผู้สอน สังเกตพฤติกรรมของ
นักเรียนในระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียน แล้วขีด  ลงในช่องที่
ตรงกับระดับคะแนน

คุณลักษณะ ระดับ
อันพึง รายการประเมิน (พฤติกรรมบ่งชี้) คะแนน
ประสงค์ด้าน ๓ ๒ ๑
๔. ใฝ่ เรียนรู้ ๔.๑ ตั้งใจเรียนรู้

๔.๒ แสวงหาความรู้จากแหล่งเรียนรู้ต่าง ๆ บันทึกความรู้ วิเคราะห์


สรุปเป็ นองค์ความรู้ และสามารถนำไปใช้ในชีวิตประจำวันได้

๖. มุ่งมั่นในการ ๖.๑ มีความตั้งใจและพยายามในการทำงานที่ได้รับมอบหมาย

ทำงาน ๖.๒ มีความอดทนและไม่ท้อแท้ต่ออุปสรรคเพื่อให้งานสำเร็จ

๗. รักความเป็ น ๗.๒ เห็นคุณค่าและใช้ภาษาไทยเขียนเรียงความได้อย่างเหมาะสม


ไทย

สรุปคะแนน..................ระดับคุณภาพ.......................

ลงชื่อ...................................................ผู้ประเมิน
(นายเทิดศักดิ์
ปั ญญาจิราธิวัฒน์)
เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับคุณภาพ

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ ๒ คะแนน ๑๒ – ๑๕ ดี

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๑ คะแนน ๘ – ๑๑ พอใช้


ต่ำกว่า ๘ ปรับปรุง

แบบประเมินสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
ชั้นประถมศึกษาปี ที่ ๖ ปี การศึกษา ๒๕๖๕
คำชี้แจง : สังเกตพฤติกรรมของนักเรียนใน
ระหว่างเรียนและนอกเวลาเรียนแล้วให้คะแนนตามเกณฑ์
สมรรถนะสำคัญของผู้เรียน
แสดงความสามารถในการ

แสดงความสามารถในการ

แสดงความสามารถในการ

แสดงความสามารถในการ
แสดงความสามรถในการ

รายชื่อนักเรียน
ระดับคุณภาพ
รวมคะแนน

ด.ช.ภัทรธร เครือวัล

ด.ช.อนุวัฒน์ มุ่ยไธสง

ด.ช.บรรณสรณ์ สว่างศรี

ด.ช.ณัฐสิทธิ์ ใจดี

ด.ญ.นันทิชา บุญโจม

ด.ญ.พลอยไพลิน สวัสดี
ด.ญ.วิรมน ดีพิมาย
ด.ญ.ณิชากร ทับสงค์

ด.ญ.บุษกร แก่นสุวรรณ

ด.ญ.ปวริศา แก้วมา

ด.ญ.อริสา เขียนน้อย

ด.ญ.กัญญาณัฐ ปั กอินทรีย์

สรุปผลการประเมิน
รวมคะแนน ...........................คะแนน คะแนนเฉลี่ย....................... ระดับ
คุณภาพ.............................

ลงชื่อ..................................................ผู้ประเมิน
(นายเทิดศักดิ์ ปั ญญาจิราธิวัฒน์)

เกณฑ์การให้คะแนน เกณฑ์การตัดสินคุณภาพ

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมอย่างสม่ำเสมอ ให้ ๓ คะแนน ช่วงคะแนน ระดับ

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบ่อยครั้ง ให้ ๒ คะแนน คุณภาพ

ปฏิบัติหรือแสดงพฤติกรรมบางครั้ง ให้ ๑ คะแนน ๑๒ – ๑๕ ดี


๘ – ๑๑ พอใช้

หน้าประเมินแผนและอนุมัติแผน
ความเห็นของผู้ที่ได้รับมอบหมายตรวจประเมินแผน
๑. หน่วยการเรียนรู้ Ž สอดคล้องกับมาตรฐานการเรียนรู้และตัวชี้วัด
Ž ไม่สอดคล้อง
๒. สอดคล้องกับบริบทของสถานศึกษา Ž เหมาะสม Ž ไม่เหมาะสม
๓. เน้นผู้เรียนเป็ นสำคัญ (Active learning) Ž ใช่ Ž ไม่ใช่
๔. มีองค์ประกอบของแผนครบถ้วน Ž ใช่ Ž ไม่ใช่
๕. เหมาะสมกับธรรมชาติของผู้เรียน Žใช่ Žไม่ใช่
๖. แผนสามารถปฏิบัติได้จริง Ž ใช่ Žไม่ใช่
๗. เป็ นแบบอย่างได้ Žใช่ Žไม่ใช่

ข้อเสนอแนะ

ลงชื่อ ………………..
……………….หัวหน้าฝ่ ายวิชาการ
(นางสาวสุนันทิ
นี ศรีสุข)
ความเห็นของผู้ช่วยผู้อำนวยการโรงเรียนเสนอผู้อำนวยการโรงเรียน

คุณภาพของแผน Ž ดี Ž พอใช้ Ž ควรปรับปรุง


เห็นควร Ž
อนุมัติ Ž ปรับปรุง
ลงชื่อ
(นางปิ ยรัตน์
กรมพันธุ์)
ผู้ช่วยผู้อำนวยการ
โรงเรียนบ้านชุมนาก

ความเห็นผู้อำนวยการโรงเรียน
Ž อนุมัติให้ใช้สอนได้ Ž ไม่อนุมัติ
ความเห็นอื่นๆ
...........................................................................................................................
..................
(นายธนกฤษ นักพรานบุญ)
ตำแหน่ง ผู้อำนวยการโรงเรียนบ้านชุม
นาก

บันทึกหลังการจัดกิจกรรมการเรียนรู้
Ÿ ด้านความรู้ (K)

. Ÿ ด้านสมรรถนะสำคัญของผู้เรียน (P)

Ÿ ด้านคุณลักษณะอันพึงประสงค์ (A)

สรุประดับคุณภาพ Ž ดี Ž พอใช้ Ž ปรับปรุง


Ÿ ปั ญหาที่พบด้านการเรียนการสอน /แนวทางแก้ไข (ถ้ามี)

Ÿ ครูผู้สอนประเมินแผนการจัดการเรียนรู้
๑. ด้านเนื้อหากับเวลาในการจัดการเรียนการสอน •เหมาะสม •ไม่เหมาะสม
๒. ด้านสื่อการเรียนการสอน •เหมาะสม •ไม่เหมาะสม
๓. ด้านการสะท้อนกลับให้นักเรียนทราบการตรวจงาน/ประเมิน •เหมาะสม •ไม่เหมาะสม
๔. กิจกรรมสร้างความน่าสนใจ •มาก •ปานกลาง •น้อย
๕. นักเรียนเกิดองค์ความรู้จากแผนนี้ได้ •มาก •ปานกลาง •น้อย (ดูจากผลการตรวจงาน)
๖. ขณะเรียน ครูได้สอดแทรกความรู้ด้านคุณธรรม คือ •ความสุภาพ •กริยามารยาท
•การทำงานให้เป็ นระเบียบเรียบร้อย •ความตรงเวลา •กาลเทศะ
อื่น ๆ
............................................................................................................................................
.........

Ÿ ปั ญหา/อุปสรรคและแนวทางแก้ไขจากการใช้แผน

สรุปผลการประเมินแผน •แผนนี้ใช้สร้างความรู้ให้นักเรียนได้จริง
•แผนนี้ควรปรับปรุง
ครูผู้สอน
(นายเทิดศักดิ์
ปั ญญาจิราธิวัฒน์)
แผนการจัดการเรียนรูที่๒
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒เรื่องใจหาย เวลา๒๐ ชั่วโมง
เรื่องเรียนรูคํานําเรื่อง เวลา ๑ชั่วโมง
......................................................................................
..........................................
สาระที่ ๑การอาน
ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ
แกปญหาในการดําเนินชีวิตและมีนิสัย รักการอาน

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
การเรียนรูคํา ผูเรียนตองเรียนรูทั้งในดานองคประกอบ หลัก
การอานแจกลูกสะกดคํา ความหมายและหลักการใชจึงจะสามา
รถนําคําไปใชไดถูกตองตามสถานการณ
๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๒ อธิบายความหมายของคําและขอความที่
อาน

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. นักเรียนอานแจกลูกสะกดคําได
๒. นักเรียนบอกความหมายของคําได
๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู
- รูจักคํานําเรื่อง
- การบอกความหมายของคํา
๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. นักเรียนอานคําศัพทที่เรียนไปเมื่อชั่วโมงที่แลว
๒. นัก เรีย นอานคําศัพ ทตอ จากครั้งที่แลวในหนั ง สือเรีย นภาษาพาที
หนาที่๑๙-๒๐โดยครูอานให นักเรียนฟงและใหนักเรียนอานพรอมๆกันจาก
นั้นสุมใหนักเรียนอานนําเพื่อนๆ๒-๓คนนักเรียนที่เหลือใหอาน เวลาวางหรือ
เมื่อทํางานเสร็จ
๓. ครูนําบัตรคําติดที่กระเปาผนังเพื่อใหนักเรียนไดฝกอานเวลาวาง
๔. นักเรียนทําแบบฝกในหนังสือแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย
ชุดภาษาเพื่อชีวิตทักษะภาษา ป.๒ขอที่๒หนาที่๑๑ขอที่๔หนาที่๑๓สงครูครู
เฉลยและตรวจสอบความถูกตอง

๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. หนังสือเรียน ภาษาไทย ภาษาพาที
๒. บัตรคํา
๓. แบบฝกในแบบฝกหัดรายวิชาพื้นฐานภาษาไทยชุดภาษาเพื่อชีวิต
ทักษะภาษาป.๒ขอที่๒ หนาที่ ๑๑ ขอที่๔ หนาที่ ๑๓
๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
-
แบบฝก
๓.เกณฑการ
ประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐
แผนการจัดการเรียนรูที่๓
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒เรื่องใจหาย เวลา๒๐ ชั่วโมง
เรื่องการอานออกเสียง เวลา ๑ ชั่วโมง
......................................................................................
..........................................
สาระที่ ๑การอาน
มาตรฐานท๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนํา
ไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนิน ชีวิตและมีนิสัยรักกา
รอาน

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
การอานเปนพฤติกรรมในการเรียนรูที่จําเปนสําหรับผูเริ่มเรียน
การอานออกเสียงผูอานตอง รูที่มาและองคประกอบของคําจึง
จะทําใหอานไดอยางมีประสิทธิภาพ
๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐานท๑.๑ป.๒/๑อานออกเสียงคําคําคลองจองขอความและ
บทรอยกรองงายๆไดถูกตอง

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. นักเรียนอานออกเสียงเนื้อหาในบทเรียนได
๒. นักเรียนตอบคําถามจากเรื่องที่อานได

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู
- การอานออกเสียงบทเรียนเรื่อง “ใจหาย”
- การตอบคําถาม
๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. นักเรียนอานคําศัพทที่เรียนมาแลวเพื่อเปนการทบทวน
๒. นักเรียนอานออกเสียงบทเรียนจากหนังสือเรียนภาษาไทยภาษา
พาทีชั้นประถมศึกษาปที่๒บท ที่ ๒ เรื่อง “ใจหาย” พรอมกัน
๓. ครูสุมใหนักเรียนอานออกเสียงคนละตอนจนจบเรื่องแลวตั้งคําถาม
ใหนักเรียนชวยกันตอบดังนี้
- ใบโบกใบบัวตองไปอยูที่ไหน
- นักเรียนคิดวาใบโบกใบบัวอยากไปอยูที่อื่นหรือไมเพราะเหตุใด
- ทําไมใบโบกและใบบัวจึงไปอยูที่นั่น
- นักเรียนคิดวาทําไมเรื่องนี้จึงมีชื่อวา“ใจหาย”
- นักเรียนเคยมีอาการใจหายหรือไมเพราะอะไร
๔. นักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ทักษะภาษา
ป.๒ ขอที่ ๑ หนาที่๑๐-๑๑ เสร็จแลวสงครูครูเฉลยและตรวจสอบความถูก
ตอง

๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. หนังสือเรียน ภาษาพาที
๒. บัตรคํา
๓. ทําแบบฝกหัดภาษาไทยชุดภาษาเพื่อชีวิตทักษะภาษา
ป.๒ขอที่๑หนาที่๑๐-๑๑
๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
-

แบบฝก
๓.เกณฑการ
ประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐
แผนการจัดการเรียนรูที่๔
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒เรื่องใจหาย เวลา๒๐ ชั่วโมง
เรื่องการอานจับใจความ เวลา ๒ ชั่วโมง
......................................................................................
..........................................
สาระที่ ๑การอาน
ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนําไปใชตัดสินใจ
แกปญหาในการดําเนินชีวิตและมีนิสัย รักการอาน

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
การอานจับใจความและระบุความสําคัญของเรื่องตองมีสมาธิ
ปฏิบัติตนในการอานถูกตอง และรูจักความหมายของคําจะสามารถ
สรุปและแสดงความคิดเห็นในเรื่องที่อานได
๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐานท๑.๑ป.๒/๔ ระบุใจความสําคัญและรายละเอียดจาก
เรื่องที่อ่าน
มาตรฐานท๑.๑ป.๒/๕ แสดงความคิดเห็นและคาดคะเนเหตุกา
รณจากเรื่องที่อาน

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. นักเรียนบอกเนื้อหาสาระในบทเรียนได
๒. นักเรียนแสดงความคิดเห็นในบทเรียนได

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู
- การอานจับใจความเรื่อง “ใจหาย”
- การแสดงความคิดเห็น
๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. ทบทวนเนื้อเรื่องที่เรียนไปแลวโดยใหนักเรียนชวยกันเลาตอกันจน
จบถ านักเรียนเลาไดไมครบหรือ
ไมไดครูตองใชคําถามนําใหนักเรียนตอบจนไดถูกตอง
๒. นักเรียนแบงกลุมออกเปนกลุมกลุมละ๕-๖คนนักเรียนปฏิบัติ
กิจกรรมตามกระบวนการกลุม โดยเลือกประธานและเลขา
๓. นักเรียนอานออกเสียงเรื่อง“ใจหาย” จากหนังสือภาษาไทยชุด
ภาษาพาทีชั้นประถมศึกษาปที่๒
บทที่๒จากหนา๒๑ถึงหนาทีละกลุมแลวรวมกนสนทนาถึงเนื้อหาของเรื่อง
๔. ครูแบง เนื้อเรื่องออกเปนตอนๆใหแตละกลุม เลือกแลวแสดง
บทบาทสมมุติหนาหองเรียน

ให นักเรียนแตละกลุมรวมกันแสดงความคิดเห็นการแสดงบทบาทสมมุติของ
เพื่อนโดยมีครูคอยใหคําแนะนํา
๕. นักเรียนอานเนื้อเรื่อง “ใจหาย”อีกครั้งพรอมๆกันแลวครูตั้งคําถาม
ดังนี้
- ถานักเรียนเปนภูผาจะทําอยางไร
- ถาไมนําใบบัวใบโบกไปไวที่ปางชางหลวงนักเรียนคิดวา
จะเปนอยางไร
- ทําไมลุงกํานันจึงตองเชิญชาวบานมาประชุม
- เด็กๆไปทําอะไรที่ริมตลิ่ง
๖. นักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ทักษะภาษา
ป.๒ ขอที่ ๓ หนาที่๑๒-๑๓ และ

ขอที่๑๐หนาที่๑๗-๑๘เสร็จแลวสงครูครูเฉลยและตรวจสอบความถูก
ตอง
๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. หนังสือเรียน ภาษาพาที
๒. แบบฝกหัด ภาษาไทย ชุดภาษาเพื่อชีวิต ทักษะภาษา ป.๒ ขอที่ ๓
หนาที่ ๑๒-๑๓
๓. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
-

แบบฝก
๓.เกณฑการ
ประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐
แผนการจัดการเรียนรูที่๕
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒เรื่องใจหาย เวลา๒๐ ชั่วโมง
เรื่องคําและกลุมคํา เวลา ๒ ชั่วโมง
......................................................................................
..........................................
สาระที่ ๑การอาน
มาตรฐานท๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนํา
ไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนิน ชีวิตและมีนิสัยรักกา
รอาน

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
การเรียนรูคํานอกจากเรียนรูเพื่อสื่อความหมายแลวยังตอง
เรียนรูในดานประเภทและชนิด ของคําหนาที่ของคําและนําคํานั้น
ไปใชใหถูกตองตามบริบท
๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๒ อธิบายความหมายของคําและขอความที่
อาน

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. นักเรียนอานสะกดคําในบทเรียนได
๒. นักเรียนบอกความหมายของคําและนําไปใชไดถูกตอง

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู
- การอานสะกดคํา
- ความหมายของคําและการนําคําไปใช
๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. นักเรียนชวยกันเลาเรื่องใจหายจนจบเพื่อเปนการทบทวนเนื้อหาที่
เรียนที่แลว
๒. นเรียนอานคําศัพทในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทย ชุด
ภาษาพาที หนา ๑๙-๒๐
๓. ครูและนักเรียนรวมกันอภิปรายถึงความหมายของคําศัพท
๔. นักเรียนแบงกลุมกลุมละ๕-๖คนแลวปฏิบัติตนตามกระบวนการก
ลุมคือเลือกประธานและเลขา ของแตละกลุม

๕. ครูแจกกระดาษใหนักเรียนนักเรียนในแตละกลุมเพื่อแตงประโยค
และเมื่อเสร็จแลวใหนํามาอานให เพื่อนๆ ฟงหนาชั้นเรียน
๖. ครูนําบัตรคํามาเสียบในกระเปาผนัง๑๐คําใหนักเรียนอานแลวนําคํา
ไปแตงเปนประโยคดังนี้ดิ้น คันเชิญทํางานใจหายน้ำปาขางลางพยักหนา
ตกลงปลอดภัย
๗. นักเรียนนําคําศัพทไปแตงประโยคใหถูกตองลงในสมุดเสร็จ
แลวนําสงครูตรวจสอบความถูกตอง

๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. หนังสือเรียน ภาษาพาที
๒. บัตรคํา
๓. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
-

แบบฝก
๓.เกณฑการ
ประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐
แผนการจัดการเรียนรูที่๖
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒เรื่องใจหาย เวลา๒๐ ชั่วโมง
เรื่องสระเอียะสระเอีย เวลา ๑ ชั่วโมง
......................................................................................
..........................................
สาระที่ ๔ หลักภาษาไทย
มาตรฐานท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภูมิปญญา
ทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
สระเอียะ เปนสระประสมเสียงสั้นที่ใชนอยมากในภาษาไทย
สระเอีย เปนสระผสมเสียงยาว
๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐานท๔.๑ป.๒/๑บอกและเขียนพยัญชนะสระวรรณยุกตและเลข
ไทย

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. นักเรียนบอกรูปสระเอียะและสระเอียได
๒. นักเรียนประสมคําดวยสระเอียะและสระเอียได
๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู
- สระเอียะและสระเอีย
๗. กิจกรรมการเรียนรู
๑. ครูติดแผนภูมิเพลงสระ เอีย บน
กระดานดังนี้
เพลงสระเอีย ไมทราบนามผูแตง
เออียอ เออียอ รวมเรียกสระ
เอีย เอีย เอีย เอีย เอีย เอีย
เอีย เอีย เอีย เอียนะเอีย
เอนั้นเดินนําหนา อีนั้นอยูขางบน
ยอขอตามดวยคน สุขเหลือลนไปกันสามเกลอ
เออียอ เออียอ รวมเรียก
๒.น สระเอีย เอีย เอีย เอีย เอีย เอีย เอีย
เอีย เอีย เอียนะเอีย
เรียนอานสะเกตคําในหนังสือเรียนรายวิชาพื้นฐานภาษาไทยชุด
ภาษาพาทีหนา๒๖–๒๘
พรอมๆกันและสุมใหนักเรียนอานอีก๒-๓คน
๓. ครูเขียนคําที่ประสมดวยสระเอียะ และคําที่ประสมดวยสระเอีย
๔. บนกระดานดํ าให นั กเรี ย นฝ ก ฝ กอ า นแจกลู ก และสะกดคําจา
กนั้นให นั ก เรี ย นช ว ยกั น แยก

สวนประกอบของคําใหถูกตองโดยครูคอยใหคําแนะนํา
๕. ครูกําหนดคําโดยเขียนบนกระดานดํา๑๐คําใหแตละกลุมอานแจก
ลูกสะกดคํา
๖. นักเรียนทําแบบฝกหัดภาษาไทยชุดภาษาเพื่อชีวิตทักษะภาษา
ป.๒ขอที่๕และขอที่๖หนาที่
๑๔-๑๕สงครูครูเฉลยและตรวจสอบความถูกตอง

๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. หนังสือเรียน ภาษาพาที
๒. แผนภูมิเพลง สระเอีย
๓. แบบฝกหัดภาษาไทยชุดภาษาเพื่อชีวิตทักษะภาษา
ป.๒ขอที่๕หนาที่๑๔
๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
-

แบบฝก
๓.เกณฑการ
ประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๗
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒เรื่องใจหาย เวลา๒๐ ชั่วโมง
เรื่องมาตราตัวสะกด เวลา ๒ ชั่วโมง
......................................................................................
..........................................
สาระที่ ๔ หลักภาษาไทย
มาตรฐานท ๔.๑ เขาใจธรรมชาติของภาษาและหลักภาษาไทย การ
เปลี่ยนแปลงของภาษาและพลังของ ภาษา ภูมิปญญา
ทางภาษาและรักษาภาษาไทยไวเปนสมบัติของชาติ

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
คําประกอบดวยพยัญชนะตนสระตัวสะกดรูปวรรณยุกตและ
เสียงวรรณยุกตการเรียนร คําตองศึกษาองคประกอบแจกลูกสะ
กดคําและบอกความหมายของคําได
๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐานท๔.๑ป.๒/๒เขียนสะกดคําและบอกความหมายของคํา

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. นักเรียนอานสะกดคําในบทเรียนได
๒. นักเรียนนําคําไปใชไดถูกตองตามสถานการณ
๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู
- มาตราตัวสะกดที่ตรงตามมาตรา
- มาตราตัวสะกดที่ไม่ตรงตามมาตรา
๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. นักเรียนรวมกันรองเพลงสระเอียที่เรียนไปในครั้งที่แลว
๒. นักเรียน อานสะเกตคําในหนังสือเรียน รายวิชาพื้นฐาน ภาษาไทย
ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ภาษาพาที

หนา๒๙พรอมกันและสุมนักเรียนอานนําอีก๑-๒คน
๓. ใหนักเรียนสังเกตที่มีตัวสะกดดังนี้
- คําที่มีตัวสะกดในแม กง ใช งเปนตัวสะกด
- คําที่มี ม เปนตัวสะกดเปนคําในแมกม
- คําที่มี น สะกด เปนตัวสะกดในแม กนตรงตามมาตรา
และคําที่มี นญณรล
ฬ สะกด เปนตัวสะกดในแม กนไมตรงตามมาตรา

๔. ครูเ ขีย นคํา ศัพ ทบ นกระดานดํา๑๐คําใหนัก เรีย นฝก สัง เกตและ
ฝกอานสะกดคําและแยก สวนประกอบของคําโดยแยกในสวนพยัญชนะตน
สระตัว สะกดและวรรณยุก ต ครูอธิบ ายเพิ่มเติม คํา บางคํา ไมมี รูปวรรณ
ยุกตแตมีเสียงวรรณยุกตบางคํารูปวรรณยุกตและเสียงวรรณยุกตไมตรงกัน
ใหนักเรียนสังเกตเสียง วรรณยุกตในแตละคํา
๕. ใหนักเรียนเขากลุมกลุมละ๕-๖คนแตละกลุมแขงขันกันหาคําที่มีตัว
สะกดในแมกงแมกมและ แมกนในหนังสือเรียนภาษาพาทีครูกําหนดเวลา
ใหกลุมที่หาคําไดมากที่สุดและถูกตองเปนผูชนะ
๖. นักเรียนทําแบบฝกหัดภาษาไทยชุดภาษาเพื่อชีวิตทักษะภาษา
ป.๒ขอที่๙หนาที่๑๖-๑๗สง ครูครูเฉลยและตรวจสอบความถูกตอง

๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. หนังสือเรียน ภาษาพาที
๒. แบบฝกหัดภาษาไทยชุดภาษาเพื่อชีวิตทักษะภาษา
ป.๒ขอที่๙หนาที่๑๖
๓. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
-

แบบฝก
๓.เกณฑการ
ประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐
แผนการจัดการเรียนรู ที่๘
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒เรื่องใจหาย เวลา๒๐ ชั่วโมง
เรื่องคําศัพทจากบทเรียน เวลา๑ ชั่วโมง
......................................................................................
..........................................
สาระที่ ๑การอาน
มาตรฐานท๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนํา
ไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนิน ชีวิตและมีนิสัยรักกา
รอาน

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
การเรียนรูคํานอกจากเรียนรูเพื่อสื่อความหมายแลวยังตอง
เรียนรูในดานประเภทและชนิด ของคําหนาที่ของคําและนําคํานั้น
ไปใชใหถูกตองตามบริบท
๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒ / ๒ อธิบายความหมายของคําและขอความที่
อาน

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. น เรียนอานสะกดคําในบทเรียนได
๒. นักเรียนบอกความหมายของคําและนําคําไปใชไดถูกตอง

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู
- ความหมายของคํา
- การนําคําไปใช
๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. นักเรียนอานคําศัพทในบทเรียนพรอมๆกันเพื่อเปนการทบทวน
๒. แบงนักเรียนออกเปนกลุมกลุมละ ๕–๖ คน แตละ
กลุมอานคําศัพทในหนังสือเรียน รายวิชา พื้นฐานภาษาไทยชุดภาษาเพื่อ
ชีวิตภาษาพาทีหนา๑๘–๒๐
๓. ครูเลือกบัตรคํา๕คําดังนี้แฉะเสียมตะโกนใจหายปลอดภัยใหนัก
เรียนอา นและ สนทนาถึงความหมาย ใหตั วแทนกลุม มารับกระดาษ และ
นําคําศัพท ที่อานแตงใหเปนประโยคที่ถูกตองพรอม นําเสนอหนาชั้นเรียน
๔. ครูแจกกระดาษให นักเรียนเลือกคําศัพทที่อานในหนาที่๑๘–
๒๐มา๑คําแลวนํามาแต ง ประโยคพรอมกับวาดภาพใหสอดคลองกับประ
โยคที่แตงใหสวยงาม
๕. เมื่อแตงประโยคเสร็จแลวใหอานใหเพื่อนฟงแลวนําสงครูตรวจสอบ
ความถูกตอง
๖. นําผลงานของนักเรียนมารวมเปนเลมทําเปนหนังสือในหองเรียน

๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. หนังสือเรียน ภาษาพาที
๒. บัตรคํา
๓. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล

๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
ก ๓.เกณฑการ
า ประเมิน
ร - สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
ป - ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐






-
แบ

สัง
เก

-







แผนการจัดการเรียนรูที่๙
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒เรื่องใจหาย เวลา๒๐ ชั่วโมง
เรื่องอานคลอง รองเลน เวลา ๒
ชั่วโมง
......................................................................................
..........................................
สาระที่ ๑การอาน
มาตรฐานท๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนํา
ไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนิน ชีวิตและมีนิสัยรักกา
รอาน

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
การฝกอานคลอง ตองหมั่นฝกฝนอยูเปนประจํา เริ่มจา
กการฝกอานคําที่คลองจองกัน

อานแลวจะทําใหเกิดความเพลิดเพลินสนุกสนานมีนิสัยรักกา
รอาน
๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐานท๑.๑ป.๒/๑อานออกเสียงคําคําคลองจองขอความและ
บทรอยกรองงายๆไดถูกตอง
๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. นักเรียนอานบทรองเลนงายๆได
๒. นักเรียนรองและแสดงทาทางประกอบบทรองเลนได

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู
- อานคลอง รองเลน
๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. ครูนําปริศนาคําทายมาใหนักเรียนเลนทายและใหนักเรียนสังเกตคํา
ตอบวาเปนตัวสะกดมาตราใด
ดัง
นี้
- อะไรเอยยิ่งตัดยิ่งยาว(ถนน)
- อะไรเอยตัดหลังตัดหนาเหลือกลางวาเดียว (ขวาน)
- ฉันคืออะไร ปรุงในอาหาร
เพื่อใหรสหวาน มดมันชอบ
กิน(น้ำตาล)
- ฉันคืออะไร มีไวหนุนนอน
ลมตัวพักผอน นอนหลับฝนดี
(หมอน)
- ฉันคืออะไร ขี่ไดใชปน มี
สองล้นั้นขี่กันไปมา
(จักรยาน)
๒. ทบทวนเกี่ยวกับคําในแม กง แม กม และแม กน ในหนาที่ ๒๙
๓. ใหนักเรียนฝกอานบทอานในหนังสือเรียน ภาษาพาที หนา ๓๐
อานคลอง รองเลน “คิดถึง
เพื่อนรัก” เปนจังหวะตามครู และฝกอานจนคลอง
๔. ใหนักเรียนจับคูคิดทาประกอบบทอานคลองรองเลน“คิดถึงเพื่อน
รัก” จากนั้นออกมาแสดงทา ประกอบบทอานใหเพื่อนๆดูโดยใหเพื่อนที่ชว
ยกันอานบทอานคลองรองเลน“คิดถึงเพื่อนรัก”
๕. นักเรียนทําแบบฝกหัด ภาษาไทย ชุด ภาษาเพื่อชีวิต ทักษะภาษา
ป.๒ ขอที่ ๑๑ หนาที่ ๑๘-๑๙ สงครูครูเฉลยและตรวจสอบความถูกตอง
๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. หนังสือเรียน ภาษาพาที
๒. ปริศนาคําทาย
๓. แบบฝกหัดภาษาไทยชุดภาษาเพื่อชีวิตทักษะภาษา
ป.๒ขอที่๑๑หนาที่๑๘-๑๙
๔. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
-

แบบฝก
๓.เกณฑการ
ประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐
แผนการจัดการเรียนรูที่๑๐
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถมศึกษาปที่๒
หนวยการเรียนรูที่ ๒เรื่องใจหาย เวลา๒๐ ชั่วโมง
เรื่องชวนคิดชวนทําหาคําเสริมมาเติมคํา เวลา ๑ ชั่วโมง
......................................................................................
..........................................
สาระที่ ๑การอาน
มาตรฐานท๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนํา
ไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนิน ชีวิตและมีนิสัยรักกา
รอาน

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
การเรียนรูเปนการฝกทักษะดานตางๆ ใหเกิดขึ้นไปพรอมๆ
กัน ตอ งมีกระบวนการหลาย อยา งเพื่ อจัดประสบการณใ หกั บ
ผูเรียนการเรียนรูภาษาไทยนอกจากจะใหผูเรียนฝกทักษะการอาน
การพูดและการเขียนแลวตองใหผูเรียนรูจักคิดวิเคราะหและลงมือ
ปฏิบัติงานจึงจะบรรลุผลอยาง แทจริง
๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐานท๑.๑ป.๒/๖ อานหนังสือตามความสนใจอยางสม่ําเสมอ
และนําเสนอเรื่องที่อาน

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. นักเรียนอานคําที่กําหนดใหได
๒. นักเรียนใชคําไดถูกตองตามบริบท

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู
- การเลือกใชคํา
๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. นักเรียนทองบทอานคลองรองเลน“คิดถึงเพื่อนรัก”พรอมปรบมือ
ใหจังหวะ
๒. ใหนักเรียนเขากลุมเดิมที่เคยเรียนเมื่อครั้งที่แลวแตละกลุมชวยกัน
หาคําที่ขึ้นตนหรือลงทายดวย “ใจ” เชน “เสียใจ” “ใจเสีย” ใหไดมาก
ที่สุด
๓. นําผลงานแตละกลุมมาอานใหนักเรียนฟงและชวยกันตรวจวาถูก
ตองหรือไม
๔. ครูเลือกคําจากที่นักเรียนคิดมา๑๐คําและใหนักเรียนแตงประโยคลง
สมุด
๕. นักเรียนทองบทอานคลองรองเลน“คิดถึงเพื่อนรัก” พรอมปรบมือ
ใหจังหวะอีกครั้ง

๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. หนังสือเรียน ภาษาพาที
๒. แบบประเมินคุณลักษณะอันพึงประสงคและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
-

แบบฝก
๓.เกณฑการ
ประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐
แผนการจัดการเรียนรูที่๑๑
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถม
ศึกษาปที่๒ หนวยการเรียนรูที่ ๒ เรื่องใจหาย(ดอกสรอยแสน
งาม) เวลา ๒๐
ชั่วโมง

การอานบทดอกสรอย เวลา ๒ชั่วโมง


....................................................................................................
............................
สาระที่ ๑การอาน
มาตรฐานท๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดเพื่อนํา
ไปใชตัดสินใจแกปญหาในการดําเนิน ชีวิตและมีนิสัยรักกา
รอาน
มาตรฐานท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณวรรณคดีและ
วรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา และ นํามาประยุกตใชใน
ชีวิตจริง

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
การอานเสริมบทดอกสรอยเปน การอา นเพื่อเพิ่มทัก ษะทาง
ภาษาใหม ากขึ้น และเปน การ สง เสริมนิส ัย รักการอา นใหกั บ
นัก เรียนไดด ว ยการอา นนั้น สามารถอา นไดทั้งตามลํา พัง และกับ
เพื่อน หรืออานออกเสียงกับครูผูอานจะมีความมั่นใจและมีนิสัยรัก
การอานภาษาไทยมากขึ้น
๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒/๑ ระบุขอคิดที่ไดจากการอานหรือการฟง
วรรณกรรมสําหรับเด็ก เพื่อนําไปใช ในชีวิตประจําวัน

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. อานบทดอกสรอยกาดําออกเสียงไดถูกตอง
๒. บอกคําสัมผัสหรือคําคลองจองได
๓. คัดลายมือสวยงาม สะอาดเปนระเบียบ

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง
๕. สาระการเรียนรู
- บทดอกสรอย เรื่อง“กาดํา”

๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. ครูติดแผนภูมิเพลง กา บนกระดานดํา ดังนี้
เพลง กา
กา กา กา บินรองกากา ออกไปหากิน
เชาตรูทิ้งรังไปสิ้นเชาตรูทิ้งรังไปสิ้น ออกมา
หากินบินรองกากา

๒. ครูและนักเรียนรวมกันสนทนาถึง“กา” วามีใครรูจักบางกามีขนสี
อะไร
๓. นักเรียนดูภาพประกอบบทดอกสรอย“กาดํา” แลวสนทนาแสดง
ความคิดเห็นเกี่ยวกับภาพโดยครู ใชคําถามนําใหตอบและคอยเสริม
๔. ครูนําแผนภูมิบทรอยกรองติด “กาดํา” ไวบนกระดานดําครูอา
นบทดอกสรอยใหนักเรียนฟงแลว สังเกตจังหวะน้ำเสียงในการอาน
๕. นักเรียนอานตามครูโดยเนนการอานออกเสียงใหถูกตองชัดเจน
๖. ครูทองบทดอกสรอย“กาดํา” เปนทํานองเสนาะใหนักเรียนฟง
๗. นักเรียนทองบทดอกสรอย“กาดํา”พรอมๆกันเปนทํานองเสนาะตาม
ครูทีละวรรคและฝกทองจน ทองไดถูกตอง

๘. นักเรียนคัดบทดอกสรอยในสมุดลายมือสวยงามสะอาดและ
เปนระเบียบ
๙. นักเรียนนําผลงานสงครูครูตรวจสอบความถูกตองโดยเนนการเขียน
ตัวอักษรใหถูกวิธีถานักเรียน เขียนไมถูกตองครูตองชี้แจงใหมใหถูกตอง

๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. บทดอกสรอย
๒. หนังสือเรียนวรรณคดีลํานําชั้นป.๒
๓. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
-

แบบฝก
๓.เกณฑการ
ประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๒
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถม
ศึกษาปที่๒ หนวยการเรียนรูที่ ๒ เรื่องใจหาย(ดอกสรอยแสน
งาม) เวลา๒๐
ชั่วโมง

เวลา ๑
ชั่วโมง
....................................................................................................
............................
สาระที่ ๑การอาน
มาตรฐานท ๕.๑ เขาใจและแสดงความคิดเห็นวิจารณวรรณคดีและ
วรรณกรรมไทยอยางเห็นคุณคา และ นํามาประยุกตใชใน
ชีวิตจริง

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
การอานเสริมบทดอกสรอยเปน การอา นเพื่อ เพิ่ม ทัก ษะทาง
ภาษาใหม ากขึ้น และเปน การ สง เสริมนิส ัย รักการอา นใหกั บ
นัก เรียนไดด ว ยการอา นนั้น สามารถอา นไดทั้งตามลํา พัง และกับ
เพื่อน หรืออานออกเสียงกับครูผูอานจะมีความมั่นใจและมีนิสัยรัก
การอานภาษาไทยมากขึ้น

๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต
๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐาน ท ๑.๑ ป.๒/๑ ระบุขอคิดที่ไดจากการอานหรือการฟง
วรรณกรรมสําหรับเด็ก เพื่อนําไปใช ในชีวิตประจําวัน

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. อานบทดอกสรอยกาดําออกเสียงไดถูกตอง
๒. บอกขอคิดได

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง

๕. สาระการเรียนรู
- บทดอกสรอย เรื่อง“กาดํา”
๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. นักเรียนทองบทดอกสรอย“กาดํา”พรอมๆกันเปนทํานองเสนาะ
พรอมๆกัน
๒. ครูนําแผนภูมิบทรอยกรองติด“กาดํา” บนกระดานดํารวมกัน
สนทนาถึงความหมายของคําศัพท ดังนี้ เหยื่อเผื่อแผ เพื่อน พวกพอง
น้ำใจ
๓. นักเรียนทองบทดอกสรอย“กาดํา”พรอมๆกันเปนทํานองเสนาะ
พรอมๆกันอีกครั้ง
๔. นักเรียนชวยกันสรุปขอคิดจากเรื่องโดยครูคอยเสริมถานักเรียนสรุป
ไมถูกตอง
๕. นักเรียนทําแบบฝกหัดภาษาไทยชุดภาษาเพื่อชีวิตทักษะภาษา
ป.๒ขอที่๗และขอที่๘หนาที่
๑๕-๑๖สงครูครูเฉลยและตรวจสอบความถูกตอง

๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. บทดอกสรอย
๒. หนังสือเรียนวรรณคดีลํานําชั้นป.๒
๓. แบบฝกหัดภาษาไทยชุดภาษาเพื่อชีวิตทักษะภาษา
ป.๒ขอที่๗และขอที่๘หนาที่๑๕-๑๖
๔. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน
- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
-

แบบฝก
๓.เกณฑการ
ประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ๘๐
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐
แผนการจัดการเรียนรูที่ ๑๓
กลุมสาระการเรียนรูภาษาไทย ชั้นประถม
ศึกษาปที่๒ หนวยการเรียนรูที่ ๒ เรื่องใจหาย(ดอกสรอยแสน
งาม) เวลา๒๐
ชั่วโมง เรื่องกา
รอานออกเสียงในบทเรียน เวลา๒ ชั่วโมง
....................................................................................................
............................
สาระที่ ๑การอาน
มาตรฐานท๑.๑ ใชกระบวนการอานสรางความรูและความคิดไปใชตัดสินใจ
แกปญหาและสรางวิสัยทัศนใน การดําเนินชีวิตและมีนิสัยรัก
การอาน

๑. สาระสําคัญ
๑. ความคิดรวบยอด
การอา นออกเสียงเปน การอา นที่คนอื่ นสามารถรับรูเ รื่ อ
งดว ยไดดั งนั้น ผูอ า นตอ งอา นให้ถูก ตอ งและชัด เจนจึงจะรับสาร
ไดทั้งคนอานและคนฟงการฝกปฏิบัติเพื่อการอานออกเสียงจึงเปน
สิ่งจําเปนเพื่อจะไดนําไปใชไดถูกตองตอไป

๒. สมรรถนะสําคัญของผูเรียน
- ความสามารถในการสื่อสาร
- ความสามารถในการคิด
- ความสามารถในการใชทักษะชีวิต

๒. ตัวชี้วัด
มาตรฐานท๑.๑ป.๒/๑อานออกเสียงคําคําคลองจองขอความและ
บทรอยกรองงายๆไดถูกตอง

๓. จุดประสงคการเรียนรู
๑. อานออกเสียงนิทานเรื่องกากับเหยือกน้ำไดถูกตอง
๒. บอกขอคิดได

๔. คุณลักษณะอันพึงประสงค
๑. รักความเปนไทย
๒. ใฝเรียนรู
๓. มีจิตสาธารณะ
๔. มีวินัย
๕. อยูอยางพอเพียง
๖. มุงมั่นในการทํางาน
๗. รักความเปนไทย
๘. มีจิตสาธารณะ
๕. สาระการเรียนรู
- นิทานเรื่องกากับเหยือกน้ำ

๖. กิจกรรมการเรียนรู
๑. นักเรียนรองเพลง “กาเอยกา” แลวสนทนาแสดงความคิดเห็นเกี่ยว
กับเนื้อเพลงที่รอง
๒. ครูนําบัตรคําศัพทในนิทานเรื่องกากับเหยือกน้ำมาใหนักเรียน
อานเชนเหยือกระดับสามารถ
พยายาม
๓. นักเรียนอานตามครูคําละ๒ ครั้งเนนการอานออกเสียงถูกตอง
และชัดเจนโดยครูอธิบ าย
ความหมายของคําศัพทใหนักเรียนเขาใจ
๔. หาอาสาสมัครอานนิท านเรื่องกากั บ เหยือกน้ำในหนั ง สือ เรียน
ภาษาไทยชุด ภาษาเพื่ อชีวิ ต วรรณคดีลํานํา ชั้นประถมปที่๒

๕. นักเรียนชวยกันสรุปขอคิดจากเรื่องเมื่ออานจบ
๖. นักเรียนอานออกเสียงบทเรียนโดยใหอานพรอมกันทั้งชั้นอานรายก
ลุมแลวจึงใหอานเปนรายบุคคล เพื่อดูการพัฒนาการอานของนักเรียน
๗. นักเรียนทองบทดอกสรอยกาดําอีกครั้งและครูควรใหนักเรียน
ฝกทองใหคลองเพราะเปนบท อาขยานดวย

๗. สื่อ/แหลงการเรียนรู
๑. หนังสือเรียนวรรณคดีลํานําชั้นป.๒
๒. บัตรคํา
๓. แบบประเมินพฤติกรรมและผลงานรายบุคคล

๘. วัดผลประเมินผล
๑. วิธีการวัดและประเมินผล
- สังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
- ตรวจผล
งาน ๒. เครื่องมือ
การประเมิน

- แบบสังเกตพฤติกรรมการอานออกเสียงเปนรายบุคคล
-

แบบฝก
๓.เกณฑการ
ประเมิน
- สังเกตพฤติกรรมการอานผานเกณฑรอยละ
- ประเมินการตรวจผลงานผานเกณฑรอยละ๘๐

You might also like